You are on page 1of 341

กลศาสตร์ของไหล

(Fluid Mechanics)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร สุทธิบาก


ปร.ด. (วิศวกรรมเครื่องกล)

คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
2558
คำนำ
ตำรำวิชำกลศำสตร์ของไหลเล่มนี้ ใช้สำหรับกำรเรียนกำรสอนตำมหลักสูตรวิทยำศำสตรบัณฑิต
สำขำวิชำเทคโนโลยีเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุดรธำนี ในรำยวิชำกลศำสตร์ของ
ไหล (Fluid Mechanics) รหัสวิชำ 5592103 หรือ MT02206 หรือ MT02205 เนื้อหำในตำรำมี
ทั้งหมด 10 บทเรียน ประกอบด้วย 1) พื้นฐำนของกลศำสตร์ของไหล 2) คุณสมบัติของของไหล 3)
ควำมหนื ด ของของไหล 4) สถิตศำสตร์ ของไหล 5) พื้นฐำนของกำรไหล 6) สมกำรโมเมนตัม 7)
สมกำรพลังงำน 8) กำรไหลภำยในท่อปิด 9) กำรวัดอัตรำกำรไหลของของไหลในท่อ และ 10) สมกำร
พื้นฐำนของกำรไหลแบบอัดตัวได้
กลศำสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) เป็นวิชำที่สำคัญมำกวิชำหนึ่ง เนื่องจำกเป็น วิชำบังคับ
และเป็นพื้นฐำนของหลำยๆ วิชำสำหรับกำรเรียนในสำขำวิชำเทคโนโลยีเครื่องกล คณะเทคโนโลยี
มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุดรธำนี และจำกประสบกำรณ์กำรสอนวิชำกลศำสตร์ของไหลของผู้เขียนมำ
หลำยปี พบว่ำ นักศึกษำจ ำนวนมำกนิ ยมอ่ำนตำรำที่เป็ นภำษำไทย และในตำรำส่ วนมำกจะเน้ น
เนื้อหำเฉพำะด้ำนและมีปริมำณเนื้อหำมำกเกินไป อ่ำนเข้ำใจยำก และนักศึกษำบำงส่วนมีพื้นฐำน
ทำงด้ำนกำรคำนวณไม่ดี ทำให้ ไม่ส ำมำรถได้รั บ ควำมรู้ ได้มำกนั ก ดังนั้ นตำรำเล่ มนี้ จึ งมุ่งเน้ นให้
นักศึกษำที่มีพื้นฐำนควำมรู้ทำงด้ำนกำรคำนวณไม่มำก สำมำรถอ่ำนเข้ำใจได้ และนักศึกษำที่มีพื้น
ฐำนควำมรู้เดิมดีอยู่แล้ว อ่ำนได้ควำมรู้มำกยิ่งขึ้น โดยผู้เขียนตำรำเล่มนี้พยำมยำมใช้ภำษำที่ไม่ซับซ้อน
อ่ำนทำควำมเข้ำใจด้วยตนเองได้ง่ำย และครอบคลุมในเนื้อหำรำยวิชำ
ผู้เขียนหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำตำรำเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักศึกษำสำขำวิชำเทคโนโลยีเครื่องกล
คณะเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุดรธำนี และผู้ที่สนใจที่จะอ่ำนทุ กท่ำน และพร้อมยินดีรับคำติ
ชม ข้อเสนอแนะต่ำงๆ ที่เป็นประโยชน์ เพื่อนำไปปรับปรุงในกำรจัดพิมพ์ประกอบกำรเรียนกำรสอน
ในครั้งต่อไป

ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.สุนทร สุทธิบำก


มีนำคม 2558
สารบัญ
หน้า
คานา .............................................................................................................................................(ก)
สารบัญ ......................................................................................................................................... (ค)
สารบัญรูปภาพ ............................................................................................................................. (ฌ)
สารบัญตาราง...............................................................................................................................(ณ)
บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล ......................................................................................... 1
1.1 ความสาคัญของกลศาสตร์ของไหล............................................................................. 1
1.2 ประวัติความเป็นมาของกลศาสตร์ของไหล ................................................................ 2
1.2.1 ประวัติความเป็นมาของกลศาสตร์ของไหล ..................................................... 2
1.2.2 ยุคศตวรรษที่ 18 และ 19 .............................................................................. 9
1.2.3 ยุคศตวรรษที่ 20 .......................................................................................... 27
1.3 นิยามของของไหล ................................................................................................... 32
1.4 ระบบของหน่วย....................................................................................................... 32
1.5 หน่วยของปริมาณทางฟิสิกส์ที่สาคัญ ....................................................................... 35
1.5.1 หน่วย ........................................................................................................... 35
1.5.2 ขนาด ........................................................................................................... 35
1.5.3 แรง............................................................................................................... 37
1.5.4 พลังงาน........................................................................................................ 37
1.5.5 กาลัง ............................................................................................................ 38
1.6 บทสรุป .................................................................................................................... 38
แบบฝึกหัดท้ายบท ......................................................................................................... 40

บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล .................................................................................................... 41


2.1 ความหนาแน่น......................................................................................................... 41
2.2 นาหนักจาเพาะ ........................................................................................................ 42
2.3 ความถ่วงจาเพาะ ..................................................................................................... 42
2.4 ปริมาตรจาเพาะ ...................................................................................................... 43
2.5 ความหนืด................................................................................................................ 46
2.6 ความตึงผิวและความตีบ .......................................................................................... 46
2.7 ความอัดตัวได้ .......................................................................................................... 50
2.8 คุณลักษณะของก๊าซอุดมคติ .................................................................................... 52
2.9 ความดันไอ .............................................................................................................. 54
(ง)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
2.10 บทสรุป ................................................................................................................. 54
แบบฝึกหัดท้ายบท ......................................................................................................... 56

บทที่ 3 ความหนืดของของไหล................................................................................................... 57
3.1 ความหมายของความหนืด ....................................................................................... 57
3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืด แรงเฉือน และความเร็ว ........................................ 57
3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดกับอุณหภูมิ ............................................................ 58
3.3.1 ของเหลว...................................................................................................... 59
3.3.2 ก๊าซ.............................................................................................................. 59
3.4 ความหนืดสัมบูรณ์................................................................................................... 60
3.5 ความหนืดจลน์ ........................................................................................................ 61
3.6 การหาความหนืดจลน์แบบเซย์โบลท์ ....................................................................... 64
3.7 การหาความหนืดโดยใช้หลอดคาปิลลารี.................................................................. 66
3.8 บทสรุป ................................................................................................................... 69
แบบฝึกหัดท้ายบท ......................................................................................................... 70

บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล ..................................................................................................... 71


4.1 ความหมายของความดัน ......................................................................................... 71
4.2 ความดันของของไหลที่จุดใดๆ ................................................................................. 72
4.3 ความดันที่จุดใดจุดหนึ่งในของเหลว ......................................................................... 76
4.4 เฮดของความดัน ..................................................................................................... 78
4.5 กฎของปาสคาล ....................................................................................................... 78
4.6 ความดันสมบูรณ์และความดันเกจ ........................................................................... 79
4.7 เครื่องมือวัดความดัน ............................................................................................... 81
4.7.1 บารอมิเตอร์ ................................................................................................. 81
4.7.2 แมนอมิเตอร์ ................................................................................................ 82
4.7.3 มาตรวัดบัวดอง ............................................................................................ 88
4.8 แรงที่กระทากับบนแผ่นราบที่จมในของไหลสถิต ..................................................... 94
4.8.1 แรงดันบนระนาบแนวระดับ ......................................................................... 94
4.8.2 แรงดันบนระนาบในแนวดิ่ง .......................................................................... 94
4.8.3 แรงดันบนระนาบในแนวเอียง ...................................................................... 96
(จ)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
4.9 แรงที่กระทาบนแผ่นโค้งที่จมอยู่ในของเหลว ..........................................................102
4.10 แรงลอยตัว ..........................................................................................................103
4.10.1 กรณี วัตถุจมทังก้อน.................................................................................103
4.10.2 กรณี วัตถุลอยอยู่ระหว่างในของไหล 2 ชนิด ............................................104
4.10.3 กรณี วัตถุลอยอยู่เหนือผิว ........................................................................105
4.11 เมตาเซนเตอร์ และความสูงเมตาเซนตริก ............................................................106
4.12 เสถียรภาพของวัตถุจมและวัตถุลอย ....................................................................107
4.13 การหาความสูงเมตาเซนตริก ...............................................................................108
4.14 บทสรุป................................................................................................................111
แบบฝึกหัดท้ายบท .......................................................................................................113

บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล ......................................................................................................119


5.1 นิยาม.....................................................................................................................119
5.1.1 เส้นกระแส .................................................................................................119
5.1.2 ลาท่อกระแส ..............................................................................................119
5.2 ชนิดของการไหล....................................................................................................120
5.2.1 การไหลในสภาวะคงตัว และในสภาวะไม่คงตัว ...........................................120
5.2.2 การไหลแบบทิศทางเดียว สองทิศทาง และสามทิศทาง ..............................120
5.2.3 การไหลแบบราบเรียบ และแบบปั่นป่วน ....................................................122
5.2.4 การไหลแบบหนืด และแบบไม่หนืด ............................................................122
5.2.5 การไหลแบบอัดตัวไม่ได้ และแบบอัดตัวได้ .................................................123
5.2.6 การไหลแบบหมุน และแบบไม่หมุน ............................................................124
5.3 สมการพืนฐานของการไหล ....................................................................................124
5.3.1 ความเร็วในการไหล ....................................................................................124
5.3.2 อัตราการไหล .............................................................................................125
5.3.3 สมการการไหลต่อเนื่อง ..............................................................................126
5.4 บทสรุป ..................................................................................................................133
แบบฝึกหัดท้ายบท .......................................................................................................135

บทที่ 6 สมการโมเมนตัม ...........................................................................................................137


6.1 ความหมายของโมเมนตัม.......................................................................................137
6.2 สมการโมเมนตัมเชิงเส้น.........................................................................................137
(ฉ)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
6.3 สมการโมเมนตัมเชิงมุม ......................................................................................... 147
6.4 บทสรุป ................................................................................................................. 151
แบบฝึกหัดท้ายบท ....................................................................................................... 152

บทที่ 7 สมการพลังงาน............................................................................................................. 155


7.1 ความหมายของพลังงาน ........................................................................................ 155
7.1.1 พลังงานจลน์ .............................................................................................. 155
7.1.2 พลังงานศักย์ .............................................................................................. 155
7.1.3 พลังงานของการไหล .................................................................................. 156
7.1.4 พลังงานภายใน .......................................................................................... 156
7.2 สมการอนุรักษ์พลังงาน.......................................................................................... 156
7.3 ประสิทธิภาพเชิงกลของเครื่องสูบ .......................................................................... 158
7.3.1 พลังงานหรือแรงขับ (Head) ของเครื่องสูบ ................................................ 158
7.3.2 ประสิทธิภาพของเครื่องสูบ ........................................................................ 158
7.4 สมการออยเลอร์ .................................................................................................... 165
7.5 สมการเบอร์นูลี...................................................................................................... 167
7.6 บทสรุป ................................................................................................................. 174
แบบฝึกหัดท้ายบท ....................................................................................................... 176

บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด ................................................................................................... 181


8.1 ความหมายของการไหลภายในท่อปิด .................................................................... 181
8.2 พฤติกรรมการไหลภายในท่อ ................................................................................. 181
8.2.1 การไหลแบบราบเรียบ ................................................................................ 182
8.2.2 การไหลแบบปั่นป่วน .................................................................................. 182
8.2.3 การไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน.................................................................... 183
8.3 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อ ........................................................................ 184
8.3.1 การไหลบริเวณปากทางเข้าท่อในสภาวะการไหลแบบราบเรียบ ................. 185
8.3.2 การไหลบริเวณปากทางเข้าท่อในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน.................... 185
8.4 การสูญเสียพลังงานหลัก ........................................................................................ 187
8.4.1 ตัวประกอบความเสียดทานของการไหลแบบราบเรียบ ............................... 189
8.4.2 ตัวประกอบความเสียดทานของการไหลแบบปั่นป่วน ................................. 190
(ช)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
8.5 การสูญเสียพลังงานรอง .........................................................................................196
8.6 บทสรุป ..................................................................................................................203
แบบฝึกหัดท้ายบท .......................................................................................................205

บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ........................................................................207
9.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ .........................................207
9.2 การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ .........................................207
9.2.1 ความหมายของมาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ ...............................................207
9.2.2 หลักการทางานของมาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ .........................................207
9.3 การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบแผ่นออริฟิส ................................212
9.3.1 ความหมายของมาตรวัดการไหลแบบแผ่นออริฟิส ......................................212
9.3.2 ความหนาของออริฟิส .................................................................................212
9.3.3 ออริฟิสแบบเยืองศูนย์.................................................................................213
9.3.4 ออริฟิสแบบเซ็คเมนต์ .................................................................................213
9.3.5 ออริฟิสแบบจุดศูนย์กลางร่วม .....................................................................214
9.3.6 ออริฟิสแบบจากัดจุดศูนย์กลางเดียว...........................................................214
9.3.7 หลักการทางานของมาตรวัดแบบออริฟิส ....................................................214
9.4 การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบโรตามิเตอร์ .................................219
9.4.1 ความหมายของมาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์ ..............................219
9.4.2 หลักการทางานของมาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์ ........................220
9.5 การวัดอัตราการไหลโดยใช้พิทอตต์ทิวป์.................................................................222
9.5.1 ความหมายของพิทอตต์ทิวป์.......................................................................222
9.5.2 หลักการทางานของพิทอตต์ทิวป์ ................................................................223
9.6 บทสรุป ..................................................................................................................225
แบบฝึกหัดท้ายบท .......................................................................................................226

บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ ...................................................................229


10.1 นิยามของการไหลของของไหลแบบอัดตัวได้ ........................................................229
10.2 ความสัมพันธ์ทางอุณหพลศาสตร์ ........................................................................229
10.3 การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบแผ่นออริฟิส ..............................234
(ซ)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
10.4 คลื่นรูปกรวยมัค .................................................................................................. 237
10.5 สมการพืนฐานสาหรับการไหลแบบไอเซนทรอปิก ............................................... 239
10.6 ผลของการเปลี่ยนแปลงขนาดของพืนที่สาหรับการไหลแบบไอเซนทรอปิก ......... 241
10.7 การไหลแบบไอเซนทรอปิกของก๊าซอุดมคติ......................................................... 245
10.8 การไหลผ่านหัวฉีด............................................................................................... 249
10.8.1 การไหลผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้า .................................................................... 249
10.8.2 การไหลผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออก ............................................... 254
10.9 การไหลแบบอัดตัวได้ผ่านท่อที่มีพืนที่หน้าตัดคงที่และมีความเสียดทาน .............. 257
10.10 บทสรุป ............................................................................................................. 264
แบบฝึกหัดท้ายบท ....................................................................................................... 265

บรรณานุกรม............................................................................................................................... 267
ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล ................................................................................ 271
ภาคผนวก ข ตารางขนาดท่อ ..................................................................................................... 287
ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติของนาอิ่มตัว และไอดง ............................................................... 295
ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท............................................................................. 311
ประวัติผู้เขียน ............................................................................................................................. 323
(ฌ)

สารบัญรูปภาพ
รูปที่ หน้า
1.1 อาร์คิมีดีส (Archimedes) บิดาแห่งวิชากลศาสตร์ ................................................................... 2
1.2 สกรูวิดนาของอาร์คิมิดีส ........................................................................................................... 3
1.3 ลีโอนาร์โด ดาวินชี .................................................................................................................... 4
1.4 กาลิเลโอ กาลิเลอิ ..................................................................................................................... 4
1.5 อีแวนเกลิสตา ทอร์ริเซลลี......................................................................................................... 5
1.6 เบลส์ ปาสคาล ......................................................................................................................... 6
1.7 เซอร์ ไอแซก นิวตัน .................................................................................................................. 6
1.8 เมอร์กีส์ กีโอแวนนี โพเลนี........................................................................................................ 7
1.9 อองรี เดอ พิทอตต์ ................................................................................................................... 8
1.10 จาคอบ เบอร์นูลี ...................................................................................................................... 9
1.11 เดเนียล เบอร์นูลี ................................................................................................................... 10
1.12 เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ .......................................................................................................... 11
1.13 ฌอง เลอ รงค์ ดีอัลม์แบร์ต .................................................................................................... 12
1.14 อองตวน เชซี ......................................................................................................................... 12
1.15 ฌอง ชาร์ลส์ บอร์ดา .............................................................................................................. 13
1.16 โยแซฟ หลุยส์ ลากรอง ........................................................................................................... 13
1.17 จีโอแวนนี แบตทีสตา เวนจูริ .................................................................................................. 14
1.18 จีอัสเซปเป เวนจูโรลิ............................................................................................................... 15
1.19 จีโรจีโอ บีโดนี......................................................................................................................... 15
1.20 หลุยส์ มารี อองรี นาวีเย ........................................................................................................ 16
1.21 ออกัสติง หลุยส์ เดอ โกชี........................................................................................................ 16
1.22 คล้อด บือแดง ........................................................................................................................ 17
1.23 โกธทิล์ฟ เฮียนริช ลุควิก ฮาเกน ............................................................................................. 18
1.24 ฌอง หลุยส์ บัวซ์เอออีลเลอ .................................................................................................... 18
1.25 อองรี ฟิลิแบรต์ กาสปาร์ด ดาร์ซี ............................................................................................ 19
1.26 จูเลียส เวียสแบซ .................................................................................................................... 20
1.27 จอห์น สก็อต รัสเซลล์............................................................................................................ 20
1.28 วิลเลียม ฟรัวดี ....................................................................................................................... 21
1.29 โรเบิร์ต แมนนิง ..................................................................................................................... 22
1.30 จอร์จ กาเบียร์ล สโต๊ก ........................................................................................................... 22
1.31 อองตวน ซาร์ลส์ แบรส .......................................................................................................... 23
(ญ)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
1.32 อองรี เอมีล บาชิง ................................................................................................................. 24
1.33 เอิร์นสต์ มัค........................................................................................................................... 24
1.34 ออสบอร์น เรย์โนลด์.............................................................................................................. 25
1.35 จอห์น วิลเลียม สทรัต์ต, ลอร์ด เรย์ไลฟ์ ................................................................................ 26
1.36 เซนซ์ สเตราฮัล ..................................................................................................................... 26
1.37 มอริทซ์ เวเบอร์ ..................................................................................................................... 27
1.38 ลุดวิก แพรนตัท์ล .................................................................................................................. 28
1.39 เลวิส เฟอร์รี มูดี .................................................................................................................... 29
1.40 ธีโอดอร์ วอน คาร์มาน .......................................................................................................... 30
1.41 พอล ริชาร์ด เฮียนริช บลาสิอัส ............................................................................................. 31
1.42 จิออฟเฟร อินแกรม เทเลอร์ .................................................................................................. 31
1.43 แรงเฉือนที่กระทาบนของแข็งและของเหลว .......................................................................... 32
2.1 การชั่งนาหนักนามันชีวภาพเพื่อคานวณหาความหนาแน่น ..................................................... 42
2.2 การดึงดูดกันระหว่างโมเลกุลของของเหลวในบริเวณที่ห่างและใกล้ๆ ผิวของเหลว ................. 47
2.3 แรงตึงผิวในผิวฟิล์มหยดของเหลว .......................................................................................... 48
2.4 ความตีบในหลอดแก้วหน้าตัดทรงกลม ................................................................................... 49
2.5 การวิเคราะห์สมดุลกับของเหลวในหลอดรูเล็ก ....................................................................... 49
2.6 ของไหลที่ถูกอัดในภาชนะ ...................................................................................................... 51
3.1 ของไหลถูกแรงเฉือนมากระทาที่ผิว ........................................................................................ 58
3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดจลน์กับอุณหภูมิของนามันหล่อลื่นเกรดต่างๆ ....................... 60
3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นเฉือนและอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว .............................. 61
3.4 หลักการทางานของเครื่องมือทดสอบความหนืดแบบเซย์โบลท์ .............................................. 64
3.5 เครื่องมือทดสอบความหนืดแบบเซย์โบลท์ ............................................................................. 65
3.6 ส่วนประกอบของหลอดวัดความหนืดแบบคาปิลลารี CANNON เบอร์ 25.............................. 66
3.7 การวัดความหนืดจลน์ของนามันชีวภาพโดยใช้หลอดคาปิลลารี .............................................. 67
3.8 เครื่องมือวัดความหนืดโดยอาศัยการตกของลูกตุ้มเหล็ก ......................................................... 68
3.9 การวัดความหนืดด้วยเครื่องทดสอบแบบใช้แกนหมุน ............................................................. 68
4.1 แรงที่กระทากับระนาบแบบสม่าเสมอ .................................................................................... 71
4.2 แรงที่กระทากับระนาบที่ไม่สม่าเสมอ ..................................................................................... 72
4.3 สมดุลของแรงเนื่องจากความดันในของไหลสถิต..................................................................... 72
4.4 แรงที่กระทาต่อก้อนของของไหลในสภาพนิ่งตามแนวแกน x y และ z ................................... 74
4.5 การกระจายของแรงที่เกิดความดันในแกน z .......................................................................... 75
(ฎ)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
4.6 ความดันที่ ณ จุดใดจุดหนึ่งในของเหลว .................................................................................. 76
4.7 ภาชนะที่ต่างกันแต่ที่ระดับเดียวกันย่อมมีความดันเท่ากัน ....................................................... 78
4.8 การยกไฮดรอลิกส์ .................................................................................................................. 79
4.9 ความดันสัมบูรณ์และความดันเกจ .......................................................................................... 80
4.10 อุปกรณ์บารอมิเตอร์ ............................................................................................................... 81
4.11หลอดพิซอมิเตอร์ .................................................................................................................... 83
4.12 แมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยูที่ความดันต่ากว่าความดันบรรยากาศ .................................... 83
4.13 แมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยูที่ความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศ .................................... 84
4.14 ประกอบตัวอย่างที่ 4.4 .......................................................................................................... 85
4.15 ประกอบตัวอย่างที่ 4.5 .......................................................................................................... 86
4.16 แมนอมิเตอร์แบบวัดผลต่างของความดัน ............................................................................... 87
4.17 แมนอมิเตอร์แบบหลอดเอียง ................................................................................................. 88
4.18 มาตรวัดบัวดอง...................................................................................................................... 89
4.19 ประกอบตัวอย่างที่ 4.6 .......................................................................................................... 89
4.20 ประกอบตัวอย่างที่ 4.7 .......................................................................................................... 90
4.21 ประกอบตัวอย่างที่ 4.8 .......................................................................................................... 91
4.22 ประกอบตัวอย่างที่ 4.9 .......................................................................................................... 93
4.23 เมื่อระนาบในแนวระดับจมอยู่ในของเหลว.............................................................................. 94
4.24 เมื่อระนาบในแนวดิ่งจมอยู่ในของเหลว .................................................................................. 95
4.25 แผ่นราบจมในของไหลตาแหน่งจุดศูนย์ถ่วงของพืนที่ และจุดศูนย์กลางความดัน .................... 96
4.26 โมเมนต์ความเฉื่อยของพืนที่ทั่วไป .......................................................................................... 99
4.27 ประกอบตัวอย่างที่ 4.10......................................................................................................100
4.28 FBD ของแรงที่กระทา .........................................................................................................101
4.29 แรงที่กระทาบนแผ่นโค้งที่จมอยู่ในของเหลว ........................................................................102
4.30 เมื่อวัตถุจมในของไหลทังก้อน ..............................................................................................103
4.31 เมื่อวัตถุจมในของไหล 2 ชนิด..............................................................................................105
4.32 เมื่อวัตถุจมในของไหลบางส่วน ............................................................................................105
4.33 ความเสถียรของวัตถุที่ลอยนิ่งบนของไหล ............................................................................106
4.34 แรงที่กระทาเมื่อวัตถุจมในของไหลทังก้อน ..........................................................................107
4.35 แรงที่กระทาเมื่อวัตถุจมในของไหลเพียงบางส่วน .................................................................108
4.36 เมื่อวัตถุลอยในของไหลเอียงทามุม  ..................................................................................108
4.37 ประกอบตัวอย่างที่ 4.12......................................................................................................110
(ฏ)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
4.38 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 12 ............................................................................ 113
4.39 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 13 ............................................................................ 114
4.40 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 14 ............................................................................ 114
4.41 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 15 ............................................................................ 115
4.42 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 16 ............................................................................ 115
4.43 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 17 ............................................................................. 116
4.44 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 18 ............................................................................. 116
4.45 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 19 ............................................................................. 117
4.46 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 20 ............................................................................. 117
4.47 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 23 ............................................................................ 118
4.48 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 25 ............................................................................ 118
5.1 ลักษณะของการไหล............................................................................................................. 119
5.2 การไหลของของไหลในสภาวะคงตัว ..................................................................................... 120
5.3 การไหลของของไหลในสภาวะไม่คงตัว ................................................................................. 120
5.4 การไหลแบบทิศทางเดียว ..................................................................................................... 121
5.5 การไหลแบบสองทิศทาง ...................................................................................................... 121
5.6 การไหลแบบสามทิศทาง ...................................................................................................... 121
5.7 การไหลแบบราบเรียบ .......................................................................................................... 122
5.8 การไหลแบบปั่นป่วน ............................................................................................................ 122
5.9 การไหลแบบหนืด................................................................................................................. 123
5.10 การไหลแบบไม่หนืด ............................................................................................................. 123
5.11 การไหลแบบหมุน................................................................................................................. 124
5.12 การไหลแบบไม่หมุน ............................................................................................................. 124
5.13 ความเร็วในการไหล ............................................................................................................. 125
5.14 การไหลเชิงมวล ................................................................................................................... 126
5.15 การไหลแบบต่อเนื่อง ........................................................................................................... 127
5.16 ประกอบตัวอย่างที่ 5.2 ....................................................................................................... 129
5.17 ประกอบตัวอย่างที่ 5.3 ....................................................................................................... 130
5.18 ประกอบตัวอย่างที่ 5.4 ....................................................................................................... 131
5.19 ประกอบตัวอย่างที่ 5.5 ....................................................................................................... 132
5.20 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 ข้อที่ 7 .............................................................................. 135
5.21 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 ข้อที่ 9 .............................................................................. 136
5.22 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 ข้อที่ 10 ............................................................................ 136
(ฐ)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
6.1 การวิเคราะห์การไหลแบบปริมาตรควบคุม ...........................................................................138
6.2 ประกอบตัวอย่างที่ 6.2 .........................................................................................................139
6.3 ประกอบตัวอย่างที่ 6.3 .........................................................................................................141
6.4 ประกอบตัวอย่างที่ 6.4 .........................................................................................................143
6.5 ประกอบตัวอย่างที่ 6.5 .........................................................................................................144
6.6 ประกอบตัวอย่างที่ 6.6 .........................................................................................................146
6.7 ความสัมพันธ์ของโมเมนตัมเชิงมุม ........................................................................................147
6.8 การวิเคราะห์ความเร็วของการฉีดหัวฉีดสปริงเคลอร์ .............................................................148
6.9 ประกอบตัวอย่างที่ 6.7 .........................................................................................................150
6.10 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 ข้อที่ 4...............................................................................152
6.11 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 ข้อที่ 5...............................................................................152
6.12 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 ข้อที่ 6...............................................................................153
7.1 ประกอบตัวอย่างที่ 7.1 .........................................................................................................160
7.2 ประกอบตัวอย่างที่ 7.2 .........................................................................................................161
7.3 ประกอบตัวอย่างที่ 7.4 .........................................................................................................163
7.4 ประกอบตัวอย่างที่ 7.5 .........................................................................................................164
7.5 อนุภาคของของไหลที่เคลื่อนที่ไปตามแนวสัมผัสกับเส้นโค้งเส้นกระแส .................................165
7.6 ช่วงการใช้งานของสมการเบอร์นูลี ........................................................................................167
7.7 ผลต่างของปริมาตรควบคุมสาหรับการวิเคราะห์พลังงานจากสมการเบอร์นูลี .......................168
7.8 ประกอบตัวอย่างที่ 7.7 .........................................................................................................170
7.9 ประกอบตัวอย่างที่ 7.8 .........................................................................................................171
7.10 ประกอบตัวอย่างที่ 7.9 ........................................................................................................172
7.11 การวิเคราะห์แมนอมิเตอร์ ...................................................................................................173
7.12 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 9...............................................................................176
7.13 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 10 ............................................................................177
7.14 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 11 ............................................................................177
7.15 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 12 ............................................................................178
7.16 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 13 ............................................................................178
7.17 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 14 ............................................................................179
7.18 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 15 ............................................................................179
8.1 ลักษณะท่อนาในระบบประปาที่ใช้บริโภคในหมู่บ้าน.............................................................181
8.2 การทดลองพฤติกรรมการไหลของของไหลภายในท่อของออสบอร์น เรย์โนลด์ .....................182
(ฑ)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
8.3 พฤติกรรมการไหลแบบราบเรียบ .......................................................................................... 182
8.4 พฤติกรรมการไหลแบบปั่นป่วน ............................................................................................ 183
8.5 พฤติกรรมการไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน.............................................................................. 183
8.6 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อ....................................................................................... 185
8.7 ความสัมพันธ์ของตัวแปรสาหรับการไหลภายในท่อแบบคงตัว .............................................. 187
8.8 การไหลแบบราบเรียบในท่อกลม .......................................................................................... 189
8.9 แผนภาพมูดี (Moody diagram) ......................................................................................... 192
8.10 ประกอบตัวอย่างที่ 8.6 ....................................................................................................... 197
8.11 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 ข้อที่ 9 .............................................................................. 205
8.12 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 ข้อที่ 11 ............................................................................ 206
8.13 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 ข้อที่ 12 ............................................................................ 206
9.1 มาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ ................................................................................................. 208
9.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง และเรย์โนลด์นัมเบอร์ (Re) ......................................................... 210
9.3 ค่าความหนาใช้งานของออริฟิส ............................................................................................ 212
9.4 แผ่นออริฟิสแบบเยืองศูนย์ ................................................................................................... 213
9.5 แผ่นออริฟิสแบบเซ็คเมนต์ ................................................................................................... 213
9.6 แผ่นออริฟิสแบบจุดศูนย์กลางร่วม ....................................................................................... 214
9.7 แผ่นออริฟิสแบบจากัดจุดศูนย์กลางเดียว ............................................................................. 214
9.8 มาตรวัดการไหลแบบออริฟิส ............................................................................................... 215
9.9 สัมประสิทธิ์มาตรวัดการไหลแบบออริฟิส ............................................................................. 218
9.10 ประกอบตัวอย่างที่ 9.2 ....................................................................................................... 218
9.11 มาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์ ................................................................................ 220
9.12 การอ่านค่าของลูกลอยแบบต่างๆ ........................................................................................ 220
9.13 ประกอบตัวอย่างที่ 9.3 ....................................................................................................... 221
9.14 พิทอตต์ทิวป์ (Pitot tube) .................................................................................................. 223
9.15 หลักการวัดความเร็วของของไหลโดยใช้พิทอตต์ทิวป์ ........................................................... 223
9.16 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 ข้อที่ 7 .............................................................................. 226
9.17 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 ข้อที่ 8 .............................................................................. 227
10.1 ประกอบตัวอย่างที่ 10.1 ..................................................................................................... 233
10.2 การเคลื่อนที่ของลูกสูบในกระบอกสูบ ................................................................................. 235
10.3 การเคลื่อนที่ของคลื่นความดัน ............................................................................................ 235
(ฒ)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
10.4 การเคลื่อนที่ของคลื่นเสียงเมื่อแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่างๆ กัน .................238
10.5 ปริมาตรควบคุมสาหรับพืนฐานการไหลแบบไอเซนทรอปิก ..................................................239
10.6 ปริมาตรควบคุมของการไหลแบบไอเซนทรอปิก ..................................................................242
10.7 ผลของพืนที่ที่แตกต่างกันที่มีต่อการไหลแบบช้าและเร็วกว่าเสียง
ผ่านหัวฉีดและดิฟฟิวเซอร์ ...................................................................................................244
10.8 การไหลผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้าที่ความดันต่างๆ กันภายใต้กระบวนการไอเซนทรอปิก .............250
10.9 แผนภาพ T-s สาหรับการไหลผ่านหัวฉีดที่ Choke ..............................................................252
10.10 ประกอบตัวอย่างที่ 10.3 ...................................................................................................252
10.11 การไหลของของไหลผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออกที่ความดันต่างๆ กัน
ภายใต้กระบวนการไอเซนทรอปิก.....................................................................................255
10.12 การไหลผ่านท่อที่มีพืนที่หน้าตัดคงที่แบบปริมาตรควบคุม (Control volume) .................258
10.13 ประกอบตัวอย่างที่ 10.5 ...................................................................................................262
(ณ)

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1.1 หน่วยระบบสากลและอังกฤษของมิติพืนฐาน ......................................................................... 33
1.2 คานาหน้าตัวเลข .................................................................................................................... 34
1.3 หน่วยพืนฐานของระบบสากล (SI unit) ................................................................................. 35
1.4 ขนาดและหน่วย ..................................................................................................................... 36
2.1 ค่าความหนาแน่นของนา และอากาศ (ที่ความดัน 1 atm) ..................................................... 43
2.2 ความดันไอของของเหลวที่อุณหภูมิ 20๐C .............................................................................. 54
3.1 ค่าความหนืดของนาและอากาศ ............................................................................................. 62
3.2 ใบสอบเทียบในการหาค่าความหนืดจลน์โดยใช้หลอดคาปิลลารี ............................................. 67
8.1 ค่าความขรุขระผิวของวัสดุชนิดต่างๆ ................................................................................... 193
8.2 ค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (K) ........................................................................... 200
ก.1 คุณสมบัติของนาที่อุณหภูมิต่างๆ.......................................................................................... 273
ก.2 คุณสมบัติของอากาศที่ความดันบรรยากาศ .......................................................................... 274
ก.3 คุณสมบัติทางอุณหพลศาสตร์ของก๊าซที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน .............................. 275
ก.4 คุณสมบัติของของเหลวที่ความดัน 1 atm และอุณหภูมิ 25๐C ............................................ 276
ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) สาหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4)............................................. 277
ข.1 ขนาดท่อเหล็กกล้า และท่อเหล็กเหนียว ............................................................................... 289
ค.1 คุณสมบัตินาอิ่มตัว (ตารางอุณหภูมิ) .................................................................................... 297
ค.2 คุณสมบัตินาอิ่มตัว (ตารางความดัน) .................................................................................... 300
ค.3 คุณสมบัตินาไอดง ................................................................................................................ 303
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 บทนา 1

บทที่ 1
พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล
(Basic of fluid mechanics)
ในบทแรกจะกล่าวถึงพื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล ซึ่งจะเกริ่นถึงความสาคัญของกลศาสตร์ของ
ไหล ประวัติความเป็นมาของกลศาสตร์ของไหล นิยามของของไหล ระบบของหน่วย หน่วยของ
ปริมาณทางฟิสิกส์ที่สาคัญ และสรุปสาระความสาคัญทั้งหมดของการศึกษาในบทเรียนนี้ โดย
รายละเอียดของแต่ละหัวข้อมีดังต่อไปนี้

1.1 ความสาคัญของกลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหล (Fluid mechanics) เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพฤติกรรมและผลที่
เกิดขึ้นเนื่องจากของไหลที่กระทาต่อผิวของวัตถุที่สัมผัส หรือกระทาต่อของไหลอีกชนิด โดยที่ของไหล
ดังกล่าวอาจจะอยู่ในสภาวะที่เคลื่อนที่หรือสภาวะที่อยู่นิ่งก็ได้ กลศาสตร์ของไหลจะมีความสาคัญต่อ
การดารงชีพของคนเราในทุ กๆ วัน เริ่มตั้งแต่ในครั้งเมื่อ คนเราเปิดน้าลงอ่างล้างชาม น้าที่ไหลผ่าน
ระบบท่อ ปั๊ม และวาล์ว เข้ามา ซึ่งเหล่านี้ล้วนเป็นผลมาจากกลศาสตร์ของไหล ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านก็มา
จากเขื่อนที่กั้น น้ า โดยน้ าไหลผ่ านกังหั นน้ าที่ต่ออยู่ กับ เครื่ องกาเนิ ด กระแสไฟฟ้า หรื อไฟฟ้าจาก
แหล่งกาเนิดพลังงานความร้อนเป็นการไหลผ่านของไอน้าเข้าท่อออกสู่ใบกังหันไอน้า เมื่อขับรถยนต์ก็
เริ่มจากล้อยางไฮดรอลิกส์รับการกระแทกเพื่อลดแรงกระแทกของถนน ปั๊มในเครื่องยนต์ และระบบ
ต้านทานอากาศของรถยนต์ การทางานของไฮดรอลิกส์เบรก กระบวนการต่างๆ ที่ใช้ในการผลิ ต
กระดาษและเยื่ อกระดาษ การมี ชีวิตอยู่ ได้ของคนเรา (การไหลเวียนของเลื อด) ก็เป็ นผลมาจาก
กระบวนการทางกลศาสตร์ของไหล สภาพแวดล้อมส่ วนหนึ่งก็เป็นผลจากกลศาสตร์ของไหลด้ว ย
เช่นกัน อาทิเช่น ระบบการส่งน้าประปา การระบายน้าเสีย และการระบายควัน ไอเสีย เป็นต้น การ
ผลิตเครื่องยนต์เจต (Jet) สาหรับเครื่องบิน บัลลูน กังหันลมเพื่อการผลิต กระแสไฟฟ้าและสูบน้า การ
ผลิตเครื่องบินและยานอวกาศ จรวด และการสร้างเรือ เหล่านี้ต้องใช้หลักการของกลศาสตร์ของไหล
มาร่วมวิเคราะห์ปัญหาทั้งสิ้น
กลศาสตร์ของไหล เป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกั บของไหล ทั้งในสภาวะที่อยู่นิ่ง และเคลื่อนที่
แบ่งออกได้เป็น 3 สาขา ดังนี้
1) ของไหลสถิต (Fluid static) เป็นการศึกษาถึงพฤติกรรมอันเกี่ยวกับของไหลที่อยู่นิ่ง
2) จลศาสตร์ของไหล (Fluid kinematics) เป็นการศึกษาถึงความเร็วและเส้นการไหล
(Stream line) โดยไม่พิจารณาแรงและพลังงานที่เกิดขึ้น
3) พลศาสตร์ของไหล (Fluid dynamics) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว
หรือความเร่งของของไหล และแรงที่กระทาโดยของไหล
ในการศึกษาวิชากลศาสตร์ของไหลนี้จะใช้หลักการพื้นฐานเช่นเดียวกับกลศาสตร์ของแข็ง (Solid
mechanics) แต่กลศาสตร์ของไหลจะมีความซับซ้อนมากกว่ากลศาสตร์ของแข็ง เพราะของไหลไม่
สามารถแยกส่วนก้อนของของไหลออกจากกันเพื่อพิจารณาเป็นส่วนๆ ได้
2 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

1.2 ประวัติความเป็นมาของกลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ ของไหลได้มีวิวัฒนาการขึ้นมาโดยอาศัยนั กวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และฟิสิ กส์
มากมายหลายท่าน กลศาสตร์ของไหลถูกพัฒนามา 3 ยุคด้วยกัน ได้แก่ วิวัฒนาการยุคโบราณและยุค
กลาง ยุ คศตวรรษที่ 18 และ 19 ยุ คศตวรรษที่ 20 ซึ่งแต่ ล ะยุ คมี ผู้ คิดค้น เพื่อก่อ ให้ เกิด ขึ้นอย่ า ง
ต่อเนื่องมาตลอด ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1.2.1 วิวัฒนาการยุคโบราณและยุคกลาง
ช่วงของยุคนี้มีการศึกษาเรื่องราวของไฮดรอลิกส์มาจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 17 ผู้มีอิทธิพล
ต่ อ การพั ฒ นาวิ ช ากลศาสตร์ ข องไหลนี้ ได้ แ ก่ อาร์ คิ มี ดี ส (Archimedes) ลี โ อนาร์ โ ด ดาวิ น ชี
(Leonardo da Vinci) กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei) อีแวนเกลิสตา ทอร์ริเซลลี (Evangelista
Torricelli) เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) และพี่น้อง
ตระกูลเบอร์นูลี (Bernoulli) คือ จาคอบ เบอร์นูลี (Jakob Bernoulli) และ โจอาน เบอร์นูลี
(Johann Bernoulli) บุคคลทั้งหลายที่กล่าวนามมาทั้งหมดมีส่วนช่วยให้เกิดกลศาสตร์ของไหลขึ้นใน
ยุคแรกๆ โดยมีความเป็นมาดังนี้
ก่อนคริสต์ศักราช (287 - 212) อาร์คิมีดีส (Archimedes) บิดาแห่งวิชากลศาสตร์ ชาว
กรีกเป็นผู้วางกฎแรงลอยตัวและการลอยตัวของวัตถุ (Buoyancy and floatation) ขึ้น โดยพัฒนา
จากการใช้งานของไฮดรอลิกส์ แล้ ว น ามาทดลองพร้ อมสั งเกตพฤติกรรมจริงที่เกิดขึ้น และน ามา
รวมกันเข้ากับหลักวิชากลศาสตร์ทาให้ค้นพบวิธีการหาความถ่วงจาเพาะของวัตถุ และสร้างสกูรวิดน้า
ของอาร์คิมีดีส (Archimedes screw pump) ดังแสดงในรูปที่ 1.2

รูปที่ 1.1 อาร์คิมีดีส (Archimedes) บิดาแห่งวิชากลศาสตร์


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 3

รูปที่ 1.2 สกรูวิดน้าของอาร์คิมิดีส


(ที่มา : Koetsier, 2003)

หลังจากจักรวรรดิโรมันถูกทาลายลงประมาณ ค.ศ. 476 (พ.ศ.1019) ทาให้เรื่องราว


เกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหลหยุดชะงักลง จนกระทั่งประมาณกลางศตวรรษที่ 15 กลศาสตร์ของไหลจึง
ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งโดยบุคคลต่างๆ ดังนี้
คริสต์ศักราช (40-130) ก่อนคริสต์ศักราช 4 ศตวรรษ เชกตูส จูเลียส ฟรอนตินุส (Sextus
Julius Frontinus) ชาวโรมันมีการสร้างระบบจ่ายน้า (Water distribution) ซึ่งเป็นที่มาของระบบ
ประปาในปัจจุบัน และ ฟรอนตินุส ผู้นี้ได้ทาการศึกษาและเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการสร้าง
ระบบส่งน้าของชาวโรมันขึ้น
คริสต์ศักราช (1452-1519) ลีโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) ชาวอิตาลี (รูปที่
1.3) เป็นบุคคลแรกที่มีส่วนสนับสนุนการทดลองเพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อพฤติกรรมการไหล ซึ่งมี
หลักฐานแสดงผลงานทางความคิดของเขาคือ “เมื่อปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับน้าต้องมีการทดลองไป
พร้อมกัน และพยายามค้นหาเหตุผลที่มีส่วนสัมพันธ์กับมัน ” ผลจากการสังเกตของเขาครั้งนั้น เขาได้
สเก็ตภาพและให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติของไฮดรอลิกส์ไว้มากมาย อาทิเช่น กาหนดรูปร่าง
(Profiles) และการไหลวน (Eddies) ของน้าที่ปล่อยให้ไหลพุ่งกระจายออกทันทีทันใดอย่างอิสระ การ
เกิดคลื่ น (Wave) รู ป การกระจายความเร็ ว (Velocity distribution) จากการหมุน วนของน้ า
(Vortex) ไฮดรอลิกส์กระโดด (Hydraulic jump) เป็นต้น และดาวินชีเป็นคนแรกที่เขียนเสนอแนะถึง
เส้ น กระแสการไหลของวัตถุ (Streamlining) เครื่ องสู บ น้ าแบบหอยโข่ง (Centrifugal pump)
นอกจากเรื่องดังกล่าวดาวินชียังเป็นบุคคลแรกที่เข้าใจสภาวะปริมาณซึ่งถื อเป็นหลักการไหลอย่าง
ต่อเนื่อง (Principle continuity) แต่ทั้งหมดยังอยู่ในแง่ศิลปะศาสตร์มากกว่าวิทยาศาสตร์
4 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 1.3 ลีโอนาร์โด ดาวินชี


(ที่มา : Donald et al., 2012)

คริสต์ศักราช (1564-1642) กาลิเลโอ กาลิเลอิ (Galileo Galilei) (รูปที่ 1.4) เป็นผู้ศึกษา


ค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาไฮโดรสแตติกส์ (Hydrostatics) เพื่อปรับปรุงแก้ไขนิยามเกี่ยวกับสุญญากาศตาม
แนวความคิดของอริสโตเติล (Aristotle) ได้แก่ เรื่องกาลักน้า (Siphon) และเรื่องเกี่ยวกับวัตถุที่ลอย
และจมน้า

รูปที่ 1.4 กาลิเลโอ กาลิเลอิ


(ที่มา : Finocchiaro, 2008)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 5

คริสต์ศักราช (1608-1647) อีแวนเกลิสตา ทอร์ริเซลลี (Evangelista Torricelli) เป็นชาว


อิตาลี (รูปที่ 1.5) ทาการค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างความสูงบารอเมตริก (Barometric height) กับ
น้ าหนั ก ของบรรยากาศและคิ ด ประดิ ษ ฐ์ บ ารอมิ เ ตอร์ เป็ น ผู้ วิ เ คราะห์ ท างโค้ง ของโปรเจคไตลส์
(Projectiles) และค้น พบหลั กการความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วไหลผ่านออริฟิ สกับความสู งของ
ของเหลวเขียนเป็นสูตรได้ √

รูปที่ 1.5 อีแวนเกลิสตา ทอร์ริเซลลี


(ที่มา : Schaschke, 2005)

คริสต์ศักราช (1623-1662) เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) (รูปที่ 1.6) เป็นผู้วาง


หลักเกณฑ์เกี่ยวกับบารอมิเตอร์เครื่องอัดไฮดรอลิกส์ (Hydraulic press) และการส่งถ่ายความดัน
คริสต์ศักราช (1642-1727) เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) (รูปที่ 1.7)
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงมากเป็นผู้ตั้งกฎคณิตศาสตร์ ขณะทาการสังเกตปรากฏการณ์
ธรรมชาติด้วยหลักตรรกวิทยา และในปี ค.ศ. 1687 นิวตันได้ตั้งกฎพื้นฐานของการเคลื่อนที่ขึ้น 3 ข้อ
ซึ่งกฎเหล่านั้นถูกนามาใช้วิเคราะห์ปัญหาของกลศาสตร์มากมาย นอกจากนี้ นิวตันยังได้ทาการวิจัย
เกี่ยวกับความต้านทานของของไหล (Resistance) และทารายงานสิ่งที่ค้นพบเรื่องความหนืดของการ
ไหล (Viscous flow) โดยแรงเฉือนจะเป็นสัดส่วนกับความเร็วสัมพันธ์ในขอบเขตแคบๆ ผลจากการ
ทดลองอันนี้เขาได้ตั้งกฎความหนืด (Law of viscosity) ขึ้น และเป็นบุคคลแรกที่ รู้จักการใช้
สัมประสิทธิ์ของการหดตัว (Contraction) ในการแก้ปัญหา
6 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 1.6 เบลส์ ปาสคาล


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

รูปที่ 1.7 เซอร์ ไอแซก นิวตัน


(ที่มา : Donald et al., 2012)

คริสต์ศักราช (1683-1761) เมอร์กีส์ กีโอแวนนี โพเลนี (Merquis Giovanni Poleni)


ชาวอิตาลี (รูปที่ 1.8) เป็นผู้ที่ควรจะได้รับการกล่าวยกย่องถึงเป็นกรณีพิเศษ เพราะมีส่วนช่วยเหลือ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 7

การทดลองเรื่องไฮดรอลิกส์ในช่วงเริ่มต้นศตวรรษที่ 18 และเป็นนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งที่วางหลักการ
สาคัญ 3 ประการ คือ
1) อาศัยพื้นฐานจากการวัด เขาได้ค่า สัมประสิทธิ์ ของการหดตัว (Contraction)
สาหรับออริฟิสขอบคม (Sharp-edged orifice) เท่ากับ 0.62 ซึ่งค่าที่แก้ไขนี้มีค่าเกินกว่านิวตันเสนอ
ไว้ คือ ⁄√
2) เขาได้ทดลองโดยใช้หลอดสั้นๆ (Short tubes or mouthpieces) ต่อกับออริ
ฟิส แล้วพบว่า อัตราสูงสุดของการไหลออก (Discharge) อยู่ระหว่างกลางของความยาวท่อ
3) ปรับปรุงการไหลออกผ่านเวียร์สี่เหลี่ยม (Rectangular sharp-crested weirs)
โดยพิจารณาการไหลออกที่เกิดขึ้นต่อๆ กันตามแนวนอนความเร็วไหลที่สมมุติขึ้นแต่ละอันเป็นสัดส่วน
กับรากที่ 2 หรือที่ความลึกต่ากว่าผิวของไหล สุดท้ายได้ค่าที่ใกล้เคียงกับที่ใช้หาความสัมพันธ์การไหล
ออกสาหรับปลายยอดแหลมของเวียร์ (Sharp- crested weirs) และได้สมการพื้นฐานของเวียร์ ซึ่ง
ต่อมาเรียกว่า สมการโพลีนิ (Poleni)

รูปที่ 1.8 เมอร์กีส์ กีโอแวนนี โพเลนี


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1695-1771) อองรี เดอ พิทอตต์ (Henri de Pitot) วิศวกรชาวฝรั่งเศส


(รูปที่ 1.9) เป็นผู้คิดประดิษฐ์อุปกรณ์วัดความเร็วของของไหล ซึ่งต่อมาเรียกว่า พิทอตต์ ทิว (Pitot
Tube) เริ่ มแรก พิทอตต์ ทิว ประกอบด้ว ยหลอดขนานกันสองอันยึ ดติดกับ โครงเรี ยวอันหนึ่ ง
(Slender frame) มีสเกลและก๊อกปิด-เปิด 4 ตัว ท่อนหนึ่งเป็นหลอดตรงและอีก หลอดมีปลายงอลง
เพื่อใช้วัดความเร็วไหลของน้าที่เฮด (Head) แตกต่างกัน
8 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 1.9 อองรี เดอ พิทอตต์


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1654-1705) จาคอบ เบอร์นูลี (Jakob Bernoulli) (รูปที่ 1.10) ตาแหน่ง


ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย บาเซิล (Basel university) ได้ทาหน้าที่ฝึกฝนน้องชายของเขา คือ โจ
อาน เบอร์นูลี (Johann Bernoulli) (1667-1748) โจอาน ทางานเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ฝรั่งเศสต่อมา
สอนคณิตศาสตร์ในประเทศเนเธอแลนด์ และสุดท้ายได้รับตาแหน่งศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์
และเขาได้วางหลักการพื้นฐาน 4 ประการ ซึ่งส่งผลต่อวิวัฒนาการของคณิตศาสตร์ฟิสิกส์ในศตวรรษที่
17 ดังนี้
1) ใช้ ก ารพลอตเส้ น โค้ ง อธิ บ ายปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เองโดยธรรมชาติ
(Phenomena)
2) แสดงเส้นโค้งในรูปสมการ
3) การหาพื้นที่และอัตราลาด
4) ใช้การทดลองแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติ

ขั้นตอนที่ 1 ไม่มีผู้ใดทราบว่าใครทาได้สาเร็จ แต่ขั้นตอนที่ 2 คือ ดีสคาร์เตส (Descartes)


(1569-1650) ชาวฝรั่งเศสทาสาเร็จ ขั้นตอนที่ 3 เลียบนิทซ์ (Leibnitz) (1846-1916) ชาวเยอรมัน
และขั้นตอนที่ 4 ได้แก่ เบอร์นูลี (Bernoulli) เอง
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 9

รูปที่ 1.10 จาคอบ เบอร์นูลี


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่านักคณิตศาสตร์เป็นผู้วางหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับไฮโดรโดนา
มิกส์ (Hydrodynamic) โดยเริ่มขึ้นที่โรงเรียนเบอร์นูลี (Bernoulli School) แห่งบาเซิล (Basel) คน
แรก คือ เดเนียล เบอร์นูลี (Daniel Bernoulli) บุตรชายของโจอาน (Johann) คนที่ 2 เป็นเพื่อนกับ
เขา คือ เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler) อีกคนได้แก่ ดีอัลม์แบร์ต (d’Alembert) ชาว
ฝรั่งเศส
1.2.2 ยุคศตวรรษที่ 18 และ 19
ในยุคศตวรรษนี้มีการทดลองเกี่ยวกับไฮดรอลิกส์ และศึกษาไฮโดรไดนามิกส์กันมาก เป็น
ช่วงเวลาที่มีการพัฒนาการทดลองทางด้านไฮดรอลิกส์กันแพร่หลายในฝรั่งเศส อิตาลี และกลุ่มวิศวกร
ชาวเยอรมัน รายนามบุคคลที่ศึกษาเกี่ยวกับไฮดรอลิกส์นับจาก โพเลนี (Poleni) พิทอตต์ (Pitot) เชซี
(Chezy) บอร์ดา (Borda) เวนจูริ (Venturi) เวเบอร์ (Weber) โฟร์นีรอน (Fourneyron) บีแลนจอร์
(Belanger) รัสเซลล์ (Russel) รีช (Reech) ฮาเกน (Hagen) บัวซ์เอออีลเลอ (Poieuille) เวียสแบซ
(Weisbach) ดาร์ซี (Darcy) บาชิง (Bazin) คัตเตอร์ (Kutter) แมนนิง (Manning) และ ฟรัวดี
(Froude) เฉพาะช่วงต้นศตวรรษที่ 18 นั้น ผู้ค้นพบวิธีการแก้ปัญหาวิทยาศาสตร์ของไฮโดรไดนามิกส์
ได้แก่ เดเนี ยล เบอร์ นู ลี (Daniel Bernoulli) กั บ ออยเลอร์ (Euler) และ ดีอัล ม์แบร์ ต
(d’Alembert) ต่อมามีผู้พัฒนาเรื่ องไฮโดรไดนามิกส์ อีก เช่น ลากรอง (Lagrange) ลาเพลช
(Laplace) นาเวียร์ สโต๊ก (Navier stokes) เฮลมอทร์ (Helmholtz) เคอร์ชอร์ฟ (Kirchhoff) บูส
ซิเนส (Boussinesq) เรย์โนลด์ (Reynolds) ทอมสัน ลอด เคลวิน (Thomson Lord Kelvin)
สทรัต์ต, ลอร์ด เรย์ไลฟ์ (Strutt Lord Rayleigh) และ จัวคาวสกี (Joukowsky) บุคคลทั้งหลาย
ดังกล่าวได้สร้างผลงานดังรายละเอียดต่อไปนี้
คริสต์ศักราช (1700-1782) เดเนียล เบอร์นูลี (Daniel Bernoulli) นักคณิตศาสตร์ชาว
สวิส (รูปที่ 1.11) ได้ตีพิมพ์ผลงานภายใต้ชื่อ ไฮโดรไดนามิกา (Hydrodynamica) ซึ่งเป็นผลจาก
10 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

การศึกษาตัวประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับไฮโดรสแตติกส์ และไฮดรอลิกส์ ต่อมากลายเป็นชื่อเรียกว่า


ไฮโดรไดนามิกส์เท่าทุกวันนี้ โดยรวบรวมเอาของไหลสถิตและของไหลเคลื่อนที่เข้าด้วยกัน เขาเป็นคน
แรกที่ใช้พิโซมิเตอร์เปิด (Piezometer openning) ต่อกับผนังท่อเพื่อวัดความดัน หลักการของ
พลังงาน (Energy principle) ซึ่งนามาใช้หาความดันและความเร็ว หลักการเบอร์นูลีใช้หาหรือ
ประเมินผลความดันอยู่ในรูปของเฮดความดันและเฮดความเร็ว (Pressure and velocity head) ซึ่ง
แสดงค่าด้วยวิธีการทดลองและวิเคราะห์ค่าความดัน ความดันจะมีค่าลบ (-) ถ้าความเร็วไหลเพิ่มขึ้น
อย่างเพียงพอ

รูปที่ 1.11 เดเนียล เบอร์นูลี


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1707-1783) เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler) นักคณิตศาสตร์


ชาวสวิ ส (รู ป ที่ 1.12) ได้ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ไฮโดรไดนามิ ก ส์ แ ละเครื่ อ งกลไฮดรอลิ ก ส์ (Hydraulic
machinery) และเป็นคนแรกที่อธิบายถึงบทบาทของความดันขณะของไหลเกิดการเคลื่อนที่ ออย
เลอร์ ยังได้ศึกษาค้นคว้าถึงการเคลื่อนที่ของของไหลภายใต้แรงกิริยาจากภายนอก และพิจารณาความ
ถูกต้องของความดันไอโซทรอปิก (Isotropic pressure) ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นกับช่องว่าง (Space) เท่านั้น
ออยเลอร์ ไ ด้ ว างสมการพื้ น ฐานของการเคลื่ อ นที่ ปั จ จุ บั น เรี ย กว่ า สมการออยเลอร์ (Euler’s
equations) ของอัตราเร่งหรือการเคลื่อนที่ โดยการสมมุติว่าของไหลเป็นชนิดอัดตัวไม่ได้ การไหล
แบบสม่าเสมอ (Steady) ไม่หมุนวน (Irrotational) และให้แนวคิดที่เกี่ยวกับแรงที่อยู่ภายใน (Force
potential) รวมเข้ากับสมการอัตราเร่งถึงจุดยอมจานน (Yield) ที่เป็นความสัมพันธ์เพียงตัวเดียว แล้ว
ไปร่วมกับความดัน ความเร็วไหล และระดับความสูงของเฮด (Elevation heads) สมการออยเลอร์ นี้
ดูคล้ายกับสมการเบอร์นูลี (Bernoulli’s equations) นอกจากนั้น ออยเลอร์ยังมีส่วนสนับสนุนให้เกิด
ทฤษฎีไฮโดรไดนามิกส์ ของเครื่ องกลแรงเหวี่ ยงหนีศูน ย์ กลาง (Centrifugal machinery) การ
วิเคราะห์ สมรรถนะของปฏิกิริยาเทอร์ไบน์ (Reaction turbines) และกาหนดสมการโดยอาศัย
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 11

ความสัมพันธ์พื้นฐานของแรงบิด (Torque) กับการเปลี่ยนโมเมนต์ของโมเมนตัมขณะไหลผ่านส่วนที่


หมุนเคลื่อนที่

รูปที่ 1.12 เลออนฮาร์ด ออยเลอร์


(ที่มา : Frank, 2011)

คริสต์ศักราช (1717-1783) ฌอง เลอ รงค์ ดีอัลม์แบร์ต (Jean le Rond d’Alembert)


นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส (รูปที่ 1.13) เป็นบุคคลแรกที่วางแนวความคิดเกี่ยวกับความเร็วไหลย่อย
(Components) และอัตราเร่ง นอกจากนั้นยังแสดงความแตกต่างของความต่อเนื่องโดยสมมุติฐาน
เอาเงื่อนไขคล้ายคลึงกันทั้งด้านหน้าและด้านหลังของวัตถุผลรวมของความดันย่อย ซึ่งกระทาอยู่บน
ผิวของวัตถุแต่ละส่วนก่อให้เกิดความขัดกันขึ้น และผลรวมของแรงตามแนวยาวบนวัตถุมีค่าเท่ากับ
ศูนย์ (0) ต่อมาดีอัลม์แบร์ต (d’Alembert) ได้หาคาอธิบายถึงความขัดกันระหว่างทฤษฎีกับความจริง
คือ ความขัดกันของความต้านทานศูนย์ (Zero-resistance) กับการเคลื่อนที่แบบสม่าเสมอไม่ตาม
แบบ (Steady non-uniform motion) ซึ่งเรียกว่า d’Alembert’s paradox
คริสต์ศักราช (1718-1798) อองตวน เชซี (Antoine Chezy) วิศวกรชาวฝรั่งเศส (รูปที่
1.14) ผู้วางหลักความเข้าใจเรื่องความต้านทาน (Resistance) ในการไหลตามแบบบนช่องทางเปิด
(Uniform open channel flow) และได้สร้างสูตรความต้านทานขึ้น ต่อมาเรียกว่า สูตรความ
ต้านทานของเชชี (Chezy resistance formula)
12 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 1.13 ฌอง เลอ รงค์ ดีอัลม์แบร์ต


(ที่มา : Oliveira, 2017)

รูปที่ 1.14 อองตวน เชซี


(ที่มา : Chanson, 2004)

คริสต์ศักราช (1733-1799) ฌอง ชาร์ลส์ บอร์ดา (Jean Charles Borda) วิศวกรทหาร


ชาวฝรั่งเศส (รูปที่ 1.15) ซึ่งสนใจการทดลองทางไฮดรอลิกส์และเครื่องกลไฮดรอลิกส์ เขาศึกษาความ
ต้านทานจนสามารถพิสูจน์กระทั่งได้รับทฤษฎีแรงลาก (Drag) บนวัตถุจมโดยแปรกับกาลังสองของ
ความเร็วสัมพัทธ์ (Relative velocity) และแสดงให้เห็นว่าจะมีกาลังสูงกว่า (Higher power) หาก
เกิดคลื่น ที่ผิว บอร์ดา (Borda) ยังเป็น บุคคลแรกที่ให้แนวความคิดเบื้ องต้นของหลอดสายกระแส
(Streamtubes) เขาไม่แสดงให้ เห็ น เฉพาะการหดตัว ของเจ็ ต (Jet) เท่านั้นยั งบอกถึงการสู ญเสี ย
พลังงานด้วย ซึ่งนาไปสู่คาอธิบายที่แสดงถึงการไหล จากการใช้หลักการโมเมนตัมเขาพบว่า เฉพาะ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 13

กรณีการปล่อยกลับเข้าหลอด (Re-entrant tube) เช่น Borda mouthpiece สัมประสิทธิ์ของการ


หดตัวมีค่า 0.5

รูปที่ 1.15 ฌอง ชาร์ลส์ บอร์ดา


(ที่มา : Arora, 1973)

คริสต์ศักราช (1736-1813) โยแซฟ หลุยส์ ลากรอง (Joseph Louis Lagrange)


นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส (รูปที่ 1.16) ที่ศึกษาด้วยตนเอง (Self-trained) เขาศึกษาผลงานทาง
คณิตศาสตร์ของออยเลอร์ที่เสนอต่อการประชุมนักคณิตศาสตร์โลก ในหัวข้อวิเคราะห์การเคลื่อนที่
ของของไหล (Fluid motion) เขาได้ น าแนวความคิ ด เกี่ ย วกั บ ศั ก ย์ ค วามเร็ ว ไหล (Velocity
potential) และฟังก์ชั่นสายกระแส (Stream function) ซึ่งต่อมาเป็นหลักการพื้นฐานที่สาคัญมาก
ต่อการอธิบาย รูปแบบการไหล (Flow patten) ลากรอง (Lagrange) เป็นคนแรกที่ได้หาที่มาของ
สมการความเร็วไหลของการแผ่กระจายของคลื่นความสูงเพียงเล็กน้อยในช่องทางของความลึกจากัด
(Finite depth) √

รูปที่ 1.16 โยแซฟ หลุยส์ ลากรอง


(ที่มา : Graebel, 2001)
14 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

คริสต์ศักราช (1746-1822) จีโอแวนนี แบตทีสตา เวนจูริ (Giovanni Battista Venturi)


(รูปที่ 1.17) ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของเขาในปี ค.ศ. 1797 ที่กรุงปารีส โดยรายงานการค้นพบการ
เปลี่ยนรูปร่างของกระบอก (Mouthpieces) แบบต่างๆ ที่ต่อเข้ากับออริฟิส และได้ทดลองให้เห็นถึง
รูปการหมุนวนที่จุดเปลี่ยนหน้าตัดและการเปลี่ยนแปลงการไหลที่มีผลจากการเปลี่ยนแปลงหน้าตัดคอ
คอด (Venture) และสังเกตถึงการเปลี่ยนหลอดทรงกระบอกรูปกรวยสองส่วนเพื่อขจัดการหมุนวน
และเพิ่มอัตราการไหลแต่ยังเกิดความดันลดอยู่ ลักษณะรูปร่างอุปกรณ์นี้ ต่อมาใช้สาหรับวัดอัตราการ
ไหลในหลอดเรียกว่า เวนจูริ มิเตอร์ (Venturi meter)

รูปที่ 1.17 จีโอแวนนี แบตทีสตา เวนจูริ


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1768-1816) จีอัสเซปเป เวนจูโรลิ (Giuseppe Venturoli) นักไฮดรอลิกส์


ชาวอิตาลี (รู ปที่ 1.18) ที่แสดงให้เห็นถึงสมการเบื้องต้นของการไหลกลับของน้า (Back water
equation) ในช่องทางเปิดสี่เหลี่ยม (Rectangular) ตลอดการเขียนอินทิเกรตกราฟ ของสมการเชิง
อนุพันธ์ (Differential equation) และเขายังประสบความสาเร็จในการแยกส่วนต่างๆ ของรูปร่างผิว
(Surface profile)
คริสต์ศักราช (1781-1839) จีโรจีโอ บีโดนี (Giorgio Bidone) นักไฮดรอลิกส์ชาวอิตาลี
(รูปที่ 1.19) ซึ่งค้นพบไฮดรอลิกส์กระโดด (Hydraulic jump) และเป็นบุคคลแรกที่ศึกษาถึงระบบ
และพยายามวิเคราะห์ผลออกมา
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 15

รูปที่ 1.18 จีอัสเซปเป เวนจูโรลิ


(ที่มา : Gray, 2000)

รูปที่ 1.19 จีโรจีโอ บีโดนี


(ที่มา : Arora, 1973)

คริสต์ศักราช (1785-1836) หลุยส์ มารี อองรี นาวีเย (Louis Marie Henri Navier)
วิศ วกรชาวฝรั่ งเศส (รู ป ที่ 1.20) ซึ่ ง ทาการวิเ คราะห์ ส มการเคลื่ อ นที่ ข องของไหลที่มี ความหนื ด
(Viscous flow) ด้วยคณิตศาสตร์เพียงอย่างเดียวชื่อของเขาได้ถูกนามาเรียกสมการสาหรับการไหลที่
มีความหนืดแต่เขาก็ไม่ได้พิสูจน์ให้เห็นว่าความหนืดของของไหลขณะเปลี่ยนไปเป็นผลจากการไหล
แต่พิจารณาระยะห่าง (Spacing) ระหว่างโมเลกุลแทน
16 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 1.20 หลุยส์ มารี อองรี นาวีเย


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1789-1857) ออกัสติง หลุยส์ เดอ โกชี (Augustin Louis de Cauchy)


(รูปที่ 1.21) ได้เขียนเรื่องสนับสนุนเกี่ยวกับเรื่องทั่วไป (General field) ของทฤษฎีไฮโดรไดนามิกส์
และศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น

รูปที่ 1.21 ออกัสติง หลุยส์ เดอ โกชี


(ที่มา : Munson, 2013)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 17

คริสต์ศักราช (1790-1893) คล้อด บือแดง (Claude Burdin) วิศวกรชาวฝรั่งเศส (รูปที่


1.22) เป็นผู้ให้คาจากัดความของคาว่า เทอร์ไบน์ (Turbine) และพัฒนาการไหลพุ่งออกอย่างอิสระ
ของน้า ซึ่งต่อมา บีนอยท์ โฟร์นีรอน (Benoit Fourneyron) (1802-1867) ได้ทาการปรับปรุงแก้ไข
อุปกรณ์ที่ บือแดง (Burdin) ทาขึ้นมาครั้งแรก และพัฒนาจนกระทั่งได้เป็นไฮดรอลิกส์เทอร์ไบน์ และ
มีเครื่องเทอร์ไบน์ซึ่งคล้ายคลึงกันถูกสร้างขึ้นโดยเขาติดตั้งอยู่ตามส่วนต่างๆ ของโลกมากกว่า 100
เครื่อง

รูปที่ 1.22 คล้อด บือแดง


(ที่มา : Oteh, 2008)

คริ ส ต์ศักราช (1797-1884) โกธทิล์ฟ เฮียนริ ช ลุ ควิก ฮาเกน (Gotthilf Heinrich


Ludwig Hagen) วิศวกรไฮดรอลิกส์ชาวเยอรมัน (รูปที่ 1.23) เป็นบุคคลแรกที่ช่วยให้มีการศึกษา
ความต้านทานการไหลในท่อ เพื่อความเที่ยงตรงของการทดลองเขาให้ ของไหลผ่ านท่อเส้ นผ่ า น
ศูนย์กลางขนาดเล็ก และให้เหตุผลว่าการไหลจะถูกแทนที่เป็นอนุ กรมต่อกันเป็นชั้นทรงกระบอก
ความเร็วไหลจะแปรผันเป็นเส้นตรงจากศูนย์ (0) ที่ผนังและสูงสุดตรงกลาง (สมมุติฐานนี้ต่อมาพิสูจน์
ว่าผิด) ฮาเกน (Hagen) ได้แสดงความต้านทานการไหลในท่อขนาดเล็ก (การไหลแบบราบเรียบ) จาก
การใช้สมมุติฐานข้างบน และฮาเกนยังได้ทดลองความต้านทานในท่อของการไหลแบบปั่นป่วนพร้อม
กับปรับปรุงวิธีการวัดจนสามารถตั้งเป็นสมการความต้านทาน
คริสต์ศักราช (1799-1869) ฌอง หลุยส์ บัวซ์เอออีลเลอ (Jean Louis Poiseuille) นัก
ฟิ สิ ก ส์ ช าวฝรั่ ง เศส (รู ป ที่ 1.24) ได้ ท าการทดลองเรื่ อ งสรี ร ะศาสตร์ โดยท าการวิ จั ย ก าลั ง ปั๊ ม
(Pumping power) ของหัวใจการไหลของเลือดในเส้นโลหิตดาในท่อขนาดเล็ก (Capillary vessels)
และความต้านทานที่เกิดจากการไหลผ่านหลอดนั้น บัวซ์เอออีลเลอได้ค่าความถูกต้องออกมาจากการ
วัดตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหลอดขนาดเล็กต่างๆ กัน และได้ความสัมพันธ์ในทางการทดลองของ
18 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

การไหลออกเป็นรูปเฮดสูญเสีย (Head loss) เส้นผ่านศูนย์กลางหลอดและความยาวหลอด กฎความ


ต้านทานสาหรับการไหลแบบราบเรียบได้รับการตั้งชื่อต่อจากฮาเกน (Hagen)

รูปที่ 1.23 โกธทิล์ฟ เฮียนริช ลุควิก ฮาเกน


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

รูปที่ 1.24 ฌอง หลุยส์ บัวซ์เอออีลเลอ


(ที่มา : Graebel, 2001)

คริสต์ศักราช (1803-1858) อองรี ฟิลิแบรต์ กาสปาร์ด ดาร์ซี (Henri Philibert Gaspard


Darcy) วิศวกรรมชาวงฝรั่งเศส (รูปที่ 1.25) ได้ทาการศึกษาการไหลของน้าในท่อและการซึมลงดิน
(Permeable soils) โดยทดลองเปลี่ยนท่อหลายขนาด ใช้วัสดุท่อต่างกันและสภาวะต่างกัน จน
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 19

สามารถสรุปผลการทดลองที่ยิ่งใหญ่มากคือ ความต้านทานจริงจะขึ้นอยู่กับชนิดและสภาพขอบเขต
วั ส ดุ จากผลการศึ ก ษาการไหลในท่ อ น้ าอั น นี้ ท าให้ ไ ด้ รั บ การตั้ ง ชื่ อ สมการร่ ว มมื อ เวี ย สแบซ
(Weisbach) ที่ได้สรุปผลมาก่อนหน้านี้ ดาร์ซี (Darcy) ทาการศึกษาถึงการกรอง (Filteration) และ
สรุปเฮดสูญเสียจากการไหลผ่านชั้นกรอง โดยเป็นสัดส่วนกับอัตราการไหลมากกว่ารากที่ 2 ที่เชื่อกัน
โดยทั่วไป

รูปที่ 1.25 อองรี ฟิลิแบรต์ กาสปาร์ด ดาร์ซี


(ที่มา : Durst, 2008)

คริสต์ศักราช (1806-1871) จูเลียส เวียสแบซ (Julius Weisbach) นักไฮดรอลิกซ์ชาว


เยอรมัน (รูปที่ 1.26) เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงมากในการนาไฮดรอลิกส์มาใช้งานด้านวิศวกรรม เวียสแบซ
(Weisbach) ได้รวบรวมเอาผลจากการทดลองทั่ว ไปรวมไว้ด้วยกันอย่างเป็น ระบบ และยังทาการ
ทดลองอื่ น ๆ อี ก เวี ย สแบซเป็ น คนแรกที่ รู้ จั ก การใช้ สั ม ประสิ ท ธิ์ ที่ ไ ม่ มี มิ ติ (Non-dimensional
coefficient) และแสดงสมการความต้านทานในท่อเป็นครั้งแรกในรูป ขณะ
เดียวกันเวียสแบซยังได้ปรับแต่งสมการของเวียร์กับค่าความเร็วไหลที่ถูกต้องยิ่งขึ้น พร้อมขจัดการ
ประมาณเพื่อหาค่าการไหลออกเขาเสนอสมการที่ได้จากการทดลองนี้และต่อมาได้รับการปรับปรุงขึ้น
โดยบาซิง (Bazin)
คริสต์ศักราช (1808-1882) จอห์น สก็อต รัสเซลล์ (John Scott Russell)วิศวกรชาวส
ก็อต (รูปที่ 1.27) เป็นบุคคลแรกที่ศึกษาปัญหาของการไหลไม่สม่าเสมอ (Unsteady) การไหลไม่ตาม
แบบในช่องทางเปิ ด (Non-uniform open channel) กับ การไหลที่ไม่ต่อเนื่อง และรัส เซลล์
(Russell) ยังศึกษาถึงผลของคลื่นบนความต้านทานของเรือและจุดประสงค์ของการทารูปหัวเรือโค้ง
กลับซึ่งจะเชื่อว่าจะช่วยลดผลจากคลื่นให้เหลือน้อยที่สุด นอกจากนี้มีชาวฝรั่งเศสรุ่นเดียวกับ รัสเซลล์
(Russell) ได้แก่ เฟอร์ดินานด์ รีช (Ferdinand Reech) (1805-1880) มีส่วนสนับสนุนวิธีปฏิบัติการ
ทดสอบหุ่นจาลอง (Model tests) แล้วพัฒนาหลักการใช้รูปเหมือน (Similitude principles) โดย
20 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

อาศัยกฎหมายการเคลื่อนที่ของนิวตัน รีช (Reech) เป็นบุคคลแรกที่แสดงหลักเกณฑ์การใช้รูปเหมือน


ต่อมาได้ทดลองและอาศัยวิธีการนี้โดยฟรัวดี (Froude)

รูปที่ 1.26 จูเลียส เวียสแบซ


(ที่มา : Arora, 1973)

รูปที่ 1.27 จอห์น สก็อต รัสเซลล์


(ที่มา : Velarde, and Christov, 1995)

คริสต์ศักราช (1810-1879) วิลเลียม ฟรัวดี (William Froude) วิศวกรชาวอังกฤษ (รูปที่


1.28) ได้พัฒนาและใช้เทคนิคการลากเรือในถังน้า (Towing tanks) สาหรับทดสอบหุ่นเรือจาลอง
(Model ships) โดยฟรัวดี (Froude) มีความเชื่อมั่นว่า “การทดลองที่กาหนดให้กระทาบนหุ่นจาลอง
ด้วยสเกลขนาดเล็ก (Scale model) ย่อมให้ผลที่ถูกต้องและมีสมรรถนะมากกว่าเรือเต็มขนาดสเกล”
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 21

และฟรั ว ดี (Froude) พิ จ ารณาผลรวมของความต้ า นทาบนผิ ว เรื อ และความต้ า นทานจาก


องค์ประกอบอื่น เช่น คลื่น เป็นต้น ชื่อของฟรัวดี (Froude) ไม่ได้เรียกแทนสาหรับเรื่องกฎของความ
คล้ายคลึง (Law of similarity) และ Non dimensional number เพราะงานนี้ไม่เสร็จสมบูรณ์ด้วย
การทดลองของเขา

รูปที่ 1.28 วิลเลียม ฟรัวดี


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1816-1897) โรเบิร์ต แมนนิง (Robert Manning) วิศวกรชาวไอริช (รูปที่


