You are on page 1of 49

แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์

เรื่อง เลขยกกําลัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ชุดที่ เลยยกกําลังที่มีเลขชี้กําลัง
1 เป็นจํานวนเต็ม

นางนงค์นิภัส โภคินดิษย์สกุล
ตําแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการ

โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คํานํา

แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดที่ 1


เรื่อง เลยยกกําลังที่มีเลขชี้กาํ ลังเป็นจํานวนเต็ม จัดทําขึน้ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 32101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรของโรงเรียนสัตหีบวิทยาคม กลุม่ สาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยยึดเนื้อหาสาระตามสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารหลายเล่ม เพื่อให้เป็นแบบฝึกเสริม
ทักษะที่มีคณ
ุ ภาพเหมาะสมกับนักเรียน โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความรู้
ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคํานวณ เรื่อง เลยยกกําลังทีม่ ีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม
และสามารถนําความรู้ ความเข้าใจ รวมทั้งทักษะทางคณิตศาสตร์ ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อไปในระดับที่สูงขึ้น
ผู้จัดทําขอขอบพระคุณผู้อํานวยการโรงเรียน คณะครูโรงเรียนสัตหีบวิทยาคม
ทุกท่าน ที่ให้คําปรึกษาในการจัดทําแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญ
ทุกท่านที่กรุณาตรวจสอบความสอดคล้องและให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์มีความสมบูรณ์ ถูกต้อง มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น และเสร็จสมบูรณ์
ด้วยดี
ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์
ต่อนักเรียนในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ และช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

นงค์นิภัส โภคินดิษย์สกุล

สารบัญ

หน้า
คํานํา ข
สารบัญ ค
คําชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลยยกกําลังที่มี 1
เลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม
คําแนะนําการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สําหรับครู 3
คําแนะนําการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สําหรับนักเรียน 5
ขั้นตอนการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 6
มาตรฐานการเรียน/ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ 7
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เลยยกกําลังทีม่ ีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม 8
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เลยยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม 13
ใบความรู้ที่ 1 17
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1 22
ใบความรู้ที่ 2 24
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2 26
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เลยยกกําลังที่มเี ลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม 28
ภาคผนวก 33
บรรณานุกรม 44
1

คําชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
เรื่อง เลยยกกําลัง

1. เอกสารนี้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จัดขึ้นทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เลยยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม
ชุดที่ 2 รากที่ n ของจํานวนจริง
ชุดที่ 3 การบวกและการลบจํานวนที่อยู่ในรูปกรณฑ์
ชุดที่ 4 การคูณและการหารจํานวนที่อยู่ในรูปกรณฑ์
ชุดที่ 5 เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะ
ชุดที่ 6 สมการในรูปกรณฑ์และสมการในรูปเลขยกกําลัง
2. แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5
ชุดที่ 1 เลยยกกําลังที่มีเลขชีก้ ําลังเป็นจํานวนเต็ม ประกอบด้วย
2.1 คําแนะนําการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สําหรับครู
2.2 คําแนะนําการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สําหรับนักเรียน
2.3 ขั้นตอนการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
2.4 มาตรฐานการเรียน/ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้
2.5 แบบทดสอบก่อนเรียน
2.6 ใบความรู/้ ตัวอย่าง
2.7 แบบฝึกเสริมทักษะ
2.8 เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
2.9 แบบทดสอบหลังเรียน
2

2.10 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
2.11 แบบบันทึกคะแนน
2.12 บรรณานุกรม
3. แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5
ชุดที่ 1 เลยยกกําลังที่มีเลขชีก้ ําลังเป็นจํานวนเต็ม ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียน
จํานวน 2 ชั่วโมง
3

คําแนะนําการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
สําหรับครู

การใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรือ่ ง เลขยกกําลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5


