You are on page 1of 384

ตส. ๑๗-๒๔ พ.

กองทัพบก

(ร่าง)

คู่มือราชการสนาม
ว่าด้วย

การปฏิบัติการสารสนเทศ

รส. ๓-๑๓

พ.ศ. ๒๕๕๗
วัตถุประสงค์การฝึกศึกษาของกองทัพบก
 เป็นผู้นำ�ที่ดี มีคุณธรรม
 มีความรูแ ้ ละประสบการณ์ส�ำ หรับการในหน้าที่
 แข็งแรงทรหดอดทนต่อการตรากตรำ�ทำ�งาน
คำ�นำ�
คู่มือราชการสนาม ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของกองทัพบก ฉบับนี้
จัดท�ำขึ้นโดยอาศัยการแปลและเรียบเรียงจาก FM 3-13 Information Operation November
2003 USARMY เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการ การฝึก ศึกษา ของกองทัพบกไทย ตาม
สภาวการณ์ของโลกที่ก�ำลังเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ ที่เข้าสู่ยุคข้อมูลข่าวสารอย่าง
เต็มรูปแบบ จึงท�ำให้กองทัพต้องมีการปรับตัวไปตามกระแสดังกล่าว อีกทั้งการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารนั้นเป็นองค์ประกอบเสริม ที่ช่วยเพิ่มอ�ำนาจก�ำลังรบให้แก่การปฏิบัติการต่าง ๆ ของ
กองทัพบกบรรลุผลการปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ผลเด็ดขาดตามที่วางวัตถุประสงค์ไว้
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้น มิได้เป็นการปฏิบัติการแต่เพียงล�ำพังเสมอไป สิ่งส�ำคัญ
ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคือ ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร ที่ทุกหน่วยต้องยึดถือปฏิบัติ
เป็นศูนย์กลางของแนวความคิดในเรื่องดังกล่าว อีกทั้ง การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมิได้เป็นงาน
ในหน้าทีข่ องฝ่ายอ�ำนวยการฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ โดยเฉพาะ หากแต่เป็นการบูรณาการ งานในหน้าทีข่ อง
ฝ่ายอ�ำนวยการต่าง ๆ ทุกสายงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการที่วางไว้
ดังนัน้ การน�ำเอาหลักการจากคูม่ อื ราชการสนามฉบับนีไ้ ปใช้นอกจากจะต้องศึกษาท�ำความ
เข้าใจอย่างลึกซึ้ง หมั่นฝึกฝนในทางปฏิบัติแล้วยังต้องมีการปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ และสภาพของหน่วยเป็นประเด็นส�ำคัญ ซึ่งจะเป็นการน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่าง
แท้จริง
อนึ่งหลักการประการหนึ่งเกี่ยวกับการพัฒนาหลักนิยมก็คือ การปรับปรุงหลักนิยม
ภายหลังการน�ำไปใช้ ซึ่งกระท�ำเป็นวงรอบทุก ๆ ๔ ปี หากหน่วยที่น�ำไปใช้พบข้อบกพร่อง หรือ
ประเด็นส�ำคัญใหม่ทเี่ กิดขึน้ ระหว่างการน�ำไปใช้ หรือมีขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ สามารถ
ส่งข้อมูลกลับมายัง ศูนย์พฒ ั นาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบกได้ เพือ่ ประโยชน์
ในการพัฒนาหลักนิยมฉบับนี้ต่อไป

ศูนย์พัฒนาหลักนิยม และยุทธศาสตร์
กรมยุทธศึกษาทหารบก
สารบัญ
หน้า
ภาคที่ ๑ หลักนิยมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (Information Operations ๑
Doctrine)
บทที่ ๑ การออกแบบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๒
- สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ๓
- สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารบนพื้นฐานของภัยคุกคาม ๔
- ขีดความสามารถและแหล่งของภัยคุกคาม ๕
- วิธีการในการโจมตี ๙
- การประเมินค่าสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารบนฐานด้านภัยคุกคาม ๑๔
- ความท้าทายจากสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ๑๕
- ความคิดเห็นเชิงนโยบายและทางสาธารณะ ๑๕
- จริยธรรม, ขวัญและก�ำลังใจ ๑๖
- ข้อพิจารณาทางด้านกฎหมาย ๑๖
- ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร ๑๖
- การสนับสนุนด้านการจัดการข้อมูลข่าวสาร ๑๗
- การสนับสนุนด้านการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน ๑๘
- การบรรลุถึงความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร ๒๑
- แง่มุมของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๒๒
- องค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๒๓
- ความสัมพันธ์ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในการยุทธ์ร่วมของกองทัพบก ๒๕
- การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก ๒๕
- การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ ๒๙
- ความสัมพันธ์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกกับเชิงรับ ๓๐
- การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารครอบคลุมย่านความขัดแย้ง ๓๒
- ตอนนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร G-7 และส่วนการปฏิบัติการ ๓๗
ข้อมูลข่าวสาร
- การฝึกส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๓๘
- บทสรุป ๓๙
หน้า
บทที่ ๒ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร องค์ประกอบและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ๔๑
- องค์ประกอบหลัก ๔๑
- การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ๔๒
- การปฏิบัติการจิตวิทยา ๔๓
- การลวงทางทหาร ๕๐
- การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ๕๒
- การปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๕๕
- การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๕๕
- การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๕๗
- การใช้ประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๕๙
- องค์ประกอบสนับสนุน ๕๙
- การท�ำลายทางกายภาพ ๖๐
- การประกันข้อมูลข่าวสาร ๖๑
- การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ ๖๗
- การต่อต้านข่าวกรอง ๖๙
- การต่อต้านการลวง ๗๑
- การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ ๗๒
- กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ๗๗
- กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ ๗๘
- การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร ๘๑

บทที่ ๓ การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ๙๒
- การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการและการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๙๒
- กระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ๙๓
- การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการล�ำดับที่ ๑ ๙๔
การระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
- การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการล�ำดับที่ ๒ ๙๗
การวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม
- การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการล�ำดับที่ ๓ ๙๗
วิเคราะห์ความล่อแหลม
หน้า
- การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการล�ำดับที่ ๔ ๙๙
การประเมินค่าในเรื่องของความเสี่ยง
- การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยล�ำดับที่ ๕ ๑๐๒
การประยุกต์ใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการอย่างเหมาะสม
- การด�ำเนินการปฏิบัติการต่าง ๆ ด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ๑๐๓
- การวางแผน ๑๐๔
- การเตรียมการและการปฏิบัติ ๑๑๔
- การประเมิน ๑๑๔

บทที่ ๔ การลวงทางทหาร ๑๑๘


ตอนที่ ๑ หลักนิยมเรื่องการลวงทางทหาร ๑๑๘
- ประเภทของการลวงทางทหาร ๑๒๐
- หลักพื้นฐานของการลวงทางทหาร ๑๒๒
- การบังคับอย่างเข้มงวดต่อการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ๑๒๙
- การลวงทางทหารในการด�ำเนินการปฏิบัติการต่าง ๆ ๑๓๔
- การลวงทางทหารในการรบด้วยวิธีรับ ๑๓๕
- การลวงทางทหารในการรบด้วยวิธีรุก ๑๓๕
- การลวงทางทหารในการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ ๑๓๖
ตอนที่ ๒ การด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหาร ๑๓๗
- การวางแผน ๑๓๘
- การเตรียมการ ๑๕๑
- การปฏิบัติการ ๑๕๓
- การประเมิน ๑๕๔
ภาคที่ ๒ ยุทธวิธี, เทคนิค และระเบียบปฏิบัติ ๑๕๖
บทที่ ๕ การวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๑๕๗
ตอนที่ ๑ แนวความคิดในการวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๑๕๗
ตอนที่ ๒ รับมอบภารกิจ ๑๖๒
- การเข้าร่วมในการประเมินขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา ๑๖๒
- รับมอบแนวทางขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา ๑๖๓
หน้า
- ด�ำเนินการประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเบื้องต้น ๑๖๓
- การจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าขั้นต้นเข้าสู่การจัดเตรียมสนามรบ ๑๖๔
ด้านการข่าว
- การจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าให้กับกิจด้านการข่าวกรอง, ๑๖๔
การลาดตระเวน และการเฝ้าตรวจเริ่มต้น
- จัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าไปเป็นค�ำสั่งเตือนขั้นต้น ๑๖๕
- การเตรียมการส�ำหรับการวางแผนที่ตามมา ๑๖๖
ตอนที่ ๓ การวิเคราะห์ภารกิจ ๑๖๘
- วิเคราะห์ค�ำสั่งของกองบัญชาการหน่วยเหนือ ๑๖๙
- ด�ำเนินการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว ๑๗๐
- ก�ำหนดสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ๑๗๔
- การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวสนับสนุนกรรมวิธีเป้าหมาย ๑๗๔
- ผลผลิตอื่น ๆ จากการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว ๑๗๕
- ก�ำหนดกิจเฉพาะ, กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิ่ง ๑๗๖
- ทบทวนหน่วยที่มีอยู่ ๑๗๘
- ก�ำหนดข้อจ�ำกัด ๑๘๐
- ระบุข้อเท็จจริง และสมมติฐานส�ำคัญยิ่ง ๑๘๑
- ด�ำเนินการประเมินความเสี่ยง ๑๘๑
- ก�ำหนดความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่ง ของผู้บังคับบัญชา ๑๘๓
- ก�ำหนดความต้องการด้านการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ ๑๘๕
และการลาดตระเวน
- แผนการใช้เวลาที่มีอยู่ ๑๘๕
- เขียนภารกิจแถลงใหม่ ๑๘๖
- ด�ำเนินการบรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจ ๑๘๖
- การอนุมัติภารกิจแถลงใหม่ ๑๘๗
- พัฒนาเจตนารมณ์ในขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา ๑๘๗
- ให้แนวทางวางแผนของผู้บังคับบัญชา ๑๘๘
- ให้ค�ำสั่งเตือน ๑๘๙
- ทบทวนข้อเท็จจริงและสมมติฐาน ๑๘๙
- บทสรุปของการปฏิบัติในการวิเคราะห์ภารกิจ ๑๙๐
หน้า
ตอนที่ ๔ การพัฒนาหนทางปฏิบัติ ๑๙๐
- วิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบเปรียบเทียบ ๑๙๑
- สร้างทางเลือก ๑๙๒
- วางก�ำลังขั้นต้น ๑๙๓
- พัฒนาแนวความคิดในการปฏิบัติ ๑๙๓
- แผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๑๙๗
- การประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๑๙๙
- ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จและการประเมิน ๒๐๒
ตอนที่ ๕ การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ (การจ�ำลองยุทธ์) ๒๐๕
ตอนที่ ๖ การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ ๒๐๘
ตอนที่ ๗ การอนุมัติหนทางปฏิบัติ ๒๐๘
ตอนที่ ๘ การผลิตค�ำสั่ง ๒๐๙

บทที่ ๖ การเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๒๑๓


แนวความคิดในการเตรียมการ ๒๑๓
ทบทวนและปรับปรุงแก้ไขแผนและค�ำสั่ง ๒๑๕
การท�ำการประเมินในเรื่องของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๒๑๗
การพัฒนาปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ ๒๒๑
การพิทักษ์ก�ำลังรบ ๒๒๖
การประสานงานและการติดต่อ ๒๒๗
การซักซ้อม ๒๓๒
การจัดเฉพาะกิจ และการเคลื่อนย้าย ๒๓๓
การตรวจสอบและการตรวจสอบในรายละเอียดก่อนการปฏิบัติการ ๒๓๓
การเตรียมการด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุง ๒๓๓
การสนธิในส่วนของทหารใหม่กับหน่วยที่มีขีดความสามารถ ๒๓๔
ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
สรุป ๒๓๔
บทที่ ๗ การน�ำการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารไปปฏิบัติ ๒๓๕
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ ๒๓๕
การประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระหว่างการปฏิบัติการ ๒๓๘
หน้า
การเฝ้าติดตามการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๒๓๙
การประเมินค่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ๒๔๒
การแสวงข้อตกลงใจระหว่างการปฏิบัติการ ๒๔๓
การด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตามที่ได้วางแผนไว้ ๒๔๓
การปรับแต่งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อสถานการณ์ของฝ่ายเราที่ ๒๔๕
เปลี่ยนแปลงไป
การปรับแต่งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อการตอบโต้ของฝ่ายตรงข้ามที่ ๒๔๖
ไม่คาดคิด
ข้อพิจารณาอื่น ๆ ๒๔๗
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส่งผลลัพธ์ที่ไม่คาดการณ์ไว้ก่อน ๒๔๗
สรุป ๒๔๘
ผนวก ก ๒๔๙
ผนวก ข ๒๖๑
ผนวก ค ๓๐๐
ผนวก ง ๓๐๘
ผนวก จ ๓๒๖
ผนวก ฉ ๓๔๐
ผนวก ช ๓๖๒
ภาคที่ ๑
หลักนิยมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(Information Operations Doctrine)

ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติงานในปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ท�ำการวางแผน, การเตรียมการ,


การปฏิบตั ,ิ และการประเมิน) เพือ่ น�ำองค์ประกอบของอ�ำนาจก�ำลังรบด้านข้อมูลข่าวสารมาประยุกต์
ใช้ การผสมผสานการจัดการด้านข้อมูลข่าวสาร (Information management) และการปฏิบตั กิ าร
ข่ า วกรอง, การเฝ้ า ตรวจและการลาดตระเวน เข้ า กั บ การปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารอย่ า งมี
ประสิทธิภาพก่อให้เกิดผลลัพธ์ในการได้มาและรักษาไว้ซึ่งความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร
(Information superiority) ในความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารนั้นสร้างเงื่อนไขที่อ�ำนวยให้
ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถท�ำการจัดรูปแบบสภาพแวดล้อมทางยุทธการได้ (shape the operational
environment) และส่งเสริมประสิทธิผลองค์ประกอบของอ�ำนาจก�ำลังรบทั้งมวล การปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารมีด้วยกันสองประเภท ได้แก่ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับ
ผู้บังคับบัญชาด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารโดยการประสานสอดคล้ององค์ประกอบด้าน
ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง แต่ละองค์ประกอบอาจถูกน�ำไปใช้ได้ทงั้ ในเชิงรุกและเชิงรับ
หลักนิยมการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของกองทัพบก เป็นส่วนเสริมในความต้องการให้บรรลุเงือ่ นไข
ของการปฏิบัติการภาคพื้นดิน ภาคที่ ๑ ถกแถลงถึงแนวความคิดในเชิงหลักนิยมซึ่งเน้นการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร ขีดความสามารถขององค์ประกอบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารและกิจกรรม
ที่เกี่ยวข้อง การสนับสนุนที่เกิดขึ้นโดยแต่ละองค์ประกอบตลอดจนความเชื่อมโยงระหว่างกันของ
องค์ประกอบและกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง นอกจากนัน้ ยังเป็นการสร้างหลักนิยมส�ำหรับสององค์ประกอบ
ส�ำคัญ คือ การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการและการลวงทางทหาร
บทที่ ๑
การออกแบบการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(Design of Army Information Operations)

การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (IO) น�ำหลาย ๆ พันธกิจทีแ่ ตกต่างอย่างแยกออกจากกัน


เข้ามารวมกันไว้ให้เป็นองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO elements) และ
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (related activities) เพื่อก่อให้เกิดเอกภาพในความพยายามการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารอยูภ่ ายใต้การด�ำเนินงานของเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยอ�ำนวยการผูเ้ ชีย่ วชาญ ซึง่ ได้แก่ผชู้ ว่ ย
นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร๑ (G-7 ใช้ในกองทัพบกสหรัฐฯ)
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร มีความรับผิดชอบทางด้านฝ่ายอ�ำนวยการประสาน
งานในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารดังกล่าวปฏิบัติงานโดยการใช้เครื่องมือของส่วน
ปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสารและตัวส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การก�ำหนดความรับผิดชอบ
ในการประสานสอดคล้องกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวยการคนหนึ่งนั้นช่วยให้ผู้บังคับบัญชา
สามารถรวบรวมประสิทธิผลขององค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเข้าไว้ดว้ ยกัน ทัง้ นี้
เพื่อให้ได้มาและรักษาไว้ซึ่งความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร (Information superiority)
บทที่ ๑ เป็นการบรรยายถึงบทบาทของนายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารและส่วนปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร (IO cell) และอธิบายสภาพแวดล้อมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ณ ที่ซึ่งกองก�ำลัง
ของกองทัพบกได้ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร) ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร (เป้าหมายของการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร) และประเภทของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (การปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเชิงรุกและการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ) และอธิบายว่าจะน�ำการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารไปใช้ได้อย่างไรถึงจะครอบคลุมย่านของความขัดแย้ง (spectrum of conflict) และความ
สัมพันธ์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่มีต่อการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจและการลาดตระเวน
บทนี้สรุปด้วยข้อพิจารณาด้านการฝึกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


ส�ำหรับการจัดของ ทบ.ไทยในปัจจุบนั ยังไม่อตั ราของนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
แต่ในหลักนิยมฉบับนี้ก�ำหนดไว้เป็นการล่วงหน้าเพื่อการบรรจุอัตราดังกล่าวในอนาคต เพื่อเป็นการแก้ปัญหา
ดังกล่าวสามารถให้นายทหาร หรือ ผช.นายทหารฝ่ายยุทธการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวได้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 3

สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร (INFORMATION ENVIRONMENT)


๑-๑. สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเป็นการหลั่งไหลมารวมกันของ บุคคล, องค์การ, หรือ
ระบบซึ่งท�ำหน้าที่ด้านการรวบรวม, ด�ำเนินกรรมวิธี, หรือกระจายข้อมูลข่าวสาร อีกทั้งยัง
รวมถึงตัวข้อมูลข่าวสารเองอีกด้วย๒ (JP 3-13) ยังรวมถึง
๑-๑.๑ การติดต่อซึ่งกันและกันของเครือข่ายการติดต่อสื่อสารอย่างกว้างขวางทั่วโลก
๑-๑.๒ ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมทัง้ ของกองก�ำลังฝ่ายเราและฝ่ายตรงข้าม
๑-๑.๓ ก�ำลังพลทัง้ ของฝ่ายเรา, ฝ่ายตรงข้าม และบุคคลอืน่ ๆ ซึง่ เป็นผูท้ ำ� การตัดสินใจและ
ควบคุมข้อมูลข่าวสาร
ชั้นบรรยากาศ, ภูมิประเทศ, และประสิทธิภาพของอาวุธ (อย่างเช่น แรงสั่นสะเทือนของพลังงาน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic pulse), หรือการปิดข่าว) กระทบต่อสภาพแวดล้อม
ด้านข้อมูลข่าวสารแต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งในสภาพแวดล้อมนั้น กองก�ำลังทัพบกอาศัยการใช้สภาพ
แวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเพิม่ มากยิง่ ขึน้ ในการด�ำเนินการตามกระบวนการปฏิบตั กิ าร (Opera-
tion Process) (การวางแผน, การเตรียมการ, การปฏิบัติการ และการประเมิน)๓ ส�ำหรับการ
ปฏิบัติการเต็มย่านความขัดแย้ง (full spectrum operations)๔
๑-๒. สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของห้วงการรบ (Battle
space) (ดู รส. ๓-๐) ทุกวันนี้พื้นที่สนใจของผู้บังคับบัญชา (area of Interest) รวมถึงส่วนหนึ่ง
ของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารอีกด้วยส่วนของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารภายในห้วง
การรบของผู้บังคับบัญชาครอบคลุมกิจกรรมด้านข้อมูลข่าวสารซึ่งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติการ
เพือ่ ให้มองเห็นสภาพแวดล้อมนัน้ ได้ ผูบ้ งั คับบัญชาจะต้องพิจารณามิตขิ องสภาพแวดล้อมด้านข้อมูล
ข่าวสารทั้งหมดและแสวงหาหนทางท�ำความเข้าใจว่ากิจกรรมในสภาพแวดล้อมดังกล่าวอาจจะ
ส่งผลกระทบต่อภารกิจอย่างไร ผู้บังคับบัญชาก�ำหนดกิจกรรมด้านข้อมูลข่าวสารซึ่งส่งผลกระทบ
ต่อการปฏิบตั ริ ะบบการบังคับบัญชาและการควบคุมและสิง่ เหล่านัน้ ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถมีอทิ ธิพล
เหนือมันได้ กิจกรรมต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารซึ่งผู้บังคับบัญชาไม่สามารถสร้าง
อิทธิพลต่อมันได้อาจจะบังคับให้ผู้บังคับบัญชาท�ำการตั้งสมมติฐาน หรือกระท�ำการอย่างใดอย่าง
หนึ่งเพื่อลดความเสี่ยง

เป็นค�ำนิยามจากบรรณสารการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารร่วม (JP 3-13) กองทัพสหรัฐฯ และจะขอน�ำมาเป็น
ตัว แบบในการก�ำหนดเป็นหลักนิยมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของ ทบ.ไทยเป็นเบื้องต้น เพื่อให้เกิดแนว
ความคิดในการท�ำความเข้าใจในหลักการก่อน

กระบวนการปฏิบัติการ ประกอบด้วย การวางแผน การเตรียมการ การปฏิบัติ และการประเมินอย่างต่อเนื่อง
ดู รส. ๖-๐

การปฏิบัติการเต็มย่านความขัดแย้ง ดู รส. ๓-๐
4 บทที่ ๑

๑-๓. ความต้องการของผู้บังคับบัญชาในการด�ำเนินการปฏิบัติการต่าง ๆ ไปจนถึงเบื้องหลังได้


ขยายส่วนต่าง ๆ ของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารภายในพืน้ ทีส่ นใจของผูบ้ งั คับบัญชาออกไป
ทุกวันนี้มันรวมถึงระบบบังคับบัญชาในทางยุทธวิธี ไปจนถึงทางยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงผ่าน
โครงข่ายข้อมูลข่าวสารทั่วโลก (Global Information Grid: GIG) ผู้บังคับบัญชาอาศัย
การสนับสนุนจากองค์ประกอบของโครงข่ายข้อมูลข่าวสารทั่วโลกซึ่งพวกเขาไม่สามารถควบคุม
มันได้ ดังนั้นผู้บังคับบัญชาจึงจ�ำเป็นต้องอาศัยการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับเพื่อประกันถึง
การด�ำเนินกิจกรรมเชื่อมต่อที่จ�ำเป็น
๑-๔. ตัวแสดงเฉพาะหลายต่อหลายตัวในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารสามารถส่งผลกระทบ
ต่อแนวทางต่าง ๆ ในทางยุทธศาสตร์, ยุทธการและยุทธวิธีในเรื่องของการปฏิบัติการทางทหาร ซึ่ง
ในบางทีมันเกิดก่อนที่จะเริ่มด�ำเนินงาน ตัวอย่างของตัวแสดงเหล่านี้รวมถึง
๑-๔.๑ รัฐบาลต่างประเทศ
๑-๔.๒ ผู้แทนองค์กรรัฐบาล
๑-๔.๓ องค์การที่ไม่ใช่หน่วยงานรัฐบาล (Nongovernmental organizations)
๑-๔.๔ ผู้แทนองค์กรการประสานความพยายามระหว่างประเทศ
๑-๔.๕ หน่วยงานทางด้านสังคมและวัฒนธรรมและผู้น�ำหน่วยงานเหล่านั้น
๑-๔.๖ ผู้น�ำเหล่าทัพอื่น ๆ, ประเทศพันธมิตร และฝ่ายตรงข้าม
๑-๔.๗ ความสามารถส่วนตัวในการติดต่อสื่อสารกับผู้ฟังทั่วโลก
๑-๔.๘ สื่อสารมวลชน
๑-๕. การปฏิบตั กิ ารทางทหารทัง้ มวลเกิดขึน้ ภายในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ซึง่ มาก
ต่อมากอยูเ่ หนือการควบคุมของกองก�ำลังทัพบก ผูบ้ งั คับบัญชาพิจารณาการประยุกต์ใช้การเมือง
และสังคม ซึ่งหน่วยปฏิบัติการขนาดเล็กที่อยู่อย่างอิสระอาจจะกระท�ำขึ้น ภายในบริบทดังกล่าวนี้
ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถเผชิญกับความท้าทายและโอกาสใหม่ ๆ ความสัมพันธ์ทสี่ ลับซับซ้อนระหว่าง
ปัจจัยทางการเมือง, ยุทธศาสตร์, เทคโนโลยี และการทหารต้องการน�ำเอามุมมองที่กว้างขวางใน
เรื่องของผลกระทบจากการปฏิบัติการและสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารซึ่งมีต่อกันและกัน
สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารบนพื้นฐานของภัยคุกคาม
(INFORMATION - ENVIRONMENT - BASED THREATS)
๑-๖. สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารบนพื้นฐานของภัยคุกคาม มีเป้าหมายอย่างหนึ่ง
ในวัตถุประสงค์สามประการได้แก่ ผู้บังคับบัญชาและผู้ท�ำหน้าที่ตกลงใจคนอื่น ๆ ที่ส�ำคัญ,
ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม หรือระบบข้อมูลข่าวสาร (information systems:
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 5

INFOSYS) ในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม นั้นประกอบด้วยการจัดการในเรื่องของ


ก�ำลังพล, การจัดการข้อมูลข่าวสาร, ระเบียบปฏิบตั ิ และยุทโธปกรณ์ตลอดจนสิง่ อ�ำนวยความสะดวกที่
จ�ำเป็นให้กับผู้บังคับบัญชาด�ำเนินการปฏิบัติการต่าง ๆ (ดู รส. ๖-๐) ส�ำหรับระบบข้อมูลข่าวสาร
นั้นประกอบด้วยยุทโธปกรณ์และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ซึ่งใช้ท�ำการรวบรวม, ด�ำเนินกรรมวิธี,
จัดเก็บ, แสดงผลและท�ำการกระจายข้อมูลข่าวสารและยุทโธปกรณ์ในการติดต่อสื่อสาร ตลอด
จนนโยบายและระเบียบปฏิบัติส�ำหรับการใช้สิ่งเหล่านั้น (ดู รส. ๓-๐) ระบบบังคับบัญชาและ
การควบคุมกอปรไปด้วยระบบข้อมูลข่าวสาร การป้องกันผูบ้ งั คับบัญชาจากการปฏิบตั ใิ นการบังคับ
บัญชาและการควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ เป็นเป้าหมายของฝ่ายตรงข้ามทีป่ ฏิบตั กิ ารในสภาพ
แวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ฝ่ายตรงข้ามแสวงหาหนทางในการบรรลุเป้าหมายนั้นโดยการโจมตี
ต่อระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมหรือระบบข้อมูลข่าวสารที่มีผู้บังคับบัญชาของฝ่ายเรา
อยู่ในระบบ
๑-๗. ภัยคุกคามที่กระท�ำต่อระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายเรามีมากมายและ
ครอบคลุมย่านความขัดแย้ง (ยามสงบ, วิกฤติการณ์และยามสงคราม) และโดยขีดความสามารถ
ทางเทคนิคตลอดจนแรงกระตุ้นของฝ่ายตรงข้ามที่มีอยู่ (ดู รส. ๓-๐) ภัยคุกคามนั้นมีหลายแหล่ง
และใช้วิธีการโจมตีได้อย่างมากมาย ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการประเมินค่าภัยคุกคามบน
พื้นฐานปัจจัยต่าง ๆ มากมายซึ่งบางเทคนิคก็ใช่บางเทคนิคก็ไม่ใช่ ย่อหน้าต่อไปนี้อธิบายถึง
ขีดความสามารถและแหล่งต่าง ๆ ของภัยคุกคาม, วิธีการในการโจมตีและปัจจัยในการประเมินค่า
ขีดความสามารถและแหล่งของภัยคุกคาม (Threat Capabilities and Sources)
๑-๘. ภัยคุกคามที่มีต่อหน่วยเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการรุก, รับ, เพื่อเสถียรภาพ, มุ่งโดยตรงและ
มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ในระหว่างประเภทของการปฏิบัติเหล่านี้ ผู้บังคับบัญชาคาดหวังว่าฝ่าย
ตรงข้ามจะด�ำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในส่วนของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อพวกเขาและ
ในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของพวกเขา ผู้บังคับบัญชาต้องตั้งสมมติฐานว่าฝ่าย
ตรงข้ามจะใช้เครื่องมืออย่างหลากหลายในการพยายามปฏิเสธพวกเขาในเรื่องของข้อมูลข่าวสาร
ทิง้ ความคาดเดาเกีย่ วกับข้อมูลข่าวสารทีพ่ วกเขามี และรบกวนขัดขวางกระบวนการแสวงข้อตกลง
ใจของพวกเขา อย่างไรก็ตามสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเต็มไปด้วยภัยคุกคามอื่น ๆ อีก
ต่างหาก ภัยคุกคามเหล่านี้เป็นไปอย่างกว้างขวางทั่วโลก มีแง่มุมอย่างหลากหลายในทางเทคนิค
และก�ำลังเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ และมาจากแหล่งที่มาอย่างหลากหลาย พร้อมด้วยขีดความสามารถ
ที่แตกต่างมากมายจากตัวตนเป็นรายบุคคล, ไปสู่องค์การ, สู่รัฐชาติ, การทหาร, การเมือง, สังคม,
วัฒนธรรม, กลุ่มเชื้อชาติ, ศาสนา, หรือปัจจัยในตัวบุคคลที่อาจจะกระตุ้นต่อสิ่งเหล่านั้น ผู้บังคับ
บัญชาต้องคาดการณ์ภัยคุกคามเหล่านี้ เตรียมการในการป้องกันและเมื่อได้เวลาที่เหมาะเจาะก็จะ
ด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อภัยคุกคามเหล่านั้น
6 บทที่ ๑

๑-๙. ขีดความสามารถของภัยคุกคาม (Threat Capabilities) ขีดความสามารถของฝ่าย


ตรงข้ามที่ปฏิบัติการในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารได้รับการจัดล�ำดับตามต่อไปนี้
๑-๙.๑ ระดับที่หนึ่ง กลุ่มโดด ๆ หรือกลุ่มเล็ก ๆ ของมือสมัครเล่น ที่มีการใช้เครื่องมือและ
เทคนิคของแฮกเกอร์ทั่ว ๆ ไปในลักษณะอากัปกิริยาที่ไม่มีความสลับซับซ้อน
โดยปราศจากการสนับสนุนเฉพาะ
๑-๙.๒ ระดับที่สอง เป็นรายบุคคล หรือกลุ่มขนาดเล็กที่ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มธุรกิจ
การค้า กลุ่มสมาคมอาชญากรรม หรือกลุ่มข้ามชาติอื่น ๆ ที่ใช้เครื่องมือของ
แฮกเกอร์ในลักษณะอากัปกิริยาที่สลับซับซ้อน ระดับนี้ในส่วนของฝ่ายตรงข้าม
รวมถึงผู้ก่อการร้ายและองค์การของผู้ก่อการร้ายที่ไม่ใช้หน่วยงานของรัฐบาล
กิจกรรมของพวกเขารวมถึง การก่อวินาศกรรม การรวบรวมข้อมูล การสร้างแผนที่
เครือข่าย (network mapping) หรือการลาดตระเวนและการขโมยข้อมูล
๑-๙.๓ ระดับที่สาม เป็นรายบุคคล หรือกลุ่มขนาดเล็กที่ได้รับการสนับสนุนโดย สถาบัน
ผู้ให้การสนับสนุนในภาครัฐ (ทางการทหาร หรือฝ่ายพลเรือน) และแหล่งทรัพยากร
เฉพาะ การใช้เครื่องมือที่มีความสลับซับซ้อน กิจกรรมของบุคคล หรือกลุ่มดังกล่าว
รวมไปถึง การก่อวินาศกรรม การรวบรวมข้อมูล การสร้างแผนที่เครือข่าย หรือ
การลาดตระเวนและการขโมยข้อมูล
๑-๙.๔ ระดับที่สี่ เป็นการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการโจมตีต่อ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network attacks: CNA), การใช้เครื่องมือ
อันเป็นศิลปะของรัฐและเทคนิคต่าง ๆ ที่ได้รับการน�ำไปใช้ในการด�ำเนินงานให้
ประสานสอดรับกับการปฏิบัติการทางทหาร
๑-๑๐. แหล่งต่าง ๆ ของภัยคุกคามมีรายละเอียดในกรอบขวามือ ระหว่างภัยคุกคามเหล่านี้
และระหว่างระดับของขีดความสามารถทีไ่ ม่ชดั เจน ซึง่ บ่อยครัง้ เป็นการยากทีจ่ ะมองเห็นจุดเริม่ ต้น
ของอุบัติการณ์เฉพาะต่าง ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น การปฏิบัติการซึ่งปรากฏว่าเป็นการด�ำเนินงานของ
ภัยคุกคามในระดับที่หนึ่งซึ่งโดยแท้ที่จริงอาจจะเป็นการท�ำงานที่เป็นการโจมตีในระดับที่สี่ ยิ่งไป
กว่านั้นการปฏิบัติการของฝ่ายตรงข้ามอย่างฉับไว ด้วยการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยังสามารถ
คุกคามต่อความส�ำเร็จในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอีกด้วย
๑-๑๑. แฮกเกอร์๕ (Hackers) แฮกเกอร์เป็นผู้ใช้ที่ไม่มีอ�ำนาจหน้าที่ โดยเป็นผู้ใช้ความพยายาม
ที่จะให้ได้หรือได้มาซึ่งการเข้าถึงอย่างแท้จริงต่อระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมตลอดจน
ระบบข้อมูลข่าวสาร (INFOSYS) หรือระบบปฏิเสธการใช้งานของพวกเขาในการเป็นผู้ใช้งานที่

นิยามจาก FM 3-13 Information Operations
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 7

ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย บ่ อ ยครั้ ง ที่ แหล่งของภัยคุกคาม (Threat Sources)


แฮกเกอร์เป็นผู้คนทั่ว ๆ ไปซึ่งมีความ ๑-๑๑.๑ แฮกเกอร์ (Hackers)
สนุกสนานในการค้นหารายละเอียด ๑-๑๑.๒ คนในวงใน (insider)
๑-๑๑.๓ ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐที่เป็นพวกจิตนิยม (Activist
ของระบบโปรแกรมที่สามารถน� ำมา nonstate actors)
ใช้ได้และท�ำอย่างไรในการที่จะขยาย ๑-๑๑.๔ ผู้ก่อการร้าย (Terrorists)
ขี ด ความสามารถของพวกเขาเอง ๑-๑๑.๕ กิจกรรมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของต่างชาติ
ออกไป การแผ่ขยายออกไปทั่วโลก ๑-๑๑.๖ การท�ำร้ายพวกเดียวกันด้วยข้อมูลข่าวสาร
(Information fratricide)
ในเรื่องของระบบข้อมูลข่าวสารเป็น
เรื่องธรรมดาไปแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดตั้งระบบอินเทอร์เน็ตได้น�ำไปสู่ภัยคุกคามใน
รูปแบบใหม่ อย่างเช่น การโจมตีอย่างเป็นกลุ่มเป็นก้อนโดยพวกแฮกเกอร์ในการท�ำให้เกิดประเด็น
ความหมายทางการเมือง ปรากฏการณ์เช่นนี้เป็นเรื่องที่น่าสังเกตเนื่องจากมันสามารถข้ามผ่าน
เหนือเขตแดนของนานาประเทศได้ เมื่อใดที่กลุ่มจิตนิยมมีความเชื่อว่าสิ่งที่มีอยู่อย่างแท้จริง
ตรงกันข้ามกับเป้าหมายของพวกเขาและท�ำการเรียกร้องต่อทั่วโลกเพื่อให้แฮกเกอร์ท�ำการโจมตี
ฝ่ายตรงข้ามทีร่ บั รูข้ อ้ มูลข่าวสารได้ เมือ่ มีการพูดถึงอาวุธมันจัดท�ำขึน้ ในรายบุคคลบนพืน้ ฐานความ
เชื่อในส่วนตัวบุคคลและในทางศีลธรรม การตอบโต้ในทางที่ว่านั้นเกือบจะเป็นไปได้ยากในการ
ท�ำนาย แม้ว่าแฮกเกอร์จะไม่ได้เจาะเข้าสู่ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม จ�ำนวนของความ
พยายามอาจจะมีผลกระทบในเรื่องของการปฏิเสธต่อการให้บริการอันเป็นผลมาจากการโจมตี
๑-๑๒. คนในวงใน (Insider) คนในวงในเป็นบุคคลที่สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่าง
ถูกต้องตามกฎหมายต่อส่วนต่าง ๆ ของระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม โดยมีลกั ษณะเป็นหนึง่
ในภัยคุกคามที่ร้ายแรงที่สุดต่อระบบบังคับบัญชาและการควบคุม เมื่อใดก็ตามที่มีการเรียกคนเข้า
ท�ำงานหรือมาด้วยความสมัครใจ คนในวงในนั้นมีหนทางในการเข้าถึงระบบข้อมูลข่าวสาร ซึ่งปกติ
แล้วมีการป้องกันในการโจมตี
๑-๑๓. ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐซึ่งเป็นพวกจิตนิยม (Activist Nonstate Actors) เริ่มมาจากกลุ่ม
นักค้ายาไปจนถึงกลุม่ ผิดปกติทางจิตในสังคม ทีไ่ ด้นำ� เอาความได้เปรียบในเรือ่ งของความเป็นไปได้
ในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารที่น�ำเสนอ พวกเขาสามารถได้มาซึ่งขีดความสามารถในการ
โจมตีระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายศัตรูด้วยต้นทุนที่ต�่ำ ยิ่งไปกว่านั้น พวกเขา
สามารถโจมตีจากระยะทางไกลได้อีกด้วย นอกจากการโจมตีฝ่ายตรงข้ามโดยตรงแล้ว ตัวแสดง
เหล่านี้ยังใช้สื่อมวลชนระหว่างประเทศในความพยายามที่จะสร้างอิทธิพลเหนือแนวความคิดของ
สาธารณชน และสร้างแรงกดดันตามต้องการต่อการรับรู้ของผู้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ
8 บทที่ ๑

๑-๑๔. ผู้ก่อการร้าย (Terrorist) การกระท�ำของผู้ก่อการร้ายเริ่มมาจากการได้เข้าถึงระบบ


การบังคับบัญชาและการควบคุมอย่างไร้อ�ำนาจหน้าที่ เพื่อการโจมตีในทางกายภาพต่อผู้บังคับ
บัญชาและผู้ท�ำหน้าที่ในการตกลงใจ กลุ่มผู้ก่อการร้ายสามารถพิสูจน์ทราบได้จากการใช้ระบบ
ข้อมูลข่าวสารเชิงพาณิชย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้กระดานส่งข่าวอิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งผ่าน
ข่าวกรองและข้อมูลทางเทคนิคครอบคลุมทั่วโลกอย่างกว้างขวาง
๑-๑๕. กิจกรรมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของต่างชาติ (Foreign Information Opera-
tions Activities) ในระหว่าง ยามสงบ, ยามเกิดวิกฤติการณ์และยามสงคราม ต่างชาติด�ำเนิน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อระบบบังคับบัญชาและควบคุม, ระบบข้อมูลข่าวสารและข่าวสาร
ของกองทัพบก การปฏิบัติเหล่านี้จะเป็นไปได้มากที่สุดเมื่อการปฏิบัติเหล่านี้เป็นของ แฮกเกอร์,
ผู้ก่อการร้ายและพวกโรคจิต รวมถึงตัวแสดงที่ไม่ได้เป็นรัฐอีกด้วย กิจกรรมการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารของต่างชาติท�ำให้เกิดความได้เปรียบ โดยการน�ำเสนอแบบปิดบังจากกระดานจดหมาย
เวียนทางคอมพิวเตอร์ (computer bulletin boards) เพื่อปิดบังหน่วยงานในภาพรวม หรือการ
รบกวนกิจกรรม การปกปิดอ�ำพรางบางอย่างอาจจะเป็นพวกแฮกเกอร์ที่ไม่สังกัดองค์กรใดและ
มีอยูเ่ สมอทีเ่ ป้าหมายเบือ้ งต้นของพวกเขากระท�ำต่อเป้าหมายในทางพาณิชย์และทางวิทยาศาสตร์
มากกว่าที่จะเป็นทางการทหารและระบบข้อมูลข่าวสาร ยิ่งไปกว่านั้นฝ่ายตรงข้ามใช้ขีดความ
สามารถทางด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ทั้งแบบเทคโนโลยีต�่ำและเทคโนโลยีสูงในความ
พยายามที่จะจัดรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารให้เป็นไปตามที่พวกเขาต้องการ
๑-๑๖. ในระหว่างวิกฤติการณ์ หรือในยามสงครามการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม
อาจจะโจมตีต่อข้อมูลข่าวสารทางการพาณิชย์และระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมทาง
การทหารในจุดทีก่ องก�ำลังทัพบกต้องอาศัยระบบนัน้ การโจมตีเหล่านีอ้ าจจะน�ำเอารูปแบบของการ
กวนสัญญาณ (Jamming) การส่งสัญญาณผิดพลาดและการส่งสัญญาณลวงหรือการสร้าง
คลืน่ ดลแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic pulses) ในกรณีเช่นนี้ ฝ่ายตรงข้ามสามารถรบกวนได้เป็น
อย่างมากต่อการติดต่อสื่อสาร การตรวจจับ ณ ทุกระดับอาจถูกกวน หรือเป็นตัวจุดชนวนให้เกิด
ข้อมูลข่าวสารทีน่ ำ� ไปสูค่ วามผิดพลาดได้ ระบบในเชิงพาณิชย์และเครือ่ งตรวจจับเป็นความล่อแหลม
อย่างยิ่งต่อผลกระทบของคลื่นดลแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อเทียบกับโครงสร้างที่ไม่ได้รับการป้องกัน
ของพวกมัน
๑-๑๗. การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของต่างประเทศอาจจะแสวงหาทางยักย้ายถ่ายเท, ล่วงรูห้ รือ
ไม่รู้ภัยคุกคามอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้บริการข่าวกรองของต่างชาติอาจจะใช้การคุกคาม
ด้วยการหักหลังและรูปแบบอื่น ๆ ของการใช้เล่ห์เหลี่ยมในการสร้างเหตุอื่น ๆ เพื่อกระท�ำหรือ
กระท�ำต่อประโยชน์ของพวกเขา
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 9

๑-๑๘. การท�ำร้ายพวกเดียวกันด้วยข้อมูลข่าวสาร (information Fratricide) การท� ำร้าย


พวกเดียวกันด้วยข้อมูลข่าวสาร เป็นผลลัพธ์มาจากการใช้องค์ประกอบของการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารในทางซึง่ เป็นเหตุให้กระทบต่อสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ซึง่ ท�ำให้เกิดการ
ขัดขวางการด�ำเนินการในปฏิบัติการต่าง ๆ ของฝ่ายเรา หรือกระทบต่อกองก�ำลังฝ่ายเรา
ในลักษณะการเป็นปรปักษ์ ตัวอย่างที่คล้ายกันนี้คือ การกวนคลื่น (Jamming) วิทยุที่ลด
ประสิทธิภาพทางการติดต่อสื่อสารของฝ่ายเรา อย่างไรก็ตาม การท�ำร้ายพวกเดียวกันด้วยข้อมูล
ข่าวสารครอบคลุมประเด็นแง่มุมในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ อีกด้วย การรับรู้ถึงการ
ปฏิบัติและข้อมูลข่าวสารจากกองก�ำลังฝ่ายเราซึ่งสร้างความรู้สึกที่ไม่เหมาะสม สามารถสร้าง
ผลกระทบในทางตรงกันข้ามต่อการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในสถานการณ์ทอี่ อ่ นไหว ตัวอย่างเช่น
การท�ำงานกับองค์การระหว่างประเทศซึ่งถูกควบคุมจากผู้น�ำประจ�ำท้องถิ่นที่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับ
ความพยายามของรัฐบาลสามารถท�ำให้เกิดความเข้าใจที่ผิดพลาดต่อประชากรของท้องถิ่นได้
๑-๑๙. แหล่งต่าง ๆ ของภัยคุกคาม ทุกระดับขีดความสามารถแสดงให้เห็นว่าระหว่างห้วงเวลา
สงบและเกิดวิกฤติการณ์ ผูบ้ งั คับบัญชาพิจารณาการแสดงท่าทีของตนในระหว่างสงคราม แม้ขณะ
ทีท่ ำ� การเพ่งเล็งต่อการปฏิบตั กิ ารของก�ำลังผสมเหล่า ตัวอย่างเช่น ภัยคุกคามทีแ่ สดงโดยคนในวงใน
ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการเข้าถึงองค์ประกอบของระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของพวกเขา
เช่นเดียวกัน ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐที่มีฐานการเงินอย่างดี สามารถแสดงท่าทีในการคุกคามได้มากกว่า
หน่วยงานด้านการข่าวกรองของต่างประเทศที่มีความสลับซับซ้อนเพียงเล็กน้อย การท�ำร้ายพวก
เดียวกันด้วยข้อมูลข่าวสารยังเป็นภัยคุกคามต่อความส�ำเร็จของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใน
ช่วงเวลาสงบสุขและยามเกิดวิกฤติการณ์ การท�ำงานร่วมกันของเจ้าหน้าทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพเป็น
สิ่งส�ำคัญที่จะประกันว่ากิจกรรมและข้อความข่าวสารต่าง ๆ ของกองก�ำลังและองค์กรต่าง ๆ
ได้รับการประสานสอดคล้องเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของชาติ
วิธีการในการโจมตี (Methods of Attack)
๑-๒๐. ฝ่ายตรงข้ามอาจจะใช้วิธีการที่หลากหลายในการโจมตีต่อระบบการบังคับบัญชาและ
การควบคุม ตลอดจนระบบข้อมูลข่าวสาร (INFOSYS) ของฝ่ายเรา หรือการจัดรูปสภาพแวดล้อม
ด้านข้อมูลข่าวสารตามความต้องการของพวกเขา ธรรมชาติของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
ท�ำให้การโจมตีบางอย่างยากต่อการค้นหา การโจมตีบางอย่างเช่น การท�ำให้ฐานข้อมูลเสียหาย
หรือการควบคุมโปรแกรม สามารถได้รับการออกแบบขึ้นด้วยประสิทธิภาพทางการหน่วงเหนี่ยว
ในลักษณะอื่น ๆ อาจจะใช้การปฏิบัติอย่างรวดเร็วในการลดระดับ หรือท�ำลายปมข้อมูลข่าวสาร
การโจมตีที่เป็นไปได้นั้น ได้รับการเรียกขานว่า “อุบัติการณ์” (Incidents) อุบัติการณ์
เป็นเหตุการณ์ทไี่ ด้รบั การประเมินในเรือ่ งของการเข้าถึงด้วยความพยายาม, การเข้าถึงโดยไม่มี
10 บทที่ ๑

อ�ำนาจหน้าที่, หรือการโจมตีทางข้อมูลข่าวสารต่อระบบข้อมูลข่าวสารอัตโนมัติ มันรวมถึง


การตรวจหาและการมองดูอย่างผ่าน ๆ เพื่อการรบกวนหรือปิดกั้นในส่วนของการให้บริการ
อีกทัง้ การเปลีย่ นแปลงหรือท�ำลายปัจจัยน�ำเข้า (input) รวมถึงการด�ำเนินกรรมวิธี การจัดเก็บ
หรือการให้ผลลัพธ์ (output) ในเรื่องของข้อมูลข่าวสาร หรือการเปลี่ยนฮาร์ดแวร์, เฟิร์มแวร์
ระบบข้อมูลข่าวสารหรือคุณลักษณะซอฟต์แวร์ด้วยความรู้หรือปราศจากความรู้ของผู้ใช้งาน,
หรือตามค�ำแนะน�ำ, หรือด้วยความตั้งใจ๖
๑-๒๑. การเข้าถึงโดยมิชอบด้วยหน้าที่ (Unauthorized Access) การเข้าถึงโดยมิชอบหน้าที่
เป็นการกระท�ำที่ผู้ไม่มีอ�ำนาจหน้าที่เข้ามาด�ำเนินการในระบบเกี่ยวกับ การได้รับข้อมูลข่าวสาร
ในรูปแบบใดแบบหนึ่ง, การแทรกข้อมูลเข้าสู่ระบบ, การพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลภายใน, หรือ
การลบข้อมูลออกจากระบบบังคับบัญชาและควบคุม ในระบบเครือข่ายนั้น บุคคลต่าง ๆ สามารถ
เข้าระบบสู่เครือข่ายทางการทหารได้ผ่านทางอินเทอร์เน็ตไฟร์วอลล์ (Fire Wall) (ซอฟต์แวร์ซึ่ง
ใช้ในการรักษาความปลอดภัยเครือข่าย) อย่างเช่น เครือข่ายประจ�ำพื้นที่ ซึ่งมีไว้เพื่อใช้ป้องกัน
ในการกระท�ำเหล่านี้ อย่างไรก็ตามถ้าหากไฟร์วอลล์ถูกเจาะเข้าไปได้ระบบการบังคับบัญชาและ
การควบคุมจะถูกเจาะตามไปด้วย การเข้าถึงโดยมิชอบด้วยหน้าที่ไม่จ�ำเป็นที่จะต้องเริ่มจาก
อินเทอร์เน็ตและด�ำเนินกรรมวิธผี า่ นทางการเจาะผ่านไฟร์วอลล์เสมอไปเท่านัน้ บุคคลทีไ่ ม่มอี ำ� นาจ
หน้าที่สามารถเข้าถึงระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมได้จากจุดเชื่อมต่อในส่วนปลายที่
เชื่อมต่อไปยังระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม (คนในวงใน) ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่เข้าถึงระบบ
โดยมิชอบด้วยหน้าที่ได้เช่นกัน
๑-๒๒. ซอฟต์แวร์ที่มุ่งประสงค์ร้าย (Malicious software) การแทรกซอฟต์แวร์ที่มุ่งประสงค์
ร้ายเป็นเหตุให้คอมพิวเตอร์ทำ� งานในอาการทีไ่ ม่เป็นไปตามทีผ่ ใู้ ช้ตอ้ งการใช้งาน ซอฟต์แวร์ประเภท
นี้ ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ไวรัส, โลจิกบอมบ์และโปรแกรมที่ออกแบบให้สามารถอ้อมผ่าน
โปรแกรมที่เป็นระบบป้องกันเข้าไปได้ ไฟล์ที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ตอาจจะเต็มไปด้วยไวรัส
ซึ่งรบกวนซอฟต์แวร์ หรือท�ำให้ฐานข้อมูลเสียหายได้
๑-๒๓. การลวงทางคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า๗ (Electromagnetic Deception) การลวงทางแม่เหล็ก
ไฟฟ้าเป็นการแพร่รังสีอย่างสมบูรณ์แบบ, การแพร่รังสีใหม่, การเปลี่ยนแปลง, การข่ม หรือกด,
การดูดซับ, การปฏิเสธ, การส่งเสริม หรือการสะท้อนกลับของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าในลักษณะที่
เจตนากระท�ำเพื่อบ่ายเบนให้เกิดการน�ำข้อมูลข่าวสารผิดพลาด (misleading information)

จาก JP 3-13

ค�ำศัพท์ในย่อหน้านี้อ้างอิงจาก พจนานุกรมศัพท์ทหารใช้ร่วมสามเหล่าทัพ บก.สูงสุด
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 11

ไปสูข่ า้ ศึก หรือสูพ่ ลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าทีร่ ะบบต้องใช้มนั อยู่ เพือ่ ท�ำให้เกิดการลดระดับหรือลบล้าง


ขีดความสามารถทางการรบของข้าศึก ประเภทของการลวงทางแม่เหล็กไฟฟ้าได้แก่ การลวงทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (Manipulative electromagnetic deception), การลวงจ�ำลองทางแม่เหล็ก
ไฟฟ้า (Simulative electromagnetic deception), และการลวงเลียนทางแม่เหล็กไฟฟ้า
(Imitative electromagnetic deception) (JP 3-51)
๑-๒๓.๑ การลวงทางอิเล็กทรอนิกส์ (Manipulative electromagnetic deception)
ประกอบด้วยการปฏิบตั ทิ กี่ ำ� จัดความกระจ่างชัด หรือชักน�ำไปสูก่ ารน�ำทีผ่ ดิ พลาด
(misleading), ตัวชี้วัดซึ่งบอกให้ทราบถึงพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งอาจจะ
น�ำไปใช้ได้โดยก�ำลังฝ่ายตรงข้าม๘ ถ้าหากมีการพิสูจน์ทราบอย่างไม่เหมาะสม
การลวงทางอิเล็กทรอนิกส์ (Manipulative electromagnetic deception)
อาจจะมีผลลัพธ์ออกมาเป็นข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้อง ทั้งในทางสัญญาณ,
การแพร่คลื่น, หรือตัวข้อมูล ที่น�ำไปสู่นักวิเคราะห์ข่าวกรอง หรือไปยังผู้บังคับ
บัญชา ฝ่ายตรงข้ามอาจจะส่งผ่านความไม่ถูกต้อง หรือท�ำให้ข่าวสารผิดเพี้ยน
โดยเครื่องมือในทางอ้อม (โดยผ่านทางสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร)
หรือเครื่องมือในทางตรง (อย่างเช่น ระบบการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจและ
การลาดตระเวน ของฝ่ายเราที่ด�ำเนินการเพื่อการลวง)
๑-๒๓.๒ การลวงจ�ำลองทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Simulative electromagnetic deception)
ประกอบด้วยการปฏิบัติที่ท�ำการจ�ำลองฝ่ายเรา, จ�ำลองประเทศ หรือขีดความ
สามารถทีม่ อี ยูอ่ ย่างแท้จริงด้วยเครือ่ งมือทางอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ให้เกิดการชักน�ำ
ไปสู่ความผิดพลาดแก่ก�ำลังฝ่ายตรงข้าม ตัวอย่างเช่น การปฏิบัติการลวงทาง
ทหารอาจจะวางเรดาร์เฝ้าตรวจในรูปขบวนของการวางก�ำลังตั้งรับ แต่ในแท้ที่
จริงแล้วเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาตั้งใจจะท�ำการเข้าตี
๑-๒๓.๓ การลวงเลียนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Imitative electromagnetic deception)
เป็นการน�ำพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเข้าสูร่ ะบบพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าซึง่ เลียนแบบ
การแพร่กระจายพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าของข้าศึก
๑-๒๔. การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์๙ การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นการแบ่งชั้นของการ
สงครามอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า, พลังงานโดยตรง (directed
energy) หรือระบบอาวุธต่อต้านเรดาร์ (antiradar weapons) ที่ใช้ในการโจมตีบุคคล, สิ่งอ�ำนวย


ดู JP 3-51

เป็นขีดความสามารถทางการทหารของ สหรัฐฯ ซึง่ การน�ำมากล่าวไว้ ณ ทีน่ เี้ พือ่ ให้ทราบถึงขีดความสามารถดังกล่าว
12 บทที่ ๑

ความสะดวก, หรือยุทโธปกรณ์ด้วยความตั้งใจที่จะลดระดับ, ลบล้าง (neutralizing) หรือท�ำลาย


ขีดความสามารถทางการรบของข้าศึกและวิเคราะห์แล้วว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของการยิง การ
โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วย (๑) การปฏิบัติการที่น�ำมาใช้เพื่อป้องกันหรือลดการใช้
แถบความเข้มแม่เหล็กไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพของฝ่ายตรงข้าม ตัวอย่างเช่น การกวนคลื่น
(Jamming) และการลวงทางแม่เหล็กไฟฟ้า (๒) การใช้ในเรือ่ งของอาวุธทีใ่ ช้ทงั้ พลังงานแม่เหล็ก
ไฟฟ้าและพลังงานโดยตรงในฐานที่เป็นกลไกทางด้านการท�ำลายพื้นฐาน (การใช้แสงเลเซอร์,
ระบบอาวุธคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ, ล�ำแสงอนุภาค)๑๐ การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ (EA) ทีก่ ระท�ำต่อระบบ
การบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายเราและเครือข่ายที่เกี่ยวข้องสามารถท�ำให้เกิดขึ้นได้ใน
ทุก ๆ เวลา ทัง้ ในช่วงเวลายามสงบ, เกิดวิกฤติการณ์ หรือยามสงคราม ระบบการบังคับบัญชาและ
การควบคุมของกองทัพบกเป็นเป้าหมายหลักในการโจมตีเสมอ โดยไม่จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงระดับ
ของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศ หรือมีความเป็นปรปักษ์ต่อกัน
๑-๒๕. ฝ่ายตรงข้ามอาจจะพยายามขัดขวางการปฏิบตั กิ ารโดยการปิดเครือข่ายผ่านทางเครือ่ งมือ
อิเล็กทรอนิกส์ ฝ่ายตรงข้ามบางพวกสามารถด�ำเนินการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer
network attacks: CNAs) อีกด้วย เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความล่อแหลมเป็นพิเศษจากการ
ปฏิเสธการโจมตีการบริการเครือข่าย ดังนั้นเครือข่ายจะต้องไม่ตกอยู่ในอันตรายหรือถูกท�ำลายลง
เพื่อระงับการใช้งานเครือข่ายนั้น แฮกเกอร์สามารถปฏิเสธการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือ
ใช้ส่วนอื่น ๆ ในระบบข้อมูลข่าวสารโดยไม่มีสิทธิในการเข้าถึงเครือข่าย ขีดความสามารถนี้ยากต่อ
การปฏิเสธการโจมตีการบริการซึ่งยากต่อการป้องกัน
๑-๒๖. การท�ำลายทางกายภาพ (Physical destruction) เป็นระบบอาวุธซึง่ สามารถท�ำลาย,
รบกวนขัดขวาง, หรือลดระดับระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม โดยการท�ำลายทางกายภาพ
ต่อส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งเหล่านั้น ซึ่งเกิดขึ้นได้ตั้งแต่ การวางระเบิดของผู้ก่อการร้าย, ไปจนถึง
การใช้ปนื ใหญ่สนาม, ขีปนาวุธและอากาศยาน ความสามารถของฝ่ายตรงข้ามในการโจมตีจะเติบโต
ตามระบบที่มีความสามารถมากขึ้นเท่านั้น อย่างเช่น ขีปนาวุธปล่อยบิน (cruise missiles) และ
หัวรบน�ำวิถที สี่ ง่ ออกไปเท่านัน้ การแพร่กระจายเทคโนโลยีดงั กล่าว เช่น ระบบการก�ำหนดต�ำแหน่ง
บนโลก (global positioning system), อากาศยานไร้นักบิน (unmanned aerial vehicles),
และดาวเทียมสัญญาณภาพเทียบเวลาจริง (real - time - imagery satellites) เป็นตัวช่วยส่งเสริม
ขีดความสามารถในการโจมตีที่แม่นย�ำได้

๑๐
ดู JP 3-51
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 13

๑-๒๗. การจัดการด้านการรับรู้และเข้าใจ (Perception Management) การจัดการด้านการ


รับรู้และเข้าใจ ประกอบไปด้วยการปฏิบัติการในการน�ำไปบอกและ/หรือปฏิเสธข้อมูลข่าวสาร
ที่ เ ลื อ กไว้ แ ละเป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ที่ มี ต ่ อ ผู ้ ติ ด ตามเหตุ ก ารณ์ ต ่ า งชาติ เ พื่ อ ให้ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ อารมณ์ ,
ความประสงค์และเหตุผลเชิงวัตถุประสงค์และต่อระบบข่าวกรองของผู้เฝ้าติดตาม ตลอดจนผู้น�ำ
ทุกระดับที่มีอิทธิพลต่อการประมาณสถานการณ์อย่างเป็นทางการ ผลลัพธ์สูงสุดในพฤติกรรม
ต่างชาติและการปฏิบัติอย่างเป็นทางการที่ต้องการตามวัตถุประสงค์ของผู้ริเริ่มในทางอื่น ๆ
การจัดการด้านการรับรู้และเข้าใจสามารถใช้ผสมผสานกับการแสดงให้เห็นว่าเป็นจริง (truth
projection), การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (operations security), การปกปิด (cover),
การลวง (deception), การปฏิบัติการจิตวิทยา (psychological operations) ได้ ฝ่ายตรงข้าม
บางพวกจะก�ำหนดเป้าหมายต่อกองก�ำลังและผลประโยชน์ของฝ่ายเราโดยด�ำเนินกิจกรรมการ
จัดการด้านการรับรู้และเข้าใจต่อฝ่ายเรา อย่างเช่น การโฆษณาชวนเชื่อและการลวง ทั้งนี้เพื่อ
บ่อนท�ำลายเจตจ�ำนงในการต่อสู้ หรือการต่อต้าน กิจกรรมเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได้หลายรูปแบบ
ทั้งจากสื่อทางพลเรือนที่ส่งออกอากาศไปจนถึงการโจมตีด้วยกองก�ำลังปฏิบัติการพิเศษ (special
operations forces)
๑-๒๘. การโฆษณาชวนเชื่อ เป็นการแสวงหาหนทางในการจัดรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านข้อมูล
ข่าวสารตามที่ต้องการของฝ่ายตรงข้าม การโฆษณาชวนเชื่อทางยุทธศาสตร์สนับสนุนยุทธศาสตร์
ของฝ่ายตรงข้ามหรือวัตถุประสงค์ทางยุทธการโดยการท�ำให้เกิดอิทธิพลทางความคิด, อารมณ์,
ทัศนคติ, หรือพฤติกรรมของผู้คน ผู้ซึ่งสามารถท�ำให้เกิดผลกระทบต่อการปฏิบัติการของฝ่ายเรา
การโฆษณาชวนเชื่อทางยุทธการและทางยุทธวิธีเป็นการแสวงหาหนทางในการยุยงส่งเสริม
ให้เกิดความขัดแย้งต่อการปฏิบตั กิ ารของฝ่ายเราโดยการก�ำหนดต่อเป้าหมายผูร้ บั ฟังในพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ
การ การโฆษณาชวนเชื่อทางยุทธวิธีอาจจะยังคงความพยายามในการสร้างอิทธิพลต่อทัศนคติ,
อารมณ์, แรงกระตุ้น และความมีเหตุมีผลของผู้บังคับบัญชาและสมาชิกในกองก�ำลังฝ่ายเรา
๑-๒๙. การลวง เป็นเครื่องมืออื่น ๆ ในการจัดรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร อย่างไร
ก็ตามปกติแล้วการลวงเป็นการก�ำหนดเป้าหมายต่อผู้ท�ำหน้าที่ตกลงใจมากกว่าที่จะเป็น
ประชากรจ�ำนวนมาก การปฏิบตั กิ ารลวงเป็นการสร้างภาพความผิดพลาดในเรือ่ งของสถานการณ์
จุดประสงค์คือ การน�ำผู้บังคับบัญชาฝ่ายเราให้กระท�ำการในวิถีทางที่เป็นไปตามต้องการของฝ่าย
ตรงกันข้าม รูปแบบทั่ว ๆ ไปของการลวงรวมถึงการสร้างข้อมูลข่าวสารผิด ๆ เกี่ยวกับความ
แข็งแกร่งทีแ่ ท้จริงและการประกอบก�ำลังของกองก�ำลังฝ่ายตรงข้าม การวางก�ำลังของพวกเขาและ
การเริ่มต้นปฏิบัติการ รวมทั้งลักษณะอาการ ท่าทาง ท่าทีที่เป็นความตั้งใจในเรื่องของการใช้ก�ำลัง
การปฏิบัติการลวงทางทหารเป็นการปฏิบัติการที่ด�ำเนินการโดยกองก�ำลังกองทัพบก (ดูบทที่ ๔)
14 บทที่ ๑

การประเมินค่าสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารบนฐานด้านภัยคุกคาม
(Evaluation of Information - Environment - Based Threats)
๑-๓๐. เพราะว่าสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเต็มไปด้วยภัยคุกคามทางเทคนิคต่าง ๆ นานา
มากมายกว่าที่เป็น ผู้บังคับบัญชาท�ำการประเมินค่าภัยคุกคามต่าง ๆ จากมุมมองที่หลากหลาย
ดังนั้นผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการจึงต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ตามต่อไปนี้
๑-๓๐.๑ ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายตรงข้าม ระบบการบังคับบัญชา
และการควบคุมของฝ่ายตรงข้ามประกอบด้วย คอมพิวเตอร์, เครือข่ายและ
เครื่องมือดิจิตอลอื่น ๆ หรือไม่ ? หรือฝ่ายตรงข้ามใช้วิธีการทางเทคนิคเล็ก ๆ
น้อย ๆ ในการปฏิบัติเกี่ยวกับการบังคับบัญชาและการควบคุมหรือไม่ ?
๑-๓๐.๒ แหล่งของข้อมูลข่าวสาร อะไรคือข้อมูลข่าวสารทีด่ ที สี่ ดุ ทีจ่ ะท�ำการรวบรวมจาก
ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายตรงข้าม ? ความสลับซับซ้อน
และความยุ่งยากทางเทคนิคอะไรในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของ
ฝ่ายตรงข้ามที่เป็นตัวก�ำหนดเครื่องมือที่ต้องการในการใช้ประโยชน์พวกมัน
๑-๓๐.๓ เป้าหมายและผลประโยชน์ของฝ่ายตรงข้าม อะไรคือเป้าหมายทั้งในระยะสั้น
และระยะยาวของฝ่ายตรงข้าม ? กองก�ำลังฝ่ายเราสามารถสร้างผลกระทบต่อ
เป้าหมายนั้นได้หรือไม่ ?
๑-๓๐.๔ กลุม่ , บุคคลต่าง ๆ และผูท้ ำ� หน้าทีต่ กลงใจทีส่ ร้างอิทธิพลได้ บุคคลใด, หรือกลุม่ ใด
ที่ถูกก�ำหนดว่าการปฏิบัติต่าง ๆ ของพวกเขาเป็นปรปักษ์ หรือเป็นกลุ่มอื่น ๆ ?
ผู้คนเหล่านี้อาจจะเป็นผู้น�ำภายในกองก�ำลังติดอาวุธหรือรัฐบาล หรือกลุ่มผล
ประโยชน์ในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร พวกเขาถูกก�ำหนดที่ตั้งภายใน
หรือภายนอกพื้นที่ปฏิบัติการ ผู้ที่ท�ำหน้าที่ตกลงใจอาจจะเป็นผู้บังคับบัญชา
หรือหน่วยรองที่เชื่อถือได้
๑-๓๐.๕ ทรัพยากรและขีดความสามารถในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม
แหล่งข้อมูลอะไรที่ฝ่ายตรงข้ามสามารถใช้ในการปกป้องระบบการบังคับบัญชา
และการควบคุมของพวกเขาได้หรือสามารถขัดขวางความส�ำเร็จในภารกิจของ
ฝ่ายเราได้ ? สิง่ เหล่านีอ้ าจจะเปลีย่ นแปลงได้ตลอดเวลา ฝ่ายตรงข้ามอาจจะได้รบั
เสียมันไปหรือสร้างทรัพยากรและขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารขึน้ มาใหม่ บนพืน้ ฐานทีไ่ ด้มาจากการปฏิบตั กิ ารรบหรือการสนับสนุนจาก
ภายนอก ความเข้าใจในขีดความสามารถอย่างถูกต้องของฝ่ายตรงข้ามใน
ขณะนัน้ เป็นสิง่ จ�ำเป็นต่อความส�ำเร็จในสภาพแวดล้อมทางการยุทธ์ทเี่ คลือ่ นไหว
อย่างรวดเร็ว
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 15

๑-๓๐.๖ ความล่อแหลมในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม ณ ที่ใดและ


อย่างไรที่เป็นความล่อแหลมของฝ่ายตรงข้าม ? กองก�ำลังของฝ่ายเราสามารถ
ขยายผลจากความล่อแหลมเหล่านั้นได้อย่างไร ? ฝ่ายตรงข้ามท�ำอะไรในการ
ป้องกันกองก�ำลังฝ่ายเราในการขยายผลจากความล่อแหลมนั้น ?
๑-๓๐.๗ ความล่อแหลมของฝ่ายเราจากความพยายามในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ของฝ่ายตรงข้าม ความล่อแหลมของฝ่ายเราเป็นไปอย่างไร ? อะไรที่สามารถ
ท�ำได้เพื่อรักษามิให้ฝ่ายตรงข้ามขยายผลจากความล่อแหลมเหล่านั้นได้ ?
ความท้าทายจากสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION ENVIRONMENT CHALLENGES)
๑-๓๑. ความสลับซับซ้อนของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารชี้ให้ผู้บังคับบัญชาเห็นถึงความ
ท้าทายในลักษณะเฉพาะและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน การปฏิบัติการทั้งมวลอยู่ในมุมมองของ
ชาวโลกอย่างเต็มที่ เทคโนโลยีด้านข้อมูลข่าวสารเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว, กระทบต่อการ
ปฏิบัติการทั้งฝ่ายเราและฝ่ายตรงข้าม และทั้งสองฝ่ายรับรู้ได้อย่างไร ผู้บังคับบัญชาเผชิญกับ
ความท้าทายในขอบข่ายประเด็นข้อพิจารณาทั้งด้านความคิดเห็นทั้งในเชิงนโยบายและสาธารณะ
รวมทั้งจริยธรรมของทหารและข้อพิจารณาทางด้านกฎหมาย
ความคิดเห็นเชิงนโยบายและทางสาธารณะ (Policy and Public Opinion)
๑-๓๒. ความกว้างขวางของโลกในปัจจุบนั ทีเ่ ป็นส่วนของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารอ�ำนวย
ให้การรายงานข่าวและการวิเคราะห์ขา่ วมีอทิ ธิพลต่อความคิดเห็นของสาธารณชนและการตัดสินใจ
เกี่ยวกับการปฏิบัติการทางทหารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ผู้รับชมประกอบด้วย ภาคสาธารณชนของ
ประเทศ, ผูท้ ำ� หน้าทีต่ กลงใจ, เพือ่ นร่วมงานหลาย ๆ ชาติ, ประเทศอืน่ ๆ และองค์กรระหว่างประเทศ
และยังรวมถึงฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้และที่มีอยู่จริงอีกด้วย สื่อทางภาพข่าวจะท�ำให้เกิดการ
เกาะติดข่าวเกือบตลอด ๒๔ ชั่วโมงและเกิดการปรับเปลี่ยนมุมมองได้ตลอดไม่ว่าจะเป็นการ
ปฏิบัติการใด ๆ ในอนาคต
๑-๓๓. การมองเห็นการปฏิบัติการได้ทั่วโลกสามารถส่ งผลกระทบต่ อ การป้ อ งปรามทาง
ยุทธศาสตร์และยุทธการตลอดจนกระทบต่อการตัดสินใจของผู้บังคับบัญชา เรื่องราวในสภาพ
แวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารของโลกอาจจะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง, ไม่สมบูรณ์แบบ หรือแสดง
ให้เห็นเกินเลยจากบริบท ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องที่มีพื้นฐานมาจากข่าวลือหรือผลลัพธ์ของความ
พยายามท�ำให้ขา่ วสารระหว่างประเทศผิดพลาด (International disinformation) ในสภาพ
แวดล้อมเช่นนั้น ผู้บังคับบัญชาอาจจะถูกล่อลวงให้กระท�ำในลักษณะรีบร้อน ท�ำการตัดสินใจ
ด้วยอารมณ์หรือสร้างทางเลือกที่ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ผู้บังคับบัญชาที่มี
16 บทที่ ๑

ประสิทธิภาพจะคาดการณ์ว่าฝ่ายตรงข้ามจะใช้ความพยายามอย่างไรในการจัดรูปแบบสภาพ
แวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร การป้องกันฝ่ายตรงข้ามจากการจัดสร้างรูปแบบสภาพความ
ขัดแย้งในเวทีสาธารณะ เป็นรูปแบบของการด�ำรงความริเริม่ และประเด็นพืน้ ฐานของการจัดการ
ด้านการรับรู้และเข้าใจ (perception management)
จริยธรรม, ขวัญและก�ำลังใจ (Morale)
๑-๓๔. การรับรู้และเข้าใจของผู้เกาะติดการปฏิบัติการทั่วโลกอาจจะกระทบต่ออ�ำนาจก�ำลังรบ
ของผูบ้ งั คับบัญชา โดยอิทธิพลทีเ่ กิดจากจริยธรรมของทหาร ขีดความสามารถด้านความรวดเร็วใน
เรือ่ งของระบบการติดต่อสือ่ สารอันทันสมัยทีบ่ อ่ ยครัง้ กระจายข้อมูลข่าวสารได้อย่างถูกต้อง หรือไม่
ถูกต้องแก่ทหารได้รวดเร็วกว่าที่ด�ำเนินการตามสายการบังคับบัญชากระท�ำเสียอีก กิจกรรมบาง
อย่างที่เป็นเหมือนเจตนาที่จะเอาชนะ อุทิศตัวเพื่อความเป็นธรรม เข้าใจในภารกิจและอุทิศให้แก่
ทหารและหน่วยสามารถกระทบกระเทือนต่อแง่มุมในมิติของมนุษย์ได้ (ดู รส. ๖-๒๒) เพราะว่ามิติ
ทางด้านมนุษย์นนั้ ประกอบไปด้วย ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนตัวทหารเองอีกด้วย ห้วงสนามรบ
ของผู้บังคับบัญชาในเรื่องนี้จึงรวมถึงแผ่นดินเกิดอีกด้วย (ดู รส. ๓-๐) ข่าวร้าย (bad news) และ
มีการตีความที่ไม่ถูกต้อง (misinterpretations) เป็นข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาด (misinformation)
และเป็นข่าวสารที่ไม่ถูกต้อง (disinformation) สามารถส่งผลกระทบต่อ จริยธรรม ขวัญและ
ก�ำลังใจทหารและขัดขวางต่อเจตจ�ำนงของก�ำลังรบในทางอ้อมได้
ข้อพิจารณาทางด้านกฎหมาย (Legal Considerations)
๑-๓๕. การใช้กฎหมายและการเข้าถึงระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีก�ำลังมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว ด้วยกฎหมายและกฎระเบียบใหม่ทนี่ ำ� ไปใช้ เมือ่ เป็นดังนัน้ กฎหมายทีม่ อี ยูน่ นั้ บ่อยครัง้
จะล้าสมัยผูบ้ งั คับบัญชาอาจจะเผชิญกับความท้าทายทางด้านกฎหมายทีส่ ลับซับซ้อนและข้อจ�ำกัด
ด้านอื่น ๆ อย่างเช่น กฎการปะทะ (Rules of engagement), สนธิสัญญา (treaties) หรือสถานะ
ของข้อตกลงด้านก�ำลังรบ/ภารกิจ (status of forces/mission agreements) ผู้บังคับบัญชารวม
ทัง้ ฝ่ายอ�ำนวยการตัดสินใจให้การสนับสนุนในการด�ำเนินงานปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเมือ่ เชือ่ ได้วา่
ประเด็นกฎหมายและนโยบายนั้นได้รับการก�ำหนดไว้อย่างสมบูรณ์
ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร (INFORMATION SUPERIORITY)
๑-๓๖. กองทัพบกก�ำหนดความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร (Information superiority)
ว่าสืบเนื่องมาจากการได้เปรียบทางยุทธการจากความสามารถ (ability) ในการรวบรวม,
ด�ำเนินกรรมวิธีและกระจายข้อมูลข่าวสารที่มีการไหลเวียนโดยไม่มีการขัดขวาง ขณะที่ก�ำลัง
ขยายผลหรือปฏิเสธความสามารถของฝ่ายตรงข้ามในการกระท�ำลักษณะเดียวกัน (ดู รส. ๓-๐)
ค�ำนิยามเช่นนี้ แตกต่างเพียงเล็กน้อยจากค�ำนิยามของหลักนิยมการยุทธ์ร่วม ขณะที่หลักนิยม
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 17

การยุทธ์ร่วมพิจารณาว่าความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารเป็นขีดความสามารถ (capability)
หลักนิยมกองทัพบก ระบุให้สร้างความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารขึ้นในฐานะเป็นหนึ่งในความ
ได้เปรียบทางยุทธการ ส�ำหรับกองก�ำลังทัพบกความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารอธิบายถึงระดับ
ของความเหนือกว่าอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งผู้บังคับบัญชามีเหนือสภาพแวดล้อมซึ่งกระทบต่อการ
ปฏิบัติการของพวกเขาและเหนือฝ่ายตรงข้าม ผู้บังคับบัญชาวัดความเหนือกว่าได้ในรูปของ
ข้อมูลข่าวสารบนพื้นฐานของกิจกรรม (information - based activities) การได้มาและ
การรักษาไว้ซงึ่ ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารสร้างสภาวการณ์ ซึง่ อ�ำนวยให้ผบู้ งั คับบัญชาท�ำการ
จัดรูปสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารได้และยังส่งเสริมการเพิ่มผลกระทบทางประสิทธิภาพ
ในเรื่ อ งขององค์ ป ระกอบด้ า นอ� ำ นาจก� ำ ลั ง รบ ดั ง นั้ น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาจึ ง ใช้ ง านตั ว ช่ ว ยสามตั ว
(contributors) ที่เป็นอิสระต่อกันในการที่จะบรรลุเป้าหมายนี้ซึ่งได้แก่
๑-๓๖.๑ การจัดการด้านข้อมูลข่าวสาร (Information management)
๑-๓๖.๒ การข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจและการลาดตระเวน (Intelligence, surveillance
and reconnaissance)
๑-๓๖.๓ การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (Information operations) ซึง่ รวมถึงกิจกรรมที่
เกี่ยวข้อง (related activities)
การสนับสนุนด้านการจัดการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION MANAGEMENT CONTRIBUTIONS)
๑-๓๗. การจัดการด้านข้อมูลข่าวสาร (Information management) คือการจัดการในส่วน
ของข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้กับบุคคลผู้ใช้ ณ เวลาที่ถูกที่ควร ในความสามารถ ในรูปแบบ
ที่อ�ำนวยให้เกิดความเข้าใจต่อสถานการณ์และท�ำการตัดสินใจได้ง่ายยิ่งขึ้น มันเป็นการใช้
ระเบียบปฏิบัติและระบบข้อมูลข่าวสารในการรวบรวม, ด�ำเนินกรรมวิธี, จัดเก็บ, แสดงผลและ
กระจายข้อมูลข่าวสาร (ดู รส. ๓-๐) การจัดการข้อมูลข่าวสาร (IM) ประกอบไปด้วย ระบบ
ข้อมูลข่าวสาร (ดูย่อหน้า ๑-๖) และข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง (RI) ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
(relevant information) เป็นข้อมูลข่าวสารทั้งมวลที่มีความส�ำคัญต่อผู้บังคับบัญชาและ
ฝ่ายอ�ำนวยการในการด�ำเนินการในเรื่องของการบังคับบัญชาและการควบคุม สธ.๖๑๑ นายทหาร
ฝ่ายอ�ำนวยการที่ด�ำเนินงานเกี่ยวกับงานพื้นฐานเรื่องของ การจัดการข้อมูลข่าวสาร สธ.๖ ด�ำรง
สถานภาพของระบบข้อมูลข่าวสารและประกันให้เกิดความมั่นใจว่าระบบการบังคับบัญชาและ

๑๑
สธ.๖ เป็นนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการที่เกี่ยวข้องกับระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม ซึ่งเป็นการจัด
ทางฝ่ายอ�ำนวยการของกองทัพบกสหรัฐฯ ณ ที่นี้ยกให้เห็นเป็นตัวอย่างการจัดฝ่ายอ�ำนวยการซึ่งในอนาคต
กองทัพบกไทยอาจจะมีการจัดในลักษณะดังกล่าว หรือมีการก�ำหนดหน้าที่ให้กับฝ่ายอ�ำนวยการสายใดสายหนึ่ง
18 บทที่ ๑

การควบคุมได้มีการจัดเตรียมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้กับผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการบน
พื้นฐานตามความเร่งด่วนที่ผู้บังคับบัญชาได้ก�ำหนดไว้
๑-๓๘. การจัดการข้อมูลข่าวสารจะถูกน�ำเข้ามารวมกับการบังคับบัญชาและการควบคุม (C2)
ผู้บังคับบัญชาขับเคลื่อนการจัดการข้อมูลข่าวสารโดยการก�ำหนดความต้องการข้อมูลข่าวสาร
วิกฤติของผู้บังคับบัญชา (commander’s critical information requirements: CCIR)
CCIR จะบอกกับฝ่ายเสนาธิการว่าข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง (RI) อันไหนมีความส�ำคัญมากที่สุด
ต่อผู้บังคับบัญชา ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องนี้จะถูกก�ำหนดให้เป็นความเร่งด่วนส�ำหรับการด�ำเนิน
กรรมวิธภี ายในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม รส. ๖-๐ อธิบายให้ทราบถึงบทบาทของการ
จัดการข้อมูลข่าวสารในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม รวมถึงการจัดการสนับสนุนให้บรรลุ
ถึงความเข้าใจในสถานการณ์ (situational understanding), การตัดสินใจและการน�ำข้อมูล
ข่าวสารไปใช้ในการปฏิบัติ
๑-๓๙. ตัวช่วยในการจัดการข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญคือ การปฏิบัติการเครือข่าย (network
operations: NETOPS) การปฏิบตั กิ ารเครือข่ายก่อให้เกิดความร่วมมือ การจัดการเชิงบูรณาการ
เครือข่าย, ระบบข้อมูลข่าวสารที่ร่วมมือกันและทรัพยากรซึ่งสร้างภาพการยุทธ์ร่วมกัน
(common operational picture) การปฏิบตั กิ ารเครือข่ายเป็นการปฏิบตั จิ ากระดับยุทธศาสตร์
แผ่ขยายไปยังระดับยุทธวิธีของอนุกรมข้อมูลข่าวสารทั่วโลก (Global Information Grid: GIG)
การปฏิบัติการเครือข่ายรวมถึง การจัดการเครือข่าย (network management), การประกัน
ข้อมูลข่าวสาร (information assurance) และการจัดการกับการกระจายข้อมูลข่าวสาร
(information dissemination management) การปฏิบัติการเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ
ประกันว่าเครือข่ายและระบบข้อมูลข่าวสารสามารถท�ำงานได้และได้รับการปกป้อง ตลอดจน
สามารถส่งผ่านข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องผ่านไปยังทั่วทั้งพื้นที่ปฏิบัติการ
การสนับสนุนด้านการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน (INTELLIGENCE,
SURVEILLANDCE, AND RECONAISSANCE CONTRIBUTIONS)
๑-๔๐. สธ.๓ เป็นผู้ประสานสอดคล้อง การข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจและการลาดตระเวน (ISR)
ซึง่ เป็นการปฏิบตั กิ ารเสริมความสามารถทีส่ นธิและประสานสอดคล้องระบบปฏิบตั กิ ารในสนามรบ
เข้าไว้ดว้ ยกัน ให้สามารถรวบรวมข้อมูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้อง (RI) เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ผบู้ งั คับ
บัญชาท�ำการตัดสินใจ
๑-๔๑. สธ.๒ มีความรับผิดชอบทางฝ่ายอ�ำนวยการในการผลิตข่าวกรองเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามและ
สภาพแวดล้อม (พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร) ผูว้ เิ คราะห์ขา่ วกรองท�ำการด�ำเนินกรรมวิธแี ละวิเคราะห์ขอ้ มูล
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 19

ข่าวสาร (รวมถึงข่าวสารจากแหล่งข่าวเปิด) เพือ่ ผลิตข่าวกรองและน�ำประเด็นต่าง ๆ ในการปฏิบตั ิ


การข้อมูลข่าวสารเข้ามาผนวกกับการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว (IPB) เพือ่ พัฒนาค�ำอธิบาย
ที่ถูกต้องในเรื่องของฝ่ายตรงข้าม บุคคลและกลุ่มอื่น ๆ ตลอดจนสภาพแวดล้อมทั่วทั้งพื้นที่สนใจ
(area of interest) ผลผลิตข่าวกรองเน้นย�ำ้ ต่อการตอบค�ำถามเกีย่ วกับความต้องการข่าวกรองตาม
ล�ำดับความเร่งด่วน (priority intelligence requirements: PIRs) และการระบุเป้าหมายทีใ่ ห้
ค่าสูง (high - payoff targets) เพื่อการท�ำลาย
๑-๔๒. ความต้องการข่าวกรองตามล�ำดับความเร่งด่วน (Priority intelligence require-
ments) เป็นความต้องการข่าวกรองต่าง ๆ ที่ผู้บังคับบัญชาได้คาดการณ์และจัดล�ำดับสิ่งเหล่านั้น
ไว้ในกิจของการวางแผนและการแสวงข้อตกลงใจ (ดู รส. ๓-๐) ความต้องการข่าวกรองตามล�ำดับ
ความเร่งด่วนเป็นล�ำดับชุดย่อย ๆ ของความต้องการข่าวสารวิกฤติของผู้บังคับบัญชา (CCIR)
พวกมันท�ำให้เกิดล�ำดับความเร่งด่วนส�ำหรับการจัดการข้อมูลข่าวสารอีกด้วย (IM) ความต้องการ
ข่าวกรองตามล�ำดับความเร่งด่วนบ่งบอกบางอย่างแก่ทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติในกิจ
ทางด้านการข่าวกรอง, การลาดตระเวนและการเฝ้าตรวจว่าต้องท�ำการค้นหาอะไร ความต้องการ
ข่าวกรองตามล�ำดับความเร่งด่วนบอกให้ทหารในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมทราบว่า
ข่าวกรองอันไหนที่จะท�ำการกระจายเป็นอันดับแรก
๑-๔๓. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสนับสนุนการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว โดย
การพัฒนาปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับการจัดเตรียมสนามรบด้าน
การข่าว (ดูบทที่ ๕) นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารท�ำงานร่วมกับ สธ.๒ เพือ่ การพัฒนาผลผลิต
ซึ่งวาดภาพให้เห็นโครงสร้างพื้นฐานทางด้านข้อมูลข่าวสารของพื้นที่ปฏิบัติการและก�ำหนดความ
แข็งแกร่งและความล่อแหลมที่เป็นไปได้ของฝ่ายตรงข้ามและกลุ่มอื่น ๆ ตลอดจนข้อพิจารณาด้าน
การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการ (OPSEC) ของก�ำลังฝ่ายเรา
๑-๔๔. ทั่วทั้งระบบข่าวกรอง สธ.๒ เข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารและทรัพยากรด้านการข่าวกรอง,
การเฝ้าตรวจและการลาดตระเวนของหน่วยบัญชาการที่เหนือกว่าได้ ข้อมูลข่าวสารจากแหล่งข่าว
เหล่านี้จะถูกน�ำมาวิเคราะห์กับข้อมูลข่าวสารจากแหล่งที่เป็นองค์ประกอบในการผลิตส่วนของ
ภาพข่าวทางยุทธการเกีย่ วกับฝ่ายตรงข้ามและสภาพแวดล้อม (ดู รส. ๖-๐) ระบบข้อมูลข่าวสารทีท่ นั สมัย
การด�ำเนินกรรมวิธีที่เพียงพอและทหารที่ได้รับการฝึกมาอย่างดี อ�ำนวยให้ระบบการบังคับบัญชา
และการควบคุมท�ำการกระจายข่าวกรองนีไ้ ด้ตลอดทัว่ ทัง้ หน่วยบัญชาการ การจัดการข้อมูลข่าวสาร
ที่มีประสิทธิภาพท�ำให้ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการเห็นความแตกต่างในภาพการยุทธ์ร่วมกัน
(common operational picture) ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานการข่าวกรองและข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา
20 บทที่ ๑

๑-๔๕. การข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจและการลาดตระเวนท�ำให้เกิดปัจจัยน�ำเข้าทีส่ ำ� คัญส�ำหรับ


การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวและกรรมวิธีก�ำหนดเป้าหมาย ทั้งสามส่วนมีความสัมพันธ์
ภายในซึ่งกันและกัน การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวที่ถูกต้อง ต้องการ การข่าวกรอง, การ
เฝ้าตรวจและการลาดตระเวนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ การพิสจู น์ทราบ, การเข้าติดพันและการประเมินค่า
ที่มีผลกระทบต่อเป้าหมายทั้งหลายต้องมีการประสานสอดคล้องทั้งกระบวนการ
๑-๔๖. สธ.๓ ปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบเบื้องต้นทางฝ่ายอ�ำนวยการครอบคลุมการปฏิบัติ
การลาดตระเวนในการตอบค�ำถามความต้องการข่าวกรองตามล�ำดับความเร่งด่วน สธ.๓ ท�ำการ
จัดหน่วยลาดตระเวนและเฝ้าตรวจในอัตราขึ้นและ สธ.๒ ร่วมมือกับ สธ.๓ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
ทัง้ มวลให้เป็นประโยชน์ในการตอบค�ำถามความต้องการข่าวกรองตามล�ำดับความเร่งด่วน นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารรับเอาความต้องการข้อมูลข่าวสารส่งไปให้กับ สธ.๒ และความต้องการ
ข้อมูลข่าวสารซึง่ ไม่สามารถทีจ่ ะตอบได้ดว้ ยหน่วยของตนเองจะถูกส่งไปยังองค์กรอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
ตามแต่จะร้องขอข้อมูลข่าวสาร (requests for information: RFIs)
การสนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION OPERATIONS CONTRIBUTIONS)
๑-๔๗. แนวความคิดการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพร้อมด้วยพันธกิจต่าง ๆ ที่แยกกระจายกันเป็น
องค์ประกอบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง (IO elements and related
activities) ผู้บังคับบัญชาใช้องค์ประกอบข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในการจัดรูปแบบ
(shape) สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
๑-๔๘. ความส�ำเร็จในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารขึน้ อยูก่ บั การข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจและ
การลาดตระเวน ตลอดจนการจัดการข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ การข่าวกรอง, การ
เฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน (ขฝล.) เกิดขึน้ ทัง้ ในและนอกระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม
หน่วยเฝ้าตรวจและลาดตระเวนรวบรวมข้อมูลทั่วทั้งพื้นที่สนใจ (Area of interest) หน่วย
ข่าวกรองด�ำเนินกรรมวิธีต่อข้อมูลนี้ให้เป็นข่าวกรอง ผู้บังคับบัญชาใช้ข่าวกรองที่ได้นี้เพื่อมุ่งผลต่อ
องค์ประกอบของอ�ำนาจก�ำลังรบ การจัดการข้อมูลข่าวสารเกิดขึน้ ภายในระบบการบังคับบัญชาและ
การควบคุมช่วยให้ทงั้ ขฝล. และการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมีความสามารถมากยิง่ ขึน้ การจัดการ
ข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพประกันให้มั่นใจได้ว่า ข่าวกรองและข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องได้
ส่งมอบให้ผู้บังคับบัญชาทันต่อเวลาที่จะใช้ท�ำการตกลงใจ ผู้บังคับบัญชาประยุกต์ใช้องค์ประกอบ
ด้านความเป็นผู้น�ำซึ่งเป็นองค์ประกอบของอ�ำนาจก�ำลังรบโดยวิจารณญาณของพวกเขาเพื่อการ
ตัดสินใจต่อสิ่งเหล่านั้น
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 21

๑-๔๙. การจัดการข้อมูลข่าวสาร การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและการข่าวกรอง, การ


ลาดตระเวนและการเฝ้าตรวจ แต่ละตัวล้วนมีความแตกต่างในประเด็นมุ่งผล การข่าวกรอง,
การเฝ้าตรวจและการลาดตระเวนท�ำการรวบรวมข้อมูลและผลิตข่าวกรอง การจัดการข้อมูลข่าวสาร
กระจายและใช้ขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้องทัว่ ทัง้ ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม การปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารเป็นการประยุกต์ใช้ขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ปกป้องระบบการบังคับบัญชาและ
การควบคุมของฝ่ายเราและท�ำการโจมตีตอ่ ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายตรงข้าม
รวมทั้งท�ำการจัดรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารให้เป็นไปตามที่ต้องการ ทุกสิ่งทุกอย่าง
เป็นความจ�ำเป็นในการบรรลุและด�ำรงรักษาความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร
การบรรลุถึงความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร
(ACHIEVING INFORMATION SUPERIORITY)
๑-๕๐. เพื่อบรรลุความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร ผู้บังคับบัญชามุ่งประเด็นความพยายาม
ในการปรับปรุงภาพทางยุทธการของฝ่ายเราและขณะเดียวกันก็จะสร้างผลกระทบต่อการ
รับรู้ต่อภาพในสนามรบของฝ่ายตรงข้าม ในวิถีทางที่น�ำพวกเขาไปสู่การตัดสินใจตามที่กองก�ำลัง
ฝ่ายเราต้องการให้เป็น สถานการณ์นี้ท�ำให้เกิดหน้าต่างแห่งโอกาสที่เปิดขึ้นเพื่อการปฏิบัติการ
แตกหัก ณ เวลาและสถานที่ที่ผู้บังคับบัญชาเลือกไว้ ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารอย่างสูงสุด
และสามารถด�ำรงอยู่ได้เป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ มีอยู่เสมอที่การปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม, การตอบโต้
การปฏิบัติของฝ่ายเราและการต่อต้านของฝ่ายตรงข้าม ก�ำหนดว่านานเท่าไรที่กองก�ำลังฝ่ายเรา
สามารถขยายผลต่อความเหนือกว่านั้นได้
๑-๕๑. ฝ่ายตรงข้ามด�ำเนินงานด้วยเครื่องมือที่มีความหลากหลายในการปกป้องระบบการบังคับ
บัญชาและการควบคุมของพวกเขา บางพวกใช้เครื่องมือคล้ายคลึงกับที่ก�ำลังฝ่ายเราใช้และ
ในบางพวกใช้เครื่องมือและวิธีการที่เป็นอสมมาตร เช่นเดียวกัน ฝ่ายตรงข้ามใช้ขีดความสามารถ
ต่าง ๆ ในการโจมตีระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายเราและจัดรูปแบบสภาพแวดล้อม
ด้านข้อมูลข่าวสารไปในทางที่พวกเขาต้องการ เมื่อไม่นับถึงขีดความสามารถของกองก�ำลัง
ฝ่ายเราความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารสามารถถูกท�ำลายลงได้อย่างรวดเร็ว ฝ่ายตรงข้ามทีม่ คี วาม
เท่าเทียมกันทางเทคโนโลยีสามารถใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการปฏิเสธความเหนือกว่าด้าน
ข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา ส�ำหรับฝ่ายตรงข้ามที่ด้อยกว่าด้านเทคโนโลยีอาจจะใช้เครื่องมือที่มี
ความสลับซับซ้อนน้อยกว่า หรือเทคโนโลยีที่เหนือกว่าในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเพื่อตอบโต้ขีดความ
สามารถของฝ่ายเราได้ ดังนั้นผู้บังคับบัญชาฝ่ายเราไม่ควรแสวงหาหนทางในการด�ำรงรักษา
ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารเหนือช่วงเวลาทีย่ ดื ยาวออกไป ผูบ้ งั คับบัญชาควรปฏิบตั กิ าร
เพื่อสร้างความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร ณ เวลาและพื้นที่ใดก็ตามที่มันจะสร้างผลลัพธ์ที่
แตกหักได้
22 บทที่ ๑

๑-๕๒. ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารปรากฏให้เห็นในลักษณะที่สัมพันธ์กับฝ่ายตรงข้าม
โดยทีผ่ บู้ งั คับบัญชาอาจจะไม่รเู้ ลยว่าเมือ่ ไหร่ทพี่ วกเขามีความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร อย่างไร
ก็ตามเมื่อข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่อ�ำนวยให้ผู้บังคับบัญชาสามารถสร้างวิสัยทัศน์ได้อย่างถูกต้อง
ต่อสถานการณ์, ท�ำการคาดการณ์เหตุการณ์, และท�ำสิ่งที่เหมาะสม รวมทั้งตัดสินใจได้อย่าง
ดียงิ่ ทันเวลากว่าทีผ่ บู้ งั คับบัญชาของฝ่ายตรงข้ามจะสามารถท�ำได้ ปรากฏการณ์นนั้ คือลักษณะ
ของความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารส่งเสริมเสรีในการปฏิบตั ิ
ให้กบั ผูบ้ งั คับบัญชาและอ�ำนวยให้พวกเขาท�ำการตัดสินใจ และรักษาความริเริม่ นัน้ ไว้ อย่างไรก็ตาม
ผู้บังคับบัญชาตระหนักดีว่าหากปราศจากการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ต่อเนื่องซึ่งออกแบบไว้
เพื่อบรรลุและรักษาไว้ซึ่งความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร ฝ่ายตรงข้ามอาจจะตอบโต้ความ
ได้เปรียบในเรือ่ งนัน้ และเป็นการง่ายในการกระชากความได้เปรียบนัน้ ไปจากพวกเขา ผูบ้ งั คับบัญชา
บรรลุความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารโดยการด�ำรงรักษาความเข้าใจสถานการณ์อย่างถูกต้อง
(Accurate situational understanding) จากการจัดการข้อมูลข่าวสารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ (รวมถึง
การปฏิบตั กิ ารเครือข่าย : NETOPS) และ ขฝล. ขณะทีท่ ำ� การสร้างความแตกต่างระหว่างความเป็นจริง
และการรับรู้ของฝ่ายตรงข้ามต่อสถานการณ์นั้นจะเป็นอย่างไร ยิ่งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
จัดรูปแบบความแตกต่างได้มากเท่าไหร่ ฝ่ายเราก็จะยิ่งได้เปรียบมากยิ่งขึ้นเท่านั้น
แง่มุมของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(ASPECTS OF INFORMATION OPERATIONS)
๑-๕๓. การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นการใช้ในส่วนของขีดความสามารถหลักของการ
สงครามอิเล็กทรอนิกส์, การลวงทางทหาร และการรักษาความปลอดภัย ในการประสาน
สอดคล้องกับการให้การสนับสนุนพิเศษและขีดความสามารถที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างผลกระทบ
หรือการป้องกันข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารและเพื่อสร้างอิทธิพลต่อการท�ำการ
ตัดสินใจ๑๒ ผู้บังคับบัญชาเกิดความอ่อนตัวเมื่อท�ำการก�ำหนดว่าจะท�ำการขยายผลการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารอย่างไร ประเภทของการขยายผลขึ้นอยู่กับขีดความสามารถในการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารและวัตถุประสงค์ เนื่องจากระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายตรงข้ามได้
กลายเป็นสิง่ ทีส่ ลับซับซ้อนช่องทางทีเ่ ป็นโอกาสแห่งการตกลงใจของผูบ้ งั คับบัญชาฝ่ายเรานัน้ นับวัน
จะเล็กลงกว่าเดิม ในทางตรงกันข้ามถ้าระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายตรงข้าม
มีความสลับซับซ้อนน้อยลง ความสามารถของผู้บังคับบัญชาในการสร้างผลกระทบต่อพวกเขา
จะกระท�ำได้โดยตรงต่อขีดความสามารถทีส่ ลับซับซ้อนทีค่ อ่ นข้างน้อยลง กองก�ำลังฝ่ายเราซึง่ พร้อม
๑๒
(ค�ำนิยามนี้ใช้แทนค�ำนิยามของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใน รส. ๓-๐ ซึ่งถือได้ว่าสอดคล้องกับค�ำนิยามที่
ริเริ่มในการยุทธ์ร่วม)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 23

ด้วยขีดความสามารถทางการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ที่เหนือกว่าฝ่ายตรงข้าม ด้วยระบบการบังคับ
บัญชาและการควบคุมบนพื้นฐานด้านวิทยุ (radio - based C2 system) และการไม่ใช้ค�ำพูด
สิน้ เปลืองมากจนเกินไป อย่างไรก็ตามสภาพแวดล้อมแบบอสมมาตรอาจจะรวมถึงฝ่ายตรงข้ามทีม่ ี
ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมที่มีพื้นฐานเกี่ยวกับขีดความสามารถในการน�ำสาร/การ
บอกกล่าวจากปากสู่ปาก ซึ่งต้องการให้กองก�ำลังทัพบกท�ำการยอมรับในวิธีการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารทีไ่ ม่สลับซับซ้อนทีใ่ ห้ผลเท่าเทียมกัน การตอบโต้ตอ่ ภัยคุกคามทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปในส่วนของ
สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารต้องการจินตนาการและการสร้างสรรค์ การเดินหน้าของการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็ว ก�ำหนดความต้องการอย่างหนักเกี่ยวกับการวางแผนการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารที่แตกออกไป (branches) และการปฏิบัติการที่ตามมา (sequels) (ดู รส. ๓-๐)
๑-๕๔. ผูบ้ งั คับบัญชาตัง้ แต่กองพลไปจนถึงระดับหน่วยทีเ่ หนือกว่ากองทัพขึน้ ไปเป็นผูร้ บั ผิดชอบใน
การด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งแต่ละระดับมีความรับผิดชอบแปรเปลี่ยนไปตามล�ำดับ
ชั้นบนพื้นฐานเกี่ยวกับองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และประเภทของการปฏิบัติ
การทางทหาร
องค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(ELEMENTS OF INFORMATION OPERATIONS)
๑-๕๕. การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นการปฏิบัติการเสริมความสามารถ (enabling
operations) ซึ่งสร้างและให้โอกาสแก่การปฏิบัติการขั้นแตกหัก (decisive operations)
ผู้บังคับบัญชาใช้ทั้งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวเชิงรุกและการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ
พร้อม ๆ กัน เพือ่ บรรลุภารกิจเพิม่ ประสิทธิภาพให้แก่กำ� ลังรบของพวกเขาและพิทกั ษ์หน่วยตลอดจน
ระบบต่าง ๆ องค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกอบด้วยขีดความสามารถหลัก
(core capabilities) ขีดความสามารถสนับสนุน (supporting capabilities) (ดูรูป ๑-๑,)
ผูบ้ งั คับบัญชาด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารโดยการผสมผสานองค์ประกอบเหล่านีแ้ ละกิจกรรม
ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง รูป ๑-๒ แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ทมี่ รี ะหว่างกันขององค์ประกอบการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสาร/กิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องประเภทของการปฏิบตั กิ ารและความรับผิดชอบของหน่วย
๑-๕๖. องค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะไม่มีการจัดการองค์ประกอบเหล่านั้น
เป็นกิจกรรมที่เป็นอิสระต่อกันและกัน ซึ่งกิจกรรมเหล่านั้นจะถือเป็นองค์ประกอบของการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารได้เมื่อน�ำมาใช้ร่วมกันและประสานสอดคล้องกัน ผู้บังคับบัญชาตัดสินใจว่า
องค์ประกอบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารองค์ประกอบใดทีจ่ ะเหมาะสมในการบรรลุภารกิจและ
การใช้องค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งหมดพร้อมกันอาจจะไม่เป็นที่ต้องการ
ส�ำหรับแต่ละการปฏิบัติการ
24 บทที่ ๑

หลัก สนับสนุน
• การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ • การท�ำลายทางกายภาพ
• การปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การประกันข้อมูลข่าวสาร
• การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ
• การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การต่อต้านข่าวกรอง
• การขยายผลทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การต่อต้านการลวง
• การปฏิบัติการจิตวิทยา • การต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ
• การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
• การลวงทางทหาร
รูปที่ ๑-๑ องค์ประกอบการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร

๑-๕๗. ในเรื่องของการปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network operations:


CNO), การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (CNA), การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (CND) และ
การขยายผลทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (CNE) เป็นข้อยกเว้นจากทีก่ ล่าวมา ไม่มอี งค์ประกอบของ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใดที่เป็นเรื่องใหม่ ไม่มีสิ่งใดที่เป็นของใหม่ซึ่งน�ำองค์ประกอบ/
กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องเหล่านีม้ ารวมเข้าไว้ดว้ ยกัน ในฐานะทีเ่ ป็นองค์ประกอบของข้อมูลข่าวสารซึง่
เป็นองค์ประกอบของอ�ำนาจก�ำลังรบ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมุ่งผลความพยายามต่าง ๆ ซึ่ง
แต่กอ่ นนัน้ กระจายกันออกไป เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยอ�ำนวยการผูห้ นึง่ คือ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
มีอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบต่อการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่แยกจากกันต่างหากนี้ สิ่งนี้
อ�ำนวยให้ผู้บังคับบัญชาท�ำการรวมผลกระทบของข้อมูลข่าวสารซึ่งเป็นองค์ประกอบของอ�ำนาจ
ก�ำลังรบได้
๑-๕๘. กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (IO related activities) รวมถึง
แต่ไม่จ�ำกัดต่อกิจการสาธารณะ๑๓ (public affairs) และการปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหาร (CMO)
แม้ว่าในคู่มือราชการสนามฉบับนี้จะกล่าวเพียงสองกิจกรรมนี้ก็ตาม แต่การปฏิบัติใด ๆ นอกเหนือ
จากนี้ที่สนับสนุนให้ได้มาและสามารถรักษาไว้ซึ่งความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร อาจจะได้
รับการพิจารณาให้ถือว่าเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ตัวอย่างเช่น
การปฏิบัติการในการสนับสนุนของความพยายามทางด้านการทูตที่ได้ด�ำเนินการโดยก�ำลังปฏิบัติ
การพิเศษ)
๑๓
ความหมายอีกประการคือ การประชาสัมพันธ์
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 25

ความสัมพันธ์ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในการยุทธ์ร่วมของกองทัพบก
(ARMY - JOINT INFORMATION OPERATIONS RELATIONSHIPS)
๑-๕๙. โดยตามธรรมชาติของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารการปฏิบัติการนี้ถือเป็นการปฏิบัติ
การร่วม (joint operations) แต่ละส่วนก�ำลังเหล่าทัพสนับสนุนการประสานสอดคล้องโดย
กองบัญชาการกองก�ำลังยุทธ์ร่วมที่ด�ำเนินการเป็นส่วนรวม การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของ
กองทัพบกทั้งหมดมีแนวทางมาจากแผนการทัพในยุทธบริเวณ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของ
กองทัพบกสนับสนุนภารกิจของกองก�ำลังยุทธ์ร่วมและรับการสนับสนุนมาจากทรัพยากรทาง
การยุทธ์รว่ มบนพืน้ ฐานภารกิจของหน่วย การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจะได้รบั การบูรณาการทัว่ ทัง้
กองก�ำลังยุทธ์รว่ มเพือ่ ป้องกันการท�ำร้ายกันเองในเรือ่ งข้อมูลข่าวสาร (information fratricide)
จากเหล่าทัพอืน่ ๆ ทีแ่ ตกต่างกัน หรือจากระดับหน่วยบัญชาการทีแ่ ตกต่างกัน๑๔ ในการปฏิบตั กิ าร
หลายชาติ (multinational operations) ผู้บัญชาการกองก�ำลังยุทธ์ร่วม (JFC) มีความรับผิดชอบ
ในการประสานงานในการสนธิการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของประเทศและนานาชาติ
๑-๖๐. ส่วนงานการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร๑๕ ที่ประจ�ำอยู่ ณ กองบัญชาการกองก�ำลังยุทธ์
ร่วมเป็นหน่วยงานทีแ่ ก้ไขความขัดแย้งและประสานสอดคล้องการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของ
กองก�ำลังยุทธ์รว่ ม ทัง้ นีห้ ลักนิยมนีถ้ อื ว่าทุกส่วนก�ำลังเหล่าทัพสามารถพูดแทนกันได้ ส่วนงานการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของกองก�ำลังยุทธ์รว่ มประสานสอดคล้ององค์ประกอบ/กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง
ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเฉพาะทางของแต่ละเหล่าทัพ เพื่อบรรลุถึงเอกภาพในการให้การ
สนับสนุนต่อกองก�ำลังยุทธ์รว่ ม กองก�ำลังทัพบกส่งค�ำขอต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารจากกองก�ำลังยุทธ์รว่ มหรือหน่วยบัญชาการระดับทีเ่ หนือกว่า ไปยังกองบัญชาการ
กองทัพบกเพื่อส่งต่อไปยังส่วนงานการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของกองก�ำลังยุทธ์ร่วม
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก
(OFFENSIVE INFORMATION OPERATIONS)
๑-๖๑. กองทัพบกก�ำหนดนิยาม การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุก ว่าเป็นการใช้ขดี ความสามารถ
และกิจกรรมต่าง ๆ ทีก่ ำ� หนดและทีใ่ ห้การสนับสนุนอย่างผสมผสานสอดคล้องกัน การสนับสนุน
ซึ่งมีให้กันและกันของกิจกรรมดังกล่าว โดยมีการปฏิบัติการทางการข่าวกรองเป็นตัวช่วยให้
กระทบต่อผูท้ ำ� หน้าทีต่ ดั สินใจของฝ่ายข้าศึก หรือเพือ่ สร้างอิทธิพลต่อผูเ้ กีย่ วข้องอืน่ ๆ ให้บรรลุ
หรือส่งเสริมวัตถุประสงค์เฉพาะ (รส. ๓-๐) หลักนิยมการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของ ทบ. จะช่วย
ให้ผู้บังคับบัญชาได้ใช้องค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกอย่างมีประสิทธิภาพ
๑๔
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก รส. ๓-๐ และ JP 3-13
๑๕
กรณีที่มีการจัดตั้งส่วนงานนี้ในกองบัญชาการก�ำลังยุทธ์ร่วม
26 บทที่ ๑

๑-๖๒. ผูบ้ งั คับบัญชาด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุก ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบตั ิ


