You are on page 1of 57

คู่มือการใช้หลักสูตร

ระดับประถมศึกษา 1
2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สารบัญ
คํานํา
ที่มาของการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 4
• ผลการประเมินการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนระดับชาติและนานาชาติ 5
• ผลการวิจัยและติดตามการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 6
คู่มือการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
• ผลการวิเคราะห์และประเมินร่างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 6
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษานี้ จัดทำ�
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขึ้ น เพื่ อ เป็ น แนวทางให้ กั บ สถานศึ ก ษาและผู้ ส อนคณิ ต ศาสตร์ สามารถจั ด การเรี ย นรู้ ใ ห้ พุทธศักราช 2551 โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาคณิตศาสตร์จากต่างประเทศ
สอดคล้ อ งกั บ มาตรฐาน ตั ว ชี้ วั ด และสาระการเรี ย นรู้ แ กนกลาง กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ เป้าหมายหลักสูตร 7
คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน การเปลี่ยนแปลงของหลักสูตร 8
พุทธศักราช 2551 คู่มือการใช้หลักสูตรเล่มนี้ได้เสนอที่มาของการปรับหลักสูตร เป้าหมาย • การเปลี่ยนแปลงด้านการจัดสาระ 8
หลักสูตร การเปลี่ยนแปลงของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ • การเปลี่ยนแปลงด้านเนื้อหา 8
เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์ 11
แกนกลาง การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รวมทั้งความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับผู้สอน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 12
คณิตศาสตร์
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 12
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอขอบคุณ ครู อาจารย์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนคณิตศาสตร์ 13
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์และคณิตศาสตร์ศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ ที่ให้ คุณภาพผู้เรียน 14
ความเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการจัดทำ�คู่มือการใช้หลักสูตรเล่มนี้ สสวท. • เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 14
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือการใช้หลักสูตรเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สอน สถานศึกษา และ • เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 14
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ในการวางแผนและจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 15
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้และทักษะที่จำ�เป็นสำ�หรับการใช้ชีวิตและการศึกษา ตารางสรุปสาระการเรียนรู้แกนกลาง 40
ผังสาระการเรียนรู้แกนกลาง 44
ในระดับที่สูงขึ้น ทั้งนี้ หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำ�ให้คู่มือการใช้หลักสูตรเล่มนี้สมบูรณ์
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 56
ยิ่งขึ้น โปรดแจ้งให้ สสวท. ทราบด้วย จักขอบคุณยิ่ง
• แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 57
ความรู้สําหรับผู้สอนคณิตศาสตร์ 60
• การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 60
• ยุทธวิธีการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา 62
• การใช้เทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา 71
• สถิติในระดับประถมศึกษา 73
(นางพรพรรณ ไวทยางกูร) • การใช้เส้นจำ�นวนในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา 75

ผู้อํานวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แนวการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 84
ภาคผนวก 103
• แหล่งความรู้เพิ่มเติม 103
• บรรณานุกรม 109
• คณะผู้จัดทำ� 110
4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 5

การเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ที่จำ�เป็นสำ�หรับ


ศตวรรษที่ 21 (Partnership for the 21st Century Skills, 2016) ได้แก่ การคิด
แบบมีวจิ ารณญาณและการแก้ปญ
ั หา (Critical Thinking and Problem-Solving)
การสื่อสาร (Communication) การร่วมมือ (Collaboration) และการคิด
สร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ควบคู่ไปกับความ
1 ที่มาของการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร
สามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
ในการพัฒนามาตรฐาน ตัวชีว้ ด
ั และสาระการเรียนรูแ
้ กนกลาง กลุม
่ สาระ
นับตั้งแต่การปฏิรูปการศึกษาในปีพุทธศักราช 2542 เป็นเวลากว่า
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการ
15 ปี แ ล้ ว ที่ ป ระเทศไทยได้ มี ก ารประกาศใช้ ห ลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สสวท. ได้ศึกษาผลการประเมินการเรียน
พุทธศักราช 2544 และปรับปรุงเป็นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนระดับชาติและนานาชาติ ผลการวิจัยและติดตามการ
พุทธศักราช 2551 ในขณะที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น
ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และผลการ
ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้าน
วิ เ คราะห์ แ ละประเมิ น ร่ า งหลั ก สู ต รกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทีม
่ ค
ี วามรูแ
้ ละนวัตกรรมใหม่เกิดขึน
้ อย่างหลากหลาย
(ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2560) ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
ในเวลาอันรวดเร็ว ส่งผลให้หลายประเทศทั่วโลกมีการพัฒนาด้านการศึกษา
พุทธศักราช 2551 โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาคณิตศาตร์จากต่างประเทศ
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเตรียมประชากรให้พร้อมกับการ
โดยมีรายละเอียดดังนี้
เปลี่ ย นแปลง จึ ง มี ค วามจำ � เป็ น ที่ ป ระเทศไทยจะต้ อ งมี ก ารปรั บ หลั ก สู ต ร
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้มค
ี วามทันสมัย สอดคล้องกับความ ผลการประเมินการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนระดับชาติและนานาชาติ
รู้และทักษะที่จำ�เป็นในโลกปัจจุบันและอนาคต ระดับชาติ ผลการประเมินการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนจากการทดสอบ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ในฐานะ ระดับชาติ (National Testing: NT) บ่งชี้ให้เห็นคะแนนเฉลี่ยความสามารถ
หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการพั ฒ นาหลั ก สู ต รและการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ พื้นฐานในด้านคำ�นวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning Ability)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย ได้พัฒนาหลักสูตรคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นความสามารถพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขน
ึ้ เพือ
่ ให้ทน
ั สมัยและสอดคล้องกับการเปลีย
่ นแปลง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทั่วประเทศ ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 ซึ่งเป็นมาตรฐานขั้นต่ำ�
ดังกล่าว โดยพิจารณาร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านคำ�นวณต่ำ�กว่าทุก ๆ ด้าน
กำ�หนดเป้าหมายและลักษณะของคนไทยใน 20 ปีข้างหน้า รวมถึงแผนพัฒนา เช่ น เดี ย วกั บ การทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (Ordinary
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ที่มุ่งให้การศึกษา National Educational Test: O-NET) ที่บ่งชี้ว่าผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
และการเรียนรู้มีคุณภาพได้มาตรฐานสากล พัฒนาคนไทยให้มีทักษะการคิด ผูเ้ รียนชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 และผูเ้ รียนชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลีย
่ ของ
สั งเคราะห์ สร้ า งสรรค์ ต่ อยอดสู่น วัต กรรม มีทักษะชีวิต และอาชีพ ทักษะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 ซึ่งเป็นมาตรฐานขั้นต่ำ�
สารสนเทศ สือ
่ และเทคโนโลยี มีการเรียนรูต
้ อ
่ เนือ
่ งตลอดชีวต
ิ และส่งเสริมระบบ ระดับนานาชาติ ผลการประเมินการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ของผูเ้ รียนในโครงการ
การเรียนรู้ที่บูรณาการระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และ TIMSS (Trends in International Mathematics and Science Study) ค.ศ.
คณิตศาสตร์ (STEM Education) เพื่อพัฒนาผู้สอนและผู้เรียนในเชิงคุณภาพ 2011 โดย IEA (International Association for the Evaluation of Educa-
โดยเน้นการเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้กับการทำ�งาน (Work Integrated tional Achievement) บ่งชีว้ า่ ผูเ้ รียนชัน
้ ประถมศึกษาปีที่ 4 และชัน
้ มัธยมศึกษา
Learning) นอกจากนี้ สสวท. ได้ศึกษาแนวโน้มด้านการศึกษาคณิตศาสตร์ ปี ที่ 2 ของประเทศไทยมี ค ะแนนเฉลี่ ย คณิ ต ศาสตร์ ทั้ ง ในด้ า นเนื้ อ หาและ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พบว่าประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลกให้ความสำ�คัญกับทักษะ พฤติกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับต่ำ� (Low International Benchmark) รวมถึง
6 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 7

ผลการประเมินการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ของผูเ้ รียนในโครงการ TIMSS ค.ศ. 2015
การพัฒนาต้นร่างหลักสูตรดังกล่าว โดยร่วมมือกับผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ
ที่ แ สดงให้ เ ห็ นว่ า ผู้ เ รี ยนชั้ นมัธ ยมศึกษาปีที่ 2 ของไทยยังคงมีคะแนนเฉลี่ย
อาจารย์และครู พร้อมทั้งได้ทำ�ประชาพิจารณ์เพื่อรวบรวมความคิดเห็นจาก
คณิตศาสตร์ทั้งในด้านเนื้อหาและพฤติกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับต่ำ� (Low
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และร่วมกับ CIE (Cambridge International
International Benchmark) นอกจากนี้ผลการประเมินการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Examinations) ซึง่ เป็นหน่วยงานของสหราชอาณาจักรทีม
่ ค
ี วามเชีย
่ วชาญด้าน
ของผู้เรียนในโครงการ PISA (Programme for International Student
การประเมินระบบการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตรเป็นที่ยอมรับในระดับ
Assessment) ซึง่ เป็นโครงการประเมินความสามารถในการใช้ความรูแ
้ ละทักษะ
นานาชาติ เพือ
่ ประเมินคุณภาพของร่างหลักสูตร โดย CIE ได้พจิ ารณาองค์ประกอบ
ของผู้เรียนที่มีอายุ 15 ปี ในด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จัดโดย
หลักในการจัดการเรียนรูท
้ งั้ 3 ด้าน คือ หลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และการวัดผล
OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development)
ประเมินผล พบว่า หลักสูตรนีส
้ ะท้อนถึงวิธก
ี ารสอนทีท
่ น
ั สมัย ครอบคลุมเนือ
้ หา
ก็บง่ ชีเ้ ช่นกันว่า ผูเ้ รียนไทยทีม
่ อ
ี ายุ 15 ปี ซึง่ ส่วนใหญ่เรียนอยูใ่ นชัน
้ มัธยมศึกษา
ที่จำ�เป็น ทัดเทียมนานาชาติ มีการเชื่อมโยงเนื้อหากับชีวิตจริง เน้นการพัฒนา
ปีที่ 3 และ 4 มีคะแนนเฉลี่ยต่ำ�กว่าคะแนนเฉลี่ยของ OECD ทั้งใน ค.ศ. 2012
ทักษะต่าง ๆ ทั้งทักษะทางคณิตศาสตร์ และทักษะในศตวรรษที่ 21 มีการ
และ ค.ศ. 2015
ออกแบบหลักสูตรได้เหมาะสมกับระบบการศึกษาในโลกสมัยใหม่ โดยส่งเสริม
ให้มีการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้สามารถเตรียมความพร้อมให้กับ
ข้อมูลจากโครงการ PISA ใน ค.ศ. 2012 ยังมีข้อสังเกตว่า เวลาเรียน
ผู้เรียนเพื่อให้เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคณิตศาสตร์ และเป็นผู้ที่มีความ
คณิตศาสตร์ในโรงเรียนมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความสามารถทางคณิตศาสตร์
พร้อมในการทำ�งานหรือการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น (Cambridge, 2015;
และเมื่อพิจารณาเวลาเรียนคณิตศาสตร์ของผู้เรียนไทยกับผู้เรียนจากประเทศ
Cambridge, 2016)
อืน
่ ๆ ทีเ่ ข้าร่วมการประเมิน พบว่าผูเ้ รียนไทยอายุ 15 ปี มีเวลาเรียนคณิตศาสตร์
ต่อสัปดาห์น้อยกว่าเมื่อเทียบกับเวลาเรียนคณิตศาสตร์ของผู้เรียนประเทศอื่น ๆ

ทีม
่ ค
ี ะแนนเฉลีย
่ คณิตศาสตร์ในอันดับต้น ๆ เช่น สิงคโปร์ เวียดนาม เกาหลี และ

ญี่ปุ่น
2 เป้าหมายหลักสูตร
ผลการวิ จั ย และติ ด ตามการใช้ ห ลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
พุทธศักราช 2551
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีเป้าหมายที่
ผลการวิจย
ั และติดตามการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน
ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบหลักสูตร ดังนี้
พุทธศักราช 2551 รายงานว่ามาตรฐานการเรียนรูแ
้ ละตัวชีว้ ด
ั มีมากและมีความ
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ในสาระคณิตศาสตร์
ซ้�ำ ซ้อนในกลุม
่ สาระ โดยกลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์เป็นหนึง่ ในกลุม
่ สาระ
ที่จำ�เป็น พร้อมทั้งสามารถนำ�ไปประยุกต์ได้
ทีม
่ ข
ี อ
้ เสนอแนะให้ทบทวนตัวชีว้ ด
ั และสาระการเรียนรู้ (สำ�นักงานคณะกรรมการ
2. มีความสามารถในการแก้ปญ
ั หา สือ
่ สารและสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
การศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2557)
เชื่อมโยง ให้เหตุผล และมีความคิดสร้างสรรค์
3. มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ เห็นคุณค่าและตระหนักถึงความสำ�คัญของ
ผลการวิเคราะห์และประเมินร่างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ สามารถนำ�ความรูท
้ างคณิตศาสตร์ไปเป็นเครือ
่ งมือในการเรียนรู้
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น ตลอดจนการประกอบอาชีพ
พุทธศักราช 2551 โดยผูเ้ ชีย
่ วชาญด้านการศึกษาคณิตศาสตร์จากต่างประเทศ
4. มีความสามารถในการเลือกใช้สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูล
ในการพัฒนามาตรฐาน ตัวชีว้ ด
ั และสาระการเรียนรูแ
้ กนกลาง กลุม
่ สาระ
ที่เหมาะสมเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำ�งาน และ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการ
การแก้ปัญหาอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สสวท. ใช้ขอ
้ มูลทีก
่ ล่าวมาข้างต้นมาประกอบ
8 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 9

3 การเปลี่ยนแปลงของหลักสูตร

จากข้อมูลผลการวิจย
ั ข้างต้นและเป้าหมายของหลักสูตรกลุม
่ สาระการ
เรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา เนื้อหาที่ตัดออก จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทำ�ให้หลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
ดังนี้ จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

การเปลี่ยนแปลงด้านการจัดสาระ ◆◆ การนับเพิ่มทีละ 3 ทีละ 4 ◆◆ ช่วงเวลาในแต่ละวัน ◆◆ การเขียนกราฟเส้น (ป.6)


หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ทีละ 25 ทีละ 50 (ป.3) (กลางวัน กลางคืน เช้า สาย ◆◆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 จัดเป็น 3 สาระ ◆◆ การนับลดทีละ 3 ทีละ 4 เที่ยง บ่าย เย็น) (ป.1) เกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่างๆ
ได้แก่ จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต และสถิติและความน่าจะเป็น ทีละ 25 ทีละ 50 (ป.3) ◆◆ จำ�นวนวันและชื่อวัน (ป.5 - ป.6)
โดยได้แยกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ออกจากสาระการเรียนรู้ ◆◆ สมการเชิงเส้นที่มีตัวไม่ทราบ ในสัปดาห์ (ป.1)
ค่าหนึ่งตัว (ป.6) ◆◆ ทิศ (ป.6)
ซึ่งทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ยังคงประกอบไปด้วย 5 ทักษะเดิม
◆◆ การแก้สมการโดยใช้สมบัติ ◆◆ การบอกตำ�แหน่งโดยใช้ทิศ
ได้แก่ การแก้ปญ
ั หา การสือ
่ สารและการสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชือ
่ มโยง
ของการเท่ากันเกี่ยวกับ (ป.6)
การให้เหตุผล และการคิดสร้างสรรค์ โดยกำ�หนดให้มก
ี ารประเมินความสามารถ การบวก การลบ การคูณ ◆◆ การอ่านแผนผัง (ป.6)
ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ควบคูไ่ ปกับการประเมินด้านเนือ
้ หา หรือการหาร (ป.6) ◆◆ การเขียนแผนผังแสดง
สาระ ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงของตัวชี้วัดที่ระบุไว้ในหลักสูตร ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาด้วย สิ่งต่าง ๆ (ป.6)
สมการ (ป.6) ◆◆ การเขียนแผนผังแสดง
การเปลี่ยนแปลงด้านเนื้อหา เส้นทางการเดินทาง (ป.6)
ในระดับประถมศึกษามีการเปลี่ยนแปลงด้านเนื้อหาคณิตศาสตร์ให้มี ◆◆ การเขียนแผนผังโดยสังเขป
(ป.6)
ความเป็นสากลและมีความสอดคล้องกันมากขึน
้ ซึง่ คำ�นึงถึงความเหมาะสมของ
◆◆ การคาดคะเนพื้นที่ของ
เนื้อหาคณิตศาสตร์ในระดับชั้นต่าง ๆ โดยพิจารณาจากหลักสูตรของหลาย
รูปสี่เหลี่ยม (ป.6)
ประเทศ และเนือ
้ หาวิชาคณิตศาสตร์ทใี่ ช้เป็นกรอบในการประเมินผลนานาชาติ
เช่น TIMSS เป็นต้น จึงได้มีการเพิ่มเนื้อหาบางเรื่องที่มีความจำ�เป็น เลื่อนไหล
บางเนื้อหาให้มีความเหมาะสม ตัดเนื้อหาบางเรื่องที่มีความซ้ำ�ซ้อนกับเนื้อหา
วิชาอื่น และเน้นให้มีความเชื่อมโยงเนื้อหาคณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาใน
ชีวิตจริง โดยมีรายละเอียดดังนี้
10 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 11

เนื้อหาที่เพิ่ม

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น


4 เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์

◆◆ การบอกอันดับที่ (ป.1) ◆◆ การวัดปริมาตรและ ◆◆ การเขียนตารางทางเดียว ในหลักสูตรกลุม


่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
◆◆ การแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน ความจุเป็นช้อนชา (ป.3) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก�ำ หนดสาระ
20 ในรูปความสัมพันธ์ของ ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง (ป.2) ◆◆ การอ่านตารางสองทาง พื้นฐานที่จำ�เป็นสำ�หรับผู่้เรียนทุกคนไว้ 3 สาระ ได้แก่ จำ�นวนและพีชคณิต
จำ�นวนแบบส่วนย่อย – ◆◆ การเปรียบเทียบปริมาตร (ป.4) การวัดและเรขาคณิต และสถิติและความน่าจะเป็น
ส่วนรวม (part-whole และความจุเป็นช้อนชา
relationship) (ป.1) ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง (ป.2)
◆◆ แบบรูปของจำ�นวนที่เกิดจาก ◆◆ ระนาบ (ป.4)
จำ�นวนและพีชคณิต ระบบจำ�นวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจำ�นวนจริง
การคูณ การหารด้วยจำ�นวน ◆◆ ความยาวรอบรูปและพื้นที่
อัตราส่วน ร้อยละ การประมาณค่า การแก้ปญ
ั หาเกีย
่ วกับจำ�นวน การใช้จ�ำ นวน
เดียวกัน (ป.3) ของรูปหลายเหลี่ยม (ป.6)
ในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม
◆◆ การประมาณผลลัพธ์ของ
พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน
การบวก การลบ การคูณ
การหารจำ�นวนนับและศูนย์ เมทริกซ์ จำ�นวนเชิงซ้อน ลำ�ดับและอนุกรม และการนำ�ความรู้เกี่ยวกับจำ�นวน
(ป.4) และพีชคณิตไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
◆◆ การประมาณผลลัพธ์ของ
การบวก การลบ การคูณ การวัดและเรขาคณิต ความยาว ระยะทาง น้ำ�หนัก พื้นที่ ปริมาตร
การหารทศนิยม (ป.5) และความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่างๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด
◆◆ อัตราส่วน อัตราส่วนที่ อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิต การนึกภาพ
เท่ากัน (ป.6) แบบจำ�ลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิตใน
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาอัตราส่วน เรือ
่ งการเลือ
่ นขนาน การสะท้อน การหมุน เรขาคณิตวิเคราะห์ เวกเตอร์ในสามมิติ
(ป.6) และการนำ�ความรู้เกี่ยวกับการวัดและเรขาคณิตไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

สถิติและความน่าจะเป็น การตั้งคำ�ถามทางสถิติ การเก็บรวบรวม


นอกจากนี้ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร ข้อมูล การคำ�นวณค่าสถิติ การนำ�เสนอและแปลผลสำ�หรับข้อมูลเชิงคุณภาพ
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ได้มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนของ และเชิ ง ปริ ม าณ หลั กการนั บ เบื้ อ งต้ น ความน่ าจะเป็ น การแจกแจงของ
วิธก
ี ารเขียนตัวชีว้ ด
ั ทีใ่ ห้ผเู้ รียนได้แสดงพฤติกรรมทีส
่ งู กว่าระดับความจำ�หรือความเข้าใจ แต่เป็นระดับของ ตั ว แปรสุ่ ม การใช้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ สถิ ติ แ ละความน่ า จะเป็ น ในการอธิ บ าย
การประยุกต์ใช้ เช่น ได้กำ�หนดตัวชี้วัดเป็นใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา เหตุการณ์ต่าง ๆ และช่วยในการตัดสินใจ
ซึ่งนอกจากจะเน้นให้ผู้เรียนอ่านแผนภูมิรูปภาพแล้ว ยังเน้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และใช้ข้อมูลเหล่านั้น
ในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปญ
ั หารวมถึงแก้ปญ
ั หาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ จากตัวชีว้ ด
ั เดิมทีเ่ น้นให้ผเู้ รียนอ่าน
ข้อมูลในแผนภูมิรูปภาพเพียงอย่างเดียว
12 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 13

5 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1
1 2 3 4 5
จำ�นวนและพีชคณิต
การแก้ปัญหา การสื่อสารและ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์
มาตรฐาน ค 1.1 การสื่อความหมาย
เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ทางคณิตศาสตร์
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้

มาตรฐาน ค 1.2 การแก้ปัญหา เป็นความสามารถ การเชื่อมโยง เป็นความสามารถใน


1 ในการทำ�ความเข้าใจปัญหา
3 การใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็น
เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้
คิดวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหา เครื่องมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 1.3
และเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม เนื้อหาต่าง ๆ หรือศาสตร์อื่น ๆ
ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำ�หนดให้
โดยคำ�นึงถึงความสมเหตุสมผล และนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง
ของคำ�ตอบพร้อมทั้งตรวจสอบ
การให้เหตุผล เป็นความสามารถใน
สาระที่ 2 สาระที่ 3 ความถูกต้อง 4 การให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผล
การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น การสื่อสารและการสื่อความหมาย สนับสนุนหรือโต้แย้ง เพื่อนำ�ไปสู่
2 ทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถ การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทาง
มาตรฐาน ค 2.1 มาตรฐาน ค 3.1 คณิตศาสตร์รองรับ
ในการใช้รูป ภาษาและสัญลักษณ์
เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเน เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้
ทางคณิตศาสตร์ ในการสื่อสาร
ขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้ ทางสถิติในการแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถ
สื่อความหมาย สรุปผล และนำ�เสนอ 5 ในการขยายแนวคิดที่มีอยู่เดิม
มาตรฐาน ค 2.2 มาตรฐาน ค 3.2 ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน
หรือสร้างแนวคิดใหม่เพื่อปรับปรุง
เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของ เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น
พัฒนาองค์ความรู้
รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และนำ�ไปใช้
และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้
7 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนคณิตศาสตร์

การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ควรมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่อไปนี้
6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ทำ�ความเข้าใจหรือสร้างกรณีทวั่ ไปโดยใช้ความรูท
้ ไี่ ด้จากการศึกษากรณีตวั อย่างหลาย ๆ กรณี
2. มองเห็นว่าสามารถใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถทีจ่ ะนำ�ความรู้
3. มีความมุมานะในการทำ�ความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
ไปประยุกต์ ใช้ ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ ใช้ ใน
4. สร้างเหตุผลเพื่อสนับสนุนแนวคิดของตนเองหรือโต้แย้งแนวคิดของผู้อื่นอย่างสมเหตุสมผล
ชีวิตประจำ�วันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
5. ค้นหาลักษณะที่เกิดขึ้นซ้ำ� ๆ และประยุกต์ใช้ลักษณะดังกล่าวเพื่อทำ�ความเข้าใจหรือ
ในที่นี้ เน้นที่ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำ�เป็น และต้องการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ
พัฒนาให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ได้แก่ความสามารถต่อไปนี้
14 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 15

8 คุณภาพผู้เรียน 9 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 1
◆◆ อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
มีความรู้สึกเชิงจำ�นวน มีทักษะการบวก การลบ การคูณ การหาร และ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน
นำ�ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ
◆◆ มีความรูส
้ ก
ึ เชิงจำ�นวนเกีย
่ วกับเศษส่วนทีไ่ ม่เกิน 1 มีทก
ั ษะการบวก การลบ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
เศษส่วนที่ตัวส่วนเท่ากันและนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
◆◆ คาดคะเนและวัดความยาว น้�ำ หนัก ปริมาตร ความจุ เลือกใช้เครือ
่ งมือและ
หน่วยทีเ่ หมาะสม บอกเวลา บอกจำ�นวนเงิน และนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ
◆◆ จำ�แนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยม- จำ�นวนนับ 1 ถึง 100 และ 0
มุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอกและกรวย เขียนรูปหลายเหลีย
่ ม วงกลมและ 1. บอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่งต่าง ๆ ◆◆ การนับทีละ 1 และทีละ 10
วงรี โ ดยใช้ แ บบของรู ป ระบุ รู ป เรขาคณิ ต ที่ มี แ กนสมมาตรและจำ � นวน ตามจำ�นวนที่กำ�หนด อ่านและเขียนตัวเลข ◆◆ การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
แกนสมมาตร และนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแสดงจำ�นวนนับ ตัวเลขไทยแสดงจำ�นวน
◆◆ อ่านและเขียนแผนภูมิรูปภาพ ตารางทางเดียว และนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ ไม่เกิน 100 และ 0 ◆◆ การแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน 20 ในรูปความ
ต่าง ๆ 2. เปรียบเทียบจำ�นวนนับไม่เกิน 100 และ 0 สัมพันธ์ของจำ�นวนแบบส่วนย่อย – ส่วนรวม
โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < (part-whole relationship)
เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3. เรียงลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน 100 และ 0 ◆◆ การบอกอันดับที่
ตั้งแต่ 3 ถึง 5 จำ�นวน ◆◆ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการ
◆◆ อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกิน เขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย
3 ตำ�แหน่ง อัตราส่วน และร้อยละ มีความรู้สึกเชิงจำ�นวน มีทักษะการบวก ◆◆ การเปรียบเทียบจำ�นวนและการใช้
การลบ การคูณ การหาร ประมาณผลลัพธ์ และนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เครื่องหมาย = ≠ > <
◆◆ อธิบายลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิต หาความยาวรอบรูปและพื้นที่ ◆◆ การเรียงลำ�ดับจำ�นวน
ของรูปเรขาคณิต สร้างรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมและวงกลม หาปริมาตร
และความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และนำ�ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
การบวก การลบ จำ�นวนนับ 1 ถึง 100 และ 0
◆◆ นำ�เสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิแท่ง ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูป
4. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ ◆◆ ความหมายของการบวก ความหมายของ
วงกลม ตารางสองทาง และกราฟเส้นในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และ
แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดง การลบ การหาผลบวก การหาผลลบ และ
ตัดสินใจ
การลบของจำ�นวนนับไม่เกิน 100 และ 0 ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
5. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหา
และโจทย์ปัญหาการลบของจำ�นวนนับไม่เกิน การลบ และการสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้ง
100 และ 0 หาคำ�ตอบ
16 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 17

มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

แบบรูป
1. ระบุจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวน ◆◆ แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ
ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ 1 และทีละ 10 ทีละ 1 และทีละ 10 1. จำ�แนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม ◆◆ ลักษณะของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม
และระบุรูปที่หายไปในแบบรูปซ้ำ�ของ ◆◆ แบบรูปซ้ำ�ของจำ�นวน รูปเรขาคณิตและ วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย
รูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ที่สมาชิก รูปอื่น ๆ ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ◆◆ ลักษณะของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม
ในแต่ละชุดที่ซ้ำ�มี 2 รูป วงกลม และวงรี

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้ สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ความยาว
1. วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร ◆◆ การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย การนำ�เสนอข้อมูล
เป็นเมตร มาตรฐาน 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำ�ตอบ ◆◆ การอ่านแผนภูมิรูปภาพ
◆◆ การวัดความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร ของโจทย์ปัญหา เมื่อกำ�หนดรูป 1 รูป
◆◆ การเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร แทน 1 หน่วย
เป็นเมตร
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับ
ความยาวที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร

น้ำ�หนัก
2. วัดและเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม ◆◆ การวัดน้ำ�หนักโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย
เป็นขีด มาตรฐาน
◆◆ การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
◆◆ การเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับ
น้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
18 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 19

ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 2
สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ
สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
แบบรูป
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง (มีการจัดการเรียน การสอน ◆◆ แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง
เพื่อเป็นพื้นฐาน แต่ไม่วัดผล) ทีละ 2 ทีละ 5 และทีละ 100
จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ◆◆ แบบรูปซ้ำ�
1. บอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่งต่าง ๆ ◆◆ การนับทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100
ตามจำ�นวนที่กำ�หนด อ่านและเขียนตัวเลข ◆◆ การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดง ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน
จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ◆◆ จำ�นวนคู่ จำ�นวนคี่ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
2. เปรียบเทียบจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ◆◆ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้
โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < เขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. เรียงลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ◆◆ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน
ตั้งแต่ 3 ถึง 5 จำ�นวนจากสถานการณ์ต่าง ๆ
เวลา
การบวก การลบ การคูณ การหารจำ�นวนนับ 1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที
ไม่เกิน 1,000 และ 0 เวลาที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็นหน่วยเดียวกัน (ช่วง 5 นาที)
4. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ ◆◆ การบวกและการลบ ◆◆ การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที
แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดง ◆◆ ความหมายของการคูณ ความหมายของ ◆◆ การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมง
การลบของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 การหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและ เป็นนาที
5. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ เศษ และความสัมพันธ์ของการคูณและ ◆◆ การอ่านปฏิทิน
แสดงการคูณของจำ�นวน 1 หลักกับจำ�นวน การหาร ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
ไม่เกิน 2 หลัก ◆◆ การบวก ลบ คูณ หารระคน
6. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา
แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 2 หลัก ตัวหาร พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ ความยาว
1 หลัก โดยที่ผลหารมี 1 หลักทั้งหารลงตัว 2. วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและ ◆◆ การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร
และหารไม่ลงตัว เซนติเมตร ◆◆ การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร
7. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของ
จำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0
8. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน
ของจำ�นวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0
20 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 21

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต


ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก ◆◆ การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความ
การลบเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตร สัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร
และเซนติเมตร ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มี รูปเรขาคณิตสองมิติ
หน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร 1. จำ�แนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม ◆◆ ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม และวงรี
และวงกลม และการเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้แบบ
ของรูป
น้ำ�หนัก
4. วัดและเปรียบเทียบน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและ ◆◆ การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม
กรัม กิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและขีด
5. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก ◆◆ การคาดคะเนน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
การลบเกี่ยวกับน้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม ◆◆ การเปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้ความสัมพันธ์ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
และกรัม กิโลกรัมและขีด ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำ�หนักที่มีหน่วย ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด
การนำ�เสนอข้อมูล
1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำ�ตอบ ◆◆ การอ่านแผนภูมิรูปภาพ
ปริมาตรและความจุ ของโจทย์ปัญหาเมื่อกำ�หนดรูป 1 รูป แทน
6. วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็น ◆◆ การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้หน่วยที่ 2 หน่วย 5 หน่วย หรือ 10 หน่วย
ลิตร ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
◆◆ การวัดปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา
ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร
◆◆ การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็น
ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและ
ความจุที่มีหน่วยเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ
ถ้วยตวง ลิตร
22 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 23

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 3
สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต การบวก การลบ การคูณ การหารจำ�นวนนับ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ไม่เกิน 100,000 และ 0
ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ 5. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ ◆◆ การบวกและการลบ
สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้ แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดง ◆◆ การคูณ การหารยาว และการหารสั้น
การลบของจำ�นวนนับไม่เกิน 100,000 ◆◆ การบวก ลบ คูณ หารระคน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
และ 0 ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา
6. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ
จำ�นวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 แสดงการคูณของจำ�นวน 1 หลักกับจำ�นวน
1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ◆◆ การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ไม่เกิน 4 หลัก และจำ�นวน 2 หลักกับจำ�นวน
และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับไม่เกิน ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำ�นวน 2 หลัก
100,000 และ 0 ◆◆ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และ 7. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
2. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับไม่เกิน การเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวนในรูปกระจาย แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลัก ตัวหาร
100,000 จากสถานการณ์ต่าง ๆ ◆◆ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน 1 หลัก
8. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของ
จำ�นวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0
เศษส่วน 9. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน
3. บอก อ่านและเขียนเศษส่วนแสดงปริมาณ ◆◆ เศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน ของจำ�นวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0
สิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน ◆◆ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วน
ที่กำ�หนด
4. เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน การบวก การลบเศษส่วน
โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน 10. หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและ ◆◆ การบวกและการลบเศษส่วน
ผลบวกไม่เกิน 1 และหาผลลบของเศษส่วน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา
ที่มีตัวส่วนเท่ากัน การลบเศษส่วน
11. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก
เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน
1 และโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วน
เท่ากัน
24 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 25

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้
ความยาว
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. เลือกใช้เครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม ◆◆ การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร
วัดและบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆ เป็น เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร
แบบรูป เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร ◆◆ การเลือกเครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม
1. ระบุจำ�นวนที่หายไปในแบบรูปของจำ�นวน ◆◆ แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ 4. คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร ◆◆ การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็น
ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน เท่า ๆ กัน 5. เปรียบเทียบความยาวระหว่างเซนติเมตรกับ เซนติเมตร
มิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับ ◆◆ การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความ
เมตรจากสถานการณ์ต่าง ๆ สัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว
6. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
ความยาวที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตรและ
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้
มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตร
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และเมตร

น้ำ�หนัก
เงิน
7. เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอก ◆◆ การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม
1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ การบอกจำ�นวนเงินและเขียนแสดงจำ�นวน
น้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม ◆◆ การคาดคะเนน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด
เงิน เงินแบบใช้จุด
8. คาดคะเนน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด ◆◆ การเปรียบเทียบน้ำ�หนักโดยใช้ความสัมพันธ์
◆◆ การเปรียบเทียบจำ�นวนเงินและการแลกเงิน
9. เปรียบเทียบน้ำ�หนักระหว่างกิโลกรัมกับกรัม ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม
◆◆ การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย
เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำ�หนัก
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
10. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
น้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม

เวลา เมตริกตันกับกิโลกรัม

2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที
ปริมาตรและความจุ
เวลา และระยะเวลา ◆◆ การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.)
11. เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและ ◆◆ การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและ
หรือทวิภาค (:) และการอ่าน
เปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร
◆◆ การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที
และมิลลิลิตร ◆◆ การเลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม
◆◆ การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความ
12. คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร ◆◆ การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร
สัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที
13. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุโดยใช้
◆◆ การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุ
ปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและ ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร
เวลา
มิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและ
ความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร
26 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 27

ชั้นประถมศึกษา
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ปีที่ 4
สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ
สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้

รูปเรขาคณิตสองมิติ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตร ◆◆ รูปที่มีแกนสมมาตร
และจำ�นวนแกนสมมาตร
จำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000 และ 0
1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ◆◆ การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนนับที่มากกว่า ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำ�นวน
100,000 ◆◆ หลัก ค่าประจำ�หลักและค่าของเลขโดดใน
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
2. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับที่ แต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำ�นวน
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
มากกว่า 100,000 จากสถานการณ์ต่าง ๆ ในรูปกระจาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ◆◆ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน
◆◆ ค่าประมาณของจำ�นวนนับและการใช้
เครื่องหมาย ≈
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำ�เสนอข้อมูล
1. เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจาก ◆◆ การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำ�แนกข้อมูล
แผนภูมิรูปภาพในการหาคำ�ตอบของโจทย์ ◆◆ การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ
เศษส่วน
ปัญหา ◆◆ การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว
3. บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จำ�นวนคละ ◆◆ เศษส่วนแท้ เศษเกิน
2. เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็น (One-Way Table)
แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ◆◆ จำ�นวนคละ
จำ�นวนนับ และใช้ข้อมูลจากตารางทางเดียว
ตามเศษส่วน จำ�นวนคละที่กำ�หนด ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนคละและ
ในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
4. เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับเศษส่วนและ เศษเกิน
จำ�นวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณ ◆◆ เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่ำ�
ของอีกตัวหนึ่ง และเศษส่วนที่เท่ากับจำ�นวนนับ
◆◆ การเปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับเศษส่วน
และจำ�นวนคละ
28 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 29

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ทศนิยม
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
5. อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง ◆◆ การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกิน
แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ 3 ตำ�แหน่งตามปริมาณที่กำ�หนด
ตามทศนิยมที่กำ�หนด ◆◆ หลัก ค่าประจำ�หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละ การบวก การลบเศษส่วน
6. เปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับทศนิยมไม่เกิน หลักของทศนิยม และการเขียนตัวเลขแสดง 13. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจำ�นวน ◆◆ การบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ
3 ตำ�แหน่งจากสถานการณ์ต่างๆ ทศนิยมในรูปกระจาย คละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัว ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา
◆◆ ทศนิยมที่เท่ากัน หนึ่ง การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ
◆◆ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับทศนิยม 14. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก
และโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนและจำ�นวน
คละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัว
การบวก การลบ การคูณ การหารจำ�นวนนับ หนึ่ง
ที่มากกว่า 100,000 และ 0
7. ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ ◆◆ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก
การคูณ การหารจากสถานการณ์ต่าง ๆ การลบ การคูณ การหาร การบวก การลบทศนิยม
อย่างสมเหตุสมผล ◆◆ การบวกและการลบ 15. หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ◆◆ การบวก การลบทศนิยม
8. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ ◆◆ การคูณและการหาร 3 ตำ�แหน่ง ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบทศนิยม
แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดง ◆◆ การบวก ลบ คูณ หารระคน 16. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก ไม่เกิน 2 ขั้นตอน
การลบของจำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000 ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา การลบ 2 ขั้นตอน ของทศนิยมไม่เกิน
และ 0 พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ 3 ตำ�แหน่ง
9. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการคูณของจำ�นวนหลายหลัก 2 จำ�นวน
ที่มีผลคูณไม่เกิน 6 หลัก และประโยค มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้
สัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 6 หลัก
ตัวหารไม่เกิน 2 หลัก ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
10. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของ
จำ�นวนนับ และ 0 แบบรูป
11. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน (มีการจัดการเรียน การสอน ◆◆ แบบรูปของจำ�นวนที่เกิดจากการคูณ การหาร
ของจำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000 และ 0 เพื่อเป็นพื้นฐาน แต่ไม่วัดผล) ด้วยจำ�นวนเดียวกัน
12. สร้างโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอนของจำ�นวนนับ
และ 0 พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ
30 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 31

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต


มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เวลา รูปเรขาคณิต
1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ชั่วโมง 1. จำ�แนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบ ◆◆ ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง
เวลา วัน สัปดาห์ เดือน ปี ของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม และสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วนของ
◆◆ การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ 2. สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเมื่อกำ�หนดความยาว เส้นตรง
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา ของด้าน ◆◆ มุม
◆◆ การอ่านตารางเวลา • ส่วนประกอบของมุม
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา • การเรียกชื่อมุม
• สัญลักษณ์แสดงมุม
• ชนิดของมุม
การวัดและสร้างมุม ◆◆ ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
2. วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ ◆◆ การวัดขนาดของมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ ◆◆ การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
◆◆ การสร้างมุมเมื่อกำ�หนดขนาดของมุม

รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น

3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ◆◆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มุมฉาก ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
การนำ�เสนอข้อมูล
1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทาง ◆◆ การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง
ในการหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา (ไม่รวมการย่นระยะ)
◆◆ การอ่านตารางสองทาง (Two-Way Table)
32 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 33

ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5
สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน
ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ การคูณ การหารทศนิยม
สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้ 6. หาผลคูณของทศนิยมที่ผลคูณเป็นทศนิยม ◆◆ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง การคูณ การหารทศนิยม
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
7. หาผลหารที่ตัวตั้งเป็นจำ�นวนนับหรือทศนิยม ◆◆ การคูณทศนิยม
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง และตัวหารเป็นจำ�นวนนับ ◆◆ การหารทศนิยม
ทศนิยม ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยม
1. เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม 8. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก
10 หรือ 100 หรือ 1,000 ในรูปทศนิยม ◆◆ ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง การลบ การคูณ การหารทศนิยม 2 ขั้นตอน
ที่เป็นจำ�นวนเต็ม ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง
และ 2 ตำ�แหน่ง การใช้เครื่องหมาย ≈
ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
9. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละ ◆◆ การอ่านและการเขียนร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
จำ�นวนนับและ 0 การบวก การลบ การคูณ
ไม่เกิน 2 ขั้นตอน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ
และการหาร
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์
บัญญัติไตรยางศ์
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้
เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหาร
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เศษส่วน
3. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและ ◆◆ การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำ�นวนคละ
จำ�นวนคละ ◆◆ การบวก การลบของเศษส่วนและจำ�นวนคละ ความยาว
4. หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและ ◆◆ การคูณ การหารของเศษส่วนและจำ�นวนคละ 1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว
จำ�นวนคละ ◆◆ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ ความยาวที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนใน เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร
5. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก จำ�นวนคละ รูปทศนิยม กิโลเมตรกับเมตร โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม
การลบ การคูณ การหารเศษส่วน 2 ขั้นตอน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำ�นวนคละ ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวโดยใช้
ความรู้เรื่องการเปลี่ยนหน่วยและทศนิยม
34 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 35

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต


ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

น้ำ�หนัก รูปเรขาคณิต
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้ำ�หนัก กิโลกรัม 1. สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนาน ◆◆ เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการตั้งฉาก
น้ำ�หนักที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนใน กับกรัม โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม กับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กำ�หนดให้ ◆◆ เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน
รูปทศนิยม ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำ�หนัก โดยใช้ ◆◆ การสร้างเส้นขนาน
ความรู้เรื่องการเปลี่ยนหน่วยและทศนิยม ◆◆ มุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บน
ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง (Transversal)

ปริมาตรและความจุ
รูปเรขาคณิตสองมิติ
3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุ
2. จำ�แนกรูปสี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติ ◆◆ ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยม
ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุ ของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ของรูป ◆◆ การสร้างรูปสี่เหลี่ยม
ของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่างมิลลิลิตร ลิตร
3. สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เมื่อกำ�หนด
ลูกบาศก์เซนติเมตร และลูกบาศก์เมตร
ความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือ
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของ
เมื่อกำ�หนดความยาวของเส้นทแยงมุม
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
รูปเรขาคณิตสามมิติ
4. บอกลักษณะของปริซึม ◆◆ ลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของปริซึม

รูปเรขาคณิตสองมิติ
4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม
ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ ◆◆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและ สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ขนมเปียกปูน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
ด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
การนำ�เสนอข้อมูล
1. ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำ�ตอบของ ◆◆ การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง
โจทย์ปัญหา ◆◆ การอ่านกราฟเส้น
2. เขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลที่เป็นจำ�นวนนับ
36 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 37

ชั้นประถมศึกษา ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ปีที่ 6
สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน

ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ 7. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน ◆◆ การบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ

สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้ ของเศษส่วนและจำ�นวนคละ โดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น.


8. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วน ◆◆ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และจำ�นวนคละ 2 - 3 ขั้นตอน จำ�นวนคละ
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำ�นวนคละ

เศษส่วน
1. เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับเศษส่วนและ ◆◆ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วนและ
ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหาร
จำ�นวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ จำ�นวนคละโดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น.
9. หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหาร ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม
เป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง ◆◆ การหารทศนิยม

อัตราส่วน 10. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยม

2. เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ ◆◆ อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน และมาตราส่วน การลบ การคูณ การหารทศนิยม 3 ขั้นตอน (รวมการแลกเงินต่างประเทศ)

2 ปริมาณ จากข้อความหรือสถานการณ์
โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจำ�นวนนับ
อัตราส่วนและร้อยละ
3. หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำ�หนดให้
11. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาอัตราส่วนและมาตราส่วน
12. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละ ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ

จำ�นวนนับ และ 0 2 - 3 ขั้นตอน

4. หา ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับไม่เกิน 3 จำ�นวน ◆◆ ตัวประกอบ จำ�นวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ


5. หา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับไม่เกิน 3 จำ�นวน และการแยกตัวประกอบ
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้
6. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ ◆◆ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ค.ร.น.

