You are on page 1of 460

กองทัพบก

คู่มือราชการสนาม

ว่าด้วย

การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.
รส. ๓-๑๑.๓

พ.ศ. ๒๕๕๗
วัตถุประสงค์การฝึกศึกษาของกองทัพบก
▲ เป็นผู้นำ�ที่ดี มีคุณธรรม
▲ มีความรูแ ้ ละประสบการณ์ส�ำ หรับการในหน้าที่
▲ แข็งแรงทรหดอดทนต่อการตรากตรำ�ทำ�งาน
ค�ำน�ำ
กรมวิทยาศาสตร์ทหารบกได้จัดท�ำคู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อน
พิษ คชรน. ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางและหลักในการปฏิบัติส�ำหรับหน่วยก�ำลังรบ
และหน่วยอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการทางทหารภายใต้สถานการณ์ที่มีการใช้อาวุธเคมี
ชีวะ รังสี และนิวเคลียร์ (คชรน.) และสถานการณ์การปล่อยกระจายวัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรมที่
มิใช่เกิดจากการโจมตีทางทหาร เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อสภาวการณ์ในปัจจุบัน เช่น การก่อ
การร้าย อุบัติภัย และภัยพิบัติ เป็นต้น
โดยเนือ้ หาสาระประกอบด้วยบทที่ ๑ กล่าวถึงข้อมูลโครงสร้างทัว่ ทุกด้านในการปฏิบตั กิ าร
หลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ทั้งการจัดการและควบคุมและการปฏิบัติ โดยเน้นย�้ำความจ�ำเป็นของการ
เตรียมพร้อมและการเรียนรู้ในจุดส�ำคัญและการฝึกปฏิบัติที่ควรพิจารณาส�ำหรับการหลีกเลี่ยงการ
เปื้อนพิษ บทที่ ๒ เป็นการก�ำหนดหน้าที่ของภาพการปฏิบัติร่วมทาง คชรน. ซึ่งจะมี รายละเอียด
เกีย่ วกับขัน้ ตอนการจัดการข่าวสาร คชรน. การด�ำเนินการและขีดความสามารถจัดเตรียมยุทธศาสตร์
การกระจายข่าวสาร คชรน. การด�ำเนินการและขีดความสามารถจัดเตรียมยุทธศาสตร์การกระจาย
ข่าวสาร คชรน. การด�ำเนินการและขีดความสามารถจัดเตรียมยุทธศาสตร์การกระจายข่าวสาร
คชรน. และขัน้ ตอนการจัดการภาพปฏิบตั กิ ารร่วม คชรน. บทที่ ๓ เป็นการก�ำหนดภาพรวมทัง้ หมด
ของระบบเตือนภัยและรายงาน คชรน. การจัดระบบและความรับผิดชอบ ซึง่ มีรายละเอียดเกีย่ วกับ
การจัดหาระบบเตือนภัยและรายงาน คชรน. และการรวมการจัดการข่าวสาร เส้นทางการส่งรายงาน
นชค. และในบทที่ ๔ อธิบายการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมของกองทัพบกไทย โดยกล่าวถึงความ
จ�ำเป็นในปัจจุบนั และแนวการปฏิบตั เิ พิม่ เชือ่ มโยงหรือประยุกต์ใช้ในการเผชิญเหตุได้ทกุ สถานการณ์
คู่มือราชการสนามเล่มนี้ ได้น�ำ FM 3-1-3 ของสหรัฐฯ มาแปลและเรียบเรียงเพื่อให้ก�ำลัง
พลในกองทัพบกได้ศึกษาและเข้าใจหลักสากลนิยม ประกอบกับเอกสารวิชาการการหลีกเลี่ยงการ
เปื้อนพิษ ที่ใช้ประกอบการศึกษาใน รร.วศ.ทบ. มาปรับและพัฒนาให้เหมาะสม เพื่อใช้เป็นหลักใน
การปฏิบัติ และประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์
ก�ำลังพลหรือหน่วยทีน่ ำ� คูม่ อื ราชการสนามเล่มนีไ้ ปใช้ในการฝึก ศึกษาแล้ว หากมีขอ้ คิดเห็น
หรือมีความประสงค์จะเสนอแนะเพือ่ การแก้ไข ปรับปรุงให้มคี วามเหมาะสมยิง่ ขึน้ โปรดแนะน�ำมาที่
กองวิทยาการ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ถนนพหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ
๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๗๙-๙๕๑๘ โทรทหาร ๙๙๘๕๖
สารบัญ
หน้า
บทที่ ๑ กล่าวทั่วไป................................................................................................ ๑
ความเป็นมา..................................................................................................... ๑
การตรวจจับ, การกำ�หนดรูปแบบของอันตราย, การป้องกันและการดำ�รงสภาพ
การรบ.............................................................................................................. ๑
พื้นฐานและหลักการ......................................................................................... ๓
การลดความล่อแหลม....................................................................................... ๗
การจัดการสงคราม คชรน................................................................................ ๘
การดำ�เนินการป้องกัน คชรน........................................................................... ๑๑
ปฏิบัติการทางเคมี, ชีวะ, รังสีและนิวเคลียร์.................................................... ๑๒
บทที่ ๒ การพัฒนาภาพการปฏิบัติการร่วมทาง คชรน. .......................................... ๑๙
กล่าวนำ�............................................................................................................ ๑๙
ภารกิจภาพการปฏิบัติการร่วมทาง คชรน........................................................ ๑๙
การจัดการข่าวสาร คชรน................................................................................ ๒๐
ยุทธศาสตร์การกระจายข่าวสาร คชรน............................................................ ๒๓
การจัดการภาพการปฏิบัติการร่วม................................................................... ๒๕
บทที่ ๓ ระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน........................................................ ๒๗
ความเป็นมา..................................................................................................... ๒๗
ระบบการเตือนภัยและการรายงาน คชรน....................................................... ๒๗
รูปแบบรายงาน................................................................................................ ๒๘
การจัดการระบบการเตือนภัยและการรายงาน คชรน...................................... ๓๓
ความรับผิดชอบของหน่วยต่าง ๆ ต่อข่าวสาร คชรน........................................ ๓๖
การบันทึกที่ต้องระบุเสมอในรายงาน นชค. .................................................... ๓๗
การกำ�หนดชั้นความลับและกำ�หนดความเร่งด่วน๔������������������������������������������� ๔๐
เครื่องมือสนับสนุนการตกลงใจ........................................................................ ๔๐
ขีดความสามารถการเข้าถึงข้อมูลทางเทคนิค................................................... ๔๐
บทที่ ๔ การปฏิบัติในสภาพแวดล้อมของกองทัพบกไทย......................................... ๔๒
ความจำ�เป็นในปัจจุบัน.................................................................................... ๔๒
แนวการปฏิบัติ........................................................................................... ๔๒
บทสรุปและข้อคิดเห็นของผู้พัฒนา.................................................................. ๔๓
ผนวก ก ตัวอย่างรายการตรวจสอบการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน..................... ๔๔
ความเป็นมา..................................................................................................... ๔๔
รายการตรวจสอบก่อนการโจมตี คชรน. ......................................................... ๔๔
รายการตรวจสอบระหว่างถูกโจมตี คชรน........................................................ ๔๖
รายการตรวจสอบหลังการถูกโจมตีทาง คชรน................................................. ๔๗
รายการตรวจสอบการฟื้นฟูหลังการโจมตีทาง คชรน....................................... ๔๙
ผนวก ข ศูนย์ คชรน.และส่วนปฏิบัติการ.................................................................. ๕๑
ความเป็นมา..................................................................................................... ๕๑
ความรับผิดชอบ............................................................................................... ๕๑
การทำ�สำ�เนา๕��������������������������������������������������������������������������������������������������� ๕๖
ความสัมพันธ์ของรายงาน นชค........................................................................ ๕๖
ผนวก ค การจัดการอันตรายจากการได้รับรังสี........................................................ ๕๘
กล่าวนำ�............................................................................................................ ๕๘
การจัดการข่าวสาร – เกณฑ์การรับรังสี........................................................... ๕๙
การควบคุมการได้รับรังสีและนิวเคลียร์........................................................... ๕๙
การได้รับรังสี. .................................................................................................. ๖๔
สารรังสีที่มีความสำ�คัญทางทหาร..................................................................... ๗๕
ผนวก ง อิทธิพลของสภาพอากาศต่อสาร นชค.และรายงานอุตุนิยมวิทยา............... ๘๐
กล่าวทั่วไป....................................................................................................... ๘๐
อิทธิพลของสภาพอากาศต่อสาร คชรน............................................................ ๘๐
ภาพรวมการรายงานอุตุนิยมวิทยา................................................................... ๘๙
รายงานลมพื้นฐาน............................................................................................ ๑๐๓
รายงานทิศทางลม............................................................................................ ๑๑๒
รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี...................................... ๑๑๗
ผนวก จ ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารเคมี.......................... ๑๒๓
กล่าวนำ�............................................................................................................ ๑๒๓
วิธีปฏิบัติการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารเคมี. .................................................. ๑๒๓
รายงาน นชค.๑ เคมี........................................................................................ ๑๒๕
รายงาน นชค.๒ เคมี........................................................................................ ๑๒๗
รายงาน นชค.๓ เคมี........................................................................................ ๑๒๘
รายงาน นชค.๔ เคมี........................................................................................ ๑๖๑
รายงาน นชค.๕ เคมี........................................................................................ ๑๖๓
รายงาน นชค.๖ เคมี........................................................................................ ๑๖๔
ผนวก ฉ ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารชีวะ.......................... ๑๖๕
กล่าวนำ�............................................................................................................ ๑๖๕
วิธีแพร่กระจายสารชีวะ.................................................................................... ๑๖๕
วิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ.......................................................................... ๑๖๗
การรายงาน การพยากรณ์ และการหมายจุดการเปื้อนพิษทางชีวะ................. ๑๗๑
รายงาน นชค.๑ ชีวะ........................................................................................ ๑๗๑
รายงาน นชค.๒ ชีวะ........................................................................................ ๑๗๓
รายงาน นชค.๓ ชีวะ........................................................................................ ๑๗๔
รายงาน นชค.๔ ชีวะ........................................................................................ ๑๙๒
รายงาน นชค.๕ ชีวะ........................................................................................ ๑๙๓
รายงาน นชค.๖ ชีวะ........................................................................................ ๑๙๓
ผนวก ช ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษนิวเคลียร์....................... ๑๙๔
ภูมิหลัง............................................................................................................. ๑๙๔
วิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษรังสีนิวเคลียร์..................................................... ๑๙๕
การจัดการข่าวสารนิวเคลียร์............................................................................ ๒๐๐
รายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์............................................................................... ๒๐๕
รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์............................................................................... ๒๑๐
วิธีการคำ�นวณรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์........................................................ ๒๒๑
รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์............................................................................... ๒๔๘
รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์............................................................................... ๒๕๖
การประเมินข้อมูลอัตรารังสี............................................................................. ๒๖๖
รายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์............................................................................... ๒๗๑
รายงาน นชค.๖ นิวเคลียร์............................................................................... ๒๙๘
ผนวก ซ ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ROTA*......................... ๓๐๐
กล่าวนำ�............................................................................................................ ๓๐๐
วิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ROTA............................................................ ๓๐๑
การจัดการข่าวสาร ROTA........................................................................... ๓๐๔
รายงาน นชค.1 ROTA................................................................................ ๓๐๕
รายงาน นชค.2 ROTA................................................................................ ๓๐๗
รายงาน นชค.3 ROTA..................................................................................... ๓๐๘
รายงาน นชค.4 ROTA................................................................................ ๓๒๑
รายงาน นชค.5 ROTA................................................................................ ๓๒๒
รายงาน นชค.6 ROTA................................................................................ ๓๒๔
ผนวก ด โนโมแกรม, ตารางและกราฟ..................................................................... ๓๒๖
ผนวก ต การคำ�นวณ................................................................................................ ๓๙๐
ผนวก ถ แบบฟอร์มรายงาน..................................................................................... ๓๙๓
อภิธานศัพท์.............................................................................................................. ๔๑๕
บรรณานุกรม............................................................................................................. ๔๓๖
ดรรชนี . ................................................................................................................ ๔๓๗
ลำ�ดับภาพ
๑-๑ ส่วนปฏิบัติการ คชรน....................................................................................... ๒
๑-๒ พื้นฐานการป้องกัน คชรน................................................................................ ๔
๑-๓ การจัดการข่าวสาร คชรน................................................................................ ๑๐
๒-๑ วงรอบการจัดการข่าวสาร คชรน. ................................................................... ๒๑
๓-๑ เส้นทางเดินของรายงาน นชค.......................................................................... ๓๕
ค-๑ ขั้นตอนการแสวงหาข้อตกลงใจเกี่ยวกับ LLR................................................... ๖๒
ง-๑ ตัวอย่างการหมายจุดทิศทางลม....................................................................... ๑๐๙
ง-๒ แผ่นคำ�นวณข่าวสารทิศทางลม (2KT).............................................................. ๑๑๓
ง-๓ หมายจุดเส้นทิศทางลมของเมฆนิวเคลียร์และลำ�ดอกเห็ด (2KT)...................... ๑๑๔
ง-๔ ความคงตัวของอากาศกองทัพเรือ.................................................................... ๑๒๒
จ-๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.๑ เคมี........................................................................... ๑๒๖
จ-๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๒ เคมี........................................................................... ๑๒๗
จ-๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๓ เคมี........................................................................... ๑๒๘
จ-๔ แผ่นพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมอย่างง่าย ประเภท A................................. ๑๓๔
จ-๕ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท A กรณีที่ ๑
(ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.).......................................................................... ๑๓๖
จ-๖ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท A กรณีที่ ๒
(ความเร็วลม > ๑๐ กม./ชม.).......................................................................... ๑๓๘
จ-๗ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๑
(ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.).......................................................................... ๑๔๑
จ-๘ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๒
(รัศมีพื้นที่โจมตี ≤ ๑ กม. ความเร็วลม >๑๐ กม./ชม.).................................... ๑๔๒
จ-๙ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๓
(รัศมีของพื้นที่โจมตี > ๑ กม.แต่ ≤ ๒ กม., ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.)....... ๑๔๔
จ-๑๐ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๔
(รัศมีพน้ื ทีโ่ จมตีระยะทาง > ๑ กม.แต่ ≤ ๒ กม. ความเร็วลม > ๑๐ กม./ชม.)...... ๑๔๕
จ-๑๑ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๕
(รัศมีพื้นที่ถูกโจมตี > ๒ กม. ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.).............................. ๑๔๗
จ-๑๒ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๖
(รัศมีพื้นที่โจมตี > ๒ กม. ความเร็วลม > ๑๐ กม./ชม.)................................... ๑๔๘
จ-๑๓ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท C................................................ ๑๕๐
จ-๑๔ การคำ�นวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A เมื่อความเร็วลม
เปลี่ยนจาก≤๑๐ กม./ชม.ไปเป็น > ๑๐ กม./ชม. ........................................... ๑๕๔
จ-๑๕ การคำ�นวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A เมื่อความเร็วลม
เปลี่ยนจาก > ๑๐ กม./ชม.ไปเป็น ≤๑๐ กม./ชม. (ตัวอย่าง ๑)...................... ๑๕๕
จ-๑๖ การคำ�นวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A เมื่อความเร็วลม
เปลี่ยนจาก >๑๐ กม./ชม.ไปเป็น ≤๑๐ กม./ชม. (ตัวอย่าง ๒)........................ ๑๕๕
จ-๑๗ การคำ�นวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A เมื่อความเร็วลม
เปลี่ยนจาก >๑๐ กม./ชม.ไปเป็น ≤๑๐ กม./ชม. (ตัวอย่าง ๓)........................ ๑๕๖
จ-๑๘ การคำ�นวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A กรณีที่ ๒
(เปลี่ยนแปลงทิศทางลม ≥ ๓๐°)...................................................................... ๑๕๗
จ-๑๙ การคำ�นวณพื้นที่อันตรายตามลมใหม่ จากการโจมตีประเภท A กรณีที่ ๒
(เปลีย่ นแปลงลำ�ดับขัน้ ความคงตัวของอากาศ และ/หรือความเร็วตามลม) ........ ๑๕๘
จ-๒๐ การคำ�นวณพื้นที่อันตรายตามลมใหม่ จากการโจมตีประเภท B กรณีที่ ๖
(เปลี่ยนแปลงทิศทางลม) ................................................................................ ๑๖๐
จ-๒๑ ตัวอย่างรายงาน นชค. ๔ เคมี.......................................................................... ๑๖๒
จ-๒๒ ตัวอย่างรายงาน นชค. ๕ เคมี.......................................................................... ๑๖๓
จ-๒๓ ตัวอย่างรายงาน นชค. ๖ เคมี.............................................................................. ๑๖๔
ฉ-๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.๑ ชีวะ........................................................................... ๑๗๒
ฉ-๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๒ ชีวะ........................................................................... ๑๗๓
ฉ-๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๓ ชีวะ........................................................................... ๑๗๔
ฉ-๔ ประเภท P กรณีที่ ๑........................................................................................ ๑๘๐
ฉ-๕ ประเภท P กรณีที่ ๒........................................................................................ ๑๘๑
ฉ-๖ ประเภท Q กรณีที่ ๑........................................................................................ ๑๘๓
ฉ-๗ ประเภท Q กรณีที่ ๒........................................................................................ ๑๘๔
ฉ-๘ ประเภท R กรณีที่ ๑........................................................................................ ๑๘๕
ฉ-๙ ประเภท R กรณีที่ ๒........................................................................................ ๑๘๖
ฉ-๑๐ ประเภท S กรณีที่ ๑ และ ๒............................................................................ ๑๘๘
ฉ-๑๑ ประเภท Q กรณีที่ ๒ การโจมตีด้วยความเร็วลมคงที่...................................... ๑๘๙
ฉ-๑๒ ประเภท Q กรณีที่ ๒........................................................................................ ๑๘๙
ฉ-๑๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๔ ชีวะ........................................................................... ๑๙๒
ฉ-๑๔ ตัวอย่างรายงาน นชค.๕ ชีวะ........................................................................... ๑๙๓
ช-๑ กล้องวัดมุมที่เหมาะสมที่สุดสำ�หรับวัดมุมภาพที่เห็น....................................... ๒๐๒
ช-๒ การขยายตัวของเมฆนิวเคลียร์......................................................................... ๒๐๔
ช-๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์.................................................................. ๒๐๖
ช-๔ ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์............................................................................ ๒๐๘
ช-๕ มุมยอดเมฆและมุมฐานเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรและการวัดความสูง................... ๒๐๙
ช-๖ รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์............................................................................... ๒๑๑
ช-๗ วิธีลากเส้นหาจุดตัด......................................................................................... ๒๑๓
ช-๘ ตัวอย่างการประมาณขนาดอาวุธจากความกว้างของเมฆนิวเคลียร์และเวลา
แสง-ถึง-เสียง/ระยะทางจากศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น .............................. ๒๑๕
ช-๙ ตัวอย่างค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรและลำ�ดอกเห็ด – ตัวอย่าง
จากความสูงของยอดเมฆและฐานเมฆ.............................................................. ๒๑๖
ช-๑๐ ตัวอย่างการประมาณขนาดอาวุธจากมุมยอดเมฆ/มุมฐานเมฆและเวลา
แสง-ถึง-เสียง/ระยะทางจากถึง GZ ................................................................ ๒๑๙
ช-๑๑ แผ่นคำ�นวณขนาดอาวุธ เอ็ม ๔ เอ ๑............................................................... ๒๒๐
ช-๑๒ ตัวอย่างการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
หลายลูกอย่างละเอียด...................................................................................... ๒๒๔
ช-๑๓ ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่าย.................................... ๒๒๖
ช-๑๔ ตัวอย่างภาพแผ่นพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่าย
แบบ เอ็ม ๕ เอ ๒............................................................................................. ๒๒๗
ช-๑๕ แผ่นคำ�นวณข่าวสารทิศทาง............................................................................. ๒๒๙
ช-๑๖ ตัวอย่างการกำ�หนดระยะทางใต้ลมเขต I.......................................................... ๒๓๔
ช-๑๗ ตัวอย่างภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ.......................... ๒๓๕
ช-๑๘ ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ....................................... ๒๓๗
ช-๑๙ ตัวอย่างการเขียนทิศทางลมโดยใช้เส้นรัศมีเมฆและลำ�ดอกเห็ด
(อาวุธขนาด ๕๐ กิโลตัน) ................................................................................ ๒๓๙
ช-๒๐ ตัวอย่างแผ่นคำ�นวณสำ�หรับการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี
อย่างละเอียด.................................................................................................... ๒๔๑
ช-๒๑ ตัวอย่างค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรและลำ�ดอกเห็ดสำ�หรับ
การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด...................................... ๒๔๒
ช-๒๒ ตัวอย่างการหาระยะทางใต้ลมเขต I................................................................. ๒๔๔
ช-๒๓ ตัวอย่างปัจจัยปรับค่า FY/TY........................................................................... ๒๔๕
ช-๒๔ ตัวอย่างปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิด (HOB) (กิโลตัน)........................ ๒๔๖
ช-๒๕ ตัวอย่างปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิด (HOB) (เมกะตัน)...................... ๒๔๗
ช-๒๖ ตัวอย่างรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์.................................................................. ๒๔๙
ช-๒๗ การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด...................................... ๒๕๒
ช-๒๘ ตัวอย่างการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด เมื่อความเร็วลม
ต�่ำกว่า ๘ กม./ชม. .......................................................................................... ๒๕๓
ช-๒๙ ตัวอย่างภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ.......................... ๒๕๗
ช-๓๐ ตัวอย่างรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์.................................................................. ๒๕๙
ช-๓๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์.................................................................. ๒๖๔
ช-๓๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์.................................................................. ๒๗๒
ช-๓๓ ตัวอย่างการวาดรูปแบบการตกของฝุน่ กัมมันตรังสีจากข้อมูลการสำ�รวจรังสี...... ๒๗๔
ช-๓๔ ตัวอย่างแผ่นบริวารการเปื้อนพิษ นชค.๕ นิวเคลียร์........................................ ๒๗๕
ช-๓๕ ตัวอย่างการหาค่าอัตรารังสี ณ เวลาใด ๆ......................................................... ๒๗๙
ช-๓๖ ตัวอย่างปริมาณรังสีทั้งสิ้นจากฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.2).................................... ๒๘๔
ช-๓๗ ตัวอย่างปัจจัยตัวคูณ (MF)............................................................................... ๒๘๗
ช-๓๘ โนโมแกรมของเคลเลอร์สำ�หรับใช้หาพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวนำ�
จากอาวุธนิวเคลียร์ขนาด ๑๐ ถึง ๑๐๐ กิโลตัน............................................... ๒๘๙
ช-๓๙ โนโมแกรมของเคลเลอร์สำ�หรับใช้หาพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวนำ�
จากอาวุธนิวเคลียร์ขนาด ๐.๑ ถึง ๑๐ กิโลตัน................................................ ๒๙๐
ช-๔๐ ตัวอย่างการเขียนภาพพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวนำ�............................ ๒๙๑
ช-๔๑ ตัวอย่างปริมาณรังสีทง้ั สิน้ ทีจ่ ะได้รบั ในพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วนำ�....... ๒๙๗
ช-๔๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๖ นิวเคลียร์.................................................................. ๒๙๙
ซ-๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.1 ROTA........................................................................ ๓๐๖
ซ-๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.2 ROTA........................................................................ ๓๐๘
ซ-๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.3 ROTA........................................................................ ๓๐๙
ซ-๔ ตัวอย่างแผนผังการตัดสินใจสำ�หรับการปล่อยกระจายสารที่มิใช่เกิดจาก
การโจมตี.......................................................................................................... ๓๑๕
ซ-๕ ประเภท T กรณีที่ ๔ : การหกกระจายของเมทิลไอโซไซยาเนต (UN/NAID#2480)
จำ�นวนเล็กน้อยในเวลากลางคืน....................................................................... ๓๑๘
ซ-๖ ประเภท T กรณีที่ ๕........................................................................................ ๓๒๐
ซ-๗ ประเภท T กรณีที่ ๔ จรวดบรรจุสาร GB ที่สะสมไว้เกิดไฟไหม้ในเวลากลางวัน
. ....................................................................................................................... ๓๒๐
ซ-๘ ตัวอย่างรายงาน นชค.4 ROTA........................................................................ ๓๒๒
ซ-๙ ตัวอย่างรายงาน นชค.5 ROTA........................................................................ ๓๒๓
ซ-๑๐ ตัวอย่างรายงาน นชค.6 ROTA........................................................................ ๓๒๕
ด-๑ มาตราส่วนแผนที่............................................................................................. ๓๓๗
ด-๒ แฮร์ไลน์. .......................................................................................................... ๓๓๘
ด-๓ โนโมแกรมสำ�หรับหาค่าเกี่ยวกับเมฆกัมมันตรังสี และค่าต่าง ๆ
เกี่ยวกับดอกเห็ด (เสถียรเมื่อ H+10 นาที)...................................................... ๓๓๙
ด-๔ กราฟของเมฆกัมมันตรังสีและตัวแปรเกี่ยวกับลำ�ดอกเห็ด............................... ๓๔๐
ด-๕ ค่าของระยะปลอดภัยขึ้นอยู่กับขนาดของอาวุธนิวเคลียร์................................ ๓๔๐
ด-๖ การประมาณขนาดอาวุธจากความกว้างของเมฆนิวเคลียร์และ
เวลาแสง-ถึง-เสียง/ระยะทางถึงจุดศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น .................... ๓๔๑
ด-๗ การประมาณขนาดอาวุธจากมุมยอดเมฆ/ฐานเมฆและเวลาแสง-ถึง-เสียง/
ระยะทางถึงจุดศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น. .................................................. ๓๔๒
ด-๘ การหาระยะทางใต้ลมเขต I.............................................................................. ๓๔๓
ด-๙ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.2)........................................ ๓๔๔
ด-๑๐ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.3)........................................ ๓๔๕
ด-๑๑ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.4)........................................ ๓๔๖
ด-๑๒ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.5)........................................ ๓๔๗
ด-๑๓ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.6)........................................ ๓๔๘
ด-๑๔ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.7)........................................ ๓๔๙
ด-๑๕ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.8)........................................ ๓๕๐
ด-๑๖ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.9)........................................ ๓๕๑
ด-๑๗ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.0)........................................ ๓๕๒
ด-๑๘ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.1)........................................ ๓๕๓
ด-๑๙ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.2)........................................ ๓๕๔
ด-๒๐ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.3)........................................ ๓๕๕
ด-๒๑ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.4)........................................ ๓๕๖
ด-๒๒ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.5)........................................ ๓๕๗
ด-๒๓ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.6)........................................ ๓๕๘
ด-๒๔ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.7)........................................ ๓๕๙
ด-๒๕ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.8)........................................ ๓๖๐
ด-๒๖ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n= 1.9)....................................... ๓๖๑
ด-๒๗ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=2.0)........................................ ๓๖๒
ด-๒๘ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.2)............................ ๓๖๓
ด-๒๙ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.3)............................ ๓๖๔
ด-๓๐ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.4)............................ ๓๖๕
ด-๓๑ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.5)............................ ๓๖๖
ด-๓๒ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.6)............................ ๓๖๗
ด-๓๓ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.7)............................ ๓๖๘
ด-๓๔ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.8)............................ ๓๖๙
ด-๓๕ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.9)............................ ๓๗๐
ด-๓๖ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.0)............................ ๓๗๑
ด-๓๗ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.1)............................ ๓๗๒
ด-๓๘ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.2)............................ ๓๗๓
ด-๓๙ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.3)............................ ๓๗๔
ด-๔๐ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.4)............................ ๓๗๕
ด-๔๑ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.5)............................ ๓๗๖
ด-๔๒ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.6)............................ ๓๗๗
ด-๔๓ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.7)............................ ๓๗๘
ด-๔๔ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.8)............................ ๓๗๙
ด-๔๕ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.9)............................ ๓๘๐
ด-๔๖ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากฝุ่นกัมมันตรังสี) (n=2.0)............................ ๓๘๑
ด-๔๗ การหาปัจจัยอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน (H+1) ด้วยวิธีกราฟ............. ๓๘๒
ด-๔๘ การหาปัจจัยอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน (H+48) ด้วยวิธีกราฟ........... ๓๘๓
ด-๔๙ ปัจจัยตัวคูณ..................................................................................................... ๓๘๔
ด-๕๐ การสลายตัวของรังสีชักนำ� (ดินประเภทที่ I).................................................... ๓๘๕
ด-๕๑ การสลายตัวของรังสีชักนำ� (ดินประเภทที่ II).................................................... ๓๘๖
ด-๕๒ การสลายตัวของรังสีชักนำ� (ดินประเภทที่ III)................................................... ๓๘๗
ด-๕๓ การสลายตัวของรังสีชักนำ� (ดินประเภทที่ IV).................................................. ๓๘๘
ด-๕๔ โนโมแกรมปริมาณรังสีชักนำ�ทั้งสิ้นที่ได้รับในพื้นที่แผ่รังสีชักนำ�ลำ�ดับตาราง
. ....................................................................................................................... ๓๘๙
๓-๑ ความหมายของรหัสอักษร................................................................................ ๓๒
๓-๒ ชนิดของสาร..................................................................................................... ๓๘
๓-๓ ชื่อสาร.............................................................................................................. ๓๙
ก-๑ ตัวอย่างรายการตรวจสอบก่อนการโจมตี คชรน. ............................................ ๔๔
ก-๒ ตัวอย่างรายการตรวจสอบระหว่างถูกโจมตี คชรน. ........................................ ๔๖
ก-๓ ตัวอย่างรายการตรวจสอบหลังการถูกโจมตีทาง คชรน. ................................. ๔๗
ก-๔ ตัวอย่างรายการตรวจสอบการฟื้นฟูหลังการโจมตีทาง คชรน. ....................... ๔๙
ค-๑ ความเข้มของรังสีที่คาดว่าจะได้รับภายหลังการโจมตีทางนิวเคลียร์ (cGy/hr)
. ....................................................................................................................... ๖๕
ค-๒ ผลจากอาวุธนิวเคลียร์ ตามระยะห่างจาก GZ ................................................ ๖๖
ค-๓ การบาดเจ็บทางรังสีและผลจากการได้รับรังสีต่อบุคคล................................... ๖๗
ค-๔ สถานภาพการรับรังสีในการปฏิบัติการและเกณฑ์ความเสี่ยง........................... ๗๐
ค-๕ ผลทางกายภาพจากการได้รับรังสี๑.................................................................. ๗๑
ค-๖ ขีดจำ�กัดเกณฑ์การได้รับรังสีสำ�หรับผู้เผชิญเหตุฉุกเฉิน๗����������������������������������� ๗๕
ง-๑ อิทธิพลของสภาพอากาศต่อการกระจายของสารชีวะ...................................... ๘๔
ง-๒ อิทธิพลของสภาพอากาศต่อการกระจายของแอโรซอลสารเคมี....................... ๘๕
ง-๓ หัวข้อของข่าวทั่วไปสำ�หรับการรายงานอุตุนิยมวิทยา...................................... ๙๑
ง-๔ รายงานอุตุนิยมวิทยา นชค. ............................................................................ ๙๑
ง-๕ ระยะทางบนแผนที่สำ�หรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐)................ ๑๐๔
ง-๖ ระยะทางบนแผนที่สำ�หรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐)............. ๑๐๕
ง-๗ ระยะทางบนแผนที่สำ�หรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐)............. ๑๐๕
ง-๘ ระยะทางบนแผนที่สำ�หรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐)................ ๑๐๖
ง-๙ ระยะทางบนแผนที่สำ�หรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐)............. ๑๐๖
ง-๑๐ ระยะทางบนแผนที่สำ�หรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐)............. ๑๐๗
ง-๑๑ ค่าน�้ำหนัก........................................................................................................ ๑๑๐
ง-๑๒ ความยาวเส้นทิศทางลม................................................................................... ๑๑๑
ง-๑๓ แผนภูมิประเภทความคงตัวของอากาศ .......................................................... ๑๑๙
ง-๑๔ แผนภูมิการปรับประเภทความคงตัวของอากาศ.............................................. ๑๒๑
จ-๑ ประเภทและกรณีของการโจมตีเคมี................................................................. ๑๓๑
จ-๒ ค่าระยะทางอันตรายตามลม (DHD) เปรียบเทียบกับความเร็วลม (กม./ชม.)
และความคงตัวของอากาศ ............................................................................. ๑๓๔
จ-๓ พื้นที่อันตรายตามลม ประเภท A กรณีที่ ๒ .................................................... ๑๓๕
จ-๔ เวลาเป็นไปได้ที่กำ�ลังพลอาจถอดหน้ากากป้องกันออกได้อย่างปลอดภัย
หลังการเปื้อนพิษบนพื้นผิวเมื่อถูกโจมตี ประเภท B ....................................... ๑๔๐
จ-๕ แสดงประเภทและกรณีของการโจมตีทอ่ี าจได้รบั ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง
สภาพอากาศที่แตกต่างกัน............................................................................... ๑๕๑
ฉ-๑ ประเภทและกรณีของการโจมตี....................................................................... ๑๗๖
ช-๑ กลุ่มขนาดอาวุธที่เลือกไว้................................................................................. ๒๒๘
ช-๒ ความหนาครึ่ง (x ½) ของวัตถุ......................................................................... ๒๖๐
ช-๓ ค่า TF และ CF................................................................................................. ๒๖๑
ช-๔ รัศมีของการเปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวนำ�................................................... ๒๘๘
ช-๕ ประเภทของดินสำ�หรับการคำ�นวณรังสีนิวตรอนเหนี่ยวนำ�๙����������������������������� ๒๙๒
ช-๖ ค่าปัจจัยส่งผ่าน (TF) ของสิ่งปลูกสร้างทั่วไป.................................................... ๒๙๓
ซ-๑ ประเภทและกรณีของ ROTA........................................................................... ๓๑๓
ด-๑ ระยะทางบนแผนที่เป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๕๐,๐๐๐
ความเร็วลมเป็น กม./ชม.................................................................................. ๓๒๖
ด-๒ ระยะทางบนแผนที่เป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๕๐,๐๐๐
ความเร็วลมเป็นนอต........................................................................................ ๓๒๖
ด-๓ ระยะทางบนแผนที่เป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๑๐๐,๐๐๐
ความเร็วลมเป็น กม./ชม. ............................................................................... ๓๒๗
ด-๔ ระยะทางบนแผนที่เป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๑๐๐,๐๐๐
ความเร็วลมเป็นนอต ...................................................................................... ๓๒๗
ด-๕ ระยะทางบนแผนที่เป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๒๕๐,๐๐๐
ความเร็วลมเป็น กม./ชม. ............................................................................... ๓๒๘
ด-๖ ระยะทางบนแผนที่เป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๒๕๐,๐๐๐
ความเร็วลมเป็นนอต ...................................................................................... ๓๒๘
ด-๗ ตารางแปลงค่าองศาเป็นมิลเลียม..................................................................... ๓๒๙
ด-๘ ตารางแปลงค่าและปัจจัยแปลงค่าระยะทาง.................................................... ๓๓๐
ด-๙ ค่า TF/PF......................................................................................................... ๓๓๑
ด-๑๐ ปัจจัยปรับอัตรารังสี (เป็นค่า ณ เวลา H +1 ชม.)............................................ ๓๓๒
ด-๑๑ การกำ�หนดประเภทความคงตัวของอากาศ...................................................... ๓๓๓
ด-๑๒ การปรับประเภทความคงตัวของอากาศ........................................................... ๓๓๔
ด-๑๓ เมฆกัมมันตรังสีและค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับลำ�ดอกเห็ด
(เสถียรเมื่อ H+10 นาที).................................................................................. ๓๓๕
บทที่ ๑
กล่าวทั่วไป

๑. ความเป็นมา
๑.๑ การป้องกันทีด่ ที สี่ ดุ ในสงคราม คชรน.คือ การใช้หลักพืน้ ฐานของการหลีกเลีย่ งการ
เปื้อนพิษ หลีกเลี่ยงอันตรายโดยการขัดขวางก่อนการปล่อยกระจายหรือท�ำการป้องกันเมื่อมีการ
ปล่อยกระจายสารในโอกาสแรก หรือการรู้ข่าวสารที่แท้จริงของวิธีการ สถานที่ และความรุนแรง
ของอันตรายจาก คชรน.ที่ปรากฏในพื้นที่ปฏิบัติการ (AO) และห้ามเข้าไปในพื้นที่เปื้อนพิษนั้น
เว้นกรณีจ�ำเป็นต้องปฏิบัติการทางทหารให้ประสบความส�ำเร็จ
๑.๒ การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษได้ส�ำเร็จจะท�ำให้ปฏิบัติการทางทหารด�ำเนินต่อไปได้
และลดเวลาที่ต้องสวมชุดเสื้อผ้าป้องกันที่ท�ำให้ปฏิบัติงานได้ไม่สะดวกและลดความต้องการการ
ท�ำลายล้างพิษให้เหลือน้อยที่สุด วิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษที่ดีคือ การไม่ตัดผ่านพื้นที่เปื้อนพิษ
ใช้เส้นทางอ้อมแทน หรือค�ำนวณเวลาที่ดีที่สุดในการข้ามพื้นที่เปื้อนพิษโดยใช้วิธีการที่บรรยายใน
หนังสือเล่มนี้ การหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษจ�ำเป็นต้องมีความสามารถในการจ�ำแนกการมีอยูห่ รือไม่มี
อันตรายจากอาวุธ คชรน.ทั้งในอากาศ, น�้ำ, พื้นดิน, บุคคล, ยุทธภัณฑ์และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก
ทั้งในระยะใกล้และไกล
๑.๓ การเฝ้าตรวจและขีดความสามารถในการตรวจหา ท�ำให้ก�ำลังพลสามารถจ�ำแนก
อันตรายจากอาวุธ คชรน. การรวบรวมขีดความสามารถเหล่านี้ด้วยข่าวสารจากแหล่งที่มาอื่น ๆ
ท�ำให้ได้ภาพปฏิบัติการร่วมทั่วทุกด้าน ช่วยในการตัดสินใจส�ำหรับการหลีกเลี่ยง, การป้องกันและ
การท�ำลายล้างพิษโดยเฉพาะ
๑.๔ การเฝ้าระวังและการตรวจหา มีผลในการก�ำหนดมาตรการที่จ�ำเป็นส�ำหรับการ
หลีกเลี่ยงพื้นที่เปื้อนพิษ เช่น เสียงสัญญาณเตือนภัย, การท�ำเครื่องหมายพื้นที่เปื้อนพิษและการ
เตือนภัย เพื่อจะช่วยให้การตัดสินใจของผู้บังคับหน่วย ในการหามาตรการเสริม เพื่อที่จะหลีกเลี่ยง
หรือจ�ำกัดการเปื้อนพิษ เช่น เพิ่มที่ก�ำบังระหว่างสงคราม คชรน.และหาข่าวสารส�ำคัญส�ำหรับการ
เคลื่อนย้าย ก่อน ระหว่างและหลังการโจมตี คชรน.
๒. การตรวจจับ, การก�ำหนดรูปแบบของอันตราย, การป้องกันและการด�ำรงสภาพการรบ
(Sense, Shape, Shield and Sustain)
การป้องกัน คชรน. มี ๔ ส่วนปฏิบัติการ รูป ๑-๑ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกันของการ
ปฏิบัติการทั้ง ๔ ส่วน ซึ่งมีความสัมพันธ์ตามขอบเขตที่แตกต่างกัน และการก�ำหนดรูปแบบของ
อันตราย จะมีอิทธิพลมากที่สุดต่อส่วนปฏิบัติการอื่น ๆ
2 บทที่ ๑

๒.๑ การตรวจจับ (Sense)


การตรวจจับ คือ ขีดความสามารถในการหาข่าวสารอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับ
สถานการณ์ คชรน.ในพื้นที่และเวลาที่เจาะจงอย่างถูกต้องและทันต่อเหตุการณ์ มาตรการ
หลีกเลีย่ งพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษใช้หลักการเบือ้ งต้นคือ การตรวจหา, การพิสจู น์ทราบ, การหาปริมาณความ
รุนแรงของอันตราย คชรน.ในด้านกายภาพทั้งหมด (ของแข็ง, ของเหลว, ก๊าซ) ด้วยเครื่องตรวจจับ
สัญญาณและเครื่องตรวจหาสาร
๒.๒ การก�ำหนดรูปแบบของอันตรายทาง คชรน. (Shape)
การก�ำหนดรูปแบบของอันตรายทาง คชรน. คือ การท�ำให้สามารถจ�ำแนกลักษณะ
เฉพาะของการเปื้อนพิษ คชรน. ฝ่ายอ�ำนวยการของผู้บังคับก�ำลังรบจะรวบรวมสรุปข้อมูลข่าวสาร
จากเครื่องตรวจจับสัญญาณ, ข่าวกรองและงานด้านเสนารักษ์ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเตรียมการ
ป้องกันผลกระทบจากอันตรายของ คชรน.ที่เป็นไปได้จริง ข่าวสารนี้จะช่วยให้ผู้บังคับหน่วยเข้าใจ
สถานการณ์ปัจจุบันได้ชัดเจนและประมาณสถานการณ์ คชรน.ได้

ด�ำรงสภาพการรบ การป้องกัน

การก�ำหนดรูปแบบ
ของอันตรายทาง คชรน.

การตรวจจับ

ภาพ ๑-๑ ส่วนปฏิบัติการ คชรน.

๒.๓ การป้องกัน (shield)


การป้องกันเป็นการจัดเตรียมขีดความสามารถในการปกป้องก�ำลังรบจากสาเหตุ
การเปื้อนพิษ คชรน.โดยป้องกันหรือลดการเปื้อนพิษทั้งบุคคลและส่วนรวม ใช้การป้องกันโรค
เพื่ อ ป้ อ งกั น หรื อ บรรเทาผลกระทบที่ เ สี ย หายด้ า นกายภาพและป้ อ งกั น ยุ ท โธปกรณ์ ที่ ส� ำ คั ญ
การหลีกเลีย่ ง, การบรรเทาและมาตรการป้องกันเชิงรุกและเชิงรับจะช่วยผูบ้ งั คับหน่วยในการป้องกัน
ก�ำลังพลและยุทธภัณฑ์ไม่ให้เปื้อนพิษ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 3

๒.๔ การด�ำรงสภาพการรบ (Sustain)


การด�ำรงสภาพการรบคือ ความสามารถในการท�ำลายล้างพิษและการรักษา
พยาบาล เพื่อให้ก�ำลังรบสามารถฟื้นคืนสภาพได้เร็วที่สุด, การผดุงไว้หรือฟื้นคืนหน้าที่ส�ำคัญที่ไม่
ได้รับผลกระทบจากอันตรายด้าน คชรน. และกลับเข้าสู่ความสามารถในการปฏิบัติการตามปกติ
ให้เร็วที่สุดที่จะเป็นไปได้
๓. พื้นฐานและหลักการ (Fundamentals and Principles)
มีความเป็นไปได้มากขึน้ ทีจ่ ะมีการใช้อาวุธ คชรน.ในการท�ำสงคราม ถ้าอาวุธเหล่านีถ้ กู ใช้
ก�ำลังรบของเราจะต้องพร้อมที่จะเสริมหลักการป้องกัน คชรน. เรื่องแรกของการป้องกันคือ
การหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษ ซึง่ ถ้าท�ำได้สำ� เร็จจะลดความต้องการส�ำหรับยุทธภัณฑ์ปอ้ งกันบุคคลและ
ส่วนรวม หรือลดเวลาทีใ่ ช้ในการปฏิบตั แิ ละแรงงานด้านการท�ำลายล้างพิษ การเพิม่ มากขึน้ ของคลัง
สรรพาวุธของระบบอาวุธ คชรน.ในปัจจุบนั เกือบทัว่ โลกมีรปู แบบโรงงานผลิตทีแ่ ตกต่างกัน, การวิจยั
และพัฒนา, สายการผลิตเภสัชภัณฑ์ และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซงึ่ มีวสั ดุปริมาณมากทีอ่ าจจะท�ำให้เกิด
อันตราย เมื่อรั่วไหลเข้าสู่บรรยากาศ จากบทเรียนการรั่วไหลของสารเคมีที่ Bhopal อินเดียและ
การปนเปื้อนของนิวเคลียร์ที่รั่วออกมาจาก เชอร์โนบิล ยูเครน แสดงให้เห็นว่าวัตถุมีพิษจาก
อุตสาหกรรม (TIM) สามารถก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงไม่ตา่ งจากอาวุธทางทหาร การปล่อยกระจาย
ของสิง่ ปนเปือ้ น คชรน.ทีไ่ ม่ใช่เกิดจากการโจมตีทางทหาร (ROTA) ไม่วา่ จะโดยเจตนาหรือเป็นความ
เสียหายที่เกิดขึ้นกับพลเรือนในการปฏิบัติการทางทหาร จะน�ำมาซึ่งการป้องกัน คชรน. ส�ำหรับ
ก�ำลังพล
๓.๑ พื้นฐานของการป้องกัน คชรน.มี ๓ ขั้นตอน คือ การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ
การป้องกันการเปื้อนพิษและการท�ำลายล้างพิษ (ภาพ ๑-๒) การด�ำเนินการในทุกระดับควบไปกับ
การตอบโต้อย่างได้ผล พื้นฐานเหล่านี้จะเพิ่มความเป็นไปได้ในการได้รับชัยชนะ ในขณะที่
การหลีกเลี่ยงพื้นที่เปื้อนพิษเป็นที่ต้องการเสมอ แต่ภารกิจที่ได้รับอาจท�ำให้จ�ำเป็นต้องเข้ายึดพื้นที่
หรือข้ามพื้นที่เปื้อนพิษ หน่วยสามารถลดการท�ำงานที่ด้อยลงให้เหลือน้อยสุดและจ�ำกัดการเปื้อน
พิษโดยด�ำเนินการตามหลักการและวิธีการที่ระบุไว้ในคู่มือดังนี้
4 บทที่ ๑

ด�ำเนินการท�ำลายล้างพิษเพื่อฟื้นคืนอ�ำนาจ
การรบที่ลดลงจากการเปื้อนพิษของบุคคล
ยุทธภัณฑ์หรือพื้นที่ที่ส�ำคัญต่อภารกิจ
การป้องกัน คชรน.
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ

การป้องกันการเปื้อนพิษ

การท�ำลายล้างพิษ

ใช้การป้องกันบุคคลและส่วนรวม
เพื่อรักษาอ�ำนาจการรบ
พยากรณ์และใช้เครื่องตรวจจับเพื่อ
หลีกเลี่ยงอันตรายก่อนการเปื้อน
พิษจะมีอิทธิพลต่อปฏิบัติการ

ภาพ ๑-๒ พื้นฐานการป้องกัน คชรน.

๓.๒ การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ
เพือ่ หลีกเลีย่ งหรือลดความเสียหายจากการถูกโจมตีดว้ ยอาวุธ คชรน.หรือลดความ
เสียหายจากการปนเปื้อนของวัตถุมีพิษอุตสาหกรรม มีทั้งมาตรการป้องกันเชิงรุกและเชิงรับในการ
หลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ มาตรการป้องกันเชิงรับประกอบด้วย การหลีกเลี่ยงการเป็นพื้นที่เป้าหมาย
และการถูกโจมตีโดยระบบอาวุธ มาตรการนีร้ วมถึงการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ์, การพราง
และการซ่อนพราง, การท�ำที่มั่นให้แข็งแกร่งขึ้นและการกระจายก�ำลังพลและยุทธภัณฑ์
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอนดังนี้
๑. การใช้มาตรการป้องกันเชิงรับ
๒. การเตือนภัยและการรายงาน คชรน.หรือเหตุการณ์วัตถุมีพิษอุตสาหกรรม
๓.  การค้นหา, พิสูจน์ทราบ, ติดตามและการพยากรณ์การเปื้อนพิษ คชรน.หรือ
อันตรายจากวัตถุมีพิษอุตสาหกรรม
๔. การจ�ำกัดการเปื้อนพิษ คชรน.หรืออันตรายจากวัตถุมีพิษอุตสาหกรรม
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 5

๓.๓ หลักการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษตามหลักนิยมที่ก�ำหนดไว้นั้นมีความสมบูรณ์ สามารถ
น�ำไปใช้ทกุ สถานการณ์และทุกระดับ ยุทธวิธี ส่วนเทคนิคและระเบียบปฏิบตั ขิ องการหลีกเลีย่ งการ
เปือ้ นพิษจะปรับเปลีย่ นตามภารกิจ, ชนิดของสารทีเ่ ผชิญและสภาพแวดล้อม เครือ่ งมือตรวจหาสาร
คชรน.ทางทหารจะไม่สามารถตรวจหาวัตถุมีพิษอุตสาหกรรมบางชนิดได้ ในพื้นที่ขนาดใหญ่และ
เป็นระบบที่ตั้งถาวร เช่น สนามบินและหน่วยเคลื่อนที่ การใช้ยุทธวิธี เทคนิคและระเบียบปฏิบัติ
ย่อมแตกต่างกัน ความช�ำนาญและขั้นตอนที่จ�ำเป็นในการเสริมมาตรการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ
มีดังนี้
๓.๓.๑ สิ่งบอกเหตุของการเปื้อนพิษ (Knowledge of potential hazards)
๓.๓.๒ การเตรียมพร้อมด้านข่าวกรองของพื้นที่การรบ (Intelligence prepara-
tion of the battle space)
๓.๓.๓ การวิเคราะห์ความล่อแหลม (Vulnerability analysis)
๓.๓.๔  การวิเคราะห์สถานการณ์เฝ้าระวัง (Situational awareness analysis)
สถานการณ์เฝ้าระวังนี้ขึ้นอยู่กับ ๓ หัวข้อดังกล่าวข้างต้นและข้อมูลข่าวสารจากพื้นที่เปื้อนพิษ
๓.๔ หน่วยที่ตั้งถาวรและหน่วยเคลื่อนที่
หน่วยและการปฏิบตั สิ ามารถจ�ำแนกโดยทัว่ ไปในลักษณะหน่วยทีต่ งั้ ถาวรและหน่วย
เคลือ่ นที่ เช่นเดียวกันการปนเปือ้ นในสนามรบจะมีทงั้ แบบเฉพาะพืน้ ที่ และแบบทีล่ มพัดพาไปท�ำให้
ปนเปื้อนเป็นวงกว้าง ปัจจุบัน standoff detection ยังมีความสามารถอยู่ในขีดจ�ำกัด การตรวจ
หาส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ใกล้เคียง, ศูนย์กลางหรือหน่วย หน่วยที่มีความเป็นไปได้ที่จะได้รับ
อันตรายมักจะได้รบั การเตือนจากหน่วยอืน่ ทีเ่ ปือ้ นพิษก่อนเป็นส่วนใหญ่ หน่วยเฉพาะกิจ (การลาด
ตระเวน คชรน., การตรวจหาสารชีวะ) จัดเตรียมข้อบ่งชี้ว่ามีการโจมตีผ่านทางระบบรายงานเตือน
ภัย คชรน.แต่ละหน่วยจัดหาข่าวสารด้าน คชรน. ซึ่งจะสอดคล้องกับประสิทธิภาพการตรวจหา
การรวมข้อมูลจากหลายแหล่งข่าวเพือ่ จัดเตรียมสถานการณ์การเฝ้าระวังการเปือ้ นพิษ คชรน.และผล
กระทบต่อแผนการรบให้แก่ผู้บังคับหน่วย
๓.๕ สิ่งบอกเหตุของการเปื้อนพิษ (Knowledge of Hazards) การหลีกเลี่ยงการเปื้อน
พิษเริ่มต้นด้วยการมีสิ่งบอกเหตุเกี่ยวกับสารพิษที่อาจจะต้องเผชิญ ซึ่งประกอบด้วยลักษณะทาง
กายภาพ, คุณลักษณะในภาคสนาม (field behavior) และเทคนิคในการใช้ การหลีกเลีย่ งการเปือ้ น
พิษต้องใช้ทักษะในการเตรียมพื้นที่การรบ การเข้าใจถึงการคุกคามของประสิทธิภาพ คชรน. และ
ระบบส่งอาวุธจะท�ำให้ผบู้ งั คับหน่วยสามารถใช้ยทุ โธปกรณ์ทจี่ ำ� เป็นในการปกป้องก�ำลังรบ เนือ่ งจาก
เครือ่ งตรวจหามีขอ้ จ�ำกัดของเทคนิคและการใช้งานจึงควรประสานงานกันและสร้างเครือข่ายตลอด
พื้นที่สนามรบ
6 บทที่ ๑

๓.๖ หลักการของการหลีกเลี่ยงพื้นที่เปื้อนพิษ ประกอบด้วย


๓.๖.๑ การตรวจหา (Detecting) ในสภาวะ คชรน.จะมีการค้นหาต�ำแหน่งของ
พื้นที่เปื้อนพิษ โดยใช้เครื่องตรวจหาสารหรือชุดส�ำรวจ มาตรการที่เกี่ยวกับการตรวจหามีดังนี้
ก. การเตือนภัย (Warning) Standoff detection จะเตือนภัยเมื่อเข้า
ใกล้กลุม่ เมฆ (ไม่เจาะจงชนิดสารเคมีชวี ะ) ในเวลาทีเ่ พียงพอทีจ่ ะเพิม่ มาตรการป้องกันก่อนเกิดการ
เปื้อนพิษ
ข. การรักษาพยาบาล (Treatment) (การเฝ้าระวังทางการแพทย์) พิสจู น์
ทราบชนิดของสารทีใ่ ช้ในการโจมตี เพือ่ ได้ทำ� การรักษาอย่างถูกต้องและท�ำรายงานเสนอให้เร็วทีส่ ดุ
ที่เป็นไปได้
ค. การพิสูจน์ (Verification) (การลาดตระเวนและการตรวจสอบ)
การตรวจหาส�ำหรับการพิสจู น์ความจริง เป็นการจัดเตรียมข่าวสารส�ำคัญเพือ่ สนับสนุนการตัดสินใจ
ที่เกี่ยวเนื่องกับยุทธศาสตร์ ทิศทางและความมั่นคงของชาติ
ง. การเปื้อนพิษพื้นผิว (Surface Contamination) (การตรวจสอบ)
การตรวจหาการเปือ้ นพิษเพือ่ ก�ำหนดขอบเขตพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ ผลของการตรวจสอบจะประกอบการ
ตัดสินใจเช่น ควรท�ำลายล้างพิษตามความจ�ำเป็นหรือควรใช้เส้นทางอ้อมพื้นที่เปื้อนพิษแทน
จ. การถอดหน้ากาก (Unmasking) (ยกเลิกการเตือนภัย) ถอดหน้ากาก
เมื่อท�ำการตรวจหาแล้วมีการลดลงของสารพิษอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เปรียบเทียบวิธีการและผล
การตรวจหาสารพิษในช่วงก่อน จะเป็นหลักเกณฑ์ส�ำคัญในการตัดสินใจถอดหน้ากาก
๓.๖.๒ การพิสูจน์ทราบ (Identifying) การพิสูจน์ทราบท�ำให้ผู้บังคับหน่วยหา
มาตรการที่จ�ำเป็นในการป้องกันและรักษาพยาบาล ติดตามการส�ำรวจและสุ่มตัวอย่างเพื่อน�ำมา
ใช้ในการตรวจสอบ
๓.๖.๓ การพยากรณ์การเปื้อนพิษ (Predicting) เจ้าหน้าที่ คชรน.จัดท�ำการ
พยากรณ์อนั ตรายจากการโจมตี คชรน. เมือ่ การโจมตีไม่ได้จำ� กัดขอบเขตอยูใ่ นพืน้ ทีถ่ กู โจมตีโดยตรง
แอโรซอลหรือฝุ่นกัมมันตรังสีที่ลมพัดพาไปสามารถปกคลุมพื้นที่ตามลมขนาดใหญ่ของพื้นที่โจมตี
ได้ เพือ่ ป้องกันคนบาดเจ็บล้มตาย หน่วยต้องประเมินพืน้ ทีอ่ นั ตรายให้เร็วทีส่ ดุ ทีเ่ ป็นไปได้และเตือน
หน่วยในพื้นที่ที่ถูกประเมินขอบเขตให้เป็นพื้นที่เปื้อนพิษ อันนี้เป็นการประมาณการเท่านั้น
การเปลี่ยนแปลงของภูมิประเทศ, สภาพอากาศและระบบส่งอาวุธจะปรับเปลี่ยนพื้นที่อันตราย
การพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมท�ำให้เกิดความปลอดภัยส�ำหรับก�ำลังพล และยังท�ำให้หน่วย
ในพื้นที่มีเวลาเตรียมการป้องกันได้อย่างเหมาะสม
๓.๖.๔ การเตือนภัยและการรายงาน (Warning and reporting) แจ้งการเตือนภัย
และรายงานแก่หน่วยรบ, ก�ำลังรบฝ่ายเรา, พันธมิตร เมื่อมีการคุกคามหรือการใช้อาวุธ คชรน.จริง
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 7

๓.๖.๕ การท�ำเครือ่ งหมาย (Marking) การท�ำเครือ่ งหมายพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษเพือ่ เตือน
ฝ่ายเดียวกัน ให้หน่วยหรือชุดลาดตระเวน คชรน.ท�ำเครื่องหมายเปื้อนพิษทุกจุดทางเข้าพื้นที่ที่เป็น
ไปได้และรายงานการเปื้อนพิษไปยังกองบัญชาการหน่วยเหนือ
๓.๖.๖ การเปลี่ยนที่ตั้งและเปลี่ยนเส้นทาง (Relocating and Rerouting) ขึ้น
กับสถานการณ์ทางการยุทธ์และภารกิจ เป็นทางเลือกที่ปฏิบัติได้ส�ำหรับหน่วยเคลื่อนที่แต่ไม่มีผล
กับหน่วยที่ตั้งถาวร เช่น ท่าเรือ, สนามบิน
๔. การลดความล่อแหลม (Vulnerability Reducting) มี ๒ มาตรการ คือ
มาตรการเชิงรุกป้องกันข้าศึกจากการใช้อาวุธ คชรน.
มาตรการเชิงรับเพิ่มขีดความสามารถในการอยู่รอด
๔.๑ มาตรการเชิงรุก (Active Measures) มาตรการเชิงรุกคือ การค้นหาและท�ำลาย
อาวุธและระบบส่งอาวุธ วิธนี เี้ ป็นวิธที ดี่ ที สี่ ดุ เพราะจะลดโอกาสในการถูกโจมตี การท�ำลายคลังและ
สถานทีผ่ ลิตอาวุธ คชรน.จะไม่อยูใ่ นความรับผิดชอบของผูบ้ งั คับหน่วยระดับล่าง ระดับยุทธศาสตร์
ของการสัง่ การจะมีความรับผิดชอบและค่าใช้จา่ ยในการค้นหาและท�ำลายเป้าหมายเหล่านี้ ผูบ้ งั คับ
หน่วยระดับปฏิบัติการและยุทธวิธี ไม่มีขีดความสามารถในการค้นหาและท�ำลายคลังยุทโธปกรณ์
และสถานที่ผลิตอาวุธ คชรน.แต่มีขีดความสามารถในการค้นหาและท�ำลายระบบส่งอาวุธ
๔.๒ มาตรการเชิงรับ (Passive Measures) อาจเป็นไปไม่ได้ทจี่ ะท�ำลายอาวุธ คชรน.และ
ระบบการส่งอาวุธทัง้ หมด หน่วยจะต้องมีการป้องกันล่วงหน้าเพือ่ ทีจ่ ะหลีกเลีย่ งการตกเป็นเป้าหมาย
และลดผลของการโจมตีถ้ามีเหตุการณ์เกิดขึ้น นี่ก็คือมาตรการเชิงรับ ทุกหน่วยต้องใช้มาตรการ
เชิงรับเป็นส่วนหนึง่ ของปฏิบตั กิ ารปกติเพือ่ ทีจ่ ะลดผลกระทบจากปฏิบตั กิ ารภายใต้สงคราม คชรน.
มาตรการต่าง ๆ มีดังนี้
๔.๒.๑ การวางแผนล่วงหน้า (Planning Ahead) ผูบ้ งั คับหน่วยต้องใช้เวลาในการ
วางแผนปฏิบตั กิ าร (COA) อย่างรอบคอบ ซึง่ ก็คล้ายกับการจ�ำลองการยุทธ์ การตัดสินใจทีผ่ ดิ พลาด
จะท�ำให้หน่วยเปือ้ นพิษหรือมีกำ� ลังพลได้รบั บาดเจ็บ (ดูภาคผนวก ก ส�ำหรับรายการตรวจสอบก่อน
การโจมตี)
๔.๒.๒ หลีกเลี่ยงการตรวจจับ (Avoiding Detection) เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการ
ป้องกันการโจมตีทางเคมีชีวะ โดยใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการ (OPSEC)
มาตรการนี้รวมถึง การอ�ำพราง, วินัยการใช้แสง, การรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร, การใช้
มาตรการเชิงรับและเชิงรุกเพื่อป้องกันข้าศึกไม่ให้ได้รับข่าวสารเป้าหมาย
๔.๒.๓ การเตือนภัย (Providing warning) ถ้าหน่วยไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูก
โจมตีทาง คชรน. การเตือนภัยก่อนเป็นสิ่งส�ำคัญมาก ใช้ระบบเตือนภัยและรายงาน คชรน.
(CBRNWRS) แจ้งหน่วยที่อยู่ใกล้เคียงกับหน่วยถูกโจมตีหรือหน่วยในพื้นที่ที่ได้รับอันตรายตามลม
8 บทที่ ๑

๔.๒.๔ แสวงหาการป้องกัน (Seeking protection) แสวงหาการป้องกันในที่ตั้ง


หรือบังเกอร์ ถ้าไม่สามารถหาได้ อาจใช้ภูมิประเทศตามธรรมชาติเป็นที่ก�ำบังภัยจากอันตรายของ
อาวุธ คชรน.ได้ อย่างไรก็ตาม ท่อ, คู, คลอง, หุบเขาและห้วยลึกเป็นที่สะสมสารเคมีได้ ป่าทึบและ
ป่าดงดิบจะป้องกันสารเคมีเหลวแต่ทว่าไอพิษจะเพิ่มขึ้น
๔.๒.๕ การกระจายยุทธปัจจัย (Dispersing Assets) การกระจายต้องลดความ
ล่อแหลมและไม่เป็นอุปสรรคต่อปฏิบตั กิ าร หรือเป็นการป้องกันหน่วยจากภาวะตึงเครียดเมือ่ มีความ
จ�ำเป็น สิ่งอุปกรณ์ (โดยเฉพาะอาหาร, น�้ำมันและวัตถุระเบิด) จะต้องกระจายไม่อยู่ในจุดเดียวกัน
เพื่อป้องกันไม่ให้ถูกท�ำลายในครั้งเดียว ระดับขั้นของการกระจายยุทธปัจจัยขึ้นกับการพิจารณา
ปัจจัย ภารกิจ, ข้าศึก, ภูมปิ ระเทศ, สภาพดินฟ้าอากาศ, ก�ำลังฝ่ายเราทีม่ อี ยูแ่ ละพลเรือน (MEET-TC)
๔.๒.๖ ชุดเคลื่อนที่ที่เหลืออยู่ (Remaining Mobile) การเคลื่อนที่เป็นโอกาสที่ดี
ทีส่ ดุ ส�ำหรับการหลีกเลีย่ ง การเคลือ่ นทีเ่ ป็นประจ�ำเป็นการป้องกันข้าศึกในการหาต�ำแหน่งทีแ่ น่นอน
ท�ำให้การใช้อาวุธ คชรน.ลดความแม่นย�ำ
๔.๒.๗ ปิดคลุมสิง่ อุปกรณ์และยุทธภัณฑ์ (Covering Supplies and Equipment)
เก็บรักษาสิ่งอุปกรณ์และยุทธภัณฑ์ไม่ให้เปื้อนพิษ โดยใช้วัสดุปิดคลุม
๕. การจัดการสงคราม คชรน. (CBRN BM)
การรวมขีดความสามารถในการให้ความช่วยเหลือ การประสานกันของผู้ร่วมมือและ
เครื่องมือป้องกันฝ่ายพลเรือน เพื่อให้ได้ระบบการเตือนภัยและรายงานที่ได้มาตรฐานให้โอกาสที่ดี
ทีส่ ดุ ในการเฝ้าระวังด้าน คชรน. เครือ่ งตรวจจับสัญญาณท�ำการรวบรวมข้อมูล ข้อมูลเปลีย่ นไปเป็น
ข่าวสารโดยใช้รูปแบบรายงาน คชรน. ข่าวสารผ่านกระบวนการไปเป็นสิ่งบอกเหตุ โดยผู้เชี่ยวชาญ
จัดท�ำการพยากรณ์พื้นที่อันตรายและแผ่นบริวารการเปื้อนพิษ ผู้บังคับหน่วยใช้สิ่งบอกเหตุเป็น
พื้นฐานความเข้าใจในการวางแผนและการสั่งการภายหลัง การจัดการสงคราม คชรน.จะต้องมีการ
พิจารณาความเสี่ยงภัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ คชรน.ของข้าศึก และการป้องกัน คชรน.ของฝ่ายเรา
ซึ่งจะประกอบด้วยการใช้ระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน.อย่างเหมาะสมและประยุกต์ใช้
หลักการของการจัดการข่าวสารในการป้องกัน คชรน.
๕.๑ ระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน. (CBRNWRS)
ระบบจะให้ขอ้ มูลและข่าวสารในการจัดการสงคราม คชรน.การป้อนข้อมูลเข้าและ
ผลลัพธ์ที่ออกจากระบบจะให้ค�ำตอบที่จะแจ้งแก่หน่วยฝ่ายเดียวกัน ถึงโอกาสเป็นไปได้ของการ
เปื้อนพิษ ส�ำหรับการจัดท�ำระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน.ที่ได้ผลนั้น หน่วยจะต้องส่ง
ข่าวสารครั้งแรกด้วยวิธีสื่อสารที่ใช้ได้และเร็วที่สุดเช่น รายงานครั้งแรกให้ใช้ความเร่งด่วนของข่าว
“ด่วนที่สุด” ต่อมาหน่วยส่งข่าวสารโดยวิธีการสื่อสารใด ๆ ที่เชื่อถือได้
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 9

๕.๒ การจัดการข่าวสาร คชรน. (CBRN IM)


การจัดการข่าวสาร คชรน.เป็นขั้นตอนการปฏิบัติที่ผู้บังคับหน่วยใช้คือ การได้รับ,
การจัดการ, การก�ำหนดและการควบคุมข่าวสาร การจัดการข่าวสารจะรวมกระบวนการทั้งหมดที่
เกี่ยวข้องกัน ในการสร้าง, รวบรวม, ควบคุม, เผยแพร่, เก็บรักษาและกู้คืนข้อมูล ข่าวสารการเฝ้า
ระวังสถานการณ์ คชรน. (CBRN SA) ของสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติการท�ำให้ผู้บังคับหน่วย
คาดการณ์สถานการณ์ในอนาคตและประเมินความเสีย่ งได้ถกู ต้อง ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะก�ำหนด
รูปแบบเฉพาะของข่าวสาร คชรน. (เช่น เวลาและสถานทีข่ องการโจมตี) ข่าวสารทีไ่ ด้รบั จากเครือข่าย
ตรวจจับสัญญาณจะช่วยในการประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน โดยการตรวจหาและระบุว่าเป็นการ
เปื้อนพิษ คชรน.ในอากาศ, น�้ำหรือบนพื้นดิน ตรวจหาและพิสูจน์ทราบการเปื้อนพิษ คชรน.ที่มีผล
กระทบต่อเจ้าหน้าที,่ ยุทธภัณฑ์หรือสิง่ อุปกรณ์และสภาพทางกายภาพของสารพิษ (ก๊าซ, ของเหลว
หรือของแข็ง) การตรวจหาการเปื้อนพิษจะท�ำให้ง่ายเข้าต่อการมองเห็นภาพสภาวะแวดล้อมทาง
คชรน. การมองเห็นภาพนี้จะช่วยพัฒนาความเข้าใจสถานการณ์ คชรน.ปัจจุบันและสถานการณ์
คชรน. จากการพยากรณ์ได้อย่างชัดเจนและมองเห็นสภาพการณ์ชว่ งปลาย (การบรรลุผลของภารกิจ
ทีป่ ราศจากความสูญเสียและไม่เสียจังหวะการยุทธ์) และบอกล่วงหน้าล�ำดับเหตุการณ์ของก�ำลังรบ
จากสภาพการณ์ปัจจุบันไปถึงช่วงปลายของสภาพการณ์ที่ปรารถนา การเฝ้าระวังสถานการณ์และ
การประเมินความเสีย่ งของผูบ้ งั คับหน่วยน�ำไปสูก่ ารตัดสินใจเพิม่ มาตรการป้องกันก�ำลังรบและรักษา
ผลประโยชน์ในจังหวะการยุทธ์ ขณะที่การป้องกันผู้ได้รับบาดเจ็บภายใต้ภาวะ คชรน.โดยการลด
การคุกคาม, ลดความล่อแหลมของปฏิบัติการและหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ
10 บทที่ ๑

– การประเมินวงรอบข่าวสาร การเฝ้าระวังสถานการณ์ คชรน. ทั่วไป


– ประเมินความถูกต้อง
– ผลตอบกลับ
– สัญญาณเตือนภัยลวง
– การเข้าถึงข้อมูลทางเทคนิค ความเข้าใจ
– ยกเลิกการเตือนภัย – มาตรการป้องกัน/ – จุดมุ่งหมายของผู้บังคับบัญชา
มาตรการควบคุมความเสี่ยง – การจัดล�ำดับความส�ำคัญ
(ความส�ำคัญของภารกิจ)
การพิจารณา – ล�ำดับและการปฏิบัติ
– การประสานการป้องกัน คชรน.
สิ่งบอกเหตุ
– การประเมินความเสี่ยง : – การจัดการความเสี่ยง
การพยากรณ์การเปื้อนพิษ/การวิเคราะห์หนทาง
ปฏิบัติ/ค�ำแนะน�ำชุด ลภ.

กระบวนการรับรู้
– การประเมินความเสี่ยง
– ภาวะการคุกคามทาง คชรน.
– รายงาน คชรน. ข่าวสาร
– ผลกระทบของชุด ลภ. ต่อหน่วย

– ค�ำแนะน�ำการเปื้อนพิษ
– ค�ำแนะน�ำการป้องกันหน่วย การด�ำเนิินการ
– อัตราการท�ำงาน
– ค�ำแนะน�ำสภาพอากาศ ข้อมูล

ภาพ ๑-๓ การจัดการข่าวสาร คชรน.

๕.๒.๑ การปฏิบัติ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะแปลความหมายจากแหล่งข่าวสาร


ทั้งหมด เพื่อให้เข้าใจถึงการคุกคามทาง คชรน.และสภาพแวดล้อมของปฏิบัติการป้องกัน คชรน.
การด�ำเนินการที่จ�ำเป็นคือ
- ท�ำการประเมินความล่อแหลมได้ทันเวลา
- หนทางปฏิบัติ (COA) โดยเฉพาะเพื่อลดความล่อแหลมและการเผชิญ
การคุกคามโดยเฉพาะ
- เตือนภัยและรายงาน คชรน.ต่อความเป็นไปได้และการโจมตี คชรน.จริง
ท�ำให้การประเมินความเสี่ยงและการปฏิบัติท�ำได้ง่ายขึ้น และลดผลของอันตรายจากการเปื้อนพิษ
ในระยะสั้นและระยะยาวให้เหลือน้อยที่สุด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 11

๕.๒.๒ เตรียมความพร้อม เพือ่ รักษาสถานการณ์การเฝ้าระวัง หน่วยจะต้องจัดการ


ข่าวสาร คชรน.ดังนี้
- ได้รับข้อมูลพื้นที่สู้รบที่เกี่ยวข้องกัน
- ประมวลผลข้อมูลไปเป็นข่าวสารที่เกี่ยวข้องกัน
- ได้รับสิ่งบอกเหตุจากการสรุปผลกระทบของข่าวสารต่อปฏิบัติการ
- พัฒนาแผนบนพื้นฐานของสิ่งบอกเหตุของสถานการณ์
- สนับสนุนการปฏิบัติการป้องกัน คชรน.ผ่านทางค�ำสั่งและการจัดการ
เสี่ยงภัย
- รักษาสถานการณ์การเฝ้าระวังด้วยการประเมินวงรอบข่าวสาร
๕.๒.๓ ข้อมูล ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะให้ความส�ำคัญข้อมูลทีต่ รงประเด็น ก�ำหนด
ข้อมูลทีส่ ามารถรวบรวมก่อนมีเหตุการณ์และพัฒนาแผนการรวบรวมข้อมูลเพือ่ ให้ได้รบั ข้อมูลอืน่ ๆ
๕.๒.๔ ข่าวสาร ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะประมวลผลข้อมูลให้ได้ข่าวสารทาง
ยุทธวิธีที่ส�ำคัญและพัฒนาการรวบรวมแผนเพื่อให้ได้รับข้อมูลเพิ่มเติมถ้าข่าวสารไม่สมบูรณ์
๕.๒.๕ สิง่ บอกเหตุ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ใช้แนวทางการจัดท�ำเครือ่ งหมายพืน้ ที่
เปือ้ นพิษเพือ่ แปลข่าวสารไปเป็นสิง่ บอกเหตุ ซึง่ จะประมาณการและประเมินการเปือ้ นพิษเพือ่ พัฒนา
หนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้
๕.๒.๖ ความเข้าใจ ท�ำความเข้าใจในส�ำหรับสถานการณ์การเฝ้าระวัง ผู้บังคับ
หน่วยใช้การเฝ้าระวังนี้เพื่อสื่อสารเจตนารมณ์และล�ำดับค�ำสั่ง ซึ่งจะลดความเสี่ยงภัยลงโดยการใช้
มาตรการป้องกัน คชรน.ต่าง ๆ
๖. การด�ำเนินการป้องกัน คชรน.
๖.๑ ปฏิ บั ติ ก ารในสภาวะแวดล้ อ ม คชรน.ผู ้ เชี่ ย วชาญจะต้ อ งให้ ค วามส� ำ คั ญ ใน
รายละเอียดทางเทคนิคและรวมการสิ่งบอกเหตุด้านการป้องกัน คชรน. ไปสู่การจัดระบบแผน
และการปฏิบัติ ผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคต้องช�ำนาญกับการจัดระบบภารกิจและประสิทธิภาพใน
สถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อประเมินเหตุการณ์และให้ค�ำแนะน�ำเพื่อเตรียมทางเลือกที่ส�ำคัญส�ำหรับ
การปฏิบัติแก่ผู้บังคับหน่วย
๖.๒ นอกจากใช้หลักการเบื้องต้นของการป้องกัน คชรน. และฝึกความสามารถในการ
จัดการสงคราม คชรน. ให้ได้วธิ กี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากทีส่ ดุ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ต้องระมัดระวัง
สภาพแวดล้อมทางทหารและพลเรือนในการจัดระบบการด�ำเนินการ ขณะที่ความรับผิดชอบหลัก
ของผู้บังคับหน่วยคือ การจัดระบบทางทหารเพื่อท�ำให้ภารกิจประสบผลส�ำเร็จ และดูแลชีวิตและ
สวัสดิการของทหาร กองทัพจะต้องด�ำรงอยูแ่ บบพึง่ พาซึง่ กันและกันกับชุมชนโดยรอบ ดังนัน้ ปัจจัย
12 บทที่ ๑

ในการประเมินความเสี่ยง ค�ำแนะน�ำและการวางแผนอื่น ๆ ต้องค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมในวงกว้าง


รวมถึงพลเรือนทั่วไป เพื่อท�ำให้การวางแผนทางทหารมีประสิทธิภาพซึ่งจะต้องไม่ท�ำให้พลเรือนใน
ชุมชนได้รับบาดเจ็บ
๗. ปฏิบัติการทางเคมี, ชีวะ, รังสีและนิวเคลียร์
รายละเอียดที่จ�ำเป็นส�ำหรับการวางแผนปฏิบัติการ
๗.๑ การวางแผนป้องกัน คชรน.และข้อควรพิจารณา
๗.๑๑ ผลกระทบทางยุทธการ
ทีร่ ะดับยุทธการ การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมของพืน้ ทีส่ นามรบมีขอ้ ควร
พิจารณาดังนี้
 ประสิทธิภาพของเครือข่ายการขนส่งเพื่อสนับสนุนการเคลื่อนที่
 การส่งก�ำลังบ�ำรุงเพื่อสนับสนุนปฏิบัติการทาง คชรน.
 เขตส่งเข้าตลอดแนวพื้นที่ปฏิบัติการและพื้นที่สนใจ
 ลักษณะส�ำคัญทางภูมศ ิ าสตร์ขนาดใหญ่ทมี่ ผี ลกระทบต่อปฏิบตั กิ ารทาง
ทหาร (เช่น ภูเขา, ป่าขนาดใหญ่, ทะเลทรายและหมู่เกาะ)
 อากาศตามฤดูกาลที่มีผลต่อการใช้อาวุธ คชรน.
การวางแผนป้องกันและการวิเคราะห์ทาง คชรน.จะช่วยให้ผบู้ งั คับหน่วยและฝ่ายอ�ำนวย
การมองเห็นภาพและประเมินความเสียหายจากประสิทธิภาพของอาวุธ คชรน.ในการรุกรานของ
ข้าศึกได้ทุกมิติตลอดพื้นที่ของสนามรบ รายละเอียดที่จะต้องพิจารณาเมื่อมีการวางแผนป้องกัน
คชรน.มีดังนี้
ก. การรวบรวมข่าวกรอง วิเคราะห์และสรุปผล (Intelligence Collection, Anal-
ysis and Production) การประเมินควรพิสจู น์ทราบสารทีใ่ ช้คกุ คาม อาวุธและทีต่ งั้ ของโรงงานผลิต
วัตถุมพี ษิ อุตสาหกรรมซึง่ จะบอกถึงอันตรายต่อก�ำลังรบทีป่ ฏิบตั กิ ารถ้ามีการก่อการร้ายหรือถูกโจมตี
ข. สถานการณ์เฝ้าระวัง (Situational awareness) จะต้องมั่นใจว่าระบบการ
เตือนภัยและรายงาน คชรน.มีการปฏิบตั ไิ ด้อย่างรวดเร็วทีส่ ดุ ทีจ่ ะเป็นไปได้เมือ่ อยูใ่ นพืน้ ทีส่ นามรบ
ยุทธปัจจัยเช่น ระบบการสืบค้นทางชีววิทยา (Biological Integrated Detection System) ควร
ใช้เพื่อตรวจสอบยุทธปัจจัยที่มีมูลค่าสูง ควรใช้ระบบตรวจหาสาร คชรน.และระบบเครือข่ายเพื่อ
จัดเตรียมการเตือนภัย
ค. การวางแผนทั่วไป การฝึกและมาตรฐานยุทธภัณฑ์ (Common Planning,
Training, Equipment Standards) ความแตกต่างของขีดความสามารถในการป้องกัน คชรน.ของ
ก�ำลังรบชาติต่าง ๆ คือ การพิสูจน์ทราบ ซึ่งจะมีผลต่อการวางแผนและการปฏิบัติการให้ส�ำเร็จ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 13

ง. การป้องกัน คชรน.ด้านการแพทย์ (Medical CRBN Defence) การป้องกัน


คชรน.ด้านการแพทย์ ได้รวมอยูใ่ นเรือ่ งของการเตรียมความพร้อมของหน่วย (ดูภาคผนวก ค ส�ำหรับ
รายละเอียดข้อมูลการเปิดรับรังสี)
จ. การป้องกันพื้นที่รอยต่อแนวหลังและขีดความสามารถด�ำรงสภาพการรบ
ในสนาม (Protection of the Joint Rear and Theater Sustainment Capabilities) การโจมตี
ของข้าศึกที่ประสบความส�ำเร็จ ต่อท่าขนส่งที่ส�ำคัญหรือระบบการส่งก�ำลังที่ส�ำคัญอื่น ๆ จะท�ำให้
ลดทอนจังหวะการยุทธ์และขีดความสามารถก�ำลังรบ
ฉ. ความยากล�ำบากในการส่งก�ำลังบ�ำรุงในภาวะสงคราม คชรน. (Logistics
Burden of CBRN Attacks) การส่งก�ำลังบ�ำรุงเพิม่ เติมของเสือ้ ผ้าป้องกัน, ชิน้ ส่วนซ่อม, ยุทธภัณฑ์,
สิ่งอุปกรณ์ด้านการแพทย์ (ยาแก้พิษและยาปฏิชีวนะ) และทรัพยากรอื่น ๆ จะน�ำมาเป็นปัจจัยใน
การค�ำนวณทรัพยากรที่มีความจ�ำเป็น
ช. ระบบมาตรการเชิงรุกในสนามรบ (In-Theater Active-Defense Systems)
ผูว้ างแผนควรพิจารณาการวางก�ำลังตามโครงสร้างและแนวความคิดในการปฏิบตั กิ ารโดยใช้นโยบาย
มาตรการเชิงรุกให้มากที่สุด
ซ. การวางแผนล่วงหน้าส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารโจมตี (Preplanning for Attack
Operations) ปฏิบัติการโจมตีจะถูกจัดล�ำดับความเร่งด่วน อาจเป็นยุทธศาสตร์ระดับสูงหรือเป็น
เรือ่ งใดทีม่ คี วามเร่งด่วนระดับชาติในภาวะวิกฤตระหว่างการแปรเปลีย่ นไปเป็นสงครามหรือระหว่าง
การต่อต้านโดยใช้วธิ ที ไี่ ม่ให้ฝา่ ยข้าศึกมีความสามารถในการผลิต, เก็บรักษา, ขนส่งหรือการใช้อาวุธ
คชรน.
ด. ผลกระทบของการโจมตีด้วยอาวุธ คชรน.ต่อ C4I (Effect of CBRN
Attacks on Command Control Communications, Computer and Intelligence) ข้อจ�ำกัด
จะเป็นผลจากความจ�ำเป็นที่จะต้องปฏิบัติการในชุดยุทธภัณฑ์ป้องกัน คชรน., จากการเปื้อนพิษ
ของยุทธภัณฑ์และจากผลกระทบของคลื่นกระแสแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic pulse) ต่อ
ระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
ต. การจัดการผลที่ตามมาจากสนามรบ (In-theater Consequence
Management) การวางแผนส�ำหรับการจัดการผลที่เกิดขึ้นจากสนามรบ จะรวมถึงการบรรเทาลง
และการจัดการผลกระทบของการโจมตีด้วยอาวุธ คชรน.
๗.๑.๒ ผลกระทบทางยุทธวิธี
ทีร่ ะดับยุทธวิธี ขนาดและต�ำแหน่งของสนามรบได้รบั อิทธิพลจากต�ำแหน่ง
ทางกายภาพของดินแดน, อากาศ, ทะเล, อวกาศของข้าศึกและก�ำลังรบอื่น ๆ ซึ่งอาจก่อให้เกิดภัย
คุกคามโดยตรงต่อความมั่นคงของก�ำลังรบฝ่ายเราหรือความส�ำเร็จของภารกิจ ขอบเขตซึ่งผลของ
14 บทที่ ๑

สภาพแวดล้อมของสนามรบจะได้รบั การวิเคราะห์ทรี่ ะดับยุทธวิธขี นึ้ กับภารกิจอย่างกว้าง ๆ และเวลา


ทีม่ ใี นการวางแผน อย่างน้อยทีส่ ดุ ก�ำลังรบระดับยุทธวิธคี วรวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสนามรบใน
เงื่อนไขของวัตถุประสงค์ทางทหาร, แนวทางเคลื่อนที่และผลกระทบของสภาพแวดล้อม คชรน.ต่อ
เจ้าหน้าที่, ปฏิบัติการทางทหาร, ระบบอาวุธและการเคลื่อนที่ของก�ำลังรบ
๗.๑.๓ ผลกระทบการป้องกันประเทศ
เป็นความท้าทายส�ำหรับผู้บังคับหน่วยในการด�ำเนินการ จัดการผลที่ตาม
มาตามความจ�ำเป็นเพื่อปกป้องเจ้าหน้าที่ และยุทโธปกรณ์อย่างเหมาะสมจากเหตุการณ์ คชรน.ที่
เกิดขึน้ มีความต้องการขีดความสามารถในการโต้ตอบเพือ่ ช่วยชีวติ และกูค้ นื ไปยังจุดทีเ่ ปิดโอกาสให้
ปฏิบตั กิ ารด�ำเนินต่อไปใหม่ การเผชิญหน้าความท้าทายนีต้ อ้ งการวิธปี ฏิบตั ทิ คี่ รอบคลุมและรวมจาก
การบรรเทาภัยคุกคามต่อการโต้ตอบภัยที่เกิดขึ้นและการกู้คืน หน่วยของกองทัพต้องพัฒนาแผน
อย่างรอบคอบเพื่อโต้ตอบการโจมตี คชรน.ภายในขอบเขตที่ก�ำหนด แผนการตอบโต้ควรปรับให้
ทันสมัยอย่างสม�ำ่ เสมอและประสานงานกับหน่วยเผชิญเหตุอย่างเหมาะสมภายในขอบเขต แผนควรให้
ความส�ำคัญไปยังเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด และเป้าหมายที่เป็นไปได้ของการก่อการร้าย เช่น กิจกรรม
พิเศษ, ตึกสูง, ศูนย์กลางการค้นคว้าทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์, สถานีการขนส่งทางอากาศและ
รถไฟ ส่วนเผชิญเหตุควรจัดล�ำดับความส�ำคัญ การวางแผนประสานงานกับหน่วยเผชิญเหตุอื่น ๆ
ภายในขอบเขต ในการวางแผนควรจัดล�ำดับความส�ำคัญตามการคุกคามทีม่ โี อกาสเป็นไปได้มากทีส่ ดุ
๗.๒ การวางแผนป้องกันอาวุธเคมีและข้อควรพิจารณา ดูผนวก ง และ จ
๗.๒.๑ ผลกระทบทางยุทธการ
อาวุธเคมี (CW) จากสารเคมีคงทนสามารถใช้เพือ่ ท�ำให้เกิดการเปือ้ นพิษพืน้
ดินและทรัพยากร อันตรายของไอพิษทีไ่ ม่คงทนและไอระเหยจากการเปือ้ นพิษทีค่ งทนสามารถแพร่
ไปในทิศทางตามลมและท�ำให้เกิดอันตรายครอบคลุมส่วนส�ำคัญของพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ผูบ้ งั คับหน่วย
มีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องพิจารณา การหลีกเลีย่ งและการอพยพคนในพืน้ ทีอ่ นั ตราย การป้องกันอาวุธ
เคมีจะจ�ำเป็นส�ำหรับก�ำลังรบซึ่งยังคงอยู่ในพื้นที่ ขีดความสามารถและจังหวะการยุทธ์มีความเป็น
ไปได้ที่จะถูกลดทอนเนื่องจากความจ�ำเป็นของก�ำลังรบในการตรวจหา, การเตือนภัย, การป้องกัน
และการใช้มาตรการการควบคุม คชรน. การตรวจหาสารเคมี, การพิสูจน์ทราบ, การป้องกันและ
การท�ำลายล้างพิษจะสร้างความยุ่งยากต่อระบบการส่งก�ำลังในสนามรบ
๗.๒.๒ ผลกระทบทางยุทธวิธี
ก�ำลังรบที่ยังคงอยู่ภายในพื้นที่หรือใกล้พื้นที่เปื้อนพิษอาวุธเคมีอาจยังคง
จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องสวมชุดป้องกัน คชรน.จนกว่าผูบ้ งั คับหน่วยจะตัดสินใจว่าก�ำลังพลควรลดระดับ ลภ.
สาเหตุของการเสียจังหวะการยุทธ์ เนื่องจากเหตุดังต่อไปนี้
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 15

ก. สาเหตุจากก�ำลังพลท�ำงานในชุดยุทธภัณฑ์ป้องกันบุคคล จะลดทอน
ความสามารถในการปฏิบัติงาน, เพิ่มความอ่อนล้าและบางทีอาจลดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
และขวัญก�ำลังใจของก�ำลังรบให้ต�่ำลง
ข. เนือ่ งจากพืน้ ทีแ่ ละยุทธปัจจัยเปือ้ นพิษ ท�ำให้ลดความเร็ว ความร่วมมือ
และอิสระในการเคลื่อนที่โดยรวมของก�ำลังรบทั้งหมดในพื้นที่เฉพาะแห่ง
๗.๒.๓ ผลกระทบต่อการป้องกันประเทศ
การใช้สารพิษเคมีก่อให้เกิดผลกระทบต่อจิตวิทยาและร่างกายและเป็น
สาเหตุของการปนเปือ้ นด้วยหรือท�ำให้เกิดความเสียหายซึง่ ท�ำให้ตอ้ งจ�ำกัดการใช้ระบบ, ยุทธภัณฑ์
หรือสิ่งอุปกรณ์ ความหวาดกลัวท�ำให้มีปฏิกิริยาในการโต้แย้งหาเหตุผลของสารพิษเคมี และ
เจ้าหน้าที่พลเรือนส่วนใหญ่จะต้องการผู้ช่วยจ�ำนวนมากในการหาต�ำแหน่งเปื้อนพิษ, การหยุดยั้ง
การแพร่กระจายและการกู้คืนจากเหตุการณ์การใช้สารเคมีที่เกิดขึ้น
๗.๓ การวางแผนป้องกันอาวุธชีวะและข้อควรพิจารณา ดูผนวก ฉ
๗.๓.๑ ผลกระทบทางยุทธการ
ผลกระทบของการโจมตีดว้ ยอาวุธชีวะ (BW) ทีร่ ะดับยุทธการเป็นขอบเขต
ที่กว้างและมีความส�ำคัญ โดยเฉพาะถ้าการตรวจหาและพิสูจน์ทราบการโจมตีพิสูจน์ได้ยาก และมี
ความยุง่ ยากในการเพิม่ มาตรการป้องกัน ผูบ้ าดเจ็บจ�ำนวนมากจะลดความสามารถทางยุทธการของ
ก�ำลังรบร่วม, ลดขวัญก�ำลังใจและเปลี่ยนแปลงข้อมูลทางการแพทย์และการส่งก�ำลังบ�ำรุงไปจาก
ภารกิจที่ปฏิบัติอยู่ เมื่อรวมกันแล้วปัจจัยเหล่านี้อาจจะลดทอนจังหวะทางยุทธการ (OPTEMPO)
๗.๓.๒ ผลกระทบทางยุทธวิธี
ก�ำลังรบทีย่ งั คงอยูใ่ นบริเวณหรือใกล้พนื้ ทีอ่ นั ตรายจากอาวุธชีวะจะมีการ
สูญเสียขีดความสามารถในการปฏิบัติการบางส่วน ปัจจัยต่อไปนี้อาจจะลดทอนประสิทธิภาพของ
เจ้าหน้าที่
ก. เมื่อท�ำการป้องกัน คชรน.เป็นระยะเวลายาวนาน
ข. หลีกเลี่ยงการใช้พื้นที่และยุทธปัจจัยเปื้อนพิษ
ค. การท�ำลายล้างพิษยุทธปัจจัยที่ส�ำคัญ
๗.๓.๓ ผลกระทบการป้องกันประเทศ
หนึ่งในอันตรายของอาวุธชีวภาพมาจากความจริงที่ว่าเมื่อเปื้อนพิษแล้ว
อาจจะไม่รตู้ วั จนกระทัง่ มีอาการปรากฏ (ทหารรักษาการณ์ทไี่ ด้รบั บาดเจ็บ) การป้องกันก�ำลังพลโดย
ทัว่ ไปประกอบด้วยการป้องกันบุคคลและการใช้มาตรการทางการแพทย์เช่น การสร้างภูมคิ มุ้ กันโรค
หรือการใช้การรักษาพยาบาลอื่น ๆ การแพร่กระจายสารชีวะอาจส�ำเร็จได้โดยวิธีเช่น การแพร่โดย
แอโรซอล, การปนเปื้อนอาหารหรือน�้ำและการปล่อยพาหะ สารชีวะสามารถผลิตในห้องทดลอง
16 บทที่ ๑

หรือซื้อจากบริษัทวิจัยด้านการแพทย์ ห้องปฏิบัติการเคลื่อนที่สามารถด�ำเนินการเก็บตัวอย่างและ
จ�ำแนกเชื้อโรค การพิสูจน์ทราบก่อนมีความจ�ำเป็นเพื่อเริ่มต้นวิธีการรักษา
๗.๔ การวางแผนป้องกันนิวเคลียร์และกัมมันตรังสีและข้อควรพิจารณา ดูผนวก ช และ ซ
๗.๔.๑ ผลกระทบทางยุทธการ
ผลท�ำลายล้างพิษจากการระเบิดของนิวเคลียร์ มีความเป็นไปได้ที่ต้องใช้
เครื่องมือของก�ำลังรบร่วมเป็นส่วนส�ำคัญเพื่อช่วยในการกู้คืนพื้นที่ที่มีการระเบิดนิวเคลียร์ ฝุ่นธุลี
จากระเบิดนิวเคลียร์จะปกคลุมส่วนของพื้นที่ปฏิบัติการร่วม ตรวจวัดหาค่าเพื่อควบคุมการปน
เปื้อนและการเปื้อนพิษของบุคคลทั้งหมดในพื้นที่ ขีดความสามารถในการปฏิบัติการของก�ำลังรบ
ร่วมเป็นไปได้ที่จะเสื่อมถอยเมื่อปฏิบัติการเป็นเวลานาน เป็นไปได้ที่จะมีผู้บาดเจ็บล้มตายจ�ำนวน
มากในประชากรพลเรือนเฉพาะบริเวณ ซึ่งจะสร้างความยุ่งยากให้แก่การบังคับบัญชาทางยุทธการ
และฝ่ายอ�ำนวยการ
๗.๔.๒ ผลกระทบทางยุทธวิธี
ในพื้นที่ที่มีการระเบิดนิวเคลียร์ ความสามารถทางยุทธการของก�ำลังรบ
ร่วมจะเสื่อมถอยอย่างรุนแรง การเสื่อมถอยจะมีสาเหตุจากการสูญเสียก�ำลังพล, ยุทธภัณฑ์และ
ทรัพยากร และมีความจ�ำเป็นในการช่วยชีวิตและรักษาพยาบาลบุคคลที่ได้รับบาดเจ็บและระงับ
อัคคีภัยเท่าที่เป็นไปได้ จ�ำเป็นที่จะมีการต้องใช้ทรัพยากรจ�ำนวนมาก การกีดขวางเส้นทางขนส่ง
และเส้นทางเคลื่อนที่โดยเศษซากของสิ่งถูกท�ำลายและต้นไม้อาจท�ำให้การกู้คืนล่าช้าด้วย ในพื้นที่
ที่เกิดเหตุของการระเบิดนิวเคลียร์จะมีการปนเปื้อนอย่างรุนแรงห้ามการเคลื่อนที่อย่างเด็ดขาด
ยกเว้นเพื่อท�ำการช่วยชีวิต ฝุ่นธุลีและรูปแบบการแผ่รังสีชักน�ำหน่วยสามารถศึกษาได้จากแนวทาง
การควบคุมการรับรังสีในผนวก ค
๗.๔.๓ ผลกระทบการป้องกันประเทศ
เมื่อมีการระเบิดของอุปกรณ์นิวเคลียร์บางทีก็เป็นไปได้ที่จะเกิดจาก
เหตุการณ์ก่อการร้าย ซึ่งมีโอกาสที่จะสร้างความเสียหายอย่างรุนแรงในด้านการท�ำลายล้างและ
ความหวาดกลัวในด้านจิตวิทยา ผลจากการระเบิดนิวเคลียร์จะรวมถึงความร้อน, การระเบิดและ
การแผ่รังสีนิวเคลียร์ แม้ว่าจะเป็นอุปกรณ์นิวเคลียร์ขนาดเล็กก็สามารถท�ำให้เกิดจ�ำนวนของผู้
บาดเจ็บล้มตายจากการระเบิด, ความร้อนและการแผ่รังสีเบื้องต้นได้หลายร้อยคน การปรากฏของ
รูปแบบการแผ่รังสีชักน�ำและฝุ่นกัมมันตรังสีตามลม จ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ตรวจวัดรังสีจ�ำนวนมาก
และอาจจะต้องอพยพประชากรจ�ำนวนมากออกจากพื้นที่จนกระทั่งการแผ่รังสีเสื่อมสลายลงถึง
ระดับที่ปลอดภัย
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 17

๗.๕ การวางแผนป้องกันอาวุธกัมมันตรังสีและข้อควรพิจารณา ดูผนวก ช และ ซ


๗.๕.๑ ผลกระทบทางยุทธการ
อาวุธกัมมันตรังสี สามารถถูกใช้ให้เกิดการเปือ้ นพิษพืน้ ดิน และทรัพยากร
ด้วยอันตรายของกัมมันตรังสี ผูบ้ งั คับหน่วยจะต้องพิจารณาการหลีกเลีย่ งและการอพยพคนในพืน้ ที่
อันตรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างปฏิบัติการทางทหารอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สงคราม (MOOTW) การ
ป้องกันเกี่ยวกับกัมมันตรังสีจ�ำเป็นส�ำหรับก�ำลังรบซึ่งยังคงอยู่ในพื้นที่ ความสามารถทางยุทธการ
และจังหวะการรบมีโอกาสที่จะเสื่อมถอยเนื่องจากความจ�ำเป็นของก�ำลังรบร่วมที่ท�ำการตรวจหา,
การเตือนภัย, การป้องกันและมาตรการควบคุมการป้องกัน คชรน.
๗.๕.๒ ผลกระทบทางยุทธวิธี
มีการสูญเสียขีดความสามารถทางการยุทธ์บา้ ง โดยก�ำลังรบเหล่านัน้ ยังคง
อยู่ภายในหรือใกล้พื้นที่ที่มีการเปื้อนพิษกัมมันตรังสี ซึ่งมีสาเหตุจาก
ก. เมื่ออยู่ในการป้องกัน คชรน.เป็นห้วงเวลาที่ยาวนาน
ข. จัดการการเปิดรับรังสีและหมุนเวียนเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะระหว่างการ
ปฏิบัติการทางทหารอื่น ๆ ที่ไม่ใช่การท�ำสงคราม
ค. หลีกเลี่ยงการใช้เส้นทาง, พื้นที่และยุทธปัจจัยเปื้อนพิษ
ง. ท�ำลายล้างพิษยุทธปัจจัยที่มีความส�ำคัญ
๗.๕.๓ ผลกระทบต่อการป้องกันประเทศ
ผู้ก่อการร้ายสามารถใช้วัตถุเกี่ยวกับกัมมันตรังสีห่อหุ้มอุปกรณ์ระเบิด
แสวงเครือ่ ง (IED) เพือ่ สร้างเหตุการณ์ ซึง่ ในเบือ้ งต้นของการระเบิด อาจจะสังหารหรือท�ำร้ายคนใน
บริเวณใกล้เคียงของอุปกรณ์ระเบิดทันที สิ่งที่ตามมาคือ การกลืนและหายใจอนุภาคกัมมันตรังสี
เข้าสู่ร่างกายจะท�ำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ การปล่อยกระจายกัมมันตรังสีอย่างง่าย ๆ เป็นการ
กระท�ำทีม่ งุ่ หวังให้แพร่วตั ถุกมั มันตรังสีโดยไม่เกีย่ วข้องกับอุปกรณ์การระเบิด ผูก้ อ่ การร้ายจะจัดหา
วัตถุกัมมันตรังสีที่มีความปลอดภัย (เช่น แกมมา, เบตา) จากห้องทดลองทางการแพทย์, เครื่องมือ
ในอุตสาหกรรมหรือที่ตั้งอื่นมาใช้ในการแพร่กระจาย
๗.๖ การวางแผนป้องกันการปล่อยกระจายของสาร คชรน.ทีไ่ ม่ใช่เกิดจากการโจมตีทาง
ทหารและวัตถุมีพิษอุตสาหกรรม และข้อควรพิจารณา ดูผนวก ซ
๗.๖.๑ ผลกระทบทางยุทธการ
ทีต่ งั้ ของระบบวัตถุมพี ษิ อุตสาหกรรมในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารร่วมต้องมีการหมาย
จุดเมือ่ ใดก็ตามทีเ่ ป็นไปได้และหลีกเลีย่ งพืน้ ทีร่ ะหว่างปฏิบตั กิ าร จัดท�ำแผนปฏิบตั เิ พือ่ ควบคุมและ
ยับยั้งอันตรายถ้าระบบวัตถุมีพิษอุตสาหกรรมถูกท�ำลาย ไม่ว่าในสถานการณ์ใดของการปล่อยวัตถุ
มีพษิ อุตสาหกรรมจะต้องมีการประเมินผลกระทบขีดความสามารถของกองทัพ การรัว่ ไหลของวัตถุ
18 บทที่ ๑

มีพษิ จ�ำนวนมากจากระบบอุตสาหกรรม โดยเฉพาะถ้ามีไฟไหม้ขนาดใหญ่รว่ มด้วยจะมีความเป็นไป


ได้ที่จะแพร่แอโรซอลและควันพิษกระจายไปในพื้นที่ปฏิบัติการส่วนใหญ่ ดังนั้นจะต้องมีการ
หลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษหรือท�ำการป้องกัน ความเสียหายต่อระบบนิวเคลียร์แม้วา่ ปราศจากรอยร้าว
ที่อาคารป้องกันแกนปฏิกรณ์ ก็อาจจะแพร่กระจายแอโรซอล ควันและกัมมันตรังสีได้
๗.๖.๒ ผลกระทบทางยุทธวิธี
ก�ำลังรบที่ยังคงอยู่ในพื้นที่อาจต้องท�ำหน้าที่ในการป้องกัน เนื่องจาก
ธรรมชาติของวัตถุมีพิษอุตสาหกรรมมาตรการตอบโต้อาจไม่อยู่ในขีดความสามารถการป้องกัน
คชรน.ของก�ำลังรบร่วม ในกรณีนผี้ เู้ ชีย่ วชาญในด้านการจัดการวัตถุอนั ตราย (hazardous materials)
มาจากภายนอกสนามรบ ถ้ามีการปะทะเกิดขึ้นในพื้นที่ของระบบเก็บรักษาวัตถุมีพิษอุตสาหกรรม
จะต้ อ งประเมิ น ความเสี่ ย งของความเสี ย หายเพิ่ ม เติ ม และประเมิ น การรั่ ว ไหลของวั ต ถุ มี พิ ษ
อุตสาหกรรม
๗.๖.๓ ผลกระทบต่อการป้องกันประเทศ
วัตถุมพี ษิ อุตสาหกรรมเป็นสารทีอ่ าจจะท�ำให้เกิดอาการทางร่างกายคล้าย
กับการเปื้อนพิษ คชรน.สารเหล่านี้พบได้ทั่วไปในการด�ำเนินธุรกิจปกติ ซึ่งมีการขนส่งทั้งทางรถไฟ,
ทางถนนและทางน�้ำ, สารเหล่านี้อาจจะใช่หรือไม่ใช่สารตั้งต้นของสาร คชรน.วัสดุส่วนใหญ่จะมี
สารประกอบอินทรีย์ที่ระเหยได้ ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนและส่วนประกอบที่มีพิษอื่น ๆ สาร
อาจจะเกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นและอาจจะระเหยได้ง่ายตามคุณลักษณะของสาร
การทดสอบได้รบั การพิสจู น์แล้วว่าการเปือ้ นพิษทีต่ อ่ เนือ่ งออกไปอาจจะน�ำไปสูก่ ารบาดเจ็บ ไร้ความ
สามารถ บางชนิดก็เป็นสารก่อมะเร็งเช่น เบนซิน หรือท�ำให้เกิดการกลายพันธุ์เช่น เฮกเซน (ระบบ
ประสาทผิดปกติ) นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและการเพิ่มจ�ำนวนอย่างรวดเร็วของอาวุธ คชรน. และ
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านวิทยาศาสตร์ได้ทำ� ให้ความน่าจะเป็นไปได้เพิม่ ขึน้ ทีจ่ ะมีการคุกคามต่อประเทศและ
ประชาชน เหตุจูงใจ, ผู้กระท�ำและวิธีการของกลุ่มผู้ก่อการร้ายมีการพัฒนาในวิธีซึ่งมีการวิเคราะห์
อย่างซับซ้อนท�ำให้ตอ้ งมีความสามารถในการโต้ตอบได้อย่างยืดหยุน่ และรวดเร็ว มีความช�ำนาญใน
การตรวจหาและการวิเคราะห์ ยุทธภัณฑ์ป้องกันเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับใช้ในการตรวจหาและพิสูจน์
ทราบวัตถุมีพิษอุตสาหกรรม และอาจต้องการใช้ยุทธภัณฑ์ป้องกันโดยเฉพาะ
บทที่ ๒
การพัฒนาภาพการปฏิบัติการร่วมทาง คชรน.

๑. กล่าวน�ำ
๑.๑ มาตรการการหลีกเลีย่ ง คชรน.ประกอบด้วยมาตรการเชิงรับทีไ่ ด้บรรยายใน บทที่ ๑
อย่างไรก็ตาม การรายงานข่าวสารส�ำคัญจะช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในช่วงทีเ่ ปราะบางเพือ่ เตือน
ภัยและปกป้องกองก�ำลังของเรา การจัดการข่าวสาร คชรน.ที่ได้ผลและมีประสิทธิภาพจะช่วย
สนับสนุนภารกิจของหน่วย และช่วยในการตัดสินใจท�ำเครื่องหมายเปื้อนพิษปกป้องก�ำลังรบของ
ผูบ้ งั คับหน่วย การจัดการข่าวสาร คชรน.ได้อย่างทันเวลาเกิดจากการรวบรวมรายงาน นชค.และส่ง
ข้อมูลที่ได้ให้แก่ผู้บังคับหน่วยและฝ่ายอ�ำนวยการภาพการปฏิบัติการร่วม (COP)
๑.๒ ภาพการปฏิบัติการร่วม คชรน. (CBRN COP) เป็นการจัดเตรียมข่าวสารที่ถูกต้อง
ทันเวลา ใช้ได้จริง สั้นย่อกระชับและเชื่อถือได้ ให้ผู้บังคับบัญชาและหน่วย การประสานงานในการ
วางแผน คชรน.ช่วยให้ทุกระดับสัมฤทธิผลในสถานการณ์เฝ้าระวัง ขณะที่ภาพปฏิบัติการร่วมถูก
ก�ำหนดไว้ให้สนับสนุนภารกิจของหน่วย ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะแสดงข่าวสาร ที่ออกแบบโดย
เฉพาะในการสนับสนุนการปฏิบัติการ (เช่น รายงานการพยากรณ์การเปื้อนพิษ นชค.) ปัจจัยที่
ส�ำคัญคือ ข่าวสารต้องถูกจัดเป็นระบบและท�ำให้เข้าใจได้ง่าย ในการจัดท�ำภาพการปฏิบัติการร่วม
ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะต้องเตรียมการดังนี้
- ระบุข่าวสารที่ต้องการ (เช่น ประสิทธิภาพ คชรน.ของข้าศึก, เวลาที่เป็นไปได้
และสถานที่โจมตี)
- การรวบรวมและประมวลผลข่าวสาร (เช่น การรวบรวม, วิเคราะห์และส่งต่อ
รายงาน นชค.)
- จัดเตรียมข่าวสารเพือ่ สร้างภาพปฏิบตั กิ ารร่วมและน�ำเสนอภาพ (เช่น แผ่นบริวาร
พื้นที่เปื้อนพิษ)
- พัฒนาความเข้าใจ (เช่น สนับสนุนการตัดสินใจด�ำเนินการท�ำเครื่องหมาย
เปื้อนพิษของผู้บังคับหน่วย เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงพื้นที่เปื้อนพิษหรือเตรียมมาตรการป้องกัน)
๒. ภารกิจภาพการปฏิบัติการร่วมทาง คชรน.
การปฏิบัติหน้าที่เพื่อสนับสนุนภาพการปฏิบัติการร่วมทาง คชรน.มีดังนี้
๒.๑ การตรวจหา (Detection) ตรวจหาต�ำแหน่งพื้นที่เปื้อนพิษโดยใช้เครื่องตรวจหา
หรือตรวจจับ คชรน.และ/หรือใช้ทีมส�ำรวจ
20 บทที่ ๒

๒.๒ การพิสูจน์ทราบ (Identification) จ�ำแนกชนิดของสารที่ตรวจพบมีคุณลักษณะ


เป็นอันตรายหรือไม่
๒.๓ การท�ำเครื่องหมายเปื้อนพิษ (Contamination Marking) ท�ำเครื่องหมายพื้นที่
เปื้อนพิษเพื่อเตือนกองก�ำลังฝ่ายเราให้ระวังการเปื้อนพิษที่มีอยู่
๒.๔ การเตือนภัยและรายงาน (Warning and Reporting) จัดท�ำโดยใช้ระบบเตือนภัย
และรายงาน คชรน.
๓. การจัดการข่าวสาร คชรน. (CBRN IM)
การจัดการข่าวสาร คชรน.เป็นการจัดเตรียมข่าวสารที่มีคุณภาพให้แก่ บุคคลตามหน้าที่
ในเวลาที่ต้องการในรูปแบบที่สามารถใช้ได้เพื่อท�ำให้ง่ายต่อการท�ำความเข้าใจและการตัดสินใจท�ำ
เครือ่ งหมายเปือ้ นพิษ การจัดการข่าวสาร คชรน.ใช้ระบบเตือนภัยและรายงาน คชรน.เป็นเครือ่ งมือ
ในการจัดท�ำข่าวสารที่ตรงประเด็น, สั้น, กระชับ, แม่นย�ำ, ทันเวลา, สามารถใช้ได้จริงและมีความ
สมบูรณ์
๓.๑ การประมวลผล คชรน. (CBRN Process)
การจัดการข่าวสาร คชรน.สนับสนุนผูบ้ งั คับบัญชาใน ๓ ข้อหลัก ได้แก่ สถานการณ์
เฝ้าระวัง/การท�ำความเข้าใจ, การท�ำเครื่องหมายเปื้อนพิษและการถ่ายทอดข่าวสาร เพื่อที่จะ
ท�ำให้การตัดสินใจนั้นเป็นผลส�ำเร็จ, การจัดการข่าวสาร คชรน.มีการจัดการเป็นวงรอบโดยมี ๔
ขั้นพื้นฐาน ดังนี้
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 21

ภาพ ๒-๑ วงรอบการจัดการข่าวสาร คชรน.

๑. ระบุข่าวสารที่ต้องการ

ข้อมูลที่ได้รับและการ
ภารกิจ อนุมัติของผู้บังคับบัญชา

ฝ่ายอ�ำนวยการวิเคราะห์
การปฏิบัติ
ความต้องการข่าวกรอง
๔. การพัฒนาความเข้าใจ

การตัดสินใจ
รวบรวม
ประมวลผล ความต้องการข่าวสารส�ำคัญ
การจัดการ เก็บรักษา ของผู้บังคับบัญชา
ท�ำความเข้าใจ
ข่าวสาร ป้องกัน
น�ำเสนอ
เผยแพร่ ด�ำเนินการจัด
ภาพการปฏิบัติการร่วม จ�ำหน่าย การข่าวสาร

๓. จัดเตรียมข่าวสารเพื่อสร้างภาพ
๒. รวบรวมและประมวลผลข่าวสาร
การปฏิบัติการร่วม/น�ำเสนอ

๓.๑.๑ ระบุข่าวสารที่ต้องการ (Identify Information Requirements)


ข่าวสารที่ต้องการเป็นเกณฑ์ที่จะต้องรู้เกี่ยวกับพื้นที่การรบเพื่อช่วยให้
ภารกิจประสบความส�ำเร็จ ข่าวสารที่ต้องการเช่น ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา, ต�ำแหน่งที่ตั้งหน่วยฝ่าย
เดียวกัน, ประสิทธิภาพด้าน คชรน.ของข้าศึก, ความเป็นไปได้ในการใช้อาวุธ คชรน.และสถานที่,
วิธีใช้และชนิดของวัตถุ คชรน.ที่ใช้ในการคุกคามก�ำลังรบ
๓.๑.๒ รวบรวมและประมวลผลข่าวสาร (Collect and Process Information)
รวบรวมและประมวลผลข่าวสารเพื่อให้ได้ข่าวสารที่ต้องการ
ก. การรวบรวม (Collect) รวบรวมข่าวสารที่ได้รับจากการโจมตี คชรน.
จากรายงาน นชค.๑ และ นชค.๔ รวมทั้งการเฝ้าสังเกตการณ์โดยตรงหรือการลาดตระเวนและวิธี
การเฝ้าตรวจอื่น ๆ
22 บทที่ ๒

ข. การประมวลผล (Process) ด�ำเนินการจัดการข้อมูลซึ่งได้แก่ การ


คัดกรอง, การจัดรูปแบบ, การรวบรวม, การจัดระบบ, จัดความสัมพันธ์กัน, การหมายจุดและการ
ประเมินข่าวสาร คชรน.
ค. การเก็บรักษา (Store) เก็บรักษาข่าวสาร คชรน.ในรูปแบบใด ๆ อย่าง
เป็นล�ำดับ เพื่อค้นหาได้อย่างทันเวลา
ง. การป้องกัน (Protect) จัดเตรียมมาตรการเพื่อแน่ใจในการมีอยู่ของ
ข่าวสารและระบบข่าวสาร
จ. การน�ำเสนอ (Display) การน�ำเสนอจะแสดงให้เห็นภาพข่าวสาร
คชรน.ทีใ่ ช้ได้ ง่ายต่อการฟังหรือมองเห็นจากการท�ำงานโดยเฉพาะให้ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้
การน�ำเสนอจะถ่ายทอดแผนภาพปฏิบตั กิ ารร่วมส�ำหรับการท�ำเครือ่ งหมายเปือ้ นพิษและหน้าทีก่ าร
ควบคุมบังคับบัญชา (C2)
ฉ. การเผยแพร่ (Disseminate) ส่งต่อข่าวสารที่ได้ประเมินค่าแล้ว (เช่น
รายงาน NBC2, NBC3 หรือ NBC5) และประสานงานวิธีปฏิบัติเพื่อเผยแพร่ข่าวสารที่สามารถน�ำ
มาใช้ให้รวมอยู่ใน รปจ.
ช. จ�ำหน่าย (Dispose) จัดการข่าวสารทีไ่ ม่ได้ใช้งาน ซึง่ รวมถึงการท�ำลาย
และจัดเก็บไว้ในแหล่งรวบรวมเอกสาร
๓.๑.๓ จัดหาข่าวสารเพือ่ สร้างแผนภาพการปฏิบตั กิ ารร่วม/การน�ำเสนอข่าวสาร
คชรน.ทีถ่ กู ต้อง, ทันเวลา, สมบูรณ์และเชือ่ ถือได้ จะน�ำมาใช้ในการสร้างแผนภาพการปฏิบตั กิ ารร่วม
แผนภาพการปฏิบัติการร่วมเป็นการน�ำเสนอข่าวสารที่เหมือนกันที่ใช้ร่วมกันมากกว่าหนึ่งค�ำสั่ง
ข่าวสาร คชรน.ก่อให้เกิดภาพการปฏิบัติการร่วม ผลกระทบของการโจมตี คชรน.จะมีผลต่อค�ำสั่ง
มากกว่าหนึ่งค�ำสั่ง แต่ละค�ำสั่งที่ได้รับผลกระทบต้องการข่าวสารที่เกี่ยวข้องในการโจมตี คชรน.
(เช่นเวลา, สถานที่, ผลกระทบ)
๓.๑.๔ พัฒนาการท�ำความเข้าใจ (Develop an Understanding) การหาข่าวสาร
ท�ำให้การเฝ้าระวังสัมฤทธิผล การท�ำความเข้าใจต่อข่าวสารท�ำให้ตัดสินใจได้ถูกต้องและรวดเร็ว
(เช่น การเปลี่ยนแปลงเส้นทางเพื่อหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษหรือการปรับระดับลักษณะป้องกันตาม
ภารกิจ)
๓.๒ การจัดการข่าวสาร คชรน. (CBRN IM Activities)
มีขั้นตอนการปฏิบัติ ๗ ขั้นตอน ตามรูปภาพ ๒-๑
๓.๓ ขีดความสามารถการจัดการข่าวสาร คชรน. (CBRN IM Capabilities)
ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ท�ำการประเมินขีดความสามารถที่อยู่ในการสั่งการของตน
ขีดความสามารถอาจรวมถึงเครื่องตรวจจับและเครื่องส่งสัญญาณเตือนภัย เมื่อตรวจพบการโจมตี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 23

ด้วยสาร คชรน.เจ้าหน้าที่ที่อยู่ในย่านใกล้เคียงได้ยินสัญญาณเตือนภัยโดยทันที หน่วยใกล้เคียง


จะได้รับการแจ้งข่าวทางวิทยุ, การสื่อสารทางสาย, หรือโดยการรับฟังหรือบอกด้วยวาจา
๔. ยุทธศาสตร์การกระจายข่าวสาร คชรน. (CBRN Information Flow Strategy)
การแพร่กระจายข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ มีความส�ำคัญยิ่งต่อปฏิบัติการป้องกัน คชรน.
๔.๑ ขัน้ ตอนการจัดการข่าวสาร คชรน.ต้องจัดเตรียมการแพร่กระจายข่าวสารทัง้ แนวตัง้
และแนวนอนอย่างรวดเร็ว การจัดตามรูปแบบของฝ่ายอ�ำนวยการต้องก�ำหนดการกระจายข่าวสาร
คชรน.ให้กระจายข่าวสารอย่างมีเหตุผลไปยังส่วน คชรน. อย่างไรก็ตามไม่ควรอยูใ่ นรูปของ firewall
เมื่อแลกเปลี่ยนข่าวสาร คชรน.กับฝ่ายอ�ำนวยการส่วนอื่น (เช่น การปฏิบัติการ, ข่าวกรอง และการ
ส่งก�ำลังบ�ำรุง) หรือการสั่งการ ให้กระจายข่าวสารอย่างเหมาะสมภายในกองบัญชาการที่ต้องการ
ความรวดเร็ว และมีความชัดเจนของการกระจายข่าว โดยปราศจากการสร้างข่าวสารที่ไม่สมบูรณ์
หรือไม่มีประโยชน์ การกระจายข่าวสาร คชรน.อย่างมีประสิทธิภาพต้องการข่าวสารดังต่อไปนี้
- การจัดวางอย่างเหมาะสม (Prositioned properly) เลือกวิธีเผยแพร่ข่าวสาร
ที่ท�ำให้กระจายข่าวได้อย่างรวดเร็ว (เช่น เขียนข้อความบนหน้าเว็บข่าว คชรน.เช่นเดียวกับการ
รายงานข่าวทางอุตุนิยมวิทยา)
- ความคล่องตัว (Mobile) การแพร่กระจายข่าวสารจะต้องถูกปรับอย่างเร่งด่วน
เพื่อสนับสนุนการกระจายข่าวทั้งแนวตั้งและด้านข้าง (เช่น ระบบการวางแผนที่ร่วมมือกันต่อการ
รวมยุทธปัจจัยการลาดตระเวนและเฝ้าตรวจ คชรน.)
- เข้าถึงได้ง่าย (Accessible) ทุกระดับของการสั่งการต้องสามารถดึงข่าวสารที่
หน่วยต้องการเพื่อสนับสนุนการวางแผนอย่างพร้อมเพรียงและการปฏิบัติภารกิจ
- ผสม (Fused) ข่าวสารทีไ่ ด้รบั จากแหล่งข่าวและสือ่ จ�ำนวนมากในรูปแบบต่าง ๆ
จะต้องผสมผสานเพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุปทีถ่ กู ต้อง (เช่น แพร่กระจายข่าวสารการประเมินภัยคุกคาม คชรน.
ในรูปแบบกราฟิกของระบบภาพปฏิบัติการร่วมโดยอัตโนมัติ)
๔.๒ การแพร่กระจายของข่าวสารจะจัดเตรียมไว้ในตารางตกลงใจ (DSM) ของผู้บังคับ
หน่วย ตารางตกลงใจจะจ�ำแนก การตัดสินใจที่ส�ำคัญ เหตุการณ์ที่คาดหวัง และการปฏิบัติอย่าง
เป็นมิตรตามแผนทีว่ างไว้ ซึง่ ผูบ้ งั คับหน่วยคาดหวังทีจ่ ะท�ำระหว่างห้วงต่อไปของปฏิบตั กิ าร ตาราง
ตกลงใจจะเชื่อมข่าวสารไปยังการตัดสินใจ คชรน.ที่ส�ำคัญ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จัดเตรียมข้อมูล
เพื่อช่วยพัฒนาตารางตกลงใจของผู้บังคับหน่วยระหว่างการด�ำเนินการวางแผน ตารางจะจ�ำแนก
ข่าวสารส�ำคัญของผู้บังคับหน่วยที่ต้องใช้ในการตัดสินใจ
๔.๓ ยุทธศาสตร์การแพร่กระจายข่าวสาร คชรน.จะท�ำให้ได้รับข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับ
ขั้นตอนการท�ำเครื่องหมายพื้นที่เปื้อนพิษ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ด�ำเนินการตามหน้าที่ดังต่อไปนี้
ซึง่ จะช่วยจัดการข่าวสารเพือ่ สนับสนุนภาพการปฏิบตั กิ ารร่วมและการท�ำเครือ่ งหมายพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ
24 บทที่ ๒

- รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบเซนเซอร์ (เช่น ข้อมูลเครื่องตรวจจับ,


สัญญาณเตือนภัยและการเฝ้าระวังทางการแพทย์)
- ดูแลข่าวสารตามตารางเครือข่ายระบบเซนเซอร์ คชรน.
- จัดรูปแบบและส่งต่อรายงาน นชค. เพื่อท�ำให้การเตือนภัยก�ำลังพลง่ายขึ้น
- เผยแพร่รายงาน นชค.และข้อมูลจากเครือ่ งตรวจหาให้ครอบคลุมเครือข่ายการ
สื่อสารทางยุทธวิธี
- ด�ำเนินการวางแผน, ท�ำการฝึกและออกใบรับรองให้กับทหารที่ผ่านการฝึกเพื่อ
ความมั่นใจว่าก�ำลังพลได้ลงมือปฏิบัติและ/หรือการออกภาคสนามในการตรวจหาสาร คชรน. และ
น�ำข้อมูลมาจัดท�ำการเตือนภัยและรายงาน ถ้าไม่มกี ารใช้วงจรเครือ่ งตรวจจับต้องตรวจสอบให้แน่ใจ
ว่าก�ำลังพลได้รับการฝึกในการจัดท�ำรายงานด้วยตนเอง
- จัดท�ำแผ่นบริวารพื้นที่เปื้อนพิษ (เช่น การหมายจุด) ที่เกิดจากการเปื้อนพิษ
คชรน.และวัตถุมีพิษอุตสาหกรรม
- จัดท�ำการพยากรณ์การเปื้อนพิษเพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพ, การประเมิน
ความเสีย่ ง คชรน.และวัตถุมพี ษิ อุตสาหกรรม และจัดท�ำรายงานสถานการณ์ (SITREP) เพือ่ สนับสนุน
การลาดตระเวน/แผนส�ำรวจ คชรน.และแผนการท�ำลายล้างพิษ
- จัดท�ำภาคผนวก คชรน.ไว้เพื่อการท�ำแผนยุทธการ (OPLAN), ค�ำสั่งยุทธการ
(OPORD) และค�ำสั่งย่อย (FRAGORD)
- เก็บรักษา, แก้ไข, เรียกดู, แสดง, จัดเก็บ และถ่ายโอนข้อมูลเกีย่ วกับสภาพอากาศ,
ภูมปิ ระเทศต�ำแหน่งทีต่ งั้ หน่วย, ข่าวกรอง, ต�ำแหน่งโจมตี, แหล่งทีม่ า (น่าสงสัยและเกิดขึน้ จริง) ของ
การโจมตี และสาร คชรน. หรืออันตรายจากวัตถุมีพิษอุตสาหกรรม ข้อมูลที่จัดเก็บเหล่านี้มีความ
จ�ำเป็นส�ำหรับการฟื้นฟูในห้วงหลังการโจมตี ข่าวสารเช่น สภาพอากาศ, ภูมิประเทศ, ต�ำแหน่งที่ตั้ง
หน่วย เป็นต้น ข่าวสารเหล่านี้จ�ำเป็นส�ำหรับใช้จัดท�ำการวิเคราะห์การพยากรณ์ขั้นพื้นฐาน
- ประมาณการเวลาการเปือ้ นพิษทีม่ าถึงและเวลาทีก่ ารเปือ้ นพิษเคลือ่ นไปยังหน่วย
ใกล้พื้นที่อันตราย
- รักษาข่าวสาร ณ ต�ำแหน่งที่ตั้ง ที่ได้รับการก�ำหนดให้มีเครื่องตรวจหา (ระยะ
ไกล, ควบคุม, เครือข่าย)
- รักษาสถานะข่าวสาร คชรน.ของหน่วย, สถานภาพการได้รับรังสี (RES) ของ
หน่วยรายงาน และสถานะทางยุทธการ และการเปลี่ยนแปลงที่คาดหวังเพื่อสนับสนุนหน่วย
คชรน. การตรวจสอบสถานะหน่วย คชรน.ท�ำให้ขั้นตอนการตัดสินใจและการประเมินความเสี่ยง
ง่ายขึ้น จัดเตรียมสถานะหน่วยปัจจุบันและหน่วยที่คาดหวังในภารกิจสนับสนุนการป้องกัน คชรน.
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 25

- จัดเตรียมค�ำแนะน�ำการยกเลิกการเตือนภัยโดยใช้เสียงหรือวิธอี ตั โนมัตแิ ก่หน่วย


ที่ได้รับผลกระทบทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ที่เฝ้าระวัง
- จัดเตรียมข้อมูลที่ต้องการเกี่ยวกับรายละเอียดคุณลักษณะของสาร คชรน.,
ชนิดของเครื่องส่ง, ลักษณะอาการ (เช่น ผลกระทบต่อมนุษย์) และข้อมูลอื่น ๆ ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการ
ประเมินความเสี่ยงอย่างเพียงพอ
- จัดท�ำการพยากรณ์การเปือ้ นพิษของสาร คชรน. และวัตถุมพี ษิ อุตสาหกรรมเพือ่
ช่วยในการเตรียมการประเมินความล่อแหลม
- จัดท�ำวงรอบก�ำลังพลกรองประสิทธิภาพที่ระดับปฏิบัติการเพื่อให้การตรวจหา
คชรน.ท�ำได้ถูกต้อง ลดความเป็นไปได้ของการเตือนภัยที่ไม่ได้ผลและลดปริมาณข่าวสารที่มาก
เกินไปส�ำหรับการโจมตี ๑ ครั้งหรือการโจมตีหลายครั้ง
- บันทึกและรวบรวม รายงาน คชรน., ข้อมูลจากเครื่องตรวจหาและเครื่อง
ตรวจจับสัญญาณ
- ตรวจสอบข้ อ มู ล ข่ า วกรองที่ ไ ด้ จ ากแหล่ ง ที่ ม าทางยุ ท ธวิ ธี , ยุ ท ธการและ
ยุทธศาสตร์ และพยากรณ์การตรวจจับการโจมตีทางอากาศและขีปนาวุธ (TAM) จากระบบการ
ป้องกันภัยทางอากาศและระบบป้องกันการควบคุมและบังคับบัญชาและ C4I อื่น ๆ และข้อมูล
จากการลาดตระเวนและเฝ้าตรวจ
- ตรวจสอบข้อมูลอุตุนิยมวิทยาที่ได้รับจากแหล่งที่มาทางยุทธวิธี, ยุทธการและ
ยุทธศาสตร์
๕. การจัดการภาพการปฏิบัติการร่วม
รักษาภาพการปฏิบัติการร่วมเพื่อให้กองทัพสามารถแจ้งการตัดสินใจป้องกัน คชรน.
๕.๑ การป้อนข้อมูล (Information Inputs) การป้อนข้อมูล คชรน.ให้กบั ภาพการปฏิบตั ิ
การร่วมสามารถท�ำโดยอัตโนมัติหรือปฏิบัติด้วยตัวเอง ข้อมูลที่ใช้ในการจัดการข่าวสาร คชรน.
อาจจะรวมถึงข้อมูลดังต่อไปนี้
๕.๑.๑ ต�ำแหน่งที่ต้ังก�ำลังรบทางอากาศ, ทางทะเลและภาคพื้นดินภายในพื้นที่
ยุทธการ
๕.๑.๒ ขีดความสามารถ คชรน.ทางอากาศ ทางทะเลและก�ำลังรบภาคพืน้ ดินของ
ข้าศึกภายในพื้นที่ยุทธการ
๕.๑.๓ แผ่นบริวารปฏิบัติการ คชรน.
๕.๑.๔ อุตุนิยมวิทยาและแผ่นบริวารภูมิประเทศ
๕.๑.๕ ผลิตภัณฑ์ด้าน คชรน.ที่เกี่ยวกับภาคเอกชน
๕.๑.๖ ข่าวสารอื่น ๆ หรือการแสดงภาพกราฟิกที่จ�ำเป็น
26 บทที่ ๒

๕.๒ การก�ำหนดมาตรฐาน (Standardization)


ความต้องการข่าวสาร คชรน.มักคาดเดาได้ ฝ่ายอ�ำนวยการสามารถจัดวางข่าวสาร
ให้อยู่ในต�ำแหน่งแพร่กระจายข่าวสารได้รวดเร็วและลดความต้องการในระบบการสื่อสาร วิธีหนึ่ง
คือการสร้างตารางรายงานมาตรฐาน
๕.๓ การใช้งานเครือข่ายข่าวสาร คชรน.
เทคโนโลยีดา้ นเครือข่ายได้เพิม่ ทางเลือกทีส่ ามารถใช้ได้สำ� หรับการจัดการ การแพร่
กระจายข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้องกับ คชรน.ในการแบ่งปันข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้องกับ คชรน.สามารถท�ำได้โดย
ใช้ เว็บเพจ, โฟลเดอร์ส่วนรวมและอีเมล การใช้อินทราเน็ตภายในระบบโครงสร้างภายในของกอง
บัญชาการอาจจะแตกต่างกันไปแต่แนวคิดทั่วไปเหมือนกัน อินทราเน็ตของกองบัญชาการเป็น
เครือข่ายสื่อสารซึ่งจ�ำกัดการเข้าถึงข่าวสารที่เผยแพร่
๕.๓.๑ เว็บไซต์ ชุดเว็บไซต์ทไี่ ด้รบั การจัดเป็นระบบทีด่ ี จะน�ำเสนอข่าวสาร คชรน.
ที่ส�ำคัญได้อย่างทันเวลา ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.อาจพัฒนาและดูแลเว็บเพจส�ำหรับที่ตั้งของตน
ข่าวสาร คชรน.บนเว็บเพจจะรวมถึงข้อมูลใหม่ ๆ ทีส่ ำ� คัญ, รายงานสถานะและการปฏิบตั ใิ นปัจจุบนั
๕.๓.๒ อีเมล อีเมลเป็นวิธที มี่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด ในการสือ่ สารข่าวสาร คชรน.ซึง่
ให้การเผยแพร่ได้อย่างรวดเร็วในช่วงเวลาทีว่ กิ ฤตภายในกองบัญชาการ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ควร
ก�ำหนดอีเมลระหว่างหน้าทีแ่ ละบุคคล เพือ่ หลีกเลีย่ งอีเมลทีไ่ ม่สำ� คัญทีม่ จี ำ� นวนมากเกินไป เพือ่ ช่วย
ป้องกันข้อความค้างส�ำหรับบุคคลที่ไม่อยู่ในช่วงปฏิบัติงาน นอกจากนี้การใช้ระบบการจัดความ
ส�ำคัญกับอีเมลจะช่วยจ�ำแนกข้อความที่จ�ำเป็นต้องจัดการให้ทันเวลา
๕.๓.๓ ดิสไดร์ฟและโฟลเดอร์ที่ใช้ร่วมกัน หมายถึง การอนุญาตให้เข้าถึงข้อมูล
โดยทั่วไปที่ใช้ร่วมกัน ชื่อของไดร์ฟโฟลเดอร์ที่ใช้ร่วมกันอาจจะเป็นชื่อเรื่องหรือใช้ชื่อที่เหมือนกับที่
แสดงในผังแฟ้ม
บทที่ ๓
ระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน.