การทางทหาร (Range of Military Operations) และทั่วทั้งย่านของความขัดแย้ง (Spec-
trum of Conflict) กฎการปะทะกระทบต่อเครื่องมือที่ใช้และส่งผลกระทบต่อความพยายาม
ตามที่สถานการณ์ก�ำหนดให้ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกอ�ำนวยให้เกิดการครอบครองและ
รักษาไว้ซงึ่ ความริเริม่ โดยการสร้างสรรค์ให้เกิดความแตกต่างระหว่างคุณภาพของข้อมูลข่าวสารที่
กองก�ำลังฝ่ายเราสามารถน�ำไปใช้ได้และที่ฝ่ายตรงข้ามสามารถน�ำไปใช้ได้ ผลกระทบต่อไปนี้สร้าง
ความได้เปรียบด้านข้อมูลข่าวสาร ประสิทธิภาพของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกอบด้วย :
๑-๖๒.๑ การท�ำลาย (Destroy) การท�ำลายเป็นการท�ำความเสียหายต่อระบบการรบให้
เกิดความเสียหายอย่างหนักจนไม่สามารถปฏิบตั พิ นั ธกิจใด ๆ ได้ หรือจนกว่าจะ
ได้รับการฟื้นฟูเพื่อให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ หากไม่ท�ำการสร้างขึ้นใหม่ทั้งหมด
(ดู รส. ๓-๙๐) การท�ำลายนั้นส่วนมากแล้วเป็นการใช้เครื่องมือที่มีอานุภาพใน
ทางสังหารและไม่ให้อานุภาพในทางสังหารเพือ่ กระท�ำต่อข้อมูลข่าวสารของฝ่าย
ตรงข้ามในทางกายภาพ หรือท�ำให้ระบบข้อมูลข่าวสารไร้ประสิทธิภาพ เว้นแต่
จะได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ มันจะบังเกิดประสิทธิภาพมากที่สุดเมื่อเวลาที่จะ
ด�ำเนินการท�ำลายนัน้ เกิดก่อนทีฝ่ า่ ยตรงข้ามต้องการทีจ่ ะด�ำเนินพันธกิจทางการ
บังคับบัญชาและการควบคุม หรือเมื่อมุ่งผลต่อเป้าหมายที่เป็นทรัพยากรส�ำคัญ
ยิ่งซึ่งเป็นการยากที่จะท�ำการฟื้นฟูให้คืนสภาพมาใหม่ได้
๑-๖๒.๒ การรบกวน (Disrupt) การรบกวนเป็นงานในทางภารกิจทางยุทธวิธี ซึง่ ผูบ้ งั คับ
บัญชาท�ำการสนธิการยิงเล็งตรงและเล็งจ�ำลอง, การใช้ภูมิประเทศและเครื่อง
กีดขวางในการท�ำให้รูปขบวนหรือจังหวะการปฏิบัติของข้าศึกสูญเสียไป, หรือ
การขัดขวางการปฏิบัติตามตารางเวลาของฝ่ายข้าศึก, หรือเป็นเหตุให้กองก�ำลัง
ของข้าศึกน�ำไปใช้ก่อนเวลาอันควรหรือเข้าตีในลักษณะเป็นเบี้ยหัวแตก (ดู รส.
๓-๙๐) การรบกวน ในแง่มุมของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารหมายถึงการ
ขัดจังหวะหรือการขัดขวางการเลื่อนไหลข้อมูลข่าวสารระหว่างปมทางการ
บังคับบัญชาและการควบคุมที่เลือกไว้ การรบกวนอาจจะเป็นที่ต้องการ
เมื่อการโจมตีต่อทรัพยากรมีข้อจ�ำกัดและการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์เป็น
เครื่องมือทั่วไปในการรบกวนต่อระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของ
ฝ่ายตรงข้าม ผูบ้ งั คับบัญชาด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุกครอบคลุม
ขอบเขตของการปฏิบัติการทางทหาร (range of military operations)
ประเภทของการปฏิบัติการ การรุก และรับ เพื่อเสถียรภาพ การสนับสนุน
องค์ประกอบ ปขส./กิจกรรมที่
เกี่ยวข้อง เหล่าทัพบก กองทัพภาค กองพล กรม เหล่าทัพบก กองทัพภาค กองพล กรม เหล่าทัพบก กองทัพภาค กองพล กรม
รปภ.ป/บ. ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผป ผป4
2/ ผ ป ผ ป บ ผ ป บ ผ1, 2/ 2/
ปจว.
ผ ป ผ ป บ ผ ป บ ผ1, ป บ 4 ป บ 4 ผ ป ผ ป บ ผ ป บ ผ1,
ปบ4
การลวงทางทหาร ผ ป ผ ป ผ ป บ ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ป 4 X X X X
สอ.-จอ. ผ ป ผป ผ ป ป บ 4 ผ ป ผป ผ ป ป บ 4 X X X X
สอ.-สอ. ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ป 4 ผ ป ป ป ป4
สอ.-ปอ. ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4
การ ป/บ.เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผ ผ X X ผ X X X X X X X
การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผ ผ X X ผ X X X X X X X
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ

การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ป4
การขยายผลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผ ผ X X ผ X X X X X X X
การท�ำลายทางกายภาพ ผ ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ผ ป ผ ป ผ ป 4 X X X X
การประกันข้อมูลข่าวสาร ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4
การ รปภ.ทางกายภาพ ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4
การต่อต้านข่าวกรอง ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป บ 1 2 ผ ป ผป ผ ป ป บ 4 ผ ป ผป ผ ป ป บ 4
การต่อต้านการลวง ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 1 2 ผ ป ผ ป ป ป 4 ผ ป ผ ป ป ป4
การต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป 4 ผ ป ผ ป ผ ป ป 4 ผ ป ผ ป ป ปบ4
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
การ ป/บ. พลเรือน-ทหาร ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป บ 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผ ป บ 4 ผ ป ผ ป ผ ป ผปบ
กิจการสาธารณะ ผ ป ผ ป ผ ป ป บ 4 ผ ป ผ ป ผ ป ป บ 4 ผ ป ผ ป ผป ปบ4
ผ-แผน/เตรียมการ องค์ประกอบ, วัตถุประสงค์ และกิจที่ก�ำหนดในแผน/ค�ำสั่งยุทธการ 1-กรมผสมเหล่า
ป-ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์และกิจที่ก�ำหนดในแผน/ค�ำสั่งยุทธการ 2-ส่งเสริมก�ำลังหน่วยรักษาความมั่นคง
x-การบังคับบัญชาไม่เกี่ยวกับองค์ประกอบนี้ 3-กรมด�ำเนินกลยุทธ์ของกองพล
บ-บรรลุด้วยหน่วยเพิ่มเติม 4-ทุกกรม
27

รูปที่ ๑-๒ ความรับผิดชอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตามล�ำดับหน่วยบัญชาการ


28 บทที่ ๑

๑-๖๒.๓ การลดประสิทธิภาพ (Degrade) การลดประสิทธิภาพ ในแง่มมุ ของการปฏิบตั ิ


การข้อมูลข่าวสาร เป็นการใช้เครื่องมือที่ไม่มีอานุภาพในการสังหารหรือ
เครื่องมือชั่วครั้งชั่วคราวในการลดประสิทธิภาพ หรือประสิทธิผลของระบบ
การบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายตรงข้ามและความพยายามหรือ
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลข่าวสาร การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก
สามารถท�ำให้ขวัญและก�ำลังใจของหน่วยถดถอยลง ลดค่าหรือคุณค่าของ
เป้าหมาย หรือลดคุณภาพการตัดสินใจและการปฏิบัติการของข้าศึกลง
๑-๖๒.๔ การปฏิเสธ (Deny) การปฏิเสธ ในแง่มุมของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เป็นการวางเงื่อนไขข้อมูลข่าวสารต้องห้ามซึ่งเกี่ยวกับขีดความสามารถของ
กองทัพบกและเจตนา ซึ่งฝ่ายตรงข้ามต้องการเพื่อการตัดสินใจอย่างมี
ประสิทธิภาพและทันเวลา การปฏิเสธที่มีประสิทธิภาพเป็นการท�ำให้ฝ่าย
ตรงข้ามเกิดความล่อแหลมในการทีจ่ ะละทิง้ ขีดความสามารถในเชิงรุก การรักษา
ความปลอดภัยในการปฏิบัติการเป็นเครื่องมือเบื้องต้นในการปฏิเสธที่ไม่มี
อานุภาพในทางสังหาร การปฏิเสธ น�ำไปใช้เสมอตลอดย่านของความขัดแย้ง
(spectrum of conflict)
๑-๖๒.๕ การลวง (Deceive) การลวง เป็นเหตุให้บุคคลมีความเชื่อในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
การลวงทางทหาร (Military deception: MD) แสวงหาหนทางในการท�ำให้ผู้
ท�ำหน้าที่ตกลงใจ (decision maker) ของฝ่ายตรงข้ามเข้าใจผิดพลาด
(mislead) โดยการจับโน่นผสมนี่ในความเข้าใจต่อเรื่องจริงของพวกเขา
การลวงที่ประสบผลส�ำเร็จสร้างเหตุให้พวกเขาเชื่อในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
๑-๖๒.๖ การแสวงประโยชน์ (Exploit) การแสวงประโยชน์ ในแง่มมุ ของการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารเป็นการให้ได้มาซึ่งการเข้าถึงระบบการบังคับบัญชาและ
การควบคุมของฝ่ายตรงข้าม ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารหรือในการบ่มเพาะ
ความผิดพลาด หรือความเข้าใจผิดในเรื่องของข้อมูลข่าวสาร
๑-๖๒.๗ สร้างอิทธิพล (Influence) สร้างอิทธิพล เป็นการสร้างเหตุให้เกิดขึ้นต่อฝ่าย
ตรงข้ามหรือผูอ้ นื่ ให้ปฏิบตั ไิ ปในทางทีก่ องก�ำลังทัพบกต้องการให้เป็น มันเป็น
ผลมาจากการประยุกต์ใช้การจัดการด้านการรับรู้ (perception management)
ให้เกิดผลกระทบต่ออารมณ์ แรงกระตุ้นและความมีเหตุผลของเป้าหมาย
การจัดการด้านการรับรู้ ยังค้นหาหนทางในการสร้างอิทธิพลในการรับรู้ แผนการ
การปฏิบัติต่าง ๆ และเจตจ�ำนงของเป้าหมายที่จะเป็นปรปักษ์ต่อก�ำลังฝ่ายเรา
เป้าหมายต่าง ๆ อาจจะรวมถึงผูท้ ไี่ ม่ใช่นกั รบและผูอ้ นื่ ๆ ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ผูซ้ งึ่
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 29

ผู้บังคับบัญชาต้องการให้สนับสนุนต่อภารกิจของก�ำลังฝ่ายเรา หรือไม่ต่อต้าน
กิจกรรมของฝ่ายเรา การจัดการด้านการรับรูบ้ รรลุถงึ ผลกระทบทีม่ อี ทิ ธิพลโดย
การปฏิเสธ หรือการชี้น�ำข้อมูลข่าวสารที่เลือกไว้ให้แก่เป้าหมาย
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ
(DEFENSIVE INFORMATION OPERATIONS)
๑-๖๓. การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ เป็นการสนธิและการประสานงานในเรื่องของ
นโยบายและกระบวนการ การปฏิบัติการ บุคลากรและเทคโนโลยี ในการปกป้องและป้องกัน
ข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับประกัน
การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างทันเวลา มีความถูกต้องและเป็นความเกี่ยวข้อง ขณะที่ปฏิเสธ
โอกาสของฝ่ายตรงข้ามในการแสวงประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่าย
เรา เพือ่ วัตถุประสงค์ในส่วนของฝ่ายตรงข้าม (รส. ๓-๐) หลักนิยมของกองทัพบกอ�ำนวยให้ผบู้ งั คับ
บัญชาใช้องค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในเชิงรับได้ทั้งหมด
๑-๖๔. การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับแสวงหาหนทางในการจ�ำกัดความล่อแหลมของ
ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมจากการปฏิบตั ขิ องฝ่ายตรงข้ามและเพือ่ ป้องกันมิให้ขา้ ศึก
ท�ำการรบกวนขัดขวางข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา ประสิทธิภาพของการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรับ รวมถึงการปกป้อง, การค้นหา, การฟืน้ คืนสภาพ และการตอบสนอง
๑-๖๕. การปกป้อง (Protection) การปกป้อง เป็นการปฏิบัติทั้งมวลที่น�ำมาใช้ในการคุ้มกัน
ต่อยุทโธปกรณ์และข้อมูลข่าวสารในการก่อวินาศกรรมหรือการแย่งยึด ในการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร การปกป้องเกิดขึ้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทางดิจิตอลในการควบคุม
การเข้าถึง หรือบรรเทาผลกระทบจากการเข้าถึงของฝ่ายตรงข้ามที่มีผลต่อผู้ท�ำหน้าที่ตัดสินใจ
ของฝ่ายเราและระบบข้อมูลข่าวสาร การปกป้องน�ำมาใช้ทั้งในเรื่องของคุณภาพและปริมาณ
ของข้อมูลข่าวสาร มันเป็นการปฏิเสธข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้ามเกี่ยวกับขีดความสามารถ
ของฝ่ายเราและเจตนา โดยการควบคุมต่อสิ่งบอกเหตุที่เป็นตัวชี้วัด
๑-๖๖. การค้นหา (Detection) การค้นหาเป็นการเปิดเผย หรือเปิดให้เห็นสภาพที่เป็นอยู่,
ท�ำให้ปรากฏหรือเห็นความจริงการค้นหาเกี่ยวข้องกับเครื่องมือเข้าสู่ระบบข้อมูลข่าวสาร
การค้นหาเป็นการพิสจู น์ทราบความพยายามของฝ่ายตรงข้ามในการให้ได้มาซึง่ การเข้าถึง (access)
ข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา การค้นหาเริม่ ด้วยผูใ้ ช้และผูบ้ ริหารระบบข้อมูล
ข่าวสาร การค้นหาและการรายงานอย่างทันเวลาเป็นกุญแจส�ำคัญในการเริ่มการฟื้นคืนสภาพและ
การตอบสนองการค้นหาทางอิเล็กทรอนิกส์ เกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมทางดิจิตอล
30 บทที่ ๑

๑-๖๗. การฟื้นคืนสภาพ (Restoration) การฟื้นคืนสภาพ เป็นการน�ำระบบข้อมูลข่าวสาร


ให้กลับคืนสู่สภาพดั้งเดิมเริ่มแรก การฟื้นคืนสภาพเป็นการสร้างขีดความสามารถที่จ�ำเป็นใน
ส่วนของระบบข้อมูลข่าวสารที่ถูกท�ำลายลงไปให้กลับขึ้นมาใหม่จากการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เชิงรุกของฝ่ายข้าศึก การฟื้นคืนสภาพอาจจะขึ้นอยู่กับการกู้คืน (backup) หรือการเชื่อมต่อระบบ
ทีม่ อี ยูห่ ลายหนทางอย่างเหลือเฟือหรือมีองค์ประกอบของระบบข้อมูลข่าวสาร หรือเครือ่ งมือในการ
ส่งผ่านข้อมูลข่าวสารที่เป็นทางเลือก (alternative means of information transfer)
๑-๖๘. การตอบสนอง (Response) การตอบสนอง ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นการ
ตอบโต้อย่างรวดเร็วต่อการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของฝ่ายข้าศึกจากการโจมตีหรือการบุกรุก
การพิสูจน์ทราบในเรื่องของฝ่ายตรงข้ามที่ได้ผลอย่างทันเวลา ทั้งเจตนารมณ์และขีดความสามารถ
ของพวกเขาเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อที่ส�ำคัญในการตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพต่อการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารเชิงรุกของฝ่ายตรงข้าม
๑-๖๙. การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ เป็นการใช้กิจกรรมทั้งทางเทคนิคและไม่ใช่ทาง
เทคนิคในการจ�ำกัดความล่อแหลมของระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายเราจาก
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของศัตรู การปฏิบัติดังกล่าวเป็นการแสวงหาหนทางป้องกันฝ่าย
ตรงข้ามจากการชักจูง เข้ามายุง่ เกีย่ วกับข้อมูลข่าวสารหรือเข้าไปรบกวนกับระบบการบังคับบัญชา
และการควบคุมของฝ่ายเรา การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับสนับสนุนความพยายามในการ
ด�ำรงรักษาการบังคับบัญชาและการควบคุมที่มีประสิทธิภาพด้วยการตอบโต้ หรือการพลิกผัน
ให้ฝ่ายเรามีความได้เปรียบฝ่ายข้าศึกในความพยายามด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การ
ข่าวกรองที่ทันเวลาและถูกต้องบางครั้งนั้นขึ้นอยู่กับข่าวสารที่รวบรวมได้ระหว่างการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารเชิงรุก ซึง่ จะมีความจ�ำเป็นต่อการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรับ กองก�ำลังทีด่ ำ� เนิน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับต้องการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามในเรื่องเกี่ยวกับวิธี
การโจมตี เครื่องไม้เครื่องมือ ขีดความสามารถ อาวุธ และเครื่องมือในการปฏิบัติการในสิ่งใด ๆ
ก็ตามที่ ขฝล. ผลิตขึ้น
ความสัมพันธ์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกกับเชิงรับ
(RELATIONSHIP OF OFFENSIVE AND DEFENSIVE INFORMATION OPERATIONS)
๑-๗๐. ผูบ้ งั คับบัญชาประสานสอดคล้องการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับเพือ่ สร้าง
ส่วนขยายและเพิม่ เติมให้กบั ผลกระทบทีต่ อ้ งการ (ดู รส. ๓-๐) การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุก
สนับสนุนการปฏิบัติการแตกหัก (decisive operation) ขณะที่การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เชิงรับปกป้องขุมก�ำลังส�ำคัญตลอดจนจุดศูนย์ดลุ ของฝ่ายเรา การด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
เชิงรุกและเชิงรับอย่างเป็นอิสระต่อกันท�ำให้เสียงานในการใช้องค์ประกอบของการปฏิบัติการ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 31

ข้อมูลข่าวสารอย่างมีประสิทธิภาพ ณ จุดที่ดีที่สุด มันเป็นการใช้ทรัพยากรด้านข้อมูลข่าวสารได้


ดีกว่าที่ต้องการ ถ้าหากการปฏิบัติการทั้งสองได้ท�ำงานร่วมกันอย่างประสานสอดคล้อง ณ จุดที่
แย่ที่สุด ความพยายามที่ไม่ประสานกันเพิ่มความขัดแย้งและรบกวนซึ่งกันและกันในที่สุด พวก
มันอาจจะท�ำให้ความตั้งใจของฝ่ายเราตกอยู่ในอันตรายได้ หรือส่งผลในเรื่องการท�ำร้ายกันเอง
ด้านข้อมูลข่าวสาร (information fratricide) การสนธิการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก
และเชิงรับอย่างสูงสุดต้องการให้นักวางแผนท�ำการจัดการกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเสมือน
เป็นพันธกิจหนึ่ง ผู้บังคับบัญชาได้รับการช่วยเหลือจากนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร๑๖ ใน
การท�ำการสนธิการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับให้ได้มาและรักษาไว้ซึ่งความ
เหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร (information superiority) ผู้บังคับบัญชาหลีกเลี่ยงการเพิ่มความ
เข้มข้นให้กับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกเพื่อกีดกันการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ
พวกเขาใช้องค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งมวลในการปฏิบัติการทั้งเชิงรุก
และเชิงรับ บ่อยครั้งที่การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งในเชิงรุกและเชิงรับใช้เทคนิคยุทธวิธีและ
ระเบียบปฏิบตั เิ หมือนกัน เจตนารมณ์ของผูบ้ งั คับบัญชาและผลกระทบทีต่ อ้ งการเป็นตัวก�ำหนด
ว่าจะท�ำการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกหรือเชิงรับ
๑-๗๑. ผู้บังคับบัญชาสนธิการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับ ณ ทุกระดับของ
สงคราม (ดู รส. ๓-๐) ณ ระดับยุทธศาสตร์ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแสวงหาหนทางในการ
เข้าติดพันฝ่ายตรงข้ามหรือพวกผู้น�ำของฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้ เพื่อป้องปรามวิกฤติการณ์หรือ
ยุตคิ วามเป็นปรปักษ์ ณ ระดับยุทธการ การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมุง่ ให้ความสนใจต่อการปฏิเสธ
ความสามารถของฝ่ายตรงข้ามในการด�ำเนินการปฏิบัติการต่าง ๆ การลวงทางทหารอาจจะเป็น
องค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุกในลักษณะเฉพาะ ณ ระดับยุทธวิธี การปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารมุ่งให้ความสนใจต่อข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม
การยิงด้วยอาวุธที่มีอานุภาพในการสังหารและไม่สังหารอาจจะเป็นตัวช่วยเฉพาะในการปฏิบัติ
การรบด้วยวิธีรุกและรับ (offensive and defensive operations) การปฏิบัติการจิตวิทยาและ
การปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหาร (civil - military operation) อาจจะเป็นตัวช่วยเฉพาะในการปฏิบตั ิ
การสนับสนุน (support operations) และการปฏิบตั กิ ารเพือ่ เสถียรภาพ (stability operations)
๑-๗๒. การปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารระดั บ ยุ ท ธวิ ธี ส นั บ สนุ น ต่ อ การบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท าง
ยุทธศาสตร์และทางยุทธการ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระดับยุทธศาสตร์และยุทธการอ�ำนวย
ประโยชน์ต่อการปฏิบัติการทางยุทธวิธี ผู้บังคับบัญชาต้องด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๑๖
ทบ.ไทยก�ำหนดให้นายทหารยุทธการ หรือผูช้ ว่ ยปฏิบตั หิ น้าทีน่ ายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ณ ทีน่ กี้ ำ� หนด
ชื่อเป็นนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อรองรับเพิ่ม หรือการปรับอัตราในอนาคต
32 บทที่ ๑

ให้ครอบคลุมขอบเขตหรือพิสยั ของการปฏิบตั กิ ารทางทหาร (range of military operations)


(ดู รส. ๓-๐) การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสามารถเป็นตัวคูณอ�ำนาจก�ำลังรบระหว่างการปฏิบัติ
การรุก, รับ และการปฏิบัติการสนับสนุนและอาจจะเป็นการปฏิบัติการอย่างแตกหัก (decisive
operation) ระหว่างการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ (stability operations)
๑-๗๓. ความสลับซับซ้อนและขอบเขตของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร (information
environment) ท�ำให้ยากที่จะบรรลุผลกระทบที่ต้องการด้วยองค์ประกอบของข้อมูลข่าวสาร
เพียงอย่างเดียว การสนธิและการประสานสอดคล้ององค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารทั้งปวงอย่างมีประสิทธิภาพเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อการบรรลุถึงการสนับสนุนซึ่งกันและกัน
ดังเช่น การปกป้องระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายเราและองค์ประกอบของระบบ
ต้องการการสนธิและการประสานสอดคล้ององค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่าง
ระมัดระวัง สองวิถที างทีน่ ำ� มาใช้ในการสนธิองค์ประกอบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารได้แก่
การแก้ปัญหาความขัดแย้งและการประสานงาน
๑-๗๔. ผู้บังคับบัญชาประสานสอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร เพื่อเป็นมูลเหตุให้เกิดผล
กระทบเฉพาะ ณ จุดตัดสินใจในการสนับสนุนต่อการปฏิบัติการในภาพรวม การปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับที่มีการประสานสอดคล้องกันมีประสิทธิภาพมากกว่าที่จะด�ำเนินการ
ดังกล่าวอย่างเป็นอิสระต่อกัน กิจกรรมขององค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเกิดขึ้น
พร้อม ๆ กันอยู่เสมอ การประสานสอดคล้ององค์ประกอบเหล่านั้นส่งผลในการเป็นส่วนเสริมและ
การเพิ่มเติมผลกระทบ การประสานสอดคล้องเป็นการลดความเป็นไปได้ในเรื่องของความขัดแย้ง
และการแทรกแซงซึ่งอาจจะท�ำให้เกิดผลเสียต่อความตั้งใจของฝ่ายเรา หรือเป็นผลในการท�ำร้าย
กันเองด้านข้อมูลข่าวสาร (Information fratricide)
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารครอบคลุมย่านความขัดแย้ง
(INFORMATION OPERATIONS ACROSS THE SPECTRUM OF CONFLICT)
๑-๗๕. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและยุทธศาสตร์ทหารแห่งชาติ สร้างข้อก�ำหนดในเชิงบังคับให้
กับการที่ประเทศจะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวพัน (Engagement) (ดู รส. ๑) ความเกี่ยวพันนั้นเกี่ยวกับ
ชาติที่จะด�ำเนินการใช้เครื่องมือต่าง ๆ ของพลังอ�ำนาจแห่งชาติทั้งในด้าน การทูต ข้อมูลข่าวสาร
การทหาร และเศรษฐกิจ เพื่อจัดรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านความมั่นคง เครื่องมือหนึ่งซึ่งรัฐบาล
ใช้คือเครื่องมือด้านข้อมูลข่าวสารที่เป็นพลังอ�ำนาจของชาติ โดยใช้การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ในการยุทธ์ร่วม (Joint IO) กองก�ำลังทัพบกด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารภายในบริบทของ
ก�ำลังยุทธ์รว่ ม ตลอดทัว่ ทัง้ ย่านของความขัดแย้ง ผูบ้ งั คับบัญชาด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
เพื่อประยุกต์ใช้ข้อมูลข่าวสารซึ่งเป็นองค์ประกอบของอ�ำนาจก�ำลังรบในทุกสถานการณ์ กองก�ำลัง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 33

ทัพบกไม่กระท�ำการในลักษณะอย่างโดดเดี่ยว การปฏิบัติการทั้งปวงล้วนเป็นการยุทธ์ร่วมและ
ทั้งหมดนั้นเป็นการปฏิบัติการระหว่างองค์กร (interagency) อีกด้วย
ยามสงบสุข (PEACE)
๑-๗๖. ช่วงระหว่างยามสงบ ผู้บังคับบัญชาด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อจัดระเบียบ
สภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์หรือเพื่อเตรียมการในการปฏิบัติการระหว่างวิกฤติการณ์และ
ยามสงคราม ปกติการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นส่วนหนึ่งของแผนการรบปะทะในยุทธบริเวณ
ของผู้บัญชาการรบ เรื่องการเตรียมการหลักยามสงบกระท�ำในที่ตั้งภายในประเทศหรือระหว่าง
การด�ำเนินการฝึก การใช้แผนเผชิญเหตุเพื่อมุ่งต่อความพยายามของผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชา
เตรียมฐานข้อมูลเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้และตัวแสดงที่มีลักษณะเฉพาะอื่น ๆ ณ ระดับ
ยุทธศาสตร์และระดับยุทธการ ฐานข้อมูลมุ่งผลล�ำดับชุดหนึ่งหรือมากกว่าในเป้าหมายต่อไปนี้
๑-๗๖.๑ ความเป็นผู้น�ำทางการเมือง
๑-๗๖.๒ ขีดความสามารถและความล่อแหลมของข้อมูลข่าวสาร รวมถึงเครือข่ายการติดต่อ
สื่อสารทางทหารและพลเรือน ตลอดจนสื่อมวลชนทั้งในและนอกประเทศ
๑-๗๖.๓ การปฏิบัติการทางทหาร ความเป็นผู้น�ำและโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนความ
ล่อแหลมของสิ่งเหล่านั้น ณ ระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ และยุทธวิธี
๑-๗๖.๔ ปัจจัยทางเศรษฐกิจซึ่งกระทบกับความสามารถของตัวแสดงในการจัดตั้งและ
ด� ำ รงการปฏิ บั ติ ก ารทางทหาร ตลอดจนสิ่ ง ทั้ ง หลายที่ ก ระทบต่ อ ขวั ญ ของ
ประชากรและความเป็นผู้น�ำของตัวแสดง การจัดตั้งนี้รวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน
ซึ่งสนับสนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
๑-๗๖.๕ ผลกระทบในทางสังคมของกลุ่มเชื้อสาย เชื้อชาติ ความเป็นปรปักษ์และเป็น
มิตรกันมาตามประวัติศาสตร์
๑-๗๗. สิ่งแรกจากเป้าหมายเหล่านี้เกิดความคล้องจองกันกับเครื่องมือต่าง ๆ ของพลังอ�ำนาจ
แห่งชาติ เป้าหมายสุดท้ายท�ำให้เกิดการก�ำหนดแง่มุมของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ซึ่ง
ผู้บังคับบัญชาท�ำการพิจารณาเมื่อด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างของข้อมูลซึ่งเป็น
ฐานข้อมูลอาจจะรวมถึง
๑-๗๗.๑ ประชาชนและกลุ่มผู้ซึ่งมีอิทธิพลในเชิงอ�ำนาจทั้งตัวแสดงภายในประเทศและ
ภายนอกประเทศ
๑-๗๗.๒ ผู้ท�ำหน้าที่ตัดสินใจทั้งที่เป็นตัวแสดงภายในประเทศและภายนอกประเทศ
๑-๗๗.๓ ประชาชนและกลุ่มต่าง ๆ ที่เอาใจเข้าข้างในผลประโยชน์ของประเทศ
๑-๗๗.๔ ประชาชนและกลุ่มต่าง ๆ ที่เป็นปรปักษ์ต่อผลประโยชน์ของประเทศ
๑-๗๗.๕ ประชาชนและกลุ่มต่าง ๆ ที่ล่อแหลมต่ออิทธิพลของประเทศ
34 บทที่ ๑

๑-๗๗.๖ หัวข้อซึ่งเย้ายวนต่อผู้เฝ้าติดตามเฉพาะ
๑-๗๗.๗ คุณสมบัติของรัฐซึ่งท�ำให้รัฐมีเสถียรภาพหรือไม่มีเสถียรภาพ
๑-๗๗.๘ ตัวแสดงทีเ่ ป็นรัฐและไม่ใช่รฐั ซึง่ อาจจะรับหรือปฏิเสธเศรษฐกิจหรือการสนับสนุน
ทางทหาร
๑-๗๗.๙ ศาสนา เชื้อชาติและวัฒนธรรมประเพณี บรรทัดฐานและค่านิยม
๑-๗๗.๑๐ การประเมินค่าในเรื่องของโครงสร้างพื้นฐานด้านการติดต่อสื่อสาร
๑-๗๗.๑๑ การประเมินค่าในเรื่องของโครงสร้างพื้นฐานทางด้านการติดต่อสื่อสารทาง
การทหารการบังคับบัญชาและการควบคุม
๑-๗๗.๑๒ การประเมิ น ค่ า ในเรื่ อ งของการฝึ ก และความช� ำ นาญการทางการทหาร
(เพือ่ ก�ำหนดระดับความไวในการปฏิเสธ การลวงทางทหารและการปฏิบตั กิ าร
จิตวิทยา)
๑-๗๗.๑๓ อัตราการรู้หนังสือ
๑-๗๗.๑๔ การประเมินค่าในเรื่องของความสัมพันธ์และภาษาของแต่ละกลุ่มเชื้อชาติ
๑-๗๘. ระหว่างในยามสงบ การปฏิบัติในส่วนของกิจกรรมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
บางกิจกรรมต้องการการอนุมัติในระดับยุทธศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การประเมินค่า การวางแผน
การเตรียมการ และการฝึกด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารระหว่างช่วงเวลาสงบ อ�ำนวยให้ผบู้ งั คับ
บัญชาท�ำการพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรภาครัฐและไม่ใช่ภาครัฐ ซึ่งเป็นประโยชน์ในช่วง
เวลาเกิดวิกฤติการณ์และในยามสงคราม กิจกรรมเหล่านี้ยังอ�ำนวยให้หน่วยบัญชาการในระดับ
ทีต่ า่ งกันท�ำการประสานงานและขจัดข้อขัดแย้งในแผนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของพวกเขาได้
ก่อนที่จะรับมอบภารกิจ ผูบ้ ังคับบัญชา ณ ทุกระดับชัน้ สามารถก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ทอี่ นุมตั ิให้กบั
องค์ประกอบต่าง ๆ ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประสาน
สอดคล้องแผนการของพวกเขา ผู้บังคับบัญชายังคงจะต้องเรียนรู้ที่จะตระหนักถึงความเกี่ยวข้อง
กับความเสีย่ งตลอดจน ความต้องการในการจัดการกับพวกมันเพือ่ การด�ำเนินการในการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ
ยามวิกฤติการณ์ (CRISIS)
๑-๘๑. ระหว่างวิกฤติการณ์ กองก�ำลังทัพบกด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบนพื้นฐาน
ของแผนเผชิญเหตุทมี่ อี ยูห่ รือแผนปฏิบตั ติ อ่ วิกฤติการณ์ (Crisis action plan) การเผชิญเหตุที่
เป็นไปได้หรือทีเ่ กิดขึน้ จริงต้องการผูบ้ งั คับบัญชาทุกระดับชัน้ ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารเพิม่ เติม
และกลั่นกรองแผนเผชิญเหตุของพวกเขาบนพื้นฐานของพื้นที่ปฏิบัติการเฉพาะหรือเป้าหมายที่ตั้ง
ไว้ ผูบ้ ญ
ั ชาการรบประจ�ำพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์อาจจะใช้ความสัมพันธ์และเงือ่ นไขทีส่ ร้างขึน้ ในสภาพ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 35

แวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ระหว่างยามสงบเพื่อก่อให้เกิดอิทธิพลต่อผู้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ
ของฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้ การปฏิบัติในวิถีทางซึ่งจะแก้ปัญหาวิกฤติการณ์ได้อย่างเฉพาะเจาะจง
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ อาจจะพยายามที่จะสร้างอิทธิพลต่อตัวแสดงภายในโครงสร้าง
ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การทหารและทางสังคมของกลุ่มเป้าหมาย ขณะที่การปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ ยังคงรวบรวมข่าวสารเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมายในการใช้การจัดท�ำข้อตกลงใจ
และในการด� ำ เนิ น การปฏิ บั ติ ก าร ถ้ า หากจ� ำ เป็ น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาระดั บ ยุ ท ธการและยุ ท ธวิ ธี
เตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของการเตรียมการเข้าวาง
ก�ำลังรบของพวกเขา พวกเขาจะประสานการเตรียมการกับผูบ้ ญ ั ชาการกองก�ำลังรบร่วม เพือ่ ประกัน
ให้เกิดเอกภาพในความพยายามและป้องกันการท�ำร้ายกันเองทางด้านข้อมูลข่าวสาร (information
fratricide) การเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารรวมไปถึงการได้รับข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้จากทุก ๆ แหล่งที่สามารถน�ำมาใช้ได้
๑-๘๒. ข่าวสารในชุดเป้าหมายทางสังคมและเชิงข้อมูลข่าวสารจัดระเบียบการคิดของผู้บังคับ
บัญชาเกีย่ วกับพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ชุดเป้าหมายทางทหารเพ่งเล็งการวางแผนและการเตรียมการระดับ
ยุทธการ ผู้บังคับบัญชาด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อพัฒนาสถานการณ์และปรับปรุง
ความเข้าใจในสถานการณ์ของพวกเขา องค์ประกอบบางประการของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร/
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องถูกท�ำให้เหมาะสมมากกว่าส่วนอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น กิจการสาธารณะ (PA)
จัดระเบียบสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารโดยการรักษาการรายงานข่าวสารต่อสาธารณชน
การต่อต้านการลวง (Counter deception) อาจจะเปิดเผยเจตนารมณ์ของฝ่ายตรงข้าม การตอบโต้
การโฆษณาชวนเชื่ออาจจะสร้างเสถียรภาพให้กับวิกฤติการณ์ การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สามารถสร้างความมั่นใจได้ว่าข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเวลาได้รับการถ่ายทอดภายในหน่วย
บัญชาการ เพื่อให้ภาพทางการยุทธ์ร่วม (common operational picture) จะถูกน�ำไปใช้โดยผู้
ท�ำหน้าที่ตกลงใจ (รส. ๖-๐) วัตถุประสงค์ระหว่างวิกฤติการณ์คือ เพื่อลบล้างศักยภาพด้านความ
ขัดแย้งให้กลับคืนสู่สภาพยามสงบ มีหลายองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ช่วยให้
บรรลุในสิ่งนี้
๑-๘๓. ระหว่างวิกฤติการณ์ ผู้บังคับบัญชาอาจจะได้รับอ�ำนาจในการด�ำเนินการปฏิบัติการ
ข่าวกรองเฝ้าตรวจและการลาดตระเวนอย่างมุง่ ผลยิง่ ต่อฝ่ายตรงข้ามทีป่ รากฏอยู่ ในการเตรียมการ
ส�ำหรับการปฏิบัติการต่าง ๆ เครื่องมือนี้เป็นการทุ่มเททรัพยากรเพิ่มเติมเพื่อความพยายามในการ
รวบรวมข่าวสาร (การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก) การวางแผนเผชิญเหตุอย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้ผู้บังคับบัญชาก�ำหนดว่าความต้องการข้อมูลข่าวสารอะไรต้องจะถูกค้นพบเพื่อใช้ปฏิบัติใน
การปฏิบัติการต่าง ๆ ผู้บังคับบัญชาได้รับอนุมัติส�ำหรับกิจต่าง ๆ ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
36 บทที่ ๑

และผลผลิตที่ได้พัฒนาขึ้นระหว่างการวางแผนเผชิญเหตุและการเตรียมการ พวกเขายังคงปฏิบัติ
ในปฏิบตั กิ ารต่าง ๆ ด้วยวัตถุประสงค์ซงึ่ ต้องการเวลาทีย่ าวนานพอในการบรรลุผลส�ำเร็จ รูปที่ ๑-๓
แสดงให้เห็นองค์ประกอบของกิจกรรมการปฏิบตั ิการข้อมูลข่าวสารอาจจะต้องการเวลาที่ยาวนาน
ในการอนุมัติ
ยามสงคราม (WAR)
๑-๘๔. ระหว่างเวลาสงคราม ผู้บังคับบัญชาด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อประสาน
สอดคล้ององค์ประกอบข้อมูลข่าวสารซึ่งเป็นอ�ำนาจก�ำลังรบกับองค์ประกอบในด้านอื่น ๆ
ของอ�ำนาจก�ำลังรบ การปฏิบัติข้อมูลข่าวสารที่มีการประสานสอดคล้องอย่างดีสามารถตัดก�ำลัง
ไม่เฉพาะแต่พลังอ�ำนาจทางการทหารของฝ่ายตรงข้ามเท่านั้น แต่ยังตัดก�ำลังในขีดความสามารถ
ด้านการจัดท�ำข้อตกลงใจของพลเรือนฝ่ายตรงข้ามได้อีกด้วย ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการ
เฝ้าติดตามกระบวนการตัดสินใจทางทหารและน�ำไปสู่แผนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งบรรลุถึง
เจตนารมณ์และแนวความคิดในการปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา ภาคที่สองอธิบายว่าผู้บังคับบัญชา
ท�ำสิ่งนี้ได้อย่างไร ผนวก ข เป็นตัวอย่างของสถานการณ์

องค์ประกอบ ปชส./กิจกรรม แนวความคิดในการ วัตถุประสงค์ในการ กิจด้าน ปขส.


ที่เกี่ยวข้อง สนับสนุน ปขส. สนับสนุน ปขส.
รปภ.ปบ. บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน
ปจว. บก.ที่ท�ำการวางแผน ผบ.กกล.ยุทธ์ร่วม ผบ.กกล.ประจ�ำภูมิภาค/มทภ.
การลวงทางทหาร บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.หน่วยเหนือขึ้นไป บก.หน่วยเหนือขึ้นไป
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน
การ ป/บ.เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน ผบ.กกล.ประจ�ำภูมิภาค/มทภ.
การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน ผบ.กกล.ประจ�ำภูมิภาค/มทภ.
การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.สารสนเทศ (หากจัดตั้ง)
การขยายผลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน ผบ.กกล.ประจ�ำภูมิภาค/มทภ.
การท�ำลายทางกายภาพ บก.ที่ท�ำการปฏิบัติ บก.ที่ท�ำการปฏิบัติ บก.ที่ท�ำการปฏิบัติ
การประกันข้อมูลข่าวสาร บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการปฏิบัติ
การ รปภ.ทางกายภาพ บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน บก.ที่ท�ำการวางแผน
การต่อต้านข่าวกรอง บก.ที่ท�ำการวางแผน หน่วยรับสนับสนุนตามล�ำดับชั้น หน่วยรับสนับสนุนกิจ
การต่อต้านการลวง บก.ที่ท�ำการวางแผน บก. หน่วยเหนือขึ้นไป บก. หน่วยเหนือขึ้นไป
การต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ บก.ที่ท�ำการวางแผน ผบ.กกล.ยุทธ์ร่วม ผบ.กลล.ประจ�ำภูมิภาค/มทภ.
รูปที่ ๑-๓ อ�ำนาจอนุมัติการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 37

ตอนนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร G-7 และส่วนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


(THE G-7 SECTION AND THE INFORMATION OPERATIONS CELL)
๑-๘๕. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานรับผิดชอบในการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร เขาท�ำงานนี้โดยใช้เครื่องมือในส่วนของตอนนายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารและส่วนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ตอนนายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมีนายทหาร
ที่ได้รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่และนายทหารประทวนรับผิดชอบในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ในขณะปฏิบัติการอยู่ในเวลานั้น การวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและการก�ำหนด
เป้าหมายในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูผนวก ฉ) นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
จะประสานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ ผ่านทาง
ส่วนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๑-๘๖. ส่วนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตั้งอยู่ในที่บัญชาการหลัก เป็นศูนย์รวมตัวแทนของ
หน่วยงานต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย องค์กรใด ๆ ที่สามารถสนับสนุนต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร กิจการสาธารณชน (PA) และการปฏิบัติการทหาร-พลเรือน (CMO)
ล้วนเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องอยู่เสมอ ผู้บังคับบัญชาอาจจะก�ำหนดเรื่องอื่น ๆ ให้เป็นกิจกรรมที่
เกี่ยวข้องก็ได้ ส่วนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยังประกอบไปด้วยผู้แทนของตอนการปฏิบัติการ
พิเศษ และฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานเข้ามาร่วมด้วยตามแต่ภารกิจจะต้องการระบบปฏิบัติ
การสนามรบทั้งหมดได้รับการแสดงไว้ พันธกิจพื้นฐานของส่วนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคือ
การประสานสอดคล้องการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารผ่านทางกระบวนการในการปฏิบตั กิ าร (Opera-
tion Process) ในกองทัพภาคและกองพล ตอนนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจัดรูปแบบเป็น
องค์ประกอบส่วนหนึง่ ในหน่วยบัญชาการส่วนก�ำลังเหล่าทัพบก (ASCC)๑๗ แผนการ, การปฏิบตั กิ าร
ในปัจจุบัน และส่วนควบคุมที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การควบคุมของรองเสนาธิการด้านการปฏิบัติ
การเป็นผูป้ ระสานงานการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร หน่วยบัญชาการส่วนก�ำลังเหล่าทัพบกประกัน
ว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของกองทัพบกสนับสนุนแผนการทัพในด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารของยุทธบริเวณ หากกองบัญชาการอื่น ๆ ได้รับการก�ำหนดเป็นกองก�ำลังทัพบก (ARFOR)
กองบัญชาการของหน่วยนั้นจะได้รับการก�ำหนดให้รับผิดชอบในเรื่องนี้
๑-๘๗. เจ้าหน้าทีท่ เี่ ป็นสมาชิกอยูใ่ นส่วนปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารอาจจะประสานงานร่วมระหว่าง
การพบปะหรือโดยวิธีการทางเครือข่ายประจ�ำพื้นที่ ความถี่และเวลาของส่วนปฏิบัติการข้อมูล

๑๗
ตามความหมายของ ทบ.สหรัฐฯ ส�ำหรับ ทบ.ไทยน่าจะหมายถึง กองทัพบก
38 บทที่ ๑

ข่าวสารในการประชุมได้รับการประสานสอดคล้องกับจังหวะการรบของผู้บังคับบัญชา (ดูรูป จ-๒)


ส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยังระบุเป้าหมายการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งนายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารเสนอรายชื่อไว้ระหว่างการประชุมคณะกรรมการก�ำหนดเป้าหมาย สมาชิกของ
ส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานวัตถุประสงค์และกิจต่าง ๆ ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
กับผู้ร่วมงานจากหน่วยระดับสูงกว่าและต�่ ำกว่าการประสานงานนี้ประกันว่าวัตถุประสงค์และ
กิจต่าง ๆ ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทุก ๆ ระดับได้รับการประสานสอดคล้องกันอย่างแท้จริง
การฝึกส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(TRAINING FOR INFORMATION OPERATIONS)
๑-๘๘. การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีม่ ปี ระสิทธิภาพต้องการทหารผูซ้ งึ่ ได้รบั การฝึกตามทีพ่ วกเขา
ตั้งเจตนาไว้ในการสู้รบเมื่อผู้บังคับบัญชาและหน่วยด�ำเนินการฝึกในองค์ประกอบด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารอย่างแท้จริง ในการฝึกความพร้อมและความเชื่อมั่นของก�ำลังรบจะเพิ่มขึ้น
ภาคที่สองเป็นเนื้อหา เทคนิค ยุทธวิธี และระเบียบปฏิบัติส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และสร้างรูปแบบพืน้ ฐานส�ำหรับการฝึกการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเป็นรายบุคคลและในภาพรวม
เมื่อมีการพัฒนาการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับการด�ำเนินการฝึก ข้อพิจารณาด้านการฝึก
ต่อไปนี้เป็นสิ่งส�ำคัญ
๑-๘๘.๑ รวมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในวัตถุประสงค์ของการฝึก
๑-๘๘.๒ ก�ำหนดว่าความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารทีจ่ ะต้องบรรลุเป็นอย่างไรทีจ่ ะช่วย
ให้ภารกิจบรรลุผลส�ำเร็จ
๑-๘๘.๓ พัฒนารูปแบบที่ชัดเจน วัตถุประสงค์การฝึกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่
สามารถยอมรับได้
๑-๘๘.๔ สนับสนุนวัตถุประสงค์การฝึกด้วยการฝึกตามสถานการณ์จริง โดยการปฏิบัติ
ในทุกองค์ประกอบ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๑-๘๘.๕ สร้างสภาพแวดล้อมการฝึกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่สมจริง
๑-๘๘.๖ การประเมินและการประเมินค่าการใช้และการประสานสอดคล้องในเรื่องของ
องค์ประกอบ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๑-๘๘.๗ การใช้มาตรการด้านการรักษาความปลอดภัยทีเ่ หมาะสมในการปกป้องกิจกรรม
ต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๑-๘๘.๘ การประเมินค่าการใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนผลผลิต (อย่างเช่นเครื่องมือในการ
ประสานสอดคล้อง) เพื่อการปฏิบัติในปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๑-๘๘.๙ การใช้การจ�ำลอง (ยุทธ์) เพื่อเสริมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ณ ที่ใดและเมื่อ
ใดที่สามารถน�ำมาใช้ได้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 39

๑-๘๘.๑๐ ให้ความเชือ่ ถือต่อหน่วยทีก่ ำ� ลังแสดงบทบาทส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารด้านข้อมูล


ข่าวสารและลงโทษต่อหน่วยผู้ซึ่งอาจจะและไม่ท�ำ
๑-๘๘.๑๑ การน�ำผลกระทบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับของฝ่าย
เราไปใช้ต่อกองก�ำลังของฝ่ายตรงข้าม ตลอดจนผลกระทบของการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับของฝ่ายตรงข้ามที่มีต่อก�ำลังฝ่ายเรา
๑-๘๘.๑๒ ความต้องการหน่วยในการด�ำรงภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพเมือ่ พวกเขาสูญเสีย
การสนับสนุนในเรื่องของเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเทคโนโลยีดิจิตอล
๑-๘๙. การฝึกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต้องการผลผลิตซึ่งเต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสารเฉพาะ
เกี่ยวกับสถาบันทางสังคมของฝ่ายตรงข้าม, การทหาร, ศาสนา และทางเศรษฐกิจ ผู้วางแผนที่
เข้ารับการฝึกอาจจะต้องจัดเตรียมสิ่งเหล่านี้ ข้อมูลที่ต้องการในการสร้างปรับให้ทันสมัยและใช้
ผลผลิตเหล่านี้ควรจะได้รับการจัดสร้างไว้ในล�ำดับภาพเหตุการณ์ในการฝึกและรายการล�ำดับ
สถานการณ์หลัก (master scenario events list: MSEL) ก�ำลังฝ่ายตรงข้ามควรมีขดี ความสามารถ
ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างคงเส้นคงวาในสถานการณ์ฝึก การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่
เหมือนจริงเป็นความส�ำคัญในการประเมินค่าความช�ำนาญการในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของ
ฝ่ายเรา ภายในหลักการทางด้านการฝึกการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารควรจะเล่นปัญหากันอย่างเป็น
อิสระทั้งสองฝ่าย การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงโครงสร้างและเชิงกลไก ลดระดับความสามารถ
ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาความว่องไวทางด้านจิตใจและความคิดสร้างสรรค์ซึ่งการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารทีต่ อ้ งการอย่างแท้จริง ผูเ้ ข้าร่วมในการฝึกอาวุโสควรจะอนุญาตหรือแม้แต่ให้การ
ต้อนรับ ให้โอกาสในการท�ำงานในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมทีโ่ กลาหลอลหม่านซึง่ การ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารสามารถเป็นเหตุนนั้ ได้ หน่วยต่าง ๆ ควรประกอบด้วยกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในรายการกิจส�ำคัญยิ่งในภารกิจของพวกเขา (mission essential task
lists: METLs)

บทสรุป
๑-๙๐. ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารเป็นการได้มาซึ่งความได้เปรียบทางการยุทธ์ของ
ผูบ้ งั คับบัญชาด้วยการจัดการข้อมูลข่าวสาร, การข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจและการลาดตระเวน,
ตลอดจนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่กรมไปจนถึงระดับเหนือกว่ากองทัพ
ภาคด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อโจมตีระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่าย
ตรงข้ามและป้องกันระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายเรา ตลอดจนจัดระเบียบสภาพ
แวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารได้ พวกเขาด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั่วทั้งย่านของความ
40 บทที่ ๑

ขัดแย้งและครอบคลุมพิสยั หรือขอบเขตของการปฏิบตั กิ ารทางทหาร การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร


น�ำเอาองค์ประกอบและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งมวลมาใช้พร้อม ๆ
กัน โดยมีนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารรับผิดชอบทางด้านฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานใน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารน�ำองค์ประกอบด้านข้อมูลข่าวสารซึ่ง
เป็นอ�ำนาจก�ำลังรบไปใช้และมันช่วยส่งเสริมให้การใช้อ�ำนาจก�ำลังรบตัวอื่น ๆ เป็นไปอย่างมีการ
ประสานสอดคล้อง การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ประสบผลส�ำเร็จช่วยให้ผู้บังคับบัญชาได้มาและ
รักษาไว้ตลอดจนขยายผลความริเริ่มได้ เทคโนโลยีที่มีอยู่อ�ำนวยให้ผู้บังคับบัญชาท�ำการประสาน
สอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับเพื่อสร้างผลกระทบเพิ่มเติมและส่งเสริม
ผลกระทบนั้น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าความก้าวหน้าในทางเทคโนโลยีจะมีมากมาย แต่มิติทางด้าน
มนุษย์ยังคงเป็นประเด็นส�ำคัญส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
บทที่ ๒
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(Information Operations)
องค์ประกอบและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
(Elements and Related Activities)

บทนี้อธิบายถึงการสนับสนุนและความเชื่อมโยงระหว่างกันขององค์ประกอบอันเป็น
องค์ประกอบหลักและองค์ประกอบสนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตลอดจนกิจกรรมที่
เกี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารเชิ ง รุ ก และเชิ ง รั บ บทนี้ แ สดงให้ ท ราบถึ ง ความ
เชือ่ มโยงระหว่างองค์ประกอบในรูปแบบของไดอะแกรม องค์ประกอบทีเ่ ป็นองค์ประกอบหลักและ
สนับสนุนมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับระบบปฏิบตั กิ ารสนามรบ (Battlefield operating systems)
องค์ประกอบและกิจกรรมเหล่านัน้ เป็นอิสระต่อกัน ซึง่ เมือ่ น�ำมาใช้รว่ มกันและเป็นไปอย่างประสาน
สอดคล้องกันมันจะก่อให้เกิดการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร รูปที่ ๒-๑ แสดงให้เห็นว่าแต่ละ
องค์ประกอบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารสนับสนุนซึง่ กันและกันอย่างไร รูปที่ ๒-๒ แสดงให้เห็น
ว่าการสนับสนุนระหว่างองค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องใน
เรื่องของกิจการสาธารณะ (public affairs) การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร
องค์ประกอบหลัก (CORE ELEMENTS)
๒-๑. องค์ประกอบหลักของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคือ การรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการ (Operations Security: OPSEC), การปฏิบัติการจิตวิทยา (Psychological
Operations: PSYOP), การลวงทางทหาร (Military Deception: MD), การสงคราม
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Warfare: EW), และการปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(Computer Network Operations: CNO) การปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบ
ด้วย การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Attack: CNA), การป้องกัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Defense: CND) และการใช้ประโยชน์จาก
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง (Related Computer Network Exploitation: CNE)
ทีส่ ง่ เสริมการปฏิบตั กิ าร๑ องค์ประกอบหลักในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเหล่านีส้ ามารถน�ำไปใช้
ได้ทงั้ เป็นส่วน ๆ แยกจากกันหรือด้วยการใช้รว่ มกับองค์ประกอบสนับสนุนอืน่ ๆ ตลอดจนกิจกรรม
ที่เกี่ยวข้องและขีดความสามารถทางด้านการข่าวกรองเพื่อก่อให้เกิดขีดความสามารถทางด้านการ
สู้รบที่อย่างผสมผสานกันอย่างเต็มเปี่ยม

ค�ำนิยามนี้มาจาก รส. ๓-๑๓ ซึ่งสอดคล้องกับที่กล่าวไว้ในหลักนิยมการยุทธ์ร่วมของสหรัฐฯ
42 บทที่ ๒

๒-๒. การปฏิบัติการจิตวิทยา, การลวงทางทหาร และการรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการ


น�ำไปใช้เพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อผู้ท�ำหน้าที่ในการตกลงใจหรือกลุ่มต่าง ๆ ของฝ่ายตรงข้าม ขณะ
เดี ย วกั บ ที่ ท� ำ การปกป้ อ งการแสวงข้ อ ตกลงใจของฝ่ า ยเรา การสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ
การปฏิบตั กิ ารเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถกู น�ำไปใช้ในการสร้างผลกระทบหรือการป้องกันแถบพลังงาน
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ระบบข้อมูลข่าวสารและข้อมูลข่าวสารซึง่ สนับสนุนต่อผูท้ ำ� หน้าทีใ่ นการตกลงใจ
ระบบอาวุธ การบังคับบัญชาและการควบคุม ตลอดจนการตอบโต้อย่างอัตโนมัติ
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPERATIONS SECURITY)
๒-๓. การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการหมายความว่าเป็นกระบวนการในการระบุ
องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญยิง่ ของข้อมูลข่าวสารฝ่ายเราและการวิเคราะห์อากัปกิรยิ าของผูเ้ ฝ้าติดตาม
ฝ่ายเราที่ติดตามการปฏิบัติการทางทหารและกิจกรรมอื่น ๆ เพื่อ
๒-๓.๑ ระบุการปฏิบัติทั้งหลายที่สามารถสังเกตเห็นได้โดยระบบการข่าวกรองของฝ่าย
ตรงข้าม
๒-๓.๒ ก�ำหนดตัวชี้วัดระบบการข่าวกรองของศัตรูที่อาจจะได้รับ ซึ่งอาจจะตีความ หรือ
แยกแยะองค์ประกอบส�ำคัญทีเ่ ป็นต้นก�ำเนิดของข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเราในเวลาที่
จะน�ำไปใช้อย่างเกิดประโยชน์ต่อฝ่ายตรงข้าม
๒-๓.๓ การเลือกและการปฏิบัติในมาตรการต่าง ๆ ซึ่งก�ำจัด หรือลดระดับความล่อแหลมที่
ยอมรับได้ในการปฏิบัติของฝ่ายเราจากการขยายผลของฝ่ายตรงข้าม
หัวข้อมูลข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (Essential Elements of friendly Information: EEFI)
มีความหมายเช่นเดียวกับ ข้อมูลข่าวสารส�ำคัญยิ่ง (critical information) กองทัพบกนั้นไม่ใช้
ค�ำศัพท์ ข้อมูลข่าวสารส�ำคัญยิง่ นิยามความหมายของกองทัพบกอธิบายกระบวนการ วัตถุประสงค์
ว่า คือการปกป้องข้อมูลข่าวสารซึ่งสามารถขัดขวางหน่วงเหนี่ยวหรือป้องกันก�ำลังรบเพื่อการ
ที่จะบรรลุภารกิจ
๒-๔. หน้าที่ของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการ
พิเศษเป็นไปตามรายละเอียดในผนวก ฉ การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการประกอบด้วย
การใช้การพราง, การซ่อนพรางและการล่อหลอก๒ ดังนั้นจะใช้ การพราง, การซ่อนพราง และการ
ล่อหลอก สนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับอย่างไรในสภาพแวดล้อมของกองทัพบก
และการยุทธ์ร่วม


ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ FM 20-3
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 43

การสนับสนุน (Contributions)
๒-๕. การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการสนับสนุนต่อการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก
และเชิงรับ การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเชิงรุกเมื่อผลกระทบที่ต้องการคือ การปฏิเสธ
ฝ่ายตรงข้ามไม่ให้ได้รับรู้ในเรื่องของข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ การปฏิบัติ ความตั้งใจ และการปฏิบัติ
การในอนาคตของฝ่ายเรา การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารสนับสนุนต่อการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารเชิงรุกโดยการชะลอวงรอบการตัดสินใจของฝ่ายตรงข้ามและสร้างผลกระทบโดยตรงต่อ
คุณภาพการตัดสินใจของฝ่ายตรงข้ามการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเป็นการปฏิบัติ
เชิงรับเมื่อผลกระทบที่ต้องการคือการปฏิเสธข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้ามซึ่งสามารถน�ำไปใช้ใน
การก�ำหนดเป้าหมาย หรือท�ำการโจมตีต่อก�ำลังฝ่ายเรา มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การทีม่ ปี ระสิทธิภาพตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานการวางแผนอันมัน่ คงในการปิดโอกาสระบบการข่าวกรองของ
ฝ่ายตรงข้ามโดยการปิดกั้นความต้องการข้อมูลข่าวสารที่จะผลิตเป็นข่าวกรอง
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๖. ผู ้ บั ง คับบัญชาก�ำหนดมาตรการรัก ษาความปลอดภั ย การปฏิ บัติก ารในระเบี ย บปฏิ บัติ
ประจ�ำของหน่วย (รปจ.) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการประสานมาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการกับ สธ.๒, สธ.๓ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวยการตลอดจนส่วน
บังคับบัญชาอื่น ๆ ตามที่จ�ำเป็น นายทหารหรือเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
พัฒนามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการระหว่างการด�ำเนินกรรมวิธีแสวงข้อตกลง
ใจทางทหาร (Military Decisionmaking Process: MDMP) (ดูบทที่ ๓) สธ.๒ ช่วยเหลือ
กระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการโดยท�ำการเปรียบเทียบปัจจัยชี้วัดการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการของฝ่ายเรากับขีดความสามารถในการรวบรวมข่าวกรองของฝ่าย
ตรงข้าม มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการได้รับการพิมพ์แจกจ่ายใน อนุผนวก
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการประกอบผนวก การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกอบ
แผนและค� ำ สั่ ง นายทหารปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารด� ำ เนิ น การตามความรั บ ผิ ด ชอบทางฝ่ า ย
อ�ำนวยการกับนายทหารรักษาความปลอดภัยทางการปฏิบัติการ
การปฏิบัติการจิตวิทยา (PSYCHOLOGICAL OPERATIONS)
๒-๗. การปฏิบัติการจิตวิทยา เป็นการวางแผนปฏิบัติการซึ่งน�ำข้อมูลข่าวสารและปัจจัยที่
เป็นตัวชี้วัดต่าง ๆ ไปบอกกล่าวกับผู้ฟัง ซึ่งรวมถึงชาวต่างชาติเพื่อสร้างอิทธิพลต่ออารมณ์ กระตุ้น
เร่งเร้า มีเหตุมีผลตามวัตถุประสงค์ และวัตถุประสงค์สูงสุด คือเพื่อสร้างอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ของรัฐบาลต่างชาติ องค์กร กลุ่ม และตัวบุคคล จุดประสงค์ของการปฏิบัติการจิตวิทยาคือ
การโน้มน้าว หรือเพิ่มเติมทัศนคติและพฤติกรรมที่ต้องการของต่างชาติให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
44 บทที่ ๒

ของผูร้ เิ ริม่ ๓ อันได้แก่หน่วยงานของกระทรวงกลาโหม (รวมถึงกองก�ำลังทัพบก) ทีด่ ำ� เนินการปฏิบตั ิ


การจิตวิทยา
๒-๘. การปฏิบัติการจิตวิทยาระดับยุทธศาสตร์ควรประสานสอดคล้องกับโครงการข้อมูลข่าวสาร
สาธารณะระหว่างประเทศ (International Public Information Program: IPIP) ซึ่งด�ำเนินงาน
โดยหน่วยงานของรัฐบาล โครงการข้อมูลข่าวสารสาธารณะระหว่างประเทศประสานการกระจาย
ข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับนโยบายด้านการต่างประเทศทัว่ ถึง ซึง่ ควรอธิบายการด�ำเนินงานโดยองค์กร
ต่าง ๆ ของรัฐบาล โครงการดังกล่าวนีไ้ ม่ควรท�ำ “ให้เกิดความเข้าใจไปในทางทีผ่ ดิ ต่อผูฟ้ งั ต่างชาติ”
และโครงการข้อมูลข่าวสารนี้ “ต้อง” เป็นที่เชื่อถือได้๔
๒-๙. การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาสามารถกล่าวออกมาได้อย่างชัดเจนแก่ผฟู้ งั ทีเ่ หมาะสม ทัง้ ในภารกิจ,
เจตนารมณ์ และอ�ำนาจก�ำลังรบของกองก�ำลัง การ ปจว. สามารถหน่วงเหนี่ยวความคาดหวัง
อย่างไร้เหตุผลเกี่ยวกับบทบาทและการกระท�ำของทหารระหว่างการปฏิบัติการ การปฏิบัติการ
จิตวิทยาเป็นหลักส�ำคัญของความพยายามที่เริ่มจากรัฐบาลเพื่อสร้างอิทธิพลต่อผู้ฟังทั้งในประเทศ
และต่างชาติ ณ ระดับยุทธศาสตร์, ยุทธการ และยุทธวิธี
๒-๑๐. การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา เป็นตัวคูณก�ำลังรบ ขีดความสามารถของ การ ปจว. ประกอบด้วย
๒-๑๐.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพในการลวงทางทหาร
๒-๑๐.๒ การเพิ่มการรับรู้ของฝ่ายตรงข้ามซึ่งสนับสนุนการปฏิบัติของฝ่ายเรา
๒-๑๐.๓ บ่มเพาะความงุนงงสงสัยให้กับผู้น�ำฝ่ายตรงข้าม
๒-๑๐.๔ ส่งเสริมขีดความสามารถการโจมตีทางใจที่น�ำไปสู่การยอมพ่ายแพ้อย่างสิ้นเชิง
๒-๑๐.๕ ขยายภาพให้เห็นถึงความเหนือกว่าของฝ่ายเรา
๒-๑๐.๖ สร้างอิทธิพลต่อประชากรต่างชาติโดยการส่งข้อมูลข่าวสารที่แสดงความหมาย
ในภาพซึ่งให้ผลกระทบต่อทัศนคติและพฤติกรรม
๒-๑๐.๗ ยินยอมโดยไม่มกี ารขัดขืน หรือไม่รบกวนต่อการปฏิบตั กิ ารของกองก�ำลังทางบก
๒-๑๐.๘ อ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบตั กิ าร ลดความสูญเสียชีวติ ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ และ
ผลความเสียหายข้างเคียง ตลอดจนวัตถุประสงค์ในโอกาสข้างหน้า
นายทหารปฏิบัติการจิตวิทยาและหน่วยงานด้านการปฏิบัติการจิตวิทยาสามารถช่วยเหลือ
ผู้บังคับบัญชาได้โดยการให้ค�ำแนะน�ำว่าใครที่จะสามารถสร้างอิทธิพลได้และควรท�ำอย่างไร

ตามความหมายของ JP 3-53 ส�ำหรับความหมายของการปฏิบัติการจิตวิทยาซึ่งอยู่ในหลักนิยมการปฏิบัติการ
จิตวิทยาของ ทบ. อยู่ในระหว่างการพัฒนา หากมีข้อความที่แตกต่างไปจากนี้ให้ยึดถือตามหลักนิยมของ ทบ.
ไทยที่ก�ำหนดขึ้น แต่ตามหลักการโดยสรุปแล้วคือการสร้างอิทธิพลเหนือจิตใจผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายใดก็ตาม

เป็นหลักการของสหรัฐฯ ซึง่ มีความน่าสนใจจึงยกประเด็นนีม้ าเพือ่ ให้มองเห็นภาพของ การ ปจว.ระดับยุทธศาสตร์
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 45

๒-๑๑. เทคนิคเฉพาะด้านการปฏิบัติการจิตวิทยาประกอบด้วย
๒-๑๑.๑ การระบุขีดความสามารถและการปฏิบัติในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารของฝ่าย
ตรงข้าม
๒-๑๑.๒ ข้อมูลข่าวสารและปัจจัยชี้วัดที่แน่นอนซึ่งควรจะได้รับการน� ำไปบอกต่อและ
ปฏิเสธต่อฝ่ายตรงข้ามในความต้องการในการรับรูเ้ พิม่ เติมและการรักษาความลับ
ที่ส�ำคัญเอาไว้
๒-๑๑.๓ การพัฒนาหัวเรื่องและการกระท�ำที่จะสร้างแรงกดดัน หรือหลีกเลี่ยงต่อการ
สนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค์เฉพาะด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๒-๑๑.๔ การใช้การติดต่อสื่อสารแบบตัวต่อตัว เป็นการติดต่อสื่อสารที่จ�ำเป็นและใช้
สื่อมวลชนเพื่อเป็นช่องไปสู่พฤติกรรมของฝ่ายตรงข้าม
๒-๑๒. การปฏิบัติการจิตวิทยาสามารถท�ำให้ฝ่ายตรงข้ามเชื่อได้ว่าไม่ควรท�ำบางสิ่งบางอย่าง
จากการที่รับรู้ถึงผลลัพธ์ของการกระท�ำอันไม่พึงประสงค์ที่น�ำมาใช้ของพวกเขา ประเภทของ
การปฏิบัติการนี้จะถูกน�ำมาใช้การด�ำเนินการ ณ ระดับยุทธศาสตร์ แต่หน่วยปฏิบัติการจิตวิทยา
ทั้งหมดเป็นตัวเพิ่มเติมข่าวสารทางยุทธศาสตร์ การปฏิบัติการจิตวิทยาระดับยุทธการ ใช้กับ
องค์ประกอบอื่น ๆ ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร เพื่อแสวงหาหนทางในการบอกกล่าวถึง
ผู้ท�ำหน้าที่ในการตกลงใจของฝ่ายตรงข้ามซึ่งมีวิธีการปฏิบัติที่เป็นที่แน่นอนเพื่อให้ได้ประโยชน์
มากที่สุดต่อพวกเขา บุคลากรด้านการปฏิบัติการจิตวิทยาสนธิการปฏิบัติการจิตวิทยา การ
กระท�ำที่ส่งเสริมความสามารถด้านการปฏิบัติการจิตวิทยาและข้อจ�ำกัดเกี่ยวกับการด�ำเนินการ
ต่อเป้าหมายเข้าไว้ในกระบวนการก�ำหนดเป้าหมาย (Targeting process) การกระท�ำและข้อจ�ำกัด
เหล่านี้อ�ำนวยให้บรรลุผลส�ำเร็จในภารกิจ ลดผลกระทบในทางตรงกันข้ามและโจมตีต่อเจตจ�ำนง
ของฝ่ายตรงข้ามอย่างต่อเนื่อง การกระท�ำเช่นนี้อาจจะตั้งอยู่บนพื้นฐานข้อพิจารณาทางด้าน
การเมือง วัฒนธรรม เชือ้ ชาติ ศาสนา พวกมันอาจจะมีการเริม่ ต้นจาก เชิงประวัตศิ าสตร์ เศรษฐกิจ
การทหาร หรือทางอุดมการณ์ความคิด ปัจจัยทางด้านภูมิภาค ประเทศชาติ เกี่ยวกับประชากร
หรือปัจจัยทางภูมิศาสตร์ยังคงจะต้องน�ำมาพิจารณาไว้เป็นประเด็นการพิจารณาอีกด้วย
๒-๑๓. ด้วยการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก การปฏิบัติการจิตวิทยาน�ำข้อมูลข่าวสารซึ่ง
อาจจะลดระดับขวัญและประสิทธิภาพของผู้บังคับบัญชาและหน่วยของฝ่ายตรงข้ามในการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารเชิงรับ การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาเชิงรับสามารถน�ำมาใช้ในการปฏิเสธการขยายผล
ของฝ่ายตรงข้ามในเรื่องประชากรเป้าหมาย ภารกิจการปฏิบัติการจิตวิทยาประกอบด้วย
46 บทที่ ๒

๒-๑๓.๑ การแพร่ขยายภาพการปฏิบตั กิ ารทางทหารตามทีต่ อ้ งการโดยผ่านการรายงานให้


ผูเ้ ฝ้าฟังฝ่ายเรา ฝ่ายเป็นกลางและฝ่ายตรงข้ามทราบทัง้ ประเด็นการปฏิเสธและ
ประเด็นของฝ่ายเรา
๒-๑๓.๒ ท�ำการอ้อมผ่าน เครื่องตรวจจับ ผู้รอบรู้ทั้งหลาย หรือระบบการติดต่อสื่อสารที่
ท�ำให้เกิดการรบกวน เพื่อส่งผ่านข่าวสารไปยังผู้ฟังที่เป็นเป้าหมาย
๒-๑๓.๓ การก�ำหนดฝ่ายตรงข้ามให้เป็นเป้าหมายเพื่อ
๒-๑๓.๓.๑ ลดระดับขวัญและก�ำลังใจของพวกเขา
๒-๑๓.๓.๒ ลดเจตจ�ำนงในการต่อต้าน
๒-๑๓.๓.๓ ท�ำให้ฝ่ายตรงข้ามไม่กล้าที่จะใช้อาวุธร้ายแรงบางชนิดซึ่งเตรียมไว้
อย่างเช่น อาวุธอานุภาพท�ำลายล้างสูง
๒-๑๓.๓.๔ เสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อการด�ำรงความขัดแย้งต่อไป
๒-๑๓.๔ การด�ำรงรักษาขวัญและก�ำลังใจในการต่อสู้ของนักรบฝ่ายเรา
๒-๑๓.๕ ท�ำการแสวงประโยชน์จากความแตกต่างทางเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา หรือ
ทางเศรษฐกิจ
๒-๑๓.๖ การสร้างอิทธิพลเหนือท้องถิ่นที่ให้การสนับสนุนต่อผู้ก่อความไม่สงบ
๒-๑๓.๗ ท�ำให้เกิดการข่าวกรองที่สอดคล้องกับปัจจัยที่ไม่ใช่การทหารส�ำหรับการเผชิญ
เหตุการณ์
๒-๑๓.๘ ท�ำการแพร่กระจายกฎของข้อมูลข่าวสารเชิงปฏิสัมพันธ์และเชิงวัฒนธรรมแก่
ก�ำลังทหารของฝ่ายเรา
๒-๑๔. ข้อพิจารณาระหว่างการวางแผนการปฏิบัติการจิตวิทยาประกอบด้วย
๒-๑๕.๑ ข้อจ�ำกัดทางด้านกฎหมาย
๒-๑๔.๑.๑ การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาอาจถูกห้ามใช้กบั เป้าหมายทีเ่ ป็นผูฟ้ งั ภายใน
ประเทศ
๒-๑๔.๑.๒ การปฏิบัติการจิตวิทยาในระดับยุทธศาสตร์ต้องด�ำเนินการตาม
กฎหมายระหว่างประเทศ สนธิสัญญา และกฎหมายของประเทศ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อด�ำเนินการในเชิงรุก
๒-๑๕.๒ อ�ำนาจหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั อนุมตั ิ อ�ำนาจหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ดำ� เนินการปฏิบตั กิ าร
จิตวิทยาไม่สามารถด�ำเนินการได้ในระดับต�ำ่ กว่าระดับผูบ้ ญ ั ชาการกองก�ำลังยุทธ์
ร่วม (CJTF) และมีอยู่สองระดับของการปฏิบัติการจิตวิทยาที่ได้รับอนุมัติให้
ด�ำเนินการ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 47

๒-๑๔.๒.๑ วัตถุประสงค์, หัวข้อ และข่าวสาร (Objectives, themes,


and messages) นายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการรบ๕ ผู้บัญชาการ
กองก�ำลังรบร่วม หรือสถานทูตที่เกี่ยวข้องอนุมัติ วัตถุประสงค์,
หัวข้อ, และข่าวสาร
๒-๑๔.๒.๒ ผลผลิต ผูบ้ งั คับบัญชา หน่วยรองของ ผูบ้ ญ ั ชาการกองก�ำลังรบร่วม
อาจจะปรั บ ปรุ ง ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ภ ายในแนวทางที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมายโดยกองบั ญ ชาการหน่ วยเหนื อ เพื่ อ ให้ เ ข้ า ถึ ง ผู ้ ฟ ั ง ใน
ท้องถิ่นให้ดีกว่าเดิม
๒-๑๔.๒.๓ สร้างอิทธิพลต่อฝ่ายตรงข้าม ผูบ้ งั คับบัญชาต้องสามารถทีจ่ ะส�ำรอง
ข่าวสารที่ตั้งใจไว้ให้เกิดอิทธิพลต่อฝ่ายตรงข้ามด้วยเท็จจริง
๒-๑๔.๒.๔ การตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่ (Counterpropaganda) หน่วย
ปฏิบัติการจิตวิทยาหนึ่งหน่วยรับผิดชอบในการด�ำเนินการตอบโต้
การโฆษณาชวนเชื่ อ โดยการตอบโต้ ก ารโฆษณาชวนเชื่ อ เป็ น
องค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่แยกออกมา
๒-๑๔.๒.๕ ข้อจ�ำกัดด้านเวลา (Time constraints) ผลกระทบทางด้าน
การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาบางประการต้องการเวลาเป็นอย่างมากกว่า
การปฏิบัติการอื่น ๆ เพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จ ตัวอย่างเช่น การ
เปลีย่ นแปลงความคิดของผูท้ ำ� หน้าทีใ่ นการตกลงใจของฝ่ายตรงข้าม
ที่ใช้เวลาอย่างยาวนานกว่าที่จะสร้างอิทธิพลต่อฝ่ายตรงข้ามให้ใช้
ก�ำลังเข้าท�ำการตอบโต้ในเรื่องราวที่ท�ำการลวงไว้ ยิ่งไปกว่านั้น
การประเมินผลกระทบของการออกแบบการปฏิบัติการจิตวิทยา
เพือ่ สร้างผลลัพธ์ทไี่ ม่เป็นรูปธรรมปกติแล้วต้องการเวลามากกว่า
การออกแบบการปฏิบัติการจิตวิทยาที่จะสร้างผลลัพธ์ที่เป็น
รูปธรรม
๒-๑๔.๒.๖ ความสามารถในการเข้าถึงผู้ฟังอันเป็นเป้าหมายที่เป็นไปได้
(Accessibility of potential target audience) ผู้ฟังที่เป็น
เป้าหมายอาจจะอยูน่ อกเหนือขีดจ�ำกัดของวิธกี ารก�ำหนดเป้าหมาย
การปฏิบัติการจิตวิทยาทางทหารตามลักษณะทางกายภาพและ


ผูบ้ ญ
ั ชาการรบตามความหมายของ สหรัฐอเมริกา น่าจะหมายถึงผูบ้ งั คับบัญชาทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง
หน้าที่ทางการรบในยุทธการต่าง ๆ
48 บทที่ ๒

ข้อจ�ำกัดด้านนโยบาย ในทางตรงกันข้ามผู้บังคับบัญชาต้องประกัน
ว่าผลกระทบจากการปฏิบัติการจิตวิทยาของพวกเขาอาจจะเป็น
สาเหตุให้เกิดผลกระทบนอกเหนือพื้นที่ปฏิบัติการซึ่งต้องได้มีการ
ประสานงานกับหน่วยที่กระทบกระเทือน หรือกองบัญชาการที่
เหนือกว่า
๒-๑๔.๒.๗ ความต้องการทางด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุงส�ำหรับการปฏิบัติการ
จิตวิทยาความต้องสือ่ สิง่ พิมพ์และสือ่ ทีม่ คี วามหลากหลายต้องได้รบั
การน�ำเข้ามารวมไว้ในการพิจารณา การจัดท�ำผลผลิตทางด้านการ
ปฏิบัติการจิตวิทยาอาจจะเพิ่มความต้องการทางด้าน กระดาษ
หมึกพิมพ์ สื่อทางแม่เหล็ก สิ่งอุปกรณ์อื่น ๆ ทางด้านการพิมพ์
๒-๑๕. ตัวอย่างต่อไปนีแ้ สดงว่ากองก�ำลังทีป่ ฏิบตั กิ ารจิตวิทยาในระดับ ยุทธศาสตร์ ยุทธการ และ
ยุทธวิธี สามารถสนับสนุนทัง้ วัตถุประสงค์แห่งชาติและในยุทธบริเวณได้อย่างไร ผูบ้ งั คับบัญชาด�ำเนิน
การปฏิบัติการจิตวิทยาพร้อม ๆ กันทั้งระดับทางยุทธศาสตร์ ยุทธการและยุทธวิธี
๒-๑๕.๑ ระดับยุทธศาสตร์ (Strategic) การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาระดับยุทธศาสตร์ใช้วทิ ยุ
กระจายเสียง โทรทัศน์และรูปแบบต่าง ๆ ทางผลผลิตด้านสื่อสิ่งพิมพ์ พวกมัน
สามารถสร้างอิทธิพลต่อประชาชนพลเรือนของฝ่ายตรงข้ามในการที่จะ
๒-๑๕.๑.๑ ปฏิเสธหรือลดการสนับสนุนที่มีให้แก่รัฐบาลของพวกเขา
๒-๑๕.๑.๒ เคลื่อนไหว (ปกติไม่เป็นการกระท�ำที่ต้องการ) หรืออยู่กับที่
๒-๑๕.๑.๓ เป็นปฏิปักษ์โดยตรงต่อการกระท�ำของรัฐบาลพวกเขา
๒-๑๕.๒ ระดับยุทธการ (Operational) การปฏิบัติจิตวิทยาระดับยุทธการใช้ วิทยุ
กระจายเสียง โทรทัศน์และรูปแบบต่าง ๆ ทางผลผลิตด้านสื่อสิ่งพิมพ์ พวกมัน
สามารถสร้างอิทธิพลต่อประชาชนพลเรือนของฝ่ายตรงข้ามในการที่จะ
๒-๑๕.๒.๑ กระตุ้นการสนับสนุนของหน่วยที่อยู่ในการประกอบก�ำลังของฝ่าย
ตรงข้ามให้เป็นไปในทางตรงข้าม
๒-๑๕.๒.๒ สนับสนุนการกระท�ำในลักษณะที่เป็นการต่อต้าน
๒-๑๕.๒.๓ ส่งเสริมให้มีความกล้าที่จะเอาใจออกห่างจากฝ่ายตรงข้าม
๒-๑๕.๓ ระดับยุทธวิธี (Tactical) การปฏิบัติการจิตวิทยาระดับยุทธวิธีแสวงหาหนทาง
ในการสร้างอิทธิพลต่อเป้าหมายการปฏิบัติการจิตวิทยาโดยตรง มันเป็นการ
ใช้วิธีพบปะแบบตัวต่อตัว การกระท�ำเกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ที่ผลิตเป็นไปอย่างจ�ำกัด
และนิยมการใช้ล�ำโพงขยายเสียงการปฏิบัติการจิตวิทยาทางยุทธวิธี สามารถ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 49

๒-๑๕.๓.๑ สร้างอิทธิพลต่อประชาชนพลเรือนของฝ่ายตรงข้ามไม่ให้รบกวน
ความพยายามของกองก�ำลังฝ่ายเรา
๒-๑๕.๓.๒ โน้มน้าวให้เกิดความร่วมมือ หรือลดการกระท�ำอันเป็นปฏิปักษ์
โดยตรง
๒-๑๕.๓.๓ ลดความเสียหายข้างเคียงจากการให้คำ� แนะน�ำต่อผูท้ ไี่ ม่เกีย่ วข้องกับ
การรบในเขตการรบ (combat zone)
๒-๑๖. ทั้งการปฏิบัติการจิตวิทยาทางยุทธศาสตร์และทางยุทธวิธีสามารถเพิ่มความร่วมมือด้วย
เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนและประชาชนให้กับกองก�ำลังฝ่ายเราได้ ตัวอย่างเช่น
๒-๑๖.๑ การปฏิบัติการจิตวิทยาสามารถเพิ่มความปลอดภัยในส่วนประชาชนโดยการ
รายงานให้พวกเขาทราบถึงอันตรายต่าง ๆ อย่างเช่น พื้นที่สนามทุ่นระเบิดและ
พื้นที่เปื้อนพิษ
๒-๑๖.๒ การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาสามารถช่วยเหลือในการควบคุมการหมุนเวียนการจราจร
ทางการทหารและท�ำให้เกิดการประกาศเกี่ยวกับการสาธารณสุขได้
๒-๑๖.๓ การผสมผสานในเรื่องของการปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร (CMO) การปฏิบัติ
การจิตวิทยาและการปฏิบัติการกิจการสาธารณะ (public affair: PA) สามารถ
ลดความต้องการทรัพยากรในการจัดการกับพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารและลดความต้องการ
ในการพิทักษ์ก�ำลังรบ
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๑๗. ด้วยการที่ สธ.๒, สธ.๓, สธ.๕ และนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประเมินค่า
ความพยายามในการปฏิบัติการจิตวิทยา กับประสิทธิภาพการปฏิบัติการจิตวิทยาของฝ่ายเรา
ที่กระท�ำต่อกลุ่มเป้าหมายทันทีที่น� ำกิจต่าง ๆ ทางด้านการปฏิบัติการจิตวิทยามาก� ำหนดใช้
นายทหารปฏิบัติการจิตวิทยาท�ำการประสานกิจเหล่านั้นเข้ากับกิจของกองบัญชาการหน่วยเหนือ
และมอบให้กับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ผู้บัญชาการรบอนุมัติกิจต่าง ๆ ทางด้านการ
ปฏิบัติการจิตวิทยา ข้อความของความต้องการเป็นส่วนส�ำคัญเฉพาะของกระบวนการวางแผน
ทางการส่งก�ำลังบ�ำรุงและทางยุทธการในการสนับสนุนต่อการปฏิบัติการจิตวิทยา หน้าที่ของ
นายทหารปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาซึง่ เป็นฝ่ายกิจการพิเศษ เป็นไปตามรายละเอียดในผนวก ฉ นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นผู้ด�ำเนินการรับผิดชอบทางฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานเหนือ
นายทหารปฏิบัติการจิตวิทยา๖

ปัจจุบนั ต�ำแหน่งนายทหารปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาของหน่วยใน ทบ.ไทยยังไม่ได้รบั การบรรจุไว้ หลักการนีจ้ ดั ท�ำไว้
รองรับกรณีที่ ทบ.มีการก�ำหนดต�ำแหน่งดังกล่าวเพิ่มขึ้น
50 บทที่ ๒

การลวงทางทหาร (MILITARY DECEPTION)


๒-๑๘. การลวงทางทหาร ประกอบด้วยการปฏิบตั ทิ มี่ กี ารกระท�ำต่าง ๆ เพือ่ ชักน�ำให้ผทู้ ำ� หน้าที่
ในการตกลงใจทางทหารของฝ่ายตรงข้ามกระท�ำการเป็นไปในทางผิดพลาด ตามขีดความ
สามารถทางการทหาร ความตัง้ ใจ และการปฏิบตั กิ ารของฝ่ายเรา ด้วยการทีฝ่ า่ ยตรงข้ามท�ำการ
ปฏิบัติในลักษณะเฉพาะ (หรือไม่ปฏิบัติ) ซึ่งจะสนับสนุนต่อความส�ำเร็จในภารกิจของฝ่ายเรา๗
(ค�ำนิยามที่สมบูรณ์รวมถึงค�ำนิยามการลวงทางทหาร ๕ กรณี; ดูบทที่ ๔) การลวงทางทหารถูก
น�ำมาใช้เพือ่ ท�ำให้ฝา่ ยตรงข้ามตกอยูใ่ นความล่อแหลมต่อประสิทธิภาพของอาวุธ การด�ำเนินกลยุทธ์
และการปฏิบัติการของกองก�ำลังฝ่ายเรามากยิ่งขึ้น บทที่ ๔ กล่าวถึง เนื้อหาหลักนิยมเกี่ยวกับเรื่อง
ของการลวงทางทหารอาจมีการแต่งตัง้ นายทหารให้ทำ� หน้าทีข่ องนายทหารด้านการลวงทางทหาร
(military deception officer: MDO) เป็นนายทหารฝ่ายกิจการพิเศษ รายละเอียดอยู่ในผนวก ฉ
การสนับสนุน
๒-๑๙. การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารเป็นการลวงฝ่ายตรงข้ามโดยการ หลอกต้ม บิดเบือน หรือสร้าง
เรื่องเท็จ เกี่ยวกับเรื่องของประจักษ์พยานหลักฐานและรวมถึงการที่ฝ่ายตรงข้ามท�ำการตอบโต้ใน
ลักษณะที่เป็นผลร้ายต่อตัวฝ่ายตรงข้ามเอง การหลอกต้มผู้บังคับบัญชาฝ่ายตรงข้ามมีด้วยกันสอง
วิธี คือ
๒-๑๙.๑ เพิ่มความไม่แน่นอนเกี่ยวกับเจตนารมณ์ของฝ่ายเรา
๒-๑๙.๒ ลดความไม่แน่นอนเกี่ยวกับหนทางปฏิบัติของฝ่ายเรา
๒-๒๐. การลวงทางทหารที่ใช้ในเชิงรุกเป็นเหตุให้ผู้บังคับบัญชาฝ่ายตรงข้ามท�ำการปฏิบัติบน
พื้นฐานแห่งความผิดพลาดอย่างฝังแน่น การกระท�ำต่าง ๆ ของฝ่ายตรงข้ามอาจจะรวมถึงการ
สูญเสียทรัพยากรทางด้านการข่าวกรอง หรือล้มเหลวในการใช้ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อให้เกิดความ
ได้เปรียบของฝ่ายตัวเองอย่างสูงสุด การใช้การลวงทางทหารในเชิงรับเป็นการอ�ำพรางปิดบัง
ขีดความสามารถและเจตนาของกองก�ำลังฝ่ายเรา
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๒๑. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมีความรับผิดชอบทางฝ่ายอ�ำนวยการประสานงาน
ต่อนายทหารปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร ความรับผิดชอบนีป้ ระกอบด้วยการสนธิการลวงทางทหาร
เข้าไว้ในการวางแผนยุทธการในภาพรวม ปกติแผนการลวงทางทหารจัดเตรียมขึ้นโดยกลุ่ม
คณะท�ำงานด้านการลวงที่ก�ำหนดรูปแบบโดย กลุ่มจิตวิทยาด้านปฏิบัติการลวงทางทหาร
(MDO Psychological), กลุ่มการลวงทางทหาร และกลุ่มปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการ

อ้างอิงรายละเอียดเพิ่มเติมที่ JP 3-58
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 51

ปฏิบัติการ๘ กลุ่มทั้งหมดนี้เกี่ยวข้องกับการน�ำเสนอหรือการปฏิเสธข้อมูลข่าวสารของกองก�ำลัง
ฝ่ายเราต่อฝ่ายตรงข้าม กลุม่ ดังกล่าวมีความสัมพันธ์ภายในซึง่ กันและกัน และต้องการการประสาน
สอดคล้องในรายละเอียด ยิ่งไปกว่านั้น การลวงทางทหารและการปฏิบัติการจิตวิทยาต้องการ
ระยะเวลาทีย่ าวนานอยูเ่ สมอจนกว่าจะบรรลุผลกระทบต่าง ๆ ตามทีต่ อ้ งการ การอนุมตั ใิ นเรือ่ ง
กิจต่าง ๆ ทางด้านการลวงทางทหารเป็นเรื่องของกองบัญชาการที่อยู่ล�ำดับเหนือขึ้นไปของหน่วย
บัญชาการที่ก�ำหนดกิจนั้น นายทหารปฏิบัติการลวงทางทหารมีหน้าที่
๒-๒๑.๑ ประสานกับ สธ.๒ ในการก�ำหนดความต้องการ หรือโอกาสส�ำหรับการปฏิบตั กิ าร
ลวงทางทหาร
๒-๒๑.๒ ประสานกับ สธ.๓ และนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในการประกันว่า
การลวงทางทหารสนับสนุนเจตนารมณ์และแนวความคิดในการปฏิบตั ขิ องผูบ้ งั คับ
บัญชา
๒-๒๑.๓ เสนอแนะเป้าหมายการลวง วัตถุประสงค์ในการลวง และเรื่องราวที่ท�ำการลวง
๒-๒๑.๔ ประสานการปฏิบตั ทิ างฝ่ายอ�ำนวยการเกีย่ วกับการลวงทางทหารภายใต้พนื้ ฐาน
ให้รู้เท่าที่จ�ำเป็น
๒-๒๒. ส�ำหรับการรักษาสันติภาพตามแบบแม้ว่าจะต้องการความโปร่งใสในการด�ำเนินการก็ตาม
อาจจะท�ำให้หมดโอกาสในการใช้การลวงทางทหารลงไปได้ แต่ถึงกระนั้นการลวงทางทหาร
อาจจะมีความเหมาะสมและจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องน�ำมาใช้ในระหว่างการปฏิบตั กิ ารบังคับให้เกิดสันติภาพ
อย่างไรก็ตามการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาอาจจะยุง่ ยากในการด�ำเนินการลวงทางทหาร กิจการสาธารณะ
หรือการประชาสัมพันธ์ (PA) สามารถยับยั้งข้อมูลข่าวสารซึ่งสามารถท�ำให้การลวงทางทหารเป็น
โมฆะ ลักษณะของการปฏิบตั กิ ารบังคับให้เกิดสันติภาพในการปฏิบตั กิ ารหลายชาติ และการปฏิบตั ิ
การร่วมระหว่างองค์กร (interagency) อาจจะยังคงยุ่งยากต่อความพยายามในการลวงทางทหาร
เนื่องจากการลวงอาจจะสร้างความสับสนต่อเพื่อนร่วมงานหลายชาติถ้าหากไม่ระมัดระวังในเรื่อง
ของการลวง เจ้าหน้าที่ต่างชาติ เจ้าหน้าที่ติดต่อนานาชาติและเจ้าหน้าที่ติดต่อก�ำลังปฏิบัติการ
พิเศษและเจ้าหน้าทีห่ น่วยงานแห่งรัฐควรจะให้ค�ำปรึกษาระหว่างการวางแผนเพือ่ ประกันว่าข่าวสาร
ได้ถูกส่งไปยังฝ่ายตรงข้ามที่มีอยู่ด้วยความเหมาะสม


ในการปฏิบตั กิ ารทางทหารการจัดตัง้ คณะท�ำงานในด้านต่าง ๆ ถือเป็นเรือ่ งปกติตามแต่จะก�ำหนดให้มขี นึ้ ทัง้ นี้
คณะท�ำงานในด้านต่าง ๆ นีเ้ ป็นเจ้าหน้าทีซ่ งึ่ อยูภ่ ายในกองบัญชาการของหน่วยเป็นหลัก หรือได้รบั การสนับสนุน
จากกองบัญชาการของหน่วยเหนือ
52 บทที่ ๒

การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (ELECTRONIC WARFARE)


๒-๒๓. การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการกระท�ำทางการทหารในลักษณะใด ๆ ก็ตามที่
เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าและพลังงานโดยตรงเพื่อควบคุมแถบย่านพลังงาน
แม่เหล็กไฟฟ้า หรือเพื่อโจมตีต่อข้าศึก๙

การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ในการปฏิบัติการสันติภาพ
ขีดความสามารถทางด้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ซงึ่ สามารถสนับสนุนต่อการปฏิบตั กิ ารสันติภาพประกอบด้วย
การกวนคลืน่ และระบบการตรวจจับ ในปี ๑๙๙๗ กองก�ำลังสหรัฐฯ ในบอสเนียใช้การกวนคลืน่ และการปฏิบตั ิ
ทางทหารอืน่ ๆ เพือ่ ยุติ การต่อต้าน การทัพในการโฆษณาชวนเชือ่ ของนาโตต่อทางสถานีโทรทัศน์ของชาวเซิรบ์
ในบอสเนีย ในภารกิจเริม่ แรก การตรวจจับถูกใช้ในการท�ำให้เกิดการแจ้งเตือนต่อการปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ทางทหาร
โดยกลุ่มก�ำลังกึ่งทหารชาวพื้นเมือง ท�ำการประเมินค่าความตั้งใจของพวกเขา และการก�ำหนดการแก้ปัญหา
ต่อพวกเขาในการใช้ก�ำลังทหาร เมือ่ สถานการณ์กลับเข้าสูเ่ สถียรภาพ การปฏิบัตกิ ารโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์
ได้เปลี่ยนไปสู่การเฝ้าติดตามระบบการบังคับบัญชาและการควบคุมก�ำลังกึ่งทหารชาวพื้นเมืองโดยอนุโลม
ตามข้อก�ำหนดทางการทหาร ของข้อตกลงสันติภาพเดย์ตัน ยิ่งไปกว่านั้น ทรัพยากรทางด้านการเฝ้าตรวจ
ได้ถูกน�ำไปใช้ในการเฝ้าติดตามความเคลื่อนไหวของพลเรือนและก�ำลังกึ่งทหาร

การสนับสนุน (Contribution)
๒-๒๔. องค์ประกอบหลักสามประการของการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ได้แก่ การป้องกันทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Protection: EP) การสนับสนุนการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Warfare Support: ES) และการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Attack: EA)
๒-๒๕. การป้องกันทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Protection) การป้องกันทางอิเล็กทรอนิกส์
เป็นการแบ่งลักษณะการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวกับเครื่องมือทางอ้อมและทางตรงที่น� ำมา
ใช้ในการป้องกันบุคคล, สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และอุปกรณ์ จากผลกระทบของการใช้สงคราม
อิเล็กทรอนิกส์ของฝ่ายเรา หรือฝ่ายข้าศึก ซึง่ ลดประสิทธิภาพ ลบล้าง หรือท�ำลายขีดความสามารถ
ทางการรบของฝ่ายเรา กองก�ำลังฝ่ายเราใช้การควบคุมการแพร่กระจายและมาตรการต่อต้าน
การกวนคลื่น (antijamming) เพื่อด�ำเนินการป้องกันทางอิเล็กทรอนิกส์๑๐
๒-๒๖. การสนั บ สนุ น การสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (Electronic Warfare Support)
การสนับสนุนด้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการแบ่งสงครามอิเล็กทรอนิกส์ตามลักษณะ
ความเกี่ยวข้องกับกิจที่กระท�ำโดย หรืออยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงของผู้บังคับบัญชาระดับ

ดู (JP 3-51) (ดู JP 3-51 และ FM 34-40 ในรายละเอียดของการสงครามอิเล็กทรอนิกส์)
๑๐
การด�ำเนินการดังกล่าวจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการด�ำเนินการควบคุมการแพร่กระจาย และต่อต้าน
การกวนคลื่น
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 53

ยุทธการในการค้นหาเพื่อการดักรับ การพิสูจน์ทราบและการก�ำหนดที่ตั้งหรือการวางต�ำแหน่ง
แหล่งพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อการกระจายพลังงานทั้งโดยที่เป็นไปด้วยความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ
ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการให้รู้จักภัยคุกคาม การก�ำหนดเป้าหมาย การวางแผนและ
การด� ำ เนิ น การในเรื่ อ งของการปฏิ บั ติ ก ารในอนาคต ดั ง นั้ น การสนั บ สนุ น ด้ า นการสงคราม
อิเล็กทรอนิกส์กอ่ ให้เกิดความต้องการข้อมูลข่าวสารเพือ่ การน�ำไปท�ำการตัดสินใจเกีย่ วกับการปฏิบตั ิ
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์และการกระท�ำอื่น ๆ ทางยุทธวิธีอย่างเช่น การหลีกเลี่ยงภัยคุกคาม
การก�ำหนดเป้าหมายและการน�ำร่องในการเดินทาง ข้อมูลเกี่ยวกับการสนับสนุนด้านการสงคราม
อิเล็กทรอนิกส์สามารถน�ำไปใช้ในการผลิต การข่าวกรองทางการสื่อสาร ก่อให้เกิดการก�ำหนด
เป้ า หมายส� ำ หรั บ การโจมตี ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ การโจมตี เ พื่ อ การท� ำ ลายและสร้ า ง
มาตรการ ตลอดจนการข่าวกรองสัญญาณ การสนับสนุนด้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนทัง้
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับด้วยการพิสูจน์ทราบ ก�ำหนดที่ตั้งและขยายผล
ติดตามคลื่นสัญญาณของฝ่ายตรงข้ามที่ส่งออกมาและช่วยให้ผู้บังคับบัญชาได้มีความเข้าใจ
เกีย่ วกับสถานการณ์ (situational understanding) รวมทัง้ ท�ำการประเมินความเสียหายได้ ทัง้
ยังปกป้องก�ำลังรบอีกด้วยการสร้างรายละเอียดข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่าย
ตรงข้าม ข้อมูลข่าวสารที่สร้างขึ้นโดยการปฏิบัติการสนับสนุนด้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
สนับสนุนต่อการปฏิบัติการ ขฝล. (ISR) มันเป็นการรวบรวมข้อมูลข่าวสารทางเทคนิคซึ่งสนับสนุน
ต่อการพัฒนาและรักษาไว้ซึ่งความเป็นระเบียบเรียบร้อยของฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับ
การปฏิบัติการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์และการปฏิบัติการสนับสนุนการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
๒-๒๗. การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Attack) การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการ
แบ่งประเภทการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะทีเ่ กีย่ วกับการใช้พลังงานคลืน่ แม่เหล็ก พลังงาน
โดยตรงหรืออาวุธต่อต้านเรดาร์เพื่อการโจมตีบุคคล สิ่งอ�ำนวยความสะดวก หรือยุทโธปกรณ์ด้วย
ความตัง้ ใจทีจ่ ะลดประสิทธิภาพ ลบล้าง หรือท�ำลายขีดความสามารถทางการรบของข้าศึกและได้รบั
การพิจารณาว่าเป็นรูปแบบของการยิง การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วย (๑) การปฏิบตั ิ
ที่น�ำมาใช้ในการป้องกันหรือลดประสิทธิภาพของข้าศึกในการใช้แถบพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า
อย่างเช่น การกวนคลื่นและการลวงทางแม่เหล็กไฟฟ้าและ (๒) การใช้อาวุธต่าง ๆ ซึ่งใช้ทั้ง
พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าหรือพลังงานโดยตรงในฐานะทีเ่ ป็นการท�ำลายกลไกขัน้ พืน้ ฐานของฝ่าย
ตรงข้าม (เลเซอร์, อาวุธคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ, ล�ำแสงอานุภาค)๑๑ การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์สามารถ
ลวงฝ่ายตรงข้าม ปฏิเสธฝ่ายตรงข้ามจากข้อมูลข่าวสารและรบกวนระบบการบังคับบัญชาและการ

๑๑
จุดประสงค์เพื่อต้องการให้ทราบถึงขีดความสามารถของชาติมหาอ�ำนาจในการท�ำสงครามอิเล็กทรอนิกส์
อันจะเป็นการพัฒนาขีดความสามารถทางด้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ของ ทบ.ไทยในเชิงป้องกัน
54 บทที่ ๒

ควบคุมของฝ่ายตรงข้าม มีการใช้เมื่อท�ำการกวนคลื่นในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม
ของข้าศึก การกวนคลื่นอาจจะเป็นเหตุให้สูญเสียแหล่งข้อมูลที่ท�ำการรวบรวมไว้ได้ชั่วระยะ
เวลาหนึ่ง แหล่งข้อมูลอาจจะเปลี่ยนแปลงความถี่เพื่อหลีกเลี่ยงการกวนคลื่นนั้น ดังนั้นจึงเป็น
ความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องท�ำการค้นหาแหล่งข้อมูลนัน้ ใหม่ เมือ่ ได้ทำ� การประสานสอดคล้องและได้สนธิ
กับการยิงที่ให้ผลทางการสังหารแล้ว การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์จะกลายเป็นการเพิ่มพูนอ�ำนาจ
ก�ำลังเป็นทวีคูณ การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์สามารถน�ำมาใช้ด�ำเนินการต่อคอมพิวเตอร์ แต่
ไม่ใช่เป็นการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขึ้นอยู่กับการไหลเวียน
ของข้อมูลไปยังการปฏิบัติการโจมตี ขณะที่การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นอยู่กับแถบพลังงาน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดังตัวอย่างของแต่ละการปฏิบัติการคือ การส่งรหัส หรือค�ำแนะน�ำไปยังหน่วย
ประมวลผลส่วนกลางซึ่งเป็นเหตุให้คอมพิวเตอร์หยุดการท�ำงานหรือได้รับความเสียหายในระบบ
พลังงานไฟฟ้าคือ การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การใช้คลื่นกระตุ้นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ามีจุด
มุ่งหมายเพื่อท�ำลายระบบอิเล็กทรอนิกส์ของคอมพิวเตอร์และเป็นเหตุให้เกิดผลลัพธ์ในทางที่
คล้ายคลึงกันเป็นการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์๑๒
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๒๘. การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการในการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ขึน้ อยูก่ บั นายทหาร
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์๑๓ (Electronic Warfare Officer: EWO) หน้าที่ของนายทหาร
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์เป็นเสมือนเจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการพิเศษ รายละเอียดตามผนวก ฉ
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารด�ำเนินการรับผิดชอบทางฝ่ายอ�ำนวยการต่อนายทหารการ
สงครามอิเล็กทรอนิกส์
๒-๒๙. นายทหารการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ประสานกับ นายทหารทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีด่ า้ นการบังคับ
บัญชาและการควบคุม๑๔ เพื่อขจัดปัญหาเกี่ยวกับรายการความถี่ต่าง ๆ และความถี่ที่จ�ำกัดของ
๑๒
หน่วยบัญชาการรักษาความปลอดภัยและการข่าวกรองกองทัพบกสหรัฐฯ (United States Army Intelli
gence and Security Command: INSCOM) เป็นกองก�ำลังที่รับผิดชอบในการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ให้กับ
กองทัพบก (มีขีดความสามารถและหน่วย) และเป็นผู้ปฏิบัติให้กับหน่วยที่ท�ำการรบของกองทัพบก และหน่วย
ยุทธ์ร่วม การร้องขอการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์จะกระท�ำล่วงหน้าผ่านหน่วยบัญชาที่เหนือกว่าต่อไปยังหน่วย
บัญชาการอวกาศของกองทัพบกสหรัฐฯ (United State Army Space Command: ARSPACE) ณ ที่ซึ่งการ
ประสานงานด้านการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ และกระบวนการวางแผนเริม่ ขึน้ ทัง้ สองอย่างเกีย่ วกับการวางแผน
และการปฏิบัติการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์
๑๓
ส�ำหรับ ทบ.ไทยอาจจะแต่งตั้งนายทหารฝ่ายการสื่อสารของหน่วยให้ท�ำหน้าที่นี้
๑๔
ส�ำหรับ ทบ.ไทยไม่มีอัตราของนายทหารปฏิบัติการด้านการบังคับบัญชา และการควบคุม การน�ำมากล่าวไว้
ณ ที่นี้เพื่อรองรับการจัดหน่วยใหม่ในอนาคต ในปัจจุบันเมื่อไม่มีนายทหารดังกล่าวอยู่ในอัตรา หน่วยบัญชาการ
ควรแต่งตั้งฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานหนึ่งคนให้ท�ำหน้าที่นี้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 55

กองก�ำลังยุทธ์ร่วมและให้ความร่วมมือกับนายทหารการข่าวกรองในด้านการวิเคราะห์และควบคุม
องค์ประกอบ (Analysis and Control Element: ACE) นายทหารการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
ประสานกับนายทหารการข่าวกรองเพื่อขจัดข้อขัดแย้งและประสานสอดคล้องการปฏิบัติการ
สงครามอิเล็กทรอนิกส์กับการปฏิบัติการรวบรวมข่าวกรอง และเพื่อให้การข่าวกรองสนับสนุน
ต่อการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานสอดคล้อง ค�ำร้อง
ขอการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กับการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส์และท�ำการขจัดข้อ
ขัดแย้งและการประสานสอดคล้องกิจต่าง ๆ ด้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์กับกิจต่าง ๆ ด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK OPERATIONS)
๒-๓๐. การปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Operations) ประกอบ
ด้วยการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Attack), การป้องกันเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ (Computer Network Defense) และการใช้ประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ส่งเสริมการปฏิบตั กิ ารต่าง ๆ (Related Computer Network Exploitation)
การปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไม่ได้น�ำไปใช้ในระดับยุทธวิธีเสียทั้งหมด การปฏิบัติการ
เครื อข่ า ยคอมพิวเตอร์สามารถน�ำไปใช้ได้ ในระดั บหน่ วยบั ญ ชาการที่ เ หนื อ กว่ า กองทั พ ภาค
การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ควรด�ำเนินการภายใต้การสนับสนุนของกองบัญชาการกองทัพบก
หรือเทียบเท่า ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อหน่วยบัญชาการที่ต�่ำกว่าและสนับสนุนต่อวัตถุประสงค์
ของพวกเขา การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นการด�ำเนินการในทุกระดับหน่วยบัญชาการ
ของกองทัพบกครอบคลุมย่านของความขัดแย้ง การใช้ประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็น
พันธกิจทางด้านการข่าวกรองที่ด�ำเนินการในระดับหน่วยกองทัพน้อยขึ้นไป (กองทัพภาค)
(ดูค�ำจ�ำกัดความ ย่อหน้า ๒-๔๓)
การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK ATTACK)
๒-๓๑. การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Attack) เป็นการปฏิบัติการ
เพื่อขัดขวาง, ปฏิเสธ, ลดประสิทธิภาพ หรือท�ำลายแหล่งข้อมูลข่าวสารในคอมพิวเตอร์และ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือตัวคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ให้โอกาสผูบ้ งั คับบัญชาด้วยการทีก่ ารโจมตีเครือข่ายได้ปลดปล่อยอ�ำนาจแห่งทางเลือกในการโจมตี
ที่ไม่ใช่แบบจลนะ (อยู่กับที่) ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมผลกระทบในส่วนของขีดความสามารถในทางสังหาร
และไม่สังหารโดยการท�ำลายข้อมูลข่าวสารแบบดิจิตอล นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
รับผิดชอบในการวางแผนการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประสานงานอย่างใกล้ชิดกับ
56 บทที่ ๒

นายทหารการข่าวกรอง ผู้ซึ่งเริ่มกรรมวิธีทางการข่าวกรองในการสนับสนุนการวางแผนและ
การปฏิบัติการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมถึงการประเมินความเสียหายจากการรบ
๒-๓๒. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้บังคับบัญชาสนธิการโจมตี
เครือข่ายคอมพิวเตอร์กับองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ การโจมตีเครือข่าย
คอมพิวเตอร์สามารถสนับสนุน เพิ่มเติม และอ�ำนวยความสะดวกให้กับการปฏิบัติการจิตวิทยา
และการด�ำเนินกลยุทธ์และการโจมตีในทางลึก การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ การยิงสนับสนุนและ
การปฏิบัติการลวงทางทหาร ขีดความสามารถของมันรวมถึงการปฏิเสธ การลวง การรบกวนและ
การท�ำลายปมการบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายตรงข้าม ระบบอาวุธ ระบบการติดต่อสือ่ สาร
ข้อมูลข่าวสารและเครือข่าย นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารค้นหาวิธีการที่สร้างสรรค์เพื่อสนธิ
ขีดความสามารถของมันเข้าไว้ในการปฏิบตั กิ ารทัง้ มวล นักวางแผนปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประสาน
และขจัดข้อขัดแย้งการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์และความพยายามด้านการรวบรวมข่าวกรอง
พวกเขายังปฏิบัติตามกิจต่าง ๆ ต่อไปนี้อีกด้วย
๒-๓๒.๑ ความต้องการในการก�ำหนดการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์และห้วงระยะเวลา
ของมัน
๒-๓๒.๒ สนธิการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์กับขีดความสามารถอื่น ๆ และอาวุธทาง
สังหารและไม่สังหารเพื่อส่งเสริมผลกระทบของมัน
๒-๓๒.๓ ด�ำเนินการประเมินความเสี่ยงเพื่อก�ำหนดผลที่ตามมาที่เป็นไปได้ของผลกระทบ
จากการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในล�ำดับสอง-สาม
๒-๓๒.๔ ขจัดข้อขัดแย้งจากการปฏิบตั กิ ารโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทเี่ ป็นไปได้กบั การ
ใช้ประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการปฏิบัติการอื่น ๆ ที่ก�ำลังด�ำเนินไป
รวมถึงการได้มาซึง่ ข่าวกรอง/และการสูญเสียการประเมินค่า ผลกระทบทีเ่ ป็นไปได้
ของการปฏิบัติการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ต่อการปฏิบัติการข่าวกรองคือ
ปัจจัยส�ำคัญซึ่งผู้บังคับบัญชาพิจารณาก่อนลงมือปฏิบัติการโจมตี
๒-๓๓. การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก การก�ำหนด
เป้าหมายการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ต่อแหล่งทรัพยากรฝ่ายตรงข้ามต้องการการด�ำเนินการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรับทีไ่ ด้มกี ารพิจารณาไตร่ตรอง
๒-๓๔. ผู้บังคับบัญชาพิจารณาผลของการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เป็นไปได้ก่อนที่จะ
ด�ำเนินการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น ฝ่ายตรงข้ามที่มีความก้าวหน้าทางด้าน
เทคโนโลยีซึ่งระงับการด�ำเนินงานด้านการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์อาจจะแก้เผ็ดต่อการโจมตี
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของฝ่ายเราในลักษณะเดียวกัน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 57

การสนับสนุน (Contributions)
๒-๓๕. การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใช้อาวุธซึง่ โจมตีตอ่ คุณสมบัตหิ ลักของระบบข้อมูลข่าวสาร
การเชื่อมต่อและพันธกิจหลักของระบบข้อมูลข่าวสาร, การสนับสนุนการบังคับบัญชาและการ
ควบคุม การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีวัตถุประสงค์สองประการคือ ปฏิเสธ หรือหยุดยั้งการ
ให้บริการเครือข่ายและท�ำให้ข้อมูลเสียไป ทั้งสองอย่างนี้ การท�ำให้ข้อมูลเสียไป หรือการทุจริต
ข้อมูลมีความเป็นไปได้อย่างมากทีส่ ดุ ทีก่ อ่ ให้เกิดผลกระทบในทางขัดขวางต่อการบังคับบัญชาและ
การควบคุมทางยุทธวิธี โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าหากไม่สามารถค้นหามันได้
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๓๖. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกองทัพน้อย (กองทัพภาค) ร้องขอการสนับสนุนการ
ั ชาการกองก�ำลังรบร่วมทางสายการปฏิบตั กิ าร (Operations
โจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากผูบ้ ญ
channels) (ดูผนวก ฉ)
๒-๓๗. การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะมีการปฏิบตั ิ ภายหลังการทบทวนนโยบายและกฎหมาย
อย่างระมัดระวัง ผู้บังคับบัญชาประกันว่าการใช้วิธีการใด ๆ ในเรื่องของการโจมตีเครือข่าย
คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างสอดคล้องเสมอต้นเสมอปลาย ตามพันธสัญญาระหว่างประเทศและ
กฎหมายการสงครามระหว่างประเทศ หลักพื้นฐานของกฎหมายสงคราม อย่างเช่น ความต้องการ
ในเรื่องของความจ�ำเป็นทางการทหาร, ความเหมาะสมและการหลีกเลี่ยงการตกอยู่ในสภาพทุกข์
ทรมาน จะมีการประยุกต์ใช้กับการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK DEFENSE)
๒-๓๘. การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Defense) ประกอบด้วย
มาตรการในการปกป้องและป้องกันข้อมูลข่าวสาร, คอมพิวเตอร์ และเครือข่ายจากการ
ขัดขวาง การปฏิเสธ การลดประสิทธิภาพ หรือการท�ำลาย มันรวมถึงมาตรการทั้งปวงในการ
ค้นหากิจกรรมเครือข่ายทีไ่ ม่ได้รบั อนุญาตและการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของฝ่ายตรงข้าม
ตลอดจนการป้องกันคอมพิวเตอร์และเครือข่ายจากการโจมตี มาตรการบางอย่างรวมถึงการ
ควบคุมการเข้าถึงการรหัสคอมพิวเตอร์ที่มุ่งประสงค์ร้ายและโปรแกรมในการค้นหาและเครื่องมือ
ในการค้นหาการบุกรุก การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้รับการส่งเสริมความสามารถโดยการ
ประกันข้อมูลข่าวสาร (Information Assurance: IA)
การสนับสนุน (Contributions)
๒-๓๙. ในการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากการกระท�ำอันเป็นการละเมิด แต่ละองค์กรใช้
ขีดความสามารถที่มีอยู่ในการด�ำเนินการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การป้องกันเครือข่าย
58 บทที่ ๒