1.29) ในปี ค.ศ. 1889 แมนนิง (Manning) ได้เสนอผลงานเรื่องความสัมพันธ์การไหลในช่องทางเปิด
ด้วยสมการ V = KR2/3S1/2 ซึ่งค่านี้จะดีกว่าทุกๆ ค่าที่ได้มาจากข้อมูลอื่นก่อนหน้านี้ ต่อมาชื่อของเขา
ถูกน าไปตั้งเป็ นชื่อสู ตร จากสู ตรเขาไม่ได้ใช้ค่าสั มประสิทธิ์ (n) ของคลั ตเตอร์ (Kutter) เข้ามา
เกี่ยวข้องแต่อย่างใด
คริสต์ศักราช (1819-1903) จอร์จ กาเบียร์ล สโต๊ก (George Gabrial Stokes) นัก
คณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ (รูปที่ 1.30) ชื่อของสโต๊ก (Stokes) ถูกนารวมเรียกสมการการเคลื่อนที่ของ
ของไหลที่มีความหนืดร่วมกับ นาเวียร์ (Navier) งานที่เขาตีพิมพ์ได้แก่ ทฤษฎีความเสียดทานภายใน
ของของไหล (Internal friction) เมื่อเคลื่อนที่ ตีพิมพ์ผลงานเมื่อปี ค.ศ. 1845 และได้เรียกสมการนี้
ว่า นาเวียร์ สโต็ก (Navier Stokes) สัมประสิทธิ์ ที่ปรากฏในสมการนาเวียร์ (Navier’s
equations) ถูกแทนด้วยความหนืดจลน์ () และยังแสดงที่มาของความเร็วสุดท้าย จากการตกลง
ของวัตถุทรงกลม ซึ่งต่อมาเรียกว่า กฎของสโต็ก (Stokes’s law)
22 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 1.29 โรเบิร์ต แมนนิง


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

รูปที่ 1.30 จอร์จ กาเบียร์ล สโต๊ก


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1822-1883) อองตวน ซาร์ลส์ แบรส (Antoine Charles Bresse) วิศวกร


ชาวฝรั่ งเศส (รู ป ที่ 1.31) ประสบความส าเร็ จต่ อการหาปริ พัน ธ์ (การวิ เคราะห์ ) สมการที่ ค่อยๆ
เปลี่ยนแปลงของการไหลในช่องทางเปิดและจัดทาตารางขึ้น กระทั่งปัจจุบันนี้เรียกว่า Bresse’s back
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 23

water function สาหรับใช้งานทั่วไป และการปรับปรุงแก้ไขคุณสมบัติโมเมนตัมของไฮดรอลิกส์กระ


โดด

รูปที่ 1.31 อองตวน ซาร์ลส์ แบรส


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1823-1917) อองรี เอมีล บาชิง (Henri Emile Bazin) วิศวกรชาวฝรั่งเศส


(รูปที่ 1.32) ได้มีโอกาสทางานร่วมกับดาร์ชี (Darcy) และได้ทดลองความต้านทานในช่องทางเปิดที่
เป็นผลจากคลื่นและการไหลผ่านเวียร์ โดยอาศัยการทดลองในคลองที่ทาขึ้น จากวัสดุและรูปร่าง
ต่างๆกัน บาซิง (Bazin) ได้เสนอสูตรความต้านทานการไหลในช่องทางที่เขาทดลองเป็นผลสาเร็จจาก
การวัดการกระจายของความเร็วไหล (Velocity distributions) ผ่านหน้าตัดต่างๆ กัน และมีการ
เคลือบผนังด้วยวัสดุต่างชนิดกันด้วยจากการทดลองนี้เขาได้ชี้ให้เห็นว่าความลึกของจุดที่มีความเร็ว
สูงสุดจะเปลี่ยนแปลงโดยสัมพันธ์กับความกว้างของหน้าตัดและเข้าใกล้ศูนย์ (0) เมื่อมีอัตราส่วนความ
กว้างกับความลึกเกิน 5 ต่อมาบาซิง (Bazin’s) ได้ศึกษาการไหลบนเวียร์ตั้งและเวียร์เอียงลาด รวมทั้ง
การหาความเที่ยงตรงของรูปแบบน้าไหลล้นผ่านเวียร์ (Nappe profile) การกระจายของความเร็ว
ไหลและความดัน น้าล้นผ่านเวียร์ ผลลัพธ์อันนี้นาไปสู่การศึกษาถึงสมการการไหลผ่านเวียร์ (Weir
discharge equation) ซึ่งเสนอมาแล้วโดยเวียสแบซ (Waisbach)
วิศวกรชาวสวิส เซอร์แลนด์ สองคน คือ เอมีล ออสการ์ แกงเกียลเล็ต (Emile Oscar
Ganguillet, 1818-1894) และ วิลเฮล์ม รูดอล์ฟ คัตเตอร์ (Wilhelm Rudolf kutter, 1818-1888)
มีส่วนช่วยเหลือการหาความต้านทานในช่องทางเปิด (Open-channel resistance) จากการทดลอง
หลายร้อยครั้ง ทั้งยังได้แสดงสัมประสิทธิ์ของเคชี (Chezy, C) ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นกับตัวประกอบความ
หยาบผิว n รัศมีไฮดรอลิกส์ (Hydraulic radius, R) และ ความลาดของช่องทางเปิด S
24 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 1.32 อองรี เอมีล บาชิง


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1838-1916) เอิร์นสต์ มัค (Ernst Mach) เป็นนักฟิสิกส์และจิตวิทยาชาว


ออสเตรเลีย (รูปที่ 1.33) เป็นบุคคลแรกที่ริเริ่มศึกษาเกี่ยวกับเรื่องซุปเปอร์โซนิคแอร์โรไดนามิกส์
(Supersonic aerodynamics) ของอากาศที่มีความเร็วสูงจนได้ เรียกนิยามว่า ตัวเลขมัค (Mach
number)

รูปที่ 1.33 เอิร์นสต์ มัค


(ที่มา : Donald et al., 2012)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 25

คริ สต์ศักราช (1842-1912) ออสบอร์น เรย์ โนลด์ (Osborne Reynolds) วิศวกรชาว


อังกฤษ (รูปที่ 1.34) ได้ศึกษาและมีผลงานต่างๆ ดังนี้
1) เป็น บุคคลแรกที่พิสูจน์ให้ เห็ นว่าการเกิดคาวิเตชั่น (Cavitation) เป็ นไปโดย
ธรรมชาติ (Phenomenon) และทาให้เชื่อว่าเสียงที่เกิดขึ้นมาจากฟองไอน้าที่ยุบลงขณะเริ่มเดือด
พอดี
2) เป็นบุคคลแรกที่แสดงความเกี่ยวข้องกันของความยาวและสเกลเวลา (Time
scales) ในการศึกษาหุ่นจาลองที่ผิดส่วน (Distorted models)
3) เป็นบุคคลแรกที่นาเอาความหนืดเข้ามาเป็นตัวพารามิเตอร์ (Parameter) และ
ต่อมาได้เรียกตามชื่อของเขายังเป็นผู้กาหนดเส้นแบ่งระหว่างการไหลแบบราบเรียบกับปั่นป่วนขึ้น
และพิสูจน์ ให้เห็นการทดลองของเขาในปี ค.ศ. 1888 โดยใช้ความเร็วไหลที่ทาให้การเคลือบที่หมุนวน
(การไหลแบบปั่นป่วน) และเปลี่ยนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ รวมทั้งสมบัติของของไหลแต่ละชนิด
ให้ค่าถูกต้องค่าพารามิเตอร์นี้ต่อมาเรียกว่า ตัวเลขเรย์โนลด์ (Reynolds number)
ค่าพารามิเตอร์มีประโยชน์ อย่างมากและถูกนาไปใช้กับสมการนาเวียร์ สโต็ก (Navier
Stokes) เพื่อหาการไหลแบบปั่นป่วน นอกจากนี้เขายังได้หาสมการเคลื่อนที่ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า สม
การเรย์โนลด์ (Reynolds equations) สาหรับการไหลแบบปั่นป่วน

รูปที่ 1.34 ออสบอร์น เรย์โนลด์


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

คริสต์ศักราช (1842-1919) จอห์น วิลเลียม สทรัต์ต, ลอร์ด เรย์ไลฟ์ (John William


Strutt, Lord Rayleigh) (รู ป ที่ 1.35) เป็ นผู้ ค้นคว้าถึงไฮโดรไดนามิกส์ ของการยุ บ ตัว ของฟอง
26 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

(Bubble collapse) การเคลื่ อนที่ของคลื่น ความไม่แน่น อนของเจ็ ต (Jet instability) ความ


คล้ายคลึงกันของการไหลแบบราบเรียบ และไดนามิกส์ของความคล้ายคลึง (Dynamic similarity)

รูปที่ 1.35 จอห์น วิลเลียม สทรัต์ต, ลอร์ด เรย์ไลฟ์


(ที่มา : Hunter and Wang, (2016)

คริสต์ศักราช (1850-1922) เซนซ์ สเตราฮัล (Vincenz Strouhal) (รูปที่ 1.36) เป็นผู้


ค้นคว้าเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติของ Singing wires

รูปที่ 1.36 เซนซ์ สเตราฮัล


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 27

คริสต์ศักราช (1867-1940) เอ็ดการ์ บักคิงแฮม (Edgar Buckingham) เป็นผู้เริ่มต้นให้มี


การวิเคราะห์ขนาด (Dimensional analysis) ในอเมริกา
1.2.3 ยุคศตวรรษที่ 20
ยุ คนี้ นั บ ว่า เป็ น ยุ คที่ เข้า สู่ กลศาสตร์ ข องไหลอย่ างแท้จริ ง เมื่อเริ่ มศตวรรษที่ 20 การ
ทดลองทางไฮดรอลิกส์และทฤษฏีไฮโดรไดนามิกส์แพร่ กระจายออกไปมาก มีการพัฒนามาจนกระทั่ง
ช่องว่างระหว่างทฤษฎีกับ การปฏิบั ติใกล้เคียงความเป็นจริงต่อกันยิ่ งขึ้น จนมีชื่อเรียกขานบุคคล
เหล่านั้นว่าเป็นนักไฮดรอลิกส์ หรือนักไฮโดรไดนามิกส์ ประกอบกับการพัฒนาด้านการบินเกิดขึ้น
อย่ า งรวดเร็ ว วิ ศ วกรจึ ง หาทางเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งส่ ว นทั้ ง สองนี้ คื อ ทฤษฏี กั บ ความจริ ง น าไปสู่
แนวความคิดเรื่องขอบเขตชั้นของไหล (Boundary layer) ซึ่งเริ่มขึ้นมาโดยศาสตราจารย์ ลุดวิก แพ
รนตัท์ล (Ludwig Prandtl) ชาวเยอรมันและท่านผู้นี้ได้ทาการศึกษาทฤษฎีขอบเขตชั้นการไหลที่มี
อิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของของไหล โดยบทความนี้ได้เผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1904
คริสต์ศักราช (1871-1951) มอริทซ์ เวเบอร์ (Moritz Weber) ชาวเบอร์ลิน (รูปที่ 1.37)
ได้วางหลักเกณฑ์ทั่วไปของหลักการรูปเหมือนกันแทนรูปจริงและเขาเป็นผู้ให้ชื่อเฉพาะ เช่น ของฟรัว
ดี (Froude) และตัวเลขเรย์โนลด์ (Reynolds numbers) และความเกี่ยวข้องของชื่อ ครัว ชี
(Cauchy’s) กับความคล้ายคลึงกันของความยืดหยุ่น (Elastic similarity) และนาไปสู่ Capillarity
parameter ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่ปี ค.ศ. 1919 ภายหลังต่อมาได้ชื่อเรียกว่า ตัวเลขเวเบอร์ (Weber
number)

รูปที่ 1.37 มอริทซ์ เวเบอร์


(ที่มา : Frohn and Roth, 2000)

คริสต์ศักราช (1875-1953) ลุดวิก แพรนตัท์ล (Ludwig Prandtl) (รูปที่ 1.38) เป็น


บุคคลแรกที่ให้ความเห็นและทาให้เกิดวิชากลศาสตร์ของไหลมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ โดยแสดงให้เห็น
ถึงความสัมพันธ์ของปัญหาระหว่างทฤษฎีและการทดลองการไหลของของไหล (Fluid flow) เป็นคน
28 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

แรกที่ทดลองการไหลของอากาศขณะทางานเป็นวิศวกรลูกจ้างของบริษัทผลิตเครื่องจักรขนาดใหญ่
ต่อมาได้ตาแหน่งหัวหน้าคณะในสถาบันโปลีเทคนิค แล้วทาการวิจัยการไหลของอากาศอีก จากนั้นอีก
3 ปีต่อมา เขาได้เขียนรายงานการค้นพบก่อนจะมีการประชุมครั้งที่ 3 ของสมัชชานักคณิตศาสตร์ในปี
ค.ศ. 1904 รายงานจานวน 8 หน้าของเขาให้แนวคิดเรื่องขอบเขตชั้นการไหลซึ่งมีความต้านทาน
ภายในต่า (Low internal resistance) (ความหนืดต่า) และสามารถแบ่งได้ 2 เขต (Zone)
ระหว่างกันคือ
1) ใกล้ กั บ ขอบเขตคงที่ (Fixed boundaries) เป็ น ชั้ น การเปลี่ ย นแปลง
(Transition layer) ซึ่งความเร็วของไหลเปลี่ยนจากศูนย์ที่ขอบเขตนี้คล้ายกับค่าที่เกิดในสายกระแส
อิสระ (Free stream) ที่ขอบของชั้นและความหนืดจะมีผลต่อชั้นนี้ด้วย
2) ห่างจากขอบเขตชั้นตามแนวนอน (Boundary lies zone) ที่เส้นการไหลอิสระ
ตัดขวาง ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงใดๆของความเร็วจะไม่มีผลจากความหนืดกระทา และการไหลอิสระ
ตัดขวาง ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ของความเร็วจะไม่มีผลจากความหนืดกระทา และการไหลในส่วน
นี้สามารถวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการพื้นฐานของทฤษฎีศักดิ์การไหล (Potential flow theory) ใน
ชั้นที่อยู่ใกล้ชิดกับขอบเขตคงที่ ซึ่ งมีผลของความหนืดเข้าเกี่ยวข้องกับขอบเขตนี้เรียกว่า ขอบเขตชั้น
ของไหล (Boundary layer)
ทฤษฏีขอบเขตชั้นของไหล (Boundary layer) ไม่ได้นามาใช้เฉพาะเรื่องของอากาศเท่านั้น
แต่ยังถูกนาไปใช้กับไฮดรอลิกส์และขอบเขตอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จากการใช้งานดังกล่าวทาให้การพัฒนา
วิทยาศาสตร์การเคลื่อนที่ของของไหลเป็นไปอย่างรวดเร็ว จนกระทั่ง เรียกกันต่อมาว่า วิชากลศาสตร์
ของไหล

รูปที่ 1.38 ลุดวิก แพรนตัท์ล


(ที่มา : Frank, 2011)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 29

ผลงานที่แพรนตัท์ล (Prandtl) ได้บุกเบิกวิจัยเกี่ยวกับการไหลของของไหลความหนืดต่า


(Low-viscosity fluids) ทาให้เขาได้ถูกเสนอชื่อให้รับดอกเตอร์ และตาแหน่งศาสตราจารย์จาก
สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัย G ttigen ที่แห่งนี้เอง แพรนตัท์ล (Prandtl) และนักศึกษาของเขาได้
ศึกษาร่วมกันศึกษาทฤษฏีขอบเขตชั้นของไหล (Boundary layer theory) การวิเคราะห์ความเป็นไป
โดยธรรมชาติของการปั่นป่วนและการลาก (Drag) ตลอดหลักการที่แสดงถึงพฤติกรรมที่ล้อมรอบ
Aerofoil นักศึกษาคนแรกของเขาที่มีชื่อเสียงรู้จักกันคือ พอล ริชาร์ด เฮียนริช บลาสิอัส (Paul
Richard Heinrich Blasius, 1883-1970) แห่งเบอร์ลินได้ตีพิมพ์ผลงานปี ค.ศ. 1908 เรื่องวิธีการ
วิเคราะห์จากการกระจายความเร็ว ไหลและความต้านทานของขอบเขตชั้นการไหลราบเรี ยบตาม
ทฤษฏีของแพรนตัท์ล (Prandtl’s theory) ซึ่งการพิสูจน์นี้ทาให้ห้องปฏิบัติการ
คริสต์ศักราช (1880-1953) เลวิส เฟอร์รี มูดี้ (Lewis Ferry Moody) (รูปที่ 1.39) เป็น
ผู้ทาการเปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่างเกี่ยวกับเครื่องกลไฮดรอลิกส์และจัดทาข้อมูลความเสียดทานในท่อ
ในรูปไดอะแกรม ซึ่งนิยมใช้กันแพร่หลายมาถึงปัจจุบันนี้

รูปที่ 1.39 เลวิส เฟอร์รี มูดี้


(ที่มา : Graebel, 2001)

คริสต์ศักราช (1881-1963) ธีโอดอร์ วอน คาร์มาน (Theodor Von Karman) (รูปที่


1.40) เป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงมากของสถาบัน G ttigen ขณะเขาทางานภายใต้การควบคุม ดูแลของ
แพรนตัท์ล (Prandtl) คาร์ มาน (Karman) เป็ นคนที่มีพรสวรรค์มากต่อการรวมเอาฟิสิ กส์ เข้ากับ
คณิตศาสตร์ของไหล โดยเป็ น บุคคลแรกอีกเช่นกันที่มีส่ ว นสนั บ สนุ นวิช ากลศาสตร์ ของไหล โดย
กาหนดขอบเขตรูปแบบการลาก (Form drag) การปั่นป่วนความต้านทานผิวและการเปรียบเทียบ
ระหว่างเสียงกับคลื่นแรงดึงดูดโลก (Gravity waves) เขาได้ประสานต่อปัญหาการเกิดไหลวนตามหลัง
ทรงกระบอกกลม พร้อมหาวิธีการวิเคราะห์กระจายความเร็วไหล และความต้านทานการไหลปั่นป่วน
ในท่อ ซึ่ง มีค่ า เท่ า กับ ตามผิ ว แผ่ น ราบ ผลลั พ ธ์ส มการลอก (Logarithmic) และการกระจายของ
ความเร็ว ต่อมาเรียกตามชื่อเขา
30 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 1.40 ธีโอดอร์ วอน คาร์มาน


(ที่มา : Nakayama and Boucher, 1999)

นอกจากนั้นยังมีบุคคลอื่ นๆ ที่ได้ทางานเกี่ยวข้องเฉพาะเรื่องนี้ที่สถาบัน วิจัย G ttigen


เช่น วอเตอร์ ลุควิก (Walter Ludwig) คริสเตียน ชิลเลอร์ (Christian schiller, 1882-) เป็นบุคคลที่
ให้ ความเข้าใจถึงขอบเขตความต้านทานในท่อ วอเตอร์ กัส แทฟ โจฮานเนส โทลเมียน (Walter
Gustav Johannes Tollmein, 1900-1968) ทาการวิเคราะห์แบ่งแยกความมั่นคงของการไหล
(Flow stability) และการแผ่กระจายความปั่นป่วน (Turbulent diffusion) เฮอร์มาน ชิชติ้ง
(Hermann Schlichting, 1907- 1968) มีส่วนช่วยต่อการพัฒนาวิเคราะห์ความมั่นคงและขอบเขต
ชั้นของไหล (Boundary layer) คาร์ล เวียสเซลเบอร์เกอร์ (Carl Wieselberger, 1887-1941) มีส่วน
ช่วยหาความเป็นมาของปรากฏการณ์ที่เกิดเองโดยธรรมชาติของการลาก (Drag) ออตตี้ แฟรชพาส
(Otty Flachspart, 898-1957) มีส่วนช่วยหาการลาก (Drag) และหาความดันลมบนอาคาร และ โจ
อาน นิคูราส (Johann Nikuradse, 1896–1979) มีส่วนช่วยหาของเขตของความต้านทานในท่อ ผล
การทดลองของเขาก็คือ การหาความหยาบผิวท่อ
คริสต์ศักราช (1883-1970) พอล ริชาร์ด เฮียนริช บลาสิอัส (Paul Richard Heinrich
Blasius) (รูปที่ 1.41) เป็นนักศึกษาคนหนึ่งของแพรนตัท์ล (Prandtl) และเป็น ผู้พยายามหาทาง
แก้ปัญหาการวิเคราะห์ด้วยสมการขอบเขตชั้นของไหล (Boundary layer) ขณะเดียวกันก็ได้พิสูจน์
ความเสียดทานในท่อ (Pipe resistance) สัมพันธ์กับค่าตัวเลขเรย์โนลด์ (Reynolds number)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 31

รูปที่ 1.41 พอล ริชาร์ด เฮียนริช บลาสิอัส


(ที่มา : Durst, 2008)

คริสต์ศักราช (1886-1975 ) จิออฟเฟร อินแกรม เทเลอร์ (Geoffrey Ingram Taylor)


นั ก ฟิ สิ ก ส์ ช าวอั ง กฤษ (รู ป ที่ 1.42) ขณะท างานเป็ น ลู ก จ้ า งท าหน้ า ที่ นั ก อุ ตุ นิ ย มศาสตร์ ที่
มหาวิทยาลัยเคมบริดส์ เขาศึกษาการหมุนในบรรยากาศและตีพิมพ์ผลงานของเขาเกี่ยวกับหลักการ
วิเคราะห์การไหลแบบปั่นป่วนด้วยวิธีทางสถิติ Taylor ได้สร้างทฤษฏีการแพร่กระจาย (Diffusion)
โดยการเคลื่อนที่อย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กับการโน้มเอียงต่อการแผ่กระจาย และคุณสมบัติการกระจาย
ออกไปของการเคลื่อนที่แบบปั่นป่วน

รูปที่ 1.42 จิออฟเฟร อินแกรม เทเลอร์


(ที่มา : Pijush and Ira, 2010)
32 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

1.3 นิยามของของไหล
ของไหล (Fluid) หมายถึง สสารที่สามารถไหลได้ โดยมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ
เมื่อของไหลอยู่ในสภาวะสมดุล ของไหลไม่สามารถรองรับแรงเฉือนได้ ซึ่งจะแตกต่างกับของแข็ง
(Solid) เมื่อถูกกระทาด้วยแรงเฉือน (Shear force) ของแข็งจะเปลี่ยนรูปร่างและจะหยุดเปลี่ยน
รูปร่างเมื่อเข้าสู่สมดุลสุดท้าย (α) ลักษณะของแรงเฉือนที่กระทาบนของแข็งและบนของไหลจะ
แสดงไว้ดังรูปที่ 1.43 ของไหลทุกชนิดจะยุบตัวตามความดันได้เล็กน้อย ดังนั้น การจัดประเภทของ
ของไหลจึงแบ่งได้ตามความสามารถในการยุบตัว ดังนี้
1) ของไหลที่ยุบตัวตามความดัน (อัดตัวได้) (Compressible fluid) หมายถึง ของไหล
ชนิ ด ที่ มี ค วามดั น เปลี่ ย นแปลงปริ ม าตรของของไหลเปลี่ ย นแปลงมากและค่ า ความหนาแน่ น
เปลี่ยนแปลงมาก เช่น ก๊าซ จัดว่าเป็นของไหลยุบตัวตามความดันหรืออัดตัวได้
2) ของไหลที่ไม่ยุบตัวตามความดัน (อัดตัวไม่ได้) (Incompressible fluid) หมายถึง ของ
ไหลชนิดที่เมื่อความดันเปลี่ยนแปลงปริมาตรของของไหลเปลี่ยนแปลงน้อยมากและค่าความหนาแน่น
คงที่หรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย เช่น ของเหลว จัดว่าเป็นของไหลที่ไม่ยุบตัวตามความดัน หรืออัดตัว
ไม่ได้

แรงเฉือน แรงเฉือน

ของแข็ง ของเหลว

รูปที่ 1.43 แรงเฉือนที่กระทาบนของแข็งและของเหลว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert et al., 2012)

นอกจากนั้น ของไหลยังสามารถแบ่งออกได้ตามโครงสร้างโมเลกุล ซึ่งแบ่งออกได้ออก 3 ชนิด


คือ ของเหลว (Liquids) ก๊าซ (Gases) และไอ (Vapour)

1.4 ระบบของหน่วย
ระบบของหน่วย (Unit system) ที่นิยมใช้ในปัจจุบันกับกลศาสตร์ของไหล คือ หน่วยระหว่าง
ประเทศ หรือระบบสากล (International system) หรือเรียกว่า หน่วยเอสไอ (SI unit) อย่างไรก็
ตามระบบอังกฤษ (English system) ก็ยังมีใช้แพร่หลายพอสมควรจึงนามาเปรียบเทียบกันดังตาราง
ที่ 1.1
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 33

ตารางที่ 1.1 หน่วยระบบสากลและอังกฤษของมิติพื้นฐาน

มิติ หน่วยระบบเอสไอ หน่วยระบบอังกฤษ


ความยาว (L) เมตร (metre, m) ฟุต (foot, ft)
มวล (M) กิโลกรัม (kilogram, kg) สลัก (slug)
เวลา (T) วินาที (second, s) วินาที (second, s)
แรง (F) นิวตัน (Newton, N) ปอนด์ (pound, lb)
อุณหภูมิสัมบูรณ์ เคลวิน (Kelvin, K) แรนคิน (Rankine, R)
อุณหภูมิปกติ เซลเซียส (Celcius, ๐C) เซลเซียส (Celcius, ๐C)
ที่มา : Clayton et al., (2010).

การเปลี่ยนหน่วยสามารถใช้มาตรฐานในการเปรียบเทียบได้ ดังนี้
1.61 กิโลเมตร (km) = 1 ไมล์ (mi)
1 กิโลเมตร (km) = 1,000 เมตร (m)
1 ไมล์ (mi) = 1760 หลา (Yd)
1 หลา (Yd) = 3 ฟุต (ft)
1 ฟุต (ft) = 30.48 เซนติเมตร (cm)
1 นิ้ว (in) = 2.54 เซนติเมตร (cm)
1 กิโลกรัม (kg) = 9.81 นิวตัน (N)
1 กิโลกรัม (kg) = 2.2046 ปอนด์ (lb)
1 สลัก (slug) = 1 (lb.s2)/ft
1 ชั่วโมง (hr) = 60 นาที (min)
1 นาที (min) = 60 วินาที (s)
1 เคลวิน (K) = 273 + ๐C
1 แรนคิน (R) = 460 + F
1 แรนคิน (R) = 1.8 เคลวิน (K)
1 ฟาเรนไฮ (F) = 32 + 1.8๐C

ในกรณีที่จานวนเลขแสดงปริมาณต่างๆ มีค่าสูงมากหรือต่ามากนิยมใช้คานาหน้า (Prefix) เติม


หน้าหน่วยซึ่งจะทาให้มีความสะดวกในการบอกจานวนดังรายละเอียดที่แสดงในตารางที่ 1.2
34 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ 1.2 คานาหน้าตัวเลข

ตัวคูณ คานาหน้า สัญลักษณ์ ตัวคูณ คานาหน้า สัญลักษณ์


10-1 เดซิ (deci) D 101 เดคา (deca) da
-2
10 เซนติ (centi) C 102 เฮกตะ (hecto) H
-3
10 มิลลิ (milli) M 103 กิโล (kilo) K
-6
10 ไมโคร (micro) µ 106 เมกะ (mega) M
-9
10 นาโน (nano) N 109 จิกะ (giga) G
-12
10 พิโค (pico) P 1012 เทระ (tera) T
-15
10 เฟมโต (femto) F 1015 เพตะ (peta) P
-18
10 อัตโต (atto) A 1018 เอกซะ (exa) E
-21
10 เซปโต (zepto) Z 1021 เซตตะ (zetta) Z
-24
10 ยอกโต (yocto) Y 1024 ยอตตะ (yotta) Y
ที่มา : Gordon et al., (1994).

ตัวอย่างที่ 1.1 จงเปลี่ยนหน่วยในระบบสากล (SI unit) ให้เป็นระบบอังกฤษ


1) 250 เมตร ให้เป็นหน่วย นิ้ว
2) 2 ไมล์ ให้เป็นหน่วย เมตร
วิธีทา
1) ความยาว 1 ม. = 100 ซม.
 ความยาว 250 ม. = 25,000 ซม.
ความยาว 2.54 ซม. = 1 นิ้ว
 ความยาว 25,000 ซม. = 25,000/2.54 = 9,842.52 นิ้ว
 ความยาว 250 เมตร = 9,842.52 นิ้ว ตอบ

2) ความยาว 1 ไมล์ = 1,760 หลา


 ความยาว 2 ไมล์ = 1,760 x 2 = 3,520 หลา
ความยาว 1 หลา = 3 ฟุต
 ความยาว 3,520 หลา = 3,520 x 3 = 10,560 ฟุต
ความยาว 1 ฟุต = 30.48 ซม.
 ความยาว 10,560 ฟุต = 10,560 x 30.48 = 321,868.8 ซม.
ความยาว 100 ซม. = 1 ม.
 ความยาว 321,868.8 ซม. = 321,868.8 /100 = 3,218.69 ม.
 ความยาว 2 ไมล์ = 3,218.69 เมตร ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 35

1.5 หน่วยของปริมาณทางฟิสิกส์ที่สาคัญ
1.5.1 หน่วย (Unit)
ปริ ม าณพื้ น ฐานทางฟิ สิ ก ส์ จ ะถู ก แสดงด้ ว ยหน่ ว ยพื้ น ฐาน ที่ เ รี ย กว่ า หน่ ว ยสั ม บู ร ณ์
(Absolute of units) ส่วนปริมาณฟิสิกส์ที่เกิดจากการรวมกันของหน่วยพื้นฐาน จะเรียกว่าหน่วย ซึ่ง
บ่อยครั้งที่จะเรียนหน่วยสัมบูรณ์สั้นๆ ว่า หน่วย (Unit)
หน่วยพื้นฐานในระบบสากล (International system of unit, SI unit) ที่นิยมใช้กันมาก
จะมีหน่วยพื้นฐานอยู่ 7 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 1.3
ตารางที่ 1.3 หน่วยพื้นฐานของระบบสากล (SI unit)

หน่วยสัมบูรณ์ (Absolute of unit)


ปริมาณ (Quantity)
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
ความยาว (Length, L) เมตร (metre) m
มวล (Mass, M) กิโลกรัม (kilogram) kg
เวลา (Time, T) วินาที (second) s
กระแสไฟฟ้า (Electric, E) แอมแปร์ (Ampere) A
อุณหภูมิ (Temperature, K) เคลวิน (Kelvin) K
ปริมาณสสาร (Mass quantity, Mol) โมล (Mole) Mol
ความเข้มแสง (Intensity of light, Cd) แคนเดลล่า Candela) Cd
ที่มา : Frank, (2011).

1.5.2 ขนาด (Dimension)


ปริ มาณทางฟิสิ กส์ ที่เกิดจากการรวมกันของหน่ ว ยพื้นฐาน จะมีเลขชี้กาลังของหน่ ว ย
พื้นฐานเป็นตัวประกอบในสมการ ซึ่งจะเรียกเลขชี้กาลังนี้ว่า ขนาด (Dimension) การหาปริมาณทาง
ฟิสิกส์ สามารถคานวณได้ตามสมการที่ (1.1) ดังนี้

(1.1)

โดยที่ Q คื อ ปริ ม าณทางฟิ สิ ก ส์ ค่ า ใดค่ า หนึ่ ง ที่ เ กิ ด จากการผสมกั น ระหว่ า งหน่ ว ยพื้ น ฐาน
ประกอบด้วย ความยาว มวล และ เวลา
L คือ ความยาว
M คือ มวล
T คือ เวลา
c คือ ค่าคงที่ใดๆ
ถ้ากาหนดให้ค่า , ,  เปลี่ยนไปก็จะทาให้เกิดปริมาณทางฟิสิกส์ที่มีค่าแตกต่างกันออกไป ดัง
แสดงในตารางที่ 1.4
36 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ 1.4 ขนาดและหน่วย

ปริมาณ ขนาด (Dimension) หน่วย


(Quantities)    (Unit)
ความยาว (Length; L) 1 0 0 m
มวล (Mass; M) 0 1 0 kg
เวลา (Time; T) 0 0 1 S
ความเร็ว (Velocity; v) 1 0 -1 m/s
ความเร่ง (Acceleration; a) 1 0 -2 m/s2
พื้นที่ (Area; A) 2 0 0 m2
ปริมาตร (Volume; V) 3 0 0 m3
แรง (Force; F) 1 1 -2 kg m/s2 = N
ความดัน (Pressure; P) -1 1 -2 kg/ms2 = Pa
ที่มา : Frank, (2011).

ตัวอย่างที่ 1.2 ความหนาแน่น มีหน่วย kg/m3 จงหาขนาด ของความหนาแน่น


วิธีทา
จากสมการ
ถ้า Q คือ ความหนาแน่น ที่มีหน่วยเป็น kg/m3
ดังนั้น
จะได้ว่า ขนาดของ ความหนาแน่น คือ -3, 1, 0 ตอบ

ตัวอย่างที่ 1.3 จากสมการ ถ้า , ,  เท่ากับ 2, 1, -2 ตามลาดับ จงหา


หน่วยของปริมาณ Q และ Q คือปริมาณตัวใดทางฟิสิกส์
วิธีทา
จากสมการ
แทนค่า
จะได้ว่า

ดังนั้น ค่า Q หน่วย คือ จูล (Joule, J) ซึ่งเป็นหน่วยของพลังงาน


 Q จึงเป็นปริมาณทางฟิสิกส์ คือ พลังงาน หรือ งาน ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 37

1.5.3 แรง (Force)


แรง คือ การกระทาของวัตถุหนึ่งต่ออีกวัตถุหนึ่ง ซึ่งจะเป็นผลทาให้วัตถุที่ถูกกระทานั้น
เคลื่อนที่ไปตามทิศทางของการกระทา หรือมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง หรือ แรง (F) คือ แรงที่กระทา
ให้มวล (m) 1 kg มีความเร่ง (a) 1 m/s2 มีหน่วยเป็นนิวตัน (Newton, N) ดังสมการที่ (1.2)

(1.2)

นั่นคือ แรง 1 N = 1 kg. m/s2


น้าหนัก 1 kg คือ แรงที่ทาให้มวล 1 kg มีความเร่ง 9.81 m/s2 (จาก w = mg)
นั่นคือ น้าหนัก 1 kg = 1kg × 9.81 m/s2
ดังนั้น 1 kg = 9.81 N
ในระบบอังกฤษ แรงจะมีหน่วยเป็นปอนด์ (lbf) หมายความว่า แรง (F) 1 lbf = มวล (m)
1 lbf.s /ft หรือ 1 slug คูณกับ ความเร่ง (a) 32.2 ft/s2
2

โดยที่ ความเร่ง (a) = 9.81 m/s2 = 32.2 ft/s2


ตัวอย่างที่ 1.4 วัตถุชิ้นหนึ่งถูกผลักด้วยแรง 150 lbf สมมติพื้นผิวสัมผัสของวัตถุไม่มีแรงเสียดทาน
เกิดขึ้น จงหามวลของวัตถุนี้ กาหนดให้ความเร่งที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก เท่ากับ 32.2 ft/s2
วิธีทา
จากสมการ
และ

หรือ m = 4.66 slug ตอบ

1.5.4 พลังงาน (Energy)


พลังงาน คือ ความสามารถที่ทางานได้ มีหน่วยเป็นจูล (Joule, J)
หมายความว่า พลังงาน 1 Joule (J) = แรง 1 N × ระยะทาง 1 m (จาก งาน = แรง ×
ระยะทาง) มีค่าเท่ากับ 1 Nm หรือ 1 J
พลังงานแบ่งออกได้เป็น 2 รูป ดังนี้
1) พลังงานศักย์ (Potential energy) คือ พลังงานที่มีในวัตถุเนื่องจากตาแหน่งที่
อยู่ของวัตถุนั้น
2) พลังงานจลน์ (Kinetic energy) คือ พลังงานที่มีในวัตถุเนื่องจากการเคลื่อนที่
ของวัตถุนั้น
สาหรั บรายละเอียดทั้งหมดของพลังงานในกลศาสตร์ของไหลจะได้กล่า วถึงในบทที่ 7
ต่อไป
38 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

1.5.5 กาลัง (Power)


กาลัง คือ จานวนงานที่กระทาได้โดยสม่าเสมอในหนึ่งหน่วยเวลา และมีหน่วยเป็น วัตต์
(Watt, W)
หมายความว่า กาลัง 1 Watt (W) = 1 Joule / 1 second = 1 J/s = 1 Nm/s
นอกจากนี้ยังมีหน่วยของกาลังที่นิยมใช้ คือ กาลังม้า ซึ่งสัมพันธ์กับหน่วยวัตต์ ดังนี้
1 กาลังม้า (Horse power, hp) มีค่าเท่ากับ 746 วัตต์ (W)
ในวิชากลศาสตร์ของไหล กาลัง (Power) ส่วนมากจะใช้ในการแปลงหน่วยเพื่อหาขนาด
ของปั้มน้า หรือกังหัน ในระบบการจ่ายหรือสูบน้า และแหล่งกาเนิดกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้า
พลังงานน้า ซึ่งรายละเอียดจะกล่าวต่อไปในบทที่ 7

1.6 บทสรุป
กลศาสตร์ของไหล (Fluid mechanics) เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพฤติกรรมและผลที่
เกิดขึ้นเนื่องจากของไหลที่กระทาต่อผิวของวัตถุที่สัมผัส หรือกระทาต่อของไหลอีกชนิด โดยที่ของไหล
ดังกล่าวอาจจะอยู่ในสภาวะที่เคลื่อนที่หรือสภาวะที่อยู่นิ่งก็ได้ สามารถแบ่งออกได้ 3 สาขา ดังนี้
1) ของไหลสถิต (Fluid static) เป็นการศึกษาถึงพฤติกรรมอันเกี่ยวกับของไหลที่อยู่นิ่ง
2) จลศาสตร์ของไหล (Fluid kinematics) เป็นการศึกษาถึงความเร็วและเส้นการไหล
(stream line) โดยไม่พิจารณาแรงและพลังงานที่เกิดขึ้น
3) พลศาสตร์ของไหล (Fluid dynamics) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว
หรือความเร่งของของไหล และแรงที่กระทาโดยของไหล
ของไหล (Fluid) หมายถึง สสารที่สามารถไหลได้ โดยมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ
เมื่อของไหลอยู่ในสภาวะสมดุล ของไหลไม่สามารถรองรับแรงเฉือนได้ ของไหลทุกชนิดจะยุบตัวตาม
ความดันได้เล็กน้อย
การจัดประเภทของของไหลแบ่งตามความสามารถในการยุบตัว สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
ของไหลที่ยุ บ ตัว ตามความดัน (Compressible fluid) หมายถึง ของไหลชนิ ด ที่มีความดั น
เปลี่ยนแปลงปริมาตรของของไหลเปลี่ยนแปลงมากและค่าความหนาแน่นเปลี่ยนแปลงมาก เช่น ก๊าซ
จัดว่าเป็นของไหลยุบตัวตามความดัน และ ของไหลที่ไม่ยุบตัวตามความดัน (Incompressible fluid)
หมายถึง ของไหลชนิดที่เมื่อความดันเปลี่ยนแปลงปริมาตรของของไหลเปลี่ยนแปลงน้อยมากและค่า
ความหนาแน่นคงที่หรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย เช่น ของเหลว จัดว่าเป็นของไหลที่ไม่ยุบตัวตามความ
ดัน
ระบบของหน่วย (Unit system) ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ หน่วยระหว่างประเทศหรือระบบสากล
(International system) หรือเรียกว่า หน่วยเอสไอ (SI unit) และอีกระบบที่นิยมใช้กันอยู่ คือระบบ
อังกฤษ (English system)
ปริมาณพื้นฐานทางฟิสิกส์จะถูกแสดงด้วยหน่วยพื้นฐาน ที่เรียกว่า หน่วยสัมบูรณ์ (Absolute of
units) ส่วนปริมาณฟิสิกส์ที่เกิดจากการรวมกันของหน่วยพื้นฐาน จะเรียกว่าหน่วย ซึ่งบ่อยครั้งที่จะ
เรียนหน่วยสัมบูรณ์สั้นๆ ว่า หน่วย (Unit)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล 39

ปริมาณทางฟิสิกส์ที่เกิดจากการรวมกันของหน่วยพื้นฐาน จะมีเลขชี้กาลังของหน่วยพื้นฐานเป็น
ตัวประกอบในสมการ ซึ่งจะเรียกเลขชี้กาลังนี้ว่า ขนาด (Dimension)
แรง คือ การกระทาของวัตถุหนึ่งต่ออีกวัตถุหนึ่ง ซึ่งจะเป็นผลทาให้วัตถุที่ถูกกระทานั้นเคลื่อนที่
ไปตามทิศทางของการกระทา หรือมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง หรือ แรง คือ แรงที่กระทาให้มวล 1 kg
มีความเร่ง 1 m/s2 (จาก F = ma) มีหน่วยเป็นนิวตัน (Newton, N)
พลังงาน คือ ความสามารถที่ทางานได้ มีหน่วยเป็นจูล (Joule, J)
กาลัง คือ จานวนงานที่กระทาได้โดยสม่าเสมอในหนึ่งหน่วยเวลา และมีหน่วยเป็น วัตต์ (Watt,
W)
40 บทที่ 1 พื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 1

1. จงบอกนิยามของกลศาสตร์ของไหล
2. นักวิทยาศาสตร์ผู้ที่มีบทบาทต่อการสร้างทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และถูกนามาประยุกต์ใช้มากที่สุด
ได้แก่ บุคคลใด และอยู่ในช่วง ค.ศ. ใด
3. ค่าพารามิเตอร์ที่เรียกว่า Reynolds number เกิดขึ้นในยุคใด
4. จงบอกความหมายของคาว่า “ของไหล”
5. การจัดประเภทของของไหล แบ่งตามความสามารถในการยุบตัว แบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
6. จงยกตัวอย่างมิติที่เหมือนกันของระบบหน่วยเอสไอกับระบบหน่วยอังกฤษ มา 2 มิติ
7. จงบอกหน่วยพื้นฐานในระบบ SI ที่นิยมใช้กันมา 5 ชนิด
8. แรง มีหน่วย N (kg.m/s2) จงหาขนาด ของแรง
9. ปริมาตรจาเพาะ มีหน่วย m3/kg จงหาขนาด ของปริมาตรจาเพาะ
10. อัตราการไหล มีหน่วย m3/s จงหาขนาด ของอัตราการไหล
11. จงเปลี่ยนหน่วยวัดอุณหภูมิจาก 25๐F ให้เป็นหน่วย ๐C
12. จงเปลี่ยนหน่วย 4 lb ให้มีหน่วยเป็น kg
13. จงเปลี่ยนหน่วยความเร็วจาก หน่วย 60 km/hr ให้มีหน่วยเป็น ft/min
14. จงหาแรงของการผลักก้อนหินที่มีมวล 25 slug โดยสมมติไม่มีแรงเสียดทานเกิดขึ้นที่ผิวสัมผัส
กาหนดให้ความเร่งที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก เท่ากับ 32.2 ft/s2
15. กาลังของมอเตอร์ไฟฟ้าขนาด 2 hp คิดเป็นกี่ kW
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล 39

บทที่ 2
คุณสมบัติของของไหล
(Property of fluids)
ในบทนี้จะกล่าวถึงคุณสมบัติของของไหลที่สาคัญ ซึ่งมีความจาเป็นที่จะต้องทราบและใช้เป็น
ข้อมูลพื้นฐานของการศึกษาในเนื้อหาวิชากลศาสตร์ของไหลเรื่องต่อไป คุณสมบัติของของไหลที่จะ
นามากล่ าวไว้ในบทนี้ ประกอบด้ว ย ความหนาแน่น น้าหนักจาเพาะ ความถ่วงจ าเพาะ ปริมาตร
จาเพาะ ความหนืด ความตึงผิวและความตีบ ความอัดตัวได้ คุณลักษณะของก๊าซอุดมคติ ความดันไอ
และสรุปใจความสาคัญของเนื้อหาทั้งหมด รายละเอียดของเนื้อหาในแต่ละหัวข้อมีดังต่อไปนี้

2.1 ความหนาแน่น
ความหนาแน่น (Density) คือ ปริมาณของมวลของของไหล ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรของของไหล
สัญลักษณ์ของความหนาแน่นเขียนแทนด้วย  (อ่านว่า rho) ความหนาแน่นมีหน่วยเป็น kg/m3
สามารถคานวณได้ตามสมการที่ (2.1) ดังนี้

(2.1)

โดยที่  คือ ความหนาแน่นของของไหล (kg/m3)


m คือ มวลของของไหล (kg)
V คือ ปริมาตรของของไหล (m3)
สาหรับของไหลมาตรฐานจะใช้ของเหลว คือ น้า (Water) เป็ นของไหลมาตรฐาน ซึ่งมี ความ
หนาแน่น เท่ากับ 1,000 kg/m3 หรือ 1.94 slug/ft3 (ระบบอังกฤษ) ทาการวัดที่อุณหภูมิ 4oC ความ
หนาแน่นของน้าที่อุณหภูมิต่างๆ จะแสดงไว้ในตารางที่ ก.1 ของภาคผนวก ก
ความหนาแน่นของของไหลจะเป็นตัวบ่งบอกถึงน้าหนักของของไหลชนิดนั้นๆ ซึ่งของไหลแต่ละ
ชนิดจะมีค่าความหนาแน่นไม่เท่ากัน เช่น ความหนาแน่นของเบนซิน (Benzene) จะมีค่าเท่ากับ 876
kg/m3 (ตารางที่ ก.4) ซึ่งจะมีค่าเบาน้า (1,000 kg/m3) ดังนั้นเมื่อผสมกันจะพบว่า เบนซินจะอยู่
ด้านบนน้าอยู่ด้านล่าง สาหรับของไหลที่มีความหนาแน่นมาก เช่น น้ามันชีวภาพ (Bio-oil) ที่ได้จาก
กระบวนการไพโรไลซีสแบบเร็วของชีวมวล (Suttibak, 2015) จะความหนาแน่นประมาณ 1,200
kg/m3 ซึ่งหนักกว่าน้า ดังนั้นเมื่อนามาผสมกันจะพบว่า น้ามันชีวภาพจะอยู่ด้านล่างส่วนน้าจะอยู่
ด้านบน
รูปที่ 2.1 แสดงวิธีการหาค่าความหนาแน่นของน้ามันชีวภาพ โดยการนาน้ามันชีวภาพใส่ใน
หลอดตวงจากนั้นนาไปชั่งน้าหนักในเครื่องชั่งดิจิตอล และนาค่าที่ได้มาทาการคานวณในสมการที่
(2.1)
42 บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 2.1 การชั่งน้าหนักน้ามันชีวภาพเพื่อคานวณหาความหนาแน่น


(ที่มา : สุนทร สุทธิบาก, 2558)

2.2 น้าหนักจ้าเพาะ
น้าหนักจาเพาะ (Specific weight) คือ น้าหนักของของไหลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร สัญลักษณ์
ของน้าหนักจาเพาะเขียนแทนด้วย  (อ่านว่า gamma) น้าหนักจาเพาะมีหน่วยเป็น N/m3 สามารถ
คานวณได้ตามสมการที่ (2.2) ดังนี้

(2.2)

โดยที่  คือ น้าหนักจาเพาะของของไหล (N/m3)


W คือ น้าหนักของของไหล (N)
V คือ ปริมาตรของของไหล (m3)
น้าหนักจาเพาะของน้าจะมีค่า เท่ากับ 9,810 N/m3 ทาการวัดที่อุณหภูมิ 4oC และที่ความดัน
บรรยากาศ (1 atm = 101,325 Pa)

2.3 ความถ่วงจ้าเพาะ
ความถ่วงจาเพาะ (Specific gravity) คือ อัตราส่วนของความหนาแน่นของของไหลนั้น ต่อ
ความหนาแน่นของของไหลมาตรฐาน หรืออัตราส่วนของน้าหนักจาเพาะของของไหลนั้น ต่อ น้าหนัก
จาเพาะของของไหลมาตรฐาน ของไหลมาตรฐานจะใช้น้า โดยทาการวัดที่อุณหภูมิ 4๐C สัญลักษณ์
ของความถ่วงจาเพาะเขียนแทนด้วย S ความถ่วงจาเพาะจะไม่มีหน่วย สามารถคานวณได้ตามสมการ
ที่ (2.3) ดังนี้
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล 43

(2.3)

โดยที่ S คือ ความถ่วงจาเพาะของของไหล


 คือ ความหนาแน่นของของไหลนั้น (kg/m3)
w คือ ความหนาแน่นของน้า (kg/m3)
 คือ น้าหนักจาเพาะของของไหลนั้น (N/m3)
W คือ น้าหนักจาเพาะของน้า (N/m3)
เนื่องจากค่าของน้าหนักจาเพาะจะเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ ดังนั้น เพื่อการคานวณที่ละเอียด
จึงต้องใช้ค่าความถ่วงจาเพาะที่ระบุด้วยว่าเป็นค่าที่อุณหภูมิเท่าไร สาหรับค่าความหนาแน่นของน้า
และอากาศที่อุณหภูมิต่างๆ จะแสดงไว้ในตารางที่ 2.1
ตารางที่ 2.1 ค่าความหนาแน่นของน้า และอากาศ (ที่ความดัน 1 atm)

อุณหภูมิ (oC) 0 10 15 20 40 60 80 100


ความ น้า 999.8 999.7 999.1 998.2 992.2 983.2 971.8 958.4
หนาแน่น (water)
(kg/m3) อากาศ 1.293 1.247 1.226 1.205 1.128 1.060 1.000 0.946
(air)
ที่มา : Gordon et al., (1994).

2.4 ปริมาตรจ้าเพาะ
ปริมาตรจาเพาะ (Specific volume) คือ จานวนปริมาตรของของไหลต่อหนึ่งหน่วยมวลของ
ของไหล หรือเป็นส่วนกลับของความหนาแน่น () สัญลักษณ์ของปริมาตรจาเพาะเขียนแทนด้วย v
ปริมาตรจาเพาะมีหน่วยเป็น m3/kg สามารถคานวณได้ตามสมการที่ (2.4) ดังนี้

(2.4)

โดยที่ v คือ ปริมาตรจาเพาะของของไหล (m3/kg)


V คือ ปริมาตรของของไหล (m3)
m คือ มวลของของไหล (kg)
 คือ ความหนาแน่นของของไหล (kg/m3)
44 บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 2.1 น้ามันชนิดหนึ่งมีมวล 85 kg มีปริมาตร 0.1 m3 จงหาความหนาแน่นของของไหลนี้


วิธีท้า
จากสมการ

โจทย์กาหนดให้ m = มวลของของไหล 85 kg
V = ปริมาตรของของไหล 0.1 m3
แทนค่า =
ดังนั้น  = 850 kg/m3 ตอบ

ตัวอย่างที่ 2.2 ของไหลชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 880 kg/m3 จงหาความถ่วงจาเพาะของของไหลนี้


วิธีท้า
จากสมการ

โจทย์กาหนดให้  = ความหนาแน่นของของไหล = 880 kg/m3


และ W = ความหนาแน่นของน้า = 1,000 kg/m3

แทนค่า
ดังนั้น S = 0.880 ตอบ

ตัวย่างที่ 2.3 น้ามันชนิดหนึ่งมีปริมาตรเท่ากับ 1.1 m3 และมีมวล 900 kg จงหา


1) ความหนาแน่น
2) น้าหนักจาเพาะ
3) ความถ่วงจาเพาะ
4) ปริมาตรจาเพาะ
วิธีท้า
1) ความหนาแน่น
จากสมการ

แทนค่า =
ดังนั้น  = 818.18 kg/m3 ตอบ

2) น้าหนักจาเพาะ
จากสมการ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล 45

แทนค่า  = 818.18 kg/m3 x 9.81 m/s2


= 8,026.35 kg/m2s2
ดังนั้น  = 8,026.35 N/m3 ตอบ

3) ความถ่วงจาเพาะ
จากสมการ

แทนค่า
ดังนั้น S = 0.818 ตอบ

หรือหาจากสมการ

แทนค่า
ดังนั้น S = 0.818 ตอบ

4) ปริมาตรจาเพาะ
จากสมการ

แทนค่า
ดังนั้น v = 0.0012 m3/kg ตอบ

ตัวย่างที่ 2.4 น้ามันชีวภาพที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซีสแบบเร็วของชานอ้อยมีความถ่วงจาเพาะ


1.212 ถ้าน้ามันชีวภาพนี้มีมวล 0.25 kg จงหา ปริมาตรของน้ามันชีวภาพนี้
วิธีท้า
จากสมการ

และ

ดังนั้น

แทนค่าได้
ดังนั้นได้ V = 2.063 x 10-4 m3 ตอบ
46 บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

2.5 ความหนืด
ความหนืด (Viscosity) เป็นแรงต้านทานต่อแรงเฉือนระหว่างชั้นของของไหล ซึ่งขนาดจะขึ้นอยู่
กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของไหลนั้นๆ รายละเอียดของความหนืดของของไหลจะกล่าวไว้
ในบทที่ 3 แรงที่กระทาจากภายนอกสามารถหาได้จากสมการที่ (2.5) ดังนี้

(2.5)

โดยที่ F คือ แรงที่กระทาจากภายนอก (N)


คือ สัมประสิทธิ์ความหนืด (N/m2.s หรือ Pa.s)
A คือ พื้นที่ผิว (m2)
คือ ความเร็วของการเคลื่อนที่ (m/s)
y คือ ระยะห่างระหว่างชิ้นงานที่สัมผัสกัน (m)

ตัวอย่างที่ 2.5 แผ่นราบสองแผ่นวางซ้อนกันห่างกัน 0.01 m ระหว่างแผ่นราบบรรจุของไหล แผ่น


ราบแผ่นบนถูกดึงด้วยแรง 30 N ทาให้เกิดความเร็วเท่ากับ 40 m/s มีพื้นที่แผ่นราบสองแผ่นวางซ้อน
กัน 10 m2 จงหาสัมประสิทธิ์ความหนืดของของไหลระหว่างแผ่นราบนั้นวางซ้อนกัน
วิธีท้า
จากสมการ

โจทย์กาหนดให้ F = แรงกระทาภายนอก = 30 N
A = พื้นที่ผิว = 10 m2
v = ความเร็วของการเคลื่อนที่ = 40 m/s
y = ระยะห่างระหว่างแผ่นราบสองแผ่น = 0.01 m
จะได้ว่า

ดังนั้น ตอบ

2.6 ความตึงผิวและความตีบ
ความตึงผิว และความตีบหรือคาปิลลารี (Surface tension and Capillarity) ภายของเหลว
โมเลกุลของก้อนของเหลวหนึ่งๆจะถูกดึงดูดอย่างสม่าเสมอเท่ากันทุกทิศทางด้วยโมเลกุลอื่นที่อยู่
โดยรอบดังแสดงด้วยตาแหน่ง A ในของเหลวดังรูปที่ 2.2 ผลคือทาให้แรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์ (0)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล 47

สาหรับตาแหน่ง B จะอยู่ใกล้ๆกับผิวของเหลว ซึ่งอยู่ระหว่างอากาศกับของเหลวจึงมีทั้งแรงยึดเหนี่ยว


ระหว่างโมเลกุลของของเหลวด้วยกันกับแรงยึดเกาะระหว่างโมเลกุลนี้กับโมเลกุลของอากาศ ในกรณีนี้
แรงยึดเหนี่ยวจะมีค่ามากกว่าแรงยึดเกาะเนื่องจากโมเลกุลของของเหลวที่อยู่ใกล้กันมีจานวนมากกว่า
โมเลกุล ของอากาศ โมเลกุล ที่ต าแหน่ ง B จึ งมี แรงดึ ง ลงมากกว่ าแรงดึ งขึ้ น ของเหลวบริ เ วณผิ ว
ของเหลวจะถูกดึงเข้าไปในของเหลว ทาให้ผิวของของเหลวมีลักษณะเหมือนฟิล์มซึงถูกแรงดึงให้ตึง
อยู่เสมอลักษณะที่เกิดแรงดึงที่ผิวของเหลวนี้เรียกว่า ความตึงผิว (Surface tension) ปรากฏการณ์ที่
เป็นผลมาจากความตึงผิว เช่น เข็มหรือใบมีดโกนซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าน้าหลายเท่าลอยนิ่งอยู่
บนผิวน้า แมลงบางชนิดสามารถเดินบนผิวน้าได้ เป็นต้น
ความตึงผิว เป็นอัตราส่วนระหว่างแรงที่กระทาไปตามผิวของของเหลวต่อความยาว (ตั้งฉากกับ
แรง) ของผิวที่ถูกแรงนี้กระทา สัญลักษณ์ของความตึงผิวเขียนแทนด้วย  (อ่านว่า sigma) หน่วย
ของความตึงผิวเป็น N/m ปกติค่าความตึงผิวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังขึ้นอยู่กับชนิด
ของของไหลที่มาสั มผัส สาหรับค่าความตึงผิ วที่อุณหภูมิต่างๆ ของน้า จะแสดงไว้ดังภาคผนวก ก
(ตารางที่ ก.1) ความตึงผิวสามารถหาได้จากสมการที่ (2.6)

(2.6)

โดยที่  คือ ความตึงผิว (N/m)


F คือ แรงที่เกิดจากความตึงผิว (N)
L คือ ความยาวผิวที่ของเหลวสัมผัสกับของเหลวด้วนกัน (m)

อากาศ
ผิวของเหลว

ของเหลว

รูปที่ 2.2 การดึงดูดกันระหว่างโมเลกุลของของเหลวในบริเวณที่ห่างและใกล้ๆ ผิวของเหลว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)
48 บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

2
Po Pr
Pi
r + +

รูปที่ 2.3 แรงตึงผิวในผิวฟิล์มหยดของเหลว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

รูปที่ 2.3 แสดงหยดของเหลวซึ่งจะมีลักษณะเป็นทรงกลม เกิดจากแรงตึงผิวของของเหลว


กระท าต้ า นแรงดั น ภายในหยดของเหลวเอง ดั ง นั้ น จะได้ ว่ า แรงที่ เ กิ ด จากความดั น ภายใน
(( ) ) จะเท่ากับแรงที่เกิดจากความตึงผิว ( ) จากสมดุลดังกล่าวสามารถเขียน
แทนได้สมการที่ (2.7) ดังนี้
แรงที่เกิดจากความดันภายใน (F = PA) = แรงที่เกิดจากความตึงผิง (F = L)

( ) 

(2.7)

เมื่อ P คือ ผลต่างระหว่างความดันภายใน (Pi) กับความดันภายนอก (Po) (N/m2)


r คือ รัศมีของหยดของเหลว (m)

ความตีบ หรือคาปิลลารี (Capillarity) เป็นปรากฏการที่เกิดขึ้นเนื่องจากผลของความตึงผิวและ


ความแตกต่างระหว่างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับ แรงยึดเการะหว่างโมเลกุลของ
ของเหลวกับผิวของแข็งทาให้ระดับของเหลวในหลอดรูเล็ก (Capillary tube) สูงขึ้นหรือต่ากว่าระดับ
ของเหลวภายนอกหลอด ดังแสดงในรูป 2.4 เช่น ในกรณีจุ่มหลอดรูเล็กลงในน้า ความดันของน้าที่
ปลายหลอดจะมากกว่าความดันบรรยากาศทาให้น้าเข้าไปในหลอดได้ และจะเกิดแรงยึดเกาะระหว่าง
โมเลกุลของน้ากับหลอดรูเล็กซึ่งมีค่ามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้า ทาให้น้าขึ้นไปใน
หลอดรูเล็กและมีระดับสูงกว่าภายนอกหลอด สาหรับกรณีจุ่มหลอดรูเล็กลงในปรอท และยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุลของปรอทที่มีค่ามากกว่าแรงยึดเกาะระหว่างโมเลกุลของปรอทกับผิวหลอด ทาให้ไม่
เกิดการเกาะยึดของปรอทที่ผิวหลอด ระดับปรอทในหลอดจึงอยู่ต่ากว่าระดับปรอทภายนอกหลอด
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล 49

Hg
h
h
H 2O

รูปที่ 2.4 ความตีบในหลอดแก้วหน้าตัดทรงกลม


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Gordon et al., 1994)

พิจารณาหลอดรูเล็กดังรูปที่ 2.5 ซึ่งมีรัศมี (r) เมื่อจุ่มลงในของเหลวความหนาแน่น () ปรากฏ


ว่าระดับของของเหลวในหลอดรูเล็กสูงกว่าระดับของหลอดภายนอกเป็นระยะความสูง (h) และมุม
สัมผัสระหว่างขอบผิวของของเหลวกับหลอดเท่ากับ  จากระบบสมดุล ดังนั้น ผลรวมของแรงใน
แนวดิ่ง เท่ากับศูนย์ (0) สามารถหาความสูง (h) ได้จากสมการที่ (2.8) ดังนี้
แรงที่เกิดจากความตึงผิง (F = L) = แรงที่เกิดจากความดันภายใน (F = PA)

( ) 

ดังนั้น 
(2.8)



   
P
h

2
D hr

รูปที่ 2.5 การวิเคราะห์สมดุลกับของเหลวในหลอดรูเล็ก


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Gordon et al., 1994)
50 บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 2.6 จงหาเส้นผ่านศูนย์กลางของหยดน้า ที่ 20oC ถ้าความดันภายในเท่ากับ 180 N/m2


วิธีท้า
จากตารางที่ ก.1 น้าที่อุณหภูมิ 20oC จะมีแรงตึงผิว  = 0.0728 N/m
และจากสมการ

นั้นคือ

แทนค่า

= 0.00081 m
ดังนั้น เส้นผ่านศูนย์กลาง (D) = 0.00081 x 2
= 0.00162 m หรือ 1.62 mm ตอบ

ตัวอย่างที่ 2.7 จงหาความสูงของน้าในหลอดแก้วปลายเปิดที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 mm โดยมี


แรงตึงผิว 0.0728 N/m และกาหนดให้ ความหนาแน่นของน้า เท่ากับ 1,000 kg/m3
วิธีท้า
จากสมการ

โจทย์กาหนดให้  = แรงตึงผิว = 0.0728 N/m


 = มุมที่ของเหลวสัมผัสกับหลอดแก้ว = 0°
D = เส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดแก้ว = 2 mm = 0.002 m
 = น้าหนักจาเพาะของน้า
 = . G = 1,000 × 9.81 = 9,810 N/m3

แทนค่า
ดังนั้น h = 0.0148 m = 14.8 mm ตอบ

2.7 ความอัดตัวได้
ของไหลทุกชนิดสามารถอัดตัวได้ เมื่อก๊าซได้รับความดันจากแรงกระทาภายนอกจะสามารถกด
อัดได้มากกว่าของเหลว ส่ ว นของเหลวปริ มาตรจะลดลง ถ้าความดันเพิ่มขึ้นแต่การเปลี่ ยนแปลง
ปริมาตรของเหลวที่เกิดจากความดันเปลี่ยนแปลงนั้นน้อยมาก ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงถือเป็นของไหล
ชนิดอัดตัวไม่ได้เมื่อให้ความดันต่อของเหลวในขอบเขตจากัดของเหลวจึงหดตัว เมื่อปล่อยความดัน
ออกของเหลวจะขยายตัวกลับคืน ความสัมพันธ์การเปลี่ยนรูปตามการเปลี่ยนแปลงความดัน (ขยาย
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล 51

หรื อ หดตั ว ) เป็ น ความยื ด หยุ่ น (Elasticity) ของของไหล และจะเรี ย กว่ า ความอั ด ตั ว ได้
(Compressibility)
W

P + P

V
V

รูปที่ 2.6 ของไหลที่ถูกอัดในภาชนะ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Gordon et al., 1994)

เมื่อความดันของไหลเพิ่ มขึ้น ปริมาตรลดลง และความหนาแน่ นเพิ่มขึ้น ของไหลส่วนมากจะมี


ความสัมพันธ์ต่อกันระหว่างความดันกับปริมาตรเป็นเส้นตรง และสัดส่วนโดยตรงของคุณสมบัติทั้ง
สองจะมีค่าคงที่ เรียกว่า ความยืดหยุ่นเชิงปริมาตร (Bulk modulus of elasticity, K) ซึ่งเป็นความ
ต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตร เมื่อความดันเปลี่ยนแปลง ค่าความยืดหยุ่นเชิงปริมาตรหาได้
จากอัตราส่ว นของความเค้นอัดกับความเครี ยดเชิงปริมาตร (Volumetric strain) มีหน่ วยเป็ น
ปาสคาล (Pa) พิจารณารูปที่ 2.6 ของไหลที่มีปริมาตร (V) บรรจุในภาชนะ ที่ความดัน (P) เมื่อทาการ
กดแท่งลงด้วยน้าหนัก (W) ทาให้ปริมาตรของไหลลดลง (V) แต่ความดันเพิ่มขึ้น (P)
ดังนั้น ความยืดหยุ่นเชิงปริมาตรของของไหล (K) หาได้จากสมการที่ (2.9)

(2.9)

ส่วนความอัดตัวได้ (Compressibility) ของของไหลจะกาหนดให้อยู่ในรูปของสัมประสิทธิ์ความ


อัดตัวได้ของของไหล (Coefficient of compressibility) แทนด้วย β (อ่านว่า เบต้า) ซึ่งเป็น
ความเครียดเชิงปริมาตรต่อหน่วยความเค้นอัด คือเป็นส่วนกลับของความยืดหยุ่นเชิงปริมาตรนั่นเอง
หาได้จากสมการที่ (2.10)

β (2.10)
52 บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

สาหรับน้าที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ จะมีค่า K และ  เท่ากับ 2.06 x109 Pa และ


4.85 x10-10 1/Pa ตามลาดับ ส่วนอากาศจะมีค่า K เท่ากับ 1.4 x105 Pa

2.8 คุณลักษณะของก๊าซอุดมคติ
ก๊าซอุดมคติ (Ideal gas) หรือก๊าซสมบูรณ์ เป็นก๊าซที่ไม่มีอยู่จริง นักวิทยาศาสตร์กาหนดขึ้นเพื่อ
อธิบายคุณสมบัติต่างๆ ที่เกี่ยวกับก๊าซ โดยให้มีพฤติกรรมเป็นไปตามกฎของก๊าซไม่ว่าที่อุณหภูมิหรือ
ความดันใด เป็นก๊าซที่ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
จากการทดลองของบอยล์และชาร์ล (Boyle’s and Charles’ Law) ได้จัดเงื่อนไขของสภาวะตัว
หนึ่งในสามตัว คือ ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิ มีค่าคงที่ ในขณะเดียวกันก็ได้แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างอีกสองตัวจะพิจารณาในลักษณะที่ก๊าซเปลี่ยนสภาวะโดยไม่มีตัวใด คือ ความดัน ปริมาตร
และอุณหภูมิ มีค่าคงที่โดยก๊าซมีความดัน P1 ปริมาตร V1 และอุณหภูมิ T1 แล้วปล่อยให้ก๊าซเปลี่ยน
สภาวะสุดท้ายเป็น P2 V2 และ T2 จากกฎของบอยล์และกฎของชาร์ล จะบอกความสัมพันธ์ของการ
เปลี่ยนแปลงนี้ได้ดังสมการที่ (2.11)

(2.11)

เมื่อ 1 และ 2 แทนสภาวะใหม่ของก๊าซมวลเดียวกัน

สาหรับมวลคงที่ของก๊าซใดๆ การเปลี่ยนแปลงสภาวะเป็นไปตามสมการ

ค่าคงที่

เมื่อใช้ก๊าซ 1 kg ค่าคงที่นิยมเขียนด้วยอักษร R ซึ่งมีชื่อเรียกว่า ค่าคงที่ของก๊าซ (Gas constant)


สาหรับก๊าซ 1 kg จะได้

ถ้ามีก๊าซ m กิโลกรัม ให้คูณตลอดในสมการ จะได้

แต่ mv คือ ปริมาตรของก๊าซทั้งหมดที่ใช้ = V เพราะฉะนั้น ก๊าซ m กิโลกรัม จะได้


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล 53

ดังนั้น จะได้ว่า
(2.12)

สมการที่ (2.12) เรียกว่า สมการสภาวะของก๊าซอุดมคติ


โดยที่ P คือ ความดันของก๊าซ (Pa)
V คือ ปริมาตร (m3)
m คือ มวลของก๊าซ (kg)
R คือ ค่าคงที่ของก๊าซ (Gas constant) (kJ/kg.K) (R ของอากาศมีค่าเท่ากับ 287 J/kg.K)
T คือ อุณหภูมิของก๊าซ (K)
สมการข้างต้นเป็นสมการที่แสดงสถานะของก๊าซ แต่เมื่อก๊าซมีการเปลี่ยนสถานะ กระบวนการใน
การเปลี่ยนสถานะ จะอยู่ในรูปของสมการที่ (2.13)

ค่าคงที่ (2.13)

เมื่อ n คือ ดัชนีของกระบวนการ (Process index) ประกอบไปด้วย 5 กระบวนการ ได้แก่


Isobartic, Isothermal, Polytropic, Adiabatic และ Isochoric
ในกรณี กระบวนการเป็นแบบ Adiabatic ค่า n = k โดยจะมีค่าเท่ากับ อัตราส่วนระหว่า งค่า
ความร้อนที่ความดันคงที่ (cP) ต่อค่าความร้อนที่ปริมาตรคงที่ (cV) และเรียกสัดส่วน หรือค่า k นี้ว่า
Isentropic index ดังแสดงในภาคผนวก ข (ตารางที่ ข.3)
ความร้อนจาเพาะ (Specific heat) เป็นคุณสมบัติของสาร บางครั้งเรียกว่า ความจุความร้อน
(Heat capacity) ซึ่งมีค่าเท่ากับ ผลคูณของมวลกับความร้อนจาเพาะของสารนั้นๆ แบ่งได้ 2 ชนิด
ดังนี้
1) ความร้อนจาเพาะของสารที่มีปริมาตรคงที่ (cV) คือ การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน
จาเพาะของสารเทียบกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารขณะที่มีปริมาตรคงที่
2) ความร้อนจาเพาะของสารที่มีความดันคงที่ (cP) คือ การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน
จาเพาะของสารเทียบกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร ขณะที่มีความดันคงที่

ตัวอย่างที่ 2.8 อากาศมีปริมาตร 300 m3 ที่ความดัน 200 N/m2 และอุณหภูมิ 30๐C จงหามวลของ
อากาศนั้น โดยกาหนดให้ ค่าคงที่ของอากาศ เท่ากับ 287 J/kg.K
วิธีท้า
จากสมการ

โจทย์กาหนดให้ P = ความดันของอากาศ = 200 N/m2


V = ปริมาตรของอากาศ = 300 m3
T = อุณหภูมิของอากาศทาเป็นองศาเคลวิน (K)
จะได้ K = 273 + 30 = 303 K
54 บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

R = ค่าคงที่ของอากาศ = 287 J/kg.K

ดังนั้น

= 0.689 kg ตอบ

2.9 ความดันไอ
ความดันไอ (Vapor pressure) คือ ความดันที่เกิดขึ้นจากไอในขณะที่เกิดสมดุ ลวัฏภาค (Phase
equilibrium) ระหว่างไอ และของเหลว ณ อุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่ง ความดันไอของสารบริสุทธิ์จะมี
ค่าเท่ากับ ความดันอิ่มตัว (Saturation phenomenon)
ค่ า ความดั น ไอมี ค วามส าคั ญ ต่ อ ปรากฎการณ์ ก ารแตกของโพรงในของเหลว (Cavitation
phenomenon) ซึ่งการแตกของฟองอากาศ (bubbles) นี้ก่อให้เกิดคลื่นความดันสูงที่สามารถทาให้
วัสดุต่างๆ สึกกร่อนได้โดยหากความดัน ณ จุดใดๆ ในระบบมีค่าต่ากว่าความดันไอก็จะมีโอกาสที่ จะ
เกิดปรากฏการณ์การแตกของโพรง (Cavitation) ได้ สาหรับค่าความดันไอของตัวอย่างของเหลวที่
สาคัญจะแสดงไว้ในตารางที่ 2.2
ตารางที่ 2.2 ความดันไอของของเหลวที่อุณหภูมิ 20๐C

ของเหลว Kgf/m2 N/m2


น้า (water) 239 2.345x10³
น้ามันก๊าด (kerosene) 337 3.310x10³
เบนซิน (benzene) 1,020 10.000x10³
น้ามันเชื้อเพลิง (petrol) 3,100 30.400x10³
ปรอท (mercury) 0.0163 0.160
เอทิลแอลกฮอล (ethyl alcohol) - 5,900
เมทิลแอลกฮอล (methyl alcohol) - 12,500
ที่มา : Gordon et al., (1994).