ครูผู้สอนถือเป็นส่วนหนึ่งที่มคี วามสําคัญในการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุตามจุดประสงค์
การเรียนรู้ที่กําหนดไว้ ครูผู้สอนจึงควรศึกษารายละเอียดการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ดังนี้
1. ครูต้องศึกษาแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง และอ่านเนื้อหา
สาระอย่างละเอียดรอบคอบ พร้อมทั้งทําความเข้าใจเนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะทุกชุดก่อน
ที่จะนําไปจัดการเรียนการสอนกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
2. ครูเตรียมแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง ให้ครบถ้วน
และเพียงพอกับจํานวนนักเรียน
3. ครูเตรียมเครื่องมือวัดผล และประเมินผล เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าของนักเรียน
4. ครูชแี้ จงให้นักเรียนทราบถึงลําดับขั้นตอน วิธีการจัดการเรียนการสอนและ
ประโยชน์ที่ได้รับจากแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรือ่ ง เลขยกกําลัง อย่างชัดเจน
5. ครูชแี้ จงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการเรียน โดยใช้
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง ให้เข้าใจ และเน้นย้ําเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต
ในระหว่างการจัดกิจกรรรมการเรียนการสอน โดยห้ามลากเพื่อนและไม่ดูเฉลยคําตอบ
6. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
7. ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามที่กําหนดไว้ ในชุดที่ 1 เลยยกกําลัง
ที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม
4

8. ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา/ ตัวอย่าง และทําแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์


เรื่อง เลขยกกําลัง ชุดที่ 1 เลยยกกําลังที่มเี ลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม
9. ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ความตั้งในในการเรียน การทํางานร่วมกันเป็น
กลุ่มของนักเรียน ถ้านักเรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัย ครูคอยให้คําแนะนําและช่วยเหลือ
10. เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
เรื่อง เลขยกกําลัง ของนักเรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม อาจจะไม่เท่ากัน
ครูควรยืดหยุ่นตามความเหมาะสม ตามสถานการณ์
11. ให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินความก้าวหน้าทางการเรียน
12. ครูผสู้ อนและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน หรือส่งตัวแทนจากชั้นเรียนออก
มาสรุปหน้าชั้นเรียน
13. การจัดชั้นเรียน อาจจัดให้นักเรียนศึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุม่ ก็ได้
5

คําแนะนําการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
สําหรับนักเรียน
การใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรือ่ ง เลขยกกําลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
นักเรียนควรปฏิบัติตามคําแนะนํา ดังนี้
1. นักเรียนอ่านคําชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง
และคําแนะนําการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สําหรับนักเรียน ให้เข้าใจก่อนศึกษาเนื้อ
ทํากิจกรรม หรือแบบฝึกเสริมทักษะ ทุกครัง้
2. นักเรียนทําแบบทดสอบก่อนเรียน จํานวน 10 ข้อ เพื่อวัดความรู้พื้นฐาน
ของนักเรียน
3. นักเรียนต้องศึกษาเนื้อหา ตัวอย่าง ก่อนทําแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง เลขยกกําลัง
ชุดที่ 1 เลขยกกําลังที่มีเลขชีก้ ําลังเป็นจํานวนเต็ม ถ้านักเรียนทําแบบฝึกเสริมทักษะไม่ได้
ให้กลับไปศึกษาเนื้อหา ตัวอย่าง ใหม่อีกครั้ง หรือปรึกษาครูผู้สอน
4. เมื่อนักเรียนทําแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง เลขยกกําลัง ชุดที่ 1 เลยยกกําลังที่มีเลข
ชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนเปลีย่ นกันตรวจแบบฝึกเสริมทักษะตาม
ที่ครูเฉลยไว้ และบันทึกคะแนนที่ได้ จากนั้นร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ และครูคอยให้
คําแนะนําและอธิบายเพิ่มเติม
5. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินความรู้ตนเอง หลังจากศึกษา
และทําแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรือ่ ง เลขยกกําลัง จบแล้ว
6. ในการทําแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกําลัง ขอให้นักเรียน
ลงมือทํากิจกรรมด้วยความตั้งใจ และมีความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง
6

ขั้นตอนการเรียน
โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์

อ่านคําแนะนําสําหรับนักเรียน

ทําแบบทดสอบก่อนเรียน

ศึกษามาตรการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด
จุดประสงค์การเรียนรู้

ศึกษาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์โดย
การปฏิบัติกิจกรรม ไม่ผ่านเกณฑ์
- ศึกษาเนื้อหา
- ปฏิบัติกิจกรรม/แบบฝึกทักษะ
- ตรวจกิจกรรม/แบบฝึกทักษะ

ทําแบบทดสอบหลังเรียน ประเมินผล

ศึกษาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
ชุดต่อไป ผ่านเกณฑ์
7

มาตรฐานการเรียน/ ตัวชี้วัด
จุดประสงค์การเรียนรู้

สาระ/ มาตรฐาน
สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใช้จํานวน
ในชีวิตจริง

ตัวชีว้ ัด
มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็น
จํานวนตรรกยะและจํานวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถหาผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหารของจํานวนจริงที่อยู่ใน
รูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะได้
8

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม

คําชี้แจง 1. แบบทดสอบก่อนเรียนนี้เป็นแบบปรนัยเลือกตอบมี 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ข้อ


ใช้เวลา 20 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน
2. จงเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อละคําตอบเดียว แล้วทําเครื่องหมายกากบาท (X)
ทับตัวอักษร ก, ข, ค หรือ ง ลงในกระดาษคําตอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน คือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน

1. b5  b5 มีค่าตรงกับข้อใด
ก. 2b5
ข 2b10
ค b10
ง b25

2. 3 y  2 y 8  มีค่าตรงกับข้อใด
ก.  5 y 8
ข.  6 y 9
ค. y 8
ง. 5y 9
9
3. 4 x 8xy 16 x y  มีค่าตรงกับข้อใด
2 3 3 5

ก. 26 x 5 y15
ข. 27 x 6 y 8
ค. 28 x 7 y 8
ง. 29 x 6 y 8

4.  x  มีค่าตรงกับข้อใด
3 3

 x  4 4

1
ก. 
x4
1
ข.
 x 7
ค. x3
ง. x7

3 2 4  4 3 5
5.  x y  x y  มีค่าตรงกับข้อใด
 5   15 
ก.  4
15xy
ข.  9
4 xy
ค. 4xy
15
ง. 9xy
4
10
9 6  99
6. มีค่าตรงกับข้อใด
94
ก. 322
ข. 333
ค. 338
ง. 354

2
 m 2 n 3 
7.  3 1  มีค่าตรงกับข้อใด
m n 
n4
ก.
m10
m7
ข.
n5
n8
ค.
m2
m10
ง.
n8

2
 3
8. 
 4  2 y 6  มีค่าตรงกับข้อใด
2

y 
ก.  46
y
ข.  6 y 20
36
ค.
y4
36
ง.
y 20
11
9. 
a 2b   ab 4  มีค่าตรงกับข้อใด
 a 3 b 2
ก. b3
ข. 2
a b2
ค.  ab 3
 b2
ง.
a3

10.  15 x5 y1 มีค่าตรงกับข้อใด


3 4 6

 1 x y
ก.  xy 5
y5
ข.  2
x
7
y
ค.
x
ง. xy 8
12

กระดาษคําตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนเต็ม 10

คะแนนที่ได้

เกณฑ์การประเมิน
10 คะแนน ระดับ 4 ดีเยี่ยม
8-9 คะแนน ระดับ 3 ดี (ผ่านเกณฑ์)
4-7 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
0-3 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง
13

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม

1. ค
2. ข
3. ง
4. ข
5. ข
6. ก
7. ง
8. ง
9. ก
10. ค
14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบก่อนเรียนอย่างละเอียด