คอมพิวเตอร์รวมถึงการตอบโต้ตา่ ง ๆ เพือ่ หยุด หรือลดผลกระทบของการปฏิบตั อิ นั เป็นการละเมิด


สิ่งเหล่านี้รวมถึง
๒-๓๙.๑ การสร้างมาตรการในการปกป้องภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยการจัดการ
เครือข่ายและการประกันข้อมูลข่าวสาร ระเบียบวิธีปฏิบัติ, เครื่องมือ และ
บุคลากรที่ได้รับการฝึก
๒-๓๙.๒ รวบรวมและจัดเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารเพื่อการติดตาม, การท�ำความเข้าใจ
การสอบสวนฟ้องร้องผู้กระท�ำผิดในการกระท�ำความผิดตามที่ละเมิด
๒-๓๙.๓ น�ำซอฟต์แวร์ป้องกันการเจาะเข้าระบบเข้าไว้ในเครือข่าย
๒-๓๙.๔ จัดสร้างไฟร์วอลล์
๒-๓๙.๕ เพิ่มการฝึกเฝ้าระวังรวมถึงข้อมูลข่าวสารจาก สธ.๒ เกี่ยวกับภัยคุกคามต่อการ
ป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การประสานงานทางด้านฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๔๐. นายทหารฝ่าย อ�ำนวยการด้านการบังคับบัญชาและการควบคุม๑๕ มีความรับผิดชอบ
ทางฝ่ายอ�ำนวยการในการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในระดับยุทธวิธี การป้องกันเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ใช้ขีดความสามารถในเรื่องของการติดต่อสื่อสารและการข่าวกรอง ผู้บริหารระบบ
ประกันว่าผู้ใช้ได้ด�ำเนินการตามระเบียบปฏิบัติที่เหมาะสมในการป้องกันการบุกรุกต่อเครือข่าย
๒-๔๑. ทบ.ไทยควรมีการจัดตั้งชุดปฏิบัติการตอบโต้ฉุกเฉินด้านคอมพิวเตอร์ของกองทัพบก
(the Army Computer Emergency Response Team: ACERT) เพื่อท�ำหน้าที่ในการ
ป้องปราม ค้นหา ประสานงาน ตอบโต้ และรายงานอุบตั กิ ารณ์เกีย่ วกับความปลอดภัยระบบข้อมูล
ข่าวสารของกองทัพบก และควรมีการจัดชุดปฏิบัติการตอบโต้ฉุกเฉินด้านคอมพิวเตอร์ประจ�ำ
ภูมิภาค (Regional computer emergency response teams: RCERT) เพื่อท�ำหน้าที่
ป้องปราม ค้นหา ประสานงาน ตอบโต้ และรายงานอุบัติการณ์ด้านความปลอดภัยระบบข้อมูล
ข่าวสารของกองทัพบก ทั้งสองหน่วยงานเป็นการรวมความพยายามในการป้องกันเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ครอบคลุมทุกเครือข่าย กลุม่ ดังกล่าวให้ความช่วยเหลือนายทหารด้านการบังคับบัญชา
และการควบคุม ในสงครามต่อต้าน แฮกเกอร์ การบุกรุก และไวรัสคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ตลอดจน
จัดเตรียมให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคต่าง ๆ เมื่อเป็นที่ต้องการ (ดูผนวก ฉ) เจ้าหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวย
การเข้าร่วมปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดเพื่อปกป้องเครือข่ายต่าง ๆ และระบบข้อมูลข่าวสาร ปกติหาก
มีการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการเครือข่าย (NETOPS) ของกองทัพบก ศูนย์ดังกล่าวจะระบุการโจมตี
๑๕
นายทหารที่ได้รับการแต่งตั้งให้รับผิดชอบด้านการบังคับบัญชาและการควบคุม ไม่ได้หมายถึงผู้บังคับบัญชา
แต่เป็นนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานซึ่งมีการจัดไว้ในอัตราก�ำลังพลของ ทบ. สหรัฐฯ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 59

เครือข่ายที่เป็นไปได้ ทั้งโดยการสังเกตโดยตรงหรือการรายงานผ่านมาทางนายทหารปฏิบัติ
การบังคับบัญชาและการควบคุม จากผู้ใช้ที่ได้รับผลกระทบและส่งผ่านรายงานไปยังชุดปฏิบัติ
การตอบโต้ฉุกเฉินด้านคอมพิวเตอร์ของกองทัพบก (the Army Computer Emergency
Response Team: ACERT) เพือ่ การตอบโต้หากมีการจัดตัง้ ขึน้ (ดูผนวก ฉ ในเรือ่ งความสัมพันธ์
ทางการบังคับบัญชา)
๒-๔๒. ธรรมชาติอันสลับซับซ้อนของ กริดข้อมูลข่าวสารทั่วโลก (Global Information
Grid: GIG) ต้องการการประสานงานอย่างใกล้ชิดในเรื่องของกิจกรรมการป้องกันเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ระหว่างการปฏิบัติการ การข่าวกรอง การติดต่อสื่อสาร การต่อต้านข่าวกรอง
การบังคับใช้ทางกฎหมาย และองค์กรอื่น ๆ ของรัฐบาล
การใช้ประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK EXPLOITATION)
๒-๔๓. การใช้ประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย การปฏิบัติการที่ส่งเสริมความ
สามารถ (Enabling operations) และการรวบรวมข่าวกรองเพือ่ เก็บรวบรวมข้อมูลจากระบบ
ข้อมูลข่าวสาร หรือเครือข่ายอัตโนมัตขิ องเป้าหมายหรือฝ่ายตรงข้าม (จากค�ำนิยามนีต้ รงกับการ
ทีก่ ารยุทธ์รว่ มของกองทัพบกสหรัฐฯ ได้รเิ ริม่ ไว้และก�ำลังได้รบั การจัดท�ำเป็นค�ำนิยามการยุทธ์รว่ ม
ที่เป็นไปได้)
การสนับสนุน (Contribution)
๒-๔๔. การใช้ประโยชน์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สนับสนุนต่อการรวบรวมข่าวกรอง ณ หน่วย
บัญชาการระดับกองทัพน้อย (ดูผนวก ฉ ส�ำหรับความสัมพันธ์ทางการบังคับบัญชา)
องค์ประกอบสนับสนุน (SUPPORTING ELEMENTS)
๒-๔๕. องค์ประกอบสนับสนุนประกอบด้วย การท�ำลายทางกายภาพ (physical destruction)
การประกันข้อมูลข่าวสาร (Information Assurance) การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ
(physical security) การต่อต้านข่าวกรอง (counterintelligence) การต่อต้านการลวง
(counterdeception) และการตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ (counterpropaganda)
การท�ำลายทางกายภาพสามารถน�ำมาใช้เสมือนเป็นเครื่องมือเพิ่มเติมในการสร้างอิทธิพลต่อผู้
หรือกลุ่มที่ท�ำหน้าที่ในการตกลงใจหรือต่อระบบข้อมูลข่าวสารที่เป็นเป้าหมายในการสนับสนุน
ในเรือ่ งของความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมการประกันข้อมูลข่าวสารและการปฏิบตั กิ าร
เครือข่ายอาจจะได้รับการด�ำเนินการอย่างเป็นอิสระต่อกัน หรืออาจจะได้รับการริเริ่มในการ
ตอบสนองต่อแนวทางด้านยุทธการในการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ขับเคลื่อนเหตุการณ์
การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพสามารถสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารโดยการป้องกัน
60 บทที่ ๒

การเข้าถึงจากการละเมิดทางกายต่อบุคคล ยุทโธปกรณ์ สถานที่ตั้ง วัสดุ และเอกสาร การสืบสวน


การปฏิบัติการ การรวบรวม การวิเคราะห์/การผลิต และการบริการทางพันธกิจอย่างไม่หยุดนิ่ง
ด้านการต่อต้านข่าวกรองสามารถน�ำไปใช้ในการสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร การต่อต้าน
การลวงสนับสนุนต่อการท�ำความเข้าใจสถานการณ์และการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับโดย
การปกป้องระบบบังคับบัญชาและการควบคุมของฝ่ายเราและผู้ท�ำหน้าที่ด้านการตัดสินใจ
จากการปฏิบัติการลวงของฝ่ายตรงข้าม การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อช่วยลดความสามารถของ
การโฆษณาชวนเชือ่ ของฝ่ายตรงข้ามเพือ่ สร้างอิทธิพลต่อกองก�ำลังฝ่ายเราและผูอ้ นื่ ๆ ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ
การ มันเป็นการโจมตีต่อการโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ายตรงข้าม
การท�ำลายทางกายภาพ (PHYSICAL DESTRUCTION)
๒-๔๖. การท�ำลายทางกายภาพ เป็นการน�ำอ�ำนาจก�ำลังรบไปใช้ในการท�ำลาย หรือลด
ประสิทธิภาพกองก�ำลังฝ่ายตรงข้าม แหล่งข้อมูลข่าวสาร ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม
และสถานที่ตั้ง มันรวมถึงการยิงเล็งตรงและเล็งจ�ำลองจากก�ำลังทางภาคพื้นดิน ทางทะเล
และทางอากาศ และยังคงรวมถึงการปฏิบัติโดยตรงโดยกองก�ำลังปฏิบัติการพิเศษ นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานสอดคล้องการด�ำเนินการท�ำลายทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ กับผู้ประสาน
การยิงสนับสนุน การท�ำลายทางกายภาพเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์วิกฤติและจุดตัดสินใจต่าง ๆ ที่
คาดว่าอยู่ในกรรมวิธีแสวงข้อตกลงใจของฝ่ายตรงข้ามหรือโครงสร้างพื้นฐานที่ส�ำคัญของฝ่าย
ตรงข้ามปืนใหญ่สนามเป็นอาวุธหลักไม่เพียงแต่เป็นผูส้ นับสนุนต่อองค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารนี้เท่านั้น ดังนั้นจึงควรมีทีมก�ำหนดเป้าหมายเป็นผู้ก�ำหนดเป้าหมายการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารต่อระบบทั้งทางอากาศ และทางภาคพื้นที่ดีที่สุดที่จะสามารถท�ำการโจมตีต่อ
เป้าหมายนั้น (ดูผนวก จ)
การสนับสนุน (Contributions)
๒-๔๗. เมือ่ ใช้ในการเป็นองค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร การท�ำลายทางกายภาพ
ปกติแล้วเป็นการปฏิบัติการในเชิงรุก (Offensive IO) บ่อยครั้งที่การท�ำลายเป้าหมายสนับสนุน
ต่อการบรรลุผลส�ำเร็จทั้งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและวัตถุประสงค์ของการรบตามแบบทั่วไป
อย่างไรก็ตาม ผู้บังคับบัญชาใช้การท�ำลายทางกายภาพเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของการรบกวน
ลดประสิทธิภาพ หรือท�ำลายข้อมูลข่าวสาร ระบบข้อมูลข่าวสาร กระบวนการในการตกลงใจ หรือ
ผู้มีหน้าที่ในการตกลงใจ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 61

๒-๔๘. ขีดความสามารถในการท�ำลายทางกายภาพบนพืน้ ฐานของการสงครามตามแบบ ในทฤษฎี


การสงครามท�ำลายล้าง สามารถสนับสนุนต่อการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้โดยประกอบด้วย
๒-๔๘.๑ ปืนใหญ่สนาม
๒-๔๘.๒ การสนับสนุนทางอากาศใกล้ชิด (Close air support)
๒-๔๘.๓ อากาศยานของกองทัพบก
๒-๔๘.๔ การปฏิบัติการพิเศษ (Special operations forces)
๒-๔๘.๕ ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน
๒-๔๘.๖ การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (พลังงานกระตุน้ ทางแม่เหล็กไฟฟ้า, พลังงานโดยตรง)
๒-๔๘.๗ ทรัพยากรทางการยุทธ์ร่วมและทรัพยากรของประเทศที่เลือกใช้
๒-๔๘.๘ หน่วยหรือทรัพยากรทางทะเล หรือทางนภายุทธศาสตร์
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๔๙. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ประสาน การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ การปฏิบัติการ
จิตวิทยา การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบตั กิ าร และการลวงทางทหารกับการท�ำลายทางกายภาพ
เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร๑๖ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
มีหน้าที่ในการพัฒนาเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและบรรจุเป้าหมาย
เหล่านัน้ ไว้ในกรรมวิธเี ป้าหมายทางการบังคับบัญชา (Command targeting process) (ดูผนวก จ)
การประกันข้อมูลข่าวสาร (INFORMATION ASSURANCE)
๒-๕๐. การประกันข้อมูลข่าวสาร ประกอบด้วยการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารซึง่ เป็นการปกป้อง
และการป้องกันข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสาร โดยเป็นการประกันในความสามารถทีจ่ ะ
น�ำไปใช้ได้ ความมัน่ คง การให้การรับรอง การให้ความเชือ่ มัน่ และการยอมรับ สิง่ นีร้ วมถึงการจัดการ
ในเรือ่ งเกีย่ วกับการกูค้ นื ในส่วนของระบบข้อมูลข่าวสารโดยการรวบรวมขีดความสามารถทางด้าน
การพิทักษ์ การค้นหา และการตอบโต้เข้าไว้ด้วยกัน๑๗ โดยความหมายได้แก่
๒-๕๐.๑ ความสามารถที่จะน�ำไปใช้ได้ (Availability) หมายถึงการเข้าถึงข้อมูลและ
การให้บริการได้อย่างทันเวลาและเชื่อถือได้ต่อผู้ใช้ที่ได้รับอนุญาต ระบบข้อมูล
ข่าวสารที่น�ำมาใช้ได้ ปฏิบัติเมื่อใดก็ได้ยามที่ต้องการ
๒-๕๐.๒ ความมั่นคง (Integrity) หมายถึงการปกป้องไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดย
ไม่ได้รับอนุญาต และรวมถึงการท�ำลายระบบข้อมูลข่าวสารกับการปฏิบัติอย่าง
ถูกต้อง เสมอต้นเสมอปลายและเที่ยงตรง
๑๖
ศึกษารายละเอียดอ้างอิงได้จาก JP 3-09 และ FM 6-20
๑๗
ค�ำนิยามจาก JP 3-13
62 บทที่ ๒

๒-๕๐.๓ การให้การรับรอง (Authentication) หมายถึงความแน่นอนในเรือ่ งการพิสจู น์


ทราบและการให้อ�ำนาจแก่ผู้ใช้หรือผู้รับในการรับข้อมูลข่าวสารแต่ละประเภท
อย่างจ�ำเพาะ
๒-๕๐.๔ การให้ความเชื่อมั่น (confidentially) หมายถึงการป้องกันการเปิดเผยข้อมูล
ข่าวสารโดยไม่ได้รับอนุญาต
๒-๕๐.๕ การยอมรับ (Nonrepudiation) หมายถึงการพิสจู น์ในเรือ่ งของการพิสจู น์ทราบ
ผู ้ รั บ และผู ้ ส ่ ง แม้ ก ระทั่ ง สามารถปฏิ เ สธให้ มี ก ารด� ำ เนิ น กรรมวิ ธี ต ่ อ ข้ อ มู ล
การประกันข้อมูลข่าวสารรวมเอาการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าไว้เพือ่ ให้
เกิดการป้องกันในทางลึก ซึง่ ปกป้องระบบกริดข้อมูลข่าวสารโลก (GIG) จากการ
ขยายโอกาสในการเข้าใช้ประโยชน์ การลดประสิทธิภาพและการปฏิเสธการ
บริการ โดยการใช้ขีดความสามารถด้านการปกป้อง การค้นหา การตอบโต้และ
การกูค้ นื อย่างเข้มแข็ง การรวมการลักษณะดังกล่าวนีส้ ง่ เสริมต่อมาตรการในการ
ป้องกันเชิงรับอย่างมีประสิทธิภาพและ/หรือการกู้คืนข้อมูลข่าวสารได้อย่างทัน
เวลาในส่วนของเครือข่ายและระบบข้อมูลข่าวสารที่ง่อยเปลี้ยลงไป
การสนับสนุน (Contribution)
๒-๕๑. การโจมตีทเี่ กีย่ วข้องกับการประกันข้อมูลข่าวสารสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
เชิงรับ โดยการปกป้องข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเราจากการบุกรุก การก้าว
ล่วงของฝ่ายเราตลอดจนการโจมตีจากฝ่ายตรงข้าม การประกันข้อมูลข่าวสารใช้การป้องกันใน
ทางลึกซึ่งรวมถึงการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อตอบโต้การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ของฝ่ายตรงข้าม
๒-๕๒. การป้องกันการประกันข้อมูลข่าวสารในทางลึกเป็นการปกป้องเครือข่ายทั้งหมด
รวมถึงระบบข้อมูลข่าวสารของเครือข่ายทั้งหมด (อย่างเช่น คอมพิวเตอร์และวิทยุ) และการใช้
โครงสร้างพื้นฐาน (อย่างเช่น เกทเวย์, เส้นทาง และสวิตช์) เพื่อปิดกั้นความเสียหายและการกู้คืน
เครือข่ายต่าง ๆ การป้องกันดังกล่าวก่อให้เกิดการปกป้องข้อมูลข่าวสาร การค้นหา การบุกรุก/
การโจมตี และการตอบโต้
๒-๕๓. การปกป้องข้อมูลข่าวสารได้รับความส�ำเร็จด้วยวิธีการในการรักษาความปลอดภัยอย่าง
เต็มรูปแบบ การปกป้องบริบทแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกป้องกันผู้ใช้ที่ไม่เป็นที่รู้จัก หรือ
ข้อมูลจากการเข้าสูเ่ ครือข่ายโดยไม่ได้รบั อนุญาต เครือ่ งมือภายนอกรวมถึงการรักษาความปลอดภัย
ทางการติดต่อสื่อสารรายการ การกรองผู้เข้าสู่เส้นทาง/รายการควบคุมการเข้าถึง (Router
filtering/access control lists) และการคุ้มกันทางด้านความปลอดภัย (security guards) ณ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 63

ทีท่ จี่ ำ� เป็น การแยกส่วนทางกายภาพ หรือการสร้างก�ำแพงขวางกัน้ ถูกวางไว้ระหว่างเครือข่ายทีไ่ ด้รบั


การปกป้องและเครือข่ายที่ไม่ได้รับการปกป้อง การป้องกันในลักษณะเป็นวงรอบภายใน ประกอบ
ด้วย ไฟล์วอลล์และราวท์เตอร์ฟิลเตอร์ การรองรับเหล่านี้เป็นล�ำดับไล่เรียงเป็นชั้น ๆ ของก�ำแพง
ขวางกั้น หรือเป็นเหมือนประชาคมในเชิงพันธกิจ
๒-๕๔. การค้นหาการบุกรุก/การโจมตี ได้รบั ความส�ำเร็จโดยเครือ่ งมือในการเฝ้าติดตามทีป่ กป้อง
วงรอบและอุปกรณ์ในการค้นหากิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งละเมิดนโยบายด้านความปลอดภัย เหตุการณ์ที่
เลือกไว้ หรือการอุบตั ขิ นึ้ (อย่างเช่น ความพยายามในการล็อกออนภายในห้วงระยะเวลาทีก่ ำ� หนด)
จะมีการเฝ้าติดตามการเข้าถึงโดยไม่มอี ำ� นาจและการพลัง้ เผลอ เจตนาร้าย หรือการปรับปรุงพัฒนา
ที่ไม่มุ่งประสงค์ร้ายหรือการท�ำลายในส่วนของข้อมูล
๒-๕๕. ปฏิ กิ ริ ย าด้ า นการจั ด การเครื อ ข่ า ยในการตอบโต้ ผ ลกระทบของอุ บั ติ ก ารณ์ เ กี่ ย วกั บ
เครือข่าย ปฏิกิริยาต่อการบุกรุกเครือข่ายหรือระบบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับขีดความสามารถใน
การกู้คืน การให้บริการข้อมูลข่าวสารที่จ�ำเป็นตลอดจนการริเริ่มกรรมวิธีตอบสนองต่อการโจมตี
ขีดความสามารถในการกู้คืนจากหายนภัย ต้องมีการปิดกั้นและการกู้คืนเครือข่ายแผนที่มีความ
ต่อเนื่องในส่วนของการปฏิบัติการในรายละเอียดอ�ำนวยให้บรรลุถึงกิจต่าง ๆ เหล่านี้
๒-๕๖. โครงการการรักษาความปลอดภัยระบบข้อมูลข่าวสารของกองทัพบก (The Army
INFOSYS Security Program)๑๘ จะก�ำหนดมาตรการรักษาความปลอดภัย ซึ่งปกป้องข้อมูล
ข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารต่อรูปแบบต่าง ๆ ของภัยคุกคาม๑๙ การพัฒนาระบบต้องการ
การวางแผนการรักษาความปลอดภัยระบบข้อมูลข่าวสารระหว่าง การได้มา การฝึกหัด การพัฒนา
การปฏิบัติการ และการบ�ำรุงรักษา เมื่อโครงการด�ำเนินไปด้วยความเหมาะสม ระบบในเชิง
ลึก.ก่อให้เกิดการปกป้องและการป้องกันในส่วนของข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสาร
(ดูการประกันข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ นโยบายและข้อพิจารณาด้าน
การจัดองค์กรเกี่ยวกับรายละเอียด)
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๕๗. นายทหารฝ่ายการบังคับบัญชาและการควบคุม รับผิดชอบในการประกันข้อมูลข่าวสาร
การประกันข้อมูลข่าวสารเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของการปฏิบัติการเครือข่าย (NETOPS) ใน
ฐานะเป็นการจัดการเครือข่ายและการจัดการด้านการกระจายข้อมูลข่าวสาร ผู้จัดการด้านการ
ประกันข้อมูลข่าวสาร ผู้จัดการด้านการประกันข้อมูลข่าวสารเครือข่าย (IA network manager)
๑๘
กองทัพบกอาจมีการจัดตั้งโครงการการรักษาความปลอดภัยระบบข้อมูลข่าวสารของกองทัพบกในอนาคตได้
๑๙
ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากเอกสาร AR 380-19 ของกองทัพบกสหรัฐฯ
64 บทที่ ๒

เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยด้านการประกันข้อมูลข่าวสาร ผู้บริหารระบบ และเจ้าหน้าที่ฝ่าย


อ�ำนวยการด้านการบังคับบัญชาและการควบคุมอื่น ๆ ช่วยผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายการบังคับบัญชาและ
การควบคุม๒๐ ปฏิบัติภารกิจการประกันข้อมูลข่าวสาร/การปฏิบัติการเครือข่าย นายทหารปฏิบัติ
การบังคับบัญชาและการควบคุมประสานกับนายทหารฝ่ายแผนอนาคตเกี่ยวกับความเป็นไปได้ใน
การน�ำระบบข้อมูลข่าวสารและการให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารเชิงพาณิชย์มาใช้ในทางการทหาร
นายทหารฝ่ายแผนอนาคตก�ำหนดและช่วยเหลือนายทหารฝ่ายการบังคับบัญชาและการควบคุม
ด้วยการประสานงานเพือ่ การน�ำระบบการติดต่อสือ่ สารประจ�ำพืน้ ทีม่ าใช้งานทางทหาร นายทหาร
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ประสานงานกับนายทหารการบังคับบัญชาและการควบคุมในการแก้ไข
ปัญหาข้อขัดแย้งในส่วนเป้าหมายของการสงครามอิเล็กทรอนิกส์เพื่อประกันว่าการประกันข้อมูล
ข่าวสารไม่ได้รับความกระทบกระเทือน นายทหารข่าวกรองจัดเตรียมข่าวสารและข่าวกรองตาม
ลักษณะของภัยคุกคามทีม่ ตี อ่ ข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารของ ทบ. นายทหารปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารแก้ปัญหาข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการประกันข้อมูลข่าวสารกับองค์ประกอบในด้าน
อื่น ๆ ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๒-๕๘. นายทหารฝ่ายการบังคับบัญชาและการควบคุม กระจายสถานการณ์ด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร (INFOCON) ไปยังหน่วยและเจ้าหน้าที่ฝ่ายเสนาธิการต่าง ๆ สภาวการณ์ด้านการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารก่อให้เกิดแนวทางเชิงโครงสร้างทีม่ กี ารประสานงานเพือ่ ป้องกันและตอบโต้
ต่อการโจมตีคอมพิวเตอร์ เครือข่ายและระบบข้อมูลข่าวสารสถานะต่าง ๆ และการปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้อง
ของพวกเขาทางด้านสถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคือ
๒-๕๘.๑ ปกติ (ไม่มีกิจกรรมที่มีลักษณะเฉพาะ)
๒-๕๘.๒ อัลฟา (ความเสี่ยงในเรื่องของการโจมตีเพิ่มขึ้น)
๒-๕๘.๓ บราโว (ความเสี่ยงในเรื่องของการโจมตีจ�ำเพาะ)
๒-๕๘.๔ ชาลี (การโจมตีจ�ำกัด)
๒-๕๘.๕ เดลตา (การโจมตีโดยทั่วไป)
๒-๕๙. ปกติ (ไม่มีกิจกรรมที่มีลักษณะเฉพาะ) ภายใต้สถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารปกติ องค์กร หน่วยงานต่าง ๆ น�ำการปฏิบัติต่อไปนี้ไปใช้
๒-๕๙.๑ ประกันว่าข้อมูลข่าวสารทีส่ ำ� คัญยิง่ ต่อภารกิจและระบบข้อมูลข่าวสาร (ประกอบ
ด้วยการประยุกต์ใช้และฐานข้อมูล) และความส�ำคัญทางการยุทธการได้มกี ารระบุ
ไว้อย่างชัดเจน
๒๐
ต�ำแหน่งนายทหาร เจ้าหน้าทีท่ กี่ ล่าวมาเป็นอัตราการจัดของ กองทัพบกสหรัฐฯ ทบ.ไทยควรพิจารณาปรับอัตรา
นายทหาร นายสิบให้มีการรองรับต�ำแหน่งดังกล่าว เพื่อรองรับ โครงการ E - ARMY
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 65

๒-๕๙.๒ ประกันว่าจุดต่าง ๆ ในส่วนของการเข้าถึงทัง้ มวลและความจ�ำเป็นในทางการยุทธ์


ของจุดเหล่านั้นได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจน
๒-๕๙.๓ ในพื้นฐานที่ต่อเนื่อง, การด�ำเนินการปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยเป็นไปตาม
ปกติ
๒-๕๙.๔ ด�ำเนินการทบทวนการรักษาความปลอดภัยภายในตามห้วงระยะเวลาและมีการ
ประเมินความล่อแหลมจากภายนอก
๒-๖๐. อัลฟา (ความเสี่ยงในเรื่องของการโจมตีเพิ่มขึ้น) สถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารในแบบอัลฟาก�ำหนดขึ้นเมื่อ
๒-๖๐.๑ มีการบ่งชี้และการแจ้งเตือนได้บ่งบอกถึงภัยคุกคามโดยทั่วไป
๒-๖๐.๒ เหตุการณ์ในภูมิภาค พื้นที่ก�ำลังเกิดขึ้นซึ่งกระทบกับผลประโยชน์ต่าง ๆ ของ
ประเทศและเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้ซึ่งกอปรไปด้วยขีดความสามารถ
ทางด้านการโจมตีเครือข่ายที่สงสัย หรือที่ทราบกันดีอยู่แล้ว
๒-๖๑. การปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ในสภาวการณ์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารแบบอัลฟาประกอบด้วย
๒-๖๑.๑ การรักษาความปลอดภัยทีเ่ พิม่ มากขึน้ ส�ำหรับการวางแผนให้การสนับสนุนระบบ
ข้อมูลข่าวสาร หรือการปฏิบัติการต่าง ๆ ที่ก�ำลังด�ำเนินไป
๒-๖๑.๒ การด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารรักษาความปลอดภัยทีเ่ หมาะสม ตัวอย่างเช่น การเพิม่
ความถีใ่ นเรือ่ งของการเฝ้าติดตาม, การทบทวน และระเบียบปฏิบตั ใิ นการส�ำรอง
ไฟล์ที่ส�ำคัญ
๒-๖๑.๓ การบรรลุถงึ ความต้องการในการปฏิบตั ทิ งั้ ปวง ในสถานการณ์ดา้ นการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารแบบปกติ
๒-๖๒. บราโว (ความเสี่ยงในเรื่องของการโจมตีจ�ำเพาะ) สถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารแบบบราโวก�ำหนดขึ้นเมื่อ
๒-๖๒.๑ ตัวบ่งชีแ้ ละตัวชีว้ ดั แจ้งเตือนว่า ระบบเฉพาะส�ำคัญ, ทีต่ งั้ , หน่วย หรือการปฏิบตั ิ
การก�ำลังตกเป็นเป้าหมาย
๒-๖๒.๒ ระดับจ�ำเพาะส�ำคัญของการเย้าแหย่เครือข่าย การสแกน หรือกิจกรรมต่าง ๆ
ที่ก�ำลังชี้ให้เห็นรูปแบบในเรื่องของการลาดตระเวนที่เข้มข้นได้รับการตรวจพบ
๒-๖๒.๓ การเจาะเข้าสู่เครือข่าย หรือการปฏิเสธการโจมตีการให้บริการที่ได้พยายามแต่
ไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติการของกระทรวงกลาโหม
66 บทที่ ๒

๒-๖๓. การปฏิบัติในสถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแบบบราโวประกอบด้วย
๒-๖๓.๑ การปฏิบัติการทางยุทธวิธีเชิงป้องกันที่เหมาะสม
๒-๖๓.๒ การปฏิบัติก ารทางด้านการรักษาความปลอดภัย ที่เหมาะสม ตัวอย่ างเช่ น
การด�ำเนินการทบทวนการรักษาความปลอดภัยภายในทันทีทันใดในส่วนของ
ระบบที่ส�ำคัญทั้งหมด
๒-๖๓.๓ การบรรลุถงึ ความต้องการในการปฏิบตั กิ ารทัง้ ปวง ในสถานการณ์ดา้ นการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารแบบอัลฟา
๒-๖๔. ชาลี (การโจมตีอย่างจ�ำกัด) สถานการณ์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารแบบชาลีกำ� หนด
ขึ้นเมื่อ
๒-๖๔.๑ การประเมินค่าการโจมตีต่อการข่าวกรองบ่งชี้ว่าการโจมตีอย่างจ�ำกัดมีการ
เคลื่อนไหว
๒-๖๔.๒ การโจมตีระบบข้อมูลข่าวสารด้วยผลกระทบอย่างจ�ำกัดต่อการปฏิบัติการของ
กระทรวงกลาโหมถูกตรวจพบ ตัวอย่างเช่น มีเพียงข้อมูล หรือระบบต่าง ๆ
เล็กน้อย หรือไม่มีเลยที่ตกอยู่ในอันตราย
๒-๖๕. การปฏิบัติในสถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแบบชาลีประกอบด้วย
๒-๖๕.๑ การปฏิบัติในระดับสูงสุดในเรื่องการติดตาม ทบทวน และระเบียบปฏิบัติในการ
ส�ำรองไฟล์ส�ำคัญ
๒-๖๕.๒ พิ จ ารณาก� ำ หนดการลดเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและระบบการ
โทรคมนาคมลงให้เหลือน้อยที่สุด (การลดให้เหลือน้อยที่สุดเป็นการจ�ำกัดการ
ไหลเวียนการติดต่อสื่อสารที่ส�ำคัญยิ่งต่อภารกิจ : mission - essential
communication เท่านั้น)
๒-๖๕.๓ สร้างวงรอบระบบข้อมูลข่าวสารขึ้นมาใหม่เพื่อลดจุดต่าง ๆ ในการเข้าถึงและ
เพิ่มการรักษาความปลอดภัย
๒-๖๕.๔ ก�ำหนดเส้นทางการติดต่อสื่อสารที่ส�ำคัญต่อภารกิจ (mission - critical
communication) อย่างทั่วถึงทั้งระบบ เพื่อไม่ให้ได้รับผลกระทบ
๒-๖๕.๕ การปฏิบตั ทิ างยุทธวิธใี นเชิงรับ ตัวอย่างเช่น การประกันว่าความต้องการทางด้าน
การรายงานที่เพิ่มมากขึ้นได้เป็นที่ค้นพบ
๒-๖๕.๖ การบรรลุถึง การปฏิบัติทั้งมวลที่ต้องการภายใต้สถานการณ์ด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารแบบบราโว
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 67

๒-๖๖. เดลตา (การโจมตีโดยทั่วไป) สภาวการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแบบเดลตา


ก�ำหนดขึ้นเมื่อ
๒-๖๖.๑ การโจมตีระบบข้อมูลข่าวสารที่ประสบผลส�ำเร็จมีผลกระทบต่อทางเลือกของ
กระทรวงกลาโหมได้ถูกค้นพบขึ้น
๒-๖๖.๒ อุบัติการณ์ที่แพร่กระจายอันเป็นการบ่อนท�ำลายความสามารถอย่างมีประสิทธิภาพ
ในระบบข้อมูลข่าวสารด้วยการโดยเป็นเป้าหมายต่อพันธกิจเกิดขึ้น
๒-๖๖.๓ ผลกระทบของการโจมตี หรืออุบัติการณ์สร้างความเสี่ยงอย่างจ�ำเพาะเจาะจง
โดยเฉพาะในเรื่องความล้มเหลวในภารกิจ
๒-๖๗. การปฏิบัติในสถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแบบเดลตา ประกอบด้วย
๒-๖๗.๑ การปฏิบตั ใิ นส่วนต่าง ๆ ทีส่ ามารถน�ำมาใช้ได้ในเรือ่ งของความต่อเนือ่ งของแผนการ
ปฏิบัติการ ตัวอย่างเช่น ก�ำหนดแบบระบบข้อมูลข่าวสารเผื่อเลือกและการ
กระจายระเบียบปฏิบตั ดิ า้ นการติดต่อสือ่ สารภายในและภายนอกใหม่ แยกระบบ
ที่ตกอยู่ในอันตรายออกจากเครือข่ายอื่น ๆ
๒-๖๗.๒ บรรลุถงึ การปฏิบตั ทิ งั้ มวลทีต่ อ้ งการภายใต้ สถานการณ์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารแบบชาลี
๒-๖๘. ในปัจจุบันควรมีหน่วยงานของกองทัพบก ที่ท�ำการจัดตั้ง สถานการณ์ด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร เมือ่ สถานการณ์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมีการเปลีย่ นแปลง หน่วยบัญชาการ
ยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ เป็นตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยหน่วยงานของกองทัพบกที่รับผิดชอบใน
การจัดตั้งสถานการณ์ท�ำการแจ้งไปยัง ชุดตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางด้านคอมพิวเตอร์ของกองทัพบก
(ดูผนวก ฉ) ชุดตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางด้านคอมพิวเตอร์ของกองทัพบก (Army Computer
Emergency Response Team) ส่งผ่านสถานการณ์ทางด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารไปยัง
นายทหารปฏิบัติการด้านการบังคับบัญชาและการควบคุมของกองทัพน้อยและกองพลต่าง ๆ๒๑
การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ (PHYSICAL SECURITY)
๒-๖๙. การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพเป็นส่วนหนึง่ ของการรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับ
มาตรการต่าง ๆ ทางกายภาพทีก่ ำ� หนดขึน้ โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ท�ำการรักษาความปลอดภัยบุคคล
เพือ่ ป้องกันการเข้าถึงโดยไม่ได้รบั อนุมตั ติ อ่ ยุทโธปกรณ์ สถานทีต่ งั้ วัสดุอปุ กรณ์ และเอกสาร โดยมี
วัตถุประสงค์เพือ่ รักษาความปลอดภัยสิง่ เหล่านัน้ จากการก่อวินาศกรรม การจารกรรม การท�ำลาย
๒๑
ควรมีการจัดตั้งหน่วยงานเกี่ยวกับการจัดตั้งสถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้กับกองทัพบกใน
อนาคต หรือมีการก�ำหนดความรับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติในเรื่องดังกล่าวให้กับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง
ในกองทัพบก
68 บทที่ ๒

และการลักขโมย การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพที่มีประสิทธิภาพเป็นการประกันว่าระบบ
ข้อมูลข่าวสารที่สามารถน�ำมาใช้ได้ ได้ถูกน�ำมาใช้เพื่อด�ำเนินการปฏิบัติการต่าง ๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับ
๒-๖๙.๑ การระบุระบบข้อมูลข่าวสารส�ำคัญยิ่งต่อภารกิจ
๒-๖๙.๒ การก�ำหนดระดับของความเสี่ยงและภัยคุกคามที่สามารถเป็นไปได้
๒-๖๙.๓ การสร้างมาตรฐานด้านการรักษาความปลอดภัยทีเ่ กีย่ วข้องและการใช้ทรัพยากร
ที่เป็นไปได้ต่อการบรรลุระดับของการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ
๒-๖๙.๔ ก�ำหนดระดับของการปกป้องที่สามารถเป็นไปได้
๒-๖๙.๕ การประสานงานกับหน่วยเหนือและหน่วยข้างเคียงตลอดจนองค์กรของชาติ
เจ้าบ้าน
๒-๖๙.๖ การพัฒนาแผนเผชิญเหตุการณ์ส�ำหรับ หายนภัยทางธรรมชาติ การปฏิบัติ
ของผู้ก่อการร้าย หรือการโจมตีจากอาวุธอานุภาพท�ำลายล้างสูง AR 190-13
และ FM 3-90.30 เป็นเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับหลักการด้านการรักษาความ
ปลอดภัยทางกายภาพของกองทัพบกสหรัฐฯ ซึง่ กล่าวถึงความต้องการ การรักษา
ความปลอดภัยทางกายภาพและเทคนิค ยุทธวิธีและระเบียบปฏิบัติ
การสนับสนุน (Contributions)
๒-๗๐. ผูบ้ งั คับบัญชาด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารรักษาความปลอดภัยทางกายภาพเพือ่ คุม้ กันทรัพยากร
รวมถึงข้อมูลข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสาร องค์ประกอบด้านการรักษาความปลอดภัยทาง
กายภาพจะต้องมีการผสมผสานกับองค์ประกอบอืน่ ๆ ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารอย่างเหมาะสม
๒-๗๑. ทรัพยากรด้านการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
๒-๗๑.๑ โครงการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ (Physical security programs)
ผู้บังคับบัญชาจัดตั้งโครงการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพที่เหมาะสมกับ
ภารกิจของผู้บังคับบัญชา
๒-๗๑.๒ ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ (Physical security
specialists) ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพจากฝ่ายการ
สารวัตรสามารถระบุประเด็นความล่อแหลมและให้ขอ้ เสนอแนะมาตรการตอบโต้
ที่เหมาะสม ยิ่งไปกว่านั้น พวกเขาสามารถจัดเตรียมการประเมินค่ามาตรการ
รักษาความปลอดภัยทางกายภาพของหน่วย
๒-๗๒. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานสอดคล้องมาตรการรักษาความปลอดภัยทาง
กายภาพกับการปฏิบัติการต่าง ๆ ในองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ ผู้น�ำใน
ระดับแรกประกันว่าทหารจะรู้ความต้องการต่าง ๆ ที่เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติ มีความเข้าใจใน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 69

มาตรการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพว่าเป็นอย่างไร ในการปกป้องข้อมูลข่าวสารและระบบ
ข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนเรียนรูท้ จี่ ะตระหนักถึงประเด็นปัญหาทีเ่ ป็นไปได้ในการรักษาความปลอดภัย
ทางกายภาพและการรักษาความปลอดภัยข้อมูลข่าวสาร
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๗๓. ฝ่ายการสารวัตรมีความรับผิดชอบทางฝ่ายอ�ำนวยการในการรักษาความปลอดภัยทาง
กายภาพ ส�ำหรับหน่วยบัญชาการที่ไม่มีฝ่ายการสารวัตรรับหน้าที่นี้ ให้ก�ำหนดหน้าที่นี้ให้กับ
นายทหารฝ่ายการข่าวกรองด�ำเนินปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพเพื่อปกป้อง
ทรัพยากร ปมการติดต่อ และวัสดุอุปกรณ์ที่ส�ำคัญยิ่ง ประสานงานกับส�ำนักงานฝ่ายอ�ำนวยการ
อื่น ๆ ในประเด็นด้านการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ นายทหารการข่าวกรองของหน่วย
ท�ำการประเมินค่าความล่อแหลมทางด้านการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพและฝ่ายการสารวัตร
รายงานต่อนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้ทราบถึงเรื่องของการละเมิดการรักษาความ
ปลอดภัยทางกายภาพที่สงสัยในประเด็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
พร้อมทั้งแนะน�ำฝ่ายอ�ำนวยการด้านการบังคับบัญชาและการควบคุมในเรื่องของการจัดการข้อมูล
ข่าวสาร (Information management)
การต่อต้านข่าวกรอง (COUNTERINTELLIGENCE)
๒-๗๔. การต่อต้านข่าวกรองเป็นการรวบรวมข้อมูลข่าวสารและการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ
ในการที่จะป้องกันจากการจารกรรม กิจกรรมด้านการข่าวกรองอื่น ๆ การก่อวินาศกรรม หรือ
การลอบสังหารที่ด�ำเนินการโดยหรือโดยผู้แทนของรัฐบาลต่างชาติ หรือหน่วยงานของรัฐบาลนั้น
รวมทั้งจากองค์กรต่างชาติหรือบุคคลต่างชาติ หรือกิจกรรมก่อการร้ายของต่างประเทศ๒๒
การสนับสนุน (Contributions)
๒-๗๕. การปฏิบัติการต่อต้านข่าวกรอง (CI) สนับสนุนการด�ำรงรักษาความปลอดภัยในสิ่งส�ำคัญ
ต่าง ๆ และการพิทักษ์ก�ำลังรบ ทั้งในทางตรงและทางอ้อม๒๓ การปฏิบัติดังกล่าวได้รับการตัดแต่ง
ให้เหมาะสมกับหน่วยและความล่อแหลมของหน่วยที่มีต่อการเฝ้าตรวจ และการโจมตีต่อการ
ข่าวกรองของฝ่ายตรงข้าม
๒-๗๖. ภารกิจการต่อต้านข่าวกรองเป็นการค้นหา การพิสจู น์ทราบ การประเมินค่า การตอบโต้
การลบล้าง (Neutralize) หรือการขยายผลต่อการรวบรวมข่าวกรอง บุคลากรด้านการต่อต้าน
ข่าวกรองเป็นส่วนหนึ่งของชุดประเมินค่าความล่อแหลม (ท�ำงานร่วมกับฝ่ายการสารวัตร ทหาร
๒๒
ค�ำนิยามจาก JP 3-13
๒๓
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก JP 2-01.2; FM 34-60
70 บทที่ ๒

ช่าง เสนารักษ์และบุคลากรอื่น ๆ ตามที่ต้องการ) ปกติกิจกรรมต่อต้านข่าวกรองยังสนับสนุน


ทั้งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับ บุคลากรด้านการต่อต้านข่าวกรองท�ำในส่วนนี้
โดยผ่านทาง
๒-๗๖.๑ การสนับสนุนการรักษาความปลอดภัยข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่าน
ทางการบังคับใช้ในเรือ่ งของระเบียบและการด�ำเนินการสืบสวนความล้มเหลวใน
การครอบครองข้อมูลข่าวสารทีม่ กี ารจัดล�ำดับชัน้ และแบ่งตอนไว้อย่างเหมาะสม
๒-๗๖.๒ การจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าในการด�ำเนินการวิเคราะห์เพื่อระบุข่าวกรองมนุษย์
(human intelligence: HUMINT), ข่าวกรองสัญญาณ (signal intelligence:
SIGINT), การข่าวกรองทางการภาพ (imagery intelligence: IMINT) และ
การรวบรวมมาตรการตลอดจนการข่าวกรองลายมือชื่อ (MASINT)
๒-๗๖.๓ จัดเตรียมภาพความอ่อนไหวของหน่วยบัญชาการที่มีต่อการรวบรวมข่าวกรอง
ของต่างชาติให้แก่หน่วยบัญชาการ
๒-๗๖.๔ จัดเตรียมการสนับสนุนให้แก่การปฏิบัติการลวงทางทหารตามความเหมาะสม
๒-๗๗. เป็นความจ�ำเป็นในการทีจ่ ะแยกแยะระหว่างวินยั ทางการต่อต้านข่าวกรองกับความช�ำนาญ
การตามอาชีพทหาร (military occupational specialty: MOS) เกี่ยวกับการต่อต้านข่าวกรอง
หลักการในเรื่องของวินัยทางด้านการข่าวกรองน�ำไปประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั่วทั้งย่านของความ
พยายามด้านการรวบรวมข่าวกรอง การปฏิบัติการลวงทางทหาร การรักษาความปลอดภัยและ
พันธกิจอืน่ ๆ ของทัง้ หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์และหน่วยข่าวกรอง ตัวอย่างเช่น การรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการได้รับการก�ำหนดเพื่อตอบโต้ขีดความสามารถของข้าศึกในการรวบรวมกิจกรรม
ต่าง ๆ ของกองก�ำลังฝ่ายเรา มันเป็นการประยุกต์ใช้ในเรื่องของหลักการในเรื่องของวินัยการ
ต่อต้านข่าวกรอง การวางแผน การปฏิบัติและการบังคับใช้ การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การไม่ต้องการการเชื่อถือผู้แทนทางด้านการต่อต้านข่าวกรองเสมอไป ในทางตรงกันข้าม ผู้แทน
ทางด้านการต่อต้านข่าวกรองผู้ซึ่งมีความช�ำนาญการทางทหารในด้านนี้เป็นผู้แทนส�ำหรับหน่วย
ทางภาคพื้นดินและเป็นผู้ซึ่งด�ำเนินการทางด้านการสืบสวน การปฏิบัติการ และเป็นผู้ซึ่งเข้าร่วม
กับหน่วยงานทางด้านฝ่ายอ�ำนวยการในการด�ำเนินงานประเมินค่าความล่อแหลม
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๗๘. นายทหารฝ่ายข่าวกรองติดตามการปฏิบัติการต่อต้านข่าวกรองที่ด� ำเนินไปในพื้นที่
ปฏิบตั กิ าร นายทหารฝ่ายข่าวกรองรักษาการรายงานทีใ่ ห้แก่ผบู้ งั คับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการตาม
ความเหมาะสมกับการปฏิบตั กิ ารต่อต้านข่าวกรองทีเ่ กีย่ วข้องและผลกระทบทีเ่ ป็นไปได้ตอ่ พันธกิจ
ของฝ่ายเรา ตลอดจนขีดความสามารถและความตั้งใจของฝ่ายตรงข้าม
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 71

การต่อต้านการลวง (COUNTERDECEPTION)
๒-๗๙. การต่อต้านการลวง ประกอบด้วยความพยายามในการท�ำให้เป็นโมฆะ การลบล้าง
การท�ำให้ผลกระทบลดลงในเรื่องของการลวง หรือได้มาซึ่งความได้เปรียบจากการปฏิบัติการ
ลวงของต่างชาติ การต่อต้านการลวงไม่รวมถึงพันธกิจทางด้านการข่าวกรองในส่วนของการ
ปฏิบัติการลวงของต่างชาติที่ระบุไว้๒๔ (JP 3-13)
การสนับสนุน (Contributions)
๒-๘๐. การต่อต้านการลวง สนับสนุนต่อความเข้าใจในสถานการณ์และการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเชิงรับ โดยการป้องกันระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม ตลอดจนผูม้ หี น้าทีใ่ นการ
ตัดสินใจของฝ่ายเราจากการลวงของฝ่ายตรงข้าม เป้าหมายของการต่อต้านการลวงคือ เพือ่ ท�ำให้
ผู้ที่ท�ำหน้าที่ในการตัดสินใจของฝ่ายเราตระหนักรู้ในเรื่องของกิจกรรมทางด้านการลวงของฝ่าย
ตรงข้ามเพือ่ ทีพ่ วกเขาจะสามารถก�ำหนดการตอบโต้ทางด้านการรายงานข้อมูลและการประสานงานได้
๒-๘๑. การต่อต้านการลวงเป็นความพยายามดิน้ รนในการทีจ่ ะระบุและเฝ้าติดตามความพยายาม
ของฝ่ายตรงข้ามในการน�ำพากองก�ำลังฝ่ายเราไปสู่ความผิดพลาด กิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งสนับสนุน
ต่อความเข้าใจท่าทางและเจตนาของฝ่ายตรงข้ามรองรับต่อการระบุความพยายามด้านการลวงของ
ฝ่ายตรงข้าม
๒-๘๒. การตอบโต้ต่อการลวงเป็นเรื่องที่ยาก การรู้ซึ้งถึงวิธีในการลวงที่ฝ่ายตรงข้ามน�ำมาใช้ได้
อย่างเป็นผลส�ำเร็จคือสิ่งส�ำคัญ การสร้างสมดุลตัวชี้วัดทางยุทธวิธีและยุทธการอย่างเหมาะสม
กับสมมติฐานทางยุทธศาสตร์เป็นสิง่ ส�ำคัญด้วยเช่นกัน โอกาสของการจูโ่ จมอาจจะถูกลดลงถ้าหาก
ประมาณการน�้ำหนักตัวชี้วัดทางยุทธวิธีหนักไปกว่าสมมติฐานทางยุทธศาสตร์ การยกเลิกตัวชี้วัด
ทางยุทธวิธดี ว้ ยเหตุทวี่ า่ พวกมันนัน้ ขัดแย้งกับแนวความคิดทีม่ อี ยูแ่ ล้วล่วงหน้าอาจจะอ�ำนวยให้การ
ปฏิบัติการลวงของฝ่ายตรงข้ามโลดแล่นไปตามแนวความคิดที่วางไว้ประสบผลส�ำเร็จ
๒-๘๓. การต่อต้านการลวงเชิงรุกประกอบด้วยการปฏิบัติที่น�ำมาใช้เพื่อบังคับให้ฝ่ายตรงข้าม
เปิดเผยเจตนาและวัตถุประสงค์ที่แท้จริงตลอดจนสิ่งที่เป็นการลวง โดยมุ่งเน้นการบังคับฝ่าย
ตรงข้ามให้ขยายการใช้ทรัพยากรและด�ำเนินการปฏิบัติการลวงต่อไปอย่างต่อเนื่องซึ่งจะถูกค้นพบ
โดยการสร้างความเข้าใจเพิ่มเติมใหม่ ซึ่งกองก�ำลังฝ่ายเราไม่ระมัดระวังในสิ่งเหล่านั้น การต่อต้าน
การลวงรวมถึงการปฏิบตั ทิ นี่ ำ� มาใช้เพือ่ ท�ำลายความพยายามของฝ่ายตรงข้ามในการใช้ยทุ ธวิธที าง
ด้านการลวงให้เป็นประโยชน์ ซึง่ เป็นการกระทบกระเทือนต่อกรรมวิธกี ารตกลงใจของฝ่ายตรงข้าม

๒๔
ค�ำนิยามจาก JP 3-13
72 บทที่ ๒

การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)


๒-๘๔. นายทหารข่าวกรองและนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารก�ำหนดตัวชี้วัดในเรื่องของ
กิจกรรมทางด้านการลวงของฝ่ายตรงข้าม นายทหารข่าวกรองรวบรวมความต้องการข้อมูลข่าวสาร
ซึง่ ระบุตวั ชีว้ ดั เหล่านีไ้ ว้ในแผนการรวบรวม นายทหารการข่าวกรองรับผิดชอบการค้นหาการปฏิบตั ิ
การลวงของฝ่ายตรงข้าม นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประสานการตอบสนองต่อการตอบโต้
การลวง เจ้าหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวยการด้านการประสานงานและฝ่ายกิจการพิเศษกระท�ำการภายใน
ขอบเขตที่เป็นที่สนใจของพวกเขาในการปฏิเสธ ลบล้าง และท�ำให้กิจกรรมทางการลวงของฝ่าย
ตรงข้ามลดลง นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นผู้ประสานสอดคล้องการปฏิบัติเหล่านี้
การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ (COUNTERPROPAGANDA)
๒-๘๕. การตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่ ประกอบด้วยโครงการในส่วนของการออกแบบผลผลิต
และการปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ในการลบล้างการโฆษณาชวนเชือ่ หรือบรรเทาผลกระทบของมัน การตอบโต้
การโฆษณาชวนเชือ่ มุง่ เป้าหมายในเรือ่ งของการโฆษณาชวนเชือ่ ของฝ่ายตรงข้ามโดยตรง การตอบโต้
การโฆษณาชวนเชื่อลดประสิท ธิภาพอิท ธิพ ลของการปฏิ บัติ ก ารจิ ตวิ ท ยาของฝ่ า ยตรงข้ า มที่
มุ่งประสงค์ร้ายต่อกองก�ำลังฝ่ายเราและผู้เฝ้าติดตามเหตุการณ์อื่น ๆ๒๕
๒-๘๖. ธรรมชาติที่มีความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้นในเรื่องของการปฏิบัติการทางทหาร เผชิญหน้า
กับกองก�ำลังทัพบกด้วยความท้าทายใหม่ ๆ ไม่มีที่ใดที่ความท้าทายนี้ยิ่งใหญ่ไปกว่าในการตอบโต้
การโฆษณาชวนเชื่อ การโฆษณาชวนเชื่อประกอบด้วยการตอบโต้ต่อการพลาดข้อมูลข่าวสาร
(misinformation), การบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร (disinformation) และข้อมูลข่าวสารในทาง
ตรงกันข้าม กองก�ำลังที่ปฏิบัติการจิตวิทยาสมทบกับกองพลและกองทัพน้อยรับผิดชอบในการ
ตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อน�ำไปใช้ได้ตลอดทั่วทั้งพิสัยของ
การปฏิบัติการและย่านของความขัดแย้ง มันเป็นการตอบโต้ข้อความข่าวสาร การภาพ ข่าวลือ
และข้อมูลข่าวสารอืน่ ๆ ซึง่ มีจดุ มุง่ หมายในการขัดขวางหน่วงเหนีย่ ว หรือป้องกันการบรรลุภารกิจ
ของฝ่ายเรา
๒-๘๗. การโฆษณาชวนเชือ่ เป็นรูปแบบต่าง ๆ ของการติดต่อสือ่ สารในการให้การสนับสนุนต่อการ
ก�ำหนดวัตถุประสงค์แห่งชาติเพื่อสร้างอิทธิพลต่อความคิด อารมณ์ ทัศนคติ หรือพฤติกรรมของ
กลุ่มต่าง ๆ เพื่อที่จะส่งผลประโยชน์ต่อการสนับสนุน ทั้งในทางตรงหรือทางอ้อมโดยได้รับการ
สัง่ การโดยตรงจากรัฐบาล เพือ่ นร่วมงานนานาชาติและผูฟ้ งั ทัง้ หลายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร การรณรงค์
โฆษณาชวนเชื่อได้รับการก�ำหนดอย่างสมบูรณ์เพื่อโจมตีต่อเจตจ�ำนงของประเทศในการต่อต้าน
๒๕
ดู (ดู JP 3-53; FM 3-05.30; FM 33-1-1)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 73

และทหารในการสู้รบ นักโฆษณาชวนเชื่อหาหนทางในการผสมผสานความจริงและการโกหกในวิธี
การซึ่งผู้ฟังทั้งหลายไม่อาจค้นพบ
๒-๘๘. ข้อมูลข่าวสารทีผ่ ดิ พลาด (Misinformation) เป็นข้อมูลข่าวสารทีไ่ ม่ถกู ต้องจากแหล่ง
ต่าง ๆ ซึ่งถูกปล่อยออกมาส�ำหรับเหตุผลที่ไม่รู้แน่ชัด หรือชักจูงให้มีการตอบโต้ หรือเป็นผล
ประโยชน์จากเป้าหมายที่ไม่ใช่ทางการเมืองหรือทางการทหาร เป้าหมายของข้อมูลข่าวสารนี้
สามารถเป็นใครก็ได้ บ่อยครั้งการตอบโต้ข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาดที่ดีที่สุดคือ การไม่รู้ไม่เห็นมัน
หรือท�ำการกระจายความจริงเสียเลย อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการจัดเตรียมข้อเท็จจริงต่าง ๆ สามารถ
ที่จะท�ำได้ด้วยการบริโภคทรัพยากรและเวลาอย่างมากก็ตามและอาจจะไม่เป็นความพยายามที่
คุม้ ค่า แต่ในบางสถานการณ์ความน่าเชือ่ ถือของทางการทหารได้รบั ต่อต้านด้วยองค์กรทางข่าวสาร
ที่สามารถเชื่อถือได้ และอาจจะไม่มีใครเป็นผู้ชนะที่แท้จริง ดังนั้นแล้วบ่อยครั้งเป็นการดีที่สุดที่
จะเปิดเผยและก�ำหนดจุดประสงค์เมื่อเผชิญหน้ากับข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได้
ความสัมพันธ์ในเชิงการปฏิบัติการร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ทางด้านการประชาสัมพันธ์ (PA) และ
สื่ออาจจะช่วยในการตอบโต้ต่อประสิทธิภาพของข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาด
๒-๘๙. ข้อมูลข่าวสารที่มีการบิดเบือน (disinformation) เป็นข้อมูลข่าวสารที่กระจายไปใน
เบือ้ งต้นโดยองค์กรทางการข่าวกรองหรือองค์กรอืน่ ๆ ทีเ่ ฝ้าแอบมองอยู่ ซึง่ ก�ำหนดเพือ่ บิดเบือน
ข้อมูลข่าวสาร หรือหลอกลวง หรือท�ำให้เกิดอิทธิพลต่อผู้มีหน้าที่ในการตัดสินใจของประเทศ
กองก�ำลังทหารของประเทศพันธมิตรด้านความร่วมมือ ตัวแสดงส�ำคัญ หรือบุคคลต่าง ๆ โดย
เครือ่ งมือทางอ้อม หรือไม่ตามแบบ (Unconventional) มันเป็นรูปแบบของการโฆษณาชวนเชือ่
โดยตรงที่มุ่งตรงต่อผู้ที่ท�ำหน้าที่ในการตกลงใจเพื่อสร้างความสับสนต่อพวกเขาในการตัดสินใจ
ให้เป็นไปในทางที่ผิดพลาด ณ ระดับยุทธวิธีข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้องสามารถน�ำพาผู้บังคับบัญชา
ให้ท�ำการใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้นในการระวังป้องกันภัยคุกคามที่ไม่ปรากฏข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้อง
สามารถเป็ น เหตุ ใ ห้ เ ป็ น รอยร้ า วในหมู ่ พั น ธมิ ต รโดยการเล่ น นอกบทบาทในเรื่ อ งชาติ พั น ธ์ุ
ทางประวัติศาสตร์ สีผิว และอคติทางวัฒนธรรมของเพื่อนร่วมงานในหมู่พันธมิตร ฝ่ายตรงข้าม
สามารถส่งข้อมูลข่าวสารทีไ่ ม่ถกู ต้องโดยทางอ้อม อย่างเช่น ผ่านมาทางการออกอากาศในการติดต่อ
สื่อสารของพวกที่สาม พวกเขาอาจจะยังคงใช้เครื่องมือไม่ตามแบบ อย่างเช่น การประกาศลงบน
วัตถุที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไป เช่น กล่องไม้ขีดไฟ หรือของที่ระลึกที่เป็นที่นิยม
๒-๙๐. ข้อมูลข่าวสารที่กลับตาลปัตร (Opposing information) เป็นข้อมูลข่าวสารบน
พื้นฐานของความเป็นจริงทั้งที่ตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใจจากแหล่งต่าง ๆ ซึ่งแสดงให้เห็นภาพที่เป็น
ไปในทางตรงกันข้าม ปกติมันถูกสั่งการตรงต่อก�ำลังทหารสหรัฐฯ พันธมิตร หรือเพื่อนร่วมงาน
นานาชาติและผู้เฝ้าฟังส�ำคัญภายในพื้นที่ปฏิบัติการ อย่างไรก็ตามมันอาจจะถูกกระท�ำโดยฝ่าย
74 บทที่ ๒

ตรงข้ า ม ฝ่ า ยตรงข้ า มที่ เ ป็ น ไปได้ หรื อ พลพรรคที่ ไ ม่ ไ ด้ ว างตั ว เป็ น กลาง ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่
กลับตาลปัตรต้องการผูท้ ที่ ำ� หน้าทีใ่ นการตัดสินใจในการเข้าใจผลกระทบทีม่ ตี อ่ ผลผลิตของกองก�ำลัง
ทหารในพื้นที่ปฏิบัติการ และกระท�ำเพื่อลดภาพในทางลบของนโยบายรัฐบาลและการปฏิบัติการ
ให้น้อยที่สุด ตลอดจนขยายภาพในทางบวกของกองก�ำลังทหารของประเทศ
๒-๙๑. การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อในพื้นที่ปฏิบัติการของต่างประเทศปกติเป็นความ
รับผิดชอบของหน่วยงานปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา องค์กรอืน่ ๆ ของรัฐบาลตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่
ภายนอกพื้นที่ปฏิบัติการ บ่อยครั้งที่กองก�ำลังที่ปฏิบัติการจิตวิทยาขึ้นอยู่กับเครือข่ายข้อมูล
ข่าวสารของพันธมิตร หรือเพือ่ นร่วมงานหลายชาติในการตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่ ภายในขอบเขต
ของพวกเขา อย่างไรก็ตามกองก�ำลังที่มีหน้าที่ด้านการปฏิบัติการจิตวิทยาอาจจะจัดการให้ความ
ช่วยเหลือเมื่อต้องการ
๒-๙๒. แผนการตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อในทางอุดมคติเป็นการรวบรวมความพยายามของ
เครือข่ายขององค์กรและองค์กรต่าง ๆ ที่ออกนอกลู่นอกทาง บ่อยครั้งที่มันก่อให้เกิดเรื่องราวและ
วัตถุประสงค์รว่ มกัน องค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทัง้ ปวงสนับสนุนแผนการตอบโต้
การโฆษณาชวนเชื่อ แต่ตามปกติกองก�ำลังที่มีหน้าที่ด้านการปฏิบัติการจิตวิทยาด�ำเนินการปฏิบัติ
การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ
๒-๙๓. ฝ่ายตรงข้าม, ฝ่ายตรงข้ามที่ปรากฏตัวขึ้นและกลุ่มอื่น ๆ ใช้การโฆษณาชวนเชื่อ ข้อมูล
ข่าวสารทีผ่ ดิ พลาดและข้อมูลข่าวสารทีบ่ ดิ เบือนซึง่ มีอทิ ธิพลต่อความคิดเห็นสาธารณะ สือ่ นานาชาติ
และผู้มีหน้าที่ในการตัดสินใจของฝ่ายเรา ผู้บังคับบัญชาใช้การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อใน
การจัดการกับผู้เฝ้าฟังที่เป็นเป้าหมายด้วยแหล่งข้อมูลข่าวสารที่เป็นทางเลือก การตอบโต้การ
โฆษณาชวนเชื่อ ชิงลงมือกระท�ำก่อน ท�ำการป้องกันและขัดขวางความพยายามของฝ่ายตรงข้าม
ในการแพร่กระจายการโฆษณาชวนเชื่อ ข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาดและข้อมูลข่าวสารที่บิดเบือน ณ
ระดับยุทธวิธแี ละระดับยุทธการ จุดศูนย์กลางส�ำหรับการตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่ อาจจะแปรผัน
ไปตามภารกิจ, ข้าศึก, ภูมปิ ระเทศ, ก�ำลังทหาร และเวลาทีม่ อี ยู่ ตลอดจนข้อพิจารณาด้านพลเรือน
(METT - TC) อย่างไรก็ตามนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยังคงรักษาความรับผิดชอบพื้นฐาน
ทางฝ่ายอ�ำนวยการและก�ำกับดูแลทางฝ่ายอ�ำนวยการ
๒-๙๔. นโยบายที่ดีและการปฏิบัติที่น�ำมาใช้โดยก�ำลังทหาร, รัฐบาล หรือเพื่อนร่วมงานนานาชาติ
อาจจะสร้างผลกระทบในทางตรงกันข้าม เมือ่ ก�ำลังทหารเข้าวางก�ำลังในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร การปรากฏ
ตัวของพวกเขาสามารถสร้างปัญหาขึน้ มาได้ ตัวอย่างเช่น หนึง่ ปฏิบตั กิ ารช่วยเหลือเพือ่ มนุษยธรรม
ต่อประชาชนช่วยสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจส�ำหรับประชาชนพลเรือนในพื้นที่ปฏิบัติการ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 75

แม้ว่าภารกิจคือการสร้างโรงเรียนและโรงพยาบาลในหลายแห่งก็ตาม ผู้น�ำท้องถิ่นกล่าวถึงเรื่อง
นั้นว่ากองก�ำลังได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดเพื่อการก่อสร้างในพื้นที่ ซึ่งก่อให้เกิดการขับเคลื่อน
ราคาสินค้า นักธุรกิจในท้องถิ่นกล่าวว่าทหารได้ลงนามสัญญาและว่าจ้าง และท�ำงานร่วมกับ
กลุ่มธุรกิจขนาดเล็กหรือกลุ่มย่อยรองลงไปมากกว่าพวกตนในสถานการณ์เช่นนี้ ทัศนคติในทาง
ตรงกันข้ามและความเชื่อสามารถสร้างภาพลักษณ์ของกองก�ำลังทหารซึ่งอาจจะลบล้างความ
ส�ำเร็จได้ หากไม่สามารถค้นพบและก�ำหนดให้มีขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ปกติหน่วยปฏิบัติการจิตวิทยา
สร้างภาพลักษณ์ให้กบั กองก�ำลังทหารด้วยการสนับสนุนจากกิจการสาธารณะ (PA) และการปฏิบตั ิ
การพลเรือน-ทหาร (CMO)
๒-๙๕. การตอบโต้ต่อการแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารภายในประเทศไม่ได้เป็นความรับผิดชอบ
ของกองทัพ การตอบโต้ข้อมูลข่าวสารที่มุ่งกระท�ำโดยตรงต่อผู้เฝ้าฟังทางยุทธศาสตร์ (ผู้น�ำ,
เจ้าหน้าที่ และองค์กรที่ส�ำคัญ) ยังคงเป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานของรัฐบาลและคณะ
กรรมการการกระจายเสียง ผูบ้ งั คับบัญชาประสานกิจกรรมผ่านทางช่องทางการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา
และส่วนปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของกองทัพภาค อย่างไรก็ตามปกติการตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่
ทางยุทธศาสตร์ด�ำเนินการโดยหน่วยงานของรัฐบาล
การสนับสนุน (Contributions)
๒-๙๖. การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อลดความสามารถในการโฆษณาชวนเชื่อของฝ่าย
ตรงข้ามทีจ่ ะสร้างอิทธิพลต่อกองก�ำลังฝ่ายเราและผูอ้ นื่ ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร มันเป็นการโจมตีการ
โฆษณาชวนเชื่อของฝ่ายตรงข้าม
๒-๙๗. การโฆษณาชวนเชื่อประกอบด้วยการปฏิบัติในเชิงป้องกัน, การตอบโต้การปฏิบัติ และ
การควบคุมข่าวลือ การปฏิบัติในเชิงป้องกันน�ำรูปแบบของโครงการเฝ้าระวังการโฆษณาชวนเชื่อ
มาใช้ (propaganda awareness programs) โครงการเหล่านีร้ ายงานให้ขา่ วสารกองก�ำลังสหรัฐฯ
และกองก�ำลังนานาชาติ ตลอดจนประชาชนของฝ่ายเราเกี่ยวกับธรรมชาติในการโฆษณาชวนเชื่อ
ของฝ่ายตรงข้าม การปฏิบัติในการตอบโต้เป็นมาตรการซึ่งหน่วยปฏิบัติการจิตวิทยาน�ำมาใช้ใน
การลด หรือลบล้างผลกระทบของการโฆษณาชวนเชือ่ ของฝ่ายตรงข้าม ข่าวลือต่าง ๆ เป็นเครือ่ งมือ
ของการโฆษณาชวนเชื่อโดยขึ้นอยู่กับการบอกเล่าหรือความคิดเห็นที่แพร่กระจายอย่างกว้างขวาง
พวกมันไม่มีแหล่งที่มาที่เห็นได้และไม่มีอ�ำนาจหน้าที่ใด ๆ เลย การควบคุมข่าวลือแสวงหาหนทาง
ในการตอบโต้ข่าวลือซึ่งไม่เป็นที่ต้องการต่อผลประโยชน์ของสหรัฐฯ
๒-๙๘. ความล้มเหลวในการตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่ ของฝ่ายตรงข้ามสามารถสร้างผลกระทบได้
อย่างมากมาย สิง่ เหล่านีเ้ ริม่ มาจากการสร้างความสับสนในการรบกวนการปฏิบตั กิ ารทีก่ ำ� ลังด�ำเนิน
76 บทที่ ๒

ไปอยู่ ผลกระทบโดยทัว่ ไปของการโฆษณาชวนเชือ่ ของฝ่ายตรงข้าม, การพลาดข้อมูลข่าวสาร และ


ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้อง ประกอบด้วย
๒-๙๘.๑ การกระตุ้นพวกที่เป็นกลางให้ท�ำการต่อต้านหรือไม่ให้การสนับสนุนการปฏิบัติ
การทางทหาร
๒-๙๘.๒ การเพิ่มเจตจ�ำนงของฝ่ายตรงข้ามในการต่อต้าน โดยการพึงรังเกียจจากผู้ที่
คลั่งไคล้, การเอนเอียง, การจูงใจ
๒-๙๘.๓ การน�ำเพือ่ นร่วมงานหลาย ๆ ชาติไปสูป่ ญ
ั หาในบทบาทของพวกเขาในความเป็น
พันธมิตร
๒-๙๘.๔ การยุยงส่งเสริมให้เกิดการจลาจล
๒-๙๘.๕ การสร้างมูลเหตุให้มีการอพยพเพื่อปิดกั้นเส้นหลักการคมนาคม
๒-๙๘.๖ ให้การอุปถัมภ์ความไม่ไว้วางใจต่อสหรัฐฯ หรือกองก�ำลังที่น�ำโดยสหรัฐฯ
๒-๙๘.๗ การสร้างมูลเหตุให้ชาติเจ้าบ้านหรือชาติที่ไม่ใช่คู่สงครามอื่น ๆ ต่อการไม่ร่วม
ปฏิบัติการกับก�ำลังฝ่ายเรา
๒-๙๘.๘ การสร้างตัวกลางทางการสื่อสารที่จ�ำเป็นในการต่อต้านหรือปฏิเสธการปฏิบัติ
การร่วมกัน
๒-๙๘.๙ การสร้างมูลเหตุในการหันเหทรัพยากรทางทหารที่ก�ำหนดไว้แก้ปัญหานั้น ขณะ
ที่ดูเหมือนว่ามีความส�ำคัญและต้องการทรัพยากรส�ำคัญนั้น
๒-๙๘.๑๐ การน�ำรัฐบาลฝ่ายเราไปสูป่ ญ
ั หาตามนโยบายของพวกเขาและสนับสนุนต่อการ
ปฏิบัติการทางทหาร
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๙๙. ด้วยการประสานงานผ่านทางกองก�ำลังที่ปฏิบัติการจิตวิทยาที่ใช้เป็นแนวหน้าในการ
ปฏิบตั กิ ารตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่ บุคลากรด้านกิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ (PA)
เป็นตัวแสดงทีม่ บี ทบาทส�ำคัญ ตัวอย่างเช่น ถ้าหน่วยงานของฝ่ายตรงข้ามกล่าวโทษกองก�ำลังฝ่ายเรา
ในเรือ่ งของการใช้ความรุนแรง กองก�ำลังทีป่ ฏิบตั กิ ารจิตวิทยาอาจจะกระจายสิง่ ผลิตเพือ่ การปฏิเสธ
การกล่าวหาเรือ่ งดังกล่าว ขณะทีบ่ คุ ลากรด้านกิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์แสดงข้อมูล
ข่าวสารทีถ่ กู ต้องโดยตรงต่อสือ่ แม้วา่ ผูฟ้ งั ทีเ่ ป็นเป้าหมายเบือ้ งต้นของหน่วยงานการประชาสัมพันธ์
คือสาธารณชนและผู้ฟังภายในประเทศก็ตาม ผู้ฟังที่เป็นเป้าหมายในล�ำดับที่สองคือ รัฐบาลของ
ประเทศคู่สงครามและประชากรของพวกเขา การปฏิบัติการจิตวิทยาและการปฏิบัติการทางด้าน
การประชาสัมพันธ์ที่มีการประสานสอดคล้องอย่างเหมาะสมจะเป็นส่วนส่งเสริมซึ่งกันและกัน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 77

การครอบครองความริเริ่ม : การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อในการปฏิบัติการสันติภาพ
การปฏิบตั กิ ารตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่ สามารถเกีย่ วข้องมากกว่าใบปลิวและการกระจายเสียง ในวันที่ ๑๑
พฤศจิกายน ๑๙๙๘ สหรัฐฯ เป็นส่วนหนึง่ ในกองก�ำลังเฉพาะกิจอีเกิลของกองก�ำลังรักษาความมัน่ คงนาโต ใน
บอสเนีย (SFOR) ท�ำการประชุมในเมืองของดิสดารูซาในการประกาศรายงานให้กบั ประชาชนในเรือ่ งการเปลีย่ น
ย้ายทีอ่ ยูแ่ ละการอพยพตัง้ ถิน่ ฐานใหม่ในพืน้ ทีข่ องพวกเขา ชาวบอสเนียเชือ้ สายชาวเซิรป์ รบกวนการประชามติ
และคุกคามต่อชาวบอสเนียเชือ้ สายมุสลิมทีเ่ ข้าฟังในทันทีนนั้ ทหารสหรัฐฯ ได้ถา่ ยภาพสามคนทีบ่ กุ รุกเพือ่ ด�ำเนิน
การฟ้องร้องตามกฎหมาย แต่อีกสองคนหลบหนีไปได้ก่อนที่จะสามารถถ่ายภาพเอาไว้ได้ ด้วยการก�ำหนด
ลักษณะของผู้กระท�ำความผิด หน่วยลาดตระเวนจากค่ายแม็คโกเวิร์นได้กลับไปยังที่ตั้งของตนเองและ
ส่งข่าวสารไปยังผู้ตีความซึ่งกองก�ำลังรักษาความมั่นคงไม่สามารถอดทนต่อความรุนแรงนั้นได้ ต่อมาทหารที่
ถ่ายภาพพวกนั้นได้ หนังสือพิมพ์ the Stars and Stripes ได้สัมภาษณ์ผู้บัญชาการกองก�ำลังเฉพาะกิจอีเกิล
และตีพิมพ์ภาพอย่างถูกต้องและแม่นย�ำ เมื่อหนังสือพิมพ์บอสเนียนเซิร์ป ชื่อ Gras Srpski ได้พิมพ์เรื่องราว
ของเหตุการณ์ซึ่งทหารกองก�ำลังรักษาความมั่นคงในฐานะใช้ก�ำลังของตนเองในทางที่ผิด กองก�ำลังเฉพาะกิจ
อีเกิล ได้จัดพิมพ์หนังสือผลการประชุมกับสื่อในพื้นที่ เบรโกในการปฏิเสธเรื่องดังกล่าว การปฏิบัติที่ก้าวร้าว
เหล่านี้อ�ำนวยให้กองก�ำลังเฉพาะกิจต้องการการกระจายข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและการปฏิเสธต่อข้อ
กล่าวหาที่ผิดพลาด

๒-๑๐๐. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานการตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อของฝ่าย
ตรงข้าม นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารยังคงประสานการสนับสนุนกับหน่วยงานด้านการปฏิบตั ิ
การจิตวิทยาของกองบัญชาการหน่วยเหนือ ผู้บังคับบัญชาประจ�ำพื้นที่อนุมัติกิจต่าง ๆ ในการ
ตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (RELATED ACTIVITIES)
๒-๑๐๑. กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (Related activities) ประกอบด้วย (แต่ไม่จ�ำกัด) กิจการ
สาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์และการปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหาร กิจการสาธารณะ หรือการ
ประชาสัมพันธ์และการปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหาร สามารถสร้างเงือ่ นไขซึง่ สนับสนุนความเหนือกว่า
ด้านข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมดังกล่าวสนับสนุนต่อการสนับสนุนการปฏิบัติการของกองทัพบกโดย
ผูเ้ ฝ้าติดตามของประเทศและนานาชาติ ตลอดจนรักษาความสัมพันธ์กบั ประชาชนพลเรือนในพืน้ ที่
ปฏิบัติการ
๒-๑๐๒. กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพสามารถให้ข้อเท็จจริง
แก่สาธารณชนได้ กิจกรรมดังกล่าวไม่ได้มุ่งเน้นต่อการควบคุม หรือหลอกลวงการปฏิบัติ หรือ
ข้อคิดเห็นของสาธารณชน การประชาสัมพันธ์ช่วยเหลือในด้านการจัดระเบียบสภาพแวดล้อม
ด้านข้อมูลข่าวสารและสามารถตอบสนองต่อการโฆษณาชวนเชือ่ ของฝ่ายตรงข้ามและข้อมูลข่าวสาร
ที่บิดเบือน (Disinformation) ได้
78 บทที่ ๒

๒-๑๐๓. การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร สามารถสนับสนุนวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการ


ข้อมูลข่าวสารโดยการสร้างอิทธิพล การพัฒนา หรือการควบคุมโครงสร้างพื้นฐานพื้นเมืองในพื้นที่
ปฏิบัติการของต่างชาติ และสามารถเป็นเครื่องมือในทางเลือกต่อการสื่อสารกับประชาชนในพื้นที่
และสาธารณชนของต่างชาติ
กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ (PUBLIC AFFAIRS)
๒-๑๐๔. กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ คือบรรดาข้อมูลข่าวสารที่เป็นสาธารณะ
ข้อมูลข่าวสารด้านการบังคับบัญชา และกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับสังคมซึ่งมีผล
โดยตรงต่อทั้งภายนอกและภายในสาธารณชน โดยอยู่ในความสนใจของกระทรวงกลาโหม๒๖
ข้อมูลข่าวสารทางด้านการประชาสัมพันธ์เป็นสิง่ ทีเ่ ชือ่ ถือได้ มันสามารถน�ำข้อมูลข่าวสารมาใช้ได้ทนั
เวลาและถูกต้องเพือ่ ว่า สาธารณชน รัฐสภา และสือ่ ด้านข่าวต่าง ๆ อาจจะประเมิน และท�ำความเข้าใจ
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ทางด้านความมั่นคงและยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันประเทศได้
กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพส่งเสริมความเชื่อมั่นแก่กองก�ำลังทหาร
และการปฏิบัติการของกองก�ำลัง๒๗
การสนับสนุน (Contributions)
๒-๑๐๕. กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ (PA) ท�ำให้พนั ธสัญญาของกองทัพบกในการ
ทีจ่ ะคุม้ ครองประชาชนและการให้ขอ้ มูลข่าวสารของกองทัพบกบรรลุผลส�ำเร็จ มันช่วยเหลือใน
การจัดสร้างเงือ่ นไขซึง่ น�ำไปสูค่ วามเชือ่ มัน่ ในกองทัพบกและความพร้อมของกองทัพบกในการด�ำเนิน
การปฏิบตั กิ ารต่าง ๆ ระหว่างช่วงเวลา สงบ ยามเกิดวิกฤติการณ์ และยามสงคราม การประชาสัมพันธ์
คุ้มครองสมาชิกทั้งมวลของกองก�ำลังทหารในการให้ข้อมูลข่าวสารและการตอบโต้ผลกระทบ
ของการโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ายตรงข้าม และข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาด (misinformation)
๒-๑๐๖. กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์สนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารโดย
การผลิตข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเวลาและสร้างความเสมอภาคให้กับสาธารณชน เบื้องหลัง
ข้อเท็จจริงเป็นการอธิบายวัตถุประสงค์ของการปฏิบตั กิ าร กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์
สนับสนุนทั้งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับ การประชาสัมพันธ์สนับสนุนต่อการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุกโดยน�ำรูปแบบของมาตรการเชิงรุก อย่างเช่น การประชุมสือ่ สิง่ พิมพ์
การแจกจ่ายเอกสารสิ่งพิมพ์ บทความ และหัวข้อการพูดคุยเฉพาะการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร

๒๖
ค�ำนิยามจาก JP 3-61 (หลักนิยมของกองทัพบกใช้ค�ำว่าข้อมูลข่าวสารภายใน (internal information) แทน
ค�ำว่าข้อมูลข่าวสารทางการบังคับบัญชา (command information))
๒๗
(ดู JP 3-61; FM 46-1; FM 3-61.1)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 79

เชิงรับประกอบด้วยการผลิตสิ่งต่าง ๆ อย่างเช่นแนวทางด้านสื่อ การค้นคว้าปัญหาต่าง ๆ ในการ


ตอบปัญหาของสื่อที่เป็นไปได้และแผนการรายงานส�ำหรับอุบัติการณ์ระดับสูงที่ส�ำคัญยิ่ง บุคลากร
ด้านการประชาสัมพันธ์ยงั รายงานผลผลิตทางด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจากมุมมองเกีย่ วกับ
สื่อเพื่อให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
๒-๑๐๗. หลักการทางด้านกิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ ซึง่ สนับสนุนการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารมีดังต่อไปนี้
๒-๑๐๗.๑ ความจริงคือสิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่ ความส�ำเร็จและความสัมพันธ์เกีย่ วกับสาธารณชน
ที่มีประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือ วิธีการที่เร็วที่สุดในการท�ำลาย
ความน่าเชื่อถือของการประชาสัมพันธ์คือ การท�ำให้ความจริงนั้นผิดพลาด
การประสานงานอย่างใกล้ชิดภายในส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคือ ความ
ต้องการในการประกันว่าสื่อและสาธารณชนทั้งในประเทศและหลาย ๆ
ประเทศไม่ถูกหลอก หรือถูกโกหกและการรับรู้ในสิ่งนั้นไม่ถูกสร้างขึ้น
๒-๑๐๗.๒ ถ้าข่าว (news) (ข้อมูลข่าวสาร) ปล่อยออกไป มันจะหลุดไปเลย สภาพแวดล้อม
ด้านข้อมูลข่าวสารท�ำให้ขอ้ มูลข่าวสารสามารถน�ำไปใช้ได้อย่างพร้อมมูลและ
ส่งเสริมให้เกิดความรวดเร็วและง่ายต่อการกระจาย ทันทีที่ข้อมูลข่าวสาร
ถูกปล่อยออกไป มันต้องถูกก�ำหนดว่ามันมีความเป็นไปได้ทจี่ ะไปถึงผูฟ้ งั ทีใ่ ห้
ความสนใจทั้งหมด นโยบายของกระทรวงกลาโหมห้ามครอบครอง หรือจัด
ล�ำดับข้อมูลข่าวสารเพื่อป้องกันการติชม หรือการขัดขวาง
๒-๑๐๗.๓ ส่งหน่วยกิจการสาธารณะ หรือหน่วยประชาสัมพันธ์ (PA assets) เข้าวาง
ก�ำลังแต่เนิ่น ๆ สื่ออาจจะมีอยู่ในพื้นที่ปฏิบัติการก่อนที่กองก�ำลังทัพบก
จะมาถึงและอาจจะมีการจัดตั้งไว้เป็นอย่างดี ณ ที่นั้นความสนใจของสื่อมี
อย่างแรงกล้าระหว่างที่ก�ำลังทหารในส่วนแรกเข้าวางก�ำลังและเริ่มรุกไล่ใน
การปฏิบัติการต่าง ๆ หน่วยประชาสัมพันธ์เป็นความต้องการ ในขั้นแรกสุด
เพื่อประกันถึงการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ
๒-๑๐๗.๔ การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยต่อแหล่งก�ำเนิด (Practice security
at the source) รูปแบบใด ๆ ของการตรวจตราคือ การปฏิบัติที่ไม่เป็นไป
ตามเทคนิคและการไม่สามารถยอมรับได้ในทางการเมือง ทหารทั้งปวงและ
เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยพลเรือนได้รบั การฝึกและจัดการด้วยแนวทางการประชาสัมพันธ์
ส�ำหรับการปฏิสมั พันธ์อย่างมีศกั ยภาพกับสือ่ พลเรือน สมาชิกของครอบครัว
ได้รับการจัดการด้วยแนวทางที่เกี่ยวข้องกับสื่อพลเรือน แม้จะเป็นดังนั้น
80 บทที่ ๒

มาตรฐานคือ ไม่มกี ารแบ่งปันข้อมูลข่าวสารใด ๆ ซึง่ ตามนโยบายหรือกฎหมาย


ได้รับการก�ำหนดไว้ว่าไม่เหมาะสมต่อการปล่อยออกไป
๒-๑๐๗.๕ พูดเป็นเสียงเดียว (Speak with one voice) หน่วยงานด้านการประชาสัมพันธ์
ได้รบั การสนธิเข้ากับหน่วยบัญชาการทุกระดับชัน้ ผูบ้ งั คับบัญชาฝึกหัดทหาร
เพื่อพูดแต่เรื่องเกี่ยวกับที่ตัวเองรู้ภายในความรับผิดชอบของตนเองเท่านั้น
และไม่เดาสุ่มเกี่ยวกับเรื่องในประเด็นอื่น ๆ

การรักษาความริเริ่ม ณ บ้านเกิดของตน
ห้วงการรบของผู้บังคับบัญชารวมถึงบ้านเกิดของตนด้วย ผู้บังคับบัญชากระท�ำการในการจัดระเบียบ
สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารทัง้ ในทีน่ นั้ ตลอดจนในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ระหว่างการปฏิบตั กิ าร (Joint Forge)
ผูบ้ งั คับบัญชาระดับนายพลของกองพลทีม่ ฐี านทีต่ งั้ อยูใ่ นภาคพืน้ ทวีปสหรัฐฯ ทีท่ ำ� การวางก�ำลังเข้าสูบ่ อสเนีย
ใช้การประชุมประจ�ำสัปดาห์ผา่ นทางวิดโี อ เทเลคอนเฟอเรนซ์ กับหน่วยแยกทีอ่ ยูใ่ นส่วนหลังและความพร้อม
ของครอบครัวในหน่วยที่จัดเป็นกลุ่มที่เป็นเหมือนส่วนหนึ่งของโครงการข้อมูลข่าวสารภายในทั้งหมด (ข้อมูล
ข่าวสารทางการบังคับบัญชาที่มีมาแต่ก่อน) ผู้บังคับบัญชาใช้สื่อนี้ในการจัดการข้อมูลข่าวสารภายในไปยัง
ครอบครัว และก�ำจัดข่าวลือ, การพลาดข้อมูลข่าวสาร และข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้องในบ้านเกิดของตนเอง
สธ.๑ และเจ้าหน้าที่ด้านการประชาสัมพันธ์มีความรับผิดชอบร่วมกันในการจัดการเกี่ยวกับวิดีโอ เทเลคอน
เฟอเรนซ์ ฝ่ายการบังคับบัญชาและการควบคุมให้การช่วยเหลือพวกเขา ระหว่างการประชุมทางไกลผ่าน
วิดโี อนี ้ ฝา่ ยก�ำลังพลถามว่า “อะไรเป็นข่าวลือทีย่ อ้ นกลับมานัน้ ?” เขาจัดการค�ำตอบจากตัวแทนกลุม่ ความพร้อม
เกีย่ วกับครอบครัว, คูส่ มรส และตัวแทนจากชุมชนท้องถิน่ เช่นเดียวกันการประชุมทางไกลผ่านวิดโี อได้เข้ามา
มีสว่ นเกีย่ วข้องกับส่วนของการประชาสัมพันธ์และการตอบโต้การโฆษณาชวนเชือ่ พวกมันเป็นหนึง่ ในเครือ่ งมือ
ซึ่งผู้บังคับบัญชาใช้ในการรักษาความริเริ่มในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร

๒-๑๐๘. บุคลากรทางด้านกิจการสาธารณะ หรือด้านการประชาสัมพันธ์ช่วยเหลือผู้บังคับ


บัญชาในการจัดระเบียบสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร โดยการจัดเตรียมประเด็นหัวข้อ
และข่าวสารทางด้านการบังคับบัญชาและด�ำเนินการวิเคราะห์สื่อ ประเด็นหัวข้อและข่าวสาร
สนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร โดยการตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อและข้อมูลข่าวสารที่
บิดเบือนความจริงของข้าศึก การให้ความส�ำคัญต่อประสิทธิภาพของก�ำลังรบและการตอบสนอง
ต่อความผิดพลาด หรือความล้มเหลวอย่างรวดเร็ว การกระจายสิง่ เหล่านัน้ แพร่ผา่ นทัว่ ทัง้ กองก�ำลัง
ทหารซึ่งอ�ำนวยให้สามารถท�ำการเกาะติดกับผู้ฟังเป้าหมายได้โดยส่วนต่าง ๆ ของก�ำลังรบเพื่อเป็น
โอกาสในการเพิม่ เติมก�ำลังต่อภาพนัน้ การน�ำพาข่าวสารไปแจ้งกับประชาชนประจ�ำพืน้ ทีเ่ ป็นความ
ส�ำคัญอย่างยิง่ ระหว่างการปฏิบตั กิ ารสันติภาพ (Peace operations) และการปฏิบตั กิ ารสนับสนุน
(support operations) ได้ในบางครั้งข่าวสารเหล่านี้ควรจะมีการปรับปรุงให้ทันสมัยเพื่อรักษา
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 81

ไว้ให้มีความสัมพันธ์กับสถานการณ์ บุคลากรด้านกิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์สร้าง


แผนการวิเคราะห์สื่อเพื่อการประเมินผลลัพธ์ที่ตามมา บุคลากรด้านกิจการสาธารณะหรือการ
ประชาสัมพันธ์ (PA) ท�ำในสิ่งเหล่านี้ภายในบริบทของประเด็นหัวข้อที่อยู่บนการยอมรับและการ
สั่งการตามสายการบังคับบัญชา
๒-๑๐๙. บุคลากรด้านกิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์สร้างแผนการวิเคราะห์สอื่ และ
ด�ำเนินการวิเคราะห์สื่อเพื่อประเมินถึงความส�ำเร็จ ความกล้าแกร่งและความอ่อนแอของการ
ปฏิบัติทางด้านกิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ของพวกเขา ตลอดจนผลกระทบที่
มีต่อแนวความคิดในเรื่องของการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสารนี้
ก่อให้เกิดความรู้สึกของประเด็นความตั้งใจของประชากรในท้องถิ่นว่ามุ่งต่อสิ่งใด บุคลากรด้าน
กิจการสาธารณะหรือการประชาสัมพันธ์วเิ คราะห์ขอ้ มูลข่าวสารและก�ำหนดวัสดุทใี่ ช้สอื่ ความหมาย
ซึ่งมีศักยภาพทางด้านความสนใจของสื่อขณะเดียวกับการท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับบุคลากรทางด้าน
การข่าวกรอง
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๑๑๐. กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ (PA), การปฏิบัติการจิตวิทยา และการปฏิบัติ
การพลเรือน-ทหาร เป็นการติดต่อสื่อสารข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างอิทธิพลต่อความเข้าใจและการ
รับรูข้ องผูฟ้ งั ในเรือ่ งการปฏิบตั กิ าร พวกเขาได้รบั การประสานสอดรับในการก�ำจัดภาพจ�ำลองในส่วน
ของความพยายามทีไ่ ม่จำ� เป็นและประกันว่าเอกภาพในส่วนของจุดประสงค์และความน่าเชือ่ ได้นนั้
ไม่ถูกท�ำลายลงไป
การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร (CIVIL MILITARY OPERATIONS)
๒-๑๑๑. การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร เป็นกิจกรรมในส่วนของผู้บังคับบัญชาซึ่งสร้าง รักษา
มีอิทธิพล หรือขยายผลความสัมพันธ์ต่าง ๆ ระหว่างก�ำลังทหาร องค์กรและเจ้าหน้าที่รัฐบาล
ตลอดจนเจ้าหน้าที่พลเรือนที่ไม่ใช่รัฐบาล รวมทั้งประชาชนพลเรือนในพื้นที่การยุทธ์ของฝ่ายเรา
ฝ่ายเป็นกลาง หรือฝ่ายปรปักษ์ เพื่ออ�ำนวยประโยชน์ต่อการปฏิบัติการทางทหาร เพื่อท�ำให้
วัตถุประสงค์ทางการยุทธ์ของประเทศมั่นคงและบรรลุผลส�ำเร็จ การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร
อาจจะรวมถึงการปฏิบตั งิ านโดยก�ำลังทหารในส่วนของกิจกรรมและพันธกิจต่าง ๆ ซึง่ ปกติเป็นความ
รับผิดชอบของท้องถิน่ ภูมภิ าค หรือรัฐบาลของประเทศ กิจกรรมเหล่านีอ้ าจจะเกิดขึน้ ก่อนระหว่าง
หรือตามมาทีหลังการปฏิบัติทางทหารอื่น ๆ กิจกรรมเหล่านี้อาจจะเกิดขึ้น ถ้าหากมีการสั่งการใน
ส่วนที่ขาดหายไปในเรื่องของการปฏิบัติการทางทหารในทางอื่น ๆ การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร
อาจจะเป็นการปฏิบัติโดยกิจการพลเรือนตามที่ออกแบบไว้ (Designated civil affairs) หรือโดย
82 บทที่ ๒

กองก�ำลังทหารส่วนอื่น ๆ หรือโดยการผสมผสานในเรื่องของกิจการพลเรือนและกองก�ำลังอื่น ๆ๒๘


(JP 3-57)
๒-๑๑๒. การปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหาร ครอบคลุมประเด็นทัง้ ปวงในส่วนของมิตเิ กีย่ วกับพลเรือนซึง่
ผูบ้ งั คับบัญชาต้องก�ำหนดขึน้ เพือ่ บรรลุภารกิจของพวกเขา ประเด็นแง่มมุ เหล่านีร้ วมถึงแต่ไม่จำ� กัด
ต่อประชาชนพลเรือนท้องถิน่ และรัฐบาลท้องถิน่ องค์กรทีไ่ ม่ใช่หน่วยงานรัฐบาลและองค์กรระหว่าง
ประเทศซึ่งอาจจะกระทบ หรือมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติทางทหาร การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร
สนับสนุนการฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐานทางด้านการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับชาวพื้นเมืองและเกี่ยวพัน
กับวัฒนธรรม, สังคม, การเมือง และภาคเศรษฐกิจในพื้นที่ปฏิบัติการ๒๙
การสนับสนุน (Contributions)
๒-๑๑๓. การปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหารมีสองรูปแบบ : คือสนับสนุนต่อการปฏิบตั กิ ารทางทหาร
และสนับสนุนต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน
๒-๑๑๔. สนับสนุนต่อการปฏิบตั กิ ารทางทหาร (Support to Military Operations) สนับสนุน
ต่อการปฏิบตั กิ ารทางทหารแสวงหาแนวทางในการลดการรบกวนจากฝ่ายพลเรือนทีม่ ตี อ่ การปฏิบตั ิ
การทางทหารให้เหลือน้อยที่สุด และขยายการสนับสนุนให้แก่การปฏิบัติการต่าง ๆ ให้มากที่สุด
ตลอดจนสอดคล้องกับความรับผิดชอบทางกฎหมายและข้อผูกพันทางด้านจริยธรรมของผู้บังคับ
บัญชาที่มีต่อประชาชนพลเรือนภายในพื้นที่ปฏิบัติการ ในระดับยุทธการ การปฏิบัติการพลเรือน-
ทหาร สนับสนุนนโยบายของประเทศและปฏิบตั ใิ นกรอบวัตถุประสงค์แห่งชาติโดยการประสานงาน
สร้างอิทธิพล การพัฒนา หรือการเข้าถึงโครงสร้างพืน้ ฐานประจ�ำท้องถิน่ ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ในระดับ
ยุทธวิธีการปฏิบัติการพลเรือน-ทหารเป็นการรักษาการยอมรับของท้องถิ่นในเรื่องการสนับสนุน
ต่อกองก�ำลังทหารของประเทศ มันเป็นสิง่ ส�ำคัญต่อการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเพราะว่าการปฏิบตั ิ
การพลเรือน-ทหาร เกี่ยวข้องกับการเผชิญหน้ากับองค์กรและบุคคลต่าง ๆ ที่ส�ำคัญในพื้นที่ปฏิบัติ
การและกับองค์กรที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐบาล (NGOs) อย่างเช่น คณะกรรมการระหว่างประเทศ
ของกาชาดสากล
๒-๑๑๕. สนับสนุนต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน (Support to Civil Authorities) สนับสนุนต่อ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน รวมถึงการให้ความช่วยเหลือด้วยการบรรเทาทุกข์ การสนับสนุนประชาชน
พลเรือนที่ไร้ที่อยู่อาศัย (บุคคลที่ไร้ที่อยู่ ผู้อพยพ ผู้ถูกขับไล่ หรือผู้ลี้ภัย) และให้การรักษาความ
ปลอดภัยหรือให้การช่วยเหลือทางเทคนิค กิจกรรมเหล่านีอ้ าจจะประกอบด้วยการปฏิบตั อิ ย่างเช่น
๒๘
ดู JP 3-57
๒๙
(ดู JP 3-57; FM 41-10)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 83

๒-๑๑๕.๑ การประสานงานการเคลื่อนย้ายพลเรือนออกจากเขตการสู้รบ
๒-๑๑๕.๒ การประสานเชื่อมต่อระหว่างกองก�ำลังทหารของประเทศ/หลาย ๆ ชาติ
กับชาติเจ้าของพื้นที่ตลอดจนองค์กรของรัฐบาลอื่น ๆ/และที่ไม่ใช่หน่วยงาน
ของรัฐบาล
๒-๑๑๕.๓ การปฏิบัติการทางทหารควบคุมเหนือพื้นที่ รัฐบาลฝ่ายศัตรู หรือประชาชน

การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร คือสภาพแวดล้อมด้านการรักษาสันติภาพ
การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร ระหว่างการปฏิบัติการสันติภาพรวมถึงโครงการข้อมูลข่าวสารพลเรือน-ทหาร
ซึ่งรายงานข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชนท้องถิ่น เกี่ยวกับการปฏิบัติการทางทหารที่ก�ำลังด�ำเนินไปอย่าง
ต่อเนื่องและรักษาท่าทีในการเพิกเฉยและไม่ข้องเกี่ยวของพวกเขา ตัวอย่างของการปฏิบัติการดังกล่าวคือ
การแสดงหุ่นกระบอกเตือนใจ ที่น�ำเสนอให้กับเด็ก ๆ ชาวบอสเนียในกองพลนานาชาติทางตอนเหนือพื้นที่
ปฏิบตั กิ าร ทหารด้านการประชาสัมพันธ์ของ กกล.ฉก.อีเกิล สร้างโชว์หนุ่ กระบอกแสดงให้แก่เด็ก ๆ ทัว่ ทัง้ พืน้ ที่
ปฏิบตั กิ าร ศูนย์การพิมพ์ขา่ วสารพันธมิตร ก่อให้เกิดการเปิดเผยในสิง่ ต่าง ๆ หน่วยการประชาสัมพันธ์สนับสนุน
กกล.ฉก. อีเกิลใช้ทหารอาสาสมัครในการแสดงโชว์หุ่นกระบอกซึ่งมีการช่วยเหลือจากล่าม การแสดงหุ่น
กระบอกแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของประชาชนในเรือ่ งของภูมหิ ลังของประชาชนเกีย่ วกับเชือ้ ชาติและสีผวิ
เรื่องราวมุ่งเน้นต่อประชาชนที่หลากหลายที่อาศัยอยู่ร่วมกันด้วยความผาสุกและสันติ การแสดงหุ่นกระบอก
เป็นทีน่ ยิ มอย่างมากในหมูเ่ ด็ก ๆ ผูด้ เู สมือนว่าเข้าใจและยอมรับบทเรียนทางด้านศีลธรรมทีม่ นั ได้แสดงให้เห็น
ยิง่ ไปกว่านัน้ การแสดงหุน่ ก่อให้เกิดโอกาสแก่บคุ ลากรด้านกิจการพลเรือนเพือ่ พบปะและพูดคุยนายกเทศมนตรี
และผู้น�ำท้องถิ่นอื่น ๆ ผู้ซึ่งอาจจะเข้าถึงไม่ได้

๒-๑๑๖. ข้อจ�ำกัดเกีย่ วกับการใช้กองก�ำลังด้านกิจการพลเรือน (Limitations on Using Civil


Affairs Forces) กองก�ำลังด้านกิจการพลเรือน (Civil affairs Forces) ได้ก�ำหนดแบบว่าเป็น
ส่วนก�ำลังรบและเป็นทั้งหน่วยก�ำลังประจ�ำการและก�ำลังส�ำรองหรือที่ได้รับการจัดหน่วย, การฝึก
และการจัดยุทโธปกรณ์เฉพาะทางเพือ่ ด�ำเนินการในกิจกรรมทางด้านกิจการพลเรือนและสนับสนุน
ต่อการปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหาร (JP 3-57) ความจ�ำเป็นของกองก�ำลังกิจการพลเรือนคือ เพือ่ รักษา
ความไว้วางใจที่ได้จากประชาชนพลเรือนซึ่งจ�ำกัดต่อสิ่งใด ๆ ก็ตามที่พวกเขาสามารถสนับสนุน
ต่อการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การพบปะประจ�ำวันระหว่างหน่วยทหารด้านกิจการพลเรือน
กับประชาชน และสถาบันต่าง ๆ ในพื้นที่ปฏิบัติการเป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญของข่าวสาร ทหารที่
ท�ำหน้าที่ด้านกิจการพลเรือนเก็บรวบรวมข่าวสารนี้และด�ำเนินการประเมินค่าเพื่อที่จะก�ำหนด
เป้าหมายในความพยายามด้านการบรรเทาหรือรักษาเสถียรภาพเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมด้าน
พลเรือน (civil environment) ของพวกเขาไว้การปฏิบัติการพลเรือน-ทหารสนับสนุนการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร และอ�ำนวยให้ภารกิจประสบผลส�ำเร็จโดยการส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่าง
84 บทที่ ๒

ก�ำลังรบทั้งหมดกับประชาชนพลเรือน อย่างไรก็ตาม หน่วยกิจการพลเรือนหลีกเลี่ยงการรับรู้ใด ๆ


ซึ่งกิจกรรมพวกเขามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Coordination)
๒-๑๑๗. กิจการสาธารณะ หรือการประชาสัมพันธ์ (Public affairs) การปฏิบัติการจิตวิทยา
และการปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหารจะถูกประสานสอดคล้องเพือ่ ก�ำจัดภาพจ�ำลองความพยายามที่
ไม่จ�ำเป็น ท�ำให้เชื่อมั่นในเอกภาพของจุดประสงค์และท�ำให้เชื่อมั่นในความน่าเชื่อถือ ว่าไม่มีวัน
เสื่อมสลาย
๒-๑๑๗.๑ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานกิจกรรมต่าง ๆ ให้การสนับสนุน
วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและกิจต่าง ๆ เกี่ยวกับการ
ปฏิบัติการพลเรือน-ทหารกับนายทหารกิจการพลเรือน-ทหาร๓๐
๒-๑๑๗.๒ นายทหารกิจการพลเรือน-ทหาร (civil military)
๒-๑๑๗.๒.๔ จัดเตรียมข้อเสนอแนะความต้องการข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหารและ EEFI แก่นายทหารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร
๒-๑๑๗.๒.๕ ประสานกั บ นายทหารการข่ า วกรองเกี่ ย วกั บ ประเด็ น ของ
สถานการณ์ข้าศึกซึ่งอาจจะกระทบการปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร
๒-๑๑๗.๒.๖ ระบุและให้ความช่วยเหลือ นายทหารทีท่ ำ� หน้าทีด่ า้ นการบังคับ
บัญชาและการควบคุมด้วยการประสานงานในเรือ่ งทีฝ่ า่ ยทหาร
จะใช้ระบบการติดต่อสื่อสารของท้องถิ่น
๒-๑๑๗.๒.๗ ประสานกับหน่วยก�ำลังทางยุทธวิธใี นการปฏิบตั กิ จิ ต่าง ๆ ด้าน
การปฏิบัติการพลเรือน-ทหารกับนายทหารยุทธการ
๒-๑๑๗.๒.๘ ประสานกับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความ
คิดเห็นของสาธารณชน
๒-๑๑๗.๒.๙ ประสานกับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและเจ้าหน้าที่
ประชาสัมพันธ์ในการประกันว่าการกระจายข้อมูลข่าวสารที่
แพร่กระจายออกไปเป็นความจริงและสนับสนุนวัตถุประสงค์
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๒-๑๑๗.๒.๑๐ ประสานกับเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ในการให้ค�ำแนะน�ำสื่อ
ด้านข้อมูลข่าวสารที่เป็นสาธารณะ
๓๐
ความหมายในทางเดียวกับนายทหารกิจการพลเรือน เนือ่ งจาก ทบ.ไทยไม่มอี ตั รานายทหารกิจการพลเรือน-ทหาร
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 85

รปภ.ป/บ การลวง การ ปจว. การท�ำลาย สอ. รปภ.ทาง


ทางทหาร ทางกายภาพ กายภาพ
รปภ.ป/บ.สนับสนุนโดยการ
• ซ่อนพรางเท่าที่ใน • ซ่อนพรางสิ่งบ่งชี้ • ซ่อนพรางระบบ • ซ่อนพรางหน่วย • ซ่อนพราง หขส.
การเป็นปรปักษ์ ที่ขัดแย้งขณะที่ เครื่องส่งของฝ่าย และระบบ สอ.เพื่อ ส�ำคัญของฝ่ายเรา
• ลดระดับข่าวสาร เบี่ยงเบนข้อมูล เราจาก หน่วย ปฏิเสธข่าวสารจาก • ลดการปฏิบัติที่
สถานการณ์ทั่วไปที่ ข่าวสารและสิ่งบ่งชี้ ปขส.เชิงรุกของ การขยายขีด ต้องการ รปภ.
ช่วยให้เกิด ที่เลือกไว้ ข้าศึกจนกระทัง่ สาย ความสามารถ การ กายภาพ
สนับสนุนโดยการ

ประสิทธิภาพใน เกินไปที่จะตอบได้ โจมตีทาง สอ. • ซ่อนเครื่องมือ


การสังเกตการณ์ • ปฏิเสธข้อมูล และการสนับสนุน รปภ.กายภาพเพื่อ
• จ�ำกัดข่าวสารและ ข่าวสารที่เป็น ทาง สอ. ป้องกันฝ่าย
ตัวบ่งชี้ซึ่งสรุปการ ความส�ำเร็จจากการ ตรงข้ามเข้าถึง
ปฏิบัติการลวงทาง ปขส.เชิงรุกของ
ทหารได้ ข้าศึก

• สร้างอิทธิพลต่อ • จัดเตรียมข่าวสาร • สร้างอิทธิพลต่อ • สร้างอิทธิพลต่อ • ปิดบังหน่วยที่


ฝ่ายตรงข้ามไม่ให้ ที่สอดคล้องกับ ฝ่ายตรงข้ามให้ ฝ่ายตรงข้ามให้ ต้องการการรักษา
รวบรวมข่าวสาร เรื่องราวการ ปจว. ประมาณการขีด ประมาณการขีด ความปลอดภัย
การลวงทางทหาร

จากหน่วย/กิจกรรม ความสามารถการ ความสามารถการ


ท�ำลายทางกายภาพ
ที่ได้รับการปกป้อง ผิดพลาด โจมตี สอ./การ
• เป็นเหตุให้ฝ่าย • สร้างอิทธิพลต่อ สนับสนุน สอ.
ตรงข้ามประมาณ ฝ่ายตรงข้ามให้ท�ำ ผิดพลาด
การขีดความสามารถ การป้องกัน
รปภ.ป/บ ฝ่ายเรา องค์ประกอบ
ผิดพลาด ระบบ C2 ที่ฝ่าย
เราไม่ได้วางแผน
ท�ำลาย
• กระจายกฎการ • สร้างการรับรู้และ • เป็นเหตุให้ • ออกอากาศ • สร้างเป้าหมาย
ปะทะ ทัศนคติซงึ่ การลวงฯ ประชาชนออกจาก ผลผลิตของการ ผู้ฟังฝ่ายตรงข้ามใน
ปจว.สนับสนุนโดยการ

• ตอบโต้การ สามารถขยาย พื้นที่เป้าหมายเพื่อ ปจว.ในความถี่ของ การลดความจ�ำเป็น


โฆษณาชวนเชื่อ ผลได้ ลดผลกระทบ ฝ่ายตรงข้าม ในการ รปภ.
และข้อมูลข่าวสาร • สนธิการลวงกับ ข้างเคียง • พัฒนาข่าวสารใน กายภาพ
ที่ผิดพลาด การ ปจว. การออกอากาศโดย
สนับสนุนโดยการ

• ลดแรงเสียดทาน • เพิ่มเติมเรื่องลวง หน่วย สอ.ของ


และการขัดขวาง กับข่าวสารจาก เหล่าทัพอื่น
จากประชาชนใน แหล่งอื่น ๆ
พื้นที่

• ป้องกันหรือลด • ท�ำการโจมตีต่อ • ลดระดับ • ท�ำลายเป้าหมาย • ลดความต้องการ


การทำ�ลายทางกายภาพ

ระดับการ ลว./เฝ้า วัตถุด้วยเป็นหนึ่ง ความสามารถของ ระบบ C2 ของฝ่าย รปภ.กายภาพโดย


ตรวจของฝ่าย ในเหตุการณ์ลวง ฝ่ายตรงข้ามในการ ตรงข้าม การโจมตีระบบ
ตรงข้าม • ลดระดับขีด มองเห็น รายงาน • ท�ำลายระบบ ของฝ่ายตรงข้ามที่
ความสามารถของ และด�ำเนินกรรมวิธี อิเล็กทรอนิกส์ที่ สามารถเจาะระบบ
ฝ่ายตรงข้ามในการ ข้อมูลข่าวสาร ฝ่ายตรงข้ามใช้ ข่าวสารได้
มองเห็น รายงาน • ลดระดับ
และด�ำเนินกรรมวิธี ความสามารถของ
จากการตรวจการณ์ ฝ่ายตรงข้ามในการ
ได้ รบกวนการ ปจว.
ออกอากาศ

รูปที่ ๒-๑ การสนับสนุนซึ่งกันและกันภายในองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


86 บทที่ ๒

รปภ.ป/บ การลวง การ ปจว. การท�ำลาย สอ. รปภ.ทาง


ทางทหาร ทางกายภาพ กายภาพ
• ลดการปฏิบัติการ • ใช้ จอ./สสอ.เป็น • ลดความสามารถ • ด�ำเนินการค้นหา • ใช้ EP ปกป้อง
ขฝล.ทางคลื่น มาตรการในการลวง ของข้าศึกในการ เป้าหมายโดยการ การติดต่อสื่อสารที่
แม่เหล็กไฟฟ้าของ • ลดขีดความ เห็น, รายงาน, ด�ำเนิน สสอ. ใช้ในการปกป้อง
สอ.สนับสนุนโดยการ

ข้าศึกที่กระท�ำต่อ สามารถของข้าศึก กรรมวิธีข้อมูล • ท�ำลายหรือ สิ่งอ�ำนวยความ


หน่วยและกิจกรรม ในการมองเห็น, ข่าวสาร ก่อกวนทรัพยากรที่ สะดวก
ที่ได้รับการปกป้อง รายงานด�ำเนิน • แยกผูฟ้ งั เป้าหมาย ล่อแหลมด้วย สจอ.
• สร้างก�ำแพงเสียง กรรมวิธีจากการ จากข่าวสาร
เพื่อปิดบังหน่วย ตรวจการณ์
ด�ำเนินกลยุทธ์ • สร้างเหตุให้ข้าศึก
ตีความข่าวสารที่
ได้รับจากเครื่องมือ
ทางอิเล็กทรอนิกส์
ผิดพลาด
• สร้างความเชื่อมั่น • จัดเตรียม • ประกันระบบ • ประกันระบบ • ประกันทรัพยากร • เตรียมไว้ส�ำหรับ
สนับสนุนโดยการ

ระบบข้อมูล ทรัพยากรระบบ ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสาร สอ. สามารถ ระบบข้อมูล


การประกัน
ข่าวสาร

ข่าวสาร ข้อมูลข่าวสาร สามารถน�ำมาใช้ น�ำมาใช้เพื่อการ น�ำมาใช้ได้ ข่าวสารที่แท้จริง


ส�ำหรับการ ส�ำหรับการ ปจว. ด�ำเนินกิจท�ำลาย
ปฏิบัติการลวงฯ ทางกายภาพ
• โจมตีคอมพิวเตอร์ • จัดเตรียมเรือ่ งลวง • เครื่องมือหนึ่งใน • การโจมตีในแบบ • ใช้ควบคู่กับ จอ. • ท�ำการประเมิน
การป้องกันเครือข่ายฯ การโจมตีเครือข่ายฯ
รปภ.กายภาพ สนับสนุนโดยการ สนับสนุนโดยการ

ข้าศึกก่อนค้นพบ โดยคอมพิวเตอร์ การจัดเตรียม ไม่สังหารต่อ ความเสี่ยง


จตค.

