You are on page 1of 145

2

สารบัญ
บทนำ................................................................................................................................................................................................. 5
เทคนิคการให3การปรึกษาในอิสลาม (ขั้นพื้นฐาน) ......................................................................................................................... 5
ใบความรู3ประกอบการเรียนรู3 อัล นะศีหะฮฺ(ตักเตือน) ..................................................................................................................... 10
ความหมายของการนะศีหะฮฺ (ตักเตือน)..................................................................................................................................... 11
โมเดลกระบวนการแนะแนวและให3คำปรึกษา (นะศิหะฮฺ )......................................................................................................... 13
เงื่อนไขของการนะศิหะฮฺ (ตักเตือน) ........................................................................................................................................... 30
มารยาทในการนะศีหะฮฺ (ตักเตือน)........................................................................................................................................... 33
เปSาประสงคTของการนะศีหะฮฺ (ตักเตือน).................................................................................................................................... 37
ฮัจญTอำลาของทWานนบีมูฮัมมัด ( ) แบบอยWางเนื้อหาการนะศีหะฮฺและวะศิยัต .................................................................. 39
คำสั่งเสียประการสุดท3ายของทWานนบีมูหัมมัด( ) .................................................................................................................. 49
ความสำเร็จของชีวิตมุสลิม ............................................................................................................................................................... 53
ความสำคัญเกี่ยวกับการนะศีหะฮฺของทWานนบีมูหัมมัด( ) ตWอการเยียวยาสังคมมุสลิม .............................................................. 57
บรรณานุกรม ................................................................................................................................................................................... 58
ใบความรู3ประกอบการเรียนรู3 กระบวนการและคุณลักษณะของการปรึกษา ................................................................................... 60
แนวคิดการปรึกษาขั้นพื้นฐาน .................................................................................................................................................... 61
แนวคิดของ Virginia Satir ทำความเข3าใจพฤติกรรมที่แสดงออกมา .......................................................................................... 66

คุณลักษณะของผู3ให3การปรึกษาตามแบบฉบับของศาสดามูหัมมัด ( ) ................................................................................ 69
สมรรถนะทางวัฒนธรรมของการปรึกษา ......................................................................................................................................... 74
บรรณานุกรม ................................................................................................................................................................................... 79
ใบความรู3ประกอบการเรียนรู3 แนวทางการประเมินและทักษะการให3การปรึกษาขั้นพื้นฐาน .......................................................... 82
แนวทางการประเมิน .................................................................................................................................................................. 83
กระบวนการ .......................................................................................................................................................................... 84
ทักษะที่ใช3 ............................................................................................................................................................................. 84
ขั้นตอนการให3คำปรึกษา ประกอบด3วย 5 ขั้นตอน ..................................................................................................................... 85
ทักษะการปรึกษาที่สำคัญ ........................................................................................................................................................... 89
4

ทักษะการฟpง (Listening) .................................................................................................................................................... 91


การสื่อสารสร3างกำลังใจ ...................................................................................................................................................... 103
กำลังใจ แรงบันดาลใจ คำปลอบใจ คำสัญญา จากอัลลอฮฺ (ซบ.) ....................................................................................... 104
แบบฝvกปฏิบัติ 1 ทักษะการฟpง การสะท3อนความ และการชื่นชม ให3กำลังใจ และการให3ผู3สังเกตการณTจับประเด็นตWางๆที่สังเกต
ได3จากกระบวนการสื่อสาร ....................................................................................................................................................... 109
ใบความรู3ประกอบการเรียนรู3 ทักษะการให3การปรึกษา ................................................................................................................. 111
ทักษะการให3การปรึกษา “การถาม” ........................................................................................................................................ 112
ทักษะการสะท3อนความรู3สึกและทวนความ .............................................................................................................................. 114
แบบฝvกปฏิบัติ 2 ทักษะการถาม ทักษะการฟpง การสะท3อนความ สะท3อนความรู3สึก และการชื่นชม ให3กำลังใจ และการให3ผู3
สังเกตการณTจับประเด็นตWางๆที่สังเกตได3จากกระบวนการสื่อสาร ............................................................................................ 123
ใบความรู3ประกอบการเรียนรู3 การปรึกษารูปแบบออนไลนT และการดูแลตนเองของผู3ให3การปรึกษา ............................................ 125
ใบความรู3ประกอบการเรียนรู3 การปฐมพยาบาลทางใจ .................................................................................................................. 129
ใบความรู3ประกอบการเรียนรู3 กระบวนการและกลไกของรูปแบบการคิด ...................................................................................... 137
5

บทนำ

เทคนิคการให.การปรึกษาในอิสลาม (ขั้นพื้นฐาน)

ด#วยพระนามของอัลลอฮฺ ผู#ทรงกรุณาปรานีและผู#ทรงเมตตายิ่งเสมอมวลการสรรเสริญเปBนเอกสิทธิของ
อัลลอฮD ผู#ทรงอภิบาลแหHงสากลโลกและความโปรดปรานของพระองคDจงประสบแดH ทHานบีมุหัมหมัด (ผู#ทรงเปBน
ศาสนทูตของพระองคDตลอดจนถึงเหลHาสาวกของทHานนบีมุหัมหมัด ( ) และผู#เจริญรอยตามทั้งหลาย มนุษยDทุก
คนที่มีชีวิตอยูHบนโลกใบนี้นั้นมีภูมิลำเนาเดียวกันแล#วมีผู#บังเกิดเกล#าคนเดียวกัน คือทHานนบีอาดัมและพระนางฮา
วาฮฺและเกิดมาบนพื้นพิภพแหHงนี้โดยที่มีจุดมุHงหมายเดี่ยวกันดังที่ได#กลHาวในอัลกรุอาน แล#วได#ประกาศให#ทุกคนได#
ทราบมาประมาณพันกวHาปXมาแล#ววHา ภาระหน#าที่หรือภารกิจเราทุกคนหลังจากนี้ คือการเคารพภัคดีตHอพระองคD
เทHานั้น แตHเนื่องจากกาลเวลาได#ลHวงเลยมาหลายศตวรรษทุกอยHางมันก็เปลี่ยนไปจากเดิม จากเมื่อกHอนมนุษยDเคย
ภักดีตHอผู#สร#าง ก็กลับกลายเปBนมนุษยDนั้นปฏิเสธศรัทธาตHอพระผู#ทรงสร#างมัน จากที่เคยเชื่อฟ\งคำสอนจากทHานนบี
ก็กลายเปBนปฏิเสธคำสอนของทHาน จากที่เคยอยูHในสังคมที่สงบสุขมีบรรยากาศแหHงอิสลามเปBนบรรทัดฐาน
กลายเปBนต#องมาอยูHในสังคมที่มีความสับสนวุHนวายละทิ้งคำสอนแหHงอิสลามในที่สุด
เมื่อสังคมเกิดความวุHนวายจึงจำเปBนอยHางยิ่งที่จะต#องมีการสร#างสังคมและจัดระเบียบสังคมขึ้นมาใหมH
เพื่อให#ทุกคนที่อยูHในสังคมนั้นๆได#กลับมาใช#ชีวิตอยูHอยHางมีระบบระเบียบและมาตรฐานเดียวกันเพื่อให#เกิดความ
เปBนระเบียบเรียบร#อยอีกครั้ง โดยเริ่มต#นจากการนะศีหะฮฺของทHานนบีมุหัมหมัด( ) เมื่อครั้งที่ทHานไปประกอบ
พิธีหัจญD ณ ทุHงอะเราะฟะฮฺ ในวันที่เปX_ยมด#วยความศานติ ทHานนบีมุหัมหมัดได#กลHาวสุนทรพจนDที่ถือเปBนบทป\จฉิม
นิเทศในอิสลามและถือเปBนครั้งแรกในประวัติศาสตรDของมนุษยDชาติที่สามารถรวบรวมพลโลกนับแสนที่หลากหลาย
ด#านภาษา สีผิว วงศDตระกูล เชื้อชาติและเผHาพันธุD คลื่นมหาชนได#รวมตัว ณ สถานที่เดียวกัน วันเวลาเดียวกัน มี
เจตนารมณDและวัตถุประสงคDเดียวกัน การปฏิบัติศาสนกิจที่พร#อมเพรียงกัน ด#วยการแตHงกายเหมือนกัน ภายใต#การ
นำโดยผู#นำสูงสุดคนเดียวกัน เนื้อหลักของการนะศีหะหรือการกลHาวคุฎบะฮฺในครั้งนี้เปBนการประกาศเจตนารมณD
ของอิสลามที่ครอบคลุมหลักพื้นฐานของการใช#ชีวิตรHวมกันในสังคมอยHางสันติความรับผิดชอบในหน#าที่ การยอมรับ
สิทธิสHวนบุคคล การใช#ชีวิตในครอบครัว ฐานะของสตรีในอิสลามและบทบาทของนางตHอการสร#างครอบครัวเปX_ยม
สุข หลักการยึดมั่นใน อัลกุรอานและซุนนะฮฺ โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข#องกับการรักษาชีวิต เลือด ทรัพยDสิน
และศักดิ์ศรีของความเปBนมนุษยD และทุกคำประกาศของทHานนบี ( ) นั้นลวดแล#วเปBนเรื่องสำคัญที่สุดที่มนุษยD
ทุกคนจะต#องนำใช#ในชีวิตประจำวัน เพราะสิ่งที่ทHานนบีประกาศไปทั้งหมดนั้นทุกสิ่งสวดเปBนการสร#างสังคมมุสลิม
ตามเจตนารมณDของอิสลามทั้งสิ้น
6

ถึงเวลาแล#วที่อิสลามจะต#องเปBนเสาหลักในการสร#างสังคมและจัดระเบียบสังคมโดยนำเอามิติแหHงการ
ศรัทธาตHออัลลอฮฺ และรอซู#ล มาเปBนบรรทัดฐานในการจัดการเพราะการศรัทธานั้นจะเปBนตัวแปรที่สำคัญที่จะ
ทำให#เกิดการเปลี่ยนแปลง และทำให#การบริหารจัดการประสบกับความสำเร็จโดยเน#นการพัฒนาทั้งทางด#านวัตถุ
จิตใจ ตลอดจนศีลธรรม ทั้งของแตHละคนและของสังคมที่จะนำไปสูHการกินดีอยูHดีทางเศรษฐกิจและสังคม ใน
ขณะเดียวกันเรื่องการสร#างระเบียบทางสังคม เพราะอิสลามสอนวHามนุษยDคือสHวนหนึ่งของสังคมไมHสามารถปลีกตัว
ออกจากกันได# เพราะอิสลามต#องอยูHกันเปBน ญามาอะฮฺ หน#าที่สำคัญของมนุษยDนอกเหนือจากการรับผิดชอบตHอ
ตัวเอง เขาจะต#องรับผิดชอบตHอสังคมรอบข#างด#วย แล#วการที่เราสร#างสังคมที่ดีได#นั้นเราจะต#องสร#างมาจากตัวของ
เรากHอนจากนั้นสร#างจากครอบครัวที่ดีและไปสูHสังคมที่ดีถ#าหากวHาเราทำได#สันติภาพก็จะเกิดในการสร#างสังคม
อิสลามเหมือนกับฮัจญDของทHานนบีและคำประกาศของทHานสวดแล#วเปBนการบอกการประกาศถึงการสันติภาพใน
สังคมมุสลิม เพราะอิสลามคือชื่อของศานติ กลHาวคือ การที่อัลลอฮขนานนามศาสนานี้วHา อิสลาม อันมีรากศัพทD
จากคำวHา อัลอิสลาม อันหมายถึง สันติภาพ ดังที่พระองคDได#ตรัสวHา
(( ‫ ا ْ ِﻹْﺳَﻼُم‬-
ِ ‫)) ِإﱠن اﻟ ِد ّﯾَن ِﻋﻧدَ ا ﱠ‬
ความวHา :แท#จริงศาสนา ณ อัลลอฮDนั้นคือ อัลอิสลาม

และสิ่งหนึ่งที่ยืนยันถึงความมุHงมั่นของอิสลามในการสร#างสันติภาพคือการกำหนดให# สลาม เปBนถ#อยคำที่


ใช#ในการทักทายระหวHางศรัทธาชนทั้งบนโลกนี้และโลกหน#า คำนั้นคือ อัสลามมูอะลัยกุม วะเราะฮมะตุลลอฮ ซึ่งมี
ความวHา ความสันติสุขและความโปรดปรานแหHงอัลลอฮจงมีแดHทHาน

‫َوﺗََﻌﺎَوﻧ ُوا َﻋﻠَﻰ اْﻟِﺑِّر َواﻟﺗ ﱠْﻘَوٰى ۖ◌ َوَﻻ ﺗََﻌﺎَوﻧ ُوا َﻋﻠَﻰ ا ْ ِﻹﺛِْم َواْﻟﻌ ُْدَواِن‬

...และพวกเจ#าจงชHวยเหลือกันในสิ่งที่เปBนคุณธรรม และความยำเกรง และจงอยHาชHวยกันในสิ่งที่เปBนบาป


และเปBนศัตรูกัน..
(อัลมาอิดะฮฺ 5 : 2)

ในกระบวนการให#การชHวยเหลือ เพื่อพิจารณาจากโองการข#างต#นของอัลกุรอาน อัลลอฮDทรงบัญชาผู#


ศรัทธา ให#ชHวยเหลือซึ่งกันและกันในการทำความดีและหลีกเลี่ยงการทำบาป อัลลอฮDห#ามบHาวของพระองคDไมHให#
ชHวยเหลือซึ่งกันและกันในบาป กลHาวคือ ควรปรึกษา ให#คำแนะนำ และรHวมมือกัน นอกจากนี้ อิสลามกลHาวถึงการ
ชHวยเหลือนั้น ควรชHวยเหลือและสนับสนุนผู#อื่น ไมHวHาพวกเขาจะอยุติธรรมตHอเราหรือผู#ที่ตกเปBนเหยื่อของความ
อยุติธรรม ดังนั้น การชHวยเหลือและทำดีตHอผู#อื่นจึงเปBนสHวนหนึ่งของกระบวนการเหลHานี้ ทHานศาสดามูฮัมมัด (ซล.)
ได#กลHาวถึงเรื่องนี้ ความวHา
7

"อัลลอฮ&จะตรัสในวันกิยามะฮ&ว4า 'โอ8 บุตรแห4งอาดัม ฉันปAวย และเจ8าไม4ได8มาเยี่ยมฉัน'


เขาจะกล4าวว4า "โอ8พระเจ8าของฉัน ฉันจะไปเยี่ยมท4านได8อย4างไร ในเมื่อท4านเปJนพระเจ8าแห4งสากลโลก"
อัลลอฮ&จะตรัสว4า "เจ8าไม4รู8หรือว4าบ4าวของฉันปAวย และเจ8าไม4ได8ไปเยี่ยมเขา? เจ8าไม4รู8หรือว4าหากเจ8าไป
เยี่ยมเขา เจ8าจะได8พบกับฉันที่นั่น?"
อัลลอฮ&จะตรัสว4า "โอ8 บุตรของอาดัม ฉันได8ขออาหารจากเจ8าและเจ8าหาเลี้ยงไม4'
เขาจะกล4าวว4า "ข8าแต4พระเจ8าของฉัน ฉันจะเลี้ยงท4านได8อย4างไรเมื่อท4านเปJนพระเจ8าแห4งสากลโลก?"
และอัลลอฮ&จะตรัสว4า "เจ8าไม4รู8หรือว4าบ4าวของฉันต8องการอาหารและเจ8าไม4ได8เลี้ยงเขา? เจ8าไม4รู8หรือว4าถ8า
เจ8าให8อาหารเขา เจ8าจะพบว4าสิ่งนั้นเปJนของข8า"
และอัลลอฮ&จะตรัสว4า "โอ8 บุตรของอาดัม ฉันขอน้ำจากเจ8าแต4เจ8าไม4ได8ให8เราดื่ม'
ชายคนนั้นจะกล4าวว4า "ข8าแต4พระเจ8าของข8าพระองค& ฉันจะให8น้ำแก4พระองค&ได8อย4างไร ในเมื่อพระองค&
ทรงเปJนพระเจ8าแห4งสากลโลก"
"อัลลอฮ&จะตรัสว4า "บ4าวของข8าขอน้ำจากเจ8า และเจ8าไม4ได8ให8เขาดื่มน้ำ เจ8าไม4รู8หรือว4าถ8าเจ8าให8เขาดื่ม เจ8า
จะพบว4าสิ่งนั้นเปJนของข8า"
(รายงานโดย บุคอรีย&)

การรับรู#และความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บปiวย โดยเฉพาะอยHางยิ่งสุขภาพจิต มี
รากฐานอยHางลึกซึ้งในมิติทางจิตวิญญาณของชุมชนมุสลิม ที่มีการระบุวHา "การขาดความรู#เกี่ยวกับความเชื่อและ
คุณคHาในประเด็นทางศาสนาที่เปBนคุณคHาของใช#ชีวิต อาจเปBนป\ญหาภายในการให#การชHวยเหลือในทางวิชาชีพ
โดยเฉพาะอยHางยิ่งในแงHของความสำคัญทางจิตวิญญาณที่อาจมีตHอผู#รับบริการ" ผู#ให#การปรึกษาควรให#ความสำคัญ
และตระหนักในการใช#แบบจำลองการให#การปรึกษาและเทคนิคการเยียวยารักษาที่สะท#อนถึงมรดกทางศาสนา
และวัฒนธรรมที่หลHอหลอมตัวตนของผู#รับการปรึกษา หลักการของสังคมตะวันตกไมHได#สะท#อนถึงประเพณีทาง
ศาสนา สังคม-วัฒนธรรมของชุมชนมุสลิมเสมอไป ในชHวงหลายปXที่ผHานมา ป\จจัยตHางๆ เชHน วัฒนธรรม ความ
หลากหลาย และศาสนา ได#มีอิทธิพลตHอกระบวนการให#การปรึกษา ป\จจัยเหลHานี้ท#าทายตHอกระบวนการให#การ
ปรึกษาแบบเดิมๆ และสนับสนุนให#การให#การปรึกษาก#าวไปไกลกวHากระบวนทัศนDการให#การปรึกษาแบบดั้งเดิม
โดยเฉพาะอยHางยิ่งเมื่อทำงานในบริบททางศาสนาและวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Abdullah, 2007) ดังนั้น ความ
เข#าใจที่ถูกต#องเกี่ยวกับความเชื่อและการปฏิบัติของอิสลามจึงเปBนสิ่งสำคัญสำหรับงานด#านการให#การปรึกษา
เพื่อให#แนวทางของผู#ให#การปรึกษา ปราศจากเงื่อนไขทางวัฒนธรรมของการฝwกอบรมสHวนบุคคลและวิชาชีพ จะ
ดำเนินการภายใต#บริบททางสังคมและศาสนาในการทำงานกับผู#รับการปรึกษาที่นับถือศาสนาอิสลาม อยูHในบริบท
ของการทำความเข#าใจวัฒนธรรม ความเชื่อ และประเพณี ที่การมีความสามารถทางวัฒนธรรมในการให#คำปรึกษา
จะบรรลุผลสำเร็จได#
8

การให#การปรึกษาในรูปแบบอิสลามเปBนการปฏิบัติงานอยHางรHวมสมัย เชHนเดียวกับแนวทางการรักษาอื่น ๆ
แตHอยูHบนพื้นฐานของความเข#าใจอิสลามเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษยDที่รวมเอาจิตวิญญาณเข#าสูHกระบวนการให#การ
ปรึกษา หรือบำบัด การให#การปรึกษาในรูปแบบอิสลามไมHใชHแนวคิดใหมH แตHเมื่อศึกษาทางประวัติศาสตรD ความ
แตกตHางระหวHางวัฒนธรรมและวิถีทางวิชาชีพอาจแตกตHางออกไป การให#การปรึกษาในรูปแบบอิสลามอิสลาม เปBน
การให#คุณคHาในความตระหนักของการเปBนบHาวของพระเจ#าในกระบวนการให#คำปรึกษา ซึ่งแตกตHางจากการให#การ
ปรึกษากระแสหลัก เพราะต#องขึ้นกับความเข#าใจโดยปริยายของระบบความเชื่อรHวมกันของคำวHา - อิสลาม -
รHวมกันโดยทั้งผู#รับการปรึกษาและผู#ให#การปรึกษา1 ความเข#าใจรHวมกันนี้สร#างความสัมพันธDที่ไว#วางใจระหวHางผู#รับ
การปรึกษาและผู#ให#การปรึกษา ซึ่งเปBนแรงบันดาลใจ ยกระดับจิตใจ และเปลี่ยนผู#รับการปรึกษาให#ใช#ชีวิตอยHางมี
สติมากขึ้น
ในเอกสารประกอบการฝwกอบรมเทคนิคการให#การปรึกษาขั้นพื้นฐานเลHมนี้ เปBนการให#การปรึกษาใน
รูปแบบอิสลาม เปBนรูปแบบหนึ่งของการให#การปรึกษาที่รวมเอาจิตวิญญาณเข#าสูHกระบวนการให#การปรึกษา
เปxาหมายของการให#การปรึกษาแบบบูรณาการประเภทนี้เพื่อตอบสนองความต#องการทางจิตวิทยาที่หลากหลาย
จากมุมมองที่อ#างอิงตามหลักศรัทธา การให#การปรึกษาในอิสลามเน#นการแก#ป\ญหาทางจิตวิญญาณ โดยอาศัยความ
รักและความเกรงกลัวตHออัลลอฮD และหน#าที่ที่จะปฏิบัติตามความรับผิดชอบของเราในฐานะบHาวของอัลลอฮD
นอกจากนี้ ทHานศาสดามูหัมมัด ( .) กลHาวไว# ความวHา : "ศาสนาคือนาซีฮะหD (ความจริงใจ)" 2
การให#นาซีฮะหDแกHชาวมุสลิมโดยทั่วไปหมายถึงการให#คำแนะนำแกHพวกเขา ทHานศาสดามูหัมมัด (ซล. )
กลHาวไว# ความวHา "สิทธิของผู#ศรัทธาที่มีตHอผู#ศรัทธามีหกประการ" จากนั้นทHานกลHาวในหมูHพวกเขาวHา "ถ#าเขาขอ
คำแนะนำจากคุณ คุณต#องให#คำแนะนำแกHเขา"
การให#นาซีฮะหDเกี่ยวข#องกับการชี้นำพวกเขาไปสูHสิ่งที่จะแก#ไขกิจการงานของพวกเขาทั้งในโลกดุนยานี้และ
ในภพหน#า เกี่ยวข#องกับการปกปxองมุสลิมจากอันตราย ชHวยเหลือพวกเขาในยามจำเปBน จัดหาสิ่งที่เปBนประโยชนD
สำหรับพวกเขา สHงเสริมให#พวกเขาทำความดี (อัล-มารูฟ) และห#ามพวกเขาจากความชั่วร#าย (อัล-มุนการD) ด#วย
ความเมตตาและจริงใจ และการให#นาซีหะฮD (คำแนะนำ) เปBนหน#าที่ของชุมชน (ฟารDดู กิฟายะ) กลHาวคือถ#ามีคน
ทำมากพอ ภาระผูกพันก็จะถูกยกออกจากชุมชนโดยรวม และถือเปBนข#อบังคับตามความสามารถของแตHละบุคคล
ในชุมชนมุสลิมดั้งเดิม มีการให#คำปรึกษาในรูปแบบตHางๆ ซึ่งโดยทั่วไปจะให#คำแนะนำและแบHงป\นความรู#
วิธีการการให#การปรึกษาอิสลามเปรียบได#กับวิธีการให#การปรึกษาแบบตะวันตก และสามารถหาแหลHงที่มาของหลัก
คำสอนและการปฏิบัติของอิสลามได#สามแหลHง ได#แกH กฎสHวนบุคคลของชาวมุสลิม (ชีวิตครอบครัวของชาวมุสลิม);
การรักษาแบบฉบับของอิสลามตามแบบฉบับของจิตวิญญาณ กระบวนทัศนDการให#การปรึกษาอิสลามมีพื้นฐานมา
จากแหลHงที่มาของคัมภีรDกุรอHาน หะดีษ (คำสอน การกระทำ และคำพูดของทHานศาสดามูหัมหมัด ( ) และ

2
(อ้ างในซาราโบโซ, 2008, หน้ า 397)
9

จริยธรรมของอิสลาม จุดมุAงหมายของการให.การปรึกษาอิสลาม เพื่อตอบสนองความต.องการด.านจิตสังคม


และจิตวิญญาณที่หลากหลายจากมุมมองตามหลักศรัทธา เปลี่ยนพฤติกรรมเชิงลบของบุคคลเพื่อประโยชนQ
ของตนเองและชุมชน เพื่อปลูกฝTงคAานิยมอิสลาม เพื่อให.ผู.รับการปรึกษาได.คิด พินิจไตรAตรองถึงความสัมพันธQ
กับผู.สร.าง
โดยสรุป การให#การปรึกษาขั้นพื้นฐาน เปBนวิธีหนึ่งในการดูแลทางด#านจิตใจ โดยใช#ทักษะตHางๆ ผHานการ
พูดคุยเพื่อให#ผู#ที่มีป\ญหา ได#สำรวจทำความเข#าใจป\ญหา สาเหตุของป\ญหา การจัดการกับอารมณD ความคิด เพื่อนำ
ข#อมูลไปใช#ในการวางแผนแก#ไขป\ญหาด#วยตนเองตามศักยภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนสามารถปรับตัวให#ดี
การให#การปรึกษาเชิงจิตวิทยา มิใชHลักษณะการบอกเทคนิควิธีแก#ป\ญหา ไมHใชHการแนะนำสั่งสอน ไมHใชH
การแก#ป\ญหาโดยสามัญสำนึก หรือนำวิธีการของเราไปใช#กับเขา และไมHใชHการอธิบายให#เข#าใจเหตุการณDแตHเพียง
อยHางเดียว แตHเปBนการปฏิบัติตHอกันด#วยความเคารพในศักดิ์ศรีของความเปBนมนุษยDและความสามารถของมนุษยD
ที่วHามนุษยDสามารถนำตนเองและพัฒนาตนเองได# หากอยูHในบรรยากาศของความเปBนมิตร การยอมรับ อบอุHน
ปลอดภัย และเกิดความรู#สึก (ด#วยการชHวยเหลือจากอัลลอฮD หากนั้นเปBนความประสงคDของพระองคD ทุกสิ่งทุก
อยHางมันก็จะเปBนความงHายดายสำหรับเขา)
อัลลอฮฺ ตรัสไว# ความวHา
“แท8จริงอัลลอฮฺจะไม4ทรงเปลี่ยนแปลงสภาพของชนกลุ4มใด จนกว4าพวกเขาจะเปลี่ยนแปลงสภาพของพวกเขา
เอง (ก4อน) เท4านั้น”
10

ใบความรู.ประกอบการเรียนรู. อัล นะศีหะฮฺ(ตักเตือน)

ผู8ช4วยศาสตราจารย& ดร.รูฮานา สาแมง

1. หมวดการเรียนรู:. อัล นะศีหะฮฺ(ตักเตือน)


2. หมวดการเรียนรู:. โมเดลกระบวนการแนะแนวและให.คำปรึกษา (นะศีหะฮฺ)
3. หมวดการเรียนรู:. เงื่อนไขของการนะศิหะฮฺ (ตักเตือน)
4. หมวดการเรียนรู:. ฮัจญQอำลาของทAานนบีมูฮัมมัด แบบอยAางเนื้อหาการนะศีหะฮฺและวะศิยัต
5. หมวดการเรียนรู:. ความสำเร็จของชีวิตมุสลิม
11

อัล นะศีหะฮฺ(ตักเตือน)

มนุษยDแตHละคนมีความต#องการที่แตกตHางกัน เมื่อมาอยูHรวมกันเปBนสังคมแล#วจึงมีพฤติกรรมตHางๆ
สนองความต#องการที่แตกตHางกัน แตHมนุษยDไมHสามารถตอบสนองความต#องการได#ด#วยตนเองทั้งหมด จึงต#อง
แสวงหาแนวทางที ่ จ ะได# ม าซึ ่ ง ความต# อ งการด# ว ยวิ ธ ี ก ารตH า งๆ ทั ้ ง ที ่ ไ มH ก ระทบกระเทื อ นตH อ บุ ค คลอื ่ น และ
กระทบกระเทือนตHอบุคคลอื่นและสำหรับบางคนก็เลือกที่จะทำตามความต#องการของตนเองโดยไมHคำนึงถึงวHาที่สิ่ง
ที่ตนเองนั้นกำลังกระทำเปBนสิ่งที่ผิดตHอหลักการอิสลามก็ตามแตHถ#าสิ่งเหลHานั้นมันสามารถตอบสนองความต#องการ
ของเขาได#คนเหลHาก็มักจะกระทำ
ดังนั้นสำหรับศาสนาอิสลามแล#วการตักเตือนซึ่งกันและจึงเปBนวิธีที่ดีที่สุดในการอยูHรวมกันในสังคม
ป\จจุบันการนะศีหะฮฺนั้นเปBนสิ่งที่เกิดขึ้นมาเพื่อมุHงเน#นให#ทุกคนที่กำลังกระทำผิดหรือแม#แตHกำลังคิดที่จะกระทำผิด
นั้นได#เปลี่ยนความคิดหรือเปลี่ยนทัศนคติความต#องการที่ผิดๆเหลHานั้นได#และยังสามารถที่จะอยูHรHวมกันในสังคมได#
อยHางมีความสงบสุขและใช#ชีวิตได#อยHางมีประสิทธิภาพและยังทำให#ผู#ที่ให#คำนะศีหะฮฺหรือตักเตือนนั้นได#พัฒนา
ตัวเองไปในตัวพร#อมยังสามารถเปBนผู#ที่ทำประโยชนDตHอครอบครัวสังคมและประเทศชาติ เพราะหากทุกคนชHวยกัน
ตักเตือนซึ่งกันและกันป\ญหาตHางๆที่อาจจะเกิดขึ้นในสังคมของเราก็จะหมดไปในที่สุด เพราะศาสนาอิสลามคือการ
ตักเตือนอยHางที่ทุกคนทราบกันดี

ความหมายของการนะศีหะฮฺ (ตักเตือน)

นะศีหะฮฺ คือการแสดงความบริสุทธิ์ใจตHอหน#าผู#อื่น ไมHวHาจะด#วยคำพูดหรือการกระทำ นะศีหะฮฺเปBน


ภารกิจหลักของบรรดาศาสนทูตของอัลลอฮฺ ยิ่งไปกวHานั้นนะศีหะฮฺยังเปBนแกHนหลักของศาสนาอิสลามและเปBน
หน#าที่ของมุสสิมและมุสลิมมะฮฺทุกคนที่จำเปBนต#องปฏิบัติและยังมีหลักฐานมาจากอัลกรุอานและอัลฮาดีษมากมาย
ที่เกี่ยวกับการตักเตือน 3
การตักเตือนนั้นนับเปBนหลักคำสอนและแนวปฏิบัติที่สำคัญประการหนึ่งในศาสนาอิสลาม อัลลอฮฺตรัส
วHา

3 อะหTหมาด นาปาเลน,ความรักใครWและมารยาทในอิสลาม,2555,www.islammore.net,สืบค3นเมื่อ วันจันทรT ที1่ 5 กุมภาพันธT


:2559
12

4 ﴾ ‫ﺳﺑِﯾِل‬ َ ‫ﺳٰﻰ َرﺑِّﻲ أَن ﯾَْﮭِدﯾَﻧِﻲ‬


‫ﺳَواَء اﻟ ﱠ‬ َ ‫﴿ َوﻟَﱠﻣﺎ ﺗََوﱠﺟَﮫ ﺗِْﻠَﻘﺎَء َﻣْدﯾََن َﻗﺎَل‬
َ ‫ﻋ‬

ความวHา และเมื่อเขามุHงหน#าไปยัง (เมือง) มัดยัน เขากลHาววHา “หวังวHาพระเจ#าของฉันจะทรง


ชี้แนะแกHฉันสูHทางอันเที่ยงตรง”

อิบนุหัซมฺได.กลAาวถึงสองสิ่งที่เกี่ยวพันกับการตักเตือน 5
1. การตักเตือนนั้นมีสองระดับ ระดับแรกคือเปBนการตักเตือนที่เปBนฟ\ร~• สHวนระดับที่สองคือการชี้แนะ
และเตือนใจ ดังนั้นจึงเปBนหน#าที่สำหรับทุกคนที่จะต#องตักเตือนผู#อื่น แม#ผู#ถูกตักเตือนจะพอใจหรือไมHก็ตาม หรือ
แม#กระทั่งผู#ตักเตือนอาจได#รับความเดือดร#อนก็ตาม
2. จะต#องไมHกลHาวตักเตือนโดยตั้งเงื่อนไขวHา ผู#ถูกตักเตือนจะต#องตอบรับการตักเตือนนั้น ๆ เพราะหาก
เปBนเชHนนี้จะถือวHาทHานเปBนผู#อธรรม มิใชHผู#ตักเตือน อิบนุอับบาส เราะฎิยัลลอฮุอันฮฺ เลHาวHา ทHานนบี( ) กลHาว

‫ َواﻟﻧﱠﺑِ ﱠ‬،ُ‫ﻰ َوَﻣَﻌﮫُ اﻟﱡرَھْﯾط‬


‫ﻰ‬ ‫ت اﻟﻧﱠﺑِ ﱠ‬ُ ‫ َﻓَرأَْﯾ‬،‫ﻰ اﻷ َُﻣُم‬
‫ﻋﻠَ ﱠ‬ َ ‫)) ﻋُِر‬
َ ‫ﺿْت‬
((ٌ ‫س َﻣَﻌﮫُ أََﺣد‬ ‫ َواﻟﻧﱠﺑِ ﱠ‬،‫َوَﻣَﻌﮫُ اﻟﱠرُﺟُل َواﻟﱠرُﺟﻼَِن‬
َ ‫ﻰ ﻟَْﯾ‬
ความวHา “บรรดาประชาชาติตHาง ๆ ถูกนำมาให#ฉันเห็น ซึ่งฉันเห็นนบีบางทHาน มีผู#ตามทHานเพียง
กลุHมเล็ก ๆ นบีบางทHานมีผู#ตามเพียงหนึ่งหรือสองคน ในขณะที่บางทHานก็ไมHมีผู#ตามเลยแม#แตHคน
เดียว6

4 ซูเราะฮฺอัลเกาะศ็อศ 22:28
5 อิบนุหัซมุ ให3คำนิยามจาก ริยาดุสซอลีฮีน,โดย: สมาคมนักเรียนเกWาอาหรับ
6 ฮาดีษ มุสลิม เลขที่ 220
13

โมเดลกระบวนการแนะแนวและให.คำปรึกษา (นะศิหะฮฺ )

NASIHAH MODEL
14

N : Nush บริสุทธิ์ใจ

ความบริสุทธิ์ใจ หรือ อิคลาศ หมายถึง การปฏิบัติงานโดยสุจริตใจเพื่ออัลลอฮD ปราศจากการโอ#อวด หรือการ


แสวงหาชื่อเสียง การยกยHองสรรเสริญจากมนุษยD หรือมุHงเน#นเพื่อแลกเปลี่ยนผลประโยชนDทางโลกมนุษยD(ดุนยา)
พระองคDอัลลอฮD ตรัสวHา
‫ﺻﺎ ﻟﱠﮫ ُ اﻟ ِد ّﯾَن‬
ً ‫ ُﻣْﺧِﻠ‬- ِ ّ ‫ب ِﺑﺎْﻟَﺣ‬
َ ‫ق ﻓَﺎْﻋﺑ ُِد ا ﱠ‬ َ ‫ِإﻧﱠﺎ أَﻧَزْﻟﻧَﺎ ِإﻟَْﯾَك اْﻟِﻛﺗَﺎ‬

"แท#จริงข#า (อัลลอฮD) ได#ประทานคัมภีรDมายังเจ#าด#วยสัจธรรม ดังนั้นเจ#าจงเคารพภักดีตHอข#า (อัลลอฮD) โดยเปBนผู#มี


ความบริสุทธิ์ใจในศาสนาตHอพระองคD" (ซูเราะฮD อัซซุมัร 2)
การปฏิบัติที่แสดงวAามีความบริสุทธิ์ใจ
1. การปฏิบัติงานเพื่ออัลลอฮD องคDเดียวเทHานั้น
2. การปฏิบัติจะต#องไมHมีการอวดแสดง โอ#อวด
3. การปฏิบัติจะต#องเปBนไปด#วยความเต็มใจ มิใชHด#วยความจำใจ
4. การปฏิบัติจะต#องเปBนไปด#วยความจริงใจ มิใชHด#วยการเสแสร#ง การหลอกลวง
5. การปฏิบัติจะต#องเปBนไปด#วยความถูกต#อง ชัดเจน โปรHงใส
ผลของการมีความบริสุทธิ์ใจในการปฏิบัติงาน
1. ผู#ที่มีความอิคลาศ(บริสุทธิ์ใจ) จะได#รับการตอบแทนจากพระองคDอัลลอฮD
2. ผลงานที่เกิดขึ้นจะเปBนผลงานที่ดีมีคุณภาพ
3. ผู#ปฏิบัติยHอมได#รับการให#เกรียติ ยกยHอง สรรเสริญ
15

4. ผู#ปฏิบัติยHอมจะเปBนที่รักใครH และได#รับการไว#วางใจจากผู#อื่น
5. ผู#ที่มีความอิคลาศ(บริสุทธิ์ใจ)จะมีจิตใจที่สงบสุข
ผลเสียของการไมAมีความบริสุทธิ์ใจ
1. ผู#ที่ปฏิบัติอิบาดะฮD(การเคารพภักดี)โดยไมHมีความบริสุทิ์ใจตHออัลลอฮD เขาเทHากับทำชิริก
2. ผู#ที่ไมHมีความบริสุทธิ์ใจในการปฏิบัติงานจะได#รับการลงโทษจากอัลลอฮD
3. ผู#ที่ไมHมีความอิคลาศ(บริสุทธิ์ใจ)มักไมHได#รับความไว#วางใจ และไมHได#รับความเชื่อมั่นจากผู#อื่น
16

A : AMANAH ความไว.วางใจ และความรับผิดชอบ TRUST

อะมานะฮฺ หมายถึง ความซื่อสัตยD ความไว#วางใจ และความรับผิดชอบในสิ่งที่ได#รับมอบหมาย อะมานะฮฺแบHง


ออกเปBน 5 ประเภท

1.อะมานะฮฺในหน#าที่ตHอพระผู#เปBนเจ#า
2. อะมานะฮฺในหน#าที่ตHอศาสนทูตของพระองคD
3. อะมานะฮฺตHอศาสนา
4. อะมานะฮฺตHอตนเอง
5. อะมานะฮฺตHอสังคมโดยทั่วไป

อะมานะฮฺตAอการนาซีฮัต ตัวอยHางครูกับนักเรียน
หน#าที่ของครูคือต#องมีอะมานะฮฺในการตักเตือนเมื่อเห็นลูกศิษยDกระทำความผิด โดยตักเตือนด#วยฮิกมะหD ใช#วิธีการ
ที่อHอนโยนที่สุด และในฐานะที่เปBนครูจำเปBนต#องมีอะมานะฮฺในตัวเองสูงมาก ครูจะเปBนครู 24 ชม. ฉะนั้นการ
เตรียมตัวในการสอนก็เปBนอีกหนึ่งอะมานะฮฺที่ครูทุกคนจะต#องมี จากหลักฐาน...
อัลลอฮฺตรัสวHา
٨ :‫﴾ ]اﻟﻣؤﻣﻧون‬٨ ‫]﴿َوٱﻟﱠِذﯾَن ھُۡم ِﻷ ََٰﻣ ٰﻧَِﺗِﮭۡم َوَﻋۡﮭِدِھۡم َٰرﻋُوَن‬
“และบรรดาผู#ที่ระวังรักษาสิ่งที่พวกเขาได#รับมอบหมาย (อะมานะฮฺ) และได#ให#คำมั่นสัญญาไว#”
(อัล-มุอDมินูน 8)
17

ทHานเราะสูลุลลอฮฺ กลHาววHา
« ‫ﺳدَ اﻷ َْﻣُر ِإﻟَﻰ َﻏْﯾِر أَْھِﻠِﮫ‬
ّ ِ ‫ »ِإذَا ُو‬:‫ﺿﺎَﻋﺗ َُﮭﺎ؟ ﻗَﺎَل‬َ ‫ف ِإ‬ ‫ت اﻷ ََﻣﺎﻧَﺔ ُ ﻓَﺎْﻧﺗَِظِر اﻟ ﱠ‬
َ ‫ َﻛْﯾ‬:‫ ﻗَﺎَل‬، «َ‫ﺳﺎَﻋﺔ‬ ُ ‫ﻓَﺈِذَا‬
ِ ‫ﺿ ِﯾَّﻌ‬
6496 ‫ ورﻗم‬59 ‫ﺳﺎَﻋﺔَ« ]اﻟﺑﺧﺎري ﺑرﻗم‬ ‫]ﻓَﺎْﻧﺗَِظِر اﻟ ﱠ‬.
“เมื่อมีการละเลยในหน#าที่รับผิดชอบ ก็จงรอวันเวลาแหHงความพินาศ”
เศาะหาบะฮฺถามวHา “การละเลยในหน#าที่รับผิดชอบเปBนอยHางไรหรือ?”
ทHานตอบวHา “เมื่อมีการมอบหมายกิจการหรือหน#าที่ความรับผิดชอบใดๆแกHผู#ที่ไมHเหมาะสม ก็จงรอเวลาแหHงความ
พินาศเถิด” (เศาะฮีหฺ อัล-บุคอรียD หมายเลข 59, 6496)
18

s:sir (การรักษาความลับ ) SECRET and PRIVACY

ความลับ หมายถึง การปกป‰ดสิ่งใดสิ่งหนึ่งระหวHางคนสองคน การปกป‰ดนี้ไมHใชHแคHเพียงความลับอยHางเดียวแตHรวม


ไปถึงการปกป‰ดความผิดของบุคคลนั้นๆ ดังนั้นสิ่งที่เราทำได#ก็คือ การนะซีฮัต (ตักเตือน) ทั้งที่เปBนตHอตัวตHอตัว และ
ตHอหน#าสาธารณชน โดยการนาซีฮัตนี้ต#องไมHทำให#ผู#กกระทำผิดรู#สึกอายหรือเปBนการประสานใดๆทั้งสิ้น และเมื่อ
เจ#าตัวรู#วHาตัวเองนั้นทำผิด ก็จงของอภัยโทษตHออัลลอฮฺและไมHหวนกลับไปทำอีก เพราะอัลลอฮฺคือผู#ทรงอภัยเสมอ

หลักฐานจากอายะหDกุรอาน
ً ‫ﺿﻛُم ﺑَْﻌ‬
‫ﺿﺎ‬ ُ ‫ﺳﺳُوا َوَﻻ ﯾَْﻐﺗَب ﺑﱠْﻌ‬ ‫ظِّن ِإﺛٌْم َوَﻻ ﺗََﺟ ﱠ‬ ‫ض اﻟ ﱠ‬ َ ‫ظِّن ِإﱠن ﺑَْﻌ‬‫ﯾَﺎ أَﯾﱡَﮭﺎ اﻟﱠِذﯾَن آَﻣﻧ ُوا اْﺟﺗَِﻧﺑ ُوا َﻛِﺛﯾًرا ِّﻣَن اﻟ ﱠ‬
ْ
َ ‫ب أََﺣد ُﻛُْم أَن ﯾَﺄﻛَُل ﻟَْﺣَم أَِﺧﯾِﮫ َﻣْﯾﺗ ًﺎ ﻓََﻛِرْھﺗ ُُﻣوه ُ َواﺗ ﱠﻘ ُوا ا ﱠ‬
َ ‫ ِإﱠن ا ﱠ‬-
ٌ ‫ ﺗَﱠوا‬-
‫ب ﱠرِﺣﯾٌم‬ ‫أَﯾ ُِﺣ ﱡ‬

ความวHา "โอ#ศรัทธาชนทั้งหลาย! พวกเจ#าจงปลีกตัวให#พ#นจากสHวนใหญHของการสงสัย แท#จริงการสงสัยบางอยHางนั้น


เปBนบาป และพวกเจ#าอยHาสอดแนม และบางคนในหมูHพวกเจ#าอยHานินทาซึ่งกันและกัน คนหนึ่งในหมูHพวกเจ#านั้น
ชอบที่จะกินเนื้อพี่น#องของเขาที่ตายไปแล#วกระนั้นหรือ? พวกเจ#ายHอมเกลียดมัน และจงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด แท#
จริงอัลลอฮฺนั้นเปBนผู#ทรงอภัยโทษ ผู#ทรงเมตตาเสมอ"
(สูเราะฮฺ อัล-หุ‹ุรอต:12)

หลักฐานจากหะดิษ
َ ً ‫ﺳﺗََر ُﻣْﺳِﻠـﻣﺎ‬
‫ﺳﺗََره ُ ﷲ ِﻓﻲ اﻟد ﱡْﻧﯾَﺎ َواﻵِﺧَرِة‬ َ ‫َوَﻣْن‬
19

ทHานนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กลHาววHา “ใครก็ตามที่ปกป‰ด ความลับ*ของพี่น#องมุสลิมของเขาในโลกนี้


