You are on page 1of 235

กองทัพบก

(ร่าง)
คู่มือราชการสนาม ๖-๒๒
การนาและผู้นาทางทหาร

พ.ศ. ๒๕๕๕

“...ทหารในฐานะที่เป็นสถาบันหนึ่งซึ่งมีความ
เข้มแข็ง แข็งแกร่ง จะต้องตั้งสติให้มั่น ทาความเห็นให้เข้าใจ
ในหน้าที่ของตนให้กระจ่าง แล้วร่วมกันใช้ความรู้ ความคิด
ปฏิบัติภารกิจทั้งปวง ด้วยจิตวิญญาณที่สุขุมรอบคอบ ด้วย
ความเป็นไทย ทั้งในความคิดจิตใจและการกระทา โดยยึดถือ
ความมั่นคงของชาติ ความเจริญก้าวหน้าของบ้านเมืองเป็น
เป้าหมาย จักได้เป็นตัวอย่างชักนาคนไทยทุกคน ทุกฝ่าย ให้
มีจิตสานึกในชาติ พร้อมใจกัน ที่จะร่วมมือ ร่วมงานกัน เพื่อ
ประโยชน์อันยั่งยืนของประเทศชาติสืบไป...”

พระบรมราโชวาทในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตน
และสวนสนามของทหารรักษาพระองค์
วันพุธที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๔๐
...กองทัพที่เพียบพร้อมด้วยกาลังพลและยุทโธปกรณ์อัน
ทันสมัยจะไม่สามารถชนะข้าศึกได้เลย หากขาดผู้บังคับบัญชาที่
เพียบพร้อมด้วยคุณลักษณะของความเป็นผู้นา เป็นปัจจัยหลัก
สาคัญยิ่งที่ก่อให้เกิดอานาจกาลังรบที่ไม่มีตัวตนให้แก่กองทัพได้
สูงสุด โดยไม่อาจจะซื้อหามาได้ด้วยเงินงบประมาณ หากแต่ได้มา
จากแรงกาย แรงใจที่แน่วแน่ ละประโยชน์ตน มุ่งส่วนรวมของทุกคน
ในกองทัพ วันแล้ววันเล่า ทั้งในยามปกติและในยามสงคราม...

กรมยุทธศึกษาทหารบก
คานา

คานา
การจัดทาคู่มือราชการสนาม ๖ – ๒๒ ว่าด้วย การนาและ
ผู้น าทางทหาร มีวั ต ถุป ระสงค์ เพื่ อใช้ เป็ นหนั งสื อคู่ มือ ที่ เป็ นหลั ก
สาคัญของการเป็นผู้นา ให้ผู้นาหน่วยใช้เป็นหลักพื้นฐานสาหรับการ
ปฏิบัติง านให้บรรลุภารกิจ รวมถึ งการดูแลกาลังพล โดยใช้ไ ด้กั บ
นายทหารสั ญ ญาบั ต ร นายทหารประทวน พลทหาร รวมทั้ ง
พนักงานราชการ ทั้งนี้ผู้นาหน่วยยังสามารถนาหลักพื้นฐานเหล่านี้
ไปใช้กับการฝึกขั้นพื้นฐานสาหรับ การเรียนรู้เรื่องการเป็นผู้นาได้
ตั้งแต่ทหารใหม่ นายทหารสัญญาบัตรใหม่ ตลอดจนผู้ที่ทาหน้าที่
ผู้นาใหม่ ๆได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเป็นผู้นาทางทหาร โดยใช้คู่มือเล่มนี้
เป็นพื้นฐาน

ทั้งนี้ ในการพัฒนาหลักนิยมเล่มนี้ได้ แปลและ เรียบเรียง


FM 6 – 22 ของสหรัฐฯ มาปรับประยุกต์ใช้ในสภาวะความเป็น
ไทยที่กาลัง ก้าวเข้าสู่ระดับสากล เพื่อให้กาลังพลในกองทัพบกได้
ศึก ษาและเข้ า ใจหลั ก สากลนิ ย ม จากนั้น จึ ง น าไปสู่ ก ารปรั บ และ
พัฒนาให้เหมาะสมกับกองทัพบกไทย ส่วนการนาไปใช้นั้นขึ้นอยู่กับ
ศาสตร์และศิลป์ รวมทั้งประสบการณ์ของผู้นาแต่ละท่านที่จะนาไป
ประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์


คานา
กรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นหน่วยรับผิดชอบในการยกร่าง
คู่ มื อ ราชการสนามฉบั บ นี้ โดยมี ศู น ย์ พั ฒ นาหลั ก นิ ย ม และ
ยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก (ศพย.ยศ.ทบ.) เป็นหน่วยงาน
หลั กในการจั ดเตรี ยมร่าง หากท่านต้องการเสนอข้อคิดเห็ นและ
ข้อเสนอแนะ กรุณาส่งมาที่ ศูน ย์ พัฒ นาหลั กนิยมและยุทธศาสตร์
กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารบก ถ.เทอดด าริ ดุ สิ ต กรุง เทพฯ ๑๐๓๐๐
หมายเลขโทรศัพท์ ๐-๒๒๔๑-๔๐๓๙ ได้ ในเวลาทาการ หรือโดย
ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ http://www.srd-rta.net

พลเอก
(ประยุทธ์ จันทร์โอชา )
ผู้บัญชาการทหารบก


คานา

“ทหารต้องเป็นคนที่อยู่ได้ แม้ในหมู่พวกเดียวกัน และ


ต้องอยู่ได้ในพวกที่มีความรู้สูง ต้องคบปราชญ์ได้ และต้อง
รู้จักใช้เทคโนโลยีระดับสูงได้ แต่ต้องคบคนที่มีการศึกษา
น้อยกว่าได้ด้วย ต้องรู้จักใช้วิธีการแบบชาวบ้านได้ และต้อง
ประสานคนในกลุ่มต่างๆ เข้าด้วยกันได้”

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก น้อมนาพระราชดารัส


พลเอกหญิง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
มาเป็นคาปฏิญาณในคากราบบังคมทูลถวายอาเศียรวาทราชสดุดี
เฉลิมพระเกียรติฯ ในวันที่ ๒๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๓
ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
เนื่องในโอกาสที่พระองค์เสด็จพระราชดาเนินมาทรงสอนนักเรียน
นายร้อย ครบ ๓๐ ปี และที่ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งให้ทรงเป็นผู้บัญชาการพิเศษโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า


คานา

เพลงสยามานุสติ
รักราช จงจิตน้อม ภักดี ท่านมา
รักชาติ กอบกรณีย์ แน่นไว้
รักศาสน์ กองบุญศรี สุจริต ถ้วนเทอญ
รักศักดิ์ จงจิตให้ โลกซร้องสรรเสริญ
ยามเดินยืนนั่งน้อม กระมล
ราลึกถึงเทศตน อยู่ยั้ง
เป็นรัฎฐมณฑล ไทยอยู่ สราญฮา
ควรถนอมแน่นตั้ง อยู่เพี้ยงอวสาน

ใครรานใครรุกด้าว แดนไทย
ไทยรบจนสุดใจ ขาดดิ้น
เสียเนื้อเลือดหลั่งไหล ยอมสละ สิ้นแล
เสียชีพไป่เสียสิ้น ชื่อก้องเกียรติงาม
หากสยามยังอยู่ยั้ง ยืนยง
เราก็เหมือนอยู่คง ชีพด้วย
หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ได้ฤา
เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสิ้นสกุลไทย


บทนา

บทนำ
การเป็นผู้นาทางทหารนั้น ไม่ว่าจะเป็นกาลังพลประเภท
ทหาร หรือข้าราชการกลาโหมพลเรือน ก็ตามทุกคนต้องผ่านการ
ปฏิ ญ าณตนต่ อ ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย์ ในห้ ว งระยะเวลาที่ ผ่ า นมา
สุ ภ าพ บุ รุ ษ สุ ภ าพ สตรี เหล่ า นี้ ไ ด้ แ สดง ให้ เ ห็ น ว่ าเป็ น ผู้ ที่ มี
ความสามารถในการทาให้ได้มาซึ่งชัยชนะด้วยความกล้าหาญและ
การเสียสละ ซึ่งได้ทดสอบโดยการเข้าสู่สนามรบทั้งในอดีตมานับครั้ง
ไม่ถ้วน พวกเขาเหล่านี้ได้แสดงถึงความอดทนอันยิ่งใหญ่ การคงไว้
ซึ่งจรรยาบรรณแห่งทหาร และความซื่อสัตย์ในขณะปฏิบัติหน้าที่
เพื่อชาติไม่ว่าจะเป็นงานที่ยากเข็ญ น่าเบื่อหน่าย หรือเสี่ยงอัน ตราย
เพียงใด ซึ่ง เขาอาจอยู่ตามห้องทางาน แหล่งรวมรถ พื้นที่การฝึก
พื้นที่ ปฏิ บัติ การ หรื อพื้ นที่ การรบ ดัง นั้น เขาจึง เป็ นผู้ ที่คู่ ควรกั บ
ภาวะผู้นาที่มีจริยธรรม มีความสามารถ และมีความเป็นทหารอาชีพ
เขาเหล่านี้ยังคงมุ่งหวังว่าบรรดาผู้นาทางทหารจะเคารพเขาในฐานะ
สมาชิก ที่มี คุณ ค่าในองค์ กรที่อ ยู่ร่ว มกั นและใช้ ศักยภาพที่ มีอ ย่า ง
เต็มที่โดยรวมเอาความสาคัญของภาวะผู้นาไว้ด้วย
หนัง สือคู่มือราชการสนาม ๖ - ๒๒ ได้รวมบทเรียนใน
อดี ต ร่ ว มกั บ ความเข้ า ใจอั น ลึ ก ซึ้ง ส าหรั บ อนาคตเพื่ อ ช่ ว ยในการ
พัฒนาผู้นาทางทหารที่มีความสามารถ
ผู้นาทางทหารในอุดมคติมีความชาญฉลาด ประพฤติตนดี
มี ค วามสามารถในระดั บ ผู้ เ ชี่ ย วชาญ มี คุ ณ ธรรมสู ง และเป็ น
แบบอย่างได้ ผู้นาทางทหารคือผู้ที่จะสามารถและมีความตั้งใจที่จะ
ทาอย่างแน่วแน่ภายใต้กรอบของเจตนารมณ์และความมุ่งหมายของ
ผู้บังคับบัญชาระดับเหนือขึ้นไป โดยให้องค์กรได้รับประโยชน์สูงสุด
ผู้นาทางทหารตระหนักดีว่าองค์กรที่บรรลุภารกิ จได้ทั้งในยามปกติ


บทนา
และยามสงครามก็ด้วยความมั่นใจและความเชื่อใจซึ่งกันและกัน
ทุ ก คนในกองทั พ บกเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของสายการบั ง คั บ
บัญชาซึ่งมีบทบาททั้งการเป็นผู้นาและเป็นผู้ใต้บังคับบัญชา การเป็น
ผู้ใ ต้ บัง คั บ บัญ ชาที่ดี คื อ ส่ว นหนึ่ง ของการเป็ น ผู้น าที่ ดี ทหารและ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่ทางานในกองทัพบก ทุก คนนั้นต้องมี
สักครั้ง ที่ได้เป็ นผู้นาและผู้ตาม ผู้นามิไ ด้กาหนดจากตาแหน่ง ยศ
หรืออานาจหน้าที่เสมอไป ทั้งนี้ในหลาย ๆ สถานการณ์จะเกิดภาวะ
เหมาะสมที่คนใดคนหนึ่งจะก้าวขึ้นสวมบทบาทผู้นา
ทุกคนในกองทัพบกเป็นส่วนหนึ่งของหน่วย และกาลังพล
ทั้งหมดในหน่วยมีความรับผิดชอบซึ่งมีอยู่เป็นปกติวิสัยคือการเป็น
ส่วนหนึ่งของหน่วย
หนังสือคู่มือราชการสนาม ๖ – ๒๒ ประกอบด้วยหัวข้อ
ซึ่งจาเป็นต่อการเป็นผู้นาที่มีความสามารถและมีทักษะในหลาย ๆ
ด้าน ได้แก่
- นิยามคาว่าผู้นาและภาวะผู้นา
- “หัวใจนักรบ” ซึ่งฝังลึกในทุกด้านของภาวะผู้นา
- ใช้แบบจาลองความต้อ งการภาวะผู้นาทางทหารเป็ น
พื้นฐานสาหรับการคิดและการเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะผู้นา
และหลักนิยมที่เกี่ยวข้อง
- เป็นผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับบทบาทและความสัมพันธ์ของ
ผู้นา รวมทั้งบทบาทของผู้ใต้บังคับบัญชา และกาลังพล
ในหน่วย


สารบัญ

การนาและผู้นาทางทหาร
คุณลักษณะที่พึงประสงค์, ความมั่นใจ,
และปฏิภาณไหวพริบ
สารบัญ
หน้า
คานา ก
บทนา ข
ภาค ๑ หลักพื้นฐานของภาวะผู้นา
บทที่ ๑ นิยาม“ภาวะผู้นา” ๑-๑
การมีอิทธิพลต่อผู้อื่น ๑-๓
การสั่งการ ๑-๓
การจูงใจ ๑-๖
การปฏิบัติการ ๑-๗
การปรับปรุง ๑-๙
บทที่ ๒ พื้นฐานภาวะผู้นาทางทหาร ๒-๑
เอกสารที่เป็นพื้นฐานของผู้นาทางทหาร ๒-๑
การเชื่อมโยงระหว่างทหาร – พลเรือน ๒-๓
ภาวะผู้นาและอานาจในการสั่งการ ๒-๗
ตัวแบบจาลองความต้องการภาวะผู้นาของ
กองทัพบก ๒-๘
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้นาสู่ความเป็นเลิศ ๒-๑๑
บทที่ ๓ บทบาทการเป็นผูน้ า ระดับภาวะผู้นา
และผู้นา ๓-๑
บทบาทและความสัมพันธ์ ๓-๒
สารบัญ

หน้า
นายทหารสัญญาบัตร ๓-๓
นายทหารประทวน ๓-๖
กองกาลังรบร่วม และกองกาลังหลายชาติ ๓-๑๓
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมแบบชั่วคราว ๓-๑๓
บทบาทที่มีร่วมกัน ๓-๑๔
ระดับของภาวะผู้นา ๓-๑๕
ภาวะผู้นาระดับสั่งการตรง ๓-๑๗
ภาวะผู้นาระดับองค์กร ๓-๑๘
ภาวะผู้นาระดับยุทธศาสตร์ ๓-๒๐
ผู้นาทุกระดับชั้น ๓-๒๒
ภาวะผู้นาแบบเป็นทางการ ๓-๒๓
ภาวะผู้นาแบบไม่เป็นทางการ ๓-๒๔
ความหมายโดยนัยสาหรับผู้นาองค์กร
และผู้นาหน่วย ๓-๒๔
โครงสร้างสายการบังคับบญชา ๓-๒๕
การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชา ๓-๒๓
ภาวะผู้นาที่ปราศจากอานาจหน้าที่ ๓-๒๘
การมอบอานาจให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ๓-๓๐
ภาค ๒ ผู้นาทางทหาร : ลักษณะของผู้นา การแสดงออก
และสติปัญญา
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา ๔-๑
ค่านิยมกองทัพบก ๔-๒
การแสดงความเคารพ ๔-๙
การทาหน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตนเอง ๔-๑๑
สารบัญ

หน้า
การทาหน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตนเอง ๔-๑๑
ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น ๔-๑๘
หัวใจนักรบ ๔-๑๙
การพัฒนาลักษณะผู้นา ๔-๒๔
ลักษณะผู้นาและความเชื่อ ๔-๒๕
ลักษณะผู้นาและจริยธรรม ๔-๒๗
เหตุผลทางจริยธรรม ๔-๒๙
จริยธรรมในการสั่งการ ๔-๓๑
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา ๕-๑
ลักษณะท่าทางผู้นาทางทหาร ๕-๓
สมรรถภาพทางด้านสุขภาพ ๕-๓
สมรรถภาพทางด้านร่างกาย ๕-๔
ความมั่นใจในตนเอง ๕-๖
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา ๖-๑
ไหวพริบปฏิภาณ ๖-๒
ดุลยพินิจอันเที่ยงตรง ๖-๔
นวัตกรรม ๖-๕
การตระหนักถึงความหลากหลาย ๖-๗
การควบคุมตนเอง ๖-๘
ปัจจัยในการแสดงอารมณ์ ๖-๘
ดุลยภาพ ๖-๑๐
เสถียรภาพ ๖-๑๐
ดุลยภาพ ๖-๑๐
ความรู้ทางทหาร ๖-๑๑
ความรู้ด้านยุทธวิธี ๖-๑๑
สารบัญ

หน้า
ความชานาญภาคสนาม ๖-๑๒
ความคล่องแคล่วทางยุทธวิธี ๖-๑๓
ความรู้ทางด้านเทคนิค ๖-๑๓
การดาเนินการด้านยุทธโธปกรณ์ ๖-๑๔
การใช้ยุทธโธปกรณ์ ๖-๑๔
ความรู้การรบร่วม ๖-๑๕

ภาค ๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้นาระดับสั่งการโดยตรง
จนถึงระดับยุทธศาสตร์
บทที่ ๗ การนา ๗-๑
การนาผู้อื่น ๗-๓
การเชื่อฟังและการรับมอบหน้าที่ ๗-๔
เทคนิคการสร้างความเชื่อมั่น ๗-๕
เทคนิคการโน้มน้าวใจให้ปฏิบัติงาน ๗-๙
การกาหนดเป้าประสงค์ แรงจูงใจ
และแรงบันดาลใจ ๗-๑๐
การกาหนดความมุ่งหมาย ๗-๑๑
แรงจูงใจ และแรงบันดาลใจ ๗-๑๓
การสร้างและรักษาขวัญ ๗-๑๘
สติปัญญาของผู้นา ๗-๑๙
มาตรการบังคับ ๗-๑๙
การวิเคราะห์และตรวจสอบ ๗-๒๑
การปลูกฝังระเบียบวินัย ๗-๒๒
การสร้างความสมดุลระหว่าง ภารกิจ
สารบัญ

หน้า
และสวัสดิการของเหล่าทหาร ๗-๒๔
การสร้างความไว้วางใจนอกเหนืออานาจหน้าที่ ๗-๒๘
การทาความเข้าใจบรรยากาศ วิธีการ
และข้อจากัดของอิธิพล ๗-๓๐
การเจรจาต่อรอง การสร้างฉันทานุมัติ
และการสลายความขัดแย้ง ๗-๓๑
การนาโดยการเป็นแบบอย่าง ๗-๓๑
การด้วยความมั่นใจในสภาพที่เป็นปฏิปักษ์ ๗-๓๒
การแสดงความกล้าหาญด้านคุณธรรม ๗-๓๓
การแสดงความสามารถ ๗-๓๔
การติดต่อสื่อสาร ๗-๓๖
การฟังด้วยความตั้งใจ ๗-๓๖
การกาหนดเป้าหมายสาหรับการปฏิบัติ ๗-๓๗
ให้มั่นใจว่ามีความเข้าใจร่วมกัน ๗-๓๘
บทที่ ๘ การพัฒนา ๘-๑
การสร้างสภาพแวดล้อมเชิงบวก ๘-๒
ความยุติธรรม และความทั่วถึง ๘-๕
การสื่อสารแบบเปิดและตรงไปตรงมา ๘-๖
สภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ ๘-๖
การประเมินบรรยากาศ ๘-๘
การสร้างให้เกิดการทางานเป็นหน่วย
และการทางานร่วมกัน ๘-๑๒
การกระตุ้นให้เกิดความริเริ่ม ๘-๑๔
การแสดงให้ถึงการดูแลเอาใจใส่ ๘-๑๔
การเตรียมตนเอง ๘-๑๕
สารบัญ

หน้า
การเตรียมการสาหรับความท้าทายที่คาดไว้
และไม่ได้คาดไว้ ๘-๑๕
การเพิ่มพูนความรู้ ๘-๑๘
การพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง ๘-๑๙
การพัฒนาผู้นา ๘-๒๓
การประเมินความจาเป็นในเชิงการพัฒนา ๘-๒๖
การพัฒนาในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ ๘-๒๘
การส่งเสริมด้านแนวทางรับราชการ
และความก้าวหน้า ๘-๒๘
การสนับสนุนการเรียนรู้ ๘-๓๐
การให้คาปรึกษาทั่วไป ๘-๓๑
การให้คาปรึกษาตามสถานการณ์ ๘-๓๓
การให้คาปรึกษาตามผลงาน ๘-๓๓
การให้คาปรึกษาด้านความก้าวหน้า
ในหน้าที่การงาน ๘-๓๔
วิธีการให้คาปรึกษา ๘-๓๔
การให้คาปรึกษาเฉพาะกรณี ๘-๓๖
การเป็นพี่เลี้ยงให้คาปรึกษา ๘-๓๙
การสร้างทักษะการทางานเป็นหน่วย
และกระบวนการทางานเป็นหน่วย ๘-๔๒
ลักษณะของหน่วย ๘-๔๓
ขั้นของการสร้างทีม ๘-๔๕
ขั้นการวางรูปแบบ ๘-๔๕
ขั้นปรับปรุงให้ดีขึ้น ๘-๔๗
ขั้นดารงรักษา ๘-๔๘
สารบัญ

สารบัญ
หน้า
ภาพที่ ๒-๑ ค่านิยมกองทัพบก ๒-๓
ภาพที่ ๒–๒ แบบจาลองภาวะผู้นาทางทหาร ๒-๓
ภาพที่ ๒-๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลัก ๘ ประการ
และพฤติกรรมเสริมของผู้นา ๒-๓
ภาพที่ ๓-๑ วิสัยทัศน์นายทหารประทวน ๓-๓
ภาพที่ ๓-๒ หลักความเชื่อของพลเรือนที่เข้ามา
ปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพบก ๓-๓
ภาพที่ ๔-๑ หลักศรัทธาของทหาร ๔-๓
ภาพที่ ๘-๑ ขั้นการสร้างหน่วย ๔-๓
ภาค ๑ พื้นฐานภาวะผู้นา

ภาค ๑
พื้นฐานภาวะผู้นา
“...ขอให้ทุกคนเข้าใจให้ชัดว่า การทาหน้าที่ของทหารให้บรรลุ
ประสิทธิผลทั้ง ด้านยุทธการ ทั้งด้านการปฏิบัติพัฒนาให้เกิดความมั่นคงใน
ชาตินั้น
ข้อแรก จะต้องมีความจงรักและยึดมั่นในชาติบ้านเมือง ต้องมุ่งมั่น
ที่ จ ะปกป้ อ งรั ก ษาธ ารงอิ ส รภาพอธิ ป ไตย ไว้ ทุ ก เมื่ อ ด้ ว ยสติ ปั ญ ญา
ความสามารถ และชีวิต ความยึ ดมั่ น ดั ง นี้จ ะเป็ นเครื่อ งป้อ งกัน ตนให้พ้ น
อันตรายจากความชั่ว ความทุจ ริตทั้งหมด และจะเป็นพลัง แรงส่ง เสริมให้
ก้าวหน้าไปในหน้าที่ราชการ
ข้อสอง เมื่อจะทาการใด ต้องตั้งใจทาให้จริง ด้วยความรับผิดชอบ
ด้วยความบริสุทธิ์ ใจ มุ่ง ถึง ผลอันเป็นประโยชน์พึง ประสงค์ของการนั้นเป็น
สาคัญ
ข้อ สาม ต้องใช้ หลัก วิช า ใช้ เหตุผ ล ความถู กต้ อง และความคิ ด
ไตร่ตรองที่บริสุทธิ์ด้วยสติปัญญา เป็นเครื่องวินิจ ฉัยตัดสินปัญหา และชี้นา
แนวทางปฏิบัติอยู่เสมอ
ข้อสี่ ต้องถือว่างานทุกด้าน ทุกสิ่งสัมพันธ์พึ่ งพิงกันและกันอยู่ จึง
จาเป็นต้องร่วมมือประสานประโยชน์กับทุกฝ่าย ทุกคน ด้วยความเฉลียวฉลาด
และเมตตาปรองดองกัน
ทั้งสี่ข้อนี้เป็นสิ่งที่จะขอนาไปพิจารณาให้ประจักษ์แก่ใจ แล้วถือเป็นวินัย
ประจาตัวควบคู่กับวินัยทหาร..”
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานกระบี่และปริญญาบัตร
แก่ ผู้สาเร็จการศึกษา จาก
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
โรงเรียนนายเรือ
โรงเรียนนายเรืออากาศ
วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๓๓
ภาค ๑ พื้นฐานภาวะผู้นา

ก าลั ง พลทุ ก นายในกองทั พ ต้ อ งมี ค วามเข้ า ใจพื้ น ฐาน


เกี่ยวกับภาวะผู้นาว่า คืออะไร และทาอะไร บทนิยามของภาวะผู้นา
และผู้นา เป็นการจัดการเรื่องที่มาของความแข็งแกร่งของค่านิยมใน
ระดั บรากแก้ ว ความเป็ นนั กรบ และความเป็ นทหารอาชี พ ชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ และค่านิยมกองทัพบกมีอานาจต่อบุคลิกลักษณะ
ของผู้นา และการพัฒนาความเป็ นทหารอาชีพ การปลูกฝัง ความ
ปรารถนาที่ จะได้ ม าซึ่ ง ความรู้ เ รื่ อ งการน า ผู้ น าประยุ ก ต์ ค วามรู้
เหล่านี้ภายในกรอบความสามารถที่แสดงให้เห็นถึงการบรรลุภารกิจ
บทบาทและหน้าที่ของผู้นาทางทหาร ประยุกต์ใช้กับภาวะผู้นาซึ่ง
คาบเกี่ยวกัน ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับการสั่งการโดยตรง ระดั บองค์กร
และระดับยุทธศาสตร์ ภาวะผู้นาทั้ง ๓ ระดับนี้ จะทาให้หน่วยบรรลุ
ความเป็นเลิศได้ก็ต่อเมื่อภาวะผู้นาในแต่ละระดับมีปฏิสัมพันธ์กัน
อย่างมีประสิทธิผล
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

บทที่ ๑
นิยามภาวะผู้นา
๑-๑. สิ่งที่แสดงถึงนิยามภาวะผู้นาทางทหาร คือ มี - รู้ - ทา (Be –
Know – Do) การเป็น ผู้น าเริ่ มจากสิ่ง ที่ผู้นาต้อง “มี” (Be) โดย
กล่าวถึงค่านิยมและคุ ณลักษณะต่าง ๆที่ผู้น าต้องมี สิ่ง ที่ผู้นาต้อ ง
“รู้”(Know) และสิ่งที่ผู้นาต้อง “ทา” (Do) ทั้งนี้ การตระหนักถึง
สิ่งเหล่านี้อยู่ตลอดเวลาช่วยให้เกิดการหล่อหลอมเป็น ภาวะผู้นาได้
ซึ่งในการนิยามคาว่า “ภาวะผู้นา”มาจากบุคลิกลักษณะของผู้นาที่
ผ่านการหล่อหลอมจนเป็นที่ประจักษ์ต่อสายตาของผู้พบเห็นนั่นเอง

๑-๒. ใครคือผู้นาทางทหาร?
ผู้นาทางทหาร คือ ใครก็ได้ที่มีคุณสมบัติที่ดีในบทบาทภาวะ
ผู้นา หรือผู้ที่เป็นแรงบันดาลใจในความรับผิดชอบที่ได้รับ และมี
อานาจต่อผู้อื่นในการบรรลุจุดมุ่งหมายแห่งองค์กร ผู้นาทางทหาร
จะจูงใจบุคคลทั้งภายในและภายนอกสายการบังคับบัญชาให้ปฏิบัติ
ภารกิจสาเร็จลุล่วง เน้นเรื่องการคิด และปรับการตัดสินใจเพื่อให้
องค์กรดีขึ้น

๑-๓. ผู้ น า ทุ ก คนมี ค่ า นิ ย มและคุ ณ ลั ก ษณะที่ เ หมื อ นกั น โดยไม่


คานึงถึงตาแหน่ง ถึงแม้ว่าจะมีการหล่อหลอมจากประสบการณ์และ
สมมติฐานของตาแหน่งที่ต้องมีความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่ ตัวอย่าง
เช่น จ่าสิบเอกที่มีประสบการณ์ในสนามรบจะมีความเข้าใจอย่ าง
ลึกซึ้งในการปฏิบัติหน้าที่แบบไม่เห็นแก่ตนเองมากกว่าทหารใหม่

๑-๑
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

๑-๔. ความรู้ ที่ ผู้นาควรใช้สาหรับ ภาวะผู้น าก็คือสิ่ง ที่ ทหารและ


ข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่ทางานในกองทัพบก “รู้” (Know)
ได้แก่ ความรู้ทางยุทธวิธี รู้ระบบเทคนิค รู้หน่วยทหาร รู้การจัดการ
ทรัพ ยากร รู้ จุดประสงค์ เฉพาะ และรู้ความต้องการของคน โดย
ปรับแต่ง ลักษณะเฉพาะของผู้นา และเพิ่มภาวะความเป็นผู้นาให้
มากขึ้นจากการปฏิบัติของผู้นา

๑-๕. บุคลิกลักษณะและความรู้เป็นสิ่งที่จาเป็นแต่ก็ยังไม่เพียงพอ
ซึ่งจะยังไม่เป็นผลดีจวบจนผู้นาได้มีการประยุกต์ใช้ความรู้ที่มีอยู่ไปสู่
การลงมือ “ทา” (Do) หรือการปฏิบัติชึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ
อ านาจและความรั บ ผิ ด ชอบที่ มี ต่ อ ผู้ อื่ น รวมทั้ ง สิ่ ง ที่ ไ ด้ ท า จาก
ความรู้เหล่านี้ผู้นาจะเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะผู้นาเมื่อเข้ารับตาแหน่งที่
แตกต่างกัน

๑-๖. สิ่งที่ท้าทายต่อผู้นา กองทัพ บก และพันธะทางกฎหมาย ซึ่ง


ได้วางแนวทางไว้ในการศึกษา การฝึก และการพัฒนาภาวะผู้นาทาง
ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม ต่อหน้าที่ ของกองทัพบก
กล่า วคือ การเตรี ยมก าลัง กองทัพ บก การปูอ งกั นราชอาณาจัก ร
และการดาเนินการเกี่ยวกับการใช้กาลังกองทัพบกตามอานาจหน้าที่
ของกระทรวงกลาโหมมี ผู้บั ญชาการทหารบกเป็น ผู้บั ง คับ บัญ ชา
รับผิดชอบจะเห็นได้ว่าผู้นาต้องเป็นนักรบ ปฏิบัติหน้ าที่อย่างไม่เห็น
แก่ตัว เหล่า สถานภาพ ทั้งหมดนี้ก็เพื่อปกปูองประเทศชาติและ
บรรลุซึ่ง ภารกิจของหน่วย อันกระทาโดยผ่านอานาจที่มีต่อบุคคล
ด้วยการมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน การสั่งการ และการจูงใจ
ภาวะผู้นาทางทหาร คือ กระบวนการของการมีอิทธิพลต่อ
บุคคลโดยมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีการอานวยการ และมีการจูงใจ

๑-๒
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

ในการปฏิบัติที่เป็นไปเพื่อให้บรรลุภารกิจและการปรับปรุงหน่วย

การมีอิทธิพลต่อผู้อื่น
๑-๗. การมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ผู้ อื่ น คื อ การท าให้ ทหาร ข้ า ราชการ
พลเรือ นกลาโหม ทาในสิ่งที่ จาเป็น การมีอิทธิพ ลส่ง ผลที่ไ ม่อาจ
หลี ก เลี่ ย งได้ ม ากกว่ า การใช้ ค าสั่ ง ส่ ว นการเป็ น แบบอย่ า งนั้ น มี
ความสาคัญเช่นเดียวกับคาพูดที่กล่าวออกมา ผู้นาเป็นแบบอย่างทั้ง
ดีและไม่ดี ด้วยการกระทา คาพูดทั้งในและนอกหน้าที่ คาพูดและ
การเป็นแบบอย่างนี้เป็นสิ่งที่ผู้นาใช้ในการสื่อสารวัตถุประสงค์ การ
อานวยการ และการจูงใจ

วัตถุประสงค์และวิสัยทัศน์
๑-๘. วัต ถุ ป ระสงค์ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ผู้ใ ต้ บั ง คั บ บัญ ชาได้ รั บ รู้เ หตุ ผ ลที่ จ ะ
ปฏิบั ติต ามคาสั่ง เพื่ อให้ บรรลุ ผลลัพ ธ์ที่ ต้อ งการ ผู้น าควรกาหนด
วัตถุประสงค์ที่ชัดเจนโดยใช้วิธีก ารที่ หลากหลาย ผู้นาสามารถใช้
เครื่องมือโดยตรงในการสารวจวัตถุประสงค์ ผ่านการร้องขอ หรือ
การสั่งให้ทา

๑-๙. วิสัยทัศน์ คือ อีกวิธีการหนึ่งในการกาหนดวัตถุประสงค์ เป็น


สิ่ง ที่อ้างถึงวัตถุประสงค์ของหน่วยซึ่ง อาจจะมีผลลัพธ์ที่กว้างกว่า
หรื อ การแถลงวั ต ถุ ป ระสงค์ อื่น ๆ ผู้น าในระดั บ สู ง ขึ้ น ไปจะเป็ น ผู้
พิจารณาอย่างระมัดระวังในการสื่อถึงวิสัยทัศน์

การสั่งการ
๑-๑๐. การสั่ ง การที่ ชั ด เจนเป็ น การสื่ อ ถึ ง วิ ธี ก ารอั น น าไปสู่ ก าร
บรรลุ ภ ารกิ จ ประกอบด้ ว ย การจั ด ล าดั บ กิ จ ต่ า งๆ ที่ ไ ด้ รั บ การ

๑-๓
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

มอบหมายความรับผิดชอบ และการทาให้ผู้ใต้บังคับบัญ ชาเข้าใจ


มาตรฐาน แม้ว่าผู้ใต้บังคับบัญชาต้องการและจาเป็นต้องได้รับการ
สั่งการ ผู้สั่งการยังคาดหวังถึงกิจที่มีความท้าทาย การฝึกที่มีคุณภาพ
และทรั พ ยากรที่ เ พี ย งพอ ผู้ สั่ ง การจึ ง ควรมี เ สรี ใ นการปฏิ บั ติ ที่
เหมาะสม การสั่งการที่ชัดเจนทาให้ผู้ปฏิบัติตามมีอิสระในการปรับ
แผนและค าสั่ ง ตามสถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป การสั่ ง การใน
ขณะที่ มีการปรั บให้เ ข้ากั บการเปลี่ ยนแปลงเป็นกระบวนการที่ มี
ความต่อเนื่อง

๑-๑๑. ตัวอย่าง : การรบที่เขาพนมปะ ตาพระยา จว. สระแก้ ว


(ปราจีนบุรี) เมื่อ ๓๑๐๕๐๐ มี.ค.๒๖ เขมรสามฝุายได้ร่นถอยจาก
การเข้าตีของทหารเวียดนาม กรม ๗๕๑ ซึ่งไล่ติดตามเข้ามาในเขต
ไทย และได้ ป ะทะกั บ กองรั ก ษาด่ า นรบของ ร. ๒๑ พั น .๒ รอ.
ขณะนั้น จ.ส.อ.อนันต์ แต้มทอง ซึ่งเป็น ผบ.กองรักษาด่านรบได้สั่ง
ให้กาลังพลทาการต่อสู้จนถึงขั้นรบประชิด โดยได้รับการสนับสนุน
การยิงจากอาวุธหนักของกองพัน แม้ว่าจะมีกาลังน้อยกว่า แต่การ
ต่อสู้อย่างกล้าหาญทาให้ทหารเวียดนามไม่สามารถรุกล้าเข้ามาได้
สูญเสียจานวนมากและต้องถอนตัว ฝุายเรายึดศพทหารเวียดนาม
ซึ่งถูกยิงชิดขอบลวดหนามกองรักษาด่านรบได้ ๑ ศพ ต่อมาเมื่อ
๐๑๐๙๐๐ เม.ย.๒๖ ชุด ลว. ของ ร้อย.อวบ. ๑ เขาพนมปะ นา
โดย ส.อ.ส าเภา เสริ ฐ เลิ ศ ได้ ป ะทะกั บ ก าลั ง ทหารเวี ย ดนาม
จานวนมากจน ชุ ด ลว. ฝุา ยเราไม่ สามารถถอนตั วกลั บ ได้ และ
ยั ง คงตรึ ง ก าลั ง ต่ อ สู้ อ ย่ า งกล้ า หาญ ร.อ.ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา
ผบ.ร้อย.อวบ. ที่ ๑ สั่งการให้ จ.ส.อ.บัญญัติ จันทร์ศรีระมี นา
กาลังขึ้นไปสมทบโดยให้ จ.ส.อ.กุหลาบ ทองเขียว เป็นผู้นา มว.ค.
๖๐ ไปเข้าที่ ตั้ง ยิง บริเวณด้านหลั งเขาพนมปะทาให้ ชุด ลว. ถอน

๑-๔
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

กาลังกลับเข้าจุดเฝูาตรวจได้ แต่ทหารเวียดนามยังคงรุกไล่ติดตาม
เข้ามาและวางกาลัง ห่างจากแนวลวดหนามของฐานจุดเฝูาตรวจ
ประมาณ ๕๐ เมตร ร.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ขอ ป. ยิงสกัด
กั้นตามแนวชายแดนกับสั่งการต่อชุด ลว. ให้ยิงตอบโต้เฉพาะเท่าที่
ตรวจการณ์เห็นและพยายามยึดพื้นที่ไว้ไม่ให้ฝุายทหารเวียดนามรุก
คืบหน้า เข้า มาได้ ระหว่า งนั้น มีร ายงานจากหน่ วยข่า วว่า ทหาร
เวียดนามต้องการยึดเขาพนมปะไว้ให้ได้ พ.ท.ณรงค์เดช นันทโพธิ
เดช ผบ.ร.๒๑ พัน.๒ รอ. จึงตัดสินใจนากาลังเข้าตีอย่างจากัดตาม
สันเขาพนมปะ เพื่อผลักดันทหารเวียดนามออกจากชายแดนไทย
ทหารเวียดนามได้ ใช้จรวดอาพ์พีจี , เอ็ม.๗๙ อาวุธปืนเล็ก และปืน
ใหญ่ร ถถั ง ซึ่ง ระดมยิง อย่ างหนั ก และเพิ่ม กาลัง เป็ นจ านวนมาก
แต่ ฝุ า ยเราอาศั ย ภู มิ ป ระเทศ และความกล้ า หาญอย่ า งยิ่ ง ยวด
ผลั ก ดั น จนถึ ง หลั ก เขตที่ ๓๘ ครั้ น เมื่ อ ๐๒๐๔๕๐ เม.ย.๒๖
ทหารเวี ย ดนามได้ ใ ช้ อ าวุ ธ หนั ก ระดมยิ ง ขึ้ น มาบนเขาพนมปะ
ผบ.ร้ อ ย.อวบ.ที่ ๑ ขึ้ นไปควบคุ ม สั่ ง การด้ ว ยตนเอง พบทหาร
เวียดนามเข้าตีโอบทางด้านหลังเขาพนมปะ เพื่อจะยึดชายเนินให้ได้
ผบ.ร.๒๑ พัน.๒ รอ. สั่งการให้ ผตน.ป. ปรับปืนใหญ่ลงบริเวณที่
ขศ. อยู่ตลอดเวลา จนกระทั่ง เวลา ๑๕๓๐ ฝุาย ขศ. ถอนตัวออก
นอกพื้นที่แต่ยังคงยิง ป., ค. เข้ามาตกในพื้นที่เป็นระยะๆ ผลจาก
การสู้ รับ ครั้ งนี้ คาดว่ าฝุ าย ขศ. บาดเจ็ บ ล้ม ตายเป็น จานวนมาก
(จากการข่าว ประมาณ ๒๐๐ คน)ยึดศพได้จานวน ๑๐ ศพ และ
จับเป็นเชลยได้ ๑ คน ฝุายเราเสียชีวิต ๕ นาย บาดเจ็บ ๑๕
นาย สูญหาย ๑ นาย การที่ ผบ.ร.๒๑ พัน.๒ รอ., ผบ.ร้อย.อวบ.
ที่ ๑ และ หัวหน้าชุด ลว. มีความเป็นผู้นาสูง ทาให้กาลังพลทุกนาย
มีขวัญดี มีจิตใจกล้าหาญอย่างยิ่งยวด มีจิตใจมุ่งมั่นจะรักษาอธิปไตย

๑-๕
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

ของประเทศ สามารถทาการรบจนถึงระยะประชิด สามารถผลักดัน


ขศ. จานวน ๓ กองพันเพิ่มเติมกาลัง ให้ถอยร่นกลับไปได้

การจูงใจ
๑-๑๒. การจูงใจทาให้เกิดความตั้งใจซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นในการทาให้
บรรลุภารกิจ การสร้างแรงจูงใจแม้มาจากภายในตนเองแต่เป็นผล
มาจากการกระทาและคาพูดของผู้อื่น บทบาทของผู้นาในการจูงใจ
คือการเข้าใจความจาเป็นและความปรารถนาของกาลัง พล ปรับ
และยกระดั บแรงขั บเคลื่อ นของก าลัง พลให้ไ ปสู่จุ ดมุ่ ง หมายของ
หน่วย และทาให้เกิดอิทธิพลต่อผู้อื่นอันจะนาไปสู่ จุดมุ่งหมายที่ใหญ่
กว่า บางคนมีแรงจูงใจในระดับสูงอยู่ภายในเพื่อให้งานเสร็จลุล่วง
ในขณะที่คนอื่นต้องการความมั่นใจและคาติชม นอกจากนี้แรงจูงใจ
ยังกระตุ้นความริเริ่มหากมุ่งหวังความสาเร็จ

๑-๑๓. ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมรวมกันเข้าเป็นส่วน
หนึ่งของกองทัพบกเพื่อเผชิญกับความท้าทาย แสดงให้เห็นว่าทาไม
การจูงใจด้วยการมอบหมายงานและภารกิ จจึงเป็นสิ่งสาคัญ ดังนั้น
ผู้นาจึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และข้อจากัด
ของก าลั ง พลให้ ม ากที่ สุ ด เท่ า ที่ จ ะท าได้ จ ากนั้ น จึ ง มอบความ
รับผิดชอบให้เท่าที่เขาสามารถรับได้

๑-๑๔. เมื่อผู้ใต้บังคับบัญชาทาสาเร็จ ให้ยกย่อง เมื่อเขาบกพร่อง


ให้ความดีเขา ในส่วนที่ทาถูกต้อง แต่ต้องให้คาแนะนาว่าทาอย่างไร
จึงจะทาให้ดีขึ้นในส่วนที่บกพร่อง เมื่อใช้การจูงใจด้วยคาพูด ผู้นา
ควรใช้มากกว่าวลีที่ว่างเปล่า ด้วยการสื่อ ข้อความที่แสดงให้เห็นว่า
เป็นตัวของผู้นาเอง

๑-๖
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

๑-๑๕. การใช้วิธีอ้อมได้ผลเช่นเดียวกับการพูด การเป็นแบบอย่าง


สามารถดารงความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนผู้อื่นได้ ซึ่งจะเห็นได้ชัด
เมื่อผู้นาแสดงให้เห็นว่าพร้อมที่จะยากลาบากด้วยกัน เมื่อหน่วย
ต้องเตรียมการเคลื่อนย้ายเข้าวางกาลัง ผู้นาหลักทั้งหมดควรเข้าไป
มีส่วนร่วมในงานหนักเพื่อให้พร้อมที่จะส่งยุทโธปกรณ์ รวมถึงการ
แสดงออกถึงภาวะผู้นาโดยการไปร่วมทางานในเวลาค่าคืน วันหยุด
ในทุกสภาวะ และทุกหนแห่งที่ทหารต้องไปปฏิบัติหน้าที่

การปฏิบัติการ
๑-๑๖. การปฏิบัติการ กล่าวรวมถึง การกระทาที่มีอิทธิพลต่อผู้อื่น
เพื่อให้บรรลุภารกิจและการวางขั้นการปฏิบัติในอนาคต ตัวอย่าง
การรบที่ อ.ปัว อ.ทุ่งช้าง จว.น่าน ของ ร.ต.ณรงค์เดช นันทโพธิเดช
ขึ้นปฏิบัติภารกิจที่ จว.น.น. เมื่อ ต.ค.๑๕ และได้ใช้เวลาในการ
ต่อสู้ ณ พื้นที่แห่งนั้นถึง ๔ ปี ผลการปฏิบัติงานได้รับความสาเร็จ
เป็นอย่างดี ดังนี้
๑-๑๖.๑ เมื่อวันที่ ๑๔ ก.พ.๑๖ จัดกาลังชุดปฏิบัติการ ซุ่ม
โจมตีตามเส้นทางเข้าสู่หมู่บ้าน ผกค. ชุดแรก ได้เคลื่อนที่มายังพื้นที่
ซุ่มโจมตี ชุดปฏิบัติการจึงได้ระดมยิงทาให้ ผกค. เสียชีวิตทันที ๕
คน ฝุาย ผกค. ที่ติดตามมาได้ส่งกาลัง สนับสนุนเพิ่มเติมอีก ร.ต.
ณรงค์เดชฯ ดาเนินกลยุทธ์หลอกล่อ ด้วยการถอนกาลังส่วนใหญ่ไป
วางตัว ณ ภูมิประเทศแห่งใหม่ที่ได้เปรียบ แล้วให้กาลังที่ปะทะอยู่
ส่วนน้อยนั้นหลอกล่อให้ ผกค. ไล่ติดตามมาอยู่ในพื้นที่สังหาร ชุด
ปฏิ บั ติก ารทั้ง สองส่ ว นของฝุา ยเราระดมยิ ง อย่ า งรุ น แรง ทาให้ มี
ผู้เสียชีวิตทันทีอีก ๗ คน จากการปะทะ ๒ ครั้ง ในวันเดียวกัน
ทาให้ ผกค. เสียชีวิต ๑๒ คน ฝุายเราปลอดภัย

๑-๗
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

๑-๑๖.๒ เมื่ อ วั น ที่ ๒๙ พ.ค.๑๖ ชุ ด ซุ่ ม ร.ต.ณรงค์ เ ดชฯ


ผบ.ชุด พร้ อมทั้ง กาลั งพลทุก นายได้ปฏิ บัติ หน้า ที่ไ ด้ผ ลงานดี เด่ น
แสดงออกถึงความ กล้าหาญ เสียสละ มีปฏิภาณไหวพริบ มีจิตใจใน
การต่อสู้เป็นอย่างดียิ่ง ผลการต่อสู้ ผกค. เสียชีวิต ๒ คน
๑-๑๖.๓ เมื่อวันที่ ๑๐ ธ.ค.๑๗ ร้อย.อวบ.ที่ ๒ พัน.ร.๒๑๒
พล.ม.สน. ได้รับรายงานว่า ผกค. ได้ใช้พื้นที่บริเวณบ้านน้าสอด อ.
ทุ่งช้าง จว.น.น. ซึ่งอยู่ห่างจากชายแดนประเทศลาวประมาณ ๖ กม.
เป็นที่รับส่งเสบียง และเป็นขุมกาลังใหญ่ หน่วยจึงจัดชุดปฏิบัติการ
ให้ ร.ท.ณรงค์เดช นันทโพธิเดช เป็น ผบ.ชุด ออกเดินทางไปตั้งแต่
วันที่ ๑๒ ธ.ค.๑๗ ถึ งที่ หมายในคืนวั นที่ ๑๔ ธ.ค. ๑๗ ปะทะกั บ
ผกค. กาลังประมาณ ๓๐ - ๔๐ คน ฝุายเราได้รับบาดเจ็บ ๑ นาย
เนื่องจากถูกสะเก็ดอาร์พีจี คือ ร.ท.ณรงค์เดชฯ ฝุาย ผกค.เสียชีวิต
๔ คน กาลังของฝุายเราซึ่งมี นายทหาร นายทหารประทวน และ
พลทหาร ได้แสดงออกถึงพฤติกรรมอันกล้าหาญ มีปฏิ ภาณ ไหว
พริ บ ในการต่ อ สู้ มี ค วามสมั ค รสมานสามั ค คี ร่ ว มมื อ ของฝุ า ยเรา
ด้วยกัน เป็นผลให้ ผกค. ต้องเสียขวัญ และล่าถอยถอนตัวไป
ร.ต.ณรงค์เดช นันทโพธิเดช ได้ทาการฝึกสอนทหารใหม่ ให้มี
ความรู้ความชานาญในการรบแบบกองโจร สามารถทาการรบได้ทั้ง
กลางวัน และกลางคืน และเมื่อขึ้นปฏิบัติการ ณ พื้นที่จริง ยังได้ทา
การฝึ กเพิ่ มเติม โดยต่อ เนื่ องเพื่อ ความมั่ นใจ อาทิ เช่ น การยิง ปื น
ฉับพลัน การวิ่งขึ้นเขา การกลิ้งลงจากเขา การวิ่งแบกซุง อันเป็น
ส่วนหนึ่ง ที่ทาให้เกิดความคล่องตัวในการรบบนภูเขา ฝึกกาลังพล
และพั ฒ นารู ป แบบการรบโดยมิ ห ยุ ด นิ่ ง อั น เป็ น หั ว ใจของ
ความสาเร็จทั้งหมดที่เกิดขึ้น ทั้งนี้บรรดาผู้นาก็เช่นเดียวกันโดยจะ
ซับซ้อนขึ้นตามตาแหน่งความรับผิดชอบที่สูงขึ้น

๑-๘
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

การปรับปรุง
๑-๑๗. การปรับปรุงเพื่ออนาคต หมายความถึง ความเข้าใจและ
การปฏิบัติตามบทเรียนที่สาคัญซึ่งทาให้โครงการหรือภารกิจสาเร็จ
ลุล่วง จากตัวอย่ างที่ผ่านมา ร.ต.ณรงค์เดชฯ ก็จะมีการทบทวน
ภายหลังการปฏิบัติ : ตัวอย่างของการ ทลป. หลังจากปฏิบัติการ ณ
พื้ น ที่ จ ริ ง ท าให้ ร .ต.ณรงค์ เ ดชฯ ได้ ท ราบข้ อ แก้ ไ ขมาท าการฝึ ก
เพิ่มเติมโดยต่อเนื่องเพื่อสร้างความมั่นใจ (ทลป. คือการถกแถลง
หลังการปฏิบัติต่าง ๆ) โดยเน้นการใช้ยุทธวิธีทุกรูปแบบ ทั้งการซุ่ม
โจมตี การเข้ า ตี ลวง หรื อ การหลอกล่ อ ให้ ข้ า ศึ ก มาอยู่ ใ นพื้ น ที่
สัง หาร รวมถึงการถอนตัวที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง จะให้ กาลัง พลได้
สารวจตนเองว่า มีเหตุอะไรเกิดขึ้นบ้าง ทาไมจึงเกิดขึ้น จะดารงจุด
แข็งนั้นไว้ได้อย่างไร และจะปรับปรุงจุดอ่อนได้อย่างไร ประโยชน์ที่
ได้ก็ คือ สามารถครองความได้เ ปรี ยบในทุ กสถานการณ์ เป็ นสิ่ ง
ยืนยันว่าถ้าทา ทลป. แล้วสามารถสังหาร และยึดยุทโธปกรณ์จาก
ผกค. ได้เป็นจานวนมากทุกครั้ง

๑-๑๘. การให้ ค าปรึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาแล้ ว เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ


สาหรับให้ความช่วยเหลือผู้ใต้บังคับบัญ ชาในการปรับปรุง ผลการ
ปฏิบัติงาน และการเตรียมการสาหรับความรับผิดชอบในอนาคต
ผู้ให้คาปรึกษาควรจัดการต่อจุดแข็งและจุดอ่อนได้ดีพอกัน หาก
ตัวอย่างเช่น ร.ต.ณรงค์เดชฯ พบความบกพร่องจากการปฏิบัติงาน
ของกาลังพลหรือหน่วย ร.ต.ณรงค์เดชฯ จะวางแผนและทาการสอน
ประกอบการฝึกตลอดจนอยู่ในการฝึกตลอดเวลาเพื่อให้คาปรึกษา
ต่อกาลังพลที่ยังไม่เข้าใจ ปฏิบัติไม่ได้ให้เข้าใจและปฏิบัติได้ ซึ่งช่วย
ในการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานในส่วนที่บกพร่องมาแก้ไ ขให้เป็น
ประโยชน์ต่อกาลังพลและการปฏิบัติของหน่วย

๑-๙
บทที่ ๑ นิยามภาวะผู้นา

๑-๑๙. นอกจากนี้ ร.ต.ณรงค์เดชฯ ยังปรับปรุงหน่วยอย่างช้าๆ


และต่อเนื่อง โดยให้หน่วยมีความพยายามและเน้นการเรียนรู้อย่าง
เข้มงวด การทาตนเป็นแบบอย่างได้ส่งสัญญาณสาคัญไปยังกาลังพล
ในหน่วย นั่นคือ การปรับปรุงหน่วยเป็นความรับผิดชอบของทุก
คน ความพยายามในการท าสิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใดให้ กั บ หน่ ว ยนั้ น มี พ ลั ง
มากกว่าการบรรยายใดๆ

ผู้นา
คือ
ผู้สร้างแรงบันดาลใจ
ให้ผู้ตาม
ปฏิบัตภิ ารกิจที่ได้รับมอบหมาย
ให้สาเร็จ

๑-๑๐
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

บทที่ ๒
พื้นฐานภาวะผู้นาทางทหารของกองทัพบก

๒-๑. ตามประวัติศาสตร์ของชาติไทย เราได้วางรากฐานภาวะผู้นา


ทางทหารไว้อย่างมั่นคง จากขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ตารา
พิชั ย สงครามและกฎมณเฑี ยรบาลที่ ใ ช้ ยึด ถื อปฏิ บั ติสื บ ต่ อกั น มา
ยาวนาน ให้รัก หวงแหน ปกป้อง รักษา จงรักภักดี และแสดงออก
ถึงความกตัญญูกตเวทีต่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สืบทอดมาจนพัฒนา
เป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน ผลสืบเนื่องต่อมาทาให้เกิดการ
พัฒนาหลักนิยมกองทัพบกอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามความก้าวหน้า
ของเทคโนโลยีและงบประมาณที่มีอยู่อย่างจากัด ผู้นาประยุกต์ใช้
ความรู้เหล่านี้ด้วยความมั่นใจและการอุทิศตนซึ่งพัฒนาไปสู่การเป็น
กองทัพบกที่มีวุฒิภาวะ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และทาให้กาลัง
พลในกองทัพบกมีทักษะหลายด้าน ผู้นาต้องมีความรับผิดชอบใน
การทาตนเป็นแบบอย่างและการมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ระดับ
ผู้เชี่ยวชาญ ในเวลาเดียวกันก็ต้องพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาด้วย

๒-๒. กองทัพบก จึงได้แบ่งคุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักของผู้นา


หรือพื้นฐานภาวะผู้นาทางทหารของกองทัพบกเพื่อช่วยทาให้ผู้นามี
ความสามารถในทุกระดับของภาวะผู้นา ไว้ ๓ ประการ คือ การเป็น
ผู้นา นักพัฒนาพัฒนา และผู้ชึ่งดารงความมุ่งหมายไปสู่ความสาเร็จ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่วนประกอบย่อยๆ เหล่านี้แสดงถึง
บทบาทและหน้าที่ของผู้นา

เอกสารที่เป็นพื้นฐานของผู้นาทางทหาร
๒-๓. กองทัพบกและภาวะผู้นาทางทหารตั้งอยู่บนพื้นฐานของการ

๒-๑
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

ปกครองในระบอบประชาธิป ไตยอั นมี พ ระมหากษั ต ริ ย์ท รงเป็ น


ประมุข การกาหนดค่านิยม และมาตรฐานของความเป็นเลิศ ได้มี
การตระหนักถึงความสาคัญของมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ชึ่งได้ทดสอบแล้วด้วยกาลเวลาว่ามีผู้นาที่ยอดเยี่ยม ตลอดระยะเวลา
ที่ผ่ า นมา ทั้ ง นี้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ หลั ก นิ ย มเรื่อ งภาวะผู้ น าจะมี ก าร
เปลี่ยนแปลงตาม สังคม ภัยคุกคาม ความท้าทายซึ่งเกี่ยวกับความ
มั่น คงปลอดภั ย และความก้า วหน้ าทางเทคโนโลยี จึง ต้อ งมีก าร
ปรับเปลี่ยนไปตามสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง

๒-๔. ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไทยได้รับอิทธิพลมาจากอารย
ธรรม วรรณกรรมและศาสนา แล้ววิวัฒนาการกลายเป็น ค่านิยม
พื้น ฐาน วัฒ นธรรม จารีต ประเพณี ความเชื่อ หลั ก ศรัท ธา และ
จุดมุ่งหมาย อันเป็นบ่อเกิดของรัฐธรรมนูญ กฎ ระเบียบ แบบธรรม
เนี ย มทหาร ข้ อ บัง คั บ และค าสั่ งต่ า งๆ แสดงให้เ ห็ น ถึ ง บทบาท
หน้าที่ และความรับผิดชอบ ดังนั้น ทหารและผู้นาทางทหารทุกนาย
ซึ่งมีอานาจหน้าที่ตามกฎหมาย จึงต้องศึกษาทาความเข้าใจ และ
ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุความมุ่งประสงค์ โดย
คานึงถึงผลประโยชน์ของชาติเป็นสาคัญ

๒-๕. สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพให้ไ ทยมี


เอกราช และจากพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตลอดมาของกองทัพบก
ในอดีต ตราบจนประกาศความเป็นไทยไม่อยู่ภายใต้การปกครอง
ของชาติรุกรานโดยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และการปกป้อง
ภัยคุกคามจากภายนอกประเทศ ตลอดจนสถาปนาความมั่นคงของ
ชาติ ข ององค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช
ตราบจนถึงปัจจุบันภายใต้การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย

๒-๒
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

อัน มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ทรงเป็ น ประมุ ข มี น ายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ผู้ น า


รัฐบาลที่ มาจากพลเรื อ น เป็น ผลสื บเนื่ องมาจากสถาบัน ทหารได้
ก่อตั้ง รากฐาน หน้าที่ ความรั บผิดชอบพื้นฐาน และตัวแบบของ
ภาวะผู้นาที่แข็งแกร่ง ให้ดารงอยู่คู่แผ่นดินไทยจึง เป็นสิ่งที่ประจักษ์
ชัดว่า “กองทัพบก เป็น เสาหลักที่มั่นคงในการปกป้องผืน แผ่นดิน
ไทย”

การเชื่อมโยงระหว่าง พลเรือน – ทหาร


๒-๖. กฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย ปี ๒๕๕๐
มาตรา ๗๗ กล่ า วว่ า “รั ฐ ต้ อ งพิ ทั ก ษ์ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง สถาบั น
พระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอานาจ
รัฐ และต้องจัดให้มีกาลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีที่
ทันสมัย จาเป็น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย
ความมั่น คงของรัฐ สถาบันพระมหากษั ตริย์ ผลประโยชน์ของ
ชาติ การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรง
เป็ น ประมุ ข และเพื่ อ การพั ฒ นาประเทศ” อั น น ามาซึ่ ง การให้
ความสาคัญในการสนับสนุนกองทัพบกให้ดารงสิ่งที่มั่นคงและยั่งยืน
เสมอมา คือกองทัพบกได้รับกิจในการปกป้องผืนแผ่นดินไทย กาลัง
พลในกองทัพบกรวมถึงเหล่าทัพอื่นๆ ได้รับสถานภาพพิเศษภายใต้
กฎหมาย ได้แก่ การมีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และอานาจหน้าที่ซึ่ง
นับเป็นเกียรติยศพิเศษ ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในสนามรบ มีการ
จัดโครงสร้างการปกครองตามลาดับชั้นของอานาจหน้าที่ เริ่มตั้งแต่
ทหารเป็นรายบุคคลสูงขึ้นไปตามชั้นยศ รวมถึงผู้นาที่เป็นพลเรือน

๒-๗. เพื่อ ให้เ ป็น ระเบีย บแบบแผน อัน เป็น คามั่นสั ญ ญาต่อ ชาติ
และเป็นการยืนยัน ว่า คามั่นสัญญาของทหารศักดิ์สิทธิ์และมีความ

๒-๓
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

มั่นคง เชื่อถือได้ มากกว่าหนังสือสัญญาใดๆ “กาลังพลทุกนายของ


กองทัพบกต้องกระทาสัตย์ปฏิญาณตน” ที่จะสนับสนุนและปกป้อง
ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย์ รั ฐ ธรรมนู ญ จากข้ า ศึ ก ศั ต รู ทั้ ง ภายในและ
ภายนอกประเทศ ในขณะเดี ย วกั น ทหารทุ ก นายยึ ด มั่ น ในองค์
พร ะ บาทสมเด็ จ พ ระ เจ้ า อยู่ หั ว อง ค์ จ อมทั พ ไ ทย ในฐาน ะ
ผู้บังคับบัญ ชาสูงสุด ค่านิยมกองทัพบกในภาพ ๒- ๑ แสดงความ
เชื่อมโยงข้อความของคาปฏิญาณตน
ภาพ ๒ – ๑ ค่านิยมกองทัพบก
ความจงรักภักดี จงรั ก ภั ก ดี ต่ อ ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย์ แ ละมุ่ ง มั่ น
ศรัทธาอย่างแท้จริงต่อรัฐธรรมนูญ กองทัพบก
หน่วยที่สังกัดและทหาร
หน้าที่ ปฏิบัติตามคาปฏิญาณตน
ความเคารพ ปฏิบัติต่อประชาชนตามที่สมควรได้รับ
การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ค านึ ง ถึ ง ความผาสุ ก ของชาติ ประชาชน
โดยไม่เห็นแก่ตน กองทัพบก และผู้ใต้บังคับบัญชาก่อนตนเอง
เกียรติยศ ยึดถือตามค่านิยมกองทัพบก
ศักดิ์ศรี ทาในสิ่งที่ถูกต้องตามกฎหมายศีลธรรม และ
แบบธรรมเนียมทหาร
กล้าหาญ เผชิ ญ หน้ า กั บ ความกลั ว อั น ตราย หรื อ ความ
ยากลาบาก(ทั้งกายและใจ)

๒-๘. จุ ด ยื น และค าปฏิ ญ าณตนของทหารที่ ผู้ น า ทหารและ


ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ของกองทัพบกยึดมั่น

๒-๔
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

จุดยืนของทหาร

“เหล่าทหาร ดารงตนอย่างมั่นคง
อยู่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
องค์จอมทัพไทย
ปฏิบัติหน้าที่
ด้วยความสุจริต เสียสละ กล้าหาญ สามัคคี
รู้หน้าที่ มีวินัย
พร้อมถวายความจงรักภักดี
แด่องค์จอมทัพไทยด้วยชีวิต
เพราะเหล่าทหาร
ต่างสานึกใน
พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น”

๒-๕
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

คาปฏิญาณตนของทหารต่อธงชัยเฉลิมพล

ข้าพเจ้า จักยอมตาย เพื่ออิสรภาพและความสงบแห่งประเทศชาติ

ข้าพเจ้า จักอยู่ในศีลธรรมของศาสนา

ข้าพเจ้า จั ก เทิ ด ทู น และรั ก ษาไว้ ซึ่ ง พระบรมเดชานุ ภ าพแห่ ง


พระมหากษัตริย์เจ้า

ข้าพเจ้า จักรักษาไว้ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย อั น มี


พระมหากษัตริย์เป็นประมุข

ข้าพเจ้า จักเชื่อถือผู้บังคับบัญชาและปฏิบัติตามคาสั่งอย่างเคร่งครัด
ทั้งจักปกครองผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความยุติธรรม

ข้าพเจ้า จะไม่แพร่งพรายความลับของทางราชการทหารเป็นอันขาด

๒-๙. การเป็นทหารมิได้หมายความว่าบุคคลนั้นได้หมดสิ้น จากการ


เป็นพลเมืองไทย แต่ยังคงมีความรับผิดชอบและมีสิทธิ์ที่ติดตัวอยู่
ทหารและประชาชนพึงตระหนักว่าเมื่อใดที่สวมใส่เครื่องแบบ เขา
เป็นตัวแทนของหน่วย กองทัพบก และประเทศชาติ ดัง นั้นทหาร
ทุกนายต้องสร้างความสมดุลของหน้าที่ในการเป็นนักรบที่อุทิศตน
ด้วยการปฏิบัติตามกฎหมายของชาติ ทาหน้าที่เสมือนเป็นทูตของ
ประเทศทั้งในยามสงบและในยามสงคราม ทั้งนี้ข้าราชการพลเรือน
กลาโหม ก็ควรมีระเบียบวินัยในตนเองเช่นเดียวกัน

๒-๖
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

ภาวะผู้นา และอานาจการบังคับบัญชา
๒-๑๐. การบั งคั บบั ญชา คื อ เอกลั กษณ์ข องความรั บผิ ดชอบใน
ภาวะผู้นาซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย และเป็นเรื่องเฉพาะทางทหาร

๒-๑๑. การบังคับบัญชา หมายถึง อานาจหน้าที่ตามกฎหมายซึ่ง


ผู้บังคับบัญชาในทางทหารปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชาโดยเหตุแห่งยศ
หรื อ การมอบหมายหน้ า ที่ การบั ง คั บ บั ญ ชารวมไปถึ ง ความ
รับผิดชอบ อานาจหน้าที่ และภาวะผู้นา ทั้งนี้ต้องรับผิดชอบและ
วางแผนการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ การรวมกาลัง
การอานวยการ การประสานความร่วมมือ และการควบคุมกาลังทาง
ทหารเพื่ อให้ สาเร็จลุ ล่วงภารกิจที่ ได้รั บมอบหมาย นอกจากนี้ยั ง
รวมถึงความรับผิดชอบต่อความพร้อมของหน่วย สุขภาพ สวั สดิการ
ขวัญ และวินัยของกาลังพล

๒-๑๒. การบั ง คั บ บั ญ ชา คื อ การได้ รั บ มอบความไว้ ว างใจอั น


ศักดิ์สิทธิ์ ผู้บังคับบัญชาต้องตอบคาถามได้ว่าผู้ใต้บัง คับบัญ ชาอยู่
อย่างไรและทาอย่างไรนอกเหนือไปจากขณะปฏิบัติหน้าที่ สัง คม
และกองทัพบกเฝ้ามองผู้บังคับบัญชาเพื่อให้มั่นใจได้ว่าทหารและ
ข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมที่ เ ข้ า มาปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นกองทั พ บก
เหล่านั้นได้รับการเอาใจใส่และการฝึก ศึกษาที่เหมาะสม โดยยึดถือ
ค่านิยมที่คาดหวังและสาเร็จลุล่วงภารกิจที่ได้รับมอบหมาย

๒-๑๓. ในโครงสร้ า งการจั ด ของกองทั พ บกผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาเป็ น ผู้


กาหนดมาตรฐานและนโยบายเพื่อความสาเร็จและการให้รางวัล แก่
ผลการปฏิบัติงานที่ทาได้ดี และลงโทษหากมีการกระทาผิด ซึ่งโดย
ข้อเท็จจริงแล้วผู้บังคับบัญชาสามารถใช้คาสั่งตามกฎหมาย ดังนั้น

๒-๗
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

จึงไม่น่าแปลกใจที่ผู้บังคับบัญชามักใช้วิธีการบังคับ บัญ ชาโดยส่วน


ตน แต่ผู้นาทางทหารเลือกที่จะบั งคับบัญชาด้วยการใช้อานาจ
หน้ า ที่อ ย่ างเป็น แบบแผน น าหน่ว ยด้ว ยการประพฤติ ตนเป็ น
แบบอย่างในฐานะเป็นต้นแบบ โดยที่การทาตนเป็นแบบอย่างและ
เป็นการกระทาที่เปิดเผยก่อให้เกิดการผลบังคับทางใจเป็นอย่างมาก
ด้วยเหตุผลดังกล่าวทั้งคนที่อยู่ในและนอกกองทัพบกจึงตระหนักดี
ว่าผู้บังคับบัญชาเป็นเสมือนหน้าตาของระบบ เป็นผู้ที่ทาให้หน้าที่ที่
ได้รับมอบหมายเป็นรูปเป็นร่างขึ้นให้มีความพร้อมและเป็นที่เอาใจ
ใส่ของผู้คน ด้วยบทบาทนี้เองผู้นาทางทหารต้องนาการเปลี่ยนแปลง
ด้วยวิสัยทัศ น์ที่ชัดเจน รวมทั้ง มรดกที่ได้ รับสืบทอดจากวันวาน
ภารกิจที่ปฏิบัติในวันนี้ และที่กาลังจะต้องปฏิบัติต่อไปของวันพรุ่งนี้
ไว้ด้วยกัน ดัง คากล่ าวของ ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
ประธานองคมนตรี และรั ฐ บุ รุ ษ “ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา ต้ อ งประพฤติ
ปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา”

ตัวแบบความต้องการในภาวะผู้นาของกองทัพบก
๒-๑๔. หลักนิยม รส.๑ ว่าด้วย กองทัพบก เป็นหนังสือคู่มือหนึ่งใน
สามเล่มของหลักนิยมหลักของกองทัพบก ที่แสดงให้เห็นถึงการที่
กองทัพบกรั บใช้ และปกป้องผลประโยชน์ข องชาติ และเป็นการ
ปฏิ บั ติ ตามความรั บ ผิ ดชอบทางทหารของชาติ การท าให้ บ รรลุ
ความต้องการในภาวะผู้นาที่อยู่บนพื้นฐานของค่านิยม มีลักษณะ
ผู้นาซึ่งไร้ที่ติ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในระดับผู้เชี่ยวชาญ ใน
ภาพ ๒ – ๒ จะแสดงให้เห็นแบบจาลองความต้องการในภาวะผู้นา
ทางทหาร

๒-๘
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

ภาพ ๒ – ๒ ตัวแบบภาวะผู้นาของกองทัพบกที่ต้องการ
คุณลักษณะผู้นา คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลัก
ผู้นาทางทหารคืออะไร ของผู้นา
ลักษณะของผู้นา ผู้นาทางทหารทาอะไร
 ค่านิยมกองทัพบก นา
 ความสามารถในการเข้า ใจ  นาผู้อื่น
ผู้อื่น  เพิ่มอิทธิพลนอกเหนือจาก
 หัวใจนักรบ สายการบังคับบัญชา
กิริยาท่าทางของผู้นา  นาโดยการเป็นแบบอย่าง
 ท่าทางทางทหาร  การสื่อสาร
 ความสมบูรณ์ทางร่างกาย พัฒนา
 ส่ว นประกอบ, ความมั่ น ใจ  สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี
ตนเอง  เตรียมตนเอง
 ความยืดหยุ่น  พัฒนาผู้อื่น
คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ท าง บรรลุผลสาเร็จ
ปัญญา  ได้มาซึ่งผลการปฏิบัติ
 ความยืดหยุ่น
 ไหวพริบปฏิภาณ
 การพิจารณา
 นวัตกรรม
 ความแนบเนียน
 ความรู้ทางทหาร

