You are on page 1of 213

มคอ.

หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562
(หลักสูตร 4 ปี)

ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร
สารบัญ
หน้า
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร 1
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 1
3. วิชาเอก 1
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 1
5. รูปแบบของหลักสูตร 1
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 2
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 2
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 2
9. ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง 3
และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน 4
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณา 4
ในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 4
11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม 4
11.3 สถานการณ์ หรือการพัฒนาด้านการศึกษา 5
12. ผลกระทบจากข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้อง 5
กับพันธกิจของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสูตร 5
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 5
13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน 6
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 8
1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 8
1.1 ปรัชญาของหลักสูตร 8
1.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 8
2. แผนพัฒนาปรับปรุง 9
หน้า

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 10


1. ระบบการจัดการศึกษา 10
2. การดาเนินการหลักสูตร 10
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 12
3.1 หลักสูตร 12
3.1.1 จานวนหน่วยกิต 12
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 12
3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร 13
3.1.4 แผนการศึกษา 20
3.1.5 คาอธิบายรายวิชา 24
3.1.6 ความหมายของเลขรหัสวิชา 48
3.2 ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิการศึกษา 53
ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3.2.1 อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร 53
3.2.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร 54
3.2.3 อาจารย์ผสู้ อน 55
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) 63
5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย 64
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 65
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต 65
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 66
3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตร 75
สู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต 83
1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) 83
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต 83
3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 84
หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 85
1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 85
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 85
หน้า

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 86
1. การกากับมาตรฐาน 86
2. บัณฑิต 86
3. นิสิต 87
4. คณาจารย์ 87
5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 88
6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 89
7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) 90
7.1 ตัวบ่งชี้หลัก (Core KPIs) 90
7.2 ตัวบ่งชี้ของหลักสูตร/สาขาวิชา (Expected Learning Outcomes) 91
7.3 ตัวบ่งชี้ในระดับมหาวิทยาลัย 92
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร 93
1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 93
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 93
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 93
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 93
ภาคผนวก
ก ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 94
(หลักสูตร 5 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 กับหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562
ข คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 119
ค รายงานการประชุม/ผลการวิพากษ์หลักสูตร 122
ง ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย มาตรฐานวิชาชีพผู้ประกอบวิชาชีพครู (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 126
จ ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร 131
ฉ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 142
ช ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคุรุศาสตร์ 154
และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562
ซ ตารางเปรียบเทียบระหว่างหลักสูตรกับเกณฑ์คุรุสภา 200
ฌ Program Structure ของหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 207
1
มคอ. 2
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศึกษาศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (หลักสูตร 4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Mathematics (4-Year Program)
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม : การศึกษาบัณฑิต (คณิตศาสตร์)
: Bachelor of Education (Mathematics)
ชื่อย่อ : กศ.บ. (คณิตศาสตร์)
: B.Ed. (Mathematics)
3. วิชาเอก(ถ้ามี)
ไม่มี
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 143 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับ 2 ปริญญาตรีตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
และมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2562
5.2 ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา
รับนิสิตไทย และนิสิตต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี และเป็นไปตามข้อบังคับ
มหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 ข้อ 6 การสอบคัดเลือก หรือการคัดเลือก
เข้าเป็นนิสิต หรือประกาศของมหาวิทยาลัยนเรศวร (ภาคผนวก)
2

5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
ไม่มี
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
6.1 กาหนดการเปิดสอนในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป
6.2 เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี) ปรับปรุงจากหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชา
คณิตศาสตร์ (หลักสูตร 5 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
6.3 คณะกรรมการของมหาวิทยาลัยเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตรแล้ว ดังนี้
▪ คณะกรรมการวิชาการ ให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 27
เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
▪ สภาวิชาการให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ 3/2562 เมื่อวันที่ 12 เดือน มีนาคม
พ.ศ. 2562
▪ สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ เมื่อวันที่ เดือน พ.ศ. 2562
▪ สภาวิชาชีพ (ถ้ามี) ให้การรับรอง เมื่อวันที่ เดือน พ.ศ.
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานโดย สกอ.
หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ ในปีการศึกษา 2564
8. อาชีพทีส่ ามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
- ข้าราชการครู
- ครูในสังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน
- ครูอัตราจ้างในสถานศึกษาต่าง ๆ
- นักวิชาการศึกษา
9. ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ตาแหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ ภาระการสอน (ชม./สัปดาห์)


ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้แล้ว
1 นางสาวโสภิตา ขารอด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2548 12 12
วท.ม. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2542
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2539
2 นายเอกรัฐ ไทยเลิศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2551 12 15
วท.ม. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2546
วท.บ. ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2541
3 นางรินรดา ธรรมชัย อาจารย์ Ph.D. Mathematics and Statistics Curtin University Australia 2558 12 12
วท.ม. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2549
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2546
4 นางสาวสุภารัตน์ เชื้อโชติ อาจารย์ M.Sc. Applied Mathematics Case Western Reserve University USA 2554 12 12
B.Sc Mathematics McGiLL University, Montreal. Canada 2550

3
5 นางสาวสุภาวรรณ อาจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2550 12 12
จันทร์ไพแสง วท.ม. คณิตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2544
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2539
4

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน
จัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยนเรศวร
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
คณิตศาสตร์เป็นศาสตร์ที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาความคิด พัฒนากระบวนการคิดให้รู้จักคิด คิดเป็น
คิดอย่ างมีเหตุผ ล มีร ะบบขั้น ตอนในการคิด ช่ว ยสร้างเสริมคุณลั กษณะที่ ส าคัญและจ าเป็น ในการดารงชี วิ ต
ความจาเป็นของคณิตศาสตร์ได้ถูกขยายความให้ชัดขึ้นในโลกปัจจุบัน ที่ประชาชนได้รับ ข่าวสารและข้อมูล อย่าง
ท่วมท้น จึงจาเป็นที่ประชาชนจะต้องเลือกรับ จาแนก จัดระเบียบ และตัดสินใจหาทางเลือกที่เหมาะสม กิจกรรม
ประจาวันในแต่ละวัน เป็นต้นว่า การจับจ่ายใช้สอย การเดินทาง การเลือกซื้อสินค้าและบริการ การเลือกหางาน
การวางแผนการเงินและการลงทุน ต้องอาศัยสมรรถนะทางคณิตศาสตร์ทั้งสิ้น และตลาดแรงงานในปัจจุบันมีความ
ต้องการทักษะคิดเชิงประดิษฐ์อย่ างสร้างสรรค์ (Inventive Thinking) และ การแก้ปัญหา (Problem-Solving)
เพื่อความสามารถในการปรั บ ตัว ให้ เ ข้า กับ การทางานในยุ ค เทคโนโลยี และ การทางานเป็น ที มร่ว มกั บ ผู้ อื่ น
ดังนั้นพื้นฐานคณิตศาสตร์ที่เข้มแข็ง เป็นหนึ่งในองค์ประกอบสาคัญที่จะทาให้ไปถึงเป้าหมายของการทางานและ
การดาเนินชีวิตที่มีคุณภาพ (สสวท., 2558)1
นอกจากนี้องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา OECD (Organisation for Economic
Cooperation and Development) ได้จัดทาโครงการประเมินผลร่วมกับนักเรียนนานาชาติ PISA (Programme
for International Student Assessment) และได้เล็งเห็นความสาคัญของการสร้างเยาวชนที่มีความพร้อมสู่โลก
แห่งศตวรรษที่ 21 โดยได้กาหนดให้มีการประเมินผลด้าน “การรู้เรื่องคณิตศาสตร์” หรือความสามารถของบุคคล
ในการคิ ด ใช้ และตี ค วามคณิ ต ศาสตร์ ใ นสถานการณ์ ต่ า งๆ ที่ ห ลากหลาย รวมถึ ง การให้ เ หตุ ผ ลอย่ า งเป็ น
คณิตศาสตร์ ใช้แนวคิดและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการอธิบาย และทานายปรากฏการณ์ต่างๆ โดยมุ่งหวัง
ให้ประเทศสมาชิกต่างๆรวมทั้งประเทศไทยรับรู้ถึงความพร้อมของประชากร (citizen) ต่อการสร้างความมั่นคง
ให้กับสิ่งแวดล้อมในอนาคต (สสวท., 25512; สุชาดา ปัทมวิภาค, 25573)
11.2 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ
กรอบยุ ท ธศาสตร์ ช าติร ะยะ 20 ปี และยุ ท ธศาสตร์แ ผนพั ฒ นาการศึ ก ษาของกระทรวงศึ ก ษาธิการ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้กาหนดจุดมุ่งหมายในพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน
และมุ่งสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และการสร้างปัจจัยแวดล้อม ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรการศึกษา จึงควรมุ่ง
พัฒนาคนทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เพื่อให้มีทักษะชีวิตและสมรรถนะที่จาเป็นที่พร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมในโลกอนาคตที่มีการเปลี่ยนแปลงในทุกๆด้านได้อย่างเท่าทัน และมีคุณธรรม มีความ
เข้าใจถึงผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อจะไปผลิตเยาวชน ให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ
สามารถแสวงหาความรู้ และนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างสอดคล้ องกับสั ง คม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้ อม
ของประเทศไทย
แนวทางการขับ เคลื่ อนการปฏิรู ป การศึก ษาในทศวรรษที่ส อง “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต ” ตามที่
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ.2552-2561 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม
2552 ได้กาหนดวิสัยทัศน์และมีเป้าหมายหลักว่า ภายในปี พ.ศ.2561 ประเทศไทยจะต้องมีการปฏิรูปการศึกษา
และการเรียนรู้อย่างเป็นระบบใน 3 ประเด็น คือ 1) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของ
คนไทย 2) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และ 3) การส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา โดยได้กาหนดกรอบแนวทางไว้ 4 ประการ ประกอบด้วย
5

การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาใหม่ การพั ฒ นาครู พั น ธุ์ ใ หม่ การพั ฒ นาสถานศึ ก ษาและแหล่ ง เรี ย นรู้ ใ หม่
และการบริหารจัดการใหม่ (ชินวรณ์ บุณยเกียรติ, สิงหาคม 25524)
11.3 สถานการณ์ หรือการพัฒนาด้านการศึกษา
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ คุรุสภา ได้ประกาศมาตรฐานวิชาชีพครูในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2561
และคณะกรรมการคุรุสภาได้มีมติเห็นชอบข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 เมื่อวันที่ 17
ธัน วาคม พ.ศ. 2561 ต่อมาได้มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณวุฒิ ร ะดับปริญ ญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขา
ศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 เมื่อวันที่ 26 กุมาภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ซึ่งการประกาศใช้กฎหมายดังกล่าว
มีจุดเน้นที่การผลิตครู 4 ปี จึงเป็นเหตุให้สถาบันผลิตครูต้องปรับปรุงหลักสูตรจาก 5 ปี เป็น 4 ปี

12. ผลกระทบจาก ข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน


12.1 การพัฒนาหลักสูตร
คณะศึกษาศาสตร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปการศึกษาโดยตรง จึงได้พัฒนาหลักสูต ร
การศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โดยมีเป้าหมายเพื่อผลิตครูคณิตศาสตร์ที่มีคุณลักษณะ
ส าคั ญ คื อ ต้ อ งเป็ น ผู้ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม มี ค วามรู้ ใ นวิ ช าชีพ ครู และวิช าที่ ส อน และสามารถคิ ด วิเ คราะห์
สังเคราะห์ นาความรู้เหล่านี้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และทาวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ได้
อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ยังต้องเป็นผู้ที่สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้เรียน สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
อย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ทั้ ง ต่ อ ตนเอง สั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ ม และสามารถสรุ ป ข้ อ มู ล ข่ า วสารด้ า น
คณิตศาสตร์ศึกษา โดยเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
หลักสูตรมีความตอบสนองต่อพันธกิจด้านการสร้างบัณฑิตของมหาวิทยาลัยนเรศวรที่มีภารกิจหลักที่ต้อง
ทาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกระดับอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นปัจจัยสาคัญในการชักนาให้เกิดความเจริญยิ่งยืน
นานและการหลีกเลี่ยงภาวะชะงักงันเส้นทางการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ มหาวิทยาลัยนเรศวรจะต้อง
มุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตให้มีงานทาและสามารถไปทางานได้ทุกแห่งในโลก จะต้องปรับตัวให้มีพลวัตและความ
หลากหลายมากขึ้นในอนาคต ทั้งในเชิงวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากาลังคนทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ทั้งเพื่อพัฒนาทักษะ
และภูมิปัญญาในงานอาชีพ ในฐานะแรงงานทางเศรษฐกิจของประเทศ และเพื่อพัฒนาจิตสานึกและยุติธรรมใน
ฐานะมนุษย์และพลเมืองดีของสังคมไทยและสังคมโลก เพื่อสนองต่อนโยบายด้านที่ 2 มหาวิทยาลัยนเรศวร มี
ระบบและกระบวนการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถตามความต้องการของแหล่งจ้างงานระดับแนว
หน้าของประเทศ (demand – based competency) และได้รับค่าจ้างในอัตราจ้างที่สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ย บัณฑิต
ของมหาวิทยาลัยนเรศวรต้องมีคุณลักษณะเป็นคนดี คนเก่ง มีวินัย ภูมิใจในชาติ

1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สสวท. (2558). การศึกษาคณิตศาสตร์ในระดับโรงเรียนไทย การพัฒนา-ผลกระทบ-ภาวะถดถอย ในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: บ.เซเว่นพริ้นติ้ง กรุ๊ป จากัด
2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สสวท. (2558). รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น: โครงการ PISA 2009. กรุงเทพฯ: หจก.อรุณการพิมพ์
3 สุชาดา ปัทมวิภาค. (2553). การประเมินการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ของ PISA 2015 สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์2559, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th
6

13. ความสัมพันธ์(ถ้ามี)กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เช่นรายวิชาที่เปิดสอน


เพื่อให้บริการคณะ/ภาควิชาอื่น หรือต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น)
13.1 หมวด/รายวิชาในหลักสูตรที่ต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น

หมวดวิชา รหัสรายวิชา-รายวิชา รายวิชา หน่วยงานรับผิดชอบ


ของ
หลักสูตร
วิชาเอก
วิชาเอกเดี่ยว
วิชาเอกบังคับ
205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
205201 การสือ่ สารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะห์เชิง
ใช่ คณะมนุษย์ศาสตร์
วิชาการ
205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอผลงาน
252100 ประวัติและพัฒนาการของคณิตศาสตร์
252111 แคลคูลัสมูลฐาน
252112 แคลคูลัส
252141 หลักคณิตศาสตร์
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
252212 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1
252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1
252222 พีชคณิตนามธรรม 1
ใช่ คณะวิทยาศาสตร์
252223 ทฤษฎีจานวน 1
255121 สถิติวิเคราะห์
256103 เคมีเบื้องต้น
258101 ชีววิทยาเบื้องต้น
261103 ฟิสิกส์เบื้องต้น
วิชาเอกเลือก
252251 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย
252311 แคลคูลัสขั้นสูง
252314 การวิเคราะห์เชิงซ้อนเบื้องต้น
252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น ใช่ คณะวิทยาศาสตร์
252331 เรขาคณิต
252351 ทฤษฏีกราฟ
252352 คอมบินาทอริกส์
252375 ซอฟท์แวร์ทางคณิตศาสตร์
252400 โครงงานคณิตศาสตร์
7

หมวดวิชา รหัสรายวิชา-รายวิชา รายวิชา หน่วยงานรับผิดชอบ


ของ
หลักสูตร
252401 คณิตศาสตร์มูลฐานสาหรับครู ใช่ คณะวิทยาศาสตร์
252402 ทฤษฎีสมการเบื้องต้นสาหรับครู
398487 สื่อการสอนคณิตศาสตร์สาหรับศตวรรษที่ 21
ใช่ ภาควิชาการศึกษา
398488 การบูรณาการคณิตศาสตร์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น คณะศึกษาศาสตร์
398489 วรรณกรรมเด็กและการสอนคณิตศาสตร์
วิชาการสอนวิชาเอก
369385 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับ
ประถมศึกษา ใช่ ภาควิชาการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์
369486 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา

13.2 รายวิชาที่เปิดสอนให้คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
ไม่มี

13.3 การบริหารจัดการ
13.3.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจากภาควิชาอื่น ๆ ในคณะ
ที่เกี่ยวข้อง ที่ให้บริการการสอนวิชาต่าง ๆ ในการจัดการด้านเนื้อหาสาระของวิชา การจัดตารางเวลาเรียนและ
ตารางเวลาสอบ
13.3.2 แต่งตั้งผู้ประสานงานรายวิชาทุกวิชา เพื่อทาหน้าที่ประสานงานกับภาควิชาคณิตศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรในการพิจารณา ข้อกาหนดรายวิชา การจัดการเรียนการสอน และการ
ประเมินผลการดาเนินการ
8

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญาของหลักสูตร และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญาของหลักสูตร
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความเชื่อว่าการพัฒนาครูที่มีคุณภาพจะต้องเปี่ยมด้วย
คุ ณ ธรรม ความรู้ มี ค วามเป็ น ผู้ น าทางปั ญ ญา มี ค วามเป็ น กั ล ยาณมิ ต ร มี ค วามสามารถในการสื่ อ สารและ
ใช้เทคโนโลยีและเชี่ยวชาญด้านการจัด การเรียนรู้สาขาวิชาคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์และมีนวัตกรรม จึงมุ่งเน้น
ผลิตบัณฑิตให้มคี วามเข้าใจอย่างถ่องแท้ด้านแนวคิด ทฤษฎี หลักการในสาขาวิชาคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมทักษะใน
การจัดการเรียนรู้สาขาวิชาคณิตศาสตร์อย่างลึกซึ้ง และมีความเข้มแข็งทางวิชาชีพครู สามารถผสานบูรณาการองค์
ความรู้ที่หลากหลายเพื่อนาไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ก่อเกิดความเจริญงอกงามอย่างสมบูรณ์ สามารถ
ดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ภายใต้กรอบของคุณธรรมและจริยธรรม
1.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ จึงมุ่งพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีคุณธรรมจริยธรรม จิตวิญญาณความเป็นครู และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู รวมทั้ง
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
2. มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา กระบวนการ และความก้าวหน้าในศาสตร์วิชาชีพ
ครู และสาขาวิชาคณิตศาสตร์อย่างลึกซึ้งและเป็นระบบ
3. เป็นผู้มีความสามารถสูงในการบูรณาการข้ามศาสตร์ และมีความตระหนักถึงคุณค่าของการใช้
วิถีทางปัญญาปฏิบัติจริงในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการแก้ปัญหา
4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองและผู้อื่นใน การทางาน
และการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร และในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. สามารถใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศ และคณิตศาสตร์และสถิติพื้นฐาน ในการ
สื่อสาร การเรียนรู้ การเก็บรวบรวมและน าเสนอข้อมูล และการแก้ปัญหาในการดารงชีวิตและ การวิจัยเพื่อ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
6. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และเชี่ยวชาญในทักษะการจัดการเรียนรู้
อย่างสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรมวิชาคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
9

2. แผนพัฒนาปรับปรุง
แผนพัฒนา กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
พัฒนาระบบและกระบวนการ 1. มหาวิทยาลัยพัฒนาปัจจัยพื้นฐานที่จาเป็น ต่อการ 1. มีเอกสาร มคอ. 2,3 และ 5
จัดการเรียนการสอนให้บณ ั ฑิต ผลิตบัณฑิตที่มีคณุ ภาพ ซึ่งหลักสูตรจะนามาใช้ใน ที่สมบูรณ์
มีคุณลักษณะเป็นคนดี คนเก่ง การพัฒนาคุณภาพ นิสิต เช่น 2. ร้อยละของแผนการสอน มคอ. 3
มีวินัย และภูมิใจในชาติ เป็นที่ - สร้างวัฒนธรรมองค์กรสู่ Knowledge Based และ มคอ. 4 ที่มีการนาผลประเมิน
ต้องการของ แหล่งจ้างงานระดับ Society ด้วยจิตสานึกของความใฝ่รู้ใฝ่เรียน การสอนมาปรับปรุงพัฒนาอย่าง
แนวหน้าของประเทศ (Demand - ให้นิสิตสามารถพัฒนาภาษาอังกฤษด้วยตนเองด้วย ต่อเนื่อง
Based Competency) และ ระบบ e-Learning ซึ่งสถานพัฒนาวิชาการด้านภาษา 3. ร้อยละของนิสิตทีส่ อบผ่าน
ได้รับค่าจ้างในอัตราจ้างที่สูงกว่า (Language Center) จะเป็นหน่วยสนับสนุน การขอใบประกอบวิชาชีพครู
เกณฑ์เฉลี่ย - จัดให้มีการแลกเปลี่ยนทักษะโครงการฝึกอบรม 4. ร้อยละของนิสิตทีส่ อบ ภาษา
โครงการศึกษาดูงานแก่คณาจารย์เพื่อปรับระบบการ อังกฤษผ่านตามหลักเกณฑ์ที่
เรียนการสอนที่เน้นนิสิตเป็นศูนย์กลางและมีส่วนร่วม มหาวิทยาลัยกาหนด
ในการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผูส้ อน 5. ร้อยละของนิสิตทีผ่ ่านเกณฑ์
กระบวนการเรียนรู้ที่ยึดหลักให้เห็น ให้คิด ให้ค้นหา การทากิจกรรมเสริมความเป็นครู
หลักการ (ทฤษฎี) และให้ปฏิบัติ (Teachers Enhanicing
- มีวิทยากรจากภาคธุรกิจเอกชน/ภาครัฐมาบรรยาย Actiontes) ปีการศึกษาละไม่น้อย
ในรายวิชาเฉพาะ กว่า 2 กิจกรรม
2. พัฒนากระบวนการเรียนรูต้ ามหลักสูตรสู่คุณภาพ 6. ร้อยละของนิสิตทีส่ อบเทคโนโลยี
โดยมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ สารสนเทศผ่านตามหลักเกณฑ์ที่
และบูรณาการความรู้โดยรวมมาใช้ในการปฏิบัติงาน มหาวิทยาลัยกาหนด
ตามวิชาชีพ โดย
- จัดให้คณาจารย์พัฒนากระบวนการเรียนรู้ โดยการ
นาผลประเมินการสอนมาปรับปรุง มคอ. 3 และ
มคอ. 4
- จัดให้นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพและมีการพัฒนา
นิสิตระหว่างฝึกประสบการณ์
3. พัฒนาระบบการประเมินผลการศึกษาที่ชี้วัดระดับ
ขีดความสามารถของบัณฑิต (Competency Based
Assessment) โดยจัดให้มีระบบการประเมิน
ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี
สารสนเทศ
10

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ใช้ ร ะบบทวิ ภ าค 1 ปี ก ารศึ ก ษา ประกอบด้ ว ย 2 ภาคการศึ ก ษา คื อ ภาคการศึ ก ษา ต้ น และ
ภาคการศึกษาปลาย โดยมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา ข้อกาหนดต่าง ๆ ให้เป็นไป
ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก)
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
ไม่มี
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี
2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
วัน - เวลาราชการปกติ
ภาคการศึกษาต้น ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึง ตุลาคม
ภาคการศึกษาปลาย ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึง มีนาคม
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าที่ผ่านระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา
ต่ อ ในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ( Thai University Central Admission System :TCAS) ตามหลั ก เกณฑ์ ข อง
มหาวิทยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 ข้อ 5
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา หรือประกาศของมหาวิทยาลัยนเรศวร (ภาคผนวก)
2.3 ปัญหาของนิสิตแรกเข้า
- นิสิตที่เข้าเรียนในสาขาวิชานี้ ส่วนมากจะมีปัญหาในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการปรับตัว
ในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย ปัญหาการจัดการและการวางแผนสาหรับตนเอง ขาดความรับผิดชอบการอ่าน
การคิด ความรู้พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ปัญหาหลัก ๆ ที่พบสาหรับนิสิตใหม่ คือ ยังไม่สามารถ
บริหารจัดการเรื่องเวลา ความมีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองในเรื่องของการเรียนและในชีวิตประจาวัน
ขาดแนวทาง/หลักการ/เทคนิควิธีการที่เหมาะสมกับการเรียนในระดับอุดมศึกษา
- ปัญหาสาคัญของนิสิตในหลักสูตร 4 ปี คือ ปัญหาความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ซึง่ ตัง้ เป็นเกณฑ์
สาเร็จการศึกษาไว้ค่อนข้างสูง
2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนิสิตในข้อ 2.3
มีการจัดกิจกรรม โครงการพิเศษ ก่อนเริ่มภาคเรียน โดยจัดกิจกรรมที่เน้นสร้างความคิดและพัฒนา
สมรรถนะพื้นฐานสาคัญในการจั ดการตนเอง เตรียมความพร้อมในการเรียนระดับมหาวิทยาลัย รวมทั้งสร้าง
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้องและคณาจารย์
- จัดกิจกรรมโครงการเพื่อสร้างเสริม ความมีวินัย ความรับผิดชอบ การบริหารจัดการและทักษะ
กระบวนการคิด ตลอดจนการแนะนาเทคนิค วิธีการเรียนที่เหมาะสมกับระดับอุดมศึกษา
- จัดกิจกรรมโครงการสานสัมพันธ์สายใยระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้อง คณาจารย์และบุคลากรของคณะ
เพื่อติดตามและเสริมสร้างพลังใจในการปรับตัวของนิสิตใหม่ให้บรรลุวัตถุประสงค์
11

- จัดกิจกรรม ทบทวนและเสริมความรู้ พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้แก่นิสิตโดยรุ่นพี่เป็นติวเตอร์


ร่วมกับอาจารย์ รวมทั้งการเสนอแนะและเป็นตัวอย่างเทคนิควิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสมในระดับอุดมศึกษา
- จัดกิจกรรมพัฒนาและยกระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษต่อเนื่องทุกปี และส่งเสริมให้นิสิต
ทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษให้ผ่านเกณฑ์ตามที่ มคอ. 1 กาหนด

2.5 แผนการรับนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 4 ปี
ชั้นปี ปีการศึกษา
2562 2563 2564 2565 2566
ชั้นปีที่ 1 60 60 60 60 60
ชั้นปีที่ 2 60 60 60 60
ชั้นปีที่ 3 60 60 60
ชั้นปีที่ 4 60 60
รวม 60 120 180 240 240
จานวนนิสิตที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา 60 60

2.6 งบประมาณตามแผน
2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย : บาท)
ประจาปีงบประมาณ
รายละเอียดรายรับ
2562 2563 2564 2565 2566
ค่าธรรมเนียมการศึกษา 900,000 1,800,000 2,700,000 3,600,000 4,500,000
รวมรายรับ 900,000 1,800,000 2,700,000 3,600,000 4,500,000
หมายเหตุ : ค่าธรรมเนียมการศึกษา (ตลอดหลักสูตร) เท่ากับ 150,000 บาท

2.6.2 งบประมาณรายจ่าย
ปีงบประมาณ
รายการจ่าย
2562 2563 2564 2565 2566
ค่าตอบแทน 450,000 900,000 1,350,000 1,800,000 2,250,000
ค่าใช้สอย 225,000 450,000 675,000 900,000 1,125,000
ค่าวัสดุ 225,000 450,000 675,000 900,000 1,125,000
ค่าครุภัณฑ์ - - - - -
รวมรายจ่าย 900,000 1,800,000 2,700,000 3,600,000 4,500,000

2.6.3 ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิต เป็นเงิน 30,000 บาท ต่อคนต่อปี


12

2.7 ระบบการศึกษา
แบบชั้นเรียน
2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย
เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559
และประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการเทียบโอนหน่วยกิตระดับปริญญาตรี
พ.ศ. 2561

3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
3.1 หลักสูตร
3.1.1 จานวนหน่วยกิต
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 143 หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร ซึ่งมีโครงสร้างหลักสูตรดังนี้

มคอ.1
เกณฑ์ หลักสูตร
สาขาครุศาสตร์และ
ลาดับ ศธ. ปรับปรุง
หมวดวิชา สาขาศึกษาศาสตร์
ที่ พ.ศ. พ.ศ. 2562
(หลักสูตรสี่ปี)
2558 (หลักสูตร 4 ปี)
พ.ศ. 2562
1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 30 30
1.1 วิชาบังคับ 30
1.2 วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต 1
2 หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 72 94 107
2.1 วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 34 36
2.1.1 วิชาชีพครูบังคับ ไม่น้อยกว่า 22 24
2.1.2 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 12
2.2 วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 60 71
2.2.1 วิชาเอกเดี่ยว ไม่น้อยกว่า 60 71
1) วิชาเอกบังคับ 40 44
2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 20 21
3) วิชาการสอนวิชาเอก 6
3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 6 6
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 120 130 143
13

3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า จานวน 30 หน่วยกิต
กาหนดให้นิสิตเรียนตามกลุ่มวิชาดังต่อไปนี้
1.1 กลุ่มวิชาภาษา จานวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
001201 ทักษะภาษาไทย 3(2-2-5)
Thai Language Skills
001211 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5)
Fundamental English
001212 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(2-2-5)
Developmental English
001213 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(2-2-5)
English for Academic Purposes
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า 3(2-2-5)
Information Science for Study and Research
001222 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม 3(2-2-5)
Language, Society and Culture
001224 ศิลปะในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Arts in Daily Life
001225 ความเป็นส่วนตัวของชีวิต 3(2-2-5)
Life Privacy
001226 วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล 3(2-2-5)
Ways of Living in the Digital Age
001227 ดนตรีวิถีไทยศึกษา 3(2-2-5)
Music Studies in Thai Culture
001228 ความสุขกับงานอดิเรก 3(2-2-5)
Happiness with Hobbies
001229 รู้จักตัวเอง เข้าใจผู้อื่น ชีวิตที่มีความหมาย 3(2-2-5)
Know Yourself, Understand Others,
Meaningful Life
001241 ดนตรีตะวันตกในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Western Music in Daily Life
001242 การคิดเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3(2-2-5)
Creative Thinking and Innovation
14

1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต


โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
001231 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Philosophy of Life for Sufficient living
001232 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5)
Fundamental Laws for Quality of Life
001233 ไทยกับประชาคมโลก 3(2-2-5)
Thai State and the World Community
001234 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(2-2-5)
Civilization and Local Wisdom
001235 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(2-2-5)
Politics, Economy and Society
001236 การจัดการการดาเนินชีวิต 3(2-2-5)
Living Management
001237 ทักษะชีวิต 3(2-2-5)
Life Skills
001238 การรู้เท่าทันสื่อ 3(2-2-5)
Media Literacy
001239 ภาวะผู้นากับความรัก 3(2-2-5)
Leadership and Compassion
001251 พลวัตกลุ่มและการทางานเป็นทีม 3(2-2-5)
Group Dynamics and Teamwork
001252 นเรศวรศึกษา 3(2-2-5)
Naresuan Studies
001253 การเป็นผู้ประกอบการ 3(2-2-5)
Entrepreneurship
1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(2-2-5)
Man and Environment
001272 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5)
Introduction to Computer Information Science
001273 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Mathematics and Statistics in Everyday life
001274 ยาและสารเคมีในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Drugs and Chemicals in Daily Life
15

001275 อาหารและวิถีชีวิต 3(2-2-5)


Food and Life Style
001276 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(2-2-5)
Energy and Technology Around Us
001277 พฤติกรรมมนุษย์ 3(2-2-5)
Human Behavior
001278 ชีวิตและสุขภาพ 3(2-2-5)
Life and Health
001279 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Science in Everyday Life
1.5 กลุ่มวิชาพลานามัย บังคับไม่นับหน่วยกิต จานวน 1 หน่วยกิต
001281 กีฬาและการออกกาลังกาย 1(0-2-1)
Sports and Exercises

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 107 หน่วยกิต


2.1 วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
2.1.1 วิชาชีพครูบังคับ 24 หน่วยกิต
366202 จิตวิทยาสาหรับครู 3(2-2-5)
Psychology for Teachers
366203 ความเป็นครู 3(2-2-5)
Being Professional Teachers
366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5)
Curriculum Development
366305 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้และการประกันคุณภาพ 3(2-2-5)
Learning Measurement and Assessment and
Quality Assurance
366306 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน 3(2-2-5)
Learning Management and Classroom Management
366307 ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนานวัตกรรม 3(2-2-5)
Language and Digital Technology for Innovation
Development
366409 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5)
Research for Learning Development
366412 ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชน 3(2-2-5)
School, Parent and Community Engagement
16

2.1.2 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต


366191 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 1 1 หน่วยกิต (ไม่น้อยกว่า 3 สัปดาห์)
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 1
366292 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 2 2 หน่วยกิต (ไม่น้อยกว่า 5 สัปดาห์)
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 2
366393 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 3 3 หน่วยกิต (ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์)
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 3
366494 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 4 6 หน่วยกิต (ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์)
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 4

หลักเกณฑ์การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
นิสิตต้องลงทะเบียนเรียนการปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 1-4 ทุกปี เรียงตามลาดับที่ระบุไว้
ในแผนการศึกษา

2.2 วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 71 หน่วยกิต


ประกอบด้วย
2.2.1 วิชาเอกเดี่ยว 71 หน่วยกิต
1) วิชาเอกบังคับ 44 หน่วยกิต
205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 1(0-2-1)
Communicative English for Specific Purposes
205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะห์เชิงวิชาการ 1(0-2-1)
Communicative English for Academic Analysis
205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอผลงาน 1(0-2-1)
Communicative English for Research Presentation
252100 ประวัติและพัฒนาการของคณิตศาสตร์ 1(1-0-2)
History and Development of Mathematics
252111 แคลคูลัสมูลฐาน 4(4-0-8)
Fundamental Calculus
252112 แคลคูลัส 4(4-0-8)
Calculus
252141 หลักคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Principles of Mathematics
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3(2-2-5)
Ordinary Differential Equations
252212 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1 3(2-2-5)
Mathematical Analysis 1
17

252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1 3(2-2-5)


Linear Algebra 1
252222 พีชคณิตนามธรรม 1 3(2-2-5)
Abstract Algebra 1
252223 ทฤษฎีจานวน 1 3(2-2-5)
Theory of Numbers 1
255121 สถิติวิเคราะห์ 3(2-2-5)
Statistical Analysis
256103 เคมีเบื้องต้น 4(3-3-7)
Introductory Chemistry
258101 ชีววิทยาเบื้องต้น 3(3-0-6)
Introductory Biology
261103 ฟิสิกส์เบื้องต้น 4(3-3-7)
Introductory Physics

2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต


252251 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย 3(2-2-5)
Discrete Mathematics
252311 แคลคูลัสขั้นสูง 3(2-2-5)
Advanced Calculus
252314 การวิเคราะห์เชิงซ้อนเบื้องต้น 3(2-2-5)
Introduction to Complex Analysis
252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น 3(2-2-5)
Introduction to Numerical Analysis
252331 เรขาคณิต 3(2-2-5)
Geometry
252351 ทฤษฎีกราฟ 3(2-2-5)
Graph Theory
252352 คอมบินาทอริกส์ 3(2-2-5)
Combinatorics
252375 ซอฟท์แวร์ทางคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Mathematical Software
252400 โครงงานคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Mathematics Project
252401 คณิตศาสตร์มูลฐานสาหรับครู 3(2-2-5)
Fundamental Mathematics for Teacher
252402 ทฤษฎีสมการเบื้องต้นสาหรับครู 3(2-2-5)
Introduction to Theory of Equations for Teacher
18

398487 สื่อการสอนคณิตศาสตร์สาหรับศตวรรษที่ 21 3(2-2-5)


Instructional Media for Teaching Mathematics
in 21st Century
398488 การบูรณาการคณิตศาสตร์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(2-2-5)
Integration of Mathematics with Local Wisdom
398489 วรรณกรรมเด็กและการสอนคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Children Literature and Mathematics Teaching

3) วิชาการสอนวิชาเอก 6 หน่วยกิต
398385 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา 3(2-2-5)
Learning Management of Mathematics in Primary Schools
398486 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 3(2-2-5)
Learning Management of Mathematics in Secondary Schools

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้
353432 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3(3-0-6)
Management of Student Development Activities
353433 จิตวิทยาพัฒนาการ 3(3-0-6)
Developmental Psychology
354411 การบริหารคุณภาพสถานศึกษา 3(3-0-6)
School Quality Management
354413 ชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3(2-2-5)
Community and Participation in Education
354431 นันทนาการในโรงเรียนและชุมชน 3(2-2-5)
Recreation in School and Community
355431 คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 3(2-2-5)
Computers in Education
366411 การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3(3-0-6)
Inclusive Education
366421 ภาษากับการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5)
Language and Learning Management
369461 โครงการสุขภาพและสวัสดิศึกษาในสถานศึกษา 3(2-2-5)
School Health and Safety Program
378311 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการเรียนรู้ 3(3-0-6)
Sufficiency Economy Philosophy into Teaching
19

396445 การอยู่ค่ายพักแรม 3(2-2-5)


Camping
396463 เพศศึกษา 3(3-0-6)
Sex Education

ทั้งนี้ นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่นในหลักสูตรปริญญาตรี ยกเว้นรายวิชาศึกษาทั่วไป ที่เหมาะสม


ตามความถนัดและความสนใจ โดยการแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ประจาหลักสูตร
20

3.1.4 แผนการศึกษา
ชั้นปีที่ 1
ภาคการศึกษาต้น
001201 ทักษะภาษาไทย 3(2-2-5)
Thai Language Skills
001xxx หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 3(2-2-5)
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
001281 กีฬาและการออกกาลังกาย (บังคับไม่นบั หน่วยกิต) 1(0-2-1)
Sport and Exercise (Non - Credit)
252111 แคลคูลัสมูลฐาน 4(4-0-8)
Fundamental Calculus
256103 เคมีเบื้องต้น 4(3-3-7)
Introductory Chemistry
366202 จิตวิทยาสาหรับครู 3(2-2-5)
Psychology for Teachers
366203 ความเป็นครู 3(2-2-5)
Being Professional Teachers
รวม 20 หน่วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
001xxx หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 3(2-2-5)
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
001xxx หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 3(2-2-5)
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
001211 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5)
Fundamental English
252112 แคลคูลัส 4(4-0-8)
Calculus
252141 หลักคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Principles of Mathematics
261103 ฟิสิกส์เบื้องต้น 4(3-3-7)
Introductory Physics
366191 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 1 1 หน่วยกิต
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 1
รวม 21 หน่วยกิต
21

ชั้นปีที่ 2
ภาคการศึกษาต้น
001xxx หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 3(2-2-5)
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
001212 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(2-2-5)
Developmental English
205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 1(0-2-1)
Communicative English for Specific Purposes
252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1 3(2-2-5)
Linear Algebra 1
252223 ทฤษฎีจานวน 1 3(2-2-5)
Theory of Numbers 1
258101 ชีววิทยาเบื้องต้น 3(3-0-6)
Introductory Biology
366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5)
Curriculum Development
รวม 19 หน่วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
001213 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(2-2-5)
English for Academic Purpose
001xxx หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 3(2-2-5)
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
252100 ประวัติและพัฒนาการของคณิตศาสตร์ 1(1-0-2)
History and Development of Mathematics
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3(2-2-5)
Ordinary Differential Equations
255121 สถิติวิเคราะห์ 3(2-2-5)
Statistical Analysis
366292 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 2 2 หน่วยกิต
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 2
366305 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้และการประกันคุณภาพ 3(2-2-5)
Learning Measurement and Assessment and Quality Assurance
366306 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน 3(2-2-5)
Learning Management and Classroom Management
รวม 21 หน่วยกิต
22

ชั้นปีที่ 3
ภาคการศึกษาต้น
205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะห์เชิงวิชาการ 1(0-2-1)
Communicative English for Academic Analysis
252212 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1 3(2-2-5)
Mathematical Analysis 1
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Free Elective
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Free Elective
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Free Elective
366307 ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนานวัตกรรม 3(2-2-5)
Language and Digital Technology for Innovation Development
366409 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5)
Research for Learning Development
รวม 19 หน่วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
252222 พีชคณิตนามธรรม 1 3(2-2-5)
Abstract Algebra 1
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Free Elective
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Free Elective
366393 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 3 3 หน่วยกิต
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 3
366412 ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชน 3(2-2-5)
School, Parent and Community Engagement
398385 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา 3(2-2-5)
Learning Management of Mathematics in Primary Schools
รวม 18 หน่วยกิต
23

ชั้นปีที่ 4
ภาคการศึกษาต้น
001xxx หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 3(2-2-5)
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอผลงาน 1(0-2-1)
Communicative English for Research Presentation
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Free Elective
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Free Elective
398486 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 3(2-2-5)
Learning Management of Mathematics in Secondary Schools
xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x-x)
Free Elective
xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x-x)
Free Elective
รวม 19 หน่วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
366494 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 4 6 หน่วยกิต
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 4
รวม 6 หน่วยกิต
24

