You are on page 1of 73

อ.

พรพรรณ โชติพฤกษวัน
ผูอ้ ำนวยกำรกลุ่มพัฒนำและส่งเสริมกำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู ้
สำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน
ประกาศ ศธ.
การบริหารจัดการเวลาเรียน
ของสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
(11 กรกฎาคม 2560)
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
• ระดับประถมศึกษา : จัดเวลาเรียนพื้นฐานของกลุ่มสาระฯ ตามความเหมาะสม เวลา
เรียนพื้นฐานรวมตามโครงสร้างเวลาเรียน เวลาเรียนเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและ
การบริหารจัดการ บริบท เวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร และเวลาเรียนรวมทั้งหมดตามความ
เหมาะสมของสถานศึกษา
เวลาเรียน • ระดับมัธยมศึกษา : เวลาเรียนพื้นฐานตามหลักสูตรและสอดคล้องเกณฑ์การจบ เวลา
เรียนเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและบริบทและเกณฑ์การจบ เวลากิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนตามหลักสูตร และเวลาเรียนรวมทั้งหมดตามความเหมาะสมของสถานศึกษา
• วิชาหน้าที่พลเมืองเป็นรายวิชาเพิ่มเติม
การจัดการเรียนการสอน • บูรณาการกับรายวิชาอื่นในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง • บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
• บูรณาการกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน/โครงการ/โครงงาน/วิถีชีวิตประจาวัน

การบริหารจัดการ • จัดเป็นรายวิชาพื้นฐาน 200 ชั่วโมงต่อปี หรือ ๕ ชั่วโมงต่อสัปดาห์


เวลาเรียนภาษาอังกฤษ • จัดเป็นรายวิชาพื้นฐาน 120 ชั่วโมงต่อปี และจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมพัฒนา
ป.1-3 ผู้เรียน/กิจกรรมเสริมหลักสูตร 80 ชั่วโมงต่อปี
คาสั่ง ศธ.
ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐
เงื่อนไขและระยะเวลา

ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ให้ใช้ ป.๑ ป.๔ ม.๑ ม.๔


ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ให้ใช้ ป.๑ ป.๒ ป.๔ ป.๕
ม.๑ ม.๒ ม.๔ ม.๕
ตั้งแต่ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เป็นต้นไป ให้ใช้ทุกชั้นปี
คาสั่ง สพฐ. ที่ ๓๐/๒๕๖๑
เรื่อง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑
รายการปลี่ยนแปลง
ตามคาสั่ง สพฐ.
ที่ ๓๐/๒๕๖๑
ลงวันที่ ๕ มกราคม
๒๕๖๑
ประกาศ สพฐ. เรื่อง การบริหารจัดการ
หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ลงวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา
• ระดับประถมศึกษา ควรจัดรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระละ ๑ รายวิชา

การจัดรายวิชา รายวิชาเพิ่มเติม ตามความพร้อม จุดเน้น ตามโครงสร้างฯ


• ระดับมัธยมศึกษา จัดรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระอาจจัดได้มากกว่า ๑ รายวิชา
รายวิชาเพิ่มเติม ตามความพร้อม จุดเน้น ตามโครงสร้างฯ

การบริหารจัดการ • ตามประกาศ ศธ. ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐


เวลาเรียน

การจัดการเรียนการ • การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์


สอน • การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เทคโนโลยี
ตัวชี้วดั และสาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และสาระการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั และสาระการเรี ยนรู ้
แกนกลาง แกนกลาง แกนกลาง
กลุม่ สาระการเรี ยนรู ้ กลุม่ สาระการเรี ยนรู ้ สาระภูมิศาสตร์
(ฉบับปรับปรุ ง ๒๕๖๐)
คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุ ง ๒๕๖๐) (ฉบับปรับปรุ ง ๒๕๖๐)
การกาหนดคุณสมบัติของผู้เรียนที่ประสงค์สมัครสอบคณะวิชาที่เน้นทางวิทยาศาสตร์
ตามหนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/๖๒๒ ลงวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๔๗