1. b 5  b 5 มีค่าตรงกับข้อใด
ตอบ ค b10

วิธีทํา b5  b5 = b55

= b10

2. 3 y    2 y 8  มีค่าตรงกับข้อใด
ตอบ ข.  6 y 9

วิธีทํา 3 y    2 y 8  =  23y18
=  6 y9

3. 4 x 2 8xy 3 16 x 3 y 5  มีค่าตรงกับข้อใด


ตอบ ง. 29 x 6 y 8

วิธีทํา 4 x 8xy 16 x y  = 2


2 3 3 5 2
 23  2 4 x 213  y 35 
= 29 x 6 y 8
15
4.  x  มีค่าตรงกับข้อใด
3 3

 x  4 4

1
ตอบ ข.
x7

วิธีทํา  x  =  x 
3 3 9

 x 
4 4
 x  16

x9
=
x16
1
=
 x 169
1
=
 x 7

3 2 4  4 3 5
5.  x y  x y  มีค่าตรงกับข้อใด
 5   15 
9
ตอบ ข. 
4 xy

3 2 4  4 3 5   3 15  23 45


วิธีทํา  x y  x y  =   
 x y 
 5   15   5 4
4
=  x 1 y 1
9
9
= 
4xy
16
9 6  99
6. มีค่าตรงกับข้อใด
94
ตอบ ก. 322

9 6  99
วิธีทํา = 9 69  4
94
= 911  3 2  11
 3 22

2
 m 2 n 3 
7.  3 1  มีค่าตรงกับข้อใด
m n 
m10
ตอบ ง.
n8

2
 m 2 n 3  m 4 n 6
วิธีทํา  3 1  = 6 2
 m10 n 8
m n  m n
m10
=
n8

2
 3
8. 
 4  2 y 6
2
 มีค่าตรงกับข้อใด
y 
ตอบ ง. 3620
y

2
 3
วิธีทํา  4  2 y 6   =
2 9
8
 4 y 12 = 36
y 812
y  y
36
=
y 20
17
9. 
a 2b   ab 4  มีค่าตรงกับข้อใด
 a 3 b 2
ตอบ ก. b3

วิธีทํา 
a 2b   ab 4  = a 2  b   a   b 4
1

 a 3 b 2  a 3  b 2
a 2  b1 42
=
 a 31
a 2  b3
=
 a 2
a 2  b3
=
a2
= a 2 2  b 3
= a 0b 3
= b3

10.  1 x 4 y 6
3
มีค่าตรงกับข้อใด
 15 x 5 y 1
y7
ตอบ ค.
x

วิธีทํา  13 x 4 y 6 = y 61



y7
 15 x 5 y 1  153  x 54  12 x
y7
=
x
18

ใบความรู้ที่ 1
เลขยกกําลัง
เลขยกกําลังทีม่ ีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม
หัวข้อนี้เป็นหัวข้อทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนในเรื่องเลขยกกําลังที่มเี ลขชี้กําลัง
เป็นจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบและศูนย์

บทนิยาม ถ้า a เป็นจํานวนใด ๆ และ n เป็นจํานวนเต็มบวก แล้ว


a n  a  a  a...  a

n ตัว

เรียก an ว่า เลขยกกําลัง มี a เป็นฐาน (Base) และ


n เป็นเลขชี้กําลัง (Exponent)
เลขชี้กําลัง
เช่น 25  2  2  2  2  2 25
ฐาน

3 3 เลขชี้กําลัง
 1  1  1  1  1
        
 2  2  2  2  2 ฐาน

เลขชี้กําลัง
y4  y  y  y  y y4
ฐาน
19
สมบัตขิ องเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม
กําหนดให้ a, b เป็นจํานวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n เป็นจํานวนเต็ม

1. a m  a n  a m n
ฐานเหมือนกันสามารถนํา
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต้อไปนี้ เลขชี้กําลังมาบวกกันได้เลย
1. 33  34  35  33 45 โดยที่ฐานยังเหมือนเดิม
= 312

2.  2   2 3   27   2137
=  2 11

2 5 6 10 25 610
2 2 2 2 2
3.           
3 3 3 3 3
23
2
=  
3

4. a n3  a 2 n  a 3n1  a n2  a n3n312


= a 5 n 2

2. a 
m n
 a mn

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. 24 3  243  212
5
 3  2    3  25   3 10
2.         
 4    4   4 
20
3. 2 2  8 4  16 2 3  2 2 3  2 3 4   2 4 2 
3 3