2.10 บทสรุป
ความหนาแน่น (Density) คือ ปริมาณของมวลของของไหล ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรของของไหล
สัญลักษณ์ของความหนาแน่นเขียนแทนด้วย  (อ่านว่า rho) หน่วยของความหนาแน่นเป็น kg/m3
น้าหนักจาเพาะ (Specific weight) คือ น้าหนักของของไหลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร สัญลักษณ์
ของน้าหนักจาเพาะเขียนแทนด้วย  (อ่านว่า gamma) หน่วยของน้าหนักจาเพาะเป็น N/m3
ความถ่วงจาเพาะ (Specific gravity) คือ อัตราส่วนของความหนาแน่นของของไหลนั้น ต่อ
ความหนาแน่นของของไหลมาตรฐาน หรืออัตราส่วนของน้าหนักจาเพาะของของไหลนั้น ต่อ น้าหนัก
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล 55

จาเพาะของของไหลมาตรฐาน ของไหลมาตรฐานจะใช้น้า โดยทาการวัดที่อุณหภูมิ 4๐C สัญลักษณ์


ของความถ่วงจาเพาะเขียนแทนด้วย S
ปริมาตรจาเพาะ (Specific volume) คือ จานวนปริมาตรของของไหลต่อหนึ่งหน่วยมวลของ
ของไหล หรือเป็นส่วนกลับของความหนาแน่น () สัญลักษณ์ของปริมาตรจาเพาะเขียนแทนด้วย v
หน่วยของปริมาตรจาเพาะเป็น m3/kg
ความหนืด (Viscosity) เป็นแรงต้านทานต่อแรงเฉือนระหว่างชั้นของของไหล ซึ่งขนาดจะขึ้นอยู่
กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลของของไหลนั้นๆ
ความตึงผิว (Surface tension) เป็นอัตราส่วนระหว่างแรงที่กระทาไปตามผิวของของเหลวต่อ
ความยาว (ตั้งฉากกับแรง) ของผิวที่ถูกแรงนี้กระทา สัญลักษณ์ของความตึงผิวเขียนแทนด้วย  (อ่าน
ว่า sigma) หน่วยของความตึงผิวเป็น N/m
ความตีบ หรือคาปิลลารี (Capillarity) เป็นปรากฏการที่เกิดขึ้นเนื่องจากผลของความตึงผิวและ
ความแตกต่างระหว่างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับ แรงยึดเการะหว่างโมเลกุลของ
ของเหลวกับผิวของแข็งทาให้ระดับของเหลวในหลอดรูเล็ก (Capillary tube) สูงขึ้นหรือต่ากว่าระดับ
ของเหลวภายนอกหลอด
ความอัดตัวได้ (Compressibility) ของของไหลจะกาหนดให้อยู่ในรูปของสัมประสิทธิ์ความอัด
ตัวได้ของของไหล (Coefficient of compressibility) แทนด้วย β ซึ่งเป็นความเครียดเชิงปริมาตร
ต่อหน่วยความเค้นอัดคือ เป็นส่วนกลับของความยืดหยุ่นเชิงปริมาตร
ก๊าซอุดมคติ (Ideal gas) หรือก๊าซสมบูรณ์ เป็นก๊าซที่ไม่มีอยู่จริง นักวิทยาศาสตร์กาหนดขึ้นเพื่อ
อธิบายสมบัติต่างๆ ที่เกี่ยวกับก๊าซ โดยให้มีพฤติกรรมเป็นไปตามกฎของก๊าซไม่ว่าที่อุณหภูมิหรือความ
ดันใด เป็นก๊าซที่ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ความดันไอ (Vapor pressure) คือ ความดันที่เกิดขึ้นจากไอในขณะที่เกิดสมดุลวัฏภาค (Phase
equilibrium) ระหว่างไอ และของเหลว ณ อุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่ง
56 บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 2

1. จงบอกความหมายของคุณสมบัติของของไหลต่อไปนี้
1.1 ความหนาแน่นของของไหล
1.2 น้าหนักจาเพาะของของไหล
1.3 ปริมาตรจาเพาะของของไหล
1.4 ความถ่วงจาเพาะของของไหล
1.5 ความหนืดของของไหล
1.6 ความตึงผิว
1.7 ความตีบ
1.8 ความอัดตัวได้ของของไหล
1.9 ความดันไอ
1.10 ก๊าซอุดมคติ
2. น้ามันชนิดหนึ่งมีปริมาตร 3 m3 มีมวล 2,600 kg จงคานวณหาความหนาแน่นของน้ามันชนิดนี้
3. ของไหลมีน้าหนัก 40 kN มีปริมาตร 5.5 m3 จงคานวณหาน้าหนักจาเพาะของของไหลนั้น
4. ของไหลชนิดหนึ่งมีมวล 850 kg และปริมาตร 0.96 m3 จงหา ความหนาแน่น น้าหนักจาเพาะ
ปริมาตรจาเพาะ และความถ่วงจาเพาะของของไหลนี้
5. เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) มีความถ่วงจาเพาะ 0.79 จะมีน้าหนักจาเพาะและความ
หนาแน่นเท่าใด
6. แผ่นเหล็กขนาด 1.2 m x 1.8 m x 2 mm อยู่ระหว่างช่องว่างของแผ่นอะลู มิเนียมกว้าง 25 mm
ซึ่งบรรจุด้วยของไหลที่มีสัมประสิทธิ์ความหนืด 0.0035 Pa.s ถ้าต้องการดึงแผ่นเหล็กให้เคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วคงที่ 0.075 m/s จะต้องใช้แรงดึงแผ่นเหล็กเท่าไร
7. จงหาเส้นผ่านศูนย์กลางของหยดน้า ที่ 25oC ถ้าความดันภายในเท่ากับ 270 N/m2
8. หาความสูงของน้าในหลอดแก้วปลายเปิดที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 mm โดยอุณหภูมิของ
น้าเท่ากับ 30๐C
9. จงหาความดันของอากาศ ที่อุณหภูมิ 25๐C ปริมาตร 200 m3 โดยกาหนดให้ค่าคงที่ของอากาศมี
ค่าเท่ากับ 0.287 kJ/kg.K และอากาศมีมวล 0.95 kg
10. ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาตร 300 m3 ความดัน 100 N/m2 ที่อุณหภูมิ 20๐C มีมวล 0.48 kg จงหา
ค่าคงที่ของก๊าซ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 3 ความหนืด 57

บทที่ 3
ความหนืดของของไหล
(Viscosity of fluid)
ในบทนี้ จ ะกล่ า วถึ ง ความหนื ด ของของไหล ประกอบด้ ว ย ความหมายของความหนื ด
ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืด แรงเฉือน และความเร็ว ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดกับอุณหภูมิ
ความหนืดสัมบูรณ์ ความหนืดจลน์ การหาความหนืดจลล์แบบเซย์โบลท์ การหาความหนืดโดยใช้
หลอดคาปิลลารี และสรุปสาระสาคัญของบทเรียนนี้ รายละเอียดของแต่ละหัวข้อมีดังต่อไปนี้

3.1 ความหมายของความหนืด
ความหนืด (Viscosity) เป็นคุณสมบัติชนิดหนึ่งของของไหล เป็นผลจากแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน
ระหว่างโมเลกุลของของไหล ดังนั้น ของไหลจึงมีความสามารถต้านทานต่อการเปลี่ยนรูปจากการ
เฉือนและแรงเสียดทานในการไหลของไหลเป็นผลจากแรงดึงดูดกับการสับเปลี่ยนโมเมนตัมระหว่าง
โมเลกุลในของไหล
ความหนืดของของไหล หมายถึง คุณสมบัติในการต้านทานต่อการเฉือน (Shear) ของของไหล
หรือต้านทานต่อการเปลี่ยนรูปเชิงมุม (Angular deformation) หากของไหลมีความหนืดมากจะไหล
ได้ช้ากว่าของไหลที่มีความหนืดน้อย ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความหนืด คือ อุณหภูมิ (Temperature)
ของเหลวที่มีอุณหภูมิสูงความหนืดลดลง ส่วนก๊าซความหนืดสูงขึ้นหากอุณหภูมิเพิ่มเป็นเช่นนี้เพราะว่า
แรงดึงดู ดระหว่า งโมเลกุ ล ลดลง เนื่ องจากอุ ณหภู มิซึ่ง มีอิท ธิพลอย่ างมากต่ อของเหลว ส่ ว นก๊า ซ
อุณ หภูมิ เ ป็ น องค์ป ระกอบที่ มี อิ ทธิ พ ลต่ อ การสั บ เปลี่ ย นโมเลกุล ระหว่ างชั้ น (Layers) เป็ นความ
แตกต่างของความเร็วจากการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วของโมเลกุลๆ ที่อยู่ในชั้นของไหลที่เร็วกว่าจะย้าย
ไปอยู่ในชั้นของไหลที่ช้ากว่านั้นเคลื่อนที่เร็วขึ้น ส่วนโมเลกุลจากชั้นที่ช้ากว่าจะย้ายไปอยู่ในชั้นที่เร็ว
กว่าและหน่วงให้ชั้นที่เร็วนั้นเคลื่อนที่เร็วนั้น เคลื่อนที่ช้าลง การเคลื่อนที่เช่นนี้ทาให้เกิดแรงเฉือนขึ้น
หรื อ เกิ ดแรงเสี ยดทานระหว่ างชั้น ที่ ติด กันอยู่ ดังนั้ น การเคลื่ อ นที่ข องโมเลกุ ล ก๊า ซที่ เพิ่ม ขึ้น เมื่ อ
อุณหภูมิสูงจึงเป็นเหตุให้ก๊าซมีความหนืดสูงขึ้น สาหรับของไหลจินตภาพจะไม่มีความหนื ด ไม่มีของ
ไหลใดๆ สามารถจัดอยู่ในประเภทของไหลจินตภาพได้อย่างสมบูรณ์ บางครั้งของไหลที่มีความหนืด
น้อยมากจะพิจารณาให้เป็นของไหลจินตภาพ

3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืด แรงเฉือน และความเร็ว


จากรูปที่ 3.1 แผ่นราบสองแผ่นวางซ้อนห่างกันเท่ากับ y ระหว่างแผ่นราบบรรจุของไหลมีความ
หนืด  แผ่นราบแผ่นบนถูกดึงด้วยแรง F ทาให้เกิดความเร็วเท่ากับ v ดังนั้น ของไหลที่ติดกับแผ่น
ราบแผ่นบนมีความเร็ว v และจะลดลงจนถึงแผ่นราบแผ่นล่าง ความเร็วจะเป็นศูนย์ (0)
58 บทที่ 3 ความหนืดของของไหล กลศาสตร์ของไหล

F
ของเหลว

รูปที่ 3.1 ของไหลถูกแรงเฉือนมากระทาที่ผิว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

จะได้ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดและแรงต้านการเฉือนดังนี้

(3.1)

และ (3.2)

ดังนั้น

เพราะฉะนั้น (3.3)

โดยที่ คือ ความเค้นเฉือนของของไหล (N/m2)


F คือ แรงดึงที่กระทากับแผ่นราบแผ่นบน (N)
คือ ความหนืดสัมบูรณ์ (N.s/m2 = Pa.s)
A คือ พื้นที่ส่วนสัมผัสกับของเหลวของแผ่นราบแผ่นบน (m2)
v คือ ความเร็วของการเคลื่อนที่ของแผ่นบน (m/s)
y คือ ระยะห่างระหว่างผิวของแผ่นงานทั้งสอง (m)

3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดกับอุณหภูมิ
ความหนืดจะเป็นฟังก์ชันกับอุณหภูมิและความดัน  หรือ  = f (P,T) แต่การเปลี่ยนแปลง
ความหนืดของของเหลวเพราะความดันน้อยมากจึงตัดออกจากการพิจารณาได้ และยังคงเหลือเฉพาะ
การเปลี่ยนแปลงกับอุณหภูมิเท่านั้น ความหนืดของของเหลวจะลดเมื่ออุณหภู มิสูงขึ้น แต่ก๊าซจะมี
ความหนืดเพิ่มขึ้นขณะอุณหภูมิสูงขึ้นที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากความแตกต่างระหว่างโครงสร้างโมเลกุล
โดยแต่ละโมเลกุลของของเหลวจะมีระยะห่างกันน้อย จึงให้มีแรงยึดติดมากและมีความต้านทานต่อ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 3 ความหนืดของของไหล 59

การเคลื่อนที่สัมพันธ์ (Relative motion) ระหว่างชั้นของไหลที่อยู่ติดกันของของเหลวซึ่งถือเป็น


ความสัมพันธ์ระหว่างแรงของโมเลกุลขณะที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้น แรงยึดติดจะลดลงและความต้านทานต่อ
การเคลื่อนที่ก็ลดลงเช่นเดียวกัน เมื่อความหนืดเป็นค่าที่บอกถึงความต้านทานต่อการถูกเฉือนไปของ
ไหล ดังนั้น จึงสรุ ปได้ว่า ความหนืดของเหลวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ส่ วนก๊าซจะมีระยะห่าง
โมเลกุลมากกว่าของเหลวและไม่คิดแรงดึงดูดระหว่าโมเลกุล กรณีนี้ความต้านทานต่อการเคลื่อนที่
สัมพันธ์จะเพิ่มขึ้นเนื่องจากการถ่ายโอนโมเมนตัมของโมเลกุลของก๊าซในทางขวางกับชั้นของไหล (ตั้ง
ฉากกับชั้นของไหล) ที่มีความเร็วต่ากว่า (Low bulk velocity) ผสมกับโมเลกุลไปยังชั้นที่มีความเร็ว
สูงกว่า ผลจากการเปลี่ยนแปลงโมเลกุลในอาณาเขตรอบๆ เพิ่มขึ้นเช่นกัน ทาให้ความหนืดของก๊าซ
เพิ่ม ความหนืดของก๊าซและของเหลวจะเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง แยกเป็นกรณี
ดังนี้
3.3.1 ของเหลว

(3.4)

โดยที่ α และ β คือ ค่าคงที่ของเหลว



 คือ ความหนืดสมบูรณ์ของของเหลวที่ t C (หน่วย Poise)
คือ ความหนืดของของเหลวที่ 0๐C (หน่วย Poise)
สาหรับน้า = 1.79 x 10-2 Poise = 0.03368 และ = 0.00022019 ใน
สมการที่ (3.4) แสดงให้เห็นว่า เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความหนืดลดลง เส้นโค้งที่พลอตได้จะเป็นไฮเปอร์
โบลาความหนืดมีแนวโน้นเป็นศูนย์ (0) เมื่ออุณหภูมิเข้าสู่อินฟินิตี () น้าจะมีพฤติกรรมแตกต่างจาก
ของไหลชนิ ด อื่ น คื อ ความหนื ด จะเพิ่ ม เป็ น อี ก สองเท่ า หากความดั น เพิ่ ม ขึ้ น จาก 1 ถึ ง 1,000
บรรยากาศ ตามสมการ Poiseuilli หน่วย (poises), t๐C

(3.5)

3.3.2 ก๊าซ
2
+ - (3.6)

สาหรับก๊าซ ตามสมการ Holman หน่วย (poises), t๐C

1.7090x10-4 (1+56.02x10-9t-0.1189 x 10-9t2) (3.7)


60 บทที่ 3 ความหนืดของของไหล กลศาสตร์ของไหล

กรณีเป็นอากาศที่ความดันบรรยากาศ =1.7090 x 10-4 หน่วย (poises) = 56.02


x 10-9 = 0.1189 x 10-9 เมื่อนาไปแทนสมการที่ (3.6) ความหนืดจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
หน่วยเป็น poises
หมายเหตุ : อิทธิพลของความดันต่อความหนืดที่สภาวะปกติจะไม่มีผลแต่อย่างใด แต่ความหนืดของ
น้ามันบางชนิด จะพบว่ามีความหนืดเพิ่มขึ้นความดันเพิ่มขึ้น
รูปที่ 3.2 เป็นกราฟแสดงถึงผลของอุณหภูมิที่มีต่อความหนืด จลน์ของน้ามันหล่อลื่นเกรด
ต่างๆ จะเห็นว่าเมื่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทาให้ความหนืดจลน์ของน้ามันหล่อลื่นทุกเกรดลดลงอย่าง
ชัดเจนในทิศทางเดียวกัน
SAE 50
SAE 40
10,000 SAE 30
SAE 20
ความหนืดจลน์ (cSt)

1,000
500 SAE 10W
100 SAE 5W
50
20
10
5

2
-30 0 50 100 150
อุณหภูมิ (๐C)

รูปที่ 3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดจลน์กับอุณหภูมิของน้ามันหล่อลื่นเกรดต่างๆ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Sargar, 2010)

3.4 ความหนืดสัมบูรณ์
ความหนืดสัมบูรณ์ (Absolute viscosity) หรือความหนืดพลวัต (Dynamic viscosity) หรือ
สัมประสิทธิ์ความหนืด (Coefficient of viscosity) คือ คุณสมบัติของของไหลที่ใช้ต้านทานต่อความ
เค้น เฉือน และเป็ นแรงต้านทานต่ อแรงเฉือน ความหนืด สัมบู รณ์ เป็นผลมาจากเมื่อของไหลมีการ
เคลื่อนที่ ทาให้มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและมีการแลกเปลี่ยนโมเมนตัมระหว่างโมเลกุลของของ
ไหล จากกฎความหนืดของนิวตัน พบว่า ความเค้นเฉือนเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอัตราการเปลี่ยนแปลง
ความเครียดเฉือน ความเค้นเฉือนในของไหลหนึ่งจะมีค่ามากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับความหนื ดของของ
ไหลนั้นด้วย สัญลักษณ์ของความหนืดสัมบูรณ์เขียนแทนด้วย  (อ่านว่า mu)
จากความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างความเค้นเฉือน ( ) กับอัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียดเฉือน
(dv/dy) จากรู ป ที่ 3.3 ความชัน ของกราฟแต่ ล ะเส้ น ก็คื อความหนื ดของของไหลนิ ว ทอเนี ย น
(Newtonian fluids) นั่นเอง ดังนั้นจึงเขียนในรูปสมการที่ (3.8)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 3 ความหนืดของของไหล 61

(3.8)

โดยที่  คือ ความหนืดของของไหล (N.s/m2)


 คือ ความเค้นเฉือน (N/m2)
คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียดเฉือน (s)

ความเร็ว, v

ของเหลว
dv/dy

รูปที่ 3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นเฉือนและอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Donald et al., 2012)

ระบบหน่วยของความหนืดสัมบูรณ์ได้จากการแทนมิติลงในสมการที่ (3.8) มีหน่วยเป็น N.s/m2,


Pa.s, Poise (P) และ Centipoise (cP)
โดยที่ 1 Poise (P) = 0.1 N.s/m2 = 0.1 Pa.s
1 Centipoise (cP) = 0.01 Poise = 0.001 Pa.s

3.5 ความหนืดจลน์
ความหนืดจลน์ (Kinematic viscosity) หมายถึง ความหนืด สัมบูรณ์ของของไหลต่อความ
หนาแน่นของของไหลนั้น สัญลักษณ์ของความหนืด จลน์เขียนแทนด้วย  (อ่านว่า nu) ความหนืด
จลน์ สามารถหาได้จากสมการที่ (3.9)

 (3.9)

โดยที่  = ความหนืดจลน์ของของไหล (m2/s)


 = ความหนืดสัมบูรณ์ของของไหล (Pa.s)
= ความหนาแน่นของของไหล (kg/m3)
62 บทที่ 3 ความหนืดของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ในระบบเมตริก หน่วยของความหนืดจลน์ คือ สโตค (Stoke, St)


โดยที่ 1 Stoke (St) = 1 cm2/s = 1 x 10-4 m2/s
และ 1 Centistoke (cSt) = 0.01 Stoke = 1 x 10-6 m2/s
ค่าความหนืดของของไหลทั้ง 2 ชนิด (น้าและอากาศ) จะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป
ดังแสดงในตารางที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 ค่าความหนืดของน้าและอากาศ

o
น้า อากาศ
อุณหภูมิ ( C)
 x 105  x 105  x 105  x 105
0 179.2 1.792 1.724 13.33
10 130.7 1.307 1.773 14.21
20 100.2 1.004 1.822 15.12
30 79.7 0.801 1.869 16.04
40 65.3 0.658 1.915 16.98
ที่มา : Gordon et al., (1994).

ตัวอย่างที่ 3.1 แผ่นเหล็กสองแผ่นวางซ้อนกันมีความห่าง 0.7 mm แผ่นแรกเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว


0.6 m/s และมีค่าความหนืดสัมบูรณ์ เท่ากับ 2.6 x 10-3 Pa.s จงหา ความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นระหว่าง
แผ่นเหล็กทั้งสอง
วิธีทา
จากสมการ

โจทย์กาหนดให้  = ความหนืดสัมบูรณ์ = 2.6 x 10-3 Pa.s


v = ความเร็วของการเคลื่อนที่ = 0.6 m/s
y = ระยะห่างระหว่างผิวของแผ่นเหล็ก = 0.7 mm = 0.7 x 10-3 m

แทนค่า

ดังนั้น  = 2.23 N/m2 ตอบ


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 3 ความหนืดของของไหล 63

ตัวอย่างที่ 3.2 แผ่นราบมีพื้นที่ 3 m2 วางอยู่บนแผ่นราบแผ่นหนึ่ง มีระยะห่างระหว่างแผ่นราบทั้ง


สอง 3 mm ระหว่างแผ่นราบบรรจุของไหลมีค่าความหนืด 5 Poise แผ่นราบเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
20 m/s จงหาแรงดึงที่กระทากับแผ่นราบทั้งสอง
วิธีทา
จากสมการ

โจทย์กาหนดให้  = ความหนืดสัมบูรณ์ = 5 Poise


เพราะว่า 1 Poise = 0.1 Pa.s
ถ้า 5 Poise = 0.1 x 5 = 0.5 Pa.s
v = ความเร็วของการเคลื่อนที่ = 20 m/s
A = พื้นที่ส่วนสัมผัสกับของเหลว = 3 m2
y = ระยะห่างระหว่างแผ่นราบทั้งสอง = 3 mm = 3 x 10-3 m

แทนค่า

ดังนั้น F = 10,000 N = 10 kN ตอบ

ตัวอย่างที่ 3.3 ของไหลชนิดหนึ่งมีความหนืดสัมบูรณ์ 0.04 Pa.s และมีความถ่วงจาเพาะเท่ากับ


0.871 จงคานวณหาความหนืดจลน์ของของไหลนี้
วิธีทา
จากสมการ  =

และจาก

 = 0.871 x 1,000
= 871 kg/m3
แทนค่าในสมการได้
 =

ดังนั้น  = 4.59 x 10-5 m2/s ตอบ


64 บทที่ 3 ความหนืดของของไหล กลศาสตร์ของไหล

3.6 การหาความหนืดจลน์แบบเซย์โบลท์ (Saybolt viscosity)


การหาความหนืดจลน์ แบบเซย์โบลท์ (Saybolt Universal Viscosimeter) เป็นเครื่องมือหา
ความหนืดของของไหล โดยวิธีการให้ของไหลที่บรรจุในภาชนะทรงกระบอกไหลลงสู่ขวดมาตรฐาน
ปริมาตร 60 cm3 และจับเวลาการไหลของของไหล เวลาที่ได้ดังกล่าว เรียกว่า วินาทีสากลของเซย์
โบลท์ (Saybolt Universal Second, SUS) ซึ่งสามารถจะนาไปหาค่าความหนืดจลน์ได้ หลักการ
ทางานการเครื่องมือวัดความหนืดจะแสดงไว้ในรูปที่ 3.4 สาหรับเครื่องมือทดสอบความหนืดแบบเซย์
โบลท์ จะแสดงไว้ในรูปที่ 3.5

หน่วยให้ความร้อน
เทอร์โมมิเตอร์
น้า
น้ามัน

ภาชนะบรรจุ
ถ้วยตวงความจุ 60 cc ตัวกั้น
ถังบรรจุน้า

รูปที่ 3.4 หลักการทางานของเครื่องมือทดสอบความหนืดแบบเซย์โบลท์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert, 2005)

จากหลักการทางานของเครื่องมือทดสอบความหนืดแบบเซย์โบลท์ ดังรูปที่ 3.4 จะสามารถหาค่า


ความหนืดจลน์ได้ดังสมการที่ (3.10)

 = 0.22t - (3.10)

โดยที่  = ความหนืดจลน์ ในหน่วย Centistoke (cSt)


t = เวลาในการไหลของของไหลทดสอบ (Saybolt Universal Second) (s)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 3 ความหนืดของของไหล 65

รูปที่ 3.5 เครื่องมือทดสอบความหนืดแบบเซย์โบลท์


(ที่มา : สุนทร สุทธิบาก, 2554)

ตัวอย่างที่ 3.4 จากผลการทดสอบการหาความหนืดของน้ามันชนิดหนึ่งโดยใช้ เครื่องมือทดสอบความ


หนืดแบบเซย์โบลท์ (Saybolt viscosimeter) และจับเวลาหาค่า Saybolt Universal Second ได้
150 วินาที จงหาความหนืดจลน์ของน้ามันชนิดนี้
วิธีทา
จากสมการ  = 0.22t -

แทนค่า  = (0.22 x 150) -

ดังนั้น  = 31.8 cSt ตอบ


66 บทที่ 3 ความหนืดของของไหล กลศาสตร์ของไหล

3.7 การหาความหนืดโดยใช้หลอดคาปิลลารี
หลอดคาปิลลารี (Capillary tube) เป็นหลอดแก้วสาหรับใช้วัดความหนืดจลน์ของของเหลว
โดยใช้ร่วมกับเครื่องมือทดสอบความหนืดจลน์ ส่วนประกอบของหลอดคาปิลลารีจะแสดงไว้ดังรูปที่
3.6 ตัวอย่างของเหลวที่จะใช้ทดสอบความหนืดจะใส่ไว้ในทางท่อใหญ่ จากนั้นทาการดูดของเหลวขึ้น
ทางท่อเล็กโดยใช้ชุดดูดสุญญากาศ และทาการปล่อยของเหลวผ่านจุดเริ่มจับเวลาวัดความหนืด โดย
ใช้นาฬิกาจับเวลาในการไหลของของเหลวจนถึงจุดสุดท้ายของการจับเวลา เวลาในการไหลจะนาไป
คานวณหาค่าความหนืดจลน์ มีหน่วยเป็น mm2/s (cSt) โดยการคูณค่าเวลาที่ได้ (s) กับค่าคงที่ของ
หลอดคาปิ ล ลารี วั ด ความหนื ด ซึ่ ง หลอดคาปิ ล ลารี แ ต่ ล ะแบบจะมี ค่ า คงที่ ไ ม่ เ ท่ า กั น ขึ้ น อยู่ กั บ
บริษัทผู้ผลิต และในแบบเดียวกันจะมี หลายขนาดให้เลือกใช้ตามช่วงความหนืดของของเหลวแต่ละ
ชนิด
ตารางที่ 3.2 แสดงใบสอบเทียบในการหาค่าความหนืดจลน์โดยใช้หลอดคาปิลลารี แต่ละขนาด
เช่น ค่าคงที่เท่ากับ 0.1 จะใช้สาหรับหลอดเบอร์ 200 หลอดคาปิลลารีจะประกอบเข้ากับเครื่องมือ
ทดสอบความหนืดจลน์ ดังแสดงในรูปที่ 3.7

ท่อเล็ก

จุดเริ่มจับเวลาวัดความหนืด

จุดสุดท้ายของการจับเวลาวัดความหนืด

ท่อใหญ่

รูปที่ 3.6 ส่วนประกอบของหลอดวัดความหนืดแบบคาปิลลารี CANNON เบอร์ 25


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Donald et al., 2012)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 3 ความหนืดของของไหล 67

รูปที่ 3.7 การวัดความหนืดจลน์ของน้ามันชีวภาพโดยใช้หลอดคาปิลลารี


(ที่มา : Suttibak, 2015)

ตารางที่ 3.2 ใบสอบเทียบในการหาค่าความหนืดจลน์โดยใช้หลอดคาปิลลารี

ขนาดหลอดคาปิลลารี ค่าคงที่ของหลอดคาปิลลารี ช่วงของความหนืดในการวัด


(เบอร์) (mm2/s2 , cSt/s) (mm2/s , cSt)
25 0.002 0.5 – 2
50 0.004 0.8 – 4
75 0.008 1.6 – 8
100 0.015 3 – 15
150 0.035 7 – 35
200 0.1 20 – 100
300 0.25 50 – 250
350 0.5 100 – 500
400 1.2 240 – 1,200
450 2.5 500 – 2,500
500 8 1,600 – 8,000
600 20 4,000 – 20,000
650 45 9,000 – 45,000
700 100 20,000 – 100,000
ที่มา : Nakayama and Boucher (1999).
68 บทที่ 3 ความหนืดของของไหล กลศาสตร์ของไหล

นอกจากนี้ยังมีวีธีการวัดความหนืดอีกหลายวิธี อาทิเช่น การวัดความหนืดโดยอาศัยการตกของ


ลูกตุ้มเหล็ก (Falling sphere viscometer) ดังรูปที่ 3.8 และการวัดความหนืดใช้เครื่องมือทดสอบ
แบบใช้แกนหมุน (Rotating viscometer) ดังแสดงในรูปที่ 3.9

รูปที่ 3.8 เครื่องมือวัดความหนืดโดยอาศัยการตกของลูกตุ้มเหล็ก


(ที่มา : สุนทร สุทธิบาก, 2554)

รูปที่ 3.9 การวัดความหนืดด้วยเครื่องทดสอบแบบใช้แกนหมุน


(ที่มา : สุนทร สุทธิบาก, 2554)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 3 ความหนืดของของไหล 69

3.8 บทสรุป
ความหนืด (Viscosity) เป็นคุณสมบัติชนิดหนึ่งของของไหล เป็นผลจากแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน
ระหว่างโมเลกุลของของไหล ดังนั้น ของไหลจึงมีความสามารถต้านทานต่อการเปลี่ยนรูปจากการ
เฉือนและแรงเสียดทานในการไหลของของไหลเป็นผลมาจากแรงดึงดูดกับการสับเปลี่ยนโมเมนตัม
ระหว่างโมเลกุลในของไหล
ความหนืดของของไหล หมายถึง คุณสมบัติในการต้านทานต่อการเฉือน (Shear) ของของไหล
หรือต้านทานต่อการเปลี่ยนรูปเชิงมุม (Angular deformation) หากของไหลมีความหนืดมากจะไหล
ได้ช้ากว่าของไหลที่มีความหนืดน้อย ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความหนืด คือ อุณหภูมิ
ความหนืดจะเป็นฟังก์ชันกับอุณหภูมิและความดัน  หรือ  = f (P,T) แต่การเปลี่ยนแปลง
ความหนืดของของเหลวเพราะความดันน้อยมากจึงตัดออกจากการพิจารณาได้ และยังคงเหลือเฉพาะ
การเปลี่ยนแปลงกับอุณหภูมิเท่านั้นความหนืดของของเหลวจะลดเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น แต่ก๊าซจะมี
ความหนืดเพิ่มขึ้นขณะอุณหภูมิสูงขึ้น
ความหนืดสัมบูรณ์ (Absolute viscosity) หรือความหนืดพลวัต (Dynamic viscosity) หรือ
สัมประสิทธิ์ความหนืด (Coefficient of viscosity) คือ คุณสมบัติของของไหลที่ใช้ต้านทานต่อความ
เค้นเฉือน และเป็นแรงต้านทานต่อแรงเฉือน สัญลักษณ์ของความหนืดสัมบูรณ์เขียนแทนด้วย  (อ่าน
ว่า mu)
ความหนืดจลน์ (Kinematic viscosity) หมายถึง ความหนืด สัมบูรณ์ของของไหลต่อความ
หนาแน่นของของไหลนั้น สัญลักษณ์ของความหนืดสัมบูรณ์เขียนแทนด้วย  (อ่านว่า nu)
การหาความหนืดจลน์ แบบเซย์โบลท์ (Saybolt Universal Viscosimeter) เป็นเครื่องมือหา
ความหนืดของของไหลโดยให้ของไหลบรรจุในภาชนะทรงกระบอกไหลลงสู่ขวดมาตรฐานและจับเวลา
เวลาดังกล่าว เรียกว่า Saybolt Universal Second ซึ่งสามารถจะนาไปหาค่าความหนืดจลน์ได้
หลอดคาปิ ลลารี (Capillary tube) เป็ นเครื่ องมือวัดความหนืดแบบหลอดคาปิล ลารี โดย
ของเหลวที่จะใช้ทดสอบความหนืดจะใส่ไว้ในทางท่อใหญ่ จากนั้นทาการดูดของเหลวขึ้นทางท่อเล็ก
โดยใช้ชุดดูดสุญญากาศ และทาการปล่อยของเหลวผ่านจุดเริ่มจับเวลาวัดความหนืด โดยใช้นาฬิกาจับ
เวลาในการไหลของอขงเหลวจนถึงจุดสุดท้ายของการจับเวลา เวลาในการไหลจะนาไปคานวณหาค่า
ความหนืดจลน์ มีหน่วยเป็น mm2/s (cSt) โดยการคูณค่าเวลาที่ได้ (s) กับค่าคงที่ของหลอดคาปิลลารี
วัดความหนืด ซึ่งแต่ละขนาดจะมีค่าไม่เท่ากัน ซึ่งดูได้จากใบสอบเทียบของหลอดคาปิลลารีแต่ล ะ
ขนาด
70 บทที่ 3 ความหนืดของของไหล กลศาสตร์ของไหล

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 3

1. ความหนืดหมายถึงอะไร
2. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความหนืด แรงต้านการเฉือน และความเร็ว
3. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดของของไหลกับอุณหภูมิ
4. ความหนืดสัมบูรณ์คืออะไร
5. ความหนืดจลน์หมายถึงอะไร
6. จงอธิบายการหาความหนืดจลน์แบบเซย์โบลท์
7. จงอธิบายการหาความหนืดจลน์โดยการใช้หลอดคาปิลลารี
8. ความหนืด 1 Poise มีค่าเท่ากับเท่าใด
9. แผ่นเหล็กแผ่นหนึ่งวางซ้อนอยู่บนแผ่นเหล็กอีกแผ่นหนึ่งมีความห่างกัน 0.8 mm แผ่นเหล็กแผ่น
บนเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 0.8 m/s มีค่าความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นระหว่างแผ่นเหล็กทั้งสอง 3.5 N/m2
จงหาความหนืดสัมบูรณ์ของแผ่นเหล็กทั้งสอง
10. น้ามันชนิดหนึ่งมีความหนืดสัมบูรณ์ 0.06 Pa.s และมีความถ่วงจาเพาะเท่ากับ 0.84 จง
คานวณหาความหนืดจลน์ของน้ามันชนิดนี้
11. แผ่นราบมีพื้นที่ 2 m2 วางอยู่บนแผ่นราบอีกแผ่นหนึ่งมีระยะห่างระหว่างแผ่นราบทั้งสอง 2 mm
ระหว่างแผ่นราบบรรจุของไหลมีค่าความหนืด 4 Poise แผ่นราบเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 20 m/s จง
หาแรงดึงที่กระทากับแผ่นราบทั้งสอง
12. แผ่นราบที่พื้นที่ 3 m2 วางอยู่บนแผ่นราบอีกแผ่นหนึ่งมีระยะห่างระหว่างแผ่นราบทั้งสอง 2 mm
มีค่าความหนืด 3 Poise แผ่นราบมีแรงดึงกระทา 10 kN จงหาความเร็วที่กระทากับแผ่นราบทั้งสอง
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 ของไหลสถิต 71

บทที่ 4
สถิตยศาสตร์ของไหล
(Fluid statics)
ในบทนี้ จะกล่ าวถึง การวิเคราะห์ ปั ญ หาทางวิ ศวกรรมที่ เกี่ยวข้อ งกับ ของไหลที่ห ยุ ดนิ่ ง หรื อ
เคลื่ อนที่ในลักษณะที่ไม่เกิดการเคลื่ อนที่สั มพัทธ์ขึ้นระหว่างอนุ ภาคของของไหลที่อยู่ ชิดกัน โดย
เนื้อหาในบทนี้จะกล่าวถึง ความหมายของความดัน ความดันของของไหลที่จุดใดๆ ความดันที่จุดใดจุด
หนึ่งในของเหลว เฮดความดัน กฎของปาสคาล ความดันสมบูรณ์และความดันเกจ เครื่องมือวัดความ
ดัน แรงที่กระทากับบนแผ่นราบที่จมในสถิตยศาสตร์ของไหล แรงที่กระทาบนแผ่นโค้งที่จมอยู่ใน
ของเหลว แรงลอยตัว เมตาเซนเตอร์และความสูงเมตาเซนตริก เสถียรภาพของวัตถุจมและวัตถุลอย
การหาความสูงเมตาเซนตริก และสรุปใจความสาคัญของเนื้อหาทั้งหมด
สถิตยศาสตร์ของไหล (Fluid statics) หรือของไหลสถิต หมายถึง ของไหลหนึ่งๆ ที่อยู่นิ่ง หรือ
เคลื่อนที่โดยไม่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของชั้นของไหล นั้นคือ ไม่เกิดความเค้นเฉือน (Shear stress)

4.1 ความหมายของความดัน
ความดัน หมายถึง แรง (Force) ที่กระทาตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ (Area) มีหน่วยเป็น bar,
N/m , lb/in2 (Psi) เรียกการวัดแบบนี้ว่า ความดันสถิต (Statics pressure) นอกจากนี้ ความดันยัง
2

สามารถวัดได้ในรูปแบบของน้าหนักจาเพาะและ ความสูงของของไหล เรียกการวัดนี้ว่า เฮดความดัน


(Pressure head)
F

รูปที่ 4.1 แรงที่กระทากับระนาบแบบสม่าเสมอ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Beer and Johnston, 1996)

จากรูปที่ 4.1 ถ้าให้แรงทั้งหมดกระทากระจายอย่างสม่าเสมอบนพื้นที่ จะสามารถหาความดันได้


จากสมการที่ (4.1)

(4.1)

โดยที่ P คือ ความดัน (N/m2)


F คือ แรงที่กระทา (N)
A คือ พื้นที่ (m2)
72 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

รูปที่ 4.2 แรงที่กระทากับระนาบที่ไม่สม่าเสมอ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Beer and Johnston, 1996)

แต่อย่างไรก็ตาม จากรูปที่ 4.2 หากแรงไม่ได้กระจายอย่างสม่าเสมอทาให้ความดันที่ได้ จึงเป็น


ความดันเฉลี่ย โดยความดันที่จุดใดๆ จะสามารถหาได้จากสมการที่ (4.2)

(4.2)

ในกรณีของไหลแล้ว จะมีขนาดและรูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ และพร้อมที่จะไหลลง


จากจุดที่มีความดันสูงไปยังจุดที่มีความดันต่าเสมอ

4.2 ความดันของของไหลที่จุดใดๆ
x

x s
∆y ∆z x
y ∆s

∆z  ∆x

∆x∆y∆z z
∆x z ρg
z 2
(ก) (ข)

รูปที่ 4.3 สมดุลของแรงเนื่องจากความดันในของไหลสถิต


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

รูปที่ 4.3 (ก) และ (ข) แสดงสมดุลของแรงเนื่องจากความดันในของไหลสถิต พิจารณารูปลิ่มชิ้น


เล็กๆ (อนุภาค) ของของไหลที่อยู่ลึกลงจากผิวอิสระที่ตาแหน่งใดๆ โดยมีขนาดความยาวตามแกน x y
และ z เป็น x y และ z ตามลาดับ และใช้กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน (Newton’s second law)
พิจารณาแกน x และ z โดยที่แรงเนื่องจากความดัน F = PA จะได้ว่า
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 73

พิจารณาแรงในแนวแกน x

∑ x x ∆z∆y s ∆s∆y s ( ∆x∆y∆z) x

พิจารณาแรงในแนวแกน z
∆x∆y∆z
∑ z z ∆x∆y s ∆s∆y s g 2

( ∆x∆y∆z) z
2

โดยที่ Px Pz และ Ps คือ ความดันเฉลี่ยที่กระทากับด้านทั้งสามด้าน


ax และ az คือ ความเร่ง
 คือ ความหนาแน่นของอนุภาค

เมื่อแรงสุทธิในของไหลสถิตมีค่าเท่ากับศูนย์ (0) และ ax = az = 0 ดังนั้น

x ∆z s ∆s s

∆x∆ ∆z
z ∆x s ∆s s g ( ∆x∆y∆z) z

ทั้งสามเทอมทางด้านซ้ายมือของทั้งสองสมการสามารถตัดออกไปได้ เพราะว่ามีค่าน้อยมากเมื่อ
เทียบกับเทอมอื่นๆ ดังนั้นจากรูปเรขาคณิต จะได้ว่า

∆z ∆s s
และ
∆x ∆s s

แทนค่า z และ x ในสมการด้านบนสุด จะได้ว่า

x s และ z s ดังนั้นสรุปได้ว่า

x z s (4.3)
74 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

จากสมการที่ (4.3) พอสรุปได้ว่า ความดันไม่ได้ขึ้นอยู่กับมุมของชิ้นของไหลขนาดเล็กรูปลิ่ม แต่


ความดันในที่ว่างหรือตาแหน่งใดๆ ที่ระดับเดียวกันจะมีความดันเท่ากันในทุกทิศทาง
z 𝜕
( z)
𝜕z 𝜕
( x)
𝜕x
x E
D
𝜕 A C 𝜕
( y) F ( y)
𝜕y 𝜕y
z
B
𝜕 y 𝜕
( x) ( z)
𝜕x 𝜕z
𝜌g x y z
y

x
รูปที่ 4.4 แรงที่กระทาต่อก้อนของของไหลในสภาพนิ่งตามแนวแกน x y และz
(ที่มา : ดัดแปลงจาก Mercle et al., 2002 ; มัฆศิษฏ์ ธนพิมพ์สาร, 2555)

จากรูปที่ 4.4 พิจารณาก้อนของของไหลรูปทรงลูกบาศก์ที่มีขนาดมิติเป็น dx dy และdz และจะ


พบว่าเกิดแรงกระทาที่ผิวในแนวตั้งฉากกับก้อนของของไหล และจากกฎข้อที่ 1 และ 3 ของนิวตัน
(∑ และ แรงกริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)

∑ x ∑ ∑

พิจารณาความดันเฉลี่ยที่กระทาในแต่ละแกนเป็นดังนี้

แกน x x
x

แกน y y

แกน z z
z

พื้นที่ผิวก้อนของไหลมีความดันเฉลี่ยกระทาอยู่ในแต่ละแถบ คือ

x y z x z z x z
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 75

แรงที่เกิดจากความดันเฉลี่ยในแต่ละแกนเป็นดังนี้

x x x x( y z) ( z z)

และ z z z z( x y)

ถ้าเป็นของไหลสถิตก้อนของไหลขนาดเล็กจะอยู่ในสภาวะสมดุล ดังนั้น ผลรวมทางพีชคณิตของ


แรงในทุกทิศทางเป็นศูนย์ ∑ จากรูปที่ 4.4 ให้พิจารณาการสมดุลของแรงต่างๆ ดังนี้

แกน x ∑ x y z ( x) y z
x

x y z
x

หรือ x x
(4.4)

แกน y ∑ x z ( y) x z

x y z
y

หรือ (4.5)

𝜕
( z) x y
𝜕z

+ W mg ρg v ρg x y z
z

z x y

รูปที่ 4.5 การกระจายของแรงที่เกิดความดันในแกน z


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Mercle et al., 2002 ; มัฆศิษฏ์ ธนพิมพ์สาร, 2555)
76 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

จากสมการที่ (4.4) และ (4.5) แสดงให้เห็นว่าความดันเฉลี่ยไม่ได้เพิ่มขึ้น (dP) หรือแปรผันตาม


แกน x และ y แต่อย่างใด ดังนั้นกรณีของไหลสถิต ความดันของของไหลจะเท่ากันตลอดแกน x และ
y หรือความดันจะไม่แปรผันตามแกนใดๆ ที่อยู่ในระดับเดียวกัน จากหลักการของของไหลสถิตความ
ดันจะแปรผันกับความลึก หรือเป็นฟังก์ชันกับแกน z เท่านั้น โดยมีแรงที่ผิวและแรงของวัตถุเนื่องจาก
แรงโน้มถ่วงกระทาในแนวแกน z เมื่อก้อนของของไหลสถิตอยู่ในสภาวะสมดุล
รูปที่ 3.5 แสดงการกระจายของแรงที่เกิดความดันในแกน z เมื่อพิจารณา จะได้ว่า

แกน z ∑ z x z ( z) x z g x y z
z

x y z g x y z
z

จะได้ว่า z
g
z
g
หรือ z
g

หรือ g z (4.6)

เครื่องหมาย (-) แสดงว่า ความดันจะลดลงเมื่อค่าของ Z เพิ่มขึ้นในทิศทางขึ้นข้างบน หรือกล่าว


ได้ว่า ความดันจะแปรค่าตามความลึกของของไหลนั้นเอง
ดังนั้น ค่าความดันที่จุดใดจุดหนึ่งของของไหลหยุดนิ่งจะขึ้นอยู่กับระดับความสูง ซึ่งจะเห็นว่าที่
ระดับความสูงเดียวกันย่อมมีค่าความดันเท่ากัน และเรียกสมการที่ (4.6) ว่า สมการพื้นฐานของของ
ไหลสถิต (Basic equation of fluid static)

4.3 ความดันที่จุดใดจุดหนึ่งในของเหลว

ผิวของเหลว
h =g
H
Z = H + Z0 + h
Z0 ระดับอ้างอิง

รูปที่ 4.6 ความดันที่ ณ จุดใดจุดหนึ่งในของเหลว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 77

เนื่องจากของเหลวจัดเป็นของไหลอัดตัวไม่ได้ ดังนั้น ค่าน้าหนักจาเพาะ () ของของไหลจะคงที่

นั่นคือ g

พิจารณารูปที่ 4.6 ทาการหาปริพันธ์สองข้างตามเงื่อนไขขอบเขตที่กาหนด จากสมการที่ (4.6)

จะได้ว่า ∫ ∫

(4.7)

เมื่อ C เป็นค่าคงที่
ที่ผิวของของเหลว ในรูปที่ 4.6 ความดัน P เท่ากับ ความดันบรรยากาศ (P = Patm) และระดับ
ความสูง Z เท่ากับ H + Z0
แทนค่า
และ

จะได้
( ) (4.8)

แทนค่า C กลับในสมการข้างต้น

( )

นั้นคือ ถ้าจุดที่อยู่ในของเหลวลึกเป็นระยะ h (ต่ากว่าผิวของเหลว) จะได้ว่า

(4.9)

จากสมการที่ (4.9) จะเห็นได้ว่า ความดันที่จุดใดๆ ในของเหลวที่หยุดนิ่งจะขึ้นอยู่กับระยะลึกที่


คิดในแนวตั้งฉาก แต่จะไม่ขึ้นอยู่กับรูปร่าง หรือขนาดของภาชนะที่บรรจุของเหลวเลย
78 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

ผิวของเหลว

h 2 h1
h2
A B C D

รูปที่ 4.7 ภาชนะที่ต่างกันแต่ที่ระดับเดียวกันย่อมมีความดันเท่ากัน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

จากรูปที่ 4.7 แสดงเห็นได้ว่า ภาชนะที่ใส่ของเหลวแตกต่างกัน แต่ความดันที่ จุด A B C D ที่


ระดับความลึกเดียวกันจะเท่ากัน

4.4 เฮดของความดัน
เฮดความดัน (Pressure head) เป็นความสูงในแนวตั้งฉากกับผิวอิสระ เมื่อเทียบกับจุดอ้างอิง
ใดๆ ในของเหลวที่หยุดนิ่ง เช่น เฮดความดันของจุด 1 จะมีค่าเท่ากับ h1 เป็นต้น ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบ
เฮดความดันของจุด 2 จุดใด จะได้ว่า

g( ) ( ) (4.10)

สาหรับในกรณีที่ของเหลวเป็นคนละชนิดกันซึ่งที่ความดันเท่ากัน จะได้ว่า

(4.11)

4.5 กฎของปาสคาล
กฎของปาสคาล (Pascal’s law) หรือ กฎส่งผ่านความดัน กล่าวว่า “ความดันที่กระทาต่อส่วน
หนึ่งส่วนใดของของไหลที่อยู่นิ่งในภาชนะปิด จะถูกส่งไปยังส่วนของของไหลรวมทั้งผนังของภาชนะ
ด้วย”
กฎของปาสคาลถูกนามาประยุกต์ใช้ในการยกไฮดรอลิกส์ ดังรูปที่ 4.8 จากรูปจะได้ว่าความดัน
จุดที่ 1 และจุดที่ 2 มีค่าเท่ากัน เนื่องจากมีการส่งผ่านความดันของของไหล ดังนั้น

และเนื่องจาก
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 79

หรือจัดรูปใหม่ได้ (4.12)

โดยที่ คือ การได้เปรียบเชิงกลของการยกไฮดรอลิกส์ (Ideal mechanical advantage of


the hydraulic lift)

F1
A1
A2

F2
รูปที่ 4.8 การยกไฮดรอลิกส์
(ที่มา : ดัดแปลงจาก Arora, 1973)

4.6 ความดันสมบูรณ์และความดันเกจ
ความดันของของไหลในระบบจะวัดเป็นผลต่างของความดันระหว่างระบบสองระบบ หรือจุดสอง
จุด หรือจุดใดๆ การวัดความดันจะอยู่ในรูปของการเปรียบเทียบกับความดันอ้างอิง ซึ่งนิยมใช้สภาวะ
สุญญากาศที่มีค่าความดันเท่ากับศูนย์ (0) หรือความดันศูนย์สมบูรณ์ (Absolute zero) หรือ
สุญญากาศสมบูรณ์ (Complete vacuum) เป็นความดันอ้างอิง หรือความดันเปรียบเทียบ ความดัน
ของของไหลสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทหลักๆ ดังนี้
1) ความดันสัมบูรณ์ (Absolute pressure) คือ ความดันที่วัดเทียบกับสภาวะที่ไร้ความ
ดัน ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย Pabs
2) ความดันเกจ (Gauge pressure) คือ ความดันที่วัดเทียบกับบรรยากาศ ณ ตาแหน่ง
นั้นๆ โดยที่ความดันเกจจะมีค่าสูงกว่าความดันบรรยากาศ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย Pg
3) ความดันสุญญากาศ (Vacuum pressure) คือ ความดันที่วัดเทียบกับความดัน
บรรยากาศ ณ ตาแหน่งนั้นๆ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย Pv การวัดความดันของของไหลที่ได้ผลต่างความ
ดันต่ากว่าความดันบรรยากาศปกติ เรียกว่า ความดันสุญญากาศ หรือ ความดันเกจลบ แต่ความดันใด
ก็ตามที่ต่ากว่าความดันบรรยากาศแต่ยังไม่ถึงชั้นเป็นสุญญากาศสมบูรณ์ (Absolute zero pressure)
จะเรียกว่า ความดันสุญญากาศย่อย (Partial vacuum pressure) ถ้าเป็นสุญญากาศสมบูรณ์จะ
เรียกว่า ความดันสุญญากาศสมบูรณ์ หรือ ความดันศูนย์สมบูรณ์ (Absolute zero pressure) และ
จะถือเอาความดันนี้เป็นความดันอ้างอิงระหว่างความดันที่เหนือหรือต่ากว่าบรรยากาศ เนื่ องจาก
ความดันบรรยากาศไม่คงที่ ซึ่งแปรผันตามอุณหภูมิและระดับความสูงของพื้นที่ ในทางปฏิบัติเกี่ยวกับ
80 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

กลศาสตร์ ข องไหลอาจอยู่ เหนื อหรื อต่ ากว่าระดั บ น้ าทะเลก็ ได้ จึ ง ไม่อ าจใช้ค วามดัน มาตรฐานที่
ระดับน้าทะเลมาคานวณผลหรืออ้างอิงได้ ดังนั้นจึงต้องใช้ความดันสมบูรณ์มาเป็นความดันอ้างอิงแทน
ซึ่งอาจจะให้ค่าความดันสูงหรือต่ากว่าความดันมาตรฐาน
2
ความดัน (N/m )
A

ความดันเกจ (Pg) 2
ความดันสัมบูรณ์ (Pabs) Patm = 101,325 N/m

ความดันบรรยากาศ (Patm) ความดันสุญญากาศ (Pvac)


B
ความดันสัมบูรณ์ (Pabs)
ความดันศูนย์สัมบูรณ์, Pabs = 0

รูปที่ 4.9 ความดันสัมบูรณ์และความดันเกจ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

จากรูปที่ 4.9 แสดงการวัดความดันสมบูรณ์ (Absolute pressure, Pabs) เทียบกับความดัน


ศูนย์สัมบูรณ์ และการวัดความดันเกจ (Gauge pressure, Pg) เทียบกับความดันบรรยากาศ
(Atmospheric pressure, Patm) จากความสัมพันธ์ของความดันดังกล่าวสามารถสรุปการวัดความดัน
ได้ดังสมการที่ (4.13)

s (4.13)

โดยที่ Pabs คือ ความดันสมบูรณ์ (Absolute pressure)


Pg คือ การวัดความดันเกจ (Gauge pressure)
Patm คือ ความดันบรรยากาศ (Atmospheric pressure)

ในระบบสากล (SI unit) ความดันมีหน่วยเป็น N/m2 หรือพาสคัล (Pascal, Pa) นอกจากนี้ยังมี


หน่วยอื่นที่นิยมใช้ ได้แก่ บาร์ (bar) บรรยากาศมาตรฐาน (atm) และ kg/cm2 ส่วนในระบบอังกฤษ
ความดันจะมีหน่วยเป็น psi หรือ lb/in2 โดยแต่ละหน่วยมีความสัมพันธ์กันดังนี้
1 bar = 105 Pa = 100 kPa
1 atm = 101.325 kPa = 0.760 m Hg = 10.34 m H2O
1 kg/cm2 = 0.7356 m Hg = 10 m H2O = 0.9807 bar
1 atm = 14.7 psi = 33.91 ft H2O = 29.29 in Hg
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 81

ตัวอย่างที่ 4.1 ความดันของของไหลในท่อมีค่า 10 bar จงหาความดันสัมบูรณ์ของของไหลนั้น


วิธีทา
จากสมการ ความดันสัมบูรณ์ = ความดันที่อ่านได้จากเกจ + ความดันของบรรยากาศ

แทนค่า s = 10 + 1.013

= 11.013 bar ตอบ

4.7 เครื่องมือวัดความดัน
4.7.1 บารอมิเตอร์ (Barometer) เป็นเครื่องมือวัดความดันบรรยากาศ ประกอบด้วยหลอดแก้ว
สุญญากาศ วางคว่าลงในอ่างปรอท หรือ ของเหลวอื่นๆ ดังรูปที่ 4.10 ความดันบรรยากาศจะวัด
ออกมาเป็นความสูงของของไหลในหลอดแก้ว นั้นคือ ค่า h สามารถหาได้จากสมการที่ (4.14) ดังนี้

g (4.14)

โดยในกรณีที่เป็น ปรอท (Hg) จะพบว่า เฮดความดันบรรยากาศมาตรฐาน มีค่าเท่ากับ h =


760 mm Hg ที่ระดับผิวน้าทะเล

h Patm

ปรอท (Hg)

รูปที่ 4.10 อุปกรณ์บารอมิเตอร์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Clayton et al., 2010)

ตัวอย่างที่ 4.2 จงหาความดันบรรยากาศ ณ จุดซึ่งเครื่องวัดบารอมิเตอร์อ่านค่าได้ 740 mmHg


สมมุติว่าอุณหภูมิของปรอทเป็น 10 องศาเซลเซียส ซึ่งปรอทมีความหนาแน่น 13,570 kg/m3
วิธีทา
จากสมการ g

แทนค่า = (13,570) x (9.81) x (740 x 10-3)


82 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

ดังนั้น = 98,510.06 Pa

= 98.5 kPa ตอบ

ตัวอย่างที่ 4.3 จงหาความดันในหน่วย kN/m2 ที่จุดลึกจากผิวน้า 15 m


วิธีทา
จากสมการ P = .h

และ  = .g

 = 1,000 kg/m3 x 9.81m/s2

 = 9.81 kN/m3

แทนค่า P = 9.81 kN/m3 x 15 m

P = 147.15 kN/m2 ตอบ

4.7.2 แมนอมิ เตอร์ (Manometer) เป็ นเครื่ อ งมื อวั ดความดัน ของของเหลวหรื อ ก๊า ซ
ประกอบด้วย หลอดแก้วรูปตัวยู (U-tube) หรือหลอดแก้วเอียง (Inclined-tube) ที่บรรจุของเหลว
ชนิดหนึ่งที่ไม่รวมตัวกับของไหลในภาชนะที่จะวัดความดัน แมนอมิเตอร์มีหลายแบบด้วยกัน ได้แก่
หลอดพิซอมิเตอร์ (Piezometer tube) ซึ่งเป็นแมนอมิเตอร์อย่างง่าย แมนอมิเตอร์แบบหลอดตัวยู
(U–tube manometer) แมนอมิเตอร์แบบวัดผลต่างของความดัน (Differentia manometer) และ
แมนอมิเตอร์แบบหลอดเอียง (Inclined-tube manometer) ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1) หลอดพิซอมิเตอร์ (Piezometer tube) เป็นแมนอมิเตอร์อย่างง่ายที่สุด มีลักษณะเป็น
หลอดแก้วเปิดแนวดิ่งเมื่อเสียบต่อเข้ากับภาชนะบรรจุของเหลวที่ต้องการวัดความดัน ของเหลวใน
ภาชนะบรรจุจะไหลขึ้นไปตามหลอดแก้วเนื่องจากความดันของของเหลวดังกล่าวสูงกว่าความดัน
บรรยากาศ ที่สภาวะสมดุลระหว่างน้าหนักของของเหลวในหลอดแก้วกับความดัน สามารถอ่านความ
สูงของของเหลวในหลอดแก้วได้ h เมตร ของเหลวในหลอดแก้วและในภาชนะบรรจุซึ่งเป็นของเหลว
ชนิดเดียวกันจะมีน้าหนักจาเพาะค่าเดียวกันคือ  ดังนั้น ความดันของของไหลที่วัดได้ จากรูปที่ 4.11
จะได้ว่า

(4.15)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 83

เปิดสู่บรรยากาศ, Patm

ของเหลวที่ใช้วัด, 
h

รูปที่ 4.11 หลอดพิซอมิเตอร์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

2) แมนอมิเตอร์แบบหลอดตัวยู (U–tube manometer) แมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยู


นี้จะใช้หลอดแก้วดัดเป็นรูปตัวยู โดยที่ปลายด้านหนึ่งนาไปต่อเข้ากับจุดที่ต้องการวัดความดัน และ
ปลายอีกข้างจะเปิดสู่บรรยากาศ

เปิดสู่บรรยากาศ PC = Patm
A
1
h1
h2 B C

2

รูปที่ 4.12 แมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยูที่ความดันต่ากว่าความดันบรรยากาศ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

รูปที่ 4.12 แสดงแมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยูที่มี ลักษณะความดันต่ากว่าความดัน


บรรยากาศ พิจารณาหลักการของไหลชนิดเดียวกันวัดความดันที่ระดับเดียวกันย่อมมีค่าเท่ากัน ดังนั้น
จากรูปพิจารณาของไหล 2 วัดความดันที่จุด B และ C จะได้ว่า
84 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

และ

และ

แทนค่าจะได้ว่า

ดังนั้น (4.16)

เปิดสู่บรรยากาศ PC = Patm
A
1
h1 C
B h2
/
B

2

รูปที่ 4.13 แมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยูที่ความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

รูปที่ 4.13 แสดงแมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยูที่มี ลักษณะความดัน สูงกว่าความดัน


บรรยากาศ พิจารณาหลักการของไหลชนิดเดียวกันวัดความดันที่ระดับเดียวกันย่อมมีค่าเท่ากัน ดังนั้น
จากรูปพิจารณาของไหล 2 วัดความดันที่จุด B และ B/ จะได้ว่า

และ

และ

แทนค่า

ดังนั้น (4.17)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 85

ตัวอย่างที่ 4.4 พิจารณาแมนอมิเตอร์อย่างง่ายแบบตัว U บรรจุด้วยปรอท มีความถ่วงจาเพาะ 13.6


ดังรูปที่ 4.14 จงหาความดันในท่อ A (PA) ที่บรรจุน้า กาหนดให้ Patm = 101.3 kPa

เปิดสู่บรรยากาศ
A
20 cm
B
น้า
30 cm
C D

ปรอท

รูปที่ 4.14 ประกอบตัวอย่างที่ 4.4


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา
กาหนดให้ PC = PD ………………………………. (1)
และ PC = (ปรอท x 0.3) + (น้า x 0.2) + PA

แทนค่าได้ PC = (13.6 x 103 x 9.81 x 0.3) + (1 x 103 x 9.81 x 0.2) + PA


= 41,986.8 + PA
และ PD = Patm = 101.3 x 103

แทนค่าในสมการที่ (1) จะได้ว่า


41,986.8 + PA = 101.3 x 103

ดังนั้น PA = 59,313.2 Pa
= 59.31 kPa ตอบ
86 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 4.5 พิจารณาแมนอมิเตอร์อย่างง่ายแบบตัว U บรรจุด้วยปรอท มีความถ่วงจาเพาะ 13.6


และความดันภายในท่อทาให้ปรอทยกขึ้นทางด้านขวาสูง 25 cm ดังรูปที่ 4.15 จงหาความดันในท่อ
A (PA) ที่บรรจุน้า กาหนดให้ Patm = 101.3 kPa

เปิดสู่บรรยากาศ
A
15 cm
B
น้า 25 cm

C D

ปรอท

รูปที่ 4.15 ประกอบตัวอย่างที่ 4.5


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

วิธีทา กาหนดให้ PC = PD ……………………………….(1)


และ PC = (น้า x 0.4) + PA

แทนค่าได้ PC = (1 x 103 x 9.81 x 0.4) + PA


= 3,924 + PA
และ PD = (ปรอท x 0.25) + Patm
= (13.6 x 103 x 9.81 x 0.25) + (101.3 x 103)
= 134,654

แทนค่าในสมการที่ (1) จะได้ว่า


3,924 + PA = 134,654

ดังนั้น PA = 130,730 Pa
= 130.73 kPa ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 87

3) แมนอมิเตอร์แบบวัดผลต่างของความดัน (Differentia manometer) เป็นเครื่องมือที่


ใช้วัดผลต่างของความดันระหว่างภาชนะบรรจุสองใบหรือระหว่างจุดสองจุดในระบบเดียวกัน

3 B
+
h3

+A h2
1 h1
C D

2

รูปที่ 4.16 แมนอมิเตอร์แบบวัดผลต่างของความดัน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

รูปที่ 4.16 แสดงแมนอมิเตอร์แบบวัดผลต่างของความดัน พิจารณาหลักการของไหลชนิด


เดียวกันวัดความดันที่ระดับเดียวกันย่อมมีค่าเท่ากัน ดังนั้นจากรูปพิจารณาของไหล 2 วัดความดันที่
จุด C และ D จะได้ว่า

และ

และ

แทนค่า

ดังนั้น (4.18)

4) แมนอมิเตอร์แบบหลอดเอียง (Inclined-tube manometer) เป็นเครื่องมือที่ใช้


สาหรับวัดความดันที่อยู่ในแนวเอียง ระดับความสูงที่แตกต่างกันของของเหลวในหลอดรูปตัวยูจะมาก
หรือน้อยขึ้นอยู่กับความถ่วงจาเพาะของของเหลวในแมนอมิเตอร์ โดยเฉพาะกรณีการใช้แมนอมิเตอร์
วัดความดันก๊าซ เนื่องจากของเหลวในแมนอมิเตอร์นั้นมีความถ่วงจาเพาะมากกว่า ก๊าซ ระดับความสูง
ที่แตกต่างกันของของเหลวจึงมีค่าน้อยจนเกือบวัดไม่ได้หรือวัดได้ไม่ชัดเจน ดังนั้นจึงจาเป็นต้องอาศัย
แมนอมิเตอร์แบบหลอดเอียงแทน ดัง แสดงในรูปที่ 4.17 หลอดเอียงวัดระดับเอียงทามุม  กับแนว
88 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

ระดับ สเกลอ่านค่าวัดความแตกต่างบนหลอดเอียงมีความยาว l2 ดังนั้นผลต่างของความดัน PA - PB


สามารถหาได้จาก

หรือ
s (4.19)

3
B
+
h3
1 +A
2
h1 l2

1 2

รูปที่ 4.17 แมนอมิเตอร์แบบหลอดเอียง


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

4.7.3 มาตรวัดบัวดอง (Bourdon gauge) เป็นเครื่องมือใช้วัดความดันแบบหน้าปัดและใช้


สาหรับวัดความดันเกจ ใช้วัดความดันที่ต่ากว่าและสูงกว่าความดันบรรยากาศได้ ถ้าต้องการหาความ
ดันสัมบูรณ์ก็ต้องนาค่าที่อ่านได้ไปบวกกับความดันบรรยากาศ อุปกรณ์ของเครื่องวัดแบบบูดองนี้
ประกอบด้วยหลอดซึ่งมีภาคตัดขวางเป็นรูปไข่และตัดเป็นส่วนโค้งของวงกลม ปลายหลอดเชื่อมปิด
สนิทอีกปลายข้างหนึ่งต่อกับอุปกรณ์ที่ใช้วัดความดันเมื่อความดันภายในหลอดเพิ่มขึ้น หลอดจะดัน
ออก ซึ่งการเปลี่ยนแปลงความดันจะไปปรากฏเป็นการเคลื่อนไหวของปลายท่อปิดซึ่งต่อกับกลไก ทา
ให้เข็มชี้หมุนไปตามสเกลที่แบ่งไว้ แล้วอ่านค่าออกมา ดังแสดงในรูปที่ 4.18
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 89

เข็มหน้าปัด

กลไก
ควบคุมเข็ม
ท่อวงรี

จุดเชื่อมต่อเพื่อวัดความดัน
P
P

รูปที่ 4.18 มาตรวัดบัวดอง


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

ตัวอย่างที่ 4.6 จากรูปที่ 4.19 ถ้ากาหนดให้ ความดันในท่อ A (PA) = 200 kPa ซึ่งบรรจุของเหลว A
ความถ่วงจาเพาะ 0.8 และ ความดันในท่อ B (PB) = 100 kPa ซึ่งบรรจุของเหลว B ความถ่วงจาเพาะ
1.6 ตรงกลางแมนอมิเตอร์วัดผลต่างความดันจะกั้นด้วยปรอท (ของเหลว C) ความถ่วงจาเพาะ 13.6
จงหา ระยะความสูง h

B
A 2.5 m
1m
ของเหลว B
ของเหลว A h
C D

ของเหลว C (ปรอท)

รูปที่ 4.19 ประกอบตัวอย่างที่ 4.6


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

วิธีทา จากทฤษฏีที่เมื่อของเหลวชนิดเดียวกันที่ระดับเดียวกัน ย่อมมีความดันเท่ากัน


จากรูป จะได้ว่า
PC = PD ……………………………………. (1)
หาค่า PC และ PD ;
PC = A hA + PA
90 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

= A (h + 1) + PA
= [(0.8 x 103 x 9.81) (h+1)] + (200 x 103)
และ PD = ChC + BhB + PB
= ChC + B(2.5 + 1) + PB
= (13.6 x 103 x 9.81 x h) + (1.6 x 103 x 9.81 x 3.5) + (100 x 103)
แทนค่าในสมการที่ (1) จะได้ว่า

[(0.8 x 103 x 9.81) (h+1)] + (200 x 103) = (13.6 x 103 x 9.81 x h) + (1.6 x 103 x 9.81 x 3.5)
+ (100 x 103)
7.848 h + 7.848 + 200 = 133.4 h + 54.393 + 100
53.455 = 125.552 h
ดังนั้น h = 0.4257 m ตอบ

ตัวอย่างที่ 4.7 จากรูปที่ 4.20 จงหาผลต่างของความดันในท่อ A และในท่อ B (PA – PB) ถ้าของไหล


ภายในท่อ B คือ อากาศ และทามุม  = 30o


A
0.5 m
SA = 1 0.3 m
C D
0.2 m

SC = 13.6

รูปที่ 4.20 ประกอบตัวอย่างที่ 4.7


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

วิธีทา จากทฤษฏี เมื่อของเหลวชนิดเดียวกันที่ระดับเดียวกันย่อมมีความดันเท่ากัน


จากรูป จะได้ว่า
PC = PD ………………………………… (1)
หาค่า PC และ PD ;
PC = PA + A hA
และ PD = PB + C hc
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 91

= PB + C (0.5 + 0.2 sin  )


ดังนั้น PA - PB = C (0.5 + 0.2 sin  ) – (A x 0.3)
แทนค่า
PA - PB = (13.6 x 103 x 9.81) (0.5 + 0.2 sin 30o ) - (1 x 103 x 9.81) (0.3)
= (80.05 x 103) - (2.943 x 103)
= 77.106 x 103 N/m2 (Pa)
ดังนั้น PA - PB = 77.11 kPa ตอบ

ตัวอย่างที่ 4.8 จากรูปที่ 4.21 น้า (Water) ไหลผ่านท่อ A และท่อ B ใช้แมนอมิเตอร์แบบวัดผลต่าง


ของความดันวัดความดันภายในท่อ กาหนดให้น้ามัน มีความถ่วงจาเพาะ (SOil) เท่ากับ 0.8 ของเหลว
ในแมนอมิเตอร์เป็นปรอทมีความถ่วงจาเพาะ (SHg) เท่ากับ 13.6 จงหาผลต่างของความดันในท่อทั้ง
สองในหน่วย kPa

z =h = 0 หน่วยของขนาดเป็นมิลลิเมตร (mm)
B
A 200
SOil = 0.8
SWater = 1 F
250 100
D
75 125
C 100
E

SHg = 13.6

รูปที่ 4.21 ประกอบตัวอย่างที่ 4.8


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Bruce et al., 2002)

วิธีทา
ในกรณีนี้มีของไหลอยู่หลายชนิด จึงต้องทาการแยกพิจารณาแต่ละชนิดของของไหล ซึ่งใน
ของไหลชนิดเดียวกัน ค่า  จะคงที่ จะได้ว่า
จากสมการ ; P1 - P2 =  ( h1 – h2 )
จาก A – C ;
PC – PA = water hC-A
= 1 x 103 x 9.81 x 0.25
92 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

= 2.4525 x 103 [ระยะเป็น (+) เพราะตาแหน่ง C ลึกกว่า


ตาแหน่ง A ตามแกนอ้างอิง]
จาก C – D ;
PD – PC = Hg h D - C
= 13.6 x 103 x 9.81 x (- 0.075 )
= - 10.006 x 103 [ ระยะเป็น (-)เพราะตาแหน่ง D สูงกว่า
ตาแหน่ง A ตามแกนอ้างอิง]
จาก D – E ;
PE – PD = Oil h E - D
= 0.8 x 103 x 9.81 x 0.1
= 0.7848 x 103
จาก E – F ;
PF – PE = Hg h F – E
= 13.6 x 103 x 9.81 x (- 0.125 )
= - 16.677 x 103
จาก F - B ;
PB – PF = water hB - F
= 1 x 103 x 9.81 x (- 0.2 )
= - 1.962 x 103

PB – PA = (2.4525x103) + (-10.006x103) + (0.7848x103) + (-16.677x103) + (-1.962x103)


= - 25.4 kPa
หรือ PA - PB = 25.4 kPa ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 93

ตัวอย่างที่ 4.9 จากรูปที่ 4.22 จงหา PA เมื่อกาหนดให้ ของเหลวภายในถังด้านบนเป็นน้ามัน (Oil)


ด้านล่างเป็นน้า (Water) และภายในแมนอมิเตอร์เป็นปรอท (Hg) ซึง่ ด้านปลายเปิดสูบ่ รรยากาศ

PA Patm
Air
Oil
3m
SOil = 0.8 4.6 m

Water
SWater = 1 0.3 m /
C C

SHg = 13.6

รูปที่ 4.22 ประกอบตัวอย่างที่ 4.9


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

วิธีทา
จากรูป จะได้ว่า PC = PC’ ………………………………… (1)

หา Pc และ Pc’ จะได้ว่า

PC = PA + Oil hoil + water hwater


= PA + (0.8x103x9.81x3) + (1x103x9.81x1.6)
Pc’ = Hg hHg + Patm
= (13.6x103x9.81 x0.3) + Patm

แทนค่าในสมการที่ (1) จะได้


PA + (0.8x103x9.81x3) + (1x103x9.81x1.6) = (13.6x103x9.81 x0.3) + Patm
PA - Patm = (13.6x103x9.81 x0.3) - (1x103x9.81x1.6) – (0.8x103x9.81x 3)
PA = (13.6x103x9.81 x0.3) – (0.8x103x9.81x 3) - (1x103x9.81x1.6) + (101.3x103)
PA = 102,084.8 N/m2
หรือ PA = 102.08 kN/m2
หรือ PA = 102.08 kPa ตอบ
94 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

4.8 แรงที่กระทากับบนแผ่นราบที่จมในของไหลสถิต
ในของไหลที่หยุดนิ่งนั้น พบว่า ความดันที่จุดหนึ่งๆ ในของไหลจะมีค่าเท่ากันทุกทิศทาง และใน
ระดับความลึกซึ่งต่างกันความดันย่อมต่างกัน
ดังนั้นถ้าสมมุติให้ระนาบจมอยู่ในของไหลสถิต จะเกิดแรงเป็นบริเวณ (เนื่องจากระนาบมีพื้นที่
จึงทาให้เกิดความดันกระทากับระนาบเป็นพื้นที่หรือเรียกว่าบริเวณ) โดยจะเกิดแรงกระทาแนวดังนี้
4.8.1 แรงดันบนระนาบแนวระดับ (วางระนาบในแนวระดับ แรงที่เกิดในแนวดิ่ง)
จากกาหนดให้ระนาบ พื้นที่ A วางไว้ในแนวระดับในของไหลสถิต โดยลึกจากผิวของของ
ไหลเป็นระยะ h ที่นี้ พิจารณาที่ พื้นที่ dA บนพิกัด x y ใดๆ เมื่อ C เป็นจุดเซนทรอยด์ หรือ จุด
ศูนย์กลางของพื้นที่ A
y

h
x dA

C
y
x

รูปที่ 4.23 เมื่อระนาบในแนวระดับจมอยู่ในของเหลว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

จากรูปที่ 4.23 จะได้ว่า แรงดันที่กระทาบนระนาบ

∫ ∫

g (4.20)

4.8.2 แรงดันบนระนาบในแนวดิ่ง (วางระนาบในแนวดิ่ง แรงที่เกิดในแนวระดับ)


กาหนดให้ระนาบพื้นที่ A จมอยู่ในของไหล ที่มีจุดเซนทรอยด์ อยู่ลึกจากผิวของของไหล
เป็นระยะ h ดังนั้น ถ้าพิจารณาที่พื้นที่เล็กๆ dA = xdy ดังรูปที่ 4.24 จะได้ว่า

∫ ∫

g∫y
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 95

g̅ ̅ (4.21)

เมื่อ ∫y คือ โมเมนต์อันดับแรกของพื้นที่ = A ̅

̅ คือ ความดันที่ตาแหน่งจุดเซนทรอยด์

/

y
̅
y
C ̅

รูปที่ 4.24 เมื่อระนาบในแนวดิ่งจมอยู่ในของเหลว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

เนื่องจากความดันขึ้นกับความลึกดังนั้นตาแหน่งของแรงลัพธ์จึงเป็นคนละจุดกับจุดเซน
ทรอยด์ของระนาบดิ่ง สาหรับตาแหน่งของแรงลัพธ์จะอยู่ที่จุดศูนย์กลางของความดัน (Center of
pressure, ) ดังนั้นจึงคานวณหาระยะ นี้ได้จากหลักของโมเมนต์รอบแกน o-o’ คือ
(โมเมนต์ของแรงลัพธ์รอบแกนหมุน o-o’) = (ผลรวมของโมเมนต์ของแรงดันย่อยรอบแกนหมุน o-o’)

(ρg ̅ ) ∫y g∫y


̅ ̅

̅ ̅
̅

̅
ดังนั้น ̅ (4.22)
̅

เมื่อ คือ ตาแหน่งที่แรงกระทา (m)

̅ คือ ระยะความลึกของจุดเซนทรอยด์ของระนาบโดยวัดจากผิวอิสระ (m)


96 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

̅ คือ โมเมนความเฉื่อยของพื้นที่ระนาบดิ่งรอบแกนที่ผ่านจุดเซนทรอยด์ (C) และขนาน


กับแกน o-o’ (m4)

4.8.3 แรงดันบนระนาบในแนวเอียง

ระดับผิวบน 0

y
hc h yc
yR
dF
FR
x

A
dA
xc
.c
y xR . CP จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่แผ่นราบ
จุดศูนย์กลางความดัน

รูปที่ 4.25 แผ่นราบจมในของไหลตาแหน่งจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่ และจุดศูนย์กลางความดัน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

พิจารณาแผ่นราบจมในของไหลในลักษณะที่แนวระนาบของแผ่นเอียงทามุม กับระดับผิวบน
(Free Surface) ของไหลดังรูปที่ 4.25 โดยให้จุดกาเนิด (Origin, O) ของแกนอยู่ที่แนวระดับผิวบน
ของไหล โดยตัดกับแนวแผ่นราบ แกน Y อยู่ในแนวเดียวกันแผ่นราบ และตั้งฉากกับแกน X
โดยที่ C คือ จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่แผ่นราบ (Centroid)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 97

CP คือ จุดศูนย์กลางความดัน (Center of Pressure) ซึ่งก็คือจุดที่แสดงตาแหน่งแรงลัพธ์


(FR) เนื่องจากความดันที่กระทากับแผ่นราบ
จุด C ห่างจากจุดกาเนิดในแนวแกน Y เป็นระยะ YC หรือก็คือห่างจากระดับผิวบนใน
แนวดิ่งเป็นระยะ hC
จุด CP ห่างจากจุดกาเนิดในแนวแกน Y เป็นระยะ YR

พิจารณาพื้นที่ dA บนแผ่นราบ ซึ่งมีความดัน P กระทาบน dA และแรงที่เกิดขึ้นจาก


ความดันนี้ คือ dF ตาแหน่งของพื้นที่ dA อยู่ห่างจากจุดกาเนิด O ในแนวแกน Y เป็นระยะ Y หรือก็
คือ ระยะ h ในแนวดิ่งจากพื้นผิวบน ดังรูปที่ 4.25 ถ้าให้ความดันเหนือพื้นผนังนี้เป็น PO จะได้ว่า

g และเนื่องจาก ys

ดังนั้น
ρgy s

และ
( ρgy s )

อินทิเกรตเพื่อหาแรงทั้งหมดที่กระทาต่อแผ่นระนาบนี้

∫ ( ρgy s )

จะได้
ρg s ∫y (4.23)

เมื่อ A คือ พื้นที่ของแผ่นระนาบทั้งหมด


เนื่องจาก ∫ y คือ โมเมนต์ที่หนึ่งของพื้นที่ (Fist moment of area) และมีค่า
เท่ากับ เมือ่ คือระยะในแนวแกน Y จากจุดกาเนิดถึงจุดศูนย์กลางถ่วงของพื้นที่หรือจุด
Centroid ดังนั้น

∫y

เพราะฉะนั้น

( gs ) (4.24)
98 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

จากรูปที่ 4.25 จะเห็นว่า s

( g ) (4.25)

ถ้าให้ความดันของจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่คือ PC หรือก็คือความดันเฉลี่ยที่กระทาบนแผ่น
ระนาบ (Pave ) จะได้ว่า

(4.26)

จากสมการดังกล่าว แสดงว่า แรงลัพธ์ที่กระทาบนแผ่นระนาบที่จมอยู่ในของไหลมีค่า


เท่ากับความดัน ณ จุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่คูณด้วยพื้นที่ทั้งหมดของแผ่นระนาบ โดยที่ความดัน ณ จุดนี้
สามารถหาได้จาก

g (4.27)

ซึ่งก็คือ ความดันที่คานวณจากความลึกจากผิวบนตามแนวดิ่ง ถึงจุดเซนทรอยด์ แม้ ว่าจุดที่คานวณหา


แรงลัพธ์คือ จุดเซนทรอยด์ จุดที่แสดงถึงตาแหน่งที่แท้จริงของแรงลัพธ์นี้กลับไม่ใช่จุดเซนทรอยด์ และ
สามารถคานวณได้ดังนี้
จาก
∫y ∫y ∫ y( gy s )

∫y gs ∫y (4.28)

เนื่องจาก ∫ y คือ โมเมนต์ที่สองของพื้นที่ (Second moment of area ) หรือโมเมนต์ความ


เฉื่อย (Area moment of inertia ) รอบแกน 0

∫y xx x y (4.29)

เมื่อ IXC คือโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน C หรือจุดเซนทรอยด์


จาก
( gy s )

( gy s ) y gs ( x y ) (4.30)
( )
( )
(4.31)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 99

กรณีไม่พิจารณา จะได้ว่า

(4.32)

สาหรับพื้นที่ทั่วไปกาหนดโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ไว้ในรูปที่ 4.26

b R πR
. x x b . x x
π 4
4
y x
b y
x

(ก) สี่เหลี่ยมผืนผ้า (ข) วงกลม

b
. x 4R
x .1 98R4 . x
x 6
3
y .3927R4 y x (b 2 )
3𝜋 3 7
R R x
b
(ค) ครึ่งวงกลม 4R
(ง) สามเหลี่ยม
3𝜋
4R π

3𝜋 . x
4

R x . 5488R4
y
x . 1647R4

(จ) หนึ่งในสี่ของวงกลม

รูปที่ 4.26 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ทั่วไป


(ที่มา : William, 1993)
100 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 4.10 แผ่นไม้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด สูง x กว้าง = 1.2 x 3 m ใช้สาหรับการกั้นการเท


คอนกรีต ดังรูปที่ 4.27 ด้านบนของแผ่นไม้จะยึดติดกับที่ยึด ด้านล่างจะเป็นที่ยึดแน่นติดกับผนังตอก
ด้วยตะปู กาหนดให้ความถ่วงจาเพาะของคอนกรีตเท่ากับ 2.4 และระดับคอนกรีตจะเทขึ้นสูง 1 m
จงคานวณหาขนาดและตาแหน่งของแรงลัพธ์ที่กระทา และจงหาว่าแรงภายนอกที่ใช้ยึดด้ วยตะปูเป็น
เท่าใด ถ้าให้ระบบอยู่ในสภาวะที่สมดุล

คอนกรีต
แผ่นไม้กั้น

ที่ยึดด้วยตะปู

รูปที่ 4.27 ประกอบตัวอย่างที่ 4.10


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา
หาขนาดของแรงลัพธ์ จากสมการ


และ
คอนกรีต = 2.4 x 1,000 = 2,400 kg/m3

̅ = = = 0.5 m

A = hb = 1 x 3 = 3 m2
แทนค่าในสมการ จะได้
F = 2,400 x 9.81 x 0.5 x 3
= 35,316 N ตอบ

หาตาแหน่งของแรงลัพธ์ จากสมการ
̅
̅
̅
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 101

3
และ ̅ (แผ่นไม้กั้นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า)

3
= = 0.25 m4

แทนค่าในสมการ จะได้ว่า
.
.5
x .

