You are on page 1of 43

คู่มือการใช้หลักสูตร

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1
2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3

สารบัญ
คํานํา
ที่มาของการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 4
• ผลการประเมินการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนระดับชาติและนานาชาติ 5
คู่มือการใช้หลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) • ผลการวิจัยและติดตามการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 6
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายนี้ • ผลการวิเคราะห์และประเมินร่างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 6
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้กับสถานศึกษาและผู้สอนคณิตศาสตร์ สามารถจัดการเรียนรู้ให้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาคณิตศาสตร์จากต่างประเทศ
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป้าหมายหลักสูตร 7
คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน การเปลี่ยนแปลงของหลักสูตร 8
• การเปลี่ยนแปลงด้านการจัดสาระ 8
พุทธศักราช 2551 คูม
่ อ
ื การใช้หลักสูตรเล่มนีไ้ ด้เสนอทีม
่ าของการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร • การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างรายวิชาและโครงสร้างเวลาเรียน 8
เป้าหมายหลักสูตร การเปลีย
่ นแปลงของหลักสูตร สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ด
ั และ • การเปลี่ยนแปลงด้านเนื้อหา 9
สาระการเรี ย นรู้ แ กนกลาง การวั ด ผลประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ รวมทั้ ง ความรู้ เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์ 10
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 11
เพิ่มเติมสำ�หรับผู้สอนคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 12
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอขอบคุณครู อาจารย์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนคณิตศาสตร์ 13
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์และคณิตศาสตร์ศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ ที่ให้ คุณภาพผู้เรียน 13
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 14
ความเห็นและข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ ในการจัดทำ�คูม
่ อ
ื การใช้หลักสูตร สสวท. หวังเป็น คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 18
อย่างยิ่งว่า คู่มือการใช้หลักสูตรเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สอน สถานศึกษา และหน่วยงาน • เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 18
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ในการวางแผนและจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เปิดโอกาสให้ • สาระคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 19
• คุณภาพผู้เรียน 20
ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้และทักษะที่จำ�เป็นสำ�หรับการใช้ชีวิตและการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น • ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม 21
ทั้งนี้ หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำ�ให้คู่มือการใช้หลักสูตรเล่มนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โปรดแจ้งให้ ข้อเสนอแนะการจัดรายวิชา 28
สสวท. ทราบด้วย จักขอบคุณยิ่ง ผังสาระการเรียนรู้ 30
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 40
• แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 41
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 44
ตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
• การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำ�หรับผู้เรียนทั่วไป 44
• การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำ�หรับผู้เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ 45
ความรู้เพิ่มเติมสําหรับผู้สอนคณิตศาสตร์ 52
(นางพรพรรณ ไวทยางกูร) • การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 52
• การใช้เทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 53
ผู้อํานวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
• แนวทางการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 55
ภาคผนวก 73
• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ช่วยในการสอนคณิตศาสตร์ 73
• เว็บไซต์สื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ช่วยในการสอนคณิตศาสตร์ 74
• อภิธานศัพท์ 79
บรรณานุกรม 82
คณะผู้จัดทํา 83
4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 5

ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ที่จำ�เป็น


สำ�หรับศตวรรษที่ 21 (Partnership for the 21st Century Skills, 2016) ได้แก่
การคิ ด แบบมี วิ จ ารณญาณและการแก้ ปั ญ หา (Critical Thinking and
Problem-Solving) การสือ
่ สาร (Communication) การร่วมมือ (Collaboration)
และการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ควบคู่
1 ที่มาของการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร
ไปกับความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
ในการพัฒนามาตรฐาน ตัวชีว้ ด
ั และสาระการเรียนรูแ
้ กนกลาง กลุม
่ สาระ
นั บ ตั้ ง แต่ ก ารปฏิ รู ป การศึ ก ษาในพุ ท ธศั ก ราช 2542 เป็ น เวลากว่ า
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
15 ปี แ ล้ ว ที่ ป ระเทศไทยได้ มี ก ารประกาศใช้ ห ลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
การศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สสวท. ได้ศก
ึ ษาผลการประเมินการเรียน
พุทธศักราช 2544 และปรับปรุงเป็นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนระดับชาติและนานาชาติ ผลการวิจัยและติดตามการ
พุทธศักราช 2551 ในขณะที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น
ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และผลการ
ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้าน
วิเคราะห์และประเมินร่างหลักสูตรกลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทีม
่ ค
ี วามรูแ
้ ละนวัตกรรมใหม่เกิดขึน
้ อย่างหลากหลาย
พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในเวลาอันรวดเร็ว ส่งผลให้หลายประเทศทั่วโลกมีการพัฒนาด้านการศึกษา
โดยผูเ้ ชีย
่ วชาญด้านการศึกษาคณิตศาสตร์จากต่างประเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพือ
่ เตรียมประชากรให้พร้อมกับการ
เปลี่ ย นแปลง จึ ง มี ค วามจำ � เป็ น ที่ ป ระเทศไทยจะต้ อ งมี ก ารปรั บ หลั ก สู ต ร ผลการประเมินการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนระดับชาติและนานาชาติ
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับความรู้ ระดับชาติ ผลการประเมินการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนจากการทดสอบ
และทักษะที่จำ�เป็นในโลกปัจจุบันและอนาคต ระดับชาติ (National Testing: NT) บ่งชี้ให้เห็นคะแนนเฉลี่ยความสามารถ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ในฐานะ พื้นฐานในด้านคำ�นวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning Ability)
หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการพั ฒ นาหลั ก สู ต รและการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ซึ่งเป็นความสามารถพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย ได้พัฒนาหลักสูตรคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทั่วประเทศ ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 ซึ่งเป็นมาตรฐานขั้นต่ำ�
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีขน
ึ้ เพือ
่ ให้ทน
ั สมัยและสอดคล้องกับการเปลีย
่ นแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านคำ�นวณต่ำ�กว่าทุก ๆ ด้าน
ดังกล่าว โดยพิจารณาร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ที่ เช่ น เดี ย วกั บ การทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (Ordinary
กำ�หนดเป้าหมายและลักษณะของคนไทยใน 20 ปีข้างหน้า รวมถึงแผนพัฒนา National Educational Test: O-NET) ที่บ่งชี้ว่าผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ที่มุ่งให้การศึกษา ผูเ้ รียนชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 และผูเ้ รียนชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลีย
่ ของ
และการเรียนรู้มีคุณภาพได้มาตรฐานสากล พัฒนาคนไทยให้มีทักษะการคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 ซึ่งเป็นมาตรฐานขั้นต่ำ�
สั งเคราะห์ สร้ า งสรรค์ ต่ อยอดสู่น วัต กรรม มีทักษะชีวิต และอาชีพ ทักษะ
สารสนเทศ สือ
่ และเทคโนโลยี มีการเรียนรูต
้ อ
่ เนือ
่ งตลอดชีวต
ิ และส่งเสริมระบบ ระดับนานาชาติ ผลการประเมินการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ของผูเ้ รียนในโครงการ
การเรียนรู้ที่บูรณาการระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ TIMSS (Trends in International Mathematics and Science Study)
คณิตศาสตร์ (STEM Education) เพื่อพัฒนาผู้สอนและผู้เรียนในเชิงคุณภาพ ค.ศ. 2011 โดย IEA (International Association for the Evaluation of
โดยเน้นการเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้กับการทำ�งาน (Work Integrated Educational Achievement) บ่ ง ชี้ ว่ า ผู้ เ รี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 และ
Learning) นอกจากนี้ สสวท. ได้ศึกษาแนวโน้มด้านการศึกษาคณิตศาสตร์ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 ของประเทศไทยมี ค ะแนนเฉลี่ ย คณิ ต ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี พบว่าประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกให้ความสำ�คัญกับ ทั้งในด้านเนื้อหาและพฤติกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับต่ำ� (Low International
6 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 7

Benchmark) รวมถึงผลการประเมินการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ของผูเ้ รียนในโครงการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์และครู พร้อมทั้งได้ทำ�ประชาพิจารณ์เพื่อ
TIMSS ค.ศ. 2015 ทีแ
่ สดงให้เห็นว่าผูเ้ รียนชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ของประเทศไทย รวบรวมความคิ ด เห็ นจากบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การศึ กษา และร่ ว มกั บ CIE
ยังคงมีคะแนนเฉลี่ยคณิตศาสตร์ทั้งในด้านเนื้อหาและพฤติกรรมการเรียนรู้ (Cambridge International Examinations) ซึ่งเป็นหน่วยงานของสหราช
อยู่ในระดับต่ำ� (Low International Benchmark) นอกจากนี้ผลการประเมิน อาณาจักรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการประเมินระบบการศึกษาและการพัฒนา
การเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ข องผู้ เ รี ย นในโครงการ PISA (Programme for หลักสูตรเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เพือ
่ ประเมินคุณภาพของร่างหลักสูตร
International Student Assessment) ซึ่งเป็นโครงการประเมินความสามารถ โดย CIE ได้พจิ ารณาองค์ประกอบหลักในการจัดการเรียนรูท
้ งั้ 3 ด้าน คือ หลักสูตร
ในการใช้ความรูแ
้ ละทักษะของผูเ้ รียนทีม
่ อ
ี ายุ 15 ปี ในด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล พบว่า หลักสูตรนี้สะท้อนถึงวิธี
และวิทยาศาสตร์ จัดโดย OECD (Organisation for Economic Co-operation การสอนที่ทันสมัย ครอบคลุมเนื้อหาที่จำ�เป็น ทัดเทียมนานาชาติ มีการเชื่อมโยง
and Development) ก็บ่งชี้เช่นกันว่า ผู้เรียนไทยที่มีอายุ 15 ปี ซึ่งส่วนใหญ่ เนื้อหากับชีวิตจริง เน้นการพัฒนาทักษะต่าง ๆ ทั้งทักษะทางคณิตศาสตร์ และ
เรียนอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 4 มีคะแนนเฉลี่ยต่ำ�กว่า คะแนนเฉลี่ยของ ทักษะในศตวรรษที่ 21 มีการออกแบบหลักสูตรได้เหมาะสมกับระบบการศึกษา
OECD ทั้งใน ค.ศ. 2012 และ ค.ศ. 2015 ในโลกสมัยใหม่ โดยส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้สามารถ
ข้อมูลจากโครงการ PISA ใน ค.ศ. 2012 ยังมีข้อสังเกตว่า เวลาเรียน เตรี ย มความพร้ อ มให้ กั บ ผู้ เ รี ย นเพื่ อ ให้ เ ป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้ แ ละทั ก ษะทาง
คณิตศาสตร์ในโรงเรียนมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความสามารถทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเป็นผู้ที่มีความพร้อมในการทำ�งานหรือการศึกษาต่อในระดับ
และเมื่อพิจารณาเวลาเรียนคณิตศาสตร์ของผู้เรียนไทยกับผู้เรียนจากประเทศ ที่สูงขึ้น (Cambridge, 2015; Cambridge, 2016)
อืน
่ ๆ ทีเ่ ข้าร่วมการประเมิน พบว่าผูเ้ รียนไทยอายุ 15 ปี มีเวลาเรียนคณิตศาสตร์ จากข้อมูลดังทีก
่ ล่าวมาข้างต้น สสวท. จึงได้ก�ำ หนดเป้าหมายหลักสูตร
ต่อสัปดาห์น้อยกว่าเมื่อเทียบกับเวลาเรียนคณิตศาสตร์ของผู้เรียนประเทศอื่น ๆ กลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
ที่มีคะแนนเฉลี่ยคณิตศาสตร์ในอันดับต้น ๆ เช่น จีน สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
รวมถึงเวียดนาม

ผลการวิ จั ย และติ ด ตามการใช้ ห ลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
พุทธศักราช 2551 2 เป้าหมายหลักสูตร
ผลการวิจย
ั และติดตามการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 รายงานว่ามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมีมากและมี หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ความซ้ำ�ซ้อนในกลุ่มสาระ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เป็นหนึ่งใน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีเป้าหมายที่
กลุ่มสาระที่มีข้อเสนอแนะให้ทบทวนตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ (สำ�นักงาน ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบหลักสูตร ดังนี้
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2557) 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ในสาระคณิตศาสตร์
ที่จำ�เป็น พร้อมทั้งสามารถนำ�ไปประยุกต์ได้
ผลการวิเคราะห์และประเมินร่างหลักสูตรกลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ 2. มีความสามารถในการแก้ปญ
ั หา สือ
่ สารและสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เชื่อมโยง ให้เหตุผล และมีความคิดสร้างสรรค์
พุทธศักราช 2551 โดยผูเ้ ชีย
่ วชาญด้านการศึกษาคณิตศาสตร์จากต่างประเทศ 3. มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ เห็นคุณค่าและตระหนักถึงความสำ�คัญของ
ในการพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ด
ั และสาระการเรียนรูแ
้ กนกลาง คณิตศาสตร์ สามารถนำ�ความรูท
้ างคณิตศาสตร์ไปเป็นเครือ
่ งมือในการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร ในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น ตลอดจนการประกอบอาชีพ
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สสวท. ใช้ข้อมูลที่กล่าวมา 4. มีความสามารถในการเลือกใช้สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูล
ข้ า งต้ น มาประกอบการพั ฒ นาต้ น ร่ า งหลั ก สู ต รดั ง กล่ า ว โดยร่ ว มมื อ กั บ ที่เหมาะสมเพื่อเป็นเครื่องมือ ในการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำ�งาน และ
การแก้ปัญหาอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
8 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 9

3 การเปลี่ยนแปลงของหลักสูตร
การเปลี่ยนแปลงด้านเนื้อหา
จากข้อมูลผลการวิจัยข้างต้นและเป้าหมายของหลักสูตรกลุ่มสาระ
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ระดั บ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทำ�ให้หลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลง
มัธยมศึกษาตอนปลาย มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านเนื้อหาเพื่อเป็นพื้นฐาน
ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
ความรู้และสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ มีความสอดคล้องกับการศึกษาต่อ
ระดับอุดมศึกษาทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ สสวท. จึงได้คด
ั เลือกเนือ
้ หา
การเปลี่ยนแปลงด้านการจัดสาระ
ที่เหมาะสมและจำ�เป็นสำ�หรับผู้เรียน โดยเนื้อหาที่ปรากฏในสาระการเรียนรู้
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
แกนกลางของหลั ก สู ต รกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง
ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ระดั บ
พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มัธยมศึกษาตอนปลาย จัดเป็น 3 สาระ ได้แก่ จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและ
มี ก ารเปลี่ ย นแปลงจากสาระการเรี ย นรู้ แ กนกลางของหลั ก สู ต รแกนกลาง
เรขาคณิต และสถิติและความน่าจะเป็น โดยได้แยกทักษะและกระบวนการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
ทางคณิ ต ศาสตร์ อ อกจากสาระการเรี ย นรู้ ซึ่ ง ทั ก ษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ยังคงประกอบไปด้วย 5 ทักษะเดิม ได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสาร
และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิด
สร้ า งสรรค์ โดยกำ � หนดให้ มี ก ารประเมิ น ความสามารถด้ า นทั ก ษะและ สถิติและ
จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต
ความน่าจะเป็น
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ควบคูไ่ ปกับการประเมินด้านเนือ
้ หาสาระ ดังจะเห็น
ได้จากการเปลี่ยนแปลงของตัวชี้วัดที่ระบุไว้ในหลักสูตร
เนื้อหาที่ตัดออก
การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างรายวิชาและโครงสร้างเวลาเรียน ■■ การให้เหตุผล ■■ อัตราส่วน ■■ การสำ�รวจ
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตรีโกณมิติ ความคิดเห็น
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย กำ�หนดให้ผเู้ รียนทุกคนต้องเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐาน ให้ครบ เนื้อหาที่เพิ่ม - -
ทุกตัวชีว้ ด
ั ตามทีห
่ ลักสูตรกำ�หนดหรือสูงกว่าภายใน 3 ปี ซึง่ สถานศึกษาสามารถ ■■ ตรรกศาสตร์
นำ�มาตรฐานการเรียนรูแ
้ ละตัวชีว้ ด
ั ไปจัดรายวิชาให้ตรงตามชัน
้ ปีทก
ี่ �ำ หนด หรือ เบื้องต้น
ยืดหยุน
่ ระหว่างชัน
้ ปี โดยนำ�ไปจัดภาคเรียนใดหรือชัน
้ ปีใดก็ได้ ตามความเหมาะ ■■ ดอกเบี้ยและ
สมและศักยภาพของผู้เรียน สำ�หรับการจัดเวลาเรียนนั้น หลักสูตรกลุ่มสาระ มูลค่าของเงิน

การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง


การศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ก�ำ หนด
ให้เวลาเรียนสำ�หรับรายวิชาพืน
้ ฐานยืดหยุน
่ ใน 8 กลุม
่ สาระการเรียนรู้ และมีเวลา
เรียนรวมสำ�หรับรายวิชาพื้นฐาน 1,640 ชั่วโมง ใน 3 ปี
10 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 11

4 เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์ 5 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก�ำ หนดสาระ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก�ำ หนดสาระ
พื้นฐานที่จำ�เป็นสำ�หรับผู้เรียนทุกคนไว้ 3 สาระ ได้แก่ จำ�นวนและพีชคณิต และมาตรฐานการเรียนรู้พื้นฐานที่จำ�เป็นสำ�หรับผู้เรียนทุกคนไว้ ดังนี้
การวัดและเรขาคณิต และสถิติและความน่าจะเป็น โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้
สาระสำ�คัญดังนี้

จำ�นวนและพีชคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับ ระบบจำ�นวนจริง สมบัติเกี่ยวกับ สาระที่ 1 สาระที่ 2


จำ�นวนจริง อัตราส่วน ร้อยละ การประมาณค่า การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำ�นวน
จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต
การใช้จำ�นวนในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์
นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบี้ยและ
มูลค่าของเงิน ลำ�ดับและอนุกรม และการนำ�ความรูเ้ กีย
่ วกับจำ�นวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 มาตรฐาน ค 2.1
ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเน
ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้
การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับ ความยาว ระยะทาง น้ำ�หนัก
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ
พื้นที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่างๆ การคาดคะเน มาตรฐาน ค 2.2
สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
เกีย
่ วกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิต ิ รูปเรขาคณิตและสมบัตข
ิ องรูปเรขาคณิต เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของ
การนึกภาพ แบบจำ�ลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลง มาตรฐาน ค 1.2 รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
ทางเรขาคณิตในเรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และการนำ� เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้
ความรู้เกี่ยวกับการวัดและเรขาคณิต ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้

สถิติและความน่าจะเป็น เรียนรู้เกี่ยวกับ การตั้งคำ�ถามทางสถิติ มาตรฐาน ค 1.3


การเก็บรวบรวมข้อมูล การคำ�นวณค่าสถิติ การนำ�เสนอและแปลผลสำ�หรับ ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ สาระที่ 3
ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหา สถิติและความน่าจะเป็น
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่กำ�หนดให้
และช่วยในการตัดสินใจ
มาตรฐาน ค 3.1
เข้าใจกระบวนการทางสถิติ
และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น


ความน่าจะเป็น และนำ�ไปใช้
12 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 13

6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนำ� 7 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนคณิตศาสตร์
ความรูไ้ ปประยุกต์ ใช้ ในการเรียนรูส
้ งิ่ ต่าง ๆ เพือ
่ ให้ได้มาซึง่ ความรู้ และประยุกต์
ใช้ ในชีวต
ิ ประจำ�วันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในหลั ก สู ต รกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2560)
ในทีน
่ ี้ เน้นทีท
่ ก
ั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทจี่ �ำ เป็น และต้องการพัฒนา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก�ำ หนดสาระ
ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ได้แก่ความสามารถต่อไปนี้ และมาตรฐานการเรียนรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตัวชีว้ ด
ั และ
สาระการเรี ย นรู้ แ กนกลาง เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์
ในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ดังต่อไปนี้
1. ทำ�ความเข้าใจหรือสร้างกรณีทั่วไปโดยใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษากรณี
ตัวอย่างหลาย ๆ กรณี
2. มองเห็นว่าสามารถใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
1 2 3 4 5 3. มีความมุมานะในการทำ�ความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
4. สร้างเหตุผลเพื่อสนับสนุนแนวคิดของตนเองหรือโต้แย้งแนวคิดของผู้อื่น
การแก้ปัญหา การสื่อสารและ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์
อย่างสมเหตุสมผล
การสื่อความหมาย
5. ค้นหาลักษณะทีเ่ กิดขึน
้ ซ้�
ำ ๆ และประยุกต์ใช้ลก
ั ษณะดังกล่าวเพือ
่ ทำ�ความเข้าใจ
ทางคณิตศาสตร์
หรือแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ

การแก้ปัญหา เป็นความสามารถ การเชื่อมโยง เป็นความสามารถ


1 3
ในการทำ�ความเข้าใจปัญหา ในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็น 8 คุณภาพผู้เรียน
คิดวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหา เครื่องมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
และเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม เนื้อหาต่าง ๆ หรือศาสตร์อื่น ๆ ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อผ่านหลักสูตร จะมีคุณภาพดังนี้
โดยคำ�นึงถึงความสมเหตุสมผล และนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง ◆◆ เข้าใจและใช้ความรูเ้ กีย
่ วกับเซตและตรรกศาสตร์เบือ
้ งต้น ในการสือ
่ สาร
ของคำ�ตอบพร้อมทั้งตรวจสอบ และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
ความถูกต้อง การให้เหตุผล เป็นความสามารถ ◆◆ เข้าใจและใช้หลักการนับเบื้องต้น การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่
4 ในการให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผล ในการแก้ปัญหา และนำ�ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นไปใช้
สนับสนุนหรือโต้แย้งเพื่อนำ�ไปสู่ ◆◆ นำ�ความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำ�ลัง ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม ไปใช้ใน
การสื่อสารและการสื่อความหมาย
2 การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทาง การแก้ปัญหา รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน
ทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถ
คณิตศาสตร์รองรับ ◆◆ เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล นำ�เสนอข้อมูล
ในการใช้รูป ภาษาและสัญลักษณ์ และแปลความหมายข้อมูล เพื่อประกอบการตัดสินใจ
ทางคณิตศาสตร์ ในการสื่อสาร
การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถ
สื่อความหมาย สรุปผล และนำ�เสนอ 5 ในการขยายแนวคิดที่มีอยู่เดิม
ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน
หรือสร้างแนวคิดใหม่เพื่อปรับปรุง
พัฒนาองค์ความรู้
14 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 15

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
9 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ�ไปใช้
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ชั้น
มัธยมศึกษา หลักการนับเบื้องต้น

ปีที่ 4 1. เข้าใจและใช้หลักการบวกและการคูณ ▷▷ หลักการบวกและการคูณ


สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ ▷▷ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน
ในการแก้ปัญหา กรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด
การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ
▷▷ การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด
สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ความน่าจะเป็น


2. หาความน่าจะเป็นและนำ�ความรู้เกี่ยวกับ ▷▷ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
ความน่าจะเป็นไปใช้ ▷▷ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
เซต
1. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและ ▷▷ ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พื้นฐาน
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการสื่อสาร เกี่ยวกับเซต
และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ ▷▷ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ ชั้น
ของเซต มัธยมศึกษา
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ปีที่ 5
สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
▷▷ ประพจน์และตัวเชื่อม
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน
(นิเสธ และ หรือ ถ้า...แล้ว... ก็ต่อเมื่อ)
การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ
สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เลขยกกำ�ลัง
1. เข้าใจความหมายและใช้สมบัติเกี่ยวกับ ▷▷ รากที่ n ของจำ�นวนจริง เมื่อ n เป็น
การบวก การคูณ การเท่ากัน จำ�นวนนับที่มากกว่า 1
และการไม่เท่ากันของจำ�นวนจริงในรูปกรณฑ์ ▷▷ เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนตรรกยะ
และจำ�นวนจริงในรูปเลขยกกำ�ลัง
ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนตรรกยะ
16 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 17

ชั้น
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้ มัธยมศึกษา
ปีที่ 6
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

ฟังก์ชัน
1. ใช้ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันอธิบาย ▷▷ ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สถานการณ์ที่กำ�หนด (ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกำ�ลังสอง


ฟังก์ชันขั้นบันได ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล) สถิติ
1. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำ�เสนอ ▷▷ ข้อมูล
ข้อมูล และแปลความหมายของค่าสถิติ ▷▷ ตำ�แหน่งที่ของข้อมูล
ลำ�ดับและอนุกรม เพื่อประกอบการตัดสินใจ ▷▷ ค่ากลาง (ฐานนิยม มัธยฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต)
2. เข้าใจและนำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและ ▷▷ ลำ�ดับเลขคณิตและลำ�ดับเรขาคณิต ▷▷ ค่าการกระจาย (พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
อนุกรมไปใช้ ▷▷ อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต ความแปรปรวน)
▷▷ การนำ�เสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
▷▷ การแปลความหมายของค่าสถิติ

มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำ�หนดให้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน
1. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับดอกเบี้ยและ ▷▷ ดอกเบี้ย
มูลค่าของเงินในการแก้ปัญหา ▷▷ มูลค่าของเงิน
▷▷ ค่ารายงวด
18 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 19

10 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม สาระคณิตศาสตร์เพิ่มเติม

คณิตศาสตร์เพิ่มเติมจัดทำ�ขึ้นสำ�หรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา เป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียนในคณิตศาสตร์เพิ่มเติม มี 2 ลักษณะ
ตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ที่จำ�เป็นต้องเรียนเนื้อหาในสาระ คือ เชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ในคณิตศาสตร์พื้นฐาน เพื่อให้เกิดการต่อ
จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิตแ
ิ ละความน่าจะเป็น รวมทัง้ ยอดองค์ความรูแ
้ ละเรียนรูส
้ าระนัน
้ อย่างลึกซึง้ ได้แก่ สาระจำ�นวนและพีชคณิต
สาระแคลคูลัส ให้มีความลุ่มลึกขึ้น ซึ่งเป็นพื้นฐานสำ�คัญสำ�หรับการศึกษาต่อ และสาระสถิตแ
ิ ละความน่าจะเป็น และไม่ได้เชือ
่ มโยงกับมาตรฐานการเรียนรูใ้ น
ในระดับอุดมศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เพิ่มเติมนี้ได้จัดทำ�ขึ้น คณิตศาสตร์พื้นฐาน ได้แก่ สาระการวัดและเรขาคณิต และสาระแคลคูลัส
ให้มีเนื้อหาสาระที่ทัดเทียมกับนานาชาติ เน้นการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ การแก้ปญ
ั หา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสือ
่ สาร สาระจำ�นวนและพีชคณิต
และการร่วมมือ รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้สู่การนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง 1. เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการ
ของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ
และนำ�ไปใช้
เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2. เข้ าใจและวิ เ คราะห์ แ บบรู ป ความสั ม พั นธ์ ฟั ง ก์ ชัน ลำ � ดั บ และอนุ กรม
และนำ�ไปใช้
ในคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ผู้เรียนจะได้เรียนรู้สาระสำ�คัญ ดังนี้ 3. ใช้นิพจน์ สมการ อสมการและเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วย
แก้ปัญหาที่กำ�หนดให้
จำ�นวนและพีชคณิต เรียนรูเ้ กีย
่ วกับ เซต ตรรกศาสตร์ จำ�นวนจริง
และพหุนาม จำ�นวนเชิงซ้อน ฟังก์ชน
ั ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั สาระการวัดและเรขาคณิต
ลอการิทึม ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ลำ�ดับและอนุกรม เมทริกซ์ และการนำ�ความรู้ 1. เข้าใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และนำ�ไปใช้
เกี่ยวกับจำ�นวนและพีชคณิตไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ 2. เข้าใจเวกเตอร์ การดำ�เนินการของเวกเตอร์ และนำ�ไปใช้

การวัดและเรขาคณิต เรียนรูเ้ กีย


่ วกับ เรขาคณิตวิเคราะห์ เวกเตอร์ สาระสถิติและความน่าจะเป็น
ในสามมิ ติ และการนำ � ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การวั ด และเรขาคณิ ต ไปใช้ ใ น 1. เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ�ไปใช้
สถานการณ์ต่าง ๆ
สาระแคลคูลัส
สถิติและความน่าจะเป็น เรียนรู้เกี่ยวกับ หลักการนับเบื้องต้น 1. เข้าใจลิมต
ิ และความต่อเนือ
่ งของฟังก์ชน
ั อนุพน
ั ธ์ของฟังก์ชน
ั และปริพน
ั ธ์
ความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นเบือ
้ งต้น และใช้ความรูเ้ กีย
่ วกับ ของฟังก์ชัน และนำ�ไปใช้
สถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และช่วยในการ
ตัดสินใจ

แคลคู ลั ส เรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ ลิ มิ ต และความต่ อ เนื่ อ งของฟั ง ก์ ชั น


อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ปริพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต และการนำ�ความรู้
เกี่ยวกับแคลคูลัสไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
20 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 21

คุณภาพผู้เรียน ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชั้น


มัธยมศึกษา
ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อเรียนครบทุกผลการเรียนรู้ ปีที่ 4
สาระจำ�นวนและพีชคณิต
มีคุณภาพดังนี้
1. เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน
◆◆ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซต ในการสื่อสารและสื่อความหมาย
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
ทางคณิตศาสตร์
◆◆ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการสื่อสาร
สื่อความหมาย และอ้างเหตุผล ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
◆◆ เข้าใจและใช้สมบัติของจำ�นวนจริงและพหุนาม
◆◆ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชัน
เซต
ลอการิทึม และฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซต ในการ ▷▷ ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พื้นฐาน
◆◆ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
สื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เกี่ยวกับเซต
◆◆ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเมทริกซ์
▷▷ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์
◆◆ เข้าใจและใช้สมบัติของจำ�นวนเชิงซ้อน
ของเซต
◆◆ นำ�ความรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์ในสามมิติไปใช้
◆◆ เข้าใจและใช้หลักการนับเบื้องต้น การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่
ในการแก้ปัญหา และนำ�ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นไปใช้ ตรรกศาสตร์
◆◆ นำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและอนุกรมไปใช้ 2. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับตรรกศาสตร์ ▷▷ ประพจน์และตัวเชื่อม
◆◆ เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล นำ�เสนอข้อมูล เบื้องต้นในการสื่อสาร สื่อความหมาย ▷▷ ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณตัวเดียว
และแปลความหมายข้อมูล เพื่อประกอบการตัดสินใจ และอ้างเหตุผล ▷▷ การอ้างเหตุผล
◆◆ หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดจากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจง
เอกรูป การแจกแจงทวินาม และการแจกแจงปกติ และนำ�ไปใช้ จำ�นวนจริงและพหุนาม
◆◆ นำ�ความรู้เกี่ยวกับแคลคูลัสเบื้องต้นไปใช้ 3. เข้าใจจำ�นวนจริง และใช้สมบัติของ ▷▷ จำ�นวนจริงและสมบัติของจำ�นวนจริง
จำ�นวนจริงในการแก้ปัญหา ▷▷ ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนจริงและสมบัติ
ของค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนจริง
▷▷ จำ�นวนจริงในรูปกรณฑ์ และจำ�นวนจริง
ในรูปเลขยกกำ�ลัง
22 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 23

2. เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้

สาระการวัดและเรขาคณิต
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
1. เข้าใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และนำ�ไปใช้

ฟังก์ชัน ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม


1. หาผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ ▷▷ การบวก การลบ การคูณ การหารฟังก์ชัน
การหารฟังก์ชัน หาฟังก์ชันประกอบและ ▷▷ ฟังก์ชันประกอบ
เรขาคณิตวิเคราะห์
ฟังก์ชันผกผัน ▷▷ ฟังก์ชันผกผัน
1. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับ ▷▷ จุดและเส้นตรง
2. ใช้สมบัติของฟังก์ชันในการแก้ปัญหา
เรขาคณิตวิเคราะห์ในการแก้ปัญหา ▷▷ วงกลม
▷▷ พาราโบลา
▷▷ วงรี
ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม

▷▷ ไฮเพอร์โบลา
3. เข้าใจลักษณะกราฟของฟังก์ชัน ▷▷ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม ▷▷ ฟังก์ชันลอการิทึม
และนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา
ชั้น
มัธยมศึกษา
ปีที่ 5
3. ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำ�หนดให้ สาระจำ�นวนและพีชคณิต
1. เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้

จำ�นวนจริงและพหุนาม ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม


1. แก้สมการและอสมการพหุนามตัวแปรเดียว ▷▷ ตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีไม่เกินสี่ และนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา ▷▷ สมการและอสมการพหุนาม
จำ�นวนเชิงซ้อน
2. แก้สมการและอสมการเศษส่วนของพหุนาม ▷▷ สมการและอสมการเศษส่วนของพหุนาม
1. เข้าใจจำ�นวนเชิงซ้อนและใช้สมบัติของ ▷▷ จำ�นวนเชิงซ้อน และสมบัติของจำ�นวนเชิงซ้อน
ตัวแปรเดียว และนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา ▷▷ สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ของพหุนาม
จำ�นวนเชิงซ้อนในการแก้ปัญหา ▷▷ จำ�นวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
3. แก้สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ของพหุนาม
2. หารากที่ n ของจำ�นวนเชิงซ้อน ▷▷ รากที่ n ของจำ�นวนเชิงซ้อน
ตัวแปรเดียว และนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา
เมื่อ n เป็นจำ�นวนนับที่มากกว่า 1 เมื่อ n เป็นจำ�นวนนับที่มากกว่า 1

ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม

4. แก้สมการเอกซ์โพเนนเชียลและสมการ ▷▷ สมการเอกซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม
ลอการิทึม และนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา
24 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 25

2. เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้ สาระการวัดและเรขาคณิต


2. เข้าใจเวกเตอร์ การดำ�เนินการของเวกเตอร์ และนำ�ไปใช้
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. เข้าใจฟังก์ชันตรีโกณมิติและลักษณะ ▷▷ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เวกเตอร์ในสามมิติ
กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ และนำ�ไปใช้ ▷▷ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน 1. หาผลลัพธ์ของการบวก การลบเวกเตอร์ ▷▷ เวกเตอร์ นิเสธของเวกเตอร์
ในการแก้ปัญหา การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ หาผลคูณ ▷▷ การบวก การลบเวกเตอร์
เชิงสเกลาร์ และผลคูณเชิงเวกเตอร์ การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์
2. นำ�ความรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์ในสามมิติไปใช้ ▷▷ ผลคูณเชิงสเกลาร์ ผลคูณเชิงเวกเตอร์
3. ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำ�หนดให้ ในการแก้ปัญหา

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
สาระสถิติและความน่าจะเป็น
1. เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ�ไปใช้
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. แก้สมการตรีโกณมิติ และนำ�ไปใช้ ▷▷ เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
ในการแก้ปัญหา ▷▷ กฎของโคไซน์และกฎของไซน์
2. ใช้กฎของโคไซน์และกฎของไซน์
ในการแก้ปัญหา หลักการนับเบื้องต้น
1. เข้าใจและใช้หลักการบวกและการคูณ ▷▷ หลักการบวกและการคูณ
เมทริกซ์ การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ ▷▷ การเรียงสับเปลี่ยน
3. เข้าใจความหมาย หาผลลัพธ์ของการบวก ▷▷ เมทริกซ์ และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน ในการแก้ปัญหา ▶ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น

เมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์กับจำ�นวนจริง ▷▷ การบวกเมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์กับ ▶ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมกรณีที่

การคูณระหว่างเมทริกซ์ และหาเมทริกซ์ จำ�นวนจริง การคูณระหว่างเมทริกซ์ สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด


สลับเปลี่ยน หาดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ ▷▷ ดีเทอร์มิแนนต์ ▷▷ การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด
n × n เมื่อ n เป็นจำ�นวนนับที่ไม่เกินสาม ▷▷ เมทริกซ์ผกผัน ▷▷ ทฤษฎีบททวินาม
4. หาเมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์ 2 × 2 ▷▷ การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์
5. แก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ผกผัน
และการดำ�เนินการตามแถว ความน่าจะเป็น
2. หาความน่าจะเป็นและนำ�ความรู้เกี่ยวกับ ▷▷ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
จำ�นวนเชิงซ้อน ความน่าจะเป็นไปใช้ ▷▷ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
6. แก้สมการพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกินสี่ ▷▷ สมการพหุนามตัวแปรเดียว
ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำ�นวนเต็ม และนำ�ไปใช้
ในการแก้ปัญหา
26 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 27

ชั้น
มัธยมศึกษา
ปีที่ 6
สาระจำ�นวนและพีชคณิต สาระแคลคูลัส
1. เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้ 1. เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชัน และปริพันธ์ของฟังก์ชัน และนำ�ไปใช้

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ลำ�ดับและอนุกรม แคลคูลัสเบื้องต้น
1. ระบุได้ว่าลำ�ดับที่กำ�หนดให้เป็นลำ�ดับลู่เข้า ▷▷ ลำ�ดับจำ�กัดและลำ�ดับอนันต์ 1. ตรวจสอบความต่อเนือ
่ งของฟังก์ชน
ั ทีก
่ �ำ หนดให้ ▷▷ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
หรือลู่ออก ▷▷ ลำ�ดับเลขคณิตและลำ�ดับเรขาคณิต 2. หาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตที่กำ�หนดให้ ▷▷ อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
2. หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต ▷▷ ลิมิตของลำ�ดับอนันต์ และนำ�ไปใช้แก้ปัญหา ▷▷ ปริพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
และอนุกรมเรขาคณิต ▷▷ อนุกรมจำ�กัดและอนุกรมอนันต์ 3. หาปริพันธ์ไม่จำ�กัดเขตและจำ�กัดเขตของ
3. หาผลบวกอนุกรมอนันต์ ▷▷ อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต ฟังก์ชันพีชคณิตที่กำ�หนดให้ และนำ�ไปใช้
4. เข้าใจและนำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและอนุกรม ▷▷ ผลบวกอนุกรมอนันต์ แก้ปัญหา
ไปใช้ ▷▷ การนำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและอนุกรมไปใช้
ในการแก้ปัญหามูลค่าของเงินและค่ารายงวด

สาระสถิติและความน่าจะเป็น
1. เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ�ไปใช้

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

การแจกแจงความน่าจะเป็นเบื้องต้น
1. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิด ▷▷ การแจกแจงเอกรูป
จากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงเอกรูป ▷▷ การแจกแจงทวินาม
การแจกแจงทวินาม และการแจกแจงปกติ ▷▷ การแจกแจงปกติ
และนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา
28 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 29

ตัวอย่างการจัดเนื้อหารายภาค
11 ข้อเสนอแนะการจัดรายวิชา
เนื้อหาสำ�หรับผู้เรียน
เนื้อหาสำ�หรับผู้เรียนทั่วไป
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) แผนการเรียนวิทยาศาสตร์
ชั้นเรียน/ ที่เรียนเฉพาะ
ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ระดั บ ที่เรียนทั้งรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ภาคเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ได้ กำ � หนดมาตรฐานการเรี ย นรู้ ตั ว ชี้ วั ด และสาระ และรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
(80 ชั่วโมงต่อปี)
การเรียนรูแ
้ กนกลาง ให้ทก
ุ สถานศึกษานำ�ไปจัดเป็นรายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐาน (200 ชั่วโมงต่อปี)
สำ�หรับผูเ้ รียนทุกคน ซึง่ สถานศึกษาอาจจัดให้ตรงตามชัน
้ ปีทก
ี่ �ำ หนดหรือยืดหยุน