๑. ความเป็นมา
การรวบรวม การประเมินและแลกเปลี่ยนข่าวสารเหตุการณ์ คชรน.เป็นส่วนส�ำคัญมาก
ของการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ เนื้อหาบทที่ ๑ เป็นภาพรวมของการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษและ
แนวคิดของปฏิบัติการการป้องกัน คชรน. บทที่ ๒ เป็นภาพการปฏิบัติการร่วมและภาพรวมการ
จัดการข่าวสาร คชรน. ส�ำหรับระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน.เป็นสิ่งที่จะขาดไม่ได้ในการ
หลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษ ระบบจะให้ขา่ วสารทีจ่ ำ� เป็นในการพัฒนาภาพปฏิบตั กิ ารร่วมและการจัดการ
ข่าวสาร ผู้บังคับหน่วยทุกระดับต้องได้รับข่าวสารอย่างทันเวลา, ถูกต้อง และข่าวสารนั้นได้รับการ
ประเมินเรือ่ งการเปือ้ นพิษจากการโจมตี คชรน. และการกระจายของสิง่ ปนเปือ้ น คชรน.ทีไ่ ม่ใช่เกิด
จากการโจมตีทางทหารด้วยอาวุธ นชค. (ROTA) เหตุการณ์เหล่านี้มีผลกระทบส�ำคัญต่อการปฏิบัติ
การ การวางแผนและตัดสินใจทางทหารใด ๆ หลักการเตือนภัยเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ จริงหรือจากการ
พยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษ คชรน.ของหน่วยคือ ระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน. ระบบนี้ช่วย
ผู้บังคับหน่วยและฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ในการก�ำหนดหามาตรการป้องกันที่จ�ำเป็นและวางแผน
การด�ำเนินงานให้สอดคล้อง ผู้บังคับหน่วยทุกระดับจะต้องรับผิดชอบในแผน นโยบายและ รปจ.
โดยให้พิจารณาการป้องกัน คชรน.เป็นอันดับแรก
ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการก�ำหนดมาตรฐาน หมายเลข ๒๑๐๓ : การรายงาน
การระเบิดนิวเคลียร์ การตกของฝุน่ กัมมันตรังสี และการโจมตีดว้ ยอาวุธเคมีและอาวุธชีวะ (STANAG
2103 : Reporting Nuclear Detonations, Radioactive Fallout, and Chemical and
Biological Attacks) ก�ำหนดให้มีการรายงานการถูกโจมตีด้วยอาวุธ นชค. ของข้าศึกหรือ
ไม่ทราบฝ่าย และให้รายงานการตรวจพบพื้นที่เปื้อนพิษซึ่งเป็นผลจากการโจมตีเช่นว่า โดยใช้แบบ
รายงานมาตรฐานซึ่งท�ำให้สามารถกระจายข่าวได้อย่างรวดเร็ว
๒. ระบบการเตือนภัยและการรายงาน คชรน.
๒.๑ เมื่อมีอันตรายจากอาวุธ คชรน. หนทางปฏิบัติที่ดีที่สุดคือ หลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ
หากท�ำไม่ได้จะต้องด�ำเนินการป้องกัน ระบบการเตือนภัยและการรายงาน นชค. เป็นเครื่องมือ
พืน้ ฐานทีจ่ ะช่วยให้ผบู้ งั คับหน่วยบรรลุความส�ำเร็จในการหลีกเลีย่ งหรือจ�ำกัดการสูญเสียทีอ่ าจเกิด
ขึ้น โดยช่วยในการแจ้งเตือนหน่วยต่าง ๆ ให้ทราบถึงอันตรายที่เกิดขึ้นจริงจากการโจมตีด้วยอาวุธ
คชรน.และอันตรายจากการแพร่กระจายของพิษที่คาดว่าจะเกิดจากการโจมตี
28 บทที่ ๓

๒.๒ ระบบการเตือนภัยและการรายงาน คชรน. จะให้ขา่ วสารทีจ่ ำ� เป็นในการก�ำหนดใช้


มาตรการป้องกันที่เหมาะสมและส�ำหรับการวางแผนการยุทธ์ ส่วนหน่วยจะก�ำหนดหนทางปฏิบัติ
อย่างไรย่อมขึ้นอยู่กับภารกิจและชนิดของอันตราย (พิษ) หากไม่ขัดต่อภารกิจแล้วอาจเปลี่ยนแผน
เพื่อหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ หรือมิฉะนั้นอาจเพิ่มระดับการป้องกันเพื่อให้สามารถยึดครองหรือ
เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่เปื้อนพิษได้ ระบบการเตือนภัยและการรายงาน คชรน. จึงอ�ำนวยประโยชน์แก่
หน่วยทหารในลักษณะเดียวกับข่าวกรองการรบ
๒.๓ ระบบการเตือนภัยและการรายงาน คชรน.คือ การจัดท�ำและส่งรายงาน นชค. ซึ่ง
เป็นรายงานแบบมาตรฐานทีเ่ ป็นข่าวสารข้อมูลเกีย่ วกับการโจมตีทเี่ กิดและการเตือนภัยทีส่ อดคล้อง
สัมพันธ์กบั การโจมตีครัง้ นัน้ มีเจ้าหน้าทีร่ บั ผิดชอบด�ำเนินกรรมวิธี มีการส่งรายงานอย่างเป็นระบบ
ตามสายการบังคับบัญชาไปยังหน่วยเหนือ มีการกระจายข่าวให้หน่วยรอง หน่วยขึ้นสมทบ หน่วย
ข้างเคียง ต่างเหล่าทัพและหน่วยพลเรือน
๓. รูปแบบรายงาน (Type of reports)
เป็นรายงานทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ในรูปแบบทีจ่ ะช่วยให้สามารถส่งและกระจายข่าวได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว เพราะมีความกะทัดรัด มีข้อมูลเท่าที่จ�ำเป็น จัดระเบียบเป็นบรรทัด โดยอาศัยระบบรหัส
อักษร ท�ำให้มีความแม่นย�ำ เข้าใจง่ายและสามารถใช้ร่วมกันได้หลายเหล่าทัพและหลายชาติ
๓.๑ รายงาน นชค.ช่วยให้ผบู้ งั คับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการทราบสถานการณ์ดา้ น นชค.
และรู้ว่ามีพื้นที่เปื้อนพิษอยู่ ณ ที่ใดจึงสามารถใช้ประกอบการตัดสินใจหรือการวางแผนทั้งส�ำหรับ
ปัจจุบันและอนาคต อีกทั้งใช้แจ้งเตือนหน่วยรอง รายงาน นชค. มี ๖ รายงาน แต่ละรายงานยังแยก
ได้เป็นรายงานส�ำหรับอาวุธนิวเคลียร์, ชีวะ, เคมีและรายงานเหตุการณ์ ROTA และมีวัตถุประสงค์
เฉพาะดังนี้
 รายงาน นชค.๑ : ข้อมูลขั้นต้นของการโจมตีด้วยอาวุธ คชรน.ของข้าศึก
 รายงาน นชค.๒ : ข้อมูลของการโจมตีดว้ ยอาวุธ คชรน.ของข้าศึกทีป่ ระเมินแล้ว
 รายงาน นชค.๓ : การเตือนภัยทันทีเกี่ยวกับการเปื้อนพิษที่คาดว่าจะเกิด
 รายงาน นชค.๔ : ผลการเฝ้าตรวจหรือการส�ำรวจ
 รายงาน นชค.๕ : ต�ำแหน่งพื้นที่เปื้อนพิษจริง
 รายงาน นชค.๖ :   ขา่ วสารอย่างละเอียดของการโจมตีดว
้ ยอาวุธ คชรน.ของข้าศึก
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 29

๓.๑.๑ รายงาน นชค.๑ (NBC1: Observer’s lnitial Report)


ก. เป็นรายงานข้อมูลขัน้ ต้นของการโจมตีดว้ ยอาวุธ คชรน.ของข้าศึก เป็น
รายงาน นชค.ฉบับทีม่ กี ารส่งกันอย่างแพร่หลายทีส่ ดุ ฉะนัน้ หน่วยตัง้ แต่ระดับกองร้อยขึน้ ไปจะต้อง
ท�ำความคุ้นเคยกับรูปแบบของรายงานนี้ และต้องจัดท�ำได้อย่างรวดเร็ว แม่นย�ำเพื่อส่งให้
หน่วยเหนือถัดไป
 หน่วยระดับต�่ำกว่ากองร้อย ส่งข้อมูลดิบเกี่ยวกับการโจมตีด้วยอาวุธ
เคมี/ชีวะให้ บก.ร้อย
 บก.ร้อย แปลงข้อมูลดิบเป็นรายงาน นชค.๑ และส่งรายงาน นชค.๑
(เคมี/ชีวะ) ให้ บก.พัน โดยไม่แบ่งข้อมูลออกเป็นหลายส่วนเพื่อแยกส่ง (กรณีอาวุธนิวเคลียร์ให้
ผู้สังเกตการณ์และหน่วยสังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว รายงานตรงไป บก.พัน)
 หน่วยระดับกองพันหรือสูงกว่า เมือ ่ ได้รบั รายงาน นชค.๑ จากหน่วยรอง
ให้ส่งต่อไปยัง บก.หน่วยถัดไป เว้นแต่เมื่อได้รับรายงานการโจมตีด้วยอาวุธเคมีหลายฉบับและ
พิจารณาข้อมูลดูแล้วว่าเป็นรายงานการโจมตีครั้งเดียวกัน จะต้องสรุปรวมเป็นรายงาน นชค.๑ ส่ง
ให้หน่วยเหนือถัดไปเพียงฉบับเดียว
ข. ถ้ารายงาน นชค.๑ (เคมี) ทีห่ น่วยได้รบั เป็นรายงานทีถ่ กู ส่งเพราะระบบ
สัญญาณแจ้งภัยสารเคมีอัตโนมัติส่งสัญญาณภัยโดยไม่มีสิ่งบอกเหตุอื่นของการโจมตีเช่น กระสุน
ปืนใหญ่ระเบิดร่วมด้วยหน่วยจะต้องแจ้งให้หน่วยเหนือทราบถึงสาเหตุดังกล่าว และจะต้องสั่งการ
ไปยังหน่วยที่ส่งรายงาน นชค.๑ (เคมี) ฉบับนั้นให้ใช้เครื่องตรวจหาสารเคมีตรวจจนสามารถพิสูจน์
ยืนยัน (verify) ได้ผลเหมือนกัน ๒ ครั้งเป็นอย่างน้อย
ค. ตามปกติจะไม่มีการส่งรายงาน นชค.๑ ให้ศูนย์ นชค.กองทัพน้อยหรือ
สูงกว่าเว้นแต่เป็นการโจมตีด้วยอาวุธ คชรน. แต่ละประเภทที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในยุทธบริเวณ
ง. รายงาน นชค.๑ ที่เป็นรายงานการโจมตีครั้งแรก จะต้องส่งด้วยล�ำดับ
ความเร่งด่วนทางการสื่อสาร “ด่วนที่สุด” (FLASH) หน่วยที่ได้รับรายงานนี้จะต้องส่งต่อไปยัง
หน่วยเหนือถัดไปด้วยล�ำดับความเร่งด่วนเดียวกันคือ “ด่วนที่สุด” หากต่อมาหน่วยได้รับรายงาน
นชค.๑ ที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการโจมตีครั้งเดียวกันนั้น หรือรายงาน นชค.๑ ที่เป็นรายงาน
การโจมตีด้วยอาวุธชนิดเดียวกันหลังจากครั้งแรก ให้ส่งต่อด้วยล�ำดับความเร่งด่วนทางการสื่อสาร
เพียงแค่ “ด่วน” (IMMEDIATE)
๓.๑.๒ รายงาน นชค.๒ (NBC2: Evaluated Data Report)
ก. เป็นรายงานข้อมูลการโจมตีดว้ ยอาวุธ คชรน.ของข้าศึกทีไ่ ด้ประเมินค่า
แล้ว หน่วยใช้เป็นปัจจัยหนึ่งในการตัดสินใจปรับระดับ ลภ. และช่วยในการวางแผนส�ำหรับปฏิบัติ
การในอนาคต
30 บทที่ ๓

ข. จัดท�ำโดยอาศัยข้อมูลจากรายงาน นชค.๑ ตั้งแต่ ๒ ฉบับขึ้นไป เพื่อส่ง


ข้อมูลจากการโจมตีที่ได้ประเมินค่าแล้วไปให้หน่วยรอง หน่วยเหนือ และหน่วยข้างเคียง ตามปกติ
ศูนย์ คชรน.กองพล เป็นหน่วยระดับต�ำ่ สุดทีจ่ ดั ท�ำรายงาน นชค.๒ แต่หน่วยระดับต�ำ่ กว่าอาจจัดท�ำ
ขึ้นใช้เพื่อพลางได้ ถ้ามีข้อมูลเพียงพอ แต่จะต้องไม่ก�ำหนดเลขล�ำดับการโจมตี (บรรทัด ALPHA)
และต้องยกเลิกรายงาน นชค.๒ ทีท่ ำ� ขึน้ ใช้เองเมือ่ ได้รบั รายงาน นชค.๒ ของการโจมตีคราวเดียวกัน
นั้นจากศูนย์ คชรน.กองพล
ค. ศูนย์ คชรน.กองพล เป็นผูม้ อี ำ� นาจก�ำหนดเลขล�ำดับการโจมตีในรายงาน
นชค.๒ หน่วยรองที่ได้รับรายงาน นชค.๒ ตัดสินใจว่าจ�ำเป็นจะต้องส่งต่อไปหรือไม่ ถ้าศูนย์ คชรน.
กองพลได้รบั ข้อมูลเพิม่ เติมอีกภายหลังจากทีส่ ง่ รายงาน นชค.๒ ฉบับหนึง่ ไปแล้ว อาจส่งข้อมูลเหล่านี้
ในรายงาน นชค.๒ ฉบับแก้ไขเพิม่ เติมเช่น ข้อมูลใหม่ทำ� ให้ขนาดอาวุธนิวเคลียร์เปลีย่ นไป หรือท�ำให้
ต�ำบลที่ถูกโจมตีเปลี่ยนไป
๓.๑.๓ รายงาน นชค.๓ (NBC3: Immediate Warning of Predicted Con-
tamination and Hazard Areas)
ก. เป็นรายงานทีใ่ ช้เตือนภัยเกีย่ วกับพืน้ ทีซ่ งึ่ คาดว่าจะเปือ้ นพิษ (ส่งข้อมูล
ของรูปพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลม)
ข. ศูนย์ คชรน.กองพล ใช้ขอ้ มูลการโจมตีจากรายงาน นชค.๑ หรือรายงาน
นชค.๒ ร่วมกับข่าวสารทิศทางลม (EDM) หรือข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM)
จัดท�ำพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลม (Downwind Hazard Area) แล้วส่งเป็นรายงาน นชค.๓ ไป
ให้ทุกหน่วยที่พบว่าอยู่ในพื้นที่อันตรายตามลม
ค. หน่วยทีไ่ ด้รบั รายงาน นชค.๓ น�ำข้อมูลไปหมายจุดลงบนแผนทีย่ ทุ ธการ
และสร้างรูปพยากรณ์ แล้วแจ้งเตือนหน่วยรองของตนที่พบว่าอยู่พื้นที่อันตรายตามลม
ง. เมือ่ ได้รบั การเตือนภัยว่าหน่วยอยูใ่ นพืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลม ผูบ้ งั คับหน่วย
จะต้องตัดสินใจว่าจะอยูใ่ นพืน้ ทีน่ นั้ ต่อไป หรือจะเคลือ่ นย้ายออกไป ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั ภารกิจของหน่วย,
ปริมาณรังสีทหี่ น่วยได้รบั มาแล้ว (ในกรณีทอี่ นั ตรายเป็นการตกฝุน่ กัมมันตรังสี) และค�ำแนะน�ำของ
หน่วยเหนือ
จ. อันตรายจากสารเคมี หน่วยในพืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลมปรับระดับ ลภ.ตาม
ความจ�ำเป็นและต้องติดตัง้ ระบบสัญญาณแจ้งภัยสารเคมีอตั โนมัตไิ ว้เหนือลม เพือ่ เตือนภัยการมาถึง
ของกลุ่มไอหรือแอโรซอลสารเคมี ศูนย์ คชรน.กองพลจะประเมินผลอันตรายและปรับรายงาน
นชค.๓ ทุก ๒ ชัว่ โมงแล้วแจ้งเตือนให้หน่วยทีเ่ กีย่ วข้องทราบว่าจะได้รบั อันตรายหรือพ้นอันตรายแล้ว
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 31

๓.๑.๔ รายงาน นชค.๔ (NBC4: Reconnaissance, Monitoring and Survey


Results)
ก. เป็นรายงานผลการลาดตระเวน การเฝ้าตรวจ หรือการส�ำรวจ คชรน.
ข. นอกจากรายงาน นชค.๓ จะแจ้งเตือนผู้บังคับหน่วยเกี่ยวกับพื้นที่
อันตรายซึ่งต้องพิจารณาหาทางหลีกเลี่ยงแล้ว ยังก่อให้เกิดรายงาน นชค.๔ ตามมา หน่วยที่ได้รับ
รายงาน นชค.๓ จะใช้ข่าวสารจากรายงาน นชค.๓ เป็นแนวทางในการเฝ้าตรวจหรือลาดตระเวน
ถ้าตรวจพบการเปื้อนพิษจะรายงานให้หน่วยเหนือทราบในรูปของรายงาน นชค.๔
ค. ตามปกติหน่วยระดับกองร้อยจัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๔ เมื่อ
ศูนย์ คชรน. กองพลได้รบั รายงาน นชค.๔ จะรวบรวมข้อมูลและน�ำไปหมายจุดลงบนแผนทีย่ ทุ ธการ
เพือ่ แสดงต�ำแหน่งของพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษทีพ่ บจริง แต่ถา้ ข้อมูลทีไ่ ด้รบั ยังไม่สมบูรณ์ ศูนย์ คชรน.กองพล
อาจสั่งให้หน่วยรองออกท�ำการส�ำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ยังขาดหายไป
๓.๑.๕ รายงาน นชค.๕ (NBC5: Actual Contaminated Areas)
ก. เป็นรายงานต�ำแหน่งของพื้นที่เปื้อนพิษจริง (ส่งข้อมูลของแผนที่
เปื้อนพิษ) ซึ่งจัดท�ำจากข้อมูลของรายงาน นชค.๔
ข. ศูนย์ คชรน.กองพลจะน�ำข้อมูลในรายงาน นชค.๔ ที่ได้รับไปหมายจุด
ลงบนแผนที่ยุทธการและลากเส้นขอบนอกของพื้นที่เปื้อนพิษ การแจ้งต�ำแหน่งของพื้นที่เปื้อนพิษ
ให้หน่วยรองและหน่วยข้างเคียงทราบ อาจท�ำโดยการส่งแผ่นบริวารแผนทีย่ ทุ ธการไปให้ถา้ สามารถ
ท�ำได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว หรืออาจส่งเป็นรายงาน นชค.๕
ค. รายงาน นชค.๕ มีขอ้ มูลส�ำคัญทีเ่ ป็นพิกดั ของขอบพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ หน่วย
ที่ได้รับรายงาน นชค.๕ จะต้องหมายจุดแต่ละพิกัดในรายงาน นชค.๕ ลงบนแผนที่ยุทธการและ
ลากเส้นเชื่อมจุดเหล่านั้นเพื่อแสดงต�ำแหน่งของพื้นที่เปื้อนพิษ
๓.๑.๖ รายงาน นชค.๖ (NBC6: Detailed Information on Chemical or
Biological Attacks)
ก. เป็นสรุปข่าวสารการโจมตีดว้ ยอาวุธเคมีหรือชีวะของข้าศึกทีเ่ กิดขึน้ ใน
พื้นที่รับผิดชอบ จัดท�ำโดยหน่วยระดับกองพันขึ้นไปเมื่อได้รับการร้องขอจากหน่วยเหนือ
ข. แต่ละบรรทัดของรายงานเป็นค�ำบรรยาย รายละเอียดมากที่สุดเท่าที่
จะท�ำได้
32 บทที่ ๓

ตาราง ๓-๑ ความหมายของรหัสอักษร


รหัสอักษร ความหมาย
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี
BRAVO ที่อยู่ของผู้สังเกตการณ์และทิศทางของการโจมตีหรือการระเบิดของอาวุธ
CHARLIE วันเวลาของรายงานหรือการสังเกตการณ์และการระเบิดของอาวุธสิ้นสุดลง
DELTA วันเวลาการโจมตีหรือการระเบิดและการโจมตีสิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิดของอาวุธ
GOLF ประเภทของเครื่องส่งและปริมาณอาวุธนิวเคลียร์ที่ระเบิด
HOTEL ประเภทการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
INDIA ข่าวสารการโจมตีของสารเคมีชีวะหรือเหตุการณ์ ROTA
JULIET เวลาเห็นแสงวาบ - ได้ยินเสียง (เป็นวินาที)
KILO ลักษณะหลุมระเบิด
LIMA ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ วัดเมื่อ H+๕ นาที
MIKE เมฆนิวเคลียร์ที่เสถียร วัดเมื่อ H+๑๐ นาที
MIKER ค�ำอธิบายและสถานะของเหตุการณ์ ROTA
NOVEMBER ขนาดอาวุธนิวเคลียร์โดยประมาณ (กิโลตัน)
OSCAR วันเวลาอ้างอิงของเส้นชั้นรังสีที่ประมาณไว้
PAPAA พื้นที่โจมตี/สารรั่วไหลและพื้นที่อันตรายที่ได้พยากรณ์
PAPAB ตัวแปรในการพยากรณ์อันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด
PAPAC พิกัดต่าง ๆ ของเส้นขอบนอกของเมฆกัมมันตรังสีที่ได้จากการวัดด้วยเรดาร์
PAPAD ทิศทางตามลมของเมฆกัมมันตรังสีที่ได้จากการวัดด้วยเรดาร์
PAPAX ต�ำบลพื้นที่อันตรายส�ำหรับห้วงเวลาหนึ่งของสภาพอากาศ
QUEBEC ต�ำบลที่อ่านค่า, การเก็บตัวอย่างและการตรวจหาสาร
ROMEO ระดับการเปื้อนพิษ แนวโน้มอัตราความเข้มข้นและแนวโน้มอัตราการเสื่อมสลาย
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่าเครื่องวัดหรือเริ่มต้นตรวจหาการเปื้อนพิษ
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและรายละเอียดพืชพันธุ์
WHISKEY ข้อมูลเครื่องตรวจจับสัญญาณ
XRAYA ข่าวสารเส้นขอบเขตที่เกิดขึ้นจริง
XRAYB ข่าวสารเส้นขอบเขตจากการพยากรณ์
YANKEE ทิศทางตามลมและความเร็วตามลม
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 33

ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง
GENTEXT ค�ำบรรยาย

๓.๒ อุตุนิยมวิทยาและรายงานสภาพอากาศ (MET and Weather Reports)


ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาปัจจุบัน เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ต้องมีและส�ำคัญมากในการพยากรณ์
พื้นที่อันตรายตามลมของการตกของฝุ่นกัมมันตรังสีและสารเคมีชีวะและเหตุการณ์ ROTA ข้อมูล
อุตุนิยมวิทยาถูกถ่ายทอดในรูปรายงานลมพื้นฐาน (BWR), รายงานทิศทางลม (EDR) และรายงาน
พยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDR) ซึง่ จัดท�ำขึน้ ทีศ่ นู ย์ คชรน.และส่งต่อไปทุกหน่วย
๓.๒.๑ รายงานลมพื้ น ฐาน (BWR) คื อ ข่ า วสารลมพื้ น ฐาน (BWM) หรื อ
การพยากรณ์ลมพื้นฐาน (BWF) ข่าวนี้มีข้อมูลพื้นฐานอุตุนิยมวิทยาเพื่อใช้ส�ำหรับพยากรณ์ฝุ่นรังสี
(ดูผนวก ง) รายงานลมพืน้ ฐานเป็นข่าวทีม่ อี ยูใ่ นรูปแบบทีผ่ า่ นการด�ำเนินกรรมวิธขี อ้ มูลอัตโนมัติ ใช้
ปรับให้เข้ากับข่าวสารลมพื้นฐานหรือการพยากรณ์ลมพื้นฐานเมื่อส่งผ่านรายงาน
๓.๒.๒ รายงานทิศทางลม (EDR) คือ ข่าวสารทิศทางลม (EDM) หรือพยากรณ์
ทิศทางลม (EDF) ข่าวสารนีจ้ ะมีขอ้ มูลเรือ่ งความเร็วตามลมและทิศทางตามลม ของแต่ละขนาดของ
อาวุธนิวเคลียร์ ๗ กลุ่ม
๓.๒.๓ รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDR) คือ ข่าวสาร
พยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM) หรือพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจาก
สารเคมี (CDF) ข่าวนีจ้ ะมีขอ้ มูลพืน้ ฐานอุตนุ ยิ มวิทยาส�ำหรับการพยากรณ์แอโรซอลชีวะ (ดูผนวก จ)
และพื้นที่เปื้อนพิษไอสารเคมี
๔. การจัดการระบบการเตือนภัยและการรายงาน คชรน.
การเตือนภัยและการรายงาน นชค. ที่ด�ำเนินไปได้อย่างราบรื่นและรวดเร็วเป็นกุญแจ
ส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่ชัยชนะในยามที่อาวุธ คชรน.เป็นภัยคุกคาม ข่าวสาร คชรน.จะมีประโยชน์
ต่อเมื่อสามารถรวบรวม รายงาน ประเมินค่า และแจกจ่ายเป็นข่าวกรองในสนามรบ การหาข่าว
และการด�ำเนินกรรมวิธีต่อข่าวสาร คชรน.ต้องท�ำเป็นระบบและจ�ำเป็นต้องมีการจัดการ มิฉะนั้น
จะมีข่าวสารเป็นจ�ำนวนมากถูกส่งเข้าไปในระบบการสื่อสารโดยปราศจากการควบคุม ท�ำให้ระบบ
การสือ่ สารมีภาระล้นจะมีผลกระทบต่อปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธี ระบบการเตือนภัยและการรายงาน นชค.
ประกอบด้วย
๔.๑ แหล่งข่าว คชรน. หน่วยทุกหน่วยในระดับต�่ำกว่ากองพลถือเป็นแหล่งข่าว และ
มีหน้าทีส่ งั เกตการณ์และบันทึกข้อมูลการโจมตีดว้ ยอาวุธ คชรน. แหล่งข่าวอาจเป็นหน่วยทีถ่ กู โจมตี,
หน่วยทหารที่เห็นการโจมตี, หน่วยหรือผู้ที่ได้รับการก�ำหนดตัวไว้ล่วงหน้าให้ท�ำหน้าที่สังเกตการณ์
34 บทที่ ๓

๔.๒ ผูร้ บั ผิดชอบด�ำเนินการเกีย่ วกับรายงาน นชค. นอกเหนือจากประการอืน่ แล้ว มีหน้าที่


จัดท�ำ รวบรวม ประเมินค่า ตีความ และหมายจุดลงบนแผนที่ยุทธการ ผู้รับผิดชอบด�ำเนินการ
เกี่ยวกับรายงาน นชค.ได้แก่
 นายทหารและนายสิบป้องกัน คชรน. (CBRN Defence Officer/NCO) ในชุด
ป้องกัน คชรน.ของหน่วย (CBRN Defence Team)
 นายทหาร/นายสิบเคมี (วิทยาศาสตร์) ประจ�ำหน่วย (Chemical Officer/NCO)
 ส่วน คชรน.ในหน่วยบัญชาการ
๔.๓ ศูนย์ คชรน. (CBRN Centre) จัดตั้งขึ้นในยามสงครามที่หน่วยระดับตั้งแต่กองพล
ขึ้นไป โดยจัดในศูนย์ปฏิบัติการทางยุทธวิธี (ศปย.) (Tactical Operation Centri–TOC) และมี
นายทหารและนายสิบเคมีในส่วน คชรน. (CBRN Cell) ของกองอ�ำนวยการ เป็นผู้ด�ำเนินงาน
ภายใต้การก�ำกับดูแลทางฝ่ายอ�ำนวยการของเสนาธิการ ภายใต้การควบคุมและก�ำกับดูแลทาง
เทคนิคของนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการทางเคมี (Chemical Staff Officer) และภายใต้การอ�ำนวยการ
ของฝ่ายเสนาธิการที่เกี่ยวข้อง (สธ.๒ และ สธ.๓) ของหน่วยบัญชาการนั้น ศูนย์ คชรน.มีหน้าที่ดังนี้
 รับ
 รวบรวม
 เก็บรักษา
 ประมวล
 ประเมินค่า
 รายงานการโจมตีดว ้ ยอาวุธ คชรน.และการเปือ้ นพิษทีเ่ กิดในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบและ
 จัดท�ำพยากรณ์พน ื้ ทีอ่ นั ตรายตามลมเพือ่ แจ้งเตือนหน่วยทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีน่ นั้ ให้ทราบ
ก่อนจะได้รับอันตราย
๔.๔ การรวบรวมข่าว การรวบรวมข่าวสาร คชรน.เป็นการปฏิบัติร่วมระหว่างหน่วยใน
พืน้ ทีแ่ ละศูนย์ คชรน.ทีร่ บั ผิดชอบพืน้ ทีน่ นั้ โดยหน่วยท�ำหน้าทีห่ าและให้ขา่ วสาร ส่วนศูนย์ คชรน.ท�ำ
หน้าทีว่ างแผนและสัง่ การเกีย่ วกับการรวบรวมข่าว ข่าวสารทีต่ อ้ งการแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทดังนี้
๔.๔.๑ ข้อมูลจากการสังเกตการณ์ แจ้งให้ทราบว่าเกิดการโจมตีดว้ ยอาวุธ คชรน.
และให้ข้อมูลเกี่ยวกับการโจมตีครั้งนั้น ส่งในรูปรายงาน นชค.๑
ก. การโจมตีดว้ ยอาวุธนิวเคลียร์ จะมีหลายหน่วยเห็นเหตุการณ์พร้อมกัน
หน่วยทีเ่ ห็นเหตุการณ์ไม่ตอ้ งรายงานแต่ตอ้ งบันทึกข้อมูลไว้ เพราะถ้าทุกหน่วยส่งรายงานแล้วระบบ
การสือ่ สารจะติดขัด ศูนย์ คชรน.กองพลจะก�ำหนดหน่วยสังเกตการณ์ (Designated Observer) ไว้
ล่วงหน้าเพื่อท�ำหน้าที่รายงานการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ โดยพิจารณาจากหน่วยที่มีเครื่องมือ
ส�ำหรับวัดข้อมูลที่ต้องการได้อย่างแม่นย�ำ และจะระบุชื่อหน่วยเหล่านี้ไว้ในแผนหรือค�ำสั่งยุทธการ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 35

ข. การโจมตีด้วยอาวุธเคมีหรืออาวุธชีวะ หน่วยใดก็ตามที่ถูกโจมตีหรือ
ตรวจการเห็นการโจมตีจะต้องรายงาน
๔.๔.๒ ข้อมูลจากการตรวจหรือส�ำรวจ ท�ำให้ทราบต�ำแหน่งทีต่ งั้ ทีแ่ ท้จริงของพืน้ ที่
เปือ้ นพิษ เพราะรายงานการสังเกตการณ์ให้เพียงข้อมูลเบือ้ งต้นเกีย่ วกับการโจมตี ศูนย์ คชรน.จึงต้อง
วางแผนและก�ำหนดให้หน่วยในกองพลจัดก�ำลังออกไปตรวจหรือส�ำรวจ และรายงานข้อมูลทีไ่ ด้ไปให้
ศูนย์ คชรน.ในรูปรายงาน นชค.๔ เพือ่ น�ำไปหมายจุดบนแผนทีย่ ทุ ธการและจัดท�ำแผนทีพ่ นื้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ
๔.๕ เส้นทางการส่งรายงาน นชค. ตามปกติรายงาน นชค.จะส่งไปยังและจากศูนย์
คชรน.ตามสายการบังคับบัญชาจากกองร้อย ไปกองพัน ไปกรม (กองพลน้อย) และไปกองพล
ภาพ ๓-๑ เส้นทางเดินของรายงาน นชค.

กองพล หน่วยสนับสนุนและ
ศูนย์ นชค. หน่วยขึ้นสมทบ












กรม หน่วยสนับสนุนและ


ฝอ.๒/ฝอ.๓ หน่วยขึ้นสมทบ



 รายงาน นชค.๑ และ ๔
รายงาน นชค.๒, ๓ และ ๕*


กองพัน

    ฝอ.๒/ฝอ.๓   รายงาน นชค.๖**
   รายงาน นชค.๑ (นิวเคลียร์)
* ส่งเป็นแผ่นบริวารดีที่สุด
** ส่งเมื่อได้รับการร้องขอ
กองร้อย

แต่ก็มีข้อยกเว้นซึ่งได้แก่
 ในกรณีทศ ี่ นู ย์ คชรน.กองพลสัง่ ให้หน่วยใดออกไปหาข้อมูลการเปือ้ นพิษโดยจัด
ก�ำลังเป็นชุดส�ำรวจ ชุดส�ำรวจจะรายงานข้อมูลทีไ่ ด้ตรงไปยังศูนย์ คชรน.การรายงานเช่นนีต้ ามปกติ
จะเป็นข้อมูลการส�ำรวจทางอากาศ
 ในกรณีที่เป็นอาวุธนิวเคลียร์ หน่วยสังเกตการณ์ระดับกองร้อยจะส่งรายงาน
นชค.๑ (นิวเคลียร์) ไปยังกองบังคับการกองพันและกองพันส่งต่อไปให้ศูนย์ คชรน.กองพล โดย
ไม่ผ่านกรม
36 บทที่ ๓

 หน่วยขึน้ สมทบและหน่วยสนับสนุนส่งข้อมูลไปยังกองบังคับการ/กองบัญชาการ
ที่หน่วยนั้นขึ้นสมทบหรือให้การสนับสนุนอยู่
๔.๖ การด�ำเนินกรรมวิธีต่อข่าว ในภาวะ คชรน.หน่วยต่าง ๆ มีภารกิจเกี่ยวกับข่าวสาร
คชรน.เพิ่มเติมจากภารกิจตามปกติในการรบ ยกเว้นศูนย์ คชรน.ซึ่งเป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ
ด�ำเนินการด้าน คชรน.แต่เพียงอย่างเดียว
๔.๗ วิธีส่งศูนย์ คชรน.กองพลจะพิจารณาความเหมาะสมของวิธีส่งโดยพิจารณาจาก
สถานการณ์ทางยุทธวิธีและภารกิจของหน่วย และจะแนะน�ำวิธีดีที่สุดซึ่งจะระบุไว้ใน รปจ. ตาม
ธรรมดาการสือ่ สารทางสายเป็นวิธดี ที สี่ ดุ หน่วยตัง้ แต่ระดับกองพันขึน้ ไปจะใช้ขา่ ยการข่าวมากกว่า
ข่ายการบังคับบัญชา
๔.๘ การใช้คอมพิวเตอร์ การใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์โปรแกรมประยุกต์
เป็นวิธีพยากรณ์และรับ-ส่งรายงาน นชค.ที่ทันสมัยกว่า ใช้ง่ายและรวดเร็ว โปรแกรมจะใช้แผนที่
ยุทธการในระบบดิจติ อล (แผนทีอ่ เิ ล็กทรอนิกส์หรือ e-map) สามารถย่อและขยายมาตราส่วนได้รบั
ข้อมูลอุตุนิยมที่จ�ำเป็นได้ตลอดเวลา (in real time) จึงสามารถสร้างและส่งรูปพยากรณ์การ
เปื้อนพิษและแผนที่พื้นที่เปื้อนพิษได้โดยอัตโนมัติ สามารถพิมพ์รายงาน นชค. รูปพยากรณ์หรือ
แผนที่พื้นที่เปื้อนพิษลงบนแผ่นบริวารแผนที่ กระดาษและแผ่นโปร่งใสได้
๕. ความรับผิดชอบของหน่วยต่าง ๆ ต่อข่าวสาร คชรน.
๕.๑ หน่วยระดับกองร้อย เป็นหน่วยรวบรวมและรายงานข่าวสาร คชรน.ส่วนใหญ่ จะต้อง
รวบรวม ด�ำเนินกรรมวิธี และวิเคราะห์ข่าวสารข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว จึงต้องมียุทโธปกรณ์ และ
ก�ำลังพลที่ได้รับการฝึกให้สามารถ
 รายงานการโจมตีด้วยอาวุธ คชรน. โดยใช้แบบรายงาน นชค.
 ตรวจวัดรังสี ตรวจจับและตรวจหาสารเคมี และพิสูจน์ทราบชนิดของสารเคมี
 จัดท�ำพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมอย่างง่าย
 เก็บและส่งตัวอย่างสารเคมีและสารชีวะ
 ท�ำการส�ำรวจ/ลาดตระเวนเคมีและชีวะ
๕.๒ หน่วยระดับกองพัน มีหน้าทีก่ ำ� กับดูแลและติดตามการรวบรวมข่าวสารของหน่วย
รอง โดยมีเจ้าหน้าที่ชุดป้องกัน คชรน.ของกองพันหรือนายทหารและนายสิบเคมีที่ถูกส่งมาประจ�ำ
ที่กองพันเป็นผู้ด�ำเนินการ เจ้าหน้าที่ป้องกัน คชรน.ของกองพันต้องได้รับการฝึกให้สามารถ
 สรุปรายงาน นชค. ทีม ่ ขี อ้ มูลซ�ำ้ ซ้อนทีไ่ ด้รบั จากหน่วยรองให้เป็นฉบับเดียว และ
ส่งต่อ
 จัดท�ำพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมอย่างง่าย
 กระจายข่าวสาร คชรน.
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 37

 ประสานและก�ำกับดูแลการส�ำรวจ/ลาดตระเวน คชรน.แบบแยกการ
 จัดท�ำแผนที่สถานการณ์ คชรน.
๕.๓ หน่วยระดับ (กองพลน้อย) เจ้าหน้าทีป่ อ้ งกัน คชรน.ของหน่วยจะต้องปฏิบตั ภิ ารกิจ
ได้เช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยระดับกองพันและต้องได้รับการฝึกให้สามารถ
 สรุปรายงาน นชค. ทีม ่ ขี อ้ มูลซ�ำ้ ซ้อน ทีไ่ ด้รบั จากหน่วยรองให้เป็นฉบับเดียวและ
ส่งต่อ
 วางแผนและประสานการส�ำรวจ คชรน.แบบแยกการ
๕.๔ หน่วยระดับกองพล (ศูนย์ คชรน.) ใช้วิธีที่มีรายละเอียดของการปฏิบัติและมีขั้น
ตอนสลับซับซ้อนกว่าของหน่วยรอง และอาศัยการเปรียบเทียบข้อมูลจากหลายแหล่งซึ่งมากกว่า
ที่หน่วยรองใดจะมีศูนย์ คชรน.รับผิดชอบ
 รับ รวบรวม ประเมินค่า และแจกจ่ายรายงานการโจมตีดว ้ ยอาวุธ คชรน.ของข้าศึก
 จัดท�ำและแจกจ่ายข่าวสารทิศทางลมและกาลอากาศส�ำหรับใช้ในการพยากรณ์
พื้นที่อันตรายตามลม
 ประสานการส�ำรวจ/ลาดตระเวน คชรน.กับหน่วยเหนือ หน่วยรองและหน่วย
ข้างเคียง
 วางแผนการส�ำรวจ/ลาดตระเวน คชรน.แบบรวมการ
 ก�ำหนดหน่วยสังเกตการณ์ (นิวเคลียร์)
 จัดท�ำแผนที่สถานการณ์ คชรน.

๖. การบันทึกที่ต้องระบุเสมอในรายงาน นชค.
เพื่อให้ขั้นตอนและการประเมินข้อมูล คชรน. ท�ำได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าข่าวสารมีความถูกต้องและป้อนข้อมูลโดยบุคคลลงในระบบอัตโนมัติ (แต่ละ
บรรทัดมีขา่ วสารทีต่ อ้ งระบุซงึ่ จะต้องใส่ในข่าว นชค.เพือ่ ให้ได้รปู แบบทีถ่ กู ต้อง) ทุกบรรทัดหรือข่าว
จะต้องสอดคล้องกับกฎระเบียบดังนี้
๖.๑ เนื้อหาของแต่ละบรรทัดมีค�ำอธิบายดังต่อไปนี้ A = ตัวอักษร, N = ตัวเลข, S =
สัญลักษณ์พิเศษ B = ช่องว่างและ X = รหัสอื่น ๆ การรวมกันของรหัสจะมีอยู่ในบางบรรทัด
๖.๒ เนื้อหาแต่ละบรรทัดต้องใส่ด้วยตัวเลขและแบบของสัญลักษณ์ที่ระบุ หรือเติมเส้น
ขีดยาว ( - ) เมื่อไม่มีข่าวสาร อย่างไรก็ตามบางบรรทัดแตกต่างกันในความยาวของตัวอักษร ซึ่ง
บ่งชี้โดยใช้ช่วงจ�ำนวนของสัญลักษณ์ (เช่น 1-20X)
๖.๓ ถ้าบรรทัดนัน้ สามารถบันทึกซ�ำ้ จะแสดงโดยให้มเี ครือ่ งหมายดอกจันมาก่อน (เช่น
* = ๓ เป็นการระบุว่าข้อมูลสามารถป้อนได้ถึง ๓ ครั้ง)
๖.๔ ถ้าบรรทัดนั้นมีการบันทึกซ�้ำ ข้อมูลทั้งหมดภายในบรรทัดนั้นต้องถูกใช้ตามเวลาที่
บรรทัดนั้นมีการบันทึกซ�้ำ
38 บทที่ ๓

๖.๕ ในขัน้ ตอนการป้อนข้อมูลโดยบุคคล ข่าวสารทัง้ หมดภายใน ๑ ชุดจะใส่ลงใน ๑ ประโยค


๖.๖ การวัดทิศทาง/มุม ทั้งหมดจะต้องระบุไว้ในรูปองศา (3N) หรือ miles (4N)
(เช่น 40° = 040, 18 mils = 0018)
๖.๗ ค่าของข้อมูลมี ๓ แบบคือ ค่าที่ต้องระบุเสมอ (M), ค่าที่วัดได้ (๐) หรือค่าที่วัดตาม
เงื่อนไข (C)

ตาราง ๓-๒ ชนิดของสาร

นิวเคลียร์ ชีวะ เคมี


NIL ไม่ตรวจพบสาร (ใช้ใน BIO สารชีวะ BL สารพุพอง
รายงาน นชค.๔ เท่านัน้ )
OTR สารอื่น ๆ NIL ไม่ตรวจพบสาร (ใช้ใน BLOD สารโลหิต
รายงาน นชค.๔ เท่านัน้ )
RNP การรั่วไหลของสารจาก OTR สารอื่น ๆ CHOK สารส�ำลัก
โรงไฟฟ้ า นิ ว เคลี ย ร์ ที่
มิ ใช่เกิด จากการโจมตี
ทางทหาร
TIM วัตถุมีพิษอุตสาหกรรม TIM วัตถุมีพิษอุตสาหกรรม G สาร จี
UNK ไม่ทราบชนิด TOX สารพิษ H สารมัสตาร์ด
UNK ไม่ทราบชนิด INCP สารท�ำให้ไร้ความ
สามารถ
BAC แบคทีเรีย IRT สารระคายเคือง
CLA คลามีเดีย NERV สารประสาท
RIC ริกเกตเซีย NIL ไม่ตรวจพบสาร (ใช้ใน
รายงาน นชค.๔ เท่านัน้ )
VIR ไวรัส OTR สารอื่น ๆ
PENT สารที่แทรกซึมได้ดี
TIM วัตถุมีพิษอุตสาหกรรม
UNK ไม่ทราบชนิด
V สาร วี
VMT สารอาเจียน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 39

ตาราง ๓-๓ ชื่อสาร

นิวเคลียร์ เคมี
ALP Alpha AC Hydrogen cyanide
BETA Beta BZ Quinuclidinyl benzilate
GAM Gamma CG Phosgene
NEU Neutron CK Cyanogen chloride
COS Cobalt-60 CX Phosgene oxime
CES Cesium-137 DP DI-phosgene
FF Fresh reactor fuel GA Tabun
FL Nuclear weapon fallout GB Sarin
IO Iodine GD Soman
OF Spent reactor fuel GF Cyclo-Sarin
PU Plutonium HD Mustard distilled
HL Mustard lewisite
HN Nitrogen mustard
HT Trimeric mustard
L Lewisite
PS Chloropicrin
SA Arsin
TG Tear gas
VX VX
หมายเหตุ : ถ้าพิสูจน์ทราบได้ว่าเป็นสารชีวะให้บันทึกในบรรทัด GENTEXT
40 บทที่ ๓

๗. การก�ำหนดชั้นความลับและก�ำหนดความเร่งด่วน
การก�ำหนดชั้นความลับ และจัดล�ำดับความเร่งด่วนของข่าว คชรน.เพื่อให้แน่ใจว่า
เจ้าหน้าที่จะเผยแพร่ข่าวได้ทันเวลาและด้วยวิธีที่มีประสิทธิภาพ
๗.๑ การก�ำหนดชัน้ ความลับ (classification) เว้นแต่ขา่ ว นชค.ทีม่ ขี า่ วปฏิบตั กิ ารพิเศษ
(เช่น ผลกระทบต่อกองก�ำลังทหาร) ข่าวดังกล่าวทั้งหมดไม่ควรมีชั้นความลับ
๗.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน (precedence) ข่าว นชค.๑ เป็นรายงานการใช้อาวุธ คชรน.ของ
ข้าศึกเป็นครัง้ แรกหรือเหตุการณ์ ROTA ทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ ต้องให้ลำ� ดับความเร่งด่วนของข่าวเป็นด่วนทีส่ ดุ
(FLASH) ข่าวอืน่ ๆ ทัง้ หมดควรได้ลำ� ดับความเร่งด่วนทีส่ ะท้อนความส�ำคัญของปฏิบตั กิ าร โดยปกติ
ความเร่งด่วนของข่าวที่ระดับด่วน (IMMEDIATE) จะมีความเหมาะสมเมื่อเกิดเหตุการณ์ คชรน.ขึ้น
จ�ำนวนของข่าว นชค.จะมีจำ� นวนมาก ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ต้องเตรียม รปจ.อย่างระมัดระวัง เพือ่
หลีกเลี่ยงภาระที่ไม่จ�ำเป็นในระบบการสื่อสาร
๘. เครื่องมือสนับสนุนการตกลงใจ (Decision Support Tools)
การรวบรวม, การประเมิน, การประมวลผลและการถ่ายทอด ทัง้ หมดจากสนามเป็นภาระ
งานทีย่ งุ่ ยากมากและใช้เวลานานเมือ่ ปฏิบตั โิ ดยบุคคล เพือ่ ช่วยลดจ�ำนวนของข้อผิดพลาดและเร่งรัด
การประมวลผล ดังนั้นกองทัพควรมีการพัฒนาโปรแกรมสร้างแบบจ�ำลองและระบบที่หลากหลาย
เพื่อช่วยให้ผู้บังคับหน่วยตัดสินใจแจ้งข่าวได้รวดเร็วและแม่นย�ำมากขึ้น ซึ่งผู้ปฏิบัติจ�ำเป็นต้องมี
ทักษะที่เชี่ยวชาญเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ผิดหรือการอ่านผลผิดพลาด
๙. ขีดความสามารถการเข้าถึงข้อมูลทางเทคนิค (Technical Reach-Back Capabilities)
ผูบ้ งั คับหน่วยไม่เพียงแต่ตอ้ งการข่าวสารทีแ่ ม่นย�ำและทันเวลาเท่านัน้ แต่ยงั ต้องมีขดี ความ
สามารถในการเข้าถึงข้อมูลทางเทคนิคอย่างดีเยี่ยมความต้องการเข้าถึงข้อมูลเกิดขึ้นเมื่อผู้บังคับ
หน่วยต้องการแหล่งที่มาของข่าวสารที่มีต�ำแหน่งที่ตั้งอยู่ห่างไกล โดยผ่านทางระบบการควบคุม
และบังคับบัญชา การเข้าถึงข้อมูล เป็นการด�ำเนินการทีใ่ ช้เครือ่ งมือทางการสือ่ สาร เพือ่ พิสจู น์ทราบ
และน�ำไปสู่วิธีการซึ่งไม่ปรากฏ ณ ที่ตั้ง คชรน.
๙.๑ การเข้าถึงข้อมูลทางเทคนิคเป็นความสามารถที่จะติดต่อผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา
วิชา เมื่อปัญหาทางเทคนิคมากเกินกว่าความสามารถของผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในสถานที่เกิดเหตุ การ
เข้าถึงข้อมูลควรด�ำเนินการโดยใช้ รปจ. หน่วยที่ก�ำหนดขึ้น ปัญหาอาจมีดังต่อไปนี้
ก. การพิสูจน์ทราบสาร คชรน.ที่ไม่ได้มาตรฐานและวัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม
(Nonstandard Agent Identification of CBRN and TIM) ถ้ามีการใช้วัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม
หรือถูกสงสัยว่ามีการใช้ เจ้าหน้าที่ คชรน.ต้องได้รบั ข้อมูลทางเทคนิค ข้อมูลนีจ้ ะรวมถึงความคงทน
ของสาร, ผลต่อร่างกาย, การท�ำลายล้างพิษหรือความจ�ำเป็นในการป้องกัน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 41

ข. การสร้างแบบจ�ำลอง/การพยากรณ์การเปื้อนพิษ (Modeling/Hazard
Prediction) การแพร่กระจายการเปื้อนพิษต้องเป็นที่รู้กันในหน่วยปฏิบัติการ ผู้เชี่ยวชาญทาง
เทคนิคสามารถใช้การสร้างแบบจ�ำลองเพือ่ จัดหาตัวบ่งชีท้ ดี่ กี ว่าของสถานทีท่ อี่ าจจะมีอนั ตรายจาก
ไอระเหย, ของเหลวหรือแอโรซอลเกิดขึน้ การเข้าถึงข้อมูลทางเทคนิคจะท�ำให้มคี วามสามารถส�ำหรับ
การวิเคราะห์รายละเอียดของพืน้ ทีเ่ พือ่ ช่วยก�ำหนดพืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลม และก�ำหนดจุดทีต่ งั้ พักรอ,
ศูนย์ปฏิบัติการ, ที่ตั้งท�ำลายล้างพิษและอื่น ๆ
๙.๒ การเข้าถึงข้อมูลสามารถบรรลุผลได้โดยใช้วธิ กี ารต่าง ๆ จากโทรศัพท์จนถึงดาวเทียม
บทที่ ๔
การปฏิบัติในสภาพแวดล้อมของกองทัพบกไทย

๑. ความจ�ำเป็นในปัจจุบัน
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ เป็นหลักส�ำคัญประการแรกที่จะท�ำให้ก�ำลังพลที่เข้าปฏิบัติ
การรบในพื้นที่ที่คาดว่าจะมีการใช้อาวุธ คชรน. สามารถด�ำรงสภาพต่อไปได้โดยใช้เครื่องมือที่มีอยู่
ทั้งมวล นอกจากการน�ำไปใช้เป็นหลักนิยมในการรบหรือสงคราม คชรน.แล้ว ยังสามารถน�ำไปใช้
เป็นหลักนิยมในการปฏิบตั กิ ารอืน่ ทีไ่ ม่ใช่การสงครามได้ดว้ ย ดังเช่นการต่อต้านการก่อการร้ายอืน่ ๆ
ในภายหน้า อีกทัง้ การเปิดประเทศทางด้านเศรษฐกิจ สังคมในภูมภิ าคอาเซียนจะมีความเสรีมากขึน้
เป้าหมายของการก่อการร้ายก็จะเพิม่ ขึน้ ด้วย รวมถึงด้านอุบตั ภิ ยั อันเกิดจากสภาวะการเปลีย่ นแปลง
ทางธรรมชาติหรืออาจจะเกิดจากความประมาทของมนุษย์
๒. แนวการปฏิบัติ
หลักนิยมนี้ได้มีความเชื่อมโยงกับหลักส�ำคัญของการจัดการอันเกี่ยวเนื่องกันระหว่าง
ผู้บังคับหน่วยก�ำลังรบ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.และเจ้าหน้าที่ คชรน. ซึ่งแต่ละส่วนจะมีความ
รับผิดชอบอย่างชัดเจน ดังนั้นแล้วในสภาวะสงคราม คชรน. การอยู่รอดและสามารถปฏิบัติ
การรบตามแผนทีก่ ำ� หนดได้อย่างสมบูรณ์ ต้องมีการเตรียมความพร้อมของทัง้ ๓ ส่วน โดยเฉพาะฝ่าย
อ�ำนวยการ คชรน.และเจ้าหน้าที่ คชรน.นั้นจะต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ สามารถจัดเตรียม
ข่าวสารและประมาณการให้ผู้บังคับหน่วยก�ำลังรบสามารถตัดสินใจ และสั่งการได้อย่างทันเวลา
ดังนัน้ การเตรียมความพร้อมของฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ควรเริม่ มีการจัดการองค์ความรู้ ให้
เข้าใจอย่างถ่องแท้ และต้องสามารถประสานงานกับฝ่ายยุทธการ ฝ่ายการข่าว ได้อย่างสอดคล้องไป
ในทิศทางเดียวกัน ส่วนเจ้าหน้าที่ คชรน.เปรียบเสมือนเครื่องมือของฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน. ในการ
จัดเตรียมข่าวสารการตรวจหา พิสูจน์ทราบ การรายงานผลและการเตือนภัยเจ้าหน้าที่ที่ต้องเข้าไป
ปฏิบตั ภิ ารกิจในพืน้ ทีก่ ารรบ การประสานการปฏิบตั กิ บั หน่วยก�ำลังรบมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นต้อง
มีความชัดเจน การเข้าออกพื้นที่ เวลาผ่านหรือแม้แต่การเชื่อมต่อการติดต่อสื่อสาร จะช่วยให้การ
เข้าปฏิบตั กิ ารของเจ้าหน้าที่ คชรน.ด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้ขอ้ มูลข่าวสารอันเป็น
ประโยชน์ทันเวลาที่ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะใช้ในการประมาณการ และผู้บังคับหน่วยก�ำลังรบจะ
พิจารณาสัง่ การได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงสามารถกล่าวได้วา่ ความอยูร่ อดในสงคราม คชรน.นัน้ การ
ปฏิบัติร่วมกันระหว่างฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.กับเจ้าหน้าที่ คชรน.นั้นมีความส�ำคัญเป็นอย่างมาก
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 43

ในปัจจุบัน ทบ.มีหน่วยทหาร คชรน.หรือหน่วยทหารวิทยาศาสตร์ที่มีขีดความสามารถ


และภารกิจเป็นเจ้าหน้าที่ คชรน.คือ ร้อย. วศ. ซึ่งเป็นหน่วยขึ้นตรง ทบ. ฝากการบังคับบัญชาไว้กับ
วศ.ทบ. (อจย.๓-๔) ในการปฏิบัติการรบจะแบ่งมอบ ๑ ร้อย.ต่อ ๑ ทภ. ส่วนฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.
ทีป่ รากฏจะอยูท่ ฝี่ า่ ยยุทธการ (อาจจะเป็นผูช้ ว่ ยฯ หรือผูช้ ว่ ยนายทหารยุทธการ) ฉะนัน้ ความสัมพันธ์
ที่ต้องด�ำรงไว้คือ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ของ ทภ. กับร้อย. วศ. หากได้มีการปฏิบัติการร่วมกัน
หรือเพิ่มขีดความสามารถในภารกิจด้าน คชรน.แล้ว ทบ.โดย ทภ.สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์กับ
การปฏิบตั ทิ างทหารทีม่ ใิ ช่การสงครามได้ ทัง้ นีห้ ลักการกับการปฏิบตั ติ า่ ง ๆ อาจจะมีการสับเปลีย่ น
ไปตามภารกิจเช่น การต่อต้านการก่อการร้าย อุบัติภัย ภัยพิบัติจากธรรมชาติ หรือเกิดจากความ
ประมาทของมนุษย์เช่น ไฟไหม้โรงงานอุตสาหกรรมเคมีตา่ ง ๆ การหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษจะเป็นการ
วางแผนหรือคาดการณ์ลว่ งหน้าด้วยข้อมูลและข่าวสารทีย่ นื ยันได้ ซึง่ จะส่งผลให้กำ� ลังพลทีเ่ ข้าปฏิบตั ิ
การรบในพื้นที่อันตรายรอดพ้นจากอาวุธ คชรน.
๓. บทสรุปและข้อคิดเห็นของผู้พัฒนา
การหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษ มีความจ�ำเป็นในทุกสถานการณ์ทงั้ ยามปกติและยามสงคราม
โดยเฉพาะห้วงระยะเวลาต่อจากนีไ้ ป การเข้าร่วมประชาคมอาเซียนของภูมภิ าคจะมีความร่วมมือกัน
ในด้านส�ำคัญ ส่งผลให้มีความเจริญทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน ซึ่งจะก่อให้เกิดผลดี แต่ในทาง
ตรงกันข้าม การเข้าออกประเทศหรือการตรวจสอบด้านความปลอดภัย จะต้องมีมาตรการทีใ่ กล้ชดิ
และเข้มแข็งเพิม่ ขึน้ โดยไม่กระทบต่อความสัมพันธ์ซงึ่ จะเป็นเรือ่ งทีย่ งุ่ ยากต่อการปฏิบตั ิ ขณะเดียวกัน
ภาคอุตสาหกรรมก็จะมีการขยายตัว ภัยอันตรายจากธรรมชาติหรือความประมาทของผูเ้ กีย่ วข้อง มี
โอกาสทีจ่ ะท�ำให้เกิดภัยพิบตั หิ รืออุบตั ภิ ยั ซึง่ การพัฒนาหลักนิยมว่าด้วยการหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษ
จะมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงตั้งแต่เริ่มต้น
กองทัพบกสามารถเข้าใจในแนวทางที่จ�ำเป็นตามฐานะเจ้าหน้าที่รับผิดชอบด้านความ
มั่นคง การสนับสนุนช่วยเหลือประชาชน หรือองค์กรที่ต้องเผชิญกับปัญหาอุบัติภัยอย่างหลีกเลี่ยง
ไม่ได้ ดังนี้การพัฒนาหลักนิยมจึงมีความเหมาะสม และจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพของหน่วย
เกี่ยวข้อง เช่น ผบ.หน่วยก�ำลังรบ หรือผู้บริหารเหตุการณ์ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.และเจ้าหน้าที่
คชรน.ให้มีขีดความสามารถในการร่วมปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เพื่อเชื่อมโยงหรือประยุกต์ใช้ในการ
เผชิญเหตุได้ทุกสถานการณ์
ผนวก ก
ตัวอย่างรายการตรวจสอบการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

๑. ความเป็นมา
ผนวก ก ประกอบด้วย ล�ำดับรายการตรวจสอบ ซึ่งเป็นเค้าโครงของการด�ำเนินการหลีก
เลี่ยงการเปื้อนพิษ รายการตรวจสอบต่าง ๆ จะถูกก�ำหนดขึ้นมาเพื่อช่วย ผบ.หน่วย และเจ้าหน้าที่
ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน. รายการตรวจสอบเหล่านี้จะไม่ครอบคลุมทั้งหมด และอาจจะถูกดัดแปลง
หรือแก้ไขส�ำหรับการใช้เฉพาะแห่ง ล�ำดับรายการไม่จ�ำเป็นต้องไปตามล�ำดับค�ำสั่งความเร่งด่วน ใน
การปฏิบัติอาจเกิดขึ้นพร้อมกันแล้วแต่สถานการณ์
๒. รายการตรวจสอบก่อนการโจมตี คชรน.
ตัวอย่างหน้าที่และการปฏิบัติก่อนการโจมตีและหน่วยงานรับผิดชอบ

ตาราง ก-๑ ตัวอย่างรายการตรวจสอบก่อนการโจมตี คชรน.

รายการ หน้าที่/ปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ


การจัดตั้งหน่วยและการเตรียมความพร้อมส่วน คชรน.หลักและส่วน
๑ คชรน.
คชรน.ที่สลับเปลี่ยน
ให้ค�ำแนะน�ำเรื่องสัญญาณเตือนภัย การคุกคามทาง คชรน.ระดับการ
๒ คชรน.
ป้องกัน และเงื่อนไขการปกป้องก�ำลังรบ
ตรวจสอบรายการต่อไปนี้กับหน่วยเหนือ
- ขั้นตอนและเวลาในการรับและเผยแพร่ค�ำเตือนการโจมตี
- ขั้นตอนรายงาน (เช่น ขั้นตอนการปฏิบัติของระบบเตือนภัยและ
รายงาน คชรน. และความรับผิดชอบ)
๓ - ก�ำหนดรูปแบบข่าวสาร CBRNWRS ไว้ก่อน คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
ตรวจสอบระบบเตือนภัยพื้นฐานว่าสามารถเตือนภัยการโจมตี และแจ้ง
เตือนต่อประชากรหลักได้ภายใน ๑๐ นาที
หมายเหตุ : ตรวจสอบให้แน่ใจว่าส่วนปฏิบัติการมีสิทธิที่จะเปิดใช้
งานเครือข่ายการเตือนภัยโดยตรง
๔ ประเมินความล่อแหลม คชรน. หน่วยข่าวกรอง/คชรน.
การวางต�ำแหน่งเครื่องตรวจจับและเครื่องมือด้านข่าวกรอง การเฝ้า
๕ คชรน.
ระวัง การลาดตระเวน ให้สอดคล้องกับการประเมินความล่อแหลม
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 45

รายการ หน้าที่/ปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ


ทบทวนการปฏิบัติงานด้านพลเรือนโดยเฉพาะโดยขึ้นอยู่กับสัญญาณ
เตือนภัยและรูปแบบการโจมตี
๖ คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
หมายเหตุ : ปรับการปฏิบัติระหว่างการโจมตีให้สอดคล้องกับ
นโยบายและการด�ำเนินการเฉพาะที่
ตรวจสอบระบบการสื่อสารกับชุดป้องกัน คชรน.ให้ติดต่อได้ตลอด
๗ ศูนย์ฟื้นฟูผู้รอดชีวิต
๒๔ ชม.
๘ ตรวจสอบข้อมูลการพยากรณ์อุตุนิยมวิทยา คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
ตรวจสอบแผนที่และแผ่นบริวาร จะต้องประกอบด้วย หน่วยข่าวกรอง/ฝ่าย
- เขตป้องกันขีปนาวุธในสนามรบ ปฏิบัติการ
- ก�ำลังรบฝ่ายเดียวกัน /คชรน.
๙ - ระบบที่ส�ำคัญและที่ก�ำบัง
- เครื่องตรวจจับ คชรน.
- แผ่นภาพ คชรน.
- เส้นทางการลาดตระเวน คชรน.
๑๐ ก�ำหนดเส้นแบ่งเขตทางการแพทย์และสิ่งแวดล้อม เสนารักษ์
ตรวจสอบข้อมูลก�ำลังพล เพื่อให้มั่นใจว่าก�ำลังพลทุกนายได้ผ่านการ
๑๑ ฝึกการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. (เช่น สัญญาณเตือนภัย, การท�ำ คชรน.
เครื่องหมาย คชรน.และการรายงาน)
๑๒ ด�ำเนินการประสานงานในการกระจายเครื่องมือส�ำคัญ ฝ่ายปฏิบัติการ
ควบคุมสิ่งอุปกรณ์ตามล�ำดับความเร่งด่วน ให้วางอยู่ภายในระบบ
๑๓ ฝ่ายปฏิบัติการ/คชรน.
ภายใต้สิ่งปกคลุม หรือห่อด้วยพลาสติก ๒ ชั้น
๑๔ ปิดประตูหน้าต่างให้สนิท ทุกหน่วย
ทบทวนแนวความคิด แผนงาน และรายการตรวจสอบการปฏิบัติ
๑๕ ทุกหน่วย
ระหว่างการโจมตี หลังการโจมตีและการฟื้นฟู
46 ภาคผนวก ก

๓. รายการตรวจสอบระหว่างถูกโจมตี คชรน.
ตาราง ก-๒ ตัวอย่างรายการตรวจสอบระหว่างถูกโจมตี คชรน.
รายการ หน้าที่/ปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ
๑ ให้ค�ำแนะน�ำเรื่องสัญญาณเตือนภัย การคุกคามทาง คชรน.ระดับการ ฝ่ายปฏิบัติการ/คชรน.
ป้องกัน และเงื่อนไขการปกป้องก�ำลังรบ
๒ การปฏิบัติส�ำหรับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่เปิด ทุกหน่วย
- ค้นหาวิธีป้องกันที่ให้ผลดีที่สุด (เช่น สิ่งก่อสร้าง, บังเกอร์)
- ถ้าการหลบในสิ่งก่อสร้างหรือบังเกอร์ใช้ไม่ได้ผล ให้เคลื่อนย้ายลงไป
อยู ่ ใ นท้ อ งร่ อ ง, บริ เวณที่ เ ป็ น แอ่ ง หลุ ม หรื อ โครงสร้ า งที่ ป ้ อ งกั น
การระเบิดได้
- หมอบลงไปทีพ่ นื้ สวมหน้ากากป้องกันคลานเข้าไปในพืน้ ทีท่ ใี่ ช้ปอ้ งกัน
ได้ที่ใกล้ที่สุดและสวมยุทธภัณฑ์ป้องกันบุคคล แม้ไม่มีการเตือนภัย
และการโจมตีได้เริ่มขึ้น
- หาวัสดุ เช่น พลาสติกคลุมเหนือศีรษะ
หมายเหตุ : ปรับการปฏิบัติให้สอดคล้องกับปฏิบัติการและนโยบาย
เฉพาะที่
๓ การปฏิบัติส�ำหรับผู้ควบคุมยานพาหนะ/ยุทธภัณฑ์และผู้โดยสาร ทุกหน่วย
- ขับยานพาหนะเข้าไปในสถานที่ที่สามารถป้องกันได้ภายใน ๑ นาที
ขณะที่ผู้โดยสารท�ำการใส่ยุทธภัณฑ์ป้องกันตน
- เคลื่อนย้ายยานพาหนะหรือยุทธภัณฑ์เข้าไปในที่ก�ำบัง ถ้าเป็นไปได้
- ขับยานพาหนะเข้าไปใกล้ทอ้ งร่อง, คู, คลองหรือสถานทีท่ มี่ โี ครงสร้าง
ที่จะป้องกันการระเบิด, เศษชิ้นส่วนและการยิงจากอาวุธขนาดเล็ก
ถ้าไม่สามารถหาที่ก�ำบังได้
- ออกจากรถ หาวัสดุปิดคลุมและสวมยุทธภัณฑ์ป้องกันตน
หมายเหตุ : ๑. เฉพาะการโจมตีด้วยขีปนาวุธเท่านั้น ให้เจ้าหน้าที่
ทุกนายอยู่ภายในยานพาหนะ (ปิดประตูหน้าต่างยาน
พาหนะ)
๒. ปรับการปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องกับปฏิบตั กิ ารและนโยบาย
เฉพาะที่
๔ การปฏิบัติส�ำหรับลูกเรืออากาศยาน ทุกหน่วย
- เคลื่อนย้ายเครื่องบินทางยุทธวิธีเข้าไปอยู่ในที่ก�ำบัง
- เตือนผู้โดยสารสวมยุทธภัณฑ์ป้องกันตน และร้องขอค�ำแนะน�ำจาก
ศูนย์ควบคุมภาคพืน้ ดิน ถ้าเครือ่ งบินปฏิบตั กิ ารขนาดใหญ่หรือทีก่ ำ� บัง
ไม่สามารถใช้ได้ส�ำหรับเครื่องบินที่มีขนาดเล็กกว่า
หมายเหตุ : ปรับการปฏิบัติให้สอดคล้องกับปฏิบัติการและนโยบาย
เฉพาะที่
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 47

รายการ หน้าที่/ปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ


๕ ให้เพื่อนคู่หู (buddy) ตรวจสอบการสวมยุทธภัณฑ์ป้องกันตนให้ถูกต้อง ทุกหน่วย
๖ ปฐมพยาบาลตนเองและดูแลเพื่อนคู่หู (buddy) ขณะที่ความพร้อมใน ทุกหน่วย
การรักษาอยู่ในระดับต�่ำ
๗ ปิดประตู, หน้าต่างและปิดคลุมสิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยพลาสติก ถ้ามีเวลา ทุกหน่วย
ให้ ตรวจหาและรายงานการโจมตีแก่ส่วน คชรน.
- ผลการตรวจหาสาร คชรน.
- ข้อมูลผู้ได้รับบาดเจ็บ
- ข้อมูลสภาพแวดล้อม
๘ ปิดเครื่องปรับอากาศในระบบที่ไม่มีการป้องกันโดยรวม (collective ส่งก�ำลังบ�ำรุง
protection)
๙ ตรวจสอบระบบความดันเกินและระบบการกรองเพื่อการท�ำงานอย่าง ส่งก�ำลังบ�ำรุง
เหมาะสม
๑๐ ตรวจสอบระบบ CBRNWRS คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
๑๑ ตรวจสอบข่าวกรองและข้อมูลการตรวจหาโรคติดเชื้อทางอากาศ ข่าวกรอง
๔. รายการตรวจสอบหลังการถูกโจมตีทาง คชรน.
ตาราง ก-๓ ตัวอย่างรายการตรวจสอบหลังการถูกโจมตีทาง คชรน.
รายการ หน้าที่/ปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ
๑ ประกาศสัญญาณเตือนภัย, ระดับ ลภ, เงื่อนไขการปกป้องก�ำลังรบและ ฝ่ายปฏิบัติการ/
สถานการณ์ คชรน.
๒ ยังคงอยู่ในท่าเตรียมพร้อมจนกว่าจะได้รับค�ำสั่งเปลี่ยนแปลง ทุกหน่วย
๓ เริ่มต้นควบคุมการเปื้อนพิษและมาตรการการท�ำลายล้างพิษ ทุกหน่วย
๔ หาวัสดุปิดคลุมเหนือศีรษะและท�ำลายล้างพิษบุคคลทันทีถ้ามีความ ทุกหน่วย
จ�ำเป็น
๕ ค�ำนวณความเสี่ยงของการถูกโจมตีอีกครั้ง ฝ่ายปฏิบัติการ/
หน่วยข่าวกรอง/
คชรน.
๖ ร้องขอทรัพยากรกระทรวงกลาโหมเพิ่มเติม บัญชาการ
48 ภาคผนวก ก

รายการ หน้าที่/ปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ


๗ ติดตามผลในการโจมตี, ประเมินระบบอื่น ๆ เช่นแหล่งที่มาของความ หน่วยข่าวกรอง/ฝ่าย
ช่วยเหลือ ภาระหน้าที่ หรืออันตรายและท�ำการเตือนภัยและสนับสนุน ปฏิบัติการ
เป้าหมายในการปฏิบัติงานของหน่วย
๘ ระบุต�ำแหน่งพื้นที่ถูกโจมตี คชรน.
๙ รายงานข้อมูลสถานะเครื่องมือการตรวจหาสาร คชรน.อัตโนมัติ คชรน.
๑๐ จ�ำกัดการเคลื่อนไหวภายนอกขณะทีมงานท�ำการพิสูจน์ทราบและฟื้นฟู ฝ่ายปฏิบัติ/คชรน.
๑๑ ตรวจความเสียหายของที่ก�ำบังและรายงานต่อทีมปฏิบัติการ/คชรน. ส่งก�ำลังบ�ำรุง
๑๒ ตรวจสอบความสมบูรณ์ของระบบการกรองและระบบความดันเกิน ส่งก�ำลังบ�ำรุง
๑๓ สั่งการให้เจ้าหน้าที่ถอดหน้ากากเมื่อระบบป้องกันรายงานปกติ (กรณีที่ คชรน./ฝ่ายปฏิบัติ
ก�ำบังมีระบบการกรองอากาศเท่านั้น) การ
หมายเหตุ : ให้เจ้าหน้าที่สวมหน้ากากป้องกัน ถ้าสังเกตพบผลที่เกิด
จากสารพิษ
๑๔ ตรวจสอบพื้นที่ควบคุมการเปื้อนพิษหรือบริเวณทางเข้าสู่ระบบเป็น คชรน./ฝ่ายปฏิบัติ
ระยะและท�ำลายล้างพิษถ้ามีความจ�ำเป็น การ
๑๕ เริ่มต้นปฏิบัติการลาดตระเวนหลังการโจมตีตามการควบคุมของส่วน ชุดลาดตระเวนหลัง
คชรน.และรายงานการตรวจพบข้อมูลต่อไปนี้ การโจมตี/คชรน.
- การเปื้อนพิษ
- กระสุนวัตถุระเบิดที่ยังไม่ระเบิด
- ความเสียหาย
- ไฟไหม้
- การเคลื่อนไหวของข้าศึก/บุคคลที่น่าสงสัย โดยใช้รายงานข่าวกรอง
และลาดตระเวน
- ข้าศึกที่ได้รับบาดเจ็บและอาวุธยุทโธปกรณ์ของข้าศึก
- ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ
๑๖ ติดตามและท�ำรายงานของผูท้ ไี่ ด้รบั บาดเจ็บ, การเปือ้ นพิษ, ความเสียหาย คชรน./ฝ่ายปฏิบัติ
เป็นต้น การ
๑๗ ส่งรายงาน นชค. คชรน.
๑๘ เตือนภัยก�ำลังรบฝ่ายเดียวกัน คชรน./ฝ่ายปฏิบัติ
การ/หน่วยข่าวกรอง
๑๙ ติดตามระดับของการเปื้อนพิษและส่งต่อข่าวสารไปยังศูนย์ฟื้นฟูผู้รอด คชรน./หน่วยลาด
ชีวิต ตระเวน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 49

๕. รายการตรวจสอบการฟื้นฟูหลังการโจมตีทาง คชรน.
ตาราง ก-๔ ตัวอย่างรายการตรวจสอบการฟื้นฟูหลังการโจมตีทาง คชรน.

รายการ หน้าที่/ปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ


๑ ก�ำหนดขอบเขตการเปื้อนพิษ, พัฒนาแผนการเก็บตัวอย่าง และเก็บ คชรน.
ตัวอย่างตามที่ต้องการ
๒ ย้ายที่ตั้งก�ำลังพล/การปฏิบัติการตามความต้องการ คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
๓ พิสูจน์ทราบรูปแบบและการเปื้อนพิษโดยเฉพาะ คชรน./หน่วยลาด
ตระเวน
๔ ก�ำหนดความคงทนของการเปื้อนพิษและมาตรการป้องกันที่ต้องการ คชรน.
๕ ท�ำการประเมินใหม่และเปลี่ยนระดับ ลภ./สัญญาณเตือนภัยให้อยู่ระดับ คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
ต�่ำสุดที่จะเป็นไปได้ ให้สอดคล้องกับผลการพิสูจน์ทราบการเปื้อนพิษ เพื่อ
ความเหมาะสมแนะน�ำให้แบ่งระดับ ลภ.เพื่อคงภารกิจต่อไป
๖ ให้ค�ำแนะน�ำเรื่องควบคุมพื้นที่เปื้อนพิษ/การใช้เครื่องสัญญาณเตือนภัย คชรน./เสนารักษ์
สารเคมีอัตโนมัติ
๗ ประเมินความสามารถของที่ตั้งทางทหาร/หน่วยเพื่อสนับสนุนภารกิจ ฝ่ายปฏิบัติการ
หน่วยหลักต่อไป
๘ ก�ำหนด จัดล�ำดับความส�ำคัญและควบคุมการกู้คืนเพื่อฟื้นฟูความสามารถ ฝ่ายปฏิบัติการ/
ในการปฏิบัติภารกิจและปกป้องก�ำลังพล คชรน./
ฝ่ายส่งก�ำลังบ�ำรุง
๙ ทดสอบการใช้งานของเครื่องตรวจหาสาร คชรน.อัตโนมัติ คชรน./หน่วยลาด
ตระเวน
๑๐ เคลื่อนย้ายของเสียที่เปื้อนพิษไปยังต�ำบลรวบรวมของเสีย ทุกหน่วย
๑๑ ควบคุมพื้นที่ ระบบและยุทธภัณฑ์ที่เปื้อนพิษเพื่อป้องกันการแพร่ คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
กระจาย
๑๒ ติดตามสถานะรายการสิ่งอุปกรณ์ปนเปื้อนทั้งหมด/พื้นที่ คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
๑๓ ด�ำเนินการท�ำลายล้างพิษสิ่งอุปกรณ์เปื้อนพิษตามความจ�ำเป็น ทุกหน่วย
๑๔ ท�ำลายล้างพิษผู้ป่วยตามความจ�ำเป็น คชรน./เสนารักษ์
๑๕ ท�ำลายล้างพิษยานพาหนะตามความจ�ำเป็น คชรน.
๑๖ ท�ำลายล้างพิษอากาศยานและยุทธภัณฑ์ภาคพื้นดินตามความจ�ำเป็น คชรน.
50 ภาคผนวก ก

รายการ หน้าที่/ปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ


๑๗ จ�ำกัดพื้นที่ท�ำลายล้างพิษตามความจ�ำเป็น คชรน.
๑๘ ควบคุมน�้ำทิ้งเปื้อนพิษจากการท�ำลายล้างพิษและถ่ายเทไปยังต�ำบล คชรน.
รวบรวมของเสีย
๑๙ ปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนเรื่องรายการสิ่งอุปกรณ์ที่ ทุกหน่วย
เปื้อนพิษ
หมายเหตุ : การเปื้อนพิษที่ระดับต�่ำอาจยังมีอยู่หลังการท�ำลายล้างพิษ
และปรากฏเป็นอันตรายต่อเจ้าหน้าที่ในบริเวณใกล้เคียง
๒๐ ควบคุมพื้นที่ ระบบและยุทธภัณฑ์ที่เปื้อนพิษเพื่อป้องกันการแพร่กระจาย คชรน.
ของการเปื้อนพิษ
๒๑ ท�ำรายงานทางการแพทย์ เรื่องการเปื้อนพิษ คชรน./เสนารักษ์
๒๒ สรุปให้ก�ำลังพลฟังถึงอันตรายต่อสุขภาพและมาตรการป้องกันและการ คชรน./เสนารักษ์
ตรวจจับการเปื้อนพิษ
๒๓ ตรวจสอบผลการท�ำลายล้างพิษ คชรน./เสนารักษ์
๒๔ ปกป้องภาวะสิ่งแวดล้อมและแนะน�ำการเยียวยา คชรน.
/ฝ่ายส่งก�ำลังบ�ำรุง
๒๕ เนื่องจากเป็นศพที่เปื้อนพิษ งานด้านการศพให้จัดการอย่างรอบคอบและ คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
เข้าใจภาวะสิ่งแวดล้อม
๒๖ ใช้ระบบการจัดการศพเข้ามาดูแลผู้เสียชีวิต ฝ่ายส่งก�ำลังบ�ำรุง
๒๗ ทบทวนและติดตามสภาพการณ์ของรายงานความเสียหาย ฝ่ายส่งก�ำลังบ�ำรุง
๒๘ พิจารณาฟื้นฟูหัวข้อตามรายการที่มีการเปื้อนพิษ คชรน./เสนารักษ์/ฝ่าย
ส่งก�ำลังบ�ำรุง
๒๙ เขียนรายงาน ต�ำแหน่งที่ตั้งของพื้นที่เปื้อนพิษก่อนหน้าที่ได้พิสูจน์ทราบ, คชรน./ฝ่ายปฏิบัติการ
ต�ำแหน่งที่ฝังขยะเปื้อนพิษ, หลุมของระเบิดและขีปนาวุธ, ศพและกระสุน
วัตถุระเบิดที่ยังไม่ระเบิดและยังไม่ได้กู้คืน
ผนวก ข
ศูนย์ คชรน.และส่วนปฏิบัติการ

๑. ความเป็นมา
ส่วน คชรน.เป็นจุดรวมส�ำหรับข้อมูลทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับการโจมตี คชรน. หรือเหตุการณ์
ROTA ภายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารทีก่ ำ� หนด การจัดระบบของส่วน คชรน. จะเป็นภารกิจในสนามรบและ
ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติ ซึ่งหมายถึงการมีความยืดหยุ่นในขนาดและองค์ประกอบ
๒. ความรับผิดชอบ
ความรับผิดชอบของฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะแตกต่างกันไปขึน้ กับระดับต�ำแหน่งในพืน้ ที่
ที่ส่วน คชรน.มีการก�ำหนดขึ้น ทุกส่วน คชรน.จะมีบางหน้าที่ที่คล้ายคลึงกันโดยไม่ค�ำนึงถึงระดับ
ต�ำแหน่งที่ก�ำหนดขึ้น หน้าที่เหล่านี้มีดังต่อไปนี้
- ให้ค�ำปรึกษาผู้บังคับหน่วยและฝ่ายอ�ำนวยการเรื่องการป้องกัน คชรน.
- ตรวจสอบสถานะ คชรน.ของหน่วยรอง
- จัดท�ำระบบรายงานและการเตือนภัย คชรน.ส�ำหรับพื้นที่ปฏิบัติการ
- ให้ความช่วยเหลือในการวิเคราะห์ความล่อแหลม
- ให้ความช่วยเหลือหน่วยข่าวกรองในการพิสูจน์ข่าวกรองที่เกี่ยวข้องกับ คชรน.ตาม
ความต้องการ
- ให้ความช่วยเหลือหน่วยข่าวกรองในการตีความข่าวกรองที่เกี่ยวข้องกับ คชรน.
๒.๑ ยุทธบริเวณ
ส่วน คชรน. ต้องมีเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการฝึกและได้รับการรับรองในการปฏิบัติงาน
อย่างมีประสิทธิภาพในจ�ำนวนที่เหมาะสม
๒.๑.๑ ประเมินสถานะและประสิทธิภาพการปฏิบัติของหน่วยฝ่ายเดียวกันใน
สภาพแวดล้อม คชรน.
ก. ส่วน คชรน.ประเมินผลกระทบของการเปื้อนพิษ คชรน.ต่อปฏิบัติการ
ทางยุทธวิธี การประเมินผล อาจจะรวมถึงข่าวสารต่อไปนี้
- ระดับการเปื้อนพิษ ณ จุดหรือพื้นที่ที่เลือก
- ผลของการเปื้อนพิษต่อหน่วยยุทธวิธี
- การป้องกันโดยก�ำลังรบปฏิบัติการอยู่ในพื้นที่เปื้อนพิษที่ก�ำหนด
ส่วน คชรน.ต้องให้ค�ำแนะน�ำห้วงระยะเวลาที่ก�ำลังรบสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยภายใน
พื้นที่เปื้อนพิษรังสี ในการประสานงานกับฝ่ายอ�ำนวยการเสนารักษ์ ส่วน คชรน.ต้องเตรียมให้ค�ำ
แนะน�ำเกี่ยวกับด้านจิตวิทยา เมื่อต้องมีการปฏิบัติในชุด ลภ.เป็นเวลานานขึ้น
52 ภาคผนวก ข

ข. ส่วน คชรน. อาจแนะน�ำประเภทและปริมาณของสิ่งอุปกรณ์และ


ยุทธภัณฑ์ที่จ�ำเป็นในการสนับสนุนการด�ำเนินการท�ำลายล้างพิษ ส่วน คชรน.จะต้องพิจารณาค�ำ
แนะน�ำเหล่านีร้ ว่ มกับข่าวสารทีไ่ ด้รบั จากหน่วยเปือ้ นพิษและเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยอ�ำนวยการส่งก�ำลังบ�ำรุง
ในความพร้อมของสิ่งอุปกรณ์และยุทธภัณฑ์
๒.๑.๒ รักษาสถานะและประสานงานการสนับสนุน คชรน. (เช่น หน่วยท�ำลายล้าง
พิษหรือหน่วยลาดตระเวน)
ก. เมือ่ ข่าวในพืน้ ทีส่ นใจ (AOI) มีไม่เพียงพอ ให้สว่ น คชรน.ร่วมมือกับส่วน
สนับสนุนที่เหมาะสมหาต�ำแหน่งที่ตั้งส�ำหรับท�ำการส�ำรวจ ส่วน คชรน.อาจจะประสานงานและ
ควบคุมการส�ำรวจโดยใช้การขนส่ง, การสือ่ สาร, เจ้าหน้าทีแ่ ละเครือ่ งมือทีม่ ี ส่วน คชรน.จัดบรรยาย
สรุปให้ชดุ ส�ำรวจและก�ำหนดพืน้ ทีใ่ นการส�ำรวจ การสรุปจะรวมถึงรูปแบบ, ปริมาณ, ความถีแ่ ละวิธี
การรายงาน ส�ำหรับรายละเอียดการด�ำเนินการจะเกีย่ วกับการตรวจสอบและการส�ำรวจ (ดูยทุ ธวิธี
เทคนิคและวิธีปฏิบัติส�ำหรับการลาดตระเวน นชค.)
ข. ส่วน คชรน.ที่ระดับนี้อาจต้องรับผิดชอบการจัดระบบและการด�ำเนิน
การ เก็บตัวอย่าง, พิสูจน์ทราบ ข้อมูลเหล่านี้มีความส�ำคัญต่อการรักษาผู้ป่วยและยืนยันการเปื้อน
พิษ และยังสามารถใช้เป็นหลักฐานในการฟ้องร้องได้
๒.๑.๓ การส่งต่อรายงาน คชรน. (รายงาน นชค.๓) ไปยังกองบัญชาการที่อยู่
ใกล้เคียงกัน, กองทัพและหน่วยงานพลเรือน เมื่อการพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษนั้น มีพื้นที่ขยาย
ขอบเขตเกินพื้นที่รับผิดชอบ (AOR)
๒.๑.๔ การจัดระบบและประสานงานระบบเตือนภัยและรายงาน คชรน.ภายใน
พื้นที่ปฏิบัติการ (AO)
๒.๑.๕ ติดตามข่าวสารการด�ำเนินการ คชรน.ของข้าศึก เจ้าหน้าที่ คชรน.จะต้อง
เตรียมแผ่นบริวารแสดงถึง ต�ำแหน่งที่ตั้ง, เวลา, จ�ำนวนและขอบเขตของการโจมตีและขนาดของ
ระเบิดนิวเคลียร์ที่ใช้ นอกจากนี้ยังต้องสรุปการประเมินความส�ำคัญของการโจมตีเหล่านี้
๒.๑.๖ ท�ำการกลั่นกรองขั้นสุดท้ายในเหตุการณ์ คชรน.ที่เกี่ยวเนื่องภายในพื้นที่
ปฏิบัติการ
๒.๒ กองบัญชาการพื้นที่
กองบัญชาการพื้นที่ต้องรักษาการสื่อสารโดยตรงกับกองบัญชาการภูมิภาค และ
หน่วยงานการป้องกันพลเรือนแห่งชาติ ข่าวสารและการพยากรณ์พนื้ ทีพ่ นื้ ดินทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก
ฝุ่นรังสี ควรส่งผ่านไปยังกองบัญชาการพื้นที่หรือศูนย์ คชรน.ที่เกี่ยวข้อง
๒.๓ ที่ตั้งถาวร, กองพล, กรม, กองพลน้อย, กองเรือที่ได้รับการก�ำหนดและกองบิน
มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทัว่ ไปเป็นหน่วยท�ำหน้าทีร่ ายงาน คชรน. หน่วยทีร่ ะดับ
นี้มีหน้าที่หลักบางประการดังต่อไปนี้
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 53

๒.๓.๑ รวบรวมและประเมินรายงานดังต่อไปนี้
- การโจมตี คชรน.
- เหตุการณ์ ROTA
-  ซึ่งเป็นผลจากการเปื้อนพิษภายในพื้นที่ปฏิบัติการ (ส�ำหรับหน่วยใน
สถานที่ที่ศูนย์จัดตั้งขึ้น)
๒.๓.๒ การจ�ำลองการยุทธ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ที่ระดับนี้จะต้องใช้ทรัพยากรและ
เทคนิคเข้ามาเกี่ยวข้องมากขึ้นและมีขั้นตอนที่ซับซ้อน เทคนิคและวิธีการเหล่านี้ขึ้นอยู่กับการ
เปรียบเทียบข้อมูลจากแหล่งข้อมูลจ�ำนวนมาก
๒.๓.๓ การปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ซึง่ มีอทิ ธิพลต่อการด�ำเนินงานของหน่วย
หรือหน่วยย่อย ที่ระดับนี้จะจัดท�ำรายงาน นชค.ซึ่งจะระบุบรรทัด ALPHA (เลขล�ำดับการโจมตี)
๒.๓.๔ ค�ำนวณการพยากรณ์ฝนุ่ รังสี รวมถึงการค�ำนวณใหม่เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลง
อากาศอย่างมีนยั ส�ำคัญ และส่งข่าวการเตือนภัยไปยังหน่วยทีน่ า่ จะได้รบั ผลกระทบ (รายงาน นชค.๓)
๒.๓.๕ ควบคุมการลาดตระเวน คชรน.และการส�ำรวจในพื้นที่ปฏิบัติการ
๒.๓.๖ วิ เ คราะห์ ผ ลการส� ำ รวจและตรวจสอบและส่ ง ต่ อ ข่ า วเกี่ ย วกั บ พื้ น ที่
เปื้อนพิษไปยังหน่วยที่น่าจะได้รับผลกระทบ (รายงาน นชค.๔ และ นชค.๕)
๒.๓.๗ ร้องขอและจัดเตรียมรายละเอียดข่าว เหตุการณ์ คชรน.หรือเหตุการณ์
ROTA (รายงาน นชค.๖)
๒.๓.๘ รักษาแผนที่สถานการณ์ คชรน. ที่ระดับนี้ส่วน คชรน.จะหมายจุดข้อมูล
จากรายงาน นชค.บนแผนที่สถานการณ์ทางยุทธวิธีและแผ่นบริวาร แผนที่เหล่านี้และแผ่นบริวาร
จะแสดงพืน้ ทีจ่ ริงทีไ่ ด้รบั ผลจากการเปือ้ นพิษในเวลาทีเ่ ลือกและส�ำหรับการได้รบั พืน้ ทีท่ สี่ นใจ แผนที่
และแผ่นบริวารจะแสดง การพยากรณ์พนื้ ทีอ่ นั ตรายตามลม เจ้าหน้าที่ คชรน.จะท�ำการค�ำนวณใหม่
และปรับการพยากรณ์หลายครั้งต่อวัน ตามการเปลี่ยนแปลงของอัตราการสลายตัว, การเปื้อนพิษ
เพิ่มเติมและสถานการณ์ทางยุทธวิธี
๒.๓.๙ จัดเตรียมและเผยแพร่ข่าวสารทิศทางลม (ดูผนวก ง)
๒.๓.๑๐ ช่วยผู้บังคับหน่วยในการเลือกหน่วยสังเกตการณ์*
๒.๔ ระดับหน่วยของการบังคับบัญชาและหน่วยสังเกตการณ์*
ขั้นตอนระดับหน่วยและงานหลักของหน่วยสังเกตการณ์* คือ การรวบรวมข้อมูล
ที่มีประโยชน์ส�ำหรับส่วน คชรน. ซึ่งไม่ใช่การวิเคราะห์รายละเอียดหรือการประเมินผลข้อมูล การ
ประมวลผลและเทคนิคการวิเคราะห์ที่ระดับนี้ได้ออกแบบมาเพื่อประเมินผลข้อมูลอย่างรวดเร็ว
ผลลัพธ์ที่ได้นี้จะไม่ถูกต้องเท่ากับที่ได้รับจากส่วน คชรน.แต่เพียงพอส�ำหรับการวางแผนจนกว่า
หน่วยจะได้รับข้อมูลใหม่
54 ภาคผนวก ข

หน่วยสังเกตการณ์* คือ หน่วยใด ๆ ที่ได้รับการก�ำหนดให้ท�ำหน้าที่รายงานและส่งต่อข่าวสาร


ไปยังส่วน คชรน. เช่น ต�ำแหน่งสังเกตการณ์ คชรน., ชุดส�ำรวจและลาดตระเวน และชุดลาดตระเวน
ก่อนการโจมตี หน่วยสังเกตการณ์* และตอน คชรน.ระดับหน่วย จะมีความรับผิดชอบดังนี้
๒.๔.๑ รายงานการใช้อาวุธ คชรน.แรกเริม่ ของข้าศึกโดยวิธที เี่ ร็วทีส่ ดุ ทีท่ ำ� ได้ และ
สอดคล้องกับการบังคับบัญชาและ รปจ. (รายงาน นชค.๑)
๒.๔.๒ รายงานเหตุการณ์ คชรน.ใด ๆ อย่างเร่งด่วน และข้อมูลที่ได้รับต่อมาไป
ยังศูนย์ คชรน.ตามล�ำดับ (รายงาน นชค.๑ หรือ นชค.๔)
๒.๔.๓ รายงานข้อมูลการตรวจหา ผลจากการส�ำรวจและลาดตระเวน ไปยังส่วน
คชรน.ตามล�ำดับ (รายงาน นชค.๔)
๒.๔.๔ หมายจุดการพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษอย่างง่าย (ดู ผนวก จ, ฉ, ช และ ซ
ส�ำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม)
๒.๔.๕ ส่งรายละเอียดข่าวสารเกี่ยวกับเหตุการณ์ คชรน. และเหตุการณ์ ROTA
ตามการร้องขอ (รายงาน นชค.๖)
๒.๔.๖ ตรวจสอบอาการป่วย, การแผ่รังสีและสาเหตุ
๒.๔.๗ รวบรวมและส่งตัวอย่างต่อไป
๒.๕ การประสานงาน
การประสานงานเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับการวางแผนที่อาจเกิดขึ้น ในทุกระดับของ
การจัดระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน. การวางแผนนี้จะให้ข่าวสาร คชรน.อย่างรวดเร็วใน
สถานที่ที่ต้องการข่าวสารและลดความซ�้ำซ้อนของรายงาน ผู้บังคับหน่วยต้องมอบหมายเจ้าหน้าที่
ในระดับบังคับบัญชาทีเ่ หมาะสมเพือ่ เจรจาข้อตกลงและเตรียมการในการประสานกับก�ำลังรบและ
เจ้าหน้าที่ป้องกันพลเรือน ข่าวสารการเตือนภัยควรมีการแลกเปลี่ยนที่ระดับต�่ำสุดที่จะเป็นไปได้
๒.๖ ความรับผิดชอบ
เพือ่ ให้ได้รบั ความส�ำเร็จในสนามรบทีม่ คี วามทันสมัย ผูบ้ งั คับหน่วยและฝ่ายอ�ำนวย
การ คชรน. จะต้องสร้างระบบการควบคุมและบังคับบัญชาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ส�ำหรับความพยายามในการสนับสนุน คชรน. ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ต้องเข้าใจอย่างชัดเจน ถึง
ความรับผิดชอบ และความสัมพันธ์กับผู้บังคับหน่วยที่ได้รับการสนับสนุน และส่วนฝ่ายอ�ำนวยการ
ของตน
๒.๖.๑ นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน. จะให้ค�ำแนะน�ำหลักต่อผู้บังคับหน่วย
ก�ำลังรบในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ คชรน. งานที่รับผิดชอบมีดังนี้
- การสนับสนุน คชรน.กับทุกส่วนของก�ำลังรบ ตามการตัดสินใจและล�ำดับ
ความเร่งด่วนของผู้บังคับหน่วยก�ำลังรบ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 55

- ฝ่ายอ�ำนวยการวางแผนและประสานงานกับหน่วยรอง คชรน. ทั้งหมด


- ฝ่ายอ�ำนวยการควบคุมดูแลระหว่างการด�ำเนินการสนับสนุน คชรน.
๒.๖.๒ นายสิบ คชรน. มีความรับผิดชอบหลัก ดังต่อไปนี้
- ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ที่เรียกเข้าประจ�ำการภายในส่วน คชรน.
- ควบคุมการประมวลผลข่าวสารการโจมตี คชรน.
- ประสานงานกับตอนฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ เพื่อเตรียมและเผยแพร่
ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM) และข่าวสารทิศทางลม (EDM) และจัดการ
ระบบเตือนภัยและรายงาน คชรน.
- เก็บรักษา รายงาน, แฟ้มเอกสารและบันทึกเหตุการณ์ประจ�ำวันของ
ฝ่ายอ�ำนวยการทั้งหมด
- ควบคุมการซ่อมบ�ำรุงแผนกยานพาหนะ
- ให้ค�ำแนะน�ำเจ้าหน้าที่ คชรน.อาวุโสในการกระจายเจ้าหน้าที่ทางเคมี
ภายในพื้นที่ปฏิบัติการ และให้ค�ำแนะน�ำในเรื่องเตรียมความพร้อม
๒.๖.๓ เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์และเจ้าหน้าที่หมายจุดมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
- รับข่าวสาร, ประมวลผล, หมายจุดการโจมตี คชรน. และก�ำหนดการ
พยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษของกลุ่มเมฆเคมีชีวะและฝุ่นรังสี
- จัดเตรียมรายงาน นชค.และท�ำการแจกจ่าย
- เก็บรักษาแผ่นภาพและบันทึกเหตุการณ์ประจ�ำวันตามที่ต้องการ
- เก็บรักษาแผนที่สถานการณ์ คชรน. ในส่วน คชรน.
- รวบรวมข่าวสาร คชรน. จากรายงานสถานการณ์ ของการบังคับบัญชา
ของหน่วยรอง
- ใช้เครือ่ งมือตกลงใจต่าง ๆ เพือ่ ช่วยในการพยากรณ์การเปือ้ นพิษ, การส่ง
และการรับข้อความ
- ให้ค�ำแนะน�ำแก่ทีมส�ำรวจรังสีและท�ำการส�ำรวจ
- ค�ำนวณหาค่าปัจจัยส่งผ่าน (TFS) และปัจจัยเปลีย่ นแปลงสัมพันธ์ (CFS)
จากข้อมูลที่ได้รับจากการตรวจวัดรังสีหรือชุดส�ำรวจ
- จัดเตรียมและเผยแพร่ ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี
(CDMs) และข่าวสารทิศทางลมต่าง ๆ (EDMs)
- เลือกปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์ส�ำหรับการสลายตัวทางรังสี (จาก
ตาราง, กราฟหรือโมโนแกรม)
- แปลงข้อมูลการเปือ้ นพิษรังสี ไปเป็นอัตรารังสีบนพืน้ ดิน ณ เวลาทีอ่ า้ งอิง
56 ภาคผนวก ข

- เก็บรักษารายงานสถานะรังสีของหน่วยรอง
๒.๖.๔ หน้าที่นายสิบปฏิบัติการ มีดังนี้
- ช่วยเหลือในขั้นตอนประมวลผลข่าวสารการโจมตี คชรน.
- ประสานงานกับตอนฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ
- จัดเตรียมและเผยแพร่ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี
(CDM) และข่าวสารทิศทางลม (EDM)
- จัดท�ำระบบเตือนภัยและรายงาน คชรน.
- เก็บรักษาบันทึกเหตุการณ์ประจ�ำวัน, แฟ้มข้อมูลและรายงานของฝ่าย
อ�ำนวยการทั้งหมด
- ช่วยเหลือนายสิบอาวุโส
๒.๖.๕ เสมียนท�ำหน้าที่ธุรการทั่วไป สนับสนุนหน้าที่ของส่วน คชรน. หน้าที่ของ
เสมียน มีดังต่อไปนี้
- ท�ำหน้าที่รับโทรศัพท์-วิทยุ
- จัดเตรียมและส่งข่าวสาร, เก็บรักษาบันทึกประจ�ำวันและแฟ้มข่าวสาร
ของฝ่ายอ�ำนวยการ
- บันทึกและส่งต่อข่าวสาร นชค.ให้เจ้าหน้าที่หมายจุด และจัดเตรียม
แผ่นบริวารการเปื้อนพิษเคมีและรังสีเพื่อส่งต่อ
๓. การท�ำส�ำเนา
รายงาน นชค.จะต้องมีการท�ำส�ำเนา โดยเฉพาะในกรณีของการระเบิดนิวเคลียร์ ดังนั้น
ผู้บังคับหน่วยทุกระดับต้องมั่นใจว่าแผนการของตนมีการประสานงานอย่างดีกับศูนย์ คชรน.
เพื่อนบ้านทั้งหมด เพื่อหลีกเลี่ยงการท�ำรายงานซ�้ำซ้อน และมั่นใจในความเร็วและประสิทธิภาพใน
การแลกเปลีย่ นข่าว คชรน. ทีเ่ ป็นประโยชน์ จัดเตรียมแผนการเตือนภัยและรายงาน คชรน.และต้อง
ระบุความต้องการของรายงาน นชค.ที่จะส่งต่อระหว่างหน่วย
๔. ความสัมพันธ์ของรายงาน นชค.
๔.๑ เพือ่ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างข่าวสาร นชค. และช่วยในการตัดสินใจว่า เหตุการณ์
คชรน.เป็นเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ตามล�ำพังหรือเป็นการโจมตีหลายรูปแบบ เมือ่ ไรก็ตามทีไ่ ด้รบั รายงาน
ใหม่ควรดูความเกี่ยวข้องกับรายงานที่มีอยู่ บรรทัดที่ควรพิจารณาเป็นพิเศษ มีดังต่อไปนี้
- BRAVO ต�ำแหน่งที่ตั้งของผู้สังเกตการณ์ และทิศทางของการโจมตี
- GOLF เครื่องส่งและขนาดอาวุธ
- INDIA ข่าวที่ได้รับ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 57

๔.๒ จากรหัสอักษรข้างต้น ผูเ้ ชีย่ วชาญและเจ้าหน้าทีป่ อ้ งกัน คชรน. สามารถระบุได้วา่ การ


โจมตีทเี่ กิดขึน้ อยูใ่ นบริเวณเดียวกันหรือไม่, เครือ่ งส่งและขนาดอาวุธมีความเหมือนหรือใกล้เคียงกัน,
ความคล้ายคลึงของสาร, การระเบิดเกิดบนพืน้ ดินหรือในอากาศและสารเป็นของเหลวหรือไอระเหย
ผนวก ค
การจัดการอันตรายจากการได้รับรังสี

๑. กล่าวน�ำ
การได้รบั อันตรายทางรังสีหรือนิวเคลียร์ของก�ำลังพล จะท�ำให้เกิดผลทันทีตอ่ บุคคลหรือ
ส่งผลต่อสุขภาพ หรือความสามารถในการอยู่รอดหากได้รับรังสีภายหลังในระยะยาว
๑.๑ การควบคุมการได้รับรังสี – ได้มีข้อก�ำหนดส�ำหรับการปฏิบัติงานของก�ำลังพล
ที่ครอบคลุมการจัดการการได้รับรังสีชนิดก่อไอออน นอกจากนี้ยังมีข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการได้รับ
อันตรายจากสารพิษทางอุตสาหกรรม แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักดีเมื่อเทียบกับข้อก�ำหนดการได้รับรังสี
ชนิดก่อไอออน ต้องมีการก�ำหนดเกณฑ์การรับรังสี (OEG) ไว้ก่อนในขั้นเตรียมการณ์
ก. ผู้บังคับบัญชาต้องหลีกเลี่ยงไม่ให้ก�ำลังพลได้รับอันตรายจากการได้รับรังสี
ข. หากไม่สามารถท�ำการหลีกเลี่ยงได้เนื่องจากปฏิบัติภารกิจที่มีความส�ำคัญ
กว่า การได้รับรังสีจะต้องได้รับให้น้อยที่สุดและอย่างสมเหตุสมผล (As Low As Reasonably
Achievable, ALARA) ผูบ้ งั คับหน่วยในพืน้ ทีจ่ ะต้องพิจารณาให้เกิดสมดุลระหว่างความส�ำเร็จลุลว่ ง
ของภารกิจ และการคงไว้ซึ่งหลัก ALARA
ค. ต้องมีการบันทึกการได้รบั รังสีหรือคาดว่าจะได้รบั รังสี เพือ่ ช่วยในการตัดสินใจ
ในการปฏิบัติงานของก�ำลังพลทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
ง. ขณะรอเข้าพื้นที่เปื้อนพิษรังสี ระดับการปนเปื้อนควรถูกท�ำให้ลดลงเพื่อ
ลดโอกาสในการได้รับรังสีด้วย การได้รับรังสีอาจเกิดจากอุบัติเหตุ เนื่องจากก�ำลังพลไม่ทราบ
ว่ายุทโธปกรณ์เกิดการเปรอะเปื้อน โดยปกติแล้วสามารถหลีกเลี่ยงได้หากท�ำการบันทึกหรือท�ำ
เครื่องหมายไว้ที่ยุทโธปกรณ์เมื่อเกิดการเปรอะเปื้อนทุกครั้ง แต่ยังมีบางพื้นที่ที่มีการสะสมสารพิษ
ไว้ได้ เช่น หม้อกรองอากาศ ในเครื่องยนต์จะมีหม้อกรองอากาศซึ่งจะเป็นตัวกักเก็บสารพิษไว้ และ
ท�ำให้เกิดการสะสมปริมาณมากขึน้ แม้พนื้ ทีก่ ารเปือ้ นพิษจะมีขนาดเล็ก แต่สามารถท�ำให้เสียชีวติ ได้
ก�ำลังพลทีป่ ฏิบตั งิ านกับยุทโธปกรณ์ตอ้ งมีความตระหนักถึงอันตรายแฝงเหล่านี้ และต้องด�ำเนินการ
ก�ำจัดแหล่งของการกักเก็บสารพิษ เช่น หม้อกรองอากาศ เช่นเดียวกับกากของเสียเปือ้ นพิษทุกครัง้
จ. ในทุก ๆ แผนการปฏิบัติ จะต้องรวมขั้นตอนปฏิบัติภายหลังการโจมตีไว้ด้วย
เพื่อจ�ำกัดปริมาณการได้รับรังสี ยิ่งก�ำลังพลได้รับรังสีเป็นเวลานาน ก็จะยิ่งท�ำให้มีโอกาสเกิดการ
บาดเจ็บได้ เฉพาะก�ำลังพลที่มีความจ�ำเป็นในการปฏิบัติภารกิจให้ลุล่วงเท่านั้นที่จะถูกส่งเข้าไปใน
พื้นที่ที่มีการปนเปื้อน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 59

๑.๒ การบันทึกข้อมูล – ต้องมีการบันทึกปริมาณการได้รับรังสีของก�ำลังพล ทั้งนี้เพื่อ


ให้ในทางปฏิบัติสามารถก�ำหนดระดับการได้รับรังสีของหน่วยได้ และสามารถด�ำเนินการทางด้าน
สุขภาพของก�ำลังพลในระยะยาวได้
๑.๓ การหมุนเวียนก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ – หากมีความจ�ำเป็นในการปฏิบัติภารกิจ
ผูบ้ งั คับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการจะต้องวางแผนในการหมุนเวียนก�ำลังพลเข้ามาในพืน้ ที่ เพือ่ ให้ได้
รับรังสีให้น้อยที่สุดตามหลัก ALARA และจะต้องพิจารณาให้ความส�ำคัญกับหน่วยในพื้นที่หากมี
แนวโน้มว่าจะเปื้อนพิษ หรือเกิดการเปื้อนพิษแล้ว อาจต้องมีการควบคุมการเคลื่อนย้ายเพื่อจ�ำกัด
ขอบเขตของการเปื้อนพิษ
๒. การจัดการข่าวสาร – เกณฑ์การรับรังสี (Operational Exposure Guide)
๒.๑ เกณฑ์การรับรังสีก�ำหนดให้ทุกหน่วยจะต้องมีการบันทึกการได้รับรังสี โดยอาจ
จัดท�ำเป็นบันทึกประจ�ำวันของหมวด หรือภายหลังการปฏิบัติภารกิจภายในพื้นที่เปื้อนพิษทาง
รังสี ปริมาณรังสีที่หน่วยได้รับ เป็นปริมาณเฉลี่ยของก�ำลังพลในหน่วยที่มีเครื่องวัดรังสีประจ�ำตัว
บุคคลได้รับ นั่นคือ ปริมาณรังสีที่แต่ละบุคคลได้รับเท่ากับค่าเฉลี่ยปริมาณรังสีของหมวด โดยปกติ
จะเก็บบันทึกการได้รับรังสีไว้ที่กองพันโดยนายทหารเคมีของหน่วย เมื่อทหารย้ายออกจากหน่วย
ที่เปื้อนพิษ จะต้องบันทึกค่าสถานภาพการได้รับรังสีของหน่วย (RES) ไว้ในแฟ้มประวัติด้วย และ
ควรให้ปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยที่มีระดับ RES เดียวกัน ทั้งนี้เพื่อไม่ให้ก�ำลังพลสูญเสียความสามารถ
ในการปฏิบัติงานเนื่องจากได้รับรังสีมากเกินจากการปฏิบัติภารกิจในอนาคต หรือปฏิบัติงานที่มี
ข้อก�ำหนดเฉพาะ เพือ่ ให้คงการบันทึกการได้รบั รังสีไว้ บางสถานการณ์อาจมีการร้องขอให้ใช้เครือ่ งวัด
รังสีประจ�ำตัวบุคคล เนือ่ งจากสามารถช่วยในการประเมินและการจัดการการได้รบั รังสีของผูป้ ว่ ยได้
๒.๒ ผบ.หน่วยจะต้องสร้างความไว้วางใจ ท�ำให้เกิดความน่าเชื่อถือ โดยจะต้องแจ้งให้
ก�ำลังพลทราบถึงความเป็นไปได้ในการได้รับรังสีจากการปฏิบัติภารกิจ ประเมินความเสี่ยงที่อาจ
เกิดขึน้ ปริมาณรังสีทหี่ น่วยได้รบั หรือข้อมูลอืน่ ๆ ทีจ่ ะไม่ทำ� ให้เกิดความสงสัยและความไม่แน่นอน
ต้องแจ้งสถานการณ์ที่แท้จริง และต้องทราบ OEG ส�ำหรับภารกิจที่จะปฏิบัติรวมทั้งค่า RES ของ
หน่วย และความเสีย่ งทีม่ ตี อ่ ภารกิจ ผบ.หน่วยต้องมีความเข้าใจว่าอันตรายจากการได้รบั รังสีสงู แบบ
เฉียบพลันนั้นเทียบได้กับผลอันตรายทันทีที่เกิดจากการรบ ต้องมีความเข้าใจว่ารังสีมีศักยภาพใน
การก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของก�ำลังพลในระยะยาว และสามารถที่จะขอความช่วยเหลือ
ในการอธิบายผลความเสี่ยงอันเกิดจากการได้รับรังสีได้อย่างถูกวิธี
๓. การควบคุมการได้รับรังสีและนิวเคลียร์
การควบคุมการได้รบั รังสีและนิวเคลียร์ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจในความปลอดภัยของก�ำลัง
พลที่ปฏิบัติภารกิจในสภาพแวดล้อมที่มีรังสีและนิวเคลียร์
60 ภาคผนวก ค

๓.๑ การควบคุมการได้รับรังสี – ค่า OEG และแผนการได้รับรังสีจะต้องมีการเตรียม


ในขั้นเตรียมการณ์ และใช้ข้อมูลจาก CBRN IPB ร่วมกับผลการลาดตระเวน และส�ำรวจโรงงาน
อุตสาหกรรมที่มีการใช้วัสดุรังสีและนิวเคลียร์ในพื้นที่ ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการจะต้องให้
แน่ใจว่า –
ก. มีการบันทึกปริมาณการได้รบั รังสีจากเครือ่ งวัดรังสีระดับบุคคลและระดับหน่วย
ข. มีการควบคุมปริมาณการได้รับรังสีของหน่วย โดยค�ำนวณจากค่า RES และ
ค่าที่ก�ำหนด
ค. ต้องมีการบันทึกทางการแพทย์อย่างต่อเนื่องในระยะยาว ภายหลังการได้รับ
รังสีในระดับที่สูงเกินค่ารังสีพื้นหลังในพื้นที่
ง. ในทุกแผนการปฏิบัติจะต้องมีขั้นตอนปฏิบัติภายหลังการโจมตีไว้ด้วยทุกครั้ง
เพื่อจ�ำกัดอันตรายจากการได้รับรังสี ปริมาณของรังสีที่ได้รับมีความส�ำคัญ ตลอดระยะเวลาที่อยู่
ในพื้นที่ปนเปื้อนทางรังสีจะเป็นการเพิ่มปริมาณรังสีที่บุคคลควรจะได้รับ เฉพาะก�ำลังพลที่จ�ำเป็น
ในการปฏิบัติภารกิจให้ลุล่วงเท่านั้น ที่จะถูกส่งไปในพื้นที่เปื้อนพิษ
๓.๒ กัมมันตรังสีระดับต�่ำ (Low-Level Radiation, LLR) – แตกต่างจากรังสีที่
หลงเหลือในพื้นที่จากการระเบิดนิวเคลียร์. LLR นั้นเกิดได้จากวัสดุหลากหลายประเภท จึงก่อให้
เกิดอันตรายได้ในหลายระดับ แผนผัง ค-๑ แสดงขั้นตอนการแสวงหาข้อตกลงใจส�ำหรับ LLR
แหล่งที่มาของ LLR:
ก. สถานประกอบการนิวเคลียร์ของพลเรือน – สถานประกอบการเหล่านี้ รวมถึง
โรงงานผลิตไฟฟ้าและส�ำหรับท�ำการวิจัย และสถานประกอบการที่ด�ำเนินการเกี่ยวกับการจัดการ
การเก็บ และการก�ำจัดกากนิวเคลียร์
ข. โรงงานอุตสาหกรรมและสถานประกอบการทางการแพทย์ – ได้มีการใช้
ต้นก�ำเนิดรังสีในหลากหลายด้าน ทัง้ ในการทดสอบผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม การรักษาหรือการวินจิ ฉัย
โรค การฆ่าเชื้ออุปกรณ์ และการแปรรูปอาหาร
ค. อาวุธที่ใช้ในการกระจายกัมมันตรังสี – เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแพร่กระจาย
กัมมันตรังสีสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งท�ำได้โดยการใช้วัสดุนิวเคลียร์ร่วมกับวัตถุระเบิดหรือตัวเผาไหม้ เพื่อ
ท�ำให้เกิดอนุภาคหรือควันกัมมันตรังสี
ง. การปล่อยอาวุธนิวเคลียร์ – ท�ำให้เกิดการกระจายของฝุ่นกัมมันตรังสีหรือฝน
กัมมันตรังสี ทั้งในและนอกพื้นที่ปฏิบัติการ ซึ่งก่อให้เกิด LLR
จ. สิง่ อุปกรณ์ทางทหาร – กระสุนวัตถุระเบิดบางชนิด เช่น กระสุน DU (Depleted
Urenium) และยุทโธปกรณ์ที่ใช้สารรังสี ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายทางรังสีได้หากถูกท�ำให้เสียหาย
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 61

๓.๓ ผลทางการแพทย์ของ LLR


ก. ผลทีเ่ กิดมาภายหลังจากการได้รบั รังสี สามารถเกิดได้หลายช่วงของอัตราและ
ปริมาณการได้รบั รังสี ผลทีเ่ กิดขึน้ อาจเกิดภายหลังได้รบั รังสีเป็นเวลาหลายเดือนจนถึงหลายปี และ
ก่อให้เกิดผลอันตรายต่าง ๆ ต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะเช่นกัน ผลที่อาจเป็นไปได้จากการบาดเจ็บทาง
รังสี เช่น
 อายุสั้น
 เป็นมะเร็ง
 เกิดต้อกระจก
 ผิวหนังอักเสบจากรังสีเรื้อรัง
 มีภาวะการเจริญพันธุ์ลดลง
 เกิดการกลายพันธุ์
ผลที่จะเกิดต่อรุ่นลูกหลานนั้นยังไม่เป็นที่แน่ชัด ข้อมูลของเหตุการณ์ในญี่ปุ่นและรัสเซีย
ไม่ได้มีการชี้ชัดผลต่อพันธุกรรมของมนุษย์อย่างมีนัยส�ำคัญ
ข. การได้รับรังสีแกมมาที่ปริมาณเดียวกัน แต่ได้รับในอัตราที่ตำ�่ หรือการแบ่งรับ
เป็นช่วง ๆ โดยมีช่วงเวลาการรับรังสีในระยะยาว จะท�ำให้เนื้อเยื่อมีเวลาในการซ่อมแซมตัวเองได้
จึงช่วยลดผลหรืออาการบาดเจ็บโดยรวมที่คาดว่าจะเกิด หากได้รับรังสีที่ปริมาณเดียวกัน แต่ช่วง
เวลาการได้รับสั้นลง ส�ำหรับการบาดเจ็บจากรังสีนิวตรอนพบว่าไม่ขึ้นกับอัตราการได้รับรังสี
62 ภาคผนวก ค

มีการประเมินความเสี่ยงจากข่าวกรองที่ได้รับหรือไม่ ?
มี ไม่มี
เตรียมความพร้อม

ความเสี่ยง
จาก LLR ทำ�การประเมิน

ไม่มี จัดทำ�แผนฉุกเฉินสำ�หรับ LLR


มี ตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีอยู่
ยืนยันในยุทธบริเวณ
บรรยายสรุป
ดำ�เนินการฝึกที่จำ�เป็น

พบความเป็น ไม่มี เตรียมพร้อมอย่างต่อเนื่อง


อันตราย
ออกจากพืน้ ที่ รัศมีพน้ื ทีเ่ ปือ้ นพิษ ๑ กม.
วางกำ�ลัง รายงานข้อมูลเบื้่องต้น
ยืนยัน OEG
มี จัดทีมที่มีผู้เชี่ยวชาญ
จัดทำ�แผนการปฏิบัติเริ่มแรก
เริ่มสำ�รวจรังสีโดยใช้เครื่องมือที่มีอยู่
บันทึกรังสีเริ่มแรกทีี่กำ�ลังพลได้รับเมื่อ
อยู่ในพื้นที่ปนเปื้อน

LLR ไม่มี เตรียมพร้อมอย่างต่อเนื่อง


ยังมีในพื้นที่

กำ�หนดพื้นที่อันตรายใหม่
ยืนยันปริมาณรังสีควบคุม
ระบุข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
มี เตรียมแผนฉุกเฉิน
พิจารณาการปฏิบัติอื่นที่เกี่ยวข้อง
รายงานข้อมูล
ร้องขอการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญ
อ้างอิง : STANAG 2473E1 ควบคุมการเข้า – ออกพื้นที่
เฝ้าตรวจในส่วนที่เกี่ยวข้อง
เริ่มการควบคุมการได้รับรังสีของกำ�ลังพล
แผนผัง ค-๑ ขั้นตอนการแสวงหาข้อตกลงใจเกี่ยวกับ LLR
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 63

ค. ความผิดปกติจากการได้รบั รังสีเป็นเวลานาน (Chronic radiation syndrome,


CRS) หมายถึง ความผิดปกติที่เป็นผลจากการได้รับรังสีเป็นเวลานาน ไม่ว่าจะเป็นการได้รับเพียง
ครั้งเดียว หรือเป็นปริมาณรังสีที่ได้รับโดยรวม ที่มีปริมาณสูงกว่าค่าที่ยอมให้รับได้ส�ำหรับผู้ปฏิบัติ
งานทางรังสี CRS แทบจะไม่มีผลต่อก�ำลังพลในการเตรียมปฏิบัติการ การให้หน่วยอยู่ในพื้นที่
เปื้อนพิษนานขึ้น หรือการบริโภคอาหารหรือน�้ำที่มีการปนเปื้อนอาจท�ำให้เกิดอาการ CRS ได้
นอกจากนี้ การระเบิดของอาวุธใกล้ผิวพื้น การใช้อุปกรณ์แพร่กระจายสารรังสี (Radiological
dispersal device, RDD) อุบัติเหตุของปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หรือเหตุการณ์อื่นใดที่ก่อให้เกิดการ
ปนเปื้อนรังสีในระดับสูง และได้รับรังสีเป็นเวลานาน สามารถท�ำให้เกิด CRS ได้
๓.๔ ค�ำแนะน�ำการได้รับรังสีส�ำหรับผู้บังคับบัญชา – ผบ.หน่วยอาจร้องขอค�ำแนะน�ำ
จากแพทย์ทหารเกีย่ วกับผลอันตรายจากรังสีทจี่ ะเกิดกับก�ำลังพลของตนได้ ค�ำแนะน�ำทางการแพทย์
ต้องสามารถปฏิบัติได้ ซึ่งขึ้นกับข้อก�ำหนดตามภารกิจและการตอบสนองต่อรังสีที่แตกต่างกัน
การปฏิบตั ทิ มี่ ากเกินความจ�ำเป็นต่อการเปือ้ นพิษอาจส่งผลให้มกี ารใช้ RDD จากฝ่ายตรงข้ามมากขึน้
ผลกระทบจากการได้รับรังสีเกินเกณฑ์การได้รับรังสีจะต้องไม่ถูกท�ำให้น้อยลงไป หรือมากจน
เกินไป ความเสี่ยงทาง CBRN ควรต้องมีความเหมาะสมเปรียบเทียบกับอันตรายอื่น ๆ จากการรบ
การแพร่กระจายการปนเปื้อนของรังสีในสิ่งแวดล้อม ไม่ท�ำให้สูญเสียความสามารถในการปฏิบัติ
ภารกิจให้ลุล่วง และต้องให้คงการบันทึกปริมาณการได้รับรังสีจาก LLR ไว้ด้วย
ก. ผบ.หน่วย ควรตระหนักถึงปริมาณรังสีที่เคยได้รับมาแล้วของก�ำลังพล ในการ
วางแผนการปฏิบัติภารกิจในอนาคตที่อาจได้รับอันตรายจาก LLR
ข. เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติทางทหาร ผู้ที่ได้รับรังสีควรได้รับการตรวจสุขภาพ
ในระยะยาว ซึ่งอาจเป็นไปตามข้อก�ำหนดของแต่ละประเทศ นอกจากนี้อาจต้องท�ำการประเมิน
อันตรายของรังสีจากภายในร่างกาย ภายหลังการปฏิบัติภารกิจ
๓.๕ การเคลือ่ นย้ายก�ำลังพลจากพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษทางรังสี – ต้องมีการจัดท�ำ OEG เมือ่ ส่ง
เจ้าหน้าทีท่ ำ� การเคลือ่ นย้ายเข้าไปในพืน้ ทีท่ มี่ กี ารปนเปือ้ นรังสี เมือ่ ต้องสวมใส่ยทุ ธภัณฑ์ปอ้ งกันตน
ภายใต้ระดับของ MOPP, สภาพภูมิอากาศ, ปริมาณงาน และความล้าอันเนื่องจากขีดจ�ำกัดในการ
ปฏิบัติงาน จะส่งผลให้การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บเป็นไปได้อย่างจ�ำกัด ผบ.หน่วยต้องตัดสินใจเลือก
สป. ที่จะน�ำไปใช้ในพื้นที่เปื้อนพิษ ซึ่งขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น ภารกิจ ล�ำดับความส�ำคัญ และ OEG
และเพื่อเป็นการลดการปนเปื้อนของ สป. ขณะท�ำการเคลื่อนย้าย จะต้องท�ำลายล้างพิษผู้เจ็บป่วย
ก่อนการเคลื่อนย้าย
๓.๖ RDD – ความรุนแรงของผลทางจิตวิทยาที่มีต่อ RDD ขึ้นกับชนิดของ RDD และ
การน�ำไปใช้ ต้นก�ำเนิดรังสีที่ใช้ใน RDD นั้นก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อทหารที่อยู่ภายในบริเวณ
ใกล้เคียงเท่านัน้ RDD ทีใ่ ช้รว่ มกับวัตถุระเบิด จะท�ำให้เกิดผลต่อจิตใจ ต่อการได้รบั บาดเจ็บจากการ
64 ภาคผนวก ค

ระเบิด นอกเหนือไปจากผลของสารรังสีและโลหะหนักทีม่ อี ยูใ่ นสารรังสี การเข้าใจผิดว่าการระเบิด


ของ RDD เหมือนกับระเบิดนิวเคลียร์ อาจส่งผลต่อสภาพจิตใจให้อยู่ในสภาวะเช่นเดียวกับการเกิด
ระเบิดนิวเคลียร์ได้ จ�ำนวนของผู้บาดเจ็บเสียชีวิตจากแรงระเบิด และสภาพความวุ่นวายจากการ
คลุ้มคลั่ง ย่อมเป็นการเพิ่มความกดดันให้กับทหารได้
ก. การใช้ RDD ในย่านชุมชนกลางเมือง จะส่งผลเสียหายต่อจิตใจของทหาร
มากกว่าการใช้ตอ่ เป้าหมายทางทหาร เนือ่ งจากในสภาวะสงคราม การติดต่อกับพลเรือนของหน่วย
ทหารจะมีจ�ำกัด อย่างไรก็ดี การปฏิบัติภารกิจในช่วงที่ไม่เกิดสงคราม (เช่น การปฏิบัติภารกิจอัน
นอกเหนือจากการรบ (Operations other than war, OOTW) จะท�ำให้เกิดความใกล้ชิดมากขึ้น
ระหว่างทหารและพลเรือน การที่จะต้องให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่เป็นพลเรือนจาก RDD โดย
เฉพาะผู้บาดเจ็บที่เป็นเด็ก จะยิ่งเพิ่มความกดดันทางจิตใจต่อทหารได้
ข. ภาวะความแตกตืน่ ของพลเรือน ทีพ่ บว่ามีอาการป่วยทีม่ ผี ลต่อเนือ่ งมาจากจิตใจ
เนื่องจากกลัวว่าจะได้รับผลกระทบจากสารรังสี ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นจริง จะเป็นการเพิ่มภาระอย่างมาก
ให้กับการปฏิบัติภารกิจและการสนับสนุนทางการแพทย์
๔. การได้รับรังสี
ต้องมีการควบคุมการได้รบั รังสีเพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยต่อก�ำลังพล การจัดท�ำระดับการ
ได้รับรังสีเพื่อให้สามารถแบ่งกลุ่มและจัดการความเสี่ยงที่มีต่อทหารที่ได้รับรังสีในพื้นที่การรบ
๔.๑ การได้รับรังสีระหว่างการรบ ด�ำเนินการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ เพื่อ
ให้แนะน�ำและท�ำการประเมินทางการแพทย์ หน่วยที่ได้รับรังสีต�่ำกว่า ๑๒๕ เซนติเกรย์ (cGy)
ประสิทธิภาพการรบโดยรวมจะไม่ลดลง อย่างไรก็ดี หากได้รบั รังสีสงู เกินค่านี้ ผบ.หน่วยต้องตระหนัก
ว่าความสามารถในการรบอาจลดลง ก�ำลังพลที่ “มีประสิทธิภาพการรบ” หมายถึงก�ำลังพลที่เกิด
อาการเจ็บป่วยจากรังสีที่ระดับหนึ่ง แต่ยังคงศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ เทียบกับก่อนการได้
รับรังสี ไว้ได้อย่างน้อย ๗๕ เปอร์เซ็นต์ ก�ำลังพลที่ “ประสิทธิภาพการรบต�่ำ” หมายถึงก�ำลังพลที่
ศักยภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ทียบกับก่อนการได้รบั รังสีเหลือเพียง ๒๕ – ๗๕ เปอร์เซ็นต์ ก�ำลังพลที่
“ด้อยประสิทธิภาพการรบ” หมายถึงก�ำลังพลทีศ่ กั ยภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ทียบกับก่อนการได้รบั
รังสีดีที่สุดได้เพียง ๒๕ เปอร์เซ็นต์ ตาราง ค-๑ และ ค-๒ แสดงความเข้มของรังสีที่คาดว่าจะได้รับ
และผลที่เกิดภายหลังการโจมตีทางนิวเคลียร์
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 65

ตาราง ค-๑ ความเข้มของรังสีที่คาดว่าจะได้รับภายหลังการโจมตีทางนิวเคลียร์ (cGy/hr)


๑ ชม. ๕ ชม. ๒๕ ชม. ๕๐ ชม. ๑๐๐ ชม. ๓๐๐ ชม.
๑,๐๐๐ ๑๐๐ ๒๑ ๙ ๔ ๑
๕๐๐ ๗๕ ๑๑ ๕ ๒ <๑
๒๕๐ ๓๗ ๕ ๖ ๑ <๑
๑๐๐ ๑๕ ๒ ๑ <๑ <๑
๕๐ ๘ ๑ <๑ <๑ <๑
๑๐ ๒ <๑ <๑ <๑ <๑
หมายเหตุ : คิดตามอัตราการสลายตัวปกติ (๑.๒)
66 ภาคผนวก ค

ตาราง ค-๒ ผลจากอาวุธนิวเคลียร์ ตามระยะห่างจาก GZ

ขนาดอาวุธ
1 kt 10 kt 100 kt 1 mt
แรงระเบิด : เสียชีวิต
ค่าเริ่มต้น ๓๐ - ๕๐ psi ๐.๑๘ ๐.๓๘ ๐.๘๑ ๑.๘
๕๐% ๕๐ - ๗๕ psi ๐.๑๔ ๐.๓๐ ๐.๖๕ ๑.๔
๑๐๐% ๗๕ - ๑๑๕ psi ๐.๑๒ ๐.๒๕ ๐.๕๕ ๑.๒
แรงระเบิด : ปอดถูกท�ำลาย
ค่าเริ่มต้น ๘ - ๑๕ psi ๐.๓๔ ๐.๗๔ ๑.๖๐ ๓.๔
อาการสาหัส ๒๐ - ๓๐ psi ๐.๒๑ ๐.๔๖ ๐.๙๘ ๒.๑
แรงระเบิด : เยื่อแก้วหูฉีกขาด
ค่าเริ่มต้น ๕ psi ๐.๔๔ ๐.๙๖ ๒.๑๐ ๔.๔
๕๐% ๑๔ psi ๐.๒๕ ๐.๕๔ ๑.๑๐ ๒.๕
ความร้อน
๕๐% แผลไฟไหม้ระดับแรก ๑.๒๐ ๓.๔๐ ๘.๓๐ ๑๗.๐
๕๐% แผลไฟไหม้ระดับที่สอง ๐.๘๖ ๒.๕๐ ๖.๕๐ ๑๔.๐
๕๐% แผลไฟไหม้ระดับที่สาม ๐.๗๑ ๒.๑๐ ๕.๖๐ ๑๒.๐
ตาบอดจากแสงวาบ ๓.๗๐ ๙.๐๐ ๑๘.๐๐ ๓๑.๐
จอตาไหม้ ๓๓.๐๐ ๔๙.๐๐ ๖๖.๐๐ ๘๔.๐
ผลจากรังสีก่อไอออน
๕๐ cGy ค่าเริ่มต้นของผลเฉียบพลัน ๑.๑๐ ๑.๖๐ ๒.๒๐ ๓.๑
๑๐๐ cGy เสียชีวิต<๕% หลายปี ๑.๐๐ ๑.๕๐ ๒.๐๐ ๓.๐
๔๕๐ cGy เสียชีวิต ๕๐% หลายสัปดาห์ ๐.๗๗ ๑.๒๐ ๑.๗๐ ๒.๖
๑,๐๐๐ cGy เสียชีวิต ๑๐๐% ไม่กี่วัน ๐.๖๕ ๑.๐๐ ๑.๖๐ ๒.๔
๑๐,๐๐๐ cGy เสียชีวิต ๑๐๐% <๑ วัน ๐.๓๖ ๐.๖๖ ๑.๑๐ ๑.๙
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 67

๔.๒ สถานภาพการได้รับรังสีของหน่วย (RES)


ก. RES ของหน่วยคิดจากเกณฑ์การได้รับรังสีของปริมาณรังสีที่สูงเกินค่ารังสี
พื้นหลัง เป็นค่าเฉลี่ยที่ได้จากเครื่องวัดรังสีระดับหน่วย และไม่สามารถใช้กับผู้บาดเจ็บได้ การใช้
ค่าเกณฑ์ความเสี่ยง (degree-of-risk) จะช่วยให้ ผบ.หน่วย พิจารณาค่า OEG ที่เหมาะสมส�ำหรับ
ภารกิจ และช่วยลดจ�ำนวนผู้บาดเจ็บจากการได้รับรังสีลงได้
ข. แพทย์ทหารอาจก�ำหนด RES ให้หน่วย ภายหลังท�ำการประเมินการได้รับรังสี
ของก�ำลังพลในหน่วยแล้ว ค่าการได้รับรังสีของหน่วยจะสัมพันธ์กับปูมการได้รับรังสีของก�ำลังพล
หากมีก�ำลังพลที่มีค่าการได้รับรังสีสูงกว่าระดับรังสีของหน่วย จะต้องถูกเปลี่ยนให้ปฏิบัติหน้าที่อื่น
แทน เมื่อทราบว่าอัตรารังสีลดลงน้อยกว่า ๕ เซนติเกรย์ต่อวัน, ความสามารถในการรักษาเพิ่มขึ้น
และแผลสมานตัวดีขึ้น ในกรณีที่กล่าวนี้ หากหน่วยมีเครื่องวัดรังสี สามารถลดระดับ RES ลงได้
ภายหลังอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับรังสีเท่ากับค่ารังสีพื้นหลังนาน ๓ เดือน หากไม่มีเครื่องวัดรังสี ระยะ
เวลา ๖ เดือน ก็เพียงพอในการปรับระดับ RES ของหน่วย (ภายหลังการได้รับรังสีครั้งหลังสุด ที่สูง
กว่าค่ารังสีพื้นหลัง) ตาราง ค-๓ และ ค-๔ แสดงระดับของ RES และผลที่จะเกิดจากการได้รับรังสี

ตาราง ค-๓ การบาดเจ็บทางรังสีและผลจากการได้รับรังสีต่อบุคคล


RES ปริมาณรังสี ผลต่อสุขภาพ ข้อสังเกตทางการแพทย์ แนวทางการปฏิบัติ
สะสม๑ ในระยะยาว
๐ <0.05 cGy ความเสี่ยงปกติ มีความเสี่ยงตลอดช่วงชีวิต บันทึกการได้รับรังสีของ
ในการเกิดมะเร็งร้ายแรง ก�ำลังพล
๒๐% (เกณฑ์พื้นฐาน)
1 ≤ 75 cGy เกิดสภาวะ LI4 ได้ถึง ๑%
1A 0.05 – 0.5 มีโอกาสเกิดมะเร็งร้ายแรง ไม่มี (0.1 cGy เป็นค่าที่ บันทึกค่าการได้รับรังสี
cGy ในตลอดช่วงชีวิตเพิ่มขึ้น ยอมให้รับได้ส�ำหรับ ของแต่ละคน, จัดท�ำการ
๐.๐๔% ประชาชนทั่วไปในหนึ่งปี) พยากรณ์การเฝ้าตรวจ
(รวมอากาศและน�้ำ)
1B 0.5 – 5 cGy การได้รับรังสีจากการ ให้ค�ำแนะน�ำ (5 cGy เป็น บันทึกค่าการได้รับรังสี
ปฏิบัติงาน, มีโอกาสเกิด ค่าที่ยอมให้รับได้ส�ำหรับ ของแต่ละคน, ท�ำการเฝ้า
มะเร็งร้ายแรงในตลอดช่วง ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี) ตรวจรังสีต่อไป, ท�ำการ
ชีวิตเพิ่มขึ้น ๐.๐๔-๐.๔% ส�ำรวจรังสี, จัดล�ำดับ
ความส�ำคัญของภารกิจ,
ด�ำเนินมาตรการควบคุม
การได้รับรังสี
68 ภาคผนวก ค

1C 5 – 10 cGy มีโอกาสเกิดมะเร็งร้ายแรง ให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับความ บันทึกค่าการได้รับรังสี


ในตลอดช่วงชีวิตเพิ่มขึ้น เสี่ยงในระยะยาว, งดรับ ของแต่ละคน, ท�ำการเฝ้า
๐.๔-๐.๘% วัคซีนจากเชื้อที่มีชวี ิตเป็น ตรวจรังสีต่อไป, ท�ำการ
เวลา ๓ เดือน ส�ำรวจรังสีให้มีข้อมูล
เป็นปัจจุบัน, ด�ำเนิน
มาตรการควบคุมการ
ได้รับรังสีต่อไป, ปฏิบัติ
ภารกิจที่ส�ำคัญก่อน๒
1D 10 – 25 cGy มีโอกาสเกิดมะเร็งร้ายแรง มีความเป็นไปได้ที่จะเกิด บันทึกค่าการได้รับรังสี
ในตลอดช่วงชีวิตเพิ่มขึ้น ความผิดปกติเพิ่มขึ้นจาก ของแต่ละคน, ท�ำการเฝ้า
๐.๘-๒% การบาดเจ็บหรือโรคอื่นๆ, ตรวจรังสีต่อไป, ท�ำการ
มีความเสี่ยงตลอดช่วงชีวิต ส�ำรวจรังสีให้มีข้อมูล
ในการเกิดมะเร็งร้ายแรง เป็นปัจจุบัน, ด�ำเนิน
เพิ่มขึ้น <๒% มาตรการควบคุมการ
ได้รับรังสีต่อไป, ปฏิบัติ
ภารกิจที่เร่งด่วนก่อน๓
1E 25 – 70 cGy มีโอกาสเกิดมะเร็งร้ายแรง มีความผิดปกติเพิ่มขึ้นจาก บันทึกค่าการได้รับรังสี
ในตลอดช่วงชีวิตเพิ่มขึ้น การบาดเจ็บหรือโรคอื่นๆ, ของแต่ละคน, ท�ำการเฝ้า
๒-๕.๖% มีความเสี่ยงตลอดช่วงชีวิต ตรวจรังสีต่อไป, ท�ำการ
ในการเกิดมะเร็งร้ายแรง ส�ำรวจรังสีให้มีข้อมูล
เพิ่มขึ้น <๖% เป็นปัจจุบัน, ด�ำเนิน
มาตรการควบคุมการ
ได้รับรังสีต่อไป, ปฏิบัติ
ภารกิจที่เร่งด่วนก่อน๓
๒ >75 – 125 เกิดสภาวะ LI4 ได้ถึง ๕% ดูตาราง ค-๕ ดูตาราง ค-๕
cGy
๓ >125 cGy เกิดสภาวะ LI เกินกว่า ดูตาราง ค-๕ ดูตาราง ค-๕
๕%
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 69

หมายเหตุ :

การได้รับหรือบาดเจ็บจากสารเคมีและชีวะ อาจส่งผลต่อการตอบสนองต่อการได้รับรังสี

ตัวอย่างภารกิจที่ส�ำคัญ คือการปฏิบัติการที่จะช่วยลดอันตรายของก�ำลังพลหรือป้องกันความเสียหาย
จากการแพร่กระจาย

ตัวอย่างภารกิจที่เร่งด่วน คือการปฏิบัติการช่วยชีวิต
4
LI คือเกณฑ์การเจ็บป่วยของก�ำลังพลที่ระดับรังสีต�่ำที่สุดที่ท�ำให้ศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ลดลง
(เช่น ๒๕-๗๕%) ภายใน ๓ ชั่วโมง ซึ่งการเจ็บป่วยนั้นจะยังคงอยู่จนถึงขั้นเสียชีวิต หรือมีอาการดีขึ้น
หรืออยู่ในภาวะด้อยประสิทธิภาพการรบ ในเวลา ๖ สัปดาห์

๔.๓ เกณฑ์ความเสี่ยงทางนิวเคลียร์ ความเสี่ยงทางนิวเคลียร์ แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ คือ


ไม่มีอันตราย อันตรายปานกลาง และอันตรายขั้นวิกฤต ตาราง ค-๔ แสดงค่าความเสี่ยงตามระดับ
RES สภาวะการเจ็บป่วยของก�ำลังพล สามารถอธิบายได้ด้วย สภาวะแฝงของการด้อยสมรรถภาพ
ของก�ำลังพล (Latent ineffectiveness, LI) เป็นการอธิบายสภาวะการเจ็บป่วยของก�ำลังพลทีร่ ะดับ
รังสีต�่ำที่สุดที่ท�ำให้ศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ลดลงภายใน ๓ ชั่วโมง ซึ่งการเจ็บป่วยนั้นจะยังคง
อยูจ่ นถึงขัน้ เสียชีวติ หรือมีอาการดีขนึ้ หรืออยูใ่ นภาวะด้อยประสิทธิภาพการรบ ในเวลา ๖ สัปดาห์
 ขั้นไม่มีอันตราย (๑ เปอร์เซ็นต์ LI) – หน่วยสามารถปฏิบัติภารกิจในสภาพแวดล้อม
ที่มีการเปื้อนพิษได้
 ขัน ้ อันตรายปานกลาง (๒.๕ เปอร์เซ็นต์ LI) – หน่วยสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจการสนับสนุน
ระยะใกล้ได้ หากต้องท�ำการสนับสนุนแบบเต็มก�ำลัง จะต้องให้หน่วยได้รบั รังสีไม่เกินค่าความเสีย่ งนี้
 ขั้นอันตรายขั้นวิกฤต (๕ เปอร์เซ็นต์ LI) – การยอมให้หน่วยได้รับรังสีในระดับนี้ ต้อง
เป็นสถานการณ์ที่ไม่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง หรือเฉพาะในสถานการณ์ที่เป็นภัยพิบัติเท่านั้น ผบ.หน่วยจะ
เป็นผู้ตัดสินใจเท่านั้น ต่อเมื่ออันตรายจากภัยพิบัติมีสูงกว่าอันตรายจากเหตุฉุกเฉินทางรังสี
70 ภาคผนวก ค

ตาราง ค-๔ สถานภาพการรับรังสีในการปฏิบัติการและเกณฑ์ความเสี่ยง

สถานภาพการรับรังสีของหน่วย (A) เกณฑ์การรับรังสีในการปฏิบัติการ (cGy)


ครั้งเดียว ซึ่งไม่เกินเกณฑ์ความเสี่ยง (B)
RES-๐ (ไม่เคยได้รับรังสีมาก่อน) ไม่มีอันตราย : ≤๗๕
อันตรายปานกลาง : ≤๑๐๐
อันตรายขั้นวิกฤต : ≤๑๒๕
RES-๑ (ได้รับรังสีมาแล้ว >๐ ถึง ≤๗๕ cGy) ไม่มีอันตราย : A+B ≤๗๕
อันตรายปานกลาง : A+B ≤๑๐๐
อันตรายขั้นวิกฤต : A+B ≤๑๒๕
RES-๒ (ได้รับรังสีมาแล้ว ≥๗๕ ถึง ≤๑๒๕ cGy หากได้รับรังสีต่อจะท�ำให้มีความเสี่ยงเกินขั้นไม่มี
อันตราย และขั้นอันตรายปานกลาง
ไม่มีอันตราย : >๐
อันตรายปานกลาง : A+B ≤๑๐๐
อันตรายขั้นวิกฤต : A+B ≤๑๒๕
RES-๓ (ได้รับรังสีมาแล้ว >๑๒๕ cGy) หากได้รับรังสีต่อจะท�ำให้มีความเสี่ยงเกินขั้นอันตราย
ขั้นวิกฤต

หมายเหตุ :
๑. เกณฑ์ RES แบ่งตามปริมาณรังสีที่ได้รับก่อนหน้า และค่าเกณฑ์ความเสี่ยงจะถูกแบ่งเป็นช่วง ๆ
ในแต่ละ RES ตามปริมาณรังสีสะสมที่เพิ่มขึ้น
๒. ผบ.หน่วยเป็นผู้สั่งลดระดับเกณฑ์ RES โดยต้องได้รับค�ำแนะน�ำจากแพทย์ ภายหลังด�ำเนิน
การสังเกตสุขภาพของก�ำลังพลที่ได้รับรังสีอย่างทั่วถึง
๓. การได้รบั รังสีทกุ ประเภทให้พจิ ารณาเป็นการได้รบั รังสีทวั่ ร่างกาย แม้จะมีการฟืน้ ตัวจากการบาดเจ็บ
เมื่อได้รับรังสีก็ตาม
๔. ก�ำหนดเกณฑ์ RES-1 และ RES-2 ให้หน่วยก็ต่อเมื่อไม่ทราบปริมาณรังสีสะสมทั้งหมดที่หน่วยได้รับ
ก่อนหน้า
๕. แต่ละเกณฑ์ความเสี่ยงสามารถน�ำไปใช้กับอันตรายจากรังสี ที่เกิดจากการปฏิบัติการทั้งต่อข้าศึก
และพันธมิตร รวมถึงจากการใช้อาวุธนิวเคลียร์เพื่อสนับสนุนการยิงให้แก่ฝ่ายเดียวกัน
ตาราง ค-๕ ผลทางกายภาพจากการได้รับรังสี๑
ค่าประมาณปริมาณรังสี ศักยภาพในการ ช่วงระยะการเกิดอาการ3 ให้ปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ได้รับ ให้การดูแล
อาการ
ทั้งหมดที่ได้รับ (cGy)2 ปฏิบัติงาน เริ่ม สิ้นสุด การดูแลทางการแพทย์4 ทางการแพทย์4

<๐.๐๕ CE มีความเสี่ยงตลอดช่วงชีวิตในการเกิดมะเร็งร้ายแรง ๒๐% (เกณฑ์พื้นฐาน)


๐.๐๕-๐.๕ CE มีโอกาสเกิดมะเร็งร้ายแรงในตลอดช่วงชีวิตเพิ่มขึ้น ๐.๐๔%
๐.๑ CE เกณฑ์ที่ยอมให้รับได้ส�ำหรับประชาชนทั่วไปในหนึ่งปี
๕ CE เกณฑ์ที่ยอมให้รับได้ส�ำหรับผู้ปฏิบัติงานทางรังสีในหนึ่งปี
๕-๑๐ CE มีโอกาสเกิดมะเร็งร้ายแรงในตลอดช่วงชีวิตเพิ่มขึ้น ๐.๔-๐.๘%
๑๐-๒๕ CE มีโอกาสเกิดมะเร็งร้ายแรงในตลอดช่วงชีวิตเพิ่มขึ้น ๐.๘-๒%
๒๕-๗๕ CE มีโอกาสเกิดมะเร็งร้ายแรงในตลอดช่วงชีวิตเพิ่มขึ้น ๒-๖%
๓๕-๗๕ CE คลื่นไส้ ปวดหัวเล็กน้อย ๖ ๑๒ ปฏิบัติภารกิจได้ ไม่มี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

และอาเจียน ๕%
๗๕-๑๒๕ CE คลื่นไส้เพียงชั่วครู่ และ ๓-๕ ๑ วัน ปฏิบัติภารกิจที่จ�ำกัด ปฏิบัติภารกิจที่จ�ำกัด
อาเจียน ๕-๓๐%
๑๒๕-๓๐๐ DT: PD ๔ ชม. คลื่นไส้บ้างและอาเจียน ๒-๓ ๒ วัน ปฏิบัติภารกิจที่จ�ำกัด ปฏิบัติภารกิจที่จ�ำกัด
LD5-LD10 จนอาการดีขึ้น ๒๐-๗๐% ของก�ำลังพล
UT: อาจต้องมีการดูแลทางการ
 PD 6-24 ชม. อ่อนแรงและเหนื่อยล้า แพทย์ ๓-๕ วัน ให้กับก�ำลัง
 อาการดีขึ้นใน ๒๕-๖๐% ของก�ำลังพล พล ๑๐-๕๐% เพื่อดูแลการ
๖ สัปดาห์ ติดเชื้อ การเสียเลือด และ
71

อาการไข้
72
ตาราง ค-๕ ผลทางกายภาพจากการได้รับรังสี (ต่อ)

ค่าประมาณปริมาณรังสี ช่วงระยะการเกิดอาการ๓ ให้ปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ได้รับ ให้การดูแล


ศักยภาพในการปฏิบัติงาน อาการ
ทั้งหมดที่ได้รับ (cGy)2 เริ่ม สิ้นสุด การดูแลทางการแพทย์๔ ทางการแพทย์๔

๓๐๐-๕๓๐ DT: PD 3 ชม. จนเสียชีวิต หรือ คลื่ น ไส้ แ ละอาเจี ย น ๕๐- ๒ ๓-๔ วัน ภายหลัง ๕ สัปดาห์ ผู้รอด ปฏิบัติภารกิจที่
LD10-LD50 อาการดีขึ้น ๑๐๐% ชีวิตสามารถกลับไป จ�ำกัด
UT: ล้าอ่อนแรง ๕๐-๙๐% ปฏิบัติงานเล็ก ๆ น้อย ๆ ได้ ๕
 PD 4 ชม. – 2 วัน ๒-๕ สั ป ดาห์ : ๒๐-๖๐% อาจต้องให้ออกจากพื้นที่ อาจต้องให้ออกจาก
 PD 2 สัปดาห์จน ติดเชื้อ, เสียเลือด, เป็นไข้, พื้นที่
ถึงเสียชีวิตหรืออาการ แผลติดเชื้อ, เบื่ออาหาร และ
ดีขึ้น ท้องร่วง
๕๓๐-๘๓๐ DT: คลืน่ ไส้และอาเจียนปานกลาง <๑ วันจนถึง ระยะเกิดอาการยาว ส่งต่อให้แพทย์ผู้
LD50-LD90  PD 1 ชม. – 3 สัปดาห์ ถึงรุนแรง ๕๐-๑๐๐% ของ สัปดาห์ เสียชีวิตได้ภายใน ๖ สัปดาห์ เชีย่ วชาญโดยเร็ว
 CI จนเสียชีวิต ก�ำลังพล ก่อนแสดงอาการ
UT: ระยะเกิดอาการสั้น บาดเจ็บ
 PD 2 ชม. – 2 วัน อ่อนแรงและเหนื่อยล้า เสียชีวิตได้ภายใน ๓-๕
 CE 4-7 วัน ปานกลางถึงรุนแรง สัปดาห์
 PD 7 วัน – 4 สัปดาห์ ๙๐-๑๐๐% ของก�ำลังพล
 CI 4 สัปดาห์จนเสียชีวติ ๑๐ วัน – ๕ สัปดาห์ :
หรืออาการดีขึ้น ๕๐-๑๐๐% ติ ด เชื้ อ , เสี ย
เลือด, เป็นไข้, เบื่ออาหาร,
แผลติดเชือ้ , ท้องร่วง, คลืน่ ไส้,
อาเจียน, น�้ำและเกลือแร่ไม่
สมดุล และความดันโลหิตต�่ำ
ภาคผนวก ค
ตาราง ค-๕ ผลทางกายภาพจากการได้รับรังสี (ต่อ)
ช่วงระยะการเกิดอาการ๓ ให้ปฏิบัติหน้าที่โดย
ค่าประมาณปริมาณรังสี ให้การดูแล
ศักยภาพในการปฏิบัติงาน อาการ ไม่ได้รับการดูแล
ทั้งหมดที่ได้รับ (cGy)2 เริ่ม สิ้นสุด ทางการแพทย์๔
ทางการแพทย์๔
๘๓๐-๓,๐๐๐+ DT: คลื่นไส้อย่างรุนแรง, <๓ นาที เสียชีวิต อาจเสียชีวิต 1,000 cGy: เสียชีวิต
LD90-LD100  
PD 45 นาที – 3 ชม. อาเจียน, ใน ๒-๓ สัปดาห์
 
CI 3 ชม. จนเสียชีวิต ล้าอ่อนแรง,
UT: มึนงง, สับสน, 3,000 cGy: เสียชีวิต
 
PD 1-7 ชม. เกิดไข้สูง, ระบบ ใน ๕-๑๐ วัน
 
CI 7-24 ชม. หมุนเวียนโลหิต
 
PD 1-4 วัน ล้มเหลว หากท�ำได้ให้ส่งต่อให้
 
CI 4 วัน จนเสียชีวิต แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
แต่ส่วนใหญ่มักไม่รอด
ชีวิต
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

หมายเหตุ :
CE–Combat Effective = ก�ำลังพลมีประสิทธิภาพการรบมากกว่า ๗๕% เทียบกับก่อนการได้รับรังสี
PD–Performance Decrement or Partially Degraded = ก�ำลังพลที่มีประสิทธิภาพการรบต�่ำลงเหลือเพียง ๒๕-๗๕% เทียบกับก่อนการได้รับรังสี
CI–Combat Ineffective = ก�ำลังพลที่ด้อยประสิทธิภาพการรบ คือมีประสิทธิภาพการรบต�่ำกว่า ๒๕% เทียบกับก่อนการได้รับรังสี
DT–Demanding Task = งานที่ต้องใช้แรง
UT–Undemanding Task = งานเอกสาร งานนั่งโต๊ะ
1
ดูเพิ่มเติมเรื่อง การรักษาผู้บาดเจ็บจากรังสีและนิวเคลียร์
2
เกณฑ์ที่ยอมให้รับได้ส�ำหรับผู้ปฏิบัติงานทางรังสี : 5 cGy = มีความเสี่ยงตลอดชีวิตในการเป็นมะเร็งร้ายแรงเพิ่มขึ้น ๐.๘%
3
ระยะเวลาเป็น ชั่วโมง หากนอกเหนือจากนี้จะระบุไว้
4
ขอค�ำปรึกษาส�ำหรับข้อมูลเพิ่มเติม
5
ห้ามมิให้ได้รับรังสีเพิ่มเติม ก�ำลังพลมีความอ่อนแอต่อเชื้อโรคและบาดแผล เนื่องจากภาวะการติดเชื้อ
73
74 ภาคผนวก ค

๔.๔ การได้รับรังสีขณะปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน การที่เจ้าหน้าที่