= 0.67 m ตอบ

หาแรงภายนอกที่ใช้ยึดด้วยตะปู (Fstop) ถ้าให้ระบบอยู่ในสภาวะสมดุล


ให้ผลรวมของโมเมนต์รอบจุดหมุนเท่ากับศูนย์ เขียน FBD ได้ดังรูปที่ 4.28

0.2 m

0.67 m
Fstop F = 35,316 N

รูปที่ 4.28 FBD ของแรงที่กระทา


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

M = 0
1.2 Fstop = 0.87 x 35,316
Fstop = 25,604.1 N ตอบ
102 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

4.9 แรงที่กระทาบนแผ่นโค้งที่จมอยู่ในของเหลว


𝛻

B ( ) ( ) B
B
G ∙ O
∙ ∙O

(ก) ของเหลวในแผ่นโค้ง (ข) ขนาดและตาแหน่งของแรง (ค) แรงลัพธ์ที่กระทาบนแผ่นโค้ง


ที่กระทาบนแผ่นโค้ง

รูปที่ 4.29 แรงที่กระทาบนแผ่นโค้งที่จมอยู่ในของเหลว
(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

รู ป ที่ 4.29 แสดงการวิ เ คราะห์ แ รงที่ ก ระท าบนแผ่ น โค้ ง ที่ จ มอยู่ ใ นของเหลว ของถั ง บรรจุ
ของเหลวชนิดหนึ่ง บนบริเวณผิวโค้งช่วง BC พิจารณาสมดุลของแรงดันที่กระทาบนปริมาตรของเหลว
ที่ถูกล้อมรอบด้วยผนังผิวโค้ง BC พื้นที่ฉายบนระนาบดิ่ง CA และพื้นที่ฉายบนระนาบระดับ BA ดังรูป
(ข) แรงภายนอกที่กระทาต่อปริมาตรของเหลว ได้แก่ น้าหนักของของเหลว (W) แรงดันบนระนาบ
ระดับ BA (F1) แรงดันบนระนาบดิ่ง CA (FCA) แรงปฏิกิริยาแนวระดับที่ผนังผิวโค้งกระทาต่อของเหลว
(FH), และแรงปฏิกิริยาแนวดิ่งที่ผนังผิวโค้งกระทาต่อของเหลว (FV)
พิจารณาสมดุลของแรงบนปริมาตรของเหลว BAC ในแต่ละแกน จะได้ว่า

[FX = 0] ; (4.33)

[FY = 0] ; W (4.34)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 103

สาหรับขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทาบนแผ่นโค้ง สามารถคานวณได้จากสมการที่ (4.35)

( ) ( ) (4.35)

4.10 แรงลอยตัว
ในการออกแบบสร้ างวั ส ดุใ ห้ ล อยในของไหลได้ เช่น เรื อ เรื อดาน้ า จะต้ องค านึ ง ถึงความมี
เสถียรภาพด้ว ยไม่เช่นนั้นอาจเกิดการพลิกคว่าได้ ดังนั้น จะต้องเข้าใจถึงหลักการพื้นฐานในเรื่อง
เกี่ยวกับแรงลอยตัว จุดศูนย์กลางของแรงพยุง และความสูงเมตาเซนตริก เป็นต้น
จากหัวข้อที่แล้ว จะเห็นได้ว่า เมื่อวัตถุจมเพียงบางส่วน หรือจมทั้งหมดในของไหล จะเกิดแรงมา
กระทาที่วัตถุ ในแนวตั้งฉากกับผิว เป็นแรงที่พยายามพยุงหรือยกวัตถุให้ลอยขึ้น ในทิศทางสวนทาง
กับแรงดึงดูดของโลก เราเรียกว่า แรงลอยตัว (Buoyant Force) และตาแหน่งที่แรงลอยตัวกระทากับ
วัตถุนั้น เรียกว่า จุดศูนย์กลางของแรงลอยตัว (Center of Buoyancy)
ผู้ที่ค้นพบแรงลอยตัว คือ อาร์คีเมเดส กล่าวไว้ว่า “เมื่อวัตถุใดๆ จมอยู่ในของไหลไม่ว่าจะเป็น
ทั้งหมด หรือบางส่วนก็ตาม จะมีแรงลอยตัวมากระทากับวัตถุนั้นและจะมีค่าเท่ากับน้าหนักของของ
ไหลที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่” เรียกว่า หลักการของอาร์คิมีดีส (Archimedes Principle)
4.10.1 กรณี วัตถุจมทั้งก้อน
จากรูปที่ 4.30 ถ้าให้วัตถุจมในของไหลที่มีน้าหนักจาเพาะเท่ากับ  แรงลัพธ์ของแรงใน
แนวราบ (Horizontal) จะมีค่าเท่ากับ ศูนย์

 ระดับผิวของไหล

h1 P1dA

h2 M
y dA C

N
FB
P2dA

รูปที่ 4.30 เมื่อวัตถุจมในของไหลทั้งก้อน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert and Alan, 1998)

ส่วนในแนวดิ่ง (Vertical) ถ้าเราพิจารณา แท่ง MN ที่มีพื้นที่ หน้าตัด dA


ด้านบน ตาแหน่ง M จะมีแรงดันของของเหลว มีค่าเท่ากับ P1dA
ด้านล่าง ตาแหน่ง N จะมีแรงดันของของเหลว มีค่าเท่ากับ P2dA
ซึ่งความดัน P มีค่าเท่ากับ h
104 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

หรือ P =  h
และ ถ้า P2 > P1 ; ความแตกต่างของความดัน จะทาให้เกิดแรงลอยตัวขึ้น FB ซึ่งมีค่า
เท่ากับ

(4.36)

( )

y (4.37)

กาหนดให้ คือ ปริมาตรของแท่ง MN ที่กาลังพิจารณา เท่ากับ y

(4.38)

ดังนั้น แรงลอยตัวรวม ทั้งหมดที่กระทากับวัตถุ

(4.39)

จากสมการ อธิบายได้ว่า ถ้า  เป็นปริมาตรของวัตถุทั้งก้อนที่จมในของไหลแล้ว แรง


ลอยตัว FB จะเท่ากับน้าหนักของของไหลที่ถูกวัตถุทั้งก้อนแทนที่ () และแรงนี้จะกระทาผ่าน
จุดศูนย์ถ่วง (Centroid) ของวัตถุที่จมในของไหล

4.10.2 กรณี วัตถุลอยอยู่ระหว่างในของไหล 2 ชนิด


จากรูปที่ 4.31 ถ้าให้วัตถุจมในของไหลที่มีน้าหนักจาเพาะชั้นบน และล่าง มีค่าเท่ากับ
1 และ 2 ตามลาดับ จะได้ว่า

(4.40)

( y ) ( y ) ( )

( y y )
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 105

( )

∫ ∫( )

(4.41)

จากสมการ อธิบายได้ว่า ถ้า 1 และ 2 เป็นปริมาตรของวัตถุที่จมในของไหล ด้านบน


และด้านล่าง ตามลาดับ แรงลอยตัว FB รวม จะเท่ากับน้าหนักรวมของของไหลที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ
และตาแหน่งจุดศูนย์กลางของแรงลอยตัว จะอยู่ที่ตาแหน่งจุดศูนย์ถ่วงของปริมาตรของของไหลแต่ละ
ชนิดที่ถูกวัตถุแทนที่ และจะเป็นอิสระซึ่งกันและกัน

h1 P1dA
h2 M
y1
dA
y2
N
P2dAFB2 FB1

รูปที่ 4.31 เมื่อวัตถุจมในของไหล 2 ชนิด


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert and Alan, 1998)

4.10.3 กรณี วัตถุลอยอยู่เหนือผิว (จะมีบางส่วนจมในของไหล)

G
B

FB
รูปที่ 4.32 เมื่อวัตถุจมในของไหลบางส่วน
(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert and Alan, 1998)
106 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

จากรูปที่ 4.32 ถ้าให้วัตถุลอยอยู่เหนือผิว หรือ มีเพียงบางส่วนจมอยู่ในของไหล จะพบว่า


การพิจารณาใช้ห ลั กเดียวกัน กับ การจมอยู่ ร ะหว่า งของไหล 2 ชนิ ด เพราะอากาศก็เป็ นของไหล
เช่นเดียวกัน
แต่เนื่องจาก น้าหนักจาเพาะของอากาศ เมื่อเปรียบเทียบกับของเหลวแล้ว จะแตกต่างกัน
มาก จึงไม่นามาพิจารณา (ตัดทิ้ง)
ดังนั้น แรงลอยตัวที่ของเหลวกระทากับวัตถุ จะมีค่าเท่ากับน้าหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุ
ส่วนที่จมแทนที่ (เฉพาะส่วนที่จม) แล้วยังเท่ากับน้าหนักของวัตถุทั้งก้อนด้วย เขียนเป็นสมการได้ดังนี้

W (4.42)

เมื่อ  คือ ปริมาตรของวัตถุในส่วนที่จมของเหลว (m3)

4.11 เมตาเซนเตอร์ และความสูงเมตาเซนตริก

W W M
G G

B B /
B
FB  FB

รูปที่ 4.33 ความเสถียรของวัตถุที่ลอยนิ่งบนของไหล


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert and Alan, 1998)

จากรูปที่ 4.33 เมื่อวัตถุลอยหยุดนิ่งบนของไหล จะเกิดแรงลอยตัว FB มากระทากับวัตถุที่


ตาแหน่งจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (จุด B) ในแนวเดียวกับจุดศูนย์ถ่วง (จุด G)
ถ้าวัตถุเริ่มเอียงเป็นมุม  (Angle of heel ) แน่นนอนว่า จุดศูนย์ถ่วง G ของวัตถุจะเป็น
ตาแหน่งเดิม แต่จุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (จุด B) จะเปลี่ยนไป เพราะรูปทรงของวัตถุที่จมในของไหล
เปลี่ยนไป นั้นคือทาให้เดิมแรงลอยตัว FB ที่กระทาผ่านจุด B เปลี่ยนไปกระทาผ่าน เป็นจุด B’
ถ้าลากเส้นแนวแรงลอยตัวใหม่ ไปตัดกับเส้นแนวแกนเดิม B-G ที่จุด M เราเรียกจุด M นี้ว่า เม
ตาเซนเตอร์ (Metacenter) และเรียกระยะระหว่าง G–M ว่า ความสูงเมตาเซนตริก (Metacentric
height)
ความสัมพันธ์ระยะห่าง ระหว่าง จุด G–B–M จะเป็นตัวบอกได้ว่า วัตถุที่ลอยอยู่มีเสถียรภาพ
หรือไม่ ดังจะกล่าวในหัวข้อถัดไป
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 107

4.12 เสถียรภาพของวัตถุจมและวัตถุลอย
เสถียรภาพของวัตถุจมและวัตถุลอย (Stability of submerged and floating bodies)
หมายถึง เมื่อวัตถุนั้นมีแรงภายนอกมากระทาแล้ว ทาให้วัตถุนั้นกลับคืนสู่สภาพเดิมได้หรือ ไม่ ซึ่งมีผล
ทาให้วัตถุทรงตัวได้และทรงตัวไม่ได้ เช่น เรือ เมื่อโดนคลื่นมากระทาให้เกิดการเอียง ตาแหน่ง B จะ
ถูกเปลี่ยนเป็น B’ และแนวแรง FB ใหม่ที่เกิดขึ้นจะเป็นแรงคู่ควบกับน้าหนักเรือ ซึ่งถ้าแรงคู่ควบที่
เกิดขึ้นพยายามทาให้เรือคืนสภาพเดิม เรียกว่า เรือลานี้ทรงตัวได้ดี แต่ถ้ามีผลทาให้เรือเอียงมากขึ้น
เรียกว่าเรือทรงตัวไม่ได้
การทรงตัวได้ของวัตถุที่ลอยได้สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1) สถานะทรงตัวได้ดี (Stable equilibrium)
2) สถานะทรงตัวไม่ได้ (Unstable equilibrium)
3) สถานะทรงตัวเป็นกลาง (Neutral equilibrium)

FB FB

FB FB
B B
B B
G G G
G
W W
W W

รูปที่ 4.34 แรงที่กระทาเมื่อวัตถุจมในของไหลทั้งก้อน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert and Alan, 1998)

รูปที่ 4.34 ในกรณีที่วัตถุจมในของไหลทั้งก้อน เช่น บอลลูน และเรือดานาที่จมอยู่ในของไหล


ทั้งหมด จุดศูนย์ถ่วง และจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว จะถูกกาหนดให้อยู่กับที่
จากรูปที่ 4.34 จะเห็นได้ว่า
+ ถ้า B อยู่เหนือ G วัตถุทรงตัวดี
+ ถ้า B อยู่ต่ากว่า G วัตถุทรงตัวไม่ได้
+ ถ้า B อยู่ตาแหน่งเดียวกับ G วัตถุทรงตัวเป็นกลาง

รูปที่ 4.35 ในกรณีที่วัตถุลอยอยู่เหนือของไหล เช่น เรือ เมื่อมีแรงภายนอกมากระทา จะทาให้


จุดศูนย์การแรงลอยตัวเปลี่ยนไป ในขณะที่จุดศูนย์ถ่วงอยู่ที่เดิม
108 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

G
G
M
G W W M
G /
W B B
B / B B
B W
FB
FB FB FB

รูปที่ 4.35 แรงที่กระทาเมื่อวัตถุจมในของไหลเพียงบางส่วน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert and Alan, 1998)

จากรูปที่ 4.35 อธิบายได้ว่า


+ ถ้าตาแหน่ง M อยู่เหนือจุด G [ระยะ BM > BG] วัตถุอยู่สถานะทรงตัวได้
+ ถ้าตาแหน่ง M อยู่ต่ากว่า จุด G [ระยะ BM < BG] วัตถุอยู่สถานะทรงตัวไม่ได้
+ ถ้าตาแหน่ง M อยู่ตาแหน่งเดียวกับ G [ระยะ BM = BG] วัตถุอยู่สถานะเป็นกลาง

4.13 การหาความสูงเมตาเซนตริก

x 
W M
G

B /
B

 FB

รูปที่ 4.36 เมื่อวัตถุลอยในของไหลเอียงทามุม 


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert and Alan, 1998)

รูปที่ 4.36 เมื่อเรือเอียงเป็นระยะเชิงมุม  จุดศูนย์กลางแรงลอยตัวจะเปลี่ยนจากตาแหน่ง B-B’


ทาให้เกิดโมเมนต์คู่ควบ เท่ากับ FB x BM x 
ซึ่งเท่ากับผลรวมของโมเมนต์ของน้าหนักปริมาตรของของเหลว ดังนั้นเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 109

B 2 ∫x x

B 2 ∫x (4.43)

เนื่องจาก 2  x2 dA คือ โมเมนต์ความเฉื่อย (Moment of inertia, I ) ของพื้นที่หน้าตัดตาม


แนวผิวของเหลว รอบแกนนอน

ดังนั้น B (4.44)

โดยที่

 B (4.45)

เมื่อ  : ปริมาตรของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่
BM : รัศมีเมตาเซนตริก

สาหรับ ความสูงเมตาเซนตริก GM หาได้จากสมการ

G BG B (4.46)

เมื่อ BG คือ ระยะจากจุดศูนย์กลางแรงลอยตัวกับจุดศูนย์ถ่วง

ตัวอย่างที่ 4.11 เมื่อวัตถุจมอยู่ในน้ามันชีวภาพ (Bio-oil) ที่มีถ่วงจาเพาะ 1.2 และมีปริมาตรของ


ของเหลวที่ถูกแทนที่ 8 m3 จงคานวณหาน้าหนักของวัตถุ และปริมาตรที่แทนที่ได้ในน้า
วิธีทา
หาน้าหนักจาเพาะของน้ามันชีวภาพ จากสมการ

 = .g = S.W.g
= 1.2 x 1,000 x 9.81
= 11,772 N/m3

หาน้าหนักของวัตถุ จากสมการ

FB = W = .
110 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

W = 11,772 x 8
= 94,176 N ตอบ

หาปริมาตรของน้าที่ถูกแทนที่ จากสมการ

W =

4 76
=

= 9.6 m3 ตอบ

ตัวอย่างที่ 4.12 จากรูปที่ 4.37 แผ่นไม้ (Wood) ขนาด กว้าง x ยาว x สูง = 1.25 m x 2 m x 4 m
ตามลาดับ มีความถ่วงจาเพาะ (Swood) เท่ากับ 0.64 ลอยอยู่ในน้าทะเลที่มีน้าหนักจาเพาะ (sea)
เท่ากับ 10.1 kN/m3 จงหาปริมาตรส่วนที่จมของแผ่นไม้ และจุดศูนย์กลางของแรงลอยตัว
1.5 m 4m

2m G 3
sea = 10.1 kN/m
Swood = 0.64

รูปที่ 4.37 ประกอบตัวอย่างที่ 4.12


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

วิธีทา
โจทย์ถามหาปริมาณของไม้ที่จมในทะเล

จากสมการ FB = W = .
หา W จาก
W = mg = . V.g = .V = W. SW.V
แทนค่าได้
W = (103 x 9.81 x 0.64) x (1.25 x 2 x 4)
= 62.78 x 103 N
ดังนั้น จากสมการ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 111

 =

6 .7 3
= 3
.

= 6.216 m3 ตอบ

โจทย์ถามหาจุดศูนย์กลางของแรงลอยตัว
ถ้าให้ไม้จมทะเลลึก เป็นระยะ h

 = 6.216 m3 = 4 x 1.25 x h
จะได้ h = 1.243 m

ดังนั้น จุดศูนย์กลางของแรงลอยตัว จะอยู่ห่างจากขอบล่าง


.
= = 0.622 m ตอบ

4.14 บทสรุป
สถิตยศาสตร์ของไหล (Fluid statics) หรือของไหลสถิต หมายถึง ของไหลหนึ่งๆ ที่อยู่นิ่ง หรือ
เคลื่อนที่โดยไม่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของชั้นของไหล นั้นคือ ไม่เกิดความเค้นเฉือน (Shear stress)
ความดัน หมายถึง แรง (Force) ที่กระทาตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ (Area) มีหน่วยเป็น bar ,
N/m , lb/in2 (Psi) เรียกการวัดแบบนี้ว่า ความดันสถิต (Statics pressure) นอกจากนี้ ความดันยัง
2

สามารถวัดได้ในรูปแบบของน้าหนักจาเพาะและความสูงของของไหล เรียกการวัดนี้ว่า เฮดความดัน


(Pressure head)
เฮดความดัน (Pressure head) เป็นความสูงในแนวตั้งฉากกับผิวอิสระเมื่อเทียบกับจุดอ้างอิง
ใดๆ ในของเหลวที่หยุดนิ่ง
ความดันสัมบูรณ์ = ความดันเกจ + ความดันบรรยากาศ
บารอมิเตอร์ (Barometer) เป็นเครื่องมือวัดความดันบรรยากาศ ประกอบด้วยหลอดแก้ว
สุญญากาศ วางคว่าลงในอ่างปรอท หรือของเหลวอื่นๆ ความดันบรรยากาศจะวัดออกมาเป็นความสูง
ของของไหลในหลอดแก้ว นั้นคือ ค่า h
แมนอมิเตอร์ (Manometer) เป็นเครื่องมือวัดความดันของของเหลวหรือก๊าซประกอบด้วย
หลอดแก้วรูปตัวยู หรือหลอดแก้วเอียง ที่บรรจุของเหลวชนิดหนึ่งที่ไม่รวมตัวกับ ของไหลในภาชนะที่
จะวัดความดัน แมนอมิเตอร์มีหลายแบบด้วยกัน ได้แก่ หลอดพิซอมิเตอร์ (Piezometer tube) ซึ่ง
เป็นแมนอมิเตอร์อย่างง่าย แมนอมิเตอร์แบบหลอดตัวยู (U–tube manometer) และแมนอมิเตอร์
แบบวัดผลต่างของความดัน (Differentia manometer)
112 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

หลอดพิ ซอมิเตอร์ (Piezometer tube) เป็ นแมนอมิเตอร์อย่างง่ายที่สุ ด มีลั กษณะเป็ น


หลอดแก้วเปิดแนวดิ่งเมื่อเสียบต่อเข้ากับภาชนะบรรจุของเหลวที่ต้องการวัดความดัน ของเหลวใน
ภาชนะบรรจุจะไหลขึ้นไปตามหลอดแก้วเนื่องจากความดันของของเหลวดังกล่าวสูงกว่าความดัน
บรรยากาศ ที่สภาวะสมดุลระหว่างน้าหนักของของเหลวในหลอดแก้วกับความดัน สามารถอ่านความ
สูงของของเหลวในหลอดแก้วได้ h เมตร ของเหลวในหลอดแก้วและในภาชนะบรรจุซึ่งเป็นของเหลว
ชนิดเดียวกันจะมีน้าหนักจาเพาะค่าเดียวกันคือ 
แมนอมิเตอร์แบบหลอดตัวยู (U–tube manometer) แมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยูนี้จะใช้
หลอดแก้วดัดเป็นรูปตัวยู โดยที่ปลายด้านหนึ่งนาไปต่อเข้ากับจุดที่ต้องการวัดความดัน และปลายอีก
ข้างจะเปิดสู่บรรยากาศ
มาตรวัดบัวดอง (Bourdon gauge) เป็นเครื่องมือใช้วัดความดันแบบหน้าปัดและใช้สาหรับวัด
ความดันเกจ ใช้วัดความดันที่ต่ากว่าและสูงกว่าความดันบรรยากาศได้ ถ้าต้องการหาความดันสัมบูรณ์
ก็ต้องนาค่าที่อ่านได้ไปบวกกับความดันบรรยากาศ อุปกรณ์ของเครื่องวัดแบบบูดองนี้ประกอบด้วย
หลอดซึ่งมีภาคตัดขวางเป็นรูปไข่และตัดเป็นส่วนโค้งของวงกลม ปลายหลอดเชื่อมปิดสนิทอีกปลาย
ข้างหนึ่งต่อกับอุปกรณ์ที่ใช้วัดความดันเมื่อความดันภายในหลอดเพิ่มขึ้น หลอดจะดันออก ซึ่งการ
เปลี่ยนแปลงความดันจะไปปรากฏเป็นการเคลื่อนไหวของปลายท่อปิดซึ่งต่อกับกลไก ทาให้เข็มชี้หมุน
ไปตามสเกลที่แบ่งไว้ แล้วอ่านค่าออกมา
เมื่อวัตถุจมเพียงบางส่วน หรือจมทั้งหมดในของไหล จะเกิดแรงมากระทาที่วัตถุ ในแนวตั้งฉาก
กับผิว เป็นแรงที่พยายามพยุงหรือยกวัตถุให้ลอยขึ้น ในทิศทางสวนทางกับแรงดึงดูดของโลก เรา
เรียกว่า แรงลอยตัว (Buoyant force) และตาแหน่งที่แรงลอยตัวกระทากับวัตถุนั้น เรียกว่า จุด
ศูนย์กลางของแรงลอยตัว (Center of buoyancy)
ผู้ที่ค้นพบแรงลอยตัว คือ อาร์คีเมเดส กล่าวไว้ว่า “เมื่อวัตถุใดๆ จมอยู่ในของไหลไม่ว่าจะเป็น
ทั้งหมด หรือบางส่วนก็ตาม จะมีแรงลอยตัวมากระทากับวัตถุนั้นและจะมีค่าเท่ากับน้าหนักของของ
ไหลที่ถูกวัตถุนั้นแทนที”่ เรียกว่า หลักการของอาร์คิมีดีส (Archimedes principle)
เสถียรภาพของวัตถุจมและวัตถุลอย (Stability of submerged and floating bodies)
หมายถึง เมื่อวัตถุนั้นมีแรงภายนอกมากระทาแล้ว ทาให้วัตถุนั้นกลับคืนสู่สภาพเดิมได้หรือไม่ ซึ่งมีผล
ทาให้วัตถุทรงตัวได้และทรงตัวไม่ได้
การทรงตัวได้ของวัตถุที่ลอยได้สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1) สถานะทรงตัวได้ดี (Stable equilibrium)
2) สถานะทรงตัวไม่ได้ (Unstable equilibrium)
3) สถานะทรงตัวเป็นกลาง (Neutral equilibrium)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 113

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 4

1. จงบอกความหมายของความดัน
2. ความดัน 1 บรรยากาศ หมายถึงอะไร
3. เครื่องมือวัดความดันแบบบูดอง ใช้วัดความดันอย่างไร
4. แมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยู ใช้วัดความดันอย่างไร
5. แมนอมิเตอร์แบบวัดผลต่างของความดัน ใช้วัดความดันอย่างไร
6. กฎของปาสคาล กล่าวไว้ว่าอย่างไร
8. ความดันสัมบูรณ์ หมายถึงอะไร
9. บารอมิเตอร์คืออะไร
10. Head Pressure คืออะไร
11. ความดันของของไหลในท่อมีค่า 20 kN/m2 จงหาความดันสัมบูรณ์ของของไหลนั้น
12. แมนอมิเตอร์แบบตัวยู ดังรูปที่ 4.38 บรรจุปรอทมีความถ่วงจาเพาะ13.6 ใช้วัดท่อซึ่งวางในแนว
ระดับมีน้ามันไหลอยู่ มีความถ่วงจาเพาะ 0.95 ความแตกต่างระหว่างปรอทเท่ากับ 40 cm จงหา
ความดันแตกต่างระหว่าง PA และ PB เป็น kN/m2

น้ามัน PA PB น้ามัน

L
/
O O h

ปรอท

รูปที่ 4.38 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 12


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Frank, 2011)

13. เมทิลแอลกอฮอล์ (Methyl alcohol) มีความถ่วงจาเพาะ 0.85 และ ก๊าซโซลีน (Gasoline) มี


ความถ่วงจาเพาะ 0.701 บรรจุแยกออกจากกัน อยู่ในถังระบบเปิด ดังรูปที่ 4.39 จงหาว่าความดันที่
ก้นถัง (P3) เป็นเท่าใด ถ้าความดันบรรยากาศ เท่ากับ 101.3 kPa
114 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

เปิดสู่บรรยากาศ
A
ก๊าซโซลีน 0.3 m
B
เมทิลแอลกอฮอล์
0.7 m
S = 0.85
C

รูปที่ 4.39 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 13


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

14. จากรูปที่ 4.40 จงหาความดันในท่อน้ามัน A (PA) กาหนดให้ ความดันบรรยากาศ (Patm) = 101.3


kPa ความถ่วงจาเพาะของน้ามัน เท่ากับ 0.89 และความถ่วงจาเพาะของปรอท (Hg) เท่ากับ 13.6

เปิดสู่บรรยากาศ
SOil = 0.89
0.9 m
D
0.5 m
B C

SHg = 13.6

รูปที่ 4.40 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 14


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson, et al., 2013)

15. ของไหลสองชนิดไหลภายในท่อที่อยู่ในแนวต่างระดับกัน ดังรูป ที่ 4.41 จงหาความดันแตกต่าง


ระหว่างของเหลวในท่อ A และท่อ B (PA – PB) กาหนดให้ Sน้า = 1 , Sน้ามันเบซิน = 0.78 และ Sปรอท =
13.6
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 115

G B
+ น้ามันเบนซิน
25 cm
F
น้า +A C 40 cm
D 20 cm E

ปรอท

รูปที่ 4.41 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 15


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson, et al., 2013)

16. จงคานวณหาความดันของอากาศ (Air) ในถัง (PA) ดังรูปที่ 4.42 โดยกาหนดให้ ความหนาแน่น


ของอากาศ เท่ากับ 1.2 kg/m3 ความถ่วงจาเพาะของน้ามัน (oil) เท่ากับ 0.89 ความถ่วงจาเพาะของ
น้า เท่ากับ 1 และความดันบรรยากาศ เท่ากับ 101.3 kPa

อากาศ เปิดสู่บรรยากาศ

D
อากาศ
A 4 cm B 15 cm
6 cm C
น้ามัน
S = 0.89
น้า

รูปที่ 4.42 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 16


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

17. ประตูกั้นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด กว้าง 0.5 m สูง 4.5 m ดังรูปที่ 4.43 ใช้กั้นของเหลวที่เป็นน้า
(ความถ่วงจาเพาะ เท่ากับ 1) ที่มีระดับความสูง 4 m จงคานวณหาขนาดและตาแหน่งของแรงลัพธ์ที่
กระทากับประตูกั้นน้า
116 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

0.5 m

4.5 m น้า
4m

รูปที่ 4.43 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 17


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

18. ประตูกั้นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 0.4 m สูง1.5 m ใช้กั้นของไหลสองชนิด คือ เอสเทอร์ (Ether)


ที่มีความถ่วงจาเพาะ เท่ากับ 0.715 และคาร์บอนไดซัลไฟด์ (CS2) ที่มีค่าความถ่วงจาเพาะ เท่ากับ
1.265 ดังรูปที่ 4.44 อยากทราบว่าระยะความสูงของเอสเทอร์ (Z) เป็นเท่าใด

O
เอสเทอร์
1.5 m คาร์บอนไดซัลไฟด์
Z
0.9 m

รูปที่ 4.44 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 18


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

19. ประตูกั้นน้า (Gate) รูปวงกลม ใช้สาหรับกั้นน้าในแนวเอียงของอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ ดังรูปที่


4.45 กาหนดให้ น้ามีความถ่วงจาเพาะเท่ากับ 1 จงหาขนาดและตาแหน่งของแรงลัพธ์ที่กระทากับ
ประตูกั้น
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล 117

 0

60
x
10 m y
ตัวกั้น
เพลา

4m A
C

A จุดศูนย์กลางของความดัน

รูปที่ 4. 45 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 19


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

20. ท่อคอนกรีตรูปทรงกระบอก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 m และยาว 3 m บรรจุน้าสูงในระดับ


ครึ่งถัง ดังรูปที่ 4.46 จงคานวณหาขนาดและตาแหน่งของแรงลัพธ์ที่น้ากระทากับผิวโค้ง BA

B XR B
3m
YR FH
FV

A A

รูปที่ 4. 46 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 20


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

21. แรงลอยตัวที่กระทากับวัตถุ คืออะไร


22. จุด Metacenter คืออะไร
23. แท่งทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 cm จมอยู่ในน้ามัน ส่วนบนโผล่พ้นผิวอิสระ 6 cm
ดังรูปที่ 4.47 ถ้าน้ามันมีความหนาแน่น 880 kg/m3 จงคานวณหาความหนาแน่นของทรงกระบอก
118 บทที่ 4 สถิตยศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหล

5 cm W

6 cm

22 cm

FB

รูปที่ 4.47 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 23


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Donald et al., 2012)

24. ฟองน้ามีขนาดกว้าง 12 cm ยาว 24 cm สูง 6 cm มีความถ่วงจาเพาะ 0.34 ลอยอยู่ในน้าใน


สภาพสมดุล จงคานวณหาปริมาตรส่วนที่จมของฟองน้า
25. แท่งไม้ที่มีความถ่วงจาเพาะ 0.84 มีความกว้าง 50 mm ยาว 120 mm ลึก 40 mm ดังรูปที่
4.48 จงหาความสูงเมตาเซนตริก

120 mm

40 mm G
B
O
50 mm
รูปที่ 4.48 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อที่ 25
(ที่มา : ดัดแปลงจาก Donald et al., 2012)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 119

บทที่ 5
พื้นฐานของการไหล
(Basic of flow)
สาหรับในบทนี้จะกล่าวถึงพื้นฐานของการไหล (Basic of flow) ซึ่งเป็นทฤษฎีการไหลของของ
ไหล เพื่อที่จะทาให้ทราบถึงลักษณะพื้นฐานของการไหลของของไหลแบบต่างๆ เนื้อหาในบทเรียนนี้
ประกอบด้วย นิยาม ชนิดของการไหล และสมการพื้นฐานของการไหล โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

5.1 นิยาม
คานิยามที่เกี่ยวข้องกับการไหลของของไหลที่จะกล่าวถึง ได้แก่ เส้นกระแส (Stream line) และ
ลาท่อกระแส (Stream tube)
5.1.1 เส้นกระแส (Stream line)
เส้นกระแส หมายถึง เส้นที่เชื่อมต่อเวกเตอร์ความเร็วของแต่ละอนุภาคของงของไหล ณ
เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือ เส้นที่บ่งถึงทิศทางการหลหรือการเคลื่อนที่โดยเฉลี่ยของอนุภาคของของไหล
ดังแสดงในรูปที่ 5.1 (ก)
5.1.2 ลาท่อกระแส (Stream tube)
ลาท่อกระแส หมายถึง ลาท่อที่เกิดจากการลากเส้นกระแสกลุ่มหนึ่งผ่านเส้นโค้งวงรอบปิด
2 วง ดังแสดงในรูปที่ 5.1 (ข)

ความเร็วในการไหล, v

(ก) เส้นกระแส (ข) ลาท่อกระแส

รูปที่ 5.1 ลักษณะของการไหล


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Frank, 2011)
120 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

5.2 ชนิดของการไหล
5.2.1 การไหลในสภาวะคงตัว และในสภาวะไม่คงตัว (Steady and unsteady flow)
1) การไหลในสภาวะคงตัว (Steady flow) คือ การไหลของของไหลที่ผ่านจุดที่ต้องการ
วัดด้วยความเร็วคงที่ ดังรูปที่ 5.2 ความเร็วที่จุด 1 (v1) เท่ากับ ความเร็วที่จุด 2 (v2)

การไหลในสภาวะคงตัว

1 v1 2 v2

รูปที่ 5.2 การไหลของของไหลในสภาวะคงตัว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Pijush and Ira, 2010)

2) การไหลในสภาวะไม่คงตัว (Unsteady flow) คือ การไหลของของไหลชนิดที่ความเร็ว


ในการไหล ณ จุดใดๆ มีการเปลี่ยนแปลงหรือขาดช่วง ดัง แสดงในรูปที่ 5.3 ความเร็วที่จุด 1 (v1) ไม่
เท่ากับ ความเร็วที่จุด 2 (v2)

การไหลในสภาวะไม่คงตัว

1 v1 2 v2

รูปที่ 5.3 การไหลของของไหลในสภาวะไม่คงตัว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Pijush and Ira, 2010)

5.2.2 การไหลแบบทิศทางเดียว สองทิศทาง และสามทิศทาง (One-dimension, Two-


dimension and Three-dimension flow)
1) การไหลแบบทิศทางเดียว (One-dimension flow) คือ การไหลที่เส้นกระแส
(Streamline) เคลื่อนที่ไปทางเดียว ซึ่งการไหลชนิดนี้ การเปลี่ยนแปลงของความดันหรือความเร็ว จะ
ไม่เกิดขึ้นในทิศทางอื่น นอกจากเกิดขึ้นในทิศทางเส้นกระแส ดังรูปที่ 5.4
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 121

ท่อ การไหลจินตนาการ การไหลจริง

รูปที่ 5.4 การไหลแบบทิศทางเดียว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Pijush and Ira, 2010)

2) การไหลแบบสองทิศทาง (Two-dimension flow) คือ การไหลที่เส้น กระแส


(Streamline) เคลื่อนที่ไปในระนาบเดียวกัน แต่มีการเคลื่อนที่ขึ้นลงได้ ดังรูปที่ 5.5

รูปที่ 5.5 การไหลแบบสองทิศทาง


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

3) การไหลแบบสามทิศทาง (Three-dimension flow) คือ การไหลที่เส้นกระแส


(Streamline) มีการเปลี่ยนแปลงไปทั้งสามทิศทาง ดังรูปที่ 5.6

รูปที่ 5.6 การไหลแบบสามทิศทาง


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)
122 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

5.2.3 การไหลแบบราบเรียบ และแบบปั่นป่วน (Laminar and turbulent flow)


1) การไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) คือ การไหลของของไหลเคลื่อนที่ตามกันไป
เป็นแผ่นหรือชั้นเรียบๆ โดยที่แผ่นหนึ่งเลื่อนเรียบเหนือแผ่นอื่น ดังรูปที่ 5.7

รูปที่ 5.7 การไหลแบบราบเรียบ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Oteh, 2008)

2) การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) คือ การไหลของของไหลเคลื่อนที่ไปใน


ทิศทางไม่แน่นอน มีการเคลื่อนที่ขึ้นลง หมุนวนจากส่วนหนึ่งของของไหลไปยังส่วนอื่น ดังรูปที่ 5.8

รูปที่ 5.8 การไหลแบบปั่นป่วน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Oteh, 2008)

5.2.4 การไหลแบบหนืด และแบบไม่หนืด (Viscous and non-viscous flow)


1) การไหลแบบหนืด (Viscous flow) คือ การไหลของของไหลที่มีความหนืด เช่น น้าผึ้ง
จะไหลยาก ความหนืดทาให้ชั้นของของไหลที่ติดกันเคลื่อนผ่านกันได้ยาก ลักษณะการไหลแบบนี้จะ
แสดงดังรูปที่ 5.9
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 123

รูปที่ 5.9 การไหลแบบหนืด


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

2) การไหลแบบไม่หนืด (Non-viscous flow) คือ การไหลของของไหลที่ไม่มีความหนืด


เช่น น้า จะไหลได้ง่ายกว่า ลักษณะการไหลแบบนี้จะแสดงดังรูปที่ 5.10

รูปที่ 5.10 การไหลแบบไม่หนืด


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

5.2.5 การไหลแบบอัดตัวไม่ได้ และแบบอัดตัวได้ (Incompressible and compressible


flow)
การไหลแบบอัดตัวไม่ได้ (Incompressible flow) คือ การไหลที่สามารถสังเกตได้จาก
ความหนาแน่นของของไหลว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ในระหว่างการไหล การวิเคราะห์อัตราการ
ไหลจึงมีความซับซ้อนน้อย ถ้าความหนาแน่นคงที่ในการไหล แสดงว่าเป็นการไหลแบบอัดตัวไม่ได้
(Incompressible flow) แต่ถ้าความหนาแน่นเปลี่ยนไประหว่างการไหล แสดงว่าเป็นการไหลแบบ
อัดตัวได้ (Compressible flow) ส่วนใหญ่แล้วการไหลของของเหลวจะเป็นการไหลแบบอัดตัวไม่ได้
ขณะที่การไหลของก๊าชจะถูกบีบอัดได้ง่ายกว่า ยกตัวอย่าง เช่น อากาศไหลผ่านคอมเพรสเซอร์
124 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

5.2.6 การไหลแบบหมุน และแบบไม่หมุน (Rotational and irrotational flow)


การไหลแบบหมุน (Rotational flow) ของไหลจะหมุนพร้อมกับการเคลื่อนที่ และ
ความเร็วของอนุภาคในของไหลจะไม่เท่ากัน ณ ตาแหน่งต่างๆ ในแนวดิ่ง ดังรูปที่ 5.11 ขณะที่การ
ไหลแบบไม่หมุน (Irrotational flow) ของไหลจะมีเฉพาะการเคลื่อนที่เท่านั้น ความเร็วในอนุภาคใน
ของไหลจะเท่ากัน ณ ตาแหน่งต่างๆ ในแนวดิ่ง ดังแสดงในรูปที่ 5.12

รูปที่ 5.11 การไหลแบบหมุน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

รูปที่ 5.12 การไหลแบบไม่หมุน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

5.3 สมการพื้นฐานของการไหล
5.3.1 ความเร็วในการไหล (Velocity)
ความเร็วในการไหล (v) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปในระยะเวลาหนึ่ง มีหน่วย
เป็น m/s ในของไหลจะแตกต่างจากของแข็งเพราะอนุภาคในของไหลนั้นๆ พบว่า ความเร็วของ
อนุภาคมีทิศทางการเคลื่อนที่คนละทิศทาง และเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่
เช่น ก๊าซ ที่แต่ละโมเลกุลจะเคลื่อนที่เป็นอิสระต่อกัน
สาหรับในของเหลว เช่น การไหลในทางน้าเปิด หรือ ไหลในท่อ เนื่องจากบริเวณท้องน้า
หรือที่ผิวท่อ จะมีแรงเสียดทานของการไหล ทาให้ความเร็วบริเวณนั้นมีค่าเท่ากับศูนย์ ดังรูป ที่ 5.13
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 125

ซึ่งโดยทั่วไป ความเร็วของไหลที่กล่าวถึง จึงเป็นความเร็วเฉลี่ย (Mean velocity) ที่สมมุติขึ้นแสดง


เป็นเส้นประ ซึ่งมีค่าคงที่ตลอดหน้าตัด
v v
v v
Fluid
ของเหลว

รูปที่ 5.13 ความเร็วในการไหล


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert et al., 2012)

ความเร็วเฉลี่ยของของไหลสามารถคานวณได้ดังสมการที่ (5.1)

(5.1)

โดยที่ v คือ ความเร็วเฉลี่ยของการไหล (m/s)


Q คือ อัตราการไหล (m3/s)
A คือ พื้นที่หน้าตัดของไหล (m2)

5.3.2 อัตราการไหล (Flow rate)


อัตราการไหล หมายถึง ปริมาณของไหลที่เคลื่อนที่ ต่อหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งสามารถวัดได้
ทั้งในเทอมของปริมาตร และเทอมของมวล ดังนี้
1) ถ้าเป็นของเหลว จะวัดในเชิงปริมาตร มีหน่วยเป็น m3/s (Volume flow rate)
ในการพิจารณาการไหล สามารถหาอัตราการไหลในเชิงปริมาตร ได้จากสมการที่ (5.2)

(5.2)

โดยที่ Q คือ อัตราการไหล (m3/s)


 คือ ปริมาตรของการไหล (m3)
T คือ เวลาในการของไหล (s)

หรือ อัตราการไหลสามารถหาได้จากความเร็วเฉลี่ยในการไหล ดังสมการที่ (5.3)

(5.3)
126 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

โดยที่ Q คือ อัตราการไหล (m3/s)


A คือ พื้นที่หน้าตัดของไหล (m2)
v คือ ความเร็วเฉลี่ยของการไหล (m/s)

2) ถ้าเป็นก๊าซจะวัดในเชิงมวล มีหน่วยเป็น kg/s (Mass flow rate)


การหาอัตราการไหลของของไหล สามารถหาได้จากอัตราการไหลเชิงมวล (Mass flow
rate) ดังสมการที่ (5.4)

̇ ρ ρ (5.4)

โดยที่ ̇ คือ อัตราการไหลเชิงมวล (kg/s)


 คือ ความหนาแน่นของของไหล (kg/m3)
A คือ พื้นที่หน้าตัดของไหล (m2)
v คือ ความเร็วเฉลี่ยของการไหล (m/s)

A
δ ̇
v ทิศทางการไหล

รูปที่ 5.14 การไหลเชิงมวล


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Graebel, 2001)

5.3.3 สมการการไหลต่อเนื่อง (Continuity equation)


สมการการไหลต่อเนื่อง คือ สมการที่แสดงถึงกฎการอนุรักษ์มวลของของไหลในระบบที่
เราศึกษาหรือในปริมาตรควบคุม (Control volume) นั่นก็คือ ผลต่างของมวลของไหลที่ไหลเข้า
ระบบ กับมวลของไหลที่ไหลออกระบบ จะมีค่าเท่ากับมวลที่สะสมในระบบ
นั่นคือ

หากพิจารณาอัตราการไหล โดยมวลของของไหลเข้าและออกจากระบบจะได้

̇ ̇
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 127

กรณี Steady flow ; จะได้

̇ ̇ หรือ ∑ ̇ ∑ ̇

เนื่องจาก ̇ ρ ดังนั้นสมการต่อเนื่อง สามารถเขียนได้ดังนี้

∑ ρ ∑ ρ (5.5)

กรณีที่มีกระแสการไหลเดียว (Single stream) ดังรูปที่ 5.15 สมการความต่อเนื่องเมื่อ


พิจารณาการไหลแบบคงตัว (Steady flow) สามารถเขียนได้เป็น

ρ ρ (5.6)

ซึ่งก็คือ อัตราการไหลโดยมวลขาเข้า เท่ากับ อัตราการไหลโดยมวลขาออก

2
v2
A2

A1
1
v1

รูปที่ 5.15 การไหลแบบต่อเนื่อง


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

ถ้ า การไหลเป็ น แบบคงตั ว และเป็ น การไหลที่ ไ ม่ ส ามารถอั ด ตั ว ได้ (Steady and


incompressible flow) และมีการไหลหลายทิศทาง สมการที่ได้คือ

∑ ∑ (5.7)

เนื่องจากค่าความหนาแน่น (ρ) มีค่าคงที่


128 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 5.1. น้าปริมาณ 2,500 ลิตร ไหลผ่านท่อที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 cm ในเวลา 1


นาที จงหาความเร็วเฉลี่ย และ อัตราการไหลเชิงมวลของน้าที่ไหลผ่านท่อดังกล่าว
วิธีทา
จากสมการ

และ ปริมาตร  = 2,500 x 10- 3 = 2.5 m3


เวลา T = 1 นาที = 60 วินาที (s)

ดังนั้น

= 0.042 m3/s

หาความเร็วเฉลี่ย จาก

= 0.59 m/s ตอบ


( )

หาอัตราการไหลเชิงมวล จาก ̇ ρ

̇ (1,000) x ( x 0.32) x 0.59

̇ 41.7 kg/s ตอบ


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 129

ตัวอย่างที่ 5.2 น้ามันมีความถ่วงจาเพาะ 0.8 ไหลผ่านท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 120 cm (จุดที่ 1)


ด้วยความเร็ว 0.9 m/s และผ่านท่อที่ลดขนาดลงมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 cm (จุดที่ 2) ดังรูปที่ 5.16
จงหาอัตราการไหลของน้ามันในท่อ และความเร็วของน้ามันที่ไหลผ่านท่อจุดที่ 2

120 cm 60 cm
2
1
รูปที่ 5.16 ประกอบตัวอย่างที่ 5.2
(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา หาอัตราการไหล

จาก Q = A1 v1 = A2 v2

= ( x 1.22) x 0.9

ดังนั้น Q = 1.018 m3/s ตอบ

หาความเร็วของน้ามันที่จุดที่ 2

จาก Q = A1 v1 = A2 v2

ดังนั้น ( x 1.22) x 0.9 = ( x 0.62) x v2

 v2 = 3.6 m/s ตอบ


130 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 5.3. จากรูปที่ 5.17 น้ามัน (Oil) ที่มีความถ่วงจาเพาะ 0.85 ไหลผ่านท่อ A ด้วยอัตราการ
ไหล 0.1 m3/s และน้า (Water) ที่มีความถ่วงจาเพาะ 1 ไหลผ่านท่อ B ด้วยอัตราการไหล 0.03 m3/s
จงหาความเร็วเฉลี่ยและความหนาแน่นของของไหลที่ผ่านท่อ C ถ้ากาหนดให้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์ของ
ท่อ C เท่ากับ 30 cm

A
3
น้ามัน, 0.1 m /s
C
3
น้า, 0.03 m /s
B

รูปที่ 5.17 ประกอบตัวอย่างที่ 5.3


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา หาความเร็วเฉลี่ยที่ทางออกท่อ C
จากสมการการไหลต่อเนื่อง Q = ค่าคงที่ เนื่องจากน้ากับน้ามัน เป็นของไหลอัดตัวไม่ได้

ดังนั้น QC = QA + QB

AC vC = 0.1 + 0.03 = 0.13

vC = = 1.84 m/s ตอบ


( )

หาความหนาแน่นของของไหลที่ท่อ C
จากสมการการไหลต่อเนื่อง ̇ = ค่าคงที่

และ ̇A+ ̇B = ̇C

ดังนั้น ρ ρ ρ

หรือ ρ ρ ρ

แทนค่า
(0.85 x 103 x 0.1) + (103 x 0.03) = C vC ( x 0.32)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 131

ρ = 1626.92

 C = 1626.92 / 1.84

= 884.2 kg/m3 ตอบ

ตัวอย่างที่ 5.4 ถังบรรจุน้ามีทางเข้าที่ด้านข้างถังสองด้าน ดังรูปที่ 5.18 ความสูงของน้ามีค่าเท่ากับ h


จงหาค่า dh/dt ถ้ากาหนดให้ D1 = 2.5 cm, D2 = 7.5 cm, v1 = 1 m/s, v2 = 0.5 m/s และ
พื้นที่หน้าตัดของถังน้า, ATank = 2 m2 สมมติอุณหภูมิของน้าเท่ากับ 20oC

น ้ำ
D1 h
v1 D2
v2

รูปที่ 5.18 ประกอบตัวอย่างที่ 5.4


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Mercle et al., 2002)

วิธีทา
จากสมการการไหลต่อเนื่อง ̇ = ค่าคงที่

และ ̇1+ ̇2 = ̇T

ดังนั้น ρ ρ ρ

หรือ ρ ρ ρ

หรือ
132 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

( ) ( )

( ) ( )

 0.0046 m/s ตอบ

ตัวอย่างที่ 5.5 ถังที่มีความทนทานสูงขนาด 2 m3 ดังรูปที่ 5.19 เริ่มต้นจุอากาศที่มีความหนาแน่น


1.12 kg/m3 ถังนี้เชื่อมต่อกับแหล่งที่ความดันสูงด้วยความวาล์ว เมื่อเปิดวาล์วอากาศก็ไหลเขาถัง
เพิ่มขึ้นทาให้ถังนี้มีความหนาแน่นเป็น 7.40 kg/m3 จงหามวลของอากาศที่ไหลเข้าถังนี้

วาล์ว

อากาศ

รูปที่ 5.19 ประกอบตัวอย่างที่ 5.5


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา เริ่มต้นอากาศในถังมีมวล
m = 

= 1.12 x 2 = 2.24 kg

หลังเปิดวาล์วอากาศในถังมีมวล
m = 

= 7.40 x 2 = 14.8 kg

มวลของอากาศที่ไหลเข้า = 14.8 – 2.24 = 12.56 kg ตอบ


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 133

5.4 บทสรุป
เส้นกระแส (Stream line) หมายถึง เส้นที่เชื่อมต่อเวกเตอร์ความเร็วของแต่ละอนุภาคของงของ
ไหล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือเส้นที่บ่งถึงทิศทางการหลหรือการเคลื่อนที่โดยเฉลี่ยของอนุภาคของ
ของไหล
ลาท่อกระแส (Stream tube) หมายถึง ลาท่อที่เกิดจากการลากเส้นกระแสกลุ่มหนึ่งผ่านเส้นโค้ง
วงรอบปิด 2 วง
การไหลในสภาวะคงตัว (Steady flow) คือ การไหลของของไหลที่ผ่านจุดที่ต้องการวัดด้วย
ความเร็วคงที่ ความเร็วที่จุด 1 เท่ากับ ความเร็วที่จุด 2
การไหลในสภาวะไม่คงตัว (Unsteady flow) คือ การไหลของของไหลชนิดที่ความเร็วในการ
ไหล ณ จุดใดๆ มีการเปลี่ยนแปลงหรือขาดช่วง ความเร็วที่จุด 1 ไม่เท่ากับความเร็วที่จุด 2
การไหลแบบทิศทางเดียว (One-dimension flow) คือ การไหลที่เส้นกระแส (Streamline)
เคลื่อนที่ไปทางเดียว ซึ่งการไหลชนิดนี้ การเปลี่ยนแปลงของความดันหรือความเร็วจะไม่เกิดขึ้นใน
ทิศทางอื่น นอกจากเกิดขึ้นในทิศทางเส้นกระแส
การไหลแบบสองทิศทาง (Two-dimension flow) คือ การไหลที่เส้นกระแส (Streamline)
เคลื่อนที่ไปในระนาบเดียวกัน แต่มีการเคลื่อนที่ขึ้นลงได้
การไหลแบบสามทิศทาง (Three-dimension flow) คือ การไหลที่เส้นกระแส (Streamline) มี
การเปลี่ยนแปลงไปทั้งสามทิศทาง
การไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) คือ การไหลของของไหลเคลื่อนที่ตามกันไปเป็น แผ่น
หรือชั้นเรียบๆ โดยที่แผ่นหนึ่งเลื่อนเรียบเหนือแผ่นอื่น
การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) คือ การไหลของของไหลเคลื่อนที่ไปในทิศทางไม่
แน่นอน มีการเคลื่อนที่ขึ้นลง หมุนวนจากส่วนหนึ่งของของไหลไปยังส่วนอื่น
การไหลแบบหนืด (Viscous flow) คือ การไหลของของไหลที่มีความหนืด เช่น น้าผึ้ง จะไหล
ยาก ความหนืดทาให้ชั้นของของไหลที่ติดกันเคลื่อนผ่านกันได้ยาก
การไหลแบบไม่หนืด (Non-viscous flow) คือ การไหลของของไหลที่ไม่มีความหนืด เช่น น้า
จะไหลได้ง่ายกว่า
การไหลแบบอัดตัวไม่ได้ (Incompressible flow) คือ การไหลที่สามารถสังเกตได้ จากความ
หนาแน่นของของไหลว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ในระหว่างการไหล การวิเคราะห์อัตราการไหลจึงมี
ความซั บ ซ้ อ นน้ อ ย ถ้ า ความหนาแน่ น คงที่ ใ นการไหล แสดงว่ า เป็ น การไหลแบบอั ด ตั ว ไม่ ไ ด้
(Incompressible flow) แต่ถ้าความหนาแน่นเปลี่ยนไประหว่างการไหล แสดงว่าเป็นการไหลแบบ
อัดตัวได้ (Compressible flow) ส่วนใหญ่แล้วการไหลของของเหลวจะเป็นการไหลแบบอัดตัวไม่ได้
ขณะที่การไหลของก๊าชจะถูกบีบอัดได้ง่ายกว่า ยกตัวอย่าง เช่น อากาศไหลผ่านคอมเพรสเซอร์
การไหลแบบหมุน (Rotational flow) ของไหลจะหมุนพร้อมกับการเคลื่อนที่ และความเร็วของ
อนุภาคในของไหลจะไม่เท่ากัน ณ ตาแหน่งต่างๆ ในแนวดิ่ง ขณะที่การไหลแบบไม่หมุน (Irrotational
flow) ของไหลจะมีเฉพาะการเคลื่อนที่เท่านั้น ความเร็วในอนุภาคในของไหลจะเท่ากัน ณ ตาแหน่ง
ต่างๆ ในแนวดิ่ง
134 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

ความเร็วในการไหล (v) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปในระยะเวลาหนึ่ง มีหน่วยเป็น m/s


ในของไหลจะแตกต่างจากของแข็งเพราะอนุภาคในของไหลนั้น ๆ พบว่า ความเร็วของอนุภาคมีทิศ
ทางการเคลื่อนที่คนละทิศทาง และเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่ เช่น ก๊าซ ที่
แต่ละโมเลกุลจะเคลื่อนที่เป็นอิสระต่อกัน
อัตราการไหล หมายถึง ปริมาณของไหลที่เคลื่อนที่ ต่อหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งใน
เทอมของปริมาตร และ เทอมของมวลโดย ถ้าเป็นของเหลว จะวัดในเชิงปริมาตร มีหน่วยเป็น m3/s
ถ้าเป็น ก๊าซ จะวัดในเชิงมวล มีหน่วยเป็น kg/s (เรียกว่า Mass flow rate)
สมการการไหลต่อเนื่อง คือ สมการที่แสดงถึงกฎการอนุรักษ์มวลของของไหลในระบบที่เราศึกษา
หรือในปริมาตรควบคุม (Control volume)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล 135

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 5

1. เส้นกระแส (Stream line) หมายถึงอะไร


2. จงบอกความหมายของการไหลในสภาวะคงตัว และไม่คงตัว
3. จงบอกความหมายของการไหลแบบอัดตัวได้ และแบบอัดตัวไม่ได้
4. ความเร็วเฉลี่ยของการไหล หมายถึงอะไร
5. อัตราการไหล หมายถึงอะไร
6. สมการการไหลต่อเนื่อง หมายถึงอะไร
7. น้ามันที่มีความถ่วงจาเพาะ 0.78 ไหลผ่านท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 m และผ่านท่อลดขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 m ดังรูปที่ 5.20 กาหนดให้ความเร็วที่ท่อทางเข้า (1) เท่ากับ 1.2 m/s จง
คานวณหาอัตราการไหลและความเร็วที่ท่อลด (2) ของน้ามันในท่อนี้

v1 v2
น้ามัน 5m 3m
2
1

รูปที่ 5.20 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 ข้อที่ 7


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

8. สระว่ายน้ารูปทรงกระบอก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 m ลึก 1.2 m ถ้าเติมน้าลงในสระโดยท่อ


ขนาด 5 cm ด้วยความเร็วเฉลี่ย 2 m/s จงหาว่า ต้องใช้เวลาในการเติมน้าเท่าไร น้าจึงจะเต็มสระ
9. น้าไหลเข้าและออกถังโดยควบคุมปริมาตร (CV) ดังรูปที่ 5.21 กาหนดให้ พื้นที่หน้าตัด A1, A2 และ
A3 มีค่า 0.34 m2, 0.45 m2 และ 2.5 m2 ตามลาดับ และน้าที่ไหลเข้ามีความเร็ว v1 = 3.5 m/s
และ v2 = 6.4 m/s จงหา ความเร็ว v3 ของน้าขาออก เมื่อการไหลเป็นแบบสภาวะคงตัว
136 บทที่ 5 พื้นฐานของการไหล กลศาสตร์ของไหล

v3

v1 v2
CV
1 2

รูปที่ 5.21 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 ข้อที่ 9


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

10. ท่อแยกดังรูปที่ 5.22 มีน้ามันที่มีความถ่วงจาเพาะ 0.96 ไหลผ่านด้วยอัตราการไหล 2.5 m3/s


ทางท่อ AB อัตราการแยก BC มีค่าเป็นสองเท่าของอัตราการไหลในท่อแยก BE และความเร็วในท่อ
BD เท่ากับ 4.5 m/s จงคานวณหาอัตราการไหลในท่อแยก BC, BD และ BE พร้อมทั้งความเร็วในท่อ
AB, BC และ BE
vc

2m  0.4 m
1m
vA vE

 0.4 m
vD

รูปที่ 5.22 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 ข้อที่ 10


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 137

บทที่ 6
สมการโมเมนตัม
(Momentum equation)
ในบทนี้ จะกล่ าวถึง การวิเคราะห์ปั ญหาทางวิศวกรรมโดยใช้สมการโมเมนตัม (Momentum
equation) หากพิจารณาวัตถุใดๆ ที่กาลังเคลื่อนที่ เมื่อแรงภายนอกที่มากระทาไม่สมดุลจะเกิด
ความเร่งขึ้น ทาให้ขนาด หรือทิศทางของความเร็วมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงความเร็วจะ
เกิ ด ขึ้ น อย่ า งช้ า ๆ ถ้ า วั ต ถุ นั้ น มี ม วลมาก หรื อ แรงที่ ม ากระท ามี ค่ า น้ อ ย ในทางตรงกั น ข้ า ม การ
เปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วถ้าวัตถุนั้ นมวลน้อย หรือแรงที่มากระทามีค่ามาก เป็นไปตาม
กฎอิมพัล ส์โมเมนตัม (Impulse momentum) ในของไหลก็เช่นเดียวกัน หากการไหลมีการ
เปลี่ยนแปลงทิศทางหรือขนาดของความเร็ว นั่นเป็นผลมาจากแรงภายนอกที่มากระทา เช่นกรณีของ
การไหลในท่อที่มีการลดขนาดหรือข้องอชนิดต่างๆ บริเวณผิวของผนังท่อจะส่งแรงกระทาไปยังกับ
ของไหล ทาให้ขนาดและทิศทางของความเร็วเปลี่ยนแปลงไป
ดังนั้น พฤติกรรมของแรงกระทาภายนอกที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความเร็วของการไหล โดย
อาศัยหลักการจาก กฎอิมพัลส์โมเมนตัม (Impulse momentum) และทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์
โนลด์ (Reynolds transport theorem)

6.1 ความหมายของโมเมนตัม
โมเมนตัม (Momentum) คือ มวลกับวัตถุนั้น คูณกับความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่หน่วยของ
โมเมนตัม มีหน่วยเป็น (kg.m/s) เขียนแทนด้วยสมการที่ (6.1) ดังนี้

(6.1)

โดยที่ M คือ โมเมนตัม (kg.m/s)


m คือ มวล (kg)
v คือ ความเร็ว (m/s)

6.2 สมการโมเมนตัมเชิงเส้น (Linear momentum equation)


พิจารณาสมการโมเมนตัมเชิงเส้น (Linear momentum equation) จากกฏข้อที่ 2 ของนิวตัน
กล่าวว่า “ผลรวมของแรงภายนอกที่มากระทากับวัตถุ เท่ากับ อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของ
ระบบ” พิจารณาการเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัมของระบบผ่านปริมาตรควบคุม โดยสมมติให้การ
ไหลมีเพียงทิศทางเดียว และไม่มีการไหลทางด้านข้างดังรูปที่ 6.1
จากกฎข้อที่สองของนิวตัน จะได้ว่า

∑ (6.2)
138 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล

โดยที่ M คือ โมเมนตัม (kg.m/s)


m คือ มวล (kg)
v คือ ความเร็ว (m/s)
t คือ เวลา (s)

A2
v2

A1
v1

รูปที่ 6.1 การวิเคราะห์การไหลแบบปริมาตรควบคุม


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Bruce et al., 2002)

ดังนั้น
∑ ∬CS (6.3)
CV

สาหรับการไหลแบบคงตัว (Steady flow) จะได้ว่า

∑ ∬CS

∑ (6.4)

โดยที่ F คือ แรงลัพธ์สุทธิ (N)


 คือ ความหนาแน่นของของไหล (kg/m3)
Q คือ อัตราการไหล (m3/s)
v คือ ความเร็วในการไหล (m/s)
จากสมการที่ 6.4 อธิบายได้ว่า
F เป็นแรงลัพธ์ภายนอกที่กระทาต่อปริมาตรควบคุมเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
ของของไหล
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 139

ตัวอย่างที่ 6.1 น้าในท่อมีมวล 80 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 6.4 m/s จะมีโมเมนตัมเท่าไร


วิธีทา
จากสมการ
ดังนั้น M = 80 x 6.4
= 512 kg.m/s ตอบ

ตัวอย่างที่ 6.2 จากรูปที่ 6.2 จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ที่กระทากับท่อ ถ้าการไหลของน้า


ในท่อเป็นการไหลในสภาวะคงตัว (Steady flow) และอัตราการไหลของน้า เท่ากับ 1,000 ลิตรต่อ
วินาที
v2

0.8 m

v1 =45

Fx

Fy F

รูปที่ 6.2 ประกอบตัวอย่างที่ 6.2


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Mercle et al., 2002)

วิธีทา โจทย์ถามหา แรงที่มากระทากับปริมาตรควบคุม (Control volume)


เป็นการไหลในสภาวะคงตัว (Steady flow)

จากสมการ ∑

หา v1 และ v2 ;
จาก สมการอนุรักษ์มวล

จะได้

= 1.98 m/s
140 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล

และ

= 7.96 m/s

ทาการแตกแรงและความเร็ว ตามแนวแกน x และ y (เนื่องจากแรง และความเร็วเป็นปริมาณ


เวกเตอร์จึงต้องพิจารณาทั้งขนาด และทิศทาง) และ , Q คงที่
จากสมการ

= 1,000 x 1 x (7.96 cos45o – 1.98)

= 3.648 kN

∑ ( )

= 1,000 x 1 x (7.96 sin 45o – 0)

= 5.628 kN

 ขนาดของแรงลัพธ์ ∑ √

= 6.7 kN ตอบ

ในทิศทาง ∑

( )

= 57.05 องศา ตอบ


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 141

ตัวอย่างที่ 6.3 จากตัวอย่างที่ 6.2 ถ้าความดันจุดที่ 1 และ 2 มีค่าเท่ากับ 2 bar และ 1 bar
ตามลาดับ ดังรูปที่ 6.3 จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ที่กระทากับท่อ

F2

P1 2 bar v2
0.8 m
v1 ๐
Fx
F1 =45

Fy F

รูปที่ 6.3 ประกอบตัวอย่างที่ 6.3


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Mercle et al., 2002)

วิธีทา
จากตัวอย่างที่ 6.2 ทาให้ทราบความเร็วแล้ว แต่เนื่องจากตัวอย่างนี้ ที่ตาแหน่ง 1 และ 2 มี
ความดันมาเกี่ยวข้อง
ดังนั้น จึงต้องนาแรงเนื่องจากความดันนี้มาพิจารณา ตามแนวแกน x และ y
พิจารณาตามแนวแกน x ;

(แต่ F = PA) แทนค่า

[(2 x 101.3 x 103) ((0.8)2/4)] - [(1 x 101.3 x 103) ((0.4)2 /4) (cos 45o)] - FX
= 1,000 x 1 x (7.96 cos 45o – 1.98)

FX = 89 kN

พิจารณาตามแนวแกน y ;

∑ ( )
142 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล

( )

(แต่ F = PA) แทนค่า

-[(1 x 101.3 x 103) ( (0.4)2 /4) (sin 45o)] + Fy = 1,000 x 1 x (7.96 sin 45o – 0)

Fy = 15 kN

 ขนาดของแรงลัพธ์ ∑ √

= 90 kN ตอบ

ในทิศทาง ∑

( )

= 9.6 องศา ตอบ


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 143

ตัวอย่างที่ 6.4 หัวฉีด (Nozzle) อยู่กับที่ ฉีดน้าออกในอัตรา 15 m/s โดยมีพื้นที่หน้าตัด 0.05 m2


น้าที่ฉีดออกมาปะทะกับใบพัด ที่ติดกับรถ ดังรูปที่ 6.4 โดยใบพัดทามุม 60o กับแนวระดับ จงหามวล
M ที่ใช้ยึดรถให้อยู่นิ่ง

2 60
v 1

รูปที่ 6.4 ประกอบตัวอย่างที่ 6.4


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Frank, 2011)

วิธีทา
โจทย์ถามหามวลที่ยึดให้รถอยู่นิ่ง
ถ้ากาหนดปริมาตรควบคุมตามเส้นประ จะพบว่า แรงภายนอกที่มากระทากับระบบจะเกิด
จากแรงดึงของมวล M ในแนวระดับ
ดังนั้นจากสมการ

= 1,000 x 0.05 x 152 (0.5 – 1)


= - 5,625 N

ดังนั้น

= 573.4 kg ตอบ
144 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 6.5 จากรูปที่ 6.5. หัวฉีดน้ามีความเร็ว vj และฉีดน้าออกในแนวระดับไปปะทะโดนแผ่น


ใบพัดที่ติดกับรถ ทาให้เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ว u จงหาแรงที่ให้รถเคลื่อนที่ได้ด้วยความเร็ว
คงที่ ถ้าให้พื้นที่หน้าตัดของหัวฉีดน้าเท่ากับ 3 cm2 และ vj = 20 m/s และ u = 15 m/s สมมติไม่
คานึงถึงน้าหนักของรถในแนวแกน x และการไหลในสภาวะคงตัว

vj

A u

รูปที่ 6.5 ประกอบตัวอย่างที่ 6.5


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Frank, 2011)

วิธีทา
กรณีที่ รถหยุดนิ่ง u = 0
พิจารณาตามแนวแกน x ;

( )

= (-) 1,000 x 0.0003 x 202

= - 120 N

กรณีที่ รถวิ่งด้วยความเร็วคงที่ u = 15 m/s ตามกระแสน้า


นั้นคือ ความเร็วสัมพันธ์ระหว่างของไหลกับรถจะเท่ากับ vR = (vj – u)
พิจารณาตามแนวแกน x ;


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 145

สมการนี้ ต้องใช้ความเร็วสัมพันธ์ ในการพิจารณา

= (-) 1,000 x 0.0003 x (20 – 15)2


= - 7.5 N

กรณีที่ รถวิ่งด้วยความเร็วคงที่ u = 15 m/s ทวนกระแสน้า


นั้นคือ ความเร็วสัมพันธ์ระหว่างของไหลกับรถจะเท่ากับ vR = (vj + u)
พิจารณาตามแนวแกน x ;

สมการนี้ ต้องใช้ความเร็วสัมพันธ์ ในการพิจารณา

= (-) 1,000 x 0.0003 x (20 + 15)2


= - 367.5 N ตอบ
( - ) แสดงทิศทางสวนกับกระแสน้า
146 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 6.6 จากรูปที่ 6.6. ลาน้าเข้ากระทบ Divider สมมุติไม่มีแรงเสียดทานในระบบ จงหา Fx


และ Fy
Fy
3
Fx
1
v1 = 10 m/s
Q1 = 9 L/s ๐ 2 Q2 = 3 L/s
30

รูปที่ 6.6 ประกอบตัวอย่างที่ 6.6


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Durst, 2008)

วิธีทา
เนื่องจาก มวลคงที่ Q1 = Q2 + Q3
9 = 3 + Q3
ดังนั้น Q3 = 6 L/s = 0.006 m3/s

จาก ∑

พิจารณาแรงในแนวแกน x

= [(1,000 x 0.003 x 10 cos 60o) - (1,000 x 0.006 x 10 cos 60o)]


– (1,000 x 0.009 x 10 cos 30o)
= 93 N ตอบ

พิจารณาแรงในแนวแกน y

( ) ( )

= [(- 1,000 x 0.003 x 10 sin 60o) + (1,000 x 0.006 x 10 sin 60o)]


– (1,000 x 0.009 x 10 sin 30o)
= 19 N ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 147

6.3 สมการโมเมนตัมเชิงมุม (Angular momentum equation)


พิจ ารณาสภาวะการหมุ น ของของไหลรอบแกนหมุ น ซึ่ ง จะพบในเครื่ อ งจั ก รกลที่ มีก ารหมุ น
(Rotating machinery) เช่น กังหัน (Turbines) และ เครื่องสูบ (Pumps) ในการศึกษานี้จาเป็นต้อง
ทราบความสัมพนธ์ระหว่างแรงบิดภายนอกกับโมเมนต์ของโมเมนตัมเชิงเส้ นของของไหลนั้นรอบแกน
หมุนหนึ่งๆ เพื่อวิเคราะห์หากาลังหมุนเพลาของเครื่องจักรกลนั้นๆ ต่อไป
y

รูปที่ 6.7 ความสัมพันธ์ของโมเมนตัมเชิงมุม


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

พิจารณาปริมาตรควบคุม (Control volume) ในแกน xy ดังรายละเอียดในรูปที่ 6.7 ปริมาตร


ของของไหลที่มีความเร็ว (v) อยู่ที่ตาแหน่ง r วัดจากจุดอ้างอิง O ซึ่งอยู่กับที่ ขณะนั้นของไหลที่มี
ความเร็วเชิงเส้น v ถูกกระทาด้วยแรงลัพธ์ภายนอก dF
จากกฎข้อที่สองของนิวตัน จะได้ว่า

โดยที่ คือ ผลต่างของแรงบิดภายนอก


คือ ผลต่างของแรงลัพธ์ภายนอก

พิจารณาแรงภายนอกจากสมการโมเมนตัมเชิงเส้น จะได้ว่า

ผลต่างของแรงบิดภายนอก จะได้ว่า
148 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล

ทาการอินทิเกรต โดยทั้งหมดพิจารณาเป็นปริมาตรควบคุม จะได้แรงบิดภายนอกทั้งหมดเป็น


ดังนี้

∭ ∬ (6.5)

จากรูปที่ 6.7 vsin = vt แทนค่าในสมการที่ (6.5) จะได้

∭ ∬ (6.6)

ใช้ผลคูณของเวกเตอร์ (Cross product) ดังนี้


r x v = r vsin

จากสมการที่ (6.6) สามารถเขียนใหม่ในรูปแบบของเวกเตอร์ได้ดังนี้

∭ ∬ (6.7)

สมการที่ 6.7 เป็นประยุกต์ใช้สาหรับกรณี 3 มิติ

พิจารณาโมเมนตัมเชิงมุม กรณี สปริงเคลอร์ (Sprinkler) ดังรูปที่ 6.8

rel β
rel

๐ 
 = 25 

 = 1 rev/s 
Rω U

(ก) ปริงเคลอร์ (ข) ความเร็วของการฉีดหัวฉีดสปริงเคลอร์

รูปที่ 6.8 การวิเคราะห์ความเร็วของการฉีดหัวฉีดสปริงเคลอร์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 149

จากรูปที่ 6.8 กาหนดให้


v คือ ความเร็วสมบูรณ์ของของไหลที่ออกจากหัวฉีด
vrel คือ ความเร็วสัมพัทธ์ของของไหลเทียบกับปริมาตรควบคุม
vt คือ ความเร็วย่อยในแนวเส้นสัมผัสและแนวสู่ศูนย์กลางของความเร็ว (v) ตรงทางออก
ut คือ ความเร็วที่ปลายทางออกจากหัวฉีด โดยที่ ut = R
vrel sin คือ องค์ประกอบสัมผัสของความเร็วสัมพัทธ์

พิจารณารูปที่ 6.8 (ข) จะได้ว่า

rel

หรือ
rel R (6.8)

พิจารณาความเร็วสัมพัทธ์ที่ทางออกของหัวฉีด สาหรับหัวฉีดเดียว จะได้

rel rel

หรือ

rel (6.9)

โดยที่ D คือ เส้ นผ่ านศูนย์ กลางนอกของหั วฉีด และความเร็ วย่ อยในแนวเส้ นสั มผัส และแนวสู่
ศูนย์กลางของความเร็ว (v) ตรงทางออก สามารถหาได้จาก

R (6.10)

สาหรับในกรณีไม่มีมวลใช้สมการแรงบิดภายนอกจากสมการที่ (6.5) พิจารณาการไหลแบบคงที่


(Steady flow) จะได้

∬ (6.11)

สาหรับกรณี 2 หัวฉีด จะได้ว่า


150 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล

R∬ (6.11)

ทาการอินทิเกรต จะได้ว่า

R∬( R )

R( R ) (6.12)

ตัวอย่างที่ 6.7 พิจารณาสปริงเคลอร์ชนิด 2 หัวฉีด ดังรูปที่ 6.9 อัตราการไหลของน้าผ่านสปริงเคลอร์


เท่ากับ 0.0015 m3/s หมุนด้วยความเร็วเชิงมุม 10.6 rad/s ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อหัวฉีดที่
ทางออก 12 mm และหัวฉีดแต่ละหัวมีระยะห่างจากแกนหมุน 60 cm มุมระหว่างแกนกับหัวฉีด
เท่ากับ 25๐ จงคานวณหาแรงบิดภายนอกที่เกิดขึ้นจากแรงเสียดทานของแบริ่งเนื่องจากการหมุนของ
สปริงเคลอร์นี้


 = 25

 = 10.6 rad/s

รูปที่ 6.9 ประกอบตัวอย่างที่ 6.7


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา
จากสมการ R( R )

โจทย์กาหนดให้ Qหัวฉีด = 0.0015 m3/s


D = 0.012 m
 = 25๐
R = 0.6 m
 = 10.6 rad/s
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 151

 = 1,000 kg/m3

แทนค่าในสมการได้

( )

ดังนั้น แรงบิดภายนอกที่เกิดขึ้น เท่ากับ 1.35 N.m หมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ตอบ

6.4 บทสรุป
โมเมนตัม (Momentum) คือ มวลกับวัตถุนั้น คูณกับความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่หน่วยของ
โมเมนตัม มีหน่วยเป็น (kg.m/s)
กฏข้อที่ 2 ของ นิวตัน กล่าวว่า “ ผลรวมของแรงภายนอกที่มากระทากับวัตถุ เท่ากับ อัต ราการ
เปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของระบบ” พิจารณาการเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัมของระบบผ่านปริมาตร
ควบคุม โดยสมมติให้การไหลมีเพียงทิศทางเดียว และไม่มีการไหลทางด้านข้าง
F เป็นแรงลัพธ์ภายนอกที่กระทาต่อปริมาตรควบคุมเท่ากับ อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
ของของไหล
พิจ ารณาสภาวะการหมุ น ของของไหลรอบแกนหมุ นซึ่ ง จะพบในเครื่ อ งจั ก รกลที่ มีก ารหมุ น
(Rotating machinery) เช่น กังหัน (Turbines) และ เครื่องสูบ (Pumps) ในการศึกษานี้จาเป็นต้อง
ทราบความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดภายนอกกับโมเมนต์ของโมเมนตัมเชิงเส้นของของไหลนั้นรอบแกน
หมุนหนึ่งๆ เพื่อวิเคราะห์หากาลังหมุนเพลาของเครื่องจักรกลนั้นๆ ต่อไป ดังนั้นในการหมุนที่เกิดขึ้น
ของเครื่องกลเมื่อมีแรงภายนอกมากระทา จะต้องใช้สมการโมเมนตัมเชิงมุมในการวิเคราะห์
152 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 6