ทําให้เลขฐาน
เหมือนกัน = 2 23  2343  2 423
= 26  236  2 24
= 2636 24
= 266

4. 33  9 2  27 2 2  33 2  32 2   33 2 


2 2

ทําให้เลขฐาน = 332  3222  3322


เหมือนกัน = 36  38  312
= 36812
= 326

a mn เมื่อ m > n


3. am  an 1 เมื่อ m = n
1
m n
เมื่อ m<n
a

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. 57  52  572  55
2. 7 3  7 3  7 33  7 0  1
21
3.  3
4

1

1

1
 3  3
6 6 4
 32 9

4. 3n  4  9 n  3 3n  4  32

  n 3

27 n 2 33
n 2
  ใช้สมบัติ
n4 2 n6
3
= 3
3 3n6 a  m n

ใช้สมบัติ 3n 4 2 n6 33n10


=  3n6
33n6 3
= 33 n 103 n 6

= 34
ฐานเหมือนกัน ถ้าหารกัน
นําเลขชี้กําลังมาลบกัน

4. a  b n  a n  b n

ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. 2ab 2 2  2 2 a 2b 22 ใช้สมบัติ
= 4a 2 b 4
2.  2a 3    2  a
2 2 32

= 2a 6

3.  3a 2b 3c 4    3  a
3 3 23
 b 33  c 43
= 3 3a 6b 9 c12
22

n
a an
5.    n
b b ใช้สมบัติ

ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
2
 3a  32 a 2 9 a 2
1.  3   6
b  b 32 b

2.
 2

4

  4
2  4


22 1
 4 2 
1
 2  2 2 4
2 4
 
2 2
 4a 2 8a 1   4a 2 b 4 
3.  3  4    3  1 
 b b   b 8a 
2
 a 21 
=  34 
 2b 
2
 a3 
=  7 
 2b 
a 32
=
2 2 b 72
a6
=
4b14
23

แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1

จงหาผลลัพธ์ของแต่ละข้อต่อไปนี้

1. 0.24  0.25 6.  6a 4 
2

7.  24   42 3


6 5 2
 1  1
2.    
 3  3

3. 4 21  417
8. 8 2  9 3
2   3 
2 3 2 3
24
4. 9 35  9 37
9.  
1253  49 2
3

5   7 
4 3 3  2

5. 3ab 2 3
10. 9 2 a 4 bc 
2

32 a 3 bc 
3
25

ใบความรู้ที่ 2

สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกําลัง

1. a0  1 เมื่อ a0
1
2. a n  เมื่อ a0 และ n เป็นจํานวนเต็ม
an
n
a bn
3.    เมื่อ a  0, b  0 และ n เป็นจํานวนเต็ม
b an

ตัวอย่างที่ 6 จงทํา 22 x 3 y 4 3 ให้เป็นผลสําเร็จและมีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็มบวก


วิธีทํา 22 x 3 y 4 3 = 26  x9  y 12
26 x 9 1
= ใช้สมบัติ a n 
y12 an

ตัวอย่างที่ 7 ค่าของ เป็นกี่เท่าของ 1514  85


1016  9 7

= 2  514  33 5 = 214  514  315


2 7
1016  9 7
16 16 16 14
วิธีทํา
15  85 3  5  2  3 5 2
14

= 21615  51614  31414


= 2  5 2  30
= 2  25  1
= 50
26
a 2 n1  a n 2
ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของ 3n 3
a a
2 n 1 n 2
a a a 2 n1 n2
วิธีทํา =
a 3n  a 3 a 3 n 3
= a 3 n  3 3 n  3 ใช้สมบัติ a0  1
= a0
= 1

a 7 a 6
ตัวอย่างที่ 9 ถ้า a0 จงเขียน ให้อยู่ในรูปอย่างง่ายและเลขชี้กําลังเป็นบวก
a5
a 7 a 6 a 76  13
วิธีทํา = = a5
a5 a5 a
= a 135 = a 18
1
=
a 18

a 2b 5
ตัวอย่างที่ 10 จงทํา ให้อยูใ่ นรูปเลขชี้กําลังเป็นบวก เมื่อ a และ b0
a 1b 3
a 2b 5
วิธีทํา = a 21  b 53
a 1b 3
= a 3 b 2
a3
=
b2

ตัวอย่างที่ 11 จงหาค่าของ 3n34  543n เมื่อ n เป็นจํานวนเต็ม


3 n4 4 3 n

5   3

วิธีทํา  3  5
3n4 4 3 n
=  33n443n  543n3n4
  3
3 n4  4 3 n
5
=  36 n  5 6 n8
=  36 n  586 n
27

แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2

1. จงหาผลลัพธ์ในช่องว่างที่กําหนด

1.1 ab 5 = 4b ........................

