You are on page 1of 99

การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอนสำหรับนักเรียน

ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส จังหวัดปั ตตานี

The Development of Spelling Skills in Malay by Using Video


for Grade 1/1 Students at Ban Namsai Schools Pattani Province

นาวสาวอามาณี เจะมูดอ

Amanee Chemuda

รายงานวิจัยชัน้ เรียนฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของฝึ กปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา หลักสูตร


ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษา
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
A Classroom Action Research Submited for the Degree of Bachelor of
Education Program in Teaching Malay and Education Technology Faculty
of Education, Fatoni University
2564/2021
ชื่อเรื่องวิจัย : การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วดิ ทิ ศั น์ประกอบการสอน

สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส จังหวัดปั ตตานี

ผู้วจิ ัย : นางสาวอามาณี เจะมูดอ รหัสประจำตัวนักศึกษา 602446009

สาขาวิชา : การสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา

อนุมัติ ณ วันที.่ ......./........../

...........................................
(อาจารย์อมมุลอมมะห์ โตะหลง)
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก

......................................................
(ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว)
หัวหน้าสาขาวิชาการสอน ภาษา
มลายู และเทคโนโลยีการศึกษา

………………………………………………… (อาจารย์มาหะมะรอ
สลี แมนยู) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และประกัน
คุณภาพการศึกษา
.....................................................
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ) คณบดี
คณะศึกษาศาสตร์

ชื่อเรื่องวิจัย : การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน
สำหรับ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส จังหวัดปั ตตานี

ผู้วิจัย : นางสาวอามาณี เจะมูดอ


สาขาวิชา : การสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา
ปี การศึกษา : ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

บทคัดย่อ

การทำวิจัยในชัน้ เรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์


ประกอบการสอนสำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส จังหวัดปั ตตานี

มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี


ที่ 1/1 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ ักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ ประกอบการสอน
สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1 ระหว่างก่อนและหลังเรียน กลุ่ม ตัวอย่าง คือ นักเรียนชัน้
ประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปั ตตานี จำนวน 6
คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ วิดิทัศน์ประกอบการสอนภาษามลายู ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1
จำนวน 3 วิดิทัศน์, แบบทดสอบวัดทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู และ แผนการจัดการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้ภาษามลายู วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และสถิตทิ ี่ใช้ในการทดสอบสมมุตฐิ าน

ผลการวิจัย พบว่า ผลการพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูก่อนใช้วิดิทัศน์ มี คะแนน


เฉลีย่ เท่ากับ 12.83 คิดเป็ นร้อยละ 42.8 และค่า S.D = 1.32 และคะแนนเฉลี่ยหลังใช้วิดิ ทัศน์ เท่ากับ

25.16 คิดเป็ นร้อยละ 83.8 และค่า S.D เท่ากับ 1.05 และคะแนนความก้าวหน้ามี ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 12.33
ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่ผู้วิจัยตัง้ ไว้คือร้อยละ 50 ขึน้ ไปถือว่าผ่าน แสดงว่าทักษะการ เขียนสะกดคำภาษามลายูของ
นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 มีการพัฒนาทักษะการเขียนสะกด คำภาษามลายูที่ดีขนึ้ และเมื่อ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ ักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู โดยใช้วิดิ ทัศน์ประกอบการสอนสำหรับนักเรียน
ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียน

คำสำคัญ :ทักษะการเขียน,คำศัพท์ภาษามลายู,วิดิโอ m

Tajuk : Berkembangan kemahiran menulis ejaan Bahasa Melayu dengan

mengguna Video dalam mengajar untuk murid kelas 1/1 di Sekolah


Ban Namsai Pattani

Pengkaji : Amanee Chemuda

Jabatan : Pendidikan Bahasa Melayu dan Teknologi Pendidikan.

Tahun : 2021

Abstrak

Kajian ini bertujuan 1) Untuk meningkatkan kemahiran menulis Bahasa


Melayu murid kelas 1/1 2) Untuk membuat perbandingan pencapaian
kemahiran menulis Bahasa Melayu dengan mengguna Video dalam
mengajar murid kelas 1/1, kajian ini mendapati sebelum dan selepas
belajar Sampel kajian ialah murid kelas1/1 Sekolah Ban Namsai Pattani 6
orang, alat bantu mengajar dalam kajian iaitu Video. Bahasa Melayu 3
Video , Latihan kemahiran menulis ejaan Bahasa Melayu dan rancangan
mengajar

Hasil kajian mendapati bahawa meningkatkan kemahiran menulis Bahasa


Melayu pra kajian mengguna Video yang markah purata 12.83 peratusan, 42.8 dan
S.D =1.32 dan markah purata pos kajian mengguna Video adalah 25.16 peratusan

83.8 dan S.D =1.05 dan markah kemajuan 12.33 yang lulus kriteria yang ditetapkan

oleh pengkaji iailah peratusan 50 tuntukkan itu kemahiran menulis ejaan Bahasa
Melayu daripada murid kelas 1/1 6 orang telah berkembang kemahiran menulis
ejaan Bahasa Melayu yang lebih baik apabila perbandingkan pencapaian kemahiran
menulis

ejaan Bahasa Melayu dengan mengguna Video mengajar untuk murid kelas 1/1 pra kajian dan
pos kajian belajar mendapati markah purata pos kajian lebih tinggi daripada sebelumnya.

Kata kunci : kemahiran menulis,kosa kata Bahasa Melayu ,Video


กิตติกรรมประกาศ

ด้วยพระนามของอัลลอฮฺทรงกรุณาปราณี ผู้ทรงเมตตาเสมอ มวลการสรรเสริญทัง้ มวลเป็ น


เอกสิทธิแ์ ห่งอัลลอฮฺ ผู้ทรงอภิบาลแห่งสากลโลก และความสันติจงประสบแด่ท่านศาสดามูฮัมหมัด (ศ็อลลัลลอฮุ
อาลัยฮิวาสัลลัม) และวงศ์วานของท่าน ผู้ทรงเปี่ ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงส่ง และทรงเป็ น แบบอย่างแก่มวล
มนุษยชาติ

อัลฮัมดุลลิ ลาฮ์ ด้วยความช่วยเหลือและความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ งานวิจัยเล่มนีไ้ ด้สำเร็จ


ล่วงไปด้วยดี ผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณผศ. ดร. มฮามัสสกรี มันยูนุ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี ที่ได้ดูแลและช่วยเหลือ ให้คำปรึกษาผู้วิจัยเป็ นอย่างดี

ผู้วิจัยขอขอบคุณ ผศ.ดร. เภาซัน เจ๊ะแว หัวหน้าสาขาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยี การศึกษา


ที่ได้สละเวลาอันมีค่า ในการตรวจทานขัดเกลาภาษา และให้คำแนะนำอย่างดีย่งิ แก่ผวู้ จิ ยั

ผู้วิจัยขอขอบคุณอาจารย์อมมุลอมมะห์ โตะหลง อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์นิเทศก์ ที่


กรุณาให้คำปรึกษา เสนอแนะ ตรวจสอบแก้ไข และให้กำลังใจตลอดเวลาในการทำการศึกษาค้นคว้า จน
กระทั่งวิจัยเล่มนีล้ ุล่วงด้วยดี ผูว้ ิจัยขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่านทีไ่ ดประสิทธิ ์ ประสาทวิชาความรู้
ตลอดจนคำแนะนำ และช่วยเหลือตลอดระยะเวลาการศึกษาในสถาบันแห่งนี้

ผู้วิจัยขอขอบคุณนายสมาน หมันหลี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านน้ำใส จังหวัดปั ตตานี รวมทัง้ คณะครูทุกท่านที่


ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ จนงานวิจัยฉบับนีสำ
้ เร็จลุล่วงด้วยดี

ผูว้ จิ ยั ของขอบคุณคุณครูพิเศษ นางสาวสีตีคอรีเยาะ ยามา ครูพ่เี ลีย้ งทีก่ รุณาให้คำปรึกษา เสนอแนะด้าน


เครื่องมือโดยใช้วิดิทัศน์จนกระทั่งงานวิจัยสำเร็จลุล่วงด้วยดี

ผู้วิจัยขอขอบใจนักเรียนกลุม่ ตัวอย่างชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส จังหวัด


ปั ตตานีกลุม่ ตัวอย่างที่ให้ความร่วมมืออย่างดียิ่งในการทดลองเพื่อเก็บข้อมูลสำหรับ การวิจยั ในครัง้ นี้

และที่ขาดมิได้ผู้วิจัยขอขอบคุณครอบครัวทีค่ อยผลักดันและสนับสนุนผู้วิจัยตลอดระยะเวลา การศึกษาของ


ข้าพเจ้า

สุดท้ายนี้ ขออัลลอฮฺ ซุบฮานาวาตาอาลา ทรงประทานความสำเร็จ สิริมงคลและความจำเริญ แด่ทกุ ๆท่านที่มี


ส่วนทำให้วิจัยเล่มนีสำ
้ เร็จลุล่วงด้วยดี

นางสาวอามาณี เจะมูดอ

PENGHARGAAN
‫حي ِم‬
‫س ِم َ ل ِّال ٰ ن‬
‫ال ر ´ ال ر‬
‫م‬
‫ح‬

Dengan Nama Allah yang Maha Pengasih lagi Maha Penyayang. Salawat dan
salam keatas junjungan besar Nabi Muhammad s.a.w Saya merafakkan sepenuh
kesvukuran ke hadrat Allah kerana dengan limpah dan kurnia-Nya, dapat saya
menyelesaikan latihan ilmiah ini dalam masa tempoh yang ditetapkan wataupun
menempuh pelbagai dugaan dan rintangan.
Dalam kesempatan ini, saya merakamkan setinggi-tinggi penghargaan kepada
Asst. Prof. Dr. Mahamatsakri Manyunu selaku Dekan Fakulti Pendidikan, Universiti
Fatoni kerana telah menjaga saya dengan baik.
Rakaman terima kasih kepada Asst. Prof. Dr. Phaosan Jehwea selaku Ketua
Jabatan Pendidikan Bahasa Melayu dan Teknologi Pendidikan, yang telah
membantu saya untuk menyelesaikan latihan ilmiah ini.
Ucapan terima kasih kapada Ummulummah Tohlong selaku penyelia,
diatas penyeliaan serta tidak jemu membimbing saya sepanjang menyiapkan latihan
ilmiah ini. Tunjuk ajar beliau banyak membantu saya dalam menyiapkan dan
menyempurnakan latihan ilmiah ini.
Ucapan terima kasih kepada para pensyarah yang telah memberikan ilmu
pengetahuan sepanjang pengajian saya di Universiti Fatoni, nasihat dan teguran yang
diberikan amat berherga, dan akan saya jadikan pedoman dan bekalan pada masa

hadapan.
Ucapan terima kasih kepada Encik Sman Manli selaku Pengetua Sekolah
Ban Namsai dan terima kasih kapada para guru yang banyak membantu
sepanjang saya menjalani latihan mengajar dan kajian .

Ucapan terima kepada kasih Puan Sitikhoriyah Yama selaku guru pembimbing
yang sentiasa membantu dan memberi cara menyediakan alat bantu mengajar
hingga siap latihan ilmiah. Ucapan terima kasih kepada 6 orang murid-murid darjah
1/1 yang bersetuju menjadi peserta latihan ilmiah ini. Akhir ini, saya memohon
kepada llahi agar semua yang berkaitan dapat menerima balasan ganjaran pahala
yang baik di dunia dan akhirat.