๒-๙
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

๒-๑๕. องค์ประกอบพื้นฐานของตัวแบบมีศูนย์กลางอยู่ที่ผู้นาคือ
อะไรและผู้ น าท าอะไร ลั ก ษณะของผู้ น า กิ ริ ย าท่ า ทาง และ
ความสามารถทางปั ญ ญาท าให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ตลอดจนความรู้
ความสามารถหลักของผู้นาโดยผ่านการเรียนรู้ทั้งชีวิต การประยุกต์
อย่างสมดุลของภาวะผู้นาที่ต้องการ ประการสาคัญ คือ ให้อานาจ
ผู้นาทางทหารที่จะสร้างองค์กรที่มีผลการปฏิบัติงานสูง และมีความ
สามัคคี สามารถวางแผนและสนับสนุน พลัง อานาจภาคพื้ นดิน ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสร้างบรรยากาศเชิงบวก ในองค์กร ทา
ให้เกิดการเรียนรู้ของหน่วยและเป็นรายบุคคล มีความสามารถใน
การเข้าใจทุกคนในหน่วย ทหาร ข้าราชการพลเรือนกลาโหม และ
ครอบครัวของเขา

๒-๑๖. ปั จ จั ย หลั ก ของลั ก ษณะผู้ น า ๓ ประการ คื อ ค่ า นิ ย ม


ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น และหัวใจนักรบ ลักษณะบาง
ประการจะแสดงออกตั้ ง แต่ ก ารเริ่ ม ต้ น ของการเป็ น ผู้ น า ส่ ว น
คุณลักษณะอื่นๆ จะพัฒนาโดยการมีการศึกษาเพิ่มเติม การฝึก และ
ประสบการณ์

๒-๑๗. ลักษณะท่าทางของผู้น าเป็น การพิ จารณาว่า ผู้อื่นมี ความ


เข้ าใจในตั วผู้ นาอย่า งไร ซึ่ ง ได้ แ ก่ ท่ าทางความเป็ นทหาร ความ
สมบู ร ณ์ ท างร่ า งกาย ความมั่ น ใจตนเอง และความยื ด หยุ่ น
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ทางปัญญาของผู้นาช่วยให้ได้มาซึ่งความรู้
และมองเห็ นทางออกของปั ญหาในการทางาน ความสามารถที่
พั ฒ นาขึ้ น มาของผู้ น าท าให้ เ กิ ด ความว่ อ งไว ความยุ ติ ธ รรม
นวัต กรรม ความแยบยล และความรู้ ความสามารถทางทหารซึ่ ง
รวมถึ ง ความรู้ ท างเทคนิ ค และยุ ท ธวิ ธี วั ฒ นธรรม และความ

๒-๑๐
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

ระแวดระวังเกี่ยวกับภูมิรัฐศาสตร์

๒-๑๘. ในการปฏิบัติการรบนับครั้งไม่ถ้วนในแต่ละสมรภูมิ ผู้นาใน


กองทัพบกหลายระดับได้ แสดงองค์ประกอบที่มีอยู่หลายประการ
ของตัวแบบความต้องการของภาวะผู้นาของกองทัพบก ณ จุดที่เป็น
หั ว ใจส าคั ญ ที่ ส ามารถเปลี่ ย นจากความพ่ า ยแพ้ สิ้ น หวั ง มาเป็ น
ชัยชนะได้อย่างงดงาม

๒-๑๙. ผู้นาสร้างความมั่นใจว่าผู้ใต้บังคับบัญชาทุกนายรู้ว่าอะไรคือ
เสาหลัก เมื่อหน่วยเตรียมการเพื่อออกสนามรบ ก่อนทาการรบ ทา
การพัฒนาบรรดาผู้นาหน่วยและสร้ างหน่วยให้รู้จักการทางานเป็น
ที ม ด้ ว ยการสร้ า งความไว้ ว างใจซึ่ ง กั น และ กั นระหว่ างผู้ น ากั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความเอาใจใส่เป็นอย่างยิ่ง ในขณะทาการสอน
และฝึกทหาร แสดงถึงความเคารพและความรักที่ผู้บังคับบัญชามีต่อ
เพื่อร่ วมชีวิ ต อัน ได้แก่ ผู้ใต้บั งคับบั ญชา ซึ่ง รวมไปถึ ง ที่มาของคน
เหล่านั้ น ด้วย ทาให้เกิดความผู กพันกั นระหว่ างผู้บั ง คับบั ญ ชากั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างลึกซึ้ง ในระหว่างการรบ ผู้นาสื่อเจตนารมณ์
อย่างมีประสิทธิภาพ และนาโดยการทาตนเป็นแบบอย่างด้วยความ
กล้ า หาญ และความมุ่ ง มั่ น ทั้ ง นี้ ด้ ว ยความสามารถทางยุ ท ธวิ ธี
สติปัญญา และความริ่เริ่มของผู้นา ทาให้มีโอกาสเปลี่ยนการดาเนิน
กลยุทธ์จากฝ่ายตั้งรับไปเป็นฝ่ายรุก และประสบชัยชนะ

คุณลักษณะหลักที่พึงประสงค์ของผู้นาสู่ความเป็นเลิศ
๒-๒๐. คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ข องผู้ น าพั ฒ นามาจากการ
ผสมผสานที่สมดุลของสถาบันการศึกษา การพัฒนาตนเอง การฝึกที่
สมจริ ง และประสบการณ์ ข องความเป็ น มื อ อาชี พ การสร้ า ง

๒-๑๑
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ เ ป็ น ผลมาจากวิ ธี ก ารท าให้ บรรลุ ถึ ง


จุดหมายซึ่ง เกิดขึ้น อย่างช้าๆ และเป็นระบบ จากการเข้าใจอย่าง
ถ่องแท้ในคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบุคคล ไปสู่การประยุกต์ใน
การระดมความคิดและปรับให้เ หมาะสมกับสถานการณ์ที่อัน ใกล้
การน าโดยการมอบหมายกิ จ ที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นจะช่ ว ยให้ เ ขา
พัฒนาความมั่นใจตนเองซึ่งนาไปสู่ความท้าทายที่มากยิ่งขึ้น

๒-๒๑. ทาไมต้องมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ การมีคุณลักษณะที่พึง


ประสงค์ทาให้ผู้นาทางทหารมีวิธีการที่สอดคล้องและชัดเจนของ
ความคาดหมายตามที่ มีการระดมความคิดกัน ผู้นาในปัจจุบันและ
อนาคตต้องการรู้ว่าทาอะไรจึงประสบความสาเร็จในสิ่งที่รับผิดชอบ
เมื่ อ เป็ น ผู้ น า คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ห ลั ก ของผู้ น า คื อ
ความสามารถในการประยุ กต์ใช้ ได้ ในทุกระดับขององค์กร ทุ ก
ตาแหน่ง และตลอดอาชีพการเป็นทหาร การแสดงถึงคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ทาได้โดยผ่านการประเมินความประพฤติ จากทั้งผู้นา
และผู้ตาม ได้แก่ นายทหารอาวุโส ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน และ
พี่เลี้ยงที่ปรึกษา ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ดีสาหรับผู้นาในการนาไปพัฒนา
และการประเมิ นผลโดยเน้ นผู้ ประเมิ น และปฏิ กริ ยาตอบกลั บ ที่
หลากหลาย

๒-๒๒. คุณ ลัก ษณะที่ พึง ประสงค์ ของผู้น ามี การปรับ ปรุ ง ไปตาม
ระยะเวลาที่เพิ่มขึ้น ผู้นาได้รับคุณลักษณะที่พึงประสงค์พื้นฐานได้
โดยตรง ณ แต่ละระดับของภาวะผู้นา เมื่อรับตาแหน่ง ผู้นาระดับ
องค์กรและระดับยุทธศาสตร์ก็จะมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์พื้นฐาน
ของการนาท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง ผู้นาต้องขยายคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์และทาให้ดีขึ้นเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเชี่ยวชาญ

๒-๑๒
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

และเรียนรู้ที่จะประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่ซับซ้อนมากขึ้น

ภาพ ๒ – ๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลัก ๘ ประการของผู้นา


และพฤติกรรมเสริม

เพิ่มอิทธิพล นาโดยการ
นาผู้อื่น นอกเหนือไปจาก ทาตนเป็น การสื่อสาร
สายการบังคับบัญชา แบบอย่าง
- มอบ - สร้างความไว้วางใจ - แสดงลักษณะ - ฟังอย่าง
วัตถุประสงค์ ที่นอกเหนืออานาจ ผู้นา เข้าใจ
นา - มีมาตรฐาน หน้าที่ - นาโดยความ - ชี้แจงจุดหมาย
- มีความสมดุล - เข้าใจขอบเขต, มั่นใจใน ที่ต้องการ
ระหว่าง ความหมายและ เงื่อนไขที่ - มั่นใจว่า
ภารกิจและ ข้อจากัดของอานาจ แตกต่าง ความ
สวัสดิการของ - แสดงให้เห็น เข้าใจตรงกัน
ทหาร ถึงคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
สร้างบรรยากาศ
การเตรียมตนเอง การพัฒนาผู้นา
ที่ดี
- กาหนด - พร้อมสาหรับความ - ประเมินความจาเป็นที่ได้
เงื่อนไขของ ท้าทายทั้งที่ได้คาดดิด พัฒนา, พัฒนาการปฏิบัติหน้าที่
พัฒนา บรรยากาศที ่ดี และไม่ได้คาดคิด - สนับสนุนความเจริญก้าวหน้า
- กระตุ้นให้ - รักษาความรับรู้ ทั้งด้านส่วนตัวและอาชีพ
เกิดการริเริ่ม ส่วนตัว - ช่วยเหลือเรื่องการเรียนรู้
- แสดงการเอา - ให้คาปรึกษา, และเป็นพี่เลี้ยง
ใจใส่ - สร้างทักษะและการทางานเป็น
ทีม
ทาให้ได้ผลที่ต้องการ
สาเร็จ - จัดให้มีทิศทาง, การแนะแนว, และลาดับความสาคัญ
- พัฒนาแผนและนาไปสู่การปฏิบัติ
- ทาให้กิจทีไ่ ด้รับสาเร็จลุล่วงด้วยความสอดคล้องกัน

๒-๑๓
บทที่ ๒ พื้นฐานผู้นาทางทหาร

๒-๒๓. เมื่อได้มีการพัฒนา รักษา และปรับปรุงคุณลักษณะที่ พึ ง


ประสงค์โดยการปฏิบัติงานและภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ผู้นาไม่
ควรรอจนกระทั่งมีการวางกาลังจึงจะหันมาพัฒนาด้านคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ แต่ควรใช้โอกาสจากการฝึกในยามปกติเพื่อประเมิน
และปรับปรุงคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการนาเหล่าทหาร ผู้นาทาง
พลเรือนก็ใช้ทุกโอกาสที่มีเช่นกัน

๒-๒๔. ในการปรับปรุงเพื่อให้มีค วามเชี่ย วชาญ ผู้นาทางทหาร


สามารถใช้ ข้ อ ได้ เ ปรี ย บที่ มี โอกาสในการเรี ย นรู้ แ ละได้ รั บ
ประสบการณ์ จ ากคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ข องการเป็ น ผู้ น า
แสวงหาโอกาสในการเรียนรู้ใหม่ ๆ การถามคาถาม ใฝ่หาโอกาสใน
การฝึกฝน และร้องขอให้มีการวิพากษ์วิจารณ์ ซึ่งวิธีการค้นคว้าหา
ความรู้ หรือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตนี้จะทา ผู้นาทางทหารที่มีความ
เชี่ยวชาญ

คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักของผู้นา
คือ
ความสามารถในการประยุกต์ใช้

๒-๑๔
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

บทที่ ๓
บทบาทผู้นา ระดับของผู้นา
และ ผู้นาทางทหาร
๓-๑. ผู้น าทางทหาร นาผู้อื่ น โดยการท าตนเป็ นแบบอย่า งและ
ปฏิบัติอย่างสอดคล้องกันกับการเป็นตัวแบบที่ดี ตลอดจนความ
พยายามในการอุทิศตนทั้งชีวิตในการเรียนรู้และพัฒนา ผู้นาทาง
ทหารนาผลสาเร็จอันเป็นเลิศสู่องค์กร เมื่อผู้ปฏิบัติตามมีวินัยต่อ
หน้าที่ นาค่านิยมกองทัพบกไปปฏิบัติ และรู้ว่ามีอานาจที่จะทาให้
บรรลุภ ารกิจ ใดๆ ในขณะเดีย วกั นก็ ป รั บปรุ ง องค์ ก รเพื่ อ อนาคต
ผู้นาทางทหาร ในกองทัพบก คือผู้นาตามสายการบังคับบัญชา

๓-๒. เมื่อผู้นาทางทหาร มองเห็นเส้นทางในอนาคตของอาชีพ เขา


จึง ตระหนักว่าความเป็นเลิศจะปรากฏออกมาได้ในหลายรูปแบบ
ทั้ ง นี้ ห ากบรรดาผู้ น าทางทหารเหล่ า นั้ น ไม่ ป ระสบความส าเร็ จ
กองทัพบกก็มิอาจบรรลุภารกิจได้เช่นกัน นั่นหมายความถึง การมี
งานเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ รายงานสถานภาพ การซ่อมแซมยานพาหนะ
การวางแผนงบประมาณ การจั ดเก็บ ยุทโธปกรณ์ ห รือ หน้า ที่เวร
รั ก ษาการณ์ เ ป็ น ต้ น กองทั พ บกประกอบไปด้ ว ยทหารที่ ดี เ ยี่ ย ม
วีรบุรุษนักรบ เนื่องมาจากบรรดา ทหารทุกระดับ และ ข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมในกองทัพบกซึ่งเป็นทั้งแรงงาน และผู้นาจานวนนับ
แสนร่วมแรงร่วมใจกันทาให้หน่วยที่กระจายอยู่ทั่วประเทศบรรลุผล
สาเร็จตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างดีเยี่ยมโดยต่อเนื่องตลอดมา

๓-๓. แต่ละบทบาทและความรับผิดชอบของผู้นาทางทหาร ซึ่ง มี


หลายระดั บ ตามสายการบั งคั บ บั ญชามี ผ ลกระทบต่ อ กั นและกั น

๓-๑
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ผู้นาทุกคนในกองทัพบกต้องเป็นกาลังพลของหน่วยหนึ่ง หน่วยใด
เป็ น ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา และบางครั้ ง ก็ เ ป็ น ผู้ น าของผู้ น าอย่ า งไรก็
ตามแต่ละบทบาทและความรับผิดชอบของผู้นาทางทหารมีลักษณะ
เป็นหนึ่งเดียวร่วมกัน

บทบาทและความสัมพันธ์
๓-๔. เมื่อกล่าวถึง ทหารในกองทัพบก นั่น หมายถึง “ข้าราชการ
ทหาร (ทหารประจาการและข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่บรรจุใน
ตาแหน่งอัตราทหาร) ทหารกองประจาการ และนักเรียนในสังกัด
กระทรวงกลาโหม” หรื อ “บุ ค คลที่ อ ยู่ ใ นอ านาจฝุ า ยทหาร”
(พระราชบัญ ญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๗)
พ.ศ.๒๔๘๗ ลง ๔ ต.ค.๒๔๘๗) ซึ่งได้แก่ นายทหารสัญ ญาบัต ร
นายทหารประทวน พลทหารประจาการ(พลอาสาสมัคร) พลทหาร
กองประจาการ และนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม
คาว่านายทหารสัญญาบัตรหมายถึง ผู้ซึ่งได้รับยศทหารตั้งแต่
นายร้อยตรี หรือนายเรือตรี หรือนายเรืออากาศตรีขึ้นไป ตลอดจนผู้
ซึ่งได้ว่าที่ในยศชั้นนั้นๆ ได้แก่ นายทหารประจาการ นายทหารนอก
กอง นายทหารพิ เศษและผู้ บัง คับ การพิเ ศษ นายทหารกองหนุ น
นายทหารนอกราชการ นายทหารพ้นราชการ พลเรือนประจาการ
ได้แก่ ลูกจ้าง และพนักงานราชการจัดเป็น กาลังพลที่เป็นน้าหนึ่งใจ
เดี ย วกั น ทั้ ง สิ้ น ของกองทั พ บก ซึ่ ง ก าลั ง พลทั้ ง หมดนี้ มี จุ ด หมาย
เดียวกัน คือ สนับสนุนและปกปูองอธิปไตยจากข้าศึกศัตรูทั้งภายใน
และภายนอกประเทศ โดยจัดให้มีกาลัง ทางบกให้กับผู้บัญ ชาการ
ทหารบกเพื่อให้บรรลุภารกิจของหน่วยทั้งในยามปกติ ในสภาวะ
ฉุกเฉิน และยามสงคราม

๓-๒
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

๓-๕. กองทั พ บกประกอบด้ ว ยก าลั ง พลหลายประเภทซึ่ ง ได้ รั บ


อานาจหน้าที่ตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ซึ่ง กาหนดบทบาท
และความรับผิดชอบให้กับผู้นาทางทหารทุกหน่วยซึ่งมีส่วนที่คาบ
เกี่ ยวกัน และเป็ นองค์ ประกอบที่ ทาให้ แต่ ละส่ว นมีค วามสมบู ร ณ์
ทั้งนี้ผู้นาที่เป็นทางการในกองทัพบกมี ๓ ประเภท คือ นายทหาร
สัญญาบัตร นายทหารประทวน และข้าราชการพลเรือนกลาโหม

๓-๖. กาลั งพลแต่ ละประเภทมี บทบาทที่แ ตกต่ างกัน ไปถึ ง แม้ว่ า


บางครั้งอาจจะมีการคาบเกี่ยวกัน โดยส่ว นรวมแล้วบรรดาผู้นาทาง
ทหารเหล่านี้จ ะทางานเพื่อมุ่ งสู่จุดหมายเดี ยวกันและเป็น ไปตาม
ระบบค่านิยมทางสถาบันที่มีร่วมกัน ผู้นาทางทหารจะพบว่าต้อ ง
รับผิดชอบหน่วยหรือองค์กรที่ประกอบด้วยบุคคลเหล่านี้

นายทหารสัญญาบัตร
๓-๗. นายทหารสัญญาบัตรครองชั้นยศและหน้าที่ความรับผิดชอบ
ภายใต้กฎหมาย โดยหน้าที่ความรับผิดชอบเหล่านี้ได้รับการยอมรับ
บนพื้นฐานของความไว้วางใจและความมั่นใจในความเป็นคนรักชาติ
ความกล้าหาญ ความจงรักภักดี และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่มีใน
ตัวนายทหาร หน้าที่ค วามรับผิ ดชอบในการสั่ง การโดยตรงต่ อ
ผู้ใ ต้บั ง คับ บั ญชา และต้ อ งเชื่ อฟั ง ผู้มี อ าวุ โ สสู ง กว่ า ตามลาดั บ ใน
กองทัพบกนายทหารสัญญาบัตรหมายถึงผู้ที่ได้รับแต่งตั้งยศตั้งแต่
ร้อยตรีขึ้นไป

๓-๘. นายทหารสัญญาบัตรเป็นผู้ที่มีความสาคัญต่อกองทัพบกใน
ฐานะเป็นผู้ บัง คับ บัญชาหน่วย ก าหนดนโยบาย และการบริ หาร
จัด การทรัพ ยากร ในขณะเดี ยวกัน ต้อ งบริห ารความเสี่ ยงและให้

๓-๓
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ความเอาใจใส่ต่อผู้ที่อยู่ภายใต้บังคับบัญชา ผู้นาทางทารผสมผสาน
การฝึก ของกลุ่ ม ผู้ น า และทหารให้ บรรลุภ ารกิจ ของกองทั พ บก
โดยปฏิบัติหน้าที่อยู่ในทุกระดับเพื่อจะนาการเปลี่ยนแปลงในระดับ
ยุทธศาสตร์ เน้นที่การปฏิบัติการของหน่วยและผลลัพธ์ที่ได้ ผู้นา
ทางทารจะได้ รั บ การบรรจุ ใ นต าแหน่ ง ที่ มี ก ารบั ง คั บ บั ญ ชาซึ่ ง
นายทหารมีหน้าที่รับผิดชอบและต้องสามารถอธิบายได้ในเรื่องที่ทา
สาเร็จและล้มเหลว การบังคับบัญชาเป็นสถานภาพทางกฎหมายที่
ยึด ถือ ตามชั้ นยศ และตามที่ ได้ รับ การแต่ง ตั้ งที่ ขยายออกไปตาม
โครงสร้างการจัดระบบตามลาดับขั้ นของชั้นยศด้วยการมอบหมาย
อานาจหน้าที่ให้เพียงพอ หรือมอบหมายกระทาแทนในแต่ละระดับ
เพื่อให้บรรลุหน้าที่ที่ต้องการ

๓-๙. การปฏิบัติหน้าที่นายทหารสัญญาบัตรแตกต่างจากภาวะผู้นา
ในรูป แบบอื่น ๆ ของกองทั พบก คือต้ องมี คุณภาพและมีความรู้ ที่
เชี่ยวชาญอย่างกว้างขวาง ในการวั ดความรับผิดชอบที่เพิ่ม ขึ้น ใน
ผลของความเฉื่อยชา และความไม่มีประสิทธิภาพ นายทหารจึงควร
จะได้รั บ การขั บเคลื่ อนที่ จะคงแรงผลัก ดั นของการปฏิ บั ติ การ มี
ความกล้าหาญที่จะปรับเปลี่ยนการปฏิบัติ เมื่อมีความจาเป็นตาม
สถานการณ์ ตามกรอบของกฎหมายและกฎการใช้กาลัง โดย
พร้อมที่จะรับผิดชอบ และอธิบายสิ่งที่ทาได้ นั่นคือนายทหารที่
ปฏิบัติหน้าที่อยู่นั้นเป็นผู้รับผิดชอบคนสุดท้ายต่อความสาเร็จหรือ
ความล้ ม เหลวของภารกิ จ นอกจากนี้ ยั งขึ้ น อยู่กั บ ข้อ เสนอแนะ
ทักษะทางเทคนิค วุฒิภาวะ และประสบการณ์ของผู้ใต้บังคับบัญชา
ที่จะนาคาสั่งไปสู่การปฏิบัติ

๓-๑๐. ผู้ร่ ว มงานมี ค วามแตกต่ า งกั น ในแง่ ข องความส าคั ญ ของ

๓-๔
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ความรับผิดชอบที่มอบให้ การตัดสินใจเกี่ยวกับความเป็นและความ
ตายจะเริ่มต้นที่นายทหาร ถ่ายทอดโดยนายทหารประทวน และ
ทหารเป็นผู้ปฏิบัติ ทั้งนี้มีการลงโทษตามกฎหมายที่กาหนดสาหรับ
การกระทาผิดโดยฝุาฝืนอานาจหน้าที่ของนายทหารสัญญาบัตรและ
นายทหารประทวน และยังมีการกระทาผิดที่เป็นเรื่องเฉพาะของ
นายทหารซึ่งเป็นผู้ที่ต้องชี้แจงการกระทาอย่างเคร่งครัด ผู้นาทาง
ทหารทาหน้าที่ส่งผ่านความรับผิดชอบเฉพาะสาหรับผลซึ่งมาจาก
การตัดสินใจ และคุณภาพของการรับข้อมูลที่เป็นทางการไปยังผู้ นา
ทางทหารที่มีอาวุโสสูงกว่า

๓-๑๑. บรรดานายทหารได้รับแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ประจาวัน
จากค่านิยมของกองทัพบกซึ่งเป็นสิ่งที่พวกเขาปฏิบัติต่อผู้นาทาง
ทหารของกองทัพบกทุกนาย สิ่งสาคัญของความเป็นนายทหารก็คือ
การแบ่ ง ปั น คุ ณ ลั ก ษณะความเป็ น ทหารอาชี พ แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ
ตนเองนี้ประกอบด้วยคุณลักษณะซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ๔
ประการ ซึ่ ง เป็ น เหมื อ นแรงบั น ดาลใจและปรั บ พฤติ ก รรมของ
นายทหาร ได้แก่ ความเป็นนักรบ การรับใช้ชาติ ความเป็นทหาร
อาชีพ และลักษณะผู้นา ในฐานะนักรบและผู้นาของบรรดานักรบ
นั้น นายทหารยึดถือ หลักนิยมของทหาร และลักษณะความเป็ น
นักรบ ความรับผิดชอบของนายทหารในฐานะผู้รับใช้สาธารณะชน
ได้แก่ชาติเป็นสิ่งแรก ต่อไป คือ กองทัพบก และต่อไป คือ หน่วย
และทหารภายใต้การบังคับบัญชา ในฐานะทหารอาชีพ นายทหารมี
พันธะในการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทัน
ความต้องการที่มีการเปลี่ยนแปลงเสมอ สุดท้ายในเรื่องลักษณะ
ผู้นา นายทหารเป็นผู้ที่ได้รับการคาดหวัง ว่าเป็นผู้ที่ดาเนินชีวิตอยู่
ภายใต้กฏหมายรัฐธรรมนูญ ด้วยความเป็นทหารมืออาชีพ

๓-๕
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

นายทหารประทวน
๓-๑๒. นายทหารประทวนปฏิบัติงานประจาวันในกองทัพ ซึ่งจะรับ
วิสัยทัศน์ที่กาหนดบทบาทของนายทหารประทวนภายในโครงสร้าง
ของกองทัพบก(ดูภาพ ๓ – ๑)

เหล่า นายทหารประทวน สร้ างมรดก, ค่ านิ ย ม, ประเพณี ,


ทาให้การมีหัวใจนักรบเป็น รูปธรรมขึ้น มีการเรียนรู้เกี่ยวกับ
ค่ า นิ ย มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง; และมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ใ น
การนา การฝึก และการจูงใจทหาร เราต้องเป็นนายทหาร
ประทวนผู้ซึ่ง
 นาโดยการเป็นแบบอย่าง
 ฝึกจากประสบการณ์
 คงไว้ซึ่งการปฏิบัติตามมาตรฐาน
 ดูแลทหาร
 ปรับตัวให้เข้ากับโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง
ภาพ ๓ – ๑ วิสัยทัศน์นายทหารประทวน

๓-๑๓. กองทัพบก ขึ้นอยู่กับนายทหารประทวนซึ่งมีคุณลักษณะที่


พึงประสงค์ในการปฏิบัติการในระดับยุท ธวิธีที่ซับซ้อน มีการสร้าง
ความสามารถในการตัดสินใจที่ถ่ายทอดมาจากเจตนารมณ์ และเป็น
ผู้ที่ปฏิบัติการในการรบ การปฏิบัติการร่วมกันระหว่างองค์กรต่างๆ
และระหว่างชาติต่างๆ ได้ นายทหารประทวนต้องสามารถนาข้อมูล
ข่า วสารที่ ไ ด้รั บ จากผู้ บั ง คับ บั ญ ชาไปยัง ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บัญ ชา ท าให้
ทหารมองว่านายทหารประทวนคือผู้ให้คาตอบ แนะแนวทาง และ
เป็ น แรงบัน ดาลใจ ให้ ก าลัง พลภายในการปกครองบัง คั บ บั ญ ชา
พลทหารจะมีความสัมพันธ์กับนายทหารประทวนก็ต่อเมื่อเขาได้ เข้า
๓-๖
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

มาเป็ น พลทหาร ซึ่ ง เขาคาดหวั ง ว่ า นายทหารประทวนจะเป็ น


เสมือนตัวกลาง เป็นผู้กรองข้อมูลข่าวสารที่มาจากนายทหารสัญญา
บัตรไปสู่พลทหาร และจัดให้มีคาแนะนาวันต่อวันเพื่อให้งานเสร็จ
ในการตอบค าถามเกี่ ย วกั บ ความท้ า ทายของการปฏิ บั ติ ก ารใน
สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน นายทหารประทวนต้องฝึก พลทหารให้
พร้อมรับมือ เตรียมการ และปฏิบัติงานได้ในทุกสถานการณ์ ภายใต้
กฏหมายรัฐธรรมนูญ ด้วยความเป็นทหารมืออาชีพ

๓-๑๔. ผู้ น าระดั บ นายทหารประทวนเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการ


จัดเตรียม และการรักษาไว้ซึ่งมาตรฐาน และวินัยให้มีคุณภาพสูงสุด
กล่ า วได้ ว่ า นายทหารประทวนคื อ ผู้ ที่ มี ม าตรฐาน นั่ น เอง ใน
ประวั ติศาสตร์นั้ น ธง คือ “หลั กชัย ” ของทหาร เนื่อ งจากเป็ น
สัญ ลักษณ์สาคัญ ซึ่งผู้ที่ ได้รับมอบความรับผิ ดชอบก็คือนายทหาร
ประทวน และยังทาหน้าที่ในการดูแลและทาตนให้เป็นแบบอย่าง
ให้กับพลทหาร

๓-๑๕. นายทหารประทวนทางานอยู่กับพลทหารเป็นประจาทุกวัน
บุคคลที่ ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการในกองทัพบกต้องเผชิญหน้า
เป็นคนแรกก็คือ นายทหารประทวน มีหน้าที่ทาให้พลทหารที่ได้รับ
การคัดเลือกเข้าประจาการในกองทัพบกเป็นพลทหาร สอนทักษะ
พื้นฐานให้ เป็นผู้สาธิตวิธีการทาความเคารพต่อผู้ที่มีอาวุโสสูง กว่า
แม้กระทั่งหลังจากที่กระบวนการเปลี่ยนผ่านจากพลเรือนเป็นทหาร
เสร็จสมบูรณ์ นายประทวนยังคงเป็นผู้นาหลักในระดับหน่วยที่คอย
สั่ ง การ ฝึ ก ทั ก ษะเป็ น รายบุ ค คล หน่ ว ยขนาดเล็ ก จนถึ ง ระดั บ
กองร้อย

๓-๗
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

๓-๑๖. ในขณะที่มีการเตรียมการล่วงหน้าให้ทหารปฏิบัติภารกิจ
ผู้ฝึกที่เป็นนายทหารประทวนเป็ นผู้ทาหน้าที่สร้างความกดดันใน
การฝึ ก ภาคสนาม และการฝึ ก ร่ า งกายให้ แ ข็ ง แกร่ ง นายทหาร
ประทวนรู้ดีว่าเครื่องมือทางเทคโนโลยี สมัยใหม่ที่จัดให้นั้นจะไม่ลด
ความจาเป็นของความสมบูรณ์ แข็งแกร่งทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ของพลทหาร ทั้งนี้ทหารยังคงต้องแบกสัมภาระประจาตัวหนักๆ นั่ง
อยู่บนขบวนยานพาหนะเป็นเวลาหลายๆ ชั่วโมง หรือหลายๆ วัน
ต้องเข้าไปกวาดล้างผู้ก่อการร้าย หรือข้าศึกในปุารกทึบ เขาสูงชัน
ถ้า อุโมงค์ และจุดต้านทานแข็งแรงในเมือง ต้องอดหลับอดนอนใน
การปฏิ บัติการยุทธ์แบบเร่งด่ วนต่อเนื่อง ความส าเร็จและความ
ล้มเหลวทางยุทธวิธีมี ความสัม พัน ธ์โดยตรงกับ ระดั บสมรรถภาพ
ร่างกายและจิตใจที่มีความทรหด อดทน ดังนั้นการดูแลทหารจึง
หมายถึงการทาให้มั่นใจว่ามีการเตรียมพร้อมต่อสถานการณ์ใดๆ ไว้
ล่วงหน้าให้มี “ความทรหดอดทน”ทั้งพลทหาร นายทหารประทวน
และนายทหารสัญญาบัตร จนกระทั่งเป็น หน่วยทหารทรหดอดทน

“เหล็กกล้าชั้นดี ได้จากการถลุงเหล็กธรรมดา ภายใต้ส่วนผสม


สภาวะความกดดัน และหล่อหลอมที่สูงสุด”

๓-๑๗. นายทหารประทวนยังมีบทบาทในการเป็นผู้ฝึก นายทหาร


พี่เ ลี้ ยง นายทหารติ ด ต่อ สื่ อสาร และที่ ป รึก ษา เมื่ อ มีน ายทหาร
อาวุโสน้อยเข้ารับราชการใหม่ๆ นายทหารประทวนจะช่วยฝึกและ
เป็ น เบ้ า หล่ อ หลอมให้ เมื่ อ ผู้ ห มวดใหม่ ท าผิ ด พลาด นายทหาร
ประทวนผู้ มี ป ระสบการณ์ ม ากกว่ าก็ ให้ ข้ อเสนอแนะ และทาให้
ผู้หมวดใหม่เหล่านั้น ได้รับข้อเสนอแนะในการนาไปพิจารณา เพื่อ
พัฒนาตนเองและใช้ประโยชน์ ภายใต้ความมุ่งหมายเดียวกันคือ

๓-๘
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

“ทาให้มั่นใจได้ว่า ภารกิจสาเร็จและทหารปลอดภัย ” ในขณะที่


ก าลั ง ก่ อ ร่ า งความเป็ น ทหารมื อ อาชี พ และสร้ า งข้ อ ผู ก มั ด กั บ
นายทหารบนพื้ นฐานของความไว้ วางใจซึ่ ง กัน และกั นและการมี
จุดหมายร่วมกัน การเฝ้าระวังข้างหลังให้กันและกัน คือพื้นฐาน
แรกของการสร้างความเป็นหน่วยและความสามัคคี

๓-๑๘.สาหรับผู้บังคับกองพัน จ่ากองพัน คือ แหล่งศูนย์รวมสาคัญ


ของความรู้และวินัยในทุกสาระสาคัญของพลทหารในกองพัน

๓-๑๙. แนวโน้ ม ของการท างานร่ ว มกั น ระหว่ า งทหาร และ


ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสภาวะแวดล้อมปัจจุบัน และอนาคต
นั้นมีมากขึ้น จะเห็นได้จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ทั่ว
ทุ ก ภู มิ ภ าคโลก เป็ น สถานการณ์ ที่ ทุ ก ภาคส่ ว นของรั ฐ รวมทั้ ง
ภาคเอกชนต้ อ งร่ ว มมื อ ด้ ว ยความสามั ค คี สอดคล้ อ งกั น จึ ง จะ
คลี่คลายปัญหาได้ ดังนั้นกองทัพบกจึงต้องมีความพร้อมที่จะเผชิญ
กับทุกๆ สถานการณ์ ส่วนหนึ่งก็คือสามารถรองรับกาลัง พลจาก
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่มีประสบการณ์และความสามารถเข้า
รับหน้าที่สังกัดในกองทัพบกได้ หรือบางครั้งอาจเป็นการขอความ
ร่ ว มมื อ และการสนั บ สนุ น จากภาคส่ ว นต่ า งๆ ของรั ฐ มาท างาน
ร่วมกันกับทหารในภาวะการณ์ที่มีความจาเป็น ข้าราชการพลเรือน
กลาโหมเหล่านี้ คือ ส่วนที่จะแยกออกมิได้จากกองทัพบก เนื่องจาก
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมเหล่า นี้ มีคุณ ลักษณะที่พึง ประสงค์ ที่
ส าคั ญ ยิ่ ง ในภารกิ จ เสถี ย รภาพ และความต่ อ เนื่ อ งในระหว่ า ง
สงคราม และยามสงบในการสนับสนุนทหาร ข้าราชการพลเรือน
กลาโหมที่เข้าสังกัดกองทัพบกจะต้องทาหน้าที่ให้การสนับสนุนใน
แต่ละภารกิจด้วยความเป็นมืออาชีพ โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างไม่เห็น

๓-๙
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

แก่ประโยชน์ส่วนตน ดังที่แสดงตนไว้ในหลักศรัทธาของข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบก ดูภาพ ๓ – ๒ หลักศรัทธาของ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบก

ข้าพเจ้า คือ ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบก เป็น


ส่วนหนึ่งของกองทัพบก

ข้าพเจ้าจะอุทิศตนต่อกองทัพบก ร่วมกับทหารในกองทัพบก

ข้าพเจ้าจะให้การสนับสนุนต่อภารกิจเสมอ

ข้าพเจ้าจะรักษาเสถียรภาพและความต่อเนื่องในยามสงครามและ
ยามสงบ

ข้าพเจ้าจะสนับสนุนและปกปูองชาติ ศาสน์ กษัตริย์ จะรับใช้ชาติ


และกองทัพบกด้วยเกียรติยศ

ข้าพเจ้าจะดาเนินชีวิตด้วยค่านิยมกองทัพบก โดยคานึงถึง หน้าที่


เกียรติยศ ซื่อสัตย์ มั่นคง เคารพ ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ด้วย
ความกล้าหาญ
ข้าพเจ้า คือ ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบก

ภาพ ๓ – ๒ หลักศรัทธาของข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัด
กองทัพบก

๓-๑๐
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

๓-๒๐. บทบาทและความรับผิดชอบหลักของข้าราชการพลเรือน
กลาโหมที่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพบกยังรวมถึงการสร้าง และ
กาหนดนโยบายการบริหาร การบริหารจัดการแผนงานกองทัพบก
โครงการ และระบบ และการดาเนินงานเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ สิ่ง
อานวยความสะดวก สาหรับอาวุธยุทโธปกรณ์ การสนับสนุน การ
วิ จั ย และงานทางเทคนิ ค บทบาทเหล่ า นี้ อ ยู่ ใ นการสนั บ สนุ น
กองทั พ บกเชิ ง โครงสร้ า งเช่ น เดี ย วกั บ เหล่ า นั ก รบที่ มี อ ยู่ ทั่ ว โลก
ความแตกต่างหลักระหว่างผู้นาทางทหารและข้าราชการพลเรือน
กลาโหมก็ คื อ ข้ อก าหนดของต าแหน่ ง วิ ธีก ารที่ เขาได้ รับ ทัก ษะ
ภาวะผู้นา และรูปแบบการพัฒนาแนวทางการรับราชการ

๓-๒๑. หน้าที่ของข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่
ในกองทั พ บกขึ้ น อยู่ กั บ ความเหมาะสมต่ อ ต าแหน่ ง ที่ จ ะบรรจุ
หนังสือแนะนาตัวแสดงให้เห็นถึงความชานาญในตาแหน่งที่เข้าไป
บรรจุ ซึ่ง ความช านาญนี้ ได้ มาจากการศึก ษาและการฝึก ที่ไ ด้รั บ
ประสบการณ์ และอายุการทางานในวงความรู้ ระดับ ผู้เชี่ย วชาญ
เฉพาะด้านนั้น ต่างจากกาลังพลทหาร กล่าวคือข้าราชการพลเรือน
กลาโหมทางานโดยไม่ ต้องคานึงถึงชั้นยศ แต่เป็นการทางานตาม
ตาแหน่ ง ข้ า ราชการพลเรื อนกลาโหมต้ อ งปฏิ บั ติห น้ าที่ ต ามการ
บังคับบัญชาทางทหาร อย่างไรก็ตามข้าราชการพลเรือนกลาโหม
สามารถได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นผู้ดูแลในด้านธุรการ
หรือให้คาปรึกษาในด้านต่างๆที่ต้องใช้ความสามารถพิเศษ

๓-๒๒. กองทัพบกยังไม่มีการจัดการแนวทางรับราชการข้าราชการ
พลเรื อ นกลาโหมให้ เ หมื อ นกั บ ทหาร แต่ ข้ า ราชการพลเรื อ น
กลาโหมเหล่านี้เป็นผู้สนับสนุนสาหรับการทางานเฉพาะด้าน ซึ่งสิ่ง

๓-๑๑
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ที่จัดให้นี้มีไ ว้เพื่อ เป็นเส้นทางความเจริญก้าวหน้ า ข้าราชการพล


เรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบกมีอิสระในการเลือกอยู่ในตาแหน่ง
ต่อไป หรือเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นตามผลการประเมินค่าความสามารถ
ประจาปีในขณะที่ไม่มีการบังคับในเรื่องการปรับเปลี่ยน แต่จะมีบาง
ระดับ หรือบางตาแหน่งที่ต้องทาตามข้อตกลงในการปรับเปลี่ยน
นโยบายด้านกาลังพลกล่าวไว้ว่าข้าราชการพลเรือนกลาโหมควรอยู่
ในต าแหน่ ง ที่ ไ ม่ ต้ อ งการใช้ ก าลั ง พลทางทหาร ด้ ว ยเหตุ ผ ลของ
กฎหมาย การฝึ ก การรัก ษาความปลอดภั ย วินั ย การหมุ นเวีย น
หรือความพร้อมรบ ในขณะที่แนวทางรับราชการของข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมนาความหลากหลายมาสู่ กองทัพบก ความรู้และ
ประสบการณ์ ที่ น ามาสู่ ก ารด ารงหน้ า ที่ ข องข้ า ราชการพลเรื อ น
กลาโหมนี้อาจเป็นพื้นฐานของกองทัพบกเมื่อนายทหารปลดเกษียณ
แล้ ว แต่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ มี ป ระสบการณ์ ที่ เ ป็ น ประโยชน์
กองทัพบกสามารถบรรจุเข้า มาดารงตาแหน่ง ข้าราชการพลเรือน
กลาโหมได้

๓-๒๓. กรณี ศึ ก ษาส าหรั บ น ามาพิ จ ารณาใช้ ป ระโชน์ ต่ อ


กองทัพบกไทย:
:ตัวอย่างของพลเรื อนที่เข้ามาปฏิบัติ หน้าที่ในกองทัพบก
ของสหรัฐฯ จะทางานสนับสนุนกาลังทางทหารอยู่ที่บ้าน เมื่อมีเหตุ
พลเรือนเหล่านี้ก็จะเข้าร่วมในการวางกาลังเพื่อดารงการปฏิบัติใน
ยุทธบริเวณด้วย ตามข้อพิสูจน์จากความต้องการที่เพิ่มขึ้นในการ
วางกาลังทุกระดับ และทุกสถานที่ มีการจัดกาลังพลเรือนซึ่งมีความ
เชี่ ย วชาญและให้ ก ารสนั บ สนุ น ไปที่ ใ ดก็ ต ามที่ มี ค วามจ าเป็ น
พลเรือนที่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพบกสหรัฐทาหน้าที่ส่งเสริม
กองทั พบกและบ่อ ยครั้ง ที่ป ระจาอยู่ ในหน่ วยหรื อที่ ตั้ง ทางทหาร

๓-๑๒
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

เดี ย วกั น เป็ น ระยะเวลานานๆ ด้ ว ยความต่ อ เนื่ อ งและความมี


เสถียรภาพ ซึ่งระบบการจัดการกาลังพลมักจะไม่เอื้ออานวยมากนัก
อย่างไรก็ตาม เมื่อมีตาแหน่ง หรือภารกิจบัง คับ พลเรือนที่เข้ามา
ปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพบกอาจถูกโอนหรือจัดเข้าวางกาลัง เพื่อให้
บรรลุความต้องการของกองทัพบกได้

กองกาลังรบร่วม และกองกาลังหลายชาติ
๓-๒๔. กองทัพบกอาจจะปฏิบัติภารกิจกับกองกาลังร่วมหรือกาลัง
รบนานาชาติ เช่น กองทัพบกไทยจัดกาลังร่วมปฏิบัติภารกิจกับกอง
กาลังสหประชาชาติ โดยไม่เปลี่ยนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของกอง
กาลังร่วมนั้น ทั้งนี้ ผู้นาอาจดาเนินการกับอานาจที่เป็นทางการผ่าน
ทางสมาชิกการปฏิบัติภารกิจร่วมระหว่างกองกาลัง ที่ไ ปขึ้นสมทบ
ผู้นาทางทหารต้องดาเนินการโดยใช้ภาวะของผู้นาหลายรูปแบบที่
จะมีอ านาจและเป็น การแนะแนวความประพฤติ การปฏิบั ติของ
สมาชิกของกาลังพันธมิตรที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ ภายใต้การบังคับบัญชา
ผู้นาต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาวะปัจจุบันและดูแลบรรยากาศในการ
บังคับบัญชาและให้เกิดความเคารพในระหว่างกาลังพลทุกคนของ
หน่วยกองทัพบกไทย และกาลังที่ร่วมปฏิบัติ

ข้าราชการพลเรือนกลาโหมแบบชั่วคราว
๓-๒๕. ส่วนประกอบย่อยหนึ่งของกองทัพบกก็ คือ ข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมแบบชั่วคราว ซึ่งเป็นส่วนเติมเต็มช่องว่างระหว่าง
กาลั ง พลทหารกั บ พลเรื อ น บุ ค คลเหล่า นี้ เ ข้า ไปท างานในฐานะ
ผู้เ ชี่ย วชาญทางเทคนิ คเฉพาะด้า นซึ่ ง มี ความจ าเป็น โดยเฉพาะ
เกี่ยวกับระบบอาวุธใหม่ๆ แทนการส่งทหารไปศึกษาในต่างประเทศ
ซึ่งตาแหน่งที่จะบรรจุข้าราชการพลเรือนกลาโหมชั่วคราวได้จะเป็น

๓-๑๓
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ตาแหน่งในโครงการที่มีระยะเวลาสั้น ๆ นอกจากความจาเป็นด้าน
เทคนิ ค เฉพาะดั ง กล่ า วแล้ ว ยั ง มี ก ารบ ารุ ง รั ก ษาสถานที่ เป็ น
เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยสถานที่ ในหน่วยที่มี ภารกิจจานวน
มาก หรือบรรจุในตาแหน่งเป็นผู้ให้ คาแนะนาในเทคนิคเฉพาะแก่
ทหาร ปฏิ บั ติง านได้ ในห้ว งระยะเวลาตามข้อ ตกลง ข้ าราชการ
พลเรือนกลาโหมชั่วคราวเป็นส่วนหนึ่งของ ตอน ทีม หรือหน่วย ซึ่ง
ต้ อ งใช้ เ ทคนิ ค เฉพาะ หรื อ ไม่ มี ชั้ น ความลั บ เพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ น
กองทัพบก

๓-๒๖. การจั ด การก าลั ง พลข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมแบบ


ชั่ ว คราวต้ อ งใช้ วิ ธี ก ารของภาวะผู้ น าแตกต่ า งออกไป กล่ า วคื อ
ข้าราชการพลเรือ นกลาโหมมิไ ด้เป็น ส่วนหนึ่ ง ของสายการบัง คั บ
บัญชาทางทหาร กาลังพลข้าราชการพลเรือนกลาโหมชั่วคราวควร
ได้รับการจัดการภายใต้ระยะเวลาที่กาหนด และเงื่อนไขที่ วางไว้
ล่วงหน้า โดยปกติแล้ว ข้าราชการพลเรือนกลาโหมจะไม่อยู่ภายใต้
อานาจของกฎหมายทางทหาร ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสาคัญ ซึ่ง ผู้นาทาง
ทหารที่เป็นทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมมั่นใจได้ว่าระบบ
การจัดการกาลังพลข้าราชการพลเรือนกลาโหมประเภทชั่วคราวที่ดี
จึงมีการบรรจุทั้งในยามปกติและในระหว่างการปฏิบัติการเผชิญเหตุ

บทบาทที่มีร่วมกัน
๓-๒๗. ผู้นาที่ดีนั้นเป็นได้ทั้งผู้ที่สวมเครื่องแบบ หรือแต่ง กายชุ ด
สากล ผู้นาทุกคนต้องกล่าวคาปฏิญาณเดียวกันเมื่อเข้ามารับราชการ
ในกองทัพบก ผู้นาทางทหารเหล่านี้ร่วมงานกันภายใต้แนวความคิด
การอยู่เหนือผู้ใต้บังคับบัญชาในตาแหน่งผู้บังคับบัญชาและเป็นผู้นา
อย่างเป็นทางการ โดยใช้ภาวะผู้นาซึ่งนาทุกแง่มุมของหลักความ

๓-๑๔
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ประพฤติด้วยคุณลักษณะที่พึงประสงค์เดียวกันมาใช้โดยไม่คานึงถึง
ประเภทของกาลังพล พันธกิจทางทหาร เป็นองค์ประกอบที่ทาให้
เกิดความสมบูรณ์ และมีการบูรณาการอย่างสูง ในขณะที่ทหารเน้น
ด้านการต่อสู้และการเอาชนะสงคราม กาลังพลข้าราชการพลเรือน
กลาโหมจะปฏิบั ติห น้ าที่ ด้ว ยการสนับ สนุ น นัก รบเหล่ านี้ โดยการ
ดารงการปฏิบัติการ และช่วยในการปรับสภาพต่างๆ ให้เอื้ออานวย
ต่อการบรรลุภารกิจ การพึ่งพาอาศัยกันและการประสานงานกัน
ระหว่างบรรดาผู้นาภายในกองทัพบกทาให้พันธกิจ ที่เพิ่มมากขึ้ น
ได้รับการปฏิบัติให้ประสบความสาเร็จ ทาให้กองทัพบกเป็นกาลังที่มี
ขีดความสามารถสูงสุดเป็นหลักสาคัญของประเทศชาติ เป็นที่มั่นใจ
ของประชาชน และเครื่องมือสาคัญที่รัฐบาลต้องพึ่งพาอาศัย ในการ
สร้างความเกรงใจสาหรับมิตรประเทศ สร้างความเกรงกลัวสาหรับคู่
ขัดแย้ง ในพลังอานาจของกองทัพบกไทย

ระดับของภาวะผู้นา
๓-๒๘ กรณีศึกษาของกองทัพบกสหรัฐ : ระดับภาวะผู้นา ๓
ระดับ ได้แก่ ระดับยุทธศาสตร์ ระดับองค์กร และระดับสั่งการตรง
ปัจจัยที่ใช้พิจารณาตาแหน่งของระดับภาวะผู้นารวมถึงช่วงห่างของ
ตาแหน่งที่ควบคุม ระดับของหน่วยเหนือ ขอบเขตของอานาจของ
ผู้นาในการควบคุมอานาจที่มีตามตาแหน่ง ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ ขนาด
ของหน่ว ยหรือ องค์ก ร ประเภทของการปฏิ บัติ การ จานวนคนที่
ได้รับมอบ และขอบเขตความรู้ในการวางแผน ภาพ ๓ – ๓ แสดงให้
เห็นถึงระดับภาวะผู้นา ๓ ระดับ

๓-๑๕
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ภาพรวม, ระดับชาติ, ภูมิภาค

ระดับยุทธศาสตร์

ระบบและ
ขั้นตอน ระดับองค์กร
ในองค์กร
ระดับสั่งการตรง

หน่วย, หน่วยเฉพาะกิจ

ภาพ ๓ -๓ ระดับภาวะผู้นาทางทหาร

๓-๒๙. กรณี ศึ ก ษาของกองทั พ บกสหรั ฐ :นายทหารประทวน


นายทหารชั้นนายร้อย ชั้นนายพัน และข้าราชการพลเรือนกลาโหม
ทั้ ง หมดนี้ ส่ ว นมากจั ด อยู่ ใ นระดั บ ภาวะผู้ น าระดั บ สั่ ง การตรง
นายทหารชั้นนายพันขึ้นไป และข้าราชการพลเรือนกลาโหมขั้นที่
สูงขึ้นปฏิบัติหน้าที่อยู่ในภาวะผู้นาระดับองค์กร โดยพื้นฐานแล้ว
นายทหารชั้ นนายพลและข้ าราชการพลเรื อนกลาโหมอาวุ โสที่ มี
ความสามารถเฉพาะอยู่ในระดับบริ หารทาหน้าที่อยู่ในภาวะผู้นา
ระดับยุทธศาสตร์

๓-๓๐. กรณีศึกษาของกองทัพบกสหรัฐ :มีบ่อยครั้ง ที่ชั้นยศหรือ


ผู้ น าตามสายการบั ง คั บ บั ญ ชา มิ ไ ด้ ร ะบุ ถึ ง ระดั บ ภาวะผู้ น าตาม

๓-๑๖
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ตาแหน่ง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าทาไมภาพ ๓ – ๓ จึงไม่แสดงถึงตาแหน่ง


ตัวอย่างเช่น จ่าสิบตรีที่ทาหน้าที่ นายสิบประจาหมวดที่ภาวะผู้น า
ระดับสั่งการตรง หากจ่าสิบตรีนายนี้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับปัญหาและ
นโยบายในหน่วย ขนาดกรม หรือองค์กรซึ่งใหญ่กว่า จ่าสิบตรีนาย
นี้ก็จะทางานที่ภาวะผู้นาระดับองค์กร แต่ถ้าหน้าที่พื้นฐานของจ่าสิบ
ตรีน ายนี้ เป็น การดาเนินงานอยู่ใ นส่ว นซึ่ง สนับ สนุน ผู้ นาที่ดาเนิ น
องค์กร จ่าสิบตรีนายนี้ก็เป็นผู้นาในระดับสั่งการตรง

๓-๓๑. กรณีศึกษาของกองทัพบกสหรัฐ:ไม่ว่าจะอยู่ในระดับภาวะ
ผู้ น าใดสิ่ ง ที่ ส าคั ญ คื อ การตระหนั ก อยู่ เ สมอว่ า การก าหนดระดั บ
ตาแหน่งของภาวะผู้นา มิได้กาหนดมาจากหน่วยบัญชาการที่สังกัด
อยู่ ผู้นาทุกชั้นยศและทุกระดับที่ปฏิบัติหน้าที่ในระดับยุทธศาสตร์
อยู่ ใ นกองบั ญ ชาการพวกเขาอาจมิไ ด้ เป็ น ผู้น าระดั บ ยุท ธศาสตร์
ทั้งหมด เนื่องจากความรับผิดชอบตามตาแหน่งหน้าที่พร้อมกับ
ปั จ จั ย ต่ า งๆ เป็ น ตั ว ก าหนดระดั บ ภาวะผู้ น า ตั ว อย่ า งเช่ น
ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ณ ที่ทาการไปรษณีย์ทาหน้าที่ควบคุม
สิ่งอานวยความสะดวกที่มีผู้ใต้บังคับบัญชา ๑๒ คน ทางานอยู่ที่
ระดับสั่งการตรง รองผู้บังคับการของค่ายซึ่งเป็นข้าราชการพลเรือน
กลาโหมที่มีช่วงห่างของอานาจในการสั่งการคนจานวนหลายพันคน
เป็นผู้นาระดับองค์กร

ภาวะผู้นาระดับการสั่งการตรงหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรง
๓-๓๒. ภาวะผู้นาระดับการสั่งการตรงหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรงมี
ลักษณะการนาตัวต่อตัวหรือภาวะผู้นาในระดับแรก ซึ่งจะเห็นได้ใน
องค์กรที่ผู้ใต้บังคับบัญชาคุ้นเคยกับการได้พบกับผู้บังคับบัญชาของ
เขาได้ตลอดเวลา ได้แก่ระดั บ หน่วย หมู่ ตอนหมวด และกองร้อย

๓-๑๗
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ทหารราบ กองร้อยทหารปืนใหญ่ กองร้อยทหารม้า และกองพัน


ช่วงห่างของผู้นาระดับสั่งการตรงของการมีอานาจอาจจะมีขอบเขต
จากคนจานวนเพียงเล็กน้อยจนถึงจานวนหลายร้อยคน นายทหาร
ประทวนที่อยู่ในภาวะผู้นาประเภทสั่งการตรงมีมากกว่านายทหาร
และข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่อยู่ด้วยกัน

๓-๓๓. ผู้นาระดับสั่งการโดยตรงพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาแบบตัวต่อ
ตัว และมีอานาจต่อองค์กรทางอ้อมโดยผ่านทางผู้ใต้บังคับ บัญชา
นั่นเอง ตัวอย่างเช่น ผู้บังคับหมู่มีความใกล้ชิดเพียงพอที่จะมีอานาจ
โดยตรงเมื่อเขาเข้าไปตรวจการฝึก หรือมีผลกระทบซึ่งกันและกันต่อ
ผู้ใต้บังคับบัญชาในระหว่างมีพันธกิจที่มีกาหนดเวลาอื่นๆ

๓-๓๔. กล่ า วโดยทั่ วไปผู้ นาระดับ สั่ ง การตรงมี ป ระสบการณ์ ที่ มี


ความแน่นอนมากกว่าและมีความซับซ้อนน้อยกว่าในระดับองค์กร
และระดับยุทธศาสตร์ เนื่องจากผู้นาระดับสั่งการตรงมีความใกล้ชิด
เพี ย งพอที่ จ ะท าการพิ จ ารณาหรื อ พู ด ถึ ง ปั ญ หาต่ า งๆ ตั ว อย่ า ง
ภารกิจของภาวะผู้นาระดับสั่งการตรงคือ ความทุ่มเทในการติดตาม
และประสานงาน การให้เจตนารมย์ของภารกิจที่ชัดเจนและรัดกุม
และมีการคาดการณ์ถึงผลการปฏิบัติงาน

ภาวะผู้นาระดับองค์กรหรือผู้นาตามสายการบังคับบัญชา
๓-๓๕. ผู้นาระดับองค์กรมีอานาจบังคับบัญชาคนจานวนหลายร้อย
หรื อ หลายพั น คน ซึ่ ง กระท าโดยทางอ้ อ ม กล่ า วคื อ กระท าผ่ า น
ผู้ใต้บังคับบัญชาตามสายการบังคับบัญชามากกว่าผู้นาระดับสั่งการ
ตรง โดยที่ระดับของผู้ใต้บังคับบัญชาที่มากมายเหล่านี้สามารถสร้าง
ความยุ่ง ยากให้มากขึ้นในการกากับดูแ ลและตัดสินผลลัพธ์ในทันที

๓-๑๘
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ผู้นาระดับองค์กรมีฝุายอานวยการทาหน้าที่ให้ความช่วยเหลือในการ
นากาลังพลภายใต้การบังคับบัญชา รวมทั้งการจัดการทรัพยากรของ
องค์ ก ร ผู้ น าระดั บ องค์ ก รเป็ น ผู้ รั บ นโยบายจากผู้ น าระดั บ
ยุทธศาสตร์มากาหนดนโยบายย่อยและสร้างบรรยากาศขององค์กร
ให้สนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็นผู้นาตามสายการบังคับบัญชารอง
ลงไป

๓-๓๖. ผู้นาระดับองค์กรรวมถึงผู้นาทางทหารระดับ กองทัพ ภาค


กองพล เลขานุ การกองทั พ บก ฯลฯ ลงไปจนกระทั่ ง ถึ ง ระดั บ
ผู้อานวยการกองในหน่วยขึ้นตรงกองทัพบก โดยที่การวางแผนและ
ภารกิจของผู้นาระดับองค์กรจะอยู่ในช่วง ๒ ถึง ๑๐ ปี หรือมีการ
กาหนดวิสัยทัศน์ระยะยาว และมอบความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติ
ภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากกองทัพบก

๓-๓๗. คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ห ลั ก ของผู้ น าสามารถน าไป


ประยุกต์ใช้ได้กับทุกระดับภาวะผู้นา ทั้ง นี้โดยปกติแล้วผู้นาระดับ
องค์กรมักจะเกี่ยวข้องกับ ความซับซ้อนมากกว่า มีคนมากกว่า มี
ความไม่แน่นอนมากกว่า และมีจานวนของผลที่เกิดตามภายหลัง
โดยไม่ไ ด้ตั้งใจจ านวนมากกว่า ผู้นาระดับองค์ กรมีอานาจบัง คั บ
บัญ ชาคนผ่ า นทางการบู รณาการนโยบายและระบบเข้ า ด้ ว ยกั น
มากกว่าการเผชิญหน้ากันโดยตรง

๓-๓๘. การออกจากห้องทางานไปพบปะกับส่วนต่างๆ ขององค์กร


เป็นสิ่งสาคัญสาหรับผู้นาระดับองค์กร โดยหาเวลาในการออกสนาม
ไปตามหน่ ว ยต่ า งๆ เพื่ อ ตรวจสอบรายงานของฝุ า ยอ านวยการ
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และผลงานว่าเป็นไปตามที่มีการบรรยาย

๓-๑๙
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

สรุปหรือไม่ สภาพต่างๆ ที่คนต้องเผชิญ และความเข้าใจเกี่ยวกับ


ความก้าวหน้าในองค์กรต่อการบรรลุภารกิจ ผู้นาระดับองค์กรใช้
การสั ง เกตโดยตนเอง และการมอบหมายฝุ า ยอ านวยการให้
ประเมิ น ผลว่ า ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชามี ค วามเข้ า ใจเจตนารมณ์ ข อง
ผู้บังคับบัญชาเพียงใด เพื่อพิจารณาว่ามีความจาเป็นในการเพิ่มเติม
กาลังหรือประเมินลาดับความเร่งด่วนขององค์กรใหม่

ภาวะผู้นาระดับยุทธศาสตร์ ผู้นาตามลาดับชั้น
๓-๓๙. ผู้นาระดับยุทธศาสตร์ ได้แก่ ผู้นาทางทหารในระดับการ
บังคับบัญ ชาเป็นหลัก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม(รมว.กห.)
กองทัพบกมีตาแหน่งทางทหารที่มีชั้นความลับในฐานะผู้นาระดับ
ยุ ท ธศาสตร์ คื อ ผู้ บั ญ ชาการทหารบก ซึ่ ง บั ง คั บ บั ญ ชารั บ ผิ ด ชอบ
กองทัพบกซึ่งเป็น องค์กรขนาดใหญ่ และมีอานาจในการสั่งการคน
หลายพันคนจนถึงนับหมื่นนับแสนคน ผู้นาระดับยุทธศาสตร์ จัดตั้ง
โครงสร้าง จัดสรรทรัพยากร สื่อวิสัยทัศน์ ระดับยุทธศาสตร์ และ
เตรี ย มการบั ง คั บ บั ญ ชากองทั พ บกในฐานะผู้ ก าหนดบทบาทใน
อนาคต

๓-๔๐. ผู้ น าระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ ท างานภายใต้ ส ภาพแวดล้ อ มที่


เปลี่ ย นแปรง่ า ย ไม่ แ น่ นอนซึ่ ง มีปั ญ หา ซั บ ซ้ อ น ไม่ ชั ด เจน อั น มี
ผลกระทบ หรื อได้รั บผลกระทบจากเหตุ การณ์ หรื อองค์ก รต่ างๆ
ภายนอกกองทั พ บก มี บ่ อ ยครั้ ง ที่ ก ารปฏิ บั ติ ข องผู้ บั ญ ชาการ
ทหารบก มี ผ ลกระทบอั น วิ ก ฤตต่ อ การเมื อ งในประเทศ ระดั บ
ภูมิภาค ผู้บัญชาการทหารบก บังคับบัญชากองทัพบกในการปฏิบัติ
ภารกิจอันยิ่ง ใหญ่ที่มีความต่อเนื่องซึ่งมีลักษณะเป็นองค์กรขนาด
ใหญ่มีความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่

๓-๒๐
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

๓-๔๑. ผู้นาระดั บยุทธศาสตร์ประยุกต์คุณลั กษณะที่พึ ง ประสงค์


หลักของผู้นาที่ได้รับเช่นเดียวกับผู้นาระดับ สั่ง การตรงและระดั บ
องค์กร แต่ปรับให้ เหมาะส าหรับความเป็นจริ ง ที่ซับซ้อ นกว่าของ
สภาพแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ซึ่งได้แก่ พันธกิจขององค์ประกอบ
ทั้งหมดของกองทัพบก การตัดสินใจของผู้นาระดับยุทธศาสตร์ต้อง
ยึดถือมติคณะรัฐมนตรีในการปฏิบัติภารกิจนอกเหนือการสงคราม
ขีด จ ากั ดด้ า นงบประมาณของกองทั พ บก การจัด หาระบบอาวุ ธ
ใหม่ๆ แผนงานระยะยาว การวิจัยทางยุทธศาสจร์ การพัฒนาหลัก
นิยม และการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยต่างๆ

๓-๔๒. ผู้นาระดับยุทธศาสตร์เหมือนกับผู้นาระดับสั่งการตรงและ
ระดั บ องค์ก รในแง่ข องการประมวลข้อ มู ล ข่ า วสารอย่ างรวดเร็ ว
ประเมินทางเลือกด้วยข้ อมูลที่สมบูรณ์ การตัดสินใจ จะก่อให้เกิด
การสนับสนุน อย่างไรก็ตามการตัดสินใจของผู้นาระดับยุทธศาสตร์
มีผลกระทบต่อคนจานวนมากกว่า ผูกมัดต่อทรัพยากรมากกว่า มี
ขอบเขตของผลที่ตามมากว้างขวางกว่าทั้งในมิติของพื้นที่และเวลา
และมีผลกระทบทางการเมืองมากกว่าการตัดสินใจของผู้นาระดับ
องค์กรและระดับสั่งการตรง

๓-๔๓. ผู้นาระดับยุทธศาสตร์เป็นผู้เร่งปฏิกิริยาคนสาคัญของการ
แปรสภาพ และการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากต้องปฏิบัติตามวิธีการ
ระยะยาวในการวางแผน การเตรียมการ และการบริหารงาน ซึ่ง
ผู้นาระดับยุทธศาสตร์ไม่ได้เห็นความคิดที่บรรลุผลในระหว่างที่ดารง
ตาแหน่งในเวลาอันจากัด การแปรสภาพกองทัพบกมีความซับซ้อน
มากยิ่งขึ้น มีการจัดวางกาลังอย่างรวดเร็ว และมีหน่วยที่มีอาวุธ
ร้ายแรงมากยิ่งขึ้น อย่า งเช่น หน่ว ยกาลั ง รบระดับกรมผสม เป็ น

๓-๒๑
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ตัวอย่างที่ดี ของการวางแผนระดับยุทธศาตร์ในระยะยาว สิ่งเหล่านี้


เป็นงานที่ซับซ้อนซึ่งต้องการ การปรับให้เหมาะสมกับการเมืองที่มี
การเปลี่ ย นแปลง งบประมาณและข้ อ เท็ จ จริ ง เชิ ง เทคนิ ค อย่ า ง
ต่อเนื่อง เมื่อการแปรสภาพมีความก้าวหน้า กองทัพบกต้องดารง
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการทาให้ตรงตามความประสงค์ที่ได้ตก
ลงไว้ ใ นการปฏิ บั ติ ก ารเต็ ม ย่ า นของการปฏิ บั ติ ก ารทางทหาร
ในขณะที่ ก องทั พ บกขึ้ น อยู่ กั บ หน่ ว ยต่ า งๆ ในกอ งทั พ บก
นอกจากนั้นยัง ขึ้นอยู่กับการมีอานาจที่สูงกว่าผู้นาระดับองค์กรใน
การลงนามรั บ รองวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นระยะยาวเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจ
ตรงกันไปถึงองค์กรทุกระดับในกองทัพบก

๓-๔๔. หากเปรียบเทียบระหว่างผู้ นาระดับต่างๆ นั้น การบัง คับ


บัญชาของผู้นาระดับยุทธศาสตร์มีโอกาสน้อยมากในการไปตรวจ
เยี่ ย มหน่ ว ยระดั บ ต่ าที่ สุ ด ขององค์ ก ร นั่ นเป็ นเหตุ ผลว่ าท าไมจึ ง
จาเป็นต้องมีประสาทสัมผัสที่ดีในการรู้ว่าควรไปตรวจเยี่ยมเมื่อใด
และที่ใด เนื่องจากอานาจการบังคับบัญชาพื้นฐานที่มีอยู่นั้ นใช้ไ ด้
โดยผ่านทางฝุายอานวยการและผู้ใต้บังคับบัญชาที่วางใจได้ ผู้นา
ระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ ต้ อ งพั ฒนาทั ก ษะที่ แ ข็ง แกร่ ง ในการเลื อ กและ
พัฒนาความสามารถพิเศษของผู้นาสาหรับตาแหน่ง หน้าที่มีความ
วิกฤต

ผู้นาทุกระดับชั้น
๓-๔๕. ผู้นาทุ กระดั บชั้น ตระหนั กดีว่า กองทัพบกมีลักษณะเป็ น
หน่ ว ยงานตามสายการบั ง คั บ บั ญ ชา โดยที่ ห น่ ว ยเหล่ า นี้ มี
ปฏิสัมพันธ์กันด้วยพันธกิจของหน่วยที่มีอยู่มากมายซึ่ง กาหนดให้
ปฏิบัติภารกิจที่มีความจาเป็นและภารกิจซึ่งทาให้เกิดขึ้นด้วยความ

๓-๒๒
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ประสานสอดคล้องของความพยายามมีส่วนร่วมจากทุกคนในส่วน
ต่างๆ ของกองทัพบก ทุกคนถือเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยทาหน้าที่ทั้ง
เป็นผู้นาหรือผู้ใต้บังคับบัญชาซึ่งมีความรับผิดชอบ การปฏิบัติหน้าที่
ให้ดีที่สุดของหน่วยนั้นผู้นาและผู้ใต้บังคับบัญชาต้องมีความไว้วางใจ
และเคารพซึ่งกันและกัน เข้าใจถึงความสามารถพิเศษที่มีอยู่ และมี
ส่วนทาให้ความสามารถพิเศษและคุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นสิ่งที่
ดีร่วมกันขององค์กรด้วยความตั้งใจ ภาวะผู้นาของกองทัพบกมี ๒
รูปแบบ คือ
- แบบตามหลักการ(เป็นทางการ)
- แบบตามอานาจ(ไม่เป็นทางการ)

ภาวะผู้นาแบบเป็นทางการ
๓-๔๖. ภาวะผู้ นาแบบเป็น ทางการหรือภาวะผู้น าตามกฎหมาย
ได้รับการยอมรับจากบุคคลด้ วยคุณสมบัติที่ดีและน่าชื่นชมของการ
มอบหมายความรับผิดชอบในตาแหน่ง และด้วยการทางานตามชั้น
ยศและประสบการณ์ ตาแหน่งงานบนความสามารถของตนเองแล้ว
ย่อมอยู่บนพื้นฐานระดับผู้นาที่มีประสบการณ์การทางานและการฝึก
มีการกาหนดขั้นตอนในการพิจารณาการปรับตาแหน่งและการเลื่อน
ยศ โดยมีขั้นตอนหนึ่งที่มีก ารเลือกใช้สาหรับ การกาหนดอานาจ
หน้ า ที่ ต ามกฎหมายคื อ ผู้ บั ง คั บ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาโดยตรงและ
ผู้บั ง คับ บั ญชาตามลาดั บชั้ น เป็ น ผู้พิ จ ารณาร่ ว มกั บ การใช้ ผ ลการ
ปฏิบัติงานในอดีตและศักยภาพเพื่อ ประกอบในการเลือกนายทหาร
ให้ดารงตาแหน่งผู้บัง คับบัญชา สาหรับนายทหารประทวนจะมี
อานาจตามกฎหมายก็ต่อเมื่อได้รับมอบหมายให้เป็น จ่ากองพัน จ่า
กองร้อย รองผู้บังคับหมวด นายสิบประจาหมวด ซึ่งตาแหน่งเหล่านี้
นามาซึ่งหน้าที่ในการแนะนาเรื่องการปฏิบัติตามวินัย และการ