1.2 15c 3 d = 3c ......................................


2

1.3 42 a 2b 3 = 3a 2ab ........................................


1 2

 18 x 3 y 5  x 1 z 4 
1.4
z2
=  6

 9 x Z  3 ...................................
 y 

1.5 72 m 5
n8
= 3mn  2m .................................
2 2 3

1.6 24 x 6
y
=  3x y ..............................
2 2
28
2. จงทําให้อยู่ในรูปอย่างง่าย

1
 b 3n  b 4 n  b 2 n4 b n 4
2.1  5 n n  2.3 
 b .b  c 4 n1 c n2

n
 a   ab  c
3n 2 n
16 n12  2 4 n1  8n2
2.2  3      2.4
b   c  a 43n1
29

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง เลยยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม

คําชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียนนี้เป็นแบบปรนัยเลือกตอบมี 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ข้อ


ใช้เวลา 20 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน
2. จงเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อละคําตอบเดียว แล้วทําเครื่องหมายกากบาท (X)
ทับตัวอักษร ก, ข, ค หรือ ง ลงในกระดาษคําตอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน คือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน

1. 2 x 3x x  มีค่าตรงกับข้อใด


2 3

ก.  6x
ข 5x 2
ค 4x
ง 6x 2

2. 3a b2ab  12a b


5 2 3 3
มีค่าตรงกับข้อใด
a2
ก.
2b 2
a3
ข.
2b 2
a 3b 2
ค.
2
ง. 2 a 3b 2
30
3. ab   3a b  มีค่าตรงกับข้อใด
3 2 2 1

a b 
2 1 1

1
ก. 
3a 2 b 6
3a 2
ข.  3
b
1
ค.
3a 2 b 6
3
ง.
ab 5

4.  4 12   16 12  มีค่าตรงกับข้อใด
 x   x 
 5   25 
ก. 4
5
12
ข. 5x
4
5
ค.
4 x 24
5x
ง.
4

5. ข้อใดถูกต้อง
ก. 32 x  32 x  3
ข.  x2  x2 1  1
42  47
ค. 10
 210
4
9m 4 n 3 3n 4
ง. 
12m 1n 1 4m5
31
2 n
 y 2  y 3 
6.   มีค่าตรงกับข้อใด
 y 
ก. y 4n
ข. y3n
ค. y
ง. 1

4n  22n
7. มีค่าตรงกับข้อใด
8n
ก. 22n
ข. 2n
ค. 2
ง. 1

32 n 92n
8. .  มีค่าตรงกับข้อใด
3 
2 n 3n
ก. 1
3n
ข. 1
ค. 3n
ง. 33n
32

9. a a  
2 1 1
2

มีค่าตรงกับข้อใด
a a  
2 1  2
1

ก. 1
a10
ข. 1
a6
ค. 1
a
ง. a

1
 x 2 y 2   y 3 
10.     4 3  มีค่าตรงกับข้อใด
 27   3 x 
xy
ก.
37
y
ข. 7 5
3 x
y
ค.
27x
yx
ง.
3
33

กระดาษคําตอบแบบทดสอบหลังเรียน

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนเต็ม 10

คะแนนที่ได้

เกณฑ์การประเมิน
10 คะแนน ระดับ 4 ดีเยี่ยม
8-9 คะแนน ระดับ 3 ดี (ผ่านเกณฑ์)
4-7 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
0-3 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง
34

