You are on page 1of 93

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตร ตามแบบฟอร์ม มคอ.

สาหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
ปีการศึกษา 2563 (สาหรับหลักสูตรตามเกณฑ์ฯ 58)

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563

คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

วันที่รายงาน 25 มิถุนายน 2564

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


1

คานา

การประกันคุณภาพภายใน เป็นการสร้างระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและประเมินการ


ดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด โดย
คณะกรรมการการบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ได้กาหนดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพภายในและให้ถือ ว่าการประกั น คุณภาพภายในเป็น ส่วนหนึ่ง ของกระบวนการบริ ห ารการศึ ก ษาที่ ต้อ ง
ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มีระบบ
และกลไกในการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) ตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) และประเมินคุณภาพ
(Quality Assessment) การดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพตามดัชนีบ่งชี้ที่
กาหนด เพื่อให้มั่นใจได้ว่า คุณภาพการศึกษาได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง และได้ผลผลิตของการศึกษาที่มีคุณภาพ
หลักสูตรได้ดาเนินการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดย
ให้พิจารณาองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ การกากับมาตรฐาน บัณฑิต นิสิต อาจารย์ หลักสูตรการเรียนการสอน การ
ประเมินผู้เรียน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพและได้มีการจัดทารายงานประจาปี
ที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
รายงานประเมินคุณภาพภายในหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์
ฉบับ นี้จัดทาขึ้นเพื่ อเป็นการรายงานผลการดาเนินงานคุณภาพหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา
ปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบในการประกันคุณภาพหลักสูตร5 ประกอบ คือ 1.การกากับ
มาตรฐาน 3.นิสิต 4.อาจารย์ประจาหลักสูตร 5.หลักสูตรการเรียนการสอนการประเมินผู้เรียน 6.สิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้ และมี ตัวบ่ง ชี้ทั้ง หมด 11 ตัวบ่ง ชี้ คณะผู้จัดทาหวัง เป็นอย่างยิ่งว่ ารายงานฉบับนี้จะเป็นฐานข้อมูล ในการ
พัฒนาการผลิตบัณฑิตเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะพึงประสงค์และเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพต่อไป

.
ประธานหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยคณะศึกษาศาสตร์
วันที่25 มิถุนายน 2564

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


2

สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
บทสรุปผู้บริหาร ค
องค์ประกอบที่ 1 : การกากับมาตรฐาน 1
หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป
องค์ประกอบที่ 2:บัณฑิต 27
หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต
องค์ประกอบที่ 3: นักศึกษา 28
หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต
องค์ประกอบที่ 4:อาจารย์ 46
หมวดที่ 2 อาจารย์
องค์ประกอบที่ 5:หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 63
หมวดที่ 4 ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรฯ
องค์ประกอบที่ 6:สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 98
หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร)
ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผูป้ ระเมิน 104
แผนการดาเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร 105
สรุปผลการประเมิน และทิศทางการพัฒนา 116
เป้าหมายการดาเนินงาน 120

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


3

บทสรุปผู้บริหาร

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย เป็นหลักสูตรใหม่ พ.ศ.2563 มุ่งผลิตบัณฑิตทาง


วิชาชีพการศึกษาที่มีความรู้ความสามารถในการบริหารการศึกษาที่มีมาตรฐาน มีคุณธรรมจริยธรรม มีภาวะผู้นา ใฝ่
สันติและสามารถดารงตนในบริบทพหุสังคมของประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกได้อย่างสันติสุข
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2563
มีนักศึกษาจานวน 89 คน และมีบุคลากรสายวิชาการ จานวน 5 คน
สรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ

องค์ประกอบ จานวนตัวบ่งชี้ คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ


องค์ประกอบที่ 1 ผ่าน หลักสูตรเป็นไปตามมาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 3 3 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
องค์ประกอบที่ 4 3 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
องค์ประกอบที่ 5 4 3.50 ระดับคุณภาพดี
องค์ประกอบที่ 6 1 4.00 ระดับคุณภาพดี
เฉลี่ยทุกตัวบ่งชี้ 11 3.27 ระดับคุณภาพดี

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
วันที่รายงาน 25 มิถุนายน 2564

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


4

องค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน
(มคอ.7 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป)
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 25631371100022
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (4 ปี)
ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Education Program in Early ChildhoodEducation.
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การศึกษาปฐมวัย)
ชื่อย่อ (ไทย) : ศษ.บ. (การศึกษาปฐมวัย)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Education (Early Childhood Education)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.Ed.(Early Childhood Education)
3. รูปแบบของหลักสูตร
3.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
3.2 ภาษาที่ใช้  ภาษาไทย
 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาอาหรับ)
ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาหลักในการเรียนการสอน และภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ได้แก่
ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาอาหรับ
4. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
 หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2563
 คณะกรรมการประจาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มีมติให้ความเห็นชอบหลักสูตรนี้ ในการประชุม ครั้งที่ 4 /
2562 เมื่อวัน อังคาร ที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ.2562
 ประชุมคณบดี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มีมติให้ความเห็นชอบหลักสูตรนี้ ในการประชุมครั้งที่ 14 (2/2561) เมื่อวันที่ 14
เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
 สภาวิชาการมหาวิทยาลัยฟาฏอนี มีมติให้ความเห็นชอบหลักสูตรนี้ ในการประชุม ครั้งที่20 (1/2562) วันอาทิตย์ที่ 27
เดือนตุลาคม พ.ศ.2562
 สภามหาวิทยาลัยฟาฏอนี อนุมัติหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 72 (2/2562) เมื่อวันที่ 27 เดือน ตุลาคมพ.ศ. 2562 เปิด
สอนในภาคการศึกษาที่ 1ปีการศึกษา 2563
 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) รับทราบหลักสูตรเมื่อวันที่13 พฤษภาคม 2563

5. การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร (นับตั้งแต่เปิดสอนถึงปัจจุบนั ) จานวน 1 ครั้ง


ลาดับที่ของการพัฒนา/
ปี พ.ศ. ที่ทาการพัฒนา/ปรับปรุง หมายเหตุ/เหตุผลในการพัฒนา/ปรับปรุง
ปรับปรุงหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร ปี พ.ศ 2562 เพื่อรับนักศึกษา ปี 2563

6. จานวนบุคลากรประจาหลักสูตรประจาปีการศึกษา 2562จาแนกตามประเภทบุคลากรวุฒิการศึกษาและตาแหน่งทางวิชาการ
วุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ
ประเภทบุคลากร จานวน
ป.ตรี ป.โท ป.เอก อาจารย์ ผศ. รศ. ศ.
สายวิชาการ 5 - 5 - 5 - - -

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


5

7. การดาเนินงานตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2563

ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การดาเนินงาน/ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
- -

8. อาจารย์ประจาหลักสูตร

มคอ 2 ปัจจุบัน หมายเหตุ


(ระบุครั้งที่/วันที่ผ่านสภามหาวิทยาลัย)
นางสาวฮูดา ฆอแด๊ะ นางสาวฮูดา ฆอแด๊ะ - สภามหาวิ ท ยาลั ย อนุ มัติ ห ลั กสู ต ร วั นที่ 27
นายวันบายูรี คาเว็ง นายวันบายูรี คาเว็ง เดือนตุลาคม พ.ศ.2562
นายนูรุลฮัคมูซอ นายนูรุลฮัคมูซอ - สกอ./สภาวิชาชีพ รับทราบหลักสูตร วันที่
13/05/2020
นางฟาตีฮะห์ จะปะกียา นางฟาตีฮะห์ จะปะกียา
นายอับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด นายอับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


6
ตารางที่ 1.1 แสดงรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี (ปีปฏิทิน 2559-2563)
ลาดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒแิ ละ สถาบันที่สาเร็จการศึกษา สถานภาพ ผลงานทางวิชาการ/ผลงานวิจัย ย้อนหลัง 5 ปี
1 ฮูดา ฆอแด๊ะ -M.Ed.Early Childhood Education คาสั่งแต่งตั้ง 1.งานวิจัย
Sultan Idris Education อาจารย์ประจา - Huda Khodaeh, Siti Fatimah and Marhamah.(2017). The
University,Malaysia,2019 Impact Against Education, Social and Emotions Of The
Children Cancer Patient.SulatanIdris Education University,
- ศศ.บ. Teaching Islamic Studies Malaysia.
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 2.บทความวิชาการ/บทความวิจัย
2559 - ฮูด า ฆอแด๊ ะ , นู รุล ฮั ค มู ซอ, วั นบายู รี คาเว็ ง , รู ฮานา สาแมง, มู
ฮามัสสกรี มันยูนุ, และซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ.(2562). การพัฒนา
หลักสู ตรปฐมวัยบู รณาการอิส ลามที่สอดคล้องกับบริ บทพื้นที่สาม
จัง หวั ด ชายแดนภาคใต้ . ใน มะยู ตี ดื อรามะ(บรรณาธิ การ),การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่ายศึกษาศาสตร์อิสลามเพื่อการ
พัฒ นาระบบนิเ วศทางการศึ กษาสาหรับ อุ มมะฮฺ ใ นศตวรรษที่ 21
วั นที่ 18 พฤศจิ ก ายน 2562 (หน้ า 389-409) ปั ต ตานี :คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
- ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ,ยะหะยา นิแว, ฮูดา ฆอแด๊ะ, และนาดีหย๊ะ
นิหลง.(2562). รูป แบบการจัด การเรีย นรู้ ที่ส่ง เสริ มการบู รณาการ
คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพสาหรับนักศึกษา. การ
พัฒนาหลักสูตรปฐมวัยบูรณาการอิสลามที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน มะยูตี ดือรามะ(บรรณาธิการ),การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ: เครือข่ายศึ กษาศาสตร์อิสลามเพื่อการ
พัฒ นาระบบนิ เ วศทางการศึ กษาสาหรับ อุมมะฮฺ ในศตวรรษที่ 21
วั น ที่ 1 8 พฤศจิ ก ายน 2562 (หน้ า 159-174) ปั ต ตานี : คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
- SitiFatimah ,Marhamah and Huda Khodaeh.(2017).The
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
7
Impact Against Education,Social and Emotions of The
Children Cancer Patient. In AminahAyob(Ed.),
Proceedings Seminar issues in early childhood education
13 may 2017 (pp.165-175)Malaysia :National Child
Development Research Centre (NCDRC)Sultan Idris
Education University.
- RuhanaSameng, Huda Khodaeh, WanbayureeKaweng,
NurulhakMuso.(2019). Peranan Guru
Da’amMengembangkan Al-FitrahKanakUsiaDini. In
MayuteeDearama(Ed.), The 1st National Conference in
Islamic Education Network Towards Ecosystem
Development For Ummah In The 21stcentury (INTER-
UMMAH 2019) 18 November 2019(pp.204-213) Pattani:
Faculty of Education, Fatoni University.
2 วันบายูรี คาเว็ง -M.Ed.Early Childhood Education 1. งานวิจัย
Sultan Idris Education - Muhammad Albaree, Muhammad NurSahidAzam and
University,Malaysia,2019 WanbayureeKaweng.(2017). An Effect of Parents’ Divorce
toward Children.Sultan Idris Education University,
- ศศ.บ. Teaching Islamic Studies Malaysia.
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 2.บทความวิชาการ/บทความวิจัย
2559 - Muhammad Albaree, Muhammad NurSahidAzam and
WanbayureeKaweng.(2017). An Effect of Parents’ Divorce
toward Children. In AminahAyob (Ed.), Proceedings
Seminar issues in early childhood education 13 may
2017 (pp.16-25) Malaysia: National Child Development
Research Centre (NCDRC) Sultan Idris Education
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
8
University.
- ฮูด า ฆอแด๊ ะ , นู รุล ฮั ค มู ซอ, วั นบายู รี คาเว็ ง , รู ฮานา สาแมง, มู
ฮามัสสกรี มันยูนุ, และซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ.(2562). การพัฒนา
หลักสู ตรปฐมวัยบู รณาการอิส ลามที่สอดคล้องกับบริ บทพื้นที่สาม
จัง หวั ด ชายแดนภาคใต้ . ใน มะยู ตี ดื อรามะ(บรรณาธิ การ),การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่ายศึกษาศาสตร์อิสลามเพื่อการ
พัฒ นาระบบนิเ วศทางการศึ กษาสาหรับ อุ มมะฮฺ ใ นศตวรรษที่ 21
วั นที่ 18 พฤศจิ ก ายน 2562 (หน้ า 389-409) ปั ต ตานี :คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
- RuhanaSameng, Huda Khodaeh, WanbayureeKaweng,
NurulhakMuso.(2019). Peranan Guru
Da’amMengembangkan Al-FitrahKanakUsiaDini. In
MayuteeDearama(Ed.), The 1st National Conference in
Islamic Education Network Towards Ecosystem
Development For Ummah In The 21st century (INTER-
UMMAH 2019) 18 November 2019(pp.204-213) Pattani:
Faculty of Education, Fatoni University.
3 นูรุลฮัคมูซอ -M.Ed.Early Childhood Education 2.บทความวิชาการ/บทความวิจัย
Sultan IdrisEducation - ฮูด า ฆอแด๊ ะ , นู รุล ฮั ค มู ซอ, วั นบายู รี คาเว็ ง , รู ฮานา สาแมง, มู
University,Malaysia2019 ฮามัสสกรี มันยูนุ, และซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ.(2562). การพัฒนา
หลักสู ตรปฐมวัยบู รณาการอิส ลามที่สอดคล้องกับบริ บทพื้นที่สาม
- B.A.Theology,Imam Mohammad Ibn จัง หวั ด ชายแดนภาคใต้ . ใน มะยู ตี ดื อรามะ(บรรณาธิ การ),การ
Saud Islamic University, Saudi Arabia ประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่ายศึกษาศาสตร์อิสลามเพื่อการ
2015 พัฒ นาระบบนิเ วศทางการศึ กษาสาหรับ อุ มมะฮฺ ใ นศตวรรษที่ 21
วั นที่ 18 พฤศจิ ก ายน 2562 (หน้ า 389-409) ปั ต ตานี :คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
9
- RuhanaSameng, Huda Khodaeh, WanbayureeKaweng,
NurulhakMuso.(2019). Peranan Guru
Da’amMengembangkan Al-FitrahKanakUsiaDini. In
MayuteeDearama(Ed.), The 1st National Conference in
Islamic Education Network Towards Ecosystem
Development For Ummah In The 21st century (INTER-
UMMAH 2019) 18 November 2019(pp.204-213) Pattani:
Faculty of Education, Fatoni University.
4 ฟาตีฮะห์ จะปะกียา - M. Ed.The Teaching of Islamic 2.บทความวิชาการ/บทความวิจัย
Education,International Islamic - ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ, ฟาตีฮะห์ จะปะกียา, และอับ ดุลกอนีเต๊ะ
University Malaysia, Malaysia2008 มะหมัด.(2562). การศึกษาบูรณาการอิสลามแบบบูรณาการกับการ
ประยุกต์ใช้สาหรับคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. ใน มะยู
- B.IRKHS.Comparative ตี ดือรามะ(บรรณาธิการ),การประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่าย
ReligionsInternational Islamic University ศึ ก ษาศาสตร์ อิ ส ลามเพื่ อ การพั ฒ นาระบบนิ เ วศทางการศึ ก ษา
Malaysia, Malaysia2006 สาหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่ 21 วันที่18 พฤศจิกายน 2562 (หน้า
1093-1108) ปัตตานี:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
- อับดุลฟัตตะห์ จะปะกียา, ฟาตีฮะห์ จะปะกียา, และกูซูซานา ยาวอ
อาซั น (2562).การเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมอิ ส ลามด้ ว ย
แบบอย่ า งที่ ดี . ใน มะยู ตี ดื อรามะ(บรรณาธิ ก าร),การประชุ ม
วิชาการระดับ ชาติ: เครือข่ายศึกษาศาสตร์อิสลามเพื่อการพัฒนา
ระบบนิเวศทางการศึกษาสาหรับอุมมะฮฺ ในศตวรรษที่ 21 วันที่ 18
พฤศจิกายน 2562 (หน้า 502-519) ปัตตานี:คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
5 อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด -ศษ.ม.-จิตวิทยาการศึกษา 1. บทความวิชาการ/บทความวิจัย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2545 - มะสุกรี เจ๊ะมะ,อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด, สุกรี สะเต๊าะ,และการ์มี กอ
วะ.(2561).การเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าภาษา
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
10
-ศศ.บ. อิสลามศึกษา อาหรับ ระหว่ างการสอนแบบบรรยายกับ การใช้เ กมประกอบการ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์2537 สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านจะโละหะลอ อาเภอรามัน
จั ง หวั ด ยะลา. ใน สุ ธาสิ นี บุ ญ ญาพิ ทั กษ์ (บรรณาธิ การ),การจั ด
ประชุ ม วิ ช าการน าเสนอผลงานวิ จั ย “นวั ต กรรมวิ ช าชี พ ครู ”
เครือข่ายสถาบันผลิตครูภาคใต้ตอนล่างครั้งที่ 1 วันที่ 21 มกราคม
2561 (หน้า 147-153) สงขลา :มหาวิทยาลัยทักษิณ.
- ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ, ฟาตีฮะห์ จะปะกียา, และอับดุลกอนีเต๊ะ
มะหมัด.(2562). การศึกษาบูรณาการอิสลามแบบบูรณาการกับการ
ประยุกต์ใช้สาหรับคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. ใน มะยู
ตี ดือรามะ(บรรณาธิการ),การประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่าย
ศึ ก ษาศาสตร์ อิ ส ลามเพื่ อ การพั ฒ นาระบบนิ เ วศทางการศึ ก ษา
สาหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่ 21 วันที่18 พฤศจิกายน 2562 (หน้า
1093-1108) ปัตตานี:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


11
ตารางที่ 1.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร คุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี (ปีปฏิทิน 2559-2563)
ลาดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒแิ ละ สถาบันที่สาเร็จการศึกษา สถานภาพ ผลงานทางวิชาการ/ผลงานวิจัย ย้อนหลัง 5 ปี
1 ฮูดา ฆอแด๊ะ -M.Ed.Early Childhood Education คาสั่งแต่งตั้ง 1.งานวิจัย
Sultan Idris Education อาจารย์ประจา - Huda Khodaeh, Siti Fatimah and Marhamah.(2017). The
University,Malaysia,2019 Impact Against Education, Social and Emotions Of The
Children Cancer Patient.SulatanIdris Education University,
- ศศ.บ. Teaching Islamic Studies Malaysia.
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 2.บทความวิชาการ/บทความวิจัย
2559 - ฮูด า ฆอแด๊ ะ , นู รุล ฮั ค มู ซอ, วั นบายู รี คาเว็ ง , รู ฮานา สาแมง, มู
ฮามัสสกรี มันยูนุ, และซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ.(2562). การพัฒนา
หลักสู ตรปฐมวัยบู รณาการอิส ลามที่สอดคล้องกับบริ บทพื้นที่สาม
จัง หวั ด ชายแดนภาคใต้ . ใน มะยู ตี ดื อรามะ(บรรณาธิ การ),การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่ายศึกษาศาสตร์อิสลามเพื่อการ
พัฒ นาระบบนิเ วศทางการศึ กษาสาหรับ อุ มมะฮฺ ใ นศตวรรษที่ 21
วั นที่ 18 พฤศจิ ก ายน 2562 (หน้ า 389-409) ปั ต ตานี :คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
- ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ,ยะหะยา นิแว, ฮูดา ฆอแด๊ะ, และนาดีหย๊ะ
นิหลง.(2562). รูป แบบการจัด การเรีย นรู้ ที่ส่ง เสริ มการบู รณาการ
คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพสาหรับนักศึกษา. การ
พัฒนาหลักสูตรปฐมวัยบูรณาการอิสลามที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน มะยูตี ดือรามะ(บรรณาธิการ),การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ: เครือข่ายศึ กษาศาสตร์อิสลามเพื่อการ
พัฒ นาระบบนิ เ วศทางการศึ กษาสาหรับ อุมมะฮฺ ในศตวรรษที่ 21
วั น ที่ 1 8 พฤศจิ ก ายน 2562 (หน้ า 159-174) ปั ต ตานี : คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
- SitiFatimah ,Marhamah and Huda Khodaeh.(2017).The
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
12
Impact Against Education,Social and Emotions of The
Children Cancer Patient. In AminahAyob(Ed.),
Proceedings Seminar issues in early childhood education
13 may 2017 (pp.165-175)Malaysia :National Child
Development Research Centre (NCDRC)Sultan Idris
Education University.
- RuhanaSameng, Huda Khodaeh, WanbayureeKaweng,
NurulhakMuso.(2019). Peranan Guru
Da’amMengembangkan Al-FitrahKanakUsiaDini. In
MayuteeDearama(Ed.), The 1st National Conference in
Islamic Education Network Towards Ecosystem
Development For Ummah In The 21stcentury (INTER-
UMMAH 2019) 18 November 2019(pp.204-213) Pattani:
Faculty of Education, Fatoni University.
2 วันบายูรี คาเว็ง -M.Ed.Early Childhood Education 1. งานวิจัย
Sultan Idris Education - Muhammad Albaree, Muhammad NurSahidAzam and
University,Malaysia,2019 WanbayureeKaweng.(2017). An Effect of Parents’ Divorce
toward Children.Sultan Idris Education University,
- ศศ.บ. Teaching Islamic Studies Malaysia.
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 2.บทความวิชาการ/บทความวิจัย
2559 - Muhammad Albaree, Muhammad NurSahidAzam and
WanbayureeKaweng.(2017). An Effect of Parents’ Divorce
toward Children. In AminahAyob (Ed.), Proceedings
Seminar issues in early childhood education 13 may
2017 (pp.16-25) Malaysia: National Child Development
Research Centre (NCDRC) Sultan Idris Education
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
13
University.
- ฮูด า ฆอแด๊ ะ , นู รุล ฮั ค มู ซอ, วั นบายู รี คาเว็ ง , รู ฮานา สาแมง, มู
ฮามัสสกรี มันยูนุ, และซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ.(2562). การพัฒนา
หลักสู ตรปฐมวัยบู รณาการอิส ลามที่สอดคล้องกับบริ บทพื้นที่สาม
จัง หวั ด ชายแดนภาคใต้ . ใน มะยู ตี ดื อรามะ(บรรณาธิ การ),การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่ายศึกษาศาสตร์อิสลามเพื่อการ
พัฒ นาระบบนิเ วศทางการศึ กษาสาหรับ อุ มมะฮฺ ใ นศตวรรษที่ 21
วั นที่ 18 พฤศจิ ก ายน 2562 (หน้ า 389-409) ปั ต ตานี :คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
- RuhanaSameng, Huda Khodaeh, WanbayureeKaweng,
NurulhakMuso.(2019). Peranan Guru
Da’amMengembangkan Al-FitrahKanakUsiaDini. In
MayuteeDearama(Ed.), The 1st National Conference in
Islamic Education Network Towards Ecosystem
Development For Ummah In The 21st century (INTER-
UMMAH 2019) 18 November 2019(pp.204-213) Pattani:
Faculty of Education, Fatoni University.
3 นูรุลฮัคมูซอ -M.Ed.Early Childhood Education 2.บทความวิชาการ/บทความวิจัย
Sultan IdrisEducation - ฮูด า ฆอแด๊ ะ , นู รุล ฮั ค มู ซอ, วั นบายู รี คาเว็ ง , รู ฮานา สาแมง, มู
University,Malaysia2019 ฮามัสสกรี มันยูนุ, และซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ.(2562). การพัฒนา
หลักสู ตรปฐมวัยบู รณาการอิส ลามที่สอดคล้องกับบริ บทพื้นที่สาม
- B.A.Theology,Imam Mohammad Ibn จัง หวั ด ชายแดนภาคใต้ . ใน มะยู ตี ดื อรามะ(บรรณาธิ การ),การ
Saud Islamic University, Saudi Arabia ประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่ายศึกษาศาสตร์อิสลามเพื่อการ
2015 พัฒ นาระบบนิเ วศทางการศึ กษาสาหรับ อุ มมะฮฺ ใ นศตวรรษที่ 21
วั นที่ 18 พฤศจิ ก ายน 2562 (หน้ า 389-409) ปั ต ตานี :คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
14
- RuhanaSameng, Huda Khodaeh, WanbayureeKaweng,
NurulhakMuso.(2019). Peranan Guru
Da’amMengembangkan Al-FitrahKanakUsiaDini. In
MayuteeDearama(Ed.), The 1st National Conference in
Islamic Education Network Towards Ecosystem
Development For Ummah In The 21st century (INTER-
UMMAH 2019) 18 November 2019(pp.204-213) Pattani:
Faculty of Education, Fatoni University.
4 ฟาตีฮะห์ จะปะกียา - M. Ed.The Teaching of Islamic 2.บทความวิชาการ/บทความวิจัย
Education,International Islamic - ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ, ฟาตีฮะห์ จะปะกียา, และอับดุลกอนีเต๊ะ
University Malaysia, Malaysia2008 มะหมัด.(2562). การศึกษาบูรณาการอิสลามแบบบูรณาการกับการ
ประยุกต์ใช้สาหรับคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. ใน มะยู
- B.IRKHS.Comparative ตี ดือรามะ(บรรณาธิการ),การประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่าย
ReligionsInternational Islamic University ศึ ก ษาศาสตร์ อิ ส ลามเพื่ อ การพั ฒ นาระบบนิ เ วศทางการศึ ก ษา
Malaysia, Malaysia2006 สาหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่ 21 วันที่18 พฤศจิกายน 2562 (หน้า
1093-1108) ปัตตานี:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
- อับดุลฟัตตะห์ จะปะกียา, ฟาตีฮะห์ จะปะกียา, และกูซูซานา ยาวอ
อาซั น (2562).การเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมอิ ส ลามด้ ว ย
แบบอย่ า งที่ ดี . ใน มะยู ตี ดื อรามะ(บรรณาธิ ก าร),การประชุ ม
วิชาการระดับ ชาติ: เครือข่ายศึกษาศาสตร์อิสลามเพื่อการพัฒนา
ระบบนิเวศทางการศึกษาสาหรับอุมมะฮฺ ในศตวรรษที่ 21 วันที่ 18
พฤศจิกายน 2562 (หน้า 502-519) ปัตตานี:คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
5 อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด -ศษ.ม.-จิตวิทยาการศึกษา 1. บทความวิชาการ/บทความวิจัย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2545 - มะสุกรี เจ๊ะมะ,อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด, สุกรี สะเต๊าะ,และการ์มี กอ
วะ.(2561).การเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าภาษา
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
15
-ศศ.บ. อิสลามศึกษา อาหรับ ระหว่ างการสอนแบบบรรยายกับ การใช้เ กมประกอบการ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์2537 สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านจะโละหะลอ อาเภอรามัน
จั ง หวั ด ยะลา. ใน สุ ธาสิ นี บุ ญ ญาพิ ทั กษ์ (บรรณาธิ การ),การจั ด
ประชุ ม วิ ช าการน าเสนอผลงานวิ จั ย “นวั ต กรรมวิ ช าชี พ ครู ”
เครือข่ายสถาบันผลิตครูภาคใต้ตอนล่างครั้งที่ 1 วันที่ 21 มกราคม
2561 (หน้า 147-153) สงขลา :มหาวิทยาลัยทักษิณ.
- ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ, ฟาตีฮะห์ จะปะกียา, และอับดุลกอนีเต๊ะ
มะหมัด.(2562). การศึกษาบูรณาการอิสลามแบบบูรณาการกับการ
ประยุกต์ใช้สาหรับคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. ใน มะยู
ตี ดือรามะ(บรรณาธิการ),การประชุมวิชาการระดับชาติ : เครือข่าย
ศึ ก ษาศาสตร์ อิ ส ลามเพื่ อ การพั ฒ นาระบบนิ เ วศทางการศึ ก ษา
สาหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่ 21 วันที่18 พฤศจิกายน 2562 (หน้า
1093-1108) ปัตตานี:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


16
ตารางที่ 1.3 จานวนอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจาในมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีการศึกษา 2563
ตาแหน่ง ภาระการสอน ชม./ ปีการศึกษา
ลาดับ ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สถาบันที่สาเร็จการศึกษา
วิชาการ 2563 2564 2565 2566
1 จิระพันธ์ เดมะ ผู้ช่วย -Post.Grad. -Educational Technology -Hiroshima University, Japan. 224 224 224 224
ศาสตราจารย์ Diploma
-กศ.ม. -เทคโนโลยีการศึกษา -มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วโิ รฒ ประสานมิตร
-ศศ.บ. -ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2 ซาฟีอี บารู อาจารย์ -ศษ.ม. -ศึกษาศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 224 224 224 224
-ศษ.บ. -ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
3 อิบรอเฮม หะยีสาอิ อาจารย์ -ศษ.ม. -จิตวิทยาการศึกษา -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 288 288 288 288
-B.Ed. -Sciences (Physics) -King Saud University, K.S.A.
4 วุฒิศักดิ์ พิศสุวรรณ ผู้ช่วย -กศ.ด. -การอุดมศึกษา -มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร 480 480 480 480
ศาสตราจารย์ -บธ.ม. -บริหารธุรกิจ -มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
-บธ.บ. -การตลาด -มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
5 จารุวัจน์ สองเมือง ผู้ช่วย -ศษ.ด -ภาวะผู้นาและนวัตกรรมทาง -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 288 288 288 288
ศาสตราจารย์ การศึกษา
-ศษ.ม. -เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-ศศ.บ. -อิสลามศึกษา -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
6 ซอลีฮะห์ ผู้ช่วย -M.Ed. - Islamic Education -International Islamic University 288 288 288 288
หะยีสะมะแอ ศาสตราจารย์ Malaysia, Malaysia
-ศษ.บ. - ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
7 มาหามะรอสลีแมยู อาจารย์ -กศ.ม. -หลักสูตรและการสอน -มหาวิทยาลัยทักษิณ 288 288 288 288
-ศศ.บ. -ชะรีอะฮฺ -มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


17
8 มะยูตี ดือรามะ อาจารย์ -Ph.D. -Psychometric and Educational -UniversitiSains Malaysia 480 480 480 480
-ศษ.ม. Evaluation -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-ศศ.บ. - การวัดผลและวิจัยการศึกษา -มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา
- ชะรีอะฮฺ(กฎหมายอิสลาม)
9 มูฮามัสสกรี มันยูนุ ผู้ช่วย -Ph.D. -Curriculum Management and -Sultan Idris Education 288 288 288 288
ศาสตราจารย์ Development University,Malaysia.
-M.Ed. -Education in Islamic -Yarmouk University, Jordan.
-B.A. -Usuluddin -Al-Balqa’ Applied University, Jordan
10 อิสมาอีล ราโอบ อาจารย์ -Ph.D. -Statistics and Research -UniversitiSains Malaysia 480 480 480 480
-ศษ.ม. Methodology
-ศศ.บ. -การวัดและวิจัย -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-ชะรีอะฮ์(กฎหมายอิสลาม) -วิทยาลัยอิสลามยะลา
11 อดุลย์ ภัยชานาญ อาจารย์ - ศษ.ม. -เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต 15 15 15 15
- ป.บัณฑิต -การสอนอิสลามศึกษา ปัตตานี
- ศศ.บ. -อูศูลุดดีน(หลักการอิสลาม) -วิทยาลัยอิสลามยะลา
-วิทยาลัยอิสลามยะลา
12 มุมีน๊ะห์บูงอตาหยง อาจารย์ - ศศ.ม. - อิสลามศึกษา - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต 15 15 15 15
- ศศ.บ. - อูศูลุดดีน ปัตตานี
- วิทยาลัยอิสลามยะลา
13 สาลาฮุดดีนมูซอ อาจารย์ - M.A. - Islamic Education (Curriculum - Al-Bayt University, Jordan. 288 288 288 288
and Instruction for Islamic
Studies)
- B.A. - Shari’a(Islamic Studies) - Jerash Private University, Jordan.