หขส.ส�ำคัญฝ่ายเรา เรือ่ งราวการ ปจว. เป้าหมายที่เลือกซึ่ง ผลกระทบ จดค. ใน


ช่วยให้อาวุธสังหาร อันดับ ๒ และ ๓
ใช้กับเป้าหมายอื่น
• ค้นหาความ • ปกป้องแผนการ • ป้องกันข่าวสาร • ป้องกันการยิง • ใช้ร่วมกับ EP • สร้าง firewall
พยายามข้าศึกใน ลวงที่อยู่ใน ขาด ๆ เกิน ๆ สนับสนุนระบบ C2 ป้องกันการบุกรุก
ปกค.

การหาข่าวสาร คอมพิวเตอร์ ด้านการ ปจว. ก่อน เครือข่าย


ที่จะปล่อยออกไป
• ปกป้องแผนค�ำสั่ง • หวงห้ามตาม • ประกันผลผลิตไม่ • ปกป้องความ • ปกป้องอุปกรณ์ที่
สนับสนุนโดยการ

ยุทธการ ระดับการ รปภ. มีชั้นความลับ สามารถในการน�ำ ใช้ใน สอ.


และจ�ำนวน ระบบข้อมูลข่าวสาร
สนับสนุนโดยการ

บุคลากร ไปใช้ในการท�ำลาย
ทางกายภาพ
• เตรียมการปกปิด • ส่งเสริมการ • ลบล้างหรือลดการ • ระบุเป้าหมายใน • ระบุเป้าหมายใน • ก�ำหนดการลวง
เรื่องราวให้กับการ ปฏิบัติการลวงทาง ปฏิบัติการลวงของ การลวงของฝ่าย การลวงของฝ่ า ย ของข้าศึกก่อนที่
ต่อต้านการลวง
สนับสนุนโดยการ

ปฏิบัติการของ ทหารของฝ่ายเรา ต่างประเทศ ตรงข้าม เพื่อว่าการ ตรงข้ามเพื่อว่า EW การรักษาความ


หน่วย โดยลวงฝ่ายข้าศึก ท�ำลายทางกายภาพ สามารถต่อต้านได้ ปลอดภัยทาง
ถึงผลกระทบจาก สามารถใช้ต่อต้าน กายภาพจะเกิด
การลวงของพวกเขา ได้ ความสับสน
ต่อต้านการโฆษณา

• เพ่งเล็งความ • จัดเตรียมเป้าหมาย • จัดเตรียมเป้าหมาย • จัดเตรียมเป้าหมาย • จัดเตรียมเป้าหมาย • ลดจ�ำนวนสิ่ง


ชวนเชื่อ

จ�ำเป็นการ รปภ. ในการลวง ในการ ปจว. การท�ำลายทาง การ จอ. และเน้น อ�ำนวยความสะดวก
ปบ. กายภาพ การ ปอ. ทีจ่ ะป้องกันจากการ
โกหกของข้าศึก
• ต่อต้านการ • ต่อต้านการปฏิบตั ิ • ด�ำเนินการต่อต้าน • ไม่มี • จัดเตรียมมาตรการ • ต่อต้านการปฏิบตั ิ
สนับสนุนโดยการ
ต่อต้านข่าวกรอง

ปฏิบตั กิ ารข่าวกรอง การข่าวกรองมนุษย์ การปฏิบัติทาง ต่อต้านทาง การข่าวกรองมนุษย์


มนุษย์ HUMINT HUMINT ของ สัญญาณเพื่อช่วย อิเล็กทรอนิกส์ HUMINT ของต่าง
ของต่างประเทศ ต่างประเทศ ออกอากาศข่าวสาร ประเทศ
• ระบุขีดความ
สามารถ ขฝล. การ ปจว.
ของภัยคุกคาม

รูปที่ ๒-๑ การสนับสนุนซึ่งกันและกันภายในองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 87

ประกัน ต่อต้าน ต่อต้านการ ต่อต้าน การโจมตี การป้องกัน


ข่าวสาร การลวง โฆษณาชวนเชื่อ ข่าวกรอง เครือข่าย เครือข่าย
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
• ปิดบังที่ตั้งทาง • ปิดบังเจตนารมณ์ • ลดปริมาณหัวข้อ
• ประกันว่าหัวข้อ • ปิดบังขีด • ปฏิเสธความรู้ของ
สนับสนุนโดยการ

ข่าวสารส�ำคัญของ
รปภ./ปบ.

กายภาพ และทาง ทีแ่ ท้จริงของ กิจกรรมที่กระท�ำ ความสามารถใน ข้าศึกเกี่ยวกับขีด


อิเล็กทรอนิกส์ระบบ ผู้บงั คับบัญชา ฝ่ายเราได้รับการ
ต่อการโฆษณา การโจมตีเครือข่ายความสามารถใน
ปิดบังในการค้นหา
ข้อมูลข่าวสาร ชวนเชื่อของข้าศึก
จากหน่วยรวบรวม คอมพิวเตอร์ การป้องกันเครือข่าย
ของข้าศึก คอมพิวเตอร์
• สร้างงานให้เกิน • สร้างเหตุให้ฝ่าย • รวบรัดให้ฝ่าย • ให้เรื่องราวปกปิด • จัดการเป้าหมาย • สร้างมูลเหตุ
ขีดความสามารถ ตรงข้ามใช้ก�ำลังรบ ตรงข้ามใช้การ ต่อฝ่ายตรงข้ามจน การลวงทางทหาร ให้ข้าศึกเชื่อว่าการ
ทางด้าน ขว. และ ในทางที่เป็นการ โฆษณาชวนเชือ่ ทีไ่ ม่ ท�ำให้ระบบข่าว และเรื่องลวง ป้องกันเครือข่าย
การลวงทางทหาร
สนับสนุนโดยการ

คอมพิวเตอร์ของ
การวิเคราะห์แก่ เพิ่มเติมกิจกรรม เหมาะสมเป็นเหตุ กรองของเขา ส่งเสริมการโจมตี พวกเราดีเกินความ
ขศ. ต่อต้านการลวง ที่ท�ำให้พวกเขา รวบรวมข่าวสารที่ เครือข่าย เป็นจริง
• ปกป้องและ • ท�ำการลวงฝ่าย เปิดเผยการต่อต้าน ไม่เกี่ยวข้อง คอมพิวเตอร์ • สร้างมูลเหตุให้
ป้องกันระบบข้อมูล ตรงข้ามในผลการ การโฆษณาชวนเชือ่ ข้าศึกเชือ่ ว่าเครือ่ งมือ
ข่าวสารของฝ่ายเรา ลวงของเขา ในการป้องกัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทั้งหมดอยู่ในระบบ
• สนับสนุน • ประเมินผลกระทบ • ตอบโต้การ • จัดเตรียมข่าวสาร • ท�ำให้ข้าศึกเชื่อว่า • จัดเตรียมข่าวสาร
ความสามารถใน ทางจิตวิทยาใน ให้เกิดขึ้นในใจผู้ท�ำ
โฆษณาชวนเชื่อที่ ไม่ท�ำในบางสิ่งโดย เกี่ยวกับภัยคุกคาม
สนับสนุนโดยการ

หน้าที่ตกลงใจของ
การ ปจว.

การประกันข่าวสาร กิจกรรมการต่อต้าน เป็นปรปักษ์ ฝ่ายตรงข้ามซึ่ง อธิบายผลกระทบ ต่อคอมพิวเตอร์ที่


ในใจของข้าศึก การลวงต่อฝ่าย สามารถแสดงโดย ของการโจมตี ไม่ใช่ทางการทหาร
ตรงข้าม การต่อต้านข่าว เครือข่ายฯ ถ้าพวก ในพื้นที่ปฏิบัติการ
• ค้นหาการลวง กรองเพื่อก�ำหนด เขาท�ำบางสิ่งที่ไม่
เจตนารมณ์ที่แท้
ของข้าศึก จริงของข้าศึก พึงปรารถนา

• โจมตีระบบฝ่าย • ปฏิเสธหรือท�ำให้ • ท�ำลายสื่ออ�ำนวย • ท�ำลายหน่วย • เสริมการโจมตี • ท�ำลาย หรือลด


สนับสนุนโดยการ
การทำ�ลายทาง

ตรงข้ามที่สามารถ ขีดความสามารถใน ความสะดวกใน รวบรวมของฝ่าย เครือข่ายฯ โดยการ ระดับสิ่งอ�ำนวย


กายภาพ

ส่งผลต่อระบบ การลวงของฝ่าย การติดต่อสื่อสารที่ ตรงข้ามที่เป็นตัว ท�ำลาย หรือลด ความสะดวกในการ


ข้อมูลข่าวสารของ ตรงข้ามเป็นกลาง เป็นความสามารถ แทนที่เหมาะสม โจมตีเครือข่ายฯ
ระดับเป้าหมายที่มี ของข้าศึกก่อนที่
ฝ่ายเราทีม่ อี ยูแ่ ละที่ ในการถ่ายทอดการ ความแข็ง พวกเขาจะโจมตี
มีความสมบูรณ์ โฆษณาชวนเชื่อ คอมพิวเตอร์ฝา่ ยเรา
• ใช้ EP เพือ่ ปกป้อง • ด�ำเนินการโจมตี • ด�ำเนินการโจมตี • ไม่มี • เสริมการโจมตี • ใช้ EP ในการ
สนับสนุนโดยการ สนับสนุนโดยการ
อิเล็กทรอนิกส์

อุปกรณ์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ เครือข่ายฯ ด้วยการ ปกป้องอุปกรณ์


สงคราม

ต่อขีดความสามารถ เพื่อลดการใช้แถบ โจมตีทาง และสิง่ อ�ำนวยความ


ด้านการลวงของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ สะดวกส่วนบุคคล
ฝ่ายข้าศึก ของฝ่ายตรงข้าม
• จัดเตรียมความ • เตรียมการส�ำหรับ • ประกันว่าระบบ • ประกันการ • ลงมือปฏิบัติ
มั่นคงให้กับระบบ เพื่อประกันว่า
การประกัน

การยอมรับข่าวสาร ข้อมูลข่าวสารด�ำรง เชื่อมโยงกับ บก.


ข่าวสาร

ข้อมูลข่าวสารเพื่อ อยู่เพื่อด�ำเนินการ หน่วยเหนือเพือ่ การ คอมพิวเตอร์นั้นมี


ประกันว่าระบบ อยู่ คงทน เชื่อถือ
ข้อมูลข่าวสารจะ ต่อต้านข่าวกรอง ส่งผ่านค�ำร้องการ
ได้เป็นของจริงและ
ไม่ถูกลวง โจมตีเครือข่ายฯ
ยอมรับได้
• ท�ำการโจมตี • ไล่ติดตามความ • ท�ำการโจมตี • ไล่ติดตามการ • โจมตี
สนับสนุนโดยการ
เครือข่ายคอมฯ

คอมพิวเตอร์ข้าศึก พยายามของข้าศึก เครื่องมือในการ รวบรวมข่าวกรอง ความสามารถของ


การโจมตี

ก่อนที่ข้าศึกโจมตี ที่จะท�ำให้ก�ำลังรบ เผยแพร่การโฆษณา ของข้าศึก ข้าศึกที่จะท�ำการ


คอมพิวเตอร์ฝา่ ยเรา ของฝ่ายเราท�ำ ชวนเชื่อของข้าศึก โจมตีคอมพิวเตอร์
ผิดพลาด ของฝ่ายเรา
• สนับสนุนการ • กลั่นกรองข้อมูล • ประกันว่าข้อมูล • ค้นหา, พิสูจน์ • ปกป้องอาวุธที่ใช้
สนับสนุนโดยการ
เครือข่ายคอมฯ

ประกันข่าวสารใน การลวงของข้าศึก ข่าวสารทาง ทราบ และประเมิน ในการโจมตี


การป้องกัน

ส่วนข้อมูลข่าวสาร ตามล�ำดับที่จะให้ คอมพิวเตอร์ของ ความพยายาม เครือข่าย


ฝ่ายเราเป็นของจริง รวบรวมข่าวสาร
ผ่านทางเครือข่าย แก่ผู้มีหน้าที่ ด้วยการที่ท�ำการ คอมพิวเตอร์จาก
คอมพิวเตอร์ ตกลงใจ ปฏิเสธการ ปจว. ของข้าศึกที่กระท�ำ การค้นหาของข้าศึก
ของข้าศึก ต่อคอมพิวเตอร์

รูปที่ ๒-๑ การสนับสนุนซึ่งกันและกันภายในองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


88 บทที่ ๒

ประกัน ต่อต้าน ต่อต้านการ ต่อต้าน การโจมตี การป้องกัน


ข่าวสาร การลวง โฆษณาชวนเชื่อ ข่าวกรอง เครือข่าย เครือข่าย
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
• รักษาความ • รักษาความ • รักษาความ • รปภ. บุคคล และ • รปภ.ระบบข้อมูล • ก�ำหนดระดับ
ปลอดภัยให้กบั ระบบ ปลอดภัยสถานที่ตั้ง ปลอดภัยบุคคลจาก ป้องกันการเข้าถึง ข่าวสารจาก การก่อ ความเสี่ยง และภัย
รปภ.ทางกายภาพ

ข้อมูลข่าวสาร และยุทโธปกรณ์ การจารกรรม โดยไม่มีอ�ำนาจ วินาศกรรม การ คุกคามที่สามารถ


สนับสนุนโดยการ

โดยการใช้ระเบียบ จากการลวงของ หน้าที่ต่อ จารกรรม การ น�ำมาใช้ได้


ปฏิบัติด้านการ ข้าศึก ยุทโธปกรณ์ ท�ำลาย หรือการลัก
รักษาความ สถานที่ วัสดุ ขโมย
ปลอดภัย อุปกรณ์และ
เอกสาร

• ป้องกันข้าศึกจาก • ยืนยันข่าวสารที่ • ยืนยันเจตนารมณ์ • ปฏิเสธท�ำให้เป็น • ปฏิเสธ ท�ำให้เป็น


การแทรกแซงด้วย เป็นจริงจากสอง ของข้าศึกจากสอง กลาง หรือลดการ กลาง หรือลดการ
การต่อต้านการลวง

มัชฌิม
สนับสนุนโดยการ

ข่าวสารที่เชื่อถือได้ มัชฌิม ปฏิบัติการลวงของ ปฏิบัติการลวงของ


และถูกต้องแน่นอน ข้าศึกที่กระท�ำต่อ ข้าศึกที่กระท�ำต่อ
การโจมตีเครือข่าย การป้องกัน
คอมฯ ให้น้อยลง เครือข่ายคอมฯ ให้
น้อยลง

• จัดเตรียมความ • ตอบโต้ข่าวลือ • ให้ความรู้ • ตอบโต้ข่าวสารที่ • ตอบโต้การ


การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ

เป็นจริงเกี่ยวกับ ประชาชนเกี่ยวกับ ผิดพลาดจากการ โฆษณาชวนเชื่อ


ข่าวลือ
สนับสนุนโดยการ

เจตนารมณ์ข้าศึก ป้องกันเครือข่ายฯ ของข้าศึก


ให้กับผู้บริหาร ของข้าศึก
ระบบที่รับผิดชอบ
ต่อการประกัน
ข่าวสาร

• ณ แต่ละระดับที่ • พิสูจน์ทราบและ • พิสูจน์ทราบแหล่ง • ยืนยันผลลัพธ์ของ • ค้นหา พิสูจน์


แน่นอน จะช่วย ท�ำให้ขีด กิจกรรมด้านการ การโจมตีเครือข่าย ทราบ ประเมิน
การต่อต้านข่าวกรอง

ประกันความมั่นคง ความสามารถใน ลวง คอมพิวเตอร์ ตอบโต้ ท�ำให้การ


สนับสนุนโดยการ

ของข่าวสาร การรวบรวมข่าว รวบรวมข่าวกรอง


กรองบุคคลของฝ่าย ของข้าศึกเป็นกลาง
ตรงข้ามเป็นกลาง

รูปที่ ๒-๑ การสนับสนุนซึ่งกันและกันภายในองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 89

รปภ.ปบ. การลวง การ ปจว. การท�ำลาย สงคราม การรักษาความ


ทางทหาร ทางกายภาพ อิเล็กทรอนิกส์ ปลอดภัย
ทางกายภาพ
• การจ�ำกัดข่าวสาร • การจ�ำกัดข่าวสาร • การจ�ำกัดข่าวสาร • EP และ รปภ.ปบ. • อาจจะไม่มีข้อ
รปภ./ปบ.สามารถ
สร้างความขัดแย้ง

ที่สามารถเปิดเผย ที่สามารถเปิดเผย ซึ่งสามารถเปิดเผย อาจจะมีเป้าหมาย ขัดแย้ง


จากการ

การสนับสนุนความ การพัฒนาหัวข้อ แก่ข้าศึกในการ แตกต่างกัน


น่าเชือ่ ถือในเรือ่ งลวง การ ปจว. พัฒนาเป้าหมาย
• การเปิดเผยการ • การจ�ำกัดการเลือก • การจ�ำกัดการ • การจ�ำกัดการสร้าง • ปฏิเสธเรื่องลวง
รปภ. ปบ.ข่าวสาร หัวข้อการ ปจว. สร้างเป้าหมายเพื่อ เป้าหมายการโจมตี โดยการ รปภ. ทาง
สามารถสร้างความขัดแย้งจากการ

ซึ่งปกติหาหนทาง อ�ำนวยให้เกิดความ ทางอิเล็กทรอนิกส์


• การจ�ำกัดข่าวสาร ในส่วนของระบบ กายภาพที่ป้องกัน
ที่จะปิดบัง อยู่รอด และการ
การลวงทางทหาร

ซึ่งสามารถได้รับ ข้อมูลข่าวสารของ การส่ ง ผ่ า นเรื่ อ งที่


การเปิดเผยเพื่อ ท�ำหน้าที่ของระบบ ฝ่ายตรงข้ามที่ แท้จริงของพวกเรา
พัฒนาหัวข้อการ การควบคุมบังคับ อ�ำนวยให้เกิดความ
บัญชาที่ส�ำคัญยิ่ง อยู่รอด และการ
ปจว. ของฝ่ายตรงข้าม ท�ำหน้าที่ของระบบ
ควบคุมบังคับ
บัญชาที่ส�ำคัญยิ่ง
ของฝ่ายตรงข้าม
• การเปิดเผยการ • การจ�ำกัดการ • การจ�ำกัดการ • การจ�ำกัดการโจมตี • อาจจะไม่ทำ� ให้เกิด
สร้างเป้าหมายใน ทางอิเล็กทรอนิกส์
การ ปจว.สามารถสร้าง

รปภ.ปบ.ข่าวสาร เลือกเรื่องลวง ข้อขัดแย้ง


ความขัดแย้งจากการ

ซึ่งปกติหาหนทาง • ถ้าเรื่องลวงบรรจุ ส่วนของโครงสร้าง ต่อการติดต่อสือ่ สาร


ที่จะปิดบัง ความเท็จไว้ พื้นฐานด้านการ ของฝ่ายตรงข้าม
ควบคุมบังคับบัญชา อย่างบ่อยครั้งเพื่อ
ที่อ�ำนวยประโยชน์ อ�ำนวยให้หัวข้อ
ในการน�ำหัวข้อการ การ ปจว.ถูกน�ำไป
ปจว. ไปเผยแพร่ เผยแพร่
• เป็นเหตุให้ระบบ • การจ�ำกัดการเลือก • จ�ำกัดเครือ่ งมือทีม่ ี • การจ�ำกัดโอกาส • ถ้าข้อพิจารณา
การทำ�ลายทางกายภาพสามารถสร้าง

อาวุธยิงท�ำการ มัชฌิมในการลวง อยู่ในการน�ำหัวข้อ การบุกรุกโดยการ การรู้เท่าที่จ�ำเป็น


เปิดเผยที่ตั้งของ โดยการปฏิเสธหรือ การ ปจว. ไป ปฏิเสธ หรือลด จ�ำกัดต่อการเข้าถึง
ความขัดแย้งจากการ

พวกมัน ลดประสิทธิภาพ เผยแพร่ โดยการ ประสิทธิภาพ ข้อมูลการสร้าง


องค์ประกอบ ปฏิเสธ หรือลด องค์ประกอบใน เป้าหมาย
โครงสร้างพื้นฐาน ระบบข้อมูล
ประสิทธิภาพระบบ
ด้านการควบคุม ข่าวสารของฝ่าย
บังคับบัญชาของ การควบคุมบังคับ ตรงข้าม
ฝ่ายตรงข้ามทีจ่ ำ� เป็น บัญชาของฝ่าย
ต่อการด�ำเนิน ตรงข้าม
กรรมวิธีเรื่องลวง

• การเปิดเผย • การจ�ำกัดการเลือก • การลดความถี่ที่ • การจ�ำกัดการ • การเปิดเผยว่าการ


หน่วยสงคราม ในมาตรการการ เป็นไปได้ในการ สร้างเป้าหมายใน รปภ.ทางกายภาพอะไร
สงครามอิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์ ลวงโดยการปฏิเสธ เผยแพร่หัวข้อการ ส่วนของระบบการ ที่ก�ำลังพยายาม


สามารถสร้างความ
ขัดแย้งจากการ

ก่อนเวลาอันควร หรือลด ปจว. ควบคุมบังคับบัญชา ปกป้องการโจมตี


ประสิทธิภาพการใช้ ของฝ่ายตรงข้าม ทางอิเล็กทรอนิกส์
ระบบการควบคุม • การป้องกันทาง
บังคับบัญชาของ อิเล็กทรอนิกส์อาจ
ฝ่ายตรงข้าม จะไม่ท�ำให้เกิดข้อ
ขัดแย้ง
• อาจจะไม่ท�ำให้ • การจ�ำกัดมัชฌิม • อาจจะไม่ท�ำให้ • อาจจะไม่ท�ำให้ • การป้องกันทาง • อาจจะไม่ท�ำให้
ข่าวสารสามารถ

ขัดแย้งจากการ
สร้างความ
การประกัน

เกิดข้อขัดแย้ง ในการถ่ายทอดเรือ่ ง เกิดข้อขัดแย้ง เกิดข้อขัดแย้ง อิเล็กทรอนิกส์และ เกิดข้อขัดแย้ง


ลวง การประกันข่าวสาร
ต้องได้รับการขจัด
ข้อขัดแย้ง
• อาจจะไม่ท�ำให้ • การเพิ่มเติมเรื่อง • อาจจะไม่ท�ำให้ • อาจจะไม่ท�ำให้ • อาจจะไม่ท�ำให้ • อาจจะไม่ท�ำให้
ขัดแย้งจากการ
เครือข่ายคอมฯ
การป้องกัน

สร้างความ

เกิดข้อขัดแย้ง ลวง เกิดข้อขัดแย้ง เกิดข้อขัดแย้ง เกิดข้อขัดแย้ง เกิดข้อขัดแย้ง

รูปที่ ๒-๒ ข้อขัดแย้งที่เป็นไปได้ภายในองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


90 บทที่ ๒

การ การตอบโต้ การต่อต้าน การโจมตี การป้องกัน


ประกั น การต่อต้าน
การลวง การโฆษณา ข่าวกรอง เครือข่าย เครือข่าย
ข่าวสาร ชวนเชื่อ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
• การเอื้ออ�ำนวย • ถ้าข้อมูลข่าวสาร • ทรัพยากรด้าน • อาจจะไม่ท�ำให้ • อาจจะไม่ท�ำให้
ให้ข้าศึกพลาด ต้องการที่จะสร้าง การต่อต้านข่าว เกิดข้อขัดแย้ง เกิดข้อขัดแย้ง
ความขัดแย้งจากการ

ข่าวสารจนเป็น อิทธิพลต่อ กรองไม่ได้น�ำมาใช้


การต่อต้านการลวง
สามารถสร้าง

เหตุให้เกิดการไม่ เป้าหมายที่จะลวง ในการปฏิบัติการ


ยอมรับข่าวสาร เกิดความไม่ ต่อต้านการลวง
ของฝ่ายเรา สอดคล้องกับข้อมูล
ข่าวสารทีจ่ ำ� เป็นต่อ
การสร้างอิทธิพลต่อ
ประชาชน

• อาจจะไม่ท�ำให้ • ถ้าความพยายาม • การต่อต้านข่าว • การโจมตีเป้าหมาย • อาจจะไม่ท�ำให้


เกิดข้อขัดแย้ง ในการต่อต้านการ กรอง และการตอบ ผิดพลาดด้วยการ เกิดข้อขัดแย้ง
ลวงที่ท�ำการขยาย โต้การโฆษณา โจมตีเครือข่าย
ผลต่อการลวงของ ชวนเชื่ออาจจะถูก คอมพิวเตอร์
การตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ

ส่งตรงไปยัง
สร้างความขัดแย้งจากการ

ข้าศึกไม่ได้ เป้าหมายหนึ่งแต่ สามารถน�ำมาใช้


ประสานสอดคล้อง ด้วยผลกระทบใน เป็นการโฆษณา
กับความพยายาม ทางตรงกันข้าม การ ชวนเชื่อของข้าศึก
สามารถ

ในการตอบโต้การ ต่อต้านข่าวกรอง
โฆษณาชวนเชื่อที่ พยายามที่จะให้ถึง
กระท�ำต่อการตอบ แหล่งข่าวกรอง
โต้ข่าวสารของ และการตอบโต้การ
โฆษณาชวนเชื่อ
ข้าศึก พยายามที่จะตอบ
โต้ข่าวสารที่
บิดเบือนจาก
แหล่งข่าวนั้น
• การต่อต้านข่าว • การต่อต้านข่าว • การต่อต้านข่าว • อาจจะไม่ท�ำให้ • การต่อต้านข่าว
กรองที่ไร้ กรองที่ไร้ กรองที่ไร้ เกิดข้อขัดแย้ง กรองเปิดเผยว่า
การต่อต้านข่าวกรองสามารถ

ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพไม่ท�ำ เครือข่ายได้รับการ


สร้างความขัดแย้งจากการ

สามารถปฏิเสธ ปกป้องการต่อต้าน ให้ทำ� ให้การโฆษณา ปกป้องอย่างไร


ความเป็นเอกภาพ การลวง ชวนเชื่อของข้าศึก
ของข่าวสาร เป็นศูนย์


รูปที่ ๒-๒ ข้อขัดแย้งที่เป็นไปได้ภายในองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 91

การปฏิบัติการข้อมูล การปฏิบัติการพลเรือน กิจการสาธารณะ


ข่าวสาร ทหาร
• การสร้างอิทธิพล/ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ • ด�ำเนินการตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ
ประชาชนในเรื่องของกิจกรรมด้านการ และการป้องกันจากการพลาดข่าวสาร/
ข่าวลือ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร

ปฏิบัติการพลเรือนทหารและการ
สนับสนุน • การพัฒนาหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่าย
เราเพื่อท�ำให้การเปิดเผยต่อสาธารณะโดย
สนับสนุนโดย

• ท�ำให้การพลาดข่าวสาร และการโฆษณา
ชวนเชื่อของปรปักษ์ที่มีผลโดยตรงต่อ พลั้งเผลอหมดข้อสงสัย
เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนเป็นกลาง • การประสานสอดคล้องการ ปจว.และการ
• ท�ำการควบคุมย่านแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อ รปภ.ปบ.ด้วยยุทธศาสตร์ของ
จุดประสงค์ในความชอบธรรมตาม กิจการสาธารณะ
กฎหมาย

• ท�ำการจัดเตรียมข่าวสารเพื่อการ • จัดเตรียมข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับกิจกรรม


สนับสนุนความรู้ของฝ่ายเราในเรื่องของ ในการปฏิบัติการพลเรือนทหารในการ
สภาพแวดล้อมด้านข่าวสาร สนับสนุนต่อยุทธศาสตร์กิจการสาธารณะ
• ท�ำการประสานสอดคล้องมัชฌิมการ • ประสานสอดคล้ อ งมั ช ฌิ ม การติ ด ต่ อ
การปฏิบัติการพลเรือนทหาร

ติดต่อสื่อสารและข่าวสารกับ การ ปจว. สื่อสารด้านข้อมูลข่าวสาร กับข่าวสาร


• ประสานเป้าหมายด้านการควบคุมบังคับ • ระบุ, ประสาน, และสนธิ มัชฌิม, ข่าวสาร
สนับสนุนโดย

บัญชาด้วยการจัดตัง้ ส่วนกรรมวิธเี ป้าหมาย สาธารณะ และการสนับสนุนจากในพื้นที่


• จัดตั้ง และด�ำรงการติดต่อ หรือการ
พูดคุยกับบุคลากรในพื้นที่ และองค์กรที่
ไม่ใช่ภาครัฐ
• ให้การสนับสนุนการ ปจว.ด้วยผลย้อน
กลับเกี่ยวกับหัวข้อการ ปจว.
• จัดเตรียมข่าว และข้อมูลข่าวสารแก่
ประชาชนในพื้นที่
• การพัฒนาผลผลิตด้านข้อมูลข่าวสาร • การผลิตข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง, ทัน
เพื่อปกป้องทหารจากผลกระทบในเรื่อง เวลา, และสมดุลแก่สาธารณชน
ของการพลาดข่าวสารหรือข่าวสารที่ • การประสานกับผู้เชี่ยวชาญด้านกิจการ
ผิดพลาด พลเรือนเพือ่ พิสจู น์ความจริงและความเป็น
• การประสานงานของฝ่ายวางแผนการ เหตุเป็นผลของข้อมูลข่าวสาร
ปจว.กับการตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อ
กิจการสาธารณะ
สนับสนุนโดย

เพื่อประกันข่าวสารที่คงเส้นคงวากับการ
ด�ำรงรักษาการ รปภ.ปบ.
• สนับสนุนการตอบโต้การโฆษณา
ชวนเชือ่ โดยการต่อต้านการพลาดข่าวสาร
• จัดเตรียมการประเมินในเรื่องของ
ผลกระทบจากสื่อที่ปิดบังต่อผู้วาง
แผนการ รปก.ปบ.
• จัดเตรียมการประเมินในเรื่องของสิ่งที่
ไม่ใช่สื่อที่จ�ำเป็นซึ่งปิดบังในเรื่องลวง

รูปที่ ๒-๓ บทบาทสนับสนุนของ ปขส. ปพท. และ กส.


บทที่ ๓
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
(Operations Security)

การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (Operations Security: OPSEC) เป็น


กระบวนการที่ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการด�ำเนินการตามล�ำดับในการพิสูจน์ทราบ และ
ปกป้ององค์ประกอบข้อมูลข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา หน่วย และตัวทหารใช้มาตรการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของการพิทักษ์ก�ำลังรบ (force protection)
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารไม่ได้เป็นมาตรการภาพรวมเฉพาะ (collection of specific
measures) ที่จะน�ำมาใช้ต่อทุก ๆ ปฏิบัติการ มันเป็นแนวความคิดเชิงวิธีการ (methodology)
ซึง่ ประยุกต์ไปใช้ได้กบั ทุก ๆ ปฏิบตั กิ าร หรือกิจกรรมทุกระดับหน่วยบัญชาการ ในบทนีเ้ ป็นการวาง
พื้นฐานหลักนิยม เทคนิค ยุทธวิธี ตลอดจนระเบียบปฏิบัติด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การของกองทัพบก ประการแรก เป็นการอธิบายกรรมวิธีการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
ดังนัน้ จึงอธิบายได้วา่ ผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการน�ำมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั ิ
การไปใช้อย่างไรในการด�ำเนินกรรมวิธแี สวงข้อตกลงใจทางทหาร และกรรมวิธกี ารปฏิบตั กิ ารอืน่ ๆ
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการและการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(OPERATIONS SECURITY AND INFORMATION OPERATIONS)
๓-๑. การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (Operations security) เป็นกรรมวิธีในการ
พิสูจน์ทราบหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา และการวิเคราะห์ผลที่ตามมาจากการปฏิบัติ
ของฝ่ายเราทีม่ ตี อ่ ผูเ้ ฝ้าติดตามการปฏิบตั กิ ารทางทหารและกิจกรรมอืน่ ๆ ในการทีจ่ ะ : ก. ระบุวา่
การปฏิบตั กิ ารเหล่านัน้ สามารถสังเกตการณ์ได้โดยระบบการข่าวกรองฝ่ายตรงข้าม; ข. ก�ำหนด
ตัวชีว้ ดั ระบบการข่าวกรองของฝ่ายตรงข้ามทีอ่ าจจะได้รบั ข้อมูลข่าวสารซึง่ สามารถถูกตีความ
หรือถูกวิเคราะห์ไปพร้อมกันเพื่อส่งบรรดาองค์ประกอบต่าง ๆ ที่จ�ำเป็นในข้อมูลข่าวสารของ
ฝ่ายเราไปเป็นประโยชน์กบั ฝ่ายตรงข้ามได้อย่างทันเวลา; และ ค. การเลือก และการใช้มาตรการ
ซึ่งก�ำจัด หรือลดระดับความล่อแหลมที่ยอมรับได้ในการปฏิบัติของฝ่ายเราเพื่อการขยายผล
ของฝ่ายตรงข้าม การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการประยุกต์ใช้ได้ตลอดขอบเขต หรือพิสัย
การปฏิบัติการของกองทัพบก (range of Army operations) และตลอดย่านความขัดแย้ง
(spectrum of conflict) ทุกหน่วยไม่ว่าจะเป็นหน่วยก�ำลังรบ, หน่วยสนับสนุนการรบ, หน่วย
สนับสนุนทางการช่วยรบ ด�ำเนินการ (วางแผน, เตรียมการ, ปฏิบัติการ และท�ำการประเมิน)๑

การด�ำเนินการในที่นี้หมายถึงการปฏิบัติตามกระบวนการของการปฏิบัติการ (Operational Process)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 93

การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการกระท�ำเพื่อรักษาความลับอันส�ำคัญยิ่งไว้ การรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารเป็นเรือ่ งทีเ่ ข้าใจกันว่าเป็นเรือ่ งเล็กน้อยมากเกินไปจนคิดว่าเป็นการปฏิบตั ิ
ในกิจต่าง ๆ ที่น่าร�ำคาญ อย่างไรก็ตามมันเป็นเรื่องส�ำคัญต่อความส�ำเร็จในทุก ๆ ปฏิบัติการ
บ่อยครัง้ ทีข่ า่ วสารใด ๆ ก็ตามทีก่ องก�ำลังฝ่ายเราน�ำมาใช้จนเป็นการยอมรับนัน่ คือสิง่ ทีฝ่ า่ ยตรงข้าม
จ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งเอาชนะมั น อย่ า งไรก็ ต ามการปฏิ บั ติ ก ารในส่ ว นของมาตรการรั ก ษาความ
ปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ (ดูคำ� จ�ำกัดความย่อหน้า ๓-๑๕) ทีม่ กี ารปฏิบตั อิ ยูเ่ ป็นประจ�ำ
จะเป็นการปฏิเสธฝ่ายตรงข้ามในข้อมูลข่าวสารนีแ้ ละเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพให้กบั ก�ำลังฝ่ายเรา
๓-๒ ทหารทุกนายต้องปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ สิ่งเหล่านั้น
ครอบคลุมขอบเขต หรือพิสัยของกิจกรรมต่าง ๆ จากการรักษาความเงียบระหว่างหมู่เพื่อนฝูง
และหมูค่ ณะไปจนถึงอุปกรณ์ในการพราง การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
ต้องการการกระจายแนวทางการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารไปยังทหารทุกนาย การรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีด่ เี กีย่ วข้องกับการบอกกล่าวกับทหารว่าท�ำไมมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ และอะไรทีพ่ วกเขาต้องยึดมัน่ ไว้เพือ่ ความส�ำเร็จ ทัง้ หมดนัน้
ล้วนแล้วแต่จะต้องเข้าใจต้นทุนของความล้มเหลวในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารอย่างมี
ประสิทธิภาพ ความเข้าใจว่าท�ำไมพวกเขาก�ำลังท�ำบางสิ่งบางอย่าง และการกระท�ำอันใดของ
พวกเขาจะยึดถือว่าเป็นความส�ำเร็จ และอ�ำนวยให้ทหารท�ำการปฏิบตั กิ จิ ต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น การปฏิบัติอย่างฉับไว และประณีต โดยทหารเป็นรายบุคคลเป็นสิ่งส�ำคัญต่อการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการที่ประสบผลส�ำเร็จ
กระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
(THE OPERATIONS SECURITY PROCESS)
๓-๓. กองก� ำ ลั ง ทั พ บกด� ำ เนิ น การตามกระบวนการรั ก ษาความปลอดภั ย การปฏิ บั ติ ก าร๒
ร่วมกับกระบวนการอื่น ๆ อย่างเช่น การก�ำหนดเป้าหมายและการจัดเตรียมสนามรบด้าน
การข่าว (Intelligence preparation of the battlefield: IPB) ผู้บังคับบัญชาประสาน
สอดคล้องการวางแผนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารระหว่างการด�ำเนินกรรมวิธแี สวงข้อ
ตกลงใจทางทหาร (military decision making process: MDMP) กระบวนการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการประกอบด้วยการปฏิบัติห้าประการซึ่งประยุกต์ไปใช้ได้ในปฏิบัติการต่าง ๆ และ
ก่อให้เกิดโครงสร้าง การพิสูจน์ทราบ การวิเคราะห์ และการปกป้ององค์ประกอบข้อมูลข่าวสาร
ของฝ่ายเรา (essential elements of friendly information: EEFI) อย่างเป็นระบบ กระบวนการ


ดูรายละเอียดจาก JP 3-54
94 บทที่ ๓

รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ การปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับกระบวนการรักษา


คือการปฏิบัติที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ความปลอดภัยการปฏิบัติการ
นายทหารปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสาร ๓-๓.๑ การระบุองค์ประกอบข้อมูลข่าวสารส�ำคัญ
ใช้กระบวนการดังกล่าวเพื่อประเมิน ของฝ่ายเรา (essential elements of
การเปลี่ ย นแปลงธรรมชาติ ข องการ friendly information: EEFI)
ปฏิบัติการของฝ่ายตรงข้าม และความ ๓-๓.๒ วิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม
ล่อแหลมของฝ่ายเราตลอดห้วงเวลา ๓-๓.๓ วิเคราะห์ความล่อแหลม
ทีท่ ำ� การปฏิบตั กิ าร กระบวนการรักษา ๓-๓.๔ ประยุกต์ใช้ในเรื่องของมาตรการรักษาความ
ความปลอดภัยการปฏิบัติการด�ำเนิน ปลอดภัยการปฏิบัติการที่เหมาะสม
การโดยนายทหารรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั กิ าร (น.รปภ.) อย่างไรก็ตามการปฏิบตั ซิ งึ่ ประกอบด้วยกระบวนการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั ทิ เี่ ป็นการด�ำเนินการตามล�ำดับขัน้ ตอนกรรมวิธแี สวงข้อตกลงใจทางทหารนัน้ ฝ่ายอ�ำนวย
การพึงหลีกเลี่ยงการด�ำเนินการตามขั้นตอนที่ตายตัว ข้อมูลข่าวสารมีผลกระทบต่อการด�ำเนิน
งานการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่สามารถมาถึงได้ในหลาย ๆ เวลา ฝ่ายอ�ำนวยการที่
มีประสิทธิภาพด�ำเนินกรรมวิธีข้อมูลข่าวสาร บรรจุกระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การเข้าไว้ ณ จุดที่เหมาะสม และปฏิบัติในสิ่งที่จ�ำเป็นต่อการกระท�ำกับข้อมูลข่าวสารย่อหน้า
ต่อไปนี้กล่าวถึงการปฏิบัติต่าง ๆ ในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการในล�ำดับที่เกิดขึ้น
อย่างมีเหตุมีผล
การปฏิบตั กิ ารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารล�ำดับที่ ๑ การระบุหวั ข้อข่าวสารส�ำคัญ
ของฝ่ายเรา (EEFI) (IDENTIFICATION OF ESSENTIAL ELEMENTS OF FRIENDLY
INFORMATION)
๓-๔. ผลผลิตของการด�ำเนินการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการคือ หัวข้อข่าวสารส�ำคัญ
ของฝ่ายเรา (EEFI) และรายการของข้อมูลข่าวสารซึง่ จ�ำเป็นต้องปกป้อง กองทัพบกก�ำหนดหัวข้อ
ข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) (essential elements of friendly information) ในฐานะเป็น
ประเด็นส�ำคัญในการปฏิบัติการของฝ่ายเราซึ่งถ้าหากฝ่ายข้าศึกล่วงรู้ จะท�ำให้เกิดผลเสียหายตาม
มาเป็นล�ำดับ และน�ำไปสู่ความล้มเหลว หรือจ�ำกัดต่อความส�ำเร็จในการปฏิบัติการได้ ดังนั้น หขส.
จึงต้องได้รับการปกป้องจากการค้นหา๓ หลักนิยมของกองทัพบกก�ำหนดหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของ
ฝ่ายเรา (EEFI) แตกต่างจากหลักนิยมการยุทธ์ร่วม ค�ำจ�ำกัดความในการยุทธ์ร่วมของค�ำว่าหัวข้อ
ข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) เน้นย�้ำที่ข้อมูลข่าวสารซึ่งฝ่ายตรงข้ามต้องการที่จะรวบรวม

ดู รส. ๓-๐ การปฏิบัติการของกองทัพบก
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 95

ส่วนค�ำนิยามของกองทัพบกเน้นย�้ำที่ข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเราที่ผู้บังคับบัญชาต้องการปกป้อง
ค�ำนิยามของการยุทธ์ร่วมในส่วนของค�ำว่าหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) รวมถึงข้อมูล
ข่าวสารของฝ่ายเราซึ่งอาจจะไม่เกิดผลเสียต่อการปฏิบัติการ อย่างไรก็ตามการรวบรวมข้อมูล
ข่าวสารเป็นการบริโภคทรัพยากร ซึ่งฝ่ายตรงข้ามสามารถที่จะใช้ในการรวบรวมหัวข้อข่าวสาร
ส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) หลักนิยมการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการของกองทัพบกก�ำหนด
ให้ท�ำการปกป้องข้อมูลข่าวสารซึ่งถือเป็นความเกี่ยวข้องในมุมมองของฝ่ายตรงข้าม
๓-๕. กระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารเริม่ ขึน้ ตามแนวทางเริม่ ต้นของผูบ้ งั คับบัญชา
ระหว่างรับมอบภารกิจ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้ข้อเสนอแนะหัวข้อข่าวสารส�ำคัญ
ของฝ่ายเรา (EEFI) หากผู้บังคับบัญชาไม่ก�ำหนดมันไว้ในแนวทางเริ่มต้น แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ต่อไป
นีจ้ ะช่วยให้นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารก�ำหนดข้อมูลข่าวสารเพือ่ ให้ขอ้ เสนอแนะเป็นหัวข้อ
ข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI)
๓-๕.๑ แนวทางของผู้บังคับบัญชา
๓-๕.๒ ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๓-๕.๓ ประมาณการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (จัดท�ำโดยนายทหารรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการ และการประสานกับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร)
๓-๕.๔ ประมาณการข่าวกรอง (ข่าวสารเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้าม และความต้องการข่าวกรอง
ของฝ่ายตรงข้าม)
๓-๕.๕ ประมาณการต่อต้านข่าวกรองเกี่ยวกับความมีวินัยสูง (The multidiscipline
counterintelligence estimate) (ปกติอยูใ่ นอนุผนวก ประกอบผนวก ข ประกอบ
แผนยุทธการ หรือค�ำสั่งยุทธการ หรือประกอบไว้ในการประมาณการข่าวกรอง)๔
๓-๕.๖ แนวทางการจัดล�ำดับชั้นความลับของกองบัญชาการหน่วยเหนือส�ำหรับการปฏิบัติ
การ แนวทางเกี่ยวกับชั้นความลับที่ระบุการจัดล�ำดับชั้นข้อมูลข่าวสารและหัวข้อ
ข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ าร ซึง่ เป็นข้อมูลข่าวสาร
ที่มีความอ่อนไหวในตัวเองเนื่องจากถูกก�ำหนดโดยระดับของชั้นความลับ และเป็น
ประเด็นที่อ่อนไหวที่สุดของการปฏิบัติการ
๓-๕.๗ กฎหมายและค�ำสั่งการปฏิบัติซึ่งต้องการการปกป้องต่อข้อมูลข่าวสารที่ไม่มีการ
ควบคุมชั้นความลับ


ปกติเกี่ยวกับประมาณการด้านนี้ ทบ.ไม่ค่อยให้ความส�ำคัญในการจัดท�ำ
96 บทที่ ๓

๓-๕.๘ ฝ่ายต่อต้านข่าวกรองที่เกี่ยวกับความมีวินัยสูง ส่วนวิเคราะห์และควบคุมของ สธ.๒


(The multidiscipline counterintelligence section of the G-2 analysis and
control element (ACE))5
๓-๖. ผูบ้ งั คับบัญชาก�ำหนดหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ฝ่ายอ�ำนวยการเป็นผูก้ ำ� หนด
มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเพื่อป้องกันหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราจาก
ระบบการรวบรวมข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม หัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ไม่ได้เป็น
ส่วนหนึ่งของความต้องการข้อมูลข่าวสารส�ำคัญของผู้บังคับบัญชา (commander’s critical
informationrequirements: CCIR) อย่างไรก็ตาม พวกมันกลายเป็นล�ำดับความเร่งด่วนเมื่อ
ผู้บังคับบัญชาก�ำหนดความต้องการข้อมูลข่าวสารส�ำคัญของผู้บังคับบัญชาขึ้น
๓-๗. ฝ่ายอ�ำนวยการระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ที่เป็นไปได้ และให้ข้อ
เสนอแนะ หขส. นีต้ อ่ ผูบ้ งั คับบัญชาตลอดระยะเวลาทีด่ ำ� เนินกรรมวิธแี สวงข้อตกลงใจทางทหาร
ข้อเท็จจริง, สมมติฐาน และกิจส�ำคัญยิ่งอาจจะแสดงให้เห็นถึงหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
(EEFI) ซึ่งน�ำไปใช้ได้อย่างเป็นประโยชน์กับการปฏิบัติการได้ ยิ่งไปกว่านั้นแต่ละหนทางปฏิบัติ
อาจจะมีหวั ข้อข่าวสารของฝ่ายเรา (EEFI) ซึง่ น�ำไปใช้เป็นประโยชน์ได้ในแต่ละหนทางปฏิบตั เิ ท่านัน้
จากการทีฝ่ า่ ยอ�ำนวยการได้ทำ� การวิเคราะห์แต่ละหนทางปฏิบตั ิ (ท�ำการวาดภาพการรบ) นายทหาร
ข่าวกรองระบุข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเราซึ่งหากล่วงรู้ไปถึงฝ่ายตรงข้ามแล้วอาจจะอ�ำนวยให้ฝ่าย
ตรงข้ามท�ำการตอบโต้หนทางปฏิบตั นิ นั้ ได้ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเพิม่ เติมองค์ประกอบ
ของข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ให้กับหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ส�ำหรับหนทางปฏิบัติ
นั้น ๆ และท�ำการบันทึกมันไว้ในประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูผนวก ค) เมื่ออนุมัติ
หนทางปฏิบัติ หัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่ได้รับการอนุมัติแล้ว
จะกลายเป็นหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๓-๘. เมื่อระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) แล้ว นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
จะท�ำการก�ำหนดห้วงระยะเวลาที่จ�ำเป็นต่อการปกป้องในแต่ละหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
(EEFI) ไม่ใช่ทุกหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ที่ต้องการท�ำการปกป้องตลอดการปฏิบัติ
การ บางหัวข้อจ�ำเป็นต้องได้รับการปกป้องเพียงแค่ช่วงเวลาเหตุการณ์จ�ำเพาะเท่านั้น หัวข้ออื่น ๆ
อาจจะไม่จ�ำเป็นต่อการปกป้องกระทั่งการปฏิบัติที่แตกออกไป (branch) หรือการปฏิบัติที่ตามมา
เป็นขั้น ๆ (sequel) ได้บังเกิดขึ้น


การจัดฝ่ายนี้ไม่มีอยู่ในการจัดของ ทบ.ไทย ดังนั้น ทบ.ควรพิจารณามอบหมายหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ให้กับ
ฝ่ายข่าวกรองด�ำเนินงาน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 97

การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการล�ำดับที่ ๒ การวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม
(OPSEC ACTION 2 - ANALYSIS OF ADVERSARIES)
๓-๙. จุดประสงค์ของกิจด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการคือเพื่อการระบุการใช้
ทรัพยากรในการรวบรวมข่าวสารที่อันตรายที่สุด และเป็นไปได้มากที่สุดของฝ่ายตรงข้าม
การวิเคราะห์นี้มุ่งเน้นต่อหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) สถานการณ์ที่อันตรายที่สุดคือ
หนึ่งในที่ซึ่งฝ่ายตรงข้ามมีทรัพยากรด้านการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ, การลาดตระเวนที่จ�ำเป็น
ต่อการรวบรวมข้อมูลจากตัวชี้วัดเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการของฝ่ายเราและ
การก�ำหนดหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) สถานการณ์ที่เป็นไปได้มากที่สุดตั้งอยู่บน
พื้นฐานว่าฝ่ายตรงข้ามได้มีการใช้ทรัพยากรของพวกเขาอย่างไรระหว่างการปฏิบัติการที่ผ่านมา
ในอดีต นายทหารการข่าวกรอง, นายทหารยุทธการ, นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และ
นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารด�ำเนินการปฏิบตั นิ ฐี้ านะเป็นส่วนหนึง่ ของการเตรียม
สนามรบด้านการข่าว ความตั้งใจของฝ่ายตรงข้าม และขีดความสามารถในการรวบรวมข่าวสาร
จะถูกก�ำหนดขึ้นโดยมีค�ำถามเหล่านี้เป็นตัวช่วย
๓-๙.๑ ใครคือฝ่ายตรงข้าม ?
๓-๙.๒ ใครมีเจตนาและขีดความสามารถในการปฏิบตั ติ อ่ ต้านการปฏิบตั กิ ารทีไ่ ด้วางแผนไว้ ?
๓-๙.๓ อะไรคือวัตถุประสงค์ที่เป็นไปได้ของฝ่ายตรงข้าม ?
๓-๙.๔ อะไรคือการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นไปได้ของฝ่ายตรงข้ามต่อการปฏิบตั กิ ารต่าง ๆ ของฝ่ายเรา ?
๓-๙.๕ ข้อมูลข่าวสารอะไรที่ฝ่ายตรงข้ามล่วงรู้แล้ว ?
๓-๙.๖ ขีดความสามารถด้านการรวบรวมข่าวสารอะไรที่ฝ่ายตรงข้ามมีอยู่หรือมีแนวทาง
โดยการจัดการทางด้านการเงินหรือการใช้ความคิดร่วมกัน หรือความร่วมมือ/
เป็นพันธมิตรที่มีการประสานงานกัน ?
๓-๙.๗ ตัวชี้วัดใดในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการสามารถสร้างเป็นเรื่องโกหก
เพื่อลวงฝ่ายตรงข้าม ?
การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการล�ำดับที่ ๓ วิเคราะห์ความล่อแหลม
(OPSEC ACTION 3 - ANALYSIS OF VULNERABILITIES)
๓-๑๐. การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการลักษณะนี้ก�ำหนดความล่อแหลมการ
รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC) ในส่วนของการปฏิบัติหรือกิจกรรม ซึ่งมีด้วยกันสอง
ขั้นตอน :
๓-๑๐.๑ การระบุสงิ่ บ่งชี้ หรือสิง่ บอกเหตุ (indicators) การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร
๓-๑๐.๒ การระบุความล่อแหลม (vulnerability) การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร
98 บทที่ ๓

๓-๑๑. สิง่ บ่งชีห้ รือสิง่ บอกเหตุ การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (Operations security


indicators) เป็นการปฏิบัติต่าง ๆ ที่สามารถสืบค้นได้ และข้อมูลข่าวสารเป็นแหล่งเปิดของฝ่าย
เราซึ่งสามารถน�ำไปตีความ หรือแยกแยะได้พร้อม ๆ กันโดยฝ่ายตรงข้าม ซึ่งมาจากหัวข้อข่าวสาร
ส�ำคัญฝ่ายเรานายทหารการข่าวกรอง, นายทหารยุทธการ, นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และนายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารตรวจสอบประเด็นทัง้ หมด และขัน้ ของการปฏิบตั ิ
การเพื่อค้นหาสิ่งบ่งชี้หรือสิ่งบอกเหตุด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ต่อจากนั้น
พวกเขาเปรียบเทียบพวกมันกับวงรอบการก�ำหนดเป้าหมายของฝ่ายตรงข้าม และขีดความสามารถ
ในการรวบรวมข่าวสาร พร้อมทั้งท�ำการพิจารณาปัญหาเหล่านี้ :
๓-๑๑.๑ สิ่งบ่งชี้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการอะไรที่กองก�ำลังฝ่ายเรา
จะสร้างขึ้นระหว่างการปฏิบัติการ ?
๓-๑๑.๒ สิ่งบ่งชี้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการอะไรที่ฝ่ายตรงข้าม
สามารถรวบรวมได้โดยตรง ?
๓-๑๑.๓ สิ่งบ่งชี้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการอะไรที่ฝ่ายตรงข้ามจะ
สามารถใช้ในการลดความได้เปรียบกองก�ำลังฝ่ายเราได้ ?
ค�ำตอบของค�ำถามสุดท้ายคือ ความล่อแหลมด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร
๓-๑๒. ความล่อแหลมการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (operations security
vulnerability) เป็นสภาวการณ์ ที่การปฏิบัติฝ่ายเราก่อให้เกิดสิ่งบอกเหตุว่าการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการอาจจะได้รับการยอมรับ และมีการประเมินอย่างเที่ยงตรงโดยฝ่าย
ตรงข้ามอย่างทันเวลาต่อการจัดเตรียมพื้นฐานส�ำหรับการจัดท�ำการตกลงใจของฝ่ายตรงข้าม
อย่างมีประสิทธิภาพ ความล่อแหลมการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการปรากฏขึ้นเมื่อฝ่าย
ตรงข้ามสามารถรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากสิ่งบอกเหตุในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
ได้ และท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง ตลอดจนท�ำการตกลงใจ และน�ำมาใช้ในการ
ปฏิบตั ไิ ด้อย่างทันเวลาเพือ่ ลดประสิทธิภาพด้านการปฏิบตั กิ ารของฝ่ายเรา หรือวางตัวเองในสถานะ
ที่ได้เปรียบเหนือกองก�ำลังฝ่ายเรา
๓-๑๓. การวิเคราะห์ความล่อแหลมการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเริ่มขึ้นระหว่าง
การวิเคราะห์ภารกิจ และต่อเนื่องไปตลอดการพัฒนาหนทางปฏิบัติ และการวิเคราะห์หนทาง
ปฏิบตั ิ การประเมินค่าระหว่างการเตรียมการ และการปฏิบตั กิ ารอาจจะเป็นการพิสจู น์ทราบความ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 99

ล่อแหลมด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการอีกด้วย๖ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และนายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ท�ำการบันทึกความล่อแหลมการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการ และวิเคราะห์ความล่อแหลมไว้ล่วงหน้าระหว่างการด�ำเนินงานการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการใน และท�ำการประเมินค่าเรื่องของความเสี่ยงไว้เพื่อโอกาสข้างหน้า
เสมอ
การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการล�ำดับที่ ๔ การประเมินค่าในเรื่องของ
ความเสี่ยง (OPSEC ACTION 4 - ASSESSMENT OF RISK)
๓-๑๔. ฝ่ายอ�ำนวยการประเมินค่าความเสี่ยงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการทั้งมวล
ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ และการพัฒนาหนทางปฏิบัติ (ดูบทที่ ๕ และผนวก ข) นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและนายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ประเมินค่าในเรื่อง
ความเสี่ยงที่แสดงให้เห็นจากความล่อแหลมต่าง ๆ ในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
(OPSEC vulnerabilities) อย่างเห็นพ้องต้องกัน จุดประสงค์ของการประเมินค่าการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (OPSEC assessment) คือเพือ่ ท�ำการเลือก มาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ (OPSEC measures) ซึ่งเป็นเครื่องป้องกันความล่อแหลมการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ และให้มีความต้องการทรัพยากรอย่างน้อยที่สุดในการป้องกัน
การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัตินี้มีด้วยกันสี่ขั้นตอน :
๓-๑๔.๑ ด�ำเนินการประเมินความเสีย่ งส�ำหรับความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ
๓-๑๔.๒ เลือกมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารหนึง่ หรือมากกว่าส�ำหรับแต่ละ
ความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๑๔.๓ ก�ำหนดความเสีย่ งทีเ่ หลือส�ำหรับแต่ละความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ
๓-๑๔.๔ ตัดสินว่ามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการใดที่จะน�ำไปใช้
๓-๑๕. มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (Operations security measure) เป็น
วิธีการและเครื่องมือในการได้มาและรักษาความลับเกี่ยวกับหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
หรือ EEFI มาตรการต่าง ๆ ที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้แก่ :

กองทัพบกสหรัฐฯ มีหน่วยที่เรียกว่าชุดสนับสนุนในสนามจากหน่วยบัญชาการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ ๑
(1st Information Operations Command (Land): 1st IOC [L]) ซึ่งเป็นที่ทราบกันเป็นอย่างดีในนาม
การปฏิบัติการสงครามข้อมูลข่าวสารทางภาคพื้นดิน (Land Information Warfare Activity: LIWA) สามารถ
ให้การช่วยเหลือในความพยายามนี้ (ดูผนวก ฉ)
100 บทที่ ๓

๓-๑๕.๑ การควบคุมการปฏิบัติ (Action control) วัตถุประสงค์ของการควบคุม


การปฏิบัติคือเพื่อก�ำจัดสิ่งบอกเหตุ หรือความล่อแหลมในการปฏิบัติจากการ
ขยายผลโดยระบบข่ า วกรองของข้ า ศึ ก การเลื อ กว่ า การปฏิ บั ติ อ ะไรที่ จ ะ
ยอมรับได้ การตัดสินใจว่าจะท�ำการปฏิบตั ใิ นการกระท�ำนัน้ หรือไม่ และการก�ำหนด
ว่า “ใคร” “เมือ่ ใด” “ทีไ่ หน” และ “อย่างไร” ส�ำหรับการปฏิบตั ทิ จี่ ำ� เป็นต่อการ
บรรลุกิจต่าง ๆ
๓-๑๕.๒ มาตรการตอบโต้ (Countermeasures) วัตถุประสงค์ในส่วนของมาตรการ
ตอบโต้ คื อ เพื่ อ รบกวนการรวบรวมข้ อ มู ล ข่ า วสารของฝ่ า ยตรงข้ า มอย่ า งมี
ประสิทธิภาพ หรือป้องกันการจดจ�ำในเรื่องของสิ่งบอกเหตุของพวกเขาเมื่อ
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวบรวมข่าวสารได้เริ่มการด�ำเนินกรรมวิธี การใช้การ
ปลอมแปลง การพลาง การซ่อนตัว การแจม การคุกคาม และอ�ำนาจในการรักษา
กฎหมาย ตลอดจนการใช้ก�ำลัง กระท�ำต่อการรวบรวมข่าวสาร และขีดความ
สามารถในการด�ำเนินกรรมวิธีฝ่ายตรงข้าม
๓-๑๕.๓ การตอบโต้การวิเคราะห์ (Counter analysis) วัตถุประสงค์ในเรื่องของการ
ตอบโต้การวิเคราะห์คือการป้องกันการตีความสิ่งบอกเหตุอย่างถูกต้องระหว่าง
การวิเคราะห์ในเรือ่ งของวัสดุอปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการรวบรวมข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม
ความสับสนของนักวิเคราะห์ของฝ่ายตรงข้ามด้วยเทคนิคเกี่ยวกับการลวงอย่าง
เช่นการปกปิดการกระท�ำนี้
มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่พึงประสงค์มากที่สุดท�ำให้เกิดการปกป้องที่จ�ำเป็น
ด้วยต้นทุนต่อประสิทธิภาพทางยุทธการน้อยที่สุด
๓-๑๖. นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารเริม่ ต้นการประเมินค่าในเรือ่ งของความเสีย่ ง
โดยการระบุความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่ท�ำการวิเคราะห์ไว้ในการ
ปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยต่าง ๆ และมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่มีความ
เป็นไปได้ซึ่งได้ระบุไว้ส�ำหรับแต่ละความเสี่ยง มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการบาง
ประการอาจจะปกป้องความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการมากกว่าหนึ่ง
ในฐานะทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของขัน้ ตอนนี้ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารประเมินค่าความ
พอเพียงในเรือ่ งของมาตรการรักษาความปลอดภัยทีเ่ ป็นมาตรฐาน การประเมินค่านีค้ รอบคลุมบาง
ประเด็นเช่น การรักษาความปลอดภัยบุคคล วัตถุ การเข้ารหัส เอกสาร การเข้าถึงแบบพิเศษ และ
ระบบข้อมูลข่าวสารอัตโนมัติ มันอาจจะรวมถึงการทบทวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การ มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีต่ อ่ เนือ่ งในประเด็นเหล่านีอ้ าจจะก่อให้เกิดการ
ปกป้องที่จ�ำเป็นส�ำหรับความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการบางส่วน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 101

๓-๑๗. นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการก�ำหนดความเสี่ยงที่หลงเหลือส�ำหรับ
ความล่อแหลมแต่ละการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารภายหลังมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการที่เหมาะสมได้ถูกน�ำไปใช้กับมัน นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการใช้
ระเบียบทีก่ ำ� หนดขึน้ ๗ ความเสีย่ งทีห่ ลงเหลืออยู่ เป็นระดับของความเสีย่ งทีย่ งั คงมีอยูภ่ ายหลังทีก่ าร
ควบคุมต่าง ๆ ได้ถูกก�ำหนด และเลือกไว้ส�ำหรับอันตรายซึ่งอาจจะส่งผลในเรื่องการสูญเสียอ�ำนาจ
ก�ำลังรบ ในเนื้อหานี้มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการคือการควบคุมต่าง ๆ
๓-๑๘. ท้ายที่สุด นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการท�ำการเลือกมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการเพื่อให้ข้อเสนอแนะบนพื้นฐานของการประเมินความเสี่ยงนี้ นายทหาร
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเปรียบเทียบความเสีย่ งทีห่ ลงเหลืออยูก่ บั ความเสีย่ งทีแ่ สดงให้เห็นโดยความ
ล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการหากมาตรการในการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการไม่ได้รับการน�ำไปปฏิบัติ ความแตกต่างอ�ำนวยให้นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้
ประโยชน์จากมาตรการในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร ในการตัดสินว่ามาตรการในการ
รักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารใดทีจ่ ะให้เป็นข้อเสนอแนะ นายทหารรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการพิจารณาต่อค�ำถามต่อไปนี้ :
๓-๑๘.๑ ถ้ามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการถูกน�ำมาใช้จะเกิดคุณค่าอะไร
ต่ออ�ำนาจก�ำลังรบ ? คุณค่านัน้ ท�ำให้ความส�ำเร็จในภารกิจตกอยูใ่ นอันตรายหรือ
ไม่ ? นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการอาจจะเสนอแนะให้งดเว้น
มาตรการที่เป็นทางเลือก ถ้าหากคุณค่านั้นเป็นความเสี่ยงที่มากเกินรับได้
๓-๑๘.๒ มีความเสี่ยงอะไรต่อความส�ำเร็จในภารกิจหากมาตรการในการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการไม่ถูกน�ำไปใช้ ?
๓-๑๘.๓ มีความเสี่ยงอะไรต่อความส�ำเร็จในภารกิจหากมาตรการในการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการนั้นล้มเหลว ?
๓-๑๙. นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารประสานมาตรการในการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการที่เสนอขึ้น ระหว่างฝ่ายอ�ำนวยการด้วยกัน ทั้งนี้เพื่อลดความซ�้ำซ้อน และประกันว่า
มาตรการเหล่านั้นไม่สร้างสิ่งบอกเหตุเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการขึ้นมาใหม่
การตรวจสอบสองครัง้ สองหนต่อปัจจัยเหล่านี้ จะกระท�ำเสมอในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั ิ
การโดยเฉพาะระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ


ดู FM 100-14 ส�ำหรับการอธิบายอย่างละเอียด
102 บทที่ ๓

การปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยล�ำดับที่ ๕ การประยุกต์ใช้มาตรการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการอย่างเหมาะสม
(OPSEC ACTION 5 - APPLICATION OF APPROPRIATE OPSEC MEASURES)
๓-๒๐. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้ข้อเสนอแนะมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการแก่ นายทหารยุทธการ สิ่งเหล่านี้อาจจะรวมถึง มาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั กิ ารทีน่ ำ� มาซึง่ การใช้เวลา, ทรัพยากร, หรือบุคลากรเป็นพิเศษ ปกติผบู้ งั คับบัญชาอนุมตั ิ
มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการระหว่างการอนุมัติหนทางปฏิบัติ มาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีผ่ า่ นการอนุมตั กิ ลายเป็นกิจต่าง ๆ ด้านการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารก�ำหนดปัจจัยความส�ำเร็จส�ำหรับกิจเหล่านั้น
และท�ำการจัดเรียงล�ำดับทีจ่ ำ� เป็นต่อการประเมินค่าพวกมันตลอดการเตรียมการ และการปฏิบตั กิ าร
(ดูบทที่ ๕) นายทหารยุทธการออกค�ำสั่งการ และอ�ำนวยการปฏิบัติในเรื่องของมาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการในค�ำสั่งเตือน หรือค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ
๓-๒๑. ทันทีที่ผู้บังคับบัญชาอนุมัติมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ นายทหาร
รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเฝ้าติดตามการใช้และการประเมินค่าในส่วนของมาตรการ
เหล่านั้นในรูปแบบของปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ (criteria of success) ของมาตรการเหล่านั้น
หากมีความจ�ำเป็นนายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการปรับแต่งมาตรการต่าง ๆ บน
พื้นฐานเกี่ยวกับการประเมินค่านี้ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการประสานการ
เฝ้าติดตามในเรื่องของมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการกับนายทหารข่าวกรอง และ
ฝ่ายกิจการพิเศษด้านการต่อต้านข่าวกรอง เพื่อประกันว่ามันได้รับการจัดล�ำดับความเร่งด่วน
อย่างเหมาะสม การเฝ้าตรวจอาจจะสร้างค�ำร้องขอข่าวสารด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(IO information requests: IRs) นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการส่งผ่านค�ำ
ร้องขอเหล่านีไ้ ปยังนายทหารข่าวกรองส�ำหรับรวมค�ำขอเหล่านัน้ เข้าไว้ในแผนการรวบรวมข่าวสาร
บางส่วนของค�ำร้องขอนีอ้ าจจะกลายเป็นความต้องการข่าวสารเร่งด่วน (priority information
requirements: PIRs)
๓-๒๒. การด�ำรงการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารให้เป็นไปอย่างต่อเนือ่ งเป็นความต้องการ
ที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง การประเมินค่ามาตรการรักษาความปลอดภัย การปฏิบัติการรวมถึงการ
รวบรวมบทเรียนการปฏิบตั กิ าร ซึง่ บทเรียนเหล่านัน้ เกิดขึน้ บ่อยครัง้ มากทีส่ ดุ ระหว่างการเฝ้าติดตาม
การปฏิบัติมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (การประเมินค่าการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ) สิ่งอื่น ๆ เกิดขึ้นจากการประเมินค่าในเรื่องของการปฏิบัติการ หรือโครงการที่
สมบูรณ์แบบ (การตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 103

การด�ำเนินการปฏิบัติการต่าง ๆ ด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
(CONDUCTING OPSEC OPERATIONS)
๓-๒๓. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารได้รบั การช่วยเหลือจาก นายทหารรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ โดยให้ความช่วยเหลือนายทหารยุทธการท�ำการสนธิการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการเข้าไว้ในการด�ำเนินกรรมวิธีการปฏิบัติการ (Operational Process) โดยการ
ผสมผสานกระบวนการรั ก ษาความปลอดภั ย การปฏิ บั ติ ก ารกั บ การจั ด การกั บ ความเสี่ ย ง
การจัดการกับความเสีย่ ง (Risk management) เป็นกระบวนการในเรือ่ งของการพิสจู น์ทราบ,
การประเมินค่า, และการควบคุม, ความเสี่ยงต่าง ๆ เกิดขึ้นจากปัจจัยต่าง ๆ ด้านยุทธการ
และการจัดท�ำข้อตกลงใจ ซึ่งท�ำให้ค่าความเสี่ยงสมดุลกับประโยชน์ทางภารกิจ๘ ผู้บังคับบัญชา
ใช้การจัดการกับความเสี่ยงในการรักษาอ�ำนาจก�ำลังรบ และทรัพยากรโดยการพิสูจน์ทราบ และ
ท�ำการควบคุมอันตราย (อันตราย เป็นสภาวการณ์ทมี่ คี วามเป็นไปได้ในการท�ำให้เกิดเหตุ บาดเจ็บ,
ป่วยไข้, หรือการเสียชีวิตของก�ำลังพล และยังท�ำให้เกิดความเสียหาย หรือการสูญเสียยุทโธปกรณ์
หรือทรัพย์สิน หรือท�ำให้ภารกิจลดประสิทธิภาพลง) การจัดการกับความเสี่ยงเป็นส่วนที่ถูกรวม
เข้าไว้ในการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร (MDMP)
๓-๒๔. ความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเป็นแบบอย่างหนึ่งของ
อันตรายที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ความล่อแหลมด้านการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการน�ำมาซึ่งความเสี่ยงทางยุทธวิธี (Tactical risk) ความเสี่ยง
ทางยุทธวิธีเป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับอันตรายซึ่งปรากฏตามการแสดงออกของฝ่ายตรงข้าม
ความเสี่ยงทางอุบัติการณ์ (Accident risk) ประกอบด้วยข้อพิจารณาด้านความเสี่ยงทาง
ยุทธการทั้งปวงที่นอกเหนือความเสี่ยงทางยุทธวิธี กระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การก�ำหนดแต่เพียงความเสีย่ งทางยุทธวิธเี ท่านัน้ ด้วยเหตุผลทีว่ า่ มันได้ถกู น�ำมาใช้ในการประเมินค่า
แบบต่าง ๆ ของความเสีย่ งทัง้ ปวง การจัดการกับความเสีย่ งอ�ำนวยให้นายทหารรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั กิ ารท�ำการสนธิการประเมินค่าความเสีย่ งจากความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการกับการประเมินค่าความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร รูปที่ ๓-๑ แสดง
ความสัมพันธ์ของขั้นตอนในส่วนของกระบวนการในการจัดการกับความเสี่ยง การปฏิบัติในเรื่อง
ของกระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และกิจกรรมในเรื่องของกระบวนการในการ
ปฏิบัติการ


ดูรายละเอียดที่ JP 1-02
104 บทที่ ๓

กิจกรรมกระบวนการ การปฏิบัติ รปภ.ปบ. ขั้นตอนการจัดการความเสี่ยง


ปฏิบัติการ
• ระบุ หขส.ของฝ่ายเรา • ระบุอันตราย
• วิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม
การวางแผน • วิเคราะห์ความล่อแหลม
• ประเมินอันตราย
การประเมิน

• ประเมินความเสี่ยง • พัฒนาการควบคุมและตัดสินใจ
ด้านความเสี่ยง
การเตรียมการ • น�ำมาตรการ รปภ. • ลงมือท�ำการควบคุม
การปฏิบัติ ปบ.ที่เหมาะสมไปใช้

การประเมิน • ให้ค�ำแนะน�ำและประเมินค่า
รูปที่ ๓-๑ กระบวนการปฏิบัติการ, การจัดการความเสี่ยง และการ รปภ.ปบ.

๓-๒๕. ผูบ้ งั คับบัญชาปฏิบตั กิ ารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารเพือ่ ปกป้องหัวข้อข่าวสาร


ส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) และวัตถุประสงค์การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ ผลผลิตการ
วางแผนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการคือชุดของมาตรการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการที่ได้รับการประสานโดยทหารและหน่วยต่าง ๆ ปฏิบัติตามมาตรการนั้นเพื่อปกป้อง
ก�ำลังรบ ตลอดกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจัดการ
กับมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเปรียบเสมือนเป็นกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร ระหว่างการผลิตค�ำสั่ง นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารรวบรวมมาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการและบรรจุเข้าไว้ในแผน/ค�ำสั่งยุทธการเหมือนเป็นกิจด้านหนึ่งของ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และเป็นกิจที่มอบให้กับหน่วยรอง
การวางแผน (PLANNING)
๓-๒๖. นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการตลอดกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร ดังนี้
๓-๒๖.๑ ระหว่างการรับมอบภารกิจ การวิเคราะห์ภารกิจ และการพัฒนาหนทางปฏิบตั ิ
นายทหารรักษาความปลอดภัยระบุความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ (การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ-อันตรายที่เกี่ยวข้อง)
และประเมินค่าความเสี่ยงจากความล่อแหลมเหล่านั้นที่แสดงให้เห็นออกมา
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 105

๓-๒๖.๒ ระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ


การทดสอบมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (การควบคุม) ที่
เกีย่ วข้องกับแต่ละหนทางปฏิบตั โิ ดยการวิเคราะห์มาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการจากมุมมองของฝ่ายตรงข้าม
๓-๒๖.๓ ระหว่างการเปรียบเทียบหนทางปฏิบตั ิ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั ิ
การก�ำหนดว่ามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการใดที่จะเสนอแนะ
ส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบตั ิ และหนทางปฏิบตั ใิ ดทีส่ ามารถสนับสนุนได้มากทีส่ ดุ
จากมุมมองด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๒๖.๔ ระหว่างการอนุมตั หิ นทางปฏิบตั ิ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั เิ สนอ
แนะมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารในการตอบโต้ความเสีย่ งทีแ่ สดง
ให้เห็นโดยความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ผู้บังคับ
บัญชาเป็นผู้ตัดสินใจว่ามาตรการรักษาความปลอดภัยใดที่จะน�ำมาใช้
๓-๒๖.๕ ระหว่างการผลิตแผน/ค�ำสัง่ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารด�ำเนิน
การตามที่ได้มีการประสานกันไว้ในช่วงเวลาระหว่างการแสวงข้อตกลงใจทาง
ทหาร และประกันว่าแผน/ค�ำสั่งยุทธการได้บรรจุค�ำแนะน�ำที่จ�ำเป็นต่อการ
เตรียมการ, การปฏิบัติ และการประเมินค่ามาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการที่ได้รับอนุมัติ
๓-๒๗. ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO estimate) เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้นของ
นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารในเรือ่ งของข้อมูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้องกับการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC - related information) (ดูผนวก ค) นายทหาร
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารปรับปรุงประมาณการให้ทนั สมัยอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งตลอดการปฏิบตั กิ ารบน
พื้นฐานปัจจัยน�ำเข้าจากผู้แทนส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ในสภาพแวดล้อมที่จ�ำกัดด้วยเรื่อง
ของเวลา ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในปัจจุบันอาจจะเป็นแหล่งข้อมูลในเรื่องของ
ข่าวสารด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องที่น�ำมาใช้ได้ในทันที ประมาณการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
๓-๒๗.๑ ภาพของฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้ในเรื่องของกองก�ำลังฝ่ายเรา (ย่อหน้า ๒ ก [๔]
ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร)
๓-๒๗.๒ ขีดความสามารถในการรวบรวมข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม (ย่อหน้า ๒ ข [๓]
ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร)
๓-๒๗.๓ หัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราในปัจจุบนั (ย่อหน้า ๒ ง [๑] ประมาณการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร)
106 บทที่ ๓

๓-๒๗.๔ สิง่ บอกเหตุดา้ นการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (ย่อหน้า ๒ ง [๒] ประมาณ


การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร)
๓-๒๗.๕ มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการในเชิงผลกระทบ (ย่อหน้า ๒ ง [๓]
ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร)
๓-๒๗.๖ การพิจารณาไตร่ตรองมาตรการรักษาความปลอดภัย (ย่อหน้า ๒ ง [๔] ประมาณ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร)
รับมอบภารกิจ (Receipt of Mission)
๓-๒๘. ระหว่างการรับมอบภารกิจ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเริ่มการปฏิบัติ
ด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการดังต่อไปนี้
๓-๒๘.๑ ระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
๓-๒๘.๒ วิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม
ผลผลิตด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารส�ำหรับการรับมอบภารกิจเป็นรายละเอียดของ
หัวข้อข่าวสารส�ำคัญเริม่ ต้น และรายการการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ จะน�ำ
ไปก�ำหนดเป็นกิจเกี่ยวกับ การข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน ตั้งแต่เริ่มต้น
๓-๒๙. ระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (Identify Essential Elements of Friendly
Information) การประเมินค่าเริ่มต้น และแนวทางเริ่มแรกของผู้บังคับบัญชาอาจจะส่งผลใน
หัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา หรือแนวทางในการพัฒนาหัวข้อข่าวสารส�ำคัญเหล่านัน้ ถ้าผูบ้ งั คับ
บัญชาไม่ได้ก�ำหนดหัวข้อข่าวสารส�ำคัญเริ่มต้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้ข้อเสนอแนะ
หัวข้อข่าวสารส�ำคัญเริ่มแรกบนพื้นฐานของประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO estimate)
และประเมินค่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเริ่มแรก (initial IO assessment) นายทหารยุทธการ
กระจายหัวข้อข่าวสารส�ำคัญเริม่ แรกในค�ำสัง่ เตือนขัน้ ต้น ถ้าหัวข้อข่าวสารส�ำคัญเริม่ แรกนัน้ มีความ
แตกต่างจากหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราส�ำหรับการปฏิบัติการในปัจจุบัน ย่อหน้า ๒ ง ของ
ประมาณการข้อมูลข่าวสารเป็นการก�ำหนดรายการหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
๓-๓๐. วิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม (Analyze adversaries) นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
จัดเตรียมหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราให้แก่ นายทหารข่าวกรองส�ำหรับใช้เป็นข้อพิจารณา
ในการเตรียมสนามรบด้านการข่าวเบื้องต้น ความต้องการข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเกี่ยวข้องกับขีดความสามารถของฝ่ายข้าศึกในการรวบรวมหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของ
ฝ่ายเรา ทีไ่ ด้รบั จากนายทหารข่าวกรองเพือ่ รวบรวมไว้ในกิจเริม่ ต้นของการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ
และการลาดตระเวน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 107

การวิเคราะห์ภารกิจ (Mission Analysis)


๓-๓๑. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมีสว่ นเกีย่ วข้องกับผลผลิตจากการวิเคราะห์ภารกิจ
คือ แนวทางวางแผนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC planning guidance)
ซึง่ ปกติเป็นส่วนหนึง่ ของแนวทางวางแผนของผูบ้ งั คับบัญชา และถูกรวมเข้าไว้ในค�ำสัง่ เตือนโดยจะ
มีการกระจายมันออกไป
๓-๓๒. แนวทางวางแผนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (Operations security
planning guidance) เป็นต้นแบบส�ำหรับการวางแผนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร
มันก�ำหนดหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา ซึ่งน�ำมารวบรวมไว้ในเป้าหมายของฝ่ายเรา และ
ฝ่ายตรงข้าม และอาจจะเป็นความรู้เกี่ยวกับฝ่ายตรงข้าม วัตถุประสงค์ด้านการลวงของฝ่าย
เรา และขีดความสามารถในการรวบรวมข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม แนวทางวางแผนการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารอาจจะเป็นเค้าโครงมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร
เพียงชั่วคราวได้
๓-๓๓. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพัฒนาแนวทางวางแผนการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการโดย
๓-๓๓.๑ ระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราอย่างต่อเนื่อง
๓-๓๓.๒ วิเคราะห์ฝ่ายตรงข้ามอย่างต่อเนื่อง
๓-๓๓.๓ เริ่มต้นการวิเคราะห์ความล่อแหลม
๓-๓๓.๔ เริ่มต้นประเมินความเสี่ยง
๓-๓๔. การระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระบุหัวข้อ
ข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราเพิ่มเติม ตลอดจนทบทวน และกลั่นกรองแก้ไขหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของ
ฝ่ายเราตลอดเวลาทีท่ ำ� การวิเคราะห์ภารกิจ โดยอาศัยพืน้ ฐานปัจจัยน�ำเข้าจาก ผูแ้ ทนส่วนปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสาร (IO cell) กิจในการแสวงข้อตกลงใจทางทหารซึง่ อาจจะสอดคล้องกับหัวข้อข่าวสาร
ส�ำคัญของฝ่ายเราคือ
๓-๓๔.๑ การด�ำเนินการด้านการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
๓-๓๔.๒ การก�ำหนด กิจเฉพาะ กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิ่ง
๓-๓๕. สมาชิกของส่วนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร พิจารณาเป้าหมายของฝ่ายเรา และฝ่าย
ตรงข้าม ความรู้เกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้ วัตถุประสงค์ด้านการลวงของฝ่ายเรา และ
ขีดความสามารถในการรวบรวมข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม เมือ่ เริม่ ท�ำการพัฒนาหัวข้อข่าวสารส�ำคัญ
ของฝ่ายเรา
108 บทที่ ๓

๓-๓๖. การวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเข้าร่วมในการ


จัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวตลอดเวลาทีป่ ฏิบตั กิ ารเพือ่ ก�ำหนดการใช้ทรัพยากรในการรวบรวม
ข่าวสารของฝ่ายตรงข้ามที่อันตรายที่สุด และน่าจะเป็นไปได้มากที่สุด
๓-๓๗. การวิ เ คราะห์ ค วามล่ อ แหลม และการประเมิ น ค่ า ความเสี่ ย ง มี ค วามเป็ น ไปได้ ที่
สิง่ บอกเหตุเกีย่ วกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารจะเป็นอันตรายทีเ่ กีย่ วข้องกับการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (OPSEC - related hazard) ระหว่างการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร
กิจในการด�ำเนินการประเมินค่าความเสีย่ ง และสิง่ บอกเหตุดา้ นการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั ิ
การจะถูกระบุไว้ในเวลาเดียวกันว่าเป็นอันตรายทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการท�ำการประเมินค่าความเสี่ยงเกี่ยวกับอันตราย
เหล่านั้นในทันทีก่อนที่การควบคุมต่าง ๆ (รวมถึงมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ)
จะถูกน�ำไปใช้ในการบรรเทาความเสี่ยง การประเมินค่านี้อ�ำนวยให้นายทหารรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั กิ ารท�ำการก�ำหนดได้ แม้กระทัง่ สิง่ บอกเหตุดา้ นการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารที่
ถูกระบุไว้ ซึง่ ส่งผลต่อความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร แหล่งข้อมูลข่าวสาร
ซึ่งสนับสนุนต่อการก�ำหนดนี้คือ
๓-๓๗.๑ การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวอย่างต่อเนื่อง
๓-๓๗.๒ ข้อเท็จจริงและสมมติฐานที่ส�ำคัญยิ่ง สมมติฐานโดยจ�ำเพาะเจาะจงที่จัดท�ำขึ้น
เพื่อทดแทนข้อเท็จจริงที่ไม่รู้ และขาดหายไปซึ่งเกี่ยวข้องกับการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๓๗.๓ ข้อจ�ำกัดซึ่งกระทบต่อมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่เป็นไปได้
นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการจะจัดตั้งมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการเฉพาะกาลขึ้นเพื่อปกป้องความล่อแหลมการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการ และท�ำการก�ำหนดความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่
(ดูรูป ข-๑๐) มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเฉพาะกาลตลอดจน
การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เหล่านี้ต่อหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราเริ่มต้นขึ้น
ระหว่างการจัดท�ำแนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
ซึ่งจะกระจายออกไปโดยค�ำสั่งเตือนภายหลังจากที่ได้รับอนุมัติตามสายการ
บังคับบัญชา รูปลักษณะความเสีย่ งทีห่ ลงเหลืออยูช่ ว่ ยให้ผบู้ งั คับบัญชามีเครือ่ งมือ
ช่วยตัดสินใจว่าจะท�ำการจัดสรรทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการได้อย่างไร และที่ใดที่จะยอมรับความเสี่ยงนั้นหากเป็น
ความจ�ำเป็น
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 109

การพัฒนาหนทางปฏิบัติ (Course of Action Development)


๓-๓๘. ระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๓-๓๘.๑ ด�ำรงความต่อเนื่องในการระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
๓-๓๘.๒ ด�ำรงความต่อเนื่องในการวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม
๓-๓๘.๓ ด�ำรงความต่อเนื่องในการวิเคราะห์ความล่อแหลม
๓-๓๘.๔ ด�ำรงความต่อเนื่องในการประเมินความเสี่ยง
ในแต่ละหนทางปฏิบัติ ผลผลิตด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการส�ำหรับการพัฒนา
หนทางปฏิบตั คิ อื หัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา, ความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ, มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และความเสี่ยงเกี่ยวกับแต่ละ
ความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่ยังหลงเหลืออยู่
๓-๓๙. ระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการทั้งมวล ระหว่างการพัฒนา
หนทางปฏิบัตินายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับแต่ละ
หนทางปฏิบัติ และเกี่ยวข้องกับรายการทรัพยากรส�ำคัญ (ดูย่อหน้า ๕-๔๖) หัวข้อข่าวสารส�ำคัญ
ของฝ่ายเราเหล่านี้ไม่ได้รับการกระจายออกไปภายนอกเว้นเสียแต่ว่านายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารได้ก�ำหนดว่าหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราเหล่านั้นมีผลกระทบต่อความส�ำเร็จในการ
ปฏิบัติการโดยไม่ค�ำนึงถึงว่าหนทางปฏิบัติใดที่ผู้บังคับบัญชาจะอนุมัติ
๓-๔๐. การวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการมีส่วนร่วมใน
การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวอย่างต่อเนื่อง นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
สนับสนุนข่าวสารแก่ส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่พัฒนา และรับข้อมูลข่าวสารที่มีความทันสมัย
มากที่สุดเกี่ยวกับขีดความสามารถและเจตนาของฝ่ายตรงข้าม
๓-๔๑. การวิเคราะห์ความล่อแหลมและการประเมินค่าความเสีย่ ง เนือ่ งด้วยแต่ละหนทางปฏิบตั ิ
ได้รับการพัฒนาขึ้น นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการจะท�ำการระบุสิ่งบอกเหตุด้าน
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และท�ำการประเมินค่าสิ่งเหล่านั้นเพื่อก�ำหนดการจัดท�ำ
ความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (อันตราย) นายทหารรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการพัฒนามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (การควบคุม) ส�ำหรับความ
ล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการทั้งมวล และก�ำหนดความเสี่ยงที่ยังหลงเหลือ
อยู่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับแต่ละความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ข้อมูลข่าวสาร
นี้ได้รับการบันทึกลงบนแผ่นงานการประเมินความเสี่ยง (risk assessment) นายทหารปฏิบัติการ
110 บทที่ ๓

ข้อมูลข่าวสาร (ดูรปู ข-๑๐) นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารพิจารณามาตรการในการ


ตอบโต้ตอ่ ความล่อแหลมการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารในประเด็นด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ :
๓-๔๑.๑ ยุทธการ (Operational)
๓-๔๑.๒ การส่งก�ำลังบ�ำรุง (Logistic)
๓-๔๑.๓ ทางเทคนิค (technical)
๓-๔๑.๔ การบริหารจัดการ (Administrative)
๓-๔๑.๕ การลวงทางทหาร (Military deception)
๓-๔๑.๖ การท�ำลายทางวัตถุ (ทางกายภาพ) (Physical destruction)
๓-๔๑.๗ การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic warfare)
๓-๔๑.๘ กิจการสาธารณะ (Public Affairs: A)
๓-๔๑.๙ การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร (Civil Military Operations)
๓-๔๒. นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการประสานมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการตามที่มาตรการนั้น ๆ ได้รับการพัฒนาขึ้น การประสานงานอาจจะรวมถึงการ
พัฒนากฎการปะทะส�ำหรับในบางมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ความต้องการ
ในการประสานงานอาจจะรวมถึง
๓-๔๒.๑ การก�ำหนดผลกระทบของบางมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่
เกิดขึ้นกับการปฏิบัติการกิจการสาธารณะ (PA)
๓-๔๒.๒ การรับแนวทางเกี่ยวกับการยุติมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๔๒.๓ การรับแนวทางเกี่ยวกับการเปิดเผย และการแพร่กระจายออกไปสู่สาธารณชน
ในเรื่องกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC
related activities)
๓-๔๒.๔ การรับการบริหารจัดการ และการส่งก�ำลังบ�ำรุงสนับสนุนต่อกิจต่าง ๆ ด้านการ
รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๔๒.๕ การจัดตั้งการประสานงานในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และ
มาตรการในการบังคับบัญชาและการควบคุม
๓-๔๒.๖ การจัดตั้งกลไกในการประเมิน (การเฝ้าติดตาม และการประเมินค่า)
๓-๔๒.๗ การยอมรับความต้องการข้อมูลข่าวสาร (IR) ในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (IO)
และการร้องขอข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนการประเมินค่ากิจต่าง ๆ ด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๓-๔๒.๘ การด�ำเนินการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๔๒.๙ การจัดเรียงล�ำดับปัจจัยน�ำเข้าส�ำหรับการรายงานหลังการปฏิบัติ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 111

๓-๔๒.๑๐ การจัดเรียงล�ำดับการสนับสนุนในเรื่องของความต้องการการติดต่อสื่อสารที่
เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
การวิเคราะห์หนทางปฏิบตั ิ (การจ�ำลองยุทธ์) (Course of Action Analysis (War - gaming))
๓-๔๓. การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติอ�ำนวยประโยชน์ให้นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การท�ำการทดสอบมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับแต่ละหนทาง
ปฏิบัติ ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ ผู้บังคับบัญชาอาจจะปรับปรุงพัฒนาหนทางปฏิบัติบนพื้นฐาน
ของสถานการณ์ว่าจะพัฒนาไปอย่างไร นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการพิจารณา
ก�ำหนดมาตรการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงพัฒนาผลที่ได้ในหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
เพิ่มเติม หรือความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ดังนั้นถ้านายทหารรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการเสนอแนะมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเพื่อปกป้อง
สิ่งเหล่านั้น ซึ่งจะท�ำให้นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการเพิ่มเติม
๓-๔๓.๑ การด�ำรงความต่อเนื่องในการระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
๓-๔๓.๒ การด�ำรงความต่อเนื่องในการวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม
๓-๔๓.๓ การด�ำรงความต่อเนื่องในการวิเคราะห์ความล่อแหลม
๓-๔๓.๔ การด�ำรงความต่อเนื่องในการประเมินความเสี่ยง
๓-๔๔. ผลผลิตด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารส�ำหรับการวิเคราะห์หนทางปฏิบตั ิ
หรือส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ คือการประเมินค่าในรูปของเกณฑ์ชี้วัด ที่จัดสร้างขึ้นก่อน
การจ�ำลองยุทธ์ และรายการหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราที่ได้รับการกลั่นกรองแก้ไข, ความ
ล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร, และมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั ิ
การนายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการยังคงก�ำหนด
๓-๔๔.๑ จุดแตกหักส�ำหรับมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีก่ ำ� ลังปฏิบตั อิ ยู่
๓-๔๔.๒ การสนับสนุนทางการยุทธ์ที่จ�ำเป็นส�ำหรับมาตรการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการ
๓-๔๔.๓ มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีจ่ ำ� เป็นต่อการสนับสนุนการปฏิบตั ิ
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีแ่ ตกออกไป และทีต่ ามมาซึง่ อาจจะเป็น
ไปได้
๓-๔๔.๔ ไม่ว่าจะเป็นมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการใดก็ตามต้องการการ
ประสานงานเพิ่มเติมเสมอ
๓-๔๕. การระบุหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการ
บันทึกหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราเพิม่ เติมซึง่ เกิดขึน้ ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่
112 บทที่ ๓

สิ่งเหล่านั้นเป็นผลมาจากหนทางปฏิบัติที่ได้ท�ำการปรับปรุงขึ้น นายทหารรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการเป็นผู้ก�ำหนดทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นอะไรก็ตามที่ท�ำให้เกิดสิ่งบอกเหตุด้านการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๔๖. การวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม และการวิเคราะห์ความล่อแหลม นายทหารรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการบันทึกขีดความสามารถของฝ่ายตรงข้ามเพิ่มเติม สิ่งบอกเหตุการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการเพิ่มเติม รวมทั้งสิ่งบอกเหตุในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การที่ได้รับการผลิตขึ้นโดยหัวข้อข่าวสารส�ำคัญที่มีการก�ำหนดขึ้นมาใหม่ และช่องว่างใด ๆ ในการ
จัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวทีป่ รากฏขึน้ ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ นายทหารรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารเพือ่ ป้องกันเหตุทจี่ ะเกิดขึน้ จาก
สิ่งเหล่านั้น นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการท�ำงานร่วมกับนายทหารการข่าวกรอง
เพื่อให้ได้ข่าวสารมาเติมลงในช่องว่างที่เกิดขึ้นในการเตรียมสนามรบด้านการข่าว
๓-๔๗. การประเมินความเสี่ยง นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการก�ำหนดเกณฑ์
ชี้วัดส�ำหรับการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติจากมุมมองที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการก่อนเริ่มจ�ำลองยุทธ์ ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การประเมินค่าประสิทธิผลในแต่ละมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ นายทหารรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารยังคงท�ำการประเมินความเสีย่ งทีห่ ลงเหลืออยูเ่ กีย่ วกับความล่อแหลม
ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีไ่ ด้มกี ารระบุไว้ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ พร้อมทัง้ ก�ำหนดมาตรการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสม ตลอดจนท�ำการทดสอบมาตรการเหล่านั้น
๓-๔๘. การประเมินค่าหนทางปฏิบตั ิ ภายหลังจากการจ�ำลองยุทธ์แต่ละหนทางปฏิบตั ิ นายทหาร
รักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารประเมินค่าหนทางปฏิบตั บิ นพืน้ ฐานของเกณฑ์ชวี้ ดั ทีก่ ำ� หนดขึน้
ก่อนเริ่มจ�ำลองยุทธ์ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการยังท�ำการพิสูจน์ทราบจุดแข็ง
จุดอ่อน ความได้เปรียบ และเสียเปรียบ เกณฑ์ดังกล่าวรวมถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับมาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการและความเสี่ยงเกี่ยวกับการใช้หรือไม่ใช้มาตรการเหล่านั้น
การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ (Course of Action Comparison)
๓-๔๙. ระหว่างการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ ฝ่ายอ�ำนวยการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติที่เป็น
ไปได้เพื่อระบุหนึ่งหนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้มากที่สุดที่จะบรรลุผลส�ำเร็จต่อหนทางปฏิบัติของ
ฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้มากที่สุด และหนทางปฏิบัติที่อันตรายที่สุดของฝ่ายตรงข้าม ผลผลิตของ
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในเรื่องของการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติเป็นการก�ำหนด
ว่าหนทางปฏิบัติใดที่สามารถสนับสนุนได้ดีที่สุดในเทอมของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 113

ก�ำหนดนั้นได้ถูกรวบรวมไว้ในการให้ค�ำแนะน�ำทางฝ่ายอ�ำนวยการต่อผู้บังคับบัญชาระหว่างการ
อนุมัติหนทางปฏิบัติ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพิจารณาองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารเมื่อท�ำการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติต่าง ๆ ไม่ใช่เพียงการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการตกลงใจในสิ่งนี้บนพื้นฐานของเกณฑ์การ
เปรียบเทียบที่จัดตั้งขึ้นก่อนการจ�ำลองยุทธ์
๓-๕๐. ระหว่างการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
ด�ำเนินการปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการล�ำดับที่ ๔; การประเมินความเสี่ยง
โดยก�ำหนดว่ามาตรการการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใด (การควบคุมต่าง ๆ) ที่ให้ข้อเสนอแนะ
ส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ (การให้ข้อเสนอแนะการตัดสินใจในความเสี่ยง) นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารพิจารณาต้นทุนเกี่ยวกับมาตรการเหล่านี้เมื่อท�ำการให้ข้อเสนอแนะหนทางปฏิบัติ
เพื่อการอนุมัติของผู้บังคับบัญชา
การอนุมัติหนทางปฏิบัติ (Course of Action Approval)
๓-๕๑. ระหว่างการอนุมัติหนทางปฏิบัติ ฝ่ายอ�ำนวยการให้ข้อเสนอแนะหนทางปฏิบัติต่อผู้บังคับ
บัญชาในการปฏิบัติการ หนทางปฏิบัติที่ได้รับการเสนอแนะ รวมถึงมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั กิ าร ท�ำการพิสจู น์ทราบ และทดสอบระหว่างกิจต่าง ๆ ในการแสวงข้อตกลงใจทางทหารที่
กระท�ำมาก่อนแล้ว นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารระบุมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั กิ ารซึง่ ส่งผลมายังการใช้ทรัพยากรเฉพาะ หรือความเสีย่ ง และการร้องขอการตัดสินใจที่
เกี่ยวกับมาตรการเหล่านั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น เมื่อผู้บังคับบัญชาอนุมัติหนทางปฏิบัติ ผู้บังคับบัญชา
จะอนุมัติมาตรการรักษาความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับหนทางปฏิบัตินั้นด้วย
การผลิตค�ำสั่ง (Orders Production)
๓-๕๒. ระหว่างการผลิตค�ำสั่ง นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการติดตามผลการ
ประสานงานทีไ่ ด้กระท�ำลงไประหว่างการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร นายทหารรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการจะด�ำเนินการในสิ่งต่อไปนี้
๓-๕๒.๑ ประกันว่าแผน/ค�ำสั่งยุทธการได้บรรจุค�ำแนะน�ำที่จ�ำเป็นในการเตรียมการ,
การปฏิบัติ และการประเมินมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่ได้
รับอนุมัติ
๓-๕๒.๒ จัดเตรียมย่อหน้าเรื่องการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการในส่วนของผนวก
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และอนุผนวกการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การประกอบผนวกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
114 บทที่ ๓

๓-๕๒.๓ ประกันว่าได้มีความรู้ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับมาตรการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการอันใดก็ตามที่ได้รับอนุมัติ
๓-๕๓. ระหว่างการผลิตค�ำสั่ง นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารด�ำเนินการดังต่อไปนี้
๓-๕๓.๑ ติดตามผลการประสานงานที่ได้ท�ำลงไประหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
๓-๕๓.๒ ประกันว่าหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราได้รบั การบันทึกลงรายการไว้ในแผน/
ค�ำสั่งยุทธการในส่วนของค�ำแนะน�ำในการประสาน
๓-๕๓.๓ ประกันว่ามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (กิจทางการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร) ได้รับการรวบรวมไว้ในกิจที่ก�ำหนดให้แก่หน่วยรอง
การเตรียมการและการปฏิบัติ (PREPARATION AND EXECUTION)
๓-๕๔. ระหว่างการเตรียมการและการปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเฝ้าติดตาม
และประเมินค่าการเตรียมการ และการปฏิบัติการในส่วนของกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การปฏิบตั เิ หล่านีร้ วมถึงการน�ำมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีผ่ า่ นการตรวจสอบมา
อย่างดีไปใช้ในหนทางปฏิบตั ทิ ไี่ ด้รบั อนุมตั ิ (การให้คำ� แนะน�ำในการใช้งานมาตรการควบคุมต่าง ๆ)
นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการท�ำการ
๓-๕๔.๑ ประเมิน (เฝ้าติดตามและประเมินค่า) การปฏิบัติการที่เกี่ยวกับมาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๕๔.๒ ให้ข้อเสนอแนะ/อ�ำนวยการมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่
เปลี่ยนแปลงไปบนพื้นฐานการประเมิน ปกติแล้วการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะ
สั่งการโดยค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ
การประเมิน (ASSESSMENT)
๓-๕๕. การเฝ้าติดตาม และการประเมินค่ามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเป็น
ไปอย่างต่อเนื่องตลอดกระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการสมาชิกจากส่วนปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารมีความตื่นตัวส�ำหรับสิ่งบอกเหตุด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
ในประเด็นทางพันธกิจของพวกเขาซึ่งอาจจะส่งผลต่อความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ ย่อหน้าที่กล่าวมาก่อนหน้านี้เป็นที่สังเกตว่าการประเมินที่ต่อเนื่องสนับสนุนการ
กลั่นกรองแก้ไขผลผลิตด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๕๖. ผู้บังคับบัญชาใช้เครื่องมือต่อไปนี้เพื่อประเมินการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ :
๓-๕๖.๑ ทบทวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๓-๕๖.๒ ประเมินการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 115

๓-๕๖.๓ ตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
การทบทวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารถูกก�ำหนดไว้ในระเบียบปฏิบตั ปิ ระจ�ำของหน่วย
ส่วนใหญ่ การทบทวนการรักษาความปลอดภัยเป็นตัวอย่างของมาตรการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการซึ่งเป็นงานประจ�ำ แต่มีความส�ำคัญ การประเมินการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การและการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเป็นการด�ำเนินการอย่างละเอียด
ถี่ถ้วนและมีความเข้มข้นในการใช้ทรัพยากรเป็นอย่างมาก ผู้บังคับบัญชาใช้การทบทวนนั้นบน
พืน้ ฐานทีเ่ กีย่ วกับสถานการณ์ เวลา และทรัพยากรพืน้ ฐานทีม่ อี ยู่ รูป ๓-๒ แสดงตัวอย่างของปัญหา
ทีน่ ายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารสามารถถามเพือ่ ก�ำหนดสถานะของการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการในหน่วยบัญชาการ

• ห้วงเวลานั้นตั้งแต่กองบัญชาการหน่วยรอง • จ�ำนวนของการเคลือ่ นย้ายทางยุทธการของฝ่าย


เปลี่ยนแปลงแผนการเคลื่อนย้ายประจ�ำวัน เราทีด่ ำ� เนินการนอกเหนือการเฝ้าตรวจของฝ่าย
• ความถี่ของรูปแบบการโจมตีซ�้ำ ๆ ของฝ่ายเรา ตรงข้าม
ติด ๆ กัน • ความถี่ของการประสานงานระหว่าง ผู้วางแผน
• จ�ำนวนขององค์ประกอบในหัวข้อข่าวสารส�ำคัญ ด้านการ รปภ.ปบ.และกับด้านการลวง
ของฝ่ายเราทีไ่ ด้รบั การปกปิดโดยมาตรการรักษา • จ�ำนวนของมาตรการ รปภ.ปบ.ที่เลือกไว้บน
ความปลอดภัยการปฏิบัติการสอง หรือมากกว่า พื้นฐานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความล่อแหลม
• จ�ำนวนของความพยายามในการรวบรวม • จ�ำนวนของเวลาที่นักวางแผนด้านการ รปภ.
ข่าวสารที่กระท�ำต่อหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของ ปบ.มีพอที่จะแบ่งขั้นตอนของความพยายามใน
ฝ่ายเรา การวางแผนให้ลึกซึ้งได้
• ความล่อแหลมของการวางแผนฝ่ายเรา ก�ำหนด • จ�ำนวนของเวลาที่แนวทางด้านการ รปภ.ปบ.
จากการเฝ้าติดตามตนเองในหัวข้อข่าวสาร ได้รับจากกองบัญชาการของหน่วยเหนือ
ส�ำคัญของฝ่ายเรา • ร้อยละของการปฏิบตั ปิ ระจ�ำกับการเปลีย่ นแปลง
• จ�ำนวนของความล่อแหลมในการ รปภ.ปบ.ของ จังหวะเวลา หรือที่ตั้งอย่างน้อยที่สุดคิดเป็น
ฝ่ายเราที่ใช้ขยายผลได้โดยการปฏิบัติของฝ่าย สัปดาห์
ตรงข้าม • จ�ำนวนของหน่วยที่ได้รับการประกอบก�ำลังด้วย
• จ�ำนวนการปฏิบัติการของฝ่ายเราที่ถูกท�ำให้ เครื่องมือต่อต้านการเฝ้าตรวจ และเครื่อง
ยุ่งยากโดยการค้นหา และการตอบโต้ของฝ่าย ตรวจจับการรบกวนคลื่น
ตรงข้าม
• จ�ำนวนของสิ่งอ�ำนวยความสะดวกสนับสนุนทีี่
ได้รับการปกป้องจากการตรวจการณ์ของข้าศึก

รูปที่ ๓-๒ ตัวชี้วัดสถานะการ รปภ.ปบ.