อัลลอฮฺจะปกป‰ด ความลับ*ของเขาในโลกหน#า” (หะดิษซอเฮี๊ยะ โดยอิหมHามอะหมัด, ซอเฮี๊ยะ อัลญามียฺ 6287)
คำ ภาษาอาหรับ คือ
‫ﺳﺗََر‬
َ สะตะรHอ ซึ่งแปลวHา ปกป‰ดความผิด ปกป‰ดความลับ
‫ﺳﺗََر‬
َ คำนี้แปลวHาปกป‰ดความผิด
ความผิดมีสองกรณี คือ ฮักกุลลอฮฺ และ ฮักกุ#ลอดัมฮักกุลลอฮฺคือ ความผิดของบHาวที่ทำผิดตHอบทบัญญัติของ
อัลลอฮฺ เชHนทิ้งละหมาด กินเหล#า เลHนการพนัน และอื่นๆ ที่ไมHมีใครเสียหายจากการทำผิดอันนั้น ความผิดอันนี้
เพียงแคHขออภัยโทษตHออัลลอฮฺเพียงอยHางเดียว พระองคDก็จะทรงอภัยให# ถ#าหากพระองคDทรงประสงคD
ฮักกุ#ลอดัมคือ ความผิดที่ทำผิดตHอบทบัญญัติของอัลลอฮฺด#วยและสร#างความเสียหายกับมนุษยDด#วยกันด#วย เชHนการ
ฆHาคน คดโกงผู#อื่น ลักขโมยของผู#อื่นมา ปBนต#น ความผิดชนิดนี้นอกจากจะของอภัยโทษตHออัลลอฮฺแล#ว ยังจะต#อง
ชดใช# หรือคืนความเปBนธรรมให#แกHผู#ที่เสียหายด#วย ดังนั้นเมื่อเราทำความผิดใดๆก#แล#วแตHขอให#เรานั้นจงขออภัย
โทษจากอัลลอฮฺ และขอดุอาฮฺให#พระองคDทรงชี้นำแนวทางที่ถุกต#องให#กับเรา ในฐานะที่เราเปBนครูนั้น ความลับ
ของเด็กๆนักเรียน นักศึกษา แลพเพื่อนครูนั้นถือเปBนความรับผิดชอบของเราอยHางหนึ่งที่ต#องปกป‰ดรักษาไว# ห#าม
พุดหรือเป‰ดเผยความลับออกไปโดยไมHมีความจำเปBน แตHหากเปBนการชHวยเหลือในทางที่ดีก็ควรบอกปรึกษา
เทHาที่ควรพุดได# เพือ่ ความปลอดภัยของตัวนาศิหDและมันศูฮ หรือครูและเด็กเอง
"การที่คนใดคนหนึ่งพูดความลับให#เราฟ\งนั้น แสดงวHาเขาไว#ใจเรา ดังนั้นอยHาทำร#ายเขาเพราะความไว#ใจที่เขามี
ให#กับเรา"
20

I : Ikhlas, I'tisam (เนื้อหาจำเป„นต.องยึดหลักฐานจากอัลกุรอานเเละซุนนะหและสิ่งที่ไมAขัดแย.ง)

ความหมายของอิคลาศ เคาะละเศาะ,คุลุศ็อน,เคาะละศ็อน บริสุทธิ์และปราศจากมลทิน เคาะละเศาะ อัชชัยอฺ บาง


สิ่งได#บริสุทธิ์ เคาะลัศตุ อิลา ชัยอฺ หมายถึงฉันบรรลุถึงสิ่งนั้น คำวHา ได#บริสุทธิ์ หมายถึง ความสกปรกได#หายไปจาก
เขา คำวHา อิคลาศ ชี้ให#เห็นวHาสะอาด และบริสุทธิ์ จากการแปดเป••อนของมลทิน เคาะลิศ หมายถึงบริสุทธิ์จาก
ความสกปรก ทั้งภายนอกและภายใน การสร#างความบริสุทธิ์ของศาสนาตHออัลลอฮฺ หมายถึงมุHงในพระพักตD (ความ
โปรดปราน) ของพระองคDและละทิ้งการโอ#อวด (ริยาอD) ฟ\ยรุซอะบะดีกลHาววHา “ความบริสุทธิ์ใจตHออัลลอฮฺ คือ
การละทิ้งริยาอD”
‫ﺻَﻼةَ َوﯾ ُْؤﺗ ُوا اﻟﱠزَﻛﺎةَ َو ٰذَِﻟَك ِدﯾُن اْﻟﻘَ ِﯾَّﻣِﺔ‬
‫ﺻﯾَن ﻟَﮫ ُ اﻟ ِد ّﯾَن ُﺣﻧَﻔَﺎَء َوﯾ ُِﻘﯾُﻣوا اﻟ ﱠ‬ َ ‫َوَﻣﺎ أ ُِﻣُروا ِإﱠﻻ ِﻟﯾَْﻌﺑ ُد ُوا ا ﱠ‬
ِ ‫ ُﻣْﺧِﻠ‬-
ความบริสุทธิ์ใจเปBนการงานเบื้องแรก เปBนการงานสำคัญที่สุดและสูงสHงที่สุด เปBนรากฐานของทุกๆการงาน ความ
บริสุทธิ์ใจเปBนแกHนแท# (ฮะกีเกาะฮฺ) ของศาสนา และเปBนกุญแจการเรียกร#องของบรรดาเราะซูลฯ (อะลัยฮิมุสสะ
ลาม) อัลลอฮฺตรัสไว#ความวHา “และพวกเขามิได#ถูกบัญชาให#กระทำอื่นใด นอกจากเพื่อเคารพภักดีตHออัลลอฮฺ เปBนผู#
มีเจตนาบริสุทธิ์ในการภักดีตHอพระองคD เปBนผู#อยูHในแนวทางที่เที่ยงตรงและดำรงการละหมาด และจHายซะกาต และ
นั่นแหละคือศาสนาอันเที่ยงธรรม” (อัลบัยยินะฮฺ 98:5)
‫ص‬ُ ۚ ‫ ٱﻟ ِد ّﯾُن ٱۡﻟَﺧﺎِﻟ‬- ِ ‫أََﻻ ِ ﱠ‬
“พึงทราบเถิด การอิบาดะฮฺโดยบริสุทธิ์ใจนั้น เปBนของอัลลอฮฺองคDเดียว” (อัซซุมัรฺ 39: 3)
อิคลาศเปBนแกHนของดุอาอฺ และเปBนวิญญาณของการอิบาดะฮฺ อิบนุฮัซมฺ กลHาววHา “เจตนา คือแกHนของความเปBน
บHาว สถานะของมัน เมื่อเทียบกับการงาน เปรียบเสมือนวิญญาณของรHางกาย เปBนไปได#อยHางไรที่อิบาดะฮฺหนึ่ง
กลับพบการงานที่ไร#วิญญาณ เพราะมันเหมือนกับรHางกายที่ผุพัง”
21

ความบริสุทธิ์ใจ เปBนรากฐานของการตอบรับ หรือปฏิเสธการงาน เปBนที่มาของกำไร หรือการขาดทุน เปBนทางสูH


สวรรคD หรือมิเชHนนั้นก็จะนำไปสูHไฟนรก ความบกพรHองของความบริสุทธิ์ใจ เปBนเหตุให#ต#องตกนรก และด#วยการมี
อยูHของความบริสุทธิ์ใจ จะสHงผลให#ได#เข#าสวรรคD จะเห็นได#วHาทุกการงานของเรานั้นลHวนเเล#วต#องมีความอิคลาสอยูH
ตลอดเวลาไมHวHาจะทำสิ่งใดหัวใจของเขานั้นต#องอิคลาสตHอพระองคD เเละเชHนเดียวกันคนเปBนครู จะต#องอิคลาสตHอ
ทุกการกระทำไมHวHาจะเปBนการชHวยเหลือหรือการตักเตือนก็ตาม หากคนเปBนครูไมHมีความอิคลาสเชื่อเหลือเกินวHา
ครูผู#นั่นจะไมHได#รับความไว#วางใจ เเละทำให#เด็กเกิดความรู#สึกวHาครูคนนี้ไมHจริงใจ เพราะด#วยกับความไมHอิคลาสของ
ครู อาจทำให#ครูกHอความเสียหายเเกHเด็กได#อีกด#วย
จึงมีคำกลHาวหนึ่งที่วHา" หากเราหวังสิ่งใดก็จะได#สิ่งนั้น"หากเราหวังเเคHจะตักเตือนเด็กเพราะอยากให#เด็ก
รู#สึกวHาตัวเองดีควรทำตามตน สิ่งที่ได#ก็เเคHสิ่งที่เขาปราถนาเเตHเขาจะไมHได#สิ่งอื่นใดที่เปBนผลดีเเกHเขา เเตHหากเขาหวัง
การตักเตือนการสั่งสอนเพื่อให#เด็กเกิดการเปลี่ยนเเปลงที่ดี ครูผู#นั้นอาจได#สิ่งที่ดีกวHาจากสิ่งที่เขาคาดหมาย ราวกับ
วHาหวังเเคHเมล็ดพันธDุที่ดีเเตHกลับได#ผลมากมายตลอดทั้งฤดูกาล
ฉะนั้นเเล#วทุกการงานจะสำเร็จหรือไหมนั้นก็ขนึ้ อยูHกับเจตนาของเขา
เเตHอยHางไรก็ดีหากเรามีความอิคลาสเเล#วความถูกต#องก็ต#องมีเชHนเดียวกันโดยที่เรานั้น
ต#องยึดหลักอัลกุรอานเเละฮาดิษหาใชHตามความรู#สึกตน |ทุกการงานจะถูกสอบสวนอีกครั้งในวันเเหHงการฟ••นคืนชีพ
22

H = HIKMAH HUBBU (วิทยปTญญา ด.วยรักและหวังดี)

ُ
َ ‫ت اْﻟِﺣْﻛَﻣﺔَ ﻓَﻘَْد أوِﺗ‬
‫ﻲ َﺧْﯾًرا َﻛِﺛﯾًرا‬ َ ‫َوَﻣن ﯾ ُْؤ‬
“และผู#ใดที่ได#รับหิกมะฮฺ(วิทยป\ญญา) แนHนอนเขาก็ได#รับความความดีอันมากมาย”
แท#จริง ผู#ที่มีเจตนาที่ดีและอิบาดะฮฺที่ถูกต#อง ความดีงามของเขาก็เพียงเพื่อตัวของเขาเองเทHานั้น และไมHมี
ผลกระทบ(ที่ดี)ตHอผู#อื่นแตHอยHางใด ตราบใดที่เขาไมHได#รับหิกมะฮฺในการปฏิสัมพันธDและความถูกต#องในการคัดเลือก
เฉกเชHนผู#ที่มีหิกมะฮฺ หิกมะฮฺของเขาจะกลายเปBนสHวนหนึ่งของการกลับกลอก(นิฟาก)ตHอสังคม หากปราศจากจิตใจ
ที่สูงสHงและการยืนหยัดบนแนวทางของอัล-กุรอานและอัส-สุนนะฮฺ และเปxาหมายสำคัญในการพิชิตตำแหนHงที่สูงสHง
ของหิกมะฮฺ ก็คือ การพยายามอยHางหนักเพื่อให#คำพูดและการกระทำมีความถูกต#องแมHนยำ และใช#หิกมะฮฺนี้ในการ
เรียกร#องไปสูHอัลลอฮ สุบหานะฮุ วะตะอาลา
َ ‫ظِﺔ اْﻟَﺣ‬
‫ﺳﻧَِﺔ‬ َ ‫ﺳِﺑْﯾِل َرِﺑَّك ِﺑﺎْﻟِﺣْﻛَﻣِﺔ َواْﻟَﻣْوِﻋ‬
َ ‫ا ُْدعُ ِإﻟَﻰ‬
จงเรียกร#องสูHแนวทางแหHงพระเจ#าของสูเจ#าอยHางมีวิทยป\ญญา และการตักเตือนที่ดี (สูเราะฮฺอัน-นะหฺลุ 16 : 125)
อิบนุล ก็อยยิม เราะหิมะฮุลลอฮ กลHาววHา ‘หิกมะฮฺถูกกลHาวอยHางเอกเทศนD โดยปราศจากลักษณะของ
ความดีงาม(อัล-หะสะนะฮฺ)มาเคียงคูH เนื่องจากวHา หิกมะฮฺทั้งหมดคือความดีงาม และลักษณะของความดีงาม
สำหรับมันนั้น คือตัวตน(ของหิกมะฮฺเอง)’ ดังนั้น แท#จริง บุคคลที่คลุกคลีกับบรรดาดาอียDที่มีสติป\ญญาเฉียบแหลม
และหิกมะฮฺ ก็จะรู#สึกได#ถึงความหอมหวานจากการเรียนรู#มารยาทจากพวกเขา , จะรับเอาคำแนะนำของพวกเขา
ด#วยความยินดี , พึงพอใจ และยอมรับโดยดุษฎี ดังที่มีระบุไว#ในตัฟสีร รูหฺ อัล-มะอานียD วHา ‘แท#จริง มันคือคำพูดที่
ถูกต#อง ที่สัมผัสหัวใจอยHางถูกต#อง’ และทุกครั้ง ดาอียDจะยิ่งเข#าใจเพิ่มขึ้น , สติป\ญญาจะแข็งแรงมากขึ้น และ
23

ดวงตาแหHงหัวใจของเขาจะมีความแมHนยำยิ่งขึ้น แนHนอนวHาเขาจะมีหิกมะฮฺมากยิ่งขึ้น และมีระบุไว#ในฟ\ตุล เกาะดีร


วHา : ‘แท#จริง หิกมะฮฺที่อัลลอฮ สุบหานะฮุ วะตะอาลา ทรงประทานให#ลุกมานนั้น คือ ความเข#าใจ สติป\ญญา และ
ความแมHนยำ’ และอัล-กุร•–บียDเห็นด#วยกับความหมายนี้ การมีหิกมะฮฺในการดะอฺวะฮฺ ก็คือ การใสHใจตHอสถานะและ
สภาพของผู#ถูกเชิญชวน(มัดอู) , ขนาด(ความรู#)ที่จะนำเสนอให#แกHพวกเขาในทุกเวลา ซึ่งจะทำให#ไมHเกิดความ
ยากลำบากแกHพวกเขา ไมHเปBนภาระกHอนที่จิตใจของพวกเขาจะพร#อมแบกรับมัน ตลอดจนวิธีการที่ใช#ในการพูดคุย
กับพวกเขา และการปรับเปลี่ยนวิธีการตามความเหมาะสม
ความรักเปBนสิ่งที่ดีงาม เปBนเครื่องจรรโลงโลกให#สดใสและนHาอยูHยิ่งขึ้น พลังแหHงรักจะแผHซHานเข#าไปในหัวใจ
ทำให#คนเรามีชีวิตอยHางสุขสำราญ ทำให#จิตใจหลุดพ#นจากความวิตก หวาดกลัว และกังวลทั้งมวล หากทุกคนมีความ
รัก ความเมตตา ความเอื้ออาทร อยHางจริงใจมอบให#แกHกันและกันด#วยไมตรีจิตที่บริสุทธิ์ สงครามและความขัดแย#ง
ที่รุนแรงทั้งหลายก็ไมHเกิดขึ้น สังคมก็รHมเย็น ทุกถิ่นที่ก็มีแตHสันติภาพ และพลังแหHงรักเปBนตัวกระตุ#นระบบภูมิ
ต#านทานที่ทรงอานุภาพที่สุด

พลังแหHงรักสามารถสร#างสรรคDเนรมิตสิ่งมหัศจรรยDและมีคุณคHาให#เกิดขึ้นแกHโลกมากมาย พลังแหHงรักคือ
สายใยของชีวิตที่เชื่อมโยงให#เกิดความผูกพันธDและสันติสุขแกHมวลมนุษยชาติ ทุกชีวิตล#วนดำรงอยูHได#ด#วยความรัก
อยูHได#เพราะมีคนที่ตนรัก อยูHได#เพื่อทำในสิ่งที่ตนรัก อยูHได#เพื่อให#คนอื่นรัก เหมือนต#นไม# ที่อยูHได#เพราะน้ำ แผH
กิ่งก#านสาขา เจริญเติบโตออกดอกผลได#เนื่องด#วยอาศัยน้ำ เชHนเดียวกับชีวิตหากปราศจากความรักก็ไมHตHางอะไรไป
จากต#นไม#ที่ขาดน้ำ ต#องเหี่ยวเฉา แห#งแกร็นรอวันตายคาต#น สHวนรักของผู#ให#คำปรึกษานั้นคือรักที่จะชHวย ชHวยเปBน
ผู#ฟ\งที่ดี ชHวยหาทางออกรHวมกัน ชHวยให#เกิดการเปลี่ยนแปลง สูHการมีชีวิตที่ดีขึ้นและมีความสุขมากขึ้น
24

A:Awwabun hafeez (การกลับเนื้อกลับตัวสำนึกตน)

เตาบะฮD คือ การกลับเนื้อกลับตัวจากการกระทำการฝiาฝ•นอัลลอฮฺ สูHการเคารพภัคดี เชื่อฟ\งตHอพระองคD การ


กลับเนื้อกลับตัวนั้น เปBนสิ่งที่อัลลอฮฺทรงรัก อัลลอฮฺ ตรัสความวHา
َ َ‫ب ٱۡﻟُﻣﺗ‬
‫طِّﮭِرﯾَن‬ ‫ب ٱﻟﺗ ﱠٰﱠوِﺑﯾَن َوﯾ ُِﺣ ﱡ‬ َ ‫ِإﱠن ٱ ﱠ‬
‫ ﯾ ُِﺣ ﱡ‬-

“แท#จริงอัลลอฮฺทรงรักบรรดาผู#สำนึกผิด กลับเนื้อกลับตัว และทรงชอบบรรดาผู#ที่ทำตนให#สะอาด”


(อัลบะกอเราะหฺ : 222)

การกลับเนื้อกลับตัวนั้น จำเปBนสำหรับผู#ศรัทธาทุกคน อัลลอฮฺตรัสความวHา


‫ﺻوًﺣﺎ‬ ِ ‫ٰ ٓﯾَﺄ َﯾﱡَﮭﺎ ٱﻟﱠِذﯾَن َءاَﻣﻧ ُواْ ﺗ ُوﺑ ُٓواْ ِإﻟَﻰ ٱ ﱠ‬
ُ ‫ ﺗَ ۡوﺑَٗﺔ ﻧﱠ‬-
“โอ#บรรดาผู#ศรัทธาทั้งหลาย จงกลับเนื้อกลับตัวสูHอัลลอฮฺด#วยการกลับเนื้อกลับตัว ที่จริงจังเถิด”
(อัตตะหฺรีม : 8)
การกลับเนื้อกลับตัวนั้น เปBนสิ่งที่จำนำมาซึ่งการได#รับความสำเร็จ
“และพวกเจ#าทั้งหลายจงกลับเนื้อกลับตัวสูHอัลลอฮฺเถิด โอ# บรรดาผู#ศรัทธาทั้งหลาย เพื่อวHาพวกเจ#าจะได#รับ
ความสำเร็จ” และในบทฮาดิษ....ได#กลHาวเกี่ยวกับการกลับเนื้อกลับตัวไว#วHา....
"แท#จริงอัลลอฮฺ ทรงเป‰ดพระหัตถDของพระองคDในเวลากลางคืนเพื่อรับการกลับเนื้อกลับตัวของผู#กระทำทำผิดใน
เวลากลางวันและทรงเป‰ดพระหัตถDในเวลากลางวัน เพื่อรับการกลับเนื้อกลับตัวของผู#กระทำผิดในเวลากลางคืน
จนกระทัง่ ดวงอาทิตยDขึ้นทางทิศตะวันตก” (หะดีษศอหี้ห บันทึกโดยมุสลิม)
25

22 ‫د‬ٞ‫ﺻُرَك ٱۡﻟﯾَ ۡوَم َﺣِدﯾ‬


َ َ‫طﺎ َٓءَك ﻓَﺑ‬ َ ‫ﺷۡﻔﻧَﺎ َﻋﻧَك ِﻏ‬ َ ‫ت ِﻓﻲ َﻏۡﻔﻠَٖﺔ ِّﻣۡن َٰھذَا ﻓََﻛ‬ َ ‫ﻟﱠﻘَۡد ﻛُﻧ‬
23 ٌ ‫ي َﻋِﺗﯾد‬ ‫َوﻗَﺎَل ﻗَِرﯾﻧ ُﮫ ُۥ َٰھذَا َﻣﺎ ﻟَدَ ﱠ‬
24 ‫أَۡﻟِﻘﯾَﺎ ِﻓﻲ َﺟَﮭﻧﱠَم ﻛُﱠل َﻛﻔﱠﺎٍر َﻋِﻧﯾ ٖد‬
25 ‫ب‬ ٍ ‫ﱠﻣﻧﱠﺎٖع ِﻟّۡﻠَﺧۡﯾِر ُﻣۡﻌﺗَٖد ﱡﻣِرﯾ‬
26 ‫ﺷِدﯾِد‬ ‫ب ٱﻟ ﱠ‬ ِ ‫ ِإ ٰﻟًَﮭﺎ َءاَﺧَر ﻓَﺄ َۡﻟِﻘﯾَﺎه ُ ِﻓﻲ ٱۡﻟَﻌذَا‬- ِ ‫ٱﻟﱠِذي َﺟَﻌَل َﻣَﻊ ٱ ﱠ‬
27 ‫ﺿ ٰﻠَِۭل ﺑَِﻌﯾٖد‬َ ‫ﻗَﺎَل ﻗَِرﯾﻧ ُﮫ ُۥ َرﺑﱠﻧَﺎ َﻣﺎ ٓ أَۡطَﻐۡﯾﺗ ُﮫ ُۥ َو ٰﻟَِﻛن َﻛﺎَن ِﻓﻲ‬
28 ‫ت ِإﻟَۡﯾﻛُم ِﺑﭑۡﻟَوِﻋﯾِد‬ ُ ‫ي َوﻗَۡد ﻗَد ﱠ ۡﻣ‬ ‫ﺻُﻣواْ ﻟَدَ ﱠ‬ ِ َ‫ﻗَﺎَل َﻻ ﺗَۡﺧﺗ‬
َٰ ۠ َ ٓ
29 ‫ظﻠﱠٖم ِﻟّۡﻠَﻌِﺑﯾِد‬ ‫ي َوَﻣﺎ أﻧَﺎ ِﺑ‬ ‫َﻣﺎ ﯾ ُﺑَد ﱠُل ٱۡﻟﻘَ ۡوُل ﻟَدَ ﱠ‬
30 ‫ت َوﺗَﻘ ُوُل َھۡل ِﻣن ﱠﻣِزﯾٖد‬ ِ ‫ﻸ‬ۡ َ َ‫ﯾَ ۡوم ﻧَﻘ ُوُل ِﻟَﺟﮭﻧﱠم َھل ٱ ۡﻣﺗ‬
ِ َ َ َ
31 ‫ت ٱۡﻟَﺟﻧﱠﺔ ُ ِﻟۡﻠُﻣﺗ ﱠِﻘﯾَن َﻏۡﯾَر ﺑَِﻌﯾٍد‬ ِ َ‫َوأ ُۡزِﻟﻔ‬
32 ‫ب َﺣِﻔﯾٖظ‬ ٍ ‫َٰھذَا َﻣﺎ ﺗ ُوَﻋد ُوَن ِﻟﻛُِّل أَﱠوا‬
33 ‫ب‬ ٍ ‫ب ﱡﻣِﻧﯾ‬ٖ ‫ب َوَﺟﺎ َٓء ِﺑﻘَۡﻠ‬ ِ ‫ﻲ ٱﻟﱠرۡﺣَٰﻣَن ِﺑﭑۡﻟَﻐۡﯾ‬ َ ‫ﱠﻣۡن َﺧِﺷ‬
34 ‫ﺳ ٰﻠَ ٖ ۖم ٰذَِﻟَك ﯾَ ۡوُم ٱۡﻟُﺧﻠ ُوِد‬ َ ‫ٱۡدُﺧﻠ ُوَھﺎ ِﺑ‬
35 ‫د‬ٞ‫ﺷﺎ ُٓءوَن ِﻓﯾَﮭﺎ َوﻟَدَۡﯾﻧَﺎ َﻣِزﯾ‬ َ َ‫ﻟَُﮭم ﱠﻣﺎ ﯾ‬
ความวHา
Ç22 โดยแนHนอนเจ#าไมHสนใจตHอเรื่องนี้ นั้นเราจึงเป‰ดสิ่งที่ปกคลุมเจ#าอยูHให#ออกไปจากเจ#า วันนี้สายตาของเจ#าจึง
เฉียบขาด
Ç23 มะลักผู#ถูกมอบหมายกลHาววHา นี่คือสิ่งที่เตรียมไว#อยูHที่ข#าพระองคD
Ç24 เจ#าทั้งสองจงโยนทุกคนที่ปฏิเสธศรัทธา และดื้อรั้น
Ç25 ผู#ขัดขวางการทำดี ผู#ฝiาฝ•น ผู#สงสัย
Ç26 ซึ่งตั้งพระเจ#าอื่นใดคูHเคียงกับอัลลอฮ. ดังนั้นเจ#าทั้งสองจงโยนเขาสูHการลงโทษอันสาหัส
Ç27 (ชัยฏอน) สหายของเขากลHาววHา ข#าแตHพระเจ#าของเรา ข#าพระองคDมิได#ทำให#เขาหลงผิดดอกแตHทวHาเขาได#
อยูHในการหลงผิดมากHอนแล#ว
Ç28 พระองคDตรัสวHา พวกเจ#าอยHามาโต#เถียงตHอหน#าข#าเลย และแนHนอนข#าได#เตือนพวกเจ#ากHอนหน#านี้แล#ว
Ç29 พระดำรัสของข#า จะไมHถูกเปลี่ยนแปลง ณ บัดนี้ และข#าก็มิได#เปBนผู#ยุติธรรมตHอปวงบHาวของข#าเลย
Ç30 วันซื่งเราจะกลHาวแกHนรกกญะฮันนัมวHา เจ#าเต็มแล#วหรือ? และมันจะกลHาววHา ยังมีเพิ่มอีกไหม?
Ç31 และสวนสวรรคDก็ถูกนำให#มาใกล#แกHบรรดาผู#ยำเกรงมันมิได#อยูHไกลเลย
26

Ç32 นี่คือสิ่งที่พวกเจ#าได#ถูกสัญญาไว#สำหรับทุกคนที่สำนึกผิด (หันหน#าเข#าหาอัลลอฮ.) ผูร# ักษาบัญญัติ


(ของอัลลอฮ.)
Ç33 ผู#ที่เกรงกลัวพระผู#ทรงกรุณาปรานีโดยทางลับ และมาหา (พระองคD) ด#วยจิตใจที่สำนึกผิดกลับเนื้อกลับตัว
Ç34 พวกเจ#าจงเข#าไปในสวนสวรรคDด#วยความศานติ นั่นคือวันแหHงการพำนักอยูHตลอดกาล
Ç35 สำหรับพวกเขาจะได#รับสิ่งที่พวกเขาพึงประสงคDในสวนสวรรคD และ ณที่เรานั้นยังมีอีกมากมาย
การกลับเนื้อกลับตัวที่สวยงาม คือ การกลับเนื้อกลับตัวที่ประกอบเงื่อนไข 5 ประการ ตHอไปนี้
1. มีความบริสุทธิ์ใจตHออัลลอฮฺ คือ มีเจตนาในการกลับเนื้อกลับตัวเพื่อหวังความเมตตาจากอัลลอฮฺ
ผลบุญจากพระองคD และเกรงกลัวการบทลงโทษของพระองคD
2. เสียใจตHอการกระทำการฝiาฝ•นอัลลอฮฺ ด#วยการสำนึกผิดตHอการกระทำดังกลHาว และพยายามอยHางที่สุด
ในการไมHกลับไปทำมันอีก
3. เรHงรีบละทิ้งการฝiาฝ•นอัลลอฮฺ หากเปBนการฝiาฝ•นสิทธิของอัลลอฮฺ ก็จงเสียใจและละทิ้ง และหากเปBน
การฝiาฝ•นสิทธิของสิ่งถูกสร#างด#วยกัน ก็จงคืนสิทธิให#แกHสิ่งถูกสร#างดังกลHาว ไมHวHาจะเปBนด#วยการคืนสิทธิ หรือด#วย
การขอโทษ
4. ยืนหยัด ในการพยายามไมHกลับสูHการฝiาฝ•นอัลลอฮฺ
5. การกลับเนื้อกลับตัว จะต#องปฏิบัติกHอนประตูของการกลับเนื้อกลับตัวจะถูกป‰ด ไมHวHาเปBนตอนที่
วิญญาณถึงลูกกระเดือก หรือดวงอาทิตยDขึ้นทางทิศตะวันตก อัลลอฮฺ ตรัสความวHา
“การสำนึกผิดกลับเนื้อกลับตัว(ที่อัลลอฮฺ จะทรงรับ) นั้นมิใชHสำหรับบรรดาผู#ที่กระทำความชั่วตHางๆ
จนกระทั่งเมื่อความตายได#มายังคนหนึ่งคนใดในพวกเขา แล#วเขาก็กลHาววHา บัดนี้แหละข#าพระองคDขอสำนึกผิดกลับ
เนื้อกลับตัว และก็มิใชHสำหรับบรรดาผู#ที่ตาย ในขณะที่พวกเขาเปBนผู#ปฏิเสธศรัทธาด#วย ชนเหลHานี้เราได#เตรียมไว#
แล#วสำหรับพวกเขาซึ่งการลงโทษอันเจ็บแสบ” (อันนิซาอฺ : 18)
ทHานรอซูลุลลอฮฺ กลHาววHา
“ผู#ใดกลับเนื้อกลับตัวกHอนที่ดวงอาทิตยDจะขึ้นทางทิศตะวันตก อัลลอฮฺ จะทรงตอบรับการกลับเนื้อ
กลับตัวของเขา” (หะดีษศอหี้ห บันทึกโดยุมสลิม)
โอ#อัลลอฮฺ ขอพระองคDทรงเป‰ดหัวใจของฉันเพื่อที่ฉันจะได#กลับเนื้อกลับตัวสูHพระองคDด#วยการกลับเนื้อกลับ
ตัวที่สวยงาม และขอพระองคDตอบรับการงานของฉัน แท#จริงพระองคDคือผู#ทรงได#ยิน และผู#ทรงเห็น
27

H: HISAB Hisab / Muhasab (การตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล)

จุดประสงคDและประโยชนDของการไตรHตรองตรวจสอบตนเองในศาสนาอิสลามจำเปBนที่มุสลิมต#องทำความเข#าใจให#ดี
เพราะหากปฏิบัติอยHางถูกต#องจะเปBนแกHนแท#ของความหมายที่แท#จริงของมุฮาซะบะหDยHอมจะเกิดประโยชนD
มากมายที่มนุษยDจะได#รับ ทั้งเพื่อชีวิตในโลกนี้และโลกหน#า
มุฮาซะบะหD Muhasabah มาจากรากศัพทD หะสิบะ ยะหDซะบู หิซาบ ซึ่งหมายถึงการคำนวณการนับ ใน
ศัพทDเฉพาะของศาสนาอิสลาม ความหมายและคำนิยามของมุฮาซะบะหDคือความพยายามในการประเมินตนเองถึง
ความดีและความชั่วในทุกแงHมุม มันคือความสัมพันธDในแนวดิ่งของมนุษยDระหวHางผู#รับใช#หรือบHาวของพระเจ#า หรือ
ในความสัมพันธDแนวนอน นั่นคือ ความสัมพันธDของมนุษยDกับมนุษยDอื่นๆ ในการใช#ชีวิตทางสังคม เปBนวิธีหนึ่งที่
สามารถนำผู#คนไปสูHระดับความสมบูรณDแบบในฐานะผู#รับใช#หรือบHาวของพระเจ#าผู#ทรงฤทธานุภาพ
.ความหมายของมุฮาซะบะหD
ความหมายและสาระสำคัญของมุฮาซะบะหD (muhasaba)h รวมถึงสิ่งอื่น ๆ มีดังนี้:

‫ َﺧِﺑﯾٌر ِﺑَﻣﺎ ﺗَْﻌَﻣﻠ ُوَن‬- َ ‫ت ِﻟَﻐٍد َواﺗ ﱠﻘ ُوا ا ﱠ‬


َ ‫ ِإﱠن ا ﱠ‬- ٌ ‫ َوْﻟﺗَﻧظُْر ﻧَْﻔ‬-
ْ ‫س ﱠﻣﺎ ﻗَد ﱠَﻣ‬ َ ‫ﯾَﺎ أَﯾﱡَﮭﺎ اﻟﱠِذﯾَن آَﻣﻧ ُوا اﺗ ﱠﻘ ُوا ا ﱠ‬

โอ#บรรดาผู#ศรัทธาเอšยพวกเจ#าจงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด และทุกชีวิตจงพิจารณาดูวHาอะไรบ#างที่ตนได#เตรียมไว#สำหรับ
พรุHงนี้ (วันกิยามะฮฺ) และจงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด แท#จริงอัลลอฮฺนั้นทรงรู#ดียิ่งในสิ่งที่พวกเจ#ากระทำ ( อัลกุรอาน ซู
เราะหD อัล หัชรD: 18)
28

،‫ واﻟﻌﺎﺟز ﻣن اﺗﺑﻊ ﻧﻔﺳﮫ ھواھﺎ‬،‫ وﻋﻣل ﻟﻣﺎ ﺑﻌد اﻟﻣوت‬،‫اﻟﻛﯾس ﻣن دان ﻧﻔﺳﮫ‬
‫وﺗﻣﻧﻲ ﻋﻠﻲ ﷲ (رواه اﻟﺗرﻣذي وﻗﺎل ﺻﺣﯾﺢ ﺣﺳن‬
คนฉลาด(ผู#ที่เปX_ยมล#นไปด#วยสติป\ญญา)คือคนที่มีความนอบน#อมถHอมตนอยูHเสมอ และเพียรปฏิบัติในสิ่งที่
จะกHอให#เกิดประโยชนDหลังความตาย(หวังในความรัก ความเมตตาจากพระผู#เปBนเจ#า) สHวนคนโงH(คนที่ขาดซึ่ง
ป\ญญา)คือคนที่ปลHอยตัวตามอารมณD(กิเลศ)และเพ#อฝ\นวHาจะได#รับความสำเร็จจากพระองคDอัลลอฮD ในสิ่งที่ตัวเอง
เพ#อฝ\นนั่นเอง
มุฮาซะบะหD หมายถึง การพิจารณาตนเอง (Muhasabah Introspection of the Self) การนับตนเอง
ด#วยการกระทำที่เคยทำมาแล#ว ผู#ชายที่โชคดีคือผู#ชายที่รู#จักตัวเอง และใครที่โชคดีมักจะเตรียมตัวให#พร#อมสำหรับ
ชีวิตอันนิรันดรในวันสุดท#าย ในปรโลกนั้นแนHนอนด#วยการทำ มุฮาซะบะหD muhasabah บHาวจะใช#ทุกชHวงเวลา ไมH
วHาวินาที นาที ชั่วโมง และวัน ตลอดจนการป\นสHวนทั้งหมดในชีวิตของเขาในโลกนี้ ในวิธีที่ดีที่สุดเพื่อให#บรรลุ
ความสุขจากอัลลอฮD โดยทำการคำนวณความดี อ ยH า งครบถ# ว นในแงH ข องการบั ง คั บ ภั ค ดี แ ละซุ น นะฮฺ
เชHนเดียวกับมุฮาซะบะหD muhasabah ในการปฏิบัติความดีที่เกี่ยวข#องกับชีวิตทางสังคมและชีวิตของเขาในฐานะ
ผู#รับใช#ของอัลลอฮDผู#ทรงสร#าง อัลเลาะหDสั่งให#คนใช#ไตรHตรองตัวเองในการไตรHตรองตนเองเสมอโดยเพิ่มศรัทธาและ
ความนับถือตHออัลลอฮDตาอาลา
ประโยชนDของการไตรHตรองลำดับความสำคัญ
วัตถุประสงคDมีประโยชนDหลายประการเชHนเดียวกับสิทธิพิเศษของมุฮาซะบะหD muhasabah สำหรับผู#เชื่อ
ทุกคน กลHาวคือ:
1. โดยการไตรHตรองในตนเอง มุสลิมทุกคนจะสามารถรู#ถึงความละอายและข#อบกพรHองของตนเองได#
นั่นคือในแงHของการปฏิบัติบูชาซึ่งเปBนกิจกรรมที่เปBนประโยชนDตHอมนุษยDจำนวนมาก เพื่อเขาจะสามารถปรับปรุงทุก
สิ่งที่รู#สึกวHาขาดในตัวเขา
2. ในแงHของการนมัสการ เราจะตระหนักถึงสิทธิและหน#าที่ของเรามากขึ้นในฐานะผู#รับใช#ของพระองคD
และพัฒนาตนเองตHอไป และรู#แกHนแท#ของการนมัสการวHาประโยชนDของป\ญญาในการนมัสการนั้นเปBนประโยชนDตHอ
ตัวเราเอง ไมHใชHเพื่ออัลลอฮDตะอาลา เพราะเราเปBนมนุษยDที่อHอนแอและเปBนมนุษยDบาปที่ต#องการการอภัยบาป
มากมายของเรา
3. รู#วHาทุกสิ่ง ไมHวHาเล็กหรือใหญH สำหรับสิ่งที่เราทำในโลกนี้ จะต#องรับผิดชอบในปรโลก นี่เปBนหนึ่งในภูมิ
ป\ญญาของการไตรHตรองในมนุษยDทุกคน
4. เกลียดตัณหาและระวังมัน และปฏิบัติบูชาและเชื่อฟ\งอยูHเสมอ ให#อยูHให#หHางจากสิ่งทั้งปวงที่มีกลิ่น
แหHงการไมHเชื่อฟ\ง เพื่อเปBนความสวHางในปรโลก
29

5. การไตรHตรองตนเองในศาสนาหมายถึงการประเมินตนเองเปBนหนึ่งในข#อความของทHานศาสดา SAW
เปBนสิ่งสำคัญมากที่มุสลิมทุกคนต#องทำ โดยมักจะทำมูฮาซาบะฮDจริง เขาจะค#นพบจุดอHอน ข#อบกพรHอง และความ
ผิดพลาดตHาง ๆ ที่เขาทำ
30

เงื่อนไขของการนะศิหะฮฺ (ตักเตือน)

หลักสำคัญในการนะศีหะฮฺก็คืออิคลาศและบริสุทธิ์ใจ ความพยายามในการนะศีหะฮฺจำเปBนต#องป\กอยูH
บนฐานแหHงความบริสุทธิ์ใจอยHางอิคลาศตHออัลลอฮฺ และบริสุทธิ์ใจที่จะทำดีตHอบHาวของอัลลอฮฺ ซึ่งเปBน
บุคคลที่เรากำลังนะศีหะฮฺเขา ถ#าไมHแล#ว ความพยายามดังกลHาวจะไมHถือวHาเปBนนะศีหะฮฺ และไมHใชHสิ่งที่ศาสนา
หมายถึ ง ในหะดี ษ ที ่ ว H า “อั ด -ดี น อั น -นะศี ห ะฮฺ ศาสนาคื อ การ นะศี ห ะฮฺ ”อั น เปB น ความพยายามที ่ จ ะนำ
ผลประโยชนDมาสูHตัวเองและมนุษยชาติอยHางเด็ดขาด ในทางกลับกันความพยายามที่ไร#ความบริสุทธิ์ใจนั้นอาจจะถือ
วHาเปBนการหลอกลวง ติเตียนอยHางหยิ่งยโส ดHาทอ นินทา ทรยศ กลHาวหา หรือนิยามอื่น ๆ ที่ทั้งหมดล#วนเปBนมะอฺศิ
ยะฮฺที่คอยทำลายความเปBนเอกภาพของ “อุมมะฮฺ วาหิดะฮฺ”
ทHานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได#กลHาววHา

ِ ‫))…إِﻧﱠَﻣﺎ اﻷ َْﻋَﻣﺎُل ﺑِﺎﻟﻧِّﯾﱠﺎ‬


((،‫ َوإِﻧﱠَﻣﺎ ِﻟﻛُِّل اْﻣِرٍئ َﻣﺎ ﻧََوى‬،‫ت‬

ความวAา “แท.จริงแล.ว การงานตAางๆ นั้นขึ้นอยูAกับเนียต และทุกๆ คนจะได.ผลตามที่เขา


เนียต ...” หมายถึงอัลลอฮฺจะทรงประทานความสำเร็จและผลบุญตAางๆ ตามที่เขาเจตนา
ไมAใชAตามภาพภายนอกโดยผิวเผินในการกระทำของเขา7

ในความหมายที่วHา เนียตที่ดีก็จะนำมาซึ่งผลที่ดี สHวนเนียตที่ไมHดีก็จะนำผลที่ไมHดีมาเชHนเดียวกันแม#วHา


ภาพภายนอกจะดูดีเพียงใดก็ตาม และนับประสาอะไรถ#าหากวHาแม#กระทั่งภาพภายนอกก็ไมHดีอยูHแล#วด#วย เพราะ
โดยปกติแล#วเนียตที่ไมHดีนั้นมักจะแสดงออกมาเปBนพฤติกรรมที่ไมHดีด#วยเชHนกัน วัลอิยาซุบิลลาฮฺมินซาลิก/ขอความ
คุ#มครองตHออัลลอฮฺ ให#เรารอดพ#นจากสิ่งนี้ด#วยเถิดวันหนึ่งมีคนมาพูดกับทHานอิบนุ อุมัร เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา
วHา “เวลาที่อยูHตHอหน#าผู#นำ เราจะพูดแบบหนึ่ง เวลาที่เราออกไปแล#วเราก็จะพูดอีกแบบหนึ่ง” ทHานอิบนุ อุมัร จึง
ตอบไปวHา

َ ‫ﷲ ﺻﻠّﻰ ﷲ ﻋﻠﯾﮫ وﺳﻠّم اﻟﻧَِّﻔﺎ‬


((‫ق‬ ِ ‫ﺳْوِل‬
ُ ‫ﻋْﮭِد َر‬ َ ‫))ﻛُﻧﱠﺎ ﻧَﻌ ُدﱡ َھذَا‬
َ ‫ﻋﻠَﻰ‬

ความวAา “พวกเราเคยนับพฤติกรรมแบบนี้ในสมัยทAานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ


วะสัลลัม วAาเป„นหนึ่งในคุณลักษณะของนิฟาก” เนื่องจากไมAได.วางอยูAบนความอิคลาศ
และบริสุทธิ์ใจ ที่กลAาวมานี้ อาจจะเป„นหนึ่งเหตุผลที่เราเห็นได.จากตัวอยAางของทAานนบี

7 อัล-บุคอรียT หมายเลข 1, มุสลิม หมายเลข 1907


31

ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม นั่นคือทุกครั้งที่ทAานต.องการกลAาวคุฏบะฮฺ อัล-หาญะฮฺ ทAาน


มักจะกลAาววAา8

((‫ت أَْﻋَﻣﺎِﻟﻧَﺎ‬ ِ ُ ‫ﺷُروِر أَْﻧﻔ‬


َ ‫ َو‬،‫ﺳﻧَﺎ‬
ِ ‫ﺳﯾِّﺋَﺎ‬ ِ ‫)) َوﻧَﻌ ُوذ ُ ﺑِﺎ ﱠ‬
ُ ‫[ ِﻣْن‬
ความวAา “เราขอความคุ.มครองตAออัลลอฮฺจากความชั่วของจิตใจเรา และจากความเลว
ของพฤติกรรมเรา”

ทั้งนี้ เพื่อให#การกลHาวเทศนาของทHานไมHปนเป••อนด#วยความชั่วร#ายในตัวทHานและความ
ไมHดีในพฤติกรรมของทHานซึ่งอาจจะทำลายเนื้อหาอันแท#จริงของการนะศีหะฮฺในคุฏบะฮฺของ
ทHานได#

นอกจากนี้ ทHานนบี( ) ยังเคยสั่งใช#อบู บักรฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุให#อHานดุอาอDนี้ทุกเช#าเย็น

‫ب ﻛُِّل‬
‫ت َر ﱠ‬ َ ‫ َﻻ ِإﻟَﮫَ ِإﱠﻻ أَْﻧ‬،‫ﺷَﮭﺎدَِة‬
‫ب َواﻟ ﱠ‬ِ ‫ َﻋﺎِﻟَم اﻟَﻐْﯾ‬،‫ض‬ ِ ‫ت َواﻷ َْر‬ ‫اﻟﻠﱠُﮭﱠم ﻓَﺎِطَر اﻟ ﱠ‬
ِ ‫ﺳَﻣَوا‬
َ ‫ َوأَْن أَْﻗﺗَِر‬،‫طﺎِن َوِﺷْرِﻛِﮫ‬
‫ف‬ َ ‫ﺷْﯾ‬
‫ﺷِّر اﻟ ﱠ‬َ ‫ َوِﻣْن‬،‫ﺷِّر ﻧَْﻔِﺳﻲ‬ َ ‫ أَﻋُوذ ُ ِﺑَك ِﻣْن‬،ُ ‫ﺷْﻲٍء َوَﻣِﻠﯾَﻛﮫ‬ َ
‫َﻋﻠَﻰ ﻧَْﻔِﺳﻲ ﺳُوًءا أَْو أَُﺟﱠره ُ ِإﻟَﻰ ُﻣْﺳِﻠٍم‬

ความวHา “โอ#อัลลอฮฺ ผู#ทรงสร#างชั้นฟxาทั้งหลายและแผHนดิน ผู#


ทรงรอบรู#ในสิ่ง ที่ซHอนเร#นและเป‰ดเผย ไมHมีพระเจ#าอื่นใดนอกจากพระองคD พระผู#อภิบาล
และครอบครองสรรพสิ่งทั้งมวล ฉันขอความคุ#มครองตHอพระองคDจากความชั่วร#ายของตัวฉัน
เอง และจากความชั่วร#ายของชัยฏอนและภาคีของมัน และฉันขอความคุ#มครองจากความชั่วที่
ฉันกระทำตHอตัวเอง หรือกระทำตHอมุสลิมคนอื่น”9
ดังกลHาวนั้นคือดุอาอD มะอฺษูรฺ บทหนึ่งจากทHานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ให#อHานทั้งเช#าเย็น
เปBนหนึ่งวิธีการสร#างจิตวิญญาณแหHงนะศีหะฮฺ เพื่อให#เกิดผลและมีประโยชนDจริงๆ ในกระบวนการนะศีหะฮฺทุก
รูปแบบ จากต#นแบบคำสอนแบบนี้เอง เราพบวHาทHานอิมาม อัช-ชาฟ‰อียD เราะหิมะฮุลลอฮฺ ได#เคยกลHาววHา