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


18
14 สิริวรรณ ขุนดา อาจารย์ - M.A. - Islamic Studies (Modern Fiqh) -Al-Qadi al-Eyad University, Morocco. 288 288 288 288
- ศศ.บ. - ภาษาอาหรับ - วิทยาลัยอิสลามยะลา
15 อับดุลฟัตตาห์ อาจารย์ ศษม. -อิสลามศึกษา .- มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 480 480 480 480
จะปะกียา BA.. -การดะวะห์และอุศูลุดดีน - มหาวิทยาลัยอิสลามมาดีนะห์ ประเทศซาอุ
ดีอารเบีย
16 อภิรักษ์ โต๊ะตาหยง อาจารย์ Ph.D. -Educational Psychology - UniversitiSains Malaysia, Malaysia. 480 480 480 480
ศษม. -จิตวิทยาการศึกษา .- มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
ศศบ. ปัตตานี
-ภาษาฝรัง่ เศส - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
ปัตตานี
17 อับดุลรอมะ สามะอาลี อาจารย์ - Ph.D. - Islamic Education -Stete Islamic University 480 480 480 480
- M. Ed. - Education for Human SunanKalijaga Yogyakarta, Indonesia
Resources Development - มหาวิทยาลัยทักษิน, สงขลา
- B.A - Jurisprudence and Law - Al-Azhar University, Egypt
18 ปรัชญา บินหมัดหนี ผู้ช่วย -Ph.D. -TESL -Sultan Idris Education University, 480 480 480 480
ศาสตราจารย์ -กศ.ม. Malaysia
-ศศ.บ. -ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยทักษิณ
-ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรจฒ์ สงขลา
19 มัฮฺซูม สะตีแม ผู้ช่วย -Ph.D. -TESL -International Islamic University 480 480 480 480
ศาสตราจารย์ -MHSci Malaysia, Malaysia.
-Master of English as a Second -International Islamic University
-ศศ.บ. Language Malaysia, Malaysia.
-พัฒนาสังคม -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
9. สถานที่จัดการเรียนการสอน : มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 135/8 ม. 3 ตาบลเขาตูม อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
19

การกากับให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ 1.1การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กาหนดโดยสกอ. กรณีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
เกณฑ์การประเมิน ข้อ 1 จานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตร 4 ปี เป็นหลักสูตรใหม่ ทางหลักสูตรไม่มีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตร ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมุ่งเน้นการบริหารและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่มีอยู่เดิมโดยมิได้รับและ
แต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่ อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ยังคงที่เพื่อสร้างความเข้มแข็งและ
ความต่อเนื่องในการบริหารจัดการหลักสูตรในด้านต่างๆให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
1.นางสาวฮูดา ฆอแด๊ะ
2.นายวันบายูรี คาเว็ง
3.นายนูรุลฮัคมูซอ
4.นางฟาตีฮะห์ จะปะกียา
5.นายอับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด
รายการหลักฐาน อ้างอิงตาราง 1.1
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 2 คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร


หลักสูตรการสอนภาษาอังกฤษ หลักสูตร 4 ปีประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 ท่าน และมีคุณสมบัติ
ตรงตามเกณฑ์ที่กาหนด
ลาดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ
1 นางสาวฮูดา ฆอแด๊ะ -M.Ed.Early Childhood Education, - Sultan Idris อาจารย์
Education University,Malaysia. 2019
- ศศ.บ. Teaching Islamic Studiesมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
2559
2 นายวันบายูรี คาเว็ง -M.Ed. Early Childhood Education อาจารย์
Sultan Idris Education University,Malaysia.2019
--ศศ.บ.Teaching Islamic Studies
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี2559
3 นายนูรุลฮัคมูซอ -M.Ed.Early Childhood Education อาจารย์
Sultan Idris Education University,Malaysia.2019
-B.A TheologyImam Mohammad Ibn Saud Islamic
University, Saudi Arabia 2015
4 นางสาวฟาตีฮะห์ จะปะกียา - M.Ed.The Teaching of Islamic Education-International อาจารย์
Islamic University Malaysia, 2008
-B.IRKHS. Comparative ReligionsInternational Islamic
University Malaysia 2006
5 อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด -ศษ.ม.จิตวิทยาการศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2545 อาจารย์

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


20

-ศศ.บ.อิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2537
รายการหลักฐาน อ้างอิงตาราง 1.1
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 3คุณสมบัติอาจารย์ประจาหลักสูตร


หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตร 4 ปีประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตรทั้งหมด 5 ท่าน และมีคุณสมบัติตรงตาม
เกณฑ์ที่กาหนด ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยฟาฏอนีตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546
ลาดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ
1 นางสาวฮูดา ฆอแด๊ะ -M.Ed.Early Childhood Education, - Sultan Idris อาจารย์
Education University,Malaysia. 2019
- ศศ.บ. Teaching Islamic Studiesมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
2559
2 นายวันบายูรี คาเว็ง -M.Ed. Early Childhood Education อาจารย์
Sultan Idris Education University,Malaysia.2019
--ศศ.บ.Teaching Islamic Studies
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี2559
3 นายนูรุลฮัคมูซอ -M.Ed.Early Childhood Education อาจารย์
Sultan Idris Education University,Malaysia.2019
-B.A TheologyImam Mohammad Ibn Saud Islamic
University, Saudi Arabia 2015
4 นางสาวฟาตีฮะห์ จะปะกียา - M.Ed.The Teaching of Islamic Education- อาจารย์
International Islamic University Malaysia, 2008
-B.IRKHS. Comparative ReligionsInternational Islamic
University Malaysia 2006
5 อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด -ศษ.ม.จิตวิทยาการศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2545 อาจารย์
-ศศ.บ.อิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2537
รายการหลักฐาน อ้างอิงตาราง 1.2
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


21

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 4 คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน

ตาแหน่ง
ลาดับ ชื่อ – นามสกุล วิชาการ คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สถาบันที่สาเร็จการศึกษา

1 จิระพันธ์ เดมะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ -Post.Grad. -Educational Technology -Hiroshima University, Japan.


Diploma
-กศ.ม. -เทคโนโลยีการศึกษา -มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร
-ศศ.บ. -ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2 ซาฟีอี บารู อาจารย์ -ศษ.ม. -ศึกษาศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-ศษ.บ. -ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
3 อิบรอเฮม หะยีสาอิ อาจารย์ -ศษ.ม. -จิตวิทยาการศึกษา -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-B.Ed. -Sciences (Physics) -King Saud University, K.S.A.
4 วุฒิศักดิ์ พิศสุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ -กศ.ด. -การอุดมศึกษา -มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร
-บธ.ม. -บริหารธุรกิจ -มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
-บธ.บ. -การตลาด -มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
5 จารุวัจน์ สองเมือง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ -ศษ.ด -ภาวะผู้นาและนวัตกรรมทางการศึกษา -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
-ศษ.ม. -อิสลามศึกษา -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-ศศ.บ. -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
6 ซอลีฮะห์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ -M.Ed. - Islamic Education -International Islamic University Malaysia, Malaysia
หะยีสะมะแอ -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-ศษ.บ. - ภาษาอังกฤษ
7 มาหามะรอสลีแมยู อาจารย์ -กศ.ม. -หลักสูตรและการสอน -มหาวิทยาลัยทักษิณ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


22

-ศศ.บ. -ชะรีอะฮฺ -มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


8 มะยูตี ดือรามะ อาจารย์ -Ph.D. -Psychometric and Educational -UniversitiSains Malaysia
-ศษ.ม. Evaluation -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-ศศ.บ. - การวัดผลและวิจัยการศึกษา -มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา
- ชะรีอะฮฺ(กฎหมายอิสลาม)
9 มูฮามัสสกรี มันยูนุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ -Ph.D. -Curriculum Management and -Sultan Idris Education University,Malaysia.
Development -Yarmouk University, Jordan.
-M.Ed. -Education in Islamic -Al-Balqa’ Applied University, Jordan
-B.A. -Usuluddin
10 อิสมาอีล ราโอบ อาจารย์ -Ph.D. -Statistics and Research Methodology -UniversitiSains Malaysia
-ศษ.ม. -การวัดและวิจัย
-ศศ.บ. -ชะรีอะฮ์(กฎหมายอิสลาม) -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-วิทยาลัยอิสลามยะลา
11 อดุลย์ ภัยชานาญ อาจารย์ - ศษ.ม. -เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
- ป.บัณฑิต -การสอนอิสลามศึกษา -วิทยาลัยอิสลามยะลา
- ศศ.บ. -อูศูลุดดีน(หลักการอิสลาม) -วิทยาลัยอิสลามยะลา
12 มุมีน๊ะห์บูงอตาหยง อาจารย์ - ศศ.ม. - อิสลามศึกษา - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
- ศศ.บ. - อูศูลุดดีน - วิทยาลัยอิสลามยะลา
13 สาลาฮุดดีนมูซอ อาจารย์ - M.A. - Islamic Education (Curriculum and - Al-Bayt University, Jordan.
Instruction for Islamic Studies)
- Shari’a(Islamic Studies)
- B.A. - Jerash Private University, Jordan.
14 สิริวรรณ ขุนดา อาจารย์ - M.A. - Islamic Studies -Al-Qadi al-Eyad University, Morocco.
- ศศ.บ. (Modern Fiqh)

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


23

- ภาษาอาหรับ - วิทยาลัยอิสลามยะลา
15 อับดุลฟัตตาห์ อาจารย์ ศษม. -อิสลามศึกษา .- มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
จะปะกียา BA.. -การดะวะห์และอุศูลุดดีน - มหาวิทยาลัยอิสลามมาดีนะห์ ประเทศซาอุดีอารเบีย
16 อภิรักษ์ โต๊ะตาหยง อาจารย์ Ph.D. -Educational Psychology - UniversitiSains Malaysia, Malaysia.
ศษม. -จิตวิทยาการศึกษา .- มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ศศบ. -ภาษาฝรั่งเศส - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
17 อับดุลรอมะ สามะอาลี อาจารย์ - Ph.D. - Islamic Education -Stete Islamic University SunanKalijaga Yogyakarta,
- M. Ed. - Education for Human Resources Indonesia
Development - มหาวิทยาลัยทักษิน, สงขลา
- B.A - Jurisprudence and Law - Al-Azhar University, Egypt
18 ปรัชญา บินหมัดหนี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ -Ph.D. -TESL -Sultan Idris Education University, Malaysia
-กศ.ม. -ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยทักษิณ
-ศศ.บ. -ภาษาอังกฤษ -มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรจฒ์ สงขลา
19 มัฮฺซูม สะตีแม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ -Ph.D. -TESL -International Islamic University Malaysia, Malaysia.
-MHSci -Master of English as a Second Language -International Islamic University Malaysia, Malaysia.
-ศศ.บ. -พัฒนาสังคม -มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สรุปผลการประเมิน

ผ่าน ไม่ผ่าน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


24

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 10 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กาหนด


หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563เปิดรับนักศึกษา ปีการศึกษา 2563เปิด
สอนโดยใช้หลักสูตรนี้มาเป็นปีแรก ระยะเวลาการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร 4ปีตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการหลักสูตร
ได้เริ่มใช้ในปีการศึกษา 2563

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 1 : การกากับมาตรฐาน


ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ผลการประเมิน
1.1 ผ่าน  ผ่าน  หลักสูตรได้มาตรฐาน

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 1
จุดเด่น
1. เป็นหลักสูตรที่มีการบูรณาการอิสลาม ประเพณีวัฒนธรรม อาเซียน ทีส่ อดคล้องกับบริบทในพื้นที่
2. หลักสูตรเป็นที่ต้องการของสังคมเนื่องจากการขาดแคลนครูที่จบวุฒิโดยตรงและยังเป็นหลักสูตรที่
สร้างครูปฐมวัยที่มีอัตลักษณ์เฉพาะที่มีความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์และมีความยาเกรงเป็น
พื้นฐานซึ่งสามารถใช้ในการจัดกาเรียนการสอนได้จริง

โอกาสในการพัฒนา
1. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตรมีโอกาสทีจ่ ะพัฒนาคุณวุฒิด้านสาขาวิชาและ
ตาแหน่งทางวิชาการในระดับที่สงู ขึ้น
2. หลักสูตรมีโอกาสทีจ่ ะพัฒนาสู่การเป็นหลักสูตรบูรณาการต้นแบบได้
3. เพิ่มโอกาสการเรียนรูเ้ กี่ยวกับการจัดประสบการณ์บูรณาการอิสลามแก่นักศึกษาในประเทศและ
ต่างประเทศ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


25

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
(มคอ.7 หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต)

ข้อมูลนักศึกษา
ปีการศึกษาที่รับเข้า(ตั้งแต่ปี จานวนนักศึกษาคงอยู่ (จานวนจริง) ในแต่ละปีการศึกษา
การศึกษาที่เริ่มใช้หลักสูตร) 2563 2564 2565 2566 คงอยู่ ลาออก
2563 92 - - - 89 3
รวมนักศึกษาคงอยู่ 89 -
จานวนนักศึกษาที่ออก - 3
หมายเหตุ นักศึกษาที่อยู่เกินกว่าอายุของหลักสูตร ให้นับรวมอยู่ในช่องนักศึกษาตกค้าง

จานวนการสาเร็จการศึกษา

- หลักสูตรฯ ยังไม่มีบัณฑิตสาเร็จการศึกษา

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


26

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
(มคอ.7 หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต)

ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา


ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
การรับนักศึกษา - การรับนักศึกษา ECE 3.1-1รายงานการ
คณะกรรมการหลักสูตรได้มีมติในการประชุมกาหนดระบบและกลไกการรับสมัคร ประชุ มวาระแผนการรั บ
นักศึกษาใหม่โดยกาหนดให้ระบบการรับนักศึกษาใหม่และการเตรียมความพร้อม นั ก ศึ ก ษาใหม่ ป ระจ าปี
ประกอบด้ วย 6 องค์ป ระกอบ ซึ่ง ครอบคลุมระบบคุณภาพ PDCA ได้แ ก่ 1) การศึกษา 2563
กาหนดจุดเน้นเพื่อการประชาสัมพันธ์ 2) สื่อสารประชาสัมพันธ์ 3) รับสมัครและ
ตรวจสอบคุณสมบัติ 4) คัดเลือกและศึกษาข้อมูลนักศึกษา 5) เตรียมความพร้อม
นักศึกษาใหม่ และ 6) สรุปผลและกาหนดแนวทางพัฒนา ซึ่งมีการดาเนินงานตาม
ระบบ ดังนี้

1. กาหนดจุดเน้นเพื่อการประชาสัมพันธ์…..
2. สื่อ สาร ประชาสั มพั นธ์ห ลักสู ตรผ่านทางสื่อต่างๆ เช่ น ทางเว็ บไซต์ข อง
มหาวิทยาลัย ทางสื่อออนไลน์ และทางเฟสบุ๊กตามเพจต่างๆ
3. รับสมัครและตรวจสอบ โดยผู้ที่จะเข้าศึกษาจะต้องมีคุณสมบัติตามที่ระบุใน
มคอ 2 ดังนี้
1. สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า
2. มีเกรดเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.50 หรือผ่านเกณฑ์การทดสอบวัดแวว
ความเป็ นครู ตามที่ ค ณะกรรมการบริ ห ารหลั กสู ต รได้ ก าหนดผ่ า นการ
เห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะ หรือ
3. เงื่ อ นไขอื่ น ๆตามที่ ส าขาวิ ช าก าหนดโดยผ่ า นความเห็ น ชอบจาก
คณะกรรมการประจาคณะและมหาวิทยาลัย
4.มีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ว่าด้วยการศึกษา
ขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2562
5.มีคุณสมบัติอื่น ๆ ตามเกณฑ์ของกระทรวงศึกษาธิการ
4. คัดเลือกและศึกษาข้อมูลนักศึกษา
หลักสู ตรได้ เปิดการรับ นักศึกษาผ่ านระบบออนไลน์ และออฟไลน์โดย
ผ่านทางสานักทะเบียนพัฒนาวิช าการ(สทว.)ของมหาวิทยาลัย เป็นผู้ดาเนินการ
ประชาสั ม พั น ธ์ ก ารรั บ นั ก ศึ ก ษาในแต่ ล ะรอบซึ่ ง การรั บ สมั ค รนั ก ศึ กษาในปี
การศึกษา 2563 ได้ดาเนินไปทั้งหมด 4 รอบโดยจะมีประเภทการรั บนักศึกษา
ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. รับนักศึกษาประเภทโควตา
2. รับนักศึกษาประเภททั่วไป

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


27

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


ดั ง ตารางจ าแนกแต่ ล ะรอบการมาสมั ค รของผู้ ส นใจและผู้ ผ่ า นการคั ด เลื อ ก
ตลอดจนการมารายงานขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาดังนี้
หลักสูตร จานวนผู้ที่ จานวนผู้ที่ จานวนผู้ เป้าหมายการ
เปิดรับสมัคร สนใจมา ผ่านการ ที่มา รับตามแผน
สมัคร คัดเลือก รายงานตัว ECE 3.1-2 รายชื่ อ
ประเภทโควต้า 56 นั ก ศึ ก ษ า ที่ ผ่ า น ก า ร
รอบที่ 1 36 คัดเลือก
รอบที่ 2 34
ประเภทปกติ 90 ECE 3.1-3รายงานการ
ทั่วไป ป ร ะ ชุ ม ว า ร ะ ผ ล ก า ร
รอบที่ 1 - ปร ะ เ มิ นการ รั บ ส มั ค ร
รอบที่ 2 - นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา
รวม 126 90 2563
ซึ่งผลการรับนักศึกษา ปี 2563 ปรากฏว่า มีผู้สนใจที่มาสมัครตามหลักสูตร
3 รอบที่เปิดรับสมัครมีจานวน 126 คน คณะกรรมการรับผิดชอบดาเนินการจัด
สอบในรายวิ ชาเอกและวิ ช าชี พ ประกอบด้ วย รายวิ ช าเอกเฉพาะ วิ ช าวั ดแวว
ความเป็นครู และสอบสัมภาษณ์ ผลปรากฏว่ามีจานวนผู้สนใจผ่านการคัดเลือก
ตามกระบวนและคุณสมัติที่กาหนดไว้ของหลักสูตร จานวน 90คน ซึ่งเป็นยอดที่
ตามอัตราการรับของหลักสูตร และหลักสูตรได้เรียงคะแนนสอบจากมากไปหา
น้อยตามลาดับ ECE 3.1-2 และมีผู้สนใจได้มารายงานตัวขึ้นเป็นนักศึกษาได้ครบ
ตามจานวนแผนการรั บ นั ก ศึ กษาที่ ก าหนดไว้ จานวน 90 คน คิ ด เป็ นร้ อยละ
100.00โดยผู้ผ่านการคัดเลือกมีจานวนทั้งสิ้น 90คน
แต่ทั้งนี้มีนักศึกษาที่ทาการรายงานตัวยืนยันสิทธิ์และลงทะเบียนเรียนจานวน 90
คน
ในช่วงระหว่างภาคการศึกษา มีนักศึกษา พ้นสภาพ 3 คน เนื่องจากประสบอุบติ
เหตุท างถนนจนมี ผลต่อสุข ภาพจนไม่ สามารถมาเรี ย นตามที่ต้ องการได้ และมี
นักศึกษาที่เ พิ่ง ค้ นพบตั วเองว่าชอบสายอาชี พจึ ง ลาออกเพื่อตามฝันของตั วเอง
และอีกหนึ่งคนจาเป็นต้องหยุดการเรียนด้วยเพราะขาดทุนทรัพย์ ครอบครัวไม่
สามารถส่งเสียให้เรียนต่อไปได้ ระหว่างนั้นมีนักศึกษาจากสาขาวิชาอื่นที่มีเป้ า
ต้องการเรียนสาขาวิชานี้เป็นทุนเดิมแล้วได้ดาเนินการย้ายสาขาในภาคเรียนที่สอง
จานวน 2 คน จึงทาให้ปัจจุบันมีนักศึกษาทั้งหมด 89 คน
แนวทางการพัฒนา (ACTION)
คณะกรรมการหลักสูตรได้เสนอแนวทางการพั ฒนาสาหรับในปี การศึกษาต่อไป
โดยยังคงต้องดาเนินการตามข้อเสนอแนวทางการพัฒนาดังนี้
1. ยังคงต้องเพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ให้ห ลากหลายช่องทางอยู่อย่าง
ต่อเนื่อง
2.ยั ง คงต้ องสร้ างความมั่ นใจในหลั ก สู ต รเมื่ อจบไปแล้ ว มี ง านรองรั บ แน่ นอน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


28

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


โดยเฉพาะครูปฐมวัยในโรงเรียนของภาครัฐและเอกชน โดยตลอดระยะเวลา 1 ปี
ของการเปิดหลักสูตรนี้ มีนักศึกษาผ่านการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาต่อระดั บ
ปริ ญ ญาตรี โ ดยใช้ สิ ท ธิ พิ เ ศษโควตา รอบที่ 1ได้ รั บ ทุ น ยกเว้ นค่ า ธรรมเนี ย ม
การศึกษา ( ค่าเล่าเรียน) 50% 5 คนและได้รับทุนยกเว้นค่าธรรมเนียมการศึกษา
( ค่าเล่าเรียน)30%5 คน เช่นกัน และ มีนักศึกษาผ่านการสอบคัดเลือกเพื่อเข้า
ศึ กษาต่ อระดั บ ปริ ญ ญาตรี โ ดยใช้ สิ ท ธิ พิ เ ศษโควตา รอบที่ 2ได้ รั บ ทุ นยกเว้ น
ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษา ( ค่ า เล่ า เรี ย น) 50% 1 คนและได้ รั บ ทุ น ยกเว้ น
ค่าธรรมเนียมการศึกษา ( ค่าเล่าเรียน)30%3 คน
3. และสร้างจุ ดเด่นเชิง วิช าการของหลั กสูต รเพื่อสามารถแข่ง ขันกั บหลักสูต ร
การศึกษาปฐมวัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศอย่างต่อเนื่อง
การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา
มีระบบและกลไก(PLAN)
1. เตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่นักศึกษาใหม่ใน ECE 3.1-4รายงานการ
การเรียนตามหลั กสูตรกาหนดไว้ หลักสูตรได้กาหนดนักศึกษาใหม่จะต้อง ประ ชุ ม วาระพิ จารณา
ได้รั บการเตรี ยมความพร้อม โดยเริ่ มจากการปรั บพื้นฐานและสร้างความ แนวทางการเตรี ยมความ
พร้อมโดยคณะศึกษาศาสตร์ และปฐมนิเทศร่วมกับทางมหาวิทยาลัย และ พร้อมให้กับนักศึกษา
ด าเนิ นกิ จกรรมในส่ วนของหลั ก สู ต ร และสาขาวิ ช าได้ จั ด การอบรมการ
เตรียมความพร้อมด้านความรู้พื้นฐานและการปรับตัว ส่งผลให้นักศึกษาส่วน
ใหญ่ มีการปรั บตั วเข้ ากับ หลักสู ตรการเรีย นและมีค วามรู้ พื้นฐานเกี่ย วกั บ
หลักสูตร
2. สรุป ผลและก าหนดแนวทางพัฒ นาในปีถั ดไปทางหลักสูตรจะต้องขยาย
ระยะเวลาหรือพัฒ นาหลักสูตรการเตรีย มความพร้อมนั กศึกษาใหม่ในด้าน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตรและการปรับตัวในรั้วมหาวิทยาลัย

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 3.1
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ : 3.00 .คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :3.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป :4.00 คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


29

ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา


ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
การส่งเสริมและ หลั ก สู ต รได้ จั ด ท าระบบในการด าเนิ น งานเพื่ อ การเตรี ย มความพร้ อ ม
พัฒนานักศึกษา นักศึกษา โดยระบบการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาประกอบด้วย
1) การกาหนดเป้าและวางแผนการดาเนินงาน เป็นการกาหนดจุดมุ่งเน้นการ
เตรีย มความพร้ อมของนักศึ กษาเพื่อให้นักศึ กษาบรรลุ ค วามส าเร็ จในการ
เรียนตามหลักสูตร ตลอดจนวางแผนกาหนดกลยุทธ์การดาเนินงานเพื่อการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาสร้างความพร้อมให้แก่นักศึกษา
2) การดาเนินงานตามกลยุทธ์
3) การเสริมสร้างจุดเด่น
4) การประเมินผลและถอดบทเรียนความสาเร็จ และ
5) การเผยแพร่ต่อยอด ซึ่งมีกระบวนการในการดาเนินงานดังนี้

- การควบคุมการดูแลการให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา
ในระดับปริญญาตรี
1. การกาหนดเป้าหมายและวางแผนการดาเนินงาน คณะกรรมการหลักสูตร ECE 3.2-1คาสั่งแต่งตั้ง
ได้ กาหนดเป้ าหมายการพั ฒ นานั กศึ กษาภายใต้ แ นวคิ ด “การเสริ มสร้ าง อาจารย์ที่ปรึกษา
ทักษะวิชาการผ่านการเรียนรู้ไปด้วยกันระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา” มุ่ ง
สร้างความรู้สึกว่าการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นนั้นจะเป็นสิ่งที่ท้าทายความสามารถ
แต่จะมีอาจารย์ในหลักสูตรเรียนรู้ไปด้วยกัน อาจารย์จะทาหน้าที่ในการให้
ความช่ ว ยเหลื อ ให้ ค าแนะน า เปรี ย บเสมื อ นที ม ท างานเดี ย วกั น ใน
ขณะเดีย วกันเพื่ อนร่ วมชั้ นจะเป็ นพื้ นที่ เพื่ อการแลกเปลี่ ย นเรีย นรู้ร่ วมกั น
สร้างการแข่งขันในการทาความดีพัฒนาองค์ความรู้
นอกจากนี้ใ นระหว่างการศึ กษามีการจั ด กิจกรรมการพั ฒนาความรู้
ความสามารถในรูปแบบต่างๆ ทั้งกิจกรรมในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มี
กิจกรรมเสริมสร้ างความเป็ นพลเมื องดี ที่ มีจิต สานึ กสาธารณะ มี การวาง
ระบบการดูแลให้คาปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ (ระดับปริญญาตรี
โท เอก) ระบบการป้องกันหรือการบริหารจัด การความเสี่ยงของนักศึกษา
เพื่อให้สามารถสาเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนด รวมทั้ง
การส่งเสริมการเผยแพร่ ผลงานวิชาการของนักศึกษา การสร้างโอกาสการ
เรี ย นรู้ ที่ ส่ ง เสริ มการพั ฒ นาศั ก ยภาพนั ก ศึ กษาและทั กษะการเรี ย นรู้ ใ น
ศตวรรษที่ 21 ให้ได้มาตรฐานสากล
2. การดาเนินงานตามกลยุทธ์ เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามแผน
2.1 การปฐมนิเทศ
2.2 การติดตามรายบุคคล โดยหลักสูตรได้มีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาและ
สร้างกิจกรรมเพื่อการสร้างความพร้อมและการพัฒนานักศึกษาและเน้นการ
มีส่วนร่วมของอาจารย์ในหลักสูตรในการดูแลนักศึกษาอย่างใกล้ชิด โดยเน้น
การพูดคุยนอกรอบผ่านการพบปะนักศึกษาและให้คาปรึกษาแก่นักศึกษาใน
หลายๆ ช่องทางด้วยกัน เช่น ทาง ข้อความเมสเซ็นเจอร์ facebook ทาง
ไลน์ หรือทางโทรศัพท์
การพูดคุยแลกเปลี่ยนระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
คาปรึกษาด้านวิชาการ ส่วนตัว สังคมเศษฐกิจ และด้านศาสนา พร้อมทั้ง

