You are on page 1of 10

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการแพทย์แผนตะวันออก
Master of Science Program in Oriental Medicine

วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
มหาวิทยาลัยรังสิต
Graduate School : Rangsit University

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการแพทย์แผนตะวันออก
Master of Science Program in Oriental Medicine

ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนตะวันออก
ภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Oriental Medicine

ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การแพทย์แผนตะวันออก)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Science (Oriental Medicine)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วท.ม. (การแพทย์แผนตะวันออก)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Sc. (Oriental Medicine)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ
วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต

ปรัชญา
การเปิดหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนตะวันออก มีจุดมุ่งมั่นในความเป็นเลิศ
ทางวิชาการด้านการแพทย์แผนตะวันออก โดยเน้นการฟื้นฟูภูมิปัญญาและการพัฒนาให้มีความทันสมัยด้วยหลัก
ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมกับสามารถปรับใช้ในระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยและระดับสากล
ได้ บนพื้นฐานของการประเมินด้านคุณภาพ ความปลอดภัยและประสิทธิผล

ความสาคัญ
เน้นการพัฒนาสมุนไพร การวิจัยด้านการแพทย์แผนตะวันออก เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถใน
กลุ่มวิชาต่างๆ อันเป็นผลให้เพิ่มบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสุขภาพ ความงาม การแพทย์ทางเลือก นักวิจัยและ
พัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ได้มาตรฐาน

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1. เพื่อผลิ ตมหาบั ณ ฑิต ผู้เชี่ยวชาญการแพทย์แผนตะวันออกที่มีความสามารถในการพัฒ นาผลิตภัณ ฑ์
สมุน ไพร ด้านการแพทย์ทางเลือกที่ ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ และเป็นการเพิ่ มศักยภาพของ
ประเทศไทยในการแข่งขันทางการค้า การบริการด้านสุขภาพและการแพทย์ทางเลือกในระดับสากล
2. เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนตะวันออกให้มีศักยภาพสูง
3. เพื่อวิจัยและพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนตะวันออกให้มีความเจริญก้าวหน้า และสามารถเชื่อมโยง
เข้ากับระบบการบริการสุขภาพหลักของประเทศได้
4. เพื่อการพัฒนารูปแบบตารับยาจากภูมิปัญญา การควบคุมคุณภาพวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้มี
ความทันสมัยและมีการประเมินด้านคุณภาพ ความปลอดภัยและประสิทธิผล

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 2
Graduate School : Rangsit University

วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
เรียน วันเสาร์ – วันอาทิตย์ เวลา 09.00 - 17.00 น.

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สาเร็ จการศึ ก ษาไม่ ต่ ากว่า ปริญ ญาตรี จ ากสถาบั น การศึ ก ษาที่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิก ารหรื อ สานั ก งาน
คณะกรรมการเข้ าราชการพลเรือนรั บรอง หรือส าเร็ จการศึ กษาปริญ ญาตรีส ายตรงด้ านการแพทย์ แ ผนไทย
การแพทย์ แผนไทยประยุกต์และ การแพทย์แผนตะวันออก หรือสาเร็จการศึกษาปริญ ญาตรีด้านวิทยาศาสตร์
สุขภาพ
2. ในกรณีที่ศึกษาตามแผน ก แบบ ก1 ผู้เข้าศึกษาจะต้องจบปริญ ญาตรีสาขาการแพทย์แผนตะวันออก
และมีเกรดเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.00
3. ไม่เคยต้องโทษตามคาพิพ ากษาของศาล เว้นแต่ในกรณี ที่ โทษนั้น เกิดจากความผิดอัน ได้ก ระทาโดย
ประมาท หรือความผิดอันเป็นลหุโทษ
4. ไม่เคยเป็นผู้มีความประพฤติเสียหาย
5. ไม่เป็นคนวิกลจริต
6. เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต

ระบบการจัดการศึกษา
1. ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษา
ปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
2. ระยะเวลาการศึกษา 2 ปี
3. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในการเรียนการสอน

กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)
การวัดผล ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยรังสิต ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 ดังนี้
1. มหาวิทยาลัยดาเนินการวัดและประเมินผล แต่ละรายวิชาที่นักศึกษาได้ลงทะเบียนเรียน การวัดผลและ
ประเมินผล อาจกระทาโดยการสอบหรือวิธีอื่น ตามที่คณะที่รับผิดชอบ รายวิชาจะกาหนดการสอบใน
แต่ละรายวิชาให้มีอย่างน้อยหนึ่งครั้ง
2. การวัดและประเมิน ผลเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้สอน หรือผู้ ที่คณะที่รับผิดชอบ
รายวิชาจะกาหนด
3. ทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน นักศึกษาต้องมีเวลาศึกษาไม่น้ อยกว่าร้อยละแปดสิบของเวลาศึกษา
ทั้งหมดหรือได้ทางานในรายวิชานั้น จนเป็นที่เพียงพอตามที่อาจารย์ผู้สอนกาหนด จึงจะมีสิทธิ์ได้รับการ
วัดและประเมินผล เว้นแต่จะได้รับการอนุมัติเป็นกรณีพิเศษจากคณบดี เมื่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเห็น
ว่าเวลาศึกษาที่ไม่ครบนั้น เนื่องจากเหตุอันจะโทษนักศึกษาผู้นั้นมิได้
4. การวัดผลการสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ และการสอบวิทยานิพนธ์ เป็นหน้าที่และ
ความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ อ านวยการหลั ก สู ต รและอาจารย์ ที่ ป รึก ษา โดยจะต้ อ งเป็ น ไปตามที่ บั ณ ฑิ ต
วิทยาลัยกาหนด
5. การวัดและประเมินผลในแต่ละรายวิชาให้ประเมินเป็นอักษรระดับขั้น (Letter Grades) ที่มีค่าระดับขั้น
(Numeric Grades) ดังต่อไปนี้

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 3
Graduate School : Rangsit University

ระดับขั้น ความหมาย ค่าระดับขั้น(ต่อหนึ่งหน่วยกิต)


A ดีเยี่ยม 4.0
B+ ดีมาก 3.5
B ดี 3.0
C+ พอใช้ 2.5
C อ่อนมาก 2.0
F ตก 0.0
6. สัญลักษณ์ที่ไม่มีค่าระดับ มีความหมายดังนี้
S หมายความว่า ผลการศึกษาอยู่ในระดับขั้นเป็นที่น่าพอใจและหน่วยกิตเป็นหน่วยกิตสะสมได้
U หมายความว่า ผลการศึกษาอยู่ในขั้นไม่เป็นที่พอใจ และไม่นับหน่วยกิตให้
W หมายความว่า ถอนหรือยกเลิกการลงทะเบียนเรียน ใช้เมื่อนั กศึกษาได้รับการอนุมัติให้ถอนหรือ
ยกเลิ ก การลงทะเบี ย นเรี ย นวิ ช านั้ น ตามความในข้ อ 26.2.2 แห่ ง ข้ อ บั ง คั บ
มหาวิทยาลัยรังสิต ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 หรือเมื่อได้รับ
การอนุมัติให้ลาพักการศึกษา
I หมายความว่า การวัดและประเมินผลยังไม่สมบูรณ์ ใช้เมื่ออาจารย์ผู้สอน โดยความเห็นชอบของ
ผู้ อ านวยการหลั ก สู ต รที่ รั บ ผิ ด ชอบรายวิ ช านั้ น เห็ น สมควรให้ ร อการวั ด และ
ประเมินผลไว้ก่อน เนื่องจากนักศึกษายังปฏิบัติงานซึ่งเป็นส่วนประกอบการศึกษา
รายวิชานั้นยังไม่สมบูรณ์ เมื่อได้สัญลักษณ์ I ในรายวิชาใดนักศึกษาต้องดาเนินการ
ติดต่ ออาจารย์ผู้ สอนหรือ หลัก สูตรที่ รับผิ ดชอบรายวิช านั้ น เพื่ อให้ มีก ารวัดและ
ประเมินผลเพิ่มเติมภายในเวลา 3 สัปดาห์ ในกรณีที่มีเหตุอันควร อาจารย์ผู้สอน
หรือหลักสูตรที่รับผิดชอบรายวิชานั้นอาจอนุญ าตให้ขยายกาหนดเวลาดังกล่าวได้
แต่ทั้งนี้ไม่เกิน 2 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาปกติถัดไป เมื่อพ้นกาหนดดังกล่าว
ยังไม่สามารถวัดและประเมินผลได้ สัญ ลักษณ์ I จะเปลี่ยนเป็นระดับขั้น F หรือ
สัญลักษณ์ U แล้วแต่กรณีทันที
IP หมายความว่า การศึ ก ษาในรายวิ ช านั้ น ยั ง ไม่ สิ้ น สุ ด การให้ สั ญ ลั ก ษณ์ IP จะกระท าได้ เฉพาะ
รายวิชาวิทยานิพนธ์ วิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือรายวิชาโครงงานที่มีการเรียน
หรือปฎิบัติงานต่อเนื่องกันมากกว่าหนึ่งภาคการศึกษา สัญลักษณ์ IP จะถูกเปลี่ยน
เมื่ อ การเรี ย นหรื อ การปฏิ บั ติ ง านในรายวิ ช านั้ น สิ้ น สุ ด และมี ก ารประเมิ น ผล
การศึกษาเป็นระดับขั้น หรือสัญลักษณ์ S หรือ U ตามแต่กรณี

เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
1. แผน ก แบบ ก1
1.1 ได้ เสนอวิ ท ยานิ พ นธ์ แ ละสอบผ่ า นการสอบปากเปล่ า ขั้ น สุ ด ท้ า ย โดยคณะกรรมการสอบ
วิทยานิ พ นธ์แ ละต้อ งเป็น ระบบเปิด ให้ ผู้สนใจเข้ารับฟั ง ได้ และได้ สอบผ่านภาษาอัง กฤษตาม
ประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่องเกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษสาหรับนัก ศึกษาหลักสูตร
ปริญญามหาบัณฑิต รวมทั้งเกณฑ์อื่นๆครบถ้วนตามหลักสูตรและข้อกาหนดของสาขาวิชาที่จะรับ
ปริญญา
1.2 ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการ
ยอมรั บ ให้ ตี พิ ม พ์ ใ นวารสารระดั บ ชาติ หรื อ ระดั บ นานาชาติ ที่ มี คุ ณ ภาพ ตามประกาศ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 4
Graduate School : Rangsit University

คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาเรื่อ งหลั ก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาวารสารทางวิช าการส าหรับ การ
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
1.3 ไม่ อ ยู่ ในระหว่ า งการรอรั บ โทษทางวิ นั ย นั ก ศึ ก ษา ที่ ร ะบุ ให้ ง ดการเสนอชื่ อ เพื่ อ รั บ ปริญ ญา
ชั่วระยะเวลาหนึ่ง
1.4 ได้ดาเนินการเพื่อขอรับปริญญาตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
2. แผน ก แบบ ก2
2.1 ได้ศึกษาและผ่านการวัดประเมินผลรายวิชาต่างๆ ได้เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปาก
เปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้
และได้ ส อบผ่านภาษาอั งกฤษตามประกาศมหาวิท ยาลั ยรั ง สิ ต เรื่ องเกณฑ์ มาตรฐานความรู้
ภาษาอั งกฤษสาหรับนั กศึก ษาหลักสู ตรปริญ ญามหาบัณ ฑิ ต รวมทั้ งเกณฑ์ อื่น ๆ ครบถ้ วนตาม
หลักสูตรและข้อกาหนดของสาขาวิชาที่จะรับปริญญา
2.2 ได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 จากระบบ 4
2.3 ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้อ งได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการ
ยอมรั บ ให้ ตี พิ ม พ์ ใ นวารสารระดั บ ชาติ ห รื อ ระดั บ นานาชาติ ที่ มี คุ ณ ภาพตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึ กษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิ จารณาวารสารทางวิชาการสาหรับ การ
เผยแพร่ ผลงานทางวิช าการ หรือน าเสนอต่ อ ที่ป ระชุ มวิ ชาการโดยบทความที่ น าเสนอฉบั บ
สมบู ร ณ์ (Full Paper) ได้ รั บ การตี พิ มพ์ ใ น รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม วิ ช าการ
(Proceedings) ดังกล่าว
2.4 ไม่ อ ยู่ ในระหว่ า งการรอรั บ โทษทางวิ นั ย นั ก ศึ ก ษาที่ ร ะบุ ใ ห้ ง ดการเสนอชื่ อ เพื่ อ รั บ ปริ ญ ญา
ชั่วระยะเวลาหนึ่ง
2.5 ได้ดาเนินการเพื่อขอรับปริญญาตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด

โครงสร้างหลักสูตร
1. แผน ก แบบ ก1 (ทาเฉพาะวิทยานิพนธ์) หน่วยกิตตลอดหลักสูตร 37 หน่วยกิต
1) วิทยานิพนธ์ 37 หน่วยกิต
2. แผน ก แบบ ก2 (ศึกษารายวิชาและทาวิทยานิพนธ์) หน่วยกิตตลอดหลักสูตร 37 หน่วยกิต
1) หมวดวิชาบังคับ 5 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเลือก 8 หน่วยกิต
3) วิทยานิพนธ์ 24 หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร
1. หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิตรวม)
นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาเสริมพื้นฐานทางภาษาอังกฤษ ตามข้อกาหนดในประกาศ
ของมหาวิทยาลัยรังสิต ที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์มาตรฐานทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ และจะต้องลงทะเบียนรายวิชา
เสริมพื้นฐานอื่นๆ ตามความเห็นของผู้อานวยการหลักสูตรหรือคณะกรรมการหลักสูตร โดยพิจารณาจากใบรับรอง
ผลการศึกษา (Transcript) ในระดับปริญญาตรีของนักศึกษาและผลการสอบคัดเลือก และไม่นับรวมเป็นหน่วยกิ
ตของหลักสูตร ส่วนการวัดผลรายวิชาเสริมพื้นฐานในระบบ S/U (พอใจ/ไม่พอใจ) มีดังต่อไปนี้
จานวนหน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 5
Graduate School : Rangsit University

ENL 500 ภาษาอังกฤษสาหรับบัณฑิตศึกษา 3(3-0-6)


(English for Graduate Studies)

2. หมวดวิชาบังคับ
นักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ก แบบ ก 2 ต้องลงทะเบียนเรียนหมวดวิชาบังคับ จานวน 5 หน่วยกิต
ORM 600 วิธีวิทยาการวิจัย 1(1-0-2)
(Research Methodology)
ORM 601 ชีวสถิติสาหรับการแพทย์ 2(2-0-4)
(Medical Biostatistics)
ORM 602 การสัมมนาทางการแพทย์แผนตะวันออก 1 1(0-3-2)
(Seminar in Oriental Medicine I)
ORM 604 ปัญหาพิเศษ 1 1(0-3-2)
(Special Problems I)

3. หมวดวิชาเลือก
นักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ก แบบ ก 2 ให้เลือกเรียนจากกลุ่มวิชาใดกลุ่มวิชาหนึ่ง ดังต่อไปนี้ จานวน
กลุ่มละ 8 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาด้านคลินิก
ORM 611 เวชกรรมไทยขั้นสูง 1 3(2-3-6)
(Advanced Thai Medicine I)
ORM 612 เวชกรรมไทยขั้นสูง 2 3(2-3-6)
(Advanced Thai Medicine II)
ORM 616 การฝึกปฏิบัติทางคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก 1(0-3-2)
(Clinical Practice in Oriental Medicine)
ORM 617 สุขภาพองค์รวมและการแพทย์ทางเลือก 1(0-3-2)
(Holistic Health and Alternative Medicine)

กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ORM 627 เทคโนโลยีเภสัชกรรมสมุนไพร 2(1-3-4)
(Phytopharmaceutical Technology)
ORM 628 เครื่องสาอางสมุนไพร 2(1-3-4)
(Phytocosmetics)
ORM 629 ยาสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร 2(1-3-4)
(Phytomedicines and Nutraceuticals)
ORM 630 การศึกษาความคงตัวของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 2(1-3-4)
(Stability Study of Herbal Medicinal Products)

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 6
Graduate School : Rangsit University

กลุ่มวิชาด้านการประเมินความปลอดภัยและประสิทธิผล
ORM 632 พยาธิ-พิษวิทยาทั่วไป 1(0-3-2)
(General Pathotoxicology)
ORM 637 หลักการทางพิษวิทยา 2(1-3-4)
(Principles of Toxicology)
ORM 638 พิษวิทยาวิเคราะห์ 2(1-3-4)
(Analytical Toxicology)
ORM 639 พิษวิทยาขั้นสูง 1(0-3-2)
(Advanced Toxicology)
ORM 640 การประเมินประสิทธิผลของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 1(0-3-2)
(Assessment of Efficacy of Herbal Medicinal Products)
ORM 646 การทดสอบฤทธิ์ของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 1(0-3-2)
(Bioscreening Methods of Herbal Medicinal Products)

กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาเภสัชกรรมแผนไทย
ORM 647 การควบคุมคุณภาพสมุนไพร 1 2(1-3-4)
(Quality Control of Medicinal Plants I)
ORM 648 การควบคุมคุณภาพสมุนไพร 2 2(1-3-4)
(Quality Control of Medicinal Plants II)
ORM 649 การสกัดแยกสารจากสมุนไพร 2(1-3-4)
(Extraction of Active Constituents from Medicinal Plants)
ORM 659 การวิเคราะห์สารจากสมุนไพรโดยใช้เครื่องมือวิเคราะห์ 2(1-3-4)
(Instrumental Analysis of Active Constituents from Medicinal Plants)