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่า
วิทยาศาสตร์ ๒๒ หน่วยกิต

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่า
คณิตศาสตร์ ๑๒ หน่วยกิต

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่า
ภาษาต่างประเทศ ๙ หน่วยกิต
(ภาษาอังกฤษ)
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
ว่าด้วยปีการศึกษา การเปิดและปิดสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๙
ข้อ ๖ ในรอบปีการศึกษาหนึ่ง
วันเริ่มต้นปีการศึกษา : ๑๖ พฤษภาคม
ระเบียบ ศธ.
วันสิ้นปีการศึกษา : ๑๕ พฤษภาคม ของปีถัดไป
ว่าด้วย
ปีการศึกษา
การเปิดและปิด ข้อ ๗ วันเปิดและปิดภาคเรียนตามปกติในรอบปีการศึกษาหนึ่ง
สถานศึกษา ภาคเรียนที่หนึ่ง วันเปิดภาคเรียน : ๑๖ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๔๙ วันปิดภาคเรียน : ๑๑ ตุลาคม
ประกาศ ภาคเรียนที่สอง วันเปิดภาคเรียน : ๑ พฤศจิกายน
ณ วันที่ ๒๘
วันปิดภาคเรียน : ๑ เมษายน ของปีถัดไป
กันยายน ๒๕๔๙
สถานศึกษาใดประสงค์จะสั่งเปิดและปิดภาคเรียน
แตกต่างไปจากที่กาหนดไว้ ให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดเป็นผู้กาหนด
ตามที่เห็นสมควร
เกณฑ์การจบการศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเป็น
รายวิชาพื้นฐานตามโครงสร้างเวลาเรียนทีห่ ลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
ตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพืน้ ฐานผ่านเกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การจบ ตามที่สถานศึกษากาหนด
ระดับประถมศึกษา ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับ
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมิน
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน
๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต
โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม
ไม่น้อยกว่า ๑๑ หน่วยกิต
เกณฑ์การจบ
ระดับมัธยมศึกษา ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับ
ตอนต้น ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมิน
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน
๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต
โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม
ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต
เกณฑ์การจบ
ระดับมัธยมศึกษา ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับ
ตอนปลาย ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมิน
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน/ตัวชี้วัดเป็นเป้าหมาย
ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพ
อิงมาตรฐาน ผู้เรียนสู่เป้าหมายที่มาตรฐานกาหนด
การวัดและประเมินผลที่สะท้อน
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ประเมินระหว่าง
การเรียนการสอน
(Formative Assessment)
เพื่อพัฒนาผู้เรียน
การให้ข้อมูลย้อนกลับ
จุดมุ่งหมาย (Feedback)

เพื่อตัดสิน ประเมินสรุปผลการเรียนรู้
(Summative Assessment) :
ผลการเรียน จบหน่วยการเรียนรู้ จบรายวิชา
ให้คำปรึกษำกำรวัดและ
ประเมินผลกำรเรียนรู ้
งำนวัดผล
ให้ควำมรูเ้ ทคนิ ควิธีกำร
งำนวัดและประเมิ นผล วัดและประเมินผล
ของสถำนศึ กษำ
งานทะเบียน เอกสำรหลักฐำน
ทำงกำรศึกษำ
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้
กาหนดสัดส่วน ๖๐ : ๔๐ ๗๐ : ๓๐ ๘๐ : ๒๐
ระหว่างเรียน : ปลายปี/ภาค
ประถมศึกษา : ระบบตัวเลข
ตัวอักษร ร้อยละ คุณภาพ
กาหนดเกณฑ์การตัดสิน มัธยมศึกษา
ผลการเรียน - ระดับผลการเรียน ๘ ระดับ
- เงื่อนไขผลการเรียน (ร มส)
ประเมินผลการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ กาหนดแนวปฏิบัติการสอน
ซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว
ติด ๐ ร มส มผ
กาหนดแนวปฏิบัติ
การอนุมัติผลการเรียน