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


30

แนะแนวแก่นักศึกษา อีกทั้งยังมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานา
ความสามารถและทักษะที่ได้รับในการเรียนสาขาการศึกษาปฐมวัยไป
ประกวดนอกสถาบัน
2.3 สาขาวิชาได้เชิญวิทยากรภายในและนอกสถาบัน เพื่อสร้างแรงบันดาล
ใจให้แก่นักศึกษาในการพัฒนาทักษะทางวิชาการ
ในปีการศึกษา2563 คณะกรรมการประจาหลักสูตร ประชุมพิจารณา
กาหนดอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อวางแผนทบทวนบทบาทหน้าที่ รวมถึงศึกษา
ปัญหาอุปสรรคในการให้คาปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรี โดย
ดาเนินการให้คาปรึกษาตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยกาหนดให้มีอาจารย์ที่
ปรึกษา 1 คน ต่อนักศึกษา 30 คน
สาขาวิชาฯ ดาเนินงานแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา และจากการวิเคราะห์ปัญหา
ในการให้คาปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาประจาปี พ.ศ. 2563 พบว่า
นักศึกษาที่มีความสามารถและมีทักษะที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในสาขา
การศึกษาปฐมวัย อยากนาความสามารถเหล่านี้ไปใช้ประกวดแข่งขัน แสดง
ความสามารถภายนอกมหาวิทยาลัย
การพั ฒ นาศั ก ยภาพนั ก ศึ ก ษาและการเสริ มสร้ า งทั ก ษะการเรี ย นรู้ ใ น
ศตวรรษที่ 21
1. การเสริมสร้างจุดเด่น เป็นขั้นตอนที่ทางหลักสูตรใช้เพื่อการต่อยอดการ ECE 3.2-2
เตรียมความพร้อมนักศึกษา โดยมุ่งเน้นการถอดบทเรียนการพัฒนาตนเอง รายงานผลการจัด
และการขั บ เป้ า หมายการพั ฒ นาของนั ก ศึ ก ษา โดยนาโจทย์ ป ระเด็ น ที่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
นักศึกษาสนใจเชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองเพื่อสร้าง
ความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยนักศึกษามีเวทีเพื่อการแลกเปลี่ยนกับอาจารย์
ในหลักสูตรเพื่อการช่วยเหลือ สนับสนุนทางวิ ชาการเพื่อให้ เกิดการต่อยอด
ความรู้จากความสนใจของนั กศึ กษา มีการจัด เวทีแ ลกเปลี่ย นพู ดคุ ยอย่าง
ต่อเนื่อง
2. การประเมิ นผลและถอดบทเรี ยนความสาเร็ จ จากการประเมิ นผลการ
ดาเนินงานพบว่า มีความสาเร็จในการดาเนินงาน โดยระบบพัฒ นาเตรีย ม
ความพร้ อมส าหรั บนักศึกษาช่ วยสนับสนุนการพั ฒนาตนเองของนักศึ กษา
อย่างเป็นรูปธรรม โดยประเมินได้จากความรู้สึกของนักศึกษาจากการพบปะ
ระหว่ า งกั น โดยนั ก ศึ ก ษามี ค วามเห็ น ว่ า อาจารย์ ใ นหลั ก สู ต รมี ค วาม
เชี่ ย วชาญและสามารถให้ ค าแนะน าได้ ต ลอดเวลา สอดคล้ อ งต่ อ ความ
ต้องการของนักศึกษา นอกจากนี้อาจารย์ในหลักสูตรมี ความพร้อมทางด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้นักศึกษาสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ ที่ตนเองถนัด
สื่อสารกับอาจารย์ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
3.. การเผยแพร่ต่อยอด เพื่อเป็นการชื่นชมความสาเร็จในการพัฒนาตนเอง
ของนักศึกษาและสร้างการพัฒนาตนเองที่ต่อเนื่อง หลักสูตรได้นาผลงานต่าง
ๆ ของนักศึ กษาเผยแพร่ผ่านทางเพจของหลักสูตรในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งใน
รูปแบบของการสัมภาษณ์ วิดีโอหรือเวทีสนทนากลุ่ม

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


31

โดยในระหว่ า งปี การศึ กษา 2563 หลั ก สู ต รได้ พั ฒ นากิ จกรรมที่


หลากหลายเพื่อสร้างความพร้อมให้แก่นักศึกษา ดังนี้
-โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ดาเนินการ
เมื่อวันที่ 4 ก.ค. 63 ณ. ลานโรงอาหาร D’ FTU โดย อาจารย์ ฮูดา ฆอแด๊ะ
เป็นประธาน ร่วมกับคณาอาจารย์สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย เป็น
ผู้รับผิดชอบโครงการ
-กิจกรรม ECE FAMILY DAY ดาเนินการเมื่อวันที่ 25 ส.ค. 63 ณ. ลานคณะ
ศึกษาศาสตร์ ดาเนินการโดย อาจารย์ ฮูดา ฆอแด๊ะเป็นประธานสาขาวิชาฯ
ร่วมกับชุมนุมนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
-กิ จ กรรม ECE FAMILY DAY ด าเนิ น การเมื่ อ วั น ที่ 14 ตุ ล าคม 63
ดาเนินการโดย สาขาวิชาร่วมกับชุมนุมนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
-โครงการแสงสว่างแห่งการเป็นผู้นา ภายใต้วิชาภาวะผู้นาสาหรับครู
ดาเนินการ เมื่อวันที่ 27ก.พ. 63 โดย อาจารย์มะรอเซ๊ะ สาแม็ง เป็น
ผู้รับผิดชอบโครงการ
-กิจกรรมวัตกรรมการศึกษาปฐมวัยดาเนินการเมื่อวันที่ 9 ต.ค. 63 โดย
อาจารย์วันบายูรี คาเว็งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ
- กิจกรรม Learning to exceptional activity ดาเนินการเมื่อวันที่ 16
ก.พ.63โดย อาจารย์วันบายูรี คาเว็งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ
-กิจกรรม Be The BEST จงเป็นเลิศในทกๆด้าน ได้จัดขึ้นในวันที่ 5 ตุลาคม
2563 ณ ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-กิจกรรม Be The BEST จงเป็ นเลิศ ในทกๆด้ าน ได้ จัด ขึ้นในวั นที่ 14
ตุ ล าคม 2563 ณ ห้ อ งประชุ ม ชั้ น 2 อาคารเฉลิ ม พระเกี ย รติ
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-กิจกรรม Leadership Training ได้จัดขึ้นในวันที่ 23 กันยายน 2563 ณ
ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-กิจกรรม Leadership Training ได้จัดขึ้นในวันที่ 14 ตุลาคม 2563 ณ
ลานคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

นักศึกษายังเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางมหาวิทยาลัยจัดขึ้น ดังนี้
-นักศึ กษา มฟน พบปะสมาคมบัญ ฑิตและนั กศึกษาอัสลาม AGSA ในวั น
อังคารที่ 1 กันยายน 2563ณ ห้องประชุม 203 ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระ
เกียรติ มหาวิทยาลัยฟาฏอนีจัดโดยสานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษาร่วมกั บ
คณะฯ
-เข้าร่วมโครงการ สัมนารายวิชาความเป็นครู โลกยุคใหม่ สอนอย่างไรให้เร้า
ใจและน่ าเรียน ในวันที่ 16 ตุลาคม 2563 ณ ห้ องประชุมชั้น 2 คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมกิจกรรม ค่ายภาวะผู้นา Leadership Camp for teacher ระหว่าง
วันที่ 11-13 พฤศจิกายน 2563 ณ มัสยิด หะรอมัยน์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


32

-เข้าร่วมกิจกรรม เปิดบ้านศึกษาศาสตร์ Open House จัดขึ้นในวันที่ 25


กันยายน 2563 ณ. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมกิจกรรม Shabab Innovator นักศึกษา นักสร้างนวัตกรรมจัดขึ้น
ในวั นที่ 29 กั น ย ายน 2563 ณ. ห้ อง ป ร ะชุ มวั นมุ ห ะ มั ด นอร์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้ า ร่ วมกิ จกรรม ฮาลาเกาะห์ กลุ่ มศึ กษาอั ล กุ ร อาน จั ด ขึ้ น ในวั นที่ 12
ตุลาคม 2563 ณ. ห้องประชุมวันมุหะมัดนอร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมกิจกรรม วิศวกรสังคม จัดขึ้นในวันที่ 5 ตุลาคม ณ. ห้องประชุ ม
อิบนุคุตัยบะห์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้ าร่ วมโครงการ เสวนาการเมื อง บทบาทสมาชิ กผู้ แ ทนราษฏรจั ง หวั ด
ชายแดนภาคใต้ต่อวิกฤติการเมือง ได้จัดขึ้นในวันที่ 5 ตุลาคม 2563 ณ ห้อง
ประชุมชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมโครงการ คอยรุลอุมมะห์ ครูนอกห้อง กับกิจกรรมครอบครัวอัล กุ
รอาน ได้ จัด ขึ้ นในวั นที่ 9 กั นยายน 2563 ณ สวนสากุ ร ะ 20 ปี
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้ าร่ วมโครงการ พบปะนักศึกษาทุกชั้นปี ได้จัดขึ้ นในวั นที่ 8 กันยายน
2563 ณ ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมโครงการพัฒนาผู้เรียนศตวรรษที่ 21 พัฒนาทักษะการคิด จัดขึ้น
ระหว่ า งวั น ที่ 10-12 กั นยายน 2563 ณ. ห้ อ งประชุ ม วั น มุ ห ะมั ด นอร์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมโครงการ Ibnu Sina กิจกรรม โรคที่พบในกลุ่มวัยรุ่นนั กศึกษาและ
การใช้ยาอย่างปลอดภัย จัดขึ้นระหว่างวันที่6 ตุลาคม 2563 ณ. ห้องประชุม
วันมุหะมัดนอร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมโครงการกิยามุลลัยล์ ชาร์ดไฟอิหม่าน สร้างจิตวิญญาณครูมุอัลลิม ร็
อบบานีย์ จัดขึ้ นระหว่างวันที่ 8-9 ตุลาคม2563 ณ. มัสยิด อัล ฮารอมัย น์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมกืจกรรมกลุ่มศึกษาอัลกุรอาน จัดขึ้นในวันที่ 13 กรกฏาคม 2563
ณ. ห้องประชุมวันมุหะมัดนอร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมกิจกรรมปิด ท้ายกลุ่ มศึกษาอั ลกุ รอาน จั ดขึ้ นในวันที่ 12 ตุล าคม
2563 ณ. ห้องประชุมวันมุหะมัดนอร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมโครงการ เตรียมพร้อมนักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการ ได้จัดขึ้น
ในวันที่ 27 กันยายน 2563 ณ ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมกิจกรรม EDU Inspiration Talk & Dinner กืจกรรมสร้างแรง
บั น ดาลใจ จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 3 กรกฏาคม 2563 ณ. ลานหน้ า คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมกิจกรรม Check in NARA จัดขึ้นในวันที่ 8 กันยายน 2563 ณ.
ลานอาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


33

-เข้าร่วมกิจกรรม Inspire Talk : Growth Mindset จัดขึ้นในวันที่ 15


กันยายน 2563 ณ. ห้องประชุมวันมุหะมัดนอร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมโครงการ มาอัล ฮิ จเราะห์ FTU Halal Festival เมื่อวันที่ 15
กันยายน 63 ณ. ลานโรงอาหาร D’ FTU
-เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา หัวข้อ อัพเดทสถานการณ์โลก
มุสลิมในปัจจุบัน Update the current Situation of Muslim world จัด
ขึ้ น ในวั น ที่ 6 ตุ ล าคม 2563 ณ. ห้ อ งป ร ะชุ มวั นมุ ห ะมั ดนอร์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมกิจกรรมพิกุลเกมส์จัดขึ้นระหว่างวันที่ 27-30 ธันวาคม 2563 ณ.
สนามจุฬานนท์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมโครงการ วันภาษาอาหรับโลกและอารยธรรมอิสลาม ได้จัดขึ้นใน
วันที่ 23 ธันวาคม 2563ณ ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
-เข้าร่วมโครงการ FTU Grand opening 2020 มหกรรมเปิดโลกกิจกรรม
ได้ จัดขึ้ นในวั นที่ 17 สิ งหาคม 2563ณ ณ ห้องประชุ มวั นมูห ะมัด นอร์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
จากการดาเนินการจัดกิจกรรม ทาให้นักศึกษาได้เกิดการเรียนรู้ทักษะในการ
ดาเนินชีวิตและนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาอาชีพครูปฐมวัยเพื่อการเป็น
ครูมืออาชีพในอนาคต

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 3.2
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ : 3.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :3.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป : 4.00 คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


34

ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา


1. การคงอยู่และการสาเร็จการศึกษา
ปีการศึกษา จานวนรับเข้า (1) จานวนสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร (2) จานวนที่ลาออกและคัดชื่อออก
2566 2567 2568 สะสมจนถึงสิ้นปีการศึกษา
2563 (3)
ปีการศึกษา 2563 92 - - - 3

1. อัตราการคงอยู่= (1)-(3) x 100


(1)
ปีการศึกษา 2563
ร้อยละการคงอยู่ของนักศึกษา 96.74

2. อัตราสาเร็จการศึกษา = (2)x 100


(1)
ปีการศึกษา 2563
ร้อยละการสาเร็จการศึกษาของนักศึกษา 0.00
- หลักสูตรยังไม่มีบัณฑิตสาเร็จการศึกษา

3. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อจานวนนักศึกษา
จากผลการเปรียบเทียบอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาของสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยนั้นจะเห็นได้ว่าสาขายัง
ไม่ มีผ ลกระทบต่อ จานวนนัก ศึก ษา แต่ยังคงมีปัจจัยที่ ผลกระทบต่อการคงอยู่ของนัก ศึก ษาส่วนน้อยคือ ปัญ หา
ส่วนตัวที่เกิดจากการประสบอุบัติเหตุทางถนน และปัญหาเศรษฐกิจของครอบครัวหรือรายได้ของครอบครัว

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


-ความพึงพอใจต่อ หลั ก สู ต รได้ มี การติ ด ตามการด าเนิ นงานในการสร้ างความพร้ อมให้ แ ก่
การบริหารหลักสูตร นั กศึ กษา ความส าเร็ จในการพั ฒ นานั ก ศึ กษาตามเป้ าหมายที่ กาหนดไว้
และผลการจัดการ ตลอดจนวิ เ คราะห์ โ อกาสที่ นั กศึ กษาจะสามารถส าเร็ จการศึ กษาได้ ต าม ECE 3.3-1รายงานการประชุม
ข้อร้องเรียนของ แผนการศึกษา และมีการประเมินความพึง พอใจต่อหลักสู ตรของนักศึกษา วาระ ผลความพึงพอใจของ
ตลอดจนการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา โดยมีการประชุมติดตามการ
นักศึกษา นักศึกษาที่มีต่อหลักสูตร
ดาเนิ นงานอย่ างต่อเนื่ องและมีการรายงานผลการด าเนิ นงานดั ง กล่ าวใน
ปลายปีการศึกษา ซึ่งสามารถดาเนินได้ ดังนี้
ความพึงพอใจต่อหลักสูตร

การประเมินความพึงพอใจการดาเนินงานของหลักสูตร
หลั กสูต รได้ ป ระเมิ นความพึ งพอใจของนั กศึก ษาในช่วงปลายปีการศึ กษา ECE 3.3-2สรุปผลประเมิน
2563 ผ่ านระบบออนไลน์ตามลิ้ง ที่ทางสาขาวิชาจัดให้กับนักศึกษาได้ตอบ ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ
แบบสอบถาม โดยมี ก ลุ่ ม เป้ า หมายเป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ ศึ ก ษาชั้ น ปี แ รก ใน คุณภาพหลักสูตร
ระยะเวลาที่ ก าหนดให้ ป ระมาณ 1 เดื อ น และสาขาวิ ช าได้ ร วบรวม
แบบสอบถามเพื่อนามาวิ เคราะห์ ผลการสารวจต่ อไป ซึ่ งมี ระดับ ความพึ ง

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


35

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


พอใจต่อการดาเนินงานของหลักสูตร คือ
1) ความพึ งพอใจต่ อการเตรีย มความพร้ อมของนั กศึ กษาในการศึกษาใน
หลักสูตร
2) การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
3) การส่งเสริมศักยภาพทางวิชาการ
4) การให้คาปรึกษา
5) การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร
6) การประชาสัมพันธ์หลักสูตรและกิจกรรม
7) การบริหารจัดการของหลักสูตร และ
8) การให้บริการสิ่งสนับสนุนและสภาพแวดล้อม
ซึ่ ง ผลการส ารวจความพึ ง พอใจต่ อ หลั ก สู ต รวิ ช าการศึ ก ษาปฐมวั ย ในปี
การศึกษา 2563 ผลปรากฏว่ามีนักศึกษาที่พึงพอใจต่อหลักสูตรอยู่ในระดับ
มาก คิดเป็นร้อยละ 4.28ECE3.3-2
- ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
หลั กสู ตรได้ จัดให้ มีการเสนอความเห็ นและข้ อร้ องเรีย นผ่ านช่ องทางการ ECE 3.3-3แบบบันทึกอาจารย์
จัดการข้อร้องเรีย น เช่น โทรศัพท์ Line Facebook กล่องความคิ ดเห็ น ที่ปรึกษา
วาจาโดยตลอดปีการศึกษา 2563 มีข้อร้องเรียนและการจัดการข้อร้องเรียน
ดังนี้
ข้อเรียกร้อง การจัดการ
-ปัญหาด้านการเรียน KM การจัดการเรียนรู้ที่มี
การสอน ประสิทธิภาพ

1. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตร
รายการ ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ
ปีการศึกษา 2563
ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตร 4.28

2. ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อกระบวนการทีด่ าเนินการในตัวบ่งชี้ 3.1 และ 3.2
ประเด็นการประเมิน ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ
ปีการศึกษา 2563
หลักสูตร 4.28
กระบวนการคัดเลือกนักศึกษา 4.13
อาจารย์ผู้สอน 4.25
อาจารย์ที่ปรึกษา 4.16
การจัดการเรียนการสอน 4.17
การวัดและประเมินผล 4.19
สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.96

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


36

3. ผลการจัดการข้อร้องเรียน
ปีการศึกษา 2563
จานวนข้อร้องเรียนของนักศึกษา 1
จานวนข้อร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไข 1
ร้อยละของข้อร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไข 100.0
ความพึงพอใจจ่อการจัดการข้อร้องเรียน 4.19

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 3.3
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ : 3.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :3.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน  บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป : 3.00 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 3 : นักศึกษา


ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมิน
3.1 3.00 3.00 3.00
3.2 3.00 3.00 3.00
3.3 3.00 3.00 3.00
9 /3= 3.00คะแนน
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 3ตัวบ่งชี้ (คะแนนเต็ม 5คะแนน)
ระดับคุณภาพปานกลาง

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 3
จุดเด่น
1.จานวนผู้สนใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรเพิ่มขึ้นทุกปี
2.โครงการและกิจกรรมส่งเสริมหลักสูตรมีความหลากหลาย
3.มีความรู้ทางด้านวิชาการศึกษาปฐมวัยแบบบูรณาการอิสลาม
4.สามารถจัดประสบการณ์แก่เด็กปฐมวัยตามวิถีชุมชน
5.การมีภาวะผู้นาและจิตอาสา

โอกาสในการพัฒนา
1. เพิ่มกิจกรรมเสริมสร้างทักษะด้านการศึกษาปฐมวัยให้มากขึ้นกว่าเดิมโดยการพานักศึกษาไปเรียนรู้และสัมผัสการจัด
ประสบการณ์ในสถานศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
2. เพิ่มกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาที่อยู่ภายใต้ที่ปรึกษาให้มีความหลากหลายมากขึ้น

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


37

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
(มคอ.7 หมวดที่ 2 อาจารย์)

ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์


ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
การบริหารและพัฒนา -ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจา
อาจารย์ การบริหารและพั ฒนาอาจารย์ของหลักสูตรมุ่ งเน้นการท างาน
ร่วมกันในรูปแบบครอบครัวและสร้างการพัฒนาที่ต่อเนื่องโดยสร้างความ
เชี่ ยวชาญตามสาขาวิช าของอาจารย์ โดยกาหนดระบบการบริ หารและ
พัฒนาอาจารย์ ดังนี้

-ระบบการบริหาร
ทั้งนี้ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้มีการดาเนินงานตามระบบ
ดังนี้
1) กาหนดทิศทางการพัฒนาและอัตรากาลังของอาจารย์ หลักสูตรมี
ECE 4.1-1 คาสั่งอาจารย์
ความต้ องการอาจารย์เ พื่อการจัดการเรีย นและการให้คาปรึกษาสาหรั บ
ประจาหลักสูตร
นักศึกษาใน 3 ประเด็นสาคัญคือ 1) หลักสูตรและการสอน 2) การพัฒนา
ECE 4.1-2 แผนพัฒนา
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ และ 3) การวิจัยและการวัดผลทางการศึกษา
อาจารย์
ซึ่งการกาหนดทิศทางดังกล่าวเป็นการดาเนินงานไปพร้อมกับการพัฒนา
ECE 4.1-3
หลักสูตร
ECE 4.1-4
2) การรับอาจารย์ใหม่ พบว่า ในปีการศึกษา 2562 หลักสูตรมีความ
จาเป็นต้องจะดาเนินการเพิ่มอาจารย์ประจาหลักสูตรเพื่อรองรับการเปิด
หลักสูตรใหม่ และพร้อมที่จะให้คาปรึกษาสาหรับนักศึกษา ในการศึกษา
2563
3) ประเมินความพร้อมของอาจารย์เดิม เนื่องจากเป็นปีแรกของการ
ดาเนินการตามหลักสูตร จึงยังไม่มีความจาเป็นต้องมีการรับอาจารย์ใหม่
ในปีการศึกษา 2563 ในขณะที่อาจารย์เดิมมีคุณสมบัติสอดคล้องกับความ
ต้ องการและแนวทางการพั ฒ นาของหลั กสู ต ร ซึ่ ง มี ค วามจาเป็ นต้ องมี
ผลักดันทางด้านตาแหน่งวิชาการของอาจารย์ให้มีตาแหน่งวิชาการที่สูงขึ้น
4) ระบบการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา การด าเนิ น งานพั ฒ นา ซึ่ ง
ครอบคลุม 3 ประเด็นคื อ การพัฒนาตาแหน่งวิ ชาการ การพัฒนาทักษะ
การจั ด การเรี ย นการสอน และการพัฒ นาทั กษะการวิ จัย ซึ่ง อาจารย์ ใ น
หลักสูตรได้เข้าร่วมกับกิจกรรมการพัฒนาทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


38

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


5) การติดตามการดาเนินงาน พบว่า อาจารย์ประจาหลักสูตรได้ มีการเข้า
ร่วมการพัฒนาตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
6) ปรับปรุงการดาเนิน งาน โดยมีแนวทางดาเนินงานใน 2 รูปแบบ คื อ
การปรับปรุงที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรโดยตรงซึ่งจะต้องจัดทา สมอ. 08 เพื่อ
ขออนุมัติการปรับปรุง และการปรับปรุงระบบการดาเนินงานภายใน และ
นาผลดังกล่าวไปสู่การกาหนดทิศทางการพัฒนาอาจารย์ในปีต่อไป
การดาเนินงาน (DO)
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเป็นหลักสูตรใหม่ เปิดจัดการเรียนการสอน
ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 หลักสู ตรมุ่งเน้ นการบริหารและพัฒนาอาจารย์
ประจาหลักสูตรที่มีอยู่เดิมโดยมิได้รับและแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตร
ใหม่ อัตราการคงอยู่ข องอาจารย์ป ระจาหลักสูตรยังคงที่เ พื่อสร้างความ
เข้มแข็งและความต่อเนื่องในการบริหารจัดการหลักสูตรในด้านต่างๆให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น ECE 4.1-1
ผลจากการดาเนินงานในปีการศึกษา 2563 พบว่า อาจารย์สามารถ
พัฒนางานวิชาการทั้งในการดาเนินการวิจัย การเผยแพร่ผลงานวิชาการ
และการให้บริการวิชาการได้อย่างชัดเจน อีกทั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรได้ยื่นขอตาแหน่งวิชาการในตาแหน่ง รองศาสตราจารย์ ซึ่งเป็น
อีกความสาเร็จของหลักสูตร
ประเมินผลการดาเนินงาน(CHECK)
คณะกรรมการบริ ห ารหลั ก สู ต รประชุ ม เพื่ อ ทบทวน/ประเมิ น
กระบวนการบริหารและพัฒนาอาจารย์ประจาหลักสูตร โดยมีกระบวนการ
ประเมินผลการปฏิบั ติง านของอาจารย์ ประจาหลักสูต ร ตามระบบและ
กลไกการประเมิ นผลการปฏิ บัติ งานของอาจารย์ ป ระจาหลักสูต รตามที่
คณะกาหนด สาหรับแนวทางการปรับปรุงระบบสาหรับปีการศึกษาต่อไป
คือ 1) การเชื่อมโยงการกาหนดทิศทางร่วมกับคณะและมหาวิทยาลัย
เพื่อให้เกิดการหนุนเสริมการทางานร่วมกัน
2) การส่ งเสริมการพั ฒนาด้านการวิ จัยผ่ านกระบวนการจั ดการ
ความรู้ภายใน
แนวทางการพัฒนา(ACTION)
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมีแผนรับอัตราเพิ่มให้เหมาะสมกับจานวน
ผู้เรียนที่เพิ่มขึ้นทุกปี ECE 4.1-4
การพัฒนาคณาจารย์
1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
(1) อาจารย์ใหม่ทุกคนที่ไม่ใช่วุฒิปริญญาเอกจะต้องมีคะแนนภาษาอังกฤษ
TOEFL ไม่น้อยกว่า 500 หรือมีคะแนนภาษาอังกฤษ IELTS หรือ TOEIC
หรื อ ตามเกณฑ์ที่ มหาวิ ทยาฟาฏอนี กาหนด ยกเว้ นผู้ ที่ส าเร็จการศึ กษา
จากต่างประเทศที่ ใช้ ภ าษาอัง กฤษเป็ นภาษาสื่ อสาร โดยให้ เป็ นไปตาม

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


39

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


เกณฑ์ของมหาวิทยาลัยทั้งผู้ที่มีวุฒิปริญญาเอกและไม่ใช่วุฒิปริญญาเอก
(2) มีการปฐมนิเทศและให้คาแนะนาแก่อาจารย์ใหม่ให้มีความรู้ความ
เข้าใจนโยบายของมหาวิทยาลัย คณะ และหลักสูตรที่สอน ให้ความรู้และ
ความเข้ าใจเรื่ องปรั ชญา วั ต ถุป ระสงค์แ ละเป้ าหมายของหลักสู ตรและ
ได้รับมอบเอกสารหลักสูตร คู่มือการศึกษา
(3) ให้อาจารย์ใหม่เข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาสมรรถนะการสอน กลวิธี
และกลยุทธ์การสอนในศตวรรษที่ 21 การวัด และประเมินผลตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา(มคอ.) และความรับผิดชอบต่อผลการ
เรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาที่รับผิดชอบ
(4) จั ดอาจารย์พี่เ ลี้ยงเพื่อช่วยเหลือและให้ คาแนะนาปรึ กษาเกี่ยวกั บ
การจัดการเรียนการสอนและการวิจัย
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์
2.1 การพั ฒ นาทั ก ษะการจั ด การเรี ย นการสอน การวั ด และการ
ประเมินผล
(1) จัดโครงการเตรียมความพร้อมของอาจารย์ก่อนเปิดภาคเรียน
(2) จัดโครงการพั ฒนาทั กษะภาษาอังกฤษส าหรับ อาจารย์เ พื่อเตรีย ม
ความพร้อมในการสอนเป็นภาษาอังกฤษ
(3) ให้ มีกิจกรรมแลกเปลี่ย นเรีย นรู้ใ นหั วข้ อต่ างๆที่เ กี่ ย วข้ องกับ การ
จัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผล
(4) จัดให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผล
(5) เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ทั้งระดับมหาวิทยาลัยและ
ระดับคณะ ซึ่งครอบคลุมทักษะการจัดการเรียนการสอน การผลิตและการ
ใช้สื่อการสอนรวมทั้งการวัดและประเมินผลและการทาวิจัย
(6) ส่งเสริมให้อาจารย์เพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เกี่ยวกับ
การจัดการเรียนการสอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
(7) พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่น ๆ
(1) ส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมบริ ก ารวิ ช าการแก่ ชุ ม ชนที่
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้และวิชาชีพ
(2) ส่งเสริมให้อาจารย์มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพื่อ
ส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่องโดยผ่านการท าวิจัยสายตรงใน
สาขาวิ ชา สนับ สนุ นด้ านการศึ กษาต่ อ ฝึกอบรม ดู งานทางวิช าการและ
วิช าชี พในองค์ กรต่ าง ๆ การประชุ มทางวิ ชาการทั้ งในและต่ างประเทศ
หรือการลาเพิ่มพูนประสบการณ์
(3) กระตุ้นให้อาจารย์ทาผลงานทางวิชาการและส่ง เสริมให้ ขอกาหนด
ตาแหน่งทางวิชาการ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