๓-๒๓
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

เลื่อนขั้นหรือการเลื่อนตาแหน่งของนายทหารประทวนภายในหน่วย
ที่รับผิดชอบ

๓-๔๗. กฎหมายว่าด้วยการพิจารณาคดีทางทหาร เอื้ออานวยต่อ


ผู้นาทางทหารในเรื่องตาแหน่ง ซึ่งมีอานาจตามกฎหมาย ทั้ง ๆ ที่
คุณภาพของภาวะผู้นาแสดงให้เห็นได้โดยการมอบหมายหน้าที่ซึ่ง
เกี่ยวกับองค์กรให้กับผู้นา ผู้นาจึงมีสิทธิ์ตามกฎหมายในการบังคับ
ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติ โดยการใช้คาสั่งที่ถูกต้องตามกฎหมาย
รวมทั้งการบังคับบัญชาตามสายการบังคับบัญชา

ภาวะผู้นาแบบไม่เป็นทางการ
๓-๔๘. ภาวะผู้นาแบบไม่เป็นทางการเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาภายใน
องค์กร ซึ่งเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้ภารกิจประสบความสาเร็จ ซึ่งไม่
ควรให้อานาจตามกฎหมายนี้ถูกกัดกร่ อนไป กาลังพลทุกนายของ
กองทัพบก จะพบว่าตนเองปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่ง ผู้นาได้ ทุกคน
ทุกเวลา ภาวะผู้นาแบบไม่เป็นทางการไม่ได้อยู่บนพื้นฐานว่าเป็นยศ
ใดหรืออยู่ระดับใดในโครงสร้างการจัดกองทัพบก โดยที่สามารถ
เพิ่มพูนลักษณะผู้นาขึ้นได้จากความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ และ
บางครั้งต้องการความริเริ่มในบางส่วนของบุคคลในการรับเอาความ
รับ ผิ ด ชอบที่ ไ ม่ ไ ด้ กาหนดอยู่ ใ นตาแหน่ง หน้ าที่ ดั ง นั้ น แม้ก ระทั่ ง
นายทหารที่มีอาวุโสน้อยที่สุดก็อาจสามารถตัดสินใจตามอานาจใน
การสั่ง การซึ่ง สูงสุดขององค์กรได้โดยอาศัยความสามารถส่วนตน
หรือภาวะผู้นาแบบไม่เป็นทางการ

ความหมายโดยนัยสาหรับผู้นาองค์กร และผู้นาหน่วย
๓-๔๙. การสร้า งหน่วยที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้นาองค์กรและผู้ น า

๓-๒๔
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

หน่วยต้องสามารถระบุและมีปฏิสัมพันธ์กับ กาลังพลในหน่วยทั้ง ที่


เป็นทางการและไม่เป็นทางการ รวมทั้ง
- สายการบังคับบัญชา
- สายการประสานความร่ ว มมื อ ในการสั่ ง การร่ ว ม
ระหว่างองค์กร และองค์กรนานาชาติ
- สายของพันธกิจที่สนับสนุนผู้บังคับหน่วยและนายทหาร
ฝุายอานวยการ

๓-๕๐. ถึ ง แม้ ว่ า การน าหน่ ว ยผ่ า นทางผู้ น าหน่ ว ยรอง เป็ น


กระบวนการกระจายอานาจ ไม่ได้แสดงนัยว่า ผู้บัง คับหน่วยหรื อ
นายทหารอาวุโสไม่สามารถก้าวเข้าไปและควบคุ มการปฏิบัติการ
เพียงชั่วคราวหากมีความจาเป็นเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามโดยทางอ้อม
แล้วสายการบังคับบัญชาที่ทากันเป็นนิสัย ควรได้รับการยกเว้นและ
เน้ น ไปที่ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า งเร่ ง ด่ ว นหรื อ การแนะแนวทางให้
องค์กรกลับเข้าสู่หนทางปกติตามแนวทางแรกเริ่มของผู้นา

โครงสร้างสายการบังคับบัญชา
๓-๕๑. สายการบังคับบัญชามี ๒ แบบ คือ แนวนอนและแนวดิ่ง
สายการบังคับบัญชาในแนวนอนเป็นได้ทั้ง แบบเป็นทางการ(ฝุาย
อานวยการในกองบังคับการ, การบัง คับบัญ ชาหลัก ) หรือแบบไม่
เป็นทางการ(กาลังเฉพาะกิจ, คณะที่ปรึกษา) ส่วนสายการบัง คับ
บัญ ชาในแนวดิ่ งก็เ ป็นได้ทั้ ง แบบเป็น ทางการ(ผู้บั ง คับ บัญ ชาและ
ผู้ใต้บังคับบัญชา) และแบบไม่เป็นทางการ(ผู้ที่ทาหน้าที่ในสนาม
หรื อ ปฏิ บั ติ ใ นพื้ น ที่ ต ามพั น ธกิ จ สายการบั ง คั บ บั ญ ชาในแนวดิ่ ง
แบ่งปันภูมิหลังและพันธกิจร่วมกัน เช่น การวิเคราะห์ด้านข่าวกรอง
การสนั บ สนุ น ด้ า นการส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง ผู้ น าหน่ ว ยในแนวดิ่ ง และ

๓-๒๕
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

แนวนอนจัดให้มีโครงสร้างในการจัดการฝึกเป็นหน่วยร่วมกัน

๓-๕๒. เครือข่ายแบบไม่เป็นทางการนั้นมีอยู่ทั้งในและนอกองค์กร
แบบเป็นทางการ ตัวอย่างเช่น เครือข่ายแบบเป็นทางการรวมถึงคน
ที่แบ่ง ปันประสบการณ์กับผู้ร่วมงานคนก่อนหน้า หรือนายทหาร
ประทวนอาวุ โ สในที่ ตั้ ง ทางทหารผู้ ซึ่ ง ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการ
แก้ปัญ หา ถึ ง แม้ว่าตาแหน่งนั้นมี ผู้นาที่ดารงตาแหน่ง ซึ่ง มีอานาจ
หน้ า ที่ ต ามกฎหมาย หน่ ว ยก็ จ ะได้ รั บ การบอกกล่ า วให้ ใ ช้ ข้ อ มู ล
ข่าวสารร่วมกันและได้รับบทเรียนจากประสบการณ์ เมื่อกลุ่มชอบ
ในรูปแบบ หน่วยจะรับเอาลักษณะพิเศษนี้ไปออกแบบให้กับองค์กร
อย่ า งเป็ น ทางการ ตั ว อย่ า งเช่ น การพั ฒ นามาตรฐานที่ เ ป็ น
เอกลักษณ์ของสมาชิ กในเครื อข่า ยและค้ นหาลักษณะที่ ชอบด้ว ย
กฎหมายไปจนเสร็จสิ้นการปฏิบัติ

๓-๕๓. ภายในเครือข่ายแบบไม่เป็นทางการ การพัฒนามาตรฐาน


ส าหรั บ แนวทางที่ ก าหนดไว้ ทั้ ง ที่ ย อมรั บ ได้ แ ละยอมรั บ ไม่ ไ ด้
จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า หน่วยที่ไม่ได้มีการพัฒนามาตรฐาน
ของความประพฤติสูญเสียสิ่งที่ เป็นความผูกพัน และสถานภาพของ
ความเป็นหน่วย

๓-๕๔. กระบวนการภาวะผู้นาร่วมเกิดขึ้ นเมื่อผู้นาจ านวนมากมี


ส่วนทาให้เกิดความรู้ที่มารวมกันและอานาจหน้าที่ของบุคคลในการ
นาองค์ กรไปสู่จุ ด หมายหรื อ ปฏิบั ติภ ารกิจ ร่วมกัน กระบวนการ
ภาวะผู้นาร่วมเกี่ยวข้องกับการมีอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
ร่วมกันในการตัดสินใจ การวางแผน และการบริหารงาน

๓-๒๖
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

๓-๕๕. ภาวะผู้ น าร่ ว มมั ก เกิ ด ขึ้ น ในระดั บ องค์ ก ร และระดั บ


ยุทธศาสตร์ซึ่งบรรดาผู้นาต่างชั้นยศ ต่างตาแหน่งมารวมกันเพื่ อวาง
ความท้าทายเฉพาะกิจหรือภารกิจ ใดภารกิจหนึ่ง ซึ่งไม่มีการจัดตั้ง
สายการบังคับบัญชา ไม่มีการมอบอานาจหน้าที่ ในเชิง องค์กรซึ่ง
อาจหมายถึงการไม่มีตัวตน เมื่อสมาชิกของส่วนต่างๆ จานวนมาก
และเหล่าทัพต้องทางานด้วยกันในการสนับสนุนความท้าทายที่รอ
อยู่เบื้องหน้า

๓-๕๖. บางครั้งการใช้รูปแบบของภาวะผู้นา องค์กรแต่ละองค์กร


โดยลาพังแล้วอาจมีการวางแผนและการดาเนินการท่ามกลางสภาพ
สู ญ ญากาศ โดยที่ ห น่ ว ยจะได้ รั บ อ านาจให้ เ ลื อ กผสมผสาน
ฐานความรู้และความเชี่ยวชาญของแต่ล ะบุ คคลจ าลองแผนและ
นามาซึ่งหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ผลก็คื อ การร่วมผนึก
กาลังกันเป็นผู้นาทางทหารระดับทางข้าง สามารถดาเนินการเป็น
ส่วนหนึ่งของแผนได้

การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นฐานะผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาที่ มี ค วาม


รับผิดชอบ
๓-๕๗. ผู้น าเกื อ บทั้ ง หมดมี สถานะเป็ น ผู้ ใ ต้ บั ง คั บบั ญ ชาในเวลา
เดียวกัน ภายใต้บริบทขององค์กร หรือสถาบันที่เรียกว่ ากองทัพบก
กาลัง พลทั้งหมดของกองทัพ บกคือส่ วนหนึ่ ง ขององค์กรที่ มีขนาด
ใหญ่มีผู้บัญชาการทหารบก ในฐานะผู้นาของกองทัพบก ไม่เพียงแต่
กากั บดู แ ลทางการบั ง คับ บั ญชา แต่ ยัง ต้ องปฏิบั ติ หน้ า ที่ใ นฐานะ
ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบให้ ค าแนะน าในฐานะ
ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นความมั่ น คงต่ อ ผู้ น าระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ และผู้ น า
รัฐบาล

๓-๒๗
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

๓-๕๘. ส่วนหนึ่งของการเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีความรับผิดชอบ
แสดงถึงการสนับสนุนตามสายการบังคับบัญชา และทาให้มั่นใจได้
ว่ า หน่ ว ยของตนท างานสนั บ สนุ น องค์ ก รที่ ใ หญ่ ก ว่ า เป็ น ไปตาม
วัตถุประสงค์ขององค์กรโดยเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรที่ใหญ่กว่า เพื่อ
ท าหน้ า ที่ ใ ห้ กั บ บรรดาทหาร ข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมและ
ครอบครัวของพวกเขา

๓-๕๙. ผู้นาต้องแสดงถึงความกล้าหาญซึ่งถูกต้องด้วยศีลธรรมที่จะ
แสดงความเห็ น ต่ อ วิ ธี ก ารที่ จ ะช่ ว ยพั ฒนาหน่ ว ยขึ้ น ความเห็ น ที่
แตกต่างมิได้แสดงถึงการทาลายซึ่งสายการบังคับบัญชาหรือแสดงว่า
ไม่เคารพนับถือ ทั้งนี้อาจนาไปสู่ทางเลือกหรือคาตอบที่ดีกว่าได้
อั น อาจท าให้ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา รั ก ษาไ ว้ ซึ่ ง ทั ศ น คติ ที่ ดี ต่ อ
ผู้บังคับบัญชาและเสนอทางเลือกที่ดีกว่าและสามารถปฏิบัติได้

๓-๖๐. สุด ท้ ายแล้ว การพิ จ ารณาต้ อ งนาไปสู่ ข้ อสรุ ป ได้ แ ละผู้ น า


หน่วยควรยอมรับการตั ดสิน ใจของผู้ บังคั บบัญ ชา จากจุด นี้ ผู้น า
หน่วยต้องสนับสนุนการตัดสินใจนี้และดาเนินการให้ได้มาตรฐาน
สูงสุด หากลองจินตนาการดูว่าองค์กรจะเต็มไปด้วยความยุ่งเหยิง
หรือไม่ ถ้าหากผู้ใต้บังคับบัญชามีอิสระที่จะเลือกว่าจะเชื่อคาสั่งใด
และเพิกเฉยต่อคาสั่งใด นั่นก็คือการที่จะรักษาไว้ซึ่งความไว้วางใจ
และความมั่นใจต่อสายการบังคับบัญชา และความสามารถโดยรวม
ของหน่วยรองมีความสาคัญต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น

ภาวะผู้นาที่ปราศจากอานาจหน้าที่
๓-๖๑. บ่อยครั้งที่ภาวะผู้นาเกิดขึ้นจากผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีความ
รับผิด ชอบ เป็ นผู้เ ข้าควบคุ มและทาให้งานเสร็จสมบูร ณ์โดยไม่ มี

๓-๒๘
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

แนวทางที่ ชั ด เจนจากผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา เหตุ ก ารณ์ นี้ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ


สถานการณ์มีการเปลี่ยนแปลง หรือมีสถานการณ์ใหม่เกิดขึ้นโดยที่
ผู้นามิได้ให้คาแนะนาไว้หรือมีคาสั่งใดๆให้ปฏิบัติ และไม่สามารถ
ติดต่อกับผู้บังคับบัญชาได้ในทันที

๓-๖๒. ภาวะผู้นาโดยปราศจากอานาจหน้าที่สามารถเริ่มได้จาก
ผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งในสายเทคนิค ถ้าหากคนอื่นๆ รวมทั้งผู้ที่มียศสูง
กว่า กาลังต้องการทหารหรือบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญ ซึ่งบุคคลผู้นี้
แสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบที่จะตัดสินใจเมื่อมีความเหมาะสมใน
การริเริ่มทาในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นๆ เมื่อมีการนาโดยปราศจาก
การมอบหมายอานาจหน้าที่เช่นนี้ ผู้นาควรชื่นชมต่อผลกระทบที่มี
ศักยภาพนี้และกระทาในสิ่งที่มีส่วนทาให้นามาซึ่ง ความสาเร็จของ
หน่วย

๓-๖๓. ภาวะผู้นาโดยปราศจากอานาจหน้าที่นี้เกิดขึ้นได้บ่อยครั้ง
เมื่อคนใดคนหนึ่งต้องริเริ่มที่จะทาให้ผู้บังคับบัญชามีความตื่นตัวถึง
ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ หรือทานายผลที่ตามมาหากองค์กรยังคงอยู่
ในภาวะปัจจุบัน ผู้นาอย่างไม่เป็นทางการซึ่งปราศจากอานาจหน้าที่
อย่า งเป็ นทางการนี้ จาเป็น ที่จะแสดงถึ ง ภาพลัก ษณ์ ของผู้นาซึ่ง มี
ความมั่นใจในตนเองและนอบน้อมถ่อมตน

๓-๖๔. ทหารทุกคนในกองทัพบกควรมีภาวะผู้นา ทั้ง ๆ ที่ไ ม่ได้รับ


มอบหมายอานาจหน้าที่ ต้องมีความตระหนักถึงความรับผิดชอบใน
ตาแหน่งหน้าที่ ผู้นาทุกคนควรมีศักยภาพในการสันนิษฐานหน้าที่
ความรับผิดชอบพื้นฐานได้

๓-๒๙
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

การมอบอานาจให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
๓-๖๕. ผู้นาที่เก่ง จะรู้ว่าวิธีที่ดีที่สุดในการสร้างหน่วยที่มั่นคง คือ
การมอบหน้าที่ใ ห้ผู้ใต้บัง คับบัญชา ด้วยการมอบหมายภาระงาน
มอบหน้าที่ซึ่ง มีความจาเป็นให้ทาแทน และอนุญาตให้ปฏิบัติงาน
การให้อานาจกับหน่วยรองมิได้หมายถึงการละเลยการตรวจสอบ
และต้องเข้าไปแก้ไขเมื่อจาเป็น เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น ผู้นาต้อง
มั่น ใจว่ า ผู้ ใต้ บั ง คั บ บั ญชาบอกได้ ว่า เกิ ด อะไรขึ้ น และทาไม การ
ทบทวนหลังการปฏิบัติ(ทลป.) ที่มีคุณภาพจะช่วยให้ผู้นาหน่วยรอง
เรียนรู้จากความผิดพลาดในทางบวก ทหารทุกนายและผู้นาทุกคน
ทาผิดกันได้ ทหารที่ดีและผู้นาที่ปฏิบัติหน้าที่อย่างซื่อตรงเรียนรู้ไ ด้
จากความผิดพลาด

๓-๖๖. การเรียนรู้ที่ดีที่สุดของผู้ใต้บังคับบัญชาได้จากการปฏิบัติ
ดังนั้นผู้นาจึงควรมีความตั้งใจในการคานวณความเสี่ยงและยอมรับ
ถึงความเป็นไปได้ ซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาผู้ด้อยประสบการณ์อาจทา
ผิดพลาดได้ หากผู้นาที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชาพร้อมที่ จะเติบโตและ
เกิดความไว้วางใจนั้น การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ก็จะเป็นสิ่งที่ดี
ที่สุด ผู้น าที่ดี จะมีพื้ นที่ว่ างให้สาหรับผู้ ใต้บั งคับบั ญ ชาได้ท ดลอง
ปฏิบัติตราบเท่าที่ยังอยู่ในขอบเขตของคาสั่งและแผนซึ่งเป็นพื้นฐาน
ของเจตนารมณ์

๓-๖๗. กรณี ศึ ก ษาเรื่ อ งผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาที่ อ่ อ นประสบการณ์ :


ผู้บังคับบัญ ชาที่อ่ อนประสบการณ์ ผู้ซึ่งไม่เคยฝึก ผู้ใต้บัง คับบัญ ชา
บางครั้งเขาจะยืนกรานว่า “พวกเขาไม่สามารถทาได้หากไม่มีผม”
ผู้นาใช้ความเป็นศูนย์กลางของความเอาใจใส่ ซึ่งมีบ่อยๆ ที่รู้สึกว่าไม่
จาเป็น เพื่อที่จะเรียกร้องขึ้นมาว่า “ผมไม่สามารถมีวันหยุดได้เลย

๓-๓๐
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

ต้ อ งอยู่ ที่ นี่ ต ลอดเวลา ต้ อ งเฝ้ า ดู ลู ก น้ อ งอยู่ ต ลอดทุ ก ความ


เคลื่อนไหวเพราะใครจะไปรู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น ?” ข้อเท็จจริงคือไม่
มีผู้นาคนใดที่ไม่มีผู้ที่สามารถมาทาแทนได้ กองทัพบกจะไม่หยุด
ปฏิบัติหน้าที่เพราะผู้นาคนใดคนหนึ่งหลีกออกไปข้างหนึ่งไม่ว่าเขา
จะอาวุโสหรือทาตัวเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งเพียงใด ในสนามรบ
การสูญเสียผู้นาสามารถทาให้หน่วย อกสั่นขวัญหนีแต่หน่วย “ต้อง
อยู”่ และ “จะต้อง” ปฏิบัติภารกิจต่อไปได้

๓-๖๘. กรณีศึกษาเรื่องหน่วยต้องอยู่และ จะต้อ งปฏิบัติภารกิจ


ต่อ ไปได้:ในบางเหตุการณ์ผู้บังคับกองร้อยเผชิ ญกับสถานการณ์ที่
ยุ่ง ยากมีความมั่นใจว่าผู้หมวดมีความลึกซึ้งและมีประสบการณ์ใน
การสร้ า งสายการบั ง คั บ บั ญ ชาขึ้ น มาใหม่ ตั ว อย่ า งเช่ น การที่
นายทหารชั้นประทวนได้ มอบอ านาจให้กั บผู้ใ ต้บั ง คั บบัญ ชาซึ่ง มี
ความสามารถให้แสดงออกมา และริเริ่มภาวะผู้นาในการสร้างภาพ
ให้เกิดขึ้นในใจ มองเห็นถึงเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา เขาผู้นี้เข้า
ควบคุมเหตุการณ์ ได้เนื่องจากว่านายสิบในหมวดของเขาได้สั่งสอน
เป็นพี่เลี้ ยง และคอยให้ค าปรึกษาให้กับเขา โดยที่เขาได้ แสดงถึ ง
ความกล้าหาญที่จะเปิดเผยตัวเองในระหว่างการยิงของข้าศึกและ
สร้างความมั่นใจให้กับทหารได้ อย่างรวดเร็ว ผู้ใต้บัง คับบัญ ชาได้
รั ก ษาไว้ ซึ่ ง ความมั่ น ใจว่ า ทุ ก อย่ า งจะเรี ย บร้ อ ยและเฝู า บอกถึ ง
สถานการณ์ทางยุ ทธวิธีซึ่ งก าลั งคลี่ คลาย เมื่ อไม่เ ป็นไปตามแผน
ผู้ใต้บังคับบัญชาที่ทาหน้าที่ผู้นาในหมวดนั้นก็สร้างแรงบันดาลใจ
ให้กับหน่วยด้ว ยความอุตสาหะและมีพันธนาการต่ อการเอาชนะ
ปัญหาอุปสรรคทั้งปวงโดยใช้ “การสร้างขวัญ ” ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า
การระดมกาลังทางจิตวิทยาทาให้หน่วยดารงอยู่และ ปฏิบัติภารกิจ
ต่อไปได้

๓-๓๑
บทที่ ๓ บทบาทภาวะผู้นา ระดับภาวะผู้นา และหน่วยที่มีภาวะผู้นา

๓-๖๙. ผู้นาจะมีบทบาทและความรับผิดชอบเป็นอย่างมากตลอด
ระยะเวลาที่ เขาปฏิ บัติหน้ าที่ บางคนอาจเป็ นผู้บัง คั บหน่ว ย ฝุา ย
อานวยการ หรือผู้บังคับหน่วยอาวุโส บางคนอาจทาหน้าที่นายสิบ
หรือจ่าอยู่ในหมวด คนอื่น ๆ ก็อาจเป็นผู้ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็น
ผู้น าโดยการเป็ น แบบอย่า ง ด้ว ยการแสวงหาและการฝึ ก ผู้น าไว้
สาหรับอนาคต หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอาจรวมถึงเวลาในการรับ
ราชการ หรือเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยในการค้นหาคาตอบสาหรับ
ความท้าทายในอนาคต ทั้ง นี้ ไม่ว่า ผู้ นาจะอยู่ใ นบทบาทใดก็ตาม
“ผู้นาทางทหารต้องมีลักษณะผู้นา มีปฎิภาณไหวพริบ ประพฤติ
การอันควร และมีสติปัญญาในการปฏิบัติใดๆ ที่ได้รับมอบหมาย
ให้บรรลุผลสาเร็จ”

“ผู้นาทางทหารต้องมีลักษณะผู้นา
มีปฎิภาณไหวพริบ ประพฤติการอันควร และมีสติปัญญาใน
การปฏิบัติใดๆ ที่ได้รับมอบหมาย ให้บรรลุผลสาเร็จ”

๓-๓๒
ภาค ๒ พื้นฐานภาวะผู้นา ลักษณะของผู้นา, การแสดงออก และสติปัญญา

ภาค ๒
ผู้นาทางทหาร: ลักษณะของผู้นา, การแสดงออก
และสติปัญญา
หลักนิยมกองทัพบกว่าด้วยภาวะผู้นาจะกล่าวถึงภาวะผู้นา
ในทุกแง่มุมซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการเป็นผู้นาทางทหาร ในภาค ๒
นี้ เป็นการพิจารณาถึงบุคคล และประเด็นสาคัญซึ่งผู้นาทางทหาร
ทุกคนสามารถนาไปประพฤติปฏิบัติเพื่อนาไปสู่การเป็นทหารอาชีพ
ที่มีศักยภาพได้ตั้งแต่การเป็นผู้นาระดับการสั่งการตรงจนกระทั่งถึง
ผู้ น าระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ โดยแสดงถึ ง การเริ่ ม ต้ น ของทหารและ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบกในฐานะผู้นา พวก
เขานามาซึ่งค่านิยมและคุณลักษณะที่เป็นค่านิยมซึ่ง ติด ตัวมาจาก
ครอบครั ว และมี ค วามถนั ด ในการกี ฬ าบ้ า งตามสมควร หรื อ มี
ความสามารถทางปัญญา อาทิเช่นการเรียนรู้ภาษาต่างชาติ การฝึก
เกี่ยวกับสถาบันกองทัพบก การผสมผสานการศึกษา การฝึกต่าง ๆ
และการพั ฒ นาในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ จ ริ ง มี จุ ด หมายเพื่ อ ที่ จ ะใช้
คุณภาพและศักยภาพที่มีอยู่ในการพัฒนาผู้นาที่มีความสามารถรอบ
ด้าน ด้ว ยการกาหนดรูปแบบคุณลัก ษณะที่ต้อ งการ คื อ ลักษณะ
ผู้นา ความประพฤติ และสติปัญญา การพัฒนาคุณลักษณะเหล่านี้
ต้องการผู้นาทางทหารที่เอาใจใส่ ตระหนัก ในการพัฒนาตนเองอยู่
เสมอ และมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ภาค ๒ พื้นฐานภาวะผู้นา ลักษณะของผู้นา, การแสดงออก และสติปัญญา

ผู้นาทางทหารต้องมี ลักษณะผู้นา
ความประพฤติดี และมีสติปัญญา
กองทัพบก
ต้องการ
“ผู้นาทางทหารที่เอาใจใส่ ตระหนักใน
การพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ และมีการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต”
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

บทที่ ๔
ลักษณะผู้นา

๔-๑. ลั ก ษณะผู้ น าบางประการ ได้ แ ก่ ความประพฤติ ท างด้ า น


ศีลธรรมและความรู้ที่มีคุณภาพเกี่ยวกับหลักจรรยาช่วยให้กาหนด
สิ่ง ต่ า งๆ ได้ อ ย่ างถู ก ต้ อง และทาให้ เ กิ ดการจู ง ใจที่ จ ะทาในสิ่ ง ที่
เหมาะสมโดยไม่คานึงถึงกรณีแวดล้อมหรือผลที่ตามมา หิริโอตัปปะ
ทางจริยธรรมซึ่งได้รับการบอกกล่าวนั้นถูกต้องตรงกันกับผู้นาที่ทา
ให้ค่านิยมของกองทัพบกมีความแข็งแกร่งเพื่อที่จะสร้างทางเลือกที่
ถูกต้องเมื่อเผชิญกับประเด็นที่ยากๆ ตั้งแต่ผู้นาทางทหารค้นหาที่จะ
ทาในสิ่งที่ถูกต้องและบันดาลใจให้ผู้อื่นทาเช่นเดียวกัน ผู้นาจึงต้อง
ทาค่านิยมให้เห็นเป็นรูปธรรม

๔-๒. การปฏิบัติของทหารในระหว่างปฏิบัติการในอดีตที่ผ่านมา
ไม่ ว่ า เป็ น การรบตามแบบ หรื อ การปฏิ บั ติ ก ารปู อ งกั น และ
ปราบปรามการก่อความไม่สงบ หรือแม้กระทั่ง การปฏิบัติการเพื่อ
สันติภาพ ได้กล่าวเกี่ยวกับค่านิยม, คุณลักษณะ และลักษณะผู้นา

๔-๓. ข้อสังเกตของทหารสะท้อนภาพให้เห็น ถึง ความสาคัญ ของ


ลักษณะผู้นาที่อยู่บนพื้นฐานของค่านิยมกองทัพบก มีการเชื่อมโยง
ระหว่างลักษณะของผู้นาและสิ่งที่ปฏิบัติโดยตรง ลักษณะผู้นา วินัย
และข้อ พิจารณาที่ดีทาให้ รองผู้บังคั บหมวด และพลประจ าอาวุ ธ
ดารงการยิงเพื่อกดดันให้ข้าศึกยอมแพ้ได้อย่างเหมาะสม เหตุผลที่ดี
และการพิจารณาทางจริยธรรมเป็นแนวทางในการตัดสินใจของรอง
ผู้บังคับหมวดที่จะปูองกันผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทา
การปกปูองรักษาค่านิยมกองทัพบก และมาตรฐานของปฏิบัติ การ

๔-๑
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ทางทหาร ในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและกล้าหาญ

๔-๔. ลักษณะผู้นามีความจาเป็นต่อความสาเร็จ ภารกิจ ซึ่งภาวะ


ผู้นา เป็นสิ่งที่ใช้ในการพิจารณาว่าบุคคลนี้เป็นใครและมีการกระทา
อย่างไร ซึ่งช่วยในการพิจารณาให้เห็นถึงสิ่งที่ถูกต้องจากสิ่งที่ผิดและ
เลือกทาในสิ่งที่ถูกต้อง ปัจจัยภายในและศูนย์กลางสาหรับผู้นาซึ่ง
ก่อให้เกิดหลักของผู้นาได้แก่
- ค่านิยมกองทัพบก
- ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น
- หัวใจนักรบ

ค่านิยมกองทัพบก
๔-๕. ทหารและข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมเข้ า รั บ ราชการใน
กองทัพบกด้วยค่านิยมส่วนบุคคลที่ได้รับการพัฒนามาแล้วในวัยเด็ก
รวมทั้ ง การอบรมเลี้ ย งดู สั่ง สมประสบการณ์ ม าเป็ น เวลาหลายปี
นอกจากการที่ได้ปฏิญาณตนเพื่อรับใช้ชาติ แล้วอีกสิ่งหนึ่งก็คือการ
ด าเนิ น ชี วิ ต และการปฏิ บั ติ ต ามค่ า นิ ย มใหม่ ซึ่ ง ก็ คื อ “ค่ า นิ ย ม
กองทัพบก” ซึ่ง ประกอบด้วยหลักการ มาตรฐาน และคุณภาพที่
ได้รับการพิจารณาแล้วว่ามีความสาคัญต่อความสาเร็จของผู้นาทาง
ทหาร เนื่ อ งด้ ว ยผู้ น าเหล่ า นี้ ก็ คื อ พื้ น ฐานที่ จ ะช่ ว ยให้ ท หารและ
ข้า ราชการพลเรื อ นกลาโหมประจ ากองทั พ บกตั ด สิ น ใจได้ อ ย่ า ง
ถูกต้องในสถานการณ์ใดๆ ก็ตาม

๔-๖. ค่านิยมกองทัพบกผูกรวมบรรดากาลังพลในกองทัพบกที่ไ ด้
อุทิศสัมพันธภาพไว้อย่างมั่นคงที่จะรับใช้ชาติและกองทัพบก อัน
ประยุกต์ใช้ได้กับทุกคน ทุกสถานการณ์ และที่ใดก็ตามในกองทัพบก

๔-๒
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่มีความไว้วางใจซึ่งกันและ
กัน และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน ทั้ง ปวงนี้ขึ้นอยู่กับว่ า
ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมทาให้ค่านิยมกองทัพบกเป็น
รูปธรรมขึ้นมาได้ดีเพียงใด

๔-๗. กองทัพบกตระหนักถึงค่านิยม ๗ ประการ ซึ่งต้องได้รับการ


พัฒนาให้กับบุคคลทุกคนในกองทัพบก เมื่ออ่านอักษรตัวแรกของ
ค่ า นิ ย มกองทั พ บกจะได้ รู ป แบบของค าย่ อ เป็ น ภาษาอั ง กฤษว่ า
“LDRSHIP” ได้แก่
- ความจงรักภักดี (Loyalty)
- หน้าที่ (Duty)
- ความเคารพ (Respect)
- การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยไม่ เ ห็ น แก่ ต นเ อง (Selfless
service)
- เกียรติยศ (Honor)
- ความซื่อสัตย์สุจริต (Integrity)
- ความกล้าหาญที่มีในตนเอง (Personal courage)

ความจงรักภักดี
๔-๘. ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมทุกคน ต้องสาบานตน
ด้วยคาปฏิญาณอันศักดิ์สิทธิ์ที่จะสนับสนุนและปกปูองรัฐธรรมนูญ
แห่ง ราชอาณาจั กรไทย ในขณะเดี ยวกัน ทหารและประชาชนก็ มี
หน้าที่ความรับผิดชอบตาม กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ไว้ดังนี้

๔-๓
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

มาตรา ๗๐
บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา ๗๑
บุคคลมีหน้าที่ปูองกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ
และปฏิบัติ ตามกฎหมาย

มาตรา ๗๗
รัฐต้อ งพิทัก ษ์รัก ษาไว้ ซึ่งสถาบัน พระมหากษัตริ ย์ เอกราช
อธิป ไตย และบูร ณภาพแห่ งเขตอานาจรัฐ และต้องจัดให้มีก าลั ง
ทหาร อาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ และเทคโนโลยี ที่ ทั นสมั ย จ าเป็ น และ
เพี ย งพอ เพื่ อพิ ทั ก ษ์ รัก ษาเอกราช อธิ ป ไตย ความมั่ น คงของรั ฐ
สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ด้ ว ยเหตุ นี้ ผ ลที่ ต ามมาก็ คื อ ผู้ น าในฐานะสมาชิ ก ของ
กองทั พ บกจึ ง มี ข้ อ ผู ก มั ด ที่ จ ะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ย่ า งเ ต็ ม ก าลั ง
ความสามารถ ด้วยความอดทน ซื่อสัตย์ และเสียสละ

๔-๙. พันธนาการของความจงรักภักดีนี้ไม่เพียงแต่รวมพืน้ ฐานทาง


กฎหมายของชาติและสถาบันเอาไว้แล้วยังรวมไปถึงทุกๆ หน่วยและ
องค์กรด้วย ณ ระดับหน่วยและระดับองค์กร ความจงรักภักดีเปรียบ
เป็นคามั่นสัญญาสองทางระหว่างผู้นาและผู้ใต้บังคับบัญชา

๔-๔
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

๔-๑๐. ความจงรั กภัก ดีของผู้ใ ต้บัง คับบั ญ ชาคือ ของขวัญ ที่ผู้น า


สมควรได้รับ ทั้งนี้ผู้นาจะได้รับความจงรักภักดี จากผู้ใต้บังคับบัญชา
ด้วยการฝึกอย่างดี ให้ความยุติธรรม และการดาเนินชีวิตโดยยึดถือ
ตามค่านิยมกองทัพบก ผู้นาที่มีความจงรักภักดีต่ อผู้ใต้บังคับบัญชา
คื อ ผู้ ที่ ไ ม่ เ คยปล่ อ ยให้ มี ก ารใช้ ท หารในทางที่ ผิ ด หรื อ ถู ก ข่ ม เหง
ผู้ใต้บังคับบัญชาที่เชื่อมั่นในตัวของผู้นาจะยืนหยัดอยู่เคียงข้างไม่ว่า
จะเผชิญกับสถานการณ์ที่ยุ่งยากเพียงใด

๔-๑๑. จากการวิจัยและข้อมูลทางประวัติศาสตร์เห็นว่าทหารและ
หน่วยต่อสู้เพื่ อกันและกัน ความจงรักภักดีไ ด้ผูกพันพวกเขาไว้
ด้วยกัน โดยเฉพาะในสนามรบด้วยแล้วพวกเขายิ่งมีความผูกพันกัน
อย่างแข็งแกร่งโดยปราศจากข้อกังขา ทั้งนี้ในยามปกติหน่วยที่ดีก็
สามารถสร้ า งความจงรั ก ภั ก ดี แ ละความไว้ วางใจได้ เ ช่ น เดี ย วใน
การรบที่มีประสบการณ์ในเรื่องความผูกพันซึ่งมีพลังอานาจมากที่สุด
ตัวอย่าง“ขุนพลแก้วปราบฮ่อ” ในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ซึ่งสมเด็จ
พระปิยะมหาราช ทรงแต่งตั้งให้ พ.อ.จมื่นไวยวรนาถ เป็นแม่ทัพ
ปราบฮ่อ ท่านขุนพลแก้วเคลื่อนทัพออกจากกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๓
พฤศจิกายน๒๔๒๘ ไปรวมพลปรับขบวน ณ เมืองหลวงพระบาง
เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์๒๔๒๙ ต่อจากนั้นได้เคลื่อนทัพเข้าไปใน
ดินแดนหัวพันทั้งห้าทั้งหก ทหารไทยเข้าโจมตีค่ายพวกฮ่อและรุก
ต่อไปจนถึงเมืองซ่อน พวกฮ่อพากันแตกหนีถอยเข้าไปในดินแดนสิบ
สองจุไทย ภู มิประเทศกัน ดาร ต้อ งผ่า นไปด้วยความลาบากแสน
สาหัส อากาศหนาวจัด ฝนตกหนัก ทหารไทยเจ็บ ปุว ยล้ม ตายลง
มากมาย แม้นายแพทย์ประจากองทัพเองก็ได้ล้มปุวยลงเช่นกัน

๔-๕
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

“...กองทัพที่ได้ยกขึ้นไปฉลองพระคุณคราวนี้ การที่จะต่อสู้
กับศัตรูหาใคร่วิตกไม่ วิตกอยู่แต่การเจ็บไข้เท่านั้นแม่ทัพได้ทอดชีวิต
และร่างกายแล้ว ถึงจะตายก็ไม่มีความวิตก ขอแต่ให้ได้ฉลองพระ
เดชพระคุณแผ่นดินให้ปรากฏแก่คนเท่านั้นไปราชการครั้งนี้ แม่ทัพ
คิดว่าถ้ารอดชีวิตกลับถึงกรุงเทพฯ ได้ก็ตามนึกว่าเกิดใหม่ ...แม่ทัพมี
ความเศร้าสลดใจที่ได้ยินเสียงคนปุวยอาเจียนและครางไม่หยุด เป็น
ที่ น่ า สั ง เวชใจเหลื อ ก าลั ง ต้ อ งช่ ว ยกั น พยาบาลทั้ ง กลางวั น และ
กลางคืน...”
ต่อ มาพวกฮ่ อ และพวกข่ าคงจะทราบว่า กองทั พหลวงที่
ตั้งอยู่ ณ เมืองซ่อนมีทหารเจ็บปุวยเกือบหมดกองทัพ จึง เข้าตีค่าย
ใหญ่ที่เมืองซ่อน สภาพวิกฤตของกองทัพไทยเกิดขึ้นทันที เวลานั้น
ไม่มีกาลัง พลที่จะต่อสู้ ท่านแม่ทัพขุนพลแก้ว จึงเกณฑ์พวกควาญ
ช้างและคนในกองโคเอามาแต่งกายเปูน ทหารและให้นาอาวุธของ
ทหารปุวยมาให้คนกองช้างและกองโคต่อสู้แทน ทหารปุวยทุกคนพา
กันคัดค้านไม่ยอม ทหารทุกคนร้องขอท่านแม่ทัพขุนพลแก้วจะขอ
ต่อสู้กับข้าศึกจนกว่าชีวิตจะหาไม่ ท่านแม่ทัพขุนพลแก้วจึงประกาศ
เจตจานงเด็ดเดี่ยวร่วมตายกับทหารทุกคนว่า
“...ฉันตั้งใจที่จะยอมสละชีวิตเป็นครั้งที่ ๑ ก่อนคนทั้งหลาย
เมื่อฉันตายแล้วคนในกองทัพจึงตายเป็นครั้งที่ ๒ ทาอย่างไรๆ เสีย
ฉันจะไม่ทิ้งกันเลย...”
ประกาศิตของท่านแม่ทัพขุนพลแก้วข้างต้นนี้ ช่วยสร้างให้
ขวัญและกาลังใจการต่อสู้ของนักรบไทยอยู่ในระดับสูงสุด หมดความ
เกรงกลัวต่อมัจจุราชที่ แลเห็นอยู่เบื้องหน้า ท่านขุนพลแก้วรวบรวม
กาลังพลได้ประมาณ ๒๐๐ คนเศษ ยกกาลังออกไปตั้งรบนอกค่าย
ใหญ่ กระสุ น ปื น ที่ ก องทั พ ไทยยิ ง ข้ า ค่ า ยข้ า ศึ ก ตกไปถู ก ภู เ ขา
เบื้องหลังค่ายฮ่อระเบิดอย่างรุ่นแรง พวกฮ่อเสียขวัญนึกว่ามีกองทัพ

๔-๖
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ไทยอีกกองหนึ่งยกเข้าโอบตีทางเบื้องหลังทหารไทย จึงยึดค่ายข้าศึก
ไว้ได้ด้วยความกล้าหาญ

๔-๑๒. ความจงรั กภักดี และความไว้ว างใจเป็น ส่วนผสมที่ สาคั ญ


อย่างยิ่งสาหรับการปฏิบัติการประจาวันให้ประสบความสาเร็จของ
ทุกองค์กรซึ่งโดยมากแล้วเป็นการผสมกันของ ทหาร และข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมประจ ากองทั พบก การส่ ง กาลัง บารุ ง และความ
ต้ อ งการทางการเมื อ งของสงครามสมั ย ใหม่ ไ ด้ เ พิ่ ม บทบาทของ
ข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมตามสั ญ ญาจ้ า ง อาทิ เ ช่ น พนั ก งาน
ราชการที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะทาง หรือ ตามที่กองทัพบก
ต้องการ การส่งเสริมของข้าราชการพลเรือนกลาโหมนี้มีความสาคัญ
ยิ่ง ต่ อความส าเร็จของภารกิ จจ านวนมากไม่ ว่า จะเป็นการปฏิบั ติ
หน้าที่ยังบ้านเกิด หรือถูกส่งไปสู่ยุทธบริเวณ ข้าราชการพลเรือน
กลาโหมมีค วามจงรัก ภักดีต่อเพื่ อนร่วมงานไม่ว่าจะเป็น หน่วยใน
กองทั พ บก หรื อ การส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง ไปกั บ ขบวนสั ม ภาระ การ
ซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐาน การบารุง รักษายุทโธปกรณ์ที่ซับซ้อน
และการสนับสนุนปฏิบัติการทางทหาร

๔-๑๓. การสร้างองค์กรให้เข้มแข็งและถักทอความผูกพันฉันท์พี่
น้อ งให้แ น่น แฟูน ยิ่ง ขึ้น เป็น สิ่ง ซึ่ง ทุก คนในหน่ว ยต้ อ งรวมความ
จงรั ก ภั ก ดี ข องผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา เพื่ อ นร่ ว มงาน
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมและทหารให้เป็นหนึ่ง เดียวกัน ความ
จงรักภักดีรวมเอาส่วนประกอบทั้งปวงของกองทัพบกเข้าไว้ด้วยกัน
รวมทั้งกองกาลังรักษาดินแดนและกาลัง สารอง ผู้ซึ่งแบกภาระใน
การแบ่ ง ส่ ว นของการให้ ค ามั่ น เชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ใ นระยะยาวของ
กองทัพบกที่มีการเติบโตเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ในขณะที่หลายๆ คนคิด

๔-๗
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ว่าผู้นาสามารถทาไปตามลาพังได้อย่างง่ายดาย แต่พันธนาการของ
ความจงรักภักดีก็ได้ขยายไปยังการปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ด้วย ซึ่งใน
ความเป็นจริง ของสมั ยใหม่นั้น สงครามหลายมิติ แสดงให้เห็นว่ า
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการปฏิบัติการร่วมเป็นสิ่งที่ทาให้ผลลัพธ์
ที่ได้จากการปฏิบัติภารกิจนั้นประสบความสาเร็จ

หน้าที่
๔-๑๔. ค าว่ า “หน้ า ที่ ” มี ค วามหมายเกิ น กว่ า ข้ อ บั ง คั บ ทาง
กฎหมาย ระเบียบ และคาสั่ง การเป็นมืออาชีพในงานได้นั้นไม่เพียง
ต้องได้มาตรฐาน และใช้ความพยายามที่ส อดคล้องกันอย่างเต็มขีด
ความสามารถในการทาให้ดีที่สุดแต่ต้องมุ่งมั่นทาในสิ่งที่ดีที่สุด ด้วย
ความเป็ น มื อ อาชี พ ผู้ น าของกองทั พ บกทุ ก ระดั บ จึ ง มี ค วาม
รับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบด้วยความเป็นเลิศ
ในทุกแง่มุม

๔-๑๖. ส่วนหนึ่งของการทาหน้าที่ให้สมบูรณ์ก็คือการใช้ความริเริ่ม
ซึ่งหมายถึงการคาดการณ์ได้ว่าจะทาสิ่งใดได้ก่อนที่จะมีคนมาบอก
ให้ทา ผู้นาทางทหารใช้ความริเริ่มเมื่อต้องการให้เป็นไปตามความมุ่ง
หมายของกิจต่างๆ และคาสั่งที่ได้รับ โดยที่กิจนี้ยังไม่สมบูรณ์จนกว่า
จะบรรลุผลลัพธ์ตามเจตนารมณ์ เมื่อผู้บังคับหมวดสั่งผู้บังคับหมู่ ให้
ตรวจอาวุ ธ ผู้ บั ง คั บ หมู่ ก็ เ พี ย งท าตามค าสั่ ง ตามหน้ า ที่ เ มื่ อ มี ก าร
ตรวจสอบ แต่หากเขาพบว่าอาวุธไม่สะอาด หรือปลดประจาการไป
แล้ว นั่นหมายถึงความสานึกในหน้าที่ได้ย้าเตือนให้เขาทามากกว่า
คาสั่งที่ไ ด้รับจากผู้บังคับหมวด การทาหน้าที่ให้สมบูรณ์ ผู้บังคับหมู่
ต้องแก้ปัญหาและมั่นใจว่าอาวุธทั้งหมดของหน่วยได้มาตรฐาน เมื่อ
ผู้นาแสดงความริเริ่มนั่นคือเขาพร้อมที่จะรับผิดชอบต่อการกระทา

๔-๘
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

และผู้ใต้บังคับบัญชาของเขา การทาด้วยความรู้สึกในด้านดีเป็น
คุณสมบัติของมนุษย์โดยหน้าที่ ซึ่งเป็นสิ่งที่อยู่ภายใน ทั้งนี้การทา
ด้วยความรู้สึกในด้ านดีหมายถึงการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีความ
รับผิดชอบสูง ที่ได้ทาเพื่อกองทัพ โดยการแสดงออกถึงการอุทิศ
ให้กับความทุ่มเท การจัดการอย่างเป็นระบบ ความละเอียดถี่ถ้วน
ความน่าเชื่อถือ และความเป็นนักปฏิบัติ นอกจากนี้ยัง ย้าเตือนให้
ผู้นาทาในสิ่งที่ถูกต้องไม่ว่าจะอ่อนล้าหรือรู้สึกท้อถอยเพียงใด

๔-๑๗. ในบางกรณีผู้นาต้องมีสานึกที่จะแย้งและชี้แจงเหตุผลที่จะ
ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ผู้นาต้องเลือกทาในสิ่ง
ที่ถูกต้องตามหลักกฎหมายและหลักจริยธรรมเสมอ

การแสดงความเคารพ
ปฏิบัติต่อผู้คนตามที่สมควร
๔-๑๘. วินัยสร้างทหารของประเทศให้มีความน่าเชื่อถือ ไว้วางใจได้
ทั้งในยามปกติและในสนามรบ วินัยมิใช่การได้มาด้วยวิธีการรุนแรง
หรือการกดขี่บังคับซึ่งเป็นการทาลายมากกว่าการสร้างการปลูกฝัง
วินัยควรใช้กระบวนการที่สุขุม สุภาพ แต่เข้มแข็ง หนักแน่น และ
ชัดเจน ทาให้รู้สึกอยากเชื่อฟัง สิ่งที่ควรทาก็คือ การบอกกล่าว และ
การใช้ คาสั่ งด้ ว ยท่ าทางและน้ าเสี ยงที่ เหมาะสมเพื่อ มิ ใ ห้ ก ระทบ
ความรู้สึกของทหารแต่ทาให้ เขารู้สึกอยากเชื่อฟัง ในทางตรงกัน
ข้ามการใช้ท่าทางและน้าเสียงที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความไม่พอใจ
และไม่ เ ชื่ อ ฟั ง ทั้ ง นี้ วิ ธี ก ารใดวิ ธี ก ารหนึ่ ง หรื อ วิ ธี ก ารใดๆ ที่
นามาใช้กับผู้ใต้บังคับบัญชาควรเป็นวิธีการที่มาจากใจที่บริสุทธิ์
ของผู้บังคับบัญชา นั่นหมายความถึง การคานึง ถึง ใจเขาใจเรา
นั่นเอง เพราะคนเราจะรู้สึกได้ถึงการเคารพที่มาจากคนที่ได้รับการ

๔-๙
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

กระตุ้นให้เขาพิจารณาตนเอง

๔-๑๙. ความเคารพในบุคคลคือพื้นฐานสาหรับ หลักนิติธรรม ซึ่ง


เป็นหลักสากลของกฎหมาย นั่นคือ แก่นที่กองทัพบก ยึดถือ การ
เคารพหมายถึงการปฏิบัติต่อผู้อื่นตามที่สมควร ค่านิยมนี้เป็นการ
กล่าวย้าว่า “คน” คือทรัพยากรที่สาคัญที่สุด และสิ่งนั้นก็มุ่งตรงไป
ที่การปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยการให้เกียรติและความเคารพ

๔-๒๐. จากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า ประเทศไทยเป็น


ประเทศที่มีความหลากหลายทางขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
และศาสนา ทาให้ผู้นาต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับผู้คนที่มีความแตกต่าง
ทางขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และศาสนามากยิ่งขึ้น ผู้นา
ทางทหารควรปูองกันความเข้าใจผิดอันเกิดจากความแตกต่าง ทั้ง
ต่อตนเองและผู้ใต้บังคับบัญชา สามารถช่วยได้โดยให้มีการเรียนรู้
เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และศาสนา ทั้งนี้เพื่อให้มี
การตอบสนองอย่ า งเร็ ว ในขนบธรรมเนี ย มประเพณี ท้ องถิ่ น และ
ศาสนา ผู้นาสามารถทาได้โดยการกาหนดนายทหารพี่เลี้ยง หรื อ
เป็ นพี่ เลี้ ยงที่ป รึ กษา การท าหน้า ที่ ครู ฝึก หรื อการให้ค าปรึก ษา
แนะนาเรื่องต่างๆ และการเป็นที่ปรึกษาทั่วไปให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
ซึ่งแสดงออกได้ด้วยการให้ความเคารพเมื่อ ต้องการเข้าใจถึงภูมิหลัง
มองเห็ นสิ่ง ต่ างๆ ได้จากทัศนะคติ และขนบธรรมเนียมประเพณี
ท้อ งถิ่ น และศาสนา อัน เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ผู้ ค นที่มี ค วามแตกต่ า งทาง
ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และศาสนา

๔-๒๑. ผู้ น าทางทหารควรดู แ ลบรรยากาศโดยรวมให้ มี ค วาม


สอดคล้ อ งกั น ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แ ละความเคารพ ค านึ ง ถึ ง

๔-๑๐
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ความแตกต่างทางขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น หรือความเชื่อ
ทางศาสนา ทั้งนี้การดูแลความสมดุลและบรรยากาศการทางานให้
ดูดีเริ่มด้วยการที่ผู้นาทาเป็นแบบอย่างที่ดี การที่ผู้นายึดถือค่านิยม
กองทัพบกในการดารงชีวิตเป็นการแสดงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้เห็น
ว่ า ควรประพฤติ ต นอย่ า งไร การสอนเรื่ อ งค่ า นิ ย มเป็ น ความ
รับผิดชอบสาคัญของผู้นาซึ่งเป็นการช่วยกันสร้างความเข้าใจร่วมกัน
ในเรื่องมาตรฐานของค่านิยมกองทัพบก

การทาหน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตนเอง
คานึงถึงประโยชน์ของชาติ กองทัพบก และผู้ใต้บังคับบัญชาก่อน
ประโยชน์ของตนเอง

๔-๒๒. คาที่กล่าวว่า ทหารคือ “ผู้รับใช้ชาติ” หมายถึง กาลังพลใน


กองทัพบกรับใช้ ประเทศชาติ การไม่เห็ นแก่ประโยชน์ส่ วนตนจึ ง
หมายถึ ง การกระทาในสิ่ ง ที่ถู ก ต้ อ งเพื่ อ ประเทศชาติ กองทั พ บก
องค์กร และผู้ใต้ผู้บังคับบัญชา โดยที่ความต้องการของกองทัพบก
และประเทศชาติต้องมาก่อนแต่ก็มิได้หมายความว่าให้เมินเฉยต่อ
ครอบครัวหรือตนเอง ในทางตรงกันข้ามการละเลยครอบครัวหรือ
ตนเอง ก็ทาให้ผู้นาอ่อนแอลงและยังเป็นอันตรายมากกว่าเป็นสิ่ง ดี
ต่อกองทัพบก

๔-๒๓. ความเป็นตัวของตัวเองที่แข็งแกร่งแต่ควบคุมได้ การเคารพ


ตนเอง และจุดมุ่งหมายที่สมบูรณ์สามารถนามาเปรียบได้กับการทา
หน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตนเอง ตราบใดที่ผู้นายังดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา
ด้ ว ยความยุ ติ ธ รรมและให้ ใ นสิ่ ง ที่ เ ขาสมควรจะได้ รั บ ผู้ น ารู้ ว่ า
กองทั พ บกไม่ สามารถท างานได้ โ ดยล าพั ง แต่ต้ อ งท างานกั น เป็ น

๔-๑๑
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

หน่วย ดังนั้นการนาหน่วยไปสู่ความเป็นเลิศ แต่ละคนต้องเลิกนึกถึง


ประโยชน์ส่วนตนเพื่อให้เป็นผลดีโดยรวม “เกิดมาใช่อื่น เพื่อผืนดิน
ไทย”

๔-๒๔. หากทหารไม่เห็นแก่ตนเอง ข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่


ทางานสนับ สนุนภารกิจ สาคัญ ของกองทั พบกก็ ควรแสดงออกถึ ง
ค่ า นิ ย มเดี ย วกั น เพื่ อ ท างานที่ ส าคั ญ เสริ ม ให้ กั บ ทหาร และการ
ปฏิบัติการ

๔-๒๕. การเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปี


พ.ศ.๒๕๕๔ ในสภาวะฉุ ก เฉิ น ดั ง กล่ า ว หน่ ว ยทหารที่ ม าจากทุ ก
กองทัพภาค ทุกหน่วยของกองทัพบกทางานช่วยสนับสนุนรัฐบาลที่
นาโดยฝุายพลเรือน และบรรดาอาสาสมัครโดยปราศจากความเห็น
แก่ตัวสิ่งนี้ไม่ได้มาด้วยความบังเอิญ เหตุการณ์ครั้งนี้ทาให้ทั้งทหาร
และพลเรือนได้ร่วมกันทางานเคียงบ่าเคียงไหล่กันเพื่อที่จะช่วยชีวิต
คน โดยในขณะนั้น พลเรือนและบรรดาอาสาสมัคร มั่นใจว่าการ
ปฏิบัติการสนับสนุนโดยฝุายทหารที่เป็ นการปฏิบัติก ารสาคัญ ทั่ ว
ประเทศนั้น เป็นการทาหน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตนเองของทหาร ตาม
คาสั่งของผู้บัญชาการทหารบก ที่หน่วยทหารมิได้สูญเสียการบังคับ
บัญชาตามปกติ “ทหารต้องเป็นที่พึ่งของประชาชนชาวไทยได้ในทุก
โอกาส”

๔-๒๖. ในการรบหรือภาวะฉุกเฉินต้องการความไม่เห็นแก่ตัวอั นไม่


จากัด โดยการรั บ บุค คลเข้ าท างานให้ แ ก่ก องทั พ บกเมื่อ มี ความ
ต้องการดังกล่าว ได้แก่ ผู้ที่เกษียณแล้วอาสาเมื่อมีการเรียกตัว กาลัง
พลสารองที่หมดเวลาที่บังคับให้ประจาการแล้ว ยังคงมาทางานให้

๔-๑๒
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ต่ อ และบรรดาพลเรื อ นที่ อ าสาเข้ า ไปท างานในเขตการรบเช่ น


อาสาสมัครทหารพราน หรือจากการเกิดอุทกภัยครั้ง ใหญ่ในเขต
กรุง เทพฯ และปริมณฑล ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ทหารกองประจ าการที่
หมดวาระการรับราชการยังคงอาสาที่จะปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่า
ประชาชนจะผ่านพ้นภาวะฉุกเฉิน

เกียรติยศ
การดารงชีพตามค่านิยมกองทัพบก
๔-๒๗. เกียรติยศทาให้กาลังพลทุกคนในกองทัพบกมีความรู้สึกผิด
และชอบในการประพฤติปฏิบัติ คนที่มีเกียรติ ย ศคือคนที่ดาเนิ น
ชีวิตโดยคาพูดและการกระทาที่ สอดคล้องกันกับ อุดมคติที่ดี การ
แสดงออกของ “บุคคลที่มีเกียรติยศ” หมายถึง คนที่มีลักษณะที่ทา
ให้คนในสังคมยอมรับและให้ความเคารพนับถือ

๔-๒๘. เกียรติยศเปรียบเสมือนกาวที่ ยึดค่านิยมกองทัพบกเข้าไว้


ด้ ว ยกั น โดยที่ ก าลั ง พลในกองทั พ บก ต้ อ งแสดงออกด้ ว ยความ
ต่อเนื่อง ด้วยเข้าใจว่าอะไรคือสิ่งที่ถูกต้อง ซึ่งจะเห็นได้จากความ
ภาคภูมิใจของคนในสังคมที่ยอมรับในชื่อเสียงนั้น การจัดพิธีทาง
ทหารในการประกาศถึงคุณความดีเป็นบุคคลหรือความสาเร็จของ
หน่วยเป็นการส่งเสริมและแสดงให้เห็นถึงการให้ความสาคัญในคาว่า
“เกียรติยศ”

ลักษณะผู้นา
๔-๒๙. ผู้นาทางทหารต้องแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจเกี่ยวกับการ
ดาเนินชีวิตด้วยความถูกต้องและความภาคภูมิใจต่อชื่อเสียงที่ได้รับ
การมีชีวิตอย่างมีเกียรติตามค่านิยมกองทัพบก อันเป็นแบบอย่าง

๔-๑๓
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ให้กับสมาชิกทุกคนในองค์กร และทาให้เกิดบรรยากาศ และขวัญ


กาลังใจที่ดีในการทางานภายในองค์กร

๔-๓๐. การทาหน้าที่และการปฏิบัติตนของผู้นาแสดงถึงตัวตนและ
การเป็นผู้นาของคนผู้นั้น เช่นเดียวกันกับการที่กองทัพบกบรรลุการ
ให้ ค ามั่ น ที่ มี ต่ อ ชาติ เ ป็ น การแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความเป็ น สถาบั น
กองทัพบก “เกียรติยศ คือ การยึดถือการปฏิบัติตามค่านิยมว่า
เหนื อ ผลประโยชน์ อาชี พ และความสบายแห่ ง ตน คื อ เพื่ อ
ประเทศชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน” สาหรับทหารแล้ว
ต้องวางค่านิยมกองทัพบกไว้เหนือการดารงรักษาตนเอง เกียรติยศ
ให้ ค วามแข็ ง แกร่ ง ของความตั้ ง ใจที่ จ ะด าเนิ น ชี วิ ต ด้ ว ยค่ า นิ ย ม
กองทัพบกโดยเฉพาะเมื่อยามที่เผชิญอันตราย ดังนั้นรางวัลสูง สุด
ของทหารอั นได้แก่เหรียญกล้าหาญชั้นสูงสุด จึงมิได้เกิดจากความ
บังเอิญ หากแต่ไ ด้ม าจากการที่ผู้ รับ กระท าการอัน สมควรได้รั บ
เกียรตินี้

ความซื่อสัตย์
๔-๓๑. ผู้นาที่มีความซื่อสัตย์จะยึดหลักการปฏิบัติให้สอดคล้องกับ
หลักการที่ชัดเจน ไม่เพียงเพื่อเฉพาะงานที่ทาอยู่ ณ ขณะนั้นเท่านั้น
กองทัพบกยังขึ้นอยู่กับผู้นาที่มีมาตรฐานศีลธรรมที่สูงส่ง และเป็นผู้
สัตย์ซื่อต่อถ้อยคาและการกระทา ผู้นาซื่อสัตย์ต่อผู้อื่นด้วยการไม่
เสนอตนเอง หรือกระทาการใดๆมากไปกว่าที่ตนเองเป็น และคงไว้
ซึ่งความรับผิดชอบต่อความจริง

๔-๓๒. ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงการที่ผู้นายึดมั่นต่อความเป็นจริง
ผู้นาที่มีความซื่อสัตย์จะรายงานผ่านสายการบังคับบัญ ชา หากไม่

๔-๑๔
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

สามารถบรรลุภารกิจที่ได้รับมอบ เช่นในกรณีที่ระดับความพร้อมรบ
ของหน่ วย เท่า กับ ๗๐ % ในขณะที่ ผู้บั ง คั บบั ญ ชาหน่ว ยเหนื อ
ต้ อ งก ารที่ ร ะ ดั บ ๙๐ % ผู้ น าที่ มี ค ว ามซื่ อ สั ต ย์ จ ะไ ม่ สั่ ง ให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาปรับให้ได้จานวนที่ต้องการ แต่เป็นหน้าที่ของผู้นาที่
จะรายงานข้อเท็จจริง และเลือกที่จะปฏิบัติด้วยเกียรติและความ
ซื่ อ สั ต ย์ ทั้ ง นี้ ก ารแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ประเด็ น ส าคั ญ และการเพิ่ ม
คุณภาพในที่สุดแล้วจะสามารถช่วยชีวิตของทหารได้

๔-๓๓. หากผู้นาส่งผ่านข้อมูลข่าวสารที่ บกพร่องไปโดยไม่ตั้ง ใจ ก็


ควรแก้ไขให้ถูก ต้องเท่าที่สามารถทาได้เมื่อพบความผิดพลาดนั้ น
ผู้นาที่มีความซื่อสัตย์ทาในสิ่งที่ถูกต้องมิใช่เพื่อความสะดวกสบายแต่
เพราะไม่ สามารถเลือ กทางเลือ กอื่นได้ และเส้นทางที่ เลือกได้คื อ
เส้นทางแห่งความจริง เท่านั้น นั่นเป็นด้วยลักษณะของภาวะผู้นา
ยินยอมให้ทาได้เพียงเท่านี้

๔-๓๔. การทาหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ประกอบด้วยองค์ประกอบ
มากกว่า ๑ อย่าง โดยที่องค์ประกอบเหล่านี้ขึ้นอยู่กับการที่ผู้นามี
ความเข้าใจซึ่งมีอยู่เป็นปกติวิสัยระหว่างถูกและผิด สมมติว่าผู้นา
สามารถแยกแยะความแตกต่างได้ เขาก็ควรแยกสิ่งที่ถูกออกจากสิ่ง
ที่ผิดได้ในทุกสถานการณ์ “สิ่งสาคัญคือผู้นาควรทาแต่สิ่งที่ถูกต้อง
เสมอ”แม้ว่าจะเป็นการลงทุนด้วยตนเอง

๔-๓๕. ผู้นาไม่สามารถซ่อนการกระทาได้ จึง ต้องตัดสินใจในการ


กระทาใดๆ อย่างระมัดระวัง ผู้นาทางทหารถูกนาไปยกเป็นตัวอย่าง
อยู่เสมอ เพราะการปลูกฝังค่านิยมกองทัพบกให้กับผู้อื่น ผู้นาต้อง
แสดงตนเป็นแบบอย่าง ค่านิยมส่วนบุคคลอาจมีนอกเหนือไปจาก

๔-๑๕
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ค่านิยมกองทัพบกได้ เช่นค่านิยมทางการเมือง ทางวัฒนธรรม หรือ


ความเชื่อทางศาสนา ทั้งนี้ในฐานะที่เป็นผู้นาทางทหาร หรือบุคคลที่
มีความซื่อสัตย์ ควรให้การสนับสนุนค่านิยมกองทัพบก และไม่ควรที่
จะขัดแย้ง

๔-๓๖. ความขั ด แย้ ง ระหว่ า งค่ า นิ ย มส่ ว นบุ ค คลกั บ ค่ า นิ ย ม


กองทัพ บกควรได้ รั บ การแก้ ไ ขก่อ นที่ผู้ น าคนนั้ นจะเป็น ผู้ นาทาง
ทหารอย่ า งสมบู ร ณ์ หากมี ข้ อ กั ง ขา ผู้ น าควรปรึ ก ษากั บ ผู้ ใ ห้
คาปรึก ษาเฉพาะทางด้ว ยความเคารพต่อ คุณค่ าและคาปรึก ษาที่
ได้รับ

ความกล้าหาญในตนเอง
๔-๓๗. ความกล้ า หาญของคนเราไม่ ไ ร้ ซึ่ ง ความกลั ว หากเป็ น
ความสามารถในการเก็บความกลัวไว้แล้วทาในสิ่งที่จาเป็นต้องทา
ซึ่งมีอยู่ ๒ รูปแบบ คือ ทางกายและทางใจ โดยที่ผู้นาต้องสามารถ
แสดงออกได้ทั้ง ๒ รูปแบบ

๔-๓๘. ความกล้ า หาญที่ แ สดงออกทางร่ า งกาย ได้ แ ก่ เอาชนะ


ความกลัวในยามที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวดในขณะปฏิบัติหน้าที่
นั่น เป็ นการแสดงถึ ง ความกล้า หาญซึ่ ง ท าให้ ท หารกล้ า ที่ จะเสี่ ย ง
ออกไปทาการรบถึงแม้จะหวาดกลัวการบาดเจ็บหรือแม้กระทั่งกลัว
ความตาย

๔-๓๙. ความกล้าหาญที่เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบชั่วดีเป็นความ
ตั้งใจที่จะยืนหยัดอย่างมั่นคงในค่านิยม หลักการ และความเชื่อมั่น
สิ่งเหล่านี้เองที่ทาให้ผู้นาตั้งอยู่บนความเชื่อที่ถูกต้องโดยไม่ต้อง

๔-๑๖
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

คานึงถึงผลที่ตามมา เนื่องจากเขาต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการ
ตัดสินใจและการกระทาเพื่อแสดงถึงความกล้าที่จะรับผิดชอบ
ถึงแม้ว่าเป็นการกระทาที่ผิดพลาดก็ตาม
“ข้าพเจ้า ขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว”

๔-๔๐. การแสดงออกของผู้นาระดับสูงสุด จะเป็นผู้นาซึ่งแสดงถึง


ความกล้าที่จะรับผิดชอบอันยิ่ งใหญ่ ในระหว่างที่เขาปฏิบัติหน้าที่
แสดงให้เห็นถึงความกล้าหาญ

๔-๔๑. ความกล้ า ที่ จ ะรั บ ผิ ด ชอบยั ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความ


ตรงไปตรงมา ซึ่งหมายถึงความเป็นคนเปิดเผย ซื่อสัตย์ และจริงใจ
ต่อ ผู้อื่ น รวมทั้ง ต้อ งเป็ นคนที่ ปราศจากความล าเอีย ง อคติ หรื อ
ความมุ่งร้ายพยาบาทต่อผู้อื่ น เมื่อรู้สึกว่าไม่สบายใจ หรืออาจจะ
ดีกว่าหากจะอยู่เงียบๆ

๔-๔๒. กรณี ตั ว อย่ า งของการเป็ น คนตรงไปตรงมา อาทิ เ ช่ น ผู้


บังคับกองร้อยค่อยๆ อธิบายให้สิบเอกคนหนึ่งว่าทหารคนหนึ่งควร
ได้รับการลงโทษในระดับต่ากว่า ถึงแม้ว่าสิบเอกคนนั้นจะยืนยันโดย
ชี้ ป ระเด็ น ว่ า ผู้ บั ง คั บ กองร้ อ ย กระท าเกิ น ไปส าหรั บ การสั่ ง การ
ปรนนิบัติบารุงให้กับทั้งกองร้อยในวันหยุดสุดสัปดาห์ เนื่องจากมีผู้
หมว ดคน หนึ่ ง ไม่ ผ่ า น การตร วจสอบ อี ก ประ การหนึ่ ง คื อ
คว าม สั ม พั น ธ์ ที่ เ กี่ ย ว กั บ ค ว ามไ ว้ ว า ง ใจ ร ะ หว่ าง ผู้ น ากั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชาขึ้นอยู่กับความตรงไปตรงมา หากไม่มี การสั่งการ
ปร น นิ บั ติ บ า รุ ง ใ ห้ กั บ ทั้ ง ก อ ง ร้ อ ย ใ น วั น ห ยุ ด สุ ด สั ป ด า ห์
ผู้ใต้บังคับบัญชาจะทราบว่าถ้าพวกเขาทางานไม่ไ ด้มาตรฐานแล้ว
อะไรจะเกิดขึ้นกับทุกคนในหน่วย

๔-๑๗
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น
๔-๔๓. ผู้นาทางทหารมักแสดงนิสัยชอบที่จะแบ่งปันประสบการณ์
กั บ บุ ค ลากรในหน่ ว ย เมื่ อ มี ก ารวางแผนและการตั ด สิ น ใจก็ จ ะ
พยายามแสดงภาพที่มีอยู่ในใจที่มีผลต่อทหารและผู้ใต้บังคับบัญชา
นอกจากนี้ยัง มีความสามารถในการมองเห็นในสิ่งที่ผู้อื่นไม่เห็นได้
จากแง่คิดของคนอื่นๆ โดยสามารถชี้ให้เห็นได้ และเข้าใจถึงอารมณ์
และความรู้สึก ทาให้สามารถเอาใจใส่ผู้อื่น ซึ่งได้แก่ ข้าราชการพล
เรือนกลาโหม ทหาร พร้อมทั้งครอบครัวของเขา