แบบรูป
1. แสดงวิธีคิดและหาคำ�ตอบของปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป
แบบรูป
38 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 39

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต


มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ปริมาตรและความจุ รูปเรขาคณิตสองมิติ
1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ 1. จำ�แนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจาก ◆◆ ชนิดและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม
ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบ ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สมบัติของรูป ◆◆ การสร้างรูปสามเหลี่ยม
ด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร 2. สร้างรูปสามเหลี่ยมเมื่อกำ�หนดความยาว ◆◆ ส่วนต่าง ๆ ของวงกลม
ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วย ของด้านและขนาดของมุม ◆◆ การสร้างวงกลม
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสองมิติ 3. บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ ◆◆ ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พีระมิด
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ชนิดต่าง ๆ ◆◆ รูปคลี่ของทรงกระบอก กรวย ปริซึม พีระมิด
ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม ◆◆ มุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม 4. ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบจาก
3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม รูปคลี่และระบุรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
และพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
◆◆ ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
และพื้นที่ของวงกลม มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

การนำ�เสนอข้อมูล
1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปวงกลมในการหา ◆◆ การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม
คำ�ตอบของโจทย์ปัญหา
40 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 41

10 ตารางสรุปสาระการเรียนรู้แกนกลาง

มีรายละเอียดดังนี้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

จำ�นวนและพีชคณิต 5. ทศนิยม
1. จำ�นวนนับและศูนย์ • ความหมายและการใช้สัญลักษณ์แสดงทศนิยม ■ ■ ■
• จำ�นวนและตัวเลขแสดงจำ�นวน ■ ■ ■ ■ • หลักและค่าประจำ�หลักของทศนิยม ■
• หลัก ค่าประจำ�หลัก และการเขียนตัวเลขแสดง • ค่าประมาณ ■
■ ■ ■ ■
จำ�นวนในรูปกระจาย • การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ ■
• ค่าประมาณ ■ 6. การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม
• การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ ■ ■ ■ ■ • การบวก การลบ และโจทย์ปัญหา ■ ■
2. การบวก การลบ การคูณ การหาร • การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหา ■ ■
• การบวก การลบ และโจทย์ปัญหา ■ ■ ■ ■ 7. อัตราส่วนและร้อยละ
• การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหา ■ ■ ■ • ความหมายและการใช้สัญลักษณ์แสดงร้อยละ ■
• ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ■ หรือเปอร์เซ็นต์
• การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางค์ ■ • ความหมายและการใช้สัญลักษณ์แสดงอัตราส่วน ■
3. เศษส่วน • โจทย์ปัญหา ■ ■
• ความหมายและการใช้สัญลักษณ์แสดงเศษส่วน ■ ■ 8. แบบรูป
• การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ ■ ■ ■ ■ • แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ■ ■ ■
4. การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ทีละเท่าๆ กัน
• การบวก การลบ และโจทย์ปัญหา ■ ■ ■ ■ • แบบรูปของจำ�นวนที่เกิดจากการคูณ การหารด้วย ■
• การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหา ■ ■ จำ�นวนเดียวกัน

• แบบรูปซ้ำ�ของจำ�นวน รูปเรขาคณิตและรูปอื่นๆ ■ ■

• การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป ■
42 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 43

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

การวัดและเรขาคณิต • การหาปริมาตรและความจุ ■ ■

1. เงิน • การคาดคะเน ■

• การบอกจำ�นวนเงินและการเขียนจำ�นวนเงิน ■ • การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ ■ ■

แบบใช้จุด • ความสัมพันธ์ของหน่วยปริมาตรและความจุ ■ ■

• การเปรียบเทียบจำ�นวนเงินและการแลกเงิน ■ • โจทย์ปัญหา/การนำ�ไปใช้ ■ ■ ■ ■

• โจทย์ปัญหา/การนำ�ไปใช้ ■ 6. เรขาคณิต

2. เวลา • ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง ■

• การบอกเวลาและการบอกระยะเวลา ■ ■ ■ • มุม ■

• การเปรียบเทียบระยะเวลา ■ ■ ■ • เส้นขนาน ■

• ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา ■ ■ 7. รูปเรขาคณิตสองมิติ

• โจทย์ปัญหา/การนำ�ไปใช้ ■ ■ ■ • ลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิตสองมิติ ■ ■ ■ ■ ■ ■

3. ความยาว • การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ ■ ■ ■ ■

• การวัดความยาว ■ ■ ■ • การหาความยาวรอบรูปและพื้นที่ ■ ■ ■

• การคาดคะเน ■ ■ • โจทย์ปัญหา ■ ■ ■

• การเปรียบเทียบความยาว ■ ■ ■ 8. รูปเรขาคณิตสามมิติ

• ความสัมพันธ์ของหน่วยความยาว ■ ■ ■ • ลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ ■ ■ ■

• โจทย์ปัญหา/การนำ�ไปใช้ ■ ■ ■ ■ • รูปคลี่ ■

4. น้ำ�หนัก สถิติและความน่าจะเป็น

• การวัดน้ำ�หนัก ■ ■ ■ 1. ข้อมูลและการนำ�เสนอข้อมูล

• การคาดคะเน ■ ■ • การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจำ�แนกข้อมูล ■

• การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก ■ ■ ■ • แผนภูมิรูปภาพ ■ ■ ■

• ความสัมพันธ์ของหน่วยน้ำ�หนัก ■ ■ ■ • แผนภูมิแท่ง ■ ■

• โจทย์ปัญหา/การนำ�ไปใช้ ■ ■ ■ ■ • ตาราง ■ ■

5. ปริมาตรและความจุ • กราฟเส้น ■

• การวัดปริมาตรและความจุ ■ ■ • แผนภูมิรูปวงกลม ■
44 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 45

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

จำ�นวนนับ 1 ถึง 100 และ 0 การบวก การลบ จำ�นวนนับ ความยาว น้ำ�หนัก การนำ�เสนอข้อมูล
1 ถึง 100 และ 0

11
◆◆ การนับทีละ 1 และ ◆◆ ความหมายของการบวก ◆◆ การวัดความยาวโดยใช้ ◆◆ การวัดน้ำ�หนักโดยใช้หน่วย ◆◆ การอ่านแผนภูมิรูปภาพ
ทีละ 10 ความหมายของการลบ หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย ที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
◆◆ การอ่านและการเขียน การหาผลบวก มาตรฐาน ◆◆ การวัดน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม
ตัวเลขฮินดูอารบิก การหาผลลบ ◆◆ การวัดความยาวเป็น เป็นขีด
ตัวเลขไทยแสดงจำ�นวน และความสัมพันธ์ของ เซนติเมตร เป็นเมตร ◆◆ การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก
◆◆ การแสดงจำ�นวนนับ การบวกและการลบ ◆◆ การเปรียบเทียบความยาว เป็นกิโลกรัม เป็นขีด
ไม่เกิน 20 ในรูปความ ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา เป็นเซนติเมตร เป็นเมตร ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา
ผังสาระ สัมพันธ์ของจำ�นวนแบบ การบวก โจทย์ปัญหา ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การบวก การลบที่เกี่ยวกับ
การเรียนรู้ ส่วนย่อย – ส่วนรวม การลบ และการสร้าง
โจทย์ปัญหาพร้อมทั้ง
การลบเกี่ยวกับความยาว น้ำ�หนักที่มีหน่วยเป็น
กิโลกรัม เป็นขีด
(part-whole relationship) ที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตร
แกนกลาง ◆◆ การบอกอันดับที่ หาคำ�ตอบ เป็นเมตร
◆◆ หลักค่าประจำ�หลัก
ค่าของเลขโดดใน
สาระการเรียนรู้ แต่ละหลัก และการเขียน
ตัวเลขแสดงจำ�นวน
ตามหลักสูตรกลุ่มสาระ
ในรูปกระจาย
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ◆◆ การเปรียบเทียบจำ�นวน
และการใช้เครื่องหมาย แบบรูป รูปเรขาคณิตสองมิติและ
(ฉบับปรับปรุง
=≠>< รูปเรขาคณิตสามมิติ
พ.ศ. 2560) ◆◆ การเรียงลำ�ดับจำ�นวน
ตามหลักสูตรแกนกลาง
◆◆ แบบรูปของจำ�นวนที่ ◆◆ ลักษณะของทรงสี่เหลี่ยม
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพิ่มขึ้นหรือลดลง มุมฉาก ทรงกลม
ทีละ 1 และทีละ 10 ทรงกระบอก กรวย
พุทธศักราช 2551
◆◆ แบบรูปซ้ำ�ของจำ�นวน ◆◆ ลักษณะของรูปสามเหลี่ยม
ระดับประถมศึกษา รูปเรขาคณิตและ รูปสี่เหลี่ยม วงกลม
รูปอื่น ๆ และวงรี
แสดงเป็นผังเพื่อให้เห็น
ภาพรวมของเนื้อหา
ในแต่ละชั้นได้ชัดเจน
และเป็นรูปธรรม ดังนี้
46 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 47

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

จำ�นวนนับไม่เกิน การบวก การลบ การคูณ เวลา น้ำ�หนัก รูปเรขาคณิตสองมิติ การนำ�เสนอข้อมูล


1,000 และ 0 การหารจำ�นวนนับ
ไม่เกิน 1,000 และ 0

◆◆ การบอกเวลาเป็นนาฬิกา ◆◆ การวัดน้ำ�หนักเป็น ◆◆ ลักษณะของรูปหลาย ◆◆ การอ่านแผนภูมิรูปภาพ


◆◆ การนับทีละ 2 ทีละ 5 ◆◆ การบวกและการลบ และนาที (ช่วง 5 นาที) กิโลกรัมและกรัม เหลี่ยม วงกลม และวงรี
ทีละ 10 และทีละ 100 ◆◆ ความหมายของการคูณ ◆◆ การบอกระยะเวลา กิโลกรัมและขีด และการเขียนรูป
◆◆ การอ่านและการเขียน ความหมายของการหาร เป็นชั่วโมง เป็นนาที ◆◆ การคาดคะเนน้ำ�หนัก เรขาคณิตสองมิติ
ตัวเลขฮินดูอารบิก การหาผลคูณ การหา ◆◆ การเปรียบเทียบระยะ เป็นกิโลกรัม โดยใช้แบบของรูป
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ ผลหารและเศษ และ เวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที ◆◆ การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก
แสดงจำ�นวน ความสัมพันธ์ของ ◆◆ การอ่านปฏิทิน โดยใช้ความสัมพันธ์
◆◆ จำ�นวนคู่ จำ�นวนคี่ การคูณและการหาร ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม
◆◆ หลัก ค่าประจำ�หลัก ◆◆ การบวก ลบ คูณ หาร เกี่ยวกับเวลา กิโลกรัมกับขีด
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก ระคน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา
และการเขียนตัวเลขแสดง ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาและ เกี่ยวกับน้ำ�หนักที่มี
จำ�นวนในรูปกระจาย การสร้างโจทย์ปัญหา หน่วยเป็นกิโลกรัมและ
◆◆ การเปรียบเทียบและ พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ กรัม กิโลกรัมและขีด
เรียงลำ�ดับจำ�นวน

แบบรูป ความยาว ปริมาตรและความจุ

◆◆ แบบรูปของจำ�นวน ◆◆ การวัดความยาวเป็นเมตร ◆◆ การวัดปริมาตรและความจุ


ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง และเซนติเมตร โดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย
ทีละ 2 ทีละ 5 และ ◆◆ การคาดคะเนความยาว มาตรฐาน
ทีละ 100 เป็นเมตร ◆◆ การวัดปริมาตรและความจุ
◆◆ แบบรูปซ้ำ� ◆◆ การเปรียบเทียบความยาว เป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ
โดยใช้ความสัมพันธ์ ถ้วยตวง ลิตร
ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร ◆◆ การเปรียบเทียบปริมาตร
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ และความจุเป็นช้อนชา
ความยาวที่มีหน่วยเป็น ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร
เมตรและเซนติเมตร ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ปริมาตรและความจุ
ที่มีหน่วยเป็นช้อนชา
ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร
48 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 49

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

จำ�นวนนับไม่เกิน การบวก การลบ การคูณ เงิน เวลา รูปเรขาคณิตสองมิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล


100,000 และ 0 การหารจำ�นวนนับ และการนำ�เสนอข้อมูล
ไม่เกิน 100,000 และ 0

◆◆ การบอกจำ�นวนเงิน ◆◆ การบอกเวลาเป็นนาฬิกา ◆◆ รูปที่มีแกนสมมาตร


◆◆ การอ่าน การเขียนตัวเลข ◆◆ การบวกและการลบ และเขียนแสดงจำ�นวน และนาที ◆◆ การเก็บรวบรวมข้อมูล
ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ◆◆ การคูณ การหารยาว เงินแบบใช้จุด ◆◆ การเขียนบอกเวลาโดยใช้ และจำ�แนกข้อมูล
และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน และการหารสั้น ◆◆ การเปรียบเทียบจำ�นวน มหัพภาค (.) หรือ ทวิภาค (:) ◆◆ การอ่านและการเขียน
◆◆ หลัก ค่าประจำ�หลัก ◆◆ การบวก ลบ คูณ เงินและการแลกเงิน และการอ่าน แผนภูมิรูปภาพ
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก หารระคน ◆◆ การอ่านและเขียนบันทึก ◆◆ การบอกระยะเวลา ◆◆ การอ่านและการเขียน
และการเขียนตัวเลขแสดง ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาและ รายรับรายจ่าย เป็นชั่วโมงและนาที ตารางทางเดียว
จำ�นวนในรูปกระจาย การสร้างโจทย์ปัญหา ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ◆◆ การเปรียบเทียบระยะเวลา (One-Way Table)
◆◆ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ เกี่ยวกับเงิน โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง
จำ�นวน ชั่วโมงกับนาที
◆◆ การอ่านและบันทึกกิจกรรม
ที่ระบุเวลา
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
เวลาและระยะเวลา

ความยาว น้ำ�หนัก ปริมาตรและความจุ


เศษส่วน แบบรูป การบวก การลบ เศษส่วน

◆◆ การบวกและการลบ ◆◆ การวัดความยาวเป็น ◆◆ การเลือกเครื่องชั่งที่ ◆◆ การวัดปริมาตรและความจุเป็น


◆◆ เศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่า ◆◆ แบบรูปของจำ�นวน เศษส่วน เซนติเมตรและมิลลิเมตร เหมาะสม ลิตรและมิลลิลิตร
หรือเท่ากับตัวส่วน ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา เมตรและเซนติเมตร ◆◆ การคาดคะเนน้ำ�หนักเป็น ◆◆ การเลือกเครื่องตวงที่
◆◆ การเปรียบเทียบและ ทีละเท่า ๆ กัน การบวกและการลบ กิโลเมตรและเมตร กิโลกรัมและเป็นขีด เหมาะสม
เรียงลำ�ดับเศษส่วน เศษส่วน ◆◆ การเลือกเครื่องวัด ◆◆ การเปรียบเทียบน้ำ�หนัก ◆◆ การคาดคะเนปริมาตรและความ
ความยาวที่เหมาะสม โดยใช้ความสัมพันธ์ จุเป็นลิตร
◆◆ การคาดคะเนความยาว ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม ◆◆ การเปรียบเทียบปริมาตรและ
เป็นเมตรและเซนติเมตร หรือเมตริกตันกับกิโลกรัม ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์
◆◆ การเปรียบเทียบความยาว ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยว ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา
โดยใช้ความสัมพันธ์ กับน้ำ�หนัก ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร
ระหว่างหน่วยความยาว ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรและความจุที่มีหน่วย
ความยาว เป็นลิตรและมิลลิลิตร
50 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 51

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

การเก็บรวบรวมข้อมูล
จำ�นวนนับที่มากกว่า การบวก การลบ การคูณ เวลา รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิตสองมิติ
และการนำ�เสนอข้อมูล
100,000 และ 0 การหารจำ�นวนนับ
ที่มากกว่า 100,000 และ 0

◆◆ การบอกระยะเวลา ◆◆ การวัดขนาดของมุมโดย ◆◆ ชนิดและสมบัติของ ◆◆ การอ่านและการเขียน


◆◆ การอ่าน การเขียนตัวเลข ◆◆ การประมาณผลลัพธ์ของ เป็นวินาที นาที ชั่วโมง ใช้โพรแทรกเตอร์ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก แผนภูมิแท่ง
ฮินดูอารบิก การบวก การลบ วัน สัปดาห์ เดือน ปี ◆◆ การสร้างมุมเมื่อกำ�หนด ◆◆ การสร้างรูปสี่เหลี่ยม (ไม่รวมการย่นระยะ)
ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ การคูณ การหาร ◆◆ การเปรียบเทียบระยะ ขนาดของมุม มุมฉาก ◆◆ การอ่านตารางสองทาง
แสดงจำ�นวน ◆◆ การบวกและการลบ เวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ ◆◆ ความยาวรอบรูป (Two-Way Table)
◆◆ หลัก ค่าประจำ�หลัก ◆◆ การคูณและการหาร ระหว่างหน่วยเวลา ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ค่าของเลขโดดในหลักต่าง ๆ ◆◆ การบวก ลบ คูณ ◆◆ การอ่านตารางเวลา ◆◆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
และการเขียนตัวเลขแสดง หารระคน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา มุมฉาก
จำ�นวนในรูปกระจาย ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาและ เกี่ยวกับเวลา ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา
◆◆ การเปรียบเทียบและเรียง การสร้างโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับความยาว
ลำ�ดับจำ�นวน พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ รอบรูปและพื้นที่ของ
◆◆ ค่าประมาณของจำ�นวนนับ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และการใช้เครื่องหมาย ≈ ◆◆ ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี
ส่วนของเส้นตรงและ
สัญลักษณ์แสดงเส้นตรง
รังสี ส่วนของเส้นตรง
◆◆ ส่วนประกอบของมุม
เศษส่วน การบวก การลบเศษส่วน ทศนิยม การบวก การลบทศนิยม การเรียกชื่อมุม
สัญลักษณ์แสดงมุม
และชนิดของมุม
◆◆ เศษส่วนแท้ เศษเกิน ◆◆ การบวก การลบเศษส่วน ◆◆ การอ่านและการเขียน ◆◆ การบวก การลบทศนิยม
◆◆ จำ�นวนคละ และจำ�นวนคละ ทศนิยมไม่เกิน 3 ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา
◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่าง ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ตำ�แหน่งตามปริมาณ การบวก การลบทศนิยม
จำ�นวนคละและเศษเกิน การบวกและโจทย์ปัญหา ที่กำ�หนด ไม่เกิน 2 ขั้นตอน
◆◆ เศษส่วนที่เท่ากัน การลบเศษส่วนและ ◆◆ หลัก ค่าประจำ�หลัก
เศษส่วนอย่างต่ำ� จำ�นวนคละ ค่าของเลขโดดใน
และเศษส่วนที่เท่ากับ แต่ละหลักของทศนิยม
จำ�นวนนับ และการเขียนตัวเลข
◆◆ การเปรียบเทียบ แสดงทศนิยมใน แบบรูป
เรียงลำ�ดับเศษส่วน รูปกระจาย
และจำ�นวนคละ ◆◆ ทศนิยมที่เท่ากัน
◆◆ การเปรียบเทียบและ ◆◆ แบบรูปของจำ�นวน
เรียงลำ�ดับทศนิยม ที่เกิดจากการคูณ
การหารด้วยจำ�นวน
เดียวกัน
52 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 53

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

จำ�นวนนับและ 0 ความยาว น้ำ�หนัก ปริมาตรและความจุ การนำ�เสนอข้อมูล


การบวก การลบ ทศนิยม การคูณ การหารทศนิยม
การคูณ และการหาร

◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่าง ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่าง ◆◆ ปริมาตรของทรง ◆◆ การอ่านและการเขียน


หน่วยความยาว หน่วยน้ำ�หนัก กิโลกรัม สี่เหลี่ยมมุมฉากและ แผนภูมิแท่ง
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่าง ◆◆ การประมาณผลลัพธ์ เซนติเมตรกับมิลลิเมตร กับกรัม โดยใช้ความรู้ ความจุของภาชนะ ◆◆ การอ่านกราฟเส้น
โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ เศษส่วนและทศนิยม ของการบวก การลบ เมตรกับเซนติเมตร เรื่องทศนิยม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
◆◆ ค่าประมาณของทศนิยม การคูณ การหารทศนิยม กิโลเมตรกับเมตร ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง ◆◆ การคูณทศนิยม โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม เกี่ยวกับน้ำ�หนัก มิลลิลิตร ลิตร
ที่เป็นจำ�นวนเต็ม ◆◆ การหารทศนิยม ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา โดยใช้ความรู้เรื่อง ลูกบาศก์เซนติเมตร
ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับความยาวโดย การเปลี่ยนหน่วย และลูกบาศก์เมตร
และ 2 ตำ�แหน่ง เกี่ยวกับทศนิยม ใช้ความรู้เรื่องการเปลี่ยน และทศนิยม ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา
การใช้เครื่องหมาย ≈ หน่วยและทศนิยม เกี่ยวกับปริมาตรของ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และความจุของภาชนะ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

เศษส่วน และการบวก
การลบ การคูณ ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
การหารเศษส่วน

◆◆ การเปรียบเทียบเศษส่วน ◆◆ การอ่านและการเขียน ◆◆ ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม ◆◆ ชนิดและสมบัติ ◆◆ ลักษณะและส่วนต่าง ๆ


และจำ�นวนคละ ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ ◆◆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ของรูปสี่เหลี่ยม ของปริซึม
◆◆ การบวก การลบเศษส่วน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา และรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ◆◆ การสร้างรูปสี่เหลี่ยม
และจำ�นวนคละ ร้อยละ ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
◆◆ การคูณ การหารของ รอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
เศษส่วนและจำ�นวนคละ ด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
◆◆ การบวก ลบ คูณ หาร ◆◆ เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการตั้งฉาก
ระคนของเศษส่วนและ ◆◆ เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน
จำ�นวนคละ ◆◆ การสร้างเส้นขนาน
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ◆◆ มุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอก
เศษส่วนและจำ�นวนคละ ที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง
(Transversal)
54 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 55

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

จำ�นวนนับ และ 0 ทศนิยม และการบวก ปริมาตรและความจุ รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ การนำ�เสนอข้อมูล


การลบ การคูณ การหาร

◆◆ ตัวประกอบ จำ�นวนเฉพาะ ◆◆ ความสัมพันธ์ระหว่าง ◆◆ ปริมาตรของรูปเรขาคณิต ◆◆ ชนิดและสมบัติของ ◆◆ ทรงกลม ทรงกระบอก ◆◆ การอ่านแผนภูมิ


ตัวประกอบเฉพาะ เศษส่วนและทศนิยม สามมิติที่ประกอบด้วย รูปสามเหลี่ยม กรวย พีระมิด รูปวงกลม
และการแยกตัวประกอบ ◆◆ การหารทศนิยม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ◆◆ การสร้างรูปสามเหลี่ยม ◆◆ รูปคลี่ของทรงกระบอก
◆◆ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ◆◆ ความยาวรอบรูปและ กรวย ปริซึม พีระมิด
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ เกี่ยวกับทศนิยม เกี่ยวกับปริมาตรของ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
ห.ร.ม. และ ค.ร.น. (รวมการแลกเงิน รูปเรขาคณิตสามมิติ ◆◆ มุมภายในของ
ต่างประเทศ) ที่ประกอบด้วย รูปหลายเหลี่ยม
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ◆◆ ความยาวรอบรูป
และพื้นที่ของ
รูปหลายเหลี่ยม
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับความยาว
เศษส่วน อัตราส่วน อัตราส่วนและร้อยละ แบบรูป รอบรูปและพื้นที่
ของรูปหลายเหลี่ยม
◆◆ ส่วนต่าง ๆ ของวงกลม
◆◆ การเปรียบเทียบ ◆◆ อัตราส่วน ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ◆◆ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ◆◆ การสร้างวงกลม
และเรียงลำ�ดับเศษส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน อัตราส่วนและ แบบรูป ◆◆ ความยาวรอบรูปและ
และจำ�นวนคละ และมาตราส่วน มาตราส่วน พื้นที่ของวงกลม
โดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น. ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา ◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา
ร้อยละ เกี่ยวกับความยาว
รอบรูปและพื้นที่
การบวก การลบ การคูณ ของวงกลม
การหารเศษส่วนและ
จำ�นวนคละ

◆◆ การบวก การลบ
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
โดยใช้ความรู้เรื่อง
ค.ร.น.
◆◆ การบวก ลบ คูณ หาร
ระคนของเศษส่วนและ
จำ�นวนคละ
◆◆ การแก้โจทย์ปัญหา
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
56 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 57

12 การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีแนวทางที่สำ�คัญดังนี้

การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบันนี้มุ่งเน้น 1. การวัดผลประเมินผลต้องกระทำ�อย่างต่อเนือ
่ ง โดยใช้ค�ำ ถามเพือ
่ ตรวจสอบ
การวัดและการประเมินการปฏิบัติงานในสภาพที่เกิดขึ้นจริงหรือที่ใกล้เคียงกับ และส่ ง เสริ ม ความรู้ ค วามเข้ า ใจด้ า นเนื้ อ หา ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ทั ก ษะและ
สภาพจริง รวมทั้งการประเมินเกี่ยวกับสมรรถภาพของผู้เรียนเพิ่มเติมจากความรู้ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดังตัวอย่างคำ�ถามต่อไปนี้ “นักเรียนแก้ปญ
ั หา
ทีไ่ ด้จากการท่องจำ� โดยใช้วธิ ก
ี ารประเมินทีห
่ ลากหลายจากการทีผ
่ เู้ รียนได้ลงมือ นีไ้ ด้อย่างไร” “ใครมีวธิ ก
ี ารนอกเหนือไปจากนีบ
้ า้ ง” “นักเรียนคิดอย่างไรกับ
ปฏิ บั ติ จ ริ ง ได้ เ ผชิ ญ กั บ ปั ญ หาจากสถานการณ์ จ ริ ง หรื อ สถานการณ์ จำ � ลอง วิธีการที่เพื่อนเสนอ” การกระตุ้นด้วยคำ�ถามที่เน้นการคิดจะทำ�ให้เกิด
ได้แก้ปัญหา สืบค้นข้อมูล และนำ�ความรู้ไปใช้ รวมทั้งแสดงออกทางการคิด ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียน
การวัดผลประเมินผลดังกล่าวมีจุดประสงค์สำ�คัญดังต่อไปนี้ มีโอกาสแสดงความคิดเห็น นอกจากนี้ผู้สอนยังสามารถใช้คำ�ตอบของ
ผู้เรียนเป็นข้อมูลเพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ และพัฒนาการด้าน
1. เพื่ อ ตรวจสอบผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นและตั ด สิ น ผลการเรี ย นรู้ ต าม ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนได้อีกด้วย การวัดผล
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชีว้ ด
ั เพือ่ นำ�ผลทีไ่ ด้จากการตรวจสอบ ประเมิ น ผลต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ความรู้ ค วามสามารถของผู้ เ รี ย นที่ ร ะบุ ไ ว้
ไปปรับปรุงพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดียิ่งขึ้น ตามตั ว ชี้ วั ด ซึ่ ง กำ � หนดไว้ ใ นหลั ก สู ต รที่ ส ถานศึ ก ษาใช้ เ ป็ น แนวทาง
2. เพือ
่ วินจ
ิ ฉัยความรูท
้ างคณิตศาสตร์และทักษะทีผ
่ เู้ รียนจำ�เป็นต้องใช้ในชีวต
ิ ในการจัดการเรียนการสอน ทัง้ นีผ
้ ส
ู้ อนจะต้องกำ�หนดวิธก
ี ารวัดผลประเมินผล
ประจำ�วัน เช่น ความสามารถในการแก้ปัญหา การสืบค้น การให้เหตุผล เพือ
่ ใช้ตรวจสอบว่าผูเ้ รียนได้บรรลุผลการเรียนรูต
้ ามมาตรฐานทีก
่ �ำ หนดไว้
การสือ
่ สาร การสือ
่ ความหมาย การนำ�ความรูไ้ ปใช้ การคิดวิเคราะห์ การคิด และต้ อ งแจ้ ง ผลประเมิ น ในแต่ ล ะเรื่ อ งให้ ผู้ เ รี ย นทราบโดยทางตรงหรื อ
สร้างสรรค์ การควบคุมกระบวนการคิด และนำ�ผลที่ได้จากการวินิจฉัย ทางอ้อมเพื่อให้ผู้เรียนได้ปรับปรุงตนเอง
ผู้เรียนไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม 2. การวัดผลประเมินผลต้องครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการ
3. เพือ
่ รวบรวมข้อมูลและจัดทำ�สารสนเทศด้านการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ขอ
้ มูล ทางคณิตศาสตร์ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเน้นการเรียนรู้ด้วย
จากการประเมินผลที่ได้ในการสรุปผลการเรียนของผู้เรียนและเป็นข้อมูล การทำ�งานหรือทำ�กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดสมรรถภาพทั้งสามด้าน ซึ่งงาน
ป้ อ นกลั บ แก่ ผู้ เ รี ย นหรื อ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งตามความเหมาะสม รวมทั้ ง นำ � หรือกิจกรรมดังกล่าวควรมีลักษณะดังนี้
สารสนเทศไปใช้วางแผนบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษา • สาระในงานหรือกิจกรรมต้องเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้การเชื่อมโยงความรู้
หลายเรื่อง
การกำ�หนดจุดประสงค์ของการวัดผลประเมินผลอย่างชัดเจน จะช่วย • วิธีหรือทางเลือกในการดำ�เนินงานหรือการแก้ปัญหามีหลากหลาย
ให้เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือวัดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวัดได้ใน • เงื่อนไขหรือสถานการณ์ของปัญหามีลักษณะปลายเปิด เพื่อให้ผู้เรียน
สิ่งที่ต้องการวัดและนำ�ผลที่ได้ไปใช้งานได้จริง ได้มีโอกาสแสดงความสามารถตามศักยภาพของตน
• งานหรือกิจกรรมต้องเอื้ออำ�นวยให้ผู้เรียนได้ใช้การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำ�เสนอในรูปแบบต่าง ๆ
เช่น การพูด การเขียน การวาดภาพ
• งานหรือกิจกรรมควรมีความใกล้เคียงกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้เห็นการเชื่อมโยงระหว่างคณิตศาสตร์กับชีวิตจริง
ซึ่งจะก่อให้เกิดความตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์
58 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 59

ประเมิน เป็นการประเมินความรู้พื้นฐานและทักษะจำ�เป็นที่ผู้เรียนควรมี
ก่อนเรียน ก่อนการเรียนรายวิชา บทเรียนหรือหน่วยการเรียนใหม่ ข้อมูล
ที่ได้จากการวัดผลประเมินผลจะช่วยให้ผู้สอนนำ�ไปใช้ประโยชน์
3. การวัดผลประเมินผลการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ตอ
้ งใช้วธิ ก
ี ารทีห
่ ลากหลายและ
ในการจัดการเรียนรู้ดังนี้
เหมาะสม และใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพเพื่อให้ได้ข้อมูลและสนเทศเกี่ยวกับ
(1) จัดกลุ่มผู้เรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตาม
ผูเ้ รียน เช่น เมือ
่ ต้องการวัดผลประเมินผลเพือ
่ ตัดสินผลการเรียนอาจใช้การ
ความถนัด ความสนใจ และความสามารถของผู้เรียน และ
ทดสอบ การตอบคำ�ถาม การทำ�แบบฝึกหัด การทำ�ใบกิจกรรม หรือการ
(2) วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยผูส
้ อนพิจารณา
ทดสอบย่อย เมื่อต้องการตรวจสอบพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียนด้าน
เลือกตัวชี้วัด เนื้อหาสาระ กิจกรรม แบบฝึกหัด อุปกรณ์ และ
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อาจใช้การสังเกตพฤติกรรมการ
สื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับความรู้พื้นฐานและทักษะของ
เรียนรู้ การสัมภาษณ์ การจัดทำ�แฟ้มสะสมงาน หรือการทำ�โครงงาน การ
ผู้เรียน และสอดคล้องกับการเรียนรู้ที่กำ�หนดไว้
เลือกใช้วธิ ก
ี ารวัดทีเ่ หมาะสมและเครือ
่ งมือทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพ จะทำ�ให้สามารถวัด
ในสิ่งที่ต้องการวัดได้ ซึ่งจะทำ�ให้ผู้สอนได้ข้อมูลและสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน
อย่างครบถ้วนและตรงตามวัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผล อย่างไร
ก็ตาม ผู้สอนควรตระหนักว่าเครื่องมือวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ที่ใช้ใน
ประเมิน เป็นการประเมินเพือ
่ วินจ
ิ ฉัยผูเ้ รียนในระหว่างการเรียน ข้อมูลทีไ่ ด้
การประเมินตามวัตถุประสงค์หนึ่ง ไม่ควรนำ�มาใช้กับอีกวัตถุประสงค์หนึ่ง
ระหว่างเรียน จะช่วยให้ผู้สอนสามารถดำ�เนินการในเรื่องต่อไปนี้
เช่น แบบทดสอบที่ใช้ในการแข่งขันหรือการคัดเลือกไม่เหมาะสมที่จะนำ�
(1) ศึ ก ษาพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย นเป็ น ระยะ ๆ
มาใช้ตัดสินผลการเรียนรู้
ว่ า ผู้ เ รี ย นมี พั ฒ นาการเพิ่ ม ขึ้ น เพี ย งใด ถ้ า พบว่ า ผู้ เ รี ย นไม่ มี
พัฒนาการเพิ่มขึ้นผู้สอนจะได้หาทางแก้ไขได้ทันท่วงที
4. การวัดผลประเมินผลเป็นกระบวนการทีใ่ ช้สะท้อนความรูค
้ วามสามารถของ
(2) ปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ถ้าพบว่า
ผู้ เ รี ย น ช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นมี ข้ อ มู ล ในการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาความรู้ ค วาม
ผู้เรียนไม่เข้าใจบทเรียนใดจะได้จัดให้เรียนซ้ำ� หรือผู้เรียนเรียนรู้
สามารถของตนเองให้ดีขึ้น ในขณะที่ผู้สอนสามารถนำ�ผลการประเมินมา
บทใดได้เร็วกว่าทีก
่ �ำ หนดไว้จะได้ปรับวิธก
ี ารเรียนการสอน นอกจากนี้
ใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของ
ยังช่วยให้ทราบจุดเด่นและจุดด้อยของผู้เรียนแต่ละคน
ผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการสอนของผู้สอนให้มีประสิทธิภาพ จึงต้องวัดผล
ประเมิ น ผลอย่ า งสม่ำ � เสมอและนำ � ผลที่ ไ ด้ ม าใช้ ใ นการพั ฒ นาการเรี ย น
การสอน ซึ่งจะแบ่งการประเมินผลเป็น 3 ระยะดังนี้

ประเมิน
เป็นการประเมินเพื่อนำ�ผลที่ได้ไปใช้สรุปผลการเรียนรู้หรือเป็น
หลังเรียน
การวั ด ผลประเมิ น ผลแบบสรุ ป รวบยอดหลั ง จากสิ้ น สุ ด ภาค
การศึกษาหรือปีการศึกษาของผู้เรียน รวมทั้งผู้สอนสามารถนำ�
ผลการประเมินที่ได้ไปใช้ในการวางแผนและพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
60 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 61

13 ความรู้สำ�หรับผู้สอนคณิตศาสตร์

หลักสูตร การสอน และการวัดผลประเมินผล เป็นองค์ประกอบหลักที่ 1. ทักษะการเรียนรูแ


้ ละนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills)
สำ � คั ญ ในการออกแบบแนวทางการจั ด การเรี ย นรู้ หากมี ก ารเปลี่ ย นแปลง ได้แก่ การคิดสร้างสรรค์ (creativity) การคิดแบบมีวิจารณญาณ/การแก้ปัญหา
องค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่ง จะส่งผลต่อองค์ประกอบอื่นตามไปด้วย (critical thinking/problem-solving) การสื่อสาร (communication) และ
ดังนัน
้ เพือ
่ ความสอดคล้องและเกิดประสิทธิผลในการนำ�ไปใช้ หลักสูตรกลุม
่ สาระ การร่วมมือ (collaboration)
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง 2. ทักษะด้านสารสนเทศ สือ
่ และเทคโนโลยี (Information, Media,
การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 จึ ง กำ � หนดเป้ า หมายและจุ ด เน้ น and Technology Skills) ได้แก่ การรู้เท่าทันสารสนเทศ (information
หลายประการที่ผู้สอนควรตระหนักและทำ�ความเข้าใจ เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ literacy) การรู้เท่าทันสื่อ (media literacy) การรู้ทันเทคโนโลยีและการสื่อสาร
สั ม ฤทธิ์ ผ ลตามที่ กำ � หนดไว้ ใ นหลั ก สู ต ร ผู้ ส อนควรศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ในเรื่ อ ง (information, communications, and technology literacy)
การจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ยุทธวิธก
ี ารแก้ปญ
ั หาทางคณิตศาสตร์ในระดับ 3. ทักษะชีวต
ิ และอาชีพ (Life and Career Skills) ได้แก่ ความยืดหยุน

ประถมศึกษา การใช้เทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา และความสามารถในการปรับตัว (flexibility and adaptability) มีความคิดริเริม

สถิติในระดับประถมศึกษา การใช้เส้นจำ�นวนในการสอนคณิตศาสตร์ระดับ และกำ�กับดูแลตัวเองได้ (initiative and self-direction) ทักษะสังคมและเข้าใจ
ประถมศึกษา และแนวทางการพัฒนาทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในความต่างระหว่างวัฒนธรรม (social and cross-cultural skills) การเป็น
ผู้สร้างผลงานหรือผู้ผลิตและมีความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (productivity and
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 accountability) และมีภาวะผู้นำ�และความรับผิดชอบ (leadership and
ในศตวรรษที่ 21 (1 มกราคม ค.ศ. 2001 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2100) responsibility)
โลกมี ก ารเปลี่ ย นแปลงในทุ ก ๆ ด้ า นไม่ ว่ า จะเป็ น ด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม ดังนั้น การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องมีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับ
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส่งผลให้จ�ำ เป็นต้องมีการเตรียมผูเ้ รียนให้พร้อมรับ สภาพแวดล้ อ ม บริ บ ททางสั ง คมและเทคโนโลยี ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ผู้ ส อน
การเปลี่ ย นแปลงของโลก ผู้ ส อนจึ ง ต้ อ งมี ค วามตื่ น ตั ว และเตรี ย มพร้ อ มใน ต้ อ งออกแบบการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น สำ� คั ญ โดยให้ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นจาก
การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความรู้ ในวิชาหลัก (Core Subjects) มีทักษะการ สถานการณ์ ใ นชี วิ ต จริ ง และเป็ น ผู้ ส ร้ า งองค์ ค วามรู้ ด้ ว ยตนเอง โดยมี ผู้ ส อน
เรียนรู้ (Learning Skills) และพัฒนาผูเ้ รียนให้มท
ี ก
ั ษะทีจ
่ �ำ เป็นในศตวรรษที่ 21 เป็นผู้จุดประกายความสนใจใฝ่รู้ อํานวยความสะดวก และสร้างบรรยากาศ
ไม่วา่ จะเป็นทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการคิดและการแก้ปญ
ั หา ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร และทักษะชีวิตทั้งนี้เครือข่าย P21 (Partnership for 21 st

Century Skill) ได้จ�ำ แนกทักษะทีจ่ �ำ เป็นในศตวรรษที่ 21 ออกเป็น 3 หมวด ได้แก่


62 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 63

ยุทธวิธีการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา
ยุทธวิธีการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียน 2
ประสบความสำ�เร็จในการแก้ปัญหา ผู้สอนต้องจัดประสบการณ์การแก้ปัญหา การหาแบบรูป (Find a Pattern)
ที่หลากหลายและเพียงพอให้กับผู้เรียน โดยยุทธวิธีที่เลือกใช้ในการแก้ปัญหา การหาแบบรูป เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา โดยค้นหาความสัมพันธ์ของ
ต่าง ๆ นั้น จะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน ข้อมูลทีเ่ ป็นระบบ หรือทีเ่ ป็นแบบรูป แล้วนำ�ความสัมพันธ์หรือแบบรูปทีไ่ ด้นน
ั้ ไปใช้ในการหา
ยุทธวิธีการแก้ปัญหาที่ผู้เรียนในระดับประถมศึกษาควรได้รับการพัฒนาและ คำ�ตอบของสถานการณ์ปัญหา
ฝึกฝน เช่น การวาดภาพ การหาแบบรูป การคิดย้อนกลับ การเดาและตรวจสอบ
การทำ�ปัญหาให้ง่ายหรือแบ่งเป็นปัญหาย่อย การแจกแจงรายการหรือสร้าง ตัวอย่าง ในงานเลี้ยงแห่งหนึ่งเจ้าภาพจัดโต๊ะ ( ) และเก้าอี้ ( ) ตามแบบรูปดังนี้
ตาราง การตัดออก และการเปลี่ยนมุมมอง 1 2

1
การวาดภาพ (Draw a Picture)
การวาดภาพ เป็นการอธิบายสถานการณ์ปัญหาด้วยการวาดภาพจำ�ลอง หรือเขียน
แผนภาพ เพื่อทำ�ให้เข้าใจปัญหาได้ง่ายขึ้น และเห็นแนวทางการแก้ปัญหานั้น ๆ ในบางครั้ง
อาจได้คำ�ตอบจากการวาดภาพนั้น 4 3

2
ตัวอย่าง โต้งมีเงินอยู่จำ�นวนหนึ่ง วันเสาร์ใช้ไป 300 บาท และวันอาทิตย์ใช้ไป
5
ของเงินที่เหลือ ทำ�ให้เงินที่เหลือคิดเป็นครึ่งหนึ่งของเงินที่มีอยู่เดิม
จงหาว่าเดิมโต้งมีเงินอยู่กี่บาท
ถ้าจัดโต๊ะ และเก้าอี้ ตามแบบรูปนี้จนมีโต๊ะ 10 ตัว จะต้องใช้เก้าอี้ทั้งหมดกี่ตัว
วันเสาร์ใช้เงิน เงินที่เหลือจากวันเสาร์
แนวคิด
1. เลือกยุทธวิธีที่จะนำ�มาใช้แก้ปัญหา ได้แก่ วิธีการหาแบบรูป
300 2. พิจารณารูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 และรูปที่ 4 แล้วเขียนจำ�นวนโต๊ะและจำ�นวนเก้าอี้
ของแต่ละรูป
เงินที่มีอยู่เดิม
1 2

โต๊ะ 1 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ โต๊ะ 2 ตัว เก้าอี้ที่อยู่


3 ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว
วันเสาร์ใช้เงิน เงินที่เหลือคิดเป็นครึ่งหนึ่งของเงินที่มีอยู่เดิมเท่ากับ
6 เก้าอี้ด้านข้าง 2 ตัว เก้าอี้ด้านข้าง 2+2 ตัว

4 3

300 โต๊ะ 4 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ โต๊ะ 3 ตัว เก้าอี้ที่อยู่


ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว
เก้าอี้ด้านข้าง 2+2+2+2 ตัว เก้าอี้ด้านข้าง 2+2+2 ตัว
2
วันอาทิตย์ใช้เงิน ของเงินที่เหลือ
5 3. พิจารณาหาแบบรูปจำ�นวนเก้าอี้ที่เปลี่ยนแปลงเทียบกับจำ�นวนโต๊ะ พบว่า จำ�นวนเก้าอี้
ซึ่งวางอยู่ที่ด้านหัวกับด้านท้ายคงตัวไม่เปลี่ยนแปลง แต่เก้าอี้ด้านข้างมีจำ�นวนเท่ากับ
แสดงว่า เงิน 1 ส่วน เท่ากับ 300 บาท
จำ�นวนโต๊ะคูณด้วย 2
เงิน 6 ส่วน เท่ากับ 6 x 300 = 1,800 บาท
4. ดังนัน
้ เมือ
่ จัดโต๊ะและเก้าอีต
้ ามแบบรูปนีไ้ ปจนมีโต๊ะ 10 ตัว จะต้องใช้เก้าอีท
้ งั้ หมดเท่ากับ
ดังนั้น เดิมโต้งมีเงินอยู่ 1,800 บาท
จำ�นวนโต๊ะคูณด้วย 2 แล้วบวกกับจำ�นวนเก้าอี้หัวกับท้าย 2 ตัว ได้คำ�ตอบ 22 ตัว
64 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 65

การเดาและตรวจสอบ (Guess and Check)


3 การเดาและตรวจสอบ เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเงื่อนไขต่าง ๆ
ผสมผสานกับความรู้ และประสบการณ์เดิมเพื่อเดาคำ�ตอบที่น่าจะเป็นไปได้ แล้วตรวจสอบ
การคิดย้อนกลับ (Work Backwards)
ความถูกต้อง ถ้าไม่ถูกต้องให้เดาใหม่โดยใช้ข้อมูลจากการเดาครั้งก่อนเป็นกรอบในการเดา
การคิดย้อนกลับ เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาที่ทราบผลลัพธ์ แต่ไม่ทราบ
คำ�ตอบครั้งต่อไปจนกว่าจะได้คำ�ตอบที่ถูกต้องและสมเหตุสมผล
ข้อมูลในขัน
้ เริม
่ ต้น การคิดย้อนกลับเริม
่ คิดจากข้อมูลทีไ่ ด้ในขัน
้ สุดท้าย แล้วคิดย้อนกลับทีละ
ขั้นมาสู่ข้อมูลในขั้นเริ่มต้น ตัวอย่าง
จำ�นวน 2 จำ�นวน ถ้านำ�จำ�นวนทั้งสองนั้นบวกกันจะได้ 136 แต่ถ้านำ�จำ�นวนมาก
ตัวอย่าง เพชรมีเงินจำ�นวนหนึ่ง ให้น้องชายไป 35 บาท ให้น้องสาวไป 15 บาท ได้รับเงิน
ลบด้วยจำ�นวนน้อยจะได้ 36 จงหาจำ�นวนสองจำ�นวนนั้น
จากแม่อีก 20 บาท ทำ�ให้ขณะนี้เพชรมีเงิน 112 บาท เดิมเพชรมีเงินกี่บาท
แนวคิด เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 100 กับ 36 (ซึ่งมีผลบวก เป็น 136)
แนวคิด จากสถานการณ์เขียนแผนภาพได้ ดังนี้ ตรวจสอบ 100 + 36 = 136 เป็นจริง
แต่ 100 - 36 = 64 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข

เงินมีอยู่เดิม เงินที่มีในขณะนี้ เนื่องจากผลลบมากกว่า 36 จึงควรลดตัวตั้ง และเพิ่มตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน


- - + จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 90 กับ 46 (ซึ่งมีผลบวกเป็น 136 )
112
ตรวจสอบ 90 + 46 = 136 เป็นจริง
35 15 20 แต่ 90 - 46 = 44 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
ให้น้องชาย ให้น้องสาว แม่ให้ เนื่องจากผลลบมากกว่า 36 จึงควรลดตัวตั้ง และเพิ่มตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน
จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 80 กับ 56 (ซึ่งผลบวกเป็น 136 )
คิดย้อนกลับจากจำ�นวนเงินที่เพชรมีขณะนี้ เพื่อหาจำ�นวนเงินเดิมที่เพชรมี ตรวจสอบ 80 + 56 = 136 เป็นจริง
แต่ 80 - 56 = 24 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบน้อยกว่า 36 จึงควรเพิ่มตัวตั้ง และลดตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน โดยที่ตัวตั้ง
เงินมีอยู่เดิม เงินที่มีในขณะนี้
+ + - ควรอยู่ระหว่าง 80 และ 90
142 107 92 112 จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 85 กับ 51
35 15 20 ตรวจสอบ 85 + 51 = 136 เป็นจริง
แต่ 85 - 51 = 34 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบน้อยกว่า 36 เล็กน้อย จึงควรเพิ่มตัวตั้ง และลดตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน
จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 86 กับ 50
ดังนั้น เดิมเพชรมีเงิน 142 บาท
ตรวจสอบ 86 + 50 = 136 เป็นจริง
และ 86 - 50 = 36 เป็นจริง
ดังนั้น จำ�นวน 2 จำ�นวนนั้น คือ 86 กับ 50
66 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 67

การทำ�ปัญหาให้ง่าย (Simplify the problem) วิธีที่ 1


การทำ�ปัญหาให้ง่าย เป็นการลดจำ�นวนที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์ พื้นที่รูปสามเหลี่ยม A เท่ากับ (16 × 10) ÷ 2 = 80 ตารางเซนติเมตร
ปัญหา หรือเปลีย
่ นให้อยูใ่ นรูปทีค
่ น
ุ้ เคย ในกรณีทส
ี่ ถานการณ์ปญ
ั หามีความซับซ้อน พื้นที่รูปสามเหลี่ยม B เท่ากับ (10 × 3) ÷ 2 = 15 ตารางเซนติเมตร
อาจแบ่งปัญหาเป็นส่วนย่อย ๆ ซึ่งจะช่วยให้หาคำ�ตอบของสถานการณ์ปัญหา พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม C เท่ากับ 6 × 3 = 18 ตารางเซนติเมตร
ได้ง่ายขึ้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยม D เท่ากับ (6 × 7) ÷ 2 = 21 ตารางเซนติเมตร

ตัวอย่าง จงหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมที่แรเงาในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จะได้พื้นที่ A + B + C + D เท่ากับ 80 + 15 + 18 + 21 = 134 ตารางเซนติเมตร


ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยมที่ต้องการเท่ากับ (16 × 10) – 134 = 26 ตารางเซนติเมตร
10 ซม.