ُ ‫ َوﻟَْم ﯾَْﻧ‬،‫ب‬
‫ﺳﺑ ُوَھﺎ إِﻟَ ﱠ‬
(( ‫ﻲ‬ َ ‫ت أَﱠن اﻟﻧﱠﺎ‬
َ ُ ‫س ﻟَْو ﺗََﻌﻠﱠُﻣوا َھِذِه اْﻟﻛُﺗ‬ ُ ‫)) َوِدْد‬

8 ชุอัยบฺ อัล-อัรนาอูฏ กลWาววWาเศาะฮีหฺตามเงื่อนไขของอัล-บุคอรียTและมุสลิม


9 ดุอาอT มะอฺษูรฺ บทหนึ่ง :จากทWานนบีที่ให3อWานทั้งเช3าเย็น เปƒนหนึ่งวิธีการสร3างจิตวิญญาณแหWงนะศีหะฮฺ รายงานจาก,: อิมาน
อัช-ชาฟ„อิยT
32

ความวHา “ฉันเคยปรารถนาวHา ขอให#ผู#คนทั้งหลายได#เรียนหนังสือทั้งหลายเหลHานี้ของฉัน โดย


ไมHต#องอ#างอิงมันมาถึงฉันเลย”10

นี่คือสำนึกของทHานอิมามอัช-ชาฟ‰อียD เราะหิมะฮุลลอฮฺ ในการถHายทอดความรู#ของทHานแกHผู#คน และนี่ก็


คือภาพแหHงการนะศีหะฮฺอยHางเปBนรูปธรรมที่แท#จริง และนHาจะเปBนหนึ่งในความลับแหHงความสำเร็จของอัช-ชาฟ‰อียD
ในการเผยแพรHความรู#ของอัลลอฮฺไปยังผู#อื่น วัลลอฮุอะอฺลัม

10 หะดีษโดย อัชชาฟ…อิยT เราะหิมะฮุลลอฮฺ : 2/128


33

มารยาทในการนะศีหะฮฺ (ตักเตือน)

นอกจากนี้ ทHานนบีได#กลHาววHา "มนุษยDนั้นเปรียบเสมือนแรHธาตุตHางๆ เชHน แรHทองและแรHเงิน " รายงาน


โดย มุสลิมมนุษยDมีมากมายหลายชนิด หลายคนประสบป\ญหาเรื่องเดียวกัน ทำผิดแบบเดียวกัน การแก#ป\ญหานั้น
ก็จะแตกตHางกันไป ไมHสามารถกำหนดตัวยารักษาเหมาะสมกับทุกคน

ดังนั้น "ฮิกมะฮฺ" หรือ "วิทยป\ญญา" 11จึงต#องใช#ให#เหมาะสมกับตามชนิดพื้นฐานของแตHละคน บางที


การเตือนของบางคนกลับกลายเปBนการดูถูกเพราะยาบางตัวอาจไมHถูกโรคกับโรคซึ่งบางครั้งก็ต#องยอมอHอน แตHไมH
ยอมแพ# เพื่อจะชนะในหนทางที่ถูกต#องของพระองคD เพราะเราจะเปลี่ยนตัวยาใหมHให#ตรงกับโรคของทHานผู#ไมHสบาย
ในหนทางอิสลามนั้นมันเปBนเรื่องที่ยาก แตHถ#าเตือนแล#วเขาไมHเปลี่ยนแปลงไปสูHหนทางที่ถูกต#อง สิ่งที่ยังทำได#คือการ
ขอดุอาให#กับเขา เพราะฉะนั้นในหลักการอิสลามจึงจำเปBนที่จะต#องมีมารยาทในการพูดหรือการนะศีหะฮฺ(ตีกเตือน)
ดังนี้

1 มีความบริสุทธิ์ใจ กลHาวคือ ไมHใชHเพื่อโอ#อวด หวังเพื่อชื่อเสียง หรือเพื่อแสดงถึงความรู# ความเกHงของ


ตัวเอง และการมีความบริสุทธิ์ใจมันมีผลอยHางมากตHอการตอบรับของผู#ที่ถูกตักเตือน เพราะคำพูดที่ออกมาจากใจ

11 อิสมาอีลลุตฟ„ จะปากียา, นะศีหะหTกับการสร3างอุมมะตันวาฮิดะหT,สำนักพิมพT อัลอะมี:กรุงเทพๆ 2556,หน3า 4


34

กับคำพูดที่เพียงออกมาจากลมปากมันมีข#อแตกตHางที่ผู#ฟ\งรู#สึกได# และคำพูดที่ออกจากใจเขาก็ยHอมรับด#วยใจ และ


มันก็เปBนผลที่นำไปสูHการเปลี่ยนแปลงในทีส่ ุด

2. อยAาตักเตือนตAอหน.ามหาชน เพราะการตักเตือนตHอหน#าผู#คน มันเหมือนกับการประจานเขา ซึ่งมัน


ทำให#เขารู#สึกไมHดีกับตัวผู#ตักเตือน และเมื่อเขารู#สึกไมHดีกับผู#ที่ตักเตือนแล#ว มันทำให#ยากที่เขาจะยอมรับคำตักเตือน
ของเรา
3. ตักเตือนด.วยวาจาที่นุAมนวลและสุภาพ คงไมHมีใครชอบที่จะมีใครสักคนมาพูพูดจากระแทกใจ
ถึงแม#วHาคำพูดที่เขาบอกมานั้นจะเปBนสิ่งที่ถูกต#องก็ตาม ดังนั้นเมื่อจะตักเตือนใครก็ตามสมควรที่จะใช#คำพูดที่สุภาพ
และนุHมนวล
4. คำนึงถึงสภาพของผู.ที่จะถูกตักเตือน ประเภทของผู#ที่ทำผิดคือ 1. ไมHรู#วHามันเปBนความผิด 2. รู#วHา
มันผิด แตHดื้อรังที่จะทำ 3. เชื่อวHาความผิดที่เขาทำนั้น เปBนสิ่งที่ถูกต#อง
ในแตHละประเภทมันยHอมมีวิธีการและกลยุทธDเฉพาะของมันในการตักเตือน ไมHใชHใช#วิธีการเดียวกัน
ในการตักเตือนบุคคลในแตHละประเภท หรือที่เราเรียกวHามี “ฮิกมะฮฺ” หรือ “วิทยะป\ญญา” ในการตักเตือนนั้นเอง

วิธีการในการนะศิหะฮฺ (ตักเตือน) คือเราะหQมะหQ

มวลการสรรเสริญเปBนกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ ประชาชาติอิสลามตHางเห็นพ#องวHา แบบอยHางแหHงวิถีการ


ดำเนินชีวิตที่ดีที่สุดของมนุษยDคือแบบฉบับการดำเนินชีวิตของทHานนบี และผู#ที่ปฏิบัติตามวิถีการดำเนินชีวิตของ
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ดีที่สุดคือ บรรดาเศาะหาบะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม เรามาย#อนกลับไปดู
สังคมในสมัยของทHานเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม แล#วเราจะพบกับคุณธรรมแหHงวิถีการดำเนินชีวิต นั่น
คือ

‫ﻋﻠَﻰ إَِﻗﺎِم‬َ ‫ﺳوَل ﷲ ﺻﻠﻰ ﷲ ﻋﻠﯾﮫ وﺳﻠم‬ ُ ‫ت َر‬ُ ‫ ﺑَﺎﯾَْﻌ‬: ‫ﷲ َﻗﺎَل‬


ِ ‫ﻋْﺑِد‬َ ‫ﻋْن َﺟِرْﯾِر ﺑِن‬
َ ))
‫ﺳِﻠٍم‬ ْ ‫ﻋِﺔ( َواﻟﻧﱡ‬
ْ ‫ﺻﺢِ ِﻟﻛُِّل ُﻣ‬ ‫ﺳْﻣِﻊ َواﻟ ﱠ‬
َ ‫طﺎ‬ ‫ﻋﻠَﻰ اﻟ ﱠ‬َ ‫ﺻﻼَِة َوإِْﯾﺗَﺎِء اﻟَزَﻛﺎِة )َو‬
‫اﻟ ﱠ‬
ความวHา
“จากญะรีร บุตร อับดุลลอฮฺ ทHานกลHาววHา ฉันได#ให#สัตยาบันกับทHานเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะ
ลัยฮิวะสัลลัมวHา12

12บันทึกโดย อัลบุคอรีและมุสลิม
35

1. จะดำรงการละหมาด (พื้นฐานแหHงความสัมพันธDอันดีกับอัลลอฮฺ )
2. บริจาคทาน (พื้นฐานแหHงความสัมพันธDอันดีกับบHาวของอัลลอฮฺ )
3. เชื่อฟ\งและปฏิบัติตามคำสั่งผู#นำ (พื้นฐานแหHงการยึดเหนี่ยวกับกลุHม/องคDกร)
4. ให#ความชHวยเหลือ ตักเตือน และเชิญชวนมุสลิมทุกคนให#ปฏิบัติในสิ่งที่ดี (พื้นฐานแหHง
การดะวะฮฺและการให#ความรHวมมือกับมุสลิมทุกคน สังคม และประเทศชาติ)”

วิธีการพื้นฐานการให.คำตักเตือนต.องประกอบด.วย

1. ความบริสุทธิ์ใจจากมลทินทั้งปวง
2. ความบริสุทธิ์ของเนื้อหาและวิธีการจากความจอมปลอม การตั้งภาคี และอุตริกรรมทั้งปวง
3. การแสดงออก ภาษา และวิธีการที่เหมาะสมและถูกกาลเทศะสามารถโน#มน#าวและผูกมัดจิตใจให#
คล#อยตาม มิใชHสร#างความแตกแยกและความกระด#างกระเดื่องของจิตใจ
4. อาศัยโอกาส สถานการณDและเวลาที่เหมาะสม
พึงทราบเถิดวHา แกHนแท#ของการให#คำตักเตือนคือความบริสุทธิ์ใจและการผูกมัดจิตใจ มิใชHเพียงคำพูด แตHจะ
ครอบคลุมทุกๆอิริยาบถ ทั้งการแสดงออกภายนอกและความรู#สึกภายใน มีจุดยืนและเปxาประสงคDที่บริสุทธิ์ตHอผู#ที่
ถูกตักเตือน
การตักเตือนเปBนรากฐานของความสำเร็จในโลกของการดะวะฮฺ และความสำเร็จของทุกๆโครงการและ
กิจการยิ่งกวHานั้น การตักเตือนยังเปBนรากฐานของการดำรงชีวิตที่ยึดมั่นในศาสนา

‫ ﻗ ُْﻠﻧَﺎ‬.ُ‫ اﻟ ِدّْﯾُن اﻟﻧﱠِﺻْﯾَﺣﺔ‬:‫ي ِ أَﱠن اﻟﻧﱠﺑِﻲ ﺻﻠﻰ ﷲ ﻋﻠﯾﮫ وﺳﻠم َﻗﺎَل‬ ّ ‫)) ﺋْن ﺗَِﻣْﯾِم اﻟدﱠاِر‬
((‫ﻋﺎﱠﻣﺗِِﮭْم‬ ْ ‫ﺳْوِﻟِﮫ َوﻷ َﺋِﱠﻣِﺔ اﻟُﻣ‬
َ ‫ﺳِﻠِﻣْﯾَن َو‬ ُ ‫َوِﻟِﻛﺗَﺎﺑِِﮫ َوِﻟَر‬ [ِ ‫ ِ ﱠ‬:‫ِﻟَﻣْن؟ َﻗﺎَل‬

ความวHา ‘จากตะมีม อัด-ดารียD ทHานเลHาวHา ทHานเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กลHาว


วHา พื้นฐานของศาสนาอิสลามคือ การให#คำตักเตือน (นั่นคือ สHงมอบสHวนที่ดีงามแกHผู#ที่ถูก
ตั กเตื อน) พวกเราถามทH านวH า “สำหรั บผู # ใ ดหรื อ?” ทH า นตอบวH า “(คำตั กเตื อนนั ้ น)
สำหรับอัลลอฮฺ สำหรับคัมภีรDของพระองคD สำหรับเราะสูลของของพระองคD สำหรับบรรดา
ผู#นำมุสลิม และสำหรับประชาชาติมุสลิมทั้งปวง”13

13 รายงานโดยมุสลิม หะดีษลำดับที่ 55
36

ความหมายก็คือ
- การตักเตือนสำหรับอัลลอฮฺ หมายถึง การศรัทธามั่นในความเปBนเอกะของพระองคD ไมHมีการตั้ง
ภาคีใดๆ ตHอพระองคD พร#อมกับตั้งมั่นในอิบาดะฮฺ มีความยำเกรง (ตักวา) และมอบหมาย (ตะวักกัล) แดHพระองคD
เพียงผู#เดียวเทHานั้น
- การตักเตือนสำหรับคัมภีรDของพระองคD หมายถึง การศรัทธามั่นตHอคัมภีรDอัลกุรอานของอัลลอฮฺ ด#วย
การพากเพียรศึกษา ใช#สอนสั่ง และอHานทวนด#วยความตั้งใจ บันทึกอายะฮฺอัลกุรอานไว#ในสมุดบันทึก นำเนื้อหา
และบทเรียนที่ได#รับไปปฏิบัติ ยึดปฏิบัติตามคำชี้ขาด (หุกHม) ของอัลกุรอาน พร#อมกับดูแลรักษาและปกปxอง
อัลกุรอานมิให#ถูกทำลายและเบี่ยงเบน
- การตักเตือนสำหรับเราะสูลของพระองคD หมายถึง การศรัทธามั่นตHอนบีมุหัมมัด ศ็อลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัมในฐานะบHาวและศาสนทูตของพระองคD ยอมมอบตนเปBนประชาชาติของทHาน ด#วยการปฏิบัติตามสุนนะฮฺ
ของทHาน หลังจากที่ได#ศึกษาและนำไปใช#สั่งสอนแล#ว นำไปปฏิบัติในวิถีแหHงการดำเนินชีวิต พร#อมๆกับการเผย
แผHสุนนะฮฺของทHาน รักและชอบทHาน สุนนะฮฺของทHาน และประชาชาติของทHาน พร#อมกับปกปxองทHาน ปกปxองสุน
นะฮฺของทHาน และปกปxองประชาชาติของทHาน และกลHาวสรรเสริญสดุดีทHานมากให#มาก
- การตักเตือนสำหรับผู#นำมุสลิม หมายถึง ยอมรับและรักชอบตHอการเปBนผู#นำของเขาให#การสนับสนุน
ชHวยเหลือและปกปxองเขาในทุกๆสัจธรรมที่มาจากคำสอนของอิสลาม ชี้แนะตHอความผิดพลาดของเขาด#วยวิธีการที่
ดีที่สุด และสร#างความปรองดองในหมูHประชาชาติให#เปBนน้ำหนึ่งใจเดียวกันภายใต#การปกครองของเขา14
- การตักเตือนสำหรับประชาชาติมุสลิม หมายถึง มีความรักใครHและผูกพันในฐานะพี่น#องเพื่อ
(แสวงหาความพึงพอใจจาก) อัลลอฮฺ ให#ความชHวยเหลือซึ่งกันและกัน ให#เกียรติยกยHองผู#ที่อาวุโสกวHา และ
เมตตาเอ็นดูผู#ที่อHอนเยาวDกวHา อดทนตHอความอHอนแอของเขา ปกปxองเขา และเปBนต#นเหตุตHอการเปBนคนดีของเขา
พร#อมกับรักชอบเขาเสมือนกับที่เรารักชอบตัวเอง นั่นแหละ คือความเกี่ยวพันระหวHางสวนสวรรคDกับการศรัทธา
และความเกี่ยวพันระหวHางการศรัทธากับความรู#สึกรักใครHกันในหมูHพวกเขาที่วางอยูHบนพื้นฐานของความศานติ อัน
เปBนกุญแจดอกสำคัญ ดังนั้น จงฟ••นฟูอิสลามให#มีชีวิตชีวา แล#วพวกทHานก็จะรักใครHกัน15

14 คำอธิบาย: บทความที่สาธยายถึงคุณธรรมของการใช3ชีวิตรWวมกันของมุสลิม บนฐานแหWงการตักเตือนกันในความดีงาม และความ


รักใครWซึ่งกันและกัน โดยอธิบาย,จากแนวทางของทWานนบีมูหัมมัด ศาสดาแหWงอิสลาม
15 อิสมาอีลลุตฟ„ จะปากียา ,การตักเตือนและความรักใครWซึ่งกัน ในวิถีชีวิตมุสลิม 2555 ,www. islammore.net,สืบค3นเมื่อ วัน

จันทรT ที1่ 5 กุมพาพันธT2559


37

เป”าประสงคQของการนะศีหะฮฺ (ตักเตือน)

เปxาประสงคDแหHงบทบัญญัติอิสลามในการนะศีหะฮฺนั้นก็คือ เพื่อให#เกิดประโยชนDและผลดีตามที่ศาสนา
ยอมรับแกHผู#ที่เรานะศีหะฮฺ ไมHวHาจะเปBนป\จเจกบุคคล กลุHมญะมาอะฮฺ หรือประเทศชาติ พร#อมกับขยายวงความดีให#
กว#าง และจำกัดกรอบความชั่วร#ายให#แคบลงถึงแม#วHาจะไมHสามารถขจัดมันให#หมดสิ้นไปเลยทีเดียวก็ตาม
นะศีหะฮฺคือหนึ่งในรูปแบบการทำดีตHอบุคคลและฝiายที่เรานะศีหะฮฺ เปBนการแสดงความรักและความ
เปBนหHวงตHอพวกเขา ไมHใชHการทะเลาะเบาะแว#งหรือเปBนศัตรูกัน การทำดีของเราดังกลHาวจะไมHถูกเปลี่ยนแปลงหรือ
เสียหายเพราะการปฏิเสธหรือทHาทีตอบโต#ใดๆ ของฝiายที่เรา นะศีหะฮฺเขาโดยเด็ดขาด เพราะไมHใชHวHาทุกอยHางที่ดี
จะถูกตอบรับโดยดีเสมอไป
สังคมที่อุดมไปด.วยการนะศีหะฮฺ
ด#วยอิสลามเปBนศาสนาแหHงพระผู#เปBนเจ#าแหHงสากลโลก ถูกบัญญัติขึ้นมาเพื่อจรรโลงความสันติสุขของ
มวลมนุษยชาติ เราจะพบวHาในคำสอนแหHงพระผู#เปBนเจ#านั้นมีทางออกแกHป\ญหาตHาง ๆ ทุกด#านของมนุษยD
โดยเฉพาะอยHางยิ่งยามที่มีวิกฤติตHาง ๆ ในสังคม จากวจนะของ ทHานศาสนทูตมุหัมมัด( ) เห็นได#วHาการตักเตือน
กันด#วยความจริงใจคือกระบวนการที่อิสลามได#ตอกย้ำใน ทุกระดับชั้น ไมHใชHเฉพาะระหวHางสามัญชนเทHานั้น แตHยัง
หมายรวมถึงระดับผู#รับผิดชอบในการปกครองและดูแลประชาชนอีกด#วย
อนึ่งอิสลามมองวHาความเลวร#ายที่เกิดขึ้นในสังคมนั้น ไมHวHาจะเกิดขึ้นที่ไหนในโลก หรือที่เกิดขึ้นใน
ประเทศของเราทั้งในสHวนกลางหรือภาคใต# เปBนต#น ล#วนคือบททดสอบหรือการลงโทษจากพระเจ#าที่ครอบคลุม
ประชาชนทั้งหมดโดยไมHเลือก กลุHม ทุกคนล#วนได#รับผลกระทบอยHางเลี่ยงไมHได# อัลลอฮฺ ได#ตรัสความวHา "พวก
ทHานจงหวั่นเกรงตHอความวิบัติที่จะไมHโดนเฉพาะแคHบรรดาผู#อธรรมที่เปBนต#น เหตุในหมูHพวกทHานเทHานั้น (แตHมันจะ
ครอบคลุมคนทั้งหมด) จงทราบเถิดวHา แท#จริงอัลลอฮฺ นั้นทรงลงโทษได#หนักหนHวงยิ่ง”
หากไมHมีการตักเตือนซึ่งกันและกัน ก็ประหนึ่งวHาเราไมHมีป\จจัยแหHงความรอดพ#นเหลืออยูHอีกเลย การ
พร่ำวิงวอนขอพรจากพระผู#เปBนเจ#าก็จะไมHเปBนผลใด ๆ อีกตHอไป ถ#าหากวHาเรามิได#ปฏิบัติหน#าที่ในการตักเตือนดังที่
กลHาวนี้ ทHานนบีมุหัมมัด( ) (ขอความจำเริญและความสันติจงมีแดHทHาน)
ได#สั่งเสียเอาไว# ความวHา "ขอ สาบานด#วยอัลลอฮฺ ผู#ซึ่งชีวิตข#าอยูHในพระหัตถDของพระองคD พวกทHานต#อง
รHวมสั่งเสียในความดี หักห#ามจากความชั่ว หรือ(ถ#าพวกทHานไมHทำเชHนนั้น)เห็นที อัลลอฮฺ จะสHงการลงโทษ
ของพระองคDลงมายัง พวกทHานทั้งหมดครอบคลุม เมื่อนั้น แม#พวกทHานจะวิงวอนขอพรจากพระองคD พระองคDก็จะ
ไมHทรงตอบรับ”16

16 รายงานโดยอัน ตัร มีซีร


38

อิสลามจึงได#เน#นให#มีการตักเตือนซึ่งกันและกัน เพื่อปxองกันความเลวร#ายที่จะเกิดขึ้นและสHงผลกระทบ
ตHอสังคมในภาพรวม ถึงแม#วHาการตักเตือนดังกลHาวจะเปBนเพียงเสียงเล็กๆ ที่ไมHได#กHอให#เกิดการเปลี่ยนแปลงใน
ทันทีทันใดก็ตาม กระนั้น มันก็มีความสำคัญในฐานะตัวตนของเสียงสะท#อนตHอสำนึกความรับผิดชอบ และ
ความหวังที่อยากจะเห็นความดีงามและสันติสุขเกิดขึ้นในหมูHเพื่อนมนุษยD
ในฐานะที่สถาบันศาสนาคือสถาบันหลักแหHงหนึ่งที่มีเกียรติและได#รับการเทิดทูน ด#วยดีในสังคมไทย
ของเรามาโดยตลอด จึงใครHขอเรียกร#องเชิญชวนเหลHาผู#นำศาสนาและตัวแทนศาสนิกชนทุกศาสนา ได#ออกมาให#คำ
ตักเตือนชี้นำด#วยความบริสุทธิ์ใจ โดยรHวมกันน#อมนำหลักคุณธรรมแหHงศาสนาและหลักแหHงความยุติธรรมระหวHาง
มนุษยD เปBนประทีปสHองทางสวHางให#กับวิกฤตของป\ญหาที่เกิดขึ้นในประเทศของเรา ณ เวลานี้ ตามแตHความสามารถ
ที่พึงมีของแตHละคน17

17 อิสมาอีลลุตฟ„ จะปะกียา/ข3อมูลการตักเตือนและความรักใครWซึ่งกัน ในวิถีชีวิตมุสลิม 2555 ,www. islammore.net,สืบค3นเมื่อ


วันจันทรT ที่15 กุมพาพันธT2559
39

ฮัจญQอำลาของทAานนบีมูฮัมมัด ( ) แบบอยAางเนื้อหาการนะศีหะฮฺและวะศิยัต

ฮัจญDเปBนหนึ่งในจำนวนหลักการอิสลามทั้งห#าประการ เปBนหลักการอิสลามข#อเดียวที่ถูกปฎิบัติใน
รูปแบบของหมูHคณะระดับประชาชาติ ในสถานที่เดี่ยวกัน ในเวลาเดี่ยวกัน ในชุดแตHงกายที่คล#ายคลึงกัน ภายใต#การ
นำของผู#นำคนเดียวกัน พร#อมๆ กับสัจจะอันหนึ่งอันเดี่ยวกัน นั่นคือ “ลับบัยกัลลอฮุมมะลับบัยกฺ” อันหมายถึง ฉัน
ได#ตอบรับการเชิญชวนของพระองคDแล#ว โอ#อัลลอฮฺ ฉันได#ตอบรับด#วยความบริสุทธิ์ใจที่เต็มเปX_ยมตHอพระองคDเพียง
คนเดียว พร#อมๆกับความรักที่มีตHอพระองคDจากข#อเท็จจริง ดังกลHาว ผู#ทำฮัจญDทุกคนควรต#องยืดมั่นกับบทบัญญัติ
ของอัลลอฮฺ และสุนนะฮฺหรือแนวทางของทHานเราะซูล ผู#เปBนแบบอยHางที่ดีเลิศในการบำเพ็ญพิธีฮัจญDสำหรับ
ประชาชาติมุสลิมทุกคน ผHานการอธิบายของบรรดานักวิชาการหรืออุละมาอDผู#เปBนที่ยอมรับโดยเฉพาะบรรดาอุ
ละมาอDจากมัซฮับชาฟ‰อียD ด#วยเปxาหมายเพื่อขัดเกลาศรัทธาตHอเอกภาพแหHงอัลลอฮฺ ให#บริสุทธD พร#อมๆกับสถาปนา
ความเปBนหนึ่งเดียวกันของประชาชาติอิสลาม18

เปBนที่ประจักษDชัดแล#ววHาอิสลามนั้นเปBนศาสนาที่มีความสมบูรณDแบบในทุกมิติเพราะอิสลามนั้นมีการ
วางพื้นฐานที่ดีมาจากอัลกรุอานและอัลหะดีษในการดำรงชีวิตของประชาชาติทุกคนทั่วโลกแม#แตHเรื่องของการทำ
ฮัจญDก็ยังเปBนเรื่องที่แสดงให#เห็นถึงการรวมตัวของอิสลามที่ยิ่งใหญHที่สุดในทุกกิจกรรมในอิสลามเปBนการรวมที่
แสดงให#เห็นวHาอิสลามนั้นมีความหนึ่งเดี่ยวกันมีความเปBนพีน#องกันในสถานที่เดี่ยวกันและไมHมีการแบHงแยกระหวHาง
คนกับคนจนเพราะในสถานที่แหHงนั้นทุกคนตHางอยูHในสภาพเดี่ยวคือการแตHงกายชุดที่มีสี่เดี่ยวกันบนความเชื่อมัน
เดี่ยวกันและมีจุดมุHงหมายเดี่ยวกันคือของความโปรดปราบจากพระเจ#าองคDเดี่ยวกันที่มีผู#นำสูงสุดบนโลกนี้คนเดี่ยว
กันการทำฮัจญDในอิสลามไมHใช#แคHวHาเขาผู#นั้นมีเงินเพียงอยHางเดียวก็สามารถไปได#แตHการทำฮัจญDสำหรับอิสลามแล#ว
นั้นการกระทำความดีทุกๆอยHางจะต#องมาด#วยใจที่สะอาดและไมHมุHงหวังเพื่อสิ่งอื่นได#นอกจากเพื่ออัลลอฮฺ ฮัจญDก็
เชHนเดี่ยวกันฮัจญDเปBนหนึ่งในจำนวนหลักการอิสลามทั้งห#าประการ เปBนหลักอิสลามข#อเดียวที่ถูกปฏิบัติในรูปแบบ
ของหมูHคณะระดับประชาชาติ ในสถานที่เดี่ยวกัน ในเวลาเดี่ยวกัน ในชุดแตHงกายที่คล#ายคลึงกัน ภายใต#การนำของ
ผู#นำคนเดียวกัน พร#อมๆ กับสัจจะอันหนึ่งอันเดี่ยวกัน นั่นคือ “ลับบัยกัลลอฮุมมะลับบัยกฺ” อันหมายถึง ฉันได#ตอบ
รับการเชิญชวนของพระองคDแล#ว โอ#อัลลอฮฺ ฉันได#ตอบรับด#วยความบริสุทธิ์ใจที่เต็มเปX_ยมตHอพระองคDเพียงคนเดียว
พร#อมๆกับความรักที่มีตHอพระองคDจากข#อเท็จจริง ดังกลHาว ผู#ทำฮัจญDทุกคนควรต#องยืดมั่นกับบทบัญญัติของ
อัลลอฮฺ และสุนนะฮฺหรือแนวทางของทHานเราะซูล ผู#เปBนแบบอยHางที่ดีเลิศในการบำเพ็ญพิธีฮัจญDสำหรับประชาชาติ
มุสลิมทุกคน ผHานการอธิบายของบรรดานักวิชาการหรืออุละมาอDผู#เปBนที่ยอมรับโดยเฉพาะบรรดาอุละมาอD

18อิสมาอีลลุตฟ„ จะปะกียา หนังสือสารฮัจญTมับรูรฺอุมเราะฮฺและซิยาเราะฮฺ สำนักพิมพTศูนยTอำนวยการบริหารจังหวัดชายแดน


ภาคใต32010 ,หน3า :146
40

จากมัซฮับชาฟ‰อียD ด#วยเปxาหมายเพื่อขัดเกลาศรัทธาตHอเอกภาพแหHงอัลลอฮฺ ให#บริสุทธD พร#อมๆกับสถาปนา


ความเปBนหนึ่งเดียวกันของประชาชาติ

เมื่อเราพูดถึงอิบาดะฮฺหัจ‹ฺDแล#ว เราควรที่จะระลึกถึงหัจญDครั้งแรกในประวัติศาสตรDอิสลามที่มีทHานนบี
เปBนอามิรุลหัจญD หรือผู#นำในการประกอบพิธีหัจญDซึ่งเปBนหัจญDครั้งแรกและครั้งสุดท#ายของทHานนบี ซึ่งเกิดขึ้นในปXที่
สิบของฮิจเราะฮฺศักราช ในการประกอบพิธีหัจญDครั้งนี้ได#มีเศาฮาบะฮฺเข#ารHวมประกอบพิธีหัจญDกับทHานนบีประมาณ
สี่หมื่นคนบางทัศนะระบุวHาหนึ่งแสนกวHาคน และในบรรดาผู#ที่เข#ารHวมนี้ หลายตHอหลายคนเคยตHอต#านและเคยปฎิ
เสธทHานนบี แตH ณ วันนี้ วินาทีนี้ทุกคนตHางยอมรับ และศรัทธาตHอทHานนบี อยHางจริงใจและภาคภูมิใจ บรรดาอุลา
มาอDได#เรียกหัจญDครั้งนี้วHา ‫ اﻟوداع ﺣﺟﺔ‬หรือ หัจญDอำลาเนื่องจากวHา ในการประกอบพิธีหัจญDครั้งนี้ ทHานนบีได#สั่ง
เสียอะไรหลายๆอยHางใน

คุฎบะฮฺอันทรงคุณคHาของทHาน ที่เปBนประโยชนDตHอประชาชาติอิสลาม ซึ่งรวมทั้งที่เข#ารHวมกับทHานใน


ขณะนั้นตลอดจนประชาชาติของทHานในป\จจุบันนี้ด#วย และหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจหัจญันั้นไมHนาน ทHานนบี ก็กลับ
ไปสูHความเมตตาของอัลลอฮฺ และพระองคDก็ได#ทรงการันตีและทรงยอมรับในความสมบูรณDแบบของอัลอิสลาม19
ดังที่พระองคDได#ตรัสวHา

ْ ‫ت ﻟَﻛُُم ا ْ ِﻹ‬
﴾ ‫ﺳَﻼَم ِدﯾﻧًﺎ‬ ُ ‫ﻋﻠَْﯾﻛُْم ﻧِْﻌَﻣﺗِﻲ َوَرِﺿﯾ‬ ُ ‫ت ﻟَﻛُْم ِدﯾﻧَﻛُْم َوأَﺗَْﻣْﻣ‬
َ ‫ت‬ ُ ‫اْﻟﯾَْوَم أَْﻛَﻣْﻠ‬ ﴿

ความวHา : วันนี้เราได#ให#ความสมบูรณDแกHพวกเจ#าแล#วซึ่งศาสนาของพวกเจ#าและเราได#ให#
ครบถ#วนแล#วแกHพวกเจ#าซึ่งความกรุณา และเมตตาของเรา แกHพวกเจ#า และเราได#ยอมรับแล#ว
วHาอิสลามเปBนศาสนาสำหรับพวกเจ#า20

และมีนักวิชาการหลายทHานมีความเห็นตรงกันวHา ทHานนบีประกอบพิธีฮัจญDเพียงครั้งเดียวเทHานั้น ซึ่ง


เปBนที่รู#จักกันวHาหัจญะตุลวะดาอฺ(ฮัจญDอำลา)หัจญะตุลบะลาฆ(ฮัจญDเผยแผH)และหัจญะตุลอิสลาม(ฮัจญDในอิสลาม)
เชHนเดี่ยวกับที่นักวิชาการมีความเห็นพ#องกันวHา ฮัจญDวะดาอฺนั้นมีขึ้นในปX ฮ.ศ.1021

1. ความตั้งใจและป•าวประกาศ

19 อัสมัน อับดุรรอชีด แตอาลี : บทเรียนจากคุฏบะฮฺในหัจญTอำลาของทWานนบี


20 ซุเราะฮ อัลมาอิดะฮ :3
21 แหลWงเดิม :(แปล) ความหมายหะดีษซึ่งบันทึกโดยอัลบุคอรียT 2/166 และมุสลิม :1218
41

เมื่อทHานนบีตั้งใจที่จะประกอบพิธีฮัจญD ทHานก็ปiาวประกาศให#ประชาชนไดรับรู#วHาทHานตั้งใจจะเดินทาง
ไปทำฮัจญDที่นครมักกะฮฺผู#คนไมHวHาอยูHใกล#หรือไกลจึงตHางพากันเตรียมพร#อมแล#วไปรวมตัวกันที่มะดีนะฮฺ เพราะทุก
คนตHางอยากจะเดินทางไปประกอบพิธฮี ัจญDกับทHานนบีและประสงคDที่จะปฎิบัติตามรูปแบบการทำฮัจญDของทHาน

"กลHาวปราศรัยแล#วเดินทางออกจากมะดีนะฮฺ” แล#วทHานนบีก็กลHาวปราศรัยตHอหน#าประชาชนโดย
กลHาวถึงบทบัญญัติของการครองอิหฺรอมและขั้นตอนการประกอบพิธีฮัจญDและอุมเราะฮฺหลังจากนั้นทHานนบีพร#อม
คณะได#เดินทางออกจากนครมะดีนะฮฺหลังละหมาดซุฮรฺของวันพฤหัสบดี หรือวันเสารDที่24หรือ25ซุลเกาะดะฮฺ ฮ.
ศ.1022

2. คำสั่งเสียของทAานนบี ( )

ทHานเราะซูลได#ทำการปราศรัยขณะทำฮัจญDอำลาหลายครั้งด#วยกันบางครั้งทHานปราศรัยระหวHางทาง
บางครั้งใกล#เมืองมักกะฮDสำหรับคำสั่งเสียครั้งสุดท#ายของทHานนบีหรือที่นักวิชาการอิสลามเรียกวHาอัลวะศอยา
อันนะบะวียะฮฺ (‫ )اﻟوﺻﺎﯾﺎاﻟﻧﺑوﯾﺔ‬ของทHานถือเปBนคำสั่งเสียที่สำคัญยิ่งสำหรับประชาชาติอิสลามทุกยุคทุกสมัยที่
พวกเราทุกคนต#องตระหนักและให#ความสำคัญนำมาคิดไตรHตรองและนำมาปฏิบัติในการดำรงชีวิตซึ่งมีเนื้อหา
มากมายทั้งที่เกี่ยวกับอะกีดะฮฺ(หลักความเชื่อ) สังคมเศรษฐกิจและสิทธิตHางๆทางกฎหมายอันเปBนบทเรียนดังนี้23

ประการที1่ . ทHานนบีมุหัมมัดเริ่มต#นด#วยประโยคที่บHงบอกถึงเปBนการสั่งเสียครั้งสุดท#ายของทHานทHานนบีได#กลHาววHา

َ َ‫ﻲ ﻻَ أَْﻟَﻘﺎﻛُْم ﺑَْﻌد‬


‫ﻋﺎﻣﻲ‬ ّ ‫ ﻟَﻌﻠ‬،‫ﻲ ﻻَ أَْدِري‬
َ ّ‫ َﻓﺈﻧ‬،‫ﺳَﻣﻌ ُوا ﻣﻧّﻲ أ ُﺑّﯾْن ﻟَﻛُْم‬
ْ ‫ ا‬،‫)) أﯾَّﮭﺎ اﻟﻧّﺎس‬
((‫ ﻓﻲ َﻣْوِﻗﻔﻲ ھذ‬،‫َھذَا‬

ความวAา:โอ.มนุษยQทั้งหลาย จงสดับรับฟTงคำสั่งเสียจากฉันเถิด ฉันจะแจ.งให.พวกทAาน


ทั้งหลายได.รับทราบเพราะฉันเองก็ไมAรู.วAา บางทีฉันอาจจะไมAมีโอกาสพบกับพวกทAาน
หลังจากป—นี้ในสถานที่แหAงนี้อีก

22 ความหมายหะดีษซึ่งบันทึกโดยมุสลิม 1218และดูซาดุลมะอาด 2 /101


23.อัดุลลอฮฺ อิบนุ อับดิรเราะฮTมาน อัลค็อรอาน
42

ประการที่2. ทHานนบีมูหัมมัด( ) ก็ได#ประกาศในวันนั้นถึงสิทธิของมุสลิมที่เกี่ยวกับชีวิต ทรัพยDสิน และเกียรติ


ศักดิ์ศรี ซึ่งเปBนสิ่งที่ต#องได#รับการคุ#มครองและเปBนที่ต#องห#ามผู#ใดก็ตามก็ไมHสามารถที่จะละเมิดได#ทHานนบีได#กลHาว
วHา

“โอ.มนุษยQทั้งหลายแท.จริงชีวิต ทรัพยQสิน และเกียรติของพวกทAานเป„นที่ต.องห.ามตราบ


จนถึงวันที่พวกทAานจะพบกับอัลลอฮฺ (ในวันอาคีเราะฮฺ) เฉกเชAนเดียวกัน วันนี้ เดือนนี้
และเมืองนี้ก็เป„นที่ต.องห.ามโอ.อัลลอฮฺได.โปรดเป„นพยานด.วย ฉันได.แจ.งให.พวกเขารู.แล.ว
และผู.ใดก็ตามที่ได.รับอะมานะฮฺเพื่อมอบคืนทรัพยQสิน ก็จงสAงมอบคืนให.แกAเจ.าของ(ผู.ที่
มอบอะมานะฮฺ)ด.วย”

ประโยคนี้เราสามารถเข#าใจได#วHาเลือดหรือชีวิตของมุสลิมทุกคนนั้นมีคHามหาศาลยิ่งนักบุคคลอื่นหรือ
ใครก็ตามจะมาทำลายไมHได#เปBนอันขาดทั้งนี้ก็เพื่อเปBนหลักประกันความปลอดภัยในชีวิตให#ทุกคนได#ใช#ชีวิตอยHาง
สงบสุขในสังคมอิสลามได#กำหนดมาตรการและบทบัญญัติตHางๆเพื่อคุ#มครองชีวิตดังที่อัลลอฮฺ ได#ตรัสวHา

﴾ ‫﴿ و ﻻ ﺗﻘﺗﻠوا أﻧﻔﺳﻛم إن ﷲ ﻛﺎن ﺑﻛم رﺣﯾﻣﺎ‬

ความวAา : และพวกเจ.าทั้งหลายจงอยAาฆAาตัวของพวกเจ.าเองแท.จริงอัลลอฮฺเป„นผู.ทรง
เมตตาตAอพวกเจ.าเสมอ24 อัลลอฮฺตรัสอีกวHา

﴾‫﴿ و ﻻ ﺗﻘﺗﻠوا اﻟﻧﻔس اﻟﺗﻲ ﺣرم ﷲ إﻻ ﺑﺎﻟﺣق‬

ความวAา : และพวกเจ.าทั้งหลายอยAาฆAาชีวิตผู.อื่นที่อัลลอฮฺทรงห.ามไว.นอกจากด.วยสิทธิอัน
ชอบธรรมเทAานั้น 25

และผู#ที่ฝiาฝ•นบทบัญญัตินี้อิสลามก็กำหนดให#มีการลงโทษทางอาญาโดยผHานกระบวนการศาลดังที่อัลลอฮฺ ได#ตรัส
วHา

ِ ‫ص َﺣﯾَﺎة ٌ ﯾَﺎ أ ُْوِﻟﻲ اﻷ َْﻟﺑَﺎ‬


﴾ ‫ب ﻟََﻌﻠﱠﻛُْم ﺗَﺗ ﱠﻘ ُوَن‬ َ ‫﴿ َوﻟَﻛُْم ِﻓﻲ اْﻟِﻘ‬
ِ ‫ﺻﺎ‬

24 ซุเราะฮอันนิซา: 29
25 ซุเราะฮอัลอันอาม :151
43

ความวAา : และการประหารชีวิตฆาตกรนั้นคือการรักษาและคุ.มครองชีวิตพวกเจ.าโอ.ผู.มี
สติปTญญาทั้งหลายเพื่อวAาพวกเจ.าจะได.ยำเกรง26

นี่คือกฎหมายจากพระผู#เปBนเจ#าอันมีเปxาหมายเพื่อแก#ป\ญหาสังคมโลกจึงจำเปBนที่จะต#องมีการบังคับใช#
หากไมHแล#วก็จะมีการใช#ศาลเตี้ยล#างแค#นกันแก#แค#นกันไมHจบไมHสิ้นเกิดความโกลาหลและวุHนวายขึ้นในบ#านในเมือง
ดังนั้นกHอนที่จะใช#อารมณDชั่ววูบจงคิดไตรHตรองให#ดีถึงผลที่จะตามมาและจงให#ความเมตตาซึ่งกันและกันตามที
ทHานนบีได#กลHาววHา

«‫»َﻣْن َﻻ ﯾَْرَﺣُم َﻻ ﯾ ُْرَﺣُم‬

ความวAา ผู.ใดก็ตามที่ไมAมีความเมตตาเขาก็จะไมAได.รับความเมตตา27

สำหรับการคุ#มครองทรัพยDสินนั้นอิสลามได#กำหนดบทบัญญัติห#ามการลักขโมยและมีบทลงโทษทาง
อาญาด#วยการตัดมือซึ่งก็จะต#องดำเนินตามขั้นตอนของศาลและเงื่อนไขตHางๆของกฎหมายนอกจากบทลงโทษแล#ว
อิสลามยังมอบสิทธิให#แกHเจ#าของทรัพยDสินในการปกปxองทรัพยDสินของตนเองที่ได#ตรากตรำลำบากจากการทำงาน
กวHาจะได#มาถึงแม#จะต#องแลกด#วยชีวิตก็ตามสิ่งตHางๆที่กลHาวมานั้นล#วนแล#วเพื่อให#สังคมมีแตHความสงบสุขทั้งสิ้น

สำหรับการคุ#มครองเกียรติและศักดิ์ศรีนั้นอิสลามก็ได#กำหนดมาตรการและบทลงโทษตHอผู#ที่ใสHร#ายปxายสีผู#อื่นด#วย
การโบยแปดสิบครั้งเพราะถือวHาการใสHร#ายปxายสีผู#อื่นมีเจตนาที่จะทำลายเกียรติและศักดิ์ศรีอันมีผลทำให#ผู#ที่ถูกใสH
ร#ายใช#ชีวิตในสังคมอยHางไมHปกติสุขทHานนบีได#กำชับเรื่องนี้วHา

ْ ‫ﺳِﻠَم اْﻟُﻣ‬
َ ‫ﺳِﻠُﻣوَن ِﻣْن ِﻟ‬
(( ‫ﺳﺎﻧِِﮫ َوﯾَِدِه‬ ْ ‫)) اْﻟُﻣ‬
َ ‫ﺳِﻠُم َﻣْن‬

ความวAา: มุสลิมคือผู.ที่ทำให.บรรดามุสลิมได.รับความปลอดภัยจากลิ้น(คำพูด)และมือ(การ
กระทำ)ของเขา28

26 ซุเราะฮอัลบะเกาะเราะฮ :179
27รายงานโดยบุคอรียT : 5538
28 รายงานโดยบุคอรียT
44

ประการที่3. ทHานนบีมูหัมมัด( ) ยังได#ประกาศในวันนั้นถึงการเอารัดเอาเปรียบและการมีดอกเบี้ยมาก


เกี่ยวข#องในการซื้อขายนั้นเปBนสิ่งต#องห#ามคือประโยคที่วHา

(( ‫س أﻣواﻟﻛم ﻻ ﺗَظِﻠﻣون وﻻ ﺗ ُظﻠَﻣون‬


ُ ‫)) وإّن ﻛﱠل رﺑﺎ ﻣوﺿوعٌ وﻟﻛن ﻟﻛم رؤو‬

ความวAา: และแท.จริงดอกเบี้ยทุกชนิดทุกประเภทได.ถูกยกเลิกไปแล.วแตAที่คงไว.ก็คือต.นทุนที่
พวกทAานสามารถแบAงปTนกำไรให.กันได.ดังนั้นพวกทAานจงอยAาทำให.มีการเอารัดเอาเปรียบใน
หมูAพวกทAาน