Amanee Chemuda

สารบญั

เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
Abstrak ข
กิตติกรรมประกาศ ง
Penghargaan จ
บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญของปั ญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2
1.3 สมมติฐานการวิจัย 2
1.4 ประโยชน์ของการวิจัย 2
1.5 ขอบเขตของการวิจัย 2
1.6 ระยะเวลาดำเนินการ 3
1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ 3
1.8 กรอบแนวคิดในการวิจัย 4
บทที่ 2 เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5
2.1 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู 5
2.1.1 ความหมายการเขียน 6

2.1.2 ความหมายการเขียนตามทัศนนักวิชาการอิสลาม 6

2.1.3 หลักการเขียนภาษามลายู 7

2.1.4 ความหมายของการเขียนสะกดคำ 9

2.1.5 ความสำคัญของการเขียนสะกดคำ 9

2.1.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะการเขียนสะกดคำ 10

2.2 เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิดิทัศน์ประกอบการสอน 11


2.2.1 ความหมายของวิดีทัศน์ 11

2.2.2 ประโยชน์ของวีดทิ ศั น์ 12

2.2.3 ประเภทของวีดิทัศน์ 13

2.2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิดิทัศน์ประกอบการสอน 14

บทที่ 3 วิธดำ
ี เนินการวิจัย 15

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 15
3.2 ตัวแปรที่ศึกษา 15
3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 16
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 27
3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 28

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 30


4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 30

4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 31

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย 34

5.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 34
5.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 34
5.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 34
5.4 การดำเนินการวิจัย 35
5.5 สรุปผลการวิจัย 35
5.6 อภิปรายผล 35
5.7 ข้อเสนอแนะ 37
บรรณานุกรม 38

ภาคผนวก 40

ประวัติผู้วิจัย 51

สารบญตาราง
เรื่อง หน้า

ตารางที่ 1 ตารางแสดงคะแนนจากแบบทดสอบการเขียนสะกดคำภาษามลายู 31

ก่อนใช้วิดิทศั น์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 1/1

ตารางที่ 2 ตารางแสดงคะแนนจากแบบทดสอบทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู 32

หลังเรียน โดยใช้วดิ ิทัศน์ประกอบการสอนของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ตาราง

ที่ 3 ตารางแสดงคะแนนค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่า S.D

ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 33

ตารางที่ 4 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างผลสัมฤทธิท์ างการเขียน 33

ระหว่างก่อนและหลังเรียน
1

บทที่ 1

บทนำ

1. ความเป็ นมาและความสำคัญของปั ญหา

ภาษามลายู เ ป็ นภาษาที ่ ม ี บ ทบาทสำคั ญ สำหรั บ ประชาชนในภู ม ิ ภ าคแหลมมลายู


(Nusuntara) และในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ได้แก่ ปั ตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล
และเป็ นภาษาที่ถูกนำมาใช้เป็ นเครื่องมือในการสื่อสารในการดำเนินชีวิตของคนในพื้นที่ดังกล่าวอีก ด้วย
นอกจากนีภ้ าษามลายูยังเป็ นภาษาที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของคนมุสลิมเชื้อสายมลายู โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งภาษามลายูระบบเขียนอักษรยาวีที่ใช้เป็ นสื่อเพื่อการศึกษาเกี่ยวกับห ลักการ ดำรงชีวติ ตามแนวทาง
ศาสนาอิสลาม(กามารุดดีน อิสายะ 2553)

การเขียน เป็ นส่วนหนึ่งในทักษะทางภาษาที่สำคัญ การถ่ายทอดความรู้ ความรู้สึกนึกคิด เรื่อง


ราวตลอดจนประสบการณ์ต่างๆไปสู่ผู้อ่นื โดยใช้ตัวอักษรเป็ นเครื่องมือในการถ่ายทอด การเขียน
เป็ นการเรียบเรียงข้อความความคิดความรู้สึกออกมาโดยผ่านสื่อหลายประเภทไม่ว่าจะเป็ น กระดาษ สิ่ง
พิมพ์ หรือ คอมพิวเตอร์ แต่ทสำ
ี่ คัญการเขียนโดยผ่านกระดาษที่เป็ นลายมือจะสำคัญอย่างมาก เพราะถ้า
เขียนไม่ถูกต้องชัดเจนจะสื่อความหมายกันไม่ได้ (นันทพงศ์ ปุณขันธ์/2552)

จากสถานการณ์ปัจจุบัน มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 ทั่วโลกทำให้ไม่สามารถทำการเรียน

การสอนตามปกติได้ ทางโรงเรียนจึงมีการจัดการเรียนการสอนแบบออนแฮนด์(ON HAND) สำหรับ การ

จัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา โดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบการเขียนภาษามลายู จำนวน ทัง้ หมด 20

คน และได้สำรวจจากแบบทดสอบของนักเรียน ผู้วิจัยพบว่า นักเรียนชัน้ ประถมสึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1

จำนวน 6 คนยังขาดทักษะการเขียนภาษามลายู เขียนสะกดคำภาษามลายูยังไม่ถูก สาเหตุ ส่วนหนึ่งมา

จากนักเรียนขาดการฝึ กฝนที่ถูกวิธี ซึ่งเป็ นปั ญหาที่จะต้องแก้ไขเพื่อให้นักเรียนสามารถ เขียนสะกดคำ


2

ภาษามลายูได้

ดังนัน้ ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนสาระการเรียนรู้ภาษามลายู มีความสนใจที่จะแก้ปัญหาทักษะ


การเขียนสะกดคำภาษามลายูของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1 ซึ่งผู้วิจัยคิดว่าการใช้ส่ อื วิดิทัศน์
ประกอบการสอน เป็ นอีกวิธีหนึ่ง ที่จะช่วยแก้ปัญหาการเขียนสะกดคำของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ชัน้
ปี ที่ 1/1 และ เป็ นส่วนหนึ่งในสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษาที่มีศักยภาพในการประยุกต์ใช้ได้ดี
สามารถเพิ่มพูนประสบการณ์ของผูเ้ รียนได้เป็ นอย่างดีและทันสมัย การใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน
ซึ่งเป็ นสื่อที่เป็ นนวัตกรรมที่ทันสมัย ทำให้ผเู้ รียนสามารถฟั งเสียงและชมภาพพร้อมกันและเป็ นสื่อที่
ดึงดูดผู้เรียนอยากที่จะเรียนรู้ ซึ่งผู้วิจัยได้พัฒนาวิดิทัศน์ประกอบการสอนเพื่อให้เหมาะกับผูเ้ รียน อีก ทัง้
การใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้เข้าใจมากยิ่งขึน้

2.วัตถุประสงค์ของการวิจัย

2.1 เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1

2.2 เพื่ อเปรี ยบเทีย บผลสัม ฤทธิ ท์ ัก ษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทั ศน์ ประกอบ


การสอน สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1 ระหว่างก่อนและหลังเรียน

3.สมมติฐานการวิจัย

3.1 ผลสัมฤทธิท์ ักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ที่เรียนโดยใช้วิดิ


ทัศน์ประกอบการสอน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

4.ประโยชน์ของการวิจัย

4.1 นักเรียนสามารถพัฒนาทักษะด้านการเขียนสะกดคำภาษามลายูได้ดี

4.2 ได้ทราบถึงปั ญหาทักษะด้านการเขียนภาษามลายูของนักเรียนประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 แล้วนำมาแก้ไข


โดยใช้วิดิทศั น์ประกอบการสอนได้ดยี ิ่งขึน้

4.3 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนโดยใช้วิดิทัศน์การสะกดคำประกอบการ
สอน

5.ขอบเขตของการวิจัย

5.1 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
5.1.1 ประชากรคือ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส ตำบลลู
โบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปั ตตานี จำนวนนักเรียนมีทงั้ หมด 20 คน

5.1.2 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส


ตำบลลูโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปั ตตานี จำนวน 6 คน
5.2 ขอบเขตด้านเนื้อหา
เนื้อหาสาระการเรียนรู้วิชาภาษามลายู ทักษะในด้านการเขียนของนักเรียน
ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน วิดีทัศน์เป็ นสื่อที่ เหมาะ
สมสําหรับใช้เพื่อการจัดการเรียนรู้ เพราะวิดีทัศน์เป็ นสื่อที่ทําให้ผู้เรียนเห็น ภาพได้
ชัดเจน ซึ่งอาจเป็ นภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหว

เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา -พยัญชนะ (huruf)

-สระ (vocal)
-พยางค์ (sukukata)

6.ระยะเวลาดำเนินการ

การวิจัยในชัน้ เรียนนี้ ดำเนินการระหว่างวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2564 ถึง 3 ตุลาคม พ.ศ.


2564
7.นิยามศัพท์เฉพาะ

วิดีทัศน์ หมายถึง สื่อที่เหมาะสมสําหรับใช้เพื่อการจัดการเรียนรู้ เพราะวิดีทัศน์เป็ นสื่อที่ทํา ให้ผู้


เรียนเห็นภาพได้ชัดเจน ซึ่งอาจเป็ นภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหว ทําให้ผู้เรียนได้ยินเสียงที่ สอดคล้องกับภา
พนัน้ ๆ อีกด้วย วิดีทัศน์สามารถใช้ในการสาธิต เป็นสิ่งที่สามารถช่ วยให้ผู้เรียนเห็นสิ่ง ที่ควรเห็น

ทักษะการเขียน หมายถึง ความสามารถของนักเรียนในการเขียนภาษามลายู

นักเรียน หมายถึง นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 จำนวน 6 คน โรงเรียนบ้านน้ำใส ตำบล


ลูโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปั ตตานี

ผลสัมฤทธิท์ างการเขียน หมายถึง ความรู้ ความสามารถในการเขียนของนักเรียนชัน้ ประถม


ศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1
7.กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

การพัฒนาทักษะการ ผลสมฤทธิท์ ักษะด ้านการ


เขียน โดยใชวิ้ ดโี อการ เขียนภาษามลายูนักเรียน
สะกดคำ ประกอบการ ชนั ้ ประถมศกึ ษาชนั ้ ปี
การสอน ที1่ /1
บทที่ 2

เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการทำวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ ประกอบ


การสอนสำหรับ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส จังหวัดปั ตตานี ผูว้ จิ ยั ได้
ศึกษาค้นคว้า รวบรวม ทฤษฎี หลักการ แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้

1.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู

1.1 ความหมายการเขียน
1.2 ความหมายการเขียนตามทัศนนักวิชาการอิสลาม

1.3 หลักการเขียนภาษามลายู

1.4 ความหมายของการเขียนสะกดคำ

1.5 ความสำคัญของการเขียนสะกดคำ

1.6 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับทักษะการเขียนสะกดคำ

2.เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิดิทัศน์ประกอบการสอน

2.1 ความหมายของวิดที ศั น์

2.2 ประโยชน์ของวีดทิ ศั น์
2.3 ประเภทของวีดิทัศน์

2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิดิทัศน์ประกอบการสอน
1.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู

1.1 ความหมายการเขียน

การเขียน คือ การสื่อสารชนิดหนึ่งของมนุษย์ที่ต้องอาศัยความพยายามและฝึ กฝน การเขียน


เป็ นการแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก ความต้องการ เป็ นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้รับสาร
สามารถอ่านได้เข้าใจ ได้ทราบความรู้ ความคิด ความรู้สึก ความต้องการ แล้วสามารถนำมาบอกบอก
ต่อกับบุคคลอื่นให้ได้ความรู้ท่ผี รู้ บั สารได้รับ เครื่องมือในการเขียนเช่น ดินสอ ปากกา สี พู่กัน กระดาษ
กระดาน ฯลฯ การเขียนจะต้องเขียนเป็ นภาษา ซึ่งอาจเขียนเป็ นภาษาเดียวหรือหลายภาษา ก็ได้(นันท
พงศ์ ปุนขันธ์ /2552)

จากคำกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การเขียน คือ การสื่อสารชนิดหนึง่ ของมนุษย์ท่ตี ้องอาศัย