วิธีที่ 2
F
7 ซม. G 10 ซม. E
จากรูปสามารถหาพื้นที่
ของรูปสามเหลี่ยม
ที่ต้องการได้จากพื้นที่
7 ซม.
รูปสามเหลี่ยม ACE
3 ซม.
ลบด้วยผลรวมของพื้นที่
6 ซม. รูปสามเหลี่ยม ABH H D
รูปสามเหลี่ยม HDE และ
3 ซม.
แนวคิด ถ้าคิดโดยการหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมจากสูตร รูปสี่เหลี่ยม BCDH
1 A C
× ความยาวของฐาน × ความสูง 6 ซม.
2 B
ซึง่ พบว่ามีความยุง่ ยากมากแต่ถา้ เปลีย
่ นมุมมองจะสามารถแก้ปญ
ั หาได้งา่ ยกว่า
ดังนี้
วิธีที่ 1 พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ACE เท่ากับ (16 × 10) ÷ 2 = 80 ตารางเซนติเมตร
10 ซม.
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABH เท่ากับ (10 × 3) ÷ 2 = 15 ตารางเซนติเมตร

จากรูป พื้นที่รูปสามเหลี่ยม HDE เท่ากับ (6 × 7) ÷ 2 = 21 ตารางเซนติเมตร

เราสามารถหาพื้นที่ และพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม BCDH เท่ากับ 3 × 6 = 18 ตารางเซนติเมตร


7 ซม. A
A+B+C+D ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยม AHE เท่ากับ 80 – (15 + 21 + 18) = 26 ตารางเซนติเมตร

แล้วลบออกจากพื้นที่ D

ทั้งหมดก็จะได้พื้นที่
ของรูปสามเหลีย่ มที่
B C 3 ซม.
ต้องการได้
6 ซม.
68 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 69

6 7

การแจกแจงรายการ (Make a list) การตัดออก (Eliminate)


การแจกแจงรายการ เป็นการเขียนรายการหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์ การตั ด ออก เป็ น การพิ จ ารณาเงื่ อ นไขของสถานการณ์ ปั ญ หา แล้ ว ตั ด สิ่ ง ที่ กำ � หนดให้ ใ น
ปัญหาต่าง ๆ การแจกแจงรายการควรทำ�อย่างเป็นระบบ โดยอาจใช้ตารางช่วยในการแจกแจง สถานการณ์ปัญหาที่ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข จนได้คำ�ตอบที่ตรงกับเงื่อนไขของสถานการณ์
หรือจัดระบบของข้อมูลเพือ
่ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างชุดของข้อมูลทีน
่ �ำ ไปสูก
่ ารหาคำ�ตอบ ปัญหานั้น

ตัวอย่าง ตัวอย่าง จงหาจำ�นวนที่หารด้วย 5 และ 6 ได้ลงตัว


นักเรียนกลุ่มหนึ่งต้องการซื้อไม้บรรทัดอันละ 8 บาท และดินสอแท่งละ 4 บาท
เป็นเงิน 100 บาท ถ้าต้องการไม้บรรทัดอย่างน้อย 5 อัน และดินสออย่างน้อย 4 แท่ง
จะซื้อไม้บรรทัดและดินสอได้กี่วิธี
แนวคิด เขียนแจกแจงรายการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนและราคาไม้บรรทัดกับ 4,356 9,084 5,471 9,346 4,782 7,623
ดินสอ ดังนี้

ถ้าซื้อไม้บรรทัด 5 อัน ราคาอันละ 8 บาท เป็นเงิน 5 × 8 = 40 บาท


เหลือเงินอีก 100 - 40 = 60 บาท จะซื้อดินสอราคาแท่งละ 4 บาท ได้ 60 ÷ 4 = 15 แท่ง 2,420 3,474 1,267 12,678 2,094 6,540
ถ้าซื้อไม้บรรทัด 6 อัน ราคาอันละ 8 บาท เป็นเงิน 6 × 8 = 48 บาท
เหลือเงินอีก 100 - 48 = 52 บาท จะซื้อดินสอราคาแท่งละ 4 บาท ได้ 52 ÷ 4 = 13 แท่ง
สังเกตได้ว่า เมื่อซื้อไม้บรรทัดเพิ่มขึ้น 1 อัน จำ�นวนดินสอจะลดลง 2 แท่ง
4,350 4,140 5,330 3,215 4,456 9,989
เขียนแจกแจงในรูปตาราง ได้ดังนี้

ไม้บรรทัด เหลือเงิน ดินสอ


จำ�นวน (อัน) ราคา (บาท) (บาท) จำ�นวน (แท่ง) แนวคิด พิจารณาจำ�นวนทีห
่ ารด้วย 5 ได้ลงตัว จึงตัดจำ�นวนทีม
่ ห
ี ลักหน่วยไม่เป็น 5 หรือ 0 ออก
5 5 × 8 = 40 100 - 40 = 60 60 ÷ 4 = 15 จำ�นวนที่เหลือได้แก่ 2,420 6,540 4,350 4,140 5,330 และ 3,215
6 6 × 8 = 48 100 - 48 = 52 52 ÷ 4 = 13 จากนั้นพิจารณาจำ�นวนที่หารด้วย 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 6,540 4,350 4,140
7 7 × 8 = 56 100 - 56 = 44 44 ÷ 4 = 11 ดังนั้น จำ�นวนที่หารด้วย 5 และ 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 6,540 4,350 4,140
8 8 × 8 = 64 100 - 64 = 36 36 ÷ 4 = 9
9 9 × 8 = 72 100 - 72 = 28 28 ÷ 4 = 7
10 10 × 8 = 80 100 - 80 = 20 20 ÷ 4 = 5

ดังนั้น จะซื้อไม้บรรทัดและดินสอให้เป็นไปตามเงื่อนไขได้ 6 วิธี


70 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 71

8 การใช้เทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การเปลี่ยนมุมมอง ในศตวรรษที่ 21 ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การเปลี่ยนมุมมอง เป็นการแก้สถานการณ์ปัญหาที่มีความซับซ้อนไม่สามารถใช้ เปลีย
่ นแปลงขึน
้ อย่างรวดเร็ว ทำ�ให้การติดต่อสือ
่ สารและเผยแพร่ขอ
้ มูลผ่านทาง
ยุทธวิธีอื่นในการหาคำ�ตอบได้ จึงต้องเปลี่ยนวิธีคิด หรือแนวทางการแก้ปัญหาให้แตกต่างไป ช่องทางต่าง ๆ สามารถทำ�ได้อย่างสะดวก ง่ายและรวดเร็ว โดยใช้สื่ออุปกรณ์ที่
จากที่คุ้นเคยเพื่อให้แก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น ทันสมัย การจัดกิจกรรมการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์กเ็ ช่นกัน ต้องมีการปรับปรุงและ
ปรับตัวให้เข้ากับบริบททางสังคมและเทคโนโลยีทเี่ ปลีย
่ นแปลงไป ซึง่ จำ�เป็นต้อง
ตัวอย่าง จากรูป เมือ
่ แบ่งเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมออกเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน จงหาพืน
้ ที่
อาศัยสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้
ส่วนที่แรเงา
น่าสนใจ สามารถนำ�เสนอเนื้อหาได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการเรียนรู้และช่วยลดภาระงานบางอย่างทั้งผู้เรียนและผู้สอนได้ เช่น การใช้
เครื อ ข่ า ยสั ง คม (Social network : line, facebook, twitter)
1 2 3 ในการสัง่ การบ้าน ติดตามภาระงานทีม
่ อบหมายหรือใช้ตด
ิ ต่อสือ
่ สารกันระหว่าง
ผู้เรียน ผู้สอนและผู้ปกครองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา ทั้งนี้ผู้สอน
และผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาควรบู ร ณาการและประยุ ก ต์ ใ ช้ สื่ อ
เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
แนวคิด พลิกครึ่งวงกลมส่วนล่างจะได้พื้นที่ส่วนที่ไม่แรเงาเป็นวงกลมที่ 1 ส่วนที่แรเงาเป็น
เรียนรู้ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมี
วงกลมที่ 2 ดังรูป
ประสิทธิภาพและหลากหลาย ตลอดจนพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจ
ิ ารณญาณ
สถานศึกษามีบทบาทอย่างยิง่ ในการจัดสิง่ อำ�นวยความสะดวก ตลอดจน
ส่งเสริมให้ผู้สอนและผู้เรียนได้มีโอกาสในการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศใน
1 2 3
การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้มากที่สุด เพื่อจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำ�นวย
ต่อการใช้สอ
ื่ เทคโนโลยีสารสนเทศให้มากทีส
่ ด
ุ สถานศึกษาควรดำ�เนินการ ดังนี้

พื้นที่ส่วนที่แรเงา เท่ากับ พื้นที่วงกลมที่ 2 ลบด้วยพื้นที่กลมที่ 1 1. จัดให้มห


ี อ
้ งปฏิบต
ั ก
ิ ารทางคณิตศาสตร์ทม
ี่ ส
ี อ
ื่ อุปกรณ์ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ เช่น
2
2 1 3 ระบบอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ โปเจคเตอร์ ให้เพียงพอกับจำ�นวนผู้เรียน
จะได้ π (1) - π = π ตารางหน่วย
2 4
2. จัดเตรียมสื่อ เครื่องมือประกอบการสอนในห้องเรียนเพื่อให้ผู้สอนได้ใช้
ในการนำ�เสนอเนื้อหาในบทเรียน เช่น คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ เครื่อง
จากยุทธวิธีข้างต้นเป็นยุทธวิธีพื้นฐานสำ�หรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษา ผู้สอนจำ�เป็น ฉายทึบแสง เครื่องขยายเสียง เป็นต้น
ต้องสอดแทรกยุทธวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน อาทิเช่น ผู้เรียนชั้น 3. จั ด เตรี ย มระบบสื่ อ สารแบบไร้ ส ายที่ ป ลอดภั ย โดยไม่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ย
ประถมศึกษาปีที่ 1 – 2 ผู้สอนอาจเน้นให้ผู้เรียนใช้การวาดรูป หรือการแจกแจงรายการช่วย (secured-free WIFI) ให้เพียงพอ กระจายทัว่ ถึงครอบคลุมพืน
้ ทีใ่ นโรงเรียน
ในการแก้ปญ
ั หา ผูเ้ รียนชัน
้ ประถมศึกษาปีที่ 3 – 6 ผูส
้ อนอาจให้ผเู้ รียนใช้การแจกแจงรายการ 4. ส่งเสริมให้ผส
ู้ อนนำ�สือ
่ เทคโนโลยีมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทัง้
การวาดรู ป การหาแบบรู ป การเดาและตรวจสอบ การคิ ด ย้ อ นกลั บ การตั ด ออก หรื อ สนับสนุนให้ผู้สอนเข้ารับการอบรมอย่างต่อเนื่อง
การเปลี่ยนมุมมอง 5. ส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้ปกครองได้ตรวจสอบ ติดตามผลการเรียน การเข้า
ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ บ างปั ญ หานั้ น อาจมี ยุ ท ธวิ ธี ที่ ใ ช้ แ ก้ ปั ญ หาได้ ห ลายวิ ธี ชั้นเรียนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น ผู้ปกครองสามารถเข้าเว็บมาดูกล้อง
ผู้เรียนควรเลือกใช้ยุทธวิธีให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัญหา ในบางปัญหาผู้เรียนอาจใช้ วีดิโอวงจรปิด (CCTV) การเรียนการสอนของห้องเรียนที่บุตรของตนเอง
ยุทธวิธีมากกว่า 1 ยุทธวิธีเพื่อแก้ปัญหานั้น เรียนอยู่ได้
72 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 73

สถิติในระดับประถมศึกษา
ในปัจจุบัน เรามักได้ยินหรือได้เห็นคำ�ว่า “สถิติ” อยู่บ่อยครั้ง ทั้งจาก
ผู้สอนในฐานะที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน จำ�เป็นต้องศึกษา
โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรืออินเตอร์เน็ต ซึ่งมักจะมีข้อมูลหรือตัวเลขเกี่ยวข้อง
และนำ�สือ
่ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้
อยู่ด้วยเสมอ เช่น สถิติจำ�นวนนักเรียนในโรงเรียน สถิติการมาโรงเรียนของ
สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และความพร้อมของโรงเรียน ผูส
้ อนควร
นักเรียน สถิติการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนในช่วงเทศกาลต่าง ๆ สถิติการเกิด
มีบทบาท ดังนี้
การตาย สถิตผ
ิ ป
ู้ ว่ ยโรคเอดส์ เป็นต้น จนทำ�ให้หลายคนเข้าใจว่า สถิติ คือข้อมูล
หรือตัวเลข แต่ในความเป็นจริง สถิตย
ิ งั รวมไปถึงวิธก
ี ารทีว่ า่ ด้วยการเก็บรวบรวม
1. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสื่อ เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อนำ�มาประยุกต์ใช้ในการ
ข้อมูล การนำ�เสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความหมายข้อมูลด้วย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ซึง่ ผูท
้ ี่มค
ี วามรูค
้ วามเข้าใจเกีย
่ วกับสถิตจ
ิ ะสามารถนำ�สถิตไิ ปช่วยในการตัดสินใจ
2. จัดหาสื่อ อุปกรณ์ โปรแกรม แอปพลิเคชันต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสม
การวางแผนดำ�เนินงาน และการแก้ปญ
ั หาในด้านต่าง ๆ ทัง้ ด้านการดำ�เนินชีวต

เพื่อนำ�เสนอเนื้อหาให้ผู้เรียนสนใจและเข้าใจมากยิ่งขึ้น
ธุรกิจ ตลอดจนถึงการพัฒนาประเทศ เช่น ถ้ารัฐบาลต้องการเพิ่มรายได้ของ
3. ใช้สื่อ เทคโนโลยีประกอบการสอน เช่น ใช้โปรแกรม Power point ในการ
ประชากร จะต้องวางแผนโดยอาศัยข้อมูลสถิติประชากร สถิติการศึกษา สถิติ
นำ�เสนอเนือ
้ หา ใช้ Line และ Facebook ในการติดต่อสือ
่ สารกับผูเ้ รียนและ
แรงงาน สถิติการเกษตร และสถิติอุตสาหกรรม เป็นต้น
ผู้ปกครอง
ดังนั้นสถิติจึงเป็นเรื่องสำ�คัญและมีความจำ�เป็นที่ต้องจัดการเรียนการ
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียน เช่น เครื่องคิดเลข
สอนให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำ�สถิติไปใช้ในชีวิตจริงได้
โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP), GeoGebra เป็นต้น
ในหลั ก สู ต รกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2560)
5. ปลูกจิตสำ�นึกให้ผเู้ รียนรูจ
้ ก
ั ใช้สอ
ื่ เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง เหมาะสมกับเวลา
ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 จึ ง จั ด ให้
และสถานที่ การใช้ ง านอย่ า งประหยั ด เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด
ผูเ้ รียนได้เรียนรูเ้ กีย
่ วกับวิธก
ี ารเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำ�เสนอข้อมูล ซึง่ เป็น
ความรูพ
้ น
ื้ ฐานสำ�หรับการเรียนสถิตใิ นระดับทีส
่ งู ขึน
้ โดยในการเรียนการสอนควร
เพื่อส่งเสริมการนำ�สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการ
เน้นให้ผเู้ รียนใช้ขอ
้ มูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปญ
ั หาได้อย่างเหมาะสมด้วย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนมี
ความรู้ มีทักษะ บรรลุผลตามจุดประสงค์ของหลักสูตร และสามารถนำ�ความรู้
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)
ทีไ่ ด้ไปประยุกต์ใช้ทงั้ ในการเรียนและใช้ในชีวต
ิ จริง ผูส
้ อนควรจัดหาและศึกษา
ในการศึกษาหรือตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ จำ�เป็นต้องอาศัยข้อมูลประกอบ
เกีย
่ วกับสือ
่ อุปกรณ์และเครือ
่ งมือทีค
่ วรมีไว้ใช้ในห้องเรียน เพือ
่ นำ�เสนอบทเรียน
การตัดสินใจทัง้ สิน
้ จึงจำ�เป็นทีต
่ อ
้ งมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึง่ มีวธิ ก
ี ารทีห
่ ลากหลาย
ให้น่าสนใจ สร้างเสริมความเข้าใจของผู้เรียน ทำ�ให้การสอนมีประสิทธิภาพ
เช่น การสำ�รวจ การสังเกต การสอบถาม การสัมภาษณ์ หรือการทดลอง ทั้งนี้
ยิ่งขึ้น
การเลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจะขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการศึกษา

การนำ�เสนอข้อมูล (Representing Data)


การนำ�เสนอข้อมูลเป็นการนำ�ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาจัดแสดงให้มี
ความน่าสนใจ และง่ายต่อการทำ�ความเข้าใจ ซึง่ การนำ�เสนอข้อมูลสามารถแสดง
ได้หลายรูปแบบ โดยในระดับประถมศึกษาจะสอนการนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบ
ของแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเส้น ตาราง ซึ่งใน
หลักสูตรนี้ได้มีการจำ�แนกตารางออกเป็น ตารางทางเดียวและตารางสองทาง
74 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 75

ตาราง (Table) การใช้เส้นจำ�นวนในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา


การบอกความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ กับจำ�นวนในรูปตาราง เป็นการ เส้นจำ�นวน (Number Line) เป็นแผนภาพที่แสดงลำ�ดับของจำ�นวนบนเส้นตรงที่
จัดตัวเลขแสดงจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ อย่างมีระเบียบในตารางเพื่อให้อ่านและ มีจุด 0 เป็นจุดแทนศูนย์ จุดที่อยู่ทางขวาของ 0 แทนจำ�นวนบวก เช่น 1, 2, 3, … และ
เปรียบเทียบง่ายขึ้น จุ ด ที่ อ ยู่ ท างซ้ า ยของ 0 แทนจำ � นวนลบ เช่ น -1, -2, -3, … โดยแต่ ล ะจุ ด อยู่ ห่ า งจุ ด 0
เป็นระยะ 1, 2, 3, … หน่วยตามลำ�ดับ แสดงได้ดังนี้
ตาราง
ทางเดียว
(One - Way จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง
Table)
ชั้น จำ�นวนนักเรียน (คน) -3 -2 -1 0 1 2 3

ตารางทางเดียวเป็นตารางที่มี ประถมศึกษาปีที่ 1 65
การจำ�แนกรายการตามหัวเรื่อง ประถมศึกษาปีที่ 2 70
เพียงลักษณะเดียว เช่น ประถมศึกษาปีที่ 3 69
ในระดับประถมศึกษา ผู้สอนสามารถใช้เส้นจำ�นวนเป็นสื่อในการจัดการเรียนการ
จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียน ประถมศึกษาปีที่ 4 62
สอนเกี่ยวกับจำ�นวน และการดำ�เนินการของจำ�นวน เช่น การแสดงจำ�นวนบนเส้นจำ�นวน
แห่งหนึ่งจำ�แนกตามชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 72
การนับเพิ่ม การนับลด การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน การหาค่าประมาณ และ
ประถมศึกษาปีที่ 6 60
การดำ�เนินการของจำ�นวน

รวม 398
1
1. การแสดงจำ�นวนบนเส้นจำ�นวน สามารถแสดงได้ทั้งจำ�นวนนับ เศษส่วน
และทศนิยม ดังนี้
ตาราง ■ การแสดงจำ�นวนนับบนเส้นจำ�นวน เช่น
สองทาง
(Two - Way จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง
เส้นจำ�นวนแสดง 3 เริ่มต้นจาก 0 ถึง 3
Table)
เพศ
ชั้น รวม (คน)
ชาย (คน) หญิง (คน)
ตารางสองทางเป็นตารางที่มี 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
การจำ�แนกรายการตามหัวเรื่อง ประถมศึกษาปีที่ 1 38 27 65
2 ลักษณะ เช่น จำ�นวน ประถมศึกษาปีที่ 2 33 37 70
นักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ประถมศึกษาปีที่ 3 32 37 69 เส้นจำ�นวนแสดง 38 เริ่มจาก 0 ถึง 38
จำ�แนกตามชั้นและเพศ ประถมศึกษาปีที่ 4 28 34 62
ประถมศึกษาปีที่ 5 32 40 72
ประถมศึกษาปีที่ 6 25 35 60 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90
38
รวม 188 210 398
76 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 77

2
■ การแสดงเศษส่วนบนเส้นจำ�นวน 2. การนับเพิ่มและการนับลด
1 7
ในหนึ่งหน่วยแบ่งเป็นสิบส่วนเท่าๆ กัน แต่ละส่วนแสดง เส้นจำ�นวนนี้แสดง ■ การนับเพิ่มทีละ 1
10 10
เส้นจำ�นวนแสดงการนับเพิ่มทีละ 1 เริ่มต้นจาก 0 นับเป็น หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก
เจ็ด แปด เก้า สิบ ตามลำ�ดับ

0 1

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10

1 3
ในหนึ่งหน่วยแบ่งเป็นสองส่วนเท่าๆ กัน แต่ละส่วนแสดง เส้นจำ�นวนนี้แสดง
2 2 ■ การนับเพิ่มทีละ 2
เส้นจำ�นวนแสดงการนับเพิ่มทีละ 2 เริ่มต้นจาก 0 นับเป็น สอง สี่ หก แปด สิบ
ตามลำ�ดับ
0 1 2 3

0 1 2 3 4 5 6 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
2 2 2 2 2 2 2

การนับเพิ่มทีละ 5 ทีละ 10 หรืออื่นๆ ใช้หลักการเดียวกัน

■ การแสดงทศนิยมบนเส้นจำ�นวน
■ การนับลดทีละ 1
เส้นจำ�นวนนี้แสดงทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง เริ่มตั้งแต่ 2 ถึง 3
เส้นจำ�นวนแสดงการนับลดทีละ 1 เริ่มต้นจาก 10 นับเป็น เก้า แปด เจ็ด หก ห้า สี่
สาม สอง หนึ่ง ตามลำ�ดับ
2 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 3

เส้นจำ�นวนนี้แสดงทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
เริ่มตั้งแต่ 2.3 ถึง 2.4