จากประโยคนี้จะเห็นได#วHาทHานนบีมูหัมมัด( ) ได#ห#ามระบบดอกเบี้ยทุกประเภทและกิจการทาง
ธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวข#องกับดอกเบี้ยสภาพเศรษฐกิจในป\จจุบันที่ตกต่ำก็เพราะไมHได#ปฏิบัติตามหลักการอิสลาม
อันนี้การกำหนดให#มีดอกเบี้ยเปBนต#นเหตุที่ทำให#ผู#ประกอบการหลายคนต#องล#มละลายติดหนี้ติดสินหมดเนื้อหมดตัว
เจ#าหนี้ตามลHาลูกหนี้บางคนถูกฆHาบางคนก็ฆHาตัวตายเพราะไมHมีป\ญญาชำระหนี้ได#ระบบดอกเบี้ยที่เปBนตัวทำลาย
เศรษฐกิจอยHางเห็นได#ชัด

และนี้คืออีกหนึ่งเรื่องที่เปBนป\ญหาในยุคสมัยตอนนี้ที่ทำให#ผู#ไมHสามารถที่ลืมตาอ#าปากได#เลยเพราะเข#า
ไปยุHงเกี่ยวกับระบบดอกเบี้ย แตHสำหรับอิสลามแล#วเปBนเรื่องที่ดีที่ทHานนบีได#กลHาวกำชับเกี่ยวกับเรื่องนี้มาตลอดจึง
ทำให#ระบบการเงินของอิสลามนัน้ ไมHพบป\ญหาตHางๆทีเ่ ปBนผลมาจากคำกลHาวของทHานนบีในฮัจยDครัง้ นัน้ เพือ่ เปBนการ
สร#างสังคมที่ดีมีระเบียนในวันนี้ในฐานะที่อิสลามคือคำตอบสุดท#ายของพระเจ#าที่ถูกประทานเพื่อจัดระเบียบสังคม
มนุษยD อิสลามได#วางกำหนดกฎระเบียบการปฏิบัติบางอยHางเกี่ยวกับการชHวยเหลือเกื้อกูลสังคมเพิ่มมาอีกอยHางหนึ่ง
นอกเหนือไปจากการบริจาคทานตามความสมัครใจนั้นคือ การจHายซะกาตการจHายซะกาตจึงเปBนการขัดเกลาจิตใจ
ของผู # ที ่ มี ทรั พยD สิ นให# สะอาดจดจากความตระหนี ่ ซึ ่ งเปB นมลทิ นเกาะติ ดจิ ตใจให# สกปรกและหยาบกระด# าง
ขณะเดียวกันเปBนการซักฟอกทรัพยDสินที่หามาได#ให#สะอาดบริสุทธิ์ด#วย

ประการที4่ . ทHานนบีมูหัมมัด( ) ได#กำชับให#มุสลิมหHางไกลจากการตกเปBนทาสของชัยฏอนมารร#าย ทHานนบีได#


กลHาววHา

‫ وﻟﻛﻧﮫ ﻗد رﺿﻲ أن‬،‫)) أﯾﮭﺎ اﻟﻧﺎس إن اﻟﺷﯾطﺎن ﻗد ﯾﺋس أن ﯾ ُْﻌﺑد ﻓﻲ أرﺿﻛم ھذه‬
(( ‫ ﻓﺎﺣذروه ﻋﻠﻰ دﯾﻧﻛم‬،‫ﯾ ٌطﺎع ﻓﯾﻣﺎ ﺳوى ذﻟك ﻣﻣﺎ ﻣﻣﺎ ﺗَﺣِﻘرون ﻣن أﻋﻣﺎﻟﻛم‬
45

ความวAา: ทAานทั้งหลายแท.จริงชัยฏอนมารร.ายนั้นหมดหวังแล.วกับการที่จะได.รับการบูชาใน
โลกนี้แตAมันก็ไมAหมดหวังที่จะได.รับการเชื่อฟTงที่นอกเหนือจากนั้นหรือมันยังมีความหวังที่จะ
เป„นผู.มีอำนาจครอบงำพวกทAานทำให.พวกทAานดูถูกดูแคลนและไมAให.ความสำคัญในการงาน
หรืออามัลที่ดีทั้งหลายหรือรู.สึกวAามันเป„นสิ่งไร.คAา ดังนั้นทAานทั้งหลายจงดูแลรักษาและ
คุ.มครองศาสนาของพวกทAานให.ดี

จากประโยคนี้ ทำให#เราเข#าใจได#วHาชัยฏอนมารร#ายคือศัตรูตัวฉกาจของเรา และมันรู#ตัวเองดีวHามันไมH


สามารถทำให#มุสลิมบูชามันได# แตHมันก็มีความมั่นใจวHาจะสามารถยั่วยุ ลHอลวง และครอบงำให#มุสลิมไขว#เขวได#ทำ
ให#มุสิลมบางคนเดินตามการชักนำของมัน และในที่สุดก็ตกเปBนทาสเปBนสมุนของมันดังนั้นเราจะต#องระมัดระวังตัว
จากการลHอลวงของชัยฏอนที่เปBนญินและมนุษยDอัลลอฮฺได#ทรงห#ามมิให#เราตกเปBนเครื่องมือของพวกมันพระองคD
ตรัสวHา

‫ إِﻧﱠَﻣﺎ ﯾَﺄ ُْﻣُرﻛُْم ﺑِﺎﻟ ﱡ‬، ‫ﻋد ُﱞو ُﻣﺑِﯾٌن‬


‫ﺳوِء‬ َ ‫ﺷْﯾَطﺎِن إِﻧﱠﮫُ ﻟَﻛُْم‬
‫ت اﻟ ﱠ‬ ِ ‫﴿ َوﻻ ﺗَﺗ ﱠﺑِﻌ ُوا ُﺧطَُوا‬
﴾‫[ َﻣﺎ ﻻ ﺗَْﻌﻠَُﻣوَن‬ ِ ‫ﻋﻠَﻰ ا ﱠ‬َ ‫ﺷﺎِء َوأَْن ﺗَﻘ ُوﻟ ُوا‬َ ‫َواْﻟَﻔْﺣ‬

ความวAา: พวกเจ.าทั้งหลายจงอยAาเดินตามแนวทางของชัยฏอนแท.จริงมันคือศัตรูของพวกเจ.า
ที่ชัดแจ.งที่จริงมันเพียงแตAจะใช.พวกเจ.าให.กระทำสิ่งชั่วและสิ่งลามกเทAานั้นและจะใช.พวกเจ.า
กลAาวความเท็จให.แกAอัลลอฮฺในสิ่งที่พวกเจ.าไมAรู.29

ประการที5่ . ทHานนบีมูหัมมัด( ) ยังได#ประกาศในวันนั้นในเรื่องของสิทธิของสามีภรรยาและสิทธิของสตรีทั่วไป

จากประโยคข#างต#นทHานนบีได#กำชับพวกเราในเรื่องหน#าที่หรือบทบาทของสถาบันครอบครัวที่ประกอบไป
ด#วยผู#ที่เปBนหัวหน#าครอบครัวนั้นคือสามีและสมาชิกในครอบครัวนั่นคือภรรยาและลูกๆซึ่งแตHละคนจะมีสิทธิที่พึงจะ
ได#รับและหน#าที่ที่จะต#องสนองตอบโดยเฉพาะผู#ที่ทำหน#าที่เปBนหัวหน#าครอบครัวจะต#องมอบสิทธิให#แกHภรรยาใน
ฐานะสามีและให#แกHลูกๆในฐานะผู#เปBนพHอตHางคนตHางต#องเข#าใจในสิทธิและหน#าที่ซึ่งกันและกันสังคมป\จจุบันที่เสื่อม
ทรามและเหลวแหลกก็เพราะเกิดจากสถาบันครอบครัวที่อHอนแอและขาดความเข#าใจในเรื่องสิทธิและหน#าที่ของ
สมาชิกในครอบครัวทำให#เกิดป\ญหาตHางๆตามมาภรรยาขาดความรักความเข#าใจจากสามีหนีไปมีชู#ลูกๆขาดความรัก
ความอบอุHนจากพHอแมHหนีไปติดยาเสพติดไปมั่วสุมทางเพศบางคนถึงขนาดตั้งครรภDโดยไมHรู#วHาใครเปBนพHอของเด็ก
จำเปBนจะต#องทำแท#งหรือไมHก็ทิ้งเด็กตามถังขยะข#างๆถนนบHอยครั้งที่เราพบเหตุการณDเหลHานี้ดังนั้นไมHมีทางแก#ที่ดี

29 ซุเราะฮ อัลบาเกาะเราะฮ :168-169


46

ที่สุดนอกจากจะต#องกลับมาพิจารณาและทบทวนบทบาทของสถาบันครอบครัวที่ตนเองรับผิดชอบวHาสมาชิกทุกคน
ปฏิบัติตนอยูHในหลักการของอิสลามหรือไมH
สำหรับสตรีทั่วไปอาจกลHาวได#วHาในอดีตหมายถึงในสมัยญาฮีลียะฮฺผู#หญิงถูกทอดทิ้งจากสังคมเปBนคนที่ไร#
คHาไมHมีสิทธิใดๆเลยที่จะได#รับดังที่ผู#ชายได#รับแตHหลังจากที่อิสลามได#มาถึงทุกสิ่งทุกอยHางก็มีการเปลี่ยนแปลงอยHาง
สิ้นเชิงผู#หญิงได#รับการดูแลและคุ#มครองในเรื่องสิทธิตHางๆทัดเทียมกับผู#ชายตั้งแตHสิทธิขั้นพื้นฐานของความเปBน
มนุษยDตลอดจนการตอบแทนที่จะได#รับทั้งโลกนี้และโลกหน#าอัลลอฮฺได#ตรัสวHา

‫ﺻﺎِﻟًﺣﺎ ِﻣْن ذََﻛٍر أَْو أ ُْﻧﺛَﻰ َوھَُو ُﻣْؤِﻣٌن َﻓﺄ ُْوﻟَﺋَِك ﯾَْدُﺧﻠ ُوَن‬
َ ‫ﻋِﻣَل‬ َ ‫﴿ َوَﻣْن‬
﴾‫ب‬ٍ ‫ﺳﺎ‬َ ‫اْﻟَﺟﻧﱠَﺔ ﯾ ُْرَزﻗ ُوَن ِﻓﯾَﮭﺎ ﺑَِﻐْﯾِر ِﺣ‬

ความวAา: และผู.ใดกระทำความดีจากเพศชายและเพศหญิงก็ตามและเขาเป„นผู.ศรัทธาด.วย
ชนเหลAานั้นแหละจะได.เข.าสวนสวรรคQจะได.รับปTจจัยยังชีพในนั้นโดยไมAอาจที่จะคำนวณ
ได.30
และนั้นและคือสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากอิสลามเข#ามาสังคมนั้นๆคำกลHาวของทHานนบีไมHได#เพียงแตHมีผลแคH
วันนั้นเทHานั้นแตHมันยังสHงผลมายังสังคมทุกยุคทุกสมัยและยังคงเปBนสิ่งที่จะทำให#มนุษยDนั้นได#รับแตHสิ่งดีหากเขา
เหลHานั้นได#ปฏิบัติตามในแนวทางที่มีพื้นฐานมาจากอัลกรุอานและหะดีษฮฺของทHานนบี การสร#างสังคมของทHานนบี
นั้นมิได#สร#างขึ้นเพื่อสิ่งหนึ่งใดเทHานั้นแตHเปBนการสร#างที่ยิ่งใหญHที่สุดแกHประชาชาติของทHานนั้นเอง

ประการที่6. ทHานนบีมูหัมมัด ( ) ได#กำชับให#ยึดมั่นในความเปBนพี่น#องกันเปBนน้ำหนึ่งใจเดียวกันรักใครH


ปรองดองกัน

จากประโยคนี้ถือวHาเปBนคำสั่งเสียที่ทHานนบีมีความหHวงใยตHอประชาชาติของทHานเกรงวHาจะเกิดการ
แตกแยกและทะเลาะเบาะแว#งกันหรืออาจถึงขั้นเปBนศัตรูตHอกันดังนั้นทHานนบีจึงย้ำเตือนซึ่งสอดคล#องกับหลายๆหะ
ดีษกHอนหน#านี้ทHานนบีได#กลHาววHา

ِ ‫ب ِﻟﻧَْﻔ‬
(( ‫ﺳِﮫ‬ ‫)) َﻻ ﯾ ُْؤِﻣُن أََﺣد ُﻛُْم َﺣﺗ ﱠﻰ ﯾ ُِﺣ ﱠ‬
‫ب ِﻷ َِﺧﯾِﮫ َﻣﺎ ﯾ ُِﺣ ﱡ‬

30 ซุเราะฮฆอฟ…ร :40
47

ความวAา: ความศรัทธา(อีมาน)ของคนใดคนหนึ่งในหมูAพวกทAานจะยังไมAสมบูรณQจนกวAาเขา
จะรักพี่น.องของเขาเหมือนกับที่เขารักตัวของเขาเอง31

และในหะดีษอีกบทหนึ่ง ทHานนบีได#กลHาววHา

(( ‫[ إِْﺧَواﻧًﺎ‬
ِ ‫ﺳد ُوا َوَﻻ ﺗَدَاﺑَُروا َوﻛُوﻧ ُوا ِﻋﺑَﺎدَ ا ﱠ‬
َ ‫ﺿوا َوَﻻ ﺗََﺣﺎ‬ َ ‫)) َﻻ ﺗَﺑَﺎ‬
ُ ‫ﻏ‬

ความวAา: พวกทAานทั้งหลายจงอยAาโกรธเคืองกันอยAาเกลียดชังกันอยAาอิจฉาริษยากันและ
อยAาทะเลาะกันแตAขอให.พวกทAานจงเป„นพี่น.องกัน32

ประการที่7. ทHานนบีมูหัมมัด( ) ได#สั่งเสียให#มุสลิมยึดหลักการศาสนาจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺของทHาน


เพราะทHานได#ยืนยันวHาประชาชาติของทHานจะไมHหลงทางอยHางแนHนอนถ#าตราบใดยังยึดมั่นกับอัลกุรอานและซุนนะฮฺ
ของทHาน

จากคำสั่งเสียนี้จะเห็นได#วHาทHานนบีไมHได#ทิ้งไว#ให#แกHพวกเราซึ่งทรัพยDสมบัติหรือเงินทองแตHทHานนบีได#ทิ้ง
ไว#ให#แกHพวกเราซึ่งสิ่งที่มีคHาและความหมายยิ่งนักนั่นคืออัลกุรอานและซุนนะฮฺของทHาน แนHนนอนที่สุดวHาสิ่งที่
สำคัญของมุสลิมนั้นคือของสองอยHางที่ทHานนบีนั้นได#ทิ้งไว#ซึ่งไมHใชHทรัพยDสมบัติหรือเงินทองแตHมันปBนสิ่งที่สำคัญกวHา
นั้นหลายเทHานักนั้นก็คืออัลกรุอานและซุนนะฮฺของทHานแตHสำหรับคนบางกลุHมในสังคมป\จจุบันตHางให#ความสำคัญ
อยHางอื่นมากกวHานั้นคือทรัพยDสมบัติชื่อเสียงวงตระกูลเลยทำให#อะไรๆหลายที่เคยดีกลับกลายเปBนสิ่งที่ไมHดีเหมือน
ดังสังคมป\จจุบัน

ประการที่8. ทHานนบีมูหัมมัด( ) ได#กำชับและสนับสนุนในเรื่องความเสมอภาคและความเทHาเทียมกัน แม#วHาจะ


มีความแตกตHางทางด#านเชื้อชาติ ภาษา และสีผิวก็ตามไมHมีใครเหนือวHาหรือประเสริฐกวHาเว#นแตHด#วยการตักวา
เทHานั้น

จากคำสั่งเสียประการนี้จะเห็นได#ชัดวHาทHานนบีนั้นได#สนับสนุนให#มนุษยDนั้นมีความเสมอภาคและความ
เทHาเทียมกันในทุกเรื่องอิสลามไมHไดวัดความคนที่เขามีทุกอยHางอิสลามไมHได#วัดกันที่เชื้อชาติภาษา หรือแม#แตHสีผิว
เพราะอิสลามนั้นรู#วHาทุกคนนั้นมาจาก บิดาสูงสุดก็คนเดียวกันพวกทHานทุกคนมาจากอาดัม และอาดัมก็มาจากดิน

31 รายงานโดยบุคอรียT :12
32 รายงานโดยบุคอรียT :1411
48

ผู#ที่มีเกียรติยิ่งเพราะฉะนั้นแล#วอิสลามดู ณ อัลลอฮฺ คือผู#ที่ตักวาที่สุดและใชHวHาคนอาหรับจะดีเหนือกวHาคนที่ไมHใชH


อาหรับ เว#นแตHด#วยการตักวาเทHานั้นเชHนเดี่ยวกัน

ประการที่9. ทHานนบีมูหัมมัด ได#สั่งเสียในเรื่องสิทธิของทายาทที่จะต#องได#รับจากการแบHงมรดกและการคุ#มครอง


สายตระกูล

“ที่วAาโอ.มนุษยQทั้งหลายแท.จริงอัลลอฮฺ ได.กำหนดสAวนแบAงของทายาทแตAละคนจากกอง
มรดกอยAางชัดเจนแล.ว จึงไมAอนุญาตให.ทายาทได.รับวะศียัตหรือพินัยกรรมอีก และวะศียัต
หรือพินัยกรรมก็จะต.องไมAเกินหนึ่งในสามจากกองมรดกทั้งหมด และลูกที่เกิดนอกสมรสนั้น
เป„นสิทธิของผู.เป„นแมAไมAอาจสืบทอดจากผู.เป„นพAอได. และผู.ใดที่อ.างตนเป„นลูกของผู.ที่ไมAใชA
พAอของตนหรือยอมรับผู.ที่ไมAใชAลูกของตนวAาเป„นลูกนั้นบุคคลดังกลAาวนี้จะถูกสาปแชAง
จากอัลลอฮฺบรรดามะลาอิกะฮฺและมนุษยQทั้งหลาย”
49

คำสั่งเสียประการสุดท.ายของทAานนบีมูหัมมัด( )

ที่สรุปนี้ถือวAาสำคัญมากๆซึ่งมีรายละเอียดสองสามข.อดังนี้

ข.อแรก ความสำคัญในการแบHงกองมรดกให#เปBนไปตามกฎหมายอิสลาม เนื่องจากป\ญหาที่เกิดขึ้นในการแยHงชิง


มรดก ก็มาจากการแบHงที่ไมHเปBนธรรม ดังนั้นจึงจำเปBนที่จะต#องนำบทบัญญัติของอัลลอฮฺมาบังคับใช# และพระองคD
ได#ทรงแจ#งขHาวดีสำหรับผู#ที่ปฏิบัติตามและยังทรงแจ#งขHาวร#ายสำหรับผู#ที่ละเมิดหรือไมHปฏิบัติตามบทบัญญัตินี้ถึง
บทลงโทษที่จะได#รับ

ข.อที่สอง มาตรการในคุ#มครองสายตระกูล ซึ่งตามหลักการอิสลามแล#วลูกๆทุกคนที่เกิดมาจากพHอแมHที่แตHงงาน


ถูกต#องตามบทบัญญัตินั้น จะสืบทอดสายตระกูลจากผู#เปBนพHอโดยชอบธรรม แตHสำหรับลูกนอกสมรสหรือลูกซินา
นั้น ไมHอาจสืบทอดจากผู#เปBนพHอได#แตHจะสืบทอดจากผู#เปBนแมHแทน อันจะมีผลกระทบตHอสิทธิอื่นๆตามมาอีก
มากมาย ซึ่งเปBนสิ่งที่อิสลามไมHอยากให#เกิดขึ้น จึงได#วางมาตรการห#ามการผิดประเวณีหรือซินา อีกทั้งได#กำหนด
บทลงโทษสำหรับผู#ที่ฝiาฝ•นด#วย เพราะการผิดประเวณีหรือซินานี้แหละที่เปBนตัวทำลายสายตระกูล ในขณะที่
อิสลามได#กำหนดเปxาประสงคDไว#ห#าประการหนึ่งในนั้นคือการคุ#มครองสายตระกูลด#วยการแตHงงานที่ถูกต#องตาม
บทบัญญัติ

ข.อที่สาม ไมHอนุญาตให#มีการรับผู#อื่นเปBนลูกบุญธรรมอันมีฐานะเหมือนลูกจริง การที่อิสลามมีทัศนะเชHนนี้ถือวHา


เปBนไปตามกฎธรรมชาติของมนุษยD นั่นคือการกระทำของมนุษยDไมHอาจเปลี่ยนแปลงข#อเท็จจริงทางธรรมชาติได#
อัลลอฮฺ ได#ตรัสในเรื่องนี้วHา

‫﴿ َوَﻣﺎ َﺟَﻌَل أَْدِﻋﯾَﺎَءﻛُْم أَْﺑﻧَﺎَءﻛُْم ذَِﻟﻛُْم َﻗْوﻟ ُﻛُْم ﺑِﺄ َْﻓَواِھﻛُْم َواﱠ[ُ ﯾَﻘ ُوُل اْﻟَﺣ ﱠ‬
‫ق َوھَُو ﯾَْﮭِدي‬

﴾‫ﺳﺑِﯾَل‬
‫اﻟ ﱠ‬
ความวAา: และพระองคQไมAทรงบัญญัติให.ลูกบุญธรรมของพวกเจ.าเป„นลูกที่แท.จริงของพวกเจ.า (สิ่งที่พวกเจ.า
เรียกขานวAาลูก)นั้นเป„นเพียงคำพูดจากปากของพวกเจ.าเองและอัลลอฮฺจะดำรัสแตAเรื่องสัจจริงเทAานั้นและ
พระองคQจะทรงชี้นำแนวทางอันเที่ยงตรง33

33 ซุเราะฮอัลอะหTซาบฺ 33: 4
50

แตHทั้งนี้ก็มิได#หมายความวHาอิสลามห#ามมิให#รับเด็กมาเลี้ยงฉันลูกโดยเฉพาะเด็กที่ขาดผู#ดูแลหรือเด็กที่
เปBนผู#ด#อยโอกาสการกระทำเชHนนี้ถือวHาเปBนที่นHายกยHองและนHาสรรเสริญแตHที่อิสลามห#ามคือการให#เปBนลูกบุญธรรม
ที่มีสิทธิมีฐานะตามกฎหมายเหมือนลูกจริงทุกประการ

คำสั่งเสียของทAานนบีนั้นมีความเกี่ยวข.องกับการดูแลสังคมอยAางไร

ในวันที่เปX_ยมด#วยความศานติ ทHานนบีมุหัมมัด( ) ได#กลHาวสุนทรพจนDที่ถือเปBนบทป\จฉิมนิเทศใน


อิสลามและถือเปBนครั้งแรกในประวัติศาสตรDของมนุษยDชาติที่สามารถรวบรวมพลโลกนับแสนที่หลากหลาย ด#าน
ภาษา สีผิว วงศDตระกูล เชื้อชาติและเผHาพันธุD คลื่นมหาชนได#รวมตัว ณ สถานที่เดียวกัน วันเวลาเดียวกัน มี
เจตนารมณDและวัตถุประสงคDเดียวกัน การปฏิบัติศาสนกิจที่พร#อมเพรียงกัน ด#วยการแตHงกายเหมือนกัน ภายใต#การ
นำโดยผู#นำสูงสุดคนเดียวกัน เนื้อหลักของการนะศีหะหรือการกลHาวคุฎบะฮฺในครั้งนี้เปBนการประกาศเจตนารมณD
ของอิสลามที่ครอบคลุมหลักพื้นฐานของการใช#ชีวิตรHวมกันในสังคมอยHางสันติความรับผิดชอบในหน#าที่ การยอมรับ
สิทธิสHวนบุคคล การใช#ชีวิตในครอบครัวฐานะของสตรีในอิสลามและบทบาทของนางตHอการสร#างครอบครัวเปX_ยม
สุข หลักการยึดมั่นใน อัลกุรอานและซุนนะฮฺ โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข#องกับการรักษาชีวิต เลือด ทรัพยDสินและ
ศักดิ์ศรีของความเปBนมนุษยD และทุกคำประกาศของทHานนบีนั้นล#วนแล#วเปBนเรื่องสำคัญที่สุดที่มนุษยDทุกคนจะต#อง
นำใช#ในชีวิตประจำวัน เพราะสิ่งที่ทHานนบีประกาศไปทั้งหมดนั้นทุกสิ่งล#วนเปBนการสร#างสังคมมุสลิมตาม
เจตนารมณDของอิสลามทั้งสิ้น

และเนื้อหาสุนทรพจนDของทHานจะเปBนบทเรียนที่สำคัญที่สุดสำหรับมนุษยDทุกคนบนโลกใบนี้โลก
โดยเฉพาะผู#ที่เปBนมุสลิมที่สำคัญยิ่งที่จะต#องนำเอาสิ่งที่ทHานได#กลHาวเอาไว#ไปใช#ในการอยูHรวมกันในสังคมและทุก
อยHางที่ทHานนบีได#กลHาวนั้นแนHนนอนที่สุดมันเปBนเรื่องที่มีความเกี่ยวข#องกันกับการสร#างสังคมของทHาน และถ#าสังคม
ป\จจุบันนำเอาสิ่งที่ทHานได#กลHาวนั้นมาใช#ในการปกครองหรือบริหารแนHนนอนที่สุดป\ญหาเกี่ยวกับความศูนยDเสียที่
เกี่ยวกับการเอารัดเอาเปรียบและอีกหลายๆป\ญหาที่เกิดขึ้นในสังคมนั้นก็จะหมดไป

แตHสำหรับสังคมป\จจุบันนี้ตHางคนตHางไมHยอมตHางคนตHางกระทำในสิ่งที่ตนต#องการแม#วHาสิ่งเหลHานั้นจะ
เปBนสิ่งที่ศาสนาห#ามก็ตามเลยที่ทำให#สังคมเกิดความวุHนวHายในที่สุด

และสำหรับสังคมที่ดำรงไว#ซึ่ง คำสั่งเสียของทHานนั้นก็จะเปBนสังคมที่มีความสมบูรญDแบบในการใช#ชีวิต
และเกิดความปลดภัยในทรัพยDสินและคนในสังคมนั้นๆก็จะอยูHในแนวทางทีถูกต#องตามอัลกรุอานและซุนนะฮฺของ
ทHานนบีตลอดจนเปBนสังคมตัวแบบและได#รับบารอกะฮฺจากพระผู#เปBนเจ#าและได#รับความโปรดปรานอยHางไมHมีใคร
สามารถ
51

ถอดบทเรียนจากซูเราะหือัลอินซิรอฮ (อัซซัรฮQ)

‫ﺻْدَرَك‬ َ ‫ ( أَﻟَْم ﻧَْﺷَرْح ﻟََك‬1 )


เรามิได#เป‰ดหัวอกของเจ#าแกHเจ#าดอกหรือ ?
‫ﺿْﻌﻧَﺎ َﻋﻧَك ِوْزَرَك‬ َ ‫ ( َوَو‬2 )
และเราได#ปลดเปลื้องภาระหนักของเจ#าออกจากเจ#าแล#ว
‫ظْﮭَرَك‬ َ ‫ض‬ َ َ‫ ( اﻟﱠِذي أَﻧﻘ‬3 )
ซึ่งเปBนภาระหนักอึ้งบนหลังของเจ#า
‫ ( َوَرﻓَْﻌﻧَﺎ ﻟََك ِذْﻛَرَك‬4 )
และเราได#ยกยHองให#แกHเจ#าแล#ว ซึ่งการกลHาวถึงเจ#า
‫ ( ﻓَﺈِﱠن َﻣَﻊ اْﻟﻌ ُْﺳِر ﯾ ُْﺳًرا‬5 )
ฉะนั้นแท#จริงหลังจากความยากลำบากก็จะมีความงHาย
‫ ( ِإﱠن َﻣَﻊ اْﻟﻌ ُْﺳِر ﯾ ُْﺳًرا‬6 )
แท#จริงหลังจากความยากลำบากก็จะมีความงHาย
‫ب‬ْ ‫ﺻ‬َ ‫ت ﻓَﺎﻧ‬ َ ‫ ( ﻓَﺈِذَا ﻓََرْﻏ‬7 )
ดังนั้นเมื่อเจ#าเสร็จสิ้น (จากงานหนึ่งแล#ว) ก็จงลำบากตHอไป
‫ ( َوِإﻟَٰﻰ َر ِﺑَّك ﻓَﺎْرَﻏب‬8 )
และยังพระเจ#าของเจ#าเทHานั้นก็จงมุHงปรารถนาเถิด
52
53

ความสำเร็จของชีวิตมุสลิม

กุญแจสำคัญประการหนึ่งในการบรรลุความสำเร็จในชีวิตในปรโลกคือการไตรHตรองตนเอง การพิจารณา
และประเมินตนเอง นี่คือสิ่งที่เกี่ยวข#องกับชีวิตที่ประสบความสำเร็จของชาวมุสลิม
หะดีษข#างต#นถูกเป‰ดโดยเราะซูลุลลอฮDด#วยคำวHา 'คนที่ฉลาด (ประสบความสำเร็จ) คือคนที่ประเมิน
ตัวเองและทำความดีตลอดชีวิตหลังจากการตายของเขา' วลีงHายๆ นี้อธิบายวิสัยทัศนDที่มุสลิมต#องมีจริงๆ นิมิตที่
ขยายและกระทั่งทะลุมิติแหHงชีวิตทางโลก กลHาวคือ นิมิตสูHชีวิตหลังความตาย มุสลิมไมHควรเปBนเพียงคนใจแคบและ
จำกัด แคHทำตามความปรารถนาในชHวงเวลาสั้นๆ แตHยิ่งไปกวHานั้น มุสลิมต#องมีวิสัยทัศนDและการวางแผนเพื่อชีวิตนิ
รันดรDของเขาในปรโลก เพราะคนที่ประสบความสำเร็จคือคนที่สามารถจัดการความต#องการระยะสั้นเพื่อเห็นแกH
ความปรารถนาในระยะยาวได# คนที่เครHงศาสนาคือผู#ที่ "เต็มใจ" ที่จะเสียสละความปรารถนาทางโลกของเขาเพื่อ
จุดประสงคDอันสูงสHงกวHา "ความสุขของชีวิตอูคราวี"
มุฮาซะบะหD Muhasabah หรือการประเมินวิสัยทัศนDนี้เปBนสิ่งที่ทHานนบีอธิบายไว# เปBนกุญแจดอกแรกสูH
ความสำเร็จ นอกจากนี้ ทHานรอซูลุลลอฮDเห็นวHา ยังอธิบายถึงกุญแจดอกที่สองสูHความสำเร็จ กลHาวคือ การ
ดำเนินการหลังการประเมิน ซึ่งหมายความวHาหลัากการประเมินจะต#องมีการดำเนินการแก#ไข และสิ่งนี้ถูกระบุโดย
พระศาสดาเห็น ด#วยคำพูดของเขาในหะดีษข#างต#นวHา 'และทำความดีเพื่อชีวิตหลังความตาย' ฮะดีษชิ้นสุดท#ายนี้ถูก
เป‰ดเผยโดยศาสดาเห็น ทันทีหลังจากคำอธิบายของ มุฮาซะบะหD เพราะ การมุฮาซะบะหD muhasabah จะไมHมี
ความหมายอะไรเลยหากไมHมีการติดตามหรือปรับปรุง
มีสิ่งที่นHาสนใจโดยนัยจากหะดีษข#างต#น โดยเฉพาะอยHางยิ่งในการอธิบายของทHานศาสดา เกี่ยวกับ
ความสำเร็จ คนที่เกHงในการประเมินการกระทำของตนเสมอ เชHนเดียวกับการทำความดีเพื่อชีวิตที่ยืนยาว ได#แกH
ชีวิตหลังความตาย และประเมินผลเพื่อประโยชนDของตนเอง เพื่อปรับปรุงบุคลิกภาพของตนเอง
54

. แม#วHาสิ่งที่ตรงกันข#ามจะเปBนจริง แตHก็เปBนความล#มเหลว รอซูลุลลอฮDเรียกวHา "คนอHอนแอ" ซึ่งมี


คุณลักษณะพื้นฐานอยูH 2 ประการ คือ ผู#ที่ปฏิบัติตามราคะของตน ปลHอยให#ชีวิตไมHมีวิสัยทัศนD ไมHมีการวางแผน ไมH
มีการกระทำใด ๆ จากการวางแผน โดยเฉพาะมุฮาซะบะหD
ในขณะที่ประการที่สองคือการมีจินตนาการและความหลงผิดมากมาย "เพ#อฝ\นเกี่ยวกับพระเจ#า" นั่นคือ
ตามที่ระบุไว#โดยอิหมHามอัลมูบารักฟูรีในตุหDฟาตุลอาวัดซีดังนี้: เขา (คนอHอนแอ) พร#อมกับความอHอนแอของการเชื่อ
ฟ\งตHอพระเจ#าและติดตามตัณหาของเขาเสมอไมHเคยขอการอภัยจากพระเจ#าแม#แตHฝ\นเสมอ วHาพระเจ#าจะทรงอภัย
บาปของเขา (จากเว็บไซตD dakwatuna.com)
55

การมีชีวิตที่ดี
56

การดูแลสุขภาพจิตเยาวชน

สรุป

จากการศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวกับการนะศีหะฮฺของทHานนบีตHอการสร#างสังคมมุสลิมศึกษาในฮัจญD
อำลาของทHานนั้นสามารถสรุปและจับประเด#นหลักที่สำคัญคือความสำคัญของการนะศีหะฮฺ(ตักเตือน)และความรู#
เพิ่มเติมเกี่ยวกับฮัจญDและตลอดจนคำสั่งเสียของทHานนบีตHอการสร#างสังคมมุสลิมโดยทHานนบีมูหัมมัด
57

ความสำคัญเกี่ยวกับการนะศีหะฮฺของทAานนบีมูหัมมัด( ) ตAอการเยียวยาสังคมมุสลิม

เปBนที่ทราบกันดีอยูHแล#ววHาการนะศีหะฮฺนั้นมีความสำคัญอยHางมากในการใช#ชีวิตอยูHรวมกันในสังคม
เพราะการตักเตือนนั้นเปBนสิ่งที่มาชHวยขัดเขลาจิตใจของมนุษยDได#เปBนอยHางดีและยังเปBนสิ่งที่ทำให#สังคมได#พัฒนา
อยHางรวดเร็วแตHการนะศีหะฮฺตักเตือนนั้นจะอยูHบนความมีความบริสุทธิ์ใจ กลHาวคือ ไมHใชHเพื่อโอ#อวด หวังเพื่อ
ชื่อเสียง หรือเพื่อแสดงถึงความรู# ความเกHงของตัวเอง และการมีความบริสุทธิ์ใจมันมีผลอยHางมากตHอการตอบรับ
ของผู#ที่ถูกตักเตือน เพราะคำพูดที่ออกมาจากใจกับคำพูดที่เพียงออกมาจากลมปากมันมีข#อแตกตHางที่ผู#ฟ\งรู#สึกได#
และคำพูดที่ออกจากใจเขาก็ยHอมรับด#วยใจ และมันก็เปBนผลที่นำไปสูHการเปลี่ยนแปลงในที่สุดหลักสำคัญอีก
ประการในการนะศีหะฮฺก็คืออิคลาศและบริสุทธิ์ใจ ความพยายามในการนะศีหะฮฺจำเปBนต#องป\กอยูHบนฐานแหHง
ความบริสุทธิ์ใจอยHางอิคลาศตHออัลลอฮฺ และบริสุทธิ์ใจที่จะทำดีตHอบHาวของอัลลอฮฺ ซึ่งเปBนบุคคลที่เรากำลังนะศี
หะฮฺ เ ขาและอี กหลายเรื ่ องที ่ ทH า นนบี ไ ด# กลH า วไว# ใ นคำประกาศของทH า นตH อ การสร# างสั ง คมมุ สลิ มทH านนบี ใ น
ความสำคัญในเรื่องนี้เปBนอยHางมากเพราะ ทHานได#ทำลายล#างให#หมดสิ้นไปแล#วสังคมของความปiาเถื่อน(ญาฮีลียะฮฺ)
และไดHวางรากฐานขึ้นมาใหมH เชHนการสร#างความเปBนพี่น#องกัน การรHางรัฐธรรมนูญแหHงแรกของโลก กำหนดการ
แบHงมรดกในอิสลามเพื่อตัดป\ญหาความขัดแยHงในความเปBนพี่น#องกันเปBนต#น และการที่ทHานนบีทำเชHนนี้ก็
เพื่อที่จะให#มุสลิมนั้นสามารถที่จะดำเนินชีวิตความเปBนอยูHได#อยHางถูกต#อง เพราะเมื่อใดก็ตามถ#าหากวHาการดำเนิน
ชีวิตนั้นไมHมีขอบเขตหรือกฎข#อระเบียบนั้นแนHนนอนวHาสังคมนั้นจะไมHเกิดความเจริญได# ทHานนบีมูหัมมัด( ) ยัง
ได#ถือวHาถ#าหากมนุษยDขาดสิ่งที่จำเปBนเหลHานี้ก็จะเปBนผู#หนึ่งที่ไมHสามารถที่จะอยูHในสังคมรHวมกับผู#อื่นได# ด#วยเหตุนี้
ทHานนบีมูหัมมัด( ) จึงได#ตระหนักถึงความสำคัญของการอยูHรHวมกันในสังคมเปBนอยHางยิ่ง
58

บรรณานุกรม
Al-Qur’an al-Karim
Kamus
Ibn Manzur, Abu al-Fadl Jamal al-Din Muhammad bin Mukarary, (1980), Lisan al-‘Arab,
Beirut,Lubnan, Dar Sadr, ,cet 1 Juz 6.
Tenku Iskandar, (2002), Kamus Dewan. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa Dan Pustaka, Edisi Ketiga.
Ahmad bin Abdulwahab (2002), Qul Hazihi Sabili Ud‘u Ila Allah ‘Ala Basirah.Jumhuriah Misr al-
Arabiah.
Ali Khalil Mustafa Abu al-‘Ainain, (1985), Muqauwamat al-Nasihah Al-Najihah.
Ahmad al- Anshori al-Qurtubi,( 1993), Tafsir al-Jami li ahkam al-Qur’an, Beirut, Lebanon, Dar al-
Kutub al-Ilmiah.
Ahmad bin ‘Ali bin Hajar al-‘Asqalani, (t.t.), Fath al-Bari bi Syarh Sahih al-Bukhari, Jilid 3.
Ahmad Mustafa al-Maraghi. K. Anshori Umar (terj), (1992), Tafsir al-Maraghi.
Ali Mustafa Khalluf, (2002), Tafsir al-Jalalain, Dimasyq.
Al-Marbawi, Muhammad Idris. (t.t.). Bahr al-Madi Sharh bagi Mukhtasar Sahih al-Turmudhi.
Al-Qurthubi. Abdullah bin Muhammad bin Ahmad al-Anshari. (1995),Al- Jami‘ li Ahkam al-Quran.
Beirut: Dar al-Fikr.
______________(2006), Al-Jami‘li Ahkam Al-Quran, Beirut Lebanon: Muassasah al-Risalah. Al-
Sayyid Muĥammad al-Ţabaţaba’i, 1242H, Al-Mizan fi Tafsir al-Quran, Tehran.
Al-Tabari, (T.T),Jami‘ al-Bayan fi Tafsir al-Quran, Kaherah: Maktabah Hajr.
Ibnu Katsir (1988), Al-Bidayah wa Nihayah, Beirut Libanon, Dar el-Kutb al ’Alamiyyah.
Ibn Kathir, Isma‘iI Ibn Umar Ibn Kathir.(1998) , Tafsir al-Quran al-‘Azim. Jil.1,Lubnan Beirut: Dar Al-
Fikr.
Ismail Lutfi Chapakiya, (2013), Nasihah Jiwa Ummah Wahidah, al-Salam:UIY.
Khalid Abdulrahman al-Duwaesh, ( 2011), Tawsil al-Khair li al-Qhair, Dar Ibnu Khuzaimah, Riyadh.
Muhammad Abdullah al-Duweisy(1997), Al-Tarbiyah al-Jaddah Dhorurah. Riyadh
Salman bin Fahad al-Audah, ( 1990), Min Akhlak al-Da‘iyah, Riyadh.
Zaidan, ‘Abd al-Karim , ( 2000), Usul al-Da‘wah, Cet. Ke –vii, Beirut: Muassasah al-Risalah.
อับดุลอะซีซ อิบนุอับดิลลาฮD อัลฮุมัยดียD.2557.สูHเปxาหมายแหHงการทำฮัจญD .พิมพDครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ:นัตวิดาการ
พิมพD
59

ดำเนินการนะศีหะฮฺ NASIHAH

ด.วยเราะหQมะหQ RAHMAH
60

ใบความรู.ประกอบการเรียนรู. กระบวนการและคุณลักษณะของการปรึกษา

ผู8ช4วยศาสตราจารย& ดร.สรินฎา ปุติ

1. หมวดการเรียนรู:. แนวคิดการปรึกษาขั้นพื้นฐาน
2. หมวดการเรียนรู:. แนวคิดของ Virginia Satir
3. หมวดการเรียนรู:. คุณลักษณะของผู.ให.การปรึกษาตามแบบฉบับของศาสดามูหัมมัด ( )
4. หมวดการเรียนรู:. สมรรถนะทางวัฒนธรรมของการปรึกษา
61

แนวคิดการปรึกษาขั้นพื้นฐาน

หากการพัฒนาทรัพยากรมนุษยD (Human Development) หมายถึง การพัฒนาความเข#าใจตHอชีวิต


ตHอธรรมชาติ ตHอสังคม ตHอโลก ตHอตนเอง ให#สมดุลกับความจริงของชีวิต ของธรรมชาติ ของสังคม ของโลก และ
ของตนเอง อันเปBนแนวทางในการดำรงชีวิตที่เปBนสุข กลมกลืน สอดคล#องระหวHางตนเองและสรรพสิ่ง สอดคล#อง
กับธรรมชาติหรือความจริง งานการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ก็คืองานพัฒนาความเข#าใจความจริงของชีวิตและโลกเข#า
ด#วยกัน เพื่อเสริมสร#างบุคคลให#มีจิตใจที่ดีงาม หนักแนHน มั่นคง สมดุลกับความจริง โดยมีทัศนะที่ถูกต#อง มีความ
เข#าใจตHอตนเอง ตHอบุคคลอื่น ตHอโลกรอบ ๆ ตัว เพื่อการพัฒนาสูHสิ่งที่ดีงามมากขึ้นและกว#างขึ้น
บริการการปรึกษาเปBนวิชาชีพที่คHอนข#างใหมHและไมHคุ#นเคยกับคนในสังคมไทยเรานัก การปรึกษานั้นมี
หลัก มีเกณฑD มีระบบ มีวิธีการ มีเปxาหมายในตัวของมันเอง โดยสHวนใหญHคนไทยมักปรึกษาผู#ใหญHที่ตนเคารพนับ
ถือ และเพื่อนที่ไว#วางใจ โดยคนเหลHานี้จะทำหน#าที่ปลอบใจ แนะนำให#ขHาวสาร ข#อมูลหรือสั่งสอนให#ทำในสิ่งที่ดี
งาม บอกเลHาประสบการณD หรือวิธีการที่ตนใช#ให#เปBนแบบอยHาง
การปรึกษาขั้นพื้นฐาน เปBนวิธีหนึ่งในการดูแลทางด#านจิตใจ โดยใช#ทักษะตHางๆ ผHานการพูดคุยเพื่อให#ผู#ที่
มีป\ญหา ได#สำรวจทำความเข#าใจป\ญหา สาเหตุของป\ญหา การจัดการกับอารมณD ความคิด เพื่อนำข#อมูลไปใช#ใน
การวางแผนแก#ไขป\ญหาด#วยตนเองตามศักยภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนสามารถปรับตัวให#ดี
การปรึกษาเชิงจิตวิทยา มิใชHลักษณะการบอกเทคนิควิธีแก#ป\ญหา
ไมHใชHการแนะนำสั่งสอน ไมHใชHการแก#ป\ญหาโดยสามัญสำนึก หรือนำวิธีการ
ของเราไปใช#กับเขา และไมHใชHการอธิบายให#เข#าใจเหตุการณDแตHเพียงอยHาง
เดียว แตHเปBนการปฏิบัติตHอกันด#วยความเคารพในศักดิ์ศรีของความเปBน
มนุษยDและความสามารถของมนุษยD ที่วHามนุษยDสามารถนำตนเองและพัฒนา
ตนเองได# หากอยู H ใ นบรรยากาศของความเปB น มิ ต ร การยอมรั บ อบอุH น
ปลอดภัย และเกิดความรู#สึก (ด#วยการชHวยเหลือจากอัลลอฮD หากนั้น
เปBนความประสงคDของพระองคD ทุกสิ่งทุกอยHางมันก็จะเปBนความงHายดาย
สำหรับเขา)

อัลลอฮD ทรงตรัสไว#
62

‫ َﻻ ﯾ َُﻐ ِﯾُّر َﻣﺎ ِﺑﻘَ ۡوٍم َﺣﺗ ﱠٰﻰ‬- ِ ۗ ‫ت ِّﻣۢن ﺑَۡﯾِن ﯾَدَۡﯾِﮫ َوِﻣۡن َﺧۡﻠِﻔِﮫۦ ﯾَۡﺣﻔَظُوﻧَﮫ ُۥ ِﻣۡن أَ ۡﻣِر ٱ ﱠ‬َٞ‫ﻟَﮫ ُۥ ُﻣَﻌ ِﻘّ ٰﺑ‬
َ ‫ ِإﱠن ٱ ﱠ‬-
‫ُ ِﺑﻘَ ۡوٖم ﺳُٓوٗءا ﻓََﻼ َﻣَرد ﱠ ﻟَﮫ ُۚۥ َوَﻣﺎ ﻟَُﮭم ِّﻣن د ُوِﻧِﮫۦ ِﻣن َواٍل‬-‫ﯾ َُﻐ ِﯾُّرواْ َﻣﺎ ِﺑﺄ َﻧﻔ ُِﺳِﮭ ۡۗم َوِإذَآ أََرادَ ٱﱠ‬