เผชิญเหตุฉุกเฉินได้รับอันตรายจากรังสีที่ก่อให้เกิดไอออน ในสถานการณ์การก่อการร้ายด้วย
นิวเคลียร์นนั้ เป็นเรือ่ งทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้และสมเหตุสมผล ส�ำหรับบุคคลทัว่ ไป อาจได้รบั รังสีทสี่ งู กว่า
ปกติได้จากการใช้ประโยชน์โดยทัว่ ไปของรังสี (เช่น การได้รบั รังสีจากการประกอบอาชีพ การได้รบั
รังสีของผู้ป่วย) ตามข้อก�ำหนดเกณฑ์การได้รับรังสีนั้น ได้มีการก�ำหนดไว้อย่างละเอียดส�ำหรับผู้ที่มี
การใช้งานรังสีอย่างเป็นประจ�ำ แต่ไม่ใช่ส�ำหรับเจ้าหน้าที่เผชิญเหตุฉุกเฉิน
ก. ขีดจ�ำกัดปริมาณรังสีจากการประกอบอาชีพและจากเหตุฉกุ เฉิน ตามข้อก�ำหนด
เกณฑ์การได้รับรังสีนั้น ได้มีการก�ำหนดปริมาณรังสีที่ยอมให้รับได้ส�ำหรับประชาชนทั่วไปและผู้ที่
ปฏิบตั งิ านทางรังสี แต่ทงั้ นี้ เกณฑ์ทยี่ อมให้รบั ได้อาจไม่สามารถน�ำมาใช้ หากเกิดกรณีการก่อการร้าย
ข. ข้อแนะน�ำการได้รบั รังสีสำ� หรับผูเ้ ผชิญเหตุฉกุ เฉินในเหตุการณ์กอ่ การร้าย หาก
มีการน�ำสารรังสีมาใช้ในการก่อการร้าย ผลทีไ่ ด้คอื จะท�ำให้มปี ริมาณรังสีสงู เกินค่าพืน้ หลังอย่างเห็น
ได้ชัด การสนองตอบเหตุการณ์แบบทันท่วงที เป็นสิ่งส�ำคัญในการช่วยลดความรุนแรง ช่วยรักษา
ชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ที่เกิดการปนเปื้อนโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นพื้นที่
ทีม่ คี วามส�ำคัญหรือเป็นแหล่งเศรษฐกิจของประเทศ จึงมีความจ�ำเป็นต้องปรับเพิม่ เกณฑ์การได้รบั
รังสีของผู้ปฏิบัติงาน ตาราง ค-๖ แสดงข้อแนะน�ำการปรับขีดจ�ำกัดปริมาณรังสีในกรณีสนองตอบ
เหตุก่อการร้าย
 ผู้เผชิญเหตุฉุกเฉินต้องได้รับรังสีไม่เกิน 50 REM
 ต้องมีการจัดเตรียมการเฝ้าระวังทางการแพทย์ (MEDSURV) ในระยะยาว
ส�ำหรับผู้เผชิญเหตุฉุกเฉินที่ได้รับรังสีเกิน 25 REM
 ส�ำหรับบุคลากรทีถ ่ กู ก�ำหนดให้ได้รบั รังสีปริมาณสูง ควรเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในการ
เผชิญเหตุ (เช่น นักผจญเพลิง ต�ำรวจ ทีมแพทย์ฉุกเฉิน) ซึ่งต้องมีความยินยอมในการได้รับความ
เสี่ยงต่อการปฏิบัติหน้าที่กู้ภัย
 ผลจากการได้รบ ั รังสี 50 REM พบว่าปริมาณเม็ดเลือดลดลงเล็กน้อย แต่รา่ งกาย
จะสามารถฟื้นฟูตัวเองได้ และอาจเพิ่มโอกาสในการเกิดมะเร็ง
 ความเสีย ่ งของการได้รบั รังสี มีความเสีย่ งเทียบเท่ากับการด�ำเนินกิจกรรมโดย
ทั่วไป เช่น การสูบบุหรี่ การบาดเจ็บทางกายภาพ การออกแรงหรือออกก�ำลังกายอย่างหนัก
 การยินยอมให้ได้รับรังสีต่อเมื่อเป็นการช่วยลดระดับความรุนแรงของผลที่จะ
เกิดต่อประชาชนทั่วไป หรือมีผลต่อความปลอดภัยและสุขอนามัย
 ในการปฏิบต ั ภิ ารกิจปกติ ต้องได้รบั รังรังสีไม่เกิน 5 REM เว้นการปฏิบตั ภิ ารกิจ
ช่วยชีวิต การดับเพลิง ฯลฯ
 ปริมาณรังสีที่ประชาชนทั่วไปได้รับต้องไม่เกิน 0.1 REM
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 75

ตาราง ค-๖ ขีดจ�ำกัดเกณฑ์การได้รับรังสีส�ำหรับผู้เผชิญเหตุฉุกเฉิน


ต�ำแหน่งที่ตั้ง ขีดจ�ำกัด ข้อก�ำหนด
นอกพื้นที่อันตราย 0.02 cGy/hr เฉพาะเจ้าหน้าที่เท่านั้น ห้ามประชาชน
ทั่วไปเข้าในพื้นที่
ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์, 0.10 cGy/hr ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์, ที่รวมพล,
ที่รวมพล, ฯลฯ ฯลฯ จ�ำเป็นต้องอยู่ใกล้กับพื้นที่เกิดเหตุ
ต้องจัดตั้งในพื้นที่ที่อัตรารังสีไม่เกินที่
ก�ำหนด
พื้นที่อันตราย 1.00 cGy/hr ผู้เผชิญเหตุเข้าในพื้นที่นี้เฉพาะเมื่อต้อง
ปฏิบัติภารกิจที่ส�ำคัญเท่านั้น
ขีดจ�ำกัด “ปริมาณรังสีถอนตัว” 100.00 cGy/hr เป็นระดับรังสีที่ต้องมีแผนการเข้าพื้นที่
อย่างละเอียด การเข้าพื้นที่ให้เฉพาะผู้ที่
ได้รับอนุญาตเป็นพิเศษ และเพื่อปฏิบัติ
งานที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญ
ขีดจ�ำกัดส�ำหรับการช่วยชีวิต 1,000.00 cGy/hr ความจ�ำเป็นในการช่วยผู้เคราะห์ร้าย
ส�ำคัญกว่าปริมาณรังสีที่เจ้าหน้าที่จะได้
รับ การเข้าไปในพื้นที่ต้องตระหนักแล้ว
ว่าความส�ำเร็จในการช่วยชีวิตมีมากกว่า
อันตรายที่จะเกิดแก่เจ้าหน้าที่

๕. สารรังสีที่มีความส�ำคัญทางทหาร
ก�ำลังรบสามารถได้รบั รังสีจากต้นก�ำเนิดรังสีหลากหลายชนิด บางชนิดก็เป็นอันตรายมาก
สารรังสีที่มีความส�ำคัญทางทหาร มีรายละเอียดดังนี้
๕.๑ อะเมริเซียม
ก. อะเมริเซียม-๒๔๑ (241Am) เป็นนิวไคลด์ลูกจากการสลายตัวของธาตุยูเรเนียม
241
Am สลายตัวให้อนุภาคแอลฟาและรังสีแกมมาพลังงานต�่ำ สามารถตรวจวัดได้โดยเครื่องวัดรังสี
ประเภทเครือ่ งวัดรังสีในสนามส�ำหรับรังสีพลังงานต�ำ่ (Field instrument for detection of low-
energy radiation, FIDLER) ที่สามารถวัดรังสีแกมมาที่มีพลังงาน 60 kEv ได้
ข. อะเมริเซียมใช้ในอุปกรณ์ตรวจจับควันและอุปกรณ์อื่น ๆ และพบได้ในฝุ่น
กัมมันตรังสีจากการระเบิดนิวเคลียร์ และเป็นต้นก�ำเนิดรังสีแบบปิดผนึกใช้ในเครื่องตรวจจับ
สารเคมีทางทหาร M43A1 ของระบบเตือนภัย M8A1
76 ภาคผนวก ค

ค. อะเมริเซียมมีความเป็นพิษเช่นเดียวกับโลหะหนัก และหากได้รบั ในปริมาณทีส่ งู


ก็สามารถท�ำให้เกิดการได้รับรังสีทั่วร่างกายได้ เมื่อสารรังสีเข้าสู่ร่างกาย ๗๕ เปอร์เซ็นต์จะถูก
ดูดซึมที่ปอด และมีปริมาณสารรังสีประมาณ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ตกค้างอยู่ในปอด ส�ำหรับระบบทาง
เดินอาหารนั้นดูดกลืน 241Am ได้น้อย แต่อาจถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วผ่านทางบาดแผลบนผิวหนัง
การได้รบั รังสีภายนอกร่างกายไม่เป็นทีต่ อ้ งกังวล แต่ถา้ หากสารรังสีนนั้ มีปริมาณสูงและอยูท่ บี่ ริเวณ
ใดบริเวณหนึ่ง สามารถท�ำอันตรายต่อก�ำลังพลได้หากอยู่ใกล้บริเวณนั้นเป็นเวลานาน
๕.๒ ซีเซียม
ก. ซีเซียม-๑๓๗ สลายตัวให้อนุภาคบีตา และได้นิวไคลด์ลูกคือแบเรียม-๑๓๗ ซึ่ง
จะปลดปล่อยรังสีแกมมาออกมา สามารถตรวจวัดได้โดยเครื่องวัดรังสีแกมมา
ข. ซีเซียม-๑๓๗ (137Cs) มีใช้ในเครื่องมือรักษาด้วยรังสี และในเครื่องวัดความชื้น
และความหนาแน่นของดิน
ค. ซีเซียมถูกดูดซึมได้ทปี่ อด ระบบทางเดินอาหาร และบาดแผล และร่างกายมีการ
เผาผลาญซีเซียมเช่นเดียวกับโพแทสเซียมเนือ่ งจากเป็นธาตุทมี่ สี มบัตใิ กล้เคียงกัน พบได้ในปัสสาวะ
เมื่อถูกขับออกจากร่างกาย เกิดความเป็นอันตรายจากการได้รับรังสีทั่วร่างกาย และเคยมีรายงาน
ผู้เสียชีวิตจากความผิดปกติจากการได้รับรังสีสูงแบบเฉียบพลัน (Acute radiation syndrome,
ARS)
๕.๓ โคบอลต์
ก. โคบอลต์-๖๐ (60Co) มีใช้ในเครื่องมือรักษาด้วยรังสีและในอุตสาหกรรม
การถนอมอาหาร และอาจถูกพบได้จากการก�ำจัดต้นก�ำเนิดรังสีที่ไม่เหมาะสม หรือการรื้อถอน
โรงพยาบาลหรือโรงงานอุตสาหกรรม โคบอลต์ให้รังสีแกมมาพลังงานสูงและบีตาที่มีพลังงาน 0.31
MeV สามารถตรวจวัดได้โดยเครื่องวัดรังสีแกมมา
ข. อาจมีการใช้โคบอลต์ในอุปกรณ์นิวเคลียร์แสวงเครื่อง เพื่อให้เกิดเป็นฝุ่น
กัมมันตรังสี
ค. โคบอลต์สามารถถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วเมือ่ อยูใ่ นปอด แต่ถกู ดูดซึมโดยระบบ
ทางเดินอาหารเพียงไม่ถงึ ๕ เปอร์เซ็นต์ ส�ำหรับผลจากการถูกดูดซึมผ่านบาดแผลยังไม่ทราบแน่ชดั
และท�ำให้เกิดความเป็นอันตรายจากการได้รับรังสีทั่วร่างกายและ ACS
๕.๔ DU (Depleted Uranium)
ก. DU สลายตัวให้แอลฟา บีตา และแกมมาพลังงานต�่ำ เนื่องจาก DU มีความ
หนาแน่นสูง รังสีจงึ ไม่สามารถทะลุผา่ นออกมาจากเปลือกโลหะได้ นัน่ คือมีการก�ำบังรังสีดว้ ยตนเอง
อาวุธและกระสุน DU จะมีการห่อบรรจุเพื่อไม่ให้ได้รับรังสีแอลฟาและบีตา และลดการได้รับรังสี
แกมมา หากก�ำลังพลปฏิบัติงานกับยานเกราะที่มีการบรรทุกกระสุน DU เป็นเวลาหลายเดือน อาจ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 77

ได้รับรังสีสูงเกินค่าที่ยอมให้รับได้ส�ำหรับประชาชนทั่วไป แต่จะไม่สูงเกินค่าที่ยอมให้รับได้ส�ำหรับ
ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ดังนั้น DU จึงไม่ถือว่าเป็นภัยคุกคามทางรังสี และสามารถตรวจวัดได้โดย
เครื่องวัดรังสีแบบมีหน้าต่างหรือไกเกอร์-มูลเลอร์ เคาน์เตอร์ (Geiger-MuellerTM counter)
ข. แม้ DU จะไม่ใช่ภัยทางเคมีหรือรังสี แต่สามารถท�ำให้เกิดอันตรายจากความ
เป็นพิษของสารเคมีได้ และอาจก่อให้เกิดผลต่อสุขภาพในระยะยาวหากได้รับเข้าสู่ร่างกาย การได้
รับเข้าสู่ร่างกายจากการหายใจถือเป็นข้อกังวลหลัก
ค. เมือ่ หายใจเอา DU เข้าสูร่ า่ งกาย จะถูกเผาผลาญและถูกขับออกมาทางปัสสาวะ
ก�ำลังพลอาจได้รับ DU ออกไซด์จากการหายใจขณะมีการยิงของรถถัง หรือเข้าไปในยานยนต์
หุ้มเกราะที่ถูกท�ำลายโดยไม่ได้สวมหน้ากากป้องกัน แต่การดูดซึม DU พิจารณาจากสถานภาพทาง
เคมีเท่านั้น (เฉพาะเกลือยูเรเนียมเท่านั้นที่ถูกดูดซึม) หากมีสะเก็ดของ DU ในบาดแผล จะสามารถ
กระจายไปทั่วร่างกายได้ โดยเฉพาะที่กระดูกและไต จากการย่อยสลายโดยกระบวนการเผาผลาญ
อาหารของร่างกาย
๕.๕ ไอโอดีน
ก. ไอโอดีน-๑๓๑, -๑๓๒, -๑๓๔ และ -๑๓๕ ถูกพบได้หากเกิดอุบัติเหตุของ
ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ รวมถึงการท�ำลายปฏิกรณ์นิวเคลียร์ สารกัมมันตรังสีไอโอดีนเป็นผลผลิตการ
แบ่งแยกนิวเคลียส (ฟิชชันโปรดักส์) ทีพ่ บปกติในแท่งเชือ้ เพลิง เล็ดลอดออกมาได้ทางรอยแตกของ
แกนปฏิกรณ์และอาคารคลุมแกนปฏิกรณ์ ไอโอดีนสลายตัวให้รังสีบีตาเป็นหลักและแกมมา
ข. สามารถก่อให้เกิดอันตรายโดยตรงต่อต่อมไทรอยด์ เนื่องจากต่อมไทรอยด์จะ
มีการดูดซึมและกักเก็บไอโอดีนกัมมันตรังสีไว้ เช่นเดียวกับการใช้ไอโอดีนกัมมันตรังสีในการรักษา
และสามารถก่อให้เกิดการแผ่รังสีได้ จากเหตุการณ์การระเบิดของโรงไฟฟ้าเชอร์โนบิล มีหลักฐาน
ผู้ป่วยเด็กจ�ำนวนมากที่เป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์
๕.๖ นิกเกิล-๖๓ สลายตัวให้บีตาและมีครึ่งชีวิต ๙๒ ปี ใช้ในเครื่องตรวจหาสารเคมีทาง
ทหาร CAMs บีตาทีป่ ลดปล่อยจากนิกเกิล-๖๓ มีพลังงานต�ำ่ มากจนไม่สามารถทะลุผา่ นเซลล์ผวิ หนัง
ชั้นนอกได้ อย่างไรก็ดี ต้องระมัดระวังไม่ให้มีการน�ำเข้าสู่ร่างกาย
๕.๗ ฟอสฟอรัส
ก. ฟอสฟอรัส-๓๒ (32P) พบได้ในห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั และในโรงพยาบาล สลายตัว
ให้บีตา
ข. ฟอสฟอรัสถูกดูดซึมได้ทุกส่วนในร่างกาย และจะสะสมที่ไขกระดูก การได้รับ
เฉพาะที่จะท�ำให้เซลล์ตาย
78 ภาคผนวก ค

๕.๘ พลูโตเนียม
ก. พลูโตเนียม-๒๓๘ และ -๒๓๙ (238และ 239Pu) เป็นวัสดุกัมมันตรังสีล�ำดับแรก
ในการเกิดปฏิกริ ยิ าฟิชชันของอาวุธนิวเคลียร์ และเป็นวัสดุกมั มันตรังสีทเี่ กิดการปนเปือ้ นหลักหาก
เกิดอุบตั เิ หตุจากอาวุธนิวเคลียร์ สลายตัวให้อนุภาคแอลฟาจึงไม่ทำ� ให้เกิดอันตรายจากรังสีภายนอก
ร่างกาย การปนเปื้อนมักเกิดร่วมกับอะเมริเซียม ที่สามารถตรวจวัดได้โดยใช้หัววัดแกมมาชนิดที่มี
ผนังของหัววัดบาง
ข. อนุภาคที่มีขนาดเล็ก ประมาณ ๕ ไมครอน จะถูกกักไว้ที่ปอดและผ่าน
กระบวนการเผาผลาญในรูปแบบของเกลือ อนุภาคที่เหลืออยู่จะท�ำให้เกิดความเสียหายจาก
การแผ่รังสีเฉพาะที่ การดูดซึมโดยระบบทางเดินอาหารนั้นขึ้นกับสภาวะทางเคมีของพลูโตเนียม
เมื่อผ่านไป ๒๔ ชั่วโมงจะถูกตรวจพบในตัวอย่างอุจจาระ และถูกตรวจพบในตัวอย่างปัสสาวะเมื่อ
ผ่านไป ๒ สัปดาห์ สามารถช�ำระล้างยูเรเนียมออกจากผิวหนังที่ไม่มีบาดแผลได้
๕.๙ เรเดียม
ก. เรเดียม-๒๒๖ (226Ra) พบในอุปกรณ์ที่มีสารเรืองแสงของสหภาพโซเวียต ใช้ใน
ทางอุตสาหกรรม หรืออุปกรณ์ทางการแพทย์แบบเก่า สลายตัวให้อนุภาคแอลฟา แต่สารกัมมันตรังสี
ทีไ่ ด้จากการสลายตัว จะสลายตัวให้บตี าและแกมมา ถ้ามีปริมาณมากอาจท�ำให้เกิดอันตรายร้ายแรง
จากการได้รับรังสีภายนอกร่างกายได้
ข. การได้รบั เรเดียมโดยส่วนใหญ่เป็นการได้รบั จากการบริโภค และถูกดูดซึม ๓๐
เปอร์เซ็นต์ ส�ำหรับการดูดซึมทางบาดแผลยังไม่เป็นที่แน่ชัด และเรเดียมจะไปสะสมที่กระดูก
เช่นเดียวกับแคลเซียม การได้รับเป็นเวลานานท�ำให้เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว (leukemia) ภาวะ
ไขกระดูกฝ่อ (aplastic anemia) และเกิดก้อนเนื้อที่เป็นมะเร็ง (sarcomas)
๕.๑๐ สตรอนเชียม
ก. สตรอนเชียม-๙๐ (90Sr) ได้จากการสลายตัวจากปฏิกิริยาฟิชชันของยูเรเนียม
สตรอนเชียมและนิวไคลด์ลกู สลายตัวให้บตี าและแกมมา และท�ำให้เกิดจากการได้รบั รังสีภายนอก
ร่างกายได้หากได้รับในปริมาณที่สูง
ข. สตรอนเชียมถูกดูดซึมได้เช่นเดียวกับแคลเซียม และจะถูกดูดซึมอย่างรวดเร็ว
ผ่านระบบทางเดินหายใจและระบบย่อยอาหาร หากได้รับสูงถึง ๕๐ เปอร์เซ็นต์ จะถูกสะสมไว้ที่
กระดูก
๕.๑๑ ทอเรียม-๒๓๒
ก. ทอเรียม-๒๓๒ เป็นสารกัมมันตรังสีตามธรรมชาติและสลายตัวให้แอลฟา
ข. เมือ่ ได้รบั ความร้อนจะให้แสงสีขาว จึงใช้ในการผลิตไส้ตะเกียงเจ้าพายุ และใช้
ในเครื่องวัดรังสี AN/VDR-2, AN/PDR-54 และ AN/PDR-77 เพื่อเป็นต้นก�ำเนิดรังสีภายใน ส�ำหรับ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 79

ปรับเทียบเครื่องวัด นอกจากนี้ยังใช้ส�ำหรับเคลือบอุปกรณ์ช่วยในการมองเห็น เช่น กล้องมอง


กลางคืน และอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนของระบบควบคุมการยิง ทอเรียมอัลลอยด์มคี ณ ุ สมบัตทิ น
ความร้อน จึงใช้ส�ำหรับห้องเผาไหม้เครื่องยนต์รถถังและอากาศยานทางทหาร
ค. ปกติแล้วทอเรียม-๒๓๒ มีความเป็นพิษต�ำ่ แต่ตอ้ งระวังไม่ให้ได้รบั เข้าสูร่ า่ งกาย
๕.๑๒ ทริเทียม
ก. ทริเทียมเป็นไอโซโทปที่หนักที่สุดของไฮโดรเจน และสลายตัวให้บีตาพลังงาน
ต�่ำ มีครึ่งชีวิต ๑๒ ปี ทริเทียมในรูปก๊าซกระจายตัวได้รวดเร็วในชั้นบรรยากาศ
ข. มีการใช้ในอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องวัดความเร็วกระสุนจากปากล�ำกล้อง ใช้
ทั่วไปส�ำหรับอุปกรณ์ที่ต้องมีแหล่งก�ำเนิดแสง เช่น ศูนย์เล็งเรืองแสง นาฬิกา เข็มทิศ และเครื่อง
ควบคุมการยิงของรถถัง เครื่องยิงลูกระเบิด และปืนยิงวิถีโค้ง
ค. ทริเทียมสลายตัวให้บีตาและไม่ท�ำให้เกิดอันตรายจากการแผ่รังสีที่ส�ำคัญ แต่
กระนั้นก็ดี หากอยู่ในบริเวณที่มีระดับรังสีสูงจะต้องได้รับการดูแลเช่นกัน
๕.๑๓ ยูเรเนียม
ก. ยูเรเนียม-๒๓๕, -๒๓๘ และ -๒๓๙ (235, 238 และ 239U) เป็นองค์ประกอบของ
DU, ยูเรเนียมในธรรมชาติ, แท่งเชือ้ เพลิงนิวเคลียร์ และวัสดุในการท�ำอาวุธนิวเคลียร์ ยูเรเนียมและ
นิวไคลด์ลูกสลายตัวให้แอลฟา บีตา และแกมมา ส�ำหรับ DU และยูเรเนียมที่มีในธรรมชาติไม่
ก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงจากการแผ่รงั สี แท่งเชือ้ เพลิงใช้แล้วและอาวุธนิวเคลียร์ทมี่ นี วิ ไคลด์ลกู ของ
ยูเรเนียมจะปลดปล่อยรังสีแกมมาที่มีผลต่อร่างกาย หากมียูเรเนียมเสริมสมรรถนะรวมอยู่ด้วย
อาจท�ำให้เกิดมวลวิกฤตและท�ำให้เกิดรังสีในระดับที่ท�ำให้เสียชีวิตได้ ซึ่งสามารถเกิดได้ในโรงงาน
แปรสภาพเชื้อเพลิงใช้แล้วหรือแกนปฏิกรณ์ที่เกิดการหลอมละลาย
ข. การหายใจเอาสารประกอบยูเรเนียมเข้าสู่ร่างกาย จะผ่านกระบวนการ
เผาผลาญอาหารและถูกก�ำจัดออกจากร่างกายทางปัสสาวะ หากมีปริมาณยูเรเนียม ๑๐๐ ไมโครกรัม
ต่อ ๑/๑๐ ลิตรของปัสสาวะ ภายหลังการได้รับรังสีเฉียบพลัน อาจท�ำให้เกิดภาวะไตวาย
ค. การดูดซึมยูเรเนียมสามารถตรวจสอบได้โดยดูจากสถานะทางเคมีของยูเรเนียม
เกลือยูเรเนียมที่ละลายน�้ำจะถูกดูดซึม แต่ในสถานะที่เป็นโลหะจะไม่ถูกดูดซึม

ผนวก ง
อิทธิพลของสภาพอากาศต่อสาร นชค.และรายงานอุตุนิยมวิทยา

๑. กล่าวทั่วไป
การใช้รายงานทางอุตุนิยมวิทยา
 ใช้เป็นพื้นฐานในการประเมินการก�ำหนดข้อมูลสภาพอากาศ ถ้าปัจจัยของสภาพ
แวดล้อมมีส่วนเอื้ออ�ำนวยข้าศึกในการใช้อาวุธ คชรน.
 ใช้ประกอบเครื่องมือหมายจุดเพื่อพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมและรูปแบบการตก
ของฝุ่นกัมมันตรังสี
 เพื่อประเมินอิทธิพลของอากาศตามฤดูกาลต่อประสิทธิภาพอาวุธ คชรน.
๑.๑ อุตุนิยมวิทยา เป็นการวิเคราะห์ข่าวสารสภาพอากาศที่ส�ำคัญ เพื่อก�ำหนดอิทธิพล
ของสภาพบรรยากาศที่มีผลต่อการใช้อาวุธ คชรน. วิเคราะห์ฤดูกาลหรือความแปรปรวนตามปกติ
ของสภาพอากาศในห้วงเดือน ซึ่งอาจจะส่งผลต่อการใช้อาวุธ คชรน.
๑.๒ ฝ่ายข่าวกรองต้องแน่ใจว่าข่าวสารทิศทางลม (EDMs) และข่าวสารพยากรณ์
อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDMs) ที่ส่งไปยังหน่วยรองได้มีการประสานกับนายทหาร
อุตุนิยมกองทัพอากาศ
๑.๓ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ต้องประสานกันอย่างใกล้ชดิ กับฝ่ายข่าวกรองและเจ้าหน้าที่
อุตุนิยมวิทยา
๑.๔ ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.มีความรับผิดชอบในการป้องกัน คชรน.ในการจัดก�ำลังทหาร
ทุกครั้งของการสั่งการ จึงต้องประเมินปัจจัยสภาพแวดล้อมของบรรยากาศ ที่มีส่วนช่วยข้าศึกใน
กรณีใช้อาวุธ คชรน.
๑.๕ ฝ่ า ยอ� ำ นวยการ คชรน.จั ด ท� ำ การพยากรณ์ พื้ น ที่ เ ปื ้ อ นพิ ษ เพื่ อ เพิ่ ม การ
เฝ้าระวังของผู้บังคับบัญชา
๒. อิทธิพลของสภาพอากาศต่อสาร คชรน. (Weather Effects on CBRN Agents)
สภาพอากาศสามารถส่งผลต่อสาร คชรน.ได้หลายทาง ในบางครั้งสามารถท�ำให้สารคง
ความเป็นพิษในสนามรบได้ยาวนานขึ้น บางครั้งท�ำให้สารเสื่อมสลายได้เร็วขึ้น
๒.๑ นิวเคลียร์ (Nuclear)
สภาพใด ๆ ที่ส่งผลต่อการมองเห็นหรือความโปร่งใสของอากาศ จะมีผลกระทบ
การส่งผ่านของรังสีความร้อน เมฆ, ควัน (ควันเทียม), หิมะ, หมอกและฝนจะดูดซับ และกระจาย
พลังงานความร้อนได้ ขึ้นกับความหนาแน่นของการปกคลุม ซึ่งสามารถหยุดการกระจายพลังงาน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 81

ความร้อนได้ถึง ๙๐% อีกด้านหนึ่งกลุ่มเมฆที่อยู่เหนือการระเบิด อาจจะสะท้อนเพิ่มรังสีความร้อน


มุ่งตรงไปยังเป้าหมายหรือมิฉะนั้นก็สะท้อนกลับไปยังท้องฟ้าโดยไม่เกิดอันตราย
๒.๑.๑ ฝน (Rain)
ก. ฝนที่ ต กในพื้ น ที่ เ ปื ้ อ นพิ ษ ที่ มี ก ารระเบิ ด ที่ พื้ น ผิ ว จะท� ำ ให้ ค วาม
เข้มข้นของกัมมันตรังสีเปลีย่ นไปโดยการชะล้างของน�ำ้ ฝน จากระดับความสูงทีส่ งู กว่าลงมายังอาคาร
ยุทโธปกรณ์และพืชพันธุ์ ลักษณะนีจ้ ะลดความเข้มข้นในบางพืน้ ทีแ่ ละเป็นไปได้ทจี่ ะเพิม่ ความเข้มข้น
กัมมันตรังสีในระบบการระบายน�้ำ, พื้นที่ราบและพื้นที่ที่มีการระบายน�้ำไม่ดี
ข. ฝนและหมอกอาจจะท�ำให้คลืน่ อากาศจากการระเบิด (blast wave) ลด
น้อยลงได้ เพราะว่าพลังงานสลายตัวไปโดยความร้อนและท�ำให้ความชืน้ ระเหยเป็นไอในบรรยากาศ
ค. เมฆและความหนาแน่นของอากาศไม่มผี ลทีม่ นี ยั ส�ำคัญต่อรูปแบบของ
ฝุ่นกัมมันตรังสี
ง. ปรากฏการณ์หยาดน�ำ้ ฟ้า (น�ำ้ ฝน, หิมะ, ลูกเห็บทีต่ กลงสูพ่ นื้ ดิน) จะช่วย
ขจัดอนุภาคกัมมันตรังสีออกจากบรรยากาศ เรียกกันว่าฝนกัมมันตรังสี (rainout) เนือ่ งจากความไม่
แน่นอนเกี่ยวกับการพยากรณ์อากาศ ดังนั้นจึงไม่สามารถพยากรณ์ต�ำแหน่งที่ฝนกัมมันตรังสีตกลง
มาได้ โดยอาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ใกล้เคียงกับศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น หรือถูกลมพัดพาไปไกล
หลายสิบกิโลเมตรก่อนตกลงมา อันตรายจากฝนกัมมันตรังสีจะเกิดจากการระเบิดที่ผิวพื้นหรือใต้
ผิวพื้น เศษซากของสิ่งที่ถูกท�ำลายที่มีกัมมันตรังสีจ�ำนวนมากจะถูกพัดพาไปและตกลงมาสะสมใน
ทิศทางใต้ลม อย่างไรก็ตาม ฝนกัมมันตรังสีอาจเป็นสาเหตุของการเพิ่มหรือลดพื้นที่ฝุ่นกัมมันตรังสี
และท�ำให้เกิดจุดที่มีกัมมันตรังสีสูง อยู่ภายในพื้นที่เปื้อนฝุ่นกัมมันตรังสีได้
จ. ส�ำหรับการระเบิดในอากาศ ฝนกัมมันตรังสีสามารถเพิ่มอันตราย
จากการเปื้อนพิษรังสีตกค้างได้ด้วย ตามปกติอันตรายตกค้างจากการระเบิดในอากาศคือ พื้นที่
เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำขนาดเล็กรอบศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น อย่างไรก็ตามฝน
กัมมันตรังสีจะก่อให้เกิดพื้นที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสีเพิ่มขึ้น ณ ต�ำแหน่งที่คาดไม่ถึง
ฉ. อาวุธนิวเคลียร์ขนาด ๑๐ กิโลตันหรือน้อยกว่าจะมีศักยภาพใน
การก่อให้เกิดฝนกัมมันตรังสีได้มากที่สุด ส่วนอาวุธขนาด ๖๐ กิโลตันหรือมากกว่าจะท�ำให้เกิด
ฝนกัมมันตรังสีได้น้อยที่สุด นอกจากนี้อาวุธขนาด ๑๐ - ๖๐ กิโลตันอาจก่อให้เกิดฝนกัมมันตรังสี
ได้ถ้าเมฆนิวเคลียร์อยู่ระดับเดียวกันหรือต�่ำกว่าความสูงของเมฆฝน
๒.๑.๒ ความเร็วและทิศทางลม (Wind Speed and Direction)
ก. ความเร็วลมและทิศทางลมที่ระดับความสูงต่าง ๆ คือ ๒ ปัจจัยที่จะ
ก�ำหนดรูปร่าง, ขนาด, สถานที่ และความเข้มของรูปแบบการตกของฝุน่ กัมมันตรังสีบนพืน้ ดินเพราะ
ฝุ่นละอองที่เปื้อนพิษและเศษซากของสิ่งที่ถูกท�ำลายที่สะสมอยู่ในทิศทางตามลม
82 ภาคผนวก ง

ข. ลมพื้นผิวมีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดต�ำแหน่งสุดท้ายของการตก
ของฝุ่นกัมมันตรังสีซึ่งจะถูกสะสมในฝุ่นละอองและลมยังเป็นสาเหตุให้ฝุ่นกัมมันตรังสี ไปสะสม
เฉพาะจุดอยู่ตามรอยแยก, คูน�้ำและท่อ ผลนี้ท�ำให้ไม่สามารถพยากรณ์เฉพาะแห่งได้ ดังนั้นก�ำลัง
พลต้องตระหนักถึงความเป็นไปได้ของการสะสมวัตถุกัมมันตรังสีที่มีความเข้มเกิดสูงขึ้นในสถานที่
ตามธรรมชาติ
๒.๑.๓ การปฏิบตั กิ ารในสภาพอากาศต�ำ่ กว่าศูนย์องศา (Cold-Weather Operations)
ก. สภาพอากาศจะจ�ำกัดจ�ำนวนของผู้ที่ผ่านไปมาบนถนน การเปื้อนพิษ
กัมมันตรังสีบนถนน ท�ำให้การส่งก�ำลังเพิม่ เติมและการเคลือ่ นทีข่ องกองทหารเป็นไปได้อย่างล�ำบาก
ลมที่พัดแรงตามฤดูกาลในเขตอาร์กติก อาจจะเป็นปัญหาในการพยากรณ์การเปื้อนพิษ ลมนี้อาจ
จะลดอัตรารังสีที่ศูนย์ระเบิดบนผิวพื้น และในเวลาเดียวกันลมจะท�ำให้การเปื้อนพิษปกคลุมพื้นที่
มากขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาส�ำหรับชุดส�ำรวจและชุดตรวจสอบ จุดอันตรายหรือพื้นที่ที่มีการเปื้อนพิษ
กัมมันตรังสีเข้มข้นอาจเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีหิมะหนาและมีการเคลื่อนตัวของหิมะ
ข. ที่อุณหภูมิต�่ำกว่าศูนย์ รัศมีของความเสียหายไปยังวัตถุเป้าหมาย
จะเพิม่ ขึน้ ได้มากถึง ๒๐% ผลของการระเบิดจะขัดขวางการเคลือ่ นทีข่ องกองทหารอย่างเด็ดขาดโดย
แผ่นน�ำ้ แข็งทีป่ กคลุมจะแตกออกและละลายอย่างรวดเร็ว ผลเหล่านีเ้ ป็นสาเหตุให้มหี มิ ะถล่มในพืน้ ที่
ภูเขา ในพื้นที่ราบการระเบิดอาจจะท�ำให้ชั้นใต้ดินที่เป็นน�้ำแข็งเสียหายท�ำให้จ�ำกัดการเคลื่อนที่ได้
ค. ธรรมชาติของการสะท้อนแสงของพืน้ ผิวเหนือต�ำแหน่งทีอ่ าวุธนิวเคลียร์
ระเบิดจะมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญต่อระยะทางที่แรงระเบิดจะแผ่ขยายออกไป โดยทั่วไปแล้ว
พื้นผิวที่สะท้อนแสง (เช่น ชั้นบาง ๆ ของน�้ำแข็ง หิมะและน�้ำ) จะช่วยเพิ่มระยะทางในการแผ่ขยาย
ของความดันสูงกว่าบรรยากาศ
ง. ความสามารถสูงในการสะท้อนแสงของน�ำ้ แข็งและหิมะอาจจะเพิม่ ระยะ
ปลอดภัยทีใ่ กล้ทสี่ ดุ (MSD) ได้มากถึง ๕๐% ส�ำหรับกองทหารทีไ่ ม่ได้รบั การเตือนภัยและได้รบั การ
เตือนภัย กองทหารทีอ่ ยูใ่ นทีโ่ ล่ง ความสามารถในการสะท้อนแสงอาจจะเพิม่ จ�ำนวนของก�ำลังพลที่
ได้รับผลกระทบจากการมองแสงวาบหรือลานตาโดยเฉพาะตอนกลางคืน
จ. อุณหภูมติ ำ�่ กว่าศูนย์องศาจะลดผลกระทบของความร้อนต่อวัตถุ, หิมะ,
น�ำ้ แข็ง และการปกคลุมของสภาพอากาศทีต่ ำ�่ กว่าจุดเยือกแข็งบนวัสดุทไี่ หม้ไฟได้จะติดไฟได้ยากขึน้
อย่างไรก็ตามผลของความร้อนจะท�ำให้เขต tundra (พื้นที่ราบกว้างในเขตอาร์กติก) แห้งสนิทและ
หญ้าอาจลุกเป็นไฟได้
๒.๑.๔ การปฏิบัติการในพื้นที่ภูเขา (Mountain Operations)
ก. อากาศที่แจ่มใสบนภูเขาจะเพิ่มขอบเขตของผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากผล
ของความร้อน อย่างไรก็ตามภายในขอบเขตนี้ การสวมเสื้อผ้ามากขึ้นเพื่อป้องกันความเย็นที่ระดับ
ความสูงจะลดผู้ได้รับบาดเจ็บจากความร้อน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 83

ข. ในพื้นที่ภูเขา การสะสมของการเปื้อนพิษกัมมันตรังสีจะเปลี่ยนแปลง
อย่างมากตลอดเวลา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบความเร็วลมอย่างรวดเร็ว จุดเปื้อนพิษอาจ
เกิดไกลจากต�ำแหน่งที่เกิดการระเบิด และพื้นที่ที่ใกล้กับต�ำแหน่งที่เกิดการระเบิด อาจมีความ
เข้มข้นกัมมันตรังสีต�่ำ การเคลื่อนที่ที่ถูกจ�ำกัด ท�ำให้การส�ำรวจกัมมันตรังสีบนพื้นดินเป็นไปได้ยาก
และความยุง่ ยากของการรักษาการบินทีร่ ะดับความสูงให้คงทีท่ ำ� ให้การส�ำรวจทางอากาศไม่แม่นย�ำ
๒.๑.๕ การปฏิบัติการในทะเลทราย (Desert Operations) การปฏิบัติการใน
ทะเลทรายจะมีปญ ั หาการเปลีย่ นแปลงมาก อุณหภูมชิ ว่ งกลางวันทะเลทรายเปลีย่ นแปลงได้ระหว่าง
90๐ F - 125๐ F (32๐ C - 52๐ C) และอัตราการขึ้นลงอุณหภูมิไม่แน่นอน อย่างไรก็ตามช่วงพลบค�่ำ
ทะเลทรายเย็นลงอย่างรวดเร็วและอัตราการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมคิ งที่ ความเป็นไปได้ของการโจมตี
ช่วงกลางคืนจะต้องน�ำมาพิจารณาในการวางแผนทั้งหมด การพัดพาของลมและทรายท�ำให้เป็นไป
ได้ที่จะมีแบบส�ำรวจกัมมันตรังสีในวงกว้าง
๒.๑.๖ การปฏิบัติการในพื้นที่ป่า (Jungle Operations) การแผ่รังสีอาจจะลด
ลงเนื่องจากต้นไม้ในป่ากักฝุ่นกัมมันตรังสีบางส่วนไว้ อย่างไรก็ตาม ต่อมาฝนจะชะล้างอนุภาคไปสู่
พื้นดินและสะสมอยู่ในพื้นที่เก็บน�้ำ ท�ำให้เกิดจุดอันตรายของการแผ่รังสี
๒.๒ ชีววิทยา (Biological)
๒.๒.๑ ความคงตัวของอากาศ (Air Stability) บรรยากาศทีม่ คี วามคงตัวของอากาศ
จะมีผลให้เกิดก้อนเมฆขนาดใหญ่และพื้นที่การปกคลุมของสารชีวะ ภายใต้อากาศที่ไม่คงตัวและมี
ความคงตัวเป็นกลางท�ำให้บรรยากาศมีการผสมกันมากขึน้ ความเข้มข้นเมฆสารชีวะทีป่ กคลุมพืน้ ที่
จะลดน้อยลงได้ แต่ความเข้มข้นก็มากเพียงพอที่จะท�ำให้เกิดการเจ็บป่วย
84 ภาคผนวก ง

ตาราง ง-๑ อิทธิพลของสภาพอากาศต่อการกระจายของสารชีวะ


สภาพอากาศ ลักษณะเมฆ ข้อควรพิจารณาการด�ำเนินงาน
มีความคงตัว กลุ่มเมฆสารชีวะลอยตามลมมาเป็นระยะทาง เมฆสารชีวะมีแนวโน้มที่จะกระจาย
ไกลก่อนแพร่ออกด้านข้าง ความชื้นสูงและ ไปแบบเดียวกันและยังคงเกาะกันอยู่
ฝนที่ตกพร�ำ ๆ จะเอื้อให้สารชีวะเปียกแพร่ ขณะที่เคลื่อนที่ตามลม
กระจายได้ดี เมฆลอยต�่ำอยู่กับพื้นดินและอาจจะไม่
ลอยขึ้นสูงได้พอที่จะปกคลุมถึงยอด
ของอาคารสูงหรือวัตถุสูงอื่น ๆ
เป็นกลาง กลุ่มเมฆสารชีวะมีแนวโน้มที่จะกระจายไป เพื่อให้ได้ผลเช่นเดียวกับที่ได้รับจาก
อย่างรวดเร็ว สภาพอากาศคงตัวจะต้องใช้ปริมาณ
สารชีวะให้มากขึ้นและอาจไม่ได้ผล
ตามต้องการ
ไม่มีความคงตัว กลุ่มเมฆสารชีวะลอยขึ้นสูงอย่างรวดเร็วและไม่ กลุ่มเมฆสารชีวะมีแนวโน้มแตกตัว
ได้เคลื่อนตามลมจนประเมินระยะทางได้อย่าง และกระจายออกไป ได้ประโยชน์ทาง
ใด อุณหภูมิต�่ำกว่าศูนย์องศาส่งผลต่อการ ยุทธการเล็กน้อยจากการกระจายผิด
กระจายสารชีวะเปียก เป้าหมาย

๒.๒.๒ อุณหภูมิ (Temperature) อุณหภูมอิ ากาศทีช่ นั้ ผิวดินจะสัมพันธ์กบั ปริมาณ


แสงอาทิตย์ทพี่ นื้ ดินได้รบั อุณหภูมบิ รรยากาศตามปกติจะมีผลกระทบโดยตรงเล็กน้อยต่อจุลนิ ทรีย์
ของแอโรซอลชีวะ อย่างไรก็ตามโดยปกติการระเหยของละอองแอโรซอล จะเพิม่ มากขึน้ เมือ่ อุณหภูมิ
สูงขึ้น มีหลักฐานว่าการรอดชีวิตของเชื้อโรคส่วนใหญ่ลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงอุณหภูมิ -20๐ C
ถึง -40๐ C และเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 49๐ C อุณหภูมิสูงจะท�ำลายเชื้อแบคทีเรียและไวรัสเป็น
ส่วนใหญ่รวมถึงเชือ้ ริกเกตเซีย อย่างไรก็ตามอุณหภูมเิ หล่านีม้ กั ไม่คอ่ ยเกิดขึน้ ในสภาวะปกติ อุณหภูมิ
ต�ำ่ กว่าศูนย์ทำ� ให้แอโรซอลกลายเป็นน�ำ้ แข็งอย่างรวดเร็วหลังแอโรซอลถูกปล่อยกระจายดังนัน้ ท�ำให้
มีอัตราการเสื่อมสลายช้าลง การได้รับแสงอัลตราไวโอเลต (รังสีดวงอาทิตย์) จะเพิ่มอัตราการตาย
ของเชื้อจุลินทรีย์ ดังนั้นแสงอัลตราไวโอเลต มีผลในการท�ำลายสารชีวะในรูปแอโรซอล สารพิษ
ส่วนใหญ่จะมีความคงทนมากกว่าเชื้อโรคและอ่อนไหวต่ออิทธิพลของอากาศน้อยกว่า
๒.๒.๓ ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity) ระดับความชื้นสัมพัทธ์จะเอื้อ
ประโยชน์ต่อการใช้แอโรซอลสารชีวะหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับว่าการกระจายแอโรซอลเป็นแบบเปียก
หรือแบบแห้ง ส�ำหรับแอโรซอลเปียกความชื้นสัมพัทธ์สูงจะช่วยชลอการระเหยของละอองที่บรรจุ
จุลนิ ทรีย์ ซึง่ จะลดอัตราการตายของเชือ้ โรคลงได้ ส่วนความแห้งจะท�ำให้เชือ้ เหล่านีต้ าย ในทางกลับกัน
ความชืน้ สัมพัทธ์ตำ�่ จะเหมาะกับการใช้แอโรซอลแห้ง เมือ่ ความชืน้ ในอากาศสูงจะท�ำให้อตั ราการตาย
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 85

ของจุลนิ ทรียใ์ นแอโรซอลแห้งเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากความชืน้ จะเร่งวงจรชีวติ ของเชือ้ โรค สารพิษส่วนใหญ่
จะมีความคงทนมากกว่าเชือ้ โรคและทนทานต่อการเปลีย่ นแปลงของความชืน้ สัมพัทธ์มากกว่าเชือ้ โรค
๒.๒.๔ มลภาวะ (Pollutants) ก๊าซที่เป็นมลพิษในบรรยากาศจะส่งผลต่อการ
อยู่รอดของเชื้อโรค ก๊าซที่เป็นมลพิษจะท�ำให้เชื้อโรคจ�ำนวนมากลดจ�ำนวนลงก๊าซเหล่านี้ได้แก่
ไนโตรเจนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, โอโซนและคาร์บอนมอนนอกไซด์ เรื่องนี้อาจเป็นปัจจัย
ส�ำคัญในสนามรบที่มีอากาศเสียเกิดบ่อยครั้ง
๒.๒.๕ การปกคลุมของเมฆ (Cloud Coverage) การปกคลุมของเมฆจะลดปริมาณ
รังสีอัลตราไวโอเลตที่เชื้อจะได้รับ การปกคลุมของเมฆจะเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุณหภูมิพื้นดิน
และความชื้นสัมพัทธ์
๒.๒.๖ หยาดน�้ ำ ฟ้ า (Precipitation) หยาดน�้ ำ ฟ้ า อาจชะล้ า งอนุ ภ าคที่
แขวนลอยในอากาศ การชะล้ า งนี้ อ าจเห็ น ได้ ชั ด ในพายุ ฝ นขนาดใหญ่ ความชื้ น สั ม พั ท ธ์ สู ง
ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ หมอก, ละอองฝนหรื อ ฝนที่ ต กเล็ ก น้ อ ยมากก็ เ ป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ด้ ว ย ความชื้ น
อาจเอื้ อ อ� ำ นวยหรื อ ไม่ เ อื้ อ อ� ำ นวยขึ้ น กั บ ประเภทของสารพิ ษ อุ ณ หภู มิ ต�่ ำ มี ค วามสั ม พั น ธ์
กับน�้ำแข็ง, หิมะและหยาดน�้ำฟ้าในฤดูหนาวจะท�ำให้อายุของสารชีวะส่วนใหญ่ยาวนานขึ้น
๒.๓ เคมี (Chemical)
ข้าศึกจะหาวิธีใช้สารเคมีภายใต้สภาพอากาศที่เอื้ออ�ำนวยถ้าเป็นไปได้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพสารเคมี
ตาราง ง-๒ อิทธิพลของสภาพอากาศต่อการกระจายของแอโรซอลสารเคมี
ความเร็วลม ความคงตัว
ปัจจัย อุณหภูมิ (0C) ความชื้น % หยาดน�้ำฟ้า
กม./ชม. ของอากาศ
เอื้ออ�ำนวย คงที่ < ๕ คงที่ > ๒๑ >๖๐ ไม่มี
ปานกลาง คงที่ ๕-๑๓ เป็นกลาง ๔-๒๑ ๔๐-๖๐ เล็กน้อย
ไม่เอื้ออ�ำนวย > ๑๓ ไม่คงที่ <๔ < ๔๐ มีบ้าง
๒.๓.๑ ความคงตัวของชั้นบรรยากาศ (Atmospheric Stability) หนึ่งในปัจจัย
ส�ำคัญในการใช้อาวุธเคมีคอื การก�ำหนดสภาพความคงตัวของบรรยากาศ ณ เวลาโจมตี การก�ำหนด
นี้ สามารถท�ำจากรายงานทางอุตุนิยมวิทยาหรือโดยการสังเกตสภาวะในสนาม
ก. สภาพอากาศไม่คงที่ (เช่น กระแสอากาศขึ้นลง และการเคลื่อนที่
ของอากาศไม่สม�่ำเสมออย่างรุนแรง) จะกระจายสารเคมีอย่างรวดเร็ว สภาพอากาศไม่คงที่จะไม่
เอื้ออ�ำนวยต่อการใช้สารเคมี เพราะผลท�ำให้ความเข้มข้นสารเคมีน้อยลงฉะนั้นจะลดพื้นที่ท่ีได้รับ
ผลกระทบจากสาร
86 ภาคผนวก ง

ข. สภาพอากาศคงตัว (เช่น ความเร็วลมต�่ำและการเคลื่อนที่ของอากาศ


ไม่สม�่ำเสมอเล็กน้อย) ให้ผลความเข้มข้นสารเคมีมากที่สุด สารเคมียังคงอยู่ลอยอยู่ใกล้พื้นดินและ
อาจจะเคลื่อนที่ไปได้อีกไกลก่อนที่จะกระจายไป สภาพอากาศคงตัวท�ำให้เมฆสารเคมียังคง
สมบูรณ์อยู่ ดังนั้นเมฆจะปกคลุมพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้างโดยปราศจากการกระจาย อย่างไรก็ตาม
ทิศทางและขอบเขตของเมฆสารเคมีทเี่ คลือ่ นทีภ่ ายใต้สภาพอากาศคงตัว จะไม่สามารถพยากรณ์ได้
ถ้าไม่มขี อ้ มูลกระแสลมเฉพาะต�ำแหน่งทีเ่ ชือ่ ถือได้สภาพอากาศทีค่ งทีม่ าก ๆ จะเอือ้ อ�ำนวยอย่างมาก
ต่อการได้รับความเข้มข้นไอสูงจากเมฆสารเคมีที่กระจายอยู่
ค. สภาพอากาศเป็นกลางเป็นสภาพที่เอื้ออ�ำนวยปานกลาง ด้วยความเร็ว
ลมต�ำ่ และภูมปิ ระเทศพืน้ ราบ พืน้ ทีข่ นาดใหญ่อาจจะถูกปกคลุมด้วยเมฆเคมีอย่างได้ผล สภาพอากาศ
เป็นกลางนีจ้ ะเกิดขึน้ เมือ่ พระอาทิตย์ขนึ้ และพระอาทิตย์ตำ�่ และโดยทัว่ ไปแล้วสามารถพยากรณ์ได้
เป็นส่วนใหญ่ ด้วยเหตุผลนี้สภาพอากาศเป็นกลางจะส่งผลดีที่สุดให้กับจุดสังเกตการณ์ทางทหาร
๒.๓.๒ ความเข้มข้นของไอสารเคมีและการกระจาย (Vapor Concentration
and Diffusion)
ก. ความเข้มข้นสารเคมีถูกควบคุมด้วยปริมาณของเมฆสารเคมี เพราะว่า
กลุม่ เมฆจะขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง ระดับความเข้มข้นจะลดลงเมือ่ เวลาผ่านไป ความเร็วลมจะก�ำหนด
ระยะอันตรายตามลมของเมฆทีเ่ พิม่ ขึน้ การเคลือ่ นทีไ่ ม่สม�ำ่ เสมอของอากาศทัง้ แนวตัง้ และแนวนอน
จะเป็นตัวก�ำหนดความกว้างและความสูงของกลุม่ เมฆ อัตราการขยายตัวของพืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลม
ทั้งแนวตั้งและแนวนอนถูกควบคุมด้วยขนาดของกลุ่มเมฆและความเข้มข้นสารเคมี
ข. เพือ่ ให้ระดับความเข้มข้นทีก่ ำ� หนดไว้มปี ระสิทธิภาพ กลุม่ ไอสารเคมีจะ
ต้องคงอยู่ในพื้นที่เป้าหมายนานช่วงเวลาหนึ่ง ภายหลังการปล่อยกระจายสารเคมีออกไป กระแส
ลมในพื้นที่เป้าหมายจะผสมเข้ากับสารเคมีและกระจายไปทั่วเป้าหมาย ส�ำหรับเป้าหมายบน
พืน้ ดินนัน้ การปล่อยกระจายสารเคมีบนพืน้ ทีเ่ ป้าหมายโดยตรงด้วยความเข้มข้นสูงและให้ครอบคลุม
พื้นที่จะประสบผลส�ำเร็จอย่างดีที่สุด เมื่อลมที่พัดในพื้นที่เป็นลมอ่อนและมีความปั่นป่วนน้อย
ลมในกรณีพัดคงที่และสามารถพยากรณ์การครอบคลุมเหนือพื้นที่เป้าหมายได้จะเหมาะสม
ทีส่ ดุ ส�ำหรับการปล่อยกระจายจากด้านเหนือลมของเป้าหมาย สภาวะอืน่ ใดนอกเหนือจากนีจ้ ะท�ำให้
ความเข้มข้นของกลุ่มสารเคมีลดลงและครอบคลุมเป้าหมายได้น้อยกว่า อย่างไรก็ตามถ้าไม่ทราบ
สภาวะอากาศภายในพื้นที่เป้าหมาย ผลของสารเคมีต่อเป้าหมายจะเป็นค่าโดยประมาณเท่านั้น
ค. ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มข้นและการกระจายของเมฆเคมีมีดังนี้
 ไฮโดรไลซิสเป็นกระบวนการแยกสลายสารประกอบด้วยน�ำ้ สารพิษ
เคมีที่มีอัตราเกิดไฮโดรไลซิสสูง จะมีประสิทธิภาพน้อยลงเมื่ออยู่ในสภาพความชื้นสูง
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 87

 การดูดซึมเป็นกระบวนการที่สารพิษถูกน�ำเข้าสู่พืชพันธุ์, ผิวหนัง,
ดินหรือวัตถุ มีความส�ำคัญในพืชที่หนาแน่น การดูดซึมและการดูดซับสารเคมีเข้าสู่ผิวอาจท�ำให้พืช
ตายได้ ดังนั้นจึงใช้สารเคมีท�ำลายป่าในพื้นที่ท�ำงาน
 การเคลื่อนย้ายของกระแสอากาศและการพัดพาของอากาศที่ไม่
สม�ำ่ เสมอในแนวราบจะพัดเมฆเคมีจากด้านหนึง่ ไปอีกด้านหนึง่ เป็นการเคลือ่ นย้ายแบบไม่มที ศิ ทาง
ขณะทีก่ ลุม่ เมฆลอยแบบไร้ทศิ ทางนัน้ กลุม่ เมฆจะแพร่กระจายออกทางด้านข้างด้วย ในสภาพอากาศ
ที่ไม่คงที่การแพร่กระจายออกทางด้านข้างมีแนวโน้มแพร่ออกมากกว่าในสภาพอากาศคงตัว
 กระแสลมจะพัดพากลุ่มเมฆเคมีไปตามพื้นดินด้วยการม้วนตัว ซึ่ง
เป็นสาเหตุเกิดจากความเร็วลมที่แตกต่างกัน ความเร็วลมจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากใกล้ศูนย์ที่
พื้นดิน ไปจนถึงความเร็วลมสูงขึ้นที่ระดับสูงกว่าพื้นดิน ผลจากการม้วนลากไปบนพื้นดินร่วมกับ
การกีดขวางของพืชพันธุแ์ ละวัตถุตา่ ง ๆ บนพืน้ ดิน เป็นสาเหตุให้ฐานของกลุม่ เมฆเคมียดื ตัวออกใน
ทางยาว เมื่อกลุ่มเมฆถูกปล่อยบนพื้นดินปริมาณเมฆที่ละพื้นจะขยายตัวเพิ่มขึ้น ๑๐% ในแนวดิ่ง
มากกว่าระยะทางเมือ่ เคลือ่ นทีผ่ า่ นหญ้า, พืน้ ดินทีม่ กี ารไถพรวนหรือพืน้ น�ำ้ และประมาณ ๒๐% เมือ่
อยู่เหนือภูมิประเทศที่เป็นพุ่มไม้และพืชผลที่ก�ำลังเจริญเติบโตหรือพื้นที่ที่มีไม้ใหญ่ขึ้นกระจายเป็น
หย่อม ๆ ในป่าที่มีต้นไม้หนาแน่นผลจากการที่กลุ่มเมฆละสิ่งกีดขวางเหนือพื้นจะเพิ่มขึ้นอย่างมาก
 ความเร็วลมจะเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง ทิศทางลมสามารถ
เปลีย่ นแปลงเมือ่ ความสูงเพิม่ ขึน้ ชือ่ ทีร่ กู้ นั คือ แรงเฉือนลม (wind shear) เป็นอัตราการเปลีย่ นแปลง
ของความเร็วลมในแนวตั้งฉากต่อทิศทางลม กลุ่มควัน (หรือเมฆเคมี) อาจจะยืดออกในทิศทางตาม
ลมและอาจจะเคลื่อนไปในทิศทางที่แตกต่างจากทิศทางลมบริเวณพื้นผิว นอกจากนี้กลุ่มเมฆเคมีที่
ปล่อยในอากาศอาจจะถูกพัดพาไปได้เร็วกว่าที่กลุ่มเมฆจะแพร่กระจายลงด้านล่าง เป็นผลให้
อากาศใกล้พื้นดินบริเวณขอบด้านหน้าของกลุ่มเมฆอาจจะไม่เปื้อนพิษ ในขณะที่อากาศห่าง
ออกไปไม่กี่ฟุตอาจจะเปื้อนพิษอย่างรุนแรง ผลของชั้นนี้จะเด่นชัดมากขึ้นและเพิ่มขึ้นอย่างเป็น
สัดส่วนกับระยะทางขอบด้านหน้าของกลุ่มเมฆจากแหล่งก�ำเนิด
 การเพิม่ ขึน้ ในแนวดิง่ ของกลุม่ เมฆเคมีขนึ้ อยูก่ บั ตัวแปรสภาพอากาศ
(เช่น อัตราการขึ้นหรือลงของอุณหภูมิ ความเร็วลม และความแปรปรวนของอากาศ) และความ
แตกต่างระหว่างความหนาแน่นของเมฆและอากาศโดยรอบ ดังกล่าวในตอนแรกอุณหภูมิของกลุ่ม
เมฆและอากาศนั้นมีอิทธิพลสัมพันธ์กับความหนาแน่น ก๊าชที่ร้อนกว่าจะมีความหนาแน่นน้อยกว่า
ดังนั้นจึงเบากว่าก๊าชและอากาศที่เย็นกว่า ดังนั้นกลุ่มเมฆจะลอยขึ้นสูงจนกระทั่งมีการผสมกับ
อากาศและค่อนข้างเจือจาง จนมีอุณหภูมิเท่ากันและมีความหนาแน่นเกือบเท่ากับอากาศโดยรอบ
88 ภาคผนวก ง

๒.๓.๓ ลม (Wind)
ก. ความเร็วลมทีแ่ รงเป็นสาเหตุให้มกี ารแพร่กระจายของไอหรือแอโรซอล
ดังนั้นจะลดผลกระทบที่เกิดจากการเปื้อนพิษสารเคมีเนื่องจากการปกคลุมของไอเหนือพื้นที่
เป้าหมายมีเวลาน้อยลง เมฆเคมีจะได้รับผลดีที่สุดเมื่อความเร็วลมน้อยกว่า ๔ นอต และทิศทาง
ลมคงที่ กลุ่มเมฆเคลื่อนที่ด้วยลมตามฤดูกาลตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิประเทศและพืชพันธุ์ ที่
ความเร็วลมต�ำ่ (๓ – ๗ นอต) และทิศทางคงทีจ่ ะเสริมการปกคลุมพืน้ ทีเ่ ว้นแต่มสี ภาพอากาศไม่คงที่
ข. การระเหยของสารเคมีเหลว เนื่องจากความเร็วลมขึ้นกับพื้นที่ผิวหน้า
ของสารเคมีเหลวและความเร็วลมที่พัดผ่านผิว
ค.  อัตราการระเหยของสารพิษในสถานะของเหลวเป็นสัดส่วนกับความเร็ว
ลม ถ้าความเร็วเพิ่มขึ้นการระเหยเพิ่มขึ้น ดังนั้นท�ำให้ห้วงเวลาของการเปื้อนพิษได้ผลสั้นลง
การระเหยที่เพิ่มขึ้นจะสร้างเมฆเป็นไอขนาดใหญ่ขึ้น เมฆพิษถูกแพร่กระจายออกไปด้วยกระแสลม
ทีแ่ รงกว่า การเกิดขึน้ และการกระจายตัวของไอเกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง การเพิม่ หรือการลดการระเหย
เป็นสัดส่วนกับความเร็วลม
๒.๓.๔ อุณหภูมิ (Temperature) อัตราการระเหยจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
อัตราการระเหยของสารเคมีเหลวใด ๆ ที่ยังคงอยู่หลังการระเบิดของยุทโธปกรณ์จะปรับเปลี่ยน
ตามอุณหภูมิ
๒.๓.๕ ความชืน้ (Humidity) ความชืน้ คือ การวัดการระเหยของน�ำ้ ทีม่ อี ยูใ่ นอากาศ
และไฮโดรไลซิสคือ กระบวนการแยกสลายสารประกอบด้วยน�ำ้ ความชืน้ สูงจะมีผลให้อตั ราการเกิด
ไฮโดรไลซิสลดลง ความชืน้ มีผลเล็กน้อยต่อกลุม่ เมฆสารเคมีสว่ นใหญ่ สารเคมีบางชนิด (phosgene
และ lewisite) จะถูกไฮโดรไลสได้ค่อนข้างรวดเร็ว ไฮโดรไลซิสเป็นสาเหตุให้สารพิษเหล่านี้แตกตัว
ออกแล้วเปลี่ยนแปลงไปตามคุณลักษณะเฉพาะทางเคมี ถ้าระดับความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่า ๗๐%
phosgene และ lewisite จะใช้ไม่ได้ผลยกเว้นบางครัง้ ทีม่ อี ตั ราการไฮโดรไลซิสอย่างรวดเร็ว lewisite
เมื่อผ่านกระบวนการไฮโดรไลซิสแล้วสารที่ได้จะไม่เป็นอันตรายต่อผิวหนัง อย่างไรก็ตามยังมี
ความเป็นพิษถ้าเข้าสู่ร่างกาย เนื่องจากมีองค์ประกอบของสารหนู (arsenic) จรวดที่บรรจุสาร CS
จะถูกไฮโดรไลส์แม้จะค่อนข้างช้าในสภาพความชื้นสูง ที่ความชื้นสูงเมื่อรวมเข้ากับอุณหภูมิสูง
อาจจะเพิ่มประสิทธิภาพของสารเคมีบางตัว เนื่องจากร่างกายมีการขับเหงื่อจะท�ำให้ผิวหนังมีการ
ดูดซับสารพิษได้ดีขึ้น
๒.๓.๖ หยาดน�้ำฟ้า (Precipitation)
ก. ผลกระทบโดยรวมของหยาดน�้ำฟ้าไม่เอื้ออ�ำนวย เพราะจะส่งผลอย่าง
รุนแรงในการชะล้างไอสารเคมีและแอโรซอลจากอากาศ, พืชพันธุแ์ ละวัตถุ การพยากรณ์อากาศหรือ
การสังเกตจะบ่งชี้ถึงการมีอยู่หรือความเป็นไปได้ของหยาดน�้ำฟ้า หยาดน�้ำฟ้าเป็นสภาพแวดล้อมที่
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 89

ไม่เอือ้ อ�ำนวยต่อการใช้สารเคมี อย่างไรก็ตามฝนทีต่ กพร�ำ ๆ จะกระจายสารเคมีทมี่ คี วามคงทนออก


ไปอย่างต่อเนือ่ งครอบคลุมผิวพืน้ ขนาดใหญ่ได้มากขึน้ เพราะว่าของเหลวเมือ่ ได้สมั ผัสอากาศมากขึน้
อัตราการระเหยอาจจะมากขึ้นเป็นสาเหตุให้ความเข้มข้นของไอสูงขึ้น หยาดน�้ำฟ้าจะเร่งผลการ
ไฮโดรไลส์ ฝนที่ตกหนักและตกเป็นระยะเวลานานจะชะล้างสารเคมีเหลวออกไป สารเหล่านี้อาจ
จะสะสมอยู่ในพื้นที่ที่ไม่มีการปนเปื้อนพิษมาก่อน (เช่น พื้นที่ใต้ท้องน�้ำ, พื้นที่ที่มีความกดอากาศ
ต�่ำ) และไม่อยู่ในแผนพื้นที่เปื้อนพิษ
ข. อัตราการระเหยของสารพิษเหลวจะลดลง เมื่อสารพิษถูกปกคลุมด้วย
น�้ำและจะกลับสู่ภาวะปกติเมื่อน�้ำระเหยไป หยาดน�้ำฟ้าอาจจะท�ำให้สารพิษคงทนบางชนิดกลับมา
สู่พื้นผิว
ค. หิมะที่ปกคลุมพื้นที่จะปิดคลุมสารพิษเคมีเหลว ท�ำให้สารเคมีเหลวมี
อุณหภูมิต�่ำกว่าอุณหภูมิผิวพื้น และมีการระเหยของสารอย่างช้า ๆ ท�ำให้มีความเข้มข้นของไออยู่
ในระดับต�่ำมาก เมื่อหิมะละลาย อันตรายของการปนเปื้อนพิษก็จะปรากฏอีกครั้ง อย่างไรก็ตาม
ไฮโดรไลซิสอาจจะลดผลของอันตรายลง
๓. ภาพรวมการรายงานอุตุนิยมวิทยา (Overview of Meteorological Reports)
การรายงานสภาพอากาศเป็นส่วนหนึ่งของระบบเตือนภัยและรายงานสงคราม คชรน.
๓.๑ รายงานลมพื้นฐาน (BWR)
๓.๑.๑ รายงานลมพืน้ ฐาน จะให้ขา่ วสารเรือ่ งสภาพลม (เช่น ความเร็วและทิศทาง
ลม) ในจ�ำนวนของชั้นบรรยากาศจากพื้นผิวของโลก ความสูง ๓๐,๐๐๐ เมตร แต่ละชั้นมีความหนา
๒,๐๐๐ เมตร
๓.๑.๒ รายงานลมพื้นฐาน นชค. เป็นข่าวสารที่มีวิธีการปรับข้อมูลโดยอัตโนมัติ
น�ำมาใช้ปรับเข้ากับรูปแบบรายงานดังนี้
ก.  ข่าวสารลมพื้นฐาน (BWM) ให้ข้อมูลความเร็วและทิศทางของลมที่
ระดับความสูงต่าง ๆ จากเวลาเริ่มต้นช่วง ๖ ชม.แรกจากข้อมูลสภาพอากาศที่แท้จริง
ข.  การพยากรณ์ลมพื้นฐาน (BWF) ให้ข้อมูลความเร็วและทิศทางของลม
๖ ชม.ต่อมา จากข้อมูลการพยากรณ์
๓.๑.๓ ทั้งสองแบบของระบบการรายงานลมพื้นฐาน ข่าวสารจะต้องเริ่มต้นด้วย
ข้อมูลสภาพลมในชั้นบรรยากาศต�่ำสุด (สูงจากพื้นผิวโลก ๒,๐๐๐ เมตร) จากนั้นเป็นที่ระดับ
๒,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ เมตร ระบบตัวเลขที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ในแต่ละชั้นเริ่มต้นด้วย ๒ ส�ำหรับความ
สูง ๐ – ๒,๐๐๐ เมตร ๔ ส�ำหรับ ๒,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ เมตร เป็นต้น
90 ภาคผนวก ง

๓.๒ รายงานทิศทางลม (EDR)


๓.๒.๑ ข้อมูลจากรายงานทิศทางลม ใช้ในการพยากรณ์พื้นที่ฝุ่นกัมมันตรังสีตก
หลังจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ ความเร็วและทิศทางลม ๗ กลุม่ จะแสดงอยูใ่ นแต่ละบรรทัด
ของรายงานทิศทางลมตามกลุ่มของขนาดอาวุธ ๗ กลุ่มที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า
๓.๒.๒ รายงานทิศทางลม นชค.เป็นข่าวสารทีม่ วี ธิ กี ารปรับข้อมูลโดยอัตโนมัติ น�ำมา
ใช้ปรับเข้ากับรูปแบบรายงานดังนี้
ก. ข่าวสารทิศทางลม (EDM) ให้ข้อมูล ความเร็วและทิศทางตามลม ใน
ช่วงระยะเวลาเริ่มต้น ๖ ชม.แรก
ข. การพยากรณ์ทศิ ทางลม (EDF) พยากรณ์ความเร็วและทิศทางลมส�ำหรับ
กลุ่มอาวุธที่เลือก ในช่วงระยะเวลา ๖ ชม.ต่อมา
ค. กรณีพิเศษ เมื่อความเร็วทิศทางอันตรายตามลม น้อยกว่า ๘ กม./ชม.
การพยากรณ์พนื้ ทีก่ ารตกของฝุน่ กัมมันตรังสีจะเป็นรูปวงกลม รัศมีของวงกลมทัง้ สองทีม่ ศี นู ย์กลาง
ร่วมกันล้อมรอบจุดศูนย์ระเบิดที่ผิวพื้น จะมีระยะเท่ากับระยะทางอันตรายตามลมเขต I และเขต II
ตามล�ำดับ
๓.๓ รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDR)
๓.๓.๑ รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDR) จะมีข้อมูล
เบือ้ งต้นทางอุตนุ ยิ มวิทยา ใช้ในการพยากรณ์แอโรซอลชีวะหรือพืน้ ทีอ่ นั ตรายจากไอสารเคมี รายงาน
เหล่านี้ใช้ส�ำหรับเหตุการณ์ ROTA ด้วย มี ๔ กรณีดังนี้
กรณีที่ ๑ สารข้น, วัตถุมีพิษอุตสาหกรรม
กรณีที่ ๒ เครื่องมือกระจายรังสี
กรณีที่ ๓ ที่ก�ำบังสารชีวะหรือระบบการผลิต
กรณีที่ ๔ คลังสารเคมีหรือการขนส่ง/การเก็บรักษาวัตถุมพี ษิ อุตสาหกรรม
๓.๓.๒ รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDR) เป็นข่าวสาร
ที่มีวิธีการปรับข้อมูลโดยอัตโนมัติ น�ำมาใช้ปรับเข้ากับรูปแบบรายงานดังนี้
ก. ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM) ให้ข่าวสารสภาพ
อากาศ ๖ ชม.แรกจากเริ่มต้น
ข. การพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDF) ให้ข่าวสาร
สภาพอากาศ ๖ ชม.ต่อมา
๓.๓.๓ รายงานเหล่านี้จัดเตรียมโดยส่วน นชค.กองทัพน้อยและกองพล
๓.๓.๔ รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDR) จะถูกส่งต่อ
อย่างน้อย ๔ ครั้งต่อวัน แต่ละข่าวมีผลใช้ได้ห้วงละ ๖ ชม. ในระยะ ๖ ชม.ยังแบ่งย่อยได้ ๓ ห้วง
ย่อย ๑ ห้วงย่อยมี ๒ ชม.
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 91

๓.๔ รายงานอุตุนิยมวิทยาแต่ละหัวข้อ (MET Report Fields)


ตาราง ง-๓ และตาราง ง-๔ จัดให้มีหัวข้อและบรรทัดที่ใช้ในรายงานอุตุนิยมวิทยาที่แตกต่างกัน
ตาราง ง-๓ หัวข้อของข่าวทั่วไปส�ำหรับการรายงานอุตุนิยมวิทยา
หัวข้อ BWR EDR CDR
EXER O O O
OPER C C C
MSGID M M M
REF O O O
DTG M M M
ORGIDDFT M M M
NBCEVENT M M M
M = จะต้องระบุเสมอ
O = ระบุเฉพาะค่าที่ทราบ
C = ระบุตามเงื่อนไข
ตาราง ง-๔ รายงานอุตุนิยมวิทยา นชค.
หัวข้อ * BWR EDR CDR
AREAM M M M
ZULUM M M M
UNITM M M M
LAYERM M - -
ALFAM - M -
BRAVOM - O -
CHARLIEM - O -
DELTAM - O -
FOXTROTM - O -
GOLFM - O -
WHISKEYM - - M
XRAYM - - O
YANKEEM - - O
* อักษร M ที่เติมท้ายรหัสอักษรมีความหมายว่าเป็นข่าวอุตุนิยมวิทยา
- = ไม่ใช้
M = จะต้องระบุเสมอ
O = ระบุเฉพาะค่าที่ทราบ
92 ภาคผนวก ง

๓.๕ ค�ำอธิบายหัวข้อข่าวที่ใช้ในรายงานทั่วไป (ADP)


 EXER
ชื่อของการฝึก
ตัวอย่างเช่น ใช้ EXER/VALIANTCOURAGE 2004/-//
EXER/VALIANTCOURAGE 2004/-//
เป็นนามแฝงของการฝึก
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๑ - ๕๖ ตัว
ต้องระบุเสมอใช้ EXER
EXER/VALIANTCOURAGE 2004/-//
ข้อระบุเพิ่มเติม
ประกอบด้วยตัวอักษรและช่องว่าง ๔ - ๑๖ ตัว
ระบุเฉพาะค่าที่ทราบถ้าใช้ EXER
 OPER
รหัสการยุทธ์เป็นค�ำย่อ
ตัวอย่างเช่น ใช้ GRAND ACCOMPLISHMENT/-/-/-//
OPER/GRAND ACCOMPLISHMENT/-/-/-//
รหัสการยุทธ์เป็นค�ำย่อ
ประกอบด้วยตัวอักษรและช่องว่าง ๑ - ๓๒ ตัว
จะต้องระบุเสมอถ้าใช้ OPER
OPER/GRAND ACCOMPLISHMENT/-/-/-//
ผู้เริ่มวางแผนและหมายเลขของแผน
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๕ - ๓๖ ตัว
ระบุเฉพาะค่าที่ทราบถ้าใช้ OPER
OPER/GRAND ACCOMPLISHMENT/-/-/-//
นามแฝง
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๑ - ๒๓ ตัว
ระบุเฉพาะค่าที่ทราบถ้าใช้ OPER
OPER/GRAND ACCOMPLISHMENT/-/-/-//
นามแฝงรอง
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๑ - ๒๓ ตัว
ระบุเฉพาะค่าที่ทราบถ้าใช้ OPER
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 93

MSGID

ตัวบ่งชี้ข้อความในข่าว
ตัวอย่างเช่น ใช้ MSGID/CDR/AWS/382856/-/-/-//
MSGID/CDR/AWS/382856/-/-/-//
ตัวบ่งชี้รูปแบบของข้อความในข่าว
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๓ - ๒๐ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
MSGID/CDR/AWS/382856/-/-/-//
ผู้ริเริ่มส่งข่าว
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๑ - ๓๐ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
MSGID/CDR/AWS/382856/-/-/-//
เลขล�ำดับของข่าว
เป็นตัวเลข ๑ - ๗ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
MSGID/CDR/AWS/382856/-/-/-//
ชื่อเดือน
เป็นอักษร ๓ ตัว
ระบุหรือไม่ก็ได้
MSGID/CDR/AWS/382856/-/-/-//
ผู้เชี่ยวชาญ
เป็นอักษร ๓ ตัว
ระบุหรือไม่ก็ได้
MSGID/CDR/AWS/382856/-/-/-//
เลขล�ำดับของผู้เชี่ยวชาญ
เป็นเลข ๑ - ๓ ตัว
ระบุหรือไม่ก็ได้
 REF
หลักฐานอ้างอิง
ตัวอย่างเช่น ใช้ REF/A/CMP/NBCACCUK/20040427/-/-/-//
REF/A/CMP/NBCACCUK/20040427/-/-/-//
94 ภาคผนวก ง

เลขล�ำดับ
เป็นอักษร ๑ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
REF/A/CMP/NBCACCUK/20040427/-/-/-//
ประเภทของการสื่อสาร
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๓ - ๒๐ ตัว
REF/A/CMP/NBCACCUK/20040427/-/-/-//
ผู้ริเริ่ม
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๑ - ๓๐ ตัว
REF/A/CMP/NBCACCUK/20040427/-/-/-//
วันเวลาของการอ้างอิง
เป็นตัวเลข ๖ ตัว
วันเวลาของการอ้างอิง
เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ๗ ตัว
วันเวลาของการอ้างอิงที่ได้รับการยืนยัน
เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ๘ ตัว
วันเวลาและเดือนของการอ้างอิง
เป็นตัวอักษรและตัวเลข ๑๐ ตัว
วันเวลาและเดือนของการอ้างอิงที่ได้รับการยืนยัน
เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ๑๑ ตัว
วันเวลาของการอ้างอิง
เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ๑๔ ตัว
วันเวลาของการอ้างอิงที่ได้รับการยืนยัน
เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ๑๕ ตัว
วันที่อ้างอิง, วัน–เดือน (เรียงล�ำดับ) – ปี
เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ๙ ตัว
วันที่อ้างอิง, วัน–เดือน–ปี
เป็นตัวเลข ๘ ตัว
วันที่อ้างอิง, ปี–เดือน–วัน
เป็นตัวเลข ๘ ตัว
REF/A/CMP/NBCACCUK/20040427/-/-/-//
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 95

เลขล�ำดับของการอ้างอิงหรือ
เลขล�ำดับของเอกสาร
เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ๑๐ ตัว
จะระบุหรือไม่ก็ได้
REF/A/CMP/NBCACCUK/20040427/-/-/-//
การแจ้งเตือนพิเศษ
เป็นตัวอักษร ๕ ตัว
จะระบุหรือไม่ก็ได้
REF/A/CMP/NBCACCUK/20040427/-/-/-//
รหัสบ่งสัญญาณหรือ
หมายเลขไฟล์
เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ๑ - ๑๐ ตัว
สามารถระบุซ�้ำได้ ๓ ครั้ง
จะระบุหรือไม่ก็ได้
 DTG
กลุ่มวันและเวลา
ตัวอย่าง เช่นใช้ DTG/231100ZNOV2004//
DTG/231100ZNOV2004//
วันที่ของเดือน
DTG/231100ZNOV2004//
ระบุเป็นเวลามาตรฐานกรีนิช (เวลาซูลู)
DTG/231100ZNOV2004//
เดือนและปี
 ORGIDDFT
ผู้ได้รับมอบหมายขององค์กรให้เป็นผู้ร่างข่าว/ผู้ส่งข่าว
ตัวอย่างเช่น ใช้ ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
ชื่อหน่วยที่ได้รับมอบหมาย
ประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลขและอักขระพิเศษ ๑ - ๑๕ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
96 ภาคผนวก ง

ตัวชี้ขนาดของหน่วย
เป็นตัวอักษร ๑ - ๗ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของหน่วย
เป็นตัวอักษร ๒ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
รหัส “A” ระบุบทบาทของหน่วย
เป็นตัวอักษร ๒ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
รหัส “B” ระบุบทบาทของหน่วย
เป็นตัวอักษร ๒ - ๖ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
รหัส “C” ระบุบทบาทของหน่วย
เป็นตัวอักษร ๒ - ๖ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
รหัส “D” ระบุบทบาทของหน่วย
เป็นตัวอักษร ๒ - ๖ ตัว
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
ชื่อหน่วยระดับสูงขึ้น
ประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลขหรืออักขระพิเศษ ๑ - ๑๕ ตัว
จะต้องระบุเสมอ
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
การบริการกองทัพ (ตัวอักษรหรือตัวเลข ๑ ตัว) หรือ
รหัสตัวแทนพลเรือน (ตัวอักษรหรือตัวเลข ๒- ๘ ตัว)
จะต้องระบุเสมอ
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 97

รหัสพิสูจน์หน่วย (UIC)
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๗ - ๙ ตัว
ระบุตามเงื่อนไข
 NBCEVENT
ประเภทของรายงานอุตุนิยมวิทยาทาง นชค.
ตัวอย่าง เช่น ใช้ NBCEVENT/CDM/-//
NBCEVENT/CDM/-//
ประเภทของรายงานอากาศ
ข่าวสารลมพื้นฐาน (BMW)
การพยากรณ์ลมพื้นฐาน (BWF)
ข่าวสารทิศทางลม (EDM)
การพยากรณ์ทิศทางลม (EDF)
ข่าวสารอันตรายตามลมของอาวุธเคมี (CDM)
การพยากรณ์อันตรายตามลมของอาวุธเคมี (CDF)
ประกอบด้วยตัวอักษร ๓ ตัว
NBCEVENT/CDM/-//
รหัสเวลาที่ยังใช้งานได้
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๑ - ๑๐ ตัว
ใช้เฉพาะระบบการประมวลข้อมูลโดยอัตโนมัติเท่านั้น
๓.๖ ค�ำอธิบายหัวข้อต่าง ๆ ที่ใช้ในรายงานอุตุนิยมวิทยา (ADP)
 AREAM
พืน้ ทีท่ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ; อาจเป็นหมายเลขแผนทีห่ รือพืน้ ทีเ่ ช่น กองทัพน้อยที่ ๑
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๒ - ๒๐ ตัว
 ZULUM
กลุ่มวัน–เวลา ของ :
เวลาที่วัดสภาพอากาศ
ใช้ข้อมูลนี้ได้ตั้งแต่เวลา
ใช้ข้อมูลนี้ได้จนถึงเวลา
ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลข ๑๔ ตัว จ�ำนวน ๓ ชุด
ตัวอย่าง ZULUM
ZULUM/231100ZNOV2004/231200ZNOV2004/231800ZNOV2004//
98 ภาคผนวก ง

วันที่ของเดือน
ZULUM/231100ZNOV2004/231200ZNOV2004/231800ZNOV2004//
ระบุเป็นเวลามาตรฐานกรีนิซ (เวลาซูลู)
ZULUM/231100ZNOV2004/231200ZNOV2004/231800ZNOV2004//
เดือนและปี
 UNITM
หน่วยวัดที่ใช้ในข่าว
ตัวอย่าง UNITM /-/ DGT/KPH/-//
ระยะทางหรือ ความสูง
เป็นตัวอักษร ๑ - ๒ ตัว
หมายเหตุ : ไม่ใช้ในรายงาน BWR หรือ CDR
– ไม่ใช้หรือไม่ทราบ
KM กิโลเมตร
NM ไมล์ทะเล
FT ฟุต
KF กิโลฟุต (๑,๐๐๐ ฟุต)
HM เฮกโตเมตร (๑๐๐ เมตร)
YD หลา
M เมตร
SM ไมล์บก
UNITM/-/DGT/KPH/-// (ทิศทางลมที่วัดเป็นองศาจะเป็นตัวอักษร ๓ ตัวและถ้าวัด
เป็นมิลเลียมจะเป็นอักษร ๔ ตัว)
– ไม่ใช้หรือไม่ทราบ
DGM องศา/เหนือแม่เหล็ก
DGT องศา/เหนือจริง
DGG องศา/ เหนือกริด
MLM มิลเลียม/เหนือแม่เหล็ก
MLT มิลเลียม/เหนือจริง
MLG มิลเลียม/เหนือกริด
UNITM/-/DGT/KPH/-// (ความเร็วลมเป็นอักษร ๓ ตัว)
– ไม่ใช้หรือไม่ทราบ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 99

KPH กิโลเมตร/ชั่วโมง
MPS เมตร/วินาที
KTS นอต
MPH ไมล์/ชั่วโมง
UNITM/-/DGT/KPH/-// (อุณหภูมิเป็นอักษร ๑ ตัว)
– ไม่ใช้หรือไม่ทราบ
C เซลเซียส
F ฟาเรนไฮต์
หมายเหตุ : ไม่ใช้กับรายงานทิศทางลม (EDR) หรือรายงานลมพื้นฐาน (BWR)
 LAYERM
สภาพลม ณ ความสูง ๒,๐๐๐ เมตร และเพิ่มขึ้นถึง ๓๐,๐๐๐ เมตร
บันทึกซ�้ำ ได้ถึง ๑๕ ครั้ง
ตัวอย่าง LAYERM/02/265/020// (ชั้นของลมเป็นเลข ๒ ตัว)
๐๒ ๐ – ๒,๐๐๐ เมตร
๐๔ ๒,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ เมตร
๒๘ ๒๖,๐๐๐ – ๒๘,๐๐๐ เมตร
๓๐ ๒๘,๐๐๐ – ๓๐,๐๐๐ เมตร
LAYERM/04/290/030// (ทิศทางลมที่วัดเป็นองศาจะเป็นตัวเลข ๓ ตัวและ
ถ้าวัดเป็นมิลเลียมจะเป็นตัวเลข ๔ ตัว)
LAYERM/26/025/020// (ความเร็วลมเป็นตัวเลข ๓ ตัว)
 ALFAM
ข่าวสารทิศทางลมส�ำหรับอาวุธขนาดน้อยกว่าหรือเท่ากับ ๒ กิโลตัน
ตัวอย่างกลุ่มขนาดอาวุธก�ำหนดไว้ว่า ALFAM/-/310/015/-//
ALFAM/-/310/015/-// (กลุ่มขนาดอาวุธ)
ALFAM
BRAVOM
CHARLIEM
DELTAM
ECHOM
FOXTROTM
GOLFM
ALFAM/-/310/015/-// (รัศมีของเขต I)
– ไม่ใช้หรือไม่ทราบ
100 ภาคผนวก ง

เป็นตัวเลข ๓ ตัว
หมายเหตุ : ถ้ามีการใช้รัศมีของเขต I แล้วจะไม่มีการใช้ทิศทางตามลม, ความเร็วลมและมุมที่กาง
ออกไป
ALFAM/-/310/015/-// (ทิศทางลม)
ถ้าวัดเป็นองศาให้ใช้เลข ๓ ตัวและถ้าวัดเป็นมิลเลียมให้ใช้เลข ๔ ตัว
ALFAM/-/310/015/-// (ความเร็วลม)
– ไม่ใช้หรือไม่ทราบ
เป็นตัวเลข ๓ ตัว
ALFAM/-/310/015/-// (มุมที่กางออกไป)
– ไม่ใช้หรือไม่ทราบ
ตัวเลข ๑ หลัก
๔ ๔๐ องศา
๕ ๕๐ องศา
๖ ๖๐ องศา
๗ ๗๐ องศา
๘ ๘๐ องศา
๙ ๙๐ องศา
๐ ๑๐๐ องศา
๑ ๑๑๐ องศา
๒ ๑๒๐ องศา
๓ มากกว่า ๑๒๐ องศา
 BRAVOM
ข่าวสารทิศทางลมส�ำหรับอาวุธขนาดมากกว่า ๒ กิโลตัน ถึง ๕ กิโลตัน
 CHARLIEM
ข่าวสารทิศทางลมส�ำหรับอาวุธขนาดมากกว่า ๕ กิโลตัน ถึง ๓๐ กิโลตัน
 DELTAM
ข่าวสารทิศทางลมส�ำหรับอาวุธขนาดมากกว่า ๓๐ กิโลตัน ถึง ๑๐๐ กิโลตัน
 ECHOM
ข่าวสารทิศทางลมส�ำหรับอาวุธขนาดมากกว่า ๑๐๐ กิโลตัน ถึง ๓๐๐ กิโลตัน
 FOXTROTM
ข่าวสารทิศทางลมส�ำหรับอาวุธขนาดมากกว่า ๓๐๐ กิโลตัน ถึง ๑,๐๐๐ กิโล
ตัน (๑ เมกะตัน)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 101

 GOLFM
ข่าวสารทิศทางลมส�ำหรับอาวุธขนาดมากกว่า ๑ เมกะตัน ถึง ๓ เมกะตัน
หมายเหตุ : ทุกขนาดอาวุธรายละเอียดของข่าวจะเหมือนกับ ALFAM

 WHISKEYM
สภาพอากาศส�ำหรับห้วงแรกของ ๓ ห้วงเวลา (ห้วงละ ๒ ชม.) ติดต่อกัน
หมายเหตุ : ระยะความสูงของการวัดค่าที่เหมาะสมควรอยู่ที่ ๑๐ เมตรเหนือพื้นดิน ในภูมิประเทศ
เปิดโล่งค่าเฉลี่ยอยู่ในช่วง ๑๐ นาที
ตัวอย่าง WHISKEYM/120/010/4/18/7/4/2//
ทิศทางลม
ตัวเลข ๓ หลักส�ำหรับองศาและ เลข 4 หลักส�ำหรับไมล์
WHISKEYM/120/010/4/18/7/4/2//
ความเร็วลม
เป็นตัวเลข ๓ ตัว
หมายเหตุ : ระยะความสูงของการวัดค่าที่เหมาะสมควรอยู่ที่ ๑๐ เมตรเหนือพื้นดิน ในภูมิประเทศ
เปิดโล่งค่าเฉลี่ยอยู่ในช่วง ๑๐ นาที
WHISKEYM/120/010/4/18/7/4/2//
ความคงตัวของอากาศ
เป็นอักษรหรือตัวเลข ๑ ตัว
ระบุอย่างง่าย
U ไม่คงตัว
N เป็นกลาง
S คงตัว
ระบุอย่างละเอียด
๑ ไม่คงตัวมาก
๒ ไม่คงตัวปานกลาง
๓ ไม่คงตัวเล็กน้อย
๔ ระหว่างคงตัวกับไม่คงตัว
๕ คงตัวเล็กน้อย
๖ คงตัวปานกลาง
๗ คงตัวมาก
102 ภาคผนวก ง

WHISKEYM/120/010/4/18/7/4/2//
อุณหภูมิ
สัญลักษณ์พิเศษและ ตัวเลข ๒ ตัวหรือ ตัวเลข ๒ - ๓ ตัว
-๒๐ -๒๐ องศา
-๐๓ -๓ องศา
๐๐ ๐ องศา
๐๒ ๒ องศา
๑๕ ๑๕ องศา
๙๙๙ ๙๙๙ องศา
WHISKEYM/120/010/4/18/7/4/2//
ความชื้นเป็นร้อยละ (%)
ตัวเลข ๑ ตัว
๐ ๐ - ๙%
๑ ๑๐ - ๑๙%
๒ ๒๐ - ๒๙%
๓ ๓๐ - ๓๙%
๔ ๔๐ - ๔๙%
๕ ๕๐ - ๕๙%
๖ ๖๐ - ๖๙%
๗ ๗๐ - ๗๙%
๘ ๘๐ - ๘๙%
๙ ๙๐ - ๑๐๐%
WHISKEYM/120/010/4/18/7/4/2//
ปรากฏการณ์สภาพอากาศที่มีนัยส�ำคัญ
ตัวอักษรหรือตัวเลข ๑ ตัว
๐ ไม่มีปรากฏการณ์สภาพอากาศที่มีนัยส�ำคัญ
๑ ลมทะเล
๒ ลมบก
๓ พายุหิมะหรือพายุทราย
๔ หมอก, น�้ำค้างแข็งหรือหมอกหนา
๕ ละอองฝน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 103

๖ ฝน
๘ ฝน, หิมะ, ลูกเห็บ หรือผสมกันตกปรอย ๆ
๙ พายุฟ้าคะนอง
A ด้านบนของชั้นผกผัน ต�่ำกว่า ๘๐๐ เมตร
B ด้านบนของชั้นผกผัน ต�่ำกว่า ๔๐๐ เมตร
C ด้านบนของชั้นผกผัน ต�่ำกว่า ๒๐๐ เมตร
WHISKEYM/120/010/4/18/7/4/2//
การปกคลุมของเมฆ
ตัวเลข ๑ ตัว
๐ น้อยกว่าครึ่งท้องฟ้า (มีเมฆกระจาย)
๑ มากกว่าครึ่งท้องฟ้า (มีเมฆกระจาย)
๒ ถูกปกคลุมทั่วฟ้า (ท้องฟ้ามืดครึ้ม)
๓ ไม่มีเมฆ (ท้องฟ้าแจ่มใส)
 XRAYM
สภาพอากาศทีพ่ นื้ ผิวส�ำหรับห้วงแรกของ ๓ ห้วงเวลาแรก (ห้วงละ ๒ ชม.) ติดต่อกัน
ดู WHISKEYM ส�ำหรับรายละเอียดของข่าว
 YANKEEM
สภาพอากาศทีพ่ นื้ ผิวส�ำหรับห้วงแรกของ ๓ ห้วงเวลาแรก (ห้วงละ ๒ ชม.) ติดต่อกัน
ดู WHISKEYM ส�ำหรับรายละเอียดของข่าว
๔. รายงานลมพื้นฐาน (Basic Wind Report)
หัวข้อนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดในการจัดท�ำและใช้รายงานลมพื้นฐาน
๔.๑ รายงานลมพื้นฐาน (BWR)
ตามที่อธิบายไว้ก่อนหน้านี้ รายงานลมพื้นฐานเป็นรูปแบบข่าวสารที่มีวิธีการปรับ
ข้อมูลโดยอัตโนมัติ น�ำมาปรับใช้กับรายงานลมพื้นฐาน ๒ แบบคือ ข่าวสารลมพื้นฐาน (BWM) ซึ่ง
ขึ้นกับข้อมูลสภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริงและพยากรณ์ลมพื้นฐาน (BWF) ตามข้อมูลการพยากรณ์
รายงานจะให้ข้อมูลสภาวการณ์ของลม (ทิศทางและความเร็ว) ในช่วง ๒,๐๐๐ เมตรจากพื้นผิวของ
โลกจนถึงความสูง ๓๐,๐๐๐ เมตร
๔.๒ การเขียนทิศทางลม (Wind Vector Plot)
๔.๒.๑ ข้อมูลที่มีในข่าวสารลมพื้นฐานใช้ในการสร้างทิศทางลม ข่าวสารลม
พืน้ ฐานถูกแปลงเป็นเส้นทิศทางตามลมส�ำหรับแต่ละชัน้ ของความสูงโดยกลับทิศทางลมเป็นมุม ๑๘๐°
104 ภาคผนวก ง

๔.๒.๒ ความเร็วลมของแต่ละชั้น ที่แสดงในข่าวสารลมพื้นฐานจะแสดงเป็นเส้น


ทิศทางลม ความยาวของเส้นอ่านค่าได้จากตาราง ตาราง ง-๕ ถึง ตาราง ง-๑๐ จะให้ค่าความยาว
เส้นทิศทางลมเป็น ซม. ส�ำหรับมาตราส่วนแผนที่ที่แตกต่างกันอยู่ในหน่วย กม.ต่อชม.และนอต
ตรวจสอบความถูกต้องของขนาดแผนที่และความเร็วลมที่เลือกไว้
หมายเหตุ : ทีค่ วามสูงเหนือ ๑๘,๐๐๐ เมตร ชัน้ ความสูงส�ำหรับการวาดภาพทิศทางลมยังคงหมาย
จุดในช่วง ๒,๐๐๐ เมตรต่อไป อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจัยระยะทางแผนที่มีความแตกต่างเพียง
เล็กน้อย ดังนั้นบางส่วนของคอลัมน์ในตารางต่อไปนี้ถูกรวมเข้าด้วยกันเพื่อความสะดวก

ตาราง ง–๕ ระยะทางบนแผนที่ส�ำหรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 105

ตาราง ง–๖ ระยะทางบนแผนที่ส�ำหรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐)

ตาราง ง–๗ ระยะทางบนแผนที่ส�ำหรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐)


106 ภาคผนวก ง

ตาราง ง–๘ ระยะทางบนแผนที่ส�ำหรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐)

ตาราง ง–๙ ระยะทางบนแผนที่ส�ำหรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 107

ตาราง ง–๑๐ ระยะทางบนแผนที่ส�ำหรับความเร็วลม (มาตราส่วน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐)

๔.๒.๓ จากศูนย์กลางการระเบิดที่พื้นดิน (GZ) ให้ลากเส้นทิศทางลมไปในทิศ


ตามลมของชัน้ ความสูง ๐ – ๒,๐๐๐ เมตร เขียนเลข ๒ ไว้ทปี่ ลายของเส้นทิศทางลม และให้มคี วามยาว
ตามที่ก�ำหนด เส้นทิศทางลมนี้จะแสดงทิศทางตามลมและความเร็วลมภายในชั้นความสูงจาก
พื้นผิวถึงความสูง ๒,๐๐๐ เมตร
๔.๒.๔ จากด้านปลายของทิศทางลมเส้นแรกให้ลากเส้นทิศทางลมต่อไป ที่ด้าน
ปลายของเส้นทิศทางลมนี้ ให้เขียนเลข ๔ เส้นทิศทางลมนี้จะแสดงทิศทางตามลมและความเร็วลม
ภายในชั้นความสูง ๒,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ เมตร
๔.๒.๕ ให้ลากเส้นทิศทางลมต่อไป โดยใช้ข้อมูลทั้งหมดตามรายงานลมพื้นฐาน
ผลการหมายจุดเส้นทิศทางลมดังแสดงในภาพ ง-๑
ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของรายงานลมพื้นฐาน
MSGID/BWR/AWS/382856/DEC /-/-//
DTG/250630ZDEC2004//
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
NBCEVENT/BWM/-//
AREAM/NFEB4//
ZULUM/250600ZDEC2004/230700ZDEC2004/241900ZDEC2004//
108 ภาคผนวก ก

UNITM/-/DGG/KTS /-/
LAYERM/02/266/004/
LAYERM/04/289/007/
LAYERM/06/301/008/
LAYERM/08/311/008/
LAYERM/10/329/009/
LAYERM/12/339/009/
LAYERM/14/356/008/
LAYERM/16/009/007/
LAYERM/18/019/005/
LAYERM/20/015/003/
LAYERM/22/025/004/
LAYERM/24/029/004/
LAYERM/26/030/004/
LAYERM/28/031/005/
LAYERM/30/034/005//
หมายเหตุ : ถ้าไม่มีค�ำอธิบายเป็นอย่างอื่น ลมจะพัดออกไปจากศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นไม่ใช่
พัดเข้ามา ดังนัน้ จึงต้องท�ำอาซิมทุ กลับ (ถ้ามุมใหญ่กว่า ๑๘๐° ให้ลบออกด้วย ๑๘๐° แต่ถา้ มุมเล็กกว่า
๑๘๐° ให้บวกด้วย ๑๘๐) ถ้าความเร็วเป็น กม./ชม.ไม่ใช่นอต/ชม. ให้คูณด้วย ๐.๕๔
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 109

ภาพ ง-๑ ตัวอย่างการหมายจุดทิศทางลม


110 ภาคผนวก ง

ตาราง ง-๑๑ ค่าน�้ำหนัก

ชั้นความสูงของลม
ค่าน�้ำหนัก
(๑๐๓เมตร)
๐–๒ ๑.๒๖
๒–๔ ๑.๐๙
๔–๖ ๐.๙๖
๖–๘ ๐.๙๓
๘ – ๑๐ ๐.๘๙
๑๐ – ๑๒ ๐.๘๓
๑๒ – ๑๔ ๐.๗๘
๑๔ – ๑๖ ๐.๗๔
๑๖ – ๑๘ ๐.๗๒
๑๘ – ๒๐ ๐.๗๐
๒๐ – ๒๒ ๐.๖๙
๒๒ – ๒๔ ๐.๖๗
๒๔ – ๒๖ ๐.๖๗
๒๖ – ๒๘ ๐.๖๕
๒๘ – ๓๐ ๐.๖๓
หมายเหตุ :
ความเร็วลม (หน่วยนอต) x ค่าน�้ำหนัก = ความยาวเส้นทิศทางลม
(หน่วย กม.)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 111

ตาราง ง-๑๒ ความยาวเส้นทิศทางลม


ชั้นของลม (๑๐๓ ความยาวเส้น
ค่าน�้ำหนัก ความเร็วลม (นอต)
เมตร) ทิศทางลม (กม.)
๐–๒ ๑.๒๖ ๔ ๕.๐๔
๒–๔ ๑.๐๙ ๗ ๗.๖๓
๔–๖ ๐.๙๖ ๘ ๗.๖๘
๖–๘ ๐.๙๓ ๘ ๗.๔๔
๘ – ๑๐ ๐.๘๙ ๙ ๘.๐๑
๑๐ – ๑๒ ๐.๘๓ ๙ ๗.๔๗
๑๒ – ๑๔ ๐.๗๘ ๘ ๖.๒๔
๑๔ – ๑๖ ๐.๗๔ ๗ ๔.๙๐
๑๖ – ๑๘ ๐.๗๒ ๕ ๓.๖๐
๑๘ – ๒๐ ๐.๗๐ ๓ ๒.๑๖
๒๐ – ๒๒ ๐.๖๙ ๔ ๒.๗๖
๒๒ – ๒๔ ๐.๖๗ ๔ ๒.๖๘
๒๔ – ๒๖ ๐.๖๗ ๔ ๒.๖๘
๒๖ – ๒๘ ๐.๖๕ ๕ ๓.๒๕
๒๘ – ๓๐ ๐.๖๓ ๕ ๓.๑๕
112 ภาคผนวก ง

๕. รายงานทิศทางลม (Effective Downwind Reports)


รายงานนีใ้ ช้ในการจัดเตรียมข้อมูลทิศทางลมและสภาพอากาศทีจ่ ำ� เป็น ในการพยากรณ์
พืน้ ทีก่ ารตกของฝุน่ กัมมันตรังสี หลังจากการระเบิดของนิวเคลียร์ ส�ำหรับห้วงระยะเวลา ๖ ชม.แรก
หรือห้วงระยะเวลา ๖ ชม.ต่อไป (EDF) ข่าวสารทิศทางลม (EDM) จะแสดงข้อมูลความเร็วกับทิศทาง
ตามลม ๗ แบบตาม ๗ กลุ่มขนาดอาวุธที่เลือกไว้
๕.๑ ความเร็วและทิศทางตามลมจะแปรเปลี่ยนตามขนาดอาวุธ รหัสอักษรแสดงขนาด
อาวุธมีดังนี้
ALFAM หมายถึง อาวุธขนาด ≤ ๒ กิโลตัน
BRAVOM หมายถึง อาวุธขนาด > ๒ กิโลตัน ≤ ๕ กิโลตัน
CHARLIEM หมายถึง อาวุธขนาด > ๕ กิโลตัน ≤ ๓๐ กิโลตัน
DELTAM หมายถึง อาวุธขนาด > ๓๐ กิโลตัน ≤ ๑๐๐ กิโลตัน
ECHOM หมายถึง อาวุธขนาด > ๑๐๐ กิโลตัน ≤ ๓๐๐ กิโลตัน
FOXTROTM หมายถึง อาวุธขนาด > ๓๐๐ กิโลตัน ≤ ๑,๐๐๐ กิโลตัน (๑ เมกะตัน)
GOLFM หมายถึง อาวุธขนาด > ๑,๐๐๐ กิโลตัน ≤ ๓,๐๐๐ กิโลตัน (๓ เมกะตัน)
๕.๒ การค�ำนวณข้อมูล ให้ใช้ขนั้ ตอนต่อไปนี้ โดยใช้ 2 KT ส�ำหรับ ALFAM, 5 KT ส�ำหรับ
BRAVOM และ 30 KT ส�ำหรับ CHARLIEM และอื่น ๆ
๕.๒.๑ ขั้นที่ ๑ ผู้ปฏิบัติอาจได้รับแบบฟอร์มรายงานข่าวสารทิศทางลม ระบุใน
ผนวก ถ (ภาพ ง-๒)
แผ่นค�ำนวณข่าวสารทิศทางลม
เวลาที่ท�ำการวัดลม (กลุ่มวัน-เวลา) DDtttt _____________
ข้อมูลและการค�ำนวณ
(๑) (๒) (๓)
บรรทัด ขนาดอาวุธ ความสูง ความสูงของ ๒/๓ ของความ ระยะทางของ ความเร็วลม – SSS (กม/ชม.)
อาซิมุทของ อาซิมุทของ ทิศทางลม – ddd มุมของพื้นที่
ข่าวสาร (กิโลตัน) ของยอด ฐานเมฆ (เมตร) สูงของล�ำดอก เส้นรัศมี(GZ/ (1) x 1 = SSS เส้นรัศมี เส้นรัศมี (องศา) เตือนภัย
เมฆ (เมตร) เห็ด (เมตร) CB) เวลาฝนตก (GZ/CT) (GZ/2/3) ผลบวกของ
(กิโลเมตร) ปัดเศษจนเป็น กม./ชม. (องศา) ล�ำดอกเห็ด
(องศา)
A 2 49,000 2,600 1,700 ________ ________ X 1.136 = ________ ________ ________ (2)+(3) = (2)+(3) = ddd ________
2
B 5 7,100 4,400 2,800 ________ ________ X 0.758 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
C 30 11,600 7,700 5,100 ________ ________ X 0.455 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
D 100 14,400 9,300 6,200 ________ ________ X 0.385 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
E 300 16,700 11,000 7,400 ________ ________ X 0.333 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
F 1,000 21,000 13,500 9,000 ________ ________ X 0.286 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

G 3,000 26,250 15,800 10,500 ________ ________ X 0.250 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2

ภาพ ง-๒ แผ่นค�ำนวณข่าวสารทิศทางลม (2KT)


ข่าวสารทิศทางลม
ZULU DDtttt …… …… ……
ALFA dddsss …… …… …… …… …… …… …… …… ……
BRAVO dddsss …… …… …… …… …… …… …… …… ……
CHARLIE dddsss …… …… …… …… …… …… …… …… ……
DELTA dddsss …… …… …… …… …… …… …… …… ……
ECHO dddsss …… …… …… …… …… …… …… …… ……
FOXTROT dddsss …… …… …… …… …… …… …… …… ……
GOLF dddsss …… …… …… …… …… …… …… …… ……

ถ้าอาซิมุทของเส้นรัศมี GZ/มุมยอดเมฆ (๒) หรืออาซิมุทของเส้นรัศมี GZ/2/3 ของล�ำดอกเห็ด (๓) อยู่ในควอดแดรนท์ที่ ๑ (๐°-๙๐°) และอีกเส้นหนึ่งอยู่ในควอดแดรนท์ที่ ๔ (๒๗๐°-๓๖๐°) ผลของ (๒) + (๓)
จะเป็นอาซิมุทกลับของทิศทางลม ในกรณีนี้จะหา ddd ได้ด้วยวิธีต่อไปนี้ ถ้าผลที่ได้มากกว่า ๑๘๐° ให้ลบด้วย ๑๘๐° ; ถ้าผลที่ได้น้อยกว่า ๑๘๐° ให้บวกด้วย ๑๘๐° (๒)
แล้วกรอกค่าที่ได้ลงในข่าวสารทิศทางลม
113
114 ภาคผนวก ง

๕.๒.๒ ขั้นที่ ๒ วางแผ่นบริวารด้านบนแผ่น หมายจุดเส้นทิศทางลม และท�ำ


เครื่องหมายเหนือกริด (GN) อ้างอิงเส้นบรรทัดและจุดศูนย์ระเบิดบนผิวพื้น (GZ) ท�ำเครื่องหมาย
ที่ความสูงของยอดเมฆ ความสูงของฐานเมฆ และท�ำเครื่องหมายที่ ๒/๓ ความสูงล�ำดอกเห็ด ของ
อาวุธขนาด 2 KT ลากเส้นรัศมีจากจุดศูนย์ระเบิดบนผิวพื้นผ่านทั้ง ๓ จุดนี้ (ภาพ ง-๓)

ภาพ ง-๓ หมายจุดเส้นทิศทางลมของเมฆนิวเคลียร์และล�ำดอกเห็ด (2KT)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 115

๕.๒.๓ ขั้นที่ ๓ เพื่อก�ำหนดความเร็วลม (SSS) วัดระยะทางไปตามเส้นรัศมีฐาน


เมฆจากจุดศูนย์ระเบิดบนผิวพื้นไปตัดกับเส้นทิศทางลมที่จุดความสูงของฐานเมฆ คูณตามที่ระบุไว้
ในแบบฟอร์ม EDM ปัดเศษทศนิยมของผลลัพธ์ค่ากิโลเมตรที่น้อยกว่า ๐.๕ ลง และมากกว่าหรือ
เท่ากับ ๐.๕ ขึ้น (เช่น ๒๘.๔ กม. = ๒๘ กม., ๒๘.๕ กม. = ๒๙ กม.)
หมายเหตุ : สถานการณ์อาจเกิดขึ้น เมื่อความเร็วลมส�ำหรับกลุ่มอาวุธหนึ่งกลุ่มหรือมากกว่า มีค่า
น้อยกว่า ๘ กม./ชม. ในกรณีนรี้ ะยะทางตามลมส�ำหรับเขต I ถูกก�ำหนดโดยใช้ โนโมแกรม ในผนวก ด
อ่านค่าโนโมแกรมทีค่ วามเร็วลม ๘ กม./ชม.บนสเกลด้านซ้ายมือและค่าสูงสุดของกลุม่ อาวุธทีส่ เกล
ขวามือ จากนั้นอ่านค่าระยะทางตามลมส�ำหรับเขต I บนสเกลศูนย์
๕.๒.๔ ขัน้ ที่ ๔ ในการก�ำหนดทิศทางลมให้ใช้บรรทัดวัดมุมอาซิมทุ จากศูนย์กลาง
การระเบิดทีผ่ วิ พืน้ ไปยังยอดเมฆ และวัดมุมอาซิมทุ จากศูนย์กลางการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ ไปยัง ๒/๓ ของ
ล�ำดอกเห็ด แบ่งครึง่ มุมโดยการน�ำค่าของมุมทัง้ สองมุมมาบวกกันแล้วหารด้วย ๒ ผลทีไ่ ด้คอื ทิศทาง
(ใต้) ลม (ddd)
หมายเหตุ : เมื่อเส้นเรเดียลจากศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นไปยังยอดเมฆหรือเส้นเรเดียลจาก
ศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นไปยัง ๒/๓ ล�ำดอกเห็ดอยู่ในควอดแดรนท์ที่ ๑ (๐ ถึง ๙๐) และเส้น
เรเดียลอื่นอยู่ในควอดแดรนท์ที่ ๔ (๒๗๐ ถึง ๓๖๐) ผลจากการน�ำมุมอาซิมุทของศูนย์กลางการ
ระเบิดที่ผิวพื้น/ยอดเมฆมาบวกกับมุมอาซิมุทของศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น/๒/๓ ล�ำดอกเห็ด
แล้วหารด้วย ๒ จะเป็นมุมอาซิมุทกลับของ ddd ในกรณีนี้จะหา ddd ได้ดังนี้ : ถ้ามุมที่ได้ใหญ่กว่า
๑๘๐๐ ให้ลบออกด้วย ๑๘๐ แต่ถ้าค่ามุมเล็กกว่า ๑๘๐๐ ให้บวกด้วย ๑๘๐ แล้วบันทึกค่า ddd ลง
ในข่าวสารทิศทางลม (EDM)
๕.๒.๕ ขั้นที่ ๕ วัดค่ามุมระหว่างยอดเมฆและ ๒/๓ ล�ำดอกเห็ด ถ้ามุมใหญ่กว่า
๔๐๐ ให้รายงานลงในช่อง “มุมพืน้ ทีเ่ ตือนภัย” ของข่าวสารทิศทางลม ถ้ามุมทีว่ ดั ได้เป็นเลขคีใ่ ห้ปดั
ค่าเป็นเลขคู่ค่าถัดไป
๕.๒.๖ ขั้นที่ ๖ ส�ำหรับกลุ่มอาวุธที่เหลือให้ท�ำซ�้ำขั้นที่ ๒ ถึง ๕ โดยใช้แผ่นบริวาร
แยกกันส�ำหรับแต่ละกลุ่มอาวุธ
๕.๒.๗ ขั้นที่ ๗ กรอกข้อมูลในส่วนของข่าวสารทิศทางลมของแผ่นค�ำนวณโดย
อาศัยข้อมูลและการค�ำนวณ ให้จ�ำกฎ ๓ - ๖ - ๙ ดังนี้
 เลข ๓ หลักหมายถึง ความเร็วลมน้อยกว่า ๘ กม./ชม. และตัวเลขยัง
หมายถึงค่าระยะทางเขต I
 เลข ๖ หลักหมายถึง ข่าวสารปกติ
 เลข ๙ หลักหมายถึง เส้นเรเดียลทีท่ ำ� มุมกว้างออกไปจนถึงค่าทีก่ ำ� หนด
116 ภาคผนวก ง

หมายเหตุ : ส�ำหรับรายงานข่าวสารทิศทางลมส�ำหรับการประมวลข้อมูลโดยอัตโนมัตินั้นในกรณี
พิเศษที่มุมขยายกว้างกว่าปกติจะมีเลขเพียง ๗ หลัก แทนที่จะเป็น ๙ หลัก ตัวอย่างเช่น ถ้าข่าวสาร
ทิศทางลมระบุว่า CHARIEM/-310/015/6/ ค่า ๖ จะแทนมุม ๖๐๐ ดูข้อ ๕.๓ ต่อไปนี้
๕.๓ กรณีพิเศษ
๕.๓.๑ เมื่อความเร็วลมน้อยกว่า ๘ กม./ชม. ในบรรทัดจะมีเลขเพียง ๓ หลัก
เท่านั้น เลข ๓ หลักนี้เป็นค่ารัศมีของระยะทางเขต I ในกรณีนี้จะไม่ระบุความเร็วลมและรูปแบบ
การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีจะเป็นวงกลม ๒ วงที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน
๕.๓.๒ กรณีพเิ ศษอีกกรณีหนึง่ จะเกิดขึน้ เมือ่ คาดว่าฝุน่ กัมมันตรังสีจะตกเกินพืน้ ที่
พยากรณ์แบบปกติคือ เป็นมุม ๔๐๐ ในกรณีเช่นนี้บรรทัดที่เหมาะสมในข่าวสารทิศทางลมจะเป็น
เลข ๙ หลัก โดยที่เลข ๖ หลักแรกจะแทนค่าทิศทางลมและความเร็วลม ส่วนเลข ๓ หลักสุดท้าย
จะเป็นมุมองศาระหว่างเส้นเรเดียลซ้ายและเส้นเรเดียลขวา
๕.๓.๓ ส�ำหรับการพยากรณ์อย่างง่ายนั้นมุมเตือนภัยจะไม่เกิน ๔๐๐ ในกรณีที่
พยากรณ์อากาศอย่างละเอียดซึง่ ต้องมีมมุ ใหญ่กว่า ๔๐๐ พืน้ ทีเ่ ตือนภัยนีจ้ ะระบุไว้ในข่าวสารทิศทาง
ลมเพื่อส่งต่อไปยังหน่วยรองให้ขยายพื้นที่เตือนภัยที่พยากรณ์ไว้ตั้งแต่แรก มุมมาตรฐาน ๔๐ ๐
ระหว่างเส้นเรเดียลทั้งสองจะต้องขยายออกไปจากเส้นอ้างอิงแต่ละด้านเป็นองศาที่เท่ากัน
ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างข่าวสารทิศทางลม
MSGID/CDR/AWS/382856/NOV/-/-//
DTG/231130NOV2004//
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
NBCEVENT/EDM/-//
AREAM/NFEB4//
ZULUM/231100ZNOV2004/231200ZNOV2004/231800ZN
OV2004//
UNITM/KM/DGT/KPH/-//
ALFAM/020/-/-/-/
BRAVOM/020/-/-/-/
CHARLIEM/-/310/015/6/
DELTAM/-/330/025/-/
ECHOM/-/350/045/-/
FOXTROTM/-/350/045/-/
GOLFM/-/340/050/-//
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 117

๖. รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี
ย่อหน้านี้มีรายละเอียดการจัดท�ำ และการใช้รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลม
จากสารเคมี (CDR) อย่างมีประสิทธิภาพ
๖.๑ การเตรียมการทั่วไป
รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี จะมีข้อมูลอุตุนิยมวิทยา
พื้นฐานส�ำหรับพยากรณ์แอโรซอลชีวะและพื้นที่อันตรายไอสารเคมี รายงานเหล่านี้ใช้ส�ำหรับ
เหตุการณ์ ROTA ด้วยสารพิษชีวะโดยทั่วไปยังคงมีความเป็นพิษแม้จะผ่านการเปลี่ยนแปลงหลาย
อย่างในสภาวะของอุตุนิยมวิทยา
๖.๑.๑ รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDR) จัดท�ำโดย
กองทัพน้อย และฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.กองพล (หรือหน่วยเทียบเท่า) โดยใช้ขอ้ มูลทีไ่ ด้รบั จากกองทัพ
อากาศ, กรมอุตุนิยมวิทยาหรือโปรแกรมสมุทรศาสตร์กองทัพเรือ มีการส่ง CDR อย่างน้อย ๔ ครั้ง
ต่อวัน และแต่ละข่าวมีผลใช้ได้เป็นเวลาห้วงละ ๖ ชม. แต่ละห้วง ๖ ชม.แบ่งย่อยเป็น ๓ ห้วง ๆ ละ ๒ ชม.
๖.๑.๒ CDR นชค. เป็นข่าวที่มีรูปแบบการปรับอัตโนมัติ ซึ่งใช้ปรับให้เข้ากับ
ข่าวสารพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM) เพื่อจัดเตรียมข้อมูลสภาพอากาศที่
ต้องการระหว่าง ๖ ชม.แรก หรือพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDF) ที่มีการ
จัดเตรียมข้อมูลสภาพอากาศที่ต้องการส�ำหรับ ๖ ชม.ต่อมา
ต่อไปนี้เป็นตัวอย่าง CDM
MSGID/CDR/AWS/382856/NOV/-/-//
DTG/231130NOV2004//
ORGIDDFT/UKRA/BAT/UK/AA/BB/CC/DD/AG/A/-//
NBCEVENT/CDM/-//
AREAM/NFEB4//
ZULUM/231100ZNOV2004/231200ZNOV2004/๒๓๑๘๐๐
ZNOV2004//
UNITM/-/DGT/KPH/C//
WHISKEYM/120/010/4/18//7/4/5//
XRAYM/100/015/4/15/7/5/2//
YANKEEM/110/010/4/13/7/6/5//
๖.๑.๓ ขั้นตอนแรกในการจัดท�ำ CDM จะต้องมีข้อมูลสภาพอากาศ ข่าวสภาพ
อากาศสามารถรับจากตอนอุตุนิยมวิทยาของทหารปืนใหญ่ แม้ว่าตอนอุตุนิยมวิทยาจะไม่สามารถ
จัดท�ำการพยากรณ์ แต่ก็ให้ข่าวสภาพอากาศปัจจุบัน
118 ภาคผนวก ง

๖.๑.๔ ขั้นตอนต่อไปคือ การแบ่งข่าวออกเป็น ๓ ห้วงๆ ละ ๒ ชม.


WHISKEYM ใช้ส�ำหรับห้วง ๒ ชม. แรก
XRAYM ใช้ส�ำหรับห้วง ๒ ชม. ต่อมา
YANKEEM ใช้ส�ำหรับห้วง ๒ ชม. สุดท้าย
ส่วน คชรน.จะแปลงข้อมูลเหล่านี้เข้ารหัส และป้อนข้อมูลลงในรูปแบบที่เหมาะสม แต่ละบรรทัด
การพยากรณ์จะมีตัวเลข ๑๒ หลัก
๖.๑.๕ ตัวเลข ๖ หลักแรกจะแสดงทิศทางตามลมและความเร็วลม ตัวเลข ๖ หลัก
ท้ายจะแสดงความคงตัวของอากาศ, อุณหภูมิ, ความชื้น, ปรากฏการณ์สภาพบรรยากาศที่ส�ำคัญ
และเมฆที่ปกคลุม ข้อมูลสภาพอากาศที่ไม่สามารถหาได้หรือไม่มีรหัสให้ขีด – ละไว้
๖.๒ การจัดท�ำข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM) โดยไม่มกี ารสนับสนุน
จากการบริการอุตุนิยมวิทยา
ถ้าหน่วยในพื้นที่ปฏิบัติการไม่ได้รับ CDM หน่วยอาจประมาณการประเภทความ
คงตัวอากาศโดยการสังเกตสภาพอุตุนิยมวิทยาเฉพาะที่ วิธีการที่สะดวกในสนามในการหาข้อมูล
สภาพอากาศที่จ�ำเป็นอาจต้องใช้เมื่อแหล่งข่าวอื่น ๆ ไม่สามารถใช้ได้ เพื่อให้ได้รับข้อมูลสภาพ
อากาศเฉพาะที่หน่วยอาจได้รับชุดอุปกรณ์ตรวจอากาศ (belt weather kit) และบาโรมิเตอร์
ข่าวสภาพอากาศที่ได้รับในลักษณะนี้ส�ำหรับพื้นที่โดยเฉพาะเท่านั้นและห้วงเวลานั้น อันนี้ไม่ใช่วิธี
การพยากรณ์จาก CDM อย่างไรก็ตามวิธกี ารเฉพาะทีน่ จี้ ะตรวจสอบข้อมูลสภาพอากาศของ CDM ได้
ถ้าวิธีนี้ถูกใช้ในสภาพอากาศเฉพาะที่ให้รวมข้อมูลนี้ในรายงาน นชค.๑ เคมี
๖.๒.๑ ขัน้ ตอนที่ ๑ วัดความเร็วลมและทิศทางลม ด้วยเข็มทิศเลนเซติกและเครือ่ ง
วัดลมใช้ความเร็วลมสูงสุดที่บันทึกไว้ อ่านค่าอุณหภูมิและความชื้นจากเทอร์โมมิเตอร์ตุ้มเปียก ที่
ความสูง ๑ เมตรเหนือพื้น อ่านค่าทุก ๒ ชม.ที่เป็นไปได้แต่ไม่เกิน ๔ ชม.
๖.๒.๒ ก�ำหนด ๔ ห้วงของความเร็วลมและทิศทางลมระหว่างวัน หาค่าเฉลี่ยของ
การอ่านค่าในแต่ละห้วง ลักษณะที่ยากที่สุดคือ การก�ำหนดดวงอาทิตย์จากการสังเกต เนื่องจาก
หน่วยส่วนใหญ่ไม่มีเครื่องมือในการหาค่า ให้ท�ำการประมาณค่าที่เป็นไปได้มากที่สุด (ตัวอย่าง
ตอนเช้า, มุมดวงอาทิตย์คือ ๔๕° และท้องฟ้าน้อยกว่าครึ่งหนึ่งถูกปกคลุมด้วยเมฆ โดยอ่านค่าจาก
ตาราง ง–๑๓ ประเภทความคงตัวของอากาศคือ U (ไม่คงที่)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 119

ตาราง ง-๑๓ แผนภูมิประเภทความคงตัวของอากาศ


สภาพท้องฟ้า
เวลา องศาพระอาทิตย์ น้อยกว่าครึ่งหนึ่ง มากกว่าครึ่งหนึ่งถูก
มีเมฆมาก
ถูกปกคลุมด้วยเมฆ ปกคลุมด้วยเมฆ
<4 S S N
5 - 32 N N N
ตอนเช้า 33 - 40 U N N
> 40 U U N
> 46 U U N
36 - 46 U N N
13 - 35 N N N
ตอนเย็น
6 - 12 S N N
0-5 S S N
S = คงที่; N = เป็นกลาง; U = ไม่คงที่
๖.๒.๓ แผนภูมคิ วามคงตัวของบรรยากาศ ความคงตัวของเมฆสารเคมีชวี ะ ได้รบั
ผลกระทบโดยตรงจากอุณหภูมิของอากาศที่พื้นผิวของโลก และระยะ ๒ - ๓ เมตรเหนือจากพื้นผิว
๖.๒.๔ ความชันของอุณหภูมิ ความคงตัวของอากาศขึ้นกับความชันของอุณหภูมิ
(ความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศที่ ๒ ระดับความสูง) ความชันของอุณหภูมิก�ำหนดโดยการวัด
อุณหภูมิอากาศที่ ๒ ระดับความสูงที่แตกต่างกันเปรียบเทียบความแตกต่างในอุณหภูมิอากาศ
ทีเ่ ปลีย่ นแปลงตามปกติหรือตามทีค่ าดหวัง การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมปิ กติคอื เย็นลง ๑ องศาส�ำหรับ
ทุก ๆ ๑๐๐ เมตร ทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามระดับความสูง สภาวะความชันของอุณหภูมทิ เี่ ป็นไปได้มี ๔ ข้อ ดังนี้
ก. สภาวะความชันอุณหภูมผิ กผัน (Inversion Temperature Gradient)
(อากาศมีความคงตัว) ถ้าอากาศทีร่ ะดับความสูงกว่า อุน่ มากกว่าอุณหภูมปิ กติทรี่ ะดับความสูงต�ำ่ กว่า
อากาศจะไม่เคลือ่ นตัวในแนวดิง่ ซึง่ เป็นลักษณะความชันอุณหภูมผิ กผัน สภาพเช่นนีเ้ ป็นปกติในคืน
ฟ้าใสเมือ่ เมฆความสูงระดับกลางและระดับล่างปกคลุมท้องฟ้าน้อยกว่า ๓๐% และช่วงเช้าตรูจ่ นถึง
ประมาณ ๑ ชม. หลังพระอาทิตย์ขนึ้ เมือ่ ความเร็วลมน้อยกว่า ๕ นอต จะมีกระแสการพาความร้อน
ที่น้อยที่สุดและมีความคงตัวของอากาศมากที่สุด ซึ่งเป็นข้อดีของข้าศึกในการใช้อาวุธเคมี สภาวะ
ความชันอุณหภูมผิ กผัน ต�ำ่ มีแนวโน้มทีจ่ ะเกิดขึน้ มากกว่าระหว่างวันทีค่ รอบคลุมพืน้ น�ำ้ ขนาดใหญ่
120 ภาคผนวก ง

ข. สภาวะความชันอุณหภูมิคงที่ (Neutral Temperature Gradient)


(อากาศมี ค วามคงตัวเป็นกลาง) ในสภาวะเช่ นนี้ อุ ณ หภู มิ ข องอากาศจะมี ก ารเปลี่ ย นแปลง
น้อยมาก หรือไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลยเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น สภาวะเช่นนี้เกิดในเวลา
กลางวันหรือกลางคืนที่มีเมฆปกคลุมเต็มท้องฟ้า ในช่วง ๑ - ๒ ชม.หลังพระอาทิตย์ตก หรือ
๑ - ๒ ชม.หลั ง พระอาทิ ต ย์ ขึ้ น เมื่ อ เมฆความสู ง ระดั บ กลางและระดั บ ล่ า งปกคลุ ม ท้ อ งฟ้ า
มากกว่า ๓๐% และไม่ว่าจะเป็นห้วงเวลาใดของวันมีเมฆปกคลุมมากน้อยเพียงใด สภาวะ
เป็ น กลางอาจเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ความเร็ ว ลมมากกว่ า ๕ นอต นอกจากนี้ ก ารเกิ ด หยาดน�้ ำ ฟ้ า
(precipitation) มักเกิดร่วมกับสภาวะความชันอุณหภูมิคงที่ สภาวะนี้เป็นสิ่งที่ข้าศึกชื่นชอบ
มากที่ สุ ด ในการใช้ อ าวุ ธ ชี ว ะเพราะความเร็ ว ลมที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี ผ ลในพื้ น ที่ ป กคลุ ม ขนาดใหญ่
ค. สภาวะความชันอุณหภูมิตกต�่ำ (Lapse Temperature Gradient)
(อากาศไม่มคี วามคงตัว) ถ้าอากาศทีร่ ะดับความสูงสูงกว่า มีความเย็นกว่าความแตกต่างทีค่ าดหวัง จะ
มีการปัน่ ป่วนของอากาศ เคลือ่ นไหวในแนวดิง่ สภาวะเช่นนีป้ กติจะมีอยูใ่ นวันทีอ่ ากาศแจ่มใส เมือ่ เมฆ
ทีค่ วามสูงระดับกลางและระดับล่างปกคลุมท้องฟ้าน้อยกว่า ๓๐% และมีความเร็วลมน้อยกว่า ๕ นอต
สภาวะเช่นนีข้ า้ ศึกจะชืน่ ชอบน้อยทีส่ ดุ ในการใช้สารเคมีชวี ะ ในการปกคลุมพืน้ น�ำ้ ขนาดใหญ่สภาวะ
ความชันอุณหภูมิตกต�่ำน้อยมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นมากกว่าในเวลากลางคืน เมื่อมีสภาวะนี้อยู่การ
ปกคลุมพืน้ ทีโ่ ดยไม่มกี ารแพร่กระจายของสารจะยิง่ มากขึน้ เมือ่ ความเร็วลมต�ำ่ อย่างคงทีท่ ี่ ๓ - ๗ นอต
ง. สภาวะความชันอุณหภูมผิ กผันยกระดับ (Elevated Inversion) (อากาศ
มีความคงตัว) อาจเกิดขึ้นเมื่ออากาศที่เย็นลงก่อตัวภายใต้อากาศที่อบอุ่นกว่า สภาวะนี้ปกติจะ
เกิดขึน้ เมือ่ อากาศร้อนและอากาศเย็นทีอ่ ยูส่ ว่ นหน้ามาบรรจบกันเหนือพืน้ น�ำ้ ขนาดใหญ่ การผกผัน
ยกระดับเกิดขึน้ เมือ่ ชัน้ ขอบเขตทีค่ งทีอ่ อ่ นตัวลงในตอนเช้าขณะทีพ่ ระอาทิตย์ให้ความร้อนกับพืน้ ผิว
ความส�ำคัญของชัน้ ความชันอุณหภูมผิ กผันยกระดับคือ ชัน้ จะเป็นเหมือนฝาปิดครอบพืน้ ผิว ฝาปิดนี้
จะจับอนุภาคในอากาศและสารเคมีที่ระดับความสูงเหนือพื้นดิน ดังนั้นจึงเพิ่มภัยคุกคามต่อลูกเรือ
อากาศมากขึ้น นายทหารอุตุนิยมต้องรายงานสภาวะนี้ต่อหน่วย คชรน.และหน่วยกองพลการบิน
เมื่อมีสภาวะนี้เกิดขึ้น
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 121

ตาราง ง-๑๔ แผนภูมิการปรับประเภทความคงตัวของอากาศ

สภาพอากาศและภูมิประเทศ ประเภทความคงตัวของอากาศจากตาราง ง-๑๓


พื้นผิวแห้งถึงชื้นเล็กน้อย U N S
พื้นผิวเปียก N N S
พื้นผิวเป็นน�้ำแข็ง N S S
ปกคลุมด้วยหิมะทั้งหมด S S S
ฝนตกต่อเนื่อง N N N
เมฆหมอกหรือหมอก (ทัศนวิสัย ๑-๔ กม.) N N S
หมอก (ทัศนวิสัย > ๔ กม.) N S S
ความเร็วลม >๑๘ กม./ชม. N N N
หมายเหตุ : ตรวจสอบสภาวการณ์ทั้งหมด ถ้ามีมากกว่าหนึ่งภาวะให้เลือกประเภทความคงตัว
ของอากาศมากที่สุด

๖.๓ ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมีกองทัพเรือ (Naval CDM)


มีการค�ำนวณหลักในลักษณะเดียวกับ ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมีภาคพื้นดิน
ส่วนใหญ่ขอ้ มูล ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมีจะได้รบั ผ่านศูนย์ คชรน.ฐานภาคพืน้ ดิน
อย่างไรก็ตามในกรณีที่ข้อมูล ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมีภาคพื้นดิน ไม่สามารถ
ใช้ได้หรือแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญจากสภาพอากาศในทะเล ภาพ ง-๔ สามารถน�ำมาใช้ในการ
ก�ำหนดประเภทความคงตัวของอากาศ ตัวเลข ๑ - ๗ บนกราฟจะสอดคล้องกับประเภทความคงตัว
ของอากาศ ๗ แบบที่ใช้ในข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมีภาคพื้นดิน ประเภทความ
คงตัวของอากาศ ๗ แบบที่ระบุไว้ในภาพ ง-๔ มีดังนี้
 ๑ – ไม่มีความคงตัวของอากาศมาก
 ๒ – ไม่มีความคงตัวของอากาศปานกลาง
 ๓ – ไม่มีความคงตัวของอากาศเล็กน้อย
 ๔ – อยู่ระหว่างไม่มีความคงตัวและมีความคงตัวของอากาศ
 ๕ – มีความคงตัวของอากาศเล็กน้อย
 ๖ – มีความคงตัวของอากาศปานกลาง
 ๗ – มีความคงตัวของอากาศมาก
122 ภาคผนวก ง

ภาพ ง-๔ ความคงตัวของอากาศกองทัพเรือ


ผนวก จ
ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารเคมี
๑. กล่าวน�ำ
๑.๑ ฝ่ายอ�ำนวยการส่วน คชรน.ท�ำหน้าทีเ่ ฝ้าตรวจจับและติดตามข่าวสาร คชรน.ทัง้ หมด
ในพื้นที่ยุทธการ ผู้บังคับหน่วยส่วน คชรน.และตอนเสนารักษ์และตอนข่าวกรองจะเป็นผู้ตัดสินใจ
ต่อการวางใจในสถานการณ์การเฝ้าระวังและการรวบรวมข้อมูลส�ำคัญ ผูบ้ งั คับหน่วยและฝ่ายอ�ำนวย
การใช้ข่าวสารจากข่าวกรอง, การแพทย์และระบบการเฝ้าตรวจเพื่อสนับสนุนภารกิจต่อไปนี้
 การพยากรณ์พื้นที่อันตราย
 การเตือนภัย รายงานและการแจ้งให้ทราบ
 การป้องกันผู้ได้รับบาดเจ็บ
 การจัดการผู้ได้รับบาดเจ็บ
๑.๒ หน่วยได้รบั ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องจากหลาย ๆ แหล่งข่าว (เช่น เครือ่ งตรวจจับสัญญาณ,
เครื่องตรวจหาสารพิษ, ผู้สังเกตการณ์และฝ่ายอ�ำนวยการเสนารักษ์) ข้อมูลรายงาน นชค.เคมีจะ
ถูกน�ำมาประมวลผลจัดท�ำให้เข้ารูปแบบ และส่งต่อไปตามสายการบังคับบัญชา ผู้บังคับหน่วยและ
ฝ่ายอ�ำนวยการจะประเมินข่าวสารเพื่อดูผลกระทบต่อการปฏิบัติการ การประเมินความเสี่ยงเป็น
ส่วนหนึ่งของขั้นตอนการก�ำหนดพื้นที่เปื้อนพิษและอาจส่งผลต่อค�ำสั่งหรือล�ำดับเพื่อช่วยลดผล
กระทบของอันตรายที่ประเมิน ผู้บังคับหน่วยอาจควบคุมล�ำดับมาตรการป้องกันหรือหลีกเลี่ยง
การเปือ้ นพิษ เพือ่ ลดระดับความเสีย่ งภัย (ลดโอกาสการเปือ้ นพิษ) หรือลดผลกระทบจากการเปือ้ นพิษ
เพราะว่าสถานการณ์เฝ้าระวังยังด�ำเนินต่อไป แผนจะต้องถูกปรับตามข่าวสารที่ได้รับใหม่
๒. วิธีปฏิบัติการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารเคมี
เพื่อให้การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารเคมีประสบผลส�ำเร็จให้ปฏิบัติตามล�ำดับดังนี้
๒.๑ ก่อนการถูกโจมตี
๒.๑.๑ หน่วยรองอยู่ในภาวะเตรียมพร้อม
๒.๑.๒ ผูบ้ งั คับหน่วยจะก�ำหนดระดับลักษณะป้องกันตามภารกิจทีเ่ หมาะสมและ
ก�ำหนดเกณฑ์ในการตัดสินใจสวมหน้ากากโดยอัตโนมัติ และถ้าเกิดเหตุการณ์ขึ้น การก�ำหนดพื้นที่
ในการสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีจะต้องพิจารณาจาก ภารกิจ ข้าศึก ภูมิประเทศ สภาพอากาศ กอง
ก�ำลังฝ่ายเรา และความสามารถในการสนับสนุน เวลาที่มีอยู่และพลเรือน (MOPP)
๒.๑.๓ หน่วยยังคงปฏิบัติภารกิจขณะที่มีการด�ำเนินการเพิ่มเติมเพื่อลดจ�ำนวน
ผู้ได้รับบาดเจ็บและความเสียหาย การด�ำเนินการเพิ่มเติมมีดังนี้
124 ภาคผนวก จ

ก. ป้องกันก�ำลังพล, ยุทธภัณฑ์, ยุทโธปกรณ์, น�ำ้ มันทุกชนิด, อาหารและ


น�้ำจากการเปื้อนพิษสารเคมี
ข. กระดาษตรวจสารเคมีจะต้องมีปริมาณมากพอและวางไว้ในต�ำแหน่ง
ที่เห็นได้ชัดเจน
ค. ฝึกปฏิบตั ใิ นเรือ่ งความปลอดภัยทางการยุทธ์, การกระจายก�ำลัง, การ
ปิดคลุมสิ่งอุปกรณ์, การซ่อนพรางเพราะในบางครั้งหน่วยต้องหลีกเลี่ยงการตกเป็นเป้าหมาย
ง. ตรวจสอบเครื่องตรวจสารเคมีและสัญญาณเตือนภัยเตรียมพร้อม
ส�ำหรับใช้งาน
จ. แต่ละหน่วยปรับข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM)
ให้ทันสมัย
๒.๒ ระหว่างการโจมตี
๒.๒.๑ ก�ำลังพลทุกนายสวมหน้ากากโดยอัตโนมัติ เปิดสัญญาณเตือนภัย ท�ำลาย
ล้างพิษเมื่อมีการร้องขอ และใช้ ลภ.ระดับ ๔ ดูแลตนเองและช่วยเหลือเพื่อนคู่หู
๒.๒.๒ ระหว่างหน่วยก�ำลังปฏิบัติการยุทธ์ ต้องกอบกู้สายการบังคับบัญชาและ
การสื่อสาร
๒.๒.๓ เตือนภัยหน่วยข้างเคียงทันทีในเรื่องของอันตรายตามลม
๒.๒.๔ หน่วยต้องพิสูจน์ทราบชนิดของสาร และส่งรายงาน นชค.๑ เคมี เมื่อ
ยุทธการอ�ำนวย
๒.๒.๕ เมือ่ หน่วยถูกโจมตี และมีการเปือ้ นพิษเกิดขึน้ ในยุทธภัณฑ์ ก�ำลังพลหรือ
ภูมิประเทศให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
ก. ท�ำลายล้างพิษบุคคลและยุทโธปกรณ์โดยเช็ดออกด้วยสารท�ำลาย
ล้างพิษจากบนลงล่าง
ข. เตื อ นภั ย แผนกส่ ง กลั บ ผู ้ บ าดเจ็ บ ในการเคลื่ อ นย้ า ยผู ้ บ าดเจ็ บ ที่
เปื้อนพิษ ก�ำลังพลที่เสียชีวิตจะถูกห่อหุ้มและท�ำเครื่องหมายเปื้อนพิษ
ค. ท�ำเครื่องหมายพื้นที่เปื้อนพิษ และหาต�ำแหน่งใหม่เพื่อให้ได้พื้นที่
สะอาดถ้ายุทธการอ�ำนวย
ง. ถ้าจ�ำเป็นต้องท�ำลายล้างพิษ ให้ก�ำหนดพื้นที่และเวลาในการท�ำลาย
ล้างพิษ
จ. ประสานงานกันในการท�ำลายล้างพิษ และส่งก�ำลังเสือ้ ผ้าป้องกันและ
สารท�ำลายล้างพิษเพิ่มเติม
ฉ. เมื่อเครื่องแต่งกายสนามชั้นนอกเปื้อนพิษ ให้เปลี่ยนภายใน ๒๔ ชม.
หลังการเปื้อนพิษ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 125

ช. เปลี่ยนวัสดุปิดคลุมสิ่งอุปกรณ์ที่เปื้อนพิษภายใน ๒๔ ชม.
ซ. ให้ถอดหน้ากากออกได้ส�ำหรับสารไม่คงทน
ด.  ท�ำการรักษาผู้ท่ีได้รับบาดเจ็บ และเตรียมการส่งกลับเมื่อยุทธการ
อ�ำนวย
ต. เมื่อได้รับรายงาน นชค.๒ เคมี ให้หมายจุดพื้นที่เปื้อนพิษและแจ้ง
ผู้บังคับหน่วย
๒.๓ หลังการโจมตี
๒.๓.๑ หน่วยต้องได้รับการท�ำลายล้างพิษและส่งกลับทหารที่ได้รับบาดเจ็บ
๒.๓.๒ หน่วยสัง่ ยุทธภัณฑ์ปอ้ งกันสารเคมีเข้ามาทดแทน (เช่น ชุดลักษณะป้องกัน
ตามภารกิจ, แผ่นกรอง, ชุดทดแทน M291)
๒.๓.๓ ด�ำเนินการพิสูจน์ทราบสารต่อไปถ้าหน่วยยังไม่มีการระบุชนิดของ
สารพิษ โดยใช้อุปกรณ์ดังนี้
 ชุด M256A1
 ICAM
   ACAD
  เก็บตัวอย่างสารส่งห้องทดลองเพื่อท�ำการวิเคราะห์
๒.๓.๔ ถ้าหน่วยต้องปฏิบตั กิ ารในพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษหรือยึดครองพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษต่อไป
ให้ปฏิบัติดังนี้
  พยายามจัดการท�ำพื้นที่เปื้อนพิษให้ปลอดภัย โดยสุ่มตัวอย่างและ
ตรวจหาต่อไป
 ปรับลักษณะป้องกันตามภารกิจตามการร้องขอ
 ท�ำเครื่องหมายพื้นที่เปื้อนพิษและระบุพื้นที่ที่มีการปนเปื้อนสูง
 ตรวจสอบการปนเปื้อนในพื้นที่ เพราะการเสื่อมสลายตามธรรมชาติ
ท�ำให้สารเสื่อมฤทธิ์ พื้นที่เปื้อนพิษจะกลับมาเป็นพื้นที่สะอาดอีกครั้ง
 เฝ้าระวังส�ำหรับการเปื้อนพิษชั่วคราว และการแพร่กระจายหรือ
เคลื่อนย้ายการปนเปื้อนตามแหล่งธรรมชาติ (เช่น ลม, ฝน, แม่น�้ำ) หรือเหตุที่เกิดจากมนุษย์
๓. รายงาน นชค.๑ เคมี
รายงาน นชค.๑ เคมี เป็นรายงานที่ใช้กันอย่างแพร่หลายที่สุด หน่วยสังเกตการณ์ใช้
รายงาน นชค.๑ รายงานข้อมูลการถูกโจมตีดว้ ยสารเคมี ทุกหน่วยต้องช�ำนาญการท�ำรายงาน นชค.๑
และข่าวสารที่ใช้จัดท�ำรายงาน รายงานนี้ถูกจัดท�ำที่ระดับหน่วยอย่างรวดเร็วและแม่นย�ำแล้วส่ง
หน่วยเหนือต่อไป รายงาน นชค.๑ เคมี ไม่ใช่รายงานตามปกติที่จะส่งต่อไปยังหน่วยเหนือ ยกเว้น
126 ภาคผนวก จ

ส�ำหรับใช้รายงานเป็นครั้งแรก
๓.๑ ความเร่งด่วนของข่าว
รายงาน นชค.๑ เคมีเป็นรายงานการโจมตีครั้งแรก จะต้องส่งด้วยล�ำดับความ
เร่งด่วนทางการสื่อสาร “ด่วนที่สุด” (FLASH) หลังจากนั้นให้ส่งต่อด้วยล�ำดับความเร่งด่วนทางการ
สื่อสารเป็น “ด่วน” (IMMEDIATE)
๓.๒ การจัดท�ำรายงาน
ให้ปฏิบัติตาม รปจ.ของหน่วย และส่งข้อมูลดิบให้กับชุดป้องกัน คชรน.โดย
ใช้รายงาน นชค.๑ ซึ่งจะระบุถึงขนาด, การด�ำเนินการ, ต�ำแหน่งที่ตั้ง, หน่วย, เวลาและยุทธภัณฑ์
(SALUTE) หรือรายงานพิเศษตามปกติ ชุดป้องกัน คชรน.จะประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการฝึก
การป้องกัน คชรน.เพื่อให้การจัดท�ำรายงานอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมและถูกต้องที่สุด
๓.๓ ตัวอย่าง
ตัวอย่างรายงาน นชค.๑ เคมี ดังแสดงในภาพ จ-๑ ในคอลัมน์ขอ้ ก�ำหนดอาจจะ
เป็นค่าทีว่ ดั ได้ (O) หรือค่าทีต่ อ้ งระบุเสมอ (M) ขึน้ กับข่าวแต่ละแบบ ค่า (O) อาจมีเพิม่ ขึน้ หรือน้อยลง
ขึ้นกับค�ำสั่ง
รายงาน นชค.๑ เคมี
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี จะถูกก�ำหนดโดยส่วน คชรน.
BRAVO ที่อยู่ของผู้สังเกตการณ์และทิศทาง M BRAVO/32UNB062634/2500
การโจมตีหรือเกิดเหตุ MLG//
DELTA วั น เวลาของการโจมตี ห รื อ เกิ ด การ M DELTA/201405ZSEP2005/
ระเบิดและสิ้นสุดการโจมตี 201420ZSEP2005//
FOXTROT ต�ำบลถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด O FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF ข่าวสารชนิดของเครือ่ งส่งและจ�ำนวน M GOLF/OBS/AIR/1/BML/-//
ยุทธปัจจัย
INDIA ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ สารเคมี ชี ว ะที่ ใช้ M INDIA/AIR/NERV/P/ACD//
โจมตี และเหตุการณ์ ROTA
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและ M TANGO/FLAT/URBAN//
พืชพันธุ์
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
ภาพ จ-๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.๑ เคมี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 127