2.3 2.31 2.32 2.33 2.34 2.35 2.36 2.37 2.38 2.39 2.4 ■ การนับลดทีละ 2
เส้นจำ�นวนแสดงการนับลดทีละ 2 เริ่มต้นจาก 10 นับเป็น แปด หก สี่ สอง ตามลำ�ดับ

เส้นจำ�นวนนีแ
้ สดงทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง เริม
่ ตัง้ แต่ 2.32 ถึง 2.33

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

2.32 2.321 2.322 2.323 2.324 2.325 2.326 2.327 2.328 2.329 2.33
การนับลดทีละ 5 ทีละ 10 หรืออื่นๆ ใช้หลักการเดียวกัน
78 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 79

3 3. การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวน
4
■ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับจำ�นวนนับ
4. การหาค่าประมาณ
ในการแข่งขันตอบปัญหาคณิตศาสตร์ มีผู้เข้าแข่งขัน 5 คน ได้คะแนนดังนี้
การใช้เส้นจำ�นวนแสดงการหาค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบ
รายชื่อผู้เข้าแข่งขัน คะแนนที่ได้

ด.ญ.รินทร์​ (ร) 4
10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
ด.ญ.อิงอร (อ) 5
ด.ช.ณภัทร์​ (ณ) 9
ด.ช.พจน์ (พ) 2
จากเส้นจำ�นวน 11 12 13 และ 14 อยู่ใกล้ 10 มากกว่าใกล้ 20
ด.ช.กานต์ (ก) 8
ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 11 12 13 และ 14 คือ 10
เขียนเส้นจำ�นวน โดยนำ�คะแนนและอักษรย่อของแต่ละคนแสดงบนเส้นจำ�นวน 16 17 18 และ 19 อยู่ใกล้ 20 มากกว่าใกล้ 10 ดังนั้น ค่าประมาณ
เป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 16 17 18 และ 19 คือ 20
พ ร อ ก ณ
15 อยูก
่ งึ่ กลางระหว่าง 10 และ 20 ถือเป็นข้อตกลงว่าให้ประมาณเป็น
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 จำ�นวนเต็มสิบที่มากกว่า ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 15 คือ 20

ตัวอย่าง การหาค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 538


จากเส้นจำ�นวนพบว่า จากเส้นจำ�นวนพบว่า
คะแนนของพจน์อยูท
่ างซ้ายคะแนนของอิงอร คะแนนของรินทร์อยูท
่ างซ้ายคะแนนของกานต์
คะแนนของพจน์ (2) น้อยกว่าคะแนนของอิงอร (5) คะแนนของรินทร์ (4) น้อยกว่าคะแนนของกานต์ (8)
เขียนแทนด้วย 2 < 5 เขียนแทนด้วย 4 < 8 530 531 532 533 534 535 536 537 538 539 540

หรือคะแนนของอิงอรอยูท
่ างขวาคะแนนของพจน์ หรือคะแนนของกานต์อยูท
่ างขวาคะแนนของรินทร์
คะแนนของอิงอร (5) มากกว่าคะแนนของพจน์ (2) คะแนนของกานต์ (8) มากกว่าคะแนนของรินทร์ (4)
จากเส้นจำ�นวน
เขียนแทนด้วย 5 > 2 เขียนแทนด้วย 8 > 4
538 อยู่ระหว่าง 530 กับ 540
ดังนัน
้ 2 < 5 หรือ 5 > 2 ดังนัน
้ 4 < 8 หรือ 8 > 4
538 อยู่ใกล้ 540 มากกว่า 530
เมื่ออ่านจำ�นวนบนเส้นจำ�นวนจากทางซ้ายไปขวา จะได้ 2, 4, 5, 8, 9 ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบของ 538 คือ 540
ซึ่งเป็นการเรียงลำ�ดับจากน้อยไปมาก และเมื่ออ่านจำ�นวนบนเส้นจำ�นวนจาก การหาค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มร้อย เต็มพัน เต็มหมืน
่ เต็มแสน และ
ทางขวาไปซ้าย จะได้ 9, 8, 5, 4, 2 ซึ่งเป็นการเรียงลำ�ดับจากมากไปน้อย ดังนั้น เต็มล้าน ใช้หลักการทำ�นองเดียวกับการหาค่าประมาณเป็นจำ�นวนเต็มสิบ
ในการแข่งขันตอบปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 5 คน เมื่อนำ�คะแนนของ
นักเรียนแต่ละคนมาเรียงลำ�ดับจากน้อยไปมาก จะได้ดังนี้
ด.ช.พจน์ ได้ 2 คะแนน
ด.ญ.รินทร์ได้ 4 คะแนน
ด.ญ.อิงอรได้ 5 คะแนน
ด.ช.กานต์ได้ 8 คะแนน
ด.ช.ณภัทรได้ 9 คะแนน
80 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 81

5. การดำ�เนินการของจำ�นวน
■ การบวกจำ�นวนสองจำ�นวน ■ การลบจำ�นวนสองจำ�นวน
เส้นจำ�นวนแสดงการบวกของ 3 + 2 = โดยวิธีการนับต่อ เส้นจำ�นวนแสดงการลบของ 6 – 2 = โดยวิธีการนับถอยหลัง

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ดังนั้น 3 + 2 = 5
ดังนั้น 6 – 2 = 4

เส้นจำ�นวนแสดงการบวกของ 15 + 9 = โดยวิธก
ี ารนับครบสิบ และการนับต่อ
เส้นจำ�นวนแสดงการลบของ 13 – 6 = โดยวิธีการนับถอยหลังไปที่
จำ�นวนเต็มสิบ (Bridging through a decade)

15 + 5 + 4 = 24
13 - 3 - 3 = 7

0 5 10 15 20 25 30
24 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ดังนั้น 13 – 6 = 7
ดังนั้น 15 + 9 = 24
82 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 83

■ การคูณจำ�นวนนับ ■ การหารจำ�นวนนับ
เส้นจำ�นวนแสดงการคูณของ 3 × 5 = โดยวิธีการนับเพิ่มครั้งละเท่าๆ กัน เส้นจำ�นวนแสดงการหารของ 10 ÷ 2 = โดยวิธีการนับลดครั้งละเท่าๆ กัน
จาก 3 × 5 เขียนในรูปการบวกได้ 5 + 5 + 5 แสดงด้วยเส้นจำ�นวนได้ เส้นจำ�นวนแสดงการนับลดครั้งละ 2 เริ่มจาก 10 จนถึง 0 จะได้ 5 ครั้ง ดังนี้

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1

ดังนั้น 3 × 5 = 15

ดังนั้น 10 ÷ 2 = 5
■ การคูณเศษส่วนด้วยจำ�นวนนับ
3
เส้นจำ�นวนแสดงการคูณของ 2 × = โดยวิธีการนับเพิ่มครั้งละเท่าๆ กัน
10
3 3 + แสดงด้
จาก 2 × เขียนในรูปการบวกได้ 3 วยเส้นจำ�นวนได้ดังนี้
10 10 10

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10

3 6
ดังนั้น 2 × =
10 10
84 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 85

14 แนวการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ในการจัดการเรียนรู้ ผูส
้ อนจะต้องจัดกิจกรรม กำ�หนดสถานการณ์หรือ 1
ปัญหาเพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้กับผู้เรียน โดยมี
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำ�เป็น 5 ทักษะดังนี้
การพัฒนาทักษะและกระบวนการแก้ปัญหา
การแก้ปญ
ั หาเป็นกระบวนการทีผ
่ เู้ รียนควรจะเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนา

1 ให้เกิดทักษะขึ้นในตนเองเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนมีแนวทางใน
การแก้ปัญหา
การคิดทีห
่ ลากหลาย รูจ
้ ก
ั ประยุกต์และปรับเปลีย
่ นวิธก
ี ารแก้ปญ
ั หาให้เหมาะสม
รู้จักตรวจสอบและสะท้อนกระบวนการแก้ปัญหา มีนิสัยกระตือรือร้น ไม่ย่อท้อ
รวมถึงมีความมัน
่ ใจในการแก้ปญ
ั หาทีเ่ ผชิญอยูท
่ งั้ ภายในและภายนอกห้องเรียน
2 นอกจากนี้ การแก้ ปั ญ หายั ง เป็ น ทั ก ษะพื้ น ฐานที่ ผู้ เ รี ย นสามารถนำ � ไปใช้ ใ น
การสือ
่ สารและการสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
ชี วิ ต จริ ง ได้ การส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ การแก้ ปั ญ หาอย่ า งมี
ประสิทธิผล ควรใช้สถานการณ์หรือปัญหาทางคณิตศาสตร์ทก
ี่ ระตุน
้ ดึงดูดความ
สนใจ ส่งเสริมให้มีการประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอน/กระบวนการ
3
แก้ปัญหา และยุทธวิธีแก้ปัญหาที่หลากหลาย
การเชื่อมโยง
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะและกระบวนการแก้ปัญหา
ผู้สอนต้องให้โอกาสผู้เรียนได้ฝึกคิดด้วยตนเองให้มาก โดยจัดสถานการณ์หรือ
ปัญหาหรือเกมที่น่าสนใจ ท้าทายให้อยากคิด เริ่มด้วยปัญหาที่เหมาะสมกับ
4
ศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคนหรือผู้เรียนแต่ละกลุ่มโดยอาจเริ่มด้วยปัญหาที่
การให้เหตุผล
ผู้ เ รี ย นสามารถใช้ ค วามรู้ ที่ เ รี ย นมาแล้ ว มาประยุ ก ต์ ก่ อ นต่ อ จากนั้ น จึ ง เพิ่ ม
สถานการณ์ ห รื อ ปั ญ หาที่ แ ตกต่ า งจากที่ เ คยพบมา สำ � หรั บ ผู้ เ รี ย นที่ มี ค วาม
สามารถสูงผู้สอนควรเพิ่มปัญหาที่ยากซึ่งต้องใช้ความรู้ที่ซับซ้อน หรือมากกว่า
5
ที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตรให้ผู้เรียนได้ฝึกคิดด้วย
การคิดสร้างสรรค์
ในการเริ่มพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและกระบวนการแก้ปัญหา ผู้สอน
จะต้องสร้างพืน
้ ฐานให้ผเู้ รียนเกิดความคุน
้ เคยกับกระบวนการแก้ปญ
ั หาซึง่ มีอยู่
4 ขั้นตอนแล้วจึงฝึกทักษะในการแก้ปัญหา
86 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 87

กระบวนการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน มีดังนี้

ขั้นที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา หรือวิเคราะห์ปัญหา


ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 ดำ�เนินการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ หรือมองย้อนกลับ

ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2  ขั้นที่ 3  ขั้นที่ 4 


ทำ�ความเข้าใจปัญหา ขัน
้ ตอนนีเ้ ป็นการพิจารณาว่า วางแผนแก้ปญ
ั หา ขัน
้ ตอนนีเ้ ป็นการพิจารณาว่าจะ ดำ�เนินการแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติ ตรวจสอบ ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาความถูกต้อง
สถานการณ์ ที่ กำ � หนดให้ เ ป็ น ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ อะไร แก้ปัญหาด้วยวิธีใด จะแก้อย่างไร รวมถึงพิจารณา ตามแผนหรือแนวทางทีว่ างไว้ จนสามารถหาคำ�ตอบ และความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบผู้เรียนอาจมอง
ต้องการให้หาอะไร กำ�หนดอะไรให้บา้ ง เกีย
่ วข้องกับ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในปัญหา ผสมผสานกับ ได้ ถ้าแผนหรือยุทธวิธท
ี เี่ ลือกไว้ไม่สามารถหาคำ�ตอบ ย้อนกลับไปพิจารณายุทธวิธีอื่นๆ ในการหาคำ�ตอบ
ความรูใ้ ดบ้าง การทำ�ความเข้าใจปัญหาอาจใช้วธิ ก
ี าร ประสบการณ์การแก้ปญ
ั หาทีผ
่ เู้ รียนมีอยู่ เพือ
่ กำ�หนด ได้ ผู้ เ รี ย นต้ อ งตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของแต่ ล ะ และขยายแนวคิดไปใช้กับสถานการณ์ปัญหาอื่น
ต่าง ๆ ช่วยเช่น การวาดภาพ การเขียนตาราง การ แนวทางในการแก้ปญ
ั หา และเลือกยุทธวิธแ
ี ก้ปญ
ั หา ขัน
้ ตอนในแผนทีว่ างไว้ หรือเลือกยุทธวิธใี หม่จนกว่า
บอกหรื อ เขี ย นสถานการณ์ ปั ญ หาด้ ว ยภาษาของ จะได้คำ�ตอบ
ตนเอง

การสอนการแก้ปัญหาควรมุ่งเน้นกระบวนการคิด ให้ผู้เรียนสามารถ
คิดเป็น แก้ปัญหาได้ตามขั้นตอนของการแก้ปัญหา ไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะผลลัพธ์
หรื อ คำ � ตอบของปั ญ หา ผู้ ส อนสามารถจั ด กิ จ กรรมให้ ผู้ เ รี ย นเรี ย นรู้ อ ย่ า ง
ค่อยเป็นค่อยไป โดยกำ�หนดประเด็นหรือคำ�ถามนำ�ให้คิดและหาคำ�ตอบเป็น
ลำ�ดับเรื่อยไปจนผู้เรียนสามารถหาคำ�ตอบได้ หลังจากนั้นในปัญหาต่อ ๆ ไป
ผู้สอนจึงค่อย ๆ ลดประเด็นคำ�ถามลงมา จนสุดท้ายเมื่อเห็นว่าผู้เรียนมีทักษะ
ในการแก้ปัญหาเพียงพอแล้ว ก็ไม่จำ�เป็นต้องให้ประเด็นคำ�ถามชี้นำ�ก็ได้ ทั้งนี้
ผู้สอนควรเสริมแรงเมื่อผู้เรียนแก้ปัญหาได้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อ
การเรียนคณิตศาสตร์ซึ่งจะช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาที่ยุ่งยาก
ซับซ้อนต่อไปในอนาคต
88 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 89

ในการจัดให้มก
ี ารเรียนรูก
้ ระบวนการแก้ปญ
ั หาตามลำ�ดับขัน
้ ตอนนัน
้ เมือ
่ ผูเ้ รียน วิธีที่ 2 ใช้ตารางช่วยในการวิเคราะห์

เข้าใจกระบวนการแล้ว การพัฒนาให้มีทักษะ ผู้สอนควรเน้นฝึกการวิเคราะห์ 1) กำ�หนดจำ�นวนไก่ และกระต่ายรวมกันเป็น 30 ตัวก่อน

แนวคิดอย่างหลากหลายในขั้นวางแผนแก้ปัญหาให้มากเพราะเป็นขั้นตอนที่มี 2) ค่อย ๆ ลดหรือเพิ่มจำ�นวนไก่และกระต่ายให้สอดคล้องกับจำ�นวนขา

ความสำ�คัญและยากสำ�หรับผู้เรียน ตามที่กำ�หนด

กำ�หนดสถานการณ์ปัญหา “ไก่กับกระต่าย” ดังนี้ จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน


กระต่าย ขากระต่าย ไก่ ขาของไก่ ขาทั้งหมด
พ่อของนิตยาเลีย
้ งไก่กบ
ั กระต่ายไว้จ�ำ นวนหนึง่ ปกติพอ
่ จะแยกเลีย
้ งไก่ไว้ในเล้า (ตัว) (ขา) (ตัว) (ขา) (ขา)
และเลี้ยงกระต่ายไว้ในกรงวันหนึ่งพ่อปล่อยให้ไก่กับกระต่ายออกมาวิ่งเล่นใน 1 4 29 58 62
ทุ่งหญ้าหลังบ้าน นิตยาออกมาเดินเล่นเห็นเข้าจึงไปถามพ่อ ข้ามขั้น
ตัวอย่าง 5 20 25 50 70
นิตยา : คุณพ่อเลี้ยงไก่กับกระต่ายไว้อย่างละกี่ตัวคะ ข้ามขั้น
การแก้ปัญหา 10 40 20 40 80
พ่อ : ถ้าลูกอยากรู้ต้องหาคำ�ตอบเองนะ พ่อรู้ว่านับไก่กับกระต่ายรวมกันได้
11 44 19 38 82
30 ตัว ถ้านับขาไก่กับขากระต่ายรวมกันจะได้ 86 ขา
นิตยา : ไม่ยากเลยค่ะคุณพ่อ หนูหาคำ�ตอบได้ 12 48 18 36 84
13 52 17 34 86
ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนแต่ละคนหาคำ�ตอบตามแนวคิดของตนเองหรืออาจจัดเป็น
ได้จำ�นวนขาเท่ากับที่โจทย์กำ�หนด
กิจกรรมกลุ่มให้ผู้เรียนช่วยกันคิดหาคำ�ตอบก็ได้ ซึ่งปัญหานี้ผู้เรียนสามารถหา
คำ�ตอบ มีกระต่าย 13 ตัว และไก่ 17 ตัว
คำ�ตอบได้โดยใช้วิธีต่างกัน เช่น
จะสังเกตเห็นว่า จากวิธีที่ 2 ผู้เรียนเริ่มต้นด้วยการจับคู่กระต่าย 1 ตัว และไก่
วิธีที่ 1 ใช้แผนภาพ 29 ตัวก่อน แล้วหาจำ�นวนขาของสัตว์ทงั้ หมด สังเกตผลลัพธ์ ใช้ทก
ั ษะการคาดเดา
1) เริ่มด้วยการวาดภาพ 30 ภาพ แทนตัวของสัตว์ทั้งหมด และการวิเคราะห์ค�ำ ตอบ โดยข้ามขัน
้ ตอนบางขัน
้ ตอน จนกระทัง่ ได้ค�ำ ตอบตาม
2) สมมติว่าสัตว์ทุกตัวเป็นไก่โดยเขียนขาของทุกตัวเป็น 2 ขา แล้ววาดขาเพิ่ม ต้องการ
ไปทีละรูปแทนกระต่ายจนจำ�นวนขาครบตามที่กำ�หนด วิธีที่ 3 ใช้สมการ
สมมติให้มีไก่อยู่ x ตัว
แทนกระต่าย 1 ตัว จะมีกระต่าย 30 – x ตัว
จะได้จำ�นวนขาของไก่ 2x ขา
แทนไก่ 1 ตัว และจำ�นวนขาของกระต่าย 4(30 – x) ขา
ปัญหาได้ก�ำ หนดให้จ�ำ นวนขาของไก่และขาของกระต่ายรวมกัน 86 ขา
เขียนสมการและแก้สมการดังนี้
2x + 4(30 – x) = 86
2x + 120 – 4x = 86
– 2x = 86 – 120
x = –34
–2
x = 17
คำ�ตอบ มีไก่ 17 ตัว และกระต่าย 13 ตัว
คำ�ตอบ มีกระต่าย 13 ตัว และไก่ 17 ตัว หมายเหตุ สำ�หรับวิธีที่ 3 อาจจะยังไม่เหมาะที่จะนำ�มาใช้ในระดับประถมศึกษา
90 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 91

จากสถานการณ์ปัญหา “ไก่และกระต่าย” ที่ให้เป็นตัวอย่างข้างต้นนี้


ผู้เรียนอาจแสดงแนวคิดที่แตกต่างจากนี้ได้อีก ผู้สอนจะต้องใช้ดุลพินิจพิจารณา
การเขียนเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็นถ่ายทอดประสบการณ์ซึ่งกัน
วิธีการต่าง ๆ ที่ผู้เรียนแสดงแนวคิด โดยกล่าวชมเชยส่งเสริมแนวคิดนั้น ชี้ข้อ
และกัน ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ
้ น
ื่ จะช่วยให้ผเู้ รียนเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ได้
บกพร่องตลอดจนอธิบายและให้ความรู้เพิ่มเติม
อย่างมีความหมาย เข้าใจได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งและจดจำ�ได้นานมากขึ้น
ขั้นตอนที่สำ�คัญอีกขั้นตอนหนึ่งที่ผู้สอนจะต้องเน้นอยู่เสมอคือ ขั้นตอน
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะการสื่อสารและการสื่อความหมาย
การตรวจสอบคำ�ตอบที่ต้องคำ�นวณจำ�นวนขาของไก่และขาของกระต่ายจาก
ทางคณิตศาสตร์ ทำ�ได้ทก
ุ เนือ
้ หาทีต
่ อ
้ งการให้คด
ิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพือ
่ นำ�ไป
จำ�นวนตัวทีผ
่ เู้ รียนหาได้วา่ สอดคล้องกับทีโ่ จทย์หรือปัญหากำ�หนดให้หรือไม่ ดังนี ้
สู่การแก้ปัญหา เช่น ในวิชาเรขาคณิตมีเนื้อหาที่ต้องฝึกการวิเคราะห์ การให้
ไก่ 17 ตัว มี 34 ขา
เหตุผลและการพิสูจน์ ผู้เรียนต้องฝึกทักษะในการสังเกต การนำ�เสนอรูปภาพ
กระต่าย 13 ตัว มี 52 ขา
ต่าง ๆ เพื่อสื่อความหมายแล้วนำ�ความรู้ทางเรขาคณิตไปอธิบายปรากฏการณ์
รวมจำ�นวนตัวได้ 30 ตัว และจำ�นวนขาได้ 86 ขา
และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วัน
ซึ่งสอดคล้องกับข้อกำ�หนดของปัญหา

การจัดการเรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะการสื่อสารและการสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ในวิชาพีชคณิต เป็นการฝึกทักษะให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์
ปัญหา สามารถเขียนปัญหาในรูปแบบของตาราง กราฟ หรือข้อความ เพือ
่ สือ
่ สาร
2 ความสัมพันธ์ของจำ�นวนเหล่านัน
้ ขัน
้ ตอนในการดำ�เนินการเริม
่ จากการกำ�หนด
โจทย์ปัญหาให้ผู้เรียนวิเคราะห์ กำ�หนดตัวแปร เขียนความสัมพันธ์ของตัวแปร

การพัฒนาทักษะและกระบวนการสื่อสารและการสื่อความหมาย ในรูปของสมการหรืออสมการตามเงื่อนไขที่โจทย์กำ�หนด และดำ�เนินการแก้

ทางคณิตศาสตร์ ปัญหาโดยใช้วิธีการทางพีชคณิต

การสื่ อ สาร เป็ น วิ ธี ก ารแลกเปลี่ ย นความคิ ด และสร้ า งความเข้ า ใจ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะการสื่อสารและการสื่อความหมาย

ระหว่างบุคคล ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน ทางคณิตศาสตร์มีแนวทางในการดำ�เนินการดังนี้

การเขียน การสังเกต และการแสดงท่าทาง 1. กำ�หนดโจทย์ปัญหาที่น่าสนใจและเหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน

การสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการสือ
่ สารทีน
่ อกจาก 2. ให้ผเู้ รียนได้ลงมือปฏิบต
ั ิ และแสดงความคิดเห็นด้วยตนเอง โดยผูส
้ อนชีแ
้ นะ

นำ�เสนอผ่านช่องทางการสื่อสาร การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสังเกต แนวทางในการสื่อสารและการสื่อความหมาย

และการแสดงท่าทางตามปกติแล้ว ยังเป็นการสื่อสารที่มีลักษณะพิเศษ โดยมี


การใช้สญ
ั ลักษณ์ ตัวแปร ตาราง กราฟ สมการ อสมการ ฟังก์ชน
ั หรือแบบจำ�ลอง การฝึกทักษะและกระบวนการนี้ต้องทำ�อย่างต่อเนื่อง โดยสอดแทรก

เป็นต้น มาช่วยในการสื่อความหมายด้วย อยู่ทุกขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ให้ผู้เรียนคิดตลอดเวลาที่เห็น

การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นทักษะและ ปัญหาว่า ทำ�ไมจึงเป็นเช่นนั้น จะมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร เขียนรูปแบบความ

กระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถถ่ายทอดความรู้ความ สัมพันธ์ของตัวแปรเป็นอย่างไร จะใช้ภาพ ตาราง หรือกราฟใดช่วยในการสือ


่ สาร

เข้าใจ แนวคิดทางคณิตศาสตร์ หรือกระบวนการคิดของตนให้ผู้อื่นรับรู้ได้อย่าง สื่อความหมาย

ถูกต้องชัดเจนและมีประสิทธิภาพ การที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอภิปรายหรือ
92 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 93

ตัวอย่างการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ จากนัน
้ ผูเ้ รียนช่วยกันหาคำ�ตอบและสร้างตารางใหม่เพือ
่ แสดงจำ�นวน
กำ�หนดสถานการณ์ดังนี้ เงินที่นายจ้างต้องจ่ายจากการทำ�งานทั้ง 3 อย่าง ดังตารางที่ 2

ตัวอย่างการ จำ�นวนเงินที่นายจ้างต้องจ่าย (บาท)


งาน
สื่อสารและการ แดง น้อย จิต
สื่อความหมายทาง ร้านค้าแห่งหนึ่งมีลูกจ้าง 3 คน คือ แดง น้อย และจิต โดยแต่ละคนเสนอค่าจ้าง
คณิตศาสตร์ ทำ�งานชั่วโมงละ 100 110 120 บาท ตามลำ�ดับ และมีงาน 3 อย่าง คือ a 750 660 780
a b และ c b 800 935 840
c 450 550 420
จำ�นวนชัว่ โมงทีแ
่ ดงทำ�งาน a, b และ c คือ 7.5, 8 และ 4.5 ชัว่ โมง ตามลำ�ดับ รวม 2,000 2,145 2,040
จำ�นวนชัว่ โมงทีน
่ อ
้ ยทำ�งาน a, b และ c คือ 6, 8.5 และ 5 ชัว่ โมง ตามลำ�ดับ และ
ตารางที่ 2 แสดงจำ�นวนเงินที่นายจ้างต้องจ่าย
จำ�นวนชัว่ โมงทีจ
่ ต
ิ ทำ�งาน a, b และ c คือ 6.5, 7 และ 3.5 ชัว่ โมง ตามลำ�ดับ
ผู้เรียนสามารถใช้ตารางที่ 2 นำ�เสนอคำ�ตอบดังนี้
ควรจ้างน้อยทำ�งาน a เพราะจ่ายค่าจ้างน้อยที่สุด
อยากทราบว่านายจ้างควรให้ลูกจ้างคนใดทำ�งานอย่างใดที่สามารถทำ�งานนั้น
ควรจ้างแดงทำ�งาน b เพราะจ่ายค่าจ้างน้อยที่สุด
เสร็จ และจ่ายเงินน้อยที่สุด และถ้านายจ้างต้องการรับลูกจ้างเพื่อเข้าทำ�งาน
ควรจ้างจิตทำ�งาน c เพราะจ่ายค่าจ้างน้อยที่สุด
ทั้งสามอย่างเพียงหนึ่งคน เขาควรรับลูกจ้างคนใดเข้าทำ�งานจึงจะจ่ายเงินน้อย
และควรจ้างแดงทำ�งานทัง้ 3 อย่าง เพราะจ่ายค่าจ้างในการทำ�งานรวม
ที่สุด
ทั้ง 3 อย่างน้อยที่สุด

3
การพัฒนาทักษะและกระบวนการเชื่อมโยง

การเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยการคิด
ในการแก้ ปั ญ หานี้ ผู้ เ รี ย นจะวิ เ คราะห์ ปั ญ หาและใช้ ต ารางช่ ว ยใน วิเคราะห์ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการนำ�ความรู้ เนื้อหา และหลักการ
การสื่อสาร การสื่อความหมายข้อมูลที่กำ�หนดให้ ดังตารางที่ 1 ทางคณิตศาสตร์ มาสร้างความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุเป็นผลระหว่างความรูแ
้ ละ
ทักษะและกระบวนการทีม
่ ใี นเนือ
้ หาคณิตศาสตร์กบ
ั งานทีเ่ กีย
่ วข้อง เพือ
่ นำ�ไปสู่
จำ�นวนชั่วโมงการทำ�งาน การแก้ปัญหาและการเรียนรู้แนวคิดใหม่ที่ซับซ้อนหรือสมบูรณ์ขึ้น
งาน
แดง น้อย จิต การทีผ
่ เู้ รียนเห็นการเชือ
่ มโยงทางคณิตศาสตร์ จะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเห็น
a 7.5 6 6.5 ความสัมพันธ์ของเนือ
้ หาต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิด
b 8 8.5 7 ทางคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ทำ�ให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ได้
c 4.5 5 3.5 ลึกซึง้ และมีความคงทนในการเรียนรู้ ตลอดจนช่วยให้ผเู้ รียนเห็นว่าคณิตศาสตร์
มีคุณค่า น่าสนใจ และสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้
ตารางที่ 1 แสดงชั่วโมงการทำ�งาน ในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้และมี
พืน
้ ฐานในการทีจ
่ ะนำ�ไปศึกษาต่อนัน
้ จำ�เป็นต้องบูรณาการเนือ
้ หาต่างๆ ในวิชา
คณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน เช่น การใช้ความรู้ในเรื่องเซตในการให้คำ�จำ�กัดความ
หรือบทนิยามในเรื่องต่าง ๆ เช่น บทนิยามของฟังก์ชันในรูปของเซต บทนิยาม
ของลำ�ดับในรูปของฟังก์ชัน
94 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 95

ตัวอย่างการเชื่อมโยง
นอกจากการเชือ
่ มโยงระหว่างเนือ
้ หาต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ดว้ ยกันแล้ว
กำ�หนดสถานการณ์ปัญหาดังนี้
ยังมีการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ โดยใช้คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือ
ในการเรียนรู้ และแก้ปัญหา เช่น เรื่องการเงิน การคิดดอกเบี้ยทบต้น ก็อาศัย
ตัวอย่างการ
ความรูใ้ นเรือ
่ งเลขยกกำ�ลังและผลบวกของอนุกรม ในงานศิลปะและการออกแบบ
เชื่อมโยง บริษัทก่อสร้างดำ�รงต้องการเช่าที่ดินขนาด 2 ไร่ จำ�นวน 1 แปลง สำ�หรับเก็บ
บางชนิดก็ใช้ความรู้เกี่ยวกับรูปเรขาคณิต
วัสดุก่อสร้างทางในราคาประหยัด และมีผู้นำ�ที่ดินมาเสนอให้เช่า 2 ราย ดังนี้
นอกจากนั้ น แล้ ว ยั ง มี ก ารนำ� ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ไ ปประยุ ก ต์ ใ น
วิชาชีพบางอย่างโดยตรง เช่น การตัดเย็บเสื้อผ้า งานคหกรรมเกี่ยวกับอาหาร นายบุญ เสนอทีด
่ น
ิ 2 ไร่ 1 งาน คิดราคาค่าเช่าทีด
่ น
ิ ทัง้ แปลงเดือนละ 7,000 บาท
งานเกษตร งานออกแบบสร้างหีบห่อ บรรจุภณ
ั ฑ์ตา่ งๆ รวมถึงการนำ�คณิตศาสตร์ นางล้วน เสนอที่ดิน 5 ไร่ 3 งาน แบ่งที่ดินให้เช่าได้โดยคิดค่าเช่าตารางวาละ
ไปเชือ
่ มโยงกับชีวต
ิ ความเป็นอยูป
่ ระจำ�วัน เช่น การซือ
้ ขาย การชัง่ ตวง วัด การ 100 บาทต่อปี
คำ�นวณระยะทางและเวลาที่ใช้ในการเดินทาง การวางแผนในการออมเงินไว้ใช้ ถ้าผู้เรียนเป็นเจ้าของบริษัทก่อสร้างดำ�รง ผู้เรียนจะตกลงเช่าที่ดินของใคร
ในช่วงบั้นปลายของชีวิต เพราะเหตุใด
องค์ประกอบหลักทีส
่ ง่ เสริมการพัฒนาการเรียนรูท
้ ก
ั ษะและกระบวนการ
เชือ
่ มโยงความรูต
้ า่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชือ
่ มโยงคณิตศาสตร์กบ
ั ศาสตร์อน
ื่ ๆ
มีดังนี้
1. มีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์อย่างเด่นชัดในเรื่องนั้น
2. มีความรู้ในเนื้อหาที่จะนำ�ไปเชื่อมโยงกับสถานการณ์หรืองานอื่น ๆ
ที่ต้องการเป็นอย่างดี
จากสถานการณ์ปัญหาข้างต้น จะเห็นว่าผู้เรียนต้องใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์
3. มีทักษะในการมองเห็นความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงระหว่างความรู้และทักษะ
ในการคำ�นวณค่าเช่าทีด
่ น
ิ ต้องคำ�นึงถึงราคาทีต
่ อ
้ งการประหยัด ต้องใช้เหตุผล
และกระบวนการที่มีในเนื้อหานั้นกับงานที่เกี่ยวข้อง
ประกอบการตัดสินใจ การนำ�เสนอเฉพาะคำ�ตอบของผูเ้ รียนไม่ใช่สงิ่ สำ�คัญทีส
่ ด

4. มีทักษะในการสร้างแบบจำ�ลองทางคณิตศาสตร์เพื่อสร้างความสัมพันธ์
ผูส
้ อนจะต้องให้ความสำ�คัญต่อแนวคิดและเหตุผลของผูเ้ รียนแต่ละคนประกอบ
และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ หรือคณิตศาสตร์กับ
ด้วย
สถานการณ์ที่ต้องเกี่ยวข้อง
ตัวอย่างคำ�ตอบและเหตุผลของผู้เรียนอาจเป็นดังนี้
5. มีความเข้าใจในการแปลความหมายของคำ�ตอบที่หาได้จากแบบจำ�ลอง
ด.ช.ก่อ ตอบว่า ควรเช่าที่ดินของนายบุญ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายปีละ 84,000
ทางคณิตศาสตร์ว่ามีความเป็นไปได้หรือสอดคล้องกับสถานการณ์นั้น ๆ
บาท (7,000 × 12 = 84,000) และได้ที่ดินมากกว่าที่กำ�หนดไว้อีก 1 งาน
อย่างสมเหตุสมผล
ด.ญ.นิตยา ตอบว่า ควรเช่าที่ดินของนางล้วน ซึ่งคิดค่าเช่า 2 ไร่หรือ
ในการจัดการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รียนได้พฒ
ั นาทักษะและกระบวนการเชือ
่ มโยง
800 ตารางวา เป็นเงิน 80,000 บาทต่อปี ซึง่ เป็นราคาเช่าทีถ
่ ก
ู กว่าเช่าทีด
่ น
ิ ของ
ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ นั้ น ผู้ ส อนอาจจั ด กิ จ กรรมหรื อ สถานการณ์ ปั ญ หา
นายบุญ
สอดแทรกในการเรียนรู้อยู่เสมอ เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นการนำ�ความรู้ เนื้อหาสาระ
ด.ญ.นุช ตอบว่า ควรเช่าที่ดินของนายบุญ ซึ่งเมื่อคิดค่าเช่าเป็นตารางวา
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการเรียนรู้เนื้อหาใหม่ หรือนำ�ความรู้
ต่อปีแล้วจะจ่ายเพียงตารางวาละ 93 บาท 7000 × 12 ≈ 93
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปญ
ั หาในสถานการณ์ทผ
ี่ ส
ู้ อนกำ�หนดขึน
้ 900
ซึ่งถูกกว่าค่าเช่าที่ดินของนางล้วน
เพือ
่ ให้ผเู้ รียนเห็นความเชือ
่ มโยงของคณิตศาสตร์กบ
ั ศาสตร์อน
ื่ ๆ หรือเห็นการนำ�
ผูส
้ อนอาจเปิดประเด็นให้ผเู้ รียนได้มก
ี ารอภิปรายต่อในเรือ
่ งนีไ้ ด้อก
ี ใน
คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ในชีวิตประจำ�วันเพื่อให้ผู้เรียนได้มีการปฏิบัติจริงและ
ประเด็ น ที่ ว่ า ในชี วิ ต จริ ง แล้ ว ก่ อ นตั ด สิ น ใจลงทุ น ทำ � กิ จ การใดผู้ ล งทุ น จะไม่
มี ทั ก ษะและกระบวนการเชื่ อ มโยงความรู้ นี้ ผู้ ส อนอาจมอบหมายงานหรื อ
พิจารณาเฉพาะค่าเช่าเพียงอย่างเดียวต้องพิจารณาองค์ประกอบอืน
่ ๆ ด้วย เช่น
กิจกรรมให้ผเู้ รียนได้ไปศึกษาค้นคว้าหาความรูท
้ เี่ กีย
่ วข้องกับกิจกรรมนัน
้ ๆ แล้ว
สภาพแวดล้อม ความสะดวกในการเข้าหรือออก ทีด
่ น
ิ อยูใ่ กล้หรือไกลจากบริษท

นำ�เสนองานต่อผู้สอนและผู้เรียน ให้มีการอภิปรายและหาข้อสรุปร่วมกัน
96 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 97

เพียงใด ประเด็นเหล่านี้จะช่วยทำ�ให้ผู้เรียนมีความคิดพิจารณาในวงกว้างขึ้น
สามารถนำ�ความคิดเช่นนี้ไปประยุกต์ในชีวิตจริงได้ เป็นการส่งเสริมทักษะและ
กระบวนการการให้เหตุผล ความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมในด้านความคิดอย่างถี่ถ้วนรอบคอบ กล้าแสดงความคิดเห็น และคิด
อย่ า งมี วิ จ ารณญาณอี ก ด้ ว ย ในการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ ต้ อ งการให้ ผู้ เ รี ย นมี ก าร
พัฒนาการเรียนรู้ ผู้สอนควรจัดกิจกรรมหรือให้ปัญหาที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้คด
ิ สามารถบอกแนวคิดและแสดงเหตุผลได้ ผูส
้ อนไม่ควรดูเฉพาะคำ�ตอบทีห
่ า
ได้จากการคำ�นวณเท่านัน
้ คำ�ตอบของปัญหาอาจมีมากกว่า 1 คำ�ตอบ ขึน
้ อยูก
่ บ

การให้เหตุผลประกอบที่สมเหตุสมผลด้วย

4
การพัฒนาทักษะและกระบวนการให้เหตุผล องค์ประกอบหลักที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่างมีเหตุมีผลและ
รู้จักให้เหตุผลมีดังนี้
การให้เหตุผล เป็นกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ทต
ี่ อ
้ งอาศัยการคิด 1. ควรให้ผเู้ รียนได้พบกับโจทย์ หรือปัญหาทีผ
่ เู้ รียนสนใจ เป็นปัญหาทีไ่ ม่ยาก
วิเคราะห์และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการรวบรวมข้อเท็จจริง ข้อความ เกินความสามารถของผู้เรียนที่จะคิด และให้เหตุผลในการหาคำ�ตอบได้
แนวคิด สถานการณ์ทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ แจกแจงความสัมพันธ์ หรือ 2. ให้ผเู้ รียนมีโอกาสและเป็นอิสระทีจ
่ ะแสดงออกถึงความคิดเห็นในการใช้และ
การเชื่อมโยง เพื่อให้เกิดข้อเท็จจริงหรือสถานการณ์ใหม่ ให้เหตุผลของตนเอง
การให้เหตุผลเป็นทักษะและกระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิด 3. ผู้สอนช่วยสรุปและชี้แจงให้ผู้เรียนเข้าใจว่า เหตุผลของผู้เรียนถูกต้องตาม
อย่างมีเหตุผล คิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ หลักเกณฑ์หรือไม่ ขาดตกบกพร่องอย่างไร
ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม การคิดอย่างมีเหตุผลเป็นเครื่องมือสำ�คัญที่ผู้เรียน การเริม
่ ต้นทีจ
่ ะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเรียนรู้ และเกิดทักษะในการให้เหตุผล
จะนำ�ไปใช้พฒ
ั นาตนเองในการเรียนรูส
้ งิ่ ใหม่ เพือ
่ นำ�ไปประยุกต์ใช้ในการทำ�งาน ผู้สอนควรจัดสถานการณ์หรือปัญหาที่น่าสนใจให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ผู้สอน
และการดำ�รงชีวิต สังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รียนและคอยช่วยเหลือโดยกระตุน
้ หรือชีแ
้ นะอย่างกว้างๆ
การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนรู้จักคิดและให้เหตุผลเป็นสิ่งสำ�คัญ โดย โดยใช้ค�ำ ถามกระตุน
้ ด้วยคำ�ว่า “ทำ�ไม” “อย่างไร” “เพราะเหตุใด” เป็นต้น พร้อม
ทั่วไปเข้าใจกันว่าการฝึกให้รู้จักให้เหตุผลที่ง่ายที่สุด คือ การฝึกจากการเรียน ทั้งให้ข้อคิดเพิ่มเติมอีก เช่น “ถ้า ………………… แล้ว ผู้เรียนคิดว่า ………..… จะ
เรขาคณิตตามแบบยุคลิด เพราะมีโจทย์เกีย
่ วกับการให้เหตุผลมากมาย มีทงั้ การ เป็นอย่างไร” ผู้เรียนที่ให้เหตุผลได้ไม่สมบูรณ์ ผู้สอนต้องไม่ตัดสินด้วยคำ�ว่า
ให้เหตุผลอย่างง่าย ปานกลาง และยาก แต่แท้ทจ
ี่ ริงแล้วการฝึกให้ผเู้ รียนรูจ
้ ก
ั คิด ไม่ถูกต้อง แต่อาจใช้คำ�พูดเสริมแรงและให้กำ�ลังใจว่า คำ�ตอบที่ผู้เรียนตอบมามี
และให้เหตุผลอย่างสมเหตุสมผลนัน
้ สามารถสอดแทรกได้ในการเรียนรูท
้ ก
ุ เนือ
้ หา บางส่วนถูกต้อง ผูเ้ รียนคนใดจะให้ค�ำ อธิบายหรือให้เหตุผลเพิม
่ เติมของเพือ
่ นได้
ของวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาอื่น ๆ ด้วย อีกบ้าง เพื่อให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้ร่วมกันมากยิ่งขึ้น
ในการจั ด การเรี ย นรู้ ผู้ ส อนควรเปิ ด โอกาสให้ ผู้ เ รี ย นได้ คิ ด อย่ า ง
หลากหลาย โจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์ที่กำ�หนดให้ควรเป็นปัญหาปลายเปิด
(open – ended problem) ที่ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็น หรือให้เหตุผล
ที่แตกต่างกันได้
98 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 99

ตัวอย่างการให้เหตุผล
กำ�หนดโจทย์ปัญหา ดังนี้ ในการฝึกให้ผเู้ รียนให้เหตุผลอย่างสมเหตุสมผล คำ�ตอบของ ด.ญ.ศรีเพ็ญ
ถือว่าเป็นคำ�ตอบที่ถูกต้องสมเหตุสมผลคำ�ตอบหนึ่ง
อาจมีผู้เรียนบางคนแสดงความคิดเห็นว่า วิธีทำ�ของ ด.ช. ก่อ ยังไม่ถูก
ตัวอย่างการ
ต้องเพราะเหตุวา่ ตำ�แหน่งทีไ่ ม้ปก
ั อยูอ
่ าจปักอยูใ่ นบริเวณทีต
่ น
ื้ หรือลึกกว่า 1.30
ให้เหตุผล
เมตร เพราะฉะนัน
้ ความยาวของไม้สว่ นทีป
่ ก
ั อยูใ่ นดินอาจน้อยกว่า หรือมากกว่า
ไม้ไผ่ลำ�หนึ่งยาว 2.85 เมตร ปักอยู่ในบึงแห่งหนึ่ง ซึ่งมีน้ำ�ลึกโดยเฉลี่ย 1.30 0.6 เมตร ก็ได้ ถ้าผูเ้ รียนแสดงความคิดเห็นเช่นนี้ ผูส
้ อนควรใช้ค�ำ ถามให้ผเู้ รียน
เมตร ถ้าส่วนที่อยู่เหนือน้ำ�คิดเป็น 1
3 ของความยาวของไม้ไผ่ลำ�นี้ ไม้ไผ่ส่วน คิดต่อว่าผูเ้ รียนจะแก้ไขวิธท
ี �ำ ของ ด.ช. ก่อ อย่างไรจึงจะได้ค�ำ ตอบทีถ
่ ก
ู ต้องและ
ที่ปักอยู่ในดินยาวกี่เมตร สมเหตุสมผล
ผูเ้ รียนอาจจะให้เหตุผลเพิม
่ เติมโดยใช้ค�ำ ว่า “ถ้า” ในบรรทัดทีส
่ อง ดังนี ้
ถ้า ไม้ส่วนที่ปักอยู่ในน้ำ�ยาว 1.30 เมตร ไม้ส่วนที่ปักอยู่ในดินก็จะ
ยาว 0.6 เมตร
หรือสรุปตรงคำ�ตอบว่า ไม้สว่ นทีป
่ ก
ั อยูใ่ นดินยาวประมาณ 0.6 เมตรก็ได้

ตัวอย่างการให้เหตุผลในกระบวนการแก้ปญ
ั หาทีใ่ ช้คำ�ถามประกอบการหา
สมมติว่า ด.ช. ก่อ แสดงวิธีทำ�ตามแนวคิด ดังนี้ คำ�ตอบ
ความยาวของไม้ไผ่ส่วนที่อยู่เหนือน้ำ�คิดเป็น 1 ของ 2.85 = 0.95 เมตร ผู้สอนกำ�หนดโจทย์ จงทำ� (x-3 y-2z0)-2 เมื่อ x , y , z ไม่เท่ากับ 0
3
ความยาวของไม้ไผ่ส่วนที่ปักอยู่ในน้ำ�เท่ากับ 1.30 เมตร ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
ดังนั้นไม้ไผ่ส่วนที่อยู่ในดินยาว 2.85 – (0.95 + 1.30) = 0.6 เมตร
ตอบ 0.6 เมตร
คำ�ถามของผู้สอน ขั้นตอนแสดงวิธีทำ� การให้เหตุผลของผู้เรียน

1. จากโจทย์ผู้เรียนควรจะลดรูป (x-3 y-2z0)-2 = (x-3 y-2)-2 1. ลดรูป z0 ก่อน เพราะว่า


ส่วนใดก่อน เพราะเหตุใด เมื่อ z ≠ 0 จะได้ z0 = 1
จะทำ�ให้ลดตัวแปรเหลือ
ด.ญ.ศรีเพ็ญ แสดงความคิดเห็นว่า โจทย์ข้อนี้หาคำ�ตอบไม่ได้ เพราะ เพียงสองตัว
ว่าโจทย์กำ�หนดความลึกของน้ำ� โดยเฉลี่ย 1.30 เมตร ตรงตำ�แหน่งที่ไม้ปักอยู่ 2. ผู้เรียนจะใช้สมบัติใดต่อไป = (x-3)-2 ∙ (y-2)-2 2. จากสูตรที่เคยทราบว่า
ไม่ทราบว่ามีความลึกของน้ำ�เท่าไรแน่ จึงไม่สามารถหาความยาวของไม้ส่วนที่ (ab)n = anbn เมื่อ a ≠ 0
ปักอยู่ในดินได้ และ b ≠ 0
ผูส
้ อนอาจใช้ค�ำ ถามกระตุน
้ ว่า “ใครมีความคิดเห็นแตกต่างไปจากสอง 3. ผู้เรียนจะใช้สมบัติใดต่อไปอีก = x6 ∙ y4 3. จากสูตรที่เคยทราบว่า
แนวคิดนีอ
้ ก
ี หรือไม่” ถ้าไม่มค
ี วามเห็นเพิม
่ เติมผูส
้ อนควรถามความคิดเห็นต่อว่า (am)n = amn เมื่อ a ≠ 0
คำ�ตอบของศรีเพ็ญมีเหตุผลที่ยอมรับได้หรือไม่
100 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 101
5
การพัฒนาทักษะและกระบวนการคิดสร้างสรรค์