ระหว่างชัน
้ ปีตามความเหมาะสมและตามศักยภาพของผูเ้ รียน ทัง้ นี้ ผูเ้ รียนทุกคน ม.4 ◆◆ เซต ◆◆ เซต
ต้องบรรลุตวั ชีว้ ด
ั ทุกตัวตามทีก
่ �ำ หนดไว้ในหลักสูตรภายใน 3 ปี และมีเวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 ◆◆ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ◆◆ ตรรกศาสตร์
สอดคล้องกับเกณฑ์การจบ นั่นคือมีเวลาเรียนสำ�หรับรายวิชาพื้นฐาน 1,640 ◆◆ จำ�นวนจริงและพหุนาม
ชั่วโมง ใน 3 ปี ซึ่งยืดหยุ่นใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
นอกจากนี้สถานศึกษาสามารถจัดรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมให้กับ
ผูเ้ รียนทีม
่ ศ
ี ก
ั ยภาพด้านคณิตศาสตร์ ได้ตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา ม.4 ◆◆ หลักการนับเบื้องต้น ◆◆ ฟังก์ชัน
ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน และเกณฑ์การจบ ซึ่งโดยหลักการแล้ว ภาคเรียนที่ 2 ◆◆ ความน่าจะเป็น ◆◆ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและ
สถานศึกษาสามารถเป็นผู้กำ�หนดผลการเรียนรู้ได้เอง อย่างไรก็ตาม สสวท. ฟังก์ชันลอการิทึม
ได้เสนอแนะผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรูเ้ พิม
่ เติมสำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์ ◆◆ เรขาคณิตวิเคราะห์
เพิ่มเติม ซึ่งสถานศึกษาสามารถนำ�มาพิจารณาให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของสถานศึกษาและความสามารถของผูเ้ รียนได้ ส่วนเวลาเรียนสำ�หรับรายวิชา
ม.5 ◆◆ เลขยกกำ�ลัง ◆◆ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
เพิ่มเติมนั้นให้เป็นไปตามที่สถานศึกษากำ�หนดและสอดคล้องกับเกณฑ์การจบ
ภาคเรียนที่ 1 ◆◆ ฟังก์ชัน ◆◆ เมทริกซ์
สำ�หรับเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่ได้เสนอแนะไว้สำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์
◆◆ เวกเตอร์ในสามมิติ
เพิ่ ม เติ ม นั้ น เป็ น เนื้ อ หาที่ เ พิ่ ม เติ ม เข้ า มาโดยเชื่ อ มโยงกั บ เนื้ อ หาในรายวิ ช า
คณิตศาสตร์พื้นฐาน เพื่อให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้และเรียนรู้สาระนั้นอย่าง
ลึกซึง้ ทัง้ นี้ สถานศึกษาอาจจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้กบ
ั ผูเ้ รียนระดับ
ม.5 ◆◆ ลำ�ดับและอนุกรม ◆◆ จำ�นวนเชิงซ้อน
มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย แผนการเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ ที่ ต้ อ งเรี ย นทั้ ง รายวิ ช า
ภาคเรียนที่ 2 ◆◆ ดอกเบี้ยและมูลค่า ◆◆ หลักการนับเบื้องต้น
คณิ ตศาสตร์ พื้นฐานและรายวิชาคณิต ศาสตร์เพิ่ม เติม โดยร้อยเรีย งเนื้อหา
ของเงิน ◆◆ ความน่าจะเป็น
รายวิชาทั้งสองเข้าด้วยกัน
ทัง้ นี้ สสวท. ในฐานะผูจ
้ ด
ั ทำ�หลักสูตรกลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์
(ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2560) ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
ม.6 ◆◆ สถิติ ◆◆ ลำ�ดับและอนุกรม
พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้เสนอแนะตัวอย่างการจัด
ภาคเรียนที่ 1 ◆◆ แคลคูลัสเบื้องต้น
เนื้อหารายภาคสำ�หรับผู้เรียนทั่วไป ซึ่งในที่น้ีหมายถึงผู้เรียนที่เรียนเฉพาะ
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยจัดเวลาเรียนไว้ 80 ชั่วโมงต่อปี และสำ�หรับ
ผู้เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ซึ่งในที่นี้หมายถึงผู้เรียนที่เรียนทั้งรายวิชา ม.6 ◆◆ สถิติ (ต่อ) ◆◆ สถิติ
คณิตศาสตร์พื้นฐานและรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม โดยจัดเวลาเรียนไว้ 200 ภาคเรียนที่ 2 ◆◆ การแจกแจงความน่าจะเป็นเบื้องต้น
ชั่วโมงต่อปี ดังตารางต่อไปนี้
30 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 31

จำ�นวนและพีชคณิต สถิติและความน่าจะเป็น
12 ผังสาระการเรียนรู้

ตัวอย่างการจัดเนื้อหารายภาคสำ�หรับผู้เรียนทั่วไป ซึ่งในที่นี้หมายถึงผู้เรียนที่เรียน
เฉพาะรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน และสำ�หรับผู้เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ซึ่งในที่นี้
หมายถึ ง ผู้ เ รี ย นที่ เ รี ย นทั้ ง รายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐานและรายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เ พิ่ ม เติ ม
แสดงเป็นผังสาระการเรียนรู้ เพื่อให้เห็นภาพรวมของเนื้อหาในแต่ละชั้นได้ชัดเจนและเป็น
รูปธรรม ดังนี้
เซต ตรรกศาสตร์เบื้องต้น หลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น

▶▶ ความรู้เบื้องต้นและ ▶▶ ประพจน์และตัวเชื่อม ▶▶ หลักการบวกและการคูณ ▶▶ การทดลองสุ่ม


สัญลักษณ์พื้นฐาน ▷ นิเสธ ▶▶ การเรียงสับเปลี่ยน และเหตุการณ์
เกี่ยวกับเซต ▷ และ เชิงเส้นกรณีที่สิ่งของ ▶▶ ความน่าจะเป็น
▶▶ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน ▷ หรือ แตกต่างกันทั้งหมด ของเหตุการณ์
และคอมพลีเมนต์ ▷ ถ้า...แล้ว... ▶▶ การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของ
ของเซต ▷ ก็ต่อเมื่อ แตกต่างกันทั้งหมด

จำ�นวนและพีชคณิต

จำ�นวนและพีชคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

▶▶ เซต ▶▶ หลักการนับเบื้องต้น เลขยกกำ�ลัง ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน


▶▶ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ▶▶ ความน่าจะเป็น
▶▶ เลขยกกำ�ลัง ▶▶ สถิติ
▶▶ รากที่ n ของจำ�นวนจริง ▶▶ ฟังก์ชันและกราฟของ ▶▶ ลำ�ดับเลขคณิตและ ▶▶ ดอกเบี้ย
▶▶ ฟังก์ชัน
▶▶ ลำ�ดับและอนุกรม เมื่อ n เป็นจำ�นวนนับ ฟังก์ชัน ลำ�ดับเรขาคณิต ▶▶ มูลค่าของเงิน
▶▶ ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน ที่มากกว่า 1 ▷ ฟังก์ชันเชิงเส้น ▶▶ อนุกรมเลขคณิตและ ▶▶ ค่ารายงวด
▶▶ เลขยกกำ�ลังที่มี ▷ ฟังก์ชันกำ�ลังสอง อนุกรมเรขาคณิต
เลขชี้กำ�ลังเป็น ▷ ฟังก์ชันขั้นบันได
จำ�นวนตรรกยะ ▷ ฟังก์ชัน
เอกซ์โพเนนเชียล
32 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 33

สถิติและความน่าจะเป็น

สถิติ

▶▶ ข้อมูล ▶▶ ค่ากลาง ▶▶ ค่าการกระจาย


▶▶ ตำ�แหน่งที่ของข้อมูล ▷ ฐานนิยม ▷ พิสัย
▷ มัธยฐาน ▷ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
▷ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ▷ ความแปรปรวน
▶▶ การนำ�เสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
▶▶ การแปลความหมายของค่าสถิติ
จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติ แคลคูลัส
และความน่าจะเป็น

▶▶ เซต ▶▶ เรขาคณิตวิเคราะห์ ▶▶ หลักการนับเบื้องต้น ▶▶ แคลคูลัสเบื้องต้น


▶▶ ตรรกศาสตร์ ▶▶ เวกเตอร์ ในสามมิติ ▶▶ ความน่าจะเป็น
▶▶ จำ�นวนจริงและพหุนาม ▶▶ สถิติ
▶▶ ฟังก์ชัน ▶▶ การแจกแจง
▶▶ ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียล ความน่าจะเป็น
และฟังก์ชันลอการิทึม เบื้องต้น
▶▶ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
▶▶ เมทริกซ์
▶▶ จำ�นวนเชิงซ้อน
▶▶ ลำ�ดับและอนุกรม
34 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 35

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต

เซต ตรรกศาสตร์
เรขาคณิตวิเคราะห์

■■ ความรู้เบื้องต้นและ ■■ ประพจน์และตัวเชื่อม
■■ จุดและเส้นตรง
สัญลักษณ์พื้นฐาน ■■ ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
■■ วงกลม
เกี่ยวกับเซต ตัวเดียว
■■ พาราโบลา
■■ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน ■■ การอ้างเหตุผล
■■ วงรี
และคอมพลีเมนต์ของเซต
■■ ไฮเพอร์โบลา

จำ�นวนจริงและพหุนาม ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล


และฟังก์ชันลอการิทึม

■■ จำ�นวนจริงและสมบัติของจำ�นวนจริง ■■ ฟังก์ชันและกราฟ ■■ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล


■■ ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนจริงและสมบัติของค่าสัมบูรณ์ ■■ การบวก การลบ การคูณ ■■ ฟังก์ชันลอการิทึม
ของจำ�นวนจริง การหารฟังก์ชัน ■■ สมการเอกซ์โพเนนเชียล
■■ จำ�นวนจริงในรูปกรณฑ์ และจำ�นวนจริง ■■ ฟังก์ชันประกอบ และสมการลอการิทึม
ในรูปเลขยกกำ�ลัง ■■ ฟังก์ชันผกผัน
■■ ตัวประกอบของพหุนาม
■■ สมการและอสมการพหุนาม
■■ สมการและอสมการเศษส่วนของพหุนาม
■■ สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ของพหุนาม
36 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 37

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ จำ�นวนเชิงซ้อน
เวกเตอร์ในสามมิติ หลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น

■■ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ■■ จำ�นวนเชิงซ้อน และสมบัติของ


■■ เวกเตอร์ นิเสธของเวกเตอร์ ■■ หลักการบวกและการคูณ ■■ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
■■ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน จำ�นวนเชิงซ้อน
■■ การบวก การลบเวกเตอร์ ■■ การเรียงสับเปลี่ยน ■■ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
■■ เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ ■■ จำ�นวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
■■ การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ ▷ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น
■■ กฎของโคไซน์และกฎของไซน์ ■■ รากที่ n ของจำ�นวนเชิงซ้อน
ผลคูณเชิงสเกลาร์ ▷ การเรียงสับเปลี่ยน
เมื่อ n เป็นจำ�นวนนับที่มากกว่า 1
ผลคูณเชิงเวกเตอร์ เชิงวงกลมกรณีที่สิ่งของ
แตกต่างกันทั้งหมด
■■ การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของ
แตกต่างกันทั้งหมด
■■ ทฤษฎีบททวินาม

เมทริกซ์

■■ เมทริกซ์ และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน
■■ การบวกเมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์กับจำ�นวนจริง การคูณระหว่างเมทริกซ์
■■ ดีเทอร์มิแนนต์
■■ เมทริกซ์ผกผัน
■■ การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์
38 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 39

จำ�นวนและพีชคณิต สถิติและความน่าจะเป็น แคลคูลัส

ลำ�ดับและอนุกรม สถิติ การแจกแจง แคลคูลัสเบื้องต้น


ความน่าจะเป็นเบื้องต้น

■■ ลำ�ดับจำ�กัดและลำ�ดับอนันต์ ■■ ข้อมูล ■■ การแจกแจงเอกรูป ■■ ลิมิตและความต่อเนื่อง


■■ ลำ�ดับเลขคณิตและลำ�ดับ ■■ ตำ�แหน่งที่ของข้อมูล ■■ การแจกแจงทวินาม ของฟังก์ชัน
เรขาคณิต ■■ ค่ากลาง ■■ การแจกแจงปกติ ■■ อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
■■ ลิมิตของลำ�ดับอนันต์ ▷ ฐานนิยม ■■ ปริพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
■■ อนุกรมจำ�กัดและอนุกรมอนันต์ ▷ มัธยฐาน
■■ อนุกรมเลขคณิตและอนุกรม ▷ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
เรขาคณิต ■■ ค่าการกระจาย
■■ ผลบวกอนุกรมอนันต์ ▷ พิสัย
■■ การนำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและ ▷ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
อนุกรมไปใช้ในการแก้ปัญหา ▷ ความแปรปรวน
มูลค่าของเงินและค่ารายงวด ■■ การนำ�เสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
และเชิงปริมาณ
■■ การแปลความหมายของค่าสถิติ
40 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 41

13 การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีแนวทางที่สำ�คัญ ดังนี้

1. การวัดผลประเมินผลต้องกระทำ�อย่างต่อเนือ
่ ง โดยใช้ค�ำ ถามเพือ
่ ตรวจสอบ
และส่ ง เสริ ม ความรู้ ค วามเข้ า ใจด้ า นเนื้ อ หา ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ทั ก ษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดังตัวอย่างคำ�ถามต่อไปนี้ “นักเรียนแก้ปัญหานี้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบันนี้มุ่งเน้น ได้อย่างไร” “ใครมีวิธีการนอกเหนือไปจากนี้บ้าง” “นักเรียนคิดอย่างไรกับ
การวัดและการประเมินการปฏิบัติงานในสภาพที่เกิดขึ้นจริงหรือที่ใกล้เคียงกับ วิธีการที่เพื่อนเสนอ” การกระตุ้นด้วยคำ�ถามที่เน้นการคิดจะทำ�ให้เกิด
สภาพจริง รวมทั้งการประเมินเกี่ยวกับสมรรถภาพของผู้เรียนเพิ่มเติมจากความรู้ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียน
ทีไ่ ด้จากการท่องจำ� โดยใช้วธิ ก
ี ารประเมินทีห
่ ลากหลายจากการทีผ
่ เู้ รียน ได้ลงมือ มีโอกาสแสดงความคิดเห็น นอกจากนี้ผู้สอนยังสามารถใช้คำ�ตอบของ
ปฏิ บั ติ จ ริ ง ได้ เ ผชิ ญ กั บ ปั ญ หาจากสถานการณ์ จ ริ ง หรื อ สถานการณ์ จำ � ลอง ผู้ เ รี ย นเป็ น ข้ อ มู ล เพื่ อ ตรวจสอบความรู้ ค วามเข้ า ใจ และพั ฒ นาการ
ได้แก้ปัญหา สืบค้นข้อมูล และนำ�ความรู้ไปใช้ รวมทั้งแสดงออกทางการคิด ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนได้อีกด้วย
การวัดผลประเมินผลดังกล่าวมีจุดประสงค์สำ�คัญดังต่อไปนี้ 2. การวัดผลประเมินผลต้องสอดคล้องกับความรู้ความสามารถของผู้เรียน
ที่ระบุไว้ตามตัวชี้วัดซึ่งกำ�หนดไว้ในหลักสูตรที่สถานศึกษาใช้เป็นแนวทาง
1. เพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและตัดสินผลการเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอน ทัง้ นีผ
้ ส
ู้ อนจะต้องกำ�หนดวิธก
ี ารวัดผลประเมิน
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด เพื่อนำ�ผลที่ได้จากการ ผลเพือ
่ ใช้ตรวจสอบว่าผูเ้ รียนบรรลุตามมาตรฐานทีก
่ �ำ หนดไว้ และต้องแจ้ง
ตรวจสอบไปปรับปรุงพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดียิ่งขึ้น ตัวชีว้ ด
ั ในแต่ละเรือ
่ งให้ผเู้ รียนทราบโดยทางตรงหรือทางอ้อมเพือ
่ ให้ผเู้ รียน
2. เพื่อวินิจฉัยความรู้ทางคณิตศาสตร์และทักษะที่ผู้เรียนจำ�เป็น ได้ปรับปรุงตนเอง
ต้ อ งใช้ ในชี วิ ตประจำ�วัน เช่น ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. การวัดผลประเมินผลต้องครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการ
การสืบค้น การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนำ� ทางคณิตศาสตร์ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเน้นการเรียนรู้ด้วย
ความรู้ไปใช้ การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การควบคุม การทำ�งานหรือการทำ�กิจกรรมทีส
่ ง่ เสริมให้เกิดสมรรถภาพทัง้ สามด้าน ซึง่ งาน
กระบวนการคิ ด และนำ � ผลที่ ไ ด้ จ ากการวิ นิ จ ฉั ย ผู้ เ รี ย นไปใช้ หรือกิจกรรมดังกล่าวควรมีลักษณะดังนี้
เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม • สาระในงานหรือกิจกรรมต้องเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้การเชื่อมโยงความรู้
3. เพื่อรวบรวมข้อมูลและจัดทำ�สารสนเทศด้านการจัดการเรียนรู้ หลายเรื่อง
โดยใช้ข้อมูลจากการประเมินผลที่ได้ในการสรุปผลการเรียนรู้ • วิธีหรือทางเลือกในการดำ�เนินงานหรือการแก้ปัญหามีหลากหลาย
ของผู้ เ รี ย นและเป็ น ข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ แก่ ผู้ เ รี ย นหรื อ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง • เงื่อนไขหรือสถานการณ์ของปัญหามีลักษณะปลายเปิด เพื่อให้ผู้เรียน
ตามความเหมาะสม รวมทั้งนำ�สารสนเทศไปใช้วางแผนบริหาร ได้มีโอกาสแสดงความสามารถตามศักยภาพของตน
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา • งานหรือกิจกรรมต้องเอื้ออำ�นวยให้ผู้เรียนได้ใช้การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำ�เสนอในรูปแบบต่าง ๆ
การกำ�หนดจุดประสงค์ของการวัดผลประเมินผลอย่างชัดเจน จะช่วย เช่น การพูด การเขียน การวาดภาพ
ให้เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือวัดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวัดได้ • งานหรือกิจกรรมควรมีความใกล้เคียงกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
ในสิ่งที่ต้องการวัดและนำ�ผลที่ได้ไปใช้งานได้จริง เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้เห็นการเชื่อมโยงระหว่างคณิตศาสตร์กับชีวิตจริง
ซึ่งจะก่อให้เกิดความตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์
42 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 43