ความวHา "สำหรับเขามีมะลาอิกะฮฺผู#เฝxาติดตามทั้งข#างหน#าและข#างหลังเขา รักษาเขาตามพระบัญชาของอัลลอฮฺ


แท#จริงอัลลอฮฺจะมิทรงเปลี่ยนแปลงสภาพของชนกลุHมใด จนกวHาพวกเขาจะเปลี่ยนแปลงสภาพของพวกเขาเอง
และเมื่ออัลลอฮฺทรงปรารถนาความทุกขDแกHชนกลุHมใดก็จะไมHมีผู#ตอบโต#พระองคD และสำหรับพวกเขาไมHมีผู#ชHวย
เหลือนอกจากพระองคD"
(อัรเราะฮฺดุ : 11)

การปรึกษาเปBนเครื่องมืออันมีคHาที่จะชHวยเหลือเกื้อกูลให#คนผHานอุปสรรคแหHงความไมHสบายใจของเขา
ในชHวงวิกฤตของชีวิตไปได# การปรึกษาเปBนอยHางไร 34

ã การปรึกษาไม4ใช4การให8คำตอบแต4เพียงอย4างเดียวเสมอไป แม8ว4าในการปรึกษาอาจจะมีการให8
คำตอบหรือข8อมูลบางอย4างแก4กันบ8าง
ã การปรึกษาไม4ใช4การให8คำปลอบโยนอย4างเดียว แม8ว4าในการปรึกษากันอาจจะมีการให8กำลังใจแก4
กันบ8าง
ã การปรึกษาไม4ใช4การสัมภาษณ&เก็บข8อมูล แม8ว4าการปรึกษากันจะมีการซักถามกันบ8าง
ã การปรึกษาไม4ใช4การให8ความคิดเห็นหรือคำแนะนำอย4างเดียวเท4านั้น แม8ว4าการปรึกษาจะมีการให8
ความคิดเห็นและคำแนะนำกันบ8าง
ã การปรึกษาไม4ใช4การสั่งให8เขาทำในสิ่งที่เราเห็นว4าดี แต4เปJนการมองหาช4องทางให8เขาได8พบในสิ่งที่
เขาเห็นว4าดี และสิ่งที่เขาเห็นว4าเหมาะสมนั้นคืออะไร
ã การปรึกษาไม4ใช4การฟ•งเพียงอย4างเดียว แม8ว4าการฟ•งจะเปJนสิ่งสำคัญที่สุดในการปรึกษา
ã การปรึกษาไม4ใช4คำปรึกษา คำปรึกษาเปJนเพียงส4วนหนึ่งของการปรึกษา

34 รศ.ดร.สุใจ สWวนไพโรจนT
63

ã การปรึกษาไม4ใช4การมาขอคำแนะนำหรือการให8คำแนะนำเท4านั้น แต4จะเกี่ยวข8องกับความต8องการ
ความเข8าใจ ความเปJนมิตร ความเห็นอกเห็นใจ
ã การปรึกษาไม4ใช4การเร4งหาโจทย& เพื่อจะได8รีบตอบ แต4เปJนการเริ่มต8นการสนทนาด8วยการต8อนรับ
และรับฟ•ง สิ่งที่ควรระมัดระวังที่สุดในการปรึกษา คือการรีบตอบคำถามในลักษณะที่เขาให8เรา
ประเมินการกระทำของเขาว4าดีหรือไม4ดี เพราะนั่นเปJนการประเมินมิใช4การปรึกษา
ã การปรึกษาเปJนการเสนอความเอื้อเฟ••อที่ตรงและสอดคล8อง ตามความต8องการในขณะนั้นของ
บุคคล
ã การปรึกษาเปJนมนุษยสัมพันธ&อันอ4อนโยนซึ่งเชื่อมคนสองคนให8กลมกลืนเข8ามาอยู4ในโลกเดียวกัน
ã การปรึกษาเปJนการถ4ายทอดความรู8และความรัก ด8วยศิลปะการถ4ายทอดอย4างพิเศษและแนบเนียน
จากผู8หนึ่งไปสู4อีกผู8หนึ่ง เพื่อให8เขาผู8มาปรึกษานั้นได8ปรับปรุงตนทั้งในส4วนตัวหรือในส4วนงาน เพื่อ
การเปJนบุคคลที่มีคุณค4าและคุณประโยชน&ต4อโลกเพิ่มมากขึ้น

ปTญหาของบุคคล
สภาพป\ญหาของบุคคลเกิดจากความไมHสอดคล#องกัน (Incongruence) ระหวHางความรู#สึกนึกคิดที่มีตHอ
ตนเอง (Self-concept) กับประสบการณD (Experience) ตามความเปBนจริง (Reality) ทำให#บุคคลรู#สึกวHาถูก
คุกคามทางด#านจิตใจ (Threat) เกิดความวิตกกังวลขึ้น บุคคลจะใช#วิธีปกปxองตนเอง (Defensiveness) เปBนการ
หลอกตนเองเพื่อลดความขัดแย#งภายในจิตใจ (Corey 1977)

ป\จจัยที่เอื้อให#เกิดความงอกงามทางจิตใจแกHผู#รับการปรึกษา (Carl Rogers) 3 ประการ ได#แกH


1. ความเข#าใจและเห็นใจ (Empathic Understanding) รHวมรู#สึกเข#าใจอยHางแท#จริง
2. การให#เกียรติเห็นคุณคHา (Unconditional Positive Regard) เปBนมิตร ไมHประเมินตัดสิน
3. ความจริงใจ (Congruence) ตรงไปตรงมา เปBนตัวของตัวเอง ไมHแสแสร#งแสดงบท
64

เงื่อนไขที่สำคัญของการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
ประกอบด#วยคุณลักษณะพื้นฐานที่จำเปBนและสำคัญ 6 ประการ Patterson, 1980) คือ
1) Psychological Contact : มีสายสัมพันธDระหวHางบุคคล 2 คนในสภาพที่เปBนสHวนตัว
2) Minimum State of Anxiety : ผู#รับการปรึกษาเกิดความวิตกกังวล รู#สึกไมHมั่นคง
3) Counselor Congruence : ผู#ให#การปรึกษามีความสอดคล#องจริงใจในสัมพันธภาพ
4) Unconditional Positive Regard : ผู#ให#การปรึกษายอมรับผู#รับการปรึกษาโดยไมHมีเงื่อนไข
5) Emphatic Understanding : ผู#ให#การปรึกษาเห็นใจและเข#าใจผู#รับการปรึกษาอยHางแท#จริง
6) Client Perception : ผู#รับการปรึกษารับรู#ถึงการยอมรับ เห็นใจ เข#าใจของผู#ให#การปรึกษา

กระบวนการการปรึกษา (Conditions of the Therapeutic Process) (Carkhuff: 1983)


1) ปฏิ สั มพั นธD ของบุ คคลสองฝi าย คื อ นั กจิ ตวิ ทยาการปรึ กษา (Counselor) ผู # รั บการปรึ กษา
(Counselee)
2) ผู # ร ั บ การปรึ ก ษาอยู H ใ นภาวะที ่ ไ มH ส อดคล# อ งกั น (Incongruence) ระหวH า งตั ว เขา (Self) กั บ
ประสบการณDจริง (Experience) ซึ่งทำให#เขาเกิดการวิตกกังวล
3) นักจิตวิทยาการปรึกษามีความสอดคล#องในตนเอง (Congruence) คือ นักจิตวิทยาการปรึกษา
ตระหนักรู#ในประสบการณDที่เกิดขึ้นกับตนตามความเปBนจริง เข#าใจวHาอะไรเกิดขึ้นกับตนในแตHละ
ขณะ
4) เข#าใจถึงความรู#สึกของเขาเอง ต#องชHวยเอื้อให#ผู#รับการปรึกษาสามารถจะแก#ไขป\ญหาได#ด#วย
ตนเอง
5) การยอมรับอยHางไมHมีเงื่อนไข (Unconditional Positive Regard : Acceptance) ยอมรับผู#รับ
การปรึกษาได#โดยปราศจากเงื่อนไข และ เชื่อในความสามารถวHาผู#รับการปรึกษาสามารถจะแก#ไข
ป\ญหาได#ด#วยตนเอง
6) ความเข#าใจ (Emphatic Understanding) คือ ให#ความเห็นใจและเข#าใจความรู#สึกของผู#รับการ
ปรึกษาตามทัศนะการรับรู#ของเขา (Client Internal Frame of Reference)โดยไมHเอาความรู#สึก
ของนักจิตวิทยาการปรึกษาเข#าไปเกี่ยวข#อง
65

ประสิทธิภาพในกระบวนการให#การปรึกษาสHวนหนึ่งมาจากคุณลักษณะของผู#ให#การปรึกษา โดยทั่วไปหลัก
พื้นฐานควรมีลักษณะ เชHน มีสุขภาพจิตที่ดี มีความตระหนักในตนเอง เป‰ดใจ มีความเห็นอกเห็นใจ การมองใน
แงHดีอยHางไมHมีเงื่อนไข ความจริงใจและความสอดคล#อง การไมHตัดสิน การปลูกฝ\งความหวัง มีความอดทนตHอความ
คลุมเครือ ความอHอนไหวและมีความสามารถทางวัฒนธรรม ในกรณีของผู#ให#การปรึกษาอิสลาม ควรตระหนักถึง
คุณคHาของการจัดการมิติทางจิตวิญญาณและศาสนาในกระบวนการชHวยเหลือ กHอนทำความเข#าใจในคุณลักษณะ
ของผู#ให#การปรึกษา สิ่งที่ผู#ให#การปรึกษาควรเข#าใจกHอนเปBนเบื้องต#นคือ การเข.าใจพฤติกรรมของมนุษยQที่แสดง
ออกมา
66

แนวคิดของ Virginia Satir ทำความเข#าใจพฤติกรรมที่แสดงออกมา

Virginia Satir: ระดับจิตใจที่ซ.อนทับ

ระดับ 1 คำพูด เรื่องราว น้ำเสียง


ทHาทาง

ระดับ 2 ความรู#สึก

ระดับ 3 ความต#องการ คาดหวัง

แนวคิดของ Virginia Satir 35


สิ่งที่พูดไมHใชHสิ่งที่คิด สิ่งที่คิด ก็ไมHอาจเรียบเรียงออกไปได# หรือบางครั้งก็ไมHรู#ด#วยซ้ำวHา ทำไมจึงพูด หรือมี
ปฏิกิริยาอยHางนั้น เราอาจเริ่มต#นทำความเข#าใจด#วยแนวคิดซาเทียรD ด#วยอุปมาวHาพฤติกรรมที่แสดงออก เปBนเพียง
‘ยอด’ ของภูเขาน้ำแข็ง
สิ่งที่โผลHพ#นน้ำคือความสัมพันธDระหวHางเรากับโลก สิ่งที่อยูHใต#น้ำ คือความสัมพันธDของโลกภายใน

35 https://thepotential.org/life/virginia-satir-iceberg-model/
67

Behavior : พฤติกรรม การกระทำ คำพูด ที่แสดงออกให#เห็นได#ซึ่งหน#า เปBนปฏิกิริยาตHอเหตุการณDใดหนึ่ง


ซาเทียรDเปรียบพฤติกรรมเหมือนสิ่งที่โผลHพ#นน้ำ เปBนสิ่งที่คนอื่นเห็น เปBนพฤติกรรมที่มีปฏิสัมพันธDกับโลกภายนอก
Coping Stance : กลไกปxองกันตัวเอง หรือรูปแบบพฤติกรรมที่มักแสดงเมื่อเจอกับป\ญหา ต#องเผชิญกับ
ความเครียด กลไกปxองกันตัวของแตHละคนมักมีสารตั้งต#นจากประสบการณDในวัยเด็กหรือที่ได#รับจากครอบครัว
แบHงได#เปBน 5 พฤติกรรมใหญH โดยอธิบายผHานความสัมพันธDระหวHาง ตัวเอง(self), คนอื่น (other) และบริบท
(context)

1. Blaming : กลไก ‘ตำหนิ’ สนใจบริบทและตัวเอง


ไมHสนใจคนอื่น ตำหนิไว#กHอน ใช#การตำหนิป‰ดบังความกลัว ยึด
วHาสิ่งที่ตัวเองเชื่อถือคือสิ่งถูก เปBนผู#พิทักษDความถูกต#อง หลาย
ครั้งนำไปสูHความหวาดระแวงผู#อื่นโดยไมHรู#ตัว ผู#ที่มักปxองกัน
ตัวเองด#วยการตำหนิ จะสนใจเนื้อหาและสิ่งที่ตัวเองเชื่อ ไมHใชH
สิ่งที่คนอื่นเชื่อ มักมีป\ญหาทางสุขภาพเกี่ยวกับการหายใจ

ที่มา : https://link.springer.com/chapter/10.1007/978-3-319-59005-9_5

2. Placating : กลไก ‘เอาใจ’ สนใจบริบทและคนอื่น ไมHสนใจตัวเอง เปBน Mr. Yes man มัก
ยอมทำตามสิ่งที่ผู#อื่นร#องขอโดยไมHสนใจความรู#สึกตัวเอง เพื่อหลีกเลี่ยงการปะทะ การปฏิเสธ หรือความรู#สึก
บาดหมางระหวHางกัน เคารพคนอื่น แตHไมHเคารพตัวเอง ผู#ที่มีกลไก ‘เอาใจ’ มักมีป\ญหาเรื่องการยHอยอาหาร ไม
เกรน ท#องผูก
3. Super-reasonable : กลไก ‘มนุษยDเหตุผล’ สนใจบริบท ไมHสนใจตัวเองและคนอื่น บางตำรา
เรียกวHา ‘มนุษยDคอมพิวเตอรD’ สนใจที่เนื้อหาและความถูกต#องเปBนหลัก รู#และเข#าใจหลักการอยHางถHองแท# ไมHทำงาน
ด#วยความรู#สึก คนมักจะมองคนที่มีพฤติกรรมเหลHานี้วHา เย็นชา เจ#าหลักการ ป\ญหาสุขภาพมักเผชิญกับอาการเยื่อ
เมือกแห#ง เชHน ตาแห#ง เนื้อเยื่อในชHองปากแห#ง
4. Irrelevant : กลไก ‘เฉไฉ’ สนใจทั้งตัวเอง ผู#อื่น และบริบท เราอาจพบวHาเขาคือนักเอ็นเตอรD
เทรน มีบุคลิกสนุกสนานเฮฮาและเข#าไปอยูHรHวมกับผู#อื่นได#ทุกวง ดึงดูดความสนใจของตัวเองและคนอื่นให#หลุดออก
68

จากความเครียดได#เกHง บทสนทนามักเปBนเรื่องทั่วไปแตHไมHจับยึดที่แกHนเรื่อง บางครั้งดูกระวนกระวาย หรือมี


ปฏิกิริยาล#นเกิน เชHน มักเปiาปาก กระพริบตาถี่ ร#องเพลง หลุกหลิก หรือไมHก็เพิกเฉยตHอสถานการณDเครHงเครียดไป
เลย
5. Congruence : สอดคล#องกลมกลืน ไมHต#องใช#กลไกปxองกันตัวใดๆ เลย เปBนภาวะที่ยอมรับ
สมดุล เชื่อมโยง ยอมรับ หรือรู#สึกสงบอยูHในภาวะนั้นๆ

ที่มา : https://laveldanaylor.wordpress.com/2012/10/03/

Feeling : ความรู#สึกตHอสถานการณDตรงหน#า เชHน สุข เศร#า เหงา หดหูH สงสาร


Feeling About Feeling : ความรู#สึกตHอความรู#สึก เปBนความรู#สึกในระดับที่สอง วHาเรารู#สึกตHอความรู#สึก
ของเราอยHางไร เชHน เรารู#สึกสุขเมื่อไมHทำงาน นอนดูซีรีสDอยูHเฉยๆ แตHเรารู#สึกไมHพอใจที่ตัวเองมีความสุข กังวลวHา
ความสุขที่เกิดขึ้นจากการดูซีรีสDแทนที่จะไปทำงาน เปBนเรื่องไมHสมควร
Perception : การรับรู#ที่ไมHใชHแคHรู#สึก แตHผHานการตีความ มีความคิด สมมติฐาน ความเชื่อ วHาตัวเองทำสิ่ง
นั้นเพราะอะไร ทำไปด#วยเหตุผลอะไร และเปBนทัศนคติหรือตีความผHานประสบการณDของเรา
Expectation : ความคาดหวัง เปBนได#ทั้งความคาดหวังวHาอยากให#ตัวเองรู#สึกหรือคิดอะไร, คาดหวังวHาคน
อื่นจะคิดอยHางไรกับเรา และ ความคาดหวังของผู#อื่นตHอตัวเรา เชHน คาดหวังวHาตัวเองจะต#องเข#มแข็งกวHานี้ และ
คาดหวังให#คนอื่นเชื่อใจ อยากให#คนอื่นเข#าใจวHาตัวเองคิดอะไรอยูH
Yearning : ความปรารถนา ความต#องการแท#จริง เชHน ปรารถนาจะถูกรัก เคารพ ได#รับการยอมรับ อยHาง
ที่ ศ.พญ. นงพงา ลิ้มสุวรรณ หัวหน#าภาควิชาจิตเวชศาสตรD คณะแพทยศาสตรD โรงพยาบาลรามาธิบดี อธิบายวHา
คือ ‘อาหารใจ’
Self – "ตัวตน" : ตัวตนลึกๆ หรือแกHนแกนของตัวเอง

การทำความเข# า ใจที ่ ม าของพฤติ ก รรมมนุ ษ ยD ชH ว ยให# ผ ู # ใ ห# ก ารปรึ ก ษาสามารถให# ก ารปรึ ก ษาได# มี


ประสิทธิภาพมากขึ้น
69

คุณลักษณะของผู.ให.การปรึกษาตามแบบฉบับของศาสดามูหัมมัด ( )

อัลลอฮD (ซบ.) ได#กลHาวถึงทHานศาสดาในฐานะความเมตตา (เราะหDมัต) หนึ่ง ที่ได#ทรงประทานลงมาสำหรับ


ชาวโลกทั้งหลาย โดยพระองคDได#ทรงตรัสวHา :

‫ﺳْﻠﻧَﺎَك إِﱠﻻ َرْﺣَﻣﺔً ِﻟْﻠَﻌﺎﻟَِﻣﯾَن‬


َ ‫َوَﻣﺎ أَْر‬
“และเรามิได.สAงเจ.ามาเพื่ออื่นใด เว.นแตAเป„นความเมตตาแกAสากลโลก”
(อัลอัมบิยาอD : 107)

นอกจากนี้คำสอนจากทHานศาสดามูหัมมัด ( ) กลHาวไว#มีใจความสรุปได#วHา " การรHวมมือกัน เปรียบเสมือนการ


ลงเรีอลำเดียวกัน ทุกคนจะต#องดูแลตักเตือนกัน ไมHปลHอยให#ผู#ที่ไมHรู# ทำตามความต#องการ โดยไมHคิดถึงความ
หายนะของคนบนเรือทั้งหมด"
(บันทึกโดย อัลบุคอรียD)
ศาสดามูหัมมัด ( ) เปBนตัวอยHางที่ดีของการให#การปรึกษา ตามคุณลักษณะที่ทHานได#ปฏิบัติไว#ให#เราได#
ศึกษา

1. ทักษะการใสAใจ
หัวใจสำคัญของความสัมพันธDในการให#การปรึกษาคือทัศนคติและทักษะการใสHใจ หมายรวมถึงความเห็น
อกเห็นใจและการคิดบวกอยHางไมHมีเงื่อนไขเปBนลักษณะสHวนบุคคลที่สำคัญที่สุดสำหรับการให#คำปรึกษาที่มี
ประสิทธิภาพ 36ความเห็นอกเห็นใจเปBนการมองโลกผHานสายตาของผู#อื่น คุณลักษณะหนึ่งที่โดดเดHนเสมอใน
คุณลักษณะของทHานศาสดา ( ) คือการใสHใจ วิธีที่ทHานพาตัวเองไปอยูHกับคนอื่น ๆ นั้นไร#ที่ติ และนี่คือเหตุผล
ที่อัลลอฮDทรงอธิบายวHาทHานเปBนบุคคลที่มีมาตรฐานสูงสHง จากหลักฐานทางอัลกุรอHาน กลHาวไว#

ٍ ُ ‫َوِإﻧﱠَك ﻟََﻌﻠَٰﻰ ُﺧﻠ‬


‫ق َﻋِظﯾٖم‬
ความวHา "และแท#จริงเจ#านั้นอยูHบนคุณธรรมอันยิ่งใหญH"
(อัลเกาะลัม 68 : 4)

36
Rogers (1957)
70

ทHานศาสดา ( ) ตระหนักดีถึงบทบาทสำคัญที่แสดงความเห็นอกเห็นใจในการพัฒนามนุษยDที่เฉลียว
ฉลาด และกระตือรือร#นที่จะให#การศึกษาแกHผู#คนตั้งแตHอายุยังน#อยถึงคุณคHาที่สำคัญนี้ ในอีกโองการหนึ่งของ
อัลกุรอาน อัลลอฮDตรัสไว#

‫م‬ٞ‫ف ﱠرِﺣﯾ‬ٞ‫ص َﻋﻠَۡﯾﻛُم ِﺑﭑۡﻟُﻣۡؤِﻣِﻧﯾَن َرُءو‬


ٌ ‫ل ِّﻣۡن أَﻧﻔ ُِﺳﻛُۡم َﻋِزﯾٌز َﻋﻠَۡﯾِﮫ َﻣﺎ َﻋِﻧﺗ ﱡۡم َﺣِرﯾ‬ٞ‫ﻟَﻘَۡد َﺟﺎ َٓءﻛُۡم َرﺳُو‬

ความวHา " แท#จริงมีรอซูลคนหนึ่งจากพวกทHานเองได#มาหาพวกทHานแล#ว เปBนที่ลำบากใจแกHเขาในสิ่งที่พวกทHาน


ได#รับความทุกขDยาก เปBนผู#หHวงใยในพวกทHาน เปBนผู#เมตตา ผู#กรุณาสงสาร ตHอบรรดาผู#ศรัทธา"
(อัตเตาบะหD 9 : 128)

โองการนี้ยังเน#นที่ทัศนคติที่เปBนคุณลักษณะของการเห็นอกเห็นใจของทHานศาสดา ( ) ทHานต#องการที่
จะพยายามให#บรรดาผู#ศรัทธาเข#าใจซึ่งกันและกัน และเข#าใจกันและกันวHารู#สึกอยHางไร ทHานเน#นย้ำวHา "คนหนึ่งคน
ใดในบรรดาพวกท4านจะยังไม4ศรัทธา จนกว4า เขาจะรักจะชอบที่จะให8แก4พี่น8องของเขา ดังเช4นที่เขารักชอบที่จะให8
สิ่งนั้นได8แก4ตัวของเขาเอง" 37 คำวHา ยังไมHศรัทธา ตรงนี้ หมายถึง มีการศรัทธาแล#ว แตHจะยังไมHครบถ#วน
สมบูรณD จนกวHาเขาจะรักจะชอบที่จะให#แกHพี่น#องของเขา ดังเชHนที่เขารักชอบที่จะให#สิ่งนั้นได#แกHตัวของเขาเอง

ที่มา: IOU's Islamic Counselling Service

37
บุคอรีและมุสลิม อ#างใน IslamToday, nd)
71

2. การมองในแงAดีอยAางไมAมีเงื่อนไข
อีกลักษณะหนึ่งของผู#ให#การปรึกษาที่มีประสิทธิภาพ คือ การมองในแงAดีอยAางไมAมีเงื่อนไข ไมAมีอคติ
หรือการยอมรับอยAางไมAมีเงื่อนไข ซึ่งเปBนที่ยอมรับในหลักคิดของอิสลาม แนวคิดเรื่องการมองโลกในแงHดีอยHางไมHมี
เงื่อนไขมีพื้นฐานอยูHบนแนวคิดที่วHามนุษยDต#องการเปBนคนสำคัญในชีวิตเพื่อยอมรับและรักพวกเขาในสิ่งที่พวกเขา
เปBน โดยไมHคำนึงถึงความผิดพลาดที่พวกเขาทำ ในกระบวนทัศนDอิสลาม มีหลักฐานที่บHงชี้วHาการมองในแงHดีอยHางไมH
มีเงื่อนไขอาจมีประโยชนDอยHางยิ่ง มีการระบุวHาในฐานะที่เปBนมุสลิม เราเข#าใจวHาการมองโลกในแงHดี คือการมอง
โลกในแงHดีตHออัลลอฮDและซึ่งกันและกันด#วย38 เรื่องราวของนบีนูฮD (ซุเราะหDฮัด 11: 25–6) เปBนตัวอยHางที่ดีของการ
ให#ความสำคัญกับคนที่ดื้อรั้นและไมHเชื่อฟ\ง และหลักฐานที่เลHาโดยอนัส บิน มาลิก วHา รอซูลของอัลลอฮD ( )
กลHาวไว# ความวHา "ชHวยพี่น#องของคุณ ไมHวHาเขาจะเปBนผู#กดขี่หรือกำลังถูกกดขี่" ผู#คนถามวHา 'โอ#ทHานศาสนทูต
ของอัลลอฮD! เราชHวยคนที่ถูกกดขี่ แตHเราจะชHวยผู#กดขี่ได#อยHางไร?' ทHานศาสดา ( ) กลHาววHา "โดยการจับมือของ
เขา (ปxองกันเขาจากการกดขี่) 39

3. ทักษะการฟTง
การฟ\งเปBนอีกลักษณะหนึ่งของที่ปรึกษาที่มีประสิทธิภาพ Ibrahim bin al-Junaid (อ#างใน Bone, 2010)
ได#กลHาวไว#วHา 'นักปราชญDคนหนึ่งพูดกับลูกชายของเขาวHา: "จงเรียนรู#ศิลปะแหHงการฟ\งในขณะที่คุณเรียนรู#ศิลปะ
แหHงการพูด การฟ\งให#ดีหมายถึงการสบตา ทำให#ผู#พูดสามารถพูดให#จบ และห#ามตัวเองไมHให#ขัดจังหวะคำพูดของ
เขา” มีหลักฐานเพียงพอที่แสดงให#เห็นประสิทธิผลของการฟ\งเพื่อการบำบัดในฐานะเครื่องมือในการบำบัด (Frick
and Young, 2009) ทHานศาสดา ( ) จะตั้งใจฟ\งข#อร#องเรียน คำถาม และความคิดของทุกคนอยHางตั้งใจ ไมHวHา
จะเปBนสหาย ภรรยา ใครก็ตามที่อยูHตามท#องถนน หรือผู#ปฏิเสธศรัทธาเชHนกัน ทHานยังทำให#คนที่ทHานฟ\งอยูHรู#สึกวHา
เขาหรือเธอเปBนคนที่สำคัญที่สุด มีรายงานวHาทHานรอซูล( ) ในขณะที่ฟ\ง ทHานจะหันรHางกายทั้งหมดของเทHานไป
ทางบุคคลนั้น สบตา ภาษากายของทHานจะสะท#อนถึงความต#องการ ความรู#สึก หรือความคิดที่แสดงออกมา เขาจะ
อนุญาตให#บุคคลนั้นบอกความคิดของตนเองและจะสะท#อนความเพื่อให#บุคคลนั้นรู#วHาเขาเข#าใจอะไรกHอนที่จะ
ตอบสนองในการสื่อสารนั้น (Rahmaa Institute, n.d.)

หลักทั่วไปของทักษะการฟ\งแบบสองทาง (Two way Communication) คือ ฟ\งอยHางตั้งใจ (Active


Listening) ในเนื้อหาสาระและอารมณD ที่แสดงออกมา

38
(Shehadeh, 2012)
39
(Bukhârî, อ#างใน UK Muslimah, n.d.)
72

- การฟ\งอยHางใสHใจ ตามหลัก LADDER


L = Look : มองประสานสายตา ฟ\งอยHางมีสติ พยายาม จับประเด็นสำคัญของป\ญหา
A = ASK: ซักถามจุดที่สงสัยในประเด็นป\ญหาและ แกะรอยตามป\ญหา
D = Don’t interrupt: ไมHแทรกหรือขัดจังหวะ
D = Don’t change the subject: ไมHเปลี่ยนเรื่องไปมา แตHให#ตามแกะรอยทีละประเด็น
E = Emotion: ใสHใจการแสดงออกทางอารมณDทั้งภาษา กายและภาษาทHาทาง
R = Response : แสดงสีหน#า ทHาทางตอบสนอง

4. ความสอดคล.องกลมกลืน/ ความจริงใจ
ความสอดคล#องกลมกลืน/ ความจริงใจ หมายถึง คุณภาพในเชิงความสัมพันธDของการให#การปรึกษา ความ
สอดคล#องกลมกลืนกันมีสองด#าน40 เปBนทั้งลักษณะสHวนบุคคล (ภายในบุคคล) ของผู#ให#การปรึกษา และคุณภาพ
จากประสบการณDของความสัมพันธDในการให#การปรึกษา (ระหวHางบุคคล)

มีหลักฐานที่บHงชี้วHาผู#ให#การปรึกษาที่มีประสิทธิภาพที่ใช#รูปแบบของความสอดคล#องกัน อาจรวมถึงการ
เป‰ดเผยตนเองตลอดจนการแบHงป\นความคิดและความรู#สึก ความคิดเห็น คำถามที่ชี้เฉพาะ และข#อเสนอแนะ
เกี่ยวกับพฤติกรรมของผู#รับการปรึกษา41 ศาสดามูฮัมหมัด ( ) แสดงถึงความสอดคล#อง ความจริงใจในการติดตHอ
กับผู#คน มีรายงานวHา ทHานนั่งอยูHที่ใดก็ได#ในที่ชุมนุม ไมHใชHตรงกลาง ทHานไมHได#เลือกชั้นสถานะ และทHานปฏิเสธเมื่อมี
คนต#องการจะยืนหยัดเพื่อทHาน มีการกลHาวไว#วHาทHานอนุญาตให#มีการติดตHอกับทHานโดยตรงเปBนการสHวนตัวทั้งมิตร
และศัตรู ทHานเคยเคลียรDพื้นที่ตรงข#ามมHานสำหรับแขกและไมHเคยถอนตัวออกจากการสนทนากHอน แม#วHามันจะเริ่ม
มีความก#าวร#าว42 กฎทองนี้สะท#อนให#เห็นในพฤติกรรมของทHานนบี ( ) ผู#สอนวHาการยิ้มเปBนกุศล แม#แตHกับคน
แปลกหน#า และมักใช#ชื่อที่ชนื่ ชอบของบุคคลเพื่อเรียกเขา แม#กระทั่งกับศัตรู
ลักษณะของทHานศาสดาที่นHาประทับใจอยHางมากสำหรับภาพของความสอดคล#องและจริงใจ ได#แกH การ
เคารพแม#แตHเด็กหรือคนที่จนที่สุด จนกระทั่งแตHละคนคิดวHาตนเองเปBนที่โปรดปรานที่สุด: ทHานศาสดา ( ) ได#รับ
น้ำแล#วเขาก็ดื่มจากมัน ทางด#านขวาของเขามีเด็กผู#ชายคนหนึ่งและด#านซ#ายของเขาเปBนชายชราคนหนึ่ง ทHานถาม
เด็กชายวHา 'เธอรังเกียจไหมถ#าฉันเอาน้ำให#พวกเขา' เด็กชายกลHาววHา 'โอ#ทHานศาสดา ศาสนาทูตของอัลลอฮD ฉันจะ
ไมHสละสิทธิ์ในการดื่มเพื่อใคร (เพราะฉันนั่งทางด#านขวา) ทHานศาสดา ( ) จึงยื่นน้ำให#เด็ก43

40
Kolden et al., 2011
41
Kolden et al., 2011
42
el-Nadi, 2010
43
(Bukhârî, cited in Zaatari, n.d.)
73

5. การปลูกฝTงความหวัง
คุณลักษณะหนึ่งของผู#ให#การปรึกษาที่มีประสิทธิภาพซึ่งถูกละเลยในวรรณกรรมที่ผHานมา คือการปลูกฝ\ง
ความหวัง การปลูกฝ\งความหวังเปBนสHวนสำคัญของการให#คำปรึกษา (การบำบัดแนวอัตถิภาวนิยม (Existential
Therapy) Yalom (2005) อ#างวHาเปBน "ป\จจัยหลัก" ประการแรกในประสบการณDการรักษา การปลูกฝ\งความหวัง
ให#เส#นทางกลับสูHความรู#สึกถึงความเปBนไปได#ในชีวิตของเราเมื่อเกือบทุกอยHางดูเหมือนหายไป สำหรับผู#ศรัทธา
การดุอาอตHออัลลออD ผู#ทรงเดชานุภาพ การขออภัยโทษ และมีความหวังในบททดสอบและความยากลำบาก อัลกุ
รอHานบอกกับเราวHา หลังจากความยากลำบากจะมีความงHายดาย ความหวังคือการยอมรับความจริงนั้นวHาสิ่งตHางๆ
จะดีขึ้น และชHวงเวลาแหHงความสุขจะมาถึง ตามคำกลHาวของ Imam Tahawiyyah (n.d.), หากชายคนหนึ่งทำบาป
เขาสำนึกผิดอยHางจริงใจและหวังในการได#รับการอภัย

‫ِإﱠن َﻣَﻊ اْﻟﻌ ُْﺳِر ﯾ ُْﺳًرا‬


แท#จริงหลังจากความยากลำบากก็จะมีความ
งHาย (อัลกุรอานบทอัล-อินชิรอฮฺ 94 : 6)

มุสลิมเข#าใจดีวHาความเจ็บปiวย ความทุกขDทรมาน และการตายเปBนสHวนหนึ่งของชีวิตและบททดสอบ


จากอัลลอฮD มีระบุไว#ในอัลกุรอานวHา :

‫ﺷِر ٱﻟ ٰ ﱠ‬
‫ﺻِﺑِر‬ ٖ ‫ف َوٱۡﻟُﺟوعِ َوﻧَۡﻘ‬
ِ ۗ ‫ص ِّﻣَن ٱۡﻷ َ ۡﻣَٰوِل َوٱۡﻷ َﻧﻔ ُِس َوٱﻟﺛ ﱠَﻣَٰر‬
ّ ِ َ‫ت َوﺑ‬ ِ ‫ﺷۡﻲٖء ِّﻣَن ٱۡﻟَﺧ ۡو‬
َ ‫َوﻟَﻧَۡﺑﻠ َُوﻧﱠﻛُم ِﺑ‬
‫ﯾَن‬
ความวHา "และแนHนอน เราจะทดลองพวกเจ#าด#วยสิ่งใดสิ่งหนึ่งจากความกลัว และความหิวและด#วยความสูญเสีย
(อยHางใดอยHางหนึ่ง) จากทรัพยDสมบัติ ชีวิต และพืชผล และเจ#าจงแจ#งขHาวดีแกHบรรดาผู#อดทนเถิด"
(อัลบากอเราะหD : 155)

มุสลิมถือวHาความเจ็บปiวยเปBนการชดใช#บาป และความตายเปBนสHวนหนึ่งของการเดินทางเพื่อพบกับพระ
เจ#า สุขภาพและความเจ็บปiวยเปBนสHวนหนึ่งของความตHอเนื่องของการเปBนอยูH และความศรัทธา ความเชื่อทาง
ศาสนายังคงเปBนความรอดทั้งในด#านสุขภาพและการเจ็บปiวย ความเชื่อทางศาสนานำไปสูHการเผชิญป\ญหาในเชิง
บวก โดยที่มุสลิมแสวงหาการควบคุมตHางๆผHานพระเจ#า การขออภัยโทษจากพระเจ#า และพยายามให#อภัยผู#อื่น ดึง
74

ความเข#มแข็งและการปลอบโยนตนเองจากความเชื่อทางจิตวิญญาณ และค#นหาการสนับสนุนจากชุมชนทางจิต
วิญญาณหรือศาสนา การกระทำเหลHานี้นำไปสูHความทุกขDทางจิตใจน#อยลง44 มุสลิมมักจะรู#สึกสบายใจในความเชื่อ
และการปฏิบัติทางศาสนาหรือจิตวิญญาณในชHวงเวลาที่วิกฤต เปBนสิ่งสำคัญที่ผู#ให#การปรึกษาเมื่อสร#างสัมพันธภาพ
แล#ว สHงเสริมการแสดงออกทางจิตวิญญาณ ผู#ให#การปรึกษาควรอำนวยความสะดวกในเรื่องนี้ด#วยการสร#างการเป‰ด
กว#าง สร#างความไว#วางใจ และเคารพตHอการแสดงออกทางจิตวิญญาณของผู#รับการปรึกษา

สมรรถนะทางวัฒนธรรมของการปรึกษา

โครงสร#างหนึ่งที่สำคัญตHอผู#ให#บริการการให#การปรึกษาทางสุขภาพจิตที่สามารถใช#การทำความเข#าใจการ
ทำงานในวัฒนธรรมของผู#รับการปรึกษา คือการมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม หมายถึง การมีความไว มีความเข#าใจใน
วัฒนธรรมของผู#รับการปรึกษา โดยเน#นไปที่ 8 องคDประกอบ ได#แกH 1) การใช#ภาษาที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมของ
ผู#รับการปรึกษา 2) บุคคลซึ่งมีบทบาทที่เหมือนกันในทางเชื้อชาติและเผHาพันธุD และความแตกตHางระหวHางผู#รับการ
ปรึกษาและผู#ให#การปรึกษา 3) อุปลักษณD เชHน สัญลักษณDทางวัฒนธรรมที่ใช#รHวมกันโดยคนสHวนใหญHในสังคม 4)
เนื้อหา เชHน ความรู#ทางวัฒนธรรม คุณคHา และประเพณีที่เฉพาะเจาะจง 5) แนวคิด เชHนแนวคิดการรักษาเยียวยา
ที่สอดคล#องกับบริบททางวัฒนธรรมของผู#รับการปรึกษา 6) เปxาหมาย การสื่อสารในทางบวกและคHานิยมที่ปรับ
ใช#ได#และสานตHอกันสนับสนุนทางบวกตHอคุณคHาของการปรับตัวของวัฒนธรรมของผู#รับการปรึกษา 7) วิธีการ คือ
แผนการเยียวยารักษาทางวัฒนธรรมที่สอดคล#องกัน และ 8) บริบททางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของผู#รับการ
ปรึกษาและการเยียวยารักษา 45 ทั้ง 8 ป\จจัย Bernal, Bonilla & Bellido (1995) พัฒนาจากรูปแบบการบริการ
ทางสุขภาพที่พิจารณาสมรรถทางวัฒนธรรมมาใช#ในระบบการบำบัดรักษา โดยพัฒนาเปBนแบบจำลองความตรง
ตามสภาพแวดล#อม (Ecological Validity Model) แบบจำลองนี้เปBนประโยชนDตHอการสร#างเครื่องมือที่เกี่ยวข#อง
กับวัฒนธรรมโดยใช#แนวคิดของ Ecological มีองคDประกอบและเกณฑDที่ใช#ในการประเมินรูปแบบการชHวยเหลือ
ด#านความละเอียดอHอนเชิงวัฒนธรรม
1. ด.านภาษา (Culturally syntonic) ภาษาที่ใช#ในระหวHางการให#การปรึกษาต#องเปBนภาษาที่เหมาะสม
และสอดคล#องกับผู#รับการปรึกษา ภาษาเปBนตัวนำพาวัฒนธรรม การให#การปรึกษาใดๆที่ไมHสามารถเข#าใจในภาษา
ได#เปBนการยากที่จะเริ่มต#นการบำบัด สิ่งที่ต#องพิจารณาในองคDประกอบของภาษาในระหวHางการให#การปรึกษา คือ
ความรู#ของภาษาที่เหมือนกันกับความรู#ในวัฒนธรรมนั้นๆ ภาษายังเกี่ยวข#องกับประสบการณDการแสดงออกทาง
อารมณD และจำเปBนที่จะต#องพิจารณาในกระบวนการการให#การปรึกษา ผู#ให#การปรึกษาที่ใช#ภาษาที่มีลักษณะ

44 Pargament et al., 1998


45 Bernal et al., 1995
75

เดียวกันกับวัฒนธรรมผู#รับการปรึกษา โดยเฉพาะภาษาในท#องถิ่น พื้นที่ หรือวัฒนธรรมยHอยในกลุHม ภาษาที่มีความ


ไวและสอดคล#องกับวัฒนธรรมของผู#รับการปรึกษาเปBนเครื่องมือที่จะชHวยให#การให#การปรึกษาได#รับความสนใจและ
คงอยูHในกระบวนการการให#การปรึกษาได#นานขึ้น
2. ด.านบุคคล (Person) เน#นสัมพันธภาพในระหวHางการให#การปรึกษาระหวHางตัวแปรด#านผู#รับการ
ปรึกษาและผู#ให#การปรึกษา ความไวทางวัฒนธรรมในป\จจัยด#านนี้ให#ความสำคัญในบทบาทของความเหมือนและ
ความตHางของเชื้อชาติระหวHางผู#รับการปรึกษาและผู#ให#การปรึกษา คำนึงถึงความสอดคล#องกัน การพูดคุยใน
ประเด็นเชื้อชาติ เปBนพื้นฐานสำคัญของประสิทธิภาพที่จะเกิดขึ้น (Jones,1978) ในการสร#างสัมพันธภาพขณะการ
ให#การปรึกษา รูปแบบการให#การปรึกษาที่คำนึงถึงชนกลุHมน#อยเปBนรากกฐานที่จำเปBนที่จะชHวยให#เกิดการยอมรับ
ในกระบวนการการให#การปรึกษา ให#ความสำคัญในวิธีการที่จะเข#าใจความเหมือนและความแตกตHางและรHวมกัน
ทำงาน การพัฒนาคูHมือการบำบัดในด#านจิตสังคมต#องคำนึงและมีความยืดหยุHนในประเด็นความเหมือนและความ
แตกตHางของชนกลุHมน#อยเพื่อสร#างสัมพันธภาพในการบำบัด ป\จจัยด#านบุคคล ให#ความสำคัญของความเหมือน
ระหวHางผู#รับการปรึกษาและผู#ให#การปรึกษา ถือเปBนเรื่องสำคัญในการมีผู#ปฏิบัติงานสุขภาพจิตที่จะเข#าใจวัฒนธรรม
ของผู#รับการปรึกษาและจะสร#างความสัมพันธDที่ดีตHอกัน
3. ด. า นการอุ ป มาอุ ป มั ย หรื อ สั ญ ลั ก ษณD ใ นระหวH า งการให# ก ารปรึ ก ษา(Symbols & Metaphors)
หมายถึง สัญลักษณDหรือการใช#อุปมาอุปมัยทั่วไปในสังคม ตัวอยHางครอบครัวชาวลาติน ให#ความสำคัญกับการ
ต#อนรับผู#รับการปรึกษา ห#องรอคอยแสดงถึงความรู#สึก ความเข#าใจ ความสะดวกสบาย และสิ่งแวดล#อมที่มีความ
เหมือนกันในวัฒนธรรมของผู#รับการบำบัด (Munoz,1982) รวมถึงความคิดและการจินตนาการที่เปBนวัฒนธรรม
เดียวกัน แม#แตHการใช#คำอุปมาอุปมัย คำแสลงที่ใช#ในกลุHมผู#รับการบำบัดซึ่งพบวHาการใช#สิ่งเหลHานี้จะชHวยลดแรง
ต#าน เพิ่มแรงจูงใจและเปBนจุดแข็งในกระบวนการบำบัด
4. ด. า นเนื ้ อ หา (Contents) หมายถึ ง ความรู # ท างวั ฒ นธรรม ข# อ มู ล ทางวั ฒ นธรรมในด# า นคุ ณ คH า
ประเพณีตHางๆ การมีความเหมือนในคุณคHาของชนกลุHมน#อยเปBนจุดเริ่มต#นที่สำคัญในกระบวนการบำบัด การเคารพ
ในคุณคHา คHานิยมที่ผู#รับการบำบัดยึดถือ (เชHน ความศรัทธา บทบาททางเพศ) รวมถึง สังคม เศรษฐกิจ ประวัติ
เบื้องหลัง และการเมือง การออกแบบในการรHวมแลกเปลี่ยนประสบการณDในเนื้อหาเพื่อการบำบัดในกลุHมชนกลุHม
น#อยเปBนประเด็นที่ควรให#ความสำคัญ
5. ด.านแนวคิดหลักการ (Concepts) หมายถึง โครงสร#างที่ใช#ในรูปแบบการให#การปรึกษาด#วยแนวคิด
ทางจิตสังคม การเข#าใจและประมวลป\ญหาของผู#รับการบำบัดภายใต#วัฒนธรรม คุณคHา หรือระบบความเชื่อของ
ผู#รับการปรึกษา โครงสร#างของหลักการ รูปแบบการบำบัดสอดคล#องกับคุณคHาทางวัฒนธรรม นิยามป\ญหาที่
สอดคล#องกับวัฒนธรรม
6. ด.านเป”าหมายในการให.การปรึกษา (Goals) เปBนองคDประกอบที่ต#องมีในการสร#างกรอบแนวคิดเพื่อ
การเข#าถึงวัฒนธรรมของผู#รับการปรึกษา ผู#รับการปรึกษาและผู#ให#การปรึกษาออกแบบการวางเปxาหมายเพื่อการ
76