๔-๔๔. ผู้นาใช้ความรู้และความสามารถในการเข้าใจทหารโดยทา
การฝึก การปรนนิบัติบารุง ยุทโธปกรณ์ และสนับสนุนในสิ่ง ที่เขา
ต้องการ เพื่อที่จะรักษาชีวิตของทหารในการรบและบรรลุภารกิ จ ใน
ยามสงคราม ในการปฏิบัติภารกิจที่ยากลาบาก ผู้นาที่มีความเข้าใจ
จะร่วมทุกข์ยากกับกาลังพลเพื่อประเมินว่าแผนและการตัดสินใจนั้น
อยู่บนสภาพความเป็นจริง ผู้นาที่มีความรู้และความสามารถในการ
เข้ า ใจผู้ อื่ น ยั ง ตระหนั ก ถึ ง ความจ าเป็ น ในการจั ด ให้ ท หารและ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหม มีความสุขสบาย และใช้เวลาที่เหลือใน
การบารุงขวัญและคงภารกิจให้เป็นผลอย่างแท้จริง เมื่อ กาลังพลใน
หน่วยได้รับความทุกข์ทรมานจากการบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต ผู้นาที่มี
ความเข้าใจผู้อื่นจะสามารถช่วยบรรเทาความเจ็บปวดและความ
ทุกข์ใจที่เกิดขึ้นในหน่วยเพื่อทาให้หน่วยมีความพร้อมปฏิบัติหน้าที่
ให้เร็วที่สุดเท่าที่ทาได้

๔-๔๕. ผู้นายุคใหม่ยังตระหนักด้วยว่าความสามารถในการเข้าใจ
ผู้อื่น นั้นรวมถึงการถนอมความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างกาลังพล
ของกองทัพ บกกับ บรรดาครอบครัว ผู้ นากองทั พบกในทุ กระดั บ

๔-๑๘
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ช่วยเหลือครอบครัวให้มีความพอเพียงและมีพลานามัยที่ดี เพื่อสร้าง
กองก าลั ง ที่ มี ค วามพร้ อ ม และเข้ ม แข็ ง ทั้ ง นี้ ก ารท าความเข้ า ใจ
ครอบครั ว ยั ง รวมถึ ง การให้ เ วลาในการฟื้ น ฟู ห ลัง จากที่ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ
ภารกิ จ อั น หนั ก หน่ ว ง ให้ ก ารปกปู อ งในห้ ว งเวลาที่ ต้ อ งห่ า งจาก
หัวหน้าครอบครัว ผู้นาอาจจะอนุญาตให้มีการนัดหมายได้ในกรณี
สาคัญ และสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และการ
สร้างกลุ่มของครอบครัว

๔-๔๖. ความต้องการให้ผู้นามีความเข้าใจในผู้อื่นนี้ยัง ขยายไปยัง


ข้าราชการพลเรือนกลาโหม ทหาร และครอบครัวของทหารภายใน
สภาพแวดล้อมของหน่วยขนาดใหญ่ ผู้นาที่มีความเข้าใจผู้อื่นอาจ
ช่วยได้เมื่อต้องทางานกับประชาชนในท้องถิ่นและพวกเชลยศึก การ
จั ด สิ่ ง ที่ มี ค วามจ าเป็ น ต่ อ ชี วิ ต ให้ กั บ ประชาชนท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่
ปฏิบั ติก าร อาจท าให้คนที่เ ป็น ฝุายตรงข้ ามเปลี่ ยนใจมาให้ค วาม
ร่วมมือกับฝุายเราได้ “วิธีดีที่สุด ที่นามาซึ่งชัยชนะอย่างถาวรคือ
ทาให้ศัตรูกลายเป็นมิตร”

หัวใจนักรบ
๔-๔๗. ความจาเป็นสาหรับการมี หัวใจนักรบ โดยเน้นให้เป็นแบบ
เดียวกันทั่วทั้งกองทัพบก ทุกองค์กรมีวัฒนธรรมภายในองค์กรและมี
ลัก ษณะพื้ น ฐานของตั ว เอง ลั ก ษณะพื้ น ฐานนั ก รบที่ แ ท้ จ ริ ง ต้ อ ง
ยึดถือตามค่านิยมและแบบธรรมเนียมของกองทัพบก ทหารอบรม
จิตใจให้มีหั วใจนั กรบที่ ฝังลึ ก ตามหลักจรรยาด้ วยการแสดงอย่า ง
ชัดเจนต่อการให้คามั่นซึ่งไม่เปลี่ยนแปลง นั่นคือการปฏิบัติหน้าที่
เพื่อชาติ เมื่อกล่าวถึงกองทัพบกจะหมายรวมถึงหัวใจนักรบนี้ด้วย
เสมอแต่ความจาเป็นของการแปรสภาพต้องการความพยายามที่จะ

๔-๑๙
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

มั่นใจได้ว่าทหารทุกนายเข้าใจอย่างแท้จริงและทาให้หั วใจนักรบ
ปรากฏเป็นรูปธรรม

๔-๔๘. หั ว ใจนั ก รบกล่ า วถึ ง ความเชื่ อ และทั ศ นคติ ใ นวิ ช าชี พ ซึ่ ง
อธิ บ ายถึ ง ลั ก ษณะของทหาร โดยย้ าให้ เ ห็ น ถึ ง การรั บ รู้ เ กี่ ย วกั บ
ข้อกาหนดและสะท้อนให้เห็นความรับผิดชอบโดยไม่คานึงถึงตนเอง
ของทหารที่มีต่อชาติ ภารกิจ หน่วย และเพื่อนทหารด้วยกัน หัวใจ
นักรบได้รับการพัฒนาและดารงไว้ได้ด้วย วินัย การให้คามั่นที่มีต่อ
ค่านิยมกองทัพบก และความภาคภูมิใจที่มีต่อสิ่งที่สืบทอดกันมาของ
กองทัพบก ซึ่ง ดาเนินอยู่ได้ด้วยทหารและการอุทิศตนของบรรดา
ข้าราชการพลเรือนกลาโหม หัวใจนักรบที่แข็งแกร่งคือ พื้นฐาน
สาหรับจิตวิญญาณในการเอาชนะซึ่งซึมซาบอยู่ทั่วทั้งกองทัพบก

๔-๔๙. กองทั พ บก ได้ ร วบรวมหั ว ใจนั ก รบซึ่ ง ก าหนดไว้ ใ นหลั ก


ศรัทธาของทหารดังแสดงในภาพ ๔ – ๑

๔-๕๐. “หัวใจนักรบ” เปรียบเสมือนเชื้อเพลิงที่ทาให้เกิดความฮึก


เหิมที่จะต่อสู้ ไม่ว่าจะใช้เวลาหรือความพยายามมากเท่าใด เป็นสิ่งที่
ท าให้ ก ล้ า ตั ด สิ น ใจที่ จ ะเสี่ ย งชี วิ ต ท าให้ ค งไว้ ซึ่ ง ความตั้ ง ใจที่ จ ะ
เอาชนะในสถานการณ์ที่สิ้นหวังทั้ง ๆ ที่ไม่เห็นว่าจะดีขึ้น เป็นแรง
บั น ดาลใจในเวลาที่ รู้ สึ ก ทุ ก ข์ ย ากอย่ า งสาหั สเมื่ อ ห่ า งบ้ า นและ
ครอบครัว ทหารผู้ซึ่งกระโดดฝุาเข้าไปท่ามกลางระเบิดเพื่อเข้าไป
ช่วยเพื่อนนั้นเป็นความกล้าหาญที่ไม่ต้องมีคาถาม การกระทาเช่นนี้
ต้อ งการความกล้ า ทั้ ง ทางกายและใจ หากการต่ อ สู้ ต้ อ งยื ด เวลา
ออกไปด้ว ยการเคลื่อนกาลั งเข้ าไปครั้ง แล้ว ครั้ง เล่า ผู้ด ารงความ
มุ่งมั่นให้ได้ชัยชนะต้องการความกล้าหาญเป็นอย่างมากหัวใจนักรบ

๔-๒๐
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

เป็นมากกว่าผู้ที่มีความพากเพียรในการรบ หรืออาจเรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่า “ทหารมืออาชีพ”

ข้า คือนักรบและเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพบก
ข้า ปฏิบัติหน้าที่เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์และประชาชน
ข้า ดาเนินชีวิตตามค่านิยมกองทัพบก
ข้า คานึงถึงภารกิจเหนือสิ่งอื่นใด
ข้า ไม่ยอมรับความพ่ายแพ้
ข้า ไม่ยอมเลิก
ข้า ไม่ทิ้งเพื่อนทหารไว้ข้างหลัง
ข้า เป็นผู้ได้รับการฝึกให้มีวินัย ฝึกกายใจให้แข็งแกร่ง ฝึกฝนจนมี
ความชานาญในกิจและทักษะของนักรบ
ข้า รักษาไว้ซึ่งอาวุธ ยุทโธปกรณ์
และตัวข้าเอง
ข้า พร้อมไปวางกาลัง เข้าปะทะ ทาลายข้าศึกของประเทศ ด้วยการ
รบประชิด
ข้า คือผู้พิทักษ์อิสระ ส่งเสริมวิถีชีวิตเสรี
ของปวงชน
ข้าคือ ทหารมืออาชีพ

ภาพ ๔- ๑ หลักศรัทธาของทหาร

๔-๕๑. การปฏิบัติของทหารที่ต่อสู้ด้วยความกล้าหาญในสมรภูมิ
ต่ า งๆที่ ผ่ า นมาเป็ น ตั ว อย่ า งความส าคั ญ ของหั ว ใจนั ก รบของ
กองทัพบก การพัฒนาวินัย การให้คามั่นที่มีต่อค่านิยมกองทัพบก
และความรับรู้แห่งมรดกที่น่าภาคภูมิใจของกองทัพบก หัวใจนักรบ

๔-๒๑
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

สิ่งเหล่านี้ทาให้การรับราชการของกองทัพบกมีความชัดเจนขึ้น นั่น
คือเป็นการปฏิบัติ หน้า ที่ ที่ เป็น มากกว่า เพีย งการทางาน แต่ เป็ น
ความรับผิดชอบทั้งปวงของนักรบ ซึ่งเป็นความศรัทธาในตนเองของ
ทหาร และเพื่อนทหารที่ทาให้ก องทัพบกเป็นที่เชื่อถือเสมอในยาม
ปกติ และสามารถเอาชนะได้ในยามสงคราม ความเป็นนักรบทาให้
ฝุาฟัน จนได้ ชัยชนะ หัว ใจนัก รบทาให้มีสติท่ามกลางความสับสน
อลหม่ านในสนามรบ ทาให้จิต ใจของผู้ นาและผู้ ใต้บั ง คับ บัญ ชา
เอาชนะความกลัว ความหิว การถูกตัดสิทธิหรือถูกถอดยศ และ
ความเหน็ดเหนื่อย กองทัพบกเอาชนะทุกอุปสรรคได้ด้วยความมุ่ง
หมายของหัวใจนักรบ และการต่อสู้อย่างหนัก ทหารสามารถต่อสู้
อย่ า งหนั ก ได้ เ พราะได้ รั บ การฝึก มาอย่ า งหนั ก การฝึ ก หนั ก เป็ น
หนทางในการเอาชนะด้วยการลงทุนต่าสุดที่มนุษย์จะสละให้ได้
“ ฝึก อย่า งที่จ ะรบ เมื่อ รบต้ องชนะ” และนี่คือความสาคั ญ ของ
หัวใจนักรบ

๔-๕๒. หัวใจนักรบ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของลักษณะผู้นา เป็น


การวางแนวทางและนาทางในสิ่งที่ทหารทา ซึ่งเชื่อมโยงกับค่านิยม
กองทัพบก อันได้แก่ ความกล้าหาญของบุคคล ความภักดีต่อเพื่อน
ทหาร การอุทิศตนต่อหน้าที่ ในระหว่ างสงครามเกาหลี สงคราม
เวียดนาม การปูองกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบในอดีต ได้
มีผู้นาแสดงออกถึงหัวใจนักรบและข้อผูกมัดทางประเพณี ด้วยหัวใจ
ของนักรบซึ่งมีอานุภาพมากกว่าการที่มียศอยู่บนบ่าเพื่อใช้ในการนา
ทหารของเขา “ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน ทุกอย่างสาเร็จด้วย
ใจ”
๔-๕๓. การมีหัวใจนักรบต้องใช้การพิจารณาอย่างต่อเนื่อง โดยให้มี
ความสอดคล้ อ งกั น เพื่ อ ที่ จ ะท าในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งและท าด้ ว ยความ

๔-๒๒
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ภาคภู มิ ใ จอั น เหนื อ ความขั ด แย้ ง ใดๆ การเข้ า ใจว่ า อะไรคื อ สิ่ ง ที่
ถู ก ต้ อ งคื อ การให้ ค วามเคารพต่ อ เพื่ อ นทหาร และคนทุ ก คนที่
เกี่ ย วข้ อ งกั บ ภารกิ จ ที่ ซั บ ซ้ อ น เช่ น การปฏิ บั ติ ก ารเกี่ ย วกั บ
เสถียรภาพ และการปรับโครงสร้าง สิ่งที่ใช้ทดสอบความเที่ยงธรรม
และวิ นัย ของผู้น าได้อี ก เช่ น การใช้ ก าลัง รุ น แรง หรือ ไม่ ใช้ ก าลั ง
รุนแรงในสถานการณ์คลุมเครือ ทั้งนี้การมีหัวใจนักรบจะช่วยให้เกิด
การสร้างคามั่นที่จะเอาชนะสงครามด้วยเกียรติยศของสุภาพบุรุษ
การมีหัวใจนักรบทาให้เกิด“ผู้นา สุภาพบุรุษ”

๔-๕๔. หัวใจนักรบ เป็นสิ่งที่สาคัญแต่ก็ไม่ยืนยาว ผลที่ตามมาก็


คือกองทัพบกต้องดารงไว้ซึ่งพัฒนา และคงความต่อเนื่อง อย่างเช่น
หลักจรรยาที่เกี่ยวกับสงครามเชื่อมโยงนักรบไทยในปัจจุบันกับผู้ซึ่ง
เสียสละที่จะรักษาไว้ซึ่งความคงอยู่ของคนในชาติ ตั้งแต่การประกาศ
เอกราชเป็น ความเป็นไทย ความต่อเนื่องนี่เองทาให้ ประเทศไทย
เป็นหนึ่งในการได้ชัยชนะต่อศัตรู คงไว้ซึ่งการทาให้บรรลุภารกิจ ทา
ในสิ่งที่มากกว่าการอนุรักษ์วัฒนธรรมของกองทัพบก ซึ่งรักษาไว้ซึ่ง
ความเป็นชาติ “ข้าพระพุทธเจ้า จักรักษามรดกของพระองค์ ท่านไว้
ด้วยชีวิต”
๔-๕๕. การกระทาซึ่งปกปูองและคงไว้ซึ่งความเป็นชาติเกิดขึ้นทุก
หนทุกแห่งที่มีทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมซึ่งเป็นกาลังพล
ของกองทัพ บก การที่ไ ม่รู้ จัก เหน็ด เหนื่อ ยนี้ มาจากส่ วนหนึ่ ง ของ
ความสามัคคีซึ่งมาจากหัวใจนักรบ ทหารต่อสู้เพื่อกันและกันโดย
ความภั ก ดี จากข้ า งหลั ง ไปข้ า งหน้ า และจากซ้ า ยไปขวา การ
สนับ สนุน ซึ่งกั นและกัน นี้เป็ นการกาหนดลักษณะของวั ฒนธรรม
กองทัพบกซึ่งนาเสนอได้โดยไม่ต้องคานึงถึงเวลาหรือสถานที่ “เรา
จะไม่ทอดทิ้งกัน”

๔-๒๓
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

การพัฒนาลักษณะผู้นา
๔-๕๖. ผู้ ที่ เ ข้ า รั บ ราชการในกองทั พ บกในฐานะทหารและ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมในสังกัดกองทัพบกด้วยอุปนิสัย เดิม ซึ่ง
ขัดเกลามาจากภูมิหลัง ความเชื่อ การศึกษา และประสบการณ์ งาน
ของผู้นาทางทหารจะง่ายขึ้นหากเพียงมีการตรวจสอบค่านิยมส่วน
บุคคลของสมาชิกในหน่วยที่มีต่อค่านิยมกองทัพบก และพัฒนาแผน
ง่ายๆ ในการทาให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ทั้งที่ในความจริงนั้นมี
ความแตกต่างกันมาก การเป็นผู้ที่มีนิสัยดีและเป็นผู้นาที่มีนิสัยดีเป็น
กระบวนการรับราชการที่ยาวนานซึ่งเกี่ยวข้องกับประสบการณ์วัน
ต่อวัน การศึกษา การพัฒนาตนเอง การให้คาปรึกษาที่มีการพัฒนา
การทาหน้าที่เป็นครูฝึก และการเป็นนายทหารพี่เลี้ย ง คนทุกคนมี
ความรั บ ผิ ด ชอบในการพั ฒ นาอุ ป นิ สั ย ของ ตนเอง โดยที่ ผู้ น า
รับผิดชอบในการส่ง เสริม สนับสนุน และประเมินความทุ่มเทของ
ผู้ใต้บังคับบัญชา การเป็นผู้นาเกี่ยวกับอุปนิสัยสามารถทาได้โดยผ่าน
การศึกษา การไตร่ตรอง ประสบการณ์ และการตอบสนอง ผู้นามัก
ยึ ด ถื อ ตนเองและต้ อ งการให้ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชามี ม าตรฐานสู ง สุ ด
มาตรฐานและค่า นิย มเหล่ านี้ จะแพร่ กระจายไปใน หน่ วย หรื อ
องค์กร และทั่วทั้งกองทัพบกในที่สุด

๔-๕๗. การทาในสิ่งที่ถูกต้องเป็นสิ่งที่ดี แต่การทาในสิ่งที่ถูกต้อง


เพื่อเหตุผลและเป้าหมายที่ถูกต้องเป็นสิ่งที่ดีกว่า คนที่มีอุปนิสัยดี
ต้องปรารถนาที่จะทาสิ่งใดๆ ด้วยหลักจริยธรรม ความรับผิดชอบ
พื้นฐานของผู้นาประการหนึ่งคือการรักษาไว้ซึ่งการประพฤติตาม
หลักจริยธรรมไปพร้อมๆ กับสนับสนุนการพัฒนาลักษณะนิสัย โดย
ที่ บ รรยากาศเชิ ง จริ ย ธรรมขององค์ ก รเป็ น สิ่ ง ที่ เ พาะบ่ ม ความ
ประพฤติ ท างด้ า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ความตั้ ง ใจของคน เวลา

๔-๒๔
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ความคิด ความรู้สึก และปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรม หล่อหลอมให้


พ ว ก เ ข า มี อุ ป นิ สั ย ที่ ดี อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก ลั ก ษ ณ ะ ภ า ย ใ น
“สภาพแวดล้อม ทาให้ภาพลักษณ์ทหารเปลี่ยนแปลงไป ”

ลักษณะผู้นา และความเชื่อ
๔-๕๘. ความเชื่ อ เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ เพราะช่ ว ยให้ ค นเข้ า ใจถึ ง
ประสบการณ์ ซึ่งทาให้มีจุดเริ่มต้นในการปฏิบัติประจาวัน
ความเชื่อเป็นความมั่นใจในการยึดถือความจริง
ค่านิยมเป็นสิ่งเฉพาะส่วนบุคคลที่อยู่ในส่วนลึกซึ่งก่อให้เกิด
ความประพฤติส่วนบุคคล
ทั้ง ความเชื่อ และค่านิยมนี้เปรีย บเป็นหลักสาคัญ ของอุปนิสัย “จง
เชื่อมั่นในผู้บังคับบัญชา”

๔-๕๙. ผู้นาทางทหารควรตระหนักถึงบทบาทของความเชื่อในการ
เตรียมทหารเข้าสู่สนามรบ ทหารมักต้ องทาการต่อ สู้อยู่บ่ อยครั้ ง
และเอาชนะ โอกาสความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ต่างๆ เมื่ อ
มั่น ใจในความเชื่อสาหรับสิ่งที่เข้ าทาการต่อสู้ การนาทหารเข้าทา
การรบด้วยความเชื่ อในความยุติธรรม อิสระ และเสรีภาพจึง เป็น
ส่วนผสมสาคัญในการสร้างและรักษาไว้ซึ่งความตั้งใจที่จะต่อสู้และ
การเอาชนะ รวมทั้งหัวใจนักรบก็เป็นอีกประการหนึ่งของความเชื่อ
ในลักษณะแบบเดียวกันนี้

๔-๖๐. ความเชื่ อ เป็ นสิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ มาจากการเลี้ ย งดู อ บรมสั่ ง สอน


วัฒนธรรม ภู มิหลังทางศาสนา และประเพณี ด้วยเหตุนี้ความเชื่อ
ทางศี ลธรรมที่ แตกต่ าง สืบ เนื่ องมาจากศาสนาและประเพณีซึ่ ง
เกี่ยวกับปรัชญา ผู้นาทางทหารรับใช้ชาติด้วยการปกปูองหลักการ

๔-๒๕
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

พื้นฐาน ซึ่งคนมีอิสระในการเลือกที่จะเชื่อ อย่างเช่น ความแข็งแกร่ง


ของประเทศไทย ก็ได้รับประโยชน์มาจากความแตกต่างเหล่านี้ ผู้นา
ที่มีประสิทธิภาพระมัดระวังที่จะทาสิ่งที่ขัดต่อความเชื่อของผู้อื่นโดย
การออกคาสั่ง หรือการส่งเสริมที่ผิดกฎหมาย หรือการกระทาที่ไ ร้
หลักจริยธรรม

๔-๖๑. รัฐธรรมนูญของประเทศสะท้อนให้เห็นถึงหลักการพื้นฐาน
ของชาติ หนึ่งในหลักการนี้คือการรั บรองความเป็นอิสระในการนับ
ถือศาสนา กองทัพบกได้บรรจุค่านิยมไว้ในสิทธิ์ของทหารที่จะปฏิบัติ
ตามหลักคาสอนของศาสนาที่ทหารเคารพซึ่งแตกต่างกันไปตามภูมิ
หลังของความรู้สึกผิดและชอบรวมทั้งการตัดสินส่วนบุคคล ในขณะ
ที่ความเชื่อและการปฏิบัติทางศาสนายังคงเป็นการตัดสิน ใจของ
ความรู้สึกผิดชอบของแต่ละบุคคล ผู้นาทางทหารมีหน้าที่รับผิดชอบ
ในการท าให้ ทหารและข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมมั่ น ใจได้ ว่ า มี
โอกาสที่ จ ะปฏิบั ติต ามค าสอนในศาสนาของตน ผู้ บั ง คั บบั ญ ชามี
หน้าที่ทาให้เป็นไปตามระเบียบมักจะอนุมัติการร้องขอที่เอื้ออานวย
ต่อการปฏิบัติทางศาสนา เว้นแต่ว่าการปฏิบัตินั้นจะมีผลกระทบต่อ
ความพร้อ มของหน่ว ย ความพร้อ มของบุ คคล ความสามั คคี ของ
หน่วย ขวัญ วินัย ความปลอดภัย และ/หรือสุขภาพ ด้วยเหตุนี้จึงไม่
มีผู้นาคนใดใช้อานาจบังคับ หรื อทาให้ผู้ใต้บังคับบัญ ชาลาบากใจ
ด้วยการอ้างอิงถึงเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา อนุศาสนาจารย์ ทาหน้าที่
เป็นฝุายอานวยการทางด้านศาสนาซึ่งได้รับการฝึกมาเป็นพิเศษและ
มีความรับผิดชอบเฉพาะในการให้ความมั่นใจขณะทาการฝึก รวมทั้ง
ให้คาแนะนาและคอยช่วยเหลือให้กับ ผู้นาทางทหารทุกระดับชั้ น
“สร้ า งนั ก รบด้ ว ยการฝึ ก สร้ า งขุ น ศึ ก ด้ ว ยการศึ ก ษา สร้ า ง
ผู้บังคับบัญชาด้วยคุณธรรม”

๔-๒๖
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

๔-๖๒. เชลยศึกไทยสมัยสงครามเกาหลี และสงครามเวียดนามได้


แสดงถึงสาระสาคัญของความเชื่อที่ได้รับการปลูกฝังจากวัฒนธรรม
ซึ่งช่วยให้พวกเขาทนทานต่อความยากลาบากของการถูกกักขัง

ลักษณะผู้นา และจริยธรรม
๔-๖๓. ค่านิยมซึ่งกองทัพบกรวบรวมมาจากการยึดมั่นต่อหลักการ
อั น เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ต่ อ การส่ ง เสริ ม มาตรฐานความประพฤติ ใ นเชิ ง
จริยธรรมขั้นสูง เนื่องจากความประพฤติอันไร้จ ริยธรรมเป็นการ
ทาลายขวัญและความสามัคคีขององค์กรได้อย่างรวดเร็ว เป็นการ
บ่อนทาลายความไว้วางใจและความมั่นใจของการทางานเป็นทีม
และการบรรลุภารกิจ การกระทาในสิ่งที่ถูกต้องด้ วยความประสาน
สอดคล้องกัน เป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้กับอุปนิสัยในตัวบุคคล
และขยายการสร้างวัฒนธรรมการไว้วางใจไปทั่วทั้งองค์กร

๔-๖๔. จริยธรรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับการที่คนใดคนหนึ่งจะประพฤติ
ตนอย่างไร ค่านิยมแสดงถึงความเชื่อที่เขามี ค่านิยม ๗ ประการของ
กองทั พ บกเป็ น ตั ว แทนของความเชื่ อ ร่ ว มซึ่ ง ผู้ น าคาดหวั ง ที่ จ ะ
สนับสนุนและส่งเสริมด้วยการกระทาของกาลัง พลและครอบครัว
การแปรจริยธรรมที่ต้ องการไปเป็น ค่านิยมภายในอันนาไปสู่การ
ประพฤติจริงเป็นเรื่องของการมีเสรีที่จะเลือกปฏิบัติ

๔-๖๕. การประพฤติตามหลักจริยธรรมสะท้อนให้เห็นถึง ค่านิ ยม


และความเชื่ อ ของทหารและข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมใน
กองทัพบกที่ยึดมั่นในค่านิยมกองทัพบกเนื่องจากต้องการดาเนิน
ชีวิตด้วยการมีจริยธรรมและปฏิญาณตนต่อค่านิยมนั้นเพราะรู้ว่า
อะไรคือสิ่งที่ถูกต้อง การรับเอาค่านิยมที่ดีมีความสาคัญในการสร้าง

๔-๒๗
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

ลักษณะของผู้นา ทาให้มที างเลือกทางด้านจริยธรรม

๔-๖๖. ทางเลือกทางด้านจริยธรรมไม่ง่ายเสมอไปเมื่ออยู่ในสนาม
รบ สิ่ง ที่ถูกต้ องอาจไม่เพี ยงไม่เป็นที่ชื่ นชอบแต่ยัง มี อันตรายด้ว ย
สถานการณ์ที่ซับซ้อนและอันตรายมักจะแสดงให้เห็นถึง ความเป็น
ผู้นา และใครไม่ใช่ผู้นา

๔-๖๗. ผู้นาทางทหาร เลือกที่จะปูองกันการกระทาที่ร้ายแรงไม่ให้


ดาเนินต่อไปและแสดงให้ เห็นถึง ความสานึกในหน้ าที่โดยใช้การ
บังคับให้ทาในสิ่งที่ถูกต้องตามทานองคลองธรรม ทหารต้องมีความ
กล้ า หาญและจริ ย ธรรมส่ ว นบุ ค คลเพื่ อ สกั ด กั้ น ความประพฤติ ที่
เป็นไปในทางทุจริต และใช้ในการปกปูองพลเรือนผู้บริสุทธิ์

๔-๖๘. ผู้นาทางทหารต้องเน้นในเรื่องการปรับบรรยากาศภายใน
หน่วยเกี่ยวกับพื้นฐานด้านจริยธรรมด้วยความประสานสอดคล้อง
ซึ่ ง จะท าให้ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาและหน่ ว ยสามารถท างานได้ เ ต็ ม
ศักยภาพ ผู้นาสามารถใช้เครื่องมือต่างๆ ที่มีอยู่มาใช้ในการประเมิน
แง่คิดตามหลักจรรยาของอุปนิสัย และการกระทา ที่ทางาน และ
สภาพแวดล้อมภายนอกมาใช้เพื่อให้บรรลุเปูาหมาย เมื่อประเมิน
บรรยากาศได้แล้ว ผู้นาควรเตรียมการและดาเนินการตามแผนการ
ปฏิ บั ติ ในกรณี ที่ ห น่ ว ยเหนื อ ได้ รั บ รายงานว่ า ปั ญ หาทางด้ า น
จริยธรรมที่ระดับหน่วยของผู้ใต้บังคับบัญชาไม่สามารถเปลี่ยนแปลง
ได้โดยเน้นการแก้ไขปัญหาทางจริยธรรมภายใต้สายการบังคับบัญชา
ของผู้นา

๔-๒๘
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

เหตุผลทางจริยธรรม
๔-๖๙. การเป็น ผู้น าที่ มีจ ริย ธรรมต้ องมีม ากกว่ าความรู้ เกี่ ยวกั บ
ค่ า นิ ย มกองทั พ บก ผู้ น าต้ อ งสามารถประยุ ก ต์ ตั ว เองให้ ค้ น หา
ทางเลือกด้านศีลธรรมเพื่อที่จะแก้ปัญหาอันหลากหลาย เหตุผลตาม
หลักจริยธรรมเกิดขึ้นได้ทั้งที่เป็นการกระทาทางธรรมชาติแบบไม่
เป็นทางการในการคิด และการบูรณาการในองค์รวมของกองทัพบก
แบบเป็ น ทางการ การพิ จ ารณาทางจริ ย ธรรมเกิ ด ขึ้ น อย่ า งเป็ น
ธรรมชาติในระหว่างทุกขั้นตอนของกระบวนการแบบเป็นทางการ
จากการระบุถึงปัญหาตลอดจนการตัดสินใจและนาไปสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมเป็นการพิจารณาที่ชัดเจนต่อการเลือกป้องกัน ไม่ให้เกิด
การกระทาที่ไม่ถูกต้องตามธรรมโดยทาการวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ทางเลือกที่เป็นไปได้

๔-๗๐. ทางเลือ กตามหลั ก จริ ยธรรม อาจอยู่ ระหว่ าง “ถู ก” กั บ


“ผิด” “เงามืดของสีเทา” หรือ “ถูกทั้งสอง” ศูนย์กลางของปัญหา
บางประการอยู่ระหว่างภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกที่ต้องพิจารณา
ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก จริ ย ธรรมให้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ผู้ น าใช้ ทั ศ นคติ ที่
หลากหลายเพื่ อ ที่ จ ะคิ ด เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาทางด้ า นจริ ย ธรรม การ
ประยุกต์ใช้ทั้ง ๓ ทัศนคติเพื่อพิจารณาทางเลือกตามหลัก จริยธรรม
ให้ ม ากที่ สุ ด หนึ่ ง ในทั ศ นคติ ไ ด้ ม าจากมุ ม มองทางด้ า นคุ ณ ธรรม
ได้แก่ ความกล้าหาญ ความยุติธรรม และความเมตตากรุณา ซึ่งทา
ให้เ กิดผลลัพ ธ์ในเชิง จริย ธรรม ทั ศนคติด้า นที่ ๒ มาจาก ของกฎ
ต่างๆ หรือค่านิยมที่มีการตกลงกันไว้ อย่างเช่น ค่านิยมกองทัพบก
สิทธิ์ที่กาหนดอยู่ในรัฐธรรมนูญ และทัศนคติด้านสุดท้ายตั้งอยู่บนผล
ที่ตามมาของการตัดสินใจในสิ่งที่ดีที่สุดให้ได้ปริมาณมากที่สุดเป็นสิ่ง
ที่พึงประสงค์

๔-๒๙
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

๔-๗๑. คาสั ต ย์ จ ริ ง ที่ ผู้ น าในกองทั พ บกได้ ก ล่ า วเมื่อ ปฏิ ญ าณตน


บุคคลเหล่านี้ จึง เป็นผู้ ที่สมควรกระทาในสิ่ งที่ถู กต้อ งบนเหตุ ผลที่
ถูกต้องอยู่ตลอดเวลา อันทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตามผู้นา
เสมอมากกว่าที่จะทาไปด้วยความชานาญในทางเทคนิคและทาง
ยุ ท ธวิ ธี พวกเขาต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามการตั ด สิ น ใจที่ ดี ซึ่ ง รวมถึ ง ด้ า น
จริยธรรมของผู้นา ทั้งนี้การตัดสินว่าสิ่งใดดีและไม่ดีเป็นสิ่งที่กระทา
ได้ยาก สิ่งที่ปูองกันไม่ให้ทาในสิ่งที่ไม่ถูกต้ อง คือ ความเข้าใจในคา
กล่าวของ ขงจื้อที่สอนลูกศิษย์ เมื่อต้องเดินทางไปรับราชการเป็นแม่
ทัพใหญ่ความว่า “จงอย่าชายตามอง คิด หรือหวัง ในสิ่งที่เป็นความ
เลว”

๔-๗๒. ภาวะกลื น ไม่ เ ข้ า คายไม่ อ อกในการตั ด สิ น ใจตามหลั ก


จริยธรรมมิได้เป็นสิ่งใหม่สาหรับผู้นา การได้รับข่าวกรองภายในเวลา
ที่เ หมาะสมและมีคุ ณค่ าจากผู้ก่ อ การที่ ถูก กัก ขัง หรือ นัก โทษฝุ า ย
ข้า ศึ ก เป็น สิ่ ง ส าคัญ มาตรการใดจึ ง จะเหมาะสมกั บ การได้ ม าซึ่ ง
ข้อมูลข่าวสารสาคัญยิ่งจากฝุายข้าศึกที่สามารถรักษาชีวิตไว้ได้ ? การ
ที่หน่วยเหนือเข้าใจได้อย่างชัดเจนอาจแสดงให้เห็นว่าทาไมบางครั้ง
ผู้ใต้บังคับบัญชาจึงผลักดันข้อจากัดของขอบข่ายงานว่าเป็นไปตาม
กฎหมาย โดยเชื่อว่ากาลังทาหน้าที่ จะไม่มีสิ่งใดที่เป็นอันตรายเมื่อ
มองจากด้านจริยธรรม รวมทั้งไม่ทาให้กองทัพบกเสียชื่อเสียงหรือ
เสี ย ภารกิ จ หากมีก ารหยิบ ยกประเด็น นี้ ขึ้ น เป็ น ค าถามที่ชั ด เจน
คาตอบก็คือ ค่านิยมกองทัพบกจะนาทุกคนเข้ามาเกี่ยวข้องโดยไม่
คานึ ง ถึง ชั้ น ยศเพื่ อด าเนิน การอย่ า งใดอย่า งหนึ่ง ทั้ ง นี้ เ ป็ นความ
รับผิดชอบและหน้าที่ของผู้นาในการค้นคว้าคาสั่ง กฎ ระเบียบ ที่
สาคั ญ มี ความเกี่ ยวเนื่อ งกัน และตรงประเด็ น เพื่ อให้ เกิ ด ความ
ชัดเจนของการออกคาสั่ง ปูองกันความเข้าใจที่อาจนาไปสู่การแปร

๔-๓๐
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

เป็นการทาผิดกฎหมาย หรือการนาไปใช้ในทางที่ผิด

๔-๗๓. ในทางปฏิ บั ติ เ หตุ ผลทางจริ ย ธรรมเป็ นสิ่ ง ซั บ ซ้อ นที่ ต้ อ ง


ระลึกไว้เสมอ กระบวนการในการแก้ปัญหาภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่
ออกทางด้านจริยธรรมเกี่ยวข้องกับการคิดเชิงวิกฤตซึ่งอยู่บนพื้นฐาน
ของค่านิยมกองทัพบก ไม่มีสูตรใดตายตัว สิ่งที่ได้รวมไว้ในค่านิยม
กองทัพ บกเพื่ อใช้ใ นการปกครองการปฏิ บัติ ของบุ คคล ให้ เข้ าใจ
ระเบี ย บและค าสั่ ง การเรี ย นรู้ จ ากประสบการณ์ การประยุ ก ต์
ทัศนคติที่หลากหลายทางด้านจริยธรรม ผู้นาจึงต้องเตรียมใจเผชิญ
กับความยากลาบากในชีวิตเอาไว้ ตลอดเวลา “จงดารงชีวิต ด้วย
ความไม่ประมาท”

จริยธรรมในการสั่งการ
๔-๗๔. การเลือกสิ่งที่ถูกต้องและปฏิบัติไ ปตามนั้นเป็นสิ่ง ที่ทาได้
ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อต้องเผชิญกับคาถามในเชิงจริยธรรม ซึ่ง
นั่นหมายถึงบางครั้งต้องยืนยันและแสดงความคิดเห็นที่ถูกต้องกับ
ผู้บังคับบัญชาเพื่อให้ถูกต้องตามหลักจริยธรรม ซึ่งเป็นการพิสูจน์ให้
เห็ นถึ ง ลัก ษณะนิสั ย การเผชิญ สถานการณ์ ที่ผู้ นาคิ ด ว่ าค าสั่ง ไม่
เป็นไปตามกฎหมายเป็นประเด็นที่ยากที่สุด สาหรับจริยธรรมในการ
สั่งการ

๔-๗๕. ในยามสถานการณ์ปกติผู้นาดาเนินการตัดสินใจด้วยความ
กระตือรือร้น ยกเว้นเพียงสิ่งเดียวคือ หากคาสั่งเป็นคาสั่งที่ผิด
กฎหมาย หน้ าที่ ของผู้ นาก็คื อการขั ดค าสั่ งนั้ น ถ้า ทหารรับ รู้ว่ า
คาสั่งนั้นผิดกฎหมาย ทหารผู้นั้นควรแน่ใจในรายละเอียดของคาสั่ง
และเข้าใจในเจตนารมณ์ที่แท้จริง ทหารควรค้นหาความกระจ่างจาก

๔-๓๑
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

บุคคลที่ให้คาสั่งในทันทีก่อนที่จะดาเนินการใดๆ

๔-๗๖. ถ้าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซับซ้อนเกินไปก็ควรหาที่ปรึกษาทาง
กฎหมาย ในกรณีที่ต้องตั ดสินใจในทันที เช่นในกรณีที่เ หตุการณ์
เกิดขึ้นในสนามรบ ให้ตัดสินใจทาในสิ่งที่เป็นไปได้ดีที่สุดบนพื้นฐาน
ของค่ านิย มกองทัพบก ประสบการณ์ส่ว นบุค คล และการคิ ดเชิ ง
วิกฤต รวมทั้งการศึกษาและพิจารณาผลกระทบที่เคยเกิดขึ้น เมื่อ
ผู้นาขัดคาสั่ง ที่อาจจะผิดกฎหมายจาต้องมีความเสี่ยงตามมา และ
อาจจะยากที่สุดที่เคยตัดสินใจ ถึงอย่างไรก็ตามสิ่งที่ผู้นาควรมี คือ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ความมั่นใจในตนเอง และจริยธรรม

๔-๗๗. ในกรณีที่ผู้นาอาจจะไม่ได้เตรี ยมการสาหรับสถานการณ์ที่


ซับซ้ อนไว้อ ย่า งสมบูร ณ์ สิ่ งที่ จะช่ วยได้คื อ การใช้ เวลาไตร่ต รอง
ค่ า นิ ย มกองทั พ บก การศึ ก ษา และมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์
ทางด้านการเป็นผู้นา และอีกประการคือการปรึกษากับหน่วยเหนือ
โดยเฉพาะกับผู้ที่เคยทาในสิ่งเดียวกัน

๔-๗๘. การดาเนินชีวิตตามค่านิยมกองทัพบกและการปฏิบัติตน
ด้วยการมีจริยธรรมไม่ใช่เพียงสาหรับนายพล หรือ นายทหารระดับ
นายพันเท่านั้น การตัดสินใจทางด้านจริยธรรมเกิดขึ้นทุกวันในทุก
หน่วยทหาร ณ ห้องทางาน ในค่ายทหารที่มีอยู่ทั่วทุกแห่ง โดยที่การ
ตัดสินใจนั้นจะมีผลโดยตรงต่อชีวิตของทหารในสนามรบ ข้าราชการ
กลาโหมพลเรือน พลเรือนที่ บริสุทธ์ เช่นเดียวกันกับชนชาวไทยผู้
เสี ย ภาษี ซึ่ ง ขึ้ น อยู่ กั บ ผู้ น าที่ จ ะสร้ า งฐานค่ า นิ ย ม ทางเลื อ กด้ า น
จริยธรรมเพื่อสิ่งที่ดีต่อกองทัพบกและประเทศชาติ ผู้นาควรมีความ
แข็ ง แกร่ ง ในอุ ป นิ สั ย ในการสร้ า งทางเลื อ กที่ ถู ก ต้ อ ง “เป็ น

๔-๓๒
บทที่ ๔ ลักษณะผู้นา

สุภาพบุรุษ อ่อนน้อม แต่แข็งแกร่ง”

สิ่งที่ผู้นาควรมี
คือ
ความมั่นใจในตนเอง
และจริยธรรม

๔-๓๓
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา

บทที่ ๕
การแสดงออกของผู้นา
ภาวะผู้นามิใช่คุณสมบัติทางธรรมชาติ ซึ่งมีการสืบทอดได้
เหมือนกับสีของดวงตาหรือผม อันที่จริงแล้ว ภาวะผู้นา คือ ทักษะ
ซึ่งสามารถศึกษาได้ เรียนรู้ได้ และสมบูรณ์ได้จากการปฏิบัติ

๕-๑. การที่ผู้นาทาให้ผู้อื่นเกิดความประทับใจมีส่วนทาให้ ประสบ


ความสาเร็จในการนา ทั้งนี้การที่ผู้อื่นยอมรับในตัวผู้นาได้นั้นขึ้นอยู่
กับลักษณะภายนอก พฤติกรรม คาพูด และการกระทาของผู้นา

๕-๒. ผู้ใต้บัง คับบัญชาจาเป็นต้องมีวิธีการคาดเดาผู้นาของตนซึ่ง


ขึ้ น อยู่ กั บ การที่ ผู้ น าอยู่ ณ จุ ด ใด ในระดั บ องค์ ก ร ในระดั บ
ยุทธศาสตร์ผู้นาสามารถไปได้ทุกหนแห่ง รวมทั้งในที่มีสภาพเลวร้าย
ที่สุด ที่จะแสดงให้เห็นว่าผู้นาเอาใจใส่ดูแล ไม่มีแรงบันดาลใจใดที่
ยิ่งใหญ่ไปกว่าการที่ผู้นาอยู่ร่วมหัวจมท้ายด้วยแม้ในยามทุกข์ยาก
และมี อั น ตราย การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ท าให้ ผู้ น ามี ค วามรู้ ป ฐมภู มิ
เกี่ย วกับ สภาพแวดล้ อมที่ แท้ จริง ที่ทหารหรือ ข้าราชการพลเรือ น
กลาโหมกาลังเผชิญ อยู่ ซึ่งคนเหล่านี้เป็นผู้ที่ได้เห็นหรือได้ยินเมื่อ
ผู้บั ง คั บ บั ญ ชารั บ รู้ แ ละชื่ น ชมที่ หน่ ว ยได้ รั บ มอบหมายให้ ท างาน
สาคัญด้วยความทุกข์ยาก และเสี่ยงอันตราย

๕-๓. การแสดงออกมิได้หมายถึงสิ่งที่ผู้นาแสดงให้เห็น ณ เวลานั้น


เท่านั้น ยังเกี่ยวข้องกับภาพลักษณ์ของผู้นาด้วย การแสดงออกเป็น
การถ่ายทอดความเป็นตัวตนของผู้นาโดยผ่านทางคาพูด การกระทา
และลักษณะท่าทาง ส่วนชื่อเสียงถ่ายทอดได้จากการที่ผู้อื่นให้การ
๕-๑
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา

เคารพ การที่เขาพูดถึง และการตอบสนองเมื่อ ผู้นาให้ค าแนะน า


การแสดงออกเป็ นคุ ณ ลั ก ษณะซึ่ง ผู้น าจาเป็ น ต้อ งท าความเข้า ใจ
ความมีประสิทธิภาพของผู้นาสามารถทาให้เพิ่มขึ้นได้โดยการเข้าใจ
และพัฒนาในสิ่งต่อไปนี้
 ลักษณะท่าทางทหาร ทาให้เห็นถึงการแสดงออกในการ
บังคับบัญชา ภาพลักษณ์ความเป็นมืออาชีพในหน้าที่
 ความแข็ ง แรงสมบู ร ณ์ ท างร่ า งกาย มี สุ ข ภาพดี ทั้ ง
ร่างกายและจิตใจ แข็งแรง อดทน และความสามารถเชิง
ความคิดภายใต้สภาพความกดดันที่ยืดเยื้อ
 ความมั่น ใจ แสดงให้ เ ห็ น ถึง ความมั่ น ใจในตนเองและ
ความแน่นอนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหน่วยที่
จะประสบความสาเร็จในสิ่งใด ๆ ที่ปฏิบัติ สามารถทาให้
เห็ น ถึ ง ความสงบของจิ ต ใจและความสงบที่ ส ามารถ
มองเห็นได้ผ่านการควบคุมอยู่เหนืออารมณ์ได้อย่างมั่นคง
 ความยืดหยุ่น การแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่จะฟื้นฟูจาก
ความเสื่อมถอย เรื่องสะเทือนใจ การบาดเจ็บ การประสบ
เคราะห์กรรม และภาวะกดดันจากการปฏิบัติภารกิจและ
การมุ่งเน้นไปที่องค์กร

๕-๔. ลั ก ษณะทางร่ า งกาย ได้ แ ก่ ลั ก ษณะและท่ า ทางทหาร


สุ ข ภาพ และความแข็ ง แรงสมบู ร ณ์ ท างร่ า งกายและสุ ข ภาพ
“สามารถ” และ “ต้อง” พัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อที่จะรวมเป็นการ
แสดงออกในภาพรวม ผู้นากองทัพบกเป็นตัวแทนของสถาบันและ
รัฐ บาล จึง ควรรั ก ษาความแข็ง แรงสมบูร ณ์ ของร่า งกายให้อ ยู่ ใ น
ระดับที่เหมาะสม และมีความเป็นทหารอาชีพ

๕-๒
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา

ลักษณะท่าทางของผู้นาทางทหาร
๕-๕. ความภาคภูมิใจในตนเองเริ่มจากภาพลักษณ์ ผู้นากองทัพบก
ได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นผู้ที่มีความเป็นทหารมืออาชีพ พวกเขา
ต้องรู้วิธีการสวมเครื่องแบบหรือชุดพลเรือนที่มีความเหมาะสม และ
ท าด้ ว ยความภาคภู มิ ใ จ ทหารที่ ป รากฏตั ว ในที่ ส าธารณะด้ ว ย
เครื่องแบบที่ไม่ติดกระดุม หรือใส่ชุดเขียวคอแบะแล้วไม่ผูกเนคไท
ซึ่งไม่ได้แสดงถึงความภาคภูมิใจและความเป็นทหารมืออาชีพ และ
ยังท าให้ ในสายตาของประชาชนเกิ ดความเสื่อ มศรั ทธาต่อหน่ว ย
และเพื่อนทหาร นอกจากนี้การมีส่วนสูง และน้าหนักตามเกณฑ์ที่
กาหนดยังเป็นส่วนหนึ่งของบทบาทในความเป็นมืออาชีพ การที่ผู้นา
แสดงออกถึงมารยาท และภาพลักษณ์ทางทหาร เป็นการบ่งบอกที่
ชัดเจนว่า

“ข้าพเจ้ามีความภาคภูมิใจในเครื่องแบบ หน่วย และประเทศชาติ”

๕-๖. ทัก ษะของความเป็ นทหารมื ออาชีพ ได้แ ก่ ความแข็ง แรง


สมบูรณ์ของร่างกาย มารยาท ภาพลักษณ์ทางทหารที่เหมาะสม ซึ่ง
สามารถช่ว ยให้ ผ่ านพ้ นสถานการณ์ ที่ยุ่ ง ยากได้ ทหารมื ออาชี พ
แสดงภาพลั กษณ์ ด้ ว ยเกี ย รติ เ พราะว่ าเป็ น สิ่ ง ที่ ท าให้ ไ ด้ รั บ ความ
เคารพ การเป็นทหารมืออาชีพต้องมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้วย
“เขามองดูดีเนื่องจากเขาทาดี”

สมรรถภาพทางด้านสุขภาพ
๕-๗. โรคภัยไข้เจ็บยังคงเป็นศัตรูที่ทรงอานาจในสนามรบสมัยใหม่
การรั กษาสุ ข ภาพและความแข็ ง แรงสมบู รณ์ ท างร่า งกายเป็ น สิ่ ง
สาคัญในการปูองกันทหารจากโรคภัยไข้เจ็บ และทาให้เขาแข็งแกร่ง

๕-๓
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา

พร้อมที่จะเผชิญกับผลกระทบทางด้านจิตวิทยาเมื่อต้องเข้าสู่สนาม
รบ ทหารจะมี ค วามคุ้ น เคยกั บ ระบบสนามรบที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ น
เช่นเดียวกับรถถังที่ต้องมีการปรนนิบัติบารุงและเติมน้ามัน ทหาร
ต้องมีการฝึก พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ และได้รับอาหารและน้า
อย่างเพียงพอต่อการทางานหนัก

๕-๘. ความแข็ง แรงสมบู รณ์ ทางด้ านสุ ขภาพหมายถึง การท าทุ ก


วิถีท างที่จ ะท าให้มี สุขภาพที่ ดี รวมทั้ง การปฏิ บัติ ตามวงรอบการ
ทดสอบการร่างกาย การรักษาสุขภาพในช่องปาก การดูแลเครื่อง
แต่ง กาย ทรงผมต้องเรียบร้อย การรักษาความสะอาด การสร้า ง
ภูมิคุ้มกันโรค และการเอาใจใส่ดูแลสุขภาพทางด้านจิตใจ การรักษา
สุ ข ภาพ และ สุ ข ลั ก ษณะ ของทหาร ปฏิ บั ติ ไ ด้ ผ ลสู ง สุ ด ใน
สภาพแวดล้อ มของการปฏิบัติการ ถ้าหากผู้บัง คับหมู่ คนหนึ่ง ของ
หมวดที่ได้รับฝึกเป็นอย่างดีเกิดเจ็บปุวยขึ้น แสดงว่าเกิดจุดอ่อนขึ้น
ในห่วงโซ่ และทาให้ทั้งหมู่นั้นเกิดความอ่อนแอและมีความสามารถ
ในการทาลายได้น้อยลง ความแข็งแรงสมบูรณ์ของสุขภาพยังรวมถึง
การหลี ก เลี่ ย งสิ่ ง ที่ บั่ น ทอนต่ อ สุ ข ภาพ ได้ แ ก่ การเสพสารผิ ด
กฎหมาย การมีน้ าหนักตั วมากเกิน ไป การดื่ มสุ ราจนไม่ส ามารถ
ควบคุมสติของตนเองได้ และการสูบบุหรี่

สมรรถภาพทางด้านร่างกาย
๕-๙. ความพร้อมของหน่วยเริ่มจากความพร้อมทางร่างกายของ
ทหารและผู้นาหน่วย สาหรับการรบที่ต้องใช้ทั้ง ทางร่างกาย จิตใจ
และอารมณ์ ความสมบู ร ณ์ ท างร่ า งกายมี ค วามส าคั ญ มากต่ อ
ความส าเร็ จ ในสนามรบ มี ค วามส าคั ญ ต่ อ ก าลั ง พลทุ ก คนของ
กองทัพบกไม่ใช่เพียงเฉพาะทหารเท่านั้น ความสมบูรณ์ของร่ างกาย

๕-๔
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา

จะทาให้คนรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถและมีความมั่นใจมากขึ้น
สามารถควบคุมความกดดันได้ดีขึ้น ทางานได้นานและยากขึ้น และ
ฟื้นฟูไ ด้อย่ างรวดเร็ ว สิ่ งเหล่านี้เ ป็นคุ ณสมบัติที่ใ ห้ผลตอบแทนที่
คุ้มค่าในทุกสภาพแวดล้อม

๕-๑๐. ลัก ษณะทางร่า งกายที่ พึง ประสงค์ข องผู้น า ได้แ ก่ ความ


แข็งแรงสมบูรณ์ของร่างกายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอสนับสนุน
การท าหน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วกั บ กระบวนการทางความคิ ด และการมี
เสถียรภาพทางอารมณ์ ส่วนการยืดเวลาเมื่อเข้าวางกาลัง และการ
ปฏิบัติการที่ต่อเนื่อง เป็นสิ่งที่บั่นทอนคุณสมบัติทางร่างกาย ซึ่งทั้ง
สองสิ่งนี้ล้วนมีความสาคัญต่อการเป็นผู้นาที่ดี ถ้าหากร่างกายยังไม่
พร้อมก่อนที่จะเข้าวางกาลัง ผลกระทบของความกดดันจะมีผลต่อ
จิ ต ใจและอารมณ์ การปฏิ บั ติ ก ารรบในภู มิ ป ระเทศยากล าบาก
สภาพอากาศที่ ท ารุ ณ หรือ อยู่ ใ นที่ สู ง นั้น ต้ อ งมี ก ารเตรี ย มสภาพ
ร่างกายให้แ ข็ง แกร่ง เพื่อ ให้ มีความพร้ อมสาหรั บการปฏิ บัติ การ
อย่างต่อเนื่อง

๕-๑๑. การเตรียมความพร้อมสาหรับการปฏิบัติภารกิจต้องเน้นที่
แผนงานการเตรีย มความสมบู รณ์ท างร่างกายของหน่ วย ซึ่ง เป็ น
แผนงานที่เน้นถึง ผลการทดสอบสมรรถภาพร่างที่ดี ไม่ไ ด้เป็นการ
เตรียมทหารสาหรับการออกรบ การมองไปข้างหน้าของผู้นาทาให้
เกิดแผนงานการเตรียมความสมบูรณ์ทางร่ายกายที่มีความสมดุลซึ่ง
ทาให้ทหารสามารถปฏิบัติตามรายการภารกิจสาคัญยิ่งของหน่วยได้

๕-๑๒. จะเห็นได้ว่าสมรรถภาพร่างกายเป็น ผลกระทบสาคัญ ต่ อ


การปฏิ บั ติ ง านและสุ ข ภาพ เนื่ อ งจากการตั ด สิ น ใจของผู้ น ามี

๕-๕
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา

ผลกระทบต่อความมีประสิทธิภาพของการรบ สุ ขภาพ และความ


ปลอดภัยขององค์กรหน่วย ด้วยเหตุนี้ผู้นาจึงต้องรักษาสุขภาพและ
ร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ

ความมั่นใจในตนเอง
๕-๑๓. ความมั่นใจเป็นสิ่งที่น่าเชื่อถือซึ่ง เป็นความสามารถที่ผู้นา
ต้องมีเพื่อให้ปฏิบัติได้เหมาะสมในทุกสถานการณ์ แม้ภายใต้ความ
กดดันที่มีข้อมูลข่าวสารเพียงเล็กน้อย ผู้นาที่มีความมั่นใจคือผู้ซึ่ง รู้
คุณลักษณะที่พึงประสงค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งพัฒนามา
จากคุ ณลั กษณะที่ พึง ประสงค์ ในความเป็น ทหารมื ออาชี พ การมี
ความเชื่อมั่นในตนเองมากไปอาจทาให้เสียหายได้เช่นเดียวกับการ
ขาดความเชื่ อมั่ น ทั้ งสองสิ่ง นี้ ขัด ขวางการเรี ย นรู้ และการทาให้
เหมาะสม คาพูดวางโต คุยโว หรือยกตนเองไม่ใช่ความมั่นใจ ผู้นาที่
มีความมั่นใจไม่จาเป็นต้องโฆษณาตนเอง เพราะการกระทาจะ
เป็นสิ่งที่พิสูจน์ความสามารถ

๕-๑๔. ความมั่นใจเป็นสิ่งสาคัญต่อผู้นาและหน่วย ความมั่นใจของ


ผู้นาที่ดีจะทาให้มีผู้เอาเป็นแบบอย่างและแทรกซึมไปทั่วทั้ง หน่วยได้
อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในสถานการณ์ที่เลวร้าย ในสนามรบผู้นาที่มี
ความมั่นใจช่วยให้ทหารควบคุมความเคลือบแคลง รวมทั้งลดความ
กระวนกระวาย การผสมผสานความตั้ง ใจที่ เ ข้ม แข็ง และวิ นัย ใน
ตนเอง และความมั่นใจ กระตุ้นให้ผู้นาทาในสิ่งที่ต้องทาในเหตุการณ์
ต่าง ๆ ที่น่าจะง่ายกว่าการไม่ได้ทาอะไรเลย

ความยืดหยุ่น
๕-๑๕. ผู้น าที่ มี ความยื ดหยุ่น จะสามารถฟื้ นฟู จากความพ่ ายแพ้

๕-๖
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา

ความตกใจ การบาดเจ็บ และความกดดันจากการดารงไว้ซึ่งภารกิจ


และเพ่งความสนใจให้กับหน่วย ความยืดหยุ่นจะตั้งอยู่บนความตั้งใจ
ที่มีจากแรงขับเคลื่อนภายในที่จะบังคับให้ ผู้นาต้องทาต่อไป แม้จะ
หมดเรี่ยวแรง หิว กลัว หนาวสั่น และตัวเปียกชื้น ความยืดหยุ่นจะ
ช่วยให้ผู้นาและหน่วยฝุาฟันภารกิจที่ยุ่งยากไปสู่ความสาเร็จได้

๕-๑๖. ความยื ดหยุ่น และความตั้ง ใจที่ จะประสบความสาเร็ จไม่


เพี ย งพอส าหรั บ การผ่ า นพ้น วั น อั น ยากล าบาก คุ ณ ลั กษณะที่ พึ ง
ประสงค์เป็นสิ่งที่นาพาพลังแห่งความตั้งใจจริงมุ่งไปสู่หนทางปฏิบัติ
ที่ทาให้ประสบความสาเร็จ และได้รับชัยชนะในสนามรบ กิจอันเป็น
เลิ ศ ของผู้ น าก็ คื อ การเพาะนิ สั ย ให้ มี ค วามยื ด หยุ่ น และชนะใจ
ผู้ใต้บังคับบัญชาให้ได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องเริ่มต้นด้ วยความยากและการ
ฝึกที่สมจริง

๕-๑๗. ความยืดหยุ่นเป็นสิ่งที่จาเป็นเมื่อต้องการมุ่งไปสู่การบรรลุ
ภารกิ จ ไม่ ว่า จะมี เงื่ อ นไขใดในการทางาน ทั ศ นคติ ส่ ว นบุ ค คลที่
เข้มแข็งก็จะช่วยให้มีชัยชนะเหนือเงื่อนไขภายนอกซึ่งไม่เป็นผลดีได้
กาลั ง พลทุก คนในกองทัพบก ได้ แก่ ทหารประจาการ กองก าลั ง
สารอง หรือข้าราชการพลเรือนกลาโหม จะได้รับประสบการณ์จาก
สถานการณ์ต่าง ๆ ที่ดูเหมือนง่ายที่จะเลิกทากิจต่าง ๆ มากกว่าที่ทา
ให้เสร็จ ในช่วงเวลาเช่นนี้เองที่ทุกคนต้องการพลังที่มาจากข้างในอัน
จะทาให้ภารกิจเสร็จสมบูรณ์ ในยามที่เกิดสิ่งเลวร้ายผู้นาจึงต้องดึ ง
พลั ง จากภายในมาช่ ว ยให้ เ กิ ด ความอุ ต สาหะพยายาม “ผู้ น าคื อ
ผู้สร้ า งสร้ า งแรงบัน ดาลใจ ให้ ผู้ ใ ต้บั ง คั บบั ญ ชาภาคภูมิ ใ จ พึ่ ง พา
ตนเองได้ มั่นใจ พร้อมนาพาตนเองไปสู่ ความเป็นและความตายที่
รออยู่เบื้องหน้าได้ด้วยตัวสติ ปัญญาของตนเอง”

๕-๗
บทที่ ๕ การแสดงออกของผู้นา

การแสดงออกของผู้นาทางทหาร
- ลักษณะท่าทาง
- ความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย
และจิตใจ
- ความมั่นใจ
- ความยืดหยุ่น

๕-๘
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

บทที่ ๖
สติปญ
ั ญาของผู้นา
๖-๑. สติปัญญาของผู้นาในกองทัพบกดึงแนวโน้มทางจิตใจและ
ไหวพริ บ ปฏิ ภ าณ เพื่ อ การปรั บ ความสามารถที่ เ กี่ ย วกั บ กรอบ
ความคิด อันเป็นการประยุกต์ใช้กับหน้าที่และความรับผิดชอบของ
คนใดคนหนึ่ง ความสามารถที่เกี่ยวกับกรอบความคิดทาให้มีการ
ตัดสินใจที่ดีก่อนที่จะลงมือปฏิบัติตามแนวความคิดหรือแผนใดๆ ซึ่ง
จะช่ ว ยให้ ผู้ น าคิ ด อย่ า งสร้ า งสรรค์ มี เ หตุ ผ ลด้ ว ยการวิ เ คราะห์
วิจารณ์ได้ อย่างมีศีลธรรมจริ ยธรรม และเป็นไปตามวัฒนธรรมที่มี
ความอ่ อ นไหว เพื่ อ พิ จ ารณาในสิ่ ง ที่ ไ ม่ ตั้ ง ใจให้ เ กิ ด ขึ้ น ให้ มี ผ ล
ตามมาดั่งที่ตั้งใจ เหมือนกับคนที่เล่นหมากรุกที่พยายามคาดการณ์
ไว้ล่วงหน้าว่าฝุายตรงข้ามจะเดินหมาก ๓ ถึง ๔ ตาอย่างไร (ปฏิบัติ
– ตอบโต้ – ต่อต้านการตอบโต้) ผู้นาต้องคิดให้ครบว่าจะเกิดอะไร
ขึ้ น บ้ า งเพื่ อ การตั ด สิ น ใจ ซึ่ ง ในบางครั้ ง เป็ น การตั ด สิ น ใจที่ อ ยู่
นอกเหนือไปจากห่วงโซ่ของเหตุการณ์ ดังนั้นผู้นาจึงต้องพยายามที่
จะประมาณสถานการณ์ และผลกระทบที่มีต่อคาสั่งครั้งที่สอง ครั้งที่
สาม ของการปฏิบัติแต่ละครั้ง ถึงแม้ว่าจะเป็นการปฏิบัติของผู้นา
ระดับต่ากว่าก็อาจมีผลกระทบนอกเหนือไปจากสิ่งที่คาดไว้เช่นกัน

๖-๒. องค์ประกอบของแนวความคิดที่มีผลกระทบต่อ สติปัญ ญา


ของผู้นา ประกอบด้วย
- ไหวพริบปฏิภาณ
- ดุลยพินิจอันเที่ยงตรง
- นวัตกรรม
- ความแนบเนียน
๖-๑
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

- ความรู้ทางทหาร

ไหวพริบปฏิภาณ
๖-๓. ไหวพริบปฏิภาณ หรือความว่องไวทางจิตใจ หมายถึง ความ
ยืดหยุ่นของจิตใจ ความสามารถในการคาดการณ์ล่วงหน้า หรือปรับ
ให้เข้ากับสถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอนและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา ไหวพริบปฏิภาณ เป็นการช่วยให้คิดให้ถ้วนถี่เกี่ยวกับ
ผลกระทบของคาสั่งที่สอง และที่สาม ของการตัดสินใจ ณ ปัจจุบัน
หรือการปฏิบัติไม่ได้รับผลกระทบตามที่ต้องการ ซึ่งช่วยให้หลุดออก
จากรูปแบบความคิดที่เคยชิน เพื่อที่จ ะนึกขึ้นได้โดยทันทีเมื่อเผชิญ
กับ ทางตัน และสามารถประยุก ต์ใ ช้ มุม มองหลายๆ ด้ านส าหรั บ
พิจารณาหนทางปฏิบัติหรือทางเลือกใหม่

๖-๔. ไหวพริบปฏิภาณ มีความสาคัญต่อภาวะผู้นาทางทหาร เนื่อง


เพราะว่ านัก การทหารที่ยิ่ งใหญ่จ ะปรั บตัว เพื่อ ต่อสู้ กับข้ าศึก ศัต รู
ไม่ใช่กับแผนที่วางไว้ ผู้นาที่มีไหวพริบปฏิภาณ มักจะก้าวไปข้างหน้า
พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและการวางแผนที่ไม่
สมบูรณ์เพื่อให้พร้อมที่จะจัดการกับปัญหาไว้ล่วงหน้า ส่วนไหวพริบ
ปฏิ ภ าณ ซึ่ ง อยู่ ใ นการปฏิ บั ติ ก ารหมายถึ ง ความสามารถในการ
สร้า งสรรค์ค วามมุ่ งประสงค์เ ฉพาะ ทาให้ เป็ น หน่ว ยที่ มีค วามคิ ด
สร้ า งสรรค์ เ ชิ ง ยุ ท ธวิ ธี ซึ่ ง จะปรั บ ให้ เ หมาะสมสถานการณ์ ที่
เปลี่ยนแปลงไป โดยผู้นาสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อให้ง่าย
ต่อการส่งผ่านจากสงครามที่มีการดาเนินกลยุทธ์แบบเต็มอัตราศึก
ไปเป็นการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ เป็นต้น

๖-๒
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

๖-๕. พื้นฐานไหวพริบปฏิภาณ คือความสามารถในการให้เหตุผล


อย่างพินิจพิเคราะห์ โดยการเปิดใจให้กว้างในทุกความเป็นไปได้
จนกระทั่ ง ได้ ท างเลื อกที่ เ หมาะสมที่ สุ ด ความคิ ด เชิง วิ ก ฤตเป็ น
กระบวนการความคิดซึ่งมีความมุ่งหมายในการค้นหาให้ได้ความ
จริงเมื่อการสังเกตโดยตรงไม่เพียงพอ เป็นไปไม่ได้ หรือไม่ได้ผ ล
จริง เป็นการมองให้ทะลุปัญหา แก้ไขปัญหา และเป็นหลักในการ
ตัดสินใจ ความคิดเชิงวิกฤตเป็นหัวใจหลักของการทาความเข้าใจ
สถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป การหาสาเหตุ การได้ ข้ อ สรุ ป ที่
เหมาะสม การตัดสินที่ดี และการเรียนรู้จากประสบการณ์

๖-๖. ความคิดเชิง วิกฤตเป็นการมองปัญหาในเชิง ลึกจากมุมมอง


หลายๆ ด้าน ซึ่ง ไม่ใช่คาตอบแรกที่ออกมาจากใจ ผู้นาควรต้องมี
ความสามารถเช่นนี้เพราะผู้นาต้องเผชิญกับข้อแก้ปัญหาที่มากกว่า
หนึ่งอย่างในหลายๆ ทางเลือก ก้าวแรกและก้าวที่สาคัญที่สุดในการ
ค้นหาทางออกก็คือการแยกปัญหาหลักออกมาให้ได้ ในบางครั้งการ
พิจารณาปัญหาที่แท้จริงแสดงให้เห็นถึงอุปสรรคมากมาย ณ เวลา
หนึ่งคนเราต้องคัดเลือกปัญหาที่ทาให้ไขว้เขวออกเพื่อให้ได้ประเด็น
ปัญหาที่แท้จริง

๖-๗. ปัญหาของผู้นา ในการแยกปัญหาอย่างรวดเร็วและสามารถ


ระบุหนทางแก้ปัญ หาทาให้เกิดการใช้ความริเริ่มเพื่อปรับให้มีการ
เปลี่ยนแปลงในระหว่างการปฏิบัติการ ไหวพริบปฏิภาณ และความ
ริเริ่มไม่ได้ปรากฎขึ้นจากเวทมนตร์คาถา ผู้นาต้องบ่มเพาะให้กับ
ผู้ใต้บัง คับบัญ ชาทุกคนโดยการสร้างบรรยากาศซึ่งก่อให้เกิดความ
ร่วมมือ

๖-๓
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

๖-๘. การฝึกศึกษาของกองทัพบกสมัยใหม่ ควรเน้นที่การปรับปรุง


ไหวพริบปฏิภาณ ของผู้นาและความริเริ่มของหน่วยขนาดเล็ก เน้นผู้
ที่ เข้าไปวางกาลังในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ ให้มีไหวพริบปฏิภาณ
และมีความริเริ่มทางด้านยุทธวิธี ลงไปจนกระทั่ง ระดับทหารเป็น
รายบุคคล สภาพแวดล้อมเชิงปฏิบัติการในห้วงเดียวกันจาเป็นต้องมี
การจัดการโดยเร็วให้นายทหารที่ยังมีอาวุโสน้อย รวมทั้งนายทหาร
ประทวนมี ค วามสามารถในการน าหน่ ว ยขนาดเล็ ก และมี
ความสามารถรอบด้ า นให้ ข้ า มผ่ า นย่ า นความขั ด แย้ ง อย่ า งมี
ประสิทธิภาพ

ดุลยพินิจอันเที่ยงตรง
๖-๙. ดุลยพิ นิ จ เป็ น สิ่ ง ที่ ค วบคู่ กั บ ไหวพริ บ ปฏิ ภ าณ ซึ่ ง ต้ อ งการ
ความสามารถในการประเมินสถานการณ์หรือกรณีแวดล้อมต่างๆ ได้
อย่างหลั กแหลม และดึง บทสรุป ที่เป็นไปได้ออกมา ดุล ยพินิจที่ ดี
สามารถทาให้ผู้นามีความเห็นที่ตรง ทาให้เกิดการตัดสินใจที่สมควร
และการเดาที่ น่ า เชื่ อ ถื อ ทั้ ง นี้ ห ากตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานของความ
สอดคล้องกันจึง เป็นสิ่งสาคัญต่อผู้นาที่ประสบความสาเร็จ ซึ่งได้มา
จากประสบการณ์เป็นส่วนมาก ผู้นามักจะได้ประสบการณ์จากการ
ลองผิดลองถูก และการดูจากประสบการณ์ของผู้อื่น การเรียนรู้
ประสบการณ์ ผู้อื่น การได้ เป็น นายทหารพี่เ ลี้ยง การฝึก สอนโดย
นายทหารอาวุ โ ส เพื่ อ นร่ ว มงานในระดั บ เดี ย วกั น หรื อ แม้ แ ต่
ผู้ใต้บังคับบัญชาบางคน นอกจากนั้น การเพิ่มพูนประสบการณ์ยัง
ได้แก่ การพัฒนาตนเองโดยการอ่านอัตประวัติของบุคคลต่างๆเพื่อ
เรียนรู้จากความสาเร็จ และความล้มเหลวจากบุคคลเหล่านั้น