ประเมิน เป็นการประเมินความรู้พื้นฐานและทักษะจำ�เป็นที่ผู้เรียนควรมี
ก่อนเรียน ก่อนการเรียนรายวิชา บทเรียน หรือหน่วยการเรียนใหม่ ข้อมูล
ที่ได้จากการวัดผลประเมินผลจะช่วยให้ผู้สอนนำ�ไปใช้ประโยชน์
4. การวัดผลประเมินผลการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ตอ
้ งใช้วธิ ก
ี ารทีห
่ ลากหลายและ
ในการจัดการเรียนรู้ดังนี้
เหมาะสม และใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพเพื่อให้ได้ข้อมูลและสนเทศเกี่ยวกับ
(1) จัดกลุ่มผู้เรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตาม
ผู้เรียน เช่น เมื่อต้องการวัดผลประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียนอาจใช้
ความถนัด ความสนใจ และความสามารถของผู้เรียน
การทดสอบ การตอบคำ�ถาม การทำ�แบบฝึกหัด การทำ�ใบกิจกรรม หรือ
(2) วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ โดยผูส
้ อนพิจารณา
การทดสอบย่อย เมื่อต้องการตรวจสอบพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียน
เลื อ กตั ว ชี้ วั ด เนื้ อ หาสาระ กิ จ กรรม แบบฝึ ก หั ด อุ ป กรณ์
ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อาจใช้การสังเกตพฤติกรรม
และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับความรู้พื้นฐานและทักษะ
การเรียนรู้ การสัมภาษณ์ การจัดทำ�แฟ้มสะสมงาน หรือการทำ�โครงงาน
ของผู้เรียน และสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำ�หนดไว้
การเลือกใช้วธิ ก
ี ารวัดทีเ่ หมาะสมและเครือ
่ งมือทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพ จะทำ�ให้สามารถ
วัดในสิ่งที่ต้องการวัดได้ ซึ่งจะทำ�ให้ผู้สอนได้ข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับ
ผู้เรียนอย่างครบถ้วนและตรงตามวัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผล
อย่างไรก็ตาม ผู้สอนควรตระหนักว่าเครื่องมือวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
ประเมิน เป็นการประเมินเพือ
่ วินจ
ิ ฉัยผูเ้ รียนในระหว่างการเรียน ข้อมูลทีไ่ ด้
ทีใ่ ช้ในการประเมินตามวัตถุประสงค์หนึง่ ไม่ควรนำ�มาใช้กบ
ั อีกวัตถุประสงค์
ระหว่างเรียน จะช่วยให้ผู้สอนสามารถดำ�เนินการในเรื่องต่อไปนี้
หนึง่ เช่น แบบทดสอบทีใ่ ช้ในการแข่งขันหรือการคัดเลือกไม่เหมาะสมทีจ
่ ะ
(1) ศึ ก ษาพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย นเป็ น ระยะ ๆ
นำ�มาใช้ตัดสินผลการเรียนรู้
ว่ า ผู้ เ รี ย นมี พั ฒ นาการเพิ่ ม ขึ้ น เพี ย งใด ถ้ า พบว่ า ผู้ เ รี ย นไม่ มี
พัฒนาการเพิ่มขึ้นผู้สอนจะได้หาทางแก้ไขได้ทันท่วงที
5. การวัดผลประเมินผลเป็นกระบวนการทีใ่ ช้สะท้อนความรูค
้ วามสามารถของ
(2) ปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ถ้าพบว่า
ผู้ เ รี ย น ช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นมี ข้ อ มู ล ในการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาความรู้
ผู้เรียนไม่เข้าใจบทเรียนใดจะได้จัดให้เรียนซ้ำ� หรือผู้เรียนเรียนรู้
ความสามารถของตนเองให้ดข
ี น
ึ้ ในขณะทีผ
่ ส
ู้ อนสามารถนำ�ผลการประเมิน
บทใดได้ เ ร็ ว กว่ า ที่ กำ � หนดไว้ จ ะได้ ป รั บ วิ ธี ก ารเรี ย นการสอน
มาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรูเ้ พือ
่ ปรับปรุงกระบวนการเรียนรูข
้ อง
นอกจากนีย
้ งั ช่วยให้ทราบจุดเด่นและจุดด้อยของผูเ้ รียนแต่ละคน
ผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการสอนของผู้สอนให้มีประสิทธิภาพ จึงต้องวัดผล
ประเมิ น ผลอย่ า งสม่ำ � เสมอและนำ � ผลที่ ไ ด้ ม าใช้ ใ นการพั ฒ นาการเรี ย น
การสอน ซึ่งจะแบ่งการประเมินผลเป็น 3 ระยะดังนี้

ประเมิน
เ ป็ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น เ พื่ อ นำ � ผ ล ที่ ไ ด้ ไ ป ใ ช้ ส รุ ป ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้
หลังเรียน
หรื อ เป็ น การวั ด ผลประเมิ น ผลแบบสรุ ป รวบยอดหลั ง จาก
สิ้นสุดภาคการศึกษาหรือปีการศึกษาของผู้เรียน รวมทั้งผู้สอน
สามารถนำ � ผลการประเมิ น ที่ ไ ด้ ไ ปใช้ ใ นการวางแผนและ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
44 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 45

14 การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำ�หรับผู้เรียนแผนการเรียน
วิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ระดั บ
มัธยมศึกษาตอนปลาย กำ�หนดตัวชี้วัดสำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
จำ�นวน 8 ตัวชี้วัด และเสนอแนะผลการเรียนรู้สำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
จำ�นวน 32 ผลการเรียนรู้ โดยการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้สำ�หรับผู้เรียน
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) แผนการเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง ในที่ นี้ ห มายถึ ง ผู้ เ รี ย นที่ เ รี ย นทั้ ง รายวิ ช า
ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ระดั บ คณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐานและรายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เ พิ่ ม เติ ม นั้ น มี 2 ส่ ว น ได้ แ ก่
มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ได้ กำ � หนดมาตรฐานการเรี ย นรู้ ตั ว ชี้ วั ด และสาระ การวัดผลประเมินผลการเรียนรูส
้ �ำ หรับรายวิชาพืน
้ ฐาน และการวัดผลประเมินผล
การเรียนรูแ
้ กนกลาง ให้ทก
ุ สถานศึกษานำ�ไปจัดเป็นรายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐาน การเรียนรู้สำ�หรับรายวิชาเพิ่มเติม
สำ�หรับผู้เรียนทุกคน นอกจากนี้สถานศึกษาสามารถจัดรายวิชาคณิตศาสตร์ การวั ด ผลประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ใ นรายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐาน
เพิ่มเติมให้กับผู้เรียนที่มีศักยภาพด้านคณิตศาสตร์ได้ ทั้งนี้ การวัดผลประเมิน โดยหลั กการแล้ ว ผู้ เ รี ย นจะต้ อ งบรรลุ ตั ว ชี้ วัด ทั้ ง หมดตามที่ ห ลั กสู ต รกำ � หนด
ผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์จะต้องสอดคล้องกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ที่ระบุไว้ ภายใน 3 ปี โดยเป็นไปในทำ�นองเดียวกับการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
สำ�หรับผู้เรียนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีรายละเอียดดังนี้ คณิตศาสตร์สำ�หรับผู้เรียนทั่วไป อย่างไรก็ตามสถานศึกษาอาจพิจารณาวัดผล
ประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ร ายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐานควบคู่ ไ ปกั บ รายวิ ช า
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำ�หรับผู้เรียนทั่วไป คณิตศาสตร์เพิม
่ เติมได้โดยอาศัยหลักการทีห
่ ลักสูตรเปิดโอกาสให้สถานศึกษาจัด
เนือ
้ หาในรายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐานโดยยืดหยุน
่ ระหว่างชัน
้ ปีภายใน 3 ปี และ
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ให้สถานศึกษาพิจารณาเลือกเนือ
้ หาสำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์เพิม
่ เติมได้ตาม
ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ระดั บ ความเหมาะสม โดยยึดหลักที่ว่าเนื้อหาในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเป็นการ
มัธยมศึกษาตอนปลาย กำ�หนดตัวชี้วัดสำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ต่อยอดองค์ความรู้ของเนือ
้ หาในรายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐาน ดังนัน
้ สถานศึกษา
จำ�นวน 8 ตัวชีว้ ด
ั โดยผูเ้ รียนทัว่ ไป ซึง่ ในทีน
่ ห
ี้ มายถึงผูเ้ รียนทีเ่ รียนเฉพาะรายวิชา สามารถร้อยเรียงเนือ
้ หาในรายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐานและรายวิชาคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐานจะต้องบรรลุตัวชี้วัดทั้งหมดตามที่หลักสูตรกำ�หนดหรือ เพิม
่ เติมในแต่ละภาคการศึกษา/ชัน
้ ปีเข้าด้วยกันได้ โดยคำ�นึงถึงความสอดคล้อง
สูงกว่า ภายใน 3 ปี การวัดผลประเมินผลการเรียนรูด
้ งั กล่าวเป็นไปในทำ�นองเดียวกับ และต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง สถานศึ ก ษาอาจจั ด เนื้ อ หาสำ � หรั บ ผู้ เ รี ย นแผนการเรี ย น
การวัดผลประเมินผลการเรียนรูร้ ายวิชาพืน
้ ฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา วิทยาศาสตร์ตามที่ สสวท. ได้เสนอแนะตัวอย่างการจัดเนื้อหารายภาคสำ�หรับ
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ไว้ในคู่มือการใช้หลักสูตรเล่มนี้
ทัง้ นี้ สำ�หรับสถานศึกษาทีจ่ ด
ั เนือ
้ หารายภาคสำ�หรับผูเ้ รียนแผนการเรียน
วิทยาศาสตร์ตามที่ สสวท. เสนอแนะตัวอย่างการจัดเนือ
้ หารายภาคนัน
้ สามารถ
วัดผลประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานได้ โดยพิจารณาจาก
ผลการเรียนรู้ของรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมที่เทียบเคียงได้กับตัวชี้วัดของ
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
46 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 47

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

เซตและตรรกศาสตร์ เซต
▷▷ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและ ▷▷ ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พื้นฐาน ▷▷ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตในการสื่อสาร ▷▷ ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พื้นฐาน
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นในการสื่อสาร เกี่ยวกับเซต และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เกี่ยวกับเซต
และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ ▷▷ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ ▷▷ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์
ของเซต ของเซต

▷▷ ประพจน์และตัวเชื่อม ตรรกศาสตร์
▷▷ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับตรรกศาสตร์ ▷▷ ประพจน์และตัวเชื่อม
เบื้องต้น ในการสื่อสาร สื่อความหมาย ▷▷ ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณตัวเดียว
และอ้างเหตุผล ▷▷ การอ้างเหตุผล

เลขยกกำ�ลัง จำ�นวนจริงและพหุนาม
▷▷ เข้าใจความหมายและใช้สมบัติเกี่ยวกับ ▷▷ จำ�นวนจริงในรูปกรณฑ์ และจำ�นวนจริงในรูป ▷▷ เข้าใจจำ�นวนจริง และใช้สมบัติของ ▷▷ จำ�นวนจริงและสมบัติของจำ�นวนจริง
การบวก การคูณ การเท่ากัน และการไม่เท่ากัน เลขยกกำ�ลัง จำ�นวนจริงในการแก้ปัญหา ▷▷ ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนจริงและสมบัติของ
ของจำ�นวนจริงในรูปกรณฑ์ และจำ�นวนจริง ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนจริง
ในรูปเลขยกกำ�ลัง ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ▷▷ จำ�นวนจริงในรูปกรณฑ์
จำ�นวนตรรกยะ ▷▷ และจำ�นวนจริงในรูปเลขยกกำ�ลัง

หลักการนับเบื้องต้น หลักการนับเบื้องต้น
▷▷ เข้าใจและใช้หลักการบวกและการคูณ ▷▷ หลักการบวกและการคูณ ▷▷ เข้าใจและใช้หลักการบวกและการคูณ ▷▷ หลักการบวกและการคูณ
การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ ▷▷ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของ การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ ▷▷ การเรียงสับเปลี่ยน
ในการแก้ปัญหา แตกต่างกันทั้งหมด ในการแก้ปัญหา ▶ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น
▷▷ การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด ▶ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมกรณีที่
สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด
▷▷ การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด
▷▷ ทฤษฎีบททวินาม

ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น
▷▷ หาความน่าจะเป็นและนำ�ความรู้เกี่ยวกับ ▷▷ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ▷▷ หาความน่าจะเป็นและนำ�ความรู้เกี่ยวกับ ▷▷ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
ความน่าจะเป็นไปใช้ ▷▷ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นไปใช้ ▷▷ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
48 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 49

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ลำ�ดับและอนุกรม ลำ�ดับและอนุกรม
▷▷ เข้าใจและนำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและ ▷▷ ลำ�ดับเลขคณิตและลำ�ดับเรขาคณิต ▷▷ ระบุได้ว่าลำ�ดับที่กำ�หนดให้เป็นลำ�ดับลู่เข้า ▷▷ ลำ�ดับจำ�กัดและลำ�ดับอนันต์
อนุกรมไปใช้ ▷▷ อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หรือลู่ออก ▷▷ ลำ�ดับเลขคณิตและลำ�ดับเรขาคณิต
▷▷ หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต ▷▷ ลิมิตของลำ�ดับอนันต์
และอนุกรมเรขาคณิต ▷▷ อนุกรมจำ�กัดและอนุกรมอนันต์
ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน ▷▷ หาผลบวกอนุกรมอนันต์ ▷▷ อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
▷▷ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับดอกเบี้ยและ ▷▷ ดอกเบี้ย ▷▷ เข้าใจและนำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและ ▷▷ ผลบวกอนุกรมอนันต์
มูลค่าของเงินในการแก้ปัญหา ▷▷ มูลค่าของเงิน อนุกรมไปใช้ ▷▷ การนำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและอนุกรมไปใช้
▷▷ ค่ารายงวด ในการแก้ปัญหามูลค่าของเงินและค่ารายงวด

ฟังก์ชัน
▷▷ ใช้ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันอธิบาย ▷▷ ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน
- -
สถานการณ์ที่กำ�หนด (ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกำ�ลังสอง
ฟังก์ชันขั้นบันได ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล)

สถิติ ▷▷ ข้อมูล
▷▷ เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำ�เสนอ ▷▷ ตำ�แหน่งที่ของข้อมูล
ข้อมูล และแปลความหมายของค่าสถิติเพื่อ ▷▷ ค่ากลาง (ฐานนิยม มัธยฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต)
ประกอบการตัดสินใจ ▷▷ ค่าการกระจาย (พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน - -
ความแปรปรวน)
▷▷ การนำ�เสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและ
เชิงปริมาณ
▷▷ การแปลความหมายของค่าสถิติ
50 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 51

จากตารางแสดงการเทียบเคียงตัวชีว้ ด
ั ของรายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐาน ซึ่ ง ตรงกั บ สาระการเรี ย นรู้ แ กนกลาง คื อ “ประพจน์ แ ละตั ว เชื่ อ ม” ดั ง นั้ น
กับผลการเรียนรูข
้ องรายวิชาคณิตศาสตร์เพิม
่ เติม จะเห็นว่ามีตวั ชีว้ ด
ั ของรายวิชา การวัดผลประเมินผลตามผลการเรียนรู้ดังกล่าวสำ�หรับประพจน์และตัวเชื่อม
คณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐานที่ ไ ม่ ส ามารถเที ย บเคี ย งกั บ ผลการเรี ย นรู้ ข องรายวิ ช า ให้ ถื อ เป็ น การวั ด ผลประเมิ น ผลสำ � หรั บ รายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐาน ส่ ว น
คณิตศาสตร์เพิ่มเติมได้ จำ�นวน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ “ใช้ฟังก์ชันและกราฟของ การวัดผลประเมินผลตามผลการเรียนรู้นี้สำ�หรับ “ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
ฟังก์ชน
ั อธิบายสถานการณ์ทก
ี่ ำ�หนด” และ “เข้าใจและใช้ความรูท
้ างสถิตใิ นการ ตัวเดียว” และ “การอ้างเหตุผล” ซึ่งไม่ปรากฏในสาระการเรียนรู้แกนกลางนั้น
นำ�เสนอข้อมูล และแปลความหมายของค่าสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจ” ให้ถือเป็นการวัดผลประเมินผลสำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
ซึ่ ง ในการวั ด ผลประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ต ามตั ว ชี้ วั ด ทั้ ง สองตั ว ชี้ วั ด นี้ จะเป็ น นอกจากนีเ้ มือ
่ พิจารณาตารางแสดงการเทียบเคียงตัวชีว้ ด
ั ของรายวิชา
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้สำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานเท่านั้น คณิตศาสตร์พื้นฐานกับผลการเรียนรู้ของรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมดังแสดง
โดยแนวทางการวัดผลประเมินผลเป็นไปในทำ�นองเดียวกับการวัดผลประเมินผล ข้างต้น จะเห็นว่าตัวชี้วัดของรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานและผลการเรียนรู้
การเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานสำ�หรับผู้เรียนทั่วไป ของรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเรื่องเซต และเรื่องความน่าจะเป็น มีสาระ
นอกจากนี้ ตารางแสดงการเทียบเคียงตัวชีว้ ด
ั ของรายวิชาคณิตศาสตร์ การเรียนรูแ
้ กนกลางเหมือนกับสาระการเรียนรูเ้ พิม
่ เติม อย่างไรก็ตามเนือ
้ หาใน
พื้นฐานกับผลการเรียนรู้ของรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมยังแสดงให้เห็นว่ามี รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ของเนื้อหาในรายวิชา
ตั ว ชี้ วั ด ของรายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐานที่ เ ที ย บเคี ย งกั บ ผลการเรี ย นรู้ ข อง คณิตศาสตร์พื้นฐาน ซึ่งสถานศึกษาสามารถพิจารณาเพิ่มเติมความลึกของ
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม จำ�นวน 6 ตัวชี้วัด ซึ่งเมื่อพิจารณาตัวชี้วัดและ เนือ
้ หาตามศักยภาพของผูเ้ รียน เช่น ในเรือ
่ งเซต สถานศึกษาอาจเพิม
่ เติมเนือ
้ หา
ผลการเรียนรูเ้ หล่านีร้ ว่ มกับสาระการเรียนรูแ
้ กนกลางและสาระการเรียนรูเ้ พิม
่ เติม เรื่องเพาเวอร์เซต และการแก้ปัญหาโดยใช้เซตสำ�หรับปัญหาที่มีความซับซ้อน
จะพบว่าตัวชี้วัดเหล่านี้มีทั้งสาระการเรียนรู้แกนกลางที่เหมือนกับสาระการเรียนรู้ มากขึ้นให้กับผู้เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ โดยที่การวัดผลประเมินผล
เพิม
่ เติม และทีแ
่ ตกต่างกับสาระการเรียนรูเ้ พิม
่ เติม ดังนัน
้ ในการวัดผลประเมินผล ตามผลการเรียนรู้ในเรื่องนี้สำ�หรับเนื้อหาที่เพิ่มเติมเข้ามาจะเป็นการวัดผล
การเรียนรู้จะต้องพิจารณาตัวชี้วัดและผลการเรียนรู้ควบคู่ไปกับสาระการเรียนรู้ ประเมินผลสำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ส่วนในเรื่องความน่าจะเป็นนั้น
แกนกลางและสาระการเรียนรูเ้ พิม
่ เติม ให้สอดคล้องกับรายวิชาทีต
่ อ
้ งการวัดผล สถานศึกษาอาจเพิม
่ เติมปัญหาเกีย
่ วกับความน่าจะเป็นทีต
่ อ
้ งเชือ
่ มโยงกับความรู้
ประเมินผลการเรียนรู้ เรื่ อ งการเรี ย งสั บ เปลี่ ย นเชิ ง เส้ น กรณี ท่ี สิ่ ง ของไม่ แ ตกต่ า งกั น ทั้ ง หมด และ
ทัง้ นี้ การวัดผลประเมินผลตามผลการเรียนรูท
้ เี่ ทียบเคียงกับตัวชีว้ ด
ั ของ การเรียงสับเปลีย
่ นเชิงวงกลม ซึง่ เป็นสาระการเรียนรูเ้ พิม
่ เติมในเรือ
่ งหลักการนับ
รายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐาน ซึง่ มีสาระการเรียนรูเ้ พิม
่ เติมตรงกับสาระการเรียนรู้ เบื้องต้น ให้กับผู้เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ โดยที่การวัดผลประเมินผล
แกนกลางให้ถอ
ื ว่าเป็นการวัดผลประเมินผลตามตัวชีว้ ด
ั ของรายวิชาคณิตศาสตร์ ตามผลการเรี ย นรู้ ใ นเรื่ อ งนี้ สำ � หรั บ เนื้ อ หาที่ ต้ อ งเชื่ อ มโยงความรู้ ดั ง กล่ า ว
พื้นฐาน ส่วนการวัดผลประเมินผลตามผลการเรียนรู้ที่เทียบเคียงกับตัวชี้วัดของ จะเป็นการวัดผลประเมินผลสำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
รายวิ ช าคณิ ตศาสตร์ พื้นฐานแต่มีสาระการเรีย นรู้เพิ่ม เติม แตกต่างกับสาระ นอกจากนี้ สำ�หรับผลการเรียนรู้ของรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมอื่น ๆ
การเรียนรู้แกนกลาง ให้ถือว่าเป็นการวัดผลของรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ที่ไม่เทียบเคียงกันกับตัวชี้วัดของรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานนั้น ให้การวัดผล
เช่น สำ�หรับผลการเรียนรู้ “เข้าใจและใช้ความรูเ้ กีย
่ วกับตรรกศาสตร์เบือ
้ งต้น ประเมินผลตามผลการเรียนรู้เหล่านี้เป็นการวัดผลประเมินผลสำ�หรับรายวิชา
ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และอ้างเหตุผล” ซึ่งเทียบเคียงกันกับตัวชี้วัด คณิตศาสตร์เพิ่มเติม
“เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการสื่อสาร
และสื่ อ ความหมายทางคณิ ต ศาสตร์ ” นั้ น มี ส าระการเรี ย นรู้ เ พิ่ ม เติ ม
52 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 53