116 บทที่ ๓

การทบทวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC Review)


๓-๕๗. กองฝ่ายอ�ำนวยการท�ำการทบทวนเอกสาร และระบบข้อมูลข่าวสารที่บันทึกเพื่อประกัน
ถึงการปกป้องในส่วนของข้อมูลข่าวสารที่อ่อนไหว ระเบียบปฏิบัติประจ�ำควรจะมีการบ่งบอกเป็น
เอกสารซึ่งเป็นไปอย่างอัตโนมัติ (ตัวอย่างเช่น การแจกจ่ายสิ่งพิมพ์ใหม่) ไปยังนายทหารรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารส�ำหรับท�ำการทบทวน พวกเขายังอาจจะจัดท�ำมาตรฐานส�ำหรับการ
พิทักษ์, การจัดเก็บ, และการควบคุมข้อมูลข่าวสาร และระบบข้อมูลข่าวสารที่อ่อนไหว เมื่อการ
ด�ำเนินแก้ไขให้ถกู ต้องมีความจ�ำเป็น อย่างเช่นการประเมินการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร
หรือการท�ำการทบทวน นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการจะจัดท�ำข้อเสนอแนะให้กับ
นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการที่เหมาะสม
การประเมินการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC Assessment)
๓-๕๘. การประเมินการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเฝ้าติดตามการปฏิบัติการเพื่อก�ำหนด
ลักษณะการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการทั้งหมด และการประเมินค่าการให้ความร่วมมือ
ขององค์การต่าง ๆ ของหน่วยรองกับอนุผนวกการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการประกอบ
ผนวกการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารด�ำเนินการประเมิน
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ เพื่อยอมรับผล และให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้บังคับบัญชา
การตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC Check)
๓-๕๙. นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการด�ำเนินการต่าง ๆ เพื่อการตรวจสอบ
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ ด้วยการให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสม ถ้าการตรวจสอบ
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารก�ำหนดการบังคับบัญชาคือ หัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
ทีต่ อ้ งมีการปกป้องอย่างเพียงพอ มันจะเป็นการวิเคราะห์การด�ำเนินงานในเรือ่ งของการปฏิบตั กิ าร
เพื่อระบุแหล่งต่าง ๆ ของสิ่งบอกเหตุด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และอะไรที่พวก
มันเปิดเผยออกมา และอะไรบ้างที่สามารถเรียนรู้ได้จากพวกมัน วัตถุประสงค์คือการพิสูจน์ทราบ
ความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่ไม่ได้รับการปกป้อง การตรวจสอบการ
รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการช่วยให้ผู้บังคับบัญชาประเมินมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการและปรับแต่งมาตรการนั้นได้หากจ�ำเป็น การตรวจสอบการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบตั กิ ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพต้องการการวางแผนอย่างละเอียดรอบคอบ การรวบรวมข้อมูลอย่าง
สมบูรณ์ และการวิเคราะห์อย่างไตร่ตรองรอบคอบ พวกมันเป็นความเข้มข้นในการใช้ทรัพยากร
เนื่องจากว่าปกตินายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการท�ำการประเมินค่าข้อมูลข่าวสาร
เป็นล�ำดับแรกเพื่อก�ำหนดค่าของพวกมันหากมีความจ� ำเป็นในการตรวจสอบการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการอย่างละเอียดถี่ถ้วน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 117

๓-๖๐. การตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการใช้ความพยายามที่จะผลิตภาพ
ทางการข่าวกรองใหม่ซงึ่ คือ โครงการปฏิบตั กิ ารเฉพาะ จากภาพดังกล่าวนัน้ นายทหารรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการก�ำหนดความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ การ
ตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารแตกต่างจากความพยายามในการรวบรวมข่าวสาร
ของฝ่ายตรงข้ามในที่ซึ่งเกิดขึ้นภายในห้วงเวลาที่จ�ำกัด และปกติไม่ได้ใช้เครื่องมือที่เป็นความลับ
การตรวจสอบพิสูจน์สิ่งบอกเหตุการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่ปรากฏว่าเป็นความจริง
โดยการตรวจสอบทุกพันธกิจขององค์การ ณ ทุกจุดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางการปฏิบัติการ
การตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการด�ำเนินรอยตามการเลื่อนไหลของข้อมูล
ข่าวสารจากเริ่มต้นไปจนสิ้นสุดในแต่ละพันธกิจ
๓-๖๑. การตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการแปรเปลี่ยนไปตามพื้นฐานของ
ข้อมูลข่าวสารที่ได้รับการป้องกัน ขีดความสามารถในการรวบรวมข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม และ
สภาพแวดล้อม ในการรบ การตรวจสอบระบุความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การทีแ่ ท้จริง ในยามปกติ การตรวจสอบนีร้ ะบุความล่อแหลมในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั ิ
การที่เป็นไปได้
๓-๖๒. การตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการไม่ควรจะได้รับการด�ำเนินการใน
ลั ก ษณะการตรวจสอบอย่ า งถี่ ถ ้ ว น มั น ไม่ มี ร ะดั บ และไม่ มี ก ารรายงานไปยั ง กองบั ญ ชาการ
หน่วยเหนือที่ท�ำการตรวจสอบ การตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการไม่ควร
เพ่งเล็งไปที่ประสิทธิภาพในโปรแกรมการรักษาความปลอดภัยหรือการยึดมั่นในการสั่งการด้าน
ความปลอดภัย การประเมินค่าบนพื้นฐานโดยอนุโลมควรได้รับการด�ำเนินการในลักษณะการ
ตรวจสอบอย่างละเอียดรอบคอบ
บทที่ ๔
การลวงทางทหาร
(Military Deception)

บทนี้ เป็นหลักนิยมของกองทัพบก และยุทธวิธี, เทคนิค, และระเบียบปฏิบัติส�ำหรับ


การลวงทางทหาร ตอนที่ ๑ อธิบายถึงรูปแบบ และหลักการลวงทางทหาร เป็นข้อความว่าการลวง
ทางทหารสนับสนุนแต่ละการปฏิบัติการทางทหารอย่างไร ตอนที่ ๒ อธิบายว่าจะท�ำการปฏิบัติ
(วางแผน, เตรียมการ, ปฏิบัติ และประเมิน) การปฏิบัติการลวงทางทหารอย่างไรในรูปแบบของ
กระบวนการปฏิบัติการ และกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหารอย่างไร
ตอนที่ ๑ - หลักนิยมเรือ่ งการลวงทางทหาร (MILITARY DECEPTION DOCTRINE)
๔-๑. การลวงทางทหารประกอบด้วย การปฏิบัติทั้งหลายเหล่านั้นซึ่งปฏิบัติเพื่อชักน�ำผู้ท�ำ
หน้าที่ในการตกลงใจทางทหารของฝ่ายตรงข้ามไปสู่ความผิดพลาดอย่างสมบูรณ์ ด้วยขีด
ความสามารถ, เจตนารมณ์, และปฏิบตั กิ ารทางทหารของฝ่ายเรา ซึง่ เป็นเหตุให้ฝา่ ยตรงข้ามลงมือ
ท�ำการปฏิบตั ใิ นลักษณะเฉพาะเจาะจง (หรือไม่ปฏิบตั )ิ ตามทีฝ่ า่ ยเราต้องการ ซึง่ จะสนับสนุนต่อการ
บรรลุผลส�ำเร็จในภารกิจของฝ่ายเรา๑ บ่อยครั้งที่การลวงเป็นกุญแจส�ำคัญไปสู่การจู่โจมที่บรรลุผล
ส�ำเร็จ และสามารถส่งเสริมความสามารถให้กบั ก�ำลังรบในการบรรลุวตั ถุประสงค์ของตน ขณะเดียว
กับทีล่ ดการสูญเสีย และขยายจังหวะการรบให้สงู ขึน้ การน�ำการลวงทางทหารไปใช้อย่างเชีย่ วชาญ
นั้นสามารถส่งเสริมความเป็นไปได้ในส่วนของความส�ำเร็จอย่างเฉพาะเจาะจง และสนับสนุนต่อ
การออมก�ำลัง ตลอดจนลดการสูญเสียชีวิตของฝ่ายเรา
๔-๒. ผู้ท�ำหน้าที่ในการตกลงใจของฝ่ายตรงข้ามเป็นเป้าหมายโดยรวมของการลวงทางทหาร
อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าเป็นทหารไปทัง้ หมด และผูบ้ งั คับบัญชาอาจจะต้องการท�ำการลวง
ต่อผูอ้ นื่ ๆ ซึง่ ไม่ได้เป็นพลเรือนในพืน้ ทีท่ เี่ ป็นฝ่ายตรงข้าม การปฏิบตั ดิ งั กล่าวได้รบั การน�ำไปปฏิบตั ิ
เพื่อปกป้องก�ำลังรบ
๔-๓. โอกาสในการใช้การลวงทางทหารเกิดขึ้นในการปฏิบัติการทางทหารทั้งหมด ผู้บังคับ
บัญชาอาจจะใช้การลวงทางทหารในการสร้างเงือ่ นไขตามทีต่ อ้ งการเพือ่ ความส�ำเร็จ ขณะทีท่ ำ� การ
เตรียมการเข้าวางก�ำลังท�ำการรบ ทันทีที่ได้วางก�ำลังเข้าท�ำการรบ ผู้บังคับบัญชาสามารถปรับแต่ง


JP 3-58; นิยามศัพท์ที่สมบูรณ์ของการยุทธ์ร่วมรวมถึง ประเภทของการปฏิบัติการลวงทางทหาร (military
deception: MD) ในรายการตามรูป ๔-๑
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 119

วัตถุประสงค์ในการลวงเพื่อสนับสนุนแต่ละขั้นของการปฏิบัติการ ความน่าจะเป็นในความส�ำเร็จ
เพิม่ ขึน้ เมือ่ ผูบ้ งั คับบัญชาพิจารณาเรือ่ งการลวงแต่เนิน่ ๆ ในกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร
(MDMP)
๔-๔. ส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งเชิงรุกและเชิงรับ การลวงทางทหาร
เป็นเครื่องมือพื้นฐานในเรื่องของศิลปะทางการทหาร เป้าหมายสูงสุดของการลวงทางทหารคือ
การลวงฝ่ายตรงข้าม และผู้อื่น ๆ เกี่ยวกับการเปลี่ยนย้ายที่ตั้ง, ขีดความสามารถ, ความล่อแหลม
และความตัง้ ใจของฝ่ายเรา การลวงทางทหารสนับสนุนการบรรลุเจตนารมณ์ของผูบ้ งั คับบัญชาโดย
๔-๔.๑ รบกวน ขัดขวางความสามารถของข้าศึกในการประสานสอดคล้องการปฏิบัติการต่าง ๆ
๔-๔.๒ หาเหตุให้ฝ่ายตรงข้ามลังเลในการตกลงใจ
๔-๔.๓ ลดความเข้มข้นของวิกฤติการณ์ความขัดแย้ง
๔-๔.๔ ท�ำความเสียหายต่อเจตจ�ำนงในการสู้รบของฝ่ายตรงข้าม
๔-๔.๕ บังคับวิถีให้การปฏิบัติการ ข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวนของฝ่าย
ตรงข้ามหักเหออกไปจากการปฏิบัติการของฝ่ายเรา
๔-๔.๖ เพิ่มความไม่แน่นอนให้กับฝ่ายตรงข้าม (ความคลุมเครือของสงคราม : fog of war)
๔-๕. การลวงทางทหารยังช่วยในการพิทักษ์ก�ำลังรบ (Protect the force) จากการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารเชิงรุกของฝ่ายตรงข้าม ความพยายามด้านการลวงทางทหารน�ำพาฝ่าย
ตรงข้ามไปสู่ความผิดพลาดเกี่ยวกับขีดความสามารถ และความล่อแหลมทางด้านการบังคับบัญชา
และการควบคุมของฝ่ายเรา และหน่วงเหนีย่ วการตัดสินใจเนือ่ งจากความสับสนทีม่ าจากหมอกของ
สงคราม (the fog of war) การลวงทางทหารที่ประสบความส�ำเร็จอาจจะเป็นเหตุให้ฝ่ายตรงข้าม
แบ่งสรรทรัพยากรอย่างผิดพลาด
๔-๖. ขณะที่แนวความคิดทั่วไป และหลักการพื้นฐานของการลวงทางทหารเป็นอมตะ เทคโนโลยี
ใหม่ ๆ อ�ำนวยให้การก�ำหนดเป้าหมายต่อผู้ท�ำหน้าที่ในการตกลงใจของฝ่ายตรงข้ามทั่วทั้งพื้นที่
ปฏิบัติการ ผลกระทบอย่างผสมผสานของแนวโน้มที่ตามมาภายหลังสงครามเย็นก�ำลังสร้างโอกาส
ใหม่และท้าทายการด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหาร
๔-๖.๑ การสนธิการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเข้าไว้ในทุก ๆ การปฏิบัติการ
๔-๖.๒ ขยายขอบเขตของภารกิจ
๔-๖.๓ ภารกิจเป็นการยุทธ์ร่วม และการปฏิบัติการหลายชาติ
๔-๖.๔ มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับห้วงระยะเวลาสั้น ๆ ของภารกิจ
120 บทที่ ๔

๔-๖.๕ การเติบโตอย่างซับซ้อน การเชื่อมโยงต่อกัน และไว้วางใจกันได้เกี่ยวกับเทคโนโลยี


ด้านข้อมูลข่าวสาร, เทคโนโลยีดิจิตอล, และระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม
อัตโนมัติ
๔-๗. คู่มือราชการสนาม ๖-๐ แสดงรายการความรับผิดชอบในส่วนของฝ่ายอ�ำนวยการประสาน
งานและฝ่ายกิจการพิเศษ ความรับผิดชอบด้านการลวงทางทหารของผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวย
การควบคู่ไปกับความรับผิดชอบตามรายการที่กล่าวมาในประเภทของการปฏิบัติการทางทหาร
อื่น ๆ ด้วยเช่นกัน ผู้บังคับบัญชาจัดท�ำค�ำสั่งการอ�ำนวยการตลอดการปฏิบัติการลวงทางทหาร
พวกเขาประกันว่าแผนการลวงทางทหาร และการปฏิบัติการปรับให้เข้ากันได้ตามความต้องการ
ทางกฎหมาย ข้อตกลงนานาชาติ และค�ำแนะน�ำต่าง ๆ นานาที่มาจากกองบัญชาการหน่วยเหนือ
๔-๘. กิจกรรมทางการข่าวกรองสนับสนุนการลวงทางทหาร การสนับสนุนทางการข่าวกรอง
ก่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในความล่อแหลม, ความเชื่อ, และการเข้าถึงของเป้าหมาย
ด้านการลวง มันยังก่อให้เกิดรายละเอียดจากมุมมองของฝ่ายตรงข้ามเพื่อสร้างความเชื่อทางด้าน
การลวงให้กับเป้าหมายทางด้านการลวง (Deception target) การสนับสนุนทางการข่าวกรอง
เฝ้าติดตามความหลากหลายของสิ่งบ่งชี้เพื่อก�ำหนดว่าฝ่ายตรงข้ามก�ำลังตอบโต้อย่างไรต่อการ
ลวงที่ได้รับการรวบรวมไว้ตามล�ำดับความต้องการข่าวกรองเร่งด่วน (priority intelligence
requirement: PIR)
ประเภทของการลวงทางทหาร (CATEGORIES OF MILITARY DECEPTION)
๔-๙. หลักนิยมการยุทธ์รว่ มก�ำหนดประเภทของการลวงทางทหารออกเป็นห้าประเภทในรูป ๔-๑
โครงสร้างหลักนิยมของกองทัพบกแบ่งประเภทการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตามลักษณะประเภท
ของการปฏิบัติการเพิ่มความสามารถ (Enabling operation) การลวงทางทหารเป็นองค์ประกอบ
ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 121

การแบ่งประเภท วัตถุประสงค์ ลักษณะพิเศษ


การลวงทางทหารระดับชั้น • ส่งผลในนโยบายและการปฏิบัติ • ด�ำเนินการโดย และในการสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ ด้านการทหารของฝ่ายตรงข้ามซึ่ง ของผู้บัญชาการทหารสูงสุด
สนับสนุนยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์
ทางการทหาร, นโยบาย และการ
ปฏิบัติของผู้ริเริ่ม
การลวงทางทหารระดับ • ด�ำเนินการโดยเหล่าทัพซึ่งเป็นการ
• ออกแบบเพื่อปกป้อง และส่งเสริม
ขีดความสามารถด้านการรบของ สนับสนุนจากเหล่าทัพให้กับการ
เหล่าทัพ ระบบ และกองก�ำลังเหล่าทัพ ปฏิบัติการร่วม
• จ�ำกัดในวงของความรู้สึก, บุคคล,
• ปกป้องก�ำลังพล, วัสดุ, อุปกรณ์
และปมระบบข้อมูลข่าวสารของ เป้าหมาย หรือปรากฏการณ์เพือ่ ลวง
อุปกรณ์การเฝ้าตรวจของฝ่าย
ก�ำลังรบฝ่ายเราจากการตรวจการณ์
และการเฝ้าตรวจโดยใช้วัสดุจาก ตรงข้าม หรือชักน�ำการประเมินค่า
ธรรมชาติหรือที่ประดิษฐ์ขึ้น ของฝ่ายตรงข้ามให้เกิดการผิดพลาด
• เป้าหมายมุ่งไปที่ระบบตรวจจับ
และระบบอาวุธ
• ใช้เพื่อการต่อต้านระบบต่าง ๆ
การลวงทางทหารระดับ • มีผลในการปฏิบตั ขิ องฝ่ายตรงข้าม • ด�ำเนินการในยุทธบริเวณของ
มักจะท�ำตามการปฏิบัติการ และ สงครามเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั กิ าร
ยุทธการ วัตถุประสงค์ของผู้ริเริ่ม ในการทัพ และการยุทธ์หลัก
• ส�ำหรับกองก�ำลัง ทบ. เป็นการแบ่ง
ล�ำดับชั้นในการปฏิบัติการลวงทาง
ทหารของเหล่าทัพ
การลวงทางทหารระดับ • ส่งผลต่อผู้บังคับบัญชาของฝ่าย • เป้าหมายมุง่ ทีผ่ ทู้ ที่ ำ� หน้าทีต่ กลงใจ
ยุทธวิธี ตรงข้ามให้กระท�ำในลักษณะอาการ ในระดับหน่วยบัญชาการต่าง ๆ
ซึง่ สนับสนุนวัตถุประสงค์ทางยุทธวิธี • สนับสนุนการรบ และการรบปะทะ
ของประเทศ • สนธิเข้ากับแนวความคิดในการปฏิบตั ิ
• ส�ำหรับกองก�ำลัง ทบ. เป็นการแบ่ง • ต้องการการวางแผนที่มีผลย้อนกลับ
ล�ำดับชั้นในการปฏิบัติการลวงทาง • การติดตาม และการควบคุมเป็น
ทหารของเหล่าทัพ แบบรวมการ
• ลดประสิทธิภาพขีดความสามารถ • เป้าหมายมุ่งเน้นพันธกิจด้านการ
ของฝ่ายตรงข้ามในการมองเห็น ข่าวกรองของฝ่ายตรงข้าม
ความล่อแหลมด้านการ รปภ.ปบ. • ใช้ในการต่อด้านรูปแบบทั้งมวล
การลวงทางทหารในการ ของการปฏิบัติการ ขฝล.
สนับสนุนของการ รปภ.ปบ. • สนับสนุนการพิทักษ์ก�ำลังรบ
• ได้มาจากแนวความคิดในการปฏิบัติ
• ไม่ต้องการผลย้อนกลับเสมอไป
• แยกการปฏิบัติและการควบคุม
รูปที่ ๔-๑ การแบ่งประเภทการปฏิบัติการลวงทางทหาร
122 บทที่ ๔

๔-๑๐. หลักนิยมของกองทัพบกพิจารณาการลวงทางทหารระดับยุทธการและยุทธวิธีว่าเป็น
ส่วนหนึง่ ของการลวงทางทหารระดับเหล่าทัพ (Service MD operations) จากมุมมองของกอง
บัญชาการยุทธ์ร่วม กองก�ำลังทัพบกด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหารระดับเหล่าทัพ (Service
MD operations) จากมุมมองของกองก�ำลังทัพบก การวางแผนตามล�ำดับชั้นเกี่ยวกับการปฏิบัติ
การลวงทางทหารก�ำหนดประเภทของมันว่าคือ กองทัพภาค และหน่วยบัญชาการที่เหนือกว่า
ขึ้นไปด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหารระดับยุทธการ กองพล และกองบัญชาการที่ต�่ำกว่า
ด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารระดับยุทธวิธี กองก�ำลังทัพบกไม่วางแผนการปฏิบตั กิ ารลวง
ทางยุทธศาสตร์ (strategic MD operations) อย่างไรก็ตามกองก�ำลังทัพบกอาจจะเข้าร่วมใน
ปฏิบัติการเหล่านั้น
หลักพื้นฐานของการลวงทางทหาร (PRINCIPLES OF MILITARY DECEPTION)
๔-๑๑. หลักการพื้นฐานในเรื่องของการลวงทางทหารต่อไปนี้ สนับสนุนความส�ำเร็จในการปฏิบัติ
การลวงทางทหาร การน�ำการลวงทางทหารไปใช้อย่างสม�่ำเสมอและสร้างสรรค์ส่งเสริมความน่า
เชื่อถือเรื่องของการลวง และเพิ่มโอกาสในความส�ำเร็จ อย่างไรก็ตาม การลวงทางทหารไม่ได้เป็น
รายการตรวจสอบว่าพวกมันรับประกันความส�ำเร็จเสมอไป ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการใช้
วิจารณญาณในการน�ำการลวงทางทหารไปใช้ให้เกิดประโยชน์
เพ่งเล็งต่อเป้าหมาย (FOCUS ON THE TARGET)
๔-๑๒. การปฏิบัติการลวงทางทหารเพ่งเล็งต่อเป้าหมายในการลวง (deception target)
เป้าหมายในการลวง คือผูม้ หี น้าทีใ่ นการตกลงใจของฝ่ายตรงข้าม ด้วยอ�ำนาจหน้าทีใ่ นการตกลง
ใจซึง่ จะบรรลุวตั ถุประสงค์ของการลวง (ดูคำ� นิยามของวัตถุประสงค์ในการลวงในย่อหน้า ๔-๑๕)
ตัวอย่างเช่น การปฏิบัติการลวงทางทหารก�ำหนดขึ้นเพื่อการรั้งหน่วงการเคลื่อนย้ายของกองหนุน
ฝ่ายตรงข้ามจะมุ่งเป้าหมายไปที่ผู้บังคับบัญชาผู้ซึ่งสามารถจะท�ำการตกลงใจสั่งใช้กองหนุนนั้น
ระบบข่าวกรองของฝ่ายตรงข้ามเป็นช่องทางส�ำหรับการรับเอาเรื่องราวทางการลวง (deception
story) ไปสู่เป้าหมายในการลวง ปกติมันไม่เป็นเป้าหมายได้ด้วยตัวมันเอง
หลักการพื้นฐานของการลวงทางทหาร
๔-๑๒.๑ มุ่งเน้นต่อเป้าหมาย
๔-๑๒.๒ เป็นเหตุให้เป้าหมายท�ำการปฏิบัติ
๔-๑๒.๓ ควบคุมแบบรวมการ
๔-๑๒.๔ ใช้อย่างหลากหลาย
๔-๑๒.๕ เข้มงวดในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๔-๑๒.๖ ลดความผิดพลาด/มีอิทธิพลทางความจริง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 123

๔-๑๒.๗ ประกันในเรื่องของเวลา
๔-๑๒.๘ ประกันในการผสมผสาน
๔-๑๒.๙ ขยายผลต่อเป้าหมายที่เอนเอียง
๔-๑๒.๑๐ หลีกเลี่ยงผลตกค้าง
๔-๑๒.๑๑ ใช้ช่องว่างให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ
๔-๑๒.๑๒ ท�ำในความสามารถและทรัพยากรที่มีอยู่

เป็นเหตุให้เป้าหมายท�ำการปฏิบัติ (CAUSE TARGET TO ACT)


๔-๑๔. การปฏิบัติการลวงทางทหารที่มีประสิทธิภาพชักน�ำเป้าหมายการลวงไปสู่การลงมือ
(หรือไม่ลงมือ) กระท�ำการเฉพาะซึง่ เป็นไปตามทีก่ ารปฏิบตั กิ ารของฝ่ายเราต้องการ สถานการณ์
ซึ่งผู้บังคับบัญชาต้องการที่จะสร้างขึ้นโดยการปฏิบัติการเหล่านี้คือวัตถุประสงค์ในการลวง
(Deception objective)
๔-๑๕. วัตถุประสงค์ในการลวง เป็นความต้องการผลลัพธ์ของการปฏิบัติการลวง ซึ่งก�ำหนด
ออกมาในรูปของอะไรที่ฝ่ายตรงข้ามจะกระท�ำหรือไม่กระท�ำ ณ เวลาและ/หรือสถานที่วิกฤติ
วัตถุประสงค์ในการลวงแถลงถึงผลสุดท้าย (End state) ของการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร บ่อยครัง้ ที่
การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารต้องการทรัพยากรอย่างมากมายมหาศาลซึง่ จะเป็นการน�ำมาใช้โดยตรง
ต่อฝ่ายตรงข้าม หรือไม่เป็นเช่นนั้น ต่อจากนั้นผู้บังคับบัญชาสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับวัตถุประสงค์
ในการลวงในรูปของการสนับสนุนเฉพาะของการลวงเพื่อบรรลุภารกิจ การปฏิบัติการลวงทาง
ทหารใด ๆ ก็ตามควรจะสร้างความได้เปรียบที่น�ำไปขยายผล ณ เวลาและพื้นที่เฉพาะเจาะจงได้
วัตถุประสงค์ในการลวงคือข้อความที่เป็นเสมือนผลลัพธ์ในทางบวก ตัวอย่างเช่น
๔-๑๕.๑ เพิม่ ก�ำลังรบของฝ่ายเราสัมพันธ์กบั อ�ำนาจก�ำลังรบ ณ จุดแตกหัก (decisive point)
๔-๑๕.๒ ท�ำให้เกิดเวลาส�ำหรับก�ำลังรบฝ่ายเราที่เข้าสู่กิจกรรมต่าง ๆ โดยไม่มีการปกปิด
๔-๑๕.๓ ได้และขยายผลในการจู่โจม
๔-๑๕.๔ พิทักษ์ขีดความสามารถ และเจตนารมณ์ของฝ่ายเราจากการตกอยู่ในอันตราย
๔-๑๕.๕ บรรลุความได้เปรียบอย่างเฉพาะเจาะจงในช่วงจังหวะเวลาทางยุทธการ
๔-๑๕.๖ ช่วยให้ก�ำลังรบสามารถไปถึงวัตถุประสงค์ดว้ ยการต่อต้าน หรือการใช้ทรัพยากร
น้อยที่สุด
124 บทที่ ๔

๔-๑๖. ถ้าหากวัตถุประสงค์ดา้ นการลวงจัดท�ำเป็นข้อความในรูปแบบการสนับสนุนของด้านการลวง


เพือ่ การบรรลุภารกิจ กลุม่ ท�ำงานทางด้านการลวง๒ (deception working group: DWG) (ดูยอ่ หน้า
๔-๕๗) ท�ำการกลัน่ กรองแก้ไขข้อความดังกล่าวให้เป็นวัตถุประสงค์รองด้านการลวง (subordinate
deception objective) หนึง่ หรือมากกว่า วัตถุประสงค์รองด้านการลวงเป็นข้อความทีส่ ร้างขึน้ ใหม่
ของวัตถุประสงค์ดา้ นการลวง (deception objective) ในรูปแบบซึง่ สะท้อนจุดของมุมมองของ
เป้าหมายการลวง ข้อความวัตถุประสงค์รองด้านการลวงคือ การกระท�ำใด ๆ ก็ตามที่การลวงจะ
น�ำพาเป้าหมายให้กระท�ำหรือไม่กระท�ำ การใช้ถ้อยค�ำอย่างเหมาะสมของวัตถุประสงค์รองด้าน
การลวงสามารถน�ำไปใช้เป็นความต้องการข่าวสารด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร หรือค�ำร้องขอ
ข้อมูลข่าวสาร (request for information: RFIs) รูปที่ ๔-๒ แสดงถึงตัวอย่างของวัตถุประสงค์
ด้านการลวงที่ได้รับการสนับสนุนโดยวัตถุประสงค์รองด้านการลวง
วัตถุประสงค์ด้านการลวง วัตถุประสงค์ด้านการลวงของหน่วยรอง
(ก�ำหนดในข้อความได้เปรียบด้านการลวงทางทหาร (ก�ำหนดในข้อความที่ว่าอะไรที่การปฏิบัติการลวงทางทหาร
ที่จะให้แก่ก�ำลังรบ) จะชักน�ำฝ่ายตรงข้ามให้กระท�ำอะไร)
การลวงนี้จะ__ ฝ่ายตรงข้ามของเราจะ__
ปรับปรุงอ�ำนาจก�ำลังรบเปรียบเทียบของเราใน • ปรับการวางก�ำลังกองหนุนของพวกเขาในพื้นที่ที่ไม่
พื้นที่ที่ก�ำหนด ถูกต้องใหม่
• ใช้ก�ำลังรบหลักของพวกเขาในพื้นที่ที่ไม่ถูกต้อง
• รั้งหน่วงการใช้ก�ำลังกองหนุนของพวกเขา
• พวกเขาถอนตัวออกไป
การลวงนี้จะ__ ฝ่ายตรงข้ามของเราจะ__
ท�ำให้มีห้วงเวลาส�ำหรับการเตรียมการตั้งรับ • ด�ำเนินการลาดตระเวนเพิ่มเติม
• รอเวลาการเข้าตีของพวกเขาเพื่อคอยการเพิ่มเติม
ก�ำลัง
• เตรียมการปฏิบัติการตั้งรับ
• วางก�ำลังรบของพวกเขาใหม่ ในพื้นที่คุกคาม
การลวงนี้จะ__ • เป้าหมายมุ่งที่ผู้ที่ท�ำหน้าที่ตกลงใจในระดับหน่วย
ท�ำให้มีการปกปิดในการถอนตัวของก�ำลังฝ่ายเรา ฝ่ายตรงข้ามของเราจะ__
• ไม่กดดันการเข้าตี หรือไล่ติดตามของก�ำลังฝ่ายเรา
• วางก�ำลังรบของพวกเขาใหม่ ในพื้นที่คุกคาม
รูปที่ ๔-๒ ความสัมพันธ์ของวัตถุประสงค์ด้านการลวงของหน่วยรองกับวัตถุประสงค์ด้านการลวง


กลุม่ ท�ำงานด้านการลวงเป็นการจัดหน่วยงานด้านการลวงซึง่ ไม่มอี ยูใ่ นอัตราของ ทบ.ไทย ดังนัน้ เพือ่ ให้การปฏิบตั ิ
ด้านการลวงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทบ.ควรประยุกต์หลักการดังกล่าวโดยการจัดให้มีหน่วยงานเฉพาะกิจนี้
ขึ้นในหน่วยระดับกองพลขึ้นไปเพื่อรองรับงานในด้านนี้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 125

๔-๑๗. วัตถุประสงค์หน่วยรองสามารถน�ำมาใช้ได้หลายรูปแบบ อย่างไรก็ตาม ทุก ๆ ข้อความ


อยู่ในเทอมของการสร้างมูลเหตุให้ฝ่ายตรงข้ามกระท�ำบางสิ่งบางอย่าง ยกตัวอย่างเช่น
๔-๑๗.๑ หน่วงเหนี่ยวการตัดสินใจไว้จนกระทั่งสายเกินไปที่จะกระทบต่อการปฏิบัติของ
ฝ่ายเรา
๔-๑๗.๒ เลือกหรือไม่เลือกหนทางปฏิบัติอย่างเฉพาะเจาะจง
๔-๑๗.๓ ใช้หรือจัดวางก�ำลังของพวกเขาในวิถีทางซึ่งท�ำให้พวกเขาล่อแหลมต่อการเข้าตี
ของฝ่ายเรา
๔-๑๗.๔ เปิดเผยความแข็งแกร่ง, การเปลี่ยนย้ายที่ตั้ง, ขีดความสามารถ, และความตั้งใจ
โดยใช้ก�ำลังก่อนก�ำหนด
๔-๑๗.๕ ไม่ตอบโต้ต่อการปฏิบัติการของฝ่ายเรา (เนื่องจากว่าเป็นเงื่อนไขที่วางไว้ใน
รูปแบบของพฤติกรรมฝ่ายเรา)
๔-๑๗.๖ สูญเสียอ�ำนาจก�ำลังรบด้วยการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสม หรือการปฏิบัติที่ชักช้า
๔-๑๗.๗ ระงับการใช้ก�ำลังรบจ�ำนวนมากไว้เพื่อใช้ส�ำหรับสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
๔-๑๗.๘ เปลี่ยนความพยายามของพวกเขาไปจากการปฏิบัติการแตกหักของฝ่ายเรา
๔-๑๘. ส�ำหรับเป้าหมายในการลวงการที่จะท�ำให้เชื่อบางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับสถานการณ์
นั้นมันยังไม่เพียงพอ ส�ำหรับความส�ำเร็จต้องการเป้าหมายให้กระท�ำการบนความเชื่อเหล่านั้น
ผู้บังคับบัญชาทั้งของฝ่ายเรา และฝ่ายข้าศึก กระท�ำการบนพื้นฐานความเข้าใจสถานการณ์ของ
พวกเขา พวกเขาจะมาถึงยังความเข้าใจในสถานการณ์ของพวกเขาในส่วนนั้นได้โดย การน�ำ
วิจารณญาณไปใช้ในการตอบปัญหาความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา (Com-
mander’s critical information requirement: CCIR) (ดู รส. ๖-๐) การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร
ที่มีประสิทธิภาพแทนที่ความเข้าใจสถานการณ์โดยนิยามค�ำว่าการรับรู้ตามที่ต้องการ (desired
perceptions) (ดูนิยาม ย่อหน้า ๔-๓๖) ส�ำหรับค�ำตอบที่เป็นจริงนั้นในความต้องการข้อมูล
ข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา ท�ำให้เกิดข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาดเกี่ยวกับประเด็นแง่มุม
ของสถานการณ์อันท�ำให้เป้าหมายท�ำการตกลงใจ
ควบคุมแบบรวมการ (CENTRALIZE CONTROL)
๔-๑๙. ผูบ้ งั คับบัญชาเพียงผูเ้ ดียวเท่านัน้ ทีม่ คี วามรับผิดชอบในการควบคุมการปฏิบตั กิ ารลวง
ทางทหาร นายทหารการลวงทางทหาร๓ (Military deception officer: MDO) เป็นฝ่ายอ�ำนวย

นายทหารปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารไม่มอี ยูใ่ นอัตราของ ทบ.ไทย อย่างไรก็ตาม ในการปฏิบตั กิ ารทางทหารควรมี
การมอบหมายให้นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการคนหนึ่งท�ำหน้าที่ดังกล่าว และในอนาคตข้างหน้าอาจมีการก�ำหนด
อัตราดังกล่าวไว้ในหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์
126 บทที่ ๔

การพิเศษที่รับผิดชอบในการลวงทางทหาร เป็นหนึ่งในสมาชิกของส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และสนับสนุนนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูผนวก ฉ) บนพื้นฐานของการให้ข้อเสนอแนะ
จากนายทหารการลวงทางทหาร นายทหารยุทธการสนธิการลวงทางทหารเข้าไว้ในการปฏิบัติการ
การกระท�ำดังกล่าวนี้เป็นการประกันว่าการปฏิบัติการลวงทางทหารจะได้รับการกระจายไปยังผู้ที่
มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดให้ด�ำเนินการปฏิบัติการตามแผนการเดียวกัน
ใช้อย่างหลากหลาย (EMPLOY VARIETY)
๔-๒๐. เรื่องลวง (deception story) เป็นภาพเหตุการณ์ซึ่งเป็นเค้าโครงการปฏิบัติของฝ่าย
เราว่าจะได้รับการแสดงถ่ายทอดออกมาจนเป็นมูลเหตุให้เป้าหมายในการลวง (deception
target) ยอมรับการกระท�ำจนเป็นการรับรู้ตามที่ต้องการของฝ่ายเรา (desired perception)
มันเป็นการจัดท�ำรายละเอียด และการขยายผลรายละเอียดนัน้ อย่างเป็นระบบในเรือ่ งของการรับรู้
ตลอดจนสิ่งบ่งชี้ (สิ่งบอกเหตุ) ต่าง ๆ เข้าไว้ในค�ำบรรยายที่สมบูรณ์ การรับรู้เป็นภาพทางความคิด
ซึ่งผู้บังคับบัญชาต้องการให้เป้าหมายในการลวงเชื่อว่าเป็นความจริง สิ่งบ่งชี้ (indicator) ในการ
ใช้ข่าวกรอง (หรือสิ่งบอกเหตุ) เป็นรายการของข้อมูลข่าวสารซึ่งสะท้อนเจตนารมณ์ หรือขีดความ
สามารถของข้าศึกที่เป็นไปได้ในการยอมรับหรือปฏิเสธหนทางปฏิบัติ
๔-๒๑. สิง่ บ่งชี้ หรือสิง่ บอกเหตุในการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารสะท้อนเจตนารมณ์หรือขีดความ
สามารถซึ่งผู้บังคับบัญชากองก�ำลังฝ่ายเราไม่มี ระบบการข่าวกรองฝ่ายตรงข้ามอาจจะมองข้าม
หรือไม่ให้ความสนใจสิง่ บอกเหตุตา่ ง ๆ ทีจ่ ำ� เป็นต่อเรือ่ งลวง ถ้าหากสิง่ บ่งชีด้ งั กล่าวถูกถ่ายทอดโดย
แหล่งข่าวเพียงแห่งเดียว เป้าหมายในการลวงควรจะรับเอาสิ่งบ่งชี้ หรือสิ่งบอกเหตุทั้งปวงเข้าไว้
ทัง้ ทีเ่ ป็นจริงและเท็จ จากแหล่งข่าวอันหลากหลาย สถานการณ์เช่นนีใ้ ห้ความน่าเชือ่ ถือต่อเรือ่ งลวง
อ�ำนวยให้ “เห็นดีเห็นงามไปตามมัน” และท�ำให้เป้าหมายมีโอกาสมากยิ่งขึ้นที่จะด่วนสรุปว่า
การลวงดังกล่าวนั้นเป็นเรื่องจริง อย่างไรก็ตาม ถ้าสิ่งบอกเหตุเป็นเรื่องง่าย ๆ ธรรมดา ๆ ในการ
รับรู้หรือถ้าเป้าหมายมีความสงสัยต่อแหล่งข่าว การระแวดระวังดังกล่าวนี้อาจจะเกิดข้อพิรุธขึ้น
อันเป็นเหตุให้การลวงนั้นตกอยู่ในอันตราย
๔-๒๒. การปฏิบัติของฝ่ายเราซึ่งเค้าโครงเรื่องลวง (Deception story outlines) คือเหตุการณ์
ลวง (deception events) เหตุการณ์ลวง เป็นเครื่องมือในการลวงที่ปฏิบัติ ณ เวลาและสถานที่
จ�ำเพาะเจาะจงในการสนับสนุนต่อการปฏิบัติการลวง (deception operation) สิ่งบอกเหตุ
บ่งบอกลักษณะโดยเครื่องมือในการลวง
๔-๒๓. วิธีการในการลวง (Deception means) เป็นวิธี, ทรัพยากร, และเทคนิคต่าง ๆ ซึ่ง
สามารถน�ำมาใช้ต่อเป้าหมายในการลวง เพื่อเบี่ยงเบนข้อมูลข่าวสาร เครื่องมือในการลวง
ใช้ได้สามวิธีได้แก่ วิธีการทางกายภาพ, ทางเทคนิค, และทางการบริหารงาน ขณะที่วัตถุประสงค์,
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 127

เป้าหมาย และทรัพยากรที่มีอยู่ล้วนแตกต่างกันไปในแต่ละระดับหน่วยบัญชาการ แต่วิธีการ


พื้นฐานด้านการลวงล้วนเหมือนกัน
๔-๒๔. วิธีการทางกายภาพ (Physical means) เป็นกิจกรรมและทรัพยากรต่าง ๆ ที่น�ำมาใช้
เพือ่ หันเหหรือปฏิเสธข้อมูลข่าวสารทีเ่ ลือกแล้วต่อพลังอ�ำนาจของต่างชาติ๔ วิธกี ารทางกายภาพ
น�ำเสนอสิ่งบอกเหตุที่มองเห็นได้ผ่านทางกิจกรรมการปฏิบัติต่าง ๆ ทางกายภาพของกองก�ำลังที่
มองเห็นได้ ขีดความสามารถด้านการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวนทางภาคพื้นดิน,
ทางอากาศ, และทางอวกาศน�ำเสนอแนวทางส�ำคัญส�ำหรับการแสดงให้เห็นเรื่องลวง วิธีการทาง
กายภาพก่อให้เกิดสิ่งบอกเหตุซึ่งระบบการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ, การลาดตระเวนได้รายงานไป
วิธีการทางกายภาพรวมถึง
๔-๒๔.๑ การปฏิบัติการของหน่วยลาดตระเวน
๔-๒๔.๒ ความพร้อมรบ และการเคลื่อนย้ายก�ำลังรบ
๔-๒๔.๓ กิจกรรมทางด้าน การฝึก, การทดสอบ, การประเมินค่า และการซักซ้อม
๔-๒๔.๔ ยุทโธปกรณ์, เครื่องไม้เครื่องมือ และการแสดงอันเป็นที่หลอกตาและใช้ในการ
ล่อลวง (dummy and decoy)๕
๔-๒๔.๕ การใช้ควันและการปกปิดก�ำบัง๖
๔-๒๔.๖ การส่งก�ำลังบ�ำรุง, การสะสมสิ่งอุปกรณ์ และการซ่อมบ�ำรุง
๔-๒๔.๗ การเข้าตีลวง, การแสดงลวง และเล่ห์เหลี่ยม๗
๔-๒๔.๘ สิง่ บอกเหตุดา้ นเสียง ซึง่ สร้างให้เกิดเสียงใหม่ ๆ เกีย่ วกับกิจกรรมทางด้านการทหาร
(อย่างเช่นเสียงที่ได้ส่งไปยังเครื่องมือตรวจจับเสียงระยะไกลของฝ่ายตรงข้าม
และหูของมนุษย์ เสียงสามารถเป็นได้ทงั้ เสียงจริงหรือจ�ำลองขึน้ มา แผนการลวง
อาจจะต้องการให้ฝ่ายตรงข้ามไม่ได้ยินเสียงที่ถูกต้อง อย่างเช่นในความต้องการ
เบื้องต้นเกี่ยวกับความเข้มงวดของวินัยทางด้านเสียง)
๔-๒๔.๙ สิง่ บอกเหตุทางด้านการดมกลิน่ ซึง่ กลิน่ ทีเ่ กิดขึน้ ในสนามรบท�ำการลวงต่อมนุษย์
และเครื่องตรวจจับทางเทคนิค (ตัวอย่างเช่นมาตรการลวงทางด้านการดมกลิ่น
เป็นปัจจัยชี้วัดในเรื่องของการใช้กลิ่นทั่วไปต่อหน่วยทหารและการปฏิบัติการ
ต่าง ๆ อย่างเช่น กลิ่นนั้นคืออาหาร, วัตถุระเบิด และน�้ำมันปิโตรเลียม เป็นต้น)


ในการน�ำนิยามนี้ไปใช้ในระดับยุทธการและยุทธวิธี กองทัพบกพิจารณามหาอ�ำนาจต่างชาติมีความหมายเป็น
เป้าหมายในการลวง

ดู FM 20-3

ดู FM 3-50

ดู FM 3-90
128 บทที่ ๔

๔-๒๕. วิธีการทางเทคนิค (technical means) คือทรัพยากรที่เป็นวัตถุทางการทหารและมี


ความเกี่ยวข้องในการปฏิบัติการทางเทคนิคใช้เพื่อเบี่ยงเบนหักเหหรือปิดบังอ�ำพรางข้อมูล
ข่าวสารที่เลือกไว้แล้วให้กับเป้าหมายในการลวงผ่านทางการแพร่กระจายคลื่นอย่างสมบูรณ์,
การแพร่กระจายคลื่นใหม่, การผันแปร, การดูดซับ, หรือการสะท้อนพลังงาน การแพร่กระจาย
หรือการปิดบังอ�ำพรางกลิ่นทางเคมีหรือชีวะภาพ และการแพร่กระจายหรือการปิดบังอ�ำพราง
วัสดุอนุภาคทางนิวเคลียร์ (เพื่อประยุกต์นิยามนี้ในการสงครามทั้งในระดับยุทธการและยุทธวิธี
กองทัพบกพิจารณาพลังอ�ำนาจของต่างชาติในความหมายเป็นเป้าหมายในการลวง) การลวงทาง
แม่เหล็กไฟฟ้าเป็นวิธีการทางเทคนิคที่ส�ำคัญ การลวงทางแม่เหล็กไฟฟ้ารวมถึง
๔-๒๕.๑ การปฏิบตั กิ ารลวงด้วยการโยกย้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (manipulative electronic
deception actions) เพื่อก�ำจัดการเปิดเผยหรือการน�ำพาไปสู่ความผิดพลาด
ในสิ่งบอกเหตุทางแม่เหล็กไฟฟ้า
๔-๒๕.๒ การปฏิบัติการลวงด้วยการจ�ำลองทางอิเล็กทรอนิกส์ (simulative electronic
deception actions) เพื่อจ�ำลองขีดความสามารถของฝ่ายเรา, ความคิดความ
เข้าใจ หรือขีดความสามารถที่แท้จริงในการน�ำกองก�ำลังฝ่ายตรงข้ามไปสู่ความ
ผิดพลาด
๔-๒๕.๓ การลวงด้วยการเลียนแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการน�ำเสนอพลังงานแม่เหล็ก
ไฟฟ้าไปสู่ระบบของฝ่ายตรงข้ามซึ่งเลียนแบบการแพร่กระจายคลื่นของฝ่าย
ตรงข้าม
๔-๒๖. ด้วยการที่มีเครื่องตรวจจับหลายย่านความถี่แบบทันสมัย (advanced multispectral
sensors) ที่ติดตั้งบนอากาศยานและฐานในอวกาศ การลวงทางแม่เหล็กไฟฟ้าก�ำลังเติบโตขึ้น
เรื่อย ๆ ด้วยความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์พื้นฐานของมันคือการ
หลอกลวง ปลอมแปลง หรือบิดเบือนสัญญาณทางแม่เหล็กไฟฟ้าที่รับได้โดยเครื่องตรวจจับของ
ฝ่ายตรงข้ามที่ไม่ได้มีการดัดแปลง (การลวงทางแม่เหล็กไฟฟ้ายังเป็นวิธีการในเรื่องของการโจมตี
ทางอิเล็กทรอนิกส์อีกด้วย ดูบทที่ ๑)๘
๔-๒๗. วิธีการทางการบริหารจัดการ (Administrative means) คือ ทรัพยากร, วิธีการ และ
เทคนิค ในการเบีย่ งเบน หรือปิดบังอ�ำพราง ทางวาจา, ทางการภาพ, เอกสาร หรือพยานหลักฐาน
ต่าง ๆ ทางกายภาพต่อเป้าหมายในการลวง (ในการน�ำไปใช้ตามค�ำนิยามนี้ต่อการสงครามระดับ

จุดประสงค์ของย่อหน้านีเ้ พือ่ ต้องการให้ทราบถึงขีดความสามารถของเทคโนโลยีสมัยใหม่ทมี่ ผี ลต่อการน�ำมาใช้
ในการลวงเท่านั้น ในอนาคตการท�ำสงครามทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ทบ.ไทยอาจจะมีการพัฒนาไปถึงขั้นดังกล่าว
ได้ดังนั้นจึงน�ำเสนอให้เป็นแนวทางในการศึกษาเบื้องต้น
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 129

ยุทธการ, ยุทธวิธี กองทัพบกพิจารณาว่าพลังอ�ำนาจต่างชาติมคี วามหมายเป็นเป้าหมายในการลวง)


ตัวอย่างของวิธีการทางการบริหารจัดการคือ การซุกซ่อนวัตถุขนาดใหญ่เอาไว้
๔-๒๘. วิธีการที่ดีที่สุดในการท�ำให้เป้าหมายในการลวงเกิดความเชื่อความจริงในเรื่องลวงคือ
การท�ำให้สิ่งบอกเหตุต่าง ๆ เกิดขึ้นในวิธีการที่แตกต่างกันอย่างหลากหลาย แต่ละวิธีได้รับการ
สนับสนุนโดยองค์ประกอบของความจริงในลักษณะที่แตกต่างกัน ที่ใดก็ตามที่เป้าหมายกลับตัว
ได้ เป้าหมายนั้นต้องได้รับข่าวสารซึ่งยืนยันความคิดที่มีอยู่ก่อนหน้านั้น ซึ่งท�ำให้ส่วนใด ๆ ก็ตาม
ของเรื่องลวงนั้นดูเหมือนน่าจะมีความเชื่อถือได้ วิธีการที่ดีที่สุดในการประกันให้เรื่องราวต่าง ๆ
นั้นมีความน่าเชื่อถือต่อเป้าหมายคือการน�ำเสนอความจริงเฉพาะอย่างมากมายในวิธีการซึ่งยืนยัน
แนวความคิดของเป้าหมายที่มีมาก่อนวงหน้าแล้ว
การบังคับอย่างเข้มงวดต่อการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (ENFORCE STRICT
OPERATIONS SECURITY)
๔-๒๙. การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารทีป่ ระสบความส�ำเร็จต้องการความเข้มงวดด้านการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการ (operations security: OPSEC) ฝ่ายตรงข้ามต้องถูกปิดบัง
ความรู้เรื่องราวของการปฏิบัติการลวงทางทหาร การพิทักษ์การปฏิบัติการลวงทางทหารต้องการ
การจ�ำกัดจ�ำนวนของตัวแสดงที่รับรู้ได้ (ตัวแสดงที่รับรู้ได้ : witting actor นั้นคือบุคคลที่มีส่วน
เกีย่ วข้องในการด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารเป็นผูซ้ งึ่ มีความตระหนักรูอ้ ย่างสมบูรณ์แบบ
ในข้อเท็จจริงการลวง) ฝ่ายอ�ำนวยการและผูบ้ งั คับบัญชาของหน่วยรองผูซ้ งึ่ ต้องการทีจ่ ะล่วงรูจ้ ะได้
รับการรายงานการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร เพือ่ ประกันว่าทัง้ ความลับ และความจริง ตัวแสดงทีไ่ ม่ควร
จะรับรู้จะได้รับงานตามที่เหตุการณ์ลวงได้แสดงไว้ (ตัวแสดงที่ไม่ควรรับรู้ คือบุคคลที่มีส่วน
เกี่ยวข้องในการด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหารโดยปราศจากความรู้ในส่วนตัวเกี่ยวกับ
ข้อเท็จจริงการลวง) ผู้บังคับบัญชาจ�ำกัดความรู้เรื่องของรายละเอียดในการปฏิบัติการลวงทาง
ทหารต่อบุคคลเหล่านั้นผู้ซึ่ง
๔-๒๙.๑ ท�ำให้เกิดผลย้อนกลับอย่างมีประสิทธิภาพ
๔-๒๙.๒ ควบคุมการปฏิบัติการ
๔-๒๙.๓ ด�ำรงรักษาความสมดุลระหว่างความเร่งด่วนในทางการยุทธ์
๔-๒๙.๔ ประเมินศักยภาพท�ำให้เกิดอันตรายโดยพลั้งเผลอไป
ลดความผิดพลาดให้เหลือน้อยที่สุด/ลบล้างความเป็นจริง
(MINIMIZE FALSEHOOD/LEVERAGE TRUTH)
๔-๓๐. แม้ว่าเรื่องลวงเป็นการใช้ข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาดหลอกลวงก็ตาม ในการจัดรูปแบบ
สภาวการณ์ในการรับรูข้ องเป้าหมายในการลวง อย่างน้อยทีส่ ดุ ควรมีความผิดพลาดพืน้ ฐาน และ
130 บทที่ ๔

มีความเสีย่ งต่ออันตรายน้อยกว่า แม้วา่ เมือ่ ใดก็ตามองค์ประกอบศูนย์กลางของเรือ่ งลวงเป็นสิง่ ทีผ่ ดิ


การครอบง�ำข้อมูลข่าวสารต้องท�ำให้เป้าหมายรับรูว้ า่ เป็นข้อเท็จจริงทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ การลวงควรจะ
ใช้ขอ้ มูลข่าวสารทีผ่ ดิ พลาดเท่าทีจ่ ำ� เป็นเท่านัน้ ต่อการสร้างการรับรูท้ ตี่ อ้ งการ และทีใ่ ห้การสนับสนุน
๔-๓๑. การปลดปล่อยข้อมูลข่าวสารที่เป็นจริงไปยังฝ่ายตรงข้ามเป็นการวิ่งสวนทางกับการ
รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ อย่างไรก็ตามมันอาจจะเป็นความจ�ำเป็นในการลดความ
ไม่แน่นอนต่าง ๆ ของเป้าหมายในการลวงเกี่ยวกับการให้ข้อสรุปบนพื้นฐานของข้อมูลข่าวสารที่
ผิดพลาดซึง่ เรือ่ งลวงน�ำพาไป ผลทีต่ ามมาความสมดุลทีล่ ะเอียดอ่อนต้องได้รบั การสร้างความส�ำเร็จ
ระหว่างความต้องการด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และความต้องการด้านการลวง
ทางทหาร การได้รับความน่าเชื่อถืออย่างยิ่งใหญ่ ณ ต้นทุนที่น้อยที่สุดในการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการต้องการการวางแผนอย่างช�ำนิช�ำนาญ
ท�ำให้เหมาะแก่กาลเทศะ (ENSURE TIMELINESS)
๔-๓๒. เวลาที่ต้องการในการด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหารต้องน้อยกว่าเวลาที่ต้องการ
ให้เป้าหมายในการลวงท�ำการตอบโต้ตอ่ การปฏิบตั นิ นั้ การประยุกต์หลักการนีต้ อ้ งการการปฏิบตั ิ
อยู่สองอย่าง คือ อย่างแรก ก�ำหนดเวลาว่าเป้าหมายใดที่ต้องกระท�ำ (หรือล้มเหลวที่จะกระท�ำ)
ถ้าหากก�ำลังรบฝ่ายเราท�ำการขยายผลในวัตถุประสงค์ของการลวง ต่อไปคือการวางแผนย้อนหลัง
ณ เวลาทีก่ ำ� ลังฝ่ายเราและฝ่ายตรงข้ามกระท�ำจากจุดนัน้ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประกัน
ว่าเวลาทีต่ อ้ งการในการด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารเหมาะสมกับเวลาทีม่ อี ยู่ บนพืน้ ฐานของ
ภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติ
ประกันถึงการผสมผสาน (ENSURE INTEGRATION)
๔-๓๓. การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารต้องได้รบั การสนธิเข้ากับการปฏิบตั กิ ารทัง้ มวลอย่างสมบูรณ์
แบบ การวางแผนการลวงทางทหารเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับการวางแผนการปฏิบัติการ การพัฒนาใน
เรื่องของแผนการลวงทางทหารเกิดขึ้นระหว่างการพัฒนา การเปรียบเทียบ และการอนุมัติหนทาง
ปฏิบัติซึ่งเป็นกิจต่าง ๆ ของการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร
ขยายผลจากความเอนเอียงของเป้าหมาย (EXPLOIT TARGET BIASES)
๔-๓๔. ผู้คนส่วนมากมีอคติต่อผลกระทบในการตัดสินใจของพวกเขา มีการตัดสินกันว่าความ
เอนเอียงของเป้าหมายสามารถเป็นอาวุธที่ทรงพลังอ�ำนาจมากที่สุดในอาวุธยิงของนักวาง
แผนการลวงทางทหาร อย่างไรก็ตามข้อมูลข่าวสารดังกล่าวไม่ได้มคี วามจ�ำเป็นต่อการวางแผนการ
ลวงทางทหารที่เลี้ยงตัวเองไว้ได้ด้วยการเตรียมการ เมื่อใดก็ตามที่ความเอนเอียงเฉพาะไม่เป็นที่
รับรู้ การวางแผนการลวงทางทหารสามารถเตรียมการโดยอาศัยความเอนเอียงของกลุ่มเชื้อชาติ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 131

หรือวัฒนธรรมของเป้าหมาย การรับรู้ถึงความเอนเอียงเหล่านี้ช่วยให้นักวางแผนด้านการลวงทาง
ทหารก�ำหนดการรับรูซ้ งึ่ จะน�ำเป้าหมายไปสูก่ ารปฏิบตั ิ และยังเป็นการท�ำให้รอ่ งรอยเงือ่ นไขปัญหา
เพิ่มขึ้น หรือลดความไม่แน่นอนของเป้าหมายไม่ว่าแบบไหน และเมื่อใดก็ตาม
๔-๓๕. การรับรู้และเข้าใจ (Perceptions) เป็นภาพทางความคิดซึ่งผู้บังคับบัญชาต้องการให้
เป้าหมายในการลวงเชื่อว่าเป็นความจริง ซึ่งรวมถึง ข้อสรุปส่วนบุคคล การประมาณการอย่าง
เป็นทางการ และสมมติฐานเกี่ยวกับเจตนารมณ์, ขีดความสามารถ และการปฏิบัติของฝ่ายเรา ซึ่ง
เป้าหมายใช้ในการจัดท�ำข้อตกลงใจ การรับรู้และเข้าใจมีอยู่ด้วยกันอยู่สองแบบคือ การรับรู้และ
เข้าใจอันเป็นทีต่ อ้ งการ และการรับรูแ้ ละเข้าใจทีใ่ ห้การสนับสนุน (desired and supporting)
๔-๓๖. การรับรูแ้ ละเข้าใจอันเป็นทีต่ อ้ งการ (Desired perceptions) คืออะไรก็ตามทีเ่ ป้าหมาย
ในการลวงต้องเชือ่ มันเพือ่ ท�ำการตกลงใจ ซึง่ จะท�ำให้บรรลุวตั ถุประสงค์ในการลวง ตัวอย่างเช่น
ถ้าหากวัตถุประสงค์ในการลวงคือ เพือ่ ให้เป้าหมายท�ำการสัง่ ใช้กำ� ลังเพิม่ เติมทางภาคพืน้ ดิน ไปเพือ่
ป้องกันชายฝัง่ ด้วยการใช้พนื้ ทีอ่ นื่ ๆ เป้าหมายต้องเชือ่ ว่ามีภยั คุกคามจากการปฏิบตั กิ ารสะเทินน�ำ้
สะเทินบกในขณะนั้นและก�ำลังที่ท�ำการป้องกันไม่สามารถรับมือกับก�ำลังที่คุกคามได้
๔-๓๗. การรับรู้และเข้าใจที่ให้การสนับสนุน (Supporting perceptions) เป็นมโนภาพซึ่ง
ส่งเสริมความน่าจะเป็นว่าเป้าหมายในการลวงจะมีรูปแบบเป็นไปตามการรับรู้และเข้าใจตาม
ที่ต้องการ และรับเอามโนภาพนั้นเป็นเสมือนเรื่องจริง การขยายความตัวอย่างข้างต้นคือ ถ้าหาก
เป้าหมายถูกชักน�ำไปสูก่ ารให้ขอ้ สรุปว่ากองก�ำลังฝ่ายเราพิจารณาว่าการเข้าตีทางภาคพืน้ ดินมีคา่ สูง
ยิ่งนัก มันจะเสริมสร้างความเชื่อมั่นในการรับรู้ และเข้าใจอันเป็นที่ต้องการซึ่งภัยคุกคามหลักนั้น
มาจากทางทะเล
๔-๓๘. รูปแบบของความไม่แน่นอน (Forms of uncertainty) เป็นเรือ่ งเกีย่ วข้องกับการลวง
ทางทหาร วิธีการในการจดรูปแบบ (shaping) การรับรู้และเข้าใจของเป้าหมายในการลวง
ความไม่แน่นอนที่เพิ่มขึ้นมีจุดมุ่งหมายในการสร้างความสับสนต่อเป้าหมายในการลวง ความไม่
แน่นอนที่ลดลงมีจุดมุ่งหมายในการที่จะเพิ่มเติมความเอนเอียงของเป้าหมายในการลวงให้มีมาก
ยิ่งขึ้น
๔-๓๙. ผู้มีอ�ำนาจในการตกลงใจ อาจถูกลวงได้เพราะว่าพวกเขาปฏิบัติการในสภาพแวดล้อม
ทีไ่ ม่แน่นอน ความไม่แน่นอนเกีย่ วกับสถานการณ์ และการไร้ความสามารถในการท�ำนายผลลัพธ์ที่
ถูกต้องท�ำให้ผู้บังคับบัญชาต้องยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ผู้บังคับบัญชาสามารถได้ประโยชน์จาก
ความไม่แน่นอนของเป้าหมายในการลวงหนึง่ ในสองวิธคี อื พวกเขาสามารถท�ำได้ทงั้ เพิม่ หรือลดมัน
132 บทที่ ๔

๔-๔๐. การเพิ่มความไม่แน่นอน (Increasing uncertainty) จุดมุ่งหมายคือการสร้างความ


สับสนต่อเป้าหมายในการลวง ความสับสนนี้สามารถสร้างผลลัพธ์ได้แตกต่างกัน อย่างเช่นมัน
สามารถเป็นมูลเหตุให้เป้าหมายลังเลในการตัดสินใจจนกระทั่งสายเกินไปที่จะป้องกันความส�ำเร็จ
ในภารกิจของฝ่ายเรา มันสามารถก�ำหนดสถานะของเป้าหมายให้อยู่ในอาการที่น่าเป็นห่วงว่าไม่มี
การแก้ปัญหาใดที่จะน�ำมาใช้ได้ และมันอาจจะลดแม้กระทั่งเป้าหมายบางเป้าหมายให้หยุดนิ่ง
ไม่ท�ำอะไรเลย
๔-๔๑. ลดความไม่แน่นอน (Reducing uncertainty) คือจุดมุ่งหมายในการเพิ่มทางเลือกใน
การปฏิบตั ขิ องเป้าหมายในการลวงซึง่ ให้ประโยชน์สงู สุดต่อกองก�ำลังทัพบก มันเป็นการแสวงหา
หนทางในการล้วงเอาความจริง หรือป้องกันหนทางปฏิบตั อิ ย่างเฉพาะเจาะจงของฝ่ายตรงข้ามโดย
การส่งข้อมูลข่าวสารมากพอให้แก่เป้าหมายเพื่อท�ำการยืนยัน ท�ำการตัดสินใจ แต่เป็นไปในทาง
ไม่ถูกต้อง
๔-๔๒. ในการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารทีป่ ระสบความส�ำเร็จ เป้าหมายในการลวงต้องเชือ่ เรือ่ งลวง
ทั้งในส่วนของมันเอง และทั้งหมด เรื่องที่ดีต้องแนบเนียนกับความเชื่อของเป้าหมายเกี่ยวกับ
ความเป็นจริง มันเป็นการง่ายที่จะท�ำให้เป้าหมายมีความเชื่อจากการลวงมากกว่าที่จะพยายาม
เปลีย่ นแปลงมัน ความเชือ่ ของเป้าหมายรวมถึงแนวความคิดทีม่ มี าแต่กอ่ นของพวกเขาในเรือ่ งของ
หลักนิยม, ยุทธศาสตร์, วัตถุประสงค์, และค่านิยม บ่อยครัง้ ทีค่ วามเชือ่ ทีม่ มี าแต่ไหนแต่ไรนีแ้ ตกต่าง
จากมุมมองที่ยึดถืออยู่ในตัวเอง
๔-๔๓. ตามกฎ เรื่องลวงไม่ควรจะเป็นเค้าโครงของความเป็นจริงซึ่งอาจจะท�ำให้เกิดความ
ประหลาดใจกับเป้าหมายในการลวงได้ ถ้าส่วนต่าง ๆ ของเรือ่ งราวไม่ได้เหมาะสมในแนวความคิด
ทีม่ มี าแต่ไหนแต่ไรของเป้าหมายแล้ว ส่วนต่าง ๆ นัน้ อาจจะท�ำให้เกิดเพียงความสงสัยให้กบั เรือ่ งลวง
ที่ปรากฏ ปกติผู้คนยอมรับข้อมูลข่าวสารซึ่งตรงกับความคิดที่มีมาแต่ไหนแต่ไรของพวกเขา ข้อมูล
ข่าวสารดังกล่าวต้องได้รับการหักล้างจากข้อพิสูจน์จึงจะกลายเป็นสิ่งที่ไม่มีประสิทธิภาพ ในทาง
ตรงกันข้าม องค์ประกอบซึ่งด�ำเนินไปในทางต่อต้านกับความคิดที่มีมาแต่ไหนแต่ไรของเป้าหมาย
จะต้องได้รับการพิสูจน์ความจริงก่อนที่เป้าหมายจะยอมรับมันได้ แม้เมื่อใดที่ชิ้นส่วนทั้งหมดของ
เรื่องมีความน่าเชื่อถือ ถ้าความพอเพียงของมันไม่ได้เหมาะสมกับแนวความคิดที่มีมาแต่ไหนแต่ไร
ของเป้าหมาย ประสิทธิภาพในองค์รวมของพวกมันอาจจะไม่สอดคล้องกับความเชื่อที่ปรากฏ
ของเป้าหมาย ในกรณีเช่นนี้เป้าหมายดูเหมือนว่าจะไม่รู้เรื่องราวในการลวง
๔-๔๔. การได้ประโยชน์จากความเอนเอียงขยายความได้เปรียบจากทางเลือกที่เป็นเหตุเป็น
ผลและทีเ่ ป็นทีต่ อ้ งการในตัวเองของเป้าหมายในการลวง ผูค้ นส่วนมากไม่ระมัดระวังในเรือ่ งของ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 133

อิทธิพลความโน้มเอียงที่อยู่ล�้ำลึกว่าเป็นอย่างไรต่อการรับรู้และการตัดสินใจของพวกเขา อิทธิพล
ของความเอนเอียงมีความแข็งแกร่งเป็นอย่างมาก ในหลาย ๆ ตัวอย่าง เป้าหมายอาจจะเชือ่ ในเรือ่ ง
ลวงที่มีการปรุงแต่งมาอย่างดีจนกระทั่งมันสายเกินไปที่จะท�ำการตอบโต้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แม้กระทั่งในการเผชิญหน้ากับพยานหลักฐานที่มีผลในทางตรงข้าม
๔-๔๕. ความเอนเอี ย งส่ ว นมากค่ อ นข้ า งจะสามารถน� ำ ไปขยายผลได้ เมื่ อ กลุ ่ ม ซึ่ ง ให้ ข ้ อ
เสนอแนะต่อเป้าหมายในการลวงมีความเอนเอียงร่วมกัน การขยายผลต่อความเอนเอียงนั้นใกล้
ทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จ อย่างไรก็ตามนักวางแผนการลวงทางทหารต้องไม่ตกอยูใ่ นกับดักของความ
เชื่อซึ่งเป้าหมายได้มีการรับรู้, ค่านิยม หรือรูปแบบทางความคิดร่วมกัน (ชาติพันธุ์ที่เป็นศูนย์กลาง :
ethnocentricity) ผู้คน และวัฒนธรรมล้วนมีความแตกต่าง นักวางแผนการลวงทางทหารต้อง
ให้ความระมัดระวังในความแตกต่างเหล่านี้
หลีกเลี่ยงผลตกค้าง (AVOID WINDFALLS)
๔-๔๖. ฝ่ายตรงข้ามทีเ่ ฉลียวฉลาดมีความสงสัยในสิง่ บอกเหตุซงึ่ ง่ายเกินไปทีจ่ ะยอมรับ สิง่ บอก
เหตุซึ่ง “ตกค้าง” ในมือของฝ่ายตรงข้ามต้องได้รับการน�ำเสนอเพื่อให้สภาพแวดล้อมที่ปรากฏขึ้น
นั้นเป็นที่น่าเชื่อถือ ช่วยให้เกิดความปลอดภัยต่อฝ่ายเรา มีวิธีการสองวิธีที่จะท�ำให้บรรลุถึงสิ่งนี้
ประการแรกคือ ความผิดพลาดที่ไม่ได้ตั้งใจ (unintentional mistake) ก�ำหนดเพื่อท�ำให้
เป้าหมายเชือ่ ว่าเขาได้รบั สิง่ บอกเหตุทเี่ กีย่ วกับความผิดพลาดหรือหลงหูหลงตาของฝ่ายเรา ประการ
ที่สองคือ โชคร้าย (bad luck) ก�ำหนดขึ้นเพื่อท�ำให้เป้าหมายเชื่อว่าเขาได้รับข้อมูลข่าวสารด้วย
เหตุผลมาจากแหล่งข้อมูลข่าวสารตกเป็นเหยื่อจากสภาพแวดล้อมที่ไม่อาจควบคุมได้
ใช้ช่องว่างอย่างมีประสิทธิภาพ (USE SPACE EFFECTIVELY)
๔-๔๗. ส�ำหรับเป้าหมายที่เชื่อเรื่องลวง มันต้องมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางด้าน
กายภาพและทางการยุทธ์ การลวงทางยุทธวิธีที่สนับสนุนเรื่องลวงต้องมีความสอดคล้องกับที่ว่า
เป้าหมายในการลวงคาดหวังไว้อย่างไรในการใช้ภมู ปิ ระเทศของฝ่ายเรา การวางก�ำลังรบในภูมภิ าค
ที่ไม่เหมาะสมกับการปฏิบัติการทางทหาร หรือการวางก�ำลังขนาดใหญ่ในพื้นที่ขนาดเล็กที่เป็นไป
ไม่ได้ถือเป็นเรื่องที่ไม่น่าเชื่อถือ
ท�ำงานอยู่ภายใต้ความสามารถและทรัพยากรที่มีอยู่
(WORK WITHIN AVAILABLE COMPETENCIES AND RESOURCES)
๔-๔๘. กลุม่ ท�ำงานด้านการลวง (DWG) (ดูยอ่ หน้า ๔-๕๗) ท�ำงานอยูภ่ ายในขีดความสามารถ,
ประสบการณ์ และความช�ำนาญในส่วนของตัวบุคคล และหน่วยที่มีอยู่เพื่อสนับสนุนการลวง
134 บทที่ ๔

ทางทหาร๙ อย่างไรก็ตาม ขีดความสามารถทางด้านการลวงสามารถท�ำการพัฒนาได้ด้วยการฝึก


เหมือนกับความช�ำนาญอื่น ๆ ที่สามารถท�ำได้ การฝึกทางด้านการลวงในเวลาปกติจะเพิ่มโอกาส
แห่งความส�ำเร็จในการลวงระหว่างการปฏิบัติการได้
๔-๔๙. การปฏิบัติการลวงทางทหารต้องการการจัดวางทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการลวง
ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ทรัพยากรที่วางลงไปในการปฏิบัติการลวงทางทหารต้องมีเพียงพอที่
จะบรรลุวัตถุประสงค์ของการใช้ทรัพยากรนั้น แนวความคิดในการปฏิบัติส�ำหรับการปฏิบัติการ
ลวงทางทหาร, วัตถุประสงค์ทางด้านการลวง (deception objective), และการสนับสนุนจาก
กองบัญชาการหน่วยเหนือก�ำหนดทรัพยากรที่ต้องการ ผู้บังคับบัญชาวางน�้ำหนักต้นทุนทาง
ทรัพยากรในเรื่องของการปฏิบัติการลวงทางทหาร และประกันว่าทรัพยากรที่เพียงพอได้รับการ
จัดการอย่างเป็นไปได้เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการลวงนั้น ด้วยตัวอย่างสามประการทั้งหมดที่ได้
แสดงในบทนี้ เป็นการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารทีป่ ระสบผลส�ำเร็จโดยการใช้ทรัพยากรพิเศษ อย่างไร
ก็ตามขึ้นอยู่กับแนวความคิดในการปฏิบัติส�ำหรับการปฏิบัติการลวงทางทหาร ทรัพยากรเหล่านี้
อาจจะมีไว้เพื่อใช้ในการปฏิบัติการในภาพรวมในเวลาต่อมา หน่วยบัญชาการกลางสหรัฐฯ๑๐
(United States Central Command’s: CENTCOM) ใช้กองก�ำลังนาวิกโยธินที่ ๔ และ
กองพลทหารม้าที่ ๑ ระหว่างปฏิบัติการพายุทะเลทรายในการแสดงให้เห็นสิ่งนี้
๔-๕๐. กองทัพภาคและกองบัญชาการหน่วยเหนือควบคุมทรัพยากรที่ต้องการในการด�ำเนินการ
ปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารระดับยุทธการ ปกติกองพลด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารระดับยุทธวิธี
อย่างไรก็ตาม กองพลอาจจะปฏิบัติการลวงทางทหารระดับยุทธวิธีในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของการ
ปฏิบัติการลวงทางทหารระดับยุทธการของกองทัพภาคได้
การลวงทางทหารในการด�ำเนินการปฏิบัติการต่าง ๆ
(MILITARY DECEPTION IN THE CONDUCT OF OPERATIONS)
๔-๕๑. แม้ว่าการได้มาซึ่งการจู่โจมอย่างสมบูรณ์แบบอาจจะเป็นไปไม่ได้ก็ตาม การลวงทางทหาร
สามารถที่จะน�ำไปใช้ในการปฏิบัติการรุก, รับ และเพื่อเสถียรภาพ การลวงทางทหารไม่ค่อยจะ
เหมาะสมมากนักในการปฏิบัติการสนับสนุน


กลุม่ ท�ำงานด้านการลวงอยูใ่ นการจัดฝ่ายกิจการพิเศษของ ทบ.สหรัฐฯ ในส่วนของ ทบ.ไทยไม่มกี ลุม่ คณะท�ำงาน
ในเรื่องดังกล่าว ดังนั้นเพื่อให้การปฏิบัติการลวงทางทหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทบ.ควรพิจารณาก�ำหนด
ให้มีคณะท�ำงานดังกล่าวขึ้น หรือเป็นการจัดเฉพาะกิจในระหว่างการวางแผน และการปฏิบัติการเพื่อคอยให้
ข้อเสนอแนะผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับเรื่องการลวงทางทหาร
๑๐
ข้อความในย่อหน้านี้เป็นตัวอย่างในการใช้ทรัพยากรทางด้านการลวงทางทหารของสหรัฐอเมริกาในสงคราม
พายุทะเลทราย ยกมาเป็นตัวอย่างเพื่อการศึกษาเท่านั้น
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 135

กองทัพบกในการสนับสนุนต่อการปฏิบัติการลวงในการยุทธ์ร่วม
(ARMY SUPPORT TO JOINT DECEPTION OPERATIONS)
๔-๕๒. ในการปฏิบัติการยุทธ์ร่วม กองก�ำลังทัพบกสนธิการปฏิบัติการลวงทางทหารของ
กองทัพบกเข้ากับการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารของกองก�ำลังยุทธ์รว่ มเพือ่ ประกันให้เกิดเอกภาพ
ในความพยายาม กองก�ำลังทัพบกประสานการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารกับหน่วยงานฝ่ายเสนาธิการ
ด้านการลวงของกองก�ำลังยุทธ์รว่ ม (joint force deception staff element) ปกติ กองก�ำลังทัพบก
จัดนายทหารติดต่อไปยังส่วนฝ่ายเสนาธิการด้านลวง เมื่อหน่วยบัญชาการทางพันธกิจของ
กองทัพบก๑๑ (Army command functions) เป็นกองก�ำลังยุทธ์ร่วม จะมีการจัดตั้งส่วนสนับสนุน
ทางด้านการลวงขึ้นเพื่อการบรรลุถึงภารกิจในลักษณะเดียวกันกับกลุ่มการท� ำงานด้านการลวง
(DWG) (ดูย่อหน้า ๔-๕๗) ในกองทัพภาคและกองพล
การลวงทางทหารในการรบด้วยวิธีรับ
(MILITARY DECEPTION IN THE DEFENSE)
๔-๕๓. การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารสามารถอ�ำนวยให้ฝา่ ยตัง้ รับท�ำการโต้ตอบความได้เปรียบ
ของฝ่ายเข้าตี หรือปิดบังความล่อแหลมของก�ำลังรบฝ่ายเรา วัตถุประสงค์การลวงตามลักษณะ
ประเภทซึ่งสนับสนุนการรบด้วยวิธีรับมีดังนี้คือ
๔-๕๓.๑ เป็นสาเหตุให้เป้าหมายในการลวงมีความล่าช้า หรือสั่งการผิดพลาดในการเข้าตี
๔-๕๓.๒ เป็นสาเหตุให้เป้าหมายในการลวงไม่ท�ำการเข้าตีด้วยประการทั้งปวง
๔-๕๓.๓ สร้างความสับสนแก่เป้าหมายในการลวงเกีย่ วกับความลึกในการตัง้ รับ, การจัดหน่วย
หรือก�ำลังรบ
๔-๕๓.๔ น�ำพาเป้าหมายในการลวงไปสู่ความผิดพลาดตามห้วงระยะเวลาของเหตุ และ
ผลส�ำหรับการตั้งรับ
การลวงทางทหารในการรบด้วยวิธีรุก (MILITARY DECEPTION IN THE OFFENSE)
๔-๕๔. ในการรบด้วยวิธรี กุ ฝ่ายเข้าตีมคี วามริเริม่ และควบคุมวัตถุประสงค์, จังหวะ และสถานที่
ที่จะท�ำการสู้รบ ความแน่ชัดในเรื่องดังกล่าวอ�ำนวยให้ผู้บังคับบัญชาท�ำการพัฒนาวัตถุประสงค์
ในการลวงทีม่ งุ่ ประเด็นอย่างแหลมคม เหตุการณ์ลวง (Deception events) สามารถปิดบังอ�ำพราง
ช่วงเวลา, ขนาด, ขอบเขต และสถานที่ในการเข้าตี หรือยักย้ายถ่ายเทสิ่งเหล่านั้นเพื่อให้เกิดความ
ได้เปรียบกับฝ่ายเข้าตีพวกมันสามารถปิดบังการประกอบก�ำลังรบตลอดจนยุทธวิธแี ละเทคนิคทีใ่ ช้ใน
การปฏิบตั กิ ารเข้าตีเหตุการณ์ลวงสามารถปิดบังความหนาแน่นของก�ำลังรบฝ่ายเรา ช่วยให้ใช้กำ� ลัง
รบเท่าที่จ�ำเป็นอย่างส�ำเร็จ และปกป้องการปฏิบัติการแตกหักจากการถูกค้นพบก่อนเวลาอันควร
๑๑
ดูรายละเอียดเกี่ยวกับการปฏิบัติการยุทธ์ร่วมของ บก.ทัพไทย
136 บทที่ ๔

การลวงทางทหารในการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ
(MILITARY DECEPTION IN STABILITY OPERATIONS)
๔-๕๕. ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ และกฎของการปะทะ (Rule of engagement) การลวงทาง
ทหารอาจจะมีความเหมาะสมในการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ เมื่อภารกิจที่มีความโปร่งใสไม่เป็น
ที่ต้องการ การลวงทางทหารสามารถน�ำมาใช้เพื่อ
๔-๕๕.๑ ปกป้องก�ำลังฝ่ายเราโดยการป้องปรามส่วนก�ำลังรบประจ�ำถิน่ จากการกระท�ำอัน
เป็นปรปักษ์
๔-๕๕.๒ ปิดบังซ่อนเร้นเจตนารมณ์
๔-๕๕.๓ ส่งเสริมผู้เข้าร่วมการสงครามในการปฏิบัติงานร่วมกัน
๔-๕๕.๔ ปิดบังจังหวะเวลา สภาพแวดล้อม และเงื่อนไขของการถอนก�ำลังเมื่อภารกิจ
เสร็จสมบูรณ์
๔-๕๖. การใช้ในเรือ่ งของการลวงในการปฏิบตั กิ ารเพือ่ เสถียรภาพต้องได้รบั การชัง่ น�ำ้ หนักอย่าง
ระมัดระวังต่อผลกระทบทางการเมืองในทันทีทันใดและในระยะยาว วัตถุประสงค์ด้านการลวงที่
ก�ำหนดขึน้ จะคล้ายกับความต้องการความเป็นเจ้าความคิด เพราะว่าการปฏิบตั กิ ารเพือ่ เสถียรภาพ
ล้วนเป็นการตอบโต้การปฏิบัติในวิกฤติการณ์ ในเวลาที่มีอยู่ และการข่าวกรองอาจจะจ�ำกัดโอกาส
ในการใช้การลวงทางทหาร เมื่อปฏิบัติการลวงทางทหารมีความเหมาะสม เงื่อนไขต่อไปนี้จะน�ำไป
ประยุกต์ใช้ :
๔-๕๖.๑ บ่อยครั้งที่เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ทางการเมืองมีเหนือข้อพิจารณาทางด้าน
การทหาร การลวงซึง่ เป็นเหตุเป็นผลอย่างสมบูรณ์จากมุมมองทางด้านการทหาร
อาจจะไม่มคี วามเหมาะสมกับเหตุผลทางการเมือง การลวงซึง่ สหรัฐฯ พิจารณาว่า
เป็นไปในทางที่ดีอาจจะได้รับการพิจารณาว่าเป็นปรปักษ์โดยเป้าหมายใน
การลวง และผู้สนับสนุนของเขา
๔-๕๖.๒ เนื่องจากความอ่อนไหวทางการเมือง, การประสานงาน และการอนุมัติในส่วน
ของแผนการลวงทางทหารสามารถเป็นได้ทั้งลักษณะยืดเยื้อ และสลับซับซ้อน
๔-๕๖.๓ เพราะว่าสภาวการณ์มคี วามสับสนอลหม่านอยูเ่ สมอ มันอาจจะเป็นการยากทีจ่ ะ
ระบุเป้าหมายในการลวงอย่างเหมาะสม
๔-๕๖.๔ ถ้าระบบการข่าวกรองฝ่ายตรงข้ามได้รับการจัดการมาอย่างไม่ดี หรือไม่มีความ
สลับซับซ้อนในทางเทคโนโลยีจะท�ำให้ความสามารถในการขยายผลจากระบบ
ข้อมูลข่าวสารอาจจะกระท�ำได้เล็กน้อยมาก เครือ่ งมือทางเทคนิคบางอันอาจจะ
ไม่สามารถท�ำงานได้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 137

๔-๕๖.๕ กิจกรรม และบุคลากรทางการทหารปกติแล้วมีความพร้อมในการเข้าถึงต่อ


ประชากรทั่วไปได้ในระหว่างการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ สิ่งนี้อาจจะเสนอ
โอกาสต่าง ๆ ในการใช้ประชากรในท้องถิ่นเป็นเสมือนตัวน�ำไปสู่เป้าหมาย
กลุ่มการท�ำงานด้านการลวง (DECEPTION WORKING GROUP)
๔-๕๗. เพราะว่าขนาด และขอบเขตความช�ำนาญที่มีอยู่อย่างหลากหลายที่เป็นความต้องการ
ส�ำหรับการปฏิบัติการลวงทางทหาร ปกติการปฏิบัติการลวงทางทหารจะเป็นตัวก�ำหนดการ
จัดรูปแบบกลุ่มการท�ำงานด้านการลวง กลุ่มดังกล่าวได้รับการตัดแต่งหน่วยงานเพื่อน�ำเอาความ
ต้องการด้านความช�ำนาญทางเทคนิคเข้ามาไว้พร้อม ๆ กันเพือ่ ด�ำเนินการในการปฏิบตั กิ ารลวงทาง
ทหารอย่างเฉพาะเจาะจงการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารขึน้ อยูก่ บั กลุม่ การท�ำงานด้านการลวงในการที่
จะประสานงานการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารช่วยเหลือนายทหาร
ยุทธการในการสนธิการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารเข้ากับการปฏิบตั กิ ารทัง้ มวล ขณะทีก่ ารปฏิบตั กิ าร
ลวงทางทหารด�ำเนินไป สมาชิกของกลุ่มอาจจะเปลี่ยนไปเพื่อสะท้อนถึงความต้องการ เมื่อท�ำการ
จัดกลุ่มการท�ำงานด้านการลวง การปฏิบัติการลวงทางทหารสร้างความสมดุลกับการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC) เกี่ยวกับการประกันว่าความช�ำนาญทางเทคนิคที่ต้องการมีผล
สะท้อนอย่างเพียงพอในระหว่างแต่ละขั้นตอน
ตอนที่ ๒ - การด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหาร
SECTION II - CONDUCTING MILITARY DECEPTION OPERATIONS
๔-๕๘. เช่นเดียวกับการปฏิบตั กิ ารอืน่ ๆ การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารทีไ่ ด้ดำ� เนินการโดยกองก�ำลัง
ทัพบกตามกระบวนการทางการปฏิบตั กิ าร (ดู รส. ๓-๐) (ฝ่ายเสนาธิการร่วมด�ำเนินการตามกรรมวิธี
การวางแผนการลวงทางทหารที่จัดท�ำขึ้น) ระหว่างกระบวนการปฏิบัติการ สถานการณ์ และผลที่
ตามมาอย่างมากมายล้วนมีความเกี่ยวข้องในการด�ำเนินกรรมวิธีในปัจจัยเรื่องของเวลาที่ค่อนข้าง
จะเปลีย่ นแปลงการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารทีเ่ คียงคูไ่ ปกับสถานการณ์ การวางแผน และการเตรียม
การในผลลัพธ์ที่โดดเด่นด้านการลวงทางทหารซึ่งไม่สอดรับกับความเป็นจริง และใช้ประโยชน์
ไม่ได้ ดังนั้นการวางแผน, การเตรียมการ และการปฏิบัติการจึงเป็นหัวข้อที่ต้องท�ำการประเมินค่า
อย่างต่อเนื่องเสมอ
๔-๕๙. การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารเริม่ ด้วยการก�ำหนดเป้าหมายในการลวง และอะไรทีผ่ บู้ งั คับ
บัญชาต้องการประสบความส�ำเร็จด้วยการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร กลุม่ การท�ำงานด้านการลวง
ทางทหารก�ำหนดว่าฝ่ายตรงข้าม (เป้าหมายในการลวง) จะกระท�ำอย่างไรถึงจะบรรลุผลส�ำเร็จ
ของผู้บังคับบัญชาในการปฏิบัติการลวงทางทหาร
138 บทที่ ๔

๔-๖๐. ส�ำหรับการปฏิบัติการลวงทางทหารที่ประสบความส�ำเร็จ กลุ่มการท�ำงานด้านการ


ลวงทางทหารต้องเข้าใจว่าเป้าหมายในการลวงแสวงหา และกระท�ำต่อข้อมูลข่าวสารอย่างไร,
ความรู้อะไรที่เป้าหมายในการลวงมี, และเป้าหมายมีมุมมองต่อก�ำลังฝ่ายเราอย่างเราอย่างไร
ภายหลังจากทีท่ ำ� การก�ำหนดข้อมูลข่าวสารนี้ กลุม่ การท�ำงานด้านการลวงท�ำการสร้างเรือ่ งลวงขึน้
(Deception story) เรื่องลวงนี้มีเหตุมีผลน่าเชื่อถือ แต่ไม่ถูกต้อง มุมมองของสถานการณ์ ซึ่งจะ
น�ำพาเป้าหมายในการลวงไปสู่การกระท�ำในลักษณะอาการที่จะบรรลุผลส�ำเร็จในเป้าหมายของ
ผู้บังคับบัญชา ทันทีที่เรื่องราวดังกล่าวเสร็จสมบูรณ์ กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงจะก�ำหนด
เครื่องมือในการลวงที่จ�ำเป็นต่อการแสดงภาพเหตุการณ์ และสิ่งบอกเหตุ ตลอดจนระบุหน่วยที่จะ
ปฏิบัติในเรื่องลวงนั้น
๔-๖๑. ส่วนวางแผนการปฏิบัติการลวงทางทหารก�ำลังท�ำการเลียนแบบกรรมวิธีการแสวง
ข้อตกลงใจของเป้าหมายในการลวง สิ่งนี้ประกอบด้วยการก�ำหนดว่าระบบการลาดตระเวน และ
การเฝ้าตรวจของเป้าหมายท�ำการสังเกตการณ์ต่อเหตุการณ์ลวง และรวบรวมสิ่งบอกเหตุอย่างไร
จึงจะสนับสนุนต่อเรือ่ งลวง มันยังประกอบด้วยการประเมินค่าต่อระบบการข่าวกรองของเป้าหมาย
ในการด�ำเนินกรรมวิธีต่อสิ่งบอกเหตุ และจะแสดงมันออกมาในรูปแบบอย่างไรจึงจะอ�ำนวยให้
ท�ำการสร้างเรื่องลวงต่อเป้าหมายขึ้นมาใหม่ มีเพียงแต่กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงเท่านั้นที่จะ
ก�ำหนดได้หากมีการสร้างเรือ่ งลวงขึน้ มาใหม่ซงึ่ จะเป็นเหตุให้เป้าหมายท�ำการจัดระเบียบความรูส้ กึ
นึกคิดทางด้านการรับรู้ และการรับรู้เหล่านี้จะเป็นเหตุให้เป้าหมายกระท�ำการในลักษณะอาการ
ที่ต้องการ (ความไม่แน่นอน) การวิเคราะห์นี้พิจารณาเวลาที่เป้าหมายในการลวงต้องการที่จะ
ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนและประเด็นเหล่านีต้ ามล�ำดับ ซึง่ จะเป็นเหตุให้กองก�ำลังฝ่ายตรงข้ามกระท�ำการ
ในลักษณะที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ทางด้านการลวงอย่างสม�่ำเสมอ
การวางแผน (PLANNING)
๔-๖๒. การวางแผนพัฒนาข้อมูลข่าวสารที่จ�ำเป็นเพื่อการเตรียมการ, การปฏิบัติการ และการ
ประเมินค่าการปฏิบัติการลวงทางทหาร กรรมวิธีการวางแผนการลวงทางทหารสอดคล้องกับ
การวางแผนส�ำหรับการปฏิบัติการทั้งมวล และเป็นไปตามกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร
(MDMP) นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ได้รบั ความช่วยเหลือจากการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร
(MDO) และเข้าร่วมในการวางแผนการปฏิบัติการทั้งมวลตลอดจนการประสานงานการปฏิบัติการ
ลวงทางทหารกับนายทหารยุทธการเพื่อประกันว่าการปฏิบัติการลวงทางทหารได้รับการประสาน
สอดคล้องกับการปฏิบัติการทั้งมวล การปฏิบัติการลวงทางทหารรักษาคุณลักษณะของการปฏิบัติ
ด้านการวางแผนการลวง และทรัพยากรที่ขยายออกไป คุณลักษณะนี้ได้กลายเป็นพื้นฐานส�ำคัญ
ของการรายงานหลังการปฏิบัติการลวง (deception after - action report: AAR)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 139

๔-๖๓. เพราะว่ า การปฏิ บั ติ ก ารลวงทางทหารสนั บ สนุ น ภารกิ จ ได้ เ ต็ ม ขอบเขต, ก� ำ ลั ง พลที่


รับผิดชอบในการด�ำเนินการปฏิบัติการดังกล่าวยังคงจะต้องมีความตระหนักถึงกิจกรรมเกี่ยวกับ
การลวงของหน่วยบัญชาการทีเ่ หนือกว่า และต�่ำกว่าอีกด้วย เพือ่ ป้องกันการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร
ของหน่วยหนึ่งจากการแปดเปื้อนกับการลวงของหน่วยอื่น ๆ จนตกอยู่ในอันตราย การปฏิบัติการ
ลวงทางทหารทั้งหมดจะประสานงานกันทั้งในทางดิ่ง และทางระดับ ตลอดจนได้รับการอนุมัติโดย
กองบัญชาการของหน่วยที่อยู่เหนือขึ้นไปสองระดับ
รับมอบภารกิจ (RECEIPT OF MISSION)
๔-๖๔. มีอำ� นาจสองประการทีส่ ามารถสัง่ การในการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร ได้แก่ กองบัญชาการ
หน่วยเหนือ และผู้บังคับบัญชา ในทั้งสองกรณี แผนการลวงของผู้บังคับบัญชาจะประสานกับ
กองบัญชาการหน่วยเหนือ เมื่อได้รับความต้องการในการจัดเตรียมแผนส�ำหรับการปฏิบัติการ
ลวงทางทหาร การปฏิบัติการลวงทางทหารจ�ำต้องมีการจัดตั้งกลุ่มการท�ำงานด้านการลวงและ
เริ่มการวิเคราะห์ภารกิจส�ำหรับการปฏิบัติการลวงทางทหารที่เป็นไปได้
๔-๖๕. ความต้องการในการสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารของกองบัญชาการหน่วยเหนือ
สามารถน�ำเอารูปแบบของกิจเฉพาะต่าง ๆ มาใช้ (ตัวอย่างเช่น ต�ำแหน่งการวางหน่วยในพื้นที่ที่
ดูแน่นอนในการสนับสนุนเรื่องลวง) หรือวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ส่วนของฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานที่เกี่ยวข้องท�ำการดูแลตรวจตราการปฏิบัติในส่วนของ
กิจเฉพาะต่าง ๆ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเข้าร่วมตามวัตถุประสงค์ของกับการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารทีไ่ ด้รบั การก�ำหนดโดยกองบัญชาการหน่วยเหนือในส่วนแนวความคิดในการสนับสนุน
ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร สิ่งนี้รวมถึงการพัฒนาปัจจัยน�ำเข้าเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารในวิธกี ารเดียวกันกับวัตถุประสงค์ของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารซึง่ สนับสนุนในส่วนการ
ปฏิบัติการต่าง ๆ ของผู้บังคับบัญชา (ดูบทที่ ๕)
การวิเคราะห์ภารกิจ (MISSION ANALYSIS)
๔-๖๖. การวิเคราะห์ภารกิจ ส�ำหรับการปฏิบัติการลวงทางทหารด�ำเนินกรรมวิธีสอดคล้อง
กับการวิเคราะห์ภารกิจในภาพรวม นายทหารปฏิบัติการลวงทางทหารร่วมด้วยนายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร และนายทหารยุทธการฝ่ายแผนเป็นฝ่ายเสนาธิการที่ท�ำการพัฒนาหนทาง
ปฏิบัติด้านการลวงทางทหาร ผู้บังคับบัญชาผู้ซึ่งมีความเข้าใจอย่างหนักแน่นในเรื่องของขีดความ
สามารถด้านการลวงของก� ำลังรบอาจจะรวมแนวทางในการวางแผนด้านการลวงทางทหาร
ขั้นต้นไว้ในแนวทางวางแผนของผู้บังคับบัญชา ก�ำหนดประเด็นระหว่างการรับมอบภารกิจ หรือ
มิฉะนั้นแล้วผู้บังคับบัญชาจะอาศัยฝ่ายอ�ำนวยการในการจัดเตรียมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
บนขีดความสามารถ และโอกาสของการลวงทางทหาร ในกรณีดังกล่าวฝ่ายเสนาธิการด�ำเนินการ
140 บทที่ ๔

วิเคราะห์ภารกิจส�ำหรับการปฏิบัติการลวงทางทหาร และท�ำการบรรยายสรุปแก่ผู้บังคับบัญชา
ดังนั้นผู้บังคับบัญชาให้ประเด็นแนวทางส�ำหรับการลวงทางทหาร และนายทหารปฏิบัติการลวง
ทางทหารท�ำการพัฒนาหนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหาร
๔-๖๗. แผนการลวงทางทหารต้ อ งการความช� ำ นาญเป็ น พิ เ ศษ และข้ อ มู ล ข่ า วสารใน
รายละเอียดที่สอดคล้องกับขีดความสามารถของฝ่ายเรา และความล่อแหลมของฝ่ายตรงข้าม
การปฏิบัติการลวงทางทหารซึ่งไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารจะ
ไม่สามารถด�ำรงอยู่ได้ การได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารนี้ต้องการการข่าวกรองที่ทันเวลา และถูกต้อง
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเข้าใจถึงระบบการข่าวกรองที่ให้การสนับสนุน และการท�ำงาน
อย่างใกล้ชิดกับนายทหารการข่าวกรองในการได้มาซึ่งการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวที่
ตอบสนองได้ ตลอดจนการสนับสนุนด้านการข่าวกรองทีส่ มั พันธ์กบั การลวง การปฏิบตั กิ ารลวงทาง
ทหารใช้เวลาอันยาวนานในการเตรียมการมากกว่าการปฏิบตั กิ ารประเภทอืน่ ๆ ดังนัน้ การเตรียมการ
แต่เนิ่น ๆ จึงเป็นหัวใจไปสู่ความส�ำเร็จ
ฐานข้อมูลด้านการลวงทางทหาร (Military Deception Database)
๔-๖๘. ก่อนที่จะเริ่มการวางแผน นายทหารปฏิบัติการลวงทางทหารจัดเตรียมฐานข้อมูล
เพื่อสนับสนุนหนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารที่เป็นไปได้ ฐานข้อมูลดังกล่าวนี้เต็มไปด้วย
ข้อมูลข่าวสารทีจ่ ำ� เป็นต่อการก�ำหนดวิธกี ารในการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารทีส่ ามารถสนับสนุน
การปฏิบตั กิ ารทัง้ มวล มันประกอบด้วยข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับสถานการณ์ปจั จุบนั และสภาวการณ์
ทีส่ ามารถมองเห็นได้ซงึ่ ไม่เป็นสิง่ พิเศษต่อภารกิจเฉพาะเจาะจง ผูบ้ งั คับบัญชาต้องการข้อมูลข่าวสาร
ทัว่ ๆ ไปส�ำหรับก�ำหนดการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารอย่างไรในเชิงวัตถุประสงค์ทสี่ ามารถสนับสนุน
ภารกิจเฉพาะ ความรู้ในเรื่องของขีดความสามารถของก�ำลังรบที่ถูกต้องป้องกันการใช้ทรัพยากร
ด้านการลวงอย่างไร้ประโยชน์ หรือความพยายามในการใช้ขีดความสามารถที่ไม่มีอยู่จริง ทั้งความ
ผิดพลาดต่าง ๆ ที่เบี่ยงเบนทรัพยากรไปมากกว่าที่จะน�ำไปใช้ในที่อื่น ๆ นายทหารปฏิบัติการลวง
ทางทหาร และกลุ่มการท�ำงานด้านการลวงสร้าง และปรับปรุงฐานข้อมูลด้านการลวงทางทหาร
อย่างต่อเนื่องเสมอ ส่วนการข่าวกรองภายนอก (External intelligence elements) อาจจะได้
รับการถามถึงการสนับสนุนพวกนั้น
๔-๖๙. การระมัดระวังในเรื่องความสามารถอย่างหนึ่ง หรือการไร้ความสามารถในการสร้าง
อิทธิพลต่อเป้าหมายในการลวงที่เป็นไปได้เป็นขั้นแรกเพื่อการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง และเป็น
การด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหารอย่างประสบผลส�ำเร็จ ฐานข้อมูลด้านการลวงทางทหาร
ต้องการข้อมูลข่าวสารอยู่ด้วยกันสองประเภทเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้ คือ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 141

๔-๖๙.๑ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับหลักนิยมฝ่ายตรงข้าม และขีดความสามารถ


๔-๖๙.๒ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับระบบการข่าวกรอง และกระบวนการตัดสินใจของฝ่าย
ตรงข้าม
๔-๗๐. กรณีแรกเกี่ยวข้องกับกองก�ำลังในทางแนวความคิดเกี่ยวกับศิลปะด้านการทหารของ
ฝ่ายตรงข้าม ในการปฏิบตั กิ ารเพือ่ เสถียรภาพ มันอาจจะรวมถึงข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับแนวความคิด
ทางอุดมคติของฝ่ายตรงข้าม มุมมองในบริบทของการต่อสู้ดิ้นรน และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง มัน
รวมถึงข้อมูลเกีย่ วกับการบังคับบัญชา และการควบคุมตลอดจนระบบการข่าวกรองของฝ่ายตรงข้าม
ส่วนมากของข้อมูลนี้ได้รับการรวบรวมไว้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
โดยปกติ
๔-๗๑. ประเภทที่สองเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติของฝ่ายตรงข้ามส�ำหรับท�ำการรวบรวม และท�ำ
การวิเคราะห์ข้อมูล มันรวมถึงว่าเป้าหมายการลวงท�ำการตัดสินใจอย่างไร และประเด็นใดที่
สามารถส่งอิทธิพลต่อการตัดสินใจเหล่านี้อย่างไร ส่วนนี้ในฐานข้อมูลด้านการลวงทางทหาร
ควรจะรวมถึงคุณลักษณะ และบุคลิกลักษณะของเป้าหมายการลวงทีเ่ ป็นไปได้ นอกจากนีค้ ณ ุ ลักษณะ
ซึง่ ก�ำหนดระดับของความอ่อนไหวต่อการลวงของพวกมัน กรณีทสี่ องนีก้ อ่ ให้เกิดเครือ่ งมือทีจ่ �ำเป็น
ในการน�ำกรณีแรกไปใช้ได้อย่างดีทสี่ ดุ ข้อมูลข่าวสารนีเ้ ป็นความจ�ำเป็นส�ำหรับนักวางแผนการลวง
ทางทหารในการแข่งขันเอาอย่างกระบวนการคิดของเป้าหมาย การพัฒนาระดับของการตระหนักรู้
ทีจ่ ำ� เป็นต่อการด�ำเนินการแสดงบทบาทด้านการแข่งขันในส่วนของเป้าหมายทีส่ ำ� คัญมากยิง่ ขึน้ เป็น
เป้าหมายในการลวงทางทหาร สมาชิกกลุ่มการท�ำงานด้านการลวงควรจะมีความสามารถในการ
แสดงบทบาทของผู้บังคับบัญชาฝ่ายตรงข้ามระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
๔-๗๒. ฐานข้อมูลด้านการลวงทางทหารเต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสารเฉพาะเกีย่ วกับเครือ่ งมือด้าน
การลวงทางทหารของฝ่ายเรา มันรวมถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับหลักนิยมและยุทธวิธีของฝ่ายเรา,
คุณลักษณะทางเทคนิคของระบบการสู้รบ, และการข่าวกรองตลอดจนทรัพยากรในการต่อต้าน
ข่าวกรอง และการปฏิบัติการต่าง ๆ ของฝ่ายเรา
การประมาณการการลวงทางทหาร (Military Deception Estimate)
๔-๗๓. ผลลัพธ์ของการวิเคราะห์ภารกิจด้านการลวงทางทหารคือการประมาณการการลวง
ทางทหาร ที่จัดเตรียมขึ้นโดยนายทหารปฏิบัติการลวงทางทหาร (รส. ๕-๐ อธิบายการประมาณ
การของฝ่ายอ�ำนวยการ ผนวก ค อธิบายถึงการประมาณการด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร)
การประมาณการก่อให้เกิดข้อมูลข่าวสาร, ขีดความสามารถ, โอกาสในการลวงทางทหาร และ
ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับวัตถุประสงค์ดา้ นการลวงทีเ่ ป็นไปได้ นายทหารปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารเสนอ
142 บทที่ ๔

ประมาณการนี้ระหว่างการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจ การประมาณการพิจารณาข้อจ�ำกัดของ
ขีดความสามารถปัจจุบันโดยอาศัยความอ่อนไหวของเป้าหมายในการลวง เวลาที่มีอยู่ และ
เครือ่ งมือด้านการลวงทีเ่ ป็นไปได้ ผูบ้ งั คับบัญชาพิจารณาประมาณการในการพัฒนาแนวทางวางแผน
ของผู้บังคับบัญชา (commander’s guidance)
แนวทางด้านการลวงทางทหาร (Military Deception Guidance)
๔-๗๔. ผูบ้ งั คับบัญชาให้แนวทางด้านการลวงทางทหารเป็นส่วนหนึง่ ของแนวทางวางแผนของ
ผู้บังคับบัญชา ปกติในข้อสรุปของการวิเคราะห์ภารกิจเป็นการสร้างบทบาทการลวงทางทหารซึ่ง
เป็นการแสดง และก�ำหนดเป็นข้อความหนึ่ง หรือมากกว่าด้วยวัตถุประสงค์ด้านการลวง ในกรณี
ที่ไม่มีแนวทางในการวางแผนในอนาคตอาจจะเป็นสิ่งที่ต้องการ ในทางตรงกันข้าม ผู้บังคับบัญชา
อาจจะอธิบายบทบาทที่เป็นไปได้ส�ำหรับการลวงทางทหาร การปล่อยให้ฝ่ายอ�ำนวยการท�ำการ
เสนอแนะวัตถุประสงค์เฉพาะด้านการลวงทางทหาร นายทหารปฏิบัติการลวงทางทหารเป็นผู้ให้
ข้อเสนอวัตถุประสงค์ด้านการลวง ถ้าไม่มีโอกาสในการลวงทางทหาร หรือผู้บังคับบัญชาตัดสิน
ว่าความเสี่ยงไม่ได้เป็นตัวตัดสินคุณค่าต่าง ๆ เมื่อการลวงทางทหารถูกจ�ำกัดต่อการลวงทางทหาร
ในการสนับสนุนต่อการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ การลวงทางทหารในการสนับสนุน
เป้าหมายของการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ เพื่อป้องกันความล่อแหลมของความ
อ่อนไหวหรือกิจกรรม, ขีดความสามารถ หรือเจตนารมณ์ที่จัดล�ำดับชั้นความลับไว้ มันเป็นการ
แสวงหาหนทางในการปิดกั้นฝ่ายตรงข้ามในการรับรู้ภาพต่าง ๆ ที่ชัดเจนว่าอะไรก�ำลังเกิดขึ้น
ภายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารโดยพันธกิจต่าง ๆ ด้านการข่าวกรองเกีย่ วกับการเป้าหมายของฝ่ายตรงข้าม
การพัฒนาหนทางปฏิบัติ (COURSE OF ACTION DEVELOPMENT)
๔-๗๕. ภายหลังจากได้รับแนวทางวางแผนของผู้บังคับบัญชาในการลวงทางทหาร กลุ่มการ
ท�ำงานด้านการลวงพัฒนาหนทางปฏิบตั ดิ า้ นการลวงทางทหารขณะทีน่ ายทหารยุทธการพัฒนา
หนทางปฏิ บั ติ ส� ำ หรั บ การปฏิ บั ติ ก ารในภาพรวม นายทหารยุ ท ธการพั ฒ นาหนทางปฏิ บั ติ
ทางการยุทธ์ (Operational COA) จนท�ำให้เกิดพืน้ ฐานส�ำหรับหนทางปฏิบตั ดิ า้ นการลวงทางทหาร
หนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารที่เป็นพื้นฐานบนหนทางปฏิบัติด้านการยุทธ์ประกันว่าหนทาง
ปฏิบตั ดิ า้ นการลวงทางทหารมีความเป็นไปได้ และน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ การจัดเตรียมหนทางปฏิบตั ดิ า้ น
การลวงทางทหารรวมถึงกิจต่าง ๆ หกประการด้วยกันคือ
๔-๗๕.๑ พัฒนาเรื่องลวง
๔-๗๕.๒ ระบุเครื่องมือในการลวง
๔-๗๕.๓ ก�ำหนดผลย้อนกลับที่ต้องการส�ำหรับการประเมิน
๔-๗๕.๔ ด�ำเนินการประเมินความเสี่ยง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 143

๔-๗๕.๕ ด�ำเนินการวิเคราะห์การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (ดูบทที่ ๓)


๔-๗๕.๖ วางแผนส�ำหรับการสิ้นสุด
การพัฒนาเรื่องลวง (Develop Deception Story)
๔-๗๖. การพัฒนาเรื่องลวงเป็นศิลปะและศาสตร์ มันเป็นการผสมผสานการข่าวกรองเกี่ยวกับ
การรวบรวมข่าวสาร, การด�ำเนินกรรมวิธี, และการกระจายข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม และแนว
ความคิดที่มีมาแต่ไหนแต่ไรนั้นมีแนวโน้มที่จะมีอิทธิพลต่อการสรุปผลของเป้าหมายในการลวง
อย่างไร และเป้าหมายท�ำการตัดสินใจอย่างไร เรื่องราวที่ได้รับการสร้าง และแถลงออกมาอย่าง
ถูกต้องตามที่กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงต้องการให้เป้าหมายท�ำการสร้างมันขึ้นมาอีกครั้ง
๔-๗๗. กลุม่ การท�ำงานด้านการลวงได้รบั เรือ่ งลวงทีแ่ ข่งขันกันจากสิง่ บอกเหตุซงึ่ จะน�ำเป้าหมาย
ไปสู่การรับรู้ที่ต้องการ มันเป็นการปะติดปะต่อเหตุการณ์ลวงต่าง ๆ เข้ารวมกันไว้ในเรื่องราว
ทั้งมวลที่มีความสอดคล้องกันตามที่ได้อธิบายไว้ในสถานการณ์ซึ่งผู้บังคับบัญชาต้องการให้
เป้าหมายได้รบั รู้ เรือ่ งราวนีไ้ ด้รบั การบรรจงเขียนขึน้ จากมุมมองของเป้าหมาย นัน่ ก็คอื อะไรก็ตามที่
เป้าหมายคาดหวังที่จะเห็น และคิดได้ตามที่เขาเห็น ตลอดจนซึมซับมันไว้ ซึ่งมันจะอยู่ในวิสัยทัศน์
ของผู้บังคับบัญชาเสมอ
๔-๗๘. ถ้าหากเป้าหมายในการลวงท�ำการพัฒนาการรับรู้ที่ต้องการแล้ว เรื่องลวงนั้นจะได้รับ
การเชื่อถือ, ตรงกับความคาดหวัง และสอดคล้องสม�่ำเสมอ เรื่องลวงต้องมีความถูกต้องตาม
หลักนิยม และสอดคล้องกับสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น ถ้าหน่วยที่ได้รับการฝึกตามแบบมาอย่างดี
ในเรื่องเกี่ยวกับสิ่งบอกเหตุที่เป็นการลดความแข็งกร้าวในการละเมิดวินัย สิ่งนั้นอาจจะท�ำให้
เป้าหมายในการลวงสงสัยในเหตุการณ์ลวงได้ ในทางอุดมคติ นักวางแผนการลวงทางทหารต้องการ
ให้เรื่องลวงเป็นมโนภาพที่ถูกต้องตรงกับความจริงที่เป้าหมายได้วาดภาพเอาไว้เมื่อการปฏิบัติการ
ลวงยังไม่เปิดเผยความจริงออกมา พูดง่าย ๆ คือเรื่องลวงควรจะอ่านเข้าใจได้ง่ายเหมือนกับ
ประมาณการข่าวกรองของเป้าหมายในการลวง
๔-๗๙. แต่ละองค์ประกอบของเรื่องลวง เกี่ยวข้องกับเครื่องมือในการลวงซึ่งสามารถแสดง
ความน่าเชื่อถือในสิ่งบอกเหตุได้ตามต้องการ หนทางปฏิบัติด้านการลวงระบุถึงระบบการบังคับ
บัญชา และการควบคุมของฝ่ายตรงข้ามทีส่ ง่ ผ่านข้อมูลข่าวสารนีไ้ ปสูเ่ ป้าหมายในการลวงได้อย่างไร
กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงคาดการณ์ถึงปมต่าง ๆ ที่อยู่ในระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม
ว่าจะกลั่นกรองการเบี่ยงเบนข้อมูลข่าวสาร และให้การน�ำเสนอก�ำหนดการล่วงหน้าและอคติ
ต่าง ๆ ในตัวเองของระบบเหล่านั้น
144 บทที่ ๔

๔-๘๐. เรื่องลวงที่เสร็จสมบูรณ์ เปรียบเหมือนกับการต่อจิ๊กซอว์ที่เสร็จสมบูรณ์ มันอ�ำนวยให้กลุ่ม


การท�ำงานด้านการลวงท�ำการตรวจสอบเหตุผล และความสอดคล้องในส่วนขององค์ประกอบภายใน
ของหนทางปฏิบัติด้านการลวง กลุ่มงานสามารถระบุการรับรู้, สิ่งบอกเหตุ, และเหตุการณ์ลวงซึ่ง
จ�ำเป็นที่จะต้องมีการกลั่นกรองแก้ไข การตรวจสอบยังเป็นการระบุว่าที่ใดที่สิ่งบอกเหตุสามารถได้
รับการเพิ่มเติมเข้าไปเพื่อสร้างเหตุการณ์ลวงให้เป็นจริงเป็นจังยิ่งขึ้น หรือลดผลกระทบที่เกิดจาก
การแก่งแย่งกันของสิ่งบอกเหตุต่าง ๆ
การระบุเครื่องมือในการลวง (Identify Deception Means)
๔-๘๑. ระหว่างกิจนี้ กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงท�ำการกลั่นกรองแก้ไขการรับรู้ที่ต้องการ
ต่อไป ธรรมชาติของการรับรู้ และสิ่งบอกเหตุที่ให้การสนับสนุนต้องการในการส่งผ่านสิ่งบอกเหตุ
ไปยังเป้าหมายในการลวงในแบบวิธีการที่เชื่อถือได้ ซึ่งสมาชิกของพวกเขาต้องการเพื่อการก�ำหนด
ความสลับซับซ้อนของการปฏิบัติการลวงทางทหาร
๔-๘๒. เนื่ อ งจากกลุ่มการท�ำงานด้านการลวงได้ สนธิ สิ่งบอกเหตุ เ ข้ า ไว้ ใ นเหตุ ก ารณ์ ลวง
มันเป็นการประกันว่าสิ่งบอกเหตุนั้นมีความสอดคล้องกับเค้าโครงการยุทธ์ของก�ำลังฝ่ายเรา
และระบบการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจและการลาดตระเวนของฝ่ายตรงข้ามที่จะท�ำการค้นหา
พวกมันได้ ทางกลุ่มท�ำการก�ำหนดว่า องค์ประกอบด้านการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาด
ตระเวนของฝ่ายตรงข้ามใดที่จะเป็นเป้าหมาย ตัวอย่างเช่น สิ่งบอกเหตุต่าง ๆ อาจจะถูกรวบรวม
ข่าวสารได้จากการใช้ตัวดักรับทางการติดต่อสื่อสารของฝ่ายตรงข้าม และท�ำการรายงานต่อศูนย์
การวิเคราะห์ข่าวกรอง จากนั้นจะถูกรวบรวมไว้ในสรุปรายงานการข่าวกรองทางการบังคับบัญชา
และท�ำการน�ำเสนอต่อเป้าหมายในการลวงระหว่างการบรรยายสรุปข่าวกรองในตอนเช้า กรณี
เช่นนี้องค์ประกอบด้านการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวนของฝ่ายตรงข้ามรวมถึง
๔-๘๒.๑ พนักงาน และอุปกรณ์ด้านการดักรับ
๔-๘๒.๒ การติดต่อสื่อสาร รายงาน และวิธีการด้านการข่าวกรองซึ่งได้รับการถ่ายทอด
ออกไป
๔-๘๒.๓ บุคลากรของศูนย์วิเคราะห์ผู้ซึ่งเป็นเจ้าของข้อมูลข่าวสาร
๔-๘๒.๔ สรุปข่าวกรอง และวิธีการซึ่งถูกส่งออกไป
๔-๘๒.๕ ผู้ท�ำการบรรยายสรุป และการบรรยายสรุปต่อเป้าหมายในการลวง
๔-๘๓. ส่วนส�ำคัญของการวางแผนการลวงทางทหาร เป็นการก�ำหนด ทรัพยากรด้านการ
ข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวนที่มีความน่าจะเป็นมากที่สุดที่จะสังเกตการณ์เห็น
เหตุการณ์ลวงและส่งผ่านมันไปยังเป้าหมายในการลวง เมือ่ ท�ำการเลือกหน่วยนัน้ นักวางแผนการ
ลวงทางทหารท�ำการพิจารณา
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 145