1. โมเมนตัม คืออะไร
2. กฎข้อที่สองของนิวตันกล่าวไว้ว่าอย่างไร
3. ของเหลวในท่อมีมวล 20 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2.5 m/s จะมีโมเมนตัมเท่าไร
4. ฉีดน้าเข้าใบพัดรูปทรงโค้ง ทามุมฉีดเลี้ยวกลับ 120๐ ดังรูปที่ 6.10 ใบพัดเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว vv
1 m/s และน้าที่ฉีดไหลด้วยความเร็ว vj 2.5 m/s พื้นที่หน้าตัดของหัวฉีดเท่ากับ 0.003 m2 สมมติไม่
คิดแรงเสียดทานระหว่างใบพัดกับน้า จงคานวณหาแรงปฏิกิริยาที่น้ากระทากับใบพัด Fx และ Fy


120

รูปที่ 6.10 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 ข้อที่ 4


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

5. ท่องอ 45๐ ท่อที่ทางเข้ามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.5 cm ท่อที่ทางออกมีขนาดเส้นผ่าน


ศูนย์กลาง 2.4 cm ดังรูปที่ 6.11 อัตราการไหลของน้าเท่ากับ 0.009 m3/s ความดันเกจที่ทางเข้า
และทางออกเท่ากับ 170 kPa และ 160 kPa ตามลาดับ จงหาแรง Fx และ Fy ที่เกิดจากการเคลื่อนที่
ของน้ากระทากับผนังท่อ

x
p

p

รูปที่ 6.11 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 ข้อที่ 5


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 6 สมการโมเมนตัม 153

6. จงคานวณหาแรงบิดภายนอกที่เกิดขึ้นจากการหมุนของสปริงเคลอร์นี้ชนิด 2 หัวฉีด ดังรูปที่ 6.12


กาหนดให้ อัตราการไหลของน้าผ่านสปริงเคลอร์ เท่ากับ 0.003 m3/s หมุนด้วยความเร็วเชิงมุม 5.6
rad/s ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อหัวฉีดที่ทางออก 10 mm และหัวฉีดแต่ละหัวมีระยะห่างจาก
แกนหมุนแตกต่างกัน โดยที่ R1 = 30 cm และ R2 = 50 cm มุมระหว่างแกนกับหัวฉีด เท่ากับ 45๐


 = 45

 = 5.6 rad/s
R1 R2

รูปที่ 6.12 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 ข้อที่ 6


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Clayton et al., 2010)
154 บทที่ 6 สมการโมเมนตัม กลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 155

บทที่ 7
สมการพลังงาน
(Energy equation)
ในบทนี้จะกล่าวถึงพลังงานและการใช้สมการพลังงานในการวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรม โดย
สมการพลังงานของการไหลขั้นต้นเกิดจากแนวคิดของเลเออร์นาด ออยเลอร์ (Leonnhard Euler)
โดยพิจารณาตัวแปรต่างๆ ไปตามแนวเส้นทางของการไหล (Streamline) สมการพลังงาน (Energy
equation) เป็นสมการที่พัฒนามาจากสมการเบอร์นูลี โดยสามารถใช้ได้กับการไหลที่มีการรับหรือ
สูญเสียพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งรายละเอียดที่เกี่ยวของกับสมการพลังงานที่จะศึกษามีดังต่อไปนี้

7.1 ความหมายของพลังงาน
พลังงาน (Energy) คือ ความสามารถที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความร้อน งาน และพลังงาน
พลังงานในการไหลของของไหลสามารถแบ่งออกได้เป็น พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานของ
การไหล และพลังงานภายใน
7.1.1 พลังงานจลน์ (Kinetic energy) คือ พลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของของไหลจากจุด
หนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ปริมาณของพลังงานจลน์จะขึ้นอยู่กับความเร็ว และขนาดของมวลของของไหล
นั้น เขียนแทนด้วยสมการ

(7.1)

โดยที่ คือ พลังงานจลน์ (N.m หรือ J)


m คือ มวลของของไหล (kg)
v คือ ความเร็วของของไหล (m/s)

7.1.2 พลังงานศักย์ (Potential energy) คือ พลังงานที่แฝงอยู่ในมวลของของไหลนั้น และความ


แตกต่างของพลังงานขึ้นอยู่กับมวลและระดับความสูงภายใต้แรงงดึงดูดของโลก เขียนแทนด้วยสมการ

(7.2)

โดยที่ คือ พลังงานศักย์ (N.m หรือ J)


m คือ มวลของของไหล (kg)
g คือ อัตราเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (m/s2)
Z คือ ความสูงวัดจากระดับอ้างอิงใดๆ (m)
156 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

7.1.3 พลังงานของการไหล (Flow energy) คือ งานที่กระทาต่อมวลสารของของไหลเมื่อของ


ไหลถูกบังคับให้ผ่านขอบเขต ซึ่งหาได้จาก ผลคูณของความดันและปริมาตร

(7.3)

โดยที่ Wflow คือ พลังงานของการไหล (N.m หรือ J)


P คือ ความดันของของไหล (N/m2)
V คือ ปริมาตรของของไหล (m3)

7.1.4 พลังงานภายใน (Internal energy) เป็นคุณสมบัติประจาตัวของสสาร ถ้าอุณหภูมิของ


สสารยังไม่ถึงศูนย์สัมบูรณ์ สสารนั้นจะมีพลังงานภายในอยู่ พลังงานภายในเกิดจากการเคลื่อนที่ของ
ปรมาณู เขียนแทนด้วยสมการดังนี้

(7.4)

โดยที่ U คือ พลังงานภายใน (kJ)


M คือ มวลของสาร (kg)
cv คือ ความจุความร้อนจาเพาะที่ปริมาตรคงที่ (kJ/kg.K)
T คือ อุณหภูมิ (K)

7.2 สมการอนุรักษ์พลังงาน
สมการอนุรักษ์พลังงาน (Conservation of energy) สามารถหาได้จากกฎการทรงพลังงานซึ่ง
กล่าวไว้ว่า“พลังงานเป็นสิ่งที่ไม่สามารถถูกสร้างหรือถูกทาลายได้ แต่พลังงานสามารถเปลี่ยนแปลง
เป็นพลังงานอีกรูปหนึ่งได้”
พิจารณาให้ระบบเป็นปริมาตรควบคุม ซึ่งมวลไหลผ่านเข้าออกขอบเขตได้
พลังงานที่ถ่ายเทผ่านขอบเขตของระบบ = พลังงานในระบบที่เปลี่ยนไป

( )
และ ∬CS
CV

จะได้
( )
∬CS( ) (7.5)
CV
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 157

ดังนั้น

( ) ( ) ( )
( ) (7.6)

โดยที่ Qcv คือ ความร้อนที่ถ่ายเทสาหรับปริมาตรควบคุม (kJ)


Wcv คือ งานสาหรับปริมาตรควบคุม (kJ)
Esystem คือ การเปลี่ยนแปลงพลังงานในระบบ (kJ)

สาหรับพลังงานของการไหล (Flow energy) มีค่าเท่ากับผลคูณของความดันของไหลกับ


ปริมาตรของไหล ดังสมการที่ (7.3)

ดังนั้น

 ( )

ดังนั้น แทนค่าในสมการที่ (7.6) จะได้ว่า

( ) ( ) ( ) (7.7)

ในการไหลแบบคงตัว และ อัตราการไหลเทียบกับเวลา จะได้สมการที่เขียน


ใหม่ดังนี้

̇ ̇ ̇ [( ) ( ) ( ) ( )] (7.8)

หรือ

̇ ̇ ̇ [( ) ( ) ( )] (7.9)
158 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

โดยที่ ̇ คือ อัตราความร้อนที่ถ่ายเทสาหรับปริมาตรควบคุม (kJ/s)


̇ คือ กาลังงานสาหรับปริมาตรควบคุม (kJ/s)
̇ คือ การเปลี่ยนแปลงพลังงานในระบบ (kg/s)
คือ เอนทัลปี (kJ)

7.3 ประสิทธิภาพเชิงกลของเครื่องสูบ
เครื่องสูบน้า (Pump) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่งของเหลวจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยผ่าน
ท่อ อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ (มอเตอร์ หรือเครื่องยนต์ดีเซล) ไปเป็นพลังงานศักย์
เครื่องสูบที่ใช้ในการทดลองนี้ทางานโดยอาศัยหลักการหมุนของใบพัดที่ได้รับการถ่ายเทกาลังจาก
มอเตอร์ไฟฟ้า เมื่อพบใบพัดหมุนพลังงานจากเครื่องยนต์จะถูกถ่ายเทไปสู่ของเหลว ทาให้เกิดการไหล
ในแนวสัมผัสกับเส้นรอบวง (Tangential flow) เมื่อมีการไหลในลักษณะดังกล่าวจะเกิดการเหวี่ยงหนี
ศูนย์กลาง (Centrifugal force) และเป็นผลให้มีการไหลจากศูนย์กลางของใบพัดออกไปสู่แนวเส้นรอ
บวงทุกทิศทุกทาง (Radial flow) ดังนั้น ของเหลวที่ถูกใบพัดผลักดันออกมาก็จะมีทิศทางการไหลที่
เป็นผลรวมของแนวทั้งสอง

7.3.1 พลังงานหรือแรงขับ (Head) ของเครื่องสูบ หาได้จาก

(7.10)

เมื่อ และ คือ ความดันน้าที่ทางเข้าและทางออกของเครื่องสูบน้า ตามลาดับ (N/m2)


คือ ความหนาแน่นของน้า (kg/m2)
g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (m/s2)

สาหรับกาลังที่น้าได้จากเครื่องสูบน้า หาได้จากสมการ

(7.11)

และกาลังที่ให้กับมอเตอร์ หาได้จากสมการ

(7.12)

เมื่อ Q คือ อัตราการสูบน้า (m3/s)


H คือ ความสูงการส่งน้า (m)
I คือ กระแสไฟฟ้า (Ampere)
V คือ ความต่างศักย์ของกระแสไฟฟ้า (Volt)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 159

7.3.2 ประสิทธิภาพของเครื่องสูบ
สาหรับประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องสูบน้านั้นสามารถหาได้ 2 วิธี คือ
1) ประสิทธิภาพของระบบ กล่าวคือ รวมเครื่องสูบกับมอเตอร์ให้เป็นระบบเดียวกัน
ดังนั้นกาลังที่ให้กับระบบจะเป็นกาลังที่ให้มอเตอร์นั่นเอง ดังในกรณีนี้

(7.13)

2) ประสิทธิภาพของเครื่องสูบเพียงอย่างเดียว วิธีนี้เราต้องทราบกาลังที่แท้จริงที่ให้กับ
เครื่องสูบ ซึ่งสามารถหาได้ 2 วิธี วิธีแรกคือต้องรู้ค่าประสิทธิภาพของมอเตอร์ เราสามารถหากาลังที่
ออกจากมอเตอร์ได้ ซึ่งเท่ากับกาลังของเครื่องสูบนั่นเอง

(7.14)

เมื่อ คือ ประสิทธิภาพของมอเตอร์ ดูได้จากคู่มือการทางานของมอเตอร์


คือ พลังงานกลที่เกิดจากการหมุนของเพลา ส่งกาลังให้เครื่องสูบน้า

ส่วนวิธีที่สอง ไม่จาเป็นต้องรู้ประสิทธิภาพของมอเตอร์ แต่เราต้องติดตั้งอุปกรณ์วัดแรงบิด


เข้ากับเครื่องสูบ ซึ่งทาให้สามารถหาประสิทธิภาพของมอเตอร์ได้ ประสิทธิภาพของระบบเครื่องสูบ
สามารถหาได้จากสมการเดียวกัน คือ

(7.15)

เมื่อ  คือ ประสิทธิภาพของระบบเครื่องสูบ


คือ พลังงานกลที่เกิดจากการหมุนของเพลา ส่งกาลังให้เครื่องสูบน้า
คือ กาลังของน้าที่ได้จากเครื่องสูบน้า
160 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 7.1. จากรูปที่ 7.1 น้าไหลด้วยความเร็ว 12 m/s ผ่านท่อที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5


cm ยาว 30 m ถ้าความดันที่ทางเข้า เท่ากับ 98 kPa (ความดันเกจ) และระดับความสูงของท่อ
ทางออกสูงกว่าทางเข้า 8 m จงหาความดันที่ทางออก
2

8m
1
98 kPa

รูปที่ 7.1 ประกอบตัวอย่างที่ 7.1


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Graebel, 2001)

วิธีทา จากสมการ

̇ ̇ ̇ [( ) ( ) ( ) ( )]

สมมติฐาน : ระบบไม่พิจารณาถึงการถ่ายเทความร้อน (ระบบไม่มีความร้อนเข้า/ออก) ไม่มีการ


เปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน และ ไม่มีงาน
จากกฏทรงมวล; A1v1 = A2v2

̇ ̇ ̇ [( ) ( ) ( ) ( )]

[( ) ( )]
หรือ
( ) ( )

( ) ( ) ( )

P2 = P1 - g( Z2- Z1)


= (98 x 103) - (1,000 x 9.81) (8 – 0)
= 19,520 Pa
หรือ = 19.52 kPa ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 161

ตัวอย่างที่ 7.2 เครื่องสูบ (Pump) ส่งน้าในอัตราการไหล 3 m3/s ขึ้นไปยังเครื่องจักร (Machine) ใน


จุดที่ 2 ซึ่งสูงกว่าระดับผิวน้า 20 m ดังรูปที่ 7.2 ถ้าไม่คิดแรงเสียดทานในท่อและเครื่องสูบ จงหา
กาลังงานขับของเครื่องสูบที่ต้องการ

2 เครื่องจักร
20 m D2 = 60 cm
1 P2 = 10 kPa (gage)

น้า เครื่องสูบ

รูปที่ 7.2 ประกอบตัวอย่างที่ 7.2


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Bruce et al., 2002)

วิธีทา จากสมการ

̇ ̇ ̇ [( ) ( ) ( ) ( )]

ตั้งสมมุตฐาน : พิจารณาเป็นการไหลใน 1 มิติภายใต้สภาวะคงตัว ระบบไม่พิจารณาถึงการ


ถ่ายเทความร้อน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน และพื้นที่หน้าตัดถังที่จุด 1 มีขนาดใหญ่กว่า
หน้าตัดท่อที่จุด 2 มาก ดังนั้น จึงกาหนดให้ความเร็วที่ทางเข้าเป็นศูนย์ (v1  0)
จากสมการ

̇ ̇ ̇ [( ) ( ) ( ) ( )]

จะได้
̇ ̇ [( ) ( ) ( )]

หาความเร็วที่ทางออก 2
จาก Q = Av

v = = 10.61 m/s
( )
162 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

และ ̇ =  Q = 1,000 x 3 = 3,000 kg/s

แทนค่า ̇ ̇ [( ) ( ) ( )]

̇ = 3,000 [(10,000/1,000) + ½ (10.612 ) + (9.81 x 20)

= 3,000 (10 + 56.28 + 196.2)


= 787,440 Watt
แต่ 746 Watt = 1 hp

ดังนั้น ̇ = 787,440/746
= 1,055.5 hp ตอบ

ตัวอย่างที่ 7.3 จากตัวอย่างที่ 7.2 จงหาประสิทธิภาพของระบบเครื่องสูบ ถ้ากาหนดให้มอเตอร์ที่ใช้


ขับเครื่องสูบมีกาลัง 1,200 hp และประสิทธิภาพของมอเตอร์เท่ากับ 95%
วิธีทา
จากสมการ หากาลังที่ส่งให้เครื่องสูบ

= 0.95 x 1,200 = 1,140 hp

ดังนั้น ประสิทธิภาพของระบบเครื่องสูบ

= 0.926

ดังนั้น ประสิทธิภาพของระบบเครื่องสูบ เท่ากับ 92.6% ตอบ


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 163

ตัวอย่างที่ 7.4 ไอน้าที่ความดัน 0.6 MPa อุณหภูมิ 200oC ไหลเข้าที่ทางเข้าหัวฉีดที่หุ้มฉนวนด้วย


ความเร็ว 50 m/s ความดันและความเร็วที่ทางออกเท่ากับ 0.15 MPa และ 60 m/s ตามลาดับ ดัง
รูปที่ 7.3 จงหาอุณหภูมิที่ทางออก

v1 =v 50 m/s
i = 50 m/s vev=2 =6060
m/sm/s
P1 = 0.6 MPa
Pi = 0.6 MPa PeP2= =0.15
0.15MPa
MPa
ปริมาตรควบคุ
cv. ม
200๐ oC
T1T=i =200 C
Te = ?
T2 = ?

รูปที่ 7.3 ประกอบตัวอย่างที่ 7.4


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Bruce et al., 2002)

วิธีทา
สมมติฐาน : พิจารณาเป็นการไหลใน 1 มิติภายใต้สภาวะคงตัว เป็นการไหลแบบแอเดียแบ
ติก จึงมีการสูญเสียความร้อนน้อยมาก (qcv = 0) และไม่คานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของพลังงานศักย์
g(Z2 – Z1) = 0
จากกฎข้อที่ 1 ในระบบเปิด

[( ) ( ) ( )]

จะได้

( ) ( )

หาค่า h ที่ทางเข้า ;
ที่ h1 สภาวะที่ทางเข้า P1 = 0.6 MPa , T1 = 200oC
จากตาราง ค.3 ในภาคผนวก ค น้าอยู่ในสถานะเป็นไอดง (Superheat) จะได้
h1 = 2850.1 kJ/kg
แทนค่าในสมการ

( ) ( )

จะได้ h2 = 2300 kJ/kg


164 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

ดังนั้น ที่ทางออก ;

P2 = 0.15 MPa, h2 = 2300 kJ/kg

จะได้ว่า hf < h < hg แสดงว่าเป็นของผสม (Mixture)

ดังนั้น T2 = Tsat @ P = 0.15 MPa = 111.37 oC ตอบ

ตัวอย่างที่ 7.5 กังหันน้า ดังรูปที่ 7.4 ใช้เปลี่ยนพลังงานของน้าเป็นพลังงานกลหรืองานของเพลา และ


ไปขับเครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาใช้งาน น้าที่ถูกเก็บกักไว้ในเขื่อนจะถูก
ปล่อยออกมาให้ไหลผ่านช่องทางน้าไหลเข้าสู่กังหันน้า เพื่อผ่านออกไปยังท้ายเขื่อน ถ้ากาหนดให้
อัตราการไหลของน้าที่ทางออกสู่ท้ายเขื่อนเท่ากับ 30 m3/s จงคานวณหากาลังที่เพลาของกังหันน้าที่
ทาได้
v1
1 

20 m น้าในเขื่อน

2 น้าท้ายเขื่อน
5m
2m

รูปที่ 7.4 ประกอบตัวอย่างที่ 7.5


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา จากสมการพลังงาน

̇ ̇ ̇ [( ) ( ) ( ) ( )]

สมมติฐาน : 1) พิจารณาเป็นการไหลใน 1 มิติภายใต้สภาวะคงตัว


2) น้าเป็นของไหลแบบอัดตัวไม่ได้
3) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน
4) ไม่มีความร้อนถ่ายเทข้ามปริมาตรควบคุม
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 165

5) พื้นที่หน้าตัดแหล่งน้า 1 มีขนาดใหญ่กว่าพื้นที่หน้าตัด 2 ที่ทางออกมาก


ดังนั้น จึงกาหนดให้ความเร็วที่ทางเข้าเป็นศูนย์ (v1  0)
6) แหล่งน้าเปิดสู่บรรยากาศ P1 = P2 = Patm
จะได้

̇ ̇ ̇ [( ) ( ) ( ) ( )]

ดังนั้น ̇ ̇ [ ( ) ( )]

และ ̇ =  Q = 1,000 x 30 = 30,000 kg/s

v2 = = = 9.55 m/s
( )

แทนค่าในสมการ จะได้ว่า

̇ [ ( ) ( )]

= (30,000) (-101.55) = -3,046,462.5 Nm/s (Watt)


หรือ
̇ = 3,046,462.5 W = 3.05 MW ตอบ

7.4 สมการออยเลอร์
y

อนุภาคของของไหล z
θ 𝜕
θ ( s)
เส้นกระแส 𝜕s
x γ s

(ก) การเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหลตามแนวแกน (ข) แรงภายนอกที่กระทากับอนุภาคของของไหล


รูปที่ 7.5 อนุภาคของของไหลที่เคลื่อนที่ไปตามแนวสัมผัสกับเส้นโค้งเส้นกระแส
(ที่มา : ดัดแปลงจาก Clayton et al., 2010)
166 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

สมการออยเลอร์ (Euler’s Equations) คือ สมการโมเมนตัมสาหรับของไหลที่ไม่มีแรงเสียดทาน


พิจารณาอนุภาคของของไหลที่เคลื่อนที่ไปตามแนวสัมผัสกับเส้นโค้งเส้นกระแส (Streamline) ดังรูป
ที่ 7.5 (ก)
ของไหลเคลื่ อนที่ไปตามเส้นกระแสด้ว ยความเร่ง a ทามุม  กับแนวระดับ พิจารณาแรง
ภายนอกที่กระทากับอนุภาคของไหล ดังรูปที่ 7.5 (ข) ประกอบด้วย
1) แรงดัน เนื่องจากความดันที่ผิวของอนุภาคทรงกระบอกมีทิศทางหักล้างกันหมด ดังนั้น
แรงดัน จึงเหลื อเพียง แรงที่กระทากับ ปลายด้านหนึ่ งมีค่าเท่ากับ P(dA) ส่ วนอีกด้านเท่ากับ
( s)

2) น้าหนักของก้อนอนุภาค dW = (d) = (dA.ds)


จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน

เมื่อพิจารณาทิศทางตามแนวเส้นทางการไหล จะได้ว่า

( ) ( s) ( ) (s ) (7.16)

เนื่องจากความเร่ง และ (s ) ดังนั้นจะได้

(7.17)

แต่เนื่องจากสภาพการไหลไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (Steady flow) จึงทาให้

และ

สมการที่ (8.2) จึงสามารถเขียนใหม่ได้ว่า

(7.18)

มวลของอนุภาคของไหลมีค่าเท่ากับ

( ) ( s) (7.19)

แทนค่าสมการที่ (7.18) และ (7.19) ในสมการที่ (7.16) จะได้


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 167

( ) ( s) ( ) ( s)(s ) ( s) ( )

( s) ( s)( ) ( s) ( )

ที่สภาพการไหลแบบสภาวะคงตัว (Steady flow) ความดันไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา จึงทาให้


ดังนั้น

( s) ( s)( ) ( s) ( )

จัดรูปสมการใหม่จะได้

z (7.20)

สมการที่ (7.20) เรียกว่า สมการออยเลอร์ (Euler’s equations)

7.5 สมการเบอร์นูลี
สมการเบอร์นูลี (Bernoulli equation) คือ สมการที่ใช้ประมาณความสัมพันธ์ระหว่างความดัน
ความเร็ว และความสูงของของไหลที่ไหลแบบสภาวะคงตัว ไม่สามารถอัดตัวได้และไม่มีแรงเสียดทาน
(Steady, Incompressible and non-viscous (Inviscid หรือ Frictionless) flow) ดังรูปที่ 7.6
การไหลของของไหลผ่านของแข็ง สมการเบอร์นูลีจะใช้ได้ (Bernoulli equation valid) ในช่วงที่ห่าง
จากขอบของของแข็งและไม่ได้อยู่หลังของแข็งโดยตรง เนื่องจากบริเวณดังกล่าวเป็นบริเวณที่ของไหล
มีแรงเสียดทานและอาจเป็นการไหลแบบไม่คงตัว ซึ่งไม่เหมาะที่จะใช้สมการเบอร์นูลี (Bernoulli
equation not valid)
ช่วงที่จะใช้สมการเบอร์นลู ีได้

ช่วงที่ไม่เหมาะที่จะใช้สมการเบอร์นูลี

รูปที่ 7.6 ช่วงการใช้งานของสมการเบอร์นูลี


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Gray, 2000)
168 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

สมการเบอร์นูลี เป็นสมการสมดุลพลังงานของอของไหลที่ใช้ในกรณีที่ของไหลไหลจากจุดหนึ่งไป
ยังอีกจุดหนึ่งโดยไม่มีการสูญเสียพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม หรือถ้ามีก็น้อยมากจนสามารถละทิ้งได้
โดยผลรวมของพลังงานของของไหล ณ จุดใดๆ ตลอดการไหลของของไหลจะมีค่าคงที่

δ
𝜃 ( )δ

δ
𝜌 sδ

รูปที่ 7.7 ผลต่างของปริมาตรควบคุมสาหรับการวิเคราะห์พลังงานจากสมการเบอร์นูลี


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

พิจารณารูปที่ 7.7 สาหรับการไหลตามเส้นกระแส (Streamline) หนึ่งภายใต้การไหลแบบอัดตัว


ไม่ได้ การไหลในสภาวะคงตัว และไม่มีแรงเสียดทานนั้น จะอยู่ภายใต้สมการเบอร์นูลี และสมการ
เบอร์นูลีจะนาสมการโมเมนตัมมาทาการอินทิเกรต จะได้

∑ ∬

แยกค่าแต่ละเทอม จะได้

∑ ( ) s s

เมื่อ  คือ มุมระหว่างพื้นผิว (s) กับแรงโน้มถ่วงของโลก ดังนั้น

∬ ( )

จะได้ว่า

s s
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 169

เอาเทอม หารตลอด และแทน s s ด้วย ดังนั้นจะได้ว่า

ทาการอินทิเกรตระหว่างจุดที่ 1 ไปจุดที่ 2 จะได้

∫ ( ) ( )

จากผลการอินทิเกรตจะได้

( ) (7.21)

หรือ
s (7.22)

หรือ (7.23)

หรือ  
(7.24)

หรือ  
(7.25)

ค่าแต่ละพจน์ของสมการเบอร์นูลี จะมีชื่อเรียกเฉพาะตามคานิยาม ดังนี้

คือ เฮดของพลังงานศักดิ์ หรือความสูงจากระดับอ้างอิงถึงแนวเส้นกระแส หรือเรียกว่า เฮด


ระดับ (Potential head หรือ Elevation head, He)

คือ เฮดของพลังงานอันเนื่องมาจากความดันสถิต หรือเรียกว่า เฮดความดัน (Pressure


head, HP)

คือ เฮดของพลังงานจลน์ หรือเรียกว่า เฮดความเร็ว (Velocity head, Hv)


170 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

ตัวอย่างที่ 7.6 น้ามันความถ่วงจาเพาะ 0.8 ไหลผ่านท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 cm ด้วยอัตรา


การไหล 120 L/s ถ้าความดันที่จุด A มีค่าเท่ากับ 1.92 N/cm2 (Pg) และมีระดับความสูง 3.5 m จง
หาเฮดรวม (Total head, HT)
วิธีทา
จากสมการเบอร์นูลี

หา v จาก Q = Av

v =
( )

= 2.45 m/s
แทนค่าในสมการ

= 6.307 m ตอบ

ตัวอย่างที่ 7.7 จงหาความเร็วของน้ามันที่ออกจากท่อดังรูปที่ 8.3 โดนสมมติว่าระดับน้ามันในถัง


เปลี่ยนแปลงช้ามาก จุดที่ 1 และ 2 เปิดสู่บรรยากาศ และความถ่วงจาเพาะของน้ามันเท่ากับ 0.87
1

3m

5m

2
 0.2 m

รูปที่ 7.8 ประกอบตัวอย่างที่ 7.7


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Clayton et al., 2010)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 171

วิธีทา
จากสมการเบอร์นูลี พิจารณาระดับน้าในถังเปลี่ยนแปลงช้ามากและไม่มีแรงเสียดทาน

สมมติฐาน ถังน้ามีขนาดใหญ่มาก ดังนั้น v1 = 0 , P1 = P2 = Patm และ Z2 = 0


ดังนั้น

= 2 x 9.81 x 8

= 156.96

 = 12.53 m/s ตอบ

ตัวอย่างที่ 7.8 ถังขนาดใหญ่ที่ฝาบนเปิดสู่บรรยากาศจุน้าที่ระดับความสูง 4 m จากก๊อกด้านข้าง ดัง


รูปที่ 7.9 เมื่อเปิดก๊อกน้าจะไหลออกจากท่อทางออกที่กลมและเรียบ จงหาความเร็วของน้าที่ทางออก
เปิดสู่บรรยากาศ

4m
v2
2

รูปที่ 7.9 ประกอบตัวอย่างที่ 7.8


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Donald et al., 2012)

วิธีทา
จากสมการเบอร์นูลี พิจารณาการไหลในสภาวะคงตัวและไม่มีแรงเสียดทาน
172 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

สมมติฐาน ถังน้ามีขนาดใหญ่มาก ดังนั้น v1 = 0 , P1 = P2 = Patm และ Z2 = 0


ดังนั้น

= 2 x 9.81 x 4

= 78.48

 = 8.86 m/s ตอบ

ตัวอย่างที่ 7.9 จากรูปที่ 7.10 จงหาความเร็วและอัตราการไหลของน้าที่จุดที่ 2

3.5 m
2 D = 5 cm
Z=0
น้า (S = 1) 0.5 m
0.1 m

ปรอท (S = 13.6)

รูปที่ 7.10 ประกอบตัวอย่างที่ 7.9


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Mercle et al., 2002)

วิธีทา
จากสมการเบอร์นูลี พิจารณาการไหลในสภาวะคงตัวและไม่มีแรงเสียดทาน
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 173

สมมติฐาน ถังน้ามีขนาดใหญ่มาก ดังนั้น v1 = 0 และ Z2 = 0

ดังนั้น

D = 5 cm

0.5 m
O 0.1 m
/
O
Hg (S = 13.6)

รูปที่ 7.11 การวิเคราะห์แมนอมิเตอร์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Mercle et al., 2002)

พิจารณารูปที่ 7.11 หา P2 ทีแ่ มนอมิเตอร์ จะได้ว่า


PO = PO’
P2 + water hwater = Patm + Hg hHg
P2 = Patm + Hg hHg - water hwater
= Patm + (13.6 x 103 x 9.81 x 0.1) – (103 x 9.81 x (0.5 + 0.025))
= Patm + (13.34 x 103) – (5.15 x 103)
= Patm + (8.19 x 103 )
แทนค่า ลงในสมการข้างต้น จะได้ว่า

( )

( )
( )( )

= 2 x 9.81 x 2.66
= 52.19
v2 = 7.22 m/s ตอบ
ดังนั้น อัตราการไหล
Q = Av
= (/4 x 0.052) (7.22)
= 0.014 m3/s ตอบ
174 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

7.6 บทสรุป
พลังงาน (Energy) ความสามารถที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความร้อน งาน และพลังงาน
พลังงานในการไหลของของไหลสามารถแบ่งออกได้เป็น พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานของ
การไหล และพลังงานภายใน
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) คือ พลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของของไหลจากจุดหนึ่งไป
ยังอีกจุดหนึ่ง ปริมาณของพลังงานจลน์จะขึ้นอยู่กับความเร็ว และขนาดของมวลของของไหลนั้น
พลังงานศักย์ (Potential Energy) คือ พลังงานที่แฝงอยู่ในมวลของของไหลนั้น และความ
แตกต่างของพลังงานขึ้นอยู่กับมวลและระดับความสูงภายใต้แรงงดึงดูดของโลก
พลังงานของการไหล (Flow Energy) คือ งานที่กระทาต่อมวลสารของของไหลเมื่อของไหลถูก
บังคับให้ผ่านขอบเขต ซึ่งหาได้จาก ผลคูณของความดันและปริมาตร
พลังงานภายใน (Internal Energy) เป็นคุณสมบัติประจาตัวของสสาร ถ้าอุณหภูมิของสสารยัง
ไม่ถึงศูนย์สัมบูรณ์ สสารนั้นจะมีพลังงานภายในอยู่ พลังงานภายในเกิดจากการเคลื่อนที่ของปรมาณู
สมการพลังงาน (Energy Equation) คือ สมการที่พัฒนามาจากสมการเบอร์นูลี โดยสามารถ
ใช้ได้กับการไหลที่มีการรับหรือสูญเสียพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม
กฎการทรงพลั ง งานกล่ าวไว้ว่ า “พลั ง งานเป็ น สิ่ ง ที่ไ ม่ ส ามารถถูก สร้ า งหรื อถู ก ทาลายได้ แต่
พลังงานสามารถเปลี่ยนแปลงเป็นพลังงานอีกรูปหนึ่งได้”
ประสิทธิภาพของระบบเครื่องสูบ คือ กาลังที่น้าจากเครื่องสูบ ต่อ พลังงานของเพลาที่ส่งให้กับ
เครื่องสูบน้า
สมการออยเลอร์ (Euler’s Equations) คือ สมการโมเมนตัมสาหรับของไหลที่ไม่มีแรงเสียดทาน
สมการเบอร์นูลี (Bernoulli Equation) คือ สมการที่ใช้ประมาณความสัมพันธ์ระหว่างความดัน
ความเร็ว และความสูงของของไหลที่ไหลแบบสภาวะคงตัว ไม่สามารถอัดตัวได้และไม่มีแรงเสียดทาน
(Steady, Incompressible and non-viscous (Inviscid หรือ Frictionless) flow)
สมการเบอร์นูลีสามารถเขียนได้ดังนี้

หรือ

หรือ  

หรือ  

ค่าแต่ละพจน์ของสมการเบอร์นูลี จะมีชื่อเรียกเฉพาะตามคานิยาม ดังนี้


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 175

คือ เฮดของพลังงานศักดิ์ หรือความสูงจากระดับอ้างอิงถึงแนวเส้นกระแส หรือเรียกว่า เฮด


ระดับ (Potential head หรือ Elevation head)
คือ เฮดของพลังงานอันเนื่องมาจากความดันสถิต หรือเรียกว่า เฮดความดัน (Pressure
head)
คือ เฮดของพลังงานจลน์ หรือเรียกว่า เฮดความเร็ว (Velocity head)
176 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 7

1. พลังงาน หมายถึงอะไร
2. พลังงานจลน์ หมายถึงอะไร
3. พลังงานศักย์ หมายถึงอะไร
4. พลังงานของการไหล หมายถึงอะไร
5. พลังงานภายใน หมายถึงอะไร
6. จงอธิบายกฎการทรงพลังงานมาพอเข้าใจ
7. สมการออยเลอร์ หมายถึงอะไร
8. จงบอกนิยามของสมการเบอร์นูลี
9. เครื่องสูบสูบน้ามันจากถังด้านล่างขึ้นสู่ถังด้านบน ดังรูปที่ 7.12 ความเร็วในการไหลของน้าในท่อ
2.5 m/s ขนาดท่อในระบบมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 cm กาหนดให้ความถ่วงจาเพาะของน้ามันเท่ากับ
0.87 จงคานวณหากาลังขับของเครื่องสูบน้าภายใต้เงื่อนไขที่ต้องการ

2
2.5 m/S

1
7m
3.5 m
เครื่องสูบ
ระดับอ้างอิง

รูปที่ 7.12 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 9


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

10. น้าพุในสระน้าถูกออกแบบไว้ดังรูปที่ 7.13 โดยติดตั้งเครื่องสูบน้าไว้ใต้สระและให้ท่อด้านอัดอยู่ใน


แนวระดับผิวน้า ต้องการอัดน้าให้พุ่งขึ้นสูง 4 m จากผิวระดับน้าในสระ กาหนดให้ อัตราการไหลของ
น้าเท่ากับ 0.15 m3/s และสมมติไม่คิดแรงเสียดทานในท่อน้าและเครื่องสูบ จงคานวณหากาลังขับ
ของเครื่องสูบน้าเพื่อให้ได้น้าพุพุ่งขึ้นสูงตามระดับที่ต้องการ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 177

4m
1
1.2 m
0.5 m
เครื่องสูบ

รูปที่ 7.13 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 10


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

11. ระบบกังหันน้าดังรูปที่ 7.14 ที่ทางเข้าและทางออกมีความดัน 300 kPa และ 90 kPa ตามลาดับ


อัตราการไหลของน้าเท่ากับ 0.85 m3/s เส้นผ่านศูนย์กลางท่อทางเข้าและทางออกเท่ากับ 0.2 m
และ 0.3 m ตามลาดับ ระดับความสูงระหว่างจุดที่ (1) และ (2) เท่ากับ 3 m กาหนดให้กังหันน้ามี
ประสิทธิภาพ 80% จงคานวณหากาลังของกังหันน้านี้
D1 = 0.2 m
ทิศทางการไหล

ทางเข้า (1)

ปริมาตรควบคุม

D2 = 0.3 m
ทางออก (2)

รูปที่ 7.14 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 11


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Bruce et al., 2002)

12. ระบบกังหันไอน้า ดังรูปที่ 7.15 ไอน้าไหลเข้ากังหันไอน้าด้วยความเร็ว 30 m/s และมีเอนทัลปี


3,245 kJ/kg และไหลออกจากกังหันในสภาพของผสมระหว่างไอกับของเหลวด้วยความเร็ว 70 m/s
และมีเอนทัลปี 2,300 kJ/kg สมมติให้การไหลผ่านกังหันไอน้าเป็นกระบวนการแอเดียแบติก และไม่
คิดผลการเปลี่ยนแปลงระดับความสูง จงหางานส่งออกของกังหันไอน้า
178 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล

ทิศทางการไหล

ทางเข้า (1)

งานสุทธิ
กังหันไอน้า
Z1

ทางออก (2)
Z2
ระดับอ้างอิง

รูปที่ 7.15 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 12


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Munson et al., 2013)

13. หัวฉีดฉีดน้าจากจุด A มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 cm และออกสู่บรรยากาศภายนอกที่จุด B มี


ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8.5 cm ดังรูปที่ 7.16 ความดันที่มาตรวัดอ่านค่าได้ที่จุดที่ A เท่ากับ 70 kPa
สมมติการสูญเสียพลังงานมีค่าน้อยมาก จงหาความเร็วและอัตราการไหลของน้าที่ปลายท่อทางออก
(จุด B)

A
B
PA = 70 kPa น้า
A = 15 cm
B = 8.5 cm

รูปที่ 7.16 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 13


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Frank, 2011)

14. ดูดน้ามันออกจากถังด้วยท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 cm ดังรูปที่ 7.17 จงหา


ความเร็วและอัตราการไหลของน้ามันที่ท่อทางออก (จุด 2)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 7 สมการพลังงาน 179

Patm 1
60 cm 1.5 cm

100 cm
2

รูปที่ 7.17 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 14


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

15. น้ามันดีเซลไหลผ่านข้องอดังรูปที่ 7.18 ที่ท่อทางเข้า (จุด 1) อ่านค่าความดันที่มาตรวัดได้ 215


kPa และมีอัตราการไหล 0.002 m3/s กาหนดให้เส้นผ่านศูนย์กลางภายในของท่อทางเข้าและ
ทางออกเท่ากับ 3 cm และ 4.5 cm ตามลาดับ ท่อวางอยู่ในแนวราบ และน้ามันดีเซลมีความ
ถ่วงจาเพาะเท่ากับ 0.728 จงหาความดันที่ท่อทางออก (P2)

น้ามันดีเซล 3
Q = 0.002 m /s 1

รูปที่ 7.18 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ข้อที่ 15


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)
180 บทที่ 7 สมการพลังงาน กลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การไหลในท่อ 181

บทที่ 8
การไหลภายในท่อปิด
(Flow in closed conduits)
ในบทนี้จะกล่าวถึงการไหลของของไหลภายในท่อปิด ซึ่ง การไหลภายในท่อปิดเป็นส่วนหนึ่งที่
สาคัญของการศึกษากลศาสตร์ของไหล เนื้อหาที่จะศึกษาในบทนี้ ประกอบไปด้วย ความหมายของ
การไหลภายในท่อปิด พฤติกรรมการไหลภายในท่อ การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อ การสูญเสีย
พลังงานหลัก การสูญเสียพลังงานรอง และสรุปสาระสาคัญในบทเรียนนี้ รายละเอียดของเนื้อหาใน
หัวข้อต่างๆ มีดังต่อไปนี้

8.1 ความหมายของการไหลภายในท่อปิด
การไหลภายในท่อปิด (Flow in closed conduits) คือ การไหลของของไหลภายในท่อที่มีผนัง
ปิดล้อมทุกด้าน และมีของไหลไหลอยู่เต็มพื้นที่หน้าตัดของท่อ ไม่มีผิวอิสระอยู่ด้านบนของหน้าตัดการ
ไหล และการไหลอยู่ภายใต้ความดันตลอดช่วงของการพิจารณา ตัวอย่างการไหลในท่อปิด ได้แก่ น้าที่
ใช้ในประเทศจะมีการกระจายไปยังทุกส่วนของท่อ ในบ้าน ท่อจ่ายระบบประปาในหมู่บ้าน ดังรูปที่
8.1 ท่อระบายน้าจะบาบัดน้าเสียออกไป ท่อน้ามันดิบที่สูบน้าออกในโรงกลั่นน้ามัน ก๊าซธรรมชาติที่
ถูกนาไปใช้จะผ่านทางท่อ หรือตัวอย่างอื่นๆ ของการไหลภายในท่อปิดสามารถพบได้ในชีวิตประจาวัน

รูปที่ 8.1 ลักษณะท่อน้าในระบบประปาที่ใช้บริโภคในหมู่บ้าน


(ที่มา : สุนทร สุทธิบาก, 2559)

8.2 พฤติกรรมการไหลภายในท่อ
ในปี ค.ศ. 1883 ออสบอร์น เรย์โนลด์ (Osborne Reynolds) ได้ทาการศึกษาพฤติกรรมการไหล
ภายในท่อ โดยใช้เครื่องมือที่ประกอบด้วยถังขนาดใหญ่ เชื่อมต่อกับท่อ แก้วโปร่งใสที่มีวาล์วควบคุม
การไหลอยู่ที่ปลายท่อ และถังบรรจุสีขนาดเล็กเชื่อมต่อกับท่อขนาดเล็ก ทาหน้าที่ปล่อยอนุภาคสีเข้า
182 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

ไปภายในท่อแก้วโปร่งใส ดังรูปที่ 8.2 จากผลการทดลอง พบว่า ผลของความเร็ว และความหนืดของ


ของไหลภายในท่อโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วและความหนื ด และสามารถแบ่งพฤติกรรม
การไหลของของไหลภายในท่อได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) การ
ไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) และการไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน (Transition flow) ดังมี
รายละเอียดต่อไปนี้
ถังสี

วาล์ว
กระบอกบรรจุน้า

วาล์วควบคุม

หัวฉีดสี ถังรองรับ

รูปที่ 8.2 การทดลองพฤติกรรมการไหลของของไหลภายในท่อของออสบอร์น เรย์โนลด์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

8.2.1 การไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow)


การไหลแบบราบเรียบ จะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความหนืดสูง หรือความเร็วใน
การไหลต่า อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนที่อย่างเป็นระเบียบขนานกับทิศทางของการไหล ดังรูปที่
8.3 ซึ่งสังเกตได้จากแนวเส้นสีที่เกิดจากการทดลอง จะมีลักษณะเป็นเส้นที่ค่อนข้างตรง และราบเรียบ

การไหลแบบราบเรียบ

รูปที่ 8.3 พฤติกรรมการไหลแบบราบเรียบ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

8.2.2 การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow)


การไหลแบบปั่นป่วน จะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความหนืดต่า หรือความเร็วใน
การไหลมาก อนุ ภ าคของของไหลเคลื่ อ นที่ไ ม่เป็ นระเบี ย บ แนวเส้ น ทางการเคลื่ อ นที่มี ความเร็ ว
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 183

แปรปรวนมาก โดยสังเกตได้จากแนวเส้นสีที่เกิดขึ้นจากการทดลองจะกวัดแกว่งไปมาไม่เป็นระเบียบ
และมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังแสดงในรูปที่ 8.4

การไหลแบบปั่นป่วน

รูปที่ 8.4 พฤติกรรมการไหลแบบปั่นป่วน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

8.2.3 การไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน (Transition flow)


การไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน เป็นช่วงของการไหลที่กาลังจะพัฒนาพฤติกรรม จากการ
ไหลแบบราบเรียบไปเป็นการไหลแบบปั่นป่วน เป็นช่วงที่ไม่สามารถคาดเดาพฤติกรรมของการไหลได้
อย่างแน่นอน เพราะในบางตาแหน่งหรือบางช่วงเวลาใดๆ พฤติกรรมของการไหลอาจเป็นไปได้ทั้ง
แบบราบเรียบและแบบปั่นป่วน โดยสังเกตได้จากแนวเส้นสีที่เกิดขึ้นจากการทดลอง ในบางตาแหน่ง
จะมีลักษณะกวัดแกว่งไปมาในขณะที่ส่วนอื่นๆ มีลักษณะราบเรียบ หรือที่ตาแหน่งเดียวกัน ในบาง
เวลาอาจมีลักษณะราบเรียบ แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาจมีลักษณะกวัดแกว่งไปมา ไม่สามารถคาดเดาได้
ดังแสดงในรูปที่ 8.5

การไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน

รูปที่ 8.5 พฤติกรรมการไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

นอกจากนี้การศึกษาของเรย์โนลด์ยังพบว่า พฤติกรรมของการไหลทั้ง 3 ลักษณะยังสอดคล้องกับ


ค่าของกลุ่มตัวแปรไร้มิติกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ตัวเลขเรย์โนลด์ หรือเรย์โนลด์ นัมเบอร์ (Reynolds
Number, Re) นั่นคือ
ถ้า Re < 2,100 แสดงว่าเป็นการไหลแบบราบเรียบ
2,100 < Re < 4,000 แสดงว่าเป็นการไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน
Re > 4,000 แสดงว่าเป็นการไหลแบบปั่นป่วน
184 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

ส าหรั บ การไหลของของไหลในระบบท่อส่ ว นใหญ่ จะเป็ น การไหลแบบปั่ น ป่ว น (Turbulent


flow) นั่นคือ Re > 4,000
เรย์โนลด์ นัมเบอร์ ของการไหลในท่อกลมสามารถคานวณได้จากสมการที่ (8.1)

(8.1)

โดยที่ คือ เรย์โนลด์ นัมเบอร์


 คือ ความหนาแน่นของของไหล (kg/m3)
คือ ความเร็วเฉลี่ยของการไหล (m/s)
คือ เส้นผ่านศูนย์กลางท่อ (m)
คือ ความหนืดสัมบูรณ์ (N.s/m2)
คือ ความหนืดจลน์ (m2/s)

ตัวอย่างที่ 8.1 น้ามันเบนซินมีความถ่วงจาเพาะ 0.876 มีความหนืด 0.601 x 10-3 N.s/m2 ไหลผ่าน


ท่อเหล็กกล้าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 mm ด้วยความเร็ว 10 m/s จงหา เรย์โนลด์นัมเบอร์
วิธีทา
จากสมการ

แทนค่าจะได้

= 2.19 x 105 ตอบ

8.3 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อ
พิจารณาพฤติกรรมของการไหล เมื่อของไหลเดินทางมาถึงจุดเชื่อมต่อระหว่างท่อ กับอ่างน้า
ขนาดใหญ่ ก่อนทีข่ องไหลจะเดินทางเข้าสู่ภายในท่อ อนุภาคของของไหลบนหน้าตัดใดๆ จะเคลื่อนตัว
ด้วยความเร็วเท่าๆ กัน เนื่องจากยังไม่ถูกรบกวนจากผนัง แต่เมื่อของไหลเดินทางเข้าสู่ภายในท่อ
อนุภาคของไหลจะถูกรบกวนจากแรงเสียดทานจากผนังท่อ จึงทาให้อนุภาคที่ติดกับผนังนั้นมีความเร็ว
เป็นศูนย์ และเนื่องจากของไหลมีความหนืด จึงทาให้อนุภาคที่อยู่ถัดไปจะมีความเร็วลดลงตามลาดับ
ซึ่งช่วงเริ่มต้นอนุภาคที่อยู่บริเวณกึ่งกลางท่อนั้นยังไม่ได้รับผลกระทบดังกล่าว แต่เมื่อของไหลเดินทาง
ต่อไปผลกระทบจากผนังจะขยายตัวเข้าสู่กึ่งกลางท่อ จนกระทั่งครอบคลุมทั่วทั้งหน้ าตัด หลังจากนั้น
ความเร็วของอนุภาคของอขงไหลจะมีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง จนสุดท้ายเข้าสู่สภาวะสมดุล โดย
ระยะทางในช่วงของการปรับตัวนี้ เรียกว่า ช่วงทางเข้า (Entrance length, Le) ดังแสดงในรูปที่ 8.6
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 185

บริเวณทีไ่ ม่ถูกรบกวนจากผนัง
บริเวณที่ถูกรบกวนจากผนัง
ทิศทางการไหล
D

Le
ช่วงทางเข้า ช่วงปรับตัวสมบูรณ์

รูปที่ 8.6 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

การไหลบริเวณบริเวณปากทางเข้าของท่อ (Entrance flow development) แบ่งออกได้เป็น 2


ลักษณะ คือ
8.3.1 การไหลบริเวณปากทางเข้าท่อในสภาวะการไหลแบบราบเรียบ สามารถแบ่งพฤติกรรมได้
3 ช่วง คือ ช่วงการไหลบริเวณกึ่งกลางท่อยังไม่ถูกรบกวน ช่วงการปรับตัว และช่วงการปรับตัว
สมบูรณ์ ดังแสดงในรูปที่ 8.6 จากพฤติกรรมทั้ง 3 ช่วง ช่วงการไหลที่ได้รับผลกระทบจากปากทางเข้า
ท่อจะเริ่มจากปากทางเข้าต่อเนื่องเรื่อยไปจนกระทั่งสิ้นสุดการปรับตัว เรียกว่า ความยาวช่วงทางเข้า
(Entrance length, Le) สาหรับการไหลแบบราบเรียบ สามารถหาได้จากสมการที่ (8.2)

(8.2)

โดยที่ คือ ความหนาแน่นของของไหล (m)


คือ เรย์โนลด์ นัมเบอร์
คือ เส้นผ่านศูนย์กลางท่อ (m)

8.3.2 การไหลบริเวณปากทางเข้าท่อในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน สาหรับพฤติกรรมการไหล


ในช่วงปากทางเข้าท่อ ในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน จะแตกต่างกัลป์แบบราบเรียบ คือ เมื่อการไหล
เริ่มถูกรบกวนจากผนัง ผลกระทบจากแรงเสียดทานจากผนังจะเริ่มขยายตัวไปพร้อมๆ กับการปรับตัว
ความเร็ว และเมื่อการไหลถูกรบกวนทั่วหน้าตัด การปรับตัวจะยังคงดาเนิ นต่อไปอีกระยะหนึ่ง แต่
เนื่องจากการไหลแบบปั่นป่วนนั้นมีความไม่แน่นอนเกิดขึ้นได้เสมอ ดังนั้นหลังจากที่การปรับตัวสิ้นสุด
ลง สภาพการไหลจะยังคงมีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องไปอีกช่วงระยะหนึ่งจึงจะปรับตัวเข้าสู่สภาวะคงที่
ความยาวช่วงทางเข้า (Entrance length, Le) ของการไหลแบบปั่นป่วน สามารถหาได้จากสมการที่
(8.3)
186 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

(8.3)

โดยที่ คือ ความหนาแน่นของของไหล (m)


คือ เรย์โนลด์ นัมเบอร์
คือ เส้นผ่านศูนย์กลางท่อ (m)

ตัวอย่างที่ 8.2 เมทิลแอลกอฮอล์มีความถ่วงจาเพาะ 0.789 ไหลผ่านปากทางเข้าท่อที่มีขนาดเส้นผ่าน


ศูนย์กลางใน 30 mm ด้วยอัตราการไหล 0.007 m3/s กาหนดให้ความหนืดของเมทิลแอลกอฮอล์มี
ค่าเท่ากับ 0.56 x 10-3 N.s/m2 จงหาความยาวช่วงทางเข้า (Le) ของการไหลนี้
วิธีทา
หาพื้นที่ของท่อจากสมการ
A = D2/4 = (0.03)2/4 = 7.07 x 10-4 m2

หาความเร็วเฉลี่ยของการไหลในท่อจากสมการ
v = Q/A = (0.007)/( 7.07 x 10-4) = 9.9 m/s

หาเรย์โนลด์นัมเบอร์จากสมการ

= 4.185 x 105 (แสดงว่าเป็นการไหลแบบปั่นป่วน)

ดังนั้น หาความยาวช่วงทางเข้า (Le) จากสมการ

= 1.142 m ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 187

8.4 การสูญเสียพลังงานหลัก
การสูญเสียพลังงานหลัก (Friction head loss หรือ Major loss) คือ การสูญเสียเฮดที่เกิดจาก
ผลของแรงเสียดทานอันเนื่องมาจากผลของความหนืดของของไหล และแรงเสียดทานระหว่างของไหล
กับผนังท่อ โดยการสูญเสียเฮดนั้นขึ้นอยู่กับ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ ความยาวท่อ ความหยาบ
ของวัสดุที่ใช้ทาท่อ ความหนืดของของไหล และความเร็วในการไหล

P = P1 – P2
(1) (2)
, 
Q

รูปที่ 8.7 ความสัมพันธ์ของตัวแปรสาหรับการไหลภายในท่อแบบคงตัว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Robert et al., 2012)

พิจารณารูปที่ 8.7 สมมติฐานที่ว่า ความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นบริเวณผนังท่อขึ้นอยู่กับขนาดเส้นผ่าน


ศูนย์กลางท่อ (D) ความยาวท่อ (L) ความหยาบของวัสดุที่ใช้ทาท่อ () ความหนืดของของไหล ()
ความหนาแน่นของของไหล () และความเร็วในการไหล (v) สามารถเขียนสมการความสัมพันธ์ได้ดัง
สมการที่ (8.4)

(8.4)

จากสมการที่ 8.4 เขียนเป็นขนาดมิติของหน่วยพื้นฐานได้ดังนี้

∅( ) (8.5)

โดยที่ คือ ความดันพลศาสตร์ (Dynamic pressure)

คือ คุณลักษณะควานเค้นเฉือนที่เป็นผลจากความหนืด

คือ เรย์โนลด์ นัมเบอร์ (Re)


188 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

คือ ความขรุขระสัมพัทธ์

คือ ความยาวท่อสัมพัทธ์

ดังนั้น จัดรูปสมการใหม่จะได้ว่า

∅( )

กาหนดให้ ตัวประกอบความเสียดทาน ดังนั้นสาหรับท่อในแนวระนาบจะได้ว่า

(8.6)

โดยที่ ∅( )

พิจารณาการไหลในท่อกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางท่อคงที่เท่ากับ D สามารถเขียนสมการพลังงาน
ได้ดังนี้

(8.7)

เมื่อ hL คือ การสูญเสียภายในท่อระหว่างจุดที่ (1) และ (2) และเส้นผ่านศูนย์กลางท่อคงที่ (D1


= D2) ทาให้ v1 = v2 ท่อวางในแนวราบ (Z1 = Z2) และ P = P1 – P2 = hL ดังนั้นจากสมการที่
(8.6) จะได้ว่า

(8.8)

ดังนั้น สมการพลังงานที่ใช้วิเคราะห์สาหรับการไหลผ่านกลมที่มีการสู ญเสียพลังงานหลัก จะอยู่


ในรูปของสมการ

∑ (8.9)
 
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 189

8.4.1 ตัวประกอบความเสียดทานของการไหลแบบราบเรียบ
r
R
z PA (P + dP)A

dAP

รูปที่ 8.8 การไหลแบบราบเรียบในท่อกลม


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

พิจารณาการไหลแบบราบเรียบในท่อกลม ดังรูปที่ 8.8 และจากผลการวิเคราะห์ความเร็ว


พบว่า
( ) [ ] (8.10)

และความเร็วเฉลี่ยหาได้จาก

∬ ∫ ∫ ( )

หรือ

( ) (8.11)

สาหรับของไหลนิวทอเนียน จะได้สมการของความเค้นเฉือน คือ

τ ( )( )

τ ( ) (8.12)

พิจารณาที่ผนังท่อ (r = R) จากสมการ (8.12) จะได้ว่า

(8.13)
190 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

จากตัวประกอบความเสียดทาน (f) ของดาร์ซี-ไวส์บาค (Daecy-Weisbach friction


factor) จะได้ว่า

(8.14)

จากสมการที่ (8.13) และ (8.14) จะได้ว่า

(8.15)

และท่อกลมมีรัศมี R ดังนั้น

(8.16)

แทนค่าในสมการที่ (8.11) จะได้ว่า

( ) (8.17)

ดังนั้น จัดรูปสมการในรูปของตัวประกอบแรงเสียดทาน จะได้ว่า

หรือ

(8.18)

8.4.2 ตัวประกอบความเสียดทานของการไหลแบบปั่นป่วน
สาหรับการไหลแบบราบเรียบแบบเต็มท่อภายในท่อกลมนั้นพบว่าตัวประกอบความเสียด
ทานขึ้นอยู่กับค่า เรย์โนลด์ นัมเบอร์ (Re) และไม่ขึ้นอยู่กับความขรุขระ (Roughness, ) ของผิวท่อ
ส่วนการไหลแบบปั่นป่วน พบว่าตัวประกอบความเสียดทานขึ้นอยู่กับ เรย์โนลด์ นัมเบอร์ (Re) และ
ความขรุขระสัมพัทธ์ (Relative roughness, /D) ตัวแปรอื่นๆ ที่สาคัญได้แก่ ความหนาแน่นของ
ของไหล () ความหนืด () ความเร็วเฉลี่ยในการไหล (v) และเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ (D) ดังนั้นจึง
เขียนในรูปตัวประกอบความเสียดทานได้ดังนี้
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 191

( ) ( ) (8.19)

นอคูราดเซ (Nikuradse) วิศวกรชาวเยอรมันได้ทาการศึกษาผลกระทบของความขรุขระ


ของผนังท่อ หรือความหยาบของผิวของผนังท่อ (roughness, ) ที่มีต่อการไหล พบว่า ในกรณีการ
ไหลมีพฤติกรรมแบบราบเรียบ ความขรุขระของผนังท่อจะไม่มีผลต่อการสูญเสียพลังงาน หรือ ตัว
ประกอบความเสี ยดทาน แต่ในกรณีการไหลมีพฤติกรรมแบบปั่นป่วนผลกระทบของความขรุขระ
สามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะดังนี้
u*/ < 5 ถือว่าเป็นกรณีท่อผนังเรียบ เนื่องจากความขรุขระของผนังท่อไม่
ส่งผลกระทบต่อตัวประกอบความเสียดทาน (f = [Re])
5 < u*/ < 7 ความขรุขระของผนังท่อจะส่งผลกระทบต่อตัวประกอบความเสียด
ทาน ในระดับปานกลาง (f = [Re, /D])
u*/ > 5 ท่อขรุขระมาก หรือการไหลแบบปั่นป่วนสมบูรณ์ ความขรุขระของ
ผนั งท่อ จะส่ งผลกระทบอย่ างมากต่อ ตัว ประกอบความเสี ย ดทาน ส่ ว น Re มีผ ลกระทบต่อค่ า
สัมประสิทธิ์ความเสียดทานน้อยมาก (f = [/D])
สาหรับความขรุขระของผิวท่อที่ทาจากวัสดุชนิดต่างๆ จะกาหนดไว้ในตารางที่ 8.1
ในปี ค.ศ. 1939 โคลบรูก (C.F. Colebrook) ได้นาเสนอสมการการหาตัวประกอบความ
เสียดทานในกรณีที่ความขรุขระของผนังท่อมีผลกระทบในระดับปานกลาง ดังสมการต่อไปนี้

( ) (8.20)
√ √
และเพื่อให้ง่ายต่อการคานวณ ในปี ค.ศ. 1983 แฮแลนด์ (Haaland) ได้ทาการปรับปรุง
สมการของ โคลบรูก แต่สมการของแฮแลนด์มีความคลาดเคลื่อนอยู่ระหว่าง 10-15% ซึ่งอยู่ในเกณฑ์
ที่ยอมรับได้ สมการดังกล่าวคือ

(( ) ) (8.21)

ในกรณีการไหลในท่อขรุขระมาก (Fully rough flow) คาร์มาน (Karman) ได้นาเสนอ


สมการของการหาตัวประกอบความเสียดทานไว้ดังนี้

( ) (8.22)

192 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

และเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน ในปี ค.ศ. 1944 เลวิส เฟอร์รี มูดี้ (Lewis Ferry Moody) ได้
รวบรวมสมการของ ฮาเกน (Hangen) บัวซ์เอออีลเลอ (Poiseuille) แพรนตัท์ล (Prandtl) โคลบรุค
(Colebrook) และ คาร์มาน (Karman) มาสร้างเป็นกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Re /D กับ ตัว
ประกอบความเสียดทาน (f) หรือเรียกว่า แผนภาพมูดี้ (Moody diagram) ดังรูปที่ 8.9

รูปที่ 8.9 แผนภาพมูดี้ (Moody diagram)


(ที่มา : Donald et al., 2012)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 193

ตารางที่ 8.1 ค่าความขรุขระผิวของวัสดุชนิดต่างๆ

วัสดุที่ใช้ทาท่อ ความขรุขระสมมูล,  (mm)


เหล็กกล้าตะเข็บหมุดย้า (Riveted steel) 0.9 – 9.0
คอนกรีต (Concrete) 0.3 – 3.0
ท่อไม้ (Wood stave) 0.18 – 0.9
เหล็กหล่อ (Cast iron) 0.25
ผิวท่อเคลือบสังกะสี (Galvanized surface) 0.15
เหล็กหล่อเคลือบด้วยยางมะตอย (Asphalted cast iron) 0.12
เหล็กกล้าทั่วไป (Commercial steel) 0.046
เหล็กเหนียว (Wrought iron) 0.046
ท่อรีด (Drawn tubing) 0.0015
ที่มา : William (1993).

ตัวอย่างที่ 8.3 น้ ามันชนิ ดหนึ่งไหลผ่านท่อ เหล็กหล่อที่ว างในแนวระนาบ และมีขนาดเส้นผ่าน


ศูนย์กลาง 10.23 cm ยาว 100 m ด้วยอัตราการไหล 0.01 m3/s กาหนดให้ ความถ่วงจาเพาะของ
น้ามันนี้เท่ากับ 0.96 และมีความหนืด 650 x 10-3 N.s/m2 จงหาความดันลด (P1 – P2) ในช่วงความ
ยาวนี้
วิธีทา
หาพื้นที่ของท่อจากสมการ
A = D2/4 = (0.1023)2/4 = 82.19 x 10-4 m2

หาความเร็วเฉลี่ยของการไหลในท่อจากสมการ
v = Q/A = (0.01)/( 82.19 x 10-4) = 1.22 m/s

หาเรย์โนลด์นัมเบอร์จากสมการ

= 184 (แสดงว่าเป็นการไหลแบบราบเรียบ)

ดังนั้น หาตัวประกอบความเสียดาน (f) จากสมการ


194 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

= 0.347

สมการพลังงานของการไหลภายในท่อกลม


 

จากสมการการไหลในสภาวะคงตัวและการไหลแบบต่อเนื่อง
Q = A1v1 = A2v2

ดังนั้น A1 = A2 และ v1 = v2 ท่ออยู่ในแนวระดับ Z1 = Z2 จะได้ว่า

แทนค่าจะได้ว่า

= 2.42 x 105 N/m2 = 242 kPa ตอบ

ตัวอย่างที่ 8.4 น้ามันดีเซลไหลผ่านท่อเหล็กกล้าที่ วางในแนวราบ และมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง


14.64 cm ยาว 100 m ด้วยอัตราการไหล 0.003 m3/s กาหนดให้ความถ่วงจาเพาะของน้ามันดีเซล
เท่ากับ 0.728 และมีความหนืด 0.859 x 10-3 N.s/m2 จงหาความดันลด (P1 – P2) ในช่วงความยาว
ท่อเหล็กกล้านี้
วิธีทา
หาพื้นที่ของท่อจากสมการ
A = D2/4 = (0.1464)2/4 = 168.3 x 10-4 m2

หาความเร็วเฉลี่ยของการไหลในท่อจากสมการ
v = Q/A = (0.003)/( 168.3 x 10-4) = 0.18 m/s

หาเรย์โนลด์นัมเบอร์จากสมการ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 195

= 22,333 (แสดงว่าเป็นการไหลแบบปั่นป่วน)

ดังนั้น หาตัวประกอบความเสียดาน (f) จากแผนภาพมูดี้ (Moody diagram)


จากตารางที่ 8.1 ท่อเหล็กกล้ามีค่าความขรุขระ () เท่ากับ 0.046 mm
และ /D = 0.046/146.4 = 0.000314
Re = 22,333
จะได้ f = 0.027

สมการพลังงานของการไหลภายในท่อกลม


 

จากสมการการไหลในสภาวะคงตัวและการไหลแบบต่อเนื่อง
Q = A1v1 = A2v2

ดังนั้น A1 = A2 และ v1 = v2 ท่ออยู่ในแนวระดับ Z1 = Z2 จะได้ว่า

แทนค่าจะได้ว่า

= 217.5 N/m2 = 0.2175 kPa ตอบ


196 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

8.5 การสูญเสียพลังงานรอง
การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss, hm) เป็นการสูญเสียเฮดในจุดที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาด
หรื อ ทิศ ทางของความเร็ ว ของการไหลโดยฉับ พลั น ซึ่ งจะเกิ ด บริ เ วณที่ ของไหลไหลผ่ า นอุป กรณ์
ประกอบท่อต่างๆ เช่น วาล์ว ข้อต่อ ข้อลดขนาด ข้อขยายขนาด ข้องอชนิดต่างๆ เป็นต้น ซึ่งการ
สูญเสียรองนี้ จะขึ้นอยู่ กับรู ปแบบการเปลี่ยนแปลงความเร็วของการไหลในอุปกรณ์นั้นๆ และเฮด
ความเร็ว ดังนั้นการคานวณการสูญเสียพลังงานรอง จึงสามารถกาหนดให้อยู่ในรูปของผลคูณระหว่าง
ค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient, k) กับ เฮดความเร็ว (Velocity
head) ดังสมการที่ (8.23)

(8.23)

โดยค่า k จะขึ้นอยู่กับประเภทของอุปกรณ์ที่ไหลผ่านระบบท่อ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 8.2


ดังนั้น สมการพลังงานที่ใช้วิเคราะห์สาหรับการไหลผ่านระบบท่อ จะอยู่ในรูปของสมการ

∑ ∑ (8.24)
 

ซึ่งสมการที่ (8.24) เรียกว่า สมการเบอร์นูลีประยุกต์ (Modified Bernoulli equation)

ตัวอย่างที่ 8.5 น้ามันเบนซินมีความถ่วงจาเพาะ 0.876 มีความหนืด 0.601 ×10-3 N.s/m2 ไหลผ่าน


ข้อต่อที่เป็นข้องอ 45๐ (Threaded 45๐ elbow) ด้วยความเร็ว 3.5 m/s จงหาการสูญเสียพลังงาน
รอง (Minor loss) ของข้อต่อนี้
วิธีทา
จากสมการ

จากตารางที่ 8.2 ค่า K ของข้องอ 45๐ (Threaded 45๐ elbow) = 0.35

ดังนั้น

= 0.219 m ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 197

ตัวอย่างที่ 8.6 ระบบท่อเดี่ยวในระบบการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง ใช้ขนาดของท่อ 2


ขนาด ดังรูปที่ 8.10 สาหรับลาเลียงน้ามันสนออกจากถัง ด้วยอัตราการไหล 0.05m3/s โดยช่วงแรกใช้
ท่อ 12-nominal, schedule 80 ระยะทางยาว 60 m ช่วงที่ 2 ใช้ท่อ 8-nominal, schedule 80
ระยะทางยาว 22 m กาหนดให้ ท่อทั้งสองขนาดทาจากเหล็กเหนียว ความถ่วงจาเพาะของน้ามันสน
เท่ากับ 0.87 และความหนืดเท่ากับ 1.375 x 10-3 N.s/m2 จงคานวณหาความดันลด (P1 - P2) ตลอด
ความยาวท่อนี้

เกตวาล์ว P2
P1

12-nominal
3m 2.7 m
8-nominal

รูปที่ 8.10 ประกอบตัวอย่างที่ 8.6


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา จากตารางขนาดท่อในภาคผนวก ค จะได้ว่า


ท่อขนาด 12-nominal, schedule 80 ; D12 = 28.89 cm
A12 = 655.50 cm2
ท่อขนาด 8-nominal, schedule 80 ; D8 = 19.37 cm
A8 = 294.70 cm2
เหล็กเหนียว ;  = 0.046 mm

จากสมการเบอร์นูลีประยุกต์ (Modified Bernoulli equation)

∑ ∑
 

จัดรูปสมการใหม่ จะได้ว่า

[( ∑ ) ] [( ∑ ) ]

12 8
198 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

หาความเร็วเฉลี่ยในการไหล
v12 = Q/A12 = 0.05/0.06555 = 0.763 m/s
v8 = Q/A8 = 0.05/0.02947 = 1.70 m/s

หาเรย์โนลด์นัมเบอร์

= 139,473 (แสดงว่าเป็นการไหลแบบปั่นป่วน)

= 208,351 (แสดงว่าเป็นการไหลแบบปั่นป่วน)

และ
/D12 = 0.046/288.9 = 0.00016
/D8 = 0.046/193.7 = 0.00024

หาตัวประกอบความเสียดทานจากแผนภาพมูดี้ (Moody diagram) จะได้ว่า

f12 = 0.018
f8 = 0.0175

หาค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรองของท่อขนาด 12-nominal, schedule 80


ทั้งหมด โดยเริ่มจาก เกตวาล์ว และ ข้องอ 4 ตัว จะได้ว่า

K12 = 0.15 + 4(0.31) = 1.39

หาค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรองของท่อขนาด 8-nominal, schedule 80


ทั้งหมด (D82/D122 = 0.45) และข้องอ 45๐ 2 ตัว จะได้ว่า

K8 = 0.29 + 2(0.17) = 0.63


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 199

แทนค่าในสมการ จะได้ว่า

[( ) ]

[( ) ]

ดังนั้น
P1 – P2 = (0.147 - 0.0296 – 0.3 + 0.152 + 0.384) (870) (9.81)

= 3,010 N/m2 = 3.01 kPa ตอบ


200 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ 8.2 ค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (K)

อุปกรณ์ในระบบท่อ อุปกรณ์ในระบบท่อ

ข้องอ 90 ข้อต่อสามทาง

Threaded 90 elbow Threaded tee joint
K = 1.4 (regular) K = 0.9 (line flow)
K = 0.75 (long radius) K = 1.9 (branch flow)


Flanged 90 elbow Flanged tee joint
K = 0.31 (regular) K = 0.14 (line flow)
K = 0.22 (long radius) K = 0.69 (branch flow)

ข้องอ 45๐ ข้อต่อยูเนียน



Threaded 45 elbow Couplings and unions
K = 0.35 (regular) K = 0.08

ปากทางเข้าท่อ
๐ Reentrant
Flanged 45 elbow
Inlet or inward
K = 0.17 (long radius)
Projecting pipe
K = 1.0

ข้อโค้งกลับ ปากทางเข้าท่อ

Well – rounded entrance


Threaded return bend or bell – mouth inlet
K = 1.5 (regular) K = 0.05

Flanged return bend Square – edged inlet


K = 0.30 (regular) K = 0.5
K = 0.20 (long radius)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 201

ตารางที่ 8.2 ค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (K) (ต่อ)

อุปกรณ์ในระบบท่อ อุปกรณ์ในระบบท่อ
ข้อต่อลดขนาดท่อ ข้อต่อขยายขนาดท่อ

Sudden expansion

Reducing bushing and coupling


(sudden contraction)

ปลายท่อทางออก วาล์วลูกปืน
v
Ball valve

Convergent outlet
K

ปลายท่อทางออก วาล์วกันกลับ
Swing-type check valve
Pipe exit Check valve :
K = 1.0 K = 2.5 (swing type)
K = 70.0 (ball type)
K = 12.0 (lift type)
202 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ 8.2 ค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (K) (ต่อ)

อุปกรณ์ในระบบท่อ อุปกรณ์ในระบบท่อ
โกลบวาล์ว แองเกิลวาล์ว

Globe valve
fully open Angle valve
K = 10 K=2

เกตวาล์ว ฟุตวาล์ว

Foot valve
K = 0.8

Gate valve
กรอง
Fraction closed =
Basket strainer
Fraction closed = K = 1.3

ที่มา: William. (1993).