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับผู้สอนคณิตศาสตร์ ริเริ่มและกำ�กับดูแลตัวเองได้ (initiative and self-direction) ทักษะสังคม


และเข้าใจในความต่างระหว่างวัฒนธรรม (social and cross-cultural
หลักสูตร การสอน และการวัดผลประเมินผล เป็นองค์ประกอบหลัก skills) การเป็นผู้สร้างผลงานหรือผู้ผลิตและมีความรับผิดชอบเชื่อถือได้
ที่สำ�คัญในการออกแบบแนวทางการจัดการเรียนรู้ หากมีการเปลี่ยนแปลง (productivity and accountability) และมีภาวะผูน
้ �ำ และความรับผิดชอบ
องค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึง่ จะส่งผลต่อองค์ประกอบอืน
่ ตามไปด้วย ดังนัน
้ (leadership and responsibility)
เพื่อความสอดคล้องและเกิดประสิทธิผลในการนำ�ไปใช้ หลักสูตรกลุ่มสาระ ดังนัน
้ การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีการเปลีย
่ นแปลง
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง ให้ เ ข้ ากั บ สภาพแวดล้ อ ม บริ บ ททางสั ง คมและเทคโนโลยี ที่เ ปลี่ ย นแปลงไป
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกำ�หนดเป้าหมายและจุดเน้นหลาย ผูส
้ อนต้องออกแบบการเรียนรูท
้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำ�คัญ โดยให้ผเู้ รียนได้เรียนจาก
ประการที่ผู้สอนควรตระหนักและทำ�ความเข้าใจ ทั้งนี้เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ สถานการณ์ ใ นชี วิ ต จริ ง และเป็ น ผู้ ส ร้ า งองค์ ค วามรู้ ด้ ว ยตนเอง มี ผู้ ส อนเป็ น
สัมฤทธิ์ผลตามที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตร ผู้สอนควรศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องต่อไปนี้ ผู้จุดประกายความสนใจใฝ่รู้ อำ�นวยความสะดวก และสร้างบรรยากาศให้เกิด
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ในศตวรรษที่ 21 (1 มกราคม ค.ศ. 2001 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2100) การใช้เทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โลกมีการเปลีย
่ นแปลงในทุก ๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ การใช้เทคโนโลยีมีความสำ�คัญและจำ�เป็นสำ�หรับผู้เรียนและผู้สอน
และเทคโนโลยี ส่งผลให้จ�ำ เป็นต้องมีการเตรียมผูเ้ รียนให้พร้อมรับการเปลีย
่ นแปลง ในศตวรรษที่ 21 ผูส
้ อนและผูท
้ เี่ กีย
่ วข้องกับการจัดการศึกษาควรบูรณาการและ
ของโลก ผู้สอนจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้ให้ ใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ต ามสภาพแวดล้ อ มที่ เ ป็ น อยู่
ผู้เรียนมีความรู้ ในวิชาหลัก (core subjects) มีทักษะการเรียนรู้ (learning ในปัจจุบัน และจัดหาสิ่งอำ�นวยความสะดวกในการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยให้ผู้
skills) และพัฒนาผูเ้ รียนให้มท
ี ก
ั ษะทีจ
่ �ำ เป็นในศตวรรษที่ 21 ไม่วา่ จะเป็นทักษะ เรียนเกิดการเรียนรู้ มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถปฏิบัติงานได้
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร หลากหลาย ตลอดจนสามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
และทักษะชีวิต ทั้งนี้ เครือข่าย P21 (Partnership for 21st Century Skills) การสอนคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรกลุ่มสาระ
ได้จำ�แนกทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ 21 ออกเป็น 3 หมวด ได้แก่ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เน้นการใช้เทคโนโลยีทงั้ ในห้องเรียน
1. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) และนอกห้องเรียน โดยบูรณาการกับการจัดการเรียนรู้และเน้นให้เกิดทักษะ
ได้แก่ การคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (creativity and innovation) และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
การคิดแบบมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (critical thinking and
problem-solving) การสื่ อ สาร (communication) และการร่ ว มมื อ 1. ใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการเรี ย นรู้ เนื่ อ งจากการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ใ นระดั บ
(collaboration) มัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นการศึกษาเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ที่ลึกซึ้งมากขึ้น
2. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media, and และเน้นการนำ�ไปประยุกต์ในชีวต
ิ จริง ดังนัน
้ การนำ�เทคโนโลยีมาใช้ในการ
Technology Skills) ได้แก่ การรูเ้ ท่าทันสารสนเทศ (information literacy) เรียนการสอนจะช่วยลดเวลา ลดขั้นตอนที่ไม่จำ�เป็น และเพิ่มเวลาในการ
การรู้เท่าทันสื่อ (media literacy) การรู้เท่าทันเทคโนโลยีและการสื่อสาร มุ่งเน้นให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายของการเรียน เช่น
(information, communication, and technology literacy) • สถิ ติ เป็ น เนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การคำ � นวณและมี ก ารใช้
3. ทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ได้แก่ ความยืดหยุ่นและ ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นจำ�นวนมาก หากผูส
้ อนนำ�เทคโนโลยีมาประกอบการ
ความสามารถในการปรับตัว (flexibility and adaptability) มีความคิด เรี ย นรู้ เช่ น Spreadsheet หรื อ GeoGebra จะช่ ว ยลดเวลาใน
54 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 55

การคำ � นวณ และลดขั้ น ตอนการคำ � นวณ ทำ � ให้ ผู้ เ รี ย นมี เ วลาใน แนวการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การคิ ด วิ เ คราะห์ พิ จ ารณาความสมเหตุ ส มผลของคำ � ตอบ และมุ่ ง เน้ น
การนำ�ค่าสถิติไปใช้ในการแปลความหมายของข้อมูลได้มากขึ้น ในการจัดการเรียนรู้ ผูส
้ อนจะต้องจัดกิจกรรม กำ�หนดสถานการณ์หรือ
• ฟั ง ก์ ชั น และกราฟ การคำ � นวณเกี่ ย วกั บ ฟั ง ก์ ชั น และ ปัญหาเพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้กับผู้เรียน โดยมี
การเขี ย นกราฟด้ ว ยมื อ นั้ น ใช้ เ วลาค่ อ นข้ า งมากและไม่ ใ ช่ จุ ด เน้ น ของ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำ�เป็น 5 ทักษะดังนี้
การเรี ย น หากผู้ ส อนใช้ เ ทคโนโลยี ช่ ว ยในการเขี ย นกราฟ เขี ย นตาราง
เขียนรูปภาพต่าง ๆ เช่น The Geometer’s Sketchpad (GSP) หรือ
GeoGebra จะทำ�ให้สามารถจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นไปที่การทำ�ความเข้าใจ การแก้ปัญหา 1
กับแนวคิดและหลักการทางคณิตศาสตร์ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สำ�รวจ
ตั้งข้อสังเกต และคาดการณ์
2
2. ใช้เทคโนโลยีเป็นแหล่งการเรียนรู
้ ในโลกการศึกษาปัจจุบน
ั มีแหล่งข้อมูล การสือ
่ สารและการสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
ทีเ่ ป็นประโยชน์ส�ำ หรับการเรียนการสอนมากมาย ไม่ได้มเี ฉพาะในห้องเรียน
เท่านั้น ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ ทั้งที่เกี่ยวกับเนื้อหาและ
การประยุกต์ได้ในอินเทอร์เน็ตหรือแหล่งเรียนรู้อื่น เช่น เว็บไซต์ต่าง ๆ 3
สารานุกรมออนไลน์ หรือ หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เป็นต้น การเชื่อมโยง
ซึ่งผู้เรียนสามารถค้นคว้าหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นผู้สอนควรนำ�
เทคโนโลยีเหล่านีไ้ ปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน โดยเปิดโอกาส
ให้ผเู้ รียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และนำ�ข้อมูลทีไ่ ด้มาใช้ประโยชน์โดยผ่าน 4
กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล การให้เหตุผล

3. ใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการสื่ อ สาร การใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการสื่ อ สารจะทำ � ให้


การสอนคณิตศาสตร์มป
ี ระสิทธิภาพมากขึน
้ และเป็นประโยชน์ในการพัฒนา 5
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน ทั้งในห้องเรียนและ การคิดสร้างสรรค์
นอกห้องเรียน เช่น การนำ�เทคโนโลยีมาช่วยในการนำ�เสนอข้อมูล ส่งงาน
ส่งการบ้าน หรือเป็นช่องทางการสอนแบบไม่เป็นทางการนอกห้องเรียน
เป็นต้น

หมายเหตุ ดูตวั อย่างและแหล่งข้อมูลเพิม


่ เติมเกีย
่ วกับเทคโนโลยีได้ในภาคผนวก
56 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 57

ขั้นที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา
ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาว่าสถานการณ์ที่กำ�หนด

1 ให้ เ ป็ น ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ อะไร ต้ อ งการให้ ห าอะไร


กำ � หนดอะไรให้ บ้ า ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ ความรู้ ใ ดบ้ า ง
การทำ�ความเข้าใจปัญหาอาจใช้วิธีการต่าง ๆ ช่วย
การแก้ปัญหา เช่น การวาดภาพ การเขียนตาราง การบอกหรือเขียน
การแก้ปญ
ั หาเป็นกระบวนการทีผ
่ เู้ รียนควรจะเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนา สถานการณ์ปัญหาด้วยภาษาของตนเอง
ให้เกิดทักษะขึ้นในตนเองเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนมีแนวทางใน
การคิดทีห
่ ลากหลาย รูจ
้ ก
ั ประยุกต์และปรับเปลีย
่ นวิธก
ี ารแก้ปญ
ั หาให้เหมาะสม
รู้จักตรวจสอบและสะท้อนกระบวนการแก้ปัญหา มีนิสัยกระตือรือร้น ไม่ย่อท้อ
ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา
รวมถึงมีความมัน
่ ใจในการแก้ปญ
ั หาทีเ่ ผชิญอยูท
่ งั้ ภายในและภายนอกห้องเรียน
ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาว่าจะแก้ปัญหาด้วยวิธีใด
นอกจากนี้ การแก้ปญ
ั หายังเป็นทักษะพืน
้ ฐานทีผ
่ เู้ รียนสามารถนำ�ไปใช้ในชีวต
ิ จริง
จะแก้ อ ย่ า งไร รวมถึ ง พิ จ ารณาความสั ม พั น ธ์ ข อง
ได้การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิผล ควร
สิ่ ง ต่ า งๆ ในปั ญ หา ผสมผสานกั บ ประสบการณ์
ใช้ ส ถานการณ์ ห รื อ ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ที่ ก ระตุ้ น ดึ ง ดู ด ความสนใจ
การแก้ ปั ญ หาที่ ผู้ เ รี ย นมี อ ยู่ เพื่ อ กำ � หนดแนวทาง
ส่งเสริมให้มก
ี ารประยุกต์ความรูท
้ างคณิตศาสตร์ ขัน
้ ตอน/กระบวนการแก้ปญ
ั หา
ในการแก้ปัญหา และเลือกยุทธวิธีแก้ปัญหา
และยุทธวิธีแก้ปัญหาที่หลากหลาย
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะและกระบวนการแก้ปัญหา
ผู้สอนต้องให้โอกาสผู้เรียนได้ฝึกคิดด้วยตนเองให้มาก โดยจัดสถานการณ์หรือ
ปัญหาหรือเกมที่น่าสนใจ ท้าทายให้อยากคิด เริ่มด้วยปัญหาที่เหมาะสมกับ
ขั้นที่ 3 ดำ�เนินการแก้ปัญหา
ศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคนหรือผู้เรียนแต่ละกลุ่มโดยอาจเริ่มด้วยปัญหาที่
ขัน
้ ตอนนีเ้ ป็นการลงมือปฏิบต
ั ต
ิ ามแผนหรือแนวทาง
ผู้ เ รี ย นสามารถใช้ ค วามรู้ ที่ เ รี ย นมาแล้ ว มาประยุ ก ต์ ก่ อ นต่ อ จากนั้ น จึ ง เพิ่ ม
ทีว่ างไว้ จนสามารถหาคำ�ตอบได้ ถ้าแผนหรือยุทธวิธี
สถานการณ์ ห รื อ ปั ญ หาที่ แ ตกต่ า งจากที่ เ คยพบมา สำ � หรั บ ผู้ เ รี ย นที่ มี ค วาม
ที่ เ ลื อ กไว้ ไ ม่ ส ามารถหาคำ � ตอบได้ ผู้ เ รี ย นต้ อ ง
สามารถสูงผู้สอนควรเพิ่มปัญหาที่ยากซึ่งต้องใช้ความรู้ที่ซับซ้อน หรือมากกว่า
ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของแต่ ล ะขั้ น ตอนในแผน
ที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตรให้ผู้เรียนได้ฝึกคิดด้วย
ที่วางไว้ หรือเลือกยุทธวิธีใหม่จนกว่าจะได้คำ�ตอบ
ในการเริ่มพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและกระบวนการแก้ปัญหา ผู้สอน
จะต้องสร้างพืน
้ ฐานให้ผเู้ รียนเกิดความคุน
้ เคยกับกระบวนการแก้ปญ
ั หาซึง่ มีอยู่
4 ขั้นตอนแล้ว จึงฝึกทักษะในการแก้ปัญหา

ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ
ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาความถูกต้องและความ
สมเหตุสมผลของคำ�ตอบ ผูเ้ รียนอาจมองย้อนกลับไป
พิจารณายุทธวิธีอื่น ๆ ในการหาคำ�ตอบ และขยาย
แนวคิดไปใช้กับสถานการณ์ปัญหาอื่น
58 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 59

แทนกระต่าย 1 ตัว
การสอนการแก้ปัญหาควรมุ่งเน้นกระบวนการคิด ให้ผู้เรียนสามารถ
คิดเป็น แก้ปัญหาได้ตามขั้นตอนของการแก้ปัญหา ไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะผลลัพธ์
แทนไก่ 1 ตัว
หรื อ คำ � ตอบของปั ญ หา ผู้ ส อนสามารถจั ด กิ จ กรรมให้ ผู้ เ รี ย นเรี ย นรู้ อ ย่ า ง
ค่อยเป็นค่อยไป โดยกำ�หนดประเด็นหรือคำ�ถามนำ�ให้คิดและหาคำ�ตอบเป็น
ลำ�ดับเรื่อยไปจนผู้เรียนสามารถหาคำ�ตอบได้ หลังจากนั้นในปัญหาต่อ ๆ ไป
ผู้สอนจึงค่อย ๆ ลดประเด็นคำ�ถามลงมา จนสุดท้ายเมื่อเห็นว่าผู้เรียนมีทักษะ
ในการแก้ปัญหาเพียงพอแล้ว ก็ไม่จำ�เป็นต้องให้ประเด็นคำ�ถามชี้นำ�ก็ได้ ทั้งนี้
ผู้สอนควรเสริมแรงเมื่อผู้เรียนแก้ปัญหาได้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อ
การเรียนคณิตศาสตร์ซึ่งจะช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาที่ยุ่งยาก
ซับซ้อนต่อไปในอนาคต

ในการจัดให้มก
ี ารเรียนรูก
้ ระบวนการแก้ปญ
ั หาตามลำ�ดับขัน
้ ตอนนัน
้ เมือ
่ ผูเ้ รียน คำ�ตอบ มีกระต่าย 13 ตัว และไก่ 17 ตัว

เข้าใจกระบวนการแล้ว ผูส
้ อนควรพัฒนาผูเ้ รียนให้มท
ี ก
ั ษะ โดยควรเน้นให้ผเู้ รียน
วิธีที่ 2 ใช้ตารางช่วยในการวิเคราะห์
ฝึกการวิเคราะห์แนวคิดอย่างหลากหลายในขั้นวางแผนแก้ปัญหาเพราะเป็น
1) กำ�หนดจำ�นวนไก่ และกระต่ายรวมกันเป็น 30 ตัวก่อน
ขั้นตอนที่มีความสำ�คัญและยากสำ�หรับผู้เรียน
2) ค่อย ๆ ลดหรือเพิ่มจำ�นวนไก่และกระต่ายให้สอดคล้องกับจำ�นวนขา
กำ�หนดสถานการณ์ปัญหา “ไก่กับกระต่าย” ดังนี้
ตามที่กำ�หนด

พ่อของนิตยาเลีย
้ งไก่กบ
ั กระต่ายไว้จ�ำ นวนหนึง่ ปกติพอ
่ จะแยกเลีย
้ งไก่ไว้ในเล้า จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน
และเลี้ยงกระต่ายไว้ในกรง วันหนึ่งพ่อปล่อยให้ไก่กับกระต่ายออกมาวิ่งเล่น กระต่าย ขากระต่าย ไก่ ขาของไก่ ขาทั้งหมด
ในทุ่งหญ้าหลังบ้าน นิตยาออกมาเดินเล่นและเห็นไก่กับกระต่ายจึงไปถามพ่อ (ตัว) (ขา) (ตัว) (ขา) (ขา)
ตัวอย่าง
นิตยา : คุณพ่อเลี้ยงไก่กับกระต่ายไว้อย่างละกี่ตัวคะ 1 4 29 58 62
การแก้ปัญหา ข้ามขั้น
พ่อ : ถ้าลูกอยากรู้ต้องหาคำ�ตอบเองนะ พ่อรู้ว่านับไก่กับกระต่ายรวมกันได้ 5 20 25 50 70
30 ตัว ถ้านับขาไก่กับขากระต่ายรวมกันจะได้ 86 ขา ข้ามขั้น
10 40 20 40 80
นิตยา : ไม่ยากเลยค่ะคุณพ่อ หนูหาคำ�ตอบได้
11 44 19 38 82

ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนแต่ละคนหาคำ�ตอบตามแนวคิดของตนเองหรืออาจจัดเป็น 12 48 18 36 84

กิจกรรมกลุ่มให้ผู้เรียนช่วยกันคิดหาคำ�ตอบก็ได้ ซึ่งปัญหานี้ผู้เรียนสามารถหา 13 52 17 34 86
คำ�ตอบได้โดยใช้วิธีต่างกัน เช่น
ได้จำ�นวนขาเท่ากับที่โจทย์กำ�หนด
คำ�ตอบ มีกระต่าย 13 ตัว และไก่ 17 ตัว
วิธีที่ 1 ใช้แผนภาพ
1) เริ่มด้วยการวาดภาพ 30 ภาพ แทนตัวของสัตว์ทั้งหมด
จะสังเกตเห็นว่า จากวิธีที่ 2 ผู้เรียนเริ่มต้นด้วยการจับคู่กระต่าย 1 ตัว และไก่
2) สมมติว่าสัตว์ทุกตัวเป็นไก่โดยเขียนขาของทุกตัวเป็น 2 ขา แล้ววาดขาเพิ่ม
29 ตัวก่อน แล้วหาจำ�นวนขาของสัตว์ทงั้ หมด สังเกตผลลัพธ์ ใช้ทก
ั ษะการคาดเดา
ไปทีละรูปแทนกระต่ายจนจำ�นวนขาครบตามที่กำ�หนด
และการวิเคราะห์ค�ำ ตอบ โดยข้ามขัน
้ ตอนบางขัน
้ ตอน จนกระทัง่ ได้ค�ำ ตอบตาม
ต้องการ
60 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 61