กาหนดการรายงานผล
การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
แต่งตั้งคณะกรรมการ - บูรณาการร่วมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้
ประเมิน - แบบทดสอบ
ศึกษาความหมาย - โครงการ/กิจกรรม
กาหนดขอบเขต ตัวชี้วัด - บูรณาการร่วมกับกิจกรรมพัฒนา
กาหนดรูปแบบ ผู้เรียน
ประเมินการอ่าน การประเมิน
คิดวิเคราะห์ และเขียน
กาหนดเกณฑ์การตัดสิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน

กาหนดการรายงานผล
แต่งตั้ง
คณะกรรมการประเมิน - บูรณาการร่วมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้
ศึกษาความหมาย - โครงการ/กิจกรรม
กาหนดขอบเขต ตัวชี้วัด - บูรณาการร่วมกับกิจกรรมพัฒนา
กาหนดรูปแบบ ผู้เรียน
ประเมินคุณลักษณะ การประเมิน
อันพึงประสงค์
กาหนดเกณฑ์การตัดสิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน

กาหนดการรายงานผล
กาหนดผู้รับผิดชอบ

ศึกษาความหมาย - เวลาเข้าร่วมกิจกรรม
กาหนดแนวทางการจัดกิจกรรม - ปฏิบัติกิจกรรม
ประเมิน - ผลงาน
กาหนดแนวทางการประเมิน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กาหนดเกณฑ์การตัดสิน ผ่าน ไม่ผ่าน

กาหนดการรายงานผล
การสังเกต
พฤติกรรม
กำรประเมิน
ฯลฯ
ตนเอง

วิธีการวัดและ
กำรประเมิน
กำรสนทนำ ประเมินผล
โดยเพื่อน
การเรียนรู้

กำรใช้ กำรประเมิน
คำถำม กำรปฏิบตั ิ
กำรประเมิน
สภำพจริง
ประกำศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบตั ิในกำรยกระดับคุณภำพนักเรียนระดับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน
ประกำศ ณ วันที่ ๑๘ เมษำยน ๒๕๕๗
เพิ่มข้อสอบแบบเขียนตอบ
อย่างน้อยร้อยละ ๓๐
ของการสอบแต่ละครั้ง

แนวปฏิบัติ
การยกระดับคุณภาพ

ปีการศึกษา ใช้ข้อสอบกลาง สพฐ.


๒๕๕๗ ในการสอบปลายปี ร้อยละ๒๐ ป.๒ : ไทย
เป็นต้นไป ของคะแนนสอบทั้งหมด ป.๔-๕ : ไทย คณิต วิทย์
ม.๑-๒ : ไทย คณิต วิทย์
สังคม อังกฤษ
ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมการใช้ขอ้ สอบกลางในการสอบปลายปีของผู้เรียน
ลงวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๑
การกาหนด
สถานศึกษากาหนดได้ตามความเหมาะสม
สัดส่วน

ข้อสอบของ สพฐ. หรือ สพท.

ข้อสอบกลาง ข้อสอบของสถานศึกษาเอง
- วัดการคิดขั้นสูง
- มีกรอบโครงสร้างข้อสอบ
ข้อสอบของสถานศึกษาอื่น
- มีกระบวนการสร้างและพัฒนา
(รร.ที่มีอัตราการแข่งขันสูง
ที่ได้มาตรฐาน
รร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย
รร.อนุบาลประจาจังหวัด)
ป.๒ ภาษาไทย
ปีการศึกษา ป.๔, ๕ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
๒๕๖๐ ม.๑, ๒ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ
สพฐ. ภาษาอังกฤษ