๔-๘๓.๑ ข้อมูลข่าวสารนั้นบรรจุเข้าไปในระบบการข่าวกรองอย่างไร (กลไกการรวบรวม


ข่าวสาร)
๔-๘๓.๒ ชนิดของข้อมูลข่าวสารอะไรที่ระบบการข่าวกรองส่งผ่านไป
๔-๘๓.๓ เมื่อใดที่หน่วยด้านการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวนสามารถ
ส่งผ่านข้อมูลข่าวสารได้
๔-๘๓.๔ ระดับของการควบคุมอะไรที่ผู้ท�ำการลวงสามารถปฏิบัติเหนือหน่วยต่าง ๆ
ด้านการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน
๔-๘๓.๕ นานเท่าไรที่ข้อมูลข่าวสารจะถูกส่งไปถึงเป้าหมายในการลวง
๔-๘๓.๖ ความน่าเชือ่ ถืออย่างไรทีเ่ ป้าหมายเชือ่ ข้อมูลข่าวสารจากแหล่งข่าวทีแ่ ตกต่างกัน
เหล่านี้
๔-๘๓.๗ ตัวกลั่นกรองอะไรที่ดูเหมือนว่าจะกระทบต่อข้อมูลข่าวสารจากการที่มีข้อมูล
ข่าวสารเคลื่อนไหวผ่านไปมาระหว่างระบบการข่าวกรอง
๔-๘๔. วิธีการหลักในการแผ่ขยายเรื่องลวงคือ การสร้างภาพลวงที่เป็นช่องโหว่ด้านการรักษา
ความปลอดภัยโดยไม่ตั้งใจ เป้าหมายในการลวงดูเหมือนว่าจะให้ความเชื่อถือข้อมูลข่าวสาร
ที่มาจากการละเมิดการรักษาความปลอดภัยโดยไม่ตั้งใจ และเป็นไปตามยถากรรมซึ่งได้ปรากฏ
ออกมาให้ประจักษ์แก่สายตา ความเป็นระบบแบบแผนดูเหมือนว่าเป็นการไม่เลือกการส่งผ่าน
องค์ประกอบเรื่องลวงโดยเครื่องมือหลาย ๆ อย่างที่ยังคงท�ำให้การลวงมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
ก� ำ หนดผลย้ อ นกลั บ ที่ ต ้ อ งการส� ำ หรั บ การประเมิ น ค่ า (Determine Feedback
Required for Assessment)
๔-๘๕. เนือ่ งจากกลุม่ การท�ำงานด้านการลวงท�ำการพัฒนาหนทางปฏิบตั ดิ า้ นการลวงทางทหาร
กลุม่ ดังกล่าวท�ำการก�ำหนดผลย้อนกลับทีต่ อ้ งการเพือ่ ประเมินการปฏิบตั กิ ารด้านการลวงทางทหาร
กิจนี้รวมถึง
๔-๘๕.๑ การท�ำให้เห็นว่าเป้าหมายในการลวงจะกระท�ำการอย่างไรหากปราศจากการลวง
๔-๘๕.๒ การท�ำให้เห็นว่าเป้าหมายจะตอบสนองอย่างไรต่อสิ่งบอกเหตุ และการรับรู้ที่
ต้องการให้เป็น
๔-๘๕.๓ การก�ำหนดการปฏิบตั ทิ สี่ ามารถสืบค้นได้ซงึ่ จะบ่งบอกถึงความเชือ่ ของเป้าหมาย
ที่มีต่อเรื่องลวง
๔-๘๕.๔ การรับเอาความต้องการข้อมูลข่าวสารในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร หรือค�ำร้อง
ขอข้อมูลข่าวสารเพื่อรับรายงานของการปฏิบัติเหล่านั้น
146 บทที่ ๔

ผู้บังคับบัญชาประเมินการปฏิบัติการลวงทางทหารโดยอาศัยผลย้อนกลับ พวกเขาเฝ้า
ติดตามผลย้อนกลับ และเปรียบเทียบมันกับปัจจัยแห่งความส�ำเร็จทีส่ ร้างขึน้ ส�ำหรับการปฏิบตั กิ าร
ลวงทางทหาร
๔-๘๖. ผลย้ อ นกลั บ คื อ ข้ อ มู ล ข่ า วสารซึ่ ง ปรากฏต่ อ เป้ า หมายในการลวงว่ า ก� ำ ลั ง ท� ำ การ
ตอบสนองต่อเรื่องลวงอย่างไร และแผนการลวงทางทหารก�ำลังท�ำงานหรือไม่ มีรูปแบบของผล
ย้อนกลับอยู่สองประการคือ ตัวชี้วัด (Indicator) และการรับรู้ (perception)
๔-๘๗. ผลย้อนกลับในเชิงตัวชี้วัด (Indicator feedback) คือข้อมูลข่าวสารซึ่งชี้ว่าเรื่องลวง
ก�ำลังไปถึงเป้าหมายในการลวงหรือไม่ และอย่างไร มันเป็นประโยชน์ในเรื่องของการจัด
จังหวะเวลา และจัดล�ำดับขัน้ ตอนเหตุการณ์ลวง มันสามารถแสดงสิง่ บ่งชีอ้ ย่างมีประสิทธิภาพซึง่
ไม่ปรากฏให้ “เห็น” มาแต่ก่อนผลย้อนกลับในเชิงตัวชี้วัดแรกเริ่มเดิมทีนั้นเรียกกันว่า “ผล
ย้อนกลับทางการยุทธ์” (operational feedback)
๔-๘๘. ผลสะท้อนในเชิงการรับรู้ (Perception feedback) คือข้อมูลข่าวสารซึ่งชี้ให้เห็น
ว่าเป้าหมายในการลวงก�ำลังตอบสนองต่อเรื่องลวงหรือไม่ มันแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายก�ำลัง
จัดรูปแบบการรับรู้ที่ต้องการ และก�ำลังท�ำการปฏิบัติหรือไม่ (หรือน่าจะท�ำการปฏิบัติ) ตาม
วัตถุประสงค์ของการลวง อย่างเช่นค�ำถามซึ่งเป้าหมายถามฝ่ายอ�ำนวยการด้านการข่าวกรองหรือ
สั่งการให้เป้าหมายให้ผลย้อนกลับในเชิงการรับรู้ แรกเริ่มเดิมทีเรียกว่า “ผลย้อนกลับในเชิง
วิเคราะห์” (analytical feedback)
การด�ำเนินการประเมินความเสี่ยง (Conduct Risk Assessment)
๔-๘๙. การปฏิบัติการลวงทางทหารทั้งปวงเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและการลงทุน ผู้บังคับ
บัญชาสร้างพื้นฐานการตัดสินใจเพื่อการด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหารบนการประเมิน
น�้ำหนักการลงทุนต่อผลประโยชน์ที่จะได้รับอย่างรอบคอบ นายทหารปฏิบัติการลวงทางทหาร
ด�ำเนินการวิเคราะห์ความเสีย่ งในแต่ละหนทางปฏิบตั ดิ า้ นการลวงระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบตั ิ
ซึ่งใช้เทคนิคต่าง ๆ ดังที่ได้ถกแถลงไว้ในบทที่ ๕ พวกเขาท�ำการพิจารณาผลลัพธ์การวิเคราะห์นี้
ระหว่างการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ นายทหารปฏิบัติการลวงทางทหารเสนอความเสี่ยง,
ผลประโยชน์ที่ได้รับ และการลงทุนในหนทางปฏิบัติที่ได้รับการน�ำเสนอต่อผู้บังคับบัญชาระหว่าง
การอนุมัติหนทางปฏิบัติ ผู้บังคับบัญชาท�ำการตัดสินใจถ้าหากผลที่ได้มีน�้ำหนักมากกว่าความเสี่ยง
ความเสี่ยงได้รับการพิจารณาระหว่างการวางแผนการลวงทางทหาร และท�ำการประเมินอย่าง
ต่อเนื่องตลอดจนค�ำนวณแล้วค�ำนวณเล่าตลอดห้วงเวลาของการเตรียมการและการปฏิบัติการ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 147

๔-๙๐. การปฏิบัติการลวงทางทหารใด ๆ ก็ตามเสี่ยงต่อการสูญเสียหากมันล้มเหลว ความเป็น


ไปได้ของความล้มเหลวเกิดขึน้ มาจากความไม่แน่นอนต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับสิง่ บ่งชีท้ มี่ งุ่ ต่อเป้าหมาย
ในการลวงว่าได้รับ หรือแปลความหมายออกมาอย่างไรตลอดจนพวกมันมีผลกระทบต่อความ
เข้าใจในสถานการณ์ของเป้าหมายในท้ายที่สุดอย่างไร ถ้าการปฏิบัติการลวงทางทหารต้องประสบ
ความส�ำเร็จส�ำหรับหนทางปฏิบตั ทิ งั้ ปวงเพือ่ ความส�ำเร็จ ดังนัน้ การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารนัน้ ถือ
เป็นกิจส�ำคัญยิ่ง (Essential task) ปกติกิจนี้ใช้การลวงทางทหารก่อให้เกิดความคุ้มค่าอย่างสูงสุด
แต่ก็ตกอยู่ในความเสี่ยงที่มากยิ่งขึ้นกว่าเดิม นายทหารยุทธการ และนายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารประกันว่าผู้บังคับบัญชามีเจตนาในการยอมรับระดับของความเสี่ยงนี้ก่อนที่จะรวมมันไว้
ในแต่ละหนทางปฏิบัติความเสี่ยงด้านการลวงน�ำมาซึ่งรูปแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
๔-๙๐.๑ ความเสี่ยงในเรื่องของความล้มเหลว (Risk of failure) ถ้าเป้าหมายเห็นการ
ลวง และข้อมูลข่าวสารทั้งหมดแต่ไม่กระท�ำการตามเรื่องลวง และวัตถุประสงค์
ในการลวง การลวงนั้นล้มเหลว
๔-๙๐.๒ ความเสีย่ งในเรือ่ งของการถูกเปิดโปง (Risk of exposure) ถ้าการปฏิบตั กิ าร
ลวงทางทหารเป็นไปแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ มันอาจจะเป็นสาเหตุให้เป้าหมายใน
การลวงท�ำการลงความเห็นถึงแผนการทีแ่ ท้จริงได้ ถ้าถูกค้นพบ การใช้ทรัพยากร
ส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารอาจจะเป็นการตกอยูใ่ นสถานะทีเ่ ป็นอันตราย
ได้ ในกรณีที่เลวร้ายที่สุดการปฏิบัติการลวงทางทหารอย่างครึ่ง ๆ กลาง ๆ ของ
ฝ่ายเราอาจจะเป็นผลร้ายแก่ตัวของผู้ริเริ่มเสียเอง
๔-๙๐.๓ ความเสีย่ งในเรือ่ งของผลกระทบทีไ่ ม่ได้ตงั้ ใจ (Risk of unintended effects)
เป้าหมายอาจจะตอบโต้ตอ่ การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารในวิถที างทีไ่ ม่เป็นไปตาม
ที่คาดไว้ หรือในลักษณะที่ไม่ได้ตั้งใจอาจจะเป็นการลวงที่พลั้งเผลอ และการ
ตอบโต้ตอ่ การลวงในวิถที างทีไ่ ม่เคยเห็นมาก่อน ผลกระทบดังกล่าวสามารถเป็น
ได้ทั้งในเชิงบวกหรือเชิงลบ และอาจจะเกี่ยวข้องได้ทั้งการปฏิบัติการลวงทาง
ทหารหรือการปฏิบัติการอื่น ๆ
๔-๙๑. ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถลดความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารโดยการ
ประยุกต์ใช้มาตรการดังต่อไปนี้ :
๔-๙๑.๑ ใช้การลวงทางทหารในฐานะเป็นการปฏิบตั กิ ารจัดรูปแบบ (shaping operation)
เพื่อส่งเสริมการบรรลุภารกิจ แต่ไม่ได้เป็นกิจส�ำคัญยิ่ง
๔-๙๑.๒ การพิสูจน์ทราบวัตถุประสงค์ด้านการลวงที่แท้จริง
๔-๙๑.๓ การสร้างการข่าวกรองที่เข้มแข็งสนับสนุนต่อการปฏิบัติการลวงทางทหาร
148 บทที่ ๔

๔-๙๑.๔ คาดการณ์สภาวการณ์ซึ่งสามารถท�ำให้การปฏิบัติการลวงทางทหาร และ


การวางแผนตอบสนองตกอยู่ในสภาพครึ่ง ๆ กลาง ๆ
๔-๙๑.๕ ใช้ทีมแดง (ทีมสมมติเป็นข้าศึก) เป็นคู่ต่อสู้ในการปฏิบัติการลวงทางทหาร
ระหว่างการวางแผน
๔-๙๑.๖ ประเมินลักษณะการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารของผูบ้ งั คับบัญชาอย่าง
ต่อเนื่อง
๔-๙๑.๗ ด�ำเนินการประเมินค่าอย่างต่อเนื่องต่อการตัดสินใจหากฝ่ายตรงข้ามเชื่อในการ
ลวงนั้น
การด�ำเนินการวิเคราะห์การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (Conduct an OPSEC
Analysis)
๔-๙๒. การปฏิบัติการลวงทางทหารสร้างความท้าทายในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การอย่างสลับซับซ้อน การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารนัน้ ต้องการผูบ้ งั คับบัญชาท�ำการกวดขันการใช้
และท�ำการจับมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารมาผสมผสานกันอย่างเต็มเปีย่ มไปด้วย
ศิลปะ ส�ำหรับการปฏิบัติการลวงทางทหารที่ประสบความส�ำเร็จ ผู้บังคับบัญชานั้นท�ำการจัดการ
ความต้องการในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการอย่างระมัดระวัง เพื่อให้เกิดการปกป้อง
อย่างเพียงพอ แต่ไม่เกินพอดี การมีการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารมากเกินไปสามารถเป็น
สิ่งที่ขัดขวางการปฏิบัติการลวงทางทหารโดยไม่จ�ำเป็น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสนธิ
มาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเข้าไว้ในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติการลวงทางทหาร
๔-๙๓. มีอยู่เสมอ ๆ ที่เหตุการณ์ลวงแสดงออกเหมือนกับว่าให้ความระมัดระวังต่อกิ่งงาน
ของการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการของฝ่ายเรา สิ่งเหล่านี้ต้องประสบผลส�ำเร็จโดย
ปราศจากความสับสนกับการปฏิบตั กิ ารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารทีแ่ ท้จริง และการปฏิบตั ิ
การอืน่ ๆ ของฝ่ายเรา ปกติตวั ชีว้ ดั ทีผ่ ดิ พลาดเคลือบแฝงอยูใ่ นจ�ำนวนข้อมูลข่าวสารทีเ่ ป็นข้อเท็จจริง
อย่างจ�ำเพาะเจาะจงเพื่อสนับสนุนการยอมรับพวกมัน นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกัน
ว่าการปล่อยข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องไม่ได้สร้างความสับสนต่อแผนการของฝ่ายเรา การรักษาความ
ปลอดภัยที่จ�ำเป็นจะต้องได้รับการด�ำรงรักษาไว้ แม้ว่าขณะที่การปฏิบัติการลวงทางทหารได้หักเห
การไหลเวียนของข้อมูลที่เป็นความจริงตามที่ถูกการควบคุมไว้ก็ตาม
๔-๙๔. ตลอดทุก ๆ ขั้นตอน การปฏิบัติการลวงทางทหารต้องได้รับการปกป้องจากทั้งการ
ค้นหาโดยฝ่ายปรปักษ์ และการค้นหาของฝ่ายเราโดยมิได้ตงั้ ใจ ความต้องการนีเ้ ป็นการประยุกต์
กระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการไปสู่การวางแผนการลวงทางทหาร (ดูบทที่ ๓)
ประการแรก กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงพิสูจน์ทราบข้อมูลข่าวสารซึ่งอาจจะอ� ำนวยให้ฝ่าย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 149

ตรงข้ามท�ำการค้นหาการปฏิบัติการลวงทางทหารโดยอยู่ในขั้นของหนทางปฏิบัติด้านการลวง
ทางทหาร สิ่งเหล่านี้ได้กลายเป็นหัวข้อข่าวสารส�ำคัญยิ่งของฝ่ายเราที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ
ลวงทางทหาร (การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ การปฏิบัติที่ ๑)
๔-๙๕. ในล�ำดับต่อไป กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงท�ำการวิเคราะห์ความสามารถของฝ่าย
ตรงข้ามในการค้นหาการปฏิบัติการลวงทางทหาร (การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
การปฏิบัติที่ ๒) ฝ่ายตรงข้ามสามารถแสวงหาหัวข้อข่าวสารส�ำคัญยิ่งของฝ่ายเรา (EEFI) ด้วย
การค้นหาโดยตรง หรือด้วยการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงคาดการณ์
ว่าการวิเคราะห์ของฝ่ายตรงข้ามจะไม่ประกอบด้วยเพียงหัวข้อข่าวสารส�ำคัญยิง่ ของฝ่ายเราเท่านัน้
แต่ยังเป็นตัวชี้วัดระดับสองและสามซึ่งสามารถปรากฏพร้อม ๆ กันในการปฏิบัติการลวงทางทหาร
เพื่อก�ำหนดตัวชี้วัดการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ กลุ่มการท�ำงานด้านการลวงก�ำหนด
หัวข้อข่าวสารส�ำคัญยิ่งของฝ่ายเราที่ถูกส่งผ่านภายในระบบอย่างไร และที่ใดที่พวกมันอาจจะ
“รัว่ ไหล” ออกไป การวิเคราะห์ในเรือ่ งของความล่อแหลมนี้ (การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร
การปฏิบตั ทิ ี่ ๓) กระท�ำจากภาพลักษณะมุมมองของฝ่ายตรงข้าม มันเป็นกิจส�ำคัญอย่างยิง่ ยวดของ
กระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และเป็นการระบุมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการซึ่งอาจจะถูกใช้เพื่อปกป้องหัวข้อข่าวสารส�ำคัญยิ่งของฝ่ายเราที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติการลวงทางทหาร
๔-๙๖. เมื่อการวิเคราะห์ความล่อแหลมได้รับการด�ำเนินการไปแล้ว กลุ่มการท�ำงานด้านการ
ลวงท�ำการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับการใช้ หรือไม่ใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการเป็นรายบุคคล (การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ การปฏิบัติที่ ๔) ทางกลุ่ม
ท�ำการพิจารณาผลลัพธ์การประเมินนี้ระหว่างการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ มาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการส�ำหรับหนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารที่น�ำเสนอจะน�ำเสนอ
ต่อผู้บังคับบัญชาระหว่างการอนุมัติหนทางปฏิบัติ และผู้บังคับบัญชาตัดสินใจว่ามาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติใดที่จะน�ำไปใช้
๔-๙๗. การอนุมัติหนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารของผู้บังคับบัญชาที่สนับสนุนแนวทางใน
การน�ำมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการไปปฏิบัติเกี่ยวข้องกับหนทางปฏิบัตินั้น ๆ
(การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร การปฏิบตั ทิ ี่ ๕) นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั ิ
การเป็นผู้ที่เปลี่ยนแปลงมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่ได้รับการอนุมัติไว้ในกิจ
ต่าง ๆ ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และรวบรวมมาตรการต่าง ๆ นัน้ เข้าไว้ในการวางแผนการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร กิจต่าง ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งน�ำเอามาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการมาใช้จะถูกมอบหมายให้กับหน่วยต่าง ๆ ในข้อ ๓ ข ของอนุผนวก
150 บทที่ ๔

การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการประกอบผนวกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกอบแผน
ยุทธการ/ค�ำสั่งยุทธการ
๔-๙๘. การพัฒนาหนทางปฏิบัติที่ด�ำรงอยู่ต่อไปได้เป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งต่อการวางแผนการปฏิบัติ
การลวงทางทหาร หนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารที่เห่อเหิมเกินไปเสี่ยงต่อความล้มเหลว
ขณะที่หนทางปฏิบัติที่อนุรักษ์มากเกินไปอาจจะละทิ้งขีดความสามารถที่เป็นไปได้ ความสามารถ
ในการสร้างหนทางปฏิบัติที่ด�ำรงอยู่ขึ้นอยู่กับการสร้างสรรค์ของกลุ่มการท�ำงานด้านการลวง และ
ขยายไปสู่ขีดความสามารถด้านการลวงที่ได้รับการพัฒนาไว้ล่วงหน้า
แผนส�ำหรับการยุติการปฏิบัติการ (Plan for Termination)
๔-๙๙. หนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารรวมถึงสภาวการณ์ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ในการยุติการ
ปฏิบัติการลวงทางทหาร และการปฏิบัติที่แตกออกไป (Branches) ซึ่งก�ำหนดการปฏิบัติการ
ลวงทางทหาร การวางแผนยุตกิ ารปฏิบตั กิ ารสร้างมาตรการทีย่ ตุ กิ ารปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารอย่าง
ได้เปรียบขณะทีท่ ำ� การปกป้องเครือ่ งมือ และเทคนิคด้านการลวง การเตรียมการยุตกิ ารปฏิบตั กิ าร
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดการปฏิบัติการลวงทางทหาร มีการปฏิบัติสามประการที่เกิดขึ้นโดย
ไม่ค�ำนึงว่าการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารจะบรรลุถงึ วัตถุประสงค์ของมันหรือไม่ หรือยังคงได้รบั การ
ปกปิดไว้อยู่ พวกมันคือ
๔-๙๙.๑ การยกเลิกกลุ่มของกิจกรรมด้านการลวง
๔-๙๙.๒ การถอนเครื่องมือในการลวงโดยได้รับการปกป้อง
๔-๙๙.๓ การประเมิน และการรายงานหลังการปฏิบัติ
๔-๑๐๐. ข้อความหนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารก�ำหนดความเสี่ยงต่อแหล่ง และเครื่องมือ
ซึ่งอาจจะอยู่นอกเหนือผลประโยชน์ของการปฏิบัติการลวงทางทหาร และผลลัพธ์ในการยุติการ
ปฏิบัติการลวงทางทหารที่เสนอแนะ มันรวมถึงการยุติการปฏิบัติที่แตกออกไปซึ่งก�ำหนดในแต่ละ
สภาพแวดล้อมเหล่านี้
๔-๑๐๐.๑ ความส�ำเร็จ
๔-๑๐๐.๒ ความล้มเหลว
๔-๑๐๐.๓ ความสับสน
๔-๑๐๐.๔ การลวงหมดความจ�ำเป็นไป
การวิเคราะห์, การเปรียบเทียบ และการอนุมัติหนทางปฏิบัติ
(COA ANALYSIS, COMPARISON, AND APPROVAL)
๔-๑๐๑. ฝ่ายอ�ำนวยการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารด้วยการจ�ำลองยุทธ์
หนทางปฏิบัติส�ำหรับการปฏิบัติการในภาพรวม นายทหารปฏิบัติการลวงทางทหาร สร้าง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 151

บรรทัดฐานส�ำหรับการประเมินค่าหนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหารก่อนที่การจ� ำลองยุทธ์จะ
เริ่มขึ้น บรรทัดฐานเหล่านี้ปกติจะรวมถึงความเสี่ยง และการลงทุนในแต่ละหนทางปฏิบัติ ซึ่ง
ประกอบความเกี่ยวข้องเหล่านั้นไว้กับมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๔-๑๐๒. นายทหารยุทธการฝ่ายแผนพิจารณาหนทางปฏิบตั ดิ า้ นการลวงทางทหารเมือ่ พวกเขาท�ำ
การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติส�ำหรับการปฏิบัติการในภาพรวมทั้งหมด พวกเขาวิเคราะห์ความ
แข็งแกร่งและความอ่อนแอของแต่ละหนทางปฏิบตั ดิ า้ นการลวงทางทหาร ความสามารถของหนทาง
ปฏิบตั ดิ า้ นการลวงทางทหารในการสนับสนุนหนทางปฏิบตั ใิ นภาพรวมทัง้ หมดอย่างเฉพาะเจาะจง
เป็นหนึง่ ในปัจจัยทีไ่ ด้พจิ ารณาเมือ่ ก�ำหนดว่าหนทางปฏิบตั ดิ า้ นการลวงทางทหารใดทีจ่ ะได้รบั การน�ำ
เสนอ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารอาจจะเสนอแนะหนึง่ หนทางให้แก่ผบู้ งั คับบัญชาในฐานะ
เป็นส่วนหนึง่ ของการบรรยายสรุปการตกลงใจระหว่างการอนุมตั หิ นทางปฏิบตั ิ หรือในการบรรยาย
สรุปที่แยกออกมาเป็นการเฉพาะ ถ้าการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ หรือปัจจัยอื่น ๆ ท�ำ
มันขึ้นมาอย่างเหมาะสม เมื่อผู้บังคับบัญชาอนุมัติหนทางปฏิบัติการด้านการลวงทางทหาร มันจะ
กลายเป็นแนวความคิดในการปฏิบัติส�ำหรับการปฏิบัติการลวงทางทหาร
การผลิตแผนและค�ำสั่ง (ORDERS PRODUCTION)
๔-๑๐๓. กลุ่มการท�ำงานด้านการลวง จัดเตรียมแผนการลวงทางทหารภายหลังจากที่ผู้บังคับ
บัญชาอนุมัติหนทางปฏิบัติด้านการลวงทางทหาร (อนุผนวกการลวงทางทหารประกอบผนวก
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ซึง่ บรรจุแผนการลวงทางทหารไว้ การแจกจ่ายแผนดังกล่าวปกติแล้ว
เป็นไปอย่างจ�ำกัดซึ่งจะแจกจ่ายเฉพาะต้องการให้รู้เท่าที่จ�ำเป็นเท่านั้น) ทันทีที่แผนการลวงทาง
ทหารเสร็จสิ้นสมบูรณ์ได้รับการประสานอย่างเรียบร้อย และผ่านการทบทวนเพื่อความสอดคล้อง
แผนการลวงจะได้รับการน�ำเสนอต่อผู้บังคับบัญชาเป็นร่างอนุมัติ เพื่อประกันถึงการประสาน
สอดคล้องในเรือ่ งการลวงทางทหาร ณ ทุกระดับ อ�ำนาจในการอนุมตั สิ ำ� หรับการปฏิบตั กิ ารลวงทาง
ทหารขึน้ อยูก่ บั หน่วยบัญชาการเหนือขึน้ ไปสองระดับจากหน่วยทีร่ เิ ริม่ ขึน้ ภายหลังจากทีผ่ มู้ อี ำ� นาจ
ในการอนุมตั ไิ ด้อนุมตั แิ ผนการลวงทางทหารแล้ว มันจะกลายเป็นส่วนหนึง่ ของแผน/ค�ำสัง่ ยุทธการ
แผนการลวงทางทหารที่ได้รับการอนุมัติแล้วนั้นไม่ได้มีไว้สำ� หรับน�ำไปปฏิบัติการได้ในทันทีมันจะ
ต้องได้รบั การปรับให้ทนั สมัยเสียก่อนในลักษณะเดียวกับแผนยุทธการทีไ่ ด้รบั การสนับสนุน และได้
รับการทบทวนอย่างทั่วถึงด้วยผู้มีอ�ำนาจหน้าที่ในขั้นสุดท้ายก่อนที่จะท�ำการปฏิบัติ
การเตรียมการ (PREPARATION)
๔-๑๐๔. ระหว่างการเตรียมการ ผู้บังคับบัญชาใช้ทุกโอกาสในการกลั่นกรองแผนการลวงทาง
ทหารโดยอาศัยการข่าวกรองที่ทันสมัย ขณะที่แหล่งข้อมูลมากมายก่อให้เกิดข่าวกรองที่ทันสมัย
บ่อยครัง้ ทีก่ ารลาดตระเวนเป็นส่วนส�ำคัญทีส่ ดุ ของกิจกรรมนี้ การปฏิบตั กิ ารลาดตระเวนได้รบั การ
152 บทที่ ๔

วางแผนไว้อย่างละเอียดรอบคอบเพื่อมิให้การปฏิบัติการลวงทางทหารเป็นไปแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ
ผู้บังคับบัญชาสร้างความสมดุลในความต้องการข้อมูลข่าวสารกับแผนการลวงทางทหารที่มีความ
เป็นไปได้ว่าจะเป็นไปแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ โดยหน่วยที่ท�ำการลาดตระเวน ปกติแล้วหน่วยที่ท�ำการ
ลาดตระเวนเข้าไปเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการลวงทางทหารโดยไม่ได้ตั้งใจ
๔-๑๐๕. กิจกรรมการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ระหว่างการ
เตรียมการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร จากการลาดตระเวน การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร
เป็นความพยายามที่ผันแปรอยู่ตลอดเวลาซึ่งเป็นการคาดการณ์ และตอบโต้ความพยายามในการ
รวบรวมข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม การปฏิบัติการเคลื่อนย้ายหน่วยได้รับการสนธิเข้ากับการปฏิบัติ
การลวงทางทหาร และมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ประกันว่าการ
ปฏิบัติการดังกล่าวไม่แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจของฝ่ายเรา
๔-๑๐๖. แผนการลวงทางทหารไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่ แผนดังกล่าวอาจจะได้รับการปรับแต่ง
โดยอาศัยพื้นฐานเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ สมมติฐานเป็นการพิสูจน์ความจริงหรือความ
ผิดพลาด เมือ่ การรับรูข้ องฝ่ายตรงข้ามได้รบั การยืนยัน หรือสถานภาพหน่วยของฝ่ายเราเปลีย่ นแปลง
ไป ผู้บังคับบัญชาปรับแต่งการปฏิบัติการลวงทางทหาร หรือยกเลิกมันไปหากมันไม่สามารถเกิด
ผลกระทบต่อสถานการณ์ได้อย่างเฉพาะเจาะจง
๔-๑๐๗. ปกติการเปลี่ยนแปลงการจัดเฉพาะกิจได้รับการด�ำเนินการในระหว่างการเตรียมการ
การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ชือ่ มต่อไปยังการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารอาจจะถูกน�ำมาแอบแฝงไว้ มาตรการ
รักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่ยืดยาวออกไปเป็นสิ่งที่ต้องการ แผนการลวงอาจจะเป็นไป
แบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ ถ้าฝ่ายตรงข้ามค้นพบความเปลี่ยนแปลง และรับรู้ถึงความไม่มีเหตุมีผลใน
ทางตรรกะของพวกมัน ในทางตรงกันข้าม ถ้าการเปลี่ยนแปลงการจัดเฉพาะกิจเป็นส่วนหนึ่งของ
เหตุการณ์ลวง การล่วงละเมิดการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการที่แอบแฝงอยู่นั้นสามารถใช้
เป็นตัวชี้วัดได้
๔-๑๐๘. เทคนิคในการเตรียมการอย่างหนึ่งคือการสร้างเงื่อนไขต่อเป้าหมายที่เป็นไปได้เพื่อ
“จัดพวกเขาให้เข้าระบบ” ส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารทีก่ ำ� ลังตามมา การสร้างเงือ่ นไขนี้
คือ กระบวนการสร้างสรรค์อย่างสมบูรณ์แบบ หรือการเพิม่ น�ำ้ หนักความโน้มเอียง หรือการสร้างแรง
จูงใจที่ท�ำให้เป้าหมายท�ำการจัดรูปแบบการรับรู้ตามที่ต้องการมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น การด�ำเนิน
การปฏิบัติการรุกโดยไม่ก�ำหนดเวลาที่แน่ชัดในการปฏิบัติในพื้นที่ที่ก�ำหนดให้อาจจะเป็นเหตุให้
เป้าหมายไม่ให้ความเชื่อถือในสิ่งบอกเหตุเรื่องของการเตรียมการเกี่ยวกับการรุกที่แท้จริงในเวลา
ต่อมาและเชื่อในเรื่องลวงที่ก�ำหนดขึ้นเพื่อปกปิดการเข้าตีที่คาดหมายไว้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 153

การปฏิบัติการ (EXECUTION)
๔-๑๐๙. การปฏิบตั กิ ารเกิดขึน้ ในสภาพแวดล้อมทีผ่ นั แปรตลอดเวลา ดังนัน้ ผูบ้ งั คับบัญชาต้อง
ท�ำการประเมิน และกลัน่ กรองแก้ไขการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารอย่างต่อเนือ่ งด้วยการวางแผน
และเตรียมการ การประเมินจะด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่องระหว่างการปฏิบัติการ โดยในธรรมชาติ
ของตัวมันเองมีความอ่อนตัวเพียงเล็กน้อยเท่านั้นในการปฏิบัติการลวงทางทหาร กุญแจส�ำคัญไป
สู่ความส�ำเร็จคือ ความรู้ที่แม่นย�ำเมื่อท�ำการปฏิบัติในขั้นต่อไปในการน�ำพาเรื่องลวงไปน�ำเสนอ
แผนการลวงทางทหารก�ำหนดเหตุการณ์ และตัวชี้วัดที่ย้อนกลับมาส�ำหรับการรวบรวม และการ
วิเคราะห์ข่าวกรองเพื่อท�ำให้เกิดข้อเสนอแนะต่อสิ่งเหล่านี้
๔-๑๑๐. การปฏิบัติการลวงทางทหารได้รับการด�ำเนินการปฏิบัติในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของ
การปฏิบตั กิ ารในภาพรวมทัง้ มวล การปฏิบตั ใิ นเรือ่ งของการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารเกีย่ วข้อง
กับการควบคุมและการยุติปฏิบัติการ
การควบคุมการปฏิบัติการลวง (CONTROLLING DECEPTION OPERATIONS)
๔-๑๑๑. เกี่ยวกับการบังคับบัญชา และการควบคุม การควบคุมเป็นเรื่องปกติของก�ำลังรบ
และระบบปฏิบัติการสนามรบ (battlefield operating system) ในการที่จะบรรลุภารกิจ
ตามเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา การควบคุมประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูลข่าวสาร, การ
ด�ำเนินกรรมวิธี, การแสดงผล, การจัดเก็บ และการกระจายข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง (relevant
information) ส�ำหรับการสร้างสรรค์ภาพการยุทธ์ร่วมกัน (common operational picture)
และการใช้ขอ้ มูลข่าวสาร ซึง่ เป็นเรือ่ งพืน้ ฐานส�ำคัญโดยฝ่ายอ�ำนวยการ ระหว่างการด�ำเนินกรรมวิธี
ปฏิบัติการต่าง ๆ๑๒ (รส. ๖-๐) ในการลวงทางทหาร ประกอบด้วยการตกลงใจที่ก�ำลังด�ำเนิน
ไประหว่างที่ท�ำการปฏิบัติการลวงทางทหาร มันเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจที่จะปฏิบัติในแต่ละ
เหตุการณ์ลวงเป็นการเฉพาะตามแผนการลวงทางทหาร หรือการที่จะเปลี่ยนแปลงแผนการให้
มันเป็นไปในแนวทางสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ หรือการตอบสนองของฝ่าย
ตรงข้าม กิจกรรมต่าง ๆ นานาด้านการลวงถูกแสดงขึ้นระหว่างการวางแผนในฐานะเป็นส่วนหนึ่ง
ในการด�ำเนินไปของเหตุการณ์ทแี่ สดงไว้ลว่ งหน้าในตารางการปฏิบตั ิ การตัดสินใจอืน่ ๆ ถูกก�ำหนด
ให้เป็นไปโดยเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏระหว่างการปฏิบัติการ การควบคุมแบบรวมการเหนือ
เหตุการณ์ลวงเป็นความจ�ำเป็นอย่างเลีย่ งเสียมิได้ในการทีจ่ ะประกันว่าเหตุการณ์ลวงเหล่านัน้ ได้รบั
การประสานสอดคล้องในวิถที างซึง่ ไม่ขดั แย้งกับการปฏิบตั กิ ารอืน่ ๆ สิง่ นีต้ อ้ งการการประสานงาน
อย่างใกล้ชิดระหว่างหน่วยต่าง ๆ ที่จัดไว้เพื่อการด�ำเนินการกับพวกมัน ข้อความในย่อหน้า

๑๒
ดู รส. ๖-๐
154 บทที่ ๔

เกี่ยวกับการบังคับบัญชา และการควบคุมของแผนการลวงทางทหารจะระบุถึงผู้มีอ�ำนาจหน้าที่ใน
การสั่งการเปลี่ยนแปลงต่อแผนการลวง
การยุติการปฏิบัติการลวงทางทหาร (TERMINATING DECEPTION OPERATIONS)
๔-๑๑๒. การยุตกิ ารปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารเป็นการปฏิบตั กิ ารควบคุมเชิงปฏิบตั กิ ารขัน้ สุดท้าย
เมือ่ ตัดสินใจทีจ่ ะยุตกิ ารปฏิบตั กิ ารเกิดขึน้ การยุตกิ ารปฏิบตั กิ ารทีแ่ ตกออกไปหรือการปฏิบตั กิ าร
ทีต่ ามมาในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องจะกลายเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญส�ำหรับล�ำดับชุดของเหตุการณ์ยตุ กิ ารปฏิบตั ิ
การอย่างสมบูรณ์
๔-๑๑๓. การทบทวนหลังการปฏิบัติการ (AAR) เป็นส่วนหนึ่งที่ถูกรวมไว้กับการยุติการปฏิบัติ
การลวงทางทหาร การทบทวนหลังการปฏิบัติการจะรวมถึงบทเรียนการปฏิบัติการ (lessons
learned) ตลอดจนเกณฑ์ชี้วัดต้นทุนเกี่ยวกับการลวง อย่างเช่นการใช้จ่ายทางด้านการเงิน, วัสดุ
อุปกรณ์และทรัพยากรต่าง ๆ, หน่วยที่ใช้, ความต้องการชั่วโมงการท�ำงานของคน, และต้นทุนทาง
ด้านโอกาส ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนท�ำให้นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการ
ลวงทางทหารและผู้บังคับบัญชามีพื้นฐานส�ำคัญอันแข็งแกร่งส�ำหรับการประเมินค่าหนทางปฏิบัติ
ในการปฏิบัติการลวงทางทหารในอนาคต
การประเมิน (ASSESSMENT)
๔-๑๑๔. การประเมินเป็นการเฝ้าติดตามอย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ปัจจุบัน และความ
ก้าวหน้าในการปฏิบตั กิ าร ตลอดจนการประเมินค่าในส่วนของการประเมินกับบรรทัดฐานความ
ส�ำเร็จเพือ่ ท�ำการตัดสินใจและปรับแต่ง ตลอดการวางแผน, การเตรียมการ, และการปฏิบตั กิ าร
(รส. ๓-๐) มันเกี่ยวข้องกับการรับ และการด�ำเนินกรรมวิธีข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการน�ำเอาการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารไปปฏิบัติ มันยังรวมถึงการตรวจสอบวัตถุประสงค์, เป้าหมาย, เรื่องลวง
และเครื่องมือในการลวง, ใหม่อีกครั้ง กิจกรรมในการควบคุมรวมถึง การตัดสินใจในกลางคัน และ
ค�ำแนะน�ำที่จ�ำเป็นต่อการปรับแต่งการน�ำแผนการลวงทางทหารไปปฏิบัติ กิจกรรมทั้งสองด�ำเนิน
ไปต่อเนือ่ งจนกระทัง่ กิจกรรมเกีย่ วกับการยุตกิ ารปฏิบตั กิ ารเสร็จสิน้ สมบูรณ์ มีกจิ กรรมการประเมิน
อยู่ด้วยกันสี่แบบระหว่างการปฏิบัติการลวงทางทหารได้แก่ :
๔-๑๑๔.๑ การเฝ้าติดตาม และการประเมินค่าการปฏิบัติการลวงทางทหารเพื่อประกัน
ว่ามันด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เป็นจริง
๔-๑๑๔.๒ การได้รบั ผลย้อนกลับทีจ่ ำ� เป็นต่อการประเมินค่าความก้าวหน้าของเรือ่ งลวง
๔-๑๑๔.๓ การเฝ้าติดตามผลทีต่ ามมาโดยไม่ตงั้ ใจของการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร ข้อมูล
เกีย่ วกับผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ โดยไม่ได้ตงั้ ใจอาจจะถูกใช้เพือ่ ปรับแต่งเหตุการณ์
ลวง หรือเกิดความได้เปรียบในโอกาสใหม่ที่เกิดขึ้น
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 155

๔-๑๑๔.๔ ประเมินค่าความต้องการในการยุติปฏิบัติการลวงทางทหารส�ำหรับเหตุผล
อื่น ๆ ที่นอกเหนือความส�ำเร็จ
๔-๑๑๕. ประสบการณ์เป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญของข้อมูลข่าวสารด้านการลวงทางทหาร โดย
เฉพาะประสบการณ์ทางด้านการจัดการความรูร้ วมถึงการทบทวนหลังการปฏิบตั กิ ารตลอดจน
การวิเคราะห์การปฏิบัติการลวงทางทหารที่ผ่านมาไม่นาน สิ่งเหล่านี้ก�ำหนดทั้งเป้าหมายในการ
ลวงที่เป็นไปได้ และกลไกในการด�ำเนินการปฏิบัติการลวงทางทหาร ด้วยความเกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติการอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการสร้างขึ้นระหว่างการปฏิบัติการ การรวบรวม, การด�ำเนิน
กรรมวิธี และการจัดเก็บพวกมันในต้อนสิน้ สุดการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร บทเรียนจากการปฏิบตั ิ
การทั้งหมดใช้ด�ำเนินกรรมวิธีต่อกิจกรรมต่าง ๆ, การวางแผน, การเตรียมการ, การปฏิบัติการ,
และการประเมินค่าที่ได้จับประเด็นเอาไว้
๔-๑๑๖ ผูบ้ งั คับบัญชาท�ำการประเมินการปฏิบตั กิ ารลวงทางทหารอย่างต่อเนือ่ ง คุณภาพของ
แผนการลวงทางทหารมีความเกี่ยวพันกับความมีเหตุมีผลของสมมติฐานเกี่ยวกับอะไรก็ตาม
ที่สถานการณ์จะเป็นไป และเมื่อใดที่การปฏิบัติการในภาพรวมจะเริ่มขึ้น ความมีเหตุมีผลของ
สมมติฐานกับข้อมูลข่าวสารที่ทนั สมัยเป็นสิง่ จ�ำเป็นต่อการประเมิน เพือ่ ท�ำในสิง่ นี้ สถานการณ์โดย
ทัว่ ไปเป็นการจัดล�ำดับความเร่งด่วนทีไ่ ด้รบั การประเมินไว้อย่างต่อเนือ่ งต่อการเริม่ ต้นของการปฏิบตั ิ
การทัง้ มวล การประเมินดังกล่าวอาจจะเป็นความจ�ำเป็นในการก�ำหนดว่าเมือ่ ใดทีจ่ ะเริม่ การปฏิบตั ิ
การลวงทางทหาร
ภาคที่ ๒
ยุทธวิธี, เทคนิค และระเบียบปฏิบัติ
(Tactics, Techniques, and Procedures)

เช่นเดียวกับการปฏิบตั กิ ารทางทหารทัง้ มวล การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารด�ำเนินไปตาม


กระบวนการปฏิบัติการ (Operations Process) ได้แก่ การวางแผน, การเตรียมการ,
การปฏิบัติ และการประเมินอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้เป็นไปตามล�ำดับขั้นตอนแต่
ไม่แยกจากกัน กิจกรรมดังกล่าวคาบเกี่ยวกัน และเกิดซ�้ำแล้วซ�้ำเล่าตามความต้องการของเหตุ
แวดล้อม (ดู รส. ๓-๐ และ รส. ๖-๐) ตอนที่สอง ซึ่งจัดท�ำขึ้นไว้ครอบคลุมกิจกรรมที่กล่าวมานี้
ในบทที่ ๕ ว่าด้วยเรื่องราวเกี่ยวกับการวางแผน บทที่ ๖ ว่าด้วยการเตรียมการ และบทที่ ๗
ว่าด้วยการปฏิบตั กิ าร เนือ่ งจากผูบ้ งั คับบัญชาท�ำการประเมินการปฏิบตั กิ ารอย่างต่อเนือ่ ง แต่ละบท
จึงบันทึกเรื่องราวในประเด็นของการประเมินซึ่งน�ำไปประยุกต์ใช้กับกิจกรรมต่าง ๆ ที่ก�ำลังได้รับ
การกล่าวถึง
บทที่ ๕
การวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(Planning Information Operations)

บทที่ ๕ อธิบายว่าจะใช้กระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหารอย่างไร (Military


Decision Making Process: MDMP) ในการวางแผนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (รส. ๕-๐ มี
เนือ้ หาเกีย่ วกับการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร) แต่ละตอนบันทึกกิจด้านกระบวนการแสวงข้อตกลง
ใจทางทหารหรือกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง ผนวก ก ลงรายการกิจด้านการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร
และการปฏิบัติของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตลอดจนผลผลิตที่เกี่ยวข้องกับพวกมัน
ผนวก ข บรรจุเรื่องราวเหตุการณ์ซึ่งแสดงผลผลิตซึ่งพัฒนาขึ้นระหว่างแต่ละกิจด้านการแสวง
ข้อตกลงใจทางทหาร บทนี้รวมถึงการอ้างอิงระหว่างกันในตัวอย่างในผนวก ข

ตอนที่ ๑ แนวความคิดในการวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(SECTION I - INFORMATION OPERATIONS PLANNING CONCEPTS)
๕-๑. การวางแผนเป็นเครื่องมือซึ่งใช้ในการสร้างมโนภาพผลลัพธ์ตามที่ต้องการโดยผู้บังคับ
บัญชา วางแผนแบบวิถีทางในการบรรลุผลส�ำเร็จในผลลัพธ์อย่างมีประสิทธิภาพ และสื่อสาร
วิสยั ทัศน์, เจตนารมณ์ และการตกลงใจของเขาไปยังหน่วยรอง เป็นการเพ่งเล็งต่อผลลัพธ์ทเี่ ขา
คาดหวังให้บรรลุผล๑ ผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการในระดับเหนือกว่ากองร้อยใช้กระบวนการ
แสวงข้อตกลงใจทางทหาร (MDMP) ในการวางแผนการปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารด�ำเนินการตามเทคนิคของการแสวงข้อตกลงใจทางทหารเพือ่ ท�ำการวางแผน และประสาน
สอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ความสนใจ และความเกี่ยวพันด้านก�ำลังพลของผู้บังคับ
บัญชาเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อการประกันว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้สนับสนุนให้บรรลุภารกิจ
อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อบรรลุในสิ่งนี้ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการที่วางแผนพิจารณาการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารตลอดห้วงเวลาของกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร การวางแผนการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต้องการการสนธิการวางแผนเข้ากับกระบวนการอื่น ๆ ระหว่างกระบวน
การนัน้ การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว (IPB) (ดู รส. ๓๔-๑๓๐) และกรรมวิธเี ป้าหมาย (ดูผนวก
จ และ FM 6-20-10) นายทหารข่าวกรอง และผูป้ ระสานงานการยิงสนับสนุนเข้าร่วมในการประชุม
กับส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและท�ำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในการ
ประสานสอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับกิจกรรมของพวกเขากับการปฏิบัติการทั้งมวล

รส. ๓-๐
158 บทที่ ๕

ผู้บังคับบัญชาใช้ข้อความภารกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร, แนวความคิดในการ
สนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร, วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่ออธิบายและสั่งการการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร (ดูรูป ๕-๑)

ปขส. กิจส�ำคัญยิ่ง แนวทางวางแผนของ เจตนารมณ์


ภารกิจแถลงใหม่ ผู้บังคับบัญชา
วิเคราะห์ ที่เกีี่ยวข้อง ของผู้บังคับบัญชา
ภารกิจ
ข้อความภารกิจด้าน ปขส.

แนวความคิดสนับสนุนด้าน ปขส.
การพัฒนา
หนทางปฏิบัติ วัตถุประสงค์ด้าน วัตถุประสงค์ด้าน วัตถุประสงค์ด้าน
ปขส. ปขส. ปขส.
การวิเคราะห์
หนทางปฏิบัติ
การอนุมัติ กิจด้าน กิจด้าน กิจด้าน
กิจด้าน สอ. กิจด้าน ปจว. กิจด้าน ประกันฯ
หนทางปฏิบัติ สอ. รปภ.ปบ. กร.

รูปที่ ๕-๑ ความสัมพันธ์ของแนวความคิดสนับสนุน วัตถุประสงค์ และกิจด้าน ปขส.

รูปที่ ๕-๑ ความสัมพันธ์ของแนวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร, วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติ


การข้อมูลข่าวสาร และกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร

๕-๒. ข้อความภารกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเป็นย่อหน้าสัน้ ๆ หรือประโยคทีอ่ ธิบาย


ว่าผูบ้ งั คับบัญชาต้องการอะไรให้การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารบรรลุผลส�ำเร็จ และจุดประสงค์ใน
การบรรลุผลส�ำเร็จนัน้ คืออะไร นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารพัฒนาข้อความภารกิจการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร ณ ตอนสุดท้ายของการวิเคราะห์ภารกิจบนพืน้ ฐานของภารกิจแถลงใหม่ กิจส�ำคัญ
ยิ่งเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา และแนวทางวางแผนของ
ผูบ้ งั คับบัญชา นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารพัฒนาข้อความสุดท้ายเกีย่ วกับภารกิจการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารภายหลังผู้บังคับบัญชาอนุมัติหนทางปฏิบัติ (COA) ข้อความภารกิจการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารล่าสุดรวมถึงวัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารส�ำหรับหนทางปฏิบตั ิ
ที่ได้รับอนุมัติ ข้อความภารกิจเริ่มแรกของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะรวมถึงวัตถุประสงค์
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในตอนเริ่มแรก ถ้ามีเกิดขึ้นระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 159

๕-๓. แนวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (information operations


concept of support) เป็นข้อความที่ชัดเจน และกะทัดรัดในเรื่องของที่ไหน, เมื่อใด และ
อย่างไร ผู้บังคับบัญชาตั้งใจที่จะมุ่งเน้นข้อมูลข่าวสารอันเป็นองค์ประกอบของอ�ำนาจก�ำลังรบ
เพื่อให้บรรลุภารกิจ ระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัตินายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพัฒนา
แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นอิสระในแต่ละหนทางปฏิบตั ิ
ซึ่งฝ่ายอ�ำนวยการพัฒนาขึ้น แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้รับ
การบันทึกไว้ในรูปของวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และองค์ประกอบด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร/กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๕-๔. วัตถุประสงค์ หรือทีห่ มายด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (Information operations
objectives) เป็นจุดมุ่งหมายที่ก�ำหนดขึ้นอย่างชัดเจน สามารถยอมรับได้ซึ่งผู้บังคับบัญชา
ตั้งใจที่จะบรรลุโดยการใช้ องค์ประกอบข้อมูลข่าวสาร/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (IO elements/
related activities) วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมีลักษณะเหมือนเป็นที่หมาย
ทีเ่ ป็นภูมปิ ระเทศ หรือทีห่ มายทีเ่ ป็นก�ำลังรบในการปฏิบตั กิ ารด้วยการด�ำเนินกลยุทธ์ วัตถุประสงค์
ดังกล่าวนัน้ มุง่ เน้นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารต่อสิง่ ซึง่ ต้องกระท�ำเพือ่ บรรลุภารกิจด้านการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร และสนับสนุนเจตนารมณ์ของผูบ้ งั คับบัญชาตลอดจนแนวความคิดในการปฏิบตั ิ
ของผูบ้ งั คับบัญชา วัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารนัน้ ปกติเกีย่ วข้องกับกิจต่าง ๆ โดย
ทั่วไปแล้วเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมากกว่าหนึ่งองค์ประกอบ
๕-๕. ความเข้าใจในสถานการณ์อย่างถูกต้องเป็นกุญแจส�ำคัญในการสร้างวัตถุประสงค์ด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร วัตถุประสงค์ระดับยุทธการ และยุทธวิธีมีลักษณะเป็นเรื่องเร่งด่วน
มากกว่าวัตถุประสงค์ระดับยุทธศาสตร์ อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวอาจจะสนับสนุนต่อ
วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระดับยุทธศาสตร์ในยุทธบริเวณ และยุทธศาสตร์
แห่งชาติได้เช่นกัน ฝ่ายอ�ำนวยการยุทธ์ร่วม และของส่วนก�ำลังเหล่าทัพ ณ ระดับยุทธการสนธิและ
ประสานสอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเข้าไว้ในการทัพ (Campaigns) และการยุทธ์หลัก
(Major operations) (ดู รส. ๓-๐)
๕-๖. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพัฒนาวัตถุประสงค์ทั้งหมดของการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารอย่างสอดคล้องกับแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใน
ระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ ณ เวลาเดียวกันกับที่นายทหารยุทธการพัฒนาที่หมายที่เป็น
ภูมิประเทศ หรือที่หมายที่มุ่งต่อก�ำลังรบ อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์บางประการของการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารอาจจะเกิดขึ้นระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ สิ่งเหล่านี้รวมถึงวัตถุประสงค์ด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งแสดงให้เห็นระหว่างการปฏิบัติการทั้งมวล อย่างเช่น การป้องกัน
160 บทที่ ๕

เหตุอนั ตรายในการปฏิบตั กิ าร และการปกป้องการบังคับบัญชา และการควบคุม เรือ่ งอืน่ ๆ อาจจะ


เกีย่ วข้องกับกิจเฉพาะจากกองบัญชาการหน่วยเหนือ วัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ได้กลายเป็นส่วนของข้อความภารกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารล่าสุด นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารใช้วตั ถุประสงค์ดงั กล่าวเพ่งเล็งการด�ำเนินการในเรือ่ งของกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร
๕-๗. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เชิงรุกและเชิงรับเป็นการอธิบายในรูปของผลกระทบ (Effects) ส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเชิงรุกวัตถุประสงค์เหล่านี้ คือการท�ำลาย, รบกวนขัดขวาง, ลดประสิทธิภาพ, ปฏิเสธ, ลวง,
ขยายผล และชักจูงโน้มน้าว ส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรับ คือการปกป้อง, การค้นหา,
การคืนสภาพ และการตอบโต้ (ดูบทที่ ๑)
๕-๘. กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (Information operations tasks) เป็นกิจ
ต่าง ๆ ทีไ่ ด้รบั การพัฒนาขึน้ เพือ่ สนับสนุนการบรรลุวตั ถุประสงค์หนึง่ หรือมากกว่า ในการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกล่าวเพียงองค์ประกอบด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
พัฒนากิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบตั ิ และไปสิน้ สุดระหว่าง
การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ ระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ และการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้รับการกล่าวถึงในรูปขององค์ประกอบ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ระหว่างการผลิตค�ำสั่ง กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะถูก
ก�ำหนดให้กับหน่วยต่าง ๆ รส. ๓-๑๓ นี้ใช้กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในเพียงบริบทเดียว
เท่านั้น คือ หมายถึงกิจซึ่งด�ำเนินการโดยองค์ประกอบ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารเพียงหนึ่งเดียว และสนับสนุนต่อวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เพียงหนึ่งเดียวหรือมากกว่า กิจอื่น ๆ ทั้งมวลซึ่งเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้
รับการก�ำหนดว่าเป็นกิจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO - related tasks)
๕-๙. เป้าหมายของการวางแผนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารคือการสนธิการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารเข้าไว้ในการปฏิบัติการทั้งมวล นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบรรลุสิ่งนี้ด้วยการ
พัฒนาผลผลิตด้านการวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่ง
๕-๙.๑ ระบุว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสนับสนุนต่อการบรรลุภารกิจอย่างไร
๕-๙.๒ ประสานสอดคล้องการด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๙.๓ ชี้แจงว่าหน่วยบัญชาการจะเข้าถึงการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้อย่างไร
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 161

ผลผลิตด้านการวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญที่สุดคือย่อหน้ารองเรื่องการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร หรือผนวกการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประกอบแผนยุทธการหรือค�ำสัง่ ยุทธการ
(ดูผนวก ง) ปกติผนวก ง ประกอบด้วยตารางการปฏิบัติเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และ
ตารางการประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO assessment matrix) เป็นอนุผนวกประกอบ
๕-๑๐. การวางแผนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงบูรณาการ ต้องการการสร้างนวัตกรรมและ
ความอ่อนตัว องค์ประกอบ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร อย่างเช่น
การปฏิบัติการจิตวิทยา, การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC) และการลวงทางทหาร
(MD) ต้องการการใช้เวลาอย่างยาวนานส�ำหรับการวางแผนและการเตรียมการ ส่วนอืน่ ๆ ต้องการ
การแก้ปัญหาที่สูงกว่าเดิมและข่าวกรองที่ทันเวลา ตัวอย่างเช่น มีความล้าหลังอย่างยาวนาน
ระหว่างการปฏิบัติการและการประเมินในเรื่องของผลกระทบของพวกมัน การปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารต้องการความพยายามด้านข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวนที่เข้มข้นระหว่าง
การเตรียมการ และการปฏิบัติในการให้ได้ และมีการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารส�ำหรับการประเมิน
ประสิทธิผลด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การแก้ไขปัญหาในเรื่องของข่าวกรองที่เพิ่มมากขึ้น
ความต้องการข้อมูลด้านการข่าวกรองใหม่ ๆ และการรวบรวมข้อมูลข่าวสารและท�ำการวิเคราะห์
แต่เนิน่ ตามความจ�ำเป็นซึง่ ต้องใช้เวลาในการด�ำเนินการอย่างยาวนาน ปัจจัยเหล่านีเ้ พิม่ ความท้าทาย
ในการเผชิญหน้าให้กับนักวางแผนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และลดเวลาที่มีอยู่ไปใช้ในการเตรียม
การด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตามการลงมือท�ำการปฏิบัติแต่เนิ่น ๆ ใน
กิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีเ่ ลือกไว้แล้วสามารถส่งเสริมความพยายามในการจัดรูปแบบ
พื้นที่ปฏิบัติการ และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารได้
๕-๑๑. เมื่อน�ำไปรวมกับการวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การพัฒนา และการปรับปรุง
ประมาณการปฏิบัติก ารข้อมูลข่าวสารจะยั ง คงด� ำ เนิ นการต่ อ ไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (ดู ผ นวก ค)
องค์ประกอบ/กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร อย่างเช่นการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา
จะน�ำไปท�ำการประมาณการแยกต่างหาก ทุกองค์ประกอบด�ำเนินการประมาณการไปไม่หยุดยั้ง
(การปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง) การด�ำรงการประมาณการข้อมูลข่าวสาร (IO estimate)
ให้ทันสมัยเสมอมีคุณค่ายิ่งในระหว่างการผลิตค�ำสั่งเพราะว่าส่วนส�ำคัญของประมาณการจะบรรจุ
ข่าวสารซึง่ ท�ำให้เกิดรูปแบบพืน้ ฐานส�ำคัญส�ำหรับผนวก การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารและอนุผนวกที่
เกีย่ วข้อง ยิง่ ไปกว่านัน้ ยังเป็นการสนับสนุนการพัฒนาค�ำสัง่ พืน้ ฐาน และค�ำสัง่ เตือนต่าง ๆ ระหว่าง
การวางแผน นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใช้ประมาณการข้อมูลข่าวสารในการวางแผนที่
แตกออกไป (branches) และแผนการปฏิบัติที่ตามมา (sequels) ระหว่างการเตรียมการ
(ดู รส. ๓-๐) และเพื่อเตรียมปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้กับค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ
ระหว่างการปฏิบัติการ
162 บทที่ ๕

ตอนที่ ๒ รับมอบภารกิจ (SECTION II - RECEIPT OF MISSION)


๕-๑๒. ในการรับมอบภารกิจ ไม่ว่าจากหน่วยเหนือ หรือจากผู้บังคับบัญชา (ดูรูป ข-๒)
ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการด�ำเนินการประเมินเริ่มต้น บนพื้นฐานของการประเมินนี้
ผูบ้ งั คับบัญชาให้แนวทางเบือ้ งต้น (ดูรปู ข-๓) และฝ่ายอ�ำนวยการเตรียมการ ตลอดจนร่างค�ำสัง่ เตือน
(ดูรูป ข-๔) ระหว่างเวลารับแนวทางเบื้องต้นของผู้บังคับบัญชา และการให้ค�ำสั่งเตือน ฝ่ายอ�ำนวย
การด�ำเนินการเกี่ยวกับการรับมอบภารกิจ ระหว่างการรับมอบภารกิจ นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร
๕-๑๒.๑ เข้ามีส่วนร่วมในการประเมินขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา
๕-๑๒.๒ รับมอบแนวทางเบื้องต้นของผู้บังคับบัญชา
๕-๑๒.๓ ทบทวนการประมาณการข้อมูลข่าวสาร
๕-๑๒.๔ เตรียมการส�ำหรับการวางแผนในอนาคต
๕-๑๓. ผลผลิตขัน้ ต้นของนายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารคือปัจจัยน�ำเข้าไปสูก่ ารผลิตและ
การด�ำเนินกรรมวิธีที่ก�ำลังตามมา ไม่ว่าจะเป็น การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว, การกระท�ำ
กิจเกี่ยวกับ ขฝล.เบื้องต้น และการออกค�ำสั่งเตือนขั้นต้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยัง
คงก�ำหนดว่าจะใช้เวลาเท่าไรในการแบ่งมอบให้แต่ละการปฏิบัติ และประกันว่าผู้บังคับบัญชาได้
รวบรวมปัจจัยต่าง ๆ ไว้ในแนวทางขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา (commander’s initial guidance)
และค�ำสั่งเตือน
การเข้าร่วมในการประเมินขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา
(PARTICIPATE IN COMMANDER’S INITIAL ASSESSMENT)
๕-๑๔. แนวทางขั้นต้นของผู้บังคับบัญชาเกิดขึ้นมาจากการสร้างมโนภาพ (visualization)
ของผู้บังคับบัญชา กระบวนการนี้ประกอบด้วยการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างผู้บังคับ
บัญชาและคณะฝ่ายอ�ำนวยการ โดยเฉพาะ นายทหารข่าวกรอง, นายทหารยุทธการ, นายทหาร
ด้ า นการบั ง คั บบัญชาและการควบคุม, นายทหารปฏิ บัติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสาร และผู ้ ประสาน
การยิงสนับสนุน (ดู รส. ๖-๐) หน่วยงานด้านการอ�ำนวยการส่วนมากมีส่วนเข้ามาเกี่ยวข้อง
ในภายหลัง ณ จุดนีน้ ายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารช่วยเหลือผูบ้ งั คับบัญชาในการสร้างวิสยั ทัศน์
การปฏิบัติการโดยการอธิบายว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสามารถสนับสนุนการปฏิบัติการ
อย่างไร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้การแนะน�ำขั้นพื้นฐานในประมาณการด้านข้อมูล
ข่าวสาร
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 163

รับมอบแนวทางขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา
(RECEIVE COMMANDER’S INITIAL GUIDANCE)
๕-๑๕. ผู้บังคับบัญชารวบรวมแนวทางด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารไว้ในแนวทางขั้นต้นของ
พวกเขา แนวทางที่แยกต่างหากเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะเหมาะสมระหว่าง
การปฏิบัติการสันติภาพ หรือภารกิจอื่น ๆ ณ ที่ซึ่งข้อมูลข่าวสารเป็นองค์ประกอบหลักของอ�ำนาจ
ก�ำลังรบ อย่างไรก็ตามผู้บังคับบัญชาไม่ได้พิจารณาการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในสุญญากาศ
เมื่อพวกเขาให้แนวทางการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในลักษณะแยกต่างหาก พวกเขาประกันว่า
มันมีความสอดคล้องกับแนวทางอื่น ๆ ของพวกเขา เพื่อประกันว่าการพัฒนาแนวความคิดใน
การสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างชัดเจน และวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารอย่างเฉพาะเจาะจง, กิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ
(Criteria of success) ผู้บังคับบัญชาจะจัดเตรียมแนวทางเฉพาะเจาะจงต่อการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
๕-๑๖. แนวทางขั้นต้นของผู้บังคับบัญชาอาจจะประกอบด้วยหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่าย
เรา (EEFI) และค�ำแนะน�ำที่ให้ความส�ำคัญต่อการลวงทางทหาร การจัดท�ำ หัวข้อข่าวสารส�ำคัญ
ของฝ่ายเราเริ่มต้นด้วยกระบวนการเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC)
(ดูบทที่ ๓) นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทบทวนองค์ประกอบข้อมูลข่าวสารส�ำคัญยิง่ ของฝ่าย
เราที่ปรากฏอยู่ และให้ข้อเสนอแนะในการเปลี่ยนแปลง ถ้าจ�ำเป็นหากผู้บังคับบัญชาให้แนวทาง
ในการลวงทางทหาร นายทหารปฏิบัติการลวงทางทหาร (MDO) จัดตั้งคณะท�ำงานด้านการลวง
และเริ่มงานด้านการวางแผนการลวงทางทหาร (ดูบทที่ ๔)
ด�ำเนินการประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเบื้องต้น
(PERFORM INITIAL INFORMATION OPERATIONS ASSESSMENT)
๕-๑๗. ทันทีทผี่ บู้ งั คับบัญชาให้แนวทางขัน้ ต้น นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจัดตัง้ ส่วนปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร (เมื่อเวลาอ�ำนวยให้) และด�ำเนินการปฏิบัติการประเมินค่าการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเบื้องต้น การประเมินนี้เริ่มด้วยการประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO estimate)
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารปรับปรุงการประเมินนี้ให้ทันสมัยอยู่เสมอโดยอาศัยพื้นฐาน
ปัจจัยน�ำเข้าจากเจ้าหน้าที่ส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และพิสูจน์ทราบช่องว่างข้อมูลข่าวสาร
ในสภาพแวดล้อมที่จ�ำกัดด้วยเวลา มีเพียงข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่อย่างมีเหตุมีผลเท่านั้นที่อาจจะ
น�ำไปใช้ได้ในประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ระหว่างการประเมินนี้ นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารได้รับแนวทางจากสองแหล่งข้อมูลด้วยกันคือ แนวทางขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา
และแผน/ค�ำสั่งยุทธการของกองบัญชาการหน่วยเหนือ แหล่งข้อมูลทั้งสองนี้ก�ำหนดบทบาท
164 บทที่ ๕

การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติการ และก่อให้เกิดความต้องการด้านข้อมูลข่าวสาร
ในการเริ่มวางแผน การประเมินค่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO assessment) ส่งผล
ในผลผลิตดังต่อไปนี้ :
๕-๑๗.๑ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่น�ำเข้าไปสู่การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
๕-๑๗.๒ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่น�ำเข้าไปสู่การก�ำหนดกิจด้าน ขฝล.ขั้นต้น
๕-๑๗.๓ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่น�ำเข้าไปสู่ค�ำสั่งเตือนขั้นต้น
การจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าขั้นต้นเข้าสู่การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
(PROVIDE INITIAL INPUT TO INTELLIGENCE PREPARATION OF THE BATTLEFIELD)
๕-๑๘. การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวสนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารโดยการ
พิสจู น์ทราบขีดความสามารถและความล่อแหลมด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา,
ฝ่ายตรงข้าม และกลุม่ ส�ำคัญอืน่ ๆ มันเป็นการแสดงภาพผูน้ ำ� /ผูม้ อี ำ� นาจตกลงใจของฝ่ายตรงข้าม
และกลุ่มที่ส�ำคัญอื่น ๆ, ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม และกระบวนการแสวงข้อตกลงใจ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่น�ำเข้าสู่การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวสารขั้นต้นด�ำเนินการ
ระหว่างการรับมอบภารกิจทีม่ งุ่ เน้นการพิสจู น์ทราบความต้องการข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารซึ่งรวมถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
๕-๑๘.๑ ขีดความสามารถและความล่อแหลมเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้าม และกลุ่มส�ำคัญอื่น ๆ
๕-๑๘.๒ สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารในห้วงการรบของผู้บังคับบัญชา
๕-๑๘.๓ ผลกระทบของสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ และด้านข้อมูลข่าวสารที่มีต่อ
ฝ่ายเรา, ฝ่ายตรงข้าม และการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ
๕-๑๘.๔ ฝ่ายตรงข้าม และผูอ้ นื่ ๆ ทีอ่ าจจะให้การสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารของพวกเขาด้วย
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในลักษณะอย่างไร (การท�ำนาย)
๕-๑๘.๕ ผลกระทบทีเ่ ป็นไปได้ของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเราต่อการปฏิบตั ิ
การของฝ่ายตรงข้ามและผู้อื่น ๆ (การประเมิน)
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกลั่นกรองการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่เข้าสู่การจัดเตรียม
สนามรบด้านการข่าวทั่วทั้งการปฏิบัติการ
การจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าให้กบั กิจด้านการข่าวกรอง, การลาดตระเวน และการเฝ้าตรวจ
เริ่มต้น
๕-๑๙. ผูบ้ งั คับบัญชาส่งหน่วย ขฝล.ในทันทีหลังจากทีพ่ วกเขาได้รบั มอบภารกิจเท่าทีเ่ ป็นไปได้
(ดู รส. ๕-๐) นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารผสมผสานความต้องการข่าวสารด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร (IO information) การพิสูจน์ทราบเป้าหมาย และการประเมินเพื่อผลิตปัจจัย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 165

น�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้กับกิจด้าน ขฝล.เริ่มต้น ทรัพยากรด้าน ขฝล.มีอยู่อย่าง


จ�ำกัด และอาจถูกจ�ำกัดโดยสภาพอากาศ และปัจจัยอื่น ๆ การเสนอความต้องการข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO information requirement) แต่เนิ่น ๆ เป็นการเพิ่ม
ความเป็นไปได้ในการได้รับข่าวสารในเวลาที่ให้ผลกระทบต่อการปฏิบัติเกี่ยวกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร
๕-๒๐. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเสนอความต้องการข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารส่งต่อไปยังนายทหารการข่าว นายทหารการข่าวรับมอบกิจส�ำหรับหน่วยรองส่งต่อ
ให้นายทหารยุทธการ และท�ำการรวบรวมค�ำร้องขอส่งไปยังกองบัญชาการหน่วยเหนือ เจ้าหน้าที่
ฝ่ายอ�ำนวยการทุกส่วนรับผิดชอบต่อองค์ประกอบ/กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร อีกทัง้ ยังเสนอความต้องการข่าวสารเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารผ่านทางช่องทาง
สนับสนุนด้านเทคนิคของพวกเขาอีกด้วย
จัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าไปเป็นค�ำสั่งเตือนขั้นต้น
(PROVIDE INPUT TO THE INITIAL WARNING ORDER)
๕-๒๑. ค�ำสัง่ เตือนขัน้ ต้นเป็นผลผลิตทางฝ่ายอ�ำนวยการส�ำหรับงานทีเ่ กิดจากกระบวนการแสวง
ข้อตกลงใจ มันถูกออกค�ำสั่งภายหลังจากผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการได้ท�ำการประเมินใน
ขั้นต้นอย่างสมบูรณ์ และก่อนที่การวิเคราะห์ภารกิจจะเริ่มขึ้น มันรวมถึงประเภท และที่ตั้งโดย
ทั่วไปของการปฏิบัติการ, เส้นเวลาเริ่มต้น และการเคลื่อนย้ายใด ๆ หรือการลาดตระเวนที่จะ
เริ่มขึ้น เมื่อพวกเขาได้รับค�ำสั่งเตือนขั้นต้น, หน่วยรองจะเริ่มท�ำการวางแผนคู่ขนานทันที
๕-๒๒. การวางแผนคู่ขนาน และการร่วมกันวางแผน (ในหน่วยด้วยระบบข้อมูลข่าวสารที่
จ�ำเป็น) เป็นเทคนิคในกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหารทีท่ ำ� กันอยูเ่ ป็นประจ�ำ เวลาทีต่ อ้ งการ
ในการบรรลุผลส�ำเร็จ และการประเมินผลกระทบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารท�ำให้เป็นความ
ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการบรรลุผลส�ำเร็จด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การวางแผนคู่ขนาน และ
การร่วมกันวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพต้องการให้ทุกระดับหน่วยท�ำการแบ่งปันข้อมูลข่าวสาร
อย่างสมบูรณ์แบบทันทีที่เป็นไปได้ การแบ่งปันข้อมูลข่าวสารรวมถึง การจัดเตรียมแผน, ค�ำสั่ง
และแนวทางของกองบัญชาการหน่วยเหนือที่มอบให้แก่นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ของหน่วยรอง ผู้แทนจากส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใช้เจ้าหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวยการ และช่องทาง
ในทางเทคนิค (ดู รส. ๕-๐) ในการแบ่งปันข้อมูลข่าวสารเท่าที่ได้ท�ำการพัฒนาขึ้นมา
๕-๒๓. เพราะว่าองค์ประกอบและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
บางอย่างต้องการเวลาที่ยาวนานในการวางแผน หรือต้องเริ่มลงมือปฏิบัติก่อนการปฏิบัติการ
166 บทที่ ๕

ทั้ ง มวลจะเริ่ ม ขึ้น ค�ำสั่งเตือนจะประกอบด้วยข่าวสารด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใน


รายละเอียด แม้ว่ากระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหารประกอบด้วยสามจุดที่ผู้บังคับบัญชาจะ
ออกค�ำสัง่ เตือน แต่จำ� นวนของค�ำสัง่ เตือนนัน้ ไม่ได้กำ� หนดตายตัว ค�ำสัง่ เตือนทีส่ นองรับจุดประสงค์
ในการวางแผนนัน้ คล้าย ๆ กับว่ามันเป็นค�ำสัง่ เป็นส่วน ๆ ระหว่างทีท่ ำ� การปฏิบตั กิ าร ผูบ้ งั คับบัญชา
จะท�ำการออกค�ำสัง่ ได้ทงั้ สองแบบเท่าทีส่ ถานการณ์ตอ้ งการ การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีเ่ ป็นไป
ได้น�ำไปสู่ค�ำสั่งเตือนขั้นต้นที่ประกอบด้วย
๕-๒๓.๑ กิจต่าง ๆ ที่ให้กับหน่วยรองส�ำหรับความริเริ่มแต่เนิ่น ๆ ในการลงมือปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารตามทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การปฏิบตั กิ ารลวงทางทหาร
และการปฏิบัติการจิตวิทยา
๕-๒๓.๒ องค์ประกอบส�ำคัญยิ่งด้านข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเราที่เป็นประโยชน์ต่อการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ และการเริ่มกระบวนการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ
๕-๒๓.๓ แนวทางเกี่ยวกับอันตราย และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารที่ล่วงรู้แล้ว
๕-๒๓.๔ แนวทางเกี่ยวกับการลวงทางทหาร และล�ำดับความเร่งด่วนด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร
การเตรียมการส�ำหรับการวางแผนที่ตามมา
(PREPARE FOR SUBSEQUENT PLANNING)
๕-๒๔. ระหว่างการประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในขั้นต้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารสร้างแนวความคิดในการท�ำงานส�ำหรับส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร แนวความคิดใน
การท�ำงานปกติแล้วประกอบด้วย ที่ตั้ง, เวลา, ความต้องการในการเตรียมการ และตารางเกี่ยวกับ
การคาดการณ์ ก่อนทีจ่ ะรับภารกิจใหม่ นักวางแผนแต่ละคนเริม่ ท�ำการรวบรวมข้อมูลในการวางแผน
สิ่งเหล่านี้สามารถรวบรวมส�ำเนาของแผน/ค�ำสั่งยุทธการ, แผนที่ของพื้นที่ปฏิบัติการ, เอกสาร
อ้างอิงทีเ่ กีย่ วข้อง และประมาณการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร รายการในส่วนของเครือ่ งมือเกีย่ วกับ
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารควรจะมีไว้เป็นส่วนหนึง่ ในระเบียบปฏิบตั ปิ ระจ�ำของนายทหารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร
๕-๒๕. เครื่องมือในการวางแผนของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่มีความส�ำคัญที่สุด
คือ ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและประมาณการองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร (ดูผนวก ค) ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นการประมาณการที่ต่อเนื่อง
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารปรับปรุงแก้ไขและรักษาไว้ในมือตลอดเวลาที่ท�ำการปฏิบัติการ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 167

ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นบันทึกการประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(IO assessments) นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารใช้ประมาณส�ำหรับการวางแผน และการให้
ข้อเสนอแนะในการเปลี่ยนแปลงตลอดห้วงการเตรียมการและการปฏิบัติการ
การแบ่งเวลาในขั้นต้น
(INITIAL TIME ALLOCATION)
๕-๒๖. บนพื้นฐานการแบ่งเวลาของผู้บังคับบัญชา นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแบ่ง
เวลาเพื่อการวางแผน และการเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การแบ่งเวลาที่
มีอยู่นี้เป็นกิจที่ส�ำคัญที่สุดที่นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกระท�ำระหว่างการรับมอบภารกิจ
มันเป็นการก�ำหนดว่านายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะจัดการวางแผนการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารอย่างไรตลอดห้วงเวลาของกรรมวิธีแสวงข้อตกลงใจทางทหาร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
การจัดตั้งส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารด้วยเจ้าหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวยการซึ่งเป็นตัวแทนมาจากแต่ละ
สายงานในองค์ประกอบด้านข้อมูลข่าวสารอ�ำนวยให้การวางแผนและการใช้เวลาเป็นประโยชน์
มากที่สุดการกระจายภาระงานในระหว่างผู้แทนแต่ละสายงานในองค์ประกอบด้านข้อมูลข่าวสาร
ยังช่วยให้มีการประสานสอดคล้องความพยายามของพวกเขา และเป็นการพิสูจน์ทราบปัญหา
ต่าง ๆ แต่เนิ่นอีกด้วย
๕-๒๗. การแบ่งเวลาในขัน้ ต้นเป็นความส�ำคัญต่อการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร เพราะว่ากิจกรรม
ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารบางประการต้องการเวลายาวนานในการสร้างผลกระทบ หรือ
เวลาเป็นการเฉพาะในการประเมินกิจกรรมเหล่านั้น เวลาที่มีอยู่อาจจะเป็นปัจจัยที่จ�ำกัดส�ำหรับ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบางอย่าง นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพิสูจน์ทราบกิจกรรม
ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในสิง่ ซึง่ เป็นกรณี และรวมถึงผลกระทบของการทีไ่ ม่สามารถด�ำเนิน
การ (การวางแผน, การเตรียมการ, การปฏิบตั ิ และการประเมิน) กับพวกมันได้ในการประมาณการ
และให้ข้อเสนอแนะ
การวางแผนในสภาวการณ์ที่จ�ำกัดด้วยเวลา
(PLANNING IN TIME - CONSTRAINED CONDITIONS)
๕-๒๘. ผูบ้ งั คับบัญชาก�ำหนดว่าเมือ่ ใดทีจ่ ะด�ำเนินการแสวงข้อตกลงใจทางทหารในเวลาทีจ่ ำ� กัด
ภายใต้สภาวการณ์ทจี่ ำ� กัดด้วยเวลา นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารพึง่ พาเครือ่ งมือ และผลผลิต
ที่มีอยู่ ทั้งสิ่งที่พวกเขามี หรือทั้งหมดจะมาจากกองบัญชาหน่วยเหนือก็ตาม การขาดแคลนเวลา
ในการด�ำเนินการลาดตระเวนจึงมีความต้องการนักวางแผนที่พึ่งพาสมมติฐานที่หนักกว่าเดิม และ
เพิม่ ความส�ำคัญในเรือ่ งของข่าวสาร และข่าวกรองการรบทีก่ ำ� ลังด�ำเนินไป ให้กบั ผูค้ นทีต่ อ้ งการมัน
168 บทที่ ๕

การประมาณการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีท่ นั สมัยเป็นสิง่ จ�ำเป็นยิง่ ต่อการวางแผนในสภาวการณ์


ที่จ�ำกัดด้วยเวลา
สรุปในเรื่องของการปฏิบัติในการรับมอบภารกิจ
(SUMMARY OF RECEIPT OF MISSION ACTIONS)
๕-๒๙. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบรรลุการปฏิบัติในการรับมอบภารกิจได้ดีอย่างไร
ในการก�ำหนดประสิทธิผลของการปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับนายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารตลอด
ห้วงเวลาของกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร มันกระทบคุณภาพของแผน/ค�ำสั่งยุทธการ
และมีความเป็นไปได้ในความส�ำเร็จ หรือล้มเหลวของการปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารน�ำเสนอ และจัดประมาณการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารให้ทนั สมัยอย่างต่อเนือ่ งเมือ่ ผูบ้ งั คับ
บัญชาท�ำการทบทวนภารกิจใหม่และให้แนวทางขั้นต้น จากจุดนั้นนายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานคนอื่น ๆ และนักวางแผน
เพื่อการประสานสอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับทุกแง่มุมของการปฏิบัติการ การน�ำ
ผลผลิตเข้าไปในการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว และการกระท�ำกิจด้าน ขฝล.ขัน้ ต้นนั้นมีความ
อ่อนไหวในเรื่องของเวลา ความล้มเหลวในการเผชิญกับการน�ำเข้าที่ล่าช้ากว่าก�ำหนดท�ำให้นาย
ทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร อยูใ่ นสภาพทีส่ ญ
ู เสียความได้เปรียบอย่างร้ายแรง นายทหารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารท�ำงานร่วมกับนายทหารยุทธการที่วางแผนในการรวบรวมประเด็นต่าง ๆ ด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารไว้ในค�ำสั่งเตือนเริ่มแรก การกระจายข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร และความต้องการต่าง ๆ เสียแต่เนิ่น ๆ อ�ำนวยให้เกิดการวางแผนที่มีการประสาน
สอดคล้องและสามารถวางแผนคู่ขนานร่วมกันได้

ตอนที่ ๓ การวิเคราะห์ภารกิจ
(SECTION III - MISSION ANALYSIS)
๕-๓๐. ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ ฝ่ายอ�ำนวยการก�ำหนดปัญหาทางยุทธวิธีและเริ่มท�ำการ
ก�ำหนดทางแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ การวิเคราะห์ภารกิจประกอบด้วย ๑๗ งานด้วยกัน ส่วนมากงาน
ดังกล่าวด�ำเนินการตามล�ำดับอย่างสอดคล้อง ผลผลิตในการวิเคราะห์ภารกิจคือการได้มาซึ่ง
ภารกิจแถลงใหม่, เจตนารมณ์ขนั้ ต้นของผู้บังคับบัญชา, แนวทางของผู้บังคับบัญชา (แนวทาง
วางแผน) และอย่างน้อยที่สุดจะมีการออกค�ำสั่งเตือนหนึ่งครั้ง นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารประกันว่าแต่ละผลผลิตเหล่านี้รวมไปถึงปัจจัยด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารด้วย
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยังจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ให้แก่กระบวนการของฝ่ายอ�ำนวยการคนอื่น ๆ (อย่างเช่น การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 169

และการด�ำเนินกรรมวิธีเกี่ยวกับเป้าหมาย) และด�ำเนินการต่อกิจเฉพาะด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร ผลผลิตหลักจากการวิเคราะห์ภารกิจของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคือข้อความ
ภารกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในขั้นต้น และการปรับปรุงประมาณการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารให้ทันสมัย วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบางประการก็อาจจะปรากฏ
ขึ้นในตอนนี้อีกด้วย ส�ำหรับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้น การวิเคราะห์ภารกิจมุ่งเน้น
ต่อการพัฒนาข้อมูลข่าวสารส�ำหรับใช้ระหว่างการด�ำเนินกรรมวิธีด้านการปฏิบัติการหรือ
กระบวนการในการปฏิบัติการ (Operations process)
๕-๓๑. ฝ่ายอ�ำนวยการด�ำเนินภารกิจต่อไปนี้ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ :
๕-๓๑.๑ วิเคราะห์ค�ำสั่งของกองบัญชาการหน่วยเหนือ
๕-๓๑.๒ ด�ำเนินการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
๕-๓๑.๓ ก�ำหนดกิจเฉพาะ, กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิ่ง
๕-๓๑.๔ ทบทวนหน่วยที่มีอยู่
๕-๓๑.๕ ก�ำหนดข้อจ�ำกัด
๕-๓๑.๖ ระบุข้อเท็จจริงและสมมติฐานที่ส�ำคัญยิ่ง
๕-๓๑.๗ ก�ำหนดความต้องการข้อมูลข่าวสารส�ำคัญของผู้บังคับบัญชา (CCIR) ในขั้นต้น
๕-๓๑.๘ ก�ำหนดผนวก ขฝล.ขั้นต้น
๕-๓๑.๙ แผนการใช้เวลาที่มีอยู่
๕-๓๑.๑๐ เขียนข้อความภารกิจแถลงใหม่
๕-๓๑.๑๑ ด�ำเนินการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจ
๕-๓๑.๑๒ อนุมัติภารกิจแถลงใหม่
๕-๓๑.๑๓ พัฒนาเจตนารมณ์ในขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา
๕-๓๑.๑๔ ให้แนวทางขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา (แนวทางวางแผน)
๕-๓๑.๑๕ ให้ค�ำสั่งเตือน
๕-๓๑.๑๖ ทบทวนข้อเท็จจริงและสมมติฐาน
วิเคราะห์ค�ำสั่งของกองบัญชาการหน่วยเหนือ
(ANALYZE THE HIGHER HEADQUARTERS ORDER)
๕-๓๒. การวิเคราะห์ภารกิจเริ่มด้วยการตรวจสอบแผน และค�ำสั่งยุทธการของกองบัญชาการ
หน่วยเหนือโดยละเอียดในภาคของแนวทางขัน้ ต้นของผูบ้ งั คับบัญชา โดยการตรวจสอบแผนการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของหน่วยที่อยู่ระดับเหนือกว่ากองบัญชาการ ผู้บังคับบัญชาและฝ่าย
อ�ำนวยการเรียนรู้ว่ากองบัญชาการหน่วยเหนือก�ำลังใช้องค์ประกอบ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้าน
170 บทที่ ๕

การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างไร และก�ำลังใช้ทรัพยากรด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใด
ตลอดจนหน่วยใดที่กองบัญชาการหน่วยเหนือสามารถน�ำมาใช้ได้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารค้นคว้าเพื่อให้เข้าใจถึง
๕-๓๒.๑ เจตนารมณ์และแนวความคิดในการปฏิบัติของผู้บังคับบัญชาหน่วยเหนือ
๕-๓๒.๒ พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร, ภารกิจ/ข้อจ�ำกัดของกิจ, ความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ และหน่วยปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่ของกองบัญชาการหน่วยเหนือ
๕-๓๒.๓ ตารางก�ำหนดการของกองบัญชาการหน่วยเหนือส�ำหรับด�ำเนินการปฏิบัติการ
๕-๓๒.๔ ภารกิจของหน่วยข้างเคียง
การด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีป่ ราศจากการพิจารณาปัจจัยเหล่านีอ้ าจจะลดประสิทธิผล
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งโอกาสของความล้มเหลวจะเพิ่มขึ้น ตลอดจนจะเป็นการ
ลดผลกระทบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทุกระดับหน่วยบัญชาการ การวิเคราะห์อย่างละเอียด
ยังช่วยก�ำหนดว่าถ้าเป็นความจ�ำเป็นจะท�ำการร้องขอการสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจาก
ภายนอก ไม่มผี ลผลิตด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารตามแบบแผนส�ำหรับกิจนี้ จุดประสงค์ของมัน
คือให้ทงั้ หมดยอมรับได้ในความเข้าใจอย่างชัดแจ้งในเรือ่ งของภารกิจ และข้อมูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้อง
กับมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาหน่วยเหนือ ค�ำถามใด ๆ ที่เป็นข้อสงสัย
ควรจะเกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด และความสับสนใด ๆ ควรจะได้รับการแก้ไขในทันที
ด�ำเนินการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
(CONDUCT INTELLIGENCE PREPARATION OF THE BATTLEFIELD)
๕-๓๓. ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ นายทหารการข่าวด�ำเนินการจัดเตรียมสนามรบด้านการ
ข่าวใหม่ หรือปรับปรุงผลผลิตการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวทีม่ ีอยู่ให้ทันสมัย และการจัด
เตรียมสนามรบด้านการข่าวเบื้องต้นที่ได้มาจากการรับมอบภารกิจ นายทหารการข่าวได้รับการ
ช่วยเหลือทางเทคนิค และปัจจัยน�ำเข้าจากหน่วยงานฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ ไปใช้ในการจัดเตรียม
สนามรบด้านการข่าวมาท�ำการก�ำหนดสภาพแวดล้อมของสนามรบ นายทหารการข่าวอธิบาย
ถึงผลกระทบของสนามรบ, ประเมินค่าฝ่ายตรงข้าม และก�ำหนดหนทางปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม
(ดู รส. ๓๔-๑๓๐) รูป ๕-๒ เป็นรายการปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่เป็น
ไปได้เพื่อพิจารณาระหว่างแต่ละขั้นตอนของการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว ระหว่างการจัด
เตรียมสนามรบด้านการข่าว นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำงานร่วมกับนายทหารการข่าว
ในการท�ำการก�ำหนดขีดความสามารถและความล่อแหลมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของ
ฝ่ายตรงข้าม
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 171

๕-๓๓.๑ ขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร คือ หน่วย หรือระบบซึ่ง


สนับสนุนให้บรรลุผลส�ำเร็จกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๓๓.๒ ความล่อแหลมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร คือ การไร้สมรรถภาพใน
มาตรการป้องกัน ซึง่ อาจจะอ�ำนวยให้ฝา่ ยตรงข้ามได้ใช้ขดี ความสามารถด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา หรือระบบ
การบังคับบัญชา และการควบคุม
๕-๓๔. บ่อยครั้งที่การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวเริ่มด้วยแผ่นภาพหลักนิยม (doctrinal
template) ซึง่ แสดงให้เห็นว่าฝ่ายตรงข้ามจะใช้กำ� ลังรบ และหน่วยอย่างไรโดยปราศจากข้อจ�ำกัด
จากสภาพแวดล้อม บ่อยครั้งที่แผ่นภาพหลักนิยมได้รับการพัฒนาขึ้นก่อนที่จะมีการวางก�ำลังเข้า
ท�ำการรบ นายทหารการข่าว และนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะเพิ่มปัจจัยจากสภาพ
แวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารในการด�ำเนินกลยุทธ์บนพื้นฐานของแผ่นภาพหลักนิยม หรือพวกเขา
อาจจะเตรียมแผ่นภาพหลักนิยมเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารแยกต่างหากก็ได้ (ดูรปู ๕-๓)
เนื่องจากการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้นบ่อยครั้งที่ด�ำเนินไปตามเส้นปฏิบัติการเชิงตรรก หรือ
เส้นปฏิบตั กิ ารเชิงเหตุและผล๒ (logical lines of operations) (ดู รส. ๓-๐) อย่างไรก็ตามแผ่นภาพ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่แยกต่างหากอาจจะกลายเป็นสิ่งจ�ำเป็น เมื่อฝ่ายตรงข้ามมีหน่วย
ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งด�ำเนินกลยุทธ์ไปกับกองก�ำลังของพวกเขา การเพิ่มหน่วย
เหล่านี้เข้าไปเป็นส่วนฐานของการด�ำเนินกลยุทธ์ในแผ่นภาพหลักนิยมอาจจะเป็นสิ่งที่ถือว่า
เหมาะสม ข้อมูลข่าวสารทีม่ อี ยู่ ตามสถานการณ์ และประเภทของฝ่ายตรงข้ามมีผลกระทบต่อแนวทาง
ที่น�ำมาใช้ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในเรื่องของผลผลิตด้านการจัดเตรียม
สนามรบด้านการข่าวจะกลายเป็นส่วนของย่อหน้า ข้อ ๒ ข ของประมาณการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
(ดูรูป ข-๕ และผนวก ค)


เส้นปฏิบัติการเชิงตรรก หรือเส้นปฏิบัติการเชิงเหตุและผล มีลักษณะเป็นนามธรรมมากกว่าเป็นรูปธรรม
เป็นไปในทางเหตุและผลทางความคิด โดยมีการจัดเรียงล�ำดับทางความคิดอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
172 บทที่ ๕

ก�ำหนดสภาพแวดล้อมของสนามรบ
• ส่วน/แง่มุมของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารซึ่งสามารถกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติการฝ่ายเรา
• ลักษณะ/กิจกรรมซึ่งสามารถส่งอิทธิพลครอบง�ำระบบข้อมูลข่าวสาร/การบังคับบัญชาและการควบคุม
• โครงสร้างทางการเมืองและการบริหารงานตลอดจนลักษณะของประชากร
• กลุ่มวัฒนธรรม, ภาษา, ศาสนา, และเชื้อชาติส�ำคัญหลัก ๆ
• โครงสร้างการติดต่อสื่อสารและแหล่งพลังงานของพลเรือน
• ตัวแสดงที่ไม่มีฐานะเป็นรัฐ (Nonstate actors) องค์กรที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ และกลุ่มที่ไม่มีท่าทีเป็น
ปรปักษ์โดยเฉพาะ
อธิบายถึงผลกระทบจากสภาพสนามรบ
• สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารที่กระทบต่อผู้มีหน้าที่ในการตัดสินใจ, ระบบการบังคับบัญชาและการ
ควบคุม, และกระบวนการแสวงข้อตกลงใจ
• สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารมีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับสภาพแวดล้อมในสนามรบ
• สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารกระทบต่อการปฏิบัติการของฝ่ายเรา, ฝ่ายตรงข้ามและฝ่ายอื่น ๆ
• ผลกระทบที่ได้รับการผสมผสานในเรื่องของระบบข้อมูลข่าวสาร และระบบการบังคับบัญชา และ
การควบคุม ต่อสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารและพื้นที่ปฏิบัติการ
• ผลกระทบต่าง ๆ ของสภาพภูมปิ ระเทศ, ภูมอิ ากาศ, และคุณลักษณะอืน่ ๆ ของพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ต่อระบบ
ข้อมูลข่าวสาร และระบบการบังคับบัญชา และการควบคุม
ประเมินค่าภัยคุกคาม
• ระบบการบังคับบัญชา และการควบคุมของฝ่ายตรงข้าม และกลุม่ อืน่ ๆ รวมทัง้ พันธกิจ, หน่วย, ขีดความ
สามารถ, และความล่อแหลม (ทั้งเชิงรุก และเชิงรับ)
• หน่วย และพันธกิจ (อย่างเช่น ผู้มีหน้าที่ในการตกลงใจ, ระบบการบังคับบัญชา การควบคุม และ
กระบวนการแสวงข้อตกลงใจ) ซึ่งฝ่ายตรงข้าม และผู้อื่น ๆ ต้องการในการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
• ขีดความสามารถของฝ่ายตรงข้ามในการโจมตีระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา และการป้องกันตนเอง
ของพวกเขา
• แบบจ�ำลองของระบบการบังคับบัญชา และการควบคุมฝ่ายตรงข้าม และกลุ่มอื่น ๆ
• ความแข็งแกร่ง, ความล่อแหลม, และความอ่อนไหวของฝ่ายตรงข้าม และกลุ่มอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ก�ำหนดหนทางปฏิบัติของฝ่ายคุกคาม
• ฝ่ายตรงข้าม และกลุ่มอื่น ๆ น่าจะแสวงประโยชน์จากความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารอย่างไร
• อย่างไร, เมื่อใด, ที่ไหน และท�ำไม (เพื่อจุดประสงค์อะไร) ที่ฝ่ายตรงข้าม และกลุ่มอื่น ๆ จะใช้ขีดความ
สามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่เป็นไปได้ของพวกเขา

รูปที่ ๕-๒ ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีใ่ ช้พจิ ารณาระหว่างการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 173

๕-๓๕. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าเพื่อช่วยเหลือนายทหารการ
ข่าวพัฒนาแผ่นภาพทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว, ฐานข้อมูล และผลผลิต
อื่น ๆ ซึ่งแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้าม และกลุ่มส�ำคัญอื่น ๆ ในพื้นที่ปฏิบัติการ
และพื้นที่สนใจ ผลผลิตเหล่านี้บรรจุข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับผู้น�ำ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
ของแต่ละกลุ่ม ความเกี่ยวข้องของข้อมูลข่าวสารในการด�ำเนินการปฏิบัตกิ ารข้อมูลข่าวสารรวมถึง
๕-๓๕.๑ ศาสนา, ภาษา และวัฒนธรรมของกลุ่ม และผู้ที่ท�ำหน้าที่ในการตัดสินใจ
๕-๓๕.๒ ระเบียบวาระเรื่องราวขององค์กรที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ
๕-๓๕.๓ ขนาด และที่ตั้งของกองก�ำลัง และหน่วยของฝ่ายตรงข้าม/กองก�ำลัง และหน่วย
อื่น ๆ
๕-๓๕.๔ โครงสร้าง และการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารของฝ่ายทหาร และฝ่ายพลเรือน
๕-๓๕.๕ การศึกษาด้านประชากร, ความเชื่อมโยง และข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
๕-๓๕.๖ ที่ตั้ง และประเภทของเรดาร์, แจมเมอร์ และระบบข้อมูลข่าวสารที่ไม่เกี่ยวข้อง
กับการติดต่อสื่อสาร
๕-๓๕.๗ ช่องทางออก และศูนย์ วิทยุ, วิดีโอ และสื่อสิ่งพิมพ์ ตลอดจนประชาชนที่
พวกเขาให้บริการ
๕-๓๕.๘ ความล่อแหลมด้านการบังคับบัญชา และการควบคุมของฝ่ายเรา, ฝ่ายตรงข้าม
และกองก�ำลัง/กลุ่มอื่น ๆ
โครงสร้างการจัดหน่วย
แบบเป็นทางการ แผ่นภาพตกลงใจ
แผนผังการจัดหน่วยซึ่งแสดงและอธิบาย
• ความเชื่อมโยงของหน่วยงานย่อยทั้ง
โครงสร้างและพันธกิจ
• พันธกิจที่สนับสนุน
• ผู้น�ำตามแบบองค์การและพันธกิจ

โครงสร้างการจัดหน่วย แสดงการตกลงใจของหน่วย
แบบเป็นทางการ • ผู้น�ำส�ำคัญ บุคลิกลักษณะส่วนบุคคล
และรูปแบบความเป็นผู้น�ำ
แสดงถึงความเชื่อมโยงที่ไม่เป็นทางการ • อธิบายว่าท�ำการวางแผน, การให้
ระหว่างองค์กรที่เป็นหน่วยงานย่อย และ ค�ำแนะน�ำ และการประสานงาน
หน่วยงานภายนอกอื่น ๆ กิจกรรมอย่างไร
• ฝ่ายอ�ำนวยการเฉพาะ และหน่วยงานพิเศษ
• ผู้น�ำ และความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการ

รูปที่ ๕-๓ ตัวอย่างแผ่นภาพหลักนิยมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


174 บทที่ ๕

๕-๓๖. นายทหารการข่าวใช้การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวเพื่อก�ำหนดหนทางปฏิบัติที่
เป็นไปได้ และจัดให้หนทางปฏิบตั นิ นั้ อยูใ่ นล�ำดับทีเ่ ป็นไปได้ในการยอมรับ หนทางปฏิบตั เิ หล่านี้
แสดงให้เห็นด้วยแผ่นภาพสถานการณ์, ซึ่งประกอบด้วยขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวที่เป็นที่เข้าใจได้อย่างกว้างขวางก�ำหนดถึงขีดความ
สามารถ และความล่อแหลมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งในเชิงรุก และเชิงรับ แผ่นภาพ
สถานการณ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแสดงให้เห็นว่าฝ่ายตรงข้าม และผู้อื่นน่าจะใช้ขีด
ความสามารถด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารให้บรรลุความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารได้อย่างไร
ให้มีความเหมาะสมในบางเวลา
ก�ำหนดสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
(DEFINING THE INFORMATION ENVIRONMENT)
๕-๓๗. แม้ว่าสภาพแวดล้อมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะมีความกระทบกระเทือนอยู่
เสมอกับการปฏิบตั กิ ารทางทหารก็ตาม ผลกระทบของตัวมันในทุกวันนีย้ งิ่ ใหญ่กว่าทีเ่ คยเป็นมา
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารน�ำความต้องการข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ซึง่ ก�ำหนดว่าปัจจัยเกีย่ วกับสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารน่าจะกระทบกระเทือนต่อการปฏิบตั ิ
การต่าง ๆ ได้อย่างไรให้กับนายทหารการข่าว นายทหารการข่าวรับข้อมูลข่าวสารจากฐานข้อมูล
ในระดับยุทธศาสตร์ และระดับชาติ, การศึกษาเกี่ยวกับประเทศ, หน่วยที่เกี่ยวข้องด้าน ขฝล. และ
เมื่อจ�ำเป็นจะมาจากองค์กรทางด้านการข่าวกรองอื่น ๆ
๕-๓๘. ด้วยการเป็นส่วนหนึง่ ในการก�ำหนดสภาพแวดล้อมสนามรบ นายทหารการข่าวก�ำหนด
ขอบเขตของพื้นที่สนใจ พื้นที่สนใจรวมถึงพื้นที่ที่อยู่ภายนอกพื้นที่ปฏิบัติการซึ่งถูกครอบครอง
โดยกองก�ำลังฝ่ายตรงข้ามหรือกลุ่มอื่น ๆ ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อความส� ำเร็จภารกิจได้
มันยังรวมถึงส่วนของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารซึ่งมีผลกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติ
การต่าง ๆ ภายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ความสามารถของตัวแสดงในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
ที่จะกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติการจะท�ำให้พื้นที่สนใจแผ่ขยายออกไปกว้างใหญ่กว่าที่เคย
เป็นมาในอดีต นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารท�ำให้นายทหารการข่าวเชือ่ มัน่ ได้วา่ ปัจจัยต่าง ๆ
ในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารมีอยู่เมื่อมีการก�ำหนดพื้นที่สนใจ การจัดเตรียมสนามรบด้าน
การข่าวรวมถึงการวิเคราะห์ส่วนต่าง ๆ ของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารภายในพื้นที่สนใจ
การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวสนับสนุนกรรมวิธีเป้าหมาย
(INTELLIGENCE PREPARATION OF THE BATTLEFIELD SUPPORT OF TARGETING)
๕-๓๙. การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวสนับสนุนการด�ำเนินกรรมวิธีเป้าหมายโดยการ
ก�ำหนดเป้าหมายให้คา่ สูง (high - value targets: HVTs) และแสดงว่าทีใ่ ด และเมือ่ ใดทีเ่ ป้าหมาย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 175

เหล่านั้นน่าจะเป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ (ดูผนวก จ) บางส่วนของเป้าหมายเหล่านี้เป็นเป้าหมาย


ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร องค์ประกอบ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารมุง่ เน้นต่อเป้าหมายทีแ่ ตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น เป้าหมายในการท�ำลายทางกายภาพนัน้
ปกติเป็นเป้าหมายทีเ่ ป็นจุด ขณะทีเ่ ป้าหมายในทางการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยานัน้ อาจจะเป็นประชาชน
พลเรือนที่แตกต่างกันซึ่งกระจายไปทั่วทั้งพื้นที่ปฏิบัติการ นายทหารการข่าวท�ำงานร่วมกับ
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการพัฒนาเป้าหมายให้ค่าสูงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ
ข้อมูล ข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารก�ำหนดว่าเป้าหมายให้ค่าสูงที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสนับสนุนต่อวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารหนึ่ง หรือ
มากกว่าและพัฒนาพวกมันในฐานะที่เป็นกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระหว่างการพัฒนา
และวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ กิจ/เป้าหมายต่าง ๆ เหล่านี้ได้รับการเสนอต่อทีมก�ำหนดเป้าหมายใน
ฐานะเป็นเป้าหมายคุ้มค่า (high - payoff targets: HPTs) ภายหลังการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
ผลผลิตอื่น ๆ จากการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
(OTHER INTELLIGENCE PREPARATION OF THE BATTLEFIELD PRODUCTS)
๕-๔๐. การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวระบุขอ้ เท็จจริง และสมมติฐานเกีย่ วกับฝ่ายตรงข้าม
และสภาพแวดล้อมทางการยุทธ์ซึ่งนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพิจารณาว่าจะท�ำการ
วางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเมื่อใด สิ่งเหล่านี้ได้รับการรวมเข้าไว้ในย่อหน้าในข้อ ๒
ของประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเสนอความต้องการ
ข่าวสารด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (IO Information Requirement) เพือ่ ปรับปรุงข้อเท็จจริง
และสมมติฐานที่ยืนยันหาความจริงได้ การท�ำงานกับนายทหารการข่าว และฝ่ายอ�ำนวยการจาก
ส่วนอืน่ ๆ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประกันว่าความต้องการข้อมูลข่าวสารด้านการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารได้รับการก�ำหนดไว้อย่างชัดเจน และค�ำร้องขอข้อมูลข่าวสาร (requests for
information: RFIs) ที่ชัดเจนได้รับการเสนอไปยังหน่วยงานที่เหมาะสมเมื่อจ�ำเป็น การจัดเตรียม
สนามรบด้านการข่าวอาจจะท�ำให้เกิดความต้องการข่าวกรองเร่งด่วน (priority intelligence
requirement: PIRs) สอดคล้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารอาจจะระบุชื่อเหล่านี้ในฐานะเป็นความต้องการข้อมูลข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา
(commander’s critical information requirements: CCIR) (ดู รส. ๓-๐ และ รส. ๖-๐)
และอาจจะเป็นการระบุความล่อแหลมเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการอีกด้วย
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารวิเคราะห์สิ่งเหล่านี้เพื่อก�ำหนดมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการที่เหมาะสม (ดูบทที่ ๓)
176 บทที่ ๕

ก�ำหนดกิจเฉพาะ, กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิ่ง


(DETERMINE SPECIFIED, IMPLIED, AND ESSENTIAL TASKS)
๕-๔๑. ด้วยความสอดคล้องกับการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว ฝ่ายอ�ำนวยการก�ำหนด
กิจเฉพาะ, กิจแฝง, กิจส�ำคัญยิ่งที่หน่วยต้องกระท�ำ ส�ำหรับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
กิจนี้ประกอบด้วยกิจเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ก�ำหนดขึ้นในแผน/
ค�ำสั่งยุทธการของ บก.หน่วยเหนือ การพัฒนากิจแฝงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ซึ่งสนับสนุนต่อการบรรลุภารกิจ และการจัดท�ำรายการหน่วยส�ำคัญยิ่ง (ดูรูป ข-๖) ผลผลิตเหล่านี้
ได้รับการปรับปรุงแก้ไขตลอดกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร โดยอาศัยการประเมินอย่าง
ต่อเนื่องในเรื่องของสถานการณ์ทั้งของฝ่ายเรา และฝ่ายตรงข้าม กิจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารได้รบั การก�ำหนดมาจากหลักพืน้ ฐานส�ำหรับภารกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ขั้นต้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพัฒนาพวกมันแล้วน�ำเข้าไปไว้ในวัตถุประสงค์ หรือ
เป้าหมายด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
ระบุกิจเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(IDENTIFYING INFORMATION - OPERATIONS - RELATED IMPLIED TASKS)
๕-๔๒. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารค้นหากิจเฉพาะซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารในแผน/ค�ำสั่งยุทธการของกองบัญชาการหน่วยเหนือ ซึ่งอาจจะรวมถึงกิจ
ทั้งหลายเหล่านี้รวมทั้ง เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา, แนวความคิดในการปฏิบัติ, ค�ำสั่งเกี่ยวกับ
กิจทางอากาศ และผนวกอื่น ๆ ตลอดจนแผ่นบริวารยุทธการ ในการทบทวนแผน/ค�ำสั่งของ
กองบัญชาการหน่วยเหนือส�ำหรับ กิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อ
๕-๔๒.๑ ย่อหน้าข้อที่ ๑ สถานการณ์
๕-๔๒.๒ ย่อหน้าข้อที่ ๒ ภารกิจ
๕-๔๒.๓ ย่อหน้าข้อที่ ๓ การปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหัวข้อรองเกี่ยวกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร กิจต่าง ๆ ทีใ่ ห้แก่หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์, กิจทีใ่ ห้แก่หน่วยสนับสนุน
การรบ และความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา
๕-๔๒.๔ ผนวกซึ่งก�ำหนดการข่าวกรอง การปฏิบัติการ การยิงสนับสนุน กฎในการปะทะ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร (CMO) และการ
ประชาสัมพันธ์ (PA)
๕-๔๓. กิจเฉพาะเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบางประการ อย่างเช่น การสนับสนุน
แผนการลวงของกองบัญชาการหน่วยเหนือ กลายเป็นวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูล
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 177

ข่ าวสารของหน่ว ย ในส่วนอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนเหล่านั้นได้ก�ำหนดแต่เพียงหนึ่ง