ให#การปรึกษาที่ชัดเจน และสอดคล#องกับคุณคHา วัฒนธรรม ประเพณีของผู#รับการปรึกษา โดยเฉพาะด#านควาทเชื่อ


ด#านจิตวิญญาณ การออกแบบเปxาหมายการการให#การปรึกษาที่สอดคล#องเปBนสิ่งสำคัญที่จะชHวยเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการให#การปรึกษา
7. ด. า นวิ ธ ี ก าร (Methods) เพื ่ อ เพิ ่ ม ความสำเร็ จ ของเปx า หมายในการให# ก ารปรึ ก ษา ความรู # ท าง
วัฒนธรรมกับเครื่องมือในการให#การปรึกษา หากวิธีการ และเครื่องมือที่ชHวยแก#ไขป\ญหาที่ผู#ให#การปรึกษาสร#างขึ้น
ไมHสอดคล#องกับวัฒนธรรมหรือผู#รับการปรึกษาไมHยอมรับหรือไมHเห็นด#วย ประสิทธิภาพในการให#การปรึกษาจะ
ลดลง (Sue & Zane, 1987)
8. ด.านบริบท (Context) เปBนการพิจารณาการเปลี่ยนแปลงบริบทของผู#รับการปรึกษา ในขณะทำการ
ประเมินรวบรวมข#อมูลระหวHางการให#การปรึกษา สัมพันธภาพระหวHางบุคคล และการทำหน#าที่ทางสังคม การให#
การปรึ กษาที ่ คำนึ ง ถึ ง ประเด็ นที ่ เ กี ่ ยวข# องกั บบริ บท ตH า งๆ เชH น ความเครี ยด แหลH ง สนั บสนุ นทางสั ง คม
สัมพันธภาพในครอบครัว การเข#าสูHวัฒนธรรมการรักษาในสถานพยาบาล การมีความหHวงใยตHอสถานะทาง
เศรษฐกิจ สังคม การเมืองในระหวHางการให#การปรึกษา
จากการตระหนักที่เพิ่มขึ้นของความต#องการการให#การปรึกษาที่มีประสิทธิภาพกับวัฒนธรรมของผู#รับการ
ปรึกษามุสลิม มีการพัฒนาใหมHในลักษณะและขอบเขตของการให#การปรึกษาอิสลาม วิธีที่จะสรุปลักษณะและ
กระบวนการของการให#การปรึกษาคือจิตวิญญาณที่เกี่ยวกับความหมายและสาระสำคัญของชีวิต เกี่ยวข#องกับการ
ใช#ทักษะการให#การปรึกษาและสัมพันธภาพ การให#คำแนะนำ (ตามความเหมาะสม) การให#ความรู#แกHผู#รับการ
ปรึกษาในด#าน อากีดะหD ฟ‰กตD และการทำงานรHวมกับผู#คนเพื่ออำนวยความสะดวกในการเติบโตและการพัฒนา
ทางจิตใจและจิตวิญญาณ เนื่องจากหลักการและแนวปฏิบัติของการให#การปรึกษาอิสลามยังไมHอยูHในรูปแบบที่
สามารถตรวจสอบการนำไปใช#จริงได# ขั้นแรกจึงต#องมีแนวทางที่สามารถรวมเข#ากับกรอบทางทฤษฎีได# ซึ่งต#องมี
การศึกษาตHอไป
77

ภาษา

บริบท เป:าหมาย

สมรรถนะ
เนื้อหา ทาง แนวคิด
วัฒนธรรม

บุคคล วิธีการ
อุปมาอุป
มัย

สมรรถนะทางวัฒนธรรมของการปรึกษา
78

โดยสรุปแล#วคุณลักษณะของผู#ให#การปรึกษา ได#แกH

ã มีความเข#าใจในวัฒนธรรม จิตวิญญาณของผู#รับการปรึกษา
ã มีความเปBนกันเอง จริงใจ
ã ไว#วางใจได# รักษาเรื่องที่ได#รับฟ\งไว#เปBนความลับ
ã มีความเห็นอกเห็นใจผู#อื่น ไมHมีอคติ ยอมรับอยHางไมHมีเงื่อนไข
ã สร#างความหวังของการใช#ชีวิต
ã เปBนนักฟ\งที่ดี ยินดีรับฟ\งความทุกขDของผู#อื่น ไมHดูถูกคนที่มีป\ญหา ไมHเห็นป\ญหาของคนอื่นเปBนเรื่อง
ตลก
ã ไวตHออารมณDความรู#สึกของตนเองและผู#อื่น ทั้งคำพูด และภาษาทHาทาง
ã เชื่อวHาทุกคนมีความสามารถในการแก#ไขป\ญหา
ã เข#าใจและยอมรับวHาทุกคนมีความแตกตHางกันในเรื่อง ความคิด นิสัยใจคอ ความสามารถ
ã ยอมรับในการตัดสินใจของผู#รับการปรึกษา

หลักการชAวยเหลือ
1) ใช#วิธีการนุHมนวล อHอนโยน เข#าใจถึงอารมณDความรู#สึก ของผู#รับการปรึกษา มีความเห็นอกเห็นใจ
(Empathy) ความยืดหยุHน การให#กำลังใจ ฟ\งอยHางใสHใจ ยอมรับผู#รับการปรึกษาโดยไมHมีอคติ
2) ใช#วิธีการแก#ไขป\ญหาอยHางเปBนระบบ มีเหตุมีผล เพื่อให#มองเห็นทางออกของป\ญหา โดยรักษาความลับ
การแก#ป\ญหา อยHางเปBนระบบ มีทักษะในการสื่อสาร บุคลิกภาพมั่นคงในอารมณD มีหลักการมีเหตุมีผล
79

บรรณานุกรม

อ.างอิงหลักการปรึกษาอิสลาม จากหนังสือ Hussein G. Rassool. (2015). Islamic counselling : an


introduction to theory and practice. Swales & Willis Ltd, Exeter, Devon, UK

Al-Qur’an al-Karim

Al Nasiha Services (n.d.) ‘What we do’, Al Nasiha Services, Derby Choice Micro Support Network.
Online at http://derbychoice.org.uk/suppliers/faith-therapy/ (accessed 11 October 2014).
Betancourt, J. (2004) ‘Cultural competence – marginal or mainstream movement?’, New England
Journal of Medicine, 351(10): 953–4.
Bone, D. (2010) ‘The importance of listening’, Emel, 73 (October). Online
at www.emel.com/article?id=77&a_id=2165 (accessed 7 December 2013).
British Association for Counselling & Psychotherapy (BACP) (n.d.) ‘What is counselling &
psychotherapy?’. Online at www.bacp.co.uk/crs/Training/whatiscounselling.php (accessed
8 August 2014).
Charema, J. and Shizha, E. (2008) ‘Counselling indigenous Shona people in Zimbabwe: Traditional
practices vs Western Eurocentric perspectives’, AlterNative: An International Journal of
Indigenous Peoples, 4(2): 123–39.
el-Nadi, S. (2010) ‘Prophet Muhammad’s communication skills, part 3’ (blog). Online
at http://assalamualaikumpeace.blogspot.com/2010/03/prophet-muhammads-
communication-skills.html (accessed 8 August 2014).
Farber, B.A. and Doolin, E.M. (2011) ‘Positive regard’, in J.C. Norcross (ed.) Psychotherapy
Relationships that Work: Evidence-based Responsiveness (2nd edn), New York: Oxford
University Press.
Feltham, C. and Dryden, W. (2004) Dictionary of Counselling (2nd edn), London: Whurr.
Frick, S. and Young, S. (2009) Listening with the Whole Body: Clinical Concepts and Treatment
Guidelines for Therapeutic Listening, Madison, WI: Vital Links.
80

Hussein G. Rassool. (2015). Islamic counselling : an introduction to theory and practice. Swales &
Willis Ltd, Exeter, Devon, UK
Haque, A. and Kamil, N. (2012) ‘Islam, Muslims, and mental health’, in S. Ahmed and M. Amer
(eds) Counseling Muslims: Handbook of Mental Health Issues and Interventions. New York:
Routledge.
Imam Tahawiyyah (n.d.) ‘Full translation of Ibn Abil ‘Izz’s Sharh Aqeedah al-Tahawiyyah’,
MuslimMatters. Online at http://muslimmatters.org/2008/09/11/full-translation-of-sharh-
aqeedah-al-tahawiyyah/ (accessed 9 August 2014).
Katz, J. (1985) ‘The sociopolitical nature of counselling’, Counselling Psychologist, 13: 615–24.
Kolden, G.G., Klein, M.H., Wang, C. and Austin, S.B. (2011) ‘Congruence/genuineness’, in J.C.
Norcross (ed.) Psychotherapy Relationships that Work (2nd edn), New York: Oxford
University Press.
Naidoo, A.V. (1996) ‘Challenging the hegemony of Eurocentric psychology’, Journal of Community
and Health Sciences, 2 (2): 9–16.
Puti, S. (2020). Cultural competence and cognitive behavioral therapy for drug addiction
rehabilitation in the three southern border provinces of Thailand. Dissertation of doctor
of philosophy (Social sciences and health) Faculty of Graduate studies, Mahidol
University.
Rahmaa Institute (n.d.) ‘Effective listening’. Online at www.rahmaa.org/resources/effective-
listening/ (accessed 8 August 2014).
Rautalinko, E. (2004) ‘Nondirective counseling: Effects of short training and individual
characteristics of clients’, Acta Universitatis Upsaliensis, Comprehensive Summaries of
Uppsala Dissertations from the Faculty of Social Sciences, 140, Uppsala, Sweden.
Rogers, C.R. (1957) ‘The necessary and sufficient conditions of therapeutic personality
change’, Journal of Counseling Psychology, 21: 95–103.
Rogers, C.R. (1961) On Becoming a Person: A Therapist’s View of Psychotherapy, London:
Constable.
Sharma, R.N. and Sharma, R. (2004) Advanced Applied Psychology (2 vols), New Dehli: Atlantic
Publishers and Distributors.
81

Shehadeh, A. (2012) ‘How to have unconditional positive regard for your students’, Islamic
Teacher Education Program. Online
at http://islamicteachereducation.com/2012/10/25/how-to-have-unconditional-positive-
regard-for-your-students/ (accessed 8 August 2014).
UK Muslimah (n.d.) ‘Help the oppressor by stopping his oppression’. Online
at http://ukmuslimah.co.uk/category/islam/ayahs-hadith-and-islamic-quotes/ (accessed
15 October 2014).
Walden, S.L., Herlihy, B. and Ashton, L. (2003) ‘The evolution of ethics: Personal perspectives of
ACA ethnics committee chairs’, Journal of Counselling & Development, 81: 106–10.
World Health Organization (WHO) (2006) Preventing Suicide: A Resource Guide for
Counselors. Geneva: WHO.
www.40hadithnawawi.com (n.d.) ‘Hadith 7: The religion is Naseehah (sincere advice)’. Online
at www.40hadithnawawi.com/index.php/the-hadiths/hadith-7 (accessed 15 October
2014).
www.islaam.net (n.d.) ‘Hadith 7: The religion is Naseehah (sincere advice). Online
at www.islaam.net/main/display.php?id=136&category=24 (accessed 15 October 2014).
www.zeepedia.com (n.d.) ‘Theory and practice of counselling: Effective counselor: Personal
characteristics model’. Online
at www.zeepedia.com/read.php?effective_counselor_personal_characteristics_model_th
eory_and_practice_of_counselling&b=97&c=8 (accessed 7 August 2014).
Yalom, I.D. (2005) The Theory and Practice of Group Psychotherapy (5th edn), New York: Basic
Books.
Zarabozo, J.M. (2008) ‘Hadith No. 7’, in Commentary on the Forty Hadith of al-Nawawi, Vol. 1,
Denver, CO: Al-Basheer Company for Publications & Translation, pp. 397–415.
สุใจ สHวนไพโรจนD (2563) เอกสารประกอบการอบรมภาวะผู#นำ สำหรับการเลื่อนวิทยฐานะเปBนผู#เชี่ยวชาญของ
บุคลากรทางการศึกษา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรD.
82

ใบความรู.ประกอบการเรียนรู. แนวทางการประเมินและทักษะการให.การปรึกษาขั้นพื้นฐาน

ผู8ช4วยศาสตราจารย& ดร.สรินฎา ปุติ


อ.ดร. ปรีนาภา ชูรัตน&

1. หมวดการเรียนรู:. แนวทางการประเมิน
2. หมวดการเรียนรู:. กระบวนการให.การปรึกษา
3. หมวดการเรียนรู:. ทักษะการปรึกษาที่สำคัญ ทักษะการฟTง การสื่อสารสร.างกำลังใจ
4. หมวดการเรียนรู:. กำลังใจ แรงบันดาลใจ คำปลอบใจ คำสัญญา จากอัลลอฮฺ (ซบ.)
5. หมวดใบงาน: ใบงานที่ 1 ทักษะการฟTง การสะท.อนความ และการชื่นชม ให.กำลังใจ และ
การให.ผู.สังเกตการณQจับประเด็นตAางๆที่สังเกตได.จากกระบวนการสื่อสาร
83

แนวทางการประเมิน

การประเมินเปBนกระบวนการที่ตHอเนื่องและเปBนรากฐานของการปฏิบัติทางคลินิคที่ดีในการให#คำปรึกษา
และจิตบำบัด เปBนองคDประกอบพื้นฐานภายในกรอบของกระบวนการและเนื้อหาภายในแนวทางการให#การปรึกษา
แนวปฏิบัติของกระบวนการประเมินเกี่ยวข#องกับการรวบรวมข#อมูลเพื่อระบุป\ญหา วางแผนการชHวยเหลือ และ
ประเมินและ/หรือวินิจฉัยป\ญหา เปBนกระบวนการที่มีพลวัตและต#องอาศัยสัมพันธภาพที่ดี ซึ่งผู#รับการปรึกษาจะ
ได#รับโอกาสในความสัมพันธDในการให#การปรึกษา เพื่อทำความเข#าใจ 'ป\ญหาและประเด็นป\ญหา' และความ
ต#องการที่เกี่ยวข#อง และให#ข#อมูลเกี่ยวกับการชHวยเหลือที่จำเปBน

วัตถุประสงคDของการประเมินในการให#การปรึกษา
• สร#างการมีสHวนรHวมกับผู#รับการปรึกษา
• สร#างความสัมพันธDเพื่อการรักษาและสายสัมพันธDที่ดี
• ชHวยเหลือป\ญหาทางจิตใจอยHางเรHงดHวน
• ชHวยให#ผู#รับการปรึกษาเข#าใจตนเองดีขึ้น
• ชHวยให#ผู#รับการปรึกษาได#เรียนรู#เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงคDในชีวิตของตนเอง
• รวบรวมข#อมูลสำหรับการวางแผนการชHวยเหลือ
• ให#ข#อเสนอแนะแกHผู#รับการปรึกษา
• ระบุพื้นที่ที่จำเปBนตHอการให#การชHวยเหลือ
• อำนวยความสะดวกในการรับรู#ตนเองของผู#รับการปรึกษา (แนวทางมนุษยนิยม)
• ประเมินประสิทธิภาพของการกระบวนการชHวยเหลือและการให#การปรึกษา
84

กระบวนการให.การปรึกษา

ขั้นตอนการดำเนินการปรึกษา

กระบวนการ ทักษะที่ใช.

1. สำรวจป\ญหา การใสHใจ การถาม การให#กำลังใจ การเงียบ


2. เข#าใจป\ญหา การใสHใจ การถาม การเงียบ การทำให#กระจHาง
3. กำหนดป\ญหา การซ้ำความ การสะท#อนความรู#สึก การสะท#อนเนื้อหา
4. รHวมหาทางแก#ไข การตีความ การสรุปความ
5. ประเมินทางเลือกที่เปBนไปได# การถาม การเผชิญหน#าการถาม การสรุปความ
6. ตัดสินใจหาทางเลือกที่ดีที่สุด การใสHใจ การถาม การให#กำลังใจ การสรุปความ
7. หาวิธีการแก#ป\ญหานั้น การถาม การสะท#อนความรู#สึก การสรุปความ
85

ขั้นตอนการให.คำปรึกษา ประกอบด.วย 5 ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 1 การสร#างสัมพันธภาพและตกลงบริการ เพื่อให#เกิดความคุ#นเคย สร#างความอบอุHน ใจ มี


ความรู#สึกที่ดี ตHอผู#ให#การปรึกษา นำไปสูHการเป‰ดเผยป\ญหา และความรู#สึกที่ แท#จริงโดยใช#ทักษะ เชHน ทักษะการ
ทักทาย การพูดคุยเรื่องทั่ว ๆ ไป ทักษะการใสHใจ และการเป‰ดประเด็นหรือเป‰ดโอกาสให#พูดถึงป\ญหา
ขั้นตอนที่ 2 การสำรวจป\ญหา สิ่งที่ต#องสำรวจ ความตั้งใจและความพร#อมในการแก#ไขป\ญหา สาเหตุที่มา
รับการปรึกษา ชีวิตและความเปBนมาของผู#รับบริการที่ จำเปBน ป\ญหานั้นเปBนป\ญหาอะไร ความรุนแรงของป\ญหา
ผู#ให#การ ปรึกษาจะต#องประเมินวHาตนเองมีความรู# ความสามารถในการให# การปรึกษาได#หรือไมH
ขั้นตอนที่ 3 การทำความเข#าใจป\ญหา สาเหตุ และความ ต#องการ ทบทวนและสรุปข#อมูลที่ได# จัด
เรียงลำดับ และเชื่อมโยงข#อมูลจากเนื้อหาของป\ญหาดังนี้ ระยะเวลาที่เกิดเหตุการณD ผู#ได#รับผลกระทบจากป\ญหา
ความรุนแรง ของป\ญหา พิจารณาและเลือกป\ญหาเพื่อนำไปสูHการแก#ไข พิจารณา ความต#องการของผู#รับบริการ
ความเรHงดHวน และความรุนแรงของ ป\ญหา ประโยชนDที่ผู#รับบริการจะได#รับ ความเปBนไปได#ที่จะแก#ไข ป\ญหาและ
การสรุปประเด็นป\ญหาเพื่อใช#ในการวางแผนแก#ไขป\ญหา
ขั้นตอนที่ 4 การวางแผนแก#ไขป\ญหา วิธีการแก#ไขป\ญหาที่เหมาะสมนั้น ต#องตั้งสติให#มั่นคง ไมHตื่น
ตระหนก แก#ป\ญหาโดยใช#หลักเหตุผล มองป\ญหา อยHางสร#างสรรคD คิดวHาป\ญหาเปBนสิ่งท#าทาย และความชHวยเหลือ
จากผู#อื่นเพื่อให#เกิดกำลังใจ เกิดมุมมอง ในการแก#ไขป\ญหา ที่กว#างขึ้น
ขั้นตอนที่ 5 การยุติบริการ เปBนขั้นตอนสิ้นสุดในการปรึกษาแตHละครั้ง และยุติ เพื่อสิ้นสุดการให#การ
ปรึกษา โดยตรวจสอบความเข#าใจรHวมกัน แนวทางแก#ไขป\ญหา การนำแนวทางไปปฏิบัติ การนัดหมาย ครั้งตHอไป
ใช#ทักษะ การสรุปความ ทักษะการให#กำลังใจ
86

10 ทักษะการปรึกษาที่สำคัญ

ทักษะการ จุดเน#น แนวทางปฏิบัติ


ปรึกษา
1. ทักษะการสร#าง การใสHใจด#วยภาษาทHาทาง ในระยะเริ่มต#นการปรึกษา ผู#ให#การปรึกษาควรแสดง
ความสัมพันธD การใสHใจด#วยภาษาพูด กิริยาที่เหมาะสม ทักทาย เชิญให#นั่ง วางงานที่ทำอยูH
แสดงสีหน#าทHาทางที่เปBนธรรมชาติ จัดที่นั่งให#เหมาะสม
ใช#เวลาเล็กน#อยในการสนทนาเรื่องทั่วๆไป ไมHรีบร#อนที่จะ
เข#าสูHประเด็นป\ญหา

2 การตั้งคำถาม ควรตั้งคำถามที่มี ควรใช#คำถามเป‰ดให#มากเพื่อเปBนการเป‰ดโอกาสให#ผู#รับ


ประสิทธิภาพเพื่อความเข#าใจ การปรึกษาได#สำรวจความคิดของตนเอง คำถามป‰ดควร
ผู#คน ได#ข#อมูลรายละเอียด ใช#เมื่อจำเปBนที่ต#องการคำตอบเฉพาะ เนื่องจากคำถามป‰ด
ความคิดเห็น ความรู#สึก จะได#ข#อมูลน#อยและไมHเอื้อตHอการเป‰ดเผยตนเอง
คำถามมี 2 แบบ
(คำถามเป‰ด /คำถามป‰ด)

3 การติดตาม มีสมาธิจดจHอติดตามเรื่องราว การฝwกการรับฟ\งอยHางตั้งใจจะชHวยให#ผู#ให#การปรึกษา


เรื่องราว โดยไมHแทรกแซง สามารถรับรู#เรื่องราวที่เขากำลังเลHาได#อยHางชัดเจนและ
สามารถเลือกใช#ทักษะการปรึกษาที่เหมาะสมในการสื่อให#
เขาอยูHในเรื่องราวที่เปBนประเด็นที่กำลังสนทนาอยูH
4 การรับฟ\งและ การเชื่อมความรู#สึก รับรู# 1.พยายามสังเกตพฤติกรรมที่ผู#รับการปรึกษาแสดง
การสะท#อน ความรู#สึกระดับเดียวกับผู#มา ออกมา น้ำเสียง คำพูด
ความรู#สึก ปรึกษา โดยการสื่อสารสิ่งที่ 2.หาชHวงเวลาและจังหวะที่เหมาะสมในการสะท#อน
เข#าใจจากการรับฟ\ง ความรู#สึก
หาคำศัพทDที่เกี่ยวกับความรู#สึกที่ตรงกับความรู#สึกของ
ผู#รับการปรึกษา
3.สื่อความรู#สึกให#ชัดเจนโดยใช#ภาษางHายๆ
4.ไมHควรใช#คำวHา รู#สึกบHอยๆหรือซ้ำๆ
87

ทักษะการ จุดเน#น แนวทางปฏิบัติ


ปรึกษา
5.การสะท#อนความรู#สึกต#องทำในทันทีที่ผู#รับการปรึกษา
แสดงออกมา
5 การสรุปความ/ 1 เปBนการรวบรวมเรื่องราวที่ ผู#ให#การปรึกษาสรุปเนื้อหา ความรู#สึกในประเด็นตHางๆที่
การสรุป สนทนา ผู#รับการปรึกษาแสดง ออกมาเพื่อให#การปรึกษามีความ
เรื่องราว 2.เห็นทิศทางในการสนทนา ชัดเจน
3.สามารถจับประเด็นสำคัญ กHอนจบการปรึกษาทุกครั้งต#องมีการสรุป
ได# ในการปรึกษาหลายครั้ง กHอนเริ่มกระบวนการปรึกษาผู#ให#
4.สำรวจความเข#าใจให#ตรงกัน การปรึกษาควรสรุปสิ่งตHางๆที่เกิดขึ้นในครั้งที่ผHานมา และ
ในครั้งสุดท#ายของ การปรึกษาควรสรุปการปรึกษาในครั้ง
ที่ผHานมาถึงครั้งสุดท#าย
6 การให#ข#อมูล ควรให#ข#อมูลเปBนทางเลือกใน 1.ข#อมูลที่ให#ต#องมีความถูกต#อง ครบถ#วน ชัดเจนและใช#
และคำแนะนำ การที่ผู#ปรึกษาตัดสินใจ ดังนั้น ภาษางHายๆ
ควรถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ 2.ผู#ให#การปรึกษาต#องตรวจสอบด#วยการทวนซ้ำวHาผู#รับ
ข#อมูลนั้น การปรึกษามีความเข#าใจถูกต#องตรงกันหรือไมH
3.การให#คำแนะนำควรมีหลายทางเลือกและพิจารณาวHา
ผู#รับการปรึกษาสามารถปฏิบัติได#จริงหรือไมH
7 การให#ข#อคิด ตั้งคำถามให#พิจารณาข#อคิด 1.ให#ผู#รับการปรึกษาพิจารณาถึงข#อดีในสิ่งที่ต#องการทำ
และการ และข#อมูลในการตัดสินใจ วHามีข#อดีในด#านใดบ#าง
ตัดสินใจ 2.ให#ผู#รับการปรึกษาพิจารณาถึงข#อเสียข#อด#อยในสิ่งที่
ต#องการทำ
3.เปรียบเทียบข#อดีข#อเสีย หาวิธีการที่เหมาะสมได#รับผลดี
มากที่สุด
4. ชี้ให#เห็นผลที่ตามมาจากการเลือกนั้น
5. ทวนซ้ำหรือสะท#อนความรู#สึกให#แนHใจวHาผู#รับ
คำปรึกษาเข#าใจได#อยHางถูกต#อง
8 การให#กำลังใจ มองจุดแข็งในการแก#ไข 1.ผู#ให#การปรึกษา แสดงกิริยา ทHาทางให#รับรู#ได#วHาเข#าใจได#
สถานการณDป\ญหาของผู# ยินสิ่งที่ผู#รับการปรึกษาพูดออกมาเชHนการพยักหน#า
2.ใช#คำพูดตอบรับสั้นๆ
88

ทักษะการ จุดเน#น แนวทางปฏิบัติ


ปรึกษา
ปรึกษาแล#วนำมาเสริมสร#าง 3.ทวนซ้ำคำพูดที่สำคัญๆที่ผู#รับการปรึกษาได#พูดมา
เปBนกำลังใจ 4. เงียบเพื่อให#เวลาผู#รับการปรึกษาได#คิด
9 การยุติการ ให#สัญญาณถึงการสิ้นสุดการ 1.ให#สัญญาณเวลา
ปรึกษา สนทนา 2.ให#ผู#รับการปรึกษาทบทวน และสรุปสิ่งที่เข#าใจ
3.สHงเสริมให#ผู#รับการปรึกษาเห็นคุณคHาและมุHงมั่นที่จะ
แก#ป\ญหา
4.ให#กำลังใจที่จะนำแนวทางไปปฏิบัติ
5.นัดหมายครั้งตHอไป
10 การสHงตHอ ในกรณีที่ผู#ให#คำปรึกษาไมH 1.บอกผู#รับการปรึกษาถึงการสHงตHอ
สามารถให#คำปรึกษาหรือ 2.ชี้แจงถึงบุคคลหรือหนHวยงานที่จะสHงตHอ
ชHวยเหลือได#ควรมีการสHงตHอ 3.ให#กำลังใจ เสริมแรงให#เห็นความสามารถของบุคคล
หรือหนHวยงานที่จะสHงตHอ
89

ทักษะการปรึกษาที่สำคัญ

การฟTงและการสะท.อนความรู.สึก
90
91

ทักษะการฟTง (Listening)
ความหมาย การฟ\งเปBนทักษะเบื้องต#นที่สุดในการสื่อสารด#วยวาจาทักษะการฟ\งที่ดีจะมีผลทำให#เกิด
ความเข#าใจ ได#ข#อมูลที่ต#องการ
ทักษะการฟTง ประกอบด#วย การใสHใจ การเงียบ การซ้ำความ การทำให#กระจHาง การสะท#อนเนื้อหา การ
สะท#อนความรู#สึก และการสรุปความ ทักษะเหลHานี้แสดงถึงความเข#าใจความรู#สึก ความรHวมรู#สึกและมีผลตHอการ
เป‰ดเผยตนเองของผู#รับการปรึกษา กลุHมทักษะการสนองตอบ จะประกอบด#วย การถาม การเผชิญหน#า การ
ตีความ การให#กำลังใจ ซึ่งทักษะกลุHมนี้เปBนแนวทางให#ผู#รับการปรึกษาสามารถมองเห็นป\ญหาและเข#าใจความ
เกี่ยวพันระหวHางป\ญหาในใจกับโลกภายนอกได#

According to communication expert:-


• 10% ของการสื่อสารของเราแสดงด#วยคำพูด
• 30% แสดงด#วยน้ำเสียงที่เราเอHยออกมา (โดยวาจาน#อย)
• 60 % แสดงด#วยภาษากาย (เชHน การสบตา ทHาทางของรHางกาย เปBนต#น)
• เมื่อผู#ให#การปรึกษา รับรู#ถึงความรู#สึกของผู#รับการปรึกษาให#เขา/เธอทราบด#วยคำพูดที่ชัดเจนและเรียบ
งHายที่เขาเข#าใจ สิ่งนี้เรียกวHา “สะท#อนความรู#สึก”

วัตถุประสงคQ
1. เพื่อให#ได#ข#อมูลรายละเอียด ได#ประเด็น เนื้อหา ความรู#สึก
2. เพื่อให#ได#ความรHวมมือ
โอกาสที่ใช.
1. ใช#เมื่อผู#รับการปรึกษากำลังเลHาเรื่องราวได#เอง (Active)
2. ใช#ตามหลังทักษะอื่น เชHน การถาม การสะท#อนความรู#สึก
3. ใช#หลังจากตกลงบริการ เพราะผู#รับการปรึกษาจะรู#วHาต#องมีหน#าที่อะไร มีประเด็นอะไร มากน#อยแคHไหน
ผลที่เกิดขึ้น
1. ผู#รับการปรึกษาจะเลHารายละเอียดเพิ่มขึ้น
2. ผู#รับการปรึกษารู#สึกวHา ผู#ให#การปรึกษาสนใจ ให#ความสำคัญ
92

การสื่อสาร
1. ภาษาทHาทาง เชHน พยักหน#า สบตา โน#นตัวเข#าหาผู#พูด แสดงความรู#สึกตามเนื้อหาที่
เลHามา
2. คำพูด เชHน ครับ คHะ อืม

ข.อจำกัด
1.ใช#มากเกินไปทำให#เสียเวลามาก
2.ถ#าผู#รับการปรึกษาพูดนอกประเด็นอยูHแล#ว ผู#รับการปรึกษาอาจออกนอกประเด็นไปไกล
3.ใช#มากเกินไป ผู#รับการปรึกษาอาจสงสัยวHาฟ\งอยูHจริงหรือไมH
4.ถ#าผู#รับการปรึกษาสังเกตพบวHาผู#ฟ\งไมHสนใจจะขัดขวางการสนทนา ทำให#ไมHอยากเลHา
วิธีการฟTงที่ดี
1. เนื้อหา ฟ\งวHาเกี่ยวกับเรือ่ งอะไร (ประเด็น) เรื่องเปBนอยHางไร (เนื้อหา) ลำดับเหตุการณDเปBนอยHางไร (ฟ\งด#วยหู)
2. ความรู#สึก ดูได#จากภาษา ทHาทาง (ฟ\งด#วยตา)
3. ความคิด อารมณD ความรู#สึก ฟ\งให#ได#และรับรู#วHา ผูพ# ูดคิดอะไร รู#สึกอะไรที่ซHอนเร#นอยูH (ฟ\งด#วยใจ)

- วิธีการเลHาเรื่อง เชHน ลำดับการเลHา บอกให#ทราบวHาความคิดเปBนระบบดีหรือไมHสับสนวกวน


การเลHาที่อ#อมค#อม บอกให#ทราบพยายามที่จะเลHารายละเอียดบางอยHาง การเลHาข#ามรายละเอียด อาจหมายถึง
การไมHอยากพูดถึงเพราะเรื่องอาจจะสะเทือนความรู#สึกเจ็บปวด การเลHาไมHตรงกันในแตHละครั้งอาจหมายถึงเรื่องไมHจริง
คิดเอาเอง ไมHได#ประสบการณD สำรวจรายละเอียดได#เพิ่มขึ้นเมื่อมีเวลาหรืออารมณDรบกวนตHางๆ สงบลง บรรยากาศใน
การพูดดีจังหวะการพูด ถ#าพูดเร็วผู#พูดอาจรู#สึกมีความกดดันภายใน อาจเปBนนิสัยการพูด พูดช#า อาจหมายถึงผู#
พูด ต#องนึกรายละเอียด ต#องการสำรวจความคิดลำดับเรื่องราว ตัดสินใจลำบากวHาจะพูดดี หรือไมH ความดัง
ของเสียง เสียงดังบอกความรู#สึกพอใจ หรือไมHพอใจเสียงคHอยอาจหมายถึง ความกังวล กลัว เศร#า การเลือกคำ
คำแตHละคำสื่อความรู#สึกไมHได#เหมือนกันไมHเทHากัน บอกทิศทางหรือแนวโน#มของการตัดสินใจได# เชHน
อยากตาย เปรียบเทียบกับไมHมีคHา ไมHมีความหวัง อยากไปให#พ#นจากสภาพนั้น ทำให#รู#สึกรุนแรงตHางกัน
ทิศทางในการทำก็ตHางกัน
- ภาษาทHาทางอื่น ๆ เชHน การสบตา สีหน#า ทHาทาง บางครั้งเรื่องที่เลHาเปBนเรื่อง ในอดีตเปBนเรื่อง
ความจำ
ในขณะเลHาอาจจะความรู#สึกที่ไมHชัดเจน สีหน#าทHาทางอาจไมHแสดงออกมากนัก นอกจากวHาเรื่องที่เลHา
ยังมีอารมณDความรู#สึกฝ\งอยูH ควรสังเกตความสอดคล#องระหวHางภาษาทHาทางกับเรื่องที่เลHา
93

การฟ\งอยHางตั้งใจฟ\งเพื่อ
1.จับใจความ เนื้อหาสาระ จากคำพูด
2.จับอารมณD ความรู#สึก จากน้ำเสียง แววตา สีหน#า ทHาทาง
อุปสรรคของการฟ\งอยHางตั้งใจ
1.สิ่งแวดล#อม -เสียงรอบข#างรบกวน
-ความเคลื่อนไหว
-บรรยากาศ อุณหภูมิของห#องไมHเหมาะสม
2.ผู#เลHา -น้ำเสียงเบา ฟ\งไมHชัด นHาเบื่อ พูดเร็วไปหรือช#าไป
-ภาษา เชHน ตHางภาษา ตHางสำเนียง ฟ\งไมHเข#าใจ
-เลHาเรื่องสับสนไมHปะติดปะตHอ
-บุคลิกภาพบางอยHาง เชHน ดื่มเหล#า นั่งไมHเปBนสุข กวน
-สุขภาพ เชHน ไอ จาม โรคติดตHอ
-เจตคติไมHตรงกัน ไมHชอบ รังเกียจ
3. ผู#ฟ\ง -มีอารมณDรHวม คล#อยตาม อดไมHได#ที่จะพูด
-เรื่องที่เลHาทำให#คิดถึงเรื่องของตัวเอง
-ไมHพร#อมทางด#านอารมณD มีความหงุดหงิดใจ ไมHสบายใจ
-เหมHอลอย ฝ\นกลางวัน
-สุขภาพไมHเอื้ออำนวย เชHน ไมHสบาย อดนอน
-เวลาเรHงรีบ จำกัด

ข.อคิดในการฟTง
1. หยุดพูด คนเราไมHสามารถฟ\งในขณะพูดได#
2. เอาใจเขามาใสHใจเรา พยายามนึกวHาเรากำลังอยูHในสถานการณDของผู#พูด เพื่อจะได#มองเห็นเหตุและผล
ชัดเจนและจะได#เข#าใจอยHางถHองแท#วHาเขาพยายามจะสื่ออะไรให#เราทราบ
3. ถามคำถาม เมื่อไมHเข#าใจสิ่งที่ผู#พูดสื่อต#องการขอคำอธิบายเพิ่มเติมโดยถามคำถามที่ใช#นั้นไมHเปBน
ลักษณะประชดประชันจับผิด โจมตีหรือทำให#เขาเกิดความสับสน ไมHควรตั้งคำถามที่ทำให#คูHสนทนารู#สึกไมHสบายใจ
94

หรืออึดอัดใจที่จะต#องตอบ หากจำเปBนต#องพูดเกริ่นวHา "ขออนุญาตถามเรื่องสHวนตัว ถ#าคุณไมHอยากตอบจะไมHตอบก็


ได#"
4. รู#จักอดทน อยHาพูดแทรกขณะผู#อื่นกำลังพูดควรให#เวลาแกHผู#พูดในสิ่งที่เขาต#องการสื่อออกมา
5. ใสHใจในสิ่งที่ผู#พูดกำลังพูด ให#ความสนใจในคำพูด ความคิด ความรู#สึกในเรื่องที่เขาพูด
6. พิจารณาผู#พูด พิจารณาทHาทาง สีหน#า ริมฝXปาก แววตาหรือการจัดวางมือ จะสื่อความเข#าใจระหวHางผู#
พูดกับเราได#มากขึ้นและการพิจารณาดังกลHาวจะชHวยรวบรวมความใสHใจไว#เปBนจุดเดียวได#ด#วยและชHวยให#ผู#พูดรู#สึก
วHาเรากำลังฟ\งเขาอยHางตั้งใจ
7. ยิ้มและกลHาวรับให#เหมาะสม ในขณะที่กำลังฟ\งควรผงกศีรษะ ยิ้มหรือพูด " คHะ " " ครับ " บ#าง เปBนการ
สนับสนุนให#กำลังใจพูด จะมีประโยชนDในการสนทนามาก แตHอยHาทำมากเกินควร
8. ละอารมณDตนเอง (ถ#าทำได#) พยายามเลิกคิดเลิกนึกถึงสิ่งที่ทำให#เกิดความกังวลใจ
ความกลัว เลิกนึกถึงป\ญหาของตนเองและสิ่งตHางๆ นี้จะทำให#การฟ\งไมHมีประสิทธิภาพเทHาที่ควร
9. ควบคุมอารมณDพลุHงพลHาน พยายามที่จะไมHเคืองใจหรือโกรธเคืองตHอเรื่องที่ผู#พูดพูดความขุHนเคืองใจ
เพราะจะเปBนอุปสรรคตHอการที่จะเข#าใจความหมายหรือสาระของผู#พูด เราควรพยายามที่จะเข#าใจไมHโต#เถียงหรือ
ขัดจังหวะ
10. ขจัดสิ่งที่เขวความสนใจ พยายามไมHถือปากกา ดินสอกระดาษหรืออื่น ๆ ขณะตั้งใจฟ\ง เพราะสิ่งเหลHานี้
มักจะทำให#เขวความสนใจป‰ดบังการสื่อสารและกHอความรำคาญแกHคูHสนทนา
11. พยายามจับประเด็นสำคัญ หาแกHนสารของเรื่องที่พูดไมHเก็บเอารายละเอียดปลีกยHอยที่ไมHจำเปBน
12.รHวมมีสHวน พยายามฟ\งให#เข#าใจ ถ#าไมHเข#าใจหน#าที่ของผู#ฟ\งคือซักถามให#เกิดความเข#าใจ
13.สนองตอบสิ่งที่คิด มิใชHบุคคล พิจารณาความคิดที่ผู#พูดสื่อออกมาและสนองตอบความนึกคิดเทHานั้น
เพราะการมีอคติตHอผู#พูด เชHน ไมHชอบผูพ# ูด จะให#การฟ\งลดประสิทธิภาพลงไป
14. อยHานึกค#านร่ำไป การมีความคิดที่ค#านหรือโต#แย#งอยูHในใจ จะทำให#ฟ\งได#ไมHเต็มที่
15. ใช#ประโยชนDจากความคิดที่ฉับไว ปกติคนเราจะฟ\งได#เร็วกวHาพูด ดังนั้นขณะที่ผู#อื่นพูดนั้น การฟ\งอยHางตั้งใจของ
เราจะทำให#เราจับใจความที่สำคัญของผู#พูดได# และทบทวนสาระสำคัญกHอนพูดออกไป
16. พยายามฟ\งสิ่งที่ผู#พูดไมHได#พูด เราอาจจะรู#จักผู#พูดได#ดีขึ้นจากสิ่งที่เขาเลี่ยงที่จะพูดถึงหรือไมHพูดถึงเลย
17. พยายามจับอารมณDและความคิด ปกติเรามักจะสนใจในเนื้อหาของสิ่งที่พูดมากกวHาอารมณDและทัศนคติที่
เกี่ยวข#องแฝงเร#น ซึ่งอารมณDและความคิดมักจะบอกอะไรเราได#มากกวHาเนื้อหาที่พูด
18. พยายามไมHขัดแย#งกับผู#พูด ผู#ฟ\งอาจเปBนเหตุให#ผู#พูดป‰ดบังอำพรางความคิดอารมณDและทัศนคติของ
เขา โดยการที่ผู#ฟ\งแสดงการไมHเห็นด#วย โต#แย#ง ติเตียน วิพากษDวิจารณDตลอดจนบันทึก หรือถามคำถามบางอยHาง
ผู#ฟ\งจึงต#องระมัดระวังไมHให#ทHาที การกระทำและคำพูดของตนไปกระทบกระเทือนผู#พูดเวลาพูด และต#องพยายาม
ปรับการสนองตอบให#มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
95

19. พยายามเข#าใจบุคลิกผู#พูด วิธีที่ดีที่สุดวิธีหนึ่งที่จะเข#าใจบุคคลคือ การฟ\งคำพูด ผู#ฟ\งสามารถจะทราบถึงสิ่ง


ที่เขาชอบหรือสิ่งทีไ่ มHชอบ แรงจูงใจ คHานิยม ทัศนคติ ฯลฯ
20. หลีกเลี่ยงการคาดเดา ในการพยายามเข#าใจผู#อื่น ผู#ฟ\งที่ดีจะต#องคิดวHาผู#พูดอาจใช#ภาษา แตกตHางไปจากที่ตน
ใช# และไมHคิดวHาผู#พูดไมHพูดอยHาง ที่เขาต#องการ แตHต#องเข#าใจวHาเขาต#องการอะไร การคาดเดาอาจจะถูกต#องเปBนจริงก็ได#
แตHปกติการคาดเดาจะทำให#สิ้นสุดการสนทนาเร็วขึ้นโดยไมHได#สิ่งที่ต#องการ จึงควรหลีกเลี่ยงการคาดเดาแตHเลือกใช#
คำถามที่เหมาะสมหรือการทำให#กระจHาง
21. หลีกเลี่ยง "การจัดหมูHผู#พูด" บHอยครั้งมากที่เราคิดวHาคน ๆ นี้ต#องเปBนอยHางนี้ พยายามแปลความทุก
อยHางที่เขาพูดไปตามการประเมินนั้น ซึ่งอาจจะมีประโยชนDในบางแงH แตHไมHถูกต#องทั้งหมด เพราะในชีวิตจริงคนเรา
มีบทบาทอื่น ๆ อีกหลายอยHาง
22. หลีกเลี่ยงการตกลงหรือควรคอยจนได#ข#อเท็จจริงครบถ#วนแล#วจึงตัดสินใจหรือตกลงใจตัดสินอยHาง
รีบดHวนเพื่อกิจกรรมบางอยHาง
23. ตระหนักถึงอคติของตน ไมHควรมีอคติแตHควรมีสติเตือนตนถึงอารมณDของตนเองตHอผู#พูดและเรื่องที่พูด มิฉะนั้น
อาจจะทำให#เกิดการฟ\งที่ไมHสมบูรณDได#

ทักษะการสนองตอบ (การถาม การเผชิญหน#า การตีความ การให#กำลังใจ)


ทักษะการสนองตอบใช#เปBนแนวทางให#ผู#รับการปรึกษาสามารถมองเห็นหรือเข#าใจตนเองและโลกภายนอก
ในขณะที่ทักษะการฟ\งเปBนการสะท#อนความรู#สึกหรือความคิดเห็นของผู#รับการปรึกษาที่มีตHอโลกของเขา การ
เปลี่ยนแปลงทัศนคติและความคิดเห็นของผู#รับการปรึกษาจะเปBนข#อบHงชี้วHาการให#การปรึกษาทำได#ผลหรือไมH การใช#
ทักษะการสนองตอบอยHางมีประสิทธิภาพ ผู#ให#การปรึกษาต#องมีความตั้งใจอยHางมากและตัดสินใจอยHางระมัดระวัง
รวมทั้งมีความยืดหยุHน (Flexible) และไวในการรับความรู#สึกของผู#รับการปรึกษา (Sensitive) ที่แสดงออกทางด#านวาจา
และกิริยาทHาทาง
96
97
98
99
100
101
102
103

การสื่อสารสร.างกำลังใจ
เมื่อทHานอับดุลลอฮฺ อิบนุ มัสอูÏด เห็นทHานอัรรHอเบี๊ยะอฺ อิบนุ คุซัยมฺ เปBนผู#ที่มีมารยาทดี พูดจาอHอนหวาน
ไพเราะ และเปBนมิตรกับผู#คน ซึ่งมีมารยาทเหมือนกับทHานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ทHานจึงกลHาวกับเขาวHา

“โอ# อัรรHอเบียะอฺ ขอสาบานตHออัลลอฮฺ วHา หากทHานรHอซูลได#เห็นเจ#า แนHนอนทHานรHอซูลจะรักเจ#า ทHานจะ


ขยับที่นั่งให#เจ#านั่งข#างๆ ทHานเปBนแนH เมื่อฉันเห็นเจ#าก็ทำให#ฉันนึกถึงบรรดาผู#นอบน#อมถHอมตน”

นี่คือ การให#กำลังใจ การสร#างแรงบันดาลใจอันยิ่งใหญHจากผู#เปBนซอฮาบะฮฺอาวุโส ตHอเยาวชนยุคตาบิอีน ที่