วิธีที่ 3 ใช้สมการ
สมมติให้มีไก่อยู่ x ตัว
จะมีกระต่าย 30 – x ตัว
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการสื่อสารที่นอกจากนำ�เสนอ
จะได้จำ�นวนขาของไก่ 2x ขา
ผ่านช่องทางการสื่อสาร การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสังเกต และการแสดงท่าทาง
และจำ�นวนขาของกระต่าย 4(30 – x) ขา
ตามปกติแล้ว ยังเป็นการสือ
่ สารทีม
่ ล
ี ก
ั ษณะพิเศษ โดยมีการใช้สญ
ั ลักษณ์ ตัวแปร ตาราง กราฟ
ปัญหาได้ก�ำ หนดให้จ�ำ นวนขาของไก่และขาของกระต่ายรวมกัน 86 ขา
สมการ อสมการ ฟังก์ชัน หรือแบบจำ�ลอง เป็นต้น มาช่วยในการสื่อความหมายด้วย
เขียนสมการและแก้สมการดังนี้
การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์เป็นทักษะและกระบวนการ
2x + 4(30 – x) = 86
ทางคณิ ต ศาสตร์ ที่ จ ะช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นสามารถถ่ า ยทอดความรู้ ค วามเข้ า ใจ แนวคิ ด ทาง
2x + 120 – 4x = 86
คณิ ต ศาสตร์ หรื อ กระบวนการคิ ด ของตนให้ ผู้ อื่ น รั บ รู้ ไ ด้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ชั ด เจน และมี
– 2x = 86 – 120
ประสิทธิภาพ การทีผ
่ เู้ รียนมีสว่ นร่วมในการอภิปรายหรือการเขียนเพือ
่ แลกเปลีย
่ นความรูแ
้ ละ
x = –34
–2 ความคิดเห็นถ่ายทอดประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น จะช่วยให้
x = 17
ผู้เรียนเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้อย่างมีความหมาย เข้าใจได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งและจดจำ�ได้
คำ�ตอบ มีไก่ 17 ตัว และกระต่าย 13 ตัว
นานมากขึ้น
จากสถานการณ์ปัญหา “ไก่และกระต่าย” ที่ให้เป็นตัวอย่างข้างต้นนี้ การจัดการเรียนรูเ้ พือ
่ ให้เกิดทักษะการสือ
่ สารและการสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
ผู้เรียนอาจแสดงแนวคิดที่แตกต่างจากนี้ได้อีก ผู้สอนจะต้องใช้ดุลพินิจพิจารณา ทำ�ได้ทุกเนื้อหาที่ต้องการให้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำ�ไปสู่การแก้ปัญหา เช่น ในวิชา
วิธีการต่าง ๆ ที่ผู้เรียนแสดงแนวคิด โดยกล่าวชมเชยส่งเสริมแนวคิดนั้น ชี้ข้อ เรขาคณิตมีเนื้อหาที่ต้องฝึกการวิเคราะห์ การให้เหตุผล และการพิสูจน์ ผู้เรียนต้องฝึกทักษะ
บกพร่องตลอดจนอธิบายและให้ความรู้เพิ่มเติม ในการสังเกต การนำ�เสนอรูปภาพต่าง ๆ เพื่อสื่อความหมายแล้วนำ�ความรู้ทางเรขาคณิตไป
ขั้นตอนที่สำ�คัญอีกขั้นตอนหนึ่งที่ผู้สอนจะต้องเน้นอยู่เสมอคือ ขั้นตอน อธิบายปรากฏการณ์และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วัน
การตรวจสอบคำ�ตอบที่ต้องคำ�นวณจำ�นวนขาของไก่และขาของกระต่ายจาก การจัดการเรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
จำ�นวนตัวทีผ
่ เู้ รียนหาได้วา่ สอดคล้องกับทีโ่ จทย์หรือปัญหากำ�หนดให้หรือไม่ ดังนี ้ ในวิชาพีชคณิต เป็นการฝึกทักษะให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ปัญหา สามารถเขียนปัญหาใน
ไก่ 17 ตัว มี 34 ขา รูปแบบของตาราง กราฟ หรือข้อความ เพือ
่ สือ
่ สารความสัมพันธ์ของจำ�นวนเหล่านัน
้ ขัน
้ ตอน
กระต่าย 13 ตัว มี 52 ขา ในการดำ�เนินการเริ่มจากการกำ�หนดโจทย์ปัญหาให้ผู้เรียนวิเคราะห์ กำ�หนดตัวแปร เขียน
รวมจำ�นวนตัวได้ 30 ตัว และจำ�นวนขาได้ 86 ขา ความสัมพันธ์ของตัวแปรในรูปของสมการหรืออสมการตามเงือ
่ นไขทีโ่ จทย์ก�ำ หนด และดำ�เนิน
ซึ่งสอดคล้องกับข้อกำ�หนดของปัญหา การแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการทางพีชคณิต
การจัดการเรียนรูเ้ พือ
่ ให้เกิดทักษะการสือ
่ สารและการสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
2
มีแนวทางในการดำ�เนินการดังนี้
1. กำ�หนดโจทย์ปัญหาที่น่าสนใจและเหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน
การพัฒนาทักษะและกระบวนการการสือ
่ สารและการสือ
่ ความหมาย 2. ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติและแสดงความคิดเห็นด้วยตนเอง โดยผู้สอนชี้แนะแนวทาง
ทางคณิตศาสตร์ ในการสื่อสารและการสื่อความหมาย
การฝึกทักษะและกระบวนการนี้ต้องทำ�อย่างต่อเนื่อง โดยสอดแทรกอยู่ทุกขั้นตอน
การสื่ อ สาร เป็ น วิ ธี ก ารแลกเปลี่ ย นความคิ ด และสร้ า งความเข้ า ใจ ของการจัดการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ ให้ผเู้ รียนคิดตลอดเวลาทีเ่ ห็นปัญหาว่า ทำ�ไมจึงเป็นเช่นนัน

ระหว่างบุคคล ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน จะมีวธิ แ
ี ก้ปญ
ั หาอย่างไร เขียนรูปแบบความสัมพันธ์ของตัวแปรเป็นอย่างไร จะใช้ภาพ ตาราง
การเขียน การสังเกต และการแสดงท่าทาง หรือกราฟใดช่วยในการสื่อความหมาย
62 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 63

ตัวอย่างการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ จากนัน
้ ผูเ้ รียนช่วยกันหาคำ�ตอบและสร้างตารางใหม่เพือ
่ แสดงจำ�นวน
กำ�หนดสถานการณ์ดังนี้ เงินที่นายจ้างต้องจ่ายจากการทำ�งานทั้ง 3 อย่าง ดังตารางที่ 2

ตัวอย่างการ จำ�นวนเงินที่นายจ้างต้องจ่าย (บาท)


งาน
สื่อสารและการ แดง น้อย จิต
สื่อความหมายทาง ร้านค้าแห่งหนึ่งมีลูกจ้าง 3 คน คือ แดง น้อย และจิต โดยแต่ละคนเสนอค่าจ้าง
คณิตศาสตร์ ทำ�งานชั่วโมงละ 100 , 110 และ 120 บาท ตามลำ�ดับ และมีงาน 3 อย่าง a 750 660 780
คือ a, b และ c b 800 935 840
c 450 550 420
จำ�นวนชัว่ โมงทีแ
่ ดงทำ�งาน a , b และ c คือ 7.5 , 8 และ 4.5 ชัว่ โมง ตามลำ�ดับ รวม 2,000 2,145 2,040
จำ�นวนชัว่ โมงทีน
่ อ
้ ยทำ�งาน a , b และ c คือ 6 , 8.5 และ 5 ชัว่ โมง ตามลำ�ดับ
ตารางที่ 2 แสดงจำ�นวนเงินที่นายจ้างต้องจ่าย
จำ�นวนชัว่ โมงทีจ
่ ต
ิ ทำ�งาน a , b และ c คือ 6.5 , 7 และ 3.5 ชัว่ โมง ตามลำ�ดับ
ผู้เรียนสามารถใช้ตารางที่ 2 นำ�เสนอคำ�ตอบดังนี้
ควรจ้างน้อยทำ�งาน a เพราะจ่ายค่าจ้างน้อยที่สุด
อยากทราบว่านายจ้างควรให้ลูกจ้างคนใดทำ�งานอย่างใดที่สามารถทำ�งานนั้น
ควรจ้างแดงทำ�งาน b เพราะจ่ายค่าจ้างน้อยที่สุด
เสร็จ และจ่ายเงินน้อยที่สุด และถ้านายจ้างต้องการรับลูกจ้างเพื่อเข้าทำ�งาน
ควรจ้างจิตทำ�งาน c เพราะจ่ายค่าจ้างน้อยที่สุด
ทั้งสามอย่างเพียงหนึ่งคน เขาควรรับลูกจ้างคนใดเข้าทำ�งานจึงจะจ่ายเงินน้อย
และควรจ้างแดงทำ�งานทั้ง 3 อย่าง เพราะจ่ายค่าจ้างในการทำ�งาน
ที่สุด
รวมน้อยที่สุด

3
การพัฒนาทักษะและกระบวนการการเชื่อมโยง

การเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยการคิด
ในการแก้ ปั ญ หานี้ ผู้ เ รี ย นจะวิ เ คราะห์ ปั ญ หาและใช้ ต ารางช่ ว ยใน วิเคราะห์ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการนำ�ความรู้ เนื้อหา และหลักการ
การสื่อสาร การสื่อความหมายข้อมูลที่กำ�หนดให้ ดังตารางที่ 1 ทางคณิตศาสตร์ มาสร้างความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุเป็นผลระหว่างความรูแ
้ ละ
ทักษะและกระบวนการทีม
่ ใี นเนือ
้ หาคณิตศาสตร์กบ
ั งานทีเ่ กีย
่ วข้อง เพือ
่ นำ�ไปสู่
จำ�นวนชั่วโมงการทำ�งาน การแก้ปัญหาและการเรียนรู้แนวคิดใหม่ที่ซับซ้อนหรือสมบูรณ์ขึ้น
งาน
แดง น้อย จิต การทีผ
่ เู้ รียนเห็นการเชือ
่ มโยงทางคณิตศาสตร์ จะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเห็น
a 7.5 6 6.5 ความสัมพันธ์ของเนือ
้ หาต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิด
b 8 8.5 7 ทางคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ทำ�ให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ได้
c 4.5 5 3.5 ลึกซึง้ และมีความคงทนในการเรียนรู้ ตลอดจนช่วยให้ผเู้ รียนเห็นว่าคณิตศาสตร์
มีคุณค่า น่าสนใจ และสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้
ตารางที่ 1 แสดงชั่วโมงการทำ�งาน ในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้และมี
พืน
้ ฐานในการทีจ
่ ะนำ�ไปศึกษาต่อนัน
้ จำ�เป็นต้องบูรณาการเนือ
้ หาต่าง ๆ ในวิชา
คณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน เช่น การใช้ความรู้ในเรื่องเซตในการให้คำ�จำ�กัดความ
หรือบทนิยามในเรื่องต่าง ๆ เช่น บทนิยามของฟังก์ชันในรูปของเซต บทนิยาม
ของลำ�ดับในรูปของฟังก์ชัน
64 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 65

ตัวอย่างการเชื่อมโยง
นอกจากการเชือ
่ มโยงระหว่างเนือ
้ หาต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ดว้ ยกันแล้ว
กำ�หนดสถานการณ์ปัญหาดังนี้
ยังมีการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ โดยใช้คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือ
ในการเรียนรู้ และใช้การแก้ปัญหา เช่น เรื่องการเงิน การคิดดอกเบี้ยทบต้น
ตัวอย่างการ
ก็อาศัยความรู้ในเรื่องเลขยกกำ�ลังและผลบวกของอนุกรม ในงานศิลปะและ
เชื่อมโยง บริษัทก่อสร้างดำ�รงต้องการเช่าที่ดินขนาด 2 ไร่ จำ�นวน 1 แปลง สำ�หรับเก็บ
การออกแบบบางชนิดก็ใช้ความรู้เกี่ยวกับรูปเรขาคณิต
วัสดุก่อสร้างในราคาประหยัด และมีผู้นำ�ที่ดินมาเสนอให้เช่า 2 ราย ดังนี้
นอกจากนั้ น แล้ ว ยั ง มี ก ารนำ� ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ไ ปประยุ ก ต์ ใ น
วิชาชีพบางอย่างโดยตรง เช่น การตัดเย็บเสื้อผ้า งานคหกรรมเกี่ยวกับอาหาร นายบุญ เสนอทีด
่ น
ิ 2 ไร่ 1 งาน คิดราคาค่าเช่าทีด
่ น
ิ ทัง้ แปลงเดือนละ 7,000 บาท
งานเกษตร งานออกแบบสร้ า งหี บ ห่ อ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ รวมถึ ง การนำ � นางล้วน เสนอที่ดิน 5 ไร่ 3 งาน แบ่งที่ดินให้เช่าได้โดยคิดค่าเช่าตารางวาละ
คณิตศาสตร์ไปเชือ
่ มโยงกับชีวต
ิ ความเป็นอยูป
่ ระจำ�วัน เช่น การซือ
้ ขาย การชัง่ 100 บาทต่อปี
ตวง วัด การคำ�นวณระยะทางและเวลาที่ใช้ในการเดินทาง การวางแผนใน ถ้าผู้เรียนเป็นเจ้าของบริษัทก่อสร้างดำ�รง ผู้เรียนจะตกลงเช่าที่ดินของใคร
การออมเงินไว้ใช้ในช่วงบั้นปลายของชีวิต เพราะเหตุใด
องค์ประกอบหลักทีส
่ ง่ เสริมการพัฒนาการเรียนรูท
้ ก
ั ษะและกระบวนการ
การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์
อื่น ๆ มีดังนี้
1. มีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์อย่างเด่นชัดในเรื่องนั้น
2. มี ค วามรู้ ใ นเนื้ อ หาที่ จ ะนำ � ไปเชื่ อ มโยงกั บ สถานการณ์ ห รื อ งานอื่ น ๆ
ที่ต้องการเป็นอย่างดี
จากสถานการณ์ปัญหาข้างต้น จะเห็นว่าผู้เรียนต้องใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์
3. มีทักษะในการมองเห็นความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงระหว่างความรู้และทักษะ
ในการคำ�นวณค่าเช่าทีด
่ น
ิ ต้องคำ�นึงถึงราคาทีต
่ อ
้ งการประหยัด ต้องใช้เหตุผล
และกระบวนการที่มีในเนื้อหานั้นกับงานที่เกี่ยวข้อง
ประกอบการตัดสินใจ การนำ�เสนอเฉพาะคำ�ตอบของผูเ้ รียนไม่ใช่สงิ่ สำ�คัญทีส
่ ด

4. มีทักษะในการสร้างแบบจำ�ลองทางคณิตศาสตร์เพื่อสร้างความสัมพันธ์
ผูส
้ อนจะต้องให้ความสำ�คัญต่อแนวคิดและเหตุผลของผูเ้ รียนแต่ละคนประกอบ
และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ หรือคณิตศาสตร์กับสถานการณ์
ด้วย
ที่ต้องเกี่ยวข้อง
ตัวอย่างคำ�ตอบและเหตุผลของผู้เรียนอาจเป็นดังนี้
5. มีความเข้าใจในการแปลความหมายของคำ�ตอบที่หาได้จากแบบจำ�ลอง
ด.ช.ก่อ ตอบว่า ควรเช่าทีด
่ น
ิ ของนายบุญ ซึง่ มีคา่ ใช้จา่ ยปีละ 84,000 บาท
ทางคณิตศาสตร์ว่ามีความเป็นไปได้หรือสอดคล้องกับสถานการณ์นั้น ๆ
(7,000 × 12 = 84,000) และได้ที่ดินมากกว่าที่กำ�หนดไว้อีก 1 งาน
อย่างสมเหตุสมผล
ด.ญ.นิตยา ตอบว่า ควรเช่าที่ดินของนางล้วน ซึ่งคิดค่าเช่า 2 ไร่หรือ
ในการจั ด การเรี ย นรู้ ใ ห้ ผู้ เ รี ย นได้ พั ฒ นาทั ก ษะและกระบวนการ
800 ตารางวา เป็นเงิน 80,000 บาทต่อปี ซึง่ เป็นราคาเช่าทีถ
่ ก
ู กว่าเช่าทีด
่ น
ิ ของ
การเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์นั้นผู้สอนอาจจัดกิจกรรมหรือสถานการณ์
นายบุญ
ปัญหาสอดแทรกในการเรียนรูอ
้ ยูเ่ สมอ เพือ
่ ให้ผเู้ รียนได้เห็นการนำ�ความรู้ เนือ
้ หา
ด.ญ.นุช ตอบว่า ควรเช่าทีด
่ น
ิ ของนายบุญ ซึง่ เมือ
่ คิดค่าเช่าเป็นตารางวา
สาระ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการเรียนรู้เนื้อหาใหม่ หรือ
ต่อปีแล้วจะจ่ายเพียงตารางวาละ 93 บาท 7000 × 12 ≈ 93
นำ�ความรูแ
้ ละกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปญ
ั หาในสถานการณ์ทผ
ี่ ส
ู้ อน 900
ซึ่งถูกกว่าค่าเช่าที่ดินของนางล้วน
กำ�หนดขึน
้ เพือ
่ ให้ผเู้ รียนเห็นความเชือ
่ มโยงของคณิตศาสตร์กบ
ั ศาสตร์อน
ื่ ๆ หรือ
ผู้สอนอาจเปิดประเด็นให้ผู้เรียนได้มีการอภิปรายต่อในเรื่องนี้ได้อีก
เห็นการนำ�คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ในชีวต
ิ ประจำ�วันเพือ
่ ให้ผเู้ รียนได้มก
ี ารปฏิบต
ั ิ
ในประเด็ น ที่ ว่ า ในชี วิ ต จริ ง แล้ ว ก่ อ นตั ด สิ น ใจลงทุ น ทำ � กิ จ การใดผู้ ล งทุ น จะ
จริงและมีทักษะและกระบวนการเชื่อมโยงความรู้นี้ ผู้สอนอาจมอบหมายงาน
ไม่พจิ ารณาเฉพาะค่าเช่าเพียงอย่างเดียวต้องพิจารณาองค์ประกอบอืน
่ ๆ ด้วย เช่น
หรือกิจกรรมให้ผเู้ รียนได้ไปศึกษาค้นคว้าหาความรูท
้ เี่ กีย
่ วข้องกับกิจกรรมนัน
้ ๆ
สภาพแวดล้อม ความสะดวกในการเข้าหรือออก ทีด
่ น
ิ อยูใ่ กล้หรือไกลจากบริษท

แล้วนำ�เสนองานต่อผู้สอนและผู้เรียน ให้มีการอภิปรายและหาข้อสรุปร่วมกัน
66 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 67

เพียงใด ประเด็นเหล่านี้จะช่วยทำ�ให้ผู้เรียนมีความคิดพิจารณาในวงกว้างขึ้น
สามารถนำ�ความคิดเช่นนี้ไปประยุกต์ในชีวิตจริงได้ เป็นการส่งเสริมทักษะและ
กระบวนการการให้เหตุผล ความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมในด้านความคิดอย่างถี่ถ้วนรอบคอบ กล้าแสดงความคิดเห็น และคิด
อย่ า งมี วิ จ ารณญาณอี ก ด้ ว ย ในการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ ต้ อ งการให้ ผู้ เ รี ย นมี ก าร
พัฒนาการเรียนรู้ ผู้สอนควรจัดกิจกรรมหรือให้ปัญหาที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้คิด สามารถบอกแนวคิดและแสดงเหตุผลได้ ผู้สอนไม่ควรดูเฉพาะคำ�ตอบที่
หาได้จากการคำ�นวณเท่านัน
้ คำ�ตอบของปัญหาอาจมีมากกว่า 1 คำ�ตอบ ขึน
้ อยู่
กับการให้เหตุผลประกอบที่สมเหตุสมผลด้วย