๖-๔
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

๖-๑๐. บ่อยครั้งที่ผู้นาต้องปกปิดความจริงเอาไว้ รวมทั้งข้อมูลที่น่า


สงสัย และใช้ความอดทนสูงเพื่อการตัดสินใจที่มีคุณภาพ ดุลยพินิจ
ที่ดีช่วยให้เกิดการตัดสินใจที่ดีสุดในสถานการณ์ที่กาลังเผชิญอยู่ สิ่ง
นี้เป็นคุณสมบัติหลักของการบังคับบัญชา และการเปลี่ยนผ่านจาก
ความรู้ไปเป็นความเข้าใจและการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพ

๖-๑๑. ดุ ล ยพิ นิ จ ที่ ดี เ ป็ น การเสริ ม สร้ า งความสามารถในการ


พิจารณาหนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้ และตัดสินใจว่าจะกระทาสิ่งใด
อีกทั้งยังทาให้มีการพิจารณาถึงผลที่ตามมาและมีการคิดอย่างมีแบบ
แผนก่อนที่จะเลื อกหนทางปฏิบัติ สิ่งที่ช่ วยให้สามารถตั ดสินได้ ดี
ได้ แ ก่ เจตนารมณ์ ข องผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา ผลลั พ ธ์ ที่ พึ ง ปราถนา กฎ
กฎหมาย ระเบียบ ประสบการณ์ และค่านิยม นอกจากนี้ ยังรวมถึง
ความสามารถในการประเมินความเข้มแข็งและความอ่อนแอของ
ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานในระดับเดียวกันรวมถึงข้าศึกศัตรูได้
และสามารถหาค าตอบและการลงมื อ ปฏิ บั ติ ที่ เ หมาะสมได้
เช่นเดียวกับไหวพริบปฏิภาณ ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของการแก้ปัญหา
และการตัดสินใจ

นวัตกรรม
๖-๑๒. ผู้สร้า งนวัต กรรม หมายถึง ผู้นาที่ มีความสามารถในการ
สร้าง หรือเปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อจาเป็น
หรือมีโอกาส การเป็นผู้สร้างนวัตกรรมยังรวมถึงสร้างความคิดใหม่
ซึ่งคุ้มค่าและเป็นต้นตารับ(นวัตรกรรม คือสิ่งที่ทาขึ้นใหม่ ดีกว่าเดิม
และแตกต่างจากที่เป็นอยู่)

๖-๑๓. ในบางครั้ ง ปั ญ หาใหม่ ป รากฏออกมา หรื อ ปั ญ หาเก่ า ก็

๖-๕
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

ต้องการวิธีแก้ปัญหาใหม่ ผู้นากองทัพบกควรถือโอกาสที่จะคิดใน
เชิงสร้างสรรค์และทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แนวความคิดหลักใน
การคิดเชิงสร้างสรรค์คือการพัฒนาความคิดและวิธีการใหม่ เพื่อ
สร้างความท้าทายให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความคิดและหนทาง
ใหม่ ๆ นอกจากนี้ ยั ง รวมถึ ง การคิ ด ประดิ ษ ฐ์ วิ ธี ก ารใหม่ ใ ห้ กั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชาและข้าราชการพลเรือนกลาโหมเพื่อให้บรรลุทั้งกิจ
เฉพาะ กิจแฝงและภารกิจ การคิดเชิงสร้างสรรค์ยังใช้วิธีการปรับสิ่ง
ที่มีอยู่เดิม (ได้มาจากกรณีแวดล้อมที่คล้ายกันซึ่ง เคยเกิดขึ้น ) หรือ
วิธีการเปลี่ยนแปลง (เกิดจากความคิดใหม่ๆ)

๖-๑๔. ผู้นาทุกคน “สามารถ” และ “ต้อง” คิดอย่างสร้างสรรค์


เพื่อปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ หน่วยที่เข้าวางกาลังในการ
ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ เสถี ย รภาพอาจพบว่ า ตนเองแยกอยู่ โ ดดเดี่ ย วใน
บริเวณจากัดที่ขาดแคลนเครื่องอานวยความสะดวกในการเล่นกีฬา
และไม่มีที่พอที่จะวิ่ง ทาให้ผู้นาต้องคิดหาวิธีการเพื่อคงไว้ซึ่งความ
สมบูร ณ์แข็ งแรงทางร่างกายของทหารให้ไ ด้ ซึ่ง ได้แก่ การฝึกยก
น้าหนัก เกมส์ต่างๆ การวิ่งอยู่กับที่ การเต้นแอโรบิค การออกกาลัง
บนสายพาน และการฝึกหัดความสมบูรณ์แข็งแรงอื่นๆ

๖-๑๕. ผู้นาการเปลี่ยนแปลงต้องไม่นิ่งนอนใจในการหาวิธีการใหม่
ที่จะท้าทายผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยการคิดและวิธีการที่มองไปข้างหน้า
การเป็นผู้สร้างนวัตกรรมนั้นผู้นาต้องเรียนรู้ที่จะเชื่อในสัญชาตญาณ
ประสบการณ์ ความรู้ รวมทั้งสิ่งที่ได้ รับจากผู้ใต้บังคับบัญชา ดังนั้น
ผู้นาจึงต้องเสริมสร้างหน่วยโดยการทาให้ทุกคนมีความรับผิดชอบ
และเกิ ด ความรู้ สึ ก มี ส่ ว นร่ ว มในความส าเร็ จ และล้ ม เหลวต่ อ
กระบวนการสร้างนวัตกรรม

๖-๖
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

ความแนบเนียนในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
๖-๑๖. การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพขึ้ นอยู่กับการ
รู้ในสิ่งที่ผู้อื่นรับรู้ และยังขึ้นอยู่กับการยอมรับในลักษณะ ปฏิกิริยา
โต้ตอบ และสิ่งจูงใจของคนใดคนหนึ่ง หรือคนอื่นๆ ความแนบเนียน
เป็ น ส่ ว นผสมของทั ก ษะ ควบคู่ ไ ปกั บ การตระหนั ก ถึ ง ความ
หลากหลาย การแสดงออกถึงการควบคุมตนเอง การปรับ สมดุ ล
และมีความมั่นคงในทุกสถานการณ์

การตระหนักถึงความหลากหลาย
๖-๑๗. ทหาร ข้าราชการพลเรือนกลาโหมและกาลัง พลพลเรือน
ประเภทชั่วคราว ก่อกาเนิดมาจากภูมิหลังที่แตกต่างกัน โดยหล่อ
หลอมมาจากโรงเรียน เพศ ศาสนา และสิ่งอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลเช่นกัน
ทั้ ง นี้ ทั ศ นคติ ส่ ว นบุ ค คลภายในกลุ่ ม สั ง คมหนึ่ ง ๆ ก็ อ าจมี ค วาม
แตกต่างกันได้ ผู้นาควรหลีกเลี่ยงการสรุปที่เกิดจากการพูดหรือทา
ต่อๆ กันมา สิ่ง ที่พึง กระทาก็คือการทาความเข้าใจเป็นรายบุคคล
เกี่ย วกับ การยอมรับความแตกต่าง ข้อ จากั ด การสนับสนุน และ
ศักยภาพ

๖-๑๘. การเข้าสังกัดกองทัพบกในฐานะทหาร ข้าราชการพลเรือน


กลาโหมหรือผูใ้ ต้บังคับบัญชา แสดงถึงการยอมรับในวัฒนธรรมของ
กองทัพบก ซึ่งเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวคนเหล่านี้ไว้ด้วยกัน ผู้นาจึง ทุ่มเททา
ใ ห้ ห น่ ว ย แ ข็ ง แ ก ร่ ง ขึ้ น โ ด ย ก า ร ส ร้ า ง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้
ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชารู้ ถึ ง คุ ณ ค่ า ที่ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาแต่ ล ะคน มี
ความสามารถพิ เ ศษ การให้ ก ารสนั บ สนุ น ของผู้ น าและการที่
ผู้ใต้บังคับบัญชามีความแตกต่าง งานของผู้นาจึงไม่ใช่การทาให้ทุก
คนเหมื อ นกั น แต่ เ ป็ น การน าข้ อ ได้ เ ปรี ย บของคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง

๖-๗
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

ประสงค์และพรสวรรค์ที่แตกต่างกันมาใช้ให้เกิดผลดีต่อ หน่วย สิ่งที่


ท้าทายที่สุดก็คือการวางตัวของสมาชิกในหน่วยอย่างถูกต้องเพื่อ
สร้างความเป็นไปได้ที่ดีที่สุดให้กับหน่วย

๖-๑๙. ผู้ น าควรเปิ ด ใจให้ ก ว้ า งเกี่ ย วกั บ ความหลากหลายทาง


วัฒนธรรม ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญเนื่องจากไม่ทราบว่าความสามารถพิเศษ
ของบุคคลจะส่งเสริมให้บรรลุภารกิจได้อย่างไร

การควบคุมตนเอง
๖-๒๐. ผู้นาที่ดีจะควบคุมอารมณ์ของตนเอง แทนที่จะแสดงอาการ
โกรธ เกรี้ยวกราด หรือไม่แสดงอาการอะไรเลย ผู้นาควรแสดงออก
ถึ ง ความรู้ สึ ก และอารมณ์ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสมกั บ ความรู้ สึ ก และ
อารมณ์ของผู้ใต้บังคับบัญชา การคงไว้ซึ่งการควบคุมตนเองจะเป็น
แรงบั นดาลใจในการสร้า งความรู้ สึก มั่ น ใจอั น สงบในหน่ ว ย การ
ควบคุมตนเองยังทาให้ได้รับผลสะท้อนกลับจากผู้ใต้บังคับบัญชาซึ่ง
ทาให้เข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสนาม
รบการควบคุมตนเองเป็นสิ่งสาคัญต่อผู้นาเป็นอย่างมาก หากผู้นาไม่
สามารถควบคุมตนเองได้แล้วก็ไม่ต้องคาดหวังว่าผู้ใต้บังคับบัญชาจะ
สามารถควบคุมตนเองได้เช่นกัน

ปัจจัยในการแสดงอารมณ์
ใครๆ ก็โกรธได้ – ซึ่งเป็นเรื่องง่าย... แต่ การโกรธให้ถูกคน
ถูกเรื่อง ถูกเวลา และถูกวิธี ไม่ใช่เรื่องง่ายที่ทุกคนจะทาได้
อริสโตเติล นักปรัชญา ชาวกรีก
และอาจารย์ของพระเจ้า อเล็กซานเดอร์มหาราช

๖-๘
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

๖-๒๑. การควบคุ ม ตนเองของผู้น า การรั ก ษาสมดุ ล และความ


มั่นคง เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลสูงต่อความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น มนุษย์อยู่ได้ด้วยความหวัง ความกลัว ความกัง วล และความ
ฝัน ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งจูงใจและความอดทนถูกจุดประกายด้วย
พลังแห่งอารมณ์ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ทรงอานาจของผู้นา การให้ผล
สะท้อ นกลับในเชิงก่อให้เกิด แรงบันดาลใจ ก่อให้เกิดประโยชน์
และจะช่วยระดมพลังแห่งอารมณ์ความรู้สึกของทุกคนในหน่วย
ให้สามารถบรรลุภารกิจอันหนักหน่วงในเวลายากลาบากได้

๖-๒๒. การควบคุมตนเอง การรักษาสมดุล และการมีความมั่นคง


ทางจิ ตใจยั ง ช่ว ยให้สร้างทางเลือกในเชิ งศีลธรรมได้อ ย่างถู กต้อ ง
ผู้นาที่มีคุณธรรมประสบความสาเร็จในการประยุกต์ใช้หลักการเชิง
คุณ ธรรมเพื่อ ที่จ ะตั ด สิน ใจและรัก ษาการควบคุม ตนเอง ผู้ นาไม่
สมควรน าความรู้ สึ ก ส่ ว นตั ว เช่ น ความเมตตาปราณี ที่ ม าจาก
อารมณ์ความรู้สึกตนเองมาเกี่ยวข้องกับภารกิจความรับผิดชอบ
เพราะสิ่ง สาคั ญคื อ การรั กษาความสงบของจิ ตใจภายใต้ค วาม
กดดันต้อ งใช้กาลังความสามารถในสิ่งที่อยู่ในอานาจการบังคับ
บัญชาและต้องไม่กังวลในสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้ อันเป็นเรื่อง
วิกฤตของผู้นา

๖-๒๓. วุฒิภาวะทางอารมณ์และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้นา
ต้องพึงระวังในเรื่องของความแข็งแกร่งและความอ่อนแอของตนเอง
การใช้กาลังความสามารถไปในเรื่องของการปรับปรุงตนเอง ในขณะ
ที่ผู้ น าที่ไ ม่ มี วุฒิ ภ าวะมั ก จะสู ญ สี ยก าลั งความสามารถไปกั บ การ
ปฏิเสธสิ่งใดๆ ที่เห็นว่าผิดหรือการวิเคราะห์อยู่กับปัญหาเฉพาะหน้า
การมีวุฒิภาวะทางอารมณ์หมายถึงผู้นาซึ่งได้รับประโยชน์จากผล

๖-๙
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

สะท้อนกลับในวิถีทางที่ผู้ขาดวุฒิภาวะทางอารมณ์ไม่สามารถทาได้

ดุลยภาพ
๖-๒๔. ผู้ น าซึ่ ง สามารถรั ก ษาสมดุ ล ทางอารมณ์ ส ามารถแสดง
อารมณ์ไ ด้เหมาะสมกับสถานการณ์สามารถอ่านระดับความรู้สึ ก
อารมณ์ของผู้อื่นได้ ซึ่งจะได้มาจากประสบการณ์และการเปิดโอกาส
ให้ผู้ใต้บังคั บบัญชาได้ เปิดเผยความรู้สึกนึก คิดในเหตุ การณ์ต่างๆ
พวกเขามีขอบเขตของทัศนคติจ ากการผ่อนคลายความตึง เครีย ด
ด้วยวิธีการซึ่งแตกต่างกันไปตามสถานการณ์ ผู้นารู้ว่าจะเลือกสิ่งใด
ในกรณี แ วดล้ อ มหนึ่ ง ๆ ได้ อ ย่ า งไร ผู้ น าที่ มี ดุ ล ยภาพจะรู้ ว่ า การ
สารวจสิ่งต่างๆ คือความเร่งด่วนที่ต้องไม่นาหน่วยไปสู่ความสับสน
ยุ่งเหยิงนั้นจะทาได้อย่างไร

เสถียรภาพ
๖-๒๕. ผู้ น าที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพคื อ ผู้ ที่ มี ค วามหนั ก แน่ น มี อ ารมณ์
มั่นคงเมื่ออยู่ภายใต้ความกดดันและความเหนื่อยอ่อน และมีความ
สงบเมื่อเผชิญกับอันตราย ลักษณะที่ทาให้ผู้ใต้บัง คับบัญ ชามองดู
ผู้นาเป็นตัวอย่าง อย่างสม่าเสมอก็คือ
- เป็นแบบอย่างในการแสดงอารมณ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
- เข้มแข็ง อดทนต่อเครื่องล่อใจที่จะทาในสิ่ง ซึ่ง “ตนเอง
รู้สึกว่าดี”(มาจากความรู้สึกและอารมณ์ของตนเอง)
- การแสดงออกภายใต้ความกดดัน ที่สามารถช่วยหน่วยได้
- ผู้ น าต้ อ งแสดงความหนั ก แน่ น มั่ น คงเช่ น เดี ย วกั น หาก
ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาสามารถสงบนิ่ ง และใช้ เ หตุ ผ ลภายใต้
ความกดดันได้

๖-๑๐
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

ความรู้ทางทหาร
๖-๒๖. ความรู้ทางทหารต้องการข้อเท็จจริง ความเชื่อ และการ
ตั้งสมมติฐานเชิงตรรกให้ครอบคลุมในด้านต่างๆ ความรู้ทางทหาร
เป็นความเข้าใจเกี่ยวกับยุทธวิธีทางทหารซึ่ งเกี่ยวข้องกับการสร้าง
ความปลอดภัยตามวัตถุประสงค์ที่ออกแบบไว้โดยการใช้เครื่องมือ
ทางทหาร ประกอบด้วยข้อมูลข่าวสารพิเศษที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่
หรือระบบใดระบบหนึ่งโดยเฉพาะ ความรู้ การรบร่ วม หมายถึ ง
ความเข้า ใจเกี่ ยวกั บองค์ก รรบร่ วม ขั้น ตอนการปฏิบั ติ ง าน และ
บทบาทในการปูองกันประเทศชาติ นอกจากนี้ยังมีความรู้ทางด้าน
วัฒนธรรมและภูมิศาสตร์การเมืองซึ่งเป็นความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
สภาพภูมิศาสตร์ ความแตกต่างและความรู้สึกอ่อนไหวทางการเมือง

ความรู้ทางด้านยุทธวิธี
หลักนิยม
๖-๒๗. ผู้นาต้องรู้เกี่ยวกับหลักนิยม ยุทธวิธี เทคนิค และระเบียบ
วิธีปฏิบัติ ความรู้ทางยุทธวิธีทาให้ ผู้นาสามารถปูอนงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพให้กับบุคคล หน่วย และองค์กรที่มีขนาดใหญ่ขึ้นให้
ร่ ว มกั น ท ากิ จ กรรมของระบบ (การรบที่ มี ค วามหลากหลาย)
เพื่ อ ที่ จ ะต่ อ สู้ แ ละได้ ชั ย ชนะในการปะทะและในการสู้ ร บ หรื อ
ประสบความสาเร็ จในวัตถุ ประสงค์ อื่น ๆ ในขณะที่ผู้บั ง คับบัญ ชา
ระดับสั่ ง การตรงมักจะต่อสู้ใ นสถานการณ์ ปัจจุบัน แต่ผู้น าระดั บ
องค์กรมักจะเน้นลึกลงไปในเรื่องเวลา สถานที่ และเหตุการณ์ ซึ่งสิ่ง
เหล่านี้ก็คือมิติทางภูมิศาสตร์การเมืองนั่นเอง

๖-๒๘. ยุทธวิธี คื อ ศาสตร์ และศิลป์ของการใช้เครื่อ งมือที่มีอ ยู่


เพื่อให้ได้ชัยชนะการปะทะ และในการรบ ศาสตร์ของยุทธวิธีได้รวม

๖-๑๑
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

เอาคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ เทคนิ ค และระเบี ย บวิ ธี ป ฏิ บั ติ ซึ่ ง


สามารถประมวลไว้ได้ ส่วนศิลป์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับลาดับของวิธีการ
ซึ่งมีความสร้างสรรค์และอ่อนตัวที่จะบรรลุภารกิจที่ได้รับมอบ การ
ตัดสินใจเมื่อต้องเผชิญกับศัตรูที่ชาญฉลาด และผลของการรบที่มีต่อ
ทหาร

ความชานาญภาคสนาม
๖-๒๙. ความชานาญภาคสนามอธิบายถึ ง ทักษะพึง ประสงค์ของ
ทหารในการดารงตนในสนาม ความคล่องแคล่วในสนามจะช่วยให้
ลดการบาดเจ็ บ ลงได้ ความเข้ า ใจและความเป็ น เลิ ศ ในความ
เชี่ ย วชาญภาคสนามสร้ า งปั จ จั ย ที่ จ ะบรรลุ ภ ารกิ จ เช่ น เดี ย วกั น
กองทัพบกต้องการผู้นาที่สร้างความมั่นใจได้ว่าเขาทาให้ทหารมีการ
ดูแลตนเองและจัดหาเครื่องมือที่เป็นปัจจัยเพื่อความสาเร็จในสนามได้

๖-๓๐. หนังสือ คู่มือของทหารในการปฏิบัติภารกิจ แสดงถึงทักษะ


รายบุคคลที่ทหารทุกคนต้องรู้เพื่อให้ปฏิ บัติไ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
ในสนาม ทักษะเหล่านี้รวมทุกอย่างตั้งแต่การรักษาสุขภาพจนถึง
คาแนะนาต่างๆ เช่นการขุดที่มั่นเข้าทาการรบ อันเป็นทักษะเฉพาะ
เพิ่มเติมของการทางานภาคสนาม ซึ่ง จะต้องแสดงไว้ในคู่มือ ของ
ทหาร

๖-๓๑. ผู้นาจะมีความชานาญภาคสนามได้จากการฝึก การศึกษา


และการปฏิบัติซ้าแล้วซ้าอีก ถึงแม้ว่าการเรียนรู้จะกระทาได้ไม่ยาก
แต่ทักษะความชานาญภาคสนามมักจะถูกเพิกเฉยในระหว่างการฝึก
เพราะในระหว่างการฝึกในภาวะปกติ ผู้นาต้องบังคับเรื่องวินัยทาง
ยุทธวิธีอย่างเข้มงวด และมั่นใจว่าทหารของเขาได้รับการฝึกให้มี

๖-๑๒
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

ความช านาญภาคสนามเพื่ อ ปูอ งกั นมิ ใ ห้เ กิ ดการบาดเจ็ บ ในยาม


สงคราม ศูนย์ฝึกทางยุทธวิธีของกองทัพบก แสดงตัวอย่างที่ถูกต้อง
ในการกาหนดการฝึกตามสภาพที่เป็นจริงในสภาพแวดล้อมที่บังคับ
ให้ทหารมีวินัยทางยุทธวิธีและความชานาญภาคสนาม

ความคล่องแคล่วทางยุทธวิธี
๖-๓๒. ความสามารถทางยุ ทธวิธี ที่ ได้ รับ จากการฝึ ก ตามวงรอบ
ประจาปี และศูนย์ฝึกทางยุทธวิธีข องกองทัพบก เป็นสิ่ง ที่ท้าทาย
ผู้นาที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์พยายามที่จะถอดแบบสภาพของ
การปฏิบัติการให้เหมือนจริงในระหว่างการฝึกที่เน้นทางด้านการรบ
แต่ในความเป็นจริงแล้วผู้นาไม่สามารถนาหน่วยทั้งหน่วยเข้าสู่ การ
ฝึ ก การด าเนิ น กลยุ ท ธ์ อ ย่ า งเต็ ม รู ป แบบได้ ผู้ น าต้ อ งเรี ย นรู้ ที่ จ ะ
เตรี ยมพร้ อม ณ ระดั บสู งสุ ดโดยการฝึก เพี ยงบางส่ วนของล าดั บ
เหตุการณ์ หรือบางส่วนของหน่วย หากเป็นหน่วยขนาดใหญ่ขึ้นก็ใช้
การฝึกจาลองยุทธ์แทน ถึงแม้ว่าจะมีข้อจากัดและทาให้น่าราคาญใจ
แต่ผู้นาที่เน้นเรื่องความพร้อมรบจะทาการฝึกให้เหมือนจริงเท่าที่จะ
เป็นไปได้ (คู่มือราชการสนาม ๗ – ๐ และ ๗ – ๑ กล่าวถึงหลักการ
และเทคนิคในการฝึก)

ความรู้ทางด้านเทคนิค
การรู้จักยุทโธปกรณ์
๖-๓๓. ความรู้ทางด้านเทคนิคเกี่ยวข้องกับอาวุธ ยุทโธปกรณ์ และ
ระบบ เป็นการรวมทุกสิ่งทุกอย่างตั้งแต่ปืนไปจนถึงคอมพิวเตอร์ซึ่ง
ใช้ติดตามการปฏิบัติของบุคคล การที่ผู้นาระดับสั่งการตรงเป็นผู้ที่
เกี่ยวข้องใกล้ชิดกับยุทโธปกรณ์ต่างๆ มากกว่าผู้นาระดับองค์กรและ
ระดับยุทธศาสตร์ ดังนั้นเขาจึงจาเป็นต้องรู้วิธีการทางานและรู้ว่าจะ

๖-๑๓
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

ใช้อย่างไร อีกทั้งเป็นผู้ที่สามารถแก้ปัญหาได้หากเกิดปัญหาเกี่ยวกับ
ยุทโธปกรณ์ ให้สามารถใช้ได้ดีขึ้น ประยุกต์ใช้ได้อย่างไร ซ่อมแซมได้
อย่างไร และดัดแปลงได้อย่างไร

การดาเนินการด้านยุทโธปกรณ์
๖-๓๔. บรรดาทหารและข้ า ราชการ พลเรื อ นกลาโหมรู้ วิ ธี
ดาเนินงานเกี่ยวกับยุทโธปกรณ์ในหน่วยของตนและมั่นใจว่าทุกคน
จะทาได้ดีเช่ นกัน ผู้นาจึ งมักท าด้วยวิธีการทาเป็นตัว อย่าง เมื่อ มี
ยุทโธปกรณ์ใหม่มาถึง ผู้นาระดับสั่งการตรงจะเรียนรู้วิธีการใช้และ
ฝึกให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา เมื่อคนแต่ละคน แต่ละหน่วย ได้รับการ
ฝึก หน่ว ยทั้ ง หน่ ว ยก็ จะได้ รั บการฝึ กด้ ว ย ผู้น ารู้ ดี ว่า ความเข้ า ใจ
เกี่ยวกับจุดเด่นและจุดด้อยของยุทโธปกรณ์เป็นสิ่ง สาคัญ ยิ่ง การ
ปรับปัจจัยเหล่านี้เป็นสิ่งจาเป็นต่อความสาเร็จในสนามรบ

การใช้ยุทโธปกรณ์
๖-๓๕. ผู้น าทุ ก ระดับ ตั้ งแต่ร ะดับ สั่ง การตรง ระดั บ องค์ก ร และ
ระดับยุทธศาสตร์ จาเป็นต้องรู้ถึงคุณค่า และหน้าที่ของยุทโธปกรณ์
ที่มี และรู้วิธีการใช้งานยุทโธปกรณ์ในหน่วยและองค์กร ระดับหน่วย
ที่สูงขึ้นนั้น ความต้องการเกี่ยวกับความรู้ทางเทคนิคจะเปลี่ยนจาก
ความเข้าใจถึงการทางานของยุทโธปกรณ์เป็นรายชิ้นไปเป็นความ
เข้าใจวิธีการใช้ งานของยุทโธปกรณ์ทั้ง ระบบ ผู้ นาระดับสูง ต้องมี
ความรับผิดชอบเพื่ อให้ตื่นตัวในเรื่องคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของ
ยุทโธปกรณ์ในอนาคต และผลกระทบของการปฏิบัติง านจริงของ
ยุทโธปกรณ์ที่มีต่อองค์กร ผู้นาระดับองค์กรและระดับยุทธศาสตร์
บางครั้งก็มีความพลั้งเผลอไม่ติดตามการพัฒนาของระบบใหม่ ๆ สิ่ง
ที่ผู้นาต้องมีความรู้ก็คือคุณสมบัติหลักและคุณลักษณะที่พึงประสงค์

๖-๑๔
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

ที่ต้องการ ส่ วนสิ่ง ที่ ผู้นาต้ องสนใจก็คือ ความรู้ ในแง่ มุมต่างๆ เชิ ง


เทคนิคว่าระบบนั้นมีผลต่อหลักนิยมอย่างไร ลักษณะการออกแบบ
เชิงโครงสร้าง การฝึก อาวุธยุทโธปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง กาลังพล และสิ่ง
อานวยความสะดวก ทั้งนี้ยังต้องมั่นใจว่าได้จัดให้มีแหล่งทรัพยากรที่
จาเป็นต่อการใช้ในภาคสนามที่เหมาะสม การฝึก การบารุงรักษา
การใช้งาน การทารายการ และการส่งคืนยุทโธปกรณ์ ภายในหน่วย
เป็ น สิ่ ง ที่ ผู้ น าต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบด้ ว ยตนเอง(กรณี ศึ ก ษา ของศุ น ย์
การทหารราบ ปี ๒๕๕๔)

ความรูก้ ารรบร่วม
๖-๓๖. การรบร่วม คือ การทาสงครามเป็นหน่วยทหารขนาดใหญ่
พระราชบัญญัติ จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหมพ.ศ.๒๕๕๑
ระบุถึงความร่วมมือ ความรับผิดชอบของคณะบุคคลระดับรัฐบาล
ส่ ว นราชการ ต่ า งๆทางทหารของประเทศ อยู่ บ นพื้ น ฐาน
ประสบการณ์ที่มาจากการประสบการณ์ที่ผ่านมาในอดีต ผู้นาที่มี
อาวุ โ สน้ อ ยที่ สุ ด ไปจนถึ ง ระดั บ นายพลที่ ท าหน้ า ที่ อ ยู่ ใ นระดั บ
ยุทธศาสตร์ จึงสมควรได้รวมเอาความสาคัญของการรบร่วมเอาไว้
ด้วย ผู้นาจึงได้มาซึ่งความรู้ร่วม ตลอดจนการฝึกแบบเป็นทางการใน
แผนงานการ ฝึก ศึกษาทางทหารระดับการรบร่วม และฝึกปฏิบัติให้
เกิดความพร้อมเมื่อได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ฝุายอานวยการ
ในองค์กรร่วม ผู้นาต้องยอมรับว่าทหารทุกหน่วยเหล่านามาซึ่งความ
เข้มแข็งและข้อจากัดเมื่อเข้าสู่สนามรบ มีเพียงความร่วมมือของทุก
หน่วยเหล่าที่สามารถทาให้มั่นใจในความสาเร็จของภารกิจได้อย่าง
รวดเร็วในสภาพแวดล้อมทางการปฏิบัติการที่ซับซ้อนที่ทหารเผชิญอยู่

๖-๑๕
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

ความรู้เชิงวัฒนธรรม และภูมิรัฐศาสตร์
๖-๓๗. วัฒนธรรมประกอบด้วย ความเชื่อ ค่านิยมที่มีร่วมกัน และ
สมมติฐานว่าสิ่งใดสาคัญ ปัจจัยทางวัฒนธรรมซึ่งผู้นาต้องเอาใจใส่มี
ปัจจัยอยู่ ๓ ประการ คือ
 รับรู้ถึงความแตกต่างเกี่ยวกับภูมิหลังเพื่อดึงความสามารถ
ที่ซ่อนเร้นของสมาชิกในหน่วยออกมาให้ได้มากที่สุด
 เคารพวัฒนธรรมของประเทศที่เข้าไปปฏิบัติการ
 เมื่ อ ต้ อ งท างานร่ ว มกั บ กองก าลั ง ต่ า งชาติ ใ ห้ พิ จ ารณา
เกี่ ย วกั บ จารี ต ประเพณี หลั ก การทางทฤษฎี และวิ ธี
ปฏิบัติการ

๖-๓๘. ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมของฝุายตรงข้าม และของ


ประเทศที่เข้าไปปฏิบัติการนั้นมีความสาคัญเท่ากับการที่เราเข้าใจถึง
วั ฒ นธรรมของทหารภายในประเทศและองค์ ก รของเราเอง
สภาพแวดล้อมทางการปฏิบัติแบบเดียวกันต้องการให้ผู้นาทุกคนมี
ความระแวดระวังทางวัฒนธรรมและภูมิศาสตร์การเมื อง ซึ่ง วาง
หน่วยที่เล็กกว่าในสถานการณ์ที่ซับซ้อนทางวัฒนธรรมมากกว่าด้วย
การสืบข่ าวทางสื่ อโดยต่ อเนื่อง ผลที่ตามมาก็คือ การระมัดระวั ง
เหตุการณ์ ปัจจุบัน โดยเฉพาะในส่วนที่เป็นผลประโยชน์ของชาติ
ก่อนการเข้าวางกาลัง ให้มั่ นใจว่าทหารและองค์กรได้เ ตรียมการ
อย่างเหมาะสมที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับประชากรในพื้นที่เฉพาะ ทั้ง
ในฐานะฝุายเดียวกัน ฝุายที่ เป็นกลาง และฝุายตรงข้าม ยิ่งเรียนรู้
เกี่ยวกับเกี่ยวกับวัฒนธรรมรวมทั้งภาษาของฝุายที่เป็นกลาง ฝุาย
ตรงข้าม เหล่านั้นมากเท่าใด ย่อมทาให้กองทัพบกมีประสิทธิภาพ
มากขึ้นเท่านั้น

๖-๑๖
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

๖-๓๙. การเข้ า ใจวั ฒ นธรรมของผู้ อื่ น ประยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้ กั บ การ


ปฏิบัติการเต็มรูปแบบ ไม่ใช่เป็นเพียงการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ
หรือการบูรณะขึ้นมาใหม่ ตัวอย่างเช่น ยุทธวิธีที่แตกต่างกันอาจ
ใช้ต่อต้านฝ่ายตรงข้ามที่ยอมแพ้โดยไม่รักเกียรติซึ่งแย่ยิ่งกว่ายอม
ตาย เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ คนที่ ย อมแพ้ แ ต่ ยั ง คงรั ก ษาเกี ย รติ ไ ว้
เช่นเดียวกันถ้า หน่วยกาลังปฏิบัติงานโดยเป็นส่ วนหนึ่ง ของหน่วย
ทหารหลายชาติ การที่ผู้นารู้เกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึง ประสงค์และ
ข้อจากัดของผู้ร่วมปฏิบัติงานได้ดีเพียงใดจะมีผลต่อการบรรลุภารกิจ
ของหน่วยมากเท่านั้น

๖-๔๐. ความเข้ า ใจทางด้ า นวั ฒ นธรรมมี ค วามส าคั ญ ต่ อ การ


ปฏิ บั ติ ก ารนานาชาติ ผู้ น าควรใช้ เ วลาในการเรี ย นรู้ เกี่ ย วกั บ
ขนบธรรมเนียมประเพณีเท่าๆ กับระเบียบปฏิบัติและหลักนิยมของ
ผู้ร่วมงาน รวมทั้งหากต้องการให้การปฏิบัติการนานาชาติสัมฤทธิ์ผล
ยังต้องระมัดระวังเกี่ยวกับความแตกต่างของการใช้คาศัพท์เฉพาะ
ทางหลักนิยมและการแปลคาสั่งและคาแนะนาต่างๆ โดยต้องเรียนรู้
ว่าผู้ร่วมงานคิดอย่างไรและทาไมผู้ร่วมงานจึงทาเช่นนั้น ผู้นาของ
การปฏิ บั ติ ก ารนานาชาติ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มั ก จะสร้ า งสรรค์
“วัฒนธรรมที่สาม จากการรับเอาแนวการปฏิบัติของวัฒนธรรมที่
หลากหลายเพื่อสร้างพื้นฐานของวัฒนธรรมร่วมขึ้นมา

๖-๔๑. นอกเหนือไปจากการเอาชนะอุปสรรคทางด้านภาษา การ


ทางานในสภาพแวดล้อมที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย ทาให้ผู้นาต้อง
จัดทาแผนและคาสั่งให้ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อที่จะปูองกัน
การเข้ า ใจผิ ด และความสู ญ เสี ย ที่ ไ ม่ จ าเป็ น การอุ ทิ ศ ตนของ
นายทหารติดต่อ และนักภาษาศาสตร์ทาให้ เกิดสะพานเชื่อมทาง

๖-๑๗
บทที่ ๖ สติปัญญาของผู้นา

วัฒนธรรมระหว่างผู้ร่วมงานเพื่อทาให้ความแตกต่างลดน้อยลง แต่
ถึงแม้จะไม่สามารถขจัดออกไปได้หมด แต่ก็เป็นการจัดให้มีข้อมูล
เกี่ยวกับการทางานในสภาพแวดล้อมที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย ของ
การทางานกับนานาชาติที่จะอานวยประโยชน์ในอนาคตได้ต่อไป

๖-๔๒. การระแวดระวังทางวัฒนธรรมและความรู้ทางภูมิรัฐศาสตร์
เป็ น ปั จ จั ย ที่ ส าคั ญ เมื่ อ ผู้ น าได้ รั บ การท้ า ทายที่ จ ะเพิ่ ม อิ ท ธิ พ ล
นอกเหนือไปจากสายการบังคับบัญชาตามประเพณี (กล่าวไว้ในบท
ที่ ๗)

องค์ประกอบของแนวความคิด
ที่มีผลกระทบต่อสติปัญญาของผู้นา ประกอบด้วย
- ไหวพริบปฏิภาณ
- ดุลยพินิจอันเทีย่ งตรง
- นวัตกรรม
- ความแนบเนียน
- ความรู้ทางทหาร

๖-๑๘
ภาคที่ ๓ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ในการเป็นผู้นาทุกระดับ

ภาค ๓
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ในการเป็นผู้นาทุกระดับ

ในอนาคตอันใกล้ ผู้นาทุกระดับในศตวรรษนี้จาเป็นต้อง
มีความสามารถเหมือนนักปัญจกรีฑา กล่าวคือเป็นผู้ที่มีทักษะ
หลายด้าน สามารถประสบความสาเร็จได้ในสภาพแวดล้อมของ
การปฏิบัติงานที่ซับซ้อนและไม่แน่นอน ผู้นาซึ่งทาให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงและทาอย่างเหมาะสม เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญทั้งศาสตร์
และศิลป์ในการใช้กาลังรบด้วยความเป็นมืออาชีพ
กองทัพบกต้องการผู้นาที่กล้าตัดสินใจ ชอบการเปลี่ยนแปลง
มีทักษะการดัดแปลงให้เหมาะสม มีไหวพริบในเชิงวัฒนธรรม มีการ
สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และอุทิศตนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ผู้นาเป็นผู้ที่สมควรมอบความมุ่งหมาย ทิศทาง และการจูงใจ


ผู้ น าต้ อ งท างาน หนั ก เพื่ อ ที่ จ ะ “น าผู้ อื่ น ” พั ฒ นาตนเอ ง
ผู้ ใต้บั ง คับ บั ญ ชา และหน่ ว ย” เพื่อให้ ภ ารกิจ ที่ได้รับ ส าเร็ จลุ ล่ ว ง
สามารถผ่านข้ามย่านความขัดแย้งไปได้

ผู้ น าที่ ต้ อ งการให้ ส ภาพแ วดล้ อ มในเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารมี


ประสิทธิภาพต้องพิจารณาถึงผลกระทบของมิติต่าง ๆ ที่มีต่อสมาชิก
ในองค์กร สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศเป็นตัวกาหนดรูปแบบ
พื้นฐานการปฏิบัตการทั้งปวงเปรียบเหมือนกับวงรอบกลางวันและ
กลางคืน ทั้งนี้สภาพแวดล้อมพื้นฐานนี้ได้รับอิทธิพลจากเทคโนโลยี
ผลกระทบของการประยุกต์อานาจการยิง การดาเนินกลยุทธ์ การ
ภาคที่ ๓ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ในการเป็นผู้นาทุกระดับ

พิ ทั ก ษ์ ห น่ ว ย และภาวะผู้ น า การผสมผสานของผลกระทบเชิ ง
จิ ต วิ ท ยาของภยั น ตราย ผลกระทบของอาวุ ธ ภู มิ ป ระเทศ ที่
ยากลาบาก และกาลังฝ่ ายตรงข้ามที่เผชิญอยู่สามารถสร้างความ
ยุ่งยากและความสับสน ทาให้สามารถเปลี่ยนจากแผนทางยุทธวิธี
และทางยุทธการง่าย ๆ ไปเป็นความพยายามที่ท้าทายอย่างยิ่งยวด
ได้

การสร้ างค่านิ ยมและคุณลั กษณะให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ให้


เท่ากับความรู้ในอาชีพที่ได้ร่าเรียนมา เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการ
เป็นผู้นาที่เก่งมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ภาวะผู้ นาจะสาเร็จได้ก็
ต่อเมื่อผู้นาปฏิบัติและประยุกต์ใช้คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักและ
รองได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างเช่นคนที่ต้องก้าวจากการเป็นผู้นา
ระดั บ สั่ ง การตรงไปเป็ น ผู้ น าระดั บ องค์ ก รและยุ ท ธศาสตร์
คุณลักษณะที่พึงประสงค์เหล่านี้ถือได้ว่ายอมรับความซับซ้อนและ
ความแตกต่างทีม่ ีเพียงเล็กน้อย

ในฐานะผู้นาระดับสั่งการตรง ตัวอย่างของการนาอาจเป็น
การจัดให้มีเจตนารมณ์ของภารกิจ ณ ระดับองค์กร ผู้นาอาจจัดให้มี
วิสัยทัศน์และการมอบอานาจให้กับผู้อื่นดาเนินการแทน ในระดับ
ยุทธศาสตร์ ผู้นาคนเดียวอาจนาการเปลี่ยนแปลงและปรับเปลี่ยน
ทั้งหน่วย เพื่อนาไปสู่ความสาเร็จในอนาคต
บทที่ ๗ การนา

บทที่ ๗
การนา

๗-๑. ผู้นาประยุกต์ลักษณะ ท่าทางการแสดงออก ความฉลาด ให้


เข้ากับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในขณะเดียวกันจะให้แนวทางแก่
ผู้อื่นโดยการกาหนดเปูาหมายร่วมและการนาไปสู่การบรรลุภารกิจ
ผู้นาระดับสั่งการตรงมีผลต่อความเชื่อมั่นของผู้อื่นในลักษณะตัวต่อ
ตัว อย่างเช่นผู้นาที่ให้คาแนะนา ทาให้ตระหนักถึงความสาเร็จ และ
การกระตุ้นให้ทางานหนัก ผู้นาระดับองค์กรและระดับยุทธศาสตร์
จะใช้ผลของความเชื่อมั่นในขอบเขตอานาจบังคับบัญชาของตนเอง
รวมทั้ ง ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา เจ้ า หน้ า ที่ และฝุ า ยอ านวยการ แต่ ก็ มี
บ่อยครั้งที่ต้องใช้วิธีทางอ้อมในการมอบแนวทางให้กับหน่วย ระดับ
ผู้นาที่สั่งการโดยตรง ผู้หมวดรู้ว่าผู้บังคับกองพันต้องการให้ทาสิ่งใด
ให้บรรลุภารกิจ ไม่ใช่เพราะว่าผู้หมวดเป็นผู้ที่เข้าใจง่ายและรวดเร็ว
แต่เป็นเพราะว่ าผู้หมวดต้องเข้ าใจเจตนารมณ์ ของผู้บัง คับบัญ ชา
เหนือขึ้นไป ๒ ระดับ โดยที่เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญ ชาเป็นตัว
เชื่อมโยงที่จาเป็นระหว่างผู้นาระดับองค์กรกับผู้นาระดับสั่งการตรง
ทั้ ง นี้ ผู้ น าทุ ก ระดั บ ต้ อ งอาศั ย ประโยชน์ จ ากกระบวนทั้ ง ที่ เ ป็ น
ทางการและไม่เป็นทางการ ในการขยายความเชื่อมั่นตามสายการ
บังคับบัญชาที่มีอยู่

๗-๒. การแบ่ง ประเภทการนา ตามคุณลักษณะที่พึง ประสงค์หลัก


ของผู้ น า ประกอบด้ ว ยความสามารถ ๔ ประการ โดยที่
ความสามารถ ๒ ประการ เน้นที่ การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ ผู้ตาม
และอานาจหน้าที่และการบังคับบัญชา ได้แก่ การนาผู้อื่น และการ
เพิ่ ม ความเชื่ อ มั่ น นอกเหนื อ จากสายการบั ง คั บ บั ญ ชา ส่ ว น
๗-๑
บทที่ ๗ การนา

ความสามารถอีก ๒ ประการ จะกล่าวถึง วิธีการ ๒ วิธี ซึ่งแสดงถึง


การสร้ า งความเชื่ อ มั่ น โดยตั ว ผู้ น า นั่ น คื อ การน าโดยการเป็ น
แบบอย่าง และการสื่อสาร
 การนาผู้อื่นเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการมี อานาจบังคับบัญชา
ทหาร และข้าราชการกลาโหมพลเรือนในหน่วยหรือใน
องค์กร ความสามารถในการนาผู้อื่นประกอบด้วย การมี
ทิศทางที่ชัดเจน การบังคับให้ทาตามมาตรฐาน การสร้าง
สมดุ ล ในการดู แ ลเอาใจใส่ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชากั บ ความ
ต้อ งการของภารกิ จ เพราะผู้ ใต้ บัง คั บบั ญ ชาเหล่ านี้ คื อ
ทรัพยากรที่ก่อให้เกิดผลงาน การนาภายใต้สายการบังคับ
บัญชาด้วย กฎ ระเบียบวิธีปฏิบัติ และบรรทัดฐานต่างไป
จากการนานอกเหนือไปจากการยอมรับขององค์กร หรือ
การข้ามสายการบังคับบัญชา
 การเพิ่มอิทธิพลให้นอกเหนือไปจากสายการบังคับบัญชา
ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น
สภาพแวดล้อมใดๆ ที่รวมโครงสร้างการบังคับบัญชาที่สูง
กว่าและต่ากว่าเข้าไว้ด้วย โดยใช้ ความเชื่อมั่นของผู้ที่อยู่
นอกสายการบังคับบัญชาที่มีอยู่ ซึ่งรวมถึงการปฏิบัติการ
ร่ ว ม การท างานกั บ ชาติ พั น ธมิ ต ร และนานาชาติ ได้
เทียบเท่ากับการปฏิบัติของหน่วยปกติ รวมทั้ง งานที่ทา
โดยองค์กรและไม่ใช่องค์กรของรัฐบาล ทั้ง นี้ผู้นาต้องไม่
ปฏิบัติงานโดยไม่กาหนดอานาจหน้าที่ หรือปฏิบัติโดยที่
ผู้อื่นไม่ตระหนักว่าเป็นอานาจหน้าที่
 การนาโดยการเป็นแบบอย่างเป็นสิ่งสาคัญสาหรับการนา
อย่า งมี ประสิ ทธิภ าพที่ต้ องใช้เ วลา ไม่ ว่าจะมี เจตจ านง
หรือไม่ ผู้นาก็ต้องทาเป็นแบบอย่างให้ผู้อื่นพิจารณาและ

๗-๒
บทที่ ๗ การนา

ทาตาม ซึ่งก็คือการเป็น “ตัวแบบ” นั่นเอง และเป็นสิ่งที่


ผู้นาควรวางรากฐานไว้ในค่านิยม และปลูกฝังไว้ในความ
เป็นหัวใจนักรบ
 การสื่อสารทาให้มั่นใจว่าผู้นาเข้าใจอย่างชัดเจนว่าสิ่งใดที่
จ าเป็ น ต้ อ งท าให้ เ สร็ จ และท าไมต้ อ งท าสิ่ ง นั้ น ภายใน
องค์กร ความสามารถในการติดต่อสื่อสารเกี่ยวข้องกั บ
การจดจ่ อ อยู่ กั บ ความพยายามของหน่ ว ยในการไปสู่
เปูาหมายและกิจที่จะทาให้บรรลุภารกิจ ช่วยสร้างความ
สอดคล้ อ งและเครื่ อ งมื อ ที่ จาเป็ น ต่ อ การปฏิ บั ติ ก ารให้
สาเร็จลุล่วงในสภาวะที่ต้องปฏิบัติงานร่วมกับนานาชาติ
ผู้นาที่ประสบความสาเร็จจะแก้ไขความสามารถในการ
สื่อสาร โดยการพัฒนาทักษะการพูด การเขียน และการ
ฟัง ผู้บั ง คับ บัญชาต้อ งใช้ ก ารออกคาสั่ ง มอบภารกิจ ที่
ชัดเจน และเที่ยงตรง และรูปแบบมาตรฐานที่แสดงถึ ง
การตัดสินใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา

การนาผู้อื่น
๗-๓. ผู้นา คือบุคคลหนึ่ง ความพร้อมรบขึ้นอยู่กับความพร้อมของ
บุคคล ไม่ว่าจะเป็นบุคคลหรือเป็นหน่วย ซึ่งเราพิสูจน์แล้วว่าความ
พร้อม และ “การทาจิ ตใจให้พร้ อม” ทาได้ โดยการฝึก การจูง ใจ
และการให้การสนับสนุน การทาให้เขารู้สึกว่ามีส่วนร่วมในสาเร็จ
ของกองทัพบก

๗-๔. คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักของผู้นาโดยเฉพาะการนาผู้อื่น
เกี่ยวข้องกับการมีอานาจโน้มน้าวผู้นาสามารถนาเทคนิคต่างๆ มาใช้
เพื่อให้มีอานาจโน้มน้าวต่อผู้อื่น ซึ่งมีขอบเขตนอกเหนือจากการเชื่อ

๗-๓
บทที่ ๗ การนา

ฟัง อันจะสร้างการรับมอบหน้าที่ ในการทาให้บรรลุผลสาเร็จ การ


เชื่อฟังเป็นการกระทาที่จะทาให้สอดคล้องกับความต้องการเฉพาะ
หรือตามความจาเป็น การรับมอบหน้าที่ คือความตั้งใจที่จะอุทิศตน
หรื อ มี ค วามจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ องค์ ก ร หรื อ ต่ อ ความมุ่ ง หมายที่ มี ก าร
ต่อ ต้ า น ซึ่ ง มีค วามหมายตรงกั น ข้ า มกับ การเชื่ อ ฟั ง การรั บ มอบ
หน้าที่คือเทคนิคของการทาให้มีอานาจโน้มน้าวผู้อื่นสามารถทาได้
โดย บั ง คับ หรื อ มอบหมาย ซึ่ งผู้ น าอาจใช้ เพี ย งอย่ างเดีย ว หรื อ
มากกว่านั้นเพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์ใดๆ

การเชื่อฟัง และการรับมอบหน้าที่
๗-๕. การมีอิทธิพลแบบมุ่งเน้นการเชื่อฟัง มีพื้นฐานมาจากอานาจ
หน้าที่ของผู้นา การออกคาสั่งโดยตรงไปยังผู้ตามเป็นวิธีการหนึ่ง ที่
จะได้รับการยินยอมที่จะปฏิบัติตามในห้วงการปฏิบัติกิจใดกิจหนึ่ง
เทคนิ คการทาให้ เชื่อ ฟังเหมาะส าหรับ ห้วงระยะเวลาสั้น ๆ ความ
ต้องการที่เกิดปัจจุบันทันด่วน และงานใดๆ ที่ไม่ต้องการความเสี่ยง
หรื อ มี ค วามเสี่ ย งได้ น้ อ ยที่ สุ ด เหมาะส าหรั บ ผู้ น าที่ จ ะใช้ กั บ ผู้ ที่
ปฏิบัติงานที่ไม่คุ้นเคย หรือไม่ตั้งใจ หรือไม่สามารถรับมอบหน้าที่
ตามที่ร้องขอได้ ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องทาบางสิ่งให้ สาเร็จด้วย
ปัจจัยเวลาอันจากัด และไม่มีเวลาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทาความเข้าใจ
ว่าทาไมต้องทา เมื่อนั้นการทาให้เชื่อฟังจึงเป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับ
ถ้าหากจุดหมายของผู้นา คือการสร้างความริเริ่มและความนับถือ
ระดั บ สู ง ภายในที ม การมี อิ ท ธิ พ ลแบบมุ่ ง เน้ น การเชื่ อ ฟั ง ก็ ไ ม่ ใ ช่
เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพนัก

๗-๖. โดยปกติแล้วการสร้างความเชื่อมั่น แบบมุ่ง เน้นการรับมอบ


หน้าที่ จะมีผลกระทบเป็นวงกว้างและในระยะยาว ในขณะที่การ

๗-๔
บทที่ ๗ การนา

ทาให้เชื่อฟังเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ตาม แต่การทาให้
รับมอบหน้าที่เป็นการเข้าถึงที่ลึกซึ้งกว่ากัน คือเป็นการเปลี่ยนแปลง
ทั ศ น ค ติ แ ล ะ ค ว า ม เ ชื่ อ ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น เ มื่ อ ผู้ น า ส ร้ า ง ใ ห้
ผู้ใต้บังคับบัญชามีความรับผิดชอบ ผู้ใต้บังคับบัญชาก็จะแสดงความ
ริเ ริ่ ม ความคิ ดสร้ างสรรค์ และน าตนเองเข้า มาเกี่ ย วพั น มากขึ้ น
ความปรารถนาของปั จ เจกบุ ค คลท าให้ ไ ด้ รั บ ความรู้ สึ ก ของการ
ควบคุม และการพัฒนาคุณค่าของตนเอง แล้วจะเผื่อแผ่ไปยังองค์กร
ด้วย ทั้ ง นี้ขึ้น อยู่กับวั ตถุประสงค์ โดยที่ ผู้นาสามารถทาให้ การรั บ
มอบหน้ า ที่ ห นั ก แน่ น ขึ้ น ได้ โ ดยการส่ ง เสริ ม การยอมรั บ ของ
ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาด้ ว ยปั จ จั ย เหล่ า นี้ คื อ ชาติ (ความจงรั ก ภั ก ดี )
กองทัพบก (ความเป็นอาชีพ มือทหาร) หน่วยหรือองค์กร (การทา
หน้าที่โดยไม่เห็นแก่ตน) ภาวะผู้นาในหน่วย (ความเคารพ) และต่อ
งานที่ได้รับมอบหมาย

เทคนิคการสร้างความเชื่อมั่น
๗-๗. ในการสร้างอานาจโน้มน้าว ผู้นาจะใช้เทคนิคเฉพาะหลาย
ประการประกอบกันเพื่อให้เป็นไปตามส่วนที่ต่อเนื่องระหว่างการทา
ให้มีอานาจโน้มน้าวและการทาให้เชื่อฟัง เทคนิค ๑๐ ประการ ที่จะ
กล่าวต่อไป แสดงให้เห็นถึง ความแตกต่างระหว่างการเชื่อฟังกับการ
รับมอบหน้าที่ซึ่งวัดขอบเขตได้จากการเริ่มต้นของการเชื่อฟังกับการ
สร้างความสัมพันธ์ที่จุดเริ่มต้นของการรับมอบหน้าที่

๗-๘. การบีบบังคับ ใช้เมื่อผู้นาออกคาสั่งที่ชัดเจนเพื่อทาให้ยินยอม


ปฏิบั ติต าม อย่างเช่ น การกาหนดเส้น ตายในการท างานให้เ สร็ จ
สมบูรณ์ โดยต้องกาหนดผลลัพธ์ของการทางานที่ไม่บรรลุผลไว้ด้วย
การบีบบังคับโดยทางอ้อม รวมถึงการย้าเตือนและการตรวจสอบ

๗-๕
บทที่ ๗ การนา

เป็ น ประจา โดยใช้ ก ารเว้ น ระยะให้ พอควรโดยเฉพาะเมื่ อ ผู้น าใช้


อานาจบีบบังคับมากเกิ นไป ยิ่งหากผู้ใต้บังคับบัญชาคิดว่าเป็นการ
บีบบังคับที่นอกเหนือไปจากภารกิจ แต่เป็นเพราะผู้นาต้องการสร้าง
ความพอใจให้กับผู้บังคับบัญชาที่สูงกว่า ความรู้สึกไม่พอใจก็จะกัด
กร่อนขวัญ ความสามัคคี และผลงานขององค์กรโดยรวม การบีบ
บัง คับจะใช้ได้ดีก็ต่อเมื่อผลที่ได้รับอยู่ในระดับสูง ใช้เวลาสั้น และ
การพยายามในการปฏิบัติหน้าที่ครั้งก่อนหน้านี้ได้รับความล้มเหลว

๗-๙. การร้องขอโดยถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อผู้นาอ้างถึงที่มาของ


อานาจหน้าที่ที่จะกาหนดหลักพื้นฐานในการร้องขอ ในทางทหาร
เมื่อ ผู้นาได้ รับค าสั่ งที่ถู กต้ องตามกฎหมายจากหน่วยเหนือก็ ต้อ ง
ทางานที่ได้รับมอบให้สาเร็จโดยไม่คานึงถึงสถานการณ์ใดๆ โดยการ
อ้างถึงตาแหน่งของผู้หนึ่งโดยบอกเป็นนัยให้กับผู้ที่ขาดความเชื่อมั่น
ว่ามีอานาจที่ซ่อนเร้นสาหรับการปฏิบัติอย่างเป็นทางการหากการ
ร้องขอนั้นไม่สมบูรณ์ ซึ่งหมายถึงการใช้อานาจหน้าที่ตามกฎหมาย
นั่นเอง

๗-๑๐. การแลกเปลี่ ย น เป็ น เทคนิ ค การโน้ ม น้ า วที่ ผู้ น าใช้ เ มื่ อ


ต้อ งการสร้ างข้ อ เสนอในการจั ด สิ่ งที่ ต้ อ งการตอบแทนให้ หรื อ
เทคนิคการแลกเปลี่ยนโดยที่ผู้นาควบคุมทรัพยากรหรือสิ่งตอบแทน
ซึ่งมีคุณค่าต่อผู้ได้รับอิทธิพล

๗-๑๑. ผู้ น าใช้ ก ารขอร้ อ งเป็ น ร ายบุ ค คล เมื่ อ ต้ อ งการ ให้


ผู้ใต้บังคับบัญชาทาตามคาขอร้องด้วยมิตรภาพและความจงรักภักดี
ซึ่งอาจเกิดขึ้นบ่อยครั้งในสถานการณ์อันยุ่งยากโดยที่ความไว้วางใจ
ซึ่งกันและกันเป็นกุญแจสาคัญของความสาเร็จ การขอร้องของผู้นา

๗-๖
บทที่ ๗ การนา

ท า โ ด ย ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เ ศ ษ ข อ ง
ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความไว้วางใจซึ่งทาให้เขาแข็งแกร่ง ขึ้นก่อนที่
จะไปปฏิบัติภารกิจอันยากลาบาก ในการบรรยายสรุปของที่ประชุม
ครั้ ง ส าคั ญ หากนายทหารยุ ท ธการรู้ ว่ า ฝุ า ยเสนาธิ ก ารของ
ผู้บังคับบัญ ชาต้องการทางานให้ดีที่สุด เขาอาจต้องถามฝุายเสนาธิ
การถึงเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาก่อนที่จะทาการบรรยาย

๗-๑๒. ความร่วมมือ จะนามาใช้เมื่อผู้นา ร่วมในการจัดให้มีความ


ช่วยเหลือหรือทรัพยากรในการปฏิบัติตามคาสั่งหรือการร้องขอให้
ลุล่วง ผู้นาสร้างทางเลือกให้น่าสนใจโดยการเตรียมความพร้อมที่จะ
เข้าไปแก้ปัญหาใดๆ การทุ่มเทในการวางแผนหลักก่อนที่จะเข้าวาง
กาลังเข้าช่วยเหลือทางด้ านสิทธิมนุษยชนซึ่งต้องการความร่วมมือ
กับหน่วยงานร่วม ระหว่างองค์กร หรือองค์กรนานาชาติ

๗-๑๓. การชักจูงด้วยเหตุผล ผู้นาต้องมีหลักฐาน หลักตรรกในการ


ถกแถลง และอธิบายได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่ร้องขอนาไปสู่เปูาหมาย
ได้อย่างไร ซึ่งเป็นวิธีแรกๆ ที่จะได้รับการยอมปฏิบัติตาม หรือการที่
ผู้ใต้บัง คับบัญชายอมรับที่จะปฏิบัติหน้าที่ นั้นจะมีประสิทธิภาพก็
ต่อเมื่อผู้นาได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านนั้น ๆ ทั้งนี้เมื่อ
ต้องทาการโน้มน้าวใจ ผู้นาจะดึงประสบการณ์ของตนเองในการให้
เหตุผล ซึ่ง ในบางงานมีความพร้อมที่สาเร็จ ได้เนื่องจากผู้นาได้ใ ช้
ความพยายามและได้ลงมือทา

๗-๑๔. การชี้แจง จะนามาใช้เมื่อผู้นาอธิบายว่าทาไมการร้องขอนั้น


มีประโยชน์ต่อผู้ผู้ใต้บังคับบัญชา อย่างเช่น การให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
มีความพอใจกับงานที่ทา หรือปฏิบัติง านได้โดยประหยั ดเวลาลง

๗-๗
บทที่ ๗ การนา

เหลือ ครึ่ งหนึ่ง ตรงข้ ามกับ เทคนิค การเปลี่ ยนแปลง ประโยชน์ ที่
ได้รั บจะอยู่น อกเหนื อการควบคุ มของผู้ นา ผู้บัง คับ บัญ ชาอาจใช้
เทคนิคนี้ในการบอกให้นายทหารประทวนที่ปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่ง
เจ้าหน้าที่ในสายงานยุทธการ ก่อนที่จะให้รับหน้าที่ใหม่เป็น รองผู้
บัง คับหมวด ซึ่ งเป็นประสบการณ์ที่ ไ ม่ตรงกับตาแหน่ง ที่จ ะได้รั บ
มอบหมายนัก ผู้บังคับบัญชาควรชี้ให้เห็นว่าการมีความรู้เพิ่มเติม
อาจช่ วยให้นายทหารชั้ นประทวนมีผ ลงานที่ดี กว่า เพื่อ นร่ว มงาน
และเป็นการเพิ่มโอกาสที่จะได้รับการเลื่อนยศหรือตาแหน่งให้สูงขึ้น

๗-๑๕. แรงบันดาลใจ จะนามาใช้เมื่อผู้นาต้องการปลุกเร้าให้เกิด


ความกระตือรือล้นต่อการร้องขอโดยกระตุ้นอารมณ์ที่จะสร้างความ
มั่นใจ ผู้นาอาจใช้วิธีสร้างความกดดันโดยไม่ให้ความช่วยเหลือ ซึ่ง
อาจนาหน่วยเข้าไปสู่ความเสี่ยงได้ ทั้งนี้ระดับการกดดันที่เหมาะสม
อาจมี ผ ลท าให้ เ กิ ด การยอมรั บ ในหน้ า ที่ ใ ห้ ม ากขึ้ น ผู้ น าหน่ วย
สามารถเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา ที่จะทางานให้เลย
ระดับมาตรฐานน้อยที่สุดแต่ไปได้ถึงสถานภาพของผลงานในระดับ
ยอดเยี่ยม

๗-๑๖. การมีส่วนร่วม จะเกิดขึ้นเมื่อผู้นาขอให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้า


ไปมี ส่ ว นร่ ว มในการวางแผนในการจั ด การปั ญ หา หรื อ ท าตาม
วัตถุประสงค์ การเข้าร่วมงานซึ่งกาลังปฏิบัติอยู่นาไปสู่การตระหนัก
ในคุณค่าและความเข้าใจที่มีมากขึ้น และยังกาหนดคุณค่าของความ
พยายามและสร้างการยอมรับในหน้าที่เพื่อที่จะดาเนินการตามที่
ได้รับการมอบหมาย การเชิญชวนให้เข้าไปเกี่ยวพันเป็นสิ่งสาคัญเมื่อ
ผู้นาพยายามที่จะกาหนดวิสัยทัศน์สาหรับการเปลี่ยนแปลงระยะ
ยาว โดยให้ ผู้น าทุก ระดั บ เข้ า ไปเกี่ย วข้อ งในระหว่ างขั้ นของการ

๗-๘
บทที่ ๗ การนา

วางแผน แต่ ต้ อ งมั่ น ใจว่ า ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาทุ ก คนมี ก ารประเมิ น


วิสัยทัศน์นั้นแล้ว ผู้ใต้บังคับบัญชาเหล่านี้ต่อไปจะสามารถดาเนิน
ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ส าคั ญ ทั้ ง ในระยะกลางและระยะยาว หรื อ
แม้กระทั่งผู้นาท่านนั้นจะพ้นหน้าที่ไปแล้ว
การสร้างความสัมพันธ์ เป็นเทคนิคสาหรับผู้นาในการสร้าง
ความปรองดองและความสัมพันธ์ที่มีความไว้วางใจซึ่ง กันและกัน
โดยการทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความตั้งใจที่จะสนับสนุนต่อการร้อง
ขอให้มากขึ้น รวมไปถึงการสร้างความเป็นอยู่ที่ดี การเสนอรางวัล
และการทาความเข้าใจมุมมองต่างๆ ของผู้ใต้บังคับบัญ ชาเทคนิค
เหล่านี้ยังคงใช้ได้ดีเสมอ ทั้งนี้ไม่สามารถทาโดยรีบเร่งได้หากแต่ต้อง
อาศัยเวลา จึง เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่จะทาให้ ผู้ใต้บัง คับบัญ ชา
รับหน้าที่อย่างเต็มใจ

การใช้เทคนิคการโน้มน้าวใจให้ปฏิบัติงาน
๗-๑๗. การประสบความสาเร็จและการสร้างความยอมรับในหน้าที่
อย่างแท้จริง ด้วยการใช้เทคนิคการโน้มน้าวใจควรเกิดจากยอมรับ
ด้วยความเชื่อถือและจริงใจ การโน้มน้าวในเชิงบวกมาจากผู้นาที่ทา
ในสิ่งที่ถูกต้องเพื่อกองทัพบก ไปจนกระทั่งทหารแต่ละคน ส่วนการ
โน้มน้าวใจเชิงลบซึ่งเป็นจริงและสัมผั สได้ ส่งผ่านมาจากผู้นาที่เน้น
สิ่งพึง ได้ส่วนตนและขาดความระมัดระวังตนเอง แม้กระทั่ง ความ
ตั้งใจอันทรงเกียรติ หากว่าผู้ ผู้ใต้บังคับบัญชาตีความว่าเป็นการทา
เพื่อประโยชน์แห่งตนก็จะมีผลทาให้เกิดความยินยอมเพียงเล็กน้อย
การได้ รั บในสิ่ ง ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งอาจไปสะกิ ด ให้ เ กิ ดผลข้ า งเคี ย ง เช่ น
ความไม่พึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชา และการแตกความสามัคคีใน
หน่วย

๗-๙
บทที่ ๗ การนา

๗-๑๘. ธรรมชาติเชิ งวิกฤตของภารกิจ เป็นการพิจารณาว่ าจะใช้


เทคนิ ค การโน้ ม น้ า ว หรื อ ใช้ เ ทคนิ ค ต่ า งๆผสมผสานกั น จึ ง จะ
เหมาะสม เมื่อมีสถานการณ์เร่งด่วน หรือต้องเกี่ยวพันกับความเสี่ยง
การนาความจริงออกมา อาจเป็นสิ่งพึงปรารถนาของทุกฝุาย ผู้นา
ระดับสั่งการตรงมักใช้เทคนิคการบังคับในการประสานกิจกรรมใน
หน่วยเพื่อให้สะดวกต่อการปฏิบัติ เมื่อเปรียบเทียบกับผู้นาระดับ
องค์กรจะเน้นดาเนินการตามจุดหมายระยะยาวและใช้การโน้มน้าว
ใจทางอ้อมเพื่อที่จะสร้างความเต็มใจที่จะรับหน้าที่ด้วยความแข็งขัน

๗-๑๙. หากผู้น าจะโน้ มน้ า วใจผู้ใ ต้ บั ง คั บ บัญ ชาควรพิจ ารณาสิ่ ง


เหล่านี้
 กาหนดวัต ถุป ระสงค์ ใ ห้อ ยู่ ภายในขอบเขตของค่ านิ ย ม
กองทั พบก จริ ยธรรม กฎหมายทางทหาร หั วใจนักรบ
และหลักความเชื่อทางพลเรือน
 นาเทคนิคการโน้มน้าวใจแบบต่างๆ มาใช้เพื่อให้เกิดความ
ยินยอมที่จะปฏิบัติตามและความรับผิดชอบในหน้าที่
 การโน้มน้าวแบบทาให้ยอมปฏิบัติตาม ซึ่งเน้นการพบปะ
และอธิบายเหตุผลของการทางานเฉพาะกิจ
 การโน้มน้าวแบบกระตุ้นให้เกิดความรับผิดชอบ ซึ่งเน้นใน
เรื่องการให้อานาจและความไว้วางใจในระยะยาว

การกาหนดเป้าประสงค์ แรงจูงใจ และแรงบันดาลใจ


๗-๒๐. ผู้นาโน้มน้า วใจผู้อื่นเพื่อท าให้บ รรลุ เปูาประสงค์อย่ างใด
อย่างหนึ่ง ทั้งนี้ผู้นาต้องมีเปูาหมายไว้ในใจจึงจะทาให้สาเร็จได้ ซึ่ง
บางครั้งเปูาหมายนั้นอาจเป็นสิ่งที่เฉพาะเจาะจง เช่นการลดจานวน
การเกิดอุบัติเหตุในการฝึกลงครึ่งหนึ่ง ในเวลา ๖ เดือน เปูาหมาย
๗-๑๐
บทที่ ๗ การนา

โดยทั่ ว ไปอาจไม่ส ามารถวั ดได้ เหมือ นกับ ตั วอย่ างนี้ แต่ก็ ยั ง คงมี
เหตุ ผ ลและมี ค วามหมายเช่ น กั น ผู้ น าอาจตกลงใจว่ า ต้ อ งการ
ปรั บ ปรุ ง เรื่ อ งขวั ญ ของก าลั ง พลในหน่ ว ย ก็ อ าจจะก าหนดเป็ น
เปูาหมายเพื่อให้ได้รับความร่วมมือที่จะสนับสนุน

๗-๒๑. เปู า ประสงค์ บ่ ง บอกถึ ง สิ่ ง ที่ ผู้ น าต้ อ งการท าให้ เ สร็ จ สิ้ น
ในขณะที่การจูงใจและการสร้างแรงบันดาลใจทาให้เกิดพลังที่จะทา
ให้เปูาประสงค์เกิดเป็นรูปธรรม และมีกาลังในการขับเคลื่อนและคง
ความพยายามที่ จ ะท าให้ ง านเสร็ จ การจู ง ใจและการสร้ า งแรง
บันดาลใจใช้ในการจัดการกับปัญหาความต้องการของแต่ละบุคคล
และหน่ ว ย ความต้ อ งการทางอ้ อ ม เช่ น ความพึ ง พอใจในงาน
จิตสานึกในการทางานให้สาเร็จ การเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยและ
ความภาคภูมิใจ สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบในทางกว้างมากกว่าการให้
รางวั ล หรื อ การลงโทษอย่ า งเป็ น ทางการ อย่ า งเช่ น การเลื่ อ น
ตาแหน่ง หรือการปฏิบัติที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาคดีทางกฎหมาย

๗-๒๒. นอกจากเปูาประสงค์และแรงจูงใจ การโน้มน้าวใจของผู้นา


ยังประกอบด้วยทิศทาง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทาอย่างไรจึง จะบรรลุ
เปูาหมาย กิจ และภารกิจ ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่จาเป็นต้องได้รับแนว
ทางการปฏิบัติอย่างละเอียดสาหรับทุกสถานการณ์ ผู้นาที่มีทักษะ
จะรู้ว่าเมื่อใดจึงจะให้แนวทางอย่างละเอียด และเมื่อใดจะเน้นเพียง
เปูาประสงค์ เมื่อใดจะใช้การจูงใจ หรือการสร้างแรงบันดาลใจ

๗-๒๓. การมอบภารกิจถ่ายทอดวัตถุประสงค์โดยให้มีทิศทางที่มี
รายละเอียดเพียงพอ การมอบภารกิจเป็นการปฏิบัติการทางทหาร
แบบแยกการบนพื้นฐานของการออกคาสั่งให้ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุ

๗-๑๑
บทที่ ๗ การนา

ภารกิ จ นั้ น ๆ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การมอบภารกิ จ ที่ ป ระสบ