40

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


(4) ส่งเสริมการทาวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่และพัฒนาการเรียนการสอน
เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา
(5) จัดสรรงบประมาณสาหรับทาการวิจัย
การดาเนินงาน (DO)
ในปี การศึ กษา 2563 หลั กสู ต รได้ด าเนิ นการประชุ มวางแผนกากั บ
ติ ด ตามการด าเนิ น งานตามหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบตลอดปี การศึ ก ษา
ส่ ง เสริ มให้ อาจารย์ ทุ กท่ านได้ พั ฒ นาตนเองให้ มีคุ ณภาพมาตรฐานทาง
วิชาชีพอย่างต่อเนื่องมีการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
และมีศักยภาพที่สูงขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพของบัณฑิตมีการควบคุมกากับ
ส่ ง เสริ มให้ อาจารย์ พั ฒ นาตนเองในการสร้ างผลงานทางวิ ช าการอย่ า ง
ต่อเนื่องมี การส่ง เสริมการทาวิจัย เพื่ อพั ฒนานักศึกษาของอาจารย์มีการ
นิเทศการสอนอาจารย์ทางด้านการส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ ในระดับคณะ
โดยฝ่ายวิชาการและวิจัย ได้ ดาเนิ นโครงการ พัฒนาอาจารย์และพัฒนา
นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ ระหว่างเดือน เมษายน 2563 –มิถุนายน
2563 ณ อาคารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ECE 4.1-12 เพื่อ
การยกระดั บ คุ ณ ภาพการจั ด การเรี ย นรู้ เ พื่ อสร้ างนวั ต กรสั ง คม โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ค วามเข้าใจในกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิ การศึ กษาระดั บอุ ดมศึกษา มี ทั กษะในการจัด การเรีย นรู้ การวั ด
ประเมินผล การทวนสอบผลการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริมให้อาจารย์ผู้สอน
พั ฒ นานวั ต กรรมการการจั ด การเรี ย นการสอน ในการผลิ ต เอกสาร
ประกอบการสอน สื่อการสอน และวิจัยการศึกษา เพื่อจัดการเรี ย นการ
สอนให้ มีป ระสิ ท ธิภ าพ ซึ่ ง จัด ในทุ กๆวั นพุ ธของสัป ดาห์ เวลา 10.00 -
12.00 น. ณ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โดยมีชื่อกิจกรรม
ต่างๆดังนี้ ECE 4.1-2
ครั้ ง ที่ 1 : อบรมการจั ด ทา มคอ 3 4 5 6 จัด ขึ้ นในวั นที่ 3 ตุล าคม
2563 ณ.ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครั้ ง ที่ 2 : การอบรมท าเอกสารประกอบการสอนจั ด ขึ้ นในวั นที่ 15
พฤศจิกายน 2561 ณ.ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครั้งที่ 3 : การอบรมจัดทาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน จัดขึ้นใน
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2561ณ.ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครั้ ง ที่ 4 : การจั ด การเรี ย นรู้ ก ารวั ด และประเมิ น ผล ในวั น ที่ 26
ธันวาคม 2561 ณ.ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครั้งที่ 5 : ประชุมอาจารย์และปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ จัดขึ้นในวันที่ 24
เมษายน 2562 ณ.ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครั้ ง ที่ 6 : อบรมการจั ด การเรี ย นรู้ แ บบออนไลน์ จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 8
พฤษภาคม 2562 ณ.ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์
ครั้งที่ 7 : อบรมการนิเทศ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


41

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 21 พฤษภาคม 2562 ณ.ห้ อ งประชุ ม ชั้ น 2 คณะ
ศึกษาศาสตร์
นอกจากนี้คณาจารย์ประจาหลักสูตรได้เข้าร่วมโครงการที่จัดขึ้นโดย
ศูนย์พัฒนาอาจารย์สู่ความเป็นเลิศ มุอัลลิมร็อบบานีย์ดังนี้ ECE 4.1-3
1)Journal Journey ตีแผ่ประสบการณ์ตีพิมพ์ในฐาน ISI/ SCOPUS
ในวันที่ 15 กันยายน 64
ณ ห้องสัมนาชั้น 6 อาคารเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
2)เข้าร่วมอบรมเชิ งปฏิบั ติการเทคนิค การจัด การเรียนรู้สู่ การพั ฒนา
ผู้เ รี ย นในศตวรรษที่ ในวั นที่ 28 ธันวาคม 2563 ณ ห้ องประชุ มชั้ น 6
อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศคูเวต มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
3)เข้าร่วมอบรมแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการอิสลามและอิส
ลามานุวัตรในรายวิชา ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมชั้น
6 อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศคูเวต มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
4 ) เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า โ จ ท ย์ วิ จั ย โ ด ย ส า นั ก วิ จั ย
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ในวันที่ 18 สิงหาคม 2563 ห้องประชุมชั้น 2 คณะ
ศึกษาศาสตร์ ECE 4.1-4
5) คณาจารย์ป ระจาหลักสู ตรได้ เ ข้าร่วมโครงการ KM มคอ 3 และ
พั ฒ นาเอกสารประกอบการสอน ในวั นที่ 7 มิ ถุ นายน 2563 ณ.ห้ อ ง
ประชุมเล็กชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ECE 4.1-5
6)เข้ าร่ วมอบรมโครงการสร้ างเสริ มวั ฒ นธรรมการอ่ าน ในวั นที่ 16
ตุลาคม 2563 ณ
7)เข้าร่วมกิจกรรมเปิดบ้านของคณะศึกษาศาสตร์ ECE 4.1-6
8)เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาโจทย์วิจัย ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2563 ห้อง
ประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ ECE 4.1-7
9)ข้าร่วมกิจกรรม Big Cleaning day ในวันที่ 18 มิถุนายน 2563
คณะศึกษาศาสตร์ ECE 4.1-8
10)เข้าร่วมโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ร่วมกับสานักทะเบียนและ
วิชาการ ECE 4.1-9
11)อบรมผู้นาหะละเกาะห์ ในวันที่ 17 กรกฏาคม 2563 ห้องประชุม
ชั้น 2 อาคารเฉลืมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ECE 4.1-10
12)อบรมภาวะผู้นาผู้ นาหะละเกาะห์ ในวั นที่ 21 กันยายน 2563 ห้อง
ประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ ECE 4.1-11
13 เข้าร่วมกิจกรรม KM เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชา
ทั่วไป ในวั นที่ 27 ธั นวาคม 64 ณ ห้ องสั มนาชั้ น 6 อาคารเทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ECE 4.1-12
14)เข้ าร่ วมกิ จกรรมพั ฒ นาครู แ ละผู้ เ รี ย น New Normal ในที่ 7
มกราคม 2564 ณ ห้ อ งสั ม นาชั้ น 6 อาคารเทคโนโลยี สารสนเทศ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


42

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ECE 4.1-13
15)เข้าร่วมกิจกรรม พัฒนาอาจารย์สู่ค วามเป็นเลิ ศด้านวิชาการและ
วิจัย ในที่ 4 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุมอเมซอนผังเมือง 4 จังหวัด
ยะลา ECE 4.1-14
ทางด้านการเข้าร่วมพัฒนาอาจารย์ในโครงการที่จัดขึ้นโดยองค์กรหรือ
สถาบันภายนอก ดังนี้
1. อาจารย์ฮูดา ฆอแด๊ะ อาจารย์ประจาหลักสูตรได้เข้าร่วมโครงการแสดง
ผลงานทางศิลปะที่ทาเนียบสถานฑูตและสนทนาในหัวข้อ Youth voices
from Thailand’s border Provinces ในวันที่ 22 กันยายน 2563ECE
4.1-15เข้าร่วมงานมหกรรมการอ่านแห่งชาติครั้งที่ 4 ภาคใต้ระหว่างวันที่
11-13 ธันวาคม 2563 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ
60ปี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ECE 4.1-16เข้าร่วมอบรมโครงการ
มหัศจรรย์การอ่านสาหรับเด็กปฐมวัย ในวันที่ 16 ตุลาคม 2563 ณ คณะ
มนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินท์ วิทยาเขตปัตตานี ECE 4.1-17
บริการเป็นวิทยากรพิเศษ ที่คณะคุรุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ใน
รายวิชา การบริบาลเด็กปฐมวัย หนังสือเชิญลงวันที่ 22 กรกฏาคม 2563
ECE 4.1-18
2) อาจารย์นูรุลฮัค มูซอ ได้เข้าเข้าร่วมอบรมโครงการมหัศจรรย์การอ่าน
ส าหรั บ เด็ ก ปฐมวั ย ในวั น ที่ 16 ตุ ล าคม 2563 คณะมนุ ษ ย์ ศ าสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินท์ วิทยาเขตปัตตานี ECE 4.1-19
3) อาจารย์วันบายูรี คาเว็ง ได้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมและสัมนาดังต่อไปนี้
- การดูแลเด็กแบบไม่เหมาะสม Child Maltreatment ผลกระทบต่ อ
สมอง จิ ตใจและการฟื้ นฟู โดย สถาบันแห่ง ชาติ เพื่อการพัฒ นาเด็กและ
ครอบครัว ในวันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม 2563 ECE 4.1-20
- การพัฒนาสมรรถภาพทางร่างกายของเด็กปฐมวัย โดย สถาบันแห่งชาติ
เพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ในวันเสาร์ที่ 20 ธันวาคม 2563 ECE
4.1-21
- ดนตรี แ ละการส่ ง เสริ มพั ฒ นาการและฟื้ น ฟู เ ด็ กปฐมวั ย โดย สถาบั น
แห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ในวันเสาร์ที่ 17 มกราคม 2564
- เทคนิคการทาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในชั้นเรียน ในวันเสาร์ที่
26 ธันวาคม 2563 ECE 4.1-22
- หลักสูตร การวิจัยในชั้นเรียนปฐมวัย ในวันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม 2563
ECE 4.1-23
4) อาจารย์ ฟาตี ฮ ะห์ จะปะกี ย า ได้ เ ข้ าเข้ าร่ วมอบรมโครงการพบปะ
พัฒนาสั มพั นธ์ ศิษย์เ ก่าต่างประเทศ (ประเทศมาเลย์เ ซีย )วั นที่ 20 ธค.
2463 ณ คณะวิทยาการการศึกษาอิสลาม มอ.ปัตตานีECE 4.1-24
5) อาจารย์อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด ได้เข้าเข้าร่วมอบรมโครงการการผลิตครู

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


43

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


เพื่อการพัฒาท้องถิ่น ครูผู้สร้างสรรในสังคมพหุวัฒนธรรม ระหว่างวันที่
27-29 ธันวาคม
2563 ณ โรงแรม บีพี สมิหลา จังหวัด สงขลา ECE 4.1-25
หลักสูตรได้มีการนาไปใช้ประโยชน์(บริการวิชาการแก่สังคม/ชุมชน)
1) อาจารย์ประจาหลักสูตรผู้รับผิดชอบคือ อาจารย์ฮูดา ฆอแด๊ะ ได้บริการ
วิชาการแก่ชุมชนเกี่ยวกับ การขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการการศึกษา
ปฐมวัยในระดับ จังหวัด ECE 4.1-26ซึงจั ดในวันที่ 22 สิ งหาคม 63 ณ.
โรงแรมยะลาแกรนด์พาเลซ อาเภอเมืองประโยชน์จากโครงการดังกล่าวคือ
ดาเนินการเชิงปฏิบัตืการคัดเลือกผลงานที่เป็นเลิศ Best Practice ในการ
พัฒ นาการศึ กษาระดั บ ปฐมวั ย ผู้เ ข้ าร่ วมโครงการมี ค วามรู้ ค วามเข้ าใจ
เกี่ยวกับ การบริหาร การจัดการ และด้านการจัดประสบการณ์การศึกษา
ปฐมวัย และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน
2. อาจารย์ วันบายู รี คาเว็ ง ได้ บ ริ การวิ ชาการแก่ ชุ มชนเกี่ย วกั บ การ
ขับเคลื่อนการพัฒ นาการจัดการการศึกษาปฐมวัยในระดั บจังหวัด ECE
4.1-27ซึ ง จั ดในวั นที่ 22 สิ ง หาคม 63 ณ. โรงแรมยะลาแกรนด์ พ าเลซ
อาเภอเมืองประโยชน์จากโครงการดังกล่าวคือดาเนินการเชิงปฏิบัตืการ
คัดเลือกผลงานที่เป็นเลิศ Best Practice ในการพัฒนาการศึกษาระดับ
ปฐมวัย ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การบริหาร การ
จัดการ และด้านการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย และสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน และได้บริการวิชาการแก่ชุมชน
เกี่ ย วกั บ การจั ด การศึ กษาเชิ ง พื้ นที่ ในวั นที่ 12 พฤศจิ กายน 2563 ณ
ส านั กงานส่ ง เสริ มการศึ กษานอกระบบแลในโครงการะการศึ กษาตาม
อัธยาศัยจังหวัดยะลา อาเภอเมือง จังหวัดยะลาประโยชน์จากโครงการดัง
กล่าวคือพัฒนาครูและผู้ปกครองในการดูแลเด็กปฐมวัย ผู้เข้าร่วมโครงการ
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความสาคัญของเด็กปฐมวัย สามารถเรียนรู้
เกี่ยวกั บการจั ดประสบการณ์ และการพัฒนาเรียนรู้แก่เด็ กปฐมวั ยอย่าง
ถูกต้อง อี กทั้งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการการศึกษาเชิงพื้นที่
ต่อไป ECE 4.1-28
ได้ เ ป็ น วิ ท ยากรผลิ ต สื่ อ การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบนิ ท านในโครงการ
กระบวนทัศน์ใหม่ต่อการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยบูรณาการอิสลามโดยใช้
กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนในวันที่ 24 สิงหาคม 2563 ECE 4.1-29
เป็ นกรรมการการตั ด สินการแข่ ง ขันอาซาน ในโครงการการแข่ ง ขั น
นวัตกรรมการเรียนรู้ ภาษาอาหรับ TPCK ออนไลน์ ในวันที่ 3 มี นาคม
2564 ECE 4.1-30
3.อาจารย์ประจาหลักสูตรผู้รับผิดชอบคือ อาจารย์นูรุลฮัค มูซอ ได้บริการ
วิช าการแก่ชุ มชนภายใต้ กิจกรรมการอ่ านคุ ฏบะห์ ใ นวั นศุ กร์ที่ 16/4/64
หัวข้อเดือนรอมฎอนเดือนแห่งการอภัยโทษ สถานที่มัสยิดดารุลตะลีม ต.

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


44

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


บางเขา อ.หนองจิก จ.ปัตตานี ECE 4.1-31เพื่อเป็นการให้ความรู้ความ
เข้าใจแก่ผู้เข้าร่วมละหมาดวันศกร์ ซึ่งประโยชน์ที่ได้คือผู้เข้าร่วมละหมาด
วันศุ กร์ไ ด้มีค วามรู้ความเข้าใจเกี่ ยวกับการขออภั ยโทษและปฏิ บัติเ ดือน
ประเสริฐอย่างมุ่งมั่นตั้งใจ
ประเมินผลการดาเนินงาน(CHECK)
จากการดาเนิ นงานที่ มาอาจารย์ ป ระจาหลั กสู ต รร้ อยละ 80 ได้ รั บ การ
ส่งเสริมและพัฒนาในด้านการจัดการเรียนการสอน การสร้างผลงานทาง
วิชาการ การวิจัยและการบริการวิชาการแก่สังคม ทางหลักสูตรได้นาผลมา
ใช้ ใ นการส่ ง เสริ ม พั ฒ นาความสามารถด้ า นการสอนของอาจารย์ แ ละ
ประเมินผลการดาเนินงานผ่านที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร เพื่อการ
พัฒนาการบริหารจัดการให้ดีขึ้นในปีต่อๆไป มีการประเมินความพึงพอใจ
ของอาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีต่อการบริหารจัดการการส่งเสริมและการ
พัฒนาศักยภาพคุณภาพของบุคลากรในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ทา
การประเมิ นความพึ ง พอใจของอาจารย์ ป ระจ าหลั กสู ต รและอาจารย์
ผู้รั บ ผิด ชอบหลักสู ตรต่ อการบริ หารจัด การหลักสู ตรร่ วมกั บคณะพบว่ า
อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริห ารหลักสูตรในภาพรวม อยู่ที่ระดับ ดี
(X = 4.10) แยกเป็นด้าน ดังนี้
1.ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ อยู่ที่ระดับดี (X = 4.08)
2.ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร อยู่ที่ระดับดี (X = 4.15)
3.ด้านกระบวนการเรียนการสอนและการวัดประเมินผล อยู่ที่ระดับดี (X =
4.44)
4.ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อยู่ที่ระดับดีมาก (X = 3.75)
แนวทางการพัฒนา (ACTION)
1. ควรที่จะให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้เข้าอบรมเกี่ยวกับงานที่ต้อง
รับผิดชอบด้านการบริหารหลักสูตรจากทั้งในและนอกมหาวิทยาลัยทั้ง นี้
เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในการทางานต่อไป

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 4.1
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ :4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :4.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป :4.00 คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


45

ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์


1. ร้อยละอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก
จานวนอาจารย์ประจาหลักสูตร คุณวุฒิของอาจารย์ประจาหลักสูตร ร้อยละอาจารย์
ทั้งหมด ตรี โท เอก ประจาหลักสูตรที่มี
วุฒิปริญญาเอก
5 0 5 0 0.00
หลักฐาน/ตารางอ้างอิง ตารางที่ 1.1แสดงรายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตร คุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการ
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ :ร้อยละ 0 / 0.00คะแนน

2. ร้อยละอาจารย์ที่มีตาแหน่งทางวิชาการ
จานวนอาจารย์ประจา อาจารย์ ตาแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจา ร้อยละอาจารย์ประจา
หลักสูตรทั้งหมด หลักสูตร หลักสูตรที่มีตาแหน่งทาง
ผศ. รศ. ศ. วิชาการ
5 5 0 0 0 0.00
หลักฐาน/ตารางอ้างอิง ตารางที่ 1.1แสดงรายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตร คุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการ
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ :ร้อยละ 0 / 0.00 คะแนน

3. ผลงานวิชาการของอาจารย์
ตารางที่ 3.1 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตรที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่
ชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตร ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่/ปีที่ตีพิมพ์
เผยแพร่
บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (ค่าน้าหนัก 0.20)
นุรุลฮัค มูซอ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ( อั ค ลาก)ของผู้ ศึ ก ษาเรี ย นรู้
การประชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า น
กรณีศึกษาความคิดเห็นนักศึกษา อิ ส ลามศึ ก ษาและมุ ส ลิ ม ครั้ ง ที่ 5
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี “อิ ส ลามศึ ก ษาและมุ ส ลิ ม ศึ ก ษาใน
ECE 4.2-1 ศตวรรษที่ 21 :ความท้ายฝนยุค New
Normal” วันที่ 23 ธันวาคม 2563
ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร อิ ส ล า ม
มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ นทร์ วิ ท ยา
เขตปัตตานี
บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติฯ (ค่าน้าหนัก 0.40)
Huda Kodeah “Al-Nasihah“ Process Psychology of The Proceedings of the 2nd EAI
Messenger (SAW) in the Formation of BukittinggiInternational
Mahmudah Personality: A Study at the Fatoni Conference on Education,
University, Southern Thailand” ECE 4.2-2 BICED 2020, 14 September,
20 2 0, Bukititinggi, West
Sumatera, Indonesia

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


46

ผลลัพธ์การดาเนินงาน
ผลรวมถ่วงน้าหนักผลงานวิชาการ จานวนอาจารย์ประจาหลักสูตร ร้อยละผลรวมถ่วงน้าหนักต่อจานวน
ของอาจารย์ประจาหลักสูตร ทั้งหมด อาจารย์ประจาหลักสูตร
0.60 5 ร้อยละ12
หลักฐาน/ตารางอ้างอิง ผลงานวิชาการของอาจารย์ ปีพ.ศ 2563
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ : ร้อยละ 12.00 / 3.00 คะแนน เป้าหมายปีต่อไป :ร้อยละ100.00

ผลการประเมินตนเองปีนี้ (4.2)

ตัวบ่งชี้ คะแนนประเมินตนเอง
4.2.1 0
4.2.2 0
4.2.3 3.00
รวม 4.2 1.00

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 4.2
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ :1.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :3.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน ไม่บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป :3.00 คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


47

ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์


ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
ผลที่เกิดกับอาจารย์ 1. อัตราการคงอยู่ของอาจารย์
หลั ก สู ต รได้ น าระบบและกลไกการบริ ห ารอาจารย์ สู่ ก ารปฏิ บั ติ และ
ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาอาจารย์(ID Plan) ECE 4.3-1และ ECE 4.3-2
หลักสู ตรประชุ มทบทวนอัตรากาลั งอาจารย์ประจาหลักสู ตรต่ อนักศึกษา
ปรากฏว่า ปั จจุ บันหลักสูต รมี นักศึกษาเต็มเวลา จานวน 89 คน คิด เป็ น
สัดส่วนร้อยละต่ออาจารย์ : นักศึกษา คิดเป็น 1:17.8
ในปี การศึกษา 2563 พบว่ า อาจารย์ ป ระจาหลั กสูต รมีจานวน 5 คน
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีจานวนครบ 5 คน ตามที่เกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรระดับปริญญาตรีที่กาหนด ไม่มีอาจารย์ท่านใดลาออก
ในปี การศึ กษา2563 คณะกรรมการบริ ห ารหลั กสู ต รได้ ป ระชุ มเพื่ อวาง
แผนการจั ด การเรี ย นการสอน ติ ด ตามและประเมิ นผลโดยการรวบรวม
ข้ อมู ล เพื่ อเตรี ย มพร้ อมในการปรั บ ปรุ ง หลั กสู ต รตลอดจนปรึ กษาหารื อ
แนวทางที่ จ ะท าให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายที่ ก าหนด โดยหลั ก สู ต รได้ มี ก าร
มอบหมายภาระหน้ าที่ ให้ เ หมาะสมกั บ คุ ณวุ ฒิ ค วามรู้ ความสามารถและ
ประสบการณ์ ของอาจารย์ แต่ ละท่านอาทิการกาหนดภาระหน้าที่ใ นการ
บริหารจัดการหลักสูตรหลักสูตรได้ดาเนินการกาหนดภาระงานและความ
รั บ ผิ ด ชอบของอาจารย์ ป ระจ าหลั กสู ต รผ่ านที่ ป ระชุ ม อาจารย์ ป ระจ า
หลักสูตรโดยมีมติแบ่งภาระงานและความรับผิดชอบดังนี้ ECE 4.3-3
1) ผศ.ดร.รูฮานา สาแมง รับผิดชอบดูแลการกากับมาตรฐานหลักสูตรและ
ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบ TQFและรับผิดชอบดูแลการบริหาร
พัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และผลที่เกิดกับอาจารย์
2) อาจารย์ ฮู ด า ฆอแด๊ ะ ประธานหลั กสู ต ร ดู แ ลการกากั บ มาตรฐาน
หลักสูตรและผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบ TQF และรับผิดชอบ
ดูแลการบริหารพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และผลที่เกิดกับอาจารย์
3) อาจารย์ นูรุลฮัค มูซอ รับผิดชอบดูแลการรับนักศึกษา การส่งเสริมและ
พัฒนานักศึกษา ผลที่เกิดกับนักศึกษาหลักสูตร การเรียนการสอน และการ
ประเมินผู้เรียน
4) อาจารย์ วันบายูรี คาเว็ง รับผิดชอบดูแลการรับนักศึกษา การส่งเสริม
และพัฒนานักศึกษา ผลที่เกิดกับนักศึกษาหลักสูตร การเรียนการสอน และ
การประเมินผู้เรียน
5) อาจารย์ ฟาตีฮะห์ จะปะกียา ดูแลสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6) อาจารย์อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัดรับผิดชอบดูแลคุณภาพบัณฑิตตามกรอบ
TQF และภาวการณ์มีงานทาของบัณฑิต
หลักสูต รกาหนดกาหนดชั่วโมงผู้ส อนตามความรู้ ความสามารถและภาระ
งานของอาจารย์ ประจาหลักสู ตรในปีการศึ กษา 2561 จากการจากการ
ประชุม สามารถสรุปภาระงานได้ดังนี้

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


48

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


ภาคเรียนที่ 1
1). อาจารย์ ฮูดา ฆอแด๊ะ ประธานหลักสูตร ประธานหลักสูตรมีภาระงาน
สอน 15 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์
2) อาจารย์ นูรุลฮัค มูซอ มีภาระงานสอน 10 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์
3) อาจารย์ วันบายูรี คาเว็งมีภาระงานสอน 9 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์
4) อาจารย์ ฟาตี ฮ ะห์ จะปะกี ย า มี ภ าระงานสอน 15 หน่ วยชั่ วโมงต่ อ
สัปดาห์
5) อาจารย์ อับ ดุ ลกอนี เต๊ ะ มะหมัด มีภ าระงานสอน 17 หน่ วยชั่ วโมงต่ อ
สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 2
1). อาจารย์ ฮูดา ฆอแด๊ะ ประธานหลักสูตร ประธานหลักสูตรมีภาระงาน
สอน 12 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์
2) อาจารย์ นูรุลฮัค มูซอ มีภาระงานสอน 12 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์
3) อาจารย์ วันบายูรี คาเว็งมีภาระงานสอน 14 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์
4) อาจารย์ ฟาตี ฮ ะห์ จะปะกี ย า มี ภ าระงานสอน 12 หน่ วยชั่ วโมงต่ อ
สัปดาห์
5) อาจารย์อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด มีภาระงานสอน 16 หน่วยชั่วโมงต่อ
สัปดาห์
2. ความพึงพอใจของอาจารย์
หลั กสู ตรมีการประชุมคณะกรรมการประจาหลั กสู ตรเพื่อหารือด้านการ
บริหารจัดการหลักสูตรทุกเดือน โดยอาจารย์ประจาหลักสูตรเข้าร่วมการ
ประชุมมากกว่า ร้ อยละ 80 ทุกครั้ง ทาให้การหารือการจัดการเรียนการ
สอน การกาหนดผู้สอน การติดตามการจัดทามคอ.ตลอดภาคการศึกษา
ในปี การศึ กษา 2563 มี การประเมิ นความพึ ง พอใจของอาจารย์ ป ระจ า
หลักสูตรต่อการบริหารจัดการหลักสูตร ซึ่งผลการประเมินความพึงพอใจต่อ
การบริหารหลั กสูต รศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิช าการศึกษาปฐมวั ย ใน
ภาพรวม พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.10 อยู่ในระดั บ มีความพึ งพอใจมาก
แยกเป็นประเด็นดังนี้ ECE 4.3-4
ที่ รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ระดับ
ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์
1 การวางแผนระยะยาวด้ า นอั ต ราก าลั ง 4.25 มาก
อาจารย์ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐาน
หลักสูตร
2 การก าหนดบทบาทหน้ า ที่ แ ละความ 4.00 มาก
รับ ผิ ด ชอบของอาจารย์ ป ระจ าหลั ก สู ต ร
และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีความ
ชัดเจน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


49

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


3 การมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจาหลักสูตร 4.25 มาก
ในการประชุมเพื่อวางแผน ติ ดตาม และ
ทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
4 การจัดรายวิชาให้อาจารย์สอนในหลักสูตร 4.25 มาก
มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ต ร ง กั บ ค ว า ม รู้
ความสามารถของอาจารย์ผู้สอน
5 จ านวนภาระงานสอนของอาจารย์ ใ น 4.00 มาก
หลักสูตรมีความเหมาะสม

6 การประเมินการสอนของอาจารย์ และนา 4.25 มาก


ผ ล ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม พั ฒ น า
ความสามารถด้านการสอนของอาจารย์
7 อาจารย์ ใ หม่ ทุ ก คนได้ รั บ การปฐมนิ เ ทศ 3.75 มาก
หรื อ คาแนะน าด้ า นการจั ด การเรี ย นการ
สอน
8 อาจารย์ ประจาหลัก สูตรทุก คนได้รับ การ 4.25 มาก
พั ฒ นาทางวิ ช าการ และ/หรื อ วิ ช าชี พ
อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
9 อาจารย์ได้รับการส่งเสริมให้เข้าสู่ตาแหน่ง 4.00 มาก
ทางวิชาการหรือศึกษาต่อ

10 การเสริ ม สร้ า งบรรยากาศทางวิ ช าการ 3.75 มาก


ระหว่ า งอาจารย์ ทั้ ง ภายในและระหว่ า ง
หลักสูตร
สรุปด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.08 มาก
ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร
1 ความทันสมัยและหลากหลายของรายวิชา 4.25 มาก
ในหลักสูตร

2 ก า ร ก า กั บ แ ล ะ ติ ด ต า ม ก า ร จั ด ท า 4.25 มาก
ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ร า ย วิ ช า แ ล ะ
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ
มคอ.3 และ มคอ.4 อย่ า งน้อ ยก่ อนการ
เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุก
รายวิชา
3 การกากับและติดตามการจัดทารายงานผล 4.25 มาก
กา ร ด า เ นิ น ก า ร ข อ ง ร า ย วิ ชา แ ล ะ
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ
มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลั ง
สิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุก
รายวิชา