3.1.5 คาอธิบายรายวิชา
001201 ทักษะภาษาไทย 3(2-2-5)
Thai Language Skills
ความส าคัญและลั กษณะของภาษาไทยในบริ บทสั ง คมไทย และในฐานะเครื่องมือ การสื่ อ สาร
เรี ย นรู้ ช นิ ด ของสารประเภทวรรณกรรมร่ ว มสมั ย อย่ า งกว้ า งขวางหลากหลาย ทั้ ง ประเภทสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ปลูกฝังจิตวิสัยความรักการอ่าน รวมทั้งฝึกทักษะการวิเคราะห์วิจารณ์เนื้อหาเพื่อพิจารณาคุณค่า
เชิงวรรณศิลป์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณค่าหรือความเกี่ยวข้องกับสังคมไทย สังคมโลกในบริบทต่าง ๆ (เศรษฐกิจ
การเมือง สภาวการณ์ต่างๆ) ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทย โดยเน้นทักษะการอ่านและการเขียน
เป็นสาคัญ
The importance and characteristics of Thai language in Thai society as a meaning
making tool. Learning about various kinds of modern media, including newspapers and electronic
media. Cultivating reading habits and practicing analyzing and criticizing literary values, especially
relations and values in Thai and global societies in various contexts ( economics and politics in
different situations) along with developing Thai language skills, especially reading and writing.
001211 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5)
Fundamental English
การพัฒ นาการฟังภาษา อังกฤษพื้นฐาน การพูด การอ่าน และไวยากรณ์เพื่อการสื่ อสาร
ในบริบทต่างๆ ในการเตรียมตัวสาหรับสังคมโลก
Development of basic English listening, speaking, reading skills and grammar for
communication in various contexts in preparation for a global society.
001212 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(2-2-5)
Developmental English
การได้รับความรู้ทางด้านภาษา อังกฤษ ซึ่งสามารถปลูกฝังทักษะด้านต่างๆ ในศตวรรษที่ 21
และการพัฒนาในด้านการฟัง การพูด การอ่าน และไวยากรณ์ เพื่อให้เข้าใจและสามารถสื่อสารข้อมูลที่แท้จริง
ของโลกที่ใช้ในบริบทที่เกี่ยวข้องที่แตกต่างกัน
Gain knowledge of the English language, cultivate 21st century skills and develop
in the areas of listening, speaking, reading and grammar in order to understand and communicate
real-world information used in different relevant context.
001213 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(2-2-5)
English for Academic Purposes
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยเน้นทักษะการอ่าน การเขียนงาน และการศึกษาค้นคว้า
เชิงวิชาการในการเตรียมตัวสาหรับสังคมโลก
The development of English skills with an emphasis on academic reading, writing
and researching in preparation for a global society.
25

001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า 3(2-2-5)


Information Science for Study and Research
ความหมาย ความส าคั ญ ของสารสนเทศ ประเภทของแหล่ ง สารสนเทศ การเข้ า ถึ ง แหล่ ง
สารสนเทศต่างๆ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ การจัดการความรู้
การเลือก การสังเคราะห์ และการนาเสนอสารสนเทศ ตลอดจนการเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดี และมีนิสัยใน
การใฝ่หาความรู้ มีความขยัน อดทน ซื่อสัตย์และกตัญญูต่อแผ่นดิน
The meaning and importance of information; types of information sources;
access to different sources of information; application of information technology and
communication; media and information literacy; knowledge managements; selection, synthesis,
and presentation of information as well as creating positive attitudes and a sense of inquiry in
students; diligences; patience; honesty; and gratitude to the country.
001222 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม 3(2-2-5)
Language, Society and Culture
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษา และความสัมพันธ์ระหว่างภาษาที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรม พิจารณา
โลกทัศน์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่สะท้อนผ่านภาษา ทั้งภาษาพูด ภาษาสัญลักษณ์ โครงสร้างทางสังคมและ
วัฒนธรรมในความหมายใหม่ที่ก้าวพ้นพรมแดน การแปรเปลี่ยนและการใช้ภาษาในโลกพ้นพรมแดน
The relationship between language and society as well as language and culture in
terms of the ways in which language reflects society and culture. The study includes verbal and
symbolic communication, new meanings of social and cultural structure, changes of language,
and usages in a borderless world.
001224 ศิลปะในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Arts in Daily Life
พื้น ฐานความรู้ เข้าใจในคุณลั กษณะเบื้ องต้น ความหมายคุณค่าและความแตกต่าง รวมทั้ง
ความสั มพัน ธ์ร ะหว่างกัน ของศิล ปกรรมประเภทต่างๆ ได้แก่ วิจิตรศิล ป์ ประยุกต์ศิล ป์ ทัศนศิล ป์ โสตศิลป์
โสตทัศนศิลป์ และศิลปะสื่อสมัยใหม่ โดยผ่านการมีประสบการณ์ทางสุนทรียภาพ และการทดลองปฏิบัติงาน
ขั้น พื้น ฐานของศิล ปกรรมประเภทต่างๆ เพื่อการพัฒ นา ความรู้ เข้าใจ และการปลู กฝั งรสนิยมทางสุ นทรียะ
ที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ ให้เป็นประโยชน์ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน และสัมพันธ์กับบริบทต่างๆ ทั้งในระดับ
ท้องถิ่นและสากลได้
Art fundamentals and understanding in the basic features, meaning, value,
differences and the relationship between the various categories of works of art, including fine art,
applied art, visual art, audio art, audiovisual art, and new media art through the artistic experience
and basic practice on various types of art for developing knowledge, understanding and
indoctrinating aesthetic judgment that can be applied in daily life, harmonized with the social
context in both the global and local levels.
26

001225 ความเป็นส่วนตัวของชีวิต 3(2-2-5)


Life Privacy
ปรัชญาและความรู้พื้นฐานทางด้านความเป็นส่วนตัว หลักสิทธิมนุษยชน กฎหมายทางด้าน
ความเป็ น ส่ ว นตั ว ความเป็ น ส่ ว นตั ว ด้ า นข้ อ มู ล ด้ า นสุ ข ภาพ ด้ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย และเคหสถาน ด้ า นเทคโนโลยี
สารสนเทศ การพิทักษ์สิทธิ์ความเป็นส่วนตัว ความเป็นส่วนตัวในชีวิตประจาวัน
Philosophy and basic knowledge of privacy. Human rights, privacy law. Privacy
regarding private information, health, residence, and information technology. Protection of
privacy, privacy in daily life.
001226 วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล 3(2-2-5)
Ways of Living in the Digital Age
พัฒนาทักษะความสามารถในการใช้สื่อ การใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสารประเภท
ต่าง ๆ การสืบค้น วิเคราะห์ ประเมินค่า สิทธิและการสร้างสรรค์ ตระหนักรู้ถึงจริยธรรมและความรับผิดชอบ
ของตนต่อสังคมจากพฤติกรรมการสื่อสาร
Development of skills in media usage, various computer equipment utilization,
inquiries, analysis, measurement, rights and creation, including ethical awareness and individual
responsibility to the society in communication behaviors.
001227 ดนตรีวิถีไทยศึกษา 3(2-2-5)
Music Studies in Thai Culture
ลักษณะและพัฒนาการของดนตรีประเภทต่างๆ ในวิถีชีวิต รวมทั้งบทบาทหน้าที่ คุณค่า
ด้านสุนทรียภาพและความสาคัญต่อสังคมและวัฒนธรรม
Uniqueness and development of various genres of music in Thai culture,
Including their roles and functions, aesthetic values, and significance to Thai society and
Thai culture.
001228 ความสุขกับงานอดิเรก 3(2-2-5)
Happiness with Hobbies
แนวคิดความสุข องค์ประกอบพื้นฐานของการสร้างความสุขในการดาเนินชีวิต การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์ผลงานจากงานอดิเรกเพื่อส่งเสริมความสุขในชีวิตและสังคม
Concept of happiness, basic elements of happiness in life, creative thinking,
Creation of works from hobbies to promote life and social happiness.
001229 รู้จักตัวเอง เข้าใจผู้อื่น ชีวิตที่มีความหมาย 3(2-2-5)
Know Yourself, Understand Others, Meaningful Life
สติ การตรึกตรองทบทวนตนเอง คุณค่าความหมายในการใช้ชีวิต การรู้จักรับฟังผู้อื่นอย่างลึกซึ้ง
การดูแลอารมณ์ความรู้สึกของตน การเข้าใจความรู้สึกนึกคิดของผู้อื่น การคานึงถึงบริบทด้านสังคมเศรษฐกิจ
วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม การใช้ชีวิตและทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
Mindfulness; self-reflection; meaning of life; deep listening; handling
emotions; empathy and consideration of the social, economic, cultural, and environmental
context; living and working constructively with others.
27

001231 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)


Philosophy of Life for Sufficient Living
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปรัชญาและแนวคิด โลกทัศน์ ชีวทัศน์ ปรัชญาชีวิต และวิถีการดาเนินชีวิต
ประสบการณ์อันทรงคุณค่า ตลอดจนปัจจัยหรือเงื่อนไขที่ส่งผลต่อความสาเร็จในชีวิตและงานในทุกมิติของผู้มี
ชื่อเสียง เพื่อประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ พัฒนาชีวิตที่มีคุณภาพ มีประโยชน์และคุณค่าต่อสังคม
Basic philosophical and conceptual knowledge on worldviews, attitudes,
philosophy for life, lifestyle, valuable experiences and factors or conditions which influence
success in all aspects of life and professions, develop one’s quality of life to benefit society.
001232 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5)
Fundamental Laws for Quality of Life
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ คุณภาพชีวิตของนิสิต เช่น สิทธิขั้นพื้นฐาน สิทธิมนุษยชน จริยธรรม
การใช้สื่อในยุคดิจิทัล กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายสิ่งแวดล้อมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง
ศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสู่ศตวรรษที่ 21
The laws concerning the quality of student life, such as basic rights, human rights,
media ethics in the digital age, intellectual property law, environmental laws, the laws relating to
the protection of art and culture as well as the laws pertaining to the developments in the 21 st
century.
001233 ไทยกับประชาคมโลก 3(2-2-5)
Thai State and the World Community
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสังคมโลก ภายใต้การเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่าง ๆ
ตั้ ง แต่ ก่ อ นสมั ย ใหม่ จ นถึ ง สั ง คมในปั จ จุ บั น และบทบาทของไทยบนเวที โ ลก ตลอดจนแนวโน้ ม ในอนาคต
การประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง การดาเนินชีวิต อย่างมีคุณธรรม และการเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของ
สังคมไทยและสังคมโลก
Relations between Thailand and the world community under changes over time
from the premodern period to the present day and roles of Thailand in the world forum, including
future trends, applications of knowledge in self-improvement, ethic of life management and being
a good citizen of Thailand and the world.
001234 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(2-2-5)
Civilization and Local Wisdom
อารยธรรมในยุคต่าง ๆ วิถีวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณี พิธีกรรม คติความเชื่อ ภูมิปัญญา-
ท้องถิ่น และการอนุรักษ์ สืบทอด และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
Civilizations throughout history, cultural evolution, ways of life, traditions, ritual
practices, beliefs, and conservation, development and preservation of local wisdom.
28

001235 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(2-2-5)


Politics, Economy and Society
ความหมายและความสัมพันธ์ของการเมือง เศรษฐกิจ สังคม พัฒนาการการเมืองระดับสากล
การเมืองพื้นฐาน การเมืองและการปรับตัวของประเทศพัฒนาและกาลังพัฒนา การปกครองประเทศไทย ระบบ
เศรษฐกิจโลก ผลกระทบของโลกาภิวัฒน์ทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพื้นฐาน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศไทย มนุษย์กับสังคม สังคมวิทยาพื้นฐาน การจัดระเบียบสังคม การขัดเกลาทางสังคม ลักษณะสังคม
เอกลักษณ์สังคมไทย รวมถึงการประยุกต์หลักวิชา เพื่อใช้ในการดารงชีวิตให้อยู่รอดได้ตามกระแสโลกแห่งการ
เปลี่ยนแปลงทั้งการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ความสัมพันธ์ของระบบโลกกับประเทศไทย
Meaning and relationship of politics, economy, and society; development of
international politics; fundamental politics; politics and the adjustment of developed and
developing countries; Thai politics; world-economic systems; influences of globalization in terms
of economy; fundamental economy; the development of the economy and society of Thailand;
man and society; fundamental sociology; social order; social refinement; social characteristics;
uniqueness of Thai society; the application of the body of knowledge to one’s living in a dynamic
world of change in politics, economy, and society; and relationships of the world and Thai
systems.
001236 การจัดการการดาเนินชีวิต 3(2-2-5)
Living Management
ความรู้และทักษะ เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ ธรรมชาติของมนุษย์ และปัจจัยสู่ความสาเร็จที่ยั่งยืน
ในชีวิตมีความรับผิดชอบ ฉลาดคิด และรู้เท่าทันพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการใช้ชีวิตให้ทันสมัย
รู้จักการดาเนินชีวิตตามหลักคุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งการดาเนินชีวิตท่ามกลางพลวัตของโลกในศตวรรษที่ 21
ที่จาเป็นต้องมีบทบาทเป็นประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก
Living management: knowledge and skills concerning role, duty, and human nature
as well as factors relating to sustainable development in improving responsibility, thinking skills,
and being updated with modern science and technology in daily life. Living ethically along the
dynamics of the 21st century, which is essential to the members of the ASEAN community as well
as the world community.
001237 ทักษะชีวิต 3(2-2-5)
Life Skills
ความรู้ บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบต่อครอบครัว และสังคม การปรับตัวเข้ากับ การ
เปลี่ยนแปลงของสังคม ทักษะชีวิตและอาชีพการงานในศตวรรษที่ 21 ทักษะในการยืดหยุ่น และการปรับตัว ทักษะ
ความคิดสร้างสรรค์และการกาหนดทิศทางชีวิตของตนเอง ทักษะการสร้างปฏิสัมพันธ์ในสังคมและในสังคมข้าม
วัฒนธรรม ทักษะการเพิ่มผลผลิตและรับผิดชอบต่อผลผลิต และทักษะการสร้างภาวะผู้นาและการรับผิดชอบต่อ
หน้าที่
29

Knowledge, relating to role, duty, and responsibility of an individual both as a


member of a family and a member of a society which includes an adaptation to changes in a
society, life and 2 1st century career skills, flexibility and adaptability skills, creativity and self-
direction skills, intra- social and cross culture interaction skills, productivity and accountability
skills, leadership and responsibility skills.
001238 การรู้เท่าทันสื่อ 3(2-2-5)
Media Literacy
กระบวนการรู้เท่าทันสื่อในยุคดิจิทัล มีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีผลกระทบของสื่อ ทฤษฎี
สื่ อศึกษา ได้แก่ มายาคติ สั ญญะศาสตร์ แนวคิดการโฆษณา คุณลั กษณะ และอิทธิพลของสื่ อร่ว มสมัย และ
สื่อดิจิทัล รวมทั้งวิเคราะห์สารที่มาพร้อมกับสื่อแต่ละประเภทดังกล่าวได้อย่างเท่าทันสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน
ยุคปัจจุบัน
Processes of media analysis and acknowledgements in digital literacy.
Understanding of media effect theories, such as myth semiology and advertising concept,
attributes and influence of contemporary and digital media, including analyzing contents on every
current platform.
001239 ภาวะผู้นากับความรัก 3(2-2-5)
Leadership and Compassion
ความสาคัญของผู้นา ผู้นาในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ด้วยความรัก การใช้ชีวิตด้วยความรัก
การเป็นพลโลก พลเมืองที่ดี ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการทากิจกรรมเชิงสาธารณะที่สามารถเป็นแนวทางในการทา
จริงของผู้เรียน
The importance of a leader, leadership in the 21st century, learning and living with
love, good global citizenship, studying good practices of conducting public activities as a guideline
for learner’s own activities.
001241 ดนตรีตะวันตกในชีวิตประจาวัน 3 (2-2-5)
Western Music in Daily Life
สุนทรียภาพทางดนตรี องค์ประกอบ โครงสร้าง และยุคสมัยของดนตรีตะวันตก ประเภทของ
บทเพลงในชี วิ ต ประจ าวั น หลั ก การวิ จ ารณ์ แ ละชื่ น ชมทางดนตรี กระบวนการประยุ ก ต์ ท างดนตรี ต ะวันตก
ในชีวิตประจาวัน
Aesthetics of music, elements, structure, and the history of Western music. Style
of music in daily life. Criticism and admiration of music. The application and process of Western
music in daily life.
001242 การคิดเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3 (2-2-5)
Creative Thinking and Innovation
กระบวนการพัฒนานวัตกรรม วิธีการเข้าถึงจิตใจลูกค้าและค้นพบรากเหง้าของปัญหา การสร้าง
และการเลือกแนวความคิด การสร้างต้นแบบของสินค้าหรือบริการ ทดสอบในสนามจริงและเก็บข้อมูล การดาเนิน
ผ่านวงจรของการออกแบบ/สร้าง/ทดสอบซ้าๆ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การทางานให้สาเร็จในทีมงาน
พหุสาขา การระดมความคิด การตัดสินใจ การวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์และการจัดการกับความขัดแย้ง
30

Innovation development process; means of accessing customers’ mind and


discovering the roots of problems; generating and selecting ideas, creating rough prototypes,
testing in the field and extracting information, quick and efficient design-build-test cycles, getting
things done as a multidisciplinary team: brainstorming, making decisions, giving constructive
comments, and managing conflicts.
001251 พลวัตกลุ่มและการทางานเป็นทีม 3(2-2-5)
Group Dynamics and Teamwork
พฤติ ก รรมต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมรวมกลุ่ ม การพั ฒ นาการของลั ก ษณะต่ างๆ ของกลุ่ ม
สิ่งแวดล้อมชนิดต่างๆ ของกลุ่ม การเข้าเกี่ยวข้องกับกลุ่มของบุคคล การคล้อยตามกลุ่ม การเปลี่ยนทัศนคติของ
กลุ่ม การสื่อสารภายในกลุ่ม รูปแบบของการทางานเป็นทีม แนวทาง การสร้างทีมงาน และเครือข่าย ความเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกันของกลุ่ม ปัจจัยที่ส่งเสริมการทางานเป็นทีมและฝึกการปฏิบัติงานเป็นทีม
Various behaviors regarding group behavior, development of group
characterization, group environments, interpersonal relations versus group involvement, group
persuasion, change in group attitudes, intra-group communication, teamwork model, guideline to
create team and network, group unity, factors enhancing teamwork, and practice of teamwork.
001252 นเรศวรศึกษา 3(2-2-5)
Naresuan Studies
พระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มุ่งเน้นศึกษาพระราชกรณียกิจในการบริหารราชการ
แผ่นดินในด้านต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคมและการต่างประเทศที่สะท้อนให้เห็นอัตลักษณ์ของคนไทยที่พึงประสงค์
ในด้านต่างๆ เช่น การแสวงหาความรู้ ความเพียรพยายาม ความกล้าหาญ ความเสียสละ ความซื่อสัตย์ และความ
อดทนต่อการเผชิญปัญหา
Biography of King Naresuan the Great; his royal duties while reigning over the
kingdom, such as economy, society, and international affairs reflecting Thai identity in various
aspects, namely the pursuit of knowledge, perseverance, endeavour, courage, sacrifice, loyalty,
and tolerance in the face of problems.
001253 การเป็นผู้ประกอบการ 3(2-2-5)
Entrepreneurship
การปฏิบัติการในการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ โดยเน้นการค้นหาแนวความคิดใหม่ทางธุรกิจ
การประเมิ น โอกาสในการหาตลาดใหม่ และการเริ่ ม ธุ ร กิ จ ใหม่ โ ดยเน้ น การระบุ ธุ ร กิ จ ใหม่ ที่ เ ป็ น ไปได้ แ ละ
การประเมินความอยู่รอดของธุรกิจใหม่นั้น การวิเคราะห์สิ่งกีดขวางความสาเร็จในการดาเนินธุรกิจใหม่นั้น เรียนรู้
ความกดดันจากการก่อตั้งธุรกิจใหม่ ความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้อง และพฤติกรรมของผู้ประกอบการ แนะนามุมมอง
เชิงทฤษฎีทั้งด้านการเป็นผู้ ประกอบการ และความเชื่อมโยงกับสาขาวิช าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เครือข่ายทา งการ
ประกอบการ และพันธมิตรธุรกิจ กลยุทธ์เพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืน
31

The entrepreneurial practices with an emphasis on learning how to find business


ideas, evaluation of new market opportunities and starting a new venture; focuses on identifying
and evaluating new ventures, and how to recognize the barriers to success. Exposure to the
stresses of a start- up business, the uncertainties that exist, and the behavior of
entrepreneurs. Theoretical overview, entrepreneurs, entrepreneurship's links with other
disciplines, and entrepreneurial networks and alliances. Strategies for sustainable survival.
001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(2-2-5)
Man and the Environment
ระบบนิ เ วศและความหลากหลายทางชี ว ภาพ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมนุ ษ ย์ กั บ ธรรมชาติ
และระบบนิ เวศบริการ การเปลี่ย นแปลงโครงสร้างและระบบมนุษย์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ขอบเขต
การรองรับมลภาวะของโลก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จริยธรรมสิ่งแวดล้อม
และการสร้างจิตสานึกและความตระหนัก และการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม
Ecosystems and biodiversity, man- nature and ecosystems, human structure and
system change that effects the environment, planetary boundary, climate change, sustainable
development goals, environmental ethics and consciousness building, and environmental public
participation.
001272 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5)
Introduction to Computer Information Science
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีค อมพิวเตอร์จากอดีตถึงปัจจุบันและความเป็นไปได้ของเทคโนโลยี
ในอนาคต องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ วิธีการทางานของ
คอมพิวเตอร์ พื้นฐานระบบเครือข่าย เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและการประยุกต์ใช้งาน ความเสี่ยงในการใช้งานระบบ
การจัดการข้อมูล ระบบสารสนเทศ โปรแกรมสานักงานอัตโนมัติ เทคโนโลยีสื่อผสม การเผยแพร่สื่อทางเว็บ
การออกแบบและพัฒนาเว็บ อิทธิพลของเทคโนโลยีต่อมนุษย์และสังคม
Evolution of computer technology from past to present and a possible
future, computer hardware, software and data, how a computer works, basic computer network,
Internet and applications on the Internet, risks of system usage, data management, information
system, office automation software, multimedia technology, web- based media publishing, web
design and development, and the influence of technology on man and society.
001273 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Mathematics and Statistics in Everyday Life
ความรู้เบื้องต้นทางคณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจาวัน ประกอบด้วย การวัดในมาตราวัด
ต่างๆ การหาพื้นที่ผิวและปริมาตร การคานวณภาษี กาไร ค่าเสื่อมราคา ดอกเบี้ย และส่วนลด ขั้นตอนในการ
สารวจข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการนาเสนอข้อมูลเบื้องต้ น ความน่าจะเป็น และ
การตัดสินใจเชิงสถิติเบื้องต้น
32

Fundamental knowledge of mathematics and statistics for everyday life, including


measurement in different types of unit systems, surface area and volume of geometric shapes,
tax, profit, depreciation, interest and discount, process of data survey, data collection methods,
introduction to data analysis and presentation, probability, and introduction to statistical decision
making.
001274 ยาและสารเคมีในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Drugs and Chemicals in Daily Life
ความรู้เบื้องต้นของยาและเคมีภัณฑ์ โภชนาการ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร รวมถึงเครื่องสาอางและ
ยาจากสมุนไพรที่ใช้ในชีวิตประจาวันที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ตลอดจนการเลือกใช้และการจัดการเพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
Basic knowledge of drugs and chemicals, nutrition, food supplements, including
cosmetics and herbal medicinal products commonly used in daily life and related to health as
well as their proper selection and management for health and environmental safety.
001275 อาหารและวิถีชีวิต 3(2-2-5)
Food and Life Style
บทบาทและความสาคัญของอาหารในชีวิตประจาวัน วัฒนธรรมและพฤติกรรมการบริโภค
อาหารในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกและในประเทศไทย รวมถึงอิทธิพลของอารยธรรมต่างประเทศต่อพฤติกรรมการ
บริโภคของไทย เอกลักษณ์และภูมิปัญญาด้านอาหารของไทย การเลือกอาหารที่เหมาะสมต่อความต้องการของ
ร่างกาย อาหารทางเลือก ข้อมูลประกอบการพิจารณาเลือกซื้ออาหาร และอาหารและวิถีชีวิตกับการเปลี่ยนแปลง
ในยุคโลกาภิวัตน์ ความตระหนัก และรักษ์สิ่งแวดล้อม
Roles and importance of food in daily life, cultures and consumption
behavior around the world, including the influence of foreign cultures on Thai consumption
behavior, identity and wisdom of food in Thailand, proper food selection according to basic needs,
food choices, information for purchasing food, and food and life style in the age of globalization
with the awareness of environmental conservation.
001276 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(2-2-5)
Energy and Technology around Us
ความรู้พื้นฐานด้านพลังงาน และเทคโนโลยีใกล้ตัว ที่มาของพลังงาน พลังงานไฟฟ้า พลังงาน
เชื้อเพลิง พลังงานทางเลือก เทคโนโลยีและการบริโภคพลังงาน การบริโภคพลังงานทางอ้อม สถานการณ์
พลั งงานกับ สภาวะโลกร้ อน สถานการณ์ที่เกี่ยวข้อ งกั บพลั งงานและเทคโนโลยี การอนุรักษ์พลั งงานอย่ า ง
มีส่วนร่วม การใช้พลังงานอย่างฉลาด การเตรียมความพร้อมสาหรับการเปลี่ยนแปลงด้านพลังงาน
Fundamental knowledge of energy and technology around us; energy sources and
knowledge about electrical energy, fuel energy, and alternative energy; relationship between
technology and energy consumption; direct and indirect energy consumption; global warming and
related energy situation; current issues and relationship to energy and technology; participation
in energy conservation; efficient energy use; and proactive approach to energy issues.
33

001277 พฤติกรรมมนุษย์ 3(2-2-5)


Human Behavior
ความรู้เกี่ยวกับ พฤติกรรมมนุษย์ ในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม พื้นฐานทาง
ชีวภาพของพฤติกรรมและกลไกการเกิดพฤติกรรม การมีสติสัมปชัญญะ สมาธิ และสารที่เกี่ยวข้องกับการมีสติ
การรั บ รู้ เรี ย นรู้ ความจ า และภาษา เชาวน์ ปั ญ ญาและความฉลาดด้ า นต่ า งๆ พฤติ ก รรมมนุ ษ ย์ ท างสั ง คม
พฤติกรรมอปกติ รวมทั้งการวิเคราะห์พฤติกรรมอื่นๆ เพื่อการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
Knowledge of human behavior such as behavioral concepts; biological basics and
mechanisms of human behaviors; mindfulness, meditation, consciousness and involved
substances; sensory perception, learning and memory, language; intelligence and other quotients;
social behaviors; abnormal behaviors; human behavioral analysis and applications in daily life.
001278 ชีวิตและสุขภาพ 3(2-2-5)
Life and Health
ชี วิ ต และพฤติ ก รรมสุ ข ภาพ การดู แ ลและสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพของแต่ ล ะช่ ว งวั ย รวมถึ ง
การประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง
Life and health behavior, health care and promotion for each age group, including
the implementation of health knowledge and skills for continuous improvement of the quality
of life for oneself and others.
001279 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Science in Everyday Life
บทบาทของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางด้านชีวภาพ กายภาพ และบูรณาการความรู้ทางด้าน
วิทยาศาสตร์ของโลกทั้งระบบที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน ได้แก่ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เคมี พลังงานและไฟฟ้า
การสื่อสารโทรคมนาคม อุตุนิยมวิทยา โลกและอวกาศ และความรู้ใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
The role of science and technology with concentration on both biological and
physical science and integration of earth science in everyday life, including organisms and
environments, chemicals, energy and electricity, telecommunications, meteorology, earth, space
and the new frontier of science and technology.
001281 กีฬาและการออกกาลังกาย 1(0-2-1)
Sports and Exercises
การเล่ น กี ฬ า การออกก าลั ง กายเพื่ อ เสริ ม สร้ า งสมรรถภาพทางร่ า งกาย และการทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย
Playing sports, exercises for improvement of physical fitness, and physical fitness
test.
205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 1(0-2-1)
Communicative English for Specific Purposes
การฟัง-พูดภาษาอังกฤษโดยเน้นการออกเสียง การใช้คาศัพท์ สานวน และรูปประโยคเพื่อ
วัตถุประสงค์ทางวิชาการและวิชาชีพ
English listening and speaking English with emphasis on pronunciation,
vocabulary, expressions, and sentence structures for academic and professional purposes.
34

205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะห์เชิงวิชาการ 1(0-2-1)


Communicative English for Academic Analysis
การฟัง-พูดภาษาอังกฤษโดยเน้นการสรุปความ การวิเคราะห์ การตีความ และการแสดงความ
คิดเห็น เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการตามสาขาของผู้เรียน
English listening and speaking with emphasis on summarizing, analyzing,
interpreting, and expressing opinions for academic purposes applicable to students’ educational
fields.
205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอผลงาน 1(0-2-1)
Communicative English for Research Presentation
การนาเสนอผลงานการค้นคว้า หรือผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสาขาของผู้เรียนเป็น ภาษาอังกฤษ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Oral presentations on academic research related to students’ educational fields
with effective delivery in English.
252100 ประวัติและพัฒนาการของคณิตศาสตร์ 1(1-0-2)
History and Development of Mathematics
แนวความคิดเกี่ยวกับปรัชญาคณิตศาสตร์ ประวัติความเป็นมาของคณิตศาสตร์และ
นักคณิตศาสตร์ที่สาคัญ
Philosophy of mathematic concepts, history of mathematics and some
mathematicians.
252111 แคลคูลัสมูลฐาน 4(4-0-8)
Fundamental Calculus
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันและการประยุกต์ ผลต่างอนุพันธ์
ปริพันธ์ของฟังก์ชันและการประยุกต์ เทคนิคการหาปริพันธ์ สมการเชิงอนุพันธ์อันดับที่หนึ่งแบบแยกตัวแปรได้
Limits and continuity of functions, derivative of functions and applications,
differentials, integral of functions and applications, techniques of integration, separable first–order
differential equations.
252112 แคลคูลัส 4(4-0-8)
Calculus
วิชาบังคับก่อน : 252111 แคลคูลัสมูลฐาน
ระบบพิกัดเชิงขั้ว สมการอิงตัวแปรเสริม ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ เส้นตรง ระนาบ ผิว อนุพันธ์ย่อย
ปริพันธ์หลายชั้นและการประยุกต์ ลาดับและอนุกรมของจานวนจริง อนุกรมกาลัง อนุกรมเทย์เลอร์
Polar coordinate systems, parametric equations, improper integrals, lines, planes,
surfaces, partial derivatives, multiple integrals and applications, sequences and series of real
numbers, power series, Taylor series
35

252141 หลักคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)


Principles of Mathematics
ตรรกศาสตร์และวิธีพิสูจน์ การพิสูจน์ทฤษฎีบทที่เกี่ยวข้องกับเซต ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน
เซต จากัดและเซตอนันต์
Logic and proof methods, proofs of theorems concerning sets, relations,
functions, finite and infinite sets.
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3(2-2-5)
Ordinary Differential Equations
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
สมการเชิงอนุพันธ์อันดับที่หนึ่ง และการประยุกต์ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง และ
การประยุกต์ การแปลงลาปลาซ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ ผลเฉลยในรูปของอนุกรมกาลัง
Differential equations of first order and applications, linear differential equations
of higher order and applications, Laplace transform, system of differential equations, power series
solutions.
252212 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1 3(2-2-5)
Mathematical Analysis 1
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
ระบบจานวนจริง ทอพอโลยีของเส้นจานวนจริง ลาดับของจานวนจริง ลิมิตและความต่อเนื่อง
การหาอนุพันธ์ ปริพันธ์แบบรีมันน์ อนุกรมของจานวนจริง
The real number system, topology on the real line, sequences of real numbers,
limits and continuity, differentiation, Riemann integration, series of real numbers.
252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1 3(2-2-5)
Linear Algebra 1
เมทริกซ์สมมูล ค่าลาดับชั้นเมทริกซ์ ระบบสมการเชิงเส้นและผลเฉลย ตัวกาหนดและหลักเกณฑ์
คราเมอร์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น ค่าเฉพาะและเวกเตอร์เฉพาะเบื้องต้น
Equivalent matrices, rank of matrices, system of linear equations and solution,
determinants and Cramer’s rule, vector spaces, linear transformations, introduction to eigenvalues
and eigenvectors.
252222 พีชคณิตนามธรรม 1 3(2-2-5)
Abstract Algebra 1
วิชาบังคับก่อน : 252141 หลักคณิตศาสตร์
กรุป กรุปการเรียงสับเปลี่ยน กรุปวัฏจักร สาทิสสัณฐานของกรุป ทฤษฎีบทเคย์เลย์ ทฤษฎีบท
ลากรานจ์ กรุปย่อยปรกติ กรุปผลหาร ทฤษฎีบทหลักมูลสาทิสสัณฐานของกรุป ริง ไอดีล อินทิกรัลโดเมน และฟีลด์
เบื้องต้น
Groups, permutation groups, cylic groups, group homomorphisms, Cayley’ s
Theorem, Lagrange’ s Theorem, normal subgroups, quotient groups, fundamental theorem of
group homomorphisms, rings, ideals, integral domains and introduction to fields.
36

252223 ทฤษฎีจานวน 1 3(2-2-5)


Theory of Numbers 1
วิชาบังคับก่อน : 252141 หลักคณิตศาสตร์
คุณสมบัติเบื้องต้นของจานวนเต็ม การหารลงตัว จานวนเฉพาะ ตัวหารร่วมมาก สมการไดโอแฟน
ไทน์เชิงเส้น ฟังก์ชันในทฤษฎีจานวน สมภาค รากปฐมฐาน
Elementary properties of integers, divisibility, prime, greatest common divisors,
linear Diophantine equations, number theoretic functions, congruence, primitive roots.
252251 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย 3(2-2-5)
Discrete Mathematics
เทคนิคการนับเบื้องต้น ความสัมพันธ์เวียนเกิด ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น ทรีและข่ายงาน แลททีซและ
พีชคณิตบูลีน
Basic counting techniques, recurrence relations, elementary graph theory, tree
and network, lattice and Boolean algebra.
252311 แคลคูลัสขั้นสูง 3(2-2-5)
Advanced Calculus
วิชาบังคับก่อน : 252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
ฟังก์ชันเวกเตอร์ ปริพันธ์ตามเส้นและปริพันธ์ตามผิว อนุกรมฟูริเยร์ สมการความร้อนและ
สมการคลื่น
Vector functions, line and surface integrals, Fourier series, heat and wave
equations.
252314 การวิเคราะห์เชิงซ้อนเบื้องต้น 3(2-2-5)
Introduction to Complex Analysis
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
สมบัติของจานวนเชิงซ้อน ฟังก์ชันมูลฐาน การหาอนุพันธ์ ฟังก์ชันวิเคราะห์ การหาปริพันธ์
อนุกรมกาลัง ทฤษฎีบทส่วนตกค้าง และการประยุกต์
Properties of complex numbers, elementary functions, differentiation, analytic
functions, integration, power series, residue theorem and applications.
252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น 3(2-2-5)
Introduction to Numerical Analysis
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
ผลเฉลยของสมการไม่เชิงเส้น การประมาณค่าในช่วง ฟังก์ชันการประมาณ การหาอนุพันธ์ และ
ปริพันธ์เชิงตัวเลข ผลเฉลยเชิงตัวเลขของระบบสมการเชิงเส้น ผลเฉลยเชิงตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
Solution of nonlinear equations, interpolation, approximation functions, numerical
differentiations and integrations, numerical solution of systems of linear equations, numerical
solution of ordinary differential equations.
37

252331 เรขาคณิต 3(2-2-5)


Geometry
สมบัติของรูปร่างทางเรขาคณิต เรขาคณิตแบบยูคลิด เรขาคณิตพิกัด เรขาคณิตของการแปลง
เรขาคณิตแบบนอนยูคลิด
Properties of geometric shapes, Euclidean geometry, coordinate geometry,
transformation geometry, non-Euclidean geometry.
252351 ทฤษฎีกราฟ 3(2-2-5)
Graph Theory
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีกราฟ กราฟที่อยู่บนระนาบและกราฟที่ไม่อยู่บนระนาบ เมทริกซ์แทน
กราฟ ฟังก์ชันถอดแบบของกราฟ ทรี กราฟระบุทิศทาง ข่ายงาน การระบายสีของกราฟ
Basic concepts of graph theory, planar and nonplanar graphs, matrix
representation of graph, isomorphism of graphs, tree, directed graph, networks, the coloring of
graphs.
252352 คอมบินาทอริกส์ 3(2-2-5)
Combinatorics
วิธีการนับสาหรับการจัดเรียง การเลือก และการแจงแจง หลักการรังนกพิราบและทฤษฏีบทของ
แรมเซย์ สัมประสิทธิ์ทวินามและอเนกนาม ฟังก์ชันก่อกาเนิด ความสัมพันธ์เวียนเกิด ทฤษฎีบทโพยา
Counting methods for arrangements, selections and distributions, the pigeonhole
principle and the theorem of Ramsey, binomial and multinomial coefficients, generating
functions, recurrence relations, Poya Theorem.
252375 ซอฟท์แวร์ทางคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Mathematical Software
การใช้ชอฟท์แวร์ทางคณิตศาสตร์ เช่น เลเทค แมทแลบ แมททิแมทิคา หรือ เมเปิล เพื่อ
ประโยชน์ทางวิชาการ
Using mathematical software such as LaTex, MATLAB, Mathematica or Maple for
academic purposes.
252400 โครงงานคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Mathematics Project
ศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการ และขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบโครงงาน
และการแก้ปัญหา
Study meaning, concepts, principles of project approach and problem solving
learning management in Mathematics.
252401 คณิตศาสตร์มูลฐานสาหรับครู 3(2-2-5)
Fundamental Mathematics for Teachers
ทฤษฏีเซตเบื้องต้น ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและ
ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ระบบจานวนจริง จานวนเชิงซ้อน เวกเตอร์ในระบบสามมิติ
38

Introduction to set theory, introduction to logic, relations and functions,


exponential and logarithmic functions, trigonometric function, real number system, complex
number, vectors in three dimensions.
252402 ทฤษฎีสมการเบื้องต้นสาหรับครู 3(2-2-5)
Introduction to Theory of Equations for Teachers
สมการพหุนามและราก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมการกาลังสามและกาลังสี่ การแยกกันของราก
สมการไดโอแฟนไทน์
Polynomial equations and their roots, particularly cubic and biquadratic equations;
separation of roots; Diophantine equations.
255121 สถิติวิเคราะห์ 3(2-2-5)
Statistical Analysis
ความหมาย ขอบเขต และประโยชน์ของวิชาสถิติ ระเบียบวิธีการทางสถิติ การวัดแนวโน้ม
เข้าสู่ส่วนกลาง และการวัดการกระจาย ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปร
สุ่มแบบไม่ต่อเนื่องและต่อเนื่องบางชนิด การแจกแจงของตัวสถิติ การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
การวิเคราะห์ความแปรปรวนเบื้องต้น การวิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์ และการทดสอบไคกาลังสอง
Concept, extent and utility of statistics, statistical methodology, measures of
central tendency and dispersion, probability, random variables, some probability distributions
of discrete and continuous random variables, sampling distribution, estimation and testing
hypotheses, elementary analysis of variance, regression and correlation analysis, Chi-square test.
256103 เคมีเบื้องต้น 4(3-3-7)
Introductory Chemistry
โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุและสมบัติของธาตุ พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ ของแข็ง แก๊ส
ของเหลวและสารละลาย สมดุลเคมี อุณหพลศาสตร์ จลนศาสตร์เคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีอินทรีย์และสารชีวโมเลกุล
เคมีสิ่งแวดล้อม สารประกอบของธาตุหมู่หลักและโลหะทรานซิชัน เคมีอุตสาหกรรม และเคมีนิวเคลียร์
Atomic structures, periodic table and properties of elements, chemical bonding,
stoichiometry, solid, gas, liquid and solution, chemical equilibrium, themodynamics, chemical
kinetics, acid- base, electrochemistry, organic chemistry and biomolecules, environmental
chemistry, compounds of representative and transition elements, industrial chemistry and nuclear
chemistry.
258101 ชีววิทยาเบื้องต้น 3(3-0-6)
Introductory Biology
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ สารเคมีของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและ เมแท
บอลิซึมของเซลล์ พันธุศาสตร์ โครงสร้างและหน้าที่ของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์ กลไกการเกิดวิวัฒนาการ
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ปฏิสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรม
Properties of life, scientific methods, chemical building blocks of life, structure and
metabolism of cells, genetics, structures and functions of plants, structures and functions of
animals, mechanism of evolution, diversity of life, interactions between organisms and
environment, behavior.
39

261103 ฟิสิกส์เบื้องต้น 4(3-3-7)


Introductory Physics
คณิตศาสตร์ที่ใช้ในฟิสิกส์ กฎการเคลื่อนที่ แรงโน้มถ่วง งานและพลังงาน โมเมนตัม และการชน
การเคลื่อนที่แบบหมุน สมบัติของสสาร กลศาสตร์ของไหล ปรากฏการณ์คลื่นและเคออส เทอร์โม ไดนามิกส์
แม่เหล็กไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ฟิสิกส์ยุคใหม่
Mathematics for physics, law of motion, gravitational force, work and energy,
momentum and collisions, rotation motion, properties of matter, mechanic of fluids, wave
phenomena and chaos, thermodynamics, electricity and magnetism, basic electric circuits,
modern physics.
353432 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3(3-0-6)
Management of Student Development Activities
มโนทั ศ น์ เ กี่ ย วกั บ การจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาผู้ เ รี ย น หลั ก การและทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
การจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู และผู้ปกครองในการส่งเสริม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชมรมและการจัดการชมรมในสถานศึกษา การวางแผนและเขียนโครงการจัดกิจกรรม การ
ดาเนินการจัดกิจกรรม และการประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งครอบคลุมกิจกรรมแนะแนวและ
กิจกรรมนักเรียน ประกอบด้วย กิจกรรมรู้จักเข้าใจและเห็นคุณค่าตนเองและผู้อื่น กิจกรรมแสวงหาและใช้ข้อมูล
สารสนเทศ กิจกรรมการตัดสินใจและแก้ปัญหา กิจกรรมการปรับตัวและดารงชีวิต กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ยุว
กาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รักษาดินแดน กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมอื่น ๆ ตาม
ความถนัดและความสนใจ
Concepts, principles, and theories related to student development activities,
roles of school committees, principals, teachers, and parents in promoting the activities, clubs
and management of clubs, planning, project writing, operating, and evaluating the student
development activities which including guidance activities and student activities, composed of
the value justification activities, the information survey and utilization activities, the decision-
making and problem- solving activities, the life adaptation and preservation activities, scouting,
junior red- cross activities, and the like, social creation activities, religious activities, and other
activities in accordance with ones’ interests.
353433 จิตวิทยาพัฒนาการ 3(3-0-6)
Developmental Psychology
ทฤษฎี แ ละกระบวนการพั ฒ นาการของมนุ ษ ย์ ทั้ ง ด้ า นร่ า งกาย อารมณ์ สั ง คม สติ ปั ญ ญา
และคุณธรรม ตั้งแต่ปฏิสนธิจนวัยชรา อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพัฒนาการ ปัญหาพฤติกรรม
และความผิ ด ปกติ ที่ เ กิ ด จากกระบวนการพั ฒ นาการในแต่ ล ะช่ ว งวั ย การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการและ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับช่วงวัยต่าง ๆ
Theories and process of physical, emotional, social, intellectual, and moral
development of human beings, from birth to becoming elderly, the influences of heredity and
environment to human development, behavioral problems, abnormalities caused by process of
development in each stage, and how to promote the development and provide learning in
accordance with each developmental stage.
40