ภาษาไทย
ปีการศึกษา ป.๒, ๔, ๕
๒๕๖๑ คณิตศาสตร์
ม.๑, ๒ วิทยาศาสตร์
เป็นต้นไป
ภาษาอังกฤษ
ตัวอย่าง
การกาหนดโครงสร้างรายวิชาและวางแผนการประเมิน และ
การกาหนดสัดส่วนของคะแนน
ตัวอย่าง
รหัสวิชา ค1๔101 รายวิชา คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๑๖0 ชั่วโมง
สัดส่วนคะแนน ระหว่างเรียน : ปลายปี ๗๐ : ๓๐
หน่ วย มำตรฐำนกำร เวลำ ภำระงำน/ชิ้นงำน
ชื่อหน่ วยกำรเรียนรู ้ สำระสำคัญ คะแนน
ที่ เรียนรู/้ ตัวชี้วดั (ชัว่ โมง) รวบยอด
1.
2.
3.
...
รวม 1๕8 70
ข้อสอบของโรงเรียน 1 24
ปลายปี
ข้อสอบกลาง 20% 1 6
รวม ๑๖0 100
ตัวอย่าง
รหัสวิชา ว๒๑101 รายวิชา วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
สัดส่วนคะแนน ระหว่างเรียน : ปลายภาค ๗๐ : ๓๐
หน่ วย มำตรฐำนกำร เวลำ ภำระงำน/ชิ้นงำน
ชื่อหน่ วยกำรเรียนรู ้ สำระสำคัญ คะแนน
ที่ เรียนรู/้ ตัวชี้วดั (ชัว่ โมง) รวบยอด
1.

2.
3.
...
รวมระหว่างภาค ๕๘ 70
ข้อสอบของโรงเรียน 1 24
ปลายภาค
ข้อสอบกลาง 20% 1 6
รวม ๖๐ 100
รหัสรายวิชา
หลักที่ ๑ หลักที่ ๒ หลักที่ ๓ หลักที่ ๔ หลักที่ ๕-๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับการศึกษา ปีในระดับการศึกษา ประเภทของรายวิชา ลาดับของรายวิชา
ท ๑ (ประถม) ๐ (ไม่กาหนดปีที่เรียน) ๑ (พื้นฐาน) ๐๑ – ๙๙
ค ๒ (ม.ต้น) ๑ (ป.๑ ม.๑ ม.๔) ๒ (เพิ่มเติม)
ว ๓ (ม.ปลาย) ๒ (ป.๒ ม.๒ ม.๕) รายวิชาเพิ่มเติม
ส ๓ (ป.๓ ม.๓ ม.๖) ๐๑-๑๙ : ฟิสิกส์
พ ๔ (ป.๔) ๒๑-๓๙ : เคมี
ศ ๕ (ป.๕) ๔๑-๕๙ : ชีววิทยา
ง ๖ (ป.๖) ๖๑-๗๙ : โลกและอวกาศ
๘๑-๙๙ : วิทยาศาสตร์อื่น
รหัสตัวชี้วัด

 ตัวอย่าง ว 1.1 ป.1/2


ว : กลุ่มสาระการเรียนรู้
๑.๑ : สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑
ป.๑/๒ : ตัวชี้วัดชั้น ป.๑ ข้อที่ ๒
การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
เวลาเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ของเวลาเรียนทั้งหมด

ตัวชี้วัด ได้รับการตัดสินผล
ทุกรายวิชา
การให้ระดับผลการเรียน ระดับประถมศึกษา
ระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน
ระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ
๕ ระดับ ๔ ระดับ ๒ ระดับ
๔ A ๘๐-๑๐๐ ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
๓.๕ B+ ๗๕-๗๙
ดี
๓ B ๗๐-๗๔ ดี
๒.๕ C+ ๖๕-๖๙ ผ่าน
พอใช้
๒ C ๖๐-๖๔
๑.๕ D+ ๕๕-๕๙ ผ่าน
ผ่าน
๑ D ๕๐-๕๔
๐ F ๐-๔๙ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
เวลาเรียนตลอดภาคเรียน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของเวลาเรียนทั้งหมด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ในรายวิชานั้น ๆ