กลุ่มวิชาด้านการนวดแผนไทย
ORM 667 การนวดไทยรักษาโรคขั้นสูง 1 3(1-6-5)
(Advanced Thai Massage Therapy I)
ORM 668 การนวดไทยรักษาโรคขั้นสูง 2 3(1-6-5)
(Advanced Thai Massage Therapy II)
ORM 669 การประเมินการนวดโดยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ 2(1-3-4)
(Massage Assessment by Scientific Devices)

กลุ่มวิชาการแพทย์อายุรเวทประยุกต์ (Applied Ayurvedic Medicine)


ORM 661 กายฉิกฤตษา 1 1(0-3-2)
(Kayachikitsa I )
ORM 662 กายฉิกฤตษา 2 1(0-3-2)
(Kayachikitsa II)
ORM 663 กรณีศึกษาด้านการแพทย์อายุรเวทประยุกต์ 1 2(1-3-4)
(Problem-Based Learning (PBL) of Ayurvedic Medicine I)
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 7
Graduate School : Rangsit University

ORM 664 กรณีศึกษาด้านการแพทย์อายุรเวทประยุกต์ 2 2(1-3-4)


(Problem-Based Learning (PBL) of Ayurvedic Medicine II)
ORM 665 ปัญจกรรมบาบัด 2(1-3-4)
(Panchakarma Therapy)

กลุ่มวิชาโฮมีโอพาธีย์ (Homeopathy)
ORM 671 โฮมีโอพาธีย์เชิงประจักษ์และวิธีวิทยาการวิจัย 1(1-0-2)
(Evidence-Based Homeopathy and Research Methodology)
ORM 672 บทนาสู่เภสัชกรรมโฮมีโอพาธีย์ 2(2-0-4)
(Introduction to Homeopathic Pharmacy)
ORM 673 โฮมีโอพาธีย์กับการแพทย์เชิงบูรณาการ 2(2-0-4)
(Homeopathy and Integrative Medicine)
ORM 674 คลินิกด้านโฮมีโอพาธีย์ 3(3-0-6)
(Homeopathic Clinic)

4. วิทยานิพนธ์
ORM 697 วิทยานิพนธ์ (สาหรับแผน ก แบบ ก1) 37(0-111-56)
(Thesis)
ORM 699 วิทยานิพนธ์ (สาหรับแผน ก แบบ ก2) 24(0-72-36)
(Thesis)

แสดงแผนการศึกษา
แผน ก แบบ ก1
ชั้นปีที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ORM 697 วิทยานิพนธ์ (Thesis) 9(0-27-14) ORM 697 วิทยานิพนธ์ (Thesis) 9(0-27-14)
รวม 9 หน่วยกิต รวม 9 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ORM 697 วิทยานิพนธ์ (Thesis) 9(0-27-14) ORM 697 วิทยานิพนธ์ (Thesis) 10(0-30-15)
รวม 9 หน่วยกิต รวม 10 หน่วยกิต

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 8
Graduate School : Rangsit University

แผน ก แบบ ก2
ชั้นปีที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ORM 600 วิธีวิทยาการวิจัย 1(1-0-2) ORM 602 การสัมมนา 1(0-3-2)
ORM 601 ชีวสถิติสาหรับการแพทย์ 2(2-0-4) ทางการแพทย์แผนตะวันออก
*ORM xxx วิชาเลือก X(X-X-X) ORM 604 ปัญหาพิเศษ 1 1(0-3-2)
*ORM xxx วิชาเลือก X(X-X-X) *ORM xxx วิชาเลือก X(X-X-X)
*ORM xxx วิชาเลือก X(X-X-X) ORM 699 วิทยานิพนธ์ (Thesis) 6(0-18-9)
รวม 9 หน่วยกิต รวม 10 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ORM 699 วิทยานิพนธ์ (Thesis) 9(0-27-14) ORM 699 วิทยานิพนธ์ (Thesis) 9(0-27-14)
รวม 9 หน่วยกิต รวม 9 หน่วยกิต

ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาการศึกษาค้นคว้าอิสระหรือวิทยานิพนธ์ (ถ้ามี)
1. คาอธิบายโดยย่อ
การทาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาในระดับมหาบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก เป็นการศึกษา
วิจัยค้นคว้าในหัวข้อที่สนใจในกลุ่มวิชาต่างๆ ที่หลักสูตรเปิดสอน เพื่อให้ได้เกิดความคิดรวบยอดในการทาวิจัย
อย่างถูกต้อง มีความรู้ ทักษะการวิจัย จริยธรรมในการวิจัย เพื่อให้ได้ผลงานที่เกิดคุณประโยชน์ต่อสังคม
2. มาตรฐานผลการเรียนรู้
นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆ ดังนี้
2.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม
2.2 ด้านความรู้
2.3 ด้านทักษะทางปัญญา
2.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
2.5 ด้านทักษะการใช้ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.6 ด้านทักษะการวิจัย
3. ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564
แผน ก แบบ ก1 ภาคการศึกษาที่ 1 - 2 ของชั้นปีที่ 1 และ
ภาคการศึกษาที่ 1 - 2 ของชั้นปีที่ 2
แผน ก แบบ ก2 ภาคการศึกษาที่ 2 ของชั้นปีที่ 1 และ
ภาคการศึกษาที่ 1 - 2 ของชั้นปีที่ 2
4. จานวนหน่วยกิต
แผน ก แบบ ก1 37 หน่วยกิต
แผน ก แบบ ก2 24 หน่วยกิต
5. การเตรียมการ
คณาจารย์ในหลักสูตรได้เตรียมความพร้อมสาหรับนักศึกษาชั้น ปีที่ 1 ก่อนเปิดภาคการศึกษาโดยจัดการ
ทดสอบและประเมินผล ทาการปรับพื้นฐานให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียน นอกจากนั้นได้จัดการเรียนการสอนตาม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 9
Graduate School : Rangsit University

หลั ก สู ต ร และให้ ค าแนะน าในการท าวิจั ย เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ รับ สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ส าหรั บ การเข้ ามาศึ ก ษาในคณะ
การแพทย์แผนตะวันออก โดยแบ่งภาระความรับผิดชอบในแต่ละกลุ่มวิชา ทั้งทางด้านเครื่องมือทาวิจัย หัวข้อใน
การทาวิจัย สื่อการสอน โดยจะมีการแบ่งให้อาจารย์รับผิดชอบนักศึกษาเป็นรายๆ ซึ่งนักศึกษาสามารถติดต่อ
อาจารย์ที่ปรึกษาได้ตลอดเวลาทั้งทางโทรศัพท์ ทางอินเตอร์เน็ต และจดหมายอิเล็คทรอนิค
6. กระบวนการประเมินผล
การประเมินผลในรายวิชา มีการให้เกรดโดยการตัดเกรดมีทั้งแบบอิงเกณฑ์ และอิงกลุ่มขึ้นกับแต่ละวิชา
ในกรณีวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จะทาการประเมินความรู้ของนักศึกษาเป็นระยะ โดยการวัดอาจ
ทาโดยการนาเสนอความก้าวหน้าของงานวิจัยวิทยานิพนธ์ที่ทา ซึ่งเมื่อเห็นว่านักศึกษามีความรู้ความก้าวหน้าและ
เข้าใจในงานที่ทา ก็จะให้เกรดผ่าน (S) เมื่อได้ปริมาณงานที่เพียงพออาจารย์ที่ปรึกษาจะให้นักศึกษาดาเนินการ
เขียนบทความงานวิจัยดังกล่าวไปนาเสนอในงานประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ และเมื่องานวิจัย
เสร็จสิ้นนักศึกษาต้องเขียนวิทยานิพนธ์ ทางหลักสูตรจะจัดให้มีการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ โดยเชิญคณาจารย์
ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการสอบ โดยมีเกณฑ์การประเมิน ผ่าน และไม่ผ่าน

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
1. ผู้ประกอบการโรงงานผลิตภัณฑ์สมุนไพร
2. นักวิจัยในห้องปฎิบัติการด้านสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
3. นักพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องสาอาง
4. ประเมินคุณภาพสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพร
5. ผู้ประกอบการด้านสุขภาพและความงาม
6. ผู้ประกอบการด้านการแพทย์ทางเลือก
7. ผู้ประกอบการด้านโฮมีโอพาธีย์

สถานที่ติดต่อ
วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก ชั้น 8 อาคารวิทยาศาสตร์ (ตึก 4/2) มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 ถนน
พหลโยธิน ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทร. 0-2997-2222 ต่อ 5160
www.rsu.ac.th/orientalmed
FB: orientalmedrsu
e-mail: pornphan.r@rsu.ac.th
e-mail : ormrsu@hotmail.com

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต 10

You might also like