ความพยายามและฝึ กฝน การถ่ายทอดความรู้สกึ นึกคิด ออกมาเป็ นสัญลกษณ์หรือลายลักษณ์อักษร
เพื่อสื่อความหมายให้ผู้อ่ นื เข้าใจ

1.2 ความหมายการเขียนตามทัศนนักวิชาการอิสลาม

Kamarudin Husin (1999 : 69) ได้ให้ความหมายของการเขียนไว้ว่า การเขียนเป็ นการ เริ่ม


ต้นของความรู้สึก และความคิดในรูปแบบของตัวอักษร และรูปแบบของตัวอักษรนัน้ จะเรียบเรียง เป็ น
สัญลักษณ์เสียงของภาษาที่สามารถอ่าน และเข้าใจความหมายได้

Kamus Dewan Edisi Keempat (2007 : 1729) ได้ให้ความหมายของการเขียนไว้ว่า


เป็น การจดบันทึกคำด้วยตัวอักษรโดยทีใ่ ช้ ปากกา เช่น ช็อคก์,ดินสอ และอายัตอัลกรุอานที่กล่าวถึง
การ เขียน

(‫طرون‬ ْ
‫) ن ل َقلَ وما يَس‬นูน ขอสาบานด้วยปากกา และสิ่งที่พวกเขาขีดเขียน (ซูเราะฮ
‫ِم وا‬
อัล-เกาะลัม อายัต 1)
จากคำกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การเขียน เป็ นการเริ่มต้นด้วยความคิดและความรู้สึกใน รูป
แบบของตัวอักษร โดยที่สามารถอ่านและเข้าใจความหมายที่ตอ้ งการสื่อ โดยใช้อุปกรณ์ในการ เขียน
เช่น ปากกา ดินสอและอื่นๆ
1.3 หลักการเขียนภาษามลายู

ภาษามลายูเขียนได้ 2 แบบ

1 ) เขียนด้วยอักษรอาหรับเรียกว่าภาษามลายูเขียนด้วยอักษรยา
วี (BahasaMelayu Tulisan Jawi) เป็ นทีน่ ยิ มใช้กันในภาคใต้ของไทย ภาคเหนือของ
มาเลเซีย บรูไน เป็ นต้น

2 ) เขียนด้วยอักษรโรมัน เรียกว่า ภาษามลายูเขียนด้วยอักษรรูมีหรืออักษร


โรมัน (Bahasa Melayu Tulisan Rumi) ซึ่งเป็ นการเขียนที่รัฐบาลมาเลเซียและ อินโดนีเซีย
ใช้เป็ นทางการ ทางการของประเทศมาเลเซียเรียกว่า Bahasa Melayu และทาง อินโดนีเซีย
เรียกว่า Bahasa Indonesia ภาษามลายูอักษรรูมีหรืออักษรโรมัน ที่ใช้มีตัวอักษร
ตัง้ แต่ ABC ถึง XYZ เช่นเดียวกับภาษาอังกฤษการเทียบอักษรไทยก็เช่นเดียวกับอังกฤษ เทียบ
ไทย นอกจากมี ไม่กี่อักษรเท่านัน้ ที่เพีย้ นไปบ้าง คือ

C P TG H N Y S Y C = จ (ภาษามลายู ไม่มีอกั ษรที่ออกเสียงเป็ น ฉ ช ฌ)

P = ป (ภาษามลายู ไม่มีอักษรที่ออกเสียงเป็ น พ ผ ภ)

T = ต (ภาษามลายู ไม่มีอกั ษรที่ออกเสียงเป็ น ท ถ ธ ฐ)

NY ใช้ ญ แทน อักษรนีไ้ ม่มีอักษรไทยพอที่จะเทียบได้ แต่จะคล้ายกับ ญ ตามส าเนียงภาษาไทย

GH ใช้ ฆ แทน อักษรนีไ้ ม่มีอักษรไทยที่พอจะเทียบได้

KH ใช้ ค แทน อักษรนีไ้ ม่มอี ักษรไทยใช้เทียบได้

SY ใช้ ช แทน เทียบกับภาษาอังกฤษ SH

สระภาษามลายู มี A E I O U เช่นเดียวกับภาษาอังกฤษ
อักษรและเสียง

1) หนึ่งอักษรเท่ากับหนึ่งเสียง

ตัว คำอ่าน อักษรเทียบเคียงในภาษาไทย


อักษร
A เอ สระ อา /สระ อะ / อา
B บี บ
C ซี จ
D ดี ด
E อี สระ เออ / สระ เอ / เออ /
เอ
F เอฟ ฟ
G จี ฆ
H เฮช ฮ
I ไอ สระอี /สระ อิ / อี
J เญ ญ
K เค ก
L แอล ล
M เอ็ม ม
N เอ็น น
O โอ สระ โอ / โอ
P พี ป
Q คิว ก
R อาร์ ร
S เอส ซ
T ที ต
U ยู สระ อู /สระ อุ /อู
V วี ว
W ดับเบิ ว
ลยู
X เอ็กซ์ ซ
Y วาย ย
Z แซ็ด ซ
(ชญานันท์/2561)

สรุปได้ว่า หลักการเขียนภาษามลายู สามารถแบ่งเป็ น 2 แบบ ได้แก่ ภาษามลายูเขียนด้วย


อักษรยาวี เป็ นภาษามลายูทนี่ ยิ มใช้ในภาคใต้ของไทย และภาษามลายูเขียนด้วยอักษรรูมีหรืออักษร
โรมัน ซึ่งเป็ นการเขียนที่รัฐบาลมาเลเซียและ อินโดนีเซียใช้เป็ นภาษาทางการ

1.4 ความหมายของการเขียนสะกดคำ

การเขียนเป็ นเครื่องมือที่จะใช้ถ่ายทอดและบันทึกเรื่องราวต่างๆซึ่งการเขียนเป็ นการสื่อสารที่ มี


บันทึกเป็ นลายลักษณ์อักษรเป็ นหลักฐานการสื่อแนวคิดหรือข้อมูลทัง้ หมดต้องถ่ายทอดมาโดยผ่าน
สัญลักษณ์ คือตัวอักษรและเครื่องหมายต่างๆ ดังนัน้ ผูเ้ ขียนจึงจำเป็ นต้องศึกษาให้เข้าใจเกี่ยวกับ หลัก
เกณฑ์การเขียนเป็ นอย่างดี สามารถนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสบความสำเร็จอันดีในการ สื่อสาร
ซึ่งมีผู้ให้ความหมายของการเขียนสะกดคำไว้ในทำนองเดียวกันดังที่ อรทัย นุตรดิษฐ (2540 : 10)

สุธา ขวัญพุฒ (2550, หน้า 13) ให้ความหมายของการเขียนสะกดคำว่าการเขียนสะกดคำ


หมายถึงการเขียนคำตามหลักเกณฑ์ได้อย่างถูกต้องโดยเรียง พยัญชนะ สระ ตามลำดับเพื่อให้สามารถ ออกเสียง
ได้ชัดเจนและสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องและ วรารัตน์ ปฏิเวศ (2551, หน้า 12) ให้ ความหมาย
การเขียนสะกดคำ หมายถึง ความสามารถในการเขียนเรียงตัวอักษร โดยเรียง พยัญชนะ สระ ได้ถูก
ต้อง ตามหลักภาษาให้ได้ความหมายที่ต้องการ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการ สื่อสาร
และตรงตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

จากความหมายตามทัศนที่กล่าวข้างต้น สรุปได้วา่ การเขียนสะกดคำหมายถึงการเขียนคำโดย


เรียงตัวอักษร สระพยัญชนะได้ถกู ต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษาและสามารถออกเสียงได้ชัดเจนและ สื่อ
ความหมายได้อย่างถูกต้องตรงตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

1.5 ความสำคัญการเขียนสะกดคำ
การเขียนเป็ นสิ่งสำคัญและจำเป็ นต่อชีวิตความเป็ นอยู่ของมนุษย์เพราะการเขียนเป็ น เครื่องมือ
ที่จะใช้ถา่ ยทอดเรื่องราวต่างๆ ไปยังผู้อ่ นื ซึ่งมีผู้ให้ความสำคัญของการเขียนสะกดคำไว้ใน ทำนองเดียวกัน
ดังที่
อดุลย์ ภูปลื้ม (2539: 12) กล่าวว่าความสำคัญของการเขียนสะกดคำมีความสำคัญต่อการ ดำรงชีวิตประจำวัน
และความเป็ นอยู่ของบุคคลในปั จจุบันเพราะการเขียนสะกดคำถูกต้อง ช่วยให้ ผู้เขียนอ่านและเขียนหนังสือได้ถูกต้อง สื่อ
ความหมายได้ชัดเจนและมีความมั่นใจในการเขียนทำให้ผล งานทีเ่ ขียนมีคุณค่าเพิ่มขึน้

วิลาวัณย์ สุภริ กั ษ์ (2545 : 10) กล่าวว่าการเขียนสะกดคำเป็ นพื้นฐานสำคัญเบื้องต้นที่ ครูผ้สู อนต้องฝึ กฝนให้กับ

นักเรียนตัง้ แต่เริม่ เรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดความมั่นใจในการแสดงความ คิดเห็นออกเป็ นลายลักษณ์อักษรที่สามารถทำให้

ผูอ้ ่านสื่อความได้ถูกต้องตลอดจนสามารถนำ ประโยชน์จากการเขียนไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งเป็ น

ส่วนหนึง่ ทีแ่ สดงถึงความ เป็ นผู้มีคณ


ุ ภาพทางการศึกษา

สุนยี ์ แก้วของแก้ว (2549: 19) กล่าวว่าการเขียนสะกดคำเป็ นพื้นฐานทีสำ


่ คัญในการใช้ภาษา
การอ่านการเขียนและการสื่อความหมายการเขียนสะกดคำเป็ นทักษะที่มีความจำเป็ นในการเรียนวิชา
อื่น ๆ และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจและมีความมั่นใจในการ
เขียน

จากคำกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การเขียนสะกดคำมีความสำคัญในการดำรงชีวิตประจำวันและ


ความเป็ นอยู่ เพราะ การเขียนสะกดคำที่ถูกต้อง จะช่วยให้ผู้เขียนสื่อความหมายที่ถูกต้องและชัดเจน

1.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะการเขียนสะกดคำ

สําหรับสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ประชาชนส่วนใหญ่สามารถใช้ภาษามลายูเป็ นภาษา ใน การ


พูดสื่อสารได้ แต่ก็ยังขาดทักษะด้านการเขียนและการอ่าน ซึ่งหลักสูตรอิสลามศึกษา ตาม หลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กําหนดให้สาระภาษามลายูเป็ น สาระสําคัญที่ผู้เรียน
อิสลามศึกษาต้องเรียนเพราะใช้เป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้เกี่ยวกับศาสนา อิสลาม โดยสาระภาษา
มลายู มาตรฐาน ย 1 ได้กําหนดมาตรฐานของผู้เรียนไว้ว่า พึงรู้และเข้าใจ กระบวนการฟั ง พูด อ่าน
และเขียน มีทักษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายูเพื่อการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้าจากแหล่ง
วิทยาการเกีย่ วกับศาสนาอิสลามและการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ (กระทรวง
ศึกษาธิการ,2553)

สมใจ ศรีสินรุ่งเรือง (2552: 2) กล่าวถึงการเขียนสะกดคำว่า“ การเขียนคำเป็ นสิ่งสำคัญ อย่าง