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


50

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


4 การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม 4.00 มาก
มาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กาหนดใน มคอ.
3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25
ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
5 การพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการ 4.00 มาก
ส อ น ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ส อ น ห รื อ ก า ร
ประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมิน
การดาเนิน งานที่ รายงานใน มคอ.7 ปี ที่
แล้ว
สรุปด้านการบริหารจัดการหลักสูตร 4.15 มาก
ด้านกระบวนการเรียนการสอนและการวัดประเมินผล
1 การควบคุ ม การจั ด การเรี ยนการสอนใน 4.25 มาก
วิ ช าที่ มี ห ลายกลุ่ ม เรี ย นให้ ไ ด้ ม าตรฐาน
เดียวกัน
2 การส่งเสริมให้อาจารย์ใช้วิธีการสอนใหม่ๆ 4.50 มาก
ที่พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษา

3 การส่งเสริมการทาวิจัยของอาจารย์เพื่อ 4.75 มาก


พัฒนานักศึกษา ที่สุด

4 การควบคุมกากับ และการส่งเสริม 4.25 มาก


กระบวนการจัดการเรียนการสอนและการ
วัดประเมินผลนักศึกษา
5 การนากระบวนการบริการทางวิชาการเข้า 4.25 มาก
มามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน
และส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา
6 การนากระบวนการวิจัยมาใช้ในการเรียน 4.25 มาก
การสอนและส่ ง ผลต่ อ การเรี ย นรู้ ข อง
นักศึกษา
7 กระบวนการจั ด การเรี ย นการสอนของ 4.75 มาก
หลั ก สู ต ร เน้ น การพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาให้ ที่สุด
เรียนรู้ตามโครงสร้างหลักสูตร
8 การจัดการเรียนการสอนมีการบูรณาการ 4.50 มาก
พันธกิจต่างๆ ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้
นักศึกษา
สรุปด้านกระบวนการเรียนการสอนและการวัด 4.44 มาก
ประเมินผล
ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
1 มีทรัพยากร เอกสาร และสื่อประกอบการ 3.75 มาก
เรียนรู้ที่เพียงพอเหมาะสม และเอื้อต่อการ
เรียนรู้

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


51

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


2 มีอาคาร ห้องเรียนที่เพียงพอเหมาะสม 3.75 มาก
สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้

3 มีการบริการคอมพิวเตอร์ และระบบ 3.75 มาก


อินเตอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น

4 มีสถานที่สาหรับทากิจกรรมของนักศึกษา 3.75 มาก

สรุปด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.75 มาก


ภาพรวม 4.10 มาก
ข้ อ เสนอแนะอื่ น ๆ เพื่ อ การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ งการบริ ห ารจั ด การ
หลักสูตร
1.ส่งเสริมให้ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมกันทุกคน
2. เพิ่ ม ให้ มี ก ารอบรมอาจารย์ ใ หม่ ใ นด้ า นการจั ด การเรี ย นการสอนที่
ครอบคลุมทุกด้านอย่างเป็นกระบวนการรูปธรรมที่ชัดเจนมากกว่านี้
3.เพิ่ มทรั พ ยากรการเรี ย นรู้ ส าหรั บ อาจารย์ แ ละนั ก ศึ กษาให้ มากกว่ า นี้
โดยเฉพาะด้านสาขาการศึกษาปฐมวัย
4.ควรเพิ่มสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการสืบค้นและการจัดการเรียนรู้ใ ห้
หลากหลายและมากขึ้น
ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อประเด็นต่างๆ
ประเด็นการประเมิน ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา 2563
ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.08
ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร 4.15
ด้านกระบวนการเรียนการสอนและการวัด 4.44
ประเมินผล
ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.75
การบริหารอาจารย์ตามระบบ ในเรื่องของอัตราส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา
นั้น พบว่า นักศึกษามีจานวนเหมาะสมเป็นไปตามสัดส่วนที่กาหนดไว้(30:1)
ส่ ว นการก าหนดบทบาทหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ เป็ น ไปตาม
กระบวนการและพบว่า อาจารย์ประจาหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุ ม
และทาหน้าที่รับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ ดังนี้
ด้ า นบทบาทหน้ าที่ ข องอาจารย์ ป ระจ าหลั กสู ต ร มี ก ารติ ด ตามผลการ
ด าเนิ นงานโดยการจั ด ประชุ มหลั กสู ต รและระบบกลุ่ มเครื อข่ ายสั ง คม
ออนไลน์ (ซูม และ เฟสบุค)
ด้านการบริหารการจัดการเรียนการสอน ซึ่งมีการติดตามผลการประเมิ น
ผู้สอนโดยนักศึกษา พบว่า อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคน ได้คะแนน≥3.51

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


52

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


มีการติดตาม มคอ.พบว่า อาจารย์ประจาหลักสูตร ส่ง มคอ.03/04 ครบทุก
วิ ช าก่ อนเปิ ด ภาคการศึ กษาทั้ ง สองภาค ส่ ง มคอ.05/06 ครบทุ กวิ ช า
หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น การเรี ย นการสอนทั้ ง สองภาค ภายในเวลา 30 วั น
หลั ง จากสิ้ น สุ ด การเรี ย นการสอน และ อาจารย์ ป ระจ าหลั ก สู ต รได้
ดาเนินการจัด ทา มคอ.07 เมื่อสิ้ นสุ ดปี การศึกษา 2563 และจั ดส่ งไปยั ง
คณะภายในระยะเวลา 60 วัน หลังจากสิ้นการสุดการศึกษา
แนวทางการพัฒนา(ACTION)
คณะกรรมการประจาหลั กสู ต รฯ นาข้ อเสนอแนะที่ไ ด้ มาปรั บ ปรุง แก้ ไ ข
เพื่อให้การบริหารจัดการหลักสูตรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดังนี้
การจัดอาจารย์ผู้ สอนให้ มีความเหมาะสมกับรายวิชา เมื่ อได้รับรายวิชาที่
เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาจากคณะหลักสูตรมีกระบวนการในการจัด
ผู้สอนโดยเริ่ มจากการประชุมอาจารย์ประจาหลั กสูตรโดยในปีการศึกษา
2563 มีการกาหนดอาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่เหมาะสมดังนี้
1.รายวิชา EC 2409-103 EN 2204-113 จิตวิทยาเด็กปฐมวัย มอบหมาย
ให้ อ.ฮู ด า ฆอแด๊ ะ รั บ ผิ ด ชอบ เนื่ อ งจากอาจารย์ มี ค วามถนั ด และ
ประสบการณ์ด้านนี้โดยตรง
2.รายวิชา EC 2409-109 วิ ถีอิส ลามส าหรั บเด็กปฐมวัย มอบหมายให้
อาจารย์ อ.นูรุลฮัค มูวฮ เนื่องจากมีความชานาญ
3.รายวิชา EC 2409-101 การศึกษาปฐมวัย มอบหมายให้อาจารย์ วันบา
ยูรี คาเว็ง รับผิดชอบ เนื่องจากเป็นความชานาญเฉพาะด้าน
4.รายวิชา EC 2409-104 พัฒนาการเด็กปฐมวัย มอบหมายให้อาจารย์ อ.ฮู
ดา ฆอแด๊ะ รับผิดชอบดูแลจัดการเรียนรู้
5. รายวิ ช า EC 2409-106 สมองกั บ การเรี ย นรู้ ส าหรั บ เด็ ก ปฐมวั ย
มอบหมายให้อาจารย์ ผศ.ดร รูฮ านา สาแมง และอาจารย์ นุรุลฮั ค มูซอ
รับผิดชอบ
6. รายวิชา EC 2409-105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเด็กพิเศษ มอบหมาย
ให้อาจารย์อ.วันบายูรี คาเว็ง และ อ. นูรุลฮัค มูซอ รับผิดชอบ
แนวทางการพัฒา (ACTION)
ปี ก ารศึ ก ษา 2564 จะปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาตามข้ อ เสนอแนะของ
คณะกรรมการประเมินหลักสูต ร และในส่ วนของสิ่งที่ สาขาวิชาจะพัฒนา
ต่อไปคือ
1. จะให้ มี แ ผนการรองรั บ อาจารย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต รในกรณี ที่
อาจารย์ได้ลาออกหรือมีเหตุจาเป็นที่มาสามารถทาหน้าที่บริหารหลักสูตร
ต่อไปได้
2. ผลงานทางวิ ช าการควรที่ จ ะเน้ น ในด้ า นการจั ด การเรี ย นรู้ ด้ า น
การศึกษาปฐมวัยให้มากขึ้น

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


53

ในปี 2563 คณาจารย์ประจาหลักสูตรได้มีผลงานดังนี้


รายนามคณาจารย์ ผลงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
1.อาจารย์ ฮูดา ฆอแด๊ะ ได้รับเกียรติบัตร Best paper, สามารถผลิตชุด ECE 4.3-5ชุดกิจกรรมจัด
กิจกรรมด้านการศึกษาปฐมวัยบูรณาการ ประสบการณ์เด็กปฐมวัย
อิสลาม FITRAH ECE 4.3-5 ECE 4.3-6เอกสารQUDWAH
2.อาจารย์ นุรุลฮัค มูซอ สามารถผลิตเอกสารQUDWAH คุณธรรม
จริยธรรมECE 4.3-6 ECE 4.3-7เกียรติบัตรบทความ
3.อาจารย์ วันบายูรี คาเว็ง ได้รับเกียรติบัตร Best paperสามารถผลิตชุด ดีเด่น
กิจกรรมด้านการศึกษาปฐมวัยบูรณาการ
อิสลาม FITRAHECE 4.3-7

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 4.3
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ :4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :4.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป :4.00 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 4 : อาจารย์

ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมิน


4.1 4.00 4.00 4.00
4.2 1.00
4.2(1) ร้อยละ20 ร้อยละ0 0
4.2(2) ร้อยละ60 ร้อยละ0 0
4.2(3) ร้อยละ40 ร้อยละ 12 3.00
4.3 4.00 4.00 4.00
9.00/3 = 3.00 คะแนน
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 3ตัวบ่งชี้ (คะแนนเต็ม 5คะแนน)
ระดับคุณภาพ ปานกลาง

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 4
จุดเด่น
1.อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรคงที่
2.อาจารย์ประจาหลักสูตรมีการพัฒนาตนเองด้านวิจัยและการสอนมากขึ้น
3.อาจารย์ประจาหลักสูตรมีความสามารถในการบูณาการอิสลามในศาสตร์ที่ตนเองสอนได้
โอกาสในการพัฒนา
1. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาทักษะการสอนและการให้การปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศ
2. ส่งเสริมให้อาจารย์ทาวิจัยในเชิงบูรณาการศาสตร์ให้มากขึ้น
3. ส่งเสริมและอานวยการให้อาจารย์ได้เตรียมความพร้อมเพื่อขอตาแหน่งทางวิชาการ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


54
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
(มคอ.7 หมวดที่ 4 ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรและคุณภาพการสอนในหลักสูตร)
ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตร
สรุปผลรายวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิดสอนในภาค/ปีการศึกษา (นามาจาก มคอ5 ของแต่ละวิชา)
ภาคการศึกษาที่ 1/2563
ภาค/ปี การกระจายระดับคะแนน จานวน จานวน การบูรณาการ
ชื่อรายวิชา การ นศ.ที่ลง นศ.ที่สอบ กับการวิจัย/
ศึกษา A B+ B C+ C D+ D F P/W I เรียน ผ่าน บริการวิชาการ
GE2100-121 1/2563 46 15 9 12 4 1 1 2 - - 90 88
อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1
GE2100-122 1/2563 42 8 15 7 7 3 5 3 - - 90 87
อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2
GE2100-221 1/2563 19 26 20 22 - 1 - 2 - - 90 88
อิสลามและวิถีการดาเนินชีวิต
GE2200-422 1/2563 10 21 25 15 15 3 - 1 - - 90 89
ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน
ภาคการศึกษาที่ 2/2563
ภาค/ปี การกระจายระดับคะแนน จานวน จานวน การบูรณาการ
ชื่อรายวิชา การ นศ.ที่ลง นศ.ที่สอบ กับการวิจัย/
ศึกษา A B+ B C+ C D+ D F P/W I เรียน ผ่าน บริการวิชาการ
GE2100-123
19 13 12 9 9 1 4 5 17 89 67
อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 2/2563
GE2100-222
19 27 19 12 10 1 - 1 - 89 87
การสื่อสารและการเผยแผ่ในอิสลาม 2/2563
GE2200-431
24 14 19 18 7 4 1 1 1 89 87
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน 2/2563
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
55
สรุปผลรายวิชาเฉพาะที่เปิดสอนในภาค/ปีการศึกษา (นามาจาก มคอ5 ของแต่ละวิชา)

ภาคการศึกษาที่ 1/2563
ภาค/ ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนักศึกษา
รหัส ชื่อวิชา ปีการ ลง
A B+ B C+ C D+ D F I P S U W Audit สอบผ่าน
ศึกษา ทะเบียน
หมวดวิชาแกนคณะและวิชาชีพ
ED2400-001 1/2563 63 26 - - - - - 1 - - - - - 90 89
ภาวะผู้นาสาหรับครู
ED2401-101 1/2563 68 7 8 6 - - - 1 - - - - - 90 89
ครูผู้นาความเปลี่ยนแปลง
หมวดวิชาเอก
EC2409-101 1/2563 83 6 - - - - - 1 - - - - - 90 89
การศึกษาปฐมวัย
EC2409-103 1/2563 46 24 13 3 3 - - 1 - - - - - 90 89
จิตวิทยาเด็กปฐมวัย
EC2409-109 1/2563 44 18 12 12 3 - - 1 - - - - - 90 89
วิถีอิสลามสาหรับเด็กปฐมวัย

ภาคการศึกษาที่ 2/2563
ภาค/ ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนักศึกษา
รหัส ชื่อวิชา ปีการ ลง
A B+ B C+ C D+ D F I P S U W Audit สอบผ่าน
ศึกษา ทะเบียน
หมวดวิชาแกนคณะและวิชาชีพ
ED2400-002 2/2563 51 13 - - - - - 1 22 - - - - 89 66
วิทยาการการศึกษาอิสลาม
ED2401-108 2/2563 24 9 14 10 29 - 2 1 - - - - - 89 88
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
56
ภาษาเพื่อการสื่อสารสาหรับครู
ED2401-109 2/2563 73 3 - - - - - - 2 10 - - - 88 76
การปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา 1
หมวดวิชาเอก
EC2409-104 2/2563 44 18 6 11 9 - - 1 1 - - - - 89 87
พัฒนาการเด็กปฐมวัย
EC2409-105 2/2563 62 16 1 - - - - 1 10 - - - - 89 78
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเด็กพิเศษ
EC2409-106 2/2563 55 31 3 - - - - 1 - - - - - 89 88
สมองกับการเรียนรู้เด็กปฐมวัย

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


57

ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร


คุณภาพหลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินผล
ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
สาระของ รายวิ ช าใ น - หลักคิดในการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร ข้อมูลที่ใช้
หลักสูตร ในการพัฒนาหลักสูตรและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ECE 5.1-1 มคอ. 2
คณะกรรมการบริ ห ารหลั กสู ต รได้ มีการประชุ มและจั ด ท าระบบการ
จัดการหลักสูตรและสาระรายวิชา โดยกาหนดให้มี 5 องค์ประกอบสาคัญ คือ
1) ศึ ก ษาสถานการณ์ แ ละความท้ า ทายทางการศึ ก ษาและการพั ฒ นา
นักวิชาการศึกษาศาสตร์ 2) กาหนดกลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอนในแต่
ละวิชา 3) การติด ตามการเรีย นรู้ของผู้เรียน 4) การเสริมประสบการณ์ทาง
วิชาการ และ 5) การปรับปรุงหลักสูตร

โดยหลั กสูตรได้ดาเนิ นการตามระบบจัดการหลักสูตรและสาระรายวิ ชาของ


หลักสูตร ดังนี้
หลักคิดในการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร
ระบบและกลไก (PLAN)
การจั ด ท าหลั กสู ต รศึ กษาศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาการศึ กษาปฐมวั ย ฉบั บ
พุ ท ธศั กราช 2563 มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อมุ่ ง ผลิ ต บั ณฑิ ต ที่ มีค วามรอบรู้ ท าง
วิ ช าการและทั กษะทางวิ ช าชี พ การศึ กษาปฐมวั ย ที่ บู ร ณาการหลั กค าสอน
ศาสนาอย่างสมดุล ย มี บุคลิกภาพที่เ ป็นแบบอย่างที่ดี มี คุณธรรมจริ ยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรัก ความเมตตา และความรับผิดชอบในการ
พัฒนาเด็กปฐมวัยบนหลักการพื้นฐานธรรมชาติการสร้างมนุษย์(ฟิตเราะฮฺ) สู่
การสร้ างบุค ลิกภาพปัจเจกบุ คคลที่ สมบู รณ์ แบบองค์ รวม เป็นที่เ ชื่อมั่นของ
ผู้ปกครองและสังคม มีทักษะที่สาคัญในการใช้ชีวิตและทางานในศตวรรษที่ 21
อย่างเท่าทันและสร้างสรรค์ มีภ าวะผู้นา จิต อาสา มีค วามผู กพั นต่ อชุ มชน
สามารถดารงตนในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างสันติสุขECE 5.1-1

โดยการออกแบบหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ได้


ดาเนินการผ่านกระบวนการดังนี้
1. ส ารวจความต้ องการของชุ มชนและสถานศึ กษาที่ มีต่ อสาขาการศึ กษา

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


58

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


ปฐมวัย
2. มหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการร่าง/ออกแบบพัฒนาหลักสูตร
3. จัด การประชุม เพื่อระดมความคิด เห็ น วิเ คราะห์ สรุ ป และด าเนินการ
พัฒนาหลักสูตร
4. เชิงผู้วิพากษ์มาวิพากาษ์หลักสูตรและปรับปรุงแก้ไขตามเห็นสมควร
5. นาเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่อเห็นชอบและอนุมติหลักสูตร
6. คณะกรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย พิ จารณาและอนุ มัติ ห ลั กสู ต รและน า
หลักสูตรที่ผ่านการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยเสนอไปยัง สกอ. เพื่อรับทราบ
และอนุมัติหลักสูตร ECE 5.1-1
ECE5.1-2แผนการเปิด
การดาเนินงาน (DO)
สาขาวิ ช าการศึ กษาปฐมวั ย มุ่ ง ผลิ ต บั ณฑิ ต สาขาวิ ช าการศึ กษาปฐมวั ย ให้ มี รายวิชาประจาปี 2563
คุณลักษณะพึงประสงค์ ดังนี้
1. มีคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครูเป็นหลักในการปฏิบัติตน
มีความรัก ความเมตตาและมีความรับผิดชอบในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ด้วยจิต
วิญญาณความเป็นครู และมีค วามรับ ผิด ชอบต่อวิช าการ วิชาชีพ เศรษฐกิ จ
สังคมและสิ่งแวดล้อม
2. มี ค วามรอบรู้ เข้ า ใจในวิ ท ยาการใหม่ ๆทางด้ า นการศึ ก ษาปฐมวั ย
พั ฒ นาการของเด็ ก ปฐมวั ย เชี่ ย วชาญในการจั ด การเรี ย นรู้ แ ละงานด้ า น
การศึกษาปฐมวัย สามารถบูรณาการหลักการอิสลามและหลักการปฐมวัยใน
การจัดการเรียนรู้ สามารถประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฏีที่มีกับการปฏิบัติงานจริง
ในบริบทของสถานศึกษาและชุมชนมีทักษะและเทคนิควิธีการออกแบบและจัด
ประสบการณ์ การเรียนรู้ สาหรั บปฐมวัยที่เหมาะสมกับบริบทและวัฒ นธรรม
ของพื้นที่ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน
3. มีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นทักษะการเรียนรู้แ ละนวัตกรรม ทักษะ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารทางการศึกษา ทักษะการสื่อสารและ
ทางานร่วมกับเด็ก ครอบครัวผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวัย ทักษะการริเริ่ม ECE 5.1-3รายงานการ
สร้ างสรรค์ และทั กษะการแก้ปั ญหา แสวงหาทางเลื อกใหม่ที่ เหมาะสมและ ประชุมการปรับปรุง
ปฏิบัติได้ เนื้อหาสาระในรายวิชา
4. มีบุคลิกภาพและสมรรถนะส าหรับครูปฐมวัยมืออาชีพ เป็นแบบอย่างที่ ดี
อดทน ใจกว้ าง มี ค วามมุ่ ง มั่ นในการพั ฒ นาสมรรถนะของตนเองอยู่ เ สมอ
พร้อมทั้งมีความสามารถด้านภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร
5. มีความสามารถในการพัฒนาตน ใฝ่รู้ ใฝ่สันติ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและมีทักษะการเรี ยนรู้ มีค วามสามารถพัฒนางานในชั้นเรียนและ
สร้างองค์ความรู้ ใหม่ในงานการศึกษาปฐมวั ย มีความสามารถเป็นผู้นาทาง
วิชาการให้กับ หน่วยงานทางการศึ กษาหรื อสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องได้
อีกทั้งสามารถดารงตนในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างสันติสุข ECE 5.1.-
1

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


59

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้รับการอนุมัติเปิดใช้หลักสูตรครั้งแรกในปี พ.ศ.
2563 โดยมีจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร145 หน่วยกิตประกอบด้วย
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 32 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 107 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาชีพครู 39 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเฉพาะสาขา 68 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
หลักสูตรเปิดทาการรับสมัครนักศึกษาครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา
โดยทาการเปิดรายวิช าเฉพาะสาขามาแล้วจานวน 6 รายวิชาประกอบด้วย
ECE5.1-2
1. EC2409-101 การศึกษาปฐมวัย
2. EC2409-103 จิตวิทยาเด็กปฐมวัย
3. EC2409-109 วิถีอิสลามสาหรับเด็กปฐมวัย
4. EC2409-104 พัฒนาการเด็กปฐมวัย
5. EC2409-105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเด็กพิเศษ
6. EC2409-106 สมองกับการเรียนรู้เด็กปฐมวัย
ประเมินผลการดาเนินงาน (CHECK)
สาขาการศึ กษาปฐมวัย ได้ทาการจั ดการเรียนการสอนใน 2 ภาคการศึกษา
พบว่ามีรายวิชาที่เปิดสลับกันได้แก่รายวิชา EC2409-103จิตวิทยาเด็กปฐมวัย
และรายวิชา EC2409-104พัฒนาการเด็กปฐมวัย ซึ่งหากพิจารณาจากเนื้อหา
รายวิ ชานักศึ กษาควรได้ศึ กษารายวิ ชาEC2409-104พัฒ นาการเด็ กปฐมวั ย
ก่อนเพื่อปูพื้นฐานไปสู่รายวิชาEC2409-103จิตวิทยาเด็กปฐมวัยต่อไป
แนวทางการพัฒนา(ACTION)
ดังนั้น ในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งต่อไปทางสาขาการศึกษาปฐมวัยควรแก้ไข
ล าดั บ ของรายวิ ช า EC2409-104 พั ฒ นาการเด็ ก ปฐมวั ย เปิ ด สอนในภาค
การศึกษาที่ 1 และตามด้ วยรายวิชา EC2409-103จิตวิ ทยาเด็กปฐมวัยใน
ภาคการศึกษาที่ 2 สาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1
ECE 5.1-3
การปรั บ ปรุ ง หลั ก สูตรให้ทัน สมั ยตามความก้ า วหน้ า ในศาสตร์ส าขาวิ ช า ECE 5.1-4ค าสั่งแต่งตั้ ง
นั้นๆ คณะกรรมการพั ฒ นา
ระบบและกลไก(PLAN)
เนื้อหาสาระวิชา
เนื่องจากสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยได้ทาการเปิดหลักสูตรเมื่อปี พุทธศักราช
2563 จึ ง ยั ง ไม่ ถึ ง วาระการปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต ร แต่ ทั้ ง นี้ ท างสาขาได้ มีการ
ปรั บ ปรุ ง เนื้ อหาบทเรี ย นในรายวิ ช าต่ างๆที่ ไ ด้ เ ปิ ด สอนไปแล้ วใน 2 ภาค
การศึกษาให้มีความสอดคล้องกับ เทรนด์การศึกษาในปัจจุ บันอยู่เ สมอโดยมี
การจัดพื้นที่สาหรับคณาจารย์ได้ร่วมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ที่ทันสมัยและองค์
ความรู้ใหม่ผ่านทางช่องทางออนไลน์และออฟไลน์
การดาเนินงาน (DO)
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
60

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


ทางสาขาการศึกษาปฐมวัยได้มีการเปิดรายวิชาที่มีความสาคัญต่อการศึกษา
ปฐมวัยในยุคปัจจุบันนั้นก็คือรายวิชา EC2409-106 สมองกับการเรียนรู้เด็ก ECE 5.1-3รายงานการ
ปฐมวัย ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่นักการศึกษาด้านปฐมวัยในต่างประเทศให้ความ ประชุ มการปรั บปรุ ง
สนใจศึกษาศาสตร์ด้านนี้เพื่ออธิบายถึงพัฒนาการต่างๆของเด็กที่มีผลมาจาก เนื้อหาสาระในรายวิชา
การทางานของสมอง และทางสาขาได้มีการสนับสนุนให้อาจารย์ผู้สอนใช้กล
ยุ ธ์การสอนโดยใช้ การเรี ย นรู้ โ ดยใช้ การวิ จัย เป็ นฐาน (Research-Based
Learning) ตามที่ได้ระบุไว้ใน มคอ.2 ของหลักสูตรสาขาในรายวิชาเอกทั้งนี้
การสอน การเรีย นรู้โดยใช้การวิจัย เป็นฐาน (Research-Based Learning) ECE 5.1-5รายงานการ
จะทาให้นักศึกษารับองค์ความรู้ใหม่ๆที่ทันสมัยก้าวหน้าอยู่เสมอ
ป ร ะ ชุ ม ส รุ ป ผ ล ก า ร
ประเมินผลการดาเนินงาน(CHECK) ปรับปรุง เนื้อหาสาระใน
ในที่ประชุมสาขาได้มีการติดตามการสอนของอาจารย์ที่สอนในรายวิชาเอกได้
รายวิชา
ใช้รูปแบบการสอนแบบใด ผลการเรียนรู้ และปัญหาการเรียนของนักศึกษาที่
พบเจอในชั้นเรียนสอบถามและร่วมกันแบ่งปันเนื้อหาข้อมูลที่เป็นประโยนช์
แก่ ผู้เ รี ยนได้ ซึ่ง ใช้การสั งเกตจากพฤติ กรรมต่ างๆในชั้ นเรีย นของนั กศึกษา
ประกอบกั บ ผลการประเมิ นแบบไม่ เ ป็ นทางการของนักศึ กษา ซึ่ ง มีผ ลการ
ดาเนินงานที่น่าพอใจในปานกลางเนื่องจากนักศึกษาใหม่ในชั้นปีที่ 1 ยังไม่คุ้น
ชินกับการศึกษาบทความวิจัยต่างๆโดยเฉพาะบทความวิจัยภาษาต่างประเทศ
ที่นักศึกษายั งไม่มีพื้ นฐานภาษาเพียงพอต่ อการศึกษาท าความเข้ าใจเนื้ อหา
ของบทความ
ECE 5.1-5
แนวทางการพัฒนา(ACTION)
ใ นปี ถั ด ไป ท า ง ส าข าค วร มี การ ป ร ะ ชุ ม ห าแ น วท าง การ ปู พื้ นฐ า น
ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือใน
การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลใหม่ๆได้กว้างไกลมากยิ่งขึ้น และควรมีการประเมน
พัฒนาการทางภาษาของนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษาอย่างสม่าเสมอ

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 5.1
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ : 3.00 .คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :3.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป : 4.00.คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