ไมHได#พบกับทHานรHอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม คำพูดเหลHานี้ได#สร#างบุคลิกภาพและตัวตนของทHานอัรรHอ
เบียะอฺ อิบนุ คุซัยมฺ ถือเปBนคำพูดที่สร#างอนาคตให#เขาเลยทีเดียว
ทHานรHอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ให#ความสำคัญกับการสร#างกำลังใจและแรงบันดาลใจให#แกHบรรดา
ซอฮาบะฮฺของทHาน เมื่อทHานต#องการกระตุ#นให#บรรดาซอฮาบะฮฺเผยแพรHศาสนาและทHองจำวิชาความรู# ทHานก็จะ
กลHาวขอพรแกHพวกเขาวHา
“ขออัลลอฮฺ โปรดทรงให#ผู#ที่ได#ยินสิ่งใดจากฉันแล#วนำไปบอกตHอ เผยแผHเชHนที่เขาได#ยินมาได#มีใบหน#าที่สดใส
เพราะบางทีผู#บอกตHอจะจดจำคำพูดนั้นมากกวHาผู#ได#ยินเสียอีก”
104

(บันทึกโดย อิมามอัตติรมิซียD)

นี่คือกำลังใจที่ยิ่งใหญH คือ คำอวยพรจากทHานรHอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม แกHผู#ที่รับฟ\งวิชาความรู#


แล#วนำไปเผยแผH และบอกตHอ ให#พวกเขามีใบหน#าอิ่มเอิบและสดใส

กำลังใจ แรงบันดาลใจ คำปลอบใจ คำสัญญา จากอัลลอฮฺ (ซบ.)46


เวลาที่คุณรู#สึกเหงา?
‫ﻗَﺎَل َﻻ ﺗََﺧﺎﻓَ ۖﺎ ٓ ِإﻧﱠِﻧﻲ َﻣَﻌﻛَُﻣﺎ ٓ أَۡﺳَﻣُﻊ َوأََرٰى‬
พระองค&ตรัสว4า “เจ8าทั้งสองอย4ากลัวแท8จริงข8าอยู4กับเจ8าทั้งสอง ข8าได8ยินและได8เห็น (ทุกสิ่งทุกอย4าง)
(อัลกุรอาน 20:46)
เวลารู#สึกอHอนแอ?
‫ﺿِﻌﯾٗﻔﺎ‬
َ ‫ﺳُن‬ َ ٰ ‫ف َﻋﻧﻛُۚۡم َوُﺧِﻠَق ٱ ۡ ِﻹﻧ‬ َ ّ‫ُ أَن ﯾ َُﺧ ِﻔ‬-‫ﯾ ُِرﯾد ُ ٱﱠ‬
อัลลอฮฺ ทรงปรารถนาที่จะผ4อนผันให8แก4พวกเจ8า และมนุษย&นั้นถูกบังเกิดขึ้นในสภาพที่อ4อนแอ
(อัลกุรอาน 4 : 28)
รู#สึกบาปไหม?
‫ب َﺟِﻣﯾﻌًۚﺎ ِإﻧﱠﮫ ُۥ ھَُو‬
َ ‫ ﯾَۡﻐِﻔُر ٱﻟذ ﱡﻧ ُو‬- ِ ۚ ‫ي ٱﻟﱠِذﯾَن أَۡﺳَرﻓ ُواْ َﻋﻠَ ٰ ٓﻰ أَﻧﻔ ُِﺳِﮭۡم َﻻ ﺗَۡﻘﻧَطُواْ ِﻣن ﱠرۡﺣَﻣِﺔ ٱ ﱠ‬
َ ‫ ِإﱠن ٱ ﱠ‬- َ ‫ﻗ ُۡل ٰﯾَِﻌﺑَﺎِد‬
‫ٱۡﻟَﻐﻔ ُوُر ٱﻟﱠرِﺣﯾُم‬
จงกล4าวเถิด (มุฮัมมัด) ปวงบ4าวของข8าเอ¢ย! บรรดาผู8ละเมิดต4อตัวของพวกเขาเองพวกท4านอย4าได8หมดหวังต4อพระ
เมตตาของอัลลอฮฺ แท8จริงอัลลอฮฺนั้นทรงอภัยความผิดทั้งหลายทั้งมวล แท8จริงพระองค&นั้นเปJนผู8ทรงอภัย ผู8ทรง
เมตตาเสมอ
(อัลกุรอาน 39 : 53)
เคยรู#สึกกังวลไหม?
‫ُ َﺧۡﯾُر ٱۡﻟَٰﻣِﻛِرﯾَن‬-‫ُ َوٱﱠ‬-ۖ ‫َوِإۡذ ﯾَ ۡﻣﻛُُر ِﺑَك ٱﻟﱠِذﯾَن َﻛﻔَُرواْ ِﻟﯾ ُۡﺛِﺑﺗ ُوَك أَ ۡو ﯾَۡﻘﺗ ُﻠ ُوَك أَ ۡو ﯾ ُۡﺧِرُﺟوَۚك َوﯾَ ۡﻣﻛُُروَن َوﯾَ ۡﻣﻛُُر ٱ ﱠ‬
“และจงรำลึกขณะที่บรรดาผู8ปฏิเสธศรัทธาวางอุบายต4อเจ8า เพื่อกักขังเจ8า หรือฆ4าเจ8าหรือขับไล4เจ8าออกไปและพวก
เขาวางอุบายกันและอัลลอฮฺก็ทรงวางอุบาย และอัลลออฮฺนั้นทรงเปJนผู8เยี่ยมกว4าในหมู4ผู8วางอุบาย”
(อัลกุรอาน 8 : 30)
เคยรู#สึกต่ำต#อยไหม?
‫َوَﻻ ﺗَِﮭﻧ ُواْ َوَﻻ ﺗَۡﺣَزﻧ ُواْ َوأَﻧﺗ ُُم ٱۡﻷ َۡﻋﻠَ ۡوَن ِإن ﻛُﻧﺗ ُم ﱡﻣۡؤِﻣِﻧﯾَن‬
46 ศาสนาที่อัลลอฮTรัก.อิสลาม https://www.facebook.com/1124795534200792/posts/3969200406426943/
105

และพวกเจ8าจงอย4าท8อแท8 และจงอย4าเสียใจ แลบพวกเจ8านั้นคือผู8ที่สูงส4งยิ่ง หากพวกเจ8าเปJนผู8ศรัทธา


(อัลกุรอาน 3:139)
คุณเคยรู#สึกเหนื่อย ท#อแท#ไหม?
‫ﺻﻠَ ٰوِۚة َوِإﻧﱠَﮭﺎ ﻟََﻛِﺑﯾَرة ٌ ِإﱠﻻ َﻋﻠَﻰ ٱۡﻟَٰﺧِﺷِﻌﯾَن‬
‫ﺻۡﺑِر َوٱﻟ ﱠ‬ ‫َوٱۡﺳﺗَِﻌﯾﻧ ُواْ ِﺑﭑﻟ ﱠ‬
และพวกเจ8าจงอาศัยความอดทน และการละหมาดเถิด และแท8จริงการละหมาดนั้นเปJนสิ่งใหญ4โต นอกจากบรรดา
ผู8ที่นอบน8อมถ4อมตนเท4านั้น
(อัลกุรอาน 2 : 45)
เคยต#องการแรงบันดาลใจไหม?
‫ﺳُن‬َ ٰ ‫ﺳِن ِإﱠﻻ ٱ ۡ ِﻹۡﺣ‬
َ ٰ ‫َھۡل َﺟَزآُء ٱ ۡ ِﻹۡﺣ‬
จะมีการตอบแทนความดีอันใดเล4า นอกจากความดี
(อัลกุรอาน 55:60)

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การสื่อสารเพื่อสร#างกำลังใจ หนึ่งในการสื่อสารลักษณะนี้คือการชื่นชมอยHางจริงใจเพื่อให#ผู#รับการปรึกษา
ได#ตระหนักถึงข#อดีของตัวเอง (ความคิด/ความสามารถ/การกระทำ) นำไปสูHความมั่นคงและมั่นใจในตัวเองของ
ผู#รับบริการ
- ชื่นชมพฤติกรรมทางบวก
- บอกถึงสิ่งที่เปBนพฤติกรรม/การกระทำ
- เปBนการพูดให#กำลังใจเมื่อได#ฟ\งผู#รับบริการบอกเลHาถึงอุปสรรคหรือความยุHงยากที่เกิดขึ้น
- เปBนการสะท#อนจุดเดHนบางประการที่ผรู# ับการปรึกษาอาจไมHตระหนักวHาตนมีอยูH เพื่อชHวย
สHงเสริมกำลังใจ
106

พิจารณาตัวอยAางการสื่อสารด.วยกำลังใจ
- ฉันชื่นชมเธอนะ แม#ไมHมีอินเตอเน็ตที่บ#าน ไมHมีโนÏตบุÏค ก็พยายามเรียนออนไลนDจนได#
- ฉันเข#าใจเธอนะ มันเหนื่อยมากที่ต#องแบกรับทั้งการเรียนและรับผิดชอบบ#าน ทำงานสHงไมHทัน แตHฉันเชื่อ
วHาเธอจะปรับตัวและจัดการมันได#
- มันอาจจะไมHงHาย แตHถ#าทำสำเร็จคนที่เคยดูถูก ไมHเชื่อมั่นในตัวเธอ ก็จะยอมรับในตัวเธอ
- เธอคือความภูมิใจ เปBนที่รักของครอบครัวของพHอแมH คนเราท#อได#นะ แตHไมHถอย
- กวHาจะผHานเหตุการณDนั้นมาได#ไมHใชHเรื่องงHายสำหรับปxาเลยนะคะ แตHในที่สุดปxาก็ทำสำเร็จจนได# นHาชื่นชม
มากคHะ
- พี่วHาน#องเปBนคนมีน้ำใจนะ ขนาดตัวเองลำบากแบบนี้ก็ยังคอยชHวยเหลือดูแลคนอื่นตลอดเลย
- พี่โกรธจนอยากจะตHอยหน#าเขา ตอนได#ยินเขาพูดดูถูกพี่กับครอบครัวมากขนาดนั้น แตHพี่ก็ไมHทำ พี่มีความ
อดกลั้นที่นHายกยHองมากนะคะ
- เธอประสบกับบททดสอบมากขนาดนี้ เธอดุอาอ และเธอพยายาม เธอสามารถก#าวผHานมันได#ด#วยความ
อดทน มันไมHงHายเลย อัลลอฮDทรงรักเธอ และทรงให#ความดีกับเธอแนHนอน
- การขาดผู#นำครอบครัวไปอยHางกระทันหัน ทำให#เธอรู#สึกแยH แตHเธอก#าวผHานมันได# ฉันชื่นชมเธอมากนะ
107

อ.างอิง
ปรีนาภา ชูรัตนD (2564) เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพัฒนาศักยภาพแหHงตน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรD
สรินฎา ปุติ (2564) เอกสารการสอนการให#การปรึกษาเพื่อเสริมสร#างแรงจูงใจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรD
สุใจ สHวนไพโรจนD (2563) เอกสารประกอบการอบรมภาวะผู#นำ สำหรับการเลื่อนวิทยฐานะเปBนผู#เชี่ยวชาญของ
บุคลากรทางการศึกษา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรD.
ศาสนาที่อัลลอฮDรัก.อิสลาม สืบค#นจาก https://www.facebook.com/1124795534200792/posts/
3969200406426943/
108
109

แบบฝ«กปฏิบัติ 1 ทักษะการฟTง การสะท.อนความ และการชื่นชม ให.กำลังใจ และการให.ผู.สังเกตการณQจับ


ประเด็นตAางๆที่สังเกตได.จากกระบวนการสื่อสาร

คำชี้แจง
แบHงกลุHม ๆ ละ 5-6 คน
ผู#เข#ารับการอบรมจะได#รับการมอบหมายให#สวมบทบาท 3 บทบาท โดยเปBนผู#รับการปรึกษา ผู#ให#การปรึกษาและ
เปBนผู#สังเกตการณD โดยแตHละบทบาทมีหน#าที่ดังตHอไปนี้

ผู#รับการปรึกษา : ให#ทHานเลHาสิ่งที่ทHานประสบกับเหตุการณDใดเหตุการณDหนึ่ง เลHาเทHาที่ทHานสามารถเลHาได# เปBนเรื่อง


ที่ทHานอยากจะแบHงป\นให#ผู#อื่นได#รับทราบ ไมHใชHเรื่องที่ซHอนอยูHลึกที่สุดในใจทHาน หรือเปBนเรื่องความลับของทHาน
ผู#ให#การปรึกษา : ภารกิจของทHานคือความพยายามให#มากที่สุดเทHาที่จะทำได#ในการทำให#ผู#รับการปรึกษา สามารถ
เลHาเหตุการณDของเขา ใช#ทักษะการฟ\ง การสะท#อนความ สะท#อนความรู#สึก การชื่นชม ให#กำลังใจ โดยเริ่มต#นที่
การสร#างสัมพันธภาพ บอกชื่อของทHาน สร#างความไว#วางใจ
ผู#สังเกตการณD : การจับประเด็นของผู#สังเกตการณD: ลงรหัส บันทึกลงในใบกิจกรรมที่ 1
110

ใบงานที่ 1

ทักษะการฟTง การสะท.อนความ และการชื่นชม ให.กำลังใจ และการให.ผู.สังเกตการณQจับประเด็นตAางๆที่สังเกต


ได.จากกระบวนการสื่อสาร

การตอบสนองของผู.ให.คำปรึกษา จำนวนครั้ง (ขีดเครื่องหมายถูก) ตัวอยAาง


1. ทักษะการฟTง

2. ทักษะการชื่นชม

3. ทักษะการสะท.อนความ

4 ทักษะการสรุปความ

5. การให.กำลังใจ การชื่นชม
111

ใบความรู.ประกอบการเรียนรู. ทักษะการให.การปรึกษา
อ.ดร. ปรีนาภา ชูรัตน&

1. หมวดการเรียนรู:. ทักษะการให.การปรึกษา “การถาม”


2. หมวดการเรียนรู:. ทักษะการให.การปรึกษา “การสะท.อนความรู.สึก”
112

ทักษะการให.การปรึกษา “การถาม”

หมวดการเรียนรู:. ทักษะการให.การปรึกษา “การถาม”


วัตถุประสงคQ: เพื่อให.เข.าใจทักษะการถามสำหรับการให.การปรึกษาและฝ«กฝนทักษะถามในการให.การ
ปรึกษาที่เหมาะสม
กระบวนการเรียนรู.: Experiential Learning Process กระบวนการเรียนรู.ผAานประสบการณQ คือ สร.าง
ประสบการณQที่เกี่ยวข.องกับเนื้อหา จากนั้นรAวมสะท.อนความรู.สึกวิเคราะหQประสบการณQ และการนำไปใช.

ใบความรู.ประกอบ 2: ประเภทการถามและคำถามที่เหมาะสมในการปรึกษา
คำถามมี 2 ประเภท คือ คำถามปลายป¬ด (คำตอบคือใชA ไมAใชA) และคำถามปลายเป¬ด (คำตอบเป¬ดกว.าง)

คำถามปลายเป¬ด
1. การให#การปรึกษาผู#ให#คำปรึกษามุHงเน#นใช# “คำถามเป‰ด”เพื่อชี้แจงความเข#าใจสถานการณDความรู#สึก
มุมมองในการให#การปรึกษา
2. ตัวอยHางคำถามปลายเป‰ด อะไร หรือใคร
• คำถามปลายเป‰ดทั่วไป อะไร อยHางไร ใคร
• ใช#เพื่อให#ได#ข#อมูล (เกิดอะไรขึ้น?)
• สำรวจความคิด ความรู#สึก ทัศนคติ และความคิดเห็น (คุณหวังวHาจะบรรลุอะไร คุณมองเห็นอะไร )
• การแก#ป\ญหา (จะรับมืออยHางไร..?)
• คำถามสำคัญเพื่อชHวยให#ผู#พูดสำรวจตนเอง “คุณรู#สึกอยHางไร”
• ตัวอยHางเชHน: ผู#ให#การปรึกษา: "ชHวยเลHาเรื่องราวของคุณอยHางไร"
• คำถามเป‰ด หากใช#อยHางสุภาพ จะชHวยสร#างความสัมพันธDที่ไว#วางใจได# โดยที่ผู#พูดรู#สึกปลอดภัยที่จะ
สำรวจวHาเกิดอะไรขึ้นกับพวกเขา
• ระวังคำถาม 'ทำไม' เพราะบางครั้งอาจรู#สึกวHาเปBนการตัดสินอยHางมากและอาจทำให#คุณฟ\งดูเหมือน
ครูกำลังตั้งคำถามกับเด็ก ลองเปลี่ยนคำวHา 'ทำไม' เปBน 'อะไร' ดังนั้นแทนที่จะพูดวHา 'ทำไมคุณถึงทำ
อยHางนั้น' ให#ถามวHา 'อะไรทำให#คุณทำอยHางนั้น'
113

คำถามป¬ด

1. คำถามป‰ดคือคำถามที่นำไปสูHคำตอบ "ใชH" หรือ "ไมHใชH"


2. ตัวอยHางเชHน: “คุณรู#สึกเศร#าไหม” “คุณรู#สึกมีความสุขไหม”
3. คำถามปลายป‰ดนำมาสูHความรู#สึกเหมือนการสอบสวน และ ไมHชHวยในแงHของคำตอบที่ได#รับ
4. หลายคนยังเชื่อวHากำลังถาม 'คำถามเป‰ด' ทั้งที่จริง ๆ แล#วกำลังถาม 'คำถามป‰ด' ที่ซับซ#อน
5. การใช# 'คำถามที่ป‰ด' ซ้ำๆ อาจสHงผลให#ผู#รับการปรึกษาพูดน#อยลงและที่ปรึกษารู#สึกกดดันให#ถามคำถาม
มากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให#มีการพูดคุยดำเนินตHอไป
6. สามารถใช#คำถามแบบป‰ดในการให#คำปรึกษาได# เมื่อคำถามป‰ดมีความเหมาะสม ตัวอยHางเชHน:
ผู#ให#การปรึกษา: "ยินดีต#อนรับ คุณพร#อมให#เราเริ่มหรือยัง" ผู#รับการปรึกษา: "ใชH.
114

ทักษะการสะท.อนความรู.สึกและทวนความ

หมวดการเรียนรู:. ทักษะการให.การปรึกษา “สะท.อนความรู.สึกและทวนความ”


วัตถุประสงคQ: เพื่อให.เข.าใจทักษะสะท.อนความรู.สึกและการทวนความและฝ«กฝนทักษะการถามสำหรับการให.
การปรึกษาที่เหมาะสม
กระบวนการเรียนรู:. Experiential Learning Process กระบวนการเรียนรู.ผAานประสบการณQ คือ สร.าง
ประสบการณQที่เกี่ยวข.องกับเนื้อหา จากนั้นรAวมสะท.อนความรู.สึกวิเคราะหQประสบการณQ และการนำไปใช.
ใบความรู.ประกอบ: ทักษะการสะท.อนความรู.สึกและทวนความ

ใบความรู.ประกอบ: ทักษะการสะท.อนความรู.สึกและทวนความ
• ทักษะการสะท#อนความรู#สึกและทวนความ สHวนหนึ่งของ 'ศิลปะแหHงการฟ\ง' คือการทำผู#รับการปรึกษา
แนHใจได#วHาผู#รับการปรึกษารู#รับฟ\งเรื่องราวของผู#รับการปรึกษา
• การทวนเรื่องราวที่ได#ฟ\งของผู#รับการปรึกษา เรียกวHาการทวนความ
• การสะท#อนความรู#สึก คือทักษะทำให#ผู#รับการปรึกษารับรู#วHาผู#ให#การปรึกษา 'ได#ยิน' ไมHเพียงแตHสิ่งที่กำลัง
พูด แตHยังแสดงความรู#สึกและอารมณDที่ผู#รับการปรึกษาประสบเมื่อแบHงป\นเรื่องราว
• ทักษะการให#คำปรึกษาในการทวนความซ้ำแล#วซ้ำเลHาไปยังสHวนตHางๆ ของเรื่องราวของผู#รับการปรึกษา จะ
เปBนเหมือนกระจกสะท#อนตัวตนให#กับผู#รับการปรึกษาและทำให#ผู#รับการปรึกษารับรู#ได#วHาผู#รับการปรึกษา
มีความสนใจอยHางเต็มที่ นอกจากนี้ยังชHวยให#ผู#รับการปรึกษามั่นใจได#วHาผู#ให#การปรึกษามีความเข#าใจอยHาง
ถHองแท#
• การสะท#อนความรู#สึกและทวนความไมHควรประกอบด#วยสิ่งที่กำลังพูดเทHานั้น แตHควรประกอบด#วยอารมณD
หรือความรู#สึกที่ผู#รับการปรึกษาแสดงออกมาด#วย
• ตัวอยHาง:
ผู#รับการปรึกษา (อับดุลลอฮD): อดีตภรรยาของฉันโทรหาฉันเมื่อวานนี้ เธอบอกฉันวHานาฟ‰ซHาลูกสาวของเรา
(ซึ่งอายุเพียง 9 ขวบเทHานั้น) ปiวยหนักมากหลังจากประสบอุบัติเหตุทางรถยนตD ฉันรู#สึกกลัวเธอมาก พวกเขาอาศัย
อยูHที่ฝรั่งเศส ฉันจึงต#องเดินทางไปหาเธอ และตอนนี้ ไมHรู#วHาฉันจะไปได#อยHางไร
ผู#ให#การปรึกษา: อับดุลลอฮD คุณมีขHาวร#ายเกี่ยวกับลูกสาวตัวน#อยของคุณ ผู#ซึ่งประสบอุบัติเหตุ คุณกลัว
เธอและกังวลเรื่องเงินด#วย ตอนนี้คุณตกงาน
ผู#รับการปรึกษา: ใชH ใชH ... ถูกต#อง
115

“สังเกตวHาผู#ให#การปรึกษาไมHได#ให#คำแนะนำหรือเริ่มถามวHาอับดุลลอฮDและภรรยาของเขาถูกแยกจากกันนานแคH
ไหน แตHสะท#อนถึงอารมณDของสิ่งที่พูด: "ตกใจ" และ "กังวล"
• การสะท#อนความรู#สึกและทวนความเปBนทักษะที่สำคัญในการชHวยเหลือและมีประโยชนDมากที่สุด
• ในการสร#างความสัมพันธDที่ไว#วางใจได#กับผู#ให#การปรึกษา ซึ่งไมHเพียงต#อง "รับฟ\ง" เทHานั้น แตHยังต#องได#รับ
การรับฟ\งและให#คุณคHาในฐานะบุคคลด#วย "การสะท#อนความรู#สึกและการทวนความไมHควรประกอบด#วย
สิ่งที่กำลังพูดเทHานั้น แตHควรประกอบด#วยอารมณDหรือความรู#สึกที่ผู#รับการปรึกษาแสดงออกด#วย"
• การใช#ทักษะการสะท#อน ผู#ให#การปรึกษาต#องมองหาและจับน้ำเสียง ความรู#สึกของคำพูด และการ
แสดงออกทางสีหน#าหรือภาษากายของผู#รับการปรึกษาขณะพูด ตัวอยHางเชHน ผู#รับการปรึกษาอาจยักไหลH
ขณะที่พูดวHา 'ฉันกลัวมาก ฉันไมHรู#วHาต#องทำอยHางไร'อาจสะท#อนกลับโดยการยHอไหลH สะท#อนภาษากายของ
พวกเขาในขณะที่พูดวHา 'ฉันรู#สึกกลัวมาก ฉันไมHรู#วHาต#องทำอยHางไร' เปBนต#น
116

รายละเอียดเพิ่มเติม
• การทวนความ ( Paraphrase )

ความหมาย เปBนการพดใน สิ่งที่ CI. ได#บอกเลHาอีกครั้งโดยไมHได#มีการเปลี่ยนแปลงในแงHของภาษา


หรือความรู#สกึ ที่แสดงออกมา
ประเภท
1. ทวนความทุกคำ
2. ทวนความบางประเภท
3. ทวนความแบบสรุป
ผลที่ได.รับ
1. จงใจให#ผู#รับการปรึกษาพูดขยายความตHอ
2. ตรวจความเข#าใจให#ตรงกัน ระหวHางผู#ให#การปรึกษากับผู#รับการปรึกษา
3. ทำให#ผู#รับการปรึกษา ชัดเจน ในสิ่งที่พูดมากขึ้น
4. กรณีทผี่ ู#รับการปรึกษา พูดมาก นอกเรื่องจะชHวยให#ผู#รับการปรึกษาเข#าเรื่องประเด็นที่สำคัญ
และไมHพูดซ้ำซาก
การทวนความเปBนทักษะที่ไมHได#ใช#ในการสื่อสารตามปกติ แตHเปBนทักษะที่ใช#ในการสื่อสารเพื่อ
การให#บริการปรึกษา ใช#ในการให#ข#อมูลย#อนกลับ โดยเฉพาะข#อมูลเชิงความคิดความจำ
วัตถุประสงคQ
1.เพื่อให#ข#อมูลย#อนกลับด#านความคิด โดยไมHมีการเพิ่มเติมความคิดของผู#ให# การปรึกษาลงไป
2.ความกดดันของผู#ให#บริการ จากการเปBนผู#ฟ\งเพียงฝiายเดียว
3.ต#องการเน#นข#อความนั้นๆ เพื่อการขยายความสูHประเด็น
โอกาสที่ใช.
1. เมื่อเนื้อหาที่เลHาเปBนความคิด ความจำ
2. เมื่อคนเลHาหยุดเลHา และต#องการให#เลHาตHอ
3. เมือ่ คนเลHาพูดเร็วและหลายประเด็นเกินไป ต#องการให#พูดประเด็นใดประเด็นหนึ่งโดยเฉพาะ
4. เมื่อต#องการเชื่อมประเด็นตHางๆ เข#าหากันโดยไมHใช#การสรุป
ผลที่เกิด
1. คนเลHาเกิดการสำรวจความคิดของตัวเอง
2. คนเลHารับรู#และเข#าใจความคิดของตัวเอง
117

3. เลHาตHอไปในเรือ่ งที่ทวนความมา
4. รับรู#วHาคนฟ\งตั้งใจฟ\งจริง
5. สัมพันธภาพระหวHางผู#พูดกับผู#ฟ\งดีขึ้น
6. เลHาได#มากขึ้น ขยายความเพิ่ม รHวมมือดีขึ้น
การสื่อสาร
1.พูดซ้ำสิ่งที่ผู#เลHาพูดออกมา
2.เปBนคำ วลี หรือประโยค
3.ภาษาที่ใช#จะเปBนของผู#เลHาหรือผู#ฟง\ ก็ได#
4.ต#องเปBนประโยคบอกเลHาเสมอ
ข.อจำกัด
1.ใช#มากจะเกิดความรู#สึกไมHเปBนธรรมชาติของการคุยกัน
2.เรื่องที่เลHามีความรู#สึกมากไมHควรใช#
3.ไมHควรใช#ถ#าคนเลHา ๆ ได#อยHางตHอเนื่องดี และไมHนอกประเด็น เพราะจะทำให#การสนทนา
เกิดการชะงัก
วิธีการทวนความที่ดี
1.ใช#เมื่อมีจุดมุHงหมายที่ชัดเจน
2.ใช#เมื่อเปBนโอกาสที่จะใช#จริง
3.ใช#ภาษาของเราจะไมHทำให#รู#สึกวHาพูดซ้ำซาก
4.ไมHควรตHอด#วยคำถาม เพราะทำให#รู#สึกวHาไมHได#ตั้งใจฟ\ง
5.ถ#ามีหลายประเด็นทวนความเชื่อมประเด็นนั้นด#วยเพื่อให#ผู#เลHาติดตามประเด็นได#ทั้งหมด

• การสะท.อนความรู.สึก (Reflection of feeling)

ความหมาย เปBนการรับรู#อารมณD ความรู#สึกตHางๆ ที่ ผู#ให#การปรึกษาแสดงออกมาด#วย Verbal และNon-


verbal expression และให#ข#อมูลย#อนกลับด#วยภาษาพูดอยHางชัดเจนให# CI. รับฟ\ง
วิธีการ
1.จับความรู#สึกจาก Verbal และ Non-verbal expression
2.เข#าใจความรู#สึกของ CI. ( Empathy )
3.สะท#อนความรู#สึกด#วยทHาทีที่เหมาะสมและคำพูดที่ชัดเจน
118

ผลที่ได.รับ
1. ผู#รับการปรึกษา เกิดความไว#วางใจผู#ให#การปรึกษามากขึ้น เพราะรับรู#วHาผู#ให#การปรึกษาเข#าใจใน
ความรู#สึกของตนเอง ( สัมพันธภาพดีขึ้น รู#จัก รู#ใจ )
2. ผู#รับการปรึกษาเป‰ดเผยตนเองมากขึ้น
3. ผู#รับการปรึกษาตระหนักรู#ในอารมณD ความรู#สึกของตน
4. ชHวยลดความรู#สึกที่มีตHอป\ญหา อารมณDคลี่คลาย ทำให#มองสภาพการณDตHาง ๆ เปBนจริงมากขึ้นการ
สะท#อนความรู#สึกเปBนอีกสภาพหนึ่งที่ไมHใช#ในการสนทาตามปกติ แตHใชHเฉพาะในการให# บริการปรึกษาเปBนสำคัญ
โดยเฉพาะเมื่อต#องการให#ข#อมูลย#อนกลับให#ผู#พูดรับรู#ความรู#สึกของตนเอง
วัตถุประสงคQ
1.เพื่อให#ข#อมูลย#อนกลับเกี่ยวกับความรู#สึกของผู#พูดแสดงออกมา
2.เพื่อลดความรู#สึกของผู#ฟ\งที่เกิดจากการรับรู#ความรูส# ึกของผู#เลHา
3.ต#องการเน#นความรู#สึกที่เกิดขึ้น เพื่อการสำรวจ รับรู# เข#าใจ
4.เพื่อผHอนคลายความรู#สึกนั้นๆ ลง โดยการยอมรับ เข#าใจและได#แสดงออกมา
โอกาสที่ใช.
1.เมื่อเรื่องที่เลHามีความรู#สึกและอารมณDปะปนกัน
2.เมื่อการสนทนาสะดุดจากความรู#สึกตHางๆ
3.เมื่อความรู#สึกพรั่งพรูออกมามากเกินกวHาผู#พูดจะควบคุมได#
4.เมื่อต#องการเชื่อมโยงความรู#สึกตHางๆ กับเหตุผลหรือคำอธิบายที่ให#เกิดความรู#สึกหรืออารมณDนั้น
ผลที่เกิด
1.ผู#เลHาเกิดการสำรวจความรู#สึกของตนเอง
2.ผู#เลHารับรู# เข#าใจ และยอมรับความรู#ของตนเอง
3.ความรู#สึกผHอนคลายลงจากการรับรู#ความรู#สึกของตนเอง และจากการที่มีคนเข#าใจ
4.สัมพันธภาพตHอกันดีขนึ้ ไว#วางใจมากขึ้น
5.เป‰ดเผยความรู#สึกตHางๆ ได#มากขึ้น
การสื่อสาร
1.สังเกตความรู#สึกที่เกิดขึ้นให#ชัดเจน
2.เริ่มการสะท#อนความรู#สึกด#วยประโคที่วHา “ คุณรู#สึก.....ที่...( เหตุผล ) .... ”
3.พูดในขณะที่ความรู#สึกนั้นๆ ยังดำรงอยูH
ข.อจำกัด
119

1.ถ#าเรื่องที่เลHาไมHมีความรู#สึกปรากฏชัดเจนใช#ไมHได# เชHน เรือ่ งในอดีต


2.จับความรู#สึกไมHได# เพราะมัวแตHฟ\งเนื้อหา
3.เลือกคำที่ใช#ในการแสดงความรู#สึกไมHได# ไมHตรง
4.ไมHมีชHวงจังหวะให#สะท#อนความรู#สึก
5.สะท#อนแล#วไมHตรงใจ ไมHได#ผล
6.บางคนเกิดผลในทางที่ไมHต#องการ
7.ประเมินผลของการสะท#อนความรู#สึกไมHได#
8.บางครั้งความรู#สึกเกิดขึ้นหลายอยHาง ไมHรู#จะสะท#อนอันไหน
วิธีการสะท.อนความรู.สึกที่ดี
1. สังเกตความรู#สึกให#ได#ชัดเจน ด#วยการสังเกตคำพูดและทHาที่
2. เลือกความรูส# ึกที่รุนแรงที่สุด พร#อมทั้งเหตุผลที่เกิดความรู#สึก
3. เลือกคำแสดงความรู#สึกที่เหมาะสมกับระดับการศึกษา หรือสังคมของผู#ฟ\ง
4. เริ่มการสะท#อนความรู#สึกด#วยประโยคที่วHา “ คุณรู#สึก....ที่.... ”
5. อยHาตัดประโยคสะท#อนความรู#สึกด#วยคำถาม
6. ถ#าสะท#อนแล#วไมHตรงให#ถามเป‰ดวHา แล#วจริงๆเขารู#สึกอยHางไร

ความรู#สึก (Feelings) มีหลายความหมายได#แกH


-Attitude = เจตคติ
-Physical Sensation = ประสาทสัมผัส
- Somatic Symptom = อาการทางกาย
-Emotion = อารมณD

ในการให#บริการปรึกษา คำวHา ความรู#สึกที่กลHาวถึง หมายถึง ความรู#สึกในความหมายของอารมณD


บางครั้งจึงเรียกรวมกันวHา “ อารมณD ความรู#สึก ” สามารถแบHงกลุHม ๆ ได#ดังนี้

กลุHมอารมณD โดดเดี่ยว
เงียบเหงา หงอย เปลHาเปลี่ยว โดดเดี่ยว เดียวดาย
ว#าเหวH อ#างว#าง เคว#งคว#าง วังเวงใจ หมดที่พึ่ง
120

กลุHมอารมณD โกรธ / เกลียด


ไมHพอใจ ไมHสมใจ ไมHพอใจ ไมHสบอารมณD รำคาญ
ขุHนเคือง หงุดหงิด ผิดหวัง เหลืออด ฉุนเดือด
อิจฉา ริษยา ยัวะ โกรธ โมโห ขยะแขยง
รังเกลียด เกลียด
เจ็บร#อนแทน เคียดแค#น คับแค#นใจ สะอิดสะเอียน ชิงชัง เหม็นหน#า

กลุHมอารมณD กังวล / กลัว


สองจิตสองใจ ลังเล สงสัย ไมHแนHใจ ไมHมั่นใจ
คลางแคลงใจ หHวงใย เปBนหHวง กังวล สับสน
กลุ#มใจ หนักใจ อึดอัดใจ คับข#องใจ ยุHงยาก
วุHนวานใจ ร#อนใจ กระวนกระวายใจ กระสับกระสาย
ไมHกล#า เกรงใจ กลัว ขยาด หวาดๆขวัญผวา อกสั่นขวัญแขวน
ระแวง ตกใจ เสียขวัญ ตื่นตระหนก ขวัญหนีดีฝiอ

กลุHมอารมณD เศร#า / เบื่อ


อHอนแอ เพลียใจ เหนื่อยใจ ละเหี่ยใจ เสียดาย
หHอเหี่ยว หดหูH เซ็ง เบื่อ น#อยใจ
เสียใจ เศร#า ช้ำใจ โศกสลด รันทด
สลดใจ ไร#คHา ท#อแท# หมดกำลังใจ สิ้นหวัง
ทุกขDระทน ร#าวรานใจ หมดอาลัยตายอยาก

กลุHมอารมณDเอียงอาย / อับอาย
เคอะเขิน เหนียม เป‰_น กระดาก เอียงอาย
อับอาย เสียหน#า ขายหน#า หน#าแตก
121

กลุHมอารมณD ดี
ดีใจ เ ปBนสุข สบายใจ คลายกังวล โลHงอก ปลื้มใจ โลHงใจ รHาเริง ซาบซึ้ง
คึกคัก สนุกสนาน ประทับใจ ตื้นตันใจ ปลาบปลื้ม ป‰ติ ภาคภูมิ ชื่นใจ อิ่ม
เอิบใจ ภูมิใจ

บางครั้งผู#รับการปรึกษาอาจบอกความรู#สึกของตนเอง แตHมิได#พูดออกมาเปBนคHาแสดงความรู#สึก
แตHพูดเปBนคำเปรียบเทียบ คำแสดงกริยาหรือพฤติกรรม และคำแสดงอาการทางกาย

คำแสดงอาการทางกาย
กินไมHได# , เบื่ออาหาร คลื่นไส#
นอนไมHหลับ ป\_นปiวนในท#อง
ปวดหัว, เวียนหัว สมองตื้อ , หูดับ
อHอนเพลีย , มือเท#าเย็น ใจสั่น , หัวใจเต#นแรง
แนHนอก , หายใจไมHอิ่ม

คำแสดงกริยา พฤติกรรม
กินไมHลง อยากอาเจียน กัดฟ\นพูด
อยากอยูHเฉย อยากอยูHเงียบๆ คนเดียว
อยากร#องไห# อยากร#องตะโกน
อยากร#องกรี๊ด อยากเอามีดกรีดซ้ำ
อยากวิ่งให#รถชน อยากชนหน#า
อยากฆHาให#มันตาย ไมHรู#จะเอาหน#าไปไว#ที่ไหน
อยากเอาป‰Ðบคลุมหัว แทบแทรกแผHนดินหนีถูกฉีกหน#า
122

คำเปรียบเทียบ
เหมือนคนรกโลก เหมือนตกนรกทั้งเปBน
เหมือนพระมาโปรด เหมือนยกภูเขาออกจากอก
เหมือนตายแล#วเกิดใหมH เหมือนอยูHในโลกนี้คนเดียว
เหมือนโลกนี้เปBนสีเทา เหมือนฟxาผHาลงกลางใจ
เหมือนขึน้ สวรรคD เหมือนเข็นครกขึ้นภูเขา
เหมือนแบกโลกไว#ทั้งโลก หัวใจพองโต
เหมือนไมHเข#า คายไมHออก หวานอมขมกลืน
123

แบบฝ«กปฏิบัติ 2 ทักษะการถาม ทักษะการฟTง การสะท.อนความ สะท#อนความรู#สึก และการชื่นชม ให.กำลังใจ


และการให.ผู.สังเกตการณQจับประเด็นตAางๆที่สังเกตได.จากกระบวนการสื่อสาร

คำชี้แจง
แบHงกลุHม ๆ ละ 5-6 คน
ผู#เข#ารับการอบรมจะได#รับการมอบหมายให#สวมบทบาท 3 บทบาท โดยเปBนผู#รับการปรึกษา ผู#ให#การปรึกษาและ
เปBนผู#สังเกตการณD โดยแตHละบทบาทมีหน#าที่ดังตHอไปนี้

ผู#รับการปรึกษา : ให#ทHานเลHาสิ่งที่ทHานประสบกับเหตุการณDใดเหตุการณDหนึ่ง เลHาเทHาที่ทHานสามารถเลHาได# เปBนเรื่อง


ที่ทHานอยากจะแบHงป\นให#ผู#อื่นได#รับทราบ ไมHใชHเรื่องที่ซHอนอยูHลึกที่สุดในใจทHาน หรือเปBนเรื่องความลับของทHาน
ผู#ให#การปรึกษา : ภารกิจของทHานคือความพยายามให#มากที่สุดเทHาที่จะทำได#ในการทำให#ผู#รับการปรึกษา สามารถ
เลHาเหตุการณDของเขา ใช#ทักษะการถาม ทักษะฟ\ง การสะท#อนความ สะท#อนความรู#สึก การชื่นชม ให#กำลังใจ โดย
เริ่มต#นที่การสร#างสัมพันธภาพ บอกชื่อของทHาน สร#างความไว#วางใจ
ผู#สังเกตการณD : การจับประเด็นของผู#สังเกตการณD: ลงรหัส บันทึกลงในใบกิจกรรมที่ 2
124

ใบงานที่ 2

ทักษะการถาม ทักษะฟTง การสะท.อนความ สะท.อนความรู.สึก และการชื่นชม ให.กำลังใจ และการให.ผู.