๔. รายงาน นชค.๒ เคมี


จัดท�ำโดยอาศัยข้อมูลจากรายงาน นชค.๑ ตั้งแต่ ๑ ฉบับหรือมากกว่า ๑ ฉบับขึ้นไป เพื่อ
ส่งข้อมูลการโจมตีที่ได้ประเมินค่าแล้วไปยังหน่วยเหนือ หน่วยรองและหน่วยข้างเคียง
๔.๑ เมื่อได้รับรายงานการถูกโจมตี ผู้เชี่ยวชาญด้าน คชรน.จะวิเคราะห์รายละเอียดใน
บรรทัด BRAVO, GOLF และ INDIA เพื่อจ�ำแนกการโจมตี
๔.๒ จากบรรทัดดังกล่าว ผู้เชี่ยวชาญด้าน คชรน.สามารถระบุได้ว่า การโจมตีที่เกิดขึ้น
อยูใ่ นบริเวณเดียวกันหรือไม่ ชนิดของเครือ่ งส่ง/ปริมาณเหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน ความคล้ายคลึง
กันของสารพิษ การระเบิดบนพื้นดินหรือในอากาศ และเป็นของเหลวหรือเป็นไอ
๔.๓ ส่วน คชรน.จัดท�ำรายงาน นชค.๒ เคมี ก�ำหนดเลขล�ำดับการโจมตีและส่งรายงาน
ไปยังหน่วยที่เหมาะสม หน่วยรองแต่ละหน่วยจะตัดสินใจว่าควรส่งรายงานต่อไปหรือไม่ บรรทัด
ALFA, DELTA, FOXTROT, GOLF, INDIA, TANGO เหล่านี้ถูกก�ำหนดให้มีในรายงาน นชค.๒ เคมี
ดังแสดงในภาพ จ-๒
รายงาน นชค.๒ เคมี
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M ALFA/US/A234/001/B//
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือเกิดการระเบิด M DELTA/201405ZSEP2005//
และสิ้นสุดการโจมตี 201420ZSEP2005//
FOXTROT ต�ำบลถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด M FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF ข่าวสารชนิดของเครือ่ งส่งและจ�ำนวน M GOLF/OBS/AIR/1/BML/-//
ยุทธปัจจัย
INDIA ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ สารเคมี ชี ว ะที่ ใช้ M INDIA/AIR/NERV/P/ACD//
โจมตี และเหตุการณ์ ROTA
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและ M TANGO/FLAT/URBAN//
พืชพันธุ์
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
ภาพ จ-๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๒ เคมี
128 ภาคผนวก จ

๕. รายงาน นชค.๓ เคมี


รายงาน นชค.๒ เคมีและข่าวสารกระแสลมปัจจุบัน จะน�ำมาใช้พยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษ
การพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษจะอยู่ในรูปรายงาน นชค.๓ เคมี ซึ่งจะส่งออกไปยังทุกหน่วย แต่ละ
หน่วยจะใช้รายงาน นชค.๓ เคมีในการหมายจุดและเตือนภัย ผู้บังคับหน่วยควรใช้รายงานนี้เป็น
งานข่าวกรองสนามรบประกอบการวางแผนยุทธการ รายงาน นชค.๓ เคมีคือ การพยากรณ์พื้นที่
เปื้อนพิษ การพยากรณ์นี้เป็นการรักษาความปลอดภัยพื้นที่ เพื่อที่จะแน่ใจว่าการเปื้อนพิษจะไม่อยู่
นอกขอบเขตพืน้ ทีพ่ ยากรณ์การเปือ้ นพิษ หน่วยภายในพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษต้องปรับระดับ ลภ. ตามความ
จ�ำเป็นและต้องติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งภัยสารเคมีไว้เหนือลมเพื่อเตือนภัย

รายงาน นชค.๓ เคมี


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M ALFA/US/A234/001/C//
DELTA วันเวลาการโจมตีหรือเกิดการระเบิด M DELTA/201405ZSEP2005/
และการโจมตีสิ้นสุด 201420ZSEP2005//
FOXTROT ต�ำบลถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด M FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF ข่าวสารชนิดของเครื่องส่งและ O GOLF/OBS/AIR/1/BML/-//
จ�ำนวนยุทธปัจจัย
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะที่ใช้ M INDIA/AIR/NERV/P/ACD//
โจมตีและเหตุการณ์ ROTA
PAPAA พื้นที่ถูกโจมตี/ปล่อยกระจายสาร M PAPAA/1KM/3-10DAY/10KM/ 2-6
และพื้นที่อันตรายที่ได้พยากรณ์ DAY//
PAPAX พื้นที่อันตรายที่สอดคล้องกับห้วง M PAPAX/201600ZSEP2005/
เวลาตามสภาพอากาศ 32VNJ456280/32VNJ456119/
32VNJ576200/32VNJ566217/
32VNJ456280//
XRAYB ข่าวสารของเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ C
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O GENTEXT/CBRNINFORECALCULATION
BASED ON WEATHER CHANGE//
ภาพ จ-๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๓ เคมี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 129

๕.๑ การพยากรณ์การเปือ้ นพิษทางเคมีและการหมายจุด (Chemical Contamination


Prediction and Plotting)
การพยากรณ์การเปื้อนพิษสารเคมีที่ผิวพื้น จะให้ข่าวสารต�ำแหน่งที่ตั้งและขอบเขตของ
พืน้ ทีอ่ นั ตรายและระยะเวลาทีอ่ นั ตรายจากการโจมตียงั คงอยู่ และให้ผบู้ งั คับหน่วยเตือนภัยหน่วยที่
อยูใ่ นพืน้ ทีอ่ นั ตรายทีไ่ ด้มกี ารพยากรณ์ โดยทัว่ ไปการพยากรณ์พนื้ ทีอ่ นั ตรายจะขึน้ กับประเภทการ
โจมตี ชนิดของเครื่องส่ง และปัจจัยอุตุนิยมวิทยาในพื้นที่ถูกโจมตี
๕.๒ ค�ำจ�ำกัดความที่ใช้ในการพยากรณ์อันตรายทางเคมี
๕.๒.๑ พื้นที่โจมตี (Attack Area) เป็นพื้นที่พยากรณ์ที่ได้รับผลกระทบทันทีที่มี
การโจมตีด้วยอาวุธเคมี
๕.๒.๒ พื้นที่อันตรายตามลม (Hazard Area) เป็นพื้นที่พยากรณ์ซึ่งก�ำลังพลที่
ไม่มยี ทุ ธภัณฑ์ปอ้ งกันตนอาจจะได้รบั ผลกระทบจากกลุม่ ไอทีเ่ คลือ่ นมาตามลมจากพืน้ ทีโ่ จมตี ระยะ
ทางอันตรายตามลมขึ้นกับประเภทการโจมตีและสภาพอากาศ, ภูมิประเทศในพื้นที่โจมตีและพื้นที่
อันตรายตามลม
๕.๒.๓ พืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ (Contaminated Area) เป็นพืน้ ทีท่ อี่ าจยังมีอนั ตรายจาก
สารเคมีเหลวยังคงอยูบ่ างเวลาหลังจากการโจมตี ขอบเขตจริงและห้วงเวลาก�ำหนดได้จากการส�ำรวจ
หมายเหตุ : ถ้ามีการส�ำรวจจริงหลังข้อมูลเริม่ ต้นทีใ่ ช้สำ� หรับการก�ำหนดการโจมตี จะต้องมีการแก้ไข
รายงาน นชค.๒ และ นชค.๓ ตามมาด้วย
๕.๓ การโจมตีเคมี (Types of Chemical Attacks) แบ่งได้ ๓ ประเภท ดังนี้
๕.๓.๑ ประเภท A การโจมตีที่ท�ำให้เกิดการเปื้อนพิษในอากาศ (สารไม่คงทน)
ถ้าไม่มีของเหลวปรากฏอยู่ ให้สันนิษฐานเป็นการโจมตีประเภท A
๕.๓.๒ ประเภท B การโจมตีดว้ ยสารทีท่ ำ� ให้เกิดการเปือ้ นพิษทีผ่ วิ พืน้ (สารคงทน)
๕.๓.๓ ประเภท C ไม่ทราบที่มาของการโจมตี
๕.๔ ชนิดของเครื่องส่ง (Means of Delivery)
๕.๔.๑ ชนิดของเครื่องส่งและภาชนะบรรจุสาร รายละเอียดตามตาราง จ-๑
๕.๔.๒ ในกรณีไม่รู้จักชนิดของภาชนะบรรจุสาร ให้ใช้จรวดเป็นชนิดของเครื่อง
ส่งในการค�ำนวณ
๕.๕ การพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลม (Prediction of the Downwind Hazard)
หลังจากถูกโจมตีด้วยสารเคมี ก�ำลังพลอาจเผชิญกับอันตรายได้ ๓ รูปแบบ ขึ้นอยู่กับต�ำแหน่งที่อยู่
ของตนซึ่งสัมพันธ์กับพื้นที่โจมตีด้วยสารเคมีเหลว, ไอระเหย, หรือของเหลวและไอระเหย
๕.๕.๑ อันตรายจากสารเคมีเหลว (Liquid Hazard) ก�ำลังพลในพื้นที่เปื้อนพิษ
ด้วยสารเคมีเหลว จะได้รับอันตรายมากน้อยเปลี่ยนแปลงตามปัจจัยดังนี้
130 ภาคผนวก จ

ก. ชนิดและปริมาณสารที่แพร่กระจาย
ข. วิธีแพร่กระจาย
ค. สภาพภูมิอากาศในพื้นที่
ง. ลักษณะธรรมชาติของภูมิประเทศ
จ. เวลาที่ผ่านพ้นไปหลังการเปื้อนพิษ
ในสภาพอากาศที่เย็นจัดแม้ผลการส�ำรวจพื้นที่จะไม่พบการเปื้อนพิษ สารเคมีเหลวอาจยังไม่หยุด
ระเหยเป็นไออย่างสมบูรณ์เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นสารเคมีอาจระเหยเป็นไอได้อีกครั้ง
๕.๕.๒ สารไม่คงทน (Nonpersistent Agents) สารไม่คงทนส่วนใหญ่จะแพร่
กระจายในรูปไอระเหยเป็นหลัก แต่สารบางชนิดอาจจะมีสารเคมีเหลวตกค้างอยูใ่ นเปลือกลูกระเบิด
หรือหลุมระเบิดเป็นเวลาหลายชัว่ โมงหรือหลายวันขึน้ กับสภาพภูมอิ ากาศและชนิดของยุทโธปกรณ์
อย่าเข้าใกล้หลุมระเบิดจนกว่าจะตรวจสอบแล้วว่าไม่มีสารพิษตกค้าง
๕.๕.๓ สารคงทน (Persistant Agents) สารคงทนจะแพร่กระจายในรูปของเหลว
และไอทีร่ ะเหยออกมา หากสัมผัสเข้าจะเกิดอันตราย อันตรายนีจ้ ะคงอยูเ่ ป็นเวลาหลายชัว่ โมง หรือ
หลายวันขึ้นกับสภาพภูมิประเทศ, ภูมิอากาศและชนิดของยุทโธปกรณ์
๕.๕.๔ สารทีเ่ ปลีย่ นคุณลักษณะตามอุณหภูมิ สารเคมีบางชนิดตามปกติจะถูกจัด
อยูใ่ นกลุม่ ไม่คงทน แต่เมือ่ อยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีเ่ ย็นจัดอาจจะมีคณุ ลักษณะเป็นสารคงทน สารเคมี
เหลวทั้งสารคงทนและไม่คงทนแม้จะเก็บแช่เย็นไว้ที่อุณหภูมิต�่ำ (เช่น แช่เย็นสารมัสตาดที่อุณหภูมิ
ต�ำ่ กว่า ๑๔ ๐C) อาจปรากฏอยูใ่ นรูปสารพิษทีอ่ อกฤทธิช์ า้ แต่จะเป็นอันตรายต่อก�ำลังพลเมือ่ อุณหภูมิ
สูงขึ้น
๕.๕.๕ สารข้น, ไม่คงทน (Thickened, Nonpersistent Agents) สารข้น, ไม่
คงทน อาจจะน�ำมาใช้ในรูปของสารคงทน ท�ำให้เกิดการเปื้อนพิษที่ผิวพื้น ตามปกติสารพุพองจัด
เป็นสารคงทนและตรวจหาได้โดยใช้กระดาษตรวจสอบเคมี อย่างไรก็ตาม สารที่ท�ำให้เกิดการ
เปื้อนพิษที่ผิวพื้นบางชนิดระเหยได้อย่างรวดเร็วมากควรจัดเป็นสารไม่คงทน
๕.๕.๖ ไอพิษ (Vapor Hazard) สารเคมีทงั้ หมดทีอ่ ยูใ่ นรูปไอหรือแอโรซอล เป็น
อันตรายต่อก�ำลังพลในพืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลม พืน้ ทีน่ จี้ ะถูกปกคลุมไปด้วยไอพิษ อาจจะประมาณการ
โดยใช้เทคนิคการพยากรณ์ ความกว้างของพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษนีจ้ ะขึน้ กับ ชนิดและปริมาณของสารทีแ่ พร่
กระจาย, วิธีการกระจาย, สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 131

ตาราง จ-๑ ประเภทและกรณีของการโจมตีเคมี


อาวุธ รัศมีพื้นที่โจมตี ความเร็วลม ประเภท กรณี สัญลักษณ์
ระเบิดย่อย, ลูกระเบิด, จรวด,
ลูกปืนใหญ่, ทุ่นระเบิด, ขีปนาวุธ ๑ กม. ≤๑๐ กม./ชม. ๑
ระเบิดที่พื้นผิว, ไม่รู้ชนิดของอาวุธ

ระเบิดย่อย, ลูกระเบิด, จรวด,
ลูกปืนใหญ่, ทุ่นระเบิด, ขีปนาวุธ ๑ กม. >๑๐ กม./ชม. ๒
ระเบิดที่พื้นผิว, ไม่รู้ชนิดของอาวุธ
ระเบิดย่อย, ลูกปืนใหญ่,
ทุ่นระเบิด, จรวดและขีปนาวุธ ๑ กม. ≤๑๐ กม./ชม. ๑
ระเบิดที่พื้นผิว
ระเบิดย่อย, ลูกปืนใหญ่, ทุ่นระเบิด,
๑ กม. >๑๐ กม./ชม. ๒
จรวดและขีปนาวุธระเบิดที่พื้นผิว
ลูกระเบิด, ไม่รู้ชนิดของอาวุธ,
๒ กม. ≤๑๐ กม./ชม. ๓
จรวดและขีปนาวุธระเบิดในอากาศ
ลูกระเบิด, ไม่รู้ชนิดของอาวุธ, ข
๒ กม. >๑๐ กม./ชม. ๔
จรวดและขีปนาวุธระเบิดในอากาศ
เครื่องพ่นละออง (ถัง) และเครื่อง
ผลิต (แอโรซอล) > ๒ กม. ≤๑๐ กม./ชม. ๕

เครื่องพ่นละออง (ถัง) และเครื่อง


ผลิต (แอโรซอล)
> ๒ กม. >๑๐ กม./ชม. ๖

การตรวจหาสารหลังจากมีการ
๑๐ กม. ค
โจมตีแบบไม่สามารถตรวจการณ์ได้
132 ภาคผนวก จ

๕.๖ ล�ำดับเวลาการโจมตี (Attack Chronology)


๕.๖.๑ ขนาดของพื้นที่อันตรายตามลมจะขึ้นกับชนิดของเครื่องส่ง, ชนิดของ
สารเคมี, ประเภทการโจมตี, สภาพอากาศและภูมิประเทศ, เวลาที่กลุ่มเมฆจะมาถึงต�ำแหน่งใต้ลม
ของต�ำบลโจมตีหรือพื้นที่ขึ้นกับความเร็วลม
๕.๖.๒ การเตือนภัยก�ำลังพลในพืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลมได้อย่างทันเวลา ขึน้ กับเวลา
ทีใ่ ช้ในการพยากรณ์อนั ตรายตามลมจากพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ และเวลาทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดการเตือนภัยไป
ยังหน่วยในพื้นที่อันตรายตามลม
๕.๗ หลักการพยากรณ์การเปื้อนพิษเคมีและข้อจ�ำกัด (Principles of Chemical
Predictions and Limitations)
๕.๗.๑ ในพืน้ ทีโ่ จมตี ก�ำลังพลทีไ่ ม่ได้ปอ้ งกันตนในพืน้ ทีโ่ จมตีจะเปือ้ นพิษเคมี ถ้า
ไม่สามารถป้องกันได้อย่างทันท่วงทีเมือ่ ได้รบั การเตือนภัยครัง้ แรก กองทหารทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีท่ ถี่ กู โจมตี
ด้วยเครื่องบิน จรวด หรือการระดมยิงของปืนใหญ่หรือการโจมตีอื่น ๆ จะต้องด�ำเนินการใช้ยุทธวิธี
ป้องกันสารเคมีที่เหมาะสมโดยอัตโนมัติ อย่างทันทีทันใดจนส�ำเร็จ ไม่ว่าจะได้รับสัญญาณเตือนภัย
ทางเคมีหรือไม่
๕.๗.๒ หน่ ว ยที่ ถู ก โจมตี จ ะต้ อ งเตื อ นภั ย ก� ำ ลั ง รบฝ่ า ยเดี ย วกั น ที่ อ ยู ่ ใ นพื้ น ที่
ข้างเคียงทันที โดยใช้วิธีการตามข้อตกลงการก�ำหนดมาตรฐาน (STANAG 2047)
๕.๗.๓ ทีต่ งั้ ทางทหารถาวรและต�ำแหน่งทีต่ งั้ อืน่ ๆ จะต้องเตรียมพร้อมเรือ่ งการ
สื่อสารและสัญญาณเตือนภัยให้เป็นไปตามการก�ำหนดมาตรฐาน (STANAG 2047)
๕.๗.๔ หน่วยและที่ตั้งทางทหารซึ่งได้รับการเตือนภัย ไม่ควรเผยแพร่การ
เตือนภัยให้หน่วยที่อยู่นอกพื้นที่ของตน
หมายเหตุ : เมือ่ ใดทีส่ ว่ น นชค. ตระหนักว่าไม่สามารถท�ำรายงาน นชค.๓ เคมี เตือนภัยหน่วยภายใน
พื้นที่อันตรายได้ทันเวลา ให้พยายามส่งสัญญาณเตือนภัยด้วยวิธีที่รวดเร็วที่สุด
๕.๗.๕ ส่วน นชค.จะใช้ข่าวสารในรายงาน นชค.๓ เคมี รายงานการเตือนภัย
หน่วยและที่ตั้งทางทหารในพื้นที่อันตรายตามลมได้อย่างทันเวลา เนื่องจากความแปรปรวนทาง
ภูมิอากาศและภูมิศาสตร์ในการพยากรณ์ จึงได้ก�ำหนดมุม ๓๐๐ ทั้งสองด้านของเส้นทิศทางตามลม
๕.๗.๖ การพยากรณ์พื้นที่อันตรายจะแม่นย�ำน้อยลง เมื่อระยะทางห่างจากจุด
โจมตีเพิ่มมากขึ้น
๕.๗.๗ หน่วยในพืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลมซึง่ ได้รบั การเตือนภัยโดยส่วน คชรน.จะไม่
ส่งสัญญาณเตือนภัยออกนอกพื้นที่ของตน แต่หน่วยจะส่งรายงาน นชค.๔ เคมีตาม รปจ.เมื่อกลุ่ม
ไอสารเคมีเคลื่อนที่มาถึง
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 133

๕.๗.๘ เกณฑ์ปริมาณของสารเคมีที่ร่างกายได้รับ ถูกก�ำหนดขึ้นในขั้นตอน


ส�ำหรับการพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษ ถึงแม้ว่าปริมาณสารเคมีไม่มากพอที่จะท�ำให้เกิดการบาดเจ็บ
ทันทีทันใดแต่อาจจะมีผลกระทบต่อร่างกายภายหลัง (เช่น การแบ่งเซลล์แบบไมโตซิสจาก
สารประสาท)
๕.๘ การพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษอย่างง่าย (Simplified Hazard Prediction)
จัดท�ำการพยากรณ์พนื้ ทีเ่ ปือ้ นพิษอย่างง่าย เพือ่ แจ้งแก่หน่วยรองให้ทราบว่าหน่วยอยูใ่ น
พื้นที่อันตรายตามลมหรือไม่ การโจมตีเคมีประเภท A มีความอันตรายรุนแรงที่สุด วิธีการพยากรณ์
อย่างง่ายจะขึ้นกับประเภทการโจมตี หน่วยจะใช้การพยากรณ์อย่างง่ายจนกว่าจะได้รับรายงาน
นชค.๓ เคมี หน่วยต้องจัดท�ำการพยากรณ์อย่างง่ายโดยใช้ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจาก
สารเคมี (CDM) และแผ่นพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษอย่างง่าย (simplified template) แผ่นพยากรณ์
พื้นที่เปื้อนพิษอย่างง่ายนี้อาจท�ำมาจากแผ่นอะซิเตท กระดาษลอกลายหรือแผ่นพลาสติก โดยการ
พยากรณ์ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้
อ่านค่าความเร็วลมจากข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM)
 ถ้าความเร็วลมน้อยกว่า ๑๐ กม./ชม. ให้ใช้พื้นที่อันตรายเป็นวงกลมรัศมี ๑๐ กม.
วาดจากแผ่นพยากรณ์ และใช้พิกัดจากบรรทัด FOXTROT ของรายงาน นชค.เป็นจุดศูนย์กลาง
ถ้าความเร็วลมมากกว่า ๑๐ กม./ชม. ให้ปฏิบัติดังนี้
      
ก. อ่านค่าทิศทางลมจากข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี ท�ำเครือ่ งหมาย
ทิศทางลมบนวงกลม (วงนอกสุด) บนแผ่นพยากรณ์ฯ
ข. อ่านค่ารหัสความคงตัวของอากาศจากข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจาก
สารเคมี ตาราง ง-๑๔ เพื่อก�ำหนดระยะทางตามลม (ตาราง จ-๒)
ค. วางแผ่นพยากรณ์ฯ ลงบนแผนที่ให้ศูนย์กลางการโจมตีของแผ่นพยากรณ์ฯ ทับ
ศูนย์กลางของต�ำบลถูกโจมตี หมุนแผ่นพยากรณ์จนกระทั่งทิศตามลมชี้ไปทางทิศเหนือกริด
ง. ลากเส้นตั้งฉากที่ปลายเส้นทิศทางตามลม ระยะทางเส้นทิศทางตามลมให้ยาว
เท่ากับระยะอันตรายตามลมที่หาได้ในข้อ ข
134 ภาคผนวก จ

ภาพ จ-๔ แผ่นพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมอย่างง่าย ประเภท A

ตาราง จ-๒ ค่าระยะทางอันตรายตามลม (DHD)


เปรียบเทียบกับความเร็วลม (กม./ชม.) และความคงตัวของอากาศ
สาร : Sarin สาร : Soman
อาวุธ : Artillery (Cannon/Mortar) ขนาด : ๖๕๐ กก. อาวุธ : Rocket/Missile ขนาด : ๒๕๐ กก.
ความคงตัว ความ ความคงตัว ความ
ของอากาศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ เข้มข้น ของอากาศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ เข้มข้น
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ ๕ ๕ LCt50 ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ LCt50
๑๑-๑๗ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ICt5 ๑๑-๑๗ <๑ ๕ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๕ ๒๐ Miosis กม./ชม. ๕ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๑๐ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ LCt50
๑๘-๒๖ ๕ ๕ ๕ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ICt5 ๑๘-๒๖ <๑ ๕ ๕ ๕ ๕ ๑๐ ICt5
กม./ชม. ๕ ๕ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๕ Miosis กม./ชม. ๕ ๕ ๕ ๕ ๑๐ ๑๕ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ LCt50
๒๗-๓๖ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ICt5 ๒๗-๓๖ <๑ ๕ ๕ ๕ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๕ Miosis กม./ชม. ๕ ๕ ๕ ๑๐ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50
๓๗-๔๕ ๕ ๕ ๑๐ ICt5 ๓๗-๔๕ <๑ ๕ ๕ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๕ Miosis กม./ชม. ๕ ๕ ๕ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50
๔๖-๕๔ ๕ ๕ ๑๐ ICt5 ๔๖-๕๔ <๑ ๕ ๕ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๕ Miosis กม./ชม. ๕ ๕ ๕ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50
๕๕-๖๓ ๕ ๕ ๕ ICt5 ๕๕-๖๓ <๑ ๕ ๕ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๐ Miosis กม./ชม. ๕ ๕ ๕ Miosis
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 135

สาร : Sarin สาร : Sarin ขนาด: 3,500 กก.


อาวุธ : Bombs (6) ขนาด : 600 กก. อาวุธ : Multiple-Launched Rocket System
ความคงตัว ความ ความคงตัว ความ
ของอากาศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ เข้มข้น ของอากาศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ เข้มข้น
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ ๕ ๕ LCt50 ความเร็วลม <๑ ๕ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๐ LCt50
๑๑-๑๗ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ICt5 ๑๑-๑๗ ๑๐ ๒๐ ๒๕ ๔๐ ๕๐ ๔๕ ๓๕ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๐ ๒๐ Miosis กม./ชม. ๑๕ ๒๕ ๔๐ ๕๕ ๖๕ ๖๐ ๔๕ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ ๕ ๕ ๕ ๕ ๑๐ LCt50
๑๘-๒๖ ๕ ๕ ๕ ๑๐ ๑๕ ๑๕ ICt5 ๑๘-๒๖ ๑๐ ๑๕ ๒๕ ๓๕ ๕๐ ๕๕ ICt5
กม./ชม. ๕ ๕ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๕ Miosis กม./ชม. ๑๕ ๒๐ ๓๕ ๕๐ ๗๐ ๗๕ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ ๕ ๕ ๕ LCt50
๒๗-๓๖ ๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ICt5 ๒๗-๓๖ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๕ Miosis กม./ชม. ๑๕ ๒๕ ๔๐ ๖๐ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ ๕ ๕ LCt50
๓๗-๔๕ ๕ ๕ ๑๐ ICt5 ๓๗-๔๕ ๑๕ ๒๕ ๓๕ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๕ Miosis กม./ชม. ๒๕ ๓๕ ๕๕ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ ๕ ๕ LCt50
๔๖-๕๔ ๕ ๕ ๑๐ ICt5 ๔๖-๕๔ ๑๕ ๒๕ ๓๕ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๕ Miosis กม./ชม. ๒๐ ๓๐ ๔๕ Miosis
ความเร็วลม <๑ <๑ <๑ LCt50 ความเร็วลม <๑ ๕ ๕ LCt50
๕๕-๖๓ ๕ ๕ ๕ ICt5 ๕๕-๖๓ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ICt5
กม./ชม. ๕ ๑๐ ๑๐ Miosis กม./ชม. ๒๐ ๒๕ ๔๐ Miosis

ตาราง จ-๓ พื้นที่อันตรายตามลม ประเภท A กรณีที่ ๒

ระยะทางจากศูนย์กลางพื้นที่โจมตีไปตามแกน
อาวุธ ใต้ลมเมื่อความคงตัวอากาศคือ :
ไม่คงที่ เป็นกลาง คงที่
ระเบิดย่อย, ลูกปืนใหญ่, ทุ่นระเบิด ๑๐ กม. ๓๐ กม. ๕๐ กม.
ขีปนาวุธระเบิดในอากาศ, ลูกระเบิด, จรวดและไม่รู้
๑๕ กม. ๓๐ กม. ๕๐ กม.
ชนิดของอาวุธ

๕.๙ การพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตีเคมีประเภท A (Type A Attack


Downwind Hazard Prediction)
๕.๙.๑ ตามปกติสารเคมีประเภท A จะแพร่กระจายในรูปแอโรซอลหรือกลุ่มไอ
อาจจะมีการเปือ้ นพิษทีผ่ วิ พืน้ เพียงเล็กน้อยหรือไม่มเี ลย ตัวอย่างของการโจมตีเช่น ใช้สารประสาท
ซึ่งเป็นสารไม่คงทน ปล่อยเหนือลมของพื้นที่เป้าหมาย สารที่ท�ำให้เกิดการเปื้อนพิษในอากาศโดย
ปกติจะแพร่กระจายในรูปยุทโธปกรณ์ระเบิดทีผ่ วิ พืน้ เช่น ลูกกระสุนปืนใหญ่และเครือ่ งยิงจรวดต่าง ๆ
136 ภาคผนวก จ

๕.๙.๒ ตัวอย่างการโจมตีเคมีมี ๒ กรณี ที่ความเร็วลมน้อยกว่าหรือเท่ากับ ๑๐


กม./ชม. และที่ความเร็วลมมากกว่า ๑๐ กม./ชม. ข่าวสารที่จ�ำเป็นต้องใช้คือ
- รายงาน นชค.๑ หรือ นชค.๒ เคมี
- ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาอย่างละเอียด
หมายเหตุ : ถ้าไม่สามารถหาข้อมูลอุตุนิยมวิทยามาใช้ได้ ให้ก�ำหนดสภาพความคงตัวของอากาศ
จากตาราง ง-๑๓ ทิศทางและความเร็วตามลมต้องวัดเฉพาะต�ำบล
๕.๙.๓ การโจมตีประเภท A กรณีที่ ๑ ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ เคมี
ALFA/US/A234/001/C//
DELTA/271630ZAPR1999//
FOXTROT/33UUB306300/AA//
INDIA/SURF/NERV/NP//
PAPAA/01KM/-/10KM/-//
PAPAX/271600ZAPR1999/-//
YANKEE/105DGT/009KPH//
ZULU/4/18C/9/-/2//
GENTEXT/CBRNINFO/แบบ A, CASE 1//

พื้นที่อันตรายตามลม พื้นที่โจมตี

10 km

พื้นที่อันตรายตามลม
10 km

Not to scale

ภาพ จ-๕ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท A กรณีที่ ๑ ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 137

ก. อ่านพิกดั ต�ำบลโจมตีจากรายงาน นชค.เคมี และหมายจุดลงบนแผนที่


ข. วาดวงกลม (รัศมี ๑ กม.) รอบจุดศูนย์กลางของพิกดั ต�ำบลโจมตี พืน้ ที่
ภายในวงกลม คือ พื้นที่โจมตี
ค. วาดวงกลม (รัศมี ๑๐ กม.) รอบจุดศูนย์กลางของพิกัดต�ำบลโจมตี
พื้นที่ภายในวงกลม คือ พื้นที่อันตรายตามลม
ง. จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ และ/หรือแผ่นบริวารแผนที่ ไปให้หน่วย
และที่ตั้งทางทหารที่อยู่ในพื้นที่อันตรายตาม รปจ.
๕.๙.๔ การโจมตี ประเภท A กรณีที่ ๒ ความเร็วลม > ๑๐ กม./ชม.
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ เคมี
ALFA/US/A234/003/C//
DELTA/271647ZAPR1999//
FOXTROT/32UPG560750/AA//
INDIA/AIR/NERV/NP//
PAPAA/01KM/-/10KM/-//
PAPAX/271600ZAPR1999/
32UPG674791/
32UPG557759/
32UPG550752/
32UPG552742/
32UPG638657//
YANKEE/105DGT/015KPH//
ZULU/2/15C/8/-/2//
GENTEXT/CBRNINFO/TYPE A, CASE 2, DHD 10KM//
หมายเหตุ : เพื่อให้ผู้ที่รับรายงาน นชค.๓ เคมี สามารถหมายจุดพื้นที่อันตรายตามลม ได้ง่ายและ
รวดเร็ว บรรทัด GENTEXT/CBRNINFO จะต้องมีรายละเอียดประเภท, กรณีของการโจมตีและ
ระยะทางอันตรายตามลม (DHD)
138 ภาคผนวก จ

พื้นที่อันตรายตามลม

ทิศทางตามลม 105°

พื้นที่โจมตี

Not to scale

ภาพ จ-๖ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท A กรณีที่ ๒ ความเร็วลม > ๑๐ กม./ชม.

ก. อ่านพิกัดต�ำบลโจมตีจากรายงาน นชค.และหมายจุดลงบนแผนที่
ข. ลากเส้นเหนือกริดจากศูนย์กลางของพิกัดต�ำบลโจมตี
ค. วาดวงกลมรัศมี ๑ กม. รอบศูนย์กลางของพิกัดต�ำบลโจมตี พื้นที่ภายในวงกลม
เรียกพื้นที่โจมตี
ง. จ�ำแนกรหัสสภาพความคงตัวของอากาศ ทิศทางและความเร็วตามลม โดยใช้ขา่ วสาร
อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (NBC CDM) หรือจากข้อมูลการวัดเฉพาะต�ำบล
จ. ลากเส้นจากศูนย์กลางพื้นที่โจมตีแสดงทิศทางตามลม
ฉ. ก�ำหนดระยะทางอันตรายตามลม
ช. ถ้าไม่มรี ายละเอียดของข่าวสารมากพอ ให้ใช้ขนั้ ตอนการพยากรณ์อย่างง่าย (ใช้สภาพ
ความคงตัวของอากาศที่เหมาะสมและชนิดของเครื่องส่ง)
ซ. ถ้ามีรายละเอียดของข่าวสารมากพอให้ใช้ขั้นตอนการพยากรณ์อย่างละเอียด โดย
พิจารณาชนิดของสารเคมี, ชนิดของเครื่องส่งและความเร็วลมตามตาราง จ-๒
หมายเหตุ : ถ้าไม่ทราบชนิดของเครื่องส่ง ให้ใช้การค�ำนวณส�ำหรับระบบการส่งจรวดแบบต่าง ๆ
ขีปนาวุธ ระเบิด และยุทโธปกรณ์ไม่ทราบชนิด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 139

ด. หมายจุดระยะทางอันตรายตามลมค่าที่มากที่สุด จากศูนย์กลางของพื้นที่โจมตี
บนเส้นแสดงทิศทางลม
ต. ลากเส้นตั้งฉากที่ปลายเส้นแสดงทิศทางลม
ถ. ลากเส้นแสดงทิศทางลมไปทางด้านเหนือลม ให้หา่ งจากจุดศูนย์กลางของการโจมตี
๒ กม. (ความยาว ๒ เท่าของรัศมีพื้นที่โจมตี)
ท. ลากเส้นจากด้านปลายของจุดเหนือลมให้ทำ� มุม ๓๐๐ กับวงกลมพืน้ ทีโ่ จมตี ลากไป
ทัง้ สองด้าน จนกระทัง่ ตัดกับเส้นตัง้ ฉากทีด่ า้ นปลายของระยะทางตามลม เส้นตรงทัง้ สองนีจ้ ะท�ำมุม
๓๐๐ ทั้งสองด้าน
น. พื้นที่อันตรายจะต้องประกอบด้วยขอบเขตดังนี้
 แนวขอบเหนือลมของวงกลมพื้นที่โจมตี
 เส้นเรเดียนท�ำมุม ๓๐ ทั้งสองด้าน


 ค่าที่มากที่สุดของระยะทางตามลม
บ. ส่งรายงาน นชค.๓ และ/หรือแผ่นบริวารแผนที่ ให้หน่วยและทีต่ งั้ ทางทหารตาม รปจ.
๕.๙.๕ ประมาณการเวลาที่เร็วที่สุดและช้าที่สุดของกลุ่มเมฆเคมีจะมาถึงหน่วย
ก. ความเร็วของแนวขอบหน้ากลุม่ เมฆเคมีทมี่ าถึง = ความเร็วลม x ๑.๕
เวลาเร็วทีส่ ดุ ของแนวขอบหน้ากลุม่ เมฆเคมีทเี่ คลือ่ นมาถึงหน่วย
= ระยะทางระหว่างแนวขอบหน้ากลุม่ เมฆเคมีไปยังหน่วย
ความเร็วแนวขอบหน้ากลุ่มเมฆเคมี
ข. ความเร็วของแนวขอบหลังกลุม่ เมฆเคมีทมี่ าถึง = ความเร็วลม x ๐.๕
เวลาช้าที่สุดของแนวขอบหลังกลุ่มเมฆเคมีที่เคลื่อนมาถึงหน่วย
= ระยะทางระหว่างแนวขอบหลังกลุ่มเมฆเคมีไปยังหน่วย
ความเร็วแนวขอบหลังกลุ่มเมฆเคมี
๕.๑๐ การพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตีเคมี ประเภท B (Type B Attack
Downwind Hazard Prediction)
๕.๑๐.๑ สารประเภท B ตามปกติจะใช้ในรูปของเหลวเพือ่ ท�ำให้เกิดการเปือ้ น
พิษทีพ่ นื้ ผิว สารคงทนทีใ่ ช้คอื สารประสาทและสารมัสตาด ตามปกติการใช้งานจะเป็นการพ่นละออง
จากเครื่องบิน, การระเบิดของลูกปืนใหญ่, จรวด, ขีปนาวุธ, กับระเบิด หลักฐานของการเปื้อนพิษที่
พืน้ ผิวอาจจะรวมรายงานของการเฝ้าสังเกตการณ์, การตกของสารเคมีจากการระเบิดของยุทธภัณฑ์
กลางอากาศ, การพิสูจน์ทราบสารด้วยกระดาษตรวจ M8, M9 หรือการพิสูจน์ทราบสารพุพองด้วย
ชุด M256 หรือใช้ ICAM ตรวจสอบ
140 ภาคผนวก จ

๕.๑๐.๒ ข่าวสารที่จ�ำเป็นต้องใช้ส�ำหรับการถูกโจมตีด้วยสารเคมีมี ๖ กรณีดัง


ต่อไปนี้
ก. รายงาน นชค.เคมี ๑ และ ๒
ข. รายงานอุตุนิยมวิทยา (เช่น ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจาก
สารเคมีหรือข่าวสารที่คล้ายคลึงกัน)
หมายเหตุ :
๑. อุณหภูมิเฉลี่ยที่พื้นผิวประจ�ำวัน ใช้ในการประมาณการเวลาที่ปลอดภัยส�ำหรับ
ก�ำลังพลในการถอดชุดป้องกันออก
๒. ล�ำดับขั้นความคงตัวของอากาศ จะไม่ใช้ในการพยากรณ์พื้นที่อันตรายจากการ
โจมตีประเภท B ในขณะที่ค่ามากสุดของระยะทางอันตรายตามลมอยู่ที่ ๑๐ กม. เสมอ
ตาราง จ-๔ เวลาเป็นไปได้ที่ก�ำลังพลอาจถอดหน้ากากป้องกันออกได้อย่างปลอดภัย
หลังการเปื้อนพิษบนพื้นผิวเมื่อถูกโจมตี ประเภท B
ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิพื้นผิวประจ�ำวัน จ�ำนวนวันภายในพื้นที่โจมตี จ�ำนวนวันภายในพืน้ ทีอ่ นั ตราย
<10 °C ๓ – ๑๐ วัน ๒ – ๖ วัน
10 – 20 °C ๒ – ๔ วัน ๑ – ๒ วัน
>20 °C มากกว่า ๒ วัน มากกว่า ๑ วัน

๕.๑๐.๓ การโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๑ (ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.) ภาพ จ-7


ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ เคมี
ALFA/US/A234/001/C//
DELTA/271630ZAPR1999//
FOXTROT/33UUB206300/AA//
INDIA/SURF/NERV/P//
PAPAA/01KM/-/10KM/-//
PAPAX/271600ZAPR1999/-//
YANKEE/105DGT/009KPH//
ZULU/4/18C/9/-/2//
GENTEXT/CBRNINFO/TYPE B, CASE 1//
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 141

พื้นที่อันตรายตามลม พื้นที่โจมตี

1 km

10 km พื้นที่อันตรายตามลม

Not to scale

ภาพ จ-๗ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๑ (ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.)

ก. อ่านพิกัดต�ำบลโจมตีจากรายงานข่าวสาร นชค.เคมี และหมายจุดลงบนแผนที่


ข. วาดวงกลมรัศมี ๑ กม. รอบศูนย์กลางพิกัดต�ำบลโจมตี พื้นที่ภายในวงกลมเรียก พื้นที่
โจมตี
ค. วาดวงกลมรัศมี ๑๐ กม. รอบศูนย์กลางพิกัดต�ำบลโจมตี พื้นที่ภายในวงกลมเรียก
พื้นที่อันตราย
ง. จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ เคมี และ/หรือแผ่นบริวารแผนที่ ไปยังหน่วยและที่ตั้ง
ทางทหารในพื้นที่อันตรายตาม รปจ.
๕.๑๐.๔ การโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๒ (รัศมีของพื้นที่โจมตี ≤ ๑ กม. ความเร็วลม
>๑๐ กม./ชม.)
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ เคมี
ALFA/US/A234/011/C//
DELTA/271650ZAPR1999//
FOXTROT/32UNH250010/AA//
INDIA/AIR/NERV/P//
PAPAA/01KM/2-4DAY/10KM/1-2DAY//
PAPAX/271600ZAPR1999/
142 ภาคผนวก จ

32UNH371020/
32UNH250020/
32UNH241015/
32UNH241005/
32UNG301900//
YANKEE/120DGT/015KPH//
ZULU/2/15C/8/-/2//
GENTEXT/CBRNINFO/TYPE B, CASE 2//

พื้นที่โจมตี

ทิศทางตามลม ๑๒๐°

ระยะทางอันตรายตามลม
ที่มากที่สุด ๑๐ กม.

Not to scale

ภาพ จ-๘ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๒


(รัศมีของพื้นที่โจมตี ≤ ๑ กม. ความเร็วลม >๑๐ กม./ชม.)

ก. อ่านพิกัดต�ำบลโจมตีจากรายงาน นชค.เคมี และหมายจุดลงบนแผนที่


ข. ลากเส้นเหนือกริด จากศูนย์กลางของพิกัดต�ำบลโจมตี
ค. วาดวงกลมรัศมี ๑ กม. รอบศูนย์กลางต�ำบลโจมตี พื้นที่ภายในวงกลมเรียก พื้นที่
โจมตี
ง. ลากเส้นแสดงทิศทางตามลมจากจุดศูนย์กลางพื้นที่โจมตี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 143

จ. หมายจุดระยะทางตามลมระยะ ๑๐ กม. จากจุดศูนย์กลางการโจมตี


ฉ. ลากเส้นตั้งฉากกับจุดตัดระยะ ๑๐ กม. บนระยะทางตามลม ลากเส้นออกไปทั้ง
สองด้าน
ช. ลากเส้นจากจุดศูนย์กลางต�ำบลโจมตี ไปทางด้านเหนือลมยาว ๒ กม. (ความยาว
เป็น ๒ เท่า ของพื้นที่โจมตี)
ซ. ลากเส้นเรเดียน จากจุดเริม่ ต้นของระยะทางเหนือลม (ระยะ ๒ กม.) ลากไปจนกระทัง่
ตัดกับเส้นตัง้ ฉากทีล่ ากตัดเส้นระยะทางตามลมทีร่ ะยะ ๑๐ กม. ลากเส้นเรเดียนทัง้ สองด้านซึง่ ทัง้ ๒
เส้นนีจ้ ะท�ำมุม ๓๐๐ กับเส้นระยะทางตามลม และจะสัมผัสกับเส้นรอบวงของพืน้ ทีถ่ กู โจมตี (รัศมี ๑ กม.)
ด. ก�ำหนดเวลาทีเ่ หมาะสมในการถอดหน้ากากป้องกันให้กบั ก�ำลังพล โดยใช้ตาราง จ-๔
ต. จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ เคมี และ/หรือแผ่นบริวารแผนที่ ไปยังหน่วยและทีต่ งั้
ทางทหารภายในพื้นที่อันตรายตาม รปจ.
๕.๑๐.๕ การโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๓ (รัศมีของพืน้ ทีโ่ จมตี > ๑ กม. แต่ ≤ ๒ กม.,
ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.)
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ เคมี
ALFA/US/A234/013/C//
DELTA/211605ZAPR1999//
FOXTROT/32UNH431562/EE//
GOLF/OBS/MSL/10/-/-//
INDIA/AIR/NERV/P//
PAPAA/02KM/2-4DAY/010KM/1-2DAY//
PAPAX/211500ZAPR1999/-//
YANKEE/105DEG/8KPH//
ZULU/2/15C/6/-/2//
GENTEXT/CBRNINFO/TYPE B, CASE 3//
144 ภาคผนวก จ

10 km

พื้นที่โจมตี

Not to scale

ภาพ จ-๙ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๓


(รัศมีของพื้นที่โจมตี > ๑ กม. แต่ ≤ ๒ กม., ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.)
ก. อ่านพิกัดต�ำบลโจมตีจากรายงานและหมายจุดลงบนแผนที่
ข. ลากเส้นวงกลม (รัศมี ๒ กม.) รอบพิกัดศูนย์กลางต�ำบลโจมตี พื้นที่ภายในวงกลม
เรียกพื้นที่โจมตี
ค. ลากเส้นวงกลม (รัศมี ๑๐ กม.) รอบพิกัดศูนย์กลางต�ำบลโจมตี พื้นที่ภายในวงกลม
เรียก พื้นที่อันตราย
ง. จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ เคมี และ/หรือแผ่นบริวารแผนที่ ไปยังหน่วยและที่ตั้ง
ทางทหารภายในพื้นที่อันตรายตาม รปจ.
๕.๑๐.๖ การโจมตี ประเภท B กรณีท่ี ๔ (รัศมีพนื้ ทีโ่ จมตีระยะทาง > ๑ กม. แต่ ≤ ๒ กม.
ความเร็วลม > ๑๐ กม./ชม.)
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ เคมี
ALFA/US/A234/006/C//
DELTA/181730ZAPR1999//
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 145

FOXTROT/32UNH320010/EE//
INDIA/AIR/NERV/P//
PAPAA/02KM/2-4DAY/10KM/1-2DAY//
PAPAX/181600ZAPR1999/
32UNH441051/
32UNH316029/
32UNH301016/
32UNG304997/
32UNG386899//
YANKEE/110DGT/020KPH//
ZULU/4/16C/-/-/2//
GENTEXT/CBRNINFO/TYPE B, CASE 4//

พื้นที่โจมตี

ทิศทางตามลม ๑๒๐°

ระยะทางอันตรายตามลม
ค่ามากสุด ๑๐ กม.

Not to scale

ภาพ จ-๑๐ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๔


(รัศมีพื้นที่โจมตีระยะทาง > ๑ กม. แต่ ≤ ๒ กม., ความเร็วลม > ๑๐ กม./ชม.)
146 ภาคผนวก จ

ก. อ่านพิกัดต�ำบลโจมตีจากรายงาน นชค.เคมี และหมายจุดบนแผนที่


ข. ลากเส้นเหนือกริด จากศูนย์กลางของพิกัดต�ำบลโจมตี
ค. วาดวงกลมรัศมี ๒ กม. รอบศูนย์กลางต�ำบลโจมตี พื้นที่ภายในวงกลมเรียกพื้นที่
โจมตี
ง. ลากเส้นจากศูนย์กลางของพื้นที่โจมตี แสดงทิศทางตามลมให้มีระยะทาง ๑๐ กม.
จ. ลากเส้นตั้งฉากกับเส้นระยะทางตามลมที่จุด ๑๐ กม.
ฉ. ลากเส้นจากศูนย์กลางของพิกัดต�ำบลโจมตีไปทางเหนือลม มีระยะทาง ๔ กม.
(มีความยาวเท่ากับ ๒ เท่าของรัศมีพื้นที่โจมตี)
ช. ลากเส้น ๒ เส้นจากจุดเริม่ ต้นของระยะทางเหนือลม (ระยะ ๒ กม.) แต่ละเส้นท�ำมุม
๓๐° กับเส้นระยะทางตามลม และสัมผัสกับเส้นรอบวงของพื้นที่โจมตี (รัศมี ๒ กม.) ลากไปให้ตัด
กับเส้นตั้งฉากที่ลากตัดกับเส้นระยะทางตามลมที่จุด ๑๐ กม.
ซ. ก�ำหนดเวลาที่เหมาะสมให้กับก�ำลังพล ในการถอดหน้ากากป้องกันโดยใช้ตาราง
จ-๔
ด. จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ เคมี และ/หรือแผ่นบริวารแผนที่ ไปยังหน่วยและที่
ตั้งทางทหารภายในพื้นที่อันตรายตาม รปจ.
๕.๑๐.๗ การโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๕ (รัศมีพนื้ ทีถ่ กู โจมตี >๒ กม. ความเร็ว
ลม ≤ ๑๐ กม./ชม.
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ เคมี
ALFA/US/A234/014/C//
DELTA/201530ZAPR1999//
FOXTROT/32UNG420620/EE/
32UNG435620/EE//
INDIA/AIR/NERV/P//
PAPAA/01KM/2-4DAY/010KM/1-2DAY//
PAPAX/211500ZAPR1999/-//
YANKEE/147DGT/009KPH//
ZULU/2/15C/6/-/2//
GENTEXT/CBRNINFO/TYPE B, CASE 5//
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 147

พื้นที่อันตราย

พื้นที่โจมตี

พื้นที่อันตราย
Not to scale

ภาพ จ-๑๑ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๕


(รัศมีพื้นที่ถูกโจมตี > ๒ กม. ความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม.)

ก. ประมาณการพื้นที่โจมตีจากรายงาน นชค.๑ หรือ นชค.๒ เคมี และหมายจุดแต่ละ


ด้านที่พิกัดปลายสุดของพื้นที่โจมตี
ข. ลากเส้นเชื่อมพิกัด เพื่อดูแนวการโจมตีหนึ่งเส้นหรือมากกว่า
ค. วาดวงกลมรัศมี ๑ กม. รอบแต่ละพิกัดทั้งสองด้าน
ง. เชื่อมวงกลม ๒ ด้าน ด้วยการลากเส้นเรเดียนในแนวขนานกับแนวการโจมตี เพื่อ
ก�ำหนดพื้นที่โจมตี
จ. วาดวงกลมรัศมี ๑๐ กม. ล้อมรอบวงกลมรัศมี ๑ กม.
ฉ. เชื่อมวงกลม ๒ ด้าน ด้วยการลากเส้นเรเดียนในแนวขนานกับแนวการโจมตี เพื่อ
ก�ำหนดพื้นที่อันตราย
ช. ก�ำหนดเวลาทีเ่ หมาะสมในการถอดหน้ากากป้องกันให้กบั ก�ำลังพลโดยใช้ตาราง จ-๔
ซ. จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ เคมี และ/หรือแผ่นบริวารแผนที่ ไปยังหน่วยและที่ตั้ง
ทางทหารภายในพื้นที่อันตรายตาม รปจ.
๕.๑๐.๘ การโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๖ (รัศมีพนื้ ทีโ่ จมตี >๒ กม. ความเร็วลม >๑๐
กม./ชม.)
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ เคมี
ALFA/US/A234/007/C//
DELTA/141550ZAPR1999//
FOXTROT/33UUC330060/EE/
148 ภาคผนวก จ

33UUC370061/EE//
INDIA/AIR/NERV/P//
PAPAA/01KM/2-4DAY/10KM/1-2DAY//
PAPAX/141400ZAPR1999/
33UUC682014/
33UUC374069/
33UUC368070/
33UUC328069/
33UUC320059/
33UUB326938/
33UUB366939//
YANKEE/147DGT/012KPH//
ZULU/4/28C/3/-/0//
GENTEXT/CBRNINFO/TYPE B, CASE 6//

พื้นที่โจมตี

ภาพ จ-๑๒ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท B กรณีที่ ๖


(รัศมีพื้นที่โจมตี >๒ กม. ความเร็วลม >๑๐ กม./ชม.)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 149

ก. ประมาณการพืน้ ทีโ่ จมตี จากรายงาน นชค.๑ หรือ นชค.๒ เคมี และหมายจุดบนแผนที่


ข. จ�ำแนกและท�ำเครื่องหมายที่พิกัดด้านปลายสุดของพื้นที่โจมตีที่ประมาณการและ
ลากเส้นเชื่อมพิกัดเพื่อสร้างหนึ่งแนวการโจมตีหรือมากกว่า
ค. โดยใช้จุดปลายสุดเป็นจุดศูนย์กลาง วาดวงกลม (รัศมี ๑ กม.) รอบแต่ละจุดเชื่อม
วงกลมเหล่านี้ทั้งสองด้านโดยลากเส้นเรเดียนขนานกับแนวโจมตีเพื่อก�ำหนดพื้นที่โจมตี
ง. ลากเส้นเหนือกริดจากจุดศูนย์กลางของแต่ละวงกลม
จ. แต่ละพื้นที่วงกลมให้ปฏิบัติดังนี้
 ลากเส้นแสดงทิศทางตามลมจากศูนย์กลางการถูกโจมตี
 หมายจุดที่ระยะทาง ๑๐ กม. บนเส้นแสดงทิศทางตามลม
 ลากเส้นตั้งฉากกับเส้นระยะทางตามลมที่ระยะ ๑๐ กม.
 ลากเส้นจากศูนย์กลางของพิกัดต�ำบลโจมตีไปทางเหนือลม มีระยะทาง ๒ กม.
(มีความยาวเท่ากับ ๒ เท่าของรัศมีพื้นที่โจมตี)
 ลากเส้นจากจุดเริม ่ ต้นของระยะทางเหนือลม (ระยะ ๒ กม.) ลากไปจนกระทัง่ ตัด
กับเส้นตั้งฉากที่ลากตัดเส้นระยะทางตามลมที่ระยะ ๑๐ กม. ลากเส้นทั้งสองด้านซึ่งทั้ง ๒ เส้นนี้จะ
ท�ำมุม ๓๐๐ กับเส้นระยะทางตามลม และจะสัมผัสกับเส้นรอบวงของพื้นที่ถูกโจมตี
 ลากเส้นเชื่อมมุมใต้ลมของพื้นที่อันตรายทั้งสอง (ต�ำแหน่ง A และ B ตาม
ภาพ จ-๔)
ฉ. ก�ำหนดเวลาทีเ่ หมาะสมในการถอดหน้ากากป้องกันให้กบั ก�ำลังพลโดยใช้ตาราง จ-๔
ช. จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ เคมี และ/หรือแผ่นบริวารแผนทีไ่ ปยังหน่วยทหารและ
ที่ตั้งทางทหารภายในพื้นที่เปื้อนพิษตาม รปจ.
๕.๑๐.๙ ค�ำนวณหาความเร็วที่เร็วที่สุดและช้าที่สุด ที่กลุ่มเมฆเคมีจะเคลื่อนมาถึง
หน่วย
ก. ความเร็วของแนวขอบหน้ากลุ่มเมฆเคมี = ความเร็วลม x ๑.๕
เวลาเร็วที่สุดที่แนวขอบหน้ากลุ่มเมฆเคมีเคลื่อนมาถึง
= ระยะทางระหว่างแนวขอบหน้ากลุ่มเมฆเคมีไปยังหน่วย
ความเร็วแนวขอบหน้ากลุ่มเมฆเคมีที่มาถึง
ข. ความเร็วของแนวขอบหลังกลุม่ เมฆเคมีทมี่ าถึง = ความเร็วลม x ๐.๕
เวลาช้าที่สุดที่แนวขอบหลังกลุ่มเมฆเคมีเคลื่อนมาถึง
= ระยะทางระหว่างแนวขอบหลังกลุ่มเมฆเคมีไปยังหน่วย
ความเร็วแนวขอบหลังกลุ่มเมฆเคมีที่มาถึง
150 ภาคผนวก จ

หมายเหตุ :
๑. ให้สมมุตฐิ านมีการปนเปือ้ นพิษทีผ่ วิ พืน้ ทีร่ ะดับความเข้มสูงเท่ากับ ๑๐ กรัม/ตาราง
เมตร
๒. การท�ำเครือ่ งหมายพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ ไอหมอกเป็นปัจจัยก�ำหนดภายในพืน้ ทีโ่ จมตีและ
พื้นที่อันตรายตามลม อย่างไรก็ตาม ยากที่จะพยากรณ์ระยะเวลาของอันตรายจากการสัมผัสกับ
ผิวหนังโดยตรง ระยะเวลาถูกก�ำหนดโดยการใช้เครื่องตรวจหาสารเคมีเท่านั้น
๓. เมื่ออุณหภูมิต�่ำกว่า ๐๐ C ระยะเวลาของการเปื้อนพิษอาจยาวนานกว่าที่ระบุไว้ใน
ตาราง จ-๔
๔. ค่าเฉลีย่ อุณหภูมอิ ากาศ ทีพ่ นื้ ผิวประจ�ำวันอาจจะได้รบั จากข้อมูลอุตนุ ยิ มวิทยาของ
ท้องถิ่น
๕. ข้อมูลในตาราง จ-๔ เป็นกรณีที่รุนแรงสุดที่คาดว่าจะเกิด ข้อมูลที่แท้จริงควรใช้ใน
ขอบเขตที่เป็นไปได้
๕.๑๑ การพยากรณ์พนื้ ทีอ่ นั ตรายตามลมจากการโจมตีเคมี ประเภท C (Type C Attack
Downwind Hazard Prediction)
เป็นการโจมตีแบบไม่รู้ที่มาของจุดเริ่มต้นการโจมตี การโจมตีแบบนี้มักพบในการส�ำรวจ
หรือการลาดตระเวน
R=
10
k
m

พื้นที่อันตรายตามลม

ภาพ จ-๑๓ พื้นที่อันตรายตามลมจากการโจมตี ประเภท C


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 151

๕.๑๑.๑ อ่านพิกดั ต�ำแหน่งทีต่ รวจพบสารเคมีจากรายงาน นชค.๔ เคมี


(บรรทัด QUEBEC) และหมายจุดลงบนแผนที่
๕.๑๑.๒ วาดวงกลมมีความยาวรัศมี ๑๐ กม. ล้อมรอบพิกัดต�ำแหน่ง
ที่ตรวจพบสาร พื้นที่ภายในวงกลมคือ พื้นที่ถูกโจมตีและพื้นที่อันตรายตามลม
๕.๑๑.๓ จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ เคมี ไปยังหน่วยและที่ตั้งทาง
ทหาร เพื่อพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมตาม รปจ.ของหน่วย
๕.๑๑.๔ ให้ท�ำการพยากรณ์ต�ำแหน่งใหม่ที่ตรวจพบสารซ�้ำอีกครั้ง ถ้า
ข่าว นชค.๔ ฉบับใหม่ ไม่สามารถก�ำหนดการโจมตีที่ระบุต�ำแหน่งภายนอกพื้นที่อันตราย ให้ท�ำซ�้ำ
ขั้นตอนข้างต้นส�ำหรับต�ำแหน่งใหม่
๕.๑๒ ปรับการพยากรณ์พื้นที่อันตราย (Adjusted Hazard Prediction)
วิธกี ารพยากรณ์ทกี่ ล่าวข้างต้นเป็นการพยากรณ์ในสภาวะสภาพแวดล้อมทีค่ งที่ หลังจาก
มีการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศอย่างมีนัยส�ำคัญ จะท�ำให้รายงาน นชค.๓ เคมี เดิมมีความ
คลาดเคลือ่ น ถ้าเป็นไปได้ให้ปรับแก้ไขรายงาน นชค.๓ และส่งไปยังหน่วยหรือทีต่ งั้ ทางทหารในพืน้ ที่
อันตรายใหม่ หน่วยที่ได้รับการเตือนภัยใหม่อาจจะไม่ใช่หน่วยเดิม การเปลี่ยนแปลงอากาศอย่างมี
นัยส�ำคัญ มีข้อพิจารณาดังนี้
 ตัวอย่างเช่น ความเร็วตามลม ๑๐ กม./ชม. หรือมากกว่า หรือความเร็วเพิ่มขึ้นจาก
น้อยกว่า ๑๐ กม./ชม. ไปเป็นมากกว่า ๑๐ กม./ชม. หรือรุนแรงกว่านั้น
 การเปลี่ยนทิศทางตามลมที่มุม ๓๐ หรือมากกว่า


 ล�ำดับขั้นความคงตัวของอากาศ (การโจมตีประเภท A เท่านั้น)

การเปลี่ยนแปลง A1 A2 B1 B2 B3 B4 B5 B6
ความเร็วลม : ที่ ๑๐ กม./ชม. หรือมากกว่า x
จาก >๑๐ กม./ชม.ถึง ≤๑๐ กม./ชม. x x x x
จาก ≤๑๐ กม./ชม.ถึง >๑๐ กม./ชม. X x x x
ทิศทางลมที่ ๓๐° หรือมากกว่า x x x x
ล�ำดับขั้นความคงตัวของอากาศ x

ตาราง จ-๕ แสดงประเภทและกรณีของการโจมตีที่อาจได้รับผลกระทบ


จากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่แตกต่างกัน
152 ภาคผนวก จ

หมายเหตุ : ส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงในความเร็วลม ให้ก�ำหนดศูนย์กลางภูมิศาสตร์ของแนวหน้า


เมฆเคมีที่จะเคลื่อนมาถึงตามเวลาของการใช้ข้อมูลใหม่ ให้ค�ำนวณระยะทางนี้โดยคูณความเร็วลม
เริ่มต้นด้วย ๒ เท่าของจ�ำนวนชั่วโมงตั้งแต่ถูกโจมตี ศูนย์กลางของเมฆเคมีด้านหน้าจะจัดเป็น
ศูนย์กลางของพืน้ ทีโ่ จมตีใหม่ เมือ่ ก�ำหนดศูนย์กลางการโจมตีใหม่พนื้ ทีอ่ นั ตรายตามลมจะถูกก�ำหนด
ใหม่โดยใช้ขั้นตอนตามประเภทการโจมตี
๕.๑๒.๑ ให้ ค� ำ นวณระยะทางอั น ตรายตามลมใหม่ เมื่ อ มี ก าร
เปลี่ยนแปลงอากาศอย่างมีนัยส�ำคัญเกิดขึ้นหรือคาดคะเนว่าจะเกิดขึ้น ให้ใช้วิธีด�ำเนินการส�ำหรับ
การโจมตีประเภท A ในการหาค่า
ก. หาค่าระยะทางอันตรายตามลมของเมฆเคมีทเี่ คลือ่ นผ่าน
ก่อนการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
d1 = µ1 x t1
d1 = ระยะทางอันตรายตามลมก่อนการเปลี่ยนแปลง
สภาพอากาศ
µ1 = ความเร็วลมก่อนการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
t1 = เวลาที่เหลืออยู่หลังจากการโจมตีในห้วงเวลาตาม
CDR ปัจจุบัน
หมายเหตุ : ถ้าระยะทางตามลมทีค่ ำ� นวณได้ขา้ งต้น จะเท่ากับหรือมากกว่าค่ามากทีส่ ดุ ของระยะ
ทางอันตรายตามลม (DHD) เดิม ก็ไม่จ�ำเป็นต้องค�ำนวณใหม่
ข. ส�ำหรับการโจมตีแบบ A กรณีที่ ๒ (รัศมีการโจมตี ≤ ๑ กม.
ความเร็วลม > ๑๐ กม./ชม.) วัดระยะทาง d1 บนเส้นทิศทางตามลม และท�ำเครื่องหมายถ้าจุดนั้น
อยู่นอกพื้นที่รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDR) ปัจจุบัน
ค. หาค่าระยะทางอันตรายตามลมหลังการเปลี่ยนแปลง
สภาพอากาศโดยใช้
d2 = H2 - d1
d2 = ระยะทางอันตรายที่เหลือ
H2 = ค่ามากสุดของระยะทางอันตรายตามลมหลังการ
เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
d1 = ระยะทางอันตรายตามลมก่อนการเปลี่ยนแปลง
สภาพอากาศ
หมายเหตุ : ๑. ถ้าห้วงระยะเวลาที่สองมีความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม. (ประเภท A กรณีที่ ๑) ให้
วาดวงกลมด้วยรัศมี ๑๐ กม. (d2 = ๑๐ กม.)
๒. ในการค�ำนวณพื้นที่อันตราย จ�ำไว้ว่าค่ามากสุดของระยะทางอันตรายตามลมที่
ถูกต้อง ระหว่างแต่ละชุดของสภาพอากาศจะต้องไม่เกินกว่าค่าที่ก�ำหนด ถ้า d2 ≤ ๑๐ กม./ชม.
ไม่จ�ำเป็นต้องค�ำนวณใหม่
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 153

๕.๑๒.๒ การโจมตีประเภท A กรณีที่ ๑ เปลีย่ นไปเป็นการโจมตีประเภท A กรณี


ที่ ๒
ตัวอย่าง : ข่าวสารอากาศอันตรายตามลม ตัวอย่าง : รายงาน นชค.๒ เคมี
จากสารเคมี นชค. (CDM NBC) ALFA/US/A234/005/C//
AREAM/NFEA12// DELTA/231030ZAPR1999//
ZULUM/230600ZAPR1999/230900 FOXTROT/32VNH450956/AA//
ZAPR GOLF/OBS/CAN/-/SHL/24//
1999/231500ZAPR1999// INDIA/SURF/NERV/NP//
UNITM/KM/DGT/KPH/C// TANGO/FLAT/SCRUB//
WHISKEYM/140/008/4/06/8/-/2// YANKEE/140DGT/008KPH//
XRAYM/140/012/4/10/8/-/2// ZULUA/4/10C/8/-/2//
YANKEEM/150/014/4/14/8/-/2// GENTEXT/CBRNINFO/
TYPE OF AGENT CONFIRMED
BY CHEMICAL DETECTION
KIT. RECALCULATION BASED
ON CHANGE IN WIND SPEED
231100Z//
ก. ค�ำนวณหาค่า d1
ข. วาดวงกลมรัศมี d1 รอบพิกัดศูนย์กลางที่โจมตีเดิม พื้นที่ภายในวงกลมนี้คือ พื้นที่
โจมตีใหม่
หมายเหตุ : ถ้าค่า d1 >10 กม. ให้ก�ำหนด d1 = 10 กม.
ค. ลากเส้นแสดงทิศทางตามลมจากจุดศูนย์กลางพื้นที่โจมตี
ง. ลากเส้นเหนือกริดจากศูนย์กลางของพื้นที่โจมตี
จ. วัดระยะและหมายจุดระยะทางตามลม d2 บนเส้นทิศทางตามลมจากจุดทีเ่ ส้นทิศทาง
ตามลมตัดกับวงกลมพื้นที่โจมตีใหม่
ฉ. ลากเส้นตั้งฉากกับเส้นทิศทางตามลมผ่านจุด d2
ช. ลากเส้นจากจุดศูนย์กลางพื้นที่โจมตีไปทางด้านเหนือลมมีระยะเท่ากับ 2 x d2 นี่คือ
๒ เท่าของรัศมีพื้นที่โจมตีใหม่
ซ. ลากเส้นเรเดียนสองเส้นจากจุดเหนือลม ท�ำมุม ๓๐° กับเส้นทิศทางตามลม ซึ่งเส้น
เรเดียนนี้จะสัมผัสกับวงกลมพื้นที่โจมตีใหม่ และลากไปจนกระทั่งตัดกับเส้นตั้งฉากในข้อ ฉ
ด. จัดท�ำรายงาน นชค.๓ เคมีหรือแผ่นบริวารแผนที่ส่งไปยังหน่วยเหนือและที่ตั้งทาง
ทหารภายในพื้นที่เปื้อนพิษตาม รปจ.
154 ภาคผนวก จ

ภาพ จ-๑๔ การค�ำนวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A


เมื่อความเร็วลมเปลี่ยนจาก ≤๑๐ กม./ชม.ไปเป็น >๑๐ กม./ชม.

๕.๑๒.๓ การโจมตีประเภท A กรณีที่ ๒ เปลีย่ นไปเป็นการโจมตีประเภท A กรณีที่ ๑


(ภาพ จ-๑๕, จ-๑๖ และ จ-๑๗ แสดงภาพการเปลีย่ นความเร็วลมจาก >๑๐ กม./ชม. ไปเป็น ≤๑๐ กม./ชม)

ตัวอย่าง : ข่าวสารอากาศอันตรายตามลม ตัวอย่าง : รายงาน นชค.๒ เคมี


จากสารเคมี นชค. (CDM NBC) ALFA/US/A234/005/C//
AREAM/NFEB43// DELTA/281615ZAPR1999//
ZULUM/281200ZAPR1999/281500ZA FOXTROT/32UPG387764/AA//
PR1999/ GOLF/OBS/MLR/-/RKT/12//
282100ZAPR1999// INDIA/SURF/NERV/NP//
UNITM/KM/DGT/KPH/C// TANGO/FLAT/SCRUB//
WHISKEYM/090/018/4/14/8/-/2// YANKEE/090DGT/018KPH//
XRAYM/090/008/4/10/8/4/2// ZULUA/4/14C/8/-/2//
YANKEEM/090/006/2/06/8/4/2// GENTEXT/CBRNINFO/
SYMPTOMS OF NERVEAGENT
POISONING.
RECALCULATION
BASED ON CHANGE IN WIND
SPEED AS OF 281700Z//
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 155

ภาพ จ-๑๕ การค�ำนวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A


เมื่อความเร็วลมเปลี่ยนจาก >๑๐ กม./ชม.ไปเป็น ≤๑๐ กม./ชม. (ตัวอย่าง ๑)

ภาพ จ-๑๖ การค�ำนวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A


เมื่อความเร็วลมเปลี่ยนจาก >๑๐ กม./ชม.ไปเป็น ≤๑๐ กม./ชม. (ตัวอย่าง ๒)
156 ภาคผนวก จ

ตัวอย่าง : ข่าวสารอากาศอันตรายตามลม ตัวอย่าง : รายงาน นชค.๒ เคมี


จากสารเคมี นชค. (CDM NBC) ALFA/BE/1BDE/013/C//
AREAM/NFEA12// DELTA/280930ZAPR1999//
ZULUM/280600ZAPR1999/280900ZA FOXTROT/32UMG892764/AA//
PR199 GOLF/OBS/MLR/-/RKT/6//
9/281500ZAPR1999// INDIA/SURF/NERV/NP//
UNITM/KM/DGT/KPH/C// TANGO/FLAT/SCRUB//
WHISKEYM/120/014/4/06/8/-/2// YANKEE/120DGT/014KPH//
XRAYM/120/009/4/10/8/-/2// ZULU/4/06C/8/-/2//
YANKEEM/130/007/4/14/8/-/2// GENTEXT/CBRNINFO/
RECALCULATION BASED ON
CHANGE IN WIND SPEED AS OF
281100Z//

ภาพ จ-๑๗ การค�ำนวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A


เมื่อความเร็วลมเปลี่ยนจาก >๑๐ กม./ชม.ไปเป็น ≤๑๐ กม./ชม. (ตัวอย่าง ๓)

ก. ค�ำนวณหาค่า d1
ข. วัดระยะทาง d1 บนเส้นทิศทางตามลมจากศูนย์กลางพืน้ ทีโ่ จมตีเดิมและหมายจุด d1
ค. ใช้จดุ d1 เป็นจุดศูนย์กลางวาดวงกลมรัศมี ๑๐ กม.จนกระทัง่ ตัดกับเส้นเรเดียน ๓๐๐
จากจุดโจมตีเดิม (ภาพ จ-๑๕)
ง. ถ้าวงกลมไม่ตดั กับเส้นเรเดียนให้ลากเส้นจากมุมด้านขวาลากตัง้ ฉากเส้นทิศทางตาม
ลมผ่าน จุด d1 และท�ำเครื่องหมายตัดกับเส้นเรเดียนอีกด้าน จากจุดตัดกับเส้นเรเดียนเหล่านี้ลาก
เส้นสัมผัสวงกลมใหม่ (วงกลมรัศมี ๑๐ กม.) ๒ เส้น
๕.๑๒.๔ การโจมตีประเภท A กรณีที่ ๒ กับการเปลีย่ นแปลงทิศทางลม (ภาพ จ-๑๘)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 157

ตัวอย่าง : ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจาก ตัวอย่าง : รายงาน นชค.๒ เคมี


สารเคมี นชค.(CDM NBC) ALFA/US/A234/010/C//
AREAM/NFEB43// DELTA/281245ZAPR1999//
ZULUM/280600ZAPR1999/280900ZAPR FOXTROT/32UNG885419/EE//
1999/281500ZAPR1999// GOLF/OBS/MLR/-/RKT/6//
UNITM/KM/DGT/KPH/C// INDIA/SURF/NERV/NP//
WHISKEYM/090/012/2/06/-/-/2// TANGO/FLAT/SCRUB//
XRAYM/090/014/2/08-/-/2// YANKEE/090DGT/014KPH//
YANKEEM/140/015/2/08/-/-/2// ZULU/2/08C/-/-/2//
GENTEXT/CBRNINFO/
CONFIRMED BY
DETECTOR KIT.
RECALCULATION
BASED ON CHANGE
IN WIND DIRECTION
AS OF 281300Z//

ภาพ จ-๑๘ การค�ำนวณพื้นที่อันตรายตามลม จากการโจมตีประเภท A กรณีที่ ๒


(เปลี่ยนแปลงทิศทางลม ≥ ๓๐°)
158 ภาคผนวก จ

ก. ค�ำนวณหาค่า d1
ข. หมายจุดระยะทาง d1 บนเส้นทิศทางตามลมจากศูนย์กลางการโจมตีเดิมก่อนการ
เปลี่ยนแปลงทิศทางลม
ค. ลากเส้นตรงจากเส้นเรเดียนด้านขวา ผ่านจุด d1 บนเส้นทิศทางตามลมไปยังเส้น
เรเดียนอีกด้าน
ง. วาดวงกลมใหม่โดยใช้จุด d1 เป็นศูนย์กลางรัศมี ให้มีระยะรัศมีจากจุด d1 ไปถึงจุด
ตัดเส้นเรเดียน พื้นที่ภายในวงกลมเรียกพื้นที่โจมตีใหม่
จ. ลากเส้นทิศทางตามลมจากศูนย์กลางของวงกลมใหม่
ฉ. วัดระยะและหมายจุดระยะ d2 บนเส้นทิศทางตามลมใหม่จากศูนย์กลางของวงกลมนี้
ถ้าระยะนี้อยู่ภายในวงกลมก็ให้ย้ายจุดไปยังเส้นรอบวงของวงกลมบนเส้นทิศทางตามลมใหม่
เนื่องจากอาจมีเมฆบางกลุ่มเคลื่อนมาด้วยความเร็ว ๑.๕ เท่าของค่าเฉลี่ยความเร็วลม ดังนั้นจึงต้อง
เผื่อระยะให้ไกลกว่า
๕.๑๒.๕ การโจมตีประเภท A กรณีที่ ๒ กับการเปลี่ยนแปลงล�ำดับขั้นความคงตัว
ของอากาศหรือความเร็วลม (ภาพ จ-๑๙) จากศูนย์กลางของพิกัดโจมตีเดิม หมายจุดพื้นที่อันตราย
ตามลมตามที่ได้บรรยายไว้ ให้ H2 เป็นค่าระยะทางตามลมค่ามากที่สุด

ภาพ จ-๑๙ การค�ำนวณพื้นที่อันตรายตามลมใหม่ จากการโจมตีประเภท A กรณีที่ ๒


(เปลี่ยนแปลงล�ำดับขั้นความคงตัวของอากาศ และ/หรือความเร็วตามลม)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 159

ตัวอย่าง : ข่าวสารอากาศอันตรายตามลม ตัวอย่าง : รายงาน นชค.๒ เคมี


จากสารเคมี นชค. (CDM NBC) ALFA/US/A234/012/C//
AREAM/NFEB34// DELTA/281230ZAPR1999//
ZULUM/280600ZAPR21999/ FOXTROT/32UPF730750/EE//
280900ZAPR GOLF/OBS/AIR/6/BOM/18//
1999/28/1500ZAPR1999// INDIA/SURF/NERV/NP//
UNITM/KM/DGT/KPH/C// TANGO/FLAT/SCRUB//
WHISKEYM/110/015/6/10/-/4/2// YANKEE/110DGT/015KPH//
XRAYM/110/015/6/10/-/4/2// ZULU/6/10C/-/4/2//
YANKEEM/110/025/4/10/-/4/2// GENTEXT/CBRNINFO/
RECALCULATION BASED ON
CHANGE IN STABILITY
CATEGORY AS OF281300Z//

๕.๑๒.๖ การโจมตีประเภท B กรณีที่ ๒ และ ๔ กับการเปลี่ยนแปลงทิศทางลม


ก. ลากเส้นทิศทางตามลมใหม่จากศูนย์กลางของพิกัดโจมตีเดิม
ข. หมายจุดพืน้ ทีอ่ นั ตรายใหม่ ตามทีร่ ะบุในข้อ ข. และ ง. หัวข้อ ๕.๑๒.๔
หมายเหตุ : พื้นที่อันตราย ทั้งพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่จะต้องก�ำหนดเป็นพื้นที่อันตราย จนกว่าจะมี
การยืนยันว่าไม่มีอันตรายในพื้นที่เดิม
๕.๑๒.๗ การโจมตีประเภท B กรณีที่ ๖ กับการเปลีย่ นแปลงทิศทางลม (ภาพ จ-๒๐)

ตัวอย่าง : ข่าวสารอากาศอันตรายตามลม ตัวอย่าง : รายงาน นชค.2 เคมี


จากสารเคมี นชค. (CDM NBC) ALFA/US/A234/004/C//
ALFA/US/A234/004/C// DELTA/281000ZAPR1999//
DELTA/281000ZAPR1999// FOXTROT/32VMH747388/EE/32VMH
FOXTROT/32VMH747388/EE// 897388/EE//
GOLF/OBS/AIR/-/SPR/-// INDIA/AIR/NERV/P//
INDIA/AIR/NERV/P// PAPAA/01KM/96HR/10KM/48HR//
TANGO/FLAT/SCRUB// PAPAX/281100ZAPR1999/
YANKEE/090DGT/020KPH// 32VMH846318/32VMH846329/
ZULU/4/18C/8/-/0// 32VMH856335/32VMH846341/
GENTEXT/CBRNINFO/SYMPTOMS OF 32VMH847456/32VMH742396/
NERVE-AGENT POISONING// 32VMH740395/32VMH739394/
160 ภาคผนวก จ

Sample NBC CDM 32VMH738393/32VMH738392/


AREAM/NFEA12// 32VMH737391/32VMH737389/
ZULUM/280600ZAPR1999/280900 32VMH737388/32VMH736266/
ZAPR199 32VMH836324/32VMH846318//
9/281500ZAPR1999// YANKEE/090DGT/020KPH//
UNITM/KM/DGT/KPH/C// ZULU/4/18C/8/-/0//
WHISKEYM/090/020/4/18/8/-/0// GENTEXT/CBRNINFO/
XRAYM/150/020/4/18/8/-/0// RECALCULATION BASED ON NBC
YANKEEM/150/020/4/18/8/-/0// CDM WEATHER CHANGE AS OF
281100Z//

ภาพ จ-๒๐ การค�ำนวณพื้นที่อันตรายตามลมใหม่ จากการโจมตีประเภท B กรณีที่ ๖


(เปลี่ยนแปลงทิศทางลม)

ก. หมายจุดพื้นที่อันตรายตามการค�ำนวณก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลงในทิศทางลม
โดยใช้วิธีตามที่บรรยายไว้ข้างต้น
ข. ระบุในบรรทัด GENTEXT/CBRNINFO ถึงเหตุผลทีต่ อ้ งค�ำนวณใหม่ และเวลาทีจ่ ะ
มีผลกระทบในพื้นที่อันตรายใหม่
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 161

๕.๑๒.๘ การโจมตีประเภท B กรณีที่ ๒, ๔ และ ๖ กับการเปลี่ยนแปลง


ความเร็วลมจาก >๑๐ กม./ชม.ไปเป็น ≤ ๑๐ กม./ชม.
ก. หมายจุดพื้นที่อันตรายตามการค�ำนวณส�ำหรับความเร็วลม >
๑๐ กม./ชม.
ข. หมายจุดพื้นที่อันตรายตามการค�ำนวณส�ำหรับความเร็วลม ≤
๑๐ กม./ชม.
๕.๑๒.๙ ตัวอย่างพืน้ ทีอ่ นั ตรายทีถ่ กู ต้อง หลังการเปลีย่ นแปลงในทิศทางลม
พืน้ ทีเ่ หล่านีจ้ ะรวมพืน้ ทีก่ อ่ นการเปลีย่ นแปลงด้วย อันนีจ้ ะเป็นอันตรายชัว่ คราวทีเ่ กิดจากกระแสลม
เปลี่ยนทิศในพื้นที่ระหว่างพื้นที่อันตรายทั้ง ๒
๕.๑๒.๑๐ หลังการค�ำนวณใหม่ ให้ส่งค่าเวลามาถึงของกลุ่มเมฆเคมีและ
รายงาน นชค.๓ เคมี/แผ่นบริวารแผนที่ ให้แก่หน่วยหรือที่ตั้งทางทหารที่จะได้รับผลกระทบ ควร
ใช้เลขล�ำดับการโจมตีชุดเดิมตามข่าวก่อนหน้า และควรอ้างอิงข่าวก่อนหน้าในบรรทัด GENTEXT/
CBRNINFO ของข่าวใหม่
๖. รายงาน นชค.๔ เคมี
๖.๑ เมื่อทีมส�ำรวจหรือการลาดตระเวนของหน่วยใดตรวจพบการเปื้อนพิษ คชรน.
จะใช้รายงาน นชค.๔ เคมีในการรายงานข่าวสารนี้ (ภาพ จ-๒๑) รวบรวมรายงาน นชค.๔ เคมีที่
กระจายกันอยูเ่ พือ่ หมายจุดบนแผนทีย่ ทุ ธวิธเี พือ่ แสดงบริเวณทีม่ กี ารเปือ้ นพิษ กรณีทเี่ ครือ่ งตรวจจับ
ท�ำงานได้ไม่สมบูรณ์ อาจจะใช้ทมี ส�ำรวจท�ำการแทน รายงานของเครือ่ งตรวจจับจะระบุถงึ ชนิดของ
สารที่พบ (บรรทัด INDIA) จะระบุถึงชนิดของสารเคมีและความคงทนของสาร พิกัดต�ำแหน่งที่เก็บ
ตรวจชนิดของตัวอย่าง (เช่น อากาศหรือของเหลว) (บรรทัด OUEBEC) วันเวลาที่ตรวจจับ (บรรทัด
SIERRA) และข่าวสารการท�ำแผนที่และบรรยายภูมิประเทศ (บรรทัดTANGO)
162 ภาคผนวก จ

รายงาน นชค.๔ เคมี


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/A234/001/C//
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือเกิดการระเบิด
และสิ้นสุดการโจมตี O INDIA/UNK/NERV//
INDIA ข่าวสารการโจมตีด้วยสารเคมีชีวะ
หรือเหตุการณ์ ROTA M INDIA/AIR/NERV/P/ACD//
QUEBEC ต�ำบลที่อ่านค่า/เก็บตัวอย่าง/ตรวจหา QUEBEC/32VNJ481203
และชนิดของตัวอย่าง/การตรวจหา M /-/DET//
ROMEO ระดับการเปื้อนพิษ แนวโน้มอัตราความ
เข้มข้นและแนวโน้มอัตราการสลายตัว O ROMEO/20PPM//
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่าหรือเริ่มต้นตรวจหา SIERRA/202300ZSEP
การเปื้อนพิษ M 1997//
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและพืชพันธุ์ M TANGO/FLAT/URBAN//
WHISKEY ข่าวสารจากเครื่องเซ็นเซอร์ O WHISKEY/POS/POS/NO/MED//
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม M YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -

ภาพ จ-๒๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.๔ เคมี

๖.๒ บรรทัด QUEBEC, SIERRA และ TANGO จะต้องใส่รายละเอียดให้ครบ บรรทัด


เหล่านี้รายงานซ�้ำได้ถึง ๒๐ ครั้งเพื่อบรรยายถึง การตรวจจับ การตรวจหาหรือจุดส�ำรวจต่าง ๆ
๖.๓ ถ้าตรวจไม่พบสารเคมีให้ใส่ศูนย์ในบรรทัด INDIA เมื่ออันตรายทั้งหมดจากการถูก
โจมตีผ่านไปแล้วส่วน คชรน.ควรท�ำหมายเหตุประกอบในรายงาน นชค.๔ เคมี โดยใส่ “ศูนย์” ใน
บรรทัด INDIA และใส่ “ปลอดภัยจากการโจมตีด้วยสารเคมี” ในบรรทัด GENTEXT/CBRNINFO
เพื่อให้สามารถจ�ำแนกการโจมตีได้ให้บันทึกเลขล�ำดับการโจมตี (บรรทัด ALFA จากรายงาน นชค.
๒ เคมี) ในรายงาน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 163

๗. รายงาน นชค.๕ เคมี


๗.๑ เป็นรายงานที่จดั ท�ำขึน้ จากการหมายจุดการเปือ้ นพิษ บ่อยครั้งทีร่ ายงานนี้จะต้อง
ส่งทางเครือข่ายวิทยุ ผูร้ บั รายงานจะต้องหมายจุดแต่ละพิกดั และสร้างแผ่นพยากรณ์ขนึ้ ใหม่ รายงาน
นี้อาจส่งในรูปแผ่นบริวารแผนที่
๗.๒ บรรทัด INDIA, OSCAR และ XRAYA จะต้องระบุรายละเอียดในแต่ละบรรทัดและ
เป็นบรรทัดที่ต้องมีในรายงาน นชค.๕ เคมี

รายงาน นชค.๕ เคมี


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/A234/001/C//
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือเกิดการระเบิด O DELTA/201405ZSEP1997//
และสิ้นสุดการโจมตีหรือเกิดเหตุ
INDIA ข่าวสารการโจมตีด้วยสารเคมีชีวะ M INDIA/AIR/NERV/P/ACD//
หรือเหตุการณ์ ROTA
OSCAR วันเวลาอ้างอิงส�ำหรับเส้นขอบเขตที่ได้รับ M OSCAR/201505ZSEP1997//
การประเมิน
XRAYA* ข่าวสารเส้นขอบเขตที่เกิดขึ้นจริง M XRAYA/LCT50/32VNJ575203/
32VNJ572211/32VNJ560219/
32VNJ534218/32VNJ575203//
XRAYB* ข่าวสารเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ O
YANKEE ทิศทางและความเร็วลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O ZULU/4/10C/4/5/1//
* บรรทัดนี้รายงานซ�้ำได้ถึง ๕๐ ครั้งเพื่อแสดงเส้นขอบเขตหลายแบบ

ภาพ จ-๒๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๕ เคมี


164 ภาคผนวก จ

๘. รายงาน นชค.๖ เคมี


ประกอบด้วยค�ำบรรยายซึ่งให้ข่าวสารต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

รายงาน นชค.๖ เคมี

บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง


ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/A234/001/C//
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือเกิด DELTA/201405ZSEP1997/
การระเบิดและสิ้นสุดการโจมตี O 201420ZSEP1997//
FOXTROT ต�ำบลโจมตี O FOXTROT/32UNB058640/EE//
INDIA ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีชีวะ O INDIA/AIR/NERV/P/ACD//
QUEBEC ต�ำบลที่อ่านค่า/เก็บตัวอย่าง/
ตรวจหา และชนิดของตัวอย่าง/
การตรวจหา O QUEBEC/32VNJ481203/-/DET//
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่า O SIERRA/202300ZSEP1997//
GENTEXT ค�ำบรรยาย M GENTEXT/CBRNINFO/SICA LAB
REPORT HAS IDENTIFIED THE
AGENTAS VX//

ภาพ จ-๒๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๖ เคมี


ผนวก ฉ
ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารชีวะ
๑. กล่าวน�ำ
ฝึกอบรมและฝึกซ้อมวิธีที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารเพื่อหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสาร
ชีวะให้สมั ฤทธิผล เมือ่ หน่วยรูว้ า่ อาจอยูใ่ นพืน้ ทีโ่ จมตีสารชีวะ หรืออยูภ่ ายในพืน้ ทีอ่ นั ตรายทีเ่ ป็นไปได้
ให้ใช้คู่มือนี้ในการปฏิบัติการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารชีวะ ใช้ระบบรายงานและเตือนภัย คชรน.
ในการถ่ายทอดข่าวสารเกี่ยวกับสารชีวะและอันตรายด้วยวิธีที่มีประสิทธิภาพและทันเวลา ในการ
หลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษจ�ำเป็นต้องมีความเข้าใจ รู้ว่าสารชีวะคืออะไร มีวิธีการใช้สารอย่างไร และ
ผลที่เกิดขึ้นหลังมีการใช้สาร สารชีวะแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เชื้อโรคและสารพิษ
๑.๑ เชื้อโรคคือ จุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุท�ำให้เกิดโรคในมนุษย์ สัตว์หรือพืชประกอบด้วย
แบคทีเรีย ไวรัส และริกเกตเซีย ที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์
๑.๒ สารพิษ คือ สารที่มีความเป็นพิษผลิตจากเชื้อจุลินทรีย์ (เชื้อโรค) พืชและสัตว์
หมายเหตุ : ข้อมูลเรื่องประเภทของสารชีวะอยู่ในผนวก ข
๒. วิธีแพร่กระจายสารชีวะ (Biological-Agent Dissemination Methods)
มีวธิ ที วั่ ไป ๓ วิธใี นการแพร่กระจายสารชีวะ คือ แอโรซอล สัตว์พาหะและวิธปี กปิด แต่ละ
วิธีจะมีวิธีการเข้าสู่ร่างกายเพื่อให้เกิดการติดเชื้อเฉพาะทางในแต่ละบุคคล
๒.๑ การแพร่กระจายในรูปแอโรซอล (Aerosol Dissemination)
๒.๑.๑ สารชีวะ (Biological agents) สารชีวะอาจแพร่กระจาย โดยการระเบิด
ของอาวุธยุทโธปกรณ์บนผิวพื้นหรือในอากาศ, ถังพ่นละอองติดตั้งบนเครื่องบิน หรือเรือ หรือรถ
ติดตั้งเครื่องผลิตแอโรซอล การโจมตีด้วยแอโรซอลมีความเป็นไปได้อย่างมากที่จะเกิดขึ้นได้ใน
ลักษณะอ�ำพราง การแพร่กระจาย มีความเป็นไปได้ทจี่ ะเกิดขึ้นทีล่ ะติจดู ๑,๐๐๐ ฟุต หรือน้อยกว่า
(เหมาะสมที่ ๑๐๐ ฟุต) การประมาณการพื้นที่เปื้อนพิษที่มีผลมาจากการแพร่กระจายที่ความสูง
ละติจูดมากกว่า ๑,๐๐๐ ฟุตเหนือพื้น จ�ำเป็นต้องใช้ข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยาที่ครอบคลุมในการ
วิเคราะห์
๒.๑.๒ สารพิษ (Toxins) สารพิษแพร่กระจายได้ในรูปของเหลว (เช่น ฝนเหลือง)
ท�ำให้มองเห็นสารพิษได้อย่างชัดเจนและเกิดอันตรายโดยทันที โดยทั่วไปจะถูกก�ำหนดให้เป็นพื้นที่
ของการโจมตีอย่างฉับพลัน
๒.๑.๓ การเคลื่อนที่ของเมฆแอโรซอล (Aerosol Cloud Travel) ในยุทธวิธี
การโจมตีด้วยแอโรซอล เมฆแอโรซอล (หลังจากการก่อตัวเริ่มต้น) จะเคลื่อนตัวในทิศทางตามลม
ด้วยความเร็วตามความเร็วลม ขณะที่เคลื่อนตัวตามลม เมฆจะมีความยาวและความกว้างมากขึ้น
166 ภาคผนวก ฉ

ความยาวของกลุ่มเมฆจะเท่ากับ ๑ ใน ๓ ของระยะทางตามลม หน่วยที่อยู่ใกล้จุดปล่อยจะเผชิญ


กับความเข้มข้นของกลุม่ เมฆมากกว่า อย่างไรก็ตามหน่วยทีม่ ตี ำ� แหน่งทีต่ งั้ ห่างออกไปในทิศทางตาม
ลม (แม้ว่าจะสัมผัสกับกลุ่มเมฆที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า) จะสัมผัสเป็นระยะเวลานานกว่า ดังนั้น
เจ้าหน้าทีท่ ไี่ ม่ได้มกี ารป้องกันอาจหายใจเข้าไปสะสมจนมีปริมาณสารพิษสูงมากกว่า พืน้ ทีอ่ นั ตราย
สูงสุดจะมีตำ� แหน่งทีต่ งั้ อยูใ่ นพืน้ ทีท่ เี่ มฆมีความเสถียรหยุดอยู่ และในขณะนัน้ ความกว้างและความ
ยาวของเมฆจะมีค่ามากที่สุด ระยะทางนี้จะใกล้เคียงกับการพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมของ
สารเคมีมากที่สุด ดังนั้นจึงส�ำคัญมากที่จะก�ำหนดว่าการโจมตีนี้เป็นการโจมตีทางชีวะหรือเคมี
๒.๑.๔ การท�ำให้เกิดผู้ป่วย (Casualty Production) เมฆสารชีวะเป็นสาเหตุให้
เกิดการเจ็บป่วยได้แบบฉับพลันและแบบหน่วงเวลา เนื่องจากความจริงที่ว่าแต่ละบุคคลจะได้รับ
ปริมาณสารที่ต่างกัน และเวลาที่ร่างกายเริ่มแสดงอาการ ซึ่งจะขึ้นกับปริมาณสารที่ได้รับและความ
แข็งแรงของร่างกายของแต่ละบุคคล การเริ่มต้นแสดงอาการป่วยจะขึ้นกับเวลาในการตอบสนอง
ของบุคคล และรูปแบบการป้องกันอื่น ๆ (เช่น การฉีดวัคซีน, การสวมหน้ากากป้องกัน) ซึ่งจะมีผล
ในการต่อต้านสารชีวะ ผูเ้ จ็บป่วยจากสารชีวะสามารถเกิดขึน้ ในพืน้ ที่ มีปริมาณมากเป็นสองเท่าของ
ค่ามากที่สุดของระยะทางอันตรายตามลมจากสารเคมี
๒.๑.๕ การแพร่กระจายและการตกสู่พ้ืน (Dispersal and Setting Out) การ
เคลือ่ นทีข่ องสารชีวะในทิศทางตามลมยิง่ ไกลออกไปเมฆจะสัมผัสกับองค์ประกอบในสภาพแวดล้อม
ในลักษณะของการแพร่กระจาย การตกลงสู่พื้น และการกระทบต่อลักษณะภูมิประเทศ ความ
เข้มข้นของเมฆชีวะจะลดลงมาก ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ที่ไม่ได้ป้องกัน ท�ำให้มีโอกาส
ติดเชื้อน้อยลงและโอกาสที่ร่างกายจะรับสารพิษในปริมาณที่จะท�ำให้เกิดการเจ็บป่วยน้อยลง
การแพร่กระจายจะไม่มีรูปแบบและผู้เจ็บป่วยอาจเกิดขึ้นได้มากสี่ถึงห้าเท่าของค่ามากที่สุดของ
ระยะทางอันตรายตามลมจากสารเคมี
ก. ยุทโธปกรณ์ประเภทระเบิด (Bursting–Type Munition) เมือ่ กระสุน
หรือลูกระเบิดสารชีวะเกิดระเบิดขึน้ สารทีบ่ รรจุอยู่ (รูปสารแขวนลอยเหลวหรือผงแป้ง) จะกระจาย
ออกทุกทิศทาง การระเบิดทีผ่ วิ พืน้ จะใช้ในการสร้างเมฆแอโรซอล การระเบิดในอากาศอาจจะสร้าง
เมฆแอโรซอลที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกับการพ่นละออง สารอาจจะถูกก�ำหนดให้ตกลงบนพื้นเพื่อให้
บริเวณนั้นเป็นพื้นผิวเปื้อนพิษคล้ายคลึงกับสารเคมีแบบคงทน ขนาดของเมฆแอโรซอลจะขึ้นอยู่
กับชนิดของเครื่องส่งสภาพอากาศและภูมิประเทศ
ข. ถั ง พ่ น ละอองและเครื่ อ งผลิ ต แอโรซอล (Spray Tanks and
Generators) เครือ่ งบินและยานพาหนะทีต่ ดิ ตัง้ ถังพ่นละอองหรือเครือ่ งผลิตแอโรซอล อาจจะใช้ใน
การสร้างเมฆแอโรซอล รูปแบบการโจมตีนี้มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นในลักษณะปกปิด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 167

๒.๒ การแพร่กระจายโดยใช้แมลงหรือสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ป็นพาหะน�ำโรค (Vector Dissemina


tion) สิง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดโรคบางชนิดอาจจะถูกแพร่กระจายโดยใช้พาหะเช่น หมัด, เห็บ, ไร หรือยุง การใช้
พาหะเหล่านี้แพร่กระจายเชื้อโรคมีบันทึกอยู่ในประวัติศาสตร์ ควรฝึกฝนขั้นตอนหลีกเลี่ยงการ
เปื้อนพิษ ตลอดเวลาเพื่อลดความเป็นไปได้ของการติดเชื้อ
๒.๒.๑ การควบคุมพาหะน�ำโรค (Controlling Vectors) การควบคุมพาหะเป็น
เรือ่ งทีย่ งุ่ ยากทีส่ ดุ หลังจากมีการแพร่กระจายพาหะเกิดขึน้ จะไม่สามารถควบคุมพาหะได้และพาหะ
จะโจมตีไม่ว่าบุคคลใดก็ตาม พาหะเคลื่อนที่ได้ดีจึงออกจากพื้นที่ที่ปล่อยพาหะได้อย่างง่าย
๒.๒.๒ ปัญหาส่งก�ำลังและการผลิต (Logistical and Production Problem)
ปัญหาที่ยุ่งยากคือ เชื้อโรคจะต้องยังมีชีวิตอยู่ เมื่ออาศัยอยู่ในพาหะน�ำโรค และพาหะขณะอยู่ใน
เครือ่ งส่งอาวุธจะต้องอยูใ่ นภาวะมีชวี ติ และมีความสมบูรณ์ ความยุง่ ยากอีกประการคือ ปริมาณของ
พาหะจะต้องมีจำ� นวนมากเพียงพอในการส่งแต่ละครัง้ เพือ่ ให้ได้ผลดีในการท�ำให้เกิดการแพร่ระบาด
ของโรค
๒.๓ การแพร่กระจายแบบปกปิด (Covert Dissemination) การก่อวินาศกรรมและ
ผูก้ อ่ การร้าย อาจใช้แอโรซอลทีห่ ลากหลายและเทคนิคการเปือ้ นพิษส�ำหรับเป้าหมายต่าง ๆ เทคนิค
แอโรซอลสามารถใช้ได้ดีกับปฏิบัติการขนาดใหญ่ โดยใช้เครื่องผลิตแอโรซอล (หรือตัวท�ำหมอก)
ซึ่งท�ำให้เกิดอันตรายในพื้นที่โล่งขนาดใหญ่ สารชีวะในรูปของเหลว, ผงแป้งหรือละอองสามารถ
ใส่โดยตรงในสิ่งที่ใช้เป็นอาหารได้ ณ จุดเก็บเกี่ยว, ในกระบวนการผลิต, ในจุดแจกจ่ายและการจัด
เตรียม และสามารถใส่ลงในอ่างเก็บน�้ำหรือตามเส้นทางการแจกจ่ายน�้ำ
๓. วิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ (Avoidance Procedures)
วิธกี ารหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษแบ่งการปฏิบตั ไิ ด้ ๓ ขัน้ ตอนคือ ก่อน ระหว่างและหลังการโจมตี
ส�ำหรับการโจมตีดว้ ยสารชีวะการหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษ จะแบ่งตามความแตกต่างของวิธกี ารแพร่
กระจายสารชีวะ ตามรายการขั้นตอนต่อไปนี้จะช่วยในการพัฒนา รปจ.ของหน่วยและการบังคับ
บัญชาแม้ว่าจะไม่ครอบคลุมทั้งหมด
๓.๑ ขั้นตอนหลีกเลี่ยงแอโรซอล (Aerosol Avoidance Procedures.)
๓.๑.๑ ก่อนโจมตี
ก. แจ้งเตือนหน่วยรอง
ข. จัดตัง้ และเสริมก�ำลังระบบเวชกรรมป้องกันซึง่ จะรวมถึงการฉีดวัคซีน,
สุขอนามัยในพื้นที่, มาตรฐานอนามัยของเจ้าหน้าที่, การพักผ่อนและโภชนาการส�ำหรับกองทัพ
ค. หาข่าวกรองเรื่องขีดความสามารถและเป้าหมายในการคุกคามของ
ข้าศึก
168 ภาคผนวก ฉ

ง. ค้นหา, ต่อต้านและท�ำลายระบบอาวุธข้าศึก ระบบการผลิตและสถาน


ที่เก็บรักษา
จ. ฝึกสอนเจ้าหน้าทีใ่ ห้รตู้ อ่ ภัยคุกคาม, รูปแบบการโจมตี และมาตรการ
ป้องกันที่ต้องด�ำเนินการ
ฉ. ฝึกซ้อมการสวมใส่และถอดหน้ากากและเสื้อผ้าป้องกัน
ช. จัดตั้งระบบการป้องกันรวมส�ำหรับบุคคล, ยุทธภัณฑ์และสิ่งอุปกรณ์
ซ. พิสูจน์ทราบแหล่งน�้ำ, อาหารและสิ่งอุปกรณ์ที่ส�ำรองไว้ (ปฏิบัติแบบ
หมุนเวียนกันไป)
ฌ. จัดเตรียมการตรวจหาและขั้นตอนในการเก็บตัวอย่าง
ญ. ด�ำเนินการวิเคราะห์ความล่อแหลม
ฎ. เพิ่มการเฝ้าระวังด้านการแพทย์
ฏ. เพิ่มการเฝ้าระวังอาหารและน�้ำ
ฐ. กระจายการป้องกันโรค ถ้าสารพิษที่คุกคามเป็นที่รู้จักให้ท�ำการ
ป้องกันโรคส�ำหรับสารพิษที่มีการใช้
๓.๑.๒ ระหว่างการโจมตี
ก. จ�ำแนกการโจมตี
ข. เริ่มใช้มาตรการป้องกันบุคคล ในเหตุการณ์การโจมตีชีวะที่เป็นไปได้
และเกี่ยวพันกับยุทโธปกรณ์ที่เป็นเครื่องส่ง การสวมใส่หน้ากากจะเป็นความเร่งด่วนล�ำดับแรก แต่
เนื่องจากการโจมตีอาจเป็นสารเคมีหรือสารชีวะการใช้ ลภ.๔ จึงมีความจ�ำเป็น ส�ำหรับการป้องกัน
ได้มากที่สุดและเสี่ยงภัยน้อยที่สุดในการได้รับบาดเจ็บ ทหารควรสวมเสื้อผ้าป้องกันและหน้ากาก
ป้องกันอย่างน้อย ๔ ชม. หลังจากหน่วยถูกโจมตีหรือมีการพยากรณ์ของกลุม่ เมฆ หรือรูว้ า่ มีเมฆชีวะ
เคลือ่ นทีผ่ า่ นพืน้ ทีห่ น่วย จะต้องพยายามทุกวิถที างทีจ่ ะพิสจู น์ทราบชนิดและคุณลักษณะเฉพาะของ
สารถ้าผิวหนังเปือ้ นพิษจะต้องก�ำจัดการเปือ้ นพิษออกทันที โดยใช้วธิ ปี ฏิบตั ติ ามคูม่ อื การท�ำลายล้าง
พิษ คชรน.
ค. ท�ำลายเครื่องส่งหรืออาวุธ
ง. สังเกตสิ่งบ่งบอก ความแตกต่างของการโจมตีด้วยสารชีวะและสาร
เคมีหรือการผสมของการโจมตีตามแบบและการโจมตีด้วยสารชีวะ
จ. รายงานการโจมตีโดยใช้ระบบเตือนภัยและรายงาน คชรน. การโจมตี
ด้วยสารชีวะไม่สามารถพิสูจน์ทราบได้ทันที จะรายงานโดยใช้ นชค.1 UNK
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 169

๓.๑.๓ หลังการโจมตี
ก. ประมาณการพื้นที่อันตรายตามลม เจ้าหน้าที่ที่ไม่ได้ป้องกันและ
ได้รบั บาดเจ็บ สามารถเกิดขึน้ เป็นสองเท่าของค่ามากทีส่ ดุ ของระยะทางอันตรายตามลมจากสารเคมี
ข. ระบุสารชีวะที่ใช้ในสงคราม
ค. เริม่ ต้นด�ำเนินการป้องกันทางการแพทย์และฉีดวัคซีนป้องกัน ควรจัด
เป็นความเร่งด่วนล�ำดับแรกเมื่อทราบชนิดของสารแล้ว
ง. เริ่มต้นขั้นตอน เก็บตัวอย่างและรวบรวมตาม รปจ.ของหน่วย
จ. บริโภคอาหารที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์ที่ปิดแน่น และน�้ำในภาชนะบรรจุที่
เหมาะสม ถ้าผิวบรรจุภณ ั ฑ์ดา้ นนอกเปือ้ นพิษ ต้องท�ำลายล้างพิษก่อน ถ้าไม่มนั่ ใจในความปลอดภัย
ของระดับน�ำ้ ดืม่ ของหน่วยให้ประสานเจ้าหน้าทีแ่ ผนกเวชกรรมป้องกัน ตรวจโกดังเก็บรักษาอาหาร
และต�ำบลส่งก�ำลัง จัดส่งน�้ำดื่มเพิ่มจากเครื่องกรองน�้ำหน่วย
ฉ. การแยกผูป้ ว่ ยทางชีวะ ถ้าเป็นไปได้เจ้าหน้าทีท่ มี่ กี ารป้องกันตนอย่าง
ถูกต้อง (ได้รบั การฉีดวัคซีนป้องกันโรคหรือมีอปุ กรณ์ปอ้ งกันตนอย่างเหมาะสม) ควรเป็นผูด้ แู ลรักษา
ผู้ป่วย ถ้าเจ้าหน้าที่ไม่มีการป้องกันตนจะต้องเป็นผู้ดูแล ให้ใช้จ�ำนวนเจ้าหน้าที่น้อยที่สุดจนกว่าจะ
ได้รับอุปกรณ์ป้องกันหรือได้รับการป้องกันโรค จ�ำไว้ว่าเมื่อจัดการกับก�ำลังพลที่เป็นโรคติดต่อ ทาง
เลือกในการส่งกลับอาจถูกจ�ำกัดลง
ช. เพิ่มมาตรการจ�ำกัดการเคลื่อนย้าย ถ้าอาวุธชีวะนั้นเป็นโรคติดต่อ
๓.๒ ขั้นตอนหลีกเลี่ยงพาหะน�ำโรค (Vector Avoidance Procedures)
๓.๒.๑ ก่อนการโจมตี
ก. ทายาไล่แมลงตามผิวหนังที่ไม่มีสิ่งปกคลุม
ข. จัดตัง้ และเสริมก�ำลังระบบเวชกรรมป้องกันซึง่ จะรวมถึงการฉีดวัคซีน,
สุขอนามัยในพื้นที่, มาตรฐานอนามัยของเจ้าหน้าที่, การพักผ่อนและโภชนาการส�ำหรับกองทัพ
ค. หาข่าวกรองเรื่องขีดความสามารถและเป้าหมายในการคุกคามของ
ข้าศึก
ง. ค้นหา, ต่อต้านและท�ำลายระบบอาวุธข้าศึก ระบบการผลิตและสถานที่
เก็บรักษา
จ. ฝึกสอนเจ้าหน้าทีใ่ ห้รตู้ อ่ ภัยคุกคาม, รูปแบบการโจมตีและมาตรการ
ป้องกันที่ต้องด�ำเนินการ
๓.๒.๒ ระหว่างโจมตี
ก. จ�ำแนกและรายงานสิ่งบ่งชี้ที่น่าสงสัยของการโจมตีด้วยพาหะน�ำโรค
(การปรากฏอย่างฉับพลันของแมลงจ�ำนวนมากหรือชนิดแปลกในพืน้ ทีย่ ทุ ธการ หรือพบกรงขังสัตว์
พาหะในการระเบิด)
170 ภาคผนวก ฉ

ข. ทาสารไล่แมลงตามผิวหนังให้มากพอสมควรโดยเฉพาะล�ำคอ, ใบหน้า,
ข้อเท้าและข้อมือ
ค. ปิดคลุมผิวหนังทีเ่ ปิดเผย จัดความสมดุลระหว่างการป้องกันและการ
ลดทอนประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เสื้อผ้าป้องกันชั้นนอกจะไม่กันเห็บหมัดได้ท้ังหมด กางเกง
ขายาวจะต้องดึงลง ติดกระดุมข้อมือเสื้อที่เคลือบสารไล่แมลงซึ่งจะช่วยป้องกันได้มากขึ้นและไม่
ลดทอนการปฏิบัติงาน
ง. ท�ำรายงานการโจมตี
๓.๒.๓ หลังการโจมตี
ก. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สนับสนุนด้านการแพทย์ เพื่อขอความ
ช่วยเหลือด้านเวชกรรมป้องกัน
ข. เริ่มต้นใช้ยาฆ่าแมลงและมาตรการการควบคุมศัตรูพืชอื่น ๆ ตามที่
ระบุโดยเจ้าหน้าที่แผนกเวชกรรมป้องกัน ให้ก�ำจัดเหา, เห็บ, หมัดออกจากร่างกายด้วยตนเองและ
ช่วยเหลือเพื่อนคู่หูตามความจ�ำเป็น
ค. ประมาณการพื้นที่เปื้อนพิษ ท�ำการลาดตระเวนและรายงานทาง
การแพทย์ อาจมีส่วนช่วยฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.ในการประเมินพื้นที่เปื้อนพิษ
๓.๓ ขั้นตอนหลีกเลี่ยงแบบปกปิด (Covert Avoidance Procedures)
๓.๓.๑ ก่อนการโจมตี
ก. การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการ (OPSEC)
ข. พิสจู น์ทราบการปกปิดและขีดความสามารถและเจตนารมณ์ของศัตรู
ค. จัดเตรียมมาตรการความปลอดภัย โดยพิจารณาจากการประเมินภัย
คุกคาม
ง. พิสจู น์ทราบแหล่งส่งก�ำลังในรายการทีม่ คี วามเสีย่ งสูง โดยปฏิบตั แิ บบ
หมุนเวียนกัน
จ. ฝึกสอนให้กองทหารเฝ้าระวังต่อเครื่องมือที่ใช้แพร่กระจาย หรือสิ่ง
บ่งบอกที่บ่งชี้ว่าเป็นการแพร่กระจายแบบปกปิด ตามรายงานข่าวกรอง
ฉ. จัดตัง้ และเสริมก�ำลังระบบเวชกรรมป้องกันซึง่ จะรวมถึงการฉีดวัคซีน,
สุขอนามัยในพืน้ ที,่ มาตรฐานอนามัยบุคคล, การพักผ่อนและโภชนาการส�ำหรับกองทัพ การป้องกัน
น�้ำและอาหารอาจจะเป็นการขัดขวางไม่ให้มีการใช้สารชีวะโดยเฉพาะ ประสบความส�ำเร็จได้
๓.๓.๒ ระหว่างการโจมตี
ก. รายงานการสังเกตการณ์โจมตี แนวความคิดการใช้สาร ในปฏิบตั กิ าร
ของข้าศึก หรือหาสัญญาณและสิ่งบ่งชี้ถึงการโจมตีแบบปกปิด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 171

ข. เริ่มต้นท�ำการป้องกันบุคคลและป้องกันโดยรวม ส�ำหรับการป้องกัน
ที่ดีที่สุดและมีผู้บาดเจ็บน้อยที่สุดทหารควรอยู่ในท่าเตรียมพร้อมป้องกันอย่างน้อย ๔ ชม.
๓.๓.๓ หลังการโจมตี
ก. เตือนภัยก�ำลังพลที่อยู่ในพื้นที่ด้านทิศทางตามกระแสน�้ำ ทิศทางลม
และตามเส้นทางการส่งก�ำลังบ�ำรุง ส่วน คชรน.จะเตือนภัยเจ้าหน้าที่โดยขึ้นอยู่กับเจ้าหน้าที่ทาง
การแพทย์และข้อมูลข่าวกรองและการวิเคราะห์รายงาน นชค.๑ ชีวะ
ข. เริ่มต้นก�ำจัดและเปลี่ยนอาหารน�้ำ และสิ่งอุปกรณ์อื่น ๆ ส่วน นชค.
ท�ำหน้าที่ประสานงานการตรวจสอบและการส่งก�ำลังเพิ่มเติม
ค. เริ่ ม เก็ บ ตั ว อย่ า งโดยยึ ด หลั ก องค์ ค วามรู ้ การยิ น ยอมของคนไข้
การเก็บตัวอย่างโดยวิธเี ฉพาะทาง ถ้าสงสัยว่ามีการโจมตีดว้ ยอาวุธชีวะ ให้ลา้ งพืน้ ผิวด้วยสารฟอกขาว
ความเข้มข้นอย่างน้อย ๕% สารฟอกขาวใช้ได้ผลดีมากในการท�ำลายล้างพิษอาวุธชีวะส่วนใหญ่
๔. การรายงาน การพยากรณ์ และการหมายจุดการเปื้อนพิษทางชีวะ
ในการเพิ่มมาตรการเชิงรับการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษของหน่วย จะต้องมีการเตือนภัย
ล่วงหน้าการเปื้อนพิษที่เป็นไปได้ ส่วนทีเ่ หลือของบทนี้จะเป็นรายงาน นชค. ชีวะและการพยากรณ์
พื้นที่อันตราย
๕. รายงาน นชค.๑ ชีวะ (NBC1 BIO Report)
รายงาน นชค.๑ ชีวะเป็นรายงานที่ใช้อย่างแพร่หลายที่สุด หน่วยสังเกตการณ์ใช้รายงาน
นี้จัดเตรียมข้อมูลโจมตี คชรน. ทุกหน่วยต้องช�ำนาญกับรูปแบบรายงาน นชค.๑ ชีวะและข่าวสารที่
ต้องใช้ทำ� ให้รายงานมีความสมบูรณ์ รายงานนีจ้ ดั เตรียมอย่างรวดเร็วและถูกต้องทีร่ ะดับหน่วยและ
ส่งไปยังบก.หน่วยเหนือต่อไป หรือส่วน นชค. ตามการควบคุมโดยค�ำสั่งยุทธการ/ค�ำสั่งนโยบาย
รายงาน นชค.๑ ชีวะไม่ใช่รายงานตามปกติผ่านกองทัพน้อยหรือส่วน นชค.ที่สูงกว่า ยกเว้นส�ำหรับ
ใช้เป็นรายงานเริ่มต้น บรรทัด BRAVO, DELTA, GOLF, INDIA และ TANGO เป็นข้อบังคับให้มีใน
รายงาน นชค.๑
๕.๑ ความเร่งด่วนของข่าว
ความเร่งด่วนของรายงาน นชค.๑ อยู่ที่รายงานนี้เป็นรายงานเริ่มต้นหรือไม่
การเริม่ ต้นใช้รายงานอาวุธ คชรน.ในความเร่งด่วนของข่าวถือเป็น ด่วนทีส่ ดุ ส่วนอืน่ ทัง้ หมดถือเป็น
ความเร่งด่วนของข่าวแบบ ด่วนมาก
๕.๒ การจัดเตรียม
ก�ำลังพลที่ระบุโดย รปจ.ของหน่วยจะส่งข้อมูลดิบให้กับชุดป้องกัน คชรน.
ของหน่วยควรใช้รูปแบบ นชค.๑ ชีวะ อย่างไรก็ตามรายงานการข่าวกรอง/การลาดตระเวน หรือ
รายงานพิเศษ อาจมีการใช้ดว้ ยและควรส่งต่อให้ชดุ ป้องกัน คชรน.ของหน่วย ชุดป้องกัน คชรน.ของ
172 ภาคผนวก ฉ

หน่วยโดยปกติประกอบด้วยก�ำลังพลที่ได้รับการฝึกการป้องกัน คชรน. ตรวจให้แน่ใจว่ารายงานอยู่


ในรูปแบบที่เหมาะสมและมีความถูกต้อง
๕.๓ ตัวอย่าง
ตัวอย่างรายงาน นชค.๑ แสดงในภาพ ฉ-๑ ในคอลัมน์ข้อก�ำหนดอาจเป็น
ค่าที่วัดได้ (O) หรือค่าที่ต้องระบุเสมอ (M) ส�ำหรับแต่ละแบบข่าวค่า (O) อาจเพิ่มหรือลดขึ้นกับ
การไตร่ตรองของผู้ปฏิบัติ

รายงาน นชค.๑ ชีวะ


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี ก�ำหนดโดยส่วน คชรน.
ที่อยู่ของผู้สังเกตการณ์และทิศทาง BRAVO/32UNB062634/2500MLG//
BRAVO M
ของการโจมตีหรือเหตุการณ์
วั น เวลาการโจมตี ห รื อ การระเบิ ด DELTA/201405ZSEP1997/
DELTA M
และสิ้นสุดการโจมตี 201420ZSEP1997//
FOXTROT ต�ำบลโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ O FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF ข่าวสารของเครื่องส่งและปริมาณ M GOLF/OBS/AIR/1/BML/-//
ข่าวสารการโจมตีของสารเคมีชีวะ INDIA/AIR/BIO/BG/DET//
INDIA M
หรือเหตุการณ์ ROTA
TANGO ภูมิประเทศและรายละเอียดพืชพันธุ์ M TANGO/FLAT/URBAN//
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
ภาพ ฉ-๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.๑ ชีวะ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 173

๖. รายงาน นชค.๒ ชีวะ (NBC2 BIO Report)


รายงาน นชค.๒ ชีวะมาจากรายงาน นชค.๑ ชีวะ ๑ ชุดหรือมากกว่า ใช้เพื่อส่งข้อมูลที่
ได้ประเมินไปยังหน่วยเหนือ หน่วยรองและหน่วยใกล้เคียง ส่วน คชรน.โดยปกติเป็นระดับล่างสุด
ที่จะเตรียมรายงาน นชค.๒ ชีวะ อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ คชรน.ที่ บก.ระดับกลาง อาจเป็นผู้จัดท�ำ
รายงานถ้ามีข้อมูลเพียงพอ อย่างไรก็ตามที่ บก.ระดับกลางจะไม่ต้องก�ำหนดเลขล�ำดับการโจมตี
ส่วน คชรน.จัดท�ำรายงาน นชค.๒ ชีวะ ก�ำหนดเลขล�ำดับการโจมตีและส่งต่อรายงานไปยังหน่วยที่
เหมาะสม แต่ละหน่วยรองจะตัดสินใจ ว่าควรเผยแพร่รายงานต่อไปหรือไม่ บรรทัด ALFA, DELTA,
FOXTROT, GOLF, INDIA และ TANGO เป็นบรรทัดบังคับให้ต้องบันทึกในรายงาน นชค.๒ ชีวะ
รายงาน นชค.๒ ชีวะ

รายงาน นชค.๒ ชีวะ


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M ALFA/US/A234/001/B//
DELTA วันเวลาการโจมตีหรือการระเบิดและ DELTA/201405ZSEP1997/
M
สิ้นสุดการโจมตี 201420ZSEP1997//
FOXTROT ต�ำบลโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ M FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF ข่าวสารของเครื่องส่งและปริมาณ M GOLF/OBS/AIR/1/BML/-//
INDIA ข่าวสารการโจมตีของสารเคมีชีวะหรือ M INDIA/AIR/BIO/BG/DET//
เหตุการณ์ ROTA
TANGO ภูมิประเทศและรายละเอียดพืชพันธุ์ M TANGO/FLAT/URBAN//
YANKEE ทิศทางตามลมและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
ภาพ ฉ-๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๒ ชีวะ
174 ภาคผนวก ฉ

๗. รายงาน นชค.๓ ชีวะ (NBC3 BIO Report)


ศูนย์กลางพื้นที่ คชรน.จะใช้รายงาน นชค.๒ ชีวะและข้อมูลกระแสลมปัจจุบันพยากรณ์
พื้นที่อันตราย การพยากรณ์นี้ เผยแพร่ในรูปรายงาน นชค.๓ ชีวะ จะถูกส่งไปยังทุกหน่วยหรือการ
ปฏิบตั ทิ ไี่ ด้รบั ผลกระทบจากอันตราย แต่ละหน่วยหรือการปฏิบตั ทิ ำ� การหมายจุดรายงาน นชค.๓ ชีวะ
และท�ำการเตือนภัยหน่วยหรือการปฏิบตั ทิ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ ผบ.หน่วยควรใช้รายงานนีเ้ ป็นข่าวกรอง
สนามรบเมื่อวางแผนภารกิจ รายงาน นชค.๓ ชีวะใช้พยากรณ์พื้นที่อันตราย เป็นการพยากรณ์ด้าน
ความปลอดภัยเพื่อแน่ใจว่าไม่มีอันตรายอย่างมีนัยส�ำคัญเกิดในพื้นที่ด้านนอกของพื้นที่พยากรณ์

รายงาน นชค.๓ ชีวะ


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M ALFA/US/A234/001/B//
วันเวลาการโจมตีหรือการระเบิด DELTA/201405ZSEP1997/
DELTA M
และสิ้นสุดการโจมตี 201420ZSEP1997//
FOXTROT ต�ำบลโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ O FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF ข่าวสารของเครื่องส่งและปริมาณ M GOLF/OBS/AIR/1/BML/-//
INDIA ข่ า วสารการโจมตี ข องสารเคมี ชี ว ะ M INDIA/AIR/BIO/BG/DET//
หรือเหตุการณ์ ROTA
PAPAA พื้นที่พยากรณ์การโจมตี การปล่อย M PAPAA/1KM/3-10DAY/10KM/2-
กระจายสารและพื้นที่อันตราย 6DAY//
PAPAX ต� ำ แหน่ ง ที่ ตั้ ง พื้ น ที่ อั น ตรายส� ำ หรั บ M PAPAX/201600ZSEP1997/
ระยะเวลาหนึ่งของสภาพอากาศ 32VNJ456280/32VNJ456119/
32VNJ576200/32VNJ566217/
32VNJ456280//
XRAYB ข้อมูลเส้นขอบเขตจากการพยากรณ์ C
YANKEE ทิศทางตามลมและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
ภาพ ฉ-๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๓ ชีวะ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 175

๗.๑ ค�ำจ�ำกัดความ (Definitions)


ในการหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษ ผูบ้ งั คับหน่วยต้องรูพ้ นื้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ การพยากรณ์การ
เปือ้ นพิษชีวะจะให้ขอ้ มูลต�ำแหน่งทีต่ งั้ ขอบเขตของพืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลม และระยะเวลาทีอ่ นั ตราย
ยังคงอยู่หลังถูกโจมตีด้วยอาวุธชีวะ จัดหาข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้บังคับหน่วยเพื่อเตือนหน่วยใน
พื้นที่ที่อยู่ในพื้นที่อันตรายตามลม ค�ำจ�ำกัดความต่อไปนี้ใช้ในการพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษชีวะ
๗.๑.๑ พื้นที่โจมตี (Attack Area) เป็นพื้นที่พยากรณ์ ที่ได้รับผลกระทบทันทีที่
มีการโจมตีด้วยอาวุธชีวะ
๗.๑.๒ พื้นที่อันตรายตามลม (Hazard Area) เป็นพื้นที่พยากรณ์ซึ่งเจ้าหน้าที่ที่
ไม่ได้ป้องกันตนอาจจะได้รับผลกระทบจากสารที่แพร่กระจายไปตามลมจากพื้นที่โจมตี ระยะทาง
อันตรายตามลมขึ้นอยู่กับประเภทของการโจมตี สภาพอากาศและภูมิประเทศในพื้นที่โจมตีและ
พื้นที่อันตรายตามลม
๗.๑.๓ พืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ (Contaminate Area) เป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ อันตรายจากอาวุธชีวะ
อาจยังคงอยู่ในระดับรุนแรงในบางเวลาหลังการโจมตี การเปื้อนพิษอาจจะอยู่ในรูปแบบของแข็ง
หรือของเหลว ขอบเขตพื้นที่จริงและระยะเวลาการเปื้อนพิษ จะถูกก�ำหนดโดยการส�ำรวจและเก็บ
ตัวอย่างเท่านั้น
๗.๒ รูปแบบการโจมตีด้วยอาวุธชีวะ (Types of Biological Attacks)
แบ่งได้ ๔ กลุ่ม ขึ้นกับชนิดเครื่องส่งและความเร็วลม (ตาราง ฉ-๑)
๗.๒.๑ ประเภท P ประกอบด้วย การโจมตีดว้ ยยุทโธปกรณ์ทมี่ กี ารระเบิดเฉพาะ
พื้นที่ เช่น ลูกระเบิด [BOM], จรวด [RKT], ลูกปืนใหญ่ [SHL], ทุ่นระเบิด [MNE], ขีปนาวุธระเบิด
ที่พื้นผิว [MSL], เครื่องพ่นละออง (ถัง) (SPR) หรือเครื่องผลิต (แอโรซอล) (GEN)
๗.๒.๒ ประเภท Q ประกอบด้วย การโจมตีด้วยยุทโธปกรณ์ที่ครอบคลุมพื้นที่
ขนาดใหญ่ เช่น ระเบิดย่อย [BML], ขีปนาวุธระเบิดในอากาศ (MSL)
๗.๒.๓ ประเภท R ประกอบด้วย การโจมตีที่รู้ต�ำแหน่งโจมตี แต่ไม่รู้ชนิดของ
ยุทโธปกรณ์ หรือเป็นการโจมตีจากเครือ่ งพ่นละออง (ถัง) และเครือ่ งผลิต (แอโรซอล) ปล่อยกระจาย
สารในอากาศ
๗.๒.๔ ประเภท S ประกอบด้วย การตรวจหาหลังการโจมตีที่ไม่สามารถ
ตรวจการณ์ได้
หมายเหตุ : พื้นผิวที่มีการพ่นละอองควรจัดเป็น ประเภท R ถ้าเป็นแบบเคลื่อนที่และปล่อยสาร
ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า ๑ กม.
176 ภาคผนวก ฉ

ตาราง ฉ-๑ ประเภทและกรณีของการโจมตี

อาวุธ รัศมีพื้นที่โจมตี ความเร็วลม ประเภท กรณี สัญลักษณ์


ลูกระเบิด, จรวด,
ลูกปืนใหญ่, ทุน่ ระเบิด,
ขีปนาวุธระเบิดที่ ≤๑๐ กม./ชม. ๑
พื้นผิว, เครื่องพ่น P
ละออง (ถัง) หรือ >๑๐ กม./ชม. ๒
เครือ่ งผลิต (แอโรซอล)
ปล่อยกระจายสารที่
พื้นผิว

ระเบิดย่อย, ขีปนาวุธ
ระเบิดในอากาศ ≤๑๐ กม./ชม. ๑
Q
>๑๐ กม./ชม. ๒

เครื่องพ่นละออง (ถัง)
และเครื่องผลิต (แอโร ≤๑๐ กม./ชม. ๑
ซอล) ปล่อยกระจาย R
สารในอากาศหรือไม่รู้ Attack Length >๑๐ กม./ชม. ๒
อาวุธที่ใช้

การตรวจหาหลังการ
โจมตีที่ไม่สามารถ S ๑/๒
ตรวจการณ์ได้
(รายงาน นชค.๔ ชีวะ)

หมายเหตุ :
รายงาน NBC 1 ชีวะ อาจได้รบั หลังการโจมตีทไี่ ม่สามารถตรวจการณ์ได้และควรจะถือว่าเป็นรายงาน NBC4 ชีวะ
* เส้นรัศมีสังเกตการณ์ที่แตกต่างกันอาจจะระบุในบรรทัด GENTEXT
** หากพบการโจมตี ๒ ประเภท ให้ใช้ล�ำดับต่อไปนี้เพื่อก�ำหนดประเภทของการโจมตีที่จะใช้ : ประเภท R, Q
หรือ P
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 177

๗.๓ การพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลม (Hazard Prediction)


ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน.จะก�ำหนดประเภทการโจมตีและกรณีความเร็วลม ข่าวสาร
นี้มีความส�ำคัญมากในการพยากรณ์
๗.๓.๑ ต�ำบลโจมตี (Attack Location) ก�ำหนดหรือประมาณการต�ำบลโจมตี
จากรายงาน นชค.๑ ชีวะ และท�ำเครื่องหมายบนแผ่นบริวารแผนที่
๗.๓.๒ พื้นที่โจมตี (Attack Areas) ก�ำหนดหรือประมาณการประเภทการโจมตี
จากรายงาน นชค.๑ ชีวะ การหมายจุดพื้นที่โจมตีมีรูปแบบดังนี้
ก. ประเภท P พืน้ ทีโ่ จมตีจะถูกวาดเป็นวงกลมไม่ระบุรศั มี ศูนย์กลางอยู่
ที่ต�ำแหน่งปล่อยกระจายสาร
ข. ประเภท Q พืน้ ทีโ่ จมตีจะถูกวาดเป็นวงกลมไม่ระบุรศั มี ศูนย์กลางอยู่
ที่ต�ำแหน่งปล่อยกระจายสาร
ค. ประเภท R พื้ น ที่ โจมตี ส� ำ หรั บ ประเภท R อ่ า นค่ า จากบรรทั ด
FOXTROT ก�ำหนดจุดทีป่ ลายเส้นตรงทัง้ ๒ ด้าน วาดวงกลมไม่ระบุรศั มี ต�ำแหน่งศูนย์กลางวงกลม
อยู่ที่ปลายทั้ง ๒ ด้าน ลากเส้นเรเดียนสัมผัสวงกลมทั้ง ๒ ด้านเพื่อสร้างแนวพื้นที่โจมตี
ง. ประเภท S พืน้ ทีโ่ จมตีจะถูกวาดเป็นวงกลมไม่ระบุรศั มี ศูนย์กลางอยู่
ที่ต�ำแหน่งที่มีการตรวจหาสาร ไม่ทราบพื้นที่โจมตี นี่คือพื้นที่เริ่มต้นเท่านั้น
หมายเหตุ : ขนาดของพื้นที่โจมตีแบบ P, Q หรือ R อาจมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือลดลง ขึ้นกับข่าวสารที่
ได้ในบรรทัด GENTEXT ในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ข้อมูลนีจ้ ะจัดรูปแบบเป็น RDS :
XXXKM ใช้ตัวเลข ๓ ต�ำแหน่งเสมอส�ำหรับรัศมีวงกลม (เช่น RDS : 045 KM)
๗.๔ ระยะทางอันตรายตามลม (Downwind Travel Distances)
๗.๔.๑ ระยะทางอันตรายตามลมเป็นระยะทางทีศ่ นู ย์กลางของเมฆเคลือ่ นทีผ่ า่ น
ระยะทางอันตรายตามลมแบ่งออกเป็น ๓ ระยะ สอดคล้องกับ ๓ ห้วงเวลา ตามรายงานพยากรณ์
อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี นชค. (NBC CDR) ดังนี้ d1 = µ1t1
d2 = 2 µ2
d3 = 2 µ3
d1 = ระยะทางเคลื่อนที่ (กม.) ในระยะ ๒ ชม. แรกของการโจมตีตามรายงาน NBC CDR
d2 = ระยะทางเคลื่อนที่ (กม.) ในระยะ ๒ ชม.ถัดมาหลังจาก ๒ ชม.แรกตามรายงาน NBC CDR
d3 = ระยะทางเคลื่อนที่ (กม.) ในระยะ ๒ ชม.ถัดมาหลังจาก ๔ ชม.แรกตามรายงาน NBC CDR
µ1 = ความเร็วลม (กม./ชม.) ในระยะ ๒ ชม.แรกของการโจมตีตามรายงาน NBC CDR
µ2 = ความเร็วลม (กม./ชม.) ในระยะ ๒ ชม.ถัดมาหลังจาก ๒ ชม.แรกตามรายงาน NBC CDR
µ3 = ความเร็วลม (กม./ชม.) ในระยะ ๒ ชม.ถัดมาหลังจาก ๔ ชม.แรกตามรายงาน NBC CDR
178 ภาคผนวก ฉ

t1 = เวลาที่เหลืออยู่หลังจากการโจมตีหรือการตรวจหาสารภายในห้วงเวลา ๒ ชั่วโมงแรกของ
รายงาน NBC CDR
๗.๔.๒ กรณีพิเศษ
ก. ในห้วงเวลาใด ๆ ของรายงาน NBC CDR ที่พื้นที่นั้นมีความเร็วลม
< ๑๐ นอต ให้ใช้ค่าความเร็วลม ๑๐ นอต ในการค�ำนวณ
ข. ข้อมูลสภาพอากาศ อาจไม่สามารถหาใช้ได้ในห้วงเวลา ๖ ชม.เต็ม
หลังการโจมตี ถ้าเป็นกรณีนี้ระยะทางอันตรายตามลม จะน�ำมาค�ำนวณตามข้อมูลสภาพอากาศที่
มีใช้ได้เท่านั้น
๗.๔.๓ ระยะทางอันตรายตามลม การค�ำนวณระยะทางอันตรายตามลม ปฏิบตั ิ
ตามขั้นตอนดังนี้
ก. ขั้นที่ ๑ ถ้าการโจมตีหรือการตรวจหาสาร เกิดขึ้นในระยะ ๒ ชม.แรก
ของ NBC CDR ท�ำการค�ำนวณระยะทาง ๓ ส่วนดังนี้
d1 ใช้ห้วงเวลาที่ 1 NBC CDR (WHISKEY)
d2 ใช้ห้วงเวลาที่ 2 NBC CDR (XRAY)
d3 ใช้ห้วงเวลาที่ 3 NBC CDR (YANKEE)
ข. ขั้นที่ ๒ ถ้าการโจมตีหรือตรวจหาเกิดขึ้นในห้วงเวลาที่ ๒ ท�ำการ
ค�ำนวณระยะทางดังนี้
d1 ใช้ห้วงเวลาที่ 2 NBC CDR (XRAY)
d2 ใช้ห้วงเวลาที่ 3 NBC CDR (YANKEE)
ค. ขั้นที่ ๓ ถ้าการโจมตีหรือตรวจหาเกิดขึ้นในห้วงเวลาที่ 3 NBC CDR
d1 จะค�ำนวณจากการใช้ค่า YANKEE เท่านั้น
๗.๔.๔ ผลรวมระยะทางอันตรายตามลม ผลรวมของระยะทางอันตรายตามลม
ของศูนย์กลางของเมฆชีวะคือ ผลรวมของทั้ง ๓ ส่วน
DA = d1+ d2+ d3
DA = ผลรวมของระยะทางอันตรายตามลม (กม.)
๗.๔.๕ แนวขอบหน้าและแนวขอบหลังของเมฆ ท�ำการค�ำนวณดังนี้
DL = 1.5 DA
DT = 0.5 DA
DL = ระยะทางแนวขอบหน้าของเมฆ (กม.)
DT = ระยะทางแนวขอบหลังของเมฆ (กม.)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 179

๗.๔.๖ ห้วงเวลาที่ ๓ ถ้ามีห้วงเวลาที่ ๓ เกี่ยวข้องจะมีการขยายไปรวมถึงแนว


ขอบหน้า
DE = DL - d1- d2
DE = คือระยะทางตามลม (กม.) ที่เพิ่มขึ้น ในห้วงเวลาที่ ๓ ของรายงาน
NBC CDR ระยะเวลา ๒ ชม.
๗.๕ การก�ำหนดพื้นที่อันตรายเริ่มต้น (Determining Initial Hazard Areas)
๗.๕.๑ การโจมตี กรณีที่ ๑
ก. ความเร็วลม ความเร็วลมที่ ๑๐ กม./ชมหรือน้อยกว่า ให้ใช้คา่ ความเร็วลม
๑๐ กม./ชม.
ข. รัศมีของพืน้ ทีอ่ นั ตราย รัศมีของวงกลมพืน้ ทีอ่ นั ตรายเท่ากับ รัศมีของ
พื้นที่โจมตีบวกกับผลคูณของความเร็วลม ๑๐ กม./ชม. กับเวลาที่เหลืออยู่หลังการโจมตีตาม CDR
ตัวอย่างเช่น ประเภท P กรณีที่ ๑ การโจมตีมีระยะเวลาการเดินทาง ๒ ชั่วโมง รัศมีพื้นที่เปื้อนพิษ
จะเท่ากับ : (เวลา x ความเร็วลม) + รัศมีของพื้นที่โจมตี = รัศมีวงกลม กรณีที่ ๑
(๒ ชม. x ๑๐ กม./ชม.) + ๔ กม. = ๒๔ กม.
ค. ประเภท P, Q และ S ใช้พื้นที่วงกลม ๑ วงกลมแสดงภาพการโจมตี
ประเภท P, Q และ S พื้นที่ภายในวงกลมเป็นพื้นที่อันตราย
ง. ประเภท R ใช้พื้นที่วงกลม ๒ วงกลม แสดงภาพการโจมตีประเภท R
เมือ่ ลากเส้นเรเดียนเชือ่ มระหว่างวงกลม ผลรวมของพืน้ ทีท่ ถี่ กู ล้อมด้วยเส้นเรเดียนคือ พืน้ ทีอ่ นั ตราย
๗.๕.๒ การโจมตี กรณีที่ ๒
ก. ทิศทางตามลม อ่านค่าทิศทางตามลมจาก NBC CDM ลากเส้น
ผ่านจุดศูนย์กลางวงกลมพื้นที่โจมตี โดยปรับให้อยู่ในทิศทางตามลม
ข. ประเภท P ส�ำหรับประเภท P มีหนึ่งวงกลมพื้นที่โจมตี ค�ำนวณระยะ
ทางตามลมส�ำหรับห้วงเวลาที่ ๑ (d1) ลากเส้นตรงไปถึงระยะ d1 ในทิศทางตามลมจากศูนย์กลาง
ของวงกลมลากเส้นไปทางด้านเหนือลม ท�ำเครื่องหมายที่ระยะทางเท่ากับ ๒ เท่าของรัศมีวงกลม
โจมตี
ค. ที่ปลายของเส้น d1 ลากเส้นตั้งฉากกับเส้นทิศทางตามลมที่ระยะ d1
และลากตรงออกไปทั้ง ๒ ด้าน
ง. เส้นเรเดียน ลากเส้นเรเดียน ๒ เส้นไปทีว่ งกลมโจมตีจากจุดด้านเหนือ
ลมทีท่ ำ� เครือ่ งหมาย ลากเส้นเรเดียนออกไปจนกระทัง่ ตัดกับเส้นตัง้ ฉาก เส้นเหล่านีจ้ ะท�ำมุม 30° ใน
แต่ละด้านกับเส้นทิศทางตามลม
180 ภาคผนวก ฉ

จ. ประเภท R ส�ำหรับการปล่อยกระจายสารประเภท R ให้เชื่อมต่อมุม


พื้นที่อันตรายที่ต�่ำกว่าเพื่อล้อมรอบพื้นที่อันตรายตามลมรวม
ฉ. ประเภท S ไม่มกี ารหมายจุดพืน้ ทีอ่ นั ตราย เพราะไม่รสู้ ถานทีแ่ ละเวลา
ในการปล่อยสาร พื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเปื้อนพิษสารชีวะจึงก�ำหนดเป็นวงกลมรัศมี ๒๕ กม.
แจ้งหน่วยฝ่ายเดียวกันตลอดพื้นที่ที่มีความเสี่ยง เมื่อท�ำรายงานเสร็จให้ส่งรายงานไปยังหน่วยใน
พื้นที่หรือทีมส�ำรวจ เมื่อได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการโจมตีเพิ่มเติม การโจมตีประเภท S ให้ปฏิบัติ
เป็นแบบประเภท P, Q หรือR
๗.๖ การพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมเริ่มต้น (Prediction of the Initial Hazard.)
๗.๖.๑ ประเภท P กรณีที่ ๑

ภาพ ฉ-๔ ประเภท P กรณีที่ ๑


หมายเหตุ :
A = รัศมีของพื้นที่โจมตี
H1 = รัศมีของพื้นที่อันตรายตามลมเริ่มต้น
d1 = ระยะทางตามลมในห้วงเวลาของ CDR
t1 = เวลาที่เหลืออยู่หลังจากการโจมตีในห้วงเวลาของ CDR
µ1 = สมมุติค่าความเร็วลม ๑๐ กม./ชม.
H1 = A + d1, d1 = µ1 x t1
ก. ขั้นตอนที่ ๑ อ่านค่าพิกัดต�ำบลโจมตีจากรายงาน นชค.ชีวะ บรรทัด FOXTROT
และหมายจุดบนแผนที่
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 181

ข. ขั้นตอนที่ ๒ วาดวงกลมด้วยเส้นรัศมียาว = A รอบจุดศูนย์กลางของต�ำแหน่ง


โจมตีพื้นที่ภายในวงกลมคือ พื้นที่โจมตี
ค. ขั้นตอนที่ ๓ วาดวงกลมมีเส้นรัศมียาว = H1
H1 = รัศมีของพื้นที่โจมตี (๔ กม.) + ระยะทางตามลม (d1)
d1 = µ1 x t1
ง. ขั้นตอนที่ ๔ จัดท�ำและส่งรายงาน นชค.๓ ชีวะ ไปยังหน่วยและกองก�ำลังจัดตั้ง
ในพื้นที่อันตรายตามลมที่ได้พยากรณ์ ให้สอดคล้องกับ รปจ. โดยใช้การพยากรณ์ใน ภาพ ฉ-๔
๗.๖.๒ ประเภท P กรณีที่ ๒