354411 การบริหารคุณภาพสถานศึกษา 3(3-0-6)


School Quality Management
มโนทั ศ น์ เ กี่ ย วกั บ การบริ ห าร และวิ วั ฒ นาการการบริ ห าร หลั ก การบริ ห ารการศึ ก ษา
ระบบบริ ห ารราชการไทย การจั ด องค์ ก ารในสถา นศึ ก ษา บทบาทหน้ า ที่ ข องผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา
การบริหารงานในสถานศึกษา การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน การจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษามาตรฐาน
และการประกันคุณภาพการศึกษา ระบบประกันคุณภาพภายในและภายนอกสถานศึกษา
Concepts and evolution of administration, principles of educational
administration, public administration in Thailand, school organization, roles of school
administrators, management of works in schools, promotion of community- school relationship,
management of information system in schools, standards and quality assurance of education,
internal and external quality assurance systems for schools.
354413 ชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3(2-2-5)
Community and Participation in Education
ความหมาย และความส าคัญของชุมชน ความเข้มแข็งของชุมชนกับความเจริญมั่นคงของ
ประเทศ บทบาทของการศึกษาในการสร้างชุมชนที่เข้มแข็ง บทบาทของชุมชนในการพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นกับการมี
ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับการพัฒนาการศึกษาและชุมชน
Meanings and significance of community, community strength and its relations to
national security, roles of education in the strengthening of community, roles of community in
the development of education, locality and its participation in educational management, and
participatory action research and its contribution to education and community.
354431 นันทนาการในโรงเรียนและชุมชน 3(2-2-5)
Recreation in School and Community
ประวัติ ปรัชญา ความหมาย ความสาคัญและประโยชน์ของนันทนาการ ทฤษฎีการจัดการ
นันทนาการ ความสาคัญของทรัพยากรทางนันทนาการ การจัดและบริหารนันทนาการในโรงเรียนและชุมชน
การด าเนิ น งานนั น ทนาการของนั ก เรี ย น ระเบี ย บว่ า ด้ ว ยการจั ด กิ จ กรรมนั ก เรี ย นของกระทรวงศึ ก ษาธิการ
นันทนาการชุมชน ลักษณะของชุมชนด้านประชากร สถาบันหรือองค์การในสังคมศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรม
และกิจกรรมนันทนาการของชุมชน
History, philosophy, definition, importance and benefits of recreation, theories of
recreation management, importance of recreation resources, organization and recreation
management in schools and communities, operational recreation of the students, regulations on
the students activities of the Ministry of Education, recreation community, demographic
characteristics of the community, institutions or social organizations in the arts, traditional culture
and community activities.
41

355431 คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 3(2-2-5)


Computers in Education
หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน การออกแบบ และการพัฒนาสื่อการเรียนรู้
ด้วยคอมพิวเตอร์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
Principles and the theories related to planning, designing and developing learning
media by the utilization of computers and electronic media.
366191 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 1 1 หน่วยกิต
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 1
การปฏิบัติการสอนวิชาเอก ศึกษาแนวคิดทฤษฎี องค์ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู และงานครู
สังเกตและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ศึกษาสารสนเทศเกี่ยวกับการบริหาร
บุคลากรและอาคารสถานที่ในโรงเรียน มีส่วนร่วมในกิจกรรมของสถาน ศึกษา วิเคราะห์ สภาพการณ์จริงจาก
การศึกษา สังเกตเชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฎี เขียนสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงาน
Practicum in teaching specific subject matter, studying about concepts, theories,
knowledge about profession of teacher and teacher’s duty, observing and participating in learning
management and classroom management, studying information about administration, personnel
and school buildings, participating in school activities, analyzing authenticity through observation,
linking to theories, writing and reporting about practical work.
366202 จิตวิทยาสาหรับครู 3(2-2-5)
Psychology for Teachers
แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ จิ ต วิ ท ยาพั ฒ นาการ จิ ต วิ ท ยาการศึ ก ษา และจิ ต วิ ท ยาการให้ ค าปรึ ก ษา
การใช้องค์ความรู้ วิธีการ และเครื่องมือทางจิตวิทยา เพื่อทาความเข้าใจผู้เรียน และกาหนดแนวทางแก้ไขปัญหา
หรือพัฒนาผู้เรียน
Concepts about developmental psychology, educational psychology, guidance
and counseling psychology, utilization of knowledge, methods and psychology- based tools to
understand learners and to determine ways to solve the problems or to develop learners.
366203 ความเป็นครู 3(2-2-5)
Being Professional Teachers
คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมตามหลักปรัชญาการศึกษาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จรรยาบรรณวิชาชีพครู การสร้างจิตวิญญาณความเป็นครูและความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งในโลกยุคศตวรรษที่ 21
การยอมรับเข้าใจและออกแบบการสร้างการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล การสร้างแรง
บันดาลใจ และสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ คิดแก้ปัญหาเพื่อสร้างสิ่งใหม่ ๆ
การเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องและทันต่อการเปลี่ยนแปลง
Ethics, morality and values according to educational philosophy and sufficient
economy philosophy, teacher professional ethics, enhancement of spirituality as a teacher and
citizenship’ s strength in 21st century, acceptance and understandings about learning design
according to individual differences, inspiration and creation on learning environment allowing
learners to seek knowledge, solving problems in order to innovate, lifelong learning and
continuous self-development to keep up with the changes.
42

366292 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 2 2 หน่วยกิต


Practicum in Teaching Specific Subject Matter 2
การปฏิ บั ติ ก ารสอนวิ ช าเอก ท าหน้ า ที่ ผู้ ช่ ว ยครู ช่ ว ยงานประจ าชั้ น งานจั ด การเรี ย นรู้
งานจั ด การชั้ น เรี ย น งานดู แ ละช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย น งานวั ด ประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น
ในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
Practicum in teaching specific subject matter, practicing as a teacher assistant,
classroom routines, learning management, student caring, learning measurement and assessment,
creatively working with others in schools.
366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5)
Curriculum Development
หลักการและแนวคิดในการจัดทาหลักสูตร การวิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาและหลักสูตรและจัดทา
หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้การพัฒนาหลักสูตร ปฏิบัติการประเมินหลักสูตรและนาผลการประเมินไปใช้ในการ
พัฒนาหลักสูตร
Principles and concepts in a constructing curriculum, analyzing educational
philosophy and curriculum, constructing curriculum, curriculum implementation,
curriculum development, practicum curriculum evaluation and using the evaluated results
to develop curriculum.
366305 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้และการประกันคุณภาพ 3(2-2-5)
Learning Measurement and Assessment and Quality Assurance
หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และการประกันคุณภาพ
การศึกษา การวิเคราะห์และการออกแบบการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการเรียนรู้และ
การประกันคุณภาพการศึกษา ปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การนาผลประเมินไปใช้ในการ
พัฒนาผู้เรียน และการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษา การใช้ผลการประกันคุณภาพเพื่อพัฒนาการจัด
การศึกษา
Principles, concepts, and practices about learning measurement and assessment
and education quality assurance, analysis and design about assessment to develop learners,
according to learning goals and education quality assurance, practices about learners’ learning
measurement and assessment, using the assessment results to develop learners and writing the
education quality assurance report, using the education quality assurance results to develop
educational management.
366306 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน 3(2-2-5)
Learning Management and Classroom Management
แนวคิ ด และบทบาทหน้ า ที่ ค รู เ กี่ ย วกั บ การจั ด การเรี ย นรู้ แ ละการจั ด การชั้ น เรี ย นที่ เ น้ น
การพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 ความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ข้ามศาสตร์ การวิเคราะห์หลักสูตร การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ จัดการชั้นเรียน วินัยในชั้นเรียนและการ
สร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและทดลองจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์จริง
Concepts and roles of the teachers about learning and classroom management
emphasizing on the development of 21st century skills, technological pedagogical content
43

knowledge (TPCK), cross-disciplinary integrated learning management, curriculum analysis, lesson


plan design, classroom and students’ discipline management, and creation of classroom
atmosphere supported learners’ learning, experimentation of teaching and learning in authentic
classroom situation.
366307 ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนานวัตกรรม 3(2-2-5)
Language and Digital Technology for Innovation Development
การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพครู หลักการ แนวคิด การประยุกต์
และการประเมินสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล การออกแบบ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา การ
พัฒนาสื่อและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
Thai and English language usage for teacher professional, principles, concepts,
applications and evaluation of media, innovation and digital technology, design, usage of digital
technology for education, development of learning media and learning management innovation.
366393 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 3 3 หน่วยกิต
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 3
การปฏิบั ติการสอนวิช าเอก สร้างหลั กสู ตรรายวิชา วางแผนและออกแบบกิจกรรมการจัด
การเรียนรู้ ผลิตสื่อ/นวัตกรรม และจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ และการบริหารจัดการ
ชั้นเรียนที่เสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
พัฒนาตนเอง ทบทวนการปฏิบัติงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และปรับปรุง
Practicum in teaching specific subject matter, creating curriculum course, planning
and designing about learning activities, producing media/ innovation and providing learning
environment to support students’ learning, learning management, and classroom management
which enhance 21st century learning skills, measurement and assessment to develop learners,
arranging learner development activities, self- development, reviewing about practices, sharing
and improving.
366409 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5)
Research for Learning Development
หลั ก การ แนวคิ ด แนวปฏิ บั ติ ใ นการวิ จั ย การใช้ ง านวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นรู้
และปฏิบัติการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน
Principles, concepts, practices about research, using research to develop learning,
and practicing conducting research to develop learning and learners.
366411 การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3(3-0-6)
Inclusive Education
ปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สิทธิตามกฎหมาย สาหรับ
ผู้ มีความต้องการพิเศษในการศึกษาและอยู่ร่ว มกับบุคคลอื่นในสั งคม การเตรียมนักเรียน ครู โรงเรียน และ
ผู้ปกครองสาหรับการศึกษาแบบเรียนรวม รูปแบบและวิธีการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมที่เหมาะสมกับสังคมไทย
44

Philosophy, ideas, and theories about inclusive education, educational rights of


children with special needs as provided by laws, rights to live happily with other people in the
society, preparation of the students, teachers, schools, and parents for inclusive education, and
models and methods for inclusive education which is suitable for Thai society.
366412 ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชน 3(2-2-5)
School, Parent and Community Engagement
การศึ ก ษาบนฐานชุ ม ชน แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู้ ท างวิ ช าชี พ การสร้ า ง
ความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน และชุมชน บทบาทและทักษะความเป็นผู้นาในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ การศึกษาบริบทชุมชนบนพื้นฐานความแตกต่างทางสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม การส่งเสริมภูมิปัญญา
ท้องถิ่นเพื่อร่วมพัฒนาผู้เรียนและชุมชน
Community - based on education, concepts about professional learning
community ( PLC) , teacher student and community engagement, roles and leadership skills to
create PLC, the study of community context based on environment and cultural differences and
diversities, the promotion of local wisdom conservation for developing students and community.
366421 ภาษากับการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5)
Language and Learning Management
หลักการและการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทยที่ถูกต้องเพื่อการสื่อสารกับ
นั กเรี ย นในระดับ การศึกษาขั้น พื้น ฐาน เน้ นทั้งการสนทนา การบรรยาย การเล่ านิทาน การกล่ าวสุ นทรพจน์
การอ่านบทความวิชาการและวิจัย การเขียนบทความในวารสารสาหรับเด็ก และการแก้ปัญหาการใช้ภาษาไทยของ
นั ก เรี ย น หลั ก การและการฝึ ก ทั ก ษะการฟั ง พู ด อ่ า น และ เขี ย นภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารกั บ นั ก เรี ย น
ครูผู้บริหารการศึกษา และผู้ปกครองนักเรียน เน้นการจับใจความ การโต้ตอบด้วยภาษาเขียนและภาษาพูดใน
ส าเนี ย งที่ ถู ก ต้ อ ง และการน าเสนอรายงานต่ อ ที่ ป ระชุ ม ในชั้ น เรี ย นเกี่ ย วกั บ ชี วิ ต ประจ าวั น ของนั ก เรี ย น
ชุมชน สังคมไทย และระบบการศึกษาของประเทศไทยและนานาประเทศ
Principles and practices of listening, speaking, reading, and writing skills of correct
Thai language to be used with students in basic education level, focusing on conversation, lecture,
storytelling, public speech, academic articles reading and research articles reading, writing for
children's journal, and solving Thai language problems among the students, principles and
practices of listening, speaking, reading, and writing skills of communicative English language to
be used with students, teachers, principals, and children's parents, focusing on conceptual
meaning, reflexive skills for appropriate writing and speaking, and classroom presentation related
to students' daily life, community, Thai society, educational systems of Thailand and other
countries.
366494 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 4 6 หน่วยกิต
Practicum in Teaching Specific Subject Matter 4
การปฏิบัติการสอนวิชาเอก ปฏิบัติภารกิจอย่างครบถ้วนเกี่ยวกับงานที่สถานศึกษามอบหมาย และ
งานในหน้าที่ครู วิจัยสร้างนวัตกรรมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ร่วมมืออย่าง
สร้างสรรค์กับผู้เกี่ยวข้องในการแก้ ไขปัญหา/พัฒนาผู้เรียน ปรับปรุงและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมี ส่วน
ร่วมในกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ
45

Practicum in teaching specific subject matter, practicing all dimensions as a teacher


based on job description and assignment, conducting research to innovate and apply digital
technologies to develop learning management, collaborating creatively with persons in charge in
solving and developing learners, continuously improving and developing one’ s self and
participating in professional development activities.
369461 โครงการสุขภาพและสวัสดิศึกษาในสถานศึกษา 3(2-2-5)
School Health and Safety Program
โครงการสุ ขภาพในสถานศึกษา อาหารและโภชนาการ โครงการอาหารกลางวัน หลั กการ
จัดสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติดในสถานศึกษา หลักการและวิธีสอนเพศศึกษาในสถานศึกษา
School health projects, food and nutrition, school lunch program, principles of
school environment management, promotion of health and safety for students, prevention and
solving of drugs problems in schools, and principles and methods for instruction of sex education
in schools.
369385 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา 3(2-2-5)
Learning Management of Mathematics in Primary Schools
ศึกษา วิเคราะห์ ระบุธรรมชาติและลักษณะของวิชาคณิตศาสตร์ระดับ ประถมศึกษา แนวคิด วิธี
สอนและเทคนิคการสอนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาเพื่อสร้างความคิดรวบยอด
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิเคราะห์ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับแนวคิดคณิตศาสตร์ที่ผู้เรียนมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนและปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา และหาแนวทางแก้ปัญหา ฝึกปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา
Study, analyze and identify the nature of mathematics in primary schools,
principle, teaching methods and technique for teaching primary mathematics concepts, skills and
process and habit of mind, measurement and assessment of mathematics learning, analyze
problems of misconception in primary mathematics and other related mathematics learning
problems and find the solutions, practice in teaching primary school mathematics.
369486 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 3(2-2-5)
Learning Mathematics Teaching in Secondary Schools
ศึกษา วิเคราะห์ ระบุธรรมชาติและลักษณะของวิชาคณิตศาสตร์ระดับ มัธยมศึกษา แนวคิด วิธี
สอนและเทคนิคการสอนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาเพื่อสร้างความคิดรวบยอด ทักษะ
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์และจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิเคราะห์ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับแนวคิดคณิตศาสตร์ที่ผู้เรียนมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนและปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาและหาแนวทางแก้ปัญหา ฝึกปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา
46

Study, analyze and identify the nature of mathematics in secondary schools,


principle, teaching methods and technique for teaching secondary mathematics concepts, skills
and process and habit of mind, measurement and assessment of mathematics learning, analyze
problems of misconception in secondary mathematics and other related mathematics learning
management problems and find the solutions, practice in teaching secondary school
mathematics.
378311 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการเรียนรู้ 3(3-0-6)
Sufficiency Economy Philosophy into Teaching
ความหมาย เป้าหมาย องค์ประกอบของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการประยุกต์ใช้หลักปรัชญา
เศรษฐกิจ พอเพีย งเพื่อการจั ดการเรี ย นรู้ ในสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความพอประมาณ ความ
มีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ความตระหนักในความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรม และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Philosophy, meaning and component of sufficiency economy, principle of applying
sufficiency economy philosophy for teaching in school, instruction promoting moderation,
reasonableness and self- immunity, awareness on importance of ethics and virtues, sharing and
learning.
396445 การอยู่ค่ายพักแรม 3(2-2-5)
Camping
ประวัติ และวิวัฒนาการของค่ายพักแรมในยุคต่าง ๆ คุณค่าของค่ายพักแรมในด้านพัฒนาบุคคล
ด้านการพักผ่อนหย่อนใจ ประเภทของค่ายพักแรม องค์การที่จัดค่ายพักแรม การปฏิบัติตนเป็นชาวค่ายที่ดี และ
การจัดการดาเนินการค่ายพักแรม
History and evolution of camping, values of camping in personal development
and recreation, types of camping, camping organizations, good behavior of campers, brief
management and procedures of camping.
396463 เพศศึกษา 3(3-0-6)
Sex Education
ความรู้ ความเข้าใจเกี่ย วกับพื้นฐานทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ พัฒ นาการทางเพศ ความ
แตกต่างทางเพศ การวางตัว ระหว่างเพศ ความใคร่ของมนุษย์และการตอบสนองที่เหมาะสม การหลี กเลี่ ยง
สถานการณ์เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่พึงประสงค์ รวมไปถึงความแตกต่างระหว่างแนวคิดและทัศนคติระหว่าง
เพศ การเลือกคู่ครอง การวางแผนครอบครัว และการปรับตัวในการใช้ชีวิตร่วมกัน
Knowledge and understanding of woman’ s, gender, behavior, development,
sexuality difference, interaction between gender, sexual desire and appropriate sexual response,
avoidance of risky situations to inappropriate sexual intercourse; differences of sexual concepts
and attitudes among adolescents, criteria for life- partner selection, family planning, and self-
adjustment of living together.
47

398487 สื่อการสอนคณิตศาสตร์สาหรับศตวรรษที่ 21 3(2-2-5)


Instructional Media for Teaching Mathematics in 21st Century
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการออกแบบสื่อการสอนคณิตศาสตร์เพื่อทักษะในศตวรรษที่ 21
รู ป แบบสื่ อ การสอนคณิ ต ศาสตร์ ต่ า งๆ การปฏิ บั ติ ก ารออกแบบการสร้ า งสื่ อ การทดลองใช้ และ ประเมิ น
ประสิทธิภาพของสื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21
Principles, concepts of instructional media for mathematics learning in 21st
century, various models of mathematics medias, practices in media designs and development,
application and assessment to promote mathematics learning in 21st century.
398488 การบูรณาการคณิตศาสตร์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(2-2-5)
Integration of Mathematics with Local Wisdom
ความหมาย ความสาคัญและประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหมายและรูปแบบของการ
เรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การออกแบบแผนการจัดการ
เรียนรู้และการวัดผลและประเมินผลคณิตศาสตร์บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การฝึกปฏิบัติการจัดการเรียนรู้
คณิตศาสตร์บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
Definition, importance and types of local wisdom, definition and models of
integrated learning, learning management with integration of mathematical content and local
wisdom, designing multidisciplinary integrated lesson plans, measurement and evaluation of
mathematics lerning integrated to local wisdom, practice in teaching mathematics integrated to
local wisdom.
398489 วรรณกรรมเด็กและการสอนคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Children Literature and Mathematics Teaching
องค์ประกอบและลั กษณะของวรรณกรรมสาหรับเด็ก บทบาทของวรรณกรรมต่อการเรี ยนรู้
การเขียนและการใช้ภาพสื่อความหมายเพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในเรื่องเลขคณิต เรขาคณิต และ พีชคณิต
Components, and characteristics of children literature, roles of literature in
learning, writing and illustration to transfer knowledge of arithmetic, geometry and algebra.
48

3.1.6 ความหมายของเลขรหัสวิชา
ความหมายของเลขรหัสประจาวิชาในหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (หลักสูตร 4 ปี)
ประกอบด้วยตัวเลข 6 ตัว แยกเป็น 2 ชุด ชุดละ 3 ตัว มีความหมาย ดังนี้

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ความหมายของเลขรหัสวิชา
เลขสามตัวแรก
001 หมายถึง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
เลขสามตัวหลัง
เลขรหัสตัวแรก (หลักร้อย) หมายถึง วิชาศึกษาทั่วไป ปี พ.ศ. 2560
เลขรหัสตัวที่สอง (หลักสิบ) หมายถึง หมวดหมู่ในรายวิชาศึกษาทั่วไป
- กลุ่มวิชาภาษา ประกอบด้วย
เลข 0 หมายถึง ภาษาไทย
เลข 1 หมายถึง ภาษาอังกฤษ
- กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ประกอบด้วย
เลข 2 หมายถึง รายวิชาด้านมนุษยศาสตร์
- กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย
เลข 3 หมายถึง รายวิชาด้านสังคมศาสตร์
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย
เลข 7 หมายถึง รายวิชาด้านวิทยาศาสตร์
- กลุ่มวิชาพลานามัย ประกอบไปด้วย
เลข 8 หมายถึง รายวิชาด้านพลานามัย
เลขรหัสสุดท้าย (หลักหน่วย) หมายถึง อนุกรมในกลุ่มรายวิชา
49

หมวดวิชาเฉพาะ
วิชาชีพครู
ความหมายของเลขรหัสวิชา เป็นจานวนเลข 6 หลักนั้น มีความหมาย ดังนี้
เลขสามตัวแรก
353 หมายถึง สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์
เลขสามตัวหลัง (นับจากขวาไปซ้าย) ให้ความหมายดังนี้
เลขหลักหน่วย แสดงถึง อนุกรมของรายวิชา
เลขหน่วยสิบ แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา
เลข 1 หมายถึง กลุ่มวิชาการแนะแนวและอาชีพศึกษา
เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชาการให้คาปรึกษา
เลข 3 หมายถึง กลุ่มวิชาจิตวิทยา
เลข 4 หมายถึง กลุ่มวิชาฝึกปฏิบัติทางจิตวิทยาการแนะแนว
และการพัฒนางานจิตวิทยาการแนะแนว
เลข 5 หมายถึง กลุ่มวิชาบุคลิกภาพ
เลขหลักร้อย แสดงถึง ชั้นปีและระดับ

เลขสามตัวแรก
354 หมายถึง สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
เลขสามตัวหลัง (นับจากขวาไปซ้าย) ให้ความหมายดังนี้
เลขหลักหน่วย แสดงถึง อนุกรมของรายวิชา
เลขหน่วยสิบ แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา
เลข 1 หมายถึง วิชาการ
เลข 2 หมายถึง ธุรการ
เลข 3 หมายถึง กิจการนักเรียน
เลข 4 หมายถึง บริหารและแผน
เลขหลักร้อย แสดงถึง ชั้นปีและระดับ
50

เลขสามตัวแรก
355 หมายถึง สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์
เลขสามตัวหลัง (นับจากขวาไปซ้าย) ให้ความหมายดังนี้
เลขหลักหน่วย แสดงถึง อนุกรมของรายวิชา
เลขหน่วยสิบ แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา
เลข 1 หมายถึง เทคโนโลยีการศึกษา
เลข 2 หมายถึง การฝึกอบรม
เลข 3 หมายถึง คอมพิวเตอร์
เลข 4 หมายถึง การสื่อสาร
เลข 5 หมายถึง แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
เลขหลักร้อย แสดงถึง ชั้นปีและระดับ

เลขรหัสสามตัวแรก
366 หมายถึง วิชากลางของคณะศึกษาศาสตร์
เลขรหัสสามตัวหลัง (นับจากซ้ายไปขวา) ให้ความหมายดังนี้
รหัสหลักร้อย หมายถึง ชั้นปีและระดับที่จัดรายวิชาสอน
เลข 1-2 ในรายวิชาชีพครูบังคับ หมายถึง รายวิชาชีพครูที่จัดสอนในชั้นปีที่ 1 หรือ 2
เลข 3-4 ในรายวิชาชีพครูบังคับ หมายถึง รายวิชาชีพครูที่จัดสอนในชั้นปีที่ 3 หรือ 4
เลข 1 ในปฏิบัติการวิชาชีพครู หมายถึง ปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษาชั้นปีที่ 1
เลข 2 ในปฏิบัติการวิชาชีพครู หมายถึง ปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษาชั้นปีที่ 2
เลข 3 ในปฏิบัติการวิชาชีพครู หมายถึง ปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษาชั้นปีที่ 3
เลข 4 ในปฏิบัติการวิชาชีพครู หมายถึง ปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษาชั้นปีที่ 4
รหัสหน่วยสิบ หมายถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา
เลข 0-1 หมายถึง หมวดวิชาชีพครูพื้นฐานทางศึกษาศาสตร์
เลข 9 หมายถึง หมวดวิชาประสบการณ์ในโรงเรียน
เลขหลักหน่วย แสดงถึง อนุกรมของรายวิชา
51

เลขสามตัวแรก
369 หมายถึง สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์
เลขสามตัวหลัง (นับจากขวาไปซ้าย) ให้ความหมายดังนี้
เลขหลักหน่วย แสดงถึง อนุกรมของรายวิชา
เลขหน่วยสิบ แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา
เลข 1 หมายถึง หลักสูตร
เลข 2-3 หมายถึง การสอน
เลข 4 หมายถึง สื่อการเรียนการสอน
เลข 5 หมายถึง การวัดและประเมินหลักสูตรและการเรียน
การสอน
เลข 6 หมายถึง วิจัยหลักสูตร
เลข 9 หมายถึง คุณลักษณะความเป็นครู
เลขหลักร้อย แสดงถึง ชั้นปีและระดับ

หมวดวิชาบังคับ หมวดวิชาเฉพาะและเลือกเสรี
รหัส 3 ตัวแรกคือ ตัวเลขประจาสาขาวิชา
396 หมายถึง สาขาวิชาพลศึกษาและวิทยาศาสตร์การออกกาลังกาย
ประกอบด้วยตัวเลข 6 ตัว แยกเป็น 2 ชุด ๆ ละ 3 ตัว มีความหมาย ดังนี้
ตัวเลขสามตัวแรก หมายถึง ตัวเลขเฉพาะของแต่ละภาควิชาหรือสาขาวิชา
ตัวเลขสามตัวหลัง (นับจากซ้ายไปขวาให้ความหมายดังนี้)
เลขหลักร้อย แสดงถึง แสดงชั้นปี
เลขหลักสิบ แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา ดังนี้
เลข 0-4 หมายถึง หมวดวิชาพลศึกษา
เลข 5-6 หมายถึง หมวดวิชาวิทยาศาสตร์การออกกาลังกาย
เลข 9 หมายถึง สัมมนา, การฝึกอบรมหรือการฝึกงาน,
สหกิจศึกษา, การฝึกประสบการณ์
เลขหลักหน่วย แสดงถึง อนุกรมรายวิชา

398 หมายถึง สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์


เลขสามตัวหลัง (นับจากขวาไปซ้าย) ให้ความหมายดังนี้
เลขหลักหน่วย แสดงถึง อนุกรมของรายวิชา
เลขหน่วยสิบ แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา
เลข 1-8 หมายถึง กลุ่มวิชาการสอนที่เกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์
เลขหลักร้อย แสดงถึง ชั้นปีและระดับ
52

ความหมายของเลขรหัสประจาวิชาในหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
ความหมายของรหัสวิชา
ประกอบด้วยตัวเลข 6 ตัว แยกเป็น 2 ชุด ๆ ละ 3 ตัว มีความหมายดังนี้
1. เลขสามตัวแรก เป็น กลุ่มเลขประจาสาขาวิชา
252 หมายถึง สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2. เลขสามตัวหลัง เป็น กลุ่มเลขประจาวิชา
2.1 เลขรหัสตัวแรก (หลักร้อย) แสดงถึง ระดับชั้นปีที่ควรเรียนรายวิชานี้
เลข 1 หมายถึง ระดับชั้นปีที่ 1
เลข 2 หมายถึง ระดับชั้นปีที่ 2
เลข 3 หมายถึง ระดับชั้นปีที่ 3
เลข 4 หมายถึง ระดับชั้นปีที่ 4

2.2 เลขรหัสตัวกลาง (หลักสิบ) แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา ซึ่งประกอบด้วย


เลข 1 หมายถึง กลุ่มวิชาการวิเคราะห์
เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชาพีชคณิต
เลข 3 หมายถึง กลุ่มวิชาเรขาคณิต
เลข 4 หมายถึง กลุ่มวิชาตรรกศาสตร์
เลข 5 หมายถึง กลุ่มวิชาความไม่ต่อเนื่อง
เลข 6 หมายถึง กลุ่มวิชาทอพอโลยี
เลข 7 หมายถึง กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์
เลข 8 หมายถึง กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์การเงิน
เลข 9 หมายถึง กลุ่มวิชาสัมมนา วิจัย หัวข้อพิเศษและวิทยานิพนธ์

2.3 ตัวเลขตาแหน่งที่สาม หมายถึง ลาดับรายวิชา


53

3.2 ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร


3.2.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ตาแหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ ภาระการสอน (ชม./สัปดาห์)
ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้แล้ว
1 นางสาวโสภิตา ขารอด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2548 12 12
วท.ม. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2542
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2539
2 นายเอกรัฐ ไทยเลิศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2551 12 15
วท.ม. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2546
วท.บ. ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2541
3 นางรินรดา ธรรมชัย อาจารย์ Ph.D. Mathematics and Statistics Curtin University Australia 2558 12 12
วท.ม. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2549
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2546
4 นางสาวสุภารัตน์ เชื้อโชติ อาจารย์ M.Sc. Applied Mathematics Case Western Reserve University USA 2554 12 12
B.Sc Mathematics McGiLL University, Montreal. Canada 2550
5 นางสาวสุภาวรรณ อาจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2550 12 12
จันทร์ไพแสง วท.ม. คณิตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2544
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2539
54

3.2.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร
ตาแหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ ภาระการสอน (ชม./สัปดาห์)
ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้แล้ว
1* นางสาวโสภิตา ขารอด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2548 12 12
วท.ม. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2542
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2539
2* นายเอกรัฐ ไทยเลิศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2551 12 15
วท.ม. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไทย 2546
วท.บ. ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2541
3* นางรินรดา ธรรมชัย อาจารย์ Ph.D. Mathematics and Statistics Curtin University Australia 2558 12 12
วท.ม. คณิตศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2549
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2546
4* นางสาวสุภารัตน์ เชื้อโชติ อาจารย์ M.Sc. Applied Mathematics Case Western Reserve University USA 2554 12 12
B.Sc Mathematics McGiLL University, Montreal. Canada 2550
5* นางสาวสุภาวรรณ อาจารย์ วท.ด. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2550 12 12
จันทร์ไพแสง วท.ม. คณิตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2544
วท.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2539

หมายเหตุ * เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
55

3.2.3 อาจารย์ผู้สอน
ตาแฟหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ
ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา
1 นายรัตนะ บัวสนธ์ ศาสตราจารย์ กศ.ด. วิจัยและพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2535
ศษ.ม. จิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ไทย 2531
วิทยาเขตปัตตานี ไทย 2527
กศ.บ การแนะแนว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก
2 นางสาวจิติมา วรรณศรี รองศาสตราจารย์ กศ.ด. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2550
ค.ม. การวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2540
กศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) การประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม ไทย 2536
3 นางจุฑารัตน์ เกตุปาน รองศาสตราจารย์ ศศ.ม. จารึกตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร ไทย 2523
(พิเศษ) ศศ.บ. ภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2520
4 นายฉลอง ชาตรูประชีวิน รองศาสตราจารย์ กศ.ด. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2552
กศ.ม. พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2532
กศ.บ. พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษา ไทย 2524
5 นายชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ รองศาสตราจารย์ ค.ด. หลักสูตรและการสอน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2545
กศ.ม. การมัธยมศึกษา-การสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2534
ศศ.บ. รัฐศาสตร์-การปกครอง มหาวิทยาลัยรามคาแหง ไทย 2527
6 นายดิเรก ธีระภูธร รองศาสตราจารย์ ค.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2547
ค.ม. โสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2538
ศษ.บ. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ไทย 2534
7 นางเทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย รองศาสตราจารย์ ปร.ด. การศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2552
ค.ม. สถิติการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2527
กศ.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2521
8 นายธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย รองศาสตราจารย์ กศ.ด. การบริหารและการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2558
ค.ม. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ไทย 2551
ค.บ. ดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ไทย 2544
56

ตาแฟหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ


ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา
9 นายปกรณ์ ประจันบาน รองศาสตราจารย์ กศ.ด. วิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2548
กศ.ม. วิจัยและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2542
กศ.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก ไทย 2530
10 นายปัญญา สังขวดี รองศาสตราจารย์ Ph.D. Physical Education Agra University India 2552
กศ.ม. พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2527
กศ.บ. พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2521
11 นายภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ รองศาสตราจารย์ ค.ด. พัฒนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2540
กศ.ม. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2535
กศ.บ. เคมี มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ พิษณุโลก ไทย 2525
12 นายภาสกร เรืองรอง รองศาสตราจารย์ ปร.ด. คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร ไทย 2550
ค.ม โสตทัศนศึกษา เหนือ ไทย 2539
ศษ.บ. เทคโนโลยีการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2535
มหาวิทยาลัยศิลปากร
13 นายมนสิช สิทธิสมบูรณ์ รองศาสตราจารย์ ศษ.ด. หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย 2546
ค.ม. การวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2528
ค.บ. ภาษาอังกฤษ วิทยาลัยครูจันทรเกษม ไทย 2534
วท.บ. ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ไทย 2526
14 นางวรินทร บุญยิ่ง รองศาสตราจารย์ Ed.D. Professional Development, Victoria University Austraria 2551
Education and Human
วท.ม. Development มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2540
สส.บ. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลับสุโขทัยธรรมาธิราช ไทย 2536
15 นางวารีรัตน์ แก้วอุไร รองศาสตราจารย์ ค.ด. หลักสูตรและการสอน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2542
ศษ.ม. วิทยาศาสตรศึกษา-เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2532
กศ.บ. วิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก ไทย 2530
16 นายวิทยา จันทร์ศิลา รองศาสตราจารย์ Ph.D. Educational Administration Magadh University India 2541
ค.อ.ม. บริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ไทย 2532
ค.อ.บ. อุตสาหการ-เครื่องมือกล วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา เทเวศร์ ไทย 2526
57

ตาแฟหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ


ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา
17 นายวิวัฒน์ มีสุวรรณ์ รองศาสตราจารย์ กศ.ด. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2551
กศ.ม. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2544
ศศ.บ. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานคนรินทร์ ไทย 2540
ศาสตร์
18 นายสาราญ มีแจ้ง รองศาสตราจารย์ ค.ด. การวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2534
ค.ม. การวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2525
กศ.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2520
19 นางกฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์ ผู้ช่วย ค.ด. การวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2548
ศาสตราจารย์ ค.ม. วิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2541
ค.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) การประถมศึกษา วิทยาลัยครูกาแพงเพชร ไทย 2535
20 นายกิตติพงษ์ พุ่มพวง ผู้ช่วย ปร.ด. หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร ไทย 2559
ศาสตราจารย์ กศ.ม. เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2541
ศษ.บ. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ไทย 2533
21 นายขจรศักดิ์ รุ่นประพันธ์ ผู้ช่วย ปร.ด. การศึกษา (แขนงการจัดการกีฬา) มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2556
ศาสตราจารย์ วท.ม. พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไทย 2546
กศ.บ. พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไทย 2542
22 นายจักรกฤษณ์ จันทะคุณ ผู้ช่วย กศ.ด. หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2557
ศาสตราจารย์ กศ.ม. หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2547
ค.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) ฟิสิกส์ สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม ไทย 2544
23 นางสาวชนัดดา ภูหงษ์ทอง ผู้ช่วย ปร.ด. การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไทย 2560
ศาสตราจารย์ ศศ.ม. จิตวิทยาสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2551
ศศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) การจัดการการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย 2549
24 นายชานาญ ปาณาวงษ์ ผู้ช่วย กศ.ด. วิจัยและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2554
ศาสตราจารย์ กศ.ม. วิจัยและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2544
ค.บ. ประถมศึกษา สถาบันราชภัฎกาแพงเพชร ไทย 2538
25 นางฐิติมา วิทยาวงศรุจิ ผู้ช่วย กศ.ม. ภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2528
ศาสตราจารย์ ค.บ. นาฏศิลป์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ไทย 2521
58

ตาแฟหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ


ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา
26 นายณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ ผู้ช่วย Ph.D. Economics State University of New York at USA 2539
ศาสตราจารย์ M.A. Economics Binghamton Texas Tech University USA 2529
ศศ.ม. เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2524
ศศ.บ. เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ไทย 2519
27 นายทวีศักดิ์ สว่างเมฆ ผู้ช่วย ปร.ด. การศึกษา (แขนงการจัดการกีฬา) มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2556
ศาสตราจารย์ วท.ม. วิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2549
ศษ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) พลศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย 2545
28 นายทักษ์ อุดมรัตน์ ผู้ช่วย ปร.ด. การศึกษา (แขนงวิชาพัฒนาทรัพยากร มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2554
ศาสตราจารย์ มนุษย์)
กศ.ม. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2548
ศศ.บ. นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ไทย 2536
29 นางสาวทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ ผู้ช่วย กศ.ด. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2549
ศาสตราจารย์ ศษ.ม เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2541
กศ.บ. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2539
30 นายธงชัย เส็งศรี ผู้ช่วย ปร.ด. เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ไทย 2560
ศาสตราจารย์ วท.ม. วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ไทย 2543
สารสนเทศ ลาดกระบัง
ค.อ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ไทย 2535
31 นางสาวธิติยา บงกชเพชร ผู้ช่วย ปร.ด. วิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2552
ศาสตราจารย์ ป.บัณฑิต ทางการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2546
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2545
32 นางสาวน้าทิพย์ องอาจวาณิชย์ ผู้ช่วย ค.ด. การวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2557
ศาสตราจารย์ ค.ม. การวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2551
ค.บ. การสอนมัธยมศึกษาเอกคณิตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2549
วิทยาศาสตร์ทั่วไป
33 นายภูฟ้า เสวกพันธ์ ผู้ช่วย ค.ด. พลศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2550
ศาสตราจารย์ ค.ม. พลศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2544
ค.บ. พลศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2542
59

ตาแฟหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ


ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา
34 นายรุจโรจน์ แก้วอุไร ผู้ช่วย กศ.ด. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2543
ศาสตราจารย์ กศ.ม. เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2532
กศ.บ. เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ไทย 2530
35 นายวิเชียร ธารงโสตถิสกุล ผู้ช่วย ค.ด. หลักสูตรและการสอน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2554
ศาสตราจารย์ ศษ.ม. หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไทย 2547
ศษ.บ. คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไทย 2544
ค.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) การประถมศึกษา สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม ไทย 2538
36 นายสกนธ์ชัย ชะนูนันท์ ผู้ช่วย กศ.ด. วิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2554
ศาสตราจารย์ ป.บัณฑิต ทางการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไทย 2546
วท.บ. เคมี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไทย 2545
37 นางสาวสิรินภา กิจเกื้อกูล ผู้ช่วย ปร.ด. วิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2549
ศาสตราจารย์ ป.บัณฑิต วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2542
วท.บ. ชีวเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2541
38 นางสุภาณี เส็งศรี ผู้ช่วย ค.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2544
ศาสตราจารย์ ค.ม. โสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2534
กษ.บ. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2527
39 นางสุรีย์พร สว่างเมฆ ผู้ช่วย กศ.ด. วิทยาศาสตรศึกษา-ชีววิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2551
ศาสตราจารย์ ป.บัณฑิต ทางการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2544
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2543
40 นายอนุชา กอนพ่วง ผู้ช่วย กศ.ด. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2550
ศาสตราจารย์ ค.ม. วิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2540
ค.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) การประถมศึกษา วค.นครสวรรค์ ไทย 2536
41 นางสาวอ้อมธจิต แป้นศรี ผู้ช่วย กศ.ด. วิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2552
ศาสตราจารย์ กศ.ม. วิจัยและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2544
ศศ.บ. ภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2541
42 นางอัจฉรา ศรีพันธ์ ผู้ช่วย ค.ด. พัฒนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2555
ศาสตราจารย์ อ.ม. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2544
นศ.บ. การประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2540
60

ตาแฟหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ


ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา
43 นางเอื้อมพร หลินเจริญ ผู้ช่วย กศ.ด วิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2547
ศาสตราจารย์ กศ.ม. วิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2540
ค.บ. การประถมศึกษา วิทยาลัยครูกาแพงเพชร ไทย 2534
44 นางกฤษณา วรรณกลาง อาจารย์ กศ.ม. สุขศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2532
วท.บ. สุขศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษา ไทย 2528
45 นางสาวกอบสุข คงมนัส อาจารย์ ค.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2555
ค.ม. โสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2549
กศ.บ. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2546
46 นางสาวชญาตี เงารังษี อาจารย์ ศศ.ม. ภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไทย 2560
กศ.บ. ภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไทย 2557
47 นายทรงภพ ขุนมธุรส อาจารย์ ศศ.ด. ภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2556
ศศ.ม. ภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไทย 2549
ศศ.บ. ภาษาไทย สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม ไทย 2545
48 นายทวีทรัพย์ เขยผักแว่น อาจารย์ ปร.ด. วิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและ มหาวิทยาลัยบูรพา ไทย 2555
การกีฬา
ศษ.ม. พลศึกษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง ไทย 2543
ศศ.บ. พลศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ไทย 2536
49 นายทะเนศ วงศ์นาม อาจารย์ ศศ.ม. พลศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2541
ศษ.บ. พลศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2537
50 นางสาวทัศนา จารุชาต อาจารย์ วท.ด. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2559
วท.ม. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2553
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) วิทยาศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2549
51 นางสาวทารงลักษณ์ เอื้อนครินทร์ อาจารย์ Ed.D. Curriculum & Instruction University of Tennessee USA 2531
อ.ม. ภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2524
กศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ไทย 2521
61

ตาแฟหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ


ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา
52 นางธัญวดีกาจัดภัย อาจารย์ นศ.ม. การจัดการการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2556
นศ.บ. การประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2543
53 นายพงษ์เอก สุขใส อาจารย์ ปร.ด. การศึกษา (แขนงการจัดการกีฬา) มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2556
คม. พลศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2548
วท.บ. วิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2544
54 นางสาวพิชญาภา ยวงสร้อย อาจารย์ กศ.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2554
ค.อ.ม. เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร ไทย 2547
เหนือ
ค.บ. คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ไทย 2542
55 นายภัควัฒน์ เชิดพุทธ อาจารย์ ปร.ด. วิทยาศาสตร์การออกกาลังกายและ มหาวิทยาลัยบูรพา ไทย 2561
กีฬา
วท.ม. วิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2552
วท.บ. วิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไทย 2550
56 นายราชการ สังขวดี อาจารย์ กศ.ม. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2559
วท.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2554
57 นางสาววนินทร สุภาพ อาจารย์ ปร.ด. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2555
ป.บัณฑิต การสอนวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2549
วท.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย 2548
58 นายสถิรพร เชาวน์ชัย อาจารย์ กศ.ด. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2561
กศ.ม. วิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2553
ศษ.บ. การวัดและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไทย 2555
ค.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) การศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ไทย 2550
59 นางสาวสรียา โชติธรรม อาจารย์ ค.ด. วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2557
ศศ.ม. จิตวิทยาสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2553
ศศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไทย 2549
60 นางสาวสายฝน วิบูลรังสรรค์ อาจารย์ กศ.ด. วิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2550
กศ.ม. การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2542
62

ตาแฟหน่งทาง คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ


ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ประเทศ
วิชาการ การศึกษา การศึกษา
ศศ.บ. มัธยมศึกษา-วิทย์ สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม ไทย 2543
ศษ.บ. มัธยมศึกษา-คณิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไทย 2540
ค.บ. การประถมศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไทย 2538
61 นางสาวสิริกาณณ์ ทองมาก อาจารย์ ศศ.ม. ภาษาศาสตร์ประยุกต์ด้านการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ไทย 2560
ภาษาอังกฤษ
อ.บ. เยอรมัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2550
62 นางสุดากาญจน์ ปัทมดิลก อาจารย์ Ph.D. Linguistics for TESOL University of Newcastle upon Tyne UK 2545
MA. Linguistics for TESOL (Merits) University of Newcastle upon Tyne UK 2542
อ.บ. ภาษาฝรั่งเศส จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2539
63 นางสาวสุภารัตน์ เชื้อโชติ อาจารย์ M.Sc. Applied Mathematics Case Western Reserve University USA 2554
B.Sc Mathematics McGiLL University, Montreal. Canada 2550
64 นายสุริยา ชาปู่ อาจารย์ ปร.ด. วิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย 2559
กศ.ม. วิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2547
วท.บ. ชีววิทยา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2540
65 นางสาวอังคณา อ่อนธานี อาจารย์ กศ.ด. หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2552
ศศ.ม. จิตวิทยาพัฒนาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2543
ค.บ.(เกียรตินิยมอันดับ 1) การศึกษาปฐมวัย สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ ไทย 2538
66 นางสาวอาพัทธ์ เตียวตระกูล อาจารย์ ปร.ด. การศึกษา แขนงการจัดการกีฬา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไทย 2555
วท.ม. วิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2548
วท.บ. วิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย 2546
67 Mr.MichaelBrückner Assist.Prof. M. Sc., Theoretical Physics Technical University Munich Germany 2524
B. Sc., General Physics Technical University Berlin Germany 2522

หมายเหตุ “ในส่วนของอาจารย์ประจา ทาหน้าที่สอนวิชาเฉพาะด้าน ซึ่งอยู่ในสังกัดคณะวิทยาศาสตร์นั้น ให้เป็นไปตามรายชื่อที่ปรากฏอยู่ในข้อ 3.2.3 อาจารย์


ผู้สอนที่อยู่ในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559”
63

3.2.4 อาจารย์พิเศษ
ไม่มี

4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม
4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี)
นิสิตที่ออกฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาจะต้องมีสมรรถนะ และผลการเรียนรู้ จาแนกตามชั้นปีต่อไปนี้
ปีที่ 1
1. รอบรู้ในบริบท และงานของสถานศึกษา
2. มีทักษะการสังเกต และวินิจฉัยพฤติกรรมผู้เรียนจากการจัดการเรียนรู้ และการจัดการชั้นเรียน
3. สามารถร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา และ/หรือกิจกรรมสร้างสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและ
ชุมชนกับโรงเรียน
4. มีทักษะการแสวงหาความรู้ และการจัดการความรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5. มีทักษะมนุษยสัมพันธ์ การสื่อสารและการทางานเป็นทีม
6. มีวินัย ความรับผิดชอบและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู
ปีที่ 2
1. สามารถพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ สื่อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
2. สามารถจัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนัก
ถึงสุขภาวะผู้เรียน
3. เป็นผู้ช่วยครูในการดาเนินกิจกรรมของสถานศึกษา และเป็นผู้ช่วยสอนในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ การจัดการชั้นเรียน และการแก้ไขปัญหาผู้เรียน
4. มีทักษะการสร้างแรงบันดาลใจ สร้างแรงจูงใจ และใช้วินัยเชิงบวกในการพัฒนาผู้เรียน
5. สามารถออกแบบโครงการ/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยการร่วมมือของผู้ปกครองและชุมชน
ปีที่ 3-4
1. วางแผนจัดการเรียนรู้ และจัดการชั้นเรียน สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด และมีความเป็น
นวัตกร
2. ช่วยเหลือดูแล และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถรายงานผลการพัฒนาผุ้เรียนอย่างเป็น
ระบบ
3. สามารถทาวิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้
ของผู้เรียน
4. สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ครูให้สมบูรณ์ทั้งงานการจัดการเรียนรู้ และงานอื่นๆที่สถาศึกษา
มอบหมาย
5. เป็นผู้ริเริ่ม/ผู้นาในการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง และชุมชนในการแก้ไขปัญหา/พัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
6. มีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพครู
4.2 ระดับชั้นที่ปฏิบัติการสอน ปฏิบัติการสอนระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา
4.3 ช่วงเวลา ทุกปีการศึกษา (ปี 1 – 4)
4.4 การจัดเวลาและตารางสอน ตามข้อกาหนดคู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และตามข้อกาหนดของ
สภาวิชาชีพ
64

5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัยในชั้นเรียน
การทาวิจัยในชั้นเรียนของนิสิตต้องเป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยผู้เรียนและการพัฒนาด้านการจัดก าร
เรียนรู้ที่มุ่งเน้นการสร้างผลงานวิจัยเพื่อพัฒนางานด้านการสอนคณิตศาสตร์ โดยต้องมีการอ้างอิงและสามารถ
น าไปใช้ในการเรี ย นการสอนจริ ง โดยจะต้องท าเป็ นรายบุ ค คล และมีการเขีย นรายงานส่ ง ตามรู ป แบบและ
ระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนด อย่างเคร่งครัด
5.1 คาอธิบายโดยย่อ
วิจัยในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ ที่นิสิตสนใจ โดยมีการศึกษาค้นคว้าความรู้ที่
เกี่ยวข้องกับทฤษฎีต่าง ๆ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการทาวิจัยที่ มีประโยชน์และผลกระทบต่อการจั ดการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์และการวิจัยต่อยอดองค์ความรู้ ภายใต้ขอบเขตการทา
วิจัยที่สามารถทาเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนดภายใต้การแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ เกี่ยวกับการทาโครงงาน/งานวิจัยในชั้นเรียน
ปีที่ 1
สามารถเก็บรวบรวมสารสนเทศผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีทักษะการสังเกต และการวินิจฉัยผู้เรียนเป็น
รายบุคคล โดยจัดทาเป็นรายงานข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างเป็นระบบ
ปีที่ 2
สามารถวางแผน ออกแบบ พัฒนากระบวนการการจัดการเรียนรู้/สื่อ เพื่อแก้ไขปัญหา/พัฒนาผู้เรียน
โดยจัดทาเป็นรายงานการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้/สื่อได้อย่างเป็นระบบ
ปีที่ 3 – 4
สามารถทาวิจัยในชั้นเรียน สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนา/แก้ไขปัญหา
ผู้เรียน โดยสามารถจัดทาเป็นรายงานวิจัยในชั้นเรียน
5.3 ช่วงเวลา
ปีที่ 1 - 4
5.4 จานวนหน่วยกิต
-
5.5 การเตรียมการ
-
5.6 กระบวนการประเมินผล
-
65

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์การสอนและกิจกรรมนิสติ
1.สร้างนิสติ ให้มีความกล้าหาญ ขยัน อดทน บูรณาการเพิ่มเนื้อหาและกิจกรรมตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของสมเด็จ
ซื่อสัตย์ เสียสละ กตัญญูต่อแผ่นดิน พระนเรศวรมหาราช เพื่อสร้างนิสติ ให้มีความกล้าหาญ ขยัน อดทน ซื่อสัตย์
เสียสละ กตัญญู ต่อแผ่นดิน
2. มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู กิจกรรมการเรียนการสอน
(Evaged Teacher) มีจติ วิญญาณ และมี 1. จัดการเรียนการสอนรายวิชา 366203 ความเป็นครู 3(2-2-5)
จรรยาบรรณในวิชาชีพ ปฏิบัติหน้าที่ตาม 2. จัดการเรียนการสอนรายวิชา 366191-4 ปฏิบัติการสอนวิชาเอกใน
อุดมการณ์ด้วยความเอาใจใส่และรับผิดชอบ สถานศึกษา 1 – 4 12 หน่วยกิต (ไม่น้อยกว่า 30 สัปดาห์) ทุกปีการศึกษา
อุทิศตนและทุ่มเทการพัฒนาการเรียนรู้ และ (ปี 1 – 4)
ผลประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน กิจกรรมนิสิต
1. ให้นิสิตทากิจกรรมจิตอาสา/จิตสาธารณะทุกปีการศึกษา
2. ให้นิสิตทากิจกรรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม และปลูกฝังความ
ซื่อสัตย์ และต่อต้านคอรัปชั่น
3. จัดให้มีการศึกษาดูงานในสถานศึกษาที่เป็นแบบอย่างในด้านการจัดการ
เรียนการสอน
3. เป็นผู้เรียนรู้ และฉลาดรู้ (Learner & กิจกรรมการเรียนการสอน
Literacy) มีความเพียรใฝ่เรียนรู้ เรียนรู้ตลอด 1. จัดการเรียนรู้รายวิชา
ชีวิต พัฒนาความรู้และค้นหานวัตกรรมใหม่มา 366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5)
พัฒนาผู้เรียน และมีความฉลาดทางดิจิทัล 366306 การจัดการเรียนรู้ และการจัดการชั้นเรียนและชุมชน 3(2-2-5)
(Digital Intelligence๗ 366307 ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนานวัตกรรม 3(2-2-5)
4. มีความสามารถสูงในการบูรณาการข้าม กิจกรรมนิสิต
ศาสตร์ 1. ให้นิสิตทากิจกรรมตามแนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง / ศาสตร์
พระราชา
2. ให้นิสิตทากิจกรรมพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม โดยการส่งเสริมให้สร้าง
นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน
5 เป็นพลเมืองที่เข้มแข็งและใส่ใจสังคม รัก กิจกรรมการเรียนการสอน
ชาติ ท้องถิ่น สานึกสากล เป็นพลเมืองดีของไทย 1. จัดการเรียนรู้รายวิชา 366412 ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง
มีความเป็นพลเมืองโลก มีภาวะผูน้ า สามารถ และชุมชน
ทางานร่วมมือกับผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ายเป็นอย่างดี 2. จัดการเรียนรู้รายวิชา 366191-4 ปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา
มีสัมพันธภาพและร่วมมือกับผู้ปกครองเพื่อ 1- 4
พัฒนาผู้เรียนและชุมชน กิจกรรมนิสิต
1. ให้นิสิตทากิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ผู้บาเพ็ญประโยชน์
2. ให้นิสิตทากิจกรรมเสริมสร้างความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง รักชาติ ศาสตร์
กษัตริย์ และความเป็นไทย
3. ให้นิสิตทากิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะป้องกันโรค และการตั้งครรภ์โดยไม่มี
ความพร้อม
4. ให้นิสิตทาโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการแก่โรงเรียน/ผูเ้ รียนที่มคี วาม
ต้องการพัฒนาการเรียนรู้
66

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์การสอนและกิจกรรมนิสติ
6.มีความสามารถที่จะวิเคราะห์เลือกวิธีการ 1) จัดให้มีรายวิชาที่บูรณาการเชื่อมโยงความรู้ในวิชาชีพครูกับวิชา
จัดการเรียนรู้ ได้สอดคล้องกับเนื้อหาและ คณิตศาสตร์ที่เปิดโอกาสให้นสิ ิตได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เช่น 369385 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับ
ประถมศึกษา 3(2-2-5)
369486 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 3(2-2-5)
7.มีความสามารถที่จะทาวิจัยเพื่อพัฒนาการ 2) จัดให้มีรายวิชาการปฏิบตั ิการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา จานวน 12
สอนคณิตศาสตร์ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ที่ หน่วยกิต (ไม่น้อยกว่า 30 สัปดาห์)
สามารถนาไปใช้ได้ตามสภาพจริง และสามารถ
หาแนวทางเพิ่มพูนความรูด้ ้านการสอน
คณิตศาสตร์ได้อย่างต่อเนื่อง

2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน (หมวดวิชาศึกษาทั่วไป)
2.1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1.1 ปฏิบัติตนเป็นคนตรงต่อเวลา มีจิตสาธารณะ
1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.2.1 สอดแทรกแนวคิดทางคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบและการแสดงออก
ที่มุ่งสู่ความสาเร็จในระหว่างการเรียนการสอน โดยเน้นย้าในเรื่องการเข้าเรียน การส่งงานตรงเวลา และ
การไม่ทุจริตในการสอบหรือคัดลอกผลงานผู้อื่น
1.2.2 วิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม หรือกรณีศึกษาของ
บุคคลตัวอย่างที่ใช้คุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินชีวิต
1.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมทางวิชาการ/วิชาชีพ การทาโครงงาน
ที่ใช้แนวคิด วิธีการทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.3.1 กาหนดวิธีการประเมินผลหรือคะแนนในเรื่องการแสดงออกทางด้านคุณธรรม
จริยธรรมในแต่ละกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้ในรายวิชา การมาเรียน ส่งงานตรงเวลา และไม่ทุจริตในการสอบ
หรือคัดลอกผลงานผู้อื่น กล้าที่จะแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีศึกษาในการเรียน
1.3.2 กาหนดวิธีการประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ ทางวิชาชีพ หรือ
ประสิทธิผลของการเข้าร่วมกิจกรรมด้านจิตสาธารณะ
2. ด้านความรู้
2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1.1 ให้มีความรู้และทักษะการใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั้งด้านการฟัง การพูด
การอ่านและการเขียน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
ให้นิสิตมีรสนิยมทางสุนทรียะทางศิลปะและดนตรี และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2.1.2 ให้มีความรู้รอบทั้งด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เพื่อทา
ให้เกิดการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก ทาให้รักโลกรักธรรมชาติ รักสิ่งแวดล้อม และสามารถ
อยู่รอดในการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทั้งนี้เพื่อทาให้เกิดการปรับตัวให้เข้ากับสังคมไทย สังคมอาเซียน และ
สังคมโลก
67

2.1.3 ให้มีความรู้เพื่อนาไปพัฒนาทักษะการใช้ชีวิต การดูแลตนเอง และดารงตน


อย่างมีความสุข ดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
2.2.1 บรรยายในชั้นเรียนและถามตอบ การสาธิตและฝึกภายในห้องปฏิบัติการ
2.2.2 ใช้การสอนแบบปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning)
2.2.3 ใช้การสอนแบบการทดลองเป็นฐาน (Experimental-based Learning)
2.2.4 ใช้การสอนโดยโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning)
2.2.5 ใช้การสอนโดยบูรณาการกับการทางาน (Work-integrated Learning)
2.2.6 ศึกษานอกสถานที่ (Field Trips)
2.2.7 ใช้การเรียนการสอนแบบทีม (Team Teaching)
2.2.8 ใช้การเรียนการสอนโดยชุมชนเป็นฐาน (Community-based Learning)
2.2.9 ใช้การสอนแบบเน้นวิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning )
2.2.10 ใช้การปฏิบัติงานกับแหล่งประสบการณ์วิชาชีพ / สถานประกอบการ
(Professional Training / Co-operative Education)
2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.3.1 ประเมินความรู้และทักษะโดยการทดสอบแบบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สอบปากเปล่า
และการสังเกต พฤติกรรรมการเรียนรู้
2.3.2 ประเมินทัศนคติของการเรียนรู้ โดยการใช้แบบสอบถาม หรือแบบรายงานตนเอง
2.3.3 ประเมินผลงานที่นิสิตได้รับมอบหมาย
2.3.4 ประเมินผลโดยแหล่งประสบการณ์วิชาชีพ /สถานประกอบการ
2.3.5 ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบวัดความรอบรู้
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1.1 วิเคราะห์ สังเคราะห์ นาความรอบรู้ทั้งด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ ไปใช้ให้เกิดการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก ทาให้รักโลก รักธรรมชาติ
รักสิ่งแวดล้อม และสามารถอยู่รอดในการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทั้งนี้เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง
ทาให้เกิดการปรับตัวให้เข้ากับสังคมไทย สังคมอาเซียน และสังคมโลก
3.1.2 แสดงออกถึงการมีวิจารณญาณคิดแบบองค์รวม โดยสามารถเชื่อมโยงความรู้
ระหว่างมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ได้ และคิดสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ และผลงานนวัตกรรม
3.1.3 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามศตวรรษที่ 21 และมีคุณลักษณะของการเป็น
ผู้ประกอบการ
3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.2.1 ใช้การเรียนการสอนแบบปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning)
3.2.2 ใช้การเรียนการสอนแบบการทดลองเป็นฐาน (Experimental-based Learning)
3.2.3 ใช้การเรียนการสอนโดยโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning)
3.2.4 ใช้การเรียนการสอนโดยการทางานเป็นฐาน (Work-integrated Learning)
3.2.5 ใช้การเรียนการสอนนอกสถานที่ (Field Trips)
68

3.2.6 ใช้การเรียนการสอนแบบเน้นทางานเป็นทีม (Team-based Learning)


3.2.7 ใช้การเรียนการสอนแบบเน้นกิจกรรม (Activity-based Learning)
3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.3.1 ประเมินความรู้และทักษะโดยการทดสอบแบบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สอบปากเปล่า
3.3.2 ประเมินกระบวนการทางานเป็นทีมและการสังเกตพฤติกรรรมการเรียนรู้
3.3.3 ประเมินผลงานที่นิสิตได้รับมอบหมาย
3.3.4 ประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา
3.3.5 ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบวัดความรอบรู้

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1.1 แสดงออกถึงความสามารถในการทางานเป็นทีม มีความเป็นผู้นา และ
มีมนุษยสัมพันธ์
4.1.2 ปรับตัวให้อยู่ในสังคมที่ต่างวัฒนธรรมได้
4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
4.2.1 ใช้การเรียนการสอนที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Co-operative and
Collaborative Learning) โดยส่งเสริมความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ ของตนเองและเพื่อนร่วมกลุ่ม
4.2.2 ให้นิสิตค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง (Investigative and Life Long
Learning)
4.2.3 ใช้การเรียนการสอนแบบเน้นทางานเป็นทีม (Team-based Learning)
4.2.4 ใช้การเรียนการสอนแบบบูรณาการ (Integrated Learning Approach)
4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
4.3.1 ประเมินความรับผิดชอบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในกิจกรรมการเรียนการสอน
ต่าง ๆ
4.3.2 ประเมินผลงานที่นิสิตได้รับมอบหมายและวัดผลแบบเพื่อนประเมินเพื่อน
(Peer evaluation) โดยให้เพื่อนในกลุ่มประเมินพฤติกรรมการทางาน
4.3.3 ประเมินทัศนคติของการใช้ชีวิตและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการใช้
แบบสอบถาม หรือแบบประเมินตนเอง

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านการวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย
และนาเสนอข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้อง และรู้เท่าทัน
5.1.2 แสดงออกถึงความสามารถในการสื่อสาร วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปประเด็นเนื้อหา
ทั้งการพูด การเขียน และการนาเสนอ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
69

5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1 บรรยายในชั้นเรียนและถามตอบ การสาธิตและฝึกภายในห้องปฏิบัติการ
5.2.2 ใช้การเรียนการสอนแบบปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning)
5.2.3 ใช้การเรียนการสอนแบบการทดลองเป็นฐาน (Experimental-based Learning)
5.2.4 ใช้การเรียนการสอนโดยโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning)
5.2.5 ใช้การเรียนการสอนโดยบูรณาการกับการทางาน (Work-integrated Learning)
5.2.6 ใช้การเรียนการเรียนการสอนแบบเน้นทางานเป็นทีม (Team-based Learning)
5.2.7 ใช้การเรียนการเรียนการสอนแบบสัมมนา (Seminar)
5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ประเมินความสามารถในการสื่อสาร ทั้งการพูด การเขียน การนาเสนอ จากผลงาน
ที่ได้รับมอบหมาย หรือจากการสัมมนา
5.3.2 ประเมินความสามารถในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การนาเสนอจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย หรือจากการสัมมนา

2.2 การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน (หมวดวิชาเฉพาะด้าน)


2.2.1 คุณธรรม จริยธรรม
2.2.1.1 ผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1) มีความรู้ความเข้าใจและแสดงออกถึงความรักและความศรัทธาและภูมิใจในวิชาชีพครู
มีจิตวิญญาณความเป็นครู
2) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีจิตอาสา อดทน เสียสละ และพัฒนาตน
อย่างต่อเนื่อง ยึดมั่นค่านิยมและคุณลักษณะประชาธิปไตยในการปฏิบัติตามสิทธิหน้าที่ เคารพสิทธิ ใช้เหตุผล
และปัญญาในการดาเนินชีวิต
3) กล้าหาญ และแสดงออกทางคุณธรรมจริยธรรม สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์
ประเมินและจัดการแก้ไขปัญหาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครูโดยใช้ดุลยพินิจที่เหมาะสม และมี
พฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี ในด้านความรับผิดชอบ เสียสละ อดทน ขยัน มีวินัย
เคารพสิทธิ มีจิตสาธารณะ และมีสานึกต่อความเป็นไทย
2.2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นิสิ ตมีระเบียบวินัย โดยเน้น
การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นิสิตต้องมีความรับผิดชอบ
โดยในการทางานกลุ่มนั้นต้องฝึ กให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้อง
ไม่กระทาการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรก
เรื่ อ งคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมในการสอนทุ ก รายวิ ช า รวมทั้ ง มี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม เช่ น
การยกย่ องนิ สิ ต ที่ท าดี ทาประโยชน์ แ ก่ส่ ว นรวม เสี ยสละ และสอดแทรกคุ ณธรรมจริ ยธรรมส าหรับ ครู ส อน
คณิตศาสตร์ เช่น จริยธรรมการใช้นักเรียนเป็นกลุ่มทดลอง คุณธรรมในกระบวนการหาความรู้ทางคณิตศาสตร์
คุณธรรมการทาวิจัยทางการศึกษา เป็นต้น
70

2.2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม


1) ประเมินระหว่างเรียน ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน
ตามก าหนด การร่ ว มกิ จ กรรม ความรั บ ผิ ด ชอบในหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมส าหรั บ ครู
คณิตศาสตร์ โดยผู้เรียนประเมินตนเอง ประเมินโดยกลุ่มเพื่อนอาจารย์ อาจารย์พี่เลี้ยงในโรงเรียนที่เป็นสถานฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู ผู้ใช้บริการ และชุมชน โดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายทั้งการสัมภาษณ์ การสังเกต
ใช้แบบสอบถาม สนทนากลุ่ม แบบบันทึก แบบประเมินและแบบวัดที่เกี่ยวข้อง
2) ประเมินภายหลังจากสาเร็จการศึกษาแล้ว โดยให้บัณฑิตประเมินตนเอง ประเมิน
จากผู้ใช้บัณฑิต โดยใช้แบบสอบถาม สัมภาษณ์ และสนทนากลุ่ม

2.2.2 ความรู้
2.2.2.1 ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้
1) มีความรู้ความเข้าใจวิชาพื้นฐานทางด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ สหศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และคอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวางและเป็นระบบ
2) มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ แนวคิ ด ทฤษฎี และหลั ก การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
พัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอน การวิจัย และธรรมเนียมปฏิบัติ กฎ ระเบียบและ
ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
3) มีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ที่สอนอย่างลึกซึ้งและเป็นระบบ
4) ตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของศาสตร์ ส าขาวิ ช าต่ า งๆ รวมทั้ ง น าแนวคิ ป รั ช ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตและการประกอบวิชาชีพครู มีความรู้ เข้าใจชีวิต เข้าใจชุมชน และ
การอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
5) ตระหนักถึงคุณค่าของแนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการและ
การเรียนรู้ของผู้เรีย น การจัดการเรียนการสอน การวิจัย และธรรมเนียมปฏิบัติ กฎ ระเบียบและข้อบัง คับ ที่
เกี่ยวข้องกับการศึกษา
6) ตระหนักถึงคุณค่าของแนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สาขาวิชา
คณิตศาสตร์ที่สอนสาหรับการประกอบวิชาชีพครู
7) สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ไปใช้บูรณาการ
ข้ามศาสตร์ ใช้ในการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติจริง
8) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน และนาความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี
และหลักการที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอน การวิจัย และกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครูไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน การแก้ปัญหา และการต่อยอดองค์
ความรู้ โดยคานึงถึงธรรมเนียมปฏิบัติ กฎ ระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
9) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน และนาความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี
และหลั กการที่เกี่ย วข้องในศาสตร์ สาขาวิช าคณิตศาสตร์ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน การพัฒ นาผู้ เรียน
การแก้ปัญหา และการต่อยอดองค์ความรู้ โดยคานึงถึงธรรมเนียมปฏิบัติ กฎ ระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนแปลง
ตามสถานการณ์
71

2.2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ เน้นการจัดการเรียนรู้ เน้นหลักการทาง
ทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงโดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม
ลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก
ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และการปฏิบัติของนิสิตในด้านต่าง ๆ คือ
1) การทดสอบย่อย
2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3) ประเมินจากรายงานที่นิสิตจัดทา
4) ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
5) ประเมิน จากการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ระยะยาวและระยะสั้ น ขณะฝึ ก
ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพในโรงเรียน

2.2.3 ทักษะทางปัญญา
2.2.3.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริง สามารถ
ทาความเข้าใจ และประเมิน ข้อมูล จากแหล่ งข้อมูล ที่หลากหลาย อย่างรู้เท่าทันสามารถปรับและดาเนินการ
เปลี่ยนแปลงในโลกยุคดิจิทัลเทคโนโลยีตามแฟลกฟอร์ม (Platfrom) และโลกอนาคต
2) ตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของศาสตรพระราชา เพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ น ยื น และน ามา
ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตน พัฒนาผู้เรียน พัฒนางาน และพัฒนาชุมชน
3) เป็นผู้นาทางปัญญา สามารถใช้เหตุผล หลักการทางวิชาการเพื่อวิเคราะห์และ
สร้างสรรค์วิธีการแก้ปัญหาทางสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม แก่สถานศึกษา ชุมชนและสังคมอย่าง
สร้างสรรค์
4) สามารถน าความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ช้ ทั ก ษะและความเข้ า ใจ
เกี่ยวกับวิชาชีพครูและศาสตร์สาขาวิชาที่สอนและประยุกต์การวิจัยมาใช้ แก้ปัญหา และพัฒนาการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนวัตกร
2.2.3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปัญหาทั้งระดับบุคคลและ
กลุ่มในสถานการณ์ทั่วไป โดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การอภิปรายกลุ่ม การสะท้อนคิด การทากรณีศึกษา
การโต้วาที การจัดทาโครงการ และการใช้เกม เน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบ Problem- Based Learning/ Topic -
Based Learning การฝึกปฏิบัติการทาวิจัยที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
2.2.3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
การประเมิ น หลายวิ ธี / กิ จ กรรม เป็ น การวั ด และการประเมิ น ทั ก ษะการคิ ด
และการแก้ไขปัญหา เช่น
72

1) การสอบวัดความสามารถในการคิดและแก้ไขปัญหาโดยใช้กรณีศึกษา
2) การประเมินจากผลงานที่ เกิ ดจากการใช้ก ระบวนการแก้ไ ขปั ญหา การศึ ก ษา
ค้นคว้าอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์วิจารณ์ เช่น รายงานการวิเคราะห์วิจารณ์กรณีศึกษา รายงานการศึกษาปัญหา
เฉพาะทาง การศึกษาอิสระ รายงานผลการอภิปรายกลุ่ม การประชุมปรึกษาปัญหา และการสัมมนา
3) การประเมินผลการทาวิจัยที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ขณะออกฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียน

2.2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.2.4.1 ผลการเรียนรู้ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองและ
ผู้อื่นในการทางานและการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร และในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่าง
ต่อเนื่อง
2) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติต่อ
ผู้เรียนอย่างเป็นกัลยาณมิตร
3) ตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของการมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ การอยู่ ร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น อย่ า งเป็ น
กัล ยาณมิตร การเรี ย นรู้ และการพัฒ นาตนเองและวิช าชี พอย่างต่ อเนื่ อง และการปฏิบัติต่อผู้ เรียนอย่ า งเป็ น
กัลยาณมิตร
4) มีความเข้าใจและใส่ใจความรู้สึกของผู้อื่น มีความคิดในเชิงบวก และมีวุฒิทาง
อารมณ์และสังคม สามารถสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบ ทางานร่วมกับผู้อื่น เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี แสดงออกถึงภาวะผู้นาใน
สถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน และวิเคราะห์และแก้ปัญหากลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวเข้า
กับวัฒนธรรมขององค์กร เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าขององค์กรและสังคม
5) สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
6) มีความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กรและสังคม และปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความ
เข้าใจและเป็นมิตร
2.2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รับผิดชอบ
1) กลยุทธ์การสอนที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน
และผู้ร่วมงาน
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการทางานเป็นทีมเพื่อส่งเสริมการแสดงบทบาท
ของการเป็นผู้นาและผู้ตาม
3) จั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ใ นภาคปฏิ บั ติ ที่ ส่ ง เสริ ม ให้ ท างานเป็ น ที ม และ
การแสดงออกของภาวะผู้นาหลากหลายสถานการณ์ทั้งในโรงเรียนและในชุมชน
2.2.4.3 กลยุ ทธ์ การประเมิ น ผลการเรี ยนรู้ ด้ า นความสั มพั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คลและความ
รับผิดชอบ มีการประเมินหลายด้าน โดยให้ความสาคัญที่กลยุทธ์ ดังนี้
1) การประเมินผู้เรียนในการแสดงบทบาทของการเป็นผู้นาและผู้ตามในสถานการณ์
การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์
73

2) การประเมินทักษะที่แสดงออกถึงภาวะผู้นาตามสถานการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย
3) การประเมินความสามารถในการทางานร่ว มกับกลุ่ มเพื่อน และทีมงานอย่า งมี
ประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
4) การประเมินการแสดงออกของการตระหนักถึงความรับผิดชอบในการเรียนรู้ตาม
ประสบการณ์การเรียนรู้ และความ สนใจในการพัฒนาตนเองในด้านวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5) การประเมินการจัดการเรียนรู้ด้านพลศึกษาและวิทยาศาสตร์การออกกาลังกาย
ความสัมพันธ์กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนและการจัดทาโครงการพัฒนาโรงเรียนขณะ ออกฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครูในโรงเรียน

2.2.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


2.2.5.1 ผลการเรี ยนรู้ ด้า นทักษะการวิเ คราะห์เ ชิงตั วเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1) มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บการใช้ ภ าษาพู ด ภาษาเขี ย นภาษาอั ง กฤษ และ
ภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศ และคณิตศาสตร์และสถิติพื้นฐาน เพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้
การเก็บรวบรวมและนาเสนอข้อมูล และการแก้ปัญหาในการดารงชีวิตและการจัดการเรียนการสอน
2) ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
คณิตศาสตร์ และสถิติพื้นฐาน รวมทั้งการละเมิดลิขสิทธิ์และการลอกเลียนผลงาน ส าหรับการเรียนรู้ การจัด
การเรียนรู้และการทางาน
3) สามารถใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นได้อย่าง
มีประสทธิภาพ และมีทักษะการใช้ สถิติเพื่อเข้าใจปัญหา เรียนรู้ และแก้ปัญหาการดารงชีวิตและการจัดการเรียน
การสอนอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2.2.5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรี ยนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เ ชิงตัวเลข การ
สื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสื่อสารระหว่าง
บุ ค คล ทั้ ง การพู ด การฟั ง และการเขี ย นในกลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ระหว่ า งผู้ เ รี ย นและผู้ ส อน และบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
2) การจั ดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่ งเสริมให้ ผู้ เรียนได้เลื อกและใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบและวิธีการ
3) การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการเลือก
สารสนเทศและฝึกทักษะการนาเสนอข้อสนเทศด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้ฟัง และเนื้อหาที่นาเสนอ
2.2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ความสาคัญที่กลยุทธ์ ดังนี้
1) การประเมิ น ผลงานตามกิ จ กรรมการเรี ย นการสอน โดยใช้ แ บบสั ง เกต และ
แบบประเมินทักษะการพูด การเขียน
2) การทดสอบทั ก ษะการฟั ง จากแบบทดสอบที่ ส อดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์
การเรียนรู้
74

3) การทดสอบการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล โดยใช้ ข้ อ สอบ การท ารายงานกรณี และ


การวิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษาวิจัย การศึกษาอิสระ
4) การนิเทศการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในห้องเรียน ขณะออกฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครูในโรงเรียน
5) การประเมินการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลผลในการทาวิจัย
ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ขณะออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียน
2.2.6 ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้
2.2.6.1 ผลการเรียนรู้ ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้
1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดปรัชญาการศึกษา และหลักการ และทฤษฎีที่
เกี่ยวข้องกับการจัดหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดประเมินผล การจัดการชั้นเรียน การบันทึกและรายงานผล
การจัดการเรียน การสอน การวิจัยในชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมกับครอบครัวและชุมชนในการจัด
การศึกษา
2) ตระหนักถึงคุณค่าของการนาแนวคิด ปรัชญาการศึกษา และหลักการ และทฤษฎี
ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรการสอน การวัดประเมินผล การจัดการชั้นเรียน การบันทึกและรายงานผลการจัดการเรียน
การสอน การวิจัยในชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมกับครอบครัวและชุมชนมาใช้ ในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้
อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
3) สามารถนาความรู้ทางปรัช ญาการศึกษาจิตวิทยา ศาสตร์การสอน และวัดผล
ประเมินผลมาวางแผน ออกแบบหลักสูตร เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนการสอนที่ทเน้นการคิดและปฏิบัติ
จริง และเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และทักษะศตวรรตที่ 21 จัดการชั้นเรียน วัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ บันทึกและรายงานผลการจัดการเรียนการสอน และทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อ ช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพ
ของผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
4) สร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่ อและแหล่งเรียนรู้ภายใน และภายนอกสถาน
ศึกษษ มีความสามารถประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในการจัดการศึกษา
2.2.6.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้
ใช้รู ป แบบการเรียนการสอนหลากหลายรูป แบบ การสอนโดยใช้กรณี ศึ กษาหรื อ
การสังเกต การจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาความเข้าใจรูปแบบการจัดการเรียน
การสอนที่เป็ น ทางการ กึ่งทางการ และไม่เป็นทางการ การสอนที่เน้นให้ ผู้ เรียนทุกคนได้ ฝึ กปฏิบัติออกแบบ
การจั ดการเรีย นการสอนให้ สอดคล้องกับระดับความสามารถของนักเรียนที่หลากหลายและสามารถเลือกวิธี
การสอนและเทคนิคการสอนได้สอดคล้องกับเนื้อหาและธรรมชาติของวิชาที่สอน รวมทั้งสามารถปฏิบัติการสอน
ตามแผนการจัดการเรียนรู้ได้
2.2.6.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้
1) การประเมินจากแบบบันทึกการสังเกตการจัดการเรียนรู้
2) การประเมิ น จากการเขี ย นอนุ ทิ น สะท้ อ นความคิ ด ( Reflective Journal)
หลังการเรียนรู้กรณีศึกษา
3) การประเมินจากการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
4) การประเมิ น จากการปฏิ บั ติ ก ารจั ด การเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ใ นห้ อ งเรี ย น
ระหว่างเรียน และในการออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียน
75

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)


3.1 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (หมวดวิชาศึกษาทั่วไป)
⚫ ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง

5.ทักษะการวิเคราะห์
4. ทักษะความสัมพันธ์
1. คุณธรรม เชิงตัวเลข การสื่อสาร
ผลการเรียนรู้ 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคลและความ
จริยธรรม และการใช้เทคโนโลยี
รับผิดชอบ
สารสนเทศ
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 5.1 5.2
กลุ่มวิชาภาษา
001201 ทักษะภาษาไทย ⚫ ⚫    ⚫     ⚫
001211 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  
001212 ภาษาอังกฤษพัฒนา ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  
001213 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า ⚫ ⚫     ⚫ ⚫  ⚫ 
001222 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
001224 ศิลปะในชีวิตประจาวัน  ⚫   ⚫   
001225 ความเป็นส่วนตัวของชีวิต ⚫ ⚫  ⚫  ⚫   ⚫
001226 วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล  ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
001227 ดนตรีวิถีไทยศึกษา ⚫ ⚫  ⚫ 
001228 ความสุขกับงานอดิเรก ⚫  ⚫  ⚫  ⚫ ⚫
001229 รู้จักตัวเอง เข้าใจผู้อื่น ชีวิตที่มีความหมาย ⚫  ⚫ ⚫  ⚫  ⚫
76

5.ทักษะการวิเคราะห์
4. ทักษะความสัมพันธ์
1. คุณธรรม เชิงตัวเลข การสื่อสาร
ผลการเรียนรู้ 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคลและความ
จริยธรรม และการใช้เทคโนโลยี
รับผิดชอบ
สารสนเทศ
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 5.1 5.2
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ (ต่อ)
001241 ดนตรีตะวันตกในชีวิตประจาวัน  ⚫ ⚫  
001242 การคิดเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม ⚫ ⚫     ⚫ ⚫  ⚫ 
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
001231 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจาวัน ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫  ⚫ ⚫
001232 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
001233 ไทยกับประชาคมโลก ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫    
001234 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ⚫  ⚫  ⚫ ⚫  ⚫   ⚫
001235 การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫    ⚫  
001236 การจัดการการดาเนินชีวติ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
001237 ทักษะชีวิต ⚫   ⚫ ⚫   ⚫   ⚫
001238 การรู้เท่าทันสื่อ  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫
001239 ภาวะผู้นากับความรัก ⚫   ⚫  
001251 พลวัตกลุ่มและการทางานเป็นทีม ⚫ ⚫    ⚫ ⚫ ⚫  
001252 นเรศวรศึกษา ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫   ⚫
001253 การเป็นผู้ประกอบการ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫  
77

5.ทักษะการวิเคราะห์
4. ทักษะวามสัมพันธ์
1. คุณธรรม เชิงตัวเลข การสื่อสาร
ผลการเรียนรู้ 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคลและ
จริยธรรม และการใช้เทคโนโลยี
ความรับผิดชอบ
สารสนเทศ
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 5.1 5.2
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ⚫ ⚫   ⚫   ⚫  ⚫ 
001272 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
001273 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจาวัน ⚫  ⚫  ⚫  ⚫ 
001274 ยาและสารเคมีในชีวิตประจาวัน ⚫ ⚫  ⚫  ⚫ ⚫
001275 อาหารและวิถีชีวิต ⚫  ⚫   
001276 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  
001277 พฤติกรรมมนุษย์ ⚫  ⚫  ⚫ ⚫ ⚫
001278 ชีวิตและสุขภาพ  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
001279 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫
กลุ่มวิชาพลานามัย
001281 กีฬาและออกกาลังกาย ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
78