ภาคผนวก
35

เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะที่ 1

จงหาผลลัพธ์ของแต่ละข้อต่อไปนี้

1. 0.24  0.25 = 0.245 6.  6a 4  =  6 a


2 2 42

= 0.29 = 6a 8

65
7.  24   42 3 =  242  4 23
6 5 2
 1
2.   1 
  =  1
 
 3  3  3
11
=  2 8  4 6
 1
=   = 28  2 2 6
 3
= 28  212
= 2812
= 220

3. 4 21  417 = 4 2117 8. 82  9 3
= 2  3 
3 2 2 3

= 22 4 2   3 
2 3 2 3 2  6  3 6
26  36
= 28 =
2 6  3 6
= 2 6 6  1
= 212
36
  = 5   7  
3
1 2 2
4. 3 3
3
9 35  9 37 = = 1253  49 2
9 3735 9.
1 5   7 
4 3 3  2
5 7 12 6

= 59  7 12
92 =
1 512  7 6
=
3 2 2
= 5912
1 7 612
= 5 21
34 =
718

3ab  = 3 a b 9 2 a 4 bc 
= 3  a  b c
2 2 2
5. 2 3 3 3 23
10.
4 2 2

32 a 3 bc 
3 3 3
= 27 a 3b 6 3 a b c
2 3

34 a 4b 2 c 2
=
32 a 3b 3c 3
a 43  b 23  c 23
=
32  4
abc
=
36
37

เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2

1. จงหาผลลัพธ์ในช่องว่างที่กําหนด

1.1 ab 5 = 4b  1 ab 4 


4 

1.2 15c 3 d = 3c 5cd 


2

1.3 42 a 2b 3 = 3a 2ab 7a b 


1 2 2 5

 18 x 3 y 5
 9 x  x y z  2 x 2 z 
1 4
1.4 = 6z
3
 2 
z2   y 

1.5 72 m 5
n8
= 3mn  2m 12n 
2 2 3 12

1.6 24 x 6
y
=  3x y  8x
2 2 4
y 3 
38
2. จงทําให้อยู่ในรูปอย่างง่าย

1 1
 b 3n  b 4 n   b 3n 4 n  b 2 n4 b n 4 b 2 n4 c n2
2.1  5 n n  =  5 n n  2.3  = 
 b .b  b  c 4 n1 c n2 c 4 n1 b n4
b 7 n  1  = b 2 n4n4  c n24 n1
= =
b 6 n 1 b n8  c 3n 1
b 7 n b n8
= =
b 6 n c 3n1
1
= 6 n  7 n
b
1
=
bn
n
 a   ab 
3n
c
2 n
16 n12  2 4 n1  8n2
2.2  3      2.4
b   c  a 43n1

= a a b
n 3n 3n

c 2 n 2 4 n2  2 4n1  23 n2
b3n  c 3n a 2 n = 2 
2 3 n 1

a 4 n a 2 n 2 4 n4 n3n816
= 
c 3n c 2 n 2 6 n2
=
a 4 n 2 n
= 2 3 n3
c 3n2 n
a 2n = 2 6 n2
=
cn 23 2
n
 a2  = 2 6 n 3 n
=  
 c  1
3 n 5
= 2
39

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนเต็ม

1. ง
2. ค
3. ก
4. ค
5. ค
6. ก
7. ข
8. ก
9. ข
10. ก
40

เฉลยคําตอบแบบทดสอบหลังเรียนอย่างละเอียด

1. 2 x 2 3x 3 x  มีค่าตรงกับข้อใด


ตอบ ง 6x 2

วิธีทํา 2 x 3x x  = 2  3x


2 3 2 31

= 6x 2

2. 3a b2ab  12a b


5 2 3 3
มีค่าตรงกับข้อใด
a 3b 2
ตอบ ค.
2

6a 513  b12 3


วิธีทํา 3a b2ab  12a b
5 2 3 3
=
12
6 3 1 23
= a b
2
3 2
= ab
2
41
3. ab   3a b  มีค่าตรงกับข้อใด
3 2 2 1

a b  2 1 1

1
ตอบ ก. 
3a 2 b 6

วิธีทํา ab   3a b =
3 2 2 1
a 2b 6   3 a 2b 1
1

a b  2 1 1 a 2b1
a 22  b 6 1
=
 3a 2b1
a 0 b 7
=
 3a 2b1
1
=  2 6
3a b

4.  4 12   16 12  มีค่าตรงกับข้อใด
 x   x 
 5   25 
5
ตอบ ค.
4 x 24

วิธีทํา  4 12   16 12 
 x   x  =  4 25  1212
  x  
 5   25   5 16 
24
= 5x
4
5
= 24
4x
42
5. ข้อใดถูกต้อง
42  47
ตอบ ค. 10
 210
4