พื้นที่โจมตี

พื้นที่อันตราย

105
°

ภาพ ฉ-๕ ประเภท P กรณีที่ ๒


182 ภาคผนวก ฉ

หมายเหตุ :
A = รัศมีของพื้นที่โจมตี
d1 = ระยะทางตามลมในห้วงเวลาของ CDR
t1 = เวลาที่เหลืออยู่หลังจากการโจมตีในห้วงเวลาของ CDR
µ1 = ความเร็วลม
d1 = µ1 x t1
ก. ขั้นตอนที่ ๑ อ่านพิกัดต�ำบลโจมตีจากรายงาน นชค.ชีวะ (บรรทัด FOXTROT)
และหมายจุดลงบนแผนที่ (ภาพ ฉ-๕)
ข. ขั้นตอนที่ ๒ จากศูนย์กลางของต�ำแหน่งโจมตี ลากเส้นเหนือกริด
ค. ขัน้ ตอนที่ ๓ วาดวงกลมรอบจุดศูนย์กลางของต�ำแหน่งโจมตี พืน้ ทีภ่ ายในวงกลม
คือ พื้นที่โจมตี
ง. ขั้นตอนที่ ๔ ใช้ขา่ วสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (NBC CDM) จ�ำแนก
ทิศทางและความเร็วลม
จ. ขั้นตอนที่ ๕ จากศูนย์กลางของพื้นที่โจมตี ลากเส้นตรงแสดงทิศทางตามลม
ฉ. ขั้นตอนที่ ๖ ก�ำหนดระยะทางตามลม (d1) ถ้า d1 มีระยะทางน้อยกว่ารัศมีพื้นที่
โจมตีให้ก�ำหนดค่า d1 เท่ากับรัศมีของพื้นที่โจมตี
ช. ขั้นตอนที่ ๗ หมายจุดระยะทางตามลมจากศูนย์กลางของพื้นที่โจมตีบนเส้นทิศ
ตามลม
ซ. ขั้นตอนที่ ๘ ลากเส้นตั้งฉากกับเส้นทิศตามลมผ่านจุดที่หมายไว้ ลากเส้นตรง
ออกไปในแต่ละด้านข้างของเส้นทิศทางตามลม
ด. ขั้นตอนที่ ๙ ลากเส้นแสดงทิศทางตามลมไปทางด้านเหนือลมให้ห่างจาก
จุดศูนย์กลางของการโจมตี ๒ กม. (ความยาว ๒ เท่าของรัศมีพื้นที่โจมตี)
ต. ขัน้ ตอนที่ ๑๐ ลากเส้นจากด้านปลายจุดต้านลม สองเส้นให้สมั ผัสกับวงกลมพืน้ ที่
โจมตีลากไปจนกระทั่งตัดกับเส้นตั้งฉากของเส้นทิศทางตามลม เส้นตรงทั้ง ๒ เส้นนี้จะท�ำมุม ๓๐°
ในแต่ละด้านกับเส้นทิศทางตามลม
ถ. ขั้นตอนที่ ๑๑ พื้นที่อันตรายตามลมมีขอบเขตดังนี้
- แนวขอบต้านลมของวงกลมพื้นที่โจมตี
- เส้นเรเดียนท�ำมุมกับวงกลม ๓๐°
- เส้นตั้งฉากกับทิศทางตามลม
ท. ขั้นตอนที่ ๑๒ ส่งรายงาน นชค. ๓ ชีวะให้แก่ หน่วยและที่ตั้งทางทหาร ในพื้นที่
พยากรณ์อันตรายตามลม ตาม รปจ.
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 183

๗.๖.๓ ประเภท Q กรณีที่ ๑

ภาพ ฉ-๖ ประเภท Q กรณีที่ ๑


หมายเหตุ :
A = รัศมีของพื้นที่โจมตี
H1 = รัศมีของพื้นที่อันตรายตามลม
d1 = ระยะทางตามลมในห้วงเวลาของ CDR
t1 = เวลาที่เหลืออยู่หลังจากการโจมตีในห้วงเวลาของ CDR
µ1 = ความเร็วลม (๑๐ กม./ชม.)
H1 = A + d1, d1 = µ1 x t1
ก. ขัน้ ตอนที่ ๑ อ่านค่าพิกดั ต�ำบลโจมตี จากรายงาน นชค.ชีวะ บรรทัด FOXTROT
และหมายจุดบนแผนที่
ข. ขัน้ ตอนที่ ๒ วาดวงกลมด้วยรัศมีพนื้ ทีโ่ จมตี รอบจุดศูนย์กลางของต�ำแหน่งโจมตี
พื้นที่ภายในวงกลม คือพื้นที่โจมตี
ค. ขั้นตอนที่ ๓ วาดวงกลมด้วยเส้นรัศมียาวเท่ากับ d1 บวกกับรัศมีของพื้นที่โจมตี
วงกลมนี้จะเป็นพื้นที่อันตราย
ง. ขั้นตอนที่ ๔ จัดท�ำและส่งต่อรายงาน นชค.๓ ชีวะ ไปยังหน่วยและกองก�ำลัง
จัดตั้งในพื้นที่อันตรายตามลมที่ได้พยากรณ์ ให้สอดคล้องกับ รปจ.
184 ภาคผนวก ฉ

๗.๖.๔ ประเภท Q กรณีที่ ๒

120°

ภาพ ฉ-๗ ประเภท Q กรณีที่ ๒

หมายเหตุ :
A = รัศมีของพื้นที่โจมตี
H1 = รัศมีของพื้นที่อันตรายตามลม
d1 = ระยะทางตามลมในห้วงเวลาของ CDR
t1 = เวลาที่เหลืออยู่หลังจากการโจมตีในห้วงเวลาของ CDR
µ1 = ความเร็วลม ( >๑๐ กม./ชม.)
H1 = A + d1, d1 = µ1 x t1
ก. ขั้นตอนที่ ๑ อ่านพิกัดต�ำบลโจมตีจากรายงาน นชค.ชีวะ (บรรทัด FOXTROT)
และหมายจุดลงบนแผนที่ (ภาพ ฉ-๗)
ข. ขั้นตอนที่ ๒ จากศูนย์กลางของต�ำแหน่งโจมตี ลากเส้นเหนือกริด
ค. ขัน้ ตอนที่ ๓ วาดวงกลมด้วยรัศมีพนื้ ทีโ่ จมตี รอบจุดศูนย์กลางของต�ำแหน่งโจมตี
พื้นที่ภายในวงกลม คือพื้นที่โจมตี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 185

ง. ขั้นตอนที่ ๔ ใช้ข่าวสาร NBC CDM จ�ำแนกทิศทางและความเร็วลม


จ. ขั้นตอนที่ ๕ จากศูนย์กลางของพื้นที่โจมตี ลากเส้นตรงแสดงทิศทางตามลม
ฉ. ขั้นตอนที่ ๖ ก�ำหนดระยะทางตามลม (d1) ถ้า d1 มีระยะทางน้อยกว่ารัศมี
พื้นที่โจมตีให้ก�ำหนดค่า d1 เท่ากับรัศมีของพื้นที่โจมตี
ช. ขั้นตอนที่ ๗ หมายจุดระยะทางตามลมจากศูนย์กลางของพื้นที่โจมตีบนเส้น
ทิศตามลม
ซ. ขั้นตอนที่ ๘ ลากเส้นตั้งฉากกับเส้นทิศตามลมผ่านจุดที่หมายไว้ ลากเส้นตรง
ออกไปในแต่ละด้านข้างของเส้นทิศทางตามลม
ต. ขั้นตอนที่ ๙ ลากเส้ น แสดงทิ ศ ทางตามลมไปทางด้ า นต้ า นลมให้ ห ่ า งจาก
จุดศูนย์กลางของการโจมตี ๒ กม. (ความยาว ๒ เท่าของรัศมีพื้นที่โจมตี)
ด. ขั้นตอนที่ ๑๐ ลากเส้นจากด้านปลายจุดต้านลมสองเส้น ให้สมั ผัสกับวงกลมพืน้ ที่
โจมตีลากไปจนกระทั่งตัดกับเส้นตั้งฉากของเส้นทิศทางตามลม เส้นตรงทั้ง ๒ เส้นนี้จะท�ำมุม ๓๐°
ในแต่ละด้านกับเส้นทิศทางตามลม
ถ. ขั้นตอนที่ ๑๑ พื้นที่อันตรายตามลมมีขอบเขตดังนี้
- แนวขอบต้านลมของวงกลมพื้นที่โจมตี
- เส้นเรเดียนท�ำมุมกับวงกลม ๓๐°
- เส้นตั้งฉากกับทิศทางตามลม
ท. ขั้นตอนที่ ๑๒ ส่งรายงาน นชค.๓ ชีวะให้แก่ หน่วยและที่ตั้งทางทหารในพื้นที่
พยากรณ์อันตรายตามลมตาม รปจ.
๗.๖.๕ ประเภท R กรณีที่ ๑

ภาพ ฉ-๘ ประเภท R กรณีที่ ๑


186 ภาคผนวก ฉ

หมายเหตุ :
A = รัศมีของพื้นที่โจมตี
H1 = รัศมีของพื้นที่อันตรายตามลม
d1 = ระยะทางตามลมในห้วงเวลาของ CDR
t1 = เวลาที่เหลืออยู่หลังจากการโจมตีในห้วงเวลาของ CDR
µ1 = ความเร็วลม (๑๐ กม./ชม.)
H1 = A + d1, d1 = µ1 x t1
ก. ขั้นตอนที่ ๑ อ่านพิกัดตอนปลายต�ำบลโจมตี การโจมตีจากรายงาน นชค.ชีวะ
(บรรทัด FOXTROT) และหมายจุดลงบนแผนที่ เชื่อมต่อตอนปลายต�ำบลโจมตี เพื่อสร้างแนวการ
โจมตี
ข. ขั้นตอนที่ ๒ วาดวงกลมด้วยรัศมีพนื้ ทีโ่ จมตีรอบตอนปลายต�ำบลโจมตี แต่ละด้าน
ค. ขั้นตอนที่ ๓ เชือ่ มต่อวงกลมเหล่านีท้ งั้ สองด้าน โดยการลากเส้นเรเดียนให้ขนาน
ไปกับแนวการโจมตีเพื่อการก�ำหนดพื้นที่โจมตี
ง. ขั้นตอนที่ ๔ วาดวงกลม ด้วยรัศมีเท่ากับระยะทาง d1 บวกกับรัศมีของพื้นที่
โจมตีในแต่ละด้าน
จ. ขั้นตอนที่ ๕ เชือ่ มต่อวงกลมเหล่านี้ ทัง้ สองด้านโดยการลากเส้นเรเดียนให้ขนาน
ไปกับแนวการโจมตีเพื่อการก�ำหนดพื้นที่อันตราย
ฉ. ขั้นตอนที่ ๖ ส่งรายงาน นชค.๓ ชีวะให้แก่ หน่วยและที่ตั้งทางทหารในพื้นที่
พยากรณ์อันตรายตามลมตาม รปจ.
๗.๖.๖ ประเภท R กรณีที่ ๒

ภาพ ฉ-๙ ประเภท R กรณีที่ ๒


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 187

หมายเหตุ :
A = รัศมีของพื้นที่โจมตี
d1 = ระยะทางตามลมในห้วงเวลาของ CDR
t1 = เวลาที่เหลืออยู่หลังจากการโจมตีในห้วงเวลาของ CDR
µ1 = ความเร็วลม
d1 = µ1 x t1
ก. ขั้นตอนที่ ๑ อ่านพิกดั ตอนปลายต�ำบลโจมตี การโจมตีจากรายงาน นชค.ชีวะ
(บรรทัด FOXTROT) และหมายจุดลงบนแผนที่ เชือ่ มต่อตอนปลายต�ำบลโจมตี เพือ่ สร้างแนวการโจมตี
ข. ขั้นตอนที่ ๒ วาดวงกลมด้วยรัศมีพนื้ ทีโ่ จมตี รอบตอนปลายต�ำบลโจมตี แต่ละ
ด้าน
ค. ขั้นตอนที่ ๓ เชื่อมต่อวงกลมทั้งสองด้านโดยการลากเส้นเรเดียนให้ขนานไป
กับแนวการโจมตีเพื่อการก�ำหนดพื้นที่โจมตี
ง. ขั้นตอนที่ ๔ ลากเส้นเหนือกริดจากศูนย์กลางวงกลมแต่ละด้าน
จ. ขั้นตอนที่ ๕ ใช้ข่าวสาร NBC CDM จ�ำแนกทิศทางและความเร็วลม
ฉ. ขั้นตอนที่ ๖ จากศูนย์กลางของวงกลมพืน้ ทีโ่ จมตีแต่ละด้าน ลากเส้นตรงแสดง
ทิศทางตามลม
ช. ขั้นตอนที่ ๗ ก�ำหนดระยะทางตามลม (d1)
ซ. ขั้นตอนที่ ๘ หมายจุดระยะทางตามลมจากศูนย์กลางของวงกลมพื้นที่โจมตี
แต่ละด้านบนเส้นทิศทางตามลม
ด. ขั้นตอนที่ ๙ ลากเส้นตัง้ ฉากกับเส้นทิศทางตามลมแต่ละเส้นตรงจุดทีห่ มายไว้
ลากเส้นออกไปในแต่ละด้านข้างของเส้นทิศทางตามลม
ต. ขั้นตอนที่ ๑๐ ลากเส้นทิศทางตามลมแต่ละวงกลมพื้นที่โจมตี ออกไปทางด้าน
ต้านลมให้ห่างจากจุดศูนย์กลางของการโจมตี ให้มีความยาว ๒ เท่าของรัศมีพื้นที่โจมตี
ถ. ขั้นตอนที่ ๑๑ ลากเส้นจากด้านปลายจุดต้านลมสองเส้น ให้สัมผัสกับวงกลม
พื้นที่โจมตี ลากไปจนกระทั่งตัดกับเส้นตั้งฉากของเส้นทิศทางตามลม เส้นตรงทั้ง ๒ เส้นนี้จะท�ำมุม
๓๐° ในแต่ละด้านกับเส้นทิศทางตามลม
ท. ขั้นตอนที่ ๑๒ ลากเส้ น เชื่ อ มมุ ม ทิ ศ ทางตามลมของพื้ น ที่ อั น ตรายทั้ ง สอง
(จุด x และจุด y ในภาพ ฉ-๙)
น. ขั้นตอนที่ ๑๓ ส่งรายงาน นชค.๓ ชีวะให้แก่ หน่วยและที่ตั้งทางทหารในพื้นที่
พยากรณ์อันตรายตามลม ตาม รปจ.
188 ภาคผนวก ฉ

๗.๖.๗ ประเภท S กรณีที่ ๑ และ ๒

ภาพ ฉ-๑๐ ประเภท S กรณีที่ ๑ และ ๒

หมายเหตุ : H1 = รัศมีของพื้นที่เปื้อนพิษ
ก. ขั้นตอนที่ ๑ อ่ า นพิ กั ด ต� ำ บลโจมตี จ ากรายงาน นชค.ชี ว ะ (บรรทั ด
FOXTROT หรือQUEBEC) และหมายจุดลงบนแผนที่
ข. ขั้นตอนที่ ๒ วาดวงกลมโดยใช้รัศมีพื้นที่โจมตี รอบจุดศูนย์กลางของ
ต�ำแหน่งตรวจหาพื้นที่ภายในวงกลมนี้เป็นพื้นที่โจมตีและพื้นที่อันตราย
ค. ขั้นตอนที่ ๓ ส่งรายงาน นชค.๓ ชีวะ ให้แก่หน่วยและที่ตั้งทางทหารใน
พื้นที่พยากรณ์อันตรายตามลม ตาม รปจ.
๗.๗ ปรับการพยากรณ์การเปื้อนพิษ (Adjusted Hazard Prediction)
เมื่อทิศทางลมไม่ได้เปลี่ยนแปลงเท่ากับ ๓๐° หรือมากกว่าและความเร็วไม่ต�่ำกว่า
๑๐ กม./ชม. ผลรวมระยะทางตามลมสามารถน�ำมาใช้ในการค�ำนวณพื้นที่อันตรายพื้นที่เดียว ดัง
แสดงตามภาพ ฉ-๑๑ ให้คำ� นวณแนวขอบหน้าและแนวขอบหลัง เริม่ ต้นทีต่ ำ� บลโจมตี แนวขอบหน้า
และแนวขอบหลังให้แสดงโดยลากเส้นตั้งฉากไปยังเส้นทิศทางตามลม ลากไปจนสัมผัสเส้นเรเดียน
หลังการเปลี่ยนแปลงอากาศอย่างมีนัยส�ำคัญรายงาน นชค.๓ ชีวะอาจไม่ถูกต้อง รายงาน นชค.๓
ชีวะที่ปรับใหม่จะต้องส่งไปยังหน่วยหรือที่ตั้งทางทหารในพื้นที่อันตรายใหม่ถ้าเป็นไปได้ นอกจาก
นี้แจ้งเตือนหน่วยที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่อันตรายแล้ว สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยส�ำคัญมีดังนี้
 ความเร็วลมเท่ากับ ๑๐ กม.ต่อชม.หรือมากกว่า หรือถ้าความเร็วลมเพิ่ม
ขึ้นจากน้อยกว่า ๑๐ กม.ต่อชม. ไปถึงมากกว่า ๑๐ กม.ต่อชม. หรือตรงข้ามกัน
 มีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางตามลมเท่ากับ ๓๐° หรือมากกว่า
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 189

ภาพ ฉ-๑๑ ประเภท Q กรณีที่ ๒ การโจมตีด้วยความเร็วลมคงที่

๗.๗.๑ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงทิศทางลมทีเ่ ท่ากับ ๓๐° หรือมากกว่า หรือ


มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วลมระหว่างกรณีที่ ๑ และกรณีที่ ๒ ควรใช้ขั้นตอนการค�ำนวณใหม่จาก
ผนวก จ ประเภท A สารเคมี ดังแสดงในภาพ ฉ-๑๒

ภาพ ฉ-๑๒ ประเภท Q กรณีที่ ๒


190 ภาคผนวก ฉ

ก. วาดวงกลมพื้นที่โจมตีและพื้นที่อันตรายเริ่มต้น ส�ำหรับห้วงเวลาของ
NBC CDR ที่มีการโจมตี ส�ำหรับการโจมตีประเภท S วาดวงกลมรัศมีพื้นที่โจมตี มีจุดศูนย์กลางที่
ต�ำแหน่งสังเกตการณ์และรอคอยข่าวสารเพิ่มเติม
ข. พื้นที่อันตรายในตอนท้ายของห้วงเวลา จะวาดเป็นวงกลมศูนย์กลาง
อยู่ที่แนวขอบตามลม (d1) มีรัศมีเท่ากับระยะทางตามแนวเส้นตั้งฉากจากเส้นทิศทางตามลมไปยัง
เส้นเรเดียนเส้นหนึ่ง
ค. ถ้าห้วงเวลาต่อไปคือ กรณีที่ ๑ ให้ขยายวงกลมนี้โดยใช้ระยะทาง d2
ง. ถ้าห้วงเวลาต่อไปคือ กรณีที่ ๒ ให้ลากเส้นทิศทางตามลมใหม่ ส�ำหรับ
ห้วงเวลาใหม่ของระยะทาง d2 จากตอนปลายของเส้น d1 ท�ำซ�้ำขั้นตอนรูปสามเหลี่ยมกับวงกลม
วาดเป็นพื้นที่โจมตีใหม่
จ. วาดวงกลมที่มีพื้นที่อันตรายอยู่ที่ตอนปลายของห้วงเวลาที่ 2 ตามที่
อธิบายส�ำหรับตอนปลายของห้วงเวลาที่ 1
ฉ. สร้างพื้นที่อันตราย ส�ำหรับห้วงเวลาที่ ๓ ตามที่อธิบายส�ำหรับ
ห้วงเวลาที่ ๒ ส�ำหรับ กรณีที่ ๒ ใช้ระยะทางที่เพิ่มขึ้น (DE) รวมกับแนวขอบหน้า
ช. พื้นที่อันตรายส�ำหรับรายงาน NBC CDR ปัจจุบัน เป็นพื้นที่รวมของ
พื้นที่อันตรายเริ่มต้นและพื้นที่อันตรายที่เกี่ยวข้องกับห้วงเวลาที่ ๒ และห้วงเวลาที่ ๓
๗.๗.๒ รายงาน นชค.๓ ชีวะ ควรจัดท�ำขึน้ ให้สอดคล้องกับ NBC CDR ห้วงเวลา
ปัจจุบัน พื้นที่อันตรายที่ก�ำหนดไว้ในชุด PAPAX นั้นควรรวมต�ำแหน่งที่ค�ำนวณส�ำหรับ NBC CDR
ปัจจุบันซึ่งควรขยายเวลาไปอีก ๖ ชั่วโมงนับจากเวลาโจมตี ในกรณีนี้พื้นที่อันตรายไม่มากกว่า ๓
ห้วงเวลาจะปรากฏใน PAPAX
๗.๗.๓ แนวขอบหน้าและแนวขอบหลังค�ำนวณตามเส้นระยะทางตามลม เริ่ม
ต้นที่ต�ำแหน่งโจมตีแนวขอบหน้าและแนวขอบหลังคือ เส้นที่ลากตั้งฉากกับเส้นทางระยะทางตาม
ลม ลากไปยังเส้นเรเดียนส�ำหรับระยะทางแต่ละห้วงเวลา
๗.๗.๔ ส�ำหรับการโจมตี ประเภท S ควรแจ้งให้ทราบถึงสถานทีต่ ำ� แหน่งทีต่ งั้ ของ
ข้าศึก ในต�ำแหน่งของพื้นที่อันตรายที่อยู่เหนือลมขึ้นไป โดยค�ำนวณตามย่อหน้า ๗.๓.๒ (ง) พื้นที่
ระหว่างต�ำแหน่งข้าศึกและเทมเพลตควรพิจารณาว่าอาจมีการเปือ้ นพิษทางชีวะ ให้ทำ� การเตือนภัย
อย่างเหมาะสมและจัดเตรียมมาตรการป้องกัน ถ้ามีการตรวจหาสารเพิ่มเติม ในบริเวณภายนอก
พื้นที่อันตราย วิธีการใน ๗.๓.๒ (ง) ควรจะปฏิบัติซ�้ำส�ำหรับต�ำแหน่งที่ตั้งใหม่
๗.๘ การประเมินค่าข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM) หลายฉบับ
(Hazards Spanning Multiple CDM Messages)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 191

๗.๘.๑ ก่อนที่จะด�ำเนินการ CDR ฉบับถัดไป พื้นที่อันตรายตามลมควรน�ำมา


ค�ำนวณใหม่ ห้วงเวลาที่ ๓ ส�ำหรับการค�ำนวณใหม่ไม่ถูกขยายเพิ่ม รวมถึงแนวขอบหน้า เช่น ระยะ
ทาง d3 ที่ควรจะใช้ในต�ำแหน่งของ ระยะทาง DE อย่างไรก็ตามระยะทางแนวขอบหน้าและแนว
ขอบหลังยังคงต้องการการค�ำนวณและหมายจุดตามต�ำแหน่ง ระยะทาง (DA) ไม่ถกู ขยายเพือ่ ให้เกิด
ผลใน ๖ ชม.ของเวลาทัง้ หมด d3 จะจบลงทีต่ อนปลายของ CDR ปัจจุบนั (เช่น 2u3 ) ถ้าการโจมตีเกิด
ขึน้ ในห้วงเวลา CDR ที่ ๒ หรือ ๓ จ�ำนวน ๑ หรือ ๒ ระยะทางเท่านัน้ จะมีผลตามทีบ่ รรยายในย่อหน้า
๗.๔.๓ ถ้าการวัดสภาวะอุตุนิยมวิทยาที่เกิดขึ้นจริงมีการบันทึกระหว่าง NBC CDR ปัจจุบัน จะได้
รับการประมาณการพื้นที่อันตรายปัจจุบันที่ดีกว่า
๗.๘.๒ วาดวงกลมโจมตีส�ำหรับช่วงท้ายของ NBC CDR ปัจจุบัน โดยศูนย์กลาง
อยู่ที่ต�ำแหน่งทิศทางตามลมปัจจุบันและลากไปสัมผัสเส้นเรเดียน วงกลมโจมตีนี้ก�ำหนดขอบเขต
ของเมฆที่ช่วงท้ายของรายงาน NBC CDR ปัจจุบัน ถ้าวงกลมนี้ไม่รวมระยะทางแนวขอบหน้าและ
แนวขอบหลัง รัศมีวงกลมควรท�ำให้ใหญ่ขึ้นรอบต�ำแหน่งทิศทางตามลมปัจจุบัน จนกระทั่งจุด
ทั้งสองถูกรวมเข้ามา
๗.๘.๓ พื้นที่อันตรายส�ำหรับระยะเวลา ๖ ชั่วโมงถัดมา ควรจะค�ำนวณเมื่อ
ได้รับ NBC CDR ฉบับต่อมา หากไม่ได้รับ NBC CDR ฉบับต่อมาห้วงเวลาสุดท้ายส�ำหรับ NBC
CDR ปัจจุบัน ควรใช้บรรทัด WHISKEYM, XRAYM และ YANKEEM เมื่อได้รับ NBC CDR ฉบับต่อ
มาให้ท�ำการพยากรณ์พื้นที่อันตรายใหม่ พื้นที่อันตรายควรท�ำการรายงานในบรรทัด PAPAX ของ
รายงาน นชค.๓ ชีวะฉบับใหม่
๗.๘.๔ ควรท�ำการค�ำนวณพื้นที่อันตรายต่อไป จนกระทั่งมีการยืนยันการไม่
เปื้อนพิษ หรือจนกระทั่งระยะเวลาอันตรายได้ติดตามมาถึง ควรให้ความสนใจกับพื้นที่ที่ค�ำนวณ
ก่อนหน้านี้ซึ่งอาจเปื้อนพิษจนกระทั่งสารพิษเสื่อมประสิทธิภาพลง
๗.๙ การประเมินการสิ้นสุดของอันตรายจากสารชีวะ (Termination of Biological
Hazard Assessment)
ส�ำหรับการโจมตีทางชีวะประเภท P, Q และ R ในพืน้ ทีท่ รี่ ายงาน นชค.๓ ชีวะถูกจัดท�ำขึน้
จากรายงาน นชค.๑ ชีวะ อย่างน้อยหนึ่งฉบับและเป็นสารชีวะที่ไม่ทราบชนิด การค�ำนวณรายงาน
นชค.๓ ชีวะอาจถูกยกเลิกหากได้รบั การยืนยันว่าเป็นสารเคมี มิฉะนัน้ การประเมินอันตรายทางชีวะ
ควรด�ำเนินการต่อจนกว่าจะมีข่าวสารสามารถใช้ได้เพิ่มเติม
๗.๑๐ ระยะเวลาอันตราย (Hazard Duration)
ขึ้นกับการยืนยันการมีอยู่ของสารชีวะโดยเฉพาะหรือสารพิษ ระยะเวลาที่คาดว่าสารยัง
มีฤทธิอ์ ยูค่ วรถูกบันทึกไว้ในชุดข้อมูลทีส่ องของบรรทัด PAPAA รัศมีพนื้ ทีโ่ จมตีทคี่ ำ� นวณในรายงาน
NBC CDR ปัจจุบัน ควรบันทึกในชุดข้อมูลแรกของบรรทัด PAPAA สารอาจยังคงเป็นอันตรายบน
พื้นดินในพื้นที่เปื้อนพิษ เป็นเวลาหลายวันได้จนถึงหลายปี
192 ภาคผนวก ฉ

๘. รายงาน นชค.๔ ชีวะ (NBC4 BIO Report)


รายงาน นชค.๔ ชีวะคือ ผลการบันทึกของการตรวจหาเริม่ ต้น การลาดตระเวน การส�ำรวจ
หรือการตรวจสอบ ณ สถานทีท่ มี่ กี ารตรวจการมีอยูข่ องสารชีวะ แต่ละบรรทัด QUEBEC, ROMEO,
SIERRA, TANGO, WHISKEY, YANKEE และ ZULU ในทุก ๆ รายงาน นชค.๔ ชีวะเป็นการบันทึก
ของหนึง่ จุดทีส่ มุ่ ตัวอย่างเปือ้ นพิษ, สภาพแวดล้อม, เวลาในการอ่านค่า, ประเภทและระดับของการ
เปื้อนพิษ, วิธีการสุ่มตัวอย่างและสภาวะอุตุนิยมวิทยาท้องถิ่น รายงาน นชค.๔ ชีวะมักอยู่ห่างจาก
ต�ำบลพืน้ ทีโ่ จมตีในทิศทางตามลมทีก่ ำ� หนดไว้ในรายงาน นชค.๒ และรายงาน นชค.๓ ชีวะ เนือ่ งด้วย
สารชีวะมีความเป็นไปได้อย่างมากที่จะท�ำให้เกิดการปนเปื้อนโรคติดเชื้อทางอากาศ รายงาน
นชค.๔ ชีวะสามารถสันนิษฐานว่าเกี่ยวข้องกับการโจมตีเดียวกันถ้า
 รายงานอยู่ในพื้นที่อันตรายของรายงาน นชค.๓ ชีวะ ที่รายงานระหว่างเวลา
คาดหวังที่เร็วสุดและช้าสุดของการมาถึงของสาร
 รายงานอยูใ่ นระยะ ๑๐ กม. และ ๒ ชม.ของรายงาน นชค.๔ ชีวะอืน ่ ซึง่ ถูกก�ำหนด
ว่ามีการโจมตีเกิดขึ้นแล้ว
รายงาน นชค.๔ ชีวะ
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/A234/001/C//
ข้ อ มู ล การโจมตี ด ้ ว ยสารเคมี ชี ว ะหรื อ
INDIA O INDIA/AIR/BIO/BG//
ข้อมูลเหตุการณ์ ROTA
ต�ำแหน่งที่ตั้งการอ่านค่า/เก็บตัวอย่าง/
QUEBEC/32VNJ481203/-/
QUEBEC การตรวจหา และชนิดของตัวอย่าง/การ
*
M
DET//
ตรวจหา
ระดับการเปื้อนพิษ, แนวโน้มอัตราความ
ROMEO* O ROMEO/20PPM//
เข้มข้นและแนวโน้มอัตราการสลายตัว
วันเวลาอ่านข้อมูลหรือการตรวจหาการ
SIERRA* M SIERRA/202300ZSEP1997//
เปื้อนพิษเริ่มต้น
ค� ำ บรรยายลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศและ
TANGO* M TANGO/FLAT/URBAN//
พืชพันธุ์
WHISKEY ข้อมูลเครื่องเซ็นเซอร์ O WHISKEY/POS/POS/NO/MED//
YANKEE* ทิศทางและความเร็วลม M YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU *
สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
*
รหัสอักษรนี้บันทึกซ�้ำได้ถึง ๒๐ ครั้งเพื่ออธิบายถึงการตรวจหา, การตรวจสอบต่าง ๆ หรือจุดส�ำรวจ
ภาพ ฉ-๑๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๔ ชีวะ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 193

๙. รายงาน นชค.๕ ชีวะ (NBC5 BIO Report)


เป็นรายงานที่จัดท�ำขึ้นจากต�ำแหน่งพิกัดที่เปื้อนพิษ บ่อยครั้งที่รายงานนี้จะต้องส่งทาง
เครือข่ายวิทยุ ถ้าไม่มกี ารส่งแผ่นบริวาร ผูร้ บั จ�ำเป็นต้องหมายจุดแต่ละพิกดั และสร้างแผ่นพยากรณ์
ขึ้นใหม่ ในรายงาน นชค.๕ ชีวะ บรรทัด INDIA, OSCAR และ XRAYA จะต้องระบุรายละเอียดใน
แต่ละบรรทัด เป็นบรรทัดที่ก�ำหนดให้มีในรายงาน

รายงาน นชค.๕ ชีวะ


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/A234/001/C//
วั น เวลาของการโจมตี ห รื อ เกิ ด การ
DELTA O DELTA/201405ZSEP1997//
ระเบิดและสิ้นสุดการโจมตี
ข่าวสารการโจมตีด้วยสารเคมีชีวะหรือ
INDIA M INDIA/AIR/BIO/BG//
เหตุการณ์ ROTA
วันเวลาอ้างอิงส�ำหรับเส้นขอบเขตที่ได้
OSCAR M OSCAR/201505ZSEP1997//
รับการประเมิน
XRAYA/LCT50/32VNJ575203/
XRAYA* ข้อมูลของเส้นขอบเขตที่เกิดขึ้นจริง M 32VNJ572211/32VNJ560219/
32VNJ534218/32VNJ575203//
XRAYB* ข้อมูลของเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ O
YANKEE ทิศทางและความเร็วลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
* รหัสอักษรนี้บันทึกซ�้ำได้ถึง ๕๐ ครั้งเพื่อแสดงเส้นขอบเขตหลายแบบ

ภาพ ฉ-๑๔ ตัวอย่างรายงาน นชค.๕ ชีวะ

๑๐. รายงาน นชค.๖ ชีวะ (NBC6 BIO Report)


รายงาน นชค.ชีวะ เป็นค�ำอธิบายของการโจมตีชวี ะ ทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารของหน่วย
ที่รายงาน รายงาน นชค.๖ ชีวะ จะมีข้อมูลมากที่สุดเท่าที่รู้กันเกี่ยวกับการโจมตี จะส่งรายงานให้
เมื่อมีการร้องขอเท่านั้น
ผนวก ช
ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษนิวเคลียร์

๑. ภูมิหลัง
ภายใต้ภัยคุกคามของสงครามนิวเคลียร์หรือขณะเกิดสงครามนิวเคลียร์นั้น หน่วยต่าง ๆ
จะต้องประเมินผลกระทบอย่างต่อเนื่องต่อการปฏิบัติการยุทธ์จากการใช้อาวุธนิวเคลียร์ของข้าศึก
หน่วยจะต้องตระเตรียมการปฏิบตั เิ พือ่ ลดการขัดขวางการปฏิบตั กิ ารของหน่วยอันเนือ่ งมาจากการ
โจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ (เช่น การก�ำหนดเกณฑ์การรับรังสี (OEG))
๑.๑ การบาดเจ็บล้มตายระดับต่าง ๆ อันเนื่องมาจากฝุ่นกัมมันตรังสีนั้นสามารถแผ่
ขยายไปถึงระยะทางไกล ๆ และครอบคลุมพืน้ ทีบ่ ริเวณกว้างได้มากกว่าผลอันตรายอืน่ ๆ ของอาวุธ
นิวเคลียร์ ดังนั้นระดับอันตรายของฝุ่นกัมมันตรังสีจึงมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติการในสนามรบเป็น
เวลานาน ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการเปื้อนพิษกัมมันตรังสีที่จะกล่าวถึงในภาคผนวกนี้จะ
ช่วยให้ผบู้ งั คับหน่วยสามารถก�ำหนดข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบของแต่ละหนทางปฏิบตั ไิ ด้และ
เปิดโอกาสให้ยกเลิกภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้
๑.๒ พื้นที่ที่ปกคลุมด้วยฝุ่นกัมมันตรังสีเป็นพื้นที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสีที่กว้างที่สุดที่
เกิดขึ้นในสนามรบ เรื่องส�ำคัญเกี่ยวกับการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีมีอยู่ ๒ ประการ คือ
ลมเบื้องสูงและลมที่ผิวพื้นซึ่งจะเป็นตัวก�ำหนดว่าฝุ่นกัมมันตรังสีจะปรากฏ ณ ที่ใด ดังนั้นต�ำแหน่ง
ที่แท้จริงของฝุ่นกัมมันตรังสีจึงอาจแตกต่างจากต�ำแหน่งที่พยากรณ์จากลมที่ผิวพื้นเป็นอย่างมาก
๑.๓ อนุภาคของฝุ่นกัมมันตรังสีมักมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในเวลากลางวัน อนุภาคที่มี
ลักษณะคล้ายฝุน่ ผงทีต่ กลงสูพ่ นื้ ภายหลังการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์นนั้ ควรสันนิษฐานว่าเป็นฝุน่
กัมมันตรังสีจนกว่าผลการตรวจวัดรังสีจะแสดงว่า ไม่มีกัมมันตภาพรังสีในพื้นที่ น�้ำหยาดฟ้าใด ๆ ที่
ตกลงมาภายหลังการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์จะต้องถือว่าเป็นฝนกัมมันตรังสีจากเมฆนิวเคลียร์
๑.๔ พื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำจะแคบเมื่อเทียบกับพื้นที่ท่ีปกคลุมด้วยฝุ่น
กัมมันตรังสีที่เกิดจากอาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดอาวุธเท่ากัน พื้นที่นี้มักอยู่ภายในพื้นที่ที่ถูกท�ำลาย
หนักที่สุดและมีสิ่งกีดขวางอื่น ๆ (เช่น ต้นไม้โค่นล้ม เศษปรักหักพังหรือไฟไหม้) บ่อยครั้งที่ไม่มี
ความจ�ำเป็นต้องเข้าไปในพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ หน่วยควรเคลื่อนเข้าไปในพื้นที่นี้
เฉพาะเมื่อมีความจ�ำเป็นเท่านั้น ถ้าหน่วยจ�ำเป็นจะต้องผ่านจุดศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (GZ)
หรือต�ำแหน่งทีถ่ กู โจมตีดว้ ยอาวุธนิวเคลียร์ หรือเข้าไปยึดครองพืน้ ทีบ่ ริเวณจุดศูนย์กลางการระเบิด
ทีผ่ วิ พืน้ รังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำจะมีนยั ส�ำคัญต่อการปฏิบตั กิ ารยุทธ์ หน่วยควรก�ำหนดเวลาเข้าพืน้ ที่
และเวลาอยูใ่ นพืน้ ที่ โดยพิจารณาจากระดับรังสีทปี่ รากฏอยูใ่ นพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 195

๑.๕ อัตรารังสี ณ ต�ำแหน่งใด ๆ ภายในพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษกัมมันตรังสีจะไม่คงที่ อัตรารังสีจะ


ลดลงตามเวลา ดังนั้นเมื่อเวลาผ่านไประยะหนึ่ง อันตรายจากรังสีจะไม่มีนัยส�ำคัญทางทหาร อัตรา
การสลายตัวที่เกิดขึ้นนี้จะแปรตามเวลา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะช้าลงเมื่อเวลาผ่านไป ส�ำหรับการ
เปือ้ นพิษกัมมันตรังสีในพื้นที่นนั้ อัตราการสลายตัวจะขึ้นอยู่กบั ปัจจัยหลายประการ โดยทัว่ ไปแล้ว
จะไม่สามารถก�ำหนดได้จนกว่าจะท�ำการวัดค่าอัตรารังสีหลาย ๆ ชุดที่ต�ำแหน่งใดต�ำแหน่งหนึ่ง
ภายในพื้นที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสี ดังนั้นจึงก�ำหนดให้หน่วยทั้งหมดใช้สภาพการสลายตัวมาตรฐาน
ไปจนกว่าจะหาสภาพการสลายตัวที่เป็นจริงได้ หรือจนกว่าหน่วยเหนือจะก�ำหนดเป็นอย่างอื่น
๒. วิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษรังสีนิวเคลียร์
วิธกี ารหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษรังสีนวิ เคลียร์แบ่งออกเป็น การปฏิบตั กิ อ่ นการโจมตี ระหว่าง
การโจมตี และภายหลังการโจมตี รายการทีร่ ะบุไว้ตอ่ ไปนีถ้ งึ แม้วา่ จะไม่สามารถครอบคลุมค�ำแนะน�ำ
ได้ทั้งหมด แต่ก็อาจช่วยในการจัดท�ำ รปจ.ของหน่วยและแนะน�ำการปฏิบัติได้
๒.๑ ก่อนการโจมตี (Preattack)
๒.๑.๑ ประเมินและตรวจตรากิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร์ของข้าศึก
ประเมินภัยคุกคามและความเสี่ยง รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
 ขนาดของอาวุธนิวเคลียร์ต่าง ๆ
 คาดเดาความสูงของการระเบิด (ระดับสูง ในอากาศ ทีผ ่ วิ พืน้ หรือใต้ผวิ
พื้น)
 ระบบเครื่องส่งและระยะท�ำการที่น่าจะเป็น
 ต�ำแหน่งที่เก็บอาวุธนิวเคลียร์และกิจกรรมหรือความเคลื่อนไหว
 อาวุธนิวเคลียร์ที่ประจ�ำการอยู่ในหน่วยต่าง ๆ
 หลักนิยมการใช้
 การใช้อาวุธนิวเคลียร์หรือมีทีท่าว่าจะใช้ในอดีต
 การฝึกและการซ้อมเกี่ยวกับสงครามนิวเคลียร์
 การแจกจ่ายยาเม็ดไอโอดีน
 การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาและสภาพแวดล้ อ มที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
กับขีดความสามารถของวิธีการส่งอาวุธและอาวุธนิวเคลียร์ที่ทราบ
 ความเสียหายที่คาดว่าจะได้รับภายหลังการระเบิด ณ ต�ำแหน่งนี้
๒.๑.๒ พิจารณาขีดความสามารถในการตรวจวัดรังสีดังต่อไปนี้
 ชนิดของรังสีที่สามารถตรวจสอบได้
 ชนิดของรังสีที่ไม่สามารถตรวจสอบได้
 แนวความคิดในการใช้เครือ ่ งวัดรังสีรวมถึงการบริการร่วม ชาติเจ้าภาพ
และเครื่องมือเครื่องใช้ของกองก�ำลังผสมที่มีอยู่
196 ภาคผนวก ช

 ค่าอัตรารังสีพื้นฐานที่อ่านได้ในยามปกติของเครื่องวัดรังสี
๒.๑.๓ พิจารณาจ�ำนวนและประเภทของเครือ่ งวัดรังสีและเครือ่ งมือสนับสนุนต่าง ๆ
ที่มีอยู่และใช้งานได้
หมายเหตุ : ๑. ให้พจิ ารณาเครือ่ งมือต่าง ๆ ทีม่ อี ยูส่ �ำหรับใช้ผา่ นหรือใช้โดยการบริการร่วม
กองก�ำลังผสมและชาติเจ้าภาพ
๒. ให้พิจารณาเครื่องวัดรังสีที่มีประจ�ำหน่วยและเครื่องมือที่จะมาพร้อมกับ
หน่วยที่จะเข้าร่วมปฏิบัติการในอนาคต
๒.๑.๔ พิจารณาจ�ำนวนและประเภทของกิจกรรมทีต่ อ้ งการส�ำหรับการตรวจรังสี
ดังต่อไปนี้
 การใช้เครื่องวัดปริมาณรังสี (ใช้ประจ�ำบุคคลและในที่หลบภัยป้องกัน
หลัก)
 การตรวจรังสี (ผูป ้ ว่ ยทีเ่ ปือ้ นพิษกัมมันตรังสีและชุดลาดตระเวนเคลือ่ นที)่
๒.๑.๕ ใช้โนโมแกรมและการค�ำนวณหาอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการโจมตีด้วย
อาวุธนิวเคลียร์
๒.๑.๖ แนะน�ำชุดจัดการทีพ่ กั ก�ำบังและชุดลาดตระเวน เคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์
ให้วัดค่าอัตรารังสีพื้นฐานดังต่อไปนี้
 ให้ชุดจัดการที่พักก�ำบังวัดอัตรารังสีภายในที่พักหลัก/ที่พักก�ำบังของ
อาคารภายในและโดยรอบสถานีทำ� ลายล้างพิษก�ำลังพลและในพืน้ ทีช่ ดิ กับขอบนอกของทีพ่ กั ก�ำบัง
 ให้ชุดลาดตระเวนวัดอัตรารังสีพื้นฐาน ณ ต�ำแหน่งที่อาจใช้เป็นจุดลาด
ตระเวน (ตามปกติแล้วจะไม่อยู่ใกล้กับที่พักก�ำบัง) หรือที่พักก�ำบังกัมมันตรังสีในอนาคต (ขณะนั้น
ไม่มีผู้ประจ�ำอยู่)
๒.๑.๗ พัฒนาแนวความคิดในการใช้เครื่องวัดรังสีโดยใช้เทคนิคต่อไปนี้เป็น
แนวทาง
 ชุดตรวจวัดรังสีซงึ่ อยูใ่ นทีพ ่ กั ก�ำบังจะวัดเฉพาะอัตรารังสีภายนอกทีพ่ กั
ก�ำบังไปจนกว่าจะถึงจุดทีส่ ามารถวัดอัตรารังสี (แม้เพียงเล็กน้อย) ภายในทีพ่ กั หลัก/ทีพ่ กั ก�ำบังของ
อาคารได้
หมายเหตุ : ทันทีที่วัดอัตรารังสีดังกล่าวได้ จะหาค่าปัจจัยป้องกัน (PF หรือ CF) ของที่พักก�ำบัง
ได้โดยการหารค่าอัตรารังสีทอี่ า่ นได้จากภายนอกทีพ่ กั ก�ำบังด้วยค่าอัตรารังสีทอี่ า่ นได้จากภายใน
ที่พักก�ำบัง ตัวอย่างเช่น ถ้าอ่านค่าอัตรารังสีจากภายนอกได้ ๑ เซนติเกรย์/ชั่วโมง (cGy/h และ
อ่านค่าอัตรารังสีภายในได้ ๐.๐๒ cGy/h ค่า PF/CF ของที่พักก�ำบังจะมีค่าเป็น ๕๐)
 ห้ามชุดลาดตระเวนเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์ออกไปส�ำรวจอัตรารังสี
ภายนอกที่พักก�ำบัง เว้นแต่ข้อมูลนี้จะมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการปฏิบัติภารกิจ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 197

หมายเหตุ : ในทุกกรณี (ส�ำหรับก�ำลังพลแต่ละนาย ชุดลาดตระเวนเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์


และสมาชิกของชุดจัดการทีพ่ กั ก�ำบัง) เป้าหมายก็คอื เพือ่ จ�ำกัดการรับรังสีให้ได้รบั น้อยทีส่ ดุ เพือ่
ให้การปฏิบัติภารกิจที่มีความส�ำคัญยิ่งบรรลุผลส�ำเร็จ
๒.๑.๘ จัดให้มอี ปุ กรณ์ให้ความรูแ้ ละข้อมูลข่าวสารปัจจุบนั เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ก�ำลัง
พลทุกนายคุ้นเคยกับสิ่งต่อไปนี้
 การปฏิบัติการป้องกันส่วนบุคคล
 สิ่งบอกเหตุ/อาการที่เกิดจากการได้รับรังสี
  ยาเม็ดไอโอดีน

๒.๒ ระหว่างการโจมตี (During Attack)
๒.๒.๑ ป้องกันตนเองในพื้นที่โล่ง
 เลือกที่ป้องกันที่ดีที่สุดเท่าที่จะหาได้ (อาคาร บังเกอร์)
 หลบไปอยูใ่ นคูนำ�้ ทีล ่ มุ่ หรือสิง่ ปลูกสร้างซึง่ ให้การป้องกันจากแรงระเบิด
เศษวัสดุ ต่าง ๆ จากการระเบิดและการลุกไหม้ของอาวุธขนาดเล็ก (ถ้าไม่มีอาคารหรือบังเกอร์)
 ทิ้งตัวลงบนพื้นดินแล้วคลานไปยังสิ่งป้องกันที่อยู่ใกล้ที่สุดและสวม
ยุทธภัณฑ์ป้องกันส่วนบุคคลตาม รปจ.ของหน่วยหรือค�ำสั่งยุทธการ ถ้าการโจมตีเริ่มต้นขึ้นโดยไม่
ได้รับการเตือนภัย
 ใช้วัสดุใด ๆ ที่มีอยู่ท�ำสิ่งปิดคลุมศีรษะ (เครื่องกันฝน เสื้อกันฝน ผ้าใบ
หรือผ้าพลาสติก)
หมายเหตุ : ปรับให้เข้ากับนโยบายและวิธีการที่เหมาะสมของแต่ละท้องถิ่น
๒.๒.๒ ท�ำการตรวจสอบด้วยระบบเพื่อนตาย (buddy) เพื่อให้มั่นใจว่าสวม
ยุทธภัณฑ์ป้องกันส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง
๒.๒.๓ ปฐมพยาบาลตนเอง/เพื่อนตายในขณะที่ยังหมอบอยู่
๒.๒.๔ ถ้ามีเวลาให้ปิดประตูและหน้าต่างและใช้ผ้าพลาสติกปิดคลุมสิ่งของไว้
๒.๒.๕ ตรวจวัดรังสีและรายงานส่วนเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์ถึงข้อบ่งชี้การ
โจมตีดังต่อไปนี้
 เครื่องวัดรังสีตรวจพบรังสี
 ข้อมูลการบาดเจ็บล้มตาย
 ข้อมูลสภาพแวดล้อม
๒.๒.๖ ตรวจวัดค่าต่าง ๆ ตามทีร่ ะบุไว้ในระบบการเตือนภัยและรายงานการโจมตี
ด้วยอาวุธเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์ เพื่อรายงานการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์
198 ภาคผนวก ช

๒.๓ ภายหลังการโจมตี (Postattack)


๒.๓.๑ พยากรณ์พื้นที่อันตรายใต้ลมจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์และฝุ่น
กัมมันตรังสีและพยากรณ์ความเข้มของรังสี
๒.๓.๒ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าขณะที่ก�ำลังพลอยู่ภายนอกที่พักก�ำบัง มีสิ่งปิดคลุม
ผิวหนังที่อาจสัมผัสฝุ่นกัมมันตรังสีโดยตรง
๒.๓.๓ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าขณะที่ก�ำลังพลอยู่ภายนอกที่พักก�ำบังได้ป้องกัน
ตนเองจากการกลืนกินหรือหายใจเอาอนุภาคกัมมันตรังสีเข้าไป
๒.๓.๔ ตรวจสอบให้แน่ใจว่า ก�ำลังพลแต่ละนายมีปริมาณรังสีแกมมาสะสมทัง้ สิน้
ไม่เกิน ๑๒๕ เซนติเกรย์
หมายเหตุ : ผูบ้ งั คับบัญชา ณ ทีต่ งั้ อาจปรับค่าจ�ำกัดการรับรังสีนไี้ ด้ตามความจ�ำเป็นเพือ่ ให้การ
ปฏิบัติภารกิจที่มีความส�ำคัญยิ่งบรรลุผลส�ำเร็จ
๒.๓.๕ หลี ก เลี่ ย งการส่ ง ก� ำ ลั ง พลออกไปภายนอกที่ พั ก ก� ำ บั ง ในขณะที่ ฝุ ่ น
กัมมันตรังสียังตกอยู่ หรือความเข้มของรังสียังไม่ถึงระดับปลอดภัย
๒.๓.๖ ตรวจวัดฝุ่นกัมมันตรังสีในพื้นที่แล้วส่งข้อมูลไปยังส่วนเคมี ชีวะ รังสีและ
นิวเคลียร์
 เมือ ่ คาดว่าฝุน่ กัมมันตรังสีจะตกลงในพืน้ ที่ ให้ตรวจหารังสีแกมมาอย่าง
ต่อเนื่อง
 ระบุเวลาแน่นอนที่ฝุ่นกัมมันตรังสีจะมาถึงพื้นที่แล้วส่งไปยังส่วนเคมี
ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์
 ตรวจวัดและบันทึกค่าความเข้มของรังสีทุก ๆ ๑๕ นาที จนกว่าจะถึง
ค่ารังสีสูงสุด
 หลังจากได้คา่ รังสีสงู สุดแล้ว ให้ตรวจวัดและบันทึกค่าความเข้มของรังสี
ทุกชั่วโมง
หมายเหตุ : ถ้าพบว่าความเข้มของรังสีสูงขึ้นมาอีก ให้ตรวจวัดรังสีทุก ๑๕ นาที จนกว่าจะได้
ค่าสูงสุดค่าใหม่
๒.๓.๗ หาค่าปัจจัยป้องกัน (PF หรือ CF) ของที่พักก�ำบังโดยการหารค่าอัตรา
รังสีที่อ่านได้จากภายนอกที่พักก�ำบังด้วยค่าอัตรารังสีที่อ่านได้จากภายในที่พักก�ำบัง (เช่น ๓๐๐
เซนติเกรย์ต่อชั่วโมง หารด้วย ๓๐ เซนติเกรย์ต่อชั่วโมง = PF หรือ CF = 10)
๒.๓.๘ สัง่ ให้ชดุ ท�ำลายล้างพิษพร้อมปฏิบตั งิ านและด�ำเนินการท�ำลายล้างพิษตาม
ที่แนะน�ำไว้
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 199

หมายเหตุ : ตรวจสอบให้แน่ใจว่าชุดท�ำลายล้างพิษปฏิบตั งิ านโดยมีเครือ่ งวัดปริมาณรังสีตดิ ตัว


ไปด้วย เพื่อจะได้สามารถติดตามและคอยระวังให้พวกเขาได้รับปริมาณรังสีน้อยที่สุดในการ
ปฏิบัติภารกิจแต่ละครั้ง
๒.๓.๙ ให้ชุดท�ำลายล้างพิษด�ำเนินการท�ำลายล้างพิษพื้นที่ทันที โดยใช้วิธีการต่อ
ไปนี้
 การปิดคลุม ดินหนา ๘ เซนติเมตร (๓ นิ้ว) จะลดอัตรารังสีลงครึ่งหนึ่ง
เนื่องจากดินสามารถกั้นรังสีได้
 การแปรงและการดูดฝุ่น จะใช้ได้ผลดีกับก�ำลังพลและพื้นผิวที่มีวัสดุ
ปิดทับหรือขัดเงาต่าง ๆ โดยภายในที่พักก�ำบังและบนร่างกายของก�ำลังพลให้ใช้ไม้กวาด แปรงและ
เครื่องดูดฝุ่น ส่วนรถกวาดถนนเหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับถนนและรันเวย์สนามบิน
 การขัดถู ใช้ขจัดดินและหิมะที่เกาะแน่น เศษดินและหิมะที่ขจัดออก
มาให้เคลื่อนย้ายไปให้ไกลที่สุดเท่าที่จะท�ำได้
 การล้าง น�้ำร้อนและผงซักฟอกจะมีประสิทธิภาพดีเมื่อใช้กับไม้ วัสดุที่
ท�ำหลังคา วัสดุที่ท�ำด้วยอิฐและปูน พื้นผิวที่ท�ำด้วยเหล็ก ยางมะตอยและคอนกรีตให้ใช้สายฉีดดับ
เพลิงหรือเครื่องท�ำลายล้างพิษขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ฉีดชะให้ฝุ่นกัมมันตรังสีหลุดออกจากพื้น
ผิว ขัดด้วยไม้กวาดแล้วล้างด้วยน�้ำจะให้ผลดีมากต่อพื้นผิวที่มีวัสดุปิดทับ
หมายเหตุ : ๑.  การเปื้อนพิษกัมมันตรังสีไม่สามารถท�ำให้เป็นกลางได้ ท�ำได้เพียงขจัดออก
ปิดคลุมหรือแยกออกไป
๒. สิ่งของที่สัมผัสกับฝุ่นกัมมันตรังสีจะไม่กลายเป็นวัตถุกัมมันตรังสี ให้ขจัด
ฝุน่ กัมมันตรังสีออกไปแล้วใช้เครือ่ งวัดรังสีตรวจสอบว่าสิง่ ของนัน้ จะใช้ได้อย่างปลอดภัยหรือไม่
๒.๓.๑๐ หาค่าอัตราการสลายตัวของรังสีโดยอาศัยระยะเวลาตัง้ แต่อา่ นค่าอัตรา
รังสีสูงสุดและอัตรารังสีแกมมาปัจจุบัน
หมายเหตุ : ข่าวสารนี้มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการวางแผนการปฏิบัติการทางทหาร
๒.๓.๑๑ การตรวจสอบบันทึกการรับรังสีของก�ำลังพลแต่ละนาย
๒.๓.๑๒ ตรวจสอบบันทึกกัมมันตรังสีของที่พักก�ำบัง
๒.๓.๑๓ อ�ำนวยการให้ส่งก�ำลังบ�ำรุงเพิ่มเติม เก็บรักษาเพิ่มเติมหรือแจกจ่าย
เพิ่มเติมสิ่งอุปกรณ์ต่อไปนี้
 กระสุน/วัตถุระเบิด
 น�้ำมันเชื้อเพลิง
 เวชภัณฑ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 ยุทธภัณฑ์ป้องกันส่วนบุคคล
200 ภาคผนวก ช

 ยาเม็ดไอโอดีน
 อาหารและน�้ำ
 แบตเตอรี่
 สิง่ อุปกรณ์สำ� หรับควบคุมการเปือ ้ นกัมมันตรังสีและการท�ำลายล้างพิษ
๓. การจัดการข่าวสารนิวเคลียร์ (Nuclear Information Management)
การจัดการข่าวสารการโจมตีดว้ ยอาวุธนิวเคลียร์เป็นสิง่ ส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการบังคับบัญชา
เพื่อให้เป็นประโยชน์จะต้องมีการรวบรวม รายงานและประเมินค่าข่าวสารนิวเคลียร์จึงจะน�ำมาใช้
เป็นข่าวกรองสนามรบได้ การได้รบั และการแปลงข่าวสารนิวเคลียร์เป็นข่าวกรองนิวเคลียร์ทใี่ ช้งาน
ได้นั้นไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้น ปริมาณข่าวสารที่จำ� เป็นต้องรวบรวมและรายงานนั้น ถ้าไม่มีการจัดการที่
ดีแล้วจะขัดขวางการติดต่อสื่อสารและการปฏิบัติการทางยุทธวิธีได้ง่าย ในผนวกนี้จะอธิบายว่า
ข่าวสารใดที่หาได้และข่าวสารนี้จะส่งไปยังบุคคลหรือหน่วยที่ต้องการได้อย่างไร
๓.๑ การรวบรวมข่าวสารนิวเคลียร์ (Collection of Nuclear Information)
การจัดการข่าวสารการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ขั้นแรกก็คือ การก�ำหนดว่าข่าวสารใดที่จะหาได้
และจะให้ผู้ใดเป็นผู้รวบรวมข่าวสารนั้น ข้อมูลที่จะต้องรวบรวมมีอยู่ ๒ ประเภทคือ ข้อมูลจาก
ผู้สังเกตการณ์ซึ่งจะให้ข่าวสารว่าเกิดการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ขึ้นและข้อมูลการตรวจวัด การ
ส�ำรวจและการลาดตระเวนซึง่ จะให้ขา่ วสารว่ามีอนั ตรายอยูท่ ใี่ ด ทุกหน่วยจะต้องรับผิดชอบในการ
สังเกตการณ์และรายงานการโจมตีดว้ ยอาวุธนิวเคลียร์ แต่ไม่ตอ้ งส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ไปยัง
หน่วยเหนือโดยอัตโนมัติ อาจมีหลายหน่วยทีส่ งั เกตเห็นอาวุธนิวเคลียร์ระเบิด แต่ถา้ ทุกหน่วยต่างส่ง
รายงานไปยังหน่วยเหนือ การติดต่อสือ่ สารจะมีภาระล้น ด้วยเหตุผลนี้ เฉพาะหน่วยทีม่ ยี ทุ โธปกรณ์
ซึ่งสามารถวัดค่าต่าง ๆ ได้แม่นย�ำที่ได้รับการคัดเลือกไว้ล่วงหน้าแล้วเท่านั้น จึงจะเป็นผู้ส่งรายงาน
นชค.๑ นิวเคลียร์ หน่วยเหล่านี้เรียกว่า หน่วยสังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า อาจมีการคัดเลือก
หน่วยอื่น ๆ เพิ่มขึ้นอีกในระหว่างการปฏิบัติการทางยุทธวิธีโดยพิจารณาตามต�ำแหน่งที่ตั้งของ
หน่วย ดังนั้นเฉพาะหน่วยที่ได้รับการคัดเลือกไว้แล้วเท่านั้นที่จะส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ไปยัง
ส่วนเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์
๓.๒ ข้อมูลการตรวจรังสี การส�ำรวจรังสีและการลาดตระเวนรังสี (Monitoring, Survey,
and Reconnaissance Data)
๓.๒.๑ ส่วนเคมี ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์จะเป็นผู้รวบรวมข่าวสารจากรายงาน
นชค.๑ นิวเคลียร์จากผู้สังเกตการณ์ซึ่งได้รับการคัดเลือกไว้ที่เห็นการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
ต่อจากนั้นส่วน คชรน. ก็จะประเมินข่าวสารนี้ออกมาในรูปของรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ จาก
รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์จะสามารถท�ำการพยากรณ์อันตรายอย่างง่ายหรืออย่างละเอียดได้ การ
พยากรณ์ (รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์) นีเ้ ป็นเพียงการประมาณพืน้ ทีอ่ นั ตรายเท่านัน้ การตัดสินว่าการ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 201

เปื้อนพิษกัมมันตรังสีอยู่ที่ใดนั้น จ�ำเป็นต้องให้หน่วยต่าง ๆ ส่งข้อมูลกลับมาให้ส่วน คชรน. ข้อมูลที่


ส่งกลับมานีไ้ ด้จากการตรวจรังสี การส�ำรวจรังสีและการลาดตระเวนรังสี (รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์)
การปฏิบตั กิ ารตรวจรังสีและลาดตระเวนรังสีจะให้ขอ้ มูลเริม่ แรกเกีย่ วกับต�ำแหน่งของอันตรายทาง
คชรน. แก่ส่วน คชรน.โดยทั่วไปแล้ว รายงานการตรวจรังสีเริ่มแรกและการลาดตระเวนรังสีจะ
ส่งผ่านช่องทางข่าวกรองไปยังส่วน คชรน. หรืออาจใช้เครื่องมือประกอบการตัดสินใจแบบต่าง ๆ
ดังที่กล่าวไว้แล้วในบทที่ ๓
๓.๒.๒ ส่วน คชรน.จะน�ำข่าวสารที่ได้รับมาหมายจุดลงบนแผนที่สถานการณ์
ถ้าหากต้องการข่าวสารเพิ่มเติม ส่วน คชรน.จะสั่งให้หน่วย (เลือกตามต�ำแหน่งที่ตั้งและขีดความ
สามารถ) รวบรวมข้อมูลทีจ่ ำ� เป็นส่งมาให้ ข้อมูลนีค้ วรมาจากรายงานการตรวจรังสีเพิม่ เติม หรือการ
ส�ำรวจรังสีในพืน้ ทีท่ สี่ งสัย การรวบรวมข่าวสารนิวเคลียร์นเี้ ป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยและส่วน
คชรน. โดยหน่วยจะเป็นผู้รวบรวมข่าวสารและส่วน คชรน. เป็นผู้วางแผนและสั่งการเกี่ยวกับการ
รวบรวมข่าวสาร รายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับการรวบรวมข่าวสารระบุไว้ในหนังสือยุทธวิธี เทคนิค
และวิธีลาดตระเวนนิวเคลียร์ ชีวะและเคมีส�ำหรับหลายเหล่า
๓.๓ การประเมินข้อมูลนิวเคลียร์ (Evaluation of Nuclear Information)
หลังจากรวบรวมข้อมูลนิวเคลียร์ได้แล้ว จะต้องมีการประเมินเสียก่อนจึงจะน�ำมา
ใช้เป็นข่าวกรองสนามรบได้ ส่วน คชรน.จะเป็นศูนย์ประเมินข้อมูลเบื้องต้น หน่วยต่าง ๆ และกอง
บังคับการระดับกลาง จะใช้ขอ้ มูลดิบดังนีใ้ นการพัฒนาข่าวกรองนิวเคลียร์ไว้ใช้ภายในหน่วยของตน
จนกว่าจะได้รับผลการประเมินอย่างละเอียดจากส่วน คชรน.
๓.๔ การส่งข้อมูลนิวเคลียร์ (Transmission of Nuclear Information)
กระบวนการส่งข่าวสารนิวเคลียร์ไปและมาจากส่วน คชรน.นัน้ เป็นส่วนส�ำคัญของ
การจัดการข่าวสาร วิธีการส่งข่าวสารนี้จะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ทางยุทธวิธีและภารกิจของหน่วย
รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้จากบทที่ ๓
๓.๕ ระบบหน่วยสังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า (Designated Observer System)
ถึงแม้วา่ ทุกหน่วยจะมีความรับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูล แต่หน่วยบางหน่วยทีม่ ี
ขีดความสามารถและทีต่ งั้ ทีเ่ หมาะสมจะถูกเลือกเป็นหน่วยสังเกตการณ์การโจมตีดว้ ยอาวุธนิวเคลียร์
ไว้ล่วงหน้า ซึ่งหน่วยเหล่านี้จะต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ที่มีความแม่นย�ำ
การเลือกหน่วยสังเกตการณ์นนั้ จะต้องให้ครอบคลุมทัว่ พืน้ ทีส่ นใจซึง่ ต้องการทัง้ หน่วยสังเกตการณ์
ทางพื้นดินและหน่วยสังเกตการณ์ทางอากาศ ระบบหน่วยสังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าจะให้
ข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับการเตรียมการพยากรณ์ต�ำแหน่งอันตรายและประเมินความเสียหายที่เกิด
จากอาวุธนิวเคลียร์ โดยข้อมูลดิบจากหน่วยสังเกตการณ์จะอยูใ่ นรูปแบบของรายงานมาตรฐานและ
ส่วน คชรน.จะเป็นผู้ก�ำหนดวิธีการสื่อสารหลักและรอง
202 ภาคผนวก ช

๓.๕.๑ หน่วยสังเกตการณ์ภาคพืน้ ดินทีก่ ำ� หนดไว้ลว่ งหน้า (Designated Ground-


Based Observers)
(ก) หน่วยภาคพืน้ ดินจะได้รบั การเลือกให้อยูใ่ นระบบหน่วยสังเกตการณ์
ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าโดยขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
 ที่ตั้งในสนามรบ
 ข่ายการสื่อสารที่มีอยู่
 อุปสรรคที่เกิดกับภารกิจ (ปัจจุบันและอนาคต) อันเนื่องมาจาก
การปฏิบัติการของข้าศึก
 การฝึกและประสบการณ์
 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่คาดไว้
 เครื่องวัดมุมในอัตราที่ครอบครองอยู่
(ข) หน่วยทหารปืนใหญ่และหน่วยทหารปืนใหญ่ป้องกันภัยทางอากาศ
เป็นหน่วยที่เหมาะสมที่สุดที่จะเป็นหน่วยสังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า เนื่องจากมีกล้องวัดมุม
อยู่ในอัตราที่เหมาะสมที่สุดส�ำหรับการวัดมุมภาพที่เห็น ยุทโธปกรณ์ดังต่อไปนี้ (ภาพ ช-๑) เรียง
ล�ำดับตามความเหมาะสมต่อการใช้งาน
 กล้องกองร้อยแบบ เอ็ม ๒ (ยุทโธปกรณ์นี้มีความเหมาะสมมาก
เนื่องจากตั้งให้วัดค่ามุมจากแนวเหนือใต้และอ่านค่าเป็นมิลเลียม)
 กล้องกองร้อย แบบเอ็ม ๖๕ หรือ เอ็ม ๔๓
 กล้องส�ำรวจ แบบที ๖ หรือ ที ๒
 เข็มทิศแบบเอ็ม ๒

กล้องกองร้อยแบบเอ็ม ๒ กล้องกองร้อย กล้องส�ำรวจ เข็มทิศ

ภาพ ช-๑ กล้องวัดมุมที่เหมาะสมที่สุดส�ำหรับวัดมุมภาพที่เห็น


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 203

(ค) หน่วยอื่น ๆ (เช่น หมวดเครื่องบินยิงลูกระเบิด) ซึ่งมียุทโธปกรณ์


ดังกล่าวข้างต้น หรือที่คล้ายกันก็อาจถูกก�ำหนดให้เป็นหน่วยสังเกตการณ์ได้ หน่วยที่มีเรดาร์ก็ควร
ได้รับการพิจารณาเช่นกัน เนื่องจากมีเรดาร์หลายประเภทที่สามารถบอกค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับเมฆ
นิวเคลียร์ได้ ในพื้นที่ของกองพลและกองทัพน้อยจะมีเรดาร์ของหน่วยปืนใหญ่สนามและปืนใหญ่
ป้องกันทางอากาศอยู่ด้วย
๓.๕.๒ หน่วยสังเกตการณ์ภาคอากาศที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า (Designated Aerial
Observers)
(ก) อากาศยานเป็ น หน่ ว ยสั ง เกตการณ์ ที่ ดี ที่ สุ ด เนื่ อ งจากสามารถ
สังเกตการณ์ได้ครอบคลุมทัว่ ทัง้ พืน้ ทีท่ ถี่ กู โจมตีดว้ ยอาวุธนิวเคลียร์ ศูนย์ควบคุม คชรน. จะประสานกับ
นายทหารการบินเพือ่ ให้เตรียมก�ำหนดลูกเรือทีเ่ หมาะสมส�ำหรับเป็นผูส้ งั เกตการณ์จำ� นวนหลายนาย
ผู ้ บั ง คั บ หน่ ว ยบิ น จะเป็ น ผู ้ เ ลื อ กลู ก เรื อ ของตน ลู ก เรื อ ที่ ไ ด้ รั บ การก� ำ หนดตั ว ไว้ จ ะต้ อ งได้ รั บ
การสอนให้รจู้ กั การรายงานประเภทของการโจมตี เวลาและสถานทีท่ อี่ าวุธนิวเคลียร์ระเบิด ถ้านักบิน
ท�ำการวัดข้อมูลเกี่ยวกับเมฆนิวเคลียร์ไว้ จะต้องรายงานต�ำแหน่งของเมฆนิวเคลียร์นั้นด้วย
(ข) ข้อได้เปรียบของนักบินคือ อยู่ในที่สูงซึ่งจะสามารถเห็นและรายงาน
ต�ำแหน่งจุดศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (GZ) ที่เป็นจริงได้ และยังสามารถเห็นและประมาณ
ความกว้ า งของหลุมระเบิดได้อีก ด้วย ซึ่ง ตามปกติ แ ล้ วข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วจะไม่ ไ ด้ รั บจากหน่ วย
สังเกตการณ์ภาคพื้นดิน
๓.๖ หน่วยสังเกตการณ์ที่ไม่ได้ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า (Nondesignated Observers)
หน่วยทุกหน่วยจะต้องรายงาน การสังเกตการณ์เกี่ยวกับการโจมตีด้วยอาวุธ
นิวเคลียร์ตามแบบฟอร์มที่ก�ำหนดไว้ หน่วยสังเกตการณ์ที่ไม่ได้ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า จะส่งรายงาน
ของตนต่อเมือ่ ได้รบั การร้องขอเท่านัน้ อย่างไรก็ตามหน่วยเหล่านีจ้ ะต้องรายงานการโจมตีดว้ ยอาวุธ
นิวเคลียร์ไปยัง บก.หน่วยเหนือถัดไปเท่านั้นตาม รปจ.ของหน่วย
๓.๗ การก�ำหนดว่ามีการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์เกิดขึ้น (Determination That a
Nuclear Attack has Occurred)
๓.๗.๑ การก่อเมฆนิวเคลียร์แบ่งออกเป็น ๓ ขั้นคือ ขั้นลูกไฟ ขั้นเมฆระเบิด
นิวเคลียร์และขั้นเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียร ขั้นลูกไฟจะเกิดขึ้นตั้งแต่ทันทีที่อาวุธนิวเคลียร์ระเบิดไป
จนกระทั่งเมฆทรงกลมของผลผลิตจากการระเบิดหยุดแผ่แสงจ้า ในระหว่างนี้ห้ามมองไปที่ลูกไฟ
เนื่องจากแสงจ้าจะสามารถก่อให้เกิดอันตรายแก่นัยน์ตาอย่างถาวร
๓.๗.๒ เมื่อแสงจ้าสลัวลงจนกลายเป็นสีแดงคล�้ำ ขั้นลูกไฟจะกลายเป็นขั้นเมฆ
ระเบิดนิวเคลียร์ ณ จุดนีจ้ ะสามารถมองไปทีเ่ มฆได้อย่างปลอดภัย เมฆอาจเป็นรูปทรงกลม (ระเบิด
ในอากาศระดับสูง) หรือรูปดอกเห็ดซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีล�ำดอกเห็ดก็ได้ (ระเบิดในอากาศระดับต�่ำ
204 ภาคผนวก ช

หรือทีผ่ วิ พืน้ ) ถ้าอาวุธนิวเคลียร์ทมี่ ขี นาดอาวุธไม่มากนักระเบิดขึน้ ทีผ่ วิ พืน้ จะท�ำให้เกิดเมฆลักษณะ


คล้ายเมฆทีเ่ กิดจากวัตถุระเบิดธรรมดาซึง่ ระเบิดทีผ่ วิ พืน้ ลักษณะทีส่ ำ� คัญของขัน้ นีค้ อื เมฆจะขยาย
ตัวทั้งแนวดิ่งและแนวระดับอย่างรวดเร็วและรุนแรง
๓.๗.๓ เมื่อเมฆนิวเคลียร์หยุดขยายตัวในแนวดิ่งจะเริ่มเป็นขั้นเมฆนิวเคลียร์ที่
เสถียร การเสถียรของความสูงจะเกิดขึ้นภายหลังการระเบิด ๔ - ๑๔ นาทีขึ้นอยู่กับขนาดของอาวุธ
การวัดความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ (บรรทัด LIMA ดังที่อธิบายไว้ในบทที่ ๓ เรื่องรายงาน นชค.๑
นิวเคลียร์) และมุมหรือความสูงของยอดเมฆหรือฐานเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียร (บรรทัด MIKE) จะวัด
ในขั้นนี้ ภาพ ช-๒ แสดงความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ หลังจากที่ความสูงเสถียรแล้ว เมฆนิวเคลียร์
จะเริม่ ขยายใหญ่ขนึ้ เนือ่ งจากลม ไม่ใช่พลังงานนิวเคลียร์ ด้วยเหตุนกี้ ารวัดเมฆจึงไม่กระท�ำภายหลัง
เวลา H+10 นาที การวัดเมฆระเบิดนิวเคลียร์จะกระท�ำเมื่อเวลา H+5 นาที (บรรทัด LIMA) หรือ
เวลา H+10 นาที (บรรทัด MIKE)

ลูกไฟเริ่มก่อตัวเป็นเมฆนิวเคลียร์ เมฆนิวเคลียร์ เมฆนิวเคลียร์ เมฆนิวเคลียร์คงตัวหรือเสถียร


(หลังการระเบิด ๑๐ วินาที) ก�ำลังขยายตัว ขยายตัวใหญ่ขึ้น (หลังการระเบิด ๔-๑๔ นาที)
(หลังการระเบิด ๑ นาที) (หลังการระเบิด ๓ นาที)

ภาพ ช-๒ การขยายตัวของเมฆนิวเคลียร์


๓.๗.๔ ค่าต่าง ๆ ที่วัดได้จากเมฆนิวเคลียร์ (parameters) จะมีความสัมพันธ์กับ
ขนาดของอาวุธซึ่งจะหาได้จากโนโมแกรมและแผ่นค�ำนวณขนาดอาวุธนิวเคลียร์แบบ ABC–M4A1
รายละเอียดเกี่ยวกับการใช้โนโมแกรมและแผ่นค�ำนวณ แบบ ABC–M4A1 นั้น จะกล่าวภายหลังใน
ภาคผนวกนี้
๓.๗.๕ รปจ.ของหน่วยจะให้รายละเอียดเกี่ยวกับหน้าที่และสภาวะแวดล้อมที่
เกี่ยวข้อง ว่าจะท�ำการวัดค่าต่าง ๆ เมื่อไรและอย่างไร เพื่อความถูกต้องและแม่นย�ำ ได้จัดท�ำค่าที่
ต้องวัด (ตามล�ำดับความน่าเชื่อถือ จากมากไปหาน้อย) ไว้เพื่อช่วยในการจัดท�ำ รปจ.ของหน่วยดัง
ต่อไปนี้
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 205

(ก) ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ระเบิด วัดเมื่อ H+5 นาที


(ข) ความสูงของยอดเมฆหรือฐานเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียร วัดเมื่อ H+10 นาที
(ค) มุมยอดเมฆหรือมุมฐานเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียร วัดเมื่อ H+10 นาที
๔. รายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ (NBC1 NUC Report)
รายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์เป็นรายงานทีม่ คี วามส�ำคัญทีส่ ดุ ในบรรดารายงาน นชค.ทัง้ หมด
๔.๑ อารัมภบท
รายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ (ภาพ ช-๓) เป็นรายงานที่ใช้กันแพร่หลายมากที่สุด
หน่วยสังเกตการณ์จะใช้รายงานนีเ้ พือ่ ให้ขอ้ มูลการโจมตีดว้ ยอาวุธนิวเคลียร์ หน่วยทุกหน่วยจะต้อง
มีความคุ้นเคยกับรูปแบบและข่าวสารของรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์และจะต้องเตรียมรายงานนี้
อย่างรวดเร็วและแม่นย�ำแล้วส่งไปยัง บก.หน่วยเหนือถัดไป กองพัน (ทหารม้า) และหน่วยเหนือ
จะตัดสินใจว่าจะส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ฉบับใดต่อไปยัง บก.หน่วยเหนือ ถ้าได้รับรายงาน
การโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ลูกเดียวกันเป็นจ�ำนวนหลายฉบับ จะรวบรวมเป็นรายงาน นชค.๑
นิวเคลียร์เพียงฉบับเดียว แล้วส่งต่อไปแทนการแยกแต่ละฉบับส่งไป ซึ่งจะช่วยลดจ�ำนวนรายงาน
ลงได้จนถึงระดับไม่ล้นมือ ข้อมูลรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์จะใช้ในการก�ำหนดต�ำแหน่งศูนย์กลาง
การระเบิดที่ผิวพื้น (GZ) และหาขนาดของอาวุธนิวเคลียร์ที่ระเบิด
รายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์
บรรทัด รายละเอียด ข้อก�ำหนด * ตัวอย่าง
BRAVO ต�ำบลที่อยู่ของผู้สังเกตการณ์และ M BRAVO/32 UNB
ทิศทางของการโจมตีหรือการ 062634/2500 MLG//
ระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการ M DELTA/201405
ระเบิดและการโจมตีสิ้นสุดลง ZSEP 2005//
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด O FOXTROT/32UNB
058640/EE//
GOLF วิธีการส่งและจ�ำนวนอาวุธ M GOLF/SUS/AIR/1/
นิวเคลียร์ที่ระเบิด BOM/1//
HOTEL ประเภทการระเบิดของ M HOTEL/SURF//
อาวุธนิวเคลียร์
JULIET เวลาแสง-ถึง-เสียงเป็นวินาที O JULIET/57//
LIMA ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ O LIMA/18DGT//
ระเบิด วัดเมื่อ H+5 นาที
206 ภาคผนวก ช

รายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์


บรรทัด รายละเอียด ข้อก�ำหนด * ตัวอย่าง
MIKE เมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรวัดเมื่อ O MIKE/TOP/33DGT/9KM//
H+10 นาที
PAPAC พิกัดต่าง ๆ ของเส้นขอบนอกของ O
เมฆกัมมันตรังสีที่ได้จากการวัดด้วย
เรดาร์
PAPAD ทิศทางตามลมของเมฆกัมมันตรังสี O
ที่ได้จากการวัดด้วยเรดาร์
YANKEE ทิศทางตามลมและความเร็วลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศที่เป็นจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นให้ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
ภาพ ช-๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์

๔.๑.๑ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์กค็ อื การให้ขอ้ มูล


การโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์
๔.๑.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน ส�ำหรับการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์เป็นครั้งแรก
หน่วยสังเกตการณ์ทกี่ ำ� หนดไว้ลว่ งหน้าจะต้องส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ดว้ ยล�ำดับความเร่งด่วน
“ด่วนที่สุด” ถ้ามีการส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ไปแล้ว รายงานฉบับต่อจากนั้นให้ใช้ล�ำดับ
ความเร่งด่วน “ด่วน”
๔.๒ ต�ำแหน่งของผู้สังเกตการณ์ (Observer Position)
ให้ใช้พกิ ดั ยูทเี อ็ม (UTM) เส้นละติจดู และลองจิจดู หรือบอกชือ่ สถานที่ เขียนต�ำแหน่ง
ดังกล่าวลงในบรรทัด BRAVO ของรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ รายงานทุกฉบับจากหน่วยสังเกตการณ์
ภาคพืน้ ดินจะต้องมีบรรทัด BRAVO และควรเข้ารหัส ต�ำแหน่งนีจ้ ะเป็นต�ำแหน่งของยุทโธปกรณ์วดั
มุมซึ่งอาจจะเป็นต�ำแหน่งของที่ตั้งหน่วยหรือไม่ก็ได้ ทิศทางของการโจมตีจากหน่วยสังเกตการณ์ก็
จะต้องรายงานไว้ในบรรทัดนี้ด้วย
๔.๓ วันเวลาของการโจมตี (DTG of the Attack)
๔.๓.๑ หลังจากที่คลื่นกระแทกครั้งที่สองผ่านไปแล้ว ให้ลืมตาขึ้นและบันทึก
วันเวลาเป็นชั่วโมงและนาที แล้วเขียนข้อมูลนี้ลงในบรรทัด DELTA ของรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์
๔.๓.๒ วันเวลาของการโจมตีนจี้ ะต้องรายงานเสมอ เขตเวลาทีใ่ ช้จะระบุไว้ใน รปจ.
สนาม แผนยุทธการหรือค�ำสั่งยุทธการหรือในค�ำแนะน�ำอื่น ๆ ส่วน คชรน.จะเป็นผู้ตรวจสอบเวลา
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 207

กับหน่วยสังเกตการณ์ทกี่ ำ� หนดไว้ลว่ งหน้า แล้วเปลีย่ นเวลาทัง้ หมดเป็นเวลามาตรฐานกรีนชิ (Zulu


time)
๔.๔ ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (Attack Location or GZ)
ถ้าหน่วยสังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าทราบต�ำบลที่ถูกโจมตีจริงจะรายงาน
ข้อมูลนีล้ งในบรรทัด FOXTROT แต่ถา้ เป็นการประมาณจะต้องบรรยายโดยละเอียดว่าประมาณได้
อย่างไรลงในบรรทัด GENTEXT รายละเอียดของวิธีการที่ส่วน คชรน. ค�ำนวณต�ำแหน่งศูนย์กลาง
การระเบิดที่ผิวพื้นอยู่ในย่อหน้าที่ ๕ ของผนวกนี้
๔.๕ ประเภทของการระเบิด (Type of Burst)
ให้สังเกตการณ์ก่อเมฆว่าเป็นการระเบิดในอากาศโดยการสังเกตรูปร่างและสีของ
เมฆหรือการไม่มีล�ำดอกเห็ด ถ้าเมฆมีสีอ่อนกว่าล�ำดอกเห็ดหรือล�ำดอกเห็ดขาดวิ่นหรือขาดหายไป
(ไม่ต่อเนื่องเป็นเนื้อเดียวกันกับเมฆ) ให้รายงานค�ำว่า “อากาศ” ลงในบรรทัด HOTEL ของรายงาน
นชค.๑ นิวเคลียร์ ถ้าล�ำดอกเห็ดหนาและมีสีคล�้ำและต่อเนื่องกับเมฆให้รายงานค�ำว่า “ผิวพื้น”
ลงในบรรทัด HOTEL ถ้าพิจารณาไม่ได้ว่าเป็นการระเบิดในอากาศหรือที่ผิวพื้นให้รายงานว่า “ไม่
ทราบ” ลงในบรรทัด HOTEL หรืออาจรายงานว่า “ไม่ทราบ” ถ้าการโจมตีเกิดขึ้นในเวลากลางคืน
ส่วนการระเบิดใต้ผิวพื้นจะรายงานว่า “ผิวพื้น” เฉพาะเมื่อการระเบิดโผล่พ้นผิวพื้นขึ้นมาเท่านั้น
๔.๖ เวลาแสง-ถึง-เสียง (Flash-to-Bang Time)
หน่วยสังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าจะได้รับมอบหมายให้รายงานเวลาแสง-
ถึง-เสียง โดยทันทีทแี่ สงจ้าสีขาวปนน�ำ้ เงินปรากฏขึน้ ให้หลับตาล้มตัวลงบนพืน้ ดินและเริม่ นับช้า ๆ
(หนึ่งพัน....หนึ่ง หนึ่งพัน...สอง หนึ่งพัน....สาม ไปเรื่อย ๆ) จนกระทั่งคลื่นกระแทกเคลื่อนที่มาถึง
หรือได้ยินเสียงระเบิด บันทึกการนับเมื่อคลื่นกระแทกเคลื่อนที่มาถึงไว้ในใจ (เช่น หนึ่งพัน...สี่) ถ้าผู้
สังเกตการณ์มนี าฬิกาซึง่ สามารถจับเวลาได้ (เป็นวินาที) ให้ใช้นาฬิกาในการรายงานค่าเวลาแสง-ถึง-
เสียง รายงานข้อมูลนี้ลงในบรรทัด JULIET ของรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ ให้ผู้สังเกตการณ์หมอบ
นิ่งอยู่เช่นนั้นจนกระทั่งเศษปรักหักพังหยุดตก พึงระลึกไว้ว่าคลื่นกระแทกมี ๒ อย่าง อย่างแรกคือ
คลื่ น ที่ เ คลื่ อ นที่ ม าจากทิ ศ ทางหนึ่ ง และอี ก อย่ า งหนึ่ ง ซึ่ ง เกิ ด ห่ า งไปสั ก ครู ่ จ ะมาจากทิ ศ ทาง
ตรงกันข้าม ถ้าไม่ได้ยนิ เสียงระเบิดภายใน ๕ นาที (นับถึงหนึง่ พัน....สามร้อย) ให้เริม่ วัดค่าอืน่ ดังต่อไปนี้
๔.๗ ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ (Angular Cloud Width)
ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์จะวัดเมือ่ เวลาหลังการระเบิด ๕ นาที โดยเป็นการวัด
เส้นผ่านศูนย์กลางของเมฆในมิติของมุมซึ่งมีหน่วยเป็นมิลเลียมหรือองศา เจ้าหน้าที่ที่มีกล้องวัดจะ
วัดค่านี้เมื่อเวลา H+5 นาที การวัดนี้จะใช้ส�ำหรับเมฆนิวเคลียร์ที่เกิดจากการระเบิดในอากาศและ
การระเบิดที่ผิวพื้น ทุกหน่วยล้วนมีขีดความสามารถในการวัดค่านี้ ถ้าหากหน่วยไม่มียุทโธปกรณ์
ตามรายการที่ก�ำหนดไว้ (ภาพ ช-๑) ให้ใช้เข็มทิศเลนเซติกแทนได้ การวัดค่ามุมกระท�ำโดยการวัด
208 ภาคผนวก ช

มุมของเมฆนิวเคลียร์ทางด้านซ้ายและด้านขวา ผลต่างของมุมทั้งสองจะเป็นความกว้างของเมฆ
นิวเคลียร์ (ภาพ ช-๔) ให้รายงานค่าที่วัดได้นี้ลงในบรรทัด LIMA

ผู้สังเกตการณ์

ภาพ ช-๔ ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์

๔.๘ ความสูงของยอดเมฆและความสูงของฐานเมฆ (Cloud Top or Cloud Bottom


Height)
ความสูงของยอดเมฆหรือความสูงของฐานเมฆนิวเคลียร์นั้น จะวัดได้โดยใช้
เครื่องมือหรือเรดาร์เท่านั้น เฮลิคอปเตอร์และเครื่องบินขนาดเล็กส่วนใหญ่จะมีขีดความสามารถ
จ�ำกัดในการหาความสูงของเมฆ ส่วน คชรน.อาจต้องประสานกับนายทหารติดต่ออื่น ๆ เพื่อเตรียม
การวัดความสูงของเมฆ การประสานงานของส่วน คชรน.นับเป็นเรื่องจ�ำเป็นเพื่อให้ได้แหล่งข้อมูล
จากอากาศยาน ส่วนเรดาร์นนั้ อาจมีประโยชน์ในการหาจ�ำนวนครัง้ ของการระเบิดและจุดศูนย์กลาง
การระเบิดทีผ่ วิ พืน้ (GZ) การวัดค่านีจ้ ะกระท�ำเมือ่ เวลา H+10 นาที และรายงานไว้ในบรรทัด MIKE
โดยมีหน่วยเป็นฟุตหรือกิโลเมตร (ภาพ ช-๕)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 209

ยอดเมฆ
เครื่องบิน
ฐานเมฆ สังเกตการณ์

ล�ำดอกเห็ด
มุมยอดเมฆ ผู้สังเกตการณ์
มุมฐานเมฆ
ระดับพื้นฐาน

ภาพ ช-๕ มุมยอดเมฆและมุมฐานเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรและการวัดความสูง


๔.๙ มุมยอดเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียร (Stabilized Cloud Top Angle)
๔.๙.๑ มุมยอดเมฆจะวัดในแนวดิ่งจากระดับศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (GZ
level) (หรือจากระดับพื้นดินถ้าไม่ทราบระดับศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น) ไปยังยอดเมฆ โดยมี
หน่วยเป็นมิลเลียมหรือองศา การวัดนี้จะกระท�ำเมื่อ H+10 นาที และรายงานไว้ในบรรทัด MIKE
(ดูภาพ ช-๓)
๔.๙.๒ การวัดค่าเหล่านีจ้ ะน่าเชือ่ ถือน้อยกว่าการวัดทีก่ ระท�ำเมือ่ เวลา H+5 นาที
หน่วยต่าง ๆ ในสนามรบจะไม่สามารถวัดมุมฐานเมฆหรือมุมยอดเมฆได้ ดังนั้นตามปกติแล้วหน่วย
เหล่านั้นจะไม่ได้รับการก�ำหนดให้เป็นหน่วยสังเกตการณ์ ค่าเหล่านี้จะวัดโดยเข็มทิศเลนเซติกไม่ได้
๔.๙.๓ ถ้าหน่วยสังเกตการณ์ทกี่ ำ� หนดไว้ลว่ งหน้าไม่สามารถวัดค่าความกว้างของ
เมฆนิวเคลียร์ได้ จะต้องวัดมุมฐานเมฆหรือมุมยอดเมฆแทน หน่วยสังเกตการณ์ทไี่ ม่ได้กำ� หนดไว้ลว่ ง
หน้าซึ่งมีอุปกรณ์วัดมุมจะสามารถวัดค่านี้ได้
๔.๙.๔ ก�ำลังพลที่มีหน้าที่วัดค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับมุมโดยเฉพาะ จะรายงานข้อมูลนี้
และข้อมูลอื่น ๆ ตามที่ระบุไว้ใน รปจ. ต่อชุดป้องกัน คชรน.ของหน่วย ถ้าหน่วยนั้นเป็นหน่วย
สังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า ชุดป้องกัน คชรน.จะน�ำข้อมูลมาเขียนเป็นรายงาน นชค.๑
นิวเคลียร์ แล้วส่งตาม รปจ.หรือค�ำแนะน�ำที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
๔.๑๐ มุมฐานเมฆนิวเคลียร์คงตัว (Stabilized Cloud Bottom Angle)
การวัดมุมฐานเมฆจะเป็นการวัดมุมในแนวดิ่ง (หน่วยเป็นมิลเลียมหรือองศา) จากระดับศูนย์กลาง
การระเบิดทีผ่ วิ พืน้ (หรือระดับพืน้ ดินถ้าไม่ทราบระดับศูนย์กลางการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ ) ไปยังจุดตัดของ
เมฆนิวเคลียร์ทเี่ สถียรและล�ำดอกเห็ด ถ้าเป็นการระเบิดในอากาศจะไม่มกี ารวัดมุมฐานเมฆหรือมุม
ยอดเมฆการวัดมุมนีจ้ ะกระท�ำเมือ่ เวลา H+10 นาที และรายงานค่ามุมลงในบรรทัด MIKE (ภาพ ช-๓)
210 ภาคผนวก ช

๕. รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ (NBC2 NUC Report)


๕.๑ อารัมภบท
รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์จะบอกข้อมูลการระเบิดอาวุธนิวเคลียร์ทปี่ ระเมินค่าแล้ว
โดยอาศัยรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์จ�ำนวน ๑ ฉบับ หรือมากกว่า การระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
ทุกประเภทไม่วา่ จะเป็นการระเบิดในอากาศ ทีผ่ วิ พืน้ หรือไม่ทราบประเภทของการระเบิด ล้วนต้อง
จัดท�ำรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ทงั้ สิน้ เมือ่ ได้รบั การรายงานว่าเกิดการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ หรือไม่ทราบ
ประเภทจะต้องจัดท�ำการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี ผู้ใช้รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ จะไม่
ถูกจ�ำกัดให้ใช้เฉพาะบรรทัดที่แสดงไว้ในภาพ ช-๖ เท่านั้น แต่อาจเติมบรรทัดอื่น ๆ ได้ตามความ
เหมาะสม
๕.๑.๑ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์กค็ อื เพือ่ ส่งข้อมูล
ที่ประเมินค่าแล้วไปยังหน่วยเหนือ หน่วยรองและหน่วยข้างเคียง
๕.๑.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน ข่าวอื่น ๆ ทั้งหมด (หลังจากส่งรายงาน นชค.๑
นิวเคลียร์เริม่ แรกไปแล้ว) ควรเป็นล�ำดับความเร่งด่วน ซึง่ สือ่ ถึงคุณค่าทางยุทธการของเนือ้ ข่าว ตาม
ปกติจะใช้ล�ำดับความเร่งด่วน “ด่วน”
๕.๑.๓ หลังจากที่ส่วน คชรน.ของกองพล (หรือกองบัญชาการระดับสูงกว่าที่
ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า) หาขนาดอาวุธโดยประมาณแล้ว จะเตรียมรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ ก�ำหนด
เลขล�ำดับการโจมตีแล้วแจกจ่ายให้หน่วยต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
๕.๑.๔ หลังจากส่งรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ไปแล้ว ถ้าได้รับข้อมูลเพิ่มเติมซึ่งจะ
ท�ำให้ขนาดอาวุธหรือต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ เปลีย่ นไป ให้สง่ รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์
ที่ปรับปรุงนี้ไปใหม่ โดยใช้เลขล�ำดับการโจมตีและวันเวลาโจมตีเดิม
๕.๒ เลขล�ำดับการโจมตี (Strike Serial Number)
๕.๒.๑ ส่วน คชรน.จะท�ำหน้าที่เป็นจุดศูนย์รวมการร้องขอข่าวสารเกี่ยวกับการ
โจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ โดยมีหน้าที่ก�ำหนดเลขล�ำดับการโจมตีของอาวุธนิวเคลียร์แต่ละครั้ง (ทั้ง
ฝ่ายเดียวกันหรือฝ่ายข้าศึก) ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย
๕.๒.๒ ทันทีทหี่ น่วยได้รบั รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ ชุดป้องกัน คชรน.ของหน่วย
จะน�ำรายงานนีแ้ ละข่าวสารทิศทางลมปัจจุบนั (ดูผนวก ง ข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับข่าวสารทิศทางลม)
มาเตรียมพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่าย
๕.๓ ต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (บรรทัด FOXTROT) (Location of GZ
(Line FOXTROT))
๕.๓.๑ หน่วยใด ๆ ที่ไม่มีส่วนร่วมอยู่ในระบบหน่วยสังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้
ล่วงหน้าจะต้องวัดข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับเมฆและบันทึกข้อมูลการระเบิดที่สังเกตการณ์ไว้ทั้งหมด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 211

ข้อมูลนี้จะบันทึกไว้ในรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ในบรรทัด BRAVO และ FOXTROT และน�ำมา


ประเมินค่าเพื่อจัดท�ำรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ ทั้งนี้หน่วยไม่ต้องรายงานไปยัง บก.หน่วยเหนือ
ถ้าไม่ได้รับการร้องขอเป็นพิเศษ ส่วน คชรน.จะใช้ข้อมูลนี้ในการหาต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิด
ที่ผิวพื้นและประเมินขนาดอาวุธ
๕.๓.๒ ในระดับหน่วย จะหาต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ ด้วยวิธใี ดวิธหี นึง่
ในสามวิธีต่อไปนี้คือ การสังเกตการณ์โดยตรง (direct observation) วิธีหาจุดตัด (intersection)
หรือวิธีลากเส้นหาจุดตัด (polar plot)
รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์
บรรทัด รายละเอียด ข้อก�ำหนด * ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M ALFA/US/A234/001/N/55//
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการระเบิด
และการโจมตีสิ้นสุดลง M DELTA/201405ZSEP2004//
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด M FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF วิธีการส่งและจ�ำนวนอาวุธนิวเคลียร์
ที่ระเบิด M GOLF/SUS/AIR/1/BOM/1//
HOTEL ประเภทการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ M HOTEL/SURF//
NOVEMBER ขนาดอาวุธนิวเคลียร์โดยประมาณ
หน่วยเป็นกิโลตันหรือเมกะตัน M NOVEMBER /15KT//
YANKEE ทิศทางและความเร็วลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นให้ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
ภาพ ช-๖ รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์

(ก) การสังเกตการณ์โดยตรง (direct observation)


ในกรณีทอี่ าวุธนิวเคลียร์มขี นาดเล็ก อาจทราบต�ำแหน่งศูนย์กลางการ
ระเบิดที่ผิวพื้นจริงได้จากการสังเกตการณ์โดยตรง อย่างไรก็ตาม หน่วยจะต้องไม่ออกลาดตระเวน
หาต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น ถ้าไม่สามารถสังเกตเห็นศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นได้
ให้วัดมุมอาซิมุทจากผู้สังเกตการณ์ไปยังศูนย์กลางของล�ำดอกเห็ด (ในกรณีระเบิดที่ผิวพื้น) หรือ
ศูนย์กลางของเมฆระเบิดนิวเคลียร์ (ในกรณีระเบิดในอากาศ) รายงานข้อมูลนีล้ งในบรรทัด BRAVO
ของรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ ถ้าสามารถสังเกตเห็นศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นได้ให้หาพิกัด
ยูทีเอ็ม พิกัดละติจูดและลองจิจูดหรือชื่อสถานที่ แล้วรายงานข้อมูลนี้ลงในบรรทัด FOXTROT
212 ภาคผนวก ช

(เป็นจริง) ผู้สังเกตการณ์ทางอากาศอาจให้ข้อมูลศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นโดยประมาณหรือที่
เป็นจริงขึ้นอยู่กับความสูงของการบิน ทิศทางบิน ภูมิประเทศและสภาพทัศนวิสัย ผู้สังเกตการณ์
จะต้องรายงานศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นลงในบรรทัด FOXTROT เสมอ
(ข) วิธีหาจุดตัด (intersection)
เป็นการประมาณค่าส�ำหรับบรรทัด FOXTROT หลักการหาต�ำแหน่ง
ศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นด้วยวิธีนี้คือ การหาจุดตัดของเส้นแสดงทิศทางการโจมตีที่ลากจาก
ต�ำแหน่งของผู้สังเกตการณ์ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้ามากกว่า ๑ หน่วย มีวิธีการดังต่อไปนี้
 หาและท�ำเครื่องหมายต�ำแหน่งของหน่วยสังเกตการณ์แต่ละ
หน่วยลงบนแผ่นบริวารแผนที่ยุทธการ โดยใช้ข้อมูลในบรรทัด BRAVO
 หาค่ามุมอาซิมท ุ แต่ละค่าทีจ่ ะน�ำมาพล็อต ข้อมูลนีอ้ ยูใ่ นบรรทัด
BRAVO เช่นเดียวกัน แปลงค่ามุมอาซิมุทแม่เหล็กให้เป็นมุมอาซิมุทกริดทุกค่า
 จากต�ำแหน่งผูส ้ งั เกตการณ์แต่ละต�ำแหน่ง ใช้บรรทัดวัดมุมอาซิ
มุทแต่ละค่าแล้วหมายจุดไว้
 ต่อเส้นอาซิมทุ จากต�ำแหน่งของผูส้ งั เกตการณ์ออกไปจนตัดกัน
 ลงข้อมูลอืน
่ ๆ ทีช่ ว่ ยในการก�ำหนดต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิด
ที่ผิวพื้น (เช่น เรดาร์ รายงานจากนักบิน)
 ประเมินข้อมูล ผลทีไ่ ด้จากจุดตัดของเส้นอาซิมท ุ จะเป็นต�ำแหน่ง
ของศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นโดยประมาณ รายงานต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นลงใน
รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ที่บรรทัด FOXTROT แล้วระบุเพิ่มเติมว่า “ประมาณ” (นอกเสียจากว่า
จะน�ำข้อมูลจากบรรทัด FOXTROT (เป็นจริง) มาใช้ในการก�ำหนด)
 ไม่ต้องค�ำนึงถึงเส้นอาซิมุทที่ไม่ตัดกับเส้นอาซิมุทเส้นอื่น ๆ
 ถ้าเส้นอาซิมุทไม่ตัดกันจนได้ต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดที่
ผิวพื้นที่ชัดเจนให้เลือกจุดกึ่งกลางระหว่างเส้นอาซิมุทที่ตัดกัน
(ค) วิธีลากเส้นหาจุดตัด (polar plot)
เป็นการประมาณค่าส�ำหรับบรรทัด FOXTROT เทคนิคของวิธี
ลากเส้นหาจุดตัดนั้นอาศัยเวลาแสง-ถึง-เสียงและความเร็วเสียง (๓๕๐ เมตรต่อวินาที หรือ ๐.๓๕
กิโลเมตรต่อวินาที) วิธีการท�ำมีดังต่อไปนี้ (ภาพ ช-๗)
  ประมาณค่าของระยะทางระหว่างศูนย์กลางการระเบิดที่ผิว
พื้นกับผู้สังเกตการณ์เป็นกิโลเมตร โดยการคูณเวลาแสง-ถึง-เสียง (ข้อมูลของบรรทัด JULIET ของ
รายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์) ด้วย ๐.๓๕ กิโลเมตรต่อวินาที
 ลงต�ำแหน่งของผูส ้ งั เกตการณ์ลงบนแผนทีส่ ถานการณ์ ข้อมูลนี้
อยู่ในบรรทัด BRAVO ของรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 213

 จากต�ำแหน่งของผู้สังเกตการณ์ใช้บรรทัดวัดมุมอาซิมุท ซึ่ง
แปลงค่าจากมุมอาซิมุทแม่เหล็กเป็นมุมอาซิมุทกริดแล้ว และท�ำเครื่องหมายไว้
 ลากเส้นอาซิมุทออกไปจนมีความยาวเท่ากับค่าที่ค�ำนวณไว้
เป็นระยะทางระหว่างศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นและผู้สังเกตการณ์อ่านพิกัดขอต�ำแหน่งซึ่ง
เป็นจุดปลายของเส้นอาซิมุทในขั้นตอนก่อนหน้านี้ จะเป็นต�ำแหน่งของศูนย์กลางการระเบิดที่ผิว
พื้นที่โดยประมาณ

ต�ำแหน่งของ
ผู้สังเกตการณ์

ภาพ ช-๗ วิธีลากเส้นหาจุดตัด


๕.๔ วิธีประมาณขนาดอาวุธ (บรรทัด NOVEMBER) (Methods of Determining the
Yield (Line NOVEMBER))
ก่อนจะประมาณขนาดอาวุธนัน้ จะต้องทราบต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดทีผ่ วิ พืน้
(GZ) ต�ำแหน่งผู้สังเกตการณ์และวันเวลาที่วัดข้อมูลเมฆนิวเคลียร์เสียก่อน ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับ
การระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์จะปรากฏอยู่ในโนโมแกรม แต่ละโนโมแกรมจะเป็นวิธีการประเมิน
ขนาดอาวุธโดยอิสระวิธีการหาขนาดอาวุธต่อไปนี้จะเรียงล�ำดับจากวิธีที่มีความแม่นย�ำมากที่สุดไป
จนถึงวิธีที่แม่นย�ำน้อยที่สุด
๕.๔.๑ การใช้ระยะทางระหว่างศูนย์กลางการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ (GZ) กับผูส้ งั เกตการณ์
(หน่วยเป็นกิโลเมตร) ร่วมกับข้อมูลในบรรทัด LIMA หรือ MIKE เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการประมาณ
ขนาดอาวุธ
๕.๔.๒ ใช้ภาพ ช-๘ หาขนาดอาวุธโดยใช้ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ (ข้อมูล
ในบรรทัด LIMA) และระยะทางระหว่าง GZ (หรือบรรทัด JULIET, เวลาแสง-ถึง-เสียง) กับ
ผู้สังเกตการณ์
214 ภาคผนวก ช

(ก) เส้นมาตราส่วนทางขวามือเป็นความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ มีหน่วย


เป็นมิลเลียมและองศา
(ข) เส้นมาตราส่วนตรงกลางเป็นระยะทางระหว่างศูนย์กลางการระเบิด
ที่ผิวพื้นและผู้สังเกตการณ์มีหน่วยเป็นกิโลเมตร
(ค) เส้นมาตราส่วนทางซ้ายมือเป็นขนาดอาวุธ มีหน่วยเป็นกิโลตัน
(ง) วิธีใช้โมโนแกรม วางแฮร์ไลน์บนเส้นมาตราส่วนทางขวามือ (แทน
ความกว้างของเมฆระเบิดนิวเคลียร์เมื่อเวลา H+5 นาที) ผ่านจุดบนเส้นมาตราส่วนตรงกลาง (แทน
ระยะทางระหว่างศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นกับผู้สังเกตการณ์) (หรือบรรทัด JULIET, เวลาแสง-
ถึง-เสียง) อ่านค่าขนาดอาวุธ ณ จุดที่แฮร์ไลน์ตัดเส้นมาตราส่วนขนาดอาวุธ (ซ้ายมือ) โดยจะต้อง
อ่านให้ได้ค่าละเอียด เที่ยงตรงที่สุดเท่าที่จะท�ำได้
๕.๔.๓ ความสูงของยอดเมฆหรือฐานเมฆนิวเคลียร์ทเี่ สถียรสามารถวัดได้ในระยะ
ใกล้ด้วยเครื่องบินหรือเรดาร์ของทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน โดยมีหน่วยเป็นเมตรหรือฟุตเหนือ
ผิวโลกซึ่งจะต้องวัดเมื่อเวลา H+10 นาที ข้อมูลนี้จะรายงานไว้ในบรรทัด MIKE
(ก) ใช้ภาพ ช-๙ กับค่าที่วัดดังกล่าวข้างต้นเพื่อหาขนาดอาวุธ โดยไม่
ต้องใช้ระยะทางระหว่างศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นกับผู้สังเกตการณ์
(ข) มาตราส่วนเส้นซ้ายสุดและขวาสุดบนโนโมแกรมเป็นขนาดอาวุธมี
หน่วยเป็นกิโลตันและเมกะตัน
(ค) มาตราส่วนเส้นที่สองจากซ้ายคือ ความสูงของยอดเมฆเมื่อเวลา
H+10 นาที มีหน่วยเป็นพัน (๑๐๓) เมตรหรือฟุต
(ง)   มาตราส่วนเส้นที่สามจากซ้ายคือ ความสูงของฐานเมฆเมื่อเวลา
H+10 นาที มีหน่วยเป็นพัน (๑๐๓) เมตรหรือฟุต
(จ) มาตราส่ ว นเส้ น ที่ เ หลื อ บนโนโมแกรม (๒/๓ ของความสู ง ล� ำ
ดอกเห็ด รัศมีเมฆและเวลาฝุน่ ตก) นัน้ ไม่ได้ใช้ในการประมาณขนาดอาวุธ แต่ใช้ในการพยากรณ์การ
ตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด
(ฉ) วิธใี ช้โนโมแกรม ใช้คา่ ความสูงของยอดเมฆและฐานเมฆนิวเคลียร์ที่
เสถียรจากบรรทัด MIKE ของรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์ วางแฮร์ไลน์ลงไปตรง ๆ บนค่าตามรายงาน
แล้วตรึงไว้ หมุนแฮร์ไลน์จนตัดเส้นมาตราส่วนขนาดอาวุธทัง้ สองเส้น (เส้นซ้ายสุดและขวาสุด) ทีค่ า่
เดียวกัน ค่าที่อ่านได้คือ ขนาดอาวุธโดยประมาณ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 215

สถานการณ์ : จงประมาณขนาดอาวุธ ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์


บรรทัด LIMA มีค่า ๑๖° (๕ นาทีภายหลังการระเบิด)
ขนาดอาวุธ
ระยะทางจากผู้สังเกตการณ์ GZ เท่ากับ ๑๓.๙ กม. ใช้แฮร์ไลน์
วางทาบจากขวาไปซ้ายบนมาตราส่วนเส้นขวา (บรรทัด LIMA) มิลเลียม องศา
ที่ จุ ด ๑๖° และมาตราส่ ว นเส้ น กลาง (ระยะทางจาก
ผู้สังเกตการณ์ถึง GZ หน่วยเป็น กม.) ที่จุด ๗.๕ กม. อ่านค�ำ
ขนาดอาวุธ ณ จุดทีแ่ ฮร์ไลน์ตดั มาตรา ส่วนเส้นซ้ายขนาดอาวุธ
มีค่าประมาณ ๑๖.๙ กิโลตัน
บรรทัด NOVEMBER ของรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์มคี า่ เป็น
๑๖.๙ กิโลตัน หมายเหตุ แฮร์ไลน์อาจไม่ได้สดั ส่วนกับของจริง

เวลาแสง-ถึง-เสียง (วินาที)

การประมาณขนาดอาวุธ

ภาพ ช-๘ ตัวอย่างการประมาณขนาดอาวุธจากความกว้างของเมฆนิวเคลียร์


และเวลา แสง-ถึง-เสียง/ระยะทางจากศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น
216 ภาคผนวก ช

ค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับเมฆกัมมันตรังสีและล�ำดอกเห็ด (เสถียรเมื่อ H+10 นาที)

ขนาดอาวุธ ความสูงของ สถานการณ์ : จงประมาณขนาดอาวุธ เวลาฝุ่นตก ขนาดอาวุธ


ยอดเมฆ ความสูงของยอดเมฆจากบรรทัด MIKE มีคา่ ๗.๙ กม. (จากฐานเมฆ)
ใช้แฮร์ไลน์วางทาบเป็นแนวตรงขวางจากซ้ายไปขวา
ขนาดอาวุธโดยประมาณเท่ากับ 9 KT
บรรทัด NOVEMBER ส�ำหรับรายงาน นชค.๒
นิวเคลียร์มีค่าเป็น 9 KT
หมายเหตุ : แฮร์ไลน์อาจไม่ได้สัดส่วนกับของจริง

ภาพ ช-๙ ตัวอย่างค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรและล�ำดอกเห็ด – ตัวอย่าง


จากความสูงของยอดเมฆและฐานเมฆ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 217

๕.๔.๔ จากระยะทางระหว่างศูนย์กลางการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ และผูส้ งั เกตการณ์กบั


ค่ามุมยอดเมฆหรือมุมฐานเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรจากบรรทัด MIKE จะใช้ภาพ ช-๑๐ หาขนาดอาวุธ
ได้
(ก) มาตราส่วนเส้นขวามือเป็นค่าระยะทางจากศูนย์กลางการระเบิดที่
ผิวพื้นถึงผู้สังเกตการณ์ มีหน่วยเป็นกิโลเมตรและเวลา แสง-ถึง-เสียง ซึ่งนับโดยผู้สังเกตการณ์ มี
หน่วยเป็นวินาที
(ข) มาตราส่วนเส้นกลางเป็นค่าของมุมยอดเมฆและมุมฐานเมฆมีหน่วย
เป็นมิลเลียมหรือองศา
(ค) มาตราส่วนเส้นซ้ายมือนัน้ จะมี ๒ มาตราส่วนด้วยกัน โดยทีด่ า้ นซ้าย
ของเส้นเป็นขนาดอาวุธที่อ่านค่าได้เมื่อใช้มุมฐานเมฆและด้านขวาของเส้นเป็นขนาดอาวุธที่อ่านได้
เมื่อใช้มุมยอดเมฆ
(ง) วิธีใช้โนโมแกรม วางแฮร์ไลน์จากจุดบนมาตราส่วนเส้นขวา ซึ่ง
แทนระยะทางระหว่างศูนย์กลางการระเบิดทีผ่ ิวพื้นกับผู้สงั เกตการณ์และให้ผา่ นจุดบนมาตราส่วน
เส้นกลาง ซึง่ แทนมุมยอดเมฆและมุมฐานเมฆ อ่านค่าขนาดอาวุธ ณ จุดทีแ่ ฮร์ไลน์ตดั มาตราส่วนเส้น
ซ้ายมือ ถ้าใช้คา่ มุมยอดเมฆกับมาตราส่วนตรงกลางให้อา่ นขนาดอาวุธทางด้านขวาของมาตราส่วน
เส้นซ้ายมือซึ่งระบุว่าขนาดอาวุธ (KT) – หาจากมุมยอดเมฆ ถ้าใช้ค่ามุมฐานเมฆให้อ่านขนาดอาวุธ
ทางด้านซ้ายของมาตราส่วนเส้นซ้ายมือซึ่งระบุว่า ขนาดอาวุธ (KT) – หาจากมุมฐานเมฆ
๕.๔.๕ แผ่นค�ำนวณขนาดอาวุธ เอ็ม ๔ เอ ๑ (ภาพ ช-๑๑) ออกแบบมาเพื่อให้
สามารถประมาณขนาดอาวุธได้อย่างรวดเร็วโดยอาศัยค่าต่าง ๆ ยกเว้นความสูงของยอดเมฆและ
ความสูงของฐานเมฆ แผ่นค�ำนวณ เอ็ม ๔ เอ ๑ ประกอบด้วยแผ่นพลาสติกกลม ๓ แผ่น (ด้านหน้า
ด้านหลังและตรงกลาง) ตรึงติดกันด้วยหมุด แผ่นกลมแผ่นหน้าและแผ่นหลังจะเป็นแผ่นพลาสติกสี
ขาวขุ่นตรงกลางและเป็นพลาสติกใสที่ขอบนอก ส่วนแผ่นกลางเป็นพลาสติกสีขาวขุ่น
(ก) ด้านหน้าของแผ่นค�ำนวณ เอ็ม ๔ เอ ๑ ประกอบด้วย
 มาตราส่วนมุมฐานเมฆและมุมยอดเมฆที่เสถียร (มิลเลียม)
 มาตราส่วนขนาดอาวุธที่หาจากมุมฐานเมฆที่เสถียร (กิโลตัน)
 มาตราส่วนขนาดอาวุธที่หาจากมุมยอดเมฆที่เสถียร (กิโลตัน)
 ชื่อแผ่นค�ำนวณ
 ค�ำแนะน�ำการใช้งาน
 มาตราส่วนระยะทางถึงศูนย์กลางการระเบิดทีผ ่ วิ พืน้ (กิโลเมตร)
 มาตราส่วนเวลา แสง-ถึง-เสียง (วินาที)
 ดัชนีชี้
218 ภาคผนวก ช

(ข) ด้านหลังของแผ่นค�ำนวณ เอ็ม ๔ เอ ๑ ประกอบด้วย


 มาตราส่วนความกว้างของเมฆที่สังเกตการณ์ได้ เมื่อเวลา H+5
นาที (H+5 หรือบรรทัด L)
 มาตราส่วนขนาดอาวุธ
 มาตราส่วนระยะทาง - ถึง- GZ (กิโลเมตร)
 มาตราส่วนเวลาแสง-ถึง-เสียง (วินาที)
 ดัชนีชี้
 ค�ำแนะน�ำการใช้งาน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 219

สถานการณ์ : จงประมาณขนาดอาวุธ
ระยะทางจากผูส้ ังเกตการณ์ถึง GZ เท่ากับ ๑๒.๙ กม. ใช้แฮร์ไลน์วางทาบจาก
ขวาไปซ้ายบนมาตราส่วนเส้นขวา (ด้านซ้ายของมาตราส่วนเส้นขวา) ที่ ๑๒.๙
กม.และมาตราส่วนเส้นกลาง (มุมฐานเมฆ) ทีค่ า่ ๔๔° มุมฐานเมฆ อ่านค่าขนาด
อาวุธ ณ จุดที่แฮร์ไลน์ตัดมาตราส่วนเส้นซ้าย
(ซ้ายมือของมาตราส่วนเส้นซ้าย-ขนาดอาวุธหาจากมุมฐานเมฆ)
ขนาดอาวุธมีค่าประมาณ ๗.๔ กิโลตัน
บรรทัด NOVEMBER ของรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ มีค่า ๗.๔ กิโลตัน
หมายเหตุ : แฮร์ไลน์อาจไม่ได้สัดส่วนกับของจริง

มุมยอดเมฆหรือมุมฐานเมฆ (มิลเลียม)
ขนาดอาวุธ (KT) - หาจากมุมยอดเมฆ

มุมยอดเมฆหรือมุมฐานเมฆ (องศา)

การประมาณขนาดอาวุธ
เวลาแสง-ถึง-เสียง (วินาที)
ขนาดอาวุธ (KT) - หาจากมุมฐานเมฆ

ระยะทางถึงศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (กม.)

ภาพ ช-๑๐ ตัวอย่างการประมาณขนาดอาวุธจากมุมยอดเมฆ/มุมฐานเมฆ


และเวลาแสง-ถึง-เสียง/ระยะทางจากถึง GZ
220 ภาคผนวก ช

ภาพ ช-๑๑ แผ่นค�ำนวณขนาดอาวุธ เอ็ม ๔ เอ ๑

(ค) แผ่นค�ำนวณ เอ็ม ๔ เอ ๑ นี้เป็นโนโมแกรมรูปวงกลมโดยมีแฮร์ไลน์


อยู่กับที่ ด้วยเหตุนี้ จึงมีบางสถานการณ์ที่ดัชนีชี้ขนาดอาวุธอาจชี้ออกนอกเส้นมาตราส่วนบริเวณ
ปลายบนและปลายล่างของเส้นมาตราส่วนขนาดอาวุธ (ตัวอย่างเช่น เมฆนิวเคลียร์กว้าง ๒๐
มิลเลียม และเวลาแสง-ถึง-เสียงมีค่า ๑๐ วินาที กรณีนี้นับว่าเป็นเมฆนิวเคลียร์ขนาดเล็กที่อยู่ใกล้
ผูส้ งั เกตการณ์มาก แสดงว่ามีขนาดอาวุธน้อย แผ่นค�ำนวณจะให้คา่ ขนาดอาวุธเป็น ๑,๐๐๐ กิโลตัน
แต่ขนาดอาวุธตามความเป็นจริงแล้วจะมีค่าน้อยกว่า ๐.๐๒ กิโลตัน)
(ง) การใช้แผ่นค�ำนวณ เอ็ม ๔ เอ ๑ หาขนาดอาวุธโดยทราบเวลา-แสง-
ถึง-เสียง และมุมยอดเมฆ
 สถานการณ์ ผู้สังเกตการณ์คนหนึ่งรายงานเวลาแสง-ถึง-เสียง
เป็น ๑๐๐ วินาที และมุมยอดเมฆซึ่งวัดในขณะที่เมฆเสถียรมีค่าเป็น ๓๐๐ มิลเลียม
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 221

 ภารกิจ ให้ใช้แผ่นค�ำนวณหาขนาดอาวุธจากการระเบิดครั้งนี้
 ค�ำตอบ จัดแผ่นค�ำนวณให้ค่า ๑๐๐ วินาทีบนเส้นมาตราส่วน
เวลาแสง-ถึง-เสียง อยู่ในแนวเดียวกับค่า ๓๐๐ มิลเลียมบนเส้นมาตราส่วนมุมฐานเมฆหรือมุมยอด
เมฆที่เสถียร (วัดเมื่อเวลา H+10 นาที/ข้อมูลในบรรทัด MIKE) อ่านค่าขนาดอาวุธบนมาตราส่วน
ขนาดอาวุธ-หาจากมุมยอดเมฆที่เสถียรซึ่งอยู่ใต้ดัชนีชี้ ขนาดอาวุธนิวเคลียร์ที่สังเกตการณ์ได้มีค่า
เท่ากับ ๒๐ กิโลตัน
(จ) ขนาดอาวุธหาจากเวลา แสง-ถึง-เสียงและความกว้างของเมฆเมื่อ
เวลา ๕ นาที (H+5/L)
หมายเหตุ : ถ้าบรรทัด LIMA รายงานเป็นองศา จะต้องเปลี่ยนให้เป็นมิลเลียมโดยที่มิลเลียม
เท่ากับองศา x ๑๗.๘
 สถานการณ์ ผู้สังเกตการณ์รายงานค่าเวลา แสง-ถึง-เสียงจาก
การระเบิดเป็น ๑๐๐ วินาที และความกว้างของเมฆวัดเมื่อเวลา ๕ นาทีหลังการระเบิดมีค่า ๑๘๐
มิลเลียม
 ภารกิจให้ใช้แผ่นค�ำนวณหาขนาดอาวุธ
 ค�ำตอบ จัดแผ่นค�ำนวณให้ค่า ๑๐๐ วินาทีบนมาตราส่วนเวลา
แสง-ถึง-เสียง อยูใ่ นแนวเดียวกับค่า ๑๘๐ มิลเลียมบนมาตราส่วนความกว้างของเมฆทีส่ งั เกตการณ์
เมื่อเวลา ๕ นาที อ่านค่าขนาดอาวุธ ณ จุดที่ดัชนีชี้อยู่ในแนวเดียวกับมาตราส่วนขนาดอาวุธ
 ขนาดอาวุธที่สังเกตการณ์ได้คือ ๕๐ กิโลตัน
๕.๔.๖ เวลาแสง-ถึง-เสียง จะน�ำมาใช้ในการประเมินหาขนาดอาวุธเป็นสิง่ สุดท้าย
๕.๔.๗ เทคนิคการประมาณขนาดอาวุธแต่ละวิธีที่กล่าวมานี้ เรียงตามความน่า
เชื่อถือน้อยลงตามล�ำดับและขนาดอาวุธที่หาได้จะเป็นค่าโดยประมาณ
๕.๔.๘ การโจมตีเพียงครัง้ เดียวจะได้รบั ข้อมูลจากหน่วยสังเกตการณ์หลายหน่วย
ซึ่งจะเป็นผลให้ขนาดอาวุธที่ประเมินได้มีค่าไม่เท่ากัน ให้น�ำขนาดอาวุธทั้งหมดมารวมกันแล้วหาร
ด้วยจ�ำนวนหน่วยสังเกตการณ์จะได้ค่าเฉลี่ยขนาดอาวุธโดยประมาณส�ำหรับส่งต่อไป
๖. วิธีการค�ำนวณรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ (NBC3 NUC Calculation Procedures)
วิธกี ารค�ำนวณรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์จะท�ำให้มนั่ ใจได้วา่ ได้ใช้วธิ กี ารมาตรฐานในการ
พยากรณ์ฝุ่นกัมมันตรังสี
๖.๑ การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี (Fallout Prediction)
๖.๑.๑ ในการเตรียมการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีจะต้องมีสิ่งต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้
222 ภาคผนวก ช

 ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา
 ต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น
 ขนาดอาวุธโดยประมาณ
๖.๑.๒ ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาที่จ�ำเป็นจะอยู่ในรูปแบบของข่าวสารลมพื้นฐานทาง
นชค.หรือข่าวสารทิศทางลมทาง นชค. รายละเอียดเกี่ยวกับข่าวสารทั้งสองนี้กล่าวไว้ในผนวก ง
๖.๑.๓ วิธีพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีมี ๒ วิธีคือ การพยากรณ์อย่างง่าย
และการพยากรณ์อย่างละเอียด ทัง้ สองวิธนี จี้ ะใช้ในการก�ำหนดขอบเขตของพืน้ ทีเ่ ตือนภัย ตามปกติ
แล้ว การพยากรณ์อย่างละเอียดจะใช้กบั หน่วยงานทีม่ ขี ดี ความสามารถในการพยากรณ์อากาศ และ
หน่วยรองจะใช้วธิ พี ยากรณ์อย่างง่าย ทัง้ นีผ้ บู้ งั คับบัญชาจะเป็นผูต้ ดั สินใจว่าจะใช้วธิ ใี ด รายละเอียด
เกี่ยวกับวิธีการทั้งสองนี้จะกล่าวต่อไปในผนวกนี้
๖.๑.๔ การพยากรณ์พื้นที่อันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสีด้วยวิธีพยากรณ์อย่าง
ละเอียด จะมีความถูกต้องแน่นอนกว่า ถึงแม้ว่าจะไม่มีวิธีใดที่จะระบุขอบเขตของฝุ่นกัมมันตรังสี
ได้อย่างแม่นย�ำ แต่พื้นที่ที่มีฝุ่นกัมมันตรังสีที่พยากรณ์ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งก็สามารถระบุขอบเขตของ
พื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสีที่มีความส�ำคัญทางทหารว่าจะกว้างขวางเพียงใด
๖.๑.๕ ขอบเขตของพื้นที่พยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีนั้นไม่ใช่เส้นชั้นรังสี
และไม่ได้หมายความว่า ทุก ๆ จุดภายในพื้นที่พยากรณ์จะมีอันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสี
หมายเหตุ : ไม่มกี ารพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีส�ำหรับการระเบิดในอากาศเหนือพืน้ ดิน
และวิธีการพยากรณ์ดังกล่าวข้างต้นจะน�ำมาใช้กับการระเบิดที่ผิวพื้นเหนือน�้ำได้
๖.๒ เขตต่าง ๆ ของพื้นที่การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี (Fallout Area Zones)
๖.๒.๑ พื้นที่พยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีประกอบด้วย เขต I และเขต II
(ก) เขต I เป็นเขตที่มีผลทางยุทธการทันที ภายในเขตนี้ก�ำลังพลที่ไม่มี
การป้องกันจะได้รับปริมาณรังสี ๑๒๕ เซนติเกรย์หรือสูงกว่าภายในระยะเวลาค่อนข้างสั้น (หลัง
จากฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึงเขตนี้ไม่ถึง ๔ ชั่วโมง) การปฏิบัติการของหน่วยอาจเกิดอุปสรรคส�ำคัญ
ขัดขวางและก�ำลังพลเกิดการบาดเจ็บล้มตายภายในพื้นที่บางส่วนของเขตนี้
(ข) เขต II เป็นเขตที่มีอันตรายรองลงไป ภายในเขตนี้ก�ำลังพลที่ไม่มี
การป้องกันจะได้รับปริมาณรังสีน้อยกว่า ๑๒๕ เซนติเกรย์ภายในระยะเวลา ๔ ชั่วโมงหลังจากฝุ่น
กัมมันตรังสีมาถึง แต่ภายในระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมงแรกที่ฝุ่นกัมมันตรังสีตกอาจได้รับปริมาณรังสี
ทั้งสิ้น ๗๕ เซนติเกรย์หรือสูงกว่า ก�ำลังพลที่ไม่เคยได้รับรังสีมาก่อน อาจได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติ
ภารกิจส�ำคัญเป็นเวลานานถึง ๔ ชั่วโมง หลังจากที่ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึง โดยไม่ท�ำให้ก�ำลังพลผู้นั้น
ได้รับปริมาณรังสีถึง ๑๒๕ เซนติเกรย์ซึ่งเป็นเกณฑ์อันตรายฉุกเฉิน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 223

๖.๒.๒ ภายนอกเขตทีไ่ ด้พยากรณ์ไว้ทงั้ สองเขต ก�ำลังพลทีไ่ ม่มกี ารป้องกันอาจได้รบั


ปริมาณรังสีทงั้ สิน้ ไม่เกิน ๗๕ เซนติเกรย์ภายใน ๒๔ ชัว่ โมงแรกหลังจากฝุน่ กัมมันตรังสีมาถึงพืน้ ทีน่ นั้
๖.๒.๓ ปริมาณรังสีทงั้ สิน้ ทีไ่ ด้รบั นัน้ แม้วา่ จะอยูน่ อกพืน้ ทีพ่ ยากรณ์ตอ่ ไปอีกนาน
เท่าใดก็ไม่ควรถึง ๑๒๕ เซนติเกรย์ ทั้งนี้รายละเอียดอยู่ใน ผนวก ค
หมายเหตุ : การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีเป็นการประมาณการเท่านั้น ถ้าหากจะ
ต้องเข้าไปปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธใี นพืน้ ทีพ่ ยากรณ์จะต้องมีการเตรียมการทีจ่ �ำเป็นเพือ่ หลีกเลีย่ ง
อันตราย ถึงแม้ว่าหน่วยจะอยู่ภายในพื้นที่เขต I แต่ก็อาจไม่ได้รับอันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสี
เลยก็ได้ อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจที่จะปฏิบัติขึ้นอยู่กับผู้บังคับบัญชาของหน่วยในพื้นที่นั้น
และค�ำแนะน�ำแห่งชาติหรือ รปจ.
๖.๓ นัยส�ำคัญของฝุ่นกัมมันตรังสีบนบกกับในทะเล (Significance of the Fallout
Ashore Versus at Sea)
๖.๓.๑ วิธกี ารพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีอย่างละเอียดและอย่างง่ายนัน้ มี
จุดประสงค์เพือ่ ให้หน่วยทหารทุกหน่วยเป็นผูใ้ ช้ โดยสมมุตวิ า่ เป็นการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ ดิน เป็นทีท่ ราบ
กันว่าฝุ่นกัมมันตรังสีจากการระเบิดในทะเลนั้นค่อนข้างแตกต่างออกไป แต่ข้อมูลโดยตรงเกี่ยวกับ
ฝุ่นกัมมันตรังสีจากการระเบิดบนพื้นผิวของทะเลลึกนั้นมีน้อยมาก
๖.๓.๒ ทะเลจะท�ำหน้าที่เหมือนกับเป็นตัวดูดกลืนและเครื่องกั้นผลผลิตจากการ
แตกตัวที่เป็นสารกัมมันตรังสี แต่ก็ยังคงมีอันตรายบนพื้นดินจนกว่าจะสลายตัวไป
๖.๓.๓ ข้อแตกต่างทีส่ ำ� คัญอีกประการหนึง่ ก็คอื ผูท้ ไี่ ด้รบั การเตือนภัยบนบกไม่ได้
เคลื่อนที่เหมือนเรือในทะเล ดังนั้นเรือจะให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการก�ำหนดพื้นที่โดยประมาณ
ที่ฝุ่นกัมมันตรังสีจะตกลงบนผิวน�้ำ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งภายหลังการระเบิด
๖.๓.๔ เรือทีม่ คี วามสามารถในการพยากรณ์อากาศอาจได้รบั ข้อมูลอุตนุ ยิ มวิทยา
ที่ต้องการเพื่อใช้ในการค�ำนวณข้อมูลทิศทางลมทาง นชค.โดยการใช้ค่าระดับลมมาตรฐาน ข้อมูล
ลมพื้นฐานส�ำหรับวัตถุประสงค์นี้ปกติจะได้จากแหล่งข้อมูลอุตุนิยมวิทยาต่าง ๆ (เช่น ฐานบิน เรือ
อุตุนิยมวิทยาหรือสถานีวัดสภาพอากาศเคลื่อนที่) ตามปกติแล้วเรือที่ไม่มีขีดความสามารถในการ
พยากรณ์อากาศจะพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีด้วยวิธีพยากรณ์อย่างง่าย
๖.๓.๕ ระบบการเตือนภัยฝุ่นกัมมันตรังสีส�ำหรับเรือสินค้าในทะเล (MERWARN)
จะอธิบายภายหลังในผนวกนี้
๖.๔ ฝุ่นกัมมันตรังสีจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์หลายลูก (Multiple-Burst
Fallout)
๖.๔.๑ ในกรณีของฝุ่นกัมมันตรังสีที่เกิดจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์หลาย
ลูกนั้นไม่มีวิธีการพยากรณ์เพิ่มเติมจากที่มีอยู่ ข้อมูลที่ได้รับในพื้นที่ซึ่งเขตอันตรายซ้อนทับกันอยู่
จะแปลความหมายได้ดังต่อไปนี้
224 ภาคผนวก ช

(ก) การก� ำ หนดชั้ น อั น ตรายของพื้ น ที่ พ ยากรณ์ ก ารตกของฝุ ่ น


กัมมันตรังสีซ้อนทับกันนั้น จะต้องก�ำหนด ตามระดับอันตรายของเขตที่มีอันตรายสูงกว่านั่นคือ ถ้า
พื้นที่เขต I ซ้อนทับกัน จะก�ำหนดให้เป็นเขต I และพื้นที่อันตรายไม่เกินเขต II ซ้อนทับกันจะก�ำหนด
ให้เป็นเขต II (ภาพ ช-๑๒)
(ข) ตัวอย่าง
 เขต I ซ้อนเขต I ก�ำหนดพื้นที่ซ้อนทับเป็นเขต I
 เขต I ซ้อนเขต II ก�ำหนดพื้นที่ซ้อนทับเป็นเขต I
 เขต II ซ้อนเขต II ก�ำหนดพื้นที่ซ้อนทับเป็นเขต II
 เขต II ซ้อนเขต I ก�ำหนดพื้นที่ซ้อนทับเป็นเขต I

ภาพ ช-๑๒ ตัวอย่างการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีจากการระเบิด


ของอาวุธนิวเคลียร์หลายลูกอย่างละเอียด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 225

๖.๕ การพยากรณ์ ก ารตกของฝุ ่ น กั ม มั น ตรั ง สี อ ย่ า งง่ า ย (Simplified Fallout


Prediction)
๖.๕.๑ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของระบบการพยากรณ์การตกของฝุน่
กัมมันตรังสีอย่างง่ายก็คือ เพื่อจัดเตรียมการประเมินผลอันตรายของฝุ่นกัมมันตรังสีให้แก่ผู้บังคับ
หน่วยขนาดเล็กทันที ซึ่งผู้บังคับหน่วยจะน�ำไปใช้ในขบวนการตัดสินใจทางยุทธวิธี
๖.๕.๒ สิง่ อุปกรณ์ทตี่ อ้ งใช้ ในการจัดการพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสี
อย่างง่ายนั้น หน่วยจะต้องใช้สิ่งอุปกรณ์ดังต่อไปนี้
(ก) ข้อมูลทิศทางลมปัจจุบัน
(ข) รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์
(ค)  แผ่นพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่าย แบบ
เอ็ม ๕ เอ ๒ (ดูภาพ ช-๑๓ และภาพ ช-๑๔)
(ง) โนโมแกรมระยะทางใต้ลมเขตที่มีผลทางยุทธการทันที
226
ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่าย

เขต เขต
แกนใต้ลม

ภาพ ช-๑๓ ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่าย


- มาตราส่วน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ (ไม่ใช่มาตราส่วนจริง)
- ขนาดอาวุธโดยประมาณ 35 KT
- วันเวลาโจมตี 271220z พ.ค. ๒๐๐๔
- ต�ำแหน่งโจมตี WB 208196
- ข้อมูลทิศทางลม นชค. 271220z พ.ค. ๒๐๐๔
ภาคผนวก ช
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 227

แผ่นพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่ายแบบ เอ็ม ๕ เอ ๒

ภาพ ช-๑๔ ตัวอย่างภาพแผ่นพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่ายแบบ เอ็ม ๕ เอ ๒


228 ภาคผนวก ช

๖.๕.๓ ข่าวสารทิศทางลมของกลุ่มขนาดอาวุธ (EDM Yield Groups)


ข่าวสารทิศทางลมที่ให้ข้อมูลส�ำหรับการเขียนภาพพยากรณ์นั้นจะแบ่งขนาดอาวุธออกเป็น ๗ กลุ่ม
มาตรฐานด้วยกัน (ดูตาราง ช-๑) กลุม่ ขนาดอาวุธเหล่านีจ้ ะเขียนเรียงเป็นบรรทัดไว้ตงั้ แต่ ALPHAM
จนถึงบรรทัด GOLFM ในข่าวสารทิศทางลม ข้อมูลแต่ละบรรทัดจะเป็นของแต่ละกลุ่มอาวุธ

ตาราง ช-๑ กลุ่มขนาดอาวุธที่เลือกไว้

ALPHAM หมายถึง อาวุธขนาด ≤ ๒ กิโลตัน


BRAVOM หมายถึง อาวุธขนาด > ๒ กิโลตัน ≤ ๕ กิโลตัน
CHARLIEM หมายถึง อาวุธขนาด > ๕ กิโลตัน ≤ ๓๐ กิโลตัน
DELTAM หมายถึง อาวุธขนาด > ๓๐ กิโลตัน ≤ ๑๐๐ กิโลตัน
ECHOM หมายถึง อาวุธขนาด > ๑๐๐ กิโลตัน ≤ ๓๐๐ กิโลตัน
FOXTROTM หมายถึง อาวุธขนาด > ๓๐๐ กิโลตัน ≤ ๑,๐๐๐ กิโลตัน (๑ เมกะตัน)
GOLFM หมายถึง อาวุธขนาด > ๑,๐๐๐ กิโลตัน ≤ ๓,๐๐๐ กิโลตัน (๓ เมกะตัน)

(ก) เลข ๓ หลักแรก (ddd) เป็นทิศทางใต้ลมส�ำหรับกลุม่ อาวุธเฉพาะ


กลุ่มนั้น มีหน่วยเป็นองศาจากทิศเหนือกริด
(ข) เลข ๓ หลักถัดมา (SSS) เป็นความเร็วลม มีหน่วยเป็นกิโลเมตร
ต่อชั่วโมง
(ค) เลข ๓ หลักสุดท้าย (***) แทนมุมที่ขยายออกไปจากเส้นรัศมี
ซ้ายและขวา มีหน่วยเป็นองศา เลข ๓ หลักนี้จะระบุไว้เฉพาะเมื่อมุมที่ได้จากการพล็อตทิศทาง
และความเร็วลมมีค่าเกิน ๔๐ องศา
หมายเหตุ : ถ้าความเร็วลมต�ำ่ กว่า ๘ กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เลขสามหลักแรกของบรรทัดในข่าวสาร
ทิศทางลมนั้น ๆ จะหมายถึงระยะทางใต้ลมของเขต I (ดูภาพ ช-๑๕)
แผ่นค�ำนวณข่าวสารทิศทางลม
เวลาที่ท�ำการวัดลม (กลุ่มวัน-เวลา) DDtttt _____________
ข้อมูลและการค�ำนวณ
(1) (2) (3)
บรรทัด ขนาดอาวุธ ความสูงของ ความสูง 2/3 ของความ ระยะทาง ความเร็วลม – SSS (กม/ชม.) อาซิมุทของ อาซิมุทของ ทิศทางลม – ddd มุมของพื้นที่
ข่าวสาร (กิโลตัน) ยอดเมฆ ของฐานเมฆ สูงของล�ำดอก ของเส้นรัศมี (1) x 1 = SSS เส้นรัศมี เส้นรัศมี (องศา) เตือนภัย
(เมตร) (เมตร) เห็ด (เมตร) (GZ/CB) เวลาฝนตก (GZ/CT) (GZ/2/3) ผลบวกของ
(กิโลเมตร) ปัดเศษจนเป็น กม./ชม. (องศา) ล�ำดอกเห็ด
(องศา)
A 2 49,000 2,600 1,700 ________ ________ X 1.136 = ________ ________ ________ (2)+(3) = (2)+(3) = ddd1 ________
2
B 5 7,100 4,400 2,800 ________ ________ X 0.758 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
C 30 11,600 7,700 5,100 ________ ________ X 0.455 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
D 100 14,400 9,300 6,200 ________ ________ X 0.385 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
E 300 16,700 11,000 7,400 ________ ________ X 0.333 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
F 1,000 21,000 13,500 9,000 ________ ________ X 0.286 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
2
G 3,000 26,250 15,800 10,500 ________ ________ X 0.250 = ________ ________ ________ ______ = ______= _____ ________
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

2
ข่าวสารทิศทางลม

ภาพ ช-๑๕ แผ่นค�ำนวณข่าวสารทิศทาง


ZULU DDtttt ___ ___ ___ ___ ___ ___
ALFA dddsss ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___
BRAVO dddsss ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___
CHARLIE dddsss ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___
DELTA dddsss ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___
ECHO dddsss ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___
FOXTROT dddsss ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___
GOLF dddsss ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___ ___
ถ้าอาซิมุทของเส้นรัศมี GZ/มุมยอดเมฆ (๒) หรืออาซิมุทของเส้นรัศมี GZ/2/3 ของล�ำดอกเห็ด (๓) อยู่ในควอดแดรนท์ที่ ๑ (๐°- ๙๐°) และอีกเส้นหนึ่งอยู่ในควอดแดรนท์ที่ ๔ (๒๗๐°- ๓๖๐°) ผลของ (๒)+(๓)
จะเป็นอาซิมุทกลับของทิศทางลม ในกรณีนี้จะหา ddd ได้ด้วยวิธีต่อไปนี้ ถ้าผลที่ได้มากกว่า ๑๘๐° ให้ลบด้วย ๑๘๐° ; ถ้าผลที่ได้น้อยกว่า ๑๘๐° ให้บวกด้วย ๑๘๐° แล้วกรอกค่าที่ได้ลงในข่าวสารทิศทางลม (๒)
229
230 ภาคผนวก ช

(ง) ในการค�ำนวณข้อมูลให้ใช้วิธีการอย่างละเอียดที่จะอธิบายต่อไปใน
ผนวกนี้
โดยอาวุธขนาด ๒ กิโลตันจะใช้บรรทัด ALPHAM
๕ กิโลตันใช้บรรทัด BRAVOM
๓๐ กิโลตันใช้บรรทัด CHARLIEM และอื่น ๆ
ตัวอย่าง ข่าวสารทิศทางลม นชค.
พื้นที่/RRRR// (พื้นที่วัดค่าลม)
ZULUM/dddttttZMMMYYYY/ (วันเวลาที่วัดข้อมูลเกี่ยวกับลม)
หน่วย/LLL/DDD/SSS/-//
ALPHAM /-/ddd/sss/***
BRAVOM /-/ddd/sss/***
CHARLIEM /-/ddd/sss/***
DELTAM /-/ddd/sss/***
ECHOM /-/ddd/sss/***
FOXTROTM /-/ddd/sss/***
GOLFM /-/ddd/sss/***
ZULUM/ddttttZMMMYYYY/ เป็นวันเวลาที่วัดข้อมูลเกี่ยวกับลมจริงเพื่อน�ำมาใช้ในการ
พล็อตทิศทางลม (เช่น 020600ZJUN 2004 หมายถึง วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๐๐๔ เมื่อเวลา 0600 Z)
UNIT (LLL/DDD/SSS/-//) เป็นหน่วยที่ใช้วัดลม (LLL= กม., DDD = องศากริด (DGG), และ
SSS = กม./ชม.) DDD เป็นทิศทางลม มีหน่วยเป็นองศา และ SSS เป็นความเร็วลมมีหน่วยเป็น กม./ชม.
(เช่น ALPHAM 080025 บอกค่าทิศทางลมเป็น ๘๐ องศาและความเร็วลมเป็น ๒๕ กม./ชม.
ข้อมูลนี้ใช้กับอาวุธนิวเคลียร์ขนาดไม่เกิน ๒ กิโลตัน แต่ถ้า ALPHAM เป็น 004, LLL (/-/) จะเป็น
ค่าของระยะทางใต้ลมเขต I (๔ กม.)
๖.๕.๔ แผ่นพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสี แบบเอ็ม ๕ เอ ๒
(M5A2 Fallout Predictor) เป็นแผ่นโปร่งใส ใช้ส�ำหรับเขียนเส้นขอบของอันตรายที่เกิดจากอาวุธ
นิวเคลียร์ระเบิดที่ผิวพื้นตามกลุ่มของขนาดอาวุธที่ก�ำหนดไว้
(ก) แผ่นพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสี แบบเอ็ม ๕ เอ ๒
ประกอบด้วยรูปพยากรณ์อย่างง่าย ๒ รูป และโนโมแกรมส�ำหรับก�ำหนดระยะทางใต้ลมเขต I
(ข) รูปพยากรณ์รปู หนึง่ ใช้สำ� หรับแผนทีม่ าตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ พร้อม
ด้วยกลุ่มของขนาดอาวุธนิวเคลียร์ที่ก�ำหนดไว้แล้ว ๕ กลุ่ม (A, B, C, D และ E) ส่วนรูปพยากรณ์อีก
รูปหนึง่ ใช้สำ� หรับแผนทีม่ าตราส่วน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ พร้อมด้วยกลุม่ ของขนาดอาวุธนิวเคลียร์ทกี่ ำ� หนด
ไว้แล้ว ๖ กลุ่ม (A, B, C, D, E และ F) รูปพยากรณ์แต่ละรูปประกอบด้วยส่วนส�ำคัญ ๓ ส่วนคือ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 231

