You are on page 1of 315

แคลคลู ั ส 1

Calculus 1

สาขาวชิ าคณติ ศาสตร คณะครศุ าสตร


มหาวทิ ยาลั ยราชภั ฏสวนสุนันทา
2564
MAC1302
แคลคลู ั ส 1
Calculus 1

ผูชว ยศาสตราจารย ดร.ธนั ชยศ จำปาหวาย


สาขาวชิ าคณติ ศาสตร คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลั ยราชภั ฏสวนสุนันทา
เอกสารประกอบการสอนวชิ าแคลคูลัส 1 ประจำปก ารศกึ ษา 1/2564
สารบั ญ

1 เบ้ องต
ื นแคลคลู ั ส 1
1.1 ระเบียบวธิ เี กษียณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1
1.2 สามเหลยี ่ มผลตาง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5
1.3 แคลคูลัสยุคสมั ยใหม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8
1.4 คณติ ศาสตรวเิ คราะห . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 9
1.5 คณติ ศาสตรพ้ ืนฐาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 10

2 ลมิ ติ และความตอเนอื่ ง 29
2.1 ลมิ ิตของฟงก ชัน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 29
2.2 ลมิ ิตดานเดยี ว . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 39
2.3 ลมิ ิตของฟงก ชันตรโี กณมิติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 45
2.4 ลมิ ิตเกยี่ วกั บอนั นต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 53
2.5 ความตอเนอื่ ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 67

3 อนุพันธ ของฟงก ชัน 75


3.1 อั ตราการเปลยี ่ นแปลงและอนุพันธ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 75
3.2 กฎของอนุพันธ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 85
3.3 กฎลูกโซ  . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 91
3.4 อนุพันธอันดั บสูง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 97
3.5 อนุพันธของฟงก ชันเลขช้ กี ำลั ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 100
3.6 อนุพันธของฟงก ชันตรโี กณมิติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 107
3.7 อนุพันธของฟงก ชันโดยปรยิ าย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 117

4 การประยุกต ของอนุพันธ 121


4.1 การประมาณคาเชงิ เสน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 121
4.2 คาสุดขีด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 127
4.3 ความเวาและจดุ เปลยี่ นเวา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 142
4.4 การรางกราฟ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 146
4.5 อั ตราสัมพั ทธ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 154
4.6 หลั กเกณฑลอปต าล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 157

ข สารบั ญ
5 ปรพิ ั นธ 165
5.1 ปฏยิ านุพันธและปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 165
5.2 การหาปรพิ ั นธโดยการเปลยี่ นตั วแปร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 174
5.3 ปรพิ ั นธจำกั ดเขต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 185
5.4 ทฤษฎบี ทหลั กมูลของแคลคูลัส . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 198
6 เทคนคิ การหาปรพิ ั นธ 207
6.1 การหาปรพิ ั นธทลี่ ะสว น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 207
6.2 ปรพิ ั นธของฟงก ชันตรรกยะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 216
6.3 ปรพิ ั นธของฟงกชันตรรกยะในรูปตรโี กณมิติ . . . . . . . . . . . . . . . . 229
6.4 ปรพิ ั นธของฟงกชันในรูปกรณฑ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 235
6.5 ปรพิ ั นธของฟงก ชันตรโี กณมิติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 240
6.6 ปรพิ ั นธโดยการแทนคาตรโี กณมิติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 251
7 การประยุกต ของปรพิ ั นธ 265
7.1 พ้ ืนทรี่ ะหวางเสน โคง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 265
7.2 ปรมิ าตรของรูปทรงตั นซงึ ่ หาพ้ ืนทภี่ าคตั ดได . . . . . . . . . . . . . . . . 271
7.3 ปรมิ าตรของรูปทรงตั นทเี่ กดิ จากการหมุน . . . . . . . . . . . . . . . . . 276

8 ปรพิ ั นธ ไมตรงแบบ 289


8.1 ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ทหี่ นงึ ่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 289
8.2 ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ทสี่ อง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 296
8.3 ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ผสม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 301
บทที ่ 1
เบ้ องต
ื นแคลคลู ั ส
ในบทแรกจะกลาวถงึ ววิ ั ฒนาการของวชิ าแคลคูลัส แนวคดิ วธิ ี การตาง ๆ ที ่เปน จดุ เรมิ่ ตน
และพั ฒนาไปสูแ คลคูลัสในปจจบุ ั นโดยของนั กคณติ ศาสตรแตละยุค และกลาวถงึ คณติ ศาสตร
พ้ ืนฐานทจี่ ำเปน ตอการศกึ ษาวชิ าแคลคูลัส

1.1 ระเบียบวธิ เี กษียณ


รากฐานของแคลคูลัสเรมิ ่ ตน จากปญหาเกยี่ วกั บการวั ด โดยถกู คน พบปญหาและการแก
ปญหาเหลา นั้ น ใน บั นทึก บนแผน ดนิ เหนยี วของชาวบาบิ โลน และบั นทึก บนกระดาษปาป รสุ
(Papyrus) ของชาวอยี ิปต โบราณ ซงึ ่ มีอายุ ในสมั ยกอนครสิ ต กาล บั นทึก บนแผน ดนิ เหนยี วของ
ชาวบาบิโลน โดยเฉพาะในบั นทึกของอาเมส (Ahmose, 1680 - 1620 กอนครสิ ตกาล) ช้ ใี หเห็นวา
ชาวอยี ิปตโบราณมีความรูวา ปรมิ าตรของพีระมิดฐานสเี ่ หลยี่ มจั ตุรัสเปน 1/3 เทาของปรมิ าตร
ของปรซิ มึ ทมี่ ีฐานเดยี วกั นและสูงเทากั น

รูปที่ 1.1: พีระมิดฐานสเี่ หลยี่ มจั ตุรัสและปรซิ มึ ทมี่ ีฐานเดยี วกั นและสูงเทากั น

นั กปรั ชญาชาวกรกี สมั ยโบราณ ไดบันทึกถงึ ความรตู า ง ๆ ไวหลายชนิ้ เนอื่ งจากยุคนั้ นเปน ยุค
รุง เรอื งของการใชต รรกวทิ ยาในการแสวงหาความรู แตทีน่ ั บไดวา เปน จดุ เรมิ่ ตนของแคลคูลัสใน
1
2 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
ยุคน้ คี อื ระเบียบวธิ เี กษียณ (The Method of Exhaustion)
ตั วอยางเชน การนำเสนอวธิ ีหาพ้ ืนทีข่ องวงกลมโดยชาวกรกี นามวา แอนตฟ ิ อน (Antiphon,
480 - 411 กอนครสิ ตกาล) เรมิ่ จากสรางรูป หลายเหลยี ่ มแนบในวงกลม จากนั้ น สังเกตได วา
หากจำนวนเหลยี่ มมากข้ ึน ผลตางของพ้ ืนทีข่ องรปู ทั้ งสองจะหมดไป แตก็มีขอแยงในทางปฏบิ ั ติ
วาเราจะสามารถสรางรูปหลายเหลยี่ มใหมีจำนวนเหลยี่ มไดมากมายแคไหนถงึ เพียงพอ

รูปที ่ 1.2: รูปหลายเหลยี่ มแนบในวงกลม

จากรูป 1.2 แสดงตั วอยางการแบงวงกลมดวยรูป 16 เหลยี ่ มเทา ๆ กั น เปน ตั วอยางขั้ นเรมิ่


ตนของระเบียบวธิ ีเกษียณ และตอไปเราอาจใชค วามรูเรอื่ งพ้ ืนทีข่ องสามเหลยี่ มและตรโี กณมิติ
เพือ่ อธบิ ายระเบียบวธิ เี กษียณ ดั งตั วอยางตอไปน้ ี
ตั วอยาง 1.1.1 จงหาพ้ ืนทขี ่ องรูปหลายเหลยี ่ มทแี ่ บงวงกลมรั ศมี r ออกเปน n สว นเทา ๆ กั น
วธิ ที ำ พิจารณาการหาพ้ ืนสามเหลยี ่ ม 1 ชนิ้ จาก n ชนิ้ โดยใชก ฏทางตรโี กณมิติ

·
·· θ
r

จะเห็นวา θ = 2π
n
โดยใชก ฏทางตรโี กณมิติ จะไดวา พ้ ืนทขี ่ องสามเหลยี่ ม 1 ช้ นื เทาทั บ
( )
1 2 2π
r sin
2 n

ดั งนั้ นพ้ ืนทขี่ องรูป n เหลยี ่ มดานเทาทแี ่ นบในวงกลมรั ศมี r เทากั บ


( )
1 2 2π
nr sin
2 n
1.1. ระเบียบวิธีเกษียณ 3

ในปจจบุ ั นถา ใช ความรูเกยี่ วกั บลิมิต อนั นต พ้ ืนทีข่ องรูป n เหลยี่ มดานเทา ทีแ่ นบในวงกลม
รั ศมี r จะมีคา เขาใกล πr2 หรอื พ้ ืนของวกลมนั น่ เอง เมือ่ n มีขนาดใหญมาก ๆ
แตในสมั ยนั้ นชาวกรกี โบราณเปน ผูทีย่ ึดมั น่ กั บการให เหตุผลทางตรรกะทีต่ องรั ดกุมเขมงวด
รูป วงกลมก็ คอื รูป วงกลม กระบวนการที่จะทำให รปู หลายเหลีย่ นปรั บเปลยี่ นไปเปน รูป วงกลม
มั นสมเหตุสมผลหรอื ไม ซงึ ่ มีการปฏเิ สธการแบงพ้ ืนทอี่ ยางไมจำกั ด นั น่ เปน ขอขั ดแยงของระเบียบ
วธิ เี กษียณ ซงึ ่ ตั วอยางหนงึ ่ ทีป่ ฏเิ สธวธิ นี ้ คี อื ผลงานของ ซโี นแหงอเี ลยี (Zeno of Elea, 490 –
430 กอนครสิ ตกาล) นั กปราญชผูโดงดั งในการนำเสนอขอความทขี ่ ั ดแยงกั บสามั ญสำนกึ ทั ว่ ไป
เรยี กวา ปฏทิ รรศของซโี น (Zeno’s paradoxes) ไดช้ ขี อบกพรองทางตรรกะหากเราแบงขนาด
ไดไมจำกั ด
ตอ มานั กคณติ ศาสตร ชาวกรกี ผู เลอื่ งชอื่ นามวา อาร สิ โตเตลิ (Aristotle, 384 – 322 กอน
ครสิ ตกาล) ได ใช  หลั กการเดยี วกั นน้ ี ไปเขียนถงึ เสน ที ่ แบง ยอยไม ได อกี (indivisible line) แต
แนวคดิ ของ ขนาดทีแ่ บงไมได ก็ ไมรัดกุมพอทีจ่ ะนำไปใชใ นการให เหตุผลทางคณติ ศาสตร จาก
นั้ น ยูโดซุส (Eudoxus of Cnidus, 390 - 340 กอนครสิ ตกาล) ไดปรั บปรุงการใหเหตุผลเกยี่ ว
กั บระเบียบวธิ ีเกษียณ ให มีความรั ดกุมมากข้ ึน โดยอาศัยความรทู างเรขาคณติ ชว ยในพิจารณา
ขนาดทีแ่ บงไมไดอกี ในทางออม โดยพิจารณาผานอั ตราสว นของขนาดทีว่ ั ดไดทางเรขาคณติ ซงึ ่
ตอมาภายหลั งความรูเหลาน้ ไี ดปรากฎในผลงานของ ยุคลดิ (Euclid of Alexandria, 365 –
275 กอนครสิ ตกาล)
อาร คมิ ีดสี (Archimedes, 287 – 212 กอนครสิ ตกาล) ไดใชค วามรูจ ากระเบียบวธิ เี กษียณ
น้ จี นไดผลงานทีถ่ อื ไดวา มีแนวคดิ ใกลเคยี งกั บแนวคดิ ของการหาปริพันธในแคลคูลัสทีท่ ราบกั น
แลวในปจจบุ ั นตั วอยางผลงานทีเ่ ดนซงึ ่ ทำใหแนวคดิ ของกระบวนการเขาถงึ คาจรงิ อยางไมจำกั ด
ชัดเจนยิง่ ข้ ึน ไดแก วธิ กี ารหาพ้ ืนทีท่ ีป่ ด ลอมดวยพาราโบลาตั ดกั บเสน ตรง หรอื เรยี กวา เซกเมน
ตของพาราโบลา (the quadrature of parabola) ดั งรูปตอไปน้ ี

รูปที ่ 1.3: การแบงยอยเซกเมนตของพาราโบลาออกเปน รูปสามเหลยี ่ ม

จากรูป 1.3 เปน การแบงยอยเซกเมนตของพาราโบลาออกเปน รูปสามเหลยี่ มไดเปน จำนวน


อนั นตตามแนวคดิ ของอารคมิ ีดสี
จากกระบวนการสรางขางตน ทำให ทราบวา พ้ ืนที่ของเซกเมนต ของพาราโบลาจะเปน 4/3
เทาของพ้ ืนทีข่ องรูปสามเหลยี ่ มรูปแรกทีส่ รางให แนบในเซกเมนตของพาราโบลานั้ น อารคิมีดีส
ยั งไดพัฒนาตอยอดระเบียบวธิ ีเพือ่ ใชห าพ้ ืนทีผ่ ิวและปรมิ าตรของทรงเรขาคณติ แบบตาง ๆ จน
4 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
ไดระเบียบวธิ ที ีต่ อ มาเรยี กวา วธิ อี าร คมิ ีดสี (method of Archimedes) โดยมีแนวคดิ ของแบง
ยอยรปู ทรงเหลานั้ นออกเปน แผนบาง ๆ ตามแนวศูนย ถว ง แลวหาผลบวกของขนาดของแผนบาง
ๆ เหลานั้ น ถงึ แมจะไมมีคณติ ศาสตรทรี่ ั ดกุมรองรั บ แตถอื วาเปน ภาพแสดงแนวคดิ คราว ๆ ของ
การหาปรพิ ั นธในแคลคูลัสทที ่ ราบในปจจบุ ั น
ตอไปน้ จี ะเปน ตั วอยางการฟาพ้ ืนทปี่ ด ลอมตามแนวคดิ ของอารคมิ ีดสี
ตั วอยาง 1.1.2 จงหาพ้ ืนทีข่ องอาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวยลอมพาราโบลา y = x2 และเสน ตรง
y = x + 2 โดยใชว ธ ิ ขี องอารคมิ ีดสี
1.2. สามเหล่ ียมผลต าง 5

1.2 สามเหลยี ่ มผลตาง


ในยุคกลางการพั ฒนาแคลคูลัสไมกาวหนามากนั ก แนวคดิ และวธิ ีการสว นใหญยังองิ อยูกับ
การวั ด และการแบงระนาบออกเปน หนวยเล็กๆ ทีไ่ มสามารถแบงไดอกี (indivisible) จนกระทั ง่
ราวครสิ ต ศตวรรษที่ 16 เมือ่ วศิ วกรรมศาสตร ตองการแก ปญหาเกยี ่ วกั บจดุ ศูนย ถว ง ทำให มี
ความตองการทจี ่ ะใชค ณติ ศาสตรทรี ่ ั ดกุมมากยิง่ ข้ ึน เปน ผลใหมีการพั ฒนาแนวคดิ ของแคลคูลัส
ดั งลำดั บตอไปน้ ี
• วาเลรโิ อ (Luca Valerio, 1553-1618) ไดตพี ิมพ ผลงานทไี่ ดรับแรงบั นดาลใจมาจากวธิ กี าร
ของอารคมิ ีดสิ ทำใหแนวคดิ ของปรพิ ั นธในแคลคูลัสเรมิ่ ชัดยิง่ ข้ ึน
• เคปเลอร (Johannes Kepler, 1571 - 1630) ไดพัฒนาวธิ กี ารหาพ้ ืนทีข่ องเซเตอรของวงรี
โดยพิจารณาวาพ้ ืนทเี่ ปน ผลรวมของเสน
• คาวาลเี อร ี (Bonaventura Francesco Cavalieri, 1598 - 1647) ไดขยายแนวคดิ ใหชัดเจนยิง่
ข้ ึนจนกลายเปน ระเบียบวธิ ที เี่ รยี กวา วธิ ขี องการแบงแยกไมได (method of indivisible)
โดยมองวา เสน ตรงประกอบดวยจดุ เปน จำนวนอนั นต พ้ ืนที่ผิว ประกอบดวยเสน จำนวน
อนั นต และปรมิ าตรประกอบดวยพ้ ืนทผี่ ิวจำนวนอนั นต
จากผลงานดั งกลาวทำใหไดเทคนคิ การหาพ้ ืนทีข่ องรูปสามเหลยี ่ มมุมฉาก โดยการแบงยอย
พ้ ืนทอี่ อกเปน เสน เล็ก ๆ แลวหาผลรวมของเสน เหลาน้ ี ซงึ ่ แนวคดิ น้ คี ลายกั บทชี่ าวกรกี โบราณได
เสนอไว แตวธิ คี ดิ แบบใหมน้ มี ีการใหเหตุผลทางคณติ ศาสตรทรี ่ ั ดกุมกวา
แฟร มาต (Pierre de Fermat, 1601 - 1665) นั กคณติ ศาสตรชาวฝรั ง่ เศสผูมีชอื่ เสยี่ งคนหนงึ ่
ในยุคฟ นฟ  ูศลิ ปวทิ ยา (Renaissance) ไดพัฒนาแนวคดิ ตาง ๆ โดยอางองิ ความรทู างคณติ ศาสตร
ทรี ่ ั ดกุมและเขมงวดยิง่ ข้ ึนจนไดผลงาน ทถี่ อื วามีบทบาทสำคั ญตอการพั ฒนาแนวคดิ ของแคลคูลัส
แบบกาวกระโดดคอื " การแก ปญหาคาสูงสุดหรอื ตำสุ ่ ดโดยอาศัยความรูทางเรขาคณติ ซงึ ่ ให
หลั กการแปลงปญหาไปเปน การแก ปญหาเกยี่ วกั บ การหาจดุ บนเสน โคงทีท่ ำให เสน สัมผั สเสน
โคง ณ จดุ นั้ นขนานกั บแกนนอน " โดย ลากรองจ (Joseph Louis Lagrange, 1736 - 1813)
ถงึ กั บยกยองใหแฟรมาวาเปน ผูคดิ คนแคลคูลัสแนวใหม
จากผลงานของ โอเรสเม (Nicolas Oresme, 1323 - 1382) ทอี่ าศัยความรูเ กยี่ วกั บ เสน
สัมผั ส (tangent line) ของเสน โคง ทำใหทราบวา คาตำสุ ่ ดหรอื สูงสุงของเสน โคงจะอยูบรเิ วณ
ทมี ่ ีการเปลยี่ นแปลงคาของตั วแปรชา ทสี่ ดุ จากจดุ น้ ถี อื ไดการพั ฒนาแคลคูลัสเรมิ่ อยูบนรากฐาน
แขนงของคณติ ศาสตรทเี ่ รยี กวา เรขาคณติ วเิ คราะห (analytic geometry)
การอธบิ ายแนวคดิ ของอั ตราสว นของสองขนาดที ่ไม สามารถแบง แยกได อกี ถูก อธบิ ายได
อยางรั ดกุมโดยใชค วามรูทางคณติ ศาสตรเกยี ่ วกั บความชันของเสน สัมผั สเสน โคง จากหลั กฐาน
การตดิ ตอแลกเปลยี่ นความรูร ะหวางแฟรมาตกับ เดสการ ตส (René Descartes, 1596 - 1650)
ทำใหทราบวา แฟรมาต ไดเสนอ " หลั กการของการแกปญหาคาตำสุ ่ ดหรอื คาสูงสุดวาเปน การ
6 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
แกสมการเพือ่ หาจดุ ทที่ ำใหความชันของเสน สัมผั สเสน โคงเปน ศูนย "
ตอ มามี ผลงานหลายชนิ้ ที่ทำพั ฒนาแคลคูลัสมากยิง่ ข้ ึนหลั งจากแฟร มาต เสนอผลงานดั ง
กลาว ซงึ ่ ผลงานหลายชนิ้ ได มี สว นในการพั ฒนาแคลูลัสแบบคู ขนานของนวิ ตั นและไลบ นติ ซ
ทั้ งสองที ่ได ชอื่ รวมกั นวา เปน ผู ประดษิ ฐ แคลคูลัส ถงึ แม จะพั ฒนาความรู ทางแคลคูลัสอยาง
อสิ ระตอ กั น แต มี หลั กฐานเชอื่ มโยงบุคคลทั้ งสองในทางออม ซงึ ่ เปน จดหมายโตตอบความรู
ระหวางเพือ่ นรวมงานของบุคคลทั้ งสอง โดยพบวา เพือ่ นรวมงานของทั้ งสองหลายคนเปน นั ก
คณติ ศาสตรคนเดยี วกั น บุคคลเหลานั้ น เชน
• บั วเนอร (Florimond de Beaune, 1601-1652) ได ขยายแนวคดิ วธิ ี ของเดส การ ตส เกยี่ ว
กั บเรขาคณติ วเิ คราะห เพือ่ พิจารณาปญหาเกยี่ วกั บเสน สัมผั สเสน โคงผานทางปญหาของ
การหารากซ้ำของสมการพหุนาม
• ฮูดเด (Johann van Waveren Hudde, 1628 - 1704) ไดปรั บปรุงวธิ กี ารทบี่ ั วเนอรใช  ใหงาย
ตอการนำไปใชจ นไดเปน กฎของฮดู เด (Hudde’s rule) โดยกฎน้ แี สดงความสัมพั นธระหวาง
รากซ้ำและสงิ ่ ทีต่ อ มาเรยี กวา อนุพันธของฟงก ชันพหุนาม ทั้ งระเบียบวธิ ีทางเรขาคณติ วิ
เคราะห ของเดสการตสทีบ่ ั วเนอรใชแ ละกฎของฮดู เดไดมีสว นสำคั ญในการพั ฒนาผลงาน
ทางแคลคูลัสของนวิ ตั น
• ไฮย เคนส (Chistiaan Huygens, 1629 – 1695) มีผลงานทเี่ ปน แรงจงู ใจใหไลบ นติ ซพัฒนา
แนวทางการเขาถงึ แนวคดิ ของแคลคูลัสไดงายข้ ึน
แบร โรว (Isaac Barrow, 1630 – 1677) เปน อกี บุคคลหนงึ ่ ที ่มี อทิ ธพิ ลตอ การพั ฒนาผล
งานของนั กคณติ ศาสตรรนุ ถั ดมาโดยเฉพาะไลบ นติ ซ แบรโรว เสนอระเบียบวธิ ีการพิจารณาเสน
สัมผั สเสน โคง วาเปน ลิมิตของลำดั บของ เสน ตั ดเสน โคง (secant lines) มีแนวคดิ โดยสังเขป
ดั งน้ ี " ถาเรมิ ่ จากเสน ตั ดเสน โคงเสน หนงึ ่ จะไดสองคูอ ั นดั บของจดุ ตั ดเหลานั้ นในระบบพิกัดฉาก
ให สรางเสน ตั ดเสน โคง เสน ใหม ซงึ ่ มี คูอันดั บของจดุ ตั ดเสน โคง ทั้ งสอง โดยทีค่ า สัมบูรณ ของผล
ตางของพิกัดทีห่ นงึ ่ ทีม่ ี คา นอยกวาเดมิ ดำเนนิ กระบวนการสรางน้ ไี ปเรอื่ ย ๆ โดยให คา สัมบูรณ
ของผลตางของพิกัดทีห่ นงึ ่ มีคา เขาใกลศนู ย ในทางเรขาคณติ อาจถอื ไดวา กระบวนการสรางน้ ี
ให ลำดั บของเสน ตั ดเสน โคงทีม่ ีลักษณะใกลเคยี งกั บเสน สัมผสเสน โคงมากข้ ึน ดั งแสดงไดดังรูป
ตอไปน้ ี
1.2. สามเหล่ ียมผลต าง 7

รูปที่ 1.4: สามเหลยี่ มผลตางของแบรโรว

P R

หรอื อาจใชร ปู ตอไปน้ แี สดงสามเหลยี ่ มผลตางของแบรโรว คอื ∆AP C ซงึ ่ คลายคลงึ กั บทีเ่ รา
คุนเคยในเรอื่ งอนุพันธ โดย ∆AP C จะข้ ึนกั บระยะ h > 0 จะมีคา ลดลงเรอื่ ย ๆ ตามแนวคดิ ของ
แบรโรว นั น่ หมายความวาจดุ A จะเคลอื่ นเขาใกลจดุ P น้ เี ปน จดุ เรมิ่ ตนของการหาอนุพันธของ
ฟงก ชัน f ทจี่ ดุ P นั น่ เอง

รูปที่ 1.5: สามเหลยี ่ มผลตางของแบรโรว ทขี ่ ้ ึนกั บ h


Y
y = f (x)

A
f (x + h)

f (x + h) − f (x)
P
f (x)
C
h
X
x x+h

ตั วอยาง 1.2.1 จงหาความชันของจดุ P (1, 1) บนเสน โคง y = x2 โดยใชส ามเหลยี ่ มผลตางของ


แบรโรว ตอบในรูป h
8 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
มี ความเปน ไปได วา ทั้ งนวิ ตั นและไลบ นติ ซได ศกึ ษาผลงานน้ ีและได รับคำแนะนำจากแบร
โรว ให พัฒนาผลงานของตน บทพิสจู น แสดงภาพแนวคดิ ของกระบวนการขางบนหลายอั น มีรปู
สามเหลยี่ มคลาย ๆ กั บรปู ดานลาง ซงึ ่ ตอมาเรยี กชอื่ วา สามเหลยี ่ มผลตางแบร โรว (Barrow’s
differential triangle) เปน แนวทางใหไลบ นติ ซพัฒนาทฤษฎบี ทของตั วเอง
แบรโรว และ ตรูร เิ ชลลิ (Evangelista Torricelli, 1608 – 1647) ศกึ ษาปญหาของการ
เคลอื่ นทดี ่ วยอั ตราเร็วทแี ่ ปรผั น พบวาการดำเนนิ การทตี ่ อ มาเรยี กวาอนุพันธ ของระยะทางน้ ี จะ
ไดความเร็ว และถาดำเนนิ การผกผั นกระบวนการดั งกลาวจากความเร็วจะไดระยะทาง แบรโรว
รั บรูวา ทั้ งสองกระบวนการนั้ นผกผั นซงึ ่ กั นและกั น (ตอมาทราบกั นวาคอื อนุพันธและปรพิ ั นธใน
แคลคูลัส) แตก็ไมไดประโยชน จากความรูน้ มี ากนั ก แตก็มีอทิ ธพิ ลให นวิ ตั นเสนอทฤษฎบี ทหลั ก
มูลของแคลคูลัสในเวลาตอมา ในอกี ทางหนงึ ่ ผลงานเดยี วกั นของแบรโรว บทพิสจู น ทีเ่ กยี ่ วของ
กั บ สามเหลยี่ มผลตางแบรโรว ไดใหแนวคดิ แกไลบ นติ ซในการประดษิ ฐสัญลั กษณ
dy
dx

เพือ่ แทนสงิ ่ ที ่สบื ทอดมาจากชาวกรกี โบราณ นั น่ คอื ขนาดทีแ่ บง ยอยไม ได อกี และได ให กฎ
การดำเนนิ การเกยี ่ วกั บสัญลั กษณ เหลา น้ ี ทำให การศกึ ษาแนวคดิ ของแคลคูลัสทำได งายและ
สามารถตอยอดออกไปอยางทเี่ ราไดใชอ ยูในปจจบุ ั น

1.3 แคลคลู ั สยุคสมั ยใหม


นวิ ตั น (Sir Isaac Newton, 1643-1727) ที่ ได
ชอื่ วา เปน ผู กอ กำเนดิ แคลคูลัส เพราะ วา มี ผล งาน ที ่
สำคั ญ มากมาย ตอ การ พั ฒนา รากฐาน ของ แคลคูลัส
ดั ง จะ เห็น ได จาก ผล งาน ที่ รวบรวม ไว ใน หนั งสอื ชอื่
ชดุ Principia ตั วอยางผลงานที่ ได กลาวมาแลว เชน
การ เสนอ ทฤษฎบี ท หลั ก มูล ของ แคลคูลัส เพือ่ แสดง
กระบวนการที่ผกผั นกั นของอนุพันธ และปริพันธ ตามที ่
แบร โรว ได สังเกตเห็น โดยนวิ ตั นได ใช ประโยชน จากวธิ ี
การน้ ในการแก
ี ปญหาทางอนุพันธ (ซงึ ่ ตอนนั้ นเรยี กวา
Method of tangents) และนำไปแก ปญหาทางปริพันธ รูปที่ 1.6: เซอร ไอแซก นวิ ตั น
(ซงึ ่ ตอนนั้ นเรยี กวา Method of quadrature) ในผลงาน
Method of Fluxions ทนี่ วิ ตั นไดศกึ ษาเกยี่ วกั บการเคลอื่ นที่ มีการใชแ นวคดิ ของ ขนาดทแี่ บงยอย
ไมไดอกี เชน กั น ซงึ ่ นวิ ตั นใชส ั ญลั กษณ

แทน fluxion ของ x และ



1.4. คณิตศาสตรวิเคราะห 9
(ความเรง) แทน fluxion ของ fluxion ของ x (เทยี บไดกับอนุพันธอันดั บหนงึ ่ และอนุพันธอันดั บสอง
ทที่ ราบในปจจบุ ั น) แตระบบการดำเนนิ การเกยี่ วกั บสัญลั กษณทนี่ วิ ตั วใชม ีความคลุมเครอื เขาใจ
ยากกวา ของระบบสัญลั กษณ ทีไ่ ลบ นติ ซ เสนอ ในผลงาน Tractatus de Quadratura Curvarum
นวิ ตั นไดให ระเบียบวธิ ีคดิ เกยี่ วกั บลิมิตเปน ศูนย และการใชอ นุกรมกำลั งแทนฟงก ชันทีท่ ราบกั น
ในปจจบุ ั น
ไลบ นติ ซ (Gottfried Wilhelm Leibniz, 1646-
1716) นอกจาก จะ ประดษิ ฐ ระบบ สัญลั กษณ ที่ ใช  งาย
กวา สำหรั บศกึ ษาแนวคดิ ของอนุพันธ (ตามแนวคดิ ที่
ได จากบทพิสจู น ของแบร โรว ที่ กลาวแลว ขางตน) ยั ง
ประดษิ ฐ ระบบสัญลั กษณ ที่ใช แทนแนวคดิ ของปริ พันธ
โดยใช  ∫

รปู ที่ 1.7: กอทฟรดิ วลิ เฮล ม ไลบ นติ ซ เปน สัญลั กษณ แทนการบวกของ ขนาดทีแ่ บงยอยไมได
อกี ดั งที ่ได ระบุ ในระเบียบวธิ ีที่คาวาลี เอรีเสนอ ในผล
งานชนิ้ หนงึ ่ ไลบ นติ ซไดเขียนสมการทคี ่ นุ เคยในปจจบุ ั น ไดแก

1
y dy = y 2
2

เปน จดุ เรมิ่ ตนของแคลคูลัสเชงิ ปรพิ ั นธ ซงึ ่ สมั ยนั้ นไลบ นติ ซใชช อื่ วา calculus summatorius หรอื
calculus integralis ในเวลาตอมา ระบบสัญลั กษณ ของอนุพันธและปริพันธทีเ่ สนอโดยไลบ นติ ซ
ไดรับความนยิ มและใชก ั นอยางแพรหลาย ตามทเี ่ ห็นจนถงึ ปจจบุ ั น
การพั ฒนาแคลคูลัสในครสิ ตศักราชที่ 19 ยั งองิ รากฐานทางคณติ ศาสตรจากผลงานทสี ่ ำคั ญ
ของนวิ ตั นและไลบ นติ ซ มี ทั้งทีอ่ ยูบนความรู แบบสถติ (static phase) เชน จากความรูในเรอื่ ง
การวั ด แตยังมีการพั ฒนาแคลคูลัสโดยอาศัยคณติ ศาสตรของ infinitesimals ซงึ ่ ตกทอดมาจาก
ชาวกรกี โบราณ และสงิ ่ ทีป่ รั บปรุงใหรัดกุมกวาของคาวาลีเอรี ทีช่ อื่ indivisible และอกี รากฐาน
บนความรูแ บบพลวั ต (dynamic phase) เชน การเคลอื่ นทขี่ องจดุ ในปญหาของเสน สัมผั สเสน โคง

1.4 คณติ ศาสตรวเิ คราะห


แตก็มีผูช้ ใี หเห็นถงึ จดุ ออนของการใหเหตุผลทางตรรกในผลงานของนวิ ตั นและไลบ นติ ซ เชน
เบอร ค เลย (George Berkeley, 1685 – 1753) จากผลงาน Analyst จากจดุ น้ ีทำให แคลคูลัส
ตองแสวงหารากฐานความรูที่รัดกุม กวา เพือ่ มารองรั บแนวคดิ ถอื ได วา เปน ชว งที่รากฐานของ
แคลคูลัสได ขยั บมาอยู บนแขนงคณติ ศาสตร ที ่เรยี กวา คณติ ศาสตร วเิ คราะห (Mathematical
Analysis)
10 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
ผูทมี ่ ีบทบาทสำคั ญในการเสนอความรูท างคณติ ศาสตร
ที ่ จะเปน รากฐานที ่ รัดกุม เขม งวดกวา ให กั บแคลคูลัส
คอื โคช ี (Baron Augustin-Louis Cauchy, 1789-
1857) นั กคณติ ศาสตร ชาวฝรั ง่ เศษนั น่ เอง และความรู
ทางคณติ ศาสตรทีเ่ ปน รากฐานดั งกลาวคอื แนวคดิ ของ
ลิมิตของฟงกชัน ซงึ ่ ภายหลั งไดมีบทนยิ ามของลิมิตของ
ฟงก ชันทีม่ ี ความรั ดกุมยิง่ ข้ ึนอกี อยางเชน การเสนอให
เขาถงึ แนวคดิ ของลมิ ิตโดยใชแ นวคดิ ของ
รปู ที่ 1.8: ออกั สตนิ หลุยส โคช ี
{ε, δ}

ซงึ ่ เสนอโดย ไวแยร สตราสต (Karl Weierstrass, 1815 – 1897) และเชอื่ วายั งมีความจำเปน
ทีจ่ ะพั ฒนาแนวคดิ ของแคลคูลัสให อยู บนรากฐานแนวคดิ ของคณติ ศาสตร ทีส่ ามารถให เหตุผล
ไดรัดกุม เขมงวด และขยายใหครอบคลุมปญหาตาง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ข้ ึนจากความจำเปน ตองพั ฒนา
ความรูดานวทิ ยาศาสตรและวศิ วกรรมศาสตรขั้นสูง เพือ่ ตอบสนองการแสวงหาความรูใหมขอ
งมนุนย ทไี่ มมีทสี่ นิ้ สุด

1.5 คณติ ศาสตรพ้ นฐาน



ในหั วขอน้ จี ะกลาวถงึ ความรูเ บ้ ืองตนเกยี่ วกั บคณติ ศาสตร ทใี่ ชใ นการศกึ ษาแคลคูลัส ประกอบ
ดวย เซต คาสัมบูรณ สมการและอสมการ พหุนาม ฟงก ชัน เลขยกกำลั ง ตรโี กณมิติ และเรขาคณติ
เบ้ ืองตน

เซต
เซต (Set) เปน คำอนยิ าม หมายถงึ คำทตี ่ องยอมรั บกั นในเบ้ ืองตนวาไมสามารถใหความหมายที่
รั ดกุม ได คำวาเซตจงึ หมายถงึ กลุม ของสงิ่ ของตาง ๆ เมือ่ กลาวถงึ กลุม ใดแลวจะสามารถบอก
ได แนนอนวา สงิ ่ ใดอยู ในกลุม และสงิ่ ใดอยู นอกกลุม เรยี กสงิ ่ ตาง ๆ ที ่อยู ในเซตวา สมาชกิ
(element) (P. Glendinning. 2012. หนา 48) ถา a เปน สมาชกิ ของเซต A เขียนแทนดวย a ∈ A
และถา a ไมเปน สมาชกิ ของเซต A เขียนแทนดวย a ∈/ A เชน A = {1, 2, 3} จะไดวา 1 ∈ A แต
4∈ / A เปน  ตน การเขียนเซตประกอบดวย 2 วธิ คี อื
1. วธิ ีแจกแจงสมาชกิ (Tubular form) การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชกิ คอื การเขียน
เซตโดยเขียนสมาชกิ ลงในเครอื่ งหมายวงเล็บปก กา {} และใชเ ครอื่ งหมายจลุ ภาค (, ) คั น่
ระหวางสมาชกิ แตละตั ว ตั วอยางเชน {1, 2, 3}, {4, 5, 6} และ {a, b, c} เปน ตน
2. วธิ บี อกเงอื่ นไขของสมาชกิ (Set builder form) การเขียนเซตแบบบอกเงือ่ นไขประกอบ
ดวย 2 สว น สว นแรกหมายถงึ สมาชกิ และสว นทสี่ องคอื เงือ่ นไขของสมาชกิ โดยมีเครอื่ งหมาย
1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 11
ทวภิ าค (:) คั น่ ระหวางสองสว นนั้ น อานวา "โดยท"ี ่
A={ สมาชกิ : เงือ่ นไขของสมาชกิ }
ตั วอยางเชน A = {x : x เปน จำนวนเต็มบวกทนี่ อ ยกวา 5} หมายถงึ A = {1, 2, 3, 4}
สำหรั บเซต A ทมี ่ ีสมาชกิ ทกุ ตั วอยูในเซต B จะกลาววา A เปน เซตยอย (subset) ของ B เขียน
แทนดวย A ⊆ B ในเบ้ ืองตนเพือ่ ใหงายตอการนำไปใช  กำหนดสัญลั กษณดังน้ ี
C แทนเซตของจำนวนเชงิ ซอ น Qc แทนเซตของจำนวนอตรรกยะ
R แทนเซตของจำนวนจรงิ Z แทนเซตของจำนวนเต็ม
Q แทนเซตของจำนวนตรรกยะ N แทนเซตของจำนวนนั บ
สำหรั บเซตยอยของจำนวนจรงิ ถา a, b ∈ R เมือ่ a < b ชว ง (interval) ของจำนวนจรงิ ตาง
ๆ คอื
{x ∈ R : a < x < b} เขียนแทนดวย (a, b)
{x ∈ R : a ≤ x ≤ b} เขียนแทนดวย [a, b]
{x ∈ R : a ≤ x < b} เขียนแทนดวย [a, b)
{x ∈ R : a < x ≤ b} เขียนแทนดวย (a, b]
{x ∈ R : x > a} เขียนแทนดวย (a, ∞)
{x ∈ R : x ≥ a} เขียนแทนดวย [a, ∞)
{x ∈ R : x < b} เขียนแทนดวย (−∞, b)
{x ∈ R : x ≤ b} เขียนแทนดวย (−∞, b]
สำหรั บเซตที ่ไมมี สมาชกิ เขียนแทนดวย ∅ เรยี กวา เซตวาง (empty set) และ เอกภพ
สัมพั ทธ (universe) คอื เซตทีถ่ กู กำหนดข้ ึนโดยมีขอตกลงวา จะกลาวถงึ สงิ่ ทีเ่ ปน สมาชกิ ของ
เซตน้ เี ทานั้ น และนยิ มใช  U แทนเอกภพสัมพั ทธ เมือ่ ให A และ B เปน เซตในเอกภพสัมพั ทธ U
นยิ ามการดำเนนิ การบนเซตดั งตอไปน้ ี
ยูเนยี น (union) A ∪ B = {x ∈ U : x ∈ A หรอื x ∈ B}
อนิ เตอร เซชัน (intersection) A ∩ B = {x ∈ U : x ∈ A และ x ∈ B}
ผลตาง (difference) A − B = {x ∈ U : x ∈ A และ x ∈/ B}
สว นเตมิ เต็ม (complement) Ac = {x ∈ U : x ∈
/ A}

สมการและอสมการ
สมบั ตเิ บ้ ืองตนของการเทากั น ให a, b และ c เปน จำนวนจรงิ แลว
1. สมบั ตสิ ะทอน (Reflective law) a = a
2. สมบั ตสิ มมาตร (Symmetric law) ถา a = b แลว b = a
12 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
3. สมบั ตถิ า ยทอด (Transitive law) ถา a=b และ b=c แลว a=c

กฎไตรวภิ าค (Trichotomy law) คอื สัจพจนทกี ่ ลาววา ถา a และ b เปน จำนวนจรงิ ใด ๆ จะได
วา
a=b หรอื a<b หรอื a>b อยางใดอยางหนงึ ่
ทฤษฎบี ท 1.5.1 สำหรั บจำนวนจรงิ a, b และ c
1. ถา a=b แลว a+c=b+c 5. ab = 0 ก็ตอ เมือ่ a=0 หรอื b=0
2. ถา a+c=b+c แลว a=b

3. ถา a=b แลว ac = bc 6. a 2 + b2 = 0 ก็ ตอ เมือ่ a = 0 และ


4. ถา ac = bc และ c ̸= 0 แลว a=b b=0

ทฤษฎบี ท 1.5.2 ให a, b, c, x, y ∈ R แลว


1. ถา a>b แลว a+c>b+c

2. ถา a>b และ b>c แลว a>c

3. ถา a>b และ x>y แลว a+x>b+y

4. ถา a>b และ x>0 แลว ax > bx

5. ถา a>b และ x<0 แลว ax < bx

ให + แทนผลคูณทมี่ ากกวา 0 และ − แทนผลคูณทนี่ อ ยกวา 0 ให α, β ∈ R ซงึ ่ α < β จะได
ขอสรุปดั งน้ ี
1. เซตคำตอบของ (x − α)(x − β) < 0 คอื (α, β)
+ − +
α β

2. เซตคำตอบของ (x − α)(x − β) > 0 คอื (−∞, α) ∪ (β, ∞)


+ − +
α β

คาสัมบูรณ
ในเบ้ ืองตน คาสัมบูรณ (Absolute value) ของจำนวนจรงิ x เขียนแทนดวย |x| คอื ระยะทาง
จาก x ไปยั ง 0 หรอื ดั งบทนยิ าม
1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 13
บทนยิ าม 1.5.3 ให x เปน จำนวนจรงิ ใด คาสัมบูรณ ของ x เขียนแทนดวย |x| คอื จำนวนจรงิ ที่
กำหนดโดย 

 เมือ่ x > 0


x
|x| =

0 เมือ่ x = 0


−x เมือ่ x < 0
ข อสังเกต สำหรั บจำนวนจรงิ x ใด ๆ จะไดวา
1. |x| ≥ 0 3. |x| = | − x|