องค์ประกอบเท่านั้นว่ามีความเกี่ยวข้องภายใต้วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ของหน่วยเสมือนเป็นกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ถ้าหน่วยบัญชาการนั้นต้องบรรลุกิจ
ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร เพื่อการบรรลุภารกิจของหน่วยบัญชาการ ซึ่งกิจที่
เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้นเป็นกิจส�ำคัญยิ่งส�ำหรับหน่วยบัญชาการ
การพัฒนา กิจแฝงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(DEVELOPING INFORMATION - OPERATIONS - RELATED IMPLIED TASKS)
๕-๔๔. เนือ่ งจากฝ่ายอ�ำนวยการในสายงานต่าง ๆ เป็นผูร้ ะบุกจิ เฉพาะ และกิจแฝงส�ำหรับการ
ปฏิบัติการในภาพรวม นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจึงเป็นผู้ระบุกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารซึง่ สามารถสนับสนุนต่อการบรรลุภารกิจในภาพรวมนัน้ ดังนัน้
สิ่งเหล่านี้คือกิจแฝงที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในภารกิจรวมของหน่วย นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารก�ำหนดกิจแฝงเหล่านั้นบนพื้นฐานว่าผู้บังคับบัญชาต้องการที่จะท�ำอะไร
และการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสามารถสนับสนุนความต้องการนั้นได้อย่างไร นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารดูแลจัดการกับกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งสองด้วย
วิธีการเช่นเดียวกัน ด้วยกิจเฉพาะต่าง ๆ นั้น หากหน่วยบัญชาการต้องการบรรลุกิจแฝงที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเพือ่ การทีห่ น่วยสามารถบรรลุภารกิจของหน่วยบัญชาการ ซึง่ กิจที่
เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้นจะถือเป็นกิจส�ำคัญยิ่ง
จัดกลุ่มรายชื่อหน่วยส�ำคัญยิ่ง
(ASSEMBLING THE CRITICAL ASSET LIST)
๕-๔๕. รายชื่อหน่วยส�ำคัญยิ่งเป็นรายชื่อของหน่วยงานด้านการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ และ
การลาดตระเวน และหน่วยงานในส่วนของระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม ไม่ว่าหน่วย
ใดก็ตามที่ได้รับการสูญเสีย หรือถูกรบกวนการท�ำงานอาจจะเป็นผลท�ำให้เกิดอันตรายต่อการ
บรรลุภารกิจ ณ ระดับยุทธการและยุทธศาสตร์ งานย่อยนี้ รวมถึงการพิสูจน์ทราบจุดศูนย์ดุล
(centers of gravity) การปกป้องหน่วยส�ำคัญยิ่ง และจุดศูนย์ดุล ซึ่งถือเป็นกิจแฝงส�ำหรับ
ทุก ๆ การปฏิบตั กิ าร นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารรับมอบข้อมูลพืน้ ฐานส�ำหรับรายชือ่ หน่วย
ส�ำคัญยิ่ง (critical assets list) จากผู้แทนส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก
นายทหารข่าวกรอง, นายทหารยุทธการ และนายทหารฝ่ายการบังคับบัญชา และการควบคุม
(G-6) หน่วยส�ำคัญยิง่ และการประเมินความล่อแหลมจากพืน้ ฐานในการวางแผนการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารเชิงรับ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารตัง้ วัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
อย่างหนึ่ง หรือมากกว่าซึ่งมุ่งเน้นต่อการปกป้องหน่วยส�ำคัญยิ่ง/จุดศูนย์ดุล
178 บทที่ ๕

๕-๔๖. เครื่องมือหนึ่งที่จะระบุหน่วยส�ำคัญยิ่งคือการประเมินความล่อแหลม (vulnerability


assessment) การประเมินความล่อแหลมของกองบัญชาการจะระบุประเด็นแง่มุมในเรื่องของ
ระบบการบังคับบัญชา และการควบคุมซึ่งต้องการการปกป้อง การผสมผสานการประเมินความ
ล่อแหลมของหน่วยกับรายชื่อหน่วยส�ำคัญยิ่ง และจุดศูนย์ดุล ท�ำให้เกิดรูปแบบพื้นฐานส�ำหรับการ
วางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ กองทัพบกควรจัดให้มีชุดประเมินความล่อแหลมด้าน
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร๓ เพือ่ ประเมินและส่งเสริมความสามารถของผูบ้ งั คับบัญชาในการรวม
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับเข้าไว้ในการปฏิบัติการต่าง ๆ (ดูผนวก ฉ) ชุดประเมินความ
ล่อแหลมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IOVATs) สนับสนุนต่อการพิทักษ์ก�ำลังรบ (force
protection) และการประกันข้อมูลข่าวสาร (information assurance) โดยด�ำเนินการวิเคราะห์
ความล่อแหลม และให้ข้อเสนอแนะด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ และมาตรการตอบโต้
เพือ่ ลดความล่อแหลม การประเมินความล่อแหลมควรมีการปรับปรุงให้ทนั สมัยอย่างต่อเนือ่ งตลอด
ห้วงเวลาการปฏิบตั กิ าร ผลลัพธ์ของการประเมินความล่อแหลมนัน้ จะถูกบันทึกในข้อ ๒ ค (๖) ของ
ประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ทบทวนหน่วยที่มีอยู่
(REVIEW AVAILABLE ASSETS)
๕-๔๗. ระหว่างการด�ำเนินงานเรือ่ งนี้ ผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการก�ำหนดว่าพวกเขามีหน่วย
อะไรบ้างทีต่ อ้ งการให้ปฏิบตั กิ จิ เฉพาะ, กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิง่ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ด�ำเนินการวิเคราะห์สิ่งนี้เพื่อระบุหน่วยในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และทรัพยากรด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร :
๕-๔๗.๑ หน่วยด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (information operations assets)
เป็นหน่วยในอัตรา, บรรจุมอบ และขึน้ สมทบหน่วยด้วยขีดความสามารถด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่
๕-๔๗.๒ ทรัพยากรด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (information operations
resources) เป็นหน่วยทีม่ ขี ดี ความสามารถด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ที่ไม่ได้บรรจุมอบหรือขึ้นสมทบต่อหน่วยบัญชาการ แต่มีขีดความสามารถที่
มีอยู่ในตนเองส�ำหรับด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๔๘. หน่วยบัญชาการท�ำการจัดเฉพาะกิจหน่วยด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร แผน/ค�ำสั่ง
ยุทธการของกองบัญชาการหน่วยเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผนวก ข่าวกรองและการปฏิบตั กิ ารข้อมูล

กองทัพบกสหรัฐฯ มีหน่วยบัญชาการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารที่ ๑ (ภาคพืน้ ดิน) (1st IOC [L]) เป็นหน่วยทีจ่ ดั เตรียม
ชุดประเมินความล่อแหลมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IOVATs)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 179

ข่าวสาร รายการทรัพยากรด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ในผนวกการยิงสนับสนุนระบุหน่วยที่


มีกิจท�ำการท�ำลายทางกายภาพซึ่งอาจจะได้รับการก�ำหนดเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร ค�ำสั่งกิจทางอากาศ แสดงให้เห็นความสามารถที่มีอยู่ของหน่วยอากาศยานใน
การยุทธ์ร่วม ส�ำหรับปฏิบัติภารกิจในการสนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของกองทัพบก
ถ้าหน่วยบัญชาการต้องการหน่วยด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร หรือทรัพยากรด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารเพิม่ เติม นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจะระบุความต้องการไปยัง นายทหาร
ยุทธการ ผู้ซึ่งท�ำการประสานงานกับกองบัญชาการหน่วยเหนือส�ำหรับหน่วยทั้งหลายเหล่านั้น
๕-๔๙. การระบุ และการรับทรัพยากรด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมานัน้ อ�ำนวยให้ผบู้ งั คับ
บัญชาสามารถเพิ่มอ�ำนาจก�ำลังรบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ทรัพยากรด้าน
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะเป็นไปได้ที่จะสนับสนุนโดยตรงต่อแนวความคิดในการสนับสนุน
ของผู้บังคับบัญชา ทรัพยากรเหล่านี้อาจจะถูกใช้ในแนวทางเหมือนกับการสนับสนุนทางอากาศ
ใกล้ชิด ในกรณีอื่น ๆ โครงข่ายการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของกองบัญชาการกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารของกองบัญชาการหน่วยเหนือ พร้อมทั้งการประสานสอดคล้องกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารของหน่วยข้างเคียงสามารถสร้างผลกระทบที่เป็นการเพิ่มเติมก�ำลัง (reinforcing
effects) ที่เป็นไปได้ส�ำหรับหน่วยที่เกี่ยวข้อง หน่วยด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของ
หน่วยงานอื่น ๆ เหล่านี้ อาจจะได้รับการพิจารณาเป็นทรัพยากรด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ส�ำหรับหน่วยบัญชาการ ท้ายที่สุดสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารนั้นไม่มีขอบเขต องค์กรที่วาง
ก�ำลังอยูน่ อกยุทธบริเวณมีความเป็นไปได้ทจี่ ะน�ำมาใช้ใหม่เพือ่ ปรับสภาพแง่มมุ ของสภาพแวดล้อม
ด้านข้อมูลข่าวสารซึ่งเป็นส่วนเสริม หรือเพิ่มเติมก�ำลังให้แก่แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของหน่วย
๕-๕๐. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเปรียบเทียบหน่วยด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
กับทรัพยากรด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารด้วยกิจที่เกี่ยวข้องด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเพือ่ ระบุขดี ความสามารถทีข่ าดแคลน และทรัพยากรเพิม่ เติมทีต่ อ้ งการ พวกเขาพิจารณา
ทัง้ ความต้องการในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุก และเชิงรับ กิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารไม่ว่าจะเป็นกิจเฉพาะ, กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิ่งประกอบกันมาจากพื้นฐานส�ำหรับ
ความต้องการด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุก พวกมันอาจจะรวมถึงความต้องการด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับบางประการ รายชื่อหน่วยส�ำคัญยิ่งก�ำหนดความต้องการด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับเพียงแต่น้อย นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพิจารณาปัจจัย
ทั้งหลายเหล่านี้
๕-๕๐.๑ การเปลี่ยนแปลงการจัดเฉพาะกิจตามปกติส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน
ขีดความสามารถ และขีดจ�ำกัด
180 บทที่ ๕

๕-๕๐.๒ ขีดความสามารถ และขีดจ�ำกัดในปัจจุบันของหน่วยที่มีอยู่


๕-๕๐.๓ การเปรียบเทียบในเรื่องกิจต่าง ๆ กับหน่วยและขีดความสามารถ
๕-๕๑. ผลผลิ ต ด้ า นการปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารส� ำ หรั บ กิ จ นี้ คื อ รายชื่ อ ของหน่ ว ย และ
ทรัพยากรซึ่งสามารถน�ำมาใช้ด�ำเนินการด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร รายการนี้กลายเป็น
ข้อรอง ๒ ค (๒) และ (๓) ของประมาณการข้อมูลข่าวสาร (ดูรปู ข-๗ และผนวก ค) นายทหารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารปรับปรุงรายชือ่ หน่วย และทรัพยากรเหล่านีใ้ ห้ทนั สมัยด้วยตัวเองตลอดระยะเวลา
ในการปฏิบัติการระหว่างสิ่งอื่น ๆ พวกเขาใช้มันในการวิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบสัมพัทธ์ พร้อมทั้ง
ก�ำหนดว่าประเภทของกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารอะไร ทีห่ น่วยบัญชาการสามารถด�ำเนิน
การได้ ตลอดจนก�ำหนดการวางก�ำลังขั้นต้นระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
ก�ำหนดข้อจ�ำกัด
(DETERMINE CONSTRAINTS)
๕-๕๒. ข้อจ�ำกัดเป็นการก�ำหนดขีดจ�ำกัดต่อหน่วยบัญชาการโดยกองบัญชาการหน่วยเหนือ
ข้อจ�ำกัดบ่งบอกให้ลงมือกระท�ำ หรืองดเว้นการกระท�ำ มันเป็นการจ�ำกัดเสรีในการปฏิบัติของ
ผูบ้ งั คับบัญชาหน่วยรองในการวางแผน (รส. ๕-๐) ข้อจ�ำกัดด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารอาจจะ
รวมถึงปัจจัยทางด้านกฎหมาย, ศีลธรรมจรรยา, สังคม, การปฏิบตั กิ ารและในทางการเมือง พวกมัน
อาจจะถูกจัดท�ำเป็นบัญชีรายชือ่ ในข้อต่อไปนี้ หรือในผนวกของแผน/ค�ำสัง่ ยุทธการของหน่วยเหนือ :
๕-๕๒.๑ เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
๕-๕๒.๒ กิจที่ให้แก่หน่วยรอง
๕-๕๒.๓ กฎการใช้ก�ำลัง (rules of engagement)
๕-๕๒.๔ การปฏิบัติการพลเรือน-ทหาร
๕-๕๒.๕ การยิงสนับสนุน
ผู้บังคับบัญชาอาจจะรวมเอาข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ไว้ในแนวทางของผู้บังคับบัญชา (Commander’s
guidance)
๕-๕๓. ข้อจ�ำกัดสร้างขีดจ�ำกัดภายใน ซึง่ ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ข้อจ�ำกัดอาจจะกระทบต่อการใช้การยิงด้วยอาวุธให้ผลในทางสังหารและไม่สังหาร ข้อจ�ำกัด
อาจจะจ�ำกัดการใช้มาตรการลวงทางทหาร และการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร ผลผลิตด้าน
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของกิจนีเ้ ป็นรายการในส่วนของข้อจ�ำกัดซึง่ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารเชื่อว่าจะกระทบกระเทือนแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(ดูรูป ข-๘)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 181

ระบุข้อเท็จจริง และสมมติฐานส�ำคัญยิ่ง
(IDENTIFY CRITICAL FACTS AND ASSUMPTIONS)
๕-๕๔. แหล่งข้อมูลของข้อเท็จจริง และสมมติฐาน ประกอบด้วยแผนทีม่ อี ยู,่ แนวทางในขัน้ ต้น,
การสังเกตการณ์ และรายงานต่าง ๆ ข้อเท็จจริงบางประการเกี่ยวข้องกับก�ำลังรบฝ่ายเราที่ได้รับ
การก�ำหนดระหว่างการทบทวนกิจของหน่วยที่มีอยู่ ระหว่างการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว
นายทหารการข่าว ได้รับการช่วยเหลือจากนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและส่วนของฝ่าย
อ�ำนวยการอื่น ๆ การพัฒนาข้อเท็จจริง และสมมติฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามและฝ่าย
อื่น ๆ, พื้นที่ปฏิบัติการ และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร ในกรณีของข้อมูลข่าวสารต่อไปนี้มี
ส่วนส�ำคัญต่อนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร :
๕-๕๔.๑ การข่าวกรองเกี่ยวกับผู้บังคับบัญชาฝ่ายตรงข้ามและผู้น�ำที่ส�ำคัญอื่น ๆ
๕-๕๔.๒ ขวัญก�ำลังใจของฝ่ายตรงข้าม
๕-๕๔.๓ สภาพอากาศ
๕-๕๔.๔ การเปลี่ยนย้ายที่ตั้งของฝ่ายตรงข้าม, ฝ่ายเรา และกลุ่มส�ำคัญอื่น ๆ
๕-๕๔.๕ กองทหารที่มีอยู่, ความแข็งแกร่งของหน่วย และความพร้อมด้านยุทโธปกรณ์
๕-๕๔.๖ ความล่อแหลมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของก�ำลังฝ่ายเรา
๕-๕๔.๗ ความล่อแหลมด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารฝ่ายตรงข้ามและกลุม่ ส�ำคัญอืน่ ๆ
๕-๕๕. ผลผลิตด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในส่วนของกิจนี้เป็นรายการของข้อเท็จจริง
และสมมติฐานซึ่งเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริงถูกเขียนไว้ในย่อหน้า
รองของประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งย่อหน้านั้นเกี่ยวข้องกับพวกมัน (ปกติคือข้อ ๒ ก,
๒ ข, หรือ ๒ ค) สมมติฐานเขียนไว้ในย่อหน้ารอง ข้อ ๒ จ (ดูรูป ข-๙) นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารจัดเตรียม และรับเอาความต้องการข่าวสารด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (IO IRs) ของ
องค์กรที่เหมาะสมส�ำหรับข้อมูลข่าวสารซึ่งอาจจะยืนยัน หรือหักล้างข้อเท็จจริง และสมมติฐาน
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทบทวนข้อเท็จจริงและสมมติฐานจากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ
ท�ำการทบทวนพวกมัน หรือท�ำการทบทวนสมมติฐานเพือ่ การเปลีย่ นแปลงสมมติฐานไปสูข่ อ้ เท็จจริง
ด�ำเนินการประเมินความเสี่ยง
(CONDUCT RISK ASSESSMENT)
๕-๕๖. ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการประเมินความเสี่ยงเมื่อพวกเขาระบุถึงอันตราย๔
โดยไม่ค�ำนึงถึงประเภทของอันตราย พวกเขาไม่รอจนกระทั่งถึงจุดเริ่มต้นในวงรอบกระบวนการ
ปฏิบตั กิ าร นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประเมินความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก FM 100-14
182 บทที่ ๕

ข่าวสารตลอดห้วงของกระบวนการปฏิบตั กิ าร (operations process) นายทหารยุทธการรวบรวม


การประเมินความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เข้าไว้ในการประเมินความเสี่ยงในภาพรวมของหน่วยบัญชาการ
๕-๕๗. อันตรายทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมีประเด็นเกีย่ วข้องกับสามกรณีดงั นี้
๕-๕๗.๑ ความล่อแหลมจากการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (อันตรายทีเ่ กีย่ วข้อง
กับการตกอยู่ในอันตรายของหัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) ดูบทที่ ๓)
๕-๕๗.๒ ความล่อแหลมด้านการบังคับบัญชา และการควบคุม ประกอบด้วยสิ่งทั้งหลาย
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสูญเสียในส่วนของหน่วยส�ำคัญยิ่ง (ดูข้อ ๕-๔๕) หรือที่ได้มี
การระบุไว้ระหว่างการประเมินความล่อแหลม (ดูข้อ ๕-๔๖)
๕-๕๗.๓ อันตรายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
สองกรณีแรกเกี่ยวข้องกับอันตรายทางยุทธวิธี กรณีสุดท้ายประกอบด้วยอันตรายจากทางยุทธวิธี
และในอุบตั ภิ ยั นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารใช้เทคนิคใน FM 100-14 เพือ่ วิเคราะห์อนั ตราย
ดังกล่าว (ดูข้อ ข-๑๕ ถึง ข-๑๗ และรูป ข-๑๐ และรูป ข-๑๑)
๕-๕๘. ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประเมินการรักษาความ
ปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร และการบังคับบัญชาและการควบคุมในเบือ้ งต้นให้สมั พันธ์กบั อันตราย
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยังระบุอันตรายที่รู้ได้ และที่คาดการณ์ไว้จากการปฏิบัติการ
ต่าง ๆ ถ้ากองบัญชาการหน่วยเหนือได้กำ� หนดกิจเฉพาะใด ๆ ไว้ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
จะประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวกับกิจเฉพาะนั้นอีกด้วย นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประเมิน
อันตรายที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งหมดระหว่างการพัฒนา
หนทางปฏิบตั ิ และการวิเคราะห์หนทางปฏิบตั ิ เนือ่ งจากกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ทั้งหมดได้รับการก�ำหนดไว้เช่นนั้น
๕-๕๙. ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารผสมผสานการประเมิน
ความเสี่ยงกับกระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ, การประเมินความล่อแหลม
และผลผลิตด้านการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวจากนายทหารการข่าว ผลผลิตด้านการ
จัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวกับกระบวนการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเป็นการพิสูจน์
ทราบความล่อแหลมด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร ผลผลิตด้านการจัดเตรียมสนามรบ
ด้านการข่าวกับการประเมินความล่อแหลมเป็นการพิสจู น์ทราบความล่อแหลมด้านการบังคับบัญชา
และการควบคุม ภายหลังท�ำการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับอันตรายต่าง ๆ ในทางยุทธวิธีเหล่านี้
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพัฒนามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และ
การควบคุมอื่น ๆ ตลอดจนการก�ำหนดความเสี่ยงที่มีผลหลงเหลืออยู่ กระบวนการนี้เป็นผลให้มี
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 183

ข้อเสนอแนะแนวทางการวางแผนด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (ดูข้อ ๓-๓๒) และ


ให้ข้อเสนอแนะการควบคุมต่อการปกป้องความล่อแหลมด้านการบังคับบัญชา และการควบคุม
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเสนอข้อแนะน�ำเหล่านี้ และข้อแนะน�ำใด ๆ ทีเ่ กีย่ วกับการควบคุม
ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารต่อผูบ้ งั คับบัญชาระหว่าง
การบรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจ หรือตั้งแต่เนิ่น ๆ หากเห็นว่าเหมาะสม นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารพิจารณามาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร และการควบคุมอืน่ ๆ ในการ
ด�ำเนินงานตามปกติของหน่วย (มาตรการอันเป็นระเบียบปฏิบัติประจ�ำ) อย่างไรก็ตามมาตรการ
ดังกล่าวอาจจะไม่รวมอยู่ในการบรรยายสรุปนี้ มาตรการอันเป็นระเบียบปฏิบัติประจ�ำไม่ต้องการ
การอนุมัติจากหน่วยบัญชาการ นายทหารยุทธการเผยแพร่มาตรการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการที่ได้รับอนุมัติ และการควบคุมอื่น ๆ (นอกเหนือจากมาตรการอันเป็นระเบียบปฏิบัติ
ประจ�ำ) โดยใช้ค�ำสั่งเตือน
๕-๖๐. ในทุกการปฏิบตั กิ าร การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารล้วนเกีย่ วพันกับความเสีย่ ง ข้อจ�ำกัด
ด้านทรัพยากร ผสมผสานกับการตอบโต้และความริเริ่มของฝ่ายตรงข้าม จะลดระดับ และ
ขอบเขตความเหนื อ กว่ า ด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ เ ป็ น ไปได้ การประเมิ น ความเสี่ ย งเป็ น หนึ่ ง ใน
เครื่องมือของผู้บังคับบัญชาที่ใช้ในการแบ่งสันทรัพยากร ฝ่ายอ�ำนวยการจะพิสูจน์ว่าความเสี่ยง
อันใดที่จะแสดงให้เห็นถึงการคุกคามอย่างใหญ่หลวงต่อการบรรลุภารกิจ พวกเขาจะก�ำหนดความ
ต้องการทรัพยากรในทันทีเพือ่ ควบคุมความเสีย่ งนัน้ และประมาณการผลประโยชน์ทจี่ ะได้รบั การ
ประมาณการในส่วนของความเสี่ยงที่หลงเหลืออยู่นี้จะช่วยให้ผู้บังคับบัญชามีเครื่องมือช่วยในการ
ตัดสินใจว่าจะท�ำการแบ่งสันทรัพยากรที่หายากได้อย่างไร และจุดใดที่จะยอมรับความเสี่ยงนั้น
ก�ำหนดความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่ง ของผู้บังคับบัญชา
(DETERMINE INITIAL COMMANDER’S CRITICAL INFORMATION REQUIREMENTS)
๕-๖๑. ความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิง่ ของผูบ้ งั คับบัญชาเป็นองค์ประกอบของข้อมูลข่าวสาร
ที่ต้องการโดยผู้บังคับบัญชาซึ่งให้ผลกระทบกระเทือนโดยตรงต่อการตกลงใจและบงการความ
ส�ำเร็จในการด�ำเนินการในส่วนของการปฏิบัติการทางทหารทั้งหลายทั้งปวง (ดู รส. ๓-๐ และ
รส. ๖-๐) ความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชาประกอบด้วย ความต้องการข่าวสาร
ตามล�ำดับเร่งด่วน (PIRs) และความต้องการข่าวสารของก�ำลังฝ่ายเรา (FFIR) ส่วนต่าง ๆ ของฝ่าย
อ�ำนวยการ รวมทั้งนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้ค�ำแนะน�ำ ความต้องการข่าวสารส�ำคัญ
ยิ่งของผู้บังคับบัญชาแก่นายทหารยุทธการ ในสภาพแวดล้อมที่จ�ำกัดด้วยเวลา ฝ่ายอ�ำนวยการ
อาจจะเรียบเรียงข้อมูลข่าวสารเหล่านีไ้ ปทีละเล็กทีละน้อย นายทหารยุทธการเสนอรายละเอียดในส่วน
ของความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชาที่รวบรวมได้แก่ผู้บังคับบัญชาเพื่อการอนุมัติ
ผู้บังคับบัญชาท�ำการก�ำหนดความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งถือเป็นท้ายที่สุด
184 บทที่ ๕

๕-๖๒. การจัดท�ำความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิง่ ของผูบ้ งั คับบัญชาเป็นเครือ่ งมือหนึง่ ทีผ่ บู้ งั คับ


บัญชาใช้เพื่อมุ่งเน้นความพยายามในการประเมินความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับ
บัญชาซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในกระบวนการปฏิบัติการเนื่องจากว่าประเภทของการตัดสินใจ
ต้องการการเปลี่ยนแปลงด้วยเหตุที่ถือว่าเป็นความก้าวหน้าของการปฏิบัติการ ระหว่างการ
วางแผน ส่วนของฝ่ายอ�ำนวยการสร้างความต้องการข่าวสารต่าง ๆ เพื่อรับเอาข้อมูลข่าวสารที่
พวกเขาต้องการในการพัฒนาแผน ผู้บังคับบัญชาจัดท�ำความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับ
บัญชาซึง่ สนับสนุนการตกลงใจ ตามทีพ่ วกเขาต้องท�ำโดยค�ำนึงถึงรูปแบบของการวางแผนทีน่ ำ� มาใช้
การตัดสินใจทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ระหว่างการวางแผนคือหนทางปฏิบตั ใิ ดทีจ่ ะเลือก ระหว่างการเตรียมการ
การเพ่งเล็งในเรือ่ งของความต้องการข่าวสาร และความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิง่ ของผูบ้ งั คับบัญชา
เปลี่ยนไปสู่การตัดสินใจที่ต้องการเพื่อกลั่นกรองแก้ไขแผน ระหว่างการปฏิบัติการ ผู้บังคับบัญชา
จัดท�ำความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิง่ ของผูบ้ งั คับบัญชาซึง่ ระบุขา่ วสารทีพ่ วกเขาต้องการเพือ่ ลงมือ
ปฏิบัติการและปรับการตัดสินใจ (ดู รส. ๖-๐)
๕-๖๓. ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารก�ำหนดข้อมูลข่าวสารที่
ผูบ้ งั คับบัญชาต้องการในการตัดสินใจว่าท�ำอย่างไรทีจ่ ะใช้การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารระหว่าง
การปฏิบัติการที่ก�ำลังเกิดขึ้นมา นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเสนอแนะสิ่งเหล่านั้นให้แก่
ผูบ้ งั คับบัญชาอันประกอบด้วย ความต้องการข่าวสารเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ในความ
ต้องการข่าวสารส�ำคัญยิง่ ของผูบ้ งั คับบัญชา (ดูรปู ข - ๑๒) กิจนีไ้ ม่ได้ผลิต ผลผลิตทีเ่ กีย่ วข้องเฉพาะ
ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ยกเว้นนายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเสนอแนะความต้องการ
ข่าวสารด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารหนึ่งหรือมากกว่านั้นเป็นความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่ง
ของผู้บังคับบัญชา อย่างไรก็ตาม ณ จุดนี้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารควรจะมีการจัดท�ำ
บัญชีรายละเอียดความต้องการข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และรวบรวมเสนอ
ให้แก่นายทหารการข่าว ตัวอย่างของความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชาต่อไปนี้เป็น
ตัวอย่างส�ำหรับการปฏิบัติการเพื่อเสถียรภาพ ณ จุดที่การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นการปฏิบัติ
การที่ให้ผลแตกหัก (decisive operation):
๕-๖๓.๑ ใครคือตัวแสดงหลักในความรุนแรงของฝูงชนภายในสังคมนั้น ?
๕-๖๓.๒ อะไรคือเวทีของพรรคการเมืองแต่ละพรรค ?
๕-๖๓.๓ ใครจะเป็นตัวแทนของพรรคการเมือง ?
๕-๖๓.๔ พรรคใดค่อนข้างจะเข้าร่วมกับก�ำลังฝ่ายเรามากที่สุด ?
๕-๖๓.๕ พรรคใดจะไม่เป็นแค่ตัวแทนหลักของประชาชน แต่ยังเป็นการสนับสนุนความ
ก้าวหน้าภายในสังคมนั้นโดยตรงอีกด้วย ?
๕-๖๓.๖ อะไรคือจุดศูนย์ดุล และความล่อแหลมของก�ำลังฝ่ายเรา ?
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 185

ก�ำหนดความต้องการด้านการข่าวกรอง, การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน


(DETERMINE THE INITIAL INTELLIGENCE, SURVEILLANCE, AND RECONNAIS-
SANCE REQUIREMENTS)
๕-๖๔. บนพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว และความต้องการข่าวสาร
ส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา ฝ่ายอ�ำนวยการจะท�ำการพิสูจน์ทราบช่องว่างด้านข้อมูลข่าวสาร
(Information gaps) (ดู รส. ๓-๐ และ รส. ๖-๐) และก�ำหนดความต้องการด้านการข่าวกรอง
การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวนในขั้นต้น นายทหารการข่าวรวมความต้องการดังกล่าวเข้าไว้
ในแผนรวบรวมข่าวสาร นายทหารการข่าวน�ำแผนรวบรวมข่าวสารเข้าประสานงานกับนายทหาร
ยุทธการเพื่อประกันว่าในแผนรวบรวมข่าวสารได้รวบรวมหน่วยทางด้านการเฝ้าตรวจ และการ
ลาดตระเวนทั้งหมดไว้ นายทหารยุทธการจัดเตรียมผนวก ขฝล. และออกค�ำสั่งที่จ�ำเป็นต่อการ
เริ่มการรวบรวมข่าวสารในทันทีที่รับมอบภารกิจเท่าที่เป็นได้
๕-๖๕. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพิสูจน์ทราบช่องว่างในข้อมูลข่าวสารที่จ�ำเป็นต่อ
การสนับสนุนการวางแผนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติ และการ
ประเมินการปฏิบัติในขั้นแรก สิ่งเหล่านี้ได้รับการยอมรับจากนายทหารการข่าว เนื่องจากเป็น
ความต้องการข่าวสารในด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร นายทหารการข่าวรวบรวมความต้องการ
ข่าวสารนั้นเข้าไว้ในแผนรวบรวมข่าวสาร และนายทหารยุทธการน�ำไปจัดท�ำกิจด้าน ขฝล. อย่าง
เหมาะสม ผลผลิตด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในเรื่องของกิจนี้คือ ความต้องการข่าวสารด้าน
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ซึง่ ยอมรับได้อย่างแท้จริงส�ำหรับสิง่ ทีร่ วบรวมเข้าไว้ดว้ ยกันในผนวก ขฝล.
แผนการใช้เวลาที่มีอยู่ (PLAN USE OF AVAILABLE TIME)
๕-๖๖. ณ จุดนี้ นายทหารยุทธการกลั่นกรองแก้ไขแผนการเรื่องเวลาในขั้นต้นที่ได้พัฒนา
ระหว่างการรับมอบภารกิจ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าในส่วน
เฉพาะที่เป็นลักษณะของการใช้เวลาอย่างยาวนานซึ่งเกี่ยวกับกิจต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารอย่างชัดเจน (ปกติสิ่งเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการลวงทางทหารหรือการปฏิบัติการ
จิตวิทยา) การระบุกิจต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นสิ่งส�ำคัญ เนื่องจากการ
ใช้เวลาอย่างยาวนานต้องการการรวบรวม และวิเคราะห์ข่าวกรอง และเวลาอย่างยาวนานเท่าที่
เป็นไปได้เป็นความจ�ำเป็นต่อการบรรลุผลลัพธ์ นอกเหนือการรับแผนการใช้เวลาที่ได้ทบทวนแล้ว
นั้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเปรียบเทียบเวลาที่มีอยู่ในการบรรลุกิจต่าง ๆ เกี่ยวกับ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับเส้นเวลาของหน่วยบัญชาการ และเส้นเวลาของฝ่ายตรงข้าม
และทบทวนแผนการแบ่งสันเวลาด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบนพื้นฐานของเส้นเวลา
นัน้ ผลผลิตด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจากกิจนีเ้ ป็นแผนเกีย่ วกับเวลาด้านการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสาร
186 บทที่ ๕

เขียนภารกิจแถลงใหม่ (WRITE THE RESTATED MISSION)


๕-๖๗. นายทหารยุทธการพัฒนาภารกิจแถลงใหม่ที่จะน�ำเสนอบนพื้นฐานกิจส�ำคัญยิ่งของ
ก�ำลังรบ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
บนพื้นฐานประมาณการด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในปัจจุบัน ข้อความภารกิจแถลงใหม่
ต้องประกอบด้วยกิจส�ำคัญยิ่งที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูรูป ข-๑๓)
ด�ำเนินการบรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจ
(CONDUCT A MISSION ANALYSIS BRIEFING)
หัวข้อการบรรยายสรุป ปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ภารกิจ • กิจส�ำคัญยิ่งเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
• ผู้ที่ท�ำหน้าที่ด้านการตกลงใจ, กระบวนการแสวง
การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าวขั้นต้น ข้อตกลงใจ, ระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม,
(แผนที่ และแผ่นภาพแสดงประกอบ) ขีดความสามารถด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
และความล่อแหลมด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
กิจเฉพาะ, กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิ่ง • กิจเฉพาะ, กิจแฝง, และกิจส�ำคัญยิ่งเกี่ยวกับการ
(แผ่นข้อความ) ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ข้อจ�ำกัด (แผ่นข้อความ) • ข้อจ�ำกัดใด ๆ เกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ที่มีต่อหน่วยบัญชาการ
ก�ำลังที่มีอยู่ (แผ่นภาพสถานภาพหน่วยด้านปฏิบัติ • หน่วยและขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการ
การข้อมูลข่าวสาร) ข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่
• แนวทางวางแผนด้านการรักษาความปลอดภัยการ
ปฏิบัติการที่เสนอ
การประเมินความเสี่ยง
• การควบคุมที่เสนอปกป้องความล่อแหลมด้านการ
(แผ่นภาพ) บังคับบัญชาและการควบคุมและหน่วยที่ส�ำคัญยิ่ง
• การควบคุมที่เสนอความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับกิจที่
เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
• ข่าวสารทีต่ อ้ งการในการจัดท�ำข้อตกลงใจด้านการ
ความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร, โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูล
(แผ่นข้อความ) ข่าวสารที่จ�ำเป็นต่อการก�ำหนดหรือการวางแผน
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างมีเหตุมีผล
• ความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา
เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่เสนอ
เส้นเวลาที่เสนอ (แสดงด้วยรูปภาพ) • เวลาทีต่ อ้ งการเพือ่ บรรลุกจิ เกีย่ วกับการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสาร
• เปรียบเทียบเวลาที่ต้องการกับเวลาที่มีอยู่
ภารกิจแถลงใหม่ที่เสนอ (แผ่นข้อความ) • กิจส�ำคัญยิ่งเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
รูปที่ ๕-๔ ปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 187

๕-๖๘. การอนุมัติเวลา ฝ่ายอ�ำนวยการบรรยายสรุปให้แก่ผู้บังคับบัญชาในผลลัพธ์ของการ


วิเคราะห์ภารกิจ การบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจเป็นเพียงเวลาเดียวเท่านั้นที่ฝ่ายอ�ำนวยการ
ทั้งหมดได้น�ำเสนอผลการวิเคราะห์และเป็นเพียงโอกาสเดียวเท่านั้นที่ประกันว่าเจ้าหน้าที่ทาง
ฝ่ายอ�ำนวยการทั้งหมดได้เริ่มงานจากจุดเริ่มต้นที่สามารถอ้างอิงได้ ณ จุดเดียวกัน รูปที่ ๕-๔
แสดงหัวข้อการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจที่ครอบคลุมทั้งหมด และปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารตามหัวข้อการบรรยายสรุป ปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็น
พืน้ ฐานเบือ้ งต้นส�ำหรับการประมาณการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ระเบียบปฏิบตั ปิ ระจ�ำของหน่วย
แสดงรายละเอียดข่าวสารทีน่ ายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจัดเตรียมไว้ ข้อมูลข่าวสารนีเ้ ป็นการ
สรุปหรือกล่าวซ�้ำผลลัพธ์ของกิจด้านการแสวงข้อตกลงใจทางทหารก่อนหน้านี้ อย่างน้อยที่สุด
ให้ยึดถือหัวข้อตามรายละเอียดในรูป ๕-๔
การอนุมัติภารกิจแถลงใหม่ (APPROVE RESTATED MISSION)
๕-๖๙. หลังจากที่ได้มีการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจ ผู้บังคับบัญชาอนุมัติภารกิจแถลงใหม่
ทันทีทอี่ นุมตั ิ ข้อความภารกิจแถลงใหม่จะกลายเป็นภารกิจของหน่วย นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารประกันว่าเจ้าหน้าที่ทุกส่วนได้รับและเข้าใจข้อความภารกิจที่ได้รับอนุมัติ
พัฒนาเจตนารมณ์ในขั้นต้นของผู้บังคับบัญชา
(DEVELOP INITIAL COMMANDER’S INTENT)
๕-๗๐. เจตนารมณ์ของผูบ้ งั คับบัญชาเป็นข้อความทีม่ คี วามชัดเจน กะทัดรัด ทีร่ ะบุวา่ ก�ำลังรบ
ต้องท�ำอะไร และเงื่อนไขที่ก�ำลังรบต้องบรรลุเพื่อความส�ำเร็จด้วยความสอดคล้องกับข้าศึก,
ภูมิประเทศ และผลสุดท้ายที่ต้องการ (desired end state) เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
เชื่อมโยงภารกิจกับแนวความคิดในการปฏิบัติโดยการแถลงให้เห็นถึงกิจส�ำคัญซึ่งสอดคล้องกับ
ภารกิจ และเป็นรูปแบบพื้นฐานส�ำหรับหน่วยรองในการด�ำเนินความริเริ่มด้วยตนเองได้เมื่อมี
โอกาสที่คาดไม่ถึงเกิดขึ้น หรือเมื่อแนวความคิดในการปฏิบัติเริ่มต้นไม่สามารถน�ำมาใช้ได้อีกต่อไป
กิจที่เป็นกุญแจส�ำคัญเป็นกิจที่ก�ำลังรบทั้งหมดต้องกระท�ำ, หรือเงื่อนไขที่ก�ำลังรบต้องบรรลุ เพื่อ
ให้บรรลุถึงผลลัพธ์สุดท้ายและแสดงให้เห็นจุดมุ่งหมายของการปฏิบัติการ (รส. ๖-๐) จังหวะของ
การปฏิบัติการ, ห้วงระยะเวลา และผลกระทบเกี่ยวกับข้าศึก หรือภูมิประเทศซึ่งต้องได้รับการ
ควบคุมเป็นตัวอย่างของกิจที่เป็นกุญแจส�ำคัญ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพัฒนาปัจจัยน�ำ
เข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่เสนอแนะเป็นเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา และเสนอผ่าน
เสนาธิการเพือ่ ให้ผบู้ งั คับบัญชาพิจารณา เมือ่ ท�ำการพัฒนาปัจจัยน�ำเข้าทีเ่ สนอเป็นเจตนารมณ์ของ
ผูบ้ งั คับบัญชา นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารช่วยเหลือผูบ้ งั คับบัญชาในการวาดมโนภาพว่าการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสามารถสนับสนุนการบรรลุภารกิจได้อย่างไร (ดูรูป ข-๑๔)
188 บทที่ ๕

ให้แนวทางวางแผนของผู้บังคับบัญชา
(ISSUE THE COMMANDER’S GUIDANCE)
๕-๗๑. ภายหลังการอนุมัติภารกิจแถลงใหม่ และแสดงเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาแล้ว ผู้บังคับ
บัญชาจะให้แนวทางวางแผนเพิ่มเติมแก่ฝ่ายอ�ำนวยการเพื่อมุ่งเน้นในกิจกรรมต่าง ๆ ทางการ
วางแผนของฝ่ายอ�ำนวยการ ผู้บังคับบัญชารวมวิสัยทัศน์ในเรื่องของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ของเขาไว้ในแนวทางนี้ ผู้บังคับบัญชาพิจารณาสิ่งต่อไปนี้เมื่อท�ำการพัฒนาแนวทางวางแผนปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารของพวกเขา :
๕-๗๑.๑ ประเด็นในเรือ่ งของนโยบายด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของกองบัญชาการ
หน่วยเหนือหรือแนวทางซึ่งผู้บังคับบัญชาต้องการให้ท�ำการเน้นย�้ำ
๕-๗๑.๒ หนทางปฏิบตั สิ ำ� หรับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารใดทีม่ คี วามเป็นไปได้มากทีส่ ดุ
ในการเพิ่มโอกาสแห่งความส�ำเร็จ
๕-๗๑.๓ ความเสีย่ งทีพ่ วกเขาตัง้ ใจทีจ่ ะยอมรับตามแนวทางในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
๕-๗๑.๔ การตัดสินใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใดที่พวกเขาต้องการรักษา
เอาไว้หรือแบ่งมอบอ�ำนาจออกไป
๕-๗๒. แนวทางของผูบ้ งั คับบัญชามุง่ เน้นต่อกิจส�ำคัญยิง่ ของผูบ้ งั คับบัญชา (ดู รส. ๕-๐) ผูบ้ งั คับ
บั ญ ชาอาจจะให้ แ นวทางส� ำ หรั บ การปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ แ ยกต่ า งหาก หรื อ เป็ น
ส่วนหนึง่ ของแนวทางวางแผนในภาพรวมของพวกเขา พวกเขาจัดเตรียมแนวทางวางแผนส�ำหรับ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างเพียงพอ แนวทางนี้รวมถึงการระบุ หรือการใคร่ครวญเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใด ๆ ที่เขียนไว้ในเทอมของมาตรการที่วัดได้ และ
มีขอบเขตพอเหมาะพอควร มันยังรวมถึงแนวทางวางแผนด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติ
การ (ดูข้อ ๓-๓๒) แนวทางในการลวงทางทหาร (ดูข้อ ๔-๔๗) และแนวทางในการด�ำเนินกรรมวิธี
เป้าหมาย (ดูข้อ จ-๙ ถึง จ-๑๒) (ดูรูป ข-๑๕)
๕-๗๓. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารช่วยเหลือผูบ้ งั คับบัญชาสร้างมโนภาพความต้องการ
ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก และโอกาสต่าง ๆ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เตรียมข้อมูลอย่างละเอียดเกี่ยวกับความล่อแหลมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา
ขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม และมาตรการด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารเชิงรับที่มีอยู่ ข้อพิจารณาส�ำหรับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อจะให้
ข้อเสนอแนะต่อปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารส�ำหรับแนวทางวางแผนของผูบ้ งั คับ
บัญชาประกอบด้วย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 189

๕-๗๓.๑ การขยายตัวซึง่ ท�ำให้ผบู้ งั คับบัญชาสามารถตกอยูใ่ นความล่อแหลมต่อการปฏิบตั ิ


การข้อมูลข่าวสารของฝ่ายปรปักษ์ได้
๕-๗๓.๒ การปฏิบัติเฉพาะเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ต้องการส�ำหรับการ
ปฏิบัติการ
๕-๗๓.๓ ขีดความสามารถของผู้บังคับบัญชาในการปฏิบัติเกี่ยวกับการกระท�ำเฉพาะด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก และในการด�ำเนินมาตรการด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารเชิงรับ
๕-๗๓.๔ ข้อมูลข่าวสารเพิม่ เติมทีต่ อ้ งการในการด�ำเนินการด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ให้ค�ำสั่งเตือน (ISSUE A WARNING ORDER)
๕-๗๔. ภายหลังที่ได้รับแนวทางวางแผนของผู้บังคับบัญชา นายทหารยุทธการส่งค�ำสั่งเตือน
ไปยังหน่วยรอง และหน่วยสนับสนุนในทันที (ดูรูป ข-๑๖) นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
จัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารให้แก่นายทหารยุทธการส�ำหรับน�ำไปบรรจุ
ไว้ในค�ำสั่งเตือน ปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนี้รวมถึงข้อความภารกิจด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารขั้นต้น มันยังประกอบด้วยแนวทางวางแผนด้านการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ และแนวทางวางแผนด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ และแนวทาง
วางแผนด้านการลวงทางทหาร ถ้าสิ่งเหล่านี้ไม่พร้อมที่จะเผยแพร่ออกไป มันอาจจะประกอบด้วย
ค�ำแนะน�ำที่เกี่ยวข้องกับ
๕-๗๔.๑ ความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา
๕-๗๔.๒ แนวทางด้านความเสี่ยง
๕-๗๔.๓ กิจด้าน ขฝล.
๕-๗๔.๔ มาตรการรักษาความปลอดภัย
ทบทวนข้อเท็จจริงและสมมติฐาน (REVIEW FACTS AND ASSUMPTIONS)
๕-๗๕. ตลอดห้วงเวลาของการปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารรักษาบันทึกใน
เรือ่ งของข้อเท็จจริง และสมมติฐานเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในข้อ ๒ ของประมาณ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการทบทวนสิ่งเหล่านั้น
ตามห้วงระยะเวลา เมือ่ ข้อเท็จจริงและสมมติฐานเปลีย่ นแปลงไป นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ท�ำการปรับปรุงประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และท�ำการประเมินผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงให้ทันสมัยตลอดเวลา หากการเปลี่ยนแปลงนั้นต้องการให้มีการปรับเปลี่ยนในส่วน
ของการปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะให้ค�ำแนะน�ำต่อเสนาธิการ และ
นายทหารยุทธการ
190 บทที่ ๕

๕-๗๖. ระหว่างการด�ำเนินกรรมวิธแี สวงข้อตกลงใจทางทหาร นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร


ท�ำการทบทวนข้อเท็จจริง และสมมติฐานตามห้วงระยะเวลาเพื่อประกันว่าความเข้าใจ และความ
มีเหตุมผี ลของพวกมันยังคงอยูบ่ นพืน้ ฐานของภารกิจแถลงใหม่, แนวทางของผูบ้ งั คับบัญชาทีไ่ ด้รบั
การปรับปรุง และเจตนารมณ์เบื้องต้นของผู้บังคับบัญชา นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเก็บ
รักษาข้อเท็จจริง และสมมติฐานในปัจจุบันไว้ในใจระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ ประเด็นของ
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารนัน้ เป็นพลวัต และต้องการการประเมินอย่างสม�ำ่ เสมอตลอดห้วงเวลา
ของการปฏิบัติการ
บทสรุปของการปฏิบัติในการวิเคราะห์ภารกิจ
(SUMMARY OF MISSION ANALYSIS ACTIONS)
๕-๗๗. การวิเคราะห์ภารกิจอย่างสมบูรณ์เป็นสิง่ ส�ำคัญยิง่ ต่อการท�ำความเข้าใจการปฏิบตั กิ าร
ในภาพรวม และเป็นการก�ำหนดว่าจะบรรลุผลส�ำเร็จได้อย่างไร มันเป็นการวางรากฐานส�ำหรับ
งานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการแสวงข้อตกลงใจทางทหารที่จะตามมา ข้อมูลข่าวสาร และผลผลิต
ต่าง ๆ ที่ได้พัฒนาขึ้นระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจสนับสนุนการพัฒนาในเรื่องของประมาณการ
ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับการวางแผนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ด้วยสิ่งที่ได้รับการ
พัฒนาขึ้นเหล่านี้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแบ่งปันพวกมันให้กับนายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารของหน่วยเหนือ และหน่วยทีต่ ำ�่ กว่า เพือ่ อ�ำนวยประโยชน์ในการวางแผนคูข่ นานและ
การวางแผนร่วมกัน ข้อความภารกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในขั้นต้นก่อให้เกิดประเด็น
เพ่งเล็งส�ำหรับการพัฒนาแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระหว่าง
การพัฒนาหนทางปฏิบตั ิ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารใช้ขอ้ มูลข่าวสารในประมาณการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารเพือ่ ท�ำให้สว่ นทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในแผน/ค�ำสัง่ ยุทธการมี
ความสมบูรณ์ระหว่างการผลิตค�ำสั่ง

ตอนที่ ๔ การพัฒนาหนทางปฏิบัติ
(SECTION IV – COURSE OF ACTION DEVELOPMENT)
๕-๗๘. ภายหลังการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจ ฝ่ายอ�ำนวยการเริ่มท�ำการพัฒนาหนทาง
ปฏิบัติเพื่อการวิเคราะห์ และเปรียบเทียบโดยอาศัยพื้นฐานของภารกิจแถลงใหม่, เจตนารมณ์
ของผูบ้ งั คับบัญชา, ตลอดจนแนวทางวางแผน ระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบตั ิ ฝ่ายอ�ำนวยการ
จัดเตรียมหนทางปฏิบตั ทิ เี่ ป็นไปได้ซงึ่ เป็นการผสมผสานผลกระทบขององค์ประกอบอ�ำนาจก�ำลังรบ
ทั้งมวลเข้าไว้ด้วยกันเพื่อบรรลุผลส�ำเร็จในทางภารกิจ โดยอาศัยพื้นฐานจากข้อความภารกิจด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเบื้องต้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพัฒนาแนวความคิด
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 191

ในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติ กิจต่าง ๆ ด้านการพัฒนาหนทางปฏิบัติ


การข้อมูลข่าวสาร, วัตถุประสงค์ ๕-๗๘.๑ วิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบเปรียบเทียบ
ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ๕-๗๘.๒ สร้างหนทางปฏิบัติ
และกิ จ ต่ า ง ๆ ด้ า นการปฏิ บั ติ ๕-๗๘.๓ วางก�ำลังในขั้นต้น
การข้อมูลข่าวสารที่แตกต่างกัน ๕-๗๘.๔ พัฒนาแนวความคิดในการปฏิบัติ
ส� ำ หรั บ ในแต่ ล ะหนทางปฏิ บั ติ ๕-๗๘.๕ กองบัญชาการที่เสนอ
เจ้าหน้าที่ในส่วนปฏิบัติการข้อมูล ๕-๗๘.๖ จัดเตรียมข้อความและภาพร่างหนทางปฏิบัติ
ข่าวสารพัฒนากิจต่าง ๆ ซึ่งองค์
ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องของพวกมันสามารถน�ำไปด�ำเนิน
การช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๗๙. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวข้องกับการพัฒนาหนทางปฏิบัติตั้งเริ่มต้น
ประเด็นหลักที่มุ่งเน้นอยู่ที่การก�ำหนดว่าท�ำอย่างไรถึงจะบรรลุความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร
ณ เวลา และต�ำบลวิกฤติในแต่ละหนทางปฏิบตั ิ ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั เวลาทีม่ อี ยู,่ ผลิตผลจากการวางแผน
อาจจะได้รับร่างขึ้นหรือบอกกล่าวด้วยวาจา ผู้แทนของเซลล์ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารช่วยเหลือ
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในการพิจารณา และประสานสอดคล้ององค์ประกอบด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบเปรียบเทียบ
(ANALYZE RELATIVE COMBAT POWER)
๕-๘๐. อ�ำนาจก�ำลังรบเป็นเครื่องมือทั้งมวลในส่วนของก�ำลังที่ใช้ในการท�ำลาย และ/หรือ
การรบกวน ซึ่งหน่วยทหาร/ขบวนทัพสามารถน�ำไปต่อต้านกับฝ่ายตรงข้าม ในเวลาที่ก�ำหนด
องค์ประกอบของอ�ำนาจก�ำลังรบได้แก่ การด�ำเนินกลยุทธ์, อ�ำนาจการยิง, ความเป็นผูน้ ำ� , การพิทกั ษ์
หน่วย และข้อมูลข่าวสาร (ดู รส. ๓-๐) โดยการวิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบเปรียบเทียบ ผู้วางแผน
ก�ำหนดความแข็งแกร่งและความอ่อนแอทัง้ ของฝ่ายเราและฝ่ายตรงข้าม ตลอดจนก�ำหนดประเภท
และรูปแบบของการปฏิบัติการ (ดู รส. ๓-๙๐) ที่เป็นไปได้
๕-๘๑. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารได้รบั การช่วยเหลือโดย ส่วนปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ประกันว่าฝ่ายอ�ำนวยการท�ำการพิจารณาข้อมูลข่าวสารกับองค์ประกอบอื่น ๆ ของอ�ำนาจ
ก�ำลังรบ อย่างไรก็ตามฝ่ายอ�ำนวยการยังไม่สนธิหน่วย/ทรัพยากรด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
อย่างเต็มรูปแบบจนกระทัง่ มันได้มกี ารวางก�ำลังและพัฒนาหนทางปฏิบตั ิ ในบางกรณีขอ้ มูลข่าวสาร
ขยายผลกระทบในส่วนขององค์ประกอบอ�ำนาจก�ำลังรบตัวอืน่ ๆ ในอีกด้านเป็นการเพิม่ อ�ำนาจก�ำลัง
รบให้กับพวกมัน (ดู รส. ๓-๐) บางเวลาข้อมูลข่าวสารเป็นองค์ประกอบส�ำคัญด้านอ�ำนาจก�ำลังรบ
192 บทที่ ๕

ที่ส�ำคัญที่สุด ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสามารถเพิ่มอ�ำนาจก�ำลังรบของ
ฝ่ายเราได้อย่างไร :
๕-๘๑.๑ การลวงทางทหารสามารถสร้างอิทธิพลต่อฝ่ายตรงข้ามในการใช้อำ� นาจก�ำลังรบ
ณ ต�ำบลและเวลาซึ่งเป็นที่ต้องการกับการปฏิบัติการของฝ่ายเรา
๕-๘๑.๒ การต่อต้านการโฆษณาชวนเชือ่ สามารถลดประสิทธิภาพการโฆษณาชวนเชือ่ ของ
ฝ่ายตรงข้ามโดยแสดงให้เห็นถึงการโกหกหลอกลวง และท�ำให้เกิดความเป็นจริง
ขึ้นมา
๕-๘๑.๓ การประชาสัมพันธ์สามารถสร้างอิทธิพลต่อผูส้ นใจทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ
ได้ ต ามที่ ต ้ อ งการโดยการลงมื อ เผยแพร่ ข ้ อ มู ล ในทางบวก โดยกองทั พ บก
การปฏิบัติการจิตวิทยาสามารถบรรลุผลกระทบในทางเดียวกันในพื้นที่ปฏิบัติ
การในต่างประเทศได้
๕-๘๒. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกันว่าฝ่ายอ�ำนวยการท�ำการพิจารณาขีดความ
สามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเมื่อท�ำการวิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบเปรียบเทียบ
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารสามารถเป็นสิง่ ทีม่ คี ณ
ุ ค่า โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการลดการใช้ทรัพยากร
จากองค์ประกอบอ�ำนาจก�ำลังรบอืน่ ๆ ตัวอย่างเช่น ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถใช้สงครามอิเล็กทรอนิกส์
ในการกวนสัญญาณของปมการสื่อสารแทนที่จะใช้การยิงเพื่อท�ำลายมัน
๕-๘๓. การสนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก และเชิงรับมีความยุ่งยากเสมอต่อ
ปัจจัยที่น�ำมาค�ำนวณอัตราส่วนก�ำลังรบ ด้วยการสนับสนุนจากนักวางแผนของนายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร นักวางแผนจากฝ่ายอ�ำนวยการ พิจารณาผลกระทบจากการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติการทางทหารที่เป็นนามธรรมเหมือนกับที่ท�ำการประเมิน
อ�ำนาจก�ำลังรบเปรียบเทียบ ปัจจัยที่เป็นนามธรรมประกอบด้วยบางสิ่งที่เป็นความฝืดของสงคราม
(Friction of war) และเจตจ�ำนงของก�ำลังทัพบกและของฝ่ายตรงข้าม แนวทางและวิธีการที่
หลากหลายอาจจะน�ำไปใช้เพื่อร่างภาพผลกระทบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร วิธีการหนึ่ง
ในการเพิ่มอ�ำนาจก�ำลังรบเปรียบเทียบให้กับก�ำลังรบด้วยการมอบหน่วยด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร ตัวอย่างเช่น วินยั ในการรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ ารอย่างเข้มงวดโดยก�ำลังฝ่ายเรา
เพิ่มความยุ่งยากต่อฝ่ายตรงข้ามในการรวบรวมข่าวสาร ดังนั้น นายทหารประชาสัมพันธ์สามารถ
ก�ำหนดตัวชี้วัดความล่อแหลมของแต่ละฝ่ายสอดคล้องกับการครอบคลุมของสื่อ
สร้างทางเลือก (GENERATE OPTIONS)
๕-๘๔. ภายหลังก�ำหนดประเภทและรูปแบบของการปฏิบตั กิ ารทีเ่ ป็นไปได้ ฝ่ายอ�ำนวยการสร้าง
ทางเลือกส�ำหรับด�ำเนินการกับการปฏิบัติการเหล่านั้น ปกติโดยทั่วไปแล้วผู้บังคับบัญชาเพ่งเล็ง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 193

การพัฒนาหนทางปฏิบัติด้วยแนวทางวางแผนของพวกเขา ทางเลือกที่เป็นไปได้นั้นจะได้รับการ
พัฒนาเป็นหนทางปฏิบัติเท่าที่เวลาจะอ�ำนวยให้
๕-๘๕. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารช่วยเหลือฝ่ายอ�ำนวยการในการพิจารณาการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารที่เป็นความได้เปรียบ และเสียเปรียบที่จะน�ำไปสู่แต่ละหนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้
กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบางอย่าง อย่างเช่น กิจเหล่านั้นใช้หน่วยยิงสนับสนุน, หน่วย
ข่าวกรอง, หรือหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ ต้องการการเปลีย่ นแปลงบทบาททางเลือกในการด�ำเนินกลยุทธ์
อื่น ๆ ตัวอย่างคือการใช้ก�ำลังหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ในการปฏิบัติการลวงทางทหารแทนที่จะวาง
น�้ำหนักไปที่การปฏิบัติการรบแตกหัก ฝ่ายอ�ำนวยการพิจารณาการเปลี่ยนแปลงบทบาทเมื่อ
ด�ำเนินการสร้างทางเลือก และทบทวนสิ่งเหล่านั้นระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ
วางก�ำลังขั้นต้น (ARRAY INITIAL FORCES)
๕-๘๖. ฝ่ายอ�ำนวยการวางก�ำลังเพื่อก�ำหนดก�ำลังรบที่จ�ำเป็นต่อการบรรลุภารกิจ และเพื่อ
พัฒนาฐานความรู้ส�ำหรับการจัดท�ำข้อตกลงใจเกี่ยวกับแนวความคิดในการปฏิบัติ นายทหาร
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประกันว่านักวางแผนท�ำการพิจารณาผลกระทบของหน่วย และทรัพยากร
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่ ต่ออัตราส่วนก�ำลังรบที่พวกเขาก�ำหนดไว้ในการวางก�ำลัง
ในขั้นต้น หน่วยและทรัพยากรด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะลดจ�ำนวนของหน่วย
ด�ำเนินกลยุทธ์ทตี่ อ้ งการ หรืออาจจะเพิม่ ทางเลือกของหนทางปฏิบตั ทิ มี่ อี ยู่ นักวางแผนพิจารณา
เรือ่ งลวงระหว่างขัน้ ตอนนี้ เพราะว่าประเด็นของมันอาจจะกระทบกระเทือนการก�ำหนดทีต่ งั้ หน่วย
ได้ ฝ่ายอ�ำนวยการพิจารณาองค์ประกอบหลักของเรื่องลวงก่อนที่จะท�ำการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
ทั้งหลาย
พัฒนาแนวความคิดในการปฏิบัติ
(DEVELOP THE CONCEPT OF OPERATIONS)
๕-๘๗. แนวความคิดในการปฏิบัติส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติอธิบายว่าจะจัดวางก�ำลังรบ
อย่างไรถึงจะบรรลุภารกิจภายในเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา (ดูรูป ข-๑๗) นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารพัฒนาแนวความคิดสนับสนุนของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารและวัตถุประสงค์
ของแต่ละหนทางปฏิบัติบนพื้นฐานเกี่ยวกับภารกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในขั้นต้น
ด้วยปัจจัยน�ำเข้าจากส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพิจารณา
ว่าหน่วย และทรัพยากรด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอะไรที่สามารถท�ำให้บรรลุวัตถุประสงค์
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ขีดความสามารถเหล่านี้ได้รับการพัฒนาเข้าไว้ในกิจด้านการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารพัฒนาหรือกลัน่ กรองแก้ไขผลผลิตด้าน
194 บทที่ ๕

การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนแต่ละหนทางปฏิบัติที่ฝ่ายอ�ำนวยการได้พัฒนา และจัด
เตรียมไว้ส�ำหรับการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติดังต่อไปนี้ :
๕-๘๗.๑ แนวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๘๗.๒ วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๘๗.๓ กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนแต่ละวัตถุประสงค์ด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๘๗.๔ แผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๘๗.๕ ตารางประสานสอดคล้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๘๗.๖ การระบุเป้าหมายที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๘๗.๗ รายการหน่วยส�ำคัญยิ่ง
๕-๘๗.๘ การประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๘๗.๙ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ และความต้องการข่าวสารด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารที่สนับสนุนการประเมินปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
แนวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION OPERATIONS CONCEPT OF SUPPORT)
๕-๘๘. แนวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารแสดงให้เห็นว่าผูบ้ งั คับบัญชา
จะใช้การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างไรเพื่อบรรลุภารกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
แนวความคิดดังกล่าวเชือ่ มโยงกับแต่ละหนทางปฏิบตั ิ และได้รบั การพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน ส�ำหรับ
การปฏิบตั กิ ารในภาพรวมแนวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารระบุความเร่งด่วน
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารโดยเหตุการณ์วิกฤติ, ขั้นของการปฏิบัติ, หรือหน่วยและพื้นที่
(ดูรปู ข-๑๘) แนวความคิดดังกล่าวมุง่ ประเด็นผลกระทบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารต่อจุด
แตกหักของหนทางปฏิบตั ิ หรือต่อการปฏิบตั กิ ารจัดรูปแบบ (shaping operations) ซึง่ อ�ำนวย
ให้หน่วยท�ำการรวมอ�ำนาจก�ำลังรบ ณ จุดแตกหักได้ ด้วยการทีแ่ นวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารได้รับการพัฒนาขึ้นนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารก� ำหนดว่าองค์ประกอบ
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องใดที่จะใช้ ณ จุดต่าง ๆ ตลอดทั่ว
ทัง้ หนทางปฏิบตั ิ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประกันว่าล�ำดับความเร่งด่วนด้านการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของผูบ้ งั คับบัญชา ความเร่งด่วนล�ำดับแรกของการสนับสนุน
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะให้กับการปฏิบัติการรบแตกหัก (decisive operation)
๕-๘๙. ขณะที่ท�ำการประสานสอดคล้องแนวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารและวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับหนทางปฏิบัติในภาพรวม
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 195

นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารยังคงประสานสอดคล้องแนวความคิดและวัตถุประสงค์ดงั กล่าว


กับกองบัญชาการหน่วยเหนือ และหน่วยข้างเคียงอีกด้วย การประสานสอดคล้องความพยายามของ
ผูบ้ งั คับบัญชากับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของกองบัญชาการหน่วยเหนือเป็นการรวมผลกระทบ
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างเช่น โปรแกรมการปฏิบัติการจิตวิทยาได้เพิ่มโอกาสของ
ความส�ำเร็จให้มากยิ่งขึ้นหากมันได้ท�ำให้เกิดโปรแกรมต่าง ๆ ของกองบัญชาการหน่วยเหนือและ
เกิดโครงข่ายร่วมกับหน่วยตามล�ำดับชั้นที่ต�่ำกว่า
วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION OPERATIONS OBJECTIVES)
๕-๙๐. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นการมุ่งเน้น และแถลงจุดประสงค์
ส�ำหรับการปฏิบัติกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างเช่น ไม่มีสิ่งใดเป็นวัตถุประสงค์
ด้านการปฏิบัติการจิตวิทยามีแต่เพียงกิจด้านการปฏิบัติการจิตวิทยาเท่านั้น วัตถุประสงค์ด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะแถลงออกมาในรูปของผลกระทบในความต้องการของผู้บังคับ
บัญชา ข้อความภารกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในขั้นต้นเพ่งเล็งต่อการพัฒนาในส่วนของ
วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกและเชิงรับ
๕-๙๑. วัตถุประสงค์ของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุกแถลงออกมาในรูปของผลด้านการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเพียงหนึง่ เดียวเท่านัน้ ไม่วา่ จะเป็น การท�ำลาย, การลดประสิทธิภาพ,
การรบกวน, การปฏิเสธ, การลวง, การขยายผล หรือการสร้างอิทธิพลโน้มน้าว วัตถุประสงค์
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ก�ำหนดไว้เป็นอย่างดีจะระบุผลกระทบที่ต้องการ, การปฏิบัติ,
เป้าหมาย และจุดประสงค์ส�ำหรับการปฏิบัติ ปกติวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เชิงรุกถูกบันทึกไว้ในรูปของเหตุที่ฝ่ายตรงข้ามจะลงมือกระท�ำหรือไม่กระท�ำ ตัวอย่างเช่น
๕-๙๑.๑ รั้งหน่วง (ผล) กองก�ำลังเรนโดเวน (เป้าหมาย) ที่ก�ำลังข้ามแม่น�้ำอวอชในเวลา
๗๒ ชม. (การปฏิบัติ) เพื่ออ�ำนวยให้ท�ำการจัดตั้งฐานปฏิบัติการส่วนหน้า
(จุดประสงค์)
๕-๙๑.๒ ปฏิเสธ (ผล) ขีดความสามารถในการสร้างความวุ่นวาย (การปฏิบัติ) ของพวก
ก่อความไม่สงบ เรนโดเวน (เป้าหมาย) เพือ่ ทีจ่ ะรักษาและคุม้ ครองสภาพแวดล้อม
ให้คงอยูส่ ำ� หรับการจัดตัง้ การควบคุม และการให้บริการแก่พลเรือน (จุดประสงค์)
๕-๙๒. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับถูกบันทึกไว้ในรูปของผลด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น ปกติพวกมันเริ่มด้วยค�ำอย่างเช่นว่า
ปกป้อง, ค้นหา, คืนสภาพ (Restore), หรือตอบโต้ วัตถุประสงค์นนั้ อาจจะมีเป้าหมายทัง้ ฝ่ายเรา,
ฝ่ายตรงข้าม, หรือกลุม่ /กองก�ำลังอืน่ ๆ ตัวอย่างเช่น ปกป้อง (ผล) เครือข่ายบังคับบัญชาทางยุทธวิธี
196 บทที่ ๕

และเครือข่ายทางยุทธวิธีประจ�ำพื้นที่ของกองพล ๑๒๑ (เป้าหมาย) จากการรบกวน (การปฏิบัติ)


เพื่อประกันประสิทธิภาพทางการบังคับบัญชา และการควบคุม (จุดประสงค์) นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารใช้บัญชีรายชื่อหน่วยส�ำคัญยิ่ง และการประเมินความล่อแหลมด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารเป็นพื้นฐานในการก�ำหนดวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ
๕-๙๓. หลักการรวมก�ำลัง และหลักความง่าย เป็นหลักการสงคราม ทีม่ คี วามส�ำคัญเมือ่ ด�ำเนิน
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร จ�ำนวนของวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งหน่วย
บัญชาการสามารถปฏิบตั ไิ ด้ขนึ้ อยูก่ บั ทรัพยากรทีม่ อี ยู่ และความสามารถของฝ่ายอ�ำนวยการในการ
ประสานสอดคล้องการปฏิบัติของพวกเขา เมื่อจ�ำนวนของวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเติบโตขึน้ เรือ่ ย ๆ จะมีผลให้ความต้องการด้านการบังคับบัญชา และการควบคุมเกีย่ วกับการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารกลายเป็นความสลับซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ ในทางอุดมคติการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารเพ่งเล็งต่อวัตถุประสงค์สองสามประการที่เลือกไว้ให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อจุดแตกหัก
ของหนทางปฏิบัติ การจ�ำกัดจ�ำนวนวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะลดโอกาสที่
การประสานสอดคล้องจะไม่เพียงพอ และรักษาจ�ำนวนของกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ที่สามารถจัดการได้ การก�ำหนดกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอ�ำนวยให้ความสามารถของ
ผู้บังคับบัญชาท�ำการรวมผลกระทบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ความสามารถของหน่วย
บัญชาการในการประเมิน (เฝ้าติดตาม และประเมินค่า) ผลกระทบอาจจะจ�ำกัดจ�ำนวนกิจด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่หน่วยบัญชาการสามารถก�ำหนดได้
กิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION OPERATIONS TASKS)
๕-๙๔. เมื่อท�ำการพัฒนากิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารพิจารณาองค์ประกอบทั้งมวลด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และก�ำหนด
ว่าการสนับสนุนอะไรในแต่ละเรื่องที่สามารถท�ำให้บรรลุผลส�ำเร็จในแต่ละวัตถุประสงค์ด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร บนพื้นฐานของหน่วยและทรัพยากรที่มีอยู่ กิจด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารหนึ่งเดียวอาจจะสนับสนุนหลาย ๆ วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ทัง้ ในเชิงรุก และเชิงรับกิจต่าง ๆ ทีไ่ ด้รบั การร่างขึน้ ด้วยเจตนาของการใช้ขอ้ ความภารกิจของหน่วย
เป็นเบือ้ งต้น นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการแต่ละส่วนรับผิดชอบแต่ละองค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสาร ท�ำการวิเคราะห์กิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและแปลความหมาย
กิจต่าง ๆ ไปสู่
๕-๙๔.๑ การก�ำหนดบัญชีเป้าหมาย และปัจจัยชี้วัดในการประเมิน เป้าหมายที่เกี่ยวกับ
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และความต้องการในการประเมินทีไ่ ด้รบั การพัฒนา
ให้เป็นเสมือนกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูผนวก จ)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 197

๕-๙๔.๒ กิจต่าง ๆ ที่ให้แก่หน่วยรอง


๕-๙๔.๓ การร้องขอการสนับสนุนจากกองบัญชาการหน่วยเหนือ
๕-๙๔.๔ การปฏิบัติภายในระหว่างฝ่ายอ�ำนวยการด้วยกัน
๕-๙๕. กิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบอกให้หน่วยทราบถึงการที่จะต้องลงมือ
กระท�ำการบางสิ่งบางอย่าง บ่อยครั้งที่กิจเหล่านั้นก�ำหนดเพียงองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารหนึ่งองค์ประกอบเท่านั้น ผู้บังคับบัญชาก�ำหนดกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ให้กับหน่วยซึ่งสามารถด�ำเนินการ และมีทรัพยากรที่จะด�ำเนินการกับกิจนั้น ๆ ได้ กิจต่าง ๆ
ขององค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องหลาย ๆ กิจอาจจะ
สนับสนุนต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น
ในทางตรงกันข้ามกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเพียงหนึง่ เดียวอาจจะสนับสนุนวัตถุประสงค์
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมากกว่าหนึ่งก็ได้ (ดูรูป ๕-๑)
แผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION OPERATIONS INPUT WORK SHEETS)
๕-๙๖. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะใช้แผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารเพื่อเตรียมการในการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ และเพ่งเล็งความพยายามของ
เจ้าหน้าที่ในส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูรูป ข-๑๙ ถึง ข-๒๒) นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารจัดเตรียมแผ่นงานหนึ่งแผ่นไว้ส�ำหรับแต่ละวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ในแต่ละแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร แผ่นงานด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารรวมถึงข้อมูลข่าวสารต่อไปนี้ :
๕-๙๖.๑ ค�ำอธิบายในส่วนของหนทางปฏิบัติ
๕-๙๖.๒ แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๙๖.๓ วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๙๖.๔ ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่ง
สนับสนุนวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งได้รับการจัดท�ำ
รายละเอียดจากองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๙๖.๕ การตอบโต้จากฝ่ายตรงข้ามทีค่ าดไว้สำ� หรับในแต่ละกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร
๕-๙๖.๖ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของแต่ละกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๙๖.๗ ข้อมูลข่าวสารทีต่ อ้ งการในการท�ำการประเมินแต่ละกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร
198 บทที่ ๕

๕-๙๗. รูปแบบตารางประสานสอดคล้องในส่วนของแผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารแสดงให้เห็นแต่ละองค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารนัน้ สนับสนุนต่อ
วัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารอย่างไร ในหนทางปฏิบัตินั้น ๆ เมื่อเสร็จสมบูรณ์ แผ่นงานจะช่วยให้นายทหาร
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารสามารถผูกงานไว้รว่ มกับผลผลิตต่าง ๆ ของฝ่ายอ�ำนวยการทีไ่ ด้พฒ
ั นาขึน้
เพือ่ สนับสนุนแต่ละหนทางปฏิบตั ิ ผูว้ างแผนของนายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารใช้แผ่นงานนีใ้ น
การเพ่งเล็งการพัฒนากิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในแต่ละองค์ประกอบ และกิจกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ทั้งหมด พวกเขารักษาแผ่นงานที่สมบูรณ์ไว้ส�ำหรับ
ใช้งานในระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ และการผลิตค�ำสั่ง
ตารางประสานสอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION OPERATIONS SYNCHRONIZATION MATRIX)
๕-๙๘. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพัฒนาตารางประสานสอดคล้องด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติเพื่อก�ำหนดว่าเมื่อใดที่จะปฏิบัติกิจต่าง ๆ เกี่ยวกับการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ตารางประสานสอดคล้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร แสดงให้เห็น
ประมาณการในเรื่องของเวลาที่ใช้ส�ำหรับกองก�ำลังฝ่ายเราในการปฏิบัติแต่ละกิจด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร และฝ่ายตรงข้ามท�ำการสังเกตการณ์, ด�ำเนินการกรรมวิธี ท�ำการวิเคราะห์
และปฏิบตั ติ อ่ กิจเหล่านัน้ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประสานสอดคล้องกิจต่าง ๆ ด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารร่วมกับกิจของก�ำลังผสมเหล่าอื่น ๆ เส้นเวลาของนายทหารการข่าว และ
นายทหารยุทธการถูกน�ำไปใช้กับแผนส�ำรอง และก�ำหนดว่าเมื่อใดที่จะเริ่มกิจด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารตามเวลาที่น�ำพาไปตามที่ต้องการ กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบางประการ
ต้องถูกการด�ำเนินการก่อนกิจต่าง ๆ ด้านการรบ และการสนับสนุนการรบ เมื่อไม่ค�ำนึงถึงว่าเมื่อ
ใดที่กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะเริ่มขึ้น กิจเหล่านั้นยังคงได้รับการประสานสอดคล้อง
กับกิจอื่น ๆ ของก�ำลังรบผสมเหล่าหลาย ๆ กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารถูกน�ำไปปฏิบัติ
ตลอดเหล่าของการปฏิบัติการหนึ่ง ๆ บางกิจเป็นล�ำดับแรกที่ปฏิบัติในตอนเริ่มต้น และจบลงเป็น
กิจสุดท้าย (ดูรูป ข-๒๓)
การก�ำหนดชื่อเป้าหมายที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION - OPERATIONS - RELATED TARGET NOMINATIONS)
๕-๙๙. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใช้ข่าวสารที่ได้มาระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ
ผลผลิตของการจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว และรายการเป้าหมายให้ค่าสูง (HVTL) เพื่อ
ก�ำหนดเป้าหมายคุ้มค่า (HPTs) ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ส�ำหรับแต่ละหนทาง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 199

ปฏิบตั ขิ องฝ่ายเรา เป้าหมายคุม้ ค่าถูกเลือกมาจากรายการเป้าหมายให้คา่ สูง และกลายเป็นรายการ


เป้าหมายคุ้มค่าต่อไป เป้าหมายคุ้มค่าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้รับการพัฒนาให้
เป็นกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร เป้าหมายที่ถูกโจมตีโดยเครื่องมือที่ไม่ให้ผลในทางสังหาร
อย่างเช่น การกวนสัญญาณ หรือการแพร่กระจายเสียงในทางการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา อาจจะต้องมี
การประเมินโดยเครือ่ งมืออืน่ ๆ นอกเหนือจากเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมินความเสียหายจากการรบ
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเสนอความต้องการข่าวสารเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ให้แก่นายทหารการข่าวเมือ่ ท�ำการก�ำหนดรายการเป้าหมายพวกนัน้ ถ้าหากเป้าหมายเหล่านีไ้ ด้รบั
การอนุมัติ ความต้องการข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ต้องการในการประเมิน
ผลกระทบต่อเป้าหมายเหล่านั้นจะกลายเป็นความต้องการข่าวสารเร่งด่วน (PIRs) ซึ่งนายทหาร
การข่าวจะเพิ่มเป้าหมายเหล่านั้นเข้าไว้ในแผนรวบรวมข่าวสาร ถ้าผู้บังคับบัญชาไม่มีหน่วย หรือ
ทรัพยากรในการตอบปัญหาความต้องการข่าวสารด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนี้ เป้าหมาย
เหล่านั้นจะไม่ได้รับการติดพันเว้นแต่มีแนวทางในการโจมตี (ดูผนวก จ) เฉพาะที่เป็นไปในลักษณะ
ตามสัง่ การ หรือตามทีผ่ บู้ งั คับบัญชาสัง่ การในการโจมตีไว้ เกีย่ วกับการประสานสอดคล้องเป้าหมาย
เหล่านี้ทีมก�ำหนดเป้าหมายเป็นผู้ด�ำเนินการ
รายการหน่วยส�ำคัญยิ่ง (CRITICAL ASSET LIST)
๕-๑๐๐. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทบทวนรายการหน่วยส�ำคัญยิ่ง และจุดศูนย์ดุลที่
พัฒนาขึ้นระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจเพื่อก�ำหนดกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ
ส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ หน่วยที่มีความส�ำคัญยิ่งอาจจะถูกเพิ่มเติมหรือตัดออกจากรายการ
นี้โดยอาศัยพื้นฐานว่าการสูญเสียหรือการลดประสิทธิภาพของหน่วยเหล่านั้นจะส่งผลกระทบ
กระเทือนต่อหนทางปฏิบัติอย่างไร
การประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(ASSESSMENT OF INFORMATION - OPERATIONS - ASSOCIATED RISK)
๕-๑๐๑. การประเมินความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารระหว่างการพัฒนา
หนทางปฏิบัติ และการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติเพ่งเล็งต่ออันตรายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติกิจ
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นสิ่งแรก (ดูข้อ ข-๓๙ ถึง ข-๔๑) อย่างไรก็ตามนายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประเมินอันตรายทั้งมวลเสมือนว่ามันได้เกิดขึ้นจริง นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารเฝ้าติดตามอันตรายที่ได้ระบุขึ้น และท�ำการประเมินค่าประสิทธิผลของการควบคุม
ที่ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อจัดการกับอันตรายเหล่านั้น
200 บทที่ ๕

๕-๑๐๒. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารตรวจสอบแต่ละหนทางปฏิบตั ิ และแนวความคิดใน


การสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของแต่ละหนทางปฏิบตั ิ เพือ่ ก�ำหนดความเสีย่ ง
หากหนทางปฏิบัติเหล่านั้นเต็มไปด้วยอันตรายที่ไม่ได้รับการระบุไว้ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ
ดังนั้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการพัฒนาการควบคุมต่าง ๆ เพื่อจัดการต่ออันตราย
เหล่านี้ ท�ำการก�ำหนดความเสี่ยงที่อาจจะหลงเหลือ (โดยการใช้การด�ำเนินกรรมวิธีที่อธิบายไว้ใน
ข้อ ข-๑๔ ถึง ข-๑๗ และรูป ข-๑๐ และ ข-๑๑) และเตรียมการที่จะท�ำการทดสอบการควบคุม
ระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ๕ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานการควบคุม
กับฝ่ายอ�ำนวยการอืน่ ๆ เท่าทีจ่ ำ� เป็น การควบคุมต่าง ๆ ซึง่ ต้องการให้กจิ ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารน�ำไปด�ำเนินการเป็นการปฏิบัตินั้น ได้รับการเพิ่มเติมไว้กับแผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ
๕-๑๐๓. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารพิจารณาอันตรายสองประเภททั้งในทางยุทธวิธี และ
ที่เป็นอุบัติเหตุซึ่งเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร :
๕-๑๐๓.๑ สิง่ เหล่านัน้ เกีย่ วข้องกับแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารด้วยตัวมันเอง
๕-๑๐๓.๒ สิ่งเหล่านั้นมาจากประเด็นแง่มุมอื่น ๆ ของแนวความคิดในการปฏิบัติซึ่ง
อาจจะกระทบกั บ การปฏิ บั ติ ใ นส่ ว นของการปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสาร
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระบุอันตรายเหล่านี้ได้มากเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อให้
ผู้บังคับบัญชาสามารถพิจารณาอันตรายเหล่านั้นในการตกลงใจ
๕-๑๐๔. ผลลัพธ์จากอันตรายบางอย่างมาจากความต้องการในการมุง่ ประเด็นต่อความพยายาม
ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร อันตรายเหล่านี้ต้องการให้ผู้บังคับบัญชาท�ำการเสี่ยงอย่าง
ใคร่ครวญ (ดู รส. ๓-๙๐) ตัวอย่างบางตอนคือ :
๕-๑๐๔.๑ ในส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการลวงทางทหาร ผู้บังคับบัญชาจ�ำกัด การพราง,
การซ่อนพราง และมาตรการด้านการลวงที่น�ำมาใช้กับองค์ประกอบที่เขา
ต้องการให้ฝา่ ยตรงข้ามท�ำการป้องกัน ผูบ้ งั คับบัญชายอมรับความเสีย่ งทีอ่ าจ
จะเกิดขึน้ จากการก�ำหนดเป้าหมายโดยฝ่ายตรงข้ามทีก่ ระท�ำต่อองค์ประกอบ
เหล่านี้
๕-๑๐๔.๒ ผู้บังคับบัญชามุ่งเน้นความพยายามในการประกันข้อมูลข่าวสารต่อสถานที่
ในการบังคับบัญชาและการควบคุมที่ส�ำคัญยิ่งสองสามปม การยอมรับความ
เสี่ยงต่อสถานที่อื่น ๆ อาจจะเป็นการลดประสิทธิภาพลงได้

ควรศึกษาเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยงใน FM 1000-14 USARMY
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 201

๕-๑๐๔.๓ ผู้บังคับบัญชาเลือกที่จะท�ำลายปมการติดต่อสื่อสารของฝ่ายตรงข้ามซึ่งเป็น
แหล่งข้อมูลทางการข่าวกรองที่มีคุณค่า ผู้บังคับบัญชายอมรับความเสี่ยงใน
เรื่องของการปฏิบัติการโดยปราศจากการข่าวกรองจากแหล่งข้อมูลเหล่านั้น
๕-๑๐๕. อันตรายสามารถท�ำให้เกิดผลลัพธ์ทมี่ าจากการปฏิบตั โิ ดยไม่ได้ตงั้ ใจของฝ่ายตรงข้าม
และกองก�ำลัง/กลุ่มอื่น ๆ ที่ท�ำการตอบโต้การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา ยิ่งไปกว่า
นั้น ผลที่ตามมาโดยไม่ได้ตั้งใจในส่วนของกิจกรรมทางยุทธวิธีสามารถส่งผลกระทบกับการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
๕-๑๐๕.๑ การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ ทีอ่ าจจะรบกวนการติดต่อสือ่ สารฝ่ายเราตลอด
จนฝ่ายข้าศึก (การท�ำร้ายกันเองด้านข้อมูลข่าวสาร : information fratricide)
๕-๑๐๕.๒ ในการปฏิบัติการสันติภาพ การสร้างอิทธิพลในการโน้มน้าวตัวแสดงหลักเพื่อ
ให้การสนับสนุนต่อกองก�ำลังของสหรัฐฯ มากกว่าการปฏิบตั ใิ นทางทีเ่ ป็นปรปักษ์
อาจจะต้องกระตุน้ ในส่วนของประชากรทีแ่ สดงออกว่าเป็นการต่อต้าน ซึง่ จะ
ท�ำให้เสียผลในเรือ่ งของความเสีย่ งระยะยาวจากการสนับสนุนทางด้านการเมือง
การวางแผนอย่างละเอียดรอบคอบสามารถลดผลที่ตามมาอย่างไม่ตั้งใจได้ แต่ไม่สามารถขจัดมัน
ออกไปจนหมดสิ้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระบุผลที่ตามมาโดยไม่ได้ตั้งใจ และเพ่งเล็ง
ต่อสิ่งทั้งปวงที่เป็นไปได้มากที่สุดว่าจะกระทบกระเทือนความส�ำเร็จในภารกิจ
๕-๑๐๖. เนื่องจากผลกระทบในทางตรงกันข้ามจากการปฏิบัติการทางทหารมีความเกี่ยวข้องกับ
สภาพแวดล้อม และพลเรือนสามารถส่งอิทธิพลกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารพิจารณาผลกระทบของอันตรายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่
เกิดขึ้นกับประชากรในพื้นที่ และโครงสร้างพื้นฐานตลอดจนต่อกองก�ำลังฝ่ายเรา นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารประเมินอันตรายเหล่านี,้ ท�ำการพัฒนาการควบคุม, ก�ำหนดความเสีย่ งทีห่ ลงเหลือ
และแนะน�ำผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับมาตรการบรรเทาความเสี่ยง (ดูรูป ข-๒๔)
๕-๑๐๗. ผูบ้ งั คับบัญชาแต่เพียงผูเ้ ดียวเท่านัน้ ทีเ่ ป็นผูย้ อมรับ หรือปฏิเสธความเสีย่ ง นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้ค�ำแนะน�ำผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับอันตรายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร และเสนอแนะกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีเ่ ป็นมาตรการในการลด
ความรุนแรงของอันตรายนั้น ผู้บังคับบัญชาตัดสินใจว่าความเสี่ยงอะไรที่จะยอมรับ ตัวอย่างของ
การใช้การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับการบรรเทาความเสี่ยงในลักษณะที่เป็นอุบัติเหตุ คือ
การใช้ การปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหาร, การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา และการประชาสัมพันธ์ ในเชิงบูรณาการ
เพือ่ แจ้งเตือนประชาชนในพืน้ ทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งของอันตรายจากอุบตั เิ หตุทเี่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ าร
ทางทหาร เมื่อมีความเหมาะสม นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแปลงมาตรการบรรเทาความ
202 บทที่ ๕

เสี่ยงไปเป็นกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร สิ่งเหล่านี้ได้รับการก�ำหนดแก่หน่วย หรือบรรจุไว้


ในค�ำแนะน�ำในการประสานของ ผนวกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร มาตรการควบคุมความเสี่ยง
ซึ่งน�ำไปใช้กับกองก�ำลังทั้งหมดจะอยู่ในค�ำแนะน�ำในการประสานของแผน/ค�ำสั่งยุทธการ
๕-๑๐๘. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจัดท�ำบัญชีรายละเอียดของอันตรายที่เกี่ยวข้องกับ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และรายละเอียดการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับอันตราย
เหล่านั้น บัญชีรายละเอียดนี้กลายเป็นปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่บันทึกลงใน
ตารางประเมินค่าความเสี่ยงของนายทหารยุทธการ (ดูรูป ข-๑๐ และรูป ข-๒๔)
ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จและการประเมิน
(CRITERIA OF SUCCESS AND ASSESSMENT)
๕-๑๐๙. ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จเป็นความต้องการข้อมูลข่าวสารที่พัฒนาขึ้นระหว่างกระบวน
การปฏิบตั กิ าร (Operations process) ซึง่ ใช้วดั ระดับความส�ำเร็จในการบรรลุภารกิจของหน่วย
ปกติปัจจัยแห่งความส�ำเร็จเป็นข้อความที่แสดงถึงการประเมินค่าอย่างเปิดเผยในสถานการณ์
หรือการพยากรณ์ระดับการบรรลุความส�ำเร็จของภารกิจ (รส. ๖-๐) ด้วยการพัฒนาหนทางปฏิบตั ทิ ี่
ด�ำเนินไปอย่างต่อเนือ่ ง นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเป็นผูพ้ จิ ารณาการประเมินประสิทธิผล
ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และก�ำหนด
๕-๑๐๙.๑ กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งต้องการท�ำการประเมิน
๕-๑๐๙.๒ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จเบื้องต้นส�ำหรับแต่ละกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร, รวมทั้งเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๑๐๙.๓ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการเพื่อท�ำการประเมิน
๕-๑๐๙.๔ จะท�ำการรวบรวมข่าวสารอย่างไร
๕-๑๐๙.๕ ใครจะท�ำการรวบรวมข่าวสาร
๕-๑๐๙.๖ ผู้บังคับบัญชาจะใช้ข้อมูลข่าวสารสนับสนุนการตกลงใจอย่างไร
สิง่ เหล่านีไ้ ด้รบั การบันทึกลงในแผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และเพิม่ เติม
ไว้ในตารางประเมินค่าการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารระหว่างการผลิตค�ำสัง่ (ดูรปู ข-๒๖) ผลกระทบ
ในเรื่องของกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต้องสามารถวัดได้ในรูปของปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารพิสจู น์ทราบความต้องการข่าวสารเพือ่ ก�ำหนดว่ากิจแต่ละอย่าง
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใดที่สอดคล้องกับปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ แหล่งข้อมูลที่เป็นไปได้
ของข้อมูลข่าวสารที่ต้องการ และเครื่องมือที่เป็นไปได้ที่จะรับข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อเป้าหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีไ่ ด้
ก�ำหนดชือ่ ไว้ ส�ำหรับการโจมตีทไี่ ม่ให้ผลในทางสังหาร จากความต้องการส่วนมากในข้อมูลข่าวสาร
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 203

ทีไ่ ด้รวบรวมไว้โดยหน่วย ขฝล.เพือ่ ท�ำการประเมิน ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จส�ำหรับกิจด้านการปฏิบตั ิ


การข้อมูลข่าวสารเชิงรับได้รับการแสดงให้เห็นในรูปของการปกป้องหรือในรูปแบบอื่นที่เหมาะสม
รส. ๗-๑๕๖ บันทึกรายละเอียดมาตรการในเรือ่ งของประสิทธิผลส�ำหรับกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารซึ่งนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะใช้เป็นตัวอย่างของปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ
ความท้าทายของนายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารคือ เพือ่ พัฒนาปัจจัยแห่งความส�ำเร็จซึง่ จะช่วย
ประเมินประสิทธิผลในภาพรวมของการปฏิบัติในปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูข้อ ๖-๒๕ ถึง ๖-๓๒)
๕-๑๑๐. ความต้องการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ท�ำให้การ
ประเมินผลกระทบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกลายเป็นความต้องการข่าวสารด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเสนอความต้องการข่าวสารด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาอนุมัติแก่นายทหารการข่าว นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารจัดท�ำปัจจัยแห่งความส�ำเร็จบนพื้นฐานที่ว่าแต่ละผลกระทบของกิจแต่ละกิจที่
สนับสนุนต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารหนึ่งหรือมากกว่านั้น ถ้าหาก
ผลลัพธ์ของกิจนั้นไม่สามารถวัดค่าได้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะตัดกิจนั้นทิ้งไป
๕-๑๑๑. การประเมินกิจทั้งมวลระหว่างปฏิบัติการอาจจะเป็นไปไม่ได้ อย่างน้อยที่สุด กิจด้าน
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารซึง่ สนับสนุนต่อการปฏิบตั กิ ารรบแตกหักควรจะได้รบั การประเมิน
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารท�ำงานร่วมกับนายทหารการข่าวเพือ่ รวมความต้องการข่าวสาร
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งสนับสนุนการประเมินในแผนรวบรวมข่าวสาร และส่วนของ
แผน/ค�ำสั่งยุทธการที่เหมาะสม (ดูรูป ข-๒๖ ส�ำหรับตัวอย่างในเรื่องของตารางการประเมินการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร)
กองบัญชาการที่เสนอ (RECOMMEND HEADQUARTERS)
๕-๑๑๒. ในแต่ละหนทางปฏิบตั ิ ฝ่ายอ�ำนวยการให้ขอ้ เสนอแนะกองบัญชาการทีจ่ ะบังคับบัญชา
และควบคุมกองก�ำลังที่มีอยู่ในการปฏิบัติตามหนทางปฏิบัติ เมื่อได้รับอนุมัติข้อก�ำหนดเหล่านี้
จะกลายเป็นการจัดเฉพาะกิจ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารระบุหน่วยทีจ่ ะปฏิบตั กิ จิ ด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และท�ำการเสนอแนะการจัดเฉพาะกิจบนพื้นฐานปัจจัยด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร
๕-๑๑๓. เมื่อท�ำการพัฒนาวัตถุประสงค์ และกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารก�ำหนดกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารโดยอาศัยองค์ประกอบ


รส. ๗-๑๕ อยู่ระหว่างการพัฒนา
204 บทที่ ๕

ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตามองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ไม่ได้เป็นหน่วยงาน ส�ำหรับกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีจ่ ะได้รบั การด�ำเนินงาน ต้องได้รบั
การก�ำหนดให้แก่หน่วยเป็นผูป้ ฏิบตั ิ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารให้ขอ้ เสนอแนะการด�ำเนิน
งานในกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในแต่ละกิจ การให้ขอ้ เสนอแนะเหล่านีน้ ำ� ไปใส่ไว้ในบัญชี
ส่งมอบระหว่างหน่วยที่ใช้เพื่อใช้ข้อมูลข่าวสารร่วมกับองค์ประกอบอื่น ๆ ของอ�ำนาจก�ำลังรบกิจ
เหล่านี้ได้รับการกลั่นกรองแก้ไขระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
๕-๑๑๔. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดเฉพาะกิจบน
พืน้ ฐานของขีดความสามารถด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของแต่ละกองบัญชาการ หน่วย
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และทรัพยากรด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีส่ มทบกับกองบัญชาการ
ท�ำประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งประกอบด้วยการประเมินความล่อแหลม การจัด
เตรียมข่าวสารที่จ�ำเป็นต่อการสนับสนุน ข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ตัวอย่างเช่น กองบัญชาการไม่มปี ระสบการณ์ในการใช้ระบบข้อมูลข่าวสารล่าสุดควรไม่ถกู ก�ำหนด
ให้มีบทบาทส�ำคัญยิ่งในการปฏิบัติการ ณ ที่ซึ่งกองก�ำลังฝ่ายตรงข้ามมีขีดความสามารถสูงในการ
โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อเป็นเช่นนั้น ในทางอุดมคติกองบัญชาการที่มีขีดความสามารถสูงใน
การใช้ระบบข้อมูลข่าวสารอาจจะมีบทบาทในการต่อสู้กับฝ่ายตรงข้ามด้วยการสร้างความยุ่งยาก,
การใช้เทคโนโลยีในระดับต�่ำ, หรือขีดความสามารถในการตัดสินใจที่มีประสบการณ์ในระดับต�่ำ
ข้อพิจารณาอื่น ๆ คือประสบการณ์ของกองบัญชาการในการด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารพิจารณาความล่อแหลมของแต่ละกองบัญชาการทีอ่ าจจะส่งผล
ในทางเพิ่มเติมกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับ
เตรียมข้อความและภาพร่างหนทางปฏิบัติ
(PREPARE COURSE OF ACTION STATEMENTS AND SKETCHES)
๕-๑๑๕. นายทหารยุทธการจัดเตรียมข้อความหนทางปฏิบัติ และภาพร่างโดยสังเขปในแต่ละ
หนทางปฏิบัติส�ำหรับการปฏิบัติการในภาพรวม พร้อมกันนี้ ข้อความและภาพร่างครอบคลุม
ค�ำว่า ใคร, อะไร, เมื่อใด, ที่ไหน, อย่างไร และท�ำไมส�ำหรับหน่วยรองแต่ละหน่วย ข้อความและ
ภาพร่างแสดงให้เห็นถึงความเสี่ยงเฉพาะเจาะจงต่อก�ำลังรบทั้งหมด นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้กับแต่ละข้อความ และภาพร่าง
หนทางปฏิบัติ อย่างน้อยที่สุดแต่ละหนทางปฏิบัติอาจจะระบุวัตถุประสงค์และกิจด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญที่สุดส�ำหรับหนทางปฏิบัติ (ดูรูป ข-๑๗)
๕-๑๑๖. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะจัดเตรียมภาพร่างแนวความคิดสนับสนุนด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ ตารางประสานสอดคล้องด้านการปฏิบัติ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 205

การข้อมูลข่าวสารอาจจะสนับสนุนต่อภาพร่างเหล่านี้ และอาจถูกน�ำไปใช้เพื่อแสดงแนวความคิด
สนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแก่เจ้าหน้าที่เซลล์ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารหรือใช้ใน
การช่วยบรรยายสรุป รวมทั้งอาจจะเป็นพื้นฐานแก่เส้นปฏิบัติการเชิงเหตุผล (Logical lines of
operations)
สรุปในส่วนของงานด้านการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
(SUMMARY OF COA DEVELOPMENT TASKS)
๕-๑๑๗. ณ จุดสิ้นสุดของการพัฒนาหนทางปฏิบัติ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมีแนว
ความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่มีการประสานสอดคล้อง, วัตถุประสงค์
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในแต่ละหนทาง
ปฏิบัติ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทราบว่าหน่วยใดที่จะให้ปฏิบัติในแต่ละกิจ ที่ใดที่หน่วย
ต้องการให้เป็น ณ เวลาที่ปฏิบัติ และเมื่อใดที่กิจจะได้รับการปฏิบัติ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จและ
แหล่งของข้อมูลข่าวสารที่ต้องการในการประเมินแต่ละกิจที่ได้ระบุไว้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารท�ำการจัดกลุ่มข้อมูลข่าวสารนี้ส�ำหรับการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติโดยใช้แผ่นงานปัจจัยน�ำ
เข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร, ภาพร่างแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร, ตารางประสานสอดคล้อง, หรือผลผลิตอื่น ๆ

ตอนที่ ๕ การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ (การจ�ำลองยุทธ์)


(SECTION V - COURSE OF ACTION ANALYSIS: WAR - GAMING)
๕-๑๑๘. การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ (การจ�ำลองยุทธ์) ระบุว่าหนทางปฏิบัติใดที่จะบรรลุ
ภารกิจด้วยการสูญเสียทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ ขณะทีก่ ำ� ลังรบอยูใ่ นสถานะทีด่ ที สี่ ดุ ในการรักษาความริเริม่ ไว้
การจ�ำลองยุทธ์เป็นกระบวนการที่อาศัยความมีวินัย ซึ่งฝ่ายอ�ำนวยการใช้เพื่อสร้างมโนภาพความ
เป็นไปของการรบ จุดประสงค์ของการจ�ำลองยุทธ์คือ การจ�ำลองภาพความคิด และท�ำให้มองเห็น
ว่าอาจจะมีอะไรอื่น ๆ อีกที่ไม่ถูกค้นพบ การจ�ำลองยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพอ�ำนวยให้ฝ่ายอ�ำนวยการ
ท�ำการทดสอบแต่ละหนทางปฏิบตั ,ิ ระบุความแข็งแกร่งและความอ่อนแอ และปรับเปลีย่ นหนทาง
ปฏิบัติหากจ�ำเป็น ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ อันตรายใหม่ ๆ อาจได้รับการพิสูจน์ทราบ, ความเสี่ยง
ที่เกี่ยวกับหนทางปฏิบัติที่ได้รับการประเมิน และการควบคุมที่ได้รับการจัดท�ำขึ้น มาตรการรักษา
ความปลอดภัยการปฏิบัติการ และมาตรการควบคุมความเสี่ยงอื่น ๆ จะถูกประเมินไปด้วย
๕-๑๑๙. การจ�ำลองยุทธ์ช่วยให้นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานสอดคล้องผล
กระทบจากองค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง และช่วยให้
ฝ่ายอ�ำนวยการสนธิการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเข้าไว้ในการปฏิบัติการในภาพรวม ระหว่าง
206 บทที่ ๕

การจ�ำลองยุทธ์ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารก�ำหนดว่าแต่ละองค์ประกอบ และกิจกรรมที่


เกี่ยวข้องสนับสนุนแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างไรส� ำหรับ
หนทางปฏิบัตินั้น และความเกี่ยวข้องของมันกับเส้นเวลา, เหตุการณ์วิกฤติ และจุดตัดสินใจ
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทบทวนแนวความคิดสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ตามความจ�ำเป็นระหว่างการจ�ำลองยุทธ์
๕-๑๒๐. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใช้ตารางปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และแผ่นงาน
ปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในการจ�ำลองยุทธ์ ส�ำหรับหนทางปฏิบตั มิ นั เหมือน
เป็นบทบรรยายที่ใช้ส�ำหรับการจ�ำลองยุทธ์ องค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และ
กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องได้รบั การประสานสอดคล้องซึง่ กันและกันกับแนวความคิดในการปฏิบตั สิ ำ� หรับ
หนทางปฏิบัติที่แตกต่างกัน เพื่อความเป็นไปได้ที่ขยายออกไป นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ยังรวมเอาการตอบโต้การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ได้วางแผนเอาไว้ในการต่อต้านการตอบโต้
ของฝ่ายตรงข้ามที่คาดการณ์ไว้
๕-๑๒๑. ระหว่างการเตรียมการจ�ำลองยุทธ์ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมอบการปฏิบตั ิ
และการต่อต้านการตอบโต้การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้ต่อฝ่าย
เราแก่นายทหารการข่าว นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการจัดเตรียมปัจจัยน�ำเข้าอย่าง
ต่อเนื่องให้แก่นายทหารการข่าวส�ำหรับการพัฒนาเป้าหมายให้ค่าสูง และการเลือกเป้าหมาย
๕-๑๒๒. ก่อนเริ่มการจ�ำลองยุทธ์ ฝ่ายอ�ำนวยการที่ท�ำการวางแผนพัฒนาปัจจัยประเมินค่า
เพื่อวัดประสิทธิผล และประสิทธิภาพของแต่ละหนทางปฏิบัติ พวกเขาใช้สิ่งเหล่านี้ในการ
เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ ระหว่างการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติปัจจัยเหล่านี้ถูกจดบันทึกไว้ใน
ข้อ ๒ ค (๕) ของประมาณการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และกลายเป็นเค้าโครงส�ำหรับการวิเคราะห์
หนทางปฏิบตั ใิ นข้อ ๓ (ดูผนวก ค) นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารพัฒนาปัจจัยในการประเมินค่า
แนวความคิดในการสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร การใช้ปจั จัยเฉพาะด้านการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารอ�ำนวยให้นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการอธิบายความได้เปรียบ และ
เสียเปรียบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของแต่ละหนทางปฏิบตั ิ ปัจจัยประเมินค่าการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารอาจจะช่วยแยกแยะความแตกต่างของแต่ละหนทางปฏิบัติซึ่งอาจจะรวมถึง
๕-๑๒๒.๑ เวลาทีจ่ ะน�ำไปใช้ตามทีต่ อ้ งการส�ำหรับการด�ำเนินงานปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
๕-๑๒๒.๒ บ่อยครั้งอย่างไรที่ความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสารเป็นความจ�ำเป็นต้อง
กระท�ำให้บรรลุผลเพื่อการที่หนทางปฏิบัตินั้นจะบรรลุผลส�ำเร็จ
๕-๑๒๒.๓ จ�ำนวนของจุดตัดสินใจซึ่งต้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสนับสนุน
๕-๑๒๒.๔ ต้นทุนของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเปรียบเทียบผลประโยชน์ทคี่ าดหวังไว้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 207

๕-๑๒๒.๕ ความเสี่ยงต่อหน่วยฝ่ายเราที่แสดงให้เห็นโดยการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ของฝ่ายตรงข้าม
๕-๑๒๓. ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเข้าร่วมในกรรมวิธี
การปฏิบัติ-การต่อต้าน-การตอบโต้การต่อต้าน ตัวอย่างเช่น การปฏิบัติทางด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารอาจจะเป็นการท�ำการกวนสัญญาณด้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์; การต่อต้านของ
ฝ่ายตรงข้ามอาจจะเป็นการเปลีย่ นความถี;่ การตอบโต้การต่อต้านด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
อาจจะเป็นการกวนสัญญาณความถี่ใหม่ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใช้ตารางประสาน
การปฏิบัติด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และแผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเพื่อแทรกกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเข้าไปในการจ�ำลองยุทธ์ ณ เวลาที่
ได้วางแผนไว้ แผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่สมบูรณ์ช่วยให้นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการร่างการจัดหน่วยที่จะปฏิบัติกิจ และที่ตั้งของหน่วยนั้น นายทหาร
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารยังรักษาความอ่อนตัวตลอดห้วงเวลากระบวนการ และเตรียมการไว้สำ� หรับ
การปรับปรุงปัจจัยน�ำเข้าไปยังการจ�ำลองยุทธ์ตามทีไ่ ด้พฒ
ั นาขึน้ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
เตรียมการเพือ่ ปรับปรุงแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร, วัตถุประสงค์
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพื่อตอบโต้การปฏิบัติ
ที่ เป็ น ไปได้ซึ่งถูก ค้นพบระหว่างการจ�ำลองยุ ท ธ์ นายทหารปฏิ บัติก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารบั นทึ ก
ย่อการปฏิบัติที่แตกออกไป และที่ตามมาที่ได้รับการระบุขึ้นระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ แนวความคิด
ในการสนับสนุนส�ำหรับการปฏิบัติดังกล่าวได้รับการพัฒนาขึ้นตามแต่เวลาจะอ�ำนวย
๕-๑๒๔. ผลลัพธ์ของการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติถูกน�ำไปปรับปรุงแก้ไขแนวความในการ
สนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และผลผลิตที่เกี่ยวข้องส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ
ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารปรับปรุงแก้ไขความต้องการข่าวสาร
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO IRs), หัวข้อข่าวสารส�ำคัญยิ่งด้านข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา
และเป้าหมายให้ค่าสูง ในแต่ละหนทางปฏิบัติ พร้อมท�ำการประสานสอดคล้องสิ่งที่กล่าวมากับ
แนวความคิดในการปฏิบัติของหนทางปฏิบัตินั้น ปกติฝ่ายอ�ำนวยการที่ท�ำการวางแผนบันทึกผล
การจ�ำลองยุทธ์ รวมทั้งผลลัพธ์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ลงบนตารางประสานสอดคล้อง
ของ สธ. ๓ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยังคงท�ำการบันทึกผลลัพธ์ลงบนแผนงานปัจจัย
น�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO input work sheets) สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานสอดคล้องความพยายามต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบด้าน
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ตารางเหล่านีก้ อ่ ให้เกิดพืน้ ฐานส�ำหรับปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารทีเ่ ขียนไว้ในข้อ ๓ แผน/ค�ำสัง่ ยุทธการ ข้อ ๓ ของผนวก การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
และอนุผนวก องค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูผนวก ง)
208 บทที่ ๕

ตอนที่ ๖ การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ
(SECTION VI - COURSE OF ACTION COMPARISION)
๕-๑๒๕. ระหว่างการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ ฝ่ายอ�ำนวยการท�ำการเปรียบเทียบหนทาง
ปฏิบัติที่เป็นไปได้เพื่อระบุหนึ่งหนทางที่มีความเป็นไปได้อย่างสูงสุดในการบรรลุผลส�ำเร็จต่อ
หนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้มากที่สุดของฝ่ายตรงข้าม และหนทางปฏิบัติที่อันตรายที่สุดของ
ฝ่ายตรงข้าม แต่ละฝ่ายอ�ำนวยการประเมินค่าความได้เปรียบ และเสียเปรียบของแต่ละหนทาง
ปฏิบัติจากแง่มุมมองของสายงานตนเอง และเสนอสิ่งที่ค้นพบของตนให้แก่ฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ
ฝ่ายอ�ำนวยการวางเค้าโครงแต่ละหนทางปฏิบัติในรูปของปัจจัยประเมินค่าที่สร้างขึ้นก่อนการ
จ�ำลองยุทธ์ และระบุความได้เปรียบ และเสียเปรียบของแต่ละหนทางปฏิบัติที่สัมพันธ์กับสิ่งอื่น ๆ
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารบันทึกการวิเคราะห์นี้ในข้อ ๔ ของประมาณการข้อมูลข่าวสาร
(ดูผนวก ค)
๕-๑๒๖. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารก�ำหนดหนทางปฏิบัติที่การปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารสนับสนุนได้ดีที่สุดบนพื้นฐานของปัจจัยประเมินค่าที่สร้างขึ้นระหว่างการเตรียมการ
ก่อนท�ำการจ�ำลองยุทธ์ ผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบนี้กลายเป็นข้อ ๕ ของประมาณการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร

ตอนที่ ๗ - การอนุมัติหนทางปฏิบัติ
(SECTION VII – COURSE OF ACTION APPROVAL)
๕-๑๒๗. ภายหลังจากการเปรียบเทียบหนทางปฏิบตั อิ ย่างสมบูรณ์ ฝ่ายอ�ำนวยการระบุหนทาง
ปฏิบัติอันเป็นที่ต้องการของฝ่ายเรา และเสนอแนะหนทางปฏิบัตินั้นให้แก่ผู้บังคับบัญชา
ในระหว่างการบรรยายสรุปตกลงใจหนทางปฏิบัติ หากเวลาอ�ำนวย แนวความคิดในการปฏิบัติ
ส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่ได้รับการอนุมัติแล้วนั้นจะกลายเป็นแนวความคิดในการปฏิบัติส�ำหรับการ
ปฏิบตั กิ ารนัน้ แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารส�ำหรับหนทางปฏิบตั ิ
ที่ได้รับการอนุมัตินั้นจะกลายเป็นแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ส�ำหรับการปฏิบตั กิ าร ทันทีทหี่ นทางปฏิบตั ไิ ด้รบั การอนุมตั ิ ผูบ้ งั คับบัญชาจะท�ำการปรับปรุงแก้ไข
เจตนารมณ์ของตนเอง และให้แนวทางในการวางแผนเพิ่มเติม ต่อไปนั้นนายทหารยุทธการจะให้
ค�ำสั่งเตือน และเริ่มการผลิตค�ำสั่ง (ดูรูป ข-๒๕)
๕-๑๒๘. ค�ำสั่งเตือนที่ออกภายหลังการอนุมัติหนทางปฏิบัติบรรจุเรื่องราวของข้อมูลข่าวสาร
ซึ่งหน่วยที่ท�ำการปฏิบัติต้องการเพื่อการวางแผน และการเตรียมการอย่างสมบูรณ์ การปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารที่เป็นไปได้ที่บรรจุไว้ในค�ำสั่งเตือนนี้รวมถึง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 209

๕-๑๒๘.๑ การสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารต่อเจตนารมณ์/แนวความคิด


ในการปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา
๕-๑๒๘.๒ การเปลี่ยนแปลงที่มีต่อความต้องการข่าวสารส�ำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา
๕-๑๒๘.๓ แนวทางเพิ่มเติม หรือแนวทางเกี่ยวกับความเสี่ยงที่ต้องได้รับการปรับปรุง
๕-๑๒๘.๔ กิจด้านการลาดตระเวนที่อ่อนไหวต่อเวลา
๕-๑๒๘.๕ กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้เป็นความริเริ่มแต่เนิ่น
๕-๑๒๘.๖ การสรุปแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และ
วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๑๒๙. ระหว่างการบรรยายสรุปตกลงใจหนทางปฏิบตั ิ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเตรียม
การบรรยายสรุปเพือ่ เสนอแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้อง
แต่ละหนทางปฏิบัติ และให้ข้อคิดเห็นในความจ�ำเป็นที่จะเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลงเจตนารมณ์ของ
ผู้บังคับบัญชา หรือแนวทางในอันที่จะสัมพันธ์กับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร หาก ผบ.ร้องขอ

ตอนที่ ๘ - การผลิตค�ำสั่ง
(SECTION VIII - OPDERS PRODUCTION)
๕-๑๓๐. บนพื้นฐานในการตกลงใจ และแนวทางสุดท้ายของผู้บังคับบัญชา ฝ่ายอ�ำนวยการ
ปรับปรุงแก้ไขหนทางปฏิบตั ทิ ไี่ ด้รบั อนุมตั ิ และท�ำให้สมบูรณ์ตลอดจน ออกแผน/ค�ำสัง่ ยุทธการ
เมือ่ เวลาอ�ำนวยให้ฝา่ ยอ�ำนวยการเริม่ ด�ำเนินการวางแผนทีแ่ ตกออกไป และทีต่ ามมา (branches and
sequels) นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกันว่าปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารได้รับการบันทึกไว้ในข้อที่เหมาะสมของค�ำสั่งพื้นฐาน และในผนวกของมัน (ดูรูป ๕-๕)
หากว่าแผน/ค�ำสั่งยุทธการต้องการ ผนวกปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารจะจัดเตรียมผนวกนัน้ ผนวกปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารนัน้ ปกติแล้วจะประกอบด้วย ตาราง
ปฏิบัติด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และตารางประเมินด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เป็นอนุผนวก เมื่อจ�ำเป็น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร หรือฝ่ายกิจการพิเศษที่เกี่ยวข้อง
จัดเตรียมผนวกส�ำหรับองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
เพียงหนึ่งหรือมากกว่า
210 บทที่ ๕

ข้อ ๓ ก (๗) การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


สถานการณ์ อธิบายว่า ปขส.สนับสนุนต่อการปฏิบัติทั้งมวลอย่างไร หัวข้อหลักเกี่ยวกับ
แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. ก�ำหนดว่าท�ำการผสมผสานการ
ปขส.เชิงรุกและเชิงรับอย่างไรเพื่อให้มีความเหนือกว่าด้านข่าวสารก�ำหนด
ล�ำดับความเร่งด่วนในการสนับสนุนด้าน ปขส.
ภารกิจ
ข้อ ๓ ข กิจของหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์
ข้อ ๓ ค กิจของสนับสนุนการรบ
ระบุวัตถุประสงค์ด้าน ปขส. ก�ำหนดกิจด้าน ปขส.แก่หน่วยถ้า
การปฏิบัติ ไม่มีการใช้ ผนวก ปขส.