 วงกลมอาซิมุท ส�ำหรับก�ำหนดทิศทางที่จะวางรูปพยากรณ์
 ครึง่ วงกลมแสดงรัศมีเมฆนิวเคลียร์ทเี่ สถียรรอบศูนย์กลางการระเบิด
ที่ผิวพื้น (GZ) และแสดงพื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสีของกลุ่มขนาดอาวุธแต่ละกลุ่มที่ก�ำหนดไว้
 เส้นรัศมี ๒ เส้นที่ลากต่อออกจากจุดศูนย์กลางของวงกลมอาซิมุท
แต่ละเส้นมีขีดแบ่งระยะทางเป็นกิโลเมตรตามมาตราส่วนแผนที่
๖.๕.๕ การพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีอย่างง่ายมี ๓ กรณีคอื กรณีปกติ
และกรณีพเิ ศษ ๒ กรณี สิง่ ทีจ่ ะเป็นตัวก�ำหนดแบบคือ จ�ำนวนหลักของตัวเลขทีอ่ ยูใ่ นบรรทัดเดียวกัน
กับกลุ่มขนาดอาวุธที่ก�ำลังใช้อยู่
(ก) กรณีปกติจะเป็นเลข ๖ หลัก ภายใต้สภาวะปกติ ความเร็วลมจะมี
ค่าตั้งแต่ ๘ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป เมื่อความเร็วลมมีค่าดังกล่าว ข่าวสารทิศทางลมจะเป็นเลข ๖
หลัก ซึง่ ใช้ในการเตรียมการพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีอย่างง่าย ภาพการพยากรณ์ในกรณี
ปกตินี้ให้ดูภาพ ช-๑๒ ซึ่งมีวิธีการท�ำดังนี้
 ก�ำหนดขนาดอาวุธ ข้อมูลนี้จะอยู่ในบรรทัด NOVEMBER ของ
รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์
 ใช้ขนาดอาวุธเป็นตัวก�ำหนดบรรทัดในข่าวสารทิศทางลมที่จะ
ใช้ในการเตรียมการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่าย
ตัวอย่าง : อาวุธนิวเคลียร์ขนาด ๕๐ กิโลตัน ใช้บรรทัด DELTA ในข่าวสารทิศทางลม ซึ่งใช้ส�ำหรับ
อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดมากกว่า ๓๐ กิโลตันแต่น้อยกว่า ๑๐๐ กิโลตัน
DELTA ส�ำหรับอาวุธขนาด > ๓๐ กิโลตัน ≤๑๐๐ กิโลตัน
 ใช้เลข ๓ หลักแรก (ddd) จากข่าวสารทิศทางลมเป็นค่าทิศทาง
ลม ลากเส้นตรงจากศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นผ่านทิศทางลมดังกล่าวบนวงกลมอาซิมุทก�ำหนด
เป็นเส้นแนวทิศเหนือกริด (GN) และบันทึกทิศทางลม (ddd) บนแผ่นพยากรณ์ เอ็ม ๕ เอ ๒
 ใช้คา่ ความเร็วลม (SSS จากข่าวสารทิศทางลม) และขนาดอาวุธ
ที่แท้จริง (ไม่ใช่กลุ่มของขนาดอาวุธ) และหาระยะทางใต้ลมที่มีผลทางยุทธการทันที (ภาพ ช-๑๖)
โดยวางแฮร์ไลน์ทาบลงบนค่าทีเ่ ส้นมาตราส่วนความเร็วลมและขนาดอาวุธ แล้วอ่านค่าระยะทางใต้
ลมเขต I ตรงจุดที่แฮร์ไลน์ตัดกับเส้นมาตราส่วนของระยะทางใต้ลมเขต I
 จากศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น วาดส่วนโค้งด้วยระยะทางใต้
ลมเขต I ตัดเส้นรัศมีทงั้ สองของแผ่นพยากรณ์เป็นเขต I และวาดส่วนโค้งเส้นที่ ๒ ด้วยระยะทางเป็น
๒ เท่าของเส้นแรกจากศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นเป็นเขต II (ระยะทางเขต II จะเป็น ๒ เท่าของ
เขต I เสมอ) ก�ำหนดเขต I และเขต II ลงบนพื้นที่ทั้งสอง
 ลากเส้นสัมผัสวงกลมจากเส้นรัศมีเมฆของกลุม ่ ขนาดอาวุธไปยัง
จุดที่เส้นรัศมีของแผ่นพยากรณ์ตัดกับส่วนโค้งของระยะทางใต้ลมเขต I
232 ภาคผนวก ช

 ลากเส้นโค้งประภายในเขต I และเขต II ด้วยความยาวเท่ากับ


ความเร็วลม (SSS)
ตัวอย่าง : ความเร็วลม = ๑๕ กม./ชม. ดังนั้น H+1 (1ชั่วโมงหลังการระเบิด) จะต้องลากเส้นโค้ง
ประที่ ๑๕ กม. H+2 ที่ ๓๐ กม.และ H+3 ที่ ๔๕ กม. อย่างไรก็ตามถ้าขอบเขตของเขต II เป็น ๒๙ กม.
ดังนัน้ (ตามตัวอย่างนี)้ ส่วนโค้งประของเวลาทีฝ่ นุ่ กัมมันตรังสีมาถึง (พืน้ ที)่ จะมีเพียง ๒ เส้นเท่านัน้
คือ H+1 และ H+2 ถ้าส่วนโค้งประของเวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึง (พื้นที่) เป็นเส้นเดียวกันกับเส้น
ขอบของเขต ให้ต่อเส้นขอบของเขตด้านข้างออกไปเป็นเส้นโค้งประแล้วระบุเวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสี
มาถึงที่เหมาะสม (เช่น H+2 ณ ขอบของเขต II ที่ระยะ ๓๐ กม.)
 วางแผ่ น พยากรณ์ ท าบลงบนแผนที่ โ ดยให้ จุ ด ศู น ย์ ก ลางของ
วงกลมอาซิมุทตรงกับศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (GZ) บนแผนที่ แล้วหมุนแผ่นพยากรณ์ไปรอบ
จุด GZ จนกระทั่งเส้นแนวเหนือกริดชี้ตรงไปยังทิศเหนือกริดของแผนที่
 แผ่นพยากรณ์จะสามารถพยากรณ์พื้นที่ที่จะมีฝุ่นกัมมันตรังสี
ตกลงมาได้
(ข) กรณีพิเศษเป็นรูปวงกลม มีเลข ๓ หลัก โดยทั่วไปแล้วเมื่อความเร็ว
ลมต�่ำกว่า ๘ กิโลเมตรต่อชั่วโมง ฝุ่นกัมมันตรังสีจะไม่เคลื่อนที่ไปในทิศทางที่แน่นอน และจะกลับ
มาตกลงรอบ ๆ จุด GZ วิธีเตรียมการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่ายในกรณีที่มีเลข
๓ หลักซึ่งเป็นรูปวงกลมมีดังต่อไปนี้
 เมื่อไรก็ตามที่ความเร็วลมต�่ำกว่า ๘ กม./ชม. บรรทัดข่าวสาร
ทิศทางลมจะมีเลขเพียง ๓ หลัก ซึ่งบ่งว่าการพยากรณ์จะมีรูปแบบเป็นวงกลม
 ที่จุด GZ บนแผ่นพยากรณ์ เอ็ม ๕ เอ ๒ วาดวงกลมซึ่งมีรัศมี
เท่ากับค่าที่รายงานไว้ในข่าวสารทิศทางลม ก�ำหนดเป็นเขต I
 วาดวงกลมอีกวงหนึ่งให้มีรัศมีเป็น ๒ เท่าของระยะทางเขต I
โดยใช้จุดศูนย์กลางเดิม (GZ) ก�ำหนดเป็นเขต II
(ค) กรณีพิเศษขยายมุม มีเลข ๙ หลัก เมื่อบรรทัดข่าวสารทิศทางลมมี
เลข ๙ หลัก (หรือในรูปแบบจากการประเมินข้อมูลอัตโนมัติเป็นเลข ๗ หลัก) มุมที่รายงานไว้
ใหญ่กว่า ๔๐° การวาดภาพพยากรณ์จะกระท�ำเช่นเดียวกับกรณีปกติ ยกเว้นเส้นรัศมีซา้ ยและขวาจะ
ขยายกว้างจากมุม ๔๐° ที่ก�ำหนดไว้ออกไปเท่า ๆ กันเพื่อให้ครอบคลุมอันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสี
ได้ทั้งหมด เส้นรัศมีทั้งสองจะขยายจากจุด GZ ไปยังสุดเขต II (ตัวอย่างเช่น ถ้ามุมที่ขยายออกไป
คือ (***) ๖๐ องศาหรือ (*) ๖ เส้นเรเดียลจะขยายออกไปจากเส้นอ้างอิงเดิมด้านละ ๓๐ องศา)
๖.๕.๖ เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึง (Time of Arrival.)
(ก) การประมาณเวลาทีฝ่ นุ่ กัมมันตรังสีเคลือ่ นทีจ่ ากศูนย์กลางการระเบิด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 233

ที่ผิวพื้น (GZ) มาถึงจุดที่ก�ำหนด ค�ำนวณได้จากการหารระยะทางจาก GZ ด้วยความเร็วลมโดยมี


สูตรดังนี้
ระยะทางจาก GZ = เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึง
ความเร็วลม (กม./ชม.)
(ข) ส�ำหรับการปฏิบัติการยุทธ์ อาจใช้กฎต่อไปนี้ ก�ำหนดเวลาที่ฝุ่น
กัมมันตรังสีเคลื่อนที่มาถึงจริง
 การมาถึ ง จริ ง ของฝุ ่ น กั ม มั น ตรั ง สี อ าจใช้ เวลาเพี ย งครึ่ ง หนึ่ ง
ของที่ประมาณไว้เช่น ถ้าประมาณว่าฝุ่นกัมมันตรังสีจะเคลื่อนที่มาถึงเมื่อ H+4 ชั่วโมง เวลาที่ฝุ่น
กัมมันตรังสีเคลื่อนที่มาถึงจริงอาจเร็วขึ้นเป็น H+2 ชั่วโมง
 ถ้าฝุน ่ กัมมันตรังสีไม่ตกจริงภายในเวลานานเป็น ๒ เท่าของเวลา
ที่ประมาณไว้ (หรือ ๑๒ ชั่วโมงแล้วแต่จะถึงก�ำหนดเวลาใดก่อน) อาจสันนิษฐานว่าพื้นที่นั้นจะไม่มี
ฝุ่นกัมมันตรังสีตก
234 ภาคผนวก ช

สถานการณ์ : จงหาระยะทางใต้ลมเขต I ขนาดอาวุธ


- ความเร็วลมจากบรรทัด YANEE ของรายงาน นชต.๒ นิวเคลียร์เท่ากับ ๐๒๙ กม./ชม.
- ขนาดอาวุธโดยประมาณจากบรรทัด NOVENBER ของรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์เท่ากับ ๓๕ กิโลตัน
- ทาบแฮร์ไลน์จากเส้นมาตราส่วนซ้ายที่ ๒๙ กม./ชม. แล้วตรึงไว้และให้แฮร์ไลน์อยูใ่ นแนวเดียวกันบนเส้นมาตราส่วน
ขวาที่ขนาดอาวุธ ๓๕ กิโลตัน
- อ่านระยะทางใต้ลมเขตทีเ่ ส้นมาตราส่วนกลางได้ ๓๓ กม. พึงระลึกไว้วา่ ค่านีจ้ ะต้องปัดให้เป็นค่าจ�ำนวนเต็มเสมอ
หมายเหตุ : แฮร์ไลน์อาจไม่ได้สัดส่วนกับของจริง
ระยะทางใต้ลม เขต I

ความเร็วลม
การหาระยะทางของเขต I

ภาพ ช-๑๖ ตัวอย่างการก�ำหนดระยะทางใต้ลมเขต I


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 235

๖.๖ ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ (Ship Fallout Template)


ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีทอี่ อกแบบมา โดยเฉพาะส�ำหรับใช้บนเรือนัน้ แสดงไว้
ในภาพ ช-๑๗ และ ช-๑๘ แผ่นพยากรณ์ดงั กล่าวนีค้ ล้ายกับแผ่นพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสี
เอ็ม ๕ เอ ๒ (ภาพ ช-๑๔) ที่กองก�ำลังภาคพื้นดินเป็นผู้ใช้ ข้อแตกต่างหลักก็คือ ครึ่งวงกลมเหนือลม
ของศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (GZ) บนแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือนั้นไม่ได้
หมายถึงรัศมีเมฆของขนาดอาวุธที่ก�ำหนดไว้
๖.๖.๑ ระยะปลอดภัย การหาระยะปลอดภัยเริม่ จากการหาพืน้ ทีท่ ฝี่ นุ่ กัมมันตรังสี
ตก ณ เวลาใด ๆ หลังการระเบิด ฝุน่ กัมมันตรังสีจะไม่ตกทันทีทนั ใดภายในพืน้ ทีท่ พี่ ยากรณ์ไว้ แต่จะ
ตกในพืน้ ทีโ่ ดยรอบ GZ และอาจเคลือ่ นไปตามรูปแบบการพยากรณ์ (ในทิศทางใต้ลม) ด้วยความเร็ว
ลมโดยประมาณ เขตโดยประมาณที่ฝุ่นกัมมันตรังสีจะตกลงบนพื้นผิว ณ เวลาใด ๆ ภายหลัง
การระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์จะหาได้ด้วยวิธีการต่อไปนี้
(ก) ขั้นที่ ๑ คูณความเร็วลมด้วยเวลา (เป็นชั่วโมง) หลังการระเบิด
(ข) ขั้นที่ ๒ น�ำระยะปลอดภัยที่ได้รับจากภาพแผ่นพยากรณ์ (ส�ำหรับ
กลุ่มขนาดอาวุธมาตรฐาน) มาบวกกับระยะทางที่ค�ำนวณได้จากขั้นที่ ๑ เพื่อให้ครอบคลุมขนาด
ของเมฆนิวเคลียร์รวมถึงการแพร่กระจายและลมผวน
ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีบนเรือ
วันเวลาโจมตี : 201330Z
ข่าวสารทิศทางลมนาวี : 2012000Z
ขั้นที่ ๓ ขนาดอาวุธ : ๗๐ กิโลตัน โดยประมาณ
การแจกจ่าย :

ขั้นที่ ๔ แกนใต้ลม

เขต ๒
ไม่ได้สัดส่วนกับของจริง
ขั้นที่ ๕
รัศมีเมฆ ระยะปลอดภัย
ขนาดอาวุธ A B C D E F G A B C D E F G
ไมล์ทะเล 0.7 1.0 2.3 3.7 8.1 9.7 15 1.3 1.5 3.4 5 7 13 19
กิโลเมตร 1.2 1.9 4.2 6.8 11.2 18 28 2.5 3 6.7 10 14 25 36

ภาพ ช-๑๗ ตัวอย่างภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ


236 ภาคผนวก ช

(ค) ขั้นที่ ๓ ใช้ GZ บนแผ่นภาพเป็นจุดศูนย์กลาง วาดส่วนโค้ง ๒ เส้น


ซึ่งมีรศั มีเท่ากับระยะทางที่ได้จากขัน้ ที่ ๒ ตัดภาพพยากรณ์ เขตที่อยู่ระหว่างส่วนโค้งทั้งสองจะเป็น
พื้นที่ที่ฝุ่นกัมมันตรังสีตก ณ เวลาใด ๆ ภายหลังการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
๖.๖.๒ การเขียนภาพพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีจากข่าวสารทิศทางลม
นาวีและการสังเกตการณ์
ตัวอย่าง : เรือล�ำหนึ่งได้รับข่าวสารทิศทางลมนาวี เมื่อ 201332Z การสังเกตการณ์จากเรือพบว่า
มีอาวุธนิวเคลียร์ระเบิดขึ้น เมื่อสังเกตการณ์ต่อไปสามารถประมาณขนาดอาวุธได้ ๗๐ กิโลตัน และ
ประมาณต�ำแหน่ง GZ ได้ที่ 56° 00′N – 12° 00′E จากนั้นได้ส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์นาวีไป
ยังหน่วยเหนือตามร้องขอ เรือจะต้องเตรียมพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างง่ายด้วยวิธี
การดังนี้
(ก) ขั้นที่ ๑ เนื่องจากอาวุธนี้ประมาณได้จากการสังเกตการณ์พื้นฐาน
เท่านัน้ จึงอาจเป็นค่าทีไ่ ม่ถกู ต้องแม่นย�ำ ดังนัน้ เพือ่ ความปลอดภัยจึงให้ใช้คา่ ขนาดอาวุธทีม่ ากทีส่ ดุ
ในกลุ่มขนาดอาวุธที่ประมาณว่า ส�ำหรับอาวุธนิวเคลียร์ขนาด ๗๐ กิโลตันอยู่ในกลุ่มขนาดอาวุธ
DELTA ซึ่งขนาดอาวุธที่มากที่สุดในกลุ่มนี้คือ ๑๐๐ กิโลตัน ดังนั้นจึงให้ใช้ขนาดอาวุธ ๑๐๐ กิโลตัน
ในการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีในครั้งนี้
(ข) ขั้นที่ ๒ เลือกข้อมูลในกลุ่มขนาดอาวุธ DELTA ในข่าวสารทิศทาง
ลมนาวี : DELTA 122016 ซึ่งมีความหมายว่าทิศทางลมมีค่า ๑๒๒° และความเร็วลมมีค่า ๑๖ นอต
(ค) ขั้นที่ ๓ ลากเส้นแนวเหนือกริดจาก GZ บนแผ่นภาพพยากรณ์ผ่าน
มุม ๑๒๒° บนวงกลมก�ำหนดทิศทางบนแผนที่ (ดูภาพ ช-๑๙)
(ง) ขั้นที่ ๔ จากโนโมแกรมในภาพ ช-๑๖ หาระยะทางใต้ลมของเขต I
ได้ ๓๐ ไมล์ทะเล ส่วนระยะทางใต้ลมเขต II จะมีค่าเป็น ๒ เท่าของเขต I หรือห่างจาก GZ 60 ไมล์
ทะเลในทิศทางใต้ลม
(จ) ขัน้ ที่ ๕ ใช้ GZ เป็นจุดศูนย์กลาง วาดส่วนโค้ง ๒ เส้นระหว่างเส้นรัศมี
ทั้งสอง โดยใช้รัศมีเท่ากับระยะทางเขต I และเขต II (ใช้มาตราส่วนที่เหมาะสม) จากแผ่นภาพอ่าน
ค่ารัศมีเมฆได้ ๓.๗ ไมล์ทะเล วาดครึง่ วงกลมตรงด้านเหนือลมของ GZ โดยใช้ GZ เป็นจุดศูนย์กลาง
และใช้รัศมี ๓.๗ ไมล์ทะเล (ถ้าใช้ครึ่งวงกลมส�ำเร็จรูปจะสะดวกขึ้น) จากรอยตัดของส่วนโค้งเขต I
กับเส้นรัศมี ลากเส้นต่อกับปลายทั้งสองของครึ่งวงกลม
(ฉ) ขั้นที่ ๖ หาพื้นที่ซึ่งคาดว่าฝุ่นกัมมันตรังสีจะตกลงมา ณ เวลาใด ๆ
ภายหลังการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์โดยการคูณความเร็วลมด้วยเวลา (จ�ำนวนชั่วโมงหลังการ
ระเบิด) คือ ๑.๕ ชั่วโมงหลังการระเบิด (H+ 1.5 ชม.) ดังนั้น ๑๖ นอต x ๑.๕ ชม. = ๒๔ ไมล์ทะเล
ใช้ GZ เป็นจุดศูนย์กลางและรัศมี ๒๔ ไมล์ทะเลวาดส่วนโค้งประตัดภาพพยากรณ์ที่วาดไว้ ส่วนโค้ง
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 237

นี้จะเป็นกึ่งกลางของพื้นที่ที่คาดว่าจะมีฝุ่นกัมมันตรังสีตกลงมา ณ เวลา H+1.5 ชม. ภายหลังการ


ระเบิด เพื่อให้ครอบคลุมขนาดของเมฆนิวเคลียร์ที่แน่นอน รวมถึงการแพร่กระจายและลมผวน จึง
ต้องเพิม่ ระยะทางหน้าและหลังของเส้นนี้ เพือ่ ให้ได้พนื้ ทีท่ ฝี่ นุ่ กัมมันตรังสีจะตกลงบนผิวพืน้ ณ เวลา
H+1.5 ชม. ในทุกกรณี นั่นคือระยะปลอดภัยจากตารางที่พิมพ์ไว้บนแผ่นภาพพยากรณ์ จากตาราง
ทีพ่ มิ พ์ไว้บนแผ่นภาพพยากรณ์จะหาระยะปลอดภัยส�ำหรับกลุม่ ขนาดอาวุธ DELTA (๑๐๐ กิโลตัน)
ได้เท่ากับ ๕ ไมล์ทะเล น�ำค่า ๕ ไมล์ทะเลมาบวกและลบจาก ๒๔ ไมล์ทะเล
๒๔ + ๕ = ๒๙ ไมล์ทะเล และ ๒๔ - ๕ = ๑๙ ไมล์ทะเล

1.2 1.9 4.2 6.8 11.2 18 28 2.5 3.0 6.7 10 14 25 36


0.7 1.0 2.3 3.7 6.1 9.7 15 1.3 1.5 3.4 5 7 13 18
A B C D E F G A B C D E F G
ระยะปลอดภัย
ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ

แกนใต้ลม

รัศมีเมฆ
ขนาดอาวุธ
ไมล์ทะเล
กิโลเมตร

ภาพ ช-๑๘ ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ


238 ภาคผนวก ช

ใช้ระยะทางทัง้ สองเป็นรัศมีและใช้ GZ เป็นจุดศูนย์กลางวาดส่วนโค้ง ๒ เส้นตัดภาพพยากรณ์การตก


ของฝุน่ กัมมันตรังสี พืน้ ทีภ่ ายในขอบเขตของส่วนโค้งทัง้ สองและเขตขวางลมของพืน้ ทีฝ่ นุ่ กัมมันตรังสี
ตก จะเป็นพื้นที่โดยประมาณที่ฝุ่นกัมมันตรังสีจะตก ณ เวลาหลังการระเบิด ๑.๕ ชั่วโมง ท�ำภาพ
พยากรณ์ให้เสร็จสมบูรณ์โดยการเติมข้อมูลดังต่อไปนี้คือ ข่าวสารทิศทางลมนาวีที่ใช้ ขนาดอาวุธ
GZ และเลขระวางแผนที่ (มาตราส่วน)
๖.๗ การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด (Detailed Fallout
Prediction)
๖.๗.๑ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี
อย่างละเอียดก็คือ เพื่อเตือนภัยหน่วยรองทันทีถึงผลการพยากรณ์การเปื้อนพิษจากการระเบิด
ของอาวุธนิวเคลียร์ ผู้บังคับหน่วยจะใช้การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียดนี้ใน
ขบวนการตัดสินใจทางยุทธวิธี
๖.๗.๒ วิธีท�ำ ส่วน คชรน.จะรับผิดชอบในการเตรียมและเขียนภาพพยากรณ์การ
ตกของฝุน่ กัมมันตรังสีอย่างละเอียด แผ่นค�ำนวณส�ำหรับการพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีเป็น
แผ่นค�ำนวณมาตรฐานที่จะช่วยส่วน คชรน.ในการบันทึกข้อมูลการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
(ที่ผิวพื้น) การวาดภาพพยากรณ์นั้น ขั้นแรกจะต้องค�ำนวณในแผ่นค�ำนวณดังกล่าวให้เสร็จสมบูรณ์
ก่อนโดยใช้ขั้นตอนต่อไปนี้
(ก) ขั้นที่ ๑ วาดภาพการเขียนทิศทางลม ก่อนอาวุธนิวเคลียร์จะระเบิด
ขึน้ จะต้องวาดภาพทิศทางลมไว้ลว่ งหน้า ดูรายละเอียดเกีย่ วกับการเขียนภาพทิศทางลมได้ในผนวก ง
(ดูภาพ ช-๑๙)
(ข) ขั้นที่ ๒ ค�ำนวณข้อมูลในแผ่นค�ำนวณส�ำหรับการพยากรณ์การตก
ของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียดให้สมบูรณ์ หาข้อมูลการระเบิดนิวเคลียร์จากรายงาน นชค.๒
นิวเคลียร์ บันทึกข้อมูลนี้ลงในแผ่นค�ำนวณ (ดูภาพ ช-๒๐)
 บันทึกข้อมูลจากบรรทัด ALFA, BRAVO และ ECHO จากรายงาน
นชค.๒ นิวเคลียร์
 ถ้าไม่ทราบข้อมูลการระเบิดของข้าศึกหรือฝ่ายเดียวกันให้ใช้
ข้อมูลจากบรรทัด CHARLIE และ DELTA ด้วย ในกรณีเช่นนี้จะต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่า เป็นกรณี
ที่สถานการณ์เลวร้ายที่สุด (อาวุธนิวเคลียร์เกิดการแตกตัวได้ทั้งหมด (FY = 100%) และให้เขียน ๑
ลงในบรรทัด CHARLIE ถ้าไม่ทราบความสูงของการระเบิด (HOB) ให้เขียน ๐ (ศูนย์) ลงในบรรทัด
DELTA ซึ่งหมายถึง ความสูงของการระเบิดที่ให้ผลรุนแรงที่สุด
 ข้ อ มู ล การระเบิ ด ของฝ่ า ยเดี ย วกั น นั้ น จะทราบได้ จ ากส่ ว นยิ ง
สนับสนุน (เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์เป้าหมาย) ซึง่ เป็นผูส้ ง่ อาวุธ ข้อมูลทีไ่ ด้รบั ได้แก่ ขนาดอาวุธ อัตราส่วน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 239

ระหว่างการเกิดปฏิกิริยาแตกตัวได้จริง (FY)/การแตกตัวทั้งหมดที่ควรเกิดขึ้น (TY) ความสูงของ


การระเบิด พิกัดของศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น วันเวลาที่โจมตีและเลขล�ำดับการโจมตี
(ค) ขั้นที่ ๓ หาค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับเมฆกัมมันตรังสี เช่น หาขนาดอาวุธ
จากบรรทัด ECHO และโนโมแกรม (ภาพ ช-๒๑) โดยการวางแฮร์ไลน์ลงบนมาตราส่วนของขนาด
อาวุธซึง่ อยูด่ า้ นขวามือและซ้ายมือ ให้อา่ นได้คา่ เดียวกันทัง้ สองเส้น อ่านและบันทึกค่าต่าง ๆ เกีย่ วกับ
เมฆจากบรรทัด FOXTROT จนถึงบรรทัด JULIET ของแผ่นค�ำนวณส�ำหรับการพยากรณ์การตก
ของฝุ่นกัมมันตรังสี
หมายเหตุ : ขัน้ ตอนต่อไปนีจ้ ะเหมือนกับขัน้ ตอนทีใ่ ช้ในการท�ำข่าวสารทิศทางลม (ดูรายละเอียด
เพิ่มเติมเกี่ยวกับข่าวสารทิศทางลมได้จากผนวก ง)

หมายเหตุ : เส้นขอบซ้าย (๑๐๙°)


และเส้นขอบขวา (๑๓๖°)
เล็กกว่ามุม ๔๐°(๑๓๖-๑๐๙°)= ๒๗°)
ส�ำหรับการพยากรณ์การตกของฝุ่น
กัมมันตรังสีอย่างละเอียดนั้น มุมเตือนภัยจะ
ต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า ๔๐° ให้น�ำมุมของเส้น
ขอบทั้งสองมารวมกันหารด้วย ๒ แล้วน�ำ
๒๐ มาบวกและลบมุมที่ได้จะได้มุมใหม่ของ
เส้นขอบซ้ายและขวา
๑๓๖°+๑๐๙° = ๒๔๕° (๒๔๖°)
๒๔๖°/๒ = ๑๒๓ (มุมที่แบ่งครึ่งแล้ว)
๑๒๓°+๒๐ = ๑๔๓° (เส้นขอบขวา)
๑๒๓°-๒๐° = ๑๐๓° (เส้นขอบซ้าย)
เส้นขอบใหม่ทั้งสองแสดงไว้ใน
การเขียนทิศทางลม, แผ่นค�ำนวณส�ำหรับ
การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี
อย่างละเอียด ภาพ ช-๑๘ และรายงาน
นชค.๓

ภาพ ช-๑๙ ตัวอย่างการเขียนทิศทางลมโดยใช้เส้นรัศมีเมฆและล�ำดอกเห็ด (อาวุธขนาด ๕๐ กิโลตัน)


240 ภาคผนวก ช

(ง) ขั้นที่ ๔ หาเส้นขอบซ้ายและเส้นขอบขวาของการพยากรณ์โดยใช้


การเขียนทิศทางลม ท�ำเครื่องหมายตรงจุดที่เป็นความสูงของยอดเมฆและ ๒/๓ ของความสูงของ
ล�ำดอกเห็ดลากเส้นรัศมีสองเส้นจากจุด GZ ผ่านจุดทั้งสองดังกล่าว
หมายเหตุ : ถ้าทิศทางลมระหว่าง ๒/๓ ของความสูงของล�ำดอกเห็ดและความสูงของยอดเมฆ
อยู่ภายนอกเส้นรัศมีที่ลากจาก GZ ให้ขยายมุมที่เกิดจากเส้นรัศมีทั้งสองให้ครอบคลุมทิศทาง
ลมที่อยู่ภายนอก
(จ) ขั้นที่ ๕ หาความเร็วลม (EWS) ท�ำเครื่องหมายความสูงของฐานเมฆ
บนภาพวาดทิศทางลมแล้ววัดความยาว (เป็น กม.) ของเส้นรัศมีจาก GZ บันทึกลงในแผ่นค�ำนวณที่
บรรทัด KILO เขียนข้อมูลจากบรรทัด KILO และ JULIET ลงในบรรทัด LIMA ค�ำนวณค่าความเร็ว
ลม (EWS) โดยใช้สูตรต่อไปนี้
ความเร็วลม (EWS) = ความยาวของเส้นรัศมีจาก GZ ถึงความสูงของฐานเมฆ (กม.)
เวลาที่ฝุ่นตกจากฐานเมฆ (ชม.)
ปัดผลลัพธ์ที่ได้ให้เป็นจ�ำนวนเต็ม (ตัวอย่าง ๒๑.๕ = ๒๒ ; ๒๒.๔ = ๒๒)
หมายเหตุ : ถ้าความเร็วลมต�่ำกว่า ๘ กม./ชม. จะเป็นกรณีพิเศษ ในขั้นที่ ๖ ข้างล่างนี้ให้ใช้
ความเร็วลม ๘ กม./ชม.เสมอ
(ฉ) ขั้นที่ ๖ หาระยะทางใต้ลมของเขต I และเขต II วางแฮร์ไลน์ลง
บนภาพ G-22 โดยให้ทาบลงบนเส้นมาตราส่วนขนาดอาวุธทางขวามือ (ใช้ข้อมูลจากบรรทัด
ECHO ของแผ่นค�ำนวณการพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสี) ให้อยูใ่ นแนวเดียวกับความเร็วลม
บนเส้นมาตราส่วนทางซ้ายมือ (ข้อมูลในแผ่นค�ำนวณการพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีบรรทัด
LIMA) อ่านค่าระยะทางใต้ลมเขต I ณ จุดที่แฮร์ไลน์ตัดกับเส้นมาตราส่วนตรงกลาง บันทึกค่าที่ได้
ลงในบรรทัด MIKE ของแผ่นค�ำนวณ
(ช) ขั้นที่ ๗ น�ำค่าอัตราส่วน FY/TY ที่ได้จากเจ้าหน้าที่วิเคราะห์
เป้าหมายนิวเคลียร์มาใช้อตั ราส่วน FY/TY จะอยูใ่ นรูปของจ�ำนวนร้อยละ ซึง่ จะระบุจำ� นวนร้อยละของ
ขีดความสามารถในการระเบิดของอาวุธที่เกิดจากขบวนการแตกตัว ส่วนที่เหลือของขนาดอาวุธ
มาจากการรวมตัว ค่านี้เป็นนัยส�ำคัญต่อการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี เนื่องจากส่วนที่
รวมตัวของอาวุธจะไม่ก่อให้เกิดการเปื้อนรังสีตกค้าง ดังนั้นอาวุธที่มีอัตราส่วน FY/TY เท่ากับ ๐.๖
จะหมายความว่า อาวุธนีจ้ ะเกิดการแตกตัวร้อยละ ๖๐ และเกิดการรวมตัวร้อยละ ๔๐ เปรียบเทียบ
คร่าว ๆ ก็คือ อาวุธนี้จะก่อให้เกิดฝุ่น
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 241

แผ่นค�ำนวณการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี - การระเบิดที่ผิวพื้น
หมายเหตุ : ท�ำแผ่นค�ำนวณให้สมบูรณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลส�ำหรับรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ ให้ขีดฆ่าหน่วยวัดที่ไม่ใช้ในช่องขวาสุดออก
A. วันเวลาของการระเบิด (กลุ่มเลขวัน-เวลา) (จากรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์) 120657Z ธ.ค. 2004 DELTA (DDTTTTZ MMMYYY)
(เวลาท้องถิ่น หรือซูลู)
FOXTROT (YY ZZZZZZ)
B. พิกัดของ GZ (จากรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์) WB764766 (จริงหรือโดยประมาณ)
อัตราส่วน FY/TY (จากการวิเคราะห์เป้าหมายส�ำหรับการเตือนภัยการโจมตีเท่านั้น)
C. (ถ้าทราบให้ใส่ # ถ้าไม่ทราบหรือเป็นการโจมตีของข้าศึกให้ใส่ ๑) 1
ความสูงของการระเบิด (จากการวิเคราะห์เป้าหมายส�ำหรับการเตือนภัยการโจมตีเท่านั้น)
D. (ถ้าทราบให้ใส่ # ถ้าไม่ทราบหรือเป็นการโจมตีของข้าศึกให้ใส่ ๐) 0 เมตร
E. ขนาดอาวุธ (จากรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์) 50 กิโลตันหรือเมกะตัน
F. ความสูงของยอดเมฆ (ใช้ภาพ ช-๒๑) 12.8 103 เมตรหรือฟุต
G. ความสูงของเมฆ (ใช้ภาพ ช-๒๑) 8.4 103 เมตรหรือฟุต
H. ๒/๓ ของล�ำดอกเห็ด (ใช้ภาพ ช-๒๑) 5.6 103 เมตรหรือฟุต
I. รัศมีเมฆ (ใช้ภาพ ช-๒๑) 06 PAPAB - rr (กม.)
(ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
J. เวลาฝุ่นตกจากฐานเมฆ (ใช้ภาพ ช-๒๑) 2.38 ชั่วโมง
(ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
หมายเหตุ ลงค่า F, G และ H ลงบนภาพเขียนทิศทางลมปัจจุบัน วัดระยะทางจาก GZ ถึงความสูงของฐานเมฆ
K. ความยาวของเส้นรัศมีจาก GZ ถึงความสูงของฐานเมฆ 22 กม.
ความเร็วลม (จากรายงาน นชค.2 นิวเคลียร์)
L. K = 22 009 PAPAB – SSS (กม./ชม.)
J 2.38 (ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
M. ระยะทางใต้ลมเขต I (ใช้ภาพ ช-22 กับค่าจากบรรทัด E และ L) 022 PAPAB - xxx (กม.)
(ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
N. การค�ำนวณเพื่อปรับระยะทางใต้ลมเขต I
ปัจจัย FY/TY (C) 1 x ความสูงของการระเบิด (D) 1 = 1
ใช้ภาพ ช-๒๓ ใช้ภาพ ช-๒๒
(ถ้าไม่ทราบหรือเป็นการโจมตีของข้าศึกให้ใช้ค่า ๑ และ ๑)
O. ระยะทางใต้ลมเขต I 022 PAPAB - xxx (กม.)
(ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
หมายเหตุ : ต้องมั่นใจว่ามุมระหว่างเส้นรัศมีซ้ายและขวามีค่า ≥ ๔๐° ถ้าไม่เท่าให้น�ำค่ามุมทั้งสองมาบวกกันแล้วหารด้วย 2
และให้บวกแต่ละมุมด้วย ๒๐° จะได้เส้นรัศมีใหม่ แล้วเติมค่ามุมอาซิมุทใหม่ลงในช่องข้างล่าง
P. มุมอาซิมุทของเส้นรัศมีซ้าย 0103 PAPAB-dddd
(มิลเลียมหรือองศา)
Q. มุมอาซิมุทของเส้นรัศมีขวา 0143 PAPAB-cccc
(มิลเลียมหรือองศา)
R. รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์
ALFA (AAA) N001 (เลขล�ำดับการโจมตี)
DELTA (DDTTTTZMMMYYYY) 120657Z ธ.ค.2004 (เวลาท้องถิ่นหรือซูลู)
FOXTROT (YYZZZZZZ) WB 764766 (จริงหรือโดยประมาณ)
PAPAB (sssxxxrr)* 00902206 (มุมอาซิมุทของเส้นรัศมี
(dddd cccc) ** 0103 0143 มิลเลียมหรือองศา)
* sss - ความเร็วลม (กม./ชม.) * xxx - ระยะทางใต้ลมเขต I (กม.)
* rr - รัศมีเมฆ (กม.) ** dddd – เส้นรัศมีซ้าย ** cccc - เส้นรัศมีขวา

ภาพ ช-๒๐ ตัวอย่างแผ่นค�ำนวณส�ำหรับการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด


242 ภาคผนวก ช

ค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับกัมมันตรังสีและล�ำดอกเห็ด (เสถียรเมื่อ H+10 นาที)

ความสูงของ ความสูงของ ความสูง ๒/๓ รัศมีเมฆ เวลาฝุ่นตก ขนาดอาวุธ


ขนาดอาวุธ ยอดเมฆ ฐานเมฆ ของล�ำดอกเห็ด (จากฐานเมฆ)

ภาพ ช-๒๑ ตัวอย่างค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรและล�ำดอกเห็ด


ส�ำหรับการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 243

กัมมันตรังสีน้อยกว่าอาวุธที่มีขนาดอาวุธเท่ากันที่แตกตัวได้ร้อยละสิบถึงร้อยละสี่สิบ ถ้าทราบ
อัตราส่วน FY/TY จะหาค่าปัจจัยปรับค่า FY/TY ได้จากโนโมแกรม (ภาพ ช-๒๓) วิธีใช้โนโมแกรม
ดังกล่าวมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
 วางแฮร์ไลน์จากขนาดอาวุธทัง้ สิน ้ บนเส้นมาตราส่วนทางซ้ายมือ
ไปยังค่าของอัตราส่วน FY/TY บนเส้นมาตราส่วนทางขวามือ อ่านค่าปัจจัยปรับค่า FY/TY ณ จุดที่
แฮร์ไลน์ตัดเส้นมาตราส่วนตรงกลางและบันทึกลงในบรรทัด NOVEMBER ของแผ่นค�ำนวณ
 ถ้าไม่ทราบอัตราส่วน FY/TF ให้คิดว่าอาวุธแตกตัวได้ ๑๐๐%
และใช้ปัจจัยปรับค่า FY/TF เท่ากับ ๑ บันทึกลงในบรรทัด NOVEMBER ของแผ่นค�ำนวณ
 ถ้าทราบความสูงของการระเบิด (HOB) ให้หาค่าปัจจัยปรับค่า
ความสูงของการระเบิดจากโนโมแกรม (ดูภาพ ช-๒๔ และ ช-๒๕) การใช้โนโมแกรมให้วางแฮร์ไลน์
จากขนาดอาวุธบนเส้นมาตราส่วนซ้ายมือทาบไปยังค่าของความสูงของการระเบิดบนเส้นมาตราส่วน
ตรงกลาง อ่านค่าปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิด ณ จุดทีแ่ ฮร์ไลน์ตดั กับเส้นมาตราส่วนขวามือ
แล้วบันทึกลงในบรรทัด NOVEMBER ของแผ่นค�ำนวณ
 ถ้าไม่ทราบความสูงของการระเบิด (HOB) ให้คด ิ ว่าความสูงของ
การระเบิดมีคา่ เป็นศูนย์และใช้คา่ ปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิดเท่ากับ ๑ แล้วบันทึกค่าลงใน
บรรทัด NOVEMBER ของแผ่นค�ำนวณ
 หาค่าระยะทางใต้ลมเขต I โดยการคูณบรรทัด MIKE ด้วยบรรทัด
NOVEMBER แล้วบันทึกค่าที่ได้ลงในบรรทัด OSCAR ของแผ่นค�ำนวณ
หมายเหตุ : ถ้าความเร็วลมต�่ำกว่า ๘ กม./ชม. การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่าง
ละเอียดจะเสร็จสิน้ สมบูรณ์เพียงเท่านี้ ให้เตรียมรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ (บรรทัด ROMEO ของ
แผ่นค�ำนวณ) ดังอธิบายไว้ในขัน้ ที่ ๙ แต่ถา้ ความเร็วลมสูงกว่าหรือเท่ากับ ๘ กม./ชม.ให้ท�ำขัน้ ที่ ๘
(ซ) ขัน้ ที่ ๘ ลากเส้นรัศมีซา้ ยและขวาจาก GZ ไปยังมุมยอดเมฆและ ๒/๓
เท่าของความสูงของล�ำดอกเห็ด แล้ววัดค่ามุมที่เกิดจากเส้นรัศมีทั้งสอง
หมายเหตุ : ถ้าเส้นรัศมีขยายออกไปจนครอบคลุมเส้นทิศทางระหว่าง ๒/๓ เท่าของความสูง
ของล�ำดอกเห็ดและความสูงของยอดเมฆจะต้องท�ำการวัดค่าของมุมนี้
 ถ้ามุมกว้าง ๔๐° หรือมากกว่า ให้วัดมุมอาซิมุท (เป็นมิลเลียม
หรือองศาจาก GZ) ของเส้นรัศมีซ้ายและขวา แล้วบันทึกลงในบรรทัด PAPA และ QUEBEC ของ
แผ่นค�ำนวณ
 ถ้ามุมกว้างน้อยกว่า ๔๐° ให้แบ่งครึ่งมุม (น�ำมุมอาซิมุทของ
ทั้งสองเส้นมารวมกันแล้วหารด้วย ๒) และขยายมุมระหว่างเส้นรัศมีทั้งสองออกไปเป็น ๔๐° (ขยาย
มุมจากเส้นแบ่งครึ่งมุมออกไปด้านละ ๒๐°) (ดูหมายเหตุในภาพ ช-๑๙)
244 ภาคผนวก ช

(ฌ) ขั้นที่ ๙ เตรียมรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ ท�ำบรรทัด ROMEO ของ


แผ่นค�ำนวณให้เสร็จสมบูรณ์ รายงานจะต้องมีบรรทัดเหล่านี้อยู่ด้วยเสมอ
 บรรทั ด ALFA คื อ เลขล� ำ ดั บ การโจมตี ก� ำ หนดโดยส่ ว น
คชรน.ของศูนย์ปฏิบัติการยุทธ์ซึ่งรับผิดชอบพื้นที่ที่มีการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์นั้น
 บรรทัด DELTA (DDTTTTZMMMYYYY) คือ วันเวลาที่อาวุธ
นิวเคลียร์ระเบิด โดยมี DD (วัน) TTTT (เวลาที่อาวุธนิวเคลียร์ระเบิด) ให้ระบุว่าเป็นเวลาท้องถิ่น
หรือเวลามาตรฐานกรีนิช MMM (เดือน) และ YYYY (ปี)
ขนาดอาวุธ

ระยะทางใต้ลม เชต I
ไมล์ทะเล กม.

ความเร็วลม
นอต กม./ชม.
การหาระยะทางเขต I

ภาพ ช-๒๒ ตัวอย่างการหาระยะทางใต้ลมเขต I


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 245

ปัจจัยปรับค่า ขนาดอาวุธจากการแตกตัว/ขนาดอาวุธทั้งสิ้น

ถ้าอัตราส่วนของ FY/TY มีค่าเป็น ๐.๒๗ และอาวุธมีขนาด ๕๐ กิโลตัน ค่าปัจจัยปรับค่า FY/TY จะเป็น ๐.๗
ซึ่งหาได้โดยการวางแฮร์ไลน์ลงบนเส้นมาตราส่วนขนาดอาวุธทางซ้ายมือที่ 50 กิโลตัน พยายามให้แฮร์ไลน์
อยู่ ณ ต�ำแหน่ง ๕๐ กิโลตันและผ่านจุดที่อัตราส่วน FY/TY บนเส้นมาตราส่วนทางขวามือมีค่าเท่ากับ ๐.๒๗
อ่านค่าปัจจัยปรับค่า FY/TY บนเส้นมาตราส่วนตรงกลางได้ค่า ๐.๗

ภาพ ช-๒๓ ตัวอย่างปัจจัยปรับค่า FY/TY


246 ภาคผนวก ช

ปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิด, กิโลตัน (KT)


ขนาดอาวุธ ≤ ๑๐๐ กิโลตัน
ขนาดอาวุธ ความสูงของการระเบิด
ปัจจัยปรับค่าความสูง
ของการระเบิด

ส�ำหรับอาวุธขนาด ๕๐ กิโลตันที่มีความสูงของการระเบิด ๖๐ ม. ปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิด


จะมีค่า ๐.๕๗ ซึ่งหาได้โดยการวางแฮร์ไลน์ทาบจากซ้ายไปขวาโดยใช้ขนาดอาวุธ ๕๐ กิโลตันบนเส้น
มาตราส่วนทางซ้ายมือ วางแฮร์ไลน์ให้อยู่ที่ ๕๐ กิโลตันและอยู่ในแนวเดียวกับความสูงของการระเบิด
บนเส้นมาตราส่วนตรงกลางที่ ๖๐ ม. อ่านค่าปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิดทีเ่ ส้นทางขวามือได้ ๐.๕๗

ภาพ ช-๒๔ ตัวอย่างปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิด (HOB)(กิโลตัน)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 247

ปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิด, เมกะตัน (MT)


ขนาดอาวุธ > ๑๐๐ กิโลตัน
ขนาดอาวุธ

โนโมแกรมนี้ใช้ส�ำหรับอาวุธที่มีขนาดสูงกว่า ๑๐๐ กิโลตัน


โดยมีวิธีใช้เช่นเดียวกับโนโมแกรมของขนาดอาวุธต�่ำกว่า ๑๐๐ กิโลตัน

ความสูงของการระเบิด
ปัจจัยปรับค่าความสูง
ของการระเบิด

ภาพ ช-๒๕ ตัวอย่างปัจจัยปรับค่าความสูงของการระเบิด (HOB)(เมกะตัน)


248 ภาคผนวก ช

 บรรทัด FOXTROT (YYZZZZZZ) คือ พิกดั ของ GZ ทีแ่ ท้จริง


หรือโดยประมาณ (ระบุ) อักษร YY คือ อักษรประจ�ำตาราง 1 : 100,000 เมตร และอักษร ZZZZZZ
คือ เลขพิกัดของ GZ ภายในตารางกริดนั้น
 บรรทัด PAPAB (SSSXXXrrddddcccc) คือ การพยากรณ์มต ิิ
และมุมอาซิมทุ (เป็นจ�ำนวนเต็ม) ของเส้นรัศมีทงั้ สองในหน่วยมิลเลียมหรือองศาจาก GZ อักษร SSS คือ
ความเร็วลม (เลขจ�ำนวนเต็ม) หน่วยเป็น กม./ชม. อักษร XXX คือระยะทางใต้ลมเขตI (เลขจ�ำนวนเต็ม)
หน่วยเป็น กม. อักษร rr คือ รัศมีเมฆนิวเคลียร์ที่เสถียร (วงกลมรอบ GZ) (เลขจ�ำนวนเต็ม) หน่วย
เป็น กม. อักษร dddd คือ มุมอาซิมุทของเส้นรัศมีซ้ายและอักษร cccc คือ มุมอาซิมุทของเส้น
รัศมีขวา หน่วยเป็นมิลเลียมหรือองศา
 กรณีพิเศษที่ความเร็วลมต�่ำกว่า ๘ กม./ชม. บรรทัดนี้จะมีเลข
เพียง ๓ หลัก (xxx)
๗. รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ (NBC3 NUC Report)
รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์เป็นการประมาณการเคลือ่ นทีข่ องฝุน่ กัมมันตรังสีผา่ นสนามรบ
จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องด�ำเนินการแจกจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ
๗.๑ กล่าวทั่วไป รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ จะสื่อให้เห็นถึงเขตพยากรณ์พื้นที่
เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสี ซึ่งเกิดจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ที่ผิวพื้นซึ่งต้องอาศัยรายงาน
นชค.๒ นิวเคลียร์และการวาดภาพทิศทางลมปัจจุบัน ผู้ใช้รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ไม่ได้จ�ำกัดว่า
จะต้องใช้เฉพาะบรรทัดต่าง ๆ ที่แสดงไว้ในตัวอย่าง (ดูภาพ ช-๒๖) เท่านั้น อาจเพิ่มบรรทัดอื่น ๆ
ได้อีกตามความเหมาะสม
๗.๑.๑ วัตถุประสงค์ รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานพื้นที่
เปื้อนพิษและอันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสีที่พยากรณ์ไว้ให้แก่หน่วยเหนือ หน่วยรองและหน่วย
ข้างเคียงที่อาจได้รับอันตรายทันที
๗.๑.๒ ล�ำดับความเร่งด่วนของข่าว ภายหลังการส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์เริม่
แรกไปแล้วข่าวอืน่ ๆ ทัง้ หมดจะก�ำหนดล�ำดับความเร่งด่วนตามผลทีจ่ ะมีตอ่ การยุทธ์ ซึง่ ตามปกติจะ
ใช้ “ด่วน” ก็นับว่าเหมาะสมแล้ว
๗.๒ การสร้างรูปพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสีอย่างละเอียดจากรายงาน นชค.๓
นิวเคลียร์ (Plotting Detailed Fallout Predictions (NBC3 NUC)) (ดูภาพ ช-๒๗)
๗.๒.๑ ขั้นที่ ๑ ตรวจสอบมาตราส่วนแผนที่ที่จะต้องใช้ แล้วก�ำหนดต�ำแหน่ง GZ
และแนวเหนือกริดบนแผ่นบริวารหรือวัสดุใสอื่นใดที่จะใช้สร้างรูปพยากรณ์
๗.๒.๒ ขั้นที่ ๒ ดูบรรทัด PAPAB แล้วตั้งต้นจากต�ำแหน่ง GZ ลากเส้นรัศมีซ้าย
(dddd) และเส้นรัศมีขวา (cccc)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 249

๗.๒.๓ ขั้นที่ ๓ จากบรรทัด PAPAB หาระยะทางใต้ลมเขต I (xxx)


(ก) จากจุด GZ เขียนส่วนโค้งรัศมีเท่ากับระยะทางใต้ลมลงมาเขต I ตัด
เส้นรัศมีซ้ายและขวา แล้วก�ำหนดให้เป็นเขต I
(ข) จากจุด GZ เขียนส่วนโค้งตัดเส้นรัศมีทั้งสองอีกครั้งที่ระยะทางยาว
เป็น ๒ เท่าของระยะทางใต้ลมเขต I แล้วก�ำหนดเป็นเขต II
รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์
บรรทัด รายละเอียด ข้อก�ำหนด * ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M ALFA/US/A234/001/N//
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการระเบิด M DELTA/201405ZSEP2005//
และการโจมตีสิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด M FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF วิธีการส่งและจ�ำนวนอาวุธนิวเคลียร์ O GOLF/SUS/AIR/1/BOM/4//
ที่ระเบิด
HOTEL ประเภทการระเบิดของอาวุธ O HOTEL/SURF//
นิวเคลียร์
NOVEMBER ขนาดอาวุธนิวเคลียร์โดยประมาณ O NOVEMBER/50//
หน่วยเป็นกิโลตัน
PAPAB ตัวแปรในการพยากรณ์อันตรายจาก M PAPAB/019KPH/33 KM/5KM/
ฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด 272 DGG/312 DGG//
PAPAC พิกัดต่าง ๆ ของเส้นขอบนอกของเมฆ O PAPAC/32VNJ 456280/
กัมมันตรังสีที่ได้จากการวัดด้วยเรดาร์ 32VNJ 456119/32 VNJ
556182/32VNJ576200/32VNJ
566217/32VNJ456280//
PAPAD ทิศทางตามลมของเมฆกัมมันตรังสีที่ O PAPAD/030DGT//
ได้จากการวัดด้วยเรดาร์
XRAYB* ข้อมูลของเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ C
YANKEE ทิศทางใต้ลมและความเร็วลม O YANKEE/270 DGT/015 KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10 C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่า แต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M) หรือระบุ
ตามเงื่อนไข (C)
ภาพ ช-๒๖ ตัวอย่างรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์
250 ภาคผนวก ช

๗.๒.๔ ขั้นที่ ๔ จากบรรทัด PAPAB ได้ค่ารัศมีเมฆนิวเคลียร์คงตัว (rr) แล้วใช้ GZ


เป็นจุดศูนย์กลางวาดวงกลมรัศมีเท่ากับรัศมีเมฆ
๗.๒.๕ ขั้นที่ ๕ ลากเส้นสัมผัสจากขอบนอกของวงกลมรัศมีเมฆไปยังจุดตัดของ
เขต I กับเส้นรัศมีทั้งสอง
๗.๒.๖ ขั้นที่ ๖ จากบรรทัด PAPAB ได้ค่าความเร็วลม (sss)
(ก) จากจุด GZ เขียนส่วนโค้งประตัดเส้นรัศมีซ้ายขวาและเส้นสัมผัส
ทั้งสองภายในเขต I และเขต II ที่พยากรณ์ไว้เพื่อแสดงเวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีเคลื่อนที่มาถึง
(ข) ก�ำหนดเส้นโค้งประเป็นจ�ำนวนชั่วโมงหลังการระเบิดได้แก่ H+1,
H+2 และอื่น ๆ โดยให้ H+1 อยู่ตรงส่วนโค้งประใกล้ GZ มากที่สุด
(ค) ถ้าเส้นโค้งประของเวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึงเป็นเส้นเดียวกับ
เส้นขอบของเขต I และ II ให้ต่อเส้นขอบของเขตออกไปด้านข้างเป็นเส้นโค้งประ
๗.๒.๗ ขั้นที่ ๗ เขียนข้อมูลทั้งสิ้นที่ทราบเกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร์ลูกนี้ไว้ที่
ด้านข้างของรูปพยากรณ์ (ดูภาพ ช-๒๘)
๗.๒.๘ ขัน้ ที่ ๘ วางรูปพยากรณ์ลงบนแผนทีแ่ ล้วประเมินผลอันตราย (ดูภาพ ช-๒๗)
หมายเหตุ : ถ้าบรรทัด PAPAB ของรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์มเี พียงระยะทางใต้ลมเขต I (xxx)
ให้ท�ำตามขั้นตอนต่อไปนี้ (ดูภาพ ช-๒๘)
๗.๒.๙ ขัน้ ที่ ๑ ตรวจสอบมาตราส่วนแผนทีท่ ตี่ อ้ งใช้ แล้วก�ำหนดต�ำแหน่ง GZ บน
แผ่นบริวารหรือวัสดุใสอื่นใดที่จะสร้างรูปพยากรณ์ ไม่ต้องเขียนแนวเส้นทิศเหนือกริด
๗.๒.๑๐ ขั้นที่ ๒ เลข ๓ หลักที่อยู่บนบรรทัด ZULU จะเป็นค่ารัศมีของวงกลมของ
เขต I ใช้ GZ เป็นจุดศูนย์กลางวางวงกลมรัศมีเท่ากับระยะทางเขต I แล้วก�ำหนดพื้นที่นี้เป็นเขต I
วางวงกลมวงที่ ๒ โดยใช้รัศมีเป็น ๒ เท่าของรัศมีวงกลมเขต I ก�ำหนดพื้นที่นี้เป็นเขต II
๗.๒.๑๑ ขัน้ ที่ ๓ เขียนข้อมูลทัง้ สิน้ ทีท่ ราบเกีย่ วกับอาวุธนิวเคลียร์ลกู นีไ้ ว้ทดี่ า้ นข้าง
ของรูปพยากรณ์
๗.๒.๑๒ ขั้นที่ ๔ วางรูปพยากรณ์ลงบนแผนที่แล้วประเมินผลอันตราย
๗.๓ ระบบการพยากรณ์การเปื้อนพิษส�ำหรับเรือพาณิชย์ในทะเล (Contamination
Prediction System for Merchant Ships at Sea)
๗.๓.๑ ความส�ำคัญของการเตือนภัย คชรน.
(ก) ฝุ่นกัมมันตรังสีจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์บนเป้าหมายใน
ทะเลและแผ่นดินโดยเฉพาะอย่างยิ่งบนแผ่นดินนั้นอาจมีผลกระทบเป็นบริเวณกว้างต่อผืนน�้ำที่อยู่
ติดต่อกัน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 251

(ข) พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ จะขึ้นอยู่กับสภาวะความแรงลม เรือล�ำใดที่


อยูใ่ กล้หรือเข้าใกล้พนื้ ทีเ่ หล่านีจ้ ะได้รบั อันตรายร้ายแรง ดังนัน้ เรือต่าง ๆ จึงจ�ำเป็นจะต้องได้รบั การ
เตือนภัยเกี่ยวกับอันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสีและการเปื้อนรังสี เพื่ออาจต้องเตรียมการดังต่อไปนี้
 มาตรการเชิงรับ เช่น เปิดระบบฉีดน�้ำล้าง
 ถ้าจ�ำเป็นอาจต้องเปลี่ยนเส้นทางเพื่อหลีกเลี่ยงเขตอันตราย
๗.๓.๒ ระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์ (MERWARN) ที่อยู่ในทะเล
(ก) นาโตได้จัดท�ำระบบการเตือนภัยการเปื้อนพิษอย่างง่ายขึ้นส�ำหรับ
กระจายข่าวผ่านระบบติดต่อสื่อสารเรือพาณิชย์และสถานีวิทยุชายฝั่งเพื่อเตือนภัยการเปื้อนรังสี
ซึ่งเป็นอันตรายต่อการเดินเรือพาณิชย์ ระบบนี้จัดท�ำขึ้นโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบกองก�ำลังทาง
เรือของนาโต
(ข) รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ ของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์จะ
แจกจ่ายหลังจากที่การโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์นั้นก่อให้เกิดฝุ่นกัมมันตรังสี โดยรายงานนี้จะให้
ข้อมูลฝุน่ กัมมันตรังสีสำ� หรับการระเบิดเพียงลูกเดียวหรือการระเบิดเป็นชุด ซึง่ จะระบุไว้ในรายงาน
รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์นี้จะแจกจ่ายภายหลังการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะ
ท�ำได้และทุกช่วงเวลา ๖ ชั่วโมง (เป็นเวลาชั่วโมงเต็ม) หลังจากนั้น ตราบเท่าที่อันตรายจากฝุ่น
กัมมันตรังสียังคงอยู่ รายงานนี้จะบรรจุข้อมูลที่เรือสามารถน�ำมาเขียนภาพพื้นที่อันตรายได้
(ค) รูปแบบมาตรฐานของรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ ของระบบการเตือน
ภัยเรือพาณิชย์ประกอบด้วยบรรทัด ALFA, DELTA, FOXTROT และ PAPAB ของรายงาน นชค.๓
นิวเคลียร์ของทหาร (ดูข้อมูลเพิ่มเติมของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์ (MERWARN) เพิ่มเติมได้
จากผนวก ง)
252 ภาคผนวก ช

ขั้นที่ ๑

ขั้นที่ ๒ ขั้นที่ ๓

ขั้นที่ ๕

ขั้นที่ ๔

ขั้นที่ ๖

ดัชนี
ขั้นที่ ๘ จัดท�ำโดย : 1st MARDIV NBC Plt
มาตราส่วน : 1 : 250,000
แผนที่ที่ใช้ :

ดัชนี ขั้นที่ ๗

ภาพ ช-๒๗ การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 253

ไม่ได้สัดส่วนกับของจริง
จัดท�ำโดย : 1st MARDIV NBC Plt
มาตราส่วน : 1 : 250,000
แผนที่ที่ใช้ :

ภาพ ช-๒๘ ตัวอย่างการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด


เมื่อความเร็วลมต�่ำกว่า ๘ กม./ชม.

(ง) รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์มี


โครงร่างดังนี้
 รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี (ก�ำหนดโดยกองก�ำลังทางเรือ)
DELTA วันเวลาของการระเบิด
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตี (ละติจูดและลองจิจูด หรือ
ชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์)
PAPAB ความเร็วลม (เลข ๓ หลักและหน่วยวัด) ระยะ
ทางใต้ลมเขต I (เลข ๓ หลัก และหน่วยวัด)
รัศมีเมฆ (เลข ๒ หลักและหน่วยวัด) เส้นรัศมี
ซ้ า ยและขวาของพื้ น ที่ อั น ตรายจากฝุ ่ น
กัมมันตรังสีที่พยากรณ์ไว้ (เลข ๓ หลักและ
หน่วยวัดของแต่ละค่า)
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์
ALFA /US/NBCC/02-001/N//
DELTA/021405ZSEP1999//
FOXTROT/451230N014312E/AA//
PAPAB/012KTS/028NM/02NM/272DGT/312DGT//
254 ภาคผนวก ช

 รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์ใน


รูปแบบทีใ่ ช้ภาษาง่าย ๆ ถ้าการโจมตีเป็นการใช้อาวุธนิวเคลียร์หลายลูกซึง่ ก่อให้เกิดฝุน่ กัมมันตรังสี
ครอบคลุมพืน้ ทีเ่ ป้าหมายเป็นบริเวณกว้างหรือมีความซับซ้อน การใช้รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ของ
ระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์รูปแบบมาตรฐานอาจไม่เหมาะสม ในกรณีเช่นนี้การเตือนภัยเพื่อ
บ่งถึงพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบและคาดว่าฝุ่นกัมมันตรังสีจะเคลื่อนที่มาถึงจะต้องใช้ภาษาง่าย ๆ
ที่ใช้กันทั่วไป
ตัวอย่าง รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์
ALFA /UK/02-001/N//
DELTA/021405ZSEP1999//
ฝุน่ กัมมันตรังสีแผ่จากบริเวณเมืองกลาสโกว์ไปยังบริเวณตะวันออกของไอร์แลนด์เมือ่ เวลา
021405Z และก�ำลังแพร่กระจายไปทางตะวันตกด้วยความเร็ว 12 นอต ทะเลไอริช
จะมีโอกาสได้รบั ผลกระทบภายในพืน้ ทีข่ องชายฝัง่ ทะเลอังกฤษเป็นระยะทาง 60 ไมล์ทะเล

(จ) ค�ำสัง่ เปลีย่ นแปลงเส้นทางเดินเรือพาณิชย์ นอกเหนือจากข่าว นชค.๓


นิวเคลียร์ของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์ฉบับแรกแล้ว ถ้ามีเหตุจ�ำเป็นบังคับ หน่วยงานที่
รับผิดชอบกองก�ำลังทางเรืออาจกระจายข่าวค�ำสั่งเปลี่ยนแปลงเส้นทางเดินเรือตามภัยคุกคามจาก
ฝุน่ กัมมันตรังสี เรือพาณิชย์ทแี่ ล่นโดยอิสระจะได้รบั ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับเส้นทางทีค่ วรหลีกเลีย่ งด้วย
ภาษาที่ใช้กันทั่วไปโดยใช้ค�ำสั่งเปลี่ยนแปลงเส้นทางเดินเรือพาณิชย์เป็นมาตรฐาน
ตัวอย่าง : ค�ำสั่งเปลี่ยนแปลงเส้นทางเดินเรือพาณิชย์
ช่องแคบอังกฤษปิด ให้เรือทุกล�ำในทะเลเหนืออยู่เหนือ ๐๕๒ องศาเหนือ
จนกว่าจะถึง 031500 Z ก.ย. ๑๙๙๙
๗.๓.๓ ล�ำดับความเร่งด่วนของข่าว นชค. ข่าวเตือนภัย นชค.ของระบบ
การเตือนภัยเรือพาณิชย์ทุกข่าวควรมีล�ำดับความเร่งด่วน “ด่วนที่สุด” เพื่อให้มั่นใจได้ว่า วงจรของ
การส่งข่าวทางทหารระหว่างหน่วยริเริ่มส่งข่าว และระบบการติดต่อสื่อสารของเรือพาณิชย์และ/
หรือสถานีวิทยุชายฝั่งด�ำเนินไปด้วยความรวดเร็ว ล�ำดับความเร่งด่วนนี้ไม่ควรใช้ในพื้นที่ท่ีมีการใช้
สัญญาณปลอดภัยระหว่างประเทศ (“TTT” ส�ำหรับสงครามเคมีและ “การรักษาความปลอดภัย”
ส�ำหรับวงจรการสื่อสารทางเสียง)
หมายเหตุ : หน่วยข้างเคียงของหน่วยริเริ่มส่งข่าวการเตือนภัยเรือพาณิชย์จะต้องรับผิดชอบ
ในการถ่ายทอดข่าวไปยังสถานีชายฝั่งบนดิน/สถานีวิทยุชายฝั่งที่อยู่ภายใต้ความควบคุมของ
หน่วยตนตามความจ�ำเป็น
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 255

๗.๓.๔ เขตอันตราย เมื่อสงครามนิวเคลียร์เกิดขึ้น เรือทุกล�ำที่อยู่ในน่านน�้ำห่าง


จากชายฝัง่ ๒๐๐ ไมล์ทะเล จะต้องถือว่าอยูใ่ นพืน้ ทีท่ อี่ าจได้รบั อันตรายจากฝุน่ กัมมันตรังสีจากการ
โจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์บนฝั่งทะเล
๗.๓.๕ การเขียนภาพพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีจากรายงาน นชค.๓
นิวเคลียร์ของระบบการเตือนภัยเรือพาณิชย์กระท�ำเช่นเดียวกับ “การเขียนภาพพยากรณ์การตก
ของฝุน่ กัมมันตรังสีจากข่าวสารทิศทางลมนาวีและการสังเกตการณ์” (ย่อหน้า ๖ ฉ (๒)) โดยใช้แผ่น
พยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ (ดูภาพ ช-๒๙)
๗.๔ เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีตกสมบูรณ์ (Time of Completion of Fallout)
๗.๔.๑ อนุภาคเปือ้ นรังสีสว่ นใหญ่ทอี่ ยูใ่ นเมฆกัมมันตรังสีจะลอยขึน้ จนถึงความสูง
ระดับหนึง่ ดังนัน้ ฝุน่ กัมมันตรังสีจงึ อาจตกลงมาครอบคลุมพืน้ ทีเ่ ป็นบริเวณกว้างและอาจใช้เวลานาน
กว่าจะสิน้ สุดลง ดังนัน้ การส�ำรวจรังสีทกี่ ระท�ำก่อนทีฝ่ นุ่ กัมมันตรังสีจะตกอย่างสมบูรณ์จะไม่ถกู ต้อง
แม่นย�ำเนื่องจากยังมีอนุภาคเปื้อนรังสีลอยอยู่ในอากาศ และอันตรายต่อเจ้าหน้าที่ส�ำรวจรังสี ด้วย
เหตุนี้จึงไม่ท�ำการส�ำรวจรังสีก่อนที่ฝุ่นกัมมันตรังสีจะตกอย่างสมบูรณ์)
๗.๔.๒ การประมาณเวลาที่ ฝุ ่ น กั ม มั น ตรั ง สี ต กอย่ า งสมบู ร ณ์ (T comp ) ณ
ต�ำแหน่งใดโดยเฉพาะอาจหาได้ด้วยสมการคณิตศาสตร์ เวลา (เป็นชั่วโมง) ภายหลังการระเบิด
ที่ฝุ่นกัมมันตรังสีจะตกอย่างสมบูรณ์ ณ จุดใดจุดหนึ่งนั้น จะมีค่าประมาณ ๑.๒๕ เท่าของเวลาที่
ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึง (เป็นชั่วโมงหลังการระเบิด) บวกด้วยเวลา (เป็นชั่วโมง) ที่เมฆนิวเคลียร์จะ
ผ่านพ้นไป โดยมีสูตรค�ำนวณดังนี้
Tcomp = (1.25 x Tarrival) + (๒ x รัศมีเมฆ)
ความเร็วลม
ตัวอย่าง ณ ต�ำแหน่งที่ก�ำหนดได้ท�ำการวัดข้อมูลดังต่อไปนี้
 เวลาที่อาวุธนิวเคลียร์ระเบิด = H

 เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึง (T ) = H+2 ชั่วโมง (หาได้จากการหาร


arrival
ระยะทางจาก GZ ถึงจุดที่ก�ำหนดด้วยความเร็วลม)
 เส้นผ่านศูนย์กลางของเมฆ = ๔ กม. (๒ x รัศมีเมฆ) (เส้นผ่านศูนย์กลาง
ของเมฆ/รัศมี [rr] จะหาได้จากภาพ ช-๒๐ หรือจากบรรทัด PAPAB ของรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์)
 ความเร็วลม ๒๐ กม./ชม. (ความเร็วลม [sss] หาได้จากภาพ ช-๑๙
หรือจากบรรทัด PAPAB ของรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์)
Tcomp = (๑.๒๕ x ๒ ชม.) + ๔ กม.
๒๐ กม./ชม.
256 ภาคผนวก ช

Tcomp = ๒.๕ ชม.+ ๐.๒ ชม.


Tcomp = ๒.๗ ชม.
ดังนั้น ณ ต�ำแหน่งที่ก�ำหนดคาดว่าฝุ่นกัมมันตรังสีจะตกสมบูรณ์เมื่อเวลา H+2.7 ชม.
หมายเหตุ : การเปลีย่ นเวลา ๒.๗ ชัว่ โมงให้เป็นเวลานาฬิกาให้คณ ู ค่า ๐.๗ ด้วย ๖๐ จากตัวอย่างนี้
ผลคูณที่ได้คือ ๔๒ ดังนั้น Tcomp จะเป็นเวลา ๒ ชั่วโมง ๔๒ นาที
๗.๔.๓ การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างสมบูรณ์ที่เป็นจริงนั้นจะหาได้ถ้าได้
รับรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ (อัตรารังสีสูงสุด) จากพื้นที่สนใจ ส�ำหรับข้อมูลโดยละเอียดจะได้จาก
การลาดตระเวนทางนิวเคลียร์ การตรวจรังสีและการส�ำรวจรังสีตามเอกสารยุทธวิธี เทคนิคและวิธี
การลาดตระเวนนิวเคลียร์ ชีวะและเคมีส�ำหรับหลายเหล่า
๘. รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ (NBC4 NUC Report)
รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์เป็นเครือ่ งมือส�ำคัญทีห่ น่วยต่าง ๆ จะใช้ในการก�ำหนดประเภท
และขอบเขตของการเปื้อนรังสี
๘.๑ การก�ำหนดต�ำแหน่งและการรายงานการเปื้อนรังสี (Locating and Reporting
Nuclear Contamination)
๘.๑.๑ การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีนั้น เป็นวิธีที่ใช้ก�ำหนดพื้นที่ที่
อาจเปื้อนรังสีนัยส�ำคัญทางทหารก็คือ คาดว่าฝนกัมมันตรังสีจะตกเฉพาะภายในพื้นที่ที่พยากรณ์
ไว้เท่านั้น อย่างไรก็ตามการพยากรณ์ไม่สามารถระบุไว้อย่างแน่ชัดว่าฝุ่นกัมมันตรังสีจะตก ณ ที่ใด
หรือ ณ ต�ำแหน่งใดต�ำแหน่งหนึ่งจะมีค่าอัตรารังสีเท่าใด ฝุ่นกัมมันตรังสี (rainout) หรือน�้ำฝนที่ชะ
ฝุน่ กัมมันตรังสีจากผิวพืน้ ไปรวมกันอยู่ ณ ทีใ่ ดทีห่ นึง่ (washout) ต่างสามารถเพิม่ การเปือ้ นรังสีบน
พื้นดินท�ำให้เกิดจุดที่มีรังสีสูง (hot spot) ในพื้นที่ได้ การระเบิดในอากาศต�่ำยังสามารถท�ำให้เกิด
พื้นที่ที่แผ่รังสีอันเกิดจากการเหนี่ยวน�ำของนิวตรอนได้อีกด้วย
ภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ
รายงาน นชค. ๓ นิวเคลียร์ ของระบบ
การเตือนภัยเรือพาณิชย์ :
แผ่นบริวารหมายเลข :

แกนใต้ลม
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

รัศมีเมฆ ระยะปลอดภัย
ขนาดอาวุธ A B C D E F G A B C D E F G

ภาพ ช-๒๙ ตัวอย่างภาพแผ่นพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสีบนเรือ


ไมล์ทะเล 0.7 1.0 2.3 3.7 6.1 9.7 15 1.3 1.5 3.4 5 7 13 18
กิโลเมตร 1.2 1.9 4.2 6.8 11.2 18 28 2.5 3.0 6.7 10 14 25 36
257
258 ภาคผนวก ช

๘.๑.๒ ก่อนการวางแผนยุทธการในสภาพแวดล้อมนิวเคลียร์ ผู้บังคับบัญชาจะ


ต้องค�ำนึงถึงอันตรายจากการเปื้อนพิษรังสีตกค้างเหล่านี้ ข้อมูลที่ต้องการใช้ในการวางแผนจะมา
จากสมการและโนโมแกรมต่าง ๆ ในตอนต่อไปนี้และในผนวก ด และ ถ ข้อมูลพื้นฐานที่ต้องการ
จะอยู่ในรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ซึ่งให้ข้อมูลการวัดรังสีจริงในรูปของอัตรารังสี
๘.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน (Message Precedence)
ภายหลังการส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์เริ่มแรกไปแล้ว ข่าวอื่น ๆ ทั้งหมดจะ
ก�ำหนดล�ำดับความเร่งด่วนตามผลที่จะมีต่อการยุทธ์ ซึ่งตามปกติจะใช้ “ด่วน” ก็นับว่าเหมาะสม
ดีแล้ว (ดูตัวอย่างรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ได้ ที่ภาพ ช-๓๐)
๘.๒.๑ ต�ำแหน่งที่อ่านค่าให้ส่งเป็นพิกัดยูทีเอ็มหรือพิกัดละติจูด ลองจิจูด ส่วน
ระดับของการเปื้อนรังสีให้อ่านในรูปของเซนติเกรย์ต่อชั่วโมง
๘.๒.๒ บรรทัด QUEBEC, ROMEO และ SIERRA จะรายงานซ�้ำหลายครั้งได้ตาม
ความจ�ำเป็นเพื่อให้ได้ภาพเฉพาะของการเปื้อนรังสีทั่วทั้งพื้นที่ ค่าอัตรารังสีเป็นศูนย์ก็อาจรายงาน
ลงในบรรทัด ROMEO ได้และจะเป็นข่าวสารทีม่ คี า่ อย่างยิง่ ส�ำหรับการหาขอบเขตและห้วงเวลาของ
การเปื้อนรังสี
๘.๒.๓ เฉพาะอัตรารังสี ที่ไม่มีการกั้นรังสีภายนอก (OD) เท่านั้นที่หน่วยเป็นผู้
รายงานและวัน/เวลาที่วัดอัตรารังสีให้รายงานเป็นเวลาซูลู ตัวอย่างที่ใช้กับอัตรารังสีจะอธิบายถึง
สภาพแวดล้อมรอบ ๆ พื้นที่เปื้อนรังสี บรรทัด ROMEO ยังหมายรวมถึงข่าวสารเกี่ยวกับแนวโน้ม
ของอัตรารังสีและอัตราการสลายตัวของรังสีจริงหรือโดยเปรียบเทียบ ค่าอัตรารังสีจะต้องรายงาน
เสมอ ส่วนข่าวสารที่เหลืออีก ๒ อย่างนั้นไม่บังคับ ข้อมูลเหล่านี้จะต้องน�ำมาประเมินโดยหน่วยที่
สูงกว่าระดับหน่วยตรวจรังสี เจ้าหน้าที่ตรวจรังสีจะไม่สามารถให้ข่าวสารนี้ได้
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 259

รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์


บรรทัด รายละเอียด ข้อก�ำหนด * ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/A234/001/N//
KILO รายละเอียดของหลุมระเบิด O KILO/UNK//
QUEBEC ต�ำแหน่งที่อ่านค่าอัตรารังสี/ M QUEBEC/32VNJ 481203/
เก็บตัวอย่าง/ตรวจสอบและประเภท GAMMA/-//
ของตัวอย่าง/การตรวจสอบ
ROMEO ระดับการเปื้อนรังสี แนวโน้มของอัตรา M ROMEO/7CGH/DECR/DN//
รังสีและแนวโน้มของอัตราการสลายตัว
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่าอัตรารังสีหรือเริ่มตรวจ M SIERRA/202300ZSEP1997//
หาการเปื้อนรังสี
WHISKEY ข่าวสารจากเครื่องรับสัญญาณเซนเซอร์ O WHISKEY/POS/POS/YES/HIGH//
YANKEE ทิศทางใต้ลมและความเร็วลม M YANKEE/270DGT/015 KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือค่าที่ต้องระบุเสมอ (M)
ภาพ ช-๓๐ ตัวอย่างรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์
๘.๓ การกั้นรังสี (Shielding)
การกั้นรังสีจะช่วยลดผลอันตรายของรังสีแกมมาที่มีต่อก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์
ลงได้ ยิ่งวัตถุมีความหนาแน่นมากจะยิ่งกั้นรังสีไว้ได้ดี วัตถุที่มีความหนาแน่นต�่ำจะมีประสิทธิภาพ
เท่ากับวัตถุที่มีความหนาแน่นสูงกว่า ถ้าวัตถุที่มีความหนาแน่นต�่ำนั้นมีความหนาเพิ่มขึ้น ไม่มีวัตถุ
ใดที่จะดูดรังสีแกมมาไว้ได้อย่างสมบูรณ์ อย่างไรก็ตามถ้าวางวัตถุกั้นระหว่างบุคคลและต้นก�ำเนิด
รังสีไว้มากพอ อัตรารังสีจะลดลงจนถึงค่าที่ตัดทิ้งได้
๘.๓.๑ หลักการกั้นรังสี
(ก) ความหนาแน่น ความหนาแน่นหมายถึง จ�ำนวนโมเลกุลหรือมวลต่อ
หน่วยปริมาตร
(ข) ความหนาครึง่ ความหนาครึง่ หมายถึง จ�ำนวนของวัตถุทตี่ อ้ งใช้ในการ
ลดค่าอัตรารังสีลงเหลือครึ่งหนึ่ง ดูค่าความหนาครึ่งของวัตถุที่เลือกไว้ในตาราง ช-๒
260 ภาคผนวก ช

วัตถุ ความหนาครึ่ง (นิ้ว)


เหล็ก 0.7
คอนกรีต 2.2
ดิน 3.3
ไม้ 8.8

ตาราง ช-๒ ความหนาครึ่ง (x ½) ของวัตถุ

(ค) ความหนาทั้งสิ้นหมายถึง ความหนาจริงของวัตถุที่ใช้กั้นรังสี


(ง) ต�ำแหน่งของเครื่องกั้นรังสี ยิ่งเครื่องกั้นรังสีอยู่ใกล้ต้นก�ำเนิดรังสี
เท่าไรจะยิ่งกั้นรังสีได้ดีเท่านั้น
(จ) การเกิดอัตรารังสีเพิม่ ขึน้ การเกิดอัตรารังสีเพิม่ ขึน้ จะเกิดอยูภ่ ายใน
เครื่องกั้นรังสีเนื่องจากเครื่องกั้นรังสีท�ำให้รังสีเกิดการกระเจิง ดังนั้นยิ่งอยู่ใกล้เครื่องกั้นรังสีเท่าใด
อัตรารังสีจะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น
๘.๓.๒ วัตถุกั้นรังสี
(ก) ดิน ดินเป็นวัตถุกั้นรังสีสามัญที่สุด ดินหนา ๑ ฟุตจะให้การป้องกัน
ได้อย่างพอเพียง
(ข) คอนกรีต คอนกรีตหนาประมาณ ๖ - ๘ นิ้วจะให้การป้องกันได้ดี
(ค) เหล็ก รถถังและรถสายพานเป็นเครื่องกั้นรังสีที่ดีมาก
(ง) อาคาร อาคารไม้หรืออิฐจะให้การป้องกันได้ดี
๘.๓.๓ ประสิทธิผล ประสิทธิผลในการลดความเข้มของรังสีของวัตถุจะวัดได้ใน
หน่วยความหนาครึ่ง หน่วยนี้หมายถึง ความหนาของวัตถุใด ๆ ที่จะลดอัตรารังสีแกมมาลงเหลือ
ครึ่งหนึ่งของค่าที่ยังไม่ได้กั้นไว้ด้วยวัตถุนั้น
หมายเหตุ : ถ้าก�ำลังพลมีผนังคอนกรีตหนา ๖ นิ้ว (ค่าความหนาครึ่ง) ล้อมรอบอยู่ และรังสี
แกมมาภายนอกผนังมีค่า ๒๐๐ เซนติเกรย์/ชม. เขาจะได้รับรังสีแกมมาด้วยอัตรา ๑๐๐ เซนติ
เกรย์/ชม. ถ้าเพิ่มผนังหนาอีก ๖ นิ้ว จะลดอัตรารังสีลงเหลือ ๕๐ เซนติเกรย์/ชม. คอนกรีตที่มี
ความหนาเท่ากับความหนาครึ่งแต่ละครั้งจะลดอัตรารังสีลงเหลือครึ่งหนึ่งเสมอ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 261

เครื่องกั้นรังสีในสภาพแวดล้อม TF CF เครื่องกั้นรังสีในสภาพแวดล้อม TF CF
ยานพาหนะ เครื่องมือของทหารช่าง
ถ.เอ็ม 1 0.04 25.00 ยานรถหุ้มเกราะ เอ็ม 9 0.3 3.33
ถ.เอ็ม 48 0.02 50.00 รถเกรด 0.8 1.25
ถ.เอ็ม 60 0.04 25.00 รถบูลโดเซอร์ 0.5 2.00
รถรบทหารราบ เอ็ม 2 0.20 5.00 รถสแครปเปอร์ 0.5 2.00
รถรบทหารม้า เอ็ม 3 0.20 5.00 สิ่งปลูกสร้าง
รถลาดตระเวน นชค.เอ็ม 93 0.20 5.00 ตึกโครงไม้ 0.30 - 0.8 3.33 -1.25
รสพ.เอ็ม 113 0.30 3.33 ชั้นใต้ดิน 0.05 - 0.1 20.00- 10.00
ป.อัตราจร เอ็ม 109 0.20 5.00 อาคารหลายชั้น (ประเภทอพาร์ตเมนต์)
รถบรรทุก เอ็ม 548 0.70 1.43 ชั้นบน 0.01 100
รถกู้ เอ็ม 88 0.09 11.11 ชั้นล่าง ๆ 0.10 10
รถบังคับการ เอ็ม 577 0.30 3.33 ที่หลบภัยคอนกรีต
รถเกราะลาดตระเวนของหน่วย 0.20 5.00 ผนังหนา 9 นิ้ว 0.007 -0.090 142.86 -
จู่โจมทางอากาศ เอ็ม 551 11.11
รถรบทหารช่าง เอ็ม 728 0.04 25.00 ผนังหนา 12 นิ้ว 0.0001 - 0.03 10,000 -
33.33
เฮลิคอปเตอร์ (ขณะจอด) ผนังหนา 24 นิ้ว 0.0001 - 10,000 -500
0.0020
OH-58 0.8 1.25 ที่หลบภัยบางส่วนอยู่เหนือพื้นดิน
UH-60 0.7 1.43 หลังคาเป็นดินหนา 2 ฟุต 0.005 -0.020 200-50.00
CH-47 0.6 1.67 หลังคาเป็นดินหนา 3 ฟุต 0.001 -0.005 1,000.00
-200.00
รถบรรทุก ในตัวเมือง (กลางแจ้ง) *0.7000 1.43*
รยบ.ฮัมม์วี 0.5 2.00 ป่า *0.8000 1.25*
1
/
รยบ. 4 ตัน 0.8 1.25 ที่หลบภัยใต้ดิน (หลังคาเป็นดินหนา 3 ฟุต) 0.0002 5,000.00
3
/
รยบ. 4 ตัน 0.5 2.00 หลุมบุคคลยืนยิง 0.1000 10.00
ยานพาหนะบรรทุกเอนกประสงค์ 0.5 2.00 * ปัจจัยเหล่านี้ใช้ได้กับอัตรารังสีจากการ
ทางพลเรือน (CUCV) ส�ำรวจรังสีทางอากาศ
รยบ. 21/2 ตัน 0.5 2.00
รยบ. 4 ตัน - 7 ตัน 0.5 2.00
หมายเหตุ : ส�ำหรับยานพาหนะที่ติดตั้งเครื่องวัดรังสีแบบ AN/VDR 2 ไว้แล้วผู้ใช้เพียงแต่ตรวจสอบว่าตัวเครื่องได้ลงค่า
ปัจจัยลดความเข้มของรังสี (เทียบเท่ากับ CF) ไว้แล้ว ก็จะสามารถอ่านค่าอัตรารังสีภายนอก (OD) จากหน้าจอได้โดยตรง

ตาราง ช-๓ ค่า TF และ CF


262 ภาคผนวก ช

๘.๔ การวัดข้อมูลรังสี (Measuring Nuclear Data)


๘.๔.๑ การวัดข้อมูลรังสีจะต้องท�ำตาม รปจ.ของหน่วย การวัดรังสีอาจท�ำได้
โดยตรงจากต�ำแหน่งที่ไม่มีการกั้นรังสีถ้าอัตรารังสีต�่ำมากพอ หรือจากต�ำแหน่งที่มีการกั้นรังสี เช่น
ที่หลบภัยหรือยานพาหนะ
๘.๔.๒ เมือ่ ใช้เทคนิคการวัดรังสีทางอ้อม ส่วนใหญ่จะท�ำการวัดภายในยานพาหนะ
หรือที่หลบภัย อย่างไรก็ตาม ยังมีความจ�ำเป็นต้องวัดรังสีภายนอกเครื่องกั้นรังสีอย่างน้อย ๑ ครั้ง
เพื่อหาค่า TF ซึ่งเกี่ยวข้องกับการอ่านอัตรารังสีภายในต่อภายนอกเครื่องกั้นรังสี ค่าอัตรารังสี
ภายนอกนี้จะต้องรายงานไว้ด้วย เนื่องจากจ�ำเป็นต้องใช้ในการค�ำนวณต่อไปเกี่ยวกับก�ำลังพลในที่
โล่งหรือยานพาหนะหรือที่หลบภัยอื่น ๆ
๘.๔.๓ ในการหาค่า TF นัน้ จะต้องรอให้ฝนุ่ กัมมันตรังสีตกสมบูรณ์เสียก่อนจึงจะ
ท�ำการอ่านค่าอัตรารังสีภายในและภายนอกเครื่องกั้นรังสี การค�ำนวณค่า TF จะใช้สูตรต่อไปนี้
TF = อัตรารังสีภายในเครื่องกั้นรังสี (ID)
อัตรารังสีภายนอก (OD)
หมายเหตุ : TF จะมีค่าน้อยกว่า ๑ เสมอและสามารถหาได้จากการวัดปริมาณรังสีได้ด้วย
๘.๔.๔ อัตรารังสีที่วัดภายในยานพาหนะหรือที่หลบภัยจะแทนด้วย ID ซึ่งก่อน
รายงานจะต้องเปลี่ยนค่าให้เป็นอัตรารังสีภายนอก (OD) เสียก่อน โดยใช้สูตรดังนี้
OD = ID/TF
๘.๔.๕ ค่า TF ทีค่ ำ� นวณไว้แล้วมีอยูใ่ นคูม่ อื แห่งชาติ (national manual) ตัวอย่าง
ค่า TF แสดงไว้ในตาราง ช-๓ ข้อมูลนีเ้ จ้าหน้าทีข่ องหน่วยป้องกัน คชรน.จะไม่ใช้ในการค�ำนวณหรือ
รายงานค่าอัตรารังสี
๘.๔.๖ ปัจจัยเหล่านี้เป็นปัจจัยส�ำหรับต�ำแหน่งที่ก�ำลังพลอยู่ และได้รับรังสี
มากที่สุด โดยไม่ขึ้นอยู่กับอัตรารังสีจากฝุ่นกัมมันตรังสี แต่ขึ้นอยู่กับรังสีแกมมาจากโคบอลต์-๖๐
เนื่องจากรังสีจากโคบอลต์-๖๐ มีความแรงเกือบ ๒ เท่าของรังสีจากฝุ่นกัมมันตรังสี ดังนั้นค่า TF ที่
เป็นจริงจะน้อยกว่ามาก (ป้องกันได้มากกว่า)
๘.๔.๗ ในบางกรณีอาจใช้คา่ CF ซึง่ เป็นส่วนกลับของ TF สูตรทีใ่ ช้เปลีย่ น TF เป็น
CF คือ
CF = 1 = OD
TF ID
๘.๕ การส�ำรวจรังสี (Surveys)
๘.๕.๑ ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ–พื้นดิน (Air-Ground Correlation
Factors AGCFs) ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ-พื้นดิน จ�ำเป็นส�ำหรับการแปลงค่าอัตรารังสี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 263

ที่วัดได้ในอากาศบนอากาศยานในการส�ำรวจรังสีทางอากาศ ให้เป็นค่าอัตรารังสีบนพื้นดิน ปัจจัย


เปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ–พื้นดิน เกี่ยวข้องกับอัตรารังสีบนพื้นดินกับอัตรารังสีที่อ่านเมื่อเวลา
ประมาณเดียวกันในอากาศยาน ณ ระดับความสูงของการส�ำรวจเหนือจุดเดียวกันบนพื้นดิน
๘.๕.๒ ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ-พื้นดิน (AGCF) ค�ำนวณได้ดังนี้
ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ–พื้นดิน (AGCF) = อัตรารังสีบนพื้นดิน
อัตรารังสีในอากาศ
ตัวอย่าง : อัตรารังสีบนพื้นดิน = ๒๐ เซนติเกรย์/ชม.
อัตรารังสีในอากาศ = ๕ เซนติเกรย์/ชม. (ความสูงของการส�ำรวจ ๒๐๐ ฟุต)
ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ–พื้นดิน (AGCF) = ๒๐ เซนติเกรย์/ชม.
๕ เซนติเกรย์/ชม.
=๔
๘.๕.๓ การประมาณค่าอัตรารังสีบนพืน้ ดินกระท�ำได้โดยการคูณค่าอัตรารังสีทวี่ ดั
ในอากาศยาน ณ ความสูงของการส�ำรวจเดียวกันกับความสูงที่ใช้ในการหาค่าปัจจัยเปลี่ยนแปลง
สัมพันธ์อากาศ-พื้นดิน ด้วยค่าปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ-พื้นดิน ค่าเหล่านี้จะต้องรายงาน
ลงในรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ สูตรที่ใช้ค�ำนวณหาอัตรารังสีบนพื้นดินคือ
อัตรารังสีบนพืน้ ดิน = อัตรารังสีในอากาศ x ปัจจัยเปลีย่ นแปลงสัมพันธ์อากาศ-พืน้ ดิน
๘.๖ ค�ำแนะน�ำการรายงาน (Reporting Instructions)
ข้อมูลการตรวจวัดรังสีที่จะส่งไปยังหน่วยอื่น ๆ/บก.หน่วยเหนือถัดไปจะต้อง
อยู่ในรูปของรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์
๘.๖.๑ รายงานอัตโนมัติ (Automatic Report) ตาม รปจ.หน่วยทุกหน่วยที่อยู่
ในพื้นที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสีจะส่งรายงานการตรวจรังสีบางประเภทโดยอัตโนมัติเพื่อให้ข้อมูลที่
จ�ำเป็นส�ำหรับการเตือนภัย การประเมินผลอันตรายและการวางแผนการส�ำรวจรังสี รายงานเหล่านี้
จะถูกส่งผ่านช่องทางที่ก�ำหนดไว้ไปยังส่วน คชรน. รายงานอัตโนมัติได้แก่ รายงานอัตรารังสี
เริ่มแรก รายงานอัตรารังสีสูงสุดและรายงานพิเศษซึ่งก�ำหนดไว้โดยส่วน คชรน. หรือผู้บังคับบัญชา
เพื่อใช้ส�ำหรับการวางแผนยุทธการ
๘.๖.๒ รายงานอัตรารังสีเริ่มแรก (Initial Report) เมื่อเจ้าหน้าที่ตรวจรังสีพบว่า
อัตรารังสีภายนอกเครื่องกั้นรังสีมีค่า ๑ เซนติเกรย์/ชม. หรือสูงกว่าจะต้องปฏิบัติตามมาตรการ
ป้องกันที่ก�ำหนดไว้ใน รปจ. ของหน่วยและหน่วยจะต้องเขียนรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ (ภาพ
ช-๓๑) ซึ่งมีรหัส “เริ่มแรก” ไว้ข้างท้ายบรรทัด ROMEO รายงานฉบับแรกจะใช้ที่ส่วน คชรน. เพื่อ
ยืนยันการพยากรณ์การตกของฝุน่ กัมมันตรังสี ในกรณีนไี้ ม่ตอ้ งแปลงอัตรารังสีมาเป็นค่าทีเ่ วลา H+1
๘.๖.๓ รายงานอัตรารังสีสูงสุด (Peak Report) หลังจากที่ตรวจพบการเปื้อนพิษ
264 ภาคผนวก ช

รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์


QUEBEC/32UNB156470/GAMMA// QUEBEC/32UNB156470/GAMMA// QUEBEC/32UNB156470/GAMMA//
ROMEO/1CGH/INIT// ROMEO/35CGH/PEAK// ROMEO/25CGH/DECR//
SIERRA/021200ZAUG2005 SIERRA/021400ZAUG2005// SIERRA/021530ZAUG2005//

ภาพ ช-๓๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์

กัมมันตรังสีเริ่มแรกแล้วเจ้าหน้าที่ตรวจรังสีของหน่วยจะต้องบันทึกค่าอัตรารังสีอย่างต่อเนื่องตาม
ห้วงเวลาที่ระบุไว้ใน รปจ. ของหน่วย ค่าอัตรารังสีจะเพิ่มขึ้นจนถึงค่าสูงสุดแล้วจะเริ่มลดลง ในบาง
กรณีค่าอัตรารังสีอาจจะขึ้น ๆ ลง ๆ เป็นเวลาสั้น ๆ ก่อนจะเริ่มลดลงอย่างคงที่ เมื่ออัตรารังสีที่วัด
ได้เริ่มลดลง เจ้าหน้าที่จะวัดอัตรารังสี ภายในเครื่องกั้นรังสีแล้วออกไปวัดอัตรารังสีภายนอกเพื่อ
ใช้ในการค�ำนวณค่าปัจจัยส่งผ่าน (TF) เมื่อบันทึกอัตรารังสีภายในแล้ว เจ้าหน้าที่ตรวจรังสีจะต้อง
ออกไปวัดอัตรารังสีภายนอกเครือ่ งกัน้ รังสีภายในเวลา ๓ นาที หลังจากบันทึกข้อมูลทัง้ หมดแล้ว ชุด
ป้องกัน คชรน. จะค�ำนวณค่าปัจจัยส่งผ่านและน�ำไปคูณกับค่าอัตรารังสีสงู สุด ต่อจากนัน้ จึงน�ำค่าที่
ค�ำนวณได้ไปเขียนรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์ โดยเขียนค�ำว่า “สูงสุด” ไว้ข้างท้ายบรรทัด ROMEO
๘.๖.๔ รายงานพิเศษ (Special Reports) แผนและค�ำสั่งยุทธการอาจก�ำหนด
ความต้องการรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์พเิ ศษ โดยส่วน คชรน. จะเป็นผูป้ ระเมินรายงานเหล่านีแ้ ละ
รายงานต่อผูบ้ งั คับบัญชาเพือ่ ให้ความสนใจต่อพืน้ ทีห่ รือสภาวะทีต่ อ้ งห่วงใยเป็นพิเศษ ในสถานการณ์
การยุทธ์นั้นสถานภาพการรับรังสีของหน่วยและข้อพิจารณาที่คล้ายกันอื่น ๆ จะเป็นเกณฑ์ก�ำหนด
รายงานพิเศษซึง่ ไม่สามารถระบุไว้ ณ ทีน่ ไี้ ด้ ตามปกติอาจมีความต้องการรายงานพิเศษเมือ่ อัตรารังสี
บนพื้นดินสูงกว่าค่าที่ก�ำหนดหรือเมื่ออัตรารังสีเพิ่มขึ้นหลังจากที่ลดลงอย่างต่อเนื่องแล้ว นอกจาก
นี้ยังอาจต้องส่งรายงานนี้ในกรณีที่หน่วยจะต้องอยู่ในพื้นที่เปื้อนพิษต่อไปจากช่วงเวลาที่ก�ำหนดไว้
๘.๖.๕ รายงานโดยตรง (Directed Report) หน่วยบางหน่วยในพื้นที่เปื้อนพิษ
กัมมันตรังสีจะถูกก�ำหนดให้สง่ รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์เพิม่ เติม ส่วน คชรน. จะใช้รายงานดังกล่าว
ในการประเมินผลอันตรายจากการเปือ้ นพิษกัมมันตรังสี อัตราการสลายตัวของฝุน่ กัมมันตรังสีและ
ระยะเวลาทีอ่ ตั ราการสลายตัวยังคงอยู่ (แผ่นบริวารพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษกัมมันตรังสีจะยังทันสมัยอยูห่ รือ
ไม่) นอกจากนั้นยังใช้ในการหาเวลาระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ (H-hours) (ในกรณีที่ไม่ทราบ) และ
ใช้หาประเภทของดินในพืน้ ทีท่ มี่ รี งั สีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำ) ความน่าเชือ่ ถือของการค�ำนวณจะขึน้ อยูก่ บั
ความแม่นย�ำของการวัดอัตรารังสี การตกลงใจทางยุทธวิธีและความปลอดภัยของก�ำลังพลล้วนขึ้น
อยูก่ บั ความถูกต้องของการวัด การประเมินสถานการณ์การเปือ้ นพิษกัมมันตรังสีกข็ นึ้ อยูก่ บั ข้อมูลนี้
ความผิดพลาดในการวัดค่าอัตรารังสีย่อมหมายถึง ความผิดพลาดในการค�ำนวณต่อไปด้วย
๘.๖.๖ รายงานเป็นชุด (Series Reports) ประกอบด้วยอัตรารังสีต่าง ๆ ที่อ่าน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 265

ณ ต�ำแหน่งเดียวกันตามช่วงเวลาที่ระบุไว้ใน รปจ.ของหน่วย หลังจากที่บันทึกอัตรารังสีสูงสุดแล้ว


ต�ำแหน่งทีว่ ดั ค่าอัตรารังสีจะต้องอยูท่ เี่ ดิมเสมอ รายงานประกอบด้วยอัตรารังสีแต่ละค่าและเวลาที่
วัดค่านั้น ๆ บรรทัด GENTEXT ของรายงานจะเขียนค�ำว่า “เป็นชุด”
๘.๖.๗ รายงานสรุป (Summary Reports) เป็นรายงานที่แสดงถึงการกระจาย
ของกัมมันตภาพรังสีทั่วทั้งพื้นที่รับผิดชอบของหน่วย ส่วน คชรน.ของหน่วยเป็นผู้เลือกต�ำแหน่งที่
จะท�ำการวัดรังสี โดยพิจารณาจากการกระจายของก�ำลังพลในพืน้ ที่ และความแตกต่างของลักษณะ
ภูมปิ ระเทศ เวลาทีว่ ดั อัตรารังสีแต่ละค่าจะต้องบันทึกไว้ดว้ ย ส่วนบรรทัด GENTEXT จะเขียนค�ำว่า
“สรุป”
๘.๖.๘ รายงานยืนยัน (Virification Reports) เป็นรายงานที่หน่วยจัดท�ำตาม
ค�ำร้องขอโดยตรงจากส่วน คชรน. ถ้าส่วน คชรน.พบว่ายังมีขอ้ มูลเกีย่ วกับกัมมันตภาพรังสีทขี่ าดหาย
ไปจากต�ำบลใดต�ำบลหนึง่ ซึง่ อยูใ่ กล้หรืออยูใ่ นพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของหน่วย หรือเพือ่ ต้องการให้ยนื ยัน
ค่าอัตรารังสีทผี่ ดิ ปกติซงึ่ รายงานมาก่อนหน้านี้ รายงานยืนยันไม่ใช้เป็นการน�ำข้อมูลเก่ามารายงานซ�ำ้
แต่เป็นการตรวจสอบสภาพที่แท้จริงของพื้นที่ หน่วยที่ได้รับการร้องขอให้ท�ำรายงานยืนยันจะได้
รับค�ำแนะน�ำพิเศษซึง่ จะรวมถึงพิกดั ของต�ำบลทีจ่ ะต้องท�ำการตรวจวัดรังสี บรรทัด GENTEXT ของ
รายงานจะเขียนค�ำว่า “ยืนยัน” เพื่อบ่งว่าเป็นรายงานยืนยัน
๘.๖.๙ แนวโน้มต่าง ๆ ของอัตรารังสีได้แก่
(ก) INIT - อัตรารังสีเริ่มแรก
(ข) PEAK - อัตรารังสีสูงสุด
(ค) DECR - อัตรารังสีลดลงหลังจากอ่านอัตรารังสีค่าสุดท้าย
(ง) INCR - อัตรารังสีเพิ่มขึ้นหลังจากอ่านอัตรารังสีค่าสุดท้าย
(จ) SAME - อัตรารังสีเท่าเดิม
266 ภาคผนวก ช

๙. การประเมินข้อมูลอัตรารังสี (Evaluation of Nuclear Information)


หลังจากได้รับรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์แล้วจะต้องประเมินอันตรายที่จะเกิดขึ้นจริงต่อ
ก�ำลังพล โดยมีความมุง่ หมายเพือ่ จะพยากรณ์ อัตรารังสีและปริมาณรังสีสะสมทีค่ าดว่าจะได้รบั จาก
ภารกิจที่อาจต้องปฏิบัติภายในพื้นที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสี ในทางทฤษฎีเมื่อพิสูจน์ได้ว่ามีอันตราย
จากกัมมันตภาพรังสีจะสามารถค�ำนวณการเปื้อนพิษจากกัมมันตภาพรังสีที่คงอยู่ ณ เวลาใด ๆ
หลังจากนั้นโดยใช้ความสัมพันธ์ของการสลายตัวอย่างง่าย ๆ และการค�ำนวณอื่น ๆ ดังต่อไปนี้
 การค�ำนวณเวลาระเบิด (H hour)
 การสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี
 อัตราการสลายตัว (n)
 ระยะเวลาที่อัตราการสลายตัวยังคงอยู่ (T )
p
 ปัจจัยปรับอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน (NF)
 ปัจจัยแก้ค่ารวม (OCF)
๙.๑ การค�ำนวณหา H hour หรือเวลาระเบิด (TOB) ใช้การค�ำนวณทางคณิตศาสตร์
ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
 ขั้นที่ ๑ ใช้สูตรต่อไปนี้
T1 = เวลาหลัง H hour ที่วัดอัตรารังสี Ra
Ta = เวลาที่วัดค่าอัตรารังสีสูงสุด
Tb = เวลาที่วัดอัตรารังสีค่าสุดท้าย
Tb-Ta = ช่วงเวลาระหว่างการอ่านค่าอัตรารังสี Ra และ Rb
Ra = ค่าอัตรารังสีสูงสุด
Rb = อัตรารังสีค่าสุดท้าย
n = อัตราการสลายตัว
T1 = Tb - Ta
(Ra/Rb)1/n-1
 ขั้นที่ ๒ แทนค่าต่าง ๆ ที่ทราบลงในสูตร
 ขั้นที่ ๓ หาร ๔.๗๕ ด้วย ๓.๐๖ ได้ T = 1.55
1
๙.๒ การหาค่าการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (Fallout Determination of Decay)
อัตรารังสี ณ ต�ำแหน่งใด ๆ ในพื้นที่ที่มีฝุ่นกัมมันตรังสีจะไม่คงที่ แต่จะลดลงเมื่อ
เวลาผ่านไปตามสมการของคอฟมานน์ซึ่งอธิบายการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสีหลังจากที่ตกลง
บนพื้นดินอย่างสมบูรณ์แล้ว โดยที่
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 267

R2 = อัตรารังสี ณ เวลาใด ๆ
R1 = อัตรารังสี (ทีป่ รับเป็นค่า ณ เวลา H+1) ณ ต�ำแหน่งทีอ่ า่ นค่าอัตรารังสี R2
t1 = เวลาหลังการระเบิด 1 ชั่วโมง (H+1)
t2 = เวลาเป็นชั่วโมง หลังการระเบิดที่อ่านค่า R2
n = อัตราการสลายตัว
 การค�ำนวณหาค่าอัตรารังสีและปริมาณรังสีทงั้ สิน ้ จะไม่สามารถกระท�ำได้
จนกว่าจะทราบค่าอัตราการสลายตัว อัตราการสลายตัวทีแ่ ท้จริงนัน้ จะไม่ทราบในทันที การหาค่าที่
ถูกต้องแม่นย�ำจะต้องคอยจนกว่าจะได้รับรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์หลายชุด
 อัตราการสลายตัวของฝุน ่ กัมมันตรังสีขนึ้ อยูก่ บั ปัจจัยหลายประการดังต่อ
ไปนี้
- ความสูงและประเภทของการระเบิด
- ประเภทของอาวุธ (แตกตัว แตกตัว-รวมตัว หรือแตกตัว-รวมตัว-แตกตัว)
- ประเภทของวัสดุแตกตัว วิธีสร้างอาวุธและโครงสร้างของวัสดุภายใน
อาวุธ
- ประเภทและปริมาณของวัสดุที่กลายเป็นไอหรือถูกดูดเข้าไปในลูกไฟ
- ชนิดของธาตุทบี่ รรจุเพิม่ ในอาวุธนิวเคลียร์ เพือ่ ท�ำให้เกิดสารกัมมันตรังสี
ที่สลายตัวช้า
- การซ้อนทับของพื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสี
- ประเภทของดิน
 อัตราการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสีจะแปรตามเวลาโดยทั่วไปจะช้าลง
เมื่อเวลาผ่านไป
 อัตราการสลายตัวของฝุน ่ กัมมันตรังสีทวั่ ทัง้ พืน้ ทีท่ ฝี่ นุ่ กัมมันตรังสีตกอาจมี
ค่าแตกต่างกัน ดังนัน้ ในภาพรวม รูปแบบของอัตราการสลายตัวของทัง้ พืน้ ทีจ่ งึ ต้องใช้คา่ เฉลีย่ ความ
แตกต่างของอัตราการสลายตัวของฝุน่ กัมมันตรังสีจะอยูใ่ นช่วง ๐.๒ ถึง ๒.๐ ซึง่ ค่าทีต่ ำ�่ จะเป็นอัตรา
การสลายตัวของอาวุธนิวเคลียร์ที่บรรจุธาตุบางชนิดเพิ่มลงไป
 การค�ำนวณค่าอัตราการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสีจะกระท�ำได้เฉพาะ
เมื่อท�ำการวัดอัตรารังสีภายหลังจากที่ฝุ่นกัมมันตรังสีตกสมบูรณ์แล้วเท่านั้น ขณะที่ฝุ่นกัมมันตรังสี
ก�ำลังตกอยู่จะใช้สมการของคอฟมานน์ไม่ได้
 เนื่องจากการหาอัตราการสลายตัวที่แท้จริงใช้เวลานาน จึงให้ทุกหน่วยใช้
ค่าอัตราการสลายตัว n = 1.2 ซึ่งเป็นค่ามาตรฐานจนกว่าจะได้รับแจ้งจากส่วน คชรน. ให้ใช้ค่าอื่น
เมือ่ ส่วน คชรน.จัดท�ำค่าอัตราการสลายตัวทีแ่ ท้จริงได้แล้ว จะส่งไปให้หน่วยในรูปของรายงาน นชค.
268 ภาคผนวก ช

๔ หรือรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์ในบรรทัด ROMEO ค่าอัตราการสลายตัวโดยประมาณ n = 1.2


จะใช้ในการค�ำนวณเกี่ยวกับกัมมันตรังสีอย่างง่าย ๆ
 หลายอย่างด้วยกัน เช่น การค�ำนวณเวลาทีด ่ ที สี่ ดุ ในการออกจากพืน้ ทีเ่ ปือ้ น
พิษฝุ่นกัมมันตรังสี
หมายเหตุ : ในสมการต่าง ของตอนต่อไปนี้ เวลาทั้งหมดจะมีหน่วยเป็นจ�ำนวนชั่วโมงหลังการ
ระเบิด ข้อมูลทีใ่ ห้มาในบรรทัดต่าง ๆ ของข่าว คชรน. (เช่น SIERRA) จะต้องแปลงค่าให้เหมาะสม
เมื่อจะน�ำค่าจากการค�ำนวณที่ได้ไปใช้ในการรายงานหรือในทางกลับกัน
๙.๓ การหาค่าอัตราการสลายตัว (Determination of Decay Rate)
๙.๓.๑ กฎ ๗ : ๑๐ ส�ำหรับเวลาที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ ๗ เท่า กัมมันตภาพรังสีจะสลาย
ตัวลดลง ๑๐ เท่า
๙.๓.๒ การสลายตัวมาตรฐาน (n = 1.2) เมื่อไม่มีการก�ำหนดอัตราการสลาย
ตัวหรือไม่มีทางที่จะหาค่าอัตราการสลายตัวได้ ศูนย์ควบคุมจะใช้ค่าอัตราการสลายตัวมาตรฐาน
n= 1.2 ในการค�ำนวณ
๙.๓.๓ การสลายตัวไม่มาตรฐาน (n ไม่เท่ากับ ๑.๒) อัตราการสลายตัวอืน่ ใดก็ตาม
ที่ไม่ใช่ ๑.๒ จะนับว่าเป็นการสลายตัวไม่มาตรฐาน อัตราการสลายตัวที่มากกว่า ๑.๒ จะเป็นการ
สลายตัวเร็วกว่ามาตรฐานและอัตราการสลายตัวทีน่ อ้ ยกว่า ๑.๒ จะเป็นการสลายตัวช้ากว่ามาตรฐาน
๙.๓.๔ ค่าคงทีข่ องการสลายตัว (อัตราการสลายตัว Decay Exponent) (n) อัตรา
การสลายตัวเป็นปัจจัยส�ำหรับปรับค่าอัตรารังสีซงึ่ จะต้องใช้ตลอดทัง้ การปฏิบตั กิ ารทาง คชรน.อัตรา
การสลายตัวจะเปลี่ยนไปเมื่อผลผลิตจากการแตกตัวที่มีครึ่งชีวิตสั้นหมดไป โดยอัตราจะช้าลงเมื่อ
เวลาผ่านไป อัตราการสลายตัวอาจมีรูปแบบเปลี่ยนจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง หรือ
รูปแบบการสลายตัวของต�ำบลหนึ่งอาจมีรูปแบบเปลี่ยนไปเหมือนกับรูปแบบการสลายตัวของอีก
ต�ำบลหนึง่ ก็ได้ การหาอัตราการสลายตัวมี ๒ วิธคี อื วิธคี ำ� นวณและวิธกี ราฟ ขัน้ ตอนต่อไปนีเ้ ป็นการ
หาอัตราการสลายตัวด้วยวิธคี ำ� นวณโดยใช้สมการของคอฟมานน์ซงึ่ ต้องใช้เครือ่ งคิดเลขทีใ่ ช้กบั การ
ค�ำนวณทางวิทยาศาสตร์
(ก) ขั้นที่ ๑ จากรายงาน หาค่า Ra, Rb,Ta,Tb โดยที่
Ra = อัตรารังสีสูงสุด (เซนติเกรย์/ชม.)ที่วัดได้
Rb = อัตรารังสีครั้งสุดท้าย (เซนติเกรย์/ชม.) ที่ได้จากรายงาน
Ta = เวลาเป็นชัว่ โมง (ภายหลังการระเบิด หรือ H-hour) ทีว่ ดั ค่า Ra
Tb = เวลาเป็นชั่วโมง (ภายหลังการระเบิด) ที่วัดค่า Rb
(ข) ขั้นที่ ๒ ใช้สูตรต่อไปนี้
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 269

n = log (Ra/Rb)
log (Tb/Ta)
(ค) ขั้นที่ ๓ แทนค่าที่ทราบลงในสูตร
หมายเหตุ : ข้อมูลได้มาจากแผ่นข้อมูลกัมมันตรังสี
n = log (Ra/Rb) = log (52/17) = log (3.059) = 0.486 = 1
log (Tb/Ta) log (9/3) log (3.000) 0.477
(ง) ขั้นที่ ๔ หาค่า n อัตราการสลายตัวให้ปัดเศษจนได้ทศนิยม ๑
ต�ำแหน่ง
๙.๔ ช่วงเวลาที่ยังใช้อัตราการสลายตัว (n) ได้ (Period of Validity for the Decay
Rate (n)) จะใช้การค�ำนวณทางคณิตศาสตร์เพือ่ หาว่าอัตราการสลายตัวจะใช้ได้นานเท่าใด โดยการ
ค�ำนวณดังต่อไปนี้
(๑) ขั้นที่ ๑ จากรายงานเป็นชุด หาค่า Ta และ Tb โดยที่
Tp = ช่วงเวลาที่ค่าอัตราการสลายตัว (n) ยังใช้ได้
๓ = ค่าคงที่
Ta = เวลาเป็นชั่วโมง (หลังการระเบิด) ที่วัดค่า Ra
Tb = เวลาเป็นชั่วโมง (หลังการระเบิด) ที่วัดค่า Rb
(๒) ขั้นที่ ๒ ใช้สูตรต่อไปนี้
Tp = 3 (Tb – Ta) + Tb
(๓) ขั้นที่ ๓ แทนค่าที่ทราบลงในสูตร
(๔) ขั้นที่ ๔ หาค่า Tp
เวลาระเบิด (TOB) = 090400Z
Tp = +24 = 100400Z (วัน/เวลาหรือ DTG)
092800
ตัวอย่าง : ก�ำหนดให้ TOB = 010100ZJUN2004, Ta= 9 และ Tb= 3
หมายเหตุ : ข้อมูลได้มาจากแผ่นข้อมูลกัมมันตรังสี
Tp = 3 (Tb – Ta) + Tb
Tp = 3 (9-3) +9
Tp = 3 (6) +9
Tp = 18+9 = 27 ชั่วโมง
Tp + TOB = 27 ชั่วโมง + 010100ZJUN2004 = 020400ZJUN2004
(๕) ขั้นที่ ๕ บวกค่า Tp กับเวลาที่อาวุธนิวเคลียร์ระเบิด จะได้วัน/เวลาที่ใช้ n
270 ภาคผนวก ช

ไม่ได้อีกต่อไป
๙.๕ ปัจจัยปรับอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน (NF)
๙.๕.๑ เมื่อหาอัตราการสลายตัว (n) ได้แล้ว จะต้องปรับอัตรารังสีให้เป็นค่า ณ
เวลามาตรฐาน H+1 ซึ่งมักเรียกกันทั่วไปว่า R1 อธิบายง่าย ๆ ก็คือ เป็นการค�ำนวณเพื่อหาค่าอัตรา
รังสี ณ ต�ำบลใดต�ำบลหนึ่งภายหลังการระเบิด ๑ ชั่วโมง
๙.๕.๒ ชุดส�ำรวจรังสีและเจ้าหน้าทีต่ รวจรังสีจะวัดค่าอัตรารังสีภายหลังการระเบิด
ณ เวลาต่าง ๆ กัน โดยอาจเป็นเวลา ๑๕ นาทีหรือ ๑๐ ชั่วโมง อัตรารังสีใด ๆ ที่ไม่ได้วัด ณ เวลา
๑ ชั่วโมงหลังการระเบิด (H+1) จะเรียกว่า Rt ในการค�ำนวณทางด้านกัมมันตรังสีและการตกลงใจ
ในสนามรบนิวเคลียร์นั้น อัตรารังสีทุกค่าจะต้องเป็นค่า ณ เวลาอ้างอิงเดียวกัน
๙.๕.๓ การหาค่า NF ให้ใช้ขั้นตอนดังต่อไปนี้
(ก) ขั้นที่ ๑ จากรายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์หรือแผ่นข้อมูลกัมมันตรังสี
หาข้อมูลอัตราการสลายตัว อัตรารังสีและเวลาที่วัดอัตรารังสีซึ่งจะต้องใช้ในการปรับอัตรารังสีเป็น
ค่า ณ เวลา H+1 หากเป็นการปรับอัตรารังสีจากรายงานการส�ำรวจรังสีทางพื้นดินจะต้องใช้เวลา
กึ่งกลางในการค�ำนวณ เวลากึ่งกลางนี้เป็นเวลาที่อยู่กึ่งกลางระหว่างเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุด
การส�ำรวจรังสีทางพื้นดิน ตัวอย่างเช่น ถ้าการส�ำรวจรังสีเริ่มขึ้นเมื่อเวลา ๑๐๓๐ และสิ้นสุดลงเมื่อ
๑๑๐๐ เวลากึ่งกลางที่ใช้ค�ำนวณหาค่า NF ก็คือ ๑๐๔๕
(ข) ขั้นที่ ๒ ใช้สูตรต่อไปนี้
R1 = NF x R2
NF = (T2)n
R1 = อัตรารังสีที่ปรับมาเป็นค่า ณ เวลา H+1 แล้ว
R2 = อัตรารังสี ณ เวลาใด ๆ
NF = ปัจจัยปรับค่าอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน
T2 = เวลาที่อ่านค่าอัตรารังสี เป็นชั่วโมงหลังการระเบิด
n = อัตราการสลายตัว
(ค) ขั้นที่ ๓ หาค่า NF
ตัวอย่าง พื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสีแห่งหนึ่งมีค่าอัตราการสลายตัว ๑.๒ วัดอัตรารังสีสูงสุดได้
๑๐๐ เซนติเกรย์/ชม.เมื่อเวลา H+2 จงปรับค่าอัตรารังสีมาเป็นค่า ณ เวลา H+1
ค�ำตอบ
การค�ำนวณค่า NF = (T2)n
NF = 2 1.2 = 2.30 (2.297 ปัดเศษให้ได้ค่าทศนิยม 2 ต�ำแหน่ง)
ค�ำนวณค่า R1 = NF x R2
R1 = 2.30 x 100 เซนติเกรย์/ชม. = 230 เซนติเกรย์/ชม. (อัตรารังสีที่ปรับมาเป็น
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 271

ค่า ณ เวลามาตรฐาน H+1)


๙.๖ ปัจจัยแก้ค่ารวม (Outside Correlatin Factor, OCF)
ในการค�ำนวณข้อมูลจากการส�ำรวจรังสีนั้น ถ้าน�ำค่า NF และ CF มารวมกันก่อน
จะช่วยลดตัวเลขที่ต้องการค�ำนวณลง ค่าที่รวมกันนี้เรียก OCE ซึ่งการค�ำนวณมีดังนี้
 สูตรของปัจจัยแก้ค่ารวม OCE
 กรณีใช้อากาศยาน NF x AGCF= OCF
 กรณีใช้ยานพาหนะ NF x VCF= OCF
 ค่า OCF ให้ปัดเศษจนได้ทศนิยม ๒ ต�ำแหน่ง
 OCF นี้จะใช้แทน NF โดย OCF จะเปลี่ยนค่าอัตรารังสีภายในเครื่องกั้นรังสี
มาเป็นค่าที่อยู่นอกเครื่องกั้นรังสี ณ เวลา H+1 ด้วยการน�ำค่า OCF ไปคูณกับอัตรารังสีที่วัดได้ ค่า
อัตรารังสีภายนอกเครื่องกั้นรังสี ณ เวลา H+1 (R1) นี้ จะต้องปัดให้เป็นจ�ำนวนเต็มเสมอและเติมลง
ในช่อง “ห้ามใช้” ของแผ่นข้อมูลกัมมันตภาพรังสี
๑๐. รายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์ (NBC5 NUC Report)
รายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์ (ภาพ ช-๓๒) เป็นส่วนส�ำคัญยิ่งที่จะท�ำให้มั่นใจว่าการปฏิบัติ
การต่าง ๆ ยังด�ำเนินการไปได้ตามภาพการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธที วี่ างไว้ โดยมีขอ้ มูลทีจ่ ำ� เป็นให้แก่
ผู้บังคับบัญชา
๑๐.๑ วัตถุประสงค์
รายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์ใช้เพื่อแจ้งข้อมูลพื้นที่ที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสีจริง โดย
จะบอกเฉพาะพิกัดของพื้นที่เปื้อนพิษจริง แต่อาจรวมพิกดั ของพื้นที่ที่คาดว่าอาจเปื้อนพิษด้วยก็ได้
๑๐.๒ ล�ำดับความเร่งด่วนของข่าว
ภายหลังการส่งรายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์เริ่มแรกไปแล้ว ข่าวอื่น ๆ ทั้งหมดจะ
ก�ำหนดล�ำดับความเร่งด่วนตามผลทีจ่ ะมีตอ่ การยุทธ์ ซึง่ ตามปกติจะใช้ “ด่วน” ก็นบั ว่าเหมาะสมดีแล้ว
๑๐.๓ การลงข้อมูลและการจัดท�ำรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์
๑๐.๓.๑ พื้นที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสีจะแสดงไว้บนแผนที่สถานการณ์เปื้อนพิษ
กัมมันตรังสี และข้อมูลดังกล่าวจะต้องส่งไปยังหน่วยอื่น ๆ และหน่วยเหนือ วิธีดีที่สุดก็คือ ส่งไปใน
รูปของแผ่นบริวารการเปื้อนพิษกัมมันตรังสี
๑๐.๓.๒ การเตรียมแผ่นบริวารดังกล่าวมีวิธีการดังนี้
(ก) หลังจากลงข้อมูลที่ได้จากการตรวจรังสีและการส�ำรวจรังสีที่มี
อยู่ทั้งหมดลงบนแผนที่ในรูปของข้อมูลที่ปรับเป็นค่ามาตรฐาน (ที่ H+1), อัตรารังสีบนพื้นดินนอก
เครื่องกั้นรังสี [R1] แล้วจะสามารถวาดเส้นของอัตรารังสีค่ามาตรฐานบนแผ่นบริวารการเปื้อนพิษ
272 ภาคผนวก ช

กัมมันตรังสีได้
(ข) เมือ่ สร้างแผ่นบริวารการเปือ้ นพิษกัมมันตรังสีแล้ว ยังมีปจั จัยหลาย
ประการที่มีผลต่อพื้นที่เฉพาะแห่งภายในภาพพื้นที่เปื้อนพิษนั้น
รายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์
บรรทัด รายละเอียด ข้อก�ำหนด * ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/A234/001/N//
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการ O DELTA/201405ZSEP2005//
ระเบิดและการโจมตีสิ้นสุดลง
OSCAR วันเวลาอ้างอิงของเส้นชั้นรังสีที่ M OSCAR /201505ZSEP 2005//
ประมาณไว้
XRAYA* ข้อมูลเส้นชั้นรังสีจริง M XRAYA/5 CGH/32UND 620475/
32UND622522/32UND883583/
32UND830422/32UND620475/
XRAYB* ข้อมูลเส้นชั้นรังสีที่พยากรณ์ไว้ O XRAYB/75/100CGH/32UND621476/
32UND621477/32UND622477/
32UND622476/32UND621476//
YANKEE ทิศทางใต้ลมและความเร็วลม O YANKEE/270 DGT/015 KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
ภาพ ช-๓๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์
(ค) เรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการ
ส�ำรวจรังสีทางอากาศระหว่างจุดต่าง ๆ ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ เช่น มีรูปทรงแบบ
ป้านหรือเป็นรอยตัด พื้นที่ที่มีสิ่งปลูกสร้างหนาแน่นหรือเป็นป่าทึบและเป็นผืนน�้ำ ตัวอย่างเช่น
แม่น�้ำกว้างใหญ่จะพัดพาเอาฝุ่นกัมมันตรังสีที่ตกลงมาใส่ไปด้วย ท�ำให้ทางน�้ำปราศจากการเปื้อน
พิษกัมมันตรังสีเช่นเดียวกับอันตรายจากการเปื้อนพิษใกล้ทะเลสาบจะต�่ำกว่าที่คาดไว้เนื่องจาก
อนุภาคของฝุ่นกัมมันตรังสีจะจมลงสู่ก้นทะเลสาบและน�้ำในทะเลสาบจะกั้นรังสีไว้บางส่วน การวัด
อัตรารังสีในพืน้ ทีท่ เี่ ป็นป่าไม้หรือมีสงิ่ ปลูกสร้างจะต้องน�ำค่า TF (ดูตาราง ช-๓) มาใช้ดว้ ย เนือ่ งจาก
ค่าที่วัดได้จะลดลงน้อยกว่าความเป็นจริง
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 273

(ง) เส้นชัน้ อัตรารังสีซงึ่ แสดงอันตรายจากการเปือ้ นพิษกัมมันตรังสี


ในพืน้ ทีจ่ ะวาดได้ดงั นี้ นับจ�ำนวนครัง้ ของการอ่านค่าอัตรารังสีทที่ ำ� การส�ำรวจรังสีแบบตามเส้นทาง
หรือแบบเป็นห้วงเส้นทาง เนื่องจากอากาศยานบินด้วยความเร็วคงที่ ห้วงเวลาที่อ่านค่าอัตรารังสี
แต่ละห้วงเท่ากัน ดังนั้นระยะทางระหว่างจุดสองจุดที่อยู่ติดกันใด ๆ จะมีค่าเท่ากันถ้าแบ่งเส้นทาง
หรือห้วงเส้นทางออกเป็นห้วงระยะทางทีม่ คี วามยาวเท่า ๆ กันแล้ว จ�ำนวนของห้วงระยะทางทัง้ หมด
จะเท่ากับจ�ำนวนห้วงเวลาทัง้ หมด จุดแต่ละจุดทีแ่ บ่งเส้นทางหรือห้วงเส้นทางจะแทนต�ำแหน่งซึง่ อ่าน
ค่าอัตรารังสี ห้วงระยะทางระหว่างการอ่านอัตรารังสีแต่ละค่าจะเท่ากับความยาวของห้วงเส้นทาง
หรือเส้นทางหารด้วยจ�ำนวนครั้งของการอ่านลบด้วยหนึ่งตัวอย่างเช่น ถ้าอ่านค่าอัตรารังสีเจ็ดครั้ง
เส้นทางนี้จะถูกแบ่งออกเพียง ๖ ห้วงหรือจ�ำนวนครั้งที่ชุดส�ำรวจรังสีอ่านค่าหักออกเสียหนึ่ง โดย
มีสูตรเป็น
ห้วงระยะ = ความยาวของเส้นทางหรือห้วงเส้นทาง (กม.)
(จ�ำนวนครั้งของการอ่าน -๑)
 ก�ำหนดอัตรารังสีเมื่อเวลา H+1 ชั่งโมงที่จะลากเส้นชั้นรังสี (เช่น ๒๐
[ส�ำหรับนาโตใช้ ๓๐], ๑๐๐, ๓๐๐, ๑๐๐๐ เซนติเกรย์/ชม.) เส้นชั้นรังสีเหล่านี้อาจจ�ำเป็นต้องใช้
ส�ำหรับท�ำรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์หรือใช้ส�ำหรับค�ำนวณล่วงหน้าจากข้อมูลที่มีอยู่ดังนี้
๑,๐๐๐ เซนติเกรย์/ชม. = ใช้สีแดง
๓๐๐ เซนติเกรย์/ชม. = ใช้สีเขียว
๑๐๐ เซนติเกรย์/ชม. = ใช้สีน�้ำเงิน
๒๐ เซนติเกรย์/ชม. = ใช้สดี ำ� (กองก�ำลังนาโตใช้เส้น ๓๐ เซนติเกรย์/ชม.)
 ก�ำหนดจุดตามเส้นทาง ห้วงเส้นทางและต�ำแหน่งทีต ่ รวจรังสีทมี่ อี ตั รารังสี
ตามต้องการ
 ต่อจุดต่าง ๆ ที่มีอัตรารังสีค่าเดียวกันให้เป็นเส้นเรียบ ๆ ในการวาดเส้น
ชั้นรังสีนั้นให้ใช้ข้อมูลจากการตรวจรังสีที่หมายจุดไว้ทุกค่าเป็นแนวทางเพิ่มเติม
 ในการวาดเส้นชัน ้ รังสีจะต้องใช้ความระมัดระวังและการประมาณค่าอัตรา
รังสีจากค่าที่ทราบแล้วและนึกภาพและทิศทางทั่วไปของรูปแบบเส้นชั้นรังสีท่ีอาจเป็นไปได้ อัตรา
รังสีใดที่มีค่าสูงกว่าค่าอื่น ๆ ในพื้นที่ใกล้ ๆ กันอย่างไม่ได้สัดส่วนบ่งว่าอาจเป็นจุดที่มีอัตรารังสีสูง
ผิดปกติ (hotspot) เมื่อได้รับรายงานอัตรารังสี พื้นที่นั้นจะต้องได้รับการตรวจวัดค่าอัตรารังสีใหม่
ถ้ายังได้รบั การยืนยันค่าอัตรารังสีเดิมจะต้องหมายจุดนีไ้ ว้และระบุให้ชดั เจนว่า เป็นจุดทีม่ อี ตั รารังสี
274 ภาคผนวก ช

สูงผิดปกติ ภาพ ช-๓๓ แสดงตัวอย่างการวาดเส้นชั้นรังสีที่อาจได้จากข้อมูลการส�ำรวจรังสี

ภาพ ช-๓๓ ตัวอย่างการวาดรูปแบบการตกของฝุ่นกัมมันตรังสีจากข้อมูลการส�ำรวจรังสี

 แผ่นบริวารการเปื้อนพิษกัมมันตรังสี (ภาพ ช-๓๔) ซึ่งใช้เพื่อวัตถุประสงค์


ในการประเมินอันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสีนั้น จะต้องจัดเตรียมในรูปของข่าวสารที่ละเอียดที่สุด
เท่าที่จะท�ำได้ ข่าวสารอย่างน้อยที่สุดที่ต้องการ ได้แก่
– แผนที่ที่ใช้และข้อมูลแนวเหนือกริดของแผ่นบริวาร
– เลขรหัสการโจมตีและต�ำแหน่ง GZ (บรรทัด ALFA และ FOXTROT
ของรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์
– เวลาระเบิด (บรรทัด DELTA ของรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์)
– เวลาอ้างอิง (บรรทัด OSCAR ของรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์)
– อัตราการสลายตัว/ประเภทดิน
– เวลาเตรียมแผนที่และเวลาที่แผนที่หมดอายุ
– แหล่งก�ำเนิดของการเปือ้ นพิษ-ฝุน่ กัมมันตรังสีหรือรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 275

– เส้นชั้นอัตรารังสีมาตรฐาน
– ข้อมูลเพิ่มเติมที่ก�ำหนดไว้ใน รปจ.ของหน่วย เช่น เวลาที่ฝุ่นกัมมันต
รังสีตกอย่างสมบูรณ์
อัตรารังสีสูงสุด แผนที่ ________
(GZ) 4,200 cGyph มาตราส่วน_______
(1) 2,700 cGyph
(2) 2,100 cGyph

เส้นหลักส่ง
ก�ำลัง (MSR)

ปริมาณรังสีที่ได้รับจากการข้าม MSR
เวลา ปริมาณรังสีที่ไม่มีเครื่องวัดรังสี
เริ่มต้น ด้วยความเร็ว
๓ ไมล์/ชม. ๑๕ ไมล์/ชม.
(cGy) (cGy)
H+1 1,050 460
0700 620 240
0900 370 120
1100 260 85 ฝุ่นกัมมันตรังสีทั้งหมดตกสมบูรณ์
1300 210 65 เมื่อ H+2 ชม.(0700)
1500 170 46
1700 140 40 ข้อมูลปริมาณรังสีและอัตรารังสีทั้งหมด
หน่วยบัญชาการ พล.ร. เป็นค่า ณ เวลา H+1 (170600Z)
ขนาดอาวุธ [30 KT] นอกจากจะระบุเป็นอย่างอื่น
GZ MN 671355
H-hour 170500Z
เวลาอ้างอิง H+1 [0600]
การสลายตัวมาตรฐาน [n=1.2]
เตรียมเมื่อ 171000Z
ห้ามใช้หลังจาก 191000Z
ภาพ ช-๓๔ ตัวอย่างแผ่นบริวารการเปื้อนพิษ นชค.๕ นิวเคลียร์
276 ภาคผนวก ช

๑๐.๔ การรายงานข้อมูล (Reporting Data)


๑๐.๔.๑ ในกรณีที่หน่วยไม่มีเครื่องโทรสารใช้ จะต้องเปลี่ยนแผ่นบริวารการ
เปือ้ นพิษกัมมันตรังสีให้เป็นชุดของอัตรารังสีและพิกดั เพือ่ ส่งไปในรูปของรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์
ซึ่งวิธีการนี้มีข้อเสียคือ ผู้ท่ีได้รับรายงานดังกล่าวจะต้องน�ำข้อมูลจากรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์
ซึ่งวิธีการนี้มีข้อเสียคือ ผู้ท่ีได้รับรายงานดังกล่าวจะต้องน�ำข้อมูลจากรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์
มาลงพิกัด แล้วลากเส้นชั้นอัตรารังสีใหม่ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ฝ่ายอ�ำนวยการซึ่งเป็น
ผู้วางแผนจะต้องระลึกไว้ว่า รูปร่างของเส้นชั้นอัตรารังสีที่ลากขึ้นมาใหม่จากข้อมูลชุดสั้น ๆ ของ
อัตรารังสีและพิกัดอาจผิดไปจากความเป็นจริงอย่างมีนัยส�ำคัญ
๑๐.๔.๒ ถ้าหากหน่วยไม่มเี ครือ่ งโทรสารใช้และเวลาและระยะทางอ�ำนวย ให้สง่
แผ่นบริวารการเปือ้ นพิษกัมมันตรังสีโดยใช้พลน�ำสาร การส่งข้อมูลโดยใช้รายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์นนั้
จะใช้เป็นวิธีสุดท้าย
๑๐.๔.๓ ถ้าการเปื้อนพิษเกิดจากอาวุธนิวเคลียร์ระเบิดเพียงลูกเดียว ให้เปลี่ยน
อัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน H+1 แต่ถ้ามีอาวุธนิวเคลียร์ระเบิดหลายลูก ณ เวลาแตกต่าง
กัน และไม่สามารถหาค่าอัตรารังสี ณ H+1 ของอาวุธนิวเคลียร์แต่ละลูกได้ ให้รายงานอัตรารังสี ณ
เวลาใดเวลาหนึ่ง
๑๐.๔.๔ ในรายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์ ถ้าเส้นชั้นรังสีบรรจบเป็นวง พิกัดสุดท้าย
จะต้องเป็นพิกัดเดียวกับพิกัดแรก
๑๐.๔.๕ การค�ำนวณอัตรารังสีตามเส้นชั้นรังสีในเวลาต่อมานั้น ให้ใช้วิธีการที่
อธิบายไว้ในย่อหน้า ๑๐.๕ ข้างล่างนี้และเขียนระบุไว้ด้วยว่าเป็นเส้นชั้นรังสี ณ เวลาใด
๑๐.๕ การหาค่าอัตรารังสี ณ เวลาใด ๆ (Determining the Dose Rate for an Arbi-
trary Time) สามารถหาได้จากสมการของคอฟมานน์ดังต่อไปนี้
R1 x T1n = R2 x T2n สามารถใช้วธิ กี ารทางคณิตศาสตร์หาค่าตัวแปรทีไ่ ม่ทราบค่าได้
คือ R2 = R1 / (T2)n หรือ = R1 / NF
๑๐.๕.๑ โดยที่สมการนี้
R2 = อัตรารังสีที่ต�ำแหน่งหนึ่ง ณ เวลาใด ๆ
R1 = อัตรารังสี (ที่ปรับมาเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน H+1) ณ
ต�ำแหน่งเดียวกันนั้น
t1 = เวลาหลังการระเบิด ๑ ชั่วโมง (H+1)
t2 = เวลาใด ๆ หลังการระเบิดเป็นชั่วโมง
n = อัตราการสลายตัว
NF = ปัจจัยปรับอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 277

หมายเหตุ : ถ้า R1 เป็นอัตรารังสีที่ปรับมาเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน H+1 แล้ว T1 จะเป็น 1


เสมอ ดังนั้นจะตั้งสมการได้ดังนี้
ถ้าอัตรารังสี ณ H+1 มีค่า 600 cGy/h จงหาปริมาณรังสี ณ เวลา H+12 เมื่ออัตราการสลาย
ตัวเป็น ๑.๐
R1 = 600 cGy/h ; t1 = 1 ชม. ; t2 = 12 ชม. n = 1
(ก) ขั้นที่ ๑ ตั้งสูตร
R2 = R1/(t2)n หรือ R2 = R1/NF
(ข) ขั้นที่ ๒ แก้ปัญหา
R2 = 600/(12)1.0 หรือ R2 = 600/(12)
R2 = 600/(12) หรือ R2 = 50 cGy/h
R = 50 cGy/h
๑๐.๕.๒ ค่า NF ณ เวลาที่ก�ำหนดที่หาได้จากกราฟค่า NF ในผนวก ด จะน�ำมา
ใช้กับ
สูตร R2 = R1/NF ได้เฉพาะเมื่อเวลาหลังการระเบิดน้อยกว่า H+12
ชั่วโมงเท่านั้น
(ก) ขัน้ ที่ ๑ หาเวลา (เป็นชัว่ โมงและนาที) หลังการระเบิดทีว่ ดั ค่าอัตรา
รังสี (ไม่เกิน ๑๒ ชั่วโมง)
(ข) ขัน้ ที่ ๒ น�ำค่าเวลาทีค่ ำ� นวณได้ ไปใช้กบั ภาพทีเ่ หมาะสมในผนวก ด
อ่านค่าตามแนวนอนไปยังช่วง decay exponent ทีเ่ หมาะสมแล้วหาค่า NF (เลือกค่าเวลา ๑๒ ชม.
แล้วดูคา่ ตามแนวนอนจนพบกับค่า decay exponent 1.0 ทีด่ ตู ามแนวตัง้ ลงมา จะได้คา่ NF= 12.000)
(ค) หารค่าอัตรารังสีที่อ่านได้ด้วยค่า NF ผลที่ได้จะเป็นค่าอัตรารังสีที่
อ่านได้ ณ เวลาใด ๆ (600/12 = 50 cGy/h)
๑๐.๕.๓ โนโมแกรมอัตราการสลายตัวในผนวก ด ยังสามารถใช้หาอัตรารังสี ณ
เวลาใด ๆ ได้อีกด้วย
(ก) ขั้นที่ ๑ ท�ำตารางเพื่อบรรจุข้อมูลที่เหมาะสมในปัญหา

R2 t2 R1 n
? 12 ชม. 600 cGy/h 1.0
278 ภาคผนวก ช

(ข) ขัน้ ที่ ๒ ดูโนโมแกรมส�ำหรับการสลายตัวของฝุน่ กัมมันตรังสีทมี่ คี า่


อัตราการสลายตัว (n) เป็น ๑.๐ (ดูภาพ ช-๓๕)
(ค) ขั้นที่ ๓ วางแฮร์ไลน์ทาบระหว่างค่า 600 cGy/h บนเส้น R1 ทาง
ขวามือให้ตัดกับค่า ๑๒ บนเส้นเวลา
(ง) ขั้นที่ ๔ จับแฮร์ไลน์ให้ตรงและเรียบ อ่านค่าที่แฮร์ไลน์ตัดเส้น Rt
ทางซ้ายมือ (Rt ก็คือ R2 ) ค�ำตอบที่ได้ควรมีค่าประมาณ 50 cGy/h
๑๐.๖ การหาเวลาที่คาดว่าจะมีค่าอัตรารังสีตามที่ก�ำหนด (Determining the Time
That the Given Dose Rate is Expected) สามารถใช้สมการของคอฟมานน์ได้ดังต่อไปนี้
R1 x T1n = R2 x T2n สามารถใช้วธิ กี ารทางคณิตศาสตร์หาค่าตัวแปรทีไ่ ม่ทราบค่าได้คอื
t2 = R1 x t1 /R2
๑๐.๖.๑ โดยที่สมการนี้
R2 = อัตรารังสีที่ต�ำแหน่งหนึ่ง ณ เวลาใด ๆ
R1 = อัตรารังสี (ที่ปรับมาเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน H+1) ณ ต�ำแหน่ง
เดียวกันนั้น
t1 = H+1
t2 = เวลาใด ๆ หลังการระเบิดเป็นชั่วโมง
หมายเหตุ : ถ้า R1 เป็นอัตรารังสีที่ปรับมาเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน H+1 แล้ว t1 จะเป็น 1
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 279

เซนติเกรย์ต่อชั่วโมง โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี เซนติเกรย์ต่อชั่วโมง


n = 1.0

ขั้นที่ ๑ ท�ำตารางเพื่อบันทึกข้อมูลในปัญหาอย่างเหมาะสม

R2 t 2 R1 n
? ๑๒ ชม. 600 cGy/h 1.0
ขั้นที่ ๒ วางแฮร์ไลน์บนค่า ๖๐๐ cGyph บนเส้นมาตราส่วน R1
ด้านขวามือและให้ตัดค่า ๑๒ บนเส้นมาตราส่วนเวลาตรงกลาง
ขั้นที่ ๓ ยึดแฮร์ไลน์ให้ตรงและสม�่ำเสมอแล้วอ่านค่า Rt
บนเส้นมาตราส่วนซ้ายมือ (Rt ก็คือ R2) ค�ำตอบมีค่าประมาณ
50 cGyph
หมายเหตุ : แฮร์ไลน์อาจไม่ได้สัดส่วนกับของจริง

เวลา
(จ�ำนวนชั่วโมงหลังการระเบิด)

ภาพ ช-๓๕ ตัวอย่างการหาค่าอัตรารังสี ณ เวลาใด ๆ


280 ภาคผนวก ช

เสมอ ดังนั้นจะตั้งสมการได้ดังนี้ t2 = R1/ R2


ตัวอย่าง : อัตรารังสีที่อ่านเมื่อเวลาหลังการระเบิด ๑ ชั่วโมง (H+1) มีค่า 1,000 cGyph โดยที่ค่า
อัตราการสลายตัวมีค่า ๑.๐ จงหาเวลาที่ R2 จะมีค่าเท่ากับ 500 cGyph
R1 = 1,000 cGyph ; R2 = 500 cGyph
(ก) ขั้นที่ ๑ ตั้งสูตร
t2 = R1/ R2
(ข) ขั้นที่ ๒ แก้ปัญหา
t2 = 1,000/500
t2 = 2 ชม.
๑๐.๖.๒ โนโมแกรมอัตราการสลายตัวในผนวก ด ยังสามารถใช้หาอัตรารังสี ณ
เวลาใด ๆ ได้อีกด้วย
(ก) ขั้นที่ ๑ ท�ำตารางเพื่อบรรจุข้อมูลที่เหมาะสมในปัญหา
(ข) ขั้นที่ ๒ หาโนโมแกรมส�ำหรับการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสีโดย

R2 t2 R1 n
500 cGy/h ? 1,000 cGy/h 1.0

ใช้อัตราการสลายตัว (n) เป็น ๑.๐ (ผนวก ด)


(ค) ขั้นที่ ๓ วางแฮร์ไลน์ทาบระหว่างค่า 1,000 cGyph บนเส้น R1
ทางขวามือให้ตัดกับเส้น Rt (Rt ก็คือ R2) ทางซ้ายมือตรงค่า 500 cGyph
(ง) ขัน้ ที่ ๔ จับแฮร์ไลน์ให้ตรงและเรียบ อ่านค่าทีแ่ ฮร์ไลน์ตดั เส้นเวลา
ค�ำตอบที่ได้ควรมีค่าประมาณ ๒ ชั่วโมง
๑๐.๗ การลดปริมาณรังสีทั้งสิ้นที่ได้รับ (Total Dose Reduction)
วัตถุประสงค์หลักของผู้บังคับหน่วยก็คือ การบรรลุภารกิจโดยให้ก�ำลังพลได้รับ
ปริมาณรังสีทั้งสิ้นต�่ำที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ วิธีการลดปริมาณรังสีทั้งสิ้นมีหลายวิธีดังนี้
๑๐.๗.๑ หลีกเลี่ยงพื้นที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสี เมื่อไม่สามารถหลีกเลี่ยงพื้นที่
เปือ้ นพิษได้จะต้องเลือกเส้นทางทีม่ อี ตั รารังสีตำ�่ ทีส่ ดุ และใช้กำ� ลังพลจ�ำนวนน้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้
๑๐.๗.๒ ลดเวลาการรับรังสี โดยวางแผนการปฏิบัติให้ใช้เวลาอยู่ในพื้นที่
เปื้อนพิษให้น้อยที่สุด เลือกเส้นทางที่จะสามารถข้ามไปได้ด้วยความเร็วสูงที่สุดและง่ายที่สุด
๑๐.๗.๓ เลื่อนเวลาเข้าพื้นที่ ถ้าเป็นไปได้ควรรอให้การเปื้อนพิษกัมมันตรังสีใน
พื้นที่สลายตัวลงก่อน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 281

๑๐.๗.๔ ใช้เครื่องกั้นรังสี ควรเพิ่มเครื่องกั้นรังสีให้ยานพาหนะทุกประเภท การ


ข้ามพื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสีด้วยการเดินเท้าควรเป็นวิธีสุดท้าย
๑๐.๘ การหาปริมาณรังสีทั้งสิ้น (Total Dose Procedures) (D)
อัตรารังสีมิใช่ตัวบ่งชี้จ�ำนวนก�ำลังพลสูญเสียโดยตรง การสูญเสียก�ำลังพลขึ้นอยู่
กับปริมาณรังสีทั้งสิ้นที่ได้รับ ถ้าอัตรารังสีคงที่ปริมาณรังสีทั้งสิ้นจะมีค่าเท่ากับผล ๕ คูณของอัตรา
รังสีกับเวลาที่อยู่ในพื้นที่เปื้อนพิษนั้น (เช่นเดียวกับปัญหาการเคลื่อนที่ไปบนถนน, อัตราความเร็ว
x เวลา = ระยะทาง) แต่สารกัมมันตรังสีมีการสลายตัวอยู่ตลอดเวลา อัตรารังสีจึงลดลงไปเรื่อย ๆ
ซึ่งท�ำให้การค�ำนวณยุ่งยากขึ้น ดังนั้นปริมาณรังสีที่ได้รับจริง ๆ จะน้อยกว่าผลคูณของอัตรารังสี ณ
เวลาเข้าพืน้ ทีก่ บั เวลาทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ที่ การค�ำนวณเกีย่ วกับปริมาณรังสีทงั้ สิน้ เวลาเข้าพืน้ ทีแ่ ละเวลาอยู่
ในพื้นที่เปื้อนฝุ่นกัมมันตรังสีจะกระท�ำได้โดยใช้โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น
๑๐.๘.๑ การใช้โนโมแกรมปริมาณรังสีทงั้ สิน้ ในผนวก ด เกีย่ วข้องกับปริมาณรังสี
ทัง้ สิน้ อัตรารังสีเมือ่ เวลา H+1 (R1) เวลาอยูใ่ นพืน้ ที่ Ts และเวลาเข้าพืน้ ที่ Te ส�ำหรับเส้นมาตราดัชนี
จะใช้เป็นจุดหมุนของแฮร์ไลน์ โดยจะใช้ในขั้นตอนระหว่างค่าปริมาณรังสีทั้งสิ้น (D) กับอัตรารังสี
R1และเวลาอยูใ่ นพืน้ ที่ Ts กับเวลาเข้าพืน้ ที่ Te ค่าบนเส้นมาตราดัชนีสามารถน�ำไปคูณกับค่า R1 เพือ่
หาค่า D ค่าทั้งสี่ในโนโมแกรมมีความหมายดังนี้
D = ปริมาณรังสีทั้งสิ้น มีหน่วยเป็นเซนติเกรย์ (cGy)
R1 = อัตรารังสีหลังการระเบิด ๑ ชั่วโมง มีหน่วยเป็นเซนติเกรย์/ชม.
(cGyph)
Ts = เวลาอยู่ในพื้นที่มีหน่วยเป็นชั่วโมง
Te = เวลาเข้าพื้นที่ (จ�ำนวนชั่วโมงหลังการระเบิด)
n = อัตราการสลายตัว
หมายเหตุ : จะต้องใช้อัตรารังสีหลังการระเบิด ๑ ชั่วโมง (R1) เสมอ ห้ามใช้อัตรารังสีที่วัด ณ
เวลาอื่นใดเป็นอันขาด
ก่อนใช้โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้นจะต้องทราบค่า R1 เสียก่อน ถ้าทราบค่าอื่นอีก ๒
ค่าใน ๓ ค่าบนโนโมแกรมนี้ จะหาค่าที่ยังไม่ทราบอีก ๑ ค่าได้ ค่า D กับค่า R1 และค่า Ts กับ
ค่า Te จะต้องใช้ด้วยกัน
๑๐.๘.๒ การใช้โนโมแกรมปริมาณรังสีทงั้ สิน้ ให้ใช้โนโมแกรมด้านทีท่ ราบค่าสอง
ค่าก่อน ถ้าทราบค่า D กับ R1 ให้เริ่มจากด้านซ้าย แต่ถ้าทราบค่า Ts กับ Te ให้เริ่มจากด้านขวา ห้าม
เริ่มต้นแก้ปัญหาด้วยการเชื่อมค่า D หรือ R1 โดยตรงกับค่าของเวลา วางแฮร์ไลน์ลงบนด้านที่มีค่า
D และ R1 หรือด้าน Ts และ Te ใช้จุดที่แฮร์ไลน์ตัดกับเส้นมาตราดัชนีเป็นจุดหมุนให้เส้นแฮร์ไลน์
หมุนไปตัดกับด้านตรงข้ามคือ D และ R1 หรือ Ts และ Te ตรงจุดบนเส้นมาตราที่ทราบค่าที่เหลือ
แล้วอ่านค่าที่เหลือบนเส้นมาตรา
282 ภาคผนวก ช

๑๐.๘.๓ ตัวอย่าง : ก�ำหนดให้ R1 = 200 cGyph


Te = H+1.5 ชม.
Ts = 1
n = 1.2
จงหาว่า D=?