3.2 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (หมวดวิชาเฉพาะ)


⚫ หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก  หมายถึง ความรับผิดชอบรอง

5. ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
1. คุณธรรม 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ 6. ด้านวิธีวทิ ยาการ
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ตัวเลขการสื่อสาร
รายวิชา จริยธรรม ความรับผิดชอบ จัดการเรียนรู้
และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4
หมวดวิชาเฉพาะวิชาชีพครู
วิชาชีพครูบังคับ
366202 จิตวิทยาสาหรับครู ⚫   ⚫   ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
366203 ความเป็นครู ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫   
366304 การพัฒนาหลักสูตร  ⚫ ⚫      ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
366305 การวัดและประเมินผล
 ⚫   ⚫      ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
การเรียนรู้และการประกันคุณภาพ
366306 การจัดการเรียนรู้และ
 ⚫  ⚫  ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫    ⚫   ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
การจัดการชั้นเรียน
366307 ภาษาและเทคโนโลยี
⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
ดิจิทัลเพื่อการพัฒนานวัตกรรม
366409 การวิจัยเพื่อพัฒนาการ
 ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫       ⚫ ⚫ ⚫ 
เรียนรู้
366412 ความสัมพันธ์ระหว่าง
⚫ ⚫  ⚫   ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫   ⚫  ⚫    ⚫  ⚫
โรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชน
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
366191 การปฏิบัติการสอน
⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫      ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
วิชาเอกในสถานศึกษา 1
79

5. ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
1. คุณธรรม 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ 6. ด้านวิธีวทิ ยาการ
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ตัวเลขการสื่อสาร
รายวิชา จริยธรรม ความรับผิดชอบ จัดการเรียนรู้
และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4
366292 การปฏิบัติการสอน
⚫ ⚫ ⚫    ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ 
วิชาเอกในสถานศึกษา 2
366393 การปฏิบัติการสอน
⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫    ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
วิชาเอกในสถานศึกษา 3
366494 การปฏิบัติการสอน
⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
วิชาเอกในสถานศึกษา 4
วิชาเอก
วิชาเอกเดี่ยว
วิชาเอกบังคับ
205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษ  
   ⚫ ⚫
เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษ  
   ⚫ ⚫
เพื่อการวิเคราะห์เชิงวิชาการ
205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษ  
   ⚫ ⚫
เพื่อการนาเสนอผลงาน
252100 ประวัติและพัฒนาการ ⚫   ⚫    
ของคณิตศาสตร์
252111 แคลคูลัสมูลฐาน  ⚫  ⚫ ⚫   

252112 แคลคูลัส  ⚫  ⚫ ⚫   
252141 หลักคณิตศาสตร์  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫ ⚫
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫
80

5. ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
1. คุณธรรม 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ 6. ด้านวิธีวทิ ยาการ
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ตัวเลขการสื่อสาร
รายวิชา จริยธรรม ความรับผิดชอบ จัดการเรียนรู้
และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4
252212 การวิเคราะห์เชิง  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫ ⚫
คณิตศาสตร์ 1
252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫ ⚫
252222 พีชคณิตนามธรรม 1  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫ ⚫
252223 ทฤษฎีจานวน 1  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫ ⚫
255121 สถิติวิเคราะห์          ⚫ ⚫
256103 เคมีเบื้องต้น  ⚫  ⚫ ⚫      
258101 ชีววิทยาเบื้องต้น  ⚫  ⚫ ⚫      
261103 ฟิสิกส์เบื้องต้น  ⚫  ⚫ ⚫      
วิชาเอกเลือก
252251 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย  ⚫  ⚫ ⚫      ⚫
252311 แคลคูลัสขั้นสูง  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫
252314 การวิเคราะห์เชิงซ้อน  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫ ⚫
เบื้องต้น
252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลข  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫
เบื้องต้น
252331 เรขาคณิต  ⚫  ⚫ ⚫      ⚫
252351 ทฤษฏีกราฟ  ⚫  ⚫ ⚫      ⚫
252352 คอมบินาทอริกส์  ⚫  ⚫ ⚫      ⚫
252375 ซอฟท์แวร์ทาง  ⚫  ⚫ ⚫     ⚫
คณิตศาสตร์
252400 โครงงานคณิตศาสตร์   ⚫ ⚫ ⚫  ⚫    ⚫
81

5. ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
1. คุณธรรม 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ 6. ด้านวิธีวทิ ยาการ
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ตัวเลขการสื่อสาร
รายวิชา จริยธรรม ความรับผิดชอบ จัดการเรียนรู้
และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4
252401 คณิตศาสตร์มูลฐาน   ⚫ ⚫ ⚫  ⚫    ⚫
สาหรับครู
252402 ทฤษฎีสมการเบื้องต้น  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫    ⚫
สาหรับครู
398487 สื่อการสอนคณิตศาสตร์
 ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
สาหรับศตวรรษที่ 21
398488 การบูรณาการ
 ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
คณิตศาสตร์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
วิชาการสอนวิชาเอก
398385 การจัดการเรียนรู้
 ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
398486 การจัดการเรียนรู้
 ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา
หมวดวิชาเลือกเสรี
353432 การจัดกิจกรรมพัฒนา
⚫   ⚫ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫   ⚫    
ผู้เรียน
353433 จิตวิทยาพัฒนาการ     ⚫  ⚫   ⚫ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫    ⚫ ⚫ ⚫ 
354411 การบริหารคุณภาพ
⚫ ⚫ ⚫  ⚫  ⚫ ⚫    ⚫       ⚫
สถานศึกษา
354413 ชุมชนกับการมีส่วนร่วม
   ⚫   ⚫      ⚫ ⚫ ⚫ ⚫        ⚫
ในการจัดการศึกษา
354431 นันทนาการในโรงเรียน
 ⚫ ⚫  ⚫    ⚫ ⚫ ⚫        ⚫
และชุมชน
82

5. ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง
1. คุณธรรม 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ 6. ด้านวิธีวทิ ยาการ
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ตัวเลขการสื่อสาร
รายวิชา จริยธรรม ความรับผิดชอบ จัดการเรียนรู้
และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4
355431 คอมพิวเตอร์เพื่อ
⚫  ⚫  ⚫   ⚫ ⚫  ⚫   ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫    
การศึกษา
366411 การจัดการศึกษา
       ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫ 
แบบเรียนรวม
366421 ภาษากับการจัดการ
⚫   ⚫      ⚫ ⚫ ⚫       ⚫      
เรียนรู้
369461 โครงการสุขภาพและ
⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫           
สวัสดิศึกษาในสถานศึกษา
378311 ปรัชญาเศรษฐกิจ
⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
พอเพียงสู่การจัดการเรียนรู้
396445 การอยู่ค่ายพักแรม  ⚫ ⚫  ⚫   ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫   ⚫
396463 เพศศึกษา  ⚫ ⚫  ⚫    ⚫ ⚫ ⚫        ⚫
83

หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)
การวัดผลและการสาเร็จการศึกษาเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี
พ.ศ. 2559 รายละเอียดแจ้งไว้ในภาคผนวก
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต
จั ด ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบรายละเอี ย ดของรายวิ ช า รายละเอี ย ดของประสบการณ์ ภ าคสนาม
และกิจกรรมเสริมความเป็นครูตลอดหลักสูตร รวมทั้งการกากับให้สอดคล้องมาตรฐานผลการเรียนรู้ของหลักสูตร
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ขณะนิสิตยังไม่สาเร็จการศึกษา
2.1.1 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของผลการเรียนรู้กับวัตถุประสงค์รายวิชา (มคอ. 3) และกิจกรรมและชิ้นงาน
โดยการสะท้อนบทเรียนเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ควบคู่กับการประเมินผล
ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนใน มคอ. 5 ในหัวข้อการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
2.1.2 สถานศึกษาที่รับนิสิตไปปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเอกและสถาบันผลิตมีการประเมินนิสิ ตตาม
มาตรฐานผลการเรียนรู้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขตามทีค่ ุรุสภากาหนด
2.1.3 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5
จากคะแนนเต็ม 5.0
2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสาเร็จการศึกษา
การก าหนดกลวิ ธี ก ารทวนสอบมาตรฐานผลการเรี ย นรู้ ข องนิ สิ ต ควรเน้ น การท าวิ จั ย สั ม ฤทธิ ผ ล
ของการประกอบอาชีพของบัณฑิต ที่ทาอย่างต่อเนื่องและนาผลวิจัยที่ได้ย้อนกลับมาปรับปรุงกระบวนการการ
เรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหน่วยงานโดยองค์กร
ระดับสากล โดยการวิจัยอาจจะทาดาเนินการดังตัวอย่างต่อไปนี้
2.2.1 ภาวะการได้งานทาของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแต่ละรุ่นที่จบการศึกษา ในด้านของระยะเวลา
ในการหางานทา ความเห็นต่อความรู้ ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตในการประกอบการงานอาชีพ
2.2.2 การตรวจสอบจากผู้ป ระกอบการ โดยการขอเข้าสั มภาษณ์ หรือ การส่งแบบสอบถาม เพื่อ
ประเมินความพึงพอใจในบัณฑิตที่จบการศึกษาและเข้าทางานในสถานศึกษา องค์กรที่เกี่ยวข้อง ในคาบระยะเวลา
ต่าง ๆ เช่น ปีที่ 1 ปีที่ 5 เป็นต้น
2.2.3 การประเมินตาแหน่ง และหรือความก้าวหน้าในสายงานของบัณฑิต
2.2.4 การประเมินจากสถานศึกษาอื่น โดยการส่งแบบสอบถาม หรือ สอบถามเมื่อมีโอกาสในระดั บ
ความพึงพอใจในด้านความรู้ ความพร้อม และสมบัติด้านอื่น ๆ ของบัณฑิตจะจบการศึกษาและเข้าศึกษาเพื่อ
ปริญญาที่สูงขึ้นในสถานศึกษานั้น ๆ
2.2.5 การประเมินจากนิสิตเก่า ที่ไปประกอบอาชีพ ในแง่ของความพร้อมและความรู้จากสาขาวิชาที่
เรียนรวมทั้งสาขาอื่น ๆ ที่กาหนดในหลักสู ตร ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชีพของบัณฑิต รวมทั้งเปิดโอกาส ให้
เสนอข้อคิดเห็นในการปรับหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้นด้วย
2.2.6 ความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มาประเมินหลักสูตร หรือ เป็นอาจารย์พิเศษต่อความพร้อม
ของนิสิตในการเรียน และสมบัติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาองค์ความรู้ของนิสิต
2.2.7 ผลงานของนิสิตที่วัดเป็นรูปธรรมได้ อาทิ จานวนกิจกรรมอาสาสมัครในองค์กรที่ทาประโยชน์ต่อ
สังคม
84

3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
3.1 เรียนรายวิชาต่าง ๆ ครบตามหลักสูตรและเงื่อนไขของสาขาวิชานั้น และไม่มีรายวิชาใดได้รับอักษร I หรือ
อักษร P
3.2 การศึกษาเพื่อปริญญาตรี 4 ปี สาเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 6 ภาคการศึกษาปกติ สาหรับการลงทะเบียน
เรียนเต็มเวลา และไม่ก่อน 14 ภาคการศึกษาปกติ สาหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา
3.3 มีค่าระดับขั้นสะสมเฉลี่ยตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2.00
3.4 ได้รับการทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษ และความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.5 ไม่เคยได้รับระดับขั้น F หรืออักษร U และต้องไม่ลงทะเบียนเรียนซ้าในรายวิชาใด
3.6 กรณี เ ป็ น นิ สิ ต ที่ มี ก ารขอเที ย บโอนผลการเรี ย น จ านวนหน่ ว ยกิ ต ต้ อ งไม่ เ กิ น 1 ใน 6 ของจ านวน
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
3.7 ปฏิ บั ติ กิ จ กรรมเสริ ม ความเป็ น ครู (Teacher Enhancing Action) ที่ จั ด กิ จ กรรม/โครงการเป็ น
การเฉพาะหรือจัดให้บูรณาการกับการเรียนการสอน ปีละไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรม
85

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์

1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
1.1 มีการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ให้มีความรู้และความเข้าใจปรัชญา นโยบายของมหาวิทยาลัย และคณะ
ตลอดจนปรัชญาของหลักสูตรที่เปิดสอนในคณะ
1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์การสอนและการวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง
ทั้งในและต่างประเทศ
1.3 ส่งเสริมให้อาจารย์ใหม่ทุกคนเข้ารับการอบรมหลักสูตรการสอนเบื้องต้น การวัดและประเมินผล
เบื้องต้น
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
2.1.1 สาหรับอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมการสอนและ
การวิจัยอย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ มีการอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพ ในระดับต่าง ๆ
การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและ/หรือต่างประเทศ หรือการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์
2.1.2 เพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลให้ทันสมัย
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ
2.2.1 ส่งเสริมและกระตุ้นการทาผลงานทางวิชาการ
2.2.2 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชนโดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการนานวัตกรรม
ทางการศึกษาไปใช้เพือ่ พัฒนาระบบขององค์กร
2.2.3 สนับสนุนให้อาจารย์ได้เข้าร่วมปฏิบัติธรรมตามศาสนาที่นับถืออย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

หมายเหตุ สาหรับอาจารย์ประจาที่สถานศึกษารับเข้าใหม่ตั้งแต่เกณฑ์มาตรฐานนี้เริ่มบังคับใช้ต้องมีคะแนน
ทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง
มาตรฐานความสามารถภาษาอังกฤษของอาจารย์ประจา
86

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร

หลั กสู ตรได้กาหนดระบบและวิธีการประกันคุณภาพหลักสู ตรให้ สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน


หลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 และการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยนเรศวร 6 ด้าน
ดังนี้
1. การกากับมาตรฐาน
หลักสูตรมีการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ดังนี้
1.1 การก าหนดคุ ณ สมบั ติ ข องอาจารย์ อ าจารย์ ป ระจ าหลั ก สู ต ร ที่ มี คุ ณ วุ ฒิ ขั้ น ต่ าปริ ญ ญาโทหรือ
เที ย บเท่ า ในหรื อ ต าแหน่ ง ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ใ นสาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ สาขาวิ ช าที่ สั ม พั น ธ์ กั น และ
มีผลงานวิจัยที่ไม่ได้เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา โดยเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รั บการ
เผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1
รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
1.2 การกาหนดจานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจานวนอย่างน้อย 5 คน มีคุณวุฒิขั้นต่าปริญญาโทหรือ
เทียบเท่าในหรือตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ในสาขาเกี่ยวข้องหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานวิจัยที่ไม่ได้
เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา โดยเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด
ในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง และต้องเป็น
อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร และต้องอยู่ประจาหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทาหน้าที่วางแผน ควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการพัฒนาหลักสูตร
ดาเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้ผลการดาเนิน งานเพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอนตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
1.3 การกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษที่มีคุณวุฒิขั้นต่าปริญญา
โทหรือเทียบเท่าในหรือตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ในสาขาที่เกี่ยวข้องหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือใน
สาขาวิชาของรายวิชาที่สอน
1.4 กาหนดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ 2 คนต่อชั้นปี ให้กับนิสิต โดยพิจารณาเลือกจากอาจารย์ประจา
หลักสูตร ทาหน้าที่ดูแลให้คาปรึกษาแก่นิสิต ทั้งด้านการวางแผนการศึกษาการเรียน การศึกษาค้นคว้าวิจัยเพื่อ
พัฒนาการเรียนรู้ และให้คาแนะนาเรื่องระเบียบปฏิบัติต่างๆ ตลอดช่วงเวลาการศึกษาของนิสิต
2. บัณฑิต
หลักสูตรกาหนดให้มีการศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้
บัณฑิต ดังนี้
2.1 กาหนดให้มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคมของประเทศและ
โลก ความก้าวหน้าด้านการศึกษา การสารวจความต้องการของตลาดแรงงานและความพึ งพอใจของผู้ใช้
บั ณฑิตหรื อผู้ ที่มีส่ ว นเกี่ย วข้องกับ การจั ด การศึก ษา ก่อนการปรับปรุงหลั กสู ตร เพื่อศึกษาทิศทางของ
ตลาดแรงงานทั้งในระดับท้องถิ่นและประเทศสาหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการเปิดและการปรับปรุงและ
พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทุก ๆ 5 ปี
2.2 กาหนดให้มีการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้และนายจ้าง การติดตามการพัฒนาอาชีพและ
ความก้าวหน้าในการทางานของบัณฑิต ให้เป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
87

3. นิสิต
3.1 การรับนิสิต หลักสูตรกาหนดคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาเป็นตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ
ปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรีและกาหนดให้มี
กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาในหลักสูตรให้กับนิสิต
3.2 การสนับสนุนและการให้คาแนะนานิสิต มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ ให้การดูแลด้านการศึกษา
โดยมีการกาหนดตารางเวลาให้ นิสิตพบเพื่อให้ คาปรึกษา การจัดกิจกรรมการแนะแนวอาชีพและแนวทาง
การศึกษาต่อที่เกี่ยวเนื่องกับหลักสูตร หลักสูตรจัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ 2 คน ให้กับนิสิตแต่ละชั้นปี
โดยพิจารณาเลือกจากอาจารย์ประจาหลักสูตร ทาหน้าที่ดูแลให้คาปรึกษาแก่นิสิต ทั้งด้านการวางแผนการ
ศึกษา การค้น คว้าวิจั ย เพื่ อพั ฒ นาการเรี ย นรู้ และให้ คาแนะน าเรื่ องระเบียบปฏิบัติ ต่างๆ ตลอดช่ว งเวลา
การศึกษาของนิสิต
3.3 ส่งเสริมและพัฒนาคุณลักษณะพึงประสงค์ของนิสิต โดยให้นิสิตทากิจกรรมจิตอาสาทุกปีการศึกษา
รวมทั้งกิจกรรมอื่น ๆ ตามที่ มคอ. 1 กาหนด
3.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทาหน้าที่กากับติดตามอัตราการคงอยู่ของนิสิตในหลักสูตรและอัตราการ
สาเร็จการศึกษาให้เป็นไปตามแผนการศึกษาของหลักสูตร
3.5 หลักสูตรกาหนดแนวทางการอุทธรณ์ของนิสิตในหลักสูตรดังนี้ นิสิตที่ถูกลงโทษ มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ต่อ
คณะกรรมการอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันรับทราบคาสั่งลงโทษ โดยคาร้องต้องทาเป็นหนังสื อ พร้ อม
เหตุผ ลประกอบ และยื่ น เรื่ องผ่านงานบริการการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ และให้ คณะกรรมการอุทธรณ์
พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับหนังสื ออุทธรณ์ โดยคาวินิจฉัยของคณะกรรมการ
อุทธรณ์ถือเป็นที่สิ้นสุด
4. คณาจารย์
4.1 หลักสูตรกาหนดระบบกลไก กระบวนของการรับอาจารย์ใหม่และแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตร ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกันกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ประจาหลักสูตรตามที่สาขาวิชา
คณะศึ ก ษาศาสตร์ แ ละคณะกรรมการบริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย (กบม.) ก าหนด เสนอการขออั ต ราก าลั ง ต่ อ
คณะศึกษาศาสตร์ เพื่อดาเนินการตามระบบและกลไกของคณะศึกษาศาสตร์และมหาวิทยาลัยนเรศวร ทั้งนี้ให้
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558
4.2 หลักสูตรกาหนดระบบกลไก กระบวนของการรับแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตรโดย ความร่วมมือ
ระหว่างคณะศึกษาศาสตร์และคณะอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยนเรศวร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกันกาหนด
คุณสมบั ติของอาจารย์ ป ระจ าหลั กสูตรตามที่ส าขาวิ ช าและในสาขาวิชาที่สั มพันธ์กัน จากคณะที่เกี่ยวข้อง
ดาเนินการประสานขอรายชื่ออาจารย์คณะอื่น ที่มีความสนใจมาร่วมเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร ภาควิชา
การศึกษาเสนอรายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตรมายังฝ่ายวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ ทั้งนี้ จะต้องพิจารณา
อาจารย์ประจาหลักสูตรจากคุณวุฒิ ตาแหน่งวิชาการ ผลงานวิชาการ ความเชี่ยวชาญ ทั้งนี้ ให้คุณสมบัติของ
อาจารย์ประจาหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558
4.3 หลักสูตรกาหนดระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ โดยคณะศึกษาศาสตร์จัดสรรงบประมาณ
เพื่อการพัฒนาตนเองของอาจารย์ด้านคุณวุฒิและตาแหน่งทางวิชาการ ส่งเสริมการทาวิจัยและการบริการ
วิชาการ เพื่อเพิ่มประสบการณ์และความเชี่ยวชาญอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคน โดยใช้แนวปฏิบัติของ
คณะศึกษาศาสตร์
88

4.4 การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร


1) การร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้สอนแต่ละ
รายวิชาจะต้องประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลและให้ความเห็นชอบ
การประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมไว้สาหรับการปรับปรุงหลักสูตร
2) การร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการพัฒนานิสิต คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้สอน
แต่ละรายวิชามีการพบปะเพื่อปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางที่จะทาให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร
และได้นิสิตเป็นไปตามคุณลักษณะนิสิตที่พึงประสงค์โดยความเห็นชอบของคณะและมหาวิทยาลัย
3) การร่วมทบทวนและปรับปรุงหลักสูตร คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้สอนแต่ละ
รายวิชาร่วมกันทบทวนสิ่งที่พบจากข้อมูลด้านการจัดการเรียนการสอนที่เก็บรวบรวมไว้ สิ่งที่พบในการพัฒนา
นิ สิ ตให้ มีคุณลั กษณะที่พึ ง ประสงค์ตามหลั กสู ตร และปัญหาที่พบในการใช้ห ลั กสู ตร และกาหนดให้ มีก าร
ปรับปรุงหลักสูตรภายหลังการใช้หลักสูตรอย่างน้อย 5 ปี ต่อ 1 ครั้ง
4) การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ มีการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ มุ่งให้เกิดการพัฒนาประสบการณ์
การเรียนรู้แก่นิสิตนอกเหนือไปจากความรู้ตามทฤษฎี เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์การทางานในวิชาชีพจริง โดยที่
อาจารย์พิเศษจะต้องเป็นผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจามีประสบการณ์ตรง หรือมีวุฒิการศึกษาอย่างต่าปริญญา
โท หรือเทียบเท่าและมีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี ทั้งนี้
อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชาโดยมีอาจารย์ประจาเป็นผู้รับผิดชอบ
5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 หลักสูตรมีกาหนดให้มีการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตรโดยดาเนินการตาม
กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตรของมหาวิทยาลัยนเรศวรและกาหนดให้มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย
ตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้น ๆ เมื่อครบรอบการปรับปรุงหลักสูตร 5 ปี
5.2 หลักสูตรมีการพิจารณากาหนดผู้สอนโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกับภาควิชาต่าง ๆ
และคณะศึกษาศาสตร์ กาหนดรายชื่ออาจารย์ผู้สอนประจารายวิชา โดยพิจารณาจากคุณวุฒิ ประสบการณ์
วิจัย และผลการประเมินผู้สอนโดยนิสิต
5.3 หลักสูตรกาหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนดังนี้กาหนดให้อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา มี
การบูรณาการทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมการเรียนการสอน และกาหนดให้รายวิชาต่าง ๆ ต้องมี
การกาหนดชิ้นงานให้นิสิตสืบค้น สร้างสรรค์ผลงาน ลงมือปฏิบัติและเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม
5.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกับอาจารย์ผู้สอน คณะศึกษาศาสตร์ และคณะฯ ที่มีความร่วมมือใน
การผลิตบัณฑิต กากับ ติดตาม การจัดส่ง มคอ. 3 – 7 และอัพโหลดผ่านระบบบริหารจัดการหลักสูตร TQF
5.5 หลักสูตรจัดให้มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาดังนี้
1) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนิสิตยังไม่สาเร็จการศึกษา ดาเนินการโดยการ
ทวนสอบคุณภาพผลการเรียนรู้ตามที่ระบุใน มคอ. 3 และทวนสอบผลการวัดประเมินผลรายรายวิชา โดย
กาหนดให้มีระบบการประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนโดยนิสิต การประเมินรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนและ
นิสิต และระบบการนาผลการประเมินมาพัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน ในปีการศึกษาถัดไป และ/หรือ
ปรับปรุงเนื้อหารายวิชา เมื่อครบรอบการปรับปรุงหลักสูตร 5
2) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสาเร็จการศึกษา ดาเนินการประเมิน จากนิสิตที่
จบ/บัณฑิต และประเมินจากผู้ใช้บัณฑิต
89

6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 หลักสูตรกาหนดให้มีระบบและกลไกในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลั ก สู ต รเป็ น ผู้ มี ส่ ว นร่ ว ม เพื่ อ ให้ มี สิ่ ง สนั บ สนุ น การเรีย นรู้ที่ เ หมาะสม โดยใช้ ร ะบบการด าเนิ น งานของงาน
การบริการการศึกษา/คณะศึกษาศาสตร์/มหาวิทยาลัยนเรศวร
6.2 หลักสูตรกาหนดให้มีการประเมินความพึงพอใจในการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งสนับสนุน
การเรียนรู้ของนิสิต ทุกปีการศึกษา และมีการนาผลการประเมินความพึงพอใจมาพิจารณาโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรเพื่อนาเสนอเข้าที่ประชุมของฝ่ายบริหารและเสนอแนวทางการปรับปรุงแก้ไขอย่างสม่าเสมอ
6.3 การบริหารงบประมาณ บริหารงบประมาณ ตามสัดส่วนงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจาก
มหาวิทยาลัย
6.4 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิมหนังสือ ตารา เอกสาร และวารสารที่ประกอบการเรียนการสอน
ส่วนใหญ่มีอยู่ในห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ (Self-access room) นอกจากนี้ นิสิตและคณาจารย์สามารถค้นคว้า
ข้อมูลวิจัย ตลอดจนข้อมูลข่าวสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของสานักหอสมุด และยัง
สามารถขอรับบริการยืมหนังสือจากถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ ได้ผ่านทางสานักหอสมุด ซึ่งอาจสรุปแหล่งทรัพยากร
ข้อมูล ความรู้ งานวิจัยที่สามารถค้นได้ดังนี้
จานวนทรัพยากรสารสนเทศของสานักหอสมุด
ตาราเรียน
ภาษาไทย 78,147
ภาษาต่างประเทศ 26,037
วารสาร
ภาษาไทย 568
ภาษาต่างประเทศ 190
โสตทัศนวัสดุ
(วีดีทัศน์, แผ่นดิสก์, เทป 4,144
บันทึกเสียง, ซีดีรอม
ฐานข้อมูลอิเล็กทอนิกส์ ) DAO
Emerald Full Text
Lexis-Nexis
Springer Link
Science Direct
H.W. Wilson (All)
Wiley
Grolier Online
6.5 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม เป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับจากมหาวิทยาลัย โดยเน้น
การจัดหาหนังสือรวมบทความงานวิจัยต่างประเทศ หนังสือวิเคราะห์แนวโน้มการวิจัย ด้านการศึกษาของไทยและ
ต่างประเทศ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journal) ครุภัณฑ์ ด้านการศึกษาสาหรับการจัดการเรียนการสอนสาหรับ
คณาจารย์และนิสิตในหลักสูตรนี้ และสาขาที่เกี่ยวข้อง
90

7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators)


7.1 ตัวบ่งชี้หลัก (Core KPIs)
การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการการเรียนการสอนที่จะทาให้บัณฑิตมีคุณภาพอย่างน้อยตามมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ที่กาหนด โดยมีตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ดังนี้

ที่ ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (สกอ.) ปี ปี ปี ปี ปี


2562 2563 2564 2565 2566
1 อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วม
ในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน     
หลักสูตร
2 มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒสิ าขา     
(ถ้ามี)
3 มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อย     
ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกวิชา
4 จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผล
การดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ
    
มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษา
ที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
5 จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7
    
ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
6 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนิสิต/นักศึกษา ตามมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ที่กาหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อย     
ร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
7 มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน
หรือการประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการ -    
ดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
8 อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ อบรม หรือ
    
คาแนะนาด้านศาสตร์วิชาครู และวิทยาการการจัดการเรียนรู้
9 อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือ
    
วิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
10 จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการ
    
พัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
11 ระดับความพึงพอใจของนิสติ /นักศึกษาปีสดุ ท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อ
 
คุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
12 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่

เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
91

เกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงานเพื่อการรับรองและเผยแพร่หลักสูตร
เกณฑ์การประเมินผลการดาเนินการ เป็นไปตามที่กาหนดในมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
หลักสูตรที่ได้มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ต้องมีผลดาเนินการบรรลุเป้าหมายตัวบ่งชี้
บั ง คั บ (ตั ว บ่ ง ชี้ ที่ 1-5) และตั ว บ่ ง ชี้ ที่ 6-12 จะต้ อ งด าเนิ น การให้ บ รรลุ ต ามเป้ า หมายอย่ า งน้ อ ยร้ อ ยละ 80
ของตัวบ่งชี้ในปีที่ประเมินผลการประเมินการดาเนินการจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์นี้ต่อเนื่องกัน 2 ปี จึงจะได้
รับรองว่าหลักสูตรมีมาตรฐานเพื่อเผยแพร่ต่อไป และจะต้องรับการประเมินให้อยู่ในระดับดี ตามหลักเกณฑ์นี้
ตลอดไป เพื่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตอย่างต่อเนื่อง

7.2 ตัวบ่งชี้ของหลักสูตร/สาขาวิชา ( Expected Learning Outcomes )


Expected Learning Outcomes ที่เป็นตัวบ่งชี้ของหลักสูตร/สาขาวิชาที่กาหนดใน มคอ.2 จะถูกควบคุม
ตัวบ่งชี้ให้บรรลุเป้าหมาย โดยคณะ/หลักสูตร/สาขา
ที่ ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ค่า ค่า ค่า ค่า ค่า
เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566
1 ผลคะแนนประเมินเฉลี่ยของนิสติ ด้านพฤติกรรมและ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ >ร้อยละ
คุณลักษณะสอดคล้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู และ 60 70 80 80
แสดงออกถึงความมุ่งมั่นที่ต้องการประกอบวิชาชีพครู
2 ผลคะแนนประเมินเฉลี่ยของนิสติ ด้านความสามารถใน ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ >ร้อยละ
การถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่เป็นองค์ความรู้ และ 60 70 80 80
แนวทางปฏิบัติของศาสตร์ทางวิชาชีพครู และได้อย่าง
เป็นรูปธรรม
3 ผลคะแนนประเมินเฉลี่ยของนิสติ ด้านความรูค้ วาม ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ >ร้อยละ
เข้าใจ และมีความตระหนักในบทบาทหน้าที่ และ 60 70 80 80
ความรับผิดชอบของตนและสังคม สามารถเรียนรู้และ
ร่วมมือกับผู้อื่นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
4 ผลคะแนนประเมินเฉลี่ยของนิสติ ด้านทักษะการ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ >ร้อยละ
วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาการ 60 70 80 80
จัดการเรียนรู้ และการวิจัยที่เหมาะสมกับศักยภาพ
ผู้เรียน
5 ผลคะแนนประเมินเฉลี่ยของนิสติ ด้านทักษะการใช้ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ >ร้อยละ
ภาษา และเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการแสวงหา 60 70 80 80
นาเสนอ และสร้างองค์ความรู้
6 ร้อยละของนิสติ ที่สอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ - ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
B1 25 25 25 25
92

7.3 ตัวบ่งชี้ในระดับมหาวิทยาลัย
ตัวบ่งชี้ในระดับมหาวิทยาลัย จะควบคุมโดยการออกประกาศ มาตรการ กากับ ติดตาม ประเมิน
ตัวบ่งชี้ให้บรรลุเป้าหมาย โดยมหาวิทยาลัย
ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5
ที่ ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานในระดับมหาวิทยาลัย
2562 2563 2564 2565 2566
1 ร้อยละของรายวิชาเฉพาะด้านทั้งหมดที่เปิดสอน 45 50 55 60 -
มีวิทยากรจากภาคธุรกิจเอกชน/ภาครัฐมาบรรยาย
พิเศษอย่างน้อย 1 ครั้ง
2 ร้อยละของนิสติ ที่สอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ 60 70 80 85 90
ที่มหาวิทยาลัยกาหนด
3 ร้อยละของนิสติ ที่สอบเทคโนโลยีสารสนเทศผ่าน 60 70 75 85 95
ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด
4 ร้อยละของบัณฑิตทีไ่ ด้งานทา/ประกอบอาชีพอิสระ - - - - 90
ใน 1 ปี หลังสาเร็จการศึกษา
5 นิสิต/บัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาไปแล้วสร้างชื่อเสียง - - - - 10
ในระดับชาติและนานาชาติ
6 ร้อยละของจานวนรายวิชาที่มีการเรียนการสอน - 40 50 60 70
ในลักษณะบูรณาการศาสตร์
7 ร้อยละของจานวนโครงงาน/วิจัย/วิทยานิพนธ์ระดับ - - - 10 10
ปริญญาตรี ในลักษณะบูรณาการศาสตร์
8 จานวนนวัตกรรมที่สร้างขึ้นโดยนิสิตในระดับ - - - 8 -
ปริญญาตรี
9 จานวน start-up/ entrepreneurship
10 จานวนเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับภาครัฐ อย่างน้อย 1 อย่างน้อย 1 อย่างน้อย 1 อย่างน้อย 1 อย่างน้อย 1
เอกชน สถานประกอบการ ในประเทศ และ หรือ
ต่างประเทศ
11 จานวนพื้นที่เป้าหมาย (target area) ให้ผู้เรียนได้ อย่างน้อย 1 อย่างน้อย 1 อย่างน้อย 1 อย่างน้อย 1 อย่างน้อย 1
พัฒนาองค์ความรู้และสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนา
เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชน
93

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน
1.1.1 มีการประเมินกลยุทธ์การสอนของอาจารย์โดยนิสิต ทุกรายวิชา โดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
รายวิชาเกี่ยวกับการบรรจุผลการเรียนรู้ ตามวัตถุประสงค์ วิชา (มคอ. 3) กับกิจกรรมชิ้นงานที่อาจารย์ผู้สอน
มอบหมาย โดยการสะท้ อ นบทเรี ย นจากนิ สิ ต และน าผลการประเมิ น มาวิ เ คราะห์ เ พื่ อ หาจุ ด อ่ อ นและ
จุดแข็งในการสอนของอาจารย์ผู้สอน เพื่อปรับกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมกับอาจารย์แต่ละท่าน
1.1.2 มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิตโดยการสอบ
1.1.3 มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิตโดยการปฏิบัติงานกลุ่ม
1.1.4 ในการทดสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน จะสามารถชี้ได้ว่าผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่
ในเนื้อหาที่ได้สอนไป หากพบว่ามีปัญหาจะต้องมีการดาเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโอกาส
ต่อไป
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
ให้นิสิตได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อ
เวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชา และการใช้สื่อการสอนใน
ทุกรายวิชา
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
2.1 ประเมินโดยนิสิตปีสุดท้าย
2.2 ประเมินโดยบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา
2.3 ประเมินโดยผู้ใช้บัณฑิต/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
การประเมินคุณภาพการศึกษาประจาปี ตามดัชนีบ่งชี่ผลการดาเนินงานที่ระบุในหมวดที่ 7 ข้อ 7 โดย
คณะกรรมการประเมิน อย่ า งน้ อย 3 คน ประกอบด้ว ยผู้ ทรงคุ ณวุฒิ ใ นสาขาวิช าอย่า งน้ อย 1 คน ที่ได้รั บ
การแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัย
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
ให้ ก รรมการวิ ช าการประจ าสาขาวิ ช า/ภาควิ ช า รวบรวมข้ อ มู ล จากการประเมิ น การเรี ย นการสอน
ของอาจารย์ นิสิต บัณฑิต และผู้ใช้บัณฑิต และข้อมูลจาก มคอ. 5, 6 และ 7 เพื่อให้ทราบปัญหาของการบริหาร
หลักสูตรทั้งในภาพรวมและในแต่ละรายวิชา และนาไปสู่การดาเนินการปรับปรุงรายวิชาและหลักสูตรต่อไป
สาหรับการปรับปรุงหลักสูตรนั้นจะกระทาทุก ๆ 5 ปี ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
94

ภาคผนวก ก
สาระการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
(หลักสูตร 5 ปี) กับ หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี)
95

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 (หลักสูตร 5 ปี)


กับหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี)

มคอ.1 หลักสูตร หลักสูตร


เกณฑ์ สาขาครุศาสตร์ ปรับปรุง ปรับปรุง
ศธ. และสาขา พ.ศ. พ.ศ.
ลาดับที่ หมวดวิชา
พ.ศ. ศึกษาศาสตร์ 2560 2562
2558 (หลักสูตรสี่ปี) (หลักสูตร (หลักสูตร
พ.ศ. 2562 5 ปี) 4 ปี)
1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 30 30 30
1.1 วิชาบังคับ 30
1.2 วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต 1 1
2 หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 72 94 131 107
2.1 วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 34 50 36
2.1.1 วิชาชีพครูบังคับ ไม่น้อยกว่า 22 35 24
2.1.2 วิชาชีพครูเลือก 3
2.1.3 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 12 12
2.2 วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 60 81 71
2.2.1 วิชาเอกเดี่ยว ไม่น้อยกว่า 60 81 71
1) วิชาเอกบังคับ 40 69 44
2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 20 6 21
3) วิชาการสอนวิชาเอก 6 6
3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 6 6 6
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 120 130 167 143
96

ตาราง 2 เปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง


พ.ศ. 2560 (หลักสูตร 5 ปี) กับหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี)
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ปรับปรุง พ.ศ. 2560 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระที่ปรับปรุง
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่าจานวน 30 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่าจานวน 30 หน่วยกิต
กาหนดให้นิสิตเรียนตามกลุ่มวิชาดังต่อไปนี้ กาหนดให้นิสิตเรียนตามกลุ่มวิชาดังต่อไปนี้
1. กลุ่มวิชาภาษา ไม่น้อยกว่า จานวน 12 หน่วยกิต 1. กลุ่มวิชาภาษา จานวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
001201 ทักษะภาษาไทย 3(2-2-5) 001201 ทักษะภาษาไทย 3(2-2-5)
Thai Language Skills Thai Language Skills
001211 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5) 001211 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(2-2-5)
Fundamental English Fundamental English ปรับปรุงคาอธิบาย
001212 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(2-2-5) 001212 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(2-2-5) รายวิชา
Developmental English Developmental English
001213 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(2-2-5) 001213 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(2-2-5)
English for Academic Purposes English for Academic Purposes
2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ไม่น้อยกว่า จานวน 6 หน่วยกิต 2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า 3(2-2-5) 001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า 3(2-2-5)
Information Science for Study Information Science for Study
and Research and Research ปรับปรุงคาอธิบายรายวิชา
001222 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม 3(2-2-5) 001222 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม 3(2-2-5)
Language, Society and Culture Language, Society and Culture
001223 ดุริยางควิจักขณ์ 3(2-2-5) 001224 ศิลปะในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Music Appreciation Arts in Daily Life คงเดิม
001224 ศิลปะในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5) 001225 ความเป็นส่วนตัวของชีวิต 3(2-2-5)
Arts in Daily Life Life Privacy
001225 ความเป็นส่วนตัวของชีวิต 3(2-2-5) 001226 วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล 3(2-2-5) ปรับปรุงคาอธิบายรายวิชา
Life Privacy Ways of Living in the Digital Age
001226 วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล 3(2-2-5) 001227 ดนตรีวิถีไทยศึกษา 3(2-2-5)
Ways of Living in the Digital Age Music Studies in Thai Culture คงเดิม
001227 ดนตรีวิถีไทยศึกษา 3(2-2-5) 001228 ความสุขกับงานอดิเรก 3(2-2-5)
Music Studies in Thai Culture Happiness with Hobbies
001228 ความสุขกับงานอดิเรก 3(2-2-5) 001229 รู้จักตัวเอง เข้าใจผู้อื่น ชีวิตทีม่ ีความหมาย 3(2-2-5) ปรับปรุงคาอธิบายรายวิชา
Happiness with Hobbies Know Yourself, Understand Others,
001229 รู้จักตัวเอง เข้าใจผู้อื่น ชีวิตทีม่ ีความหมาย 3(2-2-5) Meaningful Life
Know Yourself, Understand Others, 001241 ดนตรีตะวันตกในชีวิตประจาวัน 3 (2-2-5)
Meaningful Life Western Music in Daily Life เพิ่มรายวิชาใหม่ใน
กลุ่มมนุษยศาสตร์
001241 ดนตรีตะวันตกในชีวิตประจาวัน 3 (2-2-5) 001242 การคิดเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3 (2-2-5)
Western Music in Daily Life Creative Thinking and Innovation
001242 การคิดเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3 (2-2-5)
Creative Thinking and Innovation
3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่า จานวน 6 หน่วยกิต 3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จานวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
001231 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถพี อเพียงในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5) 001231 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถพี อเพียงในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5) คงเดิม
Philosophy of Life for Sufficient living Philosophy of Life for Sufficient living
001232 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5) 001232 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5)
Fundamental Laws for Quality of Life Fundamental Laws for Quality of Life
001233 ไทยกับประชาคมโลก 3(2-2-5) 001233 ไทยกับประชาคมโลก 3(2-2-5)
Thai State and the World Community Thai State and the World Community
97