ตัวอย่าง ตัวอย่างปัญหาที่มีคำ�ตอบได้หลายคำ�ตอบ
การคิ ด สร้ า งสรรค์ เป็ น กระบวนการคิ ด ที่ อ าศั ย ความรู้ พื้ น ฐาน
ปัญหา
จิ น ตนาการและวิ จ ารณญาณ ในการพั ฒ นาหรื อ คิ ด ค้ น องค์ ค วามรู้ หรื อ สิ่ ง
ปลายเปิด “จงหาความยาวด้านที่เป็นจำ�นวนเต็มของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ที่มี
ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ความคิด
สร้างสรรค์มห
ี ลายระดับ ตัง้ แต่ระดับพืน
้ ฐานทีส
่ งู กว่าความคิดพืน
้ ๆ เพียงเล็กน้อย ความยาวรอบรูปเท่ากับ 15 หน่วย”

ไปจนกระทั่งเป็นความคิดที่อยู่ในระดับสูงมาก
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์จะช่วยให้ผู้เรียนมีแนวทางการคิดที่
หลากหลาย มีกระบวนการคิด จินตนาการในการประยุกต์ ทีจ
่ ะนำ�ไปสูก
่ ารคิดค้น ผู้เรียนอาจแก้ปัญหานี้โดยการสมมติความยาวของด้านต่าง ๆ ของ

สิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่และมีคุณค่าที่คนส่วนใหญ่คาดคิดไม่ถึงหรือมองข้าม รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วซึ่งต้องใช้ความรู้พื้นฐานที่ว่า “ผลบวกของความยาวของ

ตลอดจนส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีนส
ิ ย
ั กระตือรือร้น ไม่ยอ
่ ท้อ อยากรูอ
้ ยากเห็น อยาก ด้านสองด้านของรูปสามเหลี่ยมย่อมยาวกว่าด้านที่สาม”

ค้นคว้าและทดลองสิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ
บรรยากาศทีช
่ ว่ ยส่งเสริมความคิดริเริม
่ สร้างสรรค์ ได้แก่การเปิดโอกาส กรณีที่ ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 หมายเหตุ
ให้ผเู้ รียนคิด และนำ�เสนอแนวคิดของตนเองอย่างอิสระภายใต้การให้ค�ำ ปรึกษา 1 7 7 1
แนะนำ�ของผู้สอน การจัดกิจกรรม การเรียนรู้สามารถเริ่มต้นจากการนำ�เสนอ 2 6 6 3
ปัญหาที่ท้าทาย น่าสนใจ เหมาะกับวัยของผู้เรียนและเป็นปัญหาที่ผู้เรียน 3 5 5 5
สามารถนำ�ความรู้พ้น
ื ฐานทางคณิตศาสตร์ท่ม
ี ีอยู่มาใช้แก้ปัญหาได้ การแก้ปัญหา 4 4 4 7
ควรจัดเป็นกิจกรรมในลักษณะร่วมกันแก้ปัญหา ให้ผู้เรียนได้อภิปรายร่วมกัน 5 3 3 9 3 + 3 < 9 ไม่ใช่รูปสามเหลี่ยม
การเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้เสนอแนวคิดหลาย ๆ แนวคิด เป็นการช่วยเสริมเติมเต็ม
6 2 2 11 2 + 2 < 11 ไม่ใช่รูปสามเหลี่ยม
ทำ�ให้ได้แนวคิดในการแก้ปัญหาที่สมบูรณ์และหลากหลาย
ปัญหาปลายเปิดซึ่งเป็นปัญหาที่มีคำ�ตอบหลายคำ�ตอบ หรือมีแนวคิด
หรือวิธีการในการหาคำ�ตอบได้หลายอย่าง เป็นปัญหาที่ช่วยส่งเสริมความคิด จากตารางข้างต้น จะมีคำ�ตอบเพียง 4 คำ�ตอบเท่านั้น คือกรณีที่ 1 – 4
ริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้เรียน สำ�หรับปัญหาที่มีหลายคำ�ตอบ เมื่อผู้เรียนคนหนึ่ง
หาคำ�ตอบหนึ่งได้แล้ว ก็ยังมีสิ่งท้าทายให้ผู้เรียนคนอื่น ๆ คิดหาคำ�ตอบอื่น ๆ ที่ นอกจากนี้ผู้เรียนที่มีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการสมมติตัวแปร อาจใช้
เหลืออยู่ สำ�หรับปัญหาที่มีแนวคิด หรือวิธีการในการหาคำ�ตอบได้หลายอย่าง การสมมติตัวแปรสร้างสมการ และหาคำ�ตอบของสมการ ดังนี้
แม้ว่าผู้เรียนจะหาคำ�ตอบได้ ผู้สอนต้องแสดงให้ผู้เรียนตระหนักถึงการให้ความ ให้ด้านที่ยาวเท่ากันของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วยาวด้านละ x หน่วย
สำ�คัญกับแนวคิด หรือวิธีการในการหาคำ�ตอบนั้นด้วยการส่งเสริมและยอมรับ ด้านที่สามยาว y หน่วย
แนวคิด หรือวิธีการที่หลากหลายของผู้เรียน ในการให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ จะได้สมการ 2x + y = 15
ในการเรียนรู้แนวคิดหรือวิธีการหลาย ๆ อย่างในการแก้ปัญหาปัญหาหนึ่งเป็น จากนั้นใช้การสมมติค่า x แล้วหาค่า y ซึ่งต้องอยู่ในเงื่อนไข “ผลบวก
สิ่งที่มีคุณค่ามากกว่าการให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหลาย ๆ ของความยาวของด้านสองด้านของรูปสามเหลี่ยมย่อมยาวกว่าด้านที่สาม”
ปัญหาโดยใช้แนวคิดหรือวิธีการเพียงอย่างเดียว
นอกจากนี้การให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างปัญหาขึ้นเองให้มีโครงสร้าง
ของปั ญ หาคล้ า ยกั บ ปั ญ หาเดิ ม ที่ ผู้ เ รี ย นมี ป ระสบการณ์ ใ นการแก้ ม าแล้ ว
จะเป็นการช่วยให้ผเู้ รียนมีความเข้าใจปัญหาเดิมอย่างแท้จริง และเป็นการช่วย
ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้เรียนอีกด้วย
102 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 103

ตัวอย่างปัญหาที่สามารถแสดงแนวคิดหรือวิธีการในการแก้ปัญหาได้
แหล่งความรู้เพิ่มเติม
ภาคผนวก
หลายอย่าง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ช่วยในการสอนคณิตศาสตร์

“พี่น้องสามคน มีอายุห่างกันคนละ 2 ปี เรียงตามลำ�ดับอายุจากน้อย


GeoGebra เป็นโปรแกรมคณิตศาสตร์เชิงพลวัต ซึง่ รวมเรขาคณิต พีชคณิต สถิติ
ไปหามาก คือ สมใจ สมหวัง และสมจิตร ทั้งสามคนมีอายุรวมกันเท่ากับ 75 ปี
และแคลคูลัสไว้ด้วยกัน เหมาะสำ�หรับใช้ในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
จงหาอายุของคนทั้งสาม” GeoGebra
โปรแกรมนี้จัดเป็นระบบเรขาคณิตแบบโต้ตอบที่ผู้ใช้งานสามารถสร้างชิ้นงาน
ด้วยจุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง เวกเตอร์ รูปหลายเหลี่ยม ภาคตัดกรวย และ
แนวคิด 1
ฟังก์ชัน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงเชิงพลวัตได้ในภายหลัง นอกจากนี้สามารถใส่
75 เป็นจำ�นวนคี่ ซึง่ ได้จากผลบวกของจำ�นวนสามจำ�นวน แต่ละจำ�นวน
สมการและจุดพิกัดได้โดยตรง ดังนั้นโปรแกรม GeoGebra จึงมีความสามารถ
ที่อยู่ถัดกันมีค่าแตกต่างกัน 2 ดังนั้น จำ�นวนทั้งสามจำ�นวนเป็นจำ�นวนคี่
ที่จะจัดการกับตัวแปรที่เกี่ยวกับจำ�นวน เวกเตอร์ และจุด อีกทั้งยังสามารถ
สมมติจำ�นวนแล้วตรวจสอบผลบวก
ใช้หาอนุพันธ์ ปริพันธ์ของฟังก์ชัน และการป้อนคำ�สั่งต่าง ๆ
19 + 21 + 23 = 63
21 + 23 + 25 = 69
23 + 25 + 27 = 75
คำ�ตอบคือ สมใจ สมหวัง และสมจิตร มีอายุ 23, 25 และ 27 ปี ตามลำ�ดับ

แนวคิด 2
อายุของคนกลางคือ สมหวัง เป็นค่าเฉลี่ยของอายุของทั้งสามคน
หาค่าเฉลี่ยของอายุได้ 75 ÷ 3 = 25 เป็นอายุของสมหวัง
ภาพหน้าจอของโปรแกรม
ดังนั้น สมใจมีอายุ 25 – 2 = 23 ปี และ
สมจิตรมีอายุ 25 + 2 = 27 ปี
The Geometer’s Sketchpad หรือ GSP เป็นซอฟต์แวร์ทางคณิตศาสตร์
The
Geometer’s เชิงเรขาคณิตพลวัต นิยมใช้ในการสร้าง สำ�รวจ และวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ
แนวคิด 3
Sketchpad เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ทั้งยังใช้สร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical
สมมติอายุของน้องสุดท้องคือ สมใจ มีอายุ x ปี จะได้สมหวัง และ (GSP)
model) รวมทั้งวาดภาพที่มีความซับซ้อน และสามารถเคลื่อนไหวได้ อีกทั้งจะ
สมจิตร มีอายุ x + 2 และ x + 4 ปี ตามลำ�ดับ
ช่ ว ยเสริ ม ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ เ กี่ ย วกั บ เรขาคณิ ต พี ช คณิ ต ตรี โ กณมิ ติ
x + (x + 2) + (x + 4) = 75
แคลคูลส
ั และเรือ
่ งอืน
่ ๆ เอือ
้ ต่อการอธิบายหลักการคณิตศาสตร์ การตอบปัญหา
3x + 6 = 75
และกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างข้อคาดการณ์ หรือใช้ตรวจสอบสมบัติของการสร้าง
3x = 69
x = 23
ดังนั้นสมใจ สมหวัง และสมจิตร มีอายุ 23, 25 และ 27 ปี ตามลำ�ดับ
นอกจากจะฝึกความคิดสร้างสรรค์กับโจทย์ปัญหาแล้ว ผู้สอนสามารถ
พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในการเรียนรู้กิจกรรมอื่น ๆ ได้อีก เช่น กิจกรรม
เกี่ยวกับการออกแบบ การต่อรูป การประดิษฐ์จากเงื่อนไขที่กำ�หนดให้
ภาพหน้าจอของโปรแกรม
104 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 105

เว็บไซต์สื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ช่วยในการสอนคณิตศาสตร์ โทรทัศน์ครู (Thai Teachers TV)


Thai
จากเว็บไซต์ http://www.thaiteachers.tv
Teachers
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ TV เว็บไซต์ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งรวมข้อมูล วีดิทัศน์ เพื่อการศึกษาไทยและ
(Distance Learning Information Technology: DLIT) พัฒนาสู่ความเป็นครูมืออาชีพ ประกอบด้วยรายการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ
DLIT
จากเว็บไซต์ http://www.dlit.ac.th เรียนการสอนรายวิชาต่าง ๆ รวมทัง้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ซึง่ มีตงั้ แต่ระดับประถม
เว็บไซต์ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเสนอการจัดการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มุ่ง ศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา จัดทำ�โดยสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แก้ปัญหาการขาดแคลนครูของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ครอบคลุม กระทรวงศึกษาธิการ
โรงเรียนทั่วประเทศ มีส่วนประกอบหลัก 5 ส่วน ได้แก่ ห้องเรียน DLIT คลังสื่อ
การเรียนรู้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ คลังข้อสอบ และห้องสมุดดิจิทัล จัดทำ�โดย
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ระบบทดสอบออนไลน์ (Online Testing System)


Online
โครงการสารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน จากเว็บไซต์ http://onlinetesting.ipst.ac.th
Testing
kanchana โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว System เป็นระบบหลักระบบหนึ่งในศูนย์การเรียนรู้ดิจิทัลฯ ที่ให้บริการแก่ ครู นักเรียน
pisek.or.th จากเว็บไซต์ http://kanchanapisek.or.th/kp6 และผู้สนใจในการทำ�แบบทดสอบความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ
เว็ บ ไซต์ ที่ ร วบรวมสารานุ ก รมไทยสำ � หรั บ เยาวชน โดยพระราชประสงค์ เทคโนโลยี ทั้ ง ในส่ ว นของข้ อ สอบตามหลั ก สู ต รแกนกลางฯ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ
ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ซึ่ ง เป็ น สารานุ ก รมที่ จั ด ทำ � ขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ตัวชี้วัด และข้อสอบแข่งขันโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพ
เยาวชน และผู้ที่สนใจได้มีโอกาสอ่านและศึกษาความรู้ด้วยตนเอง เว็บไซต์นี้ ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละคณิ ต ศาสตร์ โครงการ TEDET เป็ น ต้ น จั ด ทำ � โดย
รวบรวมสารานุ ก รมดั ง กล่ า วในรู ป แบบหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Book) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
จำ�นวน 37 เล่ม โดยสารานุกรมในหมวดคณิตศาสตร์เป็นสารานุกรมเล่มที่ 6
จั ด ทำ � โดยโครงการสารานุ ก รมไทยสำ � หรั บ เยาวชน โดยพระราชประสงค์
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
106 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 107

ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)


จากเว็บไซต์ http://pisaitems.ipst.ac.th IPST จากเว็บไซต์ http://www.ipst.ac.th
PISA
เป็นระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA ที่ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่ เพื่อให้ผู้เรียนได้ เว็บไซต์ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวมข่าวสาร ทุนการศึกษา กิจกรรม สื่อการเรียน
พัฒนาศักยภาพผ่านการฝึกทำ�ข้อสอบบนระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นแหล่ง การสอน ทัง้ ในส่วนของวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
การเรี ย นรู้ ที่ ส ามารถนำ � ไปใช้ ป ระโยชน์ ท างการศึ ก ษาได้ ต่ อ ไป จั ด ทำ � โดย และสะเต็มศึกษา จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สภาครูคณิตศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา


IPST
Learning
สสวท. (IPST Learning Space) NCTM
(National Council of Teachers of Mathematics: NCTM)
Space จากเว็บไซต์ http://learningspace.ipst.ac.th จากเว็บไซต์ http://www.nctm.org
เว็บไซต์ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เว็ บ ไซต์ ที่ จั ด ทำ � ขึ้ น เพื่ อ รวบรวมข่ า วสาร กิ จ กรรม เผยแพร่ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์
และเทคโนโลยี โดยรวบรวมสื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ มี ม าตรฐาน คั ด กรองคุ ณ ภาพ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละสื่ อ การเรี ย นการสอนวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ที่ มี คุ ณ ภาพและ
และความถูกต้องโดยผู้เชี่ยวชาญ และสอดคล้องกับหลักสูตรในโรงเรียนไว้ ผ่ า นการวิ จั ย จากทั่ ว โลก เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการจั ด การเรี ย นการสอน
อย่างครบครัน จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์อย่างกว้างขวาง จัดทำ�โดยสภาครูคณิตศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา
กระทรวงศึกษาธิการ
108 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 109

สะเต็มศึกษา ประเทศไทย (STEM Education Thailand) บรรณานุกรม


จากเว็บไซต์ http://www.stemedthailand.org Black, P., & Wiliam, D. (2009). Developing the theory of formative assessment.
STEM
เว็บไซต์ท่ีจัดทำ�ขึ้นเพื่อรวมรวมข่าวสาร กิจกรรม บทความ และแหล่งเรียนรู้ Educational Assessment Evaluation and Accountability, 21(1), 5-31.
Cambridge International Examination. (2015). Evaluation of the Thai Primary
ทีเ่ กีย
่ วข้องกับสะเต็มศึกษา จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ Curriculum for Mathematics and Science. Unpublished document.
เทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ Cambridge International Examination. (2016). Evaluation of the Thai Secondary
Curriculum for Mathematics and Science. Unpublished document.
Earl, L. M. (2006). Assessment as learning: Using classroom assessment to
maximize student learning. Corwin Press.
Manitoba Education, Citizenship and Youth. (2016, November 11). Rethinking classroom
assessment with purpose in mind: assessment for learning, Assessment as Learning,
Assessment of Learning. Retrieved from https://www.edu.gov.mb.ca/k12/assess/wncp/
full_doc.pdf
National Research Council. (2001). Adding it up: Helping children learn mathematics. J. Kilpatrick,
J. Swaffold, and B. Findell (Eds.). Mathematics Learning Study Committee, Center for
Educational, Division of Behavioral and Social Sciences and Education. Washington,
DC: National Academy Press.
Partnership for 21st Century Skills. (2016, November 11). P21 common core toolkit: A guide to
aligning the common core state standards with the framework for 21st century skills.
Retrieved from http://www.p21.org/storage/documents/P21CommonCoreToolkit.pdf
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำ�นักงาน. (2557). รายงานผลการนำ�หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สสวท. จากเว็บไซต์ http://math.ipst.ac.th ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไปสู่การปฏิบัติ : การสังเคราะห์งานวิจัย เอกสาร และรายงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการนำ�หลักสูตรไปสู่การปฎิบัติ เอกสารลำ�ดับที่ 1/2557. สืบค้น 11 กันยายน 2559,
MATH เว็บไซต์ทจ
ี่ ด
ั ทำ�ขึน
้ เพือ
่ รวมรวมข่าวสาร กิจกรรม บทความ สือ
่ การเรียนการสอน
จาก http://www. curriculum51.net/upload/20150211224227.pdf
IPST หนั ง สื อ เรี ย นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Book) ในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ตั้ ง แต่ ร ะดั บ คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำ�นักงาน. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทำ�โดยสถาบันส่งเสริม ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560 – 2564). สืบค้น 17 พฤศจิกายน 2560, จากhttp://www.nesdb.go.th/
ewt_dl_link.php?nid=6422
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ทดสอบทางการศึกษา, สำ�นัก. (2557). ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2555 บทสรุป
และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด.
นายกรัฐมนตรี, สำ�นัก. (2559). ร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579).
สืบค้น 17 พฤศจิกายน 2560, จาก http://www.nesdb.go.th
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2546). การวัดผลประเมินผลคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ:
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2548). คู่มืออ้างอิง The Geometer’s Sketchpad
ซอฟต์แวร์สำ�รวจเชิงคณิตศาสตร์ เรขาคณิตพลวัต. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2554). รายงานผลการวิจัยโครงการ TIMSS 2011
วิชาคณิตศาสตร์ [Online]. http://timssthailand.ipst.ac.th/timss2011-math-report
[2559, พฤษภาคม, 11].
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2556). ผลการติดตามการใช้สื่อประกอบหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
[เอกสารใช้ภายใน]
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2557). ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์
การอ่าน และวิทยาศาสตร์ [Online]. http://pisathailand.ipst.ac.th/
isbn9786163621344[2559, พฤษภาคม, 11].
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2558). หลักสูตรอบรมครูระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมสำ�เร็จรูป GeoGebra. (เอกสารไม่ตีพิมพ์)
110 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 111

คณะผู้จัดทำ�

คณะที่ปรึกษา
ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.สุธารส นิลรอด สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
รศ.ดร.สัญญา มิตรเอม รองผูอ
้ �ำ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.อลงกต ใหม่ด้วง สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
ดร.สุพัตรา ผาติวิสันติ์ รองผูอ
้ �ำ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวอัมริสา จันทนะศิริ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
ดร.พุดเตย ตาฬวัฒน์ สาขาวิจัยและประเมินมาตรฐาน สสวท.
คณะทำ�งานยกร่าง
รศ.มัณฑนี กุฎาคาร ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะผู้ร่วมพิจารณาร่างคู่มือการใช้หลักสูตร
ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) รศ.ดร.นพพร แหยมแสง มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง
นางอำ�ภา บุญคำ�มา ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนพิบูลย์อุปถัมภ์ รศ.ดร.จิราภรณ์ ศิริทวี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นางเนาวรัตน์ ตันติเวทย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนอนุบาลวัดนางนอง นางสาวจิราพร พรายมณี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นางนงลักษณ์ ศรีสุวรรณ ผู้เชี่ยวชาญ สสวท. รศ.มัณฑนี กุฎาคาร ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
นายสมเกียรติ เพ็ญทอง ผู้อำ�นวยการสาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
นางณัตตยา มังคลาสิริ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. นายนิรันดร์ ตัณฑัยย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนวัดหงส์รัตนาราม
นางนวลจันทร์ ฤทธิ์ขำ� สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. นางสาวจินดา พ่อค้าชำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนศึกษานารีวิทยา
นางสาวเบญจมาศ เหล่าขวัญสถิตย์ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. นางอำ�ภา บุญคำ�มา ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนพิบูลย์อุปถัมภ์
ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. นางเนาวรัตน์ ตันติเวทย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนอนุบาลวัดนางนอง
นายภีมวัจน์ ธรรมใจ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. นายประสาท สอ้านวงศ์ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สสวท.
นางเหมือนฝัน เยาว์วิวัฒน์ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. รศ.ดร.สิริพร ทิพย์คง ผู้เชี่ยวชาญ สสวท.
นางสาวอุษณีย์ วงศ์อามาตย์ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. นางเชอรี่ อยู่ดี ผู้เชี่ยวชาญ สสวท.
ดร.อลงกรณ์ ตั้งสงวนธรรม รักษาการผู้อำ�นวยการสาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. นางนงลักษณ์ ศรีสุวรรณ ผู้เชี่ยวชาญ สสวท.
นางสาวจันทร์นภา อุตตะมะ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. นางสาวจินตนา อารยะรังสฤษฏ์ ผู้ชำ�นาญ สสวท.
นางสาวดนิตา ชื่นอารมณ์ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. นายสุเทพ กิตติพิทักษ์ ผู้ชำ�นาญ สสวท.
นางสาวปฐมาภรณ์ อวชัย สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
นายพัฒนชัย รวิวรรณ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. คณะบรรณาธิการ
นางสาวพิลาลักษณ์ ทองทิพย์ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. รศ.ดร.นพพร แหยมแสง มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง
นางสาวภิญญดา กลับแก้ว สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. รศ.ดร.จิราภรณ์ ศิริทวี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ดร.รณชัย ปานะโปย สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. นางสาวจิราพร พรายมณี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นางสาววรนารถ อยู่สุข สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. นายนิรันดร์ ตัณฑัยย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนวัดหงส์รัตนาราม
ดร.ศศิวรรณ เมลืองนนท์ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. นางเชอรี่ อยู่ดี ผู้เชี่ยวชาญ สสวท.
นางสาวสิริวรรณ จันทร์กูล สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.
112 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like