D R1 Ts Te n
? 200 cGy/h 1 ชม. 1.5 ชม. 1.2

ค�ำตอบ : 90 cGy
เลือกใช้โนโมแกรมปริมาณรังสีทงั้ สิน้ n=1.2 ทาบแฮร์ไลน์ลงบนเส้นมาตรา Te ตรงค่า H+1.5 ชัว่ โมง
และเส้นมาตรา Ts ตรงค่า 1ชั่วโมง ใช้จุดที่แฮร์ไลน์ตัดกับเส้นดัชนีเป็นจุดหมุน ให้แฮร์ไลน์หมุนไป
ตัดเส้นมาตรา R1 ที่ค่า 200 เซนติเกรย์/ชม. แล้วอ่านค่าค�ำตอบปริมาณรังสีทั้งสิ้นบนเส้นมาตรา D
คือ ๙๐ เซนติเกรย์ (ดูตัวอย่างในภาพ ช-๓๖)
๑๐.๘.๔ หลังจากการระเบิดผ่านไปนานกว่า ๒๕ ชั่วโมงแล้ว อัตราการสลายตัว
จะช้าลงมากจนไม่มีนัยส�ำคัญ ดังนั้นเมื่อ Te เกินกว่า 25 ชั่วโมง การค�ำนวณค่าปริมาณรังสีทั้งสิ้น
จะแตกต่างออกไป ในกรณีนี้ให้คูณอัตรารังสีขณะเวลาเข้าพื้นที่ด้วยจ�ำนวนชั่วโมงที่อยู่ในพื้นที่
หมายเหตุ : สูตรนี้สามารถน�ำมาใช้ในการหา Ts หรือ Te ได้เช่นเดียวกัน
D = RTe x Ts สามารถใช้วธิ กี ารทางคณิตศาสตร์หาค่าตัวแปรทีไ่ ม่ทราบค่าได้ คือ
RTe = R1
(Te)n
D = ปริมาณรังสีทั้งสิ้น (เซนติเกรย์, cGy)
RTe = อัตรารังสีขณะเวลาเข้าพื้นที่ (เซนติเกรย์/ชม., cGyph)
Ts = เวลาอยู่ในพื้นที่ (ชั่วโมง)
ตัวอย่าง : ก�ำหนดให้
R1 = 300 เซนติเกรย์/ชม.
Ts = 2 ชั่วโมง
Te = H+30 ชั่วโมง
n = 1.2
จงหา D = ?
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 283

(ก) ขั้นที่ ๑ ตั้งสูตร


D = R1 x 2 = 300 เซนติเกรย์/ชม. X 2
(Te)n (30)1.2
(ข) ขั้นที่ ๒ แก้ปัญหา
D = 300 เซนติเกรย์/ชม x 2 = 10 เซนติเกรย์/ชม.
(59.231)
๑๐.๙ การข้ามพื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสี (Crossing a Fallout Area)
๑๐.๙.๑ ในการปฏิบัติการนิวเคลียร์จะต้องคาดไว้ว่า พื้นที่บริเวณกว้างจะต้อง
แผ่กัมมันตรังสีตกค้างออกมา โดยอาจมีความจ�ำเป็นต้องข้ามพื้นที่นั้น
๑๐.๙.๒ เมื่อข้ามพื้นที่เปื้อนพิษกัมมันตรังสี อัตราการแผ่รังสีจะเพิ่มขึ้นเมื่อ
เข้าไปใกล้ศูนย์กลางของพื้นที่ และจะลดต�่ำลงเมื่อออกห่างจากศูนย์กลางไปยังชายเขตพื้นที่
ดังนัน้ จึงต้องหาอัตราการแผ่รงั สีเฉลีย่ ส�ำหรับการค�ำนวณปริมาณรังสีทงั้ สิน้ ค่าประมาณทีใ่ ช้ในการ
หาอัตรารังสีเฉลี่ยนั้น จะใช้ครึ่งหนึ่งของค่าอัตรารังสีที่สูงที่สุด ซึ่งเขียนเป็นสูตรได้ว่า
Ravg = Rmax
2
Ravg = อัตรารังสีเฉลี่ย
Rmax = อัตรารังสีสูงสุดในพื้นที่ที่ได้รับหรือคาดว่าจะได้รับ
๑๐.๙.๓ การค�ำนวณด้วยวิธนี เี้ พียงพอส�ำหรับการพิจารณาหาเส้นทางทีเ่ หมาะสม
ส�ำหรับการข้ามพื้นที่เปื้อนพิษหรือเมื่อเวลาวิกฤติ
๑๐.๙.๔ อัตรารังสีที่ใช้ในการแก้ปัญหาข้ามพื้นที่เปื้อนพิษจะพิจารณาเสมือน
ว่าเป็นอัตรารังสี ณ ต�ำแหน่งที่อยู่กับที่ ดังนั้นการค�ำนวณที่ตามมาทั้งหมด (เช่น ปริมาณรังสีสะสม
เวลาเร็วที่สุดที่จะเข้าพื้นที่) ส�ำหรับปัญหาการข้ามพื้นที่นั้นจะกระท�ำได้โดยใช้วิธีการเดียวกันกับที่
ใช้กับต�ำแหน่งที่อยู่กับที่ดังอธิบายข้างต้น และจะต้องน�ำค่าปัจจัยส่งผ่าน (TF) มาใช้เช่นเดียวกับ
สถานการณ์ที่ไม่มีการเคลื่อนที่
284 ภาคผนวก ช

เลือกโนโมแกรมขนาดรังสีทั้งสิ้น n=1.2 วางแฮร์ไลน์ต่อจุด


ระหว่างค่า H+1.5 ชม. บนเส้นมาตราส่วน Te กับ Ts ที่ค่า 1 ชม.
หมุนแฮร์ไลน์ ณ จุดที่ตัดกับเส้นดัชนีให้ผ่านค่า 200 cGyph บน
เส้นมาตราส่วน R1 อ่านค่าขนาดรังสีทั้งสิ้น = 90 cGy
บนเส้นมาตราส่วนขนาดรังสีทั้งสิ้น
หมายเหตุ : แฮร์ไลน์อาจไม่ได้สัดส่วนกับของจริง

ภาพ ช-๓๖ ตัวอย่างปริมาณรังสีทั้งสิ้นจากฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.2)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 285

๑๐.๑๐ เวลาดีทสี่ ดุ ในการออกจากพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษฝุน่ กัมมันตรังสี (Optimum Time of


Exit from Fallout Areas) (Topt)
๑๐.๑๐.๑ ฝุ่นกัมมันตรังสีจะก่อให้เกิดอันตรายแก่หน่วยอย่างมากถ้าหน่วย
ยังคงอยู่ในพื้นที่นั้นต่อไป ที่พักก�ำบัง (เช่น ที่ตั้งก�ำบังในสนามรบ) จะให้การป้องกันรังสีนิวเคลียร์
แก่กำ� ลังพลในสนามรบได้ดที สี่ ดุ ถ้าทีพ่ กั ก�ำบังสามารถให้การป้องกันได้ดพี อควร การคงอยูใ่ นพืน้ ที่
และปรับปรุงที่พักก�ำบังจะดีกว่าการถอนตัวไปยังพื้นที่ไม่เปื้อนพิษ แต่ถ้าสถานการณ์อ�ำนวยและ
หน่วยเหนืออนุมัติ ผู้บังคับหน่วยอาจตัดสินใจเคลื่อนย้ายหน่วยออกไปจากพื้นที่เปื้อนพิษ การถอน
ตัวออกจากพื้นที่ในเวลาที่ดีที่สุดเท่านั้นที่จะช่วยให้ก�ำลังพลได้รับรังสีน้อยที่สุด
๑๐.๑๐.๒ ในการค�ำนวณเวลาที่ดีที่สุดส�ำหรับออกจากพื้นที่เปื้อนพิษฝุ่น
กัมมันตรังสีนั้นจะต้องทราบเวลาที่อาวุธนิวเคลียร์ระเบิด ต�ำแหน่งของพื้นที่ที่ไม่เปื้อนพิษ ปัจจัย
ส่งผ่านเฉลี่ยและเวลาที่จะถอนตัวออกจากพื้นที่
๑๐.๑๐.๓ เมื่อจะเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่เปื้อนพิษฝุ่น
กัมมันตรังสี หน่วยจะต้องเคลื่อนย้ายไปที่ต�ำบลไม่เปื้อนพิษ โดยจะต้องรอให้ฝุ่นกัมมันตรังสี
ตกลงมา ณ ที่ตั้งปัจจุบันอย่างสมบูรณ์เสียก่อน
๑๐.๑๐.๔ หน่วยจะต้องหาปัจจัยส่งผ่านเฉลีย่ ของทีพ่ กั ก�ำบังและยานพาหนะ
ทีใ่ ช้ได้กอ่ นจะเคลือ่ นย้ายออกจากพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ เนือ่ งจากทีพ่ กั ก�ำบังทัง้ หลายจะมีความแตกต่างกัน
ดังนัน้ จึงควรใช้คา่ เฉลีย่ ค่าปัจจัยส่งผ่านของยานพาหนะอาจใช้คา่ โดยประมาณ แต่หน่วยทีเ่ คลือ่ นที่
ด้วยเท้าจะได้รับรังสีอย่างเต็มที่และมีค่าปัจจัยส่งผ่าน ๑.๐
๑๐.๑๐.๕ หน่วยจะต้องประเมินเวลาทีใ่ ช้ในการบรรทุกและเดินทางออกจาก
พื้นที่เปื้อนพิษ ในบางครั้งอาจจ�ำเป็นต้องทิ้งสิ่งของที่ไม่จ�ำเป็นไว้ในพื้นที่ชั่วคราวก่อน เพื่อลดเวลา
ที่ได้รับรังสี ภายหลังจึงกลับไปเก็บกู้เมื่ออัตรารังสีลดลงจนถึงค่าที่ยอมรับได้ เวลาที่ดีที่สุดในการ
ออกจากพื้นที่ (Topt) ค�ำนวณได้ดังนี้
Topt = MF x Tev
MF = ปัจจัยตัวคูณซึ่งหาได้จากภาพ ช-๓๗
Tev = เวลาที่ใช้ในการถอนตัวออกจากพื้นที่เปื้อนพิษ
ตัวย่อต่อไปนี้ใช้ในการค�ำนวณเวลาดีที่สุดในการออกจากพื้นที่
TFS = ปัจจัยส่งผ่านเฉลี่ยของที่พักก�ำบังฝุ่นกัมมันตรังสี
TFM = ปัจจัยส่งผ่านเฉลี่ยภายหลังการออกจากที่พักก�ำบัง
(ระหว่างการเคลื่อนที่ออกจากพื้นที่เปื้อนพิษ)
TFRatio = อัตราส่วนของปัจจัยส่งผ่าน
286 ภาคผนวก ช

๑๐.๑๐.๖ ค�ำนวณเวลาดีที่สุดส�ำหรับการออกจากพื้นที่ตามขั้นตอนต่อไปนี้
(ก) ขั้นที่ ๑ ค�ำนวณอัตราส่วนของปัจจัยส่งผ่าน (TFRatio = TFS /TFM)
(ข) ขั้นที่ ๒ หาค่าปัจจัยตัวคูณ (MF) โดยหาค่า TFRatio ที่ค�ำนวณได้
บนแกนตัง้ ของภาพ ช-๓๗ แล้วทาบแฮร์ไลน์ลงบนค่าดังกล่าวตามแนวนอนไปตัดกับเส้นกราฟใช้จดุ
ตัดเป็นจุดหมุน หมุนแฮร์ไลน์ให้ตั้งฉากกับแกนนอน อ่านค่าปัจจัยตัวคูณจากแกนนอน
(ค) ขั้นที่ ๓ ค�ำนวณเวลาดีที่สุดในการออกจากพื้นที่ โดยการคูณค่า
MF ด้วยเวลาทีต่ อ้ งการใช้ในการถอนตัว (Tev) ผลคูณทีไ่ ด้ คือ เวลาทีด่ ที สี่ ดุ ในการออกจากพืน้ ทีเ่ ป็น
ชั่วโมงหลังการระเบิดซึ่งหน่วยจะต้องออกจากที่พักก�ำบังและถอนตัวออกจากพื้นที่
๑๐.๑๐.๗ ข้อพิจารณาพิเศษ
(ก) หน่วยควรถอนตัวออกจากพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษฝุน่ กัมมันตรังสีโดยเร็ว
ที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ เมื่ออัตราส่วนของปัจจัยส่งผ่าน (TFRatio) มีค่าใกล้ ๐.๕ หรือมากกว่า
(ข) ถ้าประมาณเวลาที่ดีที่สุดในการออกจากพื้นที่แล้วพบว่า เป็น
เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสียังมาไม่ถึง เมื่อฝุ่นกัมมันตรังสีหยุดตกและมีพื้นที่ไม่เปื้อนพิษให้เข้าไปอยู่ได้
หน่วยควรถอนตัวออกจากพื้นที่ในเวลาที่เร็วที่สุด
(ค) หน่ ว ยจะได้ รั บ รั ง สี ใ นปริ ม าณที่ น ้ อ ยที่ สุ ด ถ้ า ออกจากพื้ น ที่
เปื้อนพิษในเวลาดีที่สุด ถ้าผู้บังคับหน่วยยอมให้ก�ำลังพลรับรังสีเพิ่มขึ้นได้อีก ๑๐% อาจสั่งให้ก�ำลัง
พลออกจากที่พักก�ำบังในระหว่างเวลาครึ่งหนึ่งถึงสองเท่าของเวลาดีที่สุดส�ำหรับการออกจากพื้นที่
(ง) ถ้าเป็นไปได้ ก�ำลังพลควรปรับปรุงทีพ่ กั ก�ำบังของตนของตนขณะ
รอเวลาดีที่สุดส�ำหรับการออกจากพื้นที่ และจะต้องค�ำนวณเวลาที่ดีที่สุดส�ำหรับการออกจากพื้นที่
ขึ้นมาใหม่ภายหลังจากที่มีการปรับปรุงที่พักก�ำบังให้กั้นรังสีได้ดีกว่าเดิมมาก ควรให้ก�ำลังพลอยู่ใน
ที่พักก�ำบังที่ได้รับการปรับปรุงแล้วเป็นเวลานานขึ้นเพื่อให้ได้รับปริมาณรังสีน้อยที่สุด
๑๐.๑๑ พืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำ (Neutron-Induced Radiation Areas)
๑๐.๑๑.๑ ประเภทของการระเบิด การระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ทุกชนิดจะ
ปล่อยอนุภาคนิวตรอนออกมา นิวตรอนบางส่วนจะถูกธาตุหลายชนิดในดินซึ่งอยู่ใต้ต�ำแหน่งที่เกิด
การระเบิดจับไว้ ท�ำให้ธาตุเหล่านัน้ กลายเป็นธาตุกมั มันตรังสี ซึง่ ปล่อยอนุภาคเบตาและรังสีแกมมา
ออกมาเป็นเวลายาวนาน อนุภาคเบตาจะไม่ก่อให้เกิดอันตราย เว้นเสียแต่ว่าวัสดุที่ปล่อยอนุภาค
เบตาจะสัมผัสกับผิวหนังโดยตรงเป็นเวลายาวนาน จะท�ำให้ผิวหนังเกิดความระคายเคือง โดยจะ
มีอาการตั้งแต่ผิวหนังเป็นผื่นแดงไปจนถึงเป็นแผลเปิด รังสีแกมมาจะทะลุทะลวงผ่านร่างกายและ
ท�ำให้เกิดการป่วยจากรังสีจนถึงแก่ความตายได้ การก�ำหนดอันตรายภายนอกทางทหารที่เกิดจาก
รังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำนั้น จะต้องวิเคราะห์อัตรารังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาจากพื้นที่เสียก่อน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 287

๑๐.๑๑.๒ ต�ำแหน่งข้อมูล ต�ำแหน่งของพื้นที่ที่สงสัยว่าจะเป็นพื้นที่เปื้อนพิษ


รังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำซึ่งเกิดจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ในอากาศก�ำหนดได้จากข้อมูลการ
ระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ สภาพอากาศไม่มอี ทิ ธิพลต่อต�ำแหน่งหรือขนาดพืน้ ที่ ลมทีผ่ วิ พืน้ ไม่มผี ลต่อ
รูปแบบของพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษ พืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำจะเป็นรูปวงกลมรอบศูนย์กลางการ
ระเบิดที่ผิวพื้นเสมอขนาดของพื้นที่เปื้อนพิษขึ้นอยู่กับขนาดของอาวุธและความสูงของการระเบิด
ตาราง ช-๔ แสดงขอบเขตพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำส�ำหรับอาวุธนิวเคลียร์ขนาดต่าง ๆ
โดยถือว่าความสูงของการระเบิดเป็นความสูงที่เหมาะสม ระยะทางในตารางเป็นระยะทางแนว
ระดับที่แผ่ขยายออก ๑ ชั่วโมงหลังการระเบิด ซึ่งมีรัศมียาวที่สุดที่เส้นชั้นรังสี ๒ เซนติเกรย์/ชม.

ภาพ ช-๓๗ ตัวอย่างปัจจัยตัวคูณ (MF)


288 ภาคผนวก ช

ขนาดอาวุธโดยประมาณ (KT) รัศมีแนวระดับของเส้นชั้นรังสี 2 cGyph ณ H+1 (ม.)


0.1 200
1.0 700
10.0 1,000
100.0 1,600
1,000.0 2,000
ตาราง ช-๔ รัศมีของการเปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ
(ก) น�ำขนาดอาวุธทีต่ อ้ งการทราบรัศมีในแนวระดับเป็นเมตร ไป
หาจากโนโมแกรมของเคลเลอร์ (ภาพ ช-๓๘ หรือ ช-๓๙) ระยะทางที่ได้จะเป็นรัศมีในแนวระดับที่
ไกลที่สุดของเส้นชั้นรังสี ๒ เซนติเกรย์/ชม. เมื่อเวลาหนึ่งชั่วโมงหลังการระเบิด
(ข) น�ำขนาดอาวุธไปหารัศมีในแนวระดับเป็นเมตรจากตาราง
รัศมีของการเปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำ (ดูตาราง ช-๔) ระยะทางทีไ่ ด้จะเป็นรัศมีในแนวระดับ
ที่ไกลที่สุดของเส้นชั้นอัตรารังสี ๒ เซนติเกรย์/ชม.เมื่อเวลา ๑ ชั่วโมงหลังการระเบิด
(ค) การเขียนแผนทีเ่ ปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำมีขนั้ ตอนดัง
ต่อไปนี้
 ขั้นที่ ๑ ใช้แผ่นบริวารที่สะอาด
 ขั้ น ที่ ๒ หาข้ อ มู ล การระเบิ ด ของอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ จ าก
รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์ หรือจากบันทึกล�ำดับการโจมตีของส่วน คชรน. บันทึกเลขล�ำดับการโจมตี
วันเวลาที่อาวุธนิวเคลียร์ระเบิด ต�ำแหน่งศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น ขนาดอาวุธและมาตราส่วน
แผนที่ลงบนแผ่นบริวาร
 ขั้นที่ ๓ ใช้โนโมแกรมของเคลเลอร์หรือตารางรัศมีของ
พื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำหารัศมีในแนวระดับของเส้นชั้นรังสี ๒ เซนติเกรย์/ชม.
 ขั้นที่ ๔ ลงพิกัดของศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น (GZ)
 ขั้นที่ ๕ เขียนวงกลมรอบศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น
โดยใช้ความยาวของรัศมีเท่ากับค่าที่หาได้จากขั้นที่ ๓ (ดูภาพ ช-๓๗)
(ง) พื้นที่ของวงกลมรอบศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้นซึ่งมีรัศมี
ตามทีห่ าได้จากภาพ ช-๔๐ นีจ้ ะถือว่าเป็นพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำไปจนกว่าอัตรารังสี
ทีว่ ดั ได้จริงจะบ่งว่าเป็นอย่างอืน่ พืน้ ทีเ่ ปือ้ นรังสีจริงมักมีขนาดเล็กกว่าโดยขึน้ อยูก่ บั ขนาดอาวุธและ
ความสูงของการระเบิดที่เป็นจริง
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 289

รัศมีเป็นร้อยเมตร

ภาพ ช-๓๘ โนโมแกรมของเคลเลอร์ส�ำหรับใช้หาพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำจากอาวุธ


นิวเคลียร์ขนาด ๑๐ ถึง ๑๐๐ กิโลตัน
290 ภาคผนวก ช

รัศมีเป็นร้อยเมตร

ภาพ ช-๓๙ โนโมแกรมของเคลเลอร์ส�ำหรับใช้หาพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ


จากอาวุธนิวเคลียร์ขนาด ๐.๑ ถึง ๑๐ กิโลตัน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 291

อัตรารังสีเมื่อเวลา H+1

ภาพ ช-๔๐ ตัวอย่างการเขียนภาพพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ

๑๐.๑๑.๓ การสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ
(ก) ทีศ่ นู ย์กลางการระเบิดทีผ่ วิ พืน้ ดินจะกลายเป็นวัสดุกมั มันตรังสีได้
ลึกลงไปถึง ๐.๕ เมตร ในขณะที่ฝุ่นกัมมันตรังสีจะตกค้างอยู่บนผิวดินเท่านั้น ด้วยเหตุนี้การท�ำลาย
ล้างพิษพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำจะกระท�ำได้ยากกว่า
(ข) การสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำจะแตกต่างจากการ
สลายตัวของฝุน่ กัมมันตรังสี เนือ่ งจากฝุน่ กัมมันตรังสีมสี ว่ นผสมของธาตุตา่ ง ๆ เป็นจ�ำนวนมากซึง่ มี
อัตราการสลายตัวแตกต่างกัน ส่วนรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำส่วนใหญ่เกิดจากอะลูมิเนียม แมงกานีส
และโซเดียม
(ค) ธาตุอื่น ๆ เช่น ซิลิคอนจะปล่อยรังสีแกมมาออกมาเพียงเล็ก
น้อยหรือไม่ก็สลายตัวเร็วมากจนกระทั่งไม่มีความส�ำคัญ
(ง) ในระหว่าง ๓๐ นาทีแรกภายหลังการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
ธาตุหลักที่แผ่รังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำออกมาคือ อะลูมิเนียม เพราะดินเกือบทุกชนิดจะประกอบ
ด้วยอะลูมเิ นียมซึง่ เป็นธาตุทมี่ อี ยูใ่ นผิวโลกมากทีส่ ดุ ธาตุหนึง่ เนือ่ งจากอะลูมเิ นียมกัมมันตรังสีมเี วลา
ครึ่งชีวิตเพียง ๒-๓ วินาที ดังนั้นมันจะสลายตัวไปเกือบทั้งหมดภายใน ๓๐ นาที หลังการระเบิด
(จ) ดินส่วนใหญ่ยังมีแมงกานีสอยู่ในปริมาณสูงอีกด้วย แมงกานีส
กัมมันตรังสีมเี วลาครึง่ ชีวติ ประมาณ ๒.๖ ชัว่ โมง ดังนัน้ จาก ๓๐ นาทีหลังการระเบิดจนถึง ๑๐-๒๐ ชัว่ โมง
หลังการระเบิดแมงกานีสและโซเดียมจะเป็นธาตุหลักที่ปล่อยกัมมันตภาพรังสีออกมา ต่อจากนั้น
โซเดียมซึ่งสลายตัวด้วยเวลาครึ่งชีวิตประมาณ ๑๕ ชั่วโมง จะเป็นแหล่งก�ำเนิดรังสีหลัก
292 ภาคผนวก ช

(ฉ) ปัจจัยส�ำคัญที่สุดในการสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ
คือ องค์ประกอบของดิน การสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำต่างจากการสลายตัวของฝุ่น
กัมมันตรังสี อัตราการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสีจะค�ำนวณได้โดยใช้สมการของคอฟมานน์
(Kaufman Equation) ส่วนการสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำค�ำนวณได้จากปริมาณร้อยละ
(โดยน�้ำหนักของธาตุที่มีอยู่ในดิน)
(ช) เนื่องจากองค์ประกอบของดินในที่ต่าง ๆ มีความแตกต่างกัน
มากแม้แต่ในพื้นที่แคบ ๆ ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องทราบองค์ประกอบทางเคมีที่แท้จริงของดินเสียก่อน
จึงจะหาอัตราการสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำได้ ดินทั้งหมดสามารถแบ่งออกได้เป็น ๔
ประเภทตามตาราง ช-๕
(ซ) เนื่องจากองค์ประกอบที่แท้จริงของดินนั้นไม่สามารถทราบได้
ดังนั้นในการค�ำนวณทั้งหมดให้ใช้ดินประเภทที่ II ซึ่งเป็นดินที่สลายตัวช้าที่สุด จนกว่าส่วน คชรน.
จะแนะน�ำให้ใช้ดินประเภทอื่นแทน
ธาตุ ประเภทที่ I ประเภทที่ II ประเภทที่ II ประเภทที่ IV
โซเดียม - 1.30 0.16 0.001
แมงกานีส 0.008 0.01 2.94 0.006
อะลูมิเนียม 2.890 6.70 18.79 0.005
เหล็ก 3.750 2.20 10.64 46.650
ซิลิคอน 33.100 32.00 10.23 0.004
ไทเทเนียม 0.390 0.27 1.26 -
แคลเซียม 0.080 2.40 0.45 -
โพแทสเซียม - 2.70 0.88 0.001
ไฮโดรเจน 0.390 0.70 0.94 0.001
โบรอน - - - -
ไนโตรเจน 0.065 - 0.26 -
ซัลเฟอร์ 0.070 0.03 0.26 -
แมกนีเซียม 0.050 0.60 0.34 -
โครเมียม 0.008 - 0.04 -
ฟอสฟอรัส 3.870 0.04 0.13 -
คาร์บอน 50.330 - 9.36 -
ออกซิเจน - 50.82 43.32 53.332
ตาราง ช-๕ ประเภทของดินส�ำหรับการค�ำนวณรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 293

(ด) ประเภทของดินหาได้จากแผนทีป่ ฐพีวศิ วกรรม หรือจากรายงาน


นชค.๔ นิวเคลียร์ และจากโนโมแกรมการสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำในผนวก ด ใช้วิธีการ
ขจัด (process of elimination) โดยการน�ำอัตรารังสีและเวลาที่วัดรังสีมาใช้กับโนโมแกรมรังสี
นิวตรอนเหนี่ยวน�ำจะได้อัตรารังสีวัดเมื่อเวลา H+1 หรือ R1 เปรียบเทียบค่า R1ที่ได้จากการใช้อัตรา
รังสีและเวลาที่วัดค่าต่าง ๆ กับโนโมแกรมจนกระทั่งได้ค่า R1 เท่ากัน
๑๐.๑๑.๔ ปั จ จั ย ส่ ง ผ่ า น (TF) ปั จ จั ย ส่ ง ผ่ า นส� ำ หรั บ พื้ น ที่ แ ผ่ รั ง สี นิ ว ตรอน
เหนี่ยวน�ำจะหาได้ในพื้นที่จริง ค่าปัจจัยส่งผ่านในตาราง ช-๖ ควรใช้ในกรณีที่ต้องการเผื่อไว้ให้มี
ความปลอดภัยมากทีส่ ดุ เท่านัน้ ค่าปัจจัยส่งผ่านจริงในพืน้ ทีแ่ ผ่รงั สีเหนีย่ วน�ำอาจต�ำ่ กว่าค่าในตาราง
ถึงร้อยละ ๗๐ เนื่องจากลักษณะเฉพาะทางเทคนิคของรังสี

สิ่งปลูกสร้าง ปัจจัยส่งผ่าน (TF) สิ่งปลูกสร้าง ปัจจัยส่งผ่าน (TF)


ต�่ำกว่าพื้นดิน 3 ฟุต ๐.๐๑ ที่หลบภัยป้องกันคอนกรีต
อาคารโครงไม้ ๐.๘๐ ผนังหนา ๙ นิ้ว ๐.๕๐
ห้องใต้ดิน ๐.๘๐ ผนังหนา ๑๒ นิ้ว ๐.๔๐
อาคารหลายชั้น ไม่มีข้อมูล ผนังหนา ๒๔ นิ้ว ๐.๒๐
อาคารชั้นบน ๑.๐๐ ที่หลบภัยป้องกัน (บางส่วนอยู่เหนือพื้นดิน)
อาคารชั้นล่าง ๐.๘๐ สิ่งปกคลุมเหนือพื้นดิน ๒ ฟุต ๐.๘๐
สิ่งปกคลุมเหนือพื้นดิน ๓ ฟุต ๐.๐๕

ตาราง ช-๖ ค่าปัจจัยส่งผ่าน (TF) ของสิ่งปลูกสร้างทั่วไป


(ก) สิง่ ส�ำคัญก็คอื พลังงานของรังสีแกมมาจะวัดเป็นล้านอิเล็กตรอน
โวลต์ (MeV) ฝุน่ กัมมันตรังสีทมี่ อี ายุนอ้ ยกว่า ๒๔ ชัว่ โมงจะมีพลังงานเฉลีย่ 0.67 MeV รังสีนวิ ตรอน
เหนี่ยวน�ำที่ปล่อยออกมาจากธาตุหลักในดิน ๓ ชนิดจะอยู่ในช่วง 0.68 ถึง 1.2 MeV
(ข) เนือ่ งจากรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำมีการสลายตัวในลักษณะพิเศษ
ดังนั้นจึงต้องค�ำนวณค่าปัจจัยส่งผ่านใหม่บ่อย ๆ (ควรท�ำทุก ๔ ชั่วโมง) เนื่องจากขีดความสามารถ
ในการทะลุทะลวงของรังสีที่เหลืออยู่มีการเปลี่ยนแปลงไป
๑๐.๑๑.๕ การค�ำนวณอัตรารังสี ก่อนการหาค่าปริมาณรังสีทงั้ สิน้ จะต้องค�ำนวณ
หาอัตรารังสีทลี่ ดลงเสียก่อนโดยการใช้โนโมแกรมการสลายตัวของรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำในผนวก ด
โนโมแกรมเหล่านี้จะช่วยให้สามารถประมาณค่าอัตรารังสี ณ เวลาใด ๆ ภายหลังอาวุธนิวเคลียร์
ระเบิด ในแต่ละโนโมแกรมประกอบด้วย
294 ภาคผนวก ช

(ก) เส้นมาตราส่วน R1 ทางด้านขวามือแสดงค่าอัตรารังสีภายหลัง


การระเบิด ๑ ชั่วโมง (H+1)
(ข) เส้นมาตราส่วน Rt ทางด้านซ้ายมือแสดงค่าอัตรารังสี ณ เวลา
ใด ๆ (t)
๑๐.๑๑.๖ การค�ำนวณปริมาณรังสีทงั้ สิน้ ทีจ่ ะได้รบั (D) การประมาณค่าปริมาณ
รังสีทั้งสิ้นที่จะได้รับขณะที่อยู่ในพื้นที่แผ่รังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำจะหาได้จากโนโมแกรมในผนวก ด
โนโมแกรมนี้จะเกี่ยวข้องกับปริมาณรังสีทั้งสิ้น อัตรารังสี ณ เวลา ๑ ชั่วโมงหลังการระเบิด (H+1)
เวลาอยู่ในพื้นที่และเวลาเข้าพื้นที่ เส้นมาตราส่วนสองเส้นที่อยู่ทางด้านซ้ายของเส้นดัชนีจะแสดง
ค่าปริมาณรังสีทั้งสิ้นที่จะได้รับ (D) และอัตรารังสีภายหลังการระเบิด ๑ ชั่วโมง (R1) และยังมีเส้น
มาตราส่วนเวลาอยู่ในพื้นที่ (Ts) อีกสองเส้นอยู่ทางด้านขวาของเส้นดัชนี และเส้นมาตราส่วนทาง
ด้านขวาสุด จะแสดงเวลาเข้าพื้นที่ (Te) เส้นดัชนีจะใช้เป็นจุดหมุนของแฮร์ไลน์โดยจะใช้ในขั้นตอน
ระหว่างค่าปริมาณรังสีทั้งสิ้น (D) กับอัตรารังสีภายหลังการระเบิด ๑ ชั่วโมง (R1) โดยที่ค่า R1 จะ
หาได้โดยการใช้โนโมแกรมการสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ
(ก) ถ้าไม่ทราบประเภทของดิน ให้สมมุตวิ า่ เป็นดินประเภทที่ II ห้าม
ใช้โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (ผนวก ด) ส�ำหรับหาค่า R1
(ข) เวลาอยู่ในพื้นที่ Ts จะต้องค�ำนวณด้วยเช่นเดียวกัน ถ้าทราบ
ประเภทของดินให้ใช้เส้นมาตราส่วนที่อยู่ใต้ค�ำว่า “เวลาอยู่ในพื้นที่” ที่เหมาะสม ถ้าทราบค่าสาม
ค่าบนโนโมแกรมปริมาณรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำทีจ่ ะได้รบั แล้ว ก็จะสามารถหาค่าทีเ่ หลืออีกค่าหนึง่
ได้ การหาเวลาอยู่ในพื้นที่จะกระท�ำได้ดังนี้
ตัวอย่างที่ ๑ ก�ำหนดให้
R1 = 140 cGyph
Te = H+6 ชั่วโมง
Ts = 1 ชั่วโมง
ดินประเภทที่ II
จงหาค่า D
ค�ำตอบ 72 cGy
วิธีหาค�ำตอบ บนโนโมแกรมในผนวก ด ทาบแฮร์ไลน์ลงบนเส้นมาตราส่วน Te ตรงค่า H+6 ชั่วโมง
และเส้นมาตราส่วน Ts ของดินประเภทที่ II และ IV ตรงค่า 1 ชั่วโมง ใช้จุดที่แฮร์ไลน์ตัดกับเส้นดัชนี
เป็นจุดหมุน ให้แฮร์ไลน์หมุนไปตัดเส้นมาตราส่วน R1 ที่ค่า 140 cGyph แล้วอ่านค�ำตอบปริมาณ
รังสีทั้งสิ้นที่จะได้รับบนเส้นมาตราส่วน D คือ 72 cGy
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 295

ตัวอย่างที่ ๒ ก�ำหนดให้
R1 = 300 cGyph
Te = H+6 ชั่วโมง
D = 70 cGy
ดินประเภทที่ III
จงหา Ts
ค�ำตอบ ๑ ชั่วโมง
วิธีหาค�ำตอบ บนโนโมแกรมในผนวก ด ทาบแฮร์ไลน์ลงบนเส้นมาตราส่วน ตรงค่า 70 cGy และ
เส้นมาตราส่วน R1 ตรงค่า 300 cGyph ใช้จุดที่แฮร์ไลนตัดกับเส้นดัชนีเป็นจุดหมุน ให้แฮร์ไลน์หมุน
ไปตัดกับเส้นมาตราส่วน Te ที่ค่า H+6 ชั่วโมง แล้วอ่านค�ำตอบเวลาอยู่ในพื้นที่บนเส้นมาตราส่วน
Ts ของดินประเภทที่ I และ III คือ ๑ ชั่วโมง
๑๐.๑๑.๗ การข้ามพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำ ถ้าทหารจ�ำเป็นจะต้อง
ข้ามพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำให้เลือกพื้นที่ที่มีอัตรารังสีต�่ำที่สอดคล้องกับภารกิจ
(ก) ในการค�ำนวณหาปริมาณรังสีทงั้ สิน้ ทีจ่ ะได้รบั นัน้ จ�ำเป็นจะต้องหา
อัตรารังสีเฉลี่ยเพราะอัตรารังสีจะเพิ่มขึ้นเมื่อเข้าใกล้จุดศูนย์กลางของพื้นที่ และลดลงเมื่อออกห่าง
จากศูนย์กลางของพืน้ ที่ ค่าอัตรารังสีเฉลีย่ แสดงถึงค่าปานกลางของรังสีทบี่ คุ คลจะได้รบั ตลอดเวลา
ที่อยู่ในพื้นที่เปื้อนพิษ อัตรารังสีเฉลี่ยนี้จะหาได้โดยการหารค่าอัตรารังสีสูงสุดที่คาดว่าบุคคลจะได้
รับด้วยสอง ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
R = Rmax
avg 2
(ข) การค�ำนวณในปัญหาการข้ามพื้นที่เปื้อนพิษจ�ำเป็นต้องค�ำนวณ
เวลาอยู่ในพื้นที่ (Ts) (ดูภาพ ช-๔) สูตรค�ำนวณหาเวลาอยู่ในพื้นที่คือ
Ts = ระยะทาง
ความเร็ว
 ขั้นที่ ๑ หาเวลาเข้าพื้นที่ (T )
e
 ขัน้ ที่ ๒ ค�ำนวณค่าอัตรารังสีเฉลีย่ (Ravg) ซึง่ จะเป็นค่า R1 ส�ำหรับใช้ในโนโมแกรม
 ขั้นที่ ๓ ค�ำนวณเวลาอยู่ในพื้นที่ (T )
s
 ขั้นที่ ๔ ใช้โนโมแกรมที่เหมาะสม (ดูภาพ ช-๔๑) วางแฮร์ไลน์ทาบระหว่างค่า
Te และ Ts (ตามประเภทของดิน)
 ขั้นที่ ๕ ใช้จุดที่แฮร์ไลน์ตัดกับเส้นดัชนีเป็นจุดหมุนให้แฮร์ไลน์หมุนไปตัดกับ
เส้นมาตราส่วน R1ตรงค่าที่ค�ำนวณไว้
296 ภาคผนวก ช

 ขั้นที่ ๖ เปลี่ยนค่าอัตรารังสีภายนอก (OD) เป็นค่าอัตรารังสีภายใน (ID) เพื่อ


หาปริมาณรังสีทั้งสิ้นที่จะได้รับ
๑๐.๑๑.๘ การหาอัตราการสลายตัวของรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำ ลักษณะการ
สลายตัวของรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำจะแตกต่างจากอัตราการสลายตัวของฝุน่ กัมมันตรังสีมาก ดังนัน้
จึงไม่สามารถน�ำสมการของคอฟมานน์มาใช้ได้
(ก) การสลายตัวของรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำขึ้นอยู่กับธาตุต่าง ๆ
ทีถ่ กู เหนีย่ วน�ำ ดินประกอบด้วยธาตุตา่ ง ๆ หลายชนิดซึง่ มีเวลาครึง่ ชีวติ แตกต่างกัน ดังนัน้ อัตราการ
สลายตัวจะเปลี่ยนไปตามเวลาจะต้องตรวจวัดอย่างสม�่ำเสมอ
(ข) อัตราการสลายตัว (n) ณ ต�ำแหน่งที่ก�ำหนดจะหาได้จากการ

] ]
วัดอย่างต่อเนื่องเท่านั้นและใช้สมการต่อไปนี้
n = 1 x ln Ra
t Ra+t
(ค) Ra เป็นอัตรารังสีมหี น่วยเป็นเซนติเกรย์ตอ่ ชัว่ โมงซึง่ วัด ณ เวลาใด
เวลาหนึง่ และ (Ra+t) เป็นการอ่านอัตรารังสีครัง้ ทีส่ องซึง่ อ่านทีต่ ำ� แหน่งเดิมเมือ่ เวลาผ่านไป ๑/๒ ชัว่ โมง
(ง) แมกนีเซียมและโซเดียมเป็นสองธาตุที่มีครึ่งชีวิตยาวและมัก
พบในดินอยู่เสมอ ดังนั้นธาตุทั้งสองชนิดนี้จะเป็นต้นก�ำเนิดรังสีหลักภายหลังการระเบิดของอาวุธ
นิวเคลียร์ ส�ำหรับโซเดียมซึ่งมีเวลาครึ่งชีวิต ๑๕ ชั่วโมงมีอัตราการสลายตัว ๐.๐๔๖ ส่วนแมงกานีส
ซึ่งมีเวลาครึ่งชีวิต ๒.๖ ชั่วโมง มีอัตราการสลายตัว ๐.๒๗
๑๐.๑๑.๙ การหาอัตรารังสี ณ เวลาใด ๆ อัตรารังสี (R1+t) มีหน่วยเป็นเซนติ
เกรย์ต่อชั่วโมง ณ เวลาใด ๆ (t ชั่วโมง) ภายหลังการอ่านครั้งก่อนจะค�ำนวณได้เป็น
R1+t = Ra(-nxt)
Ra เป็นอัตรารังสี ณ เวลา (t) ที่อ่านค่า n เป็นอัตราการสลายตัวขณะนั้น และ EXP ( ) เป็น
เอกซ์โพเนนเชียลฟังก์ชัน

คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 297

ปริมาณรังสีทั้งสิ้นที่จะได้รับในพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ
เวลาเข้าพื้นที่ (Te) จ�ำนวนชั่วโมงหลังการระเบิด

วางแฮร์ไลน์ต่อจุดบนเส้นมาตราส่วนเวลาพื้นที่ (Te) ที่ค่า ๑๐ ชม.และ


จุดบนเส้นมาตราส่วนเวลาอยู่ในพื้นที่ (Ts) (ดินประเภทที่ II และ IV)
ที่ค่า ๐.๑ ชม. ตรึงแฮร์ไลน์บนเส้นดัชนีแล้วหมุนไปยังเส้นมาตราส่วน
อัตรารังสี (R1) ที่ค่า ๑๕๐ เซนติเกรย์/ชม. อ่านค่าปริมาณรังสีภายนอก
ทั้งสิ้น ณ จุดที่แฮร์ไลน์ตัดเส้นมาตราส่วนปริมาณรังสีทั้งสิ้นได้ ๖
เซนติเกรย์ ค�ำนวณปริมาณรังสีภายในทั้งสิ้น (ID) = ปริมาณรังสีภายนอก
ทั้งสิ้น (OD) x ปัจจัยส่งผ่าน (TF) = ๖ เซนติเกรย์/ชม. x ๐.๒๒ ;
ID = ๑.๓๒ เซนติเกรย์/ชม. หรือ ๑ เซนติเกรย์/ชม.
หมายเหตุ : แฮร์ไลน์อาจไม่ได้สัดส่วนกับของจริง

ภาพ ช-๔๑ ตัวอย่างปริมาณรังสีทั้งสิ้นที่จะได้รับในพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ


298 ภาคผนวก ช

๑๐.๑๑.๑๐ การหาปริมาณรังสีสะสมในพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ
ปริมาณรังสี (D) (หน่วยเป็นเซนติเกรย์) ซึ่งสะสมไว้ระหว่างเวลาเข้าและออกจากพื้นที่เปื้อนพิษรังสี
แกมมาอันเกิดจากรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ (NIGA) จะหาได้จากสูตร
t
D = R1/n ((-n x tin) – (-n x out))
R1 เป็นอัตรารังสีมีหน่วยเป็นเซนติเกรย์ต่อชั่วโมง ณ เวลาอ้างอิง n เป็นอัตราการสลายตัวขณะนั้น
tin และ tout เป็นเวลาเข้าและออกจากพื้นที่เปื้อนพิษรังสีแกมมาอันเกิดจากรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำมี
หน่วยเป็นชั่วโมงภายหลังเวลาอ้างอิง
๑๐.๑๑.๑๑ การท�ำเวลาเข้าพื้นที่เร็วที่สุด เพื่อให้มั่นใจได้ว่าปริมาณรังสีที่จ�ำกัด
ให้ได้รบั (DL) จะไม่เกิดจากการสะสมในระหว่างทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีแ่ ผ่รงั สีแกมมาอันเกิดจากรังสีนวิ ตรอน
เหนี่ยวน�ำ จึงหาเวลาเข้าพื้นที่เร็วที่สุด (tin) ได้ดังนี้
Te = -1/n* (DL/(R*n* (1-(-n*Ts))
Ts = เวลาอยู่ในพื้นที่หน่วยเป็นชั่วโมง
R = อัตรารังสี ณ เวลาอ้างอิง H+1
n = อัตราการสลายตัวขณะนั้น
๑๐.๑๑.๑๒ การหาเวลาออกจากพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษรังสีนวิ ตรอนเหนีย่ วน�ำทีจ่ ะได้รบั
ปริมาณรังสีสงู สุดถ้าก�ำหนดปริมาณรังสีทจี่ ำ� กัดให้ได้รบั (DL) ส�ำหรับปริมาณรังสีสะสมในระหว่างที่
อยู่ในพื้นที่เปื้อนพิษรังสีแกมมาอันเกิดจากรังสีนิวตรอนเหนี่ยวน�ำ เวลาที่จะออกจากพื้นที่ (tout) จะ
หาได้ จากสมการต่อไปนี้
Tout = -1/n* n ((-n*Te)-(n*DL)/R1)
Te = เวลาเข้าพืน้ ทีภ่ ายหลังจากเวลาอ้างอิงซึง่ มีตอ่ อัตรารังสี R1 หน่วยเป็น
ชั่วโมง และมีอัตราการสลายตัวเป็น n
๑๑. รายงาน นชค.๖ นิวเคลียร์ (NBC6 NUC Report)
รายงาน นชค.๖ นิวเคลียร์ (ภาพ ช-๔๒) จะให้ข้อมูลโดยละเอียดที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง
ต่อการยุทธ์แก่ผู้บังคับหน่วยและฝ่ายอ�ำนวยการ
๑๑.๑ วัตถุประสงค์
รายงาน นชค.๖ นิวเคลียร์เป็นรายงานที่ให้ข้อมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับการโจมตี
ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ รายงานนี้จะส่งไปยังผู้บังคับบัญชาระดับสูงถัดขึ้นไป โดยเขียนในรูปแบบของ
ค�ำบรรยายอย่างละเอียดที่สุดเท่าที่จะท�ำได้
๑๑.๒ ล�ำดับความเร่งด่วนของข่าว (Message Precedence) ภายหลังส่งรายงาน
นชค.๑ นิวเคลียร์เริ่มแรกไปแล้ว ข่าวอื่น ๆ ทั้งหมดจะก�ำหนดล�ำดับความเร่งด่วนตามผลที่จะมีผล
การยุทธ์ ซึ่งตามปกติจะใช้ “ด่วน” ก็นับว่าเหมาะสมดีแล้ว
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 299

รายงาน นชค.๖ นิวเคลียร์


บรรทัด รายละเอียด ข้อก�ำหนด* ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/A234/001/N//
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการ O DELTA/201405ZSEP2005//
ระเบิดและการโจมตีสิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีและผู้ตรวจสอบ O FOXTROT/32UNB058640/EE//
QUEBEC ต�ำแหน่งและประเภทของการอ่าน O QUEBEC/32VNJ481203/GAMMA/-//
การเก็บตัวอย่าง/การตรวจสอบ
SIERRA วัน/เวลาที่อ่านค่าอัตรารังสี O SIERRA/202300ZSEP2005//
GENTEXT ค�ำบรรยาย M GENTEXT/NBCINFO/WEAPON YIELD
ESTIMATED FOR EVOLUTION
OF COLLATERAL DAMAGE
PURPOSE ONLY//
*ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (o) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)

ภาพ ช-๔๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.๖ นิวเคลียร์


ผนวก ซ
ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ROTA*

๑. กล่าวน�ำ
ยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ROTA เป็นการเตรียมสถานการณ์เฝ้า
ระวังที่มีความส�ำคัญเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เมื่อต้องเผชิญกับเหตุการณ์ ROTA ที่เกิดขึ้น
๑.๑ ทั่วไป
ผนวกนี้จะครอบคลุมวิธีการของการเตือนภัยและการรายงานการปล่อยกระจาย
ของสาร คชรน.ที่ไม่ใช่เกิดจากการโจมตีด้วยอาวุธทางทหาร การปล่อยสารเหล่านี้อาจรวมถึงสาร
คชรน.หรือการปล่อยวัตถุมพี ษิ ทางอุตสาหกรรมเนือ่ งจากเกิดความเสียหายหรือมีการท�ำลายทีเ่ ก็บ
สาร, พาหนะขนส่ง, โรงงานผลิตหรือที่เก็บรักษา, ต�ำบลส่งกระสุนและโรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ ฯลฯ
๑.๒ คุณลักษณะเฉพาะ (Characteristics)
๑.๒.๑ ประเภทของวัตถุอนั ตราย ชาติสว่ นใหญ่ในโลกจะมีการผลิตหรือเก็บรักษา
สารเคมี สารชีวะหรือสารกัมมันตรังสีบางอย่าง สารเหล่านีส้ ว่ นใหญ่ใช้ในวัตถุประสงค์ทางสันติ และ
ได้พิจารณาแบ่งได้ตามหัวข้อต่อไปนี้
 เกษตรกรรมได้แก่ ยาฆ่าแมลง, สารก�ำจัดวัชพืช, ปุ๋ยและอื่น ๆ
 อุตสาหกรรมได้แก่ สารเคมี หรือสารอื่น ๆ (ชีวะหรือรังสี) ที่ใช้ใน
กระบวนการผลิตหรือส�ำหรับท�ำความสะอาด
 การผลิตและงานวิจัยได้แก่ สาร คชรน.ที่ใช้ในงานวิจัยหรือการผลิตใน
โรงงาน
๑.๒.๒ การตรวจจับ (Detection) การตรวจจับสารหรือสารประกอบเคมีหรือสาร
ชีวะด้านพลเรือน อาจจะไม่สามารถตรวจจับได้โดยอุปกรณ์ตรวจจับเคมีชีวะมาตรฐานของหน่วย
ทางยุทธวิธี
นอกจากนัน้ ยังอาจตรวจจับด้วยประสาทสัมผัสของมนุษย์ไม่ได้ และอาจก่อให้เกิดอาการ
เจ็บป่วย โดยมีอาการแตกต่างจากอาการที่เกิดจากสาร คชรน.
๑.๒.๓ ค�ำจัดกัดความ (Definition)
 พื้นที่ปล่อยกระจายสาร (Release Area) เป็นพื้นที่ที่พยากรณ์ว่าได้รับ
ผลกระทบโดยทันทีจากการปล่อยกระจายสาร
 พื้นที่อันตราย (Hazard Area) เป็นพื้นที่พยากรณ์ที่ก�ำลังพลในพื้นที่ที่
ไม่มีการป้องกัน อาจได้รับผลกระทบจากสาร คชรน.ที่แพร่กระจายตามลมมาจากพื้นที่ปล่อยสาร
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 301

ระยะทางตามลมขึ้นกับประเภทของการปล่อยสาร อากาศและภูมิประเทศในพื้นที่ปล่อยกระจาย
สารและพื้นที่ตามลมของพื้นที่ปล่อยกระจายสาร
 พื้นที่เปื้อนพิษ (Contaminated area) เป็นพื้นที่ซึ่งหลังการปล่อยสาร
คชรน.ทีอ่ ยูใ่ นรูปของแข็งหรือของเหลวไประยะเวลาหนึง่ แล้วความเป็นพิษยังคงอยูใ่ นระดับอันตราย
ขอบเขตของพื้นที่ และระยะเวลาที่แท้จริงนั้นจะก�ำหนดได้โดยการส�ำรวจเท่านั้น
ROTA* Release-Other-Than-Attack การปล่อยกระจายของสาร คชรน.หรือวัตถุมีพิษทาง
อุตสาหกรรมที่ไม่ใช่เกิดจากการโจมตีทางทหาร
 การปล่อยสารจากระดับสูง (Elevated Release) การปล่อยสารใด ๆ
ที่อาจเกิดจากไฟไหม้, วัตถุที่ก�ำลังเคลื่อนที่หรือการระเบิด ซึ่งน�ำสารพิษไปได้สูงเหนือระดับพื้นดิน
ได้มากกว่า ๕๐ เมตร ให้พิจารณาเป็นการปล่อยสารจากระดับสูง
 วัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม (TIM) เป็นค�ำทั่วไปส�ำหรับสารพิษ (เคมี
ชีวะ) หรือสารกัมมันตรังสี ในรูปของแข็ง, ของเหลว, แอโรซอลหรือก๊าช สารเหล่านี้อาจจะน�ำมา
ใช้ (หรือเก็บไว้ส�ำหรับการใช้งาน) ส�ำหรับอุตสาหกรรม, การพาณิชย์, การแพทย์, การทหารหรือ
ใช้ในบ้านเรือน วัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรมอาจเป็นสารเคมี, สารชีวะหรือสารกัมมันตรังสี และอาจ
จ�ำแนกเป็นสารพิษเคมีทางอุตสาหกรรม (TIC), สารพิษชีวะทางอุตสาหกรรม (TIB) หรือสารพิษ
กัมมันตรังสีทางอุตสาหกรรม (TIR)
๒. วิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ROTA
วิธกี ารหลีกเลีย่ ง แบ่งการปฏิบตั อิ อกเป็น ๓ ห้วงคือ ก่อน, ระหว่างและหลังการปล่อยกระจาย
รายการที่ก�ำหนดไว้ (จะไม่ครอบคลุมทั้งหมด) อาจช่วยพัฒนา รปจ.และค�ำสั่งนโยบายของหน่วย
๒.๑ ก่อนการโจมตี (Preattack)
๒.๑.๑ แจ้งเตือนหน่วยรอง
๒.๑.๒ ประเมินความสามารถของยุทธภัณฑ์ป้องกันตาม ลภ.ในการป้องกันสาร
หรือวัตถุ ร้องขอยุทธภัณฑ์ป้องกันเพิ่มเติมตามความจ�ำเป็น
๒.๑.๓ ให้ผู้บังคับหน่วยก�ำหนดระดับ ลภ.ที่เหมาะสม; ก�ำหนดเกณฑ์การสวม
หน้ากากโดยอัตโนมัติ ให้ก�ำหนดต�ำแหน่งที่จะให้สวมเครื่องแต่งกายป้องกันเคมี โดยอาศัยปัจจัย
METT-TC
๒.๑.๔ ปฏิบัติภารกิจต่อไป และตรวจสอบการด�ำเนินการดังต่อไปนี้ว่าได้ปฏิบัติ
ให้เป็นผลส�ำเร็จเพื่อลดจ�ำนวนผู้บาดเจ็บและความเสียหาย
 ป้องกันก�ำลังพล, ยุทธภัณฑ์, อาวุธ, น�ำ้ มัน, อาหารและน�ำ้ จากการเปือ ้ นพิษ
 จั ด วางกระดาษตรวจสารไว้ ใ นต� ำ แหน่ ง ที่ ม องเห็ น ได้ ชั ด และสั ม ผั ส
สารเคมีเหลวได้มากที่สุด
302 ภาคผนวก ซ

 ด�ำเนินการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ์ การกระจายก�ำลังและ
ก�ำบัง ตลอดจนการซ่อนพรางเพื่อให้หน่วยไม่ตกเป็นเป้าหมาย
 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้มก ี ารจัดเตรียมเครือ่ งตรวจสารเคมี และสัญญาณ
เตือนภัยส�ำหรับการใช้งานไว้แล้ว
 จัดเตรียมข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDMs) ฉบับ
ปรับปรุงส�ำหรับแต่ละหน่วย
๒.๑.๕ ก�ำหนดความต้องการการท�ำลายล้างพิษ
๒.๒ ระหว่างโจมตี (During Attack)
๒.๒.๑ ก�ำลังพลทุกนายสวมหน้ากากป้องกันโดยอัตโนมัติ, ให้สัญญาณเสียงเพื่อ
เตือนภัย, ท�ำลายล้างพิษตนเอง (ตามความจ�ำเป็น), ใช้ระดับ ลภ.๔, ช่วยเหลือตนเองและดูแลเพือ่ นคูห่ ู
๒.๒.๒ กู้คืนสายการบังคับบัญชาและการสื่อสารและหน่วยยังคงภารกิจต่อไป
๒.๒.๓ เตือนภัยหน่วยข้างเคียงทันทีในเรื่องของอันตรายตามลมจากไอสารพิษ
๒.๒.๔ หน่วยพิสูจน์ทราบชนิดของสารและส่งรายงาน นชค.๑ ROTA เมื่อภารกิจ
อ�ำนวย
๒.๒.๕ ให้หน่วยด�ำเนินการดังต่อไปนี้ ส�ำหรับการปล่อยสารที่มีการเปื้อนพิษ
ของเหลวหรือของแข็งหลงเหลืออยู่บนยุทธภัณฑ์, ก�ำลังพลหรือภูมิประเทศ
 ท�ำลายล้างพิษบุคคลและยุทโธปกรณ์โดยเช็ดออกด้วยสารท�ำลาย
ล้างพิษจากบนลงล่าง
 เตือนภัยเจ้าหน้าที่แพทย์ผู้ส่งกลับผู้บาดเจ็บถึงการบาดเจ็บจากการ
เปื้อนพิษ ห่อศพและท�ำเครื่องหมายผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์นี้
 ท�ำเครื่องหมายพื้นที่เปื้อนพิษและเคลื่อนย้ายไปยังพื้นที่ที่สะอาดถ้า
ภารกิจอ�ำนวย
 ถ้าจ�ำเป็นให้ก�ำหนดสถานที่และเวลาเพื่อท�ำลายล้างพิษให้สมบูรณ์
 ประสานงานการท�ำลายล้างพิษและส่งก�ำลัง เสื้อผ้าป้องกันและสาร
ท�ำลายล้างพิษเพิ่มเติม
 ให้แน่ใจว่าเครือ ่ งแต่งกายป้องกันชัน้ นอกทีเ่ ปือ้ นพิษมีการเปลีย่ นภายใน
๒๔ ชม.หลังการเปื้อนพิษ
 เปลี่ยนวัตถุที่ใช้ในการปิดคลุมป้องกันที่เปื้อนพิษภายใน ๒๔ ชม.
 ถอดหน้ากาก, รักษาผูบ ้ าดเจ็บ, เตรียมการส่งกลับ (เมือ่ ภารกิจอ�ำนวย)
และให้แน่ใจในสถานะการท�ำงานของระบบการตรวจหาสารพิษ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 303

 รับรายงาน นชค.2 ROTA แล้วหมายจุดพื้นที่อันตราย และรายงานผู้


บังคับหน่วย
๒.๓ หลังการโจมตี (Postattack)
๒.๓.๑ หน่วยได้รับการท�ำลายล้างพิษและมีการส่งกลับผู้บาดเจ็บ
๒.๓.๒ หน่วยออกค�ำสั่งใหม่เรื่องยุทธภัณฑ์ป้องกัน คชรน. (เช่น เครื่องแต่งกาย
ป้องกันตาม ลภ., ไส้กรองอากาศ, ชุดท�ำลายล้างพิษ)
๒.๓.๓ ถ้าหน่วยยังไม่ได้พิสูจน์ทราบสารที่มีการใช้ ให้พยายามพิสูจน์ทราบสาร
และแหล่งที่เกิดการปนเปื้อนต่อไป โดยใช้ยุทโธปกรณ์ดังต่อไปนี้
 กระดาษตรวจสารเคมีแบบ M8
 ชุดตรวจสารเคมีแบบ M256A1
 ICAM หรือ Chemical-Agent Monitor
 เครื่องตรวจและเตือนภัยสารเคมีอัตโนมัติ (Automatic Chemical-
Agent Detector Alarm (ACADA)).
 ชุดเก็บตัวอย่างสารชีวะ
 ระบบพิสูจน์ทราบวัตถุอันตราย
 ประเภทวัตถุอันตราย, ระบบพิสูจน์ทราบสารเคมี
 ตัวอย่างที่ส่งตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการประจ�ำพื้นที่
๒.๓.๔ ถ้าหน่วยยังต้องปฏิบัติการต่อหรือครอบครองพื้นที่เปื้อนพิษ หน่วยควร
ปฏิบัติดังต่อไปนี้
 พยายามก�ำหนดขอบเขตของพื้นที่เปื้อนพิษโดยการเก็บตัวอย่างและ
ตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง
 ปรับระดับ ลภ.ตามความจ�ำเป็น
 ท� ำ เครื่ อ งหมายพื้ น ที่ เ ปื ้ อ นพิ ษ และหาต� ำ แหน่ ง ที่ มี ค วามเป็ น พิ ษ สู ง
(hot spot)
 ตรวจสอบให้ ทั่ ว พื้ น ที่ เ พื่ อ ตรวจวั ด การสลายตั ว ของการเปื ้ อ นพิ ษ
เนื่องจากการสลายตัวตามธรรมชาติจะท�ำให้พื้นที่กลับมาปลอดภัย
 ระวังการเปื้อนพิษชั่วคราวและการแพร่กระจายหรือการเคลื่อนย้าย
การปนเปื้อนโดยธรรมชาติ (เช่น ลม, ฝน, แม่น�้ำ) หรือโดยมนุษย์ (เช่น การใช้ยานพาหนะ)
304 ภาคผนวก ซ

๓. การจัดการข่าวสาร ROTA
การจัดการข่าวสารการปล่อยกระจายที่ไม่ใช่การโจมตี (ROTA) เป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งต่อความ
ส�ำเร็จของการบังคับบัญชา เพือ่ ให้เป็นประโยชน์จะต้องมีการรวบรวม รายงานและประเมินข่าวสาร
ROTA เมือ่ ประเมินค่าแล้วจึงน�ำมาใช้เป็นข่าวกรองสนามรบได้ ปริมาณข่าวสารทีจ่ ำ� เป็นต้องรวบรวม
และรายงานนัน้ ถ้าไม่มกี ารจัดการทีด่ แี ล้วจะขัดขวางการติดต่อสือ่ สารและการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธี
ได้ง่าย
๓.๑ การรวบรวมข่าวสาร ROTA
ขั้นแรกของการจัดการข่าวสาร ROTA ก็คือ การก�ำหนดว่าข่าวสารใดที่จะหาได้และจะให้ผู้ใดเป็นผู้
รวบรวมข่าวสารนัน้ ข้อมูลจากผูส้ งั เกตการณ์จะให้ขา่ วสารทีร่ ะบุวา่ มีการปล่อยกระจายทีไ่ ม่ใช่การ
โจมตี (โดยเจตนาหรืออุบตั เิ หตุ) เกิดขึน้ จริง ข้อมูลจากการตรวจวัด การส�ำรวจและการลาดตระเวน
จะให้ขา่ วสารว่าอันตรายอยู่ ณ ทีใ่ ด ทุกหน่วยจะต้องรับผิดชอบในการสังเกตการณ์และรายงานการ
เกิด ROTA แต่เฉพาะหน่วยที่ถูกเลือกเท่านั้นที่จะเป็นผู้ส่งรายงาน นชค.1 ROTA ไปยังส่วน คชรน.
๓.๒ การรวบรวมข้อมูล ROTA
๓.๒.๑ ส่วน คชรน.จะเป็นผู้รวบรวมข่าวสารจากรายงาน นชค.1 ROTA จาก
ผู้สังเกตการณ์ที่ได้รับการก�ำหนดไว้ ที่เห็นการปล่อยกระจายสารที่ไม่ใช่การโจมตี ต่อจากนั้นส่วน
คชรน. ก็จะประเมินข่าวสารนี้ออกมาในรูปของรายงาน นชค.2 ROTA จากรายงาน นชค.2 ROTA
จะสามารถท�ำการพยากรณ์อันตรายอย่างง่ายหรืออย่างละเอียดได้ (รายงาน นชค.3 ROTA)
การพยากรณ์นี้เป็นเพียงการประมาณพื้นที่อันตรายเท่านั้น การตัดสินว่าการเปื้อนพิษอยู่ที่ใดนั้น
จ�ำเป็นต้องให้หน่วยต่าง ๆ ส่งข้อมูลกลับมาให้ส่วน คชรน. ข้อมูลที่ส่งกลับมานี้ได้จากข้อมูลการ
ตรวจวัด การส�ำรวจและการลาดตระเวน (รายงาน นชค.4 ROTA) การปฏิบัติการตรวจวัดและ
การลาดตระเวนจะให้ข้อมูลเริ่มแรกเกี่ยวกับต�ำแหน่งของอันตรายทาง คชรน. แก่ส่วน คชรน.โดย
ทั่วไปแล้วรายงานการตรวจวัดและการลาดตระเวนจะส่งผ่านช่องทางข่าวกรองไปยังส่วน คชรน.
โดยการใช้เครื่องมือประกอบการตัดสินใจแบบต่างๆ ดังกล่าวไว้ในบทที่ ๓
๓.๒.๒ ส่วน คชรน.จะน�ำข่าวสารที่ได้รับมาหมายจุดบนแผนที่สถานการณ์ ถ้า
ต้องการข่าวสารเพิ่มเติมส่วน คชรน.จะสั่งให้หน่วย (เลือกตามต�ำแหน่งที่ตั้งและขีดความสามารถ)
รวบรวมข้อมูลที่จ�ำเป็นส่งมาให้ ข้อมูลนี้ควรมาจากรายการการตรวจสอบเพิ่มเติมหรือการส�ำรวจ
พื้นที่ที่สงสัย การรวบรวมข่าวสาร ROTA เป็นความร่วมมือของหลายหน่วยและส่วน คชรน. โดย
หน่วยจะเป็นผู้รวบรวมข่าวสารและส่วน คชรน.จะเป็นผู้วางแผนและสั่งการเกี่ยวกับการรวบรวม
ข่าวสาร รายละเอียดเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับการรวบรวมข่าวสารนี้จะระบุอยู่ในยุทธวิธี เทคนิคและวิธี
การส�ำหรับการลาดตระเวน นชค.
๓.๒.๓ การประเมินข่าวสาร ROTA หลังจากรวบรวมข่าวสาร ROTA ได้แล้วจะ
ต้องท�ำการประเมิน แล้วจึงจะน�ำมาใช้เป็นข่าวกรองสนามรบ ส่วน คชรน.จะเป็นศูนย์กลางการ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 305

ประเมินเบื้องต้นหน่วยต่าง ๆ และกองบัญชาการระดับกลางจะใช้ข้อมูลดิบนี้เพื่อพัฒนาข่าวกรอง
ROTA ส�ำหรับใช้ภายในหน่วยตนจนกว่าจะได้รับผลการประเมินอย่างละเอียดจากส่วน คชรน.
๓.๒.๔ การส่งข่าวสาร ROTA วิธีการที่ใช้ในการส่งข่าว ROTA ไปและมาจากส่วน
คชรน.เป็นส่วนส�ำคัญของการจัดการข่าวสาร วิธกี ารส่งข่าวสารจะขึน้ อยูก่ บั สถานการณ์ทางยุทธวิธี
และภารกิจของหน่วย ส�ำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมดูได้จากบทที่ ๓
๔. รายงาน นชค.1 ROTA (NBC1 ROTA Report)
รายงาน นชค.๑ ROTA เป็นรายงานทีใ่ ช้กนั อย่างแพร่หลายมากทีส่ ดุ หน่วยสังเกตการณ์จะ
ใช้รายงานนีเ้ พือ่ ให้ขอ้ มูล ROTA หน่วยทุกหน่วยต้องมีความคุน้ เคยกับรูปแบบและข่าวสารรายงาน
นชค.1 ROTA หน่วยจะต้องจัดท�ำรายงานนีอ้ ย่างรวดเร็ว ถูกต้องและส่งต่อไปยัง บก.หน่วยเหนือถัด
ไป กองพันหรือหน่วยอื่นที่มีภารกิจเทียบเท่าและหน่วยเหนือจะตัดสินใจว่าจะส่งรายงาน นชค.1
ROTA ฉบับใดต่อไปยัง บก.หน่วยเหนือ ถ้าได้รบั รายงานในเหตุการณ์เดียวกันหลายฉบับจะรวบรวม
รายงาน นชค.1 ROTA ให้เป็นรายงานฉบับเดียวกันแล้วส่งต่อไป เพื่อลดจ�ำนวนรายงานลงให้อยู่ใน
ระดับที่ไม่ล้นมือ
๔.๑ วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของรายงาน นชค.1 ROTA เพื่อจัดเตรียมข้อมูล ROTA
๔.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน
เมือ่ มีเหตุการณ์ ROTA เกิดขึน้ เป็นครัง้ แรก หน่วยทีไ่ ด้รบั การก�ำหนดจะส่งรายงาน
นชค.1 ROTA ด้วยล�ำดับความเร่งด่วน “ด่วนที่สุด” (FLASH) ถ้ามีการส่งต่อรายงาน นชค.1 ROTA
ก่อนหน้าแล้ว รายงานฉบับต่อมาให้ใช้ล�ำดับความเร่งด่วน “ด่วน” (IMMEDIATE)
๔.๓ ข่าวสารในรายงาน
รายงานจะประกอบด้วยบรรทัด BRAVO, CHARLIE, GOLF, INDIA, TANGO และ
อาจรวมบรรทัด ALFA, FOXTROT, MIKER, YANKEE, ZULU, GENTEXT โดยมีข่าวสารตามที่ได้
อธิบายไว้ในรายงาน คชรน. บรรทัด CHARLIE จะให้ขอ้ มูลเหมือนกับบรรทัด DELTA เว้นแต่จะระบุ
ว่าเป็นการสังเกตการณ์เหตุการณ์ ROTA มากกว่าเป็นการสังเกตการณ์การโจมตี บรรทัด GOLF
จะรวมประเภทของเครื่องส่งถ้าบอกได้, ประเภทของภาชนะบรรจุของ ROTA (เช่น ที่บรรจุ, คลัง
สรรพาวุธ, เตาปฏิกรณ์ปรมาณู, การขนส่งและทีเ่ ก็บ) และขนาดของการปล่อยกระจาย (เล็ก, ใหญ่,
ใหญ่พิเศษ) บรรทัด INDIA จะระบุความสูงของการปล่อยกระจาย และระบุประเภทของการปล่อย
กระจายว่าเป็นการปล่อยออกมาจากโรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์หรือวัตถุมพี ษิ ทางอุตสาหกรรม หรือชือ่
สารพิษหรือหมายเลขระบุชนิดของสาร รวมถึงระบุความคงทนของสาร, ค�ำอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับ
เหตุการณ์ให้เติมลงในบรรทัด MIKER ส่วนบรรทัด TANGO จะระบุถงึ รายละเอียดของภูมปิ ระเทศ/
พืชพันธุ์, บรรทัด YANKEE และ ZULU จะบอกถึงสภาพอากาศเฉพาะที่ และบรรทัด GENTEXT
306 ภาคผนวก ซ

จะให้ข้อมูลสารประกอบเคมีโดยเฉพาะเจาะจงหรือประเภทของสารชีวะถ้าหาข่าวสารได้
๔.๔ การจัดท�ำรายงาน
ก�ำหนดรายการบรรทัดส�ำหรับรายงาน โดยการใช้วิธีการเดียวกับผนวกการ
หลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษก่อนหน้านี้ต่อรูปแบบของการโจมตีหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

รายงาน นชค.1 ROTA


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
BRAVO ต�ำบลที่อยู่ของผู้สังเกตการณ์และ M BRAVO/32UNB062634/2500
ทิศทางการโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ MLG//
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/การสังเกต M CHARLIE/281530ZSEP2005//
การณ์และเหตุการณ์สิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ O FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF วิธีการปล่อยและปริมาณสาร M GOLF/SUS/TPT/1/TNK/SML//
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะจาก M INDIA/SURF/2978/-/ARD//
การโจมตีหรือเหตุการณ์ ROTA
MIKER ค�ำบรรยายและสภาพการณ์ O MIKER/LEAK/CONT//
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและ M TANGO/URBAN/URBAN//
พืชพันธุ์
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้น ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
ภาพ ซ-๑ ตัวอย่างรายงาน นชค.1 ROTA
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 307

๕. รายงาน นชค.2 ROTA (NBC2 ROTA Report)


รายงาน นชค.2 ROTA จะสะท้อนให้เห็นถึงข้อมูล ROTA ที่ได้รับการประเมิน โดยขึ้นอยู่
กับรายงาน นชค.1 ROTA อย่างน้อย ๑ ฉบับ บรรทัดอื่น ๆ อาจเพิ่มได้ตามความเหมาะสม
๕.๑ วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของรายงาน นชค.2 ROTA เพื่อส่งผ่านข้อมูลที่ได้รับการประเมินไป
ยังหน่วยเหนือ, หน่วยรองและหน่วยข้างเคียง
๕.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน
ตามปกติล�ำดับความเร่งด่วนของข่าวอื่น ๆ ทั้งหมดหลังจากส่งรายงาน นชค.1
ROTA เริ่มแรกไปแล้วจะใช้ล�ำดับความเร่งด่วนเป็น “ด่วน”
๕.๓ การจัดท�ำรายงาน
ส่วน คชรน.กองพล (หรือกองบัญชาการหน่วยเหนือที่ได้รับการก�ำหนด) เป็นผู้จัด
เตรียมรายงาน นชค.2 ROTA ก�ำหนดหมายเลขล�ำดับการโจมตี และแจกจ่ายรายงานไปยังหน่วยที่
เหมาะสม
๕.๔ ข้อมูลที่ตามมา
ข้อมูลทีต่ ามมาอาจจะได้รบั หลังจากส่งรายงาน นชค.2 ROTA ไปแล้ว ให้ใช้หมายเลข
ล�ำดับการโจมตีและวันเวลาของการโจมตีหรือการเกิดเหตุการณ์ ก�ำหนดรายการบรรทัดส�ำหรับ
รายงานนี้ โดยใช้วธิ กี ารเดียวกับ ผนวกว่าด้วยวิธกี ารการหลีกเลีย่ งการเปือ้ นพิษต่อประเภทของการ
โจมตีหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่กล่าวมาแล้ว
308 ภาคผนวก ซ

รายงาน นชค.2 ROTA


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M ALFA/US/WEP/001/RN//
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/การสังเกต M CHARLIE/281530ZSEP2005/
การณ์และเหตุการณ์สิ้นสุดลง 281545ZSEP1997//
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ M FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF วิธีการปล่อยและปริมาณสาร M GOLF/SUS/TPT/1/TNK/1//
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะจาก M INDIA/SURF/2978/-/ARD//
การโจมตีหรือเหตุการณ์ ROTA
MIKER ค�ำบรรยายและสภาพการณ์ M MIKER/LEAK/CONT//
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและ M TANGO/URBAN/URBAN//
พืชพันธุ์
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้น ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
ภาพ ซ-๒ ตัวอย่างรายงาน นชค.2 ROTA

๖. รายงาน นชค.3 ROTA (NBC3 ROTA Report)


รายงาน นชค.3 ROTA จะสะท้อนภาพให้เห็นพื้นที่พยากรณ์การเปื้อนพิษ โดยขึ้นอยู่กับ
รายงาน นชค.2 ROTA และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ณ ปัจจุบัน บรรทัดอื่น ๆ อาจเพิ่มเติมได้ตามความ
เหมาะสม
๖.๑ วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของรายงาน นชค.3 ROTA เพื่อรายงานการเตือนภัยทันทีของพื้นที่
พยากรณ์การเปื้อนพิษ และพื้นที่อันตรายไปยังหน่วยเหนือ, หน่วยรองและหน่วยข้างเคียง
๖.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน
ตามปกติล�ำดับความเร่งด่วนของข่าวอื่น ๆ ทั้งหมดหลังจากส่งรายงาน นชค.1
ROTA เริ่มแรกไปแล้วจะใช้ล�ำดับความเร่งด่วนเป็น “ด่วน”
๖.๓ การจัดท�ำรายงาน
รายงานจะใช้ข่าวสารตามที่อธิบายไว้ในคู่มือฉบับนี้ได้แก่ บรรทัด ALFA, CHAR-
LIE, FOXTROT, GOLF, INDIA, PAPAA, PAPAX, YANKEE, ZULU และ GENTEXT ต�ำแหน่งของ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 309

พืน้ ทีอ่ นั ตรายได้อธิบายไว้ในบรรทัด PAPAX, ส่วนรัศมีของพืน้ ทีท่ มี่ สี ารปล่อยออกมาและระยะทาง


ที่ท�ำการป้องกันจะสรุปไว้ในบรรทัด PAPAA บรรทัด XRAYA อาจใช้ในการรายงานขอบเขตของ
พื้นที่ที่ตรวจพบการเปื้อนพิษในอากาศ ก�ำหนดรายการบรรทัดส�ำหรับรายงานนี้โดยการใช้วิธีการ
เดียวกับ ผนวกว่าด้วยวิธีการการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษต่อประเภทของการโจมตีหรือเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นที่กล่าวมาแล้ว
รายงาน นชค.3 ROTA
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M ALFA/US/WEP/001/RN//
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/การสังเกต M CHARLIE/281530ZSEP2005/
การณ์และเหตุการณ์สิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ M FOXTROT/32UNB058640/EE//
GOLF วิธีการปล่อยและปริมาณสาร O GOLF/SUS/TPT/1/TNK/1//
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะจาก M INDIA/SURF/2978/-/ARD//
การโจมตีหรือเหตุการณ์ ROTA
PAPAA พื้นที่พยากรณ์โจมตี/การปล่อยสาร M PAPAA/1000M*/-/5KM/-//
และพื้นที่พยากรณ์อันตราย
PAPAX** พื้นที่อันตรายที่สอดคล้องกับ M PAPAX/081200ZSEP1997/
ห้วงเวลาตามสภาพอากาศ 32VNJ456280/32VNJ456119/
32VNJ576200/32VNJ566217/
32VNJ456280//
XRAYB*** ข้อมูลเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ไว้ C
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้น ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
** รหัสอักษรบันทึกซ�้ำได้ถึง ๓ ครั้งเพื่ออธิบายถึงพื้นที่อันตรายที่เป็นไปได้ ๓ พื้นที่ที่สอดคล้องกับห้วงเวลา
จากข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM) พื้นที่อันตรายส�ำหรับห้วงเวลาที่ตามมาจะรวมถึง
พื้นที่อันตรายก่อนหน้าเสมอ
*** รหัสอักษรสามารถบันทึกซ�้ำได้ถึง ๕๐ ครั้งเพื่อแสดงขอบเขตที่พยากรณ์ไว้หลายเส้น
ภาพ ซ-๓ ตัวอย่างรายงาน นชค.3 ROTA
310 ภาคผนวก ซ

๖.๔ ประเภทของการปล่อยสาร (Types of Releases)


อาจเป็นสารเคมี, สารชีวะและ/หรือสารกัมมันตรังสีปรากฏอยูใ่ นพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารใด ๆ
ซึง่ จะเป็นอันตรายต่อบุคคลถ้ามีการรัว่ ไหลไปในบรรยากาศ การปล่อยสารอาจเกิดโดยอุบตั เิ หตุหรือ
เจตนา สารที่ถูกปล่อยออกมาอาจมีปริมาณน้อยหรือมีปริมาณมากก็ได้ ดังนั้นเหตุการณ์ ROTA จึง
แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทขึ้นอยู่กับแหล่งก�ำเนิด
๖.๔.๑ ประเภท N, การปล่อยกระจายวัสดุนิวเคลียร์ (ROTA Nuclear)
วัสดุนิวเคลียร์สามารถรั่วไหลเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ จากการที่แกนเครื่อง
ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ได้รับความเสียหายหรือไม่สามารถควบคุมได้ เหตุการณ์คล้ายกันอาจเกิดขึ้น
ในโรงงานแปรสภาพเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้วหรือโรงงานผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ การปล่อยวัสดุ
นิวเคลียร์ดังกล่าวสามารถส่งผลให้มีรังสีระดับสูงมากปกคลุมระยะทางหลายร้อยกิโลเมตร
๖.๔.๒ ประเภท T, วัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม (TIM)
ประเภท T มีการปล่อยกระจายสารได้ ๕ กรณี รวมถึงการใช้หรือเก็บไว้
ใช้ทางอุตสาหกรรม, พาณิชย์, การแพทย์, ทางทหารหรือตามบ้านเรือน วัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม
อาจจะเป็นสารพิษทางเคมี, ชีวะหรือรังสี
ก. กรณีที่ ๑ กากนิวเคลียร์หรือที่เก็บวัสดุกัมมันตรังสี (Nuclear-Waste
or Radiological-Material Storage) เมือ่ มีความเสียหายเกิดขึน้ ต่อกากนิวเคลียร์ หรือสถานทีเ่ ก็บ
รักษาวัสดุกมั มันตรังสี อาจจะเป็นผลให้มกี ารรัว่ ไหลของวัสดุกมั มันตรังสีเข้าสูบ่ รรยากาศ เป็นผลให้
มีรังสีระดับต�่ำ (LLR) ปกคลุมระยะทางค่อนข้างใกล้ ซึ่งจะเป็นอันตรายส�ำหรับผู้ที่จ�ำเป็นต้องอยู่ใน
พื้นที่อันตรายนั้นต่อไป
ข. กรณีที่ ๒ เครื่องปล่อยกระจายสารกัมมันตรังสี (RDD) เป็นการปล่อย
วัสดุกัมมันตรังสีปริมาณมากอย่างตั้งใจ เป็นผลให้เกิดพื้นที่อันตรายใต้ลมเป็นระยะทางไกล
ค. กรณีที่ ๓ ทีเ่ ก็บสารชีวะหรือสถานทีผ่ ลิตสารชีวะ (Biological Bunker
or Production Facility) เมื่อเกิดความเสียหายต่อที่เก็บสารชีวะส�ำหรับใช้ในสงครามชีวะ หรือ
ระบบการผลิต จะมีผลให้มกี ารรัว่ ไหลของสารชีวะออกมาสูพ่ นื้ ทีข่ นาดเล็กกว่าและปริมาณน้อยกว่า
การปล่อยกระจายสารชีวะจากอาวุธ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากความเป็นพิษของสารดังกล่าว และ
ความเป็นไปได้ที่กลุ่มสารชีวะจะลอยสูงขึ้น และกระจายล่องลอยไปตามลม ด้วยความเข้มข้นใน
ระดับที่เป็นอันตรายเป็นเวลาหลายชั่วโมง
ง. กรณีที่ ๔ คลังเก็บอาวุธเคมีหรือการขนส่ง/การเก็บรักษาวัตถุมพี ษิ ทาง
อุตสาหกรรม (Chemical Stockpile or TIM Transport/Storage) เมื่อเกิดความเสียหายต่อคลัง
อาวุธทีบ่ รรจุสารเคมี จะส่งผลให้มสี ารเคมีปล่อยออกมาในปริมาณน้อยกว่าการจงใจใช้อาวุธ ดังนัน้
พืน้ ทีอ่ นั ตรายตามลมจึงมักจะมีขนาดเล็กกว่าการโจมตีดว้ ยอาวุธเคมี ความเสียหายต่อภาชนะบรรจุ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 311

ของสารพิษเคมีทางอุตสาหกรรมที่ขนส่งทางรถยนต์, รถไฟหรือเรือสามารถท�ำให้สารเคมีปริมาณ
มากถูกปล่อยเข้าสู่บรรยากาศ อย่างไรก็ตามความเป็นพิษและความคงทนของสารเหล่านี้จะ
น้อยกว่าสารพิษเคมีและพื้นที่อันตรายจะมีขนาดเล็กกว่าการโจมตีด้วยอาวุธเคมี กรณีนี้ยังรวมถึง
คลังเก็บสารเคมีปริมาณน้อยและอาวุธแบบเดียวที่พบว่ามีสารเคมีรั่วไหลออกมาในสนามรบ
จ. กรณีที่ ๕ คลังเก็บสารเคมีขนาดใหญ่ (Bulk Chemical Storage) การ
เก็บรักษาสารเคมีพษิ ทางอุตสาหกรรมทีม่ ปี ริมาณมาก (มากกว่า ๑,๕๐๐ กิโลกรัม) ในถังขนาดใหญ่
มักอยู่ภายใต้ความดันสูงและที่อุณหภูมิต�่ำ ถ้าถังบรรจุเกิดการเสียหายอย่างรุนแรงจะท�ำให้เกิด
กลุ่มควันที่มีความเป็นพิษสูง ซึ่งปกติจะเป็นกลุ่มก๊าซที่หนาแน่น การปล่อยกระจายสารกรณีนี้อาจ
เกิดขึน้ อย่างจงใจจากผูก้ อ่ การร้ายหรือการกระท�ำโดยเจตนาอืน่ ๆ กลุม่ สารเคมีดงั กล่าวจะไม่เคลือ่ น
ไปตามลมจนกว่าความเข้มข้นของกลุ่มสารจะลดลงอย่างมาก บ่อยครั้งที่ความเข้มข้นจะลดลงจน
ต�่ำกว่าระดับที่เป็นพิษ นอกจากความเป็นพิษแล้วสารเคมีพิษทางอุตสาหกรรมยังมีคุณสมบัติ
กัดกร่อน, ติดไฟได้ง่าย, ระเบิดได้หรือสามารถท�ำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับอากาศหรือน�้ำ อันตราย
เหล่านี้อาจจะมากกว่าผลจากความเป็นพิษที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน
๖.๕ วิธีการและข้อจ�ำกัด
๖.๕.๑ วิธีการ
ก. บันทึกและปรับปรุงข่าวสารต่อไปนี้ให้ทันสมัย
 ข่าวสารสภาพอากาศจากผู้บังคับหน่วย คชรน.ที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่ง
อาจมีข้อมูลการพยากรณ์และข้อมูลจากการวัดค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับอากาศ
 ข่าวสารสภาพอากาศจากการวัดค่าและการสังเกตการณ์ในพื้นที่
ซึ่งอาจจะประกอบด้วยข้อมูลก่อนและระหว่างช่วงเวลาที่กลุ่มสารพิษจะผ่านไป
 ฐานข้อมูลของการวัดค่าทางอุตุนิยมวิทยาในพื้นที่ ระหว่างช่วง
เวลาที่กลุ่มสารพิษผ่านไป
ข. บันทึกลักษณะภูมิประเทศ (พื้นที่ป่าไม้, ภูเขา, ที่ราบและอื่น ๆ) ซึ่ง
อาจมีอิทธิพลต่อทิศทางและความเร็วของกลุ่มสาร ROTA
ค. จัดท�ำรายงาน นชค.3 ROTA และพิจารณาแจกจ่ายเมื่อภัยคุกคาม
จากเหตุการณ์ ROTA มีความรุนแรงขึ้น
ง. ประเมินปัจจัยอุตุนิยมวิทยาส�ำหรับพื้นที่ที่มีการปล่อยกระจายสาร
และพื้นที่ทิศตามลมเมื่อได้รับรายงาน นชค.๑ หรือ นชค.2 ROTA
จ. เลือกข่าวสารสภาพอากาศทีต่ อ้ งใช้และค�ำนวณพืน้ ทีพ่ ยากรณ์อนั ตราย
ตามลม
312 ภาคผนวก ซ

๖.๕.๒ ข้อจ�ำกัด
ก. เมือ่ ท�ำการค�ำนวณพืน้ ทีพ่ ยากรณ์อนั ตรายตามลมจากเหตุการณ์ ROTA
จะมีปัจจัยหลายประการที่จะส่งผลกระทบต่อความแม่นย�ำของการพยากรณ์ ปัจจัยบางประการ
ได้แก่
 ชนิดและปริมาณของสารหรือวัสดุ คชรน.
 ชนิดและปริมาณของระบบการปล่อยกระจายหรือระบบการเก็บ
รักษา
 ชนิดและปริมาณของภาชนะบรรจุสาร
 องค์ประกอบภูมิประเทศ
 สภาพอากาศ
 ความคงตัวของอากาศ
 ประเภทของผิวพื้น
 พืชพันธุ์
 อุณหภูมิอากาศผิวพื้น
 ความชื้นสัมพัทธ์
ข. เมื่อใช้วิธีการในผนวกนี้หรือค�ำอธิบายเพิ่มเติมที่อ้างอิงถึงผนวกก่อน
หน้าในการพยากรณ์พื้นที่อันตราย บางส่วนของปัจจัยที่กล่าวข้างต้นจะไม่ถูกพิจารณา จนกว่าจะ
ได้รับการประเมินและประมาณการจากการปฏิบัติงานจริงจากผู้ใช้
ค. วิธกี ารทีแ่ สดงในผนวกนี้ หรือค�ำอธิบายเพิม่ เติมทีอ่ า้ งอิงถึงผนวกก่อน
หน้าส�ำหรับวิธีการพยากรณ์พื้นที่อันตรายที่เหมาะสม จะขึ้นกับความจ�ำกัดของปริมาณข่าวที่มีอยู่
ณ เวลาที่เกิดเหตุการณ์ ROTA
ง. เพื่อจัดท�ำการพยากรณ์ให้มีความแม่นย�ำมากขึ้น จะต้องหาข่าวสาร
เกี่ยวกับปัจจัยที่ระบุไว้ข้างต้นให้มากขึ้น และใช้วิธีการที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในการพยากรณ์
๖.๖ ประเภทและกรณีของ ROTA (ROTA Types and Cases)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 313

ประเภทของ
การปล่อยกระจาย/ ประเภท แบบ กรณี ข้อปฏิบัติ
ชนิดของวัสดุ
เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู N - อ้างอิงผนวก ฉ*

วัตถุมีพิษ กากนิวเคลียร์ T ๑ รัศมี ๑ กม.


ทางอุตสาหกรรม
เครื่องปล่อยกระจายสารกัมมันตรังสี ๒ อ้างอิงผนวก ฉ*
ที่เก็บสารชีวะ ๓ อ้างอิงผนวก ฉ
คลังอาวุธเคมี ๔ อ้างอิงผนวก จ
หรือการขนส่งวัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม และ ERG*
คลังเก็บสารเคมีขนาดใหญ่ ๕ ๒ กม. เวลากลางวัน
๖ กม. เวลากลางคืน*
* ยังหมายถึงการพยากรณ์พื้นที่อันตรายส�ำหรับการปล่อยกระจายสารที่ระดับสูงกว่าพื้นดิน
ตาราง ซ-๑ ประเภทและกรณีของ ROTA

๖.๗ วิธีพยากรณ์พื้นที่อันตราย (Hazard Prediction Methods)


๖.๗.๑ ประเภท N การปล่อยกระจายเชื้อเพลิงนิวเคลียร์จากเครื่องปฏิกรณ์
นิวเคลียร์ วัสดุทปี่ ล่อยกระจายออกมาจากเครือ่ งปฏิกรณ์นวิ เคลียร์สว่ นใหญ่หรือทัง้ หมด เป็นอนุภาค
ของเชือ้ เพลิงนิวเคลียร์ เนือ่ งจากการสลายตัวของอนุภาคทีเ่ กิดจากอุบตั เิ หตุทเี่ กิดกับเครือ่ งปฏิกรณ์
นิวเคลียร์ แตกต่างจากฝุน่ กัมมันตรังสีจากอาวุธนิวเคลียร์ ดังนัน้ จึงไม่สามารถน�ำวิธกี ารทีใ่ ช้สำ� หรับ
พยากรณ์พื้นที่อันตรายหลังจากการระเบิดนิวเคลียร์มาใช้ได้
ก. การปล่อยกระจายอาจรุนแรงเพียงพอทีจ่ ะส่งอนุภาคเชือ้ เพลิงนิวเคลียร์
เข้าสู่บรรยากาศชั้นบน จึงควรใช้วิธีการพยากรณ์พื้นที่อันตรายที่อธิบายไว้ในผนวก ฉ ซึ่งสมมุติว่า
เป็นการโจมตี ประเภท P ถ้าการปล่อยกระจายสารเกิดขึ้นนานกว่า ๕ นาที อาจจ�ำเป็นต้องปรับ
เวลาที่สารมาถึงที่ช้าที่สุด
ข. พื้นที่อันตรายส�ำหรับการปล่อยกระจายสารเป็นเวลานานนั้น ควร
ท�ำการค�ำนวณใหม่โดยก�ำหนดการโจมตีเป็นประเภท R จุดปลายของแนวคือ ต�ำแหน่งที่ปล่อย
สารออกมาและต�ำแหน่งปัจจุบันของขอบเมฆด้านหน้า ให้ใช้ ๑.๕ เท่าค่าเฉลี่ยความเร็วลม ส�ำหรับ
ความเร็วลม ๑๐ กม./ชม.หรือน้อยกว่าจะต้องใช้การโจมตีประเภท P
314 ภาคผนวก ซ

ค. ถ้ามีรายงานการปล่อยกระจายสารอย่างต่อเนื่องและระยะเวลาการ
รายงานมากกว่า ๒ ชม. หรือไม่มีการรายงาน ควรปฏิบัติตามวิธีการของประเภท S
ง. ถ้าสารปริมาณมากปล่อยกระจายจากระดับสูง ให้ใช้ความเร็วลมและ
ทิศทางลมทีค่ วามสูงนัน้ จากข่าวสารลมพืน้ ฐาน คชรน. (CBRN BWM) หรือข้อมูลอุตนุ ยิ มวิทยาอืน่ ๆ
ถ้าการปล่อยกระจายสารขยายออกไปอย่างต่อเนื่องจากใกล้พื้นดินไปที่ระดับความสูงมาก (สูงกว่า
๕๐ เมตร) ควรใช้วิธีการส�ำหรับการปล่อยกระจายสารจากที่สูง
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 315

หมายพิกัดต�ำบล (FOXTROT)
ระบบการปล่อยกระจก/ภาชนะบรรจุ (Glof)
ประเภท N

ประเภท N, การปล่อยกระจายเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ ความเร็วลม ความเร็วลม


ประเภท T, กรณี ๓, ทีเ่ ก็บสารชีวะหรือสถานทีผ่ ลิตสารชีวะ ≤ ๑๐ กม./ชม. > ๑๐ กม./ชม.
ปล่อยสารเป็นเวลา ≤ ๕ นาที ประเภท P ประเภท P
OBS ปล่อยสารเป็นเวลา > ๕ นาที ประเภท R* ประเภท P
ปล่อยสารเป็นเวลา > ๒ ชม. ประเภท S ประเภท S
SUS ไม่ทราบ ประเภท S
ค�ำแนะน�ำของ Type R* ; จุด ๑ คือ ต�ำบล (FOXTROT), จุด ๒ คือ ๑.๕ × ความเร็วลม; ทิศทางตามลม

ประเภท T
ประเภท T กรณี ๑
กรณี ๑ กากนิวเคลียร์
PAPAA : /-/-/01 กม.//
หรือที่เก็บวัสดุกัมมันตรังสี ๑ กม.

กรณี ๒ เครื่องปล่อย
กระจายสารกัมมันตรังสี SUS อาวุธชีวะประเภท S
สังเกตการณ์ อาวุธชีวะประเภท P หรือ R
กรณี ๓ ที่เก็บสารชีวะ
หรือสถานที่ผลิต

กรณี ๔ คลังอาวุธเคมีหรือการขนส่ง/ PAPAA: พื้นที่ปล่อยกระจายสาร/-/ระยะทางท�ำการป้องกัน/-//


เก็บรักษาวัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม ระยะทางท�ำการป้องกัน*
รัศมีพื้นที่
ภาชนะบรรจุ ข่าวสารที่
ทราบ สารรั่วไหล ขนาดเล็ก (≤๑,๕๐๐ กก.) ขนาดเล็ก (>๑,๕๐๐ กก.)
คลังอาวุธเคมี ≤ ๒๐๐ ลิตร ไม่รู้ ๙๑๕ ม. ๑๑ กม. ๒๒ กม.
UN/NA ๙๑๕ ม. UN/NA, เมตร UN/NA, เมตร × ๒
UN/NA ใช้หมายเลขของ UN/NA เพือ่ หาต�ำแหน่งระยะทางทีร่ ะบุในหน้าสีเขียวของ
และ ERG แนวทางการตอบสนองเหตุฉุกเฉิน (ERG) ถ้าไม่พบให้ศึกษาจากหน้าสีส้ม
คลังอาวุธเคมี > ๒๐๐ ลิตร ใช้วิธีค�ำนวณจากอาวุธเคมีเพื่อก�ำหนดระยะทาง (ผนวก จ)
ถ้าความเร็วลม ≤ ๑๐ กม./ชม. วาดวงกลมซึ่งมีรัศมีเท่ากับระยะทาง ท�ำการป้องกัน

กรณี ๕ คลังเก็บสารเคมี กลางวั


น : ๒ กม. กลางวัน : PAPAA/-/-/01 กม.//
ขนาดใหญ่ กลางคืน : ๖ กม. กลางคืน : PAPAA/-/-/01 กม.//

ในเหตุการณ์ของประเภท N หรือ T, กรณีที่ ๒, ๓ หรือ ๔, การปล่อยกระจายสารที่ระดับสูง ให้ดูหน้า ๒๗๖

ภาพ ซ-๔ ตัวอย่างแผนผังการตัดสินใจส�ำหรับการปล่อยกระจายสารที่มิใช่เกิดจากการโจมตี


316 ภาคผนวก ซ

๖.๗.๒ ประเภท T การปล่อยกระจายวัตถุมพี ษิ ทางอุตสาหกรรม เนือ่ งจากมีความ


แตกต่างในวัสดุและประเภทของการปล่อยกระจาย วิธีพยากรณ์จึงแบ่งออกเป็น ๕ กรณีดังนี้
ก. กรณีที่ ๑ การปล่อยกระจายสารจากกากนิวเคลียร์หรือคลังเก็บรักษา
วัสดุกัมมันตรังสี ตามปกติกากนิวเคลียร์และวัสดุกัมมันตรังสีจะเก็บไว้ในสถานที่ที่ต�่ำกว่าระดับ
พื้นดิน โดยบรรจุในถังตะกั่วแบบพิเศษ ซึ่งเก็บไว้ในที่ก�ำบังคอนกรีต เมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นต่อ
คลังอาจท�ำให้ถังบางลูกช�ำรุดเสียหายและท�ำให้วัสดุกัมมันตรังสีรั่วไหลเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ
 พื้นที่ที่มีสารปล่อยกระจายออกมาจะอยู่ในบริเวณที่จ�ำกัด และ
พื้นที่อันตรายจะมีขนาดไม่ใหญ่มาก อย่างไรก็ตามกลุ่มสารอาจเป็นพิษที่ระดับต�่ำอยู่เป็นเวลานาน
 ควรก�ำหนดเขตห้ามเข้า รัศมี ๑ กม.รอบจุดสงสัยว่ามีอันตราย
จากกัมมันตรังสี
ข. กรณีที่ ๒ การใช้เครื่องปล่อยกระจายสารกัมมันตรังสี ถ้ามีการตรวจ
พบกัมมันตภาพรังสี ในระดับสูงขณะที่กลุ่มสารก�ำลังพัดผ่าน การปล่อยกระจายน่าจะกระท�ำอย่าง
ตัง้ ใจและใช้วสั ดุกมั มันตรังสีปริมาณมากซึง่ อาจยังคงอยูใ่ นระดับทีเ่ ป็นพิษในพืน้ ทีต่ ามลมเป็นระยะ
ทางไกล
 กลุม ่ ของอนุภาคกัมมันตรังสีจะเคลือ่ นทีเ่ หมือนกับกลุม่ สารชีวะ
ดังนั้นควรใช้วิธีการของสารชีวะจากผนวก ฉ รูปแบบการโจมตีประเภท S มาใช้ในการพยากรณ์
อันตราย
 ถ้ามีการสังเกตพบการปล่อยกระจายวัสดุกม ั มันตรังสี ควรใช้การ
โจมตีทางชีวะประเภท P หรือ R
ค. กรณีที่ ๓ การปล่อยกระจายจากที่เก็บสารชีวะหรือสถานที่ผลิตสาร
ชีวะ การเก็บรักษาสารชีวะตามปกติประกอบด้วยที่ก�ำบังซึ่งเป็นคอนกรีตใต้พื้นดิน ที่ก�ำบังเหล่านี้
จะอยู่ใกล้กับผิวดิน เมื่อเกิดความเสียหายขึ้นต่อสถานที่เก็บอาจจะท�ำให้สารชีวะบางส่วนรั่วไหล
ออกจากที่เก็บเข้าสู่บรรยากาศในลักษณะของควัน, ฝุ่นและดินที่มีสารชีวะปนอยู่ พื้นที่สารรั่วไหล
จะอยู่ในบริเวณที่จ�ำกัด และปริมาณของสารชีวะที่ยังคงมีชีวิตอยู่ซึ่งถูกปล่อยออกไปจะมีปริมาณ
น้อยกว่าสารที่ปล่อยกระจายออกจากอาวุธชีวะที่มีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามสารชีวะส่วนใหญ่
ต้องการเพียงแค่สูดหายใจเอาจุลินทรีย์จ�ำนวนเล็กน้อยเข้าสู่ร่างกายก็สามารถก่อให้เกิดอันตราย
ต่อบุคคล ดังนั้นระยะตามลมของพื้นที่อันตรายจึงยังคงต้องพิจารณาอยู่
 วิธีการพยากรณ์พื้นที่อันตรายจากสารชีวะในผนวก ฉ ควรใช้
การโจมตีประเภท P ถ้าการปล่อยกระจายเกิดขึ้นนานกว่า ๕ นาที เวลาที่สารมาถึงช้าสุดอาจต้อง
มีการปรับใหม่ ส�ำหรับความเร็วลม ≤๑๐ กม./ชม.ให้ใช้การโจมตีประเภท P
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 317

 ถ้าระยะเวลาการปล่อยสารทีน่ านขึน้ ควรค�ำนวณพืน้ ทีอ่ นั ตราย


ใหม่ โดยคิดเป็นการโจมตีประเภท R ซึง่ จุดปลายของเส้นคือ ต�ำแหน่งทีม่ กี ารปล่อยสารและต�ำแหน่ง
ปัจจุบันของขอบเมฆด้านหน้าและใช้ ๑.๕ เท่าความเร็วลมเฉลี่ย
 ถ้ามีการรายงานการปล่อยกระจายสารอย่างต่อเนือ ่ ง และระยะ
เวลาการรายงานนานกว่า ๒ ชม. หรือไม่มีการรายงาน ให้ปฏิบัติตามวิธีการส�ำหรับประเภท S
 ถ้าสารปริมาณมากมีการปล่อยกระจายจากระดับสูง (มากกว่า
๕๐ เมตร) ควรใช้ความเร็วลมและทิศทางลมที่ความสูงนั้นจากข่าวสารลมพื้นฐาน คชรน. (CBRN
BWM) หรือข้อมูลอุตุนิยมวิทยาอื่น ๆ ถ้าวัตถุรั่วไหลขยายออกไปอย่างต่อเนื่องจากใกล้พื้นดินไปที่
ระดับความสูงมาก ให้ใช้วิธีการส�ำหรับการปล่อยกระจายสารที่ระดับความสูงเหนือพื้นดิน
ง. กรณีที่ ๔ การปล่อยกระจายจากคลังอาวุธเคมีหรือการขนส่ง/การเก็บ
รักษาวัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม กรณีการปล่อยกระจายสารเคมีจากคลังอาวุธเคมีหรือคลังเก็บ
สารเคมีขนาดใหญ่นนั้ มักจะเกีย่ วข้องกับอาวุธเคมีจำ� นวนน้อยเท่านัน้ ในกรณีเช่นนีอ้ นั ตรายตามลม
จะน้อยกว่าจากการพยากรณ์ซึ่งใช้วิธีการในผนวก จ เป็นอย่างมาก ในกรณีที่มีการปล่อยกระจาย
สารเคมีออกจากอาวุธเป็นจ�ำนวนมากหรือคลังเก็บสารเคมีขนาดใหญ่ ปริมาณสารจะอยู่ในระดับ
ที่ ต ้ อ งใช้ วิ ธี พ ยากรณ์ตามผนวก จ เนื่องจากวั ต ถุ มี พิ ษ ทางอุ ต สาหกรรมมี ค วามเป็ นพิ ษ และ
ความคงทนน้อยกว่าสารเคมีทางทหาร ดังนั้นจึงคาดว่าการรั่วไหลของสารพิษอุตสาหกรรม
จากพาหนะขนส่ง จะมีผลกระทบต่อพืน้ ทีพ่ ยากรณ์ขนาดเล็กกว่าการพยากรณ์โดยใช้วธิ กี ารพยากรณ์
สารเคมีทางทหาร วิธีการที่ใช้มีดังนี้
 ถ้ า คลั ง สารเคมี ห รื อ ถั ง บรรจุ ส ารขนาดใหญ่ มี ก ารปล่ อ ยสาร
ออกมาเป็นปริมาณมากกว่า ๒๐๐ ลิตร ให้ใช้วิธีการในผนวก จ
 ถ้าคลังสารเคมีขนาดเล็กรั่วไหล หรือถ้ามีจุดรั่วจากอาวุธเคมี
เพียงจุดเดียวหรือมีสารพิษอุตสาหกรรมปล่อยออกมาจากพาหนะขนส่ง ให้ใช้วิธีการดังต่อไปนี้
– พื้นที่ที่มีการปล่อยกระจายสาร (Release Area) ให้ถือว่า
เป็นวงกลมมีรัศมีเท่ากับรัศมีเขตอันตราย (initial isolation distance) จากแนวทางการตอบ
สนองเหตุฉุกเฉิน (ERG) (ดูภาพ ซ-๕) และควรระบุตัวเลข ๔ หลักหรือหมายเลขระบุชนิดสารเคมี
(Identification number) ที่ก�ำหนดโดยองค์การสหประชาชาติ (UN) หรือสนธิสัญญาแอตแลนติก
เหนือ (NA) เพิ่มเติมในบรรทัด INDIA ถ้าไม่ทราบหมายเลขระบุชนิดสารเคมีหรือแนวทางการตอบ
สนองเหตุฉุกเฉิน ให้ใช้รัศมีระยะ ๙๑๕ เมตร ถ้าไม่พบระยะทางในหมวดสีเขียวของแนวทางการ
ตอบสนองเหตุฉุกเฉิน ควรมีการหารือกันก่อนใช้ในหมวดสีส้ม ถ้ามีข่าวสารเพิ่มเติมเกี่ยวกับรัศมีที่
แตกต่างไป ให้ระบุในบรรทัด GENTEXT วาดวงกลมรัศมีตามที่ระบุโดยให้ศูนย์กลางอยู่ที่ต�ำแหน่ง
ที่มีสารปล่อยกระจายออกมา
318 ภาคผนวก ซ

– ระยะทางควบคุมป้องกัน (Protective Action Distance)


หาค่าระยะทางนี้จากแนวทางการตอบสนองเหตุฉุกเฉิน โดยใช้ตัวเลข ๔ หลักหรือหมายเลขระบุ
ชนิดสารเคมีทกี่ ำ� หนดโดยองค์การสหประชาชาติ หรือสนธิสญ ั ญาแอตแลนติกเหนือ และขนาดของ
การหกกระจายดังทีร่ ะบุเพิม่ เติมไว้ในบรรทัด GOLF ถ้าไม่ทราบขนาดของการหกกระจายให้สมมุติ
ว่ามีขนาดใหญ่ (LRG) และถ้าไม่ทราบหมายเลขระบุชนิดสารเคมี ให้ใช้ระยะทาง ๑๑ กม. ถ้าไม่พบ
ระยะทางในหมวดสีเขียวของแนวทางการตอบสนองเหตุฉุกเฉิน ควรมีการหารือกันก่อนใช้ใน
หมวดสีส้ม ถ้าการหกกระจายมีปริมาณมากกว่า ๑,๕๐๐ กิโลกรัม (ขนาดใหญ่พิเศษ (XLG) ให้ใช้
ระยะทางควบคุมป้องกันเป็น ๒ เท่า

รัศมีเขตอันตราย

GN เขตควบคุมป้องกัน

การหกกระจาย
ของสารเคมี

ระยะทางจากแนว
ทางการตอบสนอง
เหตุฉุกเฉิน (ERC)

ภาพ ซ-๕ ประเภท T กรณีที่ ๔ : การหกกระจายของเมทิลไอโซไซยาเนต


(UN/NAID#2480) จ�ำนวนเล็กน้อยในเวลากลางคืน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 319

– ความเร็วลม ≤๑๐ กม./ชม. ทิศทางลมจะสามารถเปลีย่ นแปลง


ได้ ให้วาดวงกลมมีรศั มีเท่ากับระยะทางควบคุมป้องกัน โดยมีศนู ย์กลางอยูท่ ตี่ ำ� แหน่งทีม่ กี ารปล่อย
กระจายสาร
– ความเร็วลม >๑๐ กม./ชม. ให้วาดเส้นทิศทางตามลมโดย
เริม่ ต้นจากต�ำแหน่งทีส่ ารรัว่ ไหล ความยาวเท่ากับระยะทางควบคุมป้องกัน (ส�ำหรับขัน้ ตอนทีเ่ หลือ
อยูใ่ ห้ปฏิบตั ติ ามวิธกี ารในผนวก จ ดีกว่าจากแนวทางการตอบสนองเหตุฉกุ เฉิน) ลากเส้นตัง้ ฉากกับ
เส้นทิศทางตามลมทีป่ ลายเส้นทิศทางตามลม ต่อเส้นทิศทางตามลมออกไปในทิศเหนือลมให้มรี ะยะ
ทางเป็น ๒ เท่าของรัศมีพื้นที่สารรั่วไหล ลาก ๒ เส้นจากปลายด้านเหนือลมของเส้นทิศทางตามลม
ไปยังเส้นตั้งฉากซึ่งอยู่ปลายเส้นอีกด้านหนึ่ง ซึ่งจะสัมผัสกับด้านบนและล่างของวงกลมพื้นที่สาร
รั่วไหล (ดูภาพ ซ-๕)
– ถ้าสารปริมาณมากถูกปล่อยกระจายจากระดับสูงมาก
ควรใช้ความเร็วและทิศทางลม ณ ความสูงนั้นจากข่าวสารลมพื้นฐาน คชรน. (CBRN BWM) หรือ
ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาอื่น ๆ ถ้าการปล่อยกระจายสารขยายออกไปอย่างต่อเนื่องจากใกล้พื้นดินไปที่
ระดับสูงเหนือพื้นดิน (สูงกว่า ๕๐ เมตร) ควรใช้วิธีการส�ำหรับการปล่อยกระจายสารจากระดับสูง
– ข้อจ�ำกัด พื้นที่อันตรายเริ่มต้นที่ก�ำหนดไว้จะใช้ได้จนกว่า
จะได้รบั ข่าวสารเพิม่ เติม เมือ่ สภาพอากาศมีการเปลีย่ นแปลงอย่างมีนยั ส�ำคัญเกิดขึน้ จะต้องท�ำการ
ค�ำนวณใหม่ (ดูผนวก จ)
จ. กรณีที่ ๕ การปล่อยกระจายสารจากถังบรรจุขนาดใหญ่ ถังบรรจุ
สารเคมีสามารถเก็บสารพิษเคมีทางอุตสาหกรรมได้หลายพันลิตร สารเคมีจ�ำนวนมากเหล่านี้อยู่
ในรูปของก๊าซภายใต้ความดันต�่ำกว่าบรรยากาศ และเก็บอยู่ในรูปของเหลวภายใต้ความดันสูง
และอุณหภูมิต�่ำ สารเคมีบางชนิดเป็นสารไวไฟเมื่ออยู่ในรูปของไอ เมื่อเกิดความเสียหายต่อถังเก็บ
ถังหนึ่งสามารถส่งผลให้สารเคมีเหลวที่เก็บรักษาไว้ถูกฉีดออกมาอย่างรวดเร็วมากจนเกิดเป็นแอ่ง
สารเคมีเหลวทีม่ คี วามเย็นจัด แอ่งสารเคมีเหลวจะระเหยไปอยูใ่ นรูปของกลุม่ ไอ ซึง่ มีความหนาแน่น
กว่าอากาศโดยรอบ เนือ่ งจากอุณหภูมติ ำ�่ กว่าและมีนำ�้ หนักโมเลกุลแตกต่างกัน ในตอนเริม่ แรกนัน้ กลุม่
ไอจะได้รบั ผลกระทบจากแรงโน้มถ่วงมากกว่าลม กลุม่ ไอจะเริม่ ต้นเจือจางโดยการผสมกับอากาศโดย
รอบ ในทีส่ ดุ ความหนาแน่นของกลุม่ ไอก็จะไม่มากกว่าอากาศและจะเคลือ่ นทีไ่ ปกับอากาศเช่นเดียว
กับไอสารอืน่ ๆ หรือกลุม่ แอโรซอล อย่างไรก็ตาม ณ จุดนีค้ วามเข้มข้นของกลุม่ ไอจะน้อยจนไม่มพี ษิ
ดังนัน้ วิธกี ารพยากรณ์ใด ๆ ต้องให้ความส�ำคัญกับพฤติกรรมของกลุม่ ไอก่อนทีจ่ ะเจือจาง พฤติกรรมนี้
จะแตกต่างจากที่ได้พยากรณ์โดยการสมมุติพื้นที่อันตรายด้วยแนวทางการตอบสนองเหตุฉุกเฉิน
การพยากรณ์อย่างง่ายประกอบด้วยวงกลม ซึ่งมีต�ำแหน่งที่ปล่อยกระจายสารเป็นจุดศูนย์กลาง
รัศมีของวงกลมควรยาว ๒ กม. ส�ำหรับเวลากลางวัน และ ๖ กม.ส�ำหรับเวลากลางคืน (ดูภาพ ซ-๖)
320 ภาคผนวก ซ

รัศมีเขตอันตราย

ระยะทางเขต
อันตราย

สารหกกระจาย

ภาพ ซ-๖ ประเภท T กรณีที่ ๕

๖.๗.๓ การพยากรณ์พนื้ ทีอ่ นั ตรายส�าหรับการปล่อยกระจายสารทีร่ ะดับสูง


ก. ถ้าการปล่อยกระจายสารจากระดับสูงสามารถพากลุ่มสาร
ให้ลอยเหนือพื้นดินอย่างมีนัยส�าคัญ (มากกว่า ๕๐ ม.) แล้ว ควรพยากรณ์พื้นที่อันตรายซ�้าโดยใช้
ระดับความสูง ๒,๐๐๐ เมตรจากข่าวสารลมพื้นฐาน คชรน. (CBRN BWM) พื้นที่อันตรายส�าหรับ
การปล่อยกระจายสารที่ระดับความสูงจะก�าหนดให้เป็นพื้นที่อันตรายโดยรวม ซึ่งรวมถึงที่ว่าง
(ที่ไม่มีอันตราย)ซึ่งอยู่ในพื้นที่อันตรายที่พยากรณ์ไว้ด้วย (ภาพ ซ-๗)

ภาพ ซ-๗ ประเภท T กรณีที่ ๔ จรวดบรรจุสาร GB ที่สะสมไว้เกิดไฟไหม้ในเวลากลางวัน

ข. ถ้าการซ้อนทับกันหรือการรวมบริเวณพืน้ ทีอ่ นั ตรายส�าหรับการ


ปล่อยกระจายสารจากระดับสูง หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพทางอุตุนิยมวิทยา เกี่ยวข้องกับพื้นที่
อันตรายรูปสามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งมีทิศทางตามลมที่ต่างกันมากกว่า ๙๐° บริเวณที่มีการรวมกัน
(ซ้อนทับกัน) ควรแทนที่ด้วยวงกลมที่มีรัศมีเท่ากับระยะทางตามลมที่ยาวที่สุด เวลาที่กลุ่มสารมา
ถึงต�าแหน่งใดต�าแหน่งหนึง่ ควรเป็นเวลาทีเ่ ร็วทีส่ ดุ ทีไ่ ด้จากข่าวสารลมพืน้ ฐาน (BWM) หรือข่าวสาร
อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 321

ค. การเปลีย่ นแปลงสภาวะทางอุตนุ ยิ มวิทยาในข่าวสารลมพืน้ ฐาน


(BWM) ที่ตามมา ควรจัดการในลักษณะเดียวกับการใช้ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี
(CDM)
๗. รายงาน นชค.4 ROTA (NBC4 ROTA Report)
รายงาน นชค.4 ROTA ใช้ในการส่งข้อมูลการตรวจวัดนอกพื้นที่เป้าหมายภายหลังหรือ
ผลของการส�ำรวจพื้นที่โดยตรงอย่างละเอียด รายงานนี้จะใช้ข่าวสารตามที่บรรยายในบทที่ ๓ คือ
บรรทัด ALFA, INDIA, QUEBEC, ROMEO, SIERRA, TANGO, WHISKEY, YANKEE และ ZULU
บรรทัด GENTEXT ในข่าวนีจ้ ะบอกค่าอัตรารังสีพนื้ ฐานเริม่ แรกจากการปล่อยกระจายวัสดุนวิ เคลียร์
หรือวัสดุกัมมันตรังสีที่วัดโดยชุดส�ำรวจรังสี บรรทัด ROMEO จะบอกข้อมูลที่อ่านค่าได้สูงกว่าค่า
อัตรารังสีพนื้ ฐานเริม่ แรกทีร่ ายงานไว้และค่าทีว่ ดั ได้จากการปล่อยกระจายสารเคมีและชีวะ บรรทัด
ROMEO อาจรายงานค่าเป็นทศนิยมได้ถ้าค่าที่อ่านได้ต�่ำกว่า ๑ (เช่น 0.0123456 cGy/h)
๗.๑ วัตถุประสงค์
รายงาน นชค.4 ROTA จะรายงานข้อมูลการตรวจวัดและข้อมูลการเฝ้าตรวจและ
ส�ำรวจรังสี รายงานนีใ้ ช้ส�ำหรับ ๒ กรณีคอื กรณีที่ ๑ ใช้เมือ่ ไม่เห็นการโจมตีและข้อบ่งชีเ้ ริม่ แรกของ
การเปื้อนพิษได้จากการตรวจหา กรณีที่ ๒ ใช้เพื่อรายงานการเปื้อนพิษที่วัดได้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ
ภารกิจของชุดส�ำรวจหรือชุดตรวจวัด
๗.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน
ตามปกติล�ำดับความเร่งด่วนของข่าวอื่น ๆ ทั้งหมดหลังจากส่งรายงาน นชค.1
ROTA เริ่มแรกไปแล้ว จะใช้ล�ำดับความเร่งด่วนเป็น “ด่วน”
๗.๓ การจัดท�ำรายงาน
ส�ำหรับรายละเอียดข่าวสารทีไ่ ด้จากการลาดตระเวน, การตรวจวัดและการส�ำรวจ
คชรน./ROTA ให้ดูจากเรื่องยุทธวิธี เทคนิคและวิธีการลาดตระเวน นชค.
322 ภาคผนวก ซ

รายงาน นชค.4 ROTA


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/WEP/001/RN//
INDIA ข้อมูลเกี่ยวกับการโจมตีด้วยสารเคมี O INDIA/SURF/2978/-/SPEC//
ชีวะหรือเหตุการณ์ ROTA
QUEBEC** ต�ำแหน่งที่อ่านค่า/เก็บตัวอย่าง/ M QUEBEC/32VNJ481203/
ตรวจสอบและชนิดของตัวอย่าง/ GAMMA/-//
การตรวจสอบ
ROMEO** ระดับการเปื้อนพิษ, แนวโน้มของอัตรา O ROMEO/7CGH/DECR/DF//
ความเข้มข้นและแนวโน้มของอัตราการ
สลายตัว
SIERRA** วัน/เวลาที่อ่านค่า หรือเริ่มตรวจหาการ M SIERRA/202300ZSEP1997//
เปื้อนพิษ
TANGO** ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและ M TANGO/URBAN/URBAN//
พืชพันธุ์
WHISKEY ข่าวสารจากเครื่องรับสัญญาณเซนเซอร์ O WHISKEY/-/POS/NO/HIGH//
YANKEE** ทิศทางและความเร็วตามลม M YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O -
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
** ชุดรหัสอักษรที่ประกอบด้วยบรรทัด QUEBEC, ROMEO, SIERRA, และ TANGO รวมกันเป็นส่วนหนึ่ง
ของรายงานซึ่งจะต้องระบุเสมอยกเว้นบรรทัด ROMEO ชุดของบรรทัด/ส่วนดังกล่าวสามารถระบุซ�้ำได้ถึง
๒๐ ครั้งเพื่อให้รายละเอียดของการตรวจสอบ การเฝ้าตรวจและการส�ำรวจ ณ จุดต่าง ๆ
ภาพ ซ-๘ ตัวอย่างรายงาน นชค.4 ROTA
๘. รายงาน นชค.5 ROTA (NBC5 ROTA Report)
รายงาน นชค.5 ROTA จะรายงานเส้นแสดงขอบเขตที่แท้จริงของการเปื้อนพิษ ROTA
บนพื้นดินจากข้อมูลการส�ำรวจ รายงานนี้ใช้ข่าวสารดังอธิบายไว้ส�ำหรับบรรทัด ALFA, CHARLIE,
INDIA, YANKEE, ZULU และ GENTEXT บรรทัด OSCAR จะระบุเวลาที่เหมาะสมของเส้นขอบเขต
บรรทัด XRAYA อธิบายระดับการเปือ้ นพิษของเส้นขอบเขตและพืน้ ทีเ่ ปือ้ นพิษบนพืน้ ดินซึง่ เกิดจาก
เหตุการณ์ ROTA ใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นสารรังสี, สารชีวะหรือสารเคมี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 323

๘.๑ วัตถุประสงค์
รายงาน นชค.5 ROTA ใช้เพื่อแจ้งข้อมูลพื้นที่เปื้อนพิษจริง โดยจะบอกเฉพาะ
พิกัดของพื้นที่เปื้อนพิษจริงแต่อาจรวมพิกัดของพื้นที่ที่คาดว่าอาจเปื้อนพิษด้วยก็ได้
๘.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน
ตามปกติลำ� ดับความเร่งด่วนของข่าวอืน่ ๆ ทัง้ หมดหลังจากส่งรายงาน นชค.1
ROTA เริ่มแรกไปแล้ว จะใช้ล�ำดับความเร่งด่วนเป็น “ด่วน”

รายงาน นชค.5 ROTA


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/WEP/001/RN//
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/ O CHARLIE/281530ZSEP1997//
การสังเกตการณ์และสิ้นสุด
เหตุการณ์
INDIA ข้อมูลเกี่ยวกับการโจมตีด้วย M INDIA/SURF/2978/-/SPEC//
สารเคมีชีวะหรืเหตุการณ์ ROTA
OSCAR วัน/เวลาอ้างอิงส�ำหรับเส้น M OSCAR/281830ZSEP1997//
ขอบเขตที่ประมาณไว้
XRAYA** ข้อมูลของเส้นขอบเขตจริง M XRAY ALFA /0.003CGH/334015
N1064010W/
334020N1064010W/
334020N1064020W/
334015N1064020W/
334015N1064010W//
XRAYB** ข้อมูลของขอบเขตที่พยากรณ์ไว้ O
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O YANKEE/270DGT/015KPH//
ZULU สภาพอากาศตามจริง O ZULU/4/10C/7/5/1//
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
** ชุดรหัสอักษรที่บันทึกซ�้ำได้ถึง ๕๐ ครั้งเพื่อแสดงขอบเขตของพื้นที่หลายเส้น

ภาพ ซ-๙ ตัวอย่างรายงาน นชค.5 ROTA


324 ภาคผนวก ซ

๘.๓ การจัดท�ำรายงาน
๘.๓.๑ พื้นที่เปื้อนพิษจะแสดงไว้บนแผนที่สถานการณ์การเปื้อนพิษและข้อมูล
ดังกล่าวจะต้องส่งไปยังหน่วยอื่น ๆ และหน่วยเหนือ และวิธีที่ดีที่สุดคือ การส่งไปในรูปของแผ่น
บริวารการเปื้อนพิษ
๘.๓.๒ การจัดท�ำแผ่นบริวารนั้นได้อธิบายไว้ในภาคผนวกตามล�ำดับ (เช่น แผ่น
บริวารการเปื้อนพิษเคมี อ้างอิงตามผนวก จ) แผ่นบริวารนั้นเหมาะส�ำหรับการส่งรายงาน นชค.๓
และ นชค.5 ROTA เนื่องจากมีข้อได้เปรียบเพราะใช้งานง่าย มีความแม่นย�ำและแผ่นบริวาร
จะเป็นส�ำเนาจริงส�ำหรับการอ้างอิงในอนาคต แต่ก็มีข้อเสียเปรียบตรงที่ต้องใช้อุปกรณ์โดยเฉพาะ
หรือใช้พลน�ำสาร
๘.๓.๓ ข้อมูลที่ลงไว้ที่ขอบแผ่นบริวารมีดังต่อไปนี้
 ชื่อแผนที่
 หมายเลขแผนที่
 มาตราส่วน
 หน่วยที่จัดท�ำ
 ค�ำอธิบายสัญลักษณ์/สีที่ไม่ไช่มาตรฐาน
 ประเภทของรายงาน
 รายงานบรรทัดต่าง ๆ
 ดัชนีบอกกริด
๘.๓.๔ การรายงานข้อมูล
ก. ในกรณีที่หน่วยไม่มีเครื่องโทรสารใช้จะต้องเปลี่ยนแผ่นบริวารการ
เปื้อนพิษให้เป็นชุดของค่าที่วัดได้และพิกัดเพื่อส่งไปในรูปของรายงาน นชค.5 ROTA
ข. ถ้ า หากหน่ ว ยไม่ มี เ ครื่ อ งโทรสารใช้ เ มื่ อ เวลาและระยะทาง
อ�ำนวยให้ส่งแผ่นบริวารการเปื้อนพิษโดยใช้พลน�ำสาร การส่งข้อมูลโดยใช้รายงาน นชค.5 ROTA
จะใช้เป็นวิธีสุดท้าย
ค. ในรายงาน นชค.5 ROTA ถ้าเส้นขอบเขตพื้นที่เปื้อนพิษบรรจบ
เป็นวงพิกัดสุดท้ายจะต้องเป็นค่าเดียวกับพิกัดแรก
๙. รายงาน นชค.6 ROTA (NBC6 ROTA Report)
รายงาน นชค.6 ROTA จะใช้ในการให้ข้อมูลโดยเฉพาะ (บรรทัด GENTEXT) ซึ่งจ�ำเป็น
ต้องใช้ในการพยากรณ์พื้นที่อันตราย ROTA ให้ละเอียดมากกว่าเดิม
๙.๑ วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของรายงาน นชค.6 ROTA เพื่อส่งข้อมูลโดยละเอียดของเหตุการณ์
ROTA
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 325

๙.๒ ล�ำดับความเร่งด่วน
ตามปกติล�ำดับความเร่งด่วนของข่าวอื่น ๆ ทั้งหมดหลังจากส่งรายงาน นชค.1
ROTA เริ่มแรกไปแล้ว จะใช้ล�ำดับความเร่งด่วนเป็น “ด่วน”
๙.๓ การจัดท�ำรายงาน
รายงานนี้จะสรุปข้อมูลที่เกี่ยวกับ ROTA และจัดท�ำโดยหน่วยที่รายงานข้อมูล,
หน่วยเทียบเท่า, หรือหน่วยเหนือเฉพาะเมื่อมีการร้องขอจากหน่วยเหนือ และน�ำมาใช้เป็น
เครื่องมือในการจัดท�ำข่าวกรอง เพื่อช่วยในการก�ำหนดเจตนารมณ์ในอนาคตของข้าศึก
๙.๔ การน�ำส่ง
รายงาน นชค.6 ROTA จะถูกส่งไปยังกองบัญชาการหน่วยเหนือ ในรูปแบบการ
บรรยายให้มีรายละเอียดมากที่สุดที่จะท�ำไปได้

รายงาน นชค.6 ROTA


บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* ตัวอย่าง
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O ALFA/US/WEP/001/RN//
CHARLIE วัน/เวลาของการรายงาน/ O CHARLIE/281530ZSEP1997/
การสังเกตการณ์และเหตุการณ์ 281545ZSEP1997//
สิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ O FOXTROT/32UNB058640/EE//
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับการโจมตีด้วยสาร O INDIA/SURF/2978/-/SPEC/-//
เคมีชีวะหรือเหตุการณ์ ROTA
QUEBEC ต�ำแหน่งที่อ่านค่าอัตรารังสี/เก็บ O QUEBEC/32VNJ481203/
ตัวอย่าง/ตรวจสอบและชนิดของ GAMMA//
ตัวอย่าง/การตรวจสอบ
SIERRA วัน/เวลาที่อ่านค่า O SIERRA/282300ZSEP1997//
GENTEXT ค�ำบรรยาย M GENTEXT/CBRN INFO/HOSPITAL
VEHICLE
CARRYING RADIOACTIVE WASTE
OVERTURNED ON ROUTE 25//
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)

ภาพ ซ-๑๐ ตัวอย่างรายงาน นชค.6 ROTA


ผนวก ด
โนโมแกรม, ตารางและกราฟ
ผนวกนี้ได้รวบรวมโนโมแกรม ตารางและกราฟต่าง ๆ ที่อ้างอิงถึงในผนวกก่อนหน้านี้
ส�ำหรับวิธีการใช้ได้อธิบายไว้แล้วในผนวกนั้น ๆ
หมายเหตุ : ๑. ที่ความสูงเหนือ ๑,๘๐๐ เมตร ชั้นความสูงส�ำหรับการวาดภาพทิศทางลมจะยัง
เป็นช่วงละ ๒,๐๐๐ เมตร อย่างไรก็ตาม ปัจจัยของระยะทางบนแผนที่จะเปลี่ยนแปลงไปน้อยมาก
จนต้องน�ำบางช่องถัดไปในตาราง ด-๑ ถึง ด-๖ มารวมกันเพื่อความสะดวก
๒ วิธีใช้ตาราง ด-๗ ถึง ด-๑๓ และภาพ ด-๑ ถึง ด-๕๔ ได้กล่าวไว้แล้วในบทและ
ภาคผนวกต่าง ๆ ที่ผ่านมาของคู่มือเล่มนี้
ตาราง ด-๑ ระยะทางบนแผนทีเ่ ป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ความเร็วลมเป็น กม./ชม.
ความเร็วลม ชั้นความสูง (พันเมตร)
(กม./ชม.) ๐-๒ ๒-๔ ๔-๖ ๖-๘ ๘-๑๐ ๑๐-๑๒ ๑๒-๑๔ ๑๔-๑๖ ๑๖-๑๘ ๑๘-๒๒ ๒๒-๓๐ >๓๐
๕ ๖.๘ ๕.๘ ๕.๒ ๕.๐ ๔.๘ ๔.๔ ๔.๒ ๔.๐ ๓.๘ ๓.๘ ๓.๖ ๓.๔
๑๐ ๑๓.๖ ๑๑.๘ ๑๐.๔ ๑๐.๐ ๙.๖ ๙.๐ ๘.๔ ๘.๐ ๗.๘ ๗.๖ ๗.๒ ๖.๘
๑๕ ๒๐.๔ ๑๗.๖ ๑๕.๖ ๑๕.๐ ๑๔.๔ ๑๓.๔ ๑๒.๖ ๑๒.๐ ๑๑.๖ ๑๑.๒ ๑๐.๘ ๑๐.๒
๒๐ ๒๗.๒ ๒๓.๖ ๒๐.๘ ๒๐.๐ ๑๙.๒ ๑๘.๐ ๑๖.๘ ๑๖.๐ ๑๕.๖ ๑๕.๐ ๑๔.๒ ๑๓.๖
๒๕ ๓๔.๐ ๒๙.๔ ๒๖.๐ ๒๕.๒ ๒๔.๐ ๒๒.๔ ๒๑.๐ ๒๐.๐ ๑๙.๔ ๑๘.๘ ๑๗.๘ ๑๗.๐

ตาราง ด-๒ ระยะทางบนแผนทีเ่ ป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ความเร็วลมเป็นนอต


ความเร็วลม ชั้นความสูง (พันเมตร)
(นอต) ๐-๒ ๒-๔ ๔-๖ ๖-๘ ๘-๑๐ ๑๐-๑๒ ๑๒-๑๔ ๑๔-๑๖ ๑๖-๑๘ ๑๘-๒๒ ๒๒-๓๐ >๓๐
๕ ๑๒.๖ ๑๑.๐ ๙.๖ ๙.๔ ๙.๐ ๘.๔ ๗.๘ ๗.๔ ๗.๒ ๗.๐ ๖.๖ ๖.๔
๑๐ ๒๕.๒ ๒๑.๘ ๑๙.๒ ๑๘.๖ ๑๗.๘ ๑๖.๖ ๑๕.๖ ๑๔.๘ ๑๔.๔ ๑๔.๐ ๑๓.๒ ๑๒.๖
๑๕ ๓๗.๘ ๓๒.๘ ๒๘.๘ ๒๘.๐ ๒๖.๘ ๒๕.๐ ๒๓.๔ ๒๒.๒ ๒๑.๖ ๒๐.๘ ๑๙.๖ ๑๙.๐
๒๐ ๕๐.๔ ๔๓.๖ ๓๘.๔ ๓๗.๒ ๓๕.๖ ๓๓.๒ ๓๑.๒ ๒๙.๖ ๒๘.๘ ๒๗.๘ ๒๖.๒ ๒๕.๒
๒๕ ๖๓.๐ ๕๔.๖ ๔๘.๐ ๔๖.๖ ๔๔.๖ ๔๑.๒ ๓๙.๐ ๓๗.๐ ๓๖.๐ ๓๔.๘ ๓๒.๘ ๓๑.๖
๓๐ ๖๕.๖ ๖๕.๔ ๕๗.๖ ๕๕.๘ ๕๓.๔ ๔๙.๘ ๔๖.๘ ๔๔.๔ ๔๓.๒ ๔๑.๘ ๓๙.๔ ๓๗.๘
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 327

ตาราง ด-๓ ระยะทางบนแผนทีเ่ ป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ ความเร็วลมเป็น กม./ชม.

ความเร็วลม ชั้นความสูง (พันเมตร)


(กม./ชม.) ๐-๒ ๒-๔ ๔-๖ ๖-๘ ๘-๑๐ ๑๐-๑๒ ๑๒-๑๔ ๑๔-๑๖ ๑๖-๑๘ ๑๘-๒๒ ๒๒-๓๐ >๓๐
๕ ๓.๔ ๒.๙ ๒.๖ ๒.๕ ๒.๔ ๒.๒ ๒.๑ ๒.๐ ๑.๙ ๑.๙ ๑.๘ ๑.๗
๑๐ ๖.๘ ๕.๙ ๕.๒ ๕.๐ ๔.๘ ๔.๕ ๔.๒ ๔.๐ ๓.๙ ๓.๘ ๓.๖ ๓.๔
๑๕ ๑๐.๒ ๘.๘ ๗.๘ ๗.๕ ๗.๒ ๖.๗ ๖.๓ ๖.๐ ๕.๘ ๕.๖ ๕.๔ ๕.๑
๒๐ ๑๓.๖ ๑๑.๘ ๑๐.๔ ๑๐.๐ ๙.๖ ๙.๐ ๘.๔ ๘.๐ ๗.๘ ๗.๕ ๗.๑ ๖.๘
๒๕ ๑๗.๐ ๑๔.๗ ๑๓.๐ ๑๒.๖ ๑๒.๐ ๑๑.๒ ๑๐.๕ ๑๐.๐ ๙.๗ ๙.๔ ๘.๙ ๘.๕
๓๐ ๒๐.๔ ๑๗.๗ ๑๕.๖ ๑๕.๑ ๑๔.๔ ๑๓.๔ ๑๒.๖ ๑๒.๐ ๑๑.๗ ๑๑.๓ ๑๐.๗ ๑๐.๒
๓๕ ๒๓.๘ ๒๐.๖ ๑๘.๑ ๑๗.๖ ๑๖.๘ ๑๕.๗ ๑๔.๗ ๑๔.๐ ๑๓.๖ ๑๓.๑ ๑๒.๕ ๑๑.๙
๔๐ ๒๗.๒ ๒๓.๖ ๒๐.๗ ๒๐.๑ ๑๙.๒ ๑๗.๙ ๑๖.๘ ๑๖.๐ ๑๕.๖ ๑๕.๐ ๑๔.๓ ๑๓.๖
๔๕ ๓๐.๖ ๒๖.๕ ๒๓.๓ ๒๒.๖ ๒๑.๖ ๒๐.๒ ๑๙.๐ ๑๘.๐ ๑๗.๕ ๑๖.๙ ๑๖.๑ ๑๕.๓
๕๐ ๓๔.๐ ๒๙.๕ ๒๕.๙ ๒๕.๑ ๒๔.๐ ๒๒.๔ ๒๑.๑ ๒๐.๐ ๑๙.๔ ๑๘.๘ ๑๗.๙ ๑๗.๐

ตาราง ด-๔ ระยะทางบนแผนทีเ่ ป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ ความเร็วลมเป็นนอต

ความเร็วลม ชั้นความสูง (พันเมตร)


(นอต) ๐-๒ ๒-๔ ๔-๖ ๖-๘ ๘-๑๐ ๑๐-๑๒ ๑๒-๑๔ ๑๔-๑๖ ๑๖-๑๘ ๑๘-๒๒ ๒๒-๓๐ >๓๐
๕ ๖.๓ ๕.๕ ๔.๘ ๔.๗ ๔.๕ ๔.๒ ๓.๙ ๓.๗ ๓.๖ ๓.๕ ๓.๓ ๓.๒
๑๐ ๑๒.๖ ๑๐.๙ ๙.๖ ๙.๓ ๘.๙ ๘.๓ ๗.๘ ๗.๔ ๗.๒ ๗.๐ ๖.๖ ๖.๓
๑๕ ๑๘.๙ ๑๖.๔ ๑๔.๔ ๑๔.๐ ๑๓.๔ ๑๒.๕ ๑๑.๗ ๑๑.๑ ๑๐.๘ ๑๐.๔ ๙.๘ ๙.๕
๒๐ ๒๕.๒ ๒๑.๘ ๑๙.๒ ๑๘.๖ ๑๗.๘ ๑๖.๖ ๑๕.๖ ๑๔.๘ ๑๔.๔ ๑๓.๙ ๑๓.๑ ๑๒.๖
๒๕ ๓๑.๕ ๒๗.๓ ๒๔.๐ ๒๓.๓ ๒๒.๓ ๒๐.๖ ๑๙.๕ ๑๘.๕ ๑๘.๐ ๑๗.๔ ๑๖.๔ ๑๕.๘
๓๐ ๓๗.๘ ๓๒.๗ ๒๘.๘ ๒๗.๙ ๒๖.๗ ๒๔.๙ ๒๓.๔ ๒๒.๒ ๒๑.๖ ๒๐.๙ ๑๙.๗ ๑๘.๙
๓๕ ๔๔.๑ ๓๘.๒ ๓๓.๖ ๓๒.๖ ๓๑.๒ ๒๙.๑ ๒๗.๓ ๒๕.๙ ๒๕.๒ ๒๔.๓ ๒๒.๙ ๒๒.๑
๔๐ ๕๐.๔ ๔๓.๖ ๓๘.๔ ๓๗.๒ ๓๕.๖ ๓๓.๒ ๓๑.๒ ๒๙.๖ ๒๘.๘ ๒๗.๘ ๒๖.๒ ๒๕.๒
๔๕ ๕๖.๗ ๔๙.๑ ๔๓.๒ ๔๑.๙ ๔๐.๑ ๓๗.๔ ๓๕.๑ ๓๓.๓ ๓๒.๔ ๓๑.๓ ๒๙.๕ ๒๘.๔
๕๐ ๖๓.๐ ๕๔.๕ ๔๘.๐ ๔๖.๕ ๔๔.๕ ๔๑.๕ ๓๙.๐ ๓๗.๐ ๓๖.๐ ๓๔.๘ ๓๒.๘ ๓๑.๕
328 ภาคผนวก ด

ตาราง ด-๕ ระยะทางบนแผนทีเ่ ป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ความเร็วลมเป็น กม./ชม.