4
การพัฒนาทักษะและกระบวนการการให้เหตุผล องค์ประกอบหลักที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่างมีเหตุมีผลและ
รู้จักให้เหตุผลมีดังนี้
การให้เหตุผล เป็นกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ทต
ี่ อ
้ งอาศัยการคิด 1. ควรให้ผเู้ รียนได้พบกับโจทย์ หรือปัญหาทีผ
่ เู้ รียนสนใจ เป็นปัญหาทีไ่ ม่ยาก
วิเคราะห์และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการรวบรวมข้อเท็จจริง ข้อความ เกินความสามารถของผู้เรียนที่จะคิด และให้เหตุผลในการหาคำ�ตอบได้
แนวคิด สถานการณ์ทางคณิตศาสตร์ตา่ ง ๆ แจกแจงความสัมพันธ์ หรือการเชือ
่ มโยง 2. ให้ผเู้ รียนมีโอกาสและเป็นอิสระทีจ
่ ะแสดงออกถึงความคิดเห็นในการใช้และ
เพื่อให้เกิดข้อเท็จจริงหรือสถานการณ์ใหม่ ให้เหตุผลของตนเอง
การให้เหตุผลเป็นทักษะและกระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิด 3. ผู้สอนช่วยสรุปและชี้แจงให้ผู้เรียนเข้าใจว่า เหตุผลของผู้เรียนถูกต้องตาม
อย่างมีเหตุผล คิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ หลักเกณฑ์หรือไม่ ขาดตกบกพร่องอย่างไร
ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ปัญหา
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม การคิดอย่างมีเหตุผลเป็นเครือ
่ งมือสำ�คัญทีผ
่ เู้ รียน การเริม
่ ต้นทีจ
่ ะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเรียนรู้ และเกิดทักษะในการให้เหตุผล
จะนำ�ไปใช้พฒ
ั นาตนเองในการเรียนรูส
้ งิ่ ใหม่ เพือ
่ นำ�ไปประยุกต์ใช้ในการทำ�งาน ผู้สอนควรจัดสถานการณ์หรือปัญหาที่น่าสนใจให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ผู้สอน
และการดำ�รงชีวิต สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนและคอยช่วยเหลือโดยกระตุ้นหรือชี้แนะอย่างกว้าง ๆ
การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนรู้จักคิดและให้เหตุผลเป็นสิ่งสำ�คัญ โดย โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นด้วยคำ�ว่า “ทำ�ไม” “อย่างไร” “เพราะเหตุใด” เป็นต้น
ทั่วไปเข้าใจกันว่าการฝึกให้รู้จักให้เหตุผลที่ง่ายที่สุด คือ การฝึกจากการเรียน พร้อมทัง้ ให้ขอ
้ คิดเพิม
่ เติมอีก เช่น “ถ้า... แล้ว...” “ผูเ้ รียนคิดว่า... จะเป็นอย่างไร”
เรขาคณิตตามแบบยุคลิด เพราะมีโจทย์เกีย
่ วกับการให้เหตุผลมากมาย มีทงั้ การ ผูเ้ รียนทีใ่ ห้เหตุผลได้ไม่สมบูรณ์ ผูส
้ อนต้องไม่ตด
ั สินด้วยคำ�ว่าไม่ถก
ู ต้อง แต่อาจใช้
ให้เหตุผลอย่างง่าย ปานกลาง และยาก แต่แท้ทจ
ี่ ริงแล้วการฝึกให้ผเู้ รียนรูจ
้ ก
ั คิด คำ�พูดเสริมแรงและให้กำ�ลังใจว่า คำ�ตอบที่ผู้เรียนตอบมามีบางส่วนถูกต้อง
และให้เหตุผลอย่างสมเหตุสมผลนัน
้ สามารถสอดแทรกได้ในการเรียนรูท
้ ก
ุ เนือ
้ หา ผู้เรียนคนใดจะให้คำ�อธิบายหรือให้เหตุผลเพิ่มเติมของเพื่อนได้อีกบ้าง เพื่อให้
ของวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาอื่น ๆ ด้วย ผู้เรียนมีการเรียนรู้ร่วมกันมากยิ่งขึ้น
ในการจั ด การเรี ย นรู้ ผู้ ส อนควรเปิ ด โอกาสให้ ผู้ เ รี ย นได้ คิ ด อย่ า ง
หลากหลาย โจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์ที่กำ�หนดให้ควรเป็นปัญหาปลายเปิด
(open – ended problem) ที่ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็น หรือให้เหตุผล
ที่แตกต่างกันได้
68 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 69

ตัวอย่างการให้เหตุผล
กำ�หนดโจทย์ปัญหา ดังนี้ ในการฝึกให้ผเู้ รียนให้เหตุผลอย่างสมเหตุสมผล คำ�ตอบของ ด.ญ.ศรีเพ็ญ
ถือว่าเป็นคำ�ตอบที่ถูกต้องสมเหตุสมผลคำ�ตอบหนึ่ง
อาจมีผู้เรียนบางคนแสดงความคิดเห็นว่า วิธีทำ�ของ ด.ช.ก่อ ยังไม่
ตัวอย่างการ
ถูกต้องเพราะเหตุว่าตำ�แหน่งที่ไม้ปักอยู่อาจปักอยู่ในบริเวณที่ตื้น หรือลึกกว่า
ให้เหตุผล
1.30 เมตร เพราะฉะนั้นความยาวของไม้ส่วนที่ปักอยู่ในดินอาจน้อยกว่า หรือ
ไม้ ไ ผ่ ลำ � หนึ่ ง ยาว 2.85 เมตร ปั ก อยู่ ใ นบึ ง แห่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง มี น้ำ � ลึ ก โดยเฉลี่ ย มากกว่า 0.6 เมตร ก็ได้ ถ้าผูเ้ รียนแสดงความคิดเห็นเช่นนี้ ผูส
้ อนควรใช้ค�ำ ถาม
1.30 เมตร ถ้ า ส่ ว นที่ อ ยู่ เ หนื อ น้ำ � คิ ด เป็ น 1
3 ของความยาวของไม้ ไ ผ่ ลำ � นี้ ให้ผู้เรียนคิดต่อว่าผู้เรียนจะแก้ไขวิธีทำ�ของ ด.ช.ก่อ อย่างไรจึงจะได้คำ�ตอบ
ไม้ไผ่ส่วนที่ปักอยู่ในดินยาวกี่เมตร ที่ถูกต้องและสมเหตุสมผล
ผูเ้ รียนอาจจะให้เหตุผลเพิม
่ เติมโดยใช้ค�ำ ว่า “ถ้า” ในบรรทัดทีส
่ อง ดังนี ้
ถ้า ไม้ส่วนที่ปักอยู่ในน้ำ�ยาว 1.30 เมตร ไม้ส่วนที่ปักอยู่ในดินก็จะ
ยาว 0.6 เมตร
หรือสรุปตรงคำ�ตอบว่า ไม้สว่ นทีป
่ ก
ั อยูใ่ นดินยาวประมาณ 0.6 เมตรก็ได้

ตัวอย่างการให้เหตุผลในกระบวนการแก้ปญ
ั หาทีใ่ ช้คำ�ถามประกอบการหา
สมมติว่า ด.ช.ก่อ แสดงวิธีทำ�ตามแนวคิด ดังนี้ คำ�ตอบ
ความยาวของไม้ไผ่ส่วนที่อยู่เหนือน้ำ�คิดเป็น 1 ของ 2.85 = 0.95 เมตร ผู้สอนกำ�หนดโจทย์ จงทำ� (x-3 y-2z0)-2 เมื่อ x , y , z ไม่เท่ากับ 0
3
ความยาวของไม้ไผ่ส่วนที่ปักอยู่ในน้ำ�เท่ากับ 1.30 เมตร ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
ดังนั้นไม้ไผ่ส่วนที่อยู่ในดินยาว 2.85 – (0.95 + 1.30) = 0.6 เมตร
ตอบ 0.6 เมตร
คำ�ถามของผู้สอน ขั้นตอนแสดงวิธีทำ� การให้เหตุผลของผู้เรียน

1. จากโจทย์ผู้เรียนควรจะลดรูป (x-3 y-2z0)-2 = (x-3 y-2)-2 1. ลดรูป z0 ก่อน เพราะว่า


ส่วนใดก่อน เพราะเหตุใด เมื่อ z ≠ 0 จะได้ z0 = 1
จะทำ�ให้ลดตัวแปรเหลือ
ด.ญ.ศรีเพ็ญ แสดงความคิดเห็นว่า โจทย์ข้อนี้หาคำ�ตอบไม่ได้ เพราะ เพียงสองตัว
ว่าโจทย์กำ�หนดความลึกของน้ำ� โดยเฉลี่ย 1.30 เมตร ตรงตำ�แหน่งที่ไม้ปักอยู่ 2. ผู้เรียนจะใช้สมบัติใดต่อไป = (x-3)-2 ∙ (y-2)-2 2. จากสูตรที่เคยทราบว่า
ไม่ทราบว่ามีความลึกของน้ำ�เท่าไรแน่ จึงไม่สามารถหาความยาวของไม้ส่วนที่ (ab)n = anbn เมื่อ a ≠ 0
ปักอยู่ในดินได้ และ b ≠ 0
ผูส
้ อนอาจใช้ค�ำ ถามกระตุน
้ ว่า “ใครมีความคิดเห็นแตกต่างไปจากสอง 3. ผู้เรียนจะใช้สมบัติใดต่อไปอีก = x ∙ y 6 4
3. จากสูตรที่เคยทราบว่า
แนวคิดนีอ
้ ก
ี หรือไม่” ถ้าไม่มค
ี วามเห็นเพิม
่ เติมผูส
้ อนควรถามความคิดเห็นต่อว่า (am)n = amn เมื่อ a ≠ 0
คำ�ตอบของศรีเพ็ญมีเหตุผลที่ยอมรับได้หรือไม่
70 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 71
5
การพัฒนาทักษะและกระบวนการการคิดสร้างสรรค์

ตัวอย่าง ตัวอย่างปัญหาที่มีคำ�ตอบได้หลายคำ�ตอบ
การคิ ด สร้ า งสรรค์ เป็ น กระบวนการคิ ด ที่ อ าศั ย ความรู้ พื้ น ฐาน
ปัญหา
จิ น ตนาการและวิ จ ารณญาณ ในการพั ฒ นาหรื อ คิ ด ค้ น องค์ ค วามรู้ หรื อ สิ่ ง
ปลายเปิด “จงหาความยาวด้านที่เป็นจำ�นวนเต็มของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ที่มี
ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ความคิด
สร้างสรรค์มีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับพื้นฐานที่สูงกว่าความคิดพื้น ๆ เพียง ความยาวรอบรูปเท่ากับ 15 หน่วย”

เล็กน้อย ไปจนกระทั่งเป็นความคิดที่อยู่ในระดับสูงมาก
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์จะช่วยให้ผู้เรียนมีแนวทางการคิดที่
หลากหลาย มีกระบวนการคิด จินตนาการในการประยุกต์ ทีจ
่ ะนำ�ไปสูก
่ ารคิดค้น ผู้เรียนอาจแก้ปัญหานี้โดยการสมมติความยาวของด้านต่าง ๆ ของ

สิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่และมีคุณค่าที่คนส่วนใหญ่คาดคิดไม่ถึงหรือมองข้าม รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วซึ่งต้องใช้ความรู้พื้นฐานที่ว่า “ผลบวกของความยาวของ

ตลอดจนส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีนส
ิ ย
ั กระตือรือร้น ไม่ยอ
่ ท้อ อยากรูอ
้ ยากเห็น อยาก ด้านสองด้านของรูปสามเหลี่ยมย่อมยาวกว่าด้านที่สาม”

ค้นคว้าและทดลองสิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ
บรรยากาศทีช
่ ว่ ยส่งเสริมความคิดริเริม
่ สร้างสรรค์ ได้แก่ การเปิดโอกาส กรณีที่ ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 หมายเหตุ
ให้ผเู้ รียนคิด และนำ�เสนอแนวคิดของตนเองอย่างอิสระภายใต้การให้ค�ำ ปรึกษา 1 7 7 1
แนะนำ�ของผู้สอน การจัดกิจกรรม การเรียนรู้สามารถเริ่มต้นจากการนำ�เสนอ 2 6 6 3
ปั ญ หาที่ ท้ า ทาย น่ า สนใจ เหมาะกั บ วั ย ของผู้ เ รี ย นและเป็ น ปั ญ หาที่ ผู้ เ รี ย น 3 5 5 5
สามารถนำ�ความรู้พ้น
ื ฐานทางคณิตศาสตร์ท่ม
ี ีอยู่มาใช้แก้ปัญหาได้ การแก้ปัญหา 4 4 4 7
ควรจัดเป็นกิจกรรมในลักษณะร่วมกันแก้ปัญหา ให้ผู้เรียนได้อภิปรายร่วมกัน 5 3 3 9 3 + 3 < 9 ไม่ใช่รูปสามเหลี่ยม
การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เสนอแนวคิดหลาย ๆ แนวคิด เป็นการช่วยเสริม
6 2 2 11 2 + 2 < 11 ไม่ใช่รูปสามเหลี่ยม
เติมเต็ม ทำ�ให้ได้แนวคิดในการแก้ปัญหาที่สมบูรณ์และหลากหลาย
ปัญหาปลายเปิดซึ่งเป็นปัญหาที่มีคำ�ตอบหลายคำ�ตอบ หรือมีแนวคิด
หรือวิธีการในการหาคำ�ตอบได้หลายอย่าง เป็นปัญหาที่ช่วยส่งเสริมความคิด จากตารางข้างต้น จะมีคำ�ตอบเพียง 4 คำ�ตอบเท่านั้น คือกรณีที่ 1 – 4
ริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้เรียน สำ�หรับปัญหาที่มีหลายคำ�ตอบ เมื่อผู้เรียนคนหนึ่ง
หาคำ�ตอบหนึ่งได้แล้ว ก็ยังมีสิ่งท้าทายให้ผู้เรียนคนอื่น ๆ คิดหาคำ�ตอบอื่น ๆ ที่ นอกจากนี้ผู้เรียนที่มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสมมติตัวแปร อาจใช้
เหลืออยู่ สำ�หรับปัญหาที่มีแนวคิด หรือวิธีการในการหาคำ�ตอบได้หลายอย่าง การสมมติตัวแปรสร้างสมการ และหาคำ�ตอบของสมการ ดังนี้
แม้ว่าผู้เรียนจะหาคำ�ตอบได้ ผู้สอนต้องแสดงให้ผู้เรียนตระหนักถึงการให้ความ ให้ด้านที่ยาวเท่ากันของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วยาวด้านละ x หน่วย
สำ�คัญกับแนวคิด หรือวิธีการในการหาคำ�ตอบนั้นด้วยการส่งเสริมและยอมรับ ด้านที่สามยาว y หน่วย
แนวคิด หรือวิธีการที่หลากหลายของผู้เรียน ในการให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ จะได้สมการ 2x + y = 15
ในการเรียนรู้แนวคิดหรือวิธีการหลาย ๆ อย่างในการแก้ปัญหาปัญหาหนึ่งเป็น จากนั้นใช้การสมมติค่า x แล้วหาค่า y ซึ่งต้องอยู่ในเงื่อนไข “ผลบวก
สิ่งที่มีคุณค่ามากกว่าการให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหลาย ๆ ของความยาวของด้านสองด้านของรูปสามเหลี่ยมย่อมยาวกว่าด้านที่สาม”
ปัญหาโดยใช้แนวคิดหรือวิธีการเพียงอย่างเดียว
นอกจากนี้การให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างปัญหาขึ้นเองให้มีโครงสร้าง
ของปั ญ หาคล้ า ยกั บ ปั ญ หาเดิ ม ที่ ผู้ เ รี ย นมี ป ระสบการณ์ ใ นการแก้ ม าแล้ ว
จะเป็นการช่วยให้ผเู้ รียนมีความเข้าใจปัญหาเดิมอย่างแท้จริง และเป็นการช่วย
ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้เรียนอีกด้วย
72 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 73

ตัวอย่างปัญหาที่สามารถแสดงแนวคิดหรือวิธีการในการแก้ปัญหาได้
แหล่งความรู้เพิ่มเติม
ภาคผนวก
หลายอย่าง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ช่วยในการสอนคณิตศาสตร์

“พี่น้องสามคน มีอายุห่างกันคนละ 2 ปี เรียงตามลำ�ดับอายุจากน้อย


GeoGebra เป็นโปรแกรมคณิตศาสตร์เชิงพลวัต ซึง่ รวมเรขาคณิต พีชคณิต สถิติ
ไปหามาก คือ สมใจ สมหวัง และสมจิตร ทั้งสามคนมีอายุรวมกันเท่ากับ 75 ปี
และแคลคูลัสไว้ด้วยกัน เหมาะสำ�หรับใช้ในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
จงหาอายุของคนทั้งสาม” GeoGebra
โปรแกรมนี้จัดเป็นระบบเรขาคณิตแบบโต้ตอบที่ผู้ใช้งานสามารถสร้างชิ้นงาน
ด้วยจุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง เวกเตอร์ รูปหลายเหลี่ยม ภาคตัดกรวย และ
แนวคิด 1
ฟังก์ชัน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงเชิงพลวัตได้ในภายหลัง นอกจากนี้สามารถใส่
75 เป็นจำ�นวนคี่ ซึง่ ได้จากผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน แต่ละจำ�นวน
สมการและจุดพิกัดได้โดยตรง ดังนั้นโปรแกรม GeoGebra จึงมีความสามารถ
ที่อยู่ถัดกันมีค่าแตกต่างกัน 2 ดังนั้น จำ�นวนทั้งสามจำ�นวนเป็นจำ�นวนคี่
ที่จะจัดการกับตัวแปรที่เกี่ยวกับจำ�นวน เวกเตอร์ และจุด อีกทั้งยังสามารถ
สมมติจำ�นวนแล้วตรวจสอบผลบวก
ใช้หาอนุพันธ์ ปริพันธ์ของฟังก์ชัน และการป้อนคำ�สั่งต่าง ๆ
19 + 21 + 23 = 63
21 + 23 + 25 = 69
23 + 25 + 27 = 75
คำ�ตอบคือ สมใจ สมหวัง และสมจิตร มีอายุ 23, 25 และ 27 ปี ตามลำ�ดับ

แนวคิด 2
อายุของคนกลางคือ สมหวัง เป็นค่าเฉลี่ยของอายุของทั้งสามคน ตัวอย่างการนำ�โปรแกรม GeoGebra ตัวอย่างการนำ�โปรแกรม GeoGebra
ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในระดับ ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในระดับ
หาค่าเฉลี่ยของอายุได้ 75 ÷ 3 = 25 เป็นอายุของสมหวัง มัธยมศึกษาตอนต้น ในเรื่องแผนภาพจุด มัธยมศึกษาตอนปลาย ในเรื่องพาราโบลา
ดังนั้น สมใจมีอายุ 25 – 2 = 23 ปี และ
The Geometer’s Sketchpad หรือ GSP เป็นซอฟต์แวร์ทางคณิตศาสตร์
สมจิตรมีอายุ 25 + 2 = 27 ปี The
Geometer’s เชิงเรขาคณิตพลวัต นิยมใช้ในการสร้าง สำ�รวจ และวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ
Sketchpad เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ทั้งยังใช้สร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical
แนวคิด 3 (GSP)
model) รวมทั้งวาดภาพที่มีความซับซ้อน และสามารถเคลื่อนไหวได้ อีกทั้งจะ
สมมติอายุของน้องสุดท้องคือ สมใจ มีอายุ x ปี จะได้สมหวัง และ
ช่ ว ยเสริ ม ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ เ กี่ ย วกั บ เรขาคณิ ต พี ช คณิ ต ตรี โ กณมิ ติ
สมจิตร มีอายุ x + 2 และ x + 4 ปี ตามลำ�ดับ
แคลคูลส
ั และเรือ
่ งอืน
่ ๆ เอือ
้ ต่อการอธิบายหลักการคณิตศาสตร์ การตอบปัญหา
x + (x + 2) + (x + 4) = 75
และกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างข้อคาดการณ์ หรือใช้ตรวจสอบสมบัติของการสร้าง
3x + 6 = 75
3x = 69
x = 23
ดังนั้นสมใจ สมหวัง และสมจิตร มีอายุ 23, 25 และ 27 ปี ตามลำ�ดับ
นอกจากจะฝึกความคิดสร้างสรรค์กับโจทย์ปัญหาแล้ว ผู้สอนสามารถ
พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในการเรียนรู้กิจกรรมอื่น ๆ ได้อีก เช่น กิจกรรม
เกี่ยวกับการออกแบบ การต่อรูป การประดิษฐ์จากเงื่อนไขที่กำ�หนดให้ ภาพหน้าจอของโปรแกรม
74 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 75

เว็บไซต์สื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ช่วยในการสอนคณิตศาสตร์ โทรทัศน์ครู (Thai Teachers TV)