ข้อ ๓ ง
ระบุค�ำแนะน�ำที่ไม่มีใน รปจ.แก่หน่วยที่ปฏิบัติกิจด้าน ปขส.ซึ่ง
การ สสช. มีผลกระทบต่อหน่วยอื่น ๆ

ข้อ ๕
ระบุมาตรการด้านการบังคับบัญชา และการสื่อสารไม่มีใน รปจ.ซึ่งต้องการ
การ คบ.ช./การ สส. โดยกิจด้าน ปขส.

รูปที่ ๕-๕ ปัจจัยน�ำเข้าด้าน การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อแผน/ค�ำสั่งยุทธการพื้นฐาน

การปฏิบัติของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุมัติหนทางปฏิบัติ
(G-7 ACTIONS ON COURSE OF ACTION APPROVAL)
๕-๑๓๑. ด้วยการอนุมัติในส่วนของหนทางปฏิบัติ แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารส�ำหรับหนทางปฏิบตั นิ นั้ ๆ จะกลายเป็นแนวความคิดในการสนับสนุน
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับปฏิบัติการ หากมีความจ�ำเป็น นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารปรับปรุงแก้ไขมัน และผลผลิตเกี่ยวกับการวางแผนด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารอืน่ ๆ บนพืน้ ฐานของการทบทวนเจตนารมณ์ และแนวทางในการวางแผนของผูบ้ งั คับบัญชา
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารท�ำการปรับปรุงแก้ไขกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
เพื่อสนับสนุนต่อการบรรลุวัตถุประสงค์สุดท้ายด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ตารางประสาน
สอดคล้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่ได้รับอนุมัติกลายเป็น
พื้นฐานส�ำหรับตารางการปฏิบัติด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในปฏิบัติการนั้น
๕-๑๓๒. การจัดวางกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในแผน/ค�ำสั่งยุทธการแปรเปลี่ยนไป
ตามความส�ำคัญของกิจ และความสลับซับซ้อนของการปฏิบัติการนั้น ๆ กิจต่าง ๆ ด้านการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารอาจจะปรากฏขึน้ ในรูปลักษณะของค�ำสัง่ -โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้ามันเป็นไป
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 211

ในรูปแบบง่าย ๆ หรือสั้น ๆ ซึ่งอาจจะเป็นกรณีของค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ หรือค�ำสั่งเตือน ตัวอย่างแผน


และค�ำสั่งที่สลับซับซ้อน มีแต่เพียงแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเท่านั้นที่ปรากฏในร่างค�ำสั่ง กิจด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารก�ำหนดในรูปของกิจที่ให้แก่หน่วยรองอยู่ในผนวกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
อนุผนวกองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร หรือผนวกอื่น ๆ
การน�ำไปบันทึกในแผน/ค�ำสั่งยุทธการ
(INPUT TO THE OPERATION PLAN/OPERATION ORDER)
๕-๑๓๓. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเขียนข้อ ๓ ก (๗) ของแผน/ค�ำสัง่ ยุทธการพืน้ ฐานที่
ได้แถลงให้ทราบเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และผนวก การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ข้อความในข้อ ๓ ก (๗) บ่งบอกแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และวัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ถ้าไม่ใช้ผนวกด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
มันอาจจะเขียนไว้ในข้อรองส�ำหรับแต่ละองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และ
กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง และตามด้วยรูปแบบเหมือนกับทีใ่ ช้ในข้อ ๓ ของผนวกปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
(ดูผนวก ง) ข้อ ๓ ก (๗) ก่อให้เกิดความเร่งด่วนในการสนับสนุนและอ้างอิงไปถึงผนวกที่เกี่ยวข้อง
และอนุผนวกองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตามที่ต้องการ ย่อหน้าข้อความนี้
ช่วยให้ฝา่ ยอ�ำนวยการและหน่วยบัญชาการรองได้ขอ้ มูลข่าวสารทีจ่ ำ� เป็นต่อการประสานสอดคล้อง
ผลกระทบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๕-๑๓๔. ความต้องการรายงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารปรากฏขึ้นใน
ค�ำแนะน�ำในการประสานของแผน/ค�ำสั่งยุทธการ กิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ถูกเขียนไว้ในค�ำแนะน�ำในการประสานในกรณีดังต่อไปนี้ :
๕-๑๓๔.๑ เมื่อกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมีผลกระทบกับหน่วยสองหน่วย
หรือมากกว่านั้น
๕-๑๓๔.๒ เมื่อการก�ำหนดเวลาของกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารขึ้นอยู่กับการ
ปฏิบัติของฝ่ายเรา
๕-๑๓๔.๓ เมื่อกิจนั้นเกี่ยวข้องกับการประสานสอดคล้องด้วยการยิงสนับสนุนและ
การปฏิบัติในสงครามอิเล็กทรอนิกส์
212 บทที่ ๕

สรุปในเรื่องของการผลิตค�ำสั่ง
(SUMMARY OF ORDERS PRODUCTION)
๕-๑๓๕. การผลิตค�ำสัง่ เป็นขัน้ ตอนสุดท้ายของกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร ผลผลิตของ
มันคือ แผน/ค�ำสั่งยุทธการที่สมบูรณ์ด้วยเอกสารที่ให้การสนับสนุนเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เมื่อเวลา
มาถึงการลงมือร่างสิ่งต่าง ๆ ที่จะบรรจุลงในแบบฟอร์มของค�ำสั่ง และผนวกด้านการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร เกือบจะทั้งหมดของการประสานงานในรายละเอียด, การประสานสอดคล้อง และ
การท�ำงานแก้ไขข้อขัดแย้งล้วนได้รับการแก้ไขให้เสร็จสมบูรณ์ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ประสานผนวกปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับการจัดหน่วยที่เกี่ยวข้องกับกิจที่จะท�ำการปฏิบัติ และ
กับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทัง้ หลายทีจ่ ะส่งผลกระทบ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารศึกษา
การจัดท�ำ ผนวกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับแผน/ค�ำสั่ง ยุทธการของหน่วยเหนือ, หน่วยรอง
และหน่วยข้างเคียง ระหว่างการวางแผนก�ำลังรบท�ำการเตรียมการในบางส่วนส�ำหรับการปฏิบัติ
การโดยอาศัยพืน้ ฐานจากค�ำสัง่ เตือน และผลลัพธ์ของการวางแผนคูข่ นาน และการวางแผนร่วมกัน
เมื่อแผน/ค�ำสั่งยุทธการได้รับการประกาศใช้ ก�ำลังรบเพ่งเล็งความพยายามของหน่วยในการ
เตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการ
บทที่ ๖
การเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(Preparing for Information Operations)

การเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร รวมถึงการกระท�ำที่ด�ำเนินการ
ก่อนปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงความสามารถในการด�ำเนินการทั้งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก
และเชิ ง รั บ ซึ่งรวมถึงการทบทวน และการกลั่ นกรองแก้ ไ ขแผนและค� ำ สั่ ง การประเมิ นค่ า
การพิทักษ์ก�ำลังรบ การประสานงานและการติดต่อ การซักซ้อมการปฏิบัติ การจัดเฉพาะกิจ และ
การเคลื่อนย้าย การตรวจสอบก่อนการปฏิบัติการและการสืบค้น การเตรียมการด้านการส่งก�ำลัง
บ�ำรุง และการสนธิก�ำลังทหาร และหน่วยที่มีความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เมือ่ หน่วยท�ำการปฏิบตั ใิ นภารกิจหนึง่ นัน้ จะได้รบั ค�ำสัง่ เตือนส�ำหรับภารกิจทีต่ ามมา และจะเป็นการ
เริ่มการเตรียมการส�ำหรับภารกิจนั้น ขณะที่ก�ำลังด�ำเนินการปฏิบัติภารกิจของตนเองในปัจจุบัน
แนวความคิดในการเตรียมการ (PREPARATION CONCEPTS)
๖-๑. การเตรียมการเป็นกิจกรรมของกระบวนการการปฏิบัติการ (Operations process)
(ดู รส. ๓-๐; รส. ๖-๐) อย่างไรก็ตามการเตรียมการทั้งหมดเกิดขึ้นระหว่างการรับ และการปฏิบัติ
ตามค�ำสั่งยุทธการ (OPORD) การเตรียมการมักเริ่มขึ้นระหว่างการวางแผน และบ่อยครั้งที่ด�ำเนิน
ไปอย่างต่อเนือ่ งระหว่างการปฏิบตั กิ าร ตัวอย่างเช่น หน่วยก�ำหนดภารกิจให้กบั กองหนุน หรือก�ำลัง
ที่ใช้ในการโจมตี (striking - force) ท�ำการเตรียมการจนกระทั่งผู้บังคับบัญชาสั่งใช้ก�ำลังดังกล่าว
เมื่อหน่วยท�ำการปฏิบัติการในภารกิจหนึ่งได้รับค�ำสั่งเตือน ส�ำหรับภารกิจต่อไปที่จะเกิดขึ้น หน่วย
จะเริ่มท�ำการเตรียมการส�ำหรับภารกิจนั้น ขณะที่ท�ำการปฏิบัติภารกิจในปัจจุบันของตนเอง
๖-๒. เพราะว่าวัตถุประสงค์หลาย ๆ ประการของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และกิจต่าง ๆ
ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต้องการการใช้เวลาอย่างยาวนานในการสร้างผลกระทบ
ที่ต้องการ เมื่อเป็นดังนั้นการเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจึงเริ่มขึ้นเร็วกว่า
การปฏิบัติการประเภทอื่น ๆ อยู่บ่อยครั้ง การเตรียมการในตอนแรก ๆ ส�ำหรับองค์ประกอบ
เฉพาะด้านข้อมูลข่าวสาร (specific IO) อาจจะเริ่มขึ้นในช่วงเวลาสงบสุข แม้ว่าการปฏิบัติเกิดขึ้น
ระหว่างช่วงวิกฤติการณ์ความขัดแย้ง หรือในยามสงคราม การเตรียมการในยามสงบโดยหน่วย
ต่าง ๆ เกีย่ วข้องกับการสร้างฐานข้อมูลตามแผนเผชิญเหตุทเี่ กีย่ วกับพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารทีค่ าดการณ์ไว้
ฐานข้อมูลเหล่านีส้ ามารถน�ำไปใช้เป็นปัจจัยน�ำเข้าเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารโดยเฉพาะ
เป็นข้อมูลให้กับการจัดเตรียมสนามรบด้านการข้อมูลข่าวสาร (IO IPB) และเพื่อการวางแผนการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับอย่างเช่น การป้องกันเครือข่าย และการรักษาความปลอดภัยการ
214 บทที่ ๖

ปฏิบัติการ (OPSEC) ส่วนต่าง ๆ ของแผนเผชิญเหตุในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจะได้รับการ


ปรับปรุงให้ทนั สมัยอย่างต่อเนือ่ งอยูเ่ สมอ ปกติผทู้ อี่ ยูใ่ นส่วนปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจะรักษาข้อมูล
ส่วนตัวของพวกเขาเพื่อจัดเตรียมไว้ให้กับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ด้วยข้อมูล
ข่าวสารล่าสุด การเตรียมการในยามสงบยังคงวางระบบงานทางภาคพืน้ ดินไว้เพือ่ การประสานงาน
เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในระดับหน่วยทางยุทธการและหน่วยทางยุทธวิธี
๖-๓. ช่วงระหว่างยามสงบ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเตรียมการส�ำหรับการปฏิบตั กิ าร
ในอนาคต โดยการวิเคราะห์ขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของประเทศ
เป้าหมายที่เป็นไปได้ ตัวอย่างในเรื่องของปัจจัยในการพิจารณารวมถึง
๖-๓.๑ ศาสนา, เชื้อชาติ, วัฒนธรรม, ขนบธรรมเนียม, บรรทัดฐาน, และค่านิยม
๖-๓.๒ โครงสร้างพื้นฐานด้านการโทรคมนาคม
๖-๓.๓ การติดต่อสื่อสารทางทหาร และโครงสร้างพื้นฐานด้านการบังคับบัญชา และ
การควบคุม
๖-๓.๔ การฝึกทางทหาร และระดับความเชี่ยวชาญ (เพื่อก�ำหนดความรู้สึกอ่อนไหวในการ
ปฏิเสธ, การลวง, และการปฏิบัติการจิตวิทยา)
๖-๓.๕ สัดส่วนของผู้รู้หนังสือ
๖-๓.๖ ความสัมพันธ์ของกลุ่มเชื้อชาติและภาษา
๖-๔. การเตรียมการรวมถึงการประเมินความพร้อมของหน่วยในการลงมือปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร ผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการเฝ้าติดตามการเตรียมการ และการประเมินค่าหน่วย
เหล่านั้นด้วยเกณฑ์ชี้วัดความส�ำเร็จ (Criteria of success) ที่จัดตั้งขึ้นระหว่างการวางแผน
ในการก�ำหนดค่าความแปรปรวนต่าง ๆ การประเมินค่านี้เป็นการพยากรณ์ผลกระทบของปัจจัย
เหล่านีว้ า่ มีผลต่อความพร้อมในการลงมือปฏิบตั กิ ารทัง้ มวล ตลอดจนกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารเป็นรายตัวไป
๖-๕. การเตรียมการส�ำหรับกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเกิดขึน้ สามระดับได้แก่
ระดับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร, ระดับหน่วยที่ได้รับกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร, และระดับบุคคล นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารช่วยเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารโดยการด�ำเนินงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ และการเฝ้าติดตามการเตรียมการ
ต่าง ๆ โดยหน่วยที่ได้รับกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร หน่วยเหล่านี้ด�ำเนินการกิจกรรม
ทางด้านการเตรียมการเสมือนเป็นกลุ่มงานซึ่งเกี่ยวข้องกับหน่วยทั้งหมด และเสมือนเป็นงานส่วน
บุคคลซึ่งทหาร และผู้น�ำหน่วยทหารแต่ละคนต้องท�ำให้สมบูรณ์
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 215

๖-๖. ขณะที่กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจ�ำนวนมากไม่ได้รับการปฏิบัติจนกระทั่ง
การปฏิบัติการในภาพรวมเริ่มขึ้น บางกิจเริ่มขณะที่หน่วยก�ำลังเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการ
กิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับนั้นส่วนมากเป็นการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์
เช่นนี้ต้องการให้หน่วยที่ได้รับมอบกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการวางแผน และ
เตรียมการอย่างรวดเร็วเป็นที่สุด การประมาณการด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างสมบูรณ์
แบบซึ่งขึ้นอยู่กับข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องในปัจจุบันถือเป็นความจ�ำเป็น ความสามารถทางด้าน
เทคนิค และความเป็นผู้น�ำเป็นความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ
ทบทวนและปรับปรุงแก้ไขแผนและค�ำสั่ง
(REVISE AND REFINE PLANS AND ORDERS)
๖-๗. แผนไม่ได้หยุดนิง่ ผูบ้ งั คับบัญชาท�ำการปรับแผนเหล่านัน้ บนพืน้ ฐานของข่าวสารใหม่ ๆ
ข้อมูลข่าวสารนี้อาจจะรวมถึงการประเมินค่าการเตรียมการของหน่วย หรือการตอบปัญหาความ
ต้องการข้อมูลข่าวสาร (IR) เกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ขณะที่กองก�ำลังทัพบกก�ำลัง
เตรียมการ ฝ่ายตรงข้ามยังคงเตรียมการและอาจจะด�ำเนินการในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของ
พวกเขาอยู่ เมื่อผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ท�ำการทบทวนหรือแก้ไขแผน นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารมีหน้าที่รับผิดชอบในการปรับส่วนต่าง ๆ ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๖-๘. ระหว่างการเตรียมการ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารปรับส่วนต่าง ๆ ของการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารในส่วนแผนยุทธการ หรือค�ำสั่งยุทธการที่สะท้อนถึงการตัดสินใจ และการ
เปลี่ยนแปลงของผู้บังคับบัญชาที่มีต่อการประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารปรับปรุงประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้ทันสมัยเพื่อจะได้บรรจุข้อมูล
ข่าวสารที่ทันสมัยมากที่สุดเกี่ยวกับกิจกรรมด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม
การเปลีย่ นแปลงในเรือ่ งเกีย่ วกับสภาพอากาศหรือภูมปิ ระเทศ และขีดความสามารถด้านการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา (ดูผนวก ค)
๖-๙. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกันว่าปัจจัยน�ำเข้าด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(IO input) ที่ให้แก่ การจัดเตรียมสนามรบด้านการข้อมูลข่าวสารยังคงมีความเกี่ยวข้องตลอด
การวางแผน และการเตรียมการ ในการกระท�ำเช่นนี้ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประกันว่า
ปัจจัยน�ำเข้าดังกล่าวที่เตรียมให้กับแผนงานด้าน การข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน
(ขฝล.) จะได้รบั การปรับให้สอดคล้องเพือ่ สนับสนุนการปรับปรุงแก้ไข และการทบทวนทีม่ ตี อ่ แผน/
ค�ำสั่งยุทธการ
216 บทที่ ๖

๖-๑๐. การเตรียมการด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเริ่มขึ้นระหว่างการวางแผน เนื่องจาก


ผนวกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเริ่มด้วยการใช้การจัดรูปแบบ (shape) ดังนั้นการประสานงาน
ของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารจึงเป็นความส�ำคัญยิ่งยวด เพราะว่าการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารนัน้ กระทบกับระบบปฏิบตั กิ ารในสนามรบหลาย ๆ ส่วน อย่างเช่น การวางแผนการท�ำลาย
ทางวัตถุโดยท�ำการโจมตีต่อเป้าหมายให้ค่าสูงในส่วนที่เกี่ยวกับระบบการบังคับบัญชา และการ
ควบคุมนั้นต้องมีการประสานงานกับชุดก�ำหนดเป้าหมาย (ดูผนวก จ) อย่างใกล้ชิด การโจมตีอย่าง
ชัดเจนท�ำให้เห็นความเป็นไปได้อย่างสูงในความส�ำเร็จทีอ่ าจจะเกีย่ วข้องกับการขัดขวางทางอากาศ
การโจมตีทางลึก และหน่วยงานทางด้านการข่าวกรอง เป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวต้องมีการก�ำหนดกิจให้กับก�ำลังทางอากาศด้วยค�ำสั่งแบบมอบงานหรือกิจ
(tasking order) การยิงด้วยจรวด และขีปนาวุธต้องก�ำหนดไว้ในตารางเวลาของแผนการยิง
สนับสนุน เครือ่ งมือรบกวน และเครือ่ งมือรวบรวมข่าวสารของกองทัพบกต้องการการใช้อากาศยาน
ในการบินตามภารกิจ ซึ่งสามารถเริ่มขึ้นเมื่อใด และที่ใดก็ได้ตามต้องการ การสร้างความมั่นใจ
ในส่วนที่แตกต่างกันของแผนและค�ำสั่งยุทธการจะประกอบด้วยค�ำแนะน�ำที่จ�ำเป็นซึ่งต้องการ
การประสานงานและความใส่ใจในรายละเอียด
๖-๑๑. การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพต้อ งด� ำ เนิน การอย่างสม�่ ำ เสมอ ณ
ทุกระดับหน่วยบัญชาการ นายทหารปฏิบัติข้อมูลข่าวสารท�ำการทบทวนแผน/ค�ำสั่งยุทธการของ
หน่วยรอง เพื่อสร้างความมั่นใจว่ากิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้รับการก�ำหนดขึ้น
อย่างมีประสิทธิผล และในการค้นหาความไม่สอดคล้องต่าง ๆ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ยังค้นหาข้อขัดแย้งต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ระหว่างแผน/ค�ำสั่งยุทธการของหน่วยบัญชาการกับของ
หน่วยรองเมื่อเป็นไปได้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการทบทวนแผนและค�ำสั่งยุทธการ
ของหน่วยข้างเคียงส�ำหรับกรณีขัดแย้งที่เป็นไปได้ การทบทวนนี้อ�ำนวยให้นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารสามารถระบุโอกาสในการรวมผลกระทบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของหน่วย
ทั้งสองเข้าไว้ด้วยกันได้
๖-๑๒. การกลัน่ กรองแก้ไข แผน/ค�ำสัง่ ยุทธการรวมถึงการพัฒนาการปฏิบตั ทิ แี่ ตกออกไป และ
การปฏิบัติที่ตามมาอีกด้วย การปฏิบัติที่แตกออกไปและการปฏิบัติที่ตามมานั้นปกติก�ำหนดขึ้น
ระหว่างการจ�ำลองยุทธ์ (War - gaming) ในระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ อย่างไรก็ตาม
ฝ่ายอ�ำนวยการอาจจะก�ำหนดความต้องการส�ำหรับการปฏิบัติการที่แตกออกไป และการปฏิบัติที่
ตามมา ณ เวลาใดก็ได้ นายทหารยุทธการจัดล�ำดับการปฏิบัติการที่แตกออกไปและการปฏิบัติที่
ตามมาฝ่ายอ�ำนวยการพัฒนาการปฏิบตั ทิ งั้ สองอย่างนัน้ ตามแต่เวลาจะอ�ำนวยให้ นายทหารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารมีส่วนร่วมในการพัฒนาแผนของพวกเขาตามประเด็นที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายอ�ำนวย
การคนอื่น ๆ ตามกระบวนการการวางแผน (ดูบทที่ ๕)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 217

๖-๑๓. ข้อเพ่งเล็งระหว่างการเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารหมุนกลับไปยัง
การประเมิน ส่วนส�ำคัญยิ่งของการประเมินคือการเฝ้าติดตามและการประเมินค่าปัจจัยแห่ง
ความส�ำเร็จ (the criteria of success) ซึง่ ได้รบั การพัฒนาขึน้ ระหว่างการวางแผน ปัจจัยแห่ง
ความส�ำเร็จส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้รับการเฝ้าติดตาม และการกลั่นกรองแก้ไขตาม
ที่มีการท�ำทบทวนแผน การพัฒนาเริ่มต้นและการปรับแต่งตามข้อเท็จจริงที่ตามมาต่อปัจจัยแห่ง
ความส�ำเร็จถือเป็นกิจที่ยากยิ่งเพราะว่า ในหลาย ๆ ข้อพิจารณา การสร้างปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ
นั้นเป็นศิลป์มากกว่าศาสตร์ อย่างไรก็ตามความพยายามที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องในการกลั่นกรอง
ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ และการประกันว่าพวกมันเชื่อมโยงกับกระบวนการในการประเมินอย่างมี
ประสิทธิภาพ จะช่วยให้นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสามารถตกลงใจในการด�ำเนินการให้
ก้าวหน้า และสามารถปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิผล ดังนัน้ การสนับสนุนการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารให้กับก�ำลังรบนั้นเป็นการส่งเสริมความสามารถให้ก�ำลังรบ
การท�ำการประเมินในเรื่องของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(ASSESSMENT OF INFORMATION OPERATIONS)
๖-๑๔. การประเมินประสิทธิผลของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นหนึ่งในการเผชิญความ
ท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของฝ่ายอ�ำนวยการ ในการประเมินประสิทธิผลของการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต้องบอกคุณลักษณะของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูล
ข่าวสารที่เป็นนามธรรม การขาดพยานหลักฐานทางกายภาพในส่วนของผลกระทบด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารท�ำให้งานนี้เป็นไปได้ยากยิ่ง
๖-๑๕. สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเป็นการเลือ่ นไหลไปรวมกันของบุคคล, องค์การ, หรือ
ระบบซึง่ เป็นการรวบรวม, การด�ำเนินกรรมวิธ,ี หรือการกระจายข่าวสาร และยังรวมถึงตัวของ
ข้อมูลข่าวสารเอง๑ ดังนัน้ สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเป็นการผสมผสานทรัพยากรทีจ่ บั ต้อง
ได้ (ระบบข้อมูลข่าวสาร : INFOSYS) กับแนวความคิดที่เป็นนามธรรม (ข้อมูลข่าวสาร, การด�ำเนิน
กรรมวิธีบนพื้นฐานของข้อมูลข่าวสาร, และกระบวนการตกลงใจของมนุษย์) การปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารจึงเป็นการโจมตี และการป้องกันทรัพยากรทางวัตถุในส่วนของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูล
ข่าวสารเพื่อให้เกิดผลกระทบต่อแง่มุมในทางนามธรรมของทรัพยากรนั้นเอง
๖-๑๖. ขีดความสามารถในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งมวลไม่ได้ขึ้นอยู่กับโลกแห่งวัตถุ
ขณะที่อ งค์ประกอบด้านข้อมูลข่าวสารในเรื่ อ งของการท�ำ ลายทางกายภาพ (physical
destruction) เป็นสิง่ ทีจ่ บั ต้องได้ หลายองค์ประกอบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารนัน้ เป็น

ดู JP 3-13
218 บทที่ ๖

นามธรรม การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC) แง่มุมบางประการของการสงคราม


อิเล็กทรอนิกส์ การลวงทางทหารและการปฏิบัติการจิตวิทยา ล้วนมีจุดมุ่งหมายในการสร้าง
ผลกระทบในขอบเขตของความคิด การรับรู้ และทัศนคติ ซึ่งเป็นทางนามธรรม การจับฉวยข้อมูล
หรือข่าวสารเพือ่ วัดผลกระทบบางประการในทางนามธรรมเป็นสิง่ ทีย่ ากและบ่อยครัง้ ทีต่ อ้ งใช้เวลา
เป็นอย่างมาก ซึง่ ต้องการการวิเคราะห์ในเชิงลึก ซึง่ ดูเหมือนจะเป็นไปไม่ได้เลยในระหว่างการปฏิบตั ิ
การที่มีจังหวะการรบสูง
๖-๑๗. การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในเชิงบูรณาการจะสามารถบรรลุถึงความซับซ้อน,
ล�ำดับชั้นของผลกระทบที่ลดหลั่นกันไปได้ (ดูรูป ๖-๑) การโจมตีหรือการป้องกันทรัพยากร
ทางวัตถุเป็นโล่ปอ้ งกันผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับแรก (first - order effects) อย่างเช่น การท�ำลาย
การลดประสิ ท ธิ ภ าพ และการรบกวนขั ด ขวางปมการสื่ อ สาร และที่ บั ญ ชาการของข้ า ศึ ก
ผลกระทบที่มาเป็นอันดับแรกถูกส่งโดยตรงต่อระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้ามเพื่อให้บรรลุ
ผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับสอง (second - order effects) ต่อข้อมูลข่าวสารและกรรมวิธพี นื้ ฐาน
ด้านข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม ผลกระทบที่มาเป็นอันดับสองที่มีประสิทธิภาพจะสร้าง
ผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับสาม (third - order effects) ต่อการจัดท�ำข้อตกลงใจของผูบ้ งั คับบัญชา
ข้าศึกการสร้างผลกระทบที่มาเป็นอันดับสามเหล่านี้ถือเป็นเป้าหมายสูงสุดของการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร
ผลกระทบ ผลกระทบ ผลกระทบ
ส�ำดับที่ ๑ ส�ำดับที่ ๒ ส�ำดับที่ ๓
ผลกระทบที่มีผลมาจาก หาทางที่ ผลกระทบต่อข่าวสาร หาทางที่ ผลกระทบต่อ
การปฏิบัติการต่อต้าน จะบรรลุ และการไหลเวียน จะบรรลุ การตัดสินใจของ
ระบบการควบคุม ของข่าวสาร ผู้บังคับบัญชา
บังคับบัญชา

สอ.

ขฝล.

โครงสร้างระบบควบคุมบังคับบัญชาของข้าศึก

รูปที่ ๖-๑ ล�ำดับชั้นผลกระทบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 219

๖-๑๘. ในเชิงป้องกัน ผลกระทบที่มาเป็นอันดับแรก อาจจะเป็นการปกป้องระบบข้อมูล


ข่าวสารของก�ำลังฝ่ายเรา ผลกระทบที่มาเป็นอันดับสองอาจจะเป็นการด�ำรงรักษาความเข้าใจ
ในสถานการณ์ (situational understanding) หรือการไหลเวียนของข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูก
รบกวน ผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับสามอาจจะเป็นการรักษาการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพไว้
แต่ละระดับของการสร้างผลกระทบสอดคล้องกับการตอบสนองของข้าศึกและฝ่ายเรา สถานการณ์
นี้ส่งผลในความสลับซับซ้อน, ล�ำดับชุดที่ลดหลั่นของเหตุ และผลกระทบ ซึ่งต้องได้รับการระบุและ
ตีความเพือ่ ก�ำหนดผลกระทบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในภาพรวม ในการแบ่งประเภทความ
ยุง่ ยากในเรือ่ งของความสัมพันธ์ทเี่ ป็นมูลเหตุน ี้ บางสิง่ บางอย่างยากเสียยิง่ กว่าการประเมินค่าความ
เสียหายจากการรบ (battle damage assessments) ตามแบบตามที่ต้องการ
การประเมินและล�ำดับชั้นของผลกระทบ
(AESSESSMENT AND HIERARCHY OF EFFECTS)
๖-๑๙. การประเมิน (assessment) เป็นการเฝ้าติดตามอย่างต่อเนื่อง ตลอดการวางแผน,
การเตรียมการ, และการปฏิบัติการ ในเรื่องของสถานการณ์ปัจจุบันและความก้าวหน้าของ
การปฏิบัติการ และการประเมินค่าในเรื่องของการประเมินปัจจัยแห่งความส�ำเร็จเพื่อท�ำการ
ตัดสินใจ และการปรับปรุงแก้ไข๒ (FM 3-0) มาตรการและการวิเคราะห์ในเรือ่ งของผลกระทบทีเ่ ป็น
ผลมาจากการโจมตีระบบข้อมูลข่าวสารของข้าศึก และปกป้องระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา
ท�ำให้เกิดการประเมินความเป็นไปได้ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตาม ในการกระท�ำ
เช่นนี้ ถือเป็นความจ�ำเป็นในการเข้าใจล�ำดับชัน้ ของผลกระทบต่าง ๆ ทีเ่ ป็นผลมาจากกิจกรรมด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ผลกระทบที่มาเป็นอันดับ หนึ่ง, สอง, สาม)
๖-๒๐. ผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับแรกเป็นผลมาจากการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุกต่อระบบ
ข้อมูลข่าวสารของข้าศึก และการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรับทีน่ ำ� มาใช้ในการปกป้องระบบ
ข้อมูลข่าวสารของฝ่ายเรา ปกติผลกระทบที่มาเป็นอันดับแรกมีการระบุจากรายงานต่าง ๆ และ
การประเมินความเสียหายจากการรบ ระดับของการประเมินนี้สามารถก�ำหนดได้หรือไม่ว่ากิจ
ต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งเชิงรุก และเชิงรับ ซึ่งวางแผนไว้ได้เกิดขึ้นมา และกิจ
ต่าง ๆ นั้นก่อให้เกิดผลกระทบขึ้น
๖-๒๑. ผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับสอง และสามล้วนสร้างขึน้ มาโดยผลรวมทัง้ มวลของการปฏิบตั ิ
จะกระท�ำต่อระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ายข้าศึก และฝ่ายเรา ผลกระทบเหล่านี้สามารถ
ตรวจจับได้และสามารถบอกเป็นเชิงปริมาณได้น้อยกว่าผลกระทบที่มาเป็นอันดับแรก ณ ระดับ

ดู รส.๓-๐
220 บทที่ ๖

เหล่านี้ การประเมินเป็นการหาหนทางในการก�ำหนดว่าถ้าการหลอมรวมกันของกิจต่าง ๆ ด้าน


การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้บรรลุผลตามที่ต้องการ ผลกระทบเกี่ยวกับระบบข้อมูลข่าวสาร
ของข้าศึกและของฝ่ายเราคืออะไร (ผลกระทบที่มาเป็นอันดับสอง) ? ผู้บังคับบัญชาข้าศึกและ
ฝ่ายเราได้รับผลกระทบหรือไม่ (ผลกระทบที่มาเป็นอันดับสาม) ? ถ้าเป็นเช่นนั้น จะขยายผล
อย่างไร และขยายผลอะไร ? ปกติผลกระทบที่มาเป็นอันดับสอง และสาม ก�ำหนดขึ้นด้วยการ
วิเคราะห์เรื่องราวของรายงานข่าวกรอง และการประเมินค่าเชิงอุปนัย (Inductive)
สร้างมูลเหตุและผลกระทบ
(ESTABLISHING CAUSE AND EFFECT)
๖-๒๒. เพราะว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเป็นการ
ผสมผสานทรัพยากรทางกายภาพ และแนวความคิดทางนามธรรม วิธกี ารเดียวเท่านัน้ ทีจ่ ะบรรลุ
ความเชือ่ มโยงระหว่างมูลเหตุ และผลกระทบก็คอื การล่วงรูว้ า่ ความขัดแย้งทางการทหารประกอบ
ด้วยปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กบั เทคโนโลยี ดังนัน้ แล้ว มันเป็นการสมมติวา่ ทรัพยากรทางกายภาพ
ของกองก�ำลังทหาร และแง่มุมทางนามธรรมของการปฏิบัติการทางทหาร อย่างเช่น ขวัญก�ำลังใจ,
ความเป็นผู้น�ำ, เจตจ�ำนง และความสมัครสมานสามัคคี ล้วนแล้วแต่มีความเชื่อมโยงกัน ดังนั้น
การโจมตีตอ่ ทรัพยากรทางกายภาพ เช่น ทีบ่ ญ ั ชาการ, ระบบการค้นหาเป้าหมาย, ระบบการรวบรวม
และด�ำเนินกรรมวิธีทางการข่าวกรอง และระบบการติดต่อสื่อสาร ซึ่งจะกระทบต่อความสามารถ
ทางการทหารในการจัดท�ำ และการท�ำการตัดสินใจให้เป็นไปในทางตรงกันข้าม ต่อมาสิ่งนี้จะมี
ผลกระทบทีเ่ ป็นภัยใหญ่หลวงต่อสิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรมทัง้ มวล ซึง่ เป็นการเตรียมจัดความสามารถไว้ให้
กับก�ำลังทหารในการด�ำเนินการปฏิบัติการ
๖-๒๓. การจัดสร้างความเชื่อมโยง หรือความสัมพันธ์ระหว่างกันเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อการก�ำหนด
ว่าองค์ประกอบ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้นมีผลกระทบกับการ
ไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร และผู้ท�ำหน้าที่ในการตกลงใจทั้งของฝ่ายเรา และฝ่ายข้าศึก
หรือไม่ ความสัมพันธ์ที่ปรากฏเมื่อคุณค่าของการปฏิบัติการ (อย่างเช่น จ�ำนวนของการเกิดขึ้น
หรือระดับของผลกระทบ) เพิ่มขึ้น หรือลดลง การก่อให้เกิดคุณค่ากับผลกระทบในทางที่เพิ่มขึ้น
หรือลดลง ตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ที่ปรากฏขึ้นในกรณีดังต่อไปนี้ :
๖-๒๓.๑ จ�ำนวนของทหารข้าศึกทีย่ อมจ�ำนนมีมากขึน้ ภายหลังการโปรยใบปลิวปฏิบตั กิ าร
จิตวิทยาต่อก�ำลังของข้าศึก
๖-๒๓.๒ การสือ่ สารบนโครงข่ายด้านการบังคับบัญชา และการควบคุมลดจ�ำนวนการโจมตี
การแจมคลื่นที่กระท�ำต่อการบังคับบัญชาและการควบคุมบนเครือข่ายนั้น
ด้วยเหตุผลที่การอนุมานนี้เป็นการจัดรูปแบบของการก�ำหนดผลกระทบที่มาเป็นอันดับแรก
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 221

๖-๒๔. อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบตั ิ (เหตุ : cause) และผลกระทบ (effect)


อาจจะเป็นเหตุบังเอิญ ความหมายซึ่งเกิดขึ้นในเรื่องของผลกระทบเป็นได้ทั้งอุบัติเหตุโดยไม่ตั้งใจ
หรือบางทีเป็นมูลเหตุโดยความสัมพันธ์ของการกระท�ำสองอย่าง หรือมากกว่าที่ปฏิบัติเพื่อบรรลุ
ผลกระทบนัน้ ตัวอย่างเช่น ถ้าก�ำลังฝ่ายเราก�ำลังปะทะกับก�ำลังของข้าศึกด้วยการยิง และการด�ำเนิน
กลยุทธ์ได้อย่างสัมฤทธิผล ในเวลาเดียวกันกิจกรรมด้านการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาก�ำลังเร่งเร้าให้กำ� ลัง
ฝ่ายข้าศึกท�ำการยอมจ�ำนน ดังนั้นการเพิ่มขึ้นในความสัมพันธ์เกี่ยวกับทหารที่ท�ำการยอมจ�ำนน
ต่อการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยานัน้ อาจจะไม่เป็นสิง่ ทีถ่ กู ต้อง ยิง่ ไปกว่านัน้ เพราะว่าบ่อยครัง้ ทีก่ ารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารใช้องค์ประกอบหลายประการในการเข้าด�ำเนินการต่อระบบการบังคับบัญชา
และการปฏิบตั กิ ารของฝ่ายตรงข้าม ผลกระทบทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็นทวีคณ ู ในส่วนของการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารสนับสนุนต่อการปฏิบตั กิ ารรบอาจท�ำให้เกิดผลกระทบในส่วนของเป้าหมายการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารเฉพาะรายตลอดจนกิจต่าง ๆ ที่ไม่อาจแยกแยะออกจากกันได้ เนื่องจากไม่ค่อยจะมี
เวลาเพียงพอในการก�ำหนดรายละเอียดความสัมพันธ์ต่าง ๆ ที่เป็นเหตุบังเอิญได้อย่างกระจ่างชัด
มีเพียงความรูใ้ นเชิงลึกเกีย่ วกับเรือ่ งของข้าศึก และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารเท่านัน้ ที่
เป็นเหมือนยาต้านพิษทีช่ ว่ ยการพัฒนาประมาณการทีไ่ ด้รายงานไว้แล้ว โดยเป็นผลมาจากการ
ให้เหตุผลเชิงอุปนัย
การพัฒนาปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ (DEVELOPING CRITERIA OF SUCCESS)
๖-๒๕. ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ เป็นความต้องการข้อมูลข่าวสารที่พัฒนาขึ้นระหว่างกระบวน
การปฏิบตั กิ าร (operations process) ซึง่ วัดระดับความส�ำเร็จในการบรรลุภารกิจของหน่วยปกติ
ปัจจัยดังกล่าวแสดงความคิดเห็นได้ทั้งการประเมินค่าอย่างชัดเจนในเรื่องของสถานการณ์ปัจจุบัน
หรือที่คาดการณ์ในความส�ำเร็จของภารกิจ๓ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จก�ำหนดผลกระทบที่มาเป็น
อันดับสอง และสาม โดยการสร้างเหตุและผล เชือ่ มโยงระหว่างการสังเกตเห็นได้กบั การทีส่ ามารถ
วัดออกมาได้เป็นปริมาณของผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับแรก และสิง่ ทีเ่ ป็นนามธรรม และทางวัตถุ
ของผลกระทบที่มาเป็นอันดับสองและสาม ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จไม่ได้สร้างการประเมินให้แก่
ตัวมันเอง พวกมันเป็นเครื่องมือในการประเมินค่าที่จะก�ำหนดว่าถ้าหากกิจเฉพาะต่าง ๆ ด้านการ
ปฏิบัติข้อมูลข่าวสารก�ำลังบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และถ้าไม่บรรลุ
วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารแล้วมันก�ำลังเป็นการเติมเต็มแนวความคิดในการ
สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร สิง่ นีป้ ระกันถึงความส�ำเร็จของภารกิจการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จอาจจะได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อวัดความส�ำเร็จของกิจต่าง ๆ ด้าน


ดู รส. ๖-๐
222 บทที่ ๖

การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นเรื่อง ๆ ไป การกระท�ำดังกล่าวนี้ขึ้นอยู่กับความส�ำคัญของกิจ
ตลอดจนการน�ำทรัพยากร และเวลาทีม่ อี ยูม่ าใช้ดำ� เนินการประเมินระดับของแต่ละรายละเอียดนัน้
(ดูรูป ๖-๒)
๖-๒๖. ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จได้รบั การพัฒนาขึน้ ระหว่างการวางแผน (ดูบทที่ ๕) ในการก�ำหนด
ผลกระทบของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทัง้ เชิงรุก และเชิงรับ เพือ่ อธิบายความหมาย ปัจจัยแห่ง
ความส�ำเร็จต้องเชื่อมโยงการปฏิบัติ และกิจกรรมต่าง ๆ ของฝ่ายเรา และฝ่ายข้าศึก (เหตุ) กับขีด
ความสามารถทัง้ ของฝ่ายเรา และฝ่ายข้าศึกในการจัดท�ำ และลงมือปฏิบตั กิ ารตัดสินใจ (ผลกระทบ)
ดังนั้นการพัฒนาปัจจัยแห่งความส�ำเร็จเริ่มขึ้นด้วยข้อความภารกิจการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การพัฒนาปัจจัยแห่งความส�ำเร็จที่มีประสิทธิภาพต้องการข้อความภารกิจ, แนวความคิดใน
การสนับสนุน, วัตถุประสงค์ และกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่สมบูรณ์แบบ
๖-๒๗. ข้อความภารกิจการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเป็นย่อหน้าสัน้ ๆ หรือประโยคทีอ่ ธิบายว่า
ผูบ้ งั คับบัญชาต้องการอะไรในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเพือ่ บรรลุผลส�ำเร็จ และจุดประสงค์
อะไรทีจ่ ะบรรลุในสิง่ นัน้ ข้อความภารกิจการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีม่ ดี จี ะมุง่ เน้นแง่มมุ เฉพาะของ
การปฏิบัติการ มันไม่ได้เป็นข้อความทั่ว ๆ ไป ซึ่งท�ำได้เพียงระบุความต้องการในเชิงหลักนิยม
มาตรฐานส�ำหรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเท่านั้น
๖-๒๘. แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (the information
operations concept of support) เป็นข้อความทีช่ ดั เจน, สัน้ กะทัดรัด เป็นข้อความในเรือ่ ง
ของทีไ่ หน, เมือ่ ใด และอย่างไรทีผ่ บู้ งั คับบัญชาตัง้ ใจเพ่งเล็งต่อองค์ประกอบด้านข้อมูลข่าวสาร
ในส่วนของอ�ำนาจก�ำลังรบเพื่อการบรรลุภารกิจ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จที่ได้พัฒนาขึ้นในแต่ละ
วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างสมบูรณ์แบบน�ำไปสู่ความส�ำเร็จในเรื่องของ
แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่ได้รับอนุมัติ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 223

ด�ำเนินกรรมวิธีด้วย, หรือเปลี่ยนแปลง, วางแผน

แนวความคิดใน ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ การประเมิน


การสนับสนุนด้าน (ส�ำหรับแนวความคิดใน การปฏิบัติการ
ปขส. การสนับสนุนด้าน ปขส.) ข้อมูลข่าวสาร

ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ
วัตถุประสงค์ด้าน (ส�ำหรับแต่ละ การประเมิน
ปขส. วัตถุประสงค์ด้าน ปขส.) วัตถุประสงค์ด้าน ปขส.

• การรายงานของหน่วย
กิจต่าง ๆ ที่ให้แก่ การประเมินใน
• การประเมินความเสียหาย
องค์ประกอบ และหน่วย กิจต่าง ๆ
จากการรบ

รูปที่ ๖-๒ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จในการประเมินข้อความภารกิจด้าน ปขส.

๖-๒๙. วัตถุประสงค์ของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (Information operations objectives)


เป็นการก�ำหนดเป้าหมายที่สามารถยอมรับได้อย่างชัดเจนซึ่งผู้บังคับบัญชาตั้งใจให้ประสบผล
ส�ำเร็จโดยการใช้องค์ประกอบ/กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ปัจจัยแห่ง
ความส�ำเร็จได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อประเมินผลกระทบที่ต้องการของวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารแต่ละตัว วัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีก่ ำ� หนดขึน้ อย่างดีจะ
ระบุผลกระทบ, เป้าหมายของผลกระทบ และวัตถุประสงค์ของผลกระทบ ปกติวตั ถุประสงค์ของ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกเขียนขึ้นในรูปของ การท�ำลาย, รบกวนขัดขวาง, การปฏิเสธ,
การลวง, การขยายผล และโน้มน้าวชักจูง วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติข้อมูลข่าวสารเชิงรับเขียน
ขึ้นในรูปของการปกป้อง และการป้องกันข้อมูลข่าวสาร และระบบข้อมูลข่าวสารของก�ำลังรบ
ฝ่ายเรา ในทางอุดมคติแต่ละวัตถุประสงค์มีการก�ำหนดผลกระทบอย่างชัดเจน และยอมรับได้
อีกประการหนึ่งมันเป็นไปไม่ได้ที่จะก�ำหนดวัตถุประสงค์เมื่อผลกระทบส�ำเร็จผล และวัตถุประสงค์
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้นได้รับการค้นพบไปแล้ว
224 บทที่ ๖

๖-๓๐. กิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นกิจที่พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนความ


ส�ำเร็จของวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างหนึ่งหรือมากกว่า ปัจจัยแห่ง
ความส�ำเร็จได้รับการก�ำหนดส�ำหรับแต่ละกิจ ด้วยการเป็นที่เข้าใจว่ากิจด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารก�ำหนดเพียงองค์ประกอบ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเพียง
หนึ่งเดียวเท่านั้น การรายงานของหน่วย หรือการประเมินค่าความเสียหายจากการรบ (BDA) เป็น
สิ่งส�ำคัญในการประเมินประสิทธิผลของกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นรายตัว
๖-๓๑. ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จในผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับสองหาหนทางในการก�ำหนดว่าหาก
เกิดการรวมกันของกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร จะบรรลุถึงวัตถุประสงค์ด้าน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้ ถ้าเป็นไปได้ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จควรจะสามารถสังเกตได้
(เพื่อช่วยในการรวบรวมข่าวกรอง) สามารถวัดปริมาณได้ (เพื่อเพิ่มความเป็นรูปธรรม) เที่ยงตรง
(เพื่อประกันความถูกต้อง) และมีความสัมพันธ์ต่อความก้าวหน้าของการปฏิบัติการ (เพื่อให้ทัน
กาลเวลา) ขณะที่เป็นไปได้ในวัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่มีปัจจัยแห่งความ
ส�ำเร็จอย่างหลากหลาย การรวบรวมข่าวกรอง และหน่วยงานด้านการวิเคราะห์ซึ่งมีอยู่อย่างจ�ำกัด
อาจจะท�ำให้สิ่งนี้เป็นไปไม่ได้
๖-๓๒. ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จส�ำหรับผลกระทบที่มาเป็นอันดับสามหาหนทางในการก�ำหนด
ว่าหากผูบ้ งั คับบัญชาของฝ่ายข้าศึก และฝ่ายเราได้รบั ผลกระทบแล้ว มันจะเป็นผลกระทบจาก
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตามที่ได้วางแผนไว้ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จเหล่านี้ควรจะก�ำหนด
ว่าผู้ที่มีอ�ำนาจในการตกลงใจท�ำการตอบโต้ตามที่ท�ำนายเอาไว้ บ่อยครั้งที่ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ
เหล่านี้เป็นนามธรรม
การประเมินค่า - บรรจุมันทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน
(ASSESSMENT - PUTTING IT ALL TOGETHER)
๖-๓๓. ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จเป็นการประเมินแต่เพียงส่วนเดียว การประเมินค่าความเสียหาย
จากการรบตามประเพณีนิยม และการวิเคราะห์ข่าวกรองอื่น ๆ ตลอดจนการรายงานของ
หน่วยก�ำลังรบฝ่ายเรา เป็นกุญแจส�ำคัญไปสู่การประเมินประสิทธิผลของการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร แหล่งข่าวเหล่านีก้ อ่ ให้เกิดข้อมูลข่าวสารบนผลกระทบทีส่ ามารถวัดในเชิงปริมาณได้ ข้อมูล
ข่าวสารนีส้ ามารถใช้เป็นหลักพืน้ ฐานส�ำหรับการประมาณการในเรือ่ งทีว่ า่ ภารกิจด้านการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารก�ำลังบรรลุผลส�ำเร็จหรือไม่ รายงานข้อมูลข่าวสารจากหน่วย และการประเมินความ
เสียหายจากการรบเป็นแบบฉบับของแหล่งข้อมูลส�ำหรับการก�ำหนดผลกระทบทีม่ าเป็นอันดับแรก
การรายงานข่าวกรอง และการประเมินก่อให้เกิดข้อมูลข่าวสารในการก�ำหนดผลกระทบที่มาเป็น
อันดับสอง และสาม
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 225

๖-๓๔. ทันทีทปี่ จั จัยแห่งความส�ำเร็จได้รบั การยกร่างขึน้ มันจะเป็นกลไกในการได้ขอ้ มูลข่าวสาร


ที่จ�ำเป็นมาเพื่อก�ำหนดผลกระทบสามอันดับที่พัฒนาขึ้น (ดูรูป ข-๒๖ ส�ำหรับตัวอย่างของตาราง
การประเมินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร) นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารก�ำหนดการประเมิน
ทีต่ อ้ งการ ข้อมูลข่าวสารเฉพาะทีจ่ ำ� เป็นต่อการจัดท�ำการประเมิน และผูแ้ ทนตลอดจนหน่วยทีจ่ ดั ไว้
เพือ่ จัดการข้อมูลข่าวสาร แผนการประเมินนีส้ นับสนุนแผนการรวบรวมข่าวกรองของผูบ้ งั คับบัญชา
และความต้องการข่าวสารของก�ำลังฝ่ายเรา (Friendly forces information requirements: FFIR)
๖-๓๕. การรายงานข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ต รงเวลา และถู ก ต้ อ งเป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น ในการประเมิ น
ประสิทธิผลของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสารจ�ำนวนมากเช่นนี้จะรายงานจาก
หน่วยรอง หน่วยที่ท�ำการรวบรวมข่าวกรอง รวมถึงหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ ชุดปฏิบัติการจิตวิทยา
และชุดข่าวกรองจากบุคคลในทางยุทธวิธี (human intelligence: HUMINT) ทัง้ หมดนัน้ ก่อให้เกิด
ข้อมูลข่าวสารซึ่งน�ำไปใช้วัดความส�ำเร็จภารกิจของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ยิ่งไปกว่านั้นการ
วิเคราะห์ขา่ วกรองทีก่ ำ� ลังด�ำเนินไป รวมถึงการวิเคราะห์สอื่ และแหล่งข้อมูลเปิดอืน่ ๆ จะสนับสนุน
การประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ก�ำลังบรรลุวัตถุประสงค์ในตัวของมันเองหรือไม่ และ
เมื่อเป็นเช่นนั้นแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นสิ่งที่สัมฤทธิผล
แม้ว่าชุดสนับสนุนทางยุทธวิธีด้านกิจการพลเรือน ไม่ได้เป็นหน่วยรวบรวมข่าวกรองก็ตามแต่
สามารถสร้างผลสะท้อนกลับในด้านความส�ำเร็จในภารกิจการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๖-๓๖. ในการรับข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต้องเฝ้าติดตามสถานการณ์
ทางการยุทธ์อย่างกระตือรือร้น และไล่ล่าข้อมูลข่าวสารอย่างรุกรบด้วยการให้หน่วยรองท�ำการ
รายงาน และท�ำการสอบถามในรายละเอียด การประชุมของส่วนปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และจากที่
ประชุมอื่น ๆ การบรรยายสรุปพัฒนาสถานการณ์การรบที่ทันสมัยของผู้บังคับบัญชา การเรียก
ประชุม และการประชุมอืน่ ๆ ยังคงเป็นการให้ความสะดวกในการเฝ้าติดตามการด�ำเนินงานเกีย่ วกับ
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร พวกเขาจัดเตรียมการประชุมข้อมูลข่าวสารซึง่ ได้รบั เพือ่ การวิเคราะห์
เหตุการณ์ที่ตามมาภายหลัง การปฏิบัติบางอย่างของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคือ
๖-๓๖.๑ รับค�ำร้องขอข้อมูลข่าวสาร (requests for information: RFIs) บนพื้นฐานของ
แผนการประเมิน
๖-๓๖.๒ ประสานกับส่วนประสานงานด้านผลกระทบ และทีมก�ำหนดเป้าหมายส�ำหรับ
รายงานการประเมินความเสียหายจากการรบ
๖-๓๖.๓ ทบทวนการประเมิน ในระดับของการประชุมส่วนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๖-๓๖.๔ เฝ้าติดตามฐานข้อมูลอุบัติการณ์ และแนวโน้มการวิเคราะห์ของนายทหาร
ข่าวกรอง และนายทหารยุทธการ
226 บทที่ ๖

การพิทักษ์ก�ำลังรบ (FORCE PROTECTION)


๖-๓๗. การพิทักษ์ก�ำลังรบเป็นกระบวนการต่อเนื่องซึ่งด�ำเนินการปฏิบัติโดยผู้บังคับบัญชา
ทุกคน ไม่ค�ำนึงถึงเรื่องของภารกิจ ที่ตั้ง หรือภัยคุกคาม มันประกอบด้วยชุดเฉพาะที่ส่งออกไป
การปฏิบัติที่มีการประสานในการด�ำเนินการปกป้องก�ำลังรบ ผู้บังคับบัญชาด�ำเนินการปฏิบัติการ
พิทกั ษ์กำ� ลังรบตลอดขอบเขตการปฏิบตั กิ าร (การรบด้วยวิธรี กุ , รับ, เพือ่ เสถียรภาพ และการปฏิบตั ิ
การสนับสนุน) และครอบคลุมทั่วทั้งย่านความขัดแย้ง (Spectrum of conflict) (ยามสงบ,
ยามวิกฤติการณ์, ยามสงคราม) นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารริเริ่มพัฒนาการปฏิบัติการ
เกี่ยวกับการพิทักษ์ก�ำลังรบ ระหว่างการวางแผน แต่ด�ำเนินการปฏิบัติการเหล่านั้นอย่างจริงจังใน
ระหว่างการเตรียมการและการปฏิบัติการ การลงมือด�ำเนินการในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใน
ส่วนที่สัมพันธ์กับการพิทักษ์ก�ำลังรบรวมถึงกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารทั้งมวล
๖-๓๘. การประเมินภัยคุกคาม เริ่มขึ้นระหว่างการวางแผน, ด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่องระหว่าง
การเตรียมการ มาตรการพิทักษ์ก�ำลังรบอาจจะรวมถึง องค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ด�ำเนินไปเพื่อสนับสนุนการพิทักษ์ก�ำลังรบจะเชื่อมโยง
ไปยังการปกป้องความมีเสถียรภาพอันมั่นคง และขีดความสามารถของก�ำลังรบ การปฏิบัติการ
เหล่านี้อาจจะเป็นการปกป้องในทางรูปธรรมต่อกองบัญชาการ และทรัพยากรทางด้านการติดต่อ
สื่อสารอีกด้วย องค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่เห็นเด่นชัดที่สุดที่เกี่ยวพันกับ
การพิทักษ์ก�ำลังรบก็คือการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (OPSEC) (ดูบทที่ ๓), การ
รักษาความปลอดภัยทางกายภาพ หรือทางวัตถุ, การต่อต้านข่าวกรอง, การปฏิบัติการจิตวิทยา,
การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการประกันข้อมูลข่าวสาร (ดูบทที่ ๒)
๖-๓๙. ปัญหาบางประการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งผู้บังคับบัญชาและ
ฝ่ายอ�ำนวยการอาจจะถามขึ้นเมื่อท�ำการจัดเตรียมมาตรการพิทักษ์ก�ำลังรบคือ
๖-๓๙.๑ ลงมือจัดท�ำกฎการใช้ก�ำลังด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ROE) สนับสนุน
การพิทักษ์ก�ำลังรบด้วยหรือไม่ ?
๖-๓๙.๒ ในการปฏิบัติการหลายชาติ อะไรจะเป็นกฎการใช้ก�ำลังหลายชาติ (Multina-
tional ROE) ก่อนการเป็นปรปักษ์ และหลังจากที่ฝ่ายศัตรูลงมือในครั้งแรก ?
๖-๓๙.๓ จะท�ำการฝึกในเรื่องของขีดความสามารถหน่วยในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ที่เกิดขึ้นเมื่อใด ? ณ ที่ตั้งหน่วย หรือตามเส้นทาง ไม่ว่าจะเป็นในระหว่างการ
ปฏิบัติการ หรือในพื้นที่ปฏิบัติการ ?
๖-๓๙.๔ การฝึกสะสมขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอะไรของหน่วย
ที่เกิดขึ้น ?
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 227

๖-๓๙.๕ มีการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาทีไ่ ด้รบั การพัฒนาเพือ่ สนับสนุนการพิทกั ษ์กำ� ลังรบหรือไม่ ?


๖-๓๙.๖ มีทรัพยากรด้านการปฏิบัติการจิตวิทยาที่ได้รับการร้องขอหรือไม่ ?
การประสานงานและการติดต่อ (COORDINATION AND LIAISON)
๖-๔๐. การปฏิบตั กิ ารทีเ่ ป็นไปอย่างประสานสอดคล้องต้องการให้ทกุ หน่วยท�ำการประสานงาน
ซึง่ กันและกันอย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ตามการประสานการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเริม่ ขึน้ ระหว่าง
การวางแผน ปัจจัยน�ำเข้าในการวางแผนเพียงอย่างเดียวไม่ได้เป็นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นในการประสานสอดคล้อง
การปฏิบัติการ เรื่องหลักของการประสานงานเกิดขึ้นระหว่างการเตรียมการ มันเป็นสิ่งซึ่ง
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเฝ้าติดตามด�ำเนินงาน ท�ำการประสานงานตามทีจ่ ดั ท�ำไว้ระหว่าง
การวางแผน การแลกเปลีย่ นข่าวสารอาจจะเป็นสิง่ ส�ำคัญยิง่ ต่อความสัมฤทธิผลในการประสานงาน
และการปฏิบตั กิ าร การประสานงานอาจจะเป็นได้ทงั้ ภายในหรือภายนอก การติดต่อเป็นเครือ่ งมือ
ในการประสานงานที่ส�ำคัญ๔
การประสานงานภายใน (INTERNAL COORDINATION)
๖-๔๑. การประสานงานภายในเกิดขึ้นภายในกองบัญชาการของหน่วย นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารริเริ่มกิจกรรมในการประสานงานทั้งโดยเปิดเผย และมีนัยแฝงไว้ ทั้งในส่วนของส่วน
งานปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเอง และกับส่วนงานฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ การประสานงานจ�ำนวน
มากนี้เกิดขึ้นระหว่างการประชุมส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ส่วนปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารไม่รอคอยการประชุมเพื่อประสานงานนี้ พวกเขาเฝ้าระวังการกระท�ำที่อาจจะ
มีผลกระทบ หรือได้รับผลกระทบ โดยเป็นความรับผิดชอบตามหน้าที่ของพวกเขา พวกเขาริเริ่ม
การประสานงานในทันทีที่พวกเขาได้ตระหนักรู้ถึงสถานการณ์ซึ่งต้องการให้มีการประสานงาน
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารรายงานการประสานงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารอย่างสมบูรณ์ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการแก้ปัญหาในส่วนของการ
ประสานงานภายนอกทีเ่ กิดขึน้ โดยการเยีย่ มเยียนของผูบ้ งั คับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการและการ
รวบรวมข้อมูลข่าวสาร ระหว่างการประสานงานภายใน นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารท�ำการ
แก้ไขปัญหาและความขัดแย้งทีเ่ กิดขึน้ การปฏิบตั ดิ งั กล่าวเป็นการประกันว่าทรัพยากรทีไ่ ด้แบ่งสรร
เพือ่ สนับสนุนหน่วยทีไ่ ด้รบั มอบกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารได้มาถึงอย่างแท้จริง นายทหาร
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารใช้ตารางการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (IO execution matrix) เสมือนเป็น
เครือ่ งมือในการประเมิน ตารางดังกล่าวแสดงผลข้อมูลข่าวสารซึง่ สนับสนุนการประสานงานในการ
เฝ้าติดตาม และการประเมินค่า ตัวอย่างของการประสานงานภายในรวมถึง


ดู รส. ๖-๐
228 บทที่ ๖

๖-๔๑.๑ การแก้ปญั หาข้อขัดแย้งในผลผลิตการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาและการประชาสัมพันธ์


๖-๔๑.๒ เฝ้าติดตามความคืบหน้าค�ำตอบในความต้องการข่าวสารเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสาร
๖-๔๑.๓ เฝ้าติดตามค�ำร้องขอข้อมูลข่าวสารไปยังกองบัญชาการหน่วยเหนือจากนายทหาร
ยุทธการฝ่ายปฏิบตั กิ ารในปัจจุบนั กับข้อสังเกตทีม่ ตี อ่ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร
๖-๔๑.๔ ท�ำการตรวจสอบค�ำสัง่ การปฏิบตั ทิ างอากาศส�ำหรับภารกิจทีร่ อ้ งขอโดยนายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๖-๔๑.๕ เฝ้าติดตามการเคลื่อนย้ายและความพร้อมของหน่วยปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๖-๔๑.๖ ก�ำหนดสถานภาพหน่วยด้านอวกาศ และความเกี่ยวข้องด้านสภาพอากาศ
ในอวกาศ
๖-๔๑.๗ การมีส่วนร่วมในการสนธิเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ไว้ในกรรมวิธีเป้าหมาย
๖-๔๑.๘ การใช้รูป ๒-๑ เพื่อประสานองค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่ง
สนับสนุนซึ่งกันและกัน
๖-๔๑.๙ การใช้รูป ๒-๒ เพื่อแก้ไขปัญหาองค์ประกอบทั้งหลายซึ่งขัดแย้งซึ่งกันและกัน
๖-๔๑.๑๐ การใช้ รู ป ๒-๓ เพื่ อ ดู ว ่ า องค์ ป ระกอบของการปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสาร
สนับสนุนหรือขัดแย้งต่อกันอย่างไรกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในเรื่องของการ
ประชาสัมพันธ์และการปฏิบตั กิ ารพลเรือน-ทหาร (สมาชิกทุกส่วนในส่วนปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร : ดูผนวก ฉ)
๖-๔๒. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยังสนใจว่าการฝึกได้รับการด�ำเนินการระหว่าง
การวางแผนและการเตรียมการ สิง่ นีเ้ กิดขึน้ อย่างเฉพาะเจาะจงกับทหารใหม่ และขีดความสามารถ
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ได้รับการสนธิเข้าไว้ในการบังคับบัญชา และลีลาการรบของ
ผู้บังคับบัญชา
๖-๔๓. เจ้าหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวยการแต่ละคนมีความรับผิดชอบในระหว่างการเตรียมการส�ำหรับ
แต่ละส่วนขององค์ประกอบด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างทีเ่ กีย่ วข้องกับองค์ประกอบ
ด้านการปฏิบัติข้อมูลข่าวสารบางอย่างดังต่อไปนี้ :
๖-๔๓.๑ การสงครามอิเล็กทรอนิกส์
๖-๔๓.๑.๑ นายทหารก�ำลังพล ระบุกำ� ลังพลทีม่ คี วามช�ำนาญด้านรหัสลับ และ
ภาษาในการสนับสนุนการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 229

๖-๔๓.๑.๒ นายทหารข่าวกรอง ประสานการรวบรวมการข่าวกรองในการ


สนับสนุนต่อภารกิจการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ให้ข้อเสนอแนะ
ในเรื่องของการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ต่อต้านมาตรการเฝ้าตรวจ
ของฝ่ายตรงข้าม
๖-๔๓.๑.๓ นายทหารยุทธการ ประสานการจัดล�ำดับความเร่งด่วนส�ำหรับ
มาตรการตอบโต้ทางอิเล็กทรอนิกส์
๖-๔๓.๑.๔ นายทหารส่งก�ำลังบ�ำรุงแจกจ่ายยุทโธปกรณ์ และสิ่งอุปกรณ์ด้าน
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ เว้นการสนับสนุนต่อเรื่องการรหัส
๖-๔๓.๑.๕ นายทหารกิจการพลเรือน ประสานงานส�ำหรับการใช้บคุ ลากรของ
ชาติเจ้าบ้าน (กรณีปฏิบตั กิ ารภายนอกประเทศ) หรือในพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ
ในเรื่องเกี่ยวกับคุณสมบัติด้านภาษาพิเศษ
๖-๔๓.๑.๖ นายทหารการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ เฝ้าติดตามการเตรียมการ
ในเรื่องของหน่วยข่าวกรองทางทหารกับภารกิจด้านการสงคราม
อิเล็กทรอนิกส์
๖-๔๓.๒ การปฏิบัติการจิตวิทยา
๖-๔๓.๒.๑ นายทหารก�ำลังพล ช่วยในการบริหารจัดการ และการควบคุมใน
เรื่องของบุคลากรพลเรือนผู้ซึ่งเป็นความต้องการของหน่วยปฏิบัติ
การจิตวิทยา
๖-๔๓.๒.๒ นายทหารข่ า วกรองจั ด เตรี ย มประมาณการข่ า วกรองและการ
วิเคราะห์พื้นที่ปฏิบัติการ
๖-๔๓.๒.๓ นายทหารยุทธการ ร้องขอหน่วยปฏิบัติการจิตวิทยาเพิ่มเติมตามที่
ต้องการ
๖-๔๓.๒.๔ นายทหารส่งก�ำลังบ�ำรุง จัดเตรียมการสนับสนุนด้านการส่งก�ำลัง
บ�ำรุงการปฏิบัติการจิตวิทยา
๖-๔๓.๒.๕ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ระบุความต้องการส�ำหรับหน่วย
ปฏิบัติการจิตวิทยาเพิ่มเติมให้กับนายทหารยุทธการ
๖-๔๓.๒.๖ นายทหารปฏิบัติการจิตวิทยา จัดเตรียมอนุผนวกการปฏิบัติการ
จิตวิทยาประกอบผนวกการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร จัดเตรียม
ประมาณการปฏิบัติการจิตวิทยา
๖-๔๓.๓ การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๖-๔๓.๓.๑ นายทหารก�ำลังพล จัดหาทรัพยากรของพลเรือนเมือ่ ต้องการส�ำหรับ
ใช้เป็นกองก�ำลังรักษาความปลอดภัย
230 บทที่ ๖

๖-๔๓.๓.๒ นายทหารข่าวกรอง จัดเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับการข่าวกรองของ


ฝ่ายตรงข้าม
๖-๔๓.๓.๓ นายทหารส่งก�ำลังบ�ำรุง ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับความล่อแหลมของ
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเกี่ยวกับ การส่งก�ำลัง, การขนส่ง, การ
ซ่อมบ�ำรุง และเส้นหลักการคมนาคม
๖-๔๓.๓.๔ นายทหารกิจการพลเรือน ก�ำหนดการน�ำทรัพยากรของพลเรือนที่
น�ำมาใช้ได้ส�ำหรับใช้เหมือนเป็นก�ำลังในการรักษาความปลอดภัย
๖-๔๓.๓.๕ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ก�ำหนดองค์ประกอบข้อมูล
ข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI)
๖-๔๓.๓.๖ นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ จัดเตรียมประมาณ
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการและผนวก
๖-๔๓.๓.๗ ฝ่ายการสารวัตร ให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับมาตรการรักษาความปลอดภัย
ทางกายภาพ
๖-๔๓.๔ การลวงทางทหาร
๖-๔๓.๔.๑ นายทหารก�ำลังพล ประสานความต้องการสนับสนุนด้านก�ำลังพล
ในการน�ำไปใช้ในแผนการลวงทางทหาร
๖-๔๓.๔.๒ นายทหารข่าวกรอง ก�ำหนดขีดความสามารถด้านการเฝ้าตรวจของ
ฝ่ายตรงข้าม
๖-๔๓.๔.๓ นายทหารยุทธการ ประสานการเคลือ่ นย้ายหน่วยทีเ่ กีย่ วข้องกับการ
ลวงทางทหาร
๖-๔๓.๔.๔ นายทหารส่งก�ำลังบ�ำรุง ประสานการสนับสนุนด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุง
ในการด�ำเนินงานทางการลวงที่ก�ำหนด
๖-๔๓.๔.๕ นายทหารกิจการพลเรือน ประสานงานการสนับสนุนจากชาติเจ้าบ้าน
หรือในพื้นที่ปฏิบัติการเพื่อน�ำแผนการลวงไปใช้
๖-๔๓.๔.๖ นายทหารการลวงทางทหาร จัดเตรียม และเฝ้าติดตามการปฏิบัติ
ในเรื่องของการปฏิบัติการลวงทางทหาร
การประสานงานภายนอก (EXTERNAL COORDINATION)
๖-๔๔. การประสานงานภายนอกรวมถึงการประสานงานกับกองบัญชาการหน่วยเหนือ หรือ
ระหว่างหน่วยรอง การประสานงานนี้เกี่ยวข้องกับทรัพยากรด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
และทรัพยากร หรือก�ำลังซึ่งอาจจะไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยระหว่างการวางแผน หน่วย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 231

ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเหล่านี้อาจจะไม่มีอยู่ระหว่างการเตรียมการ หรือการปฏิบัติการ
การประสานงานภายนอกยังรวมถึงการประสานงานกับหน่วยข้างเคียงหรือองค์กรอื่น ๆ
(ในสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร, หน่วยข้างเคียงหมายถึงหน่วยใด ๆ ก็ตามที่สามารถ
ท�ำให้การปฏิบตั กิ ารของหน่วยได้รบั ผลกระทบ) การประสานงานนีเ้ ป็นสิง่ จ�ำเป็นต่อการประสาน
สอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารผ่านไปยังก�ำลังรบ ตัวอย่างในเรื่องของการประสานงาน
ภายนอกรวมถึง
๖-๔๔.๑ ประกันให้เกิดความมั่นใจในการเตรียมการผลผลิตด้านการปฏิบัติการจิตวิทยา
และการประชาสัมพันธ์ รวมถึงการอนุมัติให้เผยแพร่
๖-๔๔.๒ การประเมินคุณลักษณะด้านการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการของหน่วย
๖-๔๔.๓ สร้างความมั่นใจในการปฏิบัติการลวงทางทหารได้รับการติดตามด้วยการ
เตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติในองค์รวมทั้งหมด
๖-๔๔.๔ จัดท�ำสมมติฐานที่มีเหตุมีผลตามห้วงระยะเวลา
๖-๔๔.๕ ประกันว่าการปฏิบัติการลวงทางทหารได้รับการประสานสอดคล้องกับการลวง
ทั้งหลายของหน่วยเหนือ, หน่วยที่ต�่ำกว่าและหน่วยข้างเคียง
๖-๔๔.๖ เมือ่ เป็นไปได้นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารต้องการให้แต่ละหน่วย, ทัง้ หน่วย
ที่แยกสมทบ และส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารท�ำการ
สรุปกลับความรับผิดชอบของตัวเอง การท�ำให้ความเข้าใจอย่างมีเหตุมผี ลในเรือ่ ง
ของกิจต่าง ๆ ของพวกเขานี้ และท�ำอย่างไรแต่ละงานได้รบั การประสานสอดคล้อง
ภายในแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๖-๔๕. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคงตระหนักถึงประสิทธิผลของการปฏิบัติและงาน
ด้านการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งงานด้านการประกันข้อมูลข่าวสาร (Information
assurance) ที่น�ำมาใช้โดยนายทหารที่เกี่ยวข้องกับระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม (G-6)
การป้องกันแผน และค�ำสั่งอย่างเหมาะสม และการกลั่นกรองแก้ไขงานดังกล่าว เป็นสิ่งจ�ำเป็นยิ่ง
ระหว่างการปฏิบัติการ
๖-๔๖. การจัดตั้ง และการด�ำรงการติดต่อเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ส�ำคัญที่สุดของการประสาน
งานภายนอก๕ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารอาจจะด�ำเนินการติดต่อผ่านทางนายทหารติดต่อ
ของกองบัญชาการ เจ้าหน้าที่ของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของชุด
ติดต่อการจัดตัง้ การติดต่อแต่เนิน่ ๆ ในการวางแผนสนับสนุนการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ


ดู รส.๖-๐
232 บทที่ ๖

๖-๔๗. การติดต่อทีเ่ หมาะสมสามารถประสบความส�ำเร็จผ่านการติดต่อทางก�ำลังพลกับนายทหาร


ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ สิง่ นีไ้ ด้รบั ความส�ำเร็จผ่านการแลกเปลีย่ นก�ำลังพลเจ้าหน้าทีต่ ดิ ต่อ
โดยทางข้อตกลงเกีย่ วกับการสนับสนุนซึง่ กันและกันระหว่างหน่วยข้างเคียง หรือทางการผสมผสาน
เครื่องมือทั้งหลายเหล่านี้ เมื่อเป็นไปได้การติดต่อควรจะเป็นการตอบสนองซึ่งกันและกันระหว่าง
หน่วยเหนือ, หน่วยรอง และหน่วยข้างเคียง การติดต่อต้องได้มกี ารตอบสนองซึง่ กันและกันระหว่าง
ส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร เมื่อกองก�ำลังทหารก�ำลังปฏิบัติการกับเพื่อนร่วมงานนานาชาติ หรือ
ทางหน่วยข้างเคียงไปยังเพื่อนร่วมงานนานาชาติ
๖-๔๘. การติดต่อยังจะต้องมีภารกิจการพิทกั ษ์กำ� ลังรบ ณ ทีท่ กี่ ำ� ลังรักษาความปลอดภัยของชาติ
เจ้าบ้าน หรือในพื้นที่ปฏิบัติการซึ่งยังคงรักษาขีดความสามารถทางการปฏิบัติการบางประการ
เอาไว้ การติดต่อเป็นความส�ำคัญยิง่ ในการประสานการปฏิบตั ิ ในบางกรณีอาจจะเป็นความส�ำคัญใน
การประสานกับกองก�ำลังรักษาความปลอดภัยชาติเจ้าบ้าน หรือก�ำลังในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารมากกว่ากับ
กองก�ำลังของกองทัพบก ในกรณีใกล้เคียงทั้งหมดนี้ การติดต่อก่อให้เกิดข่าวกรองและข่าวสารที่
เกี่ยวข้องเกี่ยวกับสภาวการณ์ในยุทธบริเวณ
การซักซ้อม (REHEARSALS)
๖-๔๙. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมีส่วนร่วมในการซักซ้อมของหน่วยเพื่อประกันว่า
การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารได้รบั การประสานสอดคล้องกับการปฏิบตั กิ ารทัง้ มวล และเพือ่ ระบุ
ปัญหาที่เป็นไปได้ระหว่างการปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอาจจะด�ำเนินการ
ซักซ้อมล่วงหน้าในเรื่องของงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและลงมือปฏิบัติเพื่อประกันว่า
การประสานงานและการประสานสอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยที่ก�ำหนด
พวกมัน ก่อนการมีส่วนร่วมในการซักซ้อม นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทบทวนแผน หรือ
ค�ำสั่งของหน่วยบัญชาการที่เป็นหน่วยรองและหน่วยบัญชาการที่ให้การสนับสนุน (ดูย่อหน้า ๖-๘)
๖-๕๐. ผูบ้ งั คับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการใช้รปู แบบการซักซ้อมทีเ่ รียกว่า ร๊อกดริลล์ (rock drill)
ร๊อกดริลล์เป็นการซักซ้อมผูน้ ำ� หน่วย และฝ่ายอ�ำนวยการซึง่ ปกติใช้โต๊ะทรายหรือเครือ่ งช่วยฝึก
ทีค่ ล้าย ๆ กันจุดประสงค์พนื้ ฐานของมันคือการประสานสอดคล้องการปฏิบตั ใิ นส่วนของระบบ
ปฏิบัติการสนามรบทั้งมวล การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้รับการบูรณาการอย่างเต็มเปี่ยม
ในการท�ำการซักซ้อมด้วย ร๊อกดริลล์ และการซักซ้อมทางด้านฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ การท�ำเช่นนี้
ประกันว่าความรูท้ เี่ กีย่ วข้องทัง้ มวลเกีย่ วกับงานด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารของพวกเขา และ
ความเข้าใจว่าการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารน่าจะกระทบกระเทือนความรับผิดชอบทางพันธกิจของ
พวกเขาอย่างไร การซักซ้อมยังพิสจู น์ถงึ การใช้เวลาในการปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารซึ่งสัมพันธ์กับการปฏิบัติการทั้งมวล
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 233

การจัดเฉพาะกิจ และการเคลื่อนย้าย (TASK ORGANIZATION AND MOVEMENTS)


๖-๕๑. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประสานกับนายทหารยุทธการส�ำหรับการเคลือ่ นย้าย
หน่วยและทรัพยากรด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระหว่างการเตรียมการ นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารสนธิการเคลื่อนย้ายหน่วยที่ได้รับมอบกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
กับมาตรการรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการเพื่อประกันว่าจะไม่เป็นการเปิดเผยเจตนาใด ๆ
ต่อหน่วยต่าง ๆ ที่มีขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารซึ่งเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
การลวงทางทหารและยึดมั่นอย่างหนักแน่นในแผนการลวงทางทหารเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาด
จนเป็นเหตุให้หน่วยตกอยู่ในอันตราย สิ่งนี้เป็นการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องมาจากการวางแผน
๖-๕๒. หน่วยต่าง ๆ ไม่สามารถได้รับการก�ำหนดภารกิจให้สนับสนุนวัตถุประสงค์ด้านการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และได้รับมอบกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้โดยปราศจาก
การรับมอบขีดความสามารถในตอนเริ่มแรกที่จ�ำเป็นต่อการปฏิบัติในสิ่งเหล่านั้น ตัวอย่างเช่น
กรมด�ำเนินกลยุทธ์ของกองพลไม่มีส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร กรมจึงต้องการการเพิ่มเติมส่วน
ดังกล่าว ถ้ากรมได้รับการแยก และก�ำหนดภารกิจเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ระเบียบ
ปฏิบัติหนึ่งในการเอาชนะการขาดแคลนส่วนของหน่วยงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
คือการสมทบเจ้าหน้าที่ฝ่ายอ�ำนวยการจากส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกองพลไปยัง บก.กรม
เพื่อประสานสอดคล้ององค์ประกอบด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การตรวจสอบและการตรวจสอบในรายละเอียดก่อนการปฏิบัติการ
(PREOPERATION CHECKS AND INSPECTIONS)
๖-๕๓. เช่นเดียวกับหน่วยอืน่ ๆ หน่วยทีไ่ ด้รบั มอบกิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารท�ำการ
ตรวจสอบ และตรวจสอบในรายละเอียดให้แล้วเสร็จก่อนการปฏิบตั กิ าร บทบาทนายทหารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารคือการประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ ซึ่งประกันว่าทรัพยากรได้จัดเตรียมไว้
ตามที่จัดล�ำดับความเร่งด่วนไว้โดยผู้บังคับบัญชา การเตรียมการรวมถึงการตรวจสอบ และการ
ตรวจสอบในรายละเอียดในการฝึกของทหาร และระบบที่น�ำมาใช้ในการปฏิบัติภารกิจ ระบบการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งมวลได้รับการตรวจสอบโดยปราศจากการเปิดเผยการตรวจสอบ
เหล่านี้แก่ฝ่ายตรงข้าม
การเตรียมการด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุง (LOGISTIC PREPARATIONS)
๖-๕๔. การส่งก�ำลังเพิม่ เติม, การซ่อมบ�ำรุง และการส่งก�ำลังสิง่ อุปกรณ์ หรือยุทโธปกรณ์พเิ ศษ
ทีจ่ ะส่งให้ หรือมีอยูใ่ นหน่วยทีม่ ขี ดี ความสามารถด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเกิดขึน้ ระหว่าง
การเตรียมการ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารประสานงานกับนายทหารส่งก�ำลังบ�ำรุงประกัน
234 บทที่ ๖

ว่าหน่วยทีไ่ ด้รบั งานด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารได้รบั การสนับสนุนทีจ่ ำ� เป็น นายทหารปฏิบตั ิ


การข้อมูลข่าวสารประกันว่าการเตรียมการเหล่านี้ไม่ได้ละเมิดมาตรการรักษาความปลอดภัย
การปฏิบัติการ (OPSEC)
การสนธิในส่วนของทหารใหม่กบั หน่วยทีม่ ขี ดี ความสามารถในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
(INTEGRATION OF NEW SOLDIERS AND IO - CAPABLE UNITS)
๖-๕๕. นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารหน่วยทีม่ คี วามสามารถด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ท�ำสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยที่ได้รับการสนธิเข้าไว้ในหน่วยบัญชาการในลักษณะซึ่งอ�ำนวยให้
ขีดความสามารถดังกล่าวสามารถสนับสนุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบนีร้ วมถึงการสนธิ
การสนับสนุนใด ๆ ก็ตามที่ได้รับมาจากหน่วยเหนือ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประกันว่า
หน่วยที่มีขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้รับการเตรียมการอย่างดีเพื่อด�ำเนิน
การในงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของพวกเขา
สรุป
๖-๕๖. การเตรียมการเริม่ ขึน้ ระหว่างการวางแผน และต่อเนือ่ งตลอดการปฏิบตั กิ าร การเตรียมการ
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารยกระดับความพร้อมของหน่วยที่ได้รับมอบงานด้านปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร การเตรียมการรวมถึงแต่ไม่จ�ำกัดต่อการกลั่นกรองแก้ไขแผนหรือค�ำสั่ง การ
พิทกั ษ์กำ� ลังรบ การประสานงานและการติดต่อ การซักซ้อมต่าง ๆ (หน่วยและการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารเฉพาะ) การจัดเฉพาะกิจ และการปรับก�ำลัง และเคลื่อนย้ายหน่วยที่มีขีดความสามารถ
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การเตรียมการผสมผสานการตรวจสอบ และการตรวจสอบใน
รายละเอียดก่อนการปฏิบัติการของหน่วยด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร, การเตรียมการ
ด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุง และการสนธิในส่วนของทหารใหม่กับหน่วยที่มีขีดความสามารถด้านการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเข้าไว้ในภารกิจของหน่วยจนกระทัง่ มีการสัง่ ใช้โดยผูบ้ งั คับบัญชา การเตรียม
การยังเกี่ยวข้องกับการทบทวนแผน และค�ำสั่งต่าง ๆ ของหน่วยรอง และหน่วยให้การสนับสนุนใน
การระบุขอ้ ขัดแย้งต่าง ๆ และเพือ่ ประกันให้เกิดการประสานสอดคล้องการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
การซักซ้อมเป็นส่วนเสนอให้นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารมีโอกาสในการระบุ และแก้ไขปัญหา
เรือ่ งราวของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารก่อนการปฏิบตั ิ บ่อยครัง้ ทีก่ ารเตรียมการส�ำหรับการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารต้องการเวลาที่ยาวนานกว่าการเตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการในแบบอื่น ๆ
บทที่ ๗
การน�ำการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารไปปฏิบัติ
(Executing Information Operations)

ความซับซ้อนของการน�ำการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO) ไปปฏิบัติเกิดขึ้นมาจาก


องค์ประกอบทีม่ อี ยูอ่ ย่างหลากหลายในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ด้วยขีดความสามารถ และ
ความต้องการทางยุทธการทีห่ ลากหลายขององค์ประกอบเหล่านัน้ ความแปรปรวนในยามทีเ่ กีย่ วข้อง
กับองค์ประกอบข้อมูลข่าวสาร ที่ต้องการเพื่อบรรลุผลส�ำเร็จ และการประสานงานที่ต้องการ
ระหว่างระดับชัน้ ของหน่วยบัญชาการจะเพิม่ ความสลับซับซ้อนมากขึน้ การน�ำการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารไปปฏิบตั อิ ย่างดีเป็นผลให้เกิดความสับสน และเสือ่ มขวัญแก่ผนู้ ำ
� และทหารของฝ่ายตรงข้าม
ซ�้ำยังเป็นการโดดเดี่ยวหน่วยต่าง ๆ ของฝ่ายตรงข้ามที่ขาดขีดความสามารถในการด�ำรงค์ความ
พยายามที่ประสานกันในเชิงจิตวิทยา และเชิงอิเล็กทรอนิกส์ บ่อยครั้งที่ผู้บังคับบัญชาฝ่ายตรงข้าม
ได้รับความเสียหายจากหน่วยรองของพวกเขา และการขาดพลังในการที่จะตอบโต้ต่อกองก�ำลัง
ทัพบก ณ จุดแตกหัก (decisive point) บทนี้กล่าวถึงประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการน�ำการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารไปใช้ ทั้งในด้านการประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ, การประเมินการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร และข้อพิจารณาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร (IO - related considerations)
การประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการ (STAFF COORDINATION)
๗-๑. ความท้าทายที่เผชิญหน้ากับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) คือ การที่จะท�ำ
การประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างไร และจะท�ำการปรับปรุงการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเสมือนเป็นการปฏิบัติการหนึ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างไร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) สนธิองค์ประกอบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO elements) อย่างพร้อมเพรียงกัน
และให้การช่วยเหลือนายทหารยุทธการในการประสานสอดคล้องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับ
การปฏิบัติการทั้งมวล
๗-๒. การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการในสนามรบด้านการข่าวกรองใน
สามเหตุผลด้วยกันคือ ประการแรก การข่าวกรองก่อให้เกิดการประเมินเกี่ยวกับการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อฝ่ายตรงข้าม และผู้อื่น และในเรื่องของปฏิกิริยาของพวกเขาในการ
ตอบโต้ต่อผลกระทบเหล่านี้ ประการที่สอง การข่าวกรองก่อให้เกิดการประเมินค่าตรงเวลาจริง
(Real - time) ในเรื่องที่ว่าฝ่ายตรงข้าม และผู้อื่นก�ำลังพยายามที่จะลดประสิทธิภาพในการบังคับ
236 บทที่ ๗

บัญชาและการควบคุม (C2) ของฝ่ายเราอย่างไร ประการที่สาม การข่าวกรองปฏิบัติด้วยหลาย


หน่วยของกองทัพบกทั้งจากเครื่องตรวจจับทางอากาศ และฐานทางภาคพื้นดินตลอดจนเครื่องมือ
ในการกวนสัญญาณซึ่งแสดงบทบาทส�ำคัญยิ่งในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งเชิงรุก และเชิงรับ
นอกจากนั้นยังเป็นการแปลงข้อมูลข่าวสารที่รวบรวมได้ไปเป็นข่าวกรองอีกด้วย
๗-๓. ความต้องการส�ำหรับการประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการในการตอบสนองต่อองค์ประกอบ
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเกิดความเข้มข้นขึ้นระหว่างการปฏิบัติการที่ก้าวหน้าไป และ
ความผันแปรจากค�ำสั่งยุทธการที่เพิ่มขึ้น ธรรมชาติของการกระจายศูนย์กลางในการด�ำเนินการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารผสมผสานเข้ากับระดับทางการบังคับบัญชาที่เพิ่มพูนขึ้นทั้งในความ
เกี่ยวข้อง และการแบ่งมอบความรับผิดชอบในการเฝ้าติดตามข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นระหว่างที่
บัญชาการ (CPs) ของหน่วยต่าง ๆ ตลอดจนความต้องการของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) ที่มีเพิ่มขึ้น
๗-๔. กองบัญชาการต่าง ๆ เฝ้าติดตามผลกระทบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในส่วน
ของกองบัญชาการเอง และประสานกิจกรรมต่าง ๆ ซึง่ อาจจะกระทบโดยตรงต่อการปฏิบตั กิ าร
ของผู้บังคับบัญชาท่านอื่น ในการกระท�ำดังกล่าวนี้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗)
จัดตั้งสายการเชื่อมต่อกับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ของกองบัญชาการข้างเคียง
และหน่วยเหนือ เพื่อให้ได้รับการประเมินผลกระทบต่าง ๆ ในเวลาที่ใกล้เคียงกับเหตุการณ์จริง
ด้วยข้อมูลข่าวสารนี้เอง นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) จะติดตามว่าผลกระทบ
ต่าง ๆ ของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในองค์กรอืน่ ๆ กระทบต่อการปฏิบตั กิ ารทัง้ มวลของหน่วย
บัญชาการอย่างไร
๗-๕. การด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเป็นสิง่ ทีส่ ลับซับซ้อนอย่างมาก เพราะเนือ่ งมาจากที่
บัญชาการทางยุทธวิธี (TAC), ทีบ่ ญ
ั ชาการหลัก และทีบ่ ญ ั ชาการหลัง เฝ้าติดตามแต่ละส่วนของการ
ปฏิบัติการที่แตกต่างกัน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่องระหว่าง นายทหารปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ของหน่วยในระดับต่าง ๆ และผู้รับผิดชอบอื่น ๆ ในการควบคุมการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร ณ ที่บัญชาการเหล่านี้ที่ได้จัดตั้งขึ้น
๗-๖. ที่บัญชาการยุทธวิธีสั่งการด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารและปรับภารกิจตามที่
ต้องการ ส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO cell) ในที่บัญชาการยุทธวิธี จัดเตรียมการประเมิน
เบื้องต้นในเรื่องของประสิทธิผลการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (Io effectiveness) โดยเป็นการ
๗-๖.๑ รักษาส่วนของภาพการยุทธ์ร่วมกัน (common operational picture: COP)
เกีย่ วกับส่วนของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารในปัจจุบนั
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 237

๗-๖.๒ รักษาภาพของระบบการบังคับบัญชา และการควบคุมของฝ่ายตรงข้าม


๗-๖.๓ รักษาสถานภาพความต้องการข้อมูลข่าวสาร (Information requirement: IR)
ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๗-๖.๔ ประสานการเตรียมการ และด�ำเนินงานในเรื่องการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับ
การด�ำเนินกลยุทธ์ และการยิง
๗-๖.๕ เสนอแนะการปรับปรุงการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
๗-๖.๖ ติดตามหน่วยปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และให้ขอ้ เสนอแนะการก�ำหนดทีต่ งั้ ของหน่วย
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใหม่ตามที่ต้องการ
๗-๖.๗ ติดตามเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารด้วยการประสานกับ
นายทหารการข่าวกรอง
๗-๖.๘ ระบุรายชื่อเป้าหมายในการโจมตี
๗-๗. ทีบ่ ญ
ั ชาการหลักวางแผน, ประสานงาน และสนธิการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร โดยเป็นการ
๗-๗.๑ สร้างและรักษาประเด็นการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในส่วนของภาพการยุทธ์รว่ มกัน
(COP)
๗-๗.๒ รักษาประมาณการข้อมูลข่าวสาร (IO estimate)
๗-๗.๓ รวมค�ำตอบต่าง ๆ ที่มีต่อความต้องการข้อมูลข่าวสาร (IR) ในการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารเข้าไว้ในประมาณการข้อมูลข่าวสาร
๗-๗.๔ รักษาค�ำสั่งการรบเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๗-๗.๕ แก้ไขความขัดแย้งเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งภายในและภายนอก
๗-๗.๖ ร้องขอ/ประสานการสนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับระบบปฏิบัติการ
สนามรบอื่น ๆ, องค์กรภายนอก, กองบัญชาการหน่วยเหนือ และก�ำลังเพิ่มเติมที่
ให้การสนับสนุน
๗-๗.๗ ระบุวัตถุประสงค์การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในอนาคตบนพื้นฐานความส�ำเร็จ
หรือความล้มเหลวของการปฏิบัติการในปัจจุบัน
๗-๘. ที่บัญชาการหลัง ตอบค�ำถามความต้องการข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารซึ่งที่บัญชาการหลักและที่บัญชาการทางยุทธวิธีไม่สามารถตอบค�ำถามนี้ได้ เมื่อจ�ำเป็น
ที่บัญชาการหลังรับการสนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อให้บรรลุความต้องการพิเศษต่าง ๆ หรือที่ขาดแคลน
ยิ่งไปกว่านั้นผู้แทนเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ ทก.หลังยังด�ำเนินการต่อไปนี้
๗-๘.๑ ให้ค�ำแนะน�ำแก่ ฝสธ.ของ ทก.หลังเกี่ยวกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
238 บทที่ ๗

๗-๘.๒ ประสานการสนับสนุนด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารกับผู้แทนองค์กรภายนอก,
กองบัญชาการหน่วยเหนือ, และกองก�ำลังทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีด่ า้ นการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารที่มาเพิ่มเติม (augmenting IO forces)1
๗-๘.๓ สนธิแหล่งข้อมูลข่าวสารระดับชาติ และที่อยู่นอกยุทธบริเวณเข้าไว้ในกรรมวิธี
เป้าหมาย (targeting process)
๗-๙. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ท�ำรายงานจากส่วนปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ในเรื่องกิจและการรักษา และเสนอการรายงานเกี่ยวกับสถานะด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การแลกเปลีย่ นในกิจทีก่ ระท�ำซึง่ ได้มกี ารวางแผน และประสานงานโดยนายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร (สธ.๗) และได้รับการแพร่กระจายออกไปโดยค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ (FRAGO) จากนายทหาร
ยุทธการ (ดูผนวก ช)
การประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารระหว่างการปฏิบัติการ
(ASSESING INFORMATION OPERATIONS DURING EXECUTION)
๗-๑๐. การประเมิน (Assesment) เป็นการเฝ้าติดตามสถานการณ์ปจั จุบนั อย่างต่อเนือ่ ง และ
ด�ำเนินการปฏิบัติการไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง ตลอดทั่วทั้งการวางแผน, การเตรียมการ และ
การปฏิบตั แิ ละการประเมินค่าตามเกณฑ์ชวี้ ดั ความส�ำเร็จเพือ่ จัดท�ำข้อตกลงใจ และท�ำการปรับปรุง
(FM 3-0)
๗-๑๑. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ได้รับข้อมูลข่าวสารจากทุก ๆ ที่บัญชาการ
นายทหารการข่าวกรอง และกองบัญชาการหน่วยเหนือ เพือ่ ด�ำรงค์การประเมินการปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสารอย่างต่อเนื่องในประมาณการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (ดูผนวก ค) วัตถุประสงค์เบื้องต้น
ของการประเมินคือ เพื่อก�ำหนดว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้นมีผลกระทบตามที่ต้องการ
หรือไม่ ขณะที่สถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) และ
นายทหารยุทธการต้องท�ำให้มั่นใจว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารนั้นยังมีการประสานสอดคล้อง
กับการปฏิบัติการทั้งมวลอย่างสมบูรณ์แบบ
๗-๑๒. การประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO assessment) ได้มาจากการเฝ้าติดตาม
การปฏิบัติกิจต่าง ๆ ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร การประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เป็นการประเมินค่าประสิทธิผลของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก และการปฏิบัติการข้อมูล

ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร หน่วยเหนืออาจจะมอบภารกิจให้หน่วยใดหน่วยหนึ่งท�ำหน้าที่เฉพาะด้านการ

ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเป็นการเฉพาะได้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 239

ข่าวสารเชิงรับของฝ่ายเรา (Offensive IO and Defensive IO) การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


เชิงรุกท�ำการประเมินค่าในรูปแบบของผลกระทบที่มีต่อระบบควบคุมบังคับบัญชาของฝ่าย
ตรงข้าม และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร (Information environment) การปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสารเชิงรับท�ำการประเมินในรูปแบบของการที่จะตอบโต้การปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารของฝ่ายตรงข้ามอย่างไรดี การประเมินจะช่วยให้นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) ท�ำการตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่งในการให้ข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่องด้วยการระบุเฉพาะ
ลงไปในค�ำสั่งยุทธการ หรือท�ำการเปลี่ยนแผนการ (ปกติกระท�ำด้วยค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ) เพื่อให้
เหมาะสมกับสถานการณ์
๗-๑๓. การประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเกิดขึ้นระหว่างการวางแผน ณ เวลาเดียวกัน
ผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ายอ�ำนวยการท�ำการก�ำหนดกิจต่าง ๆ ในการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีจ่ ะท�ำ
การประเมิน และเกณฑ์ชี้วัดความส�ำเร็จ ตลอดจนความหมาย (means) ในส่วนของการรับข้อมูล
ข่าวสารที่ต้องการ ระหว่างการผลิตค�ำสั่ง ฝ่ายวางแผนของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) ใช้ข้อมูลข่าวสารนี้ในการจัดเตรียมตารางประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO as-
sessment metric) (ดูรูป ข-๒๖) ระหว่างการปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) ใช้ตารางการปฏิบัติการเพื่อควบคุมการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และตารางการประเมิน
เพื่อก�ำหนดว่าเมื่อใด และที่ใดที่จะรับข้อมูลข่าวสารมาท�ำการประเมินกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร มาตรการในเรื่องของการด�ำเนินการต่าง ๆ ในคู่มือราชการสนาม ๗-๑๕
ว่าด้วยรายการกิจส�ำคัญของกองทัพบก อาจจะน�ำมาใช้ได้ในฐานะเป็นพื้นฐานส�ำหรับเกณฑ์ชี้วัด
ความส�ำเร็จส�ำหรับกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การเฝ้าติดตามการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(MONITORING INFORMATION OPERATIONS)
๗-๑๔. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) เฝ้าติดตามการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เพื่อพิจารณาความก้าวหน้าในการบรรลุวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ทันทีที่
การปฏิบัติเริ่มขึ้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) เฝ้าติดตามสถานการณ์ฝ่ายตรงข้าม
และฝ่ายเราเพื่อติดตามดูความส�ำเร็จของกิจด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ท�ำการพิจารณา
ผลกระทบของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในระหว่างแต่ละห้วงของการปฏิบัติการ และค้นหา
ตลอดจนติดตามผลของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ตามมาโดยไม่ได้ตั้งใจ
๗-๑๕. การเฝ้าติดตามการปฏิบัติการที่อยู่ในส่วนของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับจะมี
การปฏิบัติ ณ ที่บัญชาการหลักเนื่องจากว่ามันเป็นจุดเพ่งเล็งหลักส�ำหรับการวิเคราะห์ และ
การผลิตข่าวกรอง และเนื่องมาจากเป็นสถานที่ในการควบคุมบังคับบัญชาของผู้บังคับบัญชา
240 บทที่ ๗

ที่ท�ำการเฝ้าติดตามสถานการณ์อยู่ที่นั้น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ท�ำงานอย่าง


ใกล้ ชิ ด กั บ นายทหารการข่ า วกรอง และส่ ว นผู ้ แ ทนการปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารในการจั ด
เตรียมการประเมินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม และด�ำรงการรายงานของ
เสนาธิการ ที่บัญชาการหลักเป็นที่ที่การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุก และเชิงรับจะได้รับการ
ทบทวนอย่างสมบูรณ์ และเป็นทีท่ ปี่ ระสิทธิผลของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจะได้รบั การประเมิน
ด้วยเช่นกัน
๗-๑๖. นายทหารการข่าวกรอง และนายทหารยุทธการ พร้อมด้วยผู้แทนหน่วยงานยิงสนับสนุน
ของหน่วยท�ำการเฝ้าติดตามการปฏิบัติต่าง ๆ ในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรุกร่วมกับ
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ในทีบ่ ญั ชาการทางยุทธวิธี (TAC CP) และ ณ ทีบ่ ญ ั ชาการ
หลัก (main CP) นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) มีความเกี่ยวข้องกับการโจมตีของ
ฝ่ายตรงข้ามต่อปมควบคุมบังคับบัญชาด้วย ตัวกวนสัญญาณบนฐานภาคพื้นดินและในอากาศ,
การยิงสนับสนุน, เฮลิคอปเตอร์โจมตี, และอากาศยานทางยุทธวิธี ภายหลังการวางแผนล่วงหน้าใน
ส่วนของเป้าหมายคุม้ ค่าทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (IO - related high - payoff
targets) ทีจ่ ะต้องถูกโจมตี ประสิทธิผลในการโจมตีทจี่ ะได้รบั การประเมิน การสนับสนุนการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารอย่างมีประสิทธิภาพในการปฏิบตั กิ าร ณ ปัจจุบนั ขึน้ อยูก่ บั ว่าทีบ่ ญ
ั ชาการยุทธวิธี
สามารถด�ำเนินการต่อวงรอบเป้าหมายได้รวดเร็วเพียงไรเพื่อโจมตีเป้าหมาย ในส่วนของโอกาส
ผูแ้ ทนเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารในทีบ่ ญั ชาการยุทธวิธเี ฝ้าติดตามประสิทธิผลการติดต่อ
สื่อสารของฝ่ายเรา และให้ข้อเสนอแนะการปฏิบัติเพื่อด�ำรง หรือปรับปรุงปมการติดต่อสื่อสาร
และการเชือ่ มต่อ ผูแ้ ทนนายทหารยุทธการในทีบ่ ญ ั ชาการยุทธวิธเี ก็บรักษารายงานของทีบ่ ญั ชาการ
หลักในส่วนของการปฏิบัติการ ณ ปัจจุบัน ซึ่งรวมถึงการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
๗-๑๗. การเฝ้าติดตามปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ณ ที่บัญชาการหลังเพ่งประเด็นหลัก ๆ ไปที่
การด�ำรงเสรีในการเคลื่อนย้ายและการปฏิบัติการที่ปราศจากการขัดขวางในพื้นที่ส่วนหลัง
จากมุมมองของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร ทีบ่ ญ
ั ชาการหลังเพ่งเล็งต่อก�ำลังรบ และองค์กรต่าง ๆ
ซึ่งสามารถที่จะรบกวนขัดขวางการบังคับบัญชา และการควบคุมในส่วนของการปฏิบัติการด�ำรง
สภาพ (Sustaining operations) และการไหลเวียนของหน่วยต่าง ๆ เข้าไปสู่พื้นที่ข้างหน้า
ส่วนใหญ่ความสนใจของที่บัญชาการหลังเพ่งเล็งไปที่การลดภัยคุกคามจากก�ำลังของผู้ก่อการร้าย
หรือการปฏิบัติการพิเศษลดลง และการด�ำรงสภาพโครงสร้างพื้นฐานของฝ่ายพลเรือน ตลอดจน
การให้การสนับสนุนต่อก�ำลังรบที่เข้าท�ำการรบ ปกติการสนับสนุนปฏิบัติการของหน่วยบัญชาการ
และฝ่ายอ�ำนวยการด้านการข่าวกรองท�ำการเฝ้าติดตาม และสั่งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารใน
ที่บัญชาการหลัง พร้อมทั้งเรื่องของการวางแผน และท�ำกิจกรรมเพื่อรายงานต่อที่บัญชาการหลัก
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 241

๗-๑๘. เพือ่ จัดระเบียบ และแสดงการปฏิบตั เิ กีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบตั ิ


การข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ใช้เครื่องมือฝ่ายอ�ำนวยการ และเครื่องช่วยต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
เครื่องช่วยบางอย่างที่มีประโยชน์อย่างเต็มเปี่ยมคือ
๗-๑๘.๑ ตารางการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO execution matrix) ตารางการ
ปฏิบตั ทิ นี่ ำ� มาใช้ได้โดยตรงทัง้ จากผนวกการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารหรือได้จาก
การอนุมานบันทึกกิจเฉพาะต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในปัจจุบัน
และในระยะใกล้เท่านั้น โดยอาจจะใช้ได้ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานเกี่ยวกับความ
ยุ่งยากซับซ้อนของการปฏิบัติการ ตารางการปฏิบัติถูกน�ำไปใช้โดยนายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) เพื่อการเฝ้าติดตามความก้าวหน้า และผลลัพธ์
ตามวัตถุประสงค์ และกิจต่าง ๆ เกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร และท�ำการ
รักษาการด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารทีเ่ พ่งเล็งต่อการสนับสนุนการปฏิบตั ิ
การในภาพรวม (ดูรูป ง-๖; รูป ง-๘)
๗-๑๘.๒ แผ่นภาพสนับสนุนการตกลงใจ (Decision support template) แผ่นภาพ
สนับสนุนการตกลงใจจัดท�ำโดย นายทหารยุทธการ และน�ำไปใช้โดยนายทหาร
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) เพือ่ เฝ้าติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสารในส่วนเกีย่ วข้องกับจุดตัดสินใจ และการปฏิบตั ทิ แี่ ตกออกไปหรือ
ที่ตามมา (branch or sequels)
๗-๑๘.๓ รายการเป้าหมายคุม้ ค่า (High - payoff target list) นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูล
ข่าวสาร (สธ.๗) รักษารายการหรือแผ่นภาพ (ตัวอย่างเช่น ไดอะแกรมความ
เชือ่ มโยงและปมการติดต่อ) เพือ่ ติดตามสถานะของเป้าหมายให้คา่ สูงทีเ่ กีย่ วข้อง
กับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารที่ระบุระหว่างการวางแผน
๗-๑๘.๔ รายการหน่วยส�ำคัญยิ่ง (Critical assets list) นายทหารปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสาร (สธ.๗) ใช้รายการหน่วยส�ำคัญยิ่งเพื่อติดตามสถานะข้อมูลข่าวสารที่
ส�ำคัญยิง่ ของฝ่ายเรา และสถานะของระบบส�ำคัญยิง่ ทีใ่ ห้การสนับสนุนการปฏิบตั ิ
การข้อมูล ตัวอย่างเช่น ระบบการสงครามอิเล็กทรอนิกส์, หน่วยปฏิบัติการ
จิตวิทยา, และหน่วยโจมตีในทางลึก
242 บทที่ ๗

การประเมินค่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(EVALUATING INFORMATION OPERATIONS)
๗-๑๙. ระหว่างปฏิบัติการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ท�ำงานร่วมกับนายทหาร
การข่าวกรองและนายทหารยุทธการ๒ เพื่อรับข้อมูลข่าวสารที่จ�ำเป็นต่อการก�ำหนดผลกระทบ
ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารในรายบุคคลและส่วนรวม
๗-๒๐. การประเมินค่าไม่เพียงแต่เป็นการประมาณการประสิทธิผลของการปฏิบัติตามกิจที่
ได้รบั เท่านัน้ แต่ยงั เป็นการประเมินค่าผลกระทบความพยายามด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ทัง้ มวล บุคคลอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นกุญแจส�ำคัญในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร, ตลอดจนการปฏิบตั กิ ารของฝ่ายเรา
อีกด้วย ทางเดียวที่จะประเมินค่าการสนับสนุนการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อการปฏิบัติการ
ทั้ ง มวลคื อ ท� ำ การเปรี ย บเที ย บความก้ า วหน้ า ของการปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารเที ย บกั บ
วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO objectives) สิ่งนี้สามารถกระท�ำส�ำเร็จได้
โดยการยืนยันการปฏิบัติในส่วนของกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และเฝ้าติดตาม
การรายงานเกี่ ย วกั บ ปฏิ กิ ริ ย าตอบโต้ ข องฝ่ า ยตรงข้ า มเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ประสิ ท ธิ ผ ลของแต่ ล ะกิ จ
การวิเคราะห์ในเรื่องของผลกระทบในรายบุคคลเหล่านี้อาจจะช่วยก�ำหนดผลกระทบในภาพรวม
ของกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งหมดที่มีผลต่อการปฏิบัติการของฝ่ายตรงข้าม
มันช่วยให้การประเมินการกระท�ำของฝ่ายตรงข้ามตามที่ได้มองเห็นระหว่างการวางแผนหรือไม่
นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) อาจจะใช้ตารางการประเมินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
เพื่อจับประเด็น และบันทึกการประเมินข้อมูลข่าวสาร (ดูรูป ข-๒๖,)
๗-๒๑. บนพื้นฐานของการประเมินค่าผลกระทบในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหาร
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ท�ำการปรับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารให้มุ่งขยายผล
ความล่อแหลมของฝ่ายตรงข้ามในอนาคต สัง่ การในการปฏิบตั ใิ หม่ทยี่ นิ ยอมให้เกิดผลกระทบบ้าง
หรือยุตกิ ารกระท�ำต่าง ๆ ภายหลังจากทีพ่ วกเขาได้บรรลุผลลัพธ์ทตี่ อ้ งการ นายทหารปฏิบตั กิ าร
ข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) เก็บรักษาเอกสารการรายงานของเสนาธิการและผู้บังคับบัญชาในเรื่องของ
ผลกระทบต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO effects) และท�ำอย่างไรที่สิ่งเหล่านี้จะมี
ผลกระทบกับการปฏิบัติการของฝ่ายเรา และฝ่ายตรงข้าม บางสิ่งบางอย่างของการเปลี่ยนแปลงที่
เป็นไปได้ต่อการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารคือ
๗-๒๑.๑ การโจมตีเ ป้าหมายหรือด�ำ รงค์ ก ารปกป้ อ งทรั พ ยากรส� ำ คั ญ เพื่ อ ประกั นถึ ง
ผลกระทบที่ต้องการ

ในกองทัพบกสหรัฐฯ มีการจัดส่วนวิเคราะห์ และควบคุม (Analysis and control element: ACE)
ร่วมในการปฏิบัติการด้วย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 243

๗-๒๑.๒ การปฏิบัติที่แตกออกไปหรือการปฏิบัติที่ตามมา (branch or sequel)


การแสวงข้อตกลงใจระหว่างการปฏิบัติการ
(DECISIONMAKING DURING EXECUTION)
๗-๒๒. การแสวงข้อตกลงใจระหว่างการปฏิบัติการประกอบด้วย
๗-๒๒.๑ การด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตามที่ได้วางแผนไว้
๗-๒๒.