2. |x| = 0 ก็ตอ เมือ่ x = 0 4. |x2 | = |x|2 = x2

ทฤษฎบี ท 1.5.4 ให x และ y เปน จำนวนจรงิ ใด ๆ จะไดวา



1. |xy| = |x||y| 3. x2 = |x|
x |x|
2. y
=
|y|
เมือ่ y ̸= 0 4. x ≤ |x|

บทพิส ูจน . ให x และ y เปน จำนวนจรงิ ใด ๆ


1. กรณที ี่ x = 0 หรอื y = 0 จะไดวา xy = 0 ทำใหไดวา |xy| = 0 = |x||y| ให x ̸= 0 และ
y ̸= 0
ถา x > 0 และ y > 0 จะไดวา xy > 0 สรุปไดวา |xy| = xy = |x||y|
ถา x < 0 และ y < 0 จะไดวา xy > 0 สรุปไดวา |xy| = xy = (−x)(−y) = |x||y|
ถา x และ y ตั วใดตั วหนงึ ่ เปน จำนวนจรงิ ลบ โดยไมเสยี นั ยทั ว่ ไปให x < 0 และ y > 0 จะ
ไดวา xy < 0 สรุปไดวา |xy| = −xy = (−x)y = |x||y|
1 1
2. ให y ̸= 0 แสดงไดโดยงายวา y
=
|y|
โดยขอ 1 จะไดวา
x 1 1 1 |x|
= x· = |x| · = |x| · =
y y y |y| |y|


3. กรณีที่ x = 0 √ ดยงาย กรณีที่ x > 0 จะได
เห็นได โ√ √
วา x2 = x กรณีที ่ x < 0 จะได วา
−x > 0 ดั งนั ้ น x2 = (−x)2 = −x สรุปไดวา x2 = |x|

4. ถา x ≤ 0 จะไดวา x ≤ 0 ≤ |x| กรณที ี่ x > 0 จะไดวา x = |x| สรุปไดวา x ≤ |x|

ทฤษฎบี ท 1.5.5 อสมการสามเหลยี ่ ม (Triangle inequality)


ให x และ y เปน จำนวนจรงิ ใด ๆ แลว
|x + y| ≤ |x| + |y|
14 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
บทพิส ูจน . ให x และ y เปน จำนวนจรงิ โดยทฤษฎบี ท 1.5.4 ขอ 2 จะไดวา
|x + y|2 = (x + y)2 = x2 + 2xy + y 2 = |x|2 + 2xy + |y|2

โดยทฤษฎบี ท 1.5.4 ขอ 1 และ 5 จะไดวา xy ≤ |xy| = |x||y| ดั งนั้ น


|x + y|2 ≤ |x|2 + 2|x||y| + |y|2 = (|x| + |y|)2

เนอื่ งจาก |x + y| ≥ 0 และ |x| + |y| ≥ 0 สรุปไดวา |x + y| ≤ |x| + |y|


ทฤษฎบี ท 1.5.6 ให x เปน จำนวนจรงิ และ a เปน จำนวนจรงิ บวก จะไดวา
1. |x| ≤ a ก็ตอ เมือ่ −a ≤ x ≤ a

2. |x| ≥ aก็ตอ เมือ่ ื


x ≤ −a หรอ x≥a

บทพิส ูจน . ทำเปน แบบฝก หั ด

พหนุ าม
บทนยิ าม 1.5.7 ให n ∈ N ∪ {0} แลว
P (x) = an xn + an−1 xn−1 + · · · + a1 x + a0

เรยี กวา พหุนาม (polynomial) และ an, an−1, ..., a1, a0 เรยี กวา สัมประสทิ ธ์ ิ (coefficient)
ของ
ี กวา พหุนามดกี รี n และเขียน n แทนดวย deg P (x)
xn , xn−1 , ..., x, 1 ตามลำดั บ ถา an ̸= 0 เรย
เรยี ก an ̸= 0 วา สัมประสทิ ธ์ ติ ั วนำ (leading coefficient)
กรณี an = 1 เรยี ก P (x) วา พหุนามโมนกิ (monic polynomial)
ให P (x) และ Q(x) เปน พหุนาม แลว P (x) = Q(x) ถา deg P (x) = deg Q(x) และอยูในรูป
P (x) = a0 + a1 x + a2 x2 + · · · + an xn
Q(x) = b0 + b1 x + b2 x2 + · · · + bn xn

ซงึ ่ ทกุ สัมประสทิ ธเทากั นทกุ คูค อื a0 = b0, a1 = b1, a2 = b2, ..., an = bn
หรอื กลาวอกี อยางคอื
P (x) = Q(x) ก็ตอ  เมือ่ deg P (x) = deg Q(x) และ P (x) = Q(x) ทกุ ๆ x∈R

ขั้ นตอนวธิ กี ารหาร (The Division Algorithm) สำหรั บพหุนาม


ให P (x) และ S(x) เปน พหุนาม โดยที่ S(x) ไมใชพ หุนามศูนย แลวจะมีพหุนาม Q(x) และ R(x)
เพียงคูเ ดยี วทสี่ อดคลองกั บ
P (x) = Q(x)S(x) + R(x) เมือ่ R(x) = 0 หรอื deg R(x) < deg S(x)
1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 15
เรยี ก Q(x) วาผลหาร (quotient) และ R(x) วาเศษเหลอื (remainder)
กรณี R(x) = 0 แลวจะไดวา S(x) หาร P (x) ลงตั ว หรอื S(x) เปน ตั วประกอบของ P (x)
ทฤษฎบี ทเศษเหลอื (remainder theorem)
ให P (x) เปน พหุนาม และ c ∈ R แลว
x − c หาร P (x) เศษเหลอ ื เทากั บ P (c)
ดั งนั้ นถา P (c) = 0 แลว x − c เปน ตั วประกอบหนงึ ่ ของ P (x)
บทนยิ าม 1.5.8 ให P (x) เปน พหุนาม ถา P (α) = 0 จะเรยี ก α วาราก (root) ของพหุนาม P (x)
หรอื α เปน คำตอบ (solution) ของสมการ P (x) = 0
ขอสังเกต
1. α เปน รากของก็ตอ เมือ่ x − α เปน ตั วประกอบของ P (x)
2. ถา P (x) = Q(x)S(x) แลว รากทกุ ตั วของ Q(x) และรากทกุ ตั วของ S(x) เปน รากของ
P (x)

ฟงก ชัน
บทนยิ าม 1.5.9 ให A และ B เปน เซตใด ๆ ผลคณ ู คาร ทเี ซยี น (cartesian product) นยิ าม
โดย
A × B = {(a, b) : a ∈ A และ b ∈ B}

บทนยิ าม 1.5.10 จะกลาววา f ⊆ A × B เปน ฟงก ชัน (function) ก็ตอ เมือ่


แตละ (x1, y1) และ (x2, y2) ใน f ถา x1 = x2 แลว y1 = y2
ถา f เปน ฟงก ชัน และ (x, y) ∈ f เขียนแทนดวย y = f (x)
บทนยิ าม 1.5.11 f เปน ฟงก ชันจาก A ไป B เขียนแทนดวย f : A → B
ก็ตอ เมือ่
1. f เปน ฟงก ชัน 2. Dom(f ) = A 3. Ran(f ) ⊆ B
เมือ่ Dom(f ) = {x ∈ A : (x, y) ∈ f } เรยี กวา โดเมน (domain) ของ f
และ Ran(f ) = {y ∈ A : (x, y) ∈ f } เรยี กวา เรนจ (range) ของ f
บทนยิ าม 1.5.12 เรยี ก f : A → B วาฟงก ชันมีขอบเขต (bounded function) บน D ⊆ A
ก็ตอ เมือ่ มี M > 0 ซงึ ่ |f (x)| ≤ M ทกุ ๆ x ∈ D
บทนยิ าม 1.5.13 ให f : A1 → R และ g : A2 → R โดยที่ A1 ∩ A2 ̸= ∅ กำหนดให A = A1 ∩ A2
นยิ ามพชี คณติ ของฟงก ชัน (algebra of functions) ดั งน้ ี
f +g :A→R กำหนดโดย (f + g)(x) = f (x) + g(x)
16 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
f −g :A→R กำหนดโดย (f − g)(x) = f (x) + g(x)

fg : A → R กำหนดโดย (f g)(x) = f (x)g(x)


( )
f f f (x)
g
: A − {x ∈ A : g(x) = 0} → R กำหนดโดย g
(x) =
g(x)

บทนยิ าม 1.5.14 กำหนดให f : A → B จะกลาววา


1. f เปน ฟงก ชันหนงึ ่ ตอหนงึ ่ (injection) หรอื ฟงก ชัน 1-1 ก็ตอ เมือ่
แตละ x1, x2 ∈ A ถา f (x1 ) = f (x2 ) แลว x1 = x2

2. f เปน ฟงก ชันทั ว่ ถงึ (surjection) ก็ตอ เมือ่ Ran(f ) = B


3. f เปน ฟงก ชันหนงึ ่ ตอหนงึ ่ แบบทั ว่ ถงึ (bijection) ก็ ตอ เมือ่ f เปน ฟงก ชัน 1-1 และ ทั ว่
ถงึ
บทนยิ าม 1.5.15 ให f : A → B และ g : B → C แลว g ◦ f : A → C เรยี กวาฟงก ชันประกอบ
(composite function) ของ f และ g นยิ ามโดย
(g ◦ f )(x) = g(f (x))

ถาเปรยี บเทยี บฟงกชันคอื เครอื่ งจั กรชนิ้ หนงึ ่ เรยี กวา f เมือ่ ใส  x หรอื input เขาไปในเครอื่ ง
จะได f (x) ออกมาตามหนาที่ของเครอื่ งจั กรชนดิ นั้ น จากแนวคดิ น้ ีเมือ่ ประกอบเครอื่ งจั กรอกี
เครอื่ งทีเ่ รยี กวา g อกี ชนิ้ โดยนำ f (x) หรอื output จากเครอื่ งจั กร f ใสเ ขาไปในเครอื่ งจั กร g
แลวไดผลเปน g(f (x)) เรยี กเครอื่ งจั กรประกอบจากสองชนิ้ น้ วี า h ดั งรูป

รูปที่ 1.9: แผนภาพแสดงฟงกชันประกอบ g ◦ f


A B C

x f f (x) g g(f (x))

บทนยิ าม 1.5.16 ให f : A → B จะกลาววา f เปน ฟงก ชันผกผั นได (invertible function)
ก็ตอ เมือ่ f −1 = {(y, x) : (x, y) ∈ f } เปน ฟงก ชัน
และเรยี ก f −1 วาฟงก ชันผกผั น (inverse function) ของ f
ทฤษฎบี ท 1.5.17 ให f : A → B แลวจะไดวา
f เปน ฟงก ชันผกผั นได ก็ตอ เมือ่ f เปน ฟงก ชัน 1-1
1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 17
บทพิส ูจน . สมมติ f เปน ฟงกชันผกผั นได นั น่ คอื f −1 เปน ฟงกชัน ให (x1, y1) ∈ f และ (x2, y2) ∈
f สมมติวา y1 = y2 เนอ ื่ งจาก (y1, x1) ∈ f −1 และ (y2, x2) ∈ f −1 และ f −1 เปน ฟงกชัน ดั งนั้ น
x1 = x2 ในทางกลั บกั นสมมติ f เปน  ฟงก ชัน 1-1 (x1, y1) ∈ f −1 และ (x2, y2) ∈ f −1 สมมติวา
x1 = x2 เนอ ื่ งจาก (y1, x1) ∈ f และ (y2, x2) ∈ f และ f เปน ฟงก ชัน 1-1 ดั งนั้ น y1 = y2 นั น่ คอื
 ฟงกชัน หรอื กลาวไดวา f เปน ฟงกชันผกผั นได
f −1 เปน

ชนดิ ของฟงก ชันทคี่ วรทราบ


1. ฟงก ชันเอกลั กษณ (identity function) f (x) = x

2. ฟงก ชันเชงิ เสน (linear function) f (x) = ax + b

3. ฟงกชันกำลั งสอง (Quadratic function) f (x) = ax2 + bx + c

4. ฟงกชันคาสัมบูรณ (Absolute value function) f (x) = a|x − h| + k

5. ฟงก ชันกำลั ง (Power function) f (x) = axn

6. ฟงก ชันพหุนาม (Polynomial function) f (x) = an xn + an−1 xn−1 + · · · + a1 x + a0

7. ฟงก ชันตรรกยะ (Rational function) f (x) =


p(x)
q(x)

เมือ่ p(x), q(x) เปน พหุนาม และ q(x) ̸= 0


จะไดวา โดเมนของฟงก ชันขอ 1 ถงึ 6 คอื R และโดเมนของฟงก ชันขอ 7 เทากั บ R−{x : q(x) = 0}

เลขยกกำลั ง
บทนยิ าม 1.5.18 ให a ∈ R และ n ∈ N เรยี ก an วา เลขยกกำลั ง (power of a number)
นยิ ามโดย
| · a ·{za · · · a}
an = a
n ตั ว

เมือ่ a เรยี กวา ฐาน (basis) และ n เรยี กวา เลขช้ กำลั
ี ง (exopnent)
นยิ าม a0 = 1 และ a−n = a1n เมือ่ a ̸= 0 ถา √a เปน จำนวนจรงิ นยิ าม a
n
1
n =

n
a

สมบั ตเิ บ้ ืองตนของเลขยกกำลั ง ให a เปน จำนวนจรงิ และ x, y เปน จำนวนเต็มบวก


1. (ax )y = axy 2. ax · ay = ax+y 3. ax
= ax−y เมือ่ a ̸= 0
ay

ขยายแนวคดิ เลขช้ กี ำลั งเปน จำนวนตรรกยะ



เมือ่ m และ n เปน จำนวนเต็มบวกซงึ ่ ตั วหารรวมมาก
ของ m และ n เทากั บ 1 ถา นยิ าม a เปน จำนวนจรงิ นยิ าม
n

m 1 √
a n = (a n )m = ( n a)m
18 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
และขยายแนวคดิ ไปยั งจำนวนตรรกยะลบและจำนวนจร √
งิ ได แต ไม ขอกลาวในที่น้ ี ถา f เปน
ฟงกชันโดยที่ n เปน จำนวนเต็มทมี่ ากกวา 1 แลว y = f (x) เรยี กวา ฟงก ชันกรณฑ (radical
n

function)
สมบั ตเิ บ้ ืองตนทางพีชคณติ ทอี่ าจใชใ นแคลคูลัส เมือ่ a, b ∈ R จะไดวา
1. กำลั งสองสัมบูรณ 2. กำลั งสามสัมบูรณ
(a + b)2 = a2 + 2ab + b2 (a + b)3 = a3 + 3a2 b + 3ab2 + b3

(a − b)2 = a2 − 2ab + b2 (a − b)3 = a3 − 3a2 b + 3ab2 − b3

3. ผลตางกำลั งสอง a2 − b2 = (a + b)(a − b)

4. ผลตางกำลั งสาม a3 − b3 = (a − b)(a2 + ab + b2 )

5. ผลบวกกำลั งสาม a3 + b3 = (a + b)(a2 − ab + b2 )

6. ทฤษฎบี ททวนิ าม ให n เปน จำนวนนั บ


( ) ( ) ( )
n n n
(a + b)n = an + an−1 b + an−2 b2 + · · · + abn−1 + bn
1 2 n−1
( )
n n!
เมือ่ =
(n − r)!r!
โดยที่ n, r ∈ Z ซงึ ่ 0 ≤ r ≤ n
r
นยิ าม m แฟคทอเรยี ล คอื m! = m(m − 1)(m − 2) · · · 2 · 1 เมือ่ m ∈ N และ 0! = 1
ให a เปน จำนวนจรงิ ซงึ ่ a > 0 และ a ̸= 1 เรยี ก
{(x, y) : y = ax }

ี ง (exponential function) เนอื่ งจากฟงก ชัน เลขช้ กี ำลั งเปน ฟงก ชัน หนงึ ่
วาฟงก ชันเลขช้ กำลั
ตอหนงึ ่ จะได วา มีฟงกชันผกผั น ดั งนั้ นเรยี กวาฟงกชันผกผั นของฟงกชันเลขช้ กี ำลั งวา ฟงก ชัน
ลอการทิ มึ (logarithmic function) เขียนแทนดวย y = logax นยิ ามโดย
y = loga x ก็ตอ เมือ่ x = ay

ดั งนั้ น loga1 = 0 และ logaa = 1 ในกรณีที ่ a = 10 เรยี กวา ลอการทิ มึ สามั ญ (common
logarithm) เขียนแทนดวย logx และกรณี a = e เรยี กวา ลอการทิ มึ ธรรมชาต ิ (natural
logarithm) เขียนแทนดวย ℓnx โดยที่ e คอื คาคงตั วออยเลอร (Euler's constant) ซงึ ่ เปน
จำนวนอตรรกยะมีคา ประมาณ 2.71828182845...
สมบั ตเิ บ้ ืองตนของลอการทิ ึม
ทฤษฎบี ท 1.5.19 ให x, y เปน จำนวนจรงิ บวก และ m เปน จำนวนตรรกยะ โดยที ่ a > 0 และ
a ̸= 1 จะไดวา
1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 19
1. logaxy = logax + logay 3. logaxm = mlogax
(y)
2. loga x
= loga y − loga x 4. aloga x = x

บทพิส ูจน . ให z = logax และ w = logay จะไดวา x = az และ y = aw


1. จะไดวา xy = az · aw = az+w นั น่ คอื z + w = logaxy ฉะนั้ น logaxy = logax + logay
3. จะไดวา xm = (az )m = amz นั น่ คอื mz = logaxm ฉะนั้ น logaxm = mlogax
ขอ 2 และ 4 เปน แบบฝก หั ด
สำหรั บ a, b > 0 และ a, b ̸= 1 สามารถเปลยี ่ นฐานของลอการทิ ึมไดโดย

logax = logbx
log a b

ตรโี กณมติ ิ
พิจารณาสามเหลยี ่ มมุมฉาก ABC
A

b c

C B
a

นยิ ามคาตรโี กณมิติทั้ง 6 แบบคอื ไซน (sine) โคไซน (cosine) แทนเจนต (tangent) โคแทนเจนต
(cotangent) เซแคนต (secant) และโคเซแคนต (cosecant) ดั งน้ ี

sinB = cb cosB = ac sinB = b


tanB = cos B a

cscB = sin1B = cb secB = cos1B = ac cotB = cosB


=
sinB b
a

ขยายแนวคดิ ไปยั งมุม θ ซงึ ่ มีหนวยเปน เรเดยี นคอื ความยาวของเสน รอบวงของวงกลมหนงึ ่


หนวย โดยจดุ เรมิ่ ตนที่ (1, 0) ไปสนิ้ สุดที่ (x, y) เมือ่ วั ดแบบทวนเข็ มนากิ าใหมีคา เปน บวก และ
วั ดแบบตามเข็ มนากิ าใหมีคา เปน ลบ จะไดวา x = cosθ และ y = sinθ นั น่ คอื x2 + y2 = 1
จะไดวา 180◦ มีคา ตรงกั บ π เรเดยี น

รูปที่ 1.10: วงกลมหนงึ ่ หนวย


20 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
π Y
2
(x, y)
θ
π (1, 0)
O X
0, 2π


2

เอกลั กษณ ตรโี กณมติ ิ


1. sinxcscx = 1 16. cos2x = 21 (1 + cos2x)
2. cosxsecx = 1
17. sin2x = 21 (1 − cos2x)
3. cotxtanx = 1
4. sin2x + cos2x = 1 18. sin3x = 3sinx − 4sin3x
5. sec2x − tan2x = 1 19. cos3x = 4cos3x − 3cosx
6. csc2x − cot2x = 1 20. tan3x = 3tan x − tan3 x
1 − 3tan2 x
7. sin(−x) = −sinx ( ) ( )
x+y x−y
21. sinx+siny = 2sin 2 cos 2
8. cos(−x) = cosx
( ) ( )
x+y x−y
9. tan(−x) = −tanx 22. sinx−siny = 2cos 2 sin 2
10. sin(x ± y) = sinxcosy ± cosxsiny (
x+y
) (
x−y
)
23. cosx+cosy = 2cos 2 cos 2
11. cos(x ± y) = cosxcosy ∓ sinxsiny
( ) ( )
12. tan(x ± y) = 1tan x ± tany
∓ tanxtany
24. x+y
cosx−cosy = −2sin 2 sin 2 x−y

13. sin(2x) = 2sinxcosx = 1 +2tanx


tan2x 25. sinxcosy = 12 [sin(x + y) + sin(x − y)]
14. cos2x = cos2x − sin2x 26. cosxsiny = 12 [sin(x + y) − sin(x − y)]
cos2x = 1 − 2sin2x = 2cos2x − 1
cos2x = 2cos2x − 1 27. cosxcosy = 12 [cos(x + y) + cos(x − y)]
15. tan(2x) = 1 −2tan x
tan2x 28. sinxsiny = − 12 [cos(x + y) − cos(x − y)]
คาตรโี กณมติ มิ าตรฐานทคี่ วรทราบ

ตารางที่ 1.1: ตั วอยางคาตรโี กณมิตทิ คี ่ วรทราบ


1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 21
π π π π 3π
ตรโี กณมิติ 0
6 4 3 2
π
2

√ √
1 2 3
sin 0
2 2 2
1 0 −1 0
√ √
3 2 1
cos 1
2 2 2
0 −1 0 1

1 √
tan 0 √ 1 3 − 0 − 0
3

ให x ∈ R จะเรยี ก y = sinx วาฟงก ชันไชน (sine function) และ y = cosx วาฟงก ชัน
โคไซน (cosine function) แสดงกราฟไดดังน้ ี โดยแกน X มีความกวางชอ งละ π2

รูปที่ 1.11: กราฟของฟงกชันไชนและโคไชน


Y
y = sinx
1

−1

Y
y = cosx
1

−1

นยิ ามฟงก ชันตรโี กณมิตอิ กี 4 ฟงก ชันคอื ฟงก ชันแทนเจนต (tangent fuction) ฟงก ชันโคแทนเจนต
(cotangent fuction) ฟงก ชันเซแคนต (secant fuction) และฟงก ชันโคเซแคนต (cosecant fuction)
ไดในทำนองเดยี วกั น เรยี กฟงก ชันทั้ ง 6 วา ฟงก ชันตรโี กณมติ ิ (trigonometric function) สรุป
ไดดังตารางตอไปน้ ี
22 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส

ตารางที่ 1.2: ฟงก ชันตรโี กณมิตทิ ั้ ง 6 ฟงก ชัน


ฟงกชัน y = f (x) โดเมน เรจน
ไซน y = sinx R [−1, 1]

โคไซน y = cosx R [−1, 1]

sinx { }
แทนเจนต y = tanx =
cosx R− (2n−1)π
2
:n∈Z R

โคแทนเจนต y = cotx = cosx


sinx R − {nπ : n ∈ Z} R

1 { }
เซแคนต y = secx =
cosx R− (2n−1)π
2
:n∈Z (−∞, −1] ∪ [1, ∞)

1
โคเซแคนต y = arccscx =
sinx R − {nπ : n ∈ Z} (−∞, −1] ∪ [1, ∞)

จะเห็น วา ฟงก ชัน ไซน และโคไซน ไม เปน ฟงก ชัน 1-1 ดั งนั้ น การศกึ ษาฟงก ชัน ผกผั นจงึ ตอง
กำหนดโดเมนเพือ่ ใหเปน ฟงก ชัน 1-1 ฟงก ชันไซนมีโดเมนเปน [− π2 , π2 ] และฟงก ชันโคไซนมีโดเมน
[0, π]

1. เรยี กฟงก ชัน ผกผั นของไซน วา ฟงก ชันอาร ก ไซน (arcsine function) เขียนแทนดวย
arcsin นยิ ามโดย
y = arcsinx ก็ตอ เมือ่ x = siny เมือ่ y ∈ [− π2 , π2 ]

2. เรยี กฟงก ชันผกผั นของโคไซน วา ฟงก ชันอาร กโคไซน (arccosine function) เขียนแทน
ดวย arccos นยิ ามโดย
y = arccosx ก็ตอ เมือ่ x = cosy เมือ่ y ∈ [0, π]

รปู ที่ 1.12: กราฟของฟงก ชันอารกไชนและอารกโคไชน


Y y = arccosx
Y
y = arcsinx π
π
2

π
2

X
−1 0 1
X
−1 0 1
− π2
1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 23
ในทำนองเดยี วกั นฟงกชันผกผั นอกี 4 ฟงกชันคอื อารกแทนเจนต (arctangent function) อารก
โคแทนเจนต (arccotangent function) อารกเซแคนต (arcsecant function) และอารกโคเซแคนต
(arccosecant function) เรยี กฟงกชันทั้ ง 6 วา ฟงก ชันตรโี กณมติ ผิ กผั น (inverse trigonometric
function) สรุปไดดังตารางตอไปน้ ี

ตารางที ่ 1.3: ฟงก ชันตรโี กณมิตผิ กผั นทั้ ง 6 ฟงก ชัน


ฟงก ชัน y = f (x) โดเมน เรจน
อารกไซน y = arcsinx [−1, 1] [− π2 , π2 ]

อารกโคไซน y = arccosx [−1, 1] [0, π]

อารกแทนเจนต y = arctanx R (− π2 , π2 )

อารกโคแทนเจนต y = arccotx R (0, π)

อารกเซแคนต y = arcsecx (−∞, −1] ∪ [1, ∞) [0, π2 ) ∪ ( π2 , π]

อารกโคเซแคนต y = arccscx (−∞, −1] ∪ [1, ∞) [− π2 , 0) ∪ (0, π2 ]

เรขาคณติ วเิ คราะห


จดุ ในทางคณติ ศาสตร เปน อนยิ ามแตเปน ทราบกั นดีวา จดุ มี ความสำคั ญโดยเฉพาะการใช บอก
ตำแหนงตาง ๆ โดยมีแกนอางองิ เรยี กแกนในแนวนอนวา แกน X (X-axis) และแกนในแนวตั้ ง
วา แกน Y (Y-axis) เรยี กจดุ ตั ดของแกนทั้ งสองวา จดุ กำเนดิ (origin) แทนดวยคูอ ั นดั บ (0, 0)
ในทนี่ ้ จี ะกลาวถงึ จดุ คอื คูอ ั นดั บทเี ่ ปน สมาชกิ ของ R × R
ระยะทาง (distance) ระหวาง A(x1, y1) และ B(x2, y2) เขียนแทนดวย AB นยิ ามโดย

AB = (x2 − x1 )2 + (y2 − y1 )2

ความชัน (slope) ของสว นเสน ตรงทลี่ ากจาก A(x1, y1) และ B(x2, y2) เขียนแทนดวย mAB บาง
ครั้ งถาไมสนใจ A และ B จะเขียนยอ ๆ ดวย m นยิ ามโดย
y2 − y1
m=
x2 − x1

เมือ่ x1 ̸= x2 กรณที ี ่ x1 = x2 ความชันไมมีคา และสว นเสน ตรง A และ B จะเปน แสน ในแนวตั้ ง
ให A(x1, y1) เปน จดุ และ m คอื ความชัน ให L คอื เซตของจดุ (x, y) โดยทคี่ วามชันของ (x, y)
และ A(x1, y1) เทากั บ m เรยี กวา เสน ตรง (line) ทมี่ ีความชัน m ผานจดุ A หรอื หมายถงึ เซต
L = {(x, y) : y = m(x − x1 ) + y1 }

แสดงเสน ตรง L ไดดังรูป


24 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส

รูปที่ 1.13: เสน ตรงผานจดุ A มีความชัน m


L
m

A(x1 , y1 )

เรยี ก y = m(x − x1) + y1 วา สมการเสน ตรง (equation of a line) สามารถเขียนในรูป


y = mx + c

ในกรณที ี่ m = 0 จะเรยี ก เสน ตรงแนวนอน (horizontal line) ซงึ ่ มีสมการเปน y = y1 ถาเสน


ตรงน้ ผี านจดุ A และในกรณีที่ m หาคาไมได จะเรยี ก เสน ตรงแนวยนื (vertical line) ซงึ ่ มี
สมการ x = x1 ถาเสน ตรงน้ ผี านจดุ A ดั งนั้ นเราอาจแบงเสน ตรงเปน 4 แบบโดยใชค วามชันคอื
1. m > 0 2. m < 0 3. m = 0 และ 4. m ไมมีคา แสดงตั วอยางไดดังรูป

รูปที่ 1.14: ตั วอยางเสน ตรง 4 รูปแบบ


m=0
m<0 m>0 m ไมมีคา

ใหเสน ตรง L1 และ L2 มีความชัน m1 และ m2 ตามลำดั บ จะไดวา


1. L1 ขนาน (parallel) กั บ L2 ก็ตอ เมือ่ m1 = m2

2. L1 ตั้ งฉาก (perpendicular) กั บ Lก็2ตอ เมือ่ m1 m2 = −1

อาจแสดงตั วอยางไดดังรปู

รูปที่ 1.15: ตั วอยางเสน ตรงทขี่ นานกั นและตั้ งฉากกั น


L3 : y = mx + c3
L1 L2

y = mx + c1 y = mx + c2

L4 : y = − m1 x + c4
1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 25
ในกรณเี สน ตรงทีค่ วามชันไมมีคา ยอมขนานกั บเสน ตรงใด ๆ ทีค่ วามชันไมมีคา เสมอ เพราะทกุ
เสน เปน เสน ตรงแนวตั้ ง และเสน ตรงทีค่ วามชันไมมีคา ยอมตั้ งฉากกั บเสน ตรงใด ๆ ทีม่ ีความชัน
เทากั บ 0 หรอื เสน ตรงแนวนอนเสมอ
ให C เปน เซตของจดุ (x, y) ที่หา งจากจดุ คงที่ (h, k) ดวยระยะคงที่ r เรยี กวา วงกลม
(circle) ทมี ่ ีศนู ย กลางที ่ (h, k) และรั ศมี r ดั งนั้ น
C = {(x, y) : (x − h)2 + (y − k)2 = r2 }

เรยี ก (x − h)2 + (y − k)2 = r2 สมการวงกลม (equation of a circle) แสดงตั วอยางไดดังรูป

รูปที่ 1.16: วงกลมทมี่ ีศนู ย กลางที่ (h, k) และรั ศมี r


r

(h, k)
26 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส

แบบฝก หั ดบทที ่ 1
1. จงอธบิ ายวธิ กี ารตรวสอบปรมิ าตรของพีระมิดฐานสเี ่ หลยี่ มจั ตุรัสเปน 1/3 เทาของปรมิ าตร
ของปรซิ มึ ทมี่ ีฐานเดยี วกั นและสูงเทากั น เพราะเหตุใดพรอมยกตั วอยางประกอบ
2. พิจารณารปู หลายเหลยี่ มทแี ่ บงวงกลมรั ศมี 1 ออกเปน n สว นเทา ๆ กั น
2.1 จงหาพ้ ืนทขี ่ องรูปหลายเหลยี ่ มเมือ่ n = 10, 100 และ 1000 โดยใชเ ครอื่ งคำนวณ
2.2 จงคาดคะเนวา พ้ ืนที่ของรปู หลายเหลยี ่ มดั งกลาวจะมี คา เขา ใกล คา ใด เมือ่ n มี คา
มาก ๆ
3. จงหาพ้ ืนทขี่ องอาณาบรเิ วณทปี่ ด ลอมตอไปน้ ี โดยใชว ธิ ขี องอารคมิ ีดสี
3.1 พาราโบลา y = x2 และเสน ตรง y = 2
3.2 พาราโบลา y = x2 + 1 และเสน ตรง y = x + 3
3.3 พาราโบลา y = −x2 และเสน ตรง y = −x − 2
4. จากตั วอยาง 1.1.2 จงพิสจู นวา h = 4s
5. จงหาความชันของจดุ P บนเสน โคง y = f (x) โดยใชส ามเหลยี ่ มผลตางของแบรโรว
ตอบในรูป h
5.1 f (x) = x2 และ P = (2, 4)
5.2 f (x) = x3 และ P = (−1, −1)
6. กำหนดให P = (0, 0) และ f (x) = sinx
6.1 จงหาความชันของจดุ P บนเสน โคง y = f (x) โดยใชส ามเหลยี ่ มผลตางของแบรโรว
ในรูป h
6.2 จากขอ 5.1 จงหาความชันทจี่ ดุ P เมือ่ h = 0.1, 0.01 และ 0.001 โดยใชเ ครอื่ งคำนวณ
6.3 จงคาดคะเนวาความชันทจี่ ดุ P จะมีคา เขาใกลคา ใด เมือ่ h มีคา นอย ๆ
7. ให U = {x ∈ Z : −100 ≤ x ≤ 100} เปน เอกภพสัมพั ทธ
A = {x ∈ Z : 2 หาร x ลงตั ว } และ B = {x ∈ Z : 3 หาร x ลงตั ว }
จงหาจำนวนสมาชกิ ของ Ac − B c
8. จงแจกแจงสมาชกิ ของเซตตอไปน้ ี พรอมทั้ งเขียนแผนภาพ
8.1 {(x, y) ∈ N × N : x + y = 5}
8.2 {(x, y) ∈ N × N : xy = 12}
8.3 {(x, y) ∈ R × R : x2 + 4y2 − 2x + 4y + 2 = 0}
9. จงหาโดเมนและเจนของฟงก ชันตอไปน้ ี
1.5. คณิตศาสตรพ้ ื นฐาน 27
√ ( )
x−1 1
9.1 f (x) = 9.3 f (x) = ℓn
x −1
2
x+1
9.2 f (x) = |x + 1| − |x − 1| 9.4 f (x) = sin2 (x2 + 1)

ex − e−x
10. จงหา f −1(x) ถากำหนดให f (x) = 2
f (x + h) − f (x)
11. ให f (x) = x2 + 3x − 1 จงหา h
เมือ่ h > 0
12. จงตรวจสอบวาฟงก ชันตอไปน้ มี ีฟงก ชันผกผั นหรอื ไม พรอมใหเหตุผล
12.1 f :R→R นยิ ามโดย f (x) = 1 − 2x 12.3 f :N→R นยิ ามโดย f (x) = xx −
+1
1

12.2 f :R→R นยิ ามโดย f (x) = x3 + 1 12.4 f : R+ → R นยิ ามโดย f (x) = √x


√ √
13. กำหนดให 2 < x < 3 จงหาคาของ x2 − 4x + 4 + x2 − 6x + 9
14. กำหนดให P (x) และ Q(x) เปน พหุนามดกี รี 2551 ซงึ ่ สอดคลองกั บ
P (n) = Q(n) สำหรั บ n = 1, 2, 3, ..., 2551 และ P (2552) = Q(2552) + 1

จงหาคาของ P (0) − Q(0)


15. ให α, β และ γ เปน รากทั้ งสามของสมการ x3 −9x+5 = 0 คาของ (1−α)2(1−β)2(1−γ)2
เทากั บเทาใด
16. กำหนดให P (x) = x3 + ax2 + bx + 2 เมือ่ a, b เปน จำนวนจรงิ ถา x − 1 และ x + 3 ตาง
หาร P (x) เหลอื เศษ 5 แลว a + 2b มีคา เทาใด
17. จงหาเซตคำตอบของอสมการ 3x2 + 5x + 11 < 2x2 − x − 4 < x2 − 2x + 2

18. จงหาเซตคำตอบของสมการ ||x − 1| + 1| = ||x + 1| − 1|


x|x| − x2
19. จงหา y ทเี่ ปน จำนวนจรงิ ซงึ ่ y=
x2 − x|x|
เมือ่ x∈R

20. จงหาเซตคำตอบของสมการ (|x| − 1)(|x| − 3)(|x| + 3)(|x| − 7) = 150

21. จงหาเซตคำตอบของสมการ
21.1 4x − 5 · 2x + 6 = 0
21.2 2 + 3(15|x|) = 5|x| + 25(3|x|+1)
21.3 log(x + 1) + log(x − 1) = 0
21.4 log2x + log4x + log8x + log16x = 7 + 2log64x
22. จงหาเซตคำตอบของอสมการ
28 บทท่ ี 1. เบ้ ื องต นแคลคูลัส
( )
22.1 32x+10 − 4(3x+6 ) + 27 ≤ 0 22.2 logx 2
≥1
x−1

23. จงหาจำนวนจรงิ x ทสี่ อดคลอง (3x2 − 11x + 7)3x +4x+1 = 1


2

24. จงหาสมการเสน ตรงทผี ่ านจดุ (2, a + 1) และ (2, b + 2)


25. จงหาสมการทตี่ ั้ งฉากกั บเสน ตรง 3x + 4y = 12 และผานจดุ (1, −1)
26. จงหาจดุ บนเสน ตรง 2y − x + 6 = 0 ทอี่ ยูใกลจดุ (3, 1)มากทสี่ ดุ
27. จงหาสมการวงกลมทมี ่ ีจดุ ศูนย กลางทจี ่ ดุ กำเนดิ และผานจดุ (1, 3)
28. จงหาสมการเสน สัมผั สของวงกลม x2 + y2 = 25 ทจี ่ ดุ (3, 4)
29. ถาวงกลมหนงึ ่ มีจดุ ศูนย กลางคอื จดุ A อยูบนเสน ตรง x+y+4 = 0 และผานจดุ B(−5, −2)
และ C(−2, 5) จงหาพ้ ืนทสี่ ามเหลยี ่ ม ABC
30. จงหาจดุ บนวงกลม x2 + y2 + 2x − 4y − 15 = 0 ทอี ่ ยูใกลจดุ (1, 3) มากทสี ่ ดุ
บทที ่ 2
ลมิ ติ และความตอเนอื่ ง
2.1 ลมิ ติ ของฟงกชัน
พิจารณาฟงกชัน 

 2 − x2 เมือ่ x < 1


f (x) =

2 เมือ่ x = 1


2x − 1 เมือ่ x > 1

เมือ่ สนใจคาฟงก ชัน f (x) เมือ่ คาของ x ใกล 1 อาจพิจารณาคา x สำหรั บบางคาดั งตาราง
ตอไปน้ ี

x f (x) x f (x)
0.5 1.75 1.5 2
0.8 1.36 1.4 1.8
0.9 1.19 1.1 1.2
0.99 1.0199 1.01 1.02
0.999 1.001999 1.001 1.002
0.9999 1.00019999 1.0001 1.0002
0.99999 1.0000199999 1.00001 1.00002

เมือ่ พิจารณา f (x) จากตารางจะเห็นวา f (x) มีคา เขาใกล 1 ไมวา ใหคา x เขาใกลลักษณะ x < 1
หรอื x > 1 ในกรณเี ชน น้ จี ะกลาววา ลมิ ติ ของฟงก ชัน (limit of function) f (x) ขณะ x เข า
ใกล 1 มีคา เทากั บ 1 เขียนแทนดวย
lim f (x) = 1
x→1

จะเห็นไดวา การพิจารณาคา x เขาใกล 1 จะไมพิจารณากรณี x = 1 และเมือ่ แสดงฟงกชัน


y = f (x) ดวยกราฟตอไปน้ ี

29
30 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
Y
4

X
−4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4
−1

−2

−3

−4

ทำใหไดขอสังเกตวา x→1  ตองเทากั บ f (1)


lim f (x) ไมจำเปน

เมือ่ พิจารณาคาของ x→a lim f (x) เราตองพิจารณาคาของ f (x) ทจ ี่ ดุ อนื่ ๆ ใน Dom(f ) ทอี ่ ยูใกล
ๆ a ดั งนั้ นการหาลมิ ิตทจี่ ดุ a ตองมีคา อนื่ ๆ ใกลจดุ a ใหพิจารณาเสมอ เราเรยี กจดุ a ลั กษณะ
น้ วี า เปน จดุ ลมิ ติ (limit point) ของ Dom(f ) ตั วอยางเชน 0 เปน จดุ ลมิ ิตของ (−1, 1) ∪ {2} แต
2 ไมเปน จดุ ลมิ ิตของ (−1, 1) ∪ {2}
ข อสังเกต 2.1.1 จดุ ลิมิตไมจำเปน ตองอยูในโดเมนของฟงก ชันเสมอไป เชน 0 เปน จดุ ลิมิตของ
โดเมน (−1, 0) ∪ (0, 1) แต 0 ไมเปน สมาชกิ ของ (−1, 0) ∪ (0, 1)
ตอไปจะกลาวถงึ บทนยิ ามของลมิ ิตของฟงกชัน
ตั วอยาง 2.1.2 จงพิจารณาวาจดุ a เปน จดุ ลมิ ิตของโดเมนตอไปน้ หี รอื ไม
1. D = (−1, 3) เมือ่ a=0 3. D = [1, 4] เมือ่ a=1

2. D = (0, 3) เมือ่ a=3 4. D = (1, 2) ∪ {3} เมือ่ a=3


2.1. ลิมิตของฟงก ชัน 31
บทนยิ าม 2.1.3 ให f : D → R เมือ่ D ⊆ R และ a เปน จดุ ลมิ ิตของ D แลว
lim f (x) = L
x→a
เรยี กวาลมิ ิตของ f (x) ขณะ x เขาใกล a เทากั บ L
ก็ตอ เมือ่ ∀ε > 0 ∃δ > 0 ∀x ∈ D, 0 < |x − a| < δ → |f (x) − L| < ε

Y
y = f (x)

L+ε

L
L−ε

X
a−δ a a+δ

ทฤษฎบี ท 2.1.4 ให a เปน จดุ ลมิ ิต c เปน คาคงตั ว และ n ∈ N จะไดวา
1. lim c = c
x→a
2. x→a
lim x = a 3. lim xn = an
x→a

ทฤษฎบี ท 2.1.5 ให f, g เปน ฟงก ชันจาก D ไป R เมือ่ D ⊆ R โดยที่ a เปน จดุ ลมิ ิตของ D
lim f (x) = L และ lim g(x) = M เมือ
ถา x→a x→a
่ L, M ∈ R แลว
1. lim [f (x) + g(x)] = lim f (x) + lim g(x) = L + M
x→a x→a x→a

2. lim f (x) · g(x) = lim f (x) · lim g(x) = LM


x→a x→a x→a

f (x) lim f (x) L


3. lim
x→a g(x)
= x→a
lim g(x)
=
M
เมือ่ M ̸= 0
x→a

4. lim Cf (x) = C lim f (x) = CL


x→a x→a
เมือ่ C เปน คาคงตั ว
5. lim |f (x)| = | lim f (x)| = |L|
x→a x→a
( )n
6. lim (f (x))n =
x→a
lim f (x)
x→a
= Ln เมือ่ n ∈ N
√ √ √ √
7. lim
x→a
n
f (x) = n lim f (x) =
x→a
n
L เมือ่ n ∈ N และ n
L∈R
32 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ตั วอยาง 2.1.6 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
1. x→1
lim (2x2 − 3x + 4)

x+1
2. lim
x→0 x−1


3. lim x x + 1
x→1

x −1
2
ตั วอยาง 2.1.7 จงหาคาลมิ ิต x→1
lim
x−1

รูปแบบยั งไมกำหนด (indeterminate form)


f (x)
lim
x→a g(x)
อยูในรูปแบบยั งไมกำหนด
0
ก็ตอ เมือ่ x→a
lim f (x) = 0 = lim g(x) และ เขียนแทนดวย I.F. ลิมิตทีอ ่ ยูในรูปแบบยั งไมกำหนด
x→a 0
หมายถงึ ลิมิตทีย่ ั งไมทราบคาอาจใชก ารเปลยี่ นรูปของฟงก ชัน หรอื ทฤษฎบี ทตาง ๆ เกยี่ วกั บลิ
มิตมาชว ยในการหาคา
ตั วอยาง 2.1.8 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
x2 + x − 6
1. lim
x→2 x−2

(3 + h)2 − 9
2. lim
h→0 h
2.1. ลิมิตของฟงก ชัน 33
x3 + 27
3. lim
x→−3 x + 3

x4 − 16
4. lim
x→−2 x + 2

x4 − 13x2 + 36
ตั วอยาง 2.1.9 จงหาคาลมิ ิตของ lim
x→−2 x2 + 2x

22x − 2x+1 + 1
ตั วอยาง 2.1.10 จงหาคาลมิ ิตของ lim
x→0 2x − 1
34 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
2|x + 1| − |1 − x|
ตั วอยาง 2.1.11 จงหาคาลมิ ิตของ lim
x→−3 x2 − 9

ตั วอยาง 2.1.12 ให f (x) เปน ฟงก ชันพหุนามโมนกิ ดกี รสี อง ถา x→0
lim
f (x)
x
= 2 จงหาคาของ f (3)

(x + h)3 − x3
ตั วอยาง 2.1.13 จงหาคาลมิ ิต lim
h→0 h
ในรูปตั วแปร x
2.1. ลิมิตของฟงก ชัน 35
ตั วอยาง 2.1.14 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี

x−1 4−
1. lim √
x→1 x−1 2. lim
16 + x
x→0 x

√ √
1+x− 1−x
ตั วอยาง 2.1.15 จงหาคาลมิ ิตของ lim √
x→0 2x + 1 − 1
36 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ตั วอยาง 2.1.16 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
x−1
1. lim √
x→1 3
x−1


3

2x + 1 + 3 2 + x
2. lim
x→−1 x+1

x
ตั วอยาง 2.1.17 จงหาคาลมิ ิตของ lim √ √
x→0 3
x+8+ 3x−8
2.1. ลิมิตของฟงก ชัน 37
แบบฝก หั ด 2.1
1. จงแสดงคาลมิ ิตตอไปน้ โี ดยใชน ยิ าม
1.1 lim 1 − x
x→1
1.2 lim 2x
x→−1 1.3 lim
x+1
x→2 3

2. จงแสดงคาลมิ ิตตอไปน้ ี
√ √
2.1 lim (x − 1) 2 + x
x→0 2.2 |x| + x
lim 2 2.3 lim
3
x+1
x→3 x − 1 x→−2 x + 1

3. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
x2 − x x+2
3.1 lim
x→1 x3 − x − 2
3.10 lim
x→−2 x3 + 8
x2 − 2x 2x2 − 8
3.2 lim 2
x→2 x − x − 2 3.11 lim
x→2 x3 − 2x − 4
x2 + 5x + 4
3.3 lim 2 1
+ 14
x→−4 x + 3x − 4 3.12 lim x
x→−4 x + 4
2x2 + 3x + 1
3.4 lim
x→−1 x2 − 2x − 3 x−3 − x−2 + 7x−1 − 1
x3 − 2x2 + 3x − 2
3.13 lim
x→7 7−x
3.5 lim
x−1
x→1
8x−3 + 2x−2 − 4x−1 − 1
2x2 + 3x − 2 3.14 lim
3.6 lim
x→−2 3x3 + 6x2 − 2x − 4
x→−4 x+4
t2 − 9
3.7 lim
7 4 1
x 3 + x 3 − 2x 3 3.15 lim
t→3 2t2 + 7t + 3
4 1
x→−1 x 3 + 2x 3
t4 − 1 x2 + 2x + 1
3.8 lim 3 3.16 lim
x4 − 1
t→1 t − 1
x→−1

x6 − 1 (3 + h)−1 − 3−1
3.9 lim 10
x→1 x − 1
3.17 lim
h→0 h

4. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
√ √ √
x3 − 27 4−x− 5
4.1 lim √ 4.7 lim
3+
x→3 x−2−1 x→0 x

4u + 1 − 3 √ √
4.2 lim
u→2 u−2 4.8 lim
3+x− 3
√ x→0 x
x−2−2
4.3 lim + √ √
4− x
x−1
x→2
√ 4.9 lim
x→16 16x − x2
x + 9x2 + 5x
4
4.4 lim
x+4 √
x→−4
1−x−3
x3 − 1 4.10 lim √
4.5 lim √
x→1 x−1
x→−8 x − 4 3 x


(−5 + h)2 − 25 x2 + 9 − 5
4.6 lim
h→0 h
4.11 lim
x→−4 x+4
38 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
5. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
√ √ √
3
x−1 3
x2 − 2 3 x + 1
5.1 lim √
x−1
5.3 lim
x→1 x→1 (x − 1)2
√ √
3
7−x−2 3
x−2−1
5.2 lim √ 5.4 lim
x→−1 x+2−1 x→1 x−1

6. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
32x − 3x+1 + 2 x · 3x − 3x + x − 1
6.1 lim 6.3 lim
x−1
x→0 3x − 1 x→1

5x+1 − 5x 5 − 5x+2 + 24
2x
6.2 lim 6.4 lim
5x − 1
x→1 5x+2 x→0

7. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ใี นรูปตั วแปร x


1
− x1 3(x + h)2 − 3x2
7.1 lim x+h 7.3 lim
h
h→0 h h→0

(x + h)3 − x3 (x + h − 1)2 − x2
7.2 lim
h→0 h
7.4 lim
h→1 h−1
|x2 − 1| − 3x + 1
8. จงหาคาลมิ ิตของ lim
x→3 |1 − x| − 2
x(x2 − 1)2 (x + 1)2
9. จงหาคาลมิ ิตของ lim
x→1 (x2 − 5x + 4)(x − x3 )

x−2
10. จงหาคาลมิ ิตของ lim √ √
x→2 3
x−1+ 3x−3

11. ให f (x) เปน ฟงก ชันพหุนามโมนกิ ดกี รสี อง ถา x→1
lim 2
f (x)
x −x
= 5 จงหาคาของ f (4)
2.2. ลิมิตด านเดียว 39

2.2 ลมิ ติ ดานเดยี ว



พิจารณาฟงก ชัน f (x) = x แสดงไดดังกราฟ
Y

X
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

จะเห็นวา Dom(f ) = [0, ∞) และจดุ 0 เปน จดุ ลิมิต จะไดวา f (x) มีคา เขาใกล 0 เมือ่ คา x เขา
ใกล 0 ในลั กษณะ x > 0 เรยี กวา x เขาใกล 0 ทางดานขวา แตเมือ่ x เขาใกลคา 0 ในลั กษณะ
ี กวา x เขาใกล 0 ทางดานซา ย คาของฟงก ชัน f (x) จะไมมีคา ในจำนวนจรงิ ทำใหลมิ ิต
x < 0 เรย
ของ f (x) มีเพียงคาเมือ่ x เขาใกล 0 ทางดานขวา เขียนแทนดวย
lim f (x) = 0
x→0+

เรยี กวา ลมิ ิตขวาของ f (x) เมือ่ x เขาใกล 0 ทางดานขวา



ในทำนองเดยี วกั นลมิ ิตของ f (x) = −x ทจี ่ ดุ 0 จะมีคา เมือ่ x เขาใกล 0 ทางดานซา ยเทานั้ น
เรยี กคาลมิ ิตน้ วี า ลมิ ิตซา ยของ f (x) เมือ่ x เขาใกล 0 ทางดานซา ย เรยี กลมิ ิตทั้ งสองแบบน้ วี า ลิ
มติ ดานเดยี ว (One-sided limit)
บทนยิ าม 2.2.1 ให f : D → R เมือ่ D ⊆ R และ a เปน จดุ ลมิ ิตของ D ∩ (a, ∞) แลว
lim f (x) = L
x→a+

เรยี กวาลมิ ติ ขวา (right-handed limit) ของ f (x) ขณะ x เขาใกล a หรอื ลมิ ิตของ f (x) ขณะ
x เข าใกล a ทางดานขวาเทากั บ L ก็ตอ เมือ่
∀ε > 0 ∃δ > 0 ∀x ∈ D, a < x < a + δ → |f (x) − L| < ε

รปู ที่ 2.1: กราฟแสดงนยิ ามลมิ ิตขวาของฟงกชัน


Y
y = f (x)

L+ε

X
a a+δ
40 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
บทนยิ าม 2.2.2 ให f : D → R เมือ่ D ⊆ R และ a เปน จดุ ลมิ ิตของ D ∩ (−∞, a) แลว
lim f (x) = L
x→a−

เรยี กวาลมิ ติ ซา ย (left-handed limit) ของ f (x) ขณะ x เขาใกล a หรอื ลมิ ิตของ f (x) ขณะ x
เขาใกล a ทางดานซา ยเทากั บ L ก็ตอ เมือ่
∀ε > 0 ∃δ > 0 ∀x ∈ D, a − δ < x < a → |f (x) − L| < ε

รูปที่ 2.2: กราฟแสดงนยิ ามลมิ ิตซา ยของฟงก ชัน


Y
y = f (x)

L
L−ε

X
a−δ a

ทฤษฎบี ท 2.2.3 ให f : D → R, D ⊂ R และ a เปน จดุ ลมิ ิตของ D ∩ (−∞, a) และ D ∩ (a, ∞)
และ L ∈ R แลว
x→a
 เมือ่ x→a
lim f (x) = L ก็ตอ lim f (x) = L = lim f (x)
+x→a −

ตั วอยาง 2.2.4 ให y = f (x) เปน ฟงกชันทมี ่ ีโดเมน (−4, 5) และเขียนกราฟไดดังน้ ี


Y

X
−4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5

จงหาลมิ ิตที่ x = −4, −2, 2, 3 และ 5


วธิ ที ำ จากกราฟ แสดงคาตาง ๆ ของลมิ ิต ไดดังตารางตอไปน้ ี
a lim f (x) lim f (x) lim f (x)
x→a− x→a+ x→a
−4
−2
2
3
5
2.2. ลิมิตด านเดียว 41
ตั วอยาง 2.2.5 ฟงก ชันซกิ นั ม (signum function) เขียนแทนดวย sgn นยิ ามโดย


 เมือ่ x > 0


1
sgn(x) = 0 เมือ่ x = 0


−1 เมือ่ x < 0
จงวาดกราฟของฟงก ชันซกิ นั ม และพิจารณาคาของลมิ ิตของ sgn(x) ทจี ่ ดุ 0

lim f (x) ของฟงก ชัน


ตั วอยาง 2.2.6 พิจารณาคามิลติ x→2
√
 6−x เมือ่ 0 < x < 2
f (x) =
4 − x เมือ่ 2 < x < 5

lim f (x) ของฟงกชัน


ตั วอยาง 2.2.7 พิจารณาคามิลติ x→4
√
 2x + 1 − 3

เมือ่ x > 4
f (x) = x2 − 16

3x + 1 เมือ่ x ≤ 4
42 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ตอไปจะกลาวถงึ ฟงก ชันคาสัมบูรณ (absolute function) นยิ ามโดย


 เมือ่ x > 0


x
f (x) = |x| =

0 เมือ่ x = 0


−x เมือ่ x < 0
|x|
ตั วอยาง 2.2.8 จงตรวจสอบวา lim
x→0 x
มีลมิ ิตหรอื ไม

x|x| − x
ตั วอยาง 2.2.9 จงตรวจสอบวา lim
x→0 |x|
มีลมิ ิตมีหรอื ไม

|x2 − x − 6|
ตั วอยาง 2.2.10 จงตรวจสอบวา lim
x→−2 x+2
มีลมิ ิตหรอื ไม
2.2. ลิมิตด านเดียว 43

(x − 1)2
ตั วอยาง 2.2.11 จงหาลมิ ิตของ x→1
lim −
x−1

( )
1 2x3
ตั วอยาง 2.2.12 จงหาคาลมิ ิตของ lim − √ 1− 2
x→1 1−x x +1

|5x + 1| − |5x − 1|
ตั วอยาง 2.2.13 ถา lim
x→0

x+a− a
√ = 80 จงหาคาของ a
44 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
แบบฝก หั ด 2.2
1. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา
( )
1.1 lim (2x + |x − 3|) 2x − 1 1 1
x→3 1.3 lim
|2x3 − x2 |
1.5 lim −
x→0.5+ x→0− x |x|
( )
2x + 12 2 − |x| 1 1
1.2 lim
x→−6 |x + 6|
1.4 lim
x→−2 2 + |x|
1.6 lim
x→0+

|x| x

2. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา



|2x − 1| − |2x + 1| 3
1 + cx − 1
2.1 x→0
lim
x
2.2 lim
x→0 x
 2
 x −1

เมือ่ x ̸= 1
3. กำหนดให f (x) =  x3 − 1
 4 − 2x เมือ่ x=1
จงตรวจสอบคาของ x→1
lim f (x)

x3 − 2x + 5 เมือ่ |x| ≤ 2
4. กำหนดให f (x) =  x + 7
x−1
เมือ่ |x| > 2
จงตรวจสอบคาของ lim f (x) และ lim f (x)
x→2 x→−2

|1 + x − x2 |
5. จงหาคาของ lim √
x→1+ x+3−2

x3 + x2 + x
6. จงหาคาของ lim −
x→0 x2

2x + 5 เมือ่ x < −3
7. จงหาจำนวนจรงิ k ซงึ ่ ทำให x→−3 ่ f (x) = 
lim f (x) มีคา เมือ
kx2 + 2 เมือ่ x ≥ −3

ax + b − 2
8. จงหาจำนวนจรงิ a และ b ซงึ ่ ทำให lim
x→0 x
=1

9. จงหาจำนวนจรงิ a ซงึ ่ x→a


lim (x3 − 4x2 + x + 10) = 4

f (x) − 8
10. ถา x→1
lim
x−1
= 10 จงหา lim f (x)
x→1
2.3. ลิมิตของฟงก ชันตรีโกณมิติ 45

2.3 ลมิ ติ ของฟงกชันตรโี กณมติ ิ


ทฤษฎบี ท 2.3.1 ลมิ ิตของฟงก ชันตรโี กณมิตเิ ปน จรงิ ดั งน้ ี
1. lim
x→0
sinx = 0 3. lim
x→a
sinx = sina
2. lim
x→0
cosx = 1 4. lim
x→a
cosx = cosa
ตั วอยาง 2.3.2 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา
1. lim tanx
x→0 2. lim cos2x
x→π x
3. lim
sinx
x→0 tanx

ตั วอยาง 2.3.3 จงหาคาของ lim


cosx − 1
x→0 sinx

ตั วอยาง 2.3.4 จงหาคาของ lim


cos2x + cosx
x→π sin2x − sinx
46 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
(cot3 x − 1)(csc2 x)
ตั วอยาง 2.3.5 จงหาคาของ limπ
x→ 4 1 + cos2x − 2sin2 x
2.3. ลิมิตของฟงก ชันตรีโกณมิติ 47
ทฤษฎบี ท 2.3.6 ทฤษฎบี ทการบีบ (Squeeze theorem)
ให f, g, h เปน ฟงก ชันจาก D ไป R เมือ่ D ⊆ R ถา
g(x) ≤ f (x) ≤ h(x) ทกุ ๆ x ทมี่ ีคา ใกล ๆ a
และ x→a
lim g(x) = L = lim h(x) แลว
x→a
lim f (x) = L
x→a

ตั วอยาง 2.3.7 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา


( )
1
1. lim x sin
x→0
2
x

(π )
2. lim
x→0
sin2xcos x

( )
2
ตั วอยาง 2.3.8 จงหาคาของ lim xcos
x→0 x
48 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
พิจารณากราฟของฟงก ชัน f (x) =
sinx
x
Y

X
−5 −4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5

−1

−2

และคำควณคาฟงก ชัน f (x) เมือ่ คาของ x ใกล ๆ 0 สำหรั บบางคาดั งตารางตอไปน้ ี


x f (x) x f (x)
0.1 0.998334166468282 −0.1 0.998334166468282
0.01 0.999983333416666 −0.01 0.999983333416666
0.001 0.999999833333342 −0.001 0.999999833333342
0.0001 0.999999998333333 −0.0001 0.999999998333333
0.00001 0.999999999983333 −0.00001 0.999999999983333

ทำใหสรุปไดวา x→0
lim
sinx = 1 หรอื กลาวอกี นั ยวา sinx จะมีคา ประมาณ x เมือ่ x มีคา ใกล ๆ 0
x
และสามารถพิสจู นโดยใชท ฤษฎบี ทการบีบดั งทฤษฎบี ทตอไปน้ ี
ทฤษฎบี ท 2.3.9 lim sinx = 1
x→0 x
2.3. ลิมิตของฟงก ชันตรีโกณมิติ 49
ตั วอยาง 2.3.10 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
sin2x 1 − cosx
1. lim 2. lim
x→0 xtanx x→0 x

ตั วอยาง 2.3.11 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี


x + sinx
1. x→0
lim
xcosx

x − tanx
2. lim
x→0 sinx
50 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ตั วอยาง 2.3.12 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
1. lim secx − cosx
x→0 x

2. lim
tanx − sinx
x→0 x3
2.3. ลิมิตของฟงก ชันตรีโกณมิติ 51
บทแทรก 2.3.13 ถา x→a
lim u(x) = 0 แลว

lim
sinu(x) = 1
x→a u(x)

ตั วอยาง 2.3.14 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา


1. lim sin2x
x→0 x

2. lim
sin24x
x→0 5x2

ตั วอยาง 2.3.15 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา


1. x→0
lim
sin5x − sin3x
tanx

2. lim
sinx
x→π x−π
52 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
แบบฝก หั ด 2.3
1. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา
( ) √
1.1 lim x sin
2 x2 π 1.4 lim
x→0
cosx sin2x
x→0 x
( xπ ) ( )
√ x+1
1.2 lim x2 sin 1.5 lim x2 + x3 cos
π
x→0 x2( )
x→0

1.3 lim tan2xcos 3


1.6 lim
cos3x − cosx
x→0 x−1 x→π sin3x + sinx

2. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา


2.1 lim tanx sin(12 − 6x) x
2.10 lim 2.19 lim + √
1 − cos x
x→0 4x x→2 5 − 10x x→0

2.2 sinx
lim + √ 2.11 lim 2
sin(x + 3) 2.20 lim x2 cotx
x→0
x→0 x x→−3 x + 2x − 3
x
tan3x 2.12 sinx 2.21 lim
2.3 lim lim x→0 x + sinx
x→0 tan5x x→π π − x

sin5x x + tanx xsinx


2.4 lim 2.13 lim 2.22 lim
x→0 1 − cosx
x→0 xcosx x→0 sinx
2.5 lim
tan5x 2.14 lim
x2
2.23 lim
sin42x
x→0 sin5x x→0 1 − cosx x→0 3x4
x2
2.6 lim
4x 2.15 lim
x→0 1 − cos3 x 2.24 lim x2 sin2
1
x→0 sin3x x→0 x
2.7 lim
sin2x 2.16 lim
sin 2
x + sinx
2.25 lim x6 cos
π
x→0 sin3x x→0 x x→0 x
1 − cos2x 1 − cos4 x √ sin 1
2.8 lim 2.17 lim 2.26 lim xe x
x→0 3x x→0 x2 x→0+

sin x
4
2.18 sinx − 1 sin(x + h) − sinx
2.9 lim
x→0 x2
lim
x→ π2 x −
π
2
2.27 lim
h→0 h

3. จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี ถาลมิ ิตมิ ีคา


3.1 lim
x 1 − cosxsin2 x − cos2 x
x→0 xcosx + sinx 3.4 lim
x→0 x3
3.2 cos3x − 2cos2x − cosx + 2 sin5x − sin3x
lim
x→0 x2
3.5 lim
x→0 x
3.3 lim
xcosx − sinx
3.6 lim
sin7x + sinx
x→0 x x→0 cos7x − cosx

4. จงหาคาของ x→π
lim
sinx
1 + cosx

5. ถา f เปน ฟงกชันทมี ่ ีโดเมนเปน จำนวนจรงิ ถา x→0


lim f (x)cosx = 0 จงหา lim f (x)
x→0
2.4. ลิมิตเก่ ียวกั บอนั นต 53

2.4 ลมิ ติ เกยี ่ วกั บอนั นต


พิจารณาฟงก ชัน f (x) = x22x+ 1 แสดงไดดังกราฟ
Y

X
−5 −4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5

−1

−2

เมือ่ พิจารณาหาคา ลิมิต ของ f (x) เมือ่ x มี คา เพิม่ ข้ ึนอยางไมมี ขีด จำกั ด จะมี คา เขา ใกล 0
เขียนแทนดวย
lim f (x) = 0
x→∞

และเมือ่ พิจารณาหาคา ลิมิต ของ f (x) เมือ่ x มี คา ลดลงอยางไมมี ขีด จำกั ด จะมี คา เขา ใกล 0
เขียนแทนดวย
lim f (x) = 0
x→−∞

บทนยิ าม 2.4.1 ให f : D → R โดยที่ D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว แลว


lim f (x) = L
x→∞

ก็ตอ เมือ่ ∀ε > 0 ∃N > 0 ∀x ∈ D, x>N → |f (x) − L| < ε

บทนยิ าม 2.4.2 ให f : D → R โดยที่ D = (−∞, a) เมือ่ a เปน คาคงตั ว แลว


lim f (x) = L
x→−∞

ก็ตอ เมือ่ ∀ε > 0 ∃N < 0 ∀x ∈ D, x<N → |f (x) − L| < ε

ทฤษฎบี ท 2.4.3 ให r เปน จำนวนตรรกยะบวก แลว


1 1
1. lim
x→∞ x
=0 3. lim
x→∞ xr
=0

1 1
2. lim
x→−∞ x
=0 4. lim
x→−∞ xr
=0
54 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ในทำนองเดยี วกั บลมิ ิตของฟงก ชันทจี่ ดุ a เมือ่ พิจารณาลมิ ิตของฟงก ชันเมือ่ x เขาใกล ∞ จะ
ไดทฤษฎบี ท 2.4.4 (จะละการพิสจู นไวในวชิ าน้ )ี
ทฤษฎบี ท 2.4.4 ให f, g เปน ฟงก ชันจาก D ไป R โดยที่ D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว
lim f (x) = L และ lim g(x) = M เมือ
ถา x→∞ x→∞
่ L, M ∈ R แลว
1. x→∞
lim [f (x) + g(x)] = lim f (x) + lim g(x) = L + M
x→∞ x→∞

2. lim f (x) · g(x) = lim f (x) · lim g(x) = LM


x→∞ x→∞ x→∞

f (x) lim f (x) L


3. lim
x→∞ g(x)
= x→∞
lim g(x)
=
M
เมือ่ M ̸= 0
x→∞

4. lim cf (x) = c lim f (x) = cL


x→∞ x→∞
เมือ่ c เปน คาคงตั ว
5. lim |f (x)| = | lim f (x)| = |L|
x→∞ x→∞
( )n
6. lim (f (x)) =
x→∞
n
lim f (x) = Ln
x→∞
เมือ่ n ∈ N
√ √ √ √
7. lim
x→∞
n
f (x) = n lim f (x) =
x→∞
n
L เมือ่ n ∈ N และ n
L∈R

สำหรั บลมิ ิตของฟงก ชันเมือ่ x เขาใกล −∞ ไดผลลั พธเชน เดยี วกั บทฤษฎบี ท 2.4.4 แตไมขอ
เขียนไว ณ ทนี่ ้ ี แตนำไปใชไ ดเชน กั น
lim f (x) = ∞ และ lim g(x) = ∞ จะกลาวไดวา
สำหรั บ x→∞ x→∞

f (x)
lim
x→∞ g(x)
และ x→∞
lim (f (x) − g(x)) อยูในรปู แบบยั งไมกำหนด

เขียนแทนดวย I.F.

และ I.F.∞ − ∞ ตามลำดั บ
ตั วอยาง 2.4.5 พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี
3x3 − 4
1. x→∞
lim
2x2 + x3

x2 − 4x
2. lim
x→−∞ x + x3 + 1
2.4. ลิมิตเก่ ียวกั บอนั นต 55
ตั วอยาง 2.4.6 พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี
10x + 3
1. lim √
x→−∞ 25x2 − 6


x4 + x2 + x
2. lim
x→∞ 3x2 − 1
56 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ตั วอยาง 2.4.7 พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี
(√ )
1. lim
x→∞
x2 + 2 − x

(√ )
2. lim
x→∞
x2 + 3x + 1 − x + 1
2.4. ลิมิตเก่ ียวกั บอนั นต 57
(√ )
ตั วอยาง 2.4.8 พิจารณาคาของลมิ ิต x→−∞
lim x −x+x
2
58 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ตอไปน้ จะขยายแนวค
ี ดิ มากจากทฤษฎบี ทการบีบ ทำให ไดทฤษฎบี ททีค่ ลายคลงึ กั นเรยี กวา
ทฤษฎบี ทการบีบสำหรั บลมิ ิตทอี ่ นั นต
ทฤษฎบี ท 2.4.9 ทฤษฎบี ทการบีบสำหรั บลมิ ติ ทอี่ นั นต
ให f, g, h เปน ฟงก ชันจาก D ไป R เมือ่ D ⊆ R
1. ถา D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว และ
g(x) ≤ f (x) ≤ h(x) ทกุ ๆ x > N สำหรั บบางคา N > 0
และ x→∞
lim g(x) = L = lim h(x) แลว
x→∞
lim f (x) = L
x→∞

2. ถา D = (−∞, b) เมือ่ b เปน คาคงตั ว และ


g(x) ≤ f (x) ≤ h(x) ทกุ ๆ x < K สำหรั บบางคา K < 0
และ x→−∞
lim g(x) = M = lim h(x) แลว
x→−∞
lim f (x) = M
x→−∞

ตั วอยาง 2.4.10 พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี


1. x→∞
lim
sinx
x2

x2 − 5sinx
2. lim
x→−∞ 7x + 2x2
2.4. ลิมิตเก่ ียวกั บอนั นต 59
โดยทฤษฎบี ท 2.3.9 พิสจู นไดในทำนองเดยี วกั นจะไดวา
ทฤษฎบี ท 2.4.11 ให u เปน ฟงก ชันจาก D ไป R เมือ่ D ⊆ R
1. ถา D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว และ x→∞
lim u(x) = 0 แลว

lim
sinu(x) = 1
x→∞ u(x)

2. ถา D = (−∞, b) เมือ่ b เปน คาคงตั ว และ x→−∞


lim u(x) = 0 แลว

lim
sinu(x) = 1
x→−∞ u(x)

ตั วอยาง 2.4.12 พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี


( )
1
1. lim xsin
x→∞ x

(π )
2. lim xsin
x→−∞ x

( )
1
3. lim xsin
x→−∞ x+1
60 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
บทนยิ าม 2.4.13 ให f : D → R โดยที่ D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว
1. ถา D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว แลว x→∞
lim f (x) = +∞

ก็ตอ เมือ่ ∀M > 0 ∃N > 0 ∀x ∈ D, x > N → f (x) > M

2. ถา D = (−∞, b) เมือ่ b เปน คาคงตั ว แลว x→−∞


lim f (x) = +∞

ก็ตอ เมือ่ ∀M > 0 ∃N < 0 ∀x ∈ D, x < N → f (x) > M

3. ถา D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว แลว x→∞


lim f (x) = −∞

ก็ตอ เมือ่ ∀M < 0 ∃N > 0 ∀x ∈ D, x > N → f (x) < M

4. ถา D = (−∞, b) เมือ่ b เปน คาคงตั ว แลว x→−∞


lim f (x) = −∞

ก็ตอ เมือ่ ∀M < 0 ∃N < 0 ∀x ∈ D, x < N → f (x) < M

จากบทนยิ าม 2.4.13 อาจนำไปใชใ นการตรวจสอบคาคอนขางยาก เราอาจจะใชท ฤษฎบี ท


ตอไปน้ ใี นการตรวจสอบไดเชน กั น (การพิสจู นขอละไวในวชิ าน้ )ี
ทฤษฎบี ท 2.4.14 ให f เปน ฟงก ชัน แลว
1
1. ถา ∃M > 0, f (x) > 0 ทกุ ๆ x > M และ x→∞
lim
f (x)
=0 แลว lim f (x) = ∞
x→∞

1
2. ถา ∃M > 0, f (x) < 0 ทกุ ๆ x > M และ x→∞
lim
f (x)
=0 แลว lim f (x) = −∞
x→∞

1
3. ถา ∃M < 0, f (x) > 0 ทกุ ๆ x < M และ x→−∞
lim
f (x)
=0 แลว lim f (x) = ∞
x→−∞

1
4. ถา ∃M < 0, f (x) < 0 ทกุ ๆ x < M และ x→−∞
lim
f (x)
=0 แลว lim f (x) = −∞
x→−∞

ตั วอยาง 2.4.15 พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี


x2 x3
1. lim
x→∞ 1 + x
3. lim
x→−∞ 1 + x

x2 x2
2. lim
x→∞ 1 − x
4. lim
x→−∞ 1 + x
2.4. ลิมิตเก่ ียวกั บอนั นต 61
ทฤษฎบี ท 2.4.16 ให u เปน ฟงกชันจาก D ไป R
1. ถา D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว และ x→∞
lim u(x) = ∞ แลว

lim
x→∞
arctanu(x) = π2

2. ถา D = (−∞, b) เมือ่ b เปน คาคงตั ว และ x→−∞


lim u(x) = ∞ แลว

π
lim
x→−∞
arctanu(x) =
2

3. ถา D = (a, ∞) เมือ่ a เปน คาคงตั ว และ x→∞


lim u(x) = −∞ แลว

π
lim
x→∞
arctan u(x) = −
2

4. ถา D = (−∞, b) เมือ่ b เปน คาคงตั ว และ x→−∞


lim u(x) = −∞ แลว

lim
x→−∞
arctanu(x) = − π2

ตั วอยาง 2.4.17 พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี


1. lim
x→∞
arctan(1 + x2)

2. lim
x→−∞
arctan(1 − x2)
62 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
บทนยิ าม 2.4.18 ให f : D → R โดยที่ D ⊆ R และ a เปน จดุ ลมิ ิตของ D แลว
lim f (x) = ∞
x→a

ก็ตอ เมือ่ ∀M > 0 ∃δ > 0 ∀x ∈ D, 0 < |x − a| < δ → f (x) > M

บทนยิ าม 2.4.19 ให f : D → R โดยที่ D ⊆ R และ a เปน จดุ ลมิ ิตของ D แลว
lim f (x) = −∞
x→a

ก็ตอ เมือ่ ∀M < 0 ∃δ > 0 ∀x ∈ D, 0 < |x − a| < δ → f (x) < M

ตั วอยาง 2.4.20 กราฟของฟงก ชัน y = f (x) แสดงดั งน้ ี


Y

X
−5 −4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5
−1

−2

−3

−4

จะไดคา ของลมิ ิตดั งตอไปน้ ี


1. lim f (x)
x→∞
3. lim f (x)
x→1+
5. lim
x→−1+
f (x)

2. lim f (x)
x→−∞
4. lim f (x)
x→1−
6. lim
x→−1−
f (x)
2.4. ลิมิตเก่ ียวกั บอนั นต 63
ทฤษฎบี ท 2.4.21 ให f : D → R โดยที่ D ⊆ R และ a เปน จดุ ลมิ ิตของ D แลว
1
1. ถา ∃δ > 0, f (x) > 0 ทกุ ๆ x ∈ (a − δ, a + δ) ∩ D − {a} และ x→a
lim
f (x)
= 0 แลว

lim f (x) = ∞
x→a

1
2. ถา ∃δ > 0, f (x) < 0 ทกุ ๆ x ∈ (a − δ, a + δ) ∩ D − {a} และ x→a
lim
f (x)
= 0 แลว

lim f (x) = −∞
x→a

1
3. ถา ∃δ > 0, f (x) > 0 ทกุ ๆ x ∈ (a, a + δ) ∩ D และ x→a
lim + f (x)
=0 แลว lim f (x) = ∞
x→a+

1
4. ถา ∃δ > 0, f (x) < 0 ทกุ ๆ x ∈ (a, a + δ) ∩ D และ x→a
lim + f (x)
=0 แลว x→a
lim +
f (x) = −∞

1
5. ถา ∃δ > 0, f (x) > 0 ทกุ ๆ x ∈ (a − δ, a) ∩ D และ x→a
lim− f (x)
=0 แลว lim f (x) = ∞
x→a−

1
6. ถา ∃δ > 0, f (x) < 0 ทกุ ๆ x ∈ (a − δ, a) ∩ D และ x→a
lim − f (x)
=0 แลว x→a
lim −
f (x) = −∞

ตั วอยาง 2.4.22 พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี โดยใชท ฤษฎบี ท 2.4.21


x
1. lim
x→1 (x − 1)2

1−x
2. lim +
x→2 x2 − 4
64 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ตั วอยาง 2.4.23 จงหาคาลมิ ิตตอไปน้ ี
( )
1 1
1. lim
x→0
− 2
x x +x

1
1+
2. lim
x→0 1 −
x
1
x

3. lim (coty − cscy)


y→0+
2.4. ลิมิตเก่ ียวกั บอนั นต 65
แบบฝก หั ด 2.4
1. พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี
( ) (√ √ )
1.1 lim
1
√ +3 1.17 lim
x→−∞
3
x3 + x − x3 + 1
3

x→∞ x3x √

x2 + 4 − 2
1.2 lim
9+ 5x
√ 1.18 lim
x→−∞ 2x + 3
x→−∞ 4 + 3 x

(2x + 5)5 (x − 8)7 8 + z2
1.3 lim
x→−∞ (x3 − 2)2 (3x + 1)4
1.19 lim
z→−∞ z + 4
( )
x3 − 3x + 4 1 3
1.4 lim
x→−∞ 7x + x2 − 2x3
1.20 lim
x→∞

x − 2 x2 − 4

x3 + x + 1
1.5 lim
x→∞ 4 + x2 + 3x3 1.21 lim
4x2 + 1
√ x→−∞ x−1

3 − 8x2 9x6 − x
1.6 lim
x(x + 2)
1.22 lim
x→∞ x→−∞ x3 + 1

7x2 − 4 x3 − 2x + 1
1.7 lim
x→∞ 2x4 + x
1.23 lim 2
x→∞ x + 3x − 10
√ √
1.8 lim
x2 + 6 1.24 lim
x→−∞
3
x3 + 2x − 1
x→−∞ 2x − 5

|x2 − 1| x5 + 6x2 − 7x
1.9 lim 1.25 lim
x→−∞ 4x3 − x2 + 1
x→∞ x2 + 1

x3 − |x| x3 − x + 6
1.10 lim 1.26 lim
x→−∞ 3x2 − x
x→−∞ |x3 − 2x2 − x + 2|
(√ ) √
1.11 x6 − x4
lim
x→∞
x2 + 3x − x 1.27 lim 2
x→∞ x + x − 12
(√ )
1.12 lim
x→−∞
x2 + x + 1 + x
1.28 lim √
8 − x2
(√ √ ) x→∞ 2x2 − x + 1
1.13 lim x2 + ax − x2 + bx √
x→∞
( ) 10 + 1 + x2
√ 1.29 lim
1.14 lim
x→−∞
x + x2 + 2x x→∞
(
x
)
( ) 1 1
1.15 lim
1

3 1.30 lim
t→0

t t2 + t
x→∞ x − 2 x2 − 4 ( )
( √ ) 1 1
1.16 lim x x − x2 + 4 1.31 lim √ −
x→∞ t→0 t 1+t t

2. พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี
2.1 lim
x→0+
arctan(ℓnx) 2.5 arctan(ex)
lim
x→∞

2.2 1
x2 + xsinx
lim − e x
x→0
2.6 x→∞
lim
cos3x − 2x2
(1)
2.3 cos sin2x
lim
x→−∞ x
x
2.7 x→∞
lim 2
x +1
( ) [ ] ( )
1 2
2.4 lim x cos
x→−∞ x
−1 2.8 lim xsin
x→∞ x
66 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
( )
2.9 lim xsin 2 2
2.10 x→−∞
lim
cosxsin3x
x→∞ x ℓn(−x)

3. พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี
1 2x − 3
3.1 lim + √ 3.6 lim
− 2x + 1
x→1
3
x−1 x→1 x2

x−3 x2 + x + 4 − 3
3.2 lim − 3
x→2 x − 8
3.7 x→−2
lim −
x2 + x − 2
1
3.3 lim − √ 3.8 lim 2
x+6
x→−3 −x − 3 x→−5 x + 10x + 25
x−5 [x] − x
3.4 lim +
x→4 x − 4
3.9 lim −
x→5 5−x
√ 4
3
x − 2x + x 3 x2 − 2x + 6
3.5 lim
x→−1+ x2 − 8x − 9
3.10 lim 2
x→3 x + 2x − 15

4. พิจารณาคาของลมิ ิตตอไปน้ ี
( )
4.1 lim sin

x
x
4.3 lim x 2
sin 2
x→∞ x→−∞ x2
( )
4.2 lim
sin(x − 1) 4.4 lim (x − π)tan
π
x→∞ 3x − 3 x→−∞ x−π
( )
1 1
5. จงหาคาลมิ ิตของ lim
x→1

1 − x 2 − 3x + x2
2.5. ความต อเน่ื อง 67

2.5 ความตอเนอื่ ง
ในหั วขอน้ จี ะกลาวถงึ ความตอเนอื่ งของฟงก ชันซงึ ่ มีความสำคั ญมากในการศกึ ษาวชิ าแคลคูลัส
จะเรมิ่ ตนจากการพิจารณาลั กษณะของกราฟตอไปน้ ี
Y Y Y
f1 f2 f3
4 4 4

3 3 3

2 2 2

1 1 1

X X X
−3 −2 −1 0 1 2 3 4 5 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5
−1 −1 −1

จากกราฟเห็นไดวา ฟงก ชัน f1 และ f2 ไมมีตอ เนอื่ งที่ x = 1 แต f3 มีความตอเนอื่ งที ่ x = 1
บทนยิ าม 2.5.1 ให f : D → R โดยที ่ D ⊆ R และ a ∈ D แลว f มีตอ เนอื่ งทจี่ ดุ a ก็ตอ เมือ่
lim f (x) มีคา และ lim f (x) = f (a)
x→a x→a

ตั วอยาง 2.5.2 จงตรวจสอบวา f มีความตอเนอื่ งทจี ่ ดุ x = a หรอื ไม



3x2 − 2x + 1 เมือ่ x ̸= 1
1. f (x) =
1 + x
;a=1
เมือ่ x = 1


|x| + 3 เมือ่ x ≤ −1
2. f (x) =
|x| − 1
; a = −1
เมือ่ x > −1


x−2 เมือ่ x ̸= 0
3. f (x) =
1
;a=0
เมือ่ x = 0
68 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
x2 − x − 2
ตั วอยาง 2.5.3 กำหนดให f (x) = x−2
เมือ่ x ̸= 2 ตองนยิ าม f (2) ให มีคา เทาใด เพือ่
ทำให f ตอเนอื่ งที ่ x = 2

ทฤษฎบี ท 2.5.4 ถา f และ g เปน ฟงกชันตอเนอื่ งทจี่ ดุ a และ c เปน คาคงตั ว แลวฟงกชันตอไป
น้ ตี อ เนอื่ งทจี่ ดุ a
1. f +g 3. fg 5. f
เมือ่ g(a) ̸= 0
g
2. f −g 4. cf

บทนยิ าม 2.5.5 ฟงก ชัน f ตอเนอื่ งทางขวา (continuous from the right) ทจี ่ ดุ a ถา
lim f (x) = f (a)
x→a+

และ f ตอเนอื่ งทางซา ย (continuous from the left) ทจี่ ดุ a ถา


lim f (x) = f (a)
x→a−

บทนยิ าม 2.5.6 ให f เปน ฟงกชัน และ I ⊆ Dom(f )


1. กรณที ี่ I = (c, d), (c, ∞), (−∞, d) หรอื (−∞, ∞)
จะกลาววาฟงก ชัน f ตอเนอื่ งบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ I
2. กรณที ี่ I = [c, d]
จะกลาววาฟงก ชัน f ตอเนอื่ งบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (c, d) และ
f ตอเนอ ื่ งทางซา ยทจี่ ดุ d และ f ตอเนอื่ งทางขวาทจี่ ดุ c
3. กรณที ี่ I = [c, d)
จะกลาววาฟงก ชัน f ตอเนอื่ งบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (c, d) และ
f ตอเนอ ื่ งทางขวาทจี ่ ดุ c
4. กรณที ี่ I = (c, d]
จะกลาววาฟงก ชัน f ตอเนอื่ งบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (c, d) และ
f ตอเนอ ื่ งทางซา ยทจี่ ดุ d
2.5. ความต อเน่ื อง 69
5. กรณที ี่ I = (−∞, d]
จะกลาววาฟงก ชัน f ตอเนอื่ งบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (−∞, d) และ
f ตอเนอ ื่ งทางซา ยทจี่ ดุ d
6. กรณที ี่ I = [c, ∞)
จะกลาววาฟงก ชัน f ตอเนอื่ งบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (c, ∞) และ
f ตอเนอ ื่ งทางขวาทจี่ ดุ c

รูปที ่ 2.3: ตั วอยางฟงกชันตอเนอื่ งบนชว ง [c, d]


Y
y = f (x)

X
c d

ข อสังเกต 2.5.7 ถา f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง I และ J แลว f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง
I ∪J

ตั วอยาง 2.5.8 ถา f (x) = 1 − x2 จงตรวจสอบวา f ตอเนอื่ งที่ x = 1 และ x = −1 หรอื
ไม และ f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนโดเมนของ f หรอื ไม
70 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
จากตั วอยาง 2.5.8 จะเห็นวา f ยอมตอเนอื่ งบนโดเมนของตั วมั นเองเสมอ ทำให ไดขอสรุป
ดั ง 2 ทฤษฎบี ทตอไปน้ ี
ทฤษฎบี ท 2.5.9 ฟงก ชันพหุนาม (polynomial function) ตอเนอื่ งบนจำนวนจรงิ
ทฤษฎบี ท 2.5.10 ฟงก ชันตอไปน้ ตี อ เนอื่ งบนโดเมนของฟงก ชันนั้ น
1. ฟงก ชันตรรกยะ (rational function)
2. ฟงก ชันกรณฑ (radical functions)
3. ฟงก ชันเลขช้ กี ำลั ง (exponential functions)
4. ฟงกชันลอการทิ ึม (logarithmic functions)
5. ฟงก ชันตรโี กณมิติ (trigonometric functions)
6. ฟงก ชันตรโี กณมิตผิ กผั น (inverse trigonometric functions)
ตั วอยาง 2.5.11 จงหาชว งทใี่ หญทสี ่ ดุ ทที่ ำให f ตอเนอื่ ง

x+1
1. f (x) =
x−1

( )
x2 − 1
2. f (x) = arcsin
3

ℓnx + arctanx
3. f (x) =
x2 − 1
2.5. ความต อเน่ื อง 71
ตั วอยาง 2.5.12 กำหนดให k เปน จำนวนจรงิ โดยที ่

kx2 + 1 เมือ่ x > 2
f (x) =
3x − 1 เมือ่ x ≤ 2
เปน ฟงกชันตอเนอื่ งบนจำนวนจรงิ จงหา k

ทฤษฎบี ท 2.5.13 ให f , g เปน ฟงก ชัน และ b ∈ Dom(f ) โดยที่ a เปน จดุ ลมิ ิตของ Dom(f ) และ
Dom(g) ถา f ตอเนอื่ งทจี่ ดุ b และ x→a
lim g(x) = b แลว

lim f (g(x)) = f (b)


x→a

หรอื จะกลาวไดอกี อยางคอื


lim f (g(x)) = f ( lim g(x))
x→a x→a

ทฤษฎบี ท 2.5.14 ให g เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งที่ a และ f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งที่ g(a) แลว f ◦ g
เปน ฟงกชันตอเนอื่ งที่ a
( √ )
1− x
ตั วอยาง 2.5.15 จงหาลมิ ิต lim
x→1
arcsin 1−x

ตั วอยาง 2.5.16 ให f เปน ฟงกชันตอเนอื่ งบนจำนวนจรงิ และ f (1) = 1, f (2) = 2 โดยที ่
ℓnf (x) = f (x + 1) + f (x + 2)

จงหา x→0
lim f (x)
72 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
ทฤษฎบี ท 2.5.17 ทฤษฎบี ทคาระหวางกลาง (The Intermediate Value Theorem: IVT)
ให f ตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และให N เปน จำนวนทีอ่ ยูระหวาง f (a) และ f (b) เมือ่ f (a) ̸= f (b)
แลวจะไดวา มี c ∈ (a, b) ซงึ ่ f (c) = N
Y

f (b)

f (a)

X
a c b

บทแทรก 2.5.18 กำหนดให f ตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] ซงึ ่ f (a) และ f (b) มีเครอื่ งหมายตางกั น
แลวจะไดวา มี c ∈ (a, b) ซงึ ่ f (c) = 0
Y

f (b)

X
a c b
f (a)

ตั วอยาง 2.5.19 จงแสดงวา 4x3 − 6x2 + 3x − 2 = 0 มีรากคำตอบในชว ง [0, 3]

ตั วอยาง 2.5.20 จงแสดงวา x5 − x3 − x + 1 = 0 มีรากคำตอบในชว ง [−2, 2]


2.5. ความต อเน่ื อง 73
แบบฝก หั ด 2.5
1. พิจารณาวาฟงก ชันตอไปน้ ตี อ เนอื่ งทจี ่ ดุ x = a หรอื่ ไม
 1
 เมือ่ x ̸= −2
1.1 a = −2; f (x) =  x + 2
1 เมือ่ x = −2

ex เมือ่ x < 0
1.2 a = 0; f (x) =  2
x เมือ่ x ≥ 0

3x + 1 เมือ่ x < −1
1.3 a = 1; f (x) = 
2 − x3 เมือ่ x ≥ −1
 2
x − x

เมือ่ x ̸= 1
1.4 a = 1; f (x) =  x2 − 1
1 เมือ่ x = 1
 2
 2x − 5x − 3

เมือ่ x ̸= 3
1.5 a = 3; f (x) =  x − 3
6 เมือ่ x = 3

 √




x2 + x เมือ่ − 4 ≤ x < −1
2. ฟงกชัน f (x) = |x| + 1 เมือ่ − 1 < x < 1

 1−x 2

 2 เมือ่ 1 < x ≤ 4
2x − 5x + 3
ตอเนอื่ งทจี ่ ดุ x = 1 และ x = −1 หรอื ไม
3. จงขยายโดเมนเพือ่ ทำใหฟงก ชันตอไปน้ ตี อ เนอื่ งบนจำนวนจรงิ
x2 + x − 2
3.1 f (x) =
x−1
x −8
3
3.2 f (x) = 2
x −4
x3 − 2x2 − 4x + 3
3.3 f (x) =
x2 − 2x − 3

4. จงหาคา c ทที่ ำใหฟงก ชัน f ตอเนอื่ งบน (−∞, ∞) เมือ่



cx2 + 2x เมือ่ x < 2
f (x) =
x3 − cx เมือ่ x ≥ 2
5. จงหาคา a และ b ทที่ ำใหฟงกชัน f ตอเนอื่ งบน (−∞, ∞) เมือ่
 2
x − 4

 เมือ่ x < 2

 x−2
f (x) = ax2 − bx + 3


เมือ่ 2 ≤ x < 3


2x − a + b เมือ่ x ≥ 3
74 บทท่ ี 2. ลิมิตและความต อเน่ื อง
6. จงหาชว งทใี่ หญทสี่ ดุ ทที ่ ำให f ตอเนอื่ ง
x √
6.1 f (x) = 2
x + 5x + 6 6.5 f (x) = 1+
1
√ x
6.2 f (x) = x2 + 2x − 1
sinx 6.6 f (x) = arctan(1 + e−x )
2

6.3 f (x) =
x+1 6.7 f (x) = ℓn(1 + cosx)
6.4 f (x) = √
tanx
4 − x2 6.8 f (x) = ℓn(sinx − 21 )

7. จงใชท ฤษฎบี ทคาระหวางกลาง แสดงวามีรากคำตอบในชว งทกี่ ำหนดให


7.1 x4 + x − 3 = 0, [1, 2] 7.3 ex = 3 − 2x, [0, 1]

7.2 3
x = 1 − x, [0, 1] 7.4 sinx = x2 − x, [1, 2]
บทที ่ 3
อนพุ ั นธของฟงกชัน

3.1 อั ตราการเปลยี ่ นแปลงและอนพุ ั นธ


พิจารณาฟงก ชัน การเคลอื่ นทีข่ องวั ตถุชนดิ หนงึ ่ กั บเวลาทีม่ ี สมการเปน s(t) = 2t − 14 t2 เมตร
และเวลา t ในหนวยวนิ าที
s

4
3
2
1
t
0 1 2 3 4 5 6 7 8

เมือ่ สนใจความเร็วเฉลยี ่ ของการเคลอื่ นทขี ่ องวั ตถุน้ สี ามารถหาไดจาก

ความเร็วเฉลยี่ =
ระยะทางทเี่ คลอื่ นทไี่ ด
เวลาทใี ่ ชใ นการเคลอื่ นที ่
หรอื อาจเขียนไดเปน
ความเร็วเฉลยี่ ในชว งเวลา t1 ถงึ t2 = s(t2t) −
−t
s(t1 )
2 1

เชน ความเร็วของการเคลอื่ นทขี ่ องวั ตถุน้ ใี นชว งเวลา 1 วนิ าที ถงึ 3 วนิ าที คอื
− s(1)
ความเร็วเฉลยี่ ในชว งเวลา 1 ถงึ 3 = s(3)3 − 1
ิ าที
= 1 เมตร/วน

เราจะใชแ นวคดิ น้ ใี นการนยิ าม อั ตราการเปลยี ่ นแปลงเฉลยี่ (average rate of change) ของ


ฟงก ชันอนื่ ๆ ดั งนยิ าม
75
76 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
บทนยิ าม 3.1.1 ให y = f (x) เปน ฟงกชัน แลว
∆y f (x2 ) − f (x1 )
=
∆x x2 − x1

เรยี กวาอั ตราการเปลยี่ นแปลงเฉลยี ่ ของ y เทยี บกั บ x บนชว ง [x1, x2]
ตั วอยาง 3.1.2 ให y = f (x) จงหาอั ตราการอั ตราการเปลยี่ นแปลงเฉลยี่ ของ y เทยี บกั บ x บน
ชว งทกี่ ำหนดให

1. f (x) = x3 − x2 + x บนชว ง [−1, 1] 2. f (x) = x2 + 3 บนชว ง [0, 3]

ตอไปเราสนใจ ความเร็ว ณ ตำแหนงตาง ๆ ทเี ่ กดิ ข้ ึนจรงิ ของการเคลอื่ นทเี ่ รยี กวา ความเร็ว
ชัว่ ขณะ ตั วอยางเชน ความเร็ว ขณะ t = 2 ของ s(t) = 2t − 41 t2
s

4
3
2
1
t
2 t

อาจพิจารณาจากความเร็วเฉลยี่ บนชว ง [2, t] เมือ่ t ใกล ๆ 2 นั น่ คอื t − 2 = ∆t → 0 แลว


s(t) − s(2)
ความเร็วขณะ t = 2 คอื t→2
lim
t−2

จะไดวา
s(t) − s(2) 2t − 41 t2 − 3 − 14 (t2 − 8t + 12)
lim = lim = lim
t→2 t−2 t→2 t−2 t→2 t−2
− 4 (t − 2)(t − 6)
1
1
= lim = lim − (t − 6) = 1
t→2 t−2 t→2 4

ดั งนั้ น ความเร็วของการเคลอื่ นทขี่ องวั ตถุน้ ขี ณะ t = 2 เทากั บ 1 เมตร/วนิ าที


เราจะขยายแนวคดิ น้ ไี ปยั งฟงก ชันอนื่ ๆ เรยี กวา อั ตราการเปลยี่ นแปลงขณะใดขณะหนงึ ่
(instantaneous rate of change) ของฟงก ชัน f ดั งนยิ ามตอไปน้ ี
3.1. อั ตราการเปล่ ียนแปลงและอน ุพั นธ 77
บทนยิ าม 3.1.3 ให y = f (x) เปน ฟงก ชัน แลว อั ตราการเปลยี ่ นแปลงขณะใดขณะหนงึ ่ ของ
ฟงก ชัน f ทจี่ ดุ x0 นยิ ามโดย
f (x) − f (x0 )
lim
x→x0 x − x0

ตั วอยาง 3.1.4 อั ตราการเปลยี่ นแปลงขณะใดขณะหนงึ ่ ของฟงก ชัน f (x) = x2 + x ทจี ่ ดุ x = 1

บทนยิ าม 3.1.5 เสน สัมผั ส (tangent line) กั บเสน โคง y = f (x) ทจี่ ดุ P (a, f (a)) ผานจดุ P
จะมีคา ความชันเทากั บ
f (x) − f (a)
m = lim
x→a x−a
ถาลมิ ิตน้ มี ีคา
และสมการเสน สัมผั สคอื y = m(x − a) + f (a)
Y
เสน สัมผั สทจี่ ดุ x = a
y = f (x)
f (a)

X
a

ตั วอยาง 3.1.6 จงหาสมการของเสน สัมผั สกั บเสน โคง y = x2 ทจี่ ดุ P (2, 1)


78 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
จากแนวคดิ อั ตราการเปลยี่ นแปลงขณะใดขณะหนงึ ่ ของฟงก ชัน y = f (x) พิจารณากราฟ
Y
y = f (x)

f (x + ∆x)

∆y

f (x)
∆x
X
x x + ∆x

อั ตราการเปลยี่ นแปลงของของฟงก ชัน y = f (x) กั บการเปลยี ่ นแปลงคาของตั วแปรอสิ ระของ x


ในชว ง x กั บ x + ∆x คอื
∆y f (x + ∆x) − f (x)
=
∆x ∆x
ถา ∆x เขาใกล 0 จะเรยี ก ∆x ∆y
เรยี กวาอนุพันธของฟงก ชัน
dy
โดยไลบ นซิ ไดใชส ั ญลั กษณ dx เรยี กวา สัญกรณไลบ นซิ (Leibniz notation)
และลากรางจ ไดใชส ั ญลั กษณ f ′(x) เรยี กวา สัญกรณลากรางจ (Lagrange notation)
บทนยิ าม 3.1.7 ให f เปน ฟงกชันคาจรงิ และ y = f (x) เรยี ก
∆y f (x + ∆x) − f (x)
lim
∆x→0 ∆x
= lim
∆x→0 ∆x
ถาลมิ ิตมีคา

วาอนุพันธ ของฟงก ชัน (derivative of function) ของ f เทยี่ บกั บ x หรอื กลาววา f มีอนุพันธ
(differentiable) ที ่ x เขียนแทนดวยสัญลั กษณ
dy df
f ′ (x) หรอื y′ หรอื Dx f (x) หรอื dx
หรอื dx
dy
ถา a ∈ Dom(f ) แลวอนุพันธ f ทจี่ ดุ x = a เขียนแทนดวย f ′(a) หรอื dx
นั น่ คอื
x=a

f (a + ∆x) − f (a)
lim
∆x→0 ∆x
ถาลมิ ิตมีคา

ถาให h = ∆x จะไดวา อนุพันธของฟงก ชันของ f เทยี ่ บกั บ x คอื


f (x + h) − f (x)
f ′ (x) = lim
h→0 h

สำหรั บอนุพันธ f ทจี่ ดุ x = a ถาให x = a + ∆x จะได ∆x = x − a ดั งนั้ น


f (x) − f (a)
f ′ (a) = lim
x→a x−a
3.1. อั ตราการเปล่ ียนแปลงและอน ุพั นธ 79
ตั วอยาง 3.1.8 จงหาอนุพันธของฟงก ชัน f (x) =
1
x
ทจี่ ดุ x = 2

ตั วอยาง 3.1.9 จงหาอนุพันธของฟงก ชัน f (x) = x2 + 3x ที ่ x = a

ตั วอยาง 3.1.10 จงตราจสอบวาฟงก ชัน



x2 + 1 เมือ่ x < 1
f (x) =
2x เมือ่ x ≥ 1
มีอนุพันธทจี ่ ดุ x = 1 หรอื ไม
80 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
บทนยิ าม 3.1.11 ฟงก ชัน f หาอนุพันธ ไดทางขวา (differentiable from the right) ทีจ่ ดุ a
ถา
f (x) − f (a)
f ′ (a+ ) = lim
x→a x−a
+
หาลมิ ิตได

และ f หาอนุพันธ ไดทางซา ย (differentiable from the left) ทจี่ ดุ a ถา


f (x) − f (a)
f ′ (a− ) = lim −
x→a x−a
หาลมิ ิตได

การหาอนุพันธไดทางขวาและหาอนุพันธไดทางซา ยจะสัมพั นธกับการหาอนุพันธไดซงึ ่ พิสจู น


ไดโดยงายจากบทนยิ าม 3.1.11 และอาศัยสมบั ตขิ องลมิ ิต จะไดผลตามทฤษฎบี ทตอไปน้ ี
ทฤษฎบี ท 3.1.12 ฟงก ชัน f หาอนุพันธไดทจี่ ดุ a ก็ตอ เมือ่
f หาอนุพันธไดทางขวาและหาอนุพันธไดทางซา ย ทจี่ ดุ a และ f ′(a+) = f ′(a−) = f ′(a)
ตั วอยาง 3.1.13 จงหาอนุพันธทางขวา อนุพันธทางซา ย และอนุพันธทจี ่ ดุ x = 0 ของฟงก ชัน f
1. f (x) = |x|

2. f (x) = x|x|


ตั วอยาง 3.1.14 จงตรวจสอบวา f (x) = x หาอนุพันธไดทางขวาทจี ่ ดุ 0 หรอื ไม
3.1. อั ตราการเปล่ ียนแปลงและอน ุพั นธ 81
ทฤษฎบี ท 3.1.15 ถา f หาอนุพันธไดทจี ่ ดุ a แลว f จะตอเนอื่ งทจี่ ดุ a
ตั วอยาง 3.1.16 จงยกตั วอยางคานบทกลั บของทฤษฎบี ท 3.1.15

ตั วอยาง 3.1.17 กราฟของฟงกชัน y = f (x) บนชว ง [−6, 6] ดั งกราฟ


Y

X
−6 −5 −4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5 6
−1

−2

โดยการคำนวนความชันของกราฟเสน ตรงในแตละชว ง จะไดคา ตาง ๆ ของอนุพันธของ f บาง


จดุ สรุปดั งตารางตอไปน้ ี

จดุ คาอนุพันธทางขวา คาอนุพันธทางซา ย คาอนุพันธ


x = −6
x = −5
x = −3
x = −1
x=0
x=3
x=4
x=5
x=6
82 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
บทนยิ าม 3.1.18 ให f เปน ฟงกชัน และ I ⊆ Dom(f )
1. กรณที ี่ I = (c, d), (c, ∞), (−∞, d) หรอื (−∞, ∞)
จะกลาววาฟงก ชัน f หาอนุพันธ ไดบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ I
2. กรณที ี่ I = [c, d]
จะกลาววาฟงก ชัน f หาอนุพันธ ไดบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (c, d) และ
f หาอนุพันธไดทางซา ยทจี่ ดุ d และ f หาอนุพันธไดทางขวาทจี่ ดุ c
3. กรณที ี่ I = [c, d)
จะกลาววาฟงก ชัน f หาอนุพันธ ไดบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (c, d) และ
f หาอนุพันธไดทางขวาทจ ี ่ ดุ c
4. กรณที ี่ I = (c, d]
จะกลาววาฟงก ชัน f หาอนุพันธ ไดบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (c, d) และ
f หาอนุพันธไดทางซา ยทจี่ ดุ d
5. กรณที ี่ I = (−∞, d]
จะกลาววาฟงก ชัน f หาอนุพันธ ไดบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (−∞, d) และ
f หาอนุพันธไดทางซา ยทจี่ ดุ d
6. กรณที ี่ I = [c, ∞)
จะกลาววาฟงก ชัน f หาอนุพันธ ไดบนชว ง I ถา f ตอเนอื่ งทกุ จดุ a ∈ (c, ∞) และ
f หาอนุพันธไดทางขวาทจ ี ่ ดุ c
ข อสังเกต 3.1.19 ถา f เปน ฟงกชัน ที ่หาอนุพันธ ได บนชว ง I และ J แลว f เปน ฟงกชัน ที่หา
อนุพันธไดบนชว ง I ∪ J

ตั วอยาง 3.1.20 จงตรวจสอบวา f (x) = x หาอนุพันธไดบนโดเมนของ f หรอื ไม
3.1. อั ตราการเปล่ ียนแปลงและอน ุพั นธ 83
ตั วอยาง 3.1.21 จงตรวจสอบวา

x2 + 1 เมือ่ x > 0
f (x) =
2x + 1 เมือ่ x ≤ 0
หาอนุพันธไดบน (−∞, ∞) หรอื ไม
84 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
แบบฝก หั ด 3.1
1. ให y = f (x) จงหาอั ตราการอั ตราการเปลยี ่ นแปลงเฉลยี ่ ของ y เทยี บกั บ x บนชว งที่
กำหนดให
1.1 f (x) = 3x − x2 บนชว ง [−2, 2] 1.3 f (x) = x|x| บนชว ง [−3, 1]

1.2 f (x) = cosx บนชว ง [0, π] 1.4 f (x) = 2x2 − 1 บนชว ง [1, 5]
2. จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี
√ √
2.1 f (x) = x 2.2 f (x) = 1 − 3x2 2.3 f (x) = 3
x 2.4 f (x) =
x+3
2

3. จงตราจสอบวาฟงก ชันตอไปน้ มี ีอนุพันธทจี่ ดุ x = a หรอื ไม



x2 − 1 เมือ่ x > 0
3.1 f (x) =
2x − 1
;a=0
เมือ่ x ≤ 0

x3 เมือ่ x ̸= 1
3.2 f (x) =
1
;a=1
เมือ่ x = 1
3.3 f (x) = x|x3 | ;a=0
3.4 f (x) = [x] ; a = −1
4. จงตราจสอบวาฟงก ชันตอไปน้ มี ีอนุพันธทจี่ ดุ x = 0 หรอื ไม
 
xsin 1 เมือ่ x ̸= 0 x2 sin 1 เมือ่ x ̸= 0
4.1 f (x) =
0
x
4.2 f (x) =
0
x

เมือ่ x = 0 เมือ่ x = 0
5. พิจารณาอนุพันธของ f ทจี่ ดุ x = 1 และรางกราฟของ f เมือ่ กำหนดให

x2 + 1 เมือ่ x < 1
f (x) =
x + 1 เมือ่ x ≥ 1

x2 เมือ่ x ≤ 1
6. ให a และ b เปน คาคงตั ว ถาฟงก ชัน f (x) =
x3 − ax + b เมือ่ x > 1
หาอนุพันธไดบนจำนวนจรงิ จงหาคาของ a และ b
7. จงหาสมการเสน สัมผั สเสน โคงของฟงก ชัน y = f (x) ทจี่ ดุ x = a
7.1 f (x) = x3 ;a=2 7.3 f (x) = 1 + x2 ; a = −1

7.2 f (x) = sinx ;a=π 7.4 f (x) = x + 1 ;a=3
3.2. กฎของอน ุพั นธ 85

3.2 กฎของอนพุ ั นธ


ทฤษฎบี ท 3.2.1 อนุพันธ ของฟงก ชันคงตั ว (Derivative of a constant function)
d
dx
(c) = 0 เมือ่ c เปน คาคงที่

ทฤษฎบี ท 3.2.2 อนุพันธ ของฟงก ชันเอกลั กษณ (Derivative of the identity function)
d
(x) = 1
dx

ทฤษฎบี ท 3.2.3 อนุพันธ ของฟงก ชันกำลั ง (Derivative of a power function)


d n
dx
(x ) = nxn−1 เมือ่ n เปน จำนวนนั บ

บทแทรก 3.2.4 ให n เปน จำนวนตรรกยะ และ xn เปน จำนวนจรงิ


d n
(x ) = nxn−1
dx
86 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
ทฤษฎบี ท 3.2.5 กฎการคณ
ู ดวยคาคงตั ว (The constant multiplication rule)
d d
[cf (x)] = c f (x)
dx dx

เมือ่ f เปน ฟงกชันทหี่ าอนุพันธได และ c เปน คาคงที่

ทฤษฎบี ท 3.2.6 กฎการบวก (The sum rule)


d d d
[f (x) + g(x)] = f (x) + g(x)
dx dx dx

เมือ่ f และ g เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธได

บทแทรก 3.2.7 กฎผลตาง (The different rule)


d d d
[f (x) − g(x)] = f (x) − g(x)
dx dx dx

เมือ่ f และ g เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธได


ตั วอยาง 3.2.8 จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี
1. f (x) = x3 + 3x2 − x + 4


2. y =2 x−x+π
3.2. กฎของอน ุพั นธ 87
1 1 1
3. f (x) = + 2+ 3
x x x

1 √ √
4. y = √ − 3x+ 2
x

5. s(t) = (t − 2)(t + 2)

ตั วอยาง 3.2.9 จงหาอนุพันธของฟงก ชัน



x3 + x2 + 1 เมือ่ x < 0
f (x) =
x2 + 1 เมือ่ x ≥ 0
88 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
ทฤษฎบี ท 3.2.10 กฎการคณ ู (The product rule)
ถา f และ g เปน ฟงก ชันทหี ่ าอนุพันธได แลว
d d d
[f (x)g(x)] = f (x) g(x) + g(x) f (x)
dx dx dx

ตั วอยาง 3.2.11 จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี



1. f (x) = (x + 1)(x2 − 1) 2. y = ( x − 1)(x3 + 1)

บทแทรก 3.2.12 ถา f, g และ h เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธได แลว


[f gh]′ (x) = [f ′ gh + f g ′ h + f gh′ ](x)

ตั วอยาง 3.2.13 ให f (x) = (x − 1)(x − 2)(x − 3) จงหา f ′(0)


3.2. กฎของอน ุพั นธ 89
ทฤษฎบี ท 3.2.14 กฎการหาร (The quoteint rule)
ถา f และ g เปน ฟงก ชันทหี ่ าอนุพันธได แลว
[ ]
d f (x) d
g(x) dx f (x) − f (x) dx
d
g(x)
dx g(x)
=
[g(x)]2
เมือ่ g(x) ̸= 0

ตั วอยาง 3.2.15 จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี


x+1 1
1. f (x) =
x−1
2. y=
x2 +1


x
ตั วอยาง 3.2.16 จงหาสมการเสน สัมผั สเสน โคง y=
x+1
ทจี่ ดุ (1, 12 )

x
ตั วอยาง 3.2.17 จงหาจดุ บนเสน โคง y=
x2 +1
ทมี่ ีเสน สัมผั สขนานกั บแกน X
90 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
แบบฝก หั ด 3.2
1. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปน้ ี
1.1 f (x) = x10 + x7 − x 1.8 f (x) =
1 1
− √ +3
√ √ x3 x
1.2 f (x) = x + 2 3 x
1
1.3 f (x) = x−2 − x−1 − 1 1.9 f (x) = 3
x +x−1
1.4 f (x) = (x3 − 1)(2 − x − x2 )
1.10 f (x) =
x2 − 5x
1.5 f (x) = x5 + 2x + π 2 2x − 1
2
x−1 x +x
1.6 f (x) = 2 1.11 y=√
x+1
x√ +1
x (x2 − 1)(x3 + x)
1.7 f (x) = √
x+1
1.12 y=
x2 + 1

2. ให f (x) = (x − 1)(x − 2)(x − 3)(x − 4) จงหา f ′(0)


− 1)(x + 3)
3. ให f (x) = (x
(x − 2)(x + 1)
จงหา f ′(0)

4. จงหาจดุ บนเสน โคง y = x4 − 6x2 + 4 ทมี ่ ีเสน สัมผั สขนานกั บแกน X


5. ถา f, g, h และ k เปน ฟงก ชันทหี ่ าอนุพันธได จงแสดงวา
[f ghk]′ (x) = [f ′ ghk + f g ′ hk + f gh′ k + f ghk ′ ](x)

6. จงหาอนุพันธของ f ทกุ ๆ จดุ ทมี ่ ีอนุพันธ


 
x3 + 3 เมือ่ x < 1 x3 + 1 เมือ่ x < 1
6.1 f (x) =
3x + 1
6.2 f (x) =
3x + 1
เมือ่ x ≥ 1 เมือ่ x ≥ 1
7. พิจารณาวาฟงก ชัน g หาอนุพันธไดทจี ่ ดุ ใดบาง พรอมทั้ งรางกราฟ g และ g′


 เมือ่ x ≤ 0


2x
g(x) =

2x − x2 เมือ่ 0 < x < 2


2 − x เมือ่ x ≥ 2

8. กำหนดให 
x2 เมือ่ x ≤ 2
f (x) =
mx + b เมือ่ x > 2
จงหาคาของ m และ b ถา f เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธไดบนจำนวนจรงิ
3.3. กฎลูกโซ 91

3.3 กฎลูกโซ 
ฟงก ชันประกอบของ f และ g คอื f ◦ g โดยที่ f ◦ g(x) = f (g(x)) ในหั วขอน้ จี ะศกึ ษาวาถา
f แลว g หาอนุพันธได แลว f ◦ g หาอนุพันธไดดวยและ

(f ◦ g)′ (x) = f ′ (g(x)) · g ′ (x)

เรยี กวา กฎลูกโซ  (Chain rule) ซงึ ่ ถูกคนพบโดยนั กคณติ ศาสตรเลอื่ งชอื่ ชาวสก็อตแลนด นาม
วา เจมส เกร็กกอรี (James Gregory, 1638-1675) ในวชิ าน้ จี ะไมกลาวถงึ การพิสจู นแตจะนำไป
ประยุกตใชใ นการหาอนุพันธของฟงก ชันทมี่ ีความซับซอ นมากยิง่ ข้ ึน
ตั วอยาง 3.3.1 กำหนดให f (x3 + 1) = x3 + x − 1 จงหา f ′(2)

ตั วอยาง 3.3.2 กำหนดให f (h(x) + x) = 2x2 − x + 1 เมือ่ h(0) = h′(0) = 1 จงหา f ′(1)
92 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน

ตั วอยาง 3.3.3 จงหาอนุพันธของ F (x) = x2 + 1

ตั วอยาง 3.3.4 กำหนดให f (x) = x|x| และ g(x) = x2 + x − 1 จงหา (f ◦ g)′(−1)


3.3. กฎลูกโซ 93
จากกฎลูกโซเ มือ่ กำหนด y = f (u) และ u = g(x) แลว
dy dy du
= ·
dx du dx
dy
ตั วอยาง 3.3.5 กำหนดให y = u2 + 3u − 1 และ u = x2 − x จงหา dx ขณะ x = 1

ตั วอยาง 3.3.6 กำหนดให y = u + u1 , u = x2 + 1 และ x = 2t + 1 จงหา dy


dt
94 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
ทฤษฎบี ท 3.3.7 กฎทั ว่ ไปของอนุพันธ สำหรั บฟงก ชันกำลั ง
ให n เปน จำนวนตรรกยะ และ g เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธได แลว
d
[g(x)]n = n[g(x)]n−1 · g ′ (x)
dx

ตั วอยาง 3.3.8 จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปน้ ี


1. f (x) = (x3 − 1)100

1
2. h(x) = √
3
x2 +x+1

( )9
t−2
3. g(t) =
2t + 1

4. k(x) = (1 − x)5 (x3 + 2)4


3.3. กฎลูกโซ 95
ตอไปจะกลาวถงึ ความสัมพั นธระหวางอนุพันธของฟงกชันและอนุพันธของฟงกชันผกผั นดั ง
ทฤษฎบี ทตอไปน้ ี ซงึ จะไมพิสจู น แตจะยกตั วอยางการนำไปใชใ นการการอนุพันธโดยทฤษฎบี ท
ดั งกลาว
ทฤษฎบี ท 3.3.9 ทฤษฎบี ทฟงก ชันผกผั น (Inverse function theorem)
ให y = f (x) เปน ฟงก ชันทีผ่ กผั นได และหาอนุพันธไดโดยทีค่ า ไมเปน ศูนย ที่ x แลว f −1(y) = x
จะไดวา
dy dx dx 1
·
dx dy
=1 หร ื
อ dy
= dy
dx

dx
ตั วอยาง 3.3.10 ให y = x3 + 1 จงหา dy
ในรูป y

ตั วอยาง 3.3.11 ให f (x) = x3 + 1 จงหาอนุพันธของฟงก ชันผกผั นของ f โดยใชท ฤษฎบี ท


ฟงก ชันผกผั น
96 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
แบบฝก หั ด 3.3
dy
1. จงหา dx เมือ่

1.1 y = u3 − 2u และ u = √x 1.3 y= u2 + 3 และ u = x − 2x2
u+1 1
1.2 y = (u + 1)2 และ u = x + x1 1.4 y=
u−1
และ u=
2x

2. จงหา dy
dt
เมือ่
√ √
2.1 y = u−u2, u = x−x3 และ x = t+1 2.2 y = 5 + 3u−2 , u = x และ x = t2
3. จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี

3.1 f (x) = (x2 + 1) x2 − 1 3.7 f (x) = (1 + x4 ) 3
2

3.2 F (x) = (x4 + 3x2 − 2)5 3.8 g(t) = 4


1
(t + 1)3
3.3 F (x) = (4x − x2)99

3.4 F (x) = x3 + 2x + 1
4 3.9 f (x) = (2x − 3)4 (x2 + x)3

3.5 f (x) = (x + x)5 3.10 4
g(x) = (x + 1) 3 (x2 + 1)4

3.6 f (x) = √ 3x
2
3
x −x
3.11 f (s) = ss2 ++3
1

4. จงหาสมการของเสน สัมผั สเสน โคง (bullet-nose) y = √ |x| 2 ทจี่ ดุ (1, 1)


2−x

5. ให F (x) = f ◦ g(x) เมือ่ f (−2) = 8, f ′(−2) = 4, f ′(5) = 3, g(5) = −2 และ g′(5) = 6
จงหา F ′(5)

6. ถา h(x) = 4 + 3f (x) เมือ่ f (1) = 7 และ f ′(1) = 4 จงหา h′(1)
7. ให r(x) = f (g(h(x))) เมือ่ h(1) = 2, g(2) = 3, h′(1) = 4, g′(2) = 5 และ f ′(3) = 6
จงหา r′(1)
8. ให F (x) = f (3f (4f (x))) เมือ่ f (0) = 0 และ f ′(0) = 2 จงหา F ′(0)
9. ให F = f (xf (xf (x))) เมือ่ f (1) = 2, f (2) = 3, f ′(1) = 4, f ′(2) = 5 และ f ′(3) = 6
จงหา F ′(1)
( )
√ 1 dy
10. ให y=f x− √
x
เมือ่ f ′(0) = 2 จงหา dx ที ่ x = 1

11. ให y = f (1 + √u), u = 2 − x2 เมือ่ f ′(2) = −3 จงหา dx


dy
ที ่ x = 1
( )

12. ให y = w 3 − u , u = 7 − 3x, x = 1 + t2 เมือ่ w′(2) = 2 จงหา dy
3+u
dt
ที ่ t = 1

f (1 + x)
13. ให y = g(1 − √x) , x = 3 + t2 เมือ่ f (3) = 2, g(−1) = 4, f ′(3) = −2, g′(−1) = −1
จงหา dydt
ที ่ t = 1
3.4. อน ุพั นธอันดั บส ูง 97

3.4 อนพุ ั นธอันดั บสูง


บทนยิ าม 3.4.1 อนุพันธ อันดั บสูง (Higher order derivatives)
ให y = f (x) เปน ฟงก ชันทีห่ าอนุพันธได และ f ′ เปน ฟงก ชันทีห่ าอนุพันธได แลว f ′′ จะเรยี กวา
อนุพันธอันดั บสอง (second derivative) ของ f นยิ ามโดย
( )
dy 2 d dy
′′
f (x) = (f (x))′ ′
หรอื dx 2
=
dx dx

ให n ∈ N และ f (0) = f อนุพันธอันดั บ n ของ f เขียนแทนดวย f (n) นยิ ามโดย


( )
(n) (n) dn y d dn−1 y
y =f (x) = n =
dx dx dxn−1

ตั วอยาง 3.4.2 กำหนดให f (x) = x3 − 8x2 + 9x + 3 จงหา f ′′(x) และ f ′′(2)

ตั วอยาง 3.4.3 ให f (x) = x8 + 12x5 − 4x4 + 8x3 − 5x + 5 จงหา f ′′′(x)

ตั วอยาง 3.4.4 สมการการเคลอื่ นทขี ่ องวั ตถุชนิ้ หนงึ ่ s = 2t3 − 5t2 + 3t + 4 เมือ่ s มีหนวยเปน
เซนตเิ มตร และ t มีหนวยเปน วนิ าที จงหาสมการความเรง และความเรงทขี ่ ณะ 2 วนิ าที
98 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
ตั วอยาง 3.4.5 ให n ∈ N จงหาอนุพันธของ n ของฟงกชัน f (x) = xn

ตั วอยาง 3.4.6 ให n ∈ N จงหาอนุพันธของ n ของฟงก ชัน f (x) =


1
1−x

1
ตั วอยาง 3.4.7 ให f (x) =
x+1
จงหา f (2561) (0)
3.4. อน ุพั นธอันดั บส ูง 99

แบบฝก หั ด 3.4
1. จงหาอนุพันธอันดั บสองและอั นดั บสาม ของฟงกชันตอไปน้ ี
1.1 f (x) = x5 + 6x3 + x2 + 3 1.5 f (x) =
1
x+1
1.2 f (x) = x10 + x7 − x 1
√ √ 1.6 f (x) = √
x−1
1.3 f (x) = x + 3 x
1
1.4 f (x) = (x − 1)(x + 1) 1.7 f (x) = 2
x +1

2. ให n ∈ N จงหาอนุพันธของ n ของฟงก ชันตอไปน้ ี


2.1 f (x) = x−n 2.4 f (x) = √
1
x

2.2 f (x) = x 2.5 f (x) =
1
x+2
1 1
2.3 f (x) = 2.6 f (x) =
1 − 2x
x

3. สมการการเคลอื่ นทีข่ องวั ตถุชนิ้ หนงึ ่ s = t3 + 2t2 − t + 4 เมือ่ s มีหนวยเปน เซนตเิ มตร
และ t มีหนวยเปน วนิ าที จงหาสมการความเรง และความเรงทขี่ ณะ 1 วนิ าที
1
4. ให f (x) =
x
จงหา f (2018) (1)
100 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน

3.5 อนพุ ั นธของฟงกชันเลขช้ กำลั


ี ง
ในหั วขอน้ จี ะกลาวถงึ การหาอนุพันธของฟงก ชันเลขช้ กี ำลั งโดยเรมิ่ ตนจาก f (x) = ex เมือ่ e
คอื คาคงตั วออยเลอร เรยี กฟงก ชันผกผั นของ f วาฟงก ชันลอการทิ มึ ่ ธรรมชาติ นั น่ คอื f −1(x) =
ℓnx จะเห็ นวา ℓn1 = 0, ℓne = 1 และ eℓnx = x
พิจารณาอนุพันธของ f (x) = ex จะได
f (x + h) − f (x) ex+h − ex
f ′ (x) = lim = lim
h→0 h h→0 h
e (e − 1)
x h
e −1
h
= lim = ex lim = ex f ′ (0)
h→0 h h→0 h
x
−1
เมือ่ พิจารณากราฟของฟงกชัน y = e x
x
−1
รูปที่ 3.1: กราฟของฟงก ชัน y = e x
Y
ex − 1
y=
3 x

X
−5 −4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5

x
−1
เมือ่ x ใกล ๆ 0 คาของ e x
จะเขาใกล 1 เราจงึ กำหนดให f ′(0) = 1 ดั งนั้ น f ′(x) = ex
สรุปไดวา
d x
e = ex
dx
d u(x)
ทฤษฎบี ท 3.5.1 ให u = u(x) จะไดวา dx
e = eu(x) · u′ (x)

ทฤษฎบี ท 3.5.2 ให a > 0 และ a ̸= 1 ถา ax = exℓna จะไดวา


d x
a = ax ℓna
dx

d u(x)
ทฤษฎบี ท 3.5.3 ให a > 0 และ a ̸= 1 และ u = u(x) จะไดวา dx
a = au(x) ℓna · u′ (x)
3.5. อน ุพั นธของฟงก ชันเลขช้ กำลั
ี ง 101
ตั วอยาง 3.5.4 จงหาอนุพันธของ
1. f (x) = ex + e−x

2. 2
f (x) = 3x + ex
2 +2x

3. f (x) = (ex + x)(e2x + 1)

ex + e−x
4. f (x) =
ex − e−x
102 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
พิจารณาฟงกชัน y = ex เมือ่ x > 0 จะไดวา โดยทฤษฎบี ทฟงกชันผกผั นจะไดวา
dx 1 1
= x =
dy e y

ดั งนั้ น
d 1
ℓnx =
dx x
กรณี x < 0 ในทำนองเดยี วกั นจะไดผลเชน เดยี วกั น สรุปไดวา
d 1
ℓn|x| =
dx x
d 1
ทฤษฎบี ท 3.5.5 ให u = u(x) จะไดวา dx
ℓn|u(x)| =
u(x)
· u′ (x)

ตั วอยาง 3.5.6 จงหาอนุพันธของ


1. f (x) = ℓn(x2 + 1)

2. f (x) = ℓn(1 − e−x )

3. f (x) = ℓn(x + 1)(x + 2)(x + 3)

( )
ex + 1
4. f (x) = ℓn
ex − 1
3.5. อน ุพั นธของฟงก ชันเลขช้ กำลั
ี ง 103
ทฤษฎบี ท 3.5.7 ให a > 0 และ a ̸= 1 และ u = u(x) ถา ℓogax = ℓℓnnxa จะไดวา
d 1 d 1
1. dx
ℓoga |x| =
xℓna
2. dx
ℓoga u(x) =
u(x)ℓna
· u′ (x)

ตั วอยาง 3.5.8 จงหาอนุพันธของ


1. f (x) = ℓog2 (x3 + x) 2. f (x) = ℓog3 (x2 + 2)(1 − x)

ตั วอยางตอไปน้ จี ะใชส มบั ติของลอการทิ มึ ่ มาชว ยจั ดรูปของฟงกชันทีอ่ ยูในรูปผลคูณและผล


หารหลาย ๆ พจน กอนหาอนุพันธ
dy
ตั วอยาง 3.5.9 จงหา dx
1. y = (x3 + 1)5 (x − 1)7 (x2 − 4)9
104 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
(x + 1)9 (x2 − 4)4
2. y= √
(1 − 2x) x2 − 1

√ √
x4 7x + 1
3. y=
5

(2x3 − 5)9
3.5. อน ุพั นธของฟงก ชันเลขช้ กำลั
ี ง 105
สุดทายจะเปน ตั วอยางตอไปน้ จี ะใชส มบั ตขิ องลอการทิ มึ ่ มาชว ยจั ดรูปของฟงก ชันในรูป [u(x)]v(x)
เพือ่ หาอนุพันธของฟงก ชันเหลานั้ น
ตั วอยาง 3.5.10 จงหาอนุพันธของ
d x
1. dx
(x )

d 1
2. dx
(x x )
106 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
แบบฝก หั ด 3.5
1. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปน้ ี
1.1 y = xe + ex 1.5 y = ℓog2 (x2 + ℓnx)
1.2 y = 21−x + 3ℓnx − e3x 1.6 y = ℓog3 (2x + 3x )

1.3 y = 21−x + 3ℓnx − e3x 1.7 y = (1 + 2)x
1.4 y = (1 + π)x+π 1.8 y = (1 + e)1+e
x

2. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปน้ ี
2.1 y = xx
2
2.3 y = (1 + ex )x
2.2 y = x2
x
2.4 y = (ℓnx)x

3. จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี
3.1 y = x2 ℓn2 (3x + 1)

3.2 y = x e + ex
3.3 y = (x + 1)9 (x + 2)8 (x + 3)7 (x + 4)6

3.4 y = (x2 + 1)9 ℓn2 (4x + 1) (x + 1)11

(x2 + 1)ℓn|x3 + x|
3.5 y=
(2x − 3)3
√ √
3 5x − 6
4 x
3.6 y=
(2x2 − 1)5
3.6. อน ุพั นธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 107

3.6 อนพุ ั นธของฟงกชันตรโี กณมติ ิ


การศกึ ษาอนุพันธของฟงก ชันตรโี กณมิตทิ ั้ ง 6 ฟงก ชันคอื ไซน โคไซน แทนเจนต โคแทนเจนต
เซแคนต และโคเซแคนต เรมิ่ ตนจากฟงก ชันไซน โดยอาศัยทฤษฎบี ท 2.3.9 จะไดทฤษฎบี ทตอ
ไปน้ ี
ทฤษฎบี ท 3.6.1 ให u = u(x) จะไดวา
d d
1. dx
sinx = cosx 2. dx
sinu(x) = cosu(x) · u′(x)

โดยทฤษฎบี ท 3.6.1 จะสามารถพิสจู น อนุพันธ ของฟงก ชัน ตรี โดกณมิติ ได ครบทกุ ฟงก ชัน
และขยายไปยั งกรณี u(x) โดยใชก ฎลูกโซใ นทำนองเดยี วกั น
ทฤษฎบี ท 3.6.2 ให u = u(x) จะไดวา
d d
1. dx
cosx = −sinx 6. dx
cosu(x) = −sinu(x) · u′(x)
d d
2. dx
tanx = sec2x 7. dx
tanu(x) = sec2u(x) · u′(x)
d d
3. dx
secx = secxtanx 8. dx
secu(x) = secu(x)tanu(x) · u′(x)
d d
4. dx
cotx = −csc2x 9. dx
cotu(x) = −csc2u(x) · u′(x)
d d
5. dx
cscx = −cscxcotx 10. dx
cscu(x) = −cscu(x)cotu(x) · u′ (x)
108 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
ตั วอยาง 3.6.3 จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี

1. f (x) = sin( x)

2. f (x) = sin2xcos5x

3. f (x) = tan(ℓnx) + ℓn(tanx)

ตั วอยาง 3.6.4 จงหาอนุพันธตอ ไปน้ ี


d ( secx )
1. dx
e + sec2 x

d
2. dx
cot 2 2
(x )
3.6. อน ุพั นธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 109
d 1
3. √
dx csc2 x − 1

ตั วอยาง 3.6.5 จงหาอนุพันธของฟงก ชัน y = sinxsin2 2xsin3 3x


110 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
ตั วอยาง 3.6.6 จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี
1. y = (sinx)x

2. y = (tanx)cosx

ตั วอยาง 3.6.7 จงหาสมการเสน สัมผั สเสน โคง y = xcos(πx2) ทจี่ ดุ (1, −1)
3.6. อน ุพั นธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 111
เมือ่ เราทราบอนุพันธ ของฟงกชัน ตรโี กณมิติ ตอ มาจะศกึ ษาอนุพันธ ของฟงกชัน ตรโี กณมิติ
ผกผั นทั้ ง 6 ฟงก ชัน คอื อารกไซน อารกโคไซน อารกแทนเจนต อารกโคแทนเจนต อารกเซแคนต
และอารกโคเซแคนต โดยอนุพันธของฟงก ชันตรโี กณมิตผิ กผั นเหลานั้ นพิสจู นไดโดยอาศัยทฤษฎบี ท
ฟงกชันผกผั น
ทฤษฎบี ท 3.6.8 ให u = u(x) จะไดวา
d 1 d 1
1. arcsinx= √ 3. arcsinu(x) = √ u′ (x)
dx 1 − x2 dx 1 − [u(x)]2

d 1
2. d
arccosx = −√
1 4. arccosu(x) = − √ u′ (x)
dx 1 − x2 dx 1 − [u(x)]2
112 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
ทฤษฎบี ท 3.6.9 ให u = u(x) จะไดวา
d 1 d 1
1. dx
arctan x=
1 + x2
3. dx
arctan u(x) =
1 + [u(x)]2
u′ (x)

d 1
2. d
arccotx=−
1
4. dx
arccotu(x) = −
1 + [u(x)]2
u′ (x)
dx 1 + x2

ทฤษฎบี ท 3.6.10 ให u = u(x) จะไดวา


d 1 d 1
1. arcsecx= √ 3. arcsecu(x) = √ u′ (x)
dx |x| x2 − 1 dx |u(x)| [u(x)]2 − 1

d 1 d 1
2. arccsc x=− √ 4. arccscu(x) = − √ u′ (x)
dx |x| x2 − 1 dx |u(x)| [u(x)] − 1
2
3.6. อน ุพั นธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 113
ตั วอยาง 3.6.11 จงหาอนุพันธตอ ไปน้ ี
d
1. dx
(arcsinxarccosx)

d ( arctanx )
2. dx
e

d (√ )
3. dx
arccsc x

(
4. d arctanx + 1 )
dx arccotx + 1
114 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
ตั วอยาง 3.6.12 จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี
1. f (x) = arcsinx2 + arcsin2 x

2. f (x) = ℓn(arcsec(ex ))

3. f (x) = xarctan(ℓnx)

4. f (x) = √
arctanx
arctanx2
3.6. อน ุพั นธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 115
ตั วอยาง 3.6.13 จงหาอนุพันธของฟงกชัน y = xarcsinx

ตั วอยาง 3.6.14 จงหาความชันของเสน สัมผั สเสน โคง y = ℓn(arctanx) ทจี่ ดุ x = 1


116 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
แบบฝก หั ด 3.6
1. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปน้ ี
1.1 f (x) = cotxsec2x 1.15 f (x) = ex (cosx + sinx)
1.2 f (x) = sin2x + xcosx 1.16 f (x) = x2 [cos(ℓnx) + sin(ℓnx)]
1.3 f (x) = extanex 1.17 f (x) = arcsin(x2 + 1)

1.4 f (x) = e−cotx 2
1.18 f (x) = x − arccosx2

1.5 f (x) = e−x + cosx 2
1.19 f (x) = x3 arcsin(ex + x)

1.6 f (x) = 2secxcot(xex) 1.20 f (x) = arccsc3 x

1.7 f (x) = 1 +sintan


(2ex )
−1
(x )
+ etanx
1.21 f (x) = cos(arctanx)sin2x
1.22 f (x) = arccot3xarctan4x
1.8 f (x) = xe + sin x + sinx
ex 2 2
cos(e )
x
arcsin(ex)
√ 1.23 f (x) =
2x + arccosx
1.9 f (x) = sin(sec x)
( )
x
1.10 f (x) = etanx + sin5 x 1.24 f (x) = arctan x + 1
1.11 f (x) = sinx2 + cos(1 − x2 ) √
1.25 f (x) = arccscx2
3

1.12 f (x) = √
1 √
sec x + tanx2
2 1.26 f (x) = arcsec x
x 2
1.13 f (x) = 2sinx tan(cosx) 1.27 f (x) = arctan + arccot
2 x
1.14 f (x) = ex
2
sin2(tan2x2) 1.28 f (x) = arctan(ℓn(tanx))

2. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปน้ ี
2.1 f (x) = xcosx 2.5 f (x) = xarctanx
2.2 f (x) = (tanx)cotx 2.6 f (x) = (arcsinx)x
2.3 f (x) = (1 + x)ℓnx 2.7 f (x) = (arccosx)arcsinx

2.4 f (x) = (ℓnx)e x
2.8 f (x) = ( x)arccosx

3. จงหาอนุพันธของฟงก ชันตอไปน้ ี
√ ( )3
3.1 y=
(x2 − 1)5 (1 − x − x3 )9 cos x(x2 − secx)14
3.3 y = (x + cosx)3(x + 1)5
tan3xcos7ℓnx

3.4 y = ℓn(1x −(sin
2 x)5
√ 3

3.2 y = (1 + x)10 sec5 (cosx)tan7 x x2 )9


( )arcsinx
1−x
4. กำหนดให f (x) =
1+x
จงหา f ′(0)
dy
5. ให y = sinucosu และ u = esecx จงหา dx
6. จงแสดงวา y = 2cosx + 3sinx สอดคลองสมการ y′′ + y = 0
3.7. อน ุพั นธของฟงก ชันโดยปริยาย 117

3.7 อนพุ ั นธของฟงกชันโดยปรยิ าย


ในหั วขอทีผ่ านมาเราหาอนุพันธของฟงก ชันในรูป y = f (x) เราจะเรยี กฟงก ชันลั กษณะแบบ
น้ วี า ฟงก ชันชัดแจง (explicit function) แตในหั วขอน้ จี ะศกึ ษาการอนุพันธของฟงก ชันทีอ่ ยูใน
รูปแบบ
F (x, y) = c

เมือ่ c เปน คา คงตั ว และ x เปน ตั วแปรอสิ ระ และ y เปน ตั วแปรที่ข้ ึนกั บ x เรยี กฟงก ชัน แบบ
น้ วี า ฟงก ชันโดยปรยิ าย (implicit function) อนุพันธของฟงกชันลั กษณะน้ เี รยี กวา อนุพันธ
ของฟงก ชันโดยปรยิ าย (differentiation of implicit function) และหาอนุพันธดังกลาวโด
ยอาศัยกฏลูกโซ  ดั งตั วอยางตอไปน้ ี
dy
ตั วอยาง 3.7.1 จงหา dx
1. x3 + y 3 = xy

2. x3 + y 2 x + x2 y = 5

3. xey + yex = 1
118 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
dy
ตั วอยาง 3.7.2 จงหา dx

1. xy + y = x2 y

2. sin(xy) = xcosy

3. arctan(x + y) = xℓny
3.7. อน ุพั นธของฟงก ชันโดยปริยาย 119
ตั วอยาง 3.7.3 จงหาสมการเสน สัมผั สเสน วงกลม x2 + y 2 = 25 ทจี่ ดุ (3, 4)

ตั วอยาง 3.7.4 จงหาความชันของเสน สัมผั สเสน โคง arctan(xy) + xy = √xy + π4 ทจี ่ ดุ (1, 1)

ตั วอยาง 3.7.5 กำหนดให ysinx = xey จงหา y′′


120 บทท่ ี 3. อน ุพั นธของฟงก ชัน
แบบฝก หั ด 3.7
dy
1. จงหา dx
1.1 4x2 + 9y2 = 36 1.7 (x2y3 + x3y2)2 = xy2 − yx2 + 3
1.2 y2 − x2 = 1 1.8 exy + cos(xy) = xtany
1.3 ycosx + xy = y2 1.9 ℓnxy + arctanx2y = sec2xy
1.4 2x2 − 4xy + y2 − 5x + 3y = 10 1.10 x + y = 1
1
3
1
3


1.5 xsiny + √y = 0 1.11 cos2xy = sinxy2
√ √
1.6 x + √y + y + √x = 1 1.12 earctanxy + sin(cscxy) = cot(ℓny)
2. จงหา y′′
2.1 arctany = xy 2.3 ysecx = y + cotx
2.2 √
xy − 1 = x + y 2.4 x = √x1+ y

3. กำหนดให y = xy จงหา y′′′


4. จงสมการเสน สัมผั สเสน โคง yx2 + xy2 = 2xy ทจี่ ดุ (1, 1)
5. จงสมการเสน สัมผั สเสน โคง xℓny + 9 = 5x − xy2 + cosπx ทจี ่ ดุ (2, 1)
บทที ่ 4
การประยุกตของอนพุ ั นธ
4.1 การประมาณคาเชงิ เสน
บทนยิ าม 4.1.1 กำหนดให y = f (x) เปน ฟงก ชันทหี ่ าอนุพันธได และ ∆x เปน สว นทเี ่ ปลยี ่ นแปลง
ของ x เแลว คา เชงิ อนุพันธ (differential) ของ x เขียนแทนดวย dx หมายถงึ ∆x นั น่ คอื
∆x = dx คาเชงิ อนุพันธ ของ y เขียนแทนดวย dy กำหนดโดย

dy = f ′ (x)dx หรอื df = f ′ (x)dx

ตั วอยาง 4.1.2 กำหนดให f (x) = x2 + 2x จงหา dy เมือ่ x = 1 และ ∆x = 0.1

ตั วอยาง 4.1.3 จงหาคาเชงิ อนุพันธโดยใชบ ทนยิ าม 4.1.1


1. d(sinx)

2. d(arctanx)

3. d(xex )

121
122 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ทฤษฎบี ท 4.1.4 กำหนดให u = f (x) และ v = g(x) เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธไดที่ x และ c เปน
คาคงตั ว และ r เปน จำนวนตรรกยะ แลว
1. dc = 0

2. d(cu) = cdu

3. d(u ± v) = du ± dv

4. d(uv) = udv + vdu

5. d(ur ) = rur−1 du
( u ) vdu − vdu
6. d
v
=
v2
เมือ่ v ̸= 0

ตั วอยาง 4.1.5 จงหาคาเชงิ อนุพันธตอ ไปน้ ี


1. d(x2 + ex + ℓnx)

2. d(xsinx)

3. d(cos2x)

(x)
4. d
ex
4.1. การประมาณค าเชงิ เสน 123
กำหนดให y = f (x) เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธได x = a และ ∆y คอื สว นทเี ่ ปลยี ่ นแปลงของ y
บนเสน โคง y = f (x) และ dy คอื สว นทเี่ ปลยี่ นแปลงของ y บนเสน สัมผั สกั บเสน โคง y = f (x) ที่
จดุ P (a, f (a)) ดั งรูป

รูปที ่ 4.1: แนวคดิ การประมาณคาเชงิ เสน


Y
f

L
f (a + ∆x)

L(a + ∆x) ∆y
dy
P
f (a)

∆x
X
a a + ∆x

สมการเสน สัมผั สเสน โคง y = f (x) ทจี่ ดุ P (a, f (a)) คอื


y = f ′ (a)(x − a) + f (a)

กำหนดให L(x) = f ′(a)(x − a) + f (a) จะเรยี ก L วาฟงก ชันเชงิ เสน ของ f (linear function
of f ) ทจี่ ดุ x = a เมือ่ พิจารณากราฟ f และ L จะเห็นวากราฟทั้ งสองทจี่ ดุ x = 1 มีคา ใกลเคยี ง
กั น ถา ∆x มีคา ใกล ๆ ศูนย ทำใหไดวา
f (a + ∆x) ≈ L(a + ∆x)

เนอื่ งจาก
L(a + ∆x) = f ′ (a)(a + ∆x − a) + f (a) = f (a) + f ′ (a)∆x

และ
∆y = ∆f = f (a + ∆x) − f (a) ≈ (f (a) + f ′ (a)∆x) − f (x) = f ′ (a)∆x = df

นั น่ คอื ∆f ≈ df สรุปไดวา
f (a + ∆x) ≈ f (a) + f ′ (a)∆x

จะเรยี กวา การประมาณคาเชงิ เสน (linear approximation) ของ f ทจี ่ ดุ a


124 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ

ตั วอยาง 4.1.6 จงใชก ารประมาณคาเชงิ เสน ประมาณคาของ 16.001


ตั วอยาง 4.1.7 จงใชก ารประมาณคาเชงิ เสน ประมาณคาของ 3
7.998

ตั วอยาง 4.1.8 จงใชก ารประมาณคาเชงิ เสน ประมาณคาของ tan50◦


4.1. การประมาณค าเชงิ เสน 125
ในการคำนวณคาคลาดเคลอื่ นทเี่ กดิ จากการวั ด กำหนดให
1. u เปน ปรมิ าณทตี่ องการวั ด
2. |du| เปน คาคลาดเคลอื่ น (error) ในการวั ดของ u
3. du
u
เปน คาคลาดเคลอื่ นสัมพั ทธ (relative error) เมือ่ u ̸= 0 และ

du
u
× 100 เปน รอยละความคลาดเคลอื่ นสัมพั ทธ (percent of relative error)

ตั วอยาง 4.1.9 เมือ่ วั ดดานของลูกบาศก ลกู หนงึ ่ ยาว 25 เซนตเิ มตร พบวาวั ดความคลาดเคลอื่ น
ไปดานละไมเกนิ 0.04 เซนตเิ มตร จงใชค า เชงิ อนุพันธประมาณคาคลาดเคลอื่ นทีเ่ กดิ ข้ ึน พรอม
ทั้ งหาคาคลาดเคลอื่ นสัมพั ทธ และคาคลาดเคลอื่ นเปน กเี่ ปอรเซนตของปรมิ าตรน้ ี
126 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
แบบฝก หั ด 4.1
1. จงหาคาเชงิ อนุพันธตอ ไปน้ ี
1.1 d(tanx) 1.3 d(exsinx)
1.2 d(xcotx) 1.4 d(arctan3x)
2. ให f (x) = 3x2 + 1 จงหา ∆y , dy และ |∆y − dy| เมือ่ x = 1 และ ∆x = −0.01
3. จงหาคาเชงิ อนุพันธตอ ไปน้ สี ำหรั บคา a และ ∆x ทกี่ ำหนดให
3.1 f (x) = 2x2 + 1 ; a = 1 และ ∆x = 0.1

3.2 f (x) = x + 1 ; a = 3 และ ∆x = 0.02

3.3 f (x) = (x + 1) x ; a = 4 และ ∆x = −0.2
x+1
3.4 f (x) =
x+2
; a = 3 และ ∆x = 0.03
4. จงใชก ารประมาณคาเชงิ เสน ประมาณคาของ
√ √
4.1 81.03 4.3 4
127 4.5 sin(0.03)

4.2 3
15.89 4.4 2
(33) 5 4.6 (8.1) + (8.1)
4
3
2
3

5. ถั งใบรปู ทรงกระบอกใบหนงึ ่ ไมมีฝา ตองการทาสดี านนอกรอบถั งโดยทาสหี นา 0.25 เซนตเิ มตร


ถาวั ดรั ศมีภายนอกได 75 เซนตเิ มตร และถั งสูง 150 เซนตเิ มตร จงหาปรมิ าตรของสที ีใ่ ช 
ทาถั งโดยการประมาณคาเชงิ เสน
6. ในการวั ดดานของรปู สเี ่ หลยี่ มจตุรัสรปู หนงึ ่ ซงึ ่ ยาว 16 นวิ้ พบวา วั ดคลาดเคลอื่ นไม เกนิ
0.01 นวิ้ เราจะคำนวณพ้ ืนทคี ่ ลาดเคลอื่ นไปไมเกนิ เทาใด และจงหาคาคลาดเคลอื่ นสัมพั ทธ
และคาคลาดเคลอื่ นคดิ เปน รอยละของพ้ ืนทนี ่ ้ ี
4.2. ค าส ุดขีด 127

4.2 คาสุดขีด
บทนยิ าม 4.2.1 ให y = f (x) เปน ฟงก ชันบนชว ง I แลวจะกลาววา
1. f เปน ฟงก ชันเพมิ่ (increasing function) บนชว ง I ก็ตอ เมือ่
สำหรั บ x1 และ x2 ใน I ถา x1 < x2 แลว f (x1) < f (x2)
2. f เปน ฟงก ชันลด (decreasing function) บนชว ง I ก็ตอ เมือ่
สำหรั บ x1 และ x2 ใน I ถา x1 < x2 แลว f (x1) > f (x2)
ข อสังเกต 4.2.2 ถา f เปน ฟงก ชันเพิม่ (ฟงก ชันลด) บนชว ง I และ J แลว f เปน ฟงก ชันเพิม่
(ฟงก ชันลด) บนชว ง I ∪ J
ตั วอยาง 4.2.3 จงแสดงวา f (x) = x2 เปน ฟงก ชันเพิม่ บนชว ง (0, ∞)

การตรวจสอบฟงกชันเพิม่ และลดโดยนยิ ามในบางฟงกชันอาจยุงยากและอาศัยสมบั ตติ า ง ๆ


มากมาย เราอาจใชอ นุพันธมาชว ยในการตรวจสอบไดดังทฤษฎบี ทตอไปน้ ี
ทฤษฎบี ท 4.2.4 ให f เปน ฟงกชันตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และหาอนุพันธไดบนชว ง (a, b) จะไดวา
1. ถา f ′(x) > 0 ทกุ x ∈ (a, b) แลว f เปน ฟงก ชันเพิม่ บนชว ง [a, b]
2. ถา f ′(x) < 0 ทกุ x ∈ (a, b) แลว f เปน ฟงกชันลดบนชว ง [a, b]
3. ถา f ′(x) = 0 ทกุ x ∈ (a, b) แลว f เปน ฟงก ชันคงตั วบนชว ง [a, b]
128 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ตั วอยาง 4.2.5 จงหาชว งทที่ ำใหฟงก ชันตอไปน้ ี เปน ฟงก ชันเพิม่ และเปน ฟงก ชันลด
1. f (x) = x2 − 2x + 3

2. f (x) = x4 − 4x3 + 4x2 + 2

ตั วอยาง 4.2.6 จงหาชว งทที่ ำให f (x) = x2 x+ 1 เปน ฟงกชันเพิม่ และเปน ฟงกชันลด
4.2. ค าส ุดขีด 129
ตั วอยาง 4.2.7 จงหา a ทที ่ ำให f (x) = ℓn(ex + a) เปน ฟงก ชันเพิม่ บนจำนวนจรงิ

บทนยิ าม 4.2.8 ให f : D → R เปน ฟงก ชันและ S ⊆ D และ c ∈ S แลวจะกลาววา


1. f (c) เปน คา สูงสุด (maximum value) หรอื คา สูงสุด สัมบูรณ (absolute maximum
value) บน S ก็ตอ เมือ่ f (c) ≥ f (x) ทกุ ๆ x ∈ S
2. เปน คา ตำสุ
f (c) ่ ด (minimum value) หรอื คา ตำสุ ่ ด สัมบูรณ (absolute minimum
value) บน S ก็ตอ เมือ่ f (c) ≤ f (x) ทกุ ๆ x ∈ S
3.  คาสุดขีด
f (c) เปน (extreme value) บน S ก็ตอ เมือ่ f (c) เปน คาสูงสุดหรอื คาตำสุ
่ ดของ
f บน S
1
ตั วอยาง 4.2.9 จงแสดงวา f (x) =
x2 +1
มีคา สูงสุดสัมบูรณบนชว ง (−∞, ∞)
130 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ตั วอยาง 4.2.10 จงหาคาสุดขีดของฟงก ชัน f (x) = x2 + 1 บนชว งทกี ่ ำหนดโดยใชก ราฟ
1. [0, 2] 4. [1, ∞)
Y Y

5 5
4 4
3 3
2 2
1 1
X X
−3 −2 −1 0 1 2 3 −3 −2 −1 0 1 2 3

2. [−1, 2] 5. (−∞, 1]
Y Y

5 5
4 4
3 3
2 2
1 1
X X
−3 −2 −1 0 1 2 3 −3 −2 −1 0 1 2 3

3. [−2, 2] 6. (−∞, ∞)
Y Y

5 5
4 4
3 3
2 2
1 1
X X
−3 −2 −1 0 1 2 3 −3 −2 −1 0 1 2 3
4.2. ค าส ุดขีด 131
บทนยิ าม 4.2.11 ให f : D → R เปน ฟงกชันและ S ⊆ D และ c ∈ S แลวจะกลาววา
1. f (c) เปน คาสูงสุดสัมพั ทธ (relative maximum value) บน S ก็ตอ เมือ่ มี δ > 0 ซงึ ่
f (c) ≥ f (x) ทกุ ๆ x ∈ S ∩ (c − δ, c + δ)
2. f (c) เปน คาตำสุ
่ ดสัมพั ทธ (relative minimum value) บน S ก็ตอ เมือ่ มี δ > 0 ซงึ ่
f (c) ≤ f (x) ทกุ ๆ x ∈ S ∩ (c − δ, c + δ)
3. f (c) เปน คาสุดขีดสัมพั ทธ (relative extreme value) บน S ก็ตอ เมือ่
 คาสูงสุดสัมพั ทธหรอื คาตำสุ
f (c) เปน ่ ดสัมพั ทธของ f บน S

รูปที่ 4.2: ตั วอยางกราฟทเี ่ กดิ คาสูงสุดและตำสุ


่ ดสัมพั ทธบนชว ง [a, b]
Y

X
a b

ตั วอยาง 4.2.12 จงแสดงวาฟงก ชัน f (x) = x2 − 2x มีคา ตำสุ


่ ดสัมพั ทธที ่ x = 1
132 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
จากแนวคดิ ของแฟรมาตทีพ่ บวาจดุ ทีเ่ กดิ คาสูงสุดหรอื ตำสุ่ ดตองทีม่ ี เสน สัมผั สของเสน โคง
ขนานกั บแกน X หรอื ความชันเปน 0 ตอมาไดขยายไปยั งกรณที คี่ วามชันคาไมได
ทฤษฎบี ท 4.2.13 ให f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และ c ∈ [a, b] แลว
ถา f มีคา สุดขีดสัมพั ทธทจี ่ ดุ c แลว f ′ (c) = 0 หรอื f ′ (c) ไมมีคา
บทนยิ าม 4.2.14 ให f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และ c ∈ [a, b] แลวจะเรยี ก
c วาจดุ วกิ ฤต (critical point) ของฟงก ชัน f ก็ตอ เมือ่ f ′ (c) = 0 หรอื f ′ (c) ไมมีคา
ตั วอยาง 4.2.15 จงหาจดุ วกิ ฤตของฟงก ชันตอไปน้ ี
1. f (x) = x3 − 12x + 7


2. f (x) = 3
x−1

1
3. f (x) =
x3
4.2. ค าส ุดขีด 133
โดยทฤษฎบี ท 4.2.13 สรุปไดวา การจะหาคาสุดขีดสัมพั ทธยอมตองหาจดุ วฤิ ตเปน อั นดั บแรก
จากนำจดุ วกิ ฤตมาตรวจสอบวาจดุ นั้ นใหคา สูงสุดสัมพั ทธหรอื ตำสุ
่ ดสัมพั ทธ ทำไดโดย 2 วธิ ี คอื
การทดสอบโดยอนุพันธอันดั บหนงึ ่ และ การทดสอบโดยอนุพันธอันดั บสอง
ทฤษฎบี ท 4.2.16 การทดสอบโดยอนุพันธ อันดั บหนงึ ่ (First derivative test)
ให f เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธไดบนชว ง S และ c ∈ S เปน จดุ วกิ ฤตของ f แลว มี δ > 0 ซงึ ่
1. ถา f ′(x) > 0 ทกุ x ∈ (c − δ, c) ∩ S และ f ′(x) < 0 ทกุ ๆ x ∈ (c, c + δ) ∩ S แลว
f (c) เปน  คาสูงสุดสัมพั ทธของ f
2. ถา f ′(x) < 0 ทกุ x ∈ (c − δ, c) ∩ S และ f ′(x) > 0 ทกุ ๆ x ∈ (c, c + δ) ∩ S แลว
f (c) เปน  คาตำสุ
่ ดสัมพั ทธของ f

รูปที่ 4.3: คาสูงสุดและตำสุ


่ ดสัมพั ทธของการทดสอบโดยอนุพันธอันดั บหนงึ ่
f ′ (c) = 0
f ′ (c) = 0
f ′ (x) > 0 f ′ (x) < 0 f ′ (x) > 0 f ′ (x) < 0

c−δ c c+δ c−δ c c+δ

อาจพิจารณาเครอื่ งหมายของ f ′ โดยแทน + เมือ่ f ′(x) > 0 และ − เมือ่ f ′(x) < 0 บนเสน
จำนวน จะไดวา f (c) เปน คาสูงสุดสัมพั ทธเมือ่ สอดคลอง
+ −

f (c) เปน คาตำสุ


่ ดสัมพั ทธ เมือ่ สอดคลอง
− +

ถาเครอื่ งหมายไมสอดคลองทั้ ง 2 กรณี สรุปไดวา จดุ วกิ ฤตนั้ นไมใชจ ดุ ทีใ่ หคา ตำสุ
่ ดสัมพั ทธและ
สูงสุดสัมพั ทธ
134 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ตั วอยาง 4.2.17 จงหาคาสุดขีดสัมพั ทธของฟงก ชันตอไปน้ ี
1. f (x) = 3x4 + 4x3 − 12x2

2. f (x) = 2x3 − 9x2 + 12x − 5

x
3. f (x) =
x2 +1
4.2. ค าส ุดขีด 135
ทฤษฎบี ท 4.2.18 การทดสอบโดยอนุพันธ อันดั บสอง (Second derivative test)
ให f เปน ฟงก ชันทีห่ าอนุพันธไดบนชว ง (a, b) และ c ∈ (a, b) โดยที ่ f ′(c) = 0 และ f ′′(c) หาคา
ได แลว
1. f ′′(c) < 0 แลว f (c) เปน คาสูงสุดสัมพั ทธของ f
2. f ′′ (c) > 0 แลว f (c) เปน คาตำสุ
่ ดสัมพั ทธของ f
ตั วอยาง 4.2.19 จงหาคาสุดขีดสัมพั ทธของฟงก ชันตอไปน้ ี
1. f (x) = x3 − 3x + 1

2. f (x) = xex

ตั วอยาง 4.2.20 จงหาคาสุดขีดสัมพั ทธของฟงก ชันตอไปน้ ี


1. f (x) = x2 ex
136 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
2. 3
f (x) = 3x2 − x 2 + 1

3. 2
f (x) = (x3 − 1) 3
4.2. ค าส ุดขีด 137

ขั้ นตอนการหาคาสุดขีด
ให f เปน ฟงกชันตอเนอื่ ง [a, b] และหาอนุพันธไดบนชว ง (a, b) หาคาสุดขีดไดดังน้ ี
1. หาจดุ วกิ ฤติ c ของ f
2. หาคา f (c) ทั้ งหมด f (a) และ f (b)
3. เปรยี บเทยี บคาในขั้ นตอนที่ 2 โดย
• คามากทสี่ ดุ จะเปน คาสูงสุดของ f บน [a, b]
• คานอยทสี่ ดุ จะเปน คาตำสุ
่ ดของ f บน [a, b]
ตั วอยาง 4.2.21 จงหาคาสุดขีดของฟงก ชัน f (x) = x3 − 12x + 5 บนชว ง [−3, 3]

ตั วอยาง 4.2.22 จงหาคาสุดขีดของฟงก ชัน f (x) = sinx + cosx บนชว ง [0, 2π]
138 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ปญหาคาสูงสุดและคาตำสุ
่ ดของฟงก ชัน
การนำอนุพันธ ไปใช ในการแก โจทย ปญหาเกยี่ วกั บการหาคา สูงสุด และคา ตำสุ
่ ด โดยทั ว่ ไป
เรามั กจะจำลองปญหาดั งกลาวในรูปของฟงก ชัน เชน ให
y = f (x) แทนฟงก ชันของปญหาดั งกลาว
เราอาจจะตองหาคาสุดขีดของ y เมือ่ x เปน คา ๆ หนงึ ่ โดยใชก ระบวนการหาดั งขั้ นตอนการหา
คาสุดขีด ดั งจะแสดงตั วอยางตอไปน้ ี
ตั วอยาง 4.2.23 เมือ่ นำจำนวนจรงิ สองจำนวนมารวมกั นไดเทากั บ 16 จงหาผลคูณทีม่ ากทสี่ ดุ
ของสองจำนวนนั้ น

ตั วอยาง 4.2.24 มีไม ทำรั้ วยาว 800 เมตร นำมาลอมรั้ วบานเปน รูปสเี่ หลยี ่ มพ้ ืนผา โดยใชบ าน
เปน รั้ วดานหนงึ ่ จงหาพ้ ืนทมี่ ากสุดทลี่ อมรั้ วน้ ไี ด
4.2. ค าส ุดขีด 139

ตั วอยาง 4.2.25 จงหาดานของรูปสเี่ หลยี ่ มพ้ ืนผาทีม่ ี พ้ ืนทีม่ ากทสี ่ ดุ ทีบ่ รรจลุ งไปในสามเหลยี่ ม
มุมฉากทมี่ ีดานประชดิ มุมฉากทั้ งสองดานคอื a และ b
140 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ตั วอยาง 4.2.26 จงหาสว นสูง ของกรวยกลมตรงที่มี ปรมิ าตรมากทสี ่ ดุ และสามารถบรรจุใน
ทรงกลมรั ศมี r หนวย
4.2. ค าส ุดขีด 141

แบบฝก หั ด 4.2
1. จงหาชว งทที่ ำใหฟงกชันตอไปน้ ี เปน ฟงกชันเพิม่ และเปน ฟงกชันลด พรอมหาจดุ วกิ ฤติ
1.1 f (x) = x3 − 6x2 + 9x 1.5 f (x) = (x − 1) 3
2


1.2 f (x) = 3x4 + 4x3 − 12x2 1.6 f (x) = x + √1x
x
1.3 f (x) =
x+1
1.7 f (x) = (6 − x)x 5
1

1.4 f (x) = x4 − 4x2 + 4 1.8 5


f (x) = x 2 + 2x 2 + x 2
3 1

2. จงหาคาสุดขีดบนชว งทกี ่ ำหนดใหตอ ไปน้ ี


2.1 f (x) = 2x − x2 ; [0, 1] 2.3 f (x) = x +
1
; [ 12 , 5]
x x
2.2 f (x) =
x+3
; [−1, 5] 2.4 f (x) = |x − 2x − 3|
2
; [−5, 5]
3. จงหาคาสุดขีดสัมพั ทธของฟงก ชันทกี ่ ำหนดใหตอ ไปน้ ี
3.1 f (x) = 2x3 + 3x2 − 12x 3.7 f (x) = (1 − x2 )(1 − x)
3.2 f (x) = x4 + 2x3 3.8 7
f (x) = x 3 − 7x 3
1

3.3 f (x) = 2x4 − 4x2 + 6 3.9 f (x) = x 3 + 2x− 3


2 1

1
3.4 f (x) =
x − x2
3.10 f (x) = x2 (1 + x) 3
1

x−2 |x|
3.5 f (x) = 3.11 f (x) =
1 + |x|
x+2
√ √
3.6 f (x) = x 3 5 − x 3.12 f (x) = arctanx − ℓn 1 + x2

4. จงหาพ้ ืนที ่มากทสี ่ ดุ ของสามเหลยี ่ มหนา จั ว่ ถา ดานที่เทา กั นทั้ งสองดานยาวเทากั บ 12


หนวย
5. จงหาความสูงและรั ศมีของฐานของรูปทรงกระบอกกลมตรงทมี ่ ีปรมิ าตรมากทสี่ ดุ ทบี่ รรจุ
ในกรวยกลมซงึ ่ มีรัศมีของฐานยาว 12 นวิ้ และสูง 30 นวิ้ โดยทฐี ่ านของทรงกระบอกอยูบน
ฐานของกรวย
6. กระปอ งรปู ทรงกระบอกกลมตรงมีปรมิ าตร 125 ลูกบาศก เซนตเิ มตร มีฝาปด หั วทาย ฝา
ปด ทำจากแผนโลหะบางรปู สเี่ หลยี่ มจตุรัส และผิวดานขางทำจากรปู สเี่ หลยี ่ มผืนผา จงหา
รั ศมีและความสูงของกระปอ งทที่ ำใหใชป รมิ าณโลหะนอยทสี่ ดุ
7. โรงเรยี นแหงหนงึ ่ นำนั กเรยี นไปทั ศนศกึ ษา โรงเรยี นเก็บเงินนั กเรยี นคนละ 150 บาท ถามี
นั กเรยี นไม เกนิ 150 คน แตถา นั กเรยี นไปเกนิ 150 คนจะเก็บ ลดลง 50 สตางค คณ ู ดวย
จำนวนคนทีเ่ กนิ จากจำนวน 150 คน นั กเรยี นควรไปทั ศนศกึ ษากีค่ นจงึ จะทำให โรงเรยี น
เก็นเงินไดมากสุด
142 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ

4.3 ความเวาและจดุ เปลยี ่ นเวา


บทนยิ าม 4.3.1 ให f เปน ฟงก ชันทีห่ าอนุพันธไดที่ x0 และ y = g(x) เปน สมการของเสน สัมผั ส
เสน โคง y = f (x) ทจี ่ ดุ x0
1. f มีความเวาลาง (concave downward) ทจี ่ ดุ x0 ก็ตอ เมือ่
f (x) < g(x) ทกุ ๆ x ทอี่ ยูใกล ๆ x0
2. f มีความเวาบน (concave upward) ทจี ่ ดุ x0 ก็ตอ เมือ่
f (x) > g(x) ทกุ ๆ x ทอี่ ยูใกล ๆ x0

รูปที ่ 4.4: ความเวาบนและอยูลา งทจี ่ ดุ x0


Y Y

y = f (x)
y = g(x)

y = g(x)
X y = f (x) X
x0 x0

ตั วอยาง 4.3.2 จงแสดงวา f (x) = x2 มีความเวาบนทจี่ ดุ 0

บทนยิ าม 4.3.3 ให f : D → R เปน ฟงกชันทหี่ าอนุพันธได และ S ⊆ D


1. f มีความเวาลาง บน S ก็ตอ เมือ่
f มีความเวาลางทที่ กุ ๆ x ∈ S
2. f มีความเวาบน บน S ก็ตอ เมือ่
f มีความเวาบนทที ่ กุ ๆ x ∈ S
ข อสังเกต 4.3.4 ถา f มีความเวาบน (เวาลาง) บนชว ง S และ T แลว f มีความเวาบน (เวาลาง)
บนชว ง S ∪ T
ุ ่ ียนเว า
4.3. ความเว าและจดเปล 143
บทนยิ าม 4.3.5 ให f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งทจี ่ ดุ x0 เรยี กจดุ (x0, f (x0)) วาจดุ เปลยี่ นเวา (inflection
point) ก็ตอ เมือ่ มี δ > 0 ซงึ ่ เปลยี่ นจากความเวาแบบหนงึ ่ บนชว ง (x0 − δ, x0) ไปเปน ความเวาอกี
แบบหนงึ ่ บนชว ง (x0, x0 + δ)
การตรวจสอบความเวาบน ความเวาลาง และจดุ เปลยี ่ นเวา ของบางฟงก ชันโดยใชน ยิ ามอาจ
มีความยุงยาก จะมีทฤษฎบี ทเกยี่ วกั บอนุพันธอันดั บสองมาชว ยการตรวจสอบดั งตอไปน้ ี
ทฤษฎบี ท 4.3.6 ให f เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธไดอยางนอยสองอั นดั บแรกบนชว ง (a, b)
และ c ∈ (a, b)
1. ถา f ′′(x) > 0 ทกุ ๆ x ∈ (a, b) แลว f มีความเวาบนบนชว ง (a, b)
2. ถา f ′′(x) < 0 ทกุ ๆ x ∈ (a, b) แลว f มีความเวาลางบนชว ง (a, b)
3. ถา (c, f (c)) เปน จดุ เปลยี ่ นเวาของ f แลว f ′′(c) = 0 หรอื f ′′(c) ไมมีคา
ตั วอยาง 4.3.7 ให f (x) = x4 − 4x3 จงหาชว งของ f ทีม่ ีความเวาบน มีความเวาลาง และจดุ
เปลยี ่ นเวาของ f
144 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ตั วอยาง 4.3.8 จงหาชว งทมี่ ีความเวาบน ความเวาลาง และจดุ เปลยี่ นเวาของฟงก ชันตอไปน้ ี
1. f (x) = xe−2x

2. 2
f (x) = (4 − x2 ) 3
ุ ่ ียนเว า
4.3. ความเว าและจดเปล 145
แบบฝก หั ด 4.3
จงหาชว งทมี่ ีความเวาอยูบน มีความเวาอยูลา ง และจดุ เปลยี ่ นเวา ของฟงกชันตอไปน้ ี
1. f (x) = x3 − 3x2
2. f (x) = 3x4 + 2x3 − 5

3. f (x) = x4 − 6x3 + 12x2 + 5x + 7

4. f (x) = x6 − 15x2 + 5

5. f (x) = (1 − x) 3
1

6. f (x) = (x − 2) 3
2

7. f (x) = (2 − x)x 5
1

4x
8. f (x) =
x2
+1
x
9. f (x) = 2
x −1
1
10. f (x) = x −
x
11. f (x) = (x − 1)e−x

12. f (x) = e−x


2
146 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
4.4 การรางกราฟ
การ สราง กราฟ ของ ฟงก ชัน ใน
ปจจบุ ั นทำไดงายเพียงแคพิมพ สมการ รปู ที ่ 4.5: ตั วอยาง Download GeoGebra Apps
ลงในโปรแกรมสำเร็จรูป เชน GSP
และ GeoGebra เปน ตน โดยเฉพาะ
โปรแกรม GeoGebra ซงึ ่ ผู ผลติ ทำ
ออก มา ให ใช  ฟรี สำหรั บ การ ศกึ ษา
โดยเฉพาะ มีใหใชใ นรูปแบบออนไลน
และ ออฟ ไลน ทั้ ง ใน รูป โปรแกรม
และในรูปของแอพพลเิ คชัน่ โดยแบง
ออกเปน หลายชนดิ ให เหมาะกั บการ
ใชง านแตละชนดิ ดั งรปู 4.5 สามารถ
เขา ใช งาน และโหลดโปรแกรมหรอื
แอพพลเิ คชัน่ ไดที่ www.geogebra.org
สำหรั บแอพพลิ เคชั น่ มี ให ดาวโหลด
ใน App Store และ Google Play ใช 
กั บมือ ถอื หรอื แท็บเล็ต โดยการออกแบบการที่ใช งานที่งายทำให เปน ที่นยิ มใช กันทั ว่ โลก ถา ผู
อานสนใจสามารถศกึ ษาการใชไ ดจากเวปไซตดังกลาว
ตั วอยางกราฟของฟงก ชัน y = x4 − 3x3 โดยใชแ อพพลิเคชัน่ Geogebra Classic 5 แสดงดั ง
รูป 4.6 จะเห็นไดวา กราฟของฟงกชันทีเ่ กดิ ข้ ึนไดจากการพิมพ สมการ ในชอ งดานลางโดยอาศัย
แปนพิมพ ทีม่ ี ให ในแอพพลิเคชัน่ แต
รูปที ่ 4.6: ตั วอยางกราฟจาก GeoGebra Classic 5 ถา ไมมี เครอื่ งมือ เหลา นั้ น เราอาจ
รางกราฟของฟงก ชันไดถาเราทราบ
องคประกอบตาง ๆ เชน โดเมน จดุ
ตั ดแกน เสน กำกั บ (ถามี) ชว งทที่ ำให
เกดิ ฟงก ชัน เพิม่ และลด ชว งที่ทำให
เกดิ ความเวาบนและอยูลา ง เปน ตน
ดั งนั้ น ในหั วขอ น้ ีจะกลาวถงึ การราง
กราฟ โดย อาศัย การ ประกอบ กั น
ขององค ประกอบตาง ๆ
4.4. การรางกราฟ 147
บทนยิ าม 4.4.1 เสน ตรง x = a เปน เสน กำกั บแนวยนื (vertical asymptote) ของกราฟของ
ฟงก ชัน f ถา
x→a+
lim f (x) = −∞ หรอื ∞ หรอื lim f (x) = −∞
x→a−
หรอื ∞
บทนยิ าม 4.4.2 เสน ตรง y = b เปน เสน กำกั บแนวนอน (horizontal asymptote) ของกราฟ
ของฟงก ชัน f ถา
lim f (x) = b
x→−∞
หรอื lim f (x) = b
x→∞

บทนยิ าม 4.4.3 เสน ตรง y = ax + b เปน เสน กำกั บแนวเอยี ง (slant asymptote) ของกราฟ
ของฟงก ชัน f ถา f (x) = (ax + b) + g(x) และ a ̸= 0 แลว
lim g(x) = 0
x→−∞
หรอื lim g(x) = 0
x→∞

ตั วอยาง 4.4.4 จงหาเสน กำกั บแนวดงิ่ เสน กำกั บแนวนอน และ เสน กำกั บแนวนอนเอยี ง (ถามี)
ของฟงก ชันตอไปน้ ี
1
1. f (x) =
x2 −1

x+1
2. f (x) =
x−1
148 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
x+1
3. f (x) =
x2 − 4

x2 + x
4. f (x) =
x−2
4.4. การรางกราฟ 149
การวเิ คราะหกราฟ
การรางกราฟของเสน โคง y = f (x) เราควรวเิ คราะห ขอมูลประกอบการรางกราฟ และทำตาม
ขั้ นตอนดั งตอไปน้ ี
1. ตรวจโดเมนของ f และหาเสน กำกั บ (ถามี) พรอมดพู ฤตกิ รรมของกราฟเมือ่ x → ∞ และ
x → −∞

2. หาจดุ ตั ดแกน X และ Y (ถามี)


3. หา f ′(x) และจดุ วฤิ กติของ f พรอมหาชว งที่ f เปน ฟงกชันเพิม่ และชว งที่ f เปน ฟงกชัน
ลด
4. หา f ′′(x) และจดุ ทีม่ ีโอกาสเปน จดุ เปลยี่ นเวาของ f พรอมหาชว งที ่ f มีความเวาบน และ
ชว งที่ f มีความเวาลาง
5. รางกราฟของฟงก ชันโดยใชข อมูลจากขอ 1 ถงึ 4
ตั วอยาง 4.4.5 จงวเิ คราะห และเขียนกราฟของกราฟเสน โคง f (x) = x4 − 4x3

X
150 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
x2
ตั วอยาง 4.4.6 จงวเิ คราะห และเขียนกราฟของกราฟเสน โคง f (x) =
x2 − 1

X
4.4. การรางกราฟ 151
x2 + x
ตั วอยาง 4.4.7 จงวเิ คราะห และเขียนกราฟของกราฟเสน โคง f (x) =
x−2

X
152 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ตั วอยาง 4.4.8 จงวเิ คราะห และเขียนกราฟของกราฟเสน โคง f (x) = e− 2 x
1 2

X
4.4. การรางกราฟ 153

แบบฝก หั ด 4.4
จงวเิ คราะห และเขียนกราฟของเสน โคงตอไปน้ ี
1. f (x) = x3 + 5x2 + 3x − 4
2. 2
f (x) = 5x 3 − x 3
5

3. f (x) = 2 − (x − 3) 3
1

4. f (x) = x2 e−3x
1
5. f (x) = 2x +
x2
4x2 − 1
6. f (x) =
x2 − 1
1
7. f (x) = x −
x
8. f (x) = x(4 − x) 3
1

x2 − 1
9. f (x) =
x
10. 1
f (x) = 5x 5 − 2x
4x2 − 1
11. f (x) =
x2 − 1
12. f (x) = e−x
2

x2 + 2x
13. f (x) =
x−3
5x
14. f (x) =
x2 − 4
154 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
4.5 อั ตราสัมพั ทธ
ในหั วน้ เี ราจะศกึ ษาการประยุกตอนุพันธเพือ่ ใชห าอั ตราการเปลยี่ นแปลงปรมิ าณตาง ๆ เทยี บ
กั บเวลา ซงึ ่ เรยี กวา อั ตราสัมพั ทธ (relative rate) ทำให เราสนใจปญหากั บผลกระทบของ
อั ตราการเปลยี่ นแปลงของตั วแปรบางตั วเทยี บกั บเวลาที่มี อัตราการเปลยี ่ นแปลงของตั วอนื่ ๆ
เทยี บกั บเวลา เรยี กปญหาแบบน้ วี า ปญหาอั ตราสัมพั ทธ (relative rate problem)
ขั้ นตอนการแกปญหา
1. กำหนดตั วแปรแทนปรมิ าณตาง ๆ ทขี ่ ้ ึนกั บเวลา
2. เขียนความสัมพั นธระหวางตั วแปรในขอ 1 (ถาเขียนได)
3. สรางสมการระหวางตั วแปรตาง ๆ ทขี ่ ้ ึนกั บเวลา
4. หาอนุพันธของขอ 3 เทยี บกั บเวลา
5. แทนคาตั วแปรตาง ๆ ทโี่ จทย กำหนด และคำนวณหาสงิ ่ ทโี่ จทย ตองการ
ตั วอยาง 4.5.1 ชายคนหนงึ ่ เดนิ เขาหาฐานหอคอยทีม่ ี ความสูง 60 ฟุต ดวยอั ตราเร็ว 2 ฟุตตอ
วนิ าที จงหาวาชายผูน้ จี ะเคลอื่ นทเี ่ ขาใกลยอดของหอคอยดวยอั ตราเร็วเทาใด ในขณะเขาอยูหา ง
จากฐานของหอคอยเปน ระยะทาง 80 ฟุต
4.5. อั ตราสัมพั ทธ 155
ตั วอยาง 4.5.2 ถั งน้ำ รูป กรวยกลมตรง มี เสน ผานศูนย กลางที่ปากถั งยาว 1 เมตร และสูง 2
เมตร ไขน้ำเขาถั งดวยอั ตราเร็ว 50 ลูกบาศก เซนตเิ มตรตอวนิ าที จงหาวาระดั บน้ำในถั งจะสูงข้ ึน
ดวยอั ตราเร็วเทาใด เมือ่ ความสูงของน้ำในถั งเปน 80 เซนตเิ มตร
156 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
แบบฝก หั ด 4.5
1. โยนกอนหินกอนหนงึ ่ ลงในสระ จะทำใหเกดิ น้ำเปน ละลอกแผออกไปเปน วงกลมมีจดุ ศูนย กลาง
อยูทจี ่ ดุ ของกอนหินตกรั ศมีของวงกลมวงนอกเพิม่ ข้ ึนดวยอั ตราเร็ว 50 เซนตเิ มตรตอวนิ าที
จงหาพ้ ืนทขี่ องวงกลมทจี่ ะเพิม่ ข้ ึนดวยอั ตราเทาใด หลั งจากทกี ่ อนหินตกถงึ ผิวน้ำ 5 วนิ าที
2. จรวดลำหนงึ ่ ถกู ยิงข้ ึนจากพ้ ืนดนิ ตามแนวดงิ่ ขณะทีจ่ รวดเคลอื่ นทีข่ ้ ึนไปไดมีเรดาห ซงึ ่ อยู
หางจากฐานยิงจรวดไปตามพ้ ืนดนิ เปน ระยะ 3 กโิ ลเมตร คอยสังเกตการเคลอื่ นที่ จงหา
อั ตราเร็วของจรวดขณะเมือ่ ระยะทางจากเรดาห ถงึ จรวดมีคา เทากั บ 5 กโิ ลเมตร โดยระยะ
ทางน้ กี ำลั งเพิม่ ข้ ึนดวยอั ตรา 5,000 กโิ ลเมตรตอชัว่ โมง
3. บั นไดยาว 13 ฟุต วางพิง กำแพงไว ถา ฐานบั นไดกำลั งเลอื่ นออกจากกำแพงดวยอั ตรา
เร็ม 0.1 ฟุตตอวนิ าที จงหาวาปลายบนของบั นไดเลอื่ นลงดวยอั ตราเร็วเทาใด และจงหา
อั ตราเร็วของมุมทบี่ ั นไดทำกั บพ้ ืนดนิ ขณะทยี ่ อดอยูสงู จากพ้ ืน 12 ฟุต
4. อากาศถูกอั ดใสใ นลูกโปง รูปทรงกลมดวยอั ตราเร็วคงตั ว 10 ลูกบาศก นวิ้ ตอวนิ าที จงหา
อั ตราเร็วของพ้ ืนทผี ่ ิวของลูกโปง ทเี่ พิม่ ข้ ึน ขณะทรี่ ั ศมีของลูกโปง เปน 5 นวิ้
5. ถามุมเงยของดวงอาทติ ย เปน 45 องศา และกำลั งลดลงดวยอั ตรา 0.25 เรเดยี นตอวนิ าที
จงหาวาเงาของเราซงึ ่ สูง 5 ฟุต ทที่ อดบนพ้ ืนดนิ จะยาวข้ ึนดวยอั ตราเร็วเทาใด
4.6. หลั กเกณฑลอปต าล 157

4.6 หลั กเกณฑลอปต าล


การหาลิ มิต ในบทที ่ ?? อยู ในรูป แบบยั งไม กำหนดสำหรั บฟงก ชัน ตรรกยะ หรอื ฟงก ชัน ที่
สามารถเปลยี่ นรูป หรอื ใชบ างทฤษฎบี ทมาชว ยในการหาคาลิมิต แตฟงกชันทีซ่ ั บซอ นยิง่ ข้ ึนอาจ
ใชว ธิ ดี ั งกลาวไมไดเชน
ℓnx + x − 1
lim √
x→1 x−1

าวถงึ หลั กเกณฑ ลอป ต าล (l 'Hospital's rule) ซงึ ่ ถูก เขียนไว ในหนั งสอื ชอื่
ในหั วขอ น้ จะกล

Analyse des Infiniment Pertits ในป  1696 โดยนั กคณติ ศาสตรชาวฝรั ง่ เศสนามวา มาควสิ เดอ โล
ปต าล (Marquis de l’Hospital, 1661-1704) แตผูคนพบกฏน้ คี อื จอห น แบรนลู ลี (John Bernoulli,
1667-1748) นั กคณติ ศาสตรชาวสวสิ
ทฤษฎบี ท 4.6.1 หลั กเกณฑ ลอปต าล
1. ให f และ g เปน ฟงก ชันทหี ่ าอนุพันธไดบน S = (a − δ, a) ∪ (a, a + δ) สำหรั บบางคา δ > 0
g(x) ̸= 0 และ g ′ (x) ̸= 0 ทก ุ ๆx∈S
ถา x→a
lim f (x) = lim g(x) = 0 หรอ
x→a
ื x→a
lim f (x) = lim g(x) = ∞ แลว
x→a

f (x) f ′ (x)
lim = lim ′
x→a g(x) x→a g (x)

2. ให f และ g เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธไดสำหรั บทกุ ๆ x > N สำหรั บบางคา N > 0
และ g′(x) ̸= 0 ทกุ ๆ x > N
ถา x→∞
lim f (x) = lim g(x) = 0 หรอ
x→∞
ื x→∞
lim f (x) = lim g(x) = ∞ แลว
x→∞

f (x) f ′ (x)
lim = lim ′
x→∞ g(x) x→∞ g (x)

3. ให f และ g เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธไดสำหรั บทกุ ๆ x < N สำหรั บบางคา N < 0
และ g′(x) ̸= 0 ทกุ ๆ x < N
ถา x→−∞
lim f (x) = lim g(x) = 0 หรอ
x→−∞
ื x→−∞
lim f (x) = lim g(x) = ∞ แลว
x→−∞

f (x) f ′ (x)
lim = lim
x→−∞ g(x) x→−∞ g ′ (x)

โดยหลั กเกณฑลอปต าลจะใชก ั บรูปแบบยั งไมกำหนด 00 และ ∞ ∞


เทานั้ น แตเราอาจประยุกต
ใชห ลั กเกณฑลอปต าลกั บรูปแบบยั งไมกำหนดอนื่ ๆ ดั งตอไปน้ ี
∞−∞ 0·∞ 1∞ ∞0 00

แตจะไมพิสจู นหลั กเกณฑลอปต าลในวชิ าน้ ี ผูสนใจอาจศกึ ษาไดจากแคลคูลัสขั้ นสูง


158 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ตั วอยาง 4.6.2 จงหาลมิ ิตของ
1. lim tan6x
x→0 x

2. limπ +
cosx
x→ 2 1 − sinx

ex
3. lim
x→∞ x + ex

ℓnx
4. lim +
x→0 cotx
4.6. หลั กเกณฑลอปต าล 159
3
(1 + x2 ) 2
ตั วอยาง 4.6.3 จงหาลมิ ิตของ lim
x→−∞ x2 + ex (x − 1)

x2 + 2ℓn(cosx)
ตั วอยาง 4.6.4 จงหาลมิ ิตของ lim
x→0 2 − 2cosx − x2
160 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
ตั วอยางตอไปน้ จี ะกลาวถงึ รูปแบบยั งไมกำหนด ∞ − ∞ และ 0 · ∞ เราสามารถเปลยี่ นรูป
ของฟงก ชันใหลมิ ิตอยูในรูปแบบ I.F. 00 หรอื I.F. ∞

ดั งจะแสดงดั งตั วอยางตอไปน้ ี
ตั วอยาง 4.6.5 จงหาลมิ ิตของ
1. lim (cotx − cscx)
x→0+

( )
1 1
2. lim
x→1−

x − 1 ℓnx

( )
1 1
ตั วอยาง 4.6.6 จงหาลมิ ิตของ lim
x→0+ x

tanx
4.6. หลั กเกณฑลอปต าล 161
ตั วอยาง 4.6.7 จงหาลมิ ิตของ
( )
1
1. lim xtan
x→∞ x

2. lim xℓnx
x→0+

( π)
ตั วอยาง 4.6.8 จงหาลมิ ิตของ lim x arctanx −
x→∞ 2
162 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
สุดทายจะกลาวถงึ รูป แบบยั งไม กำหนด 00, ∞0 และ 1∞ นั น่ คอื พิจารณาลิมิต ของฟงก ชัน
[f (x)]g(x) จากนั ้ นกำหนดให y = [f (x)]g(x) จะได

ℓny = (g(x))ℓn[f (x)]

แลวหาลมิ ิตของ ℓny และหาคาลมิ ิตของ y จากสมบั ตขิ องลมิ ิตทวี ่ า


( )
lim ℓny = ℓn lim y
x→a x→a

ตั วอยาง 4.6.9 จงหาลมิ ิตของ


1. lim xx
x→0+

( )x
1
2. lim 1 +
x→∞ x
4.6. หลั กเกณฑลอปต าล 163
ตั วอยาง 4.6.10 จงหาลมิ ิตของ 2
lim (2x + x) x
x→∞
164 บทท่ ี 4. การประยุกตของอน ุพั นธ
 ด 4.6
แบบฝกหั
จงหาลมิ ิตตอไปน้ ี
( )
1. lim sin

x
16. x8
lim x 30. lim
x2

x2
x→0+ x x→∞ e x→∞ x−1 x+1

2. lim
cos2x − 1 17. limπ
sec2x − 2tanx 31. lim (1 + x) x
1

x→0 x x→ 4 1 + cos4x x→0

3. cosx 32. 1
limπ
x→ 2 x −
π 18. lim +
x→0
(tanx)ℓn(sinx) lim (ex + 2x) x
x→0
2

ex − cos2 x 19. 1
lim x(e x − 1) 33. lim − ( 2 − x2 − 1)x−1
4. lim
x→0 xsinx
x→∞ x→1

x − sinx 1 34. lim (1 − x)ℓnx


5. lim 20. lim xsin x→1
x→0 x − tanx x→−∞ x
x − arctanx
( π) 35. lim + (1 + 3x) 2x
1

6. lim 21. limπ − x − tan5x x→0


x→0 x + sinx x→ 2 2
( ) 36. lim (x + e 2 ) x
x 2

xℓnx x→0
7. lim
x→∞ x2 + 1 22. lim x − sec
2 1
2−x
2

x→∞ x 37. lim − (cosx − sinx) x


1

5x ( ) x→0
8. lim
x→∞ ℓn(x + ex )
1 1
23. lim
1−x
−√ 38. lim (x + sinx)tanx
x→1+ 1−x x→0+
3x − 1 ( )
9. lim
x→0 2x − 1 1 x 39. lim (ex + x) x
e

24. lim +
1 − x ℓnx
x→∞

10. lim
cot3x x→1−
( )x
( )
x→0+ cot2x 1 40. 1
lim 1 − 3
e −x−1
x
25. lim csc x − 2
x→0
2
x
x→∞ x
11. lim
x→0 x2 ( ) 41. lim + (cosx)cotx
1 1
xℓnx 26. lim −
x tanx
x→0

12. lim
x→∞ x + ℓnx
x→0
42. lim (2x + x2 ) x
1

( ) x→∞
1 x
2e2x + ℓnx 27. lim +
13. lim
x→∞ e2x + x2
x→1+ ℓnx x − 1 43. lim (ex
2
cosx) 4
x4
x→0

4 − 3e − e x −3x 28. lim (tan5x − tanx)


44. lim (secxtanx)cosx
14. lim
x→0 4x2
x→ π2 −
x→ π2 −
( )
ℓnx 29. 2x
− cscx
15. lim
x→1 x − 1
lim
x→0 x 45. lim (1 + sinx) x
x→0
3
บทที ่ 5
ปรพิ ั นธ
5.1 ปฏยิ านพุ ั นธและปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต
บทนยิ าม 5.1.1 เรยี กฟงก ชัน f วาหาปฏยิ านุพันธไดบนชว ง I ถามีฟงก ชัน F ซงึ ่
F ′ (x) = f (x) ทกุ x ∈ I
เรยี ก F วาเปน ปฏยิ านุพันธ (antiderivative) ของฟงก ชัน f บนชว ง I
ในบางครั้ งเราจะละการบอกชว ง I ในบทนยิ าม 5.1.1 แตเขาใจตรงกั นวา F เปน ปฏยิ านุพันธ
บนชว งทฟี ่  งก ชัน F หาอนุพันธได
ตั วอยาง 5.1.2 จงหาปฏยิ านุพันธของฟงกชันตอไปน้ ี อยางนอย 2 ฟงกชัน
1. f (x) = 3x2 2. f (x) = cosx

ตั วอยาง 5.1.3 จงแสดงวา F (x) = xarctanx− 12 ℓn(x2 +1) เปน ปฏยิ านุพันธของ f (x) = arctanx

165
166 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ทฤษฎบี ท 5.1.4 ถา F และ G เปน ปฏิยานุพันธของของฟงกชัน f บนชว ง I แลวมีคา คงตั ว C
ซงึ ่
G(x) = F (x) + C ทกุ x ∈ I
เรยี ก F (x) + C วาปฏยิ านุพันธ ทัว่ ไป (general antiderivative) ของ f บนชว ง I

บทนยิ าม 5.1.5 ให F เปน ปฏิยานุพันธของฟงก ชัน f จะเรยี กปฏ∫ ิยานุพันธทัว่ ไปของ f วา ปร ิ
พั นธ ไมจำกั ดเขต (indefinite integral) ของ f เขียนแทนดวย f (x) dx จะไดวา

f (x) dx = F (x) + C

เรยี ก วาเครอื่ งหมายปรพิ ั นธ (integral sign)
เรยี ก f (x) วาตั วถูกปรพิ ั นธ (integrand)
เรยี ก x วาตั วแปรของปรพิ ั นธ (variable of integral)
เรยี ก วาคาคงตั วของปรพิ ั นธ (constant of integral)
C

ทฤษฎบี ท 5.1.6 ให f และ g เปน ฟงกชันทหี ่ าปฏยิ านุพันธได และ k เปน คาคงตั วแลว

1. f ′ (x) dx = f (x) + C
∫ ∫
2. kf (x) dx = k f (x) dx
∫ ∫ ∫
3. f (x) + g(x) dx = f (x) dx + g(x) dx
∫ ∫ ∫
4. f (x) − g(x) dx = f (x) dx − g(x) dx
5.1. ปฏิยาน ุพั นธและปริพันธไม จำกั ดเขต 167
จากความรูเ รอื่ งอนุพันธของฟงก ชันจะไดวา

1 dx = x+C

xn+1
xn dx =
n+1
+C เมือ่ n ̸= −1

1
dx = ℓn|x| + C
x

ex dx = ex + C

ax
ax dx = +C
ℓna

sinx dx = −cosx + C

cosx dx = sinx + C

secxtanx dx = secx + C

sec2x dx = tanx + C

cscxcotx dx = −cscx + C

csc2x dx = −cotx + C

1
√ dx = arcsinx + C = −arccosx + C
1 − x2

1
1 + x2
dx = arctanx + C = −arccotx + C

1
√ dx = arcsec x + C = −arccscx + C
|x| x2 − 1
168 บทท่ ี 5. ปริพันธ

ตั วอยาง 5.1.7 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต 3x2 + x − 1 dx

ตั วอยาง 5.1.8 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี



1. 2ex − 2x+1 − cosx dx


2 + x2
2. 1 + x2
dx
5.1. ปฏิยาน ุพั นธและปริพันธไม จำกั ดเขต 169
ตั วอยาง 5.1.9 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี


1. x(x − 1) dx


2x − 1
2. √3
x
dx


(x − 1)2
3. x2
dx
170 บทท่ ี 5. ปริพันธ

1 + sinx
ตั วอยาง 5.1.10 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต cos2x dx


1
ตั วอยาง 5.1.11 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต 1 − cosx
dx
5.1. ปฏิยาน ุพั นธและปริพันธไม จำกั ดเขต 171
x4 − x
ตั วอยาง 5.1.12 จงหาสมการเสน โคงทผี ่ านจดุ (1, 2) โดยทคี่ วามชันทจี่ ดุ (x, y) ใดๆเปน x2
172 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ตั วอยาง 5.1.13 อนุภาคหนงึ ่ เคลอื่ นทตี ่ ามแนวแกน X ดวยความเรงขณะเวลา t ใด ๆ เปน

ิ าท2ี
t + sint − 5 ฟุต/วน

เมือ่ t = 0 อนุภาคอยูหา งจากจดุ กำเนดิ ไปทางซา ย 30 ฟุต และอนุภาคเคลอื่ นทีด่ วยความเร็ว


20 ฟุต/วนิ าที จงหาสมการการเคลอื่ นที่
5.1. ปฏิยาน ุพั นธและปริพันธไม จำกั ดเขต 173

แบบฝก หั ด 5.1
1. จงหาฟงกชัน f ทมี ่ ีปฏยิ านุพันธเปน F ตอไปน้ ี
1.1 x−1
F (x) = 5 1.4 F (x) =
2x + 3
1.2 F (x) = (2x + 1)10 1.5 F (x) = arctan(ℓnx + sinx)

1.3 F (x) = 3 x3 + x2 − 1 1.6 F (x) = sin2 (cosex )

2. จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี


∫ ∫

2.1 4
x ( x + 2) dx 2.7 cosx(secx + 3tanx) dx
∫ √

2.2 3
x2 (x − 2)2 dx
2.8 secx(tanx − 2cosx) dx

2.3 (x + 1)3 dx ∫
2 − x2
∫ 2.9 √ dx
1 1 − x2
2.4 (1 + )2 dt
t ∫
∫ x2
2.5 √
x+1
dx
2.10 1 + x2
dx
3
x+1
∫ ∫
x−1 1 − cos2 x
2.6 √ dx 2.11
x+ x cos2x dx
x3 − x2
3. จงหาสมการเสน โคงทผี่ านจดุ (−1, 2) โดยทคี่ วามชันทจี ่ ดุ (x, y) ใดๆเปน x5

4. วั ตถุหนงึ ่ เคลอื่ นทดี่ วยความเรงตามแนวแกน X ขณะเวลา t ใด ๆ เปน


6t + cost ฟุต/วนิ าท2ี

เมือ่ t = 0 วั ตถุอยูหา งจากจดุ กำเนดิ ไปทางซา ย 20 ฟุต และเคลอื่ นทดี่ วยความเร็ว 10 ฟุต/
วนิ าที จงหาสมการการเคลอื่ นทขี่ องวั ตถุน้ ี
174 บทท่ ี 5. ปริพันธ

5.2 การหาปรพิ ั นธโดยการเปลยี ่ นตั วแปร


ทฤษฎบี ท 5.2.1 การหาปรพิ ั นธ โดยการแทนคา (Integration by substitution)
ให u = u(x) เปน ฟงกชันทีห่ าอนุพันธไดและมีเรจน เปน ชว ง I และ f เปน ฟงกชันทีห่ าปฏิยานุ
พั นธไดบน I แลว ∫ [ ] ∫
du(x)
f (u(x)) dx = f (u) du
dx

ตั วอยาง 5.2.2 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี



1. (2x + 1)10 dx

∫ √
2. x x2 + 1 dx


ex
3. ex + 1
dx
5.2. การหาปริพันธโดยการเปล่ ียนตั วแปร 175
ตั วอยาง 5.2.3 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี

1. sin(1 − 3x) dx


1
2. xℓnx
dx

ตั วอยาง 5.2.4 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี



1. sin(ℓnx) dx
x


2. cosx dx
1 + sin2 x
176 บทท่ ี 5. ปริพันธ
∫ √
ตั วอยาง 5.2.5 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต x2 x − 2 dx


x
ตั วอยาง 5.2.6 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต √
3
dx
x+3
5.2. การหาปริพันธโดยการเปล่ ียนตั วแปร 177
โดยกฎของคาเชงิ อนุพันธ (ทฤษฎบี ท 4.1.4) จะไดวา
1. kdv(x) = d[kv(x)] เมือ่ k เปน คาคงตั ว
2. d(v(x) + b) = dv(x) เมือ่ b เปน คาคงตั ว

ทฤษฎบี ท 5.2.7 ให k และ b เปน คาคงตั ว โดยที่ k ̸= 0 และ n ̸= −1 จะไดวา



1
1. (kx + b)n dx =
k(n + 1)
(kx + b)n+1 + C

1 1
2. kx + b
dx = ℓn|kx + b| + C
k

ekx+b
3. ekx+b dx =
k
+C

akx+b
4. akx+b dx =
kℓna
+C

5. sin(kx + b) dx = − cos(kxk + b) + C

6. cos(kx + b) dx = sin(kxk + b) + C

7. sec(kx + b)tan(kx + b) dx = sec(kxk + b) + C

8. sec2(kx + b) dx = tan(kxk + b) + C

9. csc(kx + b)cot(kx + b) dx = − csc(kxk + b) + C

10. csc2(kx + b) dx = − cot(kxk + b) + C

11. √
1
dx =
arcsin(kx + b) + C
1 − (kx + b)2 k

12. 1
dx =
arctan(kx + b) + C
1 + (kx + b)2 k

13. √
1
dx =
arcsec(kx + b) + C
|kx + b| (kx + b)2 − 1 k
178 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ตั วอยางการหาปรพิ ั นธโดยทฤษฎบี ท 5.2.7

1. cos(2x + 3) dx =

2. e5−x dx =


1
3. 3x − 1
dx =


4. sec2(5 − 2x) dx =

1
5. 1 + (x + 1)2
dx =


1
ตั วอยาง 5.2.8 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต 4x2 + 4x + 2
dx
5.2. การหาปริพันธโดยการเปล่ ียนตั วแปร 179
การหาปรพิ ั นธโดยอาศัยกฎของคาเชงิ อนุพันธทวี่ า
u′ (x)dx = du(x)

ดั งเชน ตั วอยาง xsin(x2 ) dx dx

ตั วอยาง 5.2.9 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี



1. e−cosx sinx dx


1
2. x(1 + ℓn2 x)
dx


ex
3. e2x + 1
dx
180 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ตั วอยาง 5.2.10 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต

sin√√x dx
x

ตั วอยาง 5.2.11 ปรพิ ั นธของฟงก ชันแทนเจนตและโคแทนเจนต


∫ ∫
1. tanx dx = ℓn|secx| + C 2. cotx dx = ℓn|sinx| + C
5.2. การหาปริพันธโดยการเปล่ ียนตั วแปร 181

ตั วอยาง 5.2.12 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต cos2x dx
sin22x

การหาปรพิ ั นธไมจํากั ดเขตของฟงก ชันตรโี กณมิตบิ างรูปแบบอาจจะอาศัยเอกลั กษณ

1. sinxcosy = 12 [sin(x + y) + sin(x − y)] 3. cosxcosy = 12 [cos(x + y) + cos(x − y)]


2. cosxsiny = 12 [sin(x + y) − sin(x − y)] 4. sinxsiny = − 12 [cos(x + y) − cos(x − y)]
ตั วอยาง 5.2.13 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี

1. sinxsin(2x) dx


2. sin(3x)cos(5x) dx
182 บทท่ ี 5. ปริพันธ

3. cos(2x)cos(4x) dx


4. sin2x dx


ตั วอยาง 5.2.14 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต sinxcosx dx
5.2. การหาปริพันธโดยการเปล่ ียนตั วแปร 183

ตั วอยาง 5.2.15 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต sinx[cos(2x) + cos(3x)] dx


ตั วอยาง 5.2.16 จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขต sinxsin(2x)sin(3x) dx
184 บทท่ ี 5. ปริพันธ
แบบฝก หั ด 5.2
1. จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดโดยการกำหนดตั วแปรตอไปน้ ี


1.1 x2 1 − x dx ให u=1−x

1 √
1.2 √ √
x( x + 1)3
dx ให u= x+1

1 − sinx
1.3 (x + cosx)2
dx ให u = x + cosx

ℓn(x)
1.4 x
dx ให u = ℓnx

2. จงหาปรพิ ั นธไมจำกั ดเขตตอไปน้ ี


∫ ∫

2.1 4
x ( x + 2) dx 2.17 secx(tanx − 2cosx) dx
∫ √ ∫
2.2 3
x2 (x − 2)2 dx 2.18 sin2 x2 dx
∫ ∫
1
2.3 (1 + )2 dt
t
2.19 cos3x dx
∫ ∫
x+1
2.4 √3
x+1
dx 2.20 sin4x dx
∫ ∫
1 − cos2 x
2.5 cos2x dx 2.21 sin2xcos2x dx
∫ ∫
2.6

3
3x + 1 dx 2.22 sinx dx
(1 − cosx)2
∫ ∫

2.7 (x + 1)2 1 − x dx 2.23 cos2xcos6x dx
∫ ∫
2.8 (x2 − 2x + 1)10 dx 2.24 sin3xcos3x dx
∫ ∫
2.9 4x2 + 6x + 1
√ dx 2.25 cos4x dx
1 − 2x 1 + sinx
∫ √ ∫
√ cos22x dx
2.10 1 + 1 + x dx 2.26 √
∫ ∫ sin2x
2x + 3
2.11 √ dx 2.27 tan24t dt
∫ √4 − 9x
2

2.12 x 3x2 + 2 dx 2.28 csc5tcot5t dt
∫ ∫
1
2.13 √ dx 2.29 sec10ttant dt
(3x2 + 1) 3x2 + 2
∫ ∫
1
2.14 xℓnx4
dx 2.30 cosxtan2(sinx) dx
∫ ∫
ex
2.15 √ dx 2.31 cot3xcsc4x dx
1 + ex
∫ ∫
2.16 sine−x dx 2.32 z sin(−z 2 )cos5 (−z 2 ) dz
ex cose−x
5.3. ปริพันธจำกั ดเขต 185

5.3 ปรพิ ั นธจำกั ดเขต


ในหั วขอ น้ ีจะให แนวคดิ ของการหาพ้ ืนที่ใต กราฟของฟงก ชัน โดยอาศัย การแบง พ้ ืนที่ยอย ๆ
แลว รวมเปน พ้ ืนที่ที่ตองการ นั น่ คอื แนวคดิ ที ่มี มาชา นานที่เรยี กวา ระเบียบวธิ ี เกษียณ แต ใน
แคลคูลัสปจจบุ ั นตองอาศัยความรูเ รอื่ งอนุกรมและลมิ ิตอนั นต ดั งนั้ นเรมิ่ ตนดวยสัญลั กษณแทน

การบวกทเี่ รยี กวาซกิ มา (sigma) นยิ ามโดย

n
ak = a1 + a2 + a3 + · · · + an
k=1

มีสมบั ตเิ บ้ ืองตนดั งน้ ี



n ∑
n ∑
n ∑
n
1. ่ c เปน คาคงตั ว
c = cn เมือ 2. (ak ± bk ) = ak ± bk
k=1 k=1 k=1 k=1

และมีผลบวกทสี่ ำคั ญดั งน้ ี



n
n(n + 1)
1. k = 1 + 2 + 3 + ··· + n =
2
สูตรของเกาส (Gauss' formula)
k=1


n
n(n + 1)(2n + 1)
2. k 2 = 12 + 22 + 32 + · · · + n2 =
6
k=1


n [ ]2
n(n + 1)
3. k = 1 + 2 + 3 + ··· + n =
3 3 3 3
2
3

k=1

บทนยิ าม 5.3.1 เรยี กเซต P = {x0, x1, x2, ..., xn} วาผลแบงกั้ น (partition) ของชว ง [a, b] ซงึ ่
จดุ ใน P แบงชว ง [a, b] ออกเปน n ชว งคอื
[x0 , x1 ], [x1 , x2 ], [x2 , x3 ], ..., [xn−1 , xn ]

นั น่ คอื [a, b] = [x0, x1]∪[x1, x2]∪[x2, x3]∪...∪[xn−1, xn] เมือ่ a = x0 < x1 < x2 < ... < xn = b

รูปที่ 5.1: ผลแบงกั้ นของ [a, b]


Y
y = f (x)

... ...

X
a = x0 x1 x2 xk−1 xk xn−1 xn = b
186 บทท่ ี 5. ปริพันธ
บทนยิ าม 5.3.2 ให y = f (x) เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และ P = {x0, x1, x2, ..., xn}
เปน ผลแบงกั้ น [a, b] สำหรั บ k = 1, 2, 3, ..., n และ ∆xk = xk − xk−1 ถา
mk เปน คาของ f ทนี ่ อ ยทสี่ ดุ ในชว ง [xk−1, xk ]
Mk เปน  คาของ f ทมี ่ ากทสี ่ ดุ ในชว ง [xk−1, xk ]
และให

n ∑
n
L(P, f ) = mk ∆xk และ U (P, f ) = Mk ∆xk
k=1 k=1

จะเรยี ก L(P, f ) วาผลบวกลาง (lower sum) ของ f บนชว ง [a, b] เทยี บกั บผลแบงกั้ น P
และเรยี ก U (P, f ) วาผลบวกบน (upper sum) ของ f บนชว ง [a, b] เทยี บกั บผลแบงกั้ น P
อาจแสดงผลบวกลางและผลบวกบนไดดังรูปตอไปน้ ี

รูปที่ 5.2: ผลบวกลางของ f บน [a, b]


Y
y = f (x)

... ...

X
a = x0 x1 x2 x3 xk−1 xk xn−1 xn = b


n
L(P, f ) = mk ∆xk
k=1

รูปที ่ 5.3: ผลบวกบนของ f บน [a, b]


Y
y = f (x)

... ...

X
a = x0 x1 x2 x3 xk−1 xk xn−1 xn = b


n
U (P, f ) = Mk ∆xk
k=1

ถาให A เปน พ้ ืนทปี ่ ด ลอมดวยกราฟ y = f (x) กั บแกน X บนชว ง [a, b] สรุปไดวา


L(P, f ) ≤ A ≤ U (P, f )
5.3. ปริพันธจำกั ดเขต 187
ตั วอยาง 5.3.3 ให f (x) = x2 + 1 บนชว ง [0, 1] จงหา L(P, f ) และ U (P, f ) เมือ่ กำหนด P
ดั งตอไปน้ ี
{ }
1 1 3
1. P = 0, , , , 1
4 2 4

Y f (x) = x2 + 1 Y f (x) = x2 + 1
2 2

1 1

X X
0 1 1 3 1 0 1 1 3 1
4 2 4 4 2 4

2. P = {0, 0.2, 0.5, 0.6, 0.8, 1}

Y f (x) = x2 + 1 Y f (x) = x2 + 1
2 2

1 1

X X
0 0.2 0.5 0.6 0.8 1 0 0.2 0.5 0.6 0.8 1
188 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ตั วอยาง 5.3.4 ให f (x) = x2 + 1 บนชว ง [0, 1] จงหา L(P, f ) และ U (P, f ) ในรูป n เมือ่
P เปน ผลแบงกั้ นโดยแบง [0, 1] ออกเปน n ชอ งเทา ๆ กั น
Y f (x) = x2 + 1
2

1
... ...

0 1 2 3 k−1 k n−1 1
n n n n n n
5.3. ปริพันธจำกั ดเขต 189
บทนยิ าม 5.3.5 ให y = f (x) เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และ P = {x0, x1, x2, ..., xn}
เปน ผลแบงกั้ น [a, b] สำหรั บ k = 1, 2, 3, ..., n และ ∆xk = xk − xk−1 ถา x∗k ∈ [xk−1, xk ]
หรอื mk ≤ f (x∗k ) ≤ Mk แลว

n

S (P, f ) = f (xk )∆xk
k=1

เรยี ก S ∗(P, f ) วาผลบวกรมี ั นน (Riemann sum) ของ f บนชว ง [a, b] เทยี บกั บผลแบงกั น P
จากการนยิ ามผลบวกรมี ั นนจะไดวา
L(P, f ) ≤ S ∗ (P, f ) ≤ U (P, f )

ตั วอยาง 5.3.6 ให f (x) = x2 + 1 บนชว ง [0, 1] และ


P เปน ผลแบงกั้ นทแี่ บงชว ง [0, 1] เปน n ชอ งเทา ๆ กั น
จงหา
1. S ∗ (P, f ) เมือ่ x∗k เปน จดุ กงึ ่ กลางของชว ง [xk−1, xk ]
2. lim L(P, f ),
n→∞
lim U (P, f )
n→∞
และ n→∞
lim S ∗ (P, f )
190 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ทฤษฎบี ท 5.3.7 ให y = f (x) เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และ P = {x0 , x1 , x2 , ..., xn }
เปน ผลแบงกั้ น [a, b] ถา n→∞
lim ∥P ∥ = 0 โดยที ่

∥P ∥ = max{|xi − xi−1 | : i = 1, 2, 3, ..., n}

แลว n→∞
lim L(P, f ), lim S ∗ (P, f )
n→∞
และ n→∞
lim U (P, f ) มีคา และ
lim L(P, f ) = lim S ∗ (P, f ) = lim U (P, f ) = A
n→∞ n→∞ n→∞

เมือ่ A เปน พ้ ืนทรี่ ะหวางเสน โคง y = f (x) กั บแกน X บนชว ง [a, b]


บทนยิ าม 5.3.8 ให y = f (x) เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และ P เปน ผลแบงกั้ น [a, b] ถา
lim S ∗ (P, f ) = L
n→∞

จะกลาววา f หาปรพิ ั นธ ได (integrable) บน [a, b] และเรยี กคาลมิ ิต L วา ปรพิ ั นธ จำกั ดเขต
หรอื อนิ ทรกิ รั ลจำกั ดเขต (definite integral) ของ f บน [a, b] และเขียนแทนดวย
∫ b
f (x) dx = L
a

เรยี ก a และ b วาลมิ ติ ลาง (lower limit) และลมิ ติ บน (upper limit) ตามลำดั บ
ตั วอยาง 5.3.9 กำหนดให f (x) = α สำหรั บคา x ∈ [a, b] เมือ่ α เปน คาคงตั ว จงแสดงวา
∫ b
f (x) dx = α(b − a)
a
5.3. ปริพันธจำกั ดเขต 191
จากตั วอยางทีผ่ านมาจะเห็นวาการหาปริพันธจำกั ดเขตคำนวณได ยาก เนอื่ งจากตองเลอื ก
ผลแบง กั้ นที่เหมาะสมและใช กฎเกยี ่ วกั บอนุกรมจนสุดทายหาลิ มิต อนั นต ของผลบวกนั้ น ถา
ฟงก ชันทีส่ นใจไมสามารถหาผลลั พธของอนุกรมในรูปของ n อาจทำใหการหาปรพิ ั นธจำกั ดเขต
ไมได ดวยบทนยิ ามดั งกลาว แตอาจใชค วามหมายของปริพันธ จำกั ดเขตซงึ ่ เทากั บพ้ ืนทีร่ ะหวาง
เสน โคง y = f (x) กั บแกน X บนชว ง [a, b] โดยใหคา พ้ ืนทเี ่ หนอื แกน X มีเครอื่ งหมายบวก และคา
พ้ ืนทใี่ ตแกน X มีเครอื่ งหมายลบ
∫ 3
ตั วอยาง 5.3.10 จงหา 4 dx โดยใชพ ้ ืนทใี ่ ตกราฟ
−1

∫ 3
ตั วอยาง 5.3.11 จงหา (4 − 2x) dx โดยใชพ ้ ืนทใี่ ตกราฟ
0
192 บทท่ ี 5. ปริพันธ
∫ 5
ตั วอยาง 5.3.12 จงหา |x − 2| dx โดยใชพ ้ ืนทใี่ ตกราฟ
0

∫ 2 √
ตั วอยาง 5.3.13 จงหา 4 − x2 dx โดยใชพ ้ ืนทใี ่ ตกราฟ
0
5.3. ปริพันธจำกั ดเขต 193
∫ 3 √
ตั วอยาง 5.3.14 จงหา 4− 9 − x2 dx โดยใชพ ้ ืนทใี่ ตกราฟ
0
194 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ทฤษฎบี ท 5.3.15 กำหนดให f และ g หาปรพิ ั นธไดบนชว ง [a, b] และ k เปน คาคงที่ แลว
∫ c
1. f (x) dx = 0 เมือ่ c ∈ [a, b]
c
∫ b ∫ a
2. f (x) dx = − f (x) dx
a b
∫ b ∫ b
3. kf (x) dx = k f (x) dx
a a
∫ b ∫ b ∫ b
4. f (x) + g(x) dx = f (x) dx + g(x) dx
a a a
∫ b ∫ b ∫ b
5. f (x) − g(x) dx = f (x) dx − g(x) dx
a a a
∫ b ∫ c ∫ b
6. f (x) dx = f (x) dx + f (x) dx เมือ่ c ∈ [a, b]
a a c
∫ b
7. ถา f (x) ≥ 0 สำหรั บ x ∈ [a, b] แลว f (x) dx ≥ 0
a
∫ b ∫ b
8. ถา f (x) ≤ g(x) สำหรั บ x ∈ [a, b] แลว f (x) dx ≤ g(x) dx
a a
∫ b ∫ b
9. f (x) dx ≤ |f (x)| dx
a a

ตั วอยาง 5.3.16 ให m, M เปน คาคงตั ว และ f เปน ฟงก ชันทหี่ าปรพิ ั นธไดบนชว ง [a, b] โดยที่
m ≤ f (x) ≤ M ทกุ ๆ x ∈ [a, b]
จงแสดงวา ∫ b
m(b − a) ≤ f (x) dx ≤ M (b − a)
a
5.3. ปริพันธจำกั ดเขต 195
โดยทฤษฎบี ท 5.3.15 ขอ 6 เมือ่ c ∈ [a, b] จะไดวา
∫ c ∫ b ∫ b
f (x) dx = f (x) dx − f (x) dx
a a c
∫ b ∫ b ∫ c
หรอื f (x) dx = f (x) dx − f (x) dx
c a a

เพือ่ ใหงายตอการนําไปใช  กลาวสั้น ๆ ไดวา สว นทสี่ นใจเกดิ จากทั้ งหมดลบออกดวยสว นทเี่ หลอื
ตั วอยาง 5.3.17 ให f เปน ฟงก ชันทหี่ าปรพิ ั นธไดบนชว ง [0, 5] โดยที่
∫ 3 ∫ 5 ∫ 5
f (x) dx = 3, f (x) dx = 8 และ f (x) dx = 10
0 1 0

จงหา
∫ 3 ∫ 3
1. f (x) dx 4. f (x) dx
3 5

∫ 1 ∫ 1
2. f (x) dx 5. f (x) dx
5 3

∫ 5 ∫ 1
3. f (x) dx 6. f (x) dx
3 0
196 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ตั วอยาง 5.3.18 ให f, g เปน ฟงก ชันทหี่ าปรพิ ั นธไดบนชว ง [0, 4] โดยที ่
∫ 4 ∫ 1 ∫ 0
f (x) dx = 5, g(x) dx = −2 และ f (x) dx = 3
1 0 4

จงหา
∫ 1
1. f (x) dx
0

∫ 1
2. [2f (x) + 3g(x)] dx
0
5.3. ปริพันธจำกั ดเขต 197

แบบฝก หั ด 5.3
1. จงหา L(P, f ), U (P, f ) และ S ∗ (P, f ) เลอื ก x∗i เปน จดุ กงึ ่ กลางชว ง
{ }
1 1 3
1.1 f (x) = x + 1, x ∈ [0, 1] P = 0, , , , 1
4 2 4
{ }
1 1
1.2 f (x) = x − x, 2
x ∈ [−1, 1] P = −1, − , 0, , 1
2 2
{ }
1 1 5
1.3 f (x) = x3 + 1, x ∈ [0, 1] P = 0, , , , 1
8 2 8
{ }
1 1 3
1.4 f (x) = |x|, x ∈ [−1, 2] P = −1, − , 0, , 1, , 2
2 2 2

2. กำหนดให f (x) = 1 − x2 สำหรั บ x ∈ [0, 1] ให P เปน ผลแบงกั นทีแ่ บงชว ง [0, 1] เปน n
ชอ งเทาๆกั น จงหา L(P, f ), U (P, f ) และ S ∗(P, f ) เลอื ก x∗i เปน จดุ กงึ ่ กลางชว ง
3. กำหนดให f (x) = x2 สำหรั บคา x ∈ [a, b] จงแสดงวา
∫ b
b3 − a 3
f (x) dx =
a 3
∫ 5 ∫ 5 ∫ 10
4. กำหนดให f (x) dx = 5, f (x) dx = 8 และ f (x) dx = 15 จงหาคาของ
1 3 1
∫ 3 ∫ 10 ∫ 3
4.1 f (x) dx 4.3 f (x) dx 4.5 f (x) dx
1 5 5
∫ 1 ∫ 10 ∫ 5
4.2 f (x) dx 4.4 f (x) dx 4.6 f (x) dx
5 3 5
∫ b ∫ b
1
5. กำหนดให α dx = α(b − a) และ x dx = (b2 − a2 )
2
จงหาคาของ
a a
∫ 1 ∫ 1 ∫ 3
5.1 |x| dx 5.3 |2x − 1| dx 5.5 |x + 1| + |x| dx
−1 0 −2
∫ 3 ∫ 2 ∫ b
5.2 |x − 1| dx 5.4 |3x − 2| dx 5.6 |x − a| + |x − b| dx
0 1 a

6. จงหาปรพิ ั นธจำกั ดเขตโดยใชพ ้ ืนทใี ่ ตกราฟ


∫ 4 ∫ 2 ∫ 3 √
6.1 (2x + 8) dx 6.4 x + |x| dx 6.7 3+ 4 − x2 dx
−3 −2 0
∫ ∫ ∫ √
2 3 √ 3
6.2 |3x − 2| dx 6.5 9 − x2 dx 6.8 4+ 9 − x2 dx
1 −3 0
∫ ∫ ∫ √
3 1 √ 2

6.3 6.6 6.9
2
|x + 1| + |x| dx 2 − x2 dx 1 − x2 dx
−2 0 0
198 บทท่ ี 5. ปริพันธ
5.4 ทฤษฎบี ทหลั กมลู ของแคลคลู ั ส
ในหั วขอน้ จี ะกลาวถงึ ทฤษฎบี ทหลั กมูลของแคลคูลัสทีถ่ กู นำเสนอโดยนวิ ตั น แตเขาเองไดรับ
อทิ ธพิ ลของทฤษฎบี ทน้ มี าจากแนวคดิ ของแบรโรว ประกอบดวย 2 ทฤษฎบี ทคอื
1. ทฤษฎบี ทหลั กมูลบททหี่ นงึ ่ ของแคลคูลัส (First fundamental theorem of calculus)
2. ทฤษฎบี ทหลั กมูลบททสี่ องของแคลคูลัส (Second fundamental theorem of calculus)
เนอื่ งจากการพิสจู น ตองใชค วามรูหลายอยาง ดั งนั้ นในวชิ าน้ จะไม
ี กลาวถงึ การพิสจู น แตจะนำ
ทฤษฎบี ทไปใชเ พือ่ ใหเห็นถงึ ประโยชนของทฤษฎบี ทหลั กมูลของแคลคูลัส
พิจารณาฟงกชัน f ตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] และ f (x) ≥ 0 ทกุ ๆ x ∈ [a, b] พ้ ืนทใี่ ตกราฟของ f
บน [a, x] แสดงไดดังรูป

รูปที่ 5.4: พ้ ืนทใี่ ตกราฟของ f บน [a, x]


∫ x

Y f (t) dt
a
y = f (x)

X
a x b

ทฤษฎบี ท 5.4.1 ทฤษฎบี ทหลั กมูลบททหี่ นงึ ่ ของแคลคลู ั ส


ให f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบน [a, b] และ c ∈ [a, b] กำหนดให
∫ x
F (x) = f (t) dt เมือ่ x ∈ [a, b]
c

แลวจะไดวา F เปน ฟงก ชันทหี ่ าอนุพันธไดบนชว ง [a, b] และ


∫ x
d

F (x) =
dx
f (t) dt = f (x) ทกุ ๆ x ∈ [a, b]
c

ตั วอยางเชน
∫ x√
d
1. dx 1 + t2 dt =
1
∫ s
d
2. ds
sin(t2) dt =
−2
∫ e
d
3. ecosx dx =
dw w
5.4. ทฤษฎีบทหลั กมูลของแคลคูลัส 199
ทฤษฎบี ท 5.4.2 ให f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบน [a, b] และ c ∈ [a, b] แลว
∫ u
d du
f (t) dt = f (u) ·
dx c dx

เมือ่ u = u(x) เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธไดที ่ x และมีเรนจ เปน สับเซตของ [a, b]
∫ x2 +1
d
ตั วอยาง 5.4.3 จงหา dx
tcost dt
1

∫ x2
d 1
ตั วอยาง 5.4.4 จงหา dx 1+t
dt
x

∫ x2
1
ตั วอยาง 5.4.5 ให F (x) =
1 + et
dt จงหา F (1) และ F ′(1)
x
200 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ทฤษฎบี ท 5.4.6 ทฤษฎบี ทหลั กมูลบททสี่ องของแคลคลู ั ส
ให f เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบน [a, b] และ F เปน ปฏยิ านุพันธของ f บนชว ง [a, b] แลว
∫ b
f (x) dx = F (b) − F (a) = [F (x)]ba
a
∫ 1
ตั วอยาง 5.4.7 จงหาคาของ x2 + 1 dx
0

ตั วอยาง 5.4.8 จงหาคาของ


∫ 1
1. ex − x + 1 dx
0

∫ √
4
( x − 1)2
2. x
dx
1
5.4. ทฤษฎีบทหลั กมูลของแคลคูลัส 201

ตั วอยาง 5.4.9 จงหาปรพิ ั นธจำกั ดเขตตอไปน้ ี


∫ 3
1. |x − 2| dx
0

∫ 2
2. ||x| − 1| dx
−1
202 บทท่ ี 5. ปริพันธ
ตั วอยาง 5.4.10 จงหาคาของ
∫ π
1. sintcos(3t) dt
0

∫ 3
x
2. x2 +1
dx
1
5.4. ทฤษฎีบทหลั กมูลของแคลคูลัส 203
ตั วอยาง 5.4.11 จงหาคาของ
∫ 0
1. cost(1 − sint)2 dt
− π2


2.
1
arctanx dx
0 1 + x2
204 บทท่ ี 5. ปริพันธ
โดยทฤษฎบี ท 5.2.1 การหาปรพิ ั นธโดยการแทนคา จะไดวา ทฤษฎบี ทตอไปน้ ี
ทฤษฎบี ท 5.4.12 ให u = u(x) เปน ฟงก ชันทหี่ าอนุพันธไดและมีเรจนเปน ชว ง [a, b] และ f เปน
ฟงก ชันทหี่ าปฏยิ านุพันธไดบน [a, b] แลว
∫ b[ ] ∫ u(b)
du(x)
f (u(x)) dx = f (u) du
a dx u(a)

ตั วอยาง 5.4.13 จงหาคาของ


∫ 3
x2 + 1
1. x3 + 3x
dx
−1

∫ 5 √
2. x x − 1 dx
1
5.4. ทฤษฎีบทหลั กมูลของแคลคูลัส 205
∫ 1
ตั วอยาง 5.4.14 กำหนดให f (x) dx = 10 จงหาคาของ
0
∫ 1

1.
2
f (2t) dt
0

∫ 1
2. f (1 − y) dy
0

∫ 3

3.
2
f (3 − 2s) ds
1
206 บทท่ ี 5. ปริพันธ
แบบฝก หั ด 5.4
∫ x
1
1. กำหนดให F (x) = √ dt จงหา
1 t2 + 3
1.1 F (1) 1.2 F ′ (1) 1.3 F ′′ (1)

2. จงหา F ′ (x) เมือ่ กำหนดให


∫ x ∫ 1+x
1
2.1 F (x) = √ dt 2.3 F (x) = et arctant dt
1 t −1
2
1−x
∫ 3
∫ cosx
2.2 F (x) = cost2 dt 2.4 F (x) = √
tℓn(tant) dt
x x

3. จงหาคาปรพิ ั นธจำกั ดเขตตอไปน้ ี


∫ 2 ( ) ∫ π
1 1
3.1 3.12 (1 + sinx)2 dx
2
+ + x dx
1 x3 x2 0
∫ 3 ( ) ∫
√ 1 1
1
3.2 x 3−x+ √ dx 3.13 (1 + |x|)3
dx
1 x3 −1
∫ 1 ∫ 8
1
3.3 |3 − 4x| dx 3.14 √
3
dt
0 1 ( t + 1)4
∫ π ( ) ∫ 1
2 y
3.4
2
x+ dx 3.15 √ dy
π
6
sin2 x 0 (1 + y 2 )3
∫ 1 ∫ 3π

3.16 sin3xcos5x dx
4
3.5 |x + 3x + 2| dx
2
π
−2 2
∫ ∫
3.6

4
| cos x| dx 3.17
π
2 cos4x dx
0 0 1 + sinx
∫ ∫
3.7
4
||x − 2| − 1| dx 3.18
π
2

cos3z dz
−1 0 7 − 2sin3z
∫ ∫

π
2
3.19 tan3θsec3θ dθ
4
3.8 2 + |x| dx
−1 0
∫ ∫ π

2 √
3.20 sec4θ tanθ dθ
4
3.9 x 4 − x2 dx
0 0
∫ ∫
0
3.21
π
3 tan3θ dθ
3.10 2 3
t (t + 1) dt 10
secθ
−1 0
∫ 1
∫ π

3.22 tan32θsec2θ dθ
3

3.11 √ t dt
0 4 − 3t π
6

∫ 2
4. กำหนดให f (x) dx = 1 จงหาคาตอไปน้ ี
1
∫ 1 ∫ 4

f ( t)
4.1 f (2t) dt 4.2 √ dt
0.5 1 t
บทที ่ 6
เทคนคิ การหาปรพิ ั นธ
6.1 การหาปรพิ ั นธทลี ่ ะสว น
ให u = u(x) และ v = v(x) เปน ฟงก ชันทีข่ ้ ึนกั บตั วแปร x โดยกฎการคูณของคาเชงิ อนุพันธ
d(uv) = udv + vdu จะไดวา ∫ ∫
u dv = uv − v du

เรยี กวธิ กี ารน้ วี า การหาปรพิ ั นธ โดยการแยกสว น (integration by part)



ตั วอยาง 6.1.1 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี xex dx

207
208 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
ตั วอยาง 6.1.2 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี

1. xcos2x dx


2. ℓnx dx
6.1. การหาปริพันธท่ ีละสว น 209

ตั วอยาง 6.1.3 จงหา x5 arctan(x2 ) dx
210 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
ตั วอยาง 6.1.4 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี
∫ 2
1. x2 ℓnx dx
1

∫ 1
2. arctanx dx
0
6.1. การหาปริพันธท่ ีละสว น 211

ตั วอยาง 6.1.5 จงหาปรพิ ั นธ x2 ex dx


ตั วอยาง 6.1.6 จงหาปรพิ ั นธ x3 sinx dx
212 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

ตั วอยาง 6.1.7 จงหาปรพิ ั นธ ex sinx dx


ตั วอยาง 6.1.8 จงหาปรพิ ั นธ ex cosx dx
6.1. การหาปริพันธท่ ีละสว น 213

ตั วอยาง 6.1.9 จงหาปรพิ ั นธ xex sinx dx
214 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
การใชว ธิ กี ารหาปรพิ ั นธโดยการแยกสว นทำใหทราบปรพิ ั นธของฟงกชันลอการทิ ึมและฟงกชัน
ตรโี กณมิตผิ กผั นบางสว นดั งน้ ี
ทฤษฎบี ท 6.1.10

1. ℓnx dx = xℓnx − x + C
∫ √
2. arcsinxdx = xarcsinx + 1 − x2 + C
∫ √
3. arccosxdx = xarccosx − 1 − x2 + C

4. arctanxdx = xarctanx − 12 ℓn(1 + x2) + C

5. arccotxdx = xarccotx + 12 ℓn(1 + x2) + C
6.1. การหาปริพันธท่ ีละสว น 215
 ด 6.1
แบบฝกหั
1. จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี
∫ ∫ ∫
1.1 xsinx dx 1.10 e sinx dx
−x
1.19 (x + 1)2 sinx dx
∫ ∫ √ ∫
arccot x ℓnx
1.2 2 x
x 2 dx 1.11 √ dx 1.20 √ dx
x
x
∫ ∫ ( )2 ∫
ℓnx xℓnx
1.3 (x3 + x)ex dx
2

1.12 dx 1.21 3 dx
∫ x (x2 − 1) 2
∫ ∫
1.4 x3 cosx dx
1.13 xtan2 x dx 1.22 ex sin2 x dx
∫ ∫
∫ √
1.5 csc3x dx 1.14 x2 arctanx dx 1.23 sin x dx
∫ ∫

1.6 xn ℓnx dx เมือ่ n ̸=
1.15 cos(ℓnx) dx 1.24 xex
dx
−1 (1 + x)2
∫ ∫ ∫
x2 ex
1.7 xsinx dx 1.16 ℓn(x + 5) dx 2
1.25 (x + 2)2
dx
∫ ∫ ∫ √
1.8 ℓn(3x + 5) dx 1.17 sinxℓn(cosx) dx 1.26 xe 2−x
dx
∫ ∫ ∫
1.9 (ℓnx)2 dx 1.18 (x + 3x + 1)cosx dx
2
1.27 xℓn3 x dx

2. จงหาคาของปรพิ ั นธจำกั ดเขตตอไปน้ ี


∫ 1 ∫ π ∫ e

2.1 xe − x
dx 2.4
4
e 3x
sin4x dx 2.7 (ℓnx)2 dx
0 0 1
∫ ∫ ∫
ℓnx
3π e 1

2.2
4
xcotxcscx dx 2.5 √ x2
dx 2.8
2
arccosx dx
π e
4 0
∫ ∫ ∫
xarctanx −1
π 1

2.6 2.9 arcsecx dx


2
2.3 cos2x dx
2
3
x √ dx
0 0 1 − x2 −2
216 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

6.2 ปรพิ ั นธของฟงกชันตรรกยะ


ในหั วขอน้ จี ะศกึ ษาการหา ปรพิ ั นธ ของฟงก ชันตรรกยะ (integral of rational function)
f (x) โดยที ่ p(x) และ q(x) เปน ฟงกชันพหุนามในรูปแบบ
p(x)
f (x) =
q(x)
โดยที ่ deg p(x) < deg q(x)
สามารถเขียนในรูป
p(x) p1 (x) p2 (x) pn (x)
f (x) = = + + ··· +
q(x) q1 (x) q2 (x) qn (x)

โดยแตละ pi(x) และ qi(x) มีระดั บขั้ นนอยกวา p(x) และ q(x) ตามลำดั บ
เรยี กแตละ pqi(x)
(x)
วาเศษสว นยอย (partial fraction) ของ f (x) สำหรั บ i = 1, 2, ..., n
i

โดยทฤษฎบี ทเกยี่ วกั บฟงก ชันตรรกยะ (ไมพิสจู นในวชิ าน้ )ี เขียนได 3 รปู แบบคอื
1. มี n รากทไี ่ มซ้ำกั น
q(x)

2. q(x) มีรากซ้ำ
3. q(x) ไมมีรากเปน จำนวนจรงิ

รูปแบบที ่ 1. q(x) มี n รากทไี ่ มซ้ำกั น


ให q(x) = (x − a1)(x − a2) . . . (x − an) เมือ่ a1, a2, ..., an เปน จำนวนจรงิ ทแี ่ ตกตางกั น แลว
p(x) A1 A2 An
= + + ··· +
q(x) x − a1 x − a2 x − an

เมือ่ A1, A2, ..., An เปน คาคงตั ว


ตั วอยางเชน
2
1. (x − 1)(x + 1)
=

x−2
2. x(x + 1)(x − 3)
=

x2 + 1
3. (x2 − 1)(x2 − 4)
=
6.2. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะ 217
สงิ่ สำคั ญของการเขียนรูป เศษสว นยอยคอื การหาคา คงตั ว โดยความรูเรอื่ งการเทา กั นของ
พหุนามทำได 2 วธิ คี อื การแทนคา และการเทยี บสัมประสทิ ธ์ ิ จากขอ 1 จั ดรูปใหมจะไดวา
2 A(x + 1) + B(x − 1)
=
(x − 1)(x + 1) (x − 1)(x + 1)

ดั งนั้ น 2 = A(x + 1) + B(x − 1) เมือ่ แทน x = 1 จะได A = 1 และแทน x = −1 จะได B = −1


ฉะนั้ น
2 1 1
= −
(x − 1)(x + 1) x−1 x+1

โดยทั ว่ ไปเมือ่ f (x) อยูในรูปเศษสว นยอยจะไดปรพิ ั นธคอื


∫ ∫
A1 A2 An
f (x) dx = + + ··· + dx
x − a1 x − a2 x − an
= A1 ℓn|x − a1 | + A2 ℓn|x − a2 | + · · · + An ℓn|x − an | + C

ทฤษฎบี ท 6.2.1 ให a และ b เปน จำนวนจรงิ ทตี ่ า งกั น จะไดวา


[ ]
1 1 1 1
= −
(x + a)(x + b) b−a x+a x+b
218 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
ตั วอยาง 6.2.2 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี

1
1. (x + 1)(x + 2)
dx


x
2. x2 −4
dx
6.2. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะ 219

x
ตั วอยาง 6.2.3 จงหาปรพิ ั นธ (x − 1)(4x2 − 1)
dx


x4 + 5
ตั วอยาง 6.2.4 จงหาปรพิ ั นธของ x3 + 2x2 − x − 2
dx
220 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

ตั วอยาง 6.2.5 จงหาปรพิ ั นธของ cosx dx
(1 + 2sinx)(1 − sinx)
6.2. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะ 221
ทฤษฎบี ท 6.2.6 ปรพิ ั นธของฟงกชันเซแคนตกับโคเซแคนต

1. secxdx = ℓn|secx + tanx| + C

2. cscxdx = ℓn|cscx − cotx| + C
222 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
รูปแบบที ่ 2. q(x) มีรากซ้ำ
ใน q(x) มีตัวประกอบ (x − a)k จะไดวา
p(x) A1 A2 Ak
= + + ··· +
(x − a)k x − a (x − a)2 (x − a)k

เมือ่ A1, A2, ..., Ak เปน คาคงตั ว


ตั วอยางเชน
x
1. (x − 1)3
=

x2 − 3
2. x(x + 2)2
=

x3 − 1
3. x2 (x − 3)2
=


1
ตั วอยาง 6.2.7 จงหาปรพิ ั นธ (x − 1)(x + 1)2
dx
6.2. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะ 223

x+1
ตั วอยาง 6.2.8 จงหาปรพิ ั นธ − 1)2
x2 (x
dx
224 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

x2 + 1
ตั วอยาง 6.2.9 จงหาปรพิ ั นธ (x2 − 1)2 (x − 2)
dx
6.2. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะ 225

รูปแบบที ่ 3. q(x) ไมมีรากเปน จำนวนจรงิ


ใน q(x) มีตัวประกอบ (ax2 + bx + c)k โดยที ่ b2 − 4ac < 0 แลว
p(x) A1 x + B1 A2 x + B2 Ak x + Bk
= + + · · · +
(ax2 + bx + c)k ax2 + bx + c (ax2 + bx + c)2 (ax2 + bx + c)k

เมือ่ A1, A2, ..., Ak และ B1, B2, ..., Bk เปน คาคงตั ว
ตั วอยางเชน
1
1. (x2 + 1)2
=

x+1
2. x(x2 + 1)
=

2x + 3
3. (x − 1)2 (x2 + 2)2
=


1
ตั วอยาง 6.2.10 จงหาปรพิ ั นธ x(x2 + 1)
dx
226 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

1
ตั วอยาง 6.2.11 จงหาปรพิ ั นธ x4 −1
dx


ตั วอยาง 6.2.12 จงหาปรพิ ั นธของ tanθ dθ
1 + cos2 θ
6.2. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะ 227

1
ตั วอยาง 6.2.13 จงหาปรพิ ั นธของ 1 + e2t
dt
228 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
แบบฝก หั ด 6.2
1. จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี
∫ ∫
1 11x2 + 13x
1.1 16x2 − 1
dx 1.11 dx
(x + 3)(x + 2)(x2 + 3)
∫ ∫
x 35x + 47
1.2 x −x−6
2
dx 1.12 dx
(3x + 5)2 (x2 + 3x + 6)
∫ ∫
x3 + 5 11x2 + 13x
1.3 x2 − 25
dx 1.13 dx
(x + 3)(x + 2)(x2 + 3)
∫ ∫
4x3 + 2x2 + 1 2x
1.4 4x3 − x
dx 1.14 dx
(x2 + 1)(x + 1)2
∫ ∫
2x3 − 5x2 + 2x − 3 x3
1.5 x2 − 2x − 2
dx 1.15 dx
(x2 − 2x + 10)2
∫ ∫
x−1
1.6 x − x2 − 2x
3
dx 1.16 4x2 + 2x + 8
dx
x(x2 + 2)2
∫ ∫
1.7 x2 (1 + sec2 x)sec2 x
(x − 1)3
dx 1.17 (1 + tan3 x)
dx
∫ ∫
20x − 11 cost dt
1.8 (3x + 2)(x2 − 4x + 5)
dx 1.18
∫ ∫
sint + sin3t
x4 − 8 1
1.9 dx 1.19 dx
x3 + 2x2 xℓnx(1 − ℓnx)
∫ ∫
10x2 + 13x 1
1.10 (2x − 1)(x2 + 2)
dx 1.20 dx
e + e2x + ex
3x

2. จงหาคาปรพิ ั นธจำกั ดเขตตอไปน้ ี


∫ ∫
0
5x + 7 4
5x3 − 4x
2.1 x + 2x − 3
2
dx 2.3 x4 − 16
dx
−2 3
∫ ∫
2secθtanθ
π
1
x3 − x2 − 11x + 10 2.4
3

2.2 x3 − 2x + 4
dx
− π4 sec3θ + secθ dθ
0
6.3. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะในร ูปตรีโกณมิติ 229

6.3 ปรพิ ั นธของฟงกชันตรรกยะในรปู ตรโี กณมติ ิ



1
พิจารณาการหาปรพิ ั นธ 1 + sinx
dx โดยอาศัยเอกลั กษณ sin2x + cos2x = 1 จะไดวา
∫ ∫
1 1 − sinx
dx = dx
1 + sinx (1 + sinx)(1 − sinx)

1 − sinx
= 2 dx
∫ 1 − sin x
1 − sinx
=

cos2x dx
= sec2 x − secxtanx dx

= tanx − secx + C

แตเมือ่ หาปรพิ ั นธของ cosx +1 sinx dx เราไมสามารถหาปรพิ ั นธโดยอาศัยเพียงเอกลั กษณ ได
อกี ในหั วขอน้ ี จงึ สนใจการเปลยี ่ นฟงก ชันตรรกยะในรปู sinx และ cosx ในรปู ตั วแปรใหมคอื z
โดยกำหนดให
x
z = tan
2

z 1 + z2

x
2
1
จากรปู จะไดวา
sin x2 = √ z
และ cos x2 = √ 1
1 + z2 1 + z2

ดั งนั้ น
sinx = 2sin x2 cos x2 = 1 +2zz2
cosx = cos2 x2 − sin2 x2 = 11 −
2
z
+ z2
( )1
dz = sec2 x2 2
1
dx = (1 + z 2 )dx
2

นั น่ คอื
cosx = 11 −
2
sinx = 1 +2zz2 และ z
+ z2
และ dx =
2
1 + z2
dz
230 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

1
ตั วอยาง 6.3.1 จงหาปรพิ ั นธ cosx + sinx dx
6.3. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะในร ูปตรีโกณมิติ 231

1
ตั วอยาง 6.3.2 จงหาปรพิ ั นธ 4cosx + 3sinx
dx
232 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

1
ตั วอยาง 6.3.3 จงหาปรพิ ั นธ 5 + 3sec2x
dx
6.3. ปริพันธของฟงก ชันตรรกยะในร ูปตรีโกณมิติ 233
∫ π
1
ตั วอยาง 6.3.4 จงหาปรพิ ั นธ
2
dx
0 3 + 5sinx
234 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
แบบฝก หั ด 6.3

1. จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี 1.6 sinx dx
∫ 2 − sinx + 1
1.1 2 −1sinx dx ∫
1
∫ 1.7 3secx − 1
dx
1
1.2 3 + 2cosx
dx ∫
∫ 1.8 cotx dx
1.3 2
dx 1 + sinx

tan x + sinx ∫
secx dx
1.4 1 1.9 1 + sinx

cosx − sinx + 1 dx ∫
1.5 1
1.10 tanx
cosx − sinx + 3 dx 1 + tanx + secx
dx

∫ π
1
2. จงหาคาของ
6
dx
0 4 − 3cos 2x + 5sin2 x
6.4. ปริพันธของฟงก ชันในร ูปกรณฑ 235

6.4 ปรพิ ั นธของฟงกชันในรปู กรณฑ


ในหั วขอน้ เี ราจะพิจารณาการหาปรพิ ั นธของฟงก ชันทมี่ ีกรณฑโดยการเปลยี ่ นตั วแปร ตั วอยาง
เชน ∫

x x − 1 dx

เมือ่ พิจารณากำหนด u ทั้ ง 2 แบบ การหาปริพันธ มี ความยากงายตางกั น จะเห็น รูป แบบ


ที ่สองเลขช้ กี ำลั งของการปริพันธ จะเปน จำนวนเต็ม ทำให งายตอ การหาค

า ดั งนั้ น ในหั วขอ น้ ีจะ
สนใจวธิ กี ารในรปู แบบทสี่ อง นั น่ คอื พิจารณาฟงก ชันทมี ีรปู แบบ ax + b จะกำจั ดเครอื่ งหมาย
n

กรณฑเพือ่ ใหงายตอการหาปรพิ ั นธโดยให



n
u= ax + b

1
ตั วอยาง 6.4.1 จงหาปรพิ ั นธ √ dx
1+ x
236 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

ตั วอยาง 6.4.2 จงหาปรพิ ั นธ 5
x3 (x − 1) 3 dx

∫ 1
x2
ตั วอยาง 6.4.3 จงหาปรพิ ั นธ 1 dx
1 + x3
6.4. ปริพันธของฟงก ชันในร ูปกรณฑ 237
∫ √
3

1+ 4x
ตั วอยาง 6.4.4 จงหาปรพิ ั นธ √
x
dx
238 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

1
ตั วอยาง 6.4.5 จงหาปรพิ ั นธ 3 1 dt
(1 + et ) + (1 + et ) 2
2
6.4. ปริพันธของฟงก ชันในร ูปกรณฑ 239
 ด 6.4
แบบฝกหั
จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี
∫ ∫
√ 1

1. 3
x 7x + 2 dx 10. 1 + x4
1 dx
x2 + x
∫ √ ∫
5x 3x − 1
2. x+5
dx 11. √ √ dx
x(1 + 3 x
∫ ∫
1 1
3. √ dx 12. √ √ dx
(x + 7) x − 2 x+1− 4x+1
∫ ∫ √ √
x 1 − x − x2
3
4. √ dx 13. √ dx
4
3x − 5 1+ 3x
∫ ∫
1
5. √ dx 14. √ √
1
√ dx
2 x−1+3 3
x x(1 + 3 x)2
∫ √ ∫ √
4
x
6. x+ x
√ dx 15. √
x
dx
(1 + 3 x)2
∫ 4 ∫ √
x 3 − 2x
7. 3 dx 16. 1
3x 2 − 1 dx
x2
∫ ∫ √ √
1 1− 4x
8. 1 1 dx 17.
3

√ dx
x 4 (1 + x 6 ) x
∫ 1 ∫
x2 e2x
9. 4 dx 18. √
4 x
dx
x + x3 e +1
240 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

6.5 ปรพิ ั นธของฟงกชันตรโี กณมติ ิ


ในหั วขอน้ จี ะกลาวถงึ วธิ กี ารหาปรพิ ั นธของฟงก ชันตรโี กณมิตใิ น 3 รูปแบบคอื
sinmxcosnx และ tanmxsecnx และ cotmxcscnx
เมือ่ m และ n เปน จำนวนเต็มบวกหรอื ศูนย (อาจขยายไปยั งจำนวนตรกยะและจำนวนเต็ม)

รูปแบบที ่ 1. sinmxcosnx
การหาปรพิ ั นธรปู แบบน้ อี าจใชเ อกลั กษณ sin2x + cos2x = 1 และการลดกำลั งสองดวยกฎ
cos2x = 12 (1 + cos2x) sin2x = 21 (1 − cos2x)
บางครั้ งอาจรวมกั บการเปลยี่ นตั วแปร ดั งจะแสดงดั งตั วอยาง
ตั วอยาง 6.5.1 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี

1. cos2x dx


2. sin3x dx


3. sin4x dx
6.5. ปริพันธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 241

ตั วอยาง 6.5.2 จงหาปรพิ ั นธ cos5x dx


ตั วอยาง 6.5.3 จงหาปรพิ ั นธ cos6x dx
242 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

ตั วอยาง 6.5.4 จงหาปรพิ ั นธ cos2xsin3x dx


ตั วอยาง 6.5.5 จงหาปรพิ ั นธ cos4xsin2x dx
6.5. ปริพันธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 243

ตั วอยาง 6.5.6 จงหาปรพิ ั นธ cos3xsin5x dx

∫ √
ตั วอยาง 6.5.7 จงหาปรพิ ั นธ sin3x cos5x dx
3
244 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
รูปแบบที ่ 2. secmxtannx
การหาปริพันธรปู แบบน้ อาจใช
ี เ อกลั กษณ sec2x − tan2x = 1 และการการหาปริพันธโดยการ
แยกสว น บางครั้ งอาจรวมกั บการเปลยี่ นตั วแปร ดั งจะแสดงดั งตั วอยาง
ตั วอยาง 6.5.8 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี

1. tan2x dx


2. tan3x dx


3. sec4x dx
6.5. ปริพันธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 245

4. tan4x dx


ตั วอยาง 6.5.9 จงหาปรพิ ั นธ sec3x dx
246 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

ตั วอยาง 6.5.10 จงหาปรพิ ั นธ sec5x dx

ตั วอยาง 6.5.11 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี



1. secxtan2x dx


2. sec2xtan3 dx
6.5. ปริพันธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 247
ตั วอยาง 6.5.12 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี

1. sec4xtan2x dx


2. sec3xtan5x dx


ตั วอยาง 6.5.13 จงหาคาของ
π
4 sec4x dx
0 1 + tanx
248 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
รูปแบบที ่ 3. cscmxcotnx
การหาปริพันธรปู แบบน้ อาจใช
ี เ อกลั กษณ csc2x − cot2x = 1 และการการหาปริพันธโดยการ
แยกสว น บางครั้ งอาจรวมกั บการเปลยี่ นตั วแปรคลายคลงึ กั บรูปแบบที ่ 2 ดั งจะแสดงดั งตั วอยาง
ตั วอยาง 6.5.14 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี

1. cot2x dx


2. cot3x dx


3. csc4x dx


4. cot4x dx
6.5. ปริพันธของฟงก ชันตรีโกณมิติ 249

ตั วอยาง 6.5.15 จงหาปรพิ ั นธ csc3x dx

ตั วอยาง 6.5.16 จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี



1. cotxccsc3x dx


2. csc2xcot4x dx
250 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
แบบฝก หั ด 6.5
1. จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี
∫ ∫
1.1 sin x dx
8
1.12 sec7x dx
∫ ∫
1.2 cos x dx
6
1.13 cot7x dx
∫ ∫
1.3 sin x dx
5
1.14 cot8x dx
∫ ∫
1.4 cos x dx
5
1.15 sec6x dx
∫ ∫
1.5 sin xcos x dx
5 5
1.16 sec7xtan7x dx
∫ ∫
1.6 cos xsin x dx
3 7
1.17 sec9xtan6x dx
∫ ∫ √
1.7 sin7xcosx dx 1.18 sec3x tanx dx
∫ ∫
1.8 sin9xsin11x dx 1.19 sec6xtan 11
5 x dx
∫ ∫

1.9 cos13xcos5x dx 1.20 cot5x cscx dx
∫ ∫
1.10 tan x dx
6
1.21 tan3xsec2x dx
∫ ∫
sin2x
( x )2
3x
1.11 tan x dx
7
1.22 tan 3 2 + sec 3 dx

2. จงหาปรพิ ั นธจำกั ดเขตตอไปน้ ี


∫ ∫
π π

2.1 sin xcos x dx
2 3
2.4
4
sec4 x tanx dx
0 0
∫ ∫
2.2
π
2
sinxcos3xsin2x dx 2.5
π
3 sinx dx
π
4
π
6
1 + cosx
∫ π ∫ 5π

2.3 tan x dx 2.6 cot3xcsc7x dx


4 6
5
π 2π
6 3
6.6. ปริพันธโดยการแทนค าตรีโกณมิติ 251

6.6 ปรพิ ั นธโดยการแทนคาตรโี กณมติ ิ


การหาปรพิ ั นธของฟงก ชันทอี ่ ยูในรูปแบบ
√ √ √
a2 − u2 และ a2 + u2 และ u 2 − a2

เมือ่ u = u(x) และ a > 0 เปน คา คงตั ว อาศัย การเปลยี ่ นตั วแปรในรูป ฟงกชัน ของตรโี กณมิติ
เพือ่ ใชเ อกลั กษณ
sin2x + cos2x = 1 และ sec2x − tan2x = 1
เรยี กวธิ ี น้ ีวา การหาปร ิพันธ โดยการแทนคา ตรโี กณมติ ิ (integration by trigonometric
substitution)

รูปแบบที ่ 1. a2 − u2

ให u = asinθ เมือ่


θ ∈ [− π2 , π2 ] และ a > 0 จะไดวา cosθ ≥ 0
∫ √
ตั วอยาง 6.6.1 จงหาปรพิ ั นธ 9 − x2 dx
252 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
∫ √
ตั วอยาง 6.6.2 จงหาปรพิ ั นธ 25 − 4x2 dx
6.6. ปริพันธโดยการแทนค าตรีโกณมิติ 253

1
ตั วอยาง 6.6.3 จงหาปรพิ ั นธ 3 dx
(16 − x2 ) 2
254 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
∫ √
ตั วอยาง 6.6.4 จงหาปรพิ ั นธ 1 − e2x dx
6.6. ปริพันธโดยการแทนค าตรีโกณมิติ 255
∫ 4
1
ตั วอยาง 6.6.5 จงหาคาของ √ dx
3 x2 25 − x2
256 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

รูปแบบที ่ 2. a2 + u2

ให u = atanθ เมือ่θ ∈ (− π2 , π2 ) และ a > 0 จะไดวา secθ > 0


∫ √
ตั วอยาง 6.6.6 จงหาปรพิ ั นธ 4 + x2 dx
6.6. ปริพันธโดยการแทนค าตรีโกณมิติ 257
∫ 2
ตั วอยาง 6.6.7 จงหาคาของ 3
(9 + 4x2 ) 2 dx
0
258 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

1
ตั วอยาง 6.6.8 จงหาปรพิ ั นธ √ dx
x2 + 2x + 2
6.6. ปริพันธโดยการแทนค าตรีโกณมิติ 259

x2 + 3x
ตั วอยาง 6.6.9 จงหาปรพิ ั นธ √ dx
x2 + 6x + 10
260 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ

รูปแบบที ่ 3. u2 − a2

ให u = asecθ เมือ่


θ ∈ [0, π2 ) ∪ [ π2 , π) และ a > 0
∫ √
ตั วอยาง 6.6.10 จงหาปรพิ ั นธ x2 − 4 dx
6.6. ปริพันธโดยการแทนค าตรีโกณมิติ 261

1
ตั วอยาง 6.6.11 จงหาปรพิ ั นธ √ dx
x2 − 1
262 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
ทฤษฎบี ท 6.6.12 ปรพิ ั นธของฟงกชันอารกเซแคนตและอารโคเซแคนต
∫ √
1. arcsecx dx = xarcsecx − ℓn x+ x2 − 1 + C
∫ √
2. arccscx dx = xarccscx + ℓn x+ x2 − 1 + C
6.6. ปริพันธโดยการแทนค าตรีโกณมิติ 263
∫ √
3
4x2 − 9
ตั วอยาง 6.6.13 จงหาคาของ 3 x
dx
2
264 บทท่ ี 6. เทคนิคการหาปริพันธ
แบบฝก หั ด 6.6
1. จงหาปรพิ ั นธตอ ไปน้ ี
∫ √ ∫
1
1.1 16 − x2 dx 1.10 √ dx
12 + 4x − y 2
∫ ∫
1.2 3
(9 + 16x2 ) 2 dx 1.11 √
x2
dx
∫ √ 9 − 8x − x2

1.3 4x2 + 4x − 3 dx 1.12 3
(t2 − 6t + 13) 2 dt
∫ √ 2 ∫
a − x2
1.4 x
dx 1.13 √
1
dy
∫ (y − 1) y 2 − 1
1 ∫
1.5 3 dx
1.14 1
(25 − x2 ) 2 3 ds
∫ (4s − 24s + 27) 2
2
x3 ∫
1.6 3 dx
1.15 1
dx เมือ่ a > 0
(x2 + 4) 2 (a2 + x2 )2
∫ √ 2 ∫
x − 16 ex
1.7 x3
dx 1.16 3 dx
(4e2x + 25) 2
∫ ∫
x2
1.8 5 dx 1.17 √
1
dt
(9 − x2 ) 2 e e2t − 9
2t
∫ ∫
5x2 − 2x + 1 1
1.9 1 dx 1.18 3 dt
(25 − x2 ) 2 (et + 1) 2

2. จงหาคาปรพิ ั นธจำกั ดเขตตอไปไปน้ ี


∫ 6 √
2.1 49 − x2 dx
0
∫ 2 √
2.2 x3 2x − x2 dx
0
∫ 3
x3
2.3 √ 3 dx
(x4 − 2x2 − 3) 2
5

1
3. ิ
จงหาปรพันธ  √ √ 1 dx
( x − 1)(3 − x − 2 x) 2

4. จงแสดงวาพ้ ืนทอี่ าณาบรเิ วณภายในวงกลม x2 + y2 = r2 มีคา เทากั บ πr2


5. จงแสดงวาพ้ ืนทอี่ าณาบรเิ วณภายในวงรสี มการ
x2 y 2
+ 2 =1
a2 b

มีคา เทากั บ πab


บทที ่ 7
การประยุกตของปรพิ ั นธ

ื รี ่ ะหวางเสน โคง
7.1 พ้ นท
ใหฟงก ชัน f และ g เปน ฟงก ชันตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] โดยที ่ f (x) ≥ g(x) ทกุ x ∈ [a, b] ให
R = {(x, y) : a ≤ x ≤ b และ g(x) ≤ y ≤ f (x)}
หรอื กลาวได วา R คอื อาณาบรเิ วณซงึ ่ ปด ลอมดวยเสน โคง y = f (x), y = g(x) และ x = a,
x = b แสดงตั วอยางไดดังรูป

รูปที่ 7.1: อาณาบรเิ วณ R ซงึ ่ ปด ลอมดวย y = f (x), y = g(x) และ x = a, x = b


Y
y = f (x)

X
y = g(x)

x=a x=b

ให A แทนพ้ ืนทีอ่ าณาบรเิ วณ R โดยไมเสยี นั ยทั ว่ ไปสมมติวา f (x) ≥ g(x) ≥ 0 ทกุ x ∈ [a, b]
จะไดวา พ้ นระหว
ื างเสน โคง (arera between curve) y = f (x) และ y = g(x) บนชว ง [a, b]
เทากั บพ้ ืนทใี่ ตเสน โคง y = f (x) บนชว ง [a, b] ลบออกจากพ้ ืนทใี ่ ตเสน โคง y = g(x) บนชว ง [a, b]
สรุปไดวา ∫ b
A= [f (x) − g(x)] dx
a

265
266 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
โดยแนวคดิ เดยี วกั นขยายไปยั งการหาปรพิ ั นธเทยี บ dy ให
R = {(x, y) : c ≤ y ≤ d และ h(y) ≤ x ≤ k(y)}
แสดงตั วอยางอาณาบรเิ วณ R ไดดังรูป

รูปที่ 7.2: อาณาบรเิ วณ R ซงึ ่ ปด ลอมดวย x = h(y), x = k(y) และ y = c, y = d


Y
x = h(y) x = k(y)

y=d

R
X
y=c

∫ d
ในทำนองเดยี วกั นจะไดพ้ ืนที่ A คอื A = [k(y) − h(y)] dy
c

ตั วอยาง 7.1.1 จงหาพ้ ืนทรี่ ะหวางเสน โคง y = ex และ y = −(x − 1)2 จาก x = −1 ถงึ x = 2
Y

8 y = ex

X
−2 −1 0 1 2
y = −(x − 1)2

−4

x = −1 x=2
7.1. พ้ ื นท่ ีระหว างเสนโค ง 267
ตั วอยาง 7.1.2 จงหาพ้ ืนทรี ่ ะหวางเสน โคง y = cosx และ y = sinx จาก x = 0 ถงึ x = π
Y

0 X
π
4
π
2

4
π y = sinx

y = cosx

x=0 x=π
268 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
ตั วอยาง 7.1.3 จงหาพ้ ืนทปี่ ด ลอมดวยเสน ตรง y = x2 + 2x และ y = x3 − 4x

X
7.1. พ้ ื นท่ ีระหว างเสนโค ง 269

ตั วอยาง 7.1.4 จงหาพ้ ืนทรี ่ ะหวางเสน โคง y= x−1 เสน ตรง y=2 และ x + 2y = 4

X
270 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
แบบฝก หั ด 7.1
จงหาพ้ ืนทขี่ องอาณาบรเิ วณทปี ่ ด ลอมดวยเสน โคงในแตละขอตอไปน้ ี
1. y = x และ y = x2 − 4x + 6
2. y = 4x − x2 และ y = x จาก x = 0 ถงึ x = 4
3. y = 2x และ y = 2x − x2 จาก x = 0 ถงึ x = 2

3x + 1
4. y=
x
และ y=0 จาก x=1 ถงึ x=8

5. y = xcosx และแกน X จาก x = 0 ถงึ x = π


6. y = 2 − x2 และ y = |x|

7. y = sinx และ y = cosx จาก x = − 3π4


ถงึ x = π4
8. y = x2 − x และ y = x − x2

9. y = sin2x และ y = cos x จาก x = − π2 ถงึ x = π4


√ √
10. y = 1 + x2 และแกน X จาก x = 0 ถงึ x = 2 2

11. y = x2 − x และ y = sinπx

12. y = 2 + |x − 1| และ 5y + x = 35

13. y = xsinx และ y = x จาก x = 0 ถงึ x = π2

14. y = x3 − 6x2 + 8x และแกน X จาก x = 0 ถงึ x = 4

15. y2 = x + 2 และ y=x

16. x = y − y2 และ y =x+2

17. x = y3 + 1 และ x = 3y − 1

18. x = y 2 − 4y − 3 และ x = 1 − 2y 2

19. y = x2 , x = y 3 และ x+y =2

20. y = x2 − x, y = x2 − 9x + 16 และ y = −x

21. x + y = 1, x + y = 5, y = 2x + 1 และ y = 2x + 6

22. y = x3 − x, x + y + 1 = 0 และ x= y+1

23. xy = 1 และ 2x + 2y = 5

24. x2 − 2x − 4y + 9 = 0, x + 2y = 5 และ y 2 − 4y + x = 0

25. x2 + y 2 = 25 และ x2 + y 2 − 16x + 39 = 0


7.2. ปริมาตรของรปทรงตั
ู นซ่ึงหาพ้ ื นท่ ีภาคตั ดได 271

7.2 ปรมิ าตรของรปู ทรงตั นซงึ ่ หาพ้ นท


ื ภี ่ าคตั ดได
ให L เปน เสน ตรงในสามมิติ และ P เปน จดุ ในสามมิติ เมือ่ ลากเสน ตรงจากจดุ P ไปตั้ งฉาก
กั บ L ทจี ่ ดุ Q จะเรยี ก Q วา ภาพฉาย (projection) ของ P บน L ดั งรูป

รูปที ่ 7.3: ภาพฉายของ P บน L


P

L
Q

ถา S เปน รูปทรงตั นในสามมิติ S จะประกอบไปดวยจดุ ในสามมิติ ภาพฉายของ S บน L คอื


เซตของจดุ ทเี่ ปน ภาพฉายของจดุ ตาง ๆ ทเี ่ ปน สมาชกิ ของ S บน L และเรยี กอาณาบรเิ วณระนาบ
ซงึ ่ ไดจากการตั ด S ดวยระนาบทีต่ ั้ งฉากกั บ L วา ภาคตั ด (cross section) ของ S ทตี ่ ั้ งฉาก
กั บ L ซงึ ่ แสดงไดดังรปู

รูปที ่ 7.4: ภาคตั ดของ S ทตี่ ั้ งฉากกั บ L

A(x) S

L
a x b

เมือ่ พิจารณาภาคตั ดของ S ทตี ่ ั้ งฉากกั บแกน X ทจี่ ดุ x ใด ๆ จะมีพ้ ืนที ่ A(x) มีความหนา ∆x ถา
ภาคตั ดมีทั้งหมด n ชนิ้ ปรมิ าตรของ S เรยี กวา V จะไดวา

n
V ≈ Ak (x)∆xk
i=1

เมือ่ Ak (x) คอื พ้ ืนทภี ่ าคตั ดชนิ้ ที่ k และ ∆xk คอื ความหนาของภาคตั ดชนิ้ ที่ k ให x ∈ [a, b] โดยที่
A เปน  ฟงก ชันทมี่ ีความตอเนอื่ งบนชว ง [a, b] เมือ่ เลอื กผลแบงกั้ นบน [a, b] ทเี่ หมาะสมโดยนยิ าม
ของปรพิ ั นธจำกั ดเขตจะไดปรมิ าตร V ของรปู ทรงตั น S ดั งนั้ น
∫ b
V = A(x) dx
a

ในหั วขอน้ จี ะศกึ ษาเฉพาะกรณที ภี่ าคตั ดหาพ้ ืนทไี่ ดเทานั้ น


272 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
ตั วอยาง 7.2.1 จงหาปรมิ าตรรูปทรงตั นทีม่ ี ฐานลอมรอบดวยวงกลม x2 + y2 = 1 ถาภาคตั ด
ของรูปทรงตั นน้ ที ตี่ ั้ งฉากกั บแกน X เปน รูปสเี ่ หลยี่ มจตุรัส
7.2. ปริมาตรของรปทรงตั
ู นซ่ึงหาพ้ ื นท่ ีภาคตั ดได 273
ตั วอยาง 7.2.2 ลมิ่ ไม (wooden wedge) มีฐานเปน รปู ครงึ ่ วงกลมรั ศมี r เมือ่ ตั ดตั้ งฉากกั บเสน
ผานศูนย กลางจะไดรปู สามเหลยี ่ มมุมฉากทีม่ ี ความยาวดานเทากั น 2 ดาน โดยทีม่ ุกฉากอยูบน
ครงึ ่ วงกลม จงหาปรมิ าตรของลมิ่ ไมอันน้ ี
274 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
ตั วอยาง 7.2.3 จงหาปรมิ าตรทรงกลมรั ศมี r หนวย
7.2. ปริมาตรของรปทรงตั
ู นซ่ึงหาพ้ ื นท่ ีภาคตั ดได 275
แบบฝก หั ด 7.2
1. จงหาปรมิ าตรของรูปทรงตั นซงึ ่ มีฐานเปน วงกลมรั ศมี 3 หนวยและทกุ ภาคตั ดทีต่ ั้ งฉากกั บ
เสน ผานศูนยฺกลางของฐานเปน
1.1 รูปสเี่ หลยี ่ มจตุรัส
1.2 รูปสเี่ หลยี ่ มหนาจั ว่ ทมี่ ีสว นสูงเทากั บฐาน
2. จงหาปรมิ าตรของรปทรงตั นทีม่ ีฐานลอมรอบดวยวงรี x2 + 4y2 = 4 และถาตั ดรูปทรงตั น
น้ ดี วยระนาบทตี่ ั้ งฉากกั บแกน X ภาคตั ดจะเปน รูปครงึ ่ วงรที มี ่ ีแกนโทอยูบนฐาน และมีครงึ ่
แกนเอกยาว 2 หนวย (กำหนดให พ้ ืนทีว่ งรีเทากั บ πab เมือ่ a คอื ความยางครงึ ่ แกนเอก
และ b คอื ความยาวครงึ ่ แกนโท)
 บน้ำรูปครงึ ่ ทรงกลมมีเสน ผานศูนย กลางยาว 40 เมตรมีน้ำบรรจอุ ยูทีร่ ะดั บตำกว
3. อางเก็ ่ า
ขอบอาง 5 เมตร จงหาปรมิ าตรของน้ำในอาง
4. จงหาปรมิ าตรของรูปทรงตั นทีม่ ีฐานอยูบนระนาบ XY ลอมรอบดวย 4x2 + 4y2 = 36 และ
ถาตั ดรูปทรงตั นน้ ดี วยระนาบทีต่ ั้ งฉากกั บแกน X แลวภาคตั ดจะเปน รูปครงึ ่ วงกลม โดยที่
เสน ผานศูนย กลางอยูบนฐาน
5. ฐานของรูปทรงตั นรูปหนงึ ่ คอื อาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวยแกน X แกน Y เสน ตรง x = e
และเสน โคง y = ex จงหาปรมิ าตรของรูป ทรงตั น ซงึ ่ ภาคตั ดตั้ งฉากกั บแกน Y เปน รูป
สามเหลยี ่ มดานเทา
6. จงหาปรมิ าตรของพีระมิดตรงทมี ่ ีความสูงตรง h หนวย และมีฐานเปน รูปสเี่ หลยี่ มจตุรัสซงึ ่
มีความยาวดานละ r หนวย
276 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ

7.3 ปรมิ าตรของรปู ทรงตั นทเี ่ กดิ จากการหมุน


รูป ทรงตั นทีเ่ กดิ จากการหมุน (Solid by Rotation) คอื รูป ทรงตั นที ่ได จากการหมุน อาณา
บรเิ วณในระนาบรอบเสน ตรงเสน ตรงซงึ ่ อยู ระนาบเดยี วกั น โดยเรยี กเสน ตรงนั น่ วาแกนหมุน
(axis of rotation) และเรยี กปรมิ าตรของรูปทรงตั นนั น่ วา ปรมิ าตรของรูปทรงตั นทเี่ กดิ จาก
การหมุน (volume by rotation)
การหาปรมิ าตรทีเ่ กดิ จากการหมุนของอาณาบรเิ วณในระนาบ XY ขอบแกน X หรอื เสน ตรง
ทขี่ นานกั นแกน X และแกน Y หรอื เสน ตรงทขี่ นานกั บแกน Y โดยการหาปรมิ าตรดั งกลาวไดจาก
2 วธิ คี อื
1. วธิ ที แี บบจาน (method of dishs)
2. วธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอก (method of cylindrical shells)

1. การหาปรมิ าตรของรูปทรงตั นโดยวธิ แี บบจาน


ให y = f (x) เปน เสน โคงทีม่ ีคา บนชว ง [a, b] และ R เปน อาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวย y = f (x)
กั บแกน X และเสน ตรง x = a, x = b เมือ่ นำ R ไปหมุนรอบแกน X จะไดรปู ทรงตั น แสดงดั งรูป

รูปที ่ 7.5: การหมุน R รอบแกน X โดยวธิ แี บบจาน


Y
Y
y = f (x) y = f (x)

R
X X
a b

a x b

จากรูปภาคตั ดตั้ งฉากกั บแกน X ทีจ่ ดุ x เมือ่ x ∈ [a, b] เปน รูปวงกลม ให A(x) แทนพ้ ืนทีข่ อง
วงกลมของภาคตั ดทจี ่ ดุ x นั น่ คอื รั ศมีเทากั บ |f (x)| จะไดวา
A(x) = π(|f (x)|)2 = π[f (x)]2
∫ b
และ V แทนปรมิ าตรของรูปทรงทรงตั นดั งกลาว จาก V = A(x) dx สรุปไดวา
a

∫ b
V = π[f (x)]2 dx
a
7.3. ปริมาตรของร ูปทรงตั นท่ ีเกิดจากการหมุน 277
เรยี กปรมิ าตร V ทไี่ ดโดยวธิ นี ้ วี า ปรมิ าตรของรูปทรงตั นโดยวธิ แี บบจาน
ในทำนองเดยี วกั นถาให R เปน อาณาบรเิ วณทปี่ ด ลอมดวย y = f (x) กั บเสน ตรง y = k และ
่ นำ R ไปหมุนรอบเสน ตรง y = k จะไดรปู ทรงตั น แสดงดั งรูป
x = a, x = b เมือ

รูปที่ 7.6: การหมุน R รอบเสน ตรง y = k โดยวธิ แี บบจาน


Y
Y
y = f (x) y = f (x)

R
y=k y=k

X X
a b a x b

จากรูปภาคตั ดตั้ งฉากกั บแกน X ทีจ่ ดุ x เมือ่ x ∈ [a, b] เปน รูปวงกลม ให A(x) แทนพ้ ืนทีข่ อง
วงกลมของภาคตั ดทจี ่ ดุ x นั น่ คอื รั ศมีเทากั บ |f (x) − k| จะไดวา
A(x) = π(|f (x) − k|)2 = π[f (x) − k]2

และ V แทนปรมิ าตรของรปู ทรงทรงตั นดั งกลาว สรุปไดวา


∫ b
V = π[f (x) − k]2 dx
a

ให x = h(y) เปน เสน โคงทมี่ ีคา บนชว ง [c, d] และ R เปน อาณาบรเิ วณทปี่ ด ลอมดวย x = h(y)
กั บแกน Y และเสน ตรง y = c, y = d เมือ่ นำ R ไปหมุนรอบแกน Y จะไดรปู ทรงตั น แสดงดั งรูป

รูปที่ 7.7: การหมุน R รอบแกน Y โดยวธิ แี บบจาน


Y Y

d d
x = h(y) x = h(y)
y
R
c c
X X

จากรูปภาคตั ดตั้ งฉากกั บแกน Y ทีจ่ ดุ y เมือ่ y ∈ [c, d] เปน รูปวงกลม ให A(y) แทนพ้ ืนทีข่ อง
วงกลมของภาคตั ดทจี ่ ดุ y นั น่ คอื รั ศมีเทากั บ |h(y)| จะไดวา
A(y) = π(|h(y)|)2 = π[h(y)]2
278 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
∫ d
และ V แทนปรมิ าตรของรูปทรงทรงตั นดั งกลาว จาก V = A(y) dy สรุปไดวา
c
∫ d
V = π[h(y)]2 dy
c

ในทำนองเดยี วกั นถาให R เปน อาณาบรเิ วณทปี่ ด ลอมดวย x = h(y) กั บเสน ตรง x = ℓ และ
เสน ตรง y = c, y = d เมือ่ นำ R ไปหมุนรอบเสน ตรง x = ℓ จะไดรปู ทรงตั น แสดงดั งรูป

รูปที ่ 7.8: การหมุน R รอบเสน ตรง x = ℓ โดยวธิ แี บบจาน


Y x=ℓ Y x=ℓ

d d
x = h(y) x = h(y)
y
R
c c
X X

จากรูปภาคตั ดตั้ งฉากกั บเสน ตรง x = ℓ ทจี่ ดุ y เมือ่ y ∈ [c, d] เปน รูปวงกลม ให A(y) แทนพ้ ืนที่
ของวงกลมของภาคตั ดทจี ่ ดุ y นั น่ คอื รั ศมีเทากั บ |h(y) − ℓ| จะไดวา
A(y) = π(|h(y) − ℓ|)2 = π[h(y) − ℓ]2

และ V แทนปรมิ าตรของรูปทรงทรงตั นดั งกลาว สรุปไดวา


∫ d
V = π[h(y) − ℓ]2 dy
c
7.3. ปริมาตรของร ูปทรงตั นท่ ีเกิดจากการหมุน 279
ตั วอยาง 7.3.1 จงหาปรมิ าตรทเี่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทปี ่ ด ลอมดวยแกน X แกน Y และ
เสน โคง y = (x − 2)2 รอบแกน X และรอบแกน Y
Y

2
y = (x − 2)2
1

X
0 1 2 3
280 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
ตั วอยาง 7.3.2 จงหาปรมิ าตรทเี่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทปี ่ ด ลอมดวยเสน โคง xy = 3
เสน ตรง x = −1 และ y = 3x + 8 รอบเสน ตรง x = −1
x = −1 Y

(−1, 5) 5

1
X
−3 −1 −1
(−3, −1)

(−1, −3) −3

y = 3x + 8
xy = 3
7.3. ปริมาตรของร ูปทรงตั นท่ ีเกิดจากการหมุน 281
ตั วอยาง 7.3.3 จงหาปรมิ าตรทีเ่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวยเสน โคง y = √x
เสน ตรง y = x รอบแกน X
Y

0 X
1
282 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
ตั วอยาง 7.3.4 จงหาปรมิ าตรทีเ่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวยเสน โคง y = √x
และ y = x3 รอบแกน Y
Y

0 X
1
7.3. ปริมาตรของร ูปทรงตั นท่ ีเกิดจากการหมุน 283
2. การหาปรมิ าตรของรูปทรงตั นโดยวธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอก
ให y = f (x) และ y = g(x) เปน เสน โคงทีม่ ีคา บนชว ง [a, b] โดยที่ g(x) ≤ f (x) เมือ่ x ∈ [a, b]
และ R เปน อาณาบรเิ วณทปี่ ด ลอมดวย y = f (x) และ y = g(x) และเสน ตรง x = a, x = b เมือ่
นำ R ไปหมุนรอบแกน Y แสดงไดดังรูป

รูปที่ 7.9: การหมุน R รอบแกน X โดยวธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอก


Y Y

y = f (x)
y = f (x)

R
y = g(x)
y = g(x)
X X
a b a x b
Y

y = f (x)

y = g(x)

X
a x b

จากรูปเมือ่ ตั ด R ตั้ งฉากกั บแกน X ทีจ่ ดุ x เมือ่ x ∈ [a, b] จะไดเสน ตรงทีข่ นานแกน Y และเมือ่
นำไปหมุนรอบแกน Y จะไดรปู ทรงกระบอกทีม่ ีความสูงเทากั บ f (x) − g(x) และรั ศมีเทากั บ |x|
ให A(x) แทนพ้ ืนทผี่ ิวขางทรงกระบอกจะไดวา
A(x) = 2π|x|[f (x) − g(x)]
∫ b
และ V แทนปรมิ าตรของรปู ทรงทรงตั นดั งกลาว จาก V = A(x) dx สรุปไดวา
a
∫ b
V = 2π|x|[f (x) − g(x)] dx
a

เรยี กปรมิ าตร V ทไี่ ดโดยวธิ นี ้ วี า ปรมิ าตรของรูปทรงตั นโดยวธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอก
ในทำนองเดยี วกั นถาหมุน R รอบเสน ตรง x = k ดั งรูป
284 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ

รูปที่ 7.10: การหมุน R รอบเสน ตรง x = k โดยวธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอก


x=k
Y

y = f (x)

y = g(x)

X
a x b

โดยวธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอกสรุปไดวา


∫ b
V = 2π|x − k|[f (x) − g(x)] dx
a

โดยแนวคดิ เดยี วกั นกั บการหมุนรอบแกน Y จะพิจารณาการหมุนรอบแกน X เมือ่ ให x = p(y)


และ x = q(y) เปน เสน โคงทีม่ ี คา บนชว ง [c, d] โดยที่ p(y) ≤ q(y) เมือ่ y ∈ [c, d] และ R เปน
อาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวย x = p(y) และ x = q(y) และเสน ตรง y = c, y = d เมือ่ นำ R ไป
หมุนรอบแกน X จะไดปรมิ าตรทเี่ กดิ จากการหมุนโดยวธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอกเทากั บ
∫ d
V = 2π|y|[q(y) − p(y)] dy
c
∫ d
และหมุนรอบเสน ตรง y = ℓ ปรมิ าตรคอื V = 2π|y − ℓ|[q(y) − p(y)] dy
c
7.3. ปริมาตรของร ูปทรงตั นท่ ีเกิดจากการหมุน 285
ตั วอยาง 7.3.5 จงหาปรมิ าตรทเี่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทปี่ ด ลอมดวยแกน X แกน Y และ
เสน โคง y = (x − 2)2 รอบแกน X และรอบแกน Y โดยวธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอก
Y

2
y = (x − 2)2
1

X
0 1 2 3
286 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
ตั วอยาง 7.3.6 จงหาปรมิ าตรทเี่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทปี ่ ด ลอมดวยแกน X แกน Y เสน
โคง y = x2 − 4x และ y = 16 − x2 รอบแกนเสน ตรง x = 6 โดยวธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอก
7.3. ปริมาตรของร ูปทรงตั นท่ ีเกิดจากการหมุน 287
ตั วอยาง 7.3.7 จงหาปรมิ าตรทเี่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทปี่ ด ลอมดวยแกน X แกน Y เสน

โคง y = x − 1 เสน ตรง x = 3 และเสน ตรง y = 2 รอบแกน X และเสน ตรง y = 3 โดยวธิ แี บบ
เปลอื กทรงกระบอก
288 บทท่ ี 7. การประย ุกตของปริพันธ
แบบฝก หั ด 7.3
1. จงหาปรมิ าตรของรูปทรงตั นทีเ่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวยเสน โคงตอไป
น้ ี โดยใชว ธิ แี บบจาน
1.1 y = x, x = 1 และ y = 0 รอบแกน X
1.2 y = x2 − 4x และแกน X รอบแกน X
1.3 y = 4x − x2 และแกน X จาก x = 0 ถงึ x = 5 รอบแกน X
1.4 y = cos x, x = 0 และ y = 0 ในจตุภาคท1ี ่ รอบแกน X
1.5 y + x + 1 = 0, x − 2y = 2 และ y = 0 รอบแกน X
1.6 y = x2 , x = 1 และ y = 0 รอบแกน Y
1.7 x = 2y − y 2 − 2 และ x = −5 รอบแกน Y
1.8 y = x2 , x = 1 และแกน X รอบเสน ตรง x = −1 และ
รอบเสน ตรง y = −1
1.9 y = x2 − x และ y = 2x − x2 รอบเสน ตรง y = 2
2. จงหาปรมิ าตรของรูปทรงตั นทีเ่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวยเสน โคงตอไป
น้ ี โดยใชว ธิ แี บบเปลอื กทรงกระบอก
2.1 y = x3 , x = 2, x = 3 และแกน X รอบแกน Y
2.2y = x และ y = x2 รอบแกน Y
2.3y = x2 − x3 และแกน X รอบแกน Y

2.4x = 9 − y 2 และแกน Y รอบแกน Y
2.5y = 2x, x = 6 และ x = 0 รอบแกน X

2.6x + y = 4, y = 2 x − 1 และแกน X รอบแกน X
2.7y = x2 , x = 1 และ y = 0 รอบเสน ตรง x = 1
2.8y = 2 − |x| และแกน X รอบเสน ตรง y = −1
2.9x = y 2 , x = 0 และ x + y = 2 รอบเสน ตรง y = −3
3. จงหาปรมิ าตรของรูปทรงตั นทีเ่ กดิ จากการหมุนอาณาบรเิ วณทีป่ ด ลอมดวยเสน โคงตอไป
น้ ี
3.1 y = sinx, y = cosx, x = 0 และ x = π4 รอบแกน X
3.2 y = |x|3 , x = −1, x = 1 และแกน X รอบแกน X
3.3 x2 + y 2 − 4x + 3 = 0 รอบแกน Y
3.4 y 2 = x3 , x = 4 และแกน X รอบเสน ตรง y = 8
3.5 y 2 = x3 , y = 6 และแกน Y รอบเสน ตรง y = 8
บทที ่ 8
ปรพิ ั นธไมตรงแบบ
∫ b
จากแนวคดิ การหาปรพิ ั นธจำกั ดเขต f (x) dx เมือ ่ f เปน ฟงก ชันบนชว ง [a, b] เราจะขยาย
a∫ ∞

ิ ี ิ 
แนวคดไปยั งกรณการหาปรพันธบนชวงอนั นตเชน  x dx หรอ ื การหาปรพิ ั นธของฟงก ชันที่
∫ 1 0
1
ไมมีขอบเขตบนชว งการหาปริพันธเชน dx เนอื ่ งจาก 1 ไมมีคา เมือ่ x = 0 เรยี กปริพันธ
−1 x x
ลั กษณะน้ วี า ปรพิ ั นธ ไมตรงแบบ (improper integral) แบงออกเปน 3 ลั กษณะดั งน้ ี
1. ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ทชี่ ว งการหาปรพิ ั นธเปน ชว งอนั นต
2. ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ทชี่ ว งการหาปรพิ ั นธของฟงก ชันทไี่ มมีขอบเขตบนชว งการหา
ปรพิ ั นธ
3. ปริ พันธ ไม ตรงแบบชนดิ ที่ชว งการหาปริ พันธ เปน ชว งอนั นต และชว งการหาปริ พันธ ของ
ฟงก ชันทไี ่ มมีขอบเขตบนชว งการหาปรพิ ั นธ

8.1 ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ทหี ่ นงึ ่


ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ทหี ่ นงึ ่ คอื ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ทชี่ ว งการหาปรพิ ั นธเปน ชว งอนั นต
ตั วอยางเชน
∫ ∞
1
1. x
dx
1
∫ ∞
1
2. x
dx
−1
∫ ∞
1
3. x2 +1
dx
−∞
∫ 0
4. ℓn|x| dx
−∞
∫ ∞
1
5. |x| − 1
dx
−∞

289
290 บทท่ ี 8. ปริพันธไม ตรงแบบ
บทนยิ าม 8.1.1 ให a, b เปน จำนวนจรงิ และ a < b
1. ให f เป∫น ฟงก ชันมีขอบเขตและหาปรพิ ั นธไดบนชว ง [a, t]∫ ทกุ ๆ t > a
t ∞
ถา t→∞
lim ิ ั นธไมตรงแบบ f (x) dx ลูเ ข า (convergence)
f (x) dx มีคา จะกลาววา ปรพ
และ a ∫ ∞ ∫ t
a

f (x) dx = lim f (x) dx


a t→∞ a
∫ t ∫ ∞
ถา t→∞
lim ิ ั นธไมตรงแบบ
f (x) dx ไมมีคา จะกลาววา ปรพ f (x) dx ลูอ
 อก (divergence)
a a

2. ให f เปน ∫ฟงก ชันมีขอบเขตและหาปรพิ ั นธไดบนชว ง [t, b] ท∫กุ ๆ t < b


b b
ถา t→−∞
lim ิ ั นธไมตรงแบบ
f (x) dx มีคา จะกลาววา ปรพ f (x) dx ลูเ ข า และ
t −∞

∫ b ∫ b
f (x) dx = lim f (x) dx
−∞ t→−∞ t

∫ b ∫ b
ถา t→−∞
lim f (x) dx ไมมีคา จะกลาววา ปรพิ ั นธไมตรงแบบ f (x) dx ลูอ อก
t −∞

3. ให c ∈ R และ f เปน ฟงก ชันมีขอบเขตและหาปรพิ ั นธไดบนชว ง [a, b] ทกุ ๆ a, b


∫ ∞ ∫ c ∫ ∞
 เมือ่
f (x) dx ลูเ ข า ก็ตอ f (x) dx และ f (x) dx ลูเ ข า
∫−∞
∞ ∫−∞c c∫

f (x) dx ลูอ อก ก็ตอ เมือ่ f (x) dx หรอื f (x) dx ลูอ อก
−∞ −∞ c

ตั วอยาง 8.1.2 จงพิจารณาปรพิ ั นธไมตรงแบบตอไปน้ วี า ลูเ ขาหรอื ลูอ อก


∫ ∞
1
1. (x − 2)3
dx
3
8.1. ปริพันธไม ตรงแบบชนิดท่ ีหน่ึ ง 291
∫ ∞
1
2. x−2
dx
3

∫ 0
ตั วอยาง 8.1.3 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ x2−x dx
2
ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
−∞
292 บทท่ ี 8. ปริพันธไม ตรงแบบ
∫ ∞
1
ตั วอยาง 8.1.4 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ x2 − 2x + 2
dx ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
0

∫ ∞
1
ตั วอยาง 8.1.5 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ x2 − 2x + 2
dx ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
−∞
8.1. ปริพันธไม ตรงแบบชนิดท่ ีหน่ึ ง 293
∫ ∞
x
ตั วอยาง 8.1.6 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ √ dx ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
−∞ 2x2 + 1
294 บทท่ ี 8. ปริพันธไม ตรงแบบ
ตั วอยาง 8.1.7 จงหาพ้ ืนทขี่ องอาณาบรเิ วณทอี่ ยูระหวางเสน โคง
1
y=
x2 −1
กั บแกน X เมือ่ x ≥ 2
Y

1
y=
x2 − 1
0.5

X
0 1 2 3 4 5 6 7
8.1. ปริพันธไม ตรงแบบชนิดท่ ีหน่ึ ง 295
แบบฝก หั ด 8.1
1. จงพิจารณาวาอนิ ทรกิ รั ลไมตรงแบบตอไปน้ วี า ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
∫ ∞ ∫ ∞ ∫ 0
1 ex
1.1 dx 1.9 xe −x
dx 1.17 dx
2 (x + 1)2 0 −∞ 3 − 2ex
∫ ∞
∫ ∞ ∫ 0
1.2 cosx dx 1.10 e−x cosx dx 1.18 1
2 dx
0 0
∫ −∞ (x − 8) 3
∫ ∞


ℓnx 1.11 1 0
1.3 x
dx
0 e + e2x
x
dx
1.19 1
dx
1
∫ ∫ ∞ −∞ 2x2 + 2x + 1
∞ 1 ∫
1.4 1
dx 1.12 √ √ dx
1.20

|x + 1|
xℓn3 x 0 x(1 + e x )
x2 + 1
dx
e
∫ ∫ −∞

1
1 ∫
1.5 1
dx 1.13 3 − 2x
dx
1.21

x2
dx
1 + 2x −∞
0
∫ −∞ x2 + 1
∫ ∞ 0 ∫∞
1.6 x
dx 1.14 3x
e dx 1.22 x
dx
−1 1 + x2 −∞ (x2 + 3)2
∫ ∫ −1
−∞

∞ x ∞
1.7 1
dx 1.15 √ dx 1.23 1
dx
2 4 + x2 −∞ 1 + x2 −∞ ex + e−x
∫ ∞
∫ 0 ∫∞
1
1.8 1
√ dx 1.16 5 dx 1.24 xe−x dx
2

0 ex −∞ (1 − x) 2
−∞
∫ ∞
2. จงหาคาของ a ทที ่ ำให e−ax dx = 5
0

3. จงหาพ้ ืนทขี่ องอาณาบรเิ วณทอี่ ยูระหวางเสน โคง y = x2 8− 4 กั บแกน X เมือ่ x ≥ 3

4. จงหาพ้ ืนทขี่ องอาณาบรเิ วณทอี่ ยูระหวางเสน โคง y = x1 และ y = x12 เมือ่ x ≥ 1


296 บทท่ ี 8. ปริพันธไม ตรงแบบ

8.2 ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ทสี ่ อง


ปริพันธไมตรงแบบชนดิ ทีส่ อง คอื ปริพันธไมตรงแบบชนดิ ทีช่ ว งการหาปริพันธของฟงกชันที่
ไมมีขอบเขตบนชว งการหาปรพิ ั นธ
∫ 1
1
1. x+1
dx
−1
∫ 1
1
2. |x| + 1
dx
−1
∫ 3
3. ℓnx dx
0

บทนยิ าม 8.2.1 ให a, b เปน จำนวนจรงิ และ a < b


1. ให f เปน ฟงก ชันมีขอบเขตและหาปรพิ ั นธไดบนชว ง [t, b] ทกุ ๆ a < t < b
โดยที่ x→a
lim f (x) = −∞ หรอ ื +∞
∫ ∫
+
t b
ถา t→a
lim +
ิ ั นธไมตรงแบบ
f (x) dx มีคา จะกลาววา ปรพ f (x) dx ลูเ ข า และ
a a
∫ b ∫ b
f (x) dx = lim+ f (x) dx
a t→a t
∫ t ∫ b
ถา t→a
lim +
ิ ั นธไมตรงแบบ
f (x) dx ไมมีคา จะกลาววา ปรพ f (x) dx ลูอ อก และ
a a

2. ให f เปน ฟงก ชันมีขอบเขตและหาปรพิ ั นธไดบนชว ง [a, t] ทกุ ๆ a < t < b


โดยที่ x→b
lim f (x) = −∞ หรอ ื +∞

∫ t ∫ b
ถา t→b
lim −
f (x) dx มีคา เราจะกลาววา ปรพิ ั นธไมตรงแบบ f (x) dx ลูเ ข า และ
a a
∫ b ∫ t
f (x) dx = lim− f (x) dx
a t→b a
∫ t ∫ b
ถา t→b
lim −
f (x) dx ไมมีคา เราจะกลาววา ปรพิ ั นธไมตรงแบบ f (x) dx ลูอ อก
a a

3. ให f เปน ฟงกชันมีขอบเขตและหาปรพิ ั นธไดบนชว ง (a, b) และ x→a lim f (x) = −∞ หรอ ื + +

∞ และ lim f (x) = ±∞ โดยทม ี ่ ี c ∈ (a, b) ทที ่ ำให f มีขอบเขตและหาปรพิ ั นธไดบนชว ง


x→b −
∫ c
[s, c] และ [c, s] ทกุ ๆ s, t ซงึ ่ a < s < c < t < b ถาปริพันธไมตรงแบบ f (x) dx
∫ b ∫ b
a

และ f (x) dx ลูเ ข า เราจะกลาววา ปรพิ ั นธไมตรงแบบ f (x) dx ลูเ ข า และ


c a
∫ b ∫ c ∫ b
f (x) dx = f (x) dx + f (x) dx
a a c
∫ b ∫ c ∫ b
ปรพิ ั นธไมตรงแบบ f (x) dx ลูอ อก ก็ตอ เมือ่ f (x) dx หรอื f (x) dx ลูอ อก
a a c
8.2. ปริพันธไม ตรงแบบชนิดท่ ีสอง 297
∫ 2
1
ตั วอยาง 8.2.2 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ (x − 1)2
dx วาลูเ ขาหรอื ลูอ อก
1

∫ 1
x
ตั วอยาง 8.2.3 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ √ dx วาลูเ ขาหรอื ลูอ อก
0 1 − x2
298 บทท่ ี 8. ปริพันธไม ตรงแบบ
∫ 1
1
ตั วอยาง 8.2.4 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ x(x − 1)
dx วาลูเ ขาหรอื ลูอ อก
0

∫ e
1
ตั วอยาง 8.2.5 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ √ dx ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
1
e
x ℓnx
5
8.2. ปริพันธไม ตรงแบบชนิดท่ ีสอง 299
ตั วอยาง 8.2.6 จงหาพ้ ืนทขี่ องอาณาบรเิ วณทอี ่ ยูระหวางเสน โคง
1
y= √
3
x
กั บแกน X เมือ่ x ∈ [−8, 1]

X
−8 −4 R 1 4 8
−1

−2
300 บทท่ ี 8. ปริพันธไม ตรงแบบ
แบบฝก หั ด 8.2
1. จงพิจารณาวาอนิ ทรกิ รั ลไมตรงแบบตอไปน้ วี า ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
∫ 9 ∫ 4
1 x
1.1 √ dx 1.13 √ dx
0 x 2
3
x−2
∫ 1 ∫ 2
1 x
1.2 √ dx 1.14 − 1)2
dx
0 1 − x2 0 (x2
∫ 4 ∫ 8
1 1
1.3 (x − 3)2
dx 1.15 √
3
x
dx
3 −1
∫ 4 ∫ 7
1 1
1.4 3 dx 1.16 2 dx
0 (4 − x) 2 −2 (x + 1) 3
∫ 2 ∫ 1
x 1
1.5 √ dx 1.17 √ dx
1 x−1 −1 |x|
∫ 1 ∫ 4
1
1.6 xℓnx dx 1.18 dx
0 2 (x − 3)7
∫ ∫
1.7
π
6 cosx dx 1.19
3
1
dx
0 1 − 2sinx 0 x2 + 2x − 3
∫ π ∫ 3
x
1.8 sec2x dx 1.20
2
dx
0 1 (x2 − 4)3
∫ 2 ∫ 2
2x + 1 1 1
1.9 x +x−6
2
dx 1.21 x 2
cos x
dx
0 −1
∫ 1 ∫ 2
1
1.10 ℓnx dx 1.22 √ dx
0 0 2x − x2
∫ √ ∫ 2
4
ℓn x 1
1.11 √ dx 1.23 dx
−1 x − x − 2
x 2
0
∫ 1 ∫ 1
1 1
1.12 √ √ dx 1.24 1 dx
0 1− x 0 x(ℓnx) 5

2. จงหาพ้ ืนทขี่ องอาณาบรเิ วณทอี่ ยูระหวางเสน โคง y = (1 −1 x)2 กั บแกน X เมือ่ x ∈ [0, 4]

3. จงหาพ้ ืนทขี่ องอาณาบรเิ วณทอี่ ยูระหวางเสน โคง y = x1 และ y = x(x21+ 1) เมือ่ x ∈ [0, 1]
8.3. ปริพันธไม ตรงแบบชนิดผสม 301

8.3 ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ผสม


ในหั วขอน้ จี ะกลาวถงึ รูปแบบของปรพิ ั นธไมตรงแบบทีผ่ สมระหวางชนดิ ทีห่ นงึ ่ และชนดิ ทีส่ อง
โดยการพิจารณาเปน ชว งยอย และพิจารณาการลูเ ขาลูอ อกตามนยิ ามตามหั วขอทกี่ ลาวมาแลว
ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ผสมจะลูเ ขาก็ตอ เมือ่ ทกุ ๆ ชว งยอยทพี่ ิจารณาลูเ ขาทั้ งหมด แตถามี
อยางนอยชว งยอยลูอ อกจะสรุปไดวา ปรพิ ั นธไมตรงแบบชนดิ ผสมลูอ อก
∫ ∞
1
ตั วอยาง 8.3.1 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ √ dx ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
2 x−2
302 บทท่ ี 8. ปริพันธไม ตรงแบบ
∫ 1
1
ตั วอยาง 8.3.2 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ 2 dx ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
−∞ (1 − x) 3
8.3. ปริพันธไม ตรงแบบชนิดผสม 303
∫ ∞

2− x
ตั วอยาง 8.3.3 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ √ dx
x
ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
0
304 บทท่ ี 8. ปริพันธไม ตรงแบบ
∫ ∞
1
ตั วอยาง 8.3.4 จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบ √ dx ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
−∞ x2 − 2x + 1
8.3. ปริพันธไม ตรงแบบชนิดผสม 305
 ด 8.3
แบบฝกหั
จงพิจารณาวาปรพิ ั นธไมตรงแบบตอไปน้ วี า ลูเ ขาหรอื ลูอ อก
∫ ∞ ∫ ∞
1 1
1. 2 dx 7. − 6x + 8
dx
0 (x − 1) 3 1 x2
∫ ∞
∫ ∞ √
1 x
2. √ dx 8. √ dx
1− x
1 x x2 − 1 0
∫ ∞
∫ ∞
1 1
3. dx 9. √ dx
−1 x −1
2
2 (x + 7) x − 2
∫ ∞
∫ ∞
1 1
4. dx 10. dx
1 xℓnx −∞ x2 + 2x + 1
∫ ∞
∫ ∞
1
5. x−0.1 dx 11. x2 − 3x + 2
dx
0 −∞
∫ ∞ ∫ ∞
1 ex
6. √
x(x + 4)
dx 12. ex − 1
dx
0 −∞
สรปุ สูตรเกยี ่ วกั บแคลคลู ั ส
เอกลั กษณ ตรโี กณมติ ิ
1. sinxcscx = 1 18. tan2x = 11 − cos2x
+ cos2x
2. cosxsecx = 1
19. tanx = 1 +sincos
2x
=
1 − cos2x
sin2x
3. cotxtanx = 1 2x

4. sin2x + cos2x = 1 20. sin3x = 3sinx − 4sin3x


5. sec2x − tan2x = 1 21. cos3x = 4cos3x − 3cosx
6. csc2x − cot2x = 1 22. sin3x = 41 [3sinx − sin3x]
7. sin(−x) = −sinx 23. cos3x = 41 [3cosx + cos3x]
8. cos(−x) = cosx
3tanx − tan3 x
9. tan(−x) = −tanx 24. tan3x = 1 − 3tan2x
( ) ( )
10. sin(x ± y) = sinxcosy ± cosxsiny x+y x−y
25. sinx+siny = 2sin 2 cos 2
11. cos(x ± y) = cosxcosy ∓ sinxsiny ( ) ( )
x+y x−y
26. sinx−siny = 2cos 2 sin 2
12. tan(x ± y) = 1tan x ± tany
∓ tanxtany ( ) ( )
x+y x−y
13. sin(2x) = 2sinxcosx = 1 +2tanx
tan2x
27. cosx+cosy = 2cos 2 cos 2
( ) ( )
14. cos2x = cos2x − sin2x x+y x−y
28. cosx−cosy = −2sin 2 sin 2
cos2x = 1 − 2sin2x = 2cos2x − 1
29. sinxcosy = 12 [sin(x + y) + sin(x − y)]
cos2x = 2cos2x − 1
15. tan(2x) = 1 −2tan x
tan2x
30. cosxsiny = 12 [sin(x + y) − sin(x − y)]

16. cos2x = 12 (1 + cos2x) 31. cosxcosy = 12 [cos(x + y) + cos(x − y)]

17. sin2x = 12 (1 − cos2x) 32. sinxsiny = − 12 [cos(x + y) − cos(x − y)]


อนุพันธของฟงก ชัน
d d
1. dx
C=0 14. dx
cosx = −sinx
d d
2. dx
x=1 15. tanx = sec2x
dx
d n
3. dx
x = nxn−1 16. d
secx = secxtanx
dx
4. (af )′ (x) = af ′ (x) d
17. dx
cotx = −csc2x
5. (f ± g)′ (x) = f ′ (x) ± g ′ (x)
d
6. (f g)′ (x) = f ′ (x)g(x) + g ′ (x)f (x) 18. dx
cscx = −cscxcotx
( )′
f g(x)f ′ (x) − f (x)g ′ (x) d 1
7. (x) = 19. arcsinx= √
g [g(x)]2 dx 1 − x2
8. (f ◦ g)′ (x) = f ′ (g(x))g ′ (x) d 1
20. arccosx = −√
d x dx 1 − x2
9. dx
e = ex
d 1
d x
21. dx
arctan x=
1 + x2
10. dx
a = ax ℓna
d 1
d 1 22. arccotx=−
11. dx
ℓn|x| =
x
dx 1 + x2
d 1
d 1 23. arcsecx= √
12. dx
loga |x| =
xℓna
dx |x| x2 − 1

d 1
13. d
sinx = cosx 24. arccscx=− √
dx dx |x| x2 − 1

คาเชงิ อนุพันธ
1. dC = 0 4. u′ dx = du
( u ) vdu − udv
2. d(u + v) = du + dv 5. d
v
=
v2
3. d(ku) = kdu 6. d(uv) = vdu + udv
ปรพิ ั ∫นธของฟงก ช∫ั น
1. af (x)dx = a f (x)dx
∫ ∫ ∫
2. f (x) + g(x)dx = f (x)dx + g(x)dx

3. kdx = kx + C
∫ ∫
4. vdu = uv − vdu

xn+1
5. xn dx =
n+1
+ C , n ̸= −1

1
6. x
dx = ℓn|x| + C

7. ex dx = ex + C

1
8. eax dx = eax + C
a

ax
9. ax dx =
ℓna
+C

10. sinxdx = −cosx + c

11. cosxdx = sinx + C

12. sec2xdx = tanx + C

13. secxtanxdx = secx + C

14. csc2xdx = −cotx + C

15. cscxcotxdx = −cscx + C

16. tanxdx = ℓn|secx| + C

17. secxdx = ℓn|secx + tanx| + C

18. cotxdx = ℓn|sinx| + C

19. cscxdx = ℓn|cscx − cotx| + C

eax
20. eax sinbxdx =
a2 + b2
(asinbx − bcosbx) + C

eax
21. eax cosbxdx =
a2 + b2
(acosbx + bsinbx) + C

1
22. √ dx = arcsinx + C
1 − x2

1
23. 1 + x2
dx = arctanx + C

1
24. √ dx = arcsecx + C
|x| x2 − 1

25. ℓnxdx = xℓnx − x + C

26. cosaxdx = a1 sinax + C

27. sinaxdx = − a1 cosax + C
∫ √
28. arcsinxdx = xarcsinx + 1 − x2 + C
∫ √
29. arccosxdx = xarccosx − 1 − x2 + C

30. arctanxdx = xarctanx − 12 ℓn(1 + x2) + C

31. arccotxdx = xarccotx + 21 ℓn(1 + x2) + C
∫ √
32. arcsecxdx = xarcsecx − ℓn|x + x2 − 1| + C
∫ √
33. arccscxdx = xarccscx + ℓn|x + x2 − 1| + C
บรรณานกุ รม
ดำรง ทพิ ย โยธา, ยุวรยี  พั นธกลา และณั ฏฐนาถ ไตรภพ. (2548). แคลคลู ั ส ๑. กรุงเทพฯ:
สำนั กพิมพ แหงจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลั ย.
James Stewart. (2012). Calculus Early Transcendentals. Canada. Nelson Education,
Ltd.
Josip Hercet, Lorraine Heienrichs, Palmira Mariz Seiler and Marlence Torres Skoumal.
(2012). Mathematics higher level. New York: Oxford university press.
Pual Glendinning. (2012). Maths in minutes. London, England: Quercus Editions
Ltd.
Tom Jackson. (2012). Mathematics an illustrated history of numbers. New York:
Shelter Harbor Press and Worth Press Ltd
ประวั ตผิ  เู ขียน

นายธนั ชยศ จำปาหวาย


• ปรญ ิ ญาเอก วทิ ยาศาสตรดษุ ฎบี ั ณฑติ (คณติ ศาสาตร), จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลั ย, 2557
Ph.D. (Mathematics), Chulalongkorn University, 2014
• ปรญ ิ ญาโท วทิ ยาศาสตรมหาบั ณฑติ (คณติ ศาสาตร), จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลั ย, 2552
M.Sc. (Mathematics), Chulalongkorn University, 2009
• ปรญ ิ ญาตรี วทิ ยาศาสตรบัณฑติ (คณติ ศาสาตร, เกยี ตริ นยิ มอั นดั บสอง),
จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลั ย, 2549
B.Sc. (Mathematics, 2nd class honours),Chulalongkorn University, 2006
• ปจจบุ ั นดำรงตำแหนงผูชว ยศาสตราจารย ประจำสาขาวชิ าคณติ ศาสตร คณะครุศาสตร
มหาวทิ ยาลั ยราชภั ฏสวนสุนันทา
Email: thanatyod_ja@ssru.ac.th Office: 1144
Facebook: www.facebook.com/Jampawai Block: www.eledu.ssru.ac.th/thanatyod_ja
ผลงานทางวชิ าการ
1. หนั งสอื ความจรงิ ทตี่ องพิสจู น, 2560
2. เอกสารประกอบการสอนวชิ าหลั กการคณติ ศาสตรสำหรั บครู, 2559
3. ตำราวชิ าทฤษฎจี ำนวน, 2559

You might also like