ความสาเร็จมีองค์ประกอบ ๔ ประการ คือ
 เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
 ความริเริ่มของผู้ใต้บังคับบัญชา
 คาสั่งให้ปฏิบัติภารกิจ
 ทรัพยากรที่มีอยู่

การกาหนดความมุ่งหมาย
๗-๒๔. ผู้นาในที่อ ยู่ ในตาแหน่งผู้ บัง คับ บัญ ชาใช้เ จตนารมณ์ ของ
ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาในการถ่ า ยทอดความมุ่ ง หมาย เจตนารมณ์ ข อง
ผู้บั ง คั บ บั ญ ชาที่ ชั ด เจนและรั ด กุ มซึ่ ง ก าลั ง ทหารต้ อ งทาและเป็ น
เงื่ อ นไขอั น จะน าไปสู่ ค วามส าเร็ จ เหนื อ ข้ า ศึ ก ภู มิ ป ระเทศ และ
จุดหมายปลายทางที่ต้องการ การนาซึ่งนอกเหนือไปจากการบั งคับ
บัญ ชาหรือมิใช่การประยุกต์ทางยุทธวิธี ผู้น าจะต้องสร้างกิจและ
สภาวะที่จะนาไปสู่การบรรลุความสาเร็จ ในสถานการณ์เช่นนี้ของ
ผู้นาทางทหารและผู้ที่นาข้าราชการกลาโหมพลเรือน
ข้าศึก และภูมิประเทศอาจแทนที่ด้วยจุดหมาย หรือปัญหา
อุปสรรคของหน่วย ผู้นาจะสื่อสารความมุ่ง หมายโดยการใช้คาสั่ง
และแสดงนั ย ที่ ชั ด เจน ซึ่ ง ท าให้ ผู้ อื่ น อาจใช้ ค วามริ เ ริ่ ม ใน
ขณะเดียวกันก็ยังคงมุ่งความสนใจต่อความมุ่งหมายได้ ยิ่งถ้าหากมี
โอกาสซึ่งไม่ได้คาดหมายเกิดขึ้น หรือทางแก้ปัญหาเดิมๆ ไม่สามารถ
นามาใช้ได้อีกการสื่อสารความมุ่งหมายก็ยิ่งมีความสาคัญมากยิ่งขึ้ น
ทั้งนี้ผู้นาในระดับการสั่งการตรง กับผู้นาองค์กรจะกาหนดความมุ่ง
หมายหรื อ เจตนารมณ์ แต่ ผู้ น าในระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ จ ะก าหนด
วิ สั ย ทั ศ น์ ใ นระยะยาว หรื อ รู ป แบบของแนวความคิ ด ให้ กั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชา
๗-๑๒
บทที่ ๗ การนา

แรงจูงใจและแรงบันดาลใจ

๗-๒๕. แรงจูงใจเป็นเหตุผลสาหรับการทาบางสิ่งบางอย่างหรือเป็น
ระดั บ ของการกระตุ้ น ให้ ท าสิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใด แรงจู ง ใจมาจากความ
ต้องการภายในที่จะใช้ความทุ่มเทให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ต้องการ คนเราจะ
มีขอบเขตของความต้องการอยู่ ซึ่งรวมถึงความต้องการพื้นฐาน เช่น
ความอยู่รอด ความปลอดภัย และความต้องการความเจริญก้าวหน้า
อย่างเช่น ความเป็นเจ้าของ และความรู้สึกอยากประสบความสาเร็จ
ดังนั้น จึงควรระมัดระวังในการตอบสนองความต้องการของผู้คน
โดยเฉพาะหากไม่สามารถทาให้พอใจแล้วก็ต้องหาวิธีที่ชาญฉลาด
ที่สุดมาใช้

๗-๒๖. ผู้นาทางทหารใช้ความรู้ในการจูงใจผู้อื่นด้วยวิธีการโน้มน้าว
ใจ การล่วงรู้ว่า ทหาร หรือบุคคลใดที่จะโน้มน้าวใจได้ ท าให้ผู้น า
เข้ า ใจอย่ า งลึ ก ซึ้ ง ที่ จ ะมอบแนวทางให้ กั บ หน่ ว ยหรื อ การท าให้
บรรลุผลสาเร็จในระดับที่สูงกว่านั้น การเข้าใจถึงกลไกของแรงจูงใจ
จะทาให้มองเห็น ได้อย่างถ่องแท้ถึงการกระทาของคน รวมทั้ง รู้ว่า
เป็นแรงผลักดันอันทรงพลังให้คนเราทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างไร

๗-๒๗. การล่วงรู้ความต้องการของผู้อื่นเป็นสิ่งที่กระทาได้ยาก แต่


ช่วยให้สามารถพิจารณาถึงคานิยามของแรงจูงใจได้ ๓ ประการ คือ
 สิ่งดลใจ หมายถึง ความต้องการ หรือความปรารถนาซึ่ง
ยัง ไม่ไ ด้รับการตอบสนอง หรืออยู่ในระดับต่ากว่าความ
คาดหมาย
 ทิศ ทาง หมายถึ ง จุ ด มุ่ ง หมาย หรื อ แนวทางซึ่ ง ชี้ แ นว
ทางการปฏิบัติในการทุ่มเทความพยายามและพฤติกรรม

๗-๑๓
บทที่ ๗ การนา

 ความเอาจริงเอาจัง หมายถึง ปริมาณของความทุ่มเทที่จะ


ให้ไปถึงความต้องการหรือจุดหมายปลายทาง
สิ่งดลใจ ทิศทาง และความเอาจริง เอาจัง ของการจูง ใจ
ก่อให้เกิดผลอย่างน้อย ๔ ประการซึ่ งจะมีผลโดยตรงต่อการทาให้
บรรลุผลสาเร็จกิจใดๆ ให้ได้ผลดี ประการแรก คือ การเอาใจใส่ ใน
ประเด็นต่างๆ จุดหมาย ระเบียบปฏิบัติ หรือปัญหาในด้านต่างๆ ที่
ต้องทาให้ลุล่วง ประการที่สอง คือ ความพยายาม ซึ่งควบคุมความ
ยากที่คนใดคนหนึ่งใช้ความอดทน ประการที่สาม คือ ความต่อ เนื่อง
หมายถึ ง ห้ วงเวลาที่ คนใดคนหนึ่งใช้ค วามทนทาน และประการ
สุด ท้า ย คื อ ยุ ท ธศาสตร์ ของกิจ นั้น ๆ ในการกาหนดว่ าจะปฏิ บั ติ
อย่ า งไร รวมถึ ง ความรู้ แ ละทั ก ษะ ที่ จ ะบรรลุ ค วามมุ่ ง หมายที่
เฉพาะเจาะจง การรู้ถึงวิธีการปฏิบัติงานที่ดีกว่าเป็นการปรับปรุงผล
การทางานให้ดียิ่งขึ้น และนาไปสู่ความสาเร็จในจุดหมายที่ต้องการ

๗-๒๘. พื้นฐานของการจู งใจขึ้น อยู่ กับ บุคคลและสถานการณ์ มี


ส่ ว นในการท าให้ เ กิ ด ความรู้ ใ นการท างาน ความสามารถ
ลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลและอารมณ์ ความเชื่อและค่านิยม
สถานการณ์เป็นสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ระเบียบวิธีปฏิบัติ และ
มาตรฐาน รางวั ลและการสนั บ สนุ น แบบแผนทางสั ง คม และ
บรรยากาศและวั ฒ นธรรมองค์ ก ร ผู้ น าสามารถสร้ า ง ปรั บ ปรุ ง
แรงจูงใจของแต่ละบุคคลโดยการโน้มน้าวบุคคลและสถานการณ์ ซึ่ง
เทคนิคการโน้มน้าวใจจะเกิดขึ้นในส่วนต่างๆ ของการจูงใจ

๗-๒๙. ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในตนเอง คื อ ความมั่ น ใจที่ มี ต่ อ


ความสามารถของตนเองในการทาให้ประสบความสาเร็จหรือบรรลุ
จุดหมาย ผู้นาสามารถสร้างแรงจูงใจโดยการส่งเสริมประสิทธิภาพ

๗-๑๔
บทที่ ๗ การนา

ภายในตนเอง โดยการพัฒนาความรู้และทักษะที่จาเป็น ทักษะและ


ความรู้ เฉพาะทางจะไปสร้า งเสริม การทางานที่ช าญฉลาด ท าให้
ทางานได้หนักและยาวนานมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นตัวอย่างของการเรียนรู้
ที่มีประสิทธิภาพที่จะปฏิบัติงานโดยไม่ทาให้คุณภาพของการทางาน
ลดลง

๗-๓๐. แรงบันดาลใจทางอารมณ์เป็นอีกทางหนึ่งซึ่ง ผู้นาสามารถ


สร้างเสริมแรงจูงใจ การจัดให้มีวิสัยทัศน์ทางด้านแรงบันดาลใจของ
จุดมุ่ง หมายในอนาคตเป็นการเพิ่มความปรารถนาในส่วนลึกของ
ผู้ใต้บัง คับบัญ ชาในการบรรลุถึง วิสัยทัศน์ ผู้นาสามารถใช้การพู ด
ผ่านการจินตนาการให้เกิดแรงบันดาลใจ จินตนาการทางด้านแรง
บันดาลใจจะเป็นพลังที่ทาให้หน่วยมีความพึงพอใจในประโยชน์แห่ง
ตนและความคาดหวังที่เกินพอดีได้ ในสถานการณ์การรบและเกิด
ภัยคุกคามต่อชีวิตจะทาให้ เกิดการกระตุ้นที่เพียงพอเนื่องจากเป็น
การตอบสนองทางธรรมชาติ นั่น คื อในสถานการณ์เ ช่ นนี้ ผู้ นาไม่
จาเป็นต้องกระตุ้นให้เกิดพลังขึ้นมา แต่ถ้าหากต้องการทาให้การ
กระตุ้นซึ่งมากเกินไปกลับไปสู่ภาวะพอเพียงด้วยการโน้มน้าวและ
มุ่งมั่นอย่างสงบและมั่นคง การสร้างการกระตุ้นทางอารมณ์ให้อยู่ใน
ระดับที่ถูกต้องจะทาให้เกิดการกระทาที่สมดุล การฝึกภายใต้สภาวะ
ยากลาบากและกดดันจะทาให้แต่ละบุคคลได้รับประสบการณ์ของ
ระดับการกระตุ้นที่แตกต่างกัน

๗-๓๑. ผู้นาสามารถส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชากาหนดจุดมุ่งหมาย
ด้วยตนเอง และกาหนดจุดมุ่งหมายร่วมกัน เมื่อจุดมุ่งหมายได้รับ
การยอมรับ จะช่วยให้เกิดความเอาใจใส่และนาไปสู่การปฏิบัติ และ
เพิ่มความทุ่มเทพยายามอย่างไม่ลดละในการเผชิญกับความล้มเหลว

๗-๑๕
บทที่ ๗ การนา

และพัฒ นาหลั ก นิย มและยุ ทธศาสตร์ที่ จ ะช่ว ยให้ จุ ด มุ่ง หมายนั้ น


ประสบความสาเร็จ

๗-๓๒. การส่งเสริมในเชิงบวกโดยการใช้สิ่งจูงใจ (ตัวอย่างเช่น การ


ให้เงินรางวัล หรือการเพิ่มวันหยุด) เช่นเดียวกันกับรางวัลที่เกิดจาก
ภายใน (ตัวอย่างเช่น คายกย่อง และการแสดงว่าเห็นคุณค่า) ในการ
เสริมสร้างแรงจูงใจ การลงโทษสามารถใช้เมื่อเกิด มีเหตุที่จะต้อง
หยุดยั้งมิให้เกิดอันตราย หรือความประพฤติอันไม่น่าพึงประสงค์ อีก
ทั้งยังแสดงให้ทุกคนในหน่วยเห็นถึงว่าควรประพฤติตนอย่างไร และ
ผลที่ ต ามมาของการประพฤติ อั น ไม่ ส มควร ทั้ ง นี้ ผู้ น าสามารถ
กาหนดบรรทัดฐานทางสังคมภายในหน่วยขึ้นมา สิ่งที่พึงระวังก็คือ
ควรสงวนการใช้ ก ารลงโทษเมื่ อ มี ค วามจ าเป็ น เฉพาะในกรณี ที่
กระทาเกินขอบเขต เนื่องจากอาจนาไปสู่ความไม่พอใจได้

๗-๓๓. ผู้นาที่มีประสิทธิภาพจะสร้างความสมดุลระหว่างค่านิยม
และการมีจุดมุ่งหมายร่วมกันในขอบเขตซึ่งสามารถโน้มน้าวในการ
จูงใจผู้อื่น ผู้นาจะส่งเสริมการแสดงออกถึงผลสะท้อนกลับของความ
รับผิดชอบต่อหน้าที่ อย่างเช่นการมีจุดมุ่งหมายร่วมกันภายในหน่วย
นอกจากนี้ การมีค่านิยมร่วมกันภายในหน่วยยัง ก่อให้เกิดพื้นฐาน
ของความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ า ที่ ข องบุ ค คล เช่ น ความกล้ า หาญ
เกียรติยศ และความจงรักภักดี ซึ่งการทาให้ผู้อื่นล่วงรู้ว่ากิจเฉพาะ
ต่างๆ มีความเชื่อมโยงกับภารกิจซึ่งใหญ่กว่า หรือวัตถุประสงค์ หรือ
จุดมุ่งหมายได้อย่างไร นับได้ว่าเป็นเทคนิคการจูงใจที่ได้ผลดี

๗-๓๔. การจู งใจบุ คคลด้ วยหน้ าที่ ที่ เขาปฏิบั ติ โดยทั่ วไปหากว่ า
คนเราปฏิบัติงานด้วยความสุขใจ ประกอบกับมีแรงจูงใจจากภายใน

๗-๑๖
บทที่ ๗ การนา

การแสดงการยอมรับอย่างง่ ายๆ ที่จ ะทางานส าเร็จด้ว ยดีอาจจะ


เพี ย งพอที่ จ ะรั ก ษาไว้ ซึ่ ง การท าให้ บ รรลุ ผลส าเร็ จ ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ มี
รางวัล หรือผลตอบแทนใดที่จาเป็นต้องใช้เพื่อให้เขาทางานได้อย่าง
ต่ อ เนื่ อ ง ในกรณี ข องการท างานด้ ว ยความสุ ข นี้ ท าให้ เ กิ ด
ผลตอบแทนทางใจซึ่งเป็นแรงจูงใจให้ทหารปฏิบัติง านได้เสร็จสิ้น
สมบูรณ์

๗-๓๕. คนเราต้องการโอกาสที่จะได้รับผิดชอบในงานของตนเอง
และได้ รั บ การสร้ า งสรรค์ นั่ น คื อ ต้ อ งการได้ รั บ อ านาจนั่ น เอง
ผู้ใ ต้ บัง คั บ บัญ ชาจะได้รั บ การมอบอ านาจโดยการให้ง านทาและ
ก าหนดยุ ท ธศาสตร์ ที่ มี ค วามจ าเป็ น ในการท างานให้ รวมทั้ ง
ทรัพยากร อานาจ หน้าที่ และเจตนารมณ์ที่ชัดเจน จากนั้นให้หลบ
ไปอยู่ข้ างๆ เพื่อให้ป ฏิบัติภารกิจให้ สาเร็จ การมอบอานาจให้แ ก่
ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงถึงความเชื่อใจ และเป็นหนึ่งในวิธีการที่ดีที่สุด
ในการพัฒนาให้เขาเหล่านั้นเป็นผู้นา สิ่งสาคัญก็คือการชี้ให้เห็นว่า
การมอบอานาจให้คือการยอมรับในความรับผิดชอบที่จะมีเสรีใน
การปฏิบัติและการคิดสร้างสรรค์

๗-๓๖. การจูง ใจที่มีประสิทธิภาพจะสาเร็จได้ก็ต่อเมื่อ หน่วยหรือ


องค์กรต้องการประสบความสาเร็จ การจูงใจเป็นเรื่องของการใช้
ถ้ อ ยค าและการยกตั ว อย่ า ง เพื่ อ เป็ น แรงบั น ดาลใจให้ กั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชาอันจะนาไปสู่การบรรลุภารกิจ สิ่งเหล่านี้ได้มาจาก
ความมั่นใจในตนเอง หน่วย และผู้นา ซึ่ งพัฒนามาจากการฝึกอย่าง
หนักและสมจริง เช่นเดียวกันกับภาวะผู้นาที่ต้องมีความประสาน
สอดคล้องและความยุติธรรม อีกทั้งแรงจูงใจยังเกิดจากศรัทธาของ
คนที่มีต่อภารกิจซึ่งนอกเหนือไปจากองค์กร เป็นความรู้สึกที่ได้เป็น

๗-๑๗
บทที่ ๗ การนา

ส่วนหนึ่งของการทางานในระดับที่ใหญ่กว่านั่นเอง

การสร้างและรักษาขวัญ
๗-๓๗. นักประวัติศาสตร์ทางทหารมักจะมุ่งกล่าวถึงกองทัพบกอัน
เกรียงไกรว่า ประกอบด้วย อาวุธยุทโธปกรณ์ การฝึก และเหตุปัจจัย
ของชาติ ได้แก่ จานวน หรือปัจจัยอื่นๆ ที่สามารถวิเคราะห์ได้ วัดได้
และเปรียบเทียบได้ แต่นักประวัติศาสตร์จานวนมากจะเน้นถึงปัจจั ย
เชิ ง วิก ฤตซึ่ง วั ด ได้ ไ ม่ง่ า ยนัก นั่ นคื อ องค์ ประกอบทางความรู้ สึ ก
อารมณ์ที่เรียกว่า “ขวัญ”

๗-๓๘. ขวัญคือองค์ประกอบสาคัญที่สุดของมนุษย์ซึ่งเป็นสิ่งที่ยาก
เกินกว่าจะอธิบาย เป็นเครื่องวัดว่ามนุษย์มีความรู้สึกต่อตนเอง ต่อ
หน่วย และต่อผู้นาของเขาอย่างไร ขวัญดีจะมาจากภาวะผู้นาที่ดี
การร่ ว มกั น ทุ่ ม เทความพยายาม และการเคารพซึ่ ง กั น และกั น
ความรู้สึกผูกพันกันเกิดมาจากการมีหัวใจนักรบ มีค่านิยมร่วมกัน
อย่ า งเช่ น ความจงรั ก ภั ก ดี ความเชื่ อ ที่ ว่ า กองทั พ บกจะดู แ ล
ครอบครั ว ของทหารเป็ นอย่ างดี นอกจากนี้ ข วัญ ที่ดี ยัง ได้ม าจาก
ความสามัคคีในหมู่ คณะในอันที่จะบรรลุจุดหมายร่วมกัน ผู้นาที่มี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ “ขวัญ” เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ
มนุษย์ ที่ทาให้หมู่คณะอยู่ร่วมกันได้และด ารงไว้ได้แม้ใ นยามที่
เผชิญกับความยากลาบากและสิ่งที่ก่อให้เกิดความท้อแท้สิ้นหวัง
เมื่ออยู่ในยามสงคราม

๗-๓๙. ผู้ ไ ด้ รั บ เหรี ย ญกล้ า หาญ และเหรี ย ญตราชั้ น สู ง สุ ด ใน


สงครามโลกครั้งที่ ๒ กล่าวถึง “ขวัญ” ด้วยถ้อยคาเรียบง่ายว่า

๗-๑๘
บทที่ ๗ การนา

“ท่านมีความรักในผองเพื่อน ...มีความปรองดองกัน ซึ่งท่าน


จะหาไม่ ไ ด้ในสัง คมของเรา ผมคิดว่ามัน มาจากการที่เราไม่ไ ด้รั บ
อะไรเลยนอกจากการสิ้นสุดของสงคราม ที่ไม่มีการแข่งขั น เงินไม่มี
ค่า มีเพียงคนที่อยู่เคียงข้างกายซ้ายขวา ที่ท่านต้องเชื่อใจเขาด้วย
ชีวิตของท่าน ในขณะที่พลเรือนนั้นแม้เงินเพียงสิบ บาทยังหาความ
ไว้วางใจไม่ได้เลย”

๗-๔๐. หน่ ว ยที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง การมี ข วั ญ ดี ต ามที่ ก องทั พ บก


คาดหวังไว้ก็คือ หน่วยที่มีขวัญที่ดีอันเป็นผลของความเคารพซึ่งกัน
และกันระหว่างผู้นาและผู้ตาม นั่นคือผู้นาต้องใช้ชีวิตคลุกคลีอยู่กับ
คนของเขา และรู้ จั ก คนของเขาได้ ดี ก ว่ า ใคร เขายั ง กล่ า วอี ก ว่ า
“ผู้ น าที่ ดี ต้อ งเป็ น ผู้ใ ห้ เ สมอ และไม่ส มควรรับ อะไรจากผู้ ต าม
แม้แต่น้อยนิด”

สติปัญญาของผู้นา
๗-๔๑. กล่าวได้ว่าบรรดาผู้นาและผองเพื่อนในกองร้อยจะก้าวไป
อย่างมั่นคงในการระหว่างฝึกและในการรบจริงได้โดยปราศจากข้อ
กังขา ทั้งนี้ หน่วยนั้นรู้ว่าผู้บังคับบัญชาจะอธิบายให้ฟังอย่างละเอียด
ในการคงไว้ซึ่งความสมดุลระหว่างความพร้อมรบกับความต้องการ
ฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ และการได้ผ่อนคลาย กรณีกองร้อยใน
แนวหน้ า แสดงว่าผู้ บังคับ บัญชาสามารถสร้า งขวัญ โดยการสร้า ง
สมดุลระหว่างการทางานหนักกับการเสียสละในสนามรบด้วยการ
ตระหนักในคุณค่าและผลตอบแทนที่เหมาะสม รางวัลอาจเป็นบาง
สิ่งง่ายๆ อย่างเช่น การได้นอนหลับสนิทห่างจากแนวหน้า อาหาร
อุ่นๆ ได้โทรศัพท์กลับบ้าน และให้ดูภาพยนตร์ รวมถึงการเพิ่มเวลา
การลา การให้กาลัง ใจ การให้สวัสดิการ และการเดินทางพักผ่อน

๗-๑๙
บทที่ ๗ การนา

หย่อนใจ

๗-๔๒. ผู้ น ายั ง สามารถเพิ่ ม พู น ขวั ญ เมื่ อ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ อั น ตราย


ระดั บ สู ง สุ ด โดยการจั ด ให้ มี เ ครื่ อ งมื อ และการสนั บ สนุ น ในการ
พิทักษ์หน่วยเพื่อให้การปฏิบัติการได้สาเร็จ ตามปกติหน่วยที่มีขวัญ
ดีจะปฏิบัตหน้าที่ได้ดีกว่า และคงประสิทธิภาพได้ แม้อยู่ในสนามรบ
ในยามยากลาบาก และในยามที่เ กิ ด การสู ญ เสี ย ซึ่ง ไม่ เป็ น ที่ น่ า
ประหลาดใจเลยว่าหน่วยเหล่านี้ได้รักษาไว้ซึ่งความเป็นหนึ่งเดียวกัน
และมิตรภาพที่มีมานานหลายทศวรรษหลังจากได้ร่วมเป็นร่วมตาย
กันในสนามรบมาด้วยกัน ทาให้เราต้องนึกถึงขวัญที่ดีเยี่ยมซึ่งมีให้
เห็นอยู่เสมอในตัวทหารของกองทัพบกและในหน่วยที่มีการนา
และผู้นาที่ดี

มาตรการบังคับ
๗-๔๓. ในการนาผู้อื่นและการตัดสินว่าการทางานเสร็จสิ้นลงอย่าง
ถูกต้องหรือไม่นั้น กองทัพบกได้กาหนดมาตรการของกิจกรรมทาง
ทหารเหล่านั้นไว้ มาตรการคือสิ่งที่เป็นทางการ ในรูปแบบของคาสั่ง
ที่มี ร ายละเอีย ดของการปฏิ บั ติ ซึ่ งสามารถอธิบ ายได้ วั ด ได้ และ
ส าเร็ จ ผลได้ โดยมี เ ปู า หมายที่ จ ะท าให้ บ รรลุ ผ ลส าเร็ จ เพื่ อ ที่ จ ะ
ประเมินผลของการปฏิบัติงานในแต่ละครั้ง การใช้มาตรการให้เกิด
ประสิ ท ธิ ผลนั้ น ผู้ น าจะต้ อ งรู้ สื่ อ สารได้ และใช้ ก ารบั ง คั บ ที่ ต้ อ ง
สามารถปฏิบัติได้ ผู้นาที่ดีควรอธิบายถึง มาตรการที่เหมาะสมกับ
องค์ กรให้ก าลั งพลเข้ า ใจ แล้ว มอบอ านาจหน้ า ที่ใ นการบั ง คั บ ใช้
ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชารองลงไป

๗-๒๐
บทที่ ๗ การนา

๗-๔๔. เมื่อมีการใช้มาตรการบังคับสาหรับกิจกรรมต่างๆ ในหน่วย


ผู้นาต้องพึง ระวังไว้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างไม่ใช่ความเร่งด่วนอันดับหนึ่ง
เสมอไป การเล็งผลเลิศในทุกงานทั้ง ๆ ที่เป็นเรื่องไม่สาคัญ จะทาให้
องค์กรแบกรับภาระมากเกินไป ผู้นาต้องจัดลาดับความเร่งด่วนของ
งานโดยไม่ให้ต่ากว่ามาตรฐานและสอดคล้องกับความสาคัญของงาน

๗-๔๕. เปูาหมายสุดท้ายของผู้นาก็คือการฝึกให้องค์กรมีมาตรฐาน
ซึ่งทาให้มั่นใจได้ว่าจะประสบความสาเร็จในการปฏิบัติภารกิจใน
ยามสงคราม ดั ง นั้น งานประจาวันของผู้ นาจึ งรวมถึ ง การกาหนด
เปูาหมายในระยะสั้นเพื่อเตรียมองค์กรให้ไปสู่มาตรฐาน ทั้งนี้ผู้นา
จะต้องใช้วงรอบการฝึก ประจาปีของกองทัพบก เพื่อเป็นหนทาง
ไปสู่ความสาเร็จในการดาเนินการดังกล่าว ขั้นตอนจัดการการฝึก ใช้
สาหรับกาหนดเปูาหมายของการฝึกให้เหมาะสม รวมทั้ง ใช้ในการ
วางแผน จัดการทรัพยากร การดาเนินงาน และการประเมินผลการ
ฝึกให้มีความสอดคล้องกัน

การวิเคราะห์และตรวจสอบ
๗-๔๖. การกากับดูแลที่เหมาะสมเป็นสิ่งจาเป็นที่จะทาให้มั่นใจได้
ว่า การบรรลุ ความสาเร็จ นั้น ได้ ม าตรฐาน ซึ่ง เป็ นส่ ว นประกอบที่
สาคัญในการดูแลเอาใจใส่ทหาร การที่พวกเขารู้จักทหารและหน่วย
มากเพียงใด เขาก็จะตรงเข้าหาความสมดุลในการค้นหารายละเอียด
ต่างได้มากขึ้น การฝึกให้ผู้ใต้บังคับ บัญชาสามารถปฏิบัติหน้าที่ไ ด้
อย่างอิสระจึงเป็นเรื่องที่สาคัญ ผู้นาโดยตรง จะออกคาสั่งและมอบ
เจตนารมณ์ทางภารกิจที่ชัดเจน จากนั้นจะปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
ปฏิบัติจนเสร็จโดยไม่เข้าไปก้าวก่าย

๗-๒๑
บทที่ ๗ การนา

๗-๔๗. ความสาเร็จในภารกิจของหน่วยในโลกแห่งความเป็นจริง
เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ยิ่ ง นั่ น คื อ หน่ ว ยและก าลั ง พลทุ ก นายต้ อ งมี ก าร
เตรียมการอย่างดี นี่คือเหตุผลว่าทาไมผู้นาต้องทาการตรวจสอบสิ่ง
ต่างๆ ได้แก่ การตรวจสอบก่อนปฏิบัติการ และการตรวจสอบอย่าง
เป็นทางการ ซึ่งการตรวจสอบนี้ จะทาให้มั่ นใจได้ว่าทหาร หน่ว ย
และระบบ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เต็มที่ และพร้อมที่จะปฏิบัติ
ภารกิจ ภายใต้เวลาและทรัพยากรที่มีอยู่

๗-๔๘. สิ่งที่ควรตรวจสอบ คือ สิ่งที่ทาให้เกิดโอกาสที่จะวางเฉย


หรื อ เกิ ด ความผิด พลาดให้ น้ อ ยที่สุ ด ซึ่ ง มี ผ ลท าให้ ไ ม่ เ ป็ น ไปตาม
ภารกิจที่ได้วางแผนไว้ หรือก่อให้เกิดการบาดเจ็บโดยไม่จาเป็น การ
ตรวจสอบยังทาให้ผู้ นามีโอกาสเห็นและรู้ว่าผู้ใต้บังคับบัญชาคนใด
สร้างความถูกต้องได้ตรงจุด เมื่อถึงคราวจาเป็น ตัวอย่างเช่น รอง
หมวดนายหนึ่ ง มอบหมายให้ ผู้ บัง คั บ หมู่ข องหมวดเตรีย มความ
พร้อมที่จะทาการเดินทางไกลทางยุทธวิธี รองหมวดก็จะตรวจตรา
การทากิจกรรมต่างๆ แต่ไม่เข้าไปสอดแทรก ยกเว้ นในกรณีที่เกิด
ความผิดพลาด ความยุ่งเหยิง หรือมีความพลาดพลั้งเกิดขึ้น โดยรอง
หมวดจะทาหน้า ที่ หลั ก ในการตอบค าถาม หรื อ แก้ ไ ขปั ญ หาซึ่ ง ผู้
บังคับหมูไ่ ม่สามารถทาได้ จะเห็นได้ว่าการมอบหมายอานาจหน้าที่
และความมั่นใจในการทางานให้กับผู้บังคับหมู่เป็นวิธีการทาให้เขามี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในระดับมาตรฐาน

การปลูกฝังระเบียบวินัย
๗-๔๙. ผู้นาที่นามาตรฐานมาบังคับใช้ได้อย่างสอดคล้องกันกับการ
ปลูกฝังระเบียบวินัยไปในเวลาเดียวกันจะแสดงผลให้ เห็นในยาม
วิ ก ฤต การที่ ค นเรามี วิ นั ย ในตนเองจะท าให้ ท าในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง

๗-๒๒
บทที่ ๗ การนา

ถึงแม้ว่าจะรู้สึกไม่ชอบก็ตาม วินัยที่แท้จริงต้องทาจนเป็นนิสัยและ
การเชื่อฟัง อย่างมีเหตุผลโดยรักษาไว้ซึ่งความริเริ่มและการทางาน
ต่างๆ โดยผู้นาจะอยู่หรือไม่อยู่ก็ตาม หรือเมื่อเกิดความยุ่งยากและ
ความไม่แน่นอนเกิดขึ้น

๗-๕๐. วิ นั ย มิ ไ ด้ ห มายถึ ง ค าสั่ ง ที่ ผิ ด เพี้ ย นและการสนองตอบ


ในทั น ที ผู้ น าที่ ดี จ ะปลู ก ฝั ง วิ นั ย อย่ า งช้ า ๆโดยการฝึ ก ที่ น าไปสู่
มาตรฐาน การให้รางวัล และการลงโทษอย่างยุติธรรม การปลูกฝัง
ให้มีความมั่นใจในตนเอง การสร้างความไว้วางใจท่ามกลางในหมู่
ผู้ร่วมงาน และการสร้างความมั่นใจได้ว่าทหารและข้าราชการพล
เรือนกลาโหมเหล่านั้นมีความเชี่ยวชาญทั้งทางด้า นเทคนิคและทาง
ยุทธวิธี นั่นคือ ความมั่นใจในตนเอง ความไว้วางใจ และความทุ่มเท
ของหมู่คณะเป็นสิ่งสาคัญอันนามาซึ่งความสาเร็จในการกาหนดสิ่ง
ต่างๆ ในการปฏิบัติการ
“พึ่งพาตนเองได้ มั่นใจ ฝึกฝนจนชานาญ”

๗-๕๑. โดยทั่วไปวินัยที่มีส่ วนร่วมโดยทุกคนและวินัยส่วนบุคคล


เป็ น สื่ อ ที่ จ ะน าพาก าลั ง พลทุ ก คนไปเมื่ อ องค์ ก รต้ อ งเผชิ ญ กั บ
สถานการณ์ ที่ ยุ่ ง ยากและซั บ ซ้ อ น โดยเริ่ ม จากความยื ด หยุ่ น
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และการที่บุคคลคนหนึ่งซึ่งมีวินัยในตนเอง
เป็นแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามแบบอย่างจะสามารถเปลี่ยน
สถานการณ์เชิงลบให้ไปสู่ความสาเร็จได้

๗-๕๒. ทหารเอาชนะสถานการณ์การต่างๆ ที่ไม่น่าไว้วางใจตั้งแต่


อดีตจนถึงปัจจุบัน มีตัวอย่างเกิดขึ้นมากมาย เป็นความสามารถซึ่ง
เป็ น รากอั น หยั่ ง ลึ ก ถึ ง ความมั่ น ใจในตนเอง ผองเพื่ อ น ผู้ น า

๗-๒๓
บทที่ ๗ การนา

ยุทโธปกรณ์ ตลอดจนการฝึกของพวกเขา สิ่งสาคัญที่สุดคือ ทหารมี


ความทนทานเนื่องมาจากพวกเขามีวินัยและความยืดหยุ่น

การสร้างความสมดุลระหว่างภารกิจและสวัสดิ การของ
เหล่าทหาร
๗-๕๓. การคิดพิจารณาถึงความต้องการของทหารและข้าราชการ
พลเรือนกลาโหมเป็นหน้าที่พื้นฐานของผู้นาทุกคนในกองทัพบก การ
ดูแลเอาใจใส่ผู้ ใต้บังคับบัญชาให้มีความเป็นอยู่ที่ดีไปด้วยกั นได้กับ
การจูงใจ การเป็นแรงบันดาลใจ และการมีความเชื่อมั่นหรือการโน้ม
น้าวใจ ทาให้ทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมเหล่านั้นมีความ
ตั้งใจทาสิ่งใดสิ่ งหนึ่งเพื่อผู้นาที่มองเห็นความต้องการของู้ ใต้บังคับ
บัญ ชาให้มากยิ่ งขึ้น การส่งทหารหรือ ข้าราชการพลเรือนกลาโหม
ด้ ว ยวิ ธี ก ารหรื อ หนทางที่ อั น ตรายเพี ย งเพื่ อ บรรลุ ภ ารกิ จ นั้ น ดู
เหมือนว่าเป็นสิ่งที่ขัดแย้งกับคาว่า “ดูแลเอาใจใส่ ” ผู้นาดูแลผอง
เพื่อนร่วมตายโดยส่งเขาไปปฏิบัติภารกิจซึ่งอาจหมายถึงความตาย
ได้ อ ย่ า งไร หากไปถามนายทหารที่ อ าวุ โ สน้ อ ยๆหรื อ นายทหาร
ประทวนจะได้รับคาตอบเดียวกันก็คือ “การดูแลเอาใจใส่ของผู้นา
ที่มีต่อทหาร” นั่นเอง

๗-๕๔. การดูแลเอาใจใส่ทหารส่งผลที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เป็นการ


สร้างสภาพแวดล้อมภายใต้วินัยที่ซึ่งเขาสามารถเรียนรู้และเติบโตขึ้น
นั่นคือทาการฝึกและเตรียมเขาให้มีมาตรฐานในการทางานให้อยู่ใน
ระดับสูง เขาก็จะประสบความสาเร็จในยามปกติ และชนะเมื่ออยู่ใน
ยามสงคราม สิ่งสาคัญของการดูแลเอาใจใส่ทหารก็คือ การให้ความ
ยุติธรรมและเท่าเทียม ร่วมทุกข์ร่วมสุข และการเป็นแบบอย่างที่ดี

๗-๒๔
บทที่ ๗ การนา

๗-๕๕. การเอาใจใส่ดูแลทหารยังหมายถึงการบังคับบัญชาให้เขา
ทาหน้าที่ แม้ว่าจะเสี่ ยงต่อชีวิตก็ ตาม การเตรียมทหารไว้สาหรั บ
เผชิญกับความโหดร้ายในสนามรบแห่งความเป็นจริงเป็นหน้าที่อัน
สาคัญยิ่งของผู้นาโดยตรง ต้องไม่ใช่การตามใจหรือทาการฝึกให้ง่าย
และสะดวกสบายเพื่อเอาอกเอาใจกันเกินไป การละเลยต่อการฝึก
อาจมีผลทาให้ทหารเสียชีวิต การฝึกต้องเข้มงวดแม่นยาและมีความ
ใกล้เคียงกับความเป็นจริงในสนามรบมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
โดยคานึงถึงความปลอดภัยอยู่ในใจเสมอ ผู้นา นาการบริหารความ
เสี่ยงมาใช้เพื่อทาให้มั่นใจว่ามาตรฐานด้านความปลอดภัยมีความ
เหมาะสมแล้ว ระหว่างการปฏิบัติการในยามสงคราม ผู้นาหน่วย
ต้องพิจารณาความเหมาะสมในการอานวยความสะดวกเพื่ อบารุง
ขวัญ และคงประสิทธิภาพในการรบที่ยาวนานไว้ได้ “ความสบาย
ต้องมาที่หลังภารกิจเสมอ”

๗-๕๖. การดูแลเอาใจใส่ผู้อื่นเป็นการค้นหาสภาวะส่วนบุคคลของ
ทหารในแต่ละวัน หรือทัศนคติที่เขามีต่องานงานหนึ่ง เราสามารถ
น าคุ ณ ลั ก ษณะ ๓ ประการของผู้ น าได้ แ ก่ บุ ค ลิ ก ลั ก ษณะ การ
แสดงออก และความสามารถทางสติ ปั ญ ญามาประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ป็ น
รายการสาหรับตรวจสอบสวัสดิภาพและความพร้อมของทหารและ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมได้เช่นกัน ขึ้นอยู่กับผู้นาว่าจะกระตุ้นให้
เกิดแรงผลักดันที่จะทาให้เกิดความสมบูรณ์ของงาน หรือเมื่อใดที่
ต้องการความผ่อนคลายเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้หรือ
เป็นอันตราย และหาวิธีการอื่นที่ทาให้งานบรรลุผลสาเร็จ

๗-๕๗. ผู้นาจ านวนมากจะคลุกคลีกับผู้ ใต้บั งคับ บัญ ชา ถึง ระดั บ


ความเป็ น ส่ ว นตั ว ดั ง นั้ น เขาจึ ง สามารถคาดคะเนและเข้ า ใจถึ ง

๗-๒๕
บทที่ ๗ การนา

สถานการณ์และความจาเป็นของแต่ละบุคคลได้ ดังที่ได้กล่าวในบท
ก่ อ นหน้ า นี้ ก ารสร้ า งความสั ม พั น ธ์ เ ป็ น วิ ธี เ ดี ย วที่ จ ะท าให้ กั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชายอมให้มีอิทธิพลเหนือกว่าตนและยอมรับในหน้าที่
ความรับผิดชอบ ผู้นาที่ประสบความสาเร็จจานวนมากใช้พื้นฐานใน
การรู้จักผู้อื่นเพื่อให้ปฏิบัติต่อผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ซึ่งรวมถึงทุกสิ่งทุก
อย่างด้วยความมั่นใจว่าทหารมีเวลาสาหรับการตรวจฟันประจาปี รู้
ว่าเขาชอบงานอดิเรกอะไร และใช้เวลาว่างไปกับการทาสิ่งใด ผู้นา
ควรหาเวลาให้เพียงพอสาหรับครอบครัวด้วย รวมทั้งสร้างเครือข่าย
ที่มีความพร้อม โดยให้แต่ละครอบครัวให้ความช่วยเหลือกันและกัน
เพื่อทาให้มั่นใจได้ว่าครอบครัวของทหารจะได้รับการดูแลเอาใจใส่
ไม่ว่าเขาจะทางานอยู่ที่ใด ทั้งในและนอกประเทศ

๗-๕๘. เมื่อผู้นาใช้ความเชื่อมั่นภายในหน่วยและทาให้เกิดสายการ
บั ง คั บ บั ญ ชาขึ้ น ผู้ น าที่ มี ป ระสบการณ์ ต้ อ งสามารถขยายความ
เชื่อมั่นไปยังผู้อื่นนอกเหนือสายการบังคับบัญชาได้ การขยายความ
เชื่อมั่น เป็นความสามารถลาดับที่ ๒ ของผู้นา สภาพแวดล้อมเชิง
ยุทธการของภาระหน้าที่ทางวัฒนธรรมและทางการเมืองในปัจจุบัน
แม้ กระทั่ งผู้ นาระดับ สั่ง การตรง อาจต้ องทางานอย่า งใกล้ ชิด กั บ
หน่วยงานต่างๆ ได้แก่ หน่วยงานร่วม หน่วยงานระหว่างชาติ กอง
กาลังนานาชาติ สื่อต่างๆ ประชาชนในท้ องถิ่น ผู้นาทางการเมือง
กาลัง ตารวจ และองค์ กรอิสระ ในการขยายความเชื่อ มั่ น ต้ องใช้
ความระแวดระวังเป็นพิเศษในเรื่องความแตกต่างของผลที่เกิดจาก
การใช้ความเชื่อมั่นนั้นๆ

๗-๕๙. เมื่ อ ความเชื่ อ มั่ น ขยายออกไปนอกเหนื อ สายการบั ง คั บ


บัญชา ผู้นาต้องมี ความเชื่อมั่น ที่มิได้มาจากอานาจหน้าที่ ยศ หรือ

๗-๒๖
บทที่ ๗ การนา

ต าแหน่ ง ผู้ น าทางทหารมั ก พบว่ า ตนเองตกอยู่ ใ นสถานการณ์ ที่


จะต้องสร้างทีมงานที่เป็นทางการเพื่อให้บรรลุกิจขององค์กร

๗-๖๐. ลักษณะอันเป็นเอกลักษณ์ของขยายความเชื่อมั่นคือการที่ผู้
ที่เป็นเปูาหมายของความเชื่อมั่นภายนอกสายการบังคับบัญชาอาจ
ไม่แม้กระทั่งตระหนักรู้ หรือทาให้ยอมรับอานาจหน้าที่ของผู้นาด้วย
ความเต็มใจ หน่วยงานที่ไม่เป็นทางการต้องสร้างสภาพการทางานที่
ไม่มีอานาจทางการบังคับบัญชาแบบเป็นทางการ ในบางกรณีอาจ
ต้ อ งการให้ ผู้ น าก าหนดเป็ น หนั ง สื อ รั บ รอง รวมทั้ ง ก าหนด
คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ใ นการน าผู้ อื่ น ในบางครั้ ง ผู้ น าอาจ
จาเป็ น ต้ อ งมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ คนที่ สามารถโน้ ม น้ า วได้ แ ต่ มิ ใ ช่ จ าก
ตาแหน่งที่ชัดเจนและทัศนคติของการมีอานาจ

๗-๖๑. องค์ประกอบหลักของการขยายความเชื่อมั่นและการสร้าง
หน่วยเป็นการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมตามความคาดหวังของสมาชิกใน
หน่วย

๗-๖๒. การนาโดยปราศจากอานาจหน้าที่ต้องมีการปรับให้เข้ากัน
กับสภาพแวดล้อมและความอ่อนไหวทางวัฒนธรรมของสถานการณ์
ผู้นาต้องมีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมเพื่อที่จะเข้าใจถึงความแตกต่าง
ของระบบความเชื่อและประเพณีทางสังคม และเพื่อที่จะกาหนด
รายละเอียดต่างๆให้เหมาะสม ในการปฏิบัติการรักษาสันติ ภาพนั้น
ไม่ว่าจะเป็นผู้นาหน่วยขนาดเล็กหรือเป็นนักเจรจาต่อรองต้องเข้าใจ
ถึ ง ปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสภาพท้ อ งถิ่ น กั บ ผู้ น าซึ่ ง มี ผ ลกระทบต่ อ
ยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณนั้นในภาพรวม เนื่องจากหน่วยสามารถ
ใช้เป็นตัววัดอิทธิพลความเชื่อมั่นของผู้ก่อความไม่สงบที่มีต่ออานาจ

๗-๒๗
บทที่ ๗ การนา

ของประชาชนในท้องถิ่น หรือกลายเป็นสิ่ง กระตุ้นการคัดเลือกคน


ใหม่ เ ข้ า เป็ น พวกผู้ ก่ อ ความไม่ ส งบ การขยายความเชื่ อ มั่ น
ประกอบด้วยการมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังนี้
 การสร้างความไว้วางใจนอกอานาจสายการบังคับบัญชา
ทางทหาร
 เข้าใจถึง บรรยากาศ เครื่อ งมือ และข้อจากัด ของความ
เชื่อมั่น
 การเจรจาต่อ รอง การสร้ างความสมานฉัน ท์ และการ
แก้ปัญหาความขัดแย้ง

การสร้างความไว้วางใจนอกเหนืออานาจหน้าที่
๗-๖๓. การสร้างหน่วยให้มีประสิทธิภาพและเป็นหนึ่งเดียวกันเป็น
ความท้าทายอันดับแรกของผู้นาในการทางานภายนอกโครงสร้าง
การบังคับบัญชา โดยหน่วยเหล่านี้มักมาจากกลุ่ มต่างๆ ที่มีความ
แตกต่ า งกั น ซึ่ ง ไม่ คุ้ น เคยกั บ วั ฒ นธรรมประเพณี ท างทหารและ
กองทัพบก ทั้งนี้หากไร้ซึ่งความไว้วางใจต่อกันก็ไม่สามารถทางานได้
ดีเท่าที่ควร ในการสร้างความไว้วางใจนั้นผู้นาต้องระบุผลประโยชน์
และเปูาหมายร่วมกันให้ชัดเจน ความไว้วางใจระหว่างคนสองคน
หรือกลุ่มสองกลุ่มอยู่บนพื้นฐานของความสามารถในการคาดคะเน
ได้ว่าผู้อื่นจะเข้าใจและเขาจะสนองตอบต่อสถานการณ์ต่างๆอย่างไร
การให้ ผู้ อื่ น รั บ รู้ ข่ า วสารอยู่ เ สมอก็ เ ป็ น การสร้ า งความไว้ ว างใจ
ประการหนึ่ง ทั้งนี้การประสานและคงไว้ซึ่งความไว้วางใจขึ้นอยู่กับ
การทาตามที่ได้รับหน้าที่ไว้

๗-๖๔. หน่วยที่ประสบความสาเร็จจะมีทัศนคติของการเป็นผู้ชนะ
จะถือว่าปัญหาคือความท้าทายหาใช่อุปสรรค หน่วยที่มีความเป็น

๗-๒๘
บทที่ ๗ การนา

หนึ่งเดียวกันจะได้รับความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าหน่วย
ที่แตกแยกกันเป็นกลุ่มบุคคล การสร้างหน่วยที่ไร้รอยต่อคืออุดมคติ
เนื่ อ งจากในทางปฏิ บั ติ บ างครั้ ง ก็ ไ ม่ ส ามารถรวมกลุ่ ม ที่ มี ค วาม
แตกต่างกันได้

๗-๖๕. การสร้างพันธมิตร คล้ายกันกับการสร้างหน่วย แต่ในกลุ่ม


ของพันธมิตรจะคงความเป็นตัวของตัวเองมากกว่า ความไว้วางใจ
เป็นส่วนประกอบร่วมที่ทาให้เกิดผลดีต่อการรวมตัวกัน เมื่อเวลา
ผ่านไปการทาให้พันธมิตรมีความพร้อมโดยการสร้างข่ายการติดต่อ
มิตรภาพที่เติบโตขึ้น และการระบุให้ชัดถึงประโยชน์ที่พึงมีร่วมกัน

๗-๖๖. การฝึก และการทางานเป็นการสร้า งสมให้ ทั้ง หน่ว ยเกาะ


กลุ่ ม กั น เหนี ย วแน่ น หรื อ พั น ธมิ ต รที่ เ กาะกลุ่ ม กั น หลวมๆ มี
ความสามารถเพิ่ ม ขึ้ น และ มี ค ว ามไว้ วาง ใจซึ่ ง กั น และกั น
ความสัมพันธ์ที่มีความไว้วางใจซึ่งกันและกันนี้จะแผ่กระจายออกไป
ถึง บุค คลแต่ ละคนทั่ว ทั้ง องค์ก ร โดยไม่ แบ่ งแยกเพศ ชาติก าเนิ ด
ศาสนา ไม่ว่าจะมาประจาการ หรือมาขึ้นสมทบชั่วคราว

๗-๖๗. การสร้างความไว้วางใจและความสามัคคีเป็นสิ่งที่นามาใช้
ได้กับความสัมพันธ์ที่ขยายออกไปนอกเหนือสายการบังคับบัญ ชา
และองค์กร นามาประยุกต์เข้ากับการทางานที่มีการจัดการเบ็ดเสร็จ
ภายในองค์กร ได้แก่ องค์กรร่วม ระหว่างองค์กร กองกาลังหลาย
ชาติ รวมทั้ ง ส่ ว นที่ มิ ใ ช่ ก าลั ง รบ หากหน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารพิ เ ศษให้
สัญญาในการสนับสนุนทางอากาศวิกฤตและการส่งกาลังสายแพทย์
ให้กับกองกาลัง นานาชาติ เพื่อการปฏิบั ติการที่กาลัง จะมาถึง นั่ น
หมายถึงการนาชื่อเสียงโดยส่วนตัวของผู้ที่เป็นผู้นา ความไว้วางใจ

๗-๒๙
บทที่ ๗ การนา

ต่อประเทศ ในฐานะที่เป็นที่เคารพ เป็นประเทศที่ให้การสนับสนุน


เข้าไปสู่ความเสี่ยงด้วย

การทาความเข้าใจบรรยากาศ วิธีการ และข้อจากัดของ


อิทธิพล
๗-๖๘. การปฏิบัติการตามโครงสร้างการบังคับบัญชาและระเบียบ
ปฏิบัติประจาจะเห็นสิ่งที่มีอยู่และข้อจากัดของบทบาทและความ
รับผิดชอบได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ การประเมินผู้ร่วมงานยังกลายเป็น
งานอีกส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการที่พึงกระทาหากต้องมีการนาเมื่อ
อยู่ภายนอกองค์กร นั่นหมายถึง สิ่งสาคัญที่ต้องพิจารณาได้แก่ การ
ระบุได้ว่าใครเป็นใคร มีบทบาทอย่างไร ใครที่มีอานาจหน้าที่หรือมี
อิทธิพล ตอบสนองนโยบายของผู้นาอย่างไร ซึ่งบางครั้ง ดูเหมือนว่า
นี่เป็นความเข้าใจข้อจากัดของกองทัพบก หรือ ความเชื่อมั่นในตัว
ผู้นา

๗-๖๙. การขยายขอบเขตของหน่วยหรือองค์กรที่มีความแตกต่าง
กันโดยสิ้นเชิงเป็นงานที่ต้องใช้ความเอาใจใส่เป็นพิเศษ ทั้งนี้กุญแจ
ของการมีความเชื่อมั่นภายนอกสายการบังคับบัญชาก็คือการเรียนรู้
เกี่ยวกับคนและองค์กร โดยการทาความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ที่
ต้องการและสิ่งที่ปรารถนา ผู้นาต้องรู้ว่าอะไร คือ เทคนิคซึ่งสามารถ
สร้างความเชื่อมั่นที่ได้ผล ผู้นาสามารถเรียนรู้ศิลปในการจัดการกับ
ผู้คนซึ่งมีความต้องการผลประโยชน์ที่แตกต่างกันได้จากภาคธุรกิจ
ซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับการประสานผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน ของกลุ่ม
ต่างๆที่มีความแตกต่างกัน

๗-๓๐
บทที่ ๗ การนา

การเจรจาต่ อรอง การสร้ างฉั น ทานุ มั ติ และการสลาย


ความขัดแย้ง
๗-๗๐. เมื่อมีการปฏิบัติการภายนอกสายการบังคับบัญชา ผู้นาต้อง
สลายความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ของกองทัพบกกับประชาชน
ในท้องถิ่นหรือคนอื่นๆ ความรุน แรงของความขั ดแย้ง ชี้ให้เห็นถึ ง
ความแตกต่า งและความคล้า ยคลึง กัน ในท่าที ของกลุ่ม ซึ่ ง มีค วาม
หลากหลาย เมื่อนาความแตกต่างที่ได้ไปวิเคราะห์ก็จะเข้าใจว่ามี
อะไรอยู่เบื้องหลังความแตกต่างนั้น จึงมีการจัดทาเอกสารวิจัย ขึ้น
เพื่อทบทวนการแปลความหมายของความแตกต่างหรือการประนี
นอมด้ ว ยการถกแถลงเพื่ อ น าไปสู่ ค วามเข้ า ใจร่ ว มกั น หรื อ ให้ มี
จุ ด หมายร่ ว มกั น ทั้ ง นี้ ความไว้ ว างใจ ความเข้ า ใจ และความรู้
เกี่ยวกับเทคนิคของการมีความเชื่อมั่นที่ถูกต้องในสถานการณ์ต่างๆ
เป็นปัจจั ยที่ต้องน ามาพิจ ารณาเมื่ อมีการเจรจาต่ อรอง การสร้า ง
ฉันทานุมัติ และการสลายความขัดแย้ง

การนาโดยการเป็นแบบอย่าง
การแสดงลักษณะทหาร
๗-๗๑. ผู้นาเป็นผู้แสดงทั้งที่ รู้ตัวหรือไม่ก็ตาม เนื่องจากผู้นาปฏิบัติ
ไปตามสัญ ชาตญาณที่เติบโตมาจากสิ่งที่เคยเห็นในอดีต สิ่ง ที่ผู้นา
เห็นผู้อื่นทาเป็นการกาหนดสิ่งที่อาจจะทาในอนาคต ทั้งนี้ลักษณะ
อันดี ของผู้นาจะแสดงออกให้ เห็ นตลอดเวลา ซึ่ งการจาลองแบบ
คุ ณ ลั ก ษณะเหล่ า นี้ จ ะให้ ค านิ ย ามเกี่ ย วกั บ ผู้ น าผู้ นั้ น แก่ ผู้ ที่ มี
ปฏิสัมพันธ์ด้วย โดยที่ผู้นาเหล่านี้ไม่จาเป็นต้องกังวลว่าจะมีใครเห็น
ว่าเขาทาในสิ่งที่ผิด

๗-๓๑
บทที่ ๗ การนา

๗-๗๒. การอยู่ด้ว ยค่า นิยมของกองทัพบกและการมีหั วใจนักรบ


แสดงถึงลักษณะทหารและการนาโดยเป็นแบบอย่าง นั่นหมายความ
ถึง การทาให้ ห น่ว ยและผู้ ใต้บั งคั บบั ญ ชาให้ อยู่เ หนื อความเห็ นแก่
ประโยชน์ส่วนตน อาชีพ และความสบาย ส่วนผู้นานั้นยังต้องการทา
ให้ชีวิตของผู้อื่นสมความปรารถนาที่จะดารงตนไว้ให้ได้

การนาด้วยความมั่นใจในสภาพที่เป็นปฏิปักษ์
๗-๗๓. ผู้นาที่มีความมั่นใจในตนเองคือแรงบันดาลใจให้กับผู้ตาม
ทหารจะทาตามผู้นาที่รู้สึกวางใจกับความสามารถของตนเองและจะ
มีคาถามกับผู้นาที่แสดงความสับสนในตนเอง

๗-๗๔. การแสดงความมั่น ใจและมีค วามสงบนิ่ง เมื่ อสิ่ง ต่างๆ ไม่


เป็นไปด้วยดีเป็นความท้าทายสาหรับใครก็ตาม อีกทั้งเป็นสิ่งสาคัญ
สาหรับผู้นาที่จะนาพาผู้อื่นให้ผ่านพ้นสถานการณ์ที่โศกเศร้าไปได้
ความมั่นใจเป็นองค์ประกอบอันเป็นหัวใจในการแสดงออกของผู้นา
หากผู้ น าแสดงถึ ง ความลั ง เลใจอั น เป็ น สิ่ ง บอกเหตุ ใ ห้ เ ห็ น ความ
ปราชัยบนใบหน้า นั่นจะเป็นจุดเริ่มของปฏิกิริยาลูกโซ่ที่จะตามมา
นอกเหนือจากนี้ ผู้นาที่มีความมั่น ใจมากเกินไปในสถานการณ์อั น
ยุ่ง ยากอาจจะทาให้ขาดความเหมาะสมในการเอาใจใส่หรือกัง วล
สนใจต่อการแสดงความรู้สึก (เก็บความรู้สึกไม่ได้)

๗-๗๕. การนาด้วยความมั่ นใจต้อ งมีการระวั ง ตนเองเป็น อย่างดี


และต้องมีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ ดังนั้น การพัฒนา
ความสามารถที่จะคงไว้ซึ่งความมั่นใจในตนเองในสถานการณ์ต่างๆ
จึงเกี่ยวพันกับสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้

๗-๓๒
บทที่ ๗ การนา

 มีโอกาสที่จะเรียนรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับปฏิกิริยาโต้ตอบ
ของสถานการณ์รุนแรงต่างๆ
 คงไว้ซึ่ง ทัศนคติในเชิงบวกเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ที่มี
ความสับสนหรือมีการเปลี่ยนแปลง
 ตัดสินใจหลังจากที่พบปัญหา
 ให้กาลังใจเมื่อมีผู้แสดงความอ่อนแอ

การแสดงความกล้าหาญด้านคุณธรรม
๗-๗๖. การแสดงความมั่นใจในสนามรบและสถานการณ์อื่นๆ ต้อง
ใช้ความกล้าหาญด้านคุณธรรม และด้านกายภาพ ความกล้าหาญ
ด้านกายภาพจะส่งผลให้ทหารปกปูองแผ่นดินของเขาถึงแม้ว่าข้าศึก
ได้รุกล้าแนวการปูองกันตนเองของฝุายเราเข้ามาได้แล้ว หรือแม้ว่า
จะเห็นกระสุนตกลงมาใกล้ๆ ส่วนความกล้าหาญด้านคุณธรรมจะทา
ให้ผู้นายืนหยัดในค่านิยม หลักการ และการลงทัณฑ์ในสถานการณ์
เดียวกัน ผู้ นาที่ มีความรับผิ ดชอบเต็ม ตัวในการตัดสิน ใจและการ
กระทาแสดงให้เห็นถึงความกล้าหาญด้านคุณธรรม ผู้นาที่มีความ
กล้า หาญในเชิง คุณธรรมจะใช้ค วามตั้ง ใจมองลึกเข้าไปในตนเอง
พิ จ ารณาความคิ ด ใหม่ ๆ และเปลี่ ย นแปลงสิ่ ง ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความ
ล้มเหลว

๗-๗๗. ความกล้าหาญด้านคุณธรรมในวันต่อวันของการปฏิบัติใน
ยามสงบมี ค วามส าคั ญ เท่ า กั บ ความกล้ า หาญทางด้ า นกายภาพ
ชั่วขณะหนึ่งในสนามรบ ผู้นาซึ่งดาเนินการพิจารณาว่ายุทโธปกรณ์
ทางทหารชิ้ น ใหม่ มี ค วามสามารถไม่ ต รงกั บ คุ ณ สมบั ติ เ ฉพาะที่
กาหนด เป็นการทดสอบความกล้าหาญทางด้านศีลธรรมจะเตรียม
ตัวที่จะรับความกดดันและดารงไว้ซึ่งวัตถุประสงค์และความยุติธรรม
๗-๓๓
บทที่ ๗ การนา

ในขั้นตอนการทดสอบและบทสรุป ความกล้าหาญทางด้านคุณธรรม
เป็นพื้นฐานของการใช้ชีวิตด้วยค่านิยมของกองทัพบกในเรื่ องความ
ซื่อสัตย์และเกียรติยศ ไม่ว่าจะเป็นพลเรือนหรือทหารก็ตาม

การแสดงความสามารถ
๗-๗๘. ผู้ใต้บังคับบัญชาใช้เวลาไม่มากนักที่จะสังเกตว่าผู้นาที่ทาท่า
มั่นใจในตนเองแต่ไม่มีค วามสามารถจริง ตามนั้น การมีค วามรู้ใ น
ระดับที่เหมาะสมเป็นสิ่งสาคัญในการเตรียมผู้นาให้มีความสามารถ
ซึ่ง แสดงให้เห็นถึ งความมั่นใจในตนเองโดยผ่านทางทัศนคติ การ
กระทา และคาพูด

๗-๗๙. เมื่อพิจารณาถึงความสาคัญของการปฏิบัติการทางทหาร
ของหน่ ว ยเล็ ก ๆ มี ห ลายสิ่ ง ที่ ไ ม่ แ น่ น อนจนกระทั่ ง ผู้ น าที่ มี
ความสามารถและมีความมั่นใจมาทาให้เกิดความแตกต่าง ผู้นาที่มี
ความสามารถจะประยุกต์ ลักษณะเฉพาะของการตัด สินใจที่จะมี
อิท ธิพ ลในสถานการณ์ ทางยุท ธวิ ธีห รือ ยุ ทธการในเวลาที่ถู กต้ อ ง
ลักษณะส่วนตัวและอิทธิพลในทางอ้อมจะช่วยระดมขวัญและความ
ตั้งใจนาไปสู่การเป็นผู้ที่จะประสบชัยชนะในที่สุด

๗-๘๐. การน าโดยการท าตัว เป็น แบบอย่ า งต้ อ งการผู้ นาที่ ยัง คง
ระวัง ว่าแนวทางและแผนการของตนได้ถูกนาไปปฏิบัติ หากผู้นา
ระดั บ สั่ง การตรงและผู้ น าระดั บองค์ กรท าการวางแผนที่มี ค วาม
ซับซ้อนโดยไม่ได้พิจารณาว่าทหารของเขามีประสบการณ์หรือไม่ ก็
จะไม่สามารถรักษาความปลอดภัยไว้ได้แม้ว่าจะอยู่ในกองบัญชาการ
พวกเขาต้องมีความกล้าหาญที่จะออกไปยังที่ที่จะปฏิบัติ ไม่ว่าจะ
เป็นในสนามรบ หรือในห้องปฏิบัติการ ผู้นาที่ดีจะสานความสัมพันธ์

๗-๓๔
บทที่ ๗ การนา

กับผู้ใต้บังคับบัญชาโดยการร่วมทุกข์ร่วมสุขและสื่อสารกันอย่างเปิด
อกเพื่อให้เข้าใจอย่างชัดเจนและรู้สึกถึงความเป็นไปในมุมมองของ
ผู้ใต้บังคับบัญชา

๗-๘๑. ผู้นาทางทหารทุกระดั บต้องจดจาไว้ว่าภาพแห่งความเป็น


มนุษย์ที่เป็นสัญ ลักษณ์ต่างๆบนแผนที่ซึ่งทหารมีอยู่ในใจก็คือการ
ต่อสู้ในระยะที่ใกล้ชิดมากๆ เพื่อพิสูจน์ว่าแผนจะประสบความสาเร็จ
ได้ ผู้นาที่เ ป็นนักรบแท้จริงจะท าการนาและร่วมเป็น ร่วมตายกั บ
ทหารอยู่ในแนวหน้า การเห็นและมีความเข้าใจแผนที่ จะนาไปสู่การ
ปฏิบัติจะช่วยเสริมให้ผู้นาประเมินสถานการณ์ได้ดีขึ้นและมี ความ
เชื่อมั่นต่อการปฏิบัติด้วยการปรากฏตัวในทันที ผู้นาที่รักษาตนเอง
ให้ปลอดภัยโดยการรักษาระยะห่างจากความเสี่ยงในแนวหน้าเป็น
การทาลายความไว้วางใจและความเชื่อมั่นของทหาร เช่นเดียวกัน
กับผู้ นาสายงานธุร การเมื่ อต้อ งปฏิบัติ งานภายใต้สถานการณ์อั น
ยุ่งยาก หรือภารกิจการส่งกาลังที่มีอันตรายเพื่อสนับสนุนให้กับการ
เข้าวางกาลังทางทหาร เขาต้องถามตัวเองว่า สิ่งที่ขอให้ลูกน้องทา
เราได้ทาแล้วหรือยัง

๗-๘๒. หากทาการน าร่ว มอยู่ ในแนวหน้ าและวางแผนด้วยความ


เข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับสถานการณ์ในแนวหน้าเป็นกุญ แจแห่ง
ความสาเร็จ
ผู้บัญ ชาการหรือหัว หน้าฝุา ยเสนาธิการ (ในขณะเดียวกั น
เป็นได้แค่ตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่งเท่านั้น ) และหนึ่งในบรรดาคณะ
ฝุายเสนาธิการในแผนกต่างๆ ได้แก่ สื่อสาร แพทย์ สรรพาวุธ ช่าง
และพลาธิการ ควรเข้าไปในแนวหน้าเป็นประจาทุกวัน ทั้งนี้ หัวหน้า
ฝุายเสนาธิการควรมอบหมายให้แต่ละแผนกเข้าไปโดยไม่ซ้ากันใน

๗-๓๕
บทที่ ๗ การนา

แต่ละวัน
หน้าที่ของนายทหารเหล่านี้คือเข้า ไปร่วมสัง เกตการณ์ มิใช่
เข้าไปยุ่ง นอกจากนี้ให้รายงานทุกสิ่งที่มีความสาคัญทางทหาร...จา
ไว้ด้วยว่า นี่คือภารกิจพื้นฐานในฐานะผู้นา ที่ต้องเห็นด้วยตาของ
ตนเองและตาของทหารในหน่วยขณะออกลาดตระเวน ..