61

ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน


ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
การวางระบบผู้ ส อน การกาหนดผู้สอน
แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ระบบกลไก(PLAN)
จัดการเรียนการสอน หลั กสู ตรการศึ กษาปฐมวั ยได้มีการวางระบบและกลไกในการกาหนด
ผู้สอนในแต่ละรายวิชาโดย ดังนี้ ECE5.2-1รายงานผล
1. พิจารณาวุฒิการศึกษา ความเชี่ยวชาญ และองค์ความรู้ของ การประเมินอาจารย์
ผู้สอนโดยนักศึกษา ปี
อาจารย์ แ ต่ ล ะท่ า นโดนเฉพาะในรายวิ ช าเอกการศึ ก ษา
การศึกษา 1/2563 และ
ปฐมวั ย ทางสาขาก าหนดผู้ ส อนที่ มี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาทาง 2/2563
การศึกษาปฐมวัย เท่านั้น เพื่อให้นักศึ กษาได้ รับ องค์ ความรู้
และประสบการณ์เฉพาะทาง หากมีกรณีที่จานวนอาจารย์ไม่
เพีย งพอทางสาขาจึง จะจั ดหาอาจารย์พิ เศษทั้ง ในและนอก
มหาวิทยาลัยมาสมทบในการสอนรายวิชาเอกของทางสาขา
ทั้งนี้โดยผ่านการเห็นชอบของอาจารย์ประจาหลักสูตร ECE5.2-2ราย งานการ
2. ก าหนดชั่ ว โมงสอน (ภาระงานสอน) ของคณาจารย์ ใ น ประชุ มอาจารย์ ป ระจ า
สาขาวิชาตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด คือไม่เกิน 15 ชั่วโมงต่อ หลั กสู ต ร ว่ า ด้ วย การ
สัปดาห์ สาหรับอาจารย์ชาวไทย และ 18 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ พิ จารณาก าหนดผู้ ส อน
แต่ละภาคการศึกษา
สาหรั บ อาจารย์ ชาวต่างชาติ และพิ จารณาชั่ วโมงสอนเกิ น
โหลดตามแต่ความจาเป็นของรายวิชา
3. อาจารย์ประจาหลักสูตรกาหนดและวางระบบผู้สอนโดยใช้
ผลการประเมิ นผลการเรี ยนการสอนโดยนักศึ กษาเฉลี่ย ไม่
น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 สาหรับ ผู้ที่มีผลการ
ประเมินการสอนต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด จะจัดให้มีการนิเทศ ECE 5.2-3รายวิ ช าที่
การสอน จัดส่งเอกสารประกอบการสอน เพื่อกากับ ติดตาม เปิ ด สอน และตาราง
และประเมิ นผลการสอนให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายที่ วางใว้ ต่ อไป ส รุ ป ค า บ ส อ น ปี
ECE5.2-1 การศึกษา1/2563 และ
4. มี ก ารทวนสอบการวางระบบผู้ ส อนของอาจารย์ ป ระจ า 2/2563
หลักสูตรต่อคณาจารย์ทุกท่านในสาชาวิชาผ่านที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อ
ชี้แจง/รับทราบและปรับเปลี่ยน (หากมีความจาเป็น)
การดาเนินงาน(DO)
ในปี หลั กสู ต รการศึ กษาปฐมวั ย ได้ เ ปิ ด จั ด การเรี ย นการสอนในปี
พุท ธศั กราช 2563 เป็ นปีแ รกจึง ยั งไม่มีผลการประเมินการสอนจาก
นักศึกษา ดังนั้นในภาคการศึกษาที่ 1/2563 เป็นภาคการศึกษาแรกทาง
สาขาจึงได้มีการกาหนดผู้สอนโดยพิจารณาจากวุฒิการศึกษาและความรู้
ความเชี่ ยวชาญของอาจารย์แ ต่ล ะท่ านเป็ นหลั กส าคั ญในรายวิช าเอก
และในภาคการศึกษาที่ 2/2563 ได้มีการพิจารณาผลการประเมินจาก
นั ก ศึ ก ษาร่ ว มด้ ว ยโดยใช้ ผ ลการประเมิ น ผลการเรี ย นการสอนโดย
นั กศึ ก ษาเฉลี่ ย ไม่ น้อยกว่ า 3.51 จากคะแนนเต็ ม 5 และพิ จ ารณา
จานวนชั่ ว โมงการสอนของอาจารย์ แ ต่ ล ะท่ านไม่ เ กิ น 15 ชั่ วโมงต่ อ
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
62

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


สัปดาห์ จนสรุปเป็นมติของที่ประชุมสาขา หลังจากนั้นจึงดาเนินการส่ง
รายวิชาที่จะเปิดสอนของแต่ละภาคการศึกษาพร้อมรายชื่อผู้สอนตาม
มติที่ ประชุ มไปยั งส านั กบริ การการศึกษาเพื่ อดาเนิ นการในระบบการ
ลงทะเบี ยนของนั กศึ กษา โดยในปี การศึกษา 2563 อาจารย์ ประจา
หลักสูตรมีภาระงานสอนดังนี้ ECE 5.2-3
ภาคเรียนที่ 1/2563
ลาดับ รายชื่ออาจารย์ ภาระงานสอน/
สัปดาห์
1. อาจารย์ฮูดา ฆอแด๊ะ 15
2. อาจารย์วันบายูรี คาเว็ง 9
3. อาจารย์นูรุลฮัคมูซอ 10
4. อาจารย์อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด 17
5. อาจารย์ฟาตีฮะห์ จะปะกียา 15
ภาคเรียนที่ 2/2563
ลาดับ รายชื่ออาจารย์ ภาระงานสอน/
สัปดาห์
1. อาจารย์ฮูดา ฆอแด๊ะ 12
2. อาจารย์วันบายูรี คาเว็ง 14
3. อาจารย์นูรุลฮัคมูซอ 12
4. อาจารย์อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด 16
5. อาจารย์ฟาตีฮะห์ จะปะกียา 12

โดยภาคการศึกษาที่ 1/2563 มีรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด....9....รายวิชา ECE5.2-1รายงานผล


ภาคการศึ กษาที่ 2 /2563 มี ร ายวิ ช าที่ เ ปิ ด สอนทั้ ง หมด...9....รายวิ ช า การประเมินอาจารย์
ทั้งหมดดังนี้ ผู้สอนโดยนักศึกษา ปี
ภาคการศึกษาที่ 1
การศึกษา 1/2563 และ
GE2100-12 ED2400-001
2/2563
อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1 ภาวะผู้นาสาหรับครู
GE2100-122 ED2401-101
อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2 ครูผู้นาความเปลี่ยนแปลง
GE2100-221 EC2409-101 ECE5.2-4รายงานการ
อิสลามและวิถีการดาเนินชีวิต การศึกษาปฐมวัย ประชุมอาจารย์ประจา
GE2200-422 EC2409-103 หลักสูตรว่าด้วยการสอน
ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน จิตวิทยาเด็กปฐมวัย
และการจัดการชั้นเรียน
EC2409-109
วิถีอิสลามสาหรับเด็กปฐมวัย
ภาคการศึกษาที่ 2
GE2100-123 ED2400-002
อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 วิทยาการการศึกษาอิสลาม

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


63

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


GE2100-222 ED2401-108
การสื่อสารและการเผยแผ่ในอิสลาม ภาษาเพื่อการสื่อสารสาหรับครู
GE2200-431 ED2401-109
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน การปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา 1
EC2409-104
พัฒนาการเด็กปฐมวัย
EC2409-105
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเด็กพิเศษ
EC2409-106
สมองกับการเรียนรู้เด็กปฐมวัย
ประเมินผลการดาเนินงาน (CHECK)
ทางสาขาได้ มีการด าเนิ นงาน ติ ด ตามและตรวจสอบผ้ ส อนในแต่ ล ะ
รายวิชาที่กาหนดจากการประเมินการสอนโดยรับทราบผลสะท้อนจาก
ความคิด เห็นของนั กศึกษาที่มีต่ ออาจารย์ ประจาวิ ช าเป็นหลั ก รวมถึ ง
ประเมินจาก มคอ.3 เอกสารประกอบการสอน ตลอดจนกิจกรรมต่างๆที่
จัด ขึ้ นในรายวิช าของอาจารย์ ผู้ส อน ทางสาขานาผลการประเมิ นการ
จัดการเรี ยนการสอน ข้อร้องเรีย นของนักศึกษาด้ านคุณภาพการสอน
หารือร่วมกั นในที่ ป ระชุมเพื่ อเป็นข้ อมู ลส าหรับ การกาหนดผู้ สอนในปี
ถั ด ไปECE 5.2-1ผลการประเมิ น การจั ด การเรี ย นการสอนในภาค
การศึกษาที่ 1/2561 ของอาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนมีคะแนนเฉลี่ย
อยู่ในช่วงระหว่าง 3.68–4.50และมีผลคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวม 4.14
ในภาคการศึกษาที่ 2/2561 คะแนนเฉลี่ยอยู่ในช่วงระหว่าง 4.13–4.42
และมี ผ ลคะแนนเฉลี่ ย โดยภาพรวม 4.31จากผลการประเมิ นดั ง กล่ าว
พบว่ าอาจารย์ ผู้ ส อนทุ กท่ านได้ ค ะแนนประเมิ นมากกว่ า 3.50ผลการ
ประเมินอยู่ ในระดับ ดีทุ กรายวิช าแสดงถึ งความเหมาะสมของการวาง
ระบบ/กาหนดผู้สอน และความเหมาะสมของอาจารย์ผู้สอนต่อรายวิชา
ที่จัดการเรียนการสอน
แนวทางการพัฒนา(ACTION)
จั ด พื้ น ที่ แ ลกเปลี่ ย น (KM)ECE5.2-4ระหว่ า งอาจารย์ ด้ ว ยกั น เพื่ อ
แลกเปลี่ยนกระบวนการจัด การเรียนการสอนของอาจารย์แต่ละท่านให้
สม่าเสมอ สาหรับอาจารย์ที่มีผลการประเมิน 4.00 ขึ้นไป ทางสาขาจะ
เปิดให้มีกิจกรรมสังเกตการสอนเพื่อให้อาจารย์ในสาขาได้ร่วมศึกษาถึง
แนวปฏิบัติที่ดีนาไปประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนของตนได้
การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้(มคอ. 3
และมคอ.4)
ระบบกลไก(PLAN)
หลั กสู ต รการศึกษาปฐมวั ย ได้ มีการกากับ ติ ด ตามการจั ด ท าแผนการ
เรียนรู้ตามแนวประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่องแนวทางการ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


64

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


ปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกาหนดให้มี
การจัดทารายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3 และมคอ. 4) ดังนี้
1. หัวหน้าสาขาการศึกษาปฐมวัย จัดประชุมอาจารย์ประจาสาขา
ร่วมพูดคุย แลกเปลี่ ยน ถึงแนวทางการจัดการเรี ยนการสอน
ร่วมกันเพื่อสร้างมาตรฐานและคุณภาพการสอนของอาจารย์
ในสาขาการศึกษาปฐมวัยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และนา
ผลการประเมิ น การจั ด การเรี ย นการสอนของอาจารย์ ที่
ปร ะ เ มิ นโ ด ย นั กศึ กษา จากส านั กบ ริ การ กา ร ศึ กษา ECE 5.2-5รานงานการ
มหาวิทยาลัย นาเสนอผลการประเมินในที่ประชุมเพื่อปรับปรุง ส่งมคอ.3 และมคอ.4
พัฒนา มคอ. 3 มคอ.4 และกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ของอาจารย์ให้ดีขึ้นต่อไป
2. หลักจากที่ทางสาขาได้มีสรุปผลภาระงานของอาจารย์ในแต่ละ
รายวิ ช า ทางสาขาก าหนดให้ อ าจารย์ ผู้ ส อนจั ด ท าและส่ ง
เอกสาร มคอ.3 และ มคอ.4 พร้อมส่งให้เจ้าหน้าที่สาขาวิชา
ผ่านช่องทางออนไลน์สาขาวิ ชาภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์
ก่อนวันเปิดภาคการศึกษา
3. กาหนดให้ ร ายวิ ช าที่ มี การเปิ ด สอนหลายกลุ่ มและมี ผู้ ส อน
มากกว่ า 1 คน ให้ ใ ช้ มคอ.3 ฉบั บ เดี ย วกั น ซึ ง ผู้ รับ ผิ ด ชอบ
รายวิ ช าเป็ นผู้ รั บ ผิ ดชอบหลั กในรายวิ ชานั้ นๆ ทั้ ง นี้ เ พื่ อการ
ควบคุมรักษามาตรฐานเดียวกันในการจัดการเรียนการสอน
4. ดาเนินการกากับติดตามและตรวจสอบ มคอ. 3 และ มคอ.4
ทุ กรายวิ ช าที่ เ ปิ ด สอนภายในสั ป ดาห์ สุ ด ท้ า ยก่ อนเปิ ด ภาค
การศึ ก ษา เพื่ อตรวจสอบ มคอ. 3 และ มคอ.4 ทางด้ า น
เนื้อหา กิ จกรรมการเรีย นการสอน การวัด การประเมินผลที่
สอดคล้ อ งกั บ แผนที่ แ สดงการกระจายความรั บ ผิ ด ชอบ
มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum
Mapping) ใน มคอ. 2
5. ทางสาขาได้มีการกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาเอกสาขา ECE 5.2-6รายงานการ
การศึกษาปฐมวัยชี้แจง มคอ.3มคอ.4 รวมถึงประมวลการสอน ประชุ มเรื่ องการส่ งและ
(course syllabus) ให้นักศึกษาได้รับทราบในสัปดาห์แรกของ ตรวจสอบมคอ. 3และ
การเปิดภาคการศึ กษาเพื่อเป็นประโยชน์ ต่อนั กศึกษาในการ มคอ.4
เตรียมวางแผนการศึกษาเรียนรู้และค้นคว้าของตนเองในแต่ละ
ภาคการศึกษาได้
การดาเนินงาน(DO)
ในรายวิ ช าเอกการฐศึ กษาปฐมวั ย อาจารย์ ผู้ ส อนในแต่ ล ะรายวิ ช าได้
ดาเนินการส่ง มคอ. 3 และ มคอ.4 ไปยังเจ้าหน้าที่สาขาวิชาการศึกษา
ปฐมวัยจัดเก็บในรูปแบบไฟล์ pdf และ Word ในแพลตฟอร์มออนไลน์
คือ Google Drive และ Massangerของทางสาขาซึ่ งได้เปิด โอกาสให้
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
65

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


อาจารย์ ทุ กท่ า นสามารถเข้ าถึ ง ข้ อ มู ล ได้ ด้ วยตนเองตลอดเวลา ส่ ว น
รายวิชาทั่วไปและรายวิชาชีพครูอาจารย์ได้ดาเนินการส่ง มคอ. 3 และ
มคอ.4 ไปยังสาขาการศึกษาที่รับผิดชอบทางด้านรายวิชาชีพครู
ECE 5.2-6
ประเมินผลการดาเนินงาน (CHECK)
จากการก ากั บ ติ ด ตามการด าเนิ น การส่ ง มคอ. 3 และ มคอ.4 ของ
อาจารย์ผู้สอนในที่ประชุมสาขา พบว่าร้อยละ 80 ของอาจารย์ประจา
หลักสูตรมีการส่ง มคอ.3 และมคอ.4 ไปยังเจ้าหน้าที่สาขาวิชการศึกษา
ปฐมวัยและสาขาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ .หลักสูตรได้มีการติดตาม
การจัดการเรียนรู้ตามแผนการเรี ยนรู้ (มคอ.3 และมคอ.4)ที่กาหนดไว้
พบว่ าการจัด การเรีย นในหลักสูตรนั้นได้มีการเน้นผู้ เรีย นเป็ นสาคัญ มี
การออกแบบการเรียนรู้ได้ตรงกับจุดประสงค์การเรียนรู้และคาอธิบาย
รายวิชา มีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เน้นการปฏิบัติจริงมากยิ่งขึ้น
อีกทั้งมี การศึ กษานอกสถานที่เพื่ อเสริ มสร้า งประสบการณ์ใหม่ ๆให้กับ
นักศึกษา
แนวทางการพัฒนา (ACTION)
เมื่อสิ้นภาคการศึกษา1/2563ที่ประชุมสาขาได้มีการพูดคุยถึงปัญาหาที่
พบเจอในกระบวนการจั ดการเรี ยนการสอนพบว่านักศึกษาขาดความ
กระตือรือร้นในการศึกษาค้นคว้า และมีพื้นฐานภาษาอังกฤษน้อย ดังนั้น
จากการประชุมสาขาได้ มีมติเ ห็นว่าควรมีการเน้นการจั ดการเรีย นการ
สอนแบบ Active Learning เพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้นของนักศึกษา
ในการเรียน และทางสาขาควรมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกั บ
การสร้างพื้นฐานทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการ ECE 5.2-7
วิ จั ยการบริ ก ารวิ ช าการทางสั ง คม และการทานุ บ ารุ ง ศิ ล ปะและ รายงานการประชุมเรื่อง
วัฒนธรรม แผนปฏิบัติการสาขาวิชา
ระบบและกลไก (PLAN) การศึกษาปฐมวัย
สาขาการศึ กษาปฐมวัย ได้ ดาเนิ นงานตามระบบและกลไกการจั ด การ ประจาปี 2563
เรี ย นการสอนปริ ญ ญาตรี ที่ มีก ารบู ร ณาการกั บ การวิ จัย การบริ การ
วิช าการทางสั งคม และการท านุ บ ารุง ศิ ลปะและวั ฒ นธรรมโดยมี การ
ประชุ มอาจารย์ป ระจาหลักสูต รและอาจารย์ ที่ เกี่ ยวข้องเพื่อพิจารณา
แนวทางการจั ดการเรี ยนการสอน การวางแผนและมอบหมายงานให้
อาจารย์แ ต่ละท่านรั บผิดชอบดาเนินการให้บรรลุตามแผนที่วางไว้ ECE
5.2-7ดังนี้
การดาเนินงาน(DO)
สาขาการศึกษาปฐมวัยดาเนินการประชุมสาขาเพื่อวางแผนการจัดการ
เรี ย นการสอนในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ที่ มีการบู ร ณาการกั บ การวิ จัย การ
บริการวิชาการทางสังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อชี้
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
66

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


แจ้ ง กรอบและแนวทางการออกแบบรู ป แบบการสอนในรายวิ ช าเพื่ อ
การบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสั งคม และการทานุ ECE 5.2-8มคอ.5
บารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม และนาบูรณาการกิจกรรมที่ออกแบบไว้ไปสู่ มคอ.
3 และ มคอ.4 ก่อนเปิดภาคเรียน
ประเมินผลการดาเนินงาน (CHECK)
หลั ง จากหลั ก สู ต รได้ มี การประชุ ม อาจารย์ ป ระจ าหลั กสู ต รเพื่ อวาง
แผนการจั ด การเรี ย นรู้ (มคอ.3) ที่ มี การบู ร ณาการกั บ การวิ จั ย การ
บริการวิ ชาการทางสัง คม และการท านุ บารุ งศิ ลปะและวัฒ นธรรม ซึ ง
ปรากฏว่ามีรายวิชาที่ได้มีการจัดกิจกรรมในรายวิชาที่มี การบูรณาการฯ
ดังนี้ คือ
1.รายวิชาที่การบูรณาการกับการวิจัย คือ
 รายวิช า EC2409-104 พัฒ นาการเด็ กปฐมวัย ในรายวิ ชามี
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน โดยอาจารย์ประจาวิชา
น าเสนอบทความวิ จั ย ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศให้
นั ก ศึ ก ษาได้ ศึ กษาข้ อ มู ล ผ่ า นงานวิ จัย ต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
บทเรี ยน เพื่อให้ นักศึ กษาได้ทาความคุ้ นเคยกับกระบวนการ
ทางวิจัยและได้อัพเดทข้อมูลเนื้อหาที่ทันสมัย
 รายวิ ช า EC2409-101 การศึ ก ษาปฐมวั ย ได้ จั ด กิ จ กรรม
“การศึกษาปฐมวัย Good ประเทศไทย Great” ซึ่งในรายวิชา
อาจารย์ ผู้ ส อนได้ ใ ห้ นัก ศึ ก ษาใช้ กระบวนการวิ จัย เบื้ องต้ น
ศึกษาปัญ หาที่เกิ ดขึ้นในการจัดประสบการณ์ การเรี ยนรู้ ของ
เด็กปฐมวัย จากนั้นให้นักศึกษาคิดค้นนวัตกรรมสื่อการสอนที่
ตอบโจย์ ปั ญ หาที่ นั ก ศึ ก ษาร่ ว มกั น ศึ ก ษาพ ร้ อ มกั บ มี ก าร
นาเสนอแก่คณะกรรมการภายนอกตัดสินนวัตกรรมดีเด่น
2.รายวิชาที่มีการบูรณาการกับการบริการวิชาการทางสังคม คือ
 EC2409-105 ความรู้ เ บื้ องต้ นเกี่ ย วกั บ เด็ กพิ เ ศษ อาจารย์
ประจาวิชาได้พานักศึกษาไปศึกษาเรียนรู้และจัดกิจกรรมให้แก่
เด็กๆพิเศษ ณ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 2 จังหวัด
ยะลา ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาจากการลงปฏิบัติ ในสถานที่จริง
พร้อมๆกับได้จัดกิจกรรมและบริการวิชาการแก่ศูนย์การศึกษา
พิเศษ การเรีย นรู้นอกสถานที่ช่ วยเพิ่มทั กษะการทางานเป็ น
ทีม รู้จักวางแผนและแก้ปัญหา และเรีย นรู้ทักษะการสื่อสาร
กับนักเรียนและการแสดงออกในที่สาธารณะ
3.รายวิชาที่มีการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม คือ
 รายวิชา GE2100-221อิสลามและวิถีการดาเนินชีวิต อาจารย์
ผู้สอนได้จัดกิจกรรมนอกสถานที่ใ นโครงการ”การบูร ณาการ
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
67

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


การเรี ยน การสอนกับ การบริ หารสัง คม”โดยจัดขึ้ นที่ มู ลนิ ธิ
พัฒ นาสั ง คม ปาลั ส (มั ส ยิ ด อั ล มุ ฟ ลิ ฮี น) วั นที่ 25 กั นยายน
2563 เพื่อศึกษาและเรียนรู้สภาพสังคมและวัฒ นธรรมอิสลาม
ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ช่วยเสริมสร้าง
ความรู้ ค วามเข้ าใจที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ รายวิ ช าจากแหล่ ง เรี ย นรู้
ชุมชนโดยตรง พร้อมๆกับการพัฒนามุมมองและวิสัยทัศน์ของ
นักศึกษาให้กว้างไกล
แนวทางการพัฒนา (ACTION)
สาขาการศึกษาปฐมวัยได้มีการประชุมเพื่อประเมินกระบวนการจัดการ
เรียนการสอนรายวิชาที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการสอนปริญญาตรี
ที่มีการบู ร ณาการกับ การวิ จัย การบริ การวิ ช าการทางสัง คม และการ
ทานุบารุงศิ ลปะและวัฒ นธรรมผลการประชุมมี มติเห็นควรให้มีการบู ร
ณาการในทุกๆรายวิชาอย่างน้อย 1 ด้านในแต่ละภาคการศึกษาและระบุ
ลงใน มคอ.3และมคอ.4 เพื่อเป็นการเสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาใน
สาขาให้มีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 5.2
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ : 3.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :3.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป :4.00 คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


68

ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน


ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
การประเมินผู้เรียน -หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธีก ารประเมิ น ผลการเรียนรู้ ต ามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
หลั ก สู ต รศึ ก ษาศาสตร์ บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการศึ ก ษาปฐมวั ย ได้
ออกแบบและวางแผนรูปแบบการประเมินผู้เรีย นตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ทั้ง 6 ด้ าน คือ ด้านคุณธรรม
จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความรับผิ ดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยี และทั กษะการจัด การเรี ยนรู้ ตามที่
ระบุ ใ น มคอ.2 หมวดที่ 5 หลั กสู ต รได้ มีก ารประชุ มอาจารย์ ป ระจ า
หลั ก สู ต รเพื่ อร่ ว มกั น ออกแบบการและวางแนวทางในการก าหนด
หลั กเกณฑ์ วิ ธีการประเมิ นและเครื่ องมื อการประเมิ นการเรี ย นรู้ ใ ห้
สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (TQF) ทั้ง 6 ด้าน ซึ่งการประเมินผู้เรียนอาจารย์ผู้สอนควร
คานึงถึงความสอดคล้องของกลยุทธ์การเรียนรู้ในแต่ละด้านกับกลยุทธ์
การสอนที่กาหนดไว้ใน มคอ.2 รวมถึงการกาหนดน้าหนักคะแนนของ
การประเมิ นผลการเรี ย นรู้ ข องนั กศึ กษาให้ ส อดคล้ องกั บ จุ ด เน้ นของ
รายวิชาตาม curriculum mapping และการประเมินใน มคอ.2 ซึ่งทาง
สาขาได้กาหนดรูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนี้
 ประเมินคุณภาพข้อสอบของแต่ละรายวิชา
 ตรวจรูปแบบการวัดและประเมินผลผู้เรียนของอาจารย์ป ระจา
วิชาที่ระบุใน
มคอ.3 หมวด 5 ข้อ 2
 ตรวจสอบและติดตามผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาแต่ละรายวิชา
 ตรวจการประเมิ นผลสั ม ฤทธิ์ ผ ลการเรี ย นรู้ ทั้ ง รายวิ ช ากั บ
แผนการประเมินผลการเรียนรู้ใน มคอ.3
 การตรวจสอบเกรด/คะแนนกั บ เกณฑ์ การให้ ค ะแนน หรื อ
รายงานหรือกิจกิจกรรมการประเมินอื่นๆ
 ประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 6 ด้าน โดยนักศึกษาประเมินตนเอง
และอาจารย์ผู้สอน
 การทวนสอบผลการเรียนรู้ ในรายวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ 25
ของวิ ช าที่ เ ปิ ด สอนในแต่ ล ะปี ก ารศึ ก ษา เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล
สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ ต่อการปรับปรุงการเรียนการสอน
และการพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
การดาเนินงาน (DO)
ในปี พุทธศักราช 2563 สาขาการศึกษาปฐมวัยได้ดาเนินงานหลังจาก
การประชุมวางแผนประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนี้

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


69

1. อาจารย์ ผู้ส อนรายวิ ชาจัด ทาแผนการประเมินผลการเรีย นรู้


โดยกาหนดวิธีการที่
ใช้ ใ นการประเมิ นและเกณฑ์ ก ารประเมิ นในและแผนการ
เรียนรู้ (มคอ.3) และมคอ.4 ของแต่ละรายวิชา อีกทั้ง มีการ
กาหนดเกณฑ์ ก ารประเมิ น ให้ นั กศึ กษามี ส่ ว นร่ วม และให้
อาจารย์ผู้ส อนนาเสนอต่อแผนการประเมินต่อหลักสูตรเพื่ อ
การตรวจสอบความเหมาะสมต่อไป
2. ประชุมเพื่อตรวจสอบแผนการประเมินตามที่ระบุในแผนการ
จัดการเรียนรู้และตรวจสอบเครื่องมือประเมินการทดสอบของ
แต่ละรายวิชาในหลักสูตรโดยดูความครอบคลุมผลการเรียนรู้
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาแห่งชาติ (TQF)
3. หลั ก สู ต รได้ แ จ้ ง ให้ อ าจารย์ ผู้ ส อนปรั บ ปรุ ง แบบแผนการ
ประเมินตามที่ประชุมเสนอแนะ และอาจารย์ผู้สอนชี้แจ้งการ
ประเมิ นผลการเรี ย นรู้ แ ก่ นักศึ ก ษาในรายวิ ช าที่ รั บ ผิ ด ชอบ
ได้รับทราบในสัปดาห์แรกของการจั ดเรีย นการสอนในแต่ล ะ
ภาคการศึ กษาและเปิ ดโอกาสให้ นักศึกษามี ส่วนร่ วมในการ
เสนอรู ปแบบการประเมิ นและสั ดส่ วนการประเมิ นในแต่ ล ะ
ด้านของผลการเรียนรู้
4. ดาเนินการตรวจสอบข้อสอบโดยอาจารย์ 3 ท่าน : 1 รายวิชา
ตามเกณฑ์การตรวจสอบที่กาหนดคณะกรรมการส่งข้อสอบที่
ผ่านการตรวจมายังหัวหน้าสาขาเพื่อตรวจทานอีกครั้ง สาหรับ
รายวิชาที่ต้องมีการปรับ แก้ ทางสาขาวิชาดาเนิ นการส่งกลั บ
ไปยั งอาจารย์ผู้ สอนเพื่ อปรับแก้ หลัง จากนั้นเจ้าหน้ าที่ส าขา
รวบรวมข้อสอบทั้งหมดส่งไปยังคณะเพื่อตรวจสอบและจัดส่ง
ข้อสอบไปยังสานักบริการการศึกษา ซึ่งรายวิชาที่ทาการทวน
สอบมีดังนี้
รายวิชาที่ทาการทวนสอบภาคการศึกษาที่ 1/2563
GE2100-121 อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต I
EC 2409-101 การศึกษาปฐมวัย
EC 2409-109 วิถีอิสลามสาหรับเด็กปฐมวัย
EC 2409-103 จิตวิทยาเด็กปฐมวัย
รายวิชาที่ทาการทวนสอบภาคการศึกษาที่ 2/2561
EC 2409-106 สมองกับการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย
EC 2409-105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเด็กพิเศษ
ED2401-109 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1
5. อาจารย์ผู้สอนประเมินผู้เรียนในแต่ละรายวิชาและสรุปผลการ
เรียนรายงานใน
มคอ.5 นาเสนอต่อหลักสูตร
6. ระบบการตรวจสอบเกรด ด้วยระบบการส่งเกรด E-register
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
70