หนึ่งในการเรียน เพราะการเขียนคำเป็ นทักษะที่จำเป็ นต่อการวางรากฐานในการเขียนนักเรียน
สามารถนำประโยชน์จากการเขียนคำไปใช้กับวิชาอื่นๆ ได้ดี ถ้านักเรียนเขียนทำได้ถูกต้องและ รวดเร็ว”
ซึ่งคำกล่าวนีส้ อดคล้องกับคำกล่าวของ จรูญรัตน์ กางกัน้ (2551: 2) ที่ว่า“ การเขียนคำให้ ถูกต้องเป็ น
ทักษะทีสำ
่ คัญอย่างยิ่งต่อความเป็ นอยู่ของคนในปั จจุบันเพราะช่วยให้อ่านหนังสือออก เขียนหนังสือได้
ถูกต้องและเป็ นพื้นฐานสำคัญของการเรียนวิชาต่างๆ” และ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
(2539: 27) กล่าวถึงการเขียนสะกดคำว่า“ ในการสื่อสารด้วยการเขียน การ สะกดคำให้ถูกต้องเป็ น
เรื่องจำเป็นมาก ทัง้ นีเ้ พราะคำในภาษาไทยจำนวนมาก แม้จะมีเสียงเหมือนกัน ถ้าความหมายต่างกันก็
จะสะกดต่างกัน”

จากคำกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การเขียนสะกดคำเป็ นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งในการเรียน เพราะ


การเขียนสะกดคำเป็ นทักษะที่จำเป็ นต่อการวางรากฐานในการเขียน นักเรียนสามารถนำประโยชน์
จากการเขียนคำไปใช้กบั วิชาอื่นๆ ได้ดี การเขียนสะกดคำทีถ่ ูกต้อง จึงมีความสำคัญต่อนักเรียนทัง้ ใน
ด้านการติดต่อสื่อสาร และเป็ นเครื่องมือสำคัญในการศึกษาค้นคว้าในการเรียนวิชาต่างๆ ทัง้ นีเ้ พราะ
ข้อความที่มถี ้อยคำที่เขียนสะกดผิดอาจทำให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนก่อให้เกิดความเสียหายต่อ การ
สื่อสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน

2.เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิดิทัศน์ประกอบการสอน

2.1 ความหมายของวิดีทัศน์

วีดีทัศน์เพื่อการศึกษาเป็ นสื่อการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งทีม่ ีบทบาทและสำคัญมาก ปั จจุบัน


วีดีทัศน์เป็ นสื่อที่สำคัญและได้รับความนิยมทัง้ จากวงการบันเทิงและวงการศึกษาเพราะ สามารถนำไปใช้
งานได้สะดวกโดยเฉพาะในปั จจุบันวีดีทัศน์ได้ปรับเปลี่ยนไปประยุกต์เข้ากับเครือข่าย อินเตอร์เน็ตจึง
ทำให้การรับชมแพร่หลายและการเข้าถึงวีดีทัศน์สามารถทำได้มากขึน้ สำหรับ ความหมายวีดที ัศน์มีผู้
ให้คำนิยามไว้ดังนี ้
เป็ นสื่อทีเ่ หมาะสมสําหรับใช้เพื่อการจัดการเรียนรู้ เพราะวิดีทัศน์เป็ นสื่อที่ทําให้ผู้เรียนเห็น ภาพ
ได้ชัดเจน ซึ่งอาจเป็ นภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหว ทําให้ผู้เรียนได้ยินเสียงที่สอดคล้องกับภาพ นัน้ ๆ อีก
ด้วย วิดีทัศน์สามารถใช้ในการสาธิต เป็ นสิ่งทีส่ ามารถช่วยให้ผู้เรียนเห็นสิ่งที่ควรเห็น ผู้สาธิต สามารถจัด
เตรียมและจัดทําวิดีทัศน์ได้อย่างถูกต้อง ก่อนที่จะนําไปใช้จริง นอกจากนัน้ การใช้วิดีทัศน์ สามารถเลือกดูู
ภาพช้า หรือหยุดดูเฉพาะภาพได้การบันทึกภาพวิดีทัศน์สามารถกระทําได้ทงั้ ในห้อง ถ่ายภาพ(Studio) และ
ห้องปฏิบัติการซึ่งเราสามารถตัดต่อส่วนที่ต้องการ หรือเพิ่มเติมส่วนใหม่ลงไป ได้ วิดีทัศน์เป็ นสื่อที่
สามารถตรวจเช็คภาพได้ทันที และในขณะที่ถา่ ยภาพถ้าไม่พอใจก็สามารถลบทิง้
และบันทึกใหม่ได้ สําหรับเสียงก็สามารถบันทึกลงในแหล่งบันทึกไปพร้อมๆ กับการบันทึกภาพได้ทันที (ครู
ท็อป / 2551)
จากคำกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า วิดิทัศน์ เป็ นสื่อที่เหมาะสำหรับการจัดการเรียนการสอน เป็ น
สื่อที่ผเู้ รียนสามารถเห็นภาพทีช่ ดั เจน อาจจะเป็ นภาพนิ่งหรือเคลื่อนไหว ซึ่งเป็ นประโยชน์แก่ผู้เรียนใน
การเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ซึง่ ปั จจุบนั มีการเข้าถึงเทคโนโลยีได้ง่าย อีกทัง้ วิดิทัศน์สามารถนำมา เผย
แพร่ได้หลายครัง้

2.2 ประโยชน์ของวีดิทัศน์
1. ผูช้ มได้ เห็นภาพ และได้ยินเสียงไปพร้อม ๆ กันซึ่งเป็ นการรับรู้ โดยประสาทสัมผัสทัง้ ทาง ซึง่ ยอมดี
กว่าการรับรู้ โดยผ่านประสาทสัมผสอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว
2. ผู้ชมสามารถเข้าในกระบวนการที่ซับซ้อนได้โดยอาศัยศักยภาพของเครื่องมือ
3. การผลิตวีดิทัศน์ที่สามารถย่อขยายภาพทําให้ภาพเคลื่อนทีช่ ้า เร็ว หรือหยุดนิ่งได้ แสดง กระบวนการทีม่ ีความต่อ
เนื่อ งมีลําดับขัน้ ตอนได้ในเวลาที่ต้องการโดยอาศัยเทคนิคการถ่ายทํา และ เทคนิคการตัดต่อ
4. บันทึกเหตุการณ์ในอดีต และหรือ เหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ ตางสถานที่ ตางเวลา แล้วนํามาเปิ ด ชม
ได้ทันที
5. เป็ นสื่อที่ใช้ได้ทงั้ เป็ นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ และใช้ กับมวลชนทุกเพศ ทุกวัย และ ทุกระดับ
ชัน้
6. วีดิทัศน์ที่ได้รับการวางแผนการผลิตที่ดี และผลิตอย่างมีคุณภาพสามารถใช้ แทนครูได้ ซึง่่ จะ
เป็ นการลดปั ญหาการขาดแคลนครูได้ เป็ นอย่างดี
7. ใช้ได้กับทุกขัน้ ตอนของการสอน ไม่ว่าจะเป็ นการนําเข้าสู่บทเรียนขัน้ ระหว่างการสอน หรือ
ขัน้ สรุป
8. ใช้เพื่อการสอนซ่อมเสริมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9. ใช้เพื่อบันทึกภาพที่เกิดจากอุปกรณ์การฉายได้ หลายชนิด เช่น ภาพสไลด์ ภาพยนตร์ โดย ไม่จํ
าเป็ นต้องใช้เครื่องฉายหลายประเภทในห้องเรียน
10. ใช้เป็ นแหล่งสําหรับให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยการทําห้องสมุดวีดิทัศน์ใช้ใน การฝึ ก
อบรมผู้ สอนด้วยการบันทึกการสาธิตวิธีการสอน การบันทึกรายการ หรือการจัดการ ศึกษา ใหม่ ๆ
11. ช่วยปรับปรุงเทคนิควิธีการสอนของครู โดยการใช้เทคนิคการสอนแบบจุลภาค
(Micro teaching) การเรียนรู้แบบเปิ ด(Open Learning) และการศึกษาทางไกล(Distance
Education)(วชิระ อินทร์อุดม 2539 หน้า 142)

กล่าวโดยสรุปได้ว่า วิดิทัศน์มีประโยชน์ตอ่ การเรียนการสอนเป็ นอย่างมาก วิดิทัศน์มีทงั้ ภาพ


นิง่ และเคลื่อนไหว พร้อมเสียงประกอบ ผู้ชมได้ เห็นภาพ และได้ยนิ เสียงไปพร้อมๆกัน ช่วยให้ ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ได้ทุกเพศ ทุกวัย อีกทัง้ ยังสามารถที่จะ เผยแพร่ได้
หลายครัง้

2.3 ประเภทของวีดิทัศน์

วิดทิ ศั น์เพื่อการศึกษาตามลักษณะของรายการไม่แตกต่างจากรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
ซึ่งจำแนกเป็ น 4 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (Education Television
ETV)

1. วิดทิ ศั น์ประเภทนีม้ ่งุ ส่งเสริมการให้ความรู้ท่วั ไปไนล้านต่างๆแก่ผ้ชู ม เช่น สารคดี


วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เป็ นต้น

2. วิดิทัศน์เพื่อการสอน (Instruction Televaton TTM)

วิดทิ ศั น์ประเภทนีเ้ น้นในเรื่องการเรียนการสอนเป็ นกลุม่ ผูช้ มบางกลุม่ โดยตรง ใช้ได้ทงั้ การสอนเนื้อหา


ทัง้ หมดเป็ นหลัก

3. การสอนเสริม มักจะเป็ นรายการที่ครอบคลุมกระบวนการเรียนการสอนที่สมบูรณ์ ตัง้ แต่


วัตถุประสงค์กระบวนการเรียนการสอนและการวัดผล

4. ใช้ได้ทัง้ ภายในสถานศึกษาโดยตรง หรือการศึกษาระบบเปิด เช่น รายการสถานีวทิ ยุ


โทรทัศน์เพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการสถานีวทิ ยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
(เกษร จุตาทิศ :2556 )
สรุปได้ว่า จะเห็นได้ว่าวิดิทศั น์มีหลายประเภท เช่น วิดิทศั น์เพื่อการสอน , ความรู้ทั่วไป ,
การสอนเสริม , รายการสถานีวิทยุ โดยลักษณะของวิดิทัศน์หลักๆ มีภาพและเสียงประกอบ , เคลื่อนไหว
สามารถที่จะนำมาเผยแพร่หลายครัง้ อีกทัง้ ยังสามารถใช้ได้ทงั้ เด็กและผู้ใหญ่อีกด้วย
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิดิทัศน์ประกอบการสอน

วีดีทัศน์การศึกษาวีดีทัศน์เพื่อการศึกษาเป็ นสื่อการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่มีบทบาทและ สำคัญมากปั จจุบนั


วีดที ศั น์เป็ นสื่อทีสำ
่ คัญ และได้รับความนิยมทัง้ จากวงการบันเทิงและวงการศึกษา เพราะสามารถนำไปใช้งานได้สะดวก
โดยเฉพาะในปั จจุบันวีดีทัศน์ได้ปรับเปลี่ยนไปประยุกต์เข้ากับ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตจึงทำให้การรับชมแพร่หลาย และ
การเข้าถึงวีดีทัศน์สามารถทำได้มากขึน้ สำหรับความหมายวีดีทัศน์มีผู้ให้ค่านิยามไว้ดังนี ้

รัชนก กิระแก้ว (2555 น. 38) กล่าวว่าวีดีทัศน์หมายถึงเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้บันทึกได้ ทัง้


ภาพและเสียงได้พร้อมพร้อมกันในเวลาเดียวกันสามารถเก็บวีดที ัศน์ท่บี ันทึกไว้เรียกกลับมาดูได้ทุก เวลา
และสามารถลบการบันทึกออกได้ซึ่งวีดีทัศน์นนั ้ ครอบคลุมร่วมไปทั่วทุกแห่งหน