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 203

8.6 บทสรุป
การไหลภายในท่อปิด (Flow in closed conduits) คือ การไหลของของไหลภายในท่อที่มีผนัง
ปิดล้อมทุกด้าน และมีของไหลไหลอยู่เต็มพื้นที่หน้าตัดของท่อ ไม่มีผิวอิสระอยู่ด้านบนของหน้าตัดการ
ไหล และการไหลอยู่ภายใต้ความดันตลอดช่วงของการพิจารณา
การไหลของของไหลภายในท่อสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การไหลแบบราบเรียบ
(Laminar flow) การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) และการไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน
(Transition flow)
การไหลแบบราบเรียบ จะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความหนืดสูง หรือความเร็วในการไหล
ต่า อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนที่อย่างเป็นระเบียบขนานกับทิศทางของการไหล ซึ่งสังเกตได้ จาก
แนวเส้นสีที่เกิดจากการทดลองจะมีลักษณะเป็นเส้นที่ค่อนข้างตรงและราบเรียบ
การไหลแบบปั่นป่วน จะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความหนืดต่า หรือความเร็วในการไหล
มาก อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไม่เป็นระเบียบ แนวเส้นทางการเคลื่อนที่มีความเร็วแปรปรวนมาก
โดยสั งเกตได้จากแนวเส้ น สี ที่เกิดขึ้นจากการทดลองจะกวัดแกว่งไปมาไม่เป็ นระเบี ยบและมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
การไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน เป็นช่วงของการไหลที่กาลังจะพัฒนาพฤติกรรม จากการไหลแบบ
ราบเรียบไปเป็นการไหลแบบปั่นป่วน เป็นช่วงที่ไม่สามารถคาดเดาพฤติกรรมของการไหลได้อย่าง
แน่นอน เพราะในบางตาแหน่งหรือบางช่วงเวลาใดๆ พฤติกรรมของการไหลอาจเป็นไปได้ทั้งแบบ
ราบเรียบและแบบปั่นป่วน โดยสังเกตได้จากแนวเส้นสีที่เกิดขึ้นจากการทดลอง ในบางตาแหน่งจะมี
ลักษณะกวัดแกว่งไปมาในขณะที่ส่วนอื่นๆ มีลักษณะราบเรียบ หรือที่ตาแหน่งเดียวกันในบางเวลาอาจ
มีลักษณะราบเรียบ แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาจมีลักษณะกวัดแกว่งไปมาไม่สามารถคาดเดาได้
พฤติกรรมของการไหลทั้ง 3 ลักษณะจะสอดคล้องกับค่าของกลุ่มตัวแปรไร้มิติกลุ่มหนึ่ง ซึ่ง
เรียกว่า เรย์โนลด์ นัมเบอร์ (Reynolds number, Re) นั่นคือ
ถ้า Re < 2,100 แสดงว่าเป็นการไหลแบบราบเรียบ
2,100 < Re < 4,000 แสดงว่าเป็นการไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน
Re > 4,000 แสดงว่าเป็นการไหลแบบปั่นป่วน
การไหลบริเวณบริเวณปากทางเข้าของท่อ (Entrance flow development) แบ่งออกได้เป็น 2
ลักษณะ คือ การไหลบริเวณปากทางเข้าท่อในสภาวะการไหลแบบราบเรียบ และการไหลบริเวณปาก
ทางเข้าท่อในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน
ช่วงการไหลที่ได้รับผลกระทบจากปากทางเข้าท่อจะเริ่มจากปากทางเข้าต่อเนื่องเรื่อยไป
จนกระทั่งสิ้นสุดการปรับตัว เรียกว่า ความยาวช่วงทางเข้า (Entrance length, Le)
การสูญเสียพลังงานหลัก (Friction head loss หรือ Major loss) คือ การสูญเสียเฮดที่เกิดจาก
ผลของแรงเสียดทานอันเนื่องมาจากผลของความหนืดของของไหล และแรงเสียดทานระหว่างของไหล
กับผนังท่อ โดยการสูญเสียเฮดนั้นขึ้นอยู่กับ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ ความยาวท่อ ความขรุขระ
หรือความหยาบของวัสดุที่ใช้ทาท่อ ความหนืดของของไหล และความเร็วในการไหล
การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss, hm) เป็นการสูญเสียเฮดในจุดที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาด
หรื อ ทิศ ทางของความเร็ ว ของการไหลโดยฉับ พลั น ซึ่ งจะเกิ ด บริ เ วณที่ ของไหลไหลผ่ า นอุป กรณ์
204 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

ประกอบท่อต่างๆ เช่น วาล์ว ข้อต่อ ข้อลดขนาด ข้อขยายขนาด ข้องอชนิดต่างๆ เป็นต้น ซึ่งการ


สูญเสียรองนี้ จะขึ้นอยู่ กับรู ปแบบการเปลี่ยนแปลงความเร็วของการไหลในอุป กรณ์นั้นๆ และเฮด
ความเร็ว ดังนั้นการคานวณการสูญเสียพลังงานรอง จึงสามารถกาหนดให้อยู่ในรูปของผลคูณระหว่าง
ค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient, k) กับ เฮดความเร็ว (Velocity
head)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด 205

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 8

1. การไหลภายในท่อปิดหมายถึงอะไร
2. จงอธิบายพฤติกรรมการไหลภายในท่อ
3. เรย์โนลด์นัมเบอร์เป็นค่าที่บอกถึงอะไร
4. การสูญเสียพลังงานหลักหมายถึงอะไร
5. การสูญเสียพลังงานรองหมายถึงอะไร
6. น้ามันชนิดหนึ่งมีความถ่วงจาเพาะ 0.87 มีความหนืด 0.6 × 10-3 N.s/m2 ไหลผ่านท่อเหล็ก
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 mm ด้วยความเร็ว 5.5 m/s จงหา เรย์โนลด์นัมเบอร์
7. น้ามันดีเซลมีความถ่วงจาเพาะ 0.728 และมีความหนืด 0.859 x 10-3 N.s/m2 ไหลผ่านท่อที่มี
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13.2 cm ด้วยอัตราการไหล 0.032 m3/s อยากทราบว่าการไหลดังกล่าว
เป็นการไหลแบบราบเรียบ หรือแบบปั่นป่วน
8. น้าไหลผ่านท่อทางเข้าที่มีรูปทรงปากระฆัง (Well-rounded) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5.5 cm ด้วย
อัตราการไหลของของไหล 0.0035 m3/s กาหนดให้ น้ามีความถ่วงจาเพาะเท่ากับ 1 และมีความหนืด
0.89 x 10-3 N.s/m2 จงหาระยะ Entrance length (Le) ของการไหลนี้
9. น้าไหลผ่านท่อ 2-nominal, schedule 40 ยาว 10 m วางในแนวเอียงทามุม 30๐ กับแนวระดับ
ดังรูปที่ 8.11 ด้วยอัตราการไหล 0.002 m3/s กาหนดให้ ตัวประกอบความเสียดทาน (f) เท่ากับ 0.03
จงคานวณหาความดันลด (P1 - P2) ตลอดความยาวท่อนี้

10 m

5m
2-nominal

30
1

รูปที่ 8.11 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 ข้อที่ 9


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

10. เมทิลแอลกอฮอล์มีความถ่วงจาเพาะ 0.789 และมีความหนืด 0.56 x 10-3 N.s/m2 ไหลผ่านท่อ


6-nominal, schedule 80 ซึ่งทาจากเหล็กกล้าสนิม ยาว 120 m ด้วยอัตราการไหล 0.0049 m3/s
จงหาความดันลด (P1 – P2) ในช่วงความยาวท่อเหล็กกล้านี้
206 บทที่ 8 การไหลภายในท่อปิด กลศาสตร์ของไหล

11. เอทิลแอลกอฮอล์มีความถ่วงจาเพาะ 0.787 และมีความหนืด 1.095 x 10-3 N.s/m2 ไหลผ่านท่อ


8-nominal, schedule 80 ที่ประกอบด้วยข้อต่อออกสู่ถังบรรจุ ดังรูปที่ 8.12 ด้วยอัตราการไหล
0.35 m3/s และท่อมีความยาว 80 m กาหนดให้ ท่อทาจากเหล็กกล้า จงหาความดันลด (P1 – P2)
ในช่วงความยาวท่อเหล็กกล้านี้

2
1
จากเครื่องสูบ 2 m 2m

รูปที่ 8.12 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 ข้อที่ 11


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

12. น้าถูกสูบจากถังขึ้นสู่เครื่องสูบ โดยติดตั้งระบบท่อไว้ดังรูปที่ 8.13 และใช้ท่อ 4-nominal,


schedule 40 ซึ่งทาจากเหล็กหล่อ น้าไหลผ่านระบบท่อด้วยอัตราการไหล 0.04 m3/s ตลอดทั้ง
ระบบท่อมีความยาว 20 m อุปกรณ์ประกอบติดตั้งในระบบท่อเป็นแบบหน้าแปลน จงคานวณหา
ความดันลด (P1 – P2) ในระบบท่อตั้งแต่หน้าตัด 1 ถึง 2

2
Patm 8 cm
1
6 cm

รูปที่ 8.13 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 ข้อที่ 12


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 การวัดอัตราการไหลในท่อ 207

บทที่ 9
การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ
(Flow measurement of fluid in pipe)
ในบทเรียนนี้จะกล่าวถึงการวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ ซึ่งมีเนื้อหาที่สาคัญที่จะต้อง
ศึกษา ประกอบด้วย นิยามของการวัดอัตราการไหล การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบ
เวนจูริ การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบแผ่นออริฟิส การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตร
วัดการไหลแบบโรตามิเตอร์ การวัดอัตราการไหลโดยใช้พิทอตต์ทิวป์ และสรุ ปเนื้อหาที่ส าคัญ
รายละเอียดของแต่ละหัวข้อมีดังต่อไปนี้

9.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ
การวัดอัตราการไหล (Flow measurement) ของของไหลในท่อโดยใช้เครื่องมือวัด มีการวัด
อัตราการไหลได้หลายวิธีด้วยกัน ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเครื่องมือ หรือมาตรวัดอัตราการไหลใน
ท่อที่นิยมใช้และรู้จักกันทั่วไปเท่านั้น ซึ่ง มีรูปแบบของมาตรวัดและการวิเคราะห์หาอัตราการไหลใน
ท่อ ได้แก่ มาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ (Venturi meter) มาตรวัดการไหลแบบออริฟิส (Orifice
meter) มาตรวัดการไหลแบบโรตามิเตอร์ (Rotameter) การวัดอัตราการไหลโดยใช้พิทอตต์ทิวป์
(Pitot tube) ซึ่งรายละเอียดจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

9.2 การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ
9.2.1 ความหมายของมาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ
มาตรวัดอัตราการไหลแบบเวนจูริ (Venturi meter) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดอัตราการไหล
ของของไหลในท่อ หลักการของมาตรวัดการไหลชนิดนี้ถูกค้นพบโดยนักฟิสิกส์ชาวอิตาเลียน ในปี
พ.ศ. 2340 ซึ่งมีชื่อว่า จีโอแวนนี แบตทีสตา เวนจูริ (Giovanni Battista Venturi) แต่ภายหลัง เคล
เมนส์ เฮอร์เซิล (Clemens Herschel) ได้นาหลักการมาประยุกต์ใช้งานจริงในปี พ.ศ. 2530
9.2.2 หลักการทางานของมาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ
มาตรวัดแบบเวนจูริ (Venturi Meter) มีลักษณะเป็นท่อรูปกรวยตัด 2 ท่อนมาต่อกันดัง
รูปที่ 9.1 ลักษณะเช่นนี้จะช่วยลดการสูญเสียพลังงานได้มากกว่ามาตรวัดแบบออริฟิส อัตราการไหลก็
สามารถหาได้จากการอ่านค่าผลต่างของระดับของไหลในแมนอมิเตอร์ (h)
เวนจูริแบบพิเศษ (Eccentric) เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อไม่เป็นเส้นตรง เพื่อประโยชน์ใน
งานที่ของไหลมีสารแขวนลอยที่อาจเกิดการสะสมตัวภายในช่องวัด เช่นเดียวกับออริฟิสแบบเยื้องศูนย์
แต่เจนจูริแบบนี้จะต้องได้รับการสอบเทียบค่า (Calibration) เฉพาะตัวเท่านั้น
208 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

D1
S1

1 D2
ระดับอ้างอิง
z 2

h
M N
S0

รูปที่ 9.1 มาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

พิจารณาการไหลผ่านมาตรอัตราการไหลแบบเวนจูริจากจุดที่ (1) ไปยังจุดที่ (2) สาหรับของไหล


แบบอัดตัวไม่ได้
จากสมการพลังงานระหว่างจุด (1) และจุด (2) คือ

(9.1)

จากสมการความต่อเนื่องจะได้

(9.2)

แทนค่า จากสมการ (9.2) ในสมการ (9.1) จะได้


กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 209

(9.3)

เนื่องจากความดันที่จุด M = ความดันที่จุด N ดังนั้นจะได้ว่า

(9.4)

นาสมการที่ (9.3) เท่ากับสมการที่ (9.4) จะได้


(9.5)

เนื่องจากความเร็วจริง มีค่าน้อยกว่าความเร็วตามทฤษฎี

(9.6)

เมื่อ คือ สัมประสิทธิ์ความเร็ว


ที่หน้าตัด (2) มีอัตราการไหล

(9.7)

แทนค่า จากสมการ (9.5) ในสมการที่ (9.7) จะได้


(9.8)

สมการที่ (9.8) สาหรับในกรณีที่ใช้ผลต่างความสูงของแมนอมิเตอร์

จากสมการที่ (9.4) นามาแทนค่าในสมการที่ (9.8) จะได้


210 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล


(9.9)

ในกรณีที่ติดตั้งเครื่องวัดความดัน จะได้ว่า


(9.10)

สาหรับสัมประสิทธิ์ความเร็ว สามารถหาได้จากกราฟดังรูปที่ 9.2

1.00

0.98
Cv

0.96

0.94
4 5 6
10 2 3 4 5 6 8 10 2 3 4 5 6 8 10
Re

รูปที่ 9.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง และเรย์โนลด์นัมเบอร์ (Re)


(ที่มา : William, 1993)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 211

ตัวอย่างที่ 9.1 ใช้มาตรอัตราการไหลแบบเวนจูริที่มีขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลาง D1 = 45 cm และ


D2 = 22.5 cm วางอยู่ในแนวเอียง ระดับความสูงระหว่างจุด (1) และ (2) เท่ากับ 10 cm ความเร็วที่
คอคอด (จุดที่ 2) เท่ากับ 0.58 m/s ความดันแตกต่างระหว่างจุดวัดอ่านได้ 40 kPa จงคานวณหา
อัตราการไหลของน้าในท่อส่ง (ในที่นี้  = 1,000 kg/m3 และน้ามี  = 1.30 x 10-6 m2/s)
วิธีทา
จากสมการ

โจทย์กาหนดให้ P = 40 kPa = 40 x 103 Pa

 = g = 1,000 x 9.81 = 9,810 N/m3

Z = 0.1 m

จากกราฟความสัมพันธ์ในรูปที่ 9.2 ได้ Cv = 0.98


แทนค่าในสมการจะได้

= 0.362 m3/s ตอบ


212 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

9.3 การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบแผ่นออริฟิส
9.3.1 ความหมายของมาตรวัดการไหลแบบแผ่นออริฟิส
มาตรวัดการไหลแบบแผ่นออริฟิส (Orifice plate meter) หรือ มาตรวัดแบบรูระบาย
(Orifice meter) เป็นเครื่องมือวัดอัตราการไหลสาหรับของไหลที่ไหลภายในท่ออีกแบบหนึ่ง การใช้
ออริ ฟิ ส วั ด อั ต ราการไหล เป็ น ที่ รู้ จั ก กั น มาตั้ ง แต่ ส มั ย จู เ รี ย ส ซี ซ าร์ (Julius Caesar) ในต้ น
คริสต์ศตวรรษที่ 20 ออริฟิส ประกอบด้วยแผ่นราบบางที่วางกันของไหล ตรงกลางเจาะรู ขอบของ
แผ่นราบจะคม การติดตั้งจะหันส่วนที่คมสวนทางกับกระแส
9.3.2 ความหนาของออริฟิส
ความหนาของออริฟิส จะมีค่าแปรเปลี่ยนไปตามขนาดของท่อหรือเส้นผ่าศูนย์กลางของ
ช่องออริฟิส ความหนาของขอบในออริฟิส (Orifice edge) ระยะ T ตามรูปที่ 9.3 จะต้องมีค่าไม่เกิน
ค่าเหล่านี้

ด้านหน้า (Inlet face)


๐ ๐
45  2

ขอบคม (Sharp edge)


d การไหล (Flow)

T ความหนาของขอบในออริฟิส (Orifice edge)


W ความหนาแผ่นออริฟิส

รูปที่ 9.3 ค่าความหนาใช้งานของออริฟิส


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

จากรูปที่ 9.3 จะได้ว่า


T  0.02 D เมื่อ D คือ ระยะเส้นผ่านศูนย์กลางด้านในของท่อ
หรือ T  d/8 เมื่อ d คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของช่องออริฟิส
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 213

โดยที่ระยะ d จะมีผลโดยตรงต่อค่าสัมประสิทธิ์อัตราการไหล (Coefficient of discharge) แต่


ค่าความหนาของแผ่นออริฟิสจะมีค่าความหนามากกว่า T ได้ เพื่อได้ความแข็งแรงของแผ่นออริฟิสมี
มากขึ้น ขนาดช่องออริ ฟิ ส จะบอกเป็ นอัตราส่ ว นกั บขนาดเส้ น ผ่ าศูน ย์ กลางภายในของท่อ (d/D)
เรียกว่า อัตราส่วนเบตา (β Ratio) ค่าของ สาหรับวัดอัตราการไหลของของเหลวจะอยู่ระหว่าง
0.15 ถึง 0.75 ส่วนค่า ที่ใช้สาหรับวัดอัตราการไหลของก๊าซจะอยู่ระหว่าง 0.2 ถึง 0.7
9.3.3 ออริฟิสแบบเยื้องศูนย์ (Eccentric orifice)
ช่องออริฟิสเป็นรูปกลม แต่จุดศูนย์กลางของรูจะค่อนมาอยู่ทางด้านล่างของแผ่น ดังรูปที่
9.4 เนื่องจากแก้ปัญหาของของไหลบางอย่าง เช่น ของไหลที่มีสารแขวงลอย น้ามันที่มีน้าผสมอยู่ แต่
อย่างไรก็ดีผลการวัดของออริฟิสแบบนี้ อาจทาให้ค่าผิดพลาดมากกว่าแบบแรกถึง 5 เท่า

รูปที่ 9.4 แผ่นออริฟิสแบบเยื้องศูนย์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Fox and McDonald, 1992)

9.3.4 ออริฟิสแบบเซ็คเมนต์ (Segmental orifice)


ออริฟิสแบบนี้ใช้งานกับของไหลที่มีปัญหาเช่นเดียวกับแบบเยื้องศูนย์ โดยช่องออริฟิสจะ
เจาะเป็นเสี้ยวของวงกลม (Segment) ดังรูปที่ 9.5

รูปที่ 9.5 แผ่นออริฟิสแบบเซ็คเมนต์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Fox and McDonald, 1992)
214 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

9.3.5 ออริฟิสแบบจุดศูนย์กลางร่วม (Concentric orifice)


ออริฟิสแบบนี้ใช้งานกับของไหลทั้งที่เป็นของเหลว ก๊าซ และไอที่ไม่มีความหนืด โดยช่อง
ออริฟิสจะเจาะเป็นรูตรงกลางสองวงมีจุดศูนย์กลางร่วม (Concentric) ดังรูปที่ 9.6

รูปที่ 9.6 แผ่นออริฟิสแบบจุดศูนย์กลางร่วม


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Fox and McDonald, 1992)

9.3.6 ออริฟิสแบบจากัดจุดศูนย์กลางเดียว (Restriction orifice)


ออริฟิสแบบนี้ใช้งานกับของไหลทั้งที่เป็นของเหลวและก๊าซ โดยช่องออริฟิสจะเจาะเป็นรู
ตรงกลางจุดศูนย์กลางจากัดวงเดียว (Restriction) ดังรูปที่ 9.7

รูปที่ 9.7 แผ่นออริฟิสแบบจากัดจุดศูนย์กลางเดียว


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Fox and McDonald, 1992)

9.3.7 หลักการทางานของมาตรวัดแบบออริฟิส
มาตรวัดแบบออริฟิส หรือรูระบาย (Orifice Meter) ประกอบด้วยแผ่นโลหะมีรูกลม ซึ่งมี
ขอบคมอยู่ตรงกลางวางกั้นทิศทางการไหลของของไหลในท่อ ดังรูปที่ 9.8 โดยแนวที่ผ่านจุดศูนย์กลาง
ท่อจะผ่านจุดศูนย์กลางรูระบายน้าพอดี ซึ่งอัตราการไหลสามารถพิจารณาได้จากการอ่านผลต่างของ
ระดับของไหล
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 215

แผ่นออริฟิส

การไหล
1 D0 2 D2
D1
S1 1
y
ของไหลในแมนอมิเตอร์

แมนอมิเตอร์
h
M N

S0 2

รูปที่ 9.8 มาตรวัดการไหลแบบออริฟิส


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Fox and McDonald, 1992)

จากสมการพลังงานระหว่างจุดที่ (1) และจุดที่ (2) คือ

(9.11)

เนื่องจาก Z1 = Z2 เพราะท่อวางในแนวระดับ ดังนั้น

(9.12)

สมการการไหลต่อเนื่องระหว่างหน้าตัด (1) และหน้าตัด (2) คือ

(9.13)

แต่ A2 < A0 หรือ A2 = ccA0 (9.14)


เมื่อ cc คือ สัมประสิทธิ์การคอดตัว
แทนค่า A2 จากสมการที่ (9.14) ลงในสมการที่ (9.13) จะได้
216 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

(9.15)

แทนค่า จากสมการ (9.15) ในสมการ (9.12) จะได้

(9.16)

แต่ ความดันที่จุด M = ความดันที่จุด N ดังนั้นจะได้ว่า

(9.17)

นาสมการที่ (9.16) เท่ากับสมการที่ (9.17) จะได้


(9.18)

สมการที่ (9.18) คือความเร็วที่ได้ตามทฤษฎี แต่ ในความเป็นจริงแล้วจะมีการสูญพลังงานใน


ขณะที่มีการไหลผ่านมาตรวัดแบบออริฟิส ดังนั้น ความเร็วจริง มีค่าน้อยกว่า ความเร็วตาม
ทฤษฎี คือ
(9.19)

เมื่อ คือ สัมประสิทธิ์ความเร็ว

ที่หน้าตัด (2) มีอัตราการไหล

(9.20)

แทนค่า จากสมการ (9.18) ในสมการที่ (9.20) จะได้


(9.21)

กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 217


(9.22)

โดยที่ cd คือ สัมประสิทธิ์อัตราการไหลมีค่าเท่ากับ cccv


จากสมการที่ (9.22) จะเห็นได้ว่าสัมประสิทธิ์อัตราการไหล cd และสัมประสิทธิ์การคอดตัว
cc เป็นค่าที่หาได้ยาก ดังนั้นถ้ายุบเทอมใหม่เป็นดังสมการที่ (9.23) จะหาอัตราการไหลได้สะดวกขึ้น
กล่าวคือ (ในกรณีที่ใช้ผลต่างความสูงของแมนอมิเตอร์)

√ [ ] (9.23)

โดยที่ คือ สัมประสิทธิ์มาตรวัดแบบออริฟิส


เมื่อแทนค่า [ ] จากสมการที่ (9.17) ในสมการที่ (9.23) จะได้

√ [ ] (9.24)

สาหรับในกรณีที่ติดตั้งเครื่องวัดความดัน จะได้ว่า

√ (9.25)
โดยที่
218 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

สาหรับสัมประสิทธิ์มาตรวัดอัตราการไหลแบบออริฟิสหาได้จากรูปที่ 9.9

0.82
เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 0.70

ภายใน D1 30 0.78
0.76
D0 0.74 0.60
 0.02D1
c 0.72
 0.1D1 0.70 0.50
0.68
 0.03D1 0.66 0.40
0.64 0.30
0.62 0.20
0.60 0.10
C 3 4 4 5 5 6 0.05
ρ 4x10 10 5x10 10 5x10 10
ρ

รูปที่ 9.9 สัมประสิทธิ์มาตรวัดการไหลแบบออริฟิส


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Fox and McDonald, 1992)

ตัวอย่างที่ 9.2 ติดตั้งออริฟิสขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ D0 = 8 cm เข้ากับท่อส่งน้าแนวระดับที่มี


เส้นผ่านศูนย์กลาง D1 = 25 cm ความเร็วของน้าที่ท่อส่งน้าเท่ากับ 0.089 m/s และติดตั้งแมนอ
มิเตอร์ปรอทวัดความดันลดคร่อมออริฟิสดังกล่าว ดังรูปที่ 9.10 และอ่านค่าความดันแตกต่าง  P =
35 Kpa ขณะนั้นกาหนดให้น้าอยู่ที่อุณหภูมิ 25oC จงคานวณหาอัตราการไหลจริงของน้าในท่อส่ง

1 D0 2 D2
D1
S1 1 y

M N h
S0 2
รูปที่ 9.10 ประกอบตัวอย่างที่ 9.2
(ที่มา : ดัดแปลงจาก Clayton et al., 2010)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 219

วิธีทา
หาอัตราการไหลจริงของน้าในท่อส่ง จากสมการ

จากตารางที่ ก.1 สาหรับน้าที่อุณหภูมิ 25oC มี  = 997.0 kg/m3


และ  = 0.890 x 10-3 N.s/m2

หาสัมประสิทธิ์มาตรวัดการไหลแบบออริฟิส c จากกราฟความสัมพันธ์ในรูปที่ 9.9 ได้ c =


0.66
แทนค่าในสมการ จะได้ว่า

= 0.098 m3/s ตอบ

9.4 การวัดอัตราการไหลโดยใช้มาตรวัดการไหลแบบโรตามิเตอร์
9.4.1 ความหมายของมาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์
มาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์ (Rotameter) หรือแบบลูกลอย เป็นเครื่องมือวัด
อัตราการไหลของของไหล ลักษณะของโรตามิเตอร์เป็นท่อแก้วใสด้านในเป็นกรวยเรียว (Tapered
pipe) และมีลูกลอย (Float) ที่ออกแบบพิเศษบรรจุอยู่ภายในกรอบ ดังรูปรูปที่ 9.11 ของไหลที่
ต้องการวัดจะไหลผ่านเข้ามาทางด้านล่างของตัววัด ลูกลอยจะถูก เฮดความเร็ว (Velocity head) ยก
ให้ลอยตัวขึ้น ตาแหน่งของลูกลอยจะลอยนิ่ง อยู่กับที่เมื่อเกิดความสมดุลระหว่างเฮดความเร็วของของ
ไหลกับน้าหนักของลูกลอย ตาแหน่งของลูกลอยจะบอกค่าอัตราการไหลได้ โดยระดับของลูกลอยแบบ
ต่างๆ ที่อ่านค่าจะแสดงไว้ในรูปที่ 9.12
220 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

การไหล
ท่อแก้ว

ลูกลอย ระดับอ่านค่า

การไหล

รูปที่ 9.11 มาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

9.4.2 หลักการทางานของมาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์
ส่วนประกอบของโรตามิเตอร์ที่สาคัญ ประกอบด้วย
1) ลูกลอย (Float) ลักษณะของลูกลอยจะถูกแบ่งออกตามคุณสมบัติของของไหล
และปริมาตรของการไหล เช่น แบบลูกบอลเหมาะสาหรับการไหลค่าต่าๆ
2) ท่อแก้ว ส่วนใหญ่ท่อแก้วที่นิยมใช้ทาจาก “โบโรซิลิเกต” สาหรับงานที่ใช้ความ
ดัน อุณหภูมิต่า และไม่เป็นสารอันตราย เช่น น้า อากาศ โดยปกติท่ อแก้วไม่นิยมใช้กับความดันค่าสูง
เกินไป
3) แบบท่อโลหะ ท่อชนิดนี้ออกแบบพิเศษสาหรับใช้งานในจุดที่ใช้ท่อแก้วไม่ได้ วิธี
อ่านค่าจึงต่างออกไปเนื่องจากไม่สามารถมองดูลูกลอยโดยตรงได้ โดยออกแบบให้มีก้านต่อจากลูก
ลอยผ่านกระบวนการแสดงค่าโดยใช้แรงดึงดูดของแผ่นแม่เหล็ก

อ่านค่าที่ระดับนี้

รูปที่ 9.12 การอ่านค่าของลูกลอยแบบต่างๆ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Walter, 1990)

อัตราการไหลสามารถอ่านได้จากค่าลูกลอยที่อยู่นิ่งกับที่ ทั้งนี้ก็เนื่องจากแรงในแนวตั้งที่
เกิดจากความดันแตกต่าง แรงโน้มถ่วงที่สมดุลกับเครื่องมือนี้สามารถปรับสมดุลได้ดี ซึ่งขึ้นอยู่กับพื้นที่
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 221

ที่ของเหลวไหลผ่ านและแปรค่าอย่ างต่อเนื่ องกับ ระยะที่ ลู กลอยลอยตั วขึ้น ได้ ดังนั้ นจึ งมีลั กษณะ
คล้ายๆ กับมาตรช่องเปิดขอบคมที่ปรับพื้นที่ได้ ซึ่งสามารถเขียนสมการได้ดังนี้


√ (9.26)

โดยที่ Q คือ อัตราการไหล (m3/s)


Cd คือ สัมประสิทธิ์การไหล
At คือ พื้นที่หน้าตัดของหลอดแก้ว (m2)
Af คือ พื้นที่หน้าตัดของลูกลอย
g คือ อัตราเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (m/s2)
f คือ ปริมาตรของลูกลอย (m3)
f คือ น้าหนักจาเพาะของลูกลอย (N/m3)
ff คือ น้าหนักจาเพาะขอของเหลวที่ไหลผ่าน (N/m3)

ตัวอย่างที่ 9.3 มาตรอัตราการไหลแบบลูกลอยใช้วัดอั ตราการไหลของน้าที่มีความหนาแน่น ff =


1,000 kg/m3 ตาแหน่งสมดุลของลูกลอยที่ระดับความสูง 5 cm เหนือหน้าตัด A-A/ ซึ่งมีรัศมี a =
1.2 cm ดังรูปที่ 9.13 หลอดแก้วมีมุมเทเปอร์ 5o กับแนวดิ่ง สาหรับลูกลอยทาจากวัสดุที่มีความ
หนาแน่น f = 1,200 kg/m3 พื้นที่หน้าตัด Af = 7.1 x 10-4 m2 และปริมาตรเท่ากับ 1.5 x 10-5 m3
ถ้ากาหนดให้ Cd = 0.92 จงคานวณหาอัตราการไหลของน้าผ่านมาตรอัตราการไหลแบบลูกลอยนี้


ทางน้าไหลออก 5 tan5
หลอดแก้ว a
Af rtube
At
๐ 5 cm ๐
5 5
a /
A A
a
ทางน้าไหลเข้า

รูปที่ 9.13 ประกอบตัวอย่างที่ 9.3


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)
222 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

วิธีทา
จากสมการ


โจทย์กาหนดให้ cd = 0.92
f = 1,200 kg/m3 ดังนั้น f = 1,200 x 9.81 = 11,772 N/m3
ff = 1,000 kg/m3 ดังนั้น ff = 1,000 x 9.81 = 9,810 N/m3
Af = 7.1 x 10-4 m2
f = 1.5 x 10-5 m3

หา At จาก
รัศมีของหลอดแก้วที่ตาแหน่งสมดุลของลูกลอยหาได้จาก
rt = a + 5 tan 5o
= 1.2 + 0.4374
= 1.6374 cm
พื้นที่หน้าตัดของหลอดแก้วคานวณจาก
At =  r2
=  (1.637 x 10-2)2
= 8.4 x 10-4 m2
แทนค่าในสมการจะได้ว่า

( ) ( )

ตอบ

9.5 การวัดอัตราการไหลโดยใช้พิทอตต์ทิวป์
9.5.1 ความหมายของพิทอตต์ทิวป์
พิทอตต์ทิวป์ (Pitot tube) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความเร็วของของไหลที่ใช้ได้ทั้งกับ
ของเหลวและก๊ าซ โดยที่ตรงปลายที่ใช้ วัดจะถู กสอดเข้ าอยู่ ในส่ ว นกลางของท่ อให้ ตั้งฉากกับ ทิ ศ
ทางการไหลและปลายอีก ข้างหนึ่ งเปิ ด อยู่ ด้านข้าง ดังรู ป ที่ 9.14 เพื่อใช้วัดความดัน สถิต (Static
pressure) จุดวัดความดันทั้งสองด้านจะตั้งฉากกัน
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 223

จุดต่อวัดความดันที่เกิดจาก
Velocity Head จุดวัดความดันแบบ Static
Packing Nut
Stuffing Box
Corporation Cock

จุดวัดความดันแบบ Static

จุดวัดความดันที่เกิดจาก Velocity
Flow of Pipe

รูปที่ 9.14 พิทอตต์ทิวป์ (Pitot tube)


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

พิทอตต์ทิวป์เป็นเครื่องมือวัดแบบที่ประหยัด และติดตั้งง่าย แต่จะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นได้ง่าย


เมื่อความเร็วเปลี่ยนแปลงหรือของไหลที่สกปรกเหนียวข้น เพราะจะทาให้เกิดการอุดตันได้ง่าย ค่า
ความผิดพลาดของการวัดจะอยู่ประมาณ  0.5% ถึง  5% ข้อดี คือ ความดันสูญเสียที่เกิดจากพิ
ทอตต์ทิวป์มีค่าต่า
9.5.2 หลักการทางานของพิทอตต์ทิวป์
การวัดความเร็ว (Velocity measurement) ของของไหล สามารถวัดได้โดยตรง คือการ
จับเวลาที่อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไปได้ในระยะทางที่กาหนด ซึ่งอาจใช้วิธีการปล่อยสีไ ปตาม
กระแสของของไหลจะได้ความเร็ว v คือ

เมื่อ ds คือ ระยะทางที่อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ภายในเวลา dt


E.G.L

h
H.G.L 
H  H
v1
1 2

รูปที่ 9.15 หลักการวัดความเร็วของของไหลโดยใช้พิทอตต์ทิวป์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)
224 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

สาหรับการวัดความเร็วของของไหลอีกวิธีหนึ่ง คือ การใช้หลอดพิทอตต์ (Pitot tube) ซึ่ง


มีลักษณะเป็นหลอดแก้วขนาดเล็กงอเป็นมุมฉาก โดยใช้ปลายด้านหนึ่งเปิดหันเข้าหากระแสการไหล
ดังรูปที่ 9.15 ลักษณะเช่นนี้จะทาให้ของไหลสามารถไหลเข้าไปในหลอดแก้วได้จนกระทั่งความดันของ
ของไหลในหลอดแก้วมีค่ามากพอที่จะต้านทานกระแสการไหล ซึ่งจะทาให้ของไหลในหลอดแก้วมี
ความเร็วเป็นศูนย์
สมการพลังงานระหว่างจุด (1) และจุด (2) คือ

√ (9.27)

แต่เนื่องจากสภาพความเป็นจริงแล้ว ในการไหลจะมีการสูญเสียพลังงานจากการที่มีหลอด
พิทอตต์มาขวางกระแสการไหล ดังนั้นความเร็วจริง (v) จึงมีค่าน้อยกว่าความเร็วที่คานวณได้ (v1)
จากสมการ
(9.28)

C √ (9.29)

โดยที่ C คือ สัมประสิทธิ์ความเร็ว (Coefficient of velocity) ซึ่งจะมีค่าอยู่ในช่วง 0.98-0.995

หรือ C √ [ ] (9.30)

ตัวอย่างที่ 9.4 พิทอตต์ทิวป์ต่อเข้ากับแมนอมิเตอร์ และอ่านค่าผลต่างความดัน (P) ได้ 0.35 kPa


และวางขนานกับแนวท่อส่งน้า กาหนดให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเร็ว มีค่า 0.98 จงคานวณหาความเร็ว
ของการไหลของน้าที่จุดนั้น
วิธีทา
จากสมการ C √ [ ]

แทนค่า √ [ ]
ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 225

9.6 บทสรุป
การวัดอัตราการไหล (Flow measurement) ของของไหลในท่อโดยใช้เครื่องมือวัด มีการวัด
อัตราการไหลได้หลายวิธีด้วยกัน ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเครื่องมือหรือมาตรอัตราการไหลในท่อที่
นิยมใช้และรู้จักกันทั่วไปเท่านั้น ซึ่ง มีรูปแบบของมาตรวัดและการวิเคราะห์หาอัตราการไหลในท่อ
ได้แก่ มาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ (Venturi meter) มาตรวัดการไหลแบบออริฟิส (Orifice meter)
มาตรวัดการไหลแบบโรตามิเตอร์ (Rotameter) การวัดอัตราการไหลโดยใช้พิทอตต์ทิวป์ (Pitot
tube)
มาตรวัดอัตราการไหลแบบเวนจูริ (Venturi meter) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดอัตราการไหลของของ
ไหลในท่อ หลักการของมาตรวัดการไหลชนิดนี้ถูกค้นพบโดยนักฟิสิกส์ชาวอิตาเลียน ในปี พ.ศ. 2340
ซึ่งมีชื่อว่า G.B. Venturi แต่ภายหลัง C. Herschel ได้นาหลักการมาประยุกต์ใช้งานจริงในปี พ.ศ.
2530
มาตรวัดอัตราการไหลแบบเวนจูริ ประกอบด้วย ท่อที่มีคอคอด ซึ่งจะทาให้ของไหลมีความเร็ ว
เพิ่มขึ้น แต่ความดันลดลงทางด้านปลายของท่อจะมีลักษณะค่อยๆ ขยายออกความเร็วของของไหลก็
จะค่อย ๆ ลดลง เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอัตราการไหลค่อนข้างแน่นอน ดังนั้น
มาตรเวนจูริ จึงเป็นเครื่องมือวัดอัตราการไหลที่สาคัญชนิดหนึ่ง
มาตรวัดการไหลแบบแผ่นออริ ฟิส (Orifice plate meter) หรือ มาตรวัดแบบรูระบาย (Orifice
meter) เป็นเครื่องมือวัดอัตราการไหลสาหรับของไหลที่ไหลภายในท่ออีกแบบหนึ่ง การใช้ออริฟิสวัด
อัตราการไหล เป็นที่รู้จักกันมาตั้งแต่สมัยจูเรียต ซีซาร์ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20
มาตรวัดแบบออริฟิส หรือรูระบาย (Orifice meter) ประกอบด้วยแผ่นโลหะมีรูกลม ซึ่งมีขอบ
คมอยู่ตรงกลางวางกั้นทิศทางการไหลของของไหลในท่อ โดยแนวที่ผ่านจุดศูนย์กลางท่อจะผ่านจุด
ศูนย์กลางรูระบายน้าพอดี ซึ่งอัตราการไหลสามารถพิจารณาได้จากการอ่านผลต่างของระดับของไหล
มาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์ (Rotameter) หรือแบบลูกลอย เป็นเครื่องมือวัดอัตรา
การไหลของของไหล ลักษณะของโรตามิเตอร์เป็นท่อแก้วใสด้านในเป็นกรวยเรียว (Tapered pipe)
และมีลูกลอย (Float) ที่ออกแบบพิเศษบรรจุอยู่ภายในกรอบ ของไหลที่ต้องการวัดจะไหลผ่านเข้ามา
ทางด้านล่างของตัววัด ลูกลอยจะถูกเฮดความเร็ว (Velocity head) ยกให้ลอยตัวขึ้น ตาแหน่งของลูก
ลอยจะลอยนิ่ง อยู่กับที่เมื่อเกิดความสมดุลระหว่า งเฮดความเร็ว ของของไหลกับน้าหนักของลูกลอย
ตาแหน่งของลูกลอยจะบอกค่าอัตราการไหลได้
พิทอตต์ทิวป์ (Pitot tube) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความเร็วของของไหลที่ใช้ได้ทั้งกับของเหลวและ
ก๊าซ โดยที่ตรงปลายที่ใช้วัดจะถูกสอดเข้าอยู่ในส่วนกลางของท่อให้ตั้งฉากกับทิศทางการไหลและ
ปลายอีกข้างหนึ่งเปิดอยู่ด้านข้าง เพื่อใช้วัดความดันสถิต (Static pressure) จุดวัดความดันทั้งสอง
ด้านจะตั้งฉากกัน
226 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 9

1. จงบอกนิยามของการวัดอัตราการไหลของของไหล
2. จงอธิบายหลักการทางานของมาตรวัดอัตราการไหลแบบเวนจูริ
3. จงอธิบายหลักการทางานของมาตรวัดอัตราการไหลแบบออริฟิส
4. จงอธิบายหลักการทางานของมาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามอเตอร์
5. จงอธิบายหลักการทางานของพิทอตต์ทิวป์
6. จงบอกส่วนประกอบที่สาคัญของมาตรวัดการไหลแบบโรตามิเตอร์
7. น้าไหลผ่านมาตรวัดอัตราการไหลแบบเวนจูริ ดังรูปที่ 9.16 ความเร็วที่คอคอด เท่ากับ 1.2 m/s
และอ่านค่าความดันแตกต่าง P ได้ 106.5 kPa กาหนดให้ ความหนาแน่นของน้าเท่ากับ 1,000
kg/m3 และน้ามีความหนืดเท่ากับ 0.89 x 10-3 N.s/m2 จงคานวณหาอัตราการไหลของน้าผ่านท่อ

D1 = 2 m
D2 = 0.9 m
ทิศทางน้าไหล

P

รูปที่ 9.16 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 ข้อที่ 7


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

8. น้ามันไหลผ่านออริฟิส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางรูเจาะ D0 = 9 cm เข้าท่อส่งที่วางอยู่ในแนวระดับ


มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง D1 = 20 cm โดยติดตั้งแมนอมิเตอร์ปรอทวัดความดันลดคร่อมออริฟิส ดัง
รูปที่ 9.17 อ่านค่าความดันแตกต่าง  P = 28 Kpa และความเร็วของน้าที่ท่อส่งน้าเท่ากับ 0.15
m/s กาหนดให้น้ามันมีความหนาแน่น 728 kg/m3 และน้ามันมีความหนืดเท่ากับ 0.86 x 10-3
N.s/m2 จงคานวณหาอัตราการไหลของน้ามันในท่อส่งนี้
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ 227

แผ่นออริฟิส
D0
น้ามัน (S = 0.728) D1 1
2

hm

m

รูปที่ 9.17 ประกอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 ข้อที่ 8


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Fox and McDonald, 1992)

9. จงหาอัตราการไหลของน้าผ่านมาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์ ซึ่งลูกลอยที่ใช้วัดมีปริมาตร
เท่ากับ 2.1 x 10-5 m3 และมีพื้นที่หน้าตัด Af = 8.45 x 10-4 m2 สาหรับลูกลอยทาจากวัสดุที่มีความ
หนาแน่น f = 1,220 kg/m3 กาหนดให้ พื้นที่หน้าตัดของหลอดแก้ว At = 9.68 x 10-4 m2 และ
สัมประสิทธิ์การไหลมีค่าเท่ากับ 0.94
10. จงหาความเร็วของการไหลของน้ามันผ่านท่อที่จุดวัดความเร็วโดยใช้พิทอตต์ทิวป์ต่อเข้ากับแมนอ
มิเตอร์ และอ่านค่าผลต่างความดัน (P) ได้ 0.85 kPa และวางขนานกับแนวท่อส่งน้ามัน กาหนดให้
ค่าสัมประสิทธิ์ความเร็ว มีค่า 0.99 และความถ่วงจาเพาะของน้ามันเท่ากับ 0.92
228 บทที่ 9 การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อ กลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 11 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 229

บทที่ 10
สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้
(Basic equation of compressible flows)
ในบทเรียนที่ผ่านมาจะกล่าวถึงการไหลของของไหลแบบอัดไม่ได้ (Incompressible fluid)
ซึ่งเป็ นการไหลของของไหลโดยส่ วนใหญ่ ส าหรั บ บทนี้จะกล่าวถึงการไหลของของไหลแบบอัดได้
(Compressible fluid) เนื้ อ หาที่ จ ะศึ ก ษา ประกอบไปด้ ว ย นิ ย ามของการไหลแบบอั ด ตั ว ได้
ความสัมพันธ์ทางอุณหพลศาสตร์ การเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง คลื่นรูปกรวยมัค สมการพื้นฐานสาหรับ
การไหลแบบไอเซนทรอปิก ผลของการเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่สาหรับการไหลแบบไอเซนทรอปิก
การไหลแบบไอเซนทรอปิกของก๊าซอุดมคติ การไหลผ่านหัวฉีด การไหลแบบอัดตัวได้ผ่านท่อที่มี
พื้นที่หน้าตัดคงที่และมีความเสียดทาน และสรุปเนื้อหาที่สาคัญ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

10.1 นิยามของการไหลของของไหลแบบอัดตัวได้
การไหลของของไหลแบบอัดตัวได้ (Flow of compressible fluid) หมายถึง การไหลของของ
ไหลที่มีการเปลี่ยนแปรค่าความหนาแน่นอย่างเด่นชัด และหากการไหลนั้ นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
มากจะก่ อ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงคุ ณ สมบั ติ อื่ น ๆ ของของไหลในลั ก ษณะพิ เ ศษที่ แ ตกต่ า งจาก
พฤติกรรมของของไหลแบบอัดไม่ได้ ตัวแปรที่เพิ่มขึ้นมาจากกรณีของของไหลแบบอัดไม่ได้ คือ ความ
หนาแน่น และอุณหภูมิ
งานทางวิศวกรรมที่สาคัญ หลายงานที่เกี่ยวข้องกับของไหลแบบอัดได้ อาทิเช่น การไหลของก๊าซ
ในกังหันก๊าซ การไหลของอากาศที่พิจารณาจากผู้สังเกตการณ์บนเครื่องที่บินด้วยความเร็วสูง และ
การไหลของอากาศรอบจรวดนาวิถีเมื่อพิจารณาจากผู้สังเกตการณ์บนจรวด เป็นต้น การวิเคราะห์เพื่อ
หาผลเฉลยของการไหลแบบอัดได้ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมดังกล่าวอย่างละเอียดจะต้องใช้ทฤษฎีที่
ค่อนข้างซับซ้อน แต่ในบทนี้จะกล่าวถึงการศึกษาการไหลแบบอัดได้เฉพาะกรณีที่เรียบง่าย เพื่อเป็น
การทาความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมของการไหลดังกล่าว ดังนั้น ถึงแม้ว่าก๊าชต่างๆ โดย
ธรรมชาติแล้วจะถือว่าเป็นของไหลแบบอัดได้ แต่ในบทนี้จะกล่าวถึงเฉพาะการไหลของของไหลแบบ
อัดได้ที่มีพฤติกรรมเป็นก๊าซอุดมคติ และจะพิจารณาเฉพาะการไหลที่เป็นมิติเดียวและมีสภาวะคงตัว
เท่านั้น

10.2 ความสัมพันธ์ทางอุณหพลศาสตร์
ในทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic) ก๊าซทั่วไปที่มีความดัน และอุณหภูมิปานกลางมักจะ
มีพฤติกรรมเหมือนก๊าซในอุดมคติ (Ideal gas) ซึ่งก๊าซอุดมคตินี้จะสามารถเขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
ดังนี้

(10.1)
230 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

โดยที่ คือ ความดัน


 คือ ความหนาแน่นของก๊าซ
คือ ค่าคงที่ของก๊าซแต่ละชนิด
คือ อุณหภูมิ

ค่าพลังงานในก๊าซอุดมคติจะเป็นฟังก์ชันของอุณหภูมิเพียงอย่างเดียว ดังนั้น
ความแตกต่างของค่าพลังงานภายใน (Internal energy) จะสามารถเขียนได้เป็น ดังนี้

(10.2)

โดยที่ คือ ความแตกต่างของค่าพลังงานภายใน (Internal energy)


คือ ค่าความร้อนจาเพาะค่าปริมาตรมีค่าคงที่
คือ ความแตกต่างของอุณหภูมิ

ในทานองเดียวกัน สาหรับก๊าซอุดมคติค่าเอนทัลปี (Enthalpy) ก็จะฟังก์ชันของอุณหภูมิมิเพียง


อย่างเดียวเช่นกัน ดังนั้น ความแตกต่างของค่าเอนทัลปีจะสามารถเขียนได้เป็น

(10.3)

โดยที่ คือ ความแตกต่างของค่าเอนทัลปี (Enthalpy)


จะเป็นค่าความร้อนจาเพาะความดันคงที่

และความสัมพันธ์ของค่าเอนทัลปีและค่าพลังงานภายในจะสามารถเขียนได้เป็นดังนี้

และ

จากสมการที่ (10.2) และ (10.3) เมื่อนามาแทนค่าจะได้

และ
(10.4)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 231

ค่าอัตราส่วนของความร้อนจาเพาะจะถูกนิยามเป็น

(10.5)

จากสมการที่ (10.4) และ (10.5) จะสามารถเขียนค่า และ ให้อยู่ในรูปของ

(10.6)

(10.7)

เมื่อทาการพิจารณากฎข้อที่หนึ่งและกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ไปด้วยกัน ก็จะสามารถ
เขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ดังนี้

( ρ) (10.8)

และเมื่อเอาค่าอุณหภูมิ หารตลอด และแทนค่าด้วยสมการที่ (10.1) และ (10.2) จะได้

(ρ)

โดยที่ คือ ความแตกต่างของค่าเอนโทรปี (Entropy)

และเมื่อกาหนดให้ค่า มีค่าคงที่ และทาการอินทิเกรตจะได้


ρ
ρ
(10.9)

สมการที่ (10.8) จะสามารถเขียนในอีกรูปแบบหนึ่งโดยเปลี่ยนค่าพลังงานภายในเป็นค่าเอนทัลปี


จะได้

ρ
(10.10)

และเมื่อเอาค่าอุณหภูมิ หารตลอดและแทนค่าด้วยสมการที่ (10.1) และ (10.3) จะได้


232 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

และเมื่อกาหนดให้ค่า มีค่าคงที่ และทาการอินทิเกรตจะได้

(10.11)

สาหรับกระบวนการไอเซนทรอปิก (Isentropic process) จากความสัมพันธ์ของสมการที่ (10.8)


และ (10.10) สามารถเขียนได้เป็นดังนี้

(ρ) (10.12)

ρ
(10.13)

ดังนั้น เมื่อย้ายข้างและจัดรูปใหม่ หาค่า จากสมการที่ (10.12) และ (10.13) จะเขียนได้


เป็นดังนี้

(ρ) ρ

และ
(ρ)

(ρ)

เมื่อทาการอินทิเกรตจะได้

ดังนั้น สาหรับกระบวนการไอเซนทรอปิก จะได้

ρ
ค่าคงที่ (10.14 )
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 233

ตัวอย่างที่ 10.1 จากรูปที่ 10.1 ก๊าซออกซิเจนถูกปล่อยให้ไหลอยู่ในท่อยาวที่มีพื้นที่หน้าตัดคงที่ด้วย


อัตราการไหลของมวลเท่ากับ 0.20 kg/s ที่ตาแหน่งที่ 1 และตาแหน่งที่ 2 บนท่อที่พิจารณาอยู่จะมี
คุณสมบัติของของไหลสม่าเสมอตลอดหน้าตัด เงื่อนไขในการพิจารณาเป็นดังนี้ ตาแหน่งที่ 1 อุณหภูมิ
เทากับ 300 K ความดัน เท่ากับ 650 kPa และตาแหน่งที่ 2 อุณหภูมิ เทากับ 290 K ความดัน เท่ากับ
120 kPa
จงหาค่า การเปลี่ ยนแปลงของพลั งงานภายใน ̇ เอนทั ล ปี ̇ และเอนโทรปี
̇ ระหว่างตาแหน่งที่ 1 และตาแหน่งที่ 2

T1, P1 ออกซิเจน T2, P2

1 2
รูปที่ 10.1 ประกอบตัวอย่างที่ 10.1
(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993; สมศักดิ์ ไชยะกินันท์, 2552)

วิธีทา
กาหนดให้ T1 = 300 K, P1 = 650 kPa, T2 = 290 K, P2 = 120 kPa และ ̇ = 0.20
kg/s
จงหา ̇ ̇ และ ̇
จากตาราง ก.3 คุณสมบัติของก๊าซออกซิเจน (ภาคผนวก ก) จะได้ R = 0.25983 kJ/kg.K ,
cp = 0.919 kJ/kg.K และ cv = 0.659 kJ/kg.K

จากสมการ

= 0.659 x (290 – 300)


= -6.59 kJ/kg
และ
̇ = (0.20)(-6.59) = -1.318 kJ

ดังนั้น ค่าพลังงานภายในลดลงเท่ากับ 1.318 kJ/s ตอบ

จากสมการ
234 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

= 0.919 x (290 -300)


= -9.19 kJ/kg

̇ = (0.20)(-9.19) = -1.838 kJ/s

ดังนั้น ค่าเอนทัลปีลดลงเท่ากับ 1.838 kJ/s ตอบ

จากสมการ

= 0.919 ln(290/300) – 0.25983 ln(120/650)


= 0.408 kJ/kg.K

̇ = (0.20)(0.408) = 0.082 kJ/s.K

ดังนั้น ค่าเอนโทรปีของก๊าซออกซิเจนที่ไหลระหว่างตาแหน่งที่ 1 ถึง 2 จะมีค่าเพิ่มขึ้นเท่ากับ


0.082 kJ/s.K ตอบ

10.3 การเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง
พิจารณาการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง (Moving of sonic wave) ในกระบอกสูบตลอดความยาว
ซึ่งบรรจุของไหลและลูกสูบ ดังรูปที่ 10.2 ในของไหลแบบอัดได้ที่อยู่นิ่งซึ่งมีค่าความดันเท่ากับ P และ
ค่าความหนาแน่นเท่ากับ  นั้น เมื่อมีสิ่งรบกวนมากระทาต่อของไหล จะทาให้เกิดคลื่นความดันที่
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วเสียง c ขึ้น และด้านหลังคลื่นจะมีการเปลี่ยนแปลงของค่าความ
ดันของของไหลเป็น P + dP มีการเปลี่ยนแปลงของค่าความหนาแน่นของของไหลเป็น  + d
และยังมีความเร็วเกิดขึ้นในของไหลเท่ากับ dv ปรากฎการณ์ดังกล่าวถูกแสดงไว้ในรูปที่ 10.3 (ก) การ
ไหลดังกล่าวจะเป็นการไหลแบบไม่คงตัว เมื่อพิจารณาจากผู้สังเกตการณ์ที่ยืนนิ่งอยู่บนพื้น แต่อย่างไร
ก็ ต าม การไหลดั ง กล่ า วอาจสามารถพิ จ ารณาให้ เ ป็ น การไหลแบบคงตั ว ได้ ห ากพิ จ ารณาจากผู้
สังเกตการณ์ที่ยืนอยู่บนปริมาตรควบคุมที่ยึดติดกับตัวคลื่นความดันซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเสียง c
และค่าความเร็วในของไหลเมื่อพิจารณาจากผู้สังเกตการณ์ที่เคลื่อนที่ไปพร้อมกับคลื่นความดัน จะ
เห็นของไหลด้านหน้าของคลื่นความดันไหลเข้าหาตัวปริมาตรควบคุมด้วยความเร็วเท่ากับ c เห็นค่า
ความเร็วของของไหลทางด้านหลังคลื่นความดันจะมีค่าเท่ากับ c – dv ดังที่แสดงไว้ในรูปที่ 10.3 (ข)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 235

ลูกสูบ

dv c

A B C D E F

รูปที่ 10.2 การเคลื่อนที่ของลูกสูบในกระบอกสูบ


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

dv c ความเร็วของไหล = 0 (v = 0)

(ก) เมื่อพิจารณาจากพื้นที่หยุดนิ่ง

c - dv +  c
P + dP P

(ข) เมื่อพิจารณาบนแกนพิกัดทีเ่ คลื่อนที่

รูปที่ 10.3 การเคลื่อนที่ของคลื่นความดัน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

เมื่อนาสมการของการอนุรักษ์มวลและสมการโมเมนตัม มาใช้กับปริมาตรควบคุมซึ่งเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วคงที่เท่ากับ c ซึ่งถูกแสดงไว้ในรูปที่ 10.3 (ข) และทาการวิเคราะห์
จากสมการของการอนุรักษ์มวลซึ่งเขียนได้เป็น

∫ ∫ ⃗ xyz ⃗

ภายใต้ข้อสมมุติฐาน
1) เป็นการไหลแบบคงตัว
2) เป็นการไหลสม่าเสมอในแต่ละส่วน

สมการ จะเหลือ ∫ ⃗ xyz ⃗

{ | |} {| |}
236 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

ρ
(10.15)

สมการโมเมนตัม ซึ่งเขียนได้เป็น

∫ xyz ∫ xyz ⃗ xyz ⃗

ข้อสมมุติฐานเพิ่มเติม
3)
4) ละทิ้งแรงเสียดทาน

จะได้ | | {| |}

ρ
(10.16)

เมื่อนาสมการที่ (10.15) มาให้เท่ากับสมการที่ (10.16) จะได้

เนื่องจากคลื่นความดันเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเสียงที่มีค่าสูง จึงไม่มีเวลาที่จะก่อให้เกิดการถ่ายเท
ความร้อนขึ้นในกระบวนการดังกล่าว อีกทั้ งการไหลดังกล่าวยังอยู่ภายใต้สมมติฐานที่ไม่มีแรงเสียด
ทานเกิดขึ้น ดังนั้น กระบวนการดังกล่าวจึงสามารถกล่าวได้ว่าเป็นกระบวนการไอเซนทรอปิก และจะ
สามารถเขียนความสัมพันธ์ของความเร็วเสียงใหม่ได้เป็นดังนี้

=
ρ
(10.17)
s=constant

และหากของไหลเป็นก๊าซอุดมคติซึ่งความสัมพันธ์ของค่าความดัน และค่าความหนาแน่นภายใต้
กระบวนการไอเซนทรอปิกจะอยู่ในรูปของ

ค่าคงที่
ρ

เมื่อใส่ลอการิทึมลงในสมการที่ (10.14) และทาการอินทิเกรต จะได้


ρ
ρ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 237

ρ ρ
s

ดังนั้น ค่าความเร็วเสียงของก๊าซอุดมคติจะเขียนใหม่ได้เป็นดังนี้

√ (10.18)

สมการที่ (10.18) ซึ่งเขียนขึ้นมาให้ใช้กับก๊าซอุดมคตินั้นจากการทดลองพบว่าใช้ได้ผลแม่นยาใน


กรณีของไหลเป็นอากาศด้วย หากตัวกลางที่พิจารณาเป็นของเหลวหรือของแข็งค่า Bulk modulus
จะถูกกาหนดให้มีค่าเป็นดังนี้

ρ ρ
(10.19)

ค่าความเร็วเสียงในขณะของเหลวหรือของแข็งจะมีค่าเป็นดังนี้

√ (10.20)

10.4 คลื่นรูปกรวยมัค
ในการไหลแบบอัดได้ เมื่อ แหล่ งก าเนิ ดเสี ยงมีการเคลื่ อ นที่ การเดิ นทางของคลื่ นเสี ยงจะมี
ลักษณะแตกต่างกันขึ้นกับความเร็วของแหล่งกาเนิดเสียง ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงลักษณะการเคลื่อนที่
ของแหล่งกาเนิดเสียงที่มีความเร็วต่างกัน รูปที่ 10.4 จะแสดงถึงการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียงเมื่อ
แหล่งกาเนิดเสียงมีความเร็วต่างๆ กัน เมื่อพิจารณาจากกรณีแรกในรูปที่ 10.4 (ก) คือ กรณีของ
แหล่งกาเนิดเสียงอยู่กับที่ v = 0 คลื่นเสียงจะกระจายออกและเดินทางเป็นระยะห่างจากแหล่งกาเนิด
เสียงเท่ากัน โดยค่าระยะการเคลื่อนที่จะแหล่งกาเนิดเสียงจะกลายเป็นค่ารัศมีของทรงกลมที่มีค่า
เท่ากับผลคูณของความเร็วของคลื่นเสียง c กับเวลา t ที่ผ่านไป ในกรณีที่สองที่แสดงไว้ในรูปที่ 10.4
(ข) คือ เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v ซึ่งมีค่าต่ากว่าค่าความเร็วเสียง 0 < v <
c ซึ่งมักจะเรียกการไหลที่เคลื่อนที่ช้ากว่าความเร็วเสียงว่า การไหลแบบช้ากว่าเสียง (Subsonic
flow) จะเห็ น ได้ว่ า คลื่ น เสี ยงยั ง กระจายออกเป็ น ทรงกลมแต่ จุ ด ศู น ย์ ก ลางของทรงกลมหรื อ
แหล่งกาเนิดเสียงจะเปลี่ยนตาแหน่ง และในกรณีที่สามเป็ นกรณีที่แหล่งกาเนิ ดเสียงเคลื่อนที่ด้ว ย
ความเร็วเท่ากับความเร็วเสียง v = c จะเกิดระนาบทางด้านหน้าของแหล่งกาเนิดเสียงที่เคลื่อนที่ไป
พร้ อมกับ แหล่ งกาเนิ ดเสี ยง ซึ่งบริ เวณด้านหน้ าดังกล่ าวจะถูกเรียกว่า บริเวณเงียบ (Zone of
silence) ผู้สังเกตการณ์หากอยู่ในบริเวณดังกล่าวก็จะไม่ได้ยินสียงจากแหล่งกาเนิดเสี ยงเลย ดังแสดง
ไว้ในรูปที่ 10.4 (ค) และในกรณีสุดทายเป็นกรณีที่แหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่า
ความเร็วเสียง v > c ซึ่งมักจะเรียกการไหลที่เคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วเสียงว่า การไหลแบบเหนือ
เสียง (Supersonic flow) ในกรณีนี้คลื่นเสียงจะกระจายออกในลักษณะที่ส้นที่ลากสัมผัสกับขอบ
238 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

ด้านหน้าของคลื่นเสียงจะมีลักษณะเป็นรูปกรวย ดังแสดงไว้ในรูปที่ 10.4 (ง) ซึ่งมุมของกรวยจะมีค่า


เท่ากับ a หากผู้สังเกตการณ์ใดอยู่นอกกรวยนี้ ก็จะไม่ได้ยินเสียงที่เกิดจากแหล่งกาเนิดเสียงเลย และ
พารามิเตอร์อีกตัวที่มีสาคัญต่อการกาหนดคุณลักษณะของการไหลแบบอัดได้ คือ ตัวเลขมัค (Mach
number) ซึ่งสามารถเขียนเป็นค่าอัตราส่วนของความเร็วเฉพาะที่ของของไหลต่อความเร็วเสียง
เฉพาะที่ (M = v/c) และตัวเลขมัคจะเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงที่
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเหนือเสียงที่มีลักษณะเป็นรูปกรวย และจากรูปทรงทางเลขาคณิตของรูปกรวย
ที่แสดงไว้ในรูปที่ 10.4 (ง) นั้นทาให้รูปกรวยดังกล่าวถูกเรียกว่า รูปกรวยมัค (Mach cone) และจะ
สามารถเขียนค่ามุม a ได้เป็นดังนี้

หรือ
(10.21)

โดยที่มุม a จะถูกเรียกว่า มุมมัค และบริเวณที่อยู่ภายในรูปกรวยจะเรียกว่า บริเวณที่รับรู้


(Zone of action) ส่วนบริเวณนอกรูปกรวยจะเรียกว่า บริเวณเงียบ (Zone of silence)

ct ct
c(2t)
c(2t)
c(3t)
c(3t)

(ก) v = 0 (ข) v < c


c(3t)
ct c(2t) c(2t)
c(3t) ct
บริเวณ 
เงียบ

(ค) v = c (ง) v > c

รูปที่ 10.4 การเคลื่อนที่ของคลื่นเสียงเมื่อแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่างๆ กัน


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 239

ตัวอย่างของการเคลื่อนที่ของแหล่งกาเนิดเสียงที่เร็วกว่าเสียง คือ การที่เครื่องบินที่บินเร็วกว่า


เสี ยงเคลื่ อ นที่ผ่ านมา ผู้ สั งเกตการณ์จะสามารถเห็ น ตั ว เครื่ องบิ นก่อน แล้ ว จากนั้ นจึ ง ได้ยิ นเสี ย ง
เครื่องบิน ก็เพราะในตอนแรกผู้สังเกตการณ์ยืนอยู่ในบริเวณเงียบ จนเครื่องบินเคลื่อนที่ผ่านไป รูป
กรวยมัคเคลื่อนที่ผ่านมาผู้สังเกตการณ์ เมื่อผู้สังเกตการณ์อยู่ในรูปกรวยก็จะได้ยินเสียงเครื่องบิน

10.5 สมการพื้นฐานสาหรับการไหลแบบไอเซนทรอปิก
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงเฉพาะการไหลที่มีสภาพคงตัวหนึ่งมิติแบบอัดได้เท่านั้น และรายละเอียดจะ
กล่าวถึง สมการพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาการไหลในกรณีที่การไหลดังกล่าวอยู่ในสภาวะเป็น
การไหลแบบไอเซนทรอปิก (Isentropic flow) โดยพิจารณาจากปริมาตรควบคุมที่แสดงไว้ในรูปที่
10.5
Rx

y 1 2
P1 P2
1 2
x T1 T2
v1 v2
CV
A1 A2

รูปที่ 10.5 ปริมาตรควบคุมสาหรับพื้นฐานการไหลแบบไอเซนทรอปิก


(ที่มา : Robert and Alan, 1998; สมศักดิ์ ไชยะกินันท์, 2552)

สมการพื้นฐานที่จะนามากล่าวถึง ได้แก่ สมการของการอนุรักษ์มวล สมการโมเมนตัม สมการกฎ


ข้อที่หนึ่ งของอุณหพลศาสตร์ และกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ และเมื่อใช้สมการดังกล่าวกับ
ปริมาตรควบคุมที่แสดงไว้ในรูปที่ 10.5 จะได้
จากสมการอนุรักษ์มวลซึ่งเขียนได้เป็น

∫ ∫ ⃗ ⃗

ข้อสมมุติฐาน
1) การไหลแบบคงตัว
2) การไหลมิติเดียว
เทอมแรกในสมการอนุรักษ์มวลข้างต้นจะเป็นศูนย์ ดังนั้น จะเหลือ

∫ ⃗ ⃗
240 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

{ | |} {| |}

และจะได้

̇ ค่าคงที่ (10.22)

จากสมการโมเมนตัมซึ่งเขียนได้เป็น

∫ ∫ ⃗ ⃗

ข้อสมมุติฐานเพิ่มเติม
3)

สมการโมเมนตัมข้างต้น จะเหลือ

∫ ⃗ ⃗

และจากปริมาตรควบคุมที่แสดงไว้ในรูปที่ 10.5 ให้ค่า Rx เป็นค่าแรงจากการกระจายของความ


ดันบนผนังท่อ สมการโมเมนตัมจะเขียนใหม่ได้เป็น

̇ ̇ (10.23)

จากสมการกฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์

shaft– shear other ∫ ∫ ⃗ ⃗


ρ

ข้อสมมุติฐาน
4) (กระบวนการไอเซนทรอปิก)

5) shear other

6) ละทิ้งผลของความแตกต่างของ z

สมการข้อที่หนึ่งจะเขียนได้ใหม่เป็น
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 241

̇ ( ) ̇

และจากความสัมพันธ์ จะได้

เมื่อนามาใช้กับการไหลแบบอัดได้ และเมื่อลดค่าความเร็วลง ค่าเอนทัลปีจะกลายเป็นค่าเอนทัล


ปีที่เงื่อนไขสแตกเนชัน (Stagnation) ซึ่งจะสามารถเขียนได้เป็น

(10.24)

จากสมการกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์

∫ ∫ ∫ ⃗ ⃗

สาหรับกระบวนการไอเซนทรอปิก และด้วยข้อสมมุติฐานของการไหลแบบคงตัวจะได้เทอมทาง
ซ้ายมือและเทอมแรกทางขวามือเครื่องหมายเท่ากับมี ค่าเท่ากับศูนย์ ดังนั้น สมการกฎข้อที่สองของ
อุณหพลศาสตร์ จะเขียนได้เป็น

̇ ̇

ค่าคงที่ (10.25)

สาหรับสมการที่ 10.24 นั้น นอกจากจะสามารถใช้ในเงื่อนไขของการไหลแบบไอเซนทรอปิกแล้ว


ยังสามารถใช้ได้กับกระบวนการไหลที่เป็นแบบไม่ถ่ายเทความร้อนที่อาจมีแรงเสียดทานได้ด้วย

10.6 ผลของการเปลี่ยนแปลงขนาดของพื้นที่สาหรับการไหลแบบไอเซนทรอปิก
คุณสมบัติของของไหลแบบอัดได้จะเปลี่ยนแปรได้นั้นจะมีผลมาจากเงื่อนไข 3 ประการ คือ การ
เปลี่ยนแปลงพื้นที่ แรงเสียดทาน และการถ่ายเทความร้อน แต่จากนิยามของกระบวนการไอเซน
ทรอปิก (Isentropic process) (หรืออีกนัยหนึ่งคือ กระบวนการแบบย้อนกลับได้ที่ไม่มีการถ่ายเท
ความร้อน ซึ่งก็คือ กระบวนการที่ไม่มีแรงเสียดทานและไม่มีการถ่ายเทความร้อน) ดังนั้น การที่การ
ไหลที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ก ระบวนการไอเซนทรอปิ ก จะมี ก ารเปลี่ ย นแปรค่ า คุ ณ สมบั ติ ใ นการไหลได้ นั้ น
242 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนขนาดพื้นที่สาหรับการไหลแบบไอเซนทรอปิก (Isentropic flow) โดยเริ่มต้น


พิจารณาจากปริมาตรควบคุมที่แสดงไว้ในรูปที่ 10.6

  + d
y P P + dP
T 1 2 T + dT
x v v + dv
A CV A + dA

รูปที่ 10.6 ปริมาตรควบคุมของการไหลแบบไอเซนทรอปิก


(ที่มา : Robert and Alan, 1998; สมศักดิ์ ไชยะกินันท์, 2552)

จากการนาเอาสมการโมเมนตัมมาใช้กับปริมาตรควบคุมของการไหลแบบไอทรอปิกที่แสดงไว้ใน
รูปที่ 10.6 จะได้

∫ ∫ ⃗ ⃗

และจากเงื่อนไข การไหลแบบคงตัว ละทิ้งแรงจากน้าหนัก FBx และจากการใช้สมการของการ


อนุรักษ์มวลซึ่งจะได้

จะได้

( )

และเมื่อจัดรูปใหม่และละทิ้งเทอมที่มีระดับที่สอง จะได้

(10.26)

และเมื่อหารด้วยค่า จะได้
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 243

ρ
(10.27)

และจากสมการของอนุรักษ์มวลภายใต้เงื่อนไขการไหลคงตัว จะสามารถเขียนค่าอัตราการ
ไหลของมวลได้เป็นดังนี้

̇ ค่าคงที่

เมื่อทาการใส่ลอการิทึมและทาการอินทิเกรตจะได้
ρ
ρ
(10.28)

ρ
ρ

เมื่อแทนค่า จากสมการที่ (10.27) และจัดรูปใหม่ จะได้

ρ ρ
(10.29)

เมื่อนาค่าจากสมการที่ (10.17) และสมการที่ (10.27) มาแทนค่าลงในสมการที่ (10.29) สมการ


ที่ (10.29) จะสามารถเขียนใหม่อยู่ในรูปดังนี้

(10.30)

เมื่อพิจารณาสมการที่ (10.30) จะเห็นว่า หากการไหลเป็นการไหลแบบช้ากว่าเสียง M < 1 การ


เปลี่ยนแปลงพื้นที่จะทาให้ความเร็วเปลี่ยนแปลงเครื่องหมายตรงกันข้าม กล่าวคือ หากเพิ่มขนาดของ
พื้น ที่ขึ้น ความเร็ว ของของไหลจะลดลง หรื อหากลดขนาดของพื้น ที่ลง ความเร็ ว ของของไหลจะ
เพิ่มขึ้น และถ้าหากการไหลเป็นการไหลแบบเหนือเสียง M > 1 การเปลี่ยนแปลงขนาดของพื้นที่จะทา
ให้ความเร็วของของไหลเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่มีเครื่องหมายเหมือนกัน กล่าวคือ หากเพิ่มขนาด
ของพื้นที่ขึ้นความเร็วของของไหลจะเพิ่มขึ้น หรือหากลดขนดของพื้นที่ลง ความเร็วของของไหลจะ
ลดลง
ตัวอย่างของการเปลี่ย นแปลงพื้นที่ดังกล่าวคือ การไหลผ่านหัวฉีด และดิฟฟิวเซอร์ (Diffuser)
สาหรับการไหลแบบช้ากว่าเสียง (Subsonic) และการไหลแบบเหนือเสียง (Supersonic) ตามที่แสดง
ไว้ในรูปที่ 10.7
244 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

หัวฉีด dA < 0 ดิฟฟิวเซอร์ dA > 0


dv > 0 dv < 0
dP < 0 dP > 0
การไหลแบบช้ากว่าเสียง (Subsonic)
M<1

dA > 0 dA < 0
dv > 0 dv < 0
การไหลแบบเร็วกว่าเสียง dP < 0 dP > 0
(Supersonic)
M>1

รูปที่ 10.7 ผลของพื้นที่ที่แตกต่างกันที่มีต่อการไหลแบบช้าและเร็วกว่าเสียงผ่านหัวฉีดและดิฟฟิวเซอร์


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

ในกรณีที่ค่าตัวเลขมัค (Mach number) มีค่าเท่ากับ 1 จะสามารถจัดรูปของสมการที่ (10.30)


เพื่อแสดงให้เห็นว่าค่า dA/dv = 0 ได้ ซึ่งจะหมายความถึง ค่าความเร็วของการไหลจะมีค่าตั วเลขมัค
เท่ากับ 1 เมื่อการไหลเคลื่อนที่ผ่านส่วนของพื้นที่ซึ่งมีค่าน้อยที่สุด ที่มักจะเรียกว่า คอคอด (Throat)
ในการที่จะเร่งการไหลของของไหลจากสภาพหยุดนิ่งไปจนมีความเร็วมากกว่าความเร็วเสีย M >
1 จะต้องใช้หัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออก (Converging and diverging nozzle) โดยในตอนต้นจะ
ใช้ส่วนของหัวฉีดที่เป็นลักษณะลู่เข้า (Converging nozzle) ทาการเร่งการไหลให้มีความเร็วเพิ่มขึ้น
และหากจัดให้เงื่อนไขการไหลมีสภาพที่เหมาะสม การไหลจะถูกเร่งความเร็วจนมีค่าเท่ากับความเร็ว
เสียง M = 1 เกิดขึ้นที่คอคอดซึ่งเป็นส่วนที่มีพื้นที่น้อยที่สุดของหัวฉีด และการไหลจะถูกเร่งให้มี
ความเร็วสูงขึ้นต่อไป (M > 1) โดยใช้หัวฉีดแบบเร็วกว่าเสียงชนิดบานออก (Supersonic diverging
nozzle)
สาหรับการชะลอการไหลจากที่มีความเร็วเร็วกว่า เสียงให้ลดลงจนหยุดนิ่ง (ความเร็วเป็นศูนย์)
จะต้องดิฟฟิวเซอร์ (Diffuser) แบบเร็วกว่าเสียงชนิดลู่เข้าและต่อด้วยดิฟฟิวเซอร์ (Diffuser) แบบช้า
กว่าเสียงชนิดบานออก ซึ่งตามทฤษฎีที่เป็นอุดมคติ การไหลจะสามารถถูกชะลอความเร็วลงจนเกิดค่า
ความเร็วเท่ากับความเร็วเสียงขึ้นที่คอคอด แต่ในความเป็นจริงจะไม่สามารถชะลอความเร็วของของ
ไหลลงโดยไม่เกิดคลื่นกระแทก (Shock wave) และมีค่าความเร็วเสียงขึ้นที่คอคอดได้ เนื่องจากการ
ไหลแถวคอคอดจะมีความแตกต่างความดันแบบย้อนกลับเกิดขึ้น ทาให้เกิดการไม่เสถียรของการไหล
และทาให้เกิดคลื่นกระแทก (Shock wave) ขึ้น
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 245

10.7 การไหลแบบไอเซนทรอปิกของก๊าซอุดมคติ
ในหัวข้อนี้จะทาการพิจารณาของไหลแบบอัดได้ที่มีพฤติกรรมเป็นก๊าซอุดมคติ (Ideal gas)
เคลื่อนที่อยู่ภายใต้กระบวนการไอเซนทรอปิก จากสมการที่ (10.24) ที่เขียนเป็นดังนี้

เมื่อเขียนให้อยู่ในรูปของอุณหภูมิ จะเขียนได้เป็น

และเมื่อนาค่า หารตลอด และแทนค่า ที่ได้จากสมการที่ (10.6)


จะได้

(10.31)

และจากสมการที่ (10.18) ที่แสดงค่า √ ในกรณีของก๊าซอุดมคติ เมื่อนามาแทนค่า


จะได้

(10.32)

จากการที่ ข องไหลเป็ น ก๊า ซอุ ด มคติ ก็ จ ะสามารถใช้ ค วามสั ม พั น ธ์ข องค่ าความดั นกั บ ความ
หนาแน่นตามสมการที่ (10.14) ซึ่งเขียนเป็น

ρ
ค่าคงที่

ดังนั้น จึงสามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่างของไหล 2 ตาแหน่งได้ดังสมการที่ (10.33)


ρ k
ρ
(10.33)

และจากสมการที่ (10.1) ซึ่งเขียนได้เป็น

นาสมการที่ (10.1) แทนค่าในสมการที่ (10.33) จะได้


246 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

ρ k-1
ρ
(10.34)

และ

(k-1)/k
( ) (10.35)

และเมื่อนาสมการที่ (10.34) และ (10.35) ไปแทนค่าด้วยสมการที่ (10.32) จะได้

k/(k-1)
(10.36)

ρ k/(k-1)
ρ
(10.37)

สมการที่ (10.32) จะใช้ได้กับการไหลแบบไม่มีการถ่ายเทความร้อนที่จะมีแรงเสียดทานหรือไม่มี


แรงเสียดทานก็ได้ แต่สมการที่ (10.36) และ (10.37) จะต้องใช้กับการไหลที่เป็นแบบไม่มีการถ่ายเท
ความร้อนและไม่มีแรงเสียดทานเท่านั้น (การไหลแบบไอเซนทรอปิก)
และเมื่อค่าความเร็วของการไหลมีค่าเท่ากับความเร็วเสียง (M = 1) จะเรียกอัตราเร็วที่ค่า
ดังกล่าวว่า อัตราเร็ววิกฤติ (Critical speed) ค่าคุณสมบัติต่างๆ ของของไหลที่อัตราเร็วดังกล่าวจะถูก
เรียกว่า คุณสมบัติที่ค่าวิกฤติ และนิยมใช้เครื่องหมายดอกจัน (*) กากับกับค่าคุณสมบัตินั้น และเมื่อ
นามาใช้กับสมการที่ (10.32) (10.36) และ (10.37) จะเขียนใหม่โดยแทนค่า M เป็น 1 ได้เป็น

(10.38)

k/(k-1)
(10.39)

ρ 1/(k-1)
ρ
(10.40)

และจากสมการที่ (10.38) จะได้ว่า

0
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 247

ดังนั้น ค่าความเร็ววิกฤติ (Critical velocity) จะสามารถหาได้จากการแทนค่าอุณหภูมิวิกฤติใน


สมการที่ (10.18) เป็น

√ (10.41)

จากสมการที่ (10.22)

̇ ค่าคงที่

และเมื่อจัดรูปใหม่จะได้

ρ ρ ρ

ρ ρ ρ

ρ ρ

ρ ρ

[ ] [ ]

[ ] [ ]

[ ]
(10.42)
[ ]

ตัวอย่างที่ 10.2 อากาศไหลผ่านท่อในสภาวะคงตัว (Steady state) โดยที่ตาแหน่งพิจารณาตาแหน่ง


แรกมีค่าความดันเท่ากับ 165 kPa มีค่าอุณหภูมิเท่ากับ 300 K และมีค่าตัวเลขมัคเท่ากับ 0.4 และที่
ตาแหน่งที่สองที่พิจารณามีค่าความดันเท่ากับ 130 kPa ค่าอุณหภูมิเท่ากับ 292 K และมีความเร็ว
ของอากาศเท่ากับ 210 m/s จงหา ค่าอุณหภูมิสแตกเนชันไอเซนทรอปิก และความดันสแตกเนชันไอ
เซนทรอปิกที่ตาแหน่งที่ 1 ค่าอุณหภูมิสแตกเนชันไอเซนทรอปิก ความดันสแตกเนชัน
ไอเซนทรอปิ ก และตัว เลขมัคของอากาศที่ตาแหน่ งที่ 2 และ และค่าความ
แตกต่างของเอนโทปีของอากาศระหว่างตาแหน่งที่ 1 และ 2
วิธีทา
กาหนดให้ P1 = 165 kPa , T1 = 300 K , M1 = 0.4 , P2 = 130 kPa , T2 = 292 K ,
v2 = 210 m/s
จากตาราง ก.3 ได้ k = 1.4 , R = 0.287 kJ/kg.K = 287 J/kg.K , cp = 1.0052 kJ/kg.K
248 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

จงหา

จาก √

และ

การหาค่าอ้างอิงที่เป็นค่าคุณสมบัติสแตกเนชันไอเซนทรอปิกเฉพาะที่กระทาโดยใช้สมการที่
(10.36) และ (10.32)

[ ]

[ ]

ตอบ

จากสมการ

[ ]

[ ]

ตอบ

จากสมการ

และ ตอบ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 249

จากสมการ

[ ]

[ ]

ตอบ

จากสมการ

[ ]

[ ]

ตอบ

จากสมการ

( )

ตอบ

10.8 การไหลผ่านหัวฉีด
การไหลของของไหลแบบอัด ตัวได้ภายใต้กระบวนการไอเซนทรอปิกผ่านหั วฉีดสองแบบ คือ
หัวฉีดแบบลู่เข้า (Converging nozzle) และหัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออก (Converging diverging
nozzle)
10.8.1 การไหลผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้า
ในที่ นี้ จ ะกล่ า วถึ ง พฤติ ก รรมของของไหลเคลื่ อ นที่ ผ่ านหั ว ฉีด แบบลู่ เข้ า (Converging
nozzle) ภายใต้ความดันต่างๆ กัน รูปที่ 10.8 จะแสดงถึงรูปหัวฉีดพร้อมกับค่าความดันที่แปรเปลี่ยน
ตามตาแหน่งในหัวฉีด และค่าอัตราการไหลของมวลที่แปรตามความดัน
250 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