ECE 5.3-5สานักบริการการศึกษาเป็นช่องทางการกรอกและ
ส่งเกรดของอาจารย์ผู้สอนที่มีขั้นตอนการตรวจสอบและยืนยัน
เกรดก่อนการยืนยันส่งไปยังสานักบริการการศึกษา 2 ขั้นตอน
คือผ่านหัวหน้าสาขา และคณบดีทั้งนี้ สาหรับรายวิชาที่มีเกรด
ผิดปกติ หรือมีข้ อผิด พลาดในการกรอกเกรด ในเบื้ องต้ นผล
จากการตรวจสอบของหัวหน้าสาขา หัวหน้าสาขาจะส่งเกรด
กลับไปยังผู้ส อนเพื่อทาการตรวจสอบและแก้ไข และส่งกลั บ
มายัง ระบบหั วหน้าสาขาอี กครั้ งก่ อนการยืนยันส่ง เข้าระบบ
ของคณบดี และคณบดี ด าเนิ นการตรวจสอบ หากไม่ มีข้ อ
ผิด ปกติ ห รื อข้ อผิ ด พลาด คณบดี ด าเนิ นการยื นยันเกรดเข้ า
ระบบเพื่อส่งไปยังสานักบริการการศึกษาต่อไป
ประเมินผลการดาเนินงาน (CHECK)
ทางหลั กสู ตรได้ ต รวจสอบพบข้ อผิ ดพลาดในการประเมิ นผู้ เ รี ย นของ
อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาทั่วไป จึงควรเพิ่มรายวิชาที่ทาการทวนสอบให้
หลากหลายมากขึ้นเพื่อลดความผิดพลาดที่เกิด ขึ้นจากการประเมินผล
ของอาจารย์ประจาวิชา และในบางรายวิชานักศึกษาไม่ได้มีส่วนร่วมใน
การออกแบบวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ ของตนเองตามมติที่ประชุ ม
ของสาขาECE 5.3-6
แนวทางการพัฒนา (ACTION)
หลักสูตรควรเปิดโอกาสเปิดเวทีให้นักศึกษามีการสะท้อนการประเมินผล
การเรียนรู้เพื่อนาข้อมูลมาพัฒนาระบบการประเมินและนอกเหนือจาก
การทวนสอบผลสั มฤทธิ์ ผ่านระบบ E-Register แล้ วควรมีการจั ด ท า
ระบบการทวนสอบออนไลน์ที่คลอบคลุมทั้งการทวนสอบ มคอ. 3 และ
มคอ.5เพื่อเพิ่มความสะดวกง่ายดายและรวดเร็วในการดาเนินงาน
-การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
การประเมินผลการดาเนินงาน ECE 5.3-1รายงานผล
หลักสูตร ศษ.บ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ได้มีการประชุมประเมินผล การทวนสอบผลสัมฤทธิ์
การดาเนินงานจากการทวนสอบรายวิชาเอกพบว่ามีนักศึกษาหนึ่งคนที่ ทางการเรียนตาม
ติด F ในรายวิชาเอกทุกวิชาจากการสอบสวนพบว่านักศึกษาได้ลาออก มาตรฐานผลการเรียนรู้
จากมหาวิทยาลัยตั้งแต่ต้นภาคการศึกษาที่ 1/2563 ปีการศึกษา 2563
การกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมิน หลักสูตร
(มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.7)
คณะกรรมบริหารหลักสู ตรได้มีการประชุมเพื่อกาหนดระบบ ECE 5.3-2คาสั่งแต่งตั้ง
กลไกแนวทางการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบTQF การตรวจสอบ คณะกรรการประเมิน
การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาและการกากับการประเมินการ ข้อสอบปลายภาค
จั ด การเรี ย นการสอนและประเมิ นหลั กสู ต ร (มคอ .5, 6, 7) ซึ่ ง 1/2563 และ 2/2563
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรทาหน้าที่กากับดูแลโดยผ่านการประชุม
โดยมีการกาหนดในการจัดการเรียนการสอนในมคอ . 3 ในรูปแบบการ
ประเมินผลให้นักศึกษามีส่ วนร่วมและน้าหนั กขององค์ประกอบในการ
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
71

ประเมิ น สอดคล้ อ งกั บ จุ ด เน้ น ของรายวิ ช าเพื่ อ น าไปสู่ ก ารปรั บ ปรุ ง


พั ฒ นาการสอนและเทคนิ ค การสอนซึ่ ง ประเมิ น ผลจากการพั ฒ นา ECE 5.3-3รายงานการ
นักศึกษาทั้งด้านต่อไปนี้ ประเมินการพิจารณา
- ด้านคุณธรรมจริยธรรม (Ethics and Moral) ข้อสอบปลายภาค
- ด้านความรู้ (Knowledge) 1/2563 และ 2/2563
-ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills)
- ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ECE 5.3-4รายงานผล
(Interpersonal Skills andResponsibility) การทวนสอบปี
- ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้ การศึกษา 1/2563 และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (NumericalAnalysis, Communication and 2/2563
Information Technology Skills)
- ด้านทักษะพิสัย(Psychomotor Skills)
D: มีการดาเนินการวัดประเมินผลนักศึกษาตามกรอบTQF ของนักศึกษา
โดยการประเมิ นผลและมี ก ารแต่ งตั้ ง คณะกรรมการบริ หารหลั กสู ต ร
ร่ วมกั บ อาจารย์ จากภายนอกเพื่ อท าหน้ า ที่ ท วนสอบก ากั บ ดู แ ลและ
ประเมิ นผลการจัด การเรี ยนการสอนและประเมินหลั กสู ตรตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิและมีการประชุมดังนี้
- กาหนดเกณฑ์การประเมินให้นักศึกษามีส่วนร่วมโดยระบุไว้
ในมคอ.3และมคอ .4อย่างชัดเจนภายใน30 วันก่อนเปิดภาคการศึกษา
และรายงานผลในมคอ .5, มอค .6และมคอ.7ภายใน30 วันเมื่อสิ้นภาค
การศึกษา
- กาหนดน้าหนักการเรียนรู้เป็นรายวิชาในมคอ.3โดย
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาตามcurriculums mapping ที่
ระบุบไว้ในมคอ.2
- กากับติดตามผลการดาเนินงานและประเมินการจัดการเรียน
การสอนและผลการดาเนินงานของหลักสูตรระหว่างภาคการศึกษาอย่าง
น้อย2 ครั้ง
- วิ เคราะห์เ ครื่ องมือที่ใ ช้ใ นการประเมิ นผลการเรี ยนรู้ต าม
จุด มุ่ งหมายรายวิ ช าตามที่ ร ะบุใ น มคอ.3 ให้มีค วามหลากหลาย(จาก
ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินปี2561)
C: - คณะกรรมการบริ ห ารหลั กสูต รมี การประชุ มประเมิ นผลการ
ดาเนินงานตามกระบวนการประเมินผลการดาเนินงานหลักสูตรมคอ.7
และรวบรวมองค์ค วามรู้ และจั ดท าเป็ นแนวทางปฏิบั ติเ พื่อพัฒ นาเป็ น
คู่มือฯเพื่อใช้ในปีการศึกษาถัดไปหรือประกาศใช้เป็นแนวปฏิบัติ
-การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
สาขามีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
นั้นจะดาเนินการตรวจสอบโดยคณะกรรมการประจาหลักสู ตรภายใต้
กระบวนการตรวจสอบแต่งตั้งกรรมการทวนสอบพิจารณาตั้งแต่เกณฑ์
การออกข้อสอบเกณฑ์การวัดและประเมินนักศึกษาที่มีความหลากหลาย
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
72

ผลการศึกษา ECE 5.3-2และการประเมินตามกรอบที่มีการระบุในมคอ.


3 ในรายวิชาที่ท าการเปิดประจาปีการศึ กษา2562 และรวบรวมการ
ประเมินผลของนักศึกษาต่ออาจารย์ผู้สอนและปรับการจัดการเรียนการ
สอนในปีการศึกษาถัดไป

A: มีการประชุมการกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและ
ประเมินหลักสูตรมคอ.5 และมคอ.79
ECE5.2-4
1) มี ระบบกลไกการกากั บการประเมินการจั ดการเรียนการสอนและ
ประเมินหลักสูตร
2.) การด าเนิ น การโดยที่ หั ว หน้ าสาขาวิ ช าและประธาน
หลักสูตรทางานร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ฯเพื่อติดตามกากับติดตามและ
ประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนเหมาะสมกับวิชาและผลลัพธ์การ
เรียนรู้การวิเคราะห์/ตรวจสอบคุณภาพ/ปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ใน
การประเมินคุณภาพนักศึ กษาการควบคุมการประเมิ นผลการเรีย นใน
รายวิชาที่มีหลายกลุ่มเรียนให้ได้มาตรฐานเดียวกันการตัดเกรดและแจ้ง
ให้นักศึกษารับรู้ชัดเจนโดยเริ่มตั้งการกาหนดผู้สอนการส่ง มคอ .3/มคอ.
4 และมคอ 5.หลักการออกข้อสอบเกณฑ์การวัดและประเมินผลการคัด
กรองตรวจสอบมคอ /5 .มคอ6 .และทารายงานสรุ ป ผลการด าเนิ นการ
หลักสูตรหรือมคอ.7 ผลการประเมินการการดาเนินการจัดการเรียนการ
ตามการรายงานของมคอ .5 ตลอดการสรุปผลการดาเนินงานหลักสูตร
มอค.7 ในเวทีการประชุมสาขาเพื่อปรับปรุงและสรุปให้เห็นชอบ
3.) ผลการประเมินผลการติดตามการกากับการประเมินการ
จัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสู ตรโดยอาจารย์ประจาหลักสูตร
อยู่ในระดับดีและมีการปรับปรุงการดาเนินการในปีการศึกษาต่อไป
4) ประเมิ นผลการปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาและผลที่ เ กิ ด จากการ
ปรับปรุงและพัฒนาของการกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอน
และประเมินหลักสูตรเปรียบเทียบปี2560 ,2561 และ 2562
5)ผลการประเมิน ดังนั้นปีถัดไปจะต้องมีการออกแบบวางแผนระบบ
การดาเนินการทวนสอบออนไลน์ที่ครอบคลุมทั้งการทวนสอบ มคอ. 3
และ มคอ.5 เพื่อเพิ่มความสะดวกง่ายดายและรวดเร็วในการดาเนินงาน

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 5.3
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ :3.00 .คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :3.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป : 4.00.คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


73

ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติตามที่ระบุใน มคอ. 2 ของ


หลักสูตร
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน
1. อาจารย์ประจาหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และ ผลการดาเนินงาน
ทบทวนการดาเนินการหลักสูตร หลั กสูต รศึกษาศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิ ชาการศึ กษาปฐมวัย ได้ มีการประชุ ม
อาจารย์ ป ระจาหลั ก สู ต ร โดยมี อาจารย์ เ ข้ า ร่ วมการประชุ ม เพื่ อวางแผ น
ติดตามและทบทวนผลการดาเนินงานหลักสูตร จานวน..5.....คน คิดเป็นร้อย
ละ.....80......... โดยมีการประชุมทั้งหมด.....9........ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่1วันที่5 มิถุนายน2561คนที่เข้าร่วมประชุม...5...คน
ครั้งที่2วันที่10 กรกฎาคม 2561คนที่เข้าร่วมประชุม.. 5..คน
ครั้งที่3 วันที่20 สิงหาคม 2561คนที่เข้าร่วมประชุม. 5..คน
ครั้งที่4วันที่17 กันยายน 2561คนที่เข้าร่วมประชุม...4..คน
ครั้งที่5วันที่22 ตุลาคม2561คนที่เข้าร่วมประชุม...4..คน
ครั้งที่6วันที่ 12 พฤศจิกายน 2561คนที่เข้าร่วมประชุม..4..คน
ครั้งที่7 วันที่8 ธันวาคม 2561 คนที่เข้าร่วมประชุม....5.......คน
ครั้งที่8 วันที่10 กุมภาพันธ์2562 คนที่เข้าร่วมประชุม...5...คน
ครั้งที่9 วันที่ 10 เมษายน 2562 คนที่เข้าร่วมประชุม...5...คน
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ. 2 ที่  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
สอดคล้ อ งกั บ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ แ ห่ ง ชาติ หรื อ ผลการดาเนินงาน
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/หลักสูตร (ถ้ามี) หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมีการจัดทาหลักสูตร
(มคอ.2) และ สกอ.ได้รับทราบหลักสูตร เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2563
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของ  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
ประสบการณ์ ภ าคสนาม (ถ้ ามี ) ตามแบบ มคอ.3 ผลการดาเนินงาน
และ มคอ.4 อย่ างน้ อยก่อนการเปิ ด สอนในแต่ ล ะ มหาวิทยาลัยเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 วันที่ 5 กรกฎาคม 2563 และเปิดภาค
ภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา เรียนที่ 2/2563วั นที่ 22 พฤศจิ กายน 2563 หลักสูตรศึ กษาศาสตรบัณฑิ ต
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ได้กาหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทารายละเอียดของ
รายวิชา (มคอ.3) และของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ตามแบบฟอร์ม
ของ สกอ. ก่ อ นการเปิ ด สอน ครบทุ ก รายวิ ช าและน าส่ ง ให้ ค ณะและ
มหาวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1/2563 มีรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด.....9...รายวิชา
ภาคเรียนที่ 2/2563 มีรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด...9.....รายวิชาทั้งหมดดังนี้
ภาคการศึกษาที่ 1
GE2100-121 ED2401-101
อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต I ภาวะผู้นาสาหรับครู
GE2100-122 อัลกุรอานเพื่อการพัฒนา EC 2409-101
คุณภาพชีวิต 2 การศึกษาปฐมวัย
GE2100-221 EC 2409-109
อิสลามและวิถีการดาเนินชีวิต วิถีอิสลามสาหรับเด็กปฐมวัย

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


74

ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน
GE2200-422 EC 2409-103
ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน จิตวิทยาเด็กปฐมวัย
ED2401-101
ครูผู้นาความเปลี่ยนแปลง
ภาคการศึกษาที่ 2
GE2100-123 อัลกุรอานเพื่อการพัฒนา EC 2409-104
คุณภาพชีวิต 3 พัฒนาการเด็กปฐมวัย
GE2100-222 การสื่อสารและการเผยแผ่ EC 2409-106 สมองกับการเรียนรู้
ในอิสลาม สาหรับเด็กปฐมวัย
GE2200-431 EC 2409-105
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเด็กพิเศษ
ED2400-002 ED2401-109
วิทยาการการศึกษาอิสลาม การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1
ED2401-108 ภาษาเพื่อการสื่อสารสาหรับ
ครู
4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และ  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
รายงานผลการด าเนิ น การของประสบการณ์ ผลการดาเนินงาน
ภาคสนาม (ถ้ ามี ) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 มหาวิทยาลัยเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 วันที่ 5 กรกฎาคม 2563 และเปิดภาค
ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่ เปิดสอน เรีย นที่ 2/2563วันที่ 22 พฤศจิ กายน 2563 หลักสูต รศึ กษาศาสตรบั ณฑิ ต
ให้ครบทุกรายวิชา สาขาวิ ชาการศึ กษาปฐมวั ยได้กาหนดให้อาจารย์ผู้ สอนจั ดทารายงานผลการ
ดาเนินการของรายวิ ชา (มคอ.5) และของประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ.6)
ตามแบบฟอร์มของ สกอ. ก่อนการเปิด สอน ครบทุ กรายวิ ชา และนาส่ง ให้
คณะและมหาวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1/2563 มีรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด....9....รายวิชา
ภาคเรียนที่ 2/2563 มีรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด....9....รายวิชา
5. จั ด ท ารายงานผลการด าเนิ นการของหลั กสู ต ร  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วั น หลั ง สิ้ น สุ ด ปี ผลการดาเนินงาน
การศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย สิ้ นสุ ด การเรี ย นการสอนประจาปี การศึ กษา 2563 วั นที่ 22
มีนาคม 2564 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยได้
จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) และนาส่งให้คณะและ
มหาวิทยาลัย วันที่ 1 มิถุนายน 2564
6. มี ก ารทวนสอบผลสั ม ฤทธิ์ ข องนั ก ศึ ก ษาตาม  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ที่กาหนดใน มคอ.3 และ มคอ.  ไม่เลือก
4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอน รายวิชาที่ทาการทวนสอบภาคการศึกษาที่ 1/2563
ในแต่ละปีการศึกษา GE2100-121 อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต I
EC 2409-101 การศึกษาปฐมวัย
EC 2409-109 วิถีอิสลามสาหรับเด็กปฐมวัย
EC 2409-103 จิตวิทยาเด็กปฐมวัย

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


75

ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน
รายวิชาที่ทาการทวนสอบภาคการศึกษาที่ 2/2561
EC 2409-106 สมองกับการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย
EC 2409-105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเด็กพิเศษ
ED2401-109 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1
ผลการดาเนินงาน
ผลการด าเนิ นงานพบว่าทุกรายวิชามีการจัด กาเรีย นรู้แ ละการประเมินผลที่
สอดคล้องกับ มคอ. 3 และมคอ. 5 และเป็นไปตามพันธกิจและวิสัยทัศของ
มหาวิทยาลัย คณะ และหลักสูตร
7. มีการพัฒ นา/ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอน  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
กลยุทธ์การสอนหรือการประเมินผล การเรียนรู้ จาก  ไม่เลือก
ผลการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7
ปีที่แล้ว
8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
หรือคาแนะนาด้านการจัดการเรียน การสอน  ไม่เลือก
ผลการดาเนินงาน
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยได้เปิดหลักสูตรครั้งแรกในปีการศึกษา 2563 ซึ่งมี
อาจารย์ใหม่ สาขาการศึกษาปฐมวัยจานวน 3 ท่านซึ่งทางสาขาได้จัดกิจกรรม
อบรมเพื่ อพัฒ นาทั กษะการทางานและการจัดการเรีย นการสอนในกิจกรรม
ประชุมอาจารย์และปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ จัดขึ้นในวันที่ 24 เมษายน 2562
ณ.ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์
9. อาจารย์ ประจาหลักสูตรทุกคนได้ รับการพัฒนา  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
ทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่ ง  ไม่เลือก
ครั้ง ผลการดาเนินงาน
อาจารย์ประจาหลักสูตร (จานวนครั้ง) รวม
วิชาการ วิชาชีพ
1.อาจารย์ฮูดา ฆอแด๊ะ
2.อาจารย์วันบายูรี คาเว็ง
3.อาจารย์นูรุลฮัคมูซอ
4.อาจารย์อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด
5.อาจารย์ฟาตีฮะห์ จะปะกียา
10. จานวนบุ ค ลากรสนั บ สนุ นการเรี ย นการสอน  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
(ถ้ ามี ) ได้ รับ การพั ฒนาวิ ชาการ และ/หรื อวิ ชาชี พ  ไม่เลือก
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ต่อปี
11. ระดั บ ความพึ ง พอใจของนั กศึ กษาปี สุ ด ท้ าย/  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
บั ณฑิ ต ใหม่ ที่ มี ต่ อคุ ณภาพหลั กสู ต ร เฉลี่ ย ไม่ น้อย  ไม่เลือก
กว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 ผลการดาเนินงาน
………ยังไม่มีนักศึกษาปีสุดท้าย……………………………………………….

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


76

ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน
12. ระดั บ ความพึ ง พอใจของผู้ ใ ช้ บั ณ ฑิ ต ที่ มี ต่ อ  ดาเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดาเนินการ/ไม่ผ่าน
บัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ ม  ไม่เลือก
5.0 ผลการดาเนินงาน
…………ยังไม่มีบัณฑิต……………………………………………………….
รวมตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานที่ระบุไว้ในปีนี้ จานวน 8 ตัวบ่งชี้
จานวนตัวบ่งชี้ที่มีการดาเนินงานผ่าน จานวน 8 ตัวบ่งชี้
ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ดาเนินงานผ่านในปีนี้ คิดเป็นร้อยละ 100.0
มีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00 คะแนน

การบริหารหลักสูตร
ปัญหาในการบริหาร ผลกระทบของปัญหาต่อสัมฤทธิผลตาม แนวทางการป้องกันและ หลักฐาน/
หลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร แก้ไขปัญหาในอนาคต ตารางอ้างอิง
ให้มีการอบรมอาจารย์ ไม่มี จัดกิจกรรม/โครงการพัฒนา แผนปฏิบัติการ
ใหม่ในด้านการจัดการ คุณภาพอาจารย์ทั้งทางด้าน สาขาวิชา
เรียนการสอนที่ วิชาการและวิชาชีพ การศึกษา
ครอบคลุมทุกด้านอย่าง ปฐมวัยประจาปี
เป็นกระบวนการ 2564
รูปธรรมที่ชัดเจน
มากกว่านี้

การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ (นามาจาก มคอ.5 ของแต่ละวิชา)


รหัส ภาค ความ เหตุทที่ าให้ มาตรการ หลักฐาน/
การตรวจสอบ
ชื่อวิชา การศึกษา ผิดปกติ ผิดปกติ แก้ไข ตารางอ้างอิง
- - - - - - -

รายวิชาที่ไม่ได้เปิดสอนในปีการศึกษา (นามาจากตารางสอนในภาคนัน้ ๆ)
หลักฐาน/ตาราง
รหัส ชื่อวิชา ภาคการศึกษา เหตุผลที่ไม่เปิดสอน มาตรการที่ดาเนินการ
อ้างอิง
- - - - -

รายวิชาที่สอนเนื้อหาไม่ครบในปีการศึกษา (นามาจาก มคอ.5 ของแต่ละวิชา)


หลักฐาน/ตาราง
รหัส ชื่อวิชา ภาคการศึกษา หัวข้อที่ขาด สาเหตุที่ไม่ได้สอน วิธีแก้ไข
อ้างอิง
- - - - - -

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


77

คุณภาพของการสอน
การประเมินรายวิชาที่เปิดสอนในปีที่รายงาน
รายวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการสอน และแผนการปรับปรุงจากผลการประเมิน
(นามาจาก มคอ5 แต่ละวิชา)
ภาค ผลการประเมินโดย
แผนการ หลักฐาน/ตาราง
รหัส ชื่อวิชา การศึก นักศึกษา
ปรับปรุง อ้างอิง
ษา มี ไม่มี
GE2100-121 อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1 1/2563  - E-Register
GE2100-122 อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2 1/2563  - E-Register
GE2100-221อิสลามและวิถีการดาเนินชีวิต 1/2563  - E-Register
GE2200-422 ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน 1/2563  - E-Register
ED2400-001ภาวะผู้นาสาหรับครู 1/2563  - E-Register
ED2401-101ครูผู้นาความเปลี่ยนแปลง 1/2563  - E-Register
EC2409-101 การศึกษาปฐมวัย 1/2563  - E-Register
EC2409-103 จิตวิทยาเด็กปฐมวัย 1/2563  - E-Register
EC2409-109 วิถีอิสลามสาหรับเด็กปฐมวัย 1/2563  - E-Register
GE2100-123 อัลกุรอานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 2/2563  - E-Register
GE2100-222 การสื่อสารและการเผยแผ่ในอิสลาม 2/2563  - E-Register
GE2200-431ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน 2/2563  - E-Register
ED2400-002 วิทยาการการศึกษาอิสลาม 2/2563  - E-Register
ED2401-108 ภาษาเพื่อการสื่อสารสาหรับครู 2/2563  - E-Register
ED2401-109การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 2/2563  - E-Register
EC2409-104 พัฒนาการเด็กปฐมวัย 2/2563  - E-Register
EC2409-105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเด็กพิเศษ 2/2563  - E-Register
EC2409-106 สมองกับการเรียนรู้เด็กปฐมวัย 2/2563  - E-Register

ผลการประเมินคุณภาพการสอนโดยรวม
จากที่นักศึกษาได้ทาการประเมินการสอนของทุกรายวิชาโดยเฉพาะรายวิชาเอกพบว่า ผลการสอนของอาจารย์ประจาหลักสูตร
ทุกท่านอยู่ในเกณฑ์ดีโดยอาจารย์ประจาหลักสูตรมีผลการประเมินการสอนในปีการศึกษา 2563 ดังนี้
ลาดับที่/ชื่อ คุณภาพการสอน ผลการ
ประเมิน
อาจารย์ฮูดา ฆอแด๊ะ ดี 4.44
อาจารย์วันบายูรี คาเว็ง ดี 3.90
อาจารย์นูรุลฮัคมูซอ ดี 4.24
อาจารย์อับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด ดี 4.22
อาจารย์ฟาตีฮะห์ จะปะกียา ดี 4.33

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


78

ประสิทธิผลของกลยุทธ์การสอน

สรุปข้อคิดเห็นของผู้สอน และข้อมูล หลักฐาน/ตาราง


มาตรฐานผลการเรียนรู้ แนวทางแก้ไขปรับปรุง
ป้อนกลับจากแหล่งต่าง ๆ อ้างอิง

คุณธรรมจริยธรรม นักศึ กษามี ค วามเคารพต่อคณาจารย์ ส่งเสริ มให้ นักศึกษาเข้าร่วม ผลงานนักศึกษา


และปฏิ บั ติ ต นเป็ น คนดี ต ามหลั ก ค า กิจกรรมพัฒนาคุณธรรมและ ประกาศนียบัตรเข้า
สอนของศาสนาและคุ ณลั กษณะของ จริ ย ธรรมที่ ท างคณะและ ร่วมโครงการ
การเป็นนักศึกษาที่ดี มหาวิทยาลัยได้จัดขึ้น
ความรู้ นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการศึกษาหา สาขาควรจั ด กิ จ กรรมหรื อ แผนปฏิบัติการ
ความรู้แต่ยังขาดในเรื่องอขงความรู้ โครงการที่ ช่ ว ยเพิ่ ม ความรู้ ประจาปี 2564
พื้นฐานภาษาต่างประเทศซึ่งเป็น แ ล ะ ทั ก ษ ะ ท า ง ด้ า น
อุปสรรคต่อการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่ ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้
หลากหลายมากขึ้น นักศึกษามากขึ้น
ทักษะทางปัญญา นักศึกษา มีความสามารถในการคิด ทางสาขาต้องให้ความสาคัญ แผนปฏิบัติการ
วิเคราะห์ แก้ปัญหาและ การจัดการที่ กิ จกรรมการเรี ย นการสอน ประจาปี 2564
ดี แต่ยังไม่สามารถเชื่อมโยงและ ทั้ ง ในและนอกห้ อ งเรี ย นที่
ถ่ายทอดความคิดให้เป็นระบบได้ สามาร ถ ใ ห้ นั กศึ กษาฝึ ก
ทักษะการคิด วิเคราะห์ และ
สั ง เ ค ร า ะ ห์ ต ล อ ด จ น
สามารถถ่ายทอดความคิดได้
อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ มี
ประสิทธิภาพ
ทั กษะ ค ว ามสั มพั น ธ์ นักศึ กษามี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อหน้ าที่ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษามี ส่ ว น แผนปฏิบัติการ
ระหว่ างบุ ค ลและความ และมี ทั กษะการสื่ อ สาร การท างาน ร่วมในกิจกรรมที่ช่วยพัฒนา ประจาปี 2564
รับผิดชอบ ระหว่ างองค์ กรได้ เ นื่ องจากนั กศึ กษา ศั ก ยภาพของตนเองทั้ ง ใน
ห ล า ย ค น ไ ด้ ด า ร ง ต า แ ห น่ ง และนอกห้องเรียน
คณะกรรมการชุมนุมนักศึกษา
ทักษะการวิ เคราะห์ เชิ ง นั ก ศึ ก ษามี ทั ก ษะการใช้ เ ทคโนโลยี ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ผลงานนักศึกษา
ตัวเลข การสื่ อสารและ บูรณาการกับการเรียนและการทางาน นั ก ศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม ประจาปีการศึกษา
ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ได้ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ 2564
สารสนเทศ มากขึ้น
ทักษะการจัดการเรียนรู้ นั ก ศึ ก ษามี แนวโน้ ม ที่ จะสามาร ถ ทางหลั ก สู ต รควรส่ ง เสริ ม แผนปฏิบัติการ
จัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพใน และพัฒนากิจกรรมด้านการ ประจาปี 2564
อนาคต จั ด กา ร เ รี ย นรู้ ที่ มี ค ว า ม
หลากหลายไม่ ว่าจะเป็ นทั้ ง
ในและต่างประเทศ

3. การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่
1.1 จานวนอาจารย์ใหม่ในหลักสูตร ......3....... คน
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
79

1.2 การดาเนินการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่
ไม่มีเหตุผลที่ไม่มีการปฐมนิเทศ.....................................
 มี(ระบุจานวนอาจารย์ใหม่ที่รับการปฐมนิเทศ) ............3...........คน
- วันที่จัดปฐมนิเทศ24 เมษายน 2562 ณ.ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์
- สรุปสาระสาคัญในการปฐมนิเทศ
เกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และระเบียบของมหาวิทยาลัยและการพัฒนาบุคลิกภาพบุคลากร
- ระดับผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ที่เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศในระดับดีมาก

กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์
กิจกรรมที่จัดหรือเข้าร่วม จานวนอาจารย์ที่เข้าร่วม สรุปข้อคิดเห็น และประโยชน์
(คน) ที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับ
1.โครงการพัฒนาโจทย์วิจัย โดยสานักวิจัยมหาวิทยาลัยฟาฏอนี 5 สามารถพัฒนาโรงการวิจัย
ในวันที่ 18 สิงหาคม 2563 ห้องประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ และเสนอโครงการแก่
หน่วยงานส่งเสริม
โครงการวิจัย
2.โครงการ KM มคอ 3 และพัฒนาเอกสารประกอบการสอน 5 สามารถเขียน มคอ ต่างๆ ได้
ในวันที่ 7 มิถุนายน 2563 ณ.ห้องประชุมเล็กชั้น 2 คณะ อย่างถูกต้อง อีกทั้งได้รับการ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เสริมแรงในการเขียนเอกสาร
ประกอบการสอน
3.โครงการสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน ในวันที่ 16 ตุลาคม 2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
2563 ณ ความสาคัญและบทบาทของ
การอ่านสาหรับเด็กปฐมวัย
4.กิจกรรมพัฒนาโจทย์วิจัย ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2563 ห้อง 5 รู้และเข้าใจวิธีการเขียน
ประชุมชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ ข้อเสนอวิจัยที่ดีและน่าสนใจ
5.โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ร่วมกับสานักทะเบียนและ 3 สามารถนาไปใช้ในการแนะ
วิชาการ แนวและให้คาปรึกษาแก่
นักศึกษาภายใต้การดูแลอย่าง
ดี
6.กิจกรรม KM เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาทั่วไป 2 เพื่อให้สามารถรู้และเข้าใจของ
ในวันที่ 27 ธันวาคม 64 ณ ห้องสัมนาชั้น 6 อาคารเทคโนโลยี OBL ของแต่ละกลุ่มรายวิชา
สารสนเทศ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ได้อย่างดีมากขึ้น
7.กิจกรรมพัฒนาครูและผู้เรียน New Normal ในที่ 7 มกราคม 5 ให้เทคนิคและสร้างทักษะการ
2564 ณ ห้องสัมนาชั้น 6 อาคารเทคโนโลยี สารสนเทศ เรียนและการสอนออนไลน์ที่
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปังและว้าว แก่นักศึกษาและ
คณาจารย์
8.กิจกรรม พัฒนาอาจารย์สู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการและวิจัย 5 ได้รู้และเข้าใจแนวแนว
ในที่ 4 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุมอเมซอนผังเมือง 4 ทางการพัฒนาครูปฐมวัยให้ถูก
จังหวัดยะลา ทางอย่างบูรณาการ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