ชูชาติ มงคลเมฆ (2553. น. 53) กล่าวว่าวีดีทัศน์หมายถึงสื่อทีนำ


่ เสนอทัง้ ภาพและเสียงโดย ถ่ายทอด
ผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างความบันเทิงให้ความรู้ให้ข่าวสารรวมไปถึงการ ให้ผลทาง
ด้านความรู้สึกอารมณ์ความเชื่อค่านิยมทัศนคติโดยมีจุดประสงค์ในการใช้ต่างกันออกไปและ นำมาใช้
ประกอบการเรียนการสอนด้วย

ศตพร ศีรหาคำ (2551 น. 16) กล่าวว่าวีดีทศั น์หมายถึงกระบวนการบันทึกสัญญาณด้านภาพ


และสัญญาณทางเสียงในสื่อกลางที่เป็ นวัสดุทางแม่เหล็กไฟฟ้ ารวมไปถึงกระบวนการถ่ายทอดภาพ และ
เสียงโดยผ่านอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ไปสู่ผู้รับด้วย

กล่าวโดยสรุป วิดิทัศน์เป็ นสื่อการเรียนการสอนที่มปี ระสิทธิภาพและทันสมัยเป็ นสื่อการเรียน


การสอนรูปแบบหนึ่งที่มีบทบาทและสำคัญมาก ปั จจุบันวีดีทัศน์เป็ นสื่อที่สำคัญ และได้รับความนิยม ทัง้
จากวงการบันเทิงและวงการศึกษา ซึ่งมีทงั้ ภาพและเสียงประกอบ เป็ นสื่อที่ช่วยให้นักเรียนมีความ
เข้าใจได้ง่าย และเป็ นสื่อทีส่ ามารถกระตุน้ ให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจ เพลิดเพลิน สนุกสนานไปกับการ
เรียน
บทที่ 3

วิธีดำเนินการวิจัย

การศึกษาวิจัยในครัง้ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูของ


นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ ักษะการเขียนสะกดคำภาษา
มลายูโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1 ระหว่างก่อนและ
หลังเรียน โดยมีวิธีการดำเนินวิจัยดังนี้

6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
7 ตัวแปรที่ศึกษา
8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
9 การเก็บรวบรวมข้อมูล
10 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ศึกษา

ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นี้ คือ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1 ปี การศึกษา 2564


โรงเรียนบ้านน้ำใส ต.ลุโบะยิไร อ.มายอ จ.ปั ตตานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปั ตตานี
เขต 2

จำนวน 1 ห้องเรียน ได้แก่ ป.1/1 จำนวนนักเรียนทัง้ หมด 20 คน

กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านน้ำ


ใส ต.ลุโบะยิไร อ.มายอ จ.ปั ตตานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปั ตตานี เขต 2 จำนวน
นักเรียน 6 คน
2.ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวแปรต้น : การพัฒนาทักษะการเขียนโดยใช้วิดีโอการสะกดคำประกอบการการสอน

ตัวแปรตาม : ผลสัมฤทธิท์ ักษะด้านการเขียนภาษามลายูนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1


การดำเนินการแก้ปัญหาเกี่ยวกับพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำ มีการดำเนินงานเป็ นขัน้ ตอน ดังนี ้
3.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.1 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน ขัน้ ตอนในการสร้าง
เครื่องมือ
1. ศึกษาหลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551
2. มาตรฐานการเรียนรู้ ย1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียนมี
ทักษะ และเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายูเพื่อการเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับ
ศาสนาอิสลามและการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์

และตัวชีว้ ัด ป.1/2 เขียนพยัญชนะ สระ และคำที่กำหนด


3. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับวิดิทัศน์ประกอบการสอน
3.1 ความหมายของวิดีทัศน์ประกอบการสอน
3.2 ประโยชน์ของวีดิทัศน์ประกอบการสอน
3.3 ประเภทของวีดิทัศน์ประกอบการสอน
4. เอกสารรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิดิทัศน์ประกอบการสอน

4.1 นำวิดิทัศน์ประกอบการสอนที่สร้างขึน้ ให้ครูผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

ความถูกต้อง

4.2 ปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของครูผู้เชี่ยวชาญ

5. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และสร้างวิดิทัศน์ประกอบการสอน
5.1 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน เพื่อ
พัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู จำนวน 3 แผน
หน่วยการเรียนรู้ที่1 เรื่อง พยัญชนะในภาษามลายู(huruf dalam Bahasa melayu)
หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่อง พยางค์ (SUKU KATA)
หน่วยการเรียนรู้ที่3 เรื่อง อวัยวะร่างกายของเรา (ANGGOTA TUBUH BADAN SAYA)
แผนการจัดการเรียนรู้ 1 | โรงเรียนบ้านนำใส

กลุ่มสาระวิชาภาษามลายู ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

เรื่อง พยัญชนะในภาษามลายู(huruf dalam Bahasa melayu)

สอนโดย อามาณี เจะมูดอ (นักศึกษาฝึ กสอน)

1)มาตรฐานการเรียนรู้

ย 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียนมีทักษะ และเห็นคุณค่าในการใช้


ภาษา มลายูเพื่อการเรียนรู้ ศึกศาลค้าคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและการสื่อสาร
อย่าง สร้างสรรค์

2)ตัวชีว้ ัด

ป.1/2 อ่าน เขียนพยัญชนะ สระ และคำที่กำหนด

3) จุดประสงค์การเรียนรู้

- นักเรียนสามารถเขียนพยัญชนะภาษามลายูตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็กได้อย่างถูกต้อง

- นักเรียนสามารถรู้จักตัวอักษรในภาษามลายูทงั้ ตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก

- นักเรียนมีเจตคติท่ดี ีตอ่ การเรียนภาษามลายู

4) สาระการเรียนรู้

- พยัญชนะในภาษามลายูตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก(huruf besar dan huruf kecil


dalam Bahasa melayu)

5) กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำ
-การเรียนแบบ ON HAND ครูทกั ทายนักเรียนผ่านกลุม่ ไลน์ ชีแ้ จงผ่านกลุ่มไลน์เกี่ยวกับ
แบบทดสอบก่อนเรียนและวิดีโอการสอน

-ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบการเขียนก่อนเรียน เรื่อง พยัญชนะในภาษามลายู


*แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนครูได้ให้ก่อนหน้านัน้ แล้ว

ขัน้ สอน

-ครูให้นักเรียนดูวิดิทัศน์ เรื่อง “วิธีการเขียนตัวอักษรภาษามลายู” รายละเอียดในวิดิโอจะมี


เสียงและวิธีการเขียนตัวอักษรในภาษามลายูที่ถูกต้อง เช่น ตัว M พร้อมอ่าน ตัวเอ็ม และวิธีการเขียน
ตัว M ทัง้ ตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก

-ลิงก์วิดิทัศน์ : https://youtu.be/OYi3aOFRtMU

ขัน้ สรุป

-หลังจากนักเรียนดูวดิทศั น์ิ เสร็จแล้ว ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

6) อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้

-วิดิทัศน์การสอนเรื่อง“วิธีการเขียนตัวอักษรภาษามลายู”

7) ภาระงาน/ชิน้ งาน

-แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน

8) เกณฑ์การประเมิน

-นักเรียนสามารถเขียนตัวอักษรในภาษามลายู จำนวน 15 ตัวขึน้ ไปถือว่าผ่าน

8)สรุปกิจกรรมการเรียนรู้

-นักเรียนสามารถรู้จักตัวอักษรในภาษามลายูทงั้ ตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก อีกทัง้ นักเรียน เขียนตัวอักษรภาษา


มลายู หลังเรียนดีกว่าก่อนเรียนซึ่งบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตงั้ ไว้
แผนการจัดการเรียนรู้ 2 | โรงเรียนบ้านนำใส

กลุม่ สาระวิชาภาษามลายู ชนั ้ ประถมศกึ ษาชนั ้ ปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2564


เรือ่ ง พยางค์ (SUKU KATA)
สอนโดย อามาณี เจะมูดอ (นักศกึ ษาฝึ กสอน)

1)มาตรฐานการเรียนรู้

ย 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียนมีทักษะ และเห็นคุณค่าในการใช้


ภาษา มลายูเพื่อการเรียนรู้ ศึกศาลค้าคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและการสื่อสาร
อย่าง สร้างสรรค์

2)ตัวชีว้ ัด

ป.1/2 เขียนพยัญชนะ สระ และคำที่กำหนด

3)จุดประสงค์การเรียนรู้

-นักเรียนสามารถเขียนสะกดคำ 1 พยางค์และ 2 พยางค์ได้ถูกต้อง

-นักเรียนมีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนเขียนสะกดคำ

-นักเรียนสามารถแยกแยะคำ 1 พยางค์ และ 2 พยางค์ได้อย่างถูกต้อง

4)สาระการเรียนรู้

-พยัญชนะและสระ(huruf dan vocal)

-สะกดคำภาษามลายู 1พยางค์ และ 2 พยางค์

5)กิจกรรมการเรียนรู้

ขัน้ นำ มีการเรียนแบบ ON HAND ครูมีการทักทายนักเรียนผ่านกลุม่ ไลน์ ชีแ้ จงผ่านกลุ่มไลน์


เกี่ยวกับเรื่องที่ครูจะสอน แบบทดสอบก่อนเรียน และวิดีโอประกอบการสอน เรื่อง วิธีการเขียนสะกด
คำ 1 พยางค์ และ 2 พยางค์

-ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
ขัน้ สอน - ครูส่งลิงก์วิดิทัศน์ผ่านไลน์กลุม่ จากนัน้ ครูให้นักเรียนดูวดิ ิทัศน์ เรื่อง วิธกี ารเขียน
สะกดคำ หนึ่งพยางค์และสองพยางค์ในภาษามลายู รายละเอียดในวิดิทัศน์นนั้ จะประกอบด้วย วิธีการ
เขียนสะกดคำหนึ่งพยางค์และสองพยางค์ ภาพและเสียงอธิบายประกอบ

- ลิงก์วิดิทัศน์ : https://youtu.be/thdJ3dEtQG8

 เรียนแบบ ONHAND ครูมีการแจกแบบทดสอบก่อนล่วงหน้า

ขัน้ สรุป หลังจากนักเรียนดูวดิ ทิ ศั น์เสร็จแล้ว ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

6)อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้

-วิดิทัศน์ เรื่อง วิธีการเขียนสะกดคำ 1 พยางค์ และ 2 พยางค์

7)ภาระงาน/ชิน้ งาน

-แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เรื่อง สะกดคำ 1 พยางค์ และ 2 พยางค์

8)เกณฑ์การประเมิน

-นักเรียนสามารถเขียนสะกดคำ 1 พยางค์ จำนวน 4 คำขึน้ ไป ถือว่าผ่าน

-นักเรียนสามารถเขียนสะกดคำ 2 พยางค์ จำนวน 4 คำขึน้ ไป ถือว่าผ่าน

9)สรุปกิจกรรมการเรียนรู้

นักเรียนสามารถเขียนสะกดคำ1 พยางค์และ 2พยางค์ หลังเรียนได้ดีกว่า ก่อนเรียน อีกทัง้ นักเรียนสามารถ


แยกแยะ คำ 1พยางค์และ 2พยางค์ได้ถูกต้อง ซึง่ บรรลุตามวัตถุประสงค์ทตี่ งั้ ไว้
แผนการจัดการเรียนรู้ 3 | โรงเรียนบ้านน้ำใส

กลุม่ สาระวิชาภาษามลายู ชนั ้ ประถมศกึ ษาชนั ้ ปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2564


เรือ่ ง อวัยวะร่างกายของเรา (ANGGOTA TUBUH BADAN SAYA)
สอนโดย อามาณี เจะมูดอ (นักศกึ ษาฝึ กสอน)

1)มาตรฐานการเรียนรู้

ย 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียนมีทักษะ และเห็นคุณค่าในการใช้


ภาษา มลายูเพื่อการเรียนรู้ ศึกศาลค้าคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและการสื่อสาร
อย่าง สร้างสรรค์