สังเกตการณQจับประเด็นตAางๆที่สังเกตได.จากกระบวนการสื่อสาร

การตอบสนองของผู.ให.คำปรึกษา จำนวนครั้ง (ขีดเครื่องหมายถูก) ตัวอยAาง


1. ทักษะการถาม

2. ทักษะการฟTง

3. ทักษะการชื่นชม การให.กำลังใจ

4. ทักษะการสะท.อนความรู.สึก

5 ทักษะการสรุปความ
125

ใบความรู.ประกอบการเรียนรู. การปรึกษารูปแบบออนไลนQ และการดูแลตนเองของผู.ให.การปรึกษา


อ.ดร. ปรีนาภา ชูรัตน&

1. หมวดการเรียนรู:. ข.อควรตระหนักการให.การปรึกษาออนไลนQ/สายดAวน
2. หมวดการเรียนรู:. การดูแลตนเองของผู.ให.การปรึกษา
126

หมวดการเรียนรู:. ข.อควรตระหนักการให.การปรึกษาออนไลนQ/สายดAวน
วัตถุประสงคQ: เพื่อให.เข.าใจถึงข.อควรตระหนักในการให.คำปรึกษาออนไลนQ/สายดAวน
กระบวนการเรียนรู:. Experiential Learning Process กระบวนการเรียนรู.ผAานประสบการณQ คือ สร.าง
ประสบการณQที่เกี่ยวข.องกับเนื้อหา จากนั้นรAวมสะท.อนความรู.สึกวิเคราะหQประสบการณQ และการนำไปใช.
ใบความรู.ประกอบ: ข.อควรตระหนักการให.การปรึกษาออนไลนQ/สายดAวน และ จริยธรรมการปรึกษา
ออนไลนQ

ใบความรู.ประกอบ: ข.อควรตระหนักการให.การปรึกษาออนไลนQ/สายดAวน
1. คำนึงถึงความเปBนสHวนตัวและการรักษาความลับของผู#รับการปรึกษาเปBนลำดับต#น
2. ผู#ให#การปรึกษาควรมีความรู#และการฝwกปฏิบัติการปรึกษาในเบื้องต#น
3. หลีกเลี่ยงการให#การปรึกษาที่คุกคามหรือทำให#ผู#รับการปรึกษาเสี่ยงตHออันตรายหรือผลร#ายที่ตามมา
4. มุHงเน#นการสร#างสัมพันธภาพ เพราะการไมHสามารถให#การปรึกษาแบบตัวตHอตัวการยุติการปรึกษาเปBนไป
ได#งHาย ความสัมพันธDนำมาสูHพันธะความผูกพันในการปรึกษาแบบออนไลนD
5. ให#ความสะดวกสบายในการติดตHอสื่อสาร และมีความยืดหยุHนใสHใจผลประโยชนDของผู#รับการรปรึกษาเปBน
อันดับต#น
6. ไมHลุกขึ้นและออกจากการปรึกษาออนไลนDแม#การเชื่อมตHอจะถูกตัดขาดซึ่งเปBนป\ญหาของคอมพิวเตอรD
127

ใบความรู.ประกอบ: จริยธรรมการปรึกษาออนไลนQ

1. ควรศึกษาและปฏิบัติตามการใช#ข#อกฎหมายสื่อออนไลนD และควรสถาบันเชี่ยวชาญทางการให#การปรึกษาเปBนพี่
เลี้ยงหรือรับรองในกรณีที่ไมHได#มีวุฒิการปรึกษาจิตวิทยา
2. ผHานการเชื่อมตHอที่ปลอดภัยเทHานั้น แจ#งผู#รับการปรึกษาถึงความเสี่ยงตHอความเปBนสHวนตัวซึ่งมีอยูHในการปรึกษา
ออนไลนD โดยเฉพาะอยHางยิ่งหากมีการบันทึกก็ควรแจ#งเชHนกัน
3. คำนึงถึงขอบเขตของป\ญหาการปฏิบัติ ผู#ที่ต#องการรับการปรึกษาทางออนไลนD อาจมีป\ญหามากมาย หากผู#รับ
การปรึกษาเป‰ดเผยป\ญหาที่ไมHสามารถชHวยได# ควรแนะนำให#พวกเขาไปหาผู#เชี่ยวชาญ
4. ให#ความชัดเจนเกี่ยวกับ เปxาหมายการปรึกษา ความคาดหวังในการปรึกษา และนโยบายความเปBนสHวนตัว หาก
เปBนเด็กหรือวัยรุHนควรแจ#งให#ผู#ปกครองทราบและแจ#งความยินยอม
5. ควรรู#จักข#อมูลพื้นฐานผู#รับการปรึกษา เชHน ชื่อและข#อมูลติดตHอ กรณีนัดหมายและฉุกเฉิน
6. กำหนดความคาดหวังที่ชัดเจนสำหรับการสื่อสาร การปรึกษาออนไลนDไมHได#หมายความวHาต#องเข#าถึงได#ตลอด 24
ชั่วโมงทุกวัน ดังนั้นแจ#งให#ผู#รับการปรึกษาทราบวHาจะติดตHอได#เมื่อใดและบHอยเพียงใด และควรทำอยHางไรหากผู#รับ
การปรึกษาประสบภาวะฉุกเฉิน
128

หมวดการเรียนรู:. การดูแลตนเองของผู.ให.การปรึกษา
วัตถุประสงคQ: เพื่อให.เข.าใจการดูแลตนเองของผู.ให.การปรึกษาและมีแนวทางในการดูแลตนเอง
กระบวนการเรียนรู.: Experiential Learning Process กระบวนการเรียนรู.ผAานประสบการณQ คือ สร.าง
ประสบการณQที่เกี่ยวข.องกับเนื้อหา จากนั้นรAวมสะท.อนความรู.สึกวิเคราะหQประสบการณQ และการนำไปใช.
ใบความรู.ประกอบ: การดูแลตนเอง

ใบความรู.ประกอบ: การดูแลตนเอง Self-Care


การดูแลตนเองอยHางตั้งใจและใสHใจเปBนการสHงเสริมสุขภาวะ เปBนสHวนสำคัญในการรักษาสุขภาพที่ดีและ
ชีวิตที่สดใส ไมHใชHเพียงการผHอนคลายแตHเปBนการสร#างนิสัยการดูแลตนเองที่เชื่อถือได# และสามารถสHงผลตHอคุณภาพ
ชีวิตในป\จจุบันและในอนาคต
3 องคQประกอบของการดูแลตนเอง
1 ทางกายภาพ คือ การดูแลตนเองเกี่ยวข#องกับการเคลื่อนไหวรHางกาย ไมHวHาจะเลHนกีฬา ออกกำลังกาย
เต#นรำ ยืดเส#นยืดสาย หรือเดินไปที่สวนสาธารณะเพื่อปxอนอาหารเปBด หาอะไรกินดีๆ ให#ตัวเอง (บางอยHางที่ไมH
ได#มาจากการขับรถ ไปนวดหรือให#รางวัลตัวเองด#วยเสื้อผ#าใหมHที่มีเนื้อสัมผัสและสีสันสวยงาม ไปพบแพทยDเมื่อ
ปiวย)
2. จิตใจ/อารมณD คือ ยอมรับตัวเองและให#อภัยตัวเอง ตั้งความคาดหวังที่สมเหตุสมผลสำหรับตนเอง แตH
อยHาหยุดทำงานหนัก ประเด็นคือท#าทายตัวเอง ไมHใชHทำลายตัวเอง กำหนดขอบเขตความต#องการ - หรือการปลHอย
ตัวมากเกินไปไมHมีประโยชนD พัฒนาระบบสนับสนุนรอบตัวที่เปBนพลังทางบวก คนที่สามารถพูดคุยอยHางจริงจังเมื่อมี
ป\ญหาเกิดขึ้น เลือกเพื่อนที่เคารพเราและไมHคาดหวังให#เราทำทุกอยHางเพื่อรักษาความสัมพันธD เลือกทำสิ่งตHางๆ
เพื่อความสนุกสนานได#หลากหลาย ไมHวHาจะอยูHกับคนอื่นหรืออยูHคนเดียว หากมีป\ญหาในการคิดไอเดีย ให#นึกถึงสิ่ง
ที่ชอบในวัยเด็ก ระบายสี วาด หรือสร#างบางสิ่ง
3. จิตวิญญาณ พัฒนาการปฏิบัติที่ออกกำลังกายจิตใจและจิตวิญญาณ ไมHวHากิจวัตรประจำวัน เกี่ยวข#อง
กับการสวดมนตD นั่งสมาธิ หรือเข#ารHวมบริการ กิจกรรมเหลHานี้สร#างจิตวิญญาณและศรัทธา และชHวยให#สำรวจ
ตัวเองและระบุคHานิยมและลำดับความสำคัญ อHานวรรณกรรมภูมิป\ญญาและหารือกับผู#อื่นที่มีความคิดเหมือนๆ กัน
เพื่อจะได#รู#จักตัวเองและจักรวาลมากขึ้น หาวิธีชHวยเหลือผู#อื่นให#มีชีวิตที่ดี
129

ใบความรู.ประกอบการเรียนรู. การปฐมพยาบาลทางใจ

1. หมวดการเรียนรู:. การปฐมพยาบาลทางใจ
2. หมวดการเรียนรู:. การดูแลจิตใจตนเองจากความเหนื่อยล.าจากการทำงานของผู.ชAวยเหลือ

การปฐมพยาบาลทางใจ (Psychological First Aid)


130

ศูนย&สุขภาพจิตที่ 12 47

การปฐมพยาบาลทางใจ หมายถึง การชHวยเหลือผู#มีความทุกขDทางใจ หรือเพิ่งผHานการสูญเสียได#รับโดย


การตอบสนองความต#องการพื้นฐานเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดทางใจ เสริมสร#างความรู#สึกปลอดภัย และติดตHอ
เครือขHายทางสังคม โดยใช#วิธีการ 3 ขั้นตอน คือ การสอดสHองมองหา การใสHใจรับฟ\ง และการสHงตHอเชื่อมโยง

1. การสอดสAองมองหา

ผู#ชHวยเหลือค#นหาผู#ที่ต#องการความชHวยเหลือในพื้นที่ ซึ่งมีความทุกขDทางใจ หรือเพิ่งผHานการสูญเสียโดย


ถามอาการ/ความรู#สึก กรณีผู#ใหญH สอบถามอาการตามแบบประเมินความเครียด (ST5) และแบบคัดกรองโรค
ซึมเศร#า 2 คำถาม (2Q) กรณีเด็ก สอบถามอาการตามแบบประเมินอาการสำหรับเด็กตามกลุHมอายุ (Symptoms
checklist)
หากพบวHามีความเสี่ยงจำเปBนต#องให#การชHวยเหลือเบื้องต#นโดยการใสHใจรับฟ\ง

2. การใสAใจรับฟTง
1. การสอดสAองมองหา
ในขั้นตอนใสHใจรับฟ\ง หลังจากที่ผู#ชHวยเหลือได#สอดสHองมองหาและพบผู#มีป\ญหาทางสุขภาพจิต ผู#ให#การ
ชHวยเหลือสอบถามและพูดคุย เพื่อชHวยเหลือผู#ที่ทุกขDใจ โดยให#สามารถระบายหรือบอกเลHาอารมณDความรู#สึก
จัดการอารมณDให#สงบโดยใช#วิธีการตHางๆ เชHน การฝwกหายใจ และรHวมกันคิดแก#ไขป\ญหาของตนเองด#วยวิธีการที่
เหมาะสม โดยมีหลักการชHวยเหลือเบื้องต#นดังตHอไปนี้

47
คูWมือแนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิตสำหรับผู3ชWวยเหลือในชุมชนตามบริบทชายแดนใต3ภายใต3รูปแบบ HUGS
131

5 หลักการให2ความช7วยเหลือเบื้องต2น
1. ถามเพื่อให#เข#าใจเรื่องราวความเปBนมาอยHางชัดเจน
2. ฟ\งเพื่อจับใจความและสะท#อนความรู#สกึ ของผูท# ี่มาปรึกษา
3. รHวมกันระบุปญ \ หาทีท่ ำให#ผู#รบั การชHวยเหลือเกิดความทุกขDใจ
4. สHงเสริมให#คิดหาทางออกหลาย ๆ ทางเพื่อแก#ไขป\ญหา
5. ให#ข#อคิดและกำลังใจให#ฟ\นฝiาอุปสรรคตHอไปได#
6. การติดตามหลังจากให#การชHวยเหลือ

รายละเอียดดังนี้

1. ถามเพื่อให.เข.าใจเรื่องราวความเป„นมาอยAางชัดเจน การตั้งคำถามตามทักษะการ
ให#การปรึกษา ที่เหมาะสมจะทำให#เรื่องที่เปBนป\ญหาหรือสับสนมีความชัดเจนขึ้น ผู#ที่มี
ความทุกขDใจจะสามารถเข#าใจเรื่องราวตนเองได#มากขึ้นด#วย

ตัวอยAางการตั้งคำถาม

ตั้งคำถามปลายเป¬ด “เรื่องราวเปFนมาอยJางไร”
ให.ผู.ตอบขยายความ “เธอคิดวJาอยJางไร”
“ที่เรื่องเปFนอยJางนี้ เธอรูTสึกอยJางไร”

“ที ่ ว J า ทุ กขZใ จ ไมJ ส บายใจ หมายถึ ง คุ ณ รูTสึก


ตั้งคำถามเพื่อตรวจสอบ กังวลใจกับเรื่องที่เกิดขึ้น ใชJไหม”
“คุณคิดวJาคุณเปFนตTนเหตุของเรื่องนี้หรือไมJ”
ความเข.าใจ
“สรุปวJาคุณตกลงใจที่จะทำตามที่เขาแนะนำ
ใชJไหม”อยJางไร”

2. ฟTงเพื่อจับใจความและสะท.อนความรูส. ึกของผูร. ับการชAวยเหลือ โดยการฟ\งอยHางตั้งใจ


จดจHอเรื่องที่ฟง\ ฟ\งให#ตลอดเรื่องราว ไมHขัดหรือเปลี่ยนเรื่อง ฟ\งให#เข#าใจเรื่องราวความรู#สกึ
ของผู#ทที่ ุกขDใจ ในขณะที่ฟง\ ผู#ให#การชHวยเหลือควรสังเกต สีหน#า แววตา น้ำเสียง วHามีอารมณD
132

3. รAวมกันระบุปญT หาที่ทำให.ผู.รับการชAวยเหลือเกิดความทุกขQใจ ในขั้นนี้ผู#ให#การชHวยเหลือ


จะสะท#อนความหรือสรุปประเด็นป\ญหาทีผ่ ู#รบั การชHวยเหลือได#บอกเลHาให#ฟง\ ซึ่งอาจจะมีหลาย
ป\ญหา เมื่อรHวมกันระบุปญ\ หาแล#วให#ผู#รบั การชHวยเหลือจัดลำดับป\ญหาทีเ่ ปBนเรื่องสำคัญและ
ทุกขDใจและสามารถจัดการได#ในขณะนั้นโดยมุHงเน#นป\ญหาทีจ่ ัดการด#วยตนเอง

4. สAงเสริมให.คิดหาทางออกหลาย ๆ ทางเพื่อแก.ไขปTญหา เมือ่ ผูร# ับการชHวยเหลือระบุป\ญหาที่


จะจัดการแล#ว ผู#ให#การชHวยเหลือกระตุ#นและสHงเสริมให#คิดหาทางออกหลายๆทางที่สามารถ
จัดการด#วยตนเอง

5. ให.ข.อคิดและกำลังใจให.ฟTนฝ•าอุปสรรคตAอไปได. ผู#ให#การชHวยเหลือชื่นชมในสิ่งที่ผรู# ับการ


ชHวยเหลือสามารถจัดการด#วยตนเอง รวมทั้งให#กำลังใจและเสริมสร#างความภูมิใจให#สู#กบั ป\ญหา
ตHอไป

6. การติดตามหลังจากให.การชAวยเหลือ ผู#ให#การชHวยเหลือติดตามผู#รบั การชHวยเหลือ เพื่อ


ประเมินป\ญหาที่ทำให#เกิดความทุกขDใจวHาสามารถจัดการได#หรือไมH หรือยังคงมีป\ญหาอื่นๆที่
ต#องการรับการชHวยเหลือ
133

เมื่อได#ให#การชHวยเหลือเบื้องต#นแล#ว แตHยังพบวHาผู#รับการชHวยเหลือยังไมHดีขึ้น หรือมีความจำเปBนต#องได#รับการ


ชHวยเหลือด#านอื่นๆเพิ่มเติม ผู#ชHวยเหลือจำเปBนต#องสHงตHอเชื่อมโยง

3. การสAงตAอเชื่อมโยง
ผู#ชHวยเหลือต#องรู#แหลHงสนับสนุนชHวยเหลือที่จะตอบสนองความต#องการของผู#รับการชHวยเหลือ เชHน
- ประสานสถานพยาบาลใกล#บ#านเพื่อการดูแลชHวยเหลือหรือบำบัดรักษา เชHน โรงพยาบาลสHงเสริมสุขภาพ
ตำบล (รพ.สต.) หรือ โรงพยาบาลชุมชน (รพช.)
-ประสานสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยDจังหวัด (พมจ.) เพื่อชHวยเหลือด#านที่อยูHอาศัย
หรือเงินชHวยเหลือความจำเปBนขั้นพื้นฐาน
134

การดูแลจิตใจตนเองจากความเหนื่อยล.าจากการทำงานของผู.ชAวยเหลือ

ศูนย&สุขภาพจิตที่ 1248

ผลกระทบจากการปฏิบัติงานด.านการเป„นผู.ชAวยเหลือ มีดังนี้

1. ภาวะเหนื่อยล#าทางกายและใจ/ภาวะหมดไฟในการทำงาน (Burnout)
2. ภาวะเหนื่อยล#าจาการเมตตา สงสารผู#อื่น เห็นใจ Sympathy (compassion fatigue)/ ความเครียด
จากการเผชิญประสบการณDความทุกขDทรมานทุติยภูมิ (secondary traumatic stress) /การเปBนพยาน จากการ
เห็นเหตุการณDความทุกขDทรมาน (vicarious traumatization)
ภาวะหมดไฟในการทำงาน (Burnout) เกิดการเหนื่อยอกเหนื่อยใจหรือความเหนื่อยล#าทางอารมณDเกิด
การลดความสัมพันธDสHวนบุคคล (มีเจตคติในแงHร#ายตHอผู#อื่นรู#สึกวHาผู#อื่นตำหนิตนเองและทำงานอยHางไมHมีชีวิตจิตใจ)
และการคิดวHาตนเองไมHมีความสามารถที่จะทำงานในหน#าที่ได#อยHางเต็มประสิทธิภาพหรือขาดซึ่งความรู#สึกสำเร็จ/
ความรู#สึกไมHประสบความสำเร็จ

ความเหนื่อยล.าในงาน
เปBนปฏิกิริยาการตอบสนองตHอความเครียด จากสภาพแวดล#อมในการทำงาน มักพบในอาชีพที่ต#องติดตHอ
กับผู#ที่มีความทุกขDทั้งทางรHางกายและจิตใจ และผู#ที่ทำงานเกี่ยวข#องกับความเปBน ความตายและชีวิตของมนุษยD
• อาการ
1. ความรู#สึกอHอนล#าทางอารมณD (emotional exhaustion)
2. ความรู#สึกการลดความเปBนบุคคลในผู#อื่น (depersonalization) ความรู#สึกในทางลบของบุคคลตHอผู#อื่น
3. ความรู#สึกการลดความสำเร็จสHวนบุคคล (reduced personal accomplishment)

• ผลกระทบของความเหนื่อยล.าในงาน
1. ความสามารถที่จะปฏิบัติงานลดลง จากความเครียดเรื้อรังในงานคHอย ๆ เกิดขึ้นและสะสม เกิดความ
กดดัน สร#างความหงุดหงิด รำคาญ รบกวนตHอการทำงาน ทำให#ความสามารถในการปฏิบัติงานลดลง การสื่อสาร

48
คูWมือแนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิตสำหรับผู3ชWวยเหลือในชุมชนตามบริบทชายแดนใต3ภายใต3รูปแบบ HUGS
135

เปลี่ยนไปในทางไมHดี การตอบสนองความต#องการของผู#ใช#บริการหรือผู#ปiวยน#อยลง เกิดความไมHพึงพอใจของ


ผู#ใช#บริการ และทำให#เกิดป\ญหาได#งHาย
2. คุณภาพของงานลดลง เนื่องจากผู#ปฏิบัติงานจะมีความกระตือรือร#น มุHงมั่นที่จะทำงานให#ดีน#อยลง ขาด
แรงจูงใจที่จะทำงานให#มีคุณภาพ ทำให#การทำงานเพียงเพื่อให#เสร็จไปวันๆ เปBนอุปสรรคตHอการพัฒนาคุณภาพ
บริการ ประสิทธิภาพ ผลสำเร็จขององคDการลดลงและเกิดการผิดพลาดได#งHาย
3. เกิดผลเสียตHอผู#ปiวย ทำให#ลดความสามารถของผู#ปฏิบัติงานทำให#มีความใสHใจในงานน#อยลง ไมHมีสมาธิ
ไมHสามารถตัดสินใจแก#ป\ญหาได#
4. ไมHมีจิตบริการและขาดปฏิสัมพันธDที่ดีตHอผู#อื่นเมื่อผู#ปฏิบัติงานเกิดความเหนื่อยหนHาย จะกังวลและสนใจ
ตHอสุขภาวะของตนมากกวHาที่จะดูแลบริการผู#อื่น อาจจะต#องคอยแก#ตัว หรือปกปxอง ตHอต#าน จากการรับรู#ในการใช#
พลังงานและเวลาของตน โดยการเห็นแกHตัว ไมHเห็นแกHประโยชนDผู#อื่น ไมHยินดีในการรHวมมือหรือชHวยเหลือผู#อื่น ทำ
ให#มีความขัดแย#งในการทำงาน ขาดปฏิสัมพันธDที่ดี จึงแยกตัว และติดตHอกับผู#อื่นน#อยลง
5. เกิดการปรับตัวในทางไมHดี การติดตHอกับผู#อื่นน#อยลงทำให#ต#องหาทางปรับตัว อาจจะต#องใช#ยา หรือ
อาจพึ่งบุหรี่ แอลกอฮอลDหรือยาเสพติด จากพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปอาจมีความเสี่ยงตHอการเกิดอุบัติเหตุได#งHาย

วิธีการจัดการภาวะเหนื่อยล.าจากการทำงานด.วยตนเอง
1. ตระหนักรู#ตัวเอง (Honest Self-Awareness)
• รู#วHาอะไรทำได# หรือทำไมHได#ด#วยหลักเหตุผล
• ค#นหาประเด็นที่เราสามารถปลHอยวางได#หรือปลHอยให#เปBนไปตามนั้น
• ยอมทนรับตHอความล#มเหลวตามความเปBนจริง

2. แสวงหาความชHวยเหลือจากผู#อื่น
• พยายามรับการปรึกษาจากผู#มีประสบการณDอยHางสม่ำเสมอ
• พัฒนาเครือขHายผู#บำบัด
• ค#นหาหรือพยายามสร#างวัฒนธรรมการชHวยเหลือซึ่งกันและกันในที่ทำงาน
3. พัฒนาเทคนิคตHางๆ ที่ใช#ปxองกันป\ญหา
• จัดตารางเวลาเติมพลังให#กับตัวเองในวันเฉพาะของคุณ ที่ไมHมีใครตามคุณได# (ทั้งโทรศัพทD หรือ
อีเมลD)
• หากิจกรรมสร#างเสริมสุขภาพและความสนใจทาง spiritual needs
• เรียนรู#เทคนิค การฝwกหายใจเพื่อผHอนคลาย (breathing relaxation)
136

• หาเวลาพักผHอน ทานอาหารเที่ยง หาเวลาพักร#อนติดตHอกันสักสองสัปดาหD


• เอาใจใสHตัวเอง ทั้งด#านอาหารและออกกำลังกาย
• แยกงานและบ#านออกจากกัน
• ไมHควรใช#บทบาทผู#ชHวยเหลือกับสัมพันธภาพสHวนตัว
• ควรมีสHวนรHวมกับองคDกรวิชาชีพที่สามารถพูดคุย ปรึกษาเหตุการณDหรือป\ญหาอื่นๆ เพื่อหลีกเลี่ยง
การโดดเดี่ยว แปลกแยก
• เรียนรูก# ารฝwกสมาธิ mindfulness meditation.
• จดบั น ทึ ก การสะท# อ นมุ ม มองตH า งๆที ่ ท H า นมี ต H อ เหตุ ก ารณD ต H า งๆที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ในชี ว ิ ต ของทH า น
(Journaling to reflect on life events.
137

ใบความรู.ประกอบการเรียนรู. กระบวนการและกลไกของรูปแบบการคิด

ผู8ช4วยศาสตราจารย& ดร.สรินฎา ปุติ

1. หมวดการเรียนรู:. กระบวนการและกลไกของรูปแบบการคิด
2. หมวดการเรียนรู:. การค.นหาและปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติ
138

กระบวนการและกลไกของรูปแบบการคิด

ความคิด หมายถึง สิ่งตHางๆ ที่เกิดขึ้นภายในสมอง เชHน การแปลความ ทัศนคติ ความเชื่อ การรับรู# การ
ให#ความหมายตHอสิ่งตHางๆ การพูดกับตนเอง เปBนต#น การรับรู#เกี่ยวกับเหตุการณDจะมีอิทธิพลตHออารมณDและ
พฤติกรรมของบุคคล (แผนภูมิที่1) ไมHใชHเรื่องของสถานการณDที่เปBนตัวกำหนดวHาบุคคลควรจะรู#สึกอยHางไร หรือ
กระทำอยHางไร แตHเปBนเรื่องของการที่บุคคลคนนั้นพิจารณา คิด รับรู# เกี่ยวกับสถานการณDอยHางไร ความคิดที่
เกิดขึ้นในขณะนั้นเปBนอยHางไร รูปแบบความคิดที่บิดเบือนไปจากความจริง หรือความคิดที่ไมHมีเหตุผลนำไปสูHความ
แปรปรวนทางอารมณDหรือจิตใจของบุคคลได# ซึ่งความคิดในที่นี้หมายรวมทั้งความคิดในระดับลึกและระดับผิวๆ ที่
คอยควบคุมความรู#สึกของบุคคลที่มีตHอเหตุการณD พฤติกรรมอารมณDและสรีระ โดยลักษณะความคิดที่มีผลทำให#
เกิดอารมณDพฤติกรรมและสรีระที่เปBนป\ญหา เรียกวHา ความคิดอัตโนมัติ (Automatic thought)

สถานการณD/เหตุการณD

ความคิดอัตโนมัติ

ปฏิกิริยา (อารมณD พฤติกรรม สรีระทางรHางกาย)

แผนภูมิ 1 รูปแบบของความคิดที่สHงผลปฏิกิริยาในการแสดงออกของบุคคล

ลักษณะการคิดเปBนการทำหน#าที่ที่เกี่ยวข#องกับการสรุปเนื้อหาหรืออนุมานไปยังประสบการณDของบุคคล
และเกี่ยวกับการปรากฏขึ้นและการควบคุมเหตุการณDในอนาคต ความจริงเกี่ยวกับรูปแบบการคิด ได#แกH
1. วิธีการสำคัญของการทำงานด#านจิตวิทยาหรือการปรับตัว ประกอบด#วย โครงสร#าง
การสร#างความหมายของความคิด แบบแผนความคิด การให#ความหมายซึ่งเปBนการตีความของบุคคลในบริบทนั้นๆ
และบริบทที่มีความสัมพันธDกับตัวตนของบุคคล
2. การทำงาน/ การทำหน#าที่ในการกำหนดความหมาย (ทั้งในระดับอัตโนมัติและการ
139

อธิบาย) เปBนตัวควบคุมระบบทางจิตตHางๆ เชHน พฤติกรรม อารมณD ความสนใจ และความจำ การให#ความหมายจะ


เปBนตัวกระตุ#นกลยุทธDในการปรับตัว
3. อิทธิพลระหวHางระบบความคิดและระบบอื่นๆ มีปฏิกิริยาตHอกัน
4. ในแตHละชุดความหมาย มีตัวบHงชี้ถึงการแปลความที่เปBนแบบแผนเฉพาะของอารมณD
ความสนใจ ความจำ และพฤติกรรม
5. แม#วHาความจริงที่บุคคลสร#างขึ้นมา เปBนสHวนประกอบของความจริงที่เกิดขึ้น สิ่งเหลHานี้
จะถูกหรือผิด จะสัมพันธDกับการกำหนดบริบทหรือเปxาหมาย เมื่อความคิดบิดเบือนเกิดขึ้น ความหมายก็จะผิดปกติ
หรื อ ผิ ด ไปด# ว ย (ในแงH ข องการถู ก กระตุ # น ขึ ้ น มา) ความคิ ด ที ่ บ ิ ด เบื อ นรวมถึ ง ความผิ ด ในเนื ้ อ หาของการคิ ด
(ความหมาย) กระบวนการประมวลการคิด หรือทั้งสองอยHาง
6. บุคคลที่มีแนวโน#มที่จะมีความคิดบิดเบือน แนวโน#มเหลHานี้เปBนความบิดเบือนที่เฉพาะ
เรียกวHา เปBนความอHอนแอทางความคิด ความอHอนแอทางความคิดที่เฉพาะของบุคคลทำให#เกิดอาการ เกิด
ความคิดเฉพาะ และความคิดอHอนแอ ซึ่งมีความสัมพันธDกัน
7. ผลทางพยาธิจิตวิทยา จากการสร#างความหมายที่ผิดปกติเกี่ยวกับตนเอง สิ่งแวดล#อม
(ประสบการณD) และอนาคต(เปxาหมาย) เปBนสิ่งที่เกิดขึ้นรHวมกัน อาการแสดงมีลักษณะการให#ความหมายที่ผิดปกติ
ที่สัมพันธDกันทั้งสามองคDประกอบจะถูกตีความในเชิงลบ ตัวตนจะถูกมองวHาขาดการสนับสนุน ตนถูกทำร#ายจาก
บุคคลอื่น บริบทที่คิดวHาอันตรายตHอตน มองโลกวHาไมHยุติธรรมและให#โอกาสแตHคนอื่นๆ และอนาคตที่เปBนสิ่งไมH
แนHนอน เนื้อหาของการคิดที่เฉพาะเจาะจงจะสัมพันธDหรือเกี่ยวข#องกับสามองคDประกอบนี้
8. ความหมายมีสองระดับ 1) ความหมายที่เปBนวัตถุวิสัยหรือความหมายสาธารณะของ
เหตุการณD ซึ่งอาจมีความสำคัญตHอบุคคล และ 2) ความหมายสHวนบุคคล/ป\จเจก ความหมายสHวนบุคคลจะตHางกับ
ความหมายสาธารณะในด#านความเกี่ยวข#องกัน ความสำคัญหรือภาพรวมของเหตุการณDที่เกิดขึ้น
9. แบบแผนทางความคิดพัฒนาขึ้น นำมาใช#ในการปรับตัวของบุคคลที่มีตHอสิ่งแวดล#อม และอยูH
ในโครงสร#างของระดับการรับรู#ได# ดังนั้นการกำหนดสถานะทางจิตจึงไมHใชHการปรับหรือไมHปรับในตัวของมันเอง แตH
เปBนเพียงความสัมพันธDในบริบทของสภาพแวดล#อมทางสังคมและกายภาพขนาดใหญHซึ่งเปBนที่อยูHของบุคคล
หลักการทั้ง 9 ข#อเหลHานี้เปBนคำอธิบายรHวมสมัยของรูปแบบการคิด หลายประเด็นของการอธิบาย
มีประโยชนDตHอการพัฒนา หลักการตHางๆ มีความสัมพันธDกันและอาจผสมผสานกัน
140

รูปแบบการคิดโดยพื้นฐาน คือ เหตุการณD (situation) จะนำไปสูHความคิดอัตโนมัติ (automatic


thoughts) แล# ว ทำให# เ กิ ด อารมณD (emotion) ขึ ้ น มา และนอกจากทำให# เ กิ ด อารมณD แล# ว ยั ง มี พ ฤติ ก รรม
(behavior) และอาการทางรHางกาย (physiological response) ด#วย ซึ่งการแสดงพฤติกรรมในขณะที่มีอารมณD ก็
จะมีพฤติกรรมที่สอดคล#องกับอารมณDนั้น ซึ่งเปBนอาการทางกายที่เกิดขึ้นในระบบประสาทอัตโนมัติ กลHาวโดยสรุป
ก็คือ situation กับ automatic thought ทำให#เกิดอารมณD พฤติกรรม และอาการทางรHางกายเปลี่ยนแปลงไป
แนวคิดนี้เชื่อวHามนุษยDมี ความคิดอัตโนมัติ ซึ่งมีที่มาจากความเชื่อที่เปBนแกHนของระบบคิดระดับความคิดระดับลึก
ที่เรียกวHา core beliefs ซึ่งเปBนความเชื่อที่ฝ\งรากลึกอยูHในตัวตนของบุคคลนั้น สHวน ความคิดในระดับกลาง เรียก
กวHา intermediate beliefs มีลักษณะเปBนกฎเกณฑD (rules) ข#อสันนิษฐาน (assumption) ตามแผนภูมิ 2 ซึ่ง
ความเชื่อมักมีที่มาที่สามารถสืบค#นได#จากประวัติในอดีตของบุคคล เหตุการณDเดียวกันการตีความก็อาจไมH
เหมือนกัน อยูHที่แกHนของความเชื่อของคน ๆ นั้นวHาเปBนคนมองโลกอยHางไร ซึ่งอาจมาจากการอบรมเลี้ยงดูในวัยเด็ก
การได#รับประสบการณDตHางๆในอดีต

ความคิดระดับลึก
"เปBนความเชื่อที่ฝง\ รากลึกอยูHในตัวตนของบุคคล"

ความคิดระดับกลาง
"มีลักษณะเปBนกฎเกณฑD หรือข#อสันนิษฐาน"

ความคิดอัตโนมัติ

อารมณD พฤติกรรม/การกระทำ สรีระ/อาการทางรHางกาย

แผนภูมิ 2 รูปแบบการคิด
141

รูปแบบความคิดอัตโนมัติที่เปBนกระบวนการคิดที่บิดเบือน 3 ด#าน ได#แกH


1.การมองตนเองในทางลบ การมองตนเองวHาบกพรHอง ไร#คHา ไร#ประสิทธิภาพ สHงผลให#เกิดความบกพรHอง
ทางด#านรHางกาย จิตใจ จริยธรรมในตนเอง
2.การมองเหตุการณDป\จจุบันที่เผชิญในทางลบ ทำให#มองชีวิตเต็มไปด#วยอุปสรรค เปBนโลกแหHงความพHาย
แพ# และการถูกลงโทษ
3.การมองอนาคตในทางลบ เปBนการคิดและทำนายวHาความทุกขDยากในป\จจุบันจะดำเนินตHอไปไมHมีที่
สิ้นสุด ทำให#รู#สึกท#อแท# และสิ้นหวังในอนาคต บุคคลที่มีกระบวนการคิดที่บิดเบือนเรื้อรัง มักจะมีอาการและ
อาการแสดง เชHน รู#สึกความมีคุณคHาในตนเองต่ำ คิดวHาไมHมีใครชHวยเหลือหรือหมดหนทาง จึงรู#สึกหมดหวัง ในที่สุด
ความคิดด#านลบนั้นจะนำสูHพฤติกรรมที่ไมHเหมาะสม
ความคิดอัตโนมัติ เกิดขึ้นได#จากการถูกกระตุ#นโดยความเชื่อพื้นฐานที่อยูHในระดับลึก(core beliefs) ซึ่ง
เปBนของความคิดพื้นฐานสHวนบุคคลที่พัฒนามาตั้งแตHเด็กๆเปBนความคิดตHอตนเอง ผู#อื่น ตHอโลก และอนาคตของแตH
ละคนโดยบุคคลจะคิด และเชื่อวHาความคิดนั้นๆ ของตนเองเปBนจริงที่สุด เชHน เชื่อวHาตนเปBนคนไมHมีความสามารถ
ไมHเปBนที่รัก ซึ่งจะทำให#เกิดความเชื่อในระดับกลาง ซึ่งเปBนลักษณะของกฎหรือข#อสรุปสHวนตัว เชHน ควรหลีกเลี่ยง
สถานการณDที่มีความเสี่ยงตHอความล#มเหลว เพราะความล#มเหลวแสดงถึงการไมHมีความสามารถ หรือเราต#องทำทุก
อยHางที่ผู#อื่นอยากให#ทำ เราจึงจะเปBนที่รัก

กระบวนการและแบบแผนการคิด
ตัวอยHางลักษณะความคิดที่บิดเบือนที่พบบHอย ได#แกH
1. All-or-nothing thinking เปBนความคิดสุดขั้วในด#านใดด#านหนึ่ง เปBนดำหรือขาวไปหมด บวกหรือลบ
ไปหมด โดยไมHสามารถมองอะไรกลาง ๆ ได#
2. Overgeneralization เปBนการสรุปแบบเหมารวม ดHวนสรุปอยHางไมHมีหลักฐานหรือมีหลักฐาน เพียง
เล็กน#อย
3. Mental filter กรองความคิด มองแตHรายละเอียดด#านลบ โดยไมHสนใจด#านบวกของเหตุการณD
4. Disqualifying the positive ไมHพึงพอใจในสิ่งดีๆที่ตนมีหรือเปBนอยูHเพราะให#ความสำคัญสิ่งที่ไมHมี
มากกวHา
142

5. Catastrophizing เปBนความคิดแบบ overgeneralization ที่รุนแรง เปBนการแปลสถานการณDหรือ


เรื่องราวที่เกิดขึ้นให#รุนแรงสุดขีด เปBนความหายนะ
6. Emotional reasoning ใช# ค วามรู # ส ึ ก ตั ด สิ น ดู เ หมื อ นมี เ หตุ ผ ล แตH เ ปB น เหตุ ผ ลที ่ ม าจากอารมณD
ความรู#สึกของตนเอง
7. Labeling and mislabeling เปBนการตีตราตนเอง หรือ คนอื่นในทางลบ ไมHวHาจะทำอะไรก็มัก ยึดติด
กับ ความรู#สึกที่ตนได#ตีตราไว#
8. Magnification / Minimization เมื่อเกิดความผิดพลาดกับตนเองจะมองป\ญหานั้นแบบขยาย ให#
ใหญHโตเกินความเปBนจริง เรียกวHา Magnification และเมื่อมีเรื่องดีเกิดขึ้นก็มองข#อดีหรือความสำเร็จของตนเอง
เปBนเรื่องเล็ก ซึ่งเรียกความคิดลักษณะนี้วHา Minimization
9. Personalization มองทุกอยHางเปBนเรื่องสHวนตัว มองวHาทุกอยHางที่คนอื่นพูดหรือทำเกี่ยวกับตนเอง
เปรียบเทียบตนเองกับผู#อื่น
10. “Should” and “must” statements การคิดคาดหวังให#ตนเองหรือคนอื่นเปBนอยHางนั้นอยHางนี้
ตามที่ตนคาดหวังหรือความต#องการของตน
11. Mind reading สรุป เดา ในทางลบเกี่ยวกับความคิด โดยไมHมีหลักฐานมาสนับสนุน
12. Control fallacies มองวHาเหตุการณDที่เกิดขึ้นเกิดจากอำนาจภายนอก ตนเองไมHสามารถแก#ไขหรือ
เปลี่ยนแปลงได# ตนเองต#องรับผิดชอบกับสิ่งตHางๆที่เกิดขึ้นกับคนรอบข#าง
13. Blaming โทษวHาผู#อื่นต#องรับผิดชอบกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับตน หรือโทษตนเองวHาต#อง
รับผิดชอบกับสิ่งที่เกิดขึ้น
14. Fallacy of change คาดหวังวHาคนอื่นจะเปลี่ยนแปลงหากตนเองกดดันเขาเพียงพอ ต#องเปลี่ยนแปลง
คนอื่น เพราะความสุขของตนขึ้นกับสิ่งที่เขากระทำ
15. Being right พยายามพิสูจนDวHาความเห็นและสิ่งที่ตนกระทำเปBนเรื่องถูกต#อง เชื่อวHาตนเองไมHมีทางทำ
เรื่องผิดพลาด
แบบแผนการคิดดังกลHาวนั้น เปBนแบบแผนการคิดที่ใช#ในการดำเนินชีวิตเปBนตัวกำหนดแนวคิด
ของบุคคลตHอเหตุการณDที่เกิดขึ้น ซึ่งจะแสดงให#เห็นวHาบุคคลมีทัศนคติและกลยุทธDในการแก#ป\ญหาอยHางไร แบบ
แผนการคิดนี้พัฒนามาตั้งแตHแรกเริ่มของชีวิตจากประสบการณDสHวนบุคคลและการมีปฏิสัมพันธDกับบุคคลอื่น และมี
สัมพันธDกับความไมHมั่นคงทางการคิดหรือแนวโน#มความตึงเครียดทางจิตใจ
143

การค.นหาและปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติ
การค#นหาและปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติ วิธีการค#นหาความคิดอัตโนมัติที่สำคัญคือ การใช#คำถามแบบ
โสเครติค (Socratic question) เปBนวิธีการเพื่อชHวยให#ผู#รับการบำบัดได#ตอบคำถามและค#นพบความคิดอัตโนมัติ
ของตนเอง การค#นหาความคิดอัตโนมัติ มีเปxาหมายเพื่อค#นพบที่มาของป\ญหาทางอารมณDเพื่อที่จะชHวยให#ผู#ที่มี
ป\ญหา ได#ปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติดังกลHาว การค#นหาและปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติสามารถทำได# 3
ขั้นตอน ได#แกH
1) การค#นหาความคิดอัตโนมัติทางลบ หรือความคิดที่ทำให#เกิดทุกขDซึ่งมีผลตHอ อารมณDพฤติกรรม
และสรีระ ที่รบกวนศักยภาพในชีวิตประจำวัน หรือชีวิตการทำงาน
2) การประเมินและตรวจสอบความคิดดังกลHาววHาเปBนความจริงหรือไมH มากน#อยเพียงใด มี
ประโยชนDอยHางไรที่จะ คิดอยHางนี้และสามารถคิดเปBนอยHางอื่นได#อีกหรือไมH
3) การตอบสนองตHอความคิดอัตโนมัติ

ลักษณะของการตั้งคำถาม
การถามถึงลักษณะการคิดกHอนที่จะเกิดอารมณDที่เปBนป\ญหา เชHน กรณีผู#รับการปรึกษามีอารมณDเศร#าวิตก
กังวลเมื่อมีอาการปiวยได#คิดย#อนกลับก็มีโอกาสที่จะค#นพบความคิดอัตโนมัติ
- ให#เลHาอยHางละเอียดถึงสถานการณDป\ญหาที่เข#ามากระทบ จนทำให#เกิดอารมณD พฤติกรรม
และสรีระที่ไมHเหมาะสม อาจพบวHา มีคำพูดทีแ่ สดงถึงความคิดอัตโนมัติของผู#รับการปรึกษา
- ผู#ให#การปรึกษาสามารถถามได#วHาผู#รับการปรึกษามีความคิดอัตโนมัติอยHางที่พูดใชHหรือไมH
ให#จินตนาการถึงสถานการณDที่เกิดขึ้นกับตนเองโดยให#จินตนาการอยHางละเอียด แล#วถามคำถามถึงความคิดที่มา
กHอนอารมณDพฤติกรรมและสรีระที่เปBนป\ญหาของตนเอง
- ผู#รับการปรึกษาแสดงบทบาทสมมติเพื่อจะได#คิดถึงความคิดที่มากHอนอารมณDพฤติกรรม
และสรีระที่เปBนป\ญหาของตนเอง
- การค#นหาความคิดอัตโนมัติผู#ให#การปรึกษาต#องชHวยให#ผู#รับการปรึกษาเข#าใจถึงลักษณะ
ความคิดอัตโนมัติให#กับผู#รับการปรึกษา ยกตัวอยHางลักษณะความคิดอัตโนมัติที่มักจะเกิดขึ้นหลายๆตัวอยHาง เพื่อให#
ผู#รับการปรึกษาเข#าใจได#ชัดเจน
144

- นอกจากนั้นยังควรถามให#ผู#รับการปรึกษาได#ลองยกตัวอยHางความคิดอัตโนมัติของตนเอง
ในบางสถานการณD เพื่อตรวจเช็คและประเมินวHา ผู#รับการปรึกษาเข#าใจความคิดอัตโนมัติอยHางแท#จริง
- การประเมินและตรวจสอบความคิดอัตโนมัติในบุคคลทุกคนจะมีความคิดเกิดขึ้นในแตHละ
วันหลากหลายความคิดและบางสHวนของความคิดนั้นอาจเปBนความคิดที่อาจไมHใชH ผู#ให#การปรึกษามีหน#าที่ประเมิน
เฉพาะในสHวนความคิดที่ไมHเหมาะสมดังกลHาว เพื่อพิจารณาความคิดตHอสิ่งเร#าที่เกิดขึ้นเพื่อให#ได#ชัดเจนกับตนเองวHา
ความคิดของตนที่เกิดขึ้นนั้นเปBนเพียงเหตุการณDหนึ่งของจิตใจ อาจไมHใชHความเปBนความจริง แตHมันอาจเปBนเพียง
ความคิดเห็นก็ได#
- ควรผู#รับการปรึกษาตรวจสอบและประเมินความคิดอัตโนมัติ ที่ตนเปBนผู#คิดเองเสียกHอน
และหาเหตุผลเพื่อสนับสนุนและคัดค#านความคิดของผู#รับการปรึกษา รวมทั้งเปBนการหาข#อดีหรือข#อเสียของการ
ยังคงคิดแบบนี้ตHอไป ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวจะชHวยให#ผู#รับการปรึกษาเกิดแรงจูงใจในการที่จะปรับเปลี่ยน
ความคิด โดยการใช#คำถาม เชHน
® มีสถานการณDใดที่สนับสนุนความคิดของคุณบ#าง
® เรื่องที่เกิดขึ้นสามารถอธิบายเปBนอยHางอื่นได#หรือไมH
® คุณสรุปอะไรเร็วไปโดยยังไมHมีหลักฐานสนับสนุนให#ครบถ#วนหรือไมH
® คุณกำลังตำหนิตัวเองในสิ่งที่คุณไมHสามารถควบคุมได#ทั้งหมดหรือไมHมีเรื่องดีๆ เกี่ยวกับ
ตัวคุณ
® เกี่ยวกับเหตุการณDนี้ที่คุณมองข#ามไปหรือไมH

ผู#ให#การปรึกษาจะต#องชHวยให#ผู#รับการปรึกษาเข#าสูHการแก#ป\ญหา ควรรHวมกันพิจารณาวHาป\ญหาสHวนใด
สามารถแก#ไขได#และลงมือแก#ป\ญหาในสHวนนั้น ในกรณีที่ความคิดอัตโนมัตินั้นมีความจริงอยูHบ#างบางสHวนไมHได#เปBน
จริงเสียทั้งหมด ผู#ให#การปรึกษาควรชHวยตรวจสอบลักษณะความคิดที่อยูHภายใต#ข#อสรุปของผู#รับการปรึกษา ในบาง
ป\ญหาของผู#รับการปรึกษาอาจเปBนป\ญหาที่ไมHสามารถแก#ได#หรือไมHสามารถแก#ไขได#ทั้งหมด ผู#ให#การปรึกษาต#อง
ชHวยให#ผู#รับการปรึกษายอมรับป\ญหาที่เหลืออยูH โดยการปรับความคาดหวังที่ไมHเปBนความจริงให#เปBนความคาดหวัง
ที่อยูHบนความจริง โดยอาจตั้งคำถามให#ผู#รับการปรึกษาเห็นวHาไมHได#มีผู#รับการปรึกษาเพียงคนเดียวที่ยังคงมีป\ญหา
ในชีวิต เชHน คำถามที่วHา “คุณคิดวHาในบรรดาเพื่อนหรือญาติของคุณหรือคนที่คุณรู#จักมีใครที่ไมHมีป\ญหาหรือ
สามารถแก#ป\ญหาได#ทั้งหมดหรือไมHอยHางไรครับ” เปBนต#น
145

การตอบสนองตHอความคิดอัตโนมัติ เปBนขั้นตอนหลังจากประเมินตรวจสอบหรือพิสูจนDความคิดอัตโนมัติ
สามารถทำได#ดังนี้
การตอบสนองตHอความคิดอัตโนมัติสามารถทำได#โดยการทบทวนการให#การปรึกษาที่ผHานมา โดยใช#แบบ
บันทึกความคิดที่ไมHเหมาะสมประจำวันซึ่งจะเปBนประโยชนDตHอผู#รับการปรึกษามาก จะทำให#เขาเห็นวHาความคิดที่
เปลี่ยนไปทำให#พฤติกรรม อารมณDและสรีระเปลี่ยนไปด#วย ดังนั้นจึงเปBนการชHวยให#ผู#รับการปปรึกษาได#เลือก
ตอบสนองกับสถานการณDโดยความคิดที่ไมHบิดเบือน และอยูHในความเปBนจริงมากขึ้น หรืออาจจะใช#การใช#เทป
บันทึกเสียงเพื่อที่จะได#นำมาเป‰ดฟ\งซ้ำและทบทวนถึงความคิดอัตโนมัติการประเมิน หรือพิสูจนDความคิดอัตโนมัติ
เพื่อวางแผนหรือคิดถึงวิธีที่จะตอบสนองตHอสิ่งเร#าที่จะไมHนำสูHป\ญหาตHอไป
ผู#ให#การปรึกษาอาจตั้งคำถามให#ผู#รับการปรึกาสรุปสิ่งที่เกิดขึ้นในแตHละครั้งของการให#การปรึกษา และตั้ง
คำถามตHอไปวHาหากสถานการณDนี้เกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เขาจะประเมินและพิสูจนDความคิดอยHางไร เขาควรจะบอก
ตัวเองวHาอยHางไร โดยวิธีนี้จะทำให#ผู#รับการปรึกษาและผู#ให#การปรึกษาได#ทบทวนการบำบัดรHวมกันและเลือกใช#วิธีที่
เหมาะสมในการคิด เนื่องจากเรียนรู#จากการให#การปรึกษาในครั้งที่ผHานมาแล#ว อาจให#ทดลองไปสนทนาธรรมกับ
ผู#รู# ผู#ปฏิบัติธรรมเพื่อจะได#มีทักษะในการอยูHกับป\ญหาที่เหลือได#มากขึ้น การฝwกการผHอนคลายและการฝwกสมาธิก็
เปBนประโยชนDมาก การดึงความสนใจไปยังเรื่องอื่นๆที่มีความแรงกวHาเปBนอีกวิธีหนึ่งที่จะสามารถเลือกตอบสนองตHอ
ความคิดอัตโนมัติ การปรับความคิด โดยการยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นและเรียนรู#ที่จะอยูHกับผลที่เหลือจากการ
แก#ป\ญหาเปBนสิ่งที่จะชHวยผู#รับการปรึกษาได#มาก อาจชHวยให#ผู#รับการปรึกาได#เรียนรู#จากผู#อื่นวHาเขาเรียนรู#ที่จะอยูH
กับป\ญหาที่เหลืออยHางไร ถ#าเพื่อนหรือคนที่เรารักจะต#องอยูHกับป\ญหาที่เหลืออยูH เราจะบอกหรือแนะนำเขาอยHางไร
บ#าง

อ#างอิง
Puti, S. ( 2020) . Cultural competence and cognitive behavioral therapy for drug addiction
rehabilitation in the three southern border provinces of Thailand. Dissertation of Doctor
of Philosophy ( Social sciences and health) Faculty of Graduate studies, Mahidol
University

You might also like