80

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 5 : หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน


ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมิน
5.1 3.00 3.00 3.00
5.2 3.00 3.00 3.00
5.3 3.00 3.00 3.00
5.4 5.00 100.00 5.00
14 /4 = 3.50 คะแนน
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 4ตัวบ่งชี้ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน)
ระดับคุณภาพดี

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 5
จุดเด่น
1.รายวิชามีการบูรณาการข้าวศาสตร์ที่สอดคล้องกับความต้องของบริบทพื้นที่
2.อาจารย์ประจาหลักสูตรมีส่วนร่วมในการบริหารหลักสูตร
โอกาสในการพัฒนา
1.สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสาขาและสถานศึกษาระดับปฐมวัยเพื่อร่วมกันจัดการศึกษาปฐมวัยที่
สอดคล้องกับบริบทพื้นที่และสังคม
2.ผลิตตาราและสื่อการสอนปฐมวัยที่มีการบูรณาการหลักคาสอนศาสนาเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของ
โรงเรียนในพื้นที่

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


81

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
(มคอ.7 หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร)
ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง
สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ - ระบบการดาเนินงานของหลักสูตร/คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วม
ของอาจารย์ประจาหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
หลักสูตรให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม ECE6 .1-1 ร ะ บ บ แ ล ะ
ของอาจารย์ประจาหลักสูตร บุคลากรและนักศึกษาในการให้บริการ กล ไ ก กา ร จั ด ก า ร สิ่ ง
สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยมีร ะบบและกลไกในการบริหารจัดการ อ านวย ค วามสะ ด วก
ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ดังนี้ (ทรัพยากรสารสนเทศ)

ECE6.1-2 รายงาน
ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ
ก าหนดวางแผนสิ่ ง
สนับสนุนการเรียนรู้

ระบบและกลไก(PLAN)ECE6.1-1
หลั กสู ต รมี สิ่ง สนั บ สนุ นการเรี ย นรู้ โดยมหาวิท ยาลั ย และ
คณะจัดให้มีความพร้อมทั้งทางด้านกายภาพ ด้านเทคโนโลยี ด้านสื่อ
โสตทัศนูปกรณ์ และการให้บริการในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
1. ในรู ป แบบตั ว อาคารและวั ส ดุ ครุ ภั ณฑ์ และอุ ป กรณ์ ที่
นั ก ศึ ก ษาสามารถ ใช้ ในการเ รี ย นรู้ ในคณะต่ าง ๆที่ มี อ ยู่ ใ น
มหาวิทยาลัย ฟาฏอนี เช่ น ห้ องเรียน ห้องปฏิบัติ การคอมพิวเตอร์
ห้องปฏิบัติ การสอนแบบจุ ลภาค ห้องศึกษาค้นคว้าการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง ห้องคลินิกวิจัย ห้องสมุด โดยร่ วมกั บ สานั กวิ ท ยบริ การของ
มหาวิทยาลัย ห้องทรัพยากรการเรียนรู้ทางวิชาชีพศึกษาศาสตร์ เพื่อ
บริการหนังสือ ตาราเอกสารหลักสูตรหรือวารสารเฉพาะทาง และ
ต้นแบบสื่อการเรียนการสอน เพื่อใช้ประกอบการสอนของอาจารย์
และการศึ ก ษาค้ น คว้ า ของผู้ เ รี ย น เช่ น อุ ป กรณ์ มั ล ติ มี เ ดี ย
โปรเจคเตอร์ คอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายข้อมูลออนไลน์ โทรทัศน์
การศึกษาผ่านดาวเทียม เป็นต้น

2. ในรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้และสิ่งสนับสนุน
การเรี ยนรู้ เช่น ห้องสื่ อการเรียนรู้ และมุ มสืบค้ นข้อมู ลสารสนเทศ
ฐานข้อมูลทรัพยากรการเรียนรู้ วารสารวิชาการเพื่อสืบค้น มีบริการ
จุดกระจายสัญ ญาณอิ นเตอร์ เน็ตไร้สาย (wi-fi) เพื่ ออานวยความ
สะดวกในการศึกษาค้นคว้าแก่นักศึกษา เป็นต้น

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


82

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


3. ในรูปแบบเครือข่าย คณะมีแหล่งเรียนรู้/แหล่งฝึกงาน/ฝึก
ปฏิบัติการ/สถานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ
เรี ยนรู้แ ละสัมผัส ประสบการณ์ท างวิช าชี พครู รูป แบบการจัด การ
เรียนการสอน สภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่เป็นจริงในห้องเรีย น
และการเรียนรู้พัฒนาการของผู้เรียนโดยผ่านโรงเรียนเครือข่ายฝึ ก
ประสบการณ์ วิช าชีพ ครู จานวนไม่ น้อยกว่า 60 โรงใน 5 จัง หวั ด
ภาคใต้ ประกอบด้ วย ปั ตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตู ล ECE6.1-3 รายงาน
รวมถึงพื้นที่อื่นๆที่มีการประสานมา ผลการประเมินความ
หลั กสู ต รมี ร ะบบกลไกและกระบวนการจั ด หาและดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง
พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร
สนับสนุนการเรียนรู้ โดยมีกระบวนการดังนี้
1) มีการการสารวจความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดย
ใ ห้ บ ริ ก า ร สิ่ ง
ใช้การสอบถาม พูดคุยผ่านการประชุมของหลักสูตรสาหรับใน สนับ สนุนการเรียนรู้
ส่ ว นของอาจารย์ และการเปิ ด ช่ อ งทางออนไลน์ ส าหรั บ ของนั ก ศึ ก ษาแล ะ
นักศึกษาและการสอบถามในการประชุมพบปะกับนักศึกษา อาจารย์ ประจ าปี
2) นาเสนอความต้องการดังกล่าวไปยังคณะและหน่วยงานที่ การศึกษา 2563
เกี่ยวข้องในการดาเนินงานต่อไป
3) ติดตามผลการเสนอความตองการสิ่งอานวยความสะดวก
จากคณะและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4) สรุ ปรายการสิ่ งสนับ สนุนการเรี ยนรู้ ที่จาเป็ นต้ องใช้แ ละ
สามารถจัดหาได้

การดาเนินงาน (DO)
หลักสูตรมีการนาระบบและกลไกไปปฏิบัติและได้รายงานผล
การส ารวจและจั ด หาสิ่ ง สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ แ ก่ ค ณะโดยคณะ
กรรมการบริ ห ารหลั กสูต รร่วมกั นสารวจสิ่ง สนับ สนุ นการเรี ยนรู้ ที่
อานวยความสะดวกให้ แก่นักศึกษาสอดคล้องกับแผนผังระบบและ
กลไกสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของหน่วยงานและคณะ ECE6.1-4
นอกจากนี้ หลั กสูต รได้ด าเนิ นการเตรียมความพร้อมทางกายภาพ
ร่วมกับ คณะและมหาวิ ท ยาลั ย เช่ น ด้ านอาคารสถานที่ ห้ องเรี ย น
ห้องปฏิบัติการต่างๆ และอุปกรณ์อานวยความสะดวกในการจัดการ
เรี ย นรู้ ภู มิทั ศ น์แ ละการใช้ พื้ นที่บ ริ เ วณอาคารคณะ โดยจั ด พื้ นที่
บริ เ วณหน้าอาคารคณะให้ เป็ นลานกิจกรรมสาหรับ นั กศึ กษาและ
อาจารย์เ พื่อพบปะ แลกเปลี่ ยน สนทนา จัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนหรือกิจกรรมอื่นๆร่วมกัน
หลักสูต รได้มีการเตรียมพร้อมทางด้านสภาพแวดล้ อมด้าน
การเรียนรู้ เช่น หนังสือตาราเรียน และหนังสืออ่านเพิ่มเติม เพื่อเพิ่ม
ทักษะทางวิชาการและสร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ โดยทาการ
สารวจข้อมูลหนังสือในการจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับการ
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
83

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


จัด การเรีย นการสอนของหลั กสู ตร และนาเสนอความต้องการต่ อ
คณะและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
หลั กสู ตร ได้ มี ก าร เต รี ย มค วามพ ร้ อ มด้ านสถ านฝึ ก
ประสบการณ์วิช าชีพครู โดยร่วมกับศูนย์ฝึกระสบการณ์วิชาชีพครู
ของคณะศึ กษาศาสตร์ ติ ด ต่ อประสานกั บ โรงเรี ย นเครื อข่ ายฝึ ก
ประสบการณ์ วิช าชี พ ครู เพื่ อ เป็ นแหล่ ง การเรี ย นรู้ แ ละสถานฝึ ก
ปฏิบัติการวิชาชีพแก่นักศึกษาในหลักสูตร
นอกจากนั้ น แล้ ว ทางหลั ก สู ต รยั ง มี ไ ด้ ส ร้ า งช่ อ งทางการ
ติดต่อสื่อสารออนไลน์ระหว่างหลั กสูตรกับนักศึกษา รวมถึงผู้สนใจ
ทั่วไป ประกอบด้วยหน้าเพจของหลักสูตร กลุ่มแชต กลุ่มไลน์ เป็น
ต้น

ประเมินผลการดาเนินงาน(CHECK)
หลักสูตรได้มีการประเมิ นความพึ งพอใจของนักศึ กษาและอาจารย์
ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ คณะและมหาวิทยาลัย ได้ดาเนินการไว้
และประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่ อการจัด สิ่งสิ่ งสนั บสนุ น
การเรียนรู้ เพื่อนาข้อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์หาสาเหตุแนวทางในการ
ปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรค และโอกาสในอนาคต แล้วนาสู่กระบวนการ
ปรับ แผนและจัดท าแผนของหลั กสูต รต่อไป โดยปีการศึกษา2563
ผลความพึงพอใจทั้งของนักศึกษาและอาจารย์เฉลี่ยมีความพึงพอใจ
อยู่ในระดับมาก ดังปรากฏในตารางECE6.1-5
ความพึงพอใจของ ปีการศึกษา 2563
นักศึกษา 3.96
ระดับมาก
คณาอาจารย์ 3.75
ระดับมาก
เฉลี่ย 3.85
ระดับมาก
จานวนสิ่ งสนั บ สนุ น การเรียนรู้ ที่เ พี ยงพอและเหมาะสมต่อ การ
จัดการเรียนการสอน
ทางคณะและมหาวิ ท ยาลั ย ได้ จัด เตรี ย มสิ่ ง สนั บ สนุ นการ
เรี ย นรู้ ให้ กั บ นั กศึ ก ษาในหลั กสู ต ร โดยมี ทรั พ ยากรการเรี ย นรู้ ECE6.1-6 เอกสาร
ห้องเรีย นที่ เพี ยงพอกั บการจัด การเรีย นการสอนที่เ น้นผู้เ รีย นเป็ น แสดงวัสดุ ครุภัณฑ์
ส าคั ญ มี อุ ป กรณ์ การจั ด การเรี ย นการสอนและสื่ อ การเรี ย นรู้ ที่
และอุปกรณ์อานวย
เพียงพอต่อผู้เรียน อาทิเช่น ECE6.1-6
ความสะดวกในการ
1. ด้ านอาคารสถานที่ วั ส ดุ ครุ ภั ณฑ์ และอุ ป กรณ์ ในคณะและ
หน่วยงานต่างๆที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ที่นักศึกษาสามารถใช้ จัดการเรียนการสอน
ในการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมและการสืบค้น ของคณะ
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
84

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


1.1. จานวนห้ องเรี ย นที่ ใ ช้ จัด การเรี ย นการสอนในหลั กสู ต ร และ ศึกษาศาสตร์(เอกสาร
ขนาดความจุของห้องเรียน ส่วนกลาง)
1) ห้องเรียนแบบบรรยายขนาด 50 ที่นั่ง/ห้อง จานวน 4 ห้อง
2) ห้องเรียนแบบบรรยายขนาด 70 ที่นั่ง/ห้อง จานวน 4 ห้อง
3) ห้องสื่อและศึกษาด้วยตนเองความจุ 25 ที่นั่ง/ห้องจานวน 1
ห้อง
4) ห้องเรี ยนกิจกรรมกระบวนการกลุ่มและกิจกรรมอเนกประสงค์
(อิบนูคูตัยบะห์) ขนาด 200 ที่นั่ง จานวน 1 ห้อง
5) ห้องประชุมใหญ่ขนาดความจุ 250 ที่นั่ง จานวน 1 ห้อง
6) ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ขนาด 50 ที่นั่ง/ห้อง จานวน 1 ห้อง
7) ห้องปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค (Micro Teaching) จานวน 2
ห้อง
1.2 ชื่อวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ในการเรียนการสอนในห้องเรียน
พร้อมแสดงจานวนต่อหนึ่งห้องเรียน
1) ห้องเรียนบรรยายขนาด 50 ที่นั่ง/ห้อง
(1) โปรเจคเตอร์ประจาห้องเรียน จานวน 1 เครื่อง
(2) โต๊ะอาจารย์ เก้าอี้ประจาห้องเรียน จานวน 1 ชุด
(3) เก้าอี้เลกเชอร์สาหรับนักศึกษา จานวน 45-50 ตัว
2) ห้องเรียนบรรยายขนาด 70 ที่นั่ง
(1). โปรเจคเตอร์ประจาห้องเรียน จานวน 1 เครื่อง
(2) โต๊ะอาจารย์ เก้าอี้ประจาห้องเรียน จานวน 1 ชุด
(3) เก้าอี้เลกเชอร์สาหรับนักศึกษา จานวน 70 ตัว
3) ห้องสื่อและศึกษาด้วยตนเองความจุ 25 ที่นั่ง/ห้อง
(1) โปรเจคเตอร์ประจาห้องเรียน จานวน 1 เครื่อง
(2)โต๊ะอาจารย์ เก้าอี้ประจาห้องเรียน จานวน 1 ชุด
(3)เก้าอี้เลกเชอร์สาหรับนักศึกษา จานวน 25 ตัว
4) ห้ อ ง เรี ย นกิ จ กรร มกร ะบวนการกลุ่ มแล ะกิ จ กรร ม
อเนกประสงค์ (อิบนูคูตัยบะห์) ความจุ 200 ที่นั่ง
(1) โปรเจคเตอร์ประจาห้องเรียน จานวน 2 เครื่อง
(2) โต๊ะอาจารย์ เก้าอี้ประจาห้องเรียน จานวน 1 ชุด
(3) เก้าอี้เลกเชอร์สาหรับนักศึกษา จานวน 200 ตัว
(4) โต๊ะสาหรับทากิจกรรม
(5) ชุดเครื่องขยายเสียง จานวน 1 ชุด
(6) Visualizer จานวน 1 เครื่อง
5) ห้องประชุมใหญ่ ขนาดความจุ 250 ที่นั่ง
(1) โปรเจคเตอร์ประจาห้องเรียน จานวน 1 เครื่อง
(2) โต๊ะอาจารย์ เก้าอี้ประจาห้องเรียน จานวน 1 ชุด
(3) เก้าอี้สาหรับนักศึกษา จานวน 250 ตัว
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
85

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


(4) ชุดเครื่องขยายเสียง จานวน 1 ชุด
6) ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ขนาด 50 ที่นั่ง/ห้อง
(1) ชุดคอมพิวเตอร์ประจาห้อง จานวน 50 เครื่อง
(2) โปรเจคเตอร์ จานวน 1 เครื่อง
(3) ชุดคอมพิวเตอร์อาจารย์ จานวน 1 เครื่อง
7) ห้องปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค Micro Teaching
(1) โปรเจคเตอร์ประจาห้องเรียน จานวน 11 เครื่อง
(2) โต๊ะอาจารย์ จานวน 1 ชุด
(3) โต๊ะนักเรียน จานวน 35-40 ชุด
2. ในรู ปแบบสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้ และสิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้ ทางคณะและมหาวิทยาลัย ได้จัดเตรียมสภาพแวดล้อมด้าน
การเรียนรู้ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ให้กับหลักสูตร ดังนี้
2.1 หน่วยงานที่สนับสนุนสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้ และสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้ มีดังรายละเอียดต่อไปนี้
1) ส านั กวิ ท ย บ ริ ก าร เ ป็ นห น่ วย ง า นที่ ส นั บ ส นุ น
สภาพแวดล้อมให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลข่าวสาร ทั้งใน
สิ่งตีพิมพ์และรูปแบบข้อมูลสารสนเทศ ดังรายละเอียดดังนี้
- สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จานวน 6,948 เรื่อง
- ความรู้อยู่ในรูปแบบซีดี จานวน 837 เรื่อง
- ความรู้อยู่ในรูปแบบเทป จานวน 342 เรื่อง
- ความรู้อยู่ในรูปแบบวิดีโอ จานวน 267 เรื่อง
- ความรู้อยู่ในรูปแบบดีวีดี จานวน 115 เรื่อง
- สารสารวิชาการ จานวน 7 เรื่อง
2) ศูนย์ค อมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศ เป็ นศู นย์ ที่
ให้บริการให้ นักศึกษาไปฝึ กทักษะทางด้ านคอมพิวเตอร์และสืบค้ น
ข้อมู ล สารสนเทศผ่ านเครื อข่ ายคอมพิ วเตอร์ ทั้ ง อิ นเตอร์ เ น็ ต และ
อินทราเน็ต
3) ศู นย์ ศึ กษาอั ล กุ ร อาน เป็ นศู น ย์ ที่ ใ ห้ บ ริ การด้ านการฝึ ก
ทักษะการอ่ าน ศึ กษาและการท่ องจาอั ล กุ รอาน เป็ นหั วใจส าคั ญ
สาหรับนั กศึกษาของมหาวิท ยาลั ยทุกคนที่ต้องผ่านทั กษะการอ่าน
ศึกษาและการท่องจาคัมภีร์อัลกุรอาน
2.2 ระบบออนไลน์เ พื่ อสนับ สนุ นสภาพแวดล้ อมด้ านการการ
เรียนรู้ และสิ่งสนับสนุนการีเยนรู้ของผู้เรียน ดังรายละเอียดดังนี้
1) ระบบบริการการศึกษา E-REGISTER ระบบที่ให้บ ริการ
การลงทะเบีย น การติดตามผลการเรีย น การยื นยันจบและการขอ
เอกสารต่างของนักศึกษาที่ผ่านระบบออนไลน์
2) ห้ องสมุ ด อั ต โนมั ติ Library E-MAKTABAH นั กศึ กษา
สามารถสืบค้นหนังสือ และยืมคืนหนังสือผ่านระบบออนไลน์
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
86

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


3) E-DAKWAH เป็นเว็บไซต์บรรยายเกี่ยวกับความรู้ทางด้าน
ศาสนาและด้านคุณธรรมจริยธรรมที่นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติม
ได้ตลอดเวลา
4) เว็บไซต์มหาวิทยาลัย http://www.ftu.ac.th/main/cd/
เป็นการบริการข้อมูลทั่วไปที่นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย
ควรทราบ และการติดตามการเคลื่อนไหวของกิจกรรมมหาวิทยาลัย
เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาสามารถปรั บ ตั ว เข้ า กั บ สภาพแวด ล้ อ มของ
มหาวิทยาลัย
2.3 เครือข่ายเพื่อสนับสนุนสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้ และ
สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
หลักสูตรร่วมกับศูนย์ฝึกระสบการณวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ ได้
ดาเนิ นการสร้ างความร่ วมมื อกับ โรงเรียนเครื อข่ายฝึกระสบการณ์
วิชาชีพ ครู เพื่อเป็ นแหล่ งสนับ สนุนให้ นักศึกษามีส ถานที่ ในการลง
พื้นที่สัมผัสโรงเรียน สังเกตการสอนและสภาพแวดล้อมของโรงเรียน
เพื่ อสร้ างเจตคติ ที่ ดี ต่ อการเป็ นครู และการฝึกปฏิ บั ติ การสอนใน
สถานศึกษา ปัจจุบันคณะมีโรงเรียนเครือข่ายฝึกระสบการณ์วิชาชีพ
ครูไม่ต่ากว่า 60 โรง ครอบคลุมพื้นที่ใน 5 จังหวัดชายแดนใต้และ
พื้นที่อื่นๆที่ได้รับการประสาน
กระบวนการปรั บ ปรุ งตามผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจของ
นักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
คณะกรรมการบริ ห ารหลั กสู ต รได้ ด าเนิ น ประชุ มว่ าด้ วยเรื่ อ งสิ่ ง
สนับสนุนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร ผลการดาเนินงานตาม
ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น ทาให้อาจารย์ประจาหลักสูตรและนักศึกษา
มี สิ่ ง สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ ด้ านต่ างๆที่ ส อดคล้ องกั บ หลั กสู ต รเพื่ อ
ส่งเสริ ม สนับ สนุ นการจั ดการเรีย นการสอนและการศึ กษาค้นคว้ า
ผลการประเมินความพึงพอใจในด้านสิ่งอานวยความสะดวกและสิ่ง
สนั บ สนุนการเรี ย นรู้ ของนั กศึกษาและอาจารย์ ในภาพรวมอยู่ ใ น
ระดับมาก ดังตาราง
ความพึงพอใจของ ปีการศึกษา 2563
นักศึกษา 3.96
ระดับมาก
คณาอาจารย์ 3.75
ระดับมาก
เฉลี่ย 3.85
ระดับมาก
แนวทางการพัฒนา(ACTION)
จากการประเมิ น ความพึ ง พอใจของนั ก ศึ ก ษาที่ ผ่ า นมา พบว่ า
นักศึกษามีความพึงพอใจด้านสภาพแวดล้อมทั้งในและนอกชั้นเรียน
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563
87

ตัวบ่งชี้ ระบบกลไกและผลการดาเนินงาน หลักฐาน/ตารางอ้างอิง


รวมถึง ห้องสมุ ดสาหรั บกาศึกษาค้นคว้า ส่วนด้านที่ ต้องการให้ทาง
คณะจั ดเตรียมเพิ่มเติมคื อ สถานที่ในการอ่านหนังสื อ ท ากิจกรรม
และการสั น ทนาการ โดยทางหลั ก สู ต รจะได้ ห าแนวทางในการ
ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาเพื่ อตอบสนองตามความต้ องการของผู้ เ รี ย น
ต่อไป

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี้ 6.1
ผลการประเมินตนเองครั้งนี้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้าหมายของปีนี้ :4.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน บรรลุเป้าหมาย
เป้าหมายปีต่อไป : 4.00 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 6 : สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้


ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมิน
6.1 4.00 บรรลุเป้าหมาย 4.00
4.00 /1 = 4.00 คะแนน
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 1ตัวบ่งชี้ (คะแนนเต็ม 5คะแนน)
ระดับคุณภาพ ดี

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนาองค์ประกอบที่ 6
จุดเด่น
1. มีการจัดเตรียมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อย่างครบครัน พร้อมใช้งาน
2. มีแหล่งสืบค้นและภูมิทัศน์ร่มรื่น ส่งเสริมบรรยากาศในการเรียนและการศึกษาค้นคว้า
3. มีการประสานโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูอย่างเพียงพอต่อการลงพื้นที่ด้านฝึกประสบการณ์
วิชาชีพ

โอกาสในการพัฒนา
1. เพิ่มกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาที่อยู่ภายใต้ที่ปรึกษาให้มีความหลากหลาย
มากขึ้น
2. เพิ่มอุปกรณ์อานวยความสะดวกด้ารการจัดการเรียนการสอน สถานที่ทากิจกรรมนอกชั้นเรียน เช่น ชุดโต๊ะเก้าอี้
สนามตามจุดต่างๆ เพิ่มการกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ตให้ทั่วถึง เป็นต้น

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


88

สรุปผลการประเมิน และทิศทางการพัฒนา
ในปีการศึกษา 2563หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยหลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มีผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ ดังนี้
ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ
ผลการดาเนินงาน
คะแนนประเมิน
ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (%
ของหลักสูตร
ตัวหาร หรือสัดส่วน)
องค์ประกอบที่ 1 การกากับให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์
ผ่าน
มาตรฐานหลักสูตรที่กาหนดโดยสกอ.
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3.00 3.00
ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00 3.00
ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2.00 3.00
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 3.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3 4.00
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ตัวบ่งชี้ 4.2.1ร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรที่มี 0
ร้อยละ20 0.00 0.00
คุณวุฒิปริญญาเอก 5
ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรที่ดารง 0
ร้อยละ60 0.00 0.00
ตาแหน่งทางวิชาการ 5
ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร ร้อยละ40 0.6
12.00 3.00
5
ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3 4.00
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 3.00
องคประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00
ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการ
3 3.00
เรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ 5.3การประเมินผู้เรียน 3 3.00
ตั ว บ่ ง ชี้ 5.4 ผลการด าเนิ น งานหลั ก สู ต รตามกรอบ
5 5.00
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 3.50
องคประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


89

ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ


ผลการดาเนินงาน
คะแนนประเมิน
ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (%
ของหลักสูตร
ตัวหาร หรือสัดส่วน)
ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00 4.00
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 4.00
เฉลี่ยรวมทุกองค์ประกอบ 3.27

ตารางที่ 1.5 การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร


ผลการประเมิน
องค์ คะแน จานวน คะแนน 0.01–2.00 ระดับคุณภาพน้อย
I P O 2.01–3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ประกอบที่ นผ่าน ตัวบ่งชี้ เฉลี่ย 3.01–4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01–5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 - - - - - ไม่รับการประเมิน
คะแนนเฉลี่ยของทุกตัวบ่งชี้ใน

3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง


องค์ประกอบที่2 -6

4 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง


5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
รวม 11 3.00 3.75 -
ระดับคุณภาพ 3.27 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน ระดับคุณภาพดี -
ปานกลาง

การบริหารหลักสูตร
ผลกระทบของปัญหาต่อสัมฤทธิผลตาม แนวทางการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาในการบริหารหลักสูตร
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ปัญหาในอนาคต

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


90

ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผูป้ ระเมิน

ข้อมูลประเมิน ณ วันที่ .............................


ข้อคิดเห็นหรือสาระจากผู้ประเมิน ความเห็นของผูร้ ับผิดชอบหลักสูตร การนาไปดาเนินการวางแผนหรือ
ปรับปรุงหลักสูตร
- - -

สรุปการประเมินหลักสูตร
การประเมินจากผู้ที่สาเร็จการศึกษา
ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน
- -
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน
-

การประเมินจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ผู้ใช้บัณฑิต)
ข้อมูลประเมิน ณ วันที่ .............................
กระบวนการประเมิน ……………………………………………………………………..
ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน
- -
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน
-

การเปลี่ยนแปลงที่มผี ลกระทบต่อหลักสูตร

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


91

แผนการดาเนินงานเพือ่ การพัฒนาหลักสูตร
ความก้าวหน้าของการดาเนินงานตามแผนที่เสนอในรายงานของปีที่ผ่านมา
1- ความก้าวหน้าของการดาเนินงานตามแผนทีเ่ สนอในรายงานของปีที่ผ่านมา
มีการจัดโครงการตามแผนการดาเนินงานดังนี้
แผนปฏิบัติการ วันที่คาดว่าจะสิ้นสุด ผู้รับผิดชอบ ความสาเร็จของแผน
แผน

2- ข้อเสนอในการพัฒนาหลักสูตร
2.1- ข้อเสนอในการปรับโครงสร้างหลักสูตร ( จานวนหน่วยกิต รายวิชาเอกบังคับ รายวิชาเอกเลือก ฯ)
- ปรับแผนการลงทะเบียน
2.2- ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลงรายวิชา
- ไม่มี
3- แผนปฏิบัติการใหม่สาหรับปีการศึกษา 2564
แผนปฏิบัติการ วันที่คาดว่าจะสิ้นสุดแผน ผู้รับผิดชอบ

รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563


92

1. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร : นางสาวฮูดา ฆอแด๊ะ

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : 25 มิถุนายน 2564


2. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร: นายวันบายูรี คาเว็ง

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : มิถุนายน 2564


3. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร: นายนูรุลฮัคมูซอ

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : มิถุนายน 2564


4. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร: นางสาวฟาตีฮะห์ จะปะกียา
ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : มิถุนายน 2564
5. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร: นายอับดุลกอนีเต๊ะมะหมัด

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : มิถุนายน 2564


เห็นชอบโดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รูฮานา สาแมง (หัวหน้าสาขาวิชา)

ลายเซ็น : ……………………………………………………………..วันที่รายงาน : มิถุนายน 2564

เห็นชอบโดย : อาจารย์มาหามะรอสลี แมยู (รองคณบดีฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ)

ลายเซ็น : ………….............................................................วันที่รายงาน : มิถุนายน 2564

เห็นชอบโดย : ผศ.ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ. (คณบดี)

ลายเซ็น : ………………………………………………………..วันที่รายงาน : มิถุนายน 2564

-------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการดาเนินงานระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจาปีการศึกษา 2563

You might also like