ตัวชี้วัด ทุกรายวิชา
ได้รับการตัดสินผล
การให้ระดับผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษา
ระบบผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ
๔ ดีเยี่ยม ๘๐-๑๐๐
๓.๕ ดีมาก ๗๕-๗๙
๓ ดี ๗๐-๗๔
๒.๕ ค่อนข้างดี ๖๕-๖๙
๒ ปานกลาง ๖๐-๖๔
๑.๕ พอใช้ ๕๕-๕๙
๑ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า ๕๐-๕๔
๐ ต่ากว่าเกณฑ์ ๐-๔๙
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

ดีเยี่ยม • มีผลงานที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ

ดี • มีผลงานที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ

ผ่ำน • มีผลงานที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ

• ไม่มีผลงาน
ไม่ผ่ำน • มีผลงาน แต่ยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
• มีผลการประเมินระดับดีเยี่ยม ๕-๘ คุณลักษณะ และ
ดีเยี่ยม ไม่มีคุณลักษณะใดต่ากว่าระดับดี
• มีผลการประเมินระดับดีเยี่ยม ๑-๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดต่ากว่าระดับดี
ดี • มีผลการประเมินระดับดีทั้ง ๘ คุณลักษณะ
• มีผลการประเมินระดับดีขึ้นไป จานวน ๕-๗ คุณลักษณะ มีบางคุณลักษณะได้ระดับผ่าน

• มีผลการประเมินระดับผ่านทั้ง ๘ คุณลักษณะ
ผ่ำน • มีผลการประเมินระดับดีขึ้นไป จานวน ๑-๔ คุณลักษณะ ที่เหลือได้ระดับผ่าน

ไม่ผ่ำน • มีผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ


การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การเปลี่ยนผลการเรียน “๐”

“๐”

ผ่าน ไม่ผ่าน
ตัดสิน
ผลการเรียน
ได้ “๑” ได้ “๐”
การเปลี่ยนผลการเรียน “ร”

ผ่าน ตัดสิน ไม่ผ่าน


ผลการเรียน
ได้ “๑-๔” ได้ “๐”
การเปลี่ยนผลการเรียน “มส”
เรียนเพิ่มเติม
ร้อยละ ๖๐ ‹ เวลาเรียน เวลาเรียนครบ
‹ ร้อยละ ๘๐
วัดผลปลายภาค
เป็นกรณีพิเศษ
“มส”
เวลาเรียน ‹ ร้อยละ ๖๐
ได้ “๑” ได้ “๐”
การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ”

“มผ”

ได้ “ผ”
การเลื่อนชัน้ ระดับประถมศึกษา
มีเวลาเรียนตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
ของเวลาเรียนทั้งหมด
ผ่านทุกรายวิชาพื้นฐาน
ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การเลื่อนชัน้ ระดับมัธยมศึกษา
รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมผ่านตามเกณฑ์สถานศึกษา
ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มีระดับผลการเรียนเฉลี่ย ไม่ต่ากว่า ๑.๐๐
การวัดและ การสอบแก้ตัว
การสอนซ่อมเสริม การเรียนซ้า
ประเมินผลการเรียน ๒ ครั้ง
- รายวิชาพื้นฐาน การเรียนซ้าชั้น
การวัดประเมิน แก้ไขข้อบกพร่อง ให้ซ้ารายวิชานั้น
เป็นระยะ ๆ พัฒนาผู้เรียน - รายวิชาเพิ่มเติมให้ ประถมศึกษา
ครั้งที่ ๑ ซ้ารายวิชานั้น หรือ
ครูเป็นผู้สอบแก้ตัว เปลี่ยนรายวิชาใหม่ - ไม่ผ่านรายวิชาเกิน
ครึ่งหนึ่ง
ครั้งที่ ๒ - ป. ๑ – ๒ อ่านไม่ออก
สถานศึกษา เขียนไม่ได้
ดาเนินการ คิดเลขไม่เป็น
มัธยมศึกษา
ผ่าน
ป.๑ พัฒนา
ผลการเรียน “๐” - ผลการเรียนเฉลี่ย
อ่านออกเขียนได้ การเรียนซ้ารายวิชา ต่ากว่า ๑.๐๐
ไม่ผ่าน - ผลการเรียน ๐ ร มส
เกินครึ่งหนึ่ง
การเทียบโอนผลการเรียน
กระจายอานาจไปสู่สถานศึกษา