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ปรับปรุง พ.ศ. 2560 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระที่ปรับปรุง


001234 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(2-2-5) 001234 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(2-2-5)
Civilization and Local Wisdom Civilization and Local Wisdom
001235 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(2-2-5) 001235 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(2-2-5) คงเดิม
Politics, Economy and Society Politics, Economy and Society
001236 การจัดการการดาเนินชีวิต 3(2-2-5) 001236 การจัดการการดาเนินชีวิต 3(2-2-5)
Living Management Living Management
001237 ทักษะชีวิต 3(2-2-5) 001237 ทักษะชีวิต 3(2-2-5)
Life Skills Life Skills
001238 การรู้เท่าทันสื่อ 3(2-2-5) 001238 การรู้เท่าทันสื่อ 3(2-2-5)
Media Literacy Media Literacy
001239 ภาวะผู้นากับความรัก 3(2-2-5) 001239 ภาวะผู้นากับความรัก 3(2-2-5)
Leadership and Compassion Leadership and Compassion
001251 พลวัตกลุ่มและการทางานเป็นทีม 3(2-2-5) 001251 พลวัตกลุ่มและการทางานเป็นทีม 3(2-2-5)
Group Dynamics and Teamwork Group Dynamics and Teamwork
001252 นเรศวรศึกษา 3(2-2-5) 001252 นเรศวรศึกษา 3(2-2-5)
Naresuan Studies Naresuan Studies
001253 การเป็นผู้ประกอบการ 3(2-2-5) 001253 การเป็นผู้ประกอบการ 3(2-2-5)
Entrepreneurship Entrepreneurship
4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จานวนไม่น้อย
จานวน 6 หน่วยกิต กว่า 6 หน่วยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(2-2-5) 001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(2-2-5) คงเดิม
Man and Environment Man and Environment
001272 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5) 001272 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5)
Introduction to Computer Information Introduction to Computer Information
Science Science
001273 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5) 001273 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Mathematics and Statistics in Everyday life Mathematics and Statistics in Everyday life
001274 ยาและสารเคมีในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5) 001274 ยาและสารเคมีในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Drugs and Chemicals in Daily Life Drugs and Chemicals in Daily Life
001275 อาหารและวิถีชวี ิต 3(2-2-5) 001275 อาหารและวิถีชวี ิต 3(2-2-5)
Food and Life Style Food and Life Style
001276 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(2-2-5) 001276 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(2-2-5)
Energy and Technology Around Us Energy and Technology Around Us
001277 พฤติกรรมมนุษย์ 3(2-2-5) 001277 พฤติกรรมมนุษย์ 3(2-2-5)
Human Behavior Human Behavior
001278 ชีวิตและสุขภาพ 3(2-2-5) 001278 ชีวิตและสุขภาพ 3(2-2-5)
Life and Health Life and Health
001279 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5) 001279 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 3(2-2-5)
Science in Everyday Life Science in Everyday Life
5. กลุ่มวิชาพลานามัย (บังคับไม่นับหน่วยกิต) 5. กลุ่มวิชาพลานามัย (บังคับไม่นับหน่วยกิต)
จานวน 1 หน่วยกิต จานวน 1 หน่วยกิต
001281 กีฬาและการออกกาลังกาย 1(0-2-1) 001281 กีฬาและการออกกาลังกาย 1(0-2-1) คงเดิม
Sports and Exercises Sports and Exercises
98

หมวดวิชาเฉพาะ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หมวดวิชาเฉพาะ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระที่ปรับปรุง


2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 133 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 107 หน่วยกิต
2.1 วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 50 หน่วยกิต 2.1 วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
2.1.1 วิชาชีพครูบังคับ 35 หน่วยกิต 2.1.1 วิชาชีพครูบังคับ 24 หน่วยกิต - ปรั บลดรายวิ ชาให้ ไ ปตาม
366101 ปรัชญาการศึกษา 3(3-0-6) 366202 จิตวิทยาสาหรับครู 3(2-2-5) ป ระ ก า ศข้ อ บั งคั บ ข อ ง
366202 จิตวิทยาและการแนะแนวสาหรับครู 3(2-2-5) 366203 ความเป็นครู 3(2-2-5) คุ รุ ส ภา ว่ า ด้ ว ยมาตรฐาน
366203 ความเป็นครูและคุณธรรม จริยธรรม 3(2-2-5) 366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5) วิ ช า ชี พ แ ล ะ ส มร รถ นะ
จรรยาบรรณ 366305 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) พ.ศ. 2562
366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5) และการประกันคุณภาพ - ตัดรายวิชา 366101 ปรัชญา
366305 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) 366306 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน 3(2-2-5) การศึกษา
366306 การจัดการเรียนรู้และการจัดการ 3(2-2-5) 366307 ภาษาและเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการพัฒนา - รายวิชา 366307 นวัตกรรม
ชั้นเรียน นวัตกรรม 3(2-2-5) และเทคโนโลยีสารสนเทศ
366307 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) 366409 การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5) ทางการศึกษา เปลี่ยนชื่อเป็น
ทางการศึกษา 366412 ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง 3(2-2-5) ภ า ษ า แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
366392 ประสบการณ์วิชาชีพครู 1 1(0-2-1) และชุมชน ดิ จิ ทั ล เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า
366408 ภาษาและวัฒนธรรม 3(2-2-5) นวัตกรรม แทน
366409 การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5)
366410 การประกันคุณภาพการศึกษา 3(2-2-5)
- เ พิ่ ม ร า ย วิ ช า 3 6 6 4 1 2
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง
366411 การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3(3-0-6)
โรงเรี ย น ผู้ ป กครอง และ
366493 ประสบการณ์วิชาชีพครู 1 1(0-2-1)
ชุมชน
- ทุ กรายวิ ชาปรั บค าอธิ บาย
รายวิ ช าให้ ส อดคล้ อ งกั บ
ค าอธิ บ ายรายวิ ช า และ
สมรรถนะที่มาตรฐานวิชาชีพ
ครู พ.ศ. 2562 กาหนด
2.1.2 วิชาชีพครูเลือก 3 หน่วยกิต - ปรับไปเป็นหมวดวิชาเลือกเสรี
353432 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3(3-0-6) - เพิ่มรายวิชาเลือกเสรี
353433 จิตวิทยาพัฒนาการ 3(3-0-6) - ปรั บ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การ
354411 การบริหารคุณภาพสถานศึกษา 3(3-0-6) เปลี่ยนแปลงและปรับปรุงของ
354413 ชุมชนกับการมีสว่ นร่วมในการ 3(2-2-5) หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
จัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
354431 นันทนาการในโรงเรียนและชุมชน 3(2-2-5) และมาตรฐานการเรียนรู้และ
355431 คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 3(2-2-5) ตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
366421 ภาษากับการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) 2560) และให้มีความทันสมัย
369461 โครงการสุขภาพและสวัสดิศึกษา 3(3-0-6)
ในสถานศึกษา
396445 การอยู่ค่ายพักแรม 3(2-2-5) 378311 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการเรียนรู้ 3(3-0-6)
396463 เพศศึกษา 3(3-0-6)
2.1.3 ปฏิบตั ิการวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต 2.1.2 การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต - ปรั บ เปลี่ ย นชื่ อ วิ ช าตาม
366593 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 1 6 หน่วยกิต 366191 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 1 1 หน่วยกิต ป ร ะ ก า ศ ข้ อ บั ง คั บ ข อ ง
(270 ชั่วโมง) 366292 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 2 2 หน่วยกิต คุ รุ ส ภา ว่ า ด้ ว ยมาตรฐาน
366594 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 2 6 หน่วยกิต 366393 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 3 3 หน่วยกิต วิชาชีพ พ.ศ. 2562
(270 ชั่วโมง) 366494 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 4 6 หน่วยกิต
99

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


2.2 วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต 2.2 วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 71 หน่วยกิต
2.2.1 วิชาเอกเดี่ยว 69 หน่วยกิต 2.2.1 วิชาเอกเดี่ยว 71 หน่วยกิต
2.2.1.1 วิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 1) วิชาเอกบังคับ 44 หน่วยกิต
และคณิตศาสตร์ 24 หน่วยกิต
252100 ประวัติและพัฒนาการของ 1(1-0-2) 205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพือ่ วัตถุ 1(0-2-1)
คณิตศาสตร์ ประสงค์เฉพาะ
252111 แคลคูลัสมูลฐาน 4(4-0-8) 205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษ 1(0-2-1) คงเดิม
252112 แคลคูลัส 4(4-0-8) เพือ่ การวิเคราะห์เชิงวิชาการ
252251 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย 3(2-2-5) 205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษ 1(0-2-1)
256103 เคมีเบื้องต้น 4(3-3-7) เพือ่ การนาเสนอผลงาน
258101 ชีววิทยาเบื้องต้น 3(3-0-6) 252100 ประวัติและพัฒนาการของ 1(1-0-2)
258102 ปฏิบัติการชีววิทยา 1(0-3-2) คณิตศาสตร์
261103 ฟิสิกส์เบื้องต้น 4(3-3-7) 252111 แคลคูลัสมูลฐาน 4(4-0-8)
252112 แคลคูลัส 4(4-0-8)
252141 หลักคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3(2-2-5)
252212 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1 3(2-2-5)
252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1 3(2-2-5)
252222 พีชคณิตนามธรรม 1 3(2-2-5) คงเดิม
252223 ทฤษฎีจานวน 1 3(2-2-5)
255121 สถิติวิเคราะห์ 3(2-2-5)
256103 เคมีเบื้องต้น 4(3-3-7)
258102 ปฏิบัติการชีววิทยา 1(0-3-2)
261103 ฟิสิกส์เบื้องต้น 4(3-3-7)
258102 ปฏิบัติการชีววิทยา 1(0-3-2) ตัดออก
2.2.1.2 วิชาบังคับ 45 หน่วยกิต
205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพือ่ วัตถุ 1(0-2-1)
ประสงค์เฉพาะ
205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพือ่ การ 1(0-2-1)
วิเคราะห์เชิงวิชาการ
205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพือ่ การ 1(0-2-1)
นาเสนอผลงาน
252141 หลักคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3(2-2-5)
252212 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1 3(2-2-5)
252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1 3(2-2-5)
252222 พีชคณิตนามธรรม 1 3(2-2-5)
252223 ทฤษฎีจานวน 1 3(2-2-5)
252311 แคลคูลัสขั้นสูง 3(2-2-5)
252314 การวิเคราะห์เชิงซ้อนเบื้องต้น 3(2-2-5)
252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น 3(2-2-5)
252331 เรขาคณิต 3(2-2-5)
252400 โครงงานคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
252401 คณิตศาสตร์มูลฐานสาหรับครู 3(2-2-5)
252402 ทฤษฎีสมการเบื้องต้นสาหรับครู 3(2-2-5)
255121 สถิติวิเคราะห์ 3(2-2-5)
100

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


2.2.2 วิชาการสอนวิชาเอก 6 หน่วยกิต 3) วิชาการสอนวิชาเอก 6 หน่วยกิต
369485 การสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา 3(2-2-5) 398385 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับ - เปลี่ยนรหัสวิชา, ชื่อวิชา
ประถมศึกษา 3(2-2-5) และคาอธิบายรายวิชา
369486 การสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 3(2-2-5) 398486 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับ
มัธยมศึกษา 3(2-2-5)
2.2.3 วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต - ลดจานวนหน่วยกิตลง
252316 การวิเคราะห์เชิงฟังก์ชันเบื้องต้น 3(2-2-5) 252251 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย 3(2-2-5) - ย้ายบังคับมาเป็นวิชาเลือก
252321 พีชคณิตเชิงเส้น 2 3(2-2-5) 252311 แคลคูลัสขั้นสูง 3(2-2-5) - ย้ายบังคับมาเป็นวิชาเลือก
252322 พีชคณิตนามธรรม 2 3(2-2-5) 252314 การวิเคราะห์เชิงซ้อนเบื้องต้น 3(2-2-5) - ย้ายบังคับมาเป็นวิชาเลือก
252323 ทฤษฎีจานวน 2 3(2-2-5) 252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น 3(2-2-5) - ย้ายบังคับมาเป็นวิชาเลือก
252325 ทฤษฎีรหัส 3(2-2-5) 252331 เรขาคณิต 3(2-2-5) - ย้ายบังคับมาเป็นวิชาเลือก
252341 ทฤษฎีเซต 3(2-2-5) 252351 ทฤษฎีกราฟ 3(2-2-5) - คงเดิม
252342 คณิตตรรกศาสตร์ 3(2-2-5) 252352 คอมบินาทอริกส์ 3(2-2-5) - คงเดิม
252351 ทฤษฎีกราฟ 3(2-2-5) 252375 ซอฟท์แวร์ทางคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) - คงเดิม
252352 คอมบินาทอริกส์ 3(2-2-5) 252400 โครงงานคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) - ย้ายบังคับมาเป็นวิชาเลือก
252361 ทอพอโลยีเบื้องต้น 3(2-2-5) 252401 คณิตศาสตร์มูลฐานสาหรับครู 3(2-2-5) - ย้ายบังคับมาเป็นวิชาเลือก
252371 สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย 3(2-2-5) 252402 ทฤษฎีสมการเบื้องต้นสาหรับครู 3(2-2-5) - ย้ายบังคับมาเป็นวิชาเลือก
252373 การสร้างแบบจาลองเชิง 3(2-2-5) 398487 สื่อการสอนคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) - เพิ่มวิชา
คณิตศาสตร์เบื้องต้น สาหรับศตวรรษที่ 21
252375 ซอฟท์แวร์ทางคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) 398488 การบูรณาการคณิตศาสตร์กับ 3(2-2-5) - เพิ่มวิชา
252379 หัวข้อพิเศษทางคณิตศาสตร์ศึกษา 3(2-2-5) ภูมิปัญญาท้องถิ่น
254261 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 3(2-2-5) 398489 วรรณกรรมเด็กและการสอนคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) - เพิ่มวิชา
254271 พื้นฐานทางการเขียนโปรแกรม 3(2-2-5)
254272 การโปรแกรมภาษาวิชวลเบสิก 3(2-2-5)
254275 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 3(2-2-5)
254351 ระบบฐานข้อมูล 3(2-2-5)
254363 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการ 3(2-2-5)
สือ่ สารข้อมูล
254371 การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต 3(2-2-5)
254481 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2-5)
255221 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ 3(2-2-5)
255231 ทฤษฎีสถิติ 1 3(2-2-5)
255271 การวิจัยดาเนินการเชิงกาหนด 3(2-2-5)
255281 โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ 3(2-2-5)
255321 การวิเคราะห์การถดถอย 3(2-2-5)
255324 เทคนิคการพยากรณ์เชิงสถิติ 3(2-2-5)
255325 การเสี่ยงและการประกันภัย 3(2-2-5)
255326 สถิติประกันภัย 3(2-2-5)
255329 การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ 3(2-2-5)
255341 ระเบียบวิธีวจิ ัย 3(2-2-5)
255351 เทคนิคการเลือกตัวอย่าง 3(2-2-5)
255372 ทฤษฎีการตัดสินใจและการประยุกต์ 3(2-2-5)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
353432 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3(3-0-6) เพิ่มเติมตามขอเสนอแนะ
353433 จิตวิทยาพัฒนาการ 3(3-0-6) ของผู้ทรงคุณสุฒิ
354411 การบริหารคุณภาพสถานศึกษา 3(3-0-6)
354413 ชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3(2-2-5)
354431 นันทนาการในโรงเรียนและชุมชน 3(2-2-5)
355431 คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 3(2-2-5)
366411 การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3(3-0-6)
101

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


366421 ภาษากับการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5)
369461 โครงการสุขภาพและสวัสดิศึกษา 3(2-2-5)
ในสถานศึกษา
378311 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ 3(3-0-6)
การจัดการเรียนรู้
396445 การอยู่ค่ายพักแรม 3(2-2-5)
396463 เพศศึกษา 3(3-0-6)

สาระการปรับปรุงรายวิชาเฉพาะด้าน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง
252100 ประวัติและพัฒนาการของคณิตศาสตร์ 1(1-0-2) คงเดิม
History and Development of Mathematics
แนวความคิ ด เกี่ย วกับ ปรั ชญาคณิ ต ศาสตร์ ประวั ติ ความ
เป็นมาของคณิตศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ที่สาคัญ
Philosop hy of mathematics concept, history of
mathematics and some Mathematicians.
252111 แคลคูลัสมูลฐาน 4(4-0-8) คงเดิม
Fundamental Calculus
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันและ
การประยุกต์ ผลต่า งอนุพันธ์ ปริพันธ์ของฟังก์ชันและการประยุกต์
เทคนิคการหาปริพันธ์ สมการเชิงอนุพันธ์อันดับที่หนึ่งแบบแยกตัวแปร
ได้
Limits and continuity of functions, derivative of
functions and applications, differentials, integral of functions
and applications, techniques of integration, separable first–
order differential equations.
252112 แคลคูลัส 4(4-0-8) คงเดิม
Calculus
วิชาบังคับก่อน : 252111 แคลคูลัสมูลฐาน
ระบบพิกัดเชิงขั้ว สมการอิงตัวแปรเสริม ปริพันธ์ไม่ตรง
แบบ เส้ น ตรง ระนาบ ผิ ว อนุ พั น ธ์ ย่อ ย ปริ พั น ธ์ ห ลายชั้ นและการ
ประยุกต์ ลาดับและอนุกรมของจานวนจริง อนุกรมกาลัง อนุกรมเทย์
เลอร์
Polar coordinate systems, parametric equations,
improper integrals, lines, planes, surfaces, partial derivatives,
multiple integrals and applications, sequences and series of
real numbers, power series, Taylor series.
252251 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย 3(2-2-5) คงเดิม
Discrete Mathematics
เทคนิคการนับเบื้องต้น ความสัมพันธ์เวียนเกิด ทฤษฎีกราฟ
เบื้องต้น ทรีและข่ายงาน แลททีซและพีชคณิตบูลีน
Basic counting techniques, recurrence relations,
elementary graph theory, tree and network lattice and
Boolean algebra.
256103 เคมีเบื้องต้น 4(3-3-7) คงเดิม
Introductory Chemistry
โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุและสมบัติของธาตุ พันธะเคมี
ปริมาณสารสัมพันธ์ ของแข็ง แก๊ส ของเหลวและสารละลาย สมดุลเคมี
อุ ณหพลศาสตร์ จลนศาสตร์เคมี ไฟฟ้า เคมี เคมีอิ นทรีย์และสารชีว
102

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


โมเลกุ ล เคมี สิ่ ง แวดล้ อ ม สารประกอบของธาตุ ห มู่ ห ลั ก และโลหะ
ทรานซิชัน เคมีอุตสาหกรรม และเคมีนิวเคลียร์
Atomic structures, periodic table and properties of
elements, chemical bonding, stoichiometry, solid, gas, liquid
and solution, chemical equilibrium, themodynamics,
chemical kinetics, acid- base, electrochemistry, organic
chemistry and biomolecules, environmental chemistry,
compounds of representative and transition elements,
industrial chemistry and nuclear chemistry.
258101 ชีววิทยาเบื้องต้น 3(3-0-6) คงเดิม
Introductory Biology
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์
สารเคมีของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและ เมแทบอลิซึมของเซลล์ พันธุ
ศาสตร์ โครงสร้างและหน้าที่ของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์
กลไกการเกิดวิวัฒนาการ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ปฏิสัมพันธ์
ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรม
Properties of life, Scientific methods, chemical
building blocks of life, structure and metabolism of cells,
genetics, structures and functions of plants, structures and
functions of animals, mechanism of evolution, diversity of
life, interactions between organisms and environment,
behavior.
258102 ปฏิบตั ิการชีววิทยา 1(0-3-2) ตัดออก
Laboratory in Biology
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ กล้องจุลทรรศน์ เซลล์
และออร์แกเนลล์ การแบ่งเซลล์ การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม ความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต เนื้อเยื่อพืช โครงสร้างและการทางานของ
พืช โครงสร้างและการทางานของสัตว์ นิเวศวิทยา
Laboratory safety, microscopes, cells and
organelles, cell division, genetic inheritance, diversity of
life, plant tissues, structures and functions of plants,
structures and functions of animals, ecology.
261103 ฟิสิกส์เบื้องต้น 4(3-3-7) คงเดิม
Introductory Physics
คณิตศาสตร์ที่ใช้ในฟิสิกส์ กฎการเคลื่อนที่ แรงโน้มถ่วง
งานและพลังงาน โมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่แบบหมุน สมบัติ
ของสสาร กลศาสตร์ของไหล ปรากฏการณ์คลื่นและเคออส เทอร์โม
ไดนามิกส์ แม่เหล็กไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้น ฟิสิกส์ยุคใหม่
Mathematics for physics, law of motion,
gravitational force, work and energy, momentum and
collisions, rotation motion, properties of matter, mechanic
of fluids, wave phenomena and chaos, thermodynamics,
electricity and magnetism, basic electric circuits, modern
physics.
205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 1(0-2-1) 205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษ 1(0-2-1) ปรับคาอธิบายรายวิชาตาม
Communicative English for Specific Purposes เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ข้อเสนอแนะกรรมการ
ฝึกฟัง-พูดภาษาอังกฤษโดยเน้นการออกเสียง การใช้คาศัพท์ Communicative English for ผู้ทรงคุณวุฒิ
สานวน และรูปประโยคเพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการและวิชาชีพ Specific Purposes
Practice listening and speaking English with การฟัง-พูดภาษาอังกฤษโดยเน้นการ
emphasis on pronunciation, vocabulary, expressions, and
103

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


sentence structures for academic and professional ออกเสียง การใช้คาศัพท์ สานวน และรูปประโยค
purposes. เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการและวิชาชีพ
English listening and speaking
English with emphasis on pronunciation,
vocabulary, expressions, and sentence
structures for academic and professional
purposes.
205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะห์ 1(0-2-1) 205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษเ 1(0-2-1) ปรับคาอธิบายรายวิชาตาม
เชิงวิชาการ พื่อการวิเคราะห์เชิงวิชาการ ข้อเสนอแนะกรรมการ
Communicative English for Academic Analysis Communicative English for ผู้ทรงคุณวุฒิ
ฝึกฟัง-พูดภาษาอังกฤษโดยเน้นการสรุปความ การวิเคราะห์ Academic Analysis
การตีความ และการแสดง การฟัง-พูดภาษาอังกฤษโดยเน้นการสรุป
ความคิดเห็น เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการตามสาขาของผู้เรียน ความ การวิเคราะห์ การตีความ และการแสดง
Practice listening and speaking English with ความคิดเห็น เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการตาม
emphasis on summarizing, analyzing, interpreting, and สาขาของผู้เรียน
expressing opinions for academic purposes applicable to English listening and speaking with
students’ educational fields. emphasis on summarizing, analyzing,
interpreting, and expressing opinions for
academic purposes applicable to students’
educational fields.
205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอผลงาน 1(0-2-1) 205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษ 1(0-2-1) ปรับคาอธิบายรายวิชาตาม
Communicative English for Research เพื่อการนาเสนอผลงาน ข้อเสนอแนะกรรมการ
Presentation Communicative English for ผู้ทรงคุณวุฒิ
ฝึกนาเสนอผลงานการค้นคว้า หรือผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ Research Presentation
สาขาของผู้เรียนเป็นภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนาเสนอผลงานการค้นคว้า หรือ
Practice giving oral presentations on academic ผลงานวิจัยที่เกีย่ วข้องกับสาขาของผู้เรียนเป็น
research related to students’ educational fields with ภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
effective delivery in English. Oral presentations on academic
research related to students’ educational
fields with effective delivery in English.
252141 หลักคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) คงเดิม
Principles of Mathematics
ตรรกศาสตร์และวิธีพิสูจน์ การพิสูจน์ทฤษฎีบทที่เกีย่ วข้อง
กับเซต ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซตจากัดและเซตอนันต์
Logic and proof methods, proofs of theorems
concerning sets, relations, functions, finite and infinite sets.
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3(2-2-5) คงเดิม
Ordinary Differential Equations
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
สมการเชิงอนุพันธ์อันดับที่หนึง่ และการประยุกต์ สมการเชิง
อนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง และการประยุกต์ การแปลงลาปลาซ ระบบ
สมการเชิงอนุพันธ์ ผลเฉลยในรูปของอนุกรมกาลัง
Differential equations of first order and
applications, linear differential equations of higher order
and applications, Laplace transform, system of differential
equations, power series solutions.
252212 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1 3(2-2-5) คงเดิม
Mathematical Analysis I
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
104

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


ระบบจานวนจริง ทอพอโลยีของเส้นจานวนจริง ลาดับของ
จานวนจริง ลิมิตและความต่อเนื่อง การหาอนุพันธ์ ปริพันธ์แบบรีมันน์
อนุกรมของจานวนจริง
The real number system, topology on the real
line, sequences of real numbers, limits and continuity,
differentiation, Riemann integration, series of real numbers.
252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1 3(2-2-5) คงเดิม
Linear Algebra I
เมทริกซ์สมมูล ค่าลาดับชั้นเมทริกซ์ ระบบสมการเชิงเส้นและ
ผลเฉลย ตัวกาหนดและหลักเกณฑ์คราเมอร์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลง
เชิงเส้น ค่าเฉพาะและเวกเตอร์เฉพาะเบือ้ งต้น
Equivalent matrices, rank of matrices, system of
linear equations and solution, determinants and Cramer’s
rule, vector spaces, linear transformations, introduction to
eigenvalues and eigenvectors.
252222 พีชคณิตนามธรรม 1 3(2-2-5) คงเดิม
Abstract Algebra I
วิชาบังคับก่อน : 252141 หลักคณิตศาสตร์
กรุป กรุปการเรียงสับเปลี่ยน กรุปวัฏจักร สาทิสสัณฐานของ
กรุป ทฤษฎีบทเคย์เลย์ ทฤษฎีบทลากรานจ์ กรุปย่อยปรกติ กรุป
ผลหาร ทฤษฎีบทหลักมูลสาทิสสัณฐานของกรุป ริง ไอดีล อินทิกรัล
โดเมน และฟีลด์เบื้องต้น
Groups, permutation groups, cylic groups, group
homomorphisms, Cayley’s Theorem, Lagrange’s Theorem,
normal subgroups, quotient groups, fundamental theorem
of group homomorphisms, rings, ideals, integral domains
and introduction to fields.
252223 ทฤษฎีจานวน 1 3(2-2-5) คงเดิม
Theory of Numbers I
วิชาบังคับก่อน : 252141 หลักคณิตศาสตร์
คุณสมบัติเบื้องต้นของจานวนเต็ม การหารลงตัว จานวน
เฉพาะ ตัวหารร่วมมาก สมการไดโอแฟนไทน์เชิงเส้น ฟังก์ชันในทฤษฎี
จานวน สมภาค รากปฐมฐาน
Elementary properties of integers, divisibility, prime,
greatest common divisors, linear Diophantine equations,
number theoretic functions, congruence, primitive roots.
252311 แคลคูลัสขั้นสูง 3(2-2-5) - ย้ายจากบังคับมาเป็นเลือก
Advanced Calculus
วิชาบังคับก่อน : 252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
ฟังก์ชันเวกเตอร์ ปริพันธ์ตามเส้นและปริพันธ์ตามผิว อนุกรม
ฟูริเยร์ สมการความร้อนและ สมการคลืน่
Vector functions, line and surface integrals, Fourier
series, heat and wave equations.
252314 การวิเคราะห์เชิงซ้อนเบื้องต้น 3(2-2-5) คงเดิม
Introduction to Complex Analysis
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
สมบัติของจานวนเชิงซ้อน ฟังก์ชันมูลฐาน การหาอนุพันธ์
ฟังก์ชันวิเคราะห์ การหาปริพันธ์ อนุกรมกาลัง ทฤษฎีบทส่วนตกค้าง
และการประยุกต์
105

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


Properties of complex numbers, elementary
functions, differentiation, analytic functions, integration,
power series, residue theorem and applications.

252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น 3(2-2-5) คงเดิม


Introduction to Numerical Analysis
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
ผลเฉลยของสมการไม่เชิงเส้น การประมาณค่าในช่วง
ฟังก์ชันการประมาณ การหาอนุพันธ์ และปริพันธ์เชิงตัวเลข ผลเฉลย
เชิงตัวเลขของระบบสมการเชิงเส้น ผลเฉลยเชิงตัวเลขของสมการเชิง
อนุพันธ์สามัญ
Solution of nonlinear equations, interpolation,
approximation functions, numerical differentiations and
integrations, numerical solution of systems of linear
equations, numerical solution of ordinary differential
equations.
252331 เรขาคณิต 3(2-2-5) คงเดิม
Geometry
สมบัติของรูปร่างทางเรขาคณิต เรขาคณิตแบบยูคลิด
เรขาคณิตพิกัด เรขาคณิตของการแปลง เรขาคณิตแบบนอนยูคลิด
Properties of geometric shapes, Euclidean
geometry, coordinate geometry, transformation geometry,
non-Euclidean geometry
252400 โครงงานคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) คงเดิม
Mathematics Project
ศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการ และขั้นตอนของการ
จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบโครงงาน และการแก้ปัญหา
Study meaning, concepts, principles of project
approach and problem solving learning management in
Mathematics
252401 คณิตศาสตร์มูลฐานสาหรับครู 3(2-2-5) คงเดิม
Fundamental Mathematics for Teacher
ทฤษฏีเซตเบื้องต้น ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ความสัมพันธ์และ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชัน
ตรีโกณมิติ ระบบจานวนจริง จานวนเชิงซ้อน เวกเตอร์ในระบบสามมิติ
Introduction to set theory, introduction to logic,
relations and functions, exponential and logarithmic
functions, trigonometric function, real number system,
complex number, vectors in three dimensions.
252402 ทฤษฎีสมการเบื้องต้นสาหรับครู 3(2-2-5) คงเดิม
Introduction to Theory of Equations for
Teacher
สมการพหุนามและราก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมการกาลัง
สามและกาลังสี่ การแยกกันของรากสมการไดโอแฟนไทน์
Polynomial equations and their roots, particularly
cubic and biquadratic equations; separation of roots;
Diophantine equations.
255121 สถิติวิเคราะห์ 3(2-2-5) คงเดิม
Statistical Analysis
106

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


ความหมาย ขอบเขต และประโยชน์ของวิชาสถิติ ระเบียบ
วิธีการทางสถิติ การวัดแนวโน้มเข้าสู่สว่ นกลาง และการวัดการ
กระจาย ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นของ
ตัวแปรสุ่มแบบไม่ต่อเนื่องและต่อเนื่องบางชนิด การแจกแจงของตัว
สถิติ การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความ
แปรปรวนเบื้องต้น การวิเคราะห์ถดถอยและสหสัมพันธ์ และการ
ทดสอบไคกาลังสอง
Concept, extent and utility of statistics, statistical
methodology, measures of central tendency and
dispersion, probability; random variables; some probability
distributions of discrete and continuous random variables,
sampling distribution; estimation and testing hypotheses;
elementary analysis of variance; regression and correlation
analysis ; Chi-square test.
369485 การสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา 3(2-2-5) 398385 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3(2-2-5) -เปลี่ยนรหัส, ชื่อวิชาและ
Mathematics Teaching in Elementary Schools ระดับประถมศึกษา คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดเกีย่ วกับการสอนคณิตศาสตร์ระดับ Learning Management of
ประถมศึกษาหลักสูตรและการใช้หลักสูตรคณิตศาสตร์ระดับ Mathematics in Primary Schools
ประถมศึกษา วิธีสอนและเทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ระดับ ศึกษา วิเคราะห์ ระบุธรรมชาติและ
ประถมศึกษา การวางแผนการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา ลักษณะของวิชาคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การสอนคณิตศาสตร์ในสาระ จานวนและการดาเนินการ การวัด แนวคิด วิธีสอนและเทคนิคการสอนเกีย่ วกับการ
เรขาคณิต พีชคณิต การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น และ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาเพื่อ
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา การวัด สร้างความคิดรวบยอด ทักษะและกระบวนการทาง
และประเมินผลคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา ปัญหาและการ คณิตศาสตร์และจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ การวัด
พัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา ฝึกปฏิบัติการ และประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิเคราะห์
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับแนวคิดคณิตศาสตร์ที่ผู้เรียน
Study ideas about teaching mathematics at มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนและปัญหาอื่น ๆ ที่
elementary level; mathematics curriculum and its เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับ
implementation at elementary level; teaching methods ประถมศึกษา และหาแนวทางแก้ปญ ั หา ฝึก
and techniques, lesson planning for teaching mathematics ปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับ
subject on number and management, geometry, algebra, ประถมศึกษา
data analysis and probability, and mathematical skills and Study, analyze and identify the
processes; mathematics measurement and assessment at nature of mathematics in primary schools,
elementary level; problems and development of teaching principle, teaching methods and technique
mathematics at elementary level; practice in elementary for teaching primary mathematics concepts,
school mathematics learning management. skills and process and habit of mind,
measurement and assessment of
mathematics learning, analyze problems of
misconception in primary mathematics and
other related mathematics learning
problems and find the solutions, practice in
teaching primary school mathematics.
369486 การสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 3(2-2-5) 398486 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3(2-2-5) - เปลี่ยนรหัส, ชือ่ วิชาและ
Mathematics Teaching in Secondary Schools ระดับมัธยมศึกษา คาอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ ระบุธรรมชาติและลักษณะของวิชา Mathematics Teaching in
คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา แนวคิด ทฤษฏี วิธีสอนและเทคนิคการ Secondary Schools
สอนเกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา การจัดการเรียนรู้ ศึกษา วิเคราะห์ ระบุธรรมชาติและ
คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อสร้างความคิดรวบยอด ลักษณะของวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเจตคติทางคณิตศาสตร์ แนวคิด วิธีสอนและเทคนิคการสอนเกีย่ วกับการ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สารวจ และระบุ จัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาเพื่อ
107

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 สาระการปรับปรุง


ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับแนวคิดคณิตศาสตร์ที่ผู้เรียนมีความเข้าใจ สร้างความคิดรวบยอด ทักษะและกระบวนการทาง
คลาดเคลื่อนและปัญหาอื่น ๆ ที่เกีย่ วข้องกับการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์และจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ การวัด
คณิตศาสตร์ และหาแนวทางแก้ปัญหา ฝึกปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้ และประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิเคราะห์
คณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับแนวคิดคณิตศาสตร์ที่ผู้เรียน
Study, analyze and identify the nature of มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนและปัญหาอื่น ๆ ที่
mathematics in secondary schools; principle, theories, เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับ
teaching methods and technique for teaching mathematics มัธยมศึกษาและหาแนวทางแก้ปัญหา ฝึกปฏิบัตกิ าร
in secondary schools; lesson planning for teaching การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา
mathematics concepts, skills and process and attitude; Study, analyze and identify the
measurement and assessment of mathematics learning; nature of mathematics in secondary
survey and identify problems of misconception in schools, principle, teaching methods and
mathematics and other related mathematics learning technique for teaching secondary
management problems and find the solutions; practice in mathematics concepts, skills and process
secondary school mathematics learning management. and habit of mind, measurement and
assessment of mathematics learning,
analyze problems of misconception in
secondary mathematics and other related
mathematics learning management
problems and find the solutions, practice in
teaching secondary school mathematics.
108

ตารางคาอธิบายรายวิชาของหมวดวิชาชีครู
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล
366202 จิตวิทยาและการแนะแนวสาหรับครู 3(2-2-5) 366202 จิตวิทยาสาหรับครู 3(2-2-5) เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
Psychology and Guidance for Teachers Psychology for Teachers ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
จิตวิทยาพื้นฐานและจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์ แนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยา สอดคล้องกับสมรรถนะ
จิตวิทยาการเรียนรู้และจิตวิทยาการศึกษาจิตวิทยาการแนะ การศึกษา และจิตวิทยาการให้คาปรึกษา การใช้องค์ความรู้ มาตรฐานวิชาชีพครู
แนวและการให้คาปรึกษาการให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้เรียน วิธีการ และเครื่องมือทางจิตวิทยา เพื่อทาความเข้าใจผู้เรียน
ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นการใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและ และกาหนดแนวทางแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียน
สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพระบบการดูแล Concepts about developmental
นักเรียน บทบาทในการเป็นผู้ให้คาปรึกษาแก่นกั เรียนและ psychology, educational psychology, guidance and
ผู้ปกครอง counseling psychology, utilization of knowledge,
Fundamental human psychology and methods and psychology-based tools to
developmental psychology, learning psychology understand learners and to determine ways to
and educational psychology, guidance and solve the problems or to develop learners.
counseling psychology, to help and advice the
students to have a better quality of life, using
psychology to understanding and support learning
of the students to their potential, students care
system, role as a counselor or mentor to students
and parents.
366307 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทาง 366307 ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนา เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
การศึกษา 3(2-2-5) นวัตกรรม 3(2-2-5) ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
Educational Innovation and Information Language and Digital Technology for สอดคล้องกับสมรรถนะ
Technology Innovation Development มาตรฐานวิชาชีพครู
หลักการ แนวคิด การออกแบบ การประยุกต์ใช้ การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
และการประเมินสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ ในวิชาชีพครู หลักการ แนวคิด การประยุกต์และการประเมิน
การเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารโดยสามารถ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล การออกแบบ การใช้
ประยุกต์ใช้ และประเมินสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา การพัฒนาสื่อและนวัตกรรม
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเรียนรู้
เพือ่ การสื่อสาร Thai and English language usage for
Principles, concepts, design, application, teacher professional, principles, concepts,
and evaluation of media, innovative information applications and evaluation of media, innovation
technology for learning, information technology for and digital technology, design, usage of digital
communication, ability to apply and evaluation on technology for education, development of learning
media innovative information technology for media and learning management innovation.
learning , to use technology for communication.
366409 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5) 366409 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5) เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
Research for Learning Development Research for Learning Development ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติในการวิจยั การใช้และ หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติในการวิจยั การใช้ สอดคล้องกับสมรรถนะ
ผลิตงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้การนาผลการวิจัยไปใช้ใน งานวิจัยเพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ และปฏิบตั ิการวิจยั เพื่อ มาตรฐานวิชาชีพครู
การจัดการเรียนการสอนปฏิบัติการทาวิจัยเพื่อพัฒนาการ พัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน
เรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียน Principles, concepts, practices about
Principles, concepts, practices research, using research to develop learning, and
in research, using research result to develop practicing conducting research to develop learning
learning, operating action research to improve and learners.
instruction and students development.
366305 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) 366305 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้และการ เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
Learning Measurement and Assessment ประกันคุณภาพ 3(2-2-5) ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและ Learning Measurement and สอดคล้องกับสมรรถนะ
ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนการประเมินตามสภาพจริง Assessment and Quality Assurance มาตรฐานวิชาชีพครู
การประเมินภาคปฏิบัติ การสร้างและวิเคราะห์คุณภาพ
109

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ ปฏิบัตกิ ารวัดและการประเมินผล หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและ
การนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ประเมินผลการเรียนรู้ และการประกันคุณภาพการศึกษา
Principles, concepts and guidelines to การวิเคราะห์และการออกแบบการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
measure and evaluate the learning of students, ที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการเรียนรู้และการประกัน
authentic assessment, performance assessment, คุณภาพการศึกษา ปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
creating and analyzing the quality measurement ของผู้เรียน การนาผลประเมินไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และ
tool for learning, practicum the measurement and การจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษา การใช้ผล
evaluation, the results of evaluation to be used in การประกันคุณภาพเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา
the development of the learner. Principles, concepts, and practices about
learning measurement and assessment and
education quality assurance, analysis and design
about assessment to develop learners, according
to learning goals and education quality assurance,
practices about learners’ learning measurement
and assessment, using the assessment results to
develop learners and writing the education quality
assurance report, using the education quality
assurance results to develop educational
management.
366203 ความเป็นครูและคุณธรรม จริยธรรม 366203 ความเป็นครู 3(2-2-5) - เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
จรรยาบรรณ 3(2-2-5) Being Professional Teachers ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
Being a Professional Teacher and Moral, คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมตามหลักปรัชญา สอดคล้องกับสมรรถนะ
Ethics, Code of การศึกษาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพครู และ
Professional Conduct วิชาชีพครู การสร้างจิตวิญญาณความเป็นครูและความเป็น เติมปรัชญาการศึกษาลงใน
สภาพงานครู คุณลักษณะ และมาตรฐานวิชาชีพครู พลเมืองที่เข้มแข็งในโลกยุคศตวรรษที่ 21 การยอมรับเข้าใจ คาอธิบายรายวิชา
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู กฎหมายที่เกีย่ วกับครู และออกแบบการสร้างการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความ
และวิชาชีพครู การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู การ แตกต่างระหว่างบุคคล การสร้างแรงบันดาลใจ และสร้าง
สร้างความก้าวหน้าและพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง รอบรู้ สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ คิด
ในเนื้อหาวิชาที่สอนและกลยุทธ์การสอน เพื่อให้ผู้เรียนคิด แก้ปัญหาเพื่อสร้างสิ่งใหม่ ๆ การเรียนรูต้ ลอดชีวิตและพัฒนา
วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้ แสวงหาและ ตนเอง อย่างต่อเนื่องและทันต่อการเปลีย่ นแปลง
เลือกใช้ข้อมูลข่าวสารความรู้เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง Ethics, morality and values according to
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพ educational philosophy and sufficient economy
ผู้เรียน จิตวิญญาณความเป็นครู หลักธรรมาภิบาลและความ philosophy, teacher professional ethics,
ซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรม และจริยธรรมของวิชาชีพครู enhancement of spirituality as a teacher and
จรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภากาหนด ปฏิบัติตนเป็น citizenship’s strength in 21st century, acceptance
แบบอย่างที่ดี มีจิตสานึกสาธารณะ และเสียสละให้สังคม and understandings about learning design
ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ according to individual differences, inspiration and
Teacher conditions, characteristics and creation on learning environment allowing learners
teacher professional standards, cultivating a to seek knowledge, solving problems in order to
spiritual teacher, laws on teachers and the teaching innovate, lifelong learning and continuous self-
profession, knowledge management on teacher development to keep up with the changes.
profession, making progress and ongoing
developing teacher profession, mastery over
pedagogical content knowledge and learning
strategies, learners’ abilities to analyze,
synthesize, initiate, search for and knowingly select
informative knowledge for change, interaction
between teachers and learners that promotes the
development of the learner’s potential , spiritual
of teacher, good governance and integrity, morality
110