P0 Pb
T0 ต่อกับเครื่องสูบ
Pe
v0
P/P0 วาล์วควบคุม
̇ (5) (4)
1.0 (1)
1.0 (3)
(2)
(3)
P*/P0 (4)
(5) (2)
(1)
0 x
(คอคอด) P*/P0 1.0 P/P0

รูปที่ 10.8 การไหลผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้าที่ความดันต่างๆ กันภายใต้กระบวนการไอเซนทรอปิก


(ที่มา : ดัดแปลงจาก Graebel, 2001; สมศักดิ์ ไชยะกินันท์, 2552)

พิจารณารูปที่ 10.8 จะเห็นว่าตัวหัวฉีดจะต่ออยู่กับห้องทางด้านต้นทางของการไหลซึ่งมี


ขนาดใหญ่พอเพียงที่จะทาให้ของไหลในทางต้นทางมีส ภาวะหยุดนิ่ ง (ความเร็วมีค่าเป็นศูนย์ ) ค่า
คุณสมบัติของของไหลที่ต้นทางจะถือว่าเป็นคุณสมบัติสแตกเนชัน และส่วนปลายท่อออกของหัวฉีดจะ
เป็นส่วนที่มีพื้นที่เล็กที่สุดที่เรียกว่า คอคอด โดยจะกาหนดให้ e (Exit) เป็นสัญลักษณ์สาหรับตาแหน่ง
ที่ปลายท่อออกของหัวฉีด ท่อออกของหัวฉีดจะต่อเข้ากับห้องทางด้านหลัง และห้องดังกล่าวจะต่อเข้า
กับห้องด้านหลัง และห้องดังกล่าวจะต่อเข้ากับเครื่องสูบ และควบคุมความดันและการไหลด้วยวาล์ว
ควบคุม
เมื่อปิดวาล์วควบคุมก็จะไม่มีการไหลออกจากตัวหัวฉีด ความดันภายในหัวฉีดจะมีค่าคงที่
เท่ากับความดันต้นทาง คือ และกาหนดให้สภาวะดังกล่าวเป็นเงื่อนไขที่ 1 ดังที่แสดงไว้ในรูปที่
10.8
และเมื่อเริ่มเปิดวาล์วออกเล็กน้อยจะเริ่มมีการไหลเกิดขึ้น ค่าความดันที่ห้องด้านหลังของ
หัวฉีดถูกลดค่าให้ต่ากว่า เล็กน้อย โดยที่ค่าความดันที่ห้องด้านหลัง จะมีค่าเท่ากับความดันที่
ท่อออก และค่าความดันในหัวฉีดจะลดน้อยลงจากค่า ไปสู่ค่า อย่างต่อเนื่อง เส้นที่แสดง
การเปลี่ยนแปรของความดันกับตาแหน่งในหัวฉีด และค่าอัตราการไหลของมวลถูกแสดงไว้ ในรูปที่
10.8 ในสภาพเงื่อนไขที่ 2
และเมื่อลดความดันที่ห้องด้านหลังของหัวฉีดต่อไปโดยเปิดวาล์วเพิ่มขึ้นเป็นเงื่อนไขการ
ไหลที่ 3 สภาพการแปรเปลี่ยนความดันจะเหมือนกับเงื่อนไขการไหลที่ 2 เพียงแต่ค่าความดัน ใน
การไหลที่ 3 นี้จะมีค่าน้อยกว่า ในการไหลที่ 2 และค่า จะเท่ากับ และอัตราการไหลของ
มวลมีค่าเพิ่มขึ้น
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 251

และเมื่อลดค่าความดันที่ห้องด้านหลังของหัวฉีดต่อไปจนอยู่ในเงื่อนไขการไหลที่ 4 ที่ค่า
ความดันมีค่าเท่ากับค่าความดันวิกฤติ และที่ทางออกของหัวฉีดจะมีค่าความเร็ว
ของการไหลเท่ากับความเร็วเสียง และอัตราการไหลของมวลมีค่าเพิ่มขึ้นจนถึงค่าสูงสุด
และเมื่อทาการลดค่าความดันที่ห้องด้านหลังของหัวฉีด จากเงื่อนไขการไหลที่ 4 ต่อไป
เป็นสภาพเงื่อนไขการไหลที่ 5 จะเกิดค่าความดันแตกต่างที่เปลี่ยนไปในห้องด้านหลังของหัวฉีดและ
เมื่อเกิดการแตกต่างของความดันดังกล่าวขึ้น ก็จะทาให้เกิดคลื่นความดันที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
เท่ากับความเร็วเสียง เคลื่อนที่ขึ้นไปยังต้นทางของหัวฉีด เพื่อจะให้มีการส่งมวลการไหลมาเพิ่มขึ้นเพื่อ
ปรับให้ค่าความดันในหัวฉีดจากตาแหน่งต้นทางของการไหลจนถึงห้องด้านหลังของหัวฉีดแปรไปอย่าง
ต่อเนื่ อง แต่เมื่อคลื่น ความดัน เคลื่ อนที่ขึ้นไปถึงตาแหน่งทางออกของหัว ฉีดซึ่งของไหลแบบอัดได้
เคลื่อนที่ลงมาด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วเสียง (M = 1) พอดี คลื่นความดันจะไม่สามารถเคลื่อน
ผ่านของไหลขึ้นไปได้ เพราะความเร็ว ของของไหลที่เคลื่อนลงมากับความเร็วของคลื่นความดันที่
เคลื่อนที่สวนทางขึ้นไปนั้นมีค่าเท่ากัน ดังนั้น ทางด้านต้นทางของหัวฉีดจึงไม่ได้รับทราบข้อมูลของ
ความต้องการการไหลจากทางท้ายของหัวฉี ดเลย การไหลจากต้นทางจนถึงทางออกหัวฉีดจึงยังมี
สภาพเหมือนเดิม อัตราการไหลของมวลที่สภาพเงื่อนไขการไหลที่ 5 จึงมีค่าเท่ากับอัตราการไหลของ
มวลของสภาพการไหลเงื่อนไขที่ 4 ทาให้อัตราการไหลของมวลมีค่าคงที่ดังที่แสดงไว้ในรูปที่ 10.8 แต่
ในแง่ของความดันเส้นแสดงการเปลี่ยนแปรความดันของการไหลในสภาพเงื่อนไขที่ 5 จึงเหมือนกับ
เงื่อนไขที่ 4 จนถึงจุดทางออก (Exit) ของหัวฉีด จากนั้นก็จะเกิดการเชื่อมต่อของค่าความดันของห้อง
ด้านหลังของหัวฉีดกับที่จุดทางออก ในลักษณะของคลื่นกระแทก (Shock wave) ขึ้น (ซึ่งการเกิด
คลื่นกระแทกจะทาให้การไหลในช่วงดังกล่าวไม่ใช่การไหลแบบไอเซนทรอปิก) ดังที่แสดงไว้ในรูปที่
10.7 และจะเห็นว่าสาหรับการไหลแบบไอเซนทรอปิกผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้า ค่าความเร็วสูงสุดของการ
ไหลที่เกิดขึ้นที่ท่อออกของหัวฉีดจะมีค่าเท่ากับความเร็วเสียง (M = 1) เท่านั้น จะมีค่าตัวเลขมัคเกิน
กว่านั้นไม่ได้ เมื่อการไหลมีความเร็วที่ทางออกเท่ากับความเร็วเสียง (M = 1) ค่าอัตราการไหลของ
มวลจะเริ่มมีค่าคงที่ ซึ่งเงื่อนไขการที่ไม่สามารถเพิ่มค่าอัตราการไหลของมวลต่อไป ถึงแม้ว่าจะทาการ
ลดค่าความดันให้ต่าลงต่อไปอีก นั้น จะเรียกว่าปรากฏการณ์โช๊ค (Choke)
ถึงแม้การไหลแบบไอเซนทรอปิก เป็นการไหลในเงื่อนไขอุดมคติ แต่บ่อยครั้งมันก็เป็ น
เงื่อนไขที่ถือว่าเป็นการประมาณการที่ดีสาหรับการไหลผ่านหัวฉีดจริง เนื่องจากตัวหัวฉีดทาหน้าที่เร่ง
การไหล ท าให้ ค่า ความแตกต่า งความดั น ในหั ว ฉี ด เป็ น แบบที่ชื่ น ชอบ (Favorable pressure
gradient) ซึ่งจะส่งผลให้ความหนาของชั้นขอบเขตที่ผนังมีค่าน้อย แรงเสียดทานจะมีค่าน้อยตามไป
ด้วย
รูปที่ 10.9 จะแสดงถึงการไหลผ่านหัวฉีดบนแผนภาพ T-s ซึ่งจะเห็นว่าเอนทรอปีมีค่าคงที่
จากจุดสแตกเนชันจนถึงที่จุดที่ทางออกของหัวฉีด ซึ่งที่จุดดังกล่าวจะมีค่าเท่ากับค่าวิกฤติ (เส้นแนวดิ่ง
ที่ s = ค่าคงที่) และแสดงถึงกรณีที่เมื่อลดค่าความดันในห้องด้านหลังของหัวฉีดต่ากว่าค่าวิกฤติ
ค่าเอนทรอปีจะมีค่าเพิ่มขึ้น
252 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

T
P0
T0 T0
S = ค่าคงที่
*
*
P
T *
Pb < P

s
รูปที่ 10.9 แผนภาพ T-s สาหรับการไหลผ่านหัวฉีดที่ Choke
(ที่มา : ดัดแปลงจาก Nakayama and Boucher, 1999)

ตัวอย่างที่ 10.3 อากาศถูกทาให้ไหลแบบไอเซนทรอปิกอย่างคงตัวจากถังเก็บผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้า


ออกสู่บรรยากาศ ดังรูปที่ 10.10 อากาศในถังซึ่งมีอากาศอยู่นิ่งมีค่าความดันเท่ากับ 180 kPa และมี
ค่าอุณหภูมิเท่ากับ 20๐C กาหนดให้อัตราการไหลของมวลมีค่าเท่ากับ 1.1 kg/s จงหาค่าพื้นที่ขาออก
ของหัวฉีด

หัวฉีด
ถังเก็บ P0
Pb = Patm
T0

รูปที่ 10.10 ประกอบตัวอย่างที่ 10.3


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา
กาหนดให้ P0 = 180 kPa , T0 = 273 + 20 = 293 K , ̇ = 1.1 kg/s , Pb = 101.3 kPa
จากตาราง ก.3 อากาศมีค่า k = 1.4 , R = 0.287 kJ/kg.K = 287 J/kg.K
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 253

จงหา พื้นที่ขาออกของหัวฉีด (Ae)

จากรูปที่ 10.10 ความดันด้านท้ายมีค่าเท่ากับความดันบรรยากาศ

ก่อนอื่นต้องตรวจสอบว่าความดันที่ขาออกของหัวฉีด จะมีค่าเท่ากับ หรือไม่ การ


ตรวจสอบนั้นกระทาโดยพิจารณาว่าการไหลของอากาศที่ตาแหน่งขาออกเกิดปรากฎการณ์ Choke
ขึ้นหรือไม่ที่เงื่อนไขค่าวิกฤติ

[ ]

[ ]

[ ]

และ

จะเห็นได้ว่า ดังนั้น จะไม่เกิดปรากฎการณ์ Choke ขึ้น


จากเงื่อนไขที่ของไหลยังมีสภาวะไม่ถึงจุดวิกฤติ ทาให้ค่าความดันที่ขาออกมีค่าเท่ากับความ
ดันด้านท้าย ซึ่งมีค่าเท่ากับความดันบรรยากาศ

ดังนั้น

[ ]

แทนค่า ในสมการจะได้
254 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

[ ]

[ ]

แทนค่า ในสมการจะได้

√ √

แทนค่า ในสมการจะได้

จากสมการ

และจากสมการ

ดังนั้นจะได้ว่า
̇
ρ

พื้นที่ขาออกของหัวฉีดมีค่าเท่ากับ ตอบ

10.8.2 การไหลผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออก
ส าหรั บ การไหลแบบไอเซนทรอปิ ก ผ่ า นหั ว ฉี ด แบบลู่ เ ข้ า และบานออก (Converging
diverging nozzle) จะถูกแสดงโดยต่อหัวฉีดเข้ากับถังด้านหน้า ซึ่งมีของไหลอัดได้บรรจุอยู่ในสภาพ
หยุดนิ่ง หรือสภาวะสแตกเนชัน และทางด้านขาออกของหัวฉีดจะต่อเข้ากับห้องด้านหลังซึ่งจะต่อเข้า
กับเครื่องสูบ และทาการควบคุมความดันและการไหลด้วยวาล์วควบคุม ดังแสดงไว้ในรูที่ 10.11
เมื่อปิดวาล์ วควบคุมจะไม่มีการไหลออกจากตัวหัวฉีด ของไหลก็จะกระจายเต็มหัวฉีด
ความดันภายในจะมีค่าคงที่เท่ากับความดันต้นทาง คือ และกาหนดให้สภาวะดังกล่าวเป็นเงื่อนไข
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 255

การไหลที่ 1 และเมื่ อเริ่ ม เปิ ด วาล์ ว ออกเล็ ก น้ อ ยจะเริ่ ม มี ก ารไหลเกิ ดขึ้ น ค่า ความดั น จะเริ่ ม
เปลี่ยนแปลงโดยมีค่าลดลงจากความดันต้นทาง จนถึงจุดที่คอคอดจะเป็นจุดที่ความดันต่าสุดและ
มีค่าเท่ากับ และเนื่องจากการไหลยังมีสภาพการไหลแบบช้ากว่าเสียงอยู่ เมื่อของไหลไหลเข้าส่วน
หัวฉีดที่บานออก ค่าความเร็วจะลดลง ทาให้ความดันต้องมีค่าเพิ่มขึ้นจนกระทั่งความดันที่ขาออก
มีค่าเท่ากับความดันที่ห้องด้านหลังหัวฉีด ค่าอัตราการไหลจะถูกแสดงไว้ในรูปที่ 11.11 เป็นสภาพ
เงื่อนไขการไหลที่ 2 และเมื่อลดค่าความดันที่ห้องด้านหลังหั วฉีดต่อไป โดยเปิ ดวาล์ว เพิ่มขึ้นเป็ น
เงื่อนไขการไหลที่ 3 สภาพการเปลี่ยนแปรความดันจะเหมือนกับเงื่อนไขที่ 2 เพียงแต่การไหลจะถูก
เร่งขึ้นจนมีค่าความเร็วเท่ากับความเร็วเสียง (M = 1) ที่คอคอด และค่าความดันจะเพิ่มขึ้นในช่วงของ
หัวฉีดในส่วนที่บานออกจนค่าความดันที่ส่วนขาออก มีค่าเท่ากับความดันที่ห้องด้านหลัง
การไหลจะเป็นการไหลแบบช้ากว่าเสียงตลอดหัวฉีดยกเว้นที่คอคอด ซึ่งการไหลจะมีค่า M = 1 ความ
ดันที่คอคอดมีค่าเท่ากับความดันวิกฤติ และจะเกิดปรากฎการณ์ Choke ขึ้น การไหลยังเป็นแบบไอ
เซนทรอปิกอยู่ และเมื่อลดค่าความดันทางด้านหลังลงไปอีก คลื่นความดันจะเคลื่อนสวนทิศของการ
ไหลขึ้นไปทางด้านต้นทางด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วเสียง (c) แต่เนื่องจากที่คอคอดของไหลมีค่า
ตัวเลขมัคเท่ากับ 1 แล้ว คลื่นความดันจึงไม่สามารถเดินทางขึ้นไปยังด้านต้นทางได้ อัตราการไหลของ
มวลจึงมีค่าคงที่ เป็นไปตามปรากฏการณ์ Choke และจะเกิดคลื่นกระแทกเกิดขึ้น (การไหลไม่เป็น
แบบไอเซนทรอปิก) การไหลดังกล่าวจะเป็นการไหลในเงื่อนไขการไหลที่ 4

P0 Pb
Pe
T0 Pt ต่อกับเครื่องสูบ
V0  0
วาล์วควบคุม
P/P0 (1) ̇ (6) (5) (4) (3)
1.0 (2) 1.0
(3)
P*/P0 (4)
(2)
(5)
(6) (1)
0 x 1.0 P/P0
P*/P0

รูปที่ 10.11 การไหลของของไหลผ่านหัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออกที่ความดันต่างๆ กัน


ภายใต้กระบวนการไอเซนทรอปิก
(ที่มา : ดัดแปลงจาก Graebel, 2001; สมศักดิ์ ไชยะกินันท์, 2552)

หัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออกนั้นจะถูกออกแบบเพื่อเร่งการไหลให้เป็นการไหลแบบเร็ว
กว่าเสียงที่ส่วนขาออกของหัวฉีด หากลดความดันลงจะมีสภาพเงื่อนไขที่ 5 ของไหลจะถูกเร่งให้มี
ความเร็วเพิ่มขึ้นแบบไอเซนทรอปิกจนมีความเร็วเป็นแบบเร็วกว่าเสียงที่ท่อออกของหัวฉีดเรามักเรียก
256 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

เงื่อนไขการไหลที่ 5 นี้ว่า เงื่อนไขออกแบบ หากลดความดันที่ห้องด้านหลังของหัวฉีดให้ต่ากว่าค่า


ความดันที่เงื่อนไขการไหลที่ 5 การไหลจะเกิดคลื่นกระแทกขึ้นที่จุดออกของหัวฉีด เป็นสภาพการไหล
ในเงื่อนไขการไหลที่ 6
ดังนั้น จะเห็นได้ว่าเมื่อการไหลที่คอคอดมีค่าตั วเลขมัค เท่ากับ 1 นั้น การไหลจะเป็นการ
ไหลแบบไอเซนทรอปิกได้เพียง 2 เงื่อนไขการไหล คือ การไหลแบบช้ากว่าเสียง (การไหลในเงื่อนไขที่
3 ) และการไหลเป็นแบบเหนือเสียง ภายใต้เงื่อนไขออกแบบ ดังที่แสดงไว้ในรูปที่ 10.10

ตัวอย่างที่ 10.4 หัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออกถูกติดเข้ากับถังขนาดใหญ่ที่บรรจุอากาศที่มีค่าความ


ดันเท่ากับ 124 kPa และมีค่าอุณหภูมิเท่ากับ 27๐C ตัวหัวฉีดจะถูกปล่อยออกสู่บรรยากาศซึ่งมีค่า
ความดันเท่ากับ 101.3 kPa พื้นที่ของส่วนขาออกของหัวฉีดมีค่าเท่ากับ 0.0018 m2 จงหาค่าอัตรา
การไหลของมวลโดยที่ถือว่าการไหลเป็นแบบไอเซนทรอปิก
วิธีทา
กาหนดให้ P0 = 124 kPa , T0 = 273+27 = 300 K , Pe = Patm = 101.3 kPa , Ae =
0.0018 m2
จากตาราง ก.3 อากาศมีค่า k = 1.4 , R = 0.287 kJ/kg.K = 287 J/kg.K
จงหา ̇
จากสมการของการไหลเป็นแบบไอเซนทรอปิก

[ ]

ดังนั้นจะได้ว่า

[( ) ]

1/2
[ {( ) }]

1/2
[ {( ) }]

และจากสมการ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 257

[ ]

จากสมการ

จากสมการ

ตอบ

จะเห็ น ได้ เนื่ อ งจากการไหลในหั ว ฉีด แบบลู่ เ ข้า และบานออกเป็ น การไหลแบบไอเซน


ทรอปิก การไหลจึ งจะถูกเร่งให้มีความเร็วมากขึ้นเมื่อเคลื่อนที่เข้าสู่ หัวฉีดในส่ว นที่ลู่เข้า โดยจะมี
ความเร็วสูงสุดเกิดขึ้นที่ส่วนที่เป็นคอคอด และการไหลต่อจากนั้นเนื่องจากเป็นการไหลที่ยังไม่เกิด
ปรากฏการณ์ Choke ของไหลจะถูกชะลอให้ช้าลงเมื่อเคลื่อนที่ต่อไปในส่วนของหัว ฉีดที่บานออก ซึ่ง
ในปัญหาข้อนี้ค่าตัวเลขมัคที่คอคอดจะมีค่ามากกว่าตัวเลขมัคที่ปากทางออก แต่
ค่ายังไม่ถึง 1

10.9 การไหลแบบอัดตัวได้ผ่านท่อที่มีพื้นที่หน้าตัดคงที่และมีความเสียดทาน
ในส่ ว นนี้ จะพิ จ ารณาการไหลแบบอั ด ตั ว ได้ แ ละมี แ รงเสี ย ดทานของท่ อ ที่ หุ้ ม ฉนวนและมี
พื้นที่หน้าตัดคงที่
พิจารณาการไหลผ่านท่อที่มีพื้นที่หน้าตัดคงที่แบบปริมาตรควบคุม (Control volume) ดังรูปที่
10.12 ได้สมการต่อเนื่องดังนี้

(10.43)

หาอนุพันธ์ได้ดังนี้
258 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

สลับค่า V จะได้
ρ
ρ
(10.44)

V V + dV
P P + dP

dx

PA (P + dP)A

w dAs

รูปที่ 10.12 การไหลผ่านท่อที่มีพื้นที่หน้าตัดคงที่แบบปริมาตรควบคุม (Control volume)


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

ทาการแทนค่าลอกการิทึม (Logarithm) สมการที่ (10.43) ได้

(10.45)

จากรูปที่ 10.12 ใช้สมการโมเมนตัม ดังนี้

∑ ∬

แรงภายนอกที่กระทาต่อปริมาตรควบคุมเนื่ องจากความดันและผิวเสียดทาน สามารถเขียน


สมการโมเมนตัมใหม่ได้ดังนี้

(10.46)

โดยที่ คือ พื้นที่หน้าตัด


คือ พื้นที่ผิวซึ่งเกิดจากแรงเสียดทานของความเค้นเฉือน
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 259

จากสมการเส้นผ่านศูนย์กลางไฮดรอลิกส์ (Hydraulic diameter)

(10.47)

โดยที่ P คือ ความยาวเส้นรอบรูป (Perimeter) สาหรับท่อรูปทรงกระบอก (Circular duct) จะได้ว่า

(10.48)

และพื้นที่ผิว คือ

แทนค่าในสมการที่ (10.46) จะได้

( ) (10.49)

จากการไหลของของไหลแบบอัดตัวไม่ได้ จะได้ตัวประกอบความเสียดทาน (Friction factor) f


ขึ้นอยู่กับตัวเลขเรย์โนลด์ (Reynolds number) ความขรุขระสัมพัทธ์ (Relative roughness) นั้นคือ

( )
ρ

และนามาแทนค่าในสมการที่ (10.49) จะได้ว่า

ρ
( ) (10.50)

แทนค่า  ด้วยค่า จากสมการ จะได้ว่า

เมื่อกาหนดให้ และ ⁄ จะได้ว่า


260 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

(10.51)

อนุพันธ์ลอกการิทึมของก๊าซอุดมคติ จะได้

(10.52)

จากนิยามของตัวเลขมัค (Mach number)

(10.53)

แทนสมการที่ (10.44), (10.52) และ (10.53) ลงในสมการที่ (10.51) จะได้ว่า

สาหรั บการไหลแบบแอเดียแบติก (Adiabatic flow) อุณหภูมิสแตกเนชัน (Stagnation


temperature) มีค่าคงที่

( )

ทาการอนุพันธ์สมการ จะได้ว่า

(10.54)

แทนค่าในสมการได้ดังนี้

( )

ดังนั้น จะได้ว่า
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 261

[ ] (10.55)
( )

ทาการอินทิเกรต สมการที่ (10.55) และกาหนดให้ค่า f เป็นค่าตัวประกอบแรงเสียดทานเฉลี่ย


ระหว่างตาแหน่งบนที่ดังนี้

พิจารณาการไหลที่ทางออกท่อ (ปริมาตรควบคุม) โดยที่ M คือ ตัวเลขมัค และ M = 1, x =


Lmax ทาการอินทิเกรตสมการที่ (10.55) จะได้ว่า

[ ] (10.56)

คานวณหาค่า จากฟังก์ชันของ M ได้จากตารางที่ ค.1 (ภาคผนวก ค) สาหรับ k = 1.4

จากสมการที่ (10.51) แทนค่า ลงในเทอม จะได้

[ ]

ทาการอินทิเกรตระหว่าง P และ P* จะได้ความสัมพันธ์ของ P/P* เทียบกับ M จะได้

[ ( )] (10.57)

ทาการคานวณหาโดยใช้ข้อมูลจากตารางที่ ก.5 (ภาคผนวก ก) สาหรับ k = 1.4 และสามารถหา


ค่า T/T* เทียบกับ M จากสมการคลื่นกระแทก (Shock waves) ดังนี้

( ) ( )

ดังนั้น จะได้ว่า
262 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

( ) (10.58)

รวมสมการที่ (10.53) และ (10.54) และทาการอินทิเกรต จะได้ผลลัพธ์ดังนี้

[ ( ) ] (10.59)

สุดท้ายจะเป็นอัตราส่วนของความดันสแตกเนชัน (Stagnation pressure ratio) สามารถ


หาได้จากสมการที่ (10.60) ดังนี้

[ ( )] (10.60)

สาหรับการไหลแฟนโน (Fanno flow) สาหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) ความสัมพันธ์สแตกเนชัน


(Stagnation) จะแสดงค่าในตารางที่ ก.5 (ภาคผนวก ก)

ตัวอย่างที่ 10.5 อากาศไหลเข้าท่อที่มีพื้นที่หน้าตัดคงที่ ดังรูปที่ 10.13 ด้วยความเร็ว 2.1 m/s ความ


ดัน 110 kPa และอุณหภูมิ 300 K ท่อมีความยาว 10 m เป็นท่อเหล็กกล้ามาตรฐาน (STD) ชนิด 2-
nominal schedule 40 จงหาค่าตัวเลขมัค ความดัน และอุณหภูมิที่ทางออกท่อ
1 2
V1
V2 M=1

actual 2
1

รูปที่ 10.13 ประกอบตัวอย่างที่ 10.5


(ที่มา : ดัดแปลงจาก William, 1993)

วิธีทา
จากตาราง ก.2 อากาศที่อุณหภูมิ 300 K จะได้  = 18.46 x 10-6 Ns/m2
จากตาราง ข.1 จะได้ D = 5.252 cm และ A = 21.66 cm2
สาหรับอากาศ
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 263

ความเร็วคลื่นเสียงที่ทางเข้า

√ √

ดังนั้น

จากตาราง ก.5 ที่ M1 = 0.19 จะได้

, ,
1

หาค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ จากสมการ
ρ

กาหนดท่อเป็นเหล็กกล้า และสมมติให้ผิวท่อเรียบมาก จากแผนภาพมูดี้ (Moody diagram) ใน


บทที่ 8 ที่ Re1 = 7.64 x 103 จะได้ ค่า f = 0.045

ac

จากรูปที่ 10.13 และระยะความยาวท่อจากจุดที่ 1 จนถึงระยะ M = 1 จะได้ว่า

L1max = Lactual + L2max

เพิ่ม f/D ลงในทุกเทอมจะได้ว่า

1 actual 2

จากความสัมพันธ์ดังรูปที่ 10.13 จะได้ว่า

2 1 actual

จากตาราง ก.5 ที่ จะได้


264 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล

, , ,
ดังนั้น
( )

( ) ตอบ

10.10 บทสรุป
การไหลของของไหลแบบอัด ตัวได้ หมายถึง การไหลของของไหลที่มีการเปลี่ยนแปรค่าความ
หนาแน่ น อย่ า งเด่ น ชั ด และหากการไหลนั้ น เคลื่ อ นที่ ด้ ว ยความเร็ ว สู ง มาก จะก่ อ ให้ เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติอื่นๆ ของของไหลในลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากพฤติกรรมของของไหลแบบ
อัดไม่ได้ ตัวแปรทีเ่ พิ่มขึ้นมาจากกรณีของของไหลแบบอัดไม่ได้ คือ ความหนาแน่น และอุณหภูมิ
ตัวเลขมัค (Mach number) เป็นพารามิเตอร์ตัวหนึ่งที่มีสาคัญต่อการกาหนดคุณลั กษณะของ
การไหลแบบอัดได้ ซึ่งสามารถเขียนเป็นค่าอัตราส่วนของความเร็วเฉพาะที่ของของไหลต่อความเร็ว
เสียงเฉพาะที่ (M = v/c) และตัวเลขมัคจะเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิด
เสียงที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเหนือเสียงที่มีลักษณะเป็นรูปกรวย และรูปกรวยดังกล่าวถูกเรียกว่า รูป
กรวยมัค (Mach cone)
ในการวิ เ คราะห์ ข องไหลแบบอั ด ได้ ทั่ ว ไป คุ ณ สมบั ติ ที่ เ ป็ น ที่ ส นใจจะเป็ น ค่ า ความดั น P
ค่าอุณหภูมิ T ค่าความหนาแน่น  และค่าความเร็ว v ซึ่งในการวิเคราะห์ปัญหาของของไหลแบบอัด
ได้นั้น นิยมใช้ค่าคุณสมบัติที่สนใจในสภาวะที่ค่าความเร็วเป็นศูนย์เป็นสภาวะอ้างอิง สภาวะดังกล่าว
หากกระบวนการการลดความเร็วเป็นกระบวนการไอเซนทรอปิก ค่าคุณสมบัติดังกล่าวจะเรียกว่า
คุณสมบัติสแตกเนชันไอเซนทรอปิกเฉพาะที่ ซึ่งโดยนิยามจะระบุไว้ว่าคือ คุณสมบัติของของไหลที่จุ ด
ในสนามการไหลที่เกิดจากการนาของไหลที่จุดดังกล่าวในสภาวะเฉพาะที่ซึ่งมีความเร็วของการไหลอยู่
ไปลดความเร็วลงจนเป็นศูนย์ภายใต้กระบวนการไอเซนทรอปิก (กระบวนการที่ไม่มีแรงเสียดทานและ
ไม่มีการถ่ายเทความร้อน) ค่าความดันที่สภาวะอ้างอิงจะเรียกว่า ค่าความดันสแตกเนชัน P0 และค่า
อุณหภูมิที่สภาวะอ้างอิงก็จะเรียกว่า ค่าอุณหภูมิสแตกเนชัน T0 ซึ่งสภาวะสแตกเนชันดังกล่าวอาจเป็น
สภาวะของของไหลแบบอัดได้ที่ถูกบรรจุอยู่ในถังขนาดใหญ่ โดยที่ของไหลทั้งหมดอยู่ในสภาวะหยุดนิ่ง
ไม่มีการเคลื่อนที่
การไหลของของไหลแบบอัด ตัวได้ภายใต้กระบวนการไอเซนทรอปิกผ่านหั วฉีดสองแบบ คือ
หัวฉีดแบบลู่เข้า (Converging nozzle) และหัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออก (Converging diverging
nozzle)
กลศาสตร์ของไหล บทที่ 10 สมการพืน้ ฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ 265

แบบฝึกหัดท้ายบท
บทที่ 10

1. จงบอกความหมายของการไหลของของไหลแบบอัดตัวได้
2. ตัวเลขมัคหมายถึงอะไร
3. อากาศไหลอย่างคงตัวอยู่ในท่อระหว่างตาแหน่ง โดยที่ตาแหน่งที่ 1 จะมีค่าอุณหภูมิ T1 = 70๐C
และความดัน P1 = 280 kPa และที่ตาแหน่งที่ 2 จะมีค่าอุณหภูมิ T2 = 50๐C และความดัน P2 =
160 kPa จงหาค่าความแตกต่างของเทอมต่อไปนี้ระหว่างตาแหน่งที่ 1 และ 2
3.1) พลังงานภายในต่อหน่วยมวล
3.2) เอลทัลปีต่อหน่วยมวล
3.3) ค่าเอนโทรปีต่อหน่วยมวล
4. อากาศไหลอยู่ในท่อที่หุ้มฉนวนจนสามารถถือได้ว่าการไหลไม่มีการถ่ายเทความร้อน ที่ตาแหน่งที่
1 อากาศจะมีค่าดังต่อไปนี้ คือ M1 = 0.2, T1 = 280 K, P1 = 95 kPa และที่ตาแหน่งที่ 2 M2 =
0.6, T2 = 265 K, P2 = 31 kPa
4.1) จงหาค่าสแตกเนชันไอเซนทรอปิกเฉพาะที่ (P0, T0) ของอากาศที่ตาแหน่งที่ 1 และที่
ตาแหน่ง 2
4.2) จงหาค่าความแตกต่างของเอนโทรปีต่อหน่วยมวลของอากาศระหว่างตาแหน่งที่ 1 และ
ตาแหน่งที่ 2 (s)
5. หัวฉีดแบบลู่เข้าและบานออกถูกติดเข้ากับถังขนาดใหญ่ที่บรรจุอากาศที่มีค่าความดันเท่ากับ 120
kPa และมีค่าอุณหภูมิเท่ากับ 29๐C ตัวหัวฉีดจะถูกปล่อยออกสู่บรรยากาศซึ่งมีค่าความดันเท่ากับ
101.3 kPa จงหาค่าอัตราการไหลของมวลผ่านหัวฉีดที่มีพื้นที่ของขาออกเท่ากับ 0.02 m2
6. อากาศไหลเข้าท่อเหล็กหล่อที่มีพื้นที่หน้าตัดคงที่ ชนิด 12-nominal schedule 80 ด้วยความเร็ว
4 m/s ความดัน 200 kPa และอุณหภูมิ 30๐C ท่อมีความยาว 20 m จงหาค่าความดันที่ทางออกท่อ
266 บทที่ 10 สมการพื้นฐานของการไหลแบบอัดตัวได้ กลศาสตร์ของไหล
บรรณานุกรม
มัฆศิษฏ์ ธนพิมพ์สาร. (2554). กลศาสตร์ของไหลสถิต. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
มนตรี พิรุณเกษตร. (2547). กลศาสตร์ของไหล. กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน์.
วิศิษฏ์ จาตุรมาน. (2542). กลศาสตร์ของไหล. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วีระศักดิ์ มะโนน้อม. (2547). กลศาสตร์ของไหล. กรุงเทพมหานคร: เอมพันธ์.
สมศักดิ์ ไชยะภินันท์. (2552). กลศาสตร์ของไหล. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สุนทร สุทธิบาก. (2558). การปรับปรุงคุณภาพน้ามันชีวภาพที่ได้จากไพโรไลซีสแบบเร็วของวัสดุ
เหลื อ ทิ งทางการเกษตรในเครื่ อ งปฏิ ก รณ์ ฟ ลู อิ ไ ดซ์ เ บดแบบไหลเวี ย นโดยวิ ธี ก ารดึ ง
ออกซิเจนออกโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
Arora, K. R. (1973). Fluid Mechanics, Hydraulics and Hydraulics mechanics. (8th
ed). Delhi: Lomus offset Press.
Batchelor, G. K. (1996). The Life and Legacy of G.I. Taylor. New York: Cambridge
University Press.
Beer, F. P. , & Johnston, E. R. (1996). Vector Mechanics for Engineers Statics (6th ed).
New York: McGraw-Hill.
Bruce, R. M. , Donald, F. Y. , & Theodore, H. O. (2002). Fundamentals of Fluid
Mechanics (4th ed). New Jersey: John Wiley & Sons.
Chanson, H. (2004). The Hydraulics of Open Channel Flow : An Introduction (2th
ed). Elsevier Butterworth-Heinemann.
Clayton, T. C. , Donald, F. E. , Barbara, C. W. , & John, A. R. (2010). Engineering Fluid
Mechanics (9th ed). New Jersey: John Wiley &nics Sons.
Donald, F. Y. , Bruce, R. M. , Theodore, H. O. , & Wade, W. H. (2012). Introduction to
Fluid Mechanics (5th ed). New Jersey: John Wiley & Sons.
Durst, F. (2008). Fluid Mechanics. New York: Springer.
Finocchiaro, M. A. (2008). The Essential Galileo. Indianapolis, Indiana: Hackett
Publishing Company.
Fox, R. W. , & McDonald, A. T. (1992). Introduction to Fluid Mechanics (3rd ed). New
York: John Wiley & Sons.
Frank, M. W. (2011). Fluid Mechanics (7th ed). New York: McGraw-Hill.
Frohn, A. , & Roth, N. (2000). Dynamics of Droplets. New York: Springer.
Gordon, V. W. , Richard, E. S. , & Claus B. (1994). Fundamentals of Classical
Thermodynamics. New York: John Wiley & Sons.
Graebel, W. P. (2001). Engineering Fluid Mechanics. New York: Taylor & Francis.
268 บรรณานุกรม กลศาสตร์ของไหล

Gray, D. D. (2000). A First Course in Fluid Mechanics for Civil Engineers. Corolado:
Water Resources Publications.
Hunter, K. , & Wang, Y. (2016). Fluid and Themodynamics. Switzerland: Springer.
Jame, W. M. (1993). Fundamental Fluid Mechanics for the Practicing Engineer.
New York: Marcel Dekker.
Jones, j. B. , & Hawkins, G. A. (1986). Engineering Thermodynamics (2nd ed). New
York: John Wiley & Sons.
Landau D. & Lifshitz M. (1987). Fluid Mechanics. Oxford : Pergamon Press.
Liepmann, H. W. , & Roshko, A. (2011). Element of Gas Dynamics. New York: Dover.
Mercle, C. P. , David, C. W. , Midhat, H. , & Tom, P. S. (2002). Mechanics of Fluids (3rd
ed). New York: Prentice-Hall.
Moran, M. J. , & Shapiro, H. W. (1979). Fundamentals of Engineering
Thermodynamics (2nd en). New York: McGraw-Hill.
Munson, B. R. , Okiishi, T. H. , Huebsch, W. W. , & Rothmayer, A. P. (2013).
Fundamentals of Fluid Mechanics (7th Ed). New Jersey: John Wiley & Sons.
Nakayama, Y. , & Boucher, F. (1999). Introduction to Fluid Mechanic. London:
Butterworth-Heinemann.
Oliveira, A. R. E. (2017). D’Alembert: Between Newtonian Science and the
Cartesian Inheritance. Advances in Historical Studies, (6) : 128-144.
Oteh, U. (2008). Mechanics of Fluids. Indiana: Author House.
Pijush, K. K. , & Ira, M. C. (2010). Fluid Mechanics (4th ed). San Diago: Academic Press.
Rajput, R. K. (2008). Fluid Mechanics (1st ed). London: S. Chand Limited.
Robert, L. M. (2005). Applied Fluid Mechanics (6th ed). San Diago: Prentice Hall.
Robert, W. F. , Alan, T. M. , Philip, J. P. , & John, C. L. (2012). Fluid Mechanics (8th ed).
New Jersey: John Wiley & Sons.
Robert, W. F. , & Alan, T. M. (1998). Introduction to Fluid Mechanics (4th ed). New
Jersey: John Wiley & Sons.
Roy, D. N. (1994). Engineering Fluid Mechanics (5th ed). Boston: Houg.hton Mifflin
Company.
Sargar, S. (2010). Fuels and Combustion (3rd ed). Mumbai: CRC Press.
Schaschke, C. (2005). Fluid Mechanics. UK: IChemE.
Suttibak, S (2015). Improvement of bio-oil yield during fast pyrolysis of water
hyacinth by ethanol addition method. The 6th International Science, Social
Science, Engineering and Energy Conference (I-SEEC 2014). Proceedings: Book
1 - Science and Technology (2015) / 297-302.
กลศาสตร์ของไหล บรรณานุกรม 269

Tokaty, G. A. (1971). A History and Philosophy of Fluid Mechanics. New York: Dover
Publications.
Velarde, M. G. , & Christov, C. I. (1995). Fluid Physics. New Jersey: World Scientific
Publishing.
Vijay, G. , & Santosh, K. P. (1997). Fluid Mechanics and Its Application (5th ed). New
Delhi: Age Internationnall.
Walter, R. D. (1990). Fluid Mechanics Fundamentals (2nd ed). German: McGraw-Hill.
White, F. W. (1994). Fluid Mechanics (3rd ed). New York: McGraw-Hill.
William, S. J. (1993). Introduction to Fluid Mechanics (3rd ed). Boston: PWS.
270 บรรณานุกรม กลศาสตร์ของไหล
ภาคผนวก ก
ตารางคุณสมบัติของของไหล
272 ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล 273

ตารางที่ ก.1 คุณสมบัติของน้าที่อุณหภูมิต่างๆ

อุณหภูมิ น้าหนัก ความ ความหนืด ความหนืด แรงตึงผิว Bulk


(T ; oC) จ้าเพาะ หนาแน่น สัมบูรณ์ จลน์ ( ; N/m) Modulus
( ; kN/m3) ( ; kg/m3) ( ; N.s/m2) ( ; m2 s) (K ; N/m2)
0 9.805 999.8 1.781 x 10-3 1.785 x 10-6 0.0756 2.02 x 109
5 9.807 1000.0 1.578 x 10-3 1.519 x 10-6 0.0749 2.06 x 109
10 9.804 999.7 1.307 x 10-3 1.306 x 10-6 0.0742 2.10 x 109
15 9.798 999.1 1.139 x 10-3 1.139 x 10-6 0.0735 2.14 x 109
20 9.789 998.2 1.002 x 10-3 1.003 x 10-6 0.0728 2.18 x 109
25 9.777 997.0 0.890 x 10-3 0.893 x 10-6 0.0720 2.22 x 109
30 9.764 995.7 0.798 x 10-3 0.800 x 10-6 0.0712 2.25 x 109
40 9.730 992.2 0.653 x 10-3 0.658 x 10-6 0.0696 2.28 x 109
50 9.689 988.0 0.547 x 10-3 0.553 x 10-6 0.0679 2.29 x 109
60 9.642 983.2 0.466 x 10-3 0.474 x 10-6 0.0662 2.28 x 109
70 9.589 977.8 0.404 x 10-3 0.413 x 10-6 0.0644 2.25 x 109
80 9.530 971.8 0.354 x 10-3 0.364 x 10-6 0.0626 2.20 x 109
90 9.466 965.3 0.315 x 10-3 0.326 x 10-6 0.0608 2.14 x 109
100 9.399 958.4 0.282 x 10-3 0.294 x 10-6 0.0589 2.07 x 109
ที่มา : Robert et al. (1998).
274 ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ก.2 คุณสมบัติของอากาศที่ความดันบรรยากาศ

อุณหภูมิ ความหนาแน่น ความหนืดสัมบูรณ์ ความหนืดจลน์


(T ; oC) ( ; kg/m3) ( ; N.s/m2) ( ; m2 s)
-50 1.582 1.46 x 10-5 0.92 x 10-5
-30 1.452 1.56 x 10-5 1.08 x 10-5
-20 1.394 1.61 x 10-5 1.16 x 10-5
-10 1.342 1.67 x 10-5 1.24 x 10-5
0 1.292 1.72 x 10-5 1.33 x 10-5
5 1.270 1.74 x 10-5 1.37 x 10-5
10 1.247 1.76 x 10-5 1.42 x 10-5
15 1.225 1.79 x 10-5 1.46 x 10-5
20 1.204 1.81 x 10-5 1.51 x 10-5
30 1.164 1.86 x 10-5 1.60 x 10-5
40 1.127 1.91 x 10-5 1.69 x 10-5
50 1.092 1.95 x 10-5 1.79 x 10-5
60 1.060 2.00 x 10-5 1.89 x 10-5
70 1.030 2.05 x 10-5 1.99 x 10-5
80 1.000 2.09 x 10-5 2.09 x 10-5
90 0.973 2.13 x 10-5 2.19 x 10-5
100 0.946 2.17 x 10-5 2.30 x 10-5
200 0.746 2.57 x 10-5 3.45 x 10-5
300 0.616 2.93 x 10-5 4.75 x 10-5
ที่มา : Jones and Hawkins. (1986).
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล 275

ตารางที่ ก.3 คุณสมบัติทางอุณหพลศาสตร์ของก๊าซที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน

สัญลักษณ์ มวลเชิง R CP Cv K
ก๊าซ ทางเคมี โมเลกุล (kJ/kg.K) (kJ/kg.K) (kj/kg.K) (CP/ Cv)
(MW)
อะเซทิลิน C2H2 26.02 0.31955 1.5116 1.1933 1.270
(Acetylene)
อากาศ 28.97 0.28700 1.0052 0.7180 1.400
(Air)
แอมโมเนีย NH3 17.02 0.48802 2.1773 1.6916 1.290
(Ammonia)
อาร์กอน A 39.94 0.20813 0.5207 0.3124 1.667
(Argon)
บิวเทน C4H10 58.12 0.14304 1.7164 1.5734 1.090
(Butane)
คาร์บอนไดออกไซด์ CO2 44.01 0.18892 0.8464 0.6573 1.290
(Carbon dioxide)
คาร์บอนมอนนอกไซด์ CO 28.01 0.29683 1.0411 0.7441 1.400
(Carbon monoxide)
อีเทน C2H6 30.07 0.27650 1.7662 1.4897 1.180
(Ethane)
อีทิลีน C2H4 28.05 0.29637 1.5482 1.2518 1.210
(Ethylene)
ฮีเลียม He 4.00 2.07703 5.1926 3.1156 1.667
(Helium)
ไฮโดรเจน H2 2.01 4.12418 14.3193 10.1919 1.405
(Hydrogen)
มีเทน CH4 16.04 0.51835 2.2537 1.7354 1.320
(Methane)
ไนโตรเจน N2 28.01 0.29680 1.0404 0.7437 1.400
(Nitrogen)
ออกเทน C8H18 114.14 0.07279 1.7113 1.6385 1.044
(Octane)
ออกซิเจน O2 32.00 0.25983 0.9190 0.6590 1.390
(Oxygen)
โพรเพน C3H8 44.09 0.18855 1.6794 1.4909 1.124
(Propane)
ไอน้า H2O 18.01 0.46152 1.8649 1.4031 1.330
(Water vapor)
อุณหภูมิมาตรฐาน T = 15๐C, ความดันมาตรฐาน P = 101.3 kPa
ที่มา : Gordon et al. (1994).
276 ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ก.4 คุณสมบัติของของเหลวที่ความดัน 1 atm และอุณหภูมิ 25๐C

ชื่อของเหลว ความ ความหนืดสัมบูรณ์ ความเร็ว แรงตึงผิว


ถ่วงจ้าเพาะ ( ; N.s/m2) เสียง ( ; N/m)
(S) (c ; m/s)
แอซิโตน (Acetone) 0.787 0.316 x 10-3 1174 23.10 x 10-3
เอทิลแอลกอฮอล์ (Alcohol, ethyl) 0.787 1.095 x 10-3 1144 22.33 x 10-3
เมทิลแอลกอฮอล์ (Alcohol, methyl) 0.789 0.560 x 10-3 1103 22.20 x 10-3
โพรพิลแอลกอฮอล์ (Alcohol, propyl) 0.802 1.920 x 10-3 1205 23.50 x 10-3
เบนซิน (Benzene) 0.876 0.601 x 10-3 1298 28.18 x 10-3
คาร์บอนไดซัลไฟด์ (Carbon disulfide) 1.265 0.360 x 10-3 1149 32.33 x 10-3
คาร์ บ อนเตตระคลอไรด์ ( Carbon 1.590 0.910 x 10-3 924 26.30 x 10-3
tetrachloride)
น้ามันละหุ่ง (Castor oil) 0.960 650 x 10-3 1474 -
คลอโรฟอร์ม (Chloroform) 1.470 0.530 x 10-3 995 27.14 x 10-3
เดเคน (Decane) 0.728 0.859 x 10-3 - 23.43 x 10-3
ดอเดเคน (Dodecane) - 1.374 x 10-3 - -
อีเทอร์ (Ether) 0.715 0.223 x 10-3 985 16.42 x 10-3
เอทิลีนไกลคอล (Ethylene glycol) 1.100 16.20 x 10-3 1644 48.20 x 10-3
ฟลู อ อลี น น้ า ยา R-11 (Fluorine 1.480 0.420 x 10-3 - 18.30 x 10-3
refrigerant R-11)
ฟลู อ อลี น น้ า ยา R-12 (Fluorine 1.315 - - -
refrigerant R-12)
ฟลู อ อลี น น้ า ยา R-22 (Fluorine 1.197 - - 8.35 x 10-3
refrigerant R-22)
กลีเซอลีน (Glycerine) 1.263 950 x 10-3 1909 63.00 x 10-3
เฮปเทน (Heptane) 0.681 0.376 x 10-3 1138 19.90 x 10-3
เฮกเซน (Hexane) 0.657 0.297 x 10-3 1203 18.00 x 10-3
น้ามันก๊าด (Kerosene) 0.823 1.640 x 10-3 1320 -
น้ามันลินซีด (Linseed oil) 0.930 33.10 x 10-3 - -
ปรอท (Mercury) 13.600 1.530 x 10-3 1450 484 x 10-3
ออกเทน (Octane) 0.701 0.510 x 10-3 1171 21.14 x 10-3
โพรเพน (Propane) 0.495 0.110 x 10-3 - 6.60 x 10-3
โพรพิลีน (Propylene) 0.516 0.090 x 10-3 - 7.00 x 10-3
โพรพิลีนไกลคอล (Propylene glycol) 0.968 42 x 10-3 - 36.30 x 10-3
น้าทะเล (Seawater) 1.03 - 1535 -
น้ามันสน (Turpentine) 0.870 1.375 x 10-3 1240 -
น้า (Water) 1.000 0.890 x 10-3 1498 71.97 x 10-3
ที่มา: William. (1993).
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล 277

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4)

0.00 1.2000   0 
0.01 1.2000 109.544 57.8738 0.01095 7134.40
0.02 1.1999 54.7701 28.9421 0.02191 1778.450
0.03 1.1998 36.5116 19.3005 0.03286 787.081
0.04 1.1996 27.3817 14.4815 0.04381 440.352
0.05 1.1994 21.9034 11.5914 0.05476 280.020
0.06 1.1991 18.2508 9.66591 0.06570 193.031
0.07 1.1988 15.6416 8.29153 0.07664 140.655
0.08 1.1985 13.6843 7.26161 0.08758 106.718
0.09 1.1981 12.1618 6.46134 0.09851 83.4961
0.10 1.1976 10.9435 5.82183 0.10944 66.9216
0.11 1.1971 9.94656 5.29923 0.12035 54.6879
0.12 1.1966 9.11559 4.86432 0.13127 45.4080
0.13 1.1960 8.41230 4.49686 0.14217 38.2070
0.14 1.1953 7.80932 4.1824 0.15306 32.5113
0.15 1.1946 7.28659 3.91034 0.16395 27.9320
0.16 1.1939 6.82907 3.67274 0.17482 24.1978
0.17 1.1931 6.42525 3.46351 0.18569 21.1152
0.18 1.1923 6.06618 3.27793 0.19654 18.5427
0.19 1.1914 5.74480 3.11226 0.20739 16.3752
0.20 1.1905 5.45545 2.96352 0.21822 14.5333
0.21 1.1895 5.19355 2.82929 0.22904 12.9560
0.22 1.1885 4.95537 2.7076 0.23984 11.5961
0.23 1.1874 4.73781 2.59681 0.25063 10.4161
0.24 1.1863 4.53829 2.49556 0.26141 9.38648
0.25 1.1852 4.35465 2.40271 0.27217 8.48341
0.26 1.1840 4.18505 2.31729 0.28291 7.68757
0.27 1.1828 4.02795 2.23847 0.29364 6.98317
0.28 1.1815 3.88199 2.16555 0.30435 6.35721
0.29 1.1802 3.74602 2.09793 0.31504 5.79891
0.30 1.1788 3.61906 2.03507 0.32572 5.29925
0.31 1.1774 3.50022 1.97651 0.33637 4.85066
0.32 1.1759 3.38874 1.92185 0.34701 4.44674
0.33 1.1744 3.28396 1.87074 0.35762 4.08205
0.34 1.1729 3.18529 1.82288 0.36822 3.75195
278 ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) (ต่อ)

0.35 1.1713 3.09219 1.77797 0.37879 3.45245


0.36 1.1697 3.00422 1.73578 0.38935 3.18012
0.37 1.1680 2.92094 1.69609 0.39988 2.93198
0.38 1.1663 2.84200 1.6587 0.41039 2.70545
0.39 1.1646 2.76706 1.62343 0.42087 2.49828
0.40 1.1628 2.69582 1.59014 0.43133 2.30849
0.41 1.1610 2.62801 1.55867 0.44177 2.13436
0.42 1.1591 2.56338 1.5289 0.45218 1.97437
0.43 1.1572 2.50171 1.50072 0.46257 1.82715
0.44 1.1553 2.44280 1.47401 0.47293 1.69152
0.45 1.1533 2.38648 1.44867 0.48326 1.56643
0.46 1.1513 2.33256 1.42463 0.49357 1.45091
0.47 1.1492 2.28089 1.4018 0.50385 1.34413
0.48 1.1471 2.23135 1.3801 0.51410 1.24534
0.49 1.1450 2.18378 1.35947 0.52433 1.15385
0.50 1.1429 2.13809 1.33984 0.53452 1.06906
0.51 1.1407 2.09415 1.32117 0.54469 0.99041
0.52 1.1384 2.05187 1.30339 0.55483 0.91742
0.53 1.1362 2.01116 1.28645 0.56493 0.84962
0.54 1.1339 1.97192 1.27032 0.57501 0.78663
0.55 1.1315 1.93407 1.25495 0.58506 0.72805
0.56 1.1292 1.89755 1.24029 0.59507 0.67357
0.57 1.1268 1.86228 1.22633 0.60506 0.62287
0.58 1.1244 1.82820 1.21301 0.61501 0.57568
0.59 1.1219 1.79525 1.20031 0.62493 0.53174
0.60 1.1194 1.76336 1.1882 0.63481 0.49082
0.61 1.1169 1.7325 1.17665 0.64466 0.45271
0.62 1.1144 1.70261 1.16565 0.65448 0.41720
0.63 1.1118 1.67364 1.15515 0.66427 0.38412
0.64 1.1091 1.64556 1.14515 0.67402 0.35330
0.65 1.10650 1.61831 1.13562 0.68374 0.32459
0.66 1.10383 1.59187 1.12654 0.69342 0.29785
0.67 1.10114 1.56620 1.11789 0.70307 0.27296
0.69 1.09842 1.54126 1.10965 0.71268 0.24978
0.69 1.09567 1.51702 1.10182 0.72225 0.22820
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล 279

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) (ต่อ)

0.70 1.09290 1.49345 1.09437 0.73179 0.20814


0.71 1.09010 1.47053 1.08729 0.74130 0.18948
0.72 1.08727 1.44823 1.08057 0.75076 0.17215
0.73 1.08442 1.42652 1.07419 0.76019 0.15605
0.74 1.08155 1.40537 1.06814 0.76958 0.14112
0.75 1.07865 1.38478 1.06242 0.77894 0.12728
0.76 1.07573 1.36470 1.057 0.78825 0.11447
0.77 1.07279 1.34514 1.05188 0.79753 0.10262
0.78 1.06982 1.32605 1.04705 0.80677 0.09167
0.79 1.06684 1.30744 1.04251 0.81597 0.08158
0.80 1.06383 1.28928 1.03823 0.82514 0.07229
0.81 1.06080 1.27155 1.03422 0.83426 0.06376
0.82 1.05775 1.25423 1.03046 0.84335 0.05593
0.83 1.05468 1.23732 1.02696 0.85239 0.04878
0.84 1.05160 1.22080 1.0237 0.86140 0.04226
0.85 1.04849 1.20466 1.02067 0.87037 0.03633
0.86 1.04537 1.18888 1.01787 0.87929 0.03097
0.87 1.04223 1.17344 1.0153 0.88818 0.02613
0.88 1.03907 1.15835 1.01294 0.89703 0.02179
0.89 1.03589 1.14358 1.0108 0.90583 0.01793
0.90 1.03270 1.12913 1.00886 0.91460 0.01451
0.91 1.02950 1.11499 1.00713 0.92332 0.01151
0.92 1.02627 1.10114 1.0056 0.93201 0.00891
0.93 1.02304 1.08758 1.00426 0.94065 0.00669
0.94 1.01978 1.07430 1.00311 0.94925 0.00482
0.95 1.01652 1.06129 1.00215 0.95781 0.00328
0.96 1.01324 1.04854 1.00136 0.96633 0.00206
0.97 1.00995 1.03604 1.00076 0.97481 0.00113
0.98 1.00664 1.02379 1.00034 0.98325 0.00049
0.99 1.00333 1.01178 1.00008 0.99165 0.00012
1.00 1.00000 1.00000 1.00000 1.00000 0.00000
1.01 0.99666 0.988445 1.00008 1.00831 0.00012
1.02 0.99331 0.977108 1.00033 1.01658 0.00046
1.03 0.98995 0.965984 1.00074 1.02481 0.00101
1.04 0.98658 0.955066 1.00131 1.03300 0.00177
280 ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) (ต่อ)

1.05 0.98320 0.944349 1.00203 1.04114 0.00271


1.06 0.97982 0.933827 1.00291 1.04925 0.00384
1.07 0.97642 0.923495 1.00394 1.05731 0.00513
1.08 0.97302 0.913347 1.00512 1.06533 0.00658
1.09 0.96960 0.903380 1.00645 1.07331 0.00819
1.10 0.96618 0.893588 1.00793 1.08124 0.00994
1.11 0.96276 0.883966 1.00955 1.08913 0.01182
1.12 0.95933 0.87451 1.01131 1.09699 0.01382
1.13 0.95589 0.865216 1.01322 1.10479 0.01595
1.14 0.95244 0.856080 1.01527 1.11256 0.01819
1.15 0.94899 0.847097 1.01745 1.12029 0.02053
1.16 0.94554 0.838265 1.01978 1.12797 0.02298
1.17 0.94208 0.829579 1.02224 1.13561 0.02552
1.18 0.93862 0.821035 1.02484 1.14321 0.02814
1.19 0.93515 0.812630 1.02757 1.15077 0.03085
1.20 0.93168 0.804362 1.03044 1.15828 0.03364
1.21 0.92820 0.796226 1.03344 1.16575 0.03650
1.22 0.92473 0.788219 1.03657 1.17319 0.03943
1.23 0.92125 0.780339 1.03983 1.18057 0.04242
1.24 0.91777 0.772582 1.04323 1.18792 0.04547
1.25 0.91429 0.764946 1.04675 1.19523 0.04858
1.26 0.91080 0.757428 1.05041 1.20249 0.05174
1.27 0.90732 0.750025 1.05419 1.20972 0.05495
1.28 0.90383 0.742735 1.0581 1.21690 0.05820
1.29 0.90035 0.735555 1.06214 1.22404 0.06150
1.30 0.89686 0.728483 1.0663 1.23114 0.06483
1.31 0.89338 0.721516 1.0706 1.23819 0.06820
1.32 0.88989 0.714652 1.07502 1.24521 0.07161
1.33 0.88641 0.707889 1.07957 1.25218 0.07504
1.34 0.88292 0.701224 1.08424 1.25912 0.07850
1.35 0.87944 0.694656 1.08904 1.26601 0.08199
1.36 0.87596 0.688183 1.09396 1.27286 0.08550
1.37 0.87249 0.681803 1.09902 1.27968 0.08904
1.38 0.86901 0.675513 1.10419 1.28645 0.09259
1.39 0.86554 0.669312 1.1095 1.29318 0.09615
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล 281

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) (ต่อ)

1.40 0.86207 0.663198 1.11493 1.29987 0.09974


1.41 0.85860 0.657169 1.12048 1.30652 0.10334
1.42 0.85514 0.651224 1.12616 1.31313 0.10694
1.43 0.85168 0.64536 1.13197 1.31970 0.11056
1.44 0.84822 0.639577 1.1379 1.32623 0.11419
1.45 0.84477 0.633873 1.14396 1.33272 0.11782
1.46 0.84133 0.628245 1.15015 1.33917 0.12146
1.47 0.83788 0.622694 1.15646 1.34558 0.12511
1.48 0.83445 0.617216 1.1629 1.35195 0.12875
1.49 0.83101 0.611812 1.16947 1.35828 0.13240
1.50 0.82759 0.606478 1.17617 1.36458 0.13605
1.51 0.82416 0.601215 1.18299 1.37083 0.13970
1.52 0.82075 0.596021 1.18994 1.37705 0.14335
1.53 0.81734 0.590894 1.19702 1.38322 0.14699
1.54 0.81394 0.585833 1.20423 1.38936 0.15063
1.55 0.81054 0.580838 1.21157 1.39546 0.15427
1.56 0.80715 0.575906 1.21904 1.40152 0.15790
1.57 0.80376 0.571037 1.22664 1.40755 0.16153
1.58 0.80038 0.566229 1.23438 1.41353 0.16514
1.59 0.79701 0.561482 1.24224 1.41948 0.16875
1.60 0.79365 0.556794 1.25024 1.42539 0.17236
1.61 0.79030 0.552165 1.25836 1.43127 0.17595
1.62 0.78695 0.547593 1.26663 1.43710 0.17954
1.63 0.78361 0.543077 1.27502 1.44290 0.18311
1.64 0.78028 0.538617 1.28355 1.44866 0.18667
1.65 0.77695 0.534211 1.29222 1.45439 0.19023
1.66 0.77364 0.529858 1.30102 1.46008 0.19377
1.67 0.77033 0.525559 1.30996 1.46573 0.19730
1.68 0.76703 0.521310 1.31904 1.47135 0.20081
1.69 0.76374 0.517113 1.32825 1.47693 0.20431
1.70 0.76046 0.512966 1.33761 1.48247 0.20780
1.71 0.75718 0.508867 1.3471 1.48798 0.21128
1.72 0.75392 0.504817 1.35674 1.49345 0.21474
1.73 0.75067 0.500815 1.36651 1.49889 0.21819
1.74 0.74742 0.496859 1.37643 1.50429 0.22162
282 ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) (ต่อ)

1.75 0.74419 0.49295 1.38649 1.50966 0.22504


1.76 0.74096 0.489086 1.3967 1.51499 0.22844
1.77 0.73774 0.485266 1.40705 1.52029 0.23182
1.78 0.73454 0.48149 1.41755 1.52555 0.23520
1.79 0.73134 0.477757 1.42819 1.53078 0.23855
1.80 0.72816 0.474067 1.43898 1.53598 0.24189
1.81 0.72498 0.470418 1.44992 1.54114 0.24521
1.82 0.72181 0.466811 1.46101 1.54626 0.24851
1.83 0.71866 0.463244 1.47225 1.55136 0.25180
1.84 0.71551 0.459717 1.48365 1.55642 0.25507
1.85 0.71238 0.45623 1.49519 1.56145 0.25832
1.86 0.70925 0.452781 1.50689 1.56644 0.26156
1.87 0.70614 0.44937 1.51875 1.57140 0.26478
1.88 0.70304 0.445996 1.53076 1.57633 0.26798
1.89 0.69995 0.44266 1.54293 1.58123 0.27116
1.90 0.69686 0.43936 1.55526 1.58609 0.27433
1.91 0.69379 0.436096 1.56774 1.59092 0.27748
1.92 0.69074 0.432867 1.58039 1.59572 0.28061
1.93 0.68769 0.429673 1.5932 1.60049 0.28372
1.94 0.68465 0.426513 1.60617 1.60523 0.28681
1.95 0.68163 0.423387 1.61931 1.60993 0.28989
1.96 0.67861 0.420295 1.63261 1.61460 0.29295
1.97 0.67561 0.417235 1.64608 1.61925 0.29599
1.98 0.67262 0.414208 1.65972 1.62386 0.29901
1.99 0.66964 0.411212 1.67352 1.62844 0.30201
2.00 0.66667 0.408248 1.6875 1.63299 0.30500
2.01 0.66371 0.405315 1.70165 1.63751 0.30796
2.02 0.66076 0.402413 1.71597 1.64201 0.31091
2.03 0.65783 0.39954 1.73047 1.64647 0.31384
2.04 0.65491 0.396698 1.74514 1.65090 0.31676
2.05 0.65200 0.393884 1.75999 1.65530 0.31965
2.06 0.64910 0.3911 1.77502 1.65967 0.32253
2.07 0.64621 0.388344 1.79022 1.66402 0.32539
2.08 0.64334 0.385616 1.80561 1.66833 0.32823
2.09 0.64047 0.382916 1.82119 1.67262 0.33105
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล 283

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) (ต่อ)

2.10 0.63762 0.380243 1.83694 1.67687 0.33385


2.11 0.63478 0.377597 1.85289 1.68110 0.33664
2.12 0.63195 0.374978 1.86902 1.68530 0.33941
2.13 0.62914 0.372385 1.88533 1.68947 0.34216
2.14 0.62633 0.369818 1.90184 1.69362 0.34489
2.15 0.62354 0.367277 1.91854 1.69774 0.34760
2.16 0.62076 0.36476 1.93544 1.70183 0.35030
2.17 0.61799 0.362269 1.95252 1.70589 0.35298
2.18 0.61523 0.359802 1.96981 1.70992 0.35564
2.19 0.61249 0.357359 1.98729 1.71393 0.35828
2.20 0.60976 0.35494 2.00497 1.71791 0.36091
2.21 0.60704 0.352545 2.02286 1.72187 0.36352
2.22 0.60433 0.350173 2.04094 1.72579 0.36611
2.23 0.60163 0.347824 2.05923 1.72970 0.36869
2.24 0.59895 0.345498 2.07773 1.73357 0.37124
2.25 0.59627 0.343194 2.09644 1.73742 0.37378
2.26 0.59361 0.340913 2.11535 1.74125 0.37631
2.27 0.59096 0.338653 2.13447 1.74504 0.37881
2.28 0.58833 0.336415 2.15381 1.74882 0.38130
2.29 0.58570 0.334198 2.17336 1.75257 0.38377
2.30 0.58309 0.332002 2.19313 1.75629 0.38623
2.31 0.58049 0.329826 2.21312 1.75999 0.38867
2.32 0.57790 0.327672 2.23332 1.76366 0.39109
2.33 0.57532 0.325537 2.25375 1.76731 0.39350
2.34 0.57276 0.323423 2.2744 1.77093 0.39589
2.35 0.57021 0.321328 2.29528 1.77453 0.39826
2.36 0.56767 0.319253 2.31638 1.77811 0.40062
2.37 0.56514 0.317197 2.33771 1.78166 0.40296
2.38 0.56262 0.31516 2.35928 1.78519 0.40529
2.39 0.56011 0.313141 2.38107 1.78869 0.40760
2.40 0.55762 0.311142 2.4031 1.79218 0.40989
2.41 0.55514 0.30916 2.42537 1.79563 0.41217
2.42 0.55267 0.307197 2.44787 1.79907 0.41443
2.43 0.55021 0.305252 2.47061 1.80248 0.41668
2.44 0.54777 0.303324 2.4936 1.80587 0.41891
284 ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) (ต่อ)

2.45 0.54533 0.301414 2.51683 1.80924 0.42112


2.46 0.54291 0.299521 2.54031 1.81258 0.42332
2.47 0.54050 0.297646 2.56403 1.81591 0.42551
2.48 0.53810 0.295787 2.58801 1.81921 0.42768
2.49 0.53571 0.293944 2.61224 1.82249 0.42984
2.50 0.53333 0.292119 2.63672 1.82574 0.43198
2.51 0.53097 0.290309 2.66146 1.82898 0.43410
2.52 0.52862 0.288516 2.68645 1.83219 0.43621
2.53 0.52627 0.286738 2.71171 1.83538 0.43831
2.54 0.52394 0.284976 2.73723 1.83855 0.44039
2.55 0.52163 0.28323 2.76301 1.84170 0.44246
2.56 0.51932 0.281499 2.78906 1.84483 0.44451
2.57 0.51702 0.279783 2.81538 1.84794 0.44655
2.58 0.51474 0.278083 2.84197 1.85103 0.44858
2.59 0.51247 0.276397 2.86884 1.85410 0.45059
2.60 0.51020 0.274725 2.89598 1.85714 0.45259
2.61 0.50795 0.273068 2.92339 1.86017 0.45457
2.62 0.50572 0.271426 2.95109 1.86318 0.45654
2.63 0.50349 0.269798 2.97907 1.86616 0.45850
2.64 0.50127 0.268183 3.00733 1.86913 0.46044
2.65 0.49906 0.266583 3.03588 1.87208 0.46237
2.66 0.49687 0.264996 3.06472 1.87501 0.46429
2.67 0.49469 0.263423 3.09385 1.87792 0.46619
2.68 0.49251 0.261863 3.12327 1.88081 0.46808
2.69 0.49035 0.260317 3.15299 1.88368 0.46996
2.70 0.48820 0.258783 3.18301 1.88653 0.47182
2.71 0.48606 0.257263 3.21333 1.88936 0.47367
2.72 0.48393 0.255755 3.24395 1.89218 0.47551
2.73 0.48182 0.25426 3.27488 1.89497 0.47733
2.74 0.47971 0.252777 3.30611 1.89775 0.47915
2.75 0.47761 0.251307 3.33766 1.90051 0.48095
2.76 0.47553 0.249849 3.36952 1.90325 0.48274
2.77 0.47345 0.248404 3.40169 1.90598 0.48451
2.78 0.47139 0.24697 3.43418 1.90868 0.48627
2.79 0.46933 0.245548 3.46699 1.91137 0.48803
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล 285

ตารางที่ ก.5 การไหลแฟนโน (Fanno flow) ส้าหรับก๊าซอุดมคติ (k = 1.4) (ต่อ)

2.80 0.46729 0.244138 3.50012 1.91404 0.48977


2.81 0.46526 0.242739 3.53358 1.91669 0.49149
2.82 0.46324 0.241352 3.56737 1.91933 0.49321
2.83 0.46122 0.239977 3.60148 1.92195 0.49491
2.84 0.45922 0.238612 3.63593 1.92455 0.49660
2.85 0.45723 0.237259 3.67072 1.92714 0.49828
2.86 0.45525 0.235917 3.70584 1.92970 0.49995
2.87 0.45328 0.234585 3.74131 1.93225 0.50161
2.88 0.45132 0.233265 3.77711 1.93479 0.50326
2.89 0.44937 0.231955 3.81327 1.93731 0.50489
2.90 0.44743 0.230655 3.84977 1.93981 0.50652
2.91 0.44550 0.229366 3.88662 1.94230 0.50813
2.92 0.44358 0.228088 3.92383 1.94477 0.50973
2.93 0.44167 0.226819 3.96139 1.94722 0.51132
2.94 0.43977 0.225561 3.99932 1.94966 0.51290
2.95 0.43788 0.224313 4.0376 1.95208 0.51447
2.96 0.43600 0.223074 4.07625 1.95449 0.51603
2.97 0.43413 0.221846 4.11527 1.95688 0.51758
2.98 0.43226 0.220627 4.15466 1.95925 0.51912
2.99 0.43041 0.219418 4.19443 1.96162 0.52064
3.00 0.42857 0.218218 4.23457 1.96396 0.52216
3.50 0.34783 0.168505 6.78962 2.06419 0.58643
4.00 0.28571 0.133631 10.7187 2.13809 0.63307
4.50 0.23762 0.108326 16.5622 2.19360 0.66764
5.00 0.20000 0.0894427 25.0000 2.23607 0.69380
6.00 0.14634 0.0637577 53.1798 2.29528 0.72988
7.00 0.11111 0.047619 104.143 2.33333 0.75280
8.00 0.08696 0.0368605 190.109 2.35907 0.76819
9.00 0.06977 0.0293484 327.189 2.37722 0.77899
10.0 0.05714 0.0239046 535.937 2.39046 0.78683
 0 0  2.4495 0.82153
ที่มา: William. (1993).
286 ภาคผนวก ก ตารางคุณสมบัติของของไหล กลศาสตร์ของไหล
ภาคผนวก ข
ตารางขนาดท่อ
288 ภาคผนวก ข ตารางขนาดท่อ กลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ข ตารางขนาดท่อ 289

ตารางที่ ข.1 ขนาดท่อเหล็กกล้า และท่อเหล็กเหนียว

ขนาดท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางนอก เบอร์ท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางใน พื้นที่การไหล


(cm) (cm) (cm2)
1.029 40 (STD) 0.683 0.3664
80 (XS) 0.547 0.2350
1.372 40 (STD) 0.924 0.6706
80 (XS) 0.768 0.4632
1.714 40 (STD) 1.252 1.233
80 (XS) 1.074 0.9059
40 (STD) 1.580 1.961
2.134 80 (XS) 1.386 1.508
160 1.178 1.090
(XXS) 0.640 0.322
40 (STD) 2.093 3.441
2.667 80 (XS) 1.883 2.785
160 1.555 1.898
(XXS) 1.103 0.956
40 (STD) 2.664 5.574
1 3.340 80 (XS) 2.430 5.083
160 2.070 3.365
(XXS) 1.522 1.815
40 (STD) 3.504 9.643
4.216 80 (XS) 3.246 8.275
160 2.946 6.816
(XXS) 2.276 4.069
40 (STD) 4.090 13.13
4.826 80 (XS) 3.810 11.40
160 3.398 9.068
(XXS) 2.794 6.131
หมายเหตุ STD หมายถึง มาตรฐาน
XS หมายถึง แข็งแรงพิเศษ
XXS หมายถึง แข็งแรงพิเศษสองเท่า
290 ภาคผนวก ข ตารางขนาดท่อ กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ข.1 ขนาดท่อเหล็กกล้า และท่อเหล็กเหนียว (ต่อ)

ขนาดท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางนอก เบอร์ท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางใน พื้นที่การไหล


(cm) (cm) (cm2)
40 (STD) 5.252 21.66
2 6.034 80 (XS) 4.926 19.06
160 4.286 14.43
(XXS) 3.820 11.46
40 (STD) 6.271 30.89
7.303 80 (XS) 5.901 27.35
160 5.397 22.88
(XXS) 4.499 15.90
40 (STD) 7.792 47.69
3 8.890 80 (XS) 7.366 42.61
160 6.664 34.88
(XXS) 5.842 26.80
10.16 40 (STD) 9.012 63.79
80 (XS) 8.544 57.33
40 (STD) 10.23 82.19
80 (XS) 9.718 74.17
4 11.43 120 9.204 66.54
160 8.732 59.88
(XXS) 8.006 50.34
40 (STD) 12.82 129.10
80 (XS) 12.22 117.30
5 14.13 120 11.59 105.50
160 10.95 94.17
(XXS) 10.32 83.65
หมายเหตุ STD หมายถึง มาตรฐาน
XS หมายถึง แข็งแรงพิเศษ
XXS หมายถึง แข็งแรงพิเศษสองเท่า
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ข ตารางขนาดท่อ 291

ตารางที่ ข.1 ขนาดท่อเหล็กกล้า และท่อเหล็กเหนียว (ต่อ)

ขนาดท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางนอก เบอร์ท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางใน พื้นที่การไหล


(cm) (cm) (cm2)
40 (STD) 15.41 186.50
80 (XS) 14.64 168.30
6 16.83 120 13.98 153.50
160 13.18 136.40
(XXS) 12.44 121.50
20 20.64 334.60
30 20.50 330.10
40 (STD) 20.27 322.70
60 19.85 309.50
8 21.91 80 (XS) 19.37 294.70
100 18.89 280.30
120 18.26 261.90
140 17.79 248.60
(XXS) 17.46 239.40
160 17.31 235.30
20 26.04 532.60
30 25.75 520.80
40 (STD) 25.46 509.10
60 (XS) 24.77 481.90
10 27.31 80 24.29 463.40
100 23.66 439.70
120 23.02 416.20
140 (XXS) 22.23 388.10
160 21.59 366.10
หมายเหตุ STD หมายถึง มาตรฐาน
XS หมายถึง แข็งแรงพิเศษ
XXS หมายถึง แข็งแรงพิเศษสองเท่า
292 ภาคผนวก ข ตารางขนาดท่อ กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ข.1 ขนาดท่อเหล็กกล้า และท่อเหล็กเหนียว (ต่อ)

ขนาดท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางนอก เบอร์ท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางใน พื้นที่การไหล


(cm) (cm) (cm2)
20 31.12 760.60
30 30.71 740.71
(STD) 30.48 729.70
40 30.33 722.50
12 32.39 (XS) 29.85 699.80
60 29.53 684.90
80 28.89 655.50
100 28.10 620.20
120 (XXS) 27.31 585.80
140 26.67 558.60
160 25.72 519.60
14 35.56 30 (STD) 33.65 889.30
160 28.42 634.40
16 40.64 30 (STD) 38.73 1178.00
160 32.54 831.60
18 45.72 (STD) 43.81 1507.00
160 36.67 1056.00
20 50.80 20 (STD) 48.89 1877.00
160 40.80 1307.00
22 55.88 20 (STD) 53.97 2288.00
160 45.08 1596.00
24 60.96 20 (STD) 59.05 2739.00
160 49.05 1890.00
26 66.04 (STD) 64.13 3230.00
28 71.12 (STD) 69.21 3762.00
หมายเหตุ STD หมายถึง มาตรฐาน
XS หมายถึง แข็งแรงพิเศษ
XXS หมายถึง แข็งแรงพิเศษสองเท่า
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ข ตารางขนาดท่อ 293

ตารางที่ ข.1 ขนาดท่อเหล็กกล้า และท่อเหล็กเหนียว (ต่อ)

ขนาดท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางนอก เบอร์ท่อ เส้นผ่านศูนย์กลางใน พื้นที่การไหล