การติดต่อสื่อสาร
๗-๘๓. ความสามารถของผู้ น าจะได้ ผ ลหรื อ ไม่ ขึ้ น อยู่ กั บ การ
ติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ถึ ง แม้ ว่ า การติ ด ต่ อ สื่ อ สารจะถู ก มองว่ า เป็ น
กระบวนการในการจัดให้มีข้อมูลข่าวสาร โดยต้องมั่นใจได้ว่าการ
ติ ด ต่ อ สื่ อ สารเป็ น มากกว่ า การส่ ง ผ่ า นข้ อ มู ล ข่ า วสารง่ า ยๆ การ
ติดต่อสื่อสารนับว่าเป็นความสามารถอย่างหนึ่ง ซึ่งทาให้เกิดความ
เข้าใจใหม่ๆ สร้างการระแวดระวังใหม่หรือดีกว่าเดิม ข้อมูลข่าวสาร
เชิง วิ กฤติ ทางการสื่ อสารด้วยวิธีที่ ชัดเจนเป็ นทัก ษะสาคัญ ในการ
สร้างความเข้าใจร่วมกันในแต่ ละประเด็นและวิธีแก้ปัญ หา นั่นคือ
การส ารวจความคิ ด การเสนอค าแนะน าต่ า งๆ การประสาน
ความรู้สึกอ่อนไหวทางวัฒนธรรม และการนาไปสู่ฉันทานุมัติ ผู้นา
จะไม่สามารถนา กากับดูแล สร้างทีม ให้คาปรึกษา แนะนาหรือ
เป็นพี่เลี้ยงได้ หากไร้ซึ่งความสามารถในการติดต่อสื่อสารที่ชัดเจน

การฟังด้วยความตั้งใจ
๗-๘๔. ความสาคัญของการสื่อสารสองทางเพื่อสร้างความเข้าใจ
ร่วมกันคือการฟังด้วยความตั้งใจ ถึงแม้ว่าความมุ่งหมายสาคัญของ
การฟังก็คือการเข้าใจความคิดของผู้ส่งสาร ผู้ฟังควรแสดงตัวชี้วัดถึง
ผู้พู ด ว่ า ยั ง คงตั้ ง ใจฟั ง อยู่ การฟั ง ด้ ว ยความตั้ ง ใจยั ง หมายถึ ง การ
หลีกเลี่ยงที่จะขัดจังหวะการพูด การจดจาคาพูด หรือการจดบันทึก

๗-๓๖
บทที่ ๗ การนา

ประเด็นสาคัญ หรือสิ่งที่ต้องการความชัดเจน ผู้ฟังที่ดีจะรับทราบ


รายละเอียดของข้อความ รวมทั้งความเร่งด่วนและอารมณ์ของเรื่อง
ที่พูด

๗-๘๕. สิ่ ง ส าคั ญ คื อ การทราบถึ ง อุ ป สรรคในการฟั ง อย่ า ไป


กาหนดการตอบสนองเพื่อไปขัดขวางการฟังในสิ่งที่ผู้อื่นพูด อย่าหัน
เหความสนใจด้วยความโกรธ ความไม่เห็นด้วยกับผู้พูด หรือสิ่งอื่นๆ
ที่จะขัดขวางได้ อุปสรรคเหล่านี้ขัดขวางการได้ยินและการซึมทราบ
สิ่งที่พูด

การกาหนดเป้าหมายสาหรับการปฏิบัติ
๗-๘๖. พื้นฐานของการแสดงเปูาหมายในการปฏิ บัติให้ชัดเจนมีอยู่
ในวิสั ยทัศ น์ของผู้นา และการนาวิ สัยทัศ น์มาอธิบ ายได้ ดีเพี ยงใด
ก่อนที่จะกาหนดเปูาหมาย วัตถุประสงค์ และกิจที่ต้องการสาหรับ
ทีม หน่วย หรือองค์กร สิ่งสาคัญสาหรับผู้นาคือจินตภาพถึงสภาวะ
สุดท้ายอันพึง ปราถนา เมื่อมีเ ปูาหมายที่ชัดเจนแล้วผู้นามีหน้า ที่
ต้องสื่อสารโดยการจูงใจให้เข้าใจและยอมรับในสิ่งที่ต้องการจะสื่อ

๗-๘๗. การพู ด ให้ ผู้ ฟั ง มี ส่ ว นร่ ว มสามารถปรั บ ปรุ ง ได้ โ ดยการ


คานึงถึงรูปแบบของการสื่อสาร ซึ่งสามารถใช้เป็นสื่อในการกระตุ้น
ผู้นาเมื่อผู้นาเป็นผู้ฟัง ผู้พูดควรแสดงความเปิดเผยโดยบอกให้ผู้ฟัง
แสดงออกอย่างเหมาะสมว่าได้รับทราบสิ่งที่ผู้พูดต้องการจะสื่อ ผู้พูด
ต้องทาให้ผู้ฟังมีความตื่นตัวและคอยปรับความเข้าใจให้ถูกต้อง ทั้ง
ความส าเร็ จ และความล้ ม เหลวของการสื่ อ สารใดๆ เป็ น ความ
รับผิดชอบของผู้นา สิ่งสาคัญคือต้องมั่นใจว่าสิ่งที่ต้องการสื่อไปถึง
ผู้รับ โดยผู้นาอาจใช้วิธีถามคาถาม หรือการให้ผู้ฟังบรรยายกลับ

๗-๓๗
บทที่ ๗ การนา

ให้มั่นว่ามีความเข้าใจร่วมกัน
๗-๘๘. ผู้น าที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะที่พึ ง ประสงค์ จ ะรู้ จัก ตนเอง ภารกิ จ
และสิ่งที่ต้องการสื่อ โดยมีหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสารซึ่งเกี่ยวกับความ
รับผิดชอบโดยตรงให้กับหน่วยและผู้ใต้บังคับบัญ ชา รวมทั้งข้อมูล
ข่าวสารที่จาเป็นต่อการทางานให้เสร็จ และข้อมูลข่าวสารที่จะเป็น
ประโยชน์ต่อไปในอนาคต

๗-๘๙. ผู้นาจะแจ้งข้อ มูลข่าวสารให้ องค์กรทราบเสมอเนื่องจาก


เป็นการสร้างความไว้วางใจ การทาให้มีส่วนรับรู้ข้อมูลข่าวสารจะ
ช่วยลดความกดดันและข่าวลือต่างๆ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
ให้ ทั น เวลาจะท าให้ ส มาชิ ก ในหน่ ว ยพิ จ ารณาว่ า สิ่ ง ใดเป็ น ความ
จาเป็นต่อการบรรลุภารกิจ และสิ่งใดควรปรับแก้เพื่อให้เหมาะกับ
ส ถ า น ก า ร ณ์ ที่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ก า ร แ จ้ ง ข่ า ว ส า ร ใ ห้ กั บ
ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบถึงการตัดสินใจ รวมทั้งเหตุผลต่างๆ ที่แสดง
ถึงการชื่นชมสมาชิกในหน่วย และสิ่งใดจะนามาสนับสนุนได้เป็นสิ่ง
ที่จาเป็น การไหลของข้อมูลข่าวสารที่ดีจะทาให้ผู้นาตามสายการ
บังคับบัญชาคนต่อไปมีการเตรียมการที่เพียงพอในการเข้าไปบังคับ
บั ญ ชาต่ อ ดั ง นั้ น ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาจึ ง ต้ อ งเข้ า ใจวิ สั ย ทั ศ น์ ข อง
ผู้บังคับบัญชาอย่างชัดเจน ส่วนการจัดเตรียมทางยุทธวิธี ผู้นาทุกคน
ต้องเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ๒ ระดับเป็น
อย่างดี

๗-๙๐. วิธีการใช้ข้อมูลข่าวร่วมกันของผู้นามีหลายวิธี ได้แก่ การ


พูดคุยกันตัวต่อตัว การออกคาสั่งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
การประมาณการและการวางแผน บั น ทึ ก ข้ อ ความ ไปรษณี ย์
อิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ และจดหมายข่าว ในการใช้ข้อมูลข่าวสาร

๗-๓๘
บทที่ ๗ การนา

ร่วมกันผู้นาต้องยอมรับปัจจัยสาคัญยิ่ง ๒ ประการ คือ


 ผู้นามีความรับผิดชอบในการทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าใจ
ข้อมูลข่าวสาร
 ผู้นาต้องมั่ นใจว่าการสื่อสารไม่จากัด เพียงตามสายการ
บังคับบัญชาแต่ยังรวมถึงเครือข่ายการสนับสนุ นทางข้าง
และทางดิ่ง

๗-๙๑. เมื่ อ มี ก ารตรวจสอบถึ ง การไหลของข้ อ มู ล ส าหรั บ ความ


เข้าใจร่วมกัน ผู้นาหน่วยควรฟังในสิ่งซึ่งผู้ที่ทาหน้าที่กากับดูแลนาย
สิบประจาหมวด ผู้บังคับหมวด และผู้บังคับกองร้อยพูดด้วยความ
เอาใจใส่ นายสิบประจาหมวดจะเป็น ผู้ที่ถ่ายทอดข่ าวสารไปยัง ผู้
บังคับหมู่ ซึ่งโดยปกติจะเฝูาฟังและเฝูาดูว่าข้อมูลข่าวสารที่สาคัญยิ่ง
จะถูกถ่ายทอดและนาไปสู่การปฏิบัติหรือไม่

๗-๙๒. นอกจากนี้ การติดต่อสื่อสารยังสามารถเกิดจากด้านล่างขึ้น


ไปสู่ด้านบน โดยที่ผู้นาจะค้นหาว่าคนกาลังคิดอะไร พูดอะไร โดย
การฟัง ผู้นาที่ดีจะเก่งในการพูดเกี่ยวกับองค์กร โดยปฏิบัติหน้าที่ใน
การเป็นครูผู้ให้คาแนะนา ฟัง และทาให้เกิดความเข้าใจที่ง่ายขึ้น
ต่อจากนั้นก็จะส่งต่อความเห็นให้กับผู้บังคับบัญชาระดับเหนือขึ้นไป
เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจ

๗-๙๓. ในหลายโอกาสที่ผู้นาใช้การติดต่อสื่อสารให้มีผลดีเพิ่มขึ้ น
ด้วยการใช้เครือข่ายแบบไม่เป็นทางการมากกว่าการติดต่อโดยตรง
กับ ผู้บั ง คั บบั ญ ชา ซึ่ง บางครั้ งก็ ทาให้ เกิ ดผลที่พึ งประสงค์แ ต่อ าจ
นาไปสู่การเข้าใจผิด หรือการตัดสินที่ผิดพลาดได้ การนาหน่วยที่มี
ประสิทธิผลและบรรลุภารกิจโดยปราศจากความขัดแย้ง ผู้นาต้องหา

๗-๓๙
บทที่ ๗ การนา

หนทางเข้าถึงผู้บังคับบัญชาเมื่อจาเป็นเพื่อสร้างความไว้วางใจซึ่งกัน
และกัน ก่อนอื่นผู้นาต้องประเมินว่าผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปมีการ
ติดต่อสื่อสารอย่างไร และได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างไร บางคนก็ใช้
การติดต่อกันโดยตรง ในขณะที่คนอื่นๆ อาจใช้วิธีการประชุมประจา
สัป ดาห์ ไปรณี ย์อิ เ ล็ กทรอนิ ก ส์ หรื อ บัน ทึ กช่ ว ยจา การทราบถึ ง
เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา ลาดับความเร่งด่วน และกระบวนการ
คิดจะเป็นการเสริมความสาเร็จและความมีประสิทธิภาพขององค์กร
ผู้ น าที่ มี ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารที่ ดี กั บ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาจะช่ ว ยลดความ
ขัดแย้งและสร้างบรรยากาศที่ดีภายในองค์กร

๗-๙๔. การเตรียมองค์กรเพื่อนาไปสู่ความท้าทายทางการสื่อสาร
เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้นาสร้างสถานการณ์การฝึกที่บังคับให้มี
การแนะแนวทางให้ น้ อ ยที่ สุ ด หรื อ มี เ พี ย งเจตนารมณ์ ข อง
ผู้บังคับบัญชา ผู้นาจะให้ข้อมูลย้อนกลับทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็น
ทางการเพื่อเน้นในสิ่งที่ผู้ใต้บังคับบัญชาทาได้ดี หรือสิ่งที่ทาได้ดีขึ้น
และสิ่ ง ที่เ ขาควรทาให้แ ตกต่ างออกไปในครั้ ง ต่ อไปเพื่ อปรั บปรุ ง
กระบวนการและการใช้ข้อมูลข่าวสารร่วมกัน

๗-๙๕. การติดต่อสื่อสารแบบเปิดเป็นมากกว่าการใช้ข้อมูลข่าวสาร
ร่วมกัน นั่นคือเป็นการแสดงให้ถึงการเอาใจใส่ต่อผู้ร่ วมงาน ผู้นาที่มี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์และความมั่นใจจะสนับสนุนให้มีการพูดกัน
อย่างเปิดเผย การฟังทุกแง่มุมอย่างตั้งใจ และมั่นใจได้ว่าผู้อื่นจะพูด
อย่ า งตรงไปตรงมา และแสดงความคิ ด เห็ น อย่ า งสั ต ย์ ซื่ อ โดย
ปราศจากความกลัวถึงผลในทางลบที่ตามมา

๗-๔๐
บทที่ ๗ การนา

ขวัญ
คือ
องค์ประกอบสาคัญที่สุดของมนุษย์ทาให้มนุษย์มี
ความสุข
และความสุขนี้เอง
ทาให้เกิดผลตอบแทนทางใจซึ่งเป็นแรงจูงใจให้
ทหารปฏิบัติงานได้เสร็จสิ้นสมบูรณ์

๗-๔๑
บทที่ ๘ การพัฒนา

บทที่ ๘
การพัฒนา
ลักษณะผู้นาที่ดี
๘-๑. ผู้นาที่ดีจะใช้ความอุตสาหะเพื่อทาให้องค์กรดีขึ้นกว่าที่เคย
เป็นและคาดหวังว่าผู้นาคนอื่นๆในกองทัพจะทาเช่นเดียวกัน ผู้นา
สามารถสร้างสรรค์บรรยากาศในเชิงบวก การเตรียมตนเองเพื่อที่จะ
ทาหน้ า ที่ ของตนให้ดี รวมทั้ง ช่ ว ยให้ค นอื่ น ท าให้ ดี ด้ ว ย โดยผู้ น า
จะต้ องมองไปข้ างหน้ าและเตรียมทหารและข้ าราชการพลเรือ น
กลาโหมที่มีความสามารถพิเศษเพื่อรับผิดชอบในตาแหน่งที่มีความ
รับผิดชอบด้านภาวะผู้นามากยิ่งขึ้นในองค์กรของตนและงานที่จะ
ได้ รับ มอบหมายในอนาคต รวมทั้ งต้ อ งท าการพั ฒนาตนเองเพื่ อ
เตรียมไว้สาหรับความท้าทายในอนาคต

๘-๒. ผู้นาต้องจัดลาดับความเร่งด่วนและประเมินความต้องการใน
การแข่ง ขัน เพื่อ มุ่ง ไปสู่ อนาคตและรัก ษาความสมดุล ณ ปัจ จุบั น
ผู้นาต้องนาให้เกิดความทุ่มเทพยายามขององค์กรอย่างระมัดระวัง
ไปสู่ เป้ าหมายทั้งระยะสั้น และระยะยาว ในขณะเดีย วกัน ต้อ งคง
ความต่อเนื่องในการจัดการกับความต้องการที่นามาซึ่ง การบรรลุ
เป้าหมายเหล่านั้น ส่วนความต้องการที่ต้องใช้เวลาและทรัพยากร
ขององค์กรจะทาให้งานของผู้นายากยิ่งขึ้น การชี้นาของหน่วยเหนือ
ขึ้นไปอาจช่วยได้ แต่ผู้นาต้องสร้างความต้องการที่เหนียวแน่นเพื่อ
รักษาความสมดุลเอาไว้

๘-๑
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๓. การพัฒนาคนและองค์กรด้วยทัศนคติในระยะยาวต้องการสิ่ง
ต่าง ๆ ต่อไปนี้
 ผู้นาต้อ งสร้า งสภาพแวดล้ อมเชิ งบวกที่ มีก ารทางาน
เป็นหน่วย สร้างความเป็นหนึ่งเดียวกัน สร้างความริเริ่ม
และการยอมรับในความรับผิดชอบที่มี ทั้งนี้ผู้นาควรรักษา
ไว้ซึ่ง ความสมดุลระหว่างการดูแลเอาใส่คนกับ การมุ่ง ที่
ภารกิจ
 ผู้นาต้องมีการปรับปรุงตนเอง โดยให้คามั่นที่จะเรียนรู้
ตลอดชีวิต เพื่อให้รู้อย่างละเอียดในอาชีพการงานในทุก
ระดับ การปรับปรุงตนเองนาไปสู่ทักษะใหม่ ๆ ซึ่งมีความ
จาเป็นต่อการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของภาวะ
ผู้นา นั่นคือ การปรับปรุงตนเองต้องการการตระหนักรู้ใน
ตนเอง
 ผู้ น าต้ อ งลงทุ น ลงแรงและความทุ่ ม เทพยายามที่ จ ะ
พัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นรายบุคคลและสร้างทีมที่มี
ประสิ ทธิ ภ าพ ความสาเร็จ ต้อ งการการสอนซึ่ ง มี ความ
สมดุลที่ดี การให้คาปรึกษา การอบรมสั่ง สอน และการ
เป็นพี่เลี้ยงหรือให้คาปรึกษา

การสร้างสภาพแวดล้อมเชิงบวก
๘-๔. บรรยากาศในการท างานและวั ฒ นธรรมจะอธิ บ ายถึ ง
สภาพแวดล้อมในการนาของผู้นา วัฒนธรรมแสดงถึงสภาพแวดล้อม
ของกองทัพบกทางด้านสถาบัน และองค์ประกอบหลักหรื อสัง คม
ภายใน ทั้ง นี้ผู้น าระดับยุทธศาสตร์จะคงไว้ซึ่งวั ฒนธรรมทางด้า น
สถาบันกองทัพบก ในขณะที่บรรยากาศในการทางานจะแสดงถึง

๘-๒
บทที่ ๘ การพัฒนา

สภาพแวดล้อมของหน่วยและองค์กร ซึ่งโดยพื้นฐานแล้วผู้นาระดับ
สั่งการตรงและระดับองค์กรจะเป็นผู้กาหนด

๘-๕. การดูแลเอาใจใส่คนและทาให้มีผลงานสูง สุดได้รับอิทธิพล


จากการที่ผู้นาสร้างบรรยากาศในการทางานได้ดีเพียงใด บรรยากาศ
เป็นความรู้สึกของสมาชิกที่มีต่อองค์กร และมาจากการแบ่งปันการ
รับรู้ และทั ศนคติ เกี่ ยวกับ หน้ าที่ การงานประจ าวั นของหน่ วย สิ่ ง
เหล่ า นี้ มี ผลกระทบเป็ น อย่ า งยิ่ ง ต่ อ การจู ง ใจและการเชื่ อ มั่ น ต่ อ
ความรู้สึกที่มีต่อ หน่วยและผู้นา โดยทั่วไปแล้วบรรยากาศต่างๆที่
เกิด ขึ้น เป็ นประสบการณ์ ในระยะสั้น ๆ ซึ่ ง ขึ้ นอยู่กั บการที่ แ ต่ล ะ
บุค คลเชื่ อ มโยงกั น ในองค์ ก รเล็ ก ๆ บรรยากาศภายในองค์ ก รจะ
เปลี่ยนแปลงไปตามบุคคลที่มาและจากไป เมื่อทหารพูดว่า “รอง
หมวดคนที่ แ ล้ ว ของผมค่ อ นข้ า งดี แต่ ค นใหม่ นี่ ย อดเยี่ ย ม ” นั่ น
หมายถึงทหารผู้นั้นกาลังชี้ให้เห็นถึงหนึ่งในองค์ประกอบที่มีอยู่ซึ่งจะ
มีผลกระทบต่อบรรยากาศขององค์กร

๘-๖. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ยืนยาวและมีความซับซ้อนของกลุ่มที่มี
ความคาดหวังร่วมกันมากกว่าบรรยากาศในการทางาน ซึ่งเป็นการ
สะท้อนภาพของความคิดและความรู้สึกของคนเกี่ยวกับองค์กรใน
ขณะนั้ น วั ฒ นธรรมประกอบด้ ว ยการมี สิ่ ง เหล่ า นี้ ร่ ว มกั น ได้ แ ก่
ทัศนคติ ค่านิยม เป้าหมาย และการปฏิบัติซึ่งแสดงถึงลักษณะพิเศษ
ของสถาบันขนาดใหญ่กว่าในห้วงตลอดระยะเวลาหนึ่ง ทั้งยังแสดง
ถึงความเชื่อ ขนบธรรมเนียม และการปฏิบัติที่สั่งสมมาในระดับราก
แก้ว ผู้นาต้องสร้างบรรยากาศของสถาบันที่มีความคงทน เพื่อสร้าง
วัฒนธรรมของการที่คนพึงรู้ว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของบางสิ่งที่ใหญ่กว่า
ตนเอง ซึ่งเขาจะต้องรับผิดชอบไม่เพียงแต่ผู้คนรอบ ๆ ตัวเขาแต่รวม

๘-๓
บทที่ ๘ การพัฒนา

ไปถึงคนที่อยู่มาก่อนและกาลังจะมา

๘-๗. ทหารดึ ง ความแข็ ง แกร่ ง จากการรู้ ว่ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ


ขนบธรรมเนียมที่มีมายาวนาน ประเพณีที่มีความหมายส่วนใหญ่มัก
มีต้นกาเนิดมาจากวัฒนธรรมของสถาบัน ขนบธรรมเนียมประเพณีที่
ปฏิบัติกันอยู่ประจาวัน มีขึ้นเพื่อย้าเตือนให้ทหารรู้ว่าเขาคือสิ่งที่เพิ่ม
เข้ า มา ล่ า สุ ด ในแถวอั น ยาวเหยี ย ดของทหาร วั ฒ นธรรมและ
ประเพณี ข องกองทั พ บกเชื่ อ มโยงทหารเข้ า กั บ อดี ต และอนาคต
เครื่องแบบดนตรีที่บรรเลงในพิธีการต่าง ๆ วิธีที่ทหารแสดงความ
เคารพ ค าน าหน้ า ทางทหาร ประวั ติ ข ององค์ ก ร และค่ า นิ ย ม
กองทัพบก สิ่ง เหล่านี้ทาให้เกิดความทรงจาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ความรู้ สึ ก ของการใช้ ชี วิ ต ของทหารผ่ า นศึ ก หลั ง จากออกจาก
ประจาการ การได้รับใช้ประเทศชาติเป็นประสบการณ์สาคัญในชีวิต

๘-๘. ทหารเข้าร่วมในกองทัพบกเพื่อให้ตนเองเป็นส่วนหนึ่ง ของ


ค่ า นิ ย มและประเพณี ที่ มี พื้ น ฐานมาจากวั ฒ นธรรม ค่ า นิ ย ม
กองทัพบกมีส่วนช่วยให้ค่านิยมส่วนบุคคลที่มีอยู่ฝัง ลึกยิ่งขึ้น อาทิ
เช่น ความผูกพันกันแบบครอบครัว หลักจรรยาในการทางาน และ
ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น ประเพณี ซึ่ ง ผู ก ทหารและ
ครอบครัวไว้กับกองทัพบก ประวัติของหน่วยจึงเป็นปัจจัยสาคัญของ
ความผูกพัน เนื่องจากทหารต้องการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรด้วย
การบันทึกประวัติดีเด่น นามหน่วย เช่น กองพันทหารเสือพระราชินี
กองพั น ย่ า โม พลร่ ม ป่ า หวาย ฯ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ อั น ครอบคลุ ม
กว้างขวาง ผู้นาต้องสอนทหารเกี่ยวกับประวัติศาสาตร์ซึ่งครอบคลุม
เกี่ยวกับการบรรลุจุดสูงสุดของหน่วย การทักทายทางทหาร รางวัล
เครื่องราชย์อิสริยาภรณ์ และเครื่องหมายประจาหน่วย

๘-๔
บทที่ ๘ การพัฒนา

การสร้างเงื่อนไขสาหรับบรรยากาศเชิงบวก
๘-๙. บรรยากาศและวั ฒนธรรมแสดงถึง การที่ ผู้น าและผู้ต ามมี
ปฏิกิริยาต่อกัน แต่ละองค์ประกอบจะมีผลต่อกันและกัน การวิจัย
ทางทหาร รัฐบาล และองค์กรธุรกิจ แสดงให้เห็นว่าสภาพแวดล้อม
เชิงบวกจะนาไปสู่คนทางานที่มีความรู้สึกดีขึ้นเกี่ยวกับตนเอง การ
ให้คามั่นที่จะทาหน้าที่อย่างหนักแน่นยิ่งขึ้น และมีผลงานที่ดีขึ้น ถ้า
หากผู้ น าสามารถสร้ า งบรรยากาศในเชิ ง บวกได้ คนอื่ น ๆ ก็ จ ะ
ตอบสนองในลักษณะเดียวกัน

๘-๑๐. ผู้นาที่ดีจะมักสร้างบรรยากาศซึ่งเรียกได้ว่ามีความยุติธรรม
ทั่วถึง และใช้หลักจริยธรรม ความยุติธรรมหมายถึงการปฏิบัติอย่าง
เท่าเทียมกัน โดยมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นพิเศษโดย
สามารถทาตามอาเภอใจได้ ทั่วถึง หมายถึง ทุกคนต้องปฏิบัติหรือ
ได้รับอย่างเดียวกัน โดยไม่มีความแตกต่าง นั่นคือ ทุกคนรวมเป็น
หนึ่ ง เดี ย วกั น หลั ก จริ ย ธรรม หมายถึ ง ทุ ก คนในองค์ ก รปฏิ บั ติ
เหมือนกันตามหลักการทางจริยธรรมและค่านิยมกองทัพบก

ความยุติธรรม และความทั่วถึง
๘-๑๑. ผู้นาที่ใช้นโยบายและมีทัศนคติในการที่จะดูแลผู้อื่นแบบ
เดียวกันนี้ ถือได้ว่าเดินมาถูกทางสาหรับการสร้างบรรยากาศเชิง
บวก ถึงแม้ว่าผู้นาดูแลผู้อื่นอย่างเท่าเทียมและมีความสอดคล้องกัน
แต่ แต่ละคนจะได้รับการดูแลไม่เหมือนกัน เนื่องจากคนเรามีขีด
ความสามารถและความต้องการที่แ ตกต่างกัน ดั ง นั้นผู้นาจึง ควร
พิจารณาความแตกต่างบางประการ ในขณะเดียวกันก็วางเฉยกับ
ความแตกต่างที่ไม่ชัดเจน ในเมื่อคนเราได้รับการดูแลที่แตกต่างกัน
ผู้นาที่มีความยุติธรรมจะต้องใช้หลักการและค่านิยมเดียวกันเป็น

๘-๕
บทที่ ๘ การพัฒนา

เกณฑ์เพื่อหลีกเลี่ยงการดูแลใครคนใดคนหนึ่งเป็นพิเศษ

๘-๑๒. ผู้นาทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบต่อความยึดมั่นใน “นโยบาย


โอกาสแห่ง ความเท่าเทียม” และหลีกเลี่ยงการทาให้ลาบากใจทุก
รู ป แบบ การสร้ า งบรรยากาศเชิ ง บวกเริ่ ม จากการท าให้ มี ค วาม
หลากหลายและความทั่วถึง

การสื่อสารแบบเปิดและตรงไปตรงมา
๘-๑๓. ผู้ น าที่ ดี จ ะส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารสื่ อ สารแบบเปิ ด และการ
สังเกตการณ์แบบตรงไปตรงมา ด้วยการทาตนเป็นแบบอย่างและ
การปฏิบัติตามแบบของการเป็นผู้นา โดยการสร้างสภาพแวดล้อมที่
เอื้ออานวยต่อการให้การสนับสนุน ด้วยสภาพแวดล้อมที่เปิดและ
ตรงไปตรงมาซึ่งเป็นส่วนผสมอันเป็นกุญแจในการสร้างสรรค์หน่วย
ให้ทรงตัวที่จะยอมรับและปรับตั วให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ผู้นาที่
สามารถเข้าถึง ได้จะแสดงออกถึงความเคารพในความคิดเห็นของ
ผู้อื่น ซึ่ง อาจจะเป็นทัศนคติในทางตรงกันข้าม หรือเป็นทัศนคติที่
นอกเหนือไปจากความคิดหลัก ผู้นาบางคนจะเจาะจงยอมรับผู้อื่น
เพื่อทาให้เกิดทัศนคติเชิงวิกฤตในการป้องกันความคิดต่ อต้านของ
กลุ่ม ผู้นาแบบเปิดจะไม่แปรเปลี่ยนเจตนาของผู้อื่นแต่จะส่งเสริมให้
ได้มาซึ่งข้อมูลและข้อมูลย้อนกลับ ผู้นาเชิงบวกจะรักษาความสงบ
นิ่งและดารงวัตถุประสงค์เมื่อได้รับข่าวในทางลบ

สภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้
๘-๑๔. กองทั พ บกเปรี ย บเสมื อ นองค์ ก รแห่ ง การเรี ย นรู้ ที่ กุ ม
บังเหี ยนในด้านประสบการณ์ ของคนและองค์ก รที่จะนาไปสู่การ
ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติ จากพื้นฐานของประสบการณ์เหล่านี้ องค์กร

๘-๖
บทที่ ๘ การพัฒนา

แห่งการเรียนรู้ได้ปรับเทคนิคและระเบียบปฏิบัติใหม่ ๆ ที่จะทาให้
งานเสร็จสิ้นอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ทานอง
เดียวกันพวกเขาจะละเลยเทคนิคและระเบียบปฏิบัติที่ทาให้ความมุ่ง
หมายอยู่ได้ยืนยาวกว่า โดยการสร้างบรรยากาศซึ่งทาให้เกิดค่านิยม
และสนับสนุนอย่างเปิดเผยต่อผู้นาและคนในองค์กร โอกาสสาหรับ
การฝึ กและการศึก ษาจะถูก กาหนดขึ้น และสนับ สนุน อย่ างเต็ ม ที่
เนื่องจากผู้นามีผลโดยตรงต่อการสร้างสรรค์บรรยากาศซึ่งทาให้เกิด
ค่านิยมการเรียนรู้ผ่านอาชีพการเป็นทหารแห่งกองทัพบก สิ่งนี้เป็น
การตอบสนองต่อจุดมุ่งหมายเดียวกันกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต

การเรียนรู้ตลอดชีวิ ต คือ ทางเลือกตลอดชีวิตของปัจเจก


บุ ค คลที่ จ ะไล่ ต ามความรู้ อ ย่ า งว่ อ งไวและเปิ ด เผย ความเข้ า ใจ
เกี่ยวกับแนวความคิดต่าง ๆ และขยายออกไปเชิง ลึก ในที่ใด ๆก็
ตามที่เป็นมากกว่าการพัฒนาและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรียกว่า
เรียกว่าการเรียนรู้ตลอดชีวิต

๘-๑๕. ผู้นาผู้ซึ่งเรียนรู้ที่จะมองประสบการณ์ของตนเองและหา
วิธีการที่ดีกว่าเพื่อทาสิ่งต่าง ๆ ต้องอาศัยความกล้าหาญในการสร้าง
สภาวะแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ ผู้นาที่อุทิศให้กับสภาพแวดล้อมแห่ง
การเรียนรู้ต้องไม่กลัวที่จะท้าทายกับการที่ตนเองหรือองค์กรจะต้อง
ปฏิบัติอย่างไร เมื่อผู้นาถามว่า “ทาไมเราถึง ทาแบบนี้” จากนั้นก็
พบว่ามีเพียงเหตุผลเดียวก็คือ “เพราะว่าเราทาแบบนี้เสมอ” ซึ่งถึง
เวลาแล้ วที่ จะต้อ งมองกระบวนการเหล่ านี้ อย่ างใกล้ชิ ด หน่ วยที่
ค้นพบวิธีการทางานที่ได้ผลอาจจะไม่ได้ใช้วิธีที่ดีที่สุด เว้นแต่ว่าผู้นา
ตั้งใจที่จะถามว่า ณ ขณะนี้สิ่งต่าง ๆ จะดาเนินไปได้อย่างไร นั่นก็จะ
ไม่มีใครรู้ว่าจะทาอะไรดี นอกจากวิธีที่ทาอยู่นี้ นั่นคือกระบวนการ

๘-๗
บทที่ ๘ การพัฒนา

กระตุ้นให้คิดเพื่อค้นพบวิธีการทางานที่ได้ผล ที่แตกต่างจากวิธีที่ทา
เสมอมา

๘-๑๖. ผู้นาที่ จัดล าดับ ความเร่ งด่ว นที่จะปรับ ปรุง ให้ท หาร และ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหม รวมทั้งวิธีการทางานของหน่วยในการ
น าไปสู่ ส ภาพแวดล้ อ มแห่ ง การเรี ย นรู้ โดยใช้ วิ ธี ก ารฝึ ก และ
ประเมิ น ผลที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และกระตุ้ น ให้ ค นท างานให้ เ ต็ ม
ศักยภาพ จูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาพัฒนาตนเอง และช่วยเหลือผู้อื่น
ให้ได้รับการฝึก และศึกษา บรรยากาศที่ก่อให้เกิดความหวังจะช่วย
กระตุ้นให้บรรดาทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม ตระหนัก
ถึง ความจ าเป็ น ที่ ต้ อ งมี ก ารเปลี่ ยนแปลงในองค์ ก ร และส่ ง เสริ ม
ทัศนคติในการเรียนรู้ที่จะจัดการกับการเปลี่ยนแปลงนั้น

การประเมินบรรยากาศ
๘-๑๗. ทัศ นคติ แ ละการปฏิบั ติ ที่ ชั ด เจนสามารถน ามาพิ จ ารณา
บรรยากาศภายในองค์กรได้ ความรู้สึกโดยรวมของสมาชิกในน่ว
ยซึ่งเป็นคุณสมบัติทางด้านค่านิยม ทักษะ และการปฏิบัติของผู้นา
นั่น คือ บรรยากาศโดยรวมขององค์ก รนั่ นเอง ผู้น าจะดาเนิ นการ
ปรับปรุงโดยไม่คานึงถึงขนาดของหน่วย ทั้งนี้การสารวจบรรยากาศ
ในการควบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาจะช่ ว ยให้ ผู้ น าหน่ ว ยมี ค วามเข้ า ใจ
บรรยากาศของหน่วยได้ดีขึ้นซึ่งปกติมักจะกระทาภายใน ๙๐ วัน
หลังจากที่เ ข้ารั บตาแหน่ง หรือ เข้าควบคุม บังคั บบัญ ชา ตัว อย่า ง
คาถามที่สามารถนาไปใช้ในการประเมินบรรยากาศขององค์กรได้
เช่น

๘-๘
บทที่ ๘ การพัฒนา

 มีการจัดลาดับความเร่งด่วนและกาหนดความมุ่งหมายที่
ชัดเจนหรือไม่
 มีร ะบบความเข้ า ใจ การให้ร างวั ล และการลงโทษอยู่
หรือไม่
 ผู้นารู้หรือไม่ว่าตนเองกาลังทาอะไร
 ผู้นามีค วามกล้าพอที่ จะรับ ความผิ ดหรือ ไม่ผู้นามีความ
กล้าพอที่จะรับความผิดหรือไม่
 ผู้นาสอบถามข้อมูลจากผู้ใต้บังคับบัญชาหรือไม่
 เมื่อได้รับข้อมูลย้อนกลับแล้ว ผู้นาดาเนินการสิ่งใดหรือไม่
 ในห้ ว งการท าการแทน นายทหารที่ มี อ าวุ โ สระดั บ
รองลงมามีอานาจในการตัดสินใจในกรอบของเจตนารมณ์
และแนวทางของผู้บังคับบัญชาหรือไม่
 ผู้นารับรู้ความกดดันภายในจากระดับเหนือขึ้นไป รวมทั้ง
การแข่ ง ขั น ในเชิ ง ลบภายในองค์ ก รหรื อ ไม่ ถ้ า ทราบ
ทางเลือกในการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์นั้นคืออะไร
 ผู้นาทาตนเป็นตัวอย่าง และเป็นแบบอย่างที่ดีหรือไม่
 การกระท าของผู้ น าสอดคล้ อ งกั บ ค่ า นิ ย มกองทั พ บก
หรือไม่
 ผู้นายืนอยู่ในแนวหน้าด้วยหรือไม่ ร่วมทุกข์ร่วมสุขเมื่อ
เกิดสถานการณ์ยากลาบากด้วยหรือไม่
 ผู้นาพบปะกับกาลังพลและแจ้งข้อมูลข่าวสารให้ทราบอยู่
เสมอหรือไม่

๘-๑๘. ความประพฤติของผู้นามีผลกระทบที่สาคัญต่อบรรยากาศ
ในหน่วยผู้นา ผู้ยึดการกระทาในสิ่งที่ถูกต้องเมื่อมีเหตุผลที่ถูกต้องจะ

๘-๙
บทที่ ๘ การพัฒนา

เป็ นการสร้า งบรรยากาศในองค์ก รที่ ดี พฤติ กรรมของผู้ นาจะส่ ง


สัญญาณไปยังสมาชิกทุกคนในองค์กรว่าความคิดเห็นใดจะได้รับการ
ยอมรับหรือไม่

๘-๑๙. ผู้นาเป็น เสมือนลักษณะมาตรฐานทางด้ านคุณธรรมและ


จริยธรรมสาหรับองค์กรโดยเป็นผู้รับผิดชอบการสร้างบรรยากาศ
ด้านจริยธรรมซึ่ง ควรประพฤติให้สอดคล้องกับค่านิยมกองทัพบก
ฝ่ายกิจการพิเศษ ได้แก่ อนุศาสนาจารย์ นายทหารพระธรรมนูญ
จเรทั่วไป และอื่น ๆ ช่วยในเรื่องของการกาหนดรูปแบบและการ
ประเมินบรรยากาศทางด้านจริยธรรมภายในองค์กรเว้นเสียแต่ว่าจะ
มีผู้เชี่ยวชาญช่วยเหลือ โดยบุคคลเหล่านี้ต้องมีความรับผิดชอบที่จะ
สร้างและรักษาบรรยากาศด้านจริยธรรมไปพร้อมกันกับผู้นา

๘-๒๐. การกาหนดตัวอย่างทางด้านจริยธรรมที่ดีมิได้หมายความว่า
ผู้ใต้บังคับบัญชาจะทาตามเสมอไป บางคนอาจรู้สึกว่าสภาพการณ์
นั้น ๆ แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่ไม่มีจริยธรรม ดังนั้น ผู้นาคอย
ติดตามอย่างใกล้ชิดถึงบรรยากาศทางด้านจริยธรรมขององค์กร และ
พร้ อ มเสมอที่ จะแก้ไ ขความแตกต่ า งระหว่ า งสองสิ่ ง ที่เ หมือ นกั น
ระหว่ า งบรรยากาศและมาตรฐานให้ ถู ก ต้ อ ง การสอดส่ อ งดู แ ล
บรรยากาศในองค์กรที่ได้ผลผู้นาสามารถใช้แบบสารวจบรรยากาศ
ด้ า นจริ ย ธรรมที่ ก าหนดเป็ น ห้ ว ง ๆ ร่ ว มกั บ แผนการปฏิ บั ติ
ดังต่อไปนี้
 เริ่ ม แผนการปฏิ บั ติ ด้ ว ยการประเมิ น หน่ ว ย โดยการ
สัง เกตการณ์ การมีปฏิสัมพั นธ์ และการรวบรวมข้อมู ล
ย้อนกลับจากผู้อื่น หรือการประเมินแบบเป็นทางการ
 วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ร วบรวมมาได้ เ พื่ อ ดู ว่ า สิ่ ง ใด

๘-๑๐
บทที่ ๘ การพัฒนา

จาเป็นต้องปรับปรุง แล้วจึงเริ่มหาหนทางปฏิ บัติเพื่อการ


ปรับปรุง
 พัฒนาแผนการปฏิบัติ เริ่มจากการหาหนทางปฏิบัติที่จะ
ปรับปรุงจุดด้อย รวบรวมข้อมูลข่าวสารที่สาคัญ ประเมิน
ข้อจากัดและความเสี่ยงในหลาย ๆ ด้าน ระบุตัวบุคคล
และทรั พ ยากรหลั ก และตรวจสอบสมมติ ฐ านและ
ข้อเท็จจริง จากนั้นพยายามคาดคะเนถึงผลลัพธ์ในแต่ละ
หนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้ โดยใช้การคาดเดา แล้วเลือก
การปฏิบัติของผู้นาหลาย ๆ คนเพื่อจัดการกับประเด็นที่
เป็นเป้าหมาย
 ดาเนินการตามแผนการปฏิบัติ โดยการให้การศึกษา การ
ฝึกหรือให้คาปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบกับการ
กาหนดนโยบายหรือระเบียบปฏิบัติใหม่ จากนั้นทาการ
ทบทวนระบบการตอบแทนและการลงโทษขึ้ น ใหม่
องค์ก รก้า วขึ้น สู่ความเป็นเป็นเลิ ศได้ โดย การปรั บปรุ ง
มาตรฐาน หรื อ จุ ด อ่ อ น การท าให้ ไ ด้ เ ท่ า กั บ หรื อ เกิ น
มาตรฐาน สุดท้ายคือทาการประเมินหน่วยซ้าเป็นห้วง ๆ
เพื่อหาสิ่งที่ควรปรับปรุงเพื่อประเมินประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติของผู้นา

๘-๒๑. กระบวนการดั งกล่ าวใช้สาหรับสิ่ ง ที่น่ าสนใจและมี ความ


เกี่ยวข้องกับองค์ก ร สิ่ งที่ส าคัญ สาหรับผู้ ใต้บั ง คับ บัญ ชาคือ การมี
ความมั่ น ใจในสภาพแวดล้ อ มทางด้ า นจริ ย ธรรมขององค์ ก ร
เนื่อ งจากสิ่ง ที่จ าเป็น ในสงครามจะอยู่ต รงข้า มกั บเมล็ ดพั นธุ์ ของ
ค่านิยมทางสังคมซึ่งแต่ละบุคคลนาเข้ามาสู่กองทัพบก ความรู้สึกผิด
ชอบชั่วดีของทหารนั้นอาจกล่าวได้ว่าไม่ถูกต้องที่จะเอาชีวิตของตน

๘-๑๑
บทที่ ๘ การพัฒนา

เข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ ง ในขณะที่ บ างภารกิ จ ต้ อ งการให้ ส ละชี วิ ต


บรรยากาศทางด้า นจริย ธรรมที่ เข้ มแข็ง ช่ว ยให้ ทหารให้ คาจากั ด
ความหน้าที่ของตนเองได้ เป็นการป้องกันความขัดแย้งทางค่านิ ยม
ซึ่งอาจบั่นทอนความตั้งใจในการที่จะต่อสู้กับภยันตรายใหญ่หลวง
ของทหารคนหนึ่งไปสู่ทุกคนในหน่วย

๘-๒๒. จากมุ ม มองทางวิ นั ย ง่ า ยๆ ร้ อ ยเอก ก และ พั น ตรี ข


สามารถสั่ง ให้ พลทหาร ค ทาหน้า ที่ภายใต้การดู แลของสารวัต ร
ทหาร หรืออาจจะมอบหมายให้ พลทหาร ค ไปปฏิบัติหน้าที่ที่ห่ าง
จากการต่อสู้ แทนที่ผู้นาทั้งสองจะต้องกังวลทางด้านจริยธรรมของ
ทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พันตรี ข ได้กาหนดบรรยากาศทางด้าน
จริยธรรมที่เหมาะสม เมื่อ ผู้นาแสดงให้เห็นว่าเขาต่อสู้ปลุกปล้าอยู่
กับคาถามที่นาความยุ่งยากให้ พลทหาร ค บรรยากาศซึ่งผู้นาสร้าง
ขึ้ น นี้ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า ความเชื่ อ ส่ ว นบุ ค คลเป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ที่ ไ ม่ อ าจ
มองข้ า ม พั น ตรี ข ท าให้ เ ห็ น ว่ า หน้ า ที่ ข องทหารสามารถท าให้
สอดคล้องกับกรอบทางด้านจริยธรรมได้ด้วยความเชื่อทางด้านจิต
วิญญาณของเขา

การสร้ า งให้ เ กิ ด การท างานเป็ น หน่ ว ยและการท างาน


ร่วมกัน
๘-๒๓. การทางานเป็นหน่วยและการทางานร่วมกันคือมาตรการที่
ใช้วัดบรรยากาศ ความตั้งใจที่จะมีส่วนร่วมในการทางานเป็น หน่วย
อยู่ตรงข้ามกับความเห็นแก่ตน การทางานโดยไม่เห็นแก่ตนคือสิ่งพึง
ประสงค์ ข องการท างานเป็ น หน่ ว ยอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ดั ง นั้ น
หน่วย และองค์กรต้องทางานด้วยกันภายใต้ค่านิยมร่วมกัน กิจ และ
วัตถุประสงค์ของภารกิจ เพื่อให้ปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๘-๑๒
บทที่ ๘ การพัฒนา

ผู้นาจะกระตุ้นให้ผู้อื่นทางานด้วยกัน โดยสร้างความภาคภูมิใจต่อ
ความสาเร็จของกลุ่ม การทางานเป็นหน่วยอยู่บนพื้นฐานของการให้
คามั่นต่อหน่วยที่เรียกว่าการสร้างความไว้วางใจ ความไว้วางใจอยู่
บนพื้ น ฐานของการคาดหวั ง ว่ า ผู้ อื่ น จะท าเพื่ อ หน่ ว ย รั ก ษา
ผลประโยชน์ของหน่วยก่อนที่จะคานึงถึงประโยชน์ของตนเอง

๘-๒๔. ผู้นาสามารถปรับรูปแบบของหน่วยให้มีการทางานร่วมกัน
โดยการรักษามาตรฐานระดับสูงไว้ให้ได้ บรรยากาศเชิงบวกจะยังคง
มีอยู่ไ ด้เมื่อยึดการปฏิบัติที่ดีและผลการปฏิบัติที่สอดคล้องกันเป็น
บรรทัดฐาน สิ่งนี้แตกต่างจากการคาดหวังว่าเป็นการทางานอย่างไร้
ที่ติ สมาชิกในหน่วยควรมีความรู้สึกว่าการทุ่มเทพยายามด้วยความ
สัตย์ซื่อและมีการรวมกาลังกันเป็นสิ่งที่น่าชื่นชมแม้ว่าผลที่ได้รับจะ
ไม่สมบูรณ์นัก พวกเขาควรรู้สึกว่าผู้นาของเขาได้คานึงถึงค่านิ ยมใน
ทุก ๆโอกาสสาหรับใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ที่จะทาให้ดีขึ้น

๘-๒๕. ผู้ น าที่ ดี ท ราบดี ว่ า ความล้ ม เหลวและการเสื่ อ มถอยที่ มี


เหตุผลมัก จะเกิดขึ้ นไม่ว่า หน่วยทาทุก สิ่ง ทุกอย่ างได้อย่ างถูกต้อ ง
หรือไม่ก็ตาม ผู้นาควรแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของคุณลักษณะที่
พึง ประสงค์ และแรงจูงใจแต่ก็ต้องเข้าใจถึงจุดอ่อนที่มีอยู่ “ความ
ผิดพลาดสร้างโอกาสในการเรียนรู้บางอย่างซึ่งอาจนามาเก็บไว้
เป็นข้อเตือนใจ”

๘-๒๖. ทหารและข้ า ราชการพลเรื อ กลาโหมประจ ากองทั พ บก


คาดหวั ง มาตรฐานสู ง ที่ ตั้ ง อยู่ บ นความเป็ น จริ ง ท้ า ยที่ สุ ด อาจมี
ความรู้สึกต่อตนเองดีขึ้นเมื่อประสบความเร็จในการบรรลุกิจต่าง ๆ
จึงมีความมั่นใจในตัวผู้นาซึ่งช่วยกาลังพลเหล่านั้นให้สามารถดารง

๘-๑๓
บทที่ ๘ การพัฒนา

สถานะอยู่ในระดับมาตรฐานและจะสูญเสียความมั่นใจหากมีผู้นาที่
ไม่รู้ถึงมาตรฐานหรือล้มเหลวต่อความต้องการผลการปฏิบัติงานที่มี
คุณภาพ

การกระตุ้นให้เกิดความริเริ่ม
๘-๒๗. หนึ่ง ในความท้า ทายที่ยิ่ งใหญ่สาหรั บผู้น าคือ การกระตุ้ น
ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาให้ มี ค วามริ่ เ ริ่ ม ทหารและข้ า ราชการพลเรื อ น
กลาโหมที่ไ ม่ไ ด้อยู่ในตาแหน่งผู้นามักรีรอที่จะรับงานมาเป็นความ
รับผิด ชอบของตนและก้ าวต่ อไป รวมถึงเรื่องการทาให้ทหารพู ด
ออกมาเกี่ยวกับความรู้ทางด้านเทคนิคที่เขามีหรือให้ข้อมูลข่าวสารที่
เกี่ยวกับสถานการณ์ซึ่งผู้บังคับบัญชาไม่มี

๘-๒๘. บรรยากาศเป็นการพิจารณาในภาพกว้างซึ่งการริเริ่มและใส่
ข้ อ มู ล เข้ า ไปคื อ การกระตุ้ นจากทุ ก ๆ คนที่ เ ข้ า ใจประเด็ น ที่ มี
ความสัมพันธ์กัน ผู้นาสามารถกาหนดเงื่อนไขให้ผู้อื่นมีความคิด ริเริ่ม
โดยการให้คาแนะนาทางด้านความคิดตลอดจนปัญหาของตัว กาลัง
พลเอง และยั ง สามารถสร้ า งความมั่ น ใจในตั ว ของทหาร หรื อ
ข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมประจ ากองทั พ บก ในเรื่ อ งของ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหา

การแสดงให้ถึงการดูแลเอาใจใส่
๘-๒๙. การที่ผู้ นาแสดงออกถึ งการดูแลเอาใจใส่ ต่อ ผู้อื่น มีผ ลต่ อ
บรรยากาศ ผู้นาที่ดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นอย่างดีมีผลต่อการสร้าง
ความไว้ ว างใจต่ อ กั น ให้ มี ม ากขึ้ น ผู้ น าที่ แ สดงถึ ง การเคารพผู้ ที่
ร่วมงานด้วยก็จะได้รับการเคารพเป็นการตอบแทน การแสดงความ
เคารพและความห่วงใยสามารถแสดงออกด้วยการกระท าง่าย ๆ

๘-๑๔
บทที่ ๘ การพัฒนา

เช่น การฟังอย่างอดทน หรือการทาให้ทหารหรือข้าราชการพลเรือน


กลาโหมที่ไปปฏิบัติหน้าที่มีความมั่นใจว่าครอบครัวของเขามีที่อยู่ที่
กิน นอกจากนี้การที่คนในองค์กรมีขวัญกาลังใจและความซื่อสัตย์ใน
การรายงานเรื่องสุขภาพก็เป็นตัวชี้วัดถึงการดูแลเอาใจใส่เช่นกัน

การเตรียมตนเอง
๘-๓๐. ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร ต่ อ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ที่ ม า ก ขึ้ น ข อ ง
สภาพแวดล้อมทางด้านการปฏิบัติการ ผู้นาต้องใช้เวลาในการศึกษา
ตนเองรวมทั้งการพัฒนาตนเองให้มากขึ้นกว่าเดิม นอกจากนี้ยังควร
มีทักษะหลายด้าน ผู้นาต้องรักษาความสมดุลระหว่างความต้องการ
ทางการทูต กับการเป็น นักรบ การได้ มาซึ่ ง ขีด ความสามารถที่จ ะ
ประสบความสาเร็จ ท่ามกลางย่ านความขัดแย้ง เป็น ความท้าทาย
และมีความสาคัญยิ่ง ไม่มีสิ่งอื่นใดที่ต้องลงทุนมากเท่ากับการไม่ให้
อภั ย ซึ่ ง บ่ อ ยครั้ ง จะเห็ น ผลได้ จ ากการที่ ภ ารกิ จ ล้ ม เหลว หรื อ มี
ผู้บาดเจ็บโดยไม่จาเป็น

การเตรียมการสาหรับความท้าทายที่ คาดไว้และไม่ได้คาด
ไว้
๘-๓๑. การพัฒนาตนเองที่ประสบความสาเร็จมุ่งเน้นองค์ประกอบ
หลักของผู้นา ๓ ประการ ได้แก่ ลักษณะผู้นา การแสดงออก และ
สติปัญญา ในขณะที่มีการแก้ใขความสามารถของผู้นาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อที่จะประยุกต์และจาลองแบบค่านิยมกองทัพบก ผู้นากองทัพบก
รู้ดวี ่า ทางด้านร่างกายนั้นต้องรักษาสุขภาพและสมรรถภาพให้อยู่ใน
เกณฑ์ สู ง นอกจากนี้ ยั ง ต้ อ งท าให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ความเคารพจาก
ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ที่มีอาวุโสในระดับเดียวกัน หรือสูง กว่า รวมทั้ง
การอดทนอดกลั้น และทาให้มีความสามารถในการคิดอย่างชัดเจน

๘-๑๕
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๓๒. การพัฒนาทางด้านไหวพริ บปฏิภาณเป็นเรื่องสาคัญ ผู้นา


ต้องแสวงประโยชน์จากทุกโอกาสเพื่อที่จะทาให้ ผู้ใต้บังคับบัญชามี
ความเฉลียวฉลาดและมีความรู้เฉพาะทางที่มีความสัมพันธ์กัน ดังที่
กล่ า วในบทที่ ๖ องค์ป ระกอบในเชิ ง แนวความคิด มี ผ ลต่อ ความ
ฉลาดของผู้ น า ซึ่ ง ได้ แก่ ความว่ อ งไว ความยุ ติ ธ รรม นวัต กรรม
ความแนบเนียน และความรู้เฉพาะทาง สติปัญญาที่ได้รับการพัฒนา
แล้วจะช่วยให้ผู้นามีความคิดเชิงสร้างสรรค์ และใช้เหตุผลอย่างพินิจ
พิเคราะห์ ให้ความสาคัญ คานึงถึงจริยธรรม และความอ่อนไหว
ทางวัฒนธรรม

๘-๓๓. เมื่ อ ต้อ งเผชิ ญกั บ การจัด เชิง ปฏิบั ติ ที่มี ค วามหลากหลาย
ผู้นาจะดึงขีดความสามารถทางปัญญา ความสามารถทางความคิด
เชิ ง สร้ า งสรรค์ และความรู้ เ ฉพาะทางที่ มี ม าประยุ ก ต์ ใ ช้ โดย
การศึกษาหลักนิยม ยุทธวิธี เทคนิค และระเบียบวิธีปฏิบัติ อยู่เป็น
ประจา และประสบการณ์ส่วนบุคคล ประวัติศาสตร์ทางทหาร และ
ความรู้ เ ชิ ง ภู มิ รั ฐ ศาสตร์ แล้ ว น าข้ อ มู ลข่ า วสารที่ ไ ด้ ใ ส่ ล งไปเป็ น
รายละเอี ย ดต่ า ง ๆ การพั ฒ นาตนเองควรรวมถึ ง การใช้ เ วลาใน
การศึกษาด้านภาษา ประเพณี ระบบความเชื่อ ปัจจัยที่ก่อให้เกิด
ความจูงใจ หลักการเชิงปฏิบัติการ และหลักนิยมของเพื่อนร่วมงาน
ชาติต่ าง ๆ รวมทั้ ง ศักยภาพของฝ่ายตรงข้าม ผู้นาสามารถได้รั บ
ทักษะทางภาษาเพิ่มเติมและความรู้ทางด้านภูมิรัฐศาสตร์ โดยศึกษา
ที่ศูนย์ภาษา หรือได้รับการมอบหมายให้ไปทาหน้าที่ ณ ประเทศที่
กองทัพบกได้รับมอบภารกิจ

๘-๓๔. การพั ฒนาตนเองเป็ นสิ่งที่ ต้องทาอย่ างต่ อเนื่อ งและต้อ ง


คอยติดตามไม่ว่าจะได้รับการมอบหมายให้ทางานที่เกี่ยวกับสถาบัน

๘-๑๖
บทที่ ๘ การพัฒนา

หรืองานเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาตนเองที่ประสบความสาเร็จเริ่ม
จากการที่ตนเองมีแรงจูงใจ การได้รับการสนับสนุนจากหน่วย ส่วน
หนึ่ ง ของความทุ่ ม เทพยายามของหน่ ว ยเป็ น ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ ที่ มี
ประสิ ท ธิ ภ าพจากหลายแหล่ ง ที่ ม า รวมทั้ ง เพื่ อ นร่ ว มงาน
ผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้ที่มีอาวุโสสูงกว่า การให้คาปรึกษาที่อยู่บน
พื้ น ฐานของความไว้ ว างใจช่ ว ยให้ มุ่ ง ที่ จ ะพั ฒ นาตนเองให้ บ รรลุ
ความสาเร็จในวัตถุประสงค์ทางด้านอาชีพเฉพาะด้าน ดังนั้น ความ
เข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ จึ ง เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ที่ จ ะน าไปสู่ ก าร
กาหนดจุดมุ่งหมายของหนทางปฏิบัติในการพัฒนาตนเองและการ
ปรับปรุงตนเอง โดยที่หนทางปฏิบัติเหล่านี้ไ ด้รับการออกแบบให้
ปรับ ปรุง การทางานโดยส่ง เสริมทั กษะที่มี อยู่แ ล้ว ในด้ าน ความรู้
ความประพฤติ และประสบการณ์ นอกจากนี้ ยัง ต้องพิจารณาไป
ล่วงหน้าสาหรับศั กยภาพที่มีค วามซับซ้อ นและการมอบหมายใน
ระดับที่สูงขึ้น

๘-๓๕. การพัฒนาตนเองสาหรับผู้นาที่มีอาวุโสน้อยซึ่ง มีลักษณะ


เป็นโครงสร้างและจะต้องให้ความสนใจมากขึ้นกว่าปกติ โดยเน้นให้
ครอบคลุมกว้างขวางให้เหมือนกับการบอกได้ถึงจุดอ่อนและจุดแข็ง
ของตนเอง รวมถึงพิจารณาความต้องการของแต่ละบุคคล และมี
ความเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น โดยที่ความรู้และมุมมองต่ าง ๆ ดีขึ้น
ได้ จ ากการที่ มี อ ายุ ประสบการณ์ การอบรม และการได้ รั บ
มอบหมายให้ปฏิบัติการต่าง ๆ มากขึ้น ด้วยเหตุนี้การปฏิบัติอันมี
จุดมุ่งหมายที่เป็นไปเพื่อการพัฒนาตนเองจะทาให้ไ ปเพิ่มพูนและ
ขยับขยายให้มีทักษะและความรู้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นบรรดาทหารและ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมจึงสามารถคาดหวังได้ว่าผู้นาจะช่วยใน
เรื่องของการพัฒนาตนเอง

๘-๑๗
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๓๖. การศึกษาทั้งทางด้านพลเรือนและด้านการทหารเป็นส่วน
สาคัญของการพัฒนาตนเอง ผู้นาไม่เคยหยุดการเรียนรู้และมองหา
โอกาสเพื่อที่จะฝึกและศึกษาที่นอกเหนือไปจากการเรียนในโรงเรียน
เหล่ าสายวิ ท ยาการตามแนวทางรับ ราชการหรื อระหว่า งการท า
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การเตรียมการสาหรับความรับผิดชอบใน
อนาคตนั้น ผู้นาควรสารวจการศึกษานอกเวลาเวลาราชการ เช่น
หลักสูตรของมหาวิทยาลัยซึ่งมีการสอนทักษะและความรู้ในด้านต่าง
ๆ ในชีวิต เช่นเดียวกันกับการกระจายหลักสูตรการเรียนรู้เกี่ ยวกับ
หลักการจัดการหรือหัวข้อเกี่ยวกับภาวะผู้นาโดยเฉพาะ

๘-๓๗. ผู้ น าได้ รั บ การท้ า ทายที่ จ ะพั ฒ นาตนเองและช่ ว ยเหลื อ


ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง คุ ณ สมบั ติ ที่ ดี มี ค วามขี ด สามารถ
ทางด้ า นสติ ปั ญ ญา และคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ที่ จ ะเป็ น ผู้ น า
กองทั พ บกในอนาคต การท าให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ภาวะผู้ น าที่ ป ระสบ
ความสาเร็จในสภาพแวดล้อมทางยุทธวิธี ยุทธการ และยุทธศาสตร์
ที่ซับซ้อนมากขึ้น ผู้นาจาเป็นต้องมีการเพิ่มพูนความรู้เฉพาะทาง
ความรู้ด้านอาชีพการงาน และพัฒนาความรู้สึกกระตือรือร้นในการ
ตระหนักรู้ของตนเอง

การเพิ่มพูนความรู้
๘-๓๘. ผู้นาจะเตรียมตนเองสาหรับที่จะอยู่ในตาแหน่งที่เป็นผู้นา
ตลอดจนต้องมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งได้แก่การศึกษาและทาให้
ได้มาซึ่งความรู้ใหม่ ๆ และเรียนรู้ที่จะประยุกต์ใช้ความรู้นั้น ผู้นา
บางคนก็มีความพร้อมในการหยิบยกยุทธศาสตร์ในการเรียนรู้ข้อมูล
ข่าวสารใหม่ ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบได้มากกว่าและรวดเร็วกว่า การทาให้
เป็นผู้ที่สามารถเรียนรู้ได้เร็วกว่าทาได้ดังนี้

๘-๑๘
บทที่ ๘ การพัฒนา

 วางแผนการเข้าถึงสิ่งที่จะเรียนรู้ที่จะนามาใช้
 มีความมุ่งมั่นต่อการบรรลุจุดมุ่งหมาย
 แบ่งเวลาให้กับการศึกษาหาความรู้
 มีการจัดการข้อมูลข่าวสารจานวนมากที่ได้รับ
 ติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้

๘-๓๙. ผู้เรียนรู้ที่ดีจะมุ่งเน้นเกี่ยวกับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ
สิ่ ง ใดที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งสั ม พั น ธ์ กั น และจะน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้
อย่างไร รวมถึงการนาความรู้เหล่านั้นมาผนวกเข้าด้วยกัน การนามา
ประยุ กต์ ใช้ และได้รั บประสบการณ์จ ากความหมายต่ าง ๆ ของ
ข้ อ มู ล ข่ า วสารนั้ น ๆ ผู้ น าจ าเป็ น ต้ อ งพั ฒ นาและเพิ่ ม พู น ความรู้
ทางด้านยุทธวิธี หลักนิยมแลยุทธศาสตร์ เทคนิคการใช้ยุทโธปกรณ์
รวมถึงระบบต่าง ๆ ของอาวุธเหล่านั้น ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
และสถานการณ์ทางภูมิรัฐศาสตร์

การพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง
๘-๔๐. พัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการ
เตรียมตนเอง ที่ได้รับการเตรียมการและการปฏิบัติในสถานการณ์
และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การตระหนักรู้ในตนเองมีศักยภาพใน
การช่วยให้ผู้นามีการปรับสภาพและทาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
การตระหนักรู้ในตนเองมีส่วนสัมพันธ์กับการปฏิบัติการร่ วมสมัยที่
เกี่ยวข้องกับความอ่อนไหวทางวัฒนธรรม และมีไว้สาหรับผู้นาใน
การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่อาจ
หลีกเลี่ยงได้

๘-๑๙
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๔๑. การตระหนักรู้ในตนเองทาให้ผู้นาตระหนักถึง จุดแข็ง และ


จุดอ่อนทั้งหมดที่มี และนาจุดแข็งมาปรับแก้จุดอ่อนที่มีอยู่ การทา
ให้มีความตระหนักรู้ในตนเอง ผู้นาต้องมีความรู้ที่เที่ยงตรงในตนเอง
พร้อมกับรวบรวมข้ อมูลย้อนกลับเกี่ย วกับการรับรู้ของผู้อื่น แล้ ว
เปลี่ ย นแปลงแนวความคิ ด ของตนเองให้ เ หมาะสม การมี ค วาม
ตระหนักรู้ในตนเองที่แท้จริงนั้นผู้นาต้องพัฒนาภาพลักษณ์ในเรื่อง
ของขีดความสามารถและขีดจากัดได้อย่างซื่อสัตย์และชัดเจน

การตระหนักรู้ในตนเอง เป็นการตระหนักที่จะรับรู้ของคนใด
คนหนึ่ง ซึ่ง รวมถึง คุณสมบัติ ความรู้สึก และพฤติกรรมของคนคน
นั้น

๘-๔๒. เมื่อสถานการณ์มีการเปลี่ยนแปลงไป การประเมินเกี่ยวกับ


ความสามารถและขีดจากัดของผู้นาก็ต้องปรับเปลี่ ยนตามไปด้วย
ผู้นาทุกคนมีขีดความสามารถในเรื่องการตระหนักรู้ในตนเอง ผู้นาที่
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์จะเข้าใจถึงความสาคัญและดาเนินการ
พัฒนาในเรื่องการตระหนักรู้ในตนเอง ในทางตรงกันข้าม ผู้นาที่ขาด
การตระหนักรู้ในตนเองจะหยิ่งทะนงตนและขาดการเชื่อมโยงจาก
ผู้ใต้บังคับบัญชา อาจจะมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์แต่ก็ขาดการรับรู้
ว่ า ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชามองผู้ น าอย่ า งไร สิ่ ง เหล่ า นี้ อ าจท าให้ เ ป็ น
อุปสรรคต่อการเรียนรู้และการปรับตัว ซึ่งมีผลต่อการถอยห่างจาก
การสร้างบรรยากาศการทางานเชิงบวกและการทาให้องค์กรทางาน
อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น ผู้นาที่มีการตระหนักรู้ในตนเอง
จะมีความเข้าใจในความหลากหลายของทหารและข้าราชการพล
เรือนกลาโหมในหน่วย สามารถรู้สึกได้

๘-๒๐
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๔๓. ผู้นาที่มีการตระหนักรู้ในตนเองเป็นคนเปิดเผยที่จะรับรู้และ
ค้นหาข้อ มูลด้ วยความคล่อ งแคล่ว จุด มุ่ง หมายของการรับข้ อมู ล
ย้อนกลับก็เพื่อที่จะพัฒนาการรับรู้ของตนเอง ได้อย่างเที่ยงตรงโดย
การมีความเข้าใจในการรับรู้ของผู้อื่นด้วย ผู้นาจานวนมากประสบ
ความสาเร็จในการใช้การประเมินรอบด้าน และหาวิธีการใช้ข้อมูล
ย้อนกลับเพื่อให้มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง การประเมินรอบด้านเป็น
เครื่ อ งมื อ วั ด อย่ า งเป็ น ทางการของผู้ ร่ ว มงาน ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา
ผู้บังคับบัญชา และความรู้สึกชื่นชมตนเองของแต่ละบุคคล ซึ่งอาจ
ทาให้ได้รับข้อมูลย้อมกลับที่มีความสาคัญยิ่งและมีความลึกซึ้งซึ่งไม่
ปรากฏในที่อื่น

๘-๔๔. กระบวนการทบทวนหลังการปฏิบัติของกองทัพบก เป็ น


เครื่องมือที่ใช้ได้ดีกับการรับรู้ โดยมีเป้าประสงค์เพื่อช่วยให้หน่วย
และแต่ละบุคคลรู้จุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง การทบทวนตนเอง
ที่ไ ด้ผลเกิดขึ้นเมื่อคนใดคนหนึ่งมีการพิจารณาตนเอง และใช้เป็น
หลักในการประพฤติตน และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น

๘-๔๕. ผู้นาควรให้ผู้อื่นช่วยเหลือในการสร้างประสบการณ์ที่ดี การ


สนทนากับครูฝึก เพื่อน หรือบุคคลที่สามารถไว้วางใจซึ่งสามารถให้
ข้อมูลข่ าวสารที่มีคุ ณค่าได้ ผู้นาส่วนใหญ่แต่ไ ม่ทั้ง หมดจะหาผู้ใ ห้
คาแนะนา หรือนายทหารพี่เลี้ยงที่สามารถไว้วางใจได้เพื่อให้คอย
กระตุ้นและให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างซื่อสัตย์

๘-๔๖. สิ่ ง ที่ ส าคั ญ คื อ การตระหนั ก ถึ ง ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ ไม่ ต้ อ ง


รวบรวมข้อมูลที่เป็นทางการจากการปรึกษา การสารวจ หรือจัด
ประชุมเพื่อร่วมกันพิจารณา ข้อมูลยัอนกลับที่ดีส่วนหนึ่งได้มาจาก
๘-๒๑
บทที่ ๘ การพัฒนา

การนั่งลงคุยกับบรรดาทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหมแบบไม่
เป็น ทางการ ผู้ นาจานวนมากได้รั บข้ อมู ลข่ าวสารที่ มีค่ าเกี่ย วกั บ
ตนเองได้ จ ากการรั บ ประทานอาหารร่ ว มกั บ ทหารแล้ ว ถามถึ ง
บรรยากาศและการฝึกของหน่วย

๘-๔๗. ผู้นาที่มีค วามรับรู้ ในตนเองจะวิเ คราะห์ ตนเอง และถาม


คาถามยาก ๆ เกี่ย วกั บประสบการณ์ เหตุ การณ์ต่ าง ๆ และการ
กระทา ซึ่ ง พวกเขาควรพิจ ารณาความประพฤติ ของตนเองอย่า ง
จริงจัง ผู้นาที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และมีความมั่นใจในตนเอง
จะสามารถเข้ าใจประสบการณ์ ของตนเอง และใช้ มัน เพื่อ เรี ยนรู้
เกี่ยวกับตนเองให้มากขึ้น บันทึกประจาวัน และการทบทวนหลังการ
ปฏิ บั ติ (ทลป.) เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ค่ า ยิ่ ง ในการช่ ว ยให้ เ ข้ า ใจ
ประสบการณ์และปฏิกิริยาที่จะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม
การวิพากษ์วิจารณ์ตนเอง สามารถทาได้ง่ายเท่ากับการถามเกี่ยวกับ
พฤติกรรม ความรู้ หรือความรู้สึก อีกทั้งยังสามารถทาในลักษณะ
เป็ น ทางการด้ ว ยการให้ ค าตอบต่ อ ชุ ด ค าถามที่ มี ลั ก ษณะเป็ น
โครงสร้างเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ คาถามที่สาคัญยิ่งเหล่านี้ได้แก่
 เกิดอะไรขึ้นบ้าง
 เรามีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างไร
 คนอื่นมีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างไร และทาไม
 สิ่งใดที่เราเรียนรู้เกี่ยวกับตนเองจากสิ่งที่เราทาและรู้สึก
 เราประยุกต์ใช้สิ่งที่เราเรียนรู้ได้อย่างไร

๘-๔๘. สภาพแวดล้ อ มที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปของก าลั ง ทหารทั้ ง ใน


ปัจจุบันและอนาคต ผู้นาจะต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ไ ม่คุ้นเคย
และไม่แน่นอน สาหรับผู้นาแล้วการตระหนักรู้ในตนเองเป็นปัจจัย
๘-๒๒
บทที่ ๘ การพัฒนา

สาคัญ ยิ่งในการประเมิน สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงให้ถู กต้อ ง


รวมทั้ ง ขี ด ความสามารถและข้ อ จ ากั ด ส่ ว นบุ ค คลที่ จ ะปฏิ บั ติ ใ น
สภาพแวดล้อมนั้น ๆ การตระหนักรู้ในตนเองยังช่วยให้ผู้นาใช้การ
ฝึกที่เคยได้รับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป และหาขอ
มูลข่าวสารใหม่ ๆ ที่ต้องการตามสถานการณ์ นอกจากนี้ผู้นาที่มีการ
ตระหนักรู้ในตนเองยังสามารถชี้แจงได้ดีกว่าและพิจารณาได้ว่าสิ่งใด
จาเป็นต่อการเรียนรู้ และช่วยให้สามารถรองรับกับสถานการณ์ได้

๘-๔๙. การปรับความนึกคิด ความรู้สึก และการกระทาของคนคน


หนึ่ง อยู่บนพื้นฐานของการตระหนักรู้ในตนเอง เรียกได้ว่าระเบียบ
ในตนเอง ซึ่งเป็นการเข้าไปควบคุมสถานการณ์และติดตามเชิงตรรก
ของการตระหนักรู้ในตนเอง เมื่อผู้นาได้พิจารณาพบช่องว่างจาก
“ตนเอง” ที่แท้จริง กับ “ตนเอง” ที่ต้องการ เขาก็ควรที่จะปิ ด
ช่องว่างนั้น ผู้นาสามารถค้นหามุมมองใหม่ ๆ เกี่ยวกับตนเองและ
เปลี่ยนมุมมองเหล่านั้นให้เป็นข้อได้เปรียบของภาวะผู้นา เนื่องจาก
ผู้นาไม่สามารถหยุดการเรียนรู้ไ ด้ ผู้นาควรค้นหาวิธีการปรับปรุ ง
ตนเองและเติบโตขึ้น การทาให้เป็นผู้ตระหนักรู้มากขึ้นมิได้เกิดขึ้น
ได้เอง ผู้นาที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และความมั่นใจจะหาข้อมูล
นาเข้าและปรับปรุงไปจนตลอดช่วงชีวิตของการรับราชการ

การพัฒนาผู้นา
๘-๕๐. การพั ฒ นาผู้ น าเป็ น งานละเอี ย ดอ่ อ น โดยต้ อ งท าอย่ า ง
ต่ อ เนื่ อ ง ต้ อ งท าตามล าดั บ ขั้ น และเป็ น กระบวนการที่ มี
ความก้าวหน้าโดยอยู่บนพื้นฐานของค่านิยมกองทัพบก ทาให้ทหาร
และข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมเติ บ โตขึ้ น ไปเป็ น ผู้ น าคนที่ มี
คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ แ ละมี ค วามมั่ น ใจ สามารถท าหน้ า ที่

๘-๒๓
บทที่ ๘ การพัฒนา

อานวยการหน่วยและองค์กรให้ปฏิบัติงานที่สาคัญยิ่งได้ การพัฒนา
ผู้นาให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ อย่างสืบเนื่องไปจนตลอด
ชีวิต ทาได้โ ดยให้การฝึก ศึกษาในสถาบัน และการฝึก เป็นหน่ว ย
ประสบการณ์ที่ได้จากการปฏิบัติ การพัฒนาตนเอง และการเรียนรู้
ตลอดชีวิต

๘-๕๑. สิ่ง ที่ต้องไตร่ตรองให้รอบคอบในการพัฒนาผู้นา คือ การ


ทบทวนดูว่าผู้นาทางทหาร คือทหารโดยกาเนิด ดังนั้น ต้องพั ฒนา
ทั้ ง ทางเทคนิ ค และยุ ท ธวิ ธี ใ ห้ ช่ าชองเพื่ อ ปรั บ ให้ เหมาะกั บการ
เปลี่ยนแปลง ดังนั้น การฝึกของกองทัพบกและการพัฒนาผู้นาจึงมี
ศูนย์กลางอยู่ที่การสร้างหน่วยที่มีความพร้อมและมีการฝึกที่ดี ซึ่งนา
โดยผู้ นาที่มี คุณ ลัก ษณะที่ พึง ประสงค์ และมี ความมั่น ใจในตนเอง
ตามแนวความคิดที่จะให้ความสาคัญต่อการมีปฏิสัมพันธ์ของการฝึก
ทหารในปัจจุบันกับการพัฒนาผู้นาไว้สาหรับอนาคต