ความเร็วลม ชั้นความสูง (พันเมตร)
(กม./ชม.) ๐-๒ ๒-๔ ๔-๖ ๖-๘ ๘-๑๐ ๑๐-๑๒ ๑๒-๑๔ ๑๔-๑๖ ๑๖-๑๘ ๑๘-๒๒ ๒๒-๓๐ >๓๐
๕ ๑.๔ ๑.๒ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๙ ๐.๘ ๐.๘ ๐.๘ ๐.๘ ๐.๗ ๐.๗
๑๐ ๒.๗ ๒.๔ ๒.๑ ๒.๐ ๑.๙ ๑.๘ ๑.๗ ๑.๖ ๑.๖ ๑.๕ ๑.๔ ๑.๔
๑๕ ๔.๑ ๓.๕ ๓.๑ ๓.๐ ๒.๙ ๒.๗ ๒.๕ ๒.๔ ๒.๓ ๒.๓ ๒.๑ ๒.๐
๒๐ ๕.๔ ๔.๗ ๔.๑ ๔.๐ ๓.๘ ๓.๖ ๓.๔ ๓.๒ ๓.๑ ๓.๐ ๒.๙ ๒.๗
๒๕ ๖.๘ ๕.๙ ๕.๒ ๕.๐ ๔.๘ ๔.๕ ๔.๒ ๔.๐ ๓.๙ ๓.๘ ๓.๖ ๓.๔
๓๐ ๘.๒ ๗.๑ ๖.๒ ๖.๐ ๕.๘ ๕.๔ ๕.๑ ๔.๘ ๔.๗ ๔.๕ ๔.๓ ๔.๑
๓๕ ๙.๕ ๘.๒ ๗.๓ ๗.๐ ๖.๗ ๖.๓ ๕.๙ ๕.๖ ๕.๔ ๕.๓ ๕.๐ ๔.๘
๔๐ ๑๐.๙ ๙.๔ ๘.๓ ๘.๐ ๗.๗ ๗.๒ ๖.๗ ๖.๔ ๖.๒ ๖.๐ ๕.๗ ๕.๔
๔๕ ๑๒.๒ ๑๐.๖ ๙.๓ ๙.๐ ๘.๖ ๘.๑ ๗.๖ ๗.๒ ๗.๐ ๖.๘ ๖.๔ ๖.๑
๕๐ ๑๓.๖ ๑๑.๘ ๑๐.๔ ๑๐.๐ ๙.๖ ๙.๐ ๘.๔ ๘.๐ ๗.๘ ๗.๕ ๗.๑ ๖.๘
๕๕ ๑๕.๐ ๑๒.๙ ๑๑.๔ ๑๑.๐ ๑๐.๖ ๙.๙ ๙.๓ ๘.๘ ๘.๖ ๘.๓ ๗.๙ ๗.๕
๖๐ ๑๖.๓ ๑๔.๑ ๑๒.๔ ๑๒.๐ ๑๑.๕ ๑๐.๘ ๑๐.๑ ๙.๖ ๙.๓ ๙.๐ ๘.๖ ๘.๒
๗๕ ๒๐.๔ ๑๗.๗ ๑๕.๕ ๑๕.๑ ๑๔.๔ ๑๓.๔ ๑๒.๖ ๑๒.๐ ๑๑.๗ ๑๑.๓ ๑๐.๗ ๑๐.๒
๑๐๐ ๒๗.๒ ๒๓.๕ ๒๐.๗ ๒๐.๑ ๑๙.๒ ๑๗.๙ ๑๖.๙ ๑๖.๐ ๑๕.๖ ๑๕.๐ ๑๔.๓ ๑๓.๖

ตาราง ด-๖ ระยะทางบนแผนทีเ่ ป็น ซม. มาตราส่วนแผนที่ ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ความเร็วลมเป็นนอต


ความเร็วลม ชั้นความสูง (พันเมตร)
(นอต) ๐-๒ ๒-๔ ๔-๖ ๖-๘ ๘-๑๐ ๑๐-๑๒ ๑๒-๑๔ ๑๔-๑๖ ๑๖-๑๘ ๑๘-๒๒ ๒๒-๓๐ >๓๐
๕ ๒.๕ ๒.๒ ๑.๙ ๑.๙ ๑.๘ ๑.๗ ๑.๖ ๑.๕ ๑.๔ ๑.๔ ๑.๓ ๑.๓
๑๐ ๕.๐ ๔.๔ ๓.๘ ๓.๗ ๓.๖ ๓.๓ ๓.๑ ๓.๐ ๒.๙ ๒.๘ ๒.๖ ๒.๕
๑๕ ๗.๖ ๖.๕ ๕.๘ ๕.๖ ๕.๓ ๕.๐ ๔.๗ ๔.๔ ๔.๓ ๔.๒ ๓.๙ ๓.๘
๒๐ ๑๐.๑ ๘.๗ ๗.๗ ๗.๔ ๗.๑ ๖.๖ ๖.๒ ๕.๙ ๕.๘ ๕.๖ ๕.๒ ๕.๐
๒๕ ๑๒.๖ ๑๐.๙ ๙.๖ ๙.๓ ๘.๙ ๘.๓ ๗.๘ ๗.๔ ๗.๒ ๗.๐ ๖.๖ ๖.๓
๓๐ ๑๕.๑ ๑๓.๑ ๑๑.๕ ๑๑.๒ ๑๐.๗ ๑๐.๐ ๙.๔ ๘.๙ ๘.๖ ๘.๓ ๗.๙ ๗.๖
๓๕ ๑๗.๖ ๑๕.๓ ๑๓.๔ ๑๓.๐ ๑๒.๕ ๑๑.๖ ๑๐.๙ ๑๐.๔ ๑๐.๑ ๙.๗ ๙.๒ ๘.๘
๔๐ ๒๐.๒ ๑๗.๔ ๑๕.๔ ๑๔.๙ ๑๔.๒ ๑๓.๓ ๑๒.๕ ๑๑.๘ ๑๑.๕ ๑๑.๑ ๑๐.๕ ๑๐.๑
๔๕ ๒๒.๗ ๑๙.๖ ๑๗.๓ ๑๖.๗ ๑๖.๐ ๑๔.๙ ๑๔.๐ ๑๓.๓ ๑๓.๐ ๑๒.๕ ๑๑.๘ ๑๑.๓
๕๐ ๒๕.๒ ๒๑.๘ ๑๙.๒ ๑๘.๖ ๑๗.๘ ๑๖.๖ ๑๕.๖ ๑๔.๘ ๑๔.๔ ๑๓.๙ ๑๓.๑ ๑๒.๖
๕๕ ๒๗.๗ ๒๔.๐ ๒๑.๑ ๒๐.๕ ๑๙.๖ ๑๘.๓ ๑๗.๒ ๑๖.๓ ๑๕.๘ ๑๕.๓ ๑๔.๔ ๑๓.๖
๖๐ ๓๐.๒ ๒๖.๒ ๒๓.๐ ๒๒.๓ ๒๑.๔ ๑๙.๙ ๑๘.๗ ๑๗.๘ ๑๗.๓ ๑๖.๗ ๑๕.๗ ๑๕.๑
๗๕ ๓๗.๘ ๓๒.๗ ๒๘.๘ ๒๗.๙ ๒๖.๗ ๒๔.๙ ๒๓.๔ ๒๒.๒ ๒๑.๖ ๒๐.๙ ๑๙.๗ ๑๘.๙
๑๐๐ ๕๐.๔ ๔๓.๖ ๓๘.๔ ๓๗.๒ ๓๕.๖ ๓๓.๒ ๓๑.๒ ๒๙.๖ ๒๘.๘ ๒๗.๘ ๒๖.๒ ๒๕.๒
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 329

ตาราง ด-๗ ตารางแปลงค่าองศาเป็นมิลเลียม

องศา มิลเลียม องศา มิลเลียม องศา มิลเลียม องศา มิลเลียม


๑ ๑๗.๗๘ ๖๕ ๑,๑๕๕.๕๕ ๑๖๕ ๒,๙๓๓.๓๓ ๒๖๕ ๔,๗๑๑.๑๑
๒ ๓๕.๕๕ ๗๐ ๑,๒๔๔.๔๔ ๑๗๐ ๓,๐๒๒.๒๒ ๒๗๐ ๔,๘๐๐.๐๐
๓ ๕๓.๓๓ ๗๕ ๑,๓๓๓.๓๓ ๑๗๕ ๓,๑๑๑.๑๑ ๒๗๕ ๔,๘๘๘.๘๙
๔ ๗๑.๑๑ ๘๐ ๑,๔๒๒.๒๒ ๑๘๐ ๓,๒๐๐.๐๐ ๒๘๐ ๔,๙๗๗.๗๘
๕ ๘๘.๘๙ ๘๕ ๑,๕๑๑.๑๑ ๑๘๕ ๓,๒๘๘.๘๙ ๒๘๕ ๕,๐๖๖.๖๗
๖ ๑๐๖.๖๗ ๙๐ ๑,๖๐๐.๐๐ ๑๙๐ ๓,๓๗๗.๗๘ ๒๙๐ ๕,๑๕๕.๕๕
๗ ๑๒๔.๔๔ ๙๕ ๑,๖๘๘.๘๙ ๑๙๕ ๓,๔๖๖.๖๗ ๒๙๕ ๕,๒๔๔.๔๔
๘ ๑๔๒.๒๒ ๑๐๐ ๑,๗๗๗.๗๘ ๒๐๐ ๓,๕๕๕.๕๕ ๓๐๐ ๕,๓๓๓.๓๓
๙ ๑๖๐.๐๐ ๑๐๕ ๑,๘๖๖.๖๗ ๒๐๕ ๓,๖๔๔.๔๔ ๓๐๕ ๕,๔๒๒.๒๒
๑๐ ๑๗๗.๗๘ ๑๑๐ ๑,๙๕๕.๕๕ ๒๑๐ ๓,๗๓๓.๓๓ ๓๑๐ ๕,๕๑๑.๑๑
๑๕ ๒๖๖.๖๗ ๑๑๕ ๒,๐๔๔.๔๔ ๒๑๕ ๓,๘๒๒.๒๒ ๓๑๕ ๕,๖๐๐.๐๐
๒๐ ๓๕๕.๕๕ ๑๒๐ ๒,๑๓๓.๓๓ ๒๒๐ ๓,๙๑๑.๑๑ ๓๒๐ ๕,๖๘๘.๘๙
๒๕ ๔๔๔.๔๔ ๑๒๕ ๒,๒๒๒.๒๒ ๒๒๕ ๔,๐๐๐.๐๐ ๓๒๕ ๕,๗๗๗.๗๘
๓๐ ๕๓๓.๓๓ ๑๓๐ ๒,๓๑๑.๑๑ ๒๓๐ ๔,๐๘๘.๘๙ ๓๓๐ ๕,๘๖๖.๖๗
๓๕ ๖๒๒.๒๒ ๑๓๕ ๒,๔๐๐.๐๐ ๒๓๕ ๔,๑๗๗.๗๘ ๓๓๕ ๕,๙๕๕.๕๕
๔๐ ๗๑๑.๑๑ ๑๔๐ ๒,๔๘๘.๘๙ ๒๔๐ ๔,๒๖๖.๖๗ ๓๔๐ ๖,๐๔๔.๔๔
๔๕ ๘๐๐.๐๐ ๑๔๕ ๒,๕๗๗.๗๘ ๒๔๕ ๔,๓๕๕.๕๕ ๓๔๕ ๖,๑๓๓.๓๓
๕๐ ๘๘๘.๘๙ ๑๕๐ ๒,๖๖๖.๖๗ ๒๕๐ ๔,๔๔๔.๔๔ ๓๕๐ ๖,๒๒๒.๒๒
๕๕ ๙๗๗.๗๘ ๑๕๕ ๒,๗๕๕.๕๕ ๒๕๕ ๔,๕๓๓.๓๓ ๓๕๕ ๖,๓๑๑.๑๑
๖๐ ๑,๐๖๖.๖๗ ๑๖๐ ๒,๘๔๔.๔๔ ๒๖๐ ๔,๖๒๒.๒๒ ๓๖๐ ๖,๔๐๐.๐๐
330 ภาคผนวก ด

ตาราง ด-๘ ตารางแปลงค่าและปัจจัยแปลงค่าระยะทาง

แปลงค่า เป็น คูณด้วย


กิโลเมตร ไมล์ ๐.๖๒
กิโลเมตร ไมล์ทะเล ๐.๕๔
ไมล์ กิโลเมตร ๑.๖๑
ไมล์ ไมล์ทะเล ๐.๘๗
ไมล์ทะเล กิโลเมตร ๑.๘๕
ไมล์ทะเล ไมล์ ๑.๑๕
เมตร ฟุต ๓.๒๘
ฟุต เมตร ๐.๓๐
ม. ต่อ ชม. กม./ชม. ๑.๖๑
ม. ต่อ ชม. นอต ๐.๘๗
ม. ต่อ ชม. ม./วิ ๐.๔๕
ม. ต่อ ชม. ฟุต/วิ ๑.๔๗
กม./ชม. ม./ชม. ๐.๖๒
กม./ชม. นอต ๐.๕๔
กม./ชม. ม./วิ ๐.๒๘
กม./ชม. ฟุต/วิ ๐.๙๑
นอต กม./ชม. ๑.๘๕
นอต ม./ชม. ๑.๑๕
นอต ม./วิ ๐.๕๑
นอต ฟุต/วิ ๑.๖๙
ม./วิ กม./ชม. ๓.๖๐
ม./วิ ม./ชม. ๒.๒๔
ม./วิ นอต ๑.๙๔
ม./วิ ฟุต/วิ ๓.๒๘
ฟุต/วิ กม./ชม. ๑.๑๐
ฟุต/วิ ม./ชม. ๐.๖๘
ฟุต/วิ นอต ๐.๕๙
ฟุต/วิ ม./วิ ๐.๓๐
กิโลกรัม ปอนด์ ๒.๒๐
ปอนด์ กิโลกรัม ๐.๔๕
แกลลอน ลิตร ๓.๗๙
ลิตร แกลลอน ๐.๒๖
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 331

ตาราง ด-๙ ค่า TF/PF

เครื่องกั้นรังสีในสภาพแวดล้อม TF PF
ยานเกราะ    
ถ. เอ็ม ๑ ๐.๐๔๐๐ ๒๕. ๐๐๐๐
ถ. เอ็ม ๔๘ ๐.๐๒๐๐ ๕๐.๐๐๐๐
ถ. เอ็ม ๖๐ ๐.๐๔๐๐ ๒๕.๐๐๐๐
รถรบทหารราบ เอ็ม ๒ ๐.๒๐๐๐ ๕.๐๐๐๐
รถรบทหารม้า เอ็ม ๓ ๐.๒๐๐๐ ๕.๐๐๐๐
รสพ. เอ็ม ๑๑๓ ๐.๓๐๐๐ ๓.๓๓๐๐
ป.อัตราจร เอ็ม ๑๐๙ ๐.๒๐๐๐ ๕.๐๐๐๐
รถบรรทุกสัมภาระ เอ็ม ๕๔๘ ๐.๗๐๐๐ ๑.๔๓๐๐
รถกู้ เอ็ม ๘๘ ๐.๐๙๐๐ ๑๑.๑๑๐๐
รถบังคับการ เอ็ม ๕๗๗ ๐.๓๐๐๐ ๓.๓๓๐๐
รถเกราะลาดตระเวนของหน่วยจู่โจมทางอากาศ ๐.๒๐๐๐ ๕.๐๐๐๐
รถรบทหารช่าง เอ็ม ๗๒๘ ๐.๐๔๐๐ ๒๕.๐๐๐๐
รยบ.    
๑/๔ ตัน ๐.๘๐๐๐ ๑.๒๕๐๐
๓/๔ ตัน ๐.๖๐๐๐ ๑.๖๗๐๐
๒ ๑/๒ ตัน ๐.๖๐๐๐ ๑.๖๗๐๐
๔-๗ ตัน ๐.๕๐๐๐ ๒.๐๐๐๐
สิ่งปลูกสร้าง    
อาคารหลายชั้น    
ชั้นบนสุด ๐.๐๑๐๐ ๑๐๐.๐๐๐๐
ชั้นล่าง ๆ ๐.๑๐๐๐ ๑๐.๐๐๐๐
บ้าน    
ชั้นหนึ่ง ๐.๖๐๐๐ ๑.๖๗๐๐
ชั้นใต้ดิน ๐.๑๐๐๐ ๑๐.๐๐๐๐
พื้นที่ในเมือง (ที่โล่ง) *๐.๗๐๐๐ *๑.๔๓๐๐
ป่า *๐.๘๐๐๐ *๑.๒๕๐๐
ที่ก�ำบังป้องกันใต้ดิน ๐.๐๐๐๒ ๑๐.๐๐๐๐
หลุมบุคคลยืนยิง ๐.๑๐๐๐ ๑๐.๐๐๐๐
* ค่าปัจจัยเหล่านี้ประยุกต์ใช้ได้กับอัตรารังสีที่ส�ำรวจทางอากาศ
332 ภาคผนวก ด

ตาราง ด-๑๐ ปัจจัยปรับอัตรารังสี (เป็นค่า ณ เวลา H +1 ชม.)


เวลา Decay Exponent (n)
หลังการระเบิด ๐.๖๐๐ ๐.๘๐๐ ๑.๐๐๐ ๑.๒๐๐ ๑.๔๐๐ ๑.๖๐๐ ๑.๘๐๐ ๒.๐๐๐
๑๐ นาที ๐.๓๔๑ ๐.๒๓๘ ๐.๑๖๗ ๐.๑๑๖ ๐.๐๘๑ ๐.๐๕๗ ๐.๐๔๐ ๐.๐๒๘
๒๐ นาที ๐.๕๑๗ ๐.๔๑๕ ๐.๓๓๓ ๐.๒๖๘ ๐.๒๑๕ ๐.๑๗๒ ๐.๑๓๘ ๐.๑๑๑
๓๐ นาที ๐.๖๖๐ ๐.๕๗๔ ๐.๕๐๐ ๐.๔๓๕ ๐.๓๗๙ ๐.๓๓๐ ๐.๒๘๗ ๐.๒๕๐
๔๐ นาที ๐.๗๘๔ ๐.๗๒๓ ๐.๖๖๗ ๐.๖๑๕ ๐.๕๖๗ ๐.๕๒๓ ๐.๔๘๒ ๐.๔๔๔
๕๐ นาที ๐.๘๙๖ ๐.๘๖๔ ๐.๘๓๓ ๐.๘๐๓ ๐.๗๗๕ ๐.๗๔๗ ๐.๗๒๐ ๐.๖๙๔
๑ ชม. ๐ นาที ๑.๐๐๐ ๑.๐๐๐ ๑.๐๐๐ ๑.๐๐๐ ๑.๐๐๐ ๑.๐๐๐ ๑.๐๐๐ ๑.๐๐๐
๑ ชม. ๑๐ นาที ๑.๐๙๐ ๑.๑๓๐ ๑.๑๖๐ ๑.๒๐๐ ๑.๒๔๐ ๑.๒๘๐ ๑.๓๒๐ ๑.๓๖๐
๑ ชม. ๒๐ นาที ๑.๑๘๐ ๑.๒๕๐ ๑.๓๓๐ ๑.๔๑๐ ๑.๔๙๐ ๑.๕๘๐ ๑.๖๗๐ ๑.๗๗๐
๑ ชม. ๓๐ นาที ๑.๒๗๐ ๑.๓๘๐ ๑.๕๐๐ ๑.๖๒๐ ๑.๗๖๐ ๑.๙๑๐ ๒.๐๗๐ ๒.๒๕๐
๑ ชม. ๔๐ นาที ๑.๓๕๐ ๑.๕๐๐ ๑.๖๖๐ ๑.๘๔๐ ๒.๐๔๐ ๒.๒๖๐ ๒.๕๐๐ ๒.๗๗๐
๑ ชม. ๕๐ นาที ๑.๔๓๐ ๑.๖๒๐ ๑.๘๓๐ ๒.๐๗๐ ๒.๓๓๐ ๒.๖๓๐ ๒.๙๗๐ ๓.๓๖๐
๒ ชม. ๐ นาที ๑.๕๑๐ ๑.๗๔๐ ๒.๐๐๐ ๒.๒๙๐ ๒.๖๓๐ ๓.๐๓๐ ๓.๔๘๐ ๔.๐๐๐
๒ ชม. ๑๕ นาที ๑.๖๒๐ ๑.๙๑๐ ๒.๒๕๐ ๒.๖๔๐ ๓.๑๑๐ ๓.๖๖๐ ๔.๓๐๐ ๕.๐๖๐
๒ ชม. ๓๐ นาที ๑.๗๓๐ ๒.๐๘๐ ๒.๕๐๐ ๓.๐๐๐ ๓.๖๐๐ ๔.๓๓๐ ๕.๒๐๐ ๖.๒๕๐
๒ ชม. ๔๕ นาที ๑.๘๓๐ ๒.๒๔๐ ๒.๗๕๐ ๓.๓๖๐ ๔.๑๒๐ ๕.๐๔๐ ๖.๑๗๐ ๗.๕๖๐
๓ ชม. ๐ นาที ๑.๙๓๐ ๒.๔๐๐ ๓.๐๐๐ ๓.๗๓๐ ๔.๖๕๐ ๕.๘๐๐ ๗.๒๒๐ ๙.๐๐๐
๓ ชม. ๑๕ นาที ๒.๐๒๐ ๒.๕๖๐ ๓.๒๕๐ ๔.๑๑๐ ๕.๒๐๐ ๖.๕๙๐ ๘.๓๔๐ ๑๐.๕๖๐
๓ ชม. ๓๐ นาที ๒.๑๒๐ ๒.๗๒๐ ๓.๕๐๐ ๔.๔๙๐ ๕.๗๗๐ ๗.๔๒๐ ๙.๕๓๐ ๑๒.๒๕๐
๓ ชม. ๔๕ นาที ๒.๒๑๐ ๒.๘๗๐ ๓.๗๕๐ ๔.๘๘๐ ๖.๓๖๐ ๘.๒๘๐ ๑๐.๗๙๐ ๑๔.๐๖๐
๔ ชม. ๐ นาที ๒.๒๙๐ ๓.๐๓๐ ๔.๐๐๐ ๕.๒๗๐ ๖.๙๖๐ ๙.๑๙๐ ๑๒.๑๒๐ ๑๖.๐๐๐
๔ ชม. ๒๐ นาที ๒.๔๑๐ ๓.๒๓๐ ๔.๓๓๐ ๕.๘๑๐ ๗.๗๙๐ ๑๐.๔๔๐ ๑๔.๐๐๐ ๑๘.๗๗๐
๔ ชม. ๔๐ นาที ๒.๕๒๐ ๓.๔๒๐ ๔.๖๖๐ ๖.๓๕๐ ๘.๖๔๐ ๑๑.๗๖๐ ๑๖.๐๐๐ ๒๑.๗๗๐
๕ ชม. ๐ นาที ๒.๖๒๐ ๓.๖๒๐ ๕.๐๐๐ ๖.๘๙๐ ๙.๕๑๐ ๑๓.๑๓๐ ๑๘.๑๑๐ ๒๕.๐๐๐
๕ ชม. ๒๐ นาที ๒.๗๓๐ ๓.๘๑๐ ๕.๓๓๐ ๗.๔๕๐ ๑๐.๔๑๐ ๑๔.๕๖๐ ๒๐.๓๕๐ ๒๘.๔๔๐
๕ ชม. ๔๐ นาที ๒.๘๓๐ ๔.๐๐๐ ๕.๖๖๐ ๘.๐๑๐ ๑๑.๓๔๐ ๑๖.๐๔๐ ๒๒.๖๙๐ ๓๒.๑๑๐
๖ ชม. ๐ นาที ๒.๙๓๐ ๔.๑๙๐ ๖.๐๐๐ ๘.๕๘๐ ๑๒.๒๘๐ ๑๗.๕๘๐ ๒๕.๑๕๐ ๓๖.๐๐๐
๖ ชม. ๒๐ นาที ๓.๐๒๐ ๔.๓๗๐ ๖.๓๓๐ ๙.๑๖๐ ๑๓.๒๕๐ ๑๙.๑๗๐ ๒๗.๗๒๐ ๔๐.๑๑๐
๖ ชม. ๔๐ นาที ๓.๑๒๐ ๔.๕๖๐ ๖.๖๖๐ ๙.๗๔๐ ๑๔.๒๓๐ ๒๐.๘๐๐ ๓๐.๔๑๐ ๔๔.๔๔๐
๗ ชม. ๐ นาที ๓.๒๑๐ ๔.๗๔๐ ๗.๐๐๐ ๑๐.๓๓๐ ๑๕.๒๔๐ ๒๒.๔๙๐ ๓๓.๒๐๐ ๔๙.๐๐๐
๗ ชม. ๒๐ นาที ๓.๓๐๐ ๔.๙๒๐ ๗.๓๓๐ ๑๐.๙๒๐ ๑๖.๒๗๐ ๒๔.๒๓๐ ๓๖.๑๐๐ ๕๓.๗๗๐
๗ ชม. ๔๐ นาที ๓.๓๙๐ ๕.๑๐๐ ๗.๖๖๐ ๑๑.๕๒๐ ๑๗.๓๑๐ ๒๖.๐๒๐ ๓๙.๑๑๐ ๕๘.๗๗๐
๘ ชม. ๐ นาที ๓.๔๘๐ ๕.๒๗๐ ๘.๐๐๐ ๑๒.๑๒๐ ๑๘.๓๗๐ ๒๗.๘๕๐ ๔๒.๒๒๐ ๖๔.๐๐๐
๙ ชม. ๐ นาที ๓.๗๓๐ ๕.๘๐๐ ๙.๐๐๐ ๑๓.๙๖๐ ๒๑.๖๗๐ ๓๓.๖๓๐ ๕๒.๑๙๐ ๘๑.๐๐๐
๑๐ ชม. ๐ นาที ๓.๙๘๐ ๖.๓๑๐ ๑๐.๐๐๐ ๑๕.๘๔๐ ๒๕.๑๑๐ ๓๙.๘๑๐ ๖๓.๐๙๐ ๑๐๐.๐๐๐
๑๑ ชม. ๐ นาที ๔.๒๑๐ ๖.๘๐๐ ๑๑.๐๐๐ ๑๗.๗๖๐ ๒๘.๗๐๐ ๔๖.๓๖๐ ๗๔.๙๐๐ ๑๒๑.๐๐๐
๑๒ ชม. ๐ นาที ๔.๔๔๐ ๗.๓๐๐ ๑๒.๐๐๐ ๑๙.๗๒๐ ๓๒.๔๒๐ ๕๓.๒๙๐ ๘๗.๖๐๐ ๑๔๔.๐๐๐
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 333

ตาราง ด-๑๑ การก�ำหนดประเภทความคงตัวของอากาศ

ตอนเช้า (AM) ตอนบ่าย (PM)


สภาพของท้องฟ้า สภาพของท้องฟ้า

มุมยกของ ไม่มีเมฆ/ เมฆปกคลุม มุมยกของ ไม่มีเมฆ/ เมฆปกคลุม


ดวงอาทิตย์ เมฆปกคลุม มากกว่าครึ่ง ท้องฟ้า ดวงอาทิตย์ เมฆปกคลุม มากกว่าครึ่ง ท้องฟ้า
น้อยกว่าครึ่ง มืดครึ้ม น้อยกว่าครึ่ง มืดครึ้ม
ท้องฟ้า ท้องฟ้า
ท้องฟ้า ท้องฟ้า
<๔° S S N >๔๖° U U N
>๔°-๓๒° N N N >๓๕°-๔๖° U N N
>๓๒°-๔๐° U N N >๑๒°-๓๕° N N N
>๔๐° U U N >๕°-๑๒° S N N
U=ไม่คงตัว N=เป็นกลาง S=คงตัว <๕° S S N
ค่าที่ใช้กับตาราง :  - เวลาของวันนั้น  
- ปริมาณเมฆ  
- มุมยกของดวงอาทิตย์ (เวลากลางคืน >๔°)  
หมายเหตุ :  
๑. ประเภทความคงตัวของอากาศในตารางนี้จะต้องได้รับการปรับโดยการใช้ตาราง ด-๑๒
๒. ตารางมุมยกของดวงอาทิตย์นี้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ชาติต่าง ๆ อาจแปลงตารางนี้ให้อยู่ในรูปแบบที่
เหมาะสมส�ำหรับการใช้งานของตน
334 ภาคผนวก ด

ตาราง ด-๑๒ การปรับประเภทความคงตัวของอากาศ

ลักษณะเฉพาะของพื้นดิน (ภูมิประเทศ) และ ประเภทความคงตัวของอากาศ


อิทธิพลของอากาศ U N S
พื้นผิวแห้งจนถึงชื้นเล็กน้อย U N S
พื้นผิวเปียก (ได้แก่ ภายหลังฝนหรือน�้ำค้างตก
อย่างต่อเนื่อง) N N S
พื้นผิวเป็นน�้ำแข็ง หรือ บางส่วนปกคลุมด้วยหิมะ
น�้ำแข็ง หรือ น�้ำค้างแข็ง N S S
พื้นผิวทั้งหมดปกคลุมด้วยหิมะ S S S
ฝนตกอย่างต่อเนื่อง N N N
หมอกบางหรือหมอกน�้ำค้าง (ทัศนวิสัย ๑-๔ กม.) N N S
หมอก (ทัศนวิสัยน้อยกว่า ๑ กม.) N S S
ความเร็วลมเกิน ๑๘ กม./ชม. N N N
ตารางนี้ใช้ส�ำหรับการปรับประเภทความคงตัวของอากาศในตาราง ด-๑๑ โดยค�ำนึงถึงอิทธิพลต่าง ๆ
ที่มีต่อพื้นผิวและอากาศ ทั้งนี้จะต้องตรวจสอบสภาพภูมิประเทศและอากาศเสียก่อนว่าเป็นแบบใดที่
ระบุไว้ใน ตาราง ด-๑๒ และในกรณีที่ไม่กระจ่างจะต้องเลือกประเภทที่คงตัวมากที่สุด
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 335

ตาราง ด-๑๓ เมฆกัมมันตรังสีและค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับล�ำดอกเห็ด (เสถียรเมื่อ H+10 นาที)


ขนาดอาวุธ ความสูงของ ความสูงของ ความสูง ๒/๓ ของ เวลาฝุ่นตก
รัศมีเมฆ
(KT) ยอดเมฆ ฐานเมฆ ล�ำดอกเห็ด (จากฐานเมฆ)
กม. ไมล์
กม. ๑,๐๐๐ ฟุต กม. ๑,๐๐๐ ฟุต กม. ๑,๐๐๐ ฟุต ชั่วโมง*
๐.๑๕ ๒.๔ ๗.๙ ๑.๓ ๔.๓ ๐.๙ ๒.๙ ๐.๔ ๐.๒ ๐.๔
๐.๒๐ ๒.๖ ๘.๕ ๑.๔ ๔.๖ ๐.๙ ๓.๑ ๐.๕ ๐.๓ ๐.๔
๐.๓๐ ๒.๘ ๙.๒ ๑.๕ ๔.๙ ๑.๐ ๓.๓ ๐.๖ ๐.๔ ๐.๔
๐.๔๐ ๓.๐ ๙.๘ ๑.๖ ๕.๓ ๑.๑ ๓.๕ ๐.๗ ๐.๔ ๐.๕
๐.๕๐ ๓.๒ ๑๑.๐ ๑.๗ ๕.๖ ๑.๑ ๓.๗ ๐.๗ ๐.๔ ๐.๕
๐.๖๐ ๓.๓ ๑๑.๐ ๑.๘ ๕.๙ ๑.๒ ๓.๙ ๐.๘ ๐.๕ ๐.๕
๐.๗๐ ๓.๔ ๑๑.๐ ๑.๘ ๕.๙ ๑.๒ ๓.๙ ๐.๘ ๐.๕ ๐.๕
๐.๘๐ ๓.๕ ๑๑.๐ ๑.๙ ๖.๒ ๑.๓ ๔.๑ ๐.๙ ๐.๖ ๐.๕
๐.๙๐ ๓.๖ ๑๒.๐ ๒.๐ ๖.๖ ๑.๓ ๔.๔ ๐.๙ ๐.๖ ๐.๕
๑.๐๐ ๓.๗ ๑๒.๐ ๒.๐ ๖.๖ ๑.๓ ๑.๑ ๑.๐ ๐.๖ ๐.๕
๒.๐๐ ๔.๔ ๑๔.๐ ๒.๓ ๗.๕ ๑.๕ ๒.๐ ๑.๓ ๐.๘ ๐.๖
๓.๐๐ ๕.๑ ๑๗.๐ ๒.๘ ๙.๒ ๑.๙ ๓.๑ ๑.๕ ๐.๙ ๐.๗
๔.๐๐ ๕.๗ ๑๙.๐ ๓.๓ ๑๑.๐ ๒.๒ ๗.๓ ๑.๗ ๑.๑ ๐.๘
๕.๐๐ ๖.๓ ๒๑.๐ ๓.๖ ๑๒.๐ ๒.๔ ๘.๐ ๑.๙ ๑.๒ ๐.๙
๖.๐๐ ๖.๗ ๒๒.๐ ๔.๐ ๑๓.๐ ๒.๗ ๘.๗ ๒.๑ ๑.๓ ๑.๐
๗.๐๐ ๗.๒ ๒๔.๐ ๔.๓ ๑๔.๐ ๒.๙ ๙.๓ ๒.๒ ๑.๔ ๑.๐
๘.๐๐ ๗.๕ ๒๕.๐ ๔.๖ ๑๕.๐ ๓.๑ ๑๐.๐ ๒.๓ ๑.๔ ๑.๑
๙.๐๐ ๗.๙ ๒๖.๐ ๔.๘ ๑๖.๐ ๓.๒ ๑๑.๐ ๒.๔ ๑.๕ ๑.๑
๑๐.๐๐ ๘.๒ ๒๗.๐ ๕.๑ ๑๗.๐ ๓.๔ ๑๑.๐ ๒.๖ ๑.๖ ๑.๑
๒๐.๐๐ ๑๑.๐ ๓๖.๐ ๗.๒ ๒๔.๐ ๔.๘ ๑๖.๐ ๓.๔ ๒.๑ ๑.๕
๓๐.๐๐ ๑๒.๐ ๓๙.๐ ๗.๖ ๒๕.๐ ๕.๑ ๑๗.๐ ๔.๐ ๒.๕ ๑.๖
๔๐.๐๐ ๑๒.๐ ๓๙.๐ ๘.๐ ๒๖.๐ ๕.๓ ๑๗.๐ ๔.๖ ๒.๙ ๑.๖
๕๐.๐๐ ๑๓.๐ ๔๓.๐ ๘.๓ ๒๗.๐ ๕.๕ ๑๘.๐ ๕.๐ ๓.๑ ๑.๗
๖๐.๐๐ ๑๓.๐ ๔๓.๐ ๘.๕ ๒๘.๐ ๕.๗ ๑๙.๐ ๕.๔ ๓.๔ ๑.๗
๗๐.๐๐ ๑๔.๐ ๔๖.๐ ๘.๗ ๒๙.๐ ๕.๘ ๑๙.๐ ๕.๘ ๓.๖ ๑.๘
๘๐.๐๐ ๑๔.๐ ๔๖.๐ ๘.๙ ๒๙.๐ ๕.๙ ๑๙.๐ ๖.๑ ๓.๘ ๑.๘
๙๐.๐๐ ๑๔.๐ ๔๖.๐ ๙.๑ ๓๐.๐ ๖.๑ ๒๐.๐ ๖.๔ ๔.๐ ๑.๘
๑๐๐.๐๐ ๑๔.๐ ๔๖.๐ ๙.๓ ๓๑.๐ ๖.๒ ๒๑.๐ ๖.๗ ๔.๒ ๑.๙
๒๐๐.๐๐ ๑๖.๐ ๕๓.๐ ๑๐.๐ ๓๓.๐ ๖.๗ ๒๒.๐ ๙.๐ ๕.๖ ๒.๐
๓๐๐.๐๐ ๑๗.๐ ๕๖.๐ ๑๑.๐ ๓๖.๐ ๗.๓ ๒๔.๐ ๑๑.๐ ๖.๘ ๒.๑
๔๐๐.๐๐ ๑๘.๐ ๕๙.๐ ๑๒.๐ ๓๙.๐ ๘.๐ ๒๖.๐ ๑๒.๐ ๗.๕ ๒.๓
๕๐๐.๐๐ ๑๙.๐ ๖๒.๐ ๑๒.๐ ๓๙.๐ ๘.๐ ๒๖.๐ ๑๓.๐ ๘.๑ ๒.๓
๖๐๐.๐๐ ๒๐.๐ ๖๖.๐ ๑๒.๐ ๓๙.๐ ๘.๐ ๒๖.๐ ๑๔.๐ ๘.๗ ๒.๓
๗๐๐.๐๐ ๒๐.๐ ๖๖.๐ ๑๓.๐ ๔๓.๐ ๘.๗ ๒๙.๐ ๑๕.๐ ๙.๓ ๒.๔
๘๐๐.๐๐ ๒๑.๐ ๖๙.๐ ๑๓.๐ ๔๓.๐ ๘.๗ ๒๙.๐ ๑๖.๐ ๙.๙ ๒.๔
๙๐๐.๐๐ ๒๑.๐ ๖๙.๐ ๑๓.๐ ๔๓.๐ ๘.๗ ๒๙.๐ ๑๗.๐ ๑๑.๐ ๒.๔
336 ภาคผนวก ด

ความสูงของ ความสูงของ ความสูง ๒/๓ ของ รัศมีเมฆ เวลาฝุ่นตก


ขนาดอาวุธ
ยอดเมฆ ฐานเมฆ ล�ำดอกเห็ด (จากฐานเมฆ)
(KT)
กม. ๑,๐๐๐ ฟุต กม. ๑,๐๐๐ ฟุต กม. ๑,๐๐๐ ฟุต กม. ไมล์ ชั่วโมง*

MT ๑.๐๐ ๒๒.๐ ๗๒.๐ ๑๓.๐ ๔๓.๐ ๘.๗ ๒๙.๐ ๑๘.๐ ๑๑.๐ ๒.๔
๒.๐๐ ๒๔.๐ ๗๙.๐ ๑๕.๐ ๔๙.๐ ๑๐.๐ ๓๓.๐ ๒๔.๐ ๑๕.๐ ๒.๗
๓.๐๐ ๒๖.๐ ๘๕.๐ ๑๖.๐ ๕๓.๐ ๑๑.๐ ๓๕.๐ ๒๘.๐ ๑๗.๐ ๒.๙
๔.๐๐ ๒๘.๐ ๙๒.๐ ๑๗.๐ ๕๖.๐ ๑๑.๐ ๓๗.๐ ๓๒.๐ ๒๐.๐ ๒.๙
๕.๐๐ ๒๘.๐ ๙๕.๐ ๑๗.๐ ๕๖.๐ ๑๑.๐ ๓๗.๐ ๓๕.๐ ๒๒.๐ ๒.๙
๖.๐๐ ๓๐.๐ ๙๘.๐ ๑๘.๐ ๕๙.๐ ๑๒.๐ ๓๙.๐ ๓๗.๐ ๒๓.๐ ๓.๑
๗.๐๐ ๓๑.๐ ๑๐๒.๐ ๑๘.๐ ๕๙.๐ ๑๒.๐ ๓๙.๐ ๔๐.๐ ๒๕.๐ ๓.๑
๘.๐๐ ๓๑.๐ ๑๐๒.๐ ๑๙.๐ ๖๒.๐ ๑๓.๐ ๔๑.๐ ๔๒.๐ ๒๖.๐ ๓.๓
๙.๐๐ ๓๒.๐ ๑๐๕.๐ ๑๙.๐ ๖๒.๐ ๑๓.๐ ๔๑.๐ ๔๔.๐ ๒๗.๐ ๓.๓
๑๐.๐๐ ๓๓.๐ ๑๐๘.๐ ๑๙.๐ ๖๒.๐ ๑๓.๐ ๔๑.๐ ๔๖.๐ ๒๙.๐ ๓.๓
๒๐.๐๐ ๓๗.๐ ๑๒๑.๐ ๒๑.๐ ๖๙.๐ ๑๔.๐ ๔๖.๐ ๖๒.๐ ๓๙.๐ ๓.๖
๓๐.๐๐ ๔๐.๐ ๑๓๑.๐ ๒๓.๐ ๗๕.๐ ๑๕.๐ ๕๐.๐ ๗๔.๐ ๔๖.๐ ๓.๘
๔๐.๐๐ ๔๒.๐ ๑๓๘.๐ ๒๔.๐ ๗๙.๐ ๑๖.๐ ๕๓.๐ ๘๓.๐ ๕๒.๐ ๔.๐
๕๐.๐๐ ๔๓.๐ ๑๔๑.๐ ๒๕.๐ ๘๒.๐ ๑๗.๐ ๕๕.๐ ๙๑.๐ ๕๗.๐ ๔.๑
๖๐.๐๐ ๔๕.๐ ๑๔๘.๐ ๒๖.๐ ๘๕.๐ ๑๗.๐ ๕๗.๐ ๙๙.๐ ๖๒.๐ ๔.๑
๗๐.๐๐ ๔๖.๐ ๑๕๑.๐ ๒๖.๐ ๘๕.๐ ๑๗.๐ ๕๗.๐ ๑๐๕.๐ ๖๕.๐ ๔.๑
๘๐.๐๐ ๔๗.๐ ๑๕๔.๐ ๒๗.๐ ๘๙.๐ ๑๘.๐ ๕๙.๐ ๑๑๑.๐ ๖๙.๐ ๔.๓
๙๐.๐๐ ๔๘.๐ ๑๕๘.๐ ๒๗.๐ ๘๙.๐ ๑๘.๐ ๕๙.๐ ๑๑๗.๐ ๗๓.๐ ๔.๓
๑๐๐.๐๐ ๔๙.๐ ๑๖๑.๐ ๒๘.๐ ๙๒.๐ ๑๙.๐ ๖๑.๐ ๑๒๒.๐ ๗๖.๐ ๔.๕
หมายเหตุ : ๐.๑ ชั่วโมงเท่ากับ ๖ นาที
๑ : ๕๐๐,๐๐๐ กิโลเมตร

๑ : ๒๕๐,๐๐๐ กิโลเมตร

๑ : ๑๐๐,๐๐๐ กิโลเมตร

ภาพ ด-๑ มาตราส่วนแผนที่


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

๑ : ๕๐,๐๐๐ กิโลเมตร

๑ : ๒๕,๐๐๐ กิโลเมตร
337
338 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๒ แฮร์ไลน์


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 339

ภาพ ด-๓ โนโมแกรมส�ำหรับหาค่าเกี่ยวกับเมฆกัมมันตรังสี และค่าต่าง ๆ


เกี่ยวกับดอกเห็ด (เสถียรเมื่อ H+10 นาที)
340 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๔ กราฟของเมฆกัมมันตรังสีและตัวแปรเกี่ยวกับล�ำดอกเห็ด

ภาพ ด-๕ ค่าของระยะปลอดภัยขึ้นอยู่กับขนาดของอาวุธนิวเคลียร์


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 341

(๕

(วินาที)

ภาพ ด-๖ การประมาณขนาดอาวุธจากความกว้างของเมฆนิวเคลียร์และเวลาแสง-ถึง-เสียง/


ระยะทางถึงจุดศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น
342 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๗ การประมาณขนาดอาวุธจากมุมยอดเมฆ/ฐานเมฆและเวลาแสง-ถึง-เสียง/


ระยะทางถึงจุดศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 343

ภาพ ด-๘ การหาระยะทางใต้ลมเขต I


344 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๙ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.2)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 345

ภาพ ด-๑๐ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.3)


346 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๑๑ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.4)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 347

ภาพ ด-๑๒ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.5)


348 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๑๓ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.6)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 349

ภาพ ด-๑๔ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.7)


350 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๑๕ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.8)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 351

ภาพ ด-๑๖ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=0.9)


352 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๑๗ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.0)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 353

ภาพ ด-๑๘ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.1)


354 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๑๙ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.2)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 355

ภาพ ด-๒๐ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.3)


356 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๒๑ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.4)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 357

เซนติเกรย์ ต่อชั่วโมง เซนติเกรย์ ต่อชั่วโมง

โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่ นกัมมันตรั งสี 

เวลา 

(จํานวนชัว่ โมงหลังการระเบิด)

ภาพ ด-21 โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.4)

318
 

ภาพ ด-๒๒ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.5)


358 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๒๓ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.6)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 359

ภาพ ด-๒๔ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.7)


360 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๒๕ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.8)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 361

ภาพ ด-๒๖ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=1.9)


362 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๒๗ โนโมแกรมการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี (n=2.0)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 363

ภาพ ด-๒๘ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.2)


364 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๒๙ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.3)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 365

ภาพ ด-๓๐ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.4)


366 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๓๑ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.5)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 367

ภาพ ด-๓๒ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.6)


368 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๓๓ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.7)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 369

ภาพ ด-๓๔ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.8)


370 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๓๕ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=0.9)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 371

ภาพ ด-๓๖ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.0)


372 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๓๗ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.1)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 373

ภาพ ด-๓๘ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.2)


374 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๓๙ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.3)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 375

ภาพ ด-๔๐ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.4)


376 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๔๑ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.5)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 377

ภาพ ด-๔๒ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.6)


378 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๔๓ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.7)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 379

ภาพ ด-๔๔ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งหมด (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.8)


380 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๔๕ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=1.9)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 381

ภาพ ด-๔๖ โนโมแกรมปริมาณรังสีทั้งสิ้น (จากผุ่นกัมมันตรังสี) (n=2.0)


382 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๔๗ การหาปัจจัยอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน (H+1) ด้วยวิธีกราฟ


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 383

ภาพ ด-๔๘ การหาปัจจัยอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน (H+48) ด้วยวิธีกราฟ


384 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๔๙ ปัจจัยตัวคูณ


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 385

ภาพ ด-๕๐ การสลายตัวของรังสีชักน�ำ (ดินประเภทที่ I)


386 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๕๑ การสลายตัวของรังสีชักน�ำ (ดินประเภทที่ II)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 387

ภาพ ด-๕๒ การสลายตัวของรังสีชักน�ำ (ดินประเภทที่ III)


388 ภาคผนวก ด

ภาพ ด-๕๓ การสลายตัวของรังสีชักน�ำ (ดินประเภทที่ IV)


คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 389

ภาพ ด-๕๔ โนโมแกรมปริมาณรังสีชักน�ำทั้งสิ้นที่ได้รับในพื้นที่แผ่รังสีชักน�ำ


ผนวก ต
การค�ำนวณ
ผนวกนี้ประกอบด้วยการคำ�นวณที่เกี่ยวข้องกับการพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษดังนี้
ระยะทางอันตรายตามลม :
d1 = µ1* t1
d2 = 2 µ2
d3 = 2 µ3
ผลรวมระยะทางอันตรายตามลม :
DA = d1+ d2+ d3
ระยะทางแนวขอบหน้าและแนวขอบหลังของเมฆ :
DL = 1.5 * DA
DT = 0.5 * DA
พื้นที่อันตรายเริ่มต้น (สำ�หรับสารชีวะเท่านั้น) :
H1 = A + d1 หรือ A + (u1 * t1 )
การคำ�นวณต่อไปนี้อยู่ในผนวก ช วิธีการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษนิวเคลียร์
เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึง :
ระยะทางจาก GZ = เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีมาถึง
ความเร็วลม (กม./ชม.)
ความเร็วลม (EWS) = ความยาวของเส้นรัศมีจาก GZ ถึงความสูงของฐานเมฆ (กม.)
เวลาที่ฝุ่นตกจากฐานเมฆ (ชม.)
เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีตกสมบูรณ์ :
Tcomp = (1.25 x Tarrival) + (2 x รัศมีเมฆ)
ความเร็วลม
การวัดข้อมูลรังสี :
TF = อัตรารังสีภายในเครื่องกั้นรังสี (ID)
อัตรารังสีภายนอก (OD)
OD = ID/TF
CF = 1 = OD
TF ID
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 391

ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ–พื้นดิน (AGCF) = อัตรารังสีบนพื้นดิน


อัตรารังสีในอากาศ
อัตรารังสีบนพื้นดิน = อัตรารังสีในอากาศ x ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ-พื้นดิน
การคำ�นวณหา H hour หรือเวลาระเบิด (TOB) :
T1 = Tb-Ta
(Ra/Rb)1/n-1
การหาค่าการสลายตัวของฝุ่นกัมมันตรังสี :
R1xt1n = R2xt2n
การหาค่าอัตราการสลายตัว :
n = log (Ra/Rb)
log (Tb/Ta)
ช่วงเวลาที่ยังใช้อัตราการสลายตัว (n) ได้ :
Tp = 3 (Tb – Ta) + Tb
ปัจจัยปรับอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน (NF) :
R1 = NF x R2
NF = (T2)n
ปัจจัยแก้ค่ารวม (OCF):
NF x AGCF = OCF หรือ NF x VCF = OCF
การลงข้อมูลและการจัดทำ�รายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์ :
ห้วงระยะ = ความยาวของเส้นทางหรือห้วงเส้นทาง (กม.)
(จำ�นวนครั้งของการอ่าน -๑)
การหาค่าอัตรารังสี ณ เวลาใด ๆ :
R1xT1n = R2xT2n สามารถใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์หาค่าตัวแปรที่ไม่ทราบ
ค่าได้
คือ R2 = R1/(T2)n หรือ = R1/NF
การหาเวลาที่คาดว่าจะมีค่าอัตรารังสีตามที่กำ�หนด :
R1xT1n = R2xT2n สามารถใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์หาค่าตัวแปรที่ไม่ทราบ
ค่าได้
คือ t2 = R1 X t1/R2
หมายเหตุ : ถ้า R1 เป็นอัตรารังสีที่ปรับมาเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน H+1 แล้ว t1 จะเป็น 1
เสมอ ดังนั้นจะตั้งสมการได้ดังนี้ t2 = R1/ R2
392 ภาคผนวก ต

การหาปริมาณรังสีทั้งสิ้น :
D = RTe x Ts สามารถใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์หาค่าตัวแปรที่ไม่ทราบค่า
ได้
คือ RTe = R1
(Te)n
D = R1 x Ts
(Te)n
การข้ามพื้นที่เปื้อนพิษฝุ่นกัมมันตรังสี :
Ravg = Rmax
2
เวลาที่ดีที่สุดในการออกจากพื้นที่ (Topt) :
TFRatio = TFS /TFM
Topt = MF x Tev
พื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวนำ� :
Ravg = Rmax
2
Ts = ระยะทาง
ความเร็ว
ID = OD x TF
อัตราการสลายตัว :
n = 1 x 1n Ra
t 〕 Ra+t〕
การหาอัตรารังสี ณ เวลาใดๆ :
R1 + t = Ra (-n x t)
ปริมาณรังสีสะสมในพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวนำ� :
t t
D = R1/n ((-n x in) – (-n x out))
เวลาออกจากพื้นที่เปื้อนพิษรังสีนิวตรอนเหนี่ยวนำ�ที่จะได้รับปริมาณรังสีสูงสุด :
Tout = -1/n* n ((-n*Te) - (n*DL)/R1))
เวลาเข้าพื้นที่เร็วที่สุด :
Te = -1/n* (DL/(R*n* (1-(-n*Ts))
ผนวก ถ
แบบฟอร์มรายงาน
แบบฟอร์มรายงานข่าวที่ใช้มีดังต่อไปนี้
 แบบรายงานข้อมูลกัมมันตภาพรังสีการเฝ้าตรวจหรือการส�ำรวจเป็นจุด
 แบบรายงานข้อมูลกัมมันตภาพรังสีการส�ำรวจตามเส้นทางหรือเป็นห้วงเส้นทาง
 แบบรายงานข้อมูลเคมี/ชีวะหรือ ROTA การเฝ้าตรวจหรือการส�ำรวจ
 แผ่นค�ำนวณข่าวสารทิศทางลม
 แบบบันทึกสถานภาพการรับรังสีของหน่วย
 แผ่นค�ำนวณการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี - การระเบิดที่ผิวพื้น
 แบบรายงานข้อมูลเคมี/ชีวะ/การปล่อยกระจายสารที่ไม่ใช่การโจมตีทางทหาร
 แบบรายงาน นชค.๑ รายงานขั้นต้นการโจมตี
 แบบรายงาน นชค.๒ รายงานข้อมูลที่ได้รับการประเมิน
 แบบรายงาน นชค.๓ การเตือนภัยทันทีเกี่ยวกับการเปื้อนพิษที่คาดว่าจะเกิด
 แบบรายงาน นชค.๔ ผลการลาดตระเวน/เก็บตัวอย่าง/การเฝ้าตรวจ/การส�ำรวจ
 แบบรายงาน นชค.๕ รายงานพื้นที่เปื้อนพิษจริง
 แบบรายงาน นชค.๖ ข่าวสารอย่างละเอียดของการโจมตีด้วยอาวุธ คชรน./การ
ปล่อยกระจายสารที่ไม่ใช่การโจมตีทางทหาร
394 ภาคผนวก ถ

แบบรายงานข้อมูลกัมมันตภาพรังสี วันที่ หน้าที่ ในจ�ำนวนหน้า


การเฝ้าตรวจหรือการส�ำรวจเป็นจุด
ชื่อชุดส�ำรวจหรือ ชื่อผู้อ่านรังสี
หน่วยตรวจวัดรังสี (เขียนตัวบรรจง)
แผนที่ ชนิดของยานพาหนะหรือ ชนิดของเครื่องกั้นรังสี
เครื่องกั้นรังสีอย่างอื่น
ล�ำดับ ต�ำแหน่ง เวลา อัตรารังสี ห้ามใช้* ล�ำดับ ต�ำแหน่ง เวลา อัตรารังสี ห้ามใช้*
การอ่าน ที่อ่าน (cGyph) การอ่าน ที่อ่าน (cGyph)

หมายเหตุ :
*ห้ามใช้ ส�ำหรับส่วน คชรน.เท่านั้น
ข้อมูลปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์
ต�ำแหน่ง ล�ำดับ อัตรารังสี (cGyph) ต�ำแหน่ง ล�ำดับ อัตรารังสี (cGyph)
ที่อ่าน การอ่าน CF* ที่อ่าน การอ่าน CF*
ภายใน ภายนอก ภายใน ภายนอก
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 395

แบบรายงานข้อมูลกัมมันตภาพรังสีการส�ำรวจตาม วันที่ หน้าที่ ในจ�ำนวนหน้า


เส้นทางหรือเป็นห้วงเส้นทาง (ทางพื้นดินและทางอากาศ)
ชื่อชุดส�ำรวจรังสี ชื่อผู้อ่านรังสี
(เขียนตัวบรรจง)
แผนที่ ชนิดของอากาศยาน ชนิดของเครื่องวัดรังสี
หรือยานพาหนะ
เส้นทางหรือห้วงเส้นทาง
เวลาที่จุดเริ่มต้นของเส้นทางหรือห้วงเส้นทาง
เวลาที่จุดสุดท้ายของเส้นทาง (ทางพื้นดิน)
หรือความสูงของการส�ำรวจ (ทางอากาศ)
ห้วงระยะทางหรือเวลาที่ใช้
หมายเหตุ :

อัตรารังสี (cGyph)

อัตรารังสี (cGyph)

อัตรารังสี (cGyph)
ล�ำดับการอ่าน

ล�ำดับการอ่าน

ล�ำดับการอ่าน
ห้ามใช้**

ห้ามใช้**

ห้ามใช้**
เมื่อส�ำรวจทางพื้นดินให้รายงานเวลาที่จุดเริ่มต้นและจุด
สุดท้ายของแต่ละเส้นทางหรือแต่ละช่วงของเส้นทาง หาก
ส�ำรวจเส้นทางเป็นส่วน ๆ ให้ใช้ช่องเพียงหนึ่งแถวบันทึก
ข้อมูลของแต่ละส่วน
** ห้ามใช้ ส�ำหรับส่วน คชรน.เท่านั้น
ข้อมูลปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ/ยานพาหนะ
ความสูง (ฟุต) อัตรารังสี (cGyph)
ต�ำแหน่ง
ใช้ส�ำหรับทาง ภายใน ภายนอก CF**
ที่อ่าน
อากาศเท่านั้น อากาศ พื้นดิน
396 ภาคผนวก ถ

แบบรายงานข้อมูลเคมี/ชีวะหรือ ROTA วันที่ หน้าที่ ในจ�ำนวนหน้า


ของการเฝ้าตรวจหรือการส�ำรวจ
ชื่อหน่วย ชื่อชุดตรวจสอบหรือชุดส�ำรวจ
(เขียนตัวบรรจง)
แผนที่ หมายเลขชุดตรวจสอบ
ชนิดของเครื่องตรวจ
ต�ำแหน่ง/เวลาตรวจสอบ กระดาษ สารที่ตรวจหา
สัญญาณ ชุดตรวจ
ตรวจสาร อื่น ๆ
เตือนภัย สอบ
เคมี

หมายเหตุ :
แผ่นค�ำนวณข่าวสารทิศทางลม
เวลาที่ท�ำการวัดลม (กลุ่มวัน-เวลา) D D t t t t ______________________
ข้อมูลและการค�ำนวณ
บรรทัด ขนาด ความสูง ความสูงของ ๒/๓ ของ (๑) ความเร็วลม – SSS (กม./ชม.) (๒) (๓)
ข่าวสาร อาวุธ ของยอดเมฆ ฐานเมฆ ความสูงของ ระยะทางของเส้น (1) x 1 = SSS อาซิมุทของ อาซิมุทของ ทิศทางลม – ddd มุมของพื้นที่
(กิโลตัน) (เมตร) (เมตร) ล�ำดอกเห็ด รัศมี (GZ/CB) เวลาฝนตก เส้นรัศมี (GZ/CT) เส้นรัศมี (GZ/2/3) (องศา) เตือนภัย
(เมตร) (กิโลเมตร) ปัดเศษจนเป็น กม./ชม. (องศา) ล�ำดอกเห็ด (องศา) ผลบวกของ
(2)+(3) = (2)+(3) = ddd1
A 2 49,000 2,600 1,700 ________ _____ X 1.136 = _____ ________ ________ ________
2
B 5 7,100 4,400 2,800 ________ _____ X 0.758 = _____ ________ ________ _____ = 2 = ____ ________
C 30 11,600 7,700 5,100 ________ _____ X 0.455 = ____ ________ ________ _____ = 2 = ____ ________
D 100 14,400 9,300 6,200 ________ _____ X 0.385 = ____ ________ ________ _____ = 2 = ____ ________
E 300 16,700 11,000 7,400 ________ _____ X 0.333 = _____ ________ ________ _____ = 2 = ____ ________
F 1,000 21,000 13,500 9,000 ________ _____ X 0.286 = ____ ________ ________ _____ = 2 = ____ ________
G 3,000 26,250 15,800 10,500 ________ _____ X 0.250 = _____ ________ ________ _____ = 2 = ____ ________
ข่าวสารทิศทางลม
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

ZULU DDtttt __ __ __ __ __ __ __
ALFA dddsss __ __ __ __ __ __ __ __ __
BRAVO dddsss __ __ __ __ __ __ __ __ __
CHARLIE dddsss __ __ __ __ __ __ __ __ __
DELTA dddsss __ __ __ __ __ __ __ __ __
ECHO dddsss __ __ __ __ __ __ __ __ __
FOXTROT dddsss __ __ __ __ __ __ __ __ __
GOLF dddsss __ __ __ __ __ __ __ __ __
ถ้าอาซิมุทของเส้นรัศมี GZ/มุมยอดเมฆ (๒) หรืออาซิมุทของเส้นรัศมี GZ/2/3 ของล�ำดอกเห็ด (๓) อยู่ในควอดแดรนท์ที่ ๑ (๐°-๙๐°) และอีกเส้นหนึ่งอยู่ในควอดแดรนท์ที่ ๔ (๒๗๐°-๓๖๐°) ผล
ของ (2)+(3) จะเป็นอาซิมุทกลับของทิศทางลม ในกรณีนี้จะหา ddd ได้ด้วยวิธีต่อไปนี้ ถ้าผลที่ได้มากกว่า 180° ให้ลบด้วย ๑๘๐°; ถ้าผลที่ได้น้อยกว่า ๑๘๐° ให้บวกด้วย ๑๘๐° แล้วกรอกค่าที่ได้ลงใน
(2)
ข่าวสารทิศทางลม
397
398 ภาคผนวก ถ

แบบบันทึกสถานภาพการรับรังสีของหน่วย
หน่วย : วันที่ :
การรับรังสี การรับรังสี ปริมาณรังสี
หน่วยรอง สถานภาพการรับรังสี
ครั้งก่อน ครั้งใหม่ ทั้งสิ้นที่ได้รับ

รวมขั้น
สถานภาพการรับรังสี
สถานภาพ จ�ำนวนหน่วยขึ้นตรง สถานภาพ
รวมของหน่วย๒
การรับรังสี การรับรังสี๑
ของหน่วย ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ผลบวกของจ�ำนวนสถานภาพการรับรังสี ขั้นสถานภาพการรับรังสี
RES-0 ๐ ๐-๑ ๐-๑ ๐-๒ ๐-๒ ๐-๓ RES-0 ๐= ไม่เคยได้รับรังสีมาก่อน
๑= รับรังสีมากกว่า 0 cGyph แต่
RES-1 ๑-๒ ๒-๔ ๒-๕ ๓-๗ ๓-๘ ๔-๑๐ RES-1 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 70 cGyph
๒= รับรังสีมากกว่า 70 cGyph แต่
RES-2 ๓-๔ ๕-๗ ๖-๙ ๘-๑๒ ๙-๑๔ ๑๑-๑๗ RES-2 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 125 cGyph

RES-3 ๕-๖ ๘-๙ ๑๐-๑๒ ๑๓-๑๕ ๑๕-๑๘ ๑๘-๒๑ RES-3 ๓= รับรังสีมากกว่า 125 cGyph
หมายเหตุ :

การหาค่าในช่องรวมขั้นสถานภาพการรับรังสี ท�ำได้โดยการน�ำตัวเลขในช่องสถานภาพการรับรังสี
(๐, ๑, ๒, ๓ ของแต่ละหน่วยขึ้นตรง) มารวมกัน

การหาสถานภาพการรับรังสีรวมของหน่วย ท�ำได้โดยนับจ�ำนวนหน่วยขึ้นตรงทั้งหมด แล้วดูตารางด้าน
ล่างตรงช่องจ�ำนวนหน่วยขึ้นตรง เลือกค่าจ�ำนวนหน่วยขึ้นตรงให้ตรงกับค่าที่นับไว้ ดูค่าผลบวกของ
จ�ำนวนสถานภาพการรับรังสีในช่วงเดียวกันเรื่อยลงมาทางด้านล่างจนตรงกับค่ารวมขั้นสถานภาพการรับ
รังสีที่ท�ำไว้ในหมายเหตุ ๑ จากนั้นจึงอ่านค่าสถานภาพการรับรังสีของหน่วยตามแนวขวางทางซ้ายมือหรือ
ขวามือ
ตัวอย่าง : หน่วยหน่วยหนึง่ มีหน่วยขึน้ ตรง ๕ หน่วย โดยรวมขัน้ สถานภาพการรับรังสีได้ ๑๑ ดูคา่ ๕ ของตาราง
หน่วยขึ้นตรงแล้วหาค่า “๑๑” ในช่องแนวตั้งของช่อง ในแนวตั้งช่องเดียวกัน ค่า “๑๑” จะอยู่ในช่วง “๘-๑๒”
อ่านสถานภาพการรับรังสีทางซ้ายมือหรือขวามือจะได้ค่าสถานภาพการรับรังสีรวมของหน่วยเป็น RES-2
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 399

แผ่นค�ำนวณการพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี – การระเบิดที่ผิวพื้น
หมายเหตุ : ท�ำแผ่นค�ำนวณให้สมบูรณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลส�ำหรับรายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์ ให้ขีดฆ่าหน่วยวัดที่ไม่ใช้ในช่องขวาสุดออก
A. วันเวลาของการระเบิด (กลุ่มเลขวัน-เวลา) (จากรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์) ------------- DELTA (DD TTTTZ MMM YYYY)
(เวลาท้องถิ่น หรือซูลู)
(FOXTROT (YY ZZZZZZ)
B. พิกัดของ GZ (จากรายงาน นชค.นิวเคลียร์) ------------- (จริงหรือโดยประมาณ)
อัตราส่วน FY/TY (จากการวิเคราะห์เป้าหมายส�ำหรับการเตือนภัยการโจมตีเท่านั้น)
C. (ถ้าทราบให้ใส่ # ถ้าไม่ทราบหรือเป็นการโจมตีของข้าศึกให้ใส่ ๑) -------------
ความสูงของการระเบิด (จากการวิเคราะห์เป้าหมายส�ำหรับการเตือนภัยการโจมตีเท่านั้น)
D. (ถ้าทราบให้ใส่ # ถ้าไม่ทราบหรือเป็นการโจมตีของข้าศึกให้ใส่ 0) ------------- เมตร
E. ขนาดอาวุธ (จากรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์) ------------- กิโลตันหรือเมกะตัน
F. ความสูงของยอดเมฆ (ใช้ภาพ ช-๒๑) ------------- ๑๐๓ เมตรหรือฟุต
G. ความสูงของเมฆ (ใช้ภาพ ช-๒๑) ------------- ๑๐๓ เมตรหรือฟุต
H. ๒/๓ ของล�ำดอกเห็ด (ใช้ภาพ ช-๒๑) ------------- ๑๐๓ เมตรหรือฟุต
I. รัศมีเมฆ (ใช้ภาพ ช-๒๑) ------------- PAPAB - rr (กม.)
(ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
J. เวลาฝุ่นตกจากฐานเมฆ (ใช้ภาพ ช-๒๑) ------------- ชั่วโมง
(ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
หมายเหตุ : ลงค่า F, G และ H ลงบนภาพเขียนทิศทางลมปัจจุบัน วัดระยะทางจาก GZ ถึงความสูงของฐานเมฆ
K. ความยาวของเส้นรัศมีจาก GZ ถึงความสูงของฐานเมฆ ------------- กม.
ความเร็วลม (จากรายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์)
L. K = ------------- PAPAB – SSS (กม./ชม.)
J (ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
M. ระยะทางใต้ลมเขต I (ใช้ภาพ ช-๒๒ กับค่าจากบรรทัด E และ L) ------------- PAPAB - xxx (กม.)
(ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
N. การค�ำนวณเพื่อปรับระยะทางใต้ลมเขต I
ปัจจัย FY/TY (C) x ความสูงของการระเบิด (D) = -------------
ใช้ภาพ ช-๒๓ ใช้ภาพ ช-๒๔
(ถ้าไม่ทราบหรือเป็นการโจมตีของข้าศึกให้ใช้ค่า ๑ และ ๑)
O. ระยะทางใต้ลมเขต I ------------- PAPAB - xxx (กม.)
(ปัดเศษเป็นจ�ำนวนเต็ม)
หมายเหตุ : ต้องมั่นใจว่ามุมระหว่างเส้นรัศมีซ้ายและขวามีค่า ≥๔๐° ถ้าไม่เท่าให้น�ำค่ามุมทั้งสองมาบวกกันแล้วหารด้วย ๒
และให้บวกแต่ละมุมด้วย ๒๐° จะได้เส้นรัศมีใหม่ แล้วเติมค่ามุมอาซิมุทใหม่ลงในช่องข้างล่าง
P. มุมอาซิมุทของเส้นรัศมีซ้าย ------------- PAPAB-dddd
(มิลเลียมหรือองศา)
Q. มุมอาซิมุทของเส้นรัศมีขวา ------------- PAPAB-cccc
(มิลเลียมหรือองศา)
R. รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์
ALFA (AAA) ------------- (เลขล�ำดับการโจมตี)
DELTA (DD TTTTZ MMM YYYY) ------------- (เวลาท้องถิ่นหรือซูลู)
FOXTROT (YY ZZZZZZ) ------------- (จริงหรือโดยประมาณ)
(sss xxx rr)* ------------- (มุมอาซิมุทของเส้นรัศมี -
PAPAB (dddd cccc) ** ------------- (มิลเลียมหรือองศา)
* sss - ความเร็วลม (กม./ชม.) * xxx - ระยะทางใต้ลมเขต I (กม.)
* rr - รัศมีเมฆ (กม.) ** dddd – เส้นรัศมีซ้าย ** cccc - เส้นรัศมีขวา
วันที่ หน้าที่ ในจ�ำนวนหน้า
400
แบบรายงานข้อมูลเก็บตัวอย่าง คชรน./สารพิษอุตสาหกรรม

ชื่อหน่วย หมายเลขชุดเก็บตัวอย่าง ชื่อชุดเก็บตัวอย่าง แผนที่


(เขียนตัวบรรจง)
*เวลาขณะตรวจสอบ ***ชื่อสารที่
(ระบุชนิดเครื่องมือ) **สารที่ตรวจพบ ****รายละเอียด
สถานที่ พิสูจน์
(หรืออัตรารังสี) ตัวอย่างสาร
AN/VDR-2 กระดาษ M8 M256A1 M88 ACADA ICAM JBPDS อื่น ๆ ทราบได้

****หมายเลขตัวอย่างสาร

****หมายเลขตัวอย่างสาร

****หมายเลขตัวอย่างสาร

****หมายเลขตัวอย่างสาร

****หมายเลขตัวอย่างสาร
ภาคผนวก ถ
ค�ำอธิบาย : เส้นทาง ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์
*เวลาขณะตรวจสอบ ความเร็วลม (ไมล์/ชม.) อัตรารังสีภายใน อัตรารังสีภายนอก
**ถ้าเป็นสารชีวะให้ก�ำหนดการตรวจ :
- โดยระบุชนิดสารที่ตรวจหา : ระยะทาง (กม.) ทิศทางลม (องศา) เครื่องส่ง
(T/C/S/B/N)
- ระดับความเชื่อมั่น:
(0/1/2/3/4/5/6/7/8/9/10 ) อุณหภูมิ (เซลเซียส)
ถ้าเป็นการตรวจวัดกัมมันตรังสีให้ใส่ค่าอัตรารังสี (cGyph) ความเร็ว (กม./ชม.) ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศ
***ถ้าเป็นสารชีวะให้ก�ำหนดการพิสูจน์ทราบโดยระบุ หรือช่วงเวลาที่ใช้
- รหัสสาร ความชื้น (%)
****ถ้ามีการรวบรวมตัวอย่าง :
- ใส่หมายเลขตัวอย่างสาร
- ใส่รายละเอียดของตัวอย่างสาร (ของเหลว, ของแข็ง, ก๊าซ)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน.

หมายเหตุ :
401
402 ภาคผนวก ถ

บรรทัดรหัสอักษรในระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน.
บรรทัด ความหมาย
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี
BRAVO ที่อยู่ของผู้สังเกตการณ์และทิศทางของการโจมตีหรือการระเบิดของอาวุธ
CHARLIE วันเวลาของรายงานหรือการสังเกตการณ์และการระเบิดของอาวุธสิ้นสุดลง
DELTA วันเวลาการโจมตีหรือการระเบิดและการโจมตีสิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิดของอาวุธ
GOLF ประเภทของเครื่องส่งและปริมาณอาวุธนิวเคลียร์ที่ระเบิด
HOTEL ประเภทการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
INDIA ข่าวสารการโจมตีของสารเคมีชีวะหรือเหตุการณ์ ROTA
JULIET เวลาเห็นแสงวาบ - ได้ยินเสียง (เป็นวินาที)
KILO ลักษณะหลุมระเบิด
LIMA ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ วัดเมื่อ H+5 นาที
MIKE เมฆนิวเคลียร์ที่เสถียร วัดเมื่อ H+10 นาที
MIKER ค�ำอธิบายและสถานะของเหตุการณ์ ROTA
NOVEMBER ขนาดอาวุธนิวเคลียร์โดยประมาณ (กิโลตัน)
OSCAR วันเวลาอ้างอิงของเส้นชั้นรังสีที่ประมาณไว้
PAPAA พื้นที่โจมตี/สารรั่วไหลและพื้นที่อันตรายที่ได้พยากรณ์
PAPAB ตัวแปรในการพยากรณ์อันตรายจากฝุ่นกัมมันตรังสีอย่างละเอียด
PAPAC พิกัดต่าง ๆ ของเส้นขอบนอกของเมฆกัมมันตรังสีที่ได้จากการวัดด้วยเรดาร์
PAPAD ทิศทางตามลมของเมฆกัมมันตรังสีที่ได้จากการวัดด้วยเรดาร์
PAPAX พื้นที่อันตรายที่สอดคล้องกับห้วงเวลาตามสภาพอากาศ
QUEBEC ต�ำบลที่อ่านค่า, การเก็บตัวอย่างและการตรวจหาสาร
ROMEO ระดับการเปื้อนพิษ แนวโน้มอัตราความเข้มข้นและแนวโน้มอัตราการเสื่อมสลาย
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่าเครื่องวัดหรือเริ่มต้นตรวจหาการเปื้อนพิษ
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและรายละเอียดพืชพันธุ์
WHISKEY ข้อมูลเครื่องตรวจจับสัญญาณ
XRAYA ข่าวสารเส้นขอบเขตที่เกิดขึ้นจริง
XRAYB ข่าวสารเส้นขอบเขตจากการพยากรณ์
YANKEE ทิศทางตามลมและความเร็วตามลม
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง
GENTEXT ค�ำบรรยาย
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 403

แบบรายงาน นชค.๑
รายงาน นชค.๑ นิวเคลียร์
จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด * รายละเอียด
BRAVO ต�ำบลที่อยู่ของผู้สังเกตการณ์และทิศทางของ M
การโจมตีหรือการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการระเบิดและ M
การโจมตีสิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด O
GOLF วิธีการส่งและจ�ำนวนอาวุธนิวเคลียร์ที่ระเบิด M
HOTEL ประเภทการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ M
JULIET เวลาแสง-ถึง-เสียงเป็นวินาที O
LIMA ความกว้างของเมฆนิวเคลียร์ระเบิด O
วัดเมื่อ H+5 นาที
MIKE เมฆนิวเคลียร์ที่เสถียรวัดเมื่อ H+10 นาที O
PAPAC พิกัดต่าง ๆ ของเส้นขอบนอกของเมฆ O
กัมมันตรังสีที่ได้จากการวัดด้วยเรดาร์
PAPAD ทิศทางตามลมของเมฆกัมมันตรังสีที่ได้ O
จากการวัดด้วยเรดาร์
YANKEE ทิศทางตามลมและความเร็วลม O
ZULU สภาพอากาศที่เป็นจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นให้ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
404 ภาคผนวก ถ

รายงาน นชค.๑ เคมี/ชีวะ


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี
BRAVO ต�ำบลที่อยู่ของผู้สังเกตการณ์และทิศทางการโจมตีหรือเกิด M
เหตุ
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือเกิดการระเบิดและสิ้นสุด M
การโจมตี
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด O
GOLF ข่าวสารชนิดของเครื่องส่งและจ�ำนวนยุทธปัจจัย M
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะที่ใช้โจมตีและเหตุการณ์ ROTA M
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและพืชพันธุ์ M
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)

รายงาน นชค.๑ ROTA


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
BRAVO ต�ำบลทีอ่ ยูข่ องผูส้ งั เกตการณ์และทิศทางการโจมตีหรือเกิดเหตุ M
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/การสังเกตการณ์และสิ้นสุด M
เหตุการณ์
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ O
GOLF วิธีการปล่อยและปริมาณสาร M
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะที่ใช้โจมตีหรือเหตุการณ์ ROTA M
MIKER ค�ำบรรยายและสภาพการณ์ O
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและพืชพันธุ์ M
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้น ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 405

แบบรายงาน นชค.๒
รายงาน นชค.๒ นิวเคลียร์
จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด * รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการระเบิดและการโจมตีสิ้นสุดลง M
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด M
GOLF วิธีการส่งและจ�ำนวนอาวุธนิวเคลียร์ที่ระเบิด M
HOTEL ประเภทการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ M
ขนาดอาวุธนิวเคลียร์โดยประมาณหน่วยเป็นกิโลตันหรือ
NOVEMBER O
เมกะตัน
YANKEE ทิศทางและความเร็วลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้น ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)

รายงาน นชค.๒ เคมี/ชีวะ


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด * รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือเกิดการระเบิดและสิ้นสุดการโจมตี M
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด M
GOLF ข่าวสารชนิดของเครื่องส่งและจ�ำนวนยุทธปัจจัย M
ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะที่ใช้โจมตี
INDIA M
และเหตุการณ์ ROTA
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและพืชพันธุ์ M
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
*ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
406 ภาคผนวก ถ

รายงาน นชค.๒ ROTA


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/การสังเกตการณ์และ M
สิ้นสุดเหตุการณ์
FOXTROT วิธีการปล่อยและปริมาณสาร M
GOLF ข่าวสารชนิดของเครื่องส่งและจ�ำนวนยุทธปัจจัย M
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะที่ใช้โจมตี หรือ M
เหตุการณ์ ROTA
MIKER ค�ำบรรยายและสภาพการณ์ M
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและพืชพันธ์ุ M
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้น ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 407

แบบรายงาน นชค.๓

รายงาน นชค.๓ นิวเคลียร์


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการระเบิดและการ M
โจมตีสิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด M
GOLF วิธีการส่งและจ�ำนวนอาวุธนิวเคลียร์ที่ระเบิด O
HOTEL ประเภทการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ O
NOVEMBER ขนาดอาวุธนิวเคลียร์โดยประมาณหน่วยเป็น O
กิโลตัน
PAPAB ตัวแปรในการพยากรณ์อันตรายจากฝุ่น M
กัมมันตรังสีอย่างละเอียด
PAPAC พิกัดต่าง ๆ ของเส้นขอบนอกของเมฆ O
กัมมันตรังสีที่ได้จากการวัดด้วยเรดาร์
PAPAD ทิศทางตามลมของเมฆกัมมันตรังสีที่ได้จาก O
การวัดด้วยเรดาร์
XRAYB* ข้อมูลของเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ C
YANKEE ทิศทางใต้ลมและความเร็วตามลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่า แต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
หรือระบุตามเงื่อนไข (C)
408 ภาคผนวก ถ

รายงาน นชค.๓ เคมี/ชีวะ


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M
DELTA วันเวลาการโจมตีหรือเกิดการระเบิด M
และการโจมตีสิ้นสุด
FOXTROT ต�ำบลถูกโจมตีหรือเกิดการระเบิด M
GOLF ข่าวสารชนิดของเครื่องส่งและจ�ำนวน O
ยุทธปัจจัย
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะที่ใช้โจมตี M
และเหตุการณ์ ROTA
PAPAA พื้นที่ถูกโจมตี/ปล่อยกระจายสาร M
และพื้นที่อันตรายที่ได้พยากรณ์
PAPAX พื้นที่อันตรายที่สอดคล้องกับห้วงเวลา M
ตามสภาพอากาศ
XRAYB ข่าวสารของเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ C
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
*ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 409

รายงาน นชค.๓ ROTA


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี M
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/การสังเกตการณ์ M
และสิ้นสุดเหตุการณ์
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ M
GOLF วิธีการปล่อยและปริมาณสาร O
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะที่ใช้โจมตี M
หรือเหตุการณ์ ROTA
PAPAA พื้นที่พยากรณ์โจมตี/การปล่อยสารและพื้นที่ M
พยากรณ์อันตราย
PAPAX** พื้นที่อันตรายที่สอดคล้องกับห้วงเวลาตาม M
สภาพอากาศ
XRAYB*** ข้อมูลเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ไว้ C
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้น ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
** รหัสอักษรบันทึกซ�้ำได้ถึง ๓ ครั้งเพื่ออธิบายถึงพื้นที่อันตรายที่เป็นไปได้ ๓ พื้นที่ที่สอดคล้องกับห้วงเวลา
จากข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี (CDM) พื้นที่อันตรายส�ำหรับห้วงเวลาที่ตามมาจะ
รวมถึงพื้นที่อันตรายก่อนหน้าเสมอ
*** รหัสอักษรสามารถบันทึกซ�้ำได้ถึง ๕๐ ครั้งเพื่อแสดงขอบเขตที่พยากรณ์ไว้หลายเส้น
410 ภาคผนวก ถ

แบบรายงาน นชค.๔
รายงาน นชค.๔ นิวเคลียร์
จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด * รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
KILO รายละเอียดของหลุมระเบิด O
QUEBEC ต�ำแหน่งทีอ่ า่ นค่าอัตรารังสี/เก็บตัวอย่าง/ตรวจสอบ M
และประเภทของตัวอย่าง/การตรวจสอบ
ROMEO ระดับการเปื้อนรังสี แนวโน้มของอัตรารังสีและ M
แนวโน้มของอัตราการสลายตัว
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่าอัตรารังสีหรือเริ่มตรวจหาการ M
ปนเปื้อนรังสี
WHISKEY ข่าวสารจากเครื่องรับสัญญาณเซนเซอร์ O
YANKEE ทิศทางใต้ลมและความเร็วลม M
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)

รายงาน นชค.๔ เคมี/ชีวะ


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
วันเวลาของการโจมตีหรือเกิดการระเบิดและ
DELTA O
สิ้นสุดการโจมตี
ต�ำบลที่อ่านค่า/เก็บตัวอย่าง/ตรวจหา
QUEBEC M
และชนิดของตัวอย่าง/การตรวจหา
ระดับการเปื้อนพิษ แนวโน้มอัตราความเข้มข้น
ROMEO O
และแนวโน้มอัตราการสลายตัว
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่าหรือเริ่มต้นตรวจหาการเปื้อนพิษ M
TANGO ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและพืชพันธุ์ M
WHISKEY ข่าวสารจากเครื่องเซนเซอร์ O
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม M
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 411

รายงาน นชค.๔ ROTA


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด * รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
INDIA ข้อมูลที่ได้รับของสารเคมีชีวะหรือเหตุการณ์ ROTA O
QUEBEC** ต�ำแหน่งที่อ่านค่า/เก็บตัวอย่าง/การตรวจหาและ M
ชนิดของตัวอย่าง/
ROMEO** ระดับการเปื้อนพิษ, แนวโน้มอัตราความเข้มข้น M
และแนวโน้ม อัตราการสลายตัว
SIERRA** วันเวลาอ่านข้อมูลหรือการตรวจหาการเปื้อนพิษ O
เริ่มต้น
TANGO** ค�ำบรรยายลักษณะภูมิประเทศและพืชพันธุ์ M
WHISKEY ข้อมูลจากเครื่องเซนเซอร์ O
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม M
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
** ชุดรหัสอักษรที่ประกอบด้วยบรรทัด QUEBEC, ROMEO, SIERRA, และ TANGO รวมกันเป็นส่วนหนึ่งของรายงานซึ่งจะต้อง
ระบุเสมอยกเว้นบรรทัด ROMEO ชุดบรรทัด/ส่วนดังกล่าวสามารถระบุซ�้ำได้ถึง ๒๐ ครั้ง เพื่อให้รายละเอียดของการตรวจสอบ
การเฝ้าตรวจและการส�ำรวจ ณ จุดต่าง ๆ

แบบรายงาน นชค.๕
รายงาน นชค.๕ นิวเคลียร์
จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการระเบิดและ O
การโจมตีสิ้นสุดลง
OSCAR วันเวลาอ้างอิงของเส้นชั้นรังสีที่ประมาณไว้ M
XRAYA* ข้อมูลเส้นชั้นรังสีจริง M
XRAYB* ข้อมูลเส้นชั้นรังสีที่พยากรณ์ไว้ O
YANKEE ทิศทางใต้ลมและความเร็วลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่า แต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
412 ภาคผนวก ถ

รายงาน นชค.๕ เคมี/ชีวะ


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือเกิดการระเบิดและ O
สิ้นสุดการโจมตีหรือเกิดเหตุ
INDIA ข่าวสารการโจมตีด้วยสารเคมีชีวะ M
หรือเหตุการณ์ ROTA
OSCAR วันเวลาอ้างอิงส�ำหรับเส้นขอบเขตที่ได้รับการ M
ประเมิน
XRAYA* ข่าวสารเส้นขอบเขตที่เกิดขึ้นจริง M
XRAYB* ข่าวสารเส้นขอบเขตที่พยากรณ์ O
YANKEE ทิศทางและความเร็วลม O
ZULU สภาพอากาศที่เกิดขึ้นจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* บรรทัดนี้รายงานซ�้ำได้ถึง ๕๐ ครั้งเพื่อแสดงเส้นขอบเขตหลายเส้น

รายงาน นชค.5 ROTA


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/การสังเกตการณ์ O
และสิ้นสุดเหตุการณ์
INDIA ข้อมูลทีไ่ ด้รบั ของสารเคมีชวี ะหรือเหตุการณ์ ROTA M
OSCAR วันเวลาอ้างอิงส�ำหรับเส้นขอบเขตที่ได้ M
ประมาณการ
XRAYA** ข้อมูลของขอบเขตจริง M
XRAYB** ข้อมูลขอบเขตที่ได้พยากรณ์ O
YANKEE ทิศทางและความเร็วตามลม O
ZULU สภาพอากาศตามจริง O
GENTEXT ค�ำบรรยาย O
* ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
** รหัสอักษรที่บันทึกซ�้ำได้ถึง ๕๐ ครั้งเพื่อแสดงหลายขอบเขต
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 413

แบบรายงาน นชค.๖

รายงาน นชค.๖ นิวเคลียร์


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี 0
DELTA วันเวลาของการโจมตีหรือการระเบิดและ 0
การโจมตีสิ้นสุดลง
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีและผู้ตรวจสอบ 0
QUEBEC ต�ำแหน่งและประเภทของการอ่านการเก็บ 0
ตัวอย่าง/การตรวจสอบ
SIERRA วัน/เวลาที่อ่านค่าอัตรารังสี 0
GENTEXT ค�ำบรรยาย M
*ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)

รายงาน นชค.๖ เคมี/ชีวะ


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
วันเวลาของการโจมตีหรือเกิดการระเบิดและ
DELTA O
สิ้นสุดการโจมตี
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตี O
INDIA ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีชีวะ O
ต�ำบลที่อ่านค่า/เก็บตัวอย่าง/ตรวจหา
QUEBEC O
และชนิดของตัวอย่าง/การตรวจหา
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่า O
GENTEXT ค�ำบรรยาย M
*ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
414 ภาคผนวก ถ

รายงาน นชค.6 ROTA


จาก : ถึง :
ล�ำดับความเร่งด่วน : ชั้นความลับ :
วันเวลาส่ง : ประเภทรายงาน : เริ่มต้น ติดตามผล
บรรทัด ความหมาย ข้อก�ำหนด* รายละเอียด
ALFA เลขล�ำดับการโจมตี O
CHARLIE วันเวลาของการรายงาน/ O
การสังเกตการณ์และสิ้นสุดเหตุการณ์
FOXTROT ต�ำบลที่ถูกโจมตีหรือเกิดเหตุการณ์ O
INDIA ข่าวสารเกี่ยวกับสารเคมีชีวะที่ใช้โจมตี O
หรือเหตุการณ์ ROTA
QUEBEC ต�ำแหน่งที่อ่านค่า/เก็บตัวอย่าง/การตรวจ O
หาและชนิดของตัวอย่าง/การตรวจหา
SIERRA วันเวลาที่อ่านค่า O
GENTEXT ค�ำบรรยาย M
*ช่องข้อก�ำหนดจะระบุว่าแต่ละบรรทัดนั้นระบุเฉพาะค่าที่วัดได้ (O) หรือจะต้องระบุเสมอ (M)
อภิธานศัพท์
ตอนที่ 1 ค�ำย่อและความหมาย
A
ACADA automatic chemical-agent detection and alarm เครือ่ งตรวจและเตือนภัย
สารเคมีอัตโนมัติ
ACCA aircrew contamination control area พื้นที่ควบคุมการเปื้อนพิษส�ำหรับ
ลูกเรือ
ACPL agent containing particles per liter จ�ำนวนอนุภาคของสารต่อลิตร
ADA air defense artillery ปืนใหญ่ป้องกันภัยทางอากาศ
ADP automatic data processing การประมวลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
AEP Allied Engineering publication สิ่งพิมพ์ของเหล่าทหารช่างชาติพันธมิตร
AFB Air Force base ฐานทัพอากาศ
AGCF air-ground correlation factor ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์อากาศ-พื้นดิน
AIR aircraft อากาศยาน
ALARA as low as reasonably achievable การด�ำเนินการใด ๆ ในทางปฏิบัติที่ท�ำให้
งานส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์โดยได้รบั รังสีชนิดก่อไอออนน้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้
ALP Alpha อนุภาคแอลฟา
AM ante meridiem ก่อนเที่ยง
AO area of operations พื้นที่ปฏิบัติการ
AOI area of interest พื้นที่สนใจ
AOR area of responsibility พื้นที่รับผิดชอบ
APC armored personnel carrier รถสายพานล�ำเลียงพลหุ้มเกราะ
ATTN attention ผู้รับ
AWS Air Weather Service การบริการข้อมูลสภาพอากาศ

B
BD buffer distance ระยะกันชน
BDA battle damage assessment การประเมินความเสียหายจากการรบ
BDM basic downwind message ข่าวสารใต้ลมพื้นฐาน
416 อภิธานศัพท์

BIDS Biological Integrated Detection System ระบบการตรวจหาสารชีวะ


BL blister agent สารพุพอง
BLOD blood agent สารโลหิต
BM battle management การจัดการรบ
BML bomblets ระเบิดย่อย
BOM bomb ระเบิด
Bq Becquerel เบคเคอเรล
Bg/m2 Becquerel per square meter เบคเคอเรลต่อตารางเมตร
Bg/m3 Becquerel per cubic meter เบคเคอเรลต่อลูกบาศก์เมตร
BTL pressurized gas bottle ขวดบรรจุก๊าซมีแรงดัน
BW biological warfare สงครามชีวะ
BWF basic wind forecast การพยากรณ์ลมพื้นฐาน
BWM basic wind message ข่าวสารลมพื้นฐาน
BWR basic wind report รายงานลมพื้นฐาน
BZ quinuclidinyl benzilate สารควินคลิดินิล เบนซิเลต

C
C2 command and control การบังคับบัญชาและการควบคุม
C4I command, control, communications, computers, and intelligence
การบังคับบัญชา, การควบคุม, การติดต่อสื่อสาร, คอมพิวเตอร์และการข่าวกรอง
CA civil affairs กิจการพลเรือน
CAM chemical-agent monitor เครื่องตรวจหาสารเคมี
CBRNWRS Chemical, Biological, Radiological, and Nuclear Warning and
Reporting System ระบบการเตือนภัยและรายงาน คชรน.
CCA contamination control area พื้นที่ควบคุมการเปื้อนพิษ
cccc right radial มุมอาซิมุทของเส้นรัศมีขวา
CCIR commander’s critical information requirement ความต้องการข้อมูลวิกฤติ
ของผู้บังคับบัญชา
CDF chemical downwind forecast พยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี
CDM chemical downwind message ข่าวสารอากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี
CDR chemical downwind report รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 417

CENTCOM Central Command ศูนย์บัญชาการ


CES cesium ธาตุซีเซียม
CF correlation factor ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์
CFM cubic feet per minute ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที
CG phosgene (choking agent) สารฟอสจีน (สารส�ำลัก)
cGy centigray เซนติเกรย์
cGyph centigray per hour เซนติเกรย์ต่อชั่วโมง
CHEMTREC Chemical Transportation Emergency Center ศูนย์ขนส่งสารเคมีฉุกเฉิน
CHOK choking agent สารส�ำลัก
Ci Curie คูริ
CI combat ineffective ไร้ประสิทธิภาพในการรบ
CJCS Commander of the Joint Chiefs of Staff ผู้บัญชาการคณะเสนาธิการร่วม
CK cyanogens chloride (blood agent) สารไซยาโนเจนคลอไรด์ (สารโลหิต)
CLA Chlamydia เชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
CLOUD visible cloud เมฆที่มองเห็นได้
CM consequence management การจัดการผลที่ตามมา
CMOC civil-military operations center ศูนย์ปฏิบัติการพลเรือนทหาร
COA course of action หนทางปฏิบัติ
COB cobalt ธาตุโคบอลต์
COCOM combatant command (command authority) การบังคับบัญชาทหาร (อ�ำนาจ
บังคับบัญชา)
COG center of gravity จุดศูนย์ถ่วง
COLPRO collective protection การป้องกันส่วนรวม
COMSEC communications security การรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร
CON generic storage container ภาชนะบรรจุทั่วไป
COP common operational picture ภาพปฏิบัติการร่วม
CPDS chemical prediction data sheet แผ่นข้อมูลพยากรณ์เคมี
CPE collective protection equipment ยุทธภัณฑ์ป้องกันส่วนรวม
CRS chromic radiation syndrome ความผิดปกติจากการได้รับรังสีเป็นเวลานาน
CS o-chlorobenzylidene malononitrile (a tear agent) ออร์โซ-คลอโรเบนซิลดิ นี -
มาโลโนไนทริล (สารน�้ำตาไหล)
418 อภิธานศัพท์

CSH centisievert (s) per hour เซนติซีเวิร์ตต่อชั่วโมง


CSS combat service support การสนับสนุนการช่วยรบ
CST civil support team ชุดสนับสนุนกิจการพลเรือน
CSV centisievert (s) เซนติซีเวิร์ต
CT cloud top ยอดเมฆ
CW chemical warfare สงครามเคมี
CX phosgene oxime สารฟอสจีนออกไซด์

D
D total dose in centigrays ปริมาณรังสีทั้งสิ้นที่ได้รับมีหน่วยเป็นเซนติเกรย์
DA total downwind distance, in kilometers ระยะทางใต้ลมทั้งสิ้นมีหน่วยเป็น
กิโลเมตร
DD day วันที่
ddd effective downward direction ทิศทางลม
dddd left radial เส้นเรเดียลซ้าย
DE extended distance, in kilometers, traveled within the third nuclear,
biological, and chemical downwind report 2 - hour period ระยะทางที่
ขยาย เพิม่ ขึน้ ภายในช่วงที่ ๓ ของรายงานอันตรายตามลม นชค.ห้วง ๒ ชม. หน่วย
เป็น กม.
deton detonation การระเบิด
DGG degrees/grid north องศา/เหนือกริด
DGM degrees/magnetic north องศา/เหนือแม่เหล็ก
DGT degrees/true north องศา/เหนือจริง
DGZ designated ground zero ศูนย์กลางการระเบิดที่ระบุไว้
DHD downwind hazard distance ระยะทางอันตรายตามลม
DKIE decontaminating kit, individual equipment ชุดท�ำลายล้างพิษ, ยุทธภัณฑ์
ประจ�ำกาย
DL limiting dose ปริมาณรังสีที่จ�ำกัดให้รับได้
DMS Defense message system ระบบข่าวสารการป้องกัน
DOD Department of Defense กระทรวงกลาโหม
DP di-phosgene สารไดฟอสจีน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 419

DRM nominal 55 - gallon storage drum ถังบรรจุขนาด ๕๕ แกลลอน


DSM decision support matrix ตารางตกลงใจ
DST decision support tools เครื่องมือสนับสนุนการตกลงใจ
DT demanding task งานที่ท้าทาย
DTG date-time group กลุ่มวัน-เวลา
DU depleted uranium ยูเรเนียมด้อยสมรรถนะ

E
ECP entry control point จุดควบคุมทางเข้า
EDF effective downwind forecast การพยากรณ์ทิศทางลม
EDM effective downwind message ข่าวสารทิศทางลม
EDR effective downwind report รายงานทิศทางลม
EMP electromagnetic pulse พลัสแม่เหล็กไฟฟ้า
EOC emergency operations center ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
EOD explosive ordnance disposal ชุดถอดท�ำลายอมภัณฑ์ (ทร.), หน่วยท�ำลายวัตถุ
ระเบิด (ทบ.)
EPW enemy prisoner of war เชลยศึกที่ฝ่ายเราจับได้
ERG Emergency Response Guidebook หนังสือแนะแนวทางการตอบสนองเหตุ
ฉุกเฉิน
EWO electronic warfare officer นายทหารสงครามอิเล็กทรอนิกส์
EWS effective wind speed ความเร็วลม

F
FF fresh reactor fuel เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ของเตาปฏิกรณ์ปรมาณูแท่งใหม่
FFR for future reference ส�ำหรับอ้างอิงในอนาคต
FIDLER field instrument for detection of low - energy radiation เครื่องวัดรังสี
ภาคสนามส�ำหรับวัดรังสีพลังงานต�่ำ
FL nuclear weapon fallout ฝุ่นกัมมันตรังสีจากอาวุธนิวเคลียร์
FM field manual คู่มือราชการสนาม
FP force protection การป้องกันก�ำลังรบ
FPCON force protection condition สภาวะการป้องกันก�ำลังรบ
420 อภิธานศัพท์

FRAGORD fragmentary order ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ; ค�ำสั่งย่อย


FROG free rocket over ground จรวดอิสระเหนือพื้นดิน
FSU former Soviet Union อดีตสหภาพโซเวียต

G
G G agent สารจี (สารประสาท)
GA tabun (nerve agent) สารทาบูน (สารประสาท)
GAM Gamma รังสีแกมมา
GB sarin (nerve agent) สารซาริน (สารประสาท)
GD soman (nerve agent) สารโซมาน (สารประสาท)
GEN generator (aerosol) เครื่องก�ำเนิด (แอโรซอล, ละออง)
GENTEXT general text ค�ำบรรยาย
GF cyclosarin (nerve agent) สารไซโคลซาริน (สารประสาท)
GM Geiger-Mueller counter เครื่องวัดรังสีชนิดไกเกอร์-มูลเลอร์
GMT Greenwich mean time เวลามาตรฐานกรีนิช เวลาซูลู
GN grid north ทิศเหนือกริด
GY gray เกรย์
GZ ground zero ศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น

H
H mustard agent สารมัสตาร์ด
ha hectares หมื่นตารางเมตร
HAZMAT hazardous materials วัตถุอันตราย
HD distilled mustard (blister agent) สารมัสตาร์ดกลืน (สารพุพอง)
HL mustard (lewisite) สารมัสตาร์ด (ลิวิไซท์)
hm hectometer (s) เฮกโตเมตร (๑๐๒ เมตร)
HN host nation; nitrogen mustard (blister agent) (HN - 1, HN - 2, HN - 3)
ชาติเจ้าภาพ; สารไนโตรเจนมัสตาร์ด (สารพุพอง) (HN - 1, HN - 2, HN - 3)
HOB height of burst ความสูงของการระเบิด
HQ headquarters กองบัญชาการ, กองบังคับการ
HT mustard-T mixture สารผสมมัสตาร์ด-ที
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 421

HVT high - value target เป้าหมายที่คุ้มค่า

I
ICAM improved chemical - agent monitor เครื่องมือตรวจสอบสารพิษสนาม
ICS incident command system ระบบบัญชาการเหตุการณ์
ICTXX incapacitating dosage xx ปริมาณสารที่ท�ำให้ไร้สมรรถภาพ
ID inside shielded dose rate อัตรารังสีภายในเครื่องกั้นรังสี
IDXX incapacitating dose xx ปริมาณสารที่ได้รับต่อครั้งที่ท�ำให้ไร้สมรรถภาพ
IED improvised explosive device; initial explosive device วัตถุระเบิดแสวง
เครื่อง, วัตถุระเบิดตั้งต้น
IIR intelligence information report รายงานข่าวสารข่าวกรอง
IM information management การจัดการข่าวสาร
INCP incapacitating agent สารไร้สมรรถภาพ
INSUM intelligence summary สรุปข่าวกรอง
IO iodine ไอโอดีน
IPB intelligence preparation of the battlespace การเตรียมสนามรบด้านการ
ข่าว
IPE individual protective equipment ยุทธภัณฑ์ป้องกันประจ�ำกาย
IR intelligence requirement ความต้องการข่าวกรอง
IRT initial response team; irritant ชุดตอบสนองเริ่มแรก; สารระคายเคือง
ISR intelligence, surveillance, and reconnaissance ข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ,
การลาดตระเวน

J
JF joint force ก�ำลังรบร่วม
JFC joint force commander ผู้บังคับก�ำลังรบร่วม
JIPB joint intelligence preparation of the battlespace การเตรียมข่าวกรองร่วม
ส�ำหรับวางแผนการรบ
JOC joint operations center ศูนย์ปฏิบัติการร่วม, ศูนย์ยุทธการร่วม
JTF joint task force หน่วยเฉพาะกิจร่วม
JWARN joint warning and reporting network เครือข่ายการเตือนภัยและการรายงานร่วม
422 อภิธานศัพท์

K
kph kilometers per hour กิโลเมตรต่อชั่วโมง
KT kiloton (s) กิโลตัน
kt knots นอต

L
L lewisite (blister agent) สารลิวิไซท์ (สารพุพอง)
LAT latitude ละติจูด
LCTXX lethal dosage xx ปริมาณสารที่ท�ำให้เสียชีวิต
LDXX lethal dose xx ปริมาณสารที่ได้รับต่อครั้งที่ท�ำให้เสียชีวิต
LI latent ineffectiveness สภาวะแฝงของการด้อยสมรรถภาพของก�ำลังพล
LLR low-level radiation กัมมันตรังสีระดับต�่ำ
LNO liaison officer นายทหารติดต่อ
LOC line of communications เส้นทางคมนาคม
LONG longitude ลองจิจูด
LSD least separation distance ระยะทางแยกห่างน้อยที่สุด

M
M mandatory; mega จะต้องระบุเสมอ, มอบหมายให้ท�ำ; เมกะ (๑๐๖)
MADCP mortuary affairs decontamination collection point
จุดรวบรวมการท�ำลายล้างพิษศพ
MANSCEN Maneuver Support Center ศูนย์สนับสนุนการด�ำเนินกลยุทธ์
mcg microgram (s) ไมโครกรัม (๑๐-๖ กรัม)
MCTXX eye-effecting dosage xx (miosis) ขนาด xx ทีม่ ผี ลต่อนัยน์ตา (ไมโอซีส-รูมา่ นตา
หรี่เล็กผิดปกติ)
MEDSURV medical surveillance การเฝ้าตรวจทางการแพทย์
MERCOMMS merchant ship communications system ระบบการติดต่อสื่อสารของเรือ
พาณิชย์
MERWARN Merchant Warning system ระบบการเตือนภัยฝุ่นกัมมันตรังสีส�ำหรับเรือ
พาณิชย์ในทะเล
MET meteorological เกี่ยวกับการพยากรณ์อากาศ
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 423

METT - T mission, enemy, terrain and weather, troops and support available -
time available ภารกิจ, ข้าศึก, ภูมิประเทศและสภาพอากาศ, ก�ำลังฝ่ายเราและ
การสนับสนุนและเวลาที่มีอยู่
METT - TC mission, enemy, terrain and weather, troops available and support
available, time available, and civil consideration
ภารกิจ, ข้าศึก, ภูมิประเทศและสภาพอากาศ, ก�ำลังและการสนับสนุนฝ่ายเรา,
เวลาที่มีอยู่และข้อพิจารณาเกี่ยวกับพลเรือน
MeV million electron volts ล้านอิเล็กตรอนโวลต์
MF multiplication factor ปัจจัยตัวคูณ
mg - min - m3 milligrams per minute, cubed มิลลิกรัมต่อนาทีต่อลูกบาศก์เมตร
mgy milligray (s) มิลลิเกรย์
mL milliliter (s) มิลลิลิตร
Mi micro ไมโคร, ๑๐-๖
MLG mils/grid north มิลเลียม/เหนือกริด
MLM mils/magnetic north มิลเลียม/เหนือแม่เหล็ก
MLR multiple launch rocket จรวดหลายล�ำกล้อง
MLRS Multiple Launch Rocket System ระบบอาวุธจรวดหลายล�ำกล้อง
MLT mils/true nort มิลเลียม/เหนือจริง
mm millimeter (s) มิลลิเมตร
MMM month (s) เดือน
MNE mine (nuclear, biological, and/or chemical - filled only) กับระเบิด
(ที่บรรจุเฉพาะวัสดุนิวเคลียร์, ชีวะและ/หรือเคมีเท่านั้น)
MOA memorandum of agreement บันทึกข้อตกลง
MOB main operations base ฐานปฏิบัติการหลัก
mon month (s) เดือน
MOOTW military operations other than war การปฏิบัติการทางทหารที่ไม่ใช่การท�ำ
สงคราม
MOPP mission - oriented protective posture ลักษณะป้องกันตามภารกิจบังคับ
MOR mortar เครื่องยิงลูกระเบิด
MOU memorandum of understanding บันทึกความเข้าใจ
424 อภิธานศัพท์

MPDS manned point detection system ระบบตรวจสอบเป็นจุดด้วยบุคคล


mph miles per hour ไมล์ต่อชั่วโมง
mps miles per second ไมล์ต่อวินาที
mrad millirads มิลลิแรด
MSD minimum safe distance ระยะปลอดภัยที่ใกล้ที่สุด
MSDS manned standoff detection system ระบบตรวจสอบระยะไกลด้วยบุคคล
MSEL master scenario events list รายการล�ำดับเหตุการณ์หลัก
MSH millisievert (s) per hour ๑๐-๓ ซีเวิร์ตต่อชั่วโมง
MSL missile ขีปนาวุธ
mSv millisievert (s) มิลลิซีเวิร์ต
MSVY manned survey การส�ำรวจโดยเจ้าหน้าที่
Mt megaton (s) เมกะตัน
MTF medical treatment facility ระบบบริการทางการแพทย์

N
n nano; decay rate; number of half - thicknesses contained in the total
thickness of shielding material นาโน (๑๐-๙), อัตราการสลายตัว, จ�ำนวนของค่า
ความหนาครึ่งที่มีอยู่ในความหนาทั้งหมดของวัตถุกั้นรังสี
NA North American; not applicable อเมริกาเหนือ; ไม่มีข้อมูล
NAI named area of interest พื้นที่สนใจที่ก�ำหนด, จุดสนใจ
NATO North Atlantic Treaty Organization องค์การสนธิสัญญาป้องกัน
แอตแลนติกเหนือ (นาโต)
NBC nuclear, biological, and chemical นิวเคลียร์, ชีวะและเคมี
NBCC nuclear, biological, chemical, and conventional นิวเคลียร์, ชีวะ, เคมีและ
(อาวุธ) ตามแบบ
NBC-IST nuclear, biological, and chemical installation support team
ชุดสนับสนุนการติดตั้งยุทโธปกรณ์ป้องกันทาง นชค.
NBCRS Nuclear, Biological, and Chemical Reconnaissance System
ระบบการลาดตระเวนทาง นชค.
NBCWRS Nuclear, Biological, and Chemical Warning and Reporting System
ระบบการเตือนภัยและรายงาน นชค.
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 425

NCO noncommissioned officer นายทหารต�่ำกว่าสัญญาบัตร


NCOIC noncommissioned officer in charge นายทหารต�ำ่ กว่าสัญญาบัตรผูร้ บั ผิดชอบ
NEO noncombatant evacuation operation การปฏิบัติการอพยพพลเรือน
NERV nerve agent สารประสาท
NEU neutron อนุภาคนิวตรอน
NF normalization factor ปัจจัยปรับอัตรารังสีเป็นค่า ณ เวลามาตรฐาน
NIGA neutron-induced gamma activity รังสีแกมมาซึ่งเกิดจากการเหนี่ยวน�ำของ
นิวตรอน
NIL no agent detected ตรวจไม่พบสารใด
NLT not later than ภายใน
NM nautical mile (s) ไมล์ทะเล
NMRC Navy Medical Research Center ศูนย์วิจัยทางการแพทย์ของกองทัพเรือ
NOFORN not releasable to foreign nationals งดเปิดเผยต่อต่างชาติ
NOP Naval Oceanography Program โปรแกรมสมุทรศาสตร์ของกองทัพเรือ
NP nonpersistent ไม่คงทน
NSN National Stock Number หมายเลขพัสดุ
NSTM Naval Ships technical manual คู่มือทางเทคนิคของเรือรบ
NUC nuclear นิวเคลียร์
NVD night vision device เครื่องช่วยมองเห็นในเวลากลางคืน

O
O operationally determined ระบุเฉพาะค่าที่วัดได้
OCF overall correlation factor ปัจจัยแก้ค่ารวม
OD outside unshielded dose rate อัตรารังสีภายนอกเครื่องกั้นรังสี
OEG operational exposure guide เกณฑ์การรับรังสี
OF spent reactor fuel เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ของเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้แล้ว
OIC officer in charge นายทหารสัญญาบัตรผู้รับผิดชอบ
OOTW operations other than war การปฏิบัติการใด ๆ ที่ไม่ใช่การรบ
OPCEN operations center ศูนย์ปฏิบัติการ
OPCON operational control ควบคุมทางยุทธการ
OPLAN operation Plan แผนยุทธการ
426 อภิธานศัพท์

OPORD operation order ค�ำสั่งยุทธการ


OPR office of primary responsibility ส�ำนักงานรับผิดชอบหลัก
OPREP operational report รายงานการปฏิบัติการ
OPSEC operations security การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการ/ในการยุทธ์
OPTEMPO operating tempo จังหวะการยุทธ์
OSC operations support center ศูนย์สนับสนุนการยุทธ์
OTH other อื่น ๆ
OTR other agent ตัวแทนอื่น ๆ

P
p pico พิโก, (10-๑๒)
PEAK peak สูงสุด
PENT penetrating agent สารที่มีคุณสมบัติในการซึมผ่านสูง
PF protection factor ปัจจัยป้องกัน
PIR priority intelligence requirements ความเร่งด่วนของการต้องการข่าวกรอง
PM post meridiem หลังเที่ยง
PMCS preventive-maintenance checks and services การตรวจสอบและการบริการ
ทางการปรนนิบัติบ�ำรุง
POC point of contact จุดประสานงาน
POL petroleum, oil, and lubricants น�้ำมันทุกชนิด (น�้ำมันเชื้อเพลิง, น�้ำมันเครื่อง,
น�้ำมันหล่อลื่น)
ppb parts per billion ส่วนในล้านล้านส่วน
PPE personal protective equipment ยุทธภัณฑ์ป้องกันส่วนบุคคล
ppm parts per million ส่วนในล้านส่วน
psi pounds per square inch ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
PSYOP psychological operations การปฏิบัติการจิตวิทยา
PU plutonium พลูโทเนียม
PVNTMED preventive medicine เวชกรรมป้องกัน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 427

R
R shielded dose rate อัตรารังสีเมื่อมีเครื่องกั้นรังสี
R&S reconnaissance and surveillance การลาดตระเวนและการเฝ้าตรวจ
Ra peak reading ค่าอัตรารังสีสูงสุด
RAI radioactive iodine ไอโอดีนกัมมันตรังสี
Rb last reading อัตรารังสีค่าสุดท้าย
RB biological release other than attack การปล่อยกระจายสารชีวะที่ไม่ใช่การ
โจมตี
RC chemical release other than attack การปล่อยกระจายสารเคมีที่ไม่ใช่การ
โจมตี
RCA riot control agent สารควบคุมการจลาจล
RCT reactor เครื่องปฏิกรณ์
RDD radiological dispersal device อุปกรณ์แพร่กระจายสารรังสี
RES radiation exposure status สถานภาพการรับรังสี
RFI request for information การร้องขอข่าวสาร
RIC rickettsiae ริกเก็ตเซีย
RKT rocket จรวด
RM risk management การจัดการความเสี่ยง
RN nuclear release other than attack
การปล่อยกระจายวัสดุนิวเคลียร์ที่ไม่ใช่การโจมตี
Ro unshielded dose rate อัตรารังสีเมื่อไม่มีเครื่องกั้นรังสี
ROE rules of engagement กฎการรบปะทะ
ROTA release other than attack การปล่อยกระจายของสาร คชรน.หรือสารพิษทาง
อุตสาหกรรมที่ไม่ใช่เกิดจากการโจมตีทางทหาร
rr radius รัศมี
RS radius of safety รัศมีของความปลอดภัย
RSCAAL remote - sensing, chemical - agent alarm
การตรวจจับสารเคมีระยะไกลด้วยเครื่องเตือนภัยสารเคมี
RU unidentified release other than attack
การปล่อยกระจายสารไม่ทราบชนิดที่ไม่ใช่การโจมตี
RV radius of vulnerability รัศมีของความล่อแหลม
428 อภิธานศัพท์

S
S stable คงตัว
SA situational awareness สถานการณ์เฝ้าระวัง
SALUTE size, activity, location, unit, time and equipment
ขนาดก�ำลัง, กิจกรรม, ต�ำแหน่ง, ชื่อหน่วย, เวลาและยุทธภัณฑ์
SHL shell กระสุนปืนใหญ่
SIC signal indicator code รหัสบ่งสัญญาณ
SIP shelter in place ที่หลบภัยป้องกันที่อยู่ภายในอาคาร
SIR special information requirement ความต้องการข่าวสารพิเศษ
SITREP situation report รายงานสถานการณ์
SM statute mile(s) ไมล์ (บก)
SME subject matter expert ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา
SML less than 200 liters or 200 kilograms น้อยกว่า 200 ลิตรหรือ 200 กิโลกรัม
SOF special operations forces ก�ำลังปฏิบัติการพิเศษ, ก�ำลังหน่วยรบพิเศษ
SOP standard operating procedure ระเบียบปฏิบัติประจ�ำ
SSM surface-to-surface missile อาวุธน�ำวิถี/ขีปนาวุธผิวพื้นสู่ผิวพื้น
SSN strike serial number เลขล�ำดับการโจมตี
sss effective wind speed ความเร็วลม
STANAG standardization agreement ข้อตกลงมาตรฐาน
STB super tropical bleach ผงฟอกขาว
STRIKWARN strike warning การเตือนภัยการโจมตี
STU-III secure telephone โทรศัพท์ที่มีระบบป้องกัน (การดักฟัง)
Sv sievert ซีเวิร์ต
SWO staff weather officer นายทหารอุตุนิยม
SYSCON systems control การควบคุมระบบ

T
T1 time after H hour at which peak reading was made
เวลาภายหลังเวลาที่อาวุธนิวเคลียร์ระเบิดที่วัดอัตรารังสีค่าสูง
Ta time of peak reading เวลาที่วัดค่าอัตรารังสีได้สูงที่สุด
TA target acquisition การค้นหาเป้าหมาย
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 429

TAP threat assessment and planning การประเมินภัยคุกคามและการวางแผน


Tb time of last reading เวลาที่วัดค่าอัตรารังสีค่าสุดท้าย
Tcomp time of completion เวลาที่ฝุ่นกัมมันตรังสีตกสมบูรณ์
TEU technical escort unit หน่วยคุ้มกันทางเทคนิค
TF transmission factor ปัจจัยส่งผ่าน
TFA toxic - free area พื้นที่ปราศจากสารพิษ
TG tear gas แก๊สน�้ำตา
TGD thickened soman สารโซมานที่ท�ำให้ข้น
TIB toxic industrial biological สารชีวะพิษทางอุตสาหกรรม
TIC toxic industrial chemical สารเคมีพิษทางอุตสาหกรรม
TIM toxic industrial material วัตถุมีพิษทางอุตสาหกรรม
TIR toxic industrial radiological สารกัมมันตรังสีพิษทางอุตสาหกรรม
TM technical manual คู่มือทางเทคนิค
TNK tank รถถัง
Topt optimum time of exit เวลาดีที่สุดในการออกจากพื้นที่
TOB time of burst เวลา (ที่อาวุธนิวเคลียร์) ระเบิด
TOR torpedo ลูกตอร์ปิโด
TOX toxin ทอกซิน
TP validity time for decay rate เวลาที่ยังใช้ค่าอัตราการสลายตัว (n) ได้
TPFDL time-phased force and deployment list บัญชีหน่วยและการใช้ตามขัน้ เวลา
TPT transport ขนส่ง
TTP tactics, techniques, and procedures ยุทธวิธี, เทคนิคและวิธีการ
TTTT hour (s) เวลาเป็นนาฬิกา
TY total yield ขนาดอาวุธทั้งสิ้น

U
U unstable ไม่คงตัว
UIC unit identification code รหัสระบุหน่วย
UJTL Universal Joint Task List บัญชีกิจกรรมร่วมสากล
UMPDS unmanned point detection system ระบบตรวจสอบเป็นจุดแบบไร้คนควบคุม
430 อภิธานศัพท์

UMSDS unmanned standoff detection system ระบบตรวจสอบระยะไกลแบบ


ไร้คนควบคุม
UMSVY unmanned survey การส�ำรวจโดยไม่ใช้เจ้าหน้าที่
UN United Nations สหประชาชาติ
UNK unknown ไม่ทราบ
usv microsievert (s) ไมโครซีเวิร์ต
UXO unexploded ordnance สรรพาวุธที่ยังไม่ระเบิด

V
V V agent สารประสาทวี
VA vulnerability assessment การประเมินความล่อแหลม
VB vapor barrier สิ่งขวางกั้นไอ
VCF vehicle correlation factor ปัจจัยเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์ยานพาหนะ
VHA vapor hazard area พื้นที่อันตรายจากไอสารเคมีพิษ
VMT vomiting agent สารอาเจียน
VX nerve agent สารประสาท

W
WARNORD warning order ค�ำสั่งเตือนภัย
WMD weapon of mass destruction อาวุธอานุภาพท�ำลายล้างสูง

X
X total thickness of shielding material ความหนาทั้งหมดของวัสดุกั้นรังสี
X½ half - thickness ค่าความหนาครึ่ง
XLG extra large; more than 1,500 liters or kilograms ปริมาณมากเป็นพิเศษ;
มากกว่า ๑,๕๐๐ ลิตรหรือกิโลกรัม
XXX downwind distance to nearest kilometer ระยะทางใต้ลมหน่วยเป็นกิโลเมตร
(จ�ำนวนเต็ม)
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 431

Y
Yd yard (s) หลา
yy grid square ตารางกริด
YYYY year ปี

Z
zzzzzz coordinates of ground zero พิกัดของศูนย์กลางการระเบิดที่ผิวพื้น
432 อภิธานศัพท์

ตอนที่ ๒ ค�ำศัพท์และค�ำจ�ำกัดความ
Aerosol (ละออง) ของเหลวหรือของแข็งซึ่งประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กที่แขวนลอยอยู่ใน
ตัวกลางทีเ่ ป็นก๊าช ตัวอย่างของแอโรซอลทัว่ ๆ ไป ได้แก่ หมอกน�ำ้ ค้าง (mist), หมอก (fog) และควัน
Avoidance (การหลีกเลี่ยง) มาตรการที่บุคคลหรือหน่วยต้องปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดการ
โจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ชีวะและเคมี และลดอันตรายของอาวุธเหล่านี้
Biological (สารชีวะ) จุลนิ ทรียท์ ที่ ำ� ให้เกิดโรคในมนุษย์ พืชหรือสัตว์ทำ� ให้ยทุ โธปกรณ์เสือ่ มสภาพ
Biological defence (การป้องกันอาวุธชีวะ) วิธกี ารแผนงานและขบวนการเกีย่ วกับการก�ำหนด
และบริหารมาตรการป้องกันการโจมตีด้วยสารชีวะ
Biological threat (ภัยคุกคามทางชีวะ) ภัยคุกคามที่ประกอบด้วยการวางแผนใช้สารชีวะเพื่อ
ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อก�ำลังพลหรือสัตว์หรือท�ำลายพืช
Biological weapon (อาวุธชีวะ) ยุทโธปกรณ์ซึ่งปล่อย แพร่หรือกระจายสารชีวะรวมถึงพาหะ
สัตว์ขาปล้อง
Blister agent (สารพุพอง) สารเคมีทที่ ำ� อันตรายดวงตาและปอด และท�ำให้ผวิ หนังไหม้และพุพอง
บางครั้งเรียก vesicant agent
Blood agent (สารโลหิต) สารประกอบเคมีรวมถึงสารในกลุ่มไซยาไนด์ที่มีผลต่อการท�ำงานของ
ร่างกายโดยการขัดขวางการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อของร่างกาย
Chemical agent (สารเคมี) สารเคมีพิษใด ๆ ที่ตั้งใจน�ำมาใช้ในปฏิบัติการทางทหาร
Chemical ammunition (กระสุนเคมี) กระสุนประเภทหนึ่งที่มีสารเคมีเป็นส่วนบรรจุหลัก
Chemical defense (การป้องกันอาวุธเคมี) วิธกี าร แผนงาน และขบวนการเกีย่ วกับการก�ำหนด
และบริหารมาตรการป้องกันการโจมตีด้วยสารเคมี
Chemical dose (ขนาดของสารเคมี) ปริมาณของสารเคมีมีหน่วยเป็นมิลลิกรัมซึ่งร่างกายได้รับ
หรือดูดซับไว้
Chemical environment (สภาพแวดล้อมทางเคมี) สภาพที่พบในพื้นที่ที่ได้รับผลจากการใช้
อาวุธเคมีโดยตรงหรือจากสารเคมีคงทน)
Collective nuclear biological and chemical protection (การป้องกันนิวเคลียร์ชวี ะและ
เคมีเป็นส่วนรวม) การป้องกันซึง่ จัดขึน้ เพือ่ ให้กำ� ลังพลเป็นกลุม่ ทีอ่ ยูใ่ นสภาพแวดล้อมทางนิวเคลียร์
ชีวะและเคมีสามารถลดหย่อนการป้องกันนิวเคลียร์ ชีวะและเคมีส่วนบุคคลลงได้
Contamination (การเปื้อนพิษ) (๑) การตกลงบนพื้นผิว (deposit) การดูดซึม (absorption)
หรือการดูดซับ (adsorption) วัสดุกมั มันตรังสีหรือสารชีวะ หรือสารเคมีบนหรือข้าง ๆ สิง่ ปลูกสร้าง,
พื้นที่, ก�ำลังพลหรือวัตถุ (๒) อาหารและ/หรือน�้ำที่ผลิตให้มนุษย์หรือสัตว์บริโภคอย่างไม่เหมาะสม
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 433

เนือ่ งจากมีสารเคมี, ธาตุกมั มันตรังสี, แบคทีเรียหรือจุลนิ ทรียจ์ ากสิง่ แวดล้อม, ผลผลิตจากการเจริญ


เติบโตของแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์, ส่วนประกอบของอาหารที่เน่าเสีย (รวมถึงตัวอาหารเอง) หรือ
ของเสียปะปนอยู่ ในอาหารหรือน�้ำ
Contamination control (การควบคุมการเปื้อนพิษ) วิธีการหลีกเลี่ยง ลด ขจัดหรือท�ำให้หมด
อันตราย (ชัว่ คราวหรือถาวร) จากการเปือ้ นพิษนิวเคลียร์ ชีวะและเคมี โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้คง
ไว้หรือเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติการทางทหาร
Decontamination (การท�ำลายล้างพิษ) วิธกี ารท�ำให้บคุ คล วัตถุหรือพืน้ ทีป่ ลอดภัยโดยการดูดซับ
การท�ำลาย การท�ำให้เป็นกลาง การท�ำให้หมดอันตรายหรือการขจัดสารเคมีหรือสารชีวะออกไป
หรือการขจัดวัสดุกัมมันตรังสีที่ติดอยู่หรืออยู่รอบ ๆ ออกไป
Detection (การตรวจหา) การหาต�ำแหน่งของอันตรายทางนิวเคลียร์ชีวะและเคมีในสภาพ
แวดล้อมทาง นชค. โดยการใช้เครื่องตรวจหาสาร นชค.หรือการเฝ้าตรวจและ/หรือใช้ชุดส�ำรวจ
Host nation support (การสนับสนุนของชาติเจ้าภาพ) ความช่วยเหลือทางพลเรือนและ/หรือ
ทางทหารที่ชาติเจ้าภาพมอบให้แก่กองก�ำลังต่างชาติภายในดินแดนของชาตินั้นในยามสันติ ยาม
วิกฤติ ยามมีเหตุฉุกเฉินหรือในยามสงครามโดยขึ้นอยู่กับความตกลงร่วมกันระหว่างชาติทั้งสอง
บางครั้งเรียก HNS
Identification (การพิสูจน์ฝ่าย) (๑) กรรมวิธีส�ำหรับก�ำหนดว่า เป้าหมายที่ตรวจพบนั้นเป็น
ฝ่ายเราหรือข้าศึก (๒) ในการควบคุมก�ำลังอาวุธ หมายถึง กรรมวิธสี ำ� หรับตกลงใจว่า ชาติใดจะต้อง
รับผิดชอบต่อการละเมิดมาตรการควบคุมก�ำลังอาวุธ (๓) ในการยุทธ์ภาคพื้นดิน หมายถึง การชี้ให้
เห็นความแตกต่างระหว่างวัตถุที่ตรวจพบว่าเป็นของมิตรหรือศัตรูหรือระบุชื่อของวัตถุว่าเป็นชนิด
ใด บางครั้งเรียก
Individual protection (การป้องกันส่วนบุคคล) การปฏิบัติของแต่ละบุคคลเพื่อให้รอดชีวิต
และสามารถปฏิบัติภารกิจภายใต้สภาวะนิวเคลียร์ชีวะและเคมี
Individual protective equipment (ยุทธภัณฑ์ปอ้ งกันส่วนบุคคล) ในสงครามนิวเคลียร์ชวี ะ
และเคมี บุคคลจะต้องมีเสื้อผ้าและยุทธภัณฑ์ป้องกันเพื่อป้องกันอันตรายจากอาวุธชีวะและอาวุธ
เคมีและผลอันตรายจากอาวุธนิวเคลียร์บางประการ
Mission - oriented protective posture (ลักษณะป้องกันตามภารกิจบังคับ) ระบบการ
ป้องกันต่อการเปื้อนพิษนิวเคลียร์ ชีวะและเคมีที่อ่อนตัวได้ ลักษณะการป้องกันเช่นนี้จะให้ก�ำลัง
พลสวมเฉพาะเครื่องแต่งกายป้องกันและยุทธภัณฑ์ (ยุทธภัณฑ์ป้องกันตามภารกิจบังคับ) ที่
เหมาะสมกับระบบภัยคุกคาม อัตราการท�ำงานตามภารกิจ อุณหภูมแิ ละความชืน้ บางครัง้ เรียก MOPP
Mission - oriented protective posture gear (ยุทธภัณฑ์ป้องกันตามภารกิจบังคับ) เป็น
ค�ำศัพท์ทางทหารส�ำหรับเรียกยุทธภัณฑ์ป้องกันส่วนบุคคลซึ่งแจกจ่ายให้แก่ทหารประกอบด้วย
434 อภิธานศัพท์

เสื้อผ้า รองเท้า ถุงมือ หน้ากากพร้อมผ้าคลุมศีรษะ ชุดปฐมพยาบาลและชุดอุปกรณ์ท�ำลายล้างพิษ


บางครั้งเรียก MOPP gear
Nerve agent (สารประสาท) สารเคมีสังหารซึ่งรบกวนการถ่ายทอดสัญญาณประสาท
Nonpersistent agent (สารไม่คงทน) สารเคมีทปี่ ล่อยกระจายออกไปแล้ว และ/หรือไม่สามารถ
ก่อให้เกิดการบาดเจ็บล้มตายได้ภายในเวลา ๑๐-๑๕ นาที
Nuclear biological and chemical-capable nation (ชาติที่มีขีดความสามารถทางอาวุธ
นิวเคลียร์ ชีวะและเคมี) ชาติที่มีขีดความสามารถในการสร้างและใช้อาวุธนิวเคลียร์ ชีวะและเคมี
ได้หนึ่งประเภทหรือมากกว่า โดยครอบคลุมทุกสถานการณ์การยุทธ์เพื่อหวังผลทางการเมืองและ
การทหาร
Nuclear biological and chemical defence (การป้องกันนิวเคลียร์ ชีวะและเคมี) มาตรการ
ป้องกันที่สามารถช่วยให้ก�ำลังฝ่ายพันธมิตรสามารถรอดชีวิต ท�ำการรบและมีชัยชนะต่อข้าศึกที่ใช้
อาวุธและสารนิวเคลียร์ชีวะและเคมี กองก�ำลังสหรัฐฯ จะใช้มาตรการป้องกันทาง นชค. ก่อนและ
ระหว่างสงครามเต็มรูปแบบ ซึ่งในสงครามเต็มรูปแบบนั้น กองก�ำลังของฝ่ายตรงข้ามอาจใช้อาวุธ
นอกแบบร่วมกับอาวุธตามแบบ (อาวุธ นชค.จัดเป็นอาวุธนอกแบบ)
Nuclear biological and chemical environment (สภาพแวดล้อมทางนิวเคลียร์ ชีวะ
และเคมี) สภาพแวดล้อมที่มีการใช้อาวุธนิวเคลียร์ ชีวะหรือเคมี อย่างจงใจหรือโดยอุบัติเหตุหรือ
มีการข่มขู่ว่าจะใช้อาวุธนิวเคลียร์ ชีวะหรือเคมี การโจมตีด้วยวัสดุที่เป็นพิษหรือสารเคมีพิษทาง
อุตสาหกรรมอย่างจงใจหรือโดยอุบัติเหตุ หรือการโจมตีอย่างจงใจหรือโดยอุบัติเหตุหรือการท�ำให้
เปื้อนพิษด้วยวัสดุกัมมันตรังสี
Nuclear defense (การป้องกันอาวุธนิวเคลียร์) วิธีการ แผนงาน และขบวนการเกี่ยวกับการ
ก�ำหนดและฝึกซ้อมมาตรการป้องกันต่อผลของการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์หรือสารสงคราม
กัมมันตรังสี โดยรวมถึงทั้งการฝึกและการน�ำวิธีการแผนงานและขบวนการไปใช้ให้ได้ผล
Persistency (ความคงทน) ในสงครามชีวะหรือสงครามเคมีนั้น สารทั้งสองประเภทนี้จะมี
คุณลักษณะมีประสิทธิภาพคงทนในช่วงเวลาหนึ่งภายใต้สถานการณ์ที่ก�ำหนดภายหลังการปล่อย
กระจาย
Persistent agent (สารคงทน) สารเคมีที่ปล่อยกระจายออกไปแล้ว จะยังคงสามารถก่อให้เกิด
การบาดเจ็บล้มตายได้เป็นเวลานานกว่า ๒๔ ชั่วโมงจนถึงหลายวันหรือหลายสัปดาห์
Protection (การป้องกัน) มาตรการที่ต้องปฏิบัติเพื่อป้องกันอันตรายจากอาวุธนิวเคลียร์ ชีวะ
และเคมี มิให้เกิดผลอันตรายอย่างรุนแรงต่อก�ำลังพล, ยุทโธปกรณ์, หรือเครื่องมือเครื่องใช้และ
สิ่งปลูกสร้างที่มีความส�ำคัญยิ่ง การป้องกันประกอบด้วยงาน ๕ กลุ่ม ได้แก่ การปรับปรุงที่มั่นให้
แข็งแรง, การป้องกันส่วนบุคคล, การใช้ลักษณะป้องกันตามภารกิจบังคับ, การใช้มาตรการป้องกัน
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 435

ทางกายภาพและการตอบโต้การโจมตี
Protective mask (หน้ากากป้องกัน) ยุทธภัณฑ์ปอ้ งกันทีอ่ อกแบบส�ำหรับการป้องกันใบหน้าและ
ดวงตาของผูส้ วม และป้องกันการหายใจเอาอากาศทีป่ นเปือ้ นสารเคมีและ/หรือสารชีวะเข้าสูร่ า่ งกาย
Residual Contamination (การเปื้อนรังสีตกค้าง) การเปื้อนพิษที่ยังคงมีอยู่ภายหลังจากที่
ด�ำเนินการขจัดออกด้วยวิธีการหลายขั้นตอนแล้ว ขั้นตอนต่าง ๆ เหล่านี้อาจไม่มีอะไรมากไปกว่า
การปล่อยให้การเปื้อนรังสีสลายตัวไปตามธรรมดา
Survey (การส�ำรวจ) การกระท�ำโดยตรง เพื่อหาต�ำแหน่งและธรรมชาติของอันตรายจากสารเคมี
สารชีวะและกัมมันตภาพรังสีในพื้นที่
Toxic chemical (สารเคมีพิษ) สารเคมีใด ๆ ซึ่งปฏิกิริยาเคมีของสารที่มีต่อขบวนการต่าง ๆ
ภายในร่างกายสามารถก่อให้เกิดความตาย, การไร้สมรรถภาพชั่วคราวหรือบาดเจ็บถาวรต่อมนุษย์
หรือสัตว์ ทัง้ นีร้ วมถึงสารเคมีทกุ ชนิดโดยไม่คำ� นึงแหล่งก�ำเนิดหรือวิธกี ารผลิต และไม่คำ� นึงถึงว่าจะ
ผลิตภายในอาคาร ในกระสุนวัตถุระเบิดหรือที่อื่นใดก็ตาม
Toxic industrial biological (สารพิษชีวะทางอุตสาหกรรม) วัสดุชีวะ (แบคทีเรียไวรัสและ
ทอกซิน) ซึ่งพบในการวิจัยทางการแพทย์หรือทางเภสัชกรรม และขบวนการผลิตเชิงอุตสาหกรรม
อื่น ๆ ที่เป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์หรือท�ำให้พืชเสียหาย
Toxic industrial chemical (สารพิษเคมีทางอุตสาหกรรม) สารประกอบเคมีซึ่งใช้หรือผลิตใน
ขบวนการทางอุตสาหกรรมที่เป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์หรือท�ำให้พืชเสียหาย
Toxic industrial material (วัสดุพิษทางอุตสาหกรรม) วัสดุพิษทางอุตสาหกรรมอาจเป็น
สารพิษเคมีทางอุตสาหกรรม (TIC) สารพิษชีวะทางอุตสาหกรรม (TIB) และวัสดุกัมมันตรังสีพิษ
ทางอุตสาหกรรม (TIR)
Toxic Industrial Radiological (สารกัมมันตรังสีพษิ ทางอุตสาหกรรม) วัสดุทปี่ ล่อยรังสีออกมา
มีใช้ในงานวิจัย การผลิตกระแสไฟฟ้าและกิจกรรมอื่น ๆ ที่มิใช่การผลิตอาวุธ วัสดุนี้จะท�ำอันตราย
ต่อมนุษย์และสัตว์ได้ ถ้าปล่อยออกมาภายนอกสภาพแวดล้อมที่ควบคุมวัสดุเหล่านี้ได้
Weapons of mass destruction (อาวุธท�ำลายล้างอานุภาพสูง) อาวุธซึ่งสามารถก่อให้เกิด
ความเสียหายอย่างรุนแรง และ/หรือน�ำมาใช้เพือ่ ท�ำลายผูค้ นจ�ำนวนมาก อาวุธท�ำลายล้างอานุภาพ
สูงนีส้ ามารถเป็นได้ทงั้ วัตถุระเบิดแรงสูงหรืออาวุธนิวเคลียร์ ชีวะ เคมี และกัมมันตรังสี แต่ไม่รวมถึง
วิธีการขนส่งหรือการขับเคลื่อนอาวุธซึ่งถือเป็นส่วนที่แยกและส่วนประกอบของอาวุธ

บรรณานุกรม
 Multiservice Tactics, Techniques, and Procedures For Chemical, Biological,
Radiological, and Nuclear Contamination Avoidance
 แนวสอนการหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ใช้ประกอบการศึกษาใน รร.วศ.ทบ.
ดรรชนี
การกั้นรังสี (Shielding)..........................................................................................................๒๕๙
การควบคุมการได้รับรังสี...........................................................................................................๕๙
การตรวจจับ (Sense).........................................................................................................๒,๓๐๐
การตรวจหา (Detecting)............................................................................................................ ๖
การเตือนภัยและการรายงาน (Warning and Reporting).......................................................๒๐
การถอดหน้ากาก (Unmasking)................................................................................................. ๖
การท�ำเครื่องหมาย (Marking)..............................................................................................๗, ๒๐
การป้องกัน (Shield)................................................................................................................... ๒
การพยากรณ์การตกของฝุ่นกัมมันตรังสี...................................................................... ๒๒๑, ๒๓๘
การพยากรณ์การเปื้อนพิษ (Preditcting).......................................................................๔๑, ๑๒๙
การพยากรณ์พื้นที่อันตรายตามลมจากสารชีวะ......................................................................๑๗๗
การพยากรณ์พื้นที่อันตรายจากการเปื้อนพิษ ROTA..............................................................๓๑๓
การพยากรณ์พื้นที่เปื้อนพิษอย่างง่าย......................................................................................๑๓๓
การพิสูจน์ทราบ (Identifying).....................................................................................๖, ๒๐, ๔๐
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ . ................................................................................................๔, ๔๒
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษชีวะ...............................................................................................๑๖๗
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษสารเคมี........................................................................................๑๒๓
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษรังสีนิวเคลียร์................................................................................๑๙๕
การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ ROTA..........................................................................................๓๐๐
เกณฑ์การรับรังสี (operational Exposure Guide)................................................................๕๙
เกณฑ์ความเสี่ยงทางนิวเคลียร์..................................................................................................๖๙
ชั้นความลับ...............................................................................................................................๔๐
เชื้อโรค....................................................................................................................................๑๖๕
ฝ่ายอ�ำนวยการ คชรน. ..................................................................... ๑๐, ๑๙, ๒๒, ๔๒, ๕๔, ๘๐
พื้นที่โจมตี................................................................................................................... ๑๒๙, ๑๗๕
พื้นที่เปื้อนพิษ....................................................................................................๑๒๙, ๑๗๕, ๓๐๑
พื้นที่ปล่อยกระจายสาร..........................................................................................................๓๐๐
พื้นที่อันตราย..........................................................................................................................๓๐๐
พื้นที่อันตรายลม.......................................................................................................... ๑๒๙, ๑๗๕
มาตรการเชิงรุก (Active Mexsure)............................................................................................ ๗
มาตรการเชิงรับ (Passive Measure).......................................................................................... ๗
438 ดรรชนี

เมฆนิวเคลียร์.....................................................................................................๒๐๔, ๒๐๗, ๒๐๙


ระบบการเตือนภัยและการรายงาน คชรน. .................................................................๘, ๒๗, ๓๓
รายงานทิศทางลม...........................................................................................................๙๐, ๑๑๒
รายงาน นชค. ๑........................................................................................................................๒๙
รายงาน นชค. ๒........................................................................................................................๒๙
รายงาน นชค. ๓........................................................................................................................๓๐
รายงาน นชค. ๔........................................................................................................................๓๑
รายงาน นชค. ๕........................................................................................................................๓๑
รายงาน นชค. ๖........................................................................................................................๓๑
รายงาน นชค. ๑ เคมี.............................................................................................................๑๒๕
รายงาน นชค. ๒ เคมี.............................................................................................................๑๒๗
รายงาน นชค. ๓ เคมี.............................................................................................................๑๒๘
รายงาน นชค. ๔ เคมี.............................................................................................................๑๖๑
รายงาน นชค. ๕ เคมี.............................................................................................................๑๖๓
รายงาน นชค. ๖ เคมี.............................................................................................................๑๖๔
รายงาน นชค. ๑ ชีวะ.............................................................................................................๑๗๑
รายงาน นชค. ๒ ชีวะ.............................................................................................................๑๗๓
รายงาน นชค. ๓ ชีวะ.............................................................................................................๑๗๔
รายงาน นชค. ๔ ชีวะ.............................................................................................................๑๙๒
รายงาน นชค. ๕ ชีวะ.............................................................................................................๑๙๓
รายงาน นชค. ๖ ชีวะ.............................................................................................................๑๙๓
รายงาน นชค. ๑ นิวเคลียร์....................................................................................................๒๐๕
รายงาน นชค. ๒ นิวเคลียร์....................................................................................................๒๑๐
รายงาน นชค. ๓ นิวเคลียร์......................................................................................... ๒๒๑, ๒๔๘
รายงาน นชค. ๔ นิวเคลียร์....................................................................................................๒๕๖
รายงาน นชค. ๕ นิวเคลียร์....................................................................................................๒๗๑
รายงาน นชค. ๖ นิวเคลียร์....................................................................................................๒๙๘
รายงาน นชค. ๑ ROTA..........................................................................................................๓๐๕
รายงาน นชค. ๒ ROTA..........................................................................................................๓๐๗
รายงาน นชค. ๓ ROTA..........................................................................................................๓๐๘
รายงาน นชค. ๔ ROTA..........................................................................................................๓๒๑
คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การหลีกเลี่ยงการเปื้อนพิษ คชรน. 439

รายงาน นชค. ๕ ROTA..........................................................................................................๓๒๒


รายงาน นชค. ๖ ROTA..........................................................................................................๓๒๔
รายงานพยากรณ์อากาศอันตรายตามลมจากสารเคมี............................................๓๓, ๙๐, ๑๑๗
รายงานลมพื้นฐาน..........................................................................................................๓๓, ๑๐๓
ล�ำดับความเร่งด่วน....................................................๔๐, ๑๒๖, ๑๗๑, ๒๐๖, ๒๕๘, ๓๐๕, ๓๒๕
เวลาแสง-ถึง-เสียง...................................................................................................................๒๐๗
วงรอบการจัดการข่าวสาร คชรน...............................................................................................๒๑
ศูนย์กลางการระเบิดที่พื้นดิน (GZ) .......................................................................................๑๐๗
ศูนย์ คชรน. (CBRN Center)............................................................................................๓๔, ๕๑
สถานภาพการได้รับรังสี (RES)...........................................................................................๒๔, ๖๗
ส่วน คชรน......................................................................................................................๕๒, ๒๐๐
สารคงทน................................................................................................................................๑๓๐
สารชีวะ (Biological agent)..................................................................................................๑๖๕
สารไม่คงทน............................................................................................................................๑๓๐
เส้นทางเดินของรายงาน นชค....................................................................................................๓๕
หน่วยสังเกตการณ์....................................................................................................................๕๓
อิทธิพลของสภาพอากาศต่อสาร คชรน.....................................................................................๘๐
อุตุนิยมวิทยา.....................................................................................................................๓๓, ๘๙
ไอพิษ......................................................................................................................................๑๓๐

You might also like