Thai
จากเว็บไซต์ http://www.thaiteachers.tv
Teachers
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ TV เว็บไซต์ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งรวมข้อมูล วีดิทัศน์ เพื่อการศึกษาไทยและ
(Distance Learning Information Technology: DLIT) พัฒนาสู่ความเป็นครูมืออาชีพ ประกอบด้วยรายการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ
DLIT
จากเว็บไซต์ http://www.dlit.ac.th เรียนการสอนรายวิชาต่าง ๆ รวมทัง้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ซึง่ มีตงั้ แต่ระดับประถม
เว็บไซต์ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเสนอการจัดการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มุ่ง ศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา จัดทำ�โดยสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แก้ปัญหาการขาดแคลนครูของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ครอบคลุม กระทรวงศึกษาธิการ
โรงเรียนทั่วประเทศ มีส่วนประกอบหลัก 5 ส่วน ได้แก่ ห้องเรียน DLIT คลังสื่อ
การเรียนรู้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ คลังข้อสอบ และห้องสมุดดิจิทัล จัดทำ�โดย
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ระบบทดสอบออนไลน์ (Online Testing System)


Online
โครงการสารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน จากเว็บไซต์ http://onlinetesting.ipst.ac.th
Testing
kanchana โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว System เป็นระบบหลักระบบหนึ่งในศูนย์การเรียนรู้ดิจิทัลฯ ที่ให้บริการแก่ ครู นักเรียน
pisek.or.th จากเว็บไซต์ http://kanchanapisek.or.th/kp6 และผู้สนใจในการทำ�แบบทดสอบความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ
เว็ บ ไซต์ ที่ ร วบรวมสารานุ ก รมไทยสำ � หรั บ เยาวชน โดยพระราชประสงค์ เทคโนโลยี ทั้ ง ในส่ ว นของข้ อ สอบตามหลั ก สู ต รแกนกลางฯ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ
ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ซึ่ ง เป็ น สารานุ ก รมที่ จั ด ทำ � ขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ตัวชี้วัด และข้อสอบแข่งขันโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพ
เยาวชน และผู้ที่สนใจได้มีโอกาสอ่านและศึกษาความรู้ด้วยตนเอง เว็บไซต์นี้ ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละคณิ ต ศาสตร์ โครงการ TEDET เป็ น ต้ น จั ด ทำ � โดย
รวบรวมสารานุ ก รมดั ง กล่ า วในรู ป แบบหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Book) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
จำ�นวน 37 เล่ม โดยสารานุกรมในหมวดคณิตศาสตร์เป็นสารานุกรมเล่มที่ 6
จั ด ทำ � โดยโครงการสารานุ ก รมไทยสำ � หรั บ เยาวชน โดยพระราชประสงค์
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
76 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 77

ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


จากเว็บไซต์ http://pisaitems.ipst.ac.th IPST จากเว็บไซต์ http://www.ipst.ac.th
PISA
เป็นระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA ที่ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่ เพื่อให้ผู้เรียนได้ เว็บไซต์ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวมข่าวสาร ทุนการศึกษา กิจกรรม สื่อการเรียน
พัฒนาศักยภาพผ่านการฝึกทำ�ข้อสอบบนระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นแหล่ง การสอน ทัง้ ในส่วนของวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
การเรี ย นรู้ ที่ ส ามารถนำ � ไปใช้ ป ระโยชน์ ท างการศึ ก ษาได้ ต่ อ ไป จั ด ทำ � โดย และสะเต็มศึกษา จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สภาครูคณิตศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา


IPST
Learning
สสวท. (IPST Learning Space) NCTM
(National Council of Teachers of Mathematics: NCTM)
Space จากเว็บไซต์ http://learningspace.ipst.ac.th จากเว็บไซต์ http://www.nctm.org
เว็บไซต์ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เว็ บ ไซต์ ที่ จั ด ทำ � ขึ้ น เพื่ อ รวบรวมข่ า วสาร กิ จ กรรม เผยแพร่ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์
และเทคโนโลยี โดยรวบรวมสื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ มี ม าตรฐาน คั ด กรองคุ ณ ภาพ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละสื่ อ การเรี ย นการสอนวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ที่ มี คุ ณ ภาพและ
และความถูกต้องโดยผู้เชี่ยวชาญ และสอดคล้องกับหลักสูตรในโรงเรียนไว้ ผ่ า นการวิ จั ย จากทั่ ว โลก เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการจั ด การเรี ย นการสอน
อย่างครบครัน จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์อย่างกว้างขวาง จัดทำ�โดยสภาครูคณิตศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา
กระทรวงศึกษาธิการ
78 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 79

สะเต็มศึกษา ประเทศไทย (STEM Education Thailand) อภิธานศัพท์


จากเว็บไซต์ http://www.stemedthailand.org
STEM
เว็บไซต์ท่ีจัดทำ�ขึ้นเพื่อรวมรวมข่าวสาร กิจกรรม บทความ และแหล่งเรียนรู้ การแจกแจงความน่าจะเป็น (probability distribution)
ทีเ่ กีย
่ วข้องกับสะเต็มศึกษา จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ การอธิ บ ายลั ก ษณะของตั ว แปรสุ่ ม โดยการแสดงค่ า ที่ เ ป็ น ไปได้ และ
เทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ความน่าจะเป็นของการเกิดค่าต่าง ๆ ของตัวแปรสุ่มนั้น

การแจกแจงทวินาม (binomial distribution)


การแจกแจงของตัวแปรสุม
่ X ซึง่ แทนจำ�นวนครัง้ ของการเกิดผลสำ�เร็จ
ของเหตุการณ์หนึ่งจากการลอง (trial) n ครั้ง ที่เป็นอิสระกัน และในแต่ละครั้ง
มีโอกาสเกิดผลสำ�เร็จด้วยความน่าจะเป็นเท่ากับ p และไม่เกิดผลสำ�เร็จด้วย
ความน่าจะเป็น q = 1 – p ความน่าจะเป็นของ X = x คือ
n
P(X = x) = px qn – x , x = 0, 1, ... , n
x
เขียนแทนด้วย X ~ B (n, p)

การแจกแจงเอกรูป (uniform distribution)


สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สสวท. จากเว็บไซต์ http://math.ipst.ac.th การแจกแจงของตัวแปรสุ่มที่ความน่าจะเป็นของการเกิดค่าใด ๆ หรือ
MATH เว็บไซต์ทจ
ี่ ด
ั ทำ�ขึน
้ เพือ
่ รวมรวมข่าวสาร กิจกรรม บทความ สือ
่ การเรียนการสอน ช่วงที่ความกว้างเท่ากันใด ๆ มีค่าเท่ากัน
IPST หนั ง สื อ เรี ย นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Book) ในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ตั้ ง แต่ ร ะดั บ กรณีตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง เรียกการแจกแจงนี้ว่า การแจกแจงเอกรูป
ประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริม ไม่ต่อเนื่อง (discrete uniform distribution) ถ้า X มีค่าเป็น x1, x2, ..., xn
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ การแจกแจงของ X จะเป็นการแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง เมื่อ
1
P(X = xj) = ,
n j = 1, 2, ... , n
กรณีตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง เรียกการแจกแจงนี้ว่า การแจกแจงเอกรูป
ต่อเนื่อง (continuous uniform distribution) ถ้า X มีค่าในช่วง (a, b)
การแจกแจงของ X จะเป็นการแจกแจงเอกรูปต่อเนื่อง เมื่อ
1 a<x<b
f(x) = ,
b–a

ข้อมูล (data)
ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงหรือสิง่ ทีย
่ อมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงของเรือ
่ งทีส
่ นใจ
ซึ่งได้จากการเก็บรวบรวม อาจเป็นได้ทั้งข้อความและตัวเลข

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถทีจ่ ะนำ�ความรู้
ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำ�วันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
80 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 81

การแก้ปัญหา การเชือ
่ มโยงความรูต
้ า่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เป็นการนำ�ความรูแ
้ ละทักษะ
การแก้ปัญหา เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนควรจะเรียนรู้ ฝึกฝน และ และกระบวนการต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ไปสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผล
พัฒนาให้เกิดทักษะขึ้นในตนเอง เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนมี ทำ�ให้สามารถแก้ปัญหาได้หลากหลายวิธีและกะทัดรัดขึ้น ทำ�ให้การเรียนรู้
แนวทางในการคิดที่หลากหลาย รู้จักประยุกต์และปรับเปลี่ยนวิธีการแก้ปัญหา คณิตศาสตร์มีความหมายสำ�หรับผู้เรียนมากยิ่งขึ้น
ให้ เ หมาะสม รู้ จั ก ตรวจสอบและสะท้ อ นกระบวนการแก้ ปั ญ หา มี นิ สั ย การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ เป็นการนำ�ความรู้ ทักษะ
กระตือรือร้น ไม่ยอ
่ ท้อ รวมถึงมีความมัน
่ ใจในการแก้ปญ
ั หาทีเ่ ผชิญอยูท
่ งั้ ภายใน และกระบวนการต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ ไปสัมพันธ์กน
ั อย่างเป็นเหตุเป็นผลกับ
และภายนอกห้องเรียน นอกจากนี้ การแก้ปัญหายังเป็นทักษะพื้นฐานที่ผู้เรียน เนื้อหาและความรู้ของศาสตร์อื่น ๆ เช่น วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ จิตวิทยา
สามารถนำ � ไปใช้ ใ นชี วิ ต จริ ง ได้ การส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ การ พันธุกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น ทำ�ให้การเรียนคณิตศาสตร์นา่ สนใจ
แก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิผล ควรใช้สถานการณ์หรือปัญหาทางคณิตศาสตร์ มีความหมาย และผู้เรียนมองเห็นความสำ�คัญของการเรียนคณิตศาสตร์ การที่
ที่กระตุ้น ดึงดูดความสนใจ ส่งเสริมให้มีการประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ผูเ้ รียนเห็นการเชือ
่ มโยงทางคณิตศาสตร์ จะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเห็นความสัมพันธ์
ขั้นตอน/กระบวนการแก้ปัญหา และยุทธวิธีแก้ปัญหาที่หลากหลาย ของเนื้ อ หาต่ า ง ๆ ในคณิ ต ศาสตร์ และความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งแนวคิ ด ทาง
การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ทำ�ให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ได้ลึกซึ้ง
การสื่ อ สาร เป็ น วิ ธี ก ารแลกเปลี่ ย นความคิ ด และสร้ า งความเข้ า ใจ และมี ค วามคงทนในการเรี ย นรู้ ตลอดจนช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นเห็ น ว่ า คณิ ต ศาสตร์
ระหว่างบุคคล ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน มีคุณค่า น่าสนใจ และสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้
การเขียน การสังเกต และการแสดงท่าทาง การให้เหตุผล
การสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการสือ
่ สารทีน
่ อกจาก การให้ เ หตุ ผ ล เป็ น กระบวนการคิ ด ทางคณิ ต ศาสตร์ ที่ ต้ อ งอาศั ย
นำ�เสนอผ่านช่องทางการสื่อสาร การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสังเกต การคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ ในการรวบรวมข้ อ เท็ จ จริ ง
และการแสดงท่ า ทางตามปกติ แ ล้ ว ยั ง เป็ น การสื่ อ สารที่ มี ลั ก ษณะพิ เ ศษ ข้อความ แนวคิด สถานการณ์ทางคณิตศาสตร์ตา่ ง ๆ แจกแจงความสัมพันธ์ หรือ
โดยมีการใช้สัญลักษณ์ ตัวแปร ตาราง กราฟ สมการ อสมการ ฟังก์ชัน หรือ การเชื่อมโยง เพื่อให้เกิดข้อเท็จจริงหรือสถานการณ์ใหม่
แบบจำ�ลอง เป็นต้น มาช่วยในการสื่อความหมายด้วย การให้เหตุผลเป็นทักษะและกระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิด
การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นทักษะและ อย่างมีเหตุผล คิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์
กระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ ที่ จ ะช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นสามารถถ่ า ยทอดความรู้ ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้
ความเข้าใจ แนวคิดทางคณิตศาสตร์ หรือกระบวนการคิดของตนให้ผู้อื่นรับรู้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม การคิดอย่างมีเหตุผลเป็นเครื่องมือสำ�คัญที่ผู้เรียน
ได้อย่างถูกต้องชัดเจนและมีประสิทธิภาพ การทีผ
่ เู้ รียนมีสว่ นร่วมในการอภิปราย จะนำ�ไปใช้พฒ
ั นาตนเองในการเรียนรูส
้ งิ่ ใหม่ เพือ
่ นำ�ไปประยุกต์ใช้ในการทำ�งาน
หรือการเขียนเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็นถ่ายทอดประสบการณ์ และการดำ�รงชีวิต
ซึ่ ง กั น และกั น ยอมรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู้ อื่ น จะช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นเรี ย นรู้ การคิดสร้างสรรค์
คณิตศาสตร์ได้อย่างมีความหมาย เข้าใจได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งและจดจำ�ได้ การคิ ด สร้ า งสรรค์ เป็ น กระบวนการคิ ด ที่ อ าศั ย ความรู้ พื้ น ฐาน
นานมากขึ้น จิ น ตนาการ และวิ จ ารณญาณ ในการพั ฒ นาหรื อ คิ ด ค้ น องค์ ค วามรู้ หรื อ
การเชื่อมโยง สิง่ ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่าและเป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม ความคิดสร้างสรรค์
การเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยการคิด มี ห ลายระดั บ ตั้ ง แต่ ร ะดั บ พื้ น ฐานที่ สู ง กว่ า ความคิ ด พื้ น ๆ เพี ย งเล็ ก น้ อ ย
วิเคราะห์ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการนำ�ความรู้ เนื้อหา และหลักการ ไปจนกระทั่งเป็นความคิดที่อยู่ในระดับสูงมาก การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ทางคณิตศาสตร์ มาสร้างความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุเป็นผลระหว่างความรูแ
้ ละ จะช่วยให้ผู้เรียนมีแนวทางการคิดที่หลากหลาย มีกระบวนการคิด จินตนาการ
ทักษะและกระบวนการทีม
่ ใี นเนือ
้ หาคณิตศาสตร์กบ
ั งานทีเ่ กีย
่ วข้อง เพือ
่ นำ�ไปสู่ ในการประยุกต์ ทีจ
่ ะนำ�ไปสูก
่ ารคิดค้นสิง่ ประดิษฐ์ทแ
ี่ ปลกใหม่และมีคณ
ุ ค่าทีค
่ น
การแก้ปัญหาและการเรียนรู้แนวคิดใหม่ที่ซับซ้อนหรือสมบูรณ์ขึ้น ส่วนใหญ่คาดคิดไม่ถงึ หรือมองข้าม ตลอดจนส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีนส
ิ ย
ั กระตือรือร้น
ไม่ย่อท้อ อยากรู้อยากเห็น อยากค้นคว้าและทดลองสิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ
82 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 83

บรรณานุกรม คณะผู้จัดทำ�
Black, P., & Wiliam, D. (2009). Developing the theory of formative assessment.
คณะที่ปรึกษา
Educational Assessment Evaluation and Accountability, 21(1), 5-31.
Cambridge International Examination. (2015). Evaluation of the Thai Primary ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Curriculum for Mathematics and Science. Unpublished document. รศ.ดร.สัญญา มิตรเอม รองผูอ ้ �ำ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Cambridge International Examination. (2016). Evaluation of the Thai Secondary
ดร.สุพัตรา ผาติวิสันติ์ รองผูอ ้ �ำ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Curriculum for Mathematics and Science. Unpublished document.
Earl, L. M. (2006). Assessment as learning: Using classroom assessment to
maximize student learning. Corwin Press. คณะทำ�งานยกร่าง
Manitoba Education, Citizenship and Youth. (2016, November 11). Rethinking classroom นายสมเกียรติ เพ็ญทอง ผู้อำ�นวยการสาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท.
assessment with purpose in mind: assessment for learning, Assessment as Learning, นางณัตตยา มังคลาสิริ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท.
Assessment of Learning. Retrieved from https://www.edu.gov.mb.ca/k12/assess/wncp/
นางนวลจันทร์ ฤทธิ์ขำ� สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท.
full_doc.pdf
National Research Council. (2001). Adding it up: Helping children learn mathematics. J. Kilpatrick, นางสาวเบญจมาศ เหล่าขวัญสถิตย์ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท.
J. Swaffold, and B. Findell (Eds.). Mathematics Learning Study Committee, Center for ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท.
Educational, Division of Behavioral and Social Sciences and Education. Washington, นายภีมวัจน์ ธรรมใจ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท.
DC: National Academy Press.
Partnership for 21st Century Skills. (2016, November 11). P21 common core toolkit: A guide to
นางเหมือนฝัน เยาว์วิวัฒน์ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท.
aligning the common core state standards with the framework for 21st century skills. นางสาวอุษณีย์ วงศ์อามาตย์ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท.
Retrieved from http://www.p21.org/storage/documents/P21CommonCoreToolkit.pdf ดร.อลงกรณ์ ตั้งสงวนธรรม รักษาการผู้อำ�นวยการสาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำ�นักงาน. (2557). รายงานผลการนำ�หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
นางสาวจันทร์นภา อุตตะมะ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไปสู่การปฏิบัติ : การสังเคราะห์งานวิจัย เอกสาร และรายงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการนำ�หลักสูตรไปสู่การปฎิบัติ เอกสารลำ�ดับที่ 1/2557. สืบค้น 11 กันยายน 2559, นางสาวดนิตา ชื่นอารมณ์ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
จาก http://www. curriculum51.net/upload/20150211224227.pdf นางสาวปฐมาภรณ์ อวชัย สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำ�นักงาน. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นายพัฒนชัย รวิวรรณ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560 – 2564). สืบค้น 17 พฤศจิกายน 2560, จากhttp://www.nesdb.go.th/
ewt_dl_link.php?nid=6422
นางสาวพิลาลักษณ์ ทองทิพย์ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
ทดสอบทางการศึกษา, สำ�นัก. (2557). ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2555 บทสรุป นางสาวภิญญดา กลับแก้ว สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด. ดร.รณชัย ปานะโปย สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
นายกรัฐมนตรี, สำ�นัก. (2559). ร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579).
นางสาววรนารถ อยู่สุข สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
สืบค้น 17 พฤศจิกายน 2560, จาก http://www.nesdb.go.th
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2546). การวัดผลประเมินผลคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: ดร.ศศิวรรณ เมลืองนนท์ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. นางสาวสิริวรรณ จันทร์กูล สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2548). คู่มืออ้างอิง The Geometer’s Sketchpad ดร.สุธารส นิลรอด สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
ซอฟต์แวร์สำ�รวจเชิงคณิตศาสตร์ เรขาคณิตพลวัต. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
ดร.อลงกต ใหม่ด้วง สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
และเทคโนโลยี.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2554). รายงานผลการวิจัยโครงการ TIMSS 2011 นางสาวอัมริสา จันทนะศิริ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
วิชาคณิตศาสตร์ [Online]. http://timssthailand.ipst.ac.th/timss2011-math-report ดร.พุดเตย ตาฬวัฒน์ สาขาวิจัยและประเมินมาตรฐาน สสวท.
[2559, พฤษภาคม, 11].
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2556). ผลการติดตามการใช้สื่อประกอบหลักสูตร คณะผู้ร่วมพิจารณาร่างคู่มือการใช้หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
[เอกสารใช้ภายใน]
นายประสาท สอ้านวงศ์ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สสวท.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2557). ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์ นายสุเทพ กิตติพิทักษ์ ผู้ชำ�นาญ สสวท.
การอ่าน และวิทยาศาสตร์ [Online]. http://pisathailand.ipst.ac.th/ ผศ.ดร.ธีระเดช เจียรสุขสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
isbn9786163621344[2559, พฤษภาคม, 11].
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2558). หลักสูตรอบรมครูระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
คณะบรรณาธิการ
ในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมสำ�เร็จรูป GeoGebra. (เอกสารไม่ตีพิมพ์)
รศ.ดร.สิริพร ทิพย์คง ผู้เชี่ยวชาญ สสวท.
นางสาวจินตนา อารยะรังสฤษฏ์ ผู้ชำ�นาญ สสวท.
84 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like