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


and ethics , code of professional conduct stated by
teacher profession organization, being a role model
with public spirit and contribution to society,
behaving under teacher code of conducts.
366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5) 366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5) - ปรับคาอธิบายรายวิชา
Curriculum Development Curriculum Development โดยเพิ่มคาว่าปรัชญา
หลักการและแนวคิดในการจัดทาหลักสูตร การ หลักการและแนวคิดในการจัดทาหลักสูตร การ การศึกษาลงในคาอธิบาย
วิเคราะห์หลักสูตรและจัดทาหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาและหลักสูตรและจัดทาหลักสูตร รายวิชา
การพัฒนาหลักสูตรปฏิบัติการประเมินหลักสูตรและนาผล การนาหลักสูตรไปใช้การพัฒนาหลักสูตร ปฏิบัติการประเมิน
การประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรและนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร
Principle and concept in a constructing Principles and concepts in a constructing
curriculum, analysis and constructing curriculum, curriculum, analyzing educational philosophy and
curriculum implementation, curriculum curriculum, constructing curriculum, curriculum
development, practicum curriculum evaluation and implementation, curriculum development,
used the results to develop curriculum. practicum curriculum evaluation and using the
evaluated results to develop curriculum.
366392 ประสบการณ์วิชาชีพครู 1 1(0-2-1) 366191 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 1 เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
Teaching professional experience I 1 หน่วยกิต ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
การสังเกตการจัดการเรียนรู้ การจัดทาแผนการ Practicum in Teaching Specific Subject สอดคล้องกับสมรรถนะ
จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง การออกแบบ Matter 1 มาตรฐานวิชาชีพครู
ทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล การตรวจข้อสอบ การ การปฏิบัตกิ ารสอนวิชาเอก ศึกษาแนวคิดทฤษฎี
ให้คะแนน และ การตัดสินผลการเรียน องค์ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู และงานครู สังเกตและมีส่วน
Learning management observation, lesson ร่วมในกิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
planning achieving self-construction knowledge, ศึกษาสารสนเทศเกี่ยวกับการบริหาร บุคลากรและอาคาร
designs on testing , written exam paper or สถานที่ในโรงเรียน มีส่วนร่วมในกิจกรรมของสถาน ศึกษา
measurement tools, exam correcting, scoring and วิเคราะห์สภาพการณ์จริงจากการศึกษา สังเกตเชื่อมโยงกับ
evaluating. แนวคิดทฤษฎี เขียนสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงาน
Practicum in teaching specific subject
matter, studying about concepts, theories,
knowledge about profession of teacher and
teacher’s duty, observing and participating in
learning management and classroom management,
studying information about administration,
personnel and school buildings, participating in
school activities, analyzing authenticity through
observation, linking to theories, writing and
reporting about practical work.
366493 ประสบการณ์วิชาชีพครู 2 1(0-2-1) 366292 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 2 เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
Teaching professional experience II 2 หน่วยกิต ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
การสังเกตการจัดการเรียนรู้ การจัดการแผนการ Practicum in Teaching Specific Subject สอดคล้องกับสมรรถนะ
จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง การทดลอง Matter 2 มาตรฐานวิชาชีพครู
สอนในสถานการณ์จาลอง และสถานการณ์จริง การ การปฏิบัตกิ ารสอนวิชาเอก ทาหน้าที่ผู้ช่วยครู
ออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผลการ ช่วยงานประจาชั้น งานจัดการเรียนรู้ งานจัดการชั้นเรียน
ตรวจข้อสอบ การให้คะแนน และการตัดสินผลการเรียน การ งานดูและช่วยเหลือนักเรียน งานวัดประเมินผลการเรียนรู้
สอบภาคปฏิบัติและการให้คะแนน การวิจัยแก้ปัญหาผู้เรียน ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
การพัฒนาความเป็นครูมืออาชีพ สามารถจัดทาแผนการ Practicum in teaching specific subject
จัดการเรียนรู้ เพื่อจุดประสงค์การสอนที่หลากหลาย สามารถ matter, practicing as a teacher assistant, classroom
ปฏิบัติการสอน ออกแบบทดสอบ วัดและประเมินผลผู้เรียน routines, learning management, student caring,
Learning management observation, learning measurement and assessment, creatively
lesson planning achieving self-construction working with others in schools.
111

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


knowledge, simulated and in-class teachings;
designs on testing , written exam paper or
measurement tools, exam correcting, scoring and
evaluating, practical examination and scoring;
research for student problem solving, professional
teacher development; abilities to lesson planning
achieving a wide variety learning, to operate
practical teaching, testing design, measurement
and evaluation.
366306 การจัดการเรียนรู้และการจัดการ 366306 การจัดการเรียนรู้และการจัดการ - เปลี่ยนคาอธิบายรายวิชา
ชั้นเรียน 3(2-2-5) ชั้นเรียน 3(2-2-5) ใหม่เพื่อให้สอดคล้องและ
Learning Management and Classroom Learning Management and Classroom ครอบคลุมตามกรอบ
Management Management มาตรฐานคุณวุฒิระดับ
หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทา แนวคิดและบทบาทหน้าที่ครูเกี่ยวกับการจัดการ ปริญญาตรี สาขาครุ
แผนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง การจัดการ เรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนที่เน้นการพัฒนาทักษะ ศาสตร์และสาขา
เรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ทฤษฎีและรูปแบบการ ศตวรรษที่ 21 ความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยี ศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่
จัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการข้ามศาสตร์ การวิเคราะห์ ปี) พ.ศ. 2562
และแก้ปัญหาได้การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวมการ หลักสูตร การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ จัดการชั้น
จัดการชั้นเรียนการพัฒนาศูนย์การเรียนในสถานศึกษา เรียน วินัยในชั้นเรียนและการสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมการ
ปฏิบัติการจัดทาแผนการเรียนรู้และนาไปสู่การปฏิบัติให้ เรียนรู้ของผู้เรียนและทดลองจัดการเรียนการสอนใน
เกิดผลจริงการสร้างบรรยากาศการจัดการชั้นเรียนให้ผู้เรียน สถานการณ์จริง
เกิดการเรียนรู้ Concepts and roles of the teachers about
Principles, concepts, and guidelines on the learning and classroom management emphasizing
preparation of learning plans based on learners on the development of 21st century skills,
construct knowledge for themselves, learning technological pedagogical content knowledge
management and environment for learning, (TPCK), cross-disciplinary integrated learning
theories and learning management style for management, curriculum analysis, lesson plan
encourage the students learn to think critically, design, classroom and students’ discipline
creatively, and solve problems, integrating management, and creation of classroom
classroom learning in managing inclusive education, atmosphere supported learners’ learning,
classroom management, developing learning experimentation of teaching and learning in
centers in schools, operating learning plan and authentic classroom situation.
lead to the actual results, creating a sense
classroom management for learners to learning.
366408 ภาษาและวัฒนธรรม 3(2-2-5) ตัดออก
Language and Culture
ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการเป็นครู
ภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูโดยเน้นการใช้ทักษะ
การฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาไทย และ
ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อความหมายอย่างถูกต้องและ
การใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการอยู่รว่ มกันอย่างสันติ
Thai language and culture as a teacher,
foreign language for professional development
focuses on the skills of listening, speaking, reading,
writing Thai and foreign language to convey
meaning accurately and using language and culture
to live together in peace.
112

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


366411 การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3(3-0-6) ย้ายมาอยู่ในหมวด
Inclusive Education เลือกเสรี
ปรั ช ญา แนวคิ ด และทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ การจั ด
การศึกษาแบบเรียนรวม สิทธิตามกฎหมาย สาหรับผู้มีความ
ต้องการพิเศษในการศึกษาและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคม
การเตรี ย มนั ก เรีย น ครู โรงเรี ย น และผู้ ป กครองสาหรับ
การศึก ษาแบบเรีย นรวม รูป แบบและวิธีก ารจัดการศึกษา
แบบเรียนรวมที่เหมาะสมกับสังคมไทย
Philosophy, ideas, and theories about
inclusive education; educational rights of children
with special needs as provided by laws; rights to live
happily with other people in the society;
preparation of the students, teachers, schools, and
parents for inclusive education; and models and
methods for inclusive education which is suitable for
Thai society.
366101 ปรัชญาการศึกษา 3(3-0-6) - ไม่ตั้งเป็นรายวิชา แต่นา
Educational Philosophy สาระไปอยู่ในคาอธิบาย
ปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีทางการศึกษา ศาสนา รายวิชา 366203 ความ
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมแนวคิด กลวิธีและวิเคราะห์การ เป็นครู และ 366304
จัดการศึกษาเพือ่ เสริมสร้างการพัฒนาทีย่ ั่งยืนการประยุกต์ใช้ การพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีทางการศึกษาเพื่อพัฒนา
สถานศึกษา
Philosophy, concepts and theories of
education, religious, economic, social, cultural,
educational concepts and strategies to strengthen
sustainable development, application of
philosophical concepts and theories of education
to improve schools.
366410 การประกันคุณภาพการศึกษา 3(2-2-5) ตัดออก
Quality Assurance
หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ
คุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษาการจัดการ
คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่องการดาเนินการจัดกิจกรรมประเมิน
คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
Principles, concepts, practices on the
management of quality education, the educational
quality assurance, quality management in learning
activity and educational quality development
continuously, conducting quality assessment
activities organized learning activities.
366412 ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครองและ เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
ชุมชน 3(2-2-5) ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
School, Parent and Community สอดคล้องกับสมรรถนะ
Engagement มาตรฐานวิชาชีพครู
การศึก ษาบนฐานชุมชน แนวคิดเกี่ย วกับ ชุมชน
แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครู
นักเรียน และชุมชน บทบาทและทักษะความเป็นผู้นาในการ
สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การศึกษาบริบทชุมชน
113

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


บนพื้นฐานความแตกต่างทางสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม การ
ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อร่วมพัฒนาผู้เรียนและชุมชน
Community - based on education, concepts
about professional learning community ( PLC) ,
teacher student and community engagement, roles
and leadership skills to create PLC, the study of
community context based on environment and
cultural differences and diversities, the promotion of
local wisdom conservation for developing students
and community.
353432 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3(3-0-6) คงเดิม
Management of Student Development
Activities
มโนทัศน์เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมพัฒนา
นักเรียน บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ผูบ้ ริหาร ครู
และผู้ปกครองในการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชมรม
และการจัดการชมรมในสถานศึกษา การวางแผนและเขียน
โครงการจัดกิจกรรม การดาเนินการจัดกิจกรรม และการ
ประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งครอบคลุม
กิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรียน ประกอบด้วย
กิจกรรมรู้จักเข้าใจและเห็นคุณค่าตนเองและผู้อื่น กิจกรรม
แสวงหาและใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ กิจกรรมการตัดสินใจและ
แก้ปัญหา กิจกรรมการปรับตัวและดารงชีวิต กิจกรรม
ลูกเสือเนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ รักษาดินแดน
กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรม
อื่น ๆ ตามความถนัดและความสนใจ
Concepts, principles, and theories related
to student development activities; roles of school
committees, principals, teachers, and parents in
promoting the activities; clubs and management of
clubs; planning, project writing, operating, and
evaluating the student development activities
which include guidance activities and student
activities, composed of the value justification
activities, the information survey and utilization
activities, the decision-making and problem-solving
activities; the life adaptation and preservation
activities; scouting, junior red-cross activities, and
the like; social creation activities; religious activities;
and other activities in accordance with ones’
interests.
2. วิชาชีพครูเลือก 3 หน่วยกิต ไม่มี
353433 จิตวิทยาพัฒนาการ 3(3-0-6) ย้ายไปเป็นหมวดเลือกเสรี
Developmental Psychology
ทฤษฎีและกระบวนการพัฒนาการของมนุษย์ทั้ง
ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และคุณธรรม ตั้งแต่
ปฏิสนธิจนวัยชรา อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มี
ผลต่อพัฒนาการ ปัญหาพฤติกรรม และความผิดปกติที่เกิด
จากกระบวนการพัฒนา การในแต่ละช่วงวัย การส่งเสริม
114

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


พัฒนาการและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับช่วง
วัยต่าง ๆ
Theories and process of physical,
emotional, social, intellectual, and moral
development of human beings, from birth to
becoming elderly; the influences of heredity and
environment to human development; behavioral
problems; abnormalities caused by process of
development in each stage; and how to promote
the development and provide learning in
accordance with each developmental stage
354411 การบริหารคุณภาพสถานศึกษา 3(3-0-6) ย้ายไปเป็นหมวดเลือกเสรี
School Quality Management
มโนทัศน์เกี่ยวกับการบริหาร และวิวัฒนาการการ
บริหาร หลักการบริหารการศึกษา ระบบบริหารราชการไทย
การจัดองค์การในสถานศึกษา บทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร
สถานศึกษา การบริหารงานในสถานศึกษา การสร้าง
ความสัมพันธ์กับชุมชน การจัดระบบสารสนเทศใน
สถานศึกษามาตรฐาน และการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบประกันคุณภาพภายในและภายนอกสถานศึกษา
Concepts and evolution of administration;
principles of educational administration; public
administration in Thailand; school organization;
roles of school administrators; management of
works in schools; promotion of community-school
relationship; management of information system
in schools; standards and quality assurance of
education; internal and external quality assurance
systems for schools.
354413 ชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการจัด ย้ายไปเป็นหมวดเลือกเสรี
การศึกษา 3(2-2-5)
Community and Participation in
Education
ความหมาย และความสาคัญของชุมชน ความ
เข้มแข็งของชุมชนกับความเจริญมั่นคงของประเทศ บทบาท
ของการศึกษาในการสร้างชุมชนที่เข้มแข็ง บทบาทของชุมชน
ในการพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นกับการมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา และการวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วมกับการ
พัฒนาการศึกษาและชุมชน
Meaning and significance of community,
community strength and its relations to national
security, roles of education in the strengthening of
community, roles of community in the
development of education, locality and its
participation in educational management, and
participatory action research and its contribution to
education and community.
115

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


354431 นันทนาการในโรงเรียนและชุมชน 3(2-2-5) ย้ายไปเป็นหมวดเลือกเสรี
Recreations in School and Community
ประวัติ ปรัชญา ความหมาย ความสาคัญและ
ประโยชน์ของนันทนาการ ทฤษฎีการจัดการนันทนาการ
ความสาคัญของทรัพยากรทางนันทนาการ การจัดและ
บริหารนันทนาการในโรงเรียนและชุมชน การดาเนินงาน
นันทนาการของนักเรียน ระเบียบว่าด้วยการจัดกิจกรรม
นักเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ นันทนาการชุมชน
ลักษณะของชุมชนด้านประชากร สถาบันหรือองค์การใน
สังคมศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรม และกิจกรรมนันทนาการ
ของชุมชน
History, philosophy, definition, importance
and benefits of recreation, theories of recreation
management, importance of recreation resources,
organization and recreation management in
schools and communities, operational recreation of
the students, regulations on the students activities
of the Ministry of Education, recreation community,
demographic characteristics of the community,
institutions or social organizations in the arts,
traditional culture and community activities
355431 คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 3(2-2-5) ย้ายไปเป็นหมวดเลือกเสรี
Computers in Education
หลักการ และทฤษฎีที่เกีย่ วข้องกับการวางแผน การ
ออกแบบ และการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์และ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
Principles and the theories related to
planning, designing and developing learning media
by the utilization of computers and electronic
media
366421 ภาษากับการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) ย้ายไปเป็นหมวดเลือกเสรี
Language and Learning Management
หลักการและการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่านและ
เขียนภาษาไทยที่ถกู ต้องเพื่อการสื่อสารกับนักเรียนในระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นทั้งการสนทนา การบรรยาย การ
เล่านิทาน การกล่าวสุนทรพจน์ การอ่านบทความวิชาการ
และวิจยั การเขียนบทความในวารสารสาหรับเด็ก และการ
แก้ปัญหาการใช้ภาษาไทยของนักเรียน หลักการและการฝึก
ทักษะการฟัง พูด อ่าน และ เขียนภาษาอังกฤษเพื่อการ
สื่อสารกับนักเรียน ครู ผู้บริหารการศึกษา และผูป้ กครอง
นักเรียน เน้นการจับใจความ การโต้ตอบด้วยภาษาเขียนและ
ภาษาพูดในสาเนียงที่ถูกต้อง และการนาเสนอรายงานต่อที่
ประชุมในชั้นเรียนเกี่ยวกับชีวิตประจาวันของนักเรียน ชุมชน
สังคมไทย และระบบการศึกษาของประเทศไทยและนานา
ประเทศ
Principles and practices of listening,
speaking, reading, and writing skills of correct Thai
language to be used with students in basic
education level; focusing on conversation, lecture,
storytelling, public speech, academic articles
116

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


reading and research articles reading, writing for
children's journal; and solving Thai language
problems among the students, principles and
practices of listening, speaking, reading, and writing
skills of communicative English language to be
used with students, teachers, principals, and
children's parents; focusing on conceptual
meaning, reflexive skills for appropriate writing and
speaking; and classroom presentation related to
students' daily life, community, Thai society,
educational systems of Thailand and other
countries.
369461 โครงการสุขภาพและสวัสดิศกึ ษา 369461 โครงการสุขภาพและสวัสดิศึกษาในสถานศึกษา - ย้ายไปเป็นหมวดเลือก
ในสถานศึกษา 3(3-0-6) 3(2-2-5) เสรี
School Health and Safety Program School Health and Safety Program - เพิ่มการฝึกปฏิบัติ
โครงการสุขภาพในสถานศึกษา อาหารและ โครงการสุ ข ภาพในสถานศึ ก ษา อาหารและ
โภชนาการ โครงการอาหารกลางวัน หลักการจัดสิ่งแวดล้อม โ ภ ช น า ก า ร โ ค ร ง ก า ร อ า ห า ร ก ล า ง วั น ห ลั ก ก า ร
ในสถานศึกษา การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของ จัดสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา การส่งเสริมสุขภาพและความ
นักเรียน การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน ปลอดภั ย ของนั ก เรี ย น การป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หา
สถานศึกษา หลักการและวิธีสอนเพศศึกษาในสถานศึกษา ยาเสพติดในสถานศึกษา หลักการและวิธีสอนเพศศึกษาใน
School health projects; food and สถานศึกษา
nutrition; school lunch program; principles of School health projects, food and nutrition,
school environment management; promotion of school lunch program, principles of school
health and safety for students; prevention and environment management, promotion of health
solving of drugs problems in schools; and and safety for students, prevention and solving of
principles and methods for instruction of sex drugs problems in schools, and principles and
education in schools methods for instruction of sex education in schools.
396445 การอยู่ค่ายพักแรม 3(2-2-5) - ย้ายไปเป็นหมวดเลือก
Camping เสรี
ประวัติ และวิวัฒนาการของค่ายพักแรมในยุคต่าง
ๆ คุณค่าของค่ายพักแรมในด้านพัฒนาบุคคล ด้านการ
พักผ่อนหย่อนใจ ประเภทของค่ายพักแรม องค์การที่จัดค่าย
พักแรม การปฏิบัติตนเป็นชาวค่ายที่ดี และการจัดการ
ดาเนินการค่ายพักแรม
History and evolution of camping, values of
camping in personal development and recreation,
types of camping, camping organizations, good
behavior of campers, brief management and
procedures of camping.
378311 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการเรียนรู้ -ปรับให้สอดคล้องกับการ
3(3-0-6) เปลี่ยนแปลงและปรับปรุง
Sufficiency Economy Philosophy into ของหลักสูตรแกนกลาง
Teaching การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปรัชญา ความหมาย เป้าหมาย องค์ประกอบของ พุทธศักราช 2551 และ
เศรษฐกิจพอเพียง หลักการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ มาตรฐานการเรียนรู้และ
พอเพียงเพื่อการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา การจัดการ ตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง
เรียนรู้ที่ส่งเสริมความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมี พ.ศ. 2560) และให้มีความ
ภูมิคุ้มกันที่ดี ความตระหนักในความสาคัญของคุณธรรม ทันสมัย
จริยธรรม และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
117

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


Philosophy, meaning and component of
sufficiency economy; principle of applying
sufficiency economy philosophy for teaching in
school; instruction promoting moderation,
reasonableness and self-immunity; awareness on
importance of ethics and virtues; sharing and
learning.
396463 เพศศึกษา 3(3-0-6) - เพิ่มรายวิชาเลือกเสรี
Sex Education
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางเพศ
พฤติกรรมทางเพศ พัฒนาการทางเพศ ความแตกต่างทาง
เพศ การวางตัวระหว่างเพศ ความใคร่ของมนุษย์และการ
ตอบสนองที่เหมาะสม การหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงต่อการ
มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่พึงประสงค์ รวมไปถึงความแตกต่าง
ระหว่างแนวคิดและทัศนคติระหว่างเพศ การเลือกคู่ครอง
การวางแผนครอบครัว และการปรับตัวในการใช้ชีวิตร่วมกัน
Knowledge and understanding of woman’s,
gender, behavior, development, sexuality
difference, interaction between gender, sexual
desire and appropriate sexual response; avoidance
of risky situations to inappropriate sexual
intercourse; differences of sexual concepts and
attitudes among adolescents; criteria for life-
partner selection; family planning; and self-
adjustment of living together.
3. ปฏิบตั ิการวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต 3. การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
366593 การปฏิบตั ิการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 1 366393 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 3 เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
6 หน่วยกิต (270 ชั่วโมง) 3 หน่วยกิต ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
Teaching practicum I Practicum in Teaching Specific Subject สอดคล้องกับสมรรถนะ
การปฏิบัติการสอนวิชาเอก การวัดและประเมินผล Matter 3 มาตรฐานวิชาชีพครู
และนาผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ออกแบบการวิจยั เพื่อ การปฏิบัติการสอนวิชาเอก สร้างหลักสูตรรายวิชา
พัฒนาผู้เรียน สามารถจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาเอก วางแผนและออกแบบกิจกรรมการจั ดการเรียนรู้ ผลิตสื่อ /
ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย นวัตกรรม และจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ จัดการ
Actual teaching practice in major subject, เรีย นรู้ และการบริห ารจั ดการ ชั้นเรีย นที่เสริมทัก ษะการ
measurement and evaluation and use its results เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน
for learner development, research design for จั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาผู้ เ รี ย น พั ฒ นาตนเอง ทบทวนการ
learner development, abilities to manage major ปฏิบัติงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และปรับปรุง
subject learning and other assigned jobs. Practicum in teaching specific subject
matter, creating curriculum course, planning and
designing about learning activities, producing
media/ innovation and providing learning
environment to support students’ learning, learning
management, and classroom management which
enhance 21st century learning skills, measurement
and assessment to develop learners, arranging
learner development activities, self- development,
reviewing about practices, sharing and improving.
118

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เหตุผล


366594 การปฏิบตั ิการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 2 366494 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 4 เปลี่ยนชื่อวิชาใหม่และ
6 หน่วยกิต (270 ชั่วโมง) 6 หน่วยกิต ปรับคาอธิบายรายวิชาให้
Teaching practicum II Practicum in Teaching Specific Subject สอดคล้องกับสมรรถนะ
วิชาบังคับก่อน : 366593 การปฏิบัติการสอน Matter 4 มาตรฐานวิชาชีพครู
วิชาเอกในสถานศึกษา 1 การปฏิบั ติก ารสอนวิชาเอก ปฏิบั ติภ ารกิจ อย่า ง
การปฏิบัติการสอนวิชาเอก การวัดและประเมินผล ครบถ้ ว นเกี่ยวกับ งานที่สถานศึกษามอบหมาย และงานใน
และนาผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน การวิจัยพัฒนาผู้เรียน หน้ า ที่ ค รู วิ จั ย สร้ า งนวัต กรรมและประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือแบ่งปันความรู้ในการสัมมนา ดิจิทัลเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ร่วมมืออย่างสร้างสรรค์
การศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาเอก สามารถ กับผู้เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา/พัฒนาผู้เรียน ปรับปรุงและ
ประเมินปรับปรุง และศึกษาวิจยั เพื่อพัฒนาผู้เรียน พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมี ส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนา
ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย วิชาชีพ
Actual teaching practice in major subject , Practicum in teaching specific subject
measurement and evaluation and use its results matter, practicing all dimensions as a teacher based
for learner development, research operation for on job description and assignment, conducting
learner development, learning exchange or research to innovate and apply digital technologies
knowledge sharing in educational seminar, abilities to develop learning management, collaborating
to manage major subject learning, to evaluate for creatively with persons in charge in solving and
improvement, to do research study for learner developing learners, continuously improving and
development, and to do other assigned jobs. developing one’ s self and participating in
professional development activities.
119

ภาคผนวก ข
คาสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรของคณะศึกษาศาสตร์
120
121
122

ภาคผนวก ค
รายงานการประชุม/ผลการวิพากษ์หลักสูตร
123

รายงานการประชุมวิพากษ์หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี)
ในวันศุกร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2562
ณ ห้องศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.พนัส หันนาคินทร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้เข้าร่วมประชุม
1. รองศาสตราจารย์ ดร.สาราญ มีแจ้ง คณบดี/ประธาน
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรัตน์ วัฒนกสิวิชญ์ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล สุวรรณจันทร์ดี ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
4. รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย กี่สุขพันธ์ สภาวิชาชีพ
5. อาจารย์สุภารัตน์ เชื้อโชติ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
6. ดร.สุภาวรรณ จันทร์ไพแสง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ไทยเลิศ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุชา กอนพ่วง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ
9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกนธ์ชัย ชนูนันท์ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ
10.นางวันทนา มาเตียง
11. นางภาตีดา อ้นมาลัย
12. นางสาวณัฐธภา วงศ์บา
13. นางสาวเหมือนฝัน ผดุงประเสริฐกุล
ผู้ไม่เข้าร่วมประชุม
-

เปิดประชุมเวลา 09.00 น.

วาระที่ 1 แจ้งเพื่อทราบ
ประธานชี้ แ จงเกี่ ย วกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละหลั ก การในการเปิ ด หลั ก สู ต รการศึ ก ษาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า
คณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี) เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนไป

มติ
ที่ ป ระชุ ม รั บ ทราบ การด าเนิ น การและการเปิ ด หลั ก สู ต ร เพื่ อ ให้ ทั น ใช้ กั บ นิ สิ ต ที่ เ ข้ า ศึ ก ษาในระดั บ
ปริญญาตรี ปีการศึกษา 2562
124

วาระที่ 2 เรื่องพิจารณา
การร่างหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี)
ได้แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรตามโครงสร้างที่มหาวิทยาลัยกาหนด โดยได้เชิญอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอก อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลั กสูตร สาขาวิชาภาษาอังกฤษ เข้า
ร่วมพิจารณาวิพากษ์หลักสูตร
มติ
คณะกรรมการวิพากษ์ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และผู้แทนสภาวิชาชีพ ได้แสดงความคิดเห็นและให้
ข้อเสนอแนะในการวิพากษ์หลักสูตร สรุปได้ดังนี้
1. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปรัชญาของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตรสอดคล้องกับปรัชญาของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความ
เหมาะสมกับยุคสมัย มีคุณธรรมนาความรู้ มีทักษะการสอน ตลอดจนมุ่งเน้นที่การวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียน
การสอน ซึ่งทาให้ผู้เรียนสามารถต่อยอดพัฒนาตนเองในสายวิชาชีพของตน
2. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- ควรปรับภาษาเล็กน้อย
3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรมีความเหมาะสม และให้ตรวจสอบ มคอ. 1 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ให้สอดคล้องกัน
4. ความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนการศึกษาของหลักสูตร
- แผนการศึกษาของหลักสูตรมีความเหมาะสมดี แต่หากในปี 4 ภาคเรียนที่ 1 กระจายวิชาเลือกเสรี
ไปเรียนในปี 2 หรือ ปี 3 ก่อนก็จะทาให้นิสิตได้เก็บเลือกเสรีมาอย่างต่อเนื่องและ รายวิชาเอกในแผนการศึกษา
เป็นรายวิชาปฏิบัติ 3(2-2-5) ทั้งนี้จาเป็นหรือไม่ที่ทุกรายวิชาเป็นวิชาปฏิบัติ 3(2-2-5)
5. ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชาของหลักสูตร
- คาอธิบายรายวิชา 366594 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา 4
- ควรเพิ่มคา วิชาชีพครู (เน้นคาสาคัญ “วิชาชีพครู”)

วาระอื่น ๆ
ประธานมอบหมายให้คณะทางานดาเนินการปรับแก้หลักสูตรให้ทันตามกาหนดเวลา

ปิดประชุม

ณัฐธภา วงศ์บา อนุชา กอนพ่วง


(นางสาวณัฐธภา วงศ์บา) (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนุชา กอนพ่วง)
ผู้บันทึกการประชุม ผู้ตรวจรายงานการประชุม
125

สรุปผลการวิพากษ์หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 (หลักสูตร 4 ปี)
โดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และผู้แทนสภาวิชาชีพ
วันที่ 11 มกราคม 2562

รายการที่พิจารณา ผู้ทรง 1 ผู้ทรง 2 สภาวิชาชีพ ข้อคิดเห็นของ


ผู้ทรงคุณวุฒิ

เหมาะสม

เหมาะสม

เหมาะสม
ปรับปรุง

ปรับปรุง

ปรับปรุง
1. ชื่อหลักสูตร ✓ ✓ ✓
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ✓ ✓ ✓
3. วิชาเอก/แขนงวิชา ✓ ✓ ✓
4. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของ ✓ ✓ ✓
หลักสูตร
5. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ✓ ✓ ✓
6. โครงสร้างหลักสูตร ✓ ✓ ✓
7. รายวิชาในวิชา ✓ ✓ ✓
- รายวิชาเอกบังคับ
- รายวิชาเอกเลือก
- รายวิชาชีพครู
- ปริญญานิพนธ์
9. แผนการศึกษาและจานวนหน่วยกิตในแต่ละ ✓ ✓ ✓
ภาคการศึกษา
10. ความชัดเจนของคาอธิบายรายวิชา ✓ ✓ ✓
11. ความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของ ✓ ✓ ✓
รายวิชา
13. ความสอดคล้องของเนื้อหารายวิชากับ ✓ ✓ ✓
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ (เพิ่มเติม)
- หลักสูตรมีเนื้อหารายวิชาเฉพาะด้านที่ครอบคลุมตามแนวคิดปรัชญาของหลักสูตร มุ่งเน้นบัณฑิตให้
ปฏิบัติการสอนได้จริง
126

ภาคผนวก ง
ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย มาตรฐานวิชาชีพผู้ประกอบวิชาชีพครู (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562
127
128
129
130
131

ภาคผนวก จ
ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร
132

ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ
อาจารย์ประจาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานในระบบ CHECO

ชื่อ – สกุล
(ภาษาไทย) : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภิตา ขารอด
(ภาษาอังกฤษ) : Asst.Prof.Dr. Sopita Khamrod
ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
1. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 0.8
-
2. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.6
-
3. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ 1
-
4. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน 1
-
5. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.4
-
6. งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ 0.2
อิเล็กทรอนิกส์ online
-
7. ตาราหรือหนังสือที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอรับตาแหน่งทางวิชาการแล้ว 1
-
8. ตาราหรือหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหน่งทางวิชาการแต่ 1
ไม่ได้นามาขอรับการประเมินตาแหน่งทางวิชาการ
-
9. บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล 0.6
กลุ่มที่ 2
-
10. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการ 0.2
ประชุมวิชาการระดับชาติ
-
11. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการ 0.4
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีอยู่ในฐานะข้อมูล
ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556
-
133

ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
12. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ใน 1
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย
หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.
2556
Khamrod S, (2018). Admitted Lie Group of the reduced system from the
Navier-Stokes equations. Journal of Analysis and Applications (JAA),
16(2), 81-104. (SCOPUS)
13. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ใน 0.8
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์
การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แต่
สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้ง
ให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list)
หรือตีพิมพ์ไว้ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
-
14. ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน 1
-
15. ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร 1
-
16. ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดาเนินการ 1
-
17. ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ 1
แล้ว
-
ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงาน
ทางวิชาการที่ไ ด้ รั บการเผยแพร่ ต ามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่ง ตั้งให้บุค คลดารงตาแหน่ ง
ทางวิชาการ เป็นผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง และเขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม

ลงชื่อ ………………………………………….
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภิตา ขารอด)
เจ้าของประวัตแิ ละผลงานทางวิชาการ
134

ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ
อาจารย์ประจาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานในระบบ CHECO

ชื่อ – สกุล
(ภาษาไทย) : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ไทยเลิศ
(ภาษาอังกฤษ) : Asst.Prof.Dr. Ekkarath Thailert
ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
1. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 0.8
-
2. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.6
-
3. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ 1
-
4. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน 1
-
5. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.4
-
6. งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ 0.2
อิเล็กทรอนิกส์ online
-
7. ตาราหรือหนังสือที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอรับตาแหน่งทางวิชาการแล้ว 1
-
8. ตาราหรือหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหน่งทางวิชาการแต่ 1
ไม่ได้นามาขอรับการประเมินตาแหน่งทางวิชาการ
-
9. บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล 0.6
กลุ่มที่ 2
-
10. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการ 0.2
ประชุมวิชาการระดับชาติ
-
11. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการ 0.4
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีอยู่ในฐานะข้อมูล
ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556
-
135

ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
12. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ใน 1
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย
หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.
2556
Thailert E., R. Wangkeeree, and P. Preechasilpx (2016). A New General
Iterative Methods for Solving the equilibrium problems, variational
inequality problems and fixed point problems of nonexpansive
mappings. Volume14 Number 1, 53-67. (SCOPUS)
Thailert E. (2015). Equivalence problem for the canonical form of linear
second order parabolic equations, Thai Journal of Mathematics,
Volume13 Number 2, 431-447. (SCOPUS)
13. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ใน 0.8
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์
การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แต่
สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้ง
ให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list)
หรือตีพิมพ์ไว้ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
-
14. ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน 1
-
15. ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร 1
-
16. ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดาเนินการ 1
-
17. ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ 1
แล้ว
-
ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงาน
ทางวิชาการที่ไ ด้ รั บการเผยแพร่ ต ามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่ง ตั้งให้บุค คลดารงตาแหน่ ง
ทางวิชาการ เป็นผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง และเขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม

ลงชื่อ ………………………………………….
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ไทยเลิศ)
เจ้าของประวัตแิ ละผลงานทางวิชาการ
136

ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ
อาจารย์ประจาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานในระบบ CHECO

ชื่อ – สกุล
(ภาษาไทย) : ดร.รินรดา ธรรมชัย
(ภาษาอังกฤษ) : Dr. Rinrada Thamchai
ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
1. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 0.8
-
2. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.6
-
3. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ 1
-
4. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน 1
-
5. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.4
-
6. งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ 0.2
อิเล็กทรอนิกส์ online
-
7. ตาราหรือหนังสือที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอรับตาแหน่งทางวิชาการแล้ว 1
-
8. ตาราหรือหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหน่งทางวิชาการแต่ 1
ไม่ได้นามาขอรับการประเมินตาแหน่งทางวิชาการ
-
9. บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล 0.6
กลุ่มที่ 2
-
10. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการ 0.2
ประชุมวิชาการระดับชาติ
ชนานันต์ อ้นจันทร์ และรินรดา ธรรมชัย.(2559).การวิเคราะห์เสถียรภาพของแบบจาลองการแพร่
ระบาดของการสูบบุหรี่และวิธีการควบคุมที่เหมาะสม. การประชุมวิชาการระดับชาติ
วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 8; 30-31 พฤษภาคม 2559; มหาวิทยาลัยพะเยา. พะเยา:
มหาวิทยาลัยพะเยา; 2559, หน้า 84-90
137

ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
11. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการ 0.4
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีอยู่ในฐานะข้อมูล
ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556-
12. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ใน 1
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย
หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.
2556
-
13. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ใน 0.8
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์
การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แต่
สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้ง
ให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list)
หรือตีพิมพ์ไว้ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1

14. ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน 1


-
15. ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร 1
-
16. ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดาเนินการ 1
-
17. ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ 1
แล้ว
-

ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงาน


ทางวิชาการที่ไ ด้ รั บการเผยแพร่ ต ามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่ง ตั้งให้บุค คลดารงตาแหน่ ง
ทางวิชาการ เป็นผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง และเขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม

ลงชื่อ ………........................……………….
(ดร.รินรดา ธรรมชัย)
เจ้าของประวัตแิ ละผลงานทางวิชาการ
138

ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ
อาจารย์ประจาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานในระบบ CHECO

ชื่อ – สกุล
(ภาษาไทย) : ดร.สุภาวรรณ จันทร์ไพแสง
(ภาษาอังกฤษ) : Dr.Suphawan Janphaisaeng
ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
1. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 0.8
-
1. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.6
-
2. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ 1
-
3. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน 1
-
4. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.4
-
5. งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ 0.2
อิเล็กทรอนิกส์ online
-
6. ตาราหรือหนังสือที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอรับตาแหน่งทางวิชาการแล้ว 1
-
7. ตาราหรือหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหน่งทางวิชาการแต่ไม่ได้ 1
นามาขอรับการประเมินตาแหน่งทางวิชาการ
-
8. บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล 0.6
กลุ่มที่ 2
-
9. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม 0.2
วิชาการระดับชาติ
Pimkeeree, K., & Janphaisaeng, S. (2018). All normalized complete permutation
polynomials of degree  6 . Proceedings of the 10th National Science Research
Conference, MA 30- MA 36.
Sornchansri, P., & Janphaisaeng, S. (2015). Some results of permutation polynomials
over a finite field. Proceedings of the 7th National Science Research
Conference, MA-O-008 Page1-6.
139

ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
10. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม 0.4
วิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีอยู่ในฐานะข้อมูล ตามประกาศ
ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง
วิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556
-
11. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ใน 1
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556
Janphaisaeng, S., & Sookcharoenpinyo, B. (2017). The reciprocal sums of even and
ODD terms in the pell sequence. East-West Journal of Mathematics, 19(1),
52-64. (MathSciNet/Zentralblatt MATH)
12. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ใน 0.8
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แต่สถาบัน
นาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ.
ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) หรือตีพิมพ์ไว้ใน
วารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
Janphaisaeng, S. (2017). New classes of permutation polrnomials havine the forms.
(ax p − ax +  )s + x AND (ax p + bx p + cx +  )s + x OVER Fp . KMITL Sci.
k j k
n

Tech. J. 17(1), 62-67. (TCI กลุ่ม 1)


13. ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน 1
-
14. ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร 1
-
15. ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดาเนินการ 1
-
16. ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแล้ว 1
-
ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงาน
ทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่ง
ทางวิชาการ เป็นผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง และเขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม

ลงชื่อ ………………………………………….
(ดร.สุภาวรรณ จันทร์ไพแสง)
เจ้าของประวัติและผลงานทางวิชาการ
140

ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ
อาจารย์ประจาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานในระบบ CHECO

ชื่อ – สกุล
(ภาษาไทย) : สุภารัตน์ เชื้อโชติ
(ภาษาอังกฤษ) : Suparat Chuechote
ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
1. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 0.8
-
2. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.6
-
3. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ 1
-
4. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน 1
-
5. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.4
-
6. งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ 0.2
อิเล็กทรอนิกส์ online
-
7. ตาราหรือหนังสือที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอรับตาแหน่งทางวิชาการแล้ว 1
-
8. ตาราหรือหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหน่งทางวิชาการแต่ 1
ไม่ได้นามาขอรับการประเมินตาแหน่งทางวิชาการ
-
9. บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล 0.6
กลุ่มที่ 2
-
10. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม 0.2
วิชาการระดับชาติ
Pengthina, W., Chuechote, S., & Prachanban, P. (2018). The effects of problem-based
solving equation of students in grade 6. The Proceedings of 2018 Innovation
and Education for Sustainable Development Goals (pp. 245 -254). Phitsanulok:
Naresuan University.
Janhom, P., Chuechote, S., & Prachanban, P. (2018). The effects of context-based grade
8th students. The Proceedings of 2018 Innovation and Education for Sustainable
Development Goals (pp. 145 – 153). Phitsanulok: Naresuan University.
141

ผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง 5 ปี น้าหนัก
11. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม 0.4
วิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีอยู่ในฐานะข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ.
หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ
สาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556
Chuechote, S., Nokkaew, A., & Kodee, A. (2018), Embedding social awareness through
urban planning, A community-based stem activity.The Proceedings of
International Annual Meeting on STEM Education (I AM STEM 2018). Khon Kaen
University.
12. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ใน 1
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556
-
13. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ใน 0.8
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แต่สถาบันนาเสนอ
สภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบ
ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) หรือตีพิมพ์ไว้ในวารสารวิชาการที่
ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
-
14. ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน 1
-
15. ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร 1
-
16. ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดาเนินการ 1
-
17. ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแล้ว 1
-

ขอรับรองว่าผลงานทางวิชาการข้างต้น ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา เป็นผลงาน


ทางวิชาการที่ไ ด้ รั บการเผยแพร่ ต ามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่ง ตั้งให้บุค คลดารงตาแหน่ ง
ทางวิชาการ เป็นผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง และเขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม

ลงชื่อ ………………………………………….
(นางสาวสุภารัตน์ เชือ้ โชติ)
เจ้าของประวัตแิ ละผลงานทางวิชาการ
142

ภาคผนวก ฉ
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154

ภาคผนวก ช
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคุรุศาสตร์
และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่ป)ี พ.ศ. 2562
155
156
157
158
159

21
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196

ตารางแสดงการวิเคราะห์สาระความรู้เฉพาะสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ตามกรอบ มคอ. 1 สาขาครุศาสตร์


และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) ที่สอดคล้องกับรายวิชาของหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง 2562 (หลักสูตร 4 ปี)
ลาดับ สาระความรู้เฉพาะสาขาวิชา รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา
คณิตศาสตร์
1 จานวนและการดาเนินการ 252223 ทฤษฎีจานวน 1 3(2-2-5)
Theory of Numbers 1
วิชาบังคับก่อน : 252141 หลักคณิตศาสตร์
คุณสมบัตเิ บื้องต้นของจานวนเต็ม การหารลงตัว จานวนเฉพาะ ตัวหารร่วม
มาก สมการไดโอแฟนไทน์เชิงเส้น ฟังก์ชันในทฤษฎีจานวน สมภาค รากปฐมฐาน
Elementary properties of integers, divisibility, prime, greatest
common divisors, linear Diophantine equations, number theoretic
functions, congruence, primitive roots.
252251 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย 3(2-2-5)
Discrete Mathematics
เทคนิคการนับเบื้องต้น ความสัมพันธ์เวียนเกิดทฤษฎีกราฟเบื้องต้น ทรีและ
ข่ายงาน แลททีซและพีชคณิตบูลนี
Basic counting techniques, recurrence relations, elementary
graph theory, tree and network, lattice and Boolean algebra.
2 การวัด 252351 ทฤษฎีกราฟ 3(2-2-5)
Graph Theory
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีกราฟ กราฟที่อยู่บนระนาบและกราฟที่ไม่อยู่บน
ระนาบ เมทริกซ์แทนกราฟ ฟังก์ชันถอดแบบของกราฟ ทรี กราฟระบุทิศทาง ข่ายงาน
การระบายสีของกราฟ
Basic concepts of graph theory, planar and nonplanar graphs,
matrix representation of graph, isomorphism of graphs, tree, directed
graph, networks, the coloring of graphs.
3 เรขาคณิต 252331 เรขาคณิต 3(2-2-5)
Geometry
สมบั ติ ข องรู ป ร่ า งทางเรขาคณิ ต เรขาคณิ ต แบบยู ค ลิ ด เรขาคณิ ต พิ กั ด
เรขาคณิตของการแปลง เรขาคณิตแบบนอนยูคลิด
Properties of geometric shapes, Euclidean
geometry, coordinate geometry, transformation geometry, non-Euclidean
geometry.
252351 ทฤษฎีกราฟ 3(2-2-5)
Graph Theory
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีกราฟ กราฟที่อยู่บนระนาบและกราฟที่ไม่อยู่บน
ระนาบ เมทริกซ์แทนกราฟ ฟังก์ชันถอดแบบของกราฟ ทรี กราฟระบุทิศทาง ข่ายงาน
การระบายสีของกราฟ
Basic concepts of graph theory, planar and nonplanar graphs,
matrix representation of graph, isomorphism of graphs, tree, directed
graph, networks, the coloring of graphs.
197

ลาดับ สาระความรู้เฉพาะสาขาวิชา รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา


คณิตศาสตร์
4 พีชคณิต 252221 พีชคณิตเชิงเส้น 1 3(2-2-5)
Linear Algebra 1
เมทริ ก ซ์สมมูล ค่ า ล าดั บชั้ น เมทริก ซ์ ระบบสมการเชิ งเส้นและผลเฉลย
ตัวกาหนดและหลักเกณฑ์คราเมอร์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น ค่าเฉพาะและ
เวกเตอร์เฉพาะเบื้องต้น
Equivalent matrices, rank of matrices, system of linear equations
and solution, determinants and Cramer’ s rule, vector spaces, linear
transformations, introduction to eigenvalues and eigenvectors.
252222 พีชคณิตนามธรรม 1 3(2-2-5)
Abstract Algebra 1
กรุป กรุปการเรียงสับเปลี่ยน กรุปวัฏจักร สาทิสสัณฐานของกรุป ทฤษฎี
บทเคย์เลย์ ทฤษฎีบทลากรานจ์ กรุปย่อยปรกติ กรุปผลหาร ทฤษฎีบทหลักมูลสาทิส
สัณฐานของกรุป ริง ไอดีล อินทิกรัลโดเมน และฟีลด์เบื้องต้น
Groups, permutation groups, cylic groups, group
homomorphisms, Cayley’s Theorem, Lagrange’s Theorem, normal
subgroups, quotient groups, fundamental theorem of group
homomorphisms, rings, ideals, integral domains and introduction to
fields.
5 สถิติและความน่าจะเป็น 252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น 3(2-2-5)
Introduction to Numerical Analysis
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
ผลเฉลยของสมการไม่เชิงเส้น การประมาณค่าในช่วง ฟังก์ชันการประมาณ
การหาอนุพันธ์ และปริพันธ์เชิงตัวเลข ผลเฉลยเชิงตัวเลขของระบบสมการเชิงเส้น ผล
เฉลยเชิงตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
Solution of nonlinear equations, interpolation, approximation
functions, numerical differentiations and integrations, numerical solution
of systems of linear equations, numerical solution of ordinary differential
equations.
6 แคลคูลสั 252111 แคลคูลัสมูลฐาน 4(4-0-8)
Fundamental Calculus
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันและการประยุกต์
ผลต่างอนุพันธ์ ปริพันธ์ของฟังก์ชันและการประยุกต์ เทคนิคการหาปริพันธ์ สมการเชิง
อนุพันธ์อันดับที่หนึ่งแบบแยกตัวแปรได้
Limits and continuity of functions, derivative of functions and
applications, differentials, integral of functions and applications,
techniques of integration, separable first–order differential equations.
252112 แคลคูลัส 4(4-0-8)
Calculus
วิชาบังคับก่อน : 252111 แคลคูลัสมูลฐาน
ระบบพิ กั ด เชิ งขั้ ว สมการอิ งตั ว แปรเสริ ม ปริ พั น ธ์ ไ ม่ ต รงแบบ เส้ น ตรง
ระนาบ ผิว อนุพันธ์ย่อย ปริพันธ์หลายชั้นและการประยุกต์ ลาดับและอนุกรมของ
จานวนจริง อนุกรมกาลัง อนุกรมเทย์เลอร์
198

ลาดับ สาระความรู้เฉพาะสาขาวิชา รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา


คณิตศาสตร์
Polar coordinate systems, parametric equations, improper
integrals, lines, planes, surfaces, partial derivatives, multiple integrals and
applications, sequences and series of real numbers, power series, Taylor
series.
252211 สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3(2-2-5)
Ordinary Differential Equations
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
สมการเชิงอนุพันธ์อันดับที่หนึ่ง และการประยุกต์ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้น
อันดับสูง และการประยุกต์ การแปลงลาปลาซ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ ผลเฉลยในรูป
ของอนุกรมกาลัง
Differential equations of first order and applications, linear
differential equations of higher order and applications, Laplace
transform, system of differential equations, power series solutions.
252212 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1 3(2-2-5)
Mathematical Analysis 1
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
ระบบจานวนจริง ทอพอโลยีของเส้นจานวนจริง ลาดับของจานวนจริง ลิมิต
และความต่อเนื่อง การหาอนุพันธ์ ปริพันธ์แบบรีมันน์ อนุกรมของจานวนจริง
The real number system, topology on the real line, sequences
of real numbers, limits and continuity, differentiation, Riemann
integration, series of real numbers.
252314 การวิเคราะห์เชิงซ้อนเบื้องต้น 3(2-2-5)
Introduction to Complex Analysis
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
สมบัติของจานวนเชิงซ้อน ฟังก์ชันมูลฐาน การหาอนุพันธ์ ฟังก์ชันวิเคราะห์
การหาปริพันธ์ อนุกรมกาลัง ทฤษฎีบทส่วนตกค้าง และการประยุกต์
Properties of complex numbers, elementary functions,
differentiation, analytic functions, integration, power series, residue
theorem and applications.
252315 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น 3(2-2-5)
Introduction to Numerical Analysis
วิชาบังคับก่อน : 252112 แคลคูลัส
ผลเฉลยของสมการไม่เชิงเส้น การประมาณค่าในช่วง ฟังก์ชันการประมาณ
การหาอนุพันธ์ และปริพันธ์เชิงตัวเลข ผลเฉลยเชิงตัวเลขของระบบสมการเชิงเส้น ผล
เฉลยเชิงตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ
Solution of nonlinear equations, interpolation, approximation
functions, numerical differentiations and integrations, numerical solution
of systems of linear equations, numerical solution of ordinary differential
equations.
199

ลาดับ สาระความรู้เฉพาะสาขาวิชา รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา


คณิตศาสตร์
7 ความสัมพันธ์และความ 252141 หลักคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
เชื่อมโยงของเนื้อหา Principles of Mathematics
คณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ แ ละวิ ธี พิ สู จ น์ การพิ สู จ น์ ท ฤษฎี บ ทที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เซต
ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซต จากัดและเซตอนันต์
Logic and proof methods, proofs of theorems concerning sets,
relations, functions, finite and infinite sets.
252351 ทฤษฎีกราฟ 3(2-2-5)
Graph Theory
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีกราฟ กราฟที่อยู่บนระนาบและกราฟที่ไม่อยู่บน
ระนาบ เมทริกซ์แทนกราฟ ฟังก์ชันถอดแบบของกราฟ ทรี กราฟระบุทิศทาง ข่ายงาน
การระบายสีของกราฟ
Basic concepts of graph theory, planar and nonplanar graphs,
matrix representation of graph, isomorphism of graphs, tree, directed
graph, networks, the coloring of graphs.
252352 คอมบินาทอริกส์ 3(2-2-5)
Combinatorics
วิธีการนับสาหรับการจัดเรียง การเลือก และการแจงแจง หลักการรัง
นกพิราบและทฤษฏีบทของแรมเซย์ สัมประสิทธิ์ทวินามและอเนกนาม ฟังก์ชัน
ก่อกาเนิด ความสัมพันธ์เวียนเกิด ทฤษฎีบทโพยา
Counting methods for arrangements, selections and
distributions, the pigeonhole principle and the theorem of Ramsey,
binomial and multinomial coefficients, generating functions, recurrence
relations, Poya Theorem.
252400 โครงงานคณิตศาสตร์ 3(2-2-5)
Mathematics Project
ศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการ และขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้
คณิตศาสตร์แบบโครงงาน และการแก้ปัญหา
Study meaning, concepts, principles of project approach and
problem solving learning management in Mathematics.
200

ภาคผนวก ซ
ตารางเปรียบเทียบระหว่างหลักสูตรกับมาตรฐานวิชาชีพครู
201

ตารางเปรียบเทียบระหว่างหลักสูตรกับกับมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 สมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา
1. ค่านิยมและคุณลักษณะความเป็น 1) ปฏิบัติตนอยู่ใน ศีลธรรมอันดี เป็นผูม้ ีวินัย ซื่อสัตย์ อดทน มี 366203 ความเป็นครู 3(2-2-5)
ครู (Values and Attribute) ความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม Being Professional Teachers
คาอธิบาย 2) ใช้ความรู้ ความสามารถ และบทบาทหน้าที่ของตน คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมตาม
1.ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี สร้างสรรค์วิชาชีพ และ สังคม หลักปรัชญาการศึกษาและปรัชญาของ
มีคุณธรรมจริยธรรมและเป็นพลเมืองที่ 3) มีความศรัทธา ยึดมั่นในเกียรติ ศักดิ์ศรีความเป็นครู เศรษฐกิจพอเพียง จรรยาบรรณวิชาชีพครู การ
เข้มแข็ง 4) เชื่อมั่นและยึดถือปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพทั้งในและ สร้างจิตวิญญาณความเป็นครูและความเป็น
2. ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ นอก เวลาปฏิบัติงาน พลเมืองที่เข้มแข็งในโลกยุคศตวรรษที่ 21 การ
วิชาชีพด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู 5) รัก เมตตาและ ปรารถนาดีต่อผู้เรียน ยอมรับเข้าใจและออกแบบการสร้างการเรียนรู้
3.ส่งเสริมการเรียนรู้เอาใจใส่ 6) ยอมรับและเห็นคุณค่าความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละบุคคล ที่เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
และยอมรับความแตกต่างของผู้เรียน 7) ดูแลเอาใจใส่ ทุ่มเท เสียสละ ความสุขส่วนตัวโดยยึด การสร้างแรงบันดาลใจ และสร้าง
เป็นรายบุคคล ประโยชน์ของผู้เรียนเป็นที่ตั้ง สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนแสวงหา
4.สร้างแรงบันดาลใจและพัฒนา 8) สามารถกระตุ้น และสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม ให้ ความรู้ คิดแก้ปัญหาเพื่อสร้างสิ่งใหม่ ๆ การ
ผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ ทันสมัยต่อการ ผู้เรียนคิด แสวงหาความรู้ แก้ปัญหาเพือ่ สร้างสิ่งใหม่ ๆ เปิด เรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาตนเอง อย่าง
เปลี่ยนแปลง กว้างเรียนรู้สิ่งใหม่ โดยนามาคิด ทดลองและทบทวนและ ต่อเนื่องและทันต่อการเปลี่ยนแปลง
5. พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง Ethics, morality and values
ทันสมัยและทันต่อการเปลี่ยนแปลง according to educational philosophy
and sufficient economy philosophy,
teacher professional ethics,
enhancement of spirituality as a teacher
and citizenship’s strength in 21st
century, acceptance and
understandings about learning design
according to individual differences,
inspiration and creation on learning
environment allowing learners to seek
knowledge, solving problems in order
to innovate, lifelong learning and
continuous self-development to keep
up with the changes.
2.ความรู้และศาสตร์การสอน 1. วิเคราะห์บริบทและการเปลี่ยนแปลง กาหนดเป็นปัจจัยที่มี 366202 จิตวิทยาสาหรับครู 3(2-2-5)
คาอธิบาย ผลต่อตัวผู้เรียนเพื่อทาความเข้าใจผู้เรียน Psychology for Teacher
1. รู้เท่าทันสังคมและติดตาม 2. ใช้องค์ความรู้ วิธกี ารและเครื่องมือทางจิตวิทยาพัฒนาการ แนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยาพัฒนาการ
การเปลี่ยนแปลงบริบทโลก จิตวิทยาการเรียนรู้และจิตวิทยาการให้คาปรึกษา มากาหนด จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาการให้
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับผู้เรียน แนวทางแก้ไขปัญหา/พัฒนาผู้เรียน คาปรึกษา การใช้องค์ความรู้ วิธกี าร และ
จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา 3. มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับหลักสูตร ศาสตร์การสอน การ เครื่องมือทางจิตวิทยา เพือ่ ทาความเข้าใจ
และจิตวิทยาการให้คาปรึกษา วิจัยและประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน การวัดและประเมินผลการ ผู้เรียน และกาหนดแนวทางแก้ไขปัญหา/พัฒนา
3. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ เรียนรู้ และการประกันคุณภาพการศึกษา ผู้เรียน
หลักสูตร ศาสตร์การสอน การวัด 4. วิเคราะห์หลักสูตรและออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่มี Concepts about
ประเมินผลการเรียนรู้ การวิจัยเพือ่ ความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันระหว่างจุดมุ่งหมาย กิจกรรม developmental psychology, educational
พัฒนาผู้เรียน และการวัดประเมินผลการเรียนรู้ psychology, guidance and counseling
4. รอบรู้ในเนื้อหาที่สอนและ 5. จัดการชั้นเรียนและวินัยเชิงบวกเพื่อสร้างบรรยากาศการ psychology, utilization of knowledge,
การจัดการเรียนรู้ เรียนรู้และแก้ไขปัญหา/พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน methods and psychology-based tools
5. รู้และเข้าใจการใช้ภาษาไทย 6. วิเคราะห์และประเมินผลเพื่อพัฒนาผูเ้ รียนที่สอดคล้องกับ to understand learners and to
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ และวิจยั ปฏิบัตกิ ารเพื่อพัฒนาผู้เรียน determine ways to solve the problems/
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา 7. วิเคราะห์ จัดทารายงานและใช้ผลการประกันคุณภาพเพื่อ develop learners
6. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการ พัฒนาการจัดการศึกษา 366304 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5)
ประกันคุณภาพ 8. รอบรู้ในเนื้อหาที่สอนและการจัดการเรียนรู้ Curriculum Development
9. มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับหลักการ แนวคิด การประยุกต์ หลักการและแนวคิดในการจัดทา
และการประเมินสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล หลักสูตร การวิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาและ
202

มาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 สมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา


10. สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล วิเคราะห์และออกแบบการ หลักสูตรและจัดทาหลักสูตร การนาหลักสูตรไป
สื่อสาร และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ใช้การพัฒนาหลักสูตร ปฏิบัตกิ ารประเมิน
11. มีคุณลักษณะของนักนวัตกร หลักสูตรและนาผลการประเมินไปใช้ในการ
พัฒนาหลักสูตร
Principles and concepts in a
constructing curriculum, analyzing
educational philosophy and curriculum,
constructing curriculum, curriculum
implementation, curriculum
development, practicum curriculum
evaluation and using the evaluated
results to develop curriculum.
366305 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
และการประกันคุณภาพ 3(2-2-5)
Learning Measurement and
Assessment and Quality Assurance
หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติใน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และการ
ประกันคุณภาพการศึกษา การวิเคราะห์และ
การออกแบบการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนที่
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการเรียนรู้และการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ปฏิบัติการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การนาผล
ประเมินไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และการ
จัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษา
การใช้ผลการประกันคุณภาพเพื่อพัฒนาการจัด
การศึกษา
Principles, concepts, and
practices about learning measurement
and assessment and education quality
assurance, analysis and design about
assessment to develop learners,
according to learning goals and
education quality assurance, practices
about learners’ learning measurement
and assessment, using the assessment
results to develop learners and writing
the education quality assurance report,
using the education quality assurance
results to develop educational
management.
366306 การจัดการเรียนรู้และการจัด
การชั้นเรียน 3(2-2-5)
Learning Management and
Classroom Management
แนวคิดและบทบาทหน้าที่ครูเกี่ยวกับ
การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนที่เน้น
การพั ฒ นาทั ก ษะศตวรรษที่ 21 ความรู้ ใ น
เนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยี การจัดการ
เรียนรู้แบบบูรณาการข้ามศาสตร์ การวิเคราะห์
203

มาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 สมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา


หลักสูตร การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
จัดการชั้นเรียน วินัยในชั้นเรียนและการสร้า ง
บรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและ
ทดลองจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์จริง
Concepts and roles of the
teachers about learning and classroom
management emphasizing on the
development of 21st century skills,
technological pedagogical content
knowledge (TPCK), cross-disciplinary
integrated learning management,
curriculum analysis, lesson plan design,
classroom and students’ discipline
management, and creation of
classroom atmosphere supported
learners’ learning, experimentation of
teaching and learning in authentic
classroom situation.
366307 ภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อการพัฒนานวัตกรรม 3(2-2-5)
Language and Digital
Technology for Innovation
Development
การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารในวิชาชีพครู หลักการ แนวคิด
การประยุกต์และการประเมินสื่อ นวัตกรรม
และเทคโนโลยีดิจิทัล การออกแบบ การใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา การพัฒนาสื่อ
และนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
Thai and English language
usage for teacher professional,
principles, concepts, applications and
evaluation of media, innovation and
digital technology, design, usage of
digital technology for education,
development of learning media and
learning management innovation
366409 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
3(2-2-5)
Research for Learning
Development
หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติในการ
วิจัย การใช้งานวิจัยเพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ และ
ปฏิบัติการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และพัฒนา
ผู้เรียน
Principles, concepts, practices
about research, using research to
develop learning, and practicing
conducting research to develop learning
and learners
204

มาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 สมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา


3. การปฏิบตั ิงานในหน้าที่ครู 3.1 สมรรถนะในการแสวงหาความรูแ้ ละการจัดการความรู้ 366191 การปฏิบตั ิการสอนวิชาเอกใน
(Practice) 1) มีความรู้ด้านแนวคิด ทฤษฎี หลักการจัดการความรู้ สถานศึกษา 1 1 หน่วยกิต
คาอธิบาย เทคโนโลยีสารสนเทศ (ไม่น้อยกว่า 3สัปดาห์)
1. พัฒนาหลักสูตรการจัดการ 2) มีทักษะด้านการบ่งชี้ความรู้รวบรวมความรู้ที่มีอยู่ในตัว Practicum in Teaching
เรียนรู้ สื่อ การวัดประเมินผลการเรียนรู้ บุคคลหรือเอกสาร Specific Subject Matter 1
2. วางแผนและจัดการเรียนรู้ที่ 3) มีทักษะการสังเกต การแสวงหาความรู้ การรบรวบ การปฏิบัตกิ ารสอนวิชาเอก ศึกษา
สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด วิเคราะห์ และนาเสนออย่างเป็นระบบ แนวคิดทฤษฎี องค์ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู
และมีความเป็นนวัตกร 4) มีทักษะการใช้ภาษาและการสื่อสารระหว่างบุคคลมี และงานครู สังเกตและมีส่วนร่วมในกิจกรรม
3. ช่วยเหลือดูแลและพัฒนา ปฏิสัมพันธ์ที่ดี ทางานเป็นทีม และการร่วมมือร่วมใจ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถรายงาน 5)มีค่านิยมที่ดีต่อวิชาชีพครู ศึกษาสารสนเทศเกี่ยวกับการบริหาร บุคลากร
ผลการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ 6)มีวินัยและความรับผิดชอบในการทางานและแบ่งปัน และอาคารสถานที่ในโรงเรียน มีส่วนร่วมใน
4. จัดกิจกรรมสร้างบรรยากาศ ความรู้เพื่อประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม กิจกรรมของสถาน ศึกษา วิเคราะห์สภาพการณ์
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการ 3.2 สมรรถนะในการเป็นผู้ช่วยครูและการแก้ปญ ั หาและ จริงจากการศึกษา สังเกตเชื่อมโยงกับแนวคิด
เรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของ พัฒนาผู้เรียน ทฤษฎี เขียนสรุปและรายงานผลการปฏิบัติงาน
ผู้เรียน 1) เป็นผู้ช่วยครู ช่วยงานประจาชั้น งานจัดการเรียนรู้ งาน Practicum in teaching specific
5. วิจัยสร้างนวัตกรรมและ จัดการชั้นเรียน งานดูและช่วยเหลือนักเรียน งานวัดประเมินผล subject matter, studying about
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิด การเรียนรู้ concepts, theories, knowledge about
ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน profession of teacher and teacher’s
6. ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่าง 2) ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ duty, observing and participating in
สร้างสรรค์และมีส่วนร่วมในกิจกรรม เอาใจใส่และยอมรับความแตกต่างของผูเ้ รียน learning management and classroom
พัฒนาวิชาชีพ management, studying information
3) สร้างแรงจูงใจและเสริมแรงผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ about administration, personnel and
4) เมตตา กรุณาและเอือ้ อาทร ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน school buildings, participating in school
activities, analyzing authenticity through
3.3 สมรรถนะการปฏิบัติการสอน การใช้ภาษาและ observation, linking to theories, writing
ปฏิบตั ิงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และแลกเปลี่ยน and reporting about practical work
เรียนรู้ 366292 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกใน
สถานศึกษา 2 2 หน่วยกิต
1) สร้างหลักสูตรรายวิชาในชั้นเรียน (ไม่น้อยกว่า 5สัปดาห์)
2) วางแผนและออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ Practicum in Teaching
3) ผลิตสื่อ/นวัตกรรม และจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม Specific Subject Matter 2
การเรียนรู้ การปฏิบัตกิ ารสอนวิชาเอก ทาหน้าที่
4) จัดการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศ จัดกิจกรรม และการ ผู้ช่วยครู ช่วยงานประจาชั้น งานจัดการเรียนรู้
บริหารจัดการชั้นเรียนอย่างน้อย 2 ระดับ (ประถมศึกษา/ งานจัดการชั้นเรียน งานดูและช่วยเหลือ
มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา/การศึกษาพิเศษ) นักเรียน งานวัดประเมินผลการเรียนรู้
5) วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่าง
6) บันทึกและเขียนรายงานการปฏิบัติงานโดยเชื่อมโยง สร้างสรรค์
กับทฤษฎี Practicum in teaching specific
7) ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเขียนรายงานการ subject matter, practicing as a teacher
ถอดบทเรียน assistant, classroom routines, learning
8) ปรับปรุงและพัฒนาตนเองให้ทันสมัยและทันต่อการ management, student caring, learning
เปลี่ยนแปลง measurement and assessment,
3.4 สมรรถนะการปฏิบัติงานในหน้าทีค่ รู การวิจัย การสร้าง creatively working with others in school
นวัตกรรม 366393 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกใน
1) การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้วางแผน สถานศึกษา 3 3 หน่วยกิต
และการจัดการเรียนรู้ (ไม่น้อยกว่า 8สัปดาห์)
2) การบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี Practicum in Teaching
ปัญญารู้คิด และมีความเป็นนวัตกร Specific Subject Matter 3
3) การใช้สื่อและเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ การปฏิบัตกิ ารสอนวิชาเอก สร้าง
และสร้างนวัตกรรม หลักสูตรรายวิชา วางแผนและออกแบบ
205

มาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 สมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา


4) การออกแบบและพัฒนาการวัดประเมินผลเพื่อเพิ่ม กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ผลิตสื่อ/นวัตกรรม
พลังการเรียนรู้แก่ผู้เรียน และจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้
5) การพัฒนาผู้เรียน และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ จัดการเรียนรู้ และการบริหารจัดการชั้นเรียนที่
การวิจยั เพื่อพัฒนาผู้เรียน เสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 วัดและ
6) ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และ ประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน จัดกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างความสัมพันธภาพที่ดีและร่วมมือ พัฒนาผู้เรียน พัฒนาตนเอง ทบทวนการ
กับผู้ปกครองและชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
ปฏิบัติงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และปรับปรุง
7) ทางานเป็นทีม
Practicum in teaching
specific subject matter, creating
curriculum course, planning and
designing about learning activities,
producing media/innovation and
providing learning environment to
support students’ learning, learning
management, and classroom
management which enhance 21st
century learning skills, measurement
and assessment to develop learners,
arranging learner development
activities, self-development, reviewing
about practices, sharing and improving
366494 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกใน
สถานศึกษา 4 6 หน่วยกิต
(ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์)
Practicum in Teaching
Specific Subject Matter 4
การปฏิบัตกิ ารสอนวิชาเอก ปฏิบัติ
ภารกิจอย่างครบถ้วนเกี่ยวกับงานที่สถานศึกษา
มอบหมาย และงานในหน้าที่ครู วิจัยสร้าง
นวัตกรรมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ร่วมมืออย่าง
สร้างสรรค์กับผู้เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา/
พัฒนาผู้เรียน ปรับปรุงและพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนา
วิชาชีพ
Practicum in teaching specific
subject matter, practicing all dimensions
as a teacher based on job description
and assignment, conducting research to
innovate and apply digital technologies
to develop learning management,
collaborating creatively with persons in
charge in solving and developing
learners, continuously improving and
developing one’s self and participating
in professional development activities
206

มาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 สมรรถนะที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2562 รายชื่อวิชา/คาอธิบายรายวิชา


4. ความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและ สมรรถนะหลัก 366412 ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน
ชุมชน (Parents and Community 1. เป็นผู้นาในการสร้างชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ ผู้ปกครองและชุมชน 3(2-2-5)
Engagement) (professional professional community : PLC) School, Parent and
คาอธิบาย 2. พัฒนาผู้เรียนร่วมกับชุมชน Community Engagement
1. ร่วมมือกับผู้ปกครองในการ สมรรถนะรอง การศึกษาบนฐานชุมชน แนวคิด
พัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มี 1. มีความรู้เกี่ยวกับ (PLC) และขั้นตอนการสร้าง PLC เกี่ยวกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. มีทักษะการทาบทบาทของผู้นาวงสนทนา (facilitator) ผู้ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน และ
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ จดบันทึก (note taker) และ สมาชิก (member) ชุมชน บทบาทและทักษะความเป็นผู้นาในการ
ผู้ปกครองและชุมชน เพื่อสนับสนุนการ 3. มีทักษะการสังเกต (observe) การฟัง (deep listening) สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เรียนรู้ที่มีคุณภาพผู้เรียน การเล่าเรื่อง (story telling) การสะท้อนผล (reflection) และ การศึกษาบริบทชุมชนบนพื้นฐานความแตกต่าง
3. ศึกษาเข้าถึงบริบทของชุมชน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (share and learn) ทางสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม การส่งเสริมภูมิ
และสามารถอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความ 4. รู้จักข้อมูลชุมชน ความคิดความเชื่อ ความเป็นอยู่ ปัญญาท้องถิ่นเพื่อร่วมพัฒนาผู้เรียนและชุมชน
แตกต่างทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม Community based education,
4. ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม 5. มีความรู้ ความเข้าใจความสัมพันธ์ของคนในชุมชน concepts about professional learning
และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน และการเขียน community (PLC), teacher, parents,
โครงการพัฒนาผู้เรียน student and community engagement,
7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ (learning person) roles and leadership skills to create
8. เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น PLC, the study of community context
9. เป็นนักพัฒนา based on environment and cultural
differences and diversities, the
promotion of local wisdom
conservation for developing students
and community
207

ภาคผนวก ฌ
Program Strueture ของหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
208

Program Structure: Bachelor of Education (B. Ed.) in Mathematics

มุ่งสร้างบัณฑิตครูคณิตศาสตร์ให้มีคุณธรรม จริยธรรม จิตวิญญาณความเป็นครู มีความรู้ความสามารถด้านองค์ความรู้สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มีทักษะและความเชี่ยวชาญด้าน


หมวดวิชา Program Learning Outcomes
(Competency-based Education)

การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์และมีนวัตกรรม สามารถบูรณาการข้ามศาสตร์ รวมทั้งสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์


รายวิชาศึกษาทั่วไป Expected Learning Outcomes
เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความรอบ K: ความรอบรู้ เข้าใจ มนุษย์ สังคม ศิลปวัฒนธรรม
รู้ อย่างกว้างขวาง เข้าใจ และเห็นคุณค่าของ และธรรมชาติ
ตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ S: พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ใส่ใจต่อความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง พัฒนา A:เห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม
ตนเอง อย่างต่อเนื่อง ดาเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรม และธรรมชาติ
พร้อมให้ความช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ และเป็น
พลเมืองที่มีคณุ ค่าของสังคมไทยและสังคมโลก
รายวิชาเฉพาะ
Expected Learning Outcomes
(รายวิชาชีพครู + รายวิชาเอก + การ
ปฏิบัติการวิชาชีพครู)
มีคุณธรรม จริยธรรม จิตวิญญาณความเป็นครู และปฏิบัติ K: ความรู้หลักการแนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา กระบวนการ
ตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู รวมทั้งมีความรับผิดชอบ ความก้าวหน้าในศาสตร์วิชาชีพครูและสาขาวิชาคณิตศาสตร์
ต่ อ หน้ า ที่ แ ละสั ง คม มี ค วามรอบรู้ ใ นหลั ก การแนวคิ ด การบูรณาการข้ามศาสตร์
ทฤษฎี เนื้ อ หา กระบวนการ ความก้ า วหน้ า ในศาสตร์ S: สามารถประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎี หลักการที่เกี่ยวข้องกับ
วิ ช าชี พ ครู แ ละสาขาวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ อ ย่ า งลึ ก ซึ้ ง และ การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะและความเชี่ยวชาญใน
การบู ร ณาการข้ า มศาสตร์ อ ย่ า งเป็ น ระบบ สามารถ ทักษะการจัดการเรียนรู้และการสร้างสรรค์นวัตกรรมวิชา
ประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎี หลักการดังกล่าว เพื่อพัฒนา คณิตศาสตร์
สมรรถนะและความเชี่ยวชาญในทักษะการจัดการเรียนรู้ A: มีคุณธรรม จริยธรรม จิตวิญญาณความเป็นครู และปฏิบัติ
และการสร้างสรรค์นวัตกรรมวิชาคณิตศาสตร์ ตนตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อหน้า ที่
และสังคม
รายวิชาเลือกเสรี
Expected Learning Outcomes

มีความรู้ที่ครอบคลุมและลึกซึ้งที่สง่ เสริมและ K: ความรู้ความเข้าใจที่เกีย่ วข้องกับวิชาชีพครูและสาขาวิชา


พัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรูว้ ิชา คณิตศาสตร์ ที่นามาสู่การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณิตศาสตร์
S: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาชีพครู
และสาขาวิชาคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนานักเรียน
A: ตระหนั ก และมี เอกลัก ษณ์ ของการเป็น ครู มี จิ ต บริการต่อ
วิชาชีพครูและชุมชน
209

Curriculum Map: Bachelor of Education (B. Ed.) in Mathematics


Year 1 Year 2 Year 3 Year 4
st nd st nd st nd st
1 2 1 2 1 2 1 2nd
Semester Semester Semester Semester Semester Semester Semester Semester
รายวิชาศึกษา รายวิชาศึกษา รายวิชาศึกษา รายวิชาศึกษา รายวิชาศึกษา รายวิชาเอกกลุ่ม รายวิชาเอกกลุ่ม ปฏิบัติการ
ทั่วไป/ราย ทั่วไป/ราย ทั่วไป/ราย ทั่วไป/ราย ทั่วไป/ราย วิชาบังคับและ รายวิชาการสอน วิชาชีพครู
วิชาเอกกลุ่มวิชา วิชาเอก กลุ่ม วิชาเอกกลุ่มวิชา วิชาเอกกลุ่มวิชา วิชาเอกกลุ่มวิชา การสอน วิชาเอก/รายวิชา
พื้นฐาน วิชาพื้นฐาน บังคับ/ราย บังคับ/ราย บังคับและกลุ่ม วิชาเอก/ราย เลือกเสรี
วิทยาศาสตร์และ วิทยาศาสตร์และ วิชาชีพครูบังคับ วิชาชีพครูบังคับ วิชาเลือก/ราย วิชาชีพครูบังคับ
คณิตศาสตร์/ราย คณิตศาสตร์/ราย /ปฏิบัติการ วิชาชีพครูบังคับ/ /ปฏิบัติการ
วิชาชีพครูบังคับ วิชาชีพครูบังคับ/ วิชาชีพครู รายวิชาเลือกเสรี วิชาชีพครู
ปฏิบัติการ
วิชาชีพครู
K: ความรอบรู้ เข้าใจ K: ความรอบรู้ เข้าใจ K: ความรอบรู้ เข้าใจ K: ความรอบรู้ เข้าใจ K: ความรอบรู้ เข้าใจ K: ความรูห้ ลักการ K: ความรู้ที่ครอบคลุม K: ความรูห้ ลักการ
มนุษย์ สังคม มนุษย์ สังคม มนุษย์ สังคม ธรรมชาติ สังคม ความรูห้ ลักการ วิชาชีพครู และลึกซึ้งที่ส่งเสริม แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา
ศิลปวัฒนธรรมและ ศิลปวัฒนธรรมและ ความรู้หลักการวิชาชีพ ความรูห้ ลักการวิชาชีพ วิชาชีพครู ภาษา ความสัมพันธ์โรงเรียน และพัฒนาสมรรถนะ กระบวนการ
ธรรมชาติ ความรู้ ธรรมชาติ ความรู้ ครู การพัฒนา ครู การสอน การวัด เทคโนโลยีดิจิทัล กับชุมชนและองค์ การจัดการเรียนรู้วิชา ความก้าวหน้าใน
หลักการวิชาชีพครู หลักการวิชาชีพครู หลักสูตรและองค์ และประเมินผล และ นวัตกรรม การวิจัย ความรู้คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศาสตร์วิชาชีพครูและ
และองค์ความรู้ และองค์ความรู้ ความรู้คณิตศาสตร์ องค์ความรู้ และองค์ความรู้ S: พัฒนาตนเองตาม S: พัฒนาตนเองตาม สาขาวิชาคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ จิตวิทยา S: พัฒนาตนเองตาม คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิถีของวิชาชีพครู การ วิถีของวิชาชีพครู การ การบูรณาการข้าม
S: พัฒนาตนเองอย่าง สาหรับครู วิถีของวิชาชีพครู S: พัฒนาตนเองตาม S: พัฒนาตนเองตาม จัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ ศาสตร์
ต่อเนื่อง S: พัฒนาตนเองตาม พัฒนาหลักสูตร วิถีของวิชาชีพครู การ วิถีของวิชาชีพครู การ คณิตศาสตร์ การสอน คณิตศาสตร์ S: สามารถประยุกต์ใช้
A: เห็นคุณค่าของ วิถีของวิชาชีพครู การ A: เห็นคุณค่าของ สอน การวัดและ ใช้ภาษา พัฒนา ในสถานศึกษา A: เห็นคุณค่าของ แนวคิด ทฤษฎี ที่
ตนเอง ผู้อื่น สังคม สอนในสถานศึกษา ตนเอง ผู้อื่น สังคม ประเมินผล การสอน เทคโนโลยีดิจิทัล A: เห็นคุณค่าของ ตนเอง ผู้อื่น ความเป็น เกี่ยวข้องกับการ
ศิลปวัฒนธรรมและ A: เห็นคุณค่าของ ศิลปวัฒนธรรมและ ในสถานศึกษา นวัตกรรม วิจัย ตนเอง ผู้อื่น ความเป็น ครู จัดการเรียนรู้เพื่อ
ธรรมชาติ มีคุณธรรม ตนเอง ผู้อื่น สังคม ธรรมชาติ A: เห็นคุณค่าของ พัฒนาการเรียนรู้ ครู พัฒนาสมรรถนะและ
จริยธรรม ความเป็นครู ศิลปวัฒนธรรมและ ตนเอง ผู้อื่น สังคม A: เห็นคุณค่าของ ความเชี่ยวชาญใน
ธรรมชาติ ความเป็นครู ตนเอง ผู้อื่น สังคม ทักษะการจัดการ
ศิลปวัฒนธรรมและ เรียนรู้และการ
ธรรมชาติ สร้างสรรค์นวัตกรรม
วิชาคณิตศาสตร์
A: มี คุ ณ ธ ร ร ม
จริยธรรม จิตวิญญาณ
ความเป็นครู
จรรยาบรรณวิ ช าชี พ
ครู
Expected Learning Outcomes: ความรอบรู้ Expected Learning Outcomes: มีองค์ความรู้ Expected Learning Outcomes : มีองค์ Expected Learning Outcomes:
เข้าใจ มนุษย์ สังคม ความรู้หลักการวิชาชีพครูและ คณิตศาสตร์ สามารถพัฒนาหลักสูตร จัดการเรียนการ ความรู้คณิตศาสตร์ สามารถใช้ภาษา เทคโนโลยีดิจิทัล มีความรู้หลักการในศาสตร์วิชาชีพครูและสาขาวิชา
องค์ความรู้คณิตศาสตร์ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สอน การวัดและประเมินผลคณิตศาสตร์ และมีความ สร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ การบูรณาการข้ามศาสตร์ สามารถ
เห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคมศิลปวัฒนธรรมและ เป็นครู สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครองและ ประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎี หลักการที่เกี่ยวข้องกับการ
ธรรมชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นครู จิตวิทยา ชุมชน จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะและความเชีย่ วชาญ
ในทักษะการจัดการเรียนรู้และการสร้างสรรค์
นวัตกรรมวิชาคณิตศาสตร์ และมีคุณธรรม จริยธรรม
จิตวิญญาณความเป็นครู และปฏิบัติตนตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อ
หน้าที่และสังคม
Program Learning Outcomes: 1) มีคุณธรรม จริ ยธรรม จิตวิญญาณความเป็ นครู และปฏิบตั ิตนตาม จรรยาบรรณวิชาชีพครู รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม 2) มีความรอบรู้
ในหลักการแนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา กระบวนการ และความก้าวหน้าใน ศาสตร์ วิชาชีพครู และสาขาวิชาคณิตศาสตร์ อย่างลึกซึ้ งและเป็ นระบบ 3) เป็ นผูม้ ีความสามารถสูงในการบูรณาการข้ามศาสตร์ และมีความ
ตระหนักถึงคุณค่า ของการใช้วิถีทางปัญญาในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการแก้ปัญหา 4) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองและผูอ้ ื่น ในการทางานและการอยู่
ร่ วมกันอย่างเป็ นกัลยาณมิตร ในการเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองในวิชาชีพ ครูคณิตศาสตร์ 5) สามารถใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศ และคณิ ตศาสตร์ และสถิติ พื้นฐาน ในการสื่ อสาร การเรี ยนรู้ การเก็บ
รวบรวมและนาเสนอข้อมูล และการแก้ปัญหาในการดารงชีวิตและ การวิจยั เพื่อพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพ 6) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี
หลักการ และเชี่ยวชาญในทักษะการ จัดการเรี ยนรู้และการสร้างสรรค์นวัตกรรมวิชาคณิ ตศาสตร์ ตามลักษณะและธรรมชาติของวิชาคณิ ตศาสตร์ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Philosophy: มุ่งสร้างบัณฑิตครูคณิตศาสตร์ให้มีคุณธรรม จริยธรรม จิตวิญญาณความเป็นครู มีความรู้ความสามารถด้านองค์ความรู้สาขาวิชาคณิตศาสตร์
มีทักษะและความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์และมีนวัตกรรม สามารถบูรณาการข้ามศาสตร์ รวมทั้งสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์

You might also like