2)ตัวชีว้ ัด

ป.1/2 เขียนพยัญชนะ สระ และคำที่กำหนด

3)จุดประสงค์การเรียนรู้

-นักเรียนสามารถเขียนคำศัพท์ทกำ
ี่ หนดได้อย่างถูกต้อง

-นักเรียนสามารถเติมคำศัพท์จากรูปภาพที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง

-นักเรียนสามารถบอกความหมายจากคำ (อวัยวะ) ที่กำหนด

4)สาระการเรียนรู้

-พยัญชนะและสระ

-คำศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะ

5)กิจกรรมการเรียนรู้

ขัน้ นำ เรียนแบบ ON HAND ครูทกั ทายนักเรียนผ่านกลุม่ ไลน์ ถามไถ่นักเรียน ชีแ้ จงผ่าน


กลุ่มไลน์เกี่ยวกับเร่องที่ครูจะสอนและวิดิทัศน์ประกอบการสอน เรื่อง อวัยวะของฉัน

- ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน

*แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนครูได้แจกก่อนหน้านัน้ แล้ว
ขัน้ สอน - ครูส่งวิดิทัศน์ผ่านไลน์กลุม่ จากนัน้ ครูให้นักเรียนดูวิดิทัศน์ รายละเอียดในวิดิทัศน์
นัน้ จะประกอบด้วย วิธีการเขียนคำศัพท์อวัยวะต่างๆ พร้อมรูปภาพและเสียงอธิบายประกอบ

- ลิงก์วิดิทัศน์ : https://youtu.be/gOO0O8sF6iE

 เรียนแบบ ONHAND ครูมีการแจกแบบทดสอบล่วงหน้า

ขัน้ สรุป หลังจากนักเรียนดูวิดิทัศน์เสร็จแล้ว ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

6)อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้

-วิดิทัศน์ประกอบการสอน เรื่อง อวัยวะร่างกายของฉัน

7)ภาระงาน/ชิน้ งาน

-แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เรื่อง อวัยวะร่างกายของเรา

8)เกณฑ์การประเมิน

-นักเรียนสามารถเขียนคำศัพท์ได้ 5 คำขึน้ ไปถือว่าผ่าน

9)สรุปกิจกรรมการเรียนรู้

- นกเรียนสามารถเขียนคาศพทไดและสามารถเติมคาศพทจากรูปภาพไดอย่างถกตอง ซ่งบรรลตาม

วตถประสงคท่ีวางไว
5.2 แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคำ 3 แบบทดสอบ

แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู เรื่อง

พยัญชนะภาษามลายูตัวพิมใหญ่และตัวพิมเล็ก
ชื่อ..........................................สกุล.............................................
คะแนน
เลขที่.......................................
้ ป.1
ชัน

ใบงาน 1

สาระการเรียนรู้ : ภาษามลาย
เรื่ อง : พยัญชนะภาษามลายูตวั พิมใหญ สอนโดย นางสาวอามาณี เจะมูดอ

ค าชี ้แจง : ให้ นกั เรียนคัดตัวอักษรตัวพิมใหญ่ตามเส้ นประและเติมตัวอักษรที่หายไป


แบบฝึ กคัดตัวอักษรภาษามลายูตัวพิมเล็ก

ชื่อ................................................สกุล.............................................
เลขที่......................................... ชนั้ ป.1

ใบงาน 1
คะแนน

สาระการเรียนรู้ : ภาษามลายู(รูมี) BAHASA MELAYU

เรื่ อง : พยัญชนะภาษามลายูตวั พิมเล็ก สอนโดย นางสาวอามาณี เจะมูดอ

ค าชี ้แจง : ให้ นกั เรี ยนคัดตัวอักษรตัวพิมเล็กตามเส้ นประและเติมตัวอักษรที่หายไป


แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู

เรื่อง พยางค์ (SUKU KATA) KV DAN KVKV

ใบงาน 2
กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ : ภาษามลายู (รูมี) BAHASA MELAYU ชันประถมศึ
้ กษาชันปี
้ ที่ 1

เรื่ อง : พยางค์ (satu suku kata KV dan KVKV)สอนโดย นางสาวอามาณี เจะมูดอ


ค าชี ้แจง : ให้ นกั เรีaยนเขียน suku kata ลงในช่องว่างให้ สมบูรณ์ ดังตัวอย่
ba MA
TA างต่อไปนี ้
MATA

b u BA JU

s i SU
SU

u NA SI
d

e BI RU
l

o GU LA
p

t a PI
KO

i JA
w RA

ช อ่ ..................................สกลุ ..........................................

ชน˚ั ..................................เลขที่.........................................
แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู

เรื่อง อวัยวะร่างกายของฉัน (ANGGOTA TUBUH BADAN SAYA)

ใบงาน 3

กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ : ภาษามลายู (รูมี) BAHASA MELAYU ชันประถมศึ


้ กษาชันปี
้ ที่ 1

เรื่ อง : คำศัพท์ (อวัยวะร่างกายของฉัน) สอนโดย อามาณี เจะมูดอ

ค าชี ้แจง : ให้นกั เรี ยนนำคำที่กำหนดให้ตอ่ ไปนี ้เติมลงในช่องว่างให้เหมาะสมและระบายสีให้ สวยงาม

TUBUH SAYA

rambut
5.3 วิดิทัศน์ประกอบการสอน มีทงั้ หมด 3 วิดิทัศน์ ดังนี้

1. https://youtu.be/OYi3aOFRtMU
2. https://youtu.be/thdJ3dEtQG8
3. https://youtu.be/gOO0O8sF6iE

5.4 นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึน้ ให้ครูผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

1.ปรับปรุงแก้ไขตามข้อแนะนำจากครูผเู้ ชี่ยวชาญ

2. นำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน ที่ปรับปรุง แล้วไปดำเนินการ

สอนนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 จำนวน 6 คน


3.2 แบบทดสอบก่อน-หลังการทดลอง การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู
ขัน้ ตอนการสร้างเครื่องมือ
1. ศึกษาอ่านเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการเขียนภาษามลายู
2. สร้างแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
3. นำแบบทดสอบทีส่ ร้างขึน้ ให้ครูผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
4. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของครูผู้เชียวชาญ และนำมาประเมินทักษะการเขียน
สะกดคำนักเรียนชั ้น ประถมศึ กษาชั ้น ปี ที ่ 1/1 ก่อนและหลัง โดยใช้วิดิทัศน์
ประกอบการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้
3.3 แบบบันทึกการทดลอง ขัน้
ตอนการสร้างเครื่องมือ
1. ศึกษาอ่านเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำ
ภาษามลายู
2. สร้างแบบบันทึกการทดลอง
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ท กิจกรร ช่วงเวลา
่ี ม
๑ ทดสอบความสามารถในการเขียนตัวอักษรตัวพิมใหญ่และตัวพิมเล็กของนักเรียนชัน้
ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ก่อนเรียนโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอนและสรุปผล ทดสอบการ สัปดาห์ที่ ๑-๒
๒ เขียนตัวอักษรภาษามลายู ตัวพิมใหญ่และตัวพิมเล็ก หลังเรียนโดยใช้วิดิทัศน์ ประกอบการ
สอนและสรุปผล ทดสอบความสามารถในการเขียนสะกดคำหนึ่งพยางค์และสองพยางค์ ก่อน
๓ เรียนโดยใช้วิดิ ทัศน์ประกอบการสอนและสรุปผล
สัปดาห์ที่ ๓-๔
๔ ทดสอบการเขี ย นสะกดคำหนึ ่ ง พยางค์ แ ละสองพยางค์ หลั งเรียนโดยใช้ วิ ดิ ทั ศน์
ประกอบการสอนและสรุปผล
๕ ทดสอบความสามารถในการเขี ย นสะกดคำศั พ ท์ เรื่อง อวัย วะ ของนั กเรี ยนชั ้น
ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ก่อนเรียนโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน ทดสอบการเขียน
สัปดาห์ที่ ๕-๖
๖ สะกดคำศัพท์ เรื่อง อวัยวะ หลังเรียนโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน และสรุปผล
บันทึกการรวบรวมข้อมูล

๗ สัปดาห์ที่ ๘

5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

5.1 ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ของคะแนนใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2546:105)

𝑋̅ = x
𝑛̅
เมื่อ 𝑥̅ แทน ค่าเฉลี่ย

X แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดของกลุ่ม


5.2 ร้อยละ (Percentage) ซึ่งใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 101)

เมื่อ P แทน ร้อยละ


f แทน ความถี่ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงให้เป็ นร้อยละ
N แทน จำนวนความถี่ทงั้ หมด
5.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2546:
106)
สูตร N X 2 
  X 2

N N  1
S.D. 

เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


∑X แทน คะแนนแต่ละคน
(∑X)2 แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดยกกำลังสอง
N แทน จำนวนนักเรียนในกลุ่มเป้ าหมาย
5.4 สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนเรียนกับหลังเรียน สถิติที่ใช้ ได้แก่

t – test (Dependent Samples) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 112)

เมื่อ t แทน ค่าสถิตทิ ่ใี ช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤตในการแจกแจงแบบ t


เพื่อทราบความมีนัยสำคัญ
D แทน ผลต่างคะแนนสอบก่อนและสอบหลัง
n แทน จำนวนผูเ้ รียนทัง้ หมดของกลุม่ ตัวอย่าง
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์
ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลครัง้ นีผ้ ู้วิจัยใช้แบบทดสอบสาระภาษามลายู ชัน้ ประถมศกษา


ชัน้ ปีที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส อำเภอ มายอ จังหวัด ปั ตตานี ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เปรียบเทียบ
ผลสมฤทธิท์ กั ษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน สำหรับนักเรียนชัน้
ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1 ระหว่างก่อนและหลังเรียน 2)เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู
ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 1/1 โดยใช้วดิ ิทัศน์การสะกดคำประกอบการสอน ซึง่ ผู้วิจยั ขอ นำ
เสนอผลการดำเนินวิจัยออกเป็ น

2 ขัน้ ตอน ดังนี้

4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยได้กำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

N แทน จำนวนกลุ่มเป้ าหมาย

P แทน ค่าร้อยละ

𝑋̅ แทน คะแนนเฉลี่ย

∑X แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด


S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

T แทน สถิติทดสอบที่ใช้พิจารณาใน t-test (Dependent Samples)


4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผูว้ จิ ยั ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงคะแนนจากแบบทดสอบการเขียนสะกดคำภาษามลายูก่อนใช้วิดิทัศน์ของ นักเรียนชัน้


ประถมศึกษาชัน้ ปี ท่ี 1/1 จำนวน 6 คน ใช้แบบทดสอบทัง้ หมด 3 แบบทดสอบ ได้แก่ 1) การเขียนตัว
อักษรตัวพิมใหญ่และตัวพิมเล็ก 2)การเขียนสะกดคำภาษามลายูหนึ่งพยางค์และสอง พยางค์ 3)การเขียน
คำศัพท์ ทดสอบก่อนเริ่มใช้วิดิทัศน์ ดังนี้