วิธีทํา ก. 32 x  32 x  3

32 x 2 x  3
30  3
1 3 (ข้อ ก ผิด)

ข.  x 2  x 2 1  1
 x 22  1
 x 0  1
1  1 (ข้อ ข ผิด)

42  47
ค. 10
 210
4
4 2710  210
45  210
2 2 5
 210
210  210 (ข้อ ค ถูก)

9m 4 n 3 3n 4
ง. 
12m 1n 1 4m5
3n 31 3n 4

4m 14 4m5
3n 4 3n 4

4m 3 4 (ข้อ ง ผิด)
43
2 n
 y 2  y 3 
6.   มีค่าตรงกับข้อใด
 y 
ตอบ ก. y 4n

 y 2  y 3 
2 n
y 4 n  y 6 n
วิธีทํา   =
 y  y 2 n
= y 4 n6 n2 n
= y 4 n8 n
= y 4n

4n  22n
7. มีค่าตรงกับข้อใด
8n
ตอบ ข. 2n

4n  22n
= 2   2
2 n 2n
วิธีทํา
8n 2  3 n

22n  22n
=
2 3n
= 2 4 n3n
= 2n
44
32 n 92n
8. .  มีค่าตรงกับข้อใด
3  2 n 3n
ตอบ ก. 1
3n

วิธีทํา 32 n 92n
 n = 32 n

32   2n

3  2 n 3 3 2 n 3 n
= 3 2 n  2 n  34 n  n
= 3 4 n  35 n
= 3 4 n 5 n
1
= 3 n 
3n

9. a a  
2 1 1
2

มีค่าตรงกับข้อใด
a a  
2 1  2
1

ตอบ ข. 1
a6

วิธีทํา a a  
2 1 1
2

= a  a 
2 1 2

a 
3 2

a a  
2 1  2
1
a a 
2 2 1
a 
0 1

a 6 1
= 0
 6
a a
45
1
 x 2 y 2   y 3 
10.     4 3  มีค่าตรงกับข้อใด
 27   3 x 
xy
ตอบ ก.
37

1
 x 2 y 2   y 3 
วิธีทํา     4 3 
 27   3 x 
x 2 y 2 y 3
=  4 3
27 3 x
2 2
x y 34 x 3
=  3
27 y
x 23  y 23
=
33 4
xy
=
37
46

บรรณานุกรม

กนกวลี อุษณกรกุล และรณชัย มาเจริญทรัพย์. (2554). แบบฝึกและประเมินผลการเรียนรู้


คณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ: เดอะบุ๊คส์.
กนกวลี อุษณกรกุล, รณชัย มาเจริญทรัพย์ และเรณู สุทธิวารี. (2554). คู่มือเตรียมสอบ
คณิตศาสตร์ ม.4-6 รายวิชาพื้นฐาน เล่ม 2. กรุงเทพฯ: เดอะบุ๊คส์.
จักรรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. (2553). คู่มือประกอบการเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.4-6
เล่ม 2. กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา.
ชาย พงษ์พัฒนาศิลป์. (2554). พิชิตโจทย์ทําเซียนคณิตศาสตร์ เลขยกกําลัง กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
บัณฑิตแนะแนว. (2554). หนังสือคู่มือประกอบการเรียน เพื่อเตรียมสอบแนวใหม่ TOP
คณิตศาสตร์ ม.3. กรุงเทพฯ: บัณฑิตแนะแนว.
พิพัฒน์พงศ์ ศรีวิศร. (2553). คู่มือคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6.
กรุงเทพฯ: เดอะบุ๊คส์.
ศุภกิจ เฉลิมวิสุตม์กุล. (2552). คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เทอม 1. กรุงเทพฯ:
แม็ค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สุนันท์ ปัทมพรหม และคณะ. (2554). คณิตศาสตร์ ค 011 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม.3).
กรุงเทพฯ: นิยมวิทยา.

You might also like