หลักการพื้นฐาน คานึงถึงผลที่จะเกิดกับผู้เรียนเป็นสาคัญ

ในการเทียบโอนผลการเรียน ยอมรับผลการดาเนินงานของโรงเรียนเดิม
ยืดหลักความเป็นธรรม โปร่งใส และ
มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
• การนาผลการเรียน ผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ
ความหมาย ประสบการณ์การทางาน การฝึกอาชีพ มาเทียบโอนเป็น
ส่วนหนึ่งของการศึกษาต่อเนื่อง ตามหลักสูตรของสถานศึกษา
ที่รับเทียบโอนผลการเรียน

• ในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก
ดาเนินการ • ศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย
๑ ภาคเรียน

• เอกสาร ปพ.๑ ประกาศนียบัตร ใบรับรองผลการเรียน


พิจารณา หลักฐานอื่น ๆ
• ประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ที่มีมาก่อน
• หลักการเทียบชั้นต่อชั้นปีตามผลการเรียน
การเทียบโอนจากการศึกษาในระบบสู่การศึกษาในระบบ
• เทียบโอนรายวิชาที่ผ่านการตัดสินผลการเรียนจากสถานศึกษาเดิมได้
วิธีปฏิบัติในการจัดเข้าชั้นเรียน
ทั้งหมด และจัดเข้าเรียนต่อเนื่อง

จานวนหน่วยกิต/ • ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาเดิม
หน่วยการเรียน/หน่วยน้าหนัก

ผลการเรียน/ผลการประเมิน • ยอมรับผลการเรียนของสถานศึกษาเดิม

การบันทึกผลการเรียน • ไม่ต้องนารายวิชาและผลการเรียนเดิมกรอกในใบแสดงผลการเรียนใหม่
ในใบแสดงผลการเรียน แต่ให้แนบ และบันทึกจานวนหน่วยทีไ่ ด้รับการเทียบโอน ไว้ในช่องหมายเหตุ

• ให้นาผลการเรียนและจานวนหน่วยจากสถานศึกษาเดิมมาคิดรวมกับผลการเรียน
การคิดผลการเรียนเฉลี่ย และจานวนหน่วยของสถานศึกษาใหม่ และคิดผลการเรียนเฉลี่ยรวมตลอดระดับ
การศึกษา
การเทียบโอนจากการศึกษาหลักสูตรต่างประเทศสู่การศึกษาในระบบ

วิธีปฏิบัติในการจัดเข้าชั้นเรียน • พิจารณาเทียบโอนภาคเรียนต่อภาคเรียน ปีต่อปี

จานวนหน่วยกิต/ • ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาที่รับเข้าเรียน
หน่วยการเรียน/หน่วยน้าหนัก

ผลการเรียน/ผลการประเมิน • ผลการประเมินเพิ่มเติมให้เป็นไปตามที่สถานศึกษาที่รับเข้าเรียนกาหนด

การบันทึกผลการเรียน • ให้กรอกรายชื่อรายวิชาและจานวนหน่วยของสถานศึกษาที่รับเข้าเรียน
ในใบแสดงผลการเรียน ในใบแสดงผลการเรียน ไม่ต้องกรอกผลการเรียน
• ให้คิดผลการเรียนเฉลี่ยจากรายวิชาที่มีจานวนหน่วยและระดับผลการ
การคิดผลการเรียนเฉลี่ย เรียนที่ได้จากการเรียนในสถานศึกษาใหม่
การรายงานผลการเรียน
ต้องสรุปผลการเรียน • เป็นระยะ ๆ หรือ