๘-๕๒. ประสบการณ์การเรียนรู้ที่สาคัญยิ่งในอาชีพของทหารและ
การเป็นผู้นา ได้รูปแบบมาจากขอบเขตหลัก ๓ ประการ คือ
 การฝึกทางทหาร
 การฝึ ก การศึ ก ษา ประสบการณ์ ก ารท างาน ที่ ไ ด้ รั บ
ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่
 การพัฒนาตนเอง

๘-๕๓. ขอบเขต ๓ ประการนี้ จะมีป ฏิสั มพั นธ์ ต่อกั นโดยการใช้


ข้อมูลลย้อนกลับและการประเมินจากหลายแหล่งที่มาและวิธีการ
ต่าง ๆ แม้ว่าการพัฒนาผู้นาจะมีเป้าหมายในการผลิตผู้นาทุกระดับ
ให้มีภาวะผู้นาและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทาให้ผู้นาหน่วยขนาด

๘-๒๔
บทที่ ๘ การพัฒนา

เล็ กโดยเฉพาะที มการรบผสมเหล่า ต้ องปฏิ บัติ การด้ วยความ


ช่ าชองในพื้ น ที่ ต่ า ง ๆ ซึ่ ง กระจายออกไปอย่ า งกว้ า งขวาง ทั้ ง นี้
กองทัพบกจึงต้องการผู้นาหน่วยขนาดเล็กซึ่งมีความชานาญที่มีขีด
ความสามารถในการปฏิ บัติ ก ารในพื้ นที่ ซึ่ ง กระจายออกไปอย่ า ง
กว้างขวาง และ/หรือ รวมกับการปฏิบัติการร่ว ม การปฏิบัติการ
หลายชาติ กาลังปฏิบัติการรบพิเศษ และหน่วยงานที่มิใช่องค์กรของ
รัฐ ผู้ นาเหล่า นี้ต้อ งตระหนัก รู้ในตนเอง มีการปรับ ตัว และอยู่ไ ด้
อย่างสบายภายใต้สถานการณ์ที่มีความคลุมเคลือ มีความสามารถใน
การคาดคะเนผลกระทบ ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ๆ มา ตามล าดั บ
รวมถึงมีความสามารถในการทาหน้าที่ไ ด้รอบด้าน เพื่ อให้ทางาน
ร่วมกับหน่วยผสมเหล่าได้

๘-๕๔. การไปให้ถึงจุดหมายปลายทางเช่นนั้นได้ ผู้นาต้องพัฒนา


ทางด้านการศึกษาให้พอดีกันระหว่างระบบการศึกษาทางด้านพล
เรือนและการศึกษาทางทหาร โดยทาด้วยความมั่นใจได้ว่าเป็นการ
ผสมกันที่ลงตัวของประสบการณ์กับการมอบหน้าที่ให้ไปปฏิบัติ การ
ในการทุ่มเทความพยายามนั้นสิ่งที่ต้องทา ได้แก่ การประเมินเป็น
รายบุคคลที่มีการปรับปรุงแล้ว ข้อมูลย้อนกลับ การทุ่มเทที่มีการ
พั ฒ นาเพิ่ ม มากขึ้ น ณ ระดั บ องค์ ก ร ในรู ป แบบของการเป็ น
นายทหารพี่เลี้ยง การสอนและแนะนา และการให้คาปรึกษา รวมถึง
การเลือกความสามารถพิเศษสาหรับการมอบหมายงานเฉพาะให้
เป้าประสงค์ของการทุ่มเทความพยายาม คือ การปลูกฝังให้ทหาร
และผู้ น า ให้ มี ค วามปราถนาและเป็ น พลั ง ขั บ เคลื่ อ นให้ พ วกเขา
แสวงหาความรู้และความสามารถในการทางาน รวมทั้ง ปรับปรุ ง
ความสามารถของผู้นาทั้งในปัจจุบันและอนาคตให้สามารถควบคุม
ความท้าทายแห่งการปฏิบัติการเต็มย่านหรือเต็มรูปแบบได้

๘-๒๕
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๕๕. การพั ฒ นาผู้ น ายั ง ต้ อ งการการสนั บ สนุ น จากองค์ ก ร


ผู้บังคับบัญชาหรือผู้นาที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการพัฒนา
เพื่อให้ผู้อื่นมีผลการทางานทั้งในตาแหน่งปัจจุบันและอนาคตที่ขึ้น
ผู้นาสามารถใช้การพัฒนาส่วนบุคคลในองค์กรด้ว ยการปฏิบัติอย่าง
ใดอย่างหนึ่งนาไปใช้ในองค์กร

การประเมินความจาเป็นในเชิงการพัฒนา
๘-๕๖. ก้า วแรกของการพัฒ นาผู้อื่ นคื อการทาความเข้ าใจว่ าจะ
พัฒ นาให้ดี ที่ สุ ด ได้อ ย่ า งไร สิ่ ง ใดที่ เ ข้ ม แข็ ง อยู่ แ ล้ว และจะท าให้
เข้มแข็งมากขึ้นได้อย่างไร ผู้นาที่รู้จักผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นอย่างดีจะ
รู้ดี ว่า จะพั ฒ นาตรงจุ ดไหน การสัง เกตุ ผู้ ใต้ บั งคั บ บัญ ชาที่ ม าใหม่
ภายใต้เงื่อนไขของกิจที่มีความแตกต่างในการหาจุดอ่อนและจุดแข็ง
เพื่อดูว่าเขารับข้อมูลข่าวสารและทักษะใหม่ ๆได้รวดเร็วเพียงใด

๘-๕๗. ผู้นามัก จะทาการประเมิ นตั้ งแต่ แรกเริ่ม ก่อ นที่ จะเข้ ารั บ
ตาแหน่งใหม่ โดยจะถามตนเองว่า ผู้ใต้บังคับบัญชาในหน่วยใหม่มี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์อย่างไรบ้าง งานใหม่นี้คาดหวังอะไรบ้าง
รวมทั้ง การศึกษาระเบียบปฏิบัติป ระจา และระเบียบต่าง ๆ การ
รายงานสถานภาพ และผลการตรวจสอบครั้งล่าสุด ทั้งนี้เขาจะต้อง
พบกั บ บรรดาผู้ น าซึ่ ง เข้ า กั บ ผู้ อื่ น ได้ ดี เพื่ อ ถามเกี่ ย วกั บ การผล
ประเมิ น และพบปะกับผู้ ที่เ ป็น กุญแจซึ่ งอยู่ภายนอกองค์ กรด้ว ย
ผู้นาต้องฟั ง ด้วยความรอบคอบ เนื่องจากคนเราจะมองสิ่ง ต่าง ๆ
ผ่านตัวกรองของตนเอง ผู้นาที่ดีจะปรับปรุงการประเมินผลในเชิงลึก
จากสมมติฐานที่ว่าตาแหน่งใหม่ด้วยการประเมิน อย่างรอบคอบช่วย
ในเรื่องของการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปช้า ๆ และเป็นระบบ
โดยไม่นาความยุ่งยากไปสู่องค์กร ศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง พิธิยา

๘-๒๖
บทที่ ๘ การพัฒนา

นุวัฒน์ ได้กล่าวว่า “ระบบประกันคุณภาพภายในเป็นเครื่องมือ


สาคัญที่สุดของผู้นาทุกระดับ”

๘-๕๘. การประเมิ น ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาโดยใช้ วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ป็ น


ตัวกาหนด ผู้นาต้องทาสิ่งต่อไปนี้
 สังเกตุและบันทึกผลการทางานซึ่งเกี่ยวกับคุณลักษณะที่
พึงประสงค์หลักของผู้นาและของผู้ใต้บังคับบัญชา
 กาหนดมาตรฐาน และคอยพิจารณาดูว่าผลการทางานได้
มาตรฐาน สูงกว่ามาตรฐาน หรือต่ากว่ามาตรฐาน
 ชี้แ จงผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาให้ ท ราบว่ า มี ก ารสั ง เกตุ ใ นเรื่ อ ง
ใดบ้าง โดยเปิดโอกาสให้เขาแสดงความคิดเห็นด้วย
 ช่ ว ยผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาในการพั ฒ นา “แผนการพั ฒ นา
ตนเอง” เพื่อปรับปรุงผลการทางาน

๘-๕๙. ผู้นาที่ดีต้องให้แสดงปฏิกิริยาตอบกลับต่อผู้อื่นด้วยความ
ซื่อสัตย์ รวมถึงการจัดให้มีการถกแถลงถึงข้อดีและสิ่งที่ต้องทาการ
ปรั บ ปรุ ง การประเมิ น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมี ผ ลต่ อ การออกแบบ
แผนการพัฒนาตนเอง ในการที่จะแก้ไขข้อด้อยและดารงข้อดีเอาไว้
การทาให้แผนนาไปสู่ผลต้องการสิ่งต่อไปนี้
 การร่วมกันออกแบบแผนการพัฒนาตนเอง ด้วยกัน แต่ให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นแกนนา
 เห็นด้วยกับการปฏิบัติในการปรับปรุงผลการปฏิบัติของ
ผู้ น าในเรื่ อ งคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ห ลั ก ของผู้ น า
ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องเชื่อว่าแผนนั้นสามารถนาไปใช้ได้
 ทบทวนการวางแผน ตรวจสอบความก้ า วหน้ า และ

๘-๒๗
บทที่ ๘ การพัฒนา

ปรับแก้เมื่อจาเป็น

การพัฒนาในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่
๘-๖๐. โอกาสในการพัฒนาที่ดีที่ สุดเกิดขึ้นได้บ่อย ๆ ในระหว่าง
การปฏิบัติงาน ผู้นาที่มีสายตายาวไกลในการพัฒนาผู้อื่นจะกระตุ้น
ให้มองเห็นความเจริญก้าวหน้าของบทบาทและตาแหน่งในปัจจุบัน
การที่ ผู้น ามอบหมายกิ จและหน้ า ที่เ ป็น อีก วิธี หนึ่ ง ที่ชี้ แนวทางให้
ทหารหรื อ ข้า ราชการพลเรือ นกลาโหมเพิ่มขี ดความสามารถของ
ตนเอง แผนการฝึ ก งานให้ กั บ ข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมของ
กองทัพบก เป็นตัวอย่างที่ดีเยี่ยมสาหรับการฝึก กาลังพลเหล่านี้ ผล
ตอบกลับจากผู้นาหลังจากที่มีการมอบหมายงานให้ทา มีส่วนสาคัญ
ซึ่งทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่าจะเน้นการพัฒนาตนเองในจุดใด
ก่อน ผู้น าบางคนจะแสวงประโยชน์โดยการหาวิธี ใหม่ ๆ ในการ
กาหนดหน้าที่ หรือสร้างงานที่มีคุณค่าแล้วมอบหมายให้ปฏิบัติเพื่อ
เป็ น การเตรี ย มผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาไว้ ส าหรั บ งานที่ ต้ อ งมี ค วาม
รั บ ผิ ด ชอบเพิ่ ม มากขึ้ น ทั้ ง ในปั จ จุ บั น และอนาคต การฝึ ก แบบ
ผสมผสานก่อให้เกิดประโยชน์สองทาง คือ เกิดหน่วยที่มีความมุ่งมั่น
อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทักษะของสมาชิกในหน่วย การสร้างความท้า
ทายให้กับผู้ใต้บัง คับบัญชาโดยการมอบหน้าที่แตกต่างกันออกไป
เป็นวิธีการที่ดีที่จะทาให้กาลังพลทางานประจาได้ดีอีกด้วย

การส่งเสริมด้านแนวทางรับราชการและความก้าวหน้า
๘-๖๑. ผู้ น าต้ อ งเตรี ย มทั้ ง ตนเองและผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาให้ มุ่ ง สู่
เป้าหมายในการพัฒนาความสามารถในหลาย ๆ ด้าน เหมือนกันกับ
นักกีฬาปัญจกรีฑา ผู้นาที่พร้อมจะปรับเปลี่ยนจะมีความเข้าใจความ
ท้าทายของการวิวัฒนาการของสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ ซึ่ง

๘-๒๘
บทที่ ๘ การพัฒนา

ไม่ไ ด้ต้องการเพียงทักษะทางด้านการต่อสู้ แต่ยัง รวมถึง ความคิด


สร้ า งสรรค์ และความหนั ก เบาทางการทู ต ผสมผสานกั บ ความ
อ่อนไหวของความหลากหลายทางวัฒนธรรม การทาให้บรรลุถึ ง
ความสมดุลนี้ กองทัพบกต้องสร้างสภาพการเรียนรู้ในเชิงบวกในทุก
ระดับเพื่อเสริมในด้านยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตลอดชีวิต

๘-๖๒. กองทัพบกนับเป็นสถาบันที่มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยแยก


ความแตกต่างระหว่างการปฏิบัติการในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้ง
ปรับปรุงพัฒนาด้านการฝึกและขีดความสามารถของผู้นาให้ดียิ่งขึ้น
อย่างต่อเนื่อง กองทัพบกเป็นผู้มองและเรียนรู้จากประสบการณ์ของ
ก าลั ง พลเพื่ อ ค้ น หาวิ ธี ก ารท าสิ่ ง ต่ า ง ๆ ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โดยใช้ ค วาม
เปิดเผยและจินตนาการที่จะสร้างสรรค์การเรียนรู้ขององค์กรให้มี
ประสิทธิภาพ แทนที่จะกลัวว่าทาสิ่งใดผิดพลาด แต่จะยัง คงคิดใน
เชิง บวกและเรียนรู้จากความผิดพลาดนั้น ผู้นาต้องคงไว้ซึ่ง ความ
มั่นใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชาของตนเอง รวมทั้งความสามารถของเขา
เหล่านั้นเพื่อให้เขาปฏิญาณตนในการที่จะจับอาวุธเพื่อปฏิบัติตาม
ครรลองของทหาร ทัศนคติดังนี้จะทาให้มีความก้าวหน้าที่จะมีความ
รับผิดชอบใหม่ ๆ และปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงซึ่ง ไม่อาจ
หลีกเลี่ยงได้ นักทฤษฎีทางทหารชาวฝรั่งเศส นามว่า Ardant Du
Picq ได้เน้นถึงความสาคัญของการเรียนรู้ไว้ว่า
“เครื่องมือในการต่อสู้ มีค่าเท่ากับคนที่ใ ช้ ว่าใช้มันได้ดี
เพียงใด...”

๘-๖๓. ผู้นาที่คานึงถึงประโยชน์ของผู้อื่นและองค์กรอยู่ในใจ จะ
ได้รับการสนับสนุน ให้โอกาสในการพัฒนา การได้รับเสนอชื่อหรือ
แต่งตั้งให้รับมอบหน้าที่อย่างเต็มที่ และกระตุ้นให้ผู้ใต้บังคั บบัญชา

๘-๒๙
บทที่ ๘ การพัฒนา

ได้รับโอกาสเหล่านั้น รวมทั้งการช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ให้


ได้ประโยชน์จากโอกาสที่ได้รับ และคอยติดตามดูว่าเขาได้รับการ
เสริมสร้างความรู้และทักษะเพื่อนากลับไปใช้งาน

การสนับสนุนให้มีการเรียนรู้
๘-๖๔. เมื่อมีการพัฒนาความสัมพันธ์ใด ๆ แล้ว ผู้นาสามารถปรับ
วิธีเฉพาะเพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นความรับผิดชอบของผู้นา
ในการช่วยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้เรียนรู้ คาแนะนาช่วยให้คนเรียนรู้
ได้อย่างชัดเจน เป็นการอธิบายถึงความสาคัญของสิ่งที่จะทา ผู้นา
ต้อ งแสดงว่ า คาแนะน านั้น จะช่ ว ยให้ ทั้ง บุ ค คลและองค์ ก รปฏิ บั ติ
หน้ า ที่ ไ ด้ ดี ขึ้ น และเกี่ ย วข้ อ งกั บ ก ระบว นการ เรี ย น รู้ ข อ ง
ผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นอย่างยิ่ง ตัวอย่างเช่น อย่าพยายามสอนขับรถ
โดยการใช้ตาราในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว ที่สุดแล้วคนเราต้องทา
ตามกงล้อของเวลา เพื่อหมั่นทาให้สิ่งต่าง ๆ น่าสนใจอยู่เสมอ หมั่น
ให้คาบรรยายทั้งที่เกี่ยวข้องกับการฝึกโดยตรงไม่ว่าจะมากหรือน้อย
ก็ตาม

๘-๖๕. การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไม่สามารถทาได้เสมอไป
ไม่มีผู้นาคนใดที่มีทุกประสบการณ์จากการฝึก พวกเขาทดแทนด้วย
การแสวงประโยชน์จากประสบการณ์ของผู้อื่นโดยไม่จาเป็นต้องใช้
ประสบการณ์ ต รงของตนเอง สิ่ ง ที่ ค วรท าคื อ กา รถ่ า ยทอด
ประสบการณ์ของตนเองในระหว่างการให้คาปรึกษา การสอน การ
เป็นพี่เลี้ยง อย่างเช่ น ทหารผ่านศึกแบ่งปั นประสบการณ์ของตน
ให้กับทหารที่ยังไม่เคยไปร่วมรบในสงคราม ในปัจจุบันศูนย์พัฒนา
หลั ก นิ ย มและยุ ท ธศาสตร์ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารบกได้ ร วบรวม
บทเรียนจากการปฏิบัติ เพื่อรวบรวมประสบการณ์จากการปฏิบัติที่

๘-๓๐
บทที่ ๘ การพัฒนา

ผ่านมาในอดีต เพื่อเพิ่มโอกาสการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ที่ได้


รวบรวมไว้

การให้คาปรึกษาทั่วไป การให้คาปรึกษาเฉพาะกรณี และ


การให้คาปรึกษาเฉพาะด้าน
๘-๖๖. ผู้นามีหลักการ ๓ ประการในการพัฒนาผู้อื่น โดยการให้
ความรู้และผลตอบกลับจากการให้คาปรึกษาทั่วไป การให้คาปรึกษา
เฉพาะกรณี และการให้คาปรึกษาเฉพาะด้าน
 การให้ ค าปรึ ก ษาทั่ ว ไป เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ผู้ น าในฐานะเป็ น ผู้
ประเมินค่าการปฏิบัติงานของผู้ใต้บัง คับบัญชา ได้มีการ
ทบทวนในเรื่ อ งการปฏิ บั ติ ง านและศั ก ยภาพของ
ผู้ใต้บังคับบัญชาตามแบบการประเมินค่าการปฏิบัติงาน
 การให้คาปรึกษาเฉพาะกรณี เป็น เป็นผู้ให้คาแนะนาใน
การพัฒนาของคนอื่นในเรื่องใหม่ ๆ หรือทักษะที่มีอยู่ใน
ระหว่างการฝึกทักษะเหล่านั้น
 การให้คาปรึกษาเฉพาะด้าน ผู้นาเป็นผู้ที่มีประสบการณ์
มากกว่า ผู้ได้รับการแนะแนวและคาแนะนา เป็นกิจกรรม
ทางการพัฒ นาในอนาคต โดยเน้ น ถึ ง ความก้าวหน้ าใน
อาชีพการรับราชการ

การให้คาปรึกษาทั่วไป
๘-๖๗. การให้คาปรึกษาเป็นศูนย์กลางการพัฒนาของผู้นา ในฐานะ
ที่เ ป็น ผู้ ประเมิ นค่ าต้ อ งเตรี ย มให้ผู้ ใ ต้บั ง คั บ บัญ ชาเป็น ทหารหรื อ
ข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่ดีขึ้นกว่าเดิม คาปรึกษาที่ดีจะเน้นใน
เรื่องผลการปฏิ บัติง านและมีสายตามองเห็ นแผนการและวิ ธีการ

๘-๓๑
บทที่ ๘ การพัฒนา

แก้ปัญหาของวันรุ่งขึ้น โดยคาดหวังว่าผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นผู้มีส่วน
ร่วมที่มีความต้องการในเชิงที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาตอบกลับ การให้
คาปรึกษาไม่ควรกระทาแบบเป็นครั้งคราว แต่ควรเป็นส่วนหนึ่งของ
แผนงานรวมเพื่ อ ที่ จ ะพั ฒ นาผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา หากมี ก ารให้
คาปรึกษาที่มีประสิทธิภาพจะไม่ปรากฏสิ่งใดในรายงานการประเมิน
ค่ า ทั้ ง ในเชิ ง บวกและเชิ ง ลบจะอยู่ น อกเหนื อ ความคาดหมาย
แผนงานในการให้คาปรึกษาที่มีความสอดคล้องกัน ไม่ได้เป็นเพียง
ความคิ ด ของคนที่ มี ศั ก ยภาพมากที่ สุ ด เท่ า นั้ น แต่ ต้ อ งมาจาก
ผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีอยู่ทั้งหมด

การให้คาปรึกษา เป็นกระบวนการที่ผู้นาใช้ในการทบทวน
ให้เห็นถึงผลการปฏิบัติงานและศักยภาพของผู้ใต้บังคับบัญชา

๘-๖๘. ในการให้คาปรึกษา ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่ได้เป็นเพียงผู้รอรับ


ฟั ง เท่ า นั้ น แต่ เ ป็ น ผู้ มี ส่ ว นร่ ว มในกระบวนการนั้ น ด้ ว ย การให้
คาปรึกษาใช้ รูป แบบมาตรฐานเพื่อช่วยจัดการทางจิตใจและแยก
ประเด็นต่าง ๆ ในการให้คาปรึกษาก่อน ระหว่าง หลัง อย่างชัดเจน
ในระหว่างการให้คาปรึกษานั้นผู้นาจะช่วยผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทราบ
ถึง ข้อ เด่น และข้อ ด้อ ย และจั ดท าแผนการปฏิบั ติ การทาให้แ ผน
ได้ผล, ผู้นาต้องให้การสนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชาโดยการนาไปสู่การ
ปฏิบัติและมีกระบวนการในการประเมินผล ผู้ใต้บังคับบัญชาจะทา
ให้ ต นเองร่ ว มอยู่ ใ นกระบวนการโดยมี ค วามตั้ ง ใจเด็ ด เดี่ ย วที่ จ ะ
ปรับปรุง อย่างปราศจากอคติต่อการกาหนดเป้าหมายและผลการ
ประเมินรูปแบบการให้คาปรึกษา ๓ แบบ ได้แก่
 การให้คาปรึกษาตามเหตุการณ์
 การให้คาปรึกษาตามผลงาน

๘-๓๒
บทที่ ๘ การพัฒนา

 การให้คาปรึกษาด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน

การให้คาปรึกษาตามเหตุการณ์
๘-๖๙. การให้คาปรึกษาตามเหตุการณ์ครอบคลุมเหตุการณ์หรือ
สถานการณ์เฉพาะ ซึ่งอาจเป็นเหตุการณ์สาคัญ เช่น การมีชื่อได้รับ
การเลื่อนต าแหน่ง หรื อเข้าศึกษาในหลักสูต รต่ าง ๆ รวมถึง การ
ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ที่ไ ด้ รั บ การยกเว้ น มี ปั ญ หาในการปฏิบั ติ ง าน หรื อ
ปั ญ หาส่ ว นบุ ค คล การให้ ค าปรึ ก ษาตามเหตุ ก ารณ์ ยั ง เป็ น
ข้อ เสนอแนะส าหรับ เป็น ข้อ ยกเว้น ในหน่ว ยหรื อองค์ก รในภาวะ
วิกฤต และสาหรับการเปลี่ยนผ่านของหน่วย หรือการแยกออกจาก
กองทัพบก

การให้คาปรึกษาตามผลงาน
๘-๗๐. การให้ ค าปรึ ก ษาตามผลงาน เป็ น การทบทวนผลการ
ปฏิบัติงานตามหน้าที่ของผู้ใต้บังคับบัญชาในห้วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
โดยที่ผู้นาและผู้ใต้บังคับบัญชาจะร่วมกันกาหนดวัตถุประสงค์ในการ
ปฏิบัติงานและมีมาตรฐานที่ชัดเจนสาหรับห้วงการให้คาปรึกษาใน
คราวต่ อ ไป ซึ่ ง ในการให้ ค าปรึ ก ษานี้ จ ะเน้น ถึ ง ข้ อ เด่ น ข้ อ ที่ ค วร
ปรับปรุง และศักยภาพของผู้ใต้บังคับบัญ ชา การให้คาปรึกษาที่มี
ประสิ ท ธิ ภ าพยั ง รวมไปถึ ง การจั ด ให้ มี ตั ว อย่ า งเฉพาะที่ เ กี่ ย วกั บ
ข้อเด่น และข้อที่จาเป็นต้องปรับปรุง รวมทั้งจัดให้มีแนวทางในการ
ปรับปรุงผลการปฏิบัติงานด้วย ทั้งนี้การให้คาปรึกษาเป็นสิ่งที่ต้องมี
ในระบบการรายงานประเมิ น ค่ า ของนายทหารสั ญ ญาบั ต ร
นายทหารประทวน และข้ า ราชการพลเรื อ นกลาโหมที่ บ รรจุ ใ น
กองทัพบก

๘-๓๓
บทที่ ๘ การพัฒนา

การให้คาปรึกษาด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
๘-๗๑. การให้คาปรึกษาด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงานเป็น
การวางแผนเพื่อความสาเร็จและการตั้งเป้าหมายของแต่ละบุคคล
โดยมีการกาหนดทิศทางและให้การช่วยเหลือแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาใน
การบรรลุ เป้าหมายของตนเอง รวมทั้งองค์กรด้วย นอกจากนี้ยั ง
รวมถึง การทบทวนและถกแถลงเกี่ยวกับ ข้อเด่น และข้อ ด้อยของ
ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา รวมถึ ง แผนที่ ก าหนดขึ้ น เพื่ อ ลดข้ อ ด้ อ ยแต่ ค ง
ข้อเด่นเอาไว้

๘-๗๒. ส่วนหนึ่ง ของการให้ค าปรึ กษาเกี่ย วกับ ความก้า วหน้ าใน


หน้าที่การงานเป็นการถกแถลงเกี่ยวกับ “เส้นทางสู่ความสาเร็จ ”
ซึ่งเป็ นการกาหนดเป้ าหมายทั้ง ระยะสั้นและระยะยาวไว้ส าหรั บ
ผู้ใต้บัง คับบัญชา เป้าหมายเหล่านี้อาจรวมถึงโอกาสทางการศึกษา
อบรมทั้งหลักสูตรทางทหารและพลเรือน หน้าที่ที่จะมอบหมายให้
ในอนาคต แผนงานนอกเหนือจากปกติ หรือทางเลือกในการสมัคร
กลับเข้ามาเป็นทหาร ซึ่งผู้นาจะช่วยในการพัฒนาปรับปรุง หนทาง
ปฏิบัติให้เป็นรายบุคคล ตัวอย่างเช่น การให้คาปรึกษาในการที่พล
ทหารจะสมั ค รสอบเข้ า เป็ น นั ก เรี ย นนายสิ บ ทหารบก การให้
คาปรึกษาในการที่นายทหารประทวน และ/หรือ บุคคลพลเรือน
สอบเลื่อนฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ของกองทัพบก

วิธีการให้คาปรึกษา
๘-๗๓. ในบางครั้งผู้นาที่ขาดประสบการณ์อาจรู้สึกไม่สะดวกใจเมื่อ
ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานไม่ได้ตามมาตรฐาน การให้คาปรึกษามิใช่
เรื่องความสะดวกสบายของผู้นาแต่เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการแก้ไขการ

๘-๓๔
บทที่ ๘ การพัฒนา

ปฏิบัติงานหรือการพัฒนาบุคลิกลักษณะของผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้นา
ทางทหารจะเป็นที่ปรึกษาที่มีประสิทธิภาพได้ต้องแสดงให้เห็นถึง
ความมีคุณภาพ ให้เกียรติผู้ใต้บังคับบัญชา การสารวมระวังตนเอง
รวมถึงวัฒนธรรมต่าง ๆ มีความเห็นอกเห็นใจ และเป็นที่เชื่อถือ

๘-๗๔. ความท้าทายของการให้คาปรึกษาคือการเลือกวิธีการและ
เทคนิ ค ให้ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ เพื่ อ ให้ ค าปรึ ก ษาอย่ า งมี
ประสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง บางครั้ ง อาจใช้ เ พี ย งการฟั ง และการให้ ข้ อ มู ล
ข่าวสาร หรืออาจใช้คาชมเชยสั้น ๆ เพื่อปรับปรุงผู้ใต้บังคับบัญชา
ในสถานการณ์อื่นอาจต้องใช้การให้คาปรึกษาแบบมีโครงสร้างตาม
แผนการปฏิ บัติเฉพาะเรื่อง โดยผู้นาที่มีประสิทธิภาพจะมีวิธีการ
เข้าถึงผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นรายบุคคล ทั้งนี้ การให้คาปรึกษามี ๓ วิธี
ได้แก่ การให้คาปรึกษาทางอ้อม ทางตรง และแบบผสม ข้ อแตกต่าง
ของ ๓ วิธี ก็คือ ระดับของความร่วมมือ และการมีปฏิสัมพันธ์ของ
ผู้ใต้บังคับบัญชาระหว่างการให้คาปรึกษา

๘-๗๕. การให้คาปรึกษาทางอ้อม เป็นวิธีที่ใช้มากที่สุด ซึ่งผู้นาจะ


ใช้ประสบการณ์ของตนเอง การมองอย่างลึกซึ้ง และการตัดสิน เพื่อ
ช่วยผู้ใต้บังคับบัญชาพัฒนาทางออกในการแก้ปัญ หา โดยการบอก
ถึงกระบวนการและอธิบายสิ่งที่คาดหวังไว้ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ

๘-๗๖. การให้ คาปรึ กษาทางตรง ใช้ไ ด้ดีกับ การแก้ ปัญ หาง่าย ๆ


โดยการแก้ปัญหาให้ตรงจุด และแก้ไขแง่มุมต่าง ๆ ของการทาให้
บรรลุภารกิจตามหน้าที่ เมื่อผู้นาเลือกใช้วิธีนี้ทาได้ โดยใช้การพูดคุย
ให้มากที่สุดและบอกให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่าจะทาสิ่งใด เมื่อใด
ซึ่งตรงข้ามกับการใช้วิธีทางอ้อมนั่นคือผู้นาจะกาหนดหนทางปฏิบัติ

๘-๓๕
บทที่ ๘ การพัฒนา

ให้ผู้ใต้บังคับบัญชา

๘-๗๗. การให้คาปรึกษาแบบผสม โดยผู้นาจะใช้เทคนิคของทั้งสอง


วิธีการมาปรับใช้ให้เหมาะกับผู้ใต้บังคับบัญชามากที่สุด ซึ่งจะเน้นใน
เรื่องแผนของผู้ใต้บังคับบัญชาและความรับผิดชอบในการตัดสินใจ

การปรึกษาเฉพาะกรณี
๘-๗๘. การเป็ น นายทหารพี่เ ลี้ ย ง นายสิ บ พี่เ ลี้ ยง หรือ ที่ ปรึ ก ษา
ทั่วไป ควรมีประสบการณ์มากกว่าผู้ที่มารับคาปรึกษา โดยพื้นฐาน
แล้วการปรึกษาเฉพาะกรณี ขึ้นอยู่กับการสอนและการให้แนะแนว
ในการเสริมและนาขีดความสามารถที่มีอยู่แล้วออกมาแสดง เดิม
การเป็นที่ปรึกษาเฉพาะกรณี หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในการช่วยเหลือให้
ผ่ า นกิ จ ใดกิ จ หนึ่ ง ได้ ซึ่ ง อาจจะ หรื อ อาจจะไม่ เล็ ง เห็ น ถึ ง
ความสามารถที่มีอยู่ภายใน ทั้งนี้การให้คาปรึกษาเฉพาะกรณี นี้จะ
ช่วยให้เข้าใจถึงระดับของการปฏิบัติให้บรรลุภารกิจในปัจจุบันและ
สอนถึงวิธีการไปสู่ความรู้และทักษะในระดับต่อไป

๘-๗๙. เมื่อ นาการปรึก ษาเฉพาะกรณีม าเปรี ยบเที ยบกับ การให้


คาปรึกษาทั่วไปและการให้คาปรึกษาเฉพาะทาง จะเห็นว่าการให้
คาปรึกษาเฉพาะกรณีเป็นการพัฒนาเทคนิ คซึ่งไปใช้สาหรับทักษะ
และการให้คาแนะนาที่เป็นแบบเฉพาะกิจ ซึ่งควรมีความรู้ในเรื่องที่
จะถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้

๘-๘๐. แง่ มุ ม ส าคั ญ ของการให้ ค าปรึ ก ษาเฉพาะกรณี เ ป็ น การ


กาหนดและวางแผนส าหรั บ เป้ าหมายระยะยาว ผู้ ใ ห้ ค าปรึ ก ษา
เฉพาะกรณีและผู้รับการปรึกษาจะแลกเปลี่ยนความเห็ นเกี่ยวกับ

๘-๓๖
บทที่ ๘ การพัฒนา

ข้อเด่น ข้อด้อย หนทางปฏิบัติเพื่อคงไว้หรือปรับปรุงให้ดีขึ้น ทั้ง นี้


การปรึกษาเฉพาะกรณีให้ใช้แนวทาง ดังต่อไปนี้
 มุ่งเน้นเป้าหมาย โดยการระบุความมุ่ง หมายของการให้
คาปรึกษาเป็นกรณีไป โดยให้มีการถกแถลงระหว่างผู้ให้
คาปรึ กษาและผู้ รั บการสอนปรึ กษาในสิ่ง ที่ ทั้ ง สองฝ่ า ย
คาดหวังไว้ ผู้ให้คาปรึกษาจะสื่อสารกับผู้รับการปรึกษา
เป็นรายบุคคลถึงกิจต่าง ๆในเชิงการพัฒนาซึ่งรวมเข้าเป็น
เรื่องเดียวกันกับผลการสารวจปฏิกิริยาสะท้อนกลับและ
การประเมินรอบด้าน เป็นรายบุคคล
 ทาให้การสารวมระวังตนเองของผู้นาเป็นเรื่องที่เข้าใจได้
ง่าย การให้คาปรึกษาเฉพาะกรณีมีผลโดยตรงกับผู้นาที่จะ
กาหนดทั้งความแข็งแกร่ง และความจาเป็นที่เกี่ยวกับการ
พัฒนา และสิ่งที่ต้องมุ่งเน้นที่จะปรับปรุงการปฏิบัติงาน
ของผู้บังคับบัญชา โดยที่ผู้สอนและผู้รับการสอนต้องเห็น
ด้วยกับสิ่งจาเป็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
 เปิดเผยศักยภาพที่ซ่อนอยู่ภายใน การปรึกษาเฉพาะกรณี
ยั ง ช่ ว ยทางด้ า น การส ารวมระวั งตนในเรื่ อ งขอ ง
ความสามารถที่ ซ่ อนอยู่ภ ายในและความต้ อ งการที่ จ ะ
พัฒนาของผู้นาโดยการให้แนวทางในการถกแถลงด้ว ย
คาถาม แล้วคอยฟังว่าผู้นาเข้าใจหรือรับรู้ถึงศักยภาพของ
ตนเองอย่ างไร เพื่อกระตุ้ นให้ความคิดเหล่า นั้นพรั่ง พรู
ออกมาแบบอิสระ นอกจากนี้ ยัง ท าการประเมิ นความ
พร้อมของผู้นาที่จะเปลี่ยนแปลงและให้ความร่วมมือใน
การให้คาปรึกษาเฉพาะกรณีนี้
 ก าจั ด อุ ป สรรคในการพั ฒ นา ที่ ป รึ ก ษาจะท าให้ ผู้ น า
มองเห็นถึงความจาเป็นในการ พัฒนา โดยเฉพาะสิ่งที่จะ

๘-๓๗
บทที่ ๘ การพัฒนา

ขัดขวางการพัฒนาตนเอง ในระหว่างนี้ การให้คาปรึกษา


เฉพาะกรณี จ ะช่ วยให้ ผู้รั บการปรึก ษาพิจ ารณาวิธี ที่จ ะ
เอาชนะอุ ปสรรคเพื่อนาไปสู่การพัฒ นา และการนาผล
การพัฒนาบุคคลที่ได้ไปปฏิบัติเพื่อปรับปรุง ผลงานของ
ผู้ น าในภาพรวม นอกจากนี้ ช่ ว ยให้ ร ะบุ ถึ ง ที่ ม าของ
ศักยภาพนั้นเพื่อนาไปจัดทาแผนปฏิบัติการ
 พัฒนาแผนปฏิ บัติ การ ที่ป รึก ษาและผู้ รับ คาปรึกษาจะ
พัฒนาแผนการปฏิบัติ ซึ่งต้องระบุรายละเอียดของการ
ปฏิบัติที่ สามารถปรับ ปรุงผลการปฏิบัติง านของผู้นาได้
ภายในเวลาที่กาหนด ที่ปรึกษาจะใช้ประโยชน์จากแนว
ทางการปฏิบัติที่ได้พัฒนาแล้ว เพื่อสื่อให้เห็นว่ากิจกรรมที่
เกี่ยวข้องโดยตรงกับตนเองสามารถประสบความสาเร็จใน
การปรับปรุงผลการปฏิบัติงานโดยการใช้คุณลักษณะที่พึง
ประสงค์เฉพาะด้าน
 การติดตามผล เป็นสิ่งสาคัญที่ต้องมีหลังจากเริ่มทาการให้
คาปรึกษาเฉพาะกรณีแล้ว โดยผู้เข้าร่วมควรขอให้มีการ
ให้ข้อมู ลย้อนกลับที่เ กี่ยวข้ องกับประสิท ธิภาพของการ
ประเมิ น ผล ทั้ ง นี้ ประโยชน์ ข องข้ อ มู ลที่ ไ ด้ รั บ และ
ความก้ า วหน้ า จะน าไปใส่ ไ ว้ ใ นแผนการพั ฒ นาตนเอง
ความรับผิดชอบในการติดตามผลของการให้คาปรึกษา
เฉพาะกรณี ซึ่งเพิ่มเข้าไปในแผนการพัฒนาตนเอง และ
การปฏิ บั ติ ต ามแผนการพั ฒ นาตนเอง เป็ น ความ
รับผิดชอบของหน่วยตามสายการบังคับบัญชา ผู้นาตาม
สายการบังคับบัญชาซึ่งจัดให้มีการให้คาปรึกษาเฉพาะ
ก ร ณี จะ มี ผ ลอ ย่ า ง ม าก ต่ อ ก า ร พั ฒ น าผู้ น า ขอ ง
ผู้ใ ต้ บั ง คั บ บัญ ชา พวกเขาเป็ น แบบอย่ า งและให้ ข้ อ มู ล

๘-๓๘
บทที่ ๘ การพัฒนา

ข่าวสารเพิ่มเติม รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีการ
พัฒนาตนเอง นอกจากนี้ยังจัดให้มีการประเมินผลตอบ
กลั บ แบบไม่ เ ป็ น ทางการในเวลาที่ เ หมาะสม เข้ า ไป
ควบคุ มสถานการณ์ รวมทั้ ง การให้ คาปรึ กษาแบบเป็ น
ทา ง ก า ร เ พื่ อ เ ป็ น แ ร ง บั น ด า ล ใ จ แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง
ผู้ใต้บังคับบัญชา

การป็นพี่เลี้ยง ใหคาปรึกษา
๘-๘๑. สภาพแวดล้อมของสนามรบในอนาคตจะทาให้เกิดความ
กดดันในการพัฒนาผู้นาโดยเร่งให้มีการก้าวเดินอย่างรวดเร็ว ในการ
ช่วยผู้นาเหล่านี้ให้มีความสามาสารถตามที่ต้องการ ขึ้นอยู่กับระบบ
การพัฒนาผู้นาของกองทัพบกซึ่งจะเป็นตัวบีบและเร่ง การพัฒนา
ผู้เชี่ยวชาญทางอาชีพทหาร วุฒิภาวะ แนวความคิด และการสร้าง
ทักษะในการทางานเป็นทีม ซึ่งที่ปรึกษาเฉพาะด้านเป็นเครื่องมือที่
ได้ รับ การพัฒ นาให้ สามารถสนับ สนุ น วัต ถุป ระสงค์ ใ นการเรีย นรู้
เหล่ า นี้ ถื อ ได้ ว่ า เป็ น ตั ว คู ณ ในสนามรบเนื่ อ งจากเป็ น การเพิ่ ม
พฤติกรรมในเชิงบวกของภาวะผู้นาบนพื้นฐานของการอาสาสมัคร

๘-๘๒. ผู้ น าไม่ จ าเป็ น ต้ อ งมี ภู มิ ห ลั ง ของอาชี พ หรื อ ความรู้


เช่ น เดี ย วกั บ ที่ ป รึ ก ษาเฉพาะกรณี ห รื อ ที่ ป รึ ก ษาทั่ ว ไป เ มื่ อ
เปรียบเทียบกันแล้วที่ปรึกษาเฉพาะด้านจะมีความรู้ มีหรือกาลังจะ
มีป ระสบการณ์ด้ า นเดีย วกัน กับ ผู้ รับ คาปรึก ษา ผลที่ต ามมาก็ คื อ
ความสั ม พั น ธ์ ข องการให้ ค าปรึ ก ษาเฉพาะด้ า นจึ ง มุ่ ง ในเรื่ อ ง
ประสบการณ์ด้านการรับราชการของผู้นาสาหรับอนาคต

๘-๓๙
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๘๓. การให้ ค าปรึ ก ษาเฉพาะด้ า นเป็ น ความสมั ค รใจซึ่ ง อยู่


นอกเหนือสายการบังคับบัญชา ลักษณะของการให้คาปรึกษาเฉพาะ
ด้าน มีดังนี้
 การให้ ค าปรึ ก ษาเฉพาะด้ า นเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ที่ ป รึ ก ษา ให้
คาแนะนาแก่ผู้ นาที่ด้อยประสบการณ์ ในเรื่องเกี่ยวกั บ
การรับราชการและความเจริญก้าวหน้า
 ผู้นาที่กาลังพัฒนาตนเองมักจะเริ่มความสัมพันธ์และมอง
หาคาปรึกษาจากที่ปรึกษาเฉพาะด้าน ซึ่ง เขาจะเริ่มจาก
การตรวจสอบสภาพความเป็นอยู่และการพัฒนาตนเอง
ของบุคคลคนนั้น
 การให้ค าปรึ กษาเฉพาะด้านมีผลทั้ง ต่อการพั ฒนาส่ว น
บุ ค คล (วุ ฒิ ภ าวะ , ก ารมี สั ง คม, และ ทั ก ษะการ
ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ) และการพัฒนาทางอาชีพการงาน
(ความรู้ทางด้านเทคนิคและยุทธวิธี รวมถึงแนวทางในการ
รับราชการ)
 การให้คาปรึกษาเฉพาะด้านยังช่วยให้กองทัพบกรักษาไว้
ซึ่งผู้นาที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์สูง
 ความแข็ ง แกร่ ง ของความสั ม พั น ธ์ ใ นการให้ ค าปรึ ก ษา
เฉพาะด้านขึ้นอยู่กับความวางใจและความเคารพซึ่ง กัน
และกั น โดยต้ อ งค านึ ง ถึ ง การประเมิ น ผล ปฏิ กิ ริ ย า
สะท้ อ นกลั บ และแนวทางต่ า ง ๆ โดยที่ ข้ อ พิ จ ารณา
เหล่านี้จะมีผลต่อความเจริญก้าวหน้าด้วยความแข็งแกร่ง
ของความสัมพันธ์ในการให้คาปรึกษาเฉพาะด้านขึ้นอยู่กับ
ความวางใจและความเคารพซึ่ ง กั น และกั น โดยต้ อ ง
ค านึ ง ถึ ง การประเมิ น ผล ปฏิ กิ ริ ย าสะท้ อ นกลั บ และ
แนวทางต่าง ๆ โดยที่ข้อพิจารณาเหล่านี้จะมีผลต่อความ
๘-๔๐
บทที่ ๘ การพัฒนา

เจริญก้าวหน้าด้วย

๘-๘๔. ความสัมพันธ์ของการให้คาปรึกษาเฉพาะด้านมิได้จากัดอยู่
ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บัง คับบัญ ชา แต่มีอยู่ระหว่างเพื่อ น
ร่วมงาน และระหว่างนายทหารชั้นประทวนกับนายทหารสัญ ญา
บัตรที่ยังมีอาวุโสน้อย ๆ นอกจากนี้ยัง มีระหว่างชั้นยศที่มีความ
แตกต่ างกั นในระดั บต่า ง ๆ และในหลาย ๆ โอกาสยั ง ขยายออกไป
นอกเหนือสายการบังคับคับบัญชา

๘-๘๕. การให้คาปรึกษาเฉพาะด้านในลักษณะสนับสนุนใช้เมื่อที่
ปรึกษามิได้มี ตาแหน่งหรือ สถานภาพสู ง กว่าผู้ รับคาปรึกษา แต่ มี
ความรู้ แ ละประสบการณ์ ม ากกว่ า ทั้ ง นี้ ห ากเปรี ย บเที ย บ
ประสบการณ์ ข องนายทหารสั ญ ญาบั ต รบรรจุ ใ หม่ จ ะเท่ า กั บ
นายทหารประทวนอาวุโส ซึ่งความสัมพันธ์ที่มาจากประสบการณ์
เช่ นนี้ ใช้ เ ป็น เครื่ องมื อในการพั ฒ นานายทหารสั ญ ญาบัต รที่เ พิ่ ง
บรรจุ ใ หม่ มี บ่ อ ยครั้ ง ที่ น ายทหารสั ญ ญาบั ต รได้ ต ระหนั ก ว่ า
นายทหารชั้นประทวนที่เคยทางานร่วมกันในช่วงการบรรจุใหม่ ๆ
จะเป็นที่ปรึกษาเฉพาะด้านที่มีผลกระทบเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนา
ของพวกเขา

๘-๘๖. กาลังพลทุกนายต้องเข้าร่วมในกระบวนการพัฒนาตนเอง
โดยไม่ต้องคอยให้ที่ปรึกษาเป็นผู้เลือก แต่ให้เขามีความรับผิดชอบที่
จะเข้ า ควบคุ ม การพั ฒ นาของตนเอง ทั้ ง นี้ ต้ อ งรู้ ว่ า ตนเองมี ข้ อ ดี
ข้อด้อยอะไรบ้าง สิ่งใดที่ต้องปรับปรุง ซึ่ง แต่ละคนควรมีแผนการ
พัฒนาของตนเองเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องเหล่านี้ ยุทธศาสตร์ที่อาจ
นามาใช้มีดังนี้

๘-๔๑
บทที่ ๘ การพัฒนา

 ถามคาถามและรับฟังผู้เชี่ยวชาญ
 อ่านและศึกษา
 เฝ้าดูบรรดาผู้ที่อยู่ในตาแหน่งผู้นา
 หาโอกาสศึ ก ษาอบรมเพิ่ ม เติ ม (หลั ก สู ต รพลเรื อ น,
หลักสูตรทางทหาร และหลักสูตรทางไปรษณีย์)
 หาและเข้าร่วมโอกาสใหม่ๆและมีความหลากหลาย

๘-๘๗. ทหารสามารถเพิ่มโอกาสให้ตนเองได้รับคาปรึกษาโดยการ
หาข้อมูลย้อนกลับและการสร้างทัศนคติให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การพัฒนาตนเองจะช่วยให้มีโอกาสทางการให้คาปรึกษาเฉพาะทาง
ผู้ที่มองหาข้อมูลย้อนกลับ เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาของพวกเขา ให้
เชื่ อ มต่ อ กั บ การอุ ทิ ศ ตน มี ที่ ป รึ ก ษาที่ ดี จะเป็ น พื้ น ฐานของการ
ปลูกฝัง แนวความคิดของการเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาตนเอง
และการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมกองทัพบก

๘-๘๘. การให้คาปรึกษาเฉพาะทางเป็นเรื่องเกี่ยวกับการปรับปรุง
ผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความเจริญก้าวหน้า แต่
มิได้รวมถึง มิติทางจิตใจ อนุศาสนาจารย์หรือผู้อื่นจะทาหน้าที่ฝึก
ทางด้า นจิ ตใจหรือ ทาให้ บุค คลมีความเข้ าใจแจ่ม แจ้ ง ขึ้ น อัน เป็ น
บทบาทสาคัญที่ช่วยให้ทหารสามารถทนต่อความกดดันต่าง ๆ และ
หาความสมดุลและเป้าหมายที่ดีกว่าได้

การสร้ า งทั ก ษะการทางานเป็ น หน่ ว ยและกระบวนการ


ทางานเป็นหน่วย

๘-๔๒
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๘๙. เรื่องที่เกี่ยวกับชาติ เป้าหมายของภารกิจ และความกังวล


อื่น ๆ อาจจะไม่เห็นได้จากมุมมองของทหารในสนามรบ ประเด็นที่
เป็นเรื่องใหญ่กว่านั้น ก็คือ ทหารปฏิบัติหน้าที่ในสนามรบเพื่อคนอื่น
ๆ ในหมู่ ในทีมในเรือหรือเครื่องบินลาเดียวกัน เพื่อคนที่อยู่ข้างซ้าย
หรื อ ข้ า งขวา ซึ่ ง เป็ น พื้ น ฐานของความจริ ง อั น เกิ ด มาจากการมี
“หัวใจนัก รบ” นั่น เอง เห็ นได้ว่า ทหารปฏิบัติกิจ ให้เสร็ จสิ้นได้ ก็
เนื่องมาจากไม่ต้องการให้เพื่อนต้องล้มลงต่อหน้า รวมทั้งพลเรือนที่
ปฏิบัติง านในกองทั พบกก็ รู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง ของหน่ วยหรื อทีมใน
องค์กร และต้องการเป็นผู้ชนะเช่นกัน

๘-๙๐. การพัฒนาหน่วยแบบปิด เป็นงานยาก ต้องใช้ความอดทน


และมีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลซึ่งเป็นงานส่วน
หนึ่งของผู้นา อันเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าเพราะทีมที่ดีจะทาให้ภารกิจ
เสร็จสิ้นได้ทันเวลาภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ แต่สงวนกาลังโดยให้ใช้
น้อยที่สุด ในสนามรบทีมที่มีความแน่นแฟ้นเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ
มากที่สุดและมีการบาดเจ็บน้อยที่สุด

ลักษณะของหน่วย
๘-๙๑. สิ่งที่แสดงถึงความเป็นหน่วย ได้แก่
 มีความเชื่อใจซึ่งกันและกัน รู้ใจกันว่าแต่ละคนในหน่วยจะ
ทาอะไร
 การทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุภารกิจ
 ปฏิบัติกิจให้ลุล่วงอย่างรวดเร็ว
 ทางานให้ได้หรือเกินมาตรฐาน
 ประสบความสาเร็จในสิ่งที่ท้าทาย

๘-๔๓
บทที่ ๘ การพัฒนา

 เรียนรู้จากประสบการณ์และภาคภูมิใ จกับความสาเร็จที่
ได้รับ

๘-๙๒. กองทัพบกเป็น สถาบัน ที่มีกาลังพลจานวนมากที่ไม่ได้เป็น


ทหาร อั น ประกอบด้ ว ยข้ า ราชการกลาโหมพลเรื อ น พนั ก งาน
ราชการชั่วคราว และกาลังพลอาสาสมัครทหารพราน ซึ่ง ทางาน
ปราบปรามการก่ อการร้า ยที่มั กจะถู กลื มเลือ น อั นเนื่อ งมาจาก
สภาพแวดล้อมการปฏิบัติการในปัจจุบันที่ไม่สามารถบรรลุภารกิจได้
หากปราศจากกาลังพลเหล่านี้ซึ่งสนับสนุนกองทัพบกโดยการอุทิศ
ตนของกาลัง พลเหล่านี้ กองทัพบกจึงควรตระหนักถึงความสาคัญ
ของกาลัง พลเหล่านี้ว่าเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสาคัญ ต่อกองทัพบก
ตลอดมา

๘-๙๓. ภายในหน่วยขนาดใหญ่อาจมี หน่วยเล็ก ๆ ที่ต้องการการ


พัฒนาแตกต่างกันออกไป ตัวอย่างเช่น กาลังพลในหน่วยของหมู่ที่
๑ อาจคุ้นเคยกับการทางานร่วมกัน มีความเชื่อใจกันและกัน ปฏิบัติ
ภารกิจได้ลุล่วงและสูงกว่ามาตรฐานโดยทางานอย่างคุ้มค่า ส่วนหมู่
ที่ ๒ ในหมวดเดียวกันเพิ่งได้รับการบรรจุทหารใหม่ ๓ นาย และมีผู้
บังคับหมู่ที่มาจากกองร้อยอื่น ทาให้มีวุฒิภาวะของหน่วยต่าและต้อง
ใช้เวลาอีก ระยะหนึ่งจึงจะเทียบเท่าหมู่แรกได้ โดยการเรียนรู้งาน
ต่าง ๆ เริ่มจากความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหน่วย ต่อจากนั้นต้อง
เรี ย นรู้ ม าตรฐานและบรรยากาศภายในหน่ ว ย รวมทั้ ง แสดง
คุณลัก ษณะที่ พึง ประสงค์ให้เ ป็นที่ป ระจัก ษ์ก่อ นที่คนในหน่ วยจะ
ยอมรับ สุดท้ายทุกคนในหน่วยต้องฝึกการทางานร่วมกัน ซึ่งถ้าหาก
ผู้นารู้ว่าจะคาดการณ์สิ่งใดได้บ้างก็จะสารวจตรวจตราบูรณาการ
ขั้นตอนต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี

๘-๔๔
บทที่ ๘ การพัฒนา

๘-๙๔. ผู้นาที่เก่งจะมีความรู้สึกไวต่อลักษณะและสมาชิกแต่ละคน
ในทีม ซึ่งต้องทาการพัฒนาแตกต่างกันออกไป และขอบเขตของแต่
ละขั้นเป็นสิ่งที่ไม่ยากและเร็วเกินไป ทั้งนี้ผลที่ได้ช่วยให้พิจารณาได้
ถึ ง สิ่ ง ที่ ค าดหวั ง รวมถึ ง สิ่ ง ที่ ค าดว่ า จ าเป็ น ต่ อ การปรั บ ปรุ ง ขี ด
ความสามารถของทีม

ขั้นของการสร้างทีม
๘-๙๕. ภาพ ๘-๑ แสดงรายการปฏิบัติในการดึงหน่วยมารวมกันซึ่ง
มิใช่สิ่งที่เกิดขึ้นได้เอง ผู้นาต้องให้แนวทาง โดยผ่านขั้นต่าง ๓ ขั้น
ดังต่อไปนี้
 การวางรูปแบบ
 การปรับปรุงให้ดีขึ้น
 การดารงรักษา

ขั้นการวางรูปแบบ
๘-๙๖. หน่วยจะทางานได้ดีที่สุดเมื่อสมาชิกใหม่รู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง
ของหน่วย ขั้นที่สาคัญ ๒ ขั้น ของการวางรูปแบบหน่วย คือ การ
ต้อนรับ และการปฐมนิเทศ ซึ่งจะแตกต่างกันในยามปกติกับยาม
สงคราม ในสนามรบขั้ น ตอนการช่ ว ยเหลื อ ที่ ดี จ ะมี ผ ลแตกต่ า ง
ระหว่างความเป็นและความตายของผู้มาใหม่รวมทั้งของหน่วยด้วย

๘-๙๗. การต้อนรับเป็นสิ่งที่ผู้นาแสดงออกเมื่อผู้บรรจุใหม่เข้ามาอยู่
ในองค์กร ควรมีการกากับเวลาซึ่งรวมถึงการจับมือและการแนะนา
ตัว ส่วนขั้นการปฐมนิเทศจะเริ่มจากการพบกับสมาชิกคนอื่น ๆ ใน
หน่ วย การเรี ย นรู้ รูป แบบของสถานที่ ทางาน ก าหนดการต่ าง ๆ
รวมถึงสภาพแวดล้อมในการทางาน ในสนามรบ ผู้นาอาจต้องไม่มี
๘-๔๕
บทที่ ๘ การพัฒนา

เวลามากนักให้กับสมาชิกใหม่ ดังนั้นจึงต้องมีการให้มีผู้ดูแลผู้ที่บรรจุ
ใหม่ โดยบุคคลคนนี้จะให้ความช่วยเหลือจนกระทั่งเขา “รู้ลู่ทางดี”

๘-๙๘. ในสนามรบผู้นาหน่วยควรมีเรื่องกังวลให้น้อยที่สุด ดังนั้น ผู้


ที่มาใหม่จึง อาจเป็นเรื่องหลัง ๆ ที่จะนึกถึง หากทหารไม่สามารถ
ต่อสู้ได้ หน่วยอาจไม่ได้รับความสูญเสียจากการบาดเจ็บ แต่อาจทา
ให้ภารกิจล้มเหลวได้

๘-๙๙. วิ นั ย และการร่ ว มทุ ก ข์ ร่ ว มสุ ข เป็ น พลั ง ที่ ดึ ง ให้ ค นมาอยู่


รวมกัน เมื่อกล่าวถึงการประสานความร่วมมือกันไว้ ง่ายและชัดเจน
ว่า สงครามนาสิ่งเลวร้ายที่สุดมาให้ มันทาให้ คนบ้าคลั่ง ต่อสู้กัน
เยี่ยงสัตว์ แต่ก็นาสิ่งอื่นมาด้วย สิ่งที่ไม่รู้ว่าจะพรรณนาได้อย่างไร
นั่นคือ ความอ่อนโยน และความรักของเพื่อนที่ร่วมสู้อยู่เคียงข้าง
กัน

การปฏิบัติของ การปฏิบัติของผู้นาและ
ขั้นดารงรักษา
ผู้ใต้บังคับบัญชา องค์กร
การสร้ า ง หน่ ว ย - ไว้วางใจผู้อื่น - แสดงออกถึงความไว้วางใจ
ทั่วไป - แบ่ ง ปั น ความคิ ด และ - เน้นการทางานเป็น หน่วย
ความรู้สึกอย่างอิสระ การฝึก และการบารุงรักษา
- ใ ห้ ค วามช่ ว ยเห ลื อ - สนองตอบปัญหาของ
สมาชิกในหน่วยอื่น ผู้ใต้บังคับบัญชา
- คงความไว้วางใจและ - ค้นคิดการฝึกแบบใหม่ ๆ
ความ
การสร้ า ง หน่ ว ย มั่นใจ - สร้างความภาคภูมิใจและ
ทั่วไป (ต่อ) - ร่วมภารกิจและ จิตวิญญาณ
มาตรฐานเดียวกัน

๘-๔๖
บทที่ ๘ การพัฒนา

การสร้ า ง หน่ ว ย - ปรับตัวให้เข้ากับการ - สังเกตและเสริมสร้างวินัย


เพื่อเข้าวางกาลัง ปฏิบัติการที่มีความ - รักษาไว้ซึ่งการระแวดระวัง
ต่อเนื่อง ภัย
- รั บ มื อ ห ากเกิ ด การ - ชี้แจงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
บาดเจ็บได้ดี - รู้ และใส่ ใจเกี่ย วกั บ ความ
- ปรั บตั ว ให้เ ข้ า กับ การ เข้าใจ
ปฏิบัติของข้าศึก ของทหาร
- เอ าช น ะค วาม เบื่ อ - ทาให้ทหารมีผลการปฏิบัติ
หน่าย ตลอดเวลา
- หลีกเลี่ยงข่าวลือ - ใช้การทบทวนระหว่างการ
- ควบคุมความกลัว ปฏิบัติ และการทบทวนหลัง
ความโกรธ การปฏิบัติ
ความผิดหวัง และความ - ตัดสินใจด้วยความเด็ดขาด
ตื่นตระหนก เ มื่ อ เ ผ ชิ ญ กั บ ค ว า ม ตื่ น
ตระหนก

ภาพ ๘ – ๑ ขั้นการสร้างหน่วย
ขั้นการปรับปรุงให้ดีขึ้น
๘-๑๐๐. หน่วยใหม่และสมาชิกของหน่วยใใหม่จะค่อย ๆ เปลี่ยน
จากการตั้ ง ค าถามในทุ ก ๆ เรื่ อ งไปเป็น การเชื่ อ ใจตนเอง เพื่ อ น
ร่วมงาน รวมถึงผู้นาของเขา โดยที่ ผู้นาจะเรียนรู้ที่จะไว้วางใจด้วย
การฟัง ติดตามสิ่งที่ได้ยิน มีสายของอานาจหน้าที่ที่ชัดเจน รวมทั้ง
การกาหนดมาตรฐานในการทางาน สิ่งสาคัญ คือ การฝึกอันจะทา
ให้หน่วยมีความแข็งแกร่งมากขึ้น ซึ่งจะฝึกในลักษณะเป็นกลุ่ม ทา
ให้หลอมรวมกันเป็น หน่วยเดียวกัน เพื่อเตรียมการให้ บรรลุภารกิจ
ร่ว มกั น ทั้ ง นี้ ในทุ ก ขั้ น ของการสร้ า งหน่ ว ยมี ก ารฝึ ก รวมอยู่ ด้ ว ย
โดยเฉพาะในขั้นนี้จะให้ความสาคัญเป็นพิเศษเป็นการสร้างความ
เชี่ยวชาญให้กับหน่วย

๘-๔๗
บทที่ ๘ การพัฒนา

ขั้นดารงรักษา
๘-๑๐๑. ในขั้นนี้เป็นขั้นที่ระบุได้ว่าใครเป็นสมาชิกของหน่วยไหน
มีความรู้สึก เป็นเจ้าของ มีความภาคภูมิใจ และต้องการให้ หน่ว ย
ประสบความสาเร็จ ทาในสิ่งที่จาเป็นได้โดยไม่ต้องออกคาสั่ง หรือ
บอกให้ทา ทุกครั้งที่ได้รับภารกิจใหม่ คือโอกาสของผู้นาในการทาให้
เกิ ด ความผูก พั น รวมถึง ความท้ า ทายอั นจะท าให้ ห น่ว ยต้ องการ
ประสบความสาเร็จยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้ผู้นาจึงพัฒนาผู้ใ ต้บังคับบัญชา
เนื่องจากรู้ว่าคนเหล่านี้จะเป็นผู้นาได้ในวันข้างหน้า ดังนั้นจึงควรมี
การฝึกอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาความเชี่ยวชาญในกลุ่มและงานส่วน
บุคคลซึ่งต้องทาให้บรรลุภารกิจ

กองทัพบก
ต้องการผู้นาที่กล้าตัดสินใจ
ชอบการเปลี่ยนแปลง
มีทักษะในการดัดแปลงให้เหมาะสม
มีไหวพริบปฏิภาณ
มีการสื่อสารที่มีคุณภาพ
มีคุณธรรม อุทิศตน
และเป็นผู้รักการเรียนรู้ตลอดชีวิต

๘-๔๘
บทท้าย

บทท้าย
คณะอนุกรรมการพิจารณาและจัดทาร่างหลักนิยม รส.๖-
๒๒ ว่าด้วย การนาและผู้นาทางทหาร ได้รับการแต่ง ตั้ง โดย จก.
ยศ.ทบ./ประธานคณะกรรมการ ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาหลั ก นิ ย มและ
ยุทธศาสตร์ของ ทบ. ตามคาสั่งคณะกรรมการปรับปรุงพัฒนาหลัก
นิยมและยุทธศาสตร์ของ ทบ. ที่ ๒/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๑๕ พ.ย.
๕๔ มีองค์ประกอบ ดังนี้
๑. พล.ต. ไพรัช ขยันสารวจ ประธานอนุกรรมการ
(ผอ.ศพย.ยศ.ทบ.)
๒. พ.อ. ยุทธ์นเรศ พัทธะเศรษฐี รอง ประธานอนุกรรมการ
(รอง ผอ.ศพย.ยศ.ทบ.)
๓. พ.อ. พชรวัฒน์ ธนพรานสิงห์ อนุกรรมการ(ผู้แทน วทบ.)
(ผช.อจ. อานวยการส่วน วทบ.)
๔. พ.อ. ธนากร ทองศุข อนุกรรมการ(ผู้แทน รร.สธ.ทบ.)
(รอง ผบ.รร.สธ.ทบ.)
๕. พ.อ. สุธี กอรี อนุกรรมการ(ผู้แทน กพ.ทบ.)
(นปก. ประจา กพ.ทบ.)
๖. พ.อ. วัชรวิทย์ ณรงค์พันธุ์ อนุกรรมการ(ผู้แทน ขว.ทบ.)
(ผอ.กศ.รร.ขว.ทบ.)
๗. พ.อ. ทรงพล รัตนโกเศรษฐ อนุกรรมการ(ผู้แทน ยก.ทบ.)
(นปก. ประจา ยก.ทบ.)
๘. พ.อ. ธนภูมิ ดวงแก้ว อนุกรรมการ(ผู้แทน กบ.ทบ.)
(รอง ผอ.กอง กบ.ทบ.)
๙. พ.อ. อรรถสิทธ์ หัสถีธรรม อนุกรรมการ(ผู้แทน กร.ทบ.)
(รอง ผอ.กนผ.กร.ทบ.)
บทท้าย

๑๐. พ.อ. ชัยสิทธิ์ ปั้นรัตน์ อนุกรรมการ(ผู้แทน สปช.ทบ.)


(นปก. ประจา สปช.ทบ.)
๑๑. พ.ท. จเร ทรัพย์เที่ยง อนุกรรมการ(ผู้แทน กช.)
(หน.วิชาการ กวก.กช.)
๑๒. พ.อ. กิตติ สมสนั่น อนุกรรมการ(ผู้แทน สส.)
(อจ.หน.วสว.รร.ส.สส.)
๑๓. พ.อ. วัชระ ถนัดรบ อนุกรรมการ(ผู้แทน ศร.)
(หน.วช.ศร.)
๑๔. พ.อ. ณัฏฐชัย บุญมาก อนุกรรมการ(ผู้แทน ศม.)
(รอง ผอ.กวก.ศม.)
๑๕. พ.อ. อาภรณ์ คงนวล อนุกรรมการ(ผู้แทน ศป.)
(หน. วิชาการ กวก.ศป.)
๑๖. พ.อ. อิสระ สมัย อนุกรรมการ(ผู้แทน กยข.ยศ.ทบ.)
(หน.แผนกแผน กยข.ยศ.ทบ.)
๑๗. พ.อ. วิสันต์ ทองอร่าม อนุกรรมการ(ผู้แทน กศ.ยศ.ทบ.)
(รอง ผอ.กศ.ยศ.ทบ.)
๑๘. พ.อ. พลวุฒ ลาเจียก อนุกรรมการ(ผู้แทน กฝ.ยศ.ทบ.)
(รอง ผอ.กฝ.ยศ.ทบ.)
๑๙. พ.อ. สุรัต แสงสว่างดารง อนุกรรมการ/เลขานุการ
(ผอ.กพล.ศพย.ยศ.ทบ.)
๒๐. พ.อ. กฤตติภูมิ หอมหวล อนุกรรมการ/ผู้ช่วยเลขานุการ
(รอง ผอ.กพล.ศพย.ยศ.ทบ.)
บทท้าย

มีการดาเนินการและอานาจหน้าที่
๑. พิจารณา แก้ไข เพิ่มเติม ปรับปรุง เนื้อหาร่างหลักนิยม ว่า
ด้วย การนาและผู้นาทางทหาร ว่ามีความเหมาะสมสาหรับใช้กับ
ทบ. ไทย สามารถนามาใช้เป็นกรอบแนวทางให้หน่วย/เหล่าสาย
วิทยาการที่เกี่ยวข้องพัฒนาเป็นหลักนิยมของเหล่าได้ และเสนอให้
จก.ยศ.ทบ./ประธานกรรมการปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาหลั ก นิ ย มและ
ยุ ท ธศาสตร์ น าเรี ย น ผบ.ทบ.(ผ่ า น ยก.ทบ.) พิ จ ารณาเพื่ อ
ประกาศใช้เป็นหลักนิยมของ ทบ.
๒. ให้ประธานอนุกรรมการพิจารณาและจัดทาร่างหลักนิยม ว่า
ด้วย การนาและผู้นาทางทหาร มีอานาจเชิญผู้แทนหน่วยที่เกี่ยวข้อง
หรือบุคคลอื่นๆ เข้าร่วมประชุมได้ตามความเหมาะสม

หมายเหตุ ผลการประชุ ม คณะอนุ ก รรมการฯ พิ จ ารณาเห็ น ว่ า


เพื่อให้เป็นแนวทางสาหรับผู้นาทางทหารยุคใหม่ จึงสมควรนาเสนอ
รส.๖-๒๒ การน าและผู้นาทางทหาร ที่ พัฒ นาขึ้น ให้ก าลั ง พลใน
กองทั พบกได้ศึ กษาเพื่อความเข้า ใจร่ วมกั นว่า การเป็ นผู้น าทาง
ทหารในปัจจุบันและอนาคตยึดถือ คุณธรรม จริยธรรม กฏหมาย
และผลที่จะเกิดตามมาในภายหลัง เพื่อให้กองทัพบกเป็นกองทัพ
เพื่ อ ประชาชนตามสากลนิ ย มในระดั บหนึ่ ง สาหรั บความประสบ
ผลสาเร็จการให้ความสาคัญในการสร้างแรงจูงใจโครงสร้างองค์กร
ของผู้ น า สมควรมี ก ารปรั บ ปรุ ง ให้ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทของ
กองทัพบกไทยรวมทั้งผู้นาระดับยุทธศาสตร์ คณะอนุกรรมการฯ มี
ความเห็นชอบร่วมกันว่าสมควรนาเสนอแยกต่างหากจาก รส.๖-๒๒
การน าและผู้ น าทางทหาร เนื่ อ งจาก ศู น ย์ พั ฒ นาหลั ก นิ ย มและ
ยุ ท ธศาสตร์ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารบก อยู่ ใ นระหว่ า งการเสนอ
แนวคิ ด ในการปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งองค์ ก รให้ เ ป็ น องค์ ก รแห่ ง
บทท้าย

ความสาเร็จในทุกภารกิจ เพื่อกองทัพบกนาไปพิจารณาใช้ประโยชน์
ต่อไป

พันเอก

(สุรัต แสงสว่างดารง)
ผู้อานวยการกอง พัฒนาหลักนิยม
ศูนย์พัฒนาหลักนิมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก/
อนุกรรมการ/เลขานุการ
กรกฎาคม ๒๕๕๕
พิมพ์ที่ กองพัฒนาหลักนิยม
ศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์
กรมยุทธศึกษาทหารบก
พิมพ์ที่ กองพัฒนาหลักนิยม ศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก

You might also like