คะแนนทดสอบการเขียนสะกดคำภาษามลายู (ก่อนใช้
วิดิ
ทัศน์)
ทดสอบครัง้ ที่ ทดสอบครัง้ ที่ 2 ทดสอบครัง้ คะแ ค ผล
1 ที่3 นน ่า การ
การเขียน
การเขียน การเขียน
ลำดั ชื่อ-สกุล สะกด คำ รว ร้ ประเ
ตัวอักษรตัว คำศัพท์
บ หนึ่งพยางค์ ม อ มิน
พิม คะแนน
ที่ และสอง ย
ใหญ่/เล็ก เต็ม(10)
พยางค์ ล
คะแนน
คะแนน ะ
เต็ม(10)
เต็ม(10)
1 นักเรียน 1 4 5 4 13 43.3 ไม่
ผ่าน
2 นักเรียน 2 4 4 5 13 43.3 ไม่
ผ่าน
3 นักเรียน 3 4 3 4 11 36.6 ไม่
ผ่าน
4 นักเรียน 4 3 4 5 12 40 ไม่
ผ่าน
5 นักเรียน 5 5 4 4 13 43.3 ไม่
ผ่าน
6 นักเรียน 6 5 5 5 15 50 ผ่าน
ผล 77 256. ไม่
รวม 5 ผ่าน
รวม(เฉลี่ย) 12.8 42.8 ไม่
3 ผ่าน

จากตารางพบว่า คะแนนของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ไม่ผ่านการทดสอบก่อน ใช้


วิดิทัศน์ เรื่อง การเขียนสะกดคำภาษามลายู โดยมีเกณฑ์การประเมิน ค่าร้อยละ 50 ขึน้ ไปถือว่า ผ่าน
จากตาราง 4.1 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย 12.83 คิดเป็ นร้อยละ 42.8 โดยมีคะแนนเต็ม 30 คะแนน
คะแนนสูงสุดในการทดสอบคือ 15 คะแนน ได้แก่ นักเรียนคนที่ 6 และคะแนนต่ำสุดในการทดสอบ คือ
11 คะแนน ได้แก่ นักเรียนคนที่ 3
ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงคะแนนจากแบบทดสอบทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู หลัง เรียนโดยใช้วิดิทัศน์
ประกอบการสอน จำแนกตามนักเรียนแต่ละคน
คะแนนทดสอบการเขียนสะกดคำภาษามลายู (หลังใช้
วิดิ
ทัศน์)
ทดสอบครัง้ ที่ ทดสอบครัง้ ที่ 2 ทดสอบครัง้ คะแน ค ผล
1 ที่3 น ่า การ
การเขียน
การเขียน การเขียน คำ
ลำดั ชื่อ-สกุล สะกด คำ รวม ร้ ประเ
ตัวอักษรตัว ศัพท์ คะแนน
บ หนึ่งพยางค์ อ มิน
พิม เต็ม(10)
ที่ และสอง ย
ใหญ่/เล็ก
พยางค์ ล
คะแนน
คะแนน ะ
เต็ม(10)
เต็ม(10)
1 นักเรียน 1 8 8 9 25 83.3 ผ่า

2 นักเรียน 2 7 8 9 24 80 ผ่า

3 นักเรียน 3 9 8 9 26 86.6 ผ่า

4 นักเรียน 4 7 8 9 24 80 ผ่า

5 นักเรียน 5 9 9 9 27 90 ผ่า

6 นักเรียน 6 8 8 9 25 83.3 ผ่า

ผล 151 503. ผ่า
รวม 2 น
รวม(เฉลี่ย) 25.1 83.8 ผ่า
6 น

จากตารางพบว่า คะแนนจากแบบทดสอบหลังใช้วิดิทัศน์ พบว่านักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้


ปี ที่ 1/1 จำนวน 6 คน ผ่านการทดสอบ เรื่อง การเขียนสะกดคำภาษามลายู โดยมีเกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 50 ขึน้ ไปถือว่าผ่าน จากตาราง 4.2 พบว่า คะแนนเฉลี่ย 25.16 คิดเป็นร้อยละ 83.8 โดย
คะแนนสูงสุดในการทดสอบหลังใช้วิดิทัศน์ คือ 27 คะแนน ได้แก่ นักเรียน คนที่ 5 และคะแนนต่ำสุด
คือ 24 คะแนน ได้แก่นักเรียนคนที่ 2 จากตาราง 4.2 พบว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้วิดิทัศน์ในการ
พัฒนาการเขียนสะกดคำภาษามลายู มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน
ตารางที่ 4.3 การเปรียบเทียบผลการพัฒนาทางการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ ดังนี ้
นักเรียนคน คะแนนทดสอบ คะแนนทดสอบ ความ
ที่ ก่อน หลัง ก้าวหน้า
เรียน เรียน (-,+)
เต็ม เต็ม (d)
(30) (30)
นักรียนคนที่ 13 25 +12
1
นักเรียนคนที่ 13 24 +11
2
นักเรียนคนที่ 11 26 +15
3
นักเรียนคนที่ 12 24 +12
4
นักเรียนคนที่ 13 27 +14
5
นักเรียนคนที่ 15 25 +10
6
คะแนน 77 151 +74
รวม
เฉลี่ย 12.83 25.16 +12.33
ค่าร้อยละ 42.8 83.8 +41
ค่า S.D 1.32 1.05 +0.27

จากตาราง 4.3 พบว่า ผลการพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูก่อนใช้วดิ ิทัศน์ มี


คะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 12.83 คิดเป็ นร้อยละ 42.8 และค่า S.D 1.32 และคะแนนเฉลี่ยหลังใช้วิดิทัศน์
เท่ากับ 25.16 คิดเป็ นร้อยละ 83.8 และค่า S.D เท่ากับ 1.05 และความก้าวหน้ามีค่าเฉลี่ย เท่ากับ
12.33

ตารางที่ 4.4 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนระหว่างก่อนและหลังเรียน


การ N 𝑋̅ S.D T Sig
ทดสอบ
ก่อน 6 12. 1.32 16.23 .
เรียน 83 00
หลัง 6 25. 1.05 0
เรียน 16

จากตาราง 4.4 พบว่า การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน


ชั
้นประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 12.83 และค่า S.D เท่ากับ 1.32 และ
หลังเรียนมีคะแนน เฉลี่ยเท่ากับ 25.16 และค่า S.D เท่ากับ 1.05 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบคะแนน
ระหว่างก่อนและ หลังเรียนของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 จำนวน 6 คน พบว่า คะแนน
ทดสอบหลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย

การวิจัยในครัง้ นี้ ผู้วิจัยได้พัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู โดยใช้วิดิทัศน์


ประกอบการสอนภาษามลายู ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 1/1 ซึ่งสรุปได้ดังนี้

11 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
12 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
13 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
14 การดำเนินการวิจยั
15 สรุปผลการวิจัย
16 อภิปรายผล
17 ข้อเสนอแนะ

1.วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.1 เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1

1.2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ ักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์


ประกอบการสอน สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1 ระหว่างก่อนและหลังเรียน

2.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2.1 ประชากรคือ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส ตำบลลุโบะยิไร


อำเภอมายอ จังหวัดปั ตตานี จำนวนนักเรียนมีทงั้ หมด 20 คน

2.2 กลุม่ ตัวอย่างคือ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส ตำบลลุโบะยิ


ไร อำเภอมายอ จังหวัดปั ตตานี จำนวน 6 คน

3.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นี ้ ประกอบด้วย
3.1 วิดิทัศน์ประกอบการสอนภาษามลายู ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 จำนวน 3 วิดิทัศน์

3.2 แบบทดสอบวัดทักษะการสะกดคำภาษามลายู ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 จำนวน 6


ฉบับ

3.3 แผนการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ภาษามลายู จำนวน 3 แผน


4. การดำเนินการวิจัย
การดำเนินการวิจัยในครัง้ นี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ระยะเวลาดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2564 ถึง 3 ตุลาคม พ.ศ.2564 ผู้วิจัยได้เป็ น ผู้ดำเนินการเองโดยมีขนั้ ตอนในการ
ดำเนินการ ดังนี้

4.1 นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเขียนสะกดคำภาษามลายู ทดสอบก่อนเรียน


จำนวน 3 ฉบับ กับกลุม่ ตัวอย่าง จำนวน 6 คน
4.2 จัดการเรียนการสอนโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน จำนวน 3 วิดิทัศน์ สอนนักเรียน ชัน้ ประถมศึกษา
ชัน้ ปี ที่ 1/1
4.3 ทดสอบวัดผลสัมฤทธิด์ ้านการเขียนสะกดคำภาษามลายู ทดสอบหลังเรียนโดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์
ชุดเดียวกันกับแบบทดสอบก่อนเรียน

5. สรุปผลการวิจัย
ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 จำนวน 6 คน โดยใช้วดิ ิทัศน์
ประกอบการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู พบว่า ผลการพัฒนาทักษะการ
เขียนสะกดคำภาษามลายูก่อนใช้วิดิทัศน์ มีคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 12.83 คิดเป็ นร้อยละ 42.8 และค่า
S.D = 1.32 และคะแนนเฉลี่ยหลังใช้วิดิทัศน์ เท่ากับ 25.16 คิดเป็นร้อยละ 83.8 และค่า S.D เท่ากับ
1.05 และความก้าวหน้ามีคา่ เฉลี่ย เท่ากับ 12.33 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่ตงั้ ไว้คือร้อยละ 50 ขึน้ ไปถือว่าผ่าน และเมื่อเปรียบเทียบ
คะแนนทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู โดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1
พบว่าคะแนนเฉลีย่ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05
6.การอภิปรายผล
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน
สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 โรงเรียนบ้านน้ำใส จังหวัดปั ตตานี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ
พัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 และเพื่อ เปรียบ
เทียบผลสัมฤทธิท์ ักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอน สำหรับ นักเรียน
ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1 ระหว่างก่อนและหลังเรียน นำผลมาอภิปรายตามวัตถุประสงค์ได้ ดังนี้

6.1 เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1


นักเรียนจำนวน 6 คนยังเขียนสะกดคำภาษามลายูอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องมีการปรับปรุง แก้ไข ฉะนัน้
ครูผู้สอนจึงมีการสอนในรูปแบบวิดิทัศน์ประกอบการสอน วิดิทัศน์ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึน้ มีความเหมาะสม
กับผูเ้ รียนในช่วงชัน้ นี้ ซึ่งมีเนื้อหาไม่ยากจนเกินไป มีการอธิบายเนื้อหาที่ชัดเจนและมีภาพประกอบ
สวยงาม ซึง่ มีความสอดคล้องกับงานวิจัย บุญชม ศรีสะอาด(2559) ที่กล่าวว่า สื่อมัลติมีเดียที่มีขนาด
ตัวอักษร และภาพประกอบการเรียนการสอนที่เหมาะสม เมื่อผู้เรียนได้เห็นภาพที่คมชัด และ เหมาะ
สมกับเนื้อหาที่ผู้เรียนศึกษาอยู่ ทำให้ผู้เรียนได้เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึน้ และตัวอักษรที่ใหญ่ พอสมควร และไม่
มากจนเกินไป ทำให้ผเู้ รียนไม่เบื่อหน่ายกับการเรียน สามารถนำสื่อมัลติมีเดีย กลับมาทบทวนความรู้ได้
ตามความต้องการ และเพื่อที่จะพัฒนาทักษะการเขียนภาษามลายูของ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่
1/1 จำนวน 6 คน ครูจึงนำแบบทดสอบก่อนเรียนมาทดสอบกับ นักเรียนจำนวน 6 คน ผลปรากฏว่า คิด
เป็ นร้อยละเฉลี่ย 42.8 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ไม่ผ่าน เกณฑ์ที่ผู้วิจัยได้ ตัง้ ไว้คือ ร้อยละ 50 ขึน้ ไป ถือว่าผ่าน จากนัน้ ครู
ได้ใช้แบบทดสอบการเขียนหลังเรียนชุดเดิมให้ นักเรียนได้เขียนสะกดคำภาษามลายูอีกครัง้ หนึ่ง ผลปรากฎ
ว่านักเรียนมีการพัฒนาทักษะการเขียน สะกดคำภาษามลายูโดยคิดเป็ นร้อยละเฉลีย่ 83.8 แสดงว่า
นักเรียนมีพัฒนาการเขียนสะกดคำภาษา มลายูทดี่ ีขนึ ้

6.2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ ักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูโดยใช้วิดิทัศน์ ประกอบการสอน


สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่1/1 ระหว่างก่อนและหลังเรียน นักเรียนมี ทักษะทางการเขียน
สะกดคำภาษามลายูหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 ซึง่ เป็ นตามสมมุติฐานที่ตงั้ ไว้ แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้วดิ ิทัศน์ประกอบการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษามลายู ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 ทำให้ผลสัมฤทธิท์ างการเขียนสะกดคำ
ของนักเรียนสูงขึน้ โดยผู้วิจัยได้ทดสอบการเขียนสะกดคำภาษามลายูก่อนเรียนโดยใช้วิดิทัศน์กับ นักเรียนชัน้
ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 จำนวน 6 คน พบว่า คะแนนก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ
12.83 คิดเป็ นร้อยละ 42.8 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.32 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนโดย ใช้
วิดิทัศน์ เท่ากับ 25.16 คิดเป็นร้อยละ 83.8 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.05 แสดงว่า ผลสม
ฤทธิท์ ักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ บรรจบ
โนนพิลา (2556) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ การพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3/9 โดย
ใช้ส่ อื วีดิโอคลิป (Video clip) กลุม่ เป้ าหมายเป็ น นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3/9 จํานวน 33 คน ภาค
เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 โรงเรียนมุกดาหารอําเภอเมือง มุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร พบว่า
นักเรียนมีคะแนนทดสอบหลังเรียนและก่อนเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ 70.30 และ

24.44 ตามลําดับ ซึ่งนักเรียนทุกคนสามารถทําคะแนนทดสอบหลังเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึน้ ไป


จากการอภิปรายผลการวิจัยข้างต้นนัน้ แสดงให้เห็นว่า การใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอนเพื่อ
การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 1/1 สามารถทำให้
ผู้เรียนเพิม่ พูนความรู้ พัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายูที่ดีขนึ้ และการใช้เนื้อหาที่เหมาะสม
กับความสามารถสำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาเป็ นสิ่งสำคัญ อีกทัง้ วิดิทัศน์ที่ผู้วิจัยไดสร้างขึน้ มี ความ
เหมาะสมกับผู้เรียนในช่วงชัน้ นี้ ซึ่งมีเนื้อหาไม่ยากจนเกินไป มีการอธิบายเนื้อหาที่ชัดเจนและมี ภาพ
ประกอบสวยงาม ทำให้นักเรียนเกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนาน มีความกระตือรือร้นที่จะเรียน เพราะ
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิดิทัศน์ท่นี ่าสนใจ ดึงดูด จะช่วยให้ผลสมฤทธิท์ างการเรียนการ สอนสูง
ขึน้ ทัง้ นีผ้ เู้ รียนควรทีต่ อ้ งฝึ กฝนทักษะการเขียนสะกดคำอย่างต่อเนื่องเพื่อเกิดความชำนาญ มากขึน้

7.ข้อเสนอแนะ

7.1 ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้
7.1.1 ก่อนนำไปใช้สอน ครูผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตร แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนา
ทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการเขียนสะกด คำ
ให้เข้าใจอย่างชัดเจนเพื่อประยุกต์แนวคิด หลักการและทฤษฎี มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและ พิจารณา
ความยากง่ายเหมาะสมกับความสามารถของเด็ก

7.1.2 การเลือกเนื้อหาที่นำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็ นสิ่งสำคัญทีค่ วรคำนึงถึง


ความเหมาะสมของ เพศ วัย และระดับความสามารถในการเรียนของนักเรียนด้วย

7.1.3 ครูผู้สอนควรมีเทคนิคในการทำวิดิทัศน์ประกอบการสอน ให้เหมาะสมกับ


ระดับความสามารถของผู้เรียน เช่น เนื้อหา , การตกแต่ง , คำอธิบายที่ชัดเจน และอื่นๆ

7.2 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครัง้ ต่อไป


7.2.1 ควรมีการนำวิดิทัศน์การสะกดคำภาษามลายูท่ผี ู้วิจัยใช้ ไปทดลองกับนักเรียน
โรงเรียนอื่น เพื่อได้ขอ้ สรุปผลการวิจัยที่กว้างขวางมากขึน้
7.2.2 ควรมีการสร้างวิดิทัศน์ประกอบการสอนภาษามลายู ในหน่วยการเรียนรู้อ่ นื ๆ
หรือในระดับชัน้ อื่นๆ
บรรณานุกรม

กามารุดดีน อิสายะ(2553).รายงานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาระบบเขียนภาษามลายูปาตานีด้วยอักษร

ยาวี

เพื่อการอนุรักษ์ และฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่น : กรณีศึกษา ตาบลเขาตูม อำเภอ


ยะรัง จังหวัดปั ตตานี”(หน้า 9-11) เข้าถึงเมื่อ 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 จาก

https://so03.tci-thaijo.org

อังสณา ทรัพย์สุวรรณ (2555). เรื่อง “วิดิทัศน์และการประยุกต์ใช้โปรแกรมเกี่ยวกับวิดิทัศน์” (หน้า 3)

เข้าถึงเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 จาก https://sites.google.com

กระทรวงศึกษาธิการ,(2553).”รายงานวิจัยการพัฒนาการเขียนสะกดคำมัธยมศึกษาชัน้ ปี ที่ 2”

(หน้า 4)

นันทพงศ์ ปุนขันธ์(2552) “ความหมายการเขียน”เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 จาก

https://sites.google.com

สุธา ขวัญพุฒ (2550). “การเขียนสะกดคำ” (หน้า 13) เข้าถึงเมื่อ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2564 จาก

http://thesis.rru.ac.th
วชิระ อินทร์อุดม (2539). “การผลิตสื่อวิดิทัศน์และวิดิทัศน์”(หน้า 142) กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย

รัชนก กิระแก้ว (2555), “รายงานวิจัยการสร้างแบบฝึ กพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำ”(หน้า 38)


:
มหาวิทยาลัยทักษิณ เข้าถึงเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2564 จาก

http://kb.tsu.ac.th

ศตพร ศีรหาคำ (2551). “การพัฒนารายการโทรทัศน์ฝึกทักษะปฏิบัติประกอบการเรียน”(หน้า 16)


มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เข้าถึงเมื่อ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2564 จาก
http://thesis.swu.ac.th
ชญานันท์ (2561).”การศึกษาภาษามลายูขนั ้ พนฐาน” เข้าถึงเมื่อ 14 กันยายน พ.ศ. 2564 จาก

https://pasamalau.blogspot.com

Kamarudin Husin (1999 : 69). “Penulisan Bahasa Melayu” (หน้า 1) Kamus


Dewan Edisi (2007 : 1729). “Penulisan Bahasa Melayu” (หน้า 1)

อดุลย์ ภูปลื้ม. (2539 ). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสะกดคำสำหรับนักเรียน ชัน้ ประถม


ศึกษา
ปี ที่ 1 โดยใช้แบบฝึ กที่จัดคำเป็ นกลุ่มคำ และแบบฝึ กที่จัดคำและคำ วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน)
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิลาวัณย์ สุภิรักษ์ (2545).การพัฒนาแบบฝึ กทักษะภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำไม่ตรงตาม มาตรา
ตัวสะกดสำหรับประถมศึกษาชัน้ ปี ที่ 6 วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต,พิษณุโลก :
มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สุนีย์ แก้วของแก้ว. (2549).การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราของ นักเรียน
ที่
มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้แบบฝึ กการประสมอักษร.
สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2559). การวิจัยสำหรับครู. (พิมพ์ครัง้ ที่ 4). กรุงเทพฯ: บริษัท สุวีริยาสาส์น จำกัด.
ภาคผนวก

(แบบทดสอบทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู)
เรื่อง พยัญชนะภาษามลายูตัวพิมใหญ่และตัวพิมเล็ก

ชื่อ..........................................สกุล.............................................
เลขที่....................................... นั้ ป.1
ชคะแนน

ใบงาน 1

สาระการเรียนรู้ : ภาษามลาย

เรื่ อง : พยัญชนะภาษามลายูตวั พิมใหญ สอนโดย นางสาวอามาณี เจะมูดอ

ค าชี ้แจง : ให้ นกั เรี ยนคัดตัวอักษรตัวพิมใหญ่ตามเส้ นประและเติมตัวอักษรที่หายไป


แบบฝึ กคัดตวอักษรภาษามลายูตัวพิมเล็ก

ชื่อ................................................สกุล.............................................
เลขที่......................................... ชนั้ ป.1

ใบงาน 1

แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู
คะแนน

สาระการเรียนรู้ : ภาษามลายู(รูมี) BAHASA MELAYU

เรื่ อง : พยัญชนะภาษามลายูตวั พิมเล็ก สอนโดย นางสาวอามาณี เจะมูดอ

ค าชี ้แจง : ให้ นกั เรี ยนคัดตัวอักษรตัวพิมเล็กตามเส้ นประและเติมตัวอักษรที่หายไป


เรื่อง พยางค์ (SUKU KATA) KV DAN KVKV

ใบงาน 2
กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ : ภาษามลายู (รูมี) BAHASA MELAYU ชันประถมศึ
้ กษาชันปี
้ ที่ 1

เรื่ อง : พยางค์ (satu suku kata KV dan KVKV)สอนโดย นางสาวอามาณี เจะมูดอ


ค าชี ้แจง : ให้ นกั เรี ยนเขียน suku kata ลงในช่องว่างให้ สมบูรณ์ ดังตัวอย่างต่อไปนี ้
a
ba MA
TA MATA

b BA
u JU

s
i SU
SU

d u NA SI

l RU
e BI

p o GU LA

t a PI
KO

w i JA
RA

ช่อ..................................สกลุ ..........................................

ชน˚ั ..................................เลขที่.........................................
แบบฝึ กทักษะการเขียนสะกดคำภาษามลายู
A)
เรื่อง อวัยวะร่างกายของฉัน (ANGGOTA TUBUH BADAN SAY

ใบงาน 3

กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ : ภาษามลายู (รูมี) BAHASA MELAYU ชันประถมศึ


้ กษาชันปี
้ ที่ 1

เรื่ อง : คำศัพท์ (อวัยวะร่างกายของฉัน) สอนโดย อามาณี เจะมูดอ

ค าชี ้แจง : ให้นกั เรี ยนนำคำที่กำหนดให้ตอ่ ไปนี ้เติมลงในช่องว่างให้เหมาะสมและระบายสีให้ สวยงาม

TUBUH SAYA

rambut

ช อ่ .................................................สกลุ .............................................

ชน˚ั ......................... ..................... เลขที่.............................................


ภาคผนวก

(วิดิทัศน์ประกอบการสอน)
วิดิทัศน์ประกอบการสอน 1

ลิงก์วิดิทัศน์ : https://youtu.be/OYi3aOFRtMU
วิดิทัศน์ประกอบการสอน 2

ลิง้ ก์วิดิทัศน์ : https://youtu.be/thdJ3dEtQG8


วิดิทัศน์ประกอบการสอน 2

ลิง้ ก์วิดิทัศน์ : https://youtu.be/gOO0O8sF6iE


ภาคผนวก

(ประมวลภาพการทำแบบทดสอบของนักเรียน)
ประวติผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล : นางสาวอามาณี เจะมูดอ

รหัสนักศึกษา : 602446009

สาขา : การสอนภาษามลายู

วัน เดือน ปี เกิด : วันที่ 13 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2541

วุฒิการศึกษา

วุฒิ ชื่อสถาบัน ปี ที่


สำเร็จ
มัธยมศึกษาชัน้ ปี ที่ โรงเรียนดารุสสา 2559
6 ลาม

สถานทฝึ กปฏิบัติการวิชาชีพครู

โรงเรียนบ้านน้ำใส ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปั ตตานี

You might also like