รายงานให้ผู้ปกครองและผู้เรียน • ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง


ทราบความก้าวหน้า เป็นอย่างน้อย
ปีการศึกษา 2561 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
รายวิชาพื้นฐาน
ท11101 ภาษาไทย
ค11101 คณิตศาสตร์
ว11101 วิทยาศาสตร์
ส11101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ส11102 ประวัติศาสตร์ 840
พ11101 สุขศึกษาและพลศึกษา
ศ11101 ศิลปะ
ง11101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
อ11101 ภาษาอังกฤษ
รายวิชาเพิ่มเติม
.......
ปีการศึกษา 2562 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ปีการศึกษา 2558 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
รายวิชาพื้นฐาน ... ...
ท11101 ภาษาไทย ปีการศึกษา 2561 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ค11101 คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน
ว11101 วิทยาศาสตร์ ท14101 ภาษาไทย
ส11101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ค14101 คณิตศาสตร์
ส11102 ประวัติศาสตร์ 40 840 ว14101 วิทยาศาสตร์
ปีการศึกษา 2564 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
พ11101 สุขศึกษาและพลศึกษา ...
ส14101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ศ11101 ศิลปะ ส14102 ประวัติศาสตร์ 40 840
ง11101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี พ14101 สุขศึกษาและพลศึกษา
อ11101 ภาษาอังกฤษ ศ14101 ศิลปะ
รายวิชาเพิ่มเติม ง14101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
....... อ14101 ภาษาอังกฤษ
ปีการศึกษา 2559 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาเพิ่มเติม
.......
ปีการศึกษา 2562 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
4 วิชา
70
30
ปีการศึกษา 2561 ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2562 ชั้น ม.2 ปีการศึกษา 2563 ชั้น ม.3
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาพื้นฐาน
ท21101 ภาษาไทย ท22101 ภาษาไทย ท23101 ภาษาไทย
ค21101 คณิตศาสตร์ ค22101 คณิตศาสตร์ ค23101 คณิตศาสตร์
ว21101 วิทยาศาสตร์ ว22101 วิทยาศาสตร์ ว23101 วิทยาศาสตร์
ส21101 สังคมศึกษา .... ส23101 สังคมศึกษา
ส21102 ประวัติศาสตร์ รายวิชาเพิ่มเติม ...
... .... รายวิชาเพิ่มเติม
รายวิชาเพิ่มเติม ภาคเรียนที่ 2 ...
รายวิชาพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2
ภาคเรียนที่ 2 ท22102 ภาษาไทย รายวิชาพื้นฐาน
รายวิชาพื้นฐาน ค22102 คณิตศาสตร์ ท23102 ภาษาไทย
ท21102 ภาษาไทย ... ...
ค21102 คณิตศาสตร์
...
66 66

70
30
ปีการศึกษา 2561 ชั้น ม.4 ปีการศึกษา 2562 ชั้น ม.5 ปีการศึกษา 2563 ชั้น ม.6
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชาพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
ท31101 ภาษาไทย
ค31101 คณิตศาสตร์
ว31101 วิทยาศาสตร์
ส31101 สังคมศึกษา
ส31102 ประวัติศาสตร์
พ31101 สุขศึกษา
พ31102 พลศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
ศ31101 ศิลปะ
ง31101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
อ31101 ภาษาอังกฤษ
รายวิชาเพิ่มเติม

ภาคเรียนที่ 2
รายวิชาพื้นฐาน
ท31102 ภาษาไทย
ค31102 คณิตศาสตร์
ว31102 วิทยาศาสตร์
...
41 41

70
30
การซักซ้อมความเข้าใจในการจัดทา ปพ.๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา ๒๕๖๐
ตามหนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว๔๗๓ ลงวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๑

วันอนุมัติการจบ ภายใน ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑

วันออกจาก วันที่บันทึกผลการสอบ
โรงเรียน O-NET เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ขอบคุณค่ ะ

You might also like