(cm) (cm) (cm2)
30 76.20 (STD) 74.29 4335.00
32 81.28 (STD) 79.34 4944.00
34 86.36 (STD) 84.45 5601.00
36 91.44 (STD) 89.53 6295.00
38 96.52 - 94.61 7030.00
40 101.6 - 99.69 7805.00
หมายเหตุ STD หมายถึง มาตรฐาน
XS หมายถึง แข็งแรงพิเศษ
XXS หมายถึง แข็งแรงพิเศษสองเท่า
ที่มา: William. (1993).
294 ภาคผนวก ข ตารางขนาดท่อ กลศาสตร์ของไหล
ภาคผนวก ค
ตารางคุณสมบัติของนา้ อิ่มตัว และไอดง
296 ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติน้าอิ่มตัว และไอดง กลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัตินา้ อิ่มตัว และไอดง 297

ตารางที่ ค.1 คุณสมบัติน้าอิ่มตัว (ตารางอุณหภูมิ)

ปริมาตรจ้าเพาะ พลังงานภายใน เอนทาลปีจ้าเพาะ เอนโทรปีจ้าเพาะ


ความดั น m3/kg จ้าเพาะ kJ/kg kJ/kg kJ/(kgK)
อุณหภูมิ อิ่มตัว
(T) (Psat) ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ
°C อิ ม
่ ตั ว อิ ม
่ ตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว
kPa
(vf) (vg) (uf) (ug) (hf) (hg) (sf) (sg)
0.01 0.6117 0.001000 206.000 0.000 2374.9 0.001 2500.9 0.0000 9.1556
5 0.8725 0.001000 147.030 21.019 2381.8 21.020 2510.1 0.0763 9.0249
10 1.2281 0.001000 106.320 42.020 2388.7 42.022 2519.2 0.1511 8.8999
15 1.7057 0.001001 77.885 62.980 2395.5 62.982 2528.3 0.2245 8.7803
20 2.3392 0.001002 57.762 83.913 2402.3 83.915 2537.4 0.2965 8.6661
25 3.1698 0.001003 43.340 104.83 2409.1 104.83 2546.5 0.3672 8.5567
30 4.2469 0.001004 32.879 125.73 2415.9 125.74 2555.6 0.4368 8.4520
35 5.6291 0.001006 25.205 146.63 2422.7 146.64 2564.6 0.5051 8.3517
40 7.3851 0.001008 19.515 167.53 2429.4 167.53 2573.5 0.5724 8.2556
45 9.5953 0.001010 15.251 188.43 2436.1 188.44 2582.4 0.6386 8.1633
50 12.352 0.001012 12.0260 209.33 2442.7 209.34 2591.3 0.7038 8.0748
55 15.763 0.001015 9.5639 230.24 2449.3 230.26 2600.1 0.7680 7.9898
60 19.947 0.001017 7.6670 251.16 2455.9 251.18 2608.8 0.8313 7.9082
65 25.043 0.001020 6.1935 272.09 2462.4 272.12 2617.5 0.8937 7.8296
70 31.202 0.001023 5.0396 293.04 2468.9 293.07 2626.1 0.9551 7.7540
75 38.597 0.001026 4.1291 313.99 2475.3 314.03 2634.6 1.0158 7.6812
80 47.416 0.001029 3.4053 334.97 2481.6 335.02 2643.0 1.0756 7.6111
85 57.868 0.001032 2.8261 355.96 2487.8 356.02 2651.4 1.1346 7.5435
90 70.183 0.001036 2.3593 376.97 2494.0 377.04 2659.6 1.1929 7.4782
95 84.609 0.001040 1.9808 398.00 2500.1 398.09 2667.6 1.2504 7.4151
100 101.42 0.001043 1.672000 419.06 2506.0 419.17 2675.6 1.3072 7.3542
105 120.90 0.001047 1.418600 440.15 2511.9 440.28 2683.4 1.3634 7.2952
110 143.38 0.001052 1.209400 461.27 2517.7 461.42 2691.1 1.4188 7.2382
115 169.18 0.001056 1.036000 482.42 2523.3 482.59 2698.6 1.4737 7.1829
120 198.67 0.001060 0.891330 503.60 2528.9 503.81 2706.0 1.5279 7.1292
298 ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติน้าอิ่มตัว และไอดง กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ค.1 คุณสมบัติน้าอิ่มตัว (ตารางอุณหภูมิ) (ต่อ)

ปริมาตรจ้าเพาะ พลังงานภายใน เอนทาลปีจ้าเพาะ เอนโทรปีจ้าเพาะ


ความดั น m3/kg จ้าเพาะ kJ/kg kJ/kg kJ/(kgK)
อุณหภูมิ อิ่มตัว
(T) (Psat) ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ
°C อิ ม
่ ตั ว อิ ม
่ ตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว
kPa
(vf) (vg) (uf) (ug) (hf) (hg) (sf) (sg)
125 232.23 0.001065 0.770120 524.83 2534.3 525.07 2713.1 1.5816 7.0771
130 270.28 0.001070 0.668080 546.10 2539.5 546.38 2720.1 1.6346 7.0265
135 313.22 0.001075 0.581790 567.41 2544.7 567.75 2726.9 1.6872 6.9773
140 361.53 0.001080 0.508500 588.77 2549.6 589.16 2733.5 1.7392 6.9294
145 415.68 0.001085 0.446000 610.19 2554.4 610.64 2739.8 1.7908 6.8827
150 476.16 0.001091 0.392480 631.66 2559.1 632.18 2745.9 1.8418 6.8371
155 543.49 0.001096 0.346480 653.19 2563.5 653.79 2751.8 1.8924 6.7927
160 618.23 0.001102 0.306800 674.79 2567.8 675.47 2757.5 1.9426 6.7492
165 700.93 0.001108 0.272440 696.46 2571.9 697.24 2762.8 1.9923 6.7067
170 792.18 0.001114 0.242600 718.20 2575.7 719.08 2767.9 2.0417 6.6650
175 892.6 0.001121 0.216590 740.02 2579.4 741.02 2772.7 2.0906 6.6242
180 1002.8 0.001127 0.193840 761.92 2582.8 763.05 2777.2 2.1392 6.5841
185 1123.5 0.001134 0.173900 783.91 2586.0 785.19 2781.4 2.1875 6.5447
190 1255.2 0.001141 0.156360 806.00 2589.0 807.43 2785.3 2.2355 6.5059
195 1398.8 0.001149 0.140890 828.18 2591.7 829.78 2788.8 2.2831 6.4678
200 1554.9 0.001157 0.127210 850.46 2594.2 852.26 2792.0 2.3305 6.4302
205 1724.3 0.001164 0.115080 872.86 2596.4 874.87 2794.8 2.3776 6.3930
210 1907.7 0.001173 0.104290 895.38 2598.3 897.61 2797.3 2.4245 6.3563
215 2105.9 0.001181 0.094680 918.02 2599.9 920.50 2799.3 2.4712 6.3200
220 2319.6 0.001190 0.086094 940.79 2601.3 943.55 2801.0 2.5176 6.2840
225 2549.7 0.001199 0.078405 963.70 2602.3 966.76 2802.2 2.5639 6.2483
230 2797.1 0.001209 0.071505 986.76 2602.9 990.14 2802.9 2.6100 6.2128
235 3062.6 0.001219 0.065300 1010.00 2603.2 1013.70 2803.2 2.6560 6.1775
240 3347.0 0.001229 0.059707 1033.40 2603.1 1037.50 2803.0 2.7018 6.1424
245 3651.2 0.001240 0.054656 1056.90 2602.7 1061.50 2802.2 2.7476 6.1072
250 3976.2 0.001252 0.050085 1080.70 2601.8 1085.70 2801.0 2.7933 6.0721
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัตินา้ อิ่มตัว และไอดง 299

ตารางที่ ค.1 คุณสมบัติน้าอิ่มตัว (ตารางอุณหภูมิ) (ต่อ)

ปริมาตรจ้าเพาะ พลังงานภายใน เอนทาลปีจ้าเพาะ เอนโทรปีจ้าเพาะ


ความดั น m3/kg จ้าเพาะ kJ/kg kJ/kg kJ/(kgK)
อุณหภูมิ อิ่มตัว
(T) (Psat) ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ
°C อิ ม
่ ตั ว อิ ม
่ ตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว
kPa
(vf) (vg) (uf) (ug) (hf) (hg) (sf) (sg)
255 4322.9 0.001263 0.045941 1104.70 2600.5 1110.10 2799.1 2.8390 6.0369
260 4692.3 0.001276 0.042175 1128.80 2598.7 1134.80 2796.6 2.8847 6.0017
265 5085.3 0.001289 0.038748 1153.30 2596.5 1159.80 2793.5 2.9304 5.9662
270 5503.0 0.001303 0.035622 1177.90 2593.7 1185.10 2789.7 2.9762 5.9305
275 5946.4 0.001317 0.032767 1202.90 2590.3 1210.70 2785.2 3.0221 5.8944
280 6416.6 0.001333 0.030153 1228.20 2586.4 1236.70 2779.9 3.0681 5.8579
285 6914.6 0.001349 0.027756 1253.70 2581.8 1263.10 2773.7 3.1144 5.8210
290 7441.8 0.001366 0.025554 1279.70 2576.5 1289.80 2766.7 3.1608 5.7834
295 7999.0 0.001384 0.023528 1306.00 2570.5 1317.10 2758.7 3.2076 5.7450
300 8587.9 0.001404 0.021659 1332.70 2563.6 1344.80 2749.6 3.2548 5.7059
305 9209.4 0.001425 0.019932 1360.00 2555.8 1373.10 2739.4 3.3024 5.6657
310 9865.0 0.001447 0.018333 1387.70 2547.1 1402.00 2727.9 3.3506 5.6243
315 10556.0 0.001472 0.016849 1416.10 2537.2 1431.60 2715.0 3.3994 5.5816
320 11284.0 0.001499 0.015470 1445.10 2526.0 1462.00 2700.6 3.4491 5.5372
325 12051.0 0.001528 0.014183 1475.00 2513.4 1493.40 2684.3 3.4998 5.4908
330 12,858 0.001560 0.012979 1505.70 2499.2 1525.80 2666.0 3.5516 5.4422
335 13,707 0.001597 0.011848 1537.50 2483.0 1559.40 2645.4 3.6050 5.3907
340 14,601 0.001638 0.010783 1570.70 2464.5 1594.60 2622.0 3.6602 5.3358
345 15,541 0.001685 0.009772 1605.50 2443.2 1631.70 2595.1 3.7179 5.2765
350 16,529 0.001741 0.008806 1642.40 2418.3 1671.20 2563.9 3.7788 5.2114
355 17,570 0.001808 0.007872 1682.20 2388.6 1714.00 2526.9 3.8442 5.1384
360 18,666 0.001895 0.006950 1726.20 2351.9 1761.50 2481.6 3.9165 5.0537
365 19,822 0.002015 0.006009 1777.20 2303.6 1817.20 2422.7 4.0004 4.9493
370 21,044 0.002217 0.004953 1844.50 2230.1 1891.20 2334.3 4.1119 4.8009
373.95 22,064 0.003106 0.003106 2015.70 2015.7 2084.30 2084.3 4.4070 4.4070
ที่มา : Gordon et al. (1994).
300 ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติน้าอิ่มตัว และไอดง กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ค.2 คุณสมบัติน้าอิ่มตัว (ตารางความดัน)

ปริมาตรจ้าเพาะ พลังงานภายใน เอนทาลปีจ้าเพาะ เอนโทรปีจ้าเพาะ


อุ ณ หภู ม ิ m3/kg จ้าเพาะ kJ/kg kJ/kg kJ/(kgK)
ความดัน อิ่มตัว
(P) (T) ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ
kPa อิ ม
่ ตั ว อิ ม
่ ตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว
°C
(vf) (vg) (uf) (ug) (hf) (hg) (sf) (sg)
1.0 6.97 0.001000 129.190 29.302 2384.5 29.303 2513.7 0.1059 8.9749
1.5 13.02 0.001001 87.964 54.686 2392.8 54.688 2524.7 0.1956 8.8270
2.0 17.50 0.001001 66.990 73.431 2398.9 73.433 2532.9 0.2606 8.7227
2.5 21.08 0.001002 54.242 88.422 2403.8 88.424 2539.4 0.3118 8.6421
3.0 24.08 0.001003 45.654 100.980 2407.9 100.980 2544.8 0.3543 8.5765
4.0 28.96 0.001004 34.791 121.390 2414.5 121.390 2553.7 0.4224 8.4734
5.0 32.87 0.001005 28.185 137.750 2419.8 137.750 2560.7 0.4762 8.3938
7.5 40.29 0.001008 19.233 168.740 2429.8 168.750 2574.0 0.5763 8.2501
10 45.81 0.001010 14.670 191.790 2437.2 191.810 2583.9 0.6492 8.1488
15 53.97 0.001014 10.020 225.93 2448.0 225.94 2598.3 0.7549 8.0071
20 60.06 0.001017 7.6481 251.40 2456.0 251.42 2608.9 0.8320 7.9073
25 64.96 0.001020 6.2034 271.93 2462.4 271.96 2617.5 0.8932 7.8302
30 69.09 0.001022 5.2287 289.24 2467.7 289.27 2624.6 0.9441 7.7675
40 75.86 0.001026 3.9933 317.58 2476.3 317.62 2636.1 1.0261 7.6691
50 81.32 0.001030 3.2403 340.49 2483.2 340.54 2645.2 1.0912 7.5931
75 91.76 0.001037 2.2172 384.36 2496.1 384.44 2662.4 1.2132 7.4558
100 99.61 0.001043 1.6941 417.40 2505.6 417.51 2675.0 1.3028 7.3589
101.325 99.97 0.001043 1.6734 418.95 2506.0 419.06 2675.6 1.3069 7.3545
125 105.97 0.001048 1.3750 444.23 2513.0 444.36 2684.9 1.3741 7.2841
150 111.35 0.001053 1.1594 466.97 2519.2 467.13 2693.1 1.4337 7.2231
175 116.04 0.001057 1.0037 486.82 2524.5 487.01 2700.2 1.4850 7.1716
200 120.21 0.001061 0.885780 504.50 2529.1 504.71 2706.3 1.5302 7.1270
225 123.97 0.001064 0.793290 520.47 2533.2 520.71 2711.7 1.5706 7.0877
250 127.41 0.001067 0.718730 535.08 2536.8 535.35 2716.5 1.6072 7.0525
275 130.58 0.001070 0.657320 548.57 2540.1 548.86 2720.9 1.6408 7.0207
300 133.52 0.001073 0.605820 561.11 2543.2 561.43 2724.9 1.6717 6.9917
325 136.27 0.001076 0.561990 572.84 2545.9 573.19 2728.6 1.7005 6.9650
350 138.86 0.001079 0.524220 583.89 2548.5 584.26 2732.0 1.7274 6.9402
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัตินา้ อิ่มตัว และไอดง 301

ตารางที่ ค.2 คุณสมบัติน้าอิ่มตัว (ตารางความดัน) (ต่อ)

ปริมาตรจ้าเพาะ พลังงานภายใน เอนทาลปีจ้าเพาะ เอนโทรปีจ้าเพาะ


อุ ณ หภู ม ิ m3/kg จ้าเพาะ kJ/kg kJ/kg kJ/(kgK)
ความดัน อิ่มตัว
(P) (T) ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ
kPa อิ ม
่ ตั ว อิ ม
่ ตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว
°C
(vf) (vg) (uf) (ug) (hf) (hg) (sf) (sg)
375 141.30 0.001081 0.491330 594.32 2550.9 594.73 2735.1 1.7526 6.9171
400 143.61 0.001084 0.462420 604.22 2553.1 604.66 2738.1 1.7765 6.8955
450 147.90 0.001088 0.413920 622.65 2557.1 623.14 2743.4 1.8205 6.8561
500 151.83 0.001093 0.374830 639.54 2560.7 640.09 2748.1 1.8604 6.8207
550 155.46 0.001097 0.342610 655.16 2563.9 655.77 2752.4 1.8970 6.7886
600 158.83 0.001101 0.315600 669.72 2566.8 670.38 2756.2 1.9308 6.7593
650 161.98 0.001104 0.292600 683.37 2569.4 684.08 2759.6 1.9623 6.7322
700 164.95 0.001108 0.272780 696.23 2571.8 697.00 2762.8 1.9918 6.7071
750 167.75 0.001111 0.255520 708.40 2574.0 709.24 2765.7 2.0195 6.6837
800 170.41 0.001115 0.240350 719.97 2576.0 720.87 2768.3 2.0457 6.6616
850 172.94 0.001118 0.226900 731.00 2577.9 731.95 2770.8 2.0705 6.6409
900 175.35 0.001121 0.214890 741.55 2579.6 742.56 2773.0 2.0941 6.6213
950 177.66 0.001124 0.204110 751.67 2581.3 752.74 2775.2 2.1166 6.6027
1000 179.88 0.001127 0.194360 761.39 2582.8 762.51 2777.1 2.1381 6.5850
1100 184.06 0.001133 0.177450 779.78 2585.5 781.03 2780.7 2.1785 6.5520
1200 187.96 0.001138 0.163260 796.96 2587.8 798.33 2783.8 2.2159 6.5217
1300 191.60 0.001144 0.151190 813.10 2589.9 814.59 2786.5 2.2508 6.4936
1400 195.04 0.001149 0.140780 828.35 2591.8 829.96 2788.9 2.2835 6.4675
1500 198.29 0.001154 0.131710 842.82 2593.4 844.55 2791.0 2.3143 6.4430
1750 205.72 0.001166 0.113440 876.12 2596.7 878.16 2795.2 2.3844 6.3877
2000 212.38 0.001177 0.099587 906.12 2599.1 908.47 2798.3 2.4467 6.3390
2250 218.41 0.001187 0.088717 933.54 2600.9 936.21 2800.5 2.5029 6.2954
2500 223.95 0.001197 0.079952 958.87 2602.1 961.87 2801.9 2.5542 6.2558
3000 233.85 0.001217 0.066667 1004.60 2603.2 1008.30 2803.2 2.6454 6.1856
3500 242.56 0.001235 0.057061 1045.4 2603.0 1049.7 2802.7 2.7253 6.1244
4000 250.35 0.001252 0.049779 1082.4 2601.7 1087.4 2800.8 2.7966 6.0696
5000 263.94 0.001286 0.039448 1148.1 2597.0 1154.5 2794.2 2.9207 5.9737
6000 275.59 0.001319 0.032449 1205.8 2589.9 1213.8 2784.6 3.0275 5.8902
302 ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติน้าอิ่มตัว และไอดง กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ค.2 คุณสมบัติน้าอิ่มตัว (ตารางความดัน) (ต่อ)

ปริมาตรจ้าเพาะ พลังงานภายใน เอนทาลปีจ้าเพาะ เอนโทรปีจ้าเพาะ


อุ ณ หภู ม ิ m3/kg จ้าเพาะ kJ/kg kJ/kg kJ/(kgK)
ความดัน อิ่มตัว
(P) (T) ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ ของเหลว ไอ
kPa อิ ม
่ ตั ว อิ ม
่ ตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว อิ่มตัว
°C
(vf) (vg) (uf) (ug) (hf) (hg) (sf) (sg)
7000 285.83 0.001352 0.027378 1258.0 2581.0 1267.5 2772.6 3.1220 5.8148
8000 295.01 0.001384 0.023525 1306.0 2570.5 1317.1 2758.7 3.2077 5.7450
9000 303.35 0.001418 0.020489 1350.9 2558.5 1363.7 2742.9 3.2866 5.6791
10,000 311.00 0.001452 0.018028 1393.3 2545.2 1407.8 2725.5 3.3603 5.6159
11,000 318.08 0.001488 0.015988 1433.9 2530.4 1450.2 2706.3 3.4299 5.5544
12,000 324.68 0.001526 0.014264 1473.0 2514.3 1491.3 2685.4 3.4964 5.4939
13,000 330.85 0.001566 0.012781 1511.0 2496.6 1531.4 2662.7 3.5606 5.4336
14,000 336.67 0.001610 0.011487 1548.4 2477.1 1571.0 2637.9 3.6232 5.3728
15,000 342.16 0.001657 0.010341 1585.5 2455.7 1610.3 2610.8 3.6848 5.3108
16,000 347.36 0.001710 0.009312 1622.6 2432.0 1649.9 2581.0 3.7461 5.2466
17,000 352.29 0.001770 0.008374 1660.2 2405.4 1690.3 2547.7 3.8082 5.1791
18,000 356.99 0.001840 0.007504 1699.1 2375.0 1732.2 2510.0 3.8720 5.1064
19,000 361.47 0.001926 0.006677 1740.3 2339.2 1776.8 2466.0 3.9396 5.0256
20,000 365.75 0.002038 0.005862 1785.8 2294.8 1826.6 2412.1 4.0146 4.9310
21,000 369.83 0.002207 0.004994 1841.6 2233.5 1888.0 2338.4 4.1071 4.8076
22,000 373.71 0.002703 0.003644 1951.7 2092.4 2011.1 2172.6 4.2942 4.5439
22,064 373.95 0.003106 0.003106 2015.7 2015.7 2084.3 2084.3 4.4070 4.4070
ที่มา : Gordon et al. (1994).
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัตินา้ อิ่มตัว และไอดง 303

ตารางที่ ค.3 คุณสมบัติน้าไอดง


T v u h s v u h s v u h s
3 3 3
°C m /kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m /kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m /kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K
P=0.01MPa (45.81°C) P=0.05MPa (81.32°C) P=0.10MPa (99.61°C)
Sat. 14.670 2437.2 2583.9 8.1488 3.2403 2483.2 2645.2 7.5931 1.6941 2505.6 2675.0 7.3589
50 14.867 2443.3 2592.0 8.1741
100 17.196 2515.5 2687.5 8.4489 3.4187 2511.5 2682.4 7.6953 1.6959 2506.2 2675.8 7.3611
150 19.513 2587.9 2783.0 8.6893 3.8897 2585.7 2780.2 7.9413 1.9367 2582.9 2776.6 7.6148
200 21.826 2661.4 2879.6 8.9049 4.3562 2660.0 2877.8 8.1592 2.1724 2658.2 2875.5 7.8356
250 24.136 2736.1 2977.5 9.1015 4.8206 2735.1 2976.2 8.3568 2.4062 2733.9 2974.5 8.0346
300 26.446 2812.3 3076.7 9.2827 5.2841 2811.6 3075.8 8.5387 2.6389 2810.7 3074.5 8.2172
400 31.063 2969.3 3280.0 9.6094 6.2094 2968.9 3279.3 8.8659 3.1027 2968.3 3278.6 8.5452
500 35.680 3132.9 3489.7 9.8998 7.1338 3132.6 3489.3 9.1566 3.5655 3132.2 3488.7 8.8362
600 40.296 3303.3 3706.3 10.1631 8.0577 3303.1 3706.0 9.4201 4.0279 3302.8 3705.6 9.0999
700 44.911 3480.8 3929.9 10.4056 8.9813 3480.6 3929.7 9.6626 4.4900 3480.4 3929.4 9.3424
800 49.527 3665.4 4160.6 10.6312 9.9047 3665.2 4160.4 9.8883 4.9519 3665.0 4160.2 9.5682
900 54.143 3856.9 4398.3 10.8429 10.8280 3856.8 4398.2 10.1000 5.4137 3856.7 4398.0 9.7800
1000 58.758 4055.3 4642.8 11.0429 11.7513 4055.2 4642.7 10.3000 5.8755 4055.0 4642.6 9.9800
1100 63.373 4260.0 4893.8 11.2326 12.6745 4259.9 4893.7 10.4897 6.3372 4259.8 4893.6 10.1698
1200 67.989 4470.9 5150.8 11.4132 13.5977 4470.8 5150.7 10.6704 6.7988 4470.7 5150.6 10.3504
1300 72.604 4687.4 5413.4 11.5857 14.5209 4687.3 5413.3 10.8429 7.2605 4687.2 5413.3 10.5229
P=0.20MPa (120.21°C) P=0.30MPa (133.52°C) P=0.40MPa (143.61°C)
Sat. 0.885780 2529.1 2706.3 7.1270 0.605820 2543.2 2724.9 6.9917 0.462420 2553.1 2738.1 6.8955
150 0.959860 2577.1 2769.1 7.2810 0.634020 2571.0 2761.2 7.0792 0.470880 2564.4 2752.8 6.9306
200 1.080490 2654.6 2870.7 7.5081 0.716430 2651.0 2865.9 7.3132 0.534340 2647.2 2860.9 7.1723
250 1.198900 2731.4 2971.2 7.7100 0.796450 2728.9 2967.9 7.5180 0.595200 2726.4 2964.5 7.3804
300 1.316230 2808.8 3072.1 7.8941 0.875350 2807.0 3069.6 7.7037 0.654890 2805.1 3067.1 7.5677
400 1.549340 2967.2 3277.0 8.2236 1.031550 2966.0 3275.5 8.0347 0.772650 2964.9 3273.9 7.9003
500 1.781420 3131.4 3487.7 8.5153 1.186720 3130.6 3486.6 8.3271 0.889360 3129.8 3485.5 8.1933
600 2.013020 3302.2 3704.8 8.7793 1.341390 3301.6 3704.0 8.5915 1.005580 3301.0 3703.3 8.4580
700 2.244340 3479.9 3928.8 9.0221 1.495800 3479.5 3928.2 8.8345 1.121520 3479.0 3927.6 8.7012
800 2.475500 3664.7 4159.8 9.2479 1.650040 3664.3 4159.3 9.0605 1.237300 3663.9 4158.9 8.9274
900 2.706560 3856.3 4397.7 9.4598 1.804170 3856.0 4397.3 9.2725 1.352980 3855.7 4396.9 9.1394
1000 2.937550 4054.8 4642.3 9.6599 1.958240 4054.5 4642.0 9.4726 1.468590 4054.3 4641.7 9.3396
1100 3.168480 4259.6 4893.3 9.8497 2.112260 4259.4 4893.1 9.6624 1.584140 4259.2 4892.9 9.5295
1200 3.399380 4470.5 5150.4 10.0304 2.266240 4470.3 5150.2 9.8431 1.699660 4470.2 5150.0 9.7102
1300 3.630260 4687.1 5413.1 10.2029 2.420190 4686.9 5413.0 10.0157 1.815160 4686.7 5412.8 9.8828
304 ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติน้าอิ่มตัว และไอดง กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ค.3 คุณสมบัติน้าไอดง (ต่อ)

T v u h s v u h s v u h s
°C m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K
P=0.50MPa (151.83°C) P=0.60MPa (158.83°C) P=0.80MPa (170.41°C)
Sat. 0.374830 2560.7 2748.1 6.8207 0.315600 2566.8 2756.2 6.7593 0.240350 2576.0 2768.3 6.6616
200 0.425030 2643.3 2855.8 7.0610 0.352120 2639.4 2850.1 6.9683 0.260880 2631.1 2839.8 6.8177
250 0.474430 2723.8 2961.0 7.2725 0.393900 2721.2 2957.6 7.1833 0.293210 2715.9 2950.4 7.0402
300 0.522610 2803.3 3064.6 7.4614 0.434420 2801.4 3062.0 7.3740 0.324160 2797.5 3056.9 7.2345
350 0.570150 2883.0 3168.1 7.6346 0.474280 2881.6 3166.1 7.5481 0.354420 2878.6 3162.2 7.4107
400 0.617310 2963.7 3272.4 7.7956 0.513740 2962.5 3270.8 7.7097 0.384290 2960.2 3267.7 7.5735
500 0.710950 3129.0 3484.5 8.0893 0.592000 3128.2 3483.4 8.0041 0.443320 3126.6 3481.3 7.8692
600 0.804090 3300.4 3702.5 8.3544 0.669760 3299.8 3701.7 8.2695 0.501860 3298.7 3700.1 8.1354
700 0.896960 3478.6 3927.0 8.5978 0.747250 3478.1 3926.4 8.5132 0.560110 3477.2 3925.3 8.3794
800 0.989660 3663.6 4158.4 8.8240 0.824570 3663.2 4157.9 8.7395 0.618200 3662.5 4157.0 8.6061
900 1.082270 3855.4 4396.6 9.0362 0.901790 3855.1 4396.2 8.9518 0.676190 3854.5 4395.5 8.8185
1000 1.174800 4054.0 4641.4 9.2364 0.978930 4053.8 4641.1 9.1521 0.734110 4053.3 4640.5 9.0189
1100 1.267280 4259.0 4892.6 9.4263 1.056030 4258.8 4892.4 9.3420 0.791970 4258.3 4891.9 9.2090
1200 1.359720 4470.0 5149.8 9.6071 1.133090 4469.8 5149.6 9.5229 0.849800 4469.4 5149.3 9.3898
1300 1.452140 4686.6 5412.6 9.7797 1.210120 4686.4 5412.5 9.6955 0.907610 4686.1 5412.2 9.5625
P=1.00MPa (179.88°C) P=1.20MPa (187.96°C) P=1.40MPa (195.04°C)
Sat. 0.194370 2582.8 2777.1 6.5850 0.163260 2587.8 2783.8 6.5217 0.140780 2591.8 2788.9 6.4675
200 0.206020 2622.3 2828.3 6.6956 0.169340 2612.9 2816.1 6.5909 0.143030 2602.7 2803.0 6.4975
250 0.232750 2710.4 2943.1 6.9265 0.192410 2704.7 2935.6 6.8313 0.163560 2698.9 2927.9 6.7488
300 0.257990 2793.7 3051.6 7.1246 0.213860 2789.7 3046.3 7.0335 0.182330 2785.7 3040.9 6.9553
350 0.282500 2875.7 3158.2 7.3029 0.234550 2872.7 3154.2 7.2139 0.200290 2869.7 3150.1 7.1379
400 0.306610 2957.9 3264.5 7.4670 0.254820 2955.5 3261.3 7.3793 0.217820 2953.1 3258.1 7.3046
500 0.354110 3125.0 3479.1 7.7642 0.294640 3123.4 3477.0 7.6779 0.252160 3121.8 3474.8 7.6047
600 0.401110 3297.5 3698.6 8.0311 0.333950 3296.3 3697.0 7.9456 0.285970 3295.1 3695.5 7.8730
700 0.447830 3476.3 3924.1 8.2755 0.372970 3475.3 3922.9 8.1904 0.319510 3474.4 3921.7 8.1183
800 0.494380 3661.7 4156.1 8.5024 0.411840 3661.0 4155.2 8.4176 0.352880 3660.3 4154.3 8.3458
900 0.540830 3853.9 4394.8 8.7150 0.450590 3853.3 4394.0 8.6303 0.386140 3852.7 4393.3 8.5587
1000 0.587210 4052.7 4640.0 8.9155 0.489280 4052.2 4639.4 8.8310 0.419330 4051.7 4638.8 8.7595
1100 0.633540 4257.9 4891.4 9.1057 0.527920 4257.5 4891.o 9.0212 0.452470 4257.0 4890.5 8.9497
1200 0.679830 4469.0 5148.9 9.2866 0.566520 4468.7 5148.5 9.2022 0.485580 4468.3 5148.1 9.1308
1300 0.726100 4685.8 5411.9 9.4593 0.605090 4685.5 5411.6 9.3750 0.518660 4685.1 5411.3 9.3036
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัตินา้ อิ่มตัว และไอดง 305

ตารางที่ ค.3 คุณสมบัติน้าไอดง (ต่อ)

T v u h s v u h s v u h s
°C m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K
P=1.60MPa (201.37°C) P=1.80MPa (207.11°C) P=2.00MPa (212.38°C)
Sat. 0.123740 2594.8 2792.8 6.4200 0.110370 2597.3 2795.9 6.3775 0.099590 2599.1 2798.3 6.3390
225 0.132930 2645.1 2857.8 6.5537 0.116780 2637.0 2847.2 6.4825 0.103810 2628.5 2836.1 6.4160
250 0.141900 2692.9 2919.9 6.6753 0.125020 2686.7 2911.7 6.6088 0.111500 2680.3 2903.3 6.5475
300 0.158660 2781.6 3035.4 6.8864 0.140250 2777.4 3029.9 6.8246 0.125510 2773.2 3024.2 6.7684
350 0.174590 2866.6 3146.0 7.0713 0.154600 2863.6 3141.9 7.0120 0.138600 2860.5 3137.7 6.9583
400 0.190070 2950.8 3254.9 7.2394 0.168490 2948.3 3251.6 7.1814 0.151220 2945.9 3248.4 7.1292
500 0.220290 3120.1 3472.6 7.5410 0.195510 3118.5 3470.4 7.4845 0.175680 3116.9 3468.3 7.4337
600 0.249990 3293.9 3693.9 7.8101 0.222000 3292.7 3692.3 7.7543 0.199620 3291.5 3690.7 7.7043
700 0.279410 3473.5 3920.5 8.0558 0.248220 3472.6 3919.4 8.0005 0.223260 3471.7 3918.2 7.9509
800 0.308650 3659.5 4153.4 8.2834 0.274260 3658.8 4152.4 8.2284 0.246740 3658.0 4151.5 8.1791
900 0.337800 3852.1 4392.6 8.4965 0.300200 3851.5 4391.9 8.4417 0.270120 3850.9 4391.1 8.3925
1000 0.366870 4051.2 4638.2 8.6974 0.326060 4050.7 4637.6 8.6427 0.293420 4050.2 4637.1 8.5936
1100 0.395890 4256.6 4890.0 8.8878 0.351880 4256.2 4889.6 8.8331 0.316670 4255.7 4889.1 8.7842
1200 0.424880 4467.9 5147.7 9.0689 0.377660 4467.6 5147.3 9.0143 0.339890 4467.2 5147.0 8.9654
1300 0.453830 4684.8 5410.9 9.2418 0.403410 4684.5 5410.6 9.1872 0.363080 4684.2 5410.3 9.1384
P=2.50MPa (223.95°C) P=3.00MPa (233.85°C) P=3.50MPa (242.56°C)
Sat. 0.079950 2602.1 2801.9 6.2558 0.066670 2603.2 2803.2 6.1856 0.057060 2603.0 2802.7 6.1244
225 0.080260 2604.8 2805.5 6.2629
250 0.087050 2663.3 2880.9 6.4107 0.070630 2644.7 2856.5 6.2893 0.058760 2624.0 2829.7 6.1764
300 0.098940 2762.2 3009.6 6.6459 0.081180 2750.8 2994.3 6.5412 0.068450 2738.8 2978.4 6.4484
350 0.109790 2852.5 3127.0 6.8424 0.090560 2844.4 3116.1 6.7450 0.076800 2836.0 3104.9 6.6601
400 0.120120 2939.8 3240.1 7.0170 0.099380 2933.6 3231.7 6.9235 0.084560 2927.2 3223.2 6.8428
450 0.130150 3026.2 3351.6 7.1768 0.107890 3021.2 3344.9 7.0856 0.091980 3016.1 3338.1 7.0074
500 0.139990 3112.8 3462.8 7.3254 0.116200 3108.6 3457.2 7.2359 0.099190 3104.5 3451.7 7.1593
600 0.159310 3288.5 3686.8 7.5979 0.132450 3285.5 3682.8 7.5103 0.113250 3282.5 3678.9 7.4357
700 0.178350 3469.3 3915.2 7.8455 0.148410 3467.0 3912.2 7.7590 0.127020 3464.7 3909.3 7.6855
800 0.197220 3656.2 4149.2 8.0744 0.164200 3654.3 4146.9 7.9885 0.140610 3652.5 4144.6 7.9156
900 0.215970 3849.4 4389.3 8.2882 0.179880 3847.9 4387.5 8.2028 0.154100 3846.4 4385.7 8.1304
1000 0.234660 4049.0 4635.6 8.4897 0.195490 4047.7 4634.2 8.4045 0.167510 4046.4 4632.7 8.3324
1100 0.253300 4254.7 4887.9 8.6804 0.211050 4253.6 4886.7 8.5955 0.180870 4252.5 4885.6 8.5236
1200 0.271900 4466.3 5146.0 8.8618 0.226580 4465.3 5145.1 8.7771 0.194200 4464.4 5144.1 8.7053
1300 0.290480 4683.4 5409.5 9.0349 0.242070 4682.6 5408.8 8.9502 0.207500 4681.8 5408.0 8.8786
306 ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติน้าอิ่มตัว และไอดง กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ค.3 คุณสมบัติน้าไอดง (ต่อ)

T v u h s v u h s v u h s
°C m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K
P=4.0MPa (250.35°C) P=4.5MPa (257.44°C) P=5.0MPa (263.94°C)
Sat. 0.049780 2601.7 2800.8 6.0696 0.044060 2599.7 2798.0 6.0198 0.039450 2597.0 2794.2 5.9737
275 0.054610 2668.9 2887.3 6.2312 0.047330 2651.4 2864.4 6.1429 0.041440 2632.3 2839.5 6.0571
300 0.058870 2726.2 2961.7 6.3639 0.051380 2713.0 2944.2 6.2854 0.045350 2699.0 2925.7 6.2111
350 0.066470 2827.4 3093.3 6.5843 0.058420 2818.6 3081.5 6.5153 0.051970 2809.5 3069.3 6.4516
400 0.073430 2920.8 3214.5 6.7714 0.064770 2914.2 3205.7 6.7071 0.057840 2907.5 3196.7 6.6483
450 0.080040 3011.0 3331.2 6.9386 0.070760 3005.8 3324.2 6.8770 0.063320 3000.6 3317.2 6.8210
500 0.086440 3100.3 3446.0 7.0922 0.076520 3096.0 3440.4 7.0323 0.068580 3091.8 3434.7 6.9781
600 0.098860 3279.4 3674.9 7.3706 0.087660 3276.4 3670.9 7.3127 0.078700 3273.3 3666.9 7.2605
700 0.110980 3462.4 3906.3 7.6214 0.098500 3460.0 3903.3 7.5647 0.088520 3457.7 3900.3 7.5136
800 0.122920 3650.6 4142.3 7.8523 0.109160 3648.8 4140.0 7.7962 0.098160 3646.9 4137.7 7.7458
900 0.134760 3844.8 4383.9 8.0675 0.119720 3843.3 4382.1 8.0118 0.107690 3841.8 4380.2 7.9619
1000 0.146530 4045.1 4631.2 8.2698 0.130200 4043.9 4629.8 8.2144 0.117150 4042.6 4628.3 8.1648
1100 0.158240 4251.4 4884.4 8.4612 0.140640 4250.4 4883.2 8.4060 0.126550 4249.3 4882.1 8.3566
1200 0.169920 4463.5 5143.2 8.6430 0.151030 4462.6 5142.2 8.5880 0.135920 4461.6 5141.3 8.5388
1300 0.181570 4680.9 5407.2 8.8164 0.161400 4680.1 5406.5 8.7616 0.145270 4679.3 5405.7 8.7124
P=6.0MPa (275.59°C) P=7.0MPa (285.83°C) P=8.0MPa (295.01°C)
Sat. 0.032450 2589.9 2784.6 5.8902 0.027378 2581.0 2772.6 5.8148 0.023525 2570.5 2758.7 5.7450
300 0.036190 2668.4 2885.6 6.0703 0.029492 2633.5 2839.9 5.9337 0.024279 2592.3 2786.5 5.7937
350 0.042250 2790.4 3043.9 6.3357 0.035262 2770.1 3016.9 6.2305 0.029975 2748.3 2988.1 6.1321
400 0.047420 2893.7 3178.3 6.5432 0.039958 2879.5 3159.2 6.4502 0.034344 2864.6 3139.4 6.3658
450 0.052170 2989.9 3302.9 6.7219 0.044187 2979.0 3288.3 6.6353 0.038194 2967.8 3273.3 6.5579
500 0.056670 3083.1 3423.1 6.8826 0.048157 3074.3 3411.4 6.8000 0.041767 3065.4 3399.5 6.7266
550 0.061020 3175.2 3541.3 7.0308 0.051966 3167.9 3531.6 6.9507 0.045172 3160.5 3521.8 6.8800
600 0.065270 3267.2 3658.8 7.1693 0.055665 3261.0 3650.6 7.0910 0.048463 3254.7 3642.4 7.0221
700 0.073550 3453.0 3894.3 7.4247 0.062850 3448.3 3888.3 7.3487 0.054829 3443.6 3882.2 7.2822
800 0.081650 3643.2 4133.1 7.6582 0.069856 3639.5 4128.5 7.5836 0.061011 3635.7 4123.8 7.5185
900 0.089640 3838.8 4376.6 7.8751 0.076750 3835.7 4373.0 7.8014 0.067082 3832.7 4369.3 7.7372
1000 0.097560 4040.1 4625.4 8.0786 0.083571 4037.5 4622.5 8.0055 0.073079 4035.0 4619.6 7.9419
1100 0.105430 4247.1 4879.7 8.2709 0.090341 4245.0 4877.4 8.1982 0.079025 4242.8 4875.0 8.1350
1200 0.113260 4459.8 5139.4 8.4534 0.097075 4457.9 5137.4 8.3810 0.084934 4456.1 5135.5 8.3181
1300 0.121070 4677.7 5404.1 8.6273 0.103781 4676.1 5402.6 8.5551 0.090817 4674.5 5401.0 8.4925
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัตินา้ อิ่มตัว และไอดง 307

ตารางที่ ค.3 คุณสมบัติน้าไอดง (ต่อ)

T v u h s v u h s v u h s
°C m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K
P=9.0MPa (303.35°C) P=10.0MPa (311.00°C) P=12.5MPa (327.81°C)
Sat. 0.020489 2558.5 2742.9 5.6791 0.018028 2545.2 2725.5 5.6159 0.013496 2505.6 2674.3 5.4638
325 0.023284 2647.6 2857.1 5.8738 0.019877 2611.6 2810.3 5.7596
350 0.025816 2725.0 2957.3 6.0380 0.022440 2699.6 2924.0 5.9460 0.016138 2624.9 2826.6 5.7130
400 0.029960 2849.2 3118.8 6.2876 0.026436 2833.1 3097.5 6.2141 0.020030 2789.6 3040.0 6.0433
450 0.033524 2956.3 3258.0 6.4872 0.029782 2944.5 3242.4 6.4219 0.023019 2913.7 3201.5 6.2749
500 0.036793 3056.3 3387.4 6.6603 0.032811 3047.0 3375.1 6.5995 0.025630 3023.2 3343.6 6.4651
550 0.039885 3153.0 3512.0 6.8164 0.035655 3145.4 3502.0 6.7585 0.028033 3126.1 3476.5 6.6317
600 0.042861 3248.4 3634.1 6.9605 0.038378 3242.0 3625.8 6.9045 0.030306 3225.8 3604.6 6.7828
650 0.045755 3343.4 3755.2 7.0954 0.041018 3338.0 3748.1 7.0408 0.032491 3324.1 3730.2 6.9227
700 0.048589 3438.8 3876.1 7.2229 0.043597 3434.0 3870.0 7.1693 0.034612 3422.0 3854.6 7.0540
800 0.054132 3632.0 4119.2 7.4606 0.048629 3628.2 4114.5 7.4085 0.038724 3618.8 4102.8 7.2967
900 0.059562 3829.6 4365.7 7.6802 0.053547 3826.5 4362.0 7.6290 0.042720 3818.9 4352.9 7.5195
1000 0.064919 4032.4 4616.7 7.8855 0.058391 4029.9 4613.8 7.8349 0.046641 4023.5 4606.5 7.7269
1100 0.070224 4240.7 4872.7 8.0791 0.063183 4238.5 4870.3 8.0289 0.050510 4233.1 4864.5 7.9220
1200 0.075492 4454.2 5133.6 8.2625 0.067938 4452.4 5131.7 8.2126 0.054342 4447.7 5127.0 8.1065
1300 0.080733 4672.9 5399.5 8.4371 0.072667 4671.3 5398.0 8.3874 0.058147 4667.3 5394.1 8.2819
P=15.0MPa (342.160C) P=17.5MPa (354.670C) P=20.0MPa (365.750C)
Sat. 0.010341 2455.7 2610.8 5.3108 0.007932 2390.7 2529.5 5.1435 0.005862 2294.8 2412.1 4.9310
350 0.011481 2520.9 2693.1 5.4438
400 0.015671 2740.6 2975.7 5.8819 0.012463 2684.3 2902.4 5.7211 0.009950 2617.9 2816.9 5.5526
450 0.018477 2880.8 3157.9 6.1434 0.015204 2845.4 3111.4 6.0212 0.012721 2807.3 3061.7 5.9043
500 0.020828 2998.4 3310.8 6.3480 0.017385 2972.4 3276.7 6.2424 0.014793 2945.3 3241.2 6.1446
550 0.022945 3106.2 3450.4 6.5230 0.019305 3085.8 3423.6 6.4266 0.016571 3064.7 3396.2 6.3390
600 0.024921 3209.3 3583.1 6.6796 0.021073 3192.5 3561.3 6.5890 0.018185 3175.3 3539.0 6.5075
650 0.026804 3310.1 3712.1 6.8233 0.022742 3295.8 3693.8 6.7366 0.019695 3281.4 3675.3 6.6593
700 0.028621 3409.8 3839.1 6.9573 0.0227423397.5
0.024342 3823.5 6.8735 0.021134 32813807.8
3385.1 6.7991
800 0.032121 3609.3 4091.1 7.2037 0.027405 3599.7 4079.3 7.1237 0.023870 3590.1 4067.5 7.0531
900 0.035503 3811.2 4343.7 7.4288 0.030348 3803.5 4334.6 7.3511 0.026484 3795.7 4325.4 7.2829
1000 0.038808 4017.1 4599.2 7.6378 0.033215 4010.7 4592.0 7.5616 0.029020 4004.3 4584.7 7.4950
1100 0.042062 4227.7 4858.6 7.8339 0.036029 4222.3 4852.8 7.7588 0.031504 4216.9 4847.0 7.6933
1200 0.045279 4443.1 5122.3 8.0192 0.038806 4438.5 5117.6 7.9449 0.033952 4433.8 5112.9 7.8802
1300 0.048469 4663.3 5390.3 8.1952 0.041556 4659.2 5386.5 8.1215 0.036371 4655.2 5382.7 8.0574
308 ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติน้าอิ่มตัว และไอดง กลศาสตร์ของไหล

ตารางที่ ค.3 คุณสมบัติน้าไอดง (ต่อ)

T v u h s v u h s v u h s
°C m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m3/kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K
P=25.0MPa P=30.0MPa P=35.0MPa
375 0.001978 1799.9 1849.4 4.0345 0.001792 1738.1 1791.9 3.9313 0.001701 1702.8 1762.4 3.8724
400 0.006005 2428.5 2578.7 5.1400 0.002798 2068.9 2152.8 4.4758 0.002105 1914.9 1988.6 4.2144
425 0.007886 2607.8 2805.0 5.4708 0.005299 2452.9 2611.8 5.1473 0.003434 2253.3 2373.5 4.7751
450 0.009176 2721.2 2950.6 5.6759 0.006737 2618.9 2821.0 5.4422 0.004957 2497.5 2671.0 5.1946
500 0.011143 2887.3 3165.9 5.9643 0.008691 2824.0 3084.8 5.7956 0.006933 2755.3 2997.9 5.6331
550 0.012736 3020.8 3339.2 6.1816 0.010175 2974.5 3279.7 6.0403 0.008348 2925.8 3218.0 5.9093
600 0.014140 3140.0 3493.5 6.3637 0.011445 3103.4 3446.8 6.2373 0.009523 3065.6 3399.0 6.1229
650 0.015430 3251.9 3637.7 6.5243 0.012590 3221.7 3599.4 6.4074 0.010565 3190.9 3560.7 6.3030
700 0.016643 3359.9 3776.0 6.6702 0.013654 3334.3 3743.9 6.5599 0.011523 3308.3 3711.6 6.4623
800 0.018922 3570.7 4043.8 6.9322 0.015628 3551.2 4020.0 6.8301 0.013278 3531.6 3996.3 6.7409
900 0.021075 3780.2 4307.1 7.1668 0.017473 3764.6 4288.8 7.0695 0.014904 3749.0 4270.6 6.9853
1000 0.023150 3991.5 4570.2 7.3821 0.019240 3978.6 4555.8 7.2880 0.016450 3965.8 4541.5 7.2069
1100 0.025172 4206.1 4835.4 7.5825 0.020954 4195.2 4823.9 7.4906 0.017942 4184.4 4812.4 7.4118
1200 0.027157 4424.6 5103.5 7.7710 0.022630 4415.3 5094.2 7.6807 0.019398 4406.1 5085.0 7.6034
1300 0.029115 4647.2 5375.1 7.9494 0.024279 4639.2 5367.6 7.8602 0.020827 4631.2 5360.2 7.7841
P=40.0MPa P=50.0MPa P=60.0MPa
375 0.001641 1677.0 1742.6 3.8290 0.001560 1638.6 1716.6P=50.0MPa
3.7642 0.001503 1609.7 1699.9 3.7149
400 0.001911 1855.0 1931.4 4.1145 0.001731 1787.8 1874.4 4.0029 0.001633 1745.2 1843.2 3.9317
425 0.002538 2097.5 2199.0 4.5044 0.002009 1960.3 2060.7 4.2746 0.001816 1892.9 2001.8 4.1630
450 0.003692 2364.2 2511.8 4.9449 0.002487 2160.3 2284.7 4.5896 0.002086 2055.1 2180.2 4.4140
500 0.005623 2681.6 2906.5 5.4744 0.003890 2528.1 2722.6 5.1762 0.002952 2393.2 2570.3 4.9356
550 0.006985 2875.1 3154.4 5.7857 0.005118 2769.5 3025.4 5.5563 0.003955 2664.6 2901.9 5.3517
600 0.008089 3026.8 3350.4 6.0170 0.006108 2947.1 3252.6 5.8245 0.004833 2866.8 3156.8 5.6527
650 0.009053 3159.5 3521.6 6.2078 0.006957 3095.6 3443.5 6.0373 0.005591 3031.3 3366.8 5.8867
700 0.009930 3282.0 3679.2 6.3740 0.007717 3228.7 3614.6 6.2179 0.006265 3175.4 3551.3 6.0814
800 0.011521 3511.8 3972.6 6.6613 0.009073 3472.2 3925.8 6.5225 0.007456 3432.6 3880.0 6.4033
900 0.012980 3733.3 4252.5 6.9107 0.010296 3702.0 4216.8 6.7819 0.008519 3670.9 4182.1 6.6725
1000 0.014360 3952.9 4527.3 7.1355 0.011441 3927.4 4499.4 7.0131 0.009504 3902.0 4472.2 6.9099
1100 0.015686 4173.7 4801.1 7.3425 0.012534 4152.2 4778.9 7.2244 0.010439 4130.9 4757.3 7.1255
1200 0.016976 4396.9 5075.9 7.5357 0.013590 4378.6 5058.1 7.4207 0.011339 4360.5 5040.8 7.3248
1300 0.018239 4623.3 5352.8 7.7175 0.014620 4607.5 5338.5 7.6048 0.012213 4591.8 5324.5 7.5111
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัตินา้ อิ่มตัว และไอดง 309

ตารางที่ ค.3 คุณสมบัติน้าไอดง (ต่อ)

T v u h s v u h s v u h s
3 3 3
°C m /kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m /kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K m /kg kJ/kg kJ/kg kJ/kg.K
P=5.0MPa (263.94°C) P=10MPa (311.00°C) P=15MPa (342.16°C)
Sat. 0.001286 1148.10 1154.50 2.9207 0.001452 1393.3 1407.90 3.3603 0.001657 1585.50 1610.30 3.6848
0 0.000998 0.04 5.03 0.0001 0.000995 0.12 0 10.07 0.0003 0.000993 0.18 15.07 0.0004
20 0.001000 83.61 88.61 0.2954 0.000997 83.31 93.28 0.2943 0.000995 83.01 97.93 0.2932
40 0.001006 166.92 171.95 0.5705 0.001004 166.33 176.37 0.5685 0.001001 165.75 180.77 0.5666
60 0.001015 250.29 255.36 0.8287 0.001013 249.43 259.55 0.8260 0.001011 248.58 263.74 0.8234
80 0.001027 333.82 338.96 1.0723 0.001024 332.69 342.94 1.0691 0.001022 331.59 346.92 1.0659
100 0.001041 417.65 422.85 1.3034 0.001039 416.23 426.62 1.2996 0.001036 414.85 430.39 1.2958
120 0.001058 501.91 507.19 1.5236 0.001055 500.18 510.73 1.5191 0.001052 498.50 514.28 1.5148
140 0.001077 586.80 592.18 1.7344 0.001074 584.72 595.45 1.7293 0.001071 582.69 598.75 1.7243
160 0.001099 672.55 678.04 1.9374 0.001095 670.06 681.01 1.9316 0.001092 667.63 684.01 1.9259
180 0.001124 759.47 765.09 2.1338 0.001120 756.48 767.68 2.1271 0.001116 753.58 770.32 2.1206
200 0.001153 847.92 853.68 2.3251 0.001148 844.32 855.80 2.3174 0.001144 840.84 858.00 2.3100
220 0.001187 938.39 944.32 2.5127 0.001181 934.01 945.82 2.5037 0.001175 929.81 947.43 2.4951
240 0.001227 1031.60 1037.70 2.6983 0.001219 1026.2 1038.30 2.6876 0.001212 1021.00 1039.20 2.6774
260 0 1134.30 2.8710 0.001256 1115.10 1134.00 2.8586
0.001276 1128.50 1134.90 2.8841 0.001265 1121.6
280 0 1235.00 3.0565 0.001310 1213.40 1233.00 3.0410
0.001323 1221.8
300 0 1343.30 3.2488 0.001378 1317.60 1338.30 3.2279
0.001398 1329.4
320 0 0.001473 1431.90 1454.00 3.4263
340 0.001631 1567.90 1592.40 3.6555
ที่มา : Gordon et al. (1994).
310 ภาคผนวก ค ตารางคุณสมบัติน้าอิ่มตัว และไอดง กลศาสตร์ของไหล
ภาคผนวก ง
เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท
312 ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท กลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท 313

บทที่ 1

1) กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพฤติกรรมและผลที่


เกิดขึ้นเนื่องจากของไหลที่กระทาต่อผิวของวัตถุที่สัมผัส หรือกระทาต่อของไหลอีกชนิด โดยที่ของไหล
ดังกล่าวอาจจะอยู่ในสภาวะที่เคลื่อนที่หรือสภาวะที่อยู่นิ่งก็ได้

2) เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ค.ศ. 1642 – 1727

3) ยุคศตวรรษที่18 และ 19

4) ของไหล (Fluid) หมายถึง สสารที่สามารถไหลได้ โดยมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ


เมื่อของไหลอยู่ในสภาวะสมดุล ของไหลไม่สามารถรองรับแรงเฉือนได้ ของไหลทุกชนิดจะยุบตัวตาม
ความดันได้เล็กน้อย

5) การจัดประเภทของของไหล แบ่งตามความสามารถในการยุบตัว แบ่งได้ 2 ประเภท ได้แก่ ของไหล


ที่ ยุ บ ตั ว ตามความดั น (Compressible Fluid) และของไหลที่ ไ ม่ ยุ บ ตั ว ตามความดั น
(Incompressible Fluid)

6) เวลา และอุณหภูมิปกติ

7) ความยาว มวล เวลา อุณหภูมิ และปริมาณสสาร

8) 1, 1, -2
9) 3, -1, 0
10) 3, 0, -1
11) -3.9๐C
12) 1.81 kg
13) 3,280.84 ft/min
14) 805 lbf
15) 2 hp = 1.492 kW

บทที่ 2

1.1) ความหนาแน่นของของไหล คือ ปริมาณของมวลของของไหล ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรของของไหล

1.2) น้าหนักจาเพาะของของไหล คือ น้าหนักของของไหลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร


314 ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท กลศาสตร์ของไหล

1.3) ปริมาตรจาเพาะของของไหล คือ จานวนปริมาตรของของไหลต่อหนึ่งหน่วยมวลของของไหล

1.4) ความถ่วงจาเพาะของของไหล อัตราส่วนของความหนาแน่นของของไหลนั้น ต่อความหนาแน่น


ของของไหลมาตรฐาน หรืออัตราส่วนของน้าหนักจาเพาะของของไหลนั้น ต่อน้าหนักจาเพาะของของ
ไหลมาตรฐาน

1.5) ความหนืดของของไหล เป็นแรงต้านทานต่อแรงเฉือนระหว่างชั้นของของไหล ซึ่งขนาดจะขึ้นอยู่


กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลของของไหลนั้นๆ

1.6) ความตึงผิว เป็นอัตราส่วนระหว่างแรงที่กระทาไปตามผิวของของเหลวต่อความยาว (ตั้งฉากกับ


แรง) ของผิวที่ถูกแรงนี้กระทา

1.7) ความตีบ เป็นปรากฏการที่เกิดขึ้นเนื่องจากผลของความตึงผิวและความแตกต่างระหว่างแรงยึด


เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับ แรงยึดเการะหว่างโมเลกุลของของเหลวกับผิวของแข็งทาให้
ระดับของเหลวในหลอดรูเล็ก (Capillary tube) สูงขึ้นหรือต่ากว่าระดับของเหลวภายนอกหลอด

1.8) ความอัดตัวได้ของของไหลจะกาหนดให้อยู่ในรูปของสัมประสิทธิ์ความอัดตัวได้ของของไหล
(Coefficient of compressibility) แทนด้วย β ซึ่งเป็นความเครียดเชิงปริมาตรต่อหน่วยความเค้น
อัดคือ เป็นส่วนกลับของความยืดหยุ่นเชิงปริมาตร

1.9) ความดันไอ คือ ความดันที่เกิดขึ้นจากไอในขณะที่เกิดสมดุลวัฏภาค (Phase equilibrium)


ระหว่างไอ และของเหลว ณ อุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่ง

1.10) ก๊าซอุดมคติ หรือก๊าซสมบูรณ์ เป็นก๊าซที่ไม่มีอยู่จริง นักวิทยาศาสตร์กาหนดขึ้นเพื่ออธิบาย


สมบัติต่างๆ ที่เกี่ยวกับก๊าซ โดยให้มีพฤติกรรมเป็ นไปตามกฎของก๊าซไม่ว่าที่อุณหภูมิหรือความดันใด
เป็นก๊าซที่ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล

2) 866.67 kg/m3
3) 7,272.7 N/m3
4) 885.4 kg/m3 , 8,685.8 N/m3 , 0.00113 m3/kg , 0.8854
5) 7,749.9 N/m3 , 790 kg/m3
6) 0.023 N
7) 0.00107 m
8) 0.0194 m
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท 315

9) 406.2 N/m2
10) 213.3 J/kg.K

บทที่ 3

1) ความหนืดของของไหล หมายถึง คุณสมบัติในการต้านทานต่อการเฉือน (shear) ของของไหลหรือ


ต้านทานต่อการเปลี่ยนรูปเชิงมุม (angular deformation) หากของไหลมีความหนืดมากจะไหลได้ช้า
กว่าของไหลที่มีความหนืดน้อย

2) แผ่นราบสองแผ่นวางซ้อนห่างกันเท่ากับ y ระหว่างแผ่นราบบรรจุของไหลมีความหนืด  แผ่นราบ


แผ่นบนถูกดึงด้วยแรง F ทาให้เกิดความเร็วเท่ากับ v ดังนั้น ของไหลที่ติดกับแผ่นราบแผ่นบนมี
ความเร็ว v และจะลดลงจนถึงแผ่นราบแผ่นล่าง ความเร็วจะเป็นศูนย์ (0)

3) ความหนืดจะเป็นฟังก์ชันกับอุณหภูมิและความดัน  หรือ  = f (P,T) แต่การเปลี่ยนแปลงความ


หนืดของของเหลวเพราะความดันน้อยมากจึงตัดออกจากการพิจารณาได้ และยังคงเหลือเฉพาะการ
เปลี่ยนแปลงกับอุณหภูมิเท่านั้นความหนืดของของเหลวจะลดเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น

4) ความหนืดสัมบูรณ์ (Absolute viscosity) หรือความหนืดพลวัต (Dynamic viscosity) หรือ


สัมประสิทธิ์ความหนืด (Coefficient of viscosity) คือ คุณสมบัติของของไหลที่ใช้ต้านทานต่อความ
เค้นเฉือน และเป็นแรงต้านทานต่อแรงเฉือน

5) ความหนืดจลน์ (Kinematic viscosity) หมายถึง ความหนืด สัมบูรณ์ของของไหลต่อความ


หนาแน่นของของไหลนั้น

6) การหาความหนืดจลน์แบบเซย์โบลท์ เป็นเครื่องมือหาความหนืดของของไหลโดยให้ของไหลบรรจุ
ในภาชนะทรงกระบอกไหลลงสู่ขวดมาตรฐานและจับเวลา เวลาดังกล่าว เรียกว่า Saybolt Universal
Second ซึ่งสามารถจะนาไปหาค่าความหนืดจลน์ได้

7) หลอดคาปิลลารี (Capillary tube) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดความหนืดโดยใช้ร่วมกับ เครื่องทดสอบ


ความหนื ดจลน์ โดยของเหลวที่จะใช้ทดสอบความหนื ดจะใส่ไว้ในทางท่อใหญ่ จากนั้ นทาการดูด
ของเหลวขึ้นทางท่อเล็กโดยใช้ชุดดูดสุญญากาศ และทาการปล่อยของเหลวผ่านจุดเริ่มจับเวลาวัด
ความหนืด โดยใช้นาฬิกาจับเวลาในการไหลของอขงเหลวจนถึงจุดสุดท้ายของการจับเวลา เวลาใน
การไหลจะนาไปคานวณหาค่าความหนืดจลน์ มีหน่วยเป็น mm2/s (cSt)

8) 1 Poise (P) = 0.1 N.s/m2 = 0.1 Pa.s


9) 0.0035 N.s/m2
316 ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท กลศาสตร์ของไหล

10) 7.143 x 10-5 m2/s


11) 8 kN
12) 22.22 m/s

บทที่ 4

1) ความดัน หมายถึง แรงที่กระทาตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่

2) ความดัน 1 บรรยากาศ คือ ความดันของอากาศที่ทาให้ปรอทเคลื่อนสูงขึ้นไปได้ 76 เซนติเมตร


หรือ 760 มิลลิเมตร

3) เครื่องมือวัดความดันแบบบูดอง เป็นเครื่องมือใช้วัดความดันแบบหน้าปัดและใช้สาหรับวัดความดัน
เกจ ใช้วัดความดันที่ต่ากว่าและสูงกว่าความดันบรรยากาศได้

4) แมนอมิเตอร์แบบหลอดรูปตัวยูนี้จะใช้หลอดแก้วดัดเป็นรูปตัวยู โดยที่ปลายด้านหนึ่งนาไปต่อเข้า
กับจุดที่ต้องการวัดความดัน และปลายอีกข้างจะเปิดสู่บรรยากาศ

5). แมนอมิเตอร์แบบวัดผลต่างของความดัน (Differentia manometer) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดผลต่าง


ของความดันระหว่างภาชนะบรรจุสองใบหรือระหว่างจุดสองจุดในระบบเดียวกัน
6) กฎของปาสคาล (Pascal’s law) หรือ กฎส่งผ่านความดัน กล่าวว่า“ความดันที่กระทาต่อส่วนหนึ่ง
ส่วนใดของของไหลที่อยู่นิ่งในภาชนะปิด จะถูกส่งไปยังส่วนของของไหลรวมทั้งผนังของภาชนะด้วย”

8) ความดันสัมบูรณ์ หมายถึง ความดันที่วัดเทียบกับสภาวะที่ไร้ความดัน

9) บารอมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดความดันบรรยากาศ ประกอบด้วยหลอดแก้วสุญญากาศ วางคว่าลง


ในอ่างปรอท หรื อ ของเหลวอื่น ๆ ความดันบรรยากาศจะวัดออกมาเป็นความสู งของของไหลใน
หลอดแก้ว

10) Head Pressure เป็นความสูงในแนวตั้งฉากกับผิวอิสระ เมื่อเทียบกับ จุดอ้างอิงใดๆ ในของเหลว


ที่หยุดนิ่ง

11) 121.3 kN/m2


12) 49.64 kN/m2
13) 109.2 kPa
14) 160.15 kPa
15) 53.32 kPa
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท 317

14) 102.42 kPa


17) 2317.5 N, 1.67 m
18) 1.27 m
19) 1230 x 103 N, 0.087 m
20) 84,726.3 N, 1.017 m, 0.637 m

21) เมื่อวัตถุจมเพียงบางส่วน หรือจมทั้งหมดในของไหล จะเกิดแรงมากระทาที่วัตถุ ในแนวตั้งฉากกับ


ผิว เป็นแรงที่พยายามพยุงหรือยกวัตถุให้ลอยขึ้น ในทิศทางสวนทางกับแรงดึงดูดของโลก เรียกว่า
แรงลอยตัว

22) จุด Metacenter คือ จุด M เป็นจุดตัดของเส้นต่อแนวแรงกาลังลอยกับแนวเส้นกึ่งกลางทางขวาง


ของเรือ

23) 785.7 kg/m3


24) 5.875 x 10-4 m3
25) 0.0588 m

บทที่ 5

1) เส้นกระแส หมายถึง เส้นที่เชื่อมต่อเวกเตอร์ความเร็วของแต่ละอนุภาคของงของไหล ณ เวลาใด


เวลาหนึ่ง หรือ เส้นที่บ่งถึงทิศทางการหลหรือการเคลื่อนที่โดยเฉลี่ยของอนุภาคของของไหล

2) การไหลในสภาวะคงตัว คือ การไหลของของไหลที่ผ่านจุดที่ต้องการวัดด้วยความเร็วคงที่


การไหลในสภาวะไม่คงตัว คือ การไหลของของไหลชนิดที่ความเร็วในการไหล ณ จุดใดๆ มีก าร
เปลี่ยนแปลงหรือขาดช่วง

3) การไหลแบบอัดตัวไม่ได้ คือ การไหลทีส่ ามารถสังเกตได้จากความหนาแน่นของของไหลว่ามีการ


เปลี่ยนแปลงหรือไม่ในระหว่างการไหล การวิเคราะห์อัตราการไหลจึงมีความซับซ้อนน้อย ถ้าความ
หนาแน่นคงที่ในการไหล แสดงว่าเป็นการไหลแบบอัดตัวไม่ได้ แต่ถ้าความหนาแน่นเปลี่ยนไประหว่าง
การไหล แสดงว่าเป็นการไหลแบบอัดตัวได้ ส่วนใหญ่แล้วการไหลของของเหลวจะเป็นการไหลแบบอัด
ตัวไม่ได้ ขณะที่การไหลของก๊าชจะถูกบีบอัดได้ง่ายกว่า

4) ความเร็วเฉลี่ยของการไหล หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปในระยะเวลาหนึ่ง

5) อัตราการไหล หมายถึงปริมาณของไหลที่เคลื่อนที่ ต่อหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งในเทอม


ของปริมาตร และ เทอมของมวล
318 ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท กลศาสตร์ของไหล

6) สมการการไหลต่อเนื่อง หมายถึงสมการที่แสดงถึงกฎการอนุรักษ์มวลของของไหลในระบบที่เรา
ศึกษาหรือในปริมาตรควบคุม

7) 23.56 m3/s , 3.33 m/s


8) 1.67 hr
9) 1.628 m/s
10) 1.29 m3/s , 0.566 m3/s , 0.645 m3/s , 0.796 m/s, 10.27 m/s , 0.82 m/s

บทที่ 6

1) โมเมนตัม คือ มวลกับวัตถุนั้น คูณกับความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่

2) กฏข้อที่ 2 ของ นิวตัน กล่าวว่า “ผลรวมของแรงภายนอกที่มากระทากับวัตถุ เท่ากับ อัตราการ


เปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของระบบ”

3) 50 kg.m/s
4) 10.13 N, 5.85 N
5) 69.38 N, 178.2 N
6) 594.47 N/m ทิศทางตามเข็มนาฬิกา

บทที่ 7

1) พลังงาน หมายถึงความสามารถที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความร้อน งาน และพลังงาน

2) พลังงานจลน์ หมายถึง พลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของของไหลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง


ปริมาณของพลังงานจลน์จะขึ้นอยู่กับความเร็ว และขนาดของมวลของของไหลนั้น

3) พลังงานศักย์ หมายถึง พลังงานที่แฝงอยู่ในมวลของของไหลนั้น และความแตกต่างของพลังงาน


ขึ้นอยู่กับมวลและระดับความสูงภายใต้แรงงดึงดูดของโลก

4) พลังงานของการไหล หมายถึง งานที่กระทาต่อมวลสารของของไหลเมื่อของไหลถูกบังคับให้ผ่าน


ขอบเขต

5) พลังงานภายใน เป็นคุณสมบัติประจาตัวของสสาร ถ้าอุณหภูมิของสสารยังไม่ถึงศูนย์สัมบูรณ์ สสาร


นั้นจะมีพลังงานภายในอยู่ พลังงานภายในเกิดจากการเคลื่อนที่ของปรมาณู
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท 319

6) กฎการทรงพลังงานกล่าวไว้ว่า “พลังงานเป็นสิ่งที่ไม่สามารถถูกสร้างหรือถูกทาลายได้ แต่พลังงาน


สามารถเปลี่ยนแปลงเป็นพลังงานอีกรูปหนึ่งได้”

7) สมการออยเลอร์ หมายถึงสมการโมเมนตัมสาหรับของไหลที่ไม่มีแรงเสียดทาน พิจารณาอนุภาค


ของของไหลที่เคลื่อนที่ไปตามแนวสัมผัสกับเส้นโค้งเส้นกระแส

8) สมการเบอร์นูลี (Bernoulli Equation) คือ สมการที่ใช้ประมาณความสัมพันธ์ระหว่างความดัน


ความเร็ว และความสูงของของไหลที่ไหลแบบสภาวะคงตัว ไม่สามารถอัดตัวได้และไม่มีแรงเสียดทาน

9) -37.46 W
10) -5,886 W
11) 342.56 kW
12) 943 kJ/kg
13) 12.51 m/s, 0.071 m3/s
14) 5.6 m/s, 9.9 x 10-4 m3/s
15) 217.34 kPa

บทที่ 8

1) การไหลภายในท่อปิด หมายถึงการไหลของของไหลภายในท่อที่มีผนังปิดล้อมทุกด้าน และมีของ


ไหลไหลอยู่เต็มพื้นที่ห น้าตัดของท่อ ไม่มีผิ วอิส ระอยู่ด้านบนของหน้ าตัดการไหล และการไหลอยู่
ภายใต้ความดันตลอดช่วงของการพิจารณา

2) พฤติกรรมการไหลของของไหลภายในท่อได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การไหลแบบราบเรียบ (Laminar


flow) การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) และการไหลในช่วงการแปรเปลี่ยน (Transition
flow)

3) เรย์โนลด์นัมเบอร์เป็นค่าที่บอกถึงลักษณะของการไหลในท่อ ถ้า Re < 2,100 แสดงว่าเป็นการไหล


แบบราบเรียบ 2,100 < Re < 4,000 แสดงว่าเป็นการไหลแบบราบเรียบ และ Re > 4,000 แสดงว่า
เป็นการไหลแบบราบเรียบ

4) การสูญเสียพลังงานหลัก หมายถึงการสูญเสียเฮดที่เกิดจากผลของแรงเสียดทานอันเนื่องมาจากผล
ของความหนืดของของไหล และแรงเสียดทานระหว่างของไหลกับผนังท่อ
320 ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท กลศาสตร์ของไหล

5) การสูญเสียพลังงานรอง หมายถึงการสูญเสียเฮดในจุดที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาด หรือทิศทางของ


ความเร็วของการไหลโดยฉับพลัน ซึ่งจะเกิดบริเวณที่ของไหลไหลผ่านอุปกรณ์ประกอบท่อต่างๆ เช่น
วาล์ว ข้อต่อ ข้อลดขนาด ข้อขยายขนาด ข้องอชนิดต่างๆ เป็นต้น

6) 79,750
7) การไหลแบบปั่นป่วน (Re = 261,551)
8) 1.62 m
9) 51.48 kPa
10) 571.1 Pa
11) 613.39 kPa
12) 101.92 kPa

บทที่ 9

1) การวัดอัตราการไหลของของไหล เป็นการหาปริมาณของของไหลที่ไหลผ่านท่อในหนึ่งหน่วยเวลา
การวัดอัตราการไหลของของไหลในท่อโดยใช้เครื่องมือวัด มีการวัดอัตราการไหลได้หลายวิธีด้วยกัน
ซึ่งมีรูปแบบของมาตรวัดและการวิเคราะห์หาอัตราการไหลในท่อ ได้แก่ มาตรวัดการไหลแบบเวนจูริ
(Venturi Meter) มาตรวัดการไหลแบบออริฟิส (Orifice Meter) มาตรวัดการไหลแบบโรตามิเตอร์
(Rotameter) การวัดอัตราการไหลโดยใช้พิทอตต์ทิวป์ (Pitot Tube)

2) มาตรวัดอัตราการไหลแบบเวนจูริ ประกอบด้วย ท่อที่มีคอคอด ซึ่งจะทาให้ของไหลมีความเร็ว


เพิ่มขึ้น แต่ความดันลดลงทางด้านปลายของท่อจะมีลักษณะค่อยๆ ขยายออกความเร็วของของไหลก็
จะค่อย ๆ ลดลง เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอัตราการไหลค่อนข้างแน่นอน

3) มาตรวัดแบบออริฟิส หรือรูระบาย ประกอบด้วยแผ่นโลหะมีรูกลม ซึ่งมีขอบคมอยู่ตรงกลางวางกั้น


ทิศทางการไหลของของไหลในท่อ โดยแนวที่ผ่านจุดศูนย์กลางท่อจะผ่านจุดศูนย์กลางรูระบายน้าพอดี
ซึ่งอัตราการไหลสามารถพิจารณาได้จากการอ่านผลต่างของระดับของไหล
4) มาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์ หรือแบบลูกลอย เป็นเครื่องมือวัดอัตราการไหลของของ
ไหล ลักษณะของโรตามิเตอร์เป็นท่อแก้วใสด้านในเป็นกรวยเรียว และมีลูกลอย ที่ออกแบบพิเศษ
บรรจุอยู่ภายในกรอบ ของไหลที่ต้องการวัดจะไหลผ่านเข้ามาทางด้านล่างของตัววัด ลูกลอยจะถูก เฮด
ความเร็ว ยกให้ลอยตัวขึ้น ตาแหน่งของลูก ลอยจะลอยนิ่ง อยู่กับที่เมื่อเกิดความสมดุลระหว่า งเฮด
ความเร็วของของไหลกับน้าหนักของลูกลอย ตาแหน่งของลูกลอยจะบอกค่าอัตราการไหลได้

5. พิทอตต์ทิวป์ เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความเร็วของของไหลที่ใช้ได้ทั้งกับของเหลวและก๊าซ โดยที่ตรง


ปลายที่ใช้วัดจะถูกสอดเข้าอยู่ในส่วนกลางของท่อให้ตั้งฉากกับทิศทางการไหลและปลายอีกข้างหนึ่ง
เปิดอยู่ด้านข้าง เพื่อใช้วัดความดันแบบ Static จุดวัดความดันทั้งสองด้านจะตั้งฉากกัน
กลศาสตร์ของไหล ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท 321

6) ลูกลอย ท่อแก้ว และแบบท่อโลหะ

7) 9.3 m3/s
8) 0.0346 m3/s
9) 3.85 x 10-5 m3/s
10) 1.346 m/s

บทที่ 10

1) การไหลของของไหลแบบอัดตัวได้ หมายถึง การไหลของของไหลที่มีการเปลี่ยนแปรค่าความ


หนาแน่ น อย่ า งเด่ น ชั ด และหากการไหลนั้ น เคลื่ อ นที่ ด้ ว ยความเร็ ว สู ง มาก จะก่ อ ให้ เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติอื่นๆ ของของไหลในลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากพฤติกรรมของของไหลแบบ
อัดไม่ได้ ตัวแปรทีเ่ พิ่มขึ้นมาจากกรณีของของไหลแบบอัดไม่ได้ คือ ความหนาแน่น และอุณหภูมิ

2) ตัวเลขมัค หมายถึงพารามิเตอร์ที่กาหนดคุณลักษณะของการไหลแบบอัดได้ สามารถเขียนเป็นค่า


อัตราส่วนของความเร็วเฉพาะที่ของของไหลต่อความเร็วเสียงเฉพาะที่

3.1) -14.36 kJ/kg


3.2) -20.104 kJ/kg
3.3) 1.002 kJ/kg.K
4.1) P01 = 97.69 kPa , T01 = 282.24 K , P02 = 39.54 kPa , T02 = 284.08 K
4.2) s = 0.266 kJ/kg.K
5) 22.78 kg/s
6) 1.83 kPa
322 ภาคผนวก ง เฉลยคาตอบแบบฝึกหัดท้ายบท กลศาสตร์ของไหล
ประวัติผู้เขียน
นายสุนทร สุทธิบาก
Mr. SUNTORN SUTTIBAK

ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

สถานที่ทางาน
สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล และสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน คณะเทคโนโลยี มหาวิท ยาลัย
ราชภัฏอุดรธานี

ประวัติการศึกษา
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2555
ปริญญาโท ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (คอม.) สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2550
ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2541

ประวัติการทางาน
2541 ช่างเทคนิค บริษัท อีซูซุคิงส์ยนต์ จากัด กรุงเทพมหานคร
2542 – 2549 หัวหน้าแผนกช่างยนต์ และผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีปิ่นมณฑล กรุงเทพมหานคร
2549 – 2550 วิศวกร และหุ้นส่วน บริษัท อรรถพงษ์วิศวกรรม จากัด กรุงเทพมหานคร
2550 – 2554 อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
2555 – 2560 หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
2556 ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์
ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
2558 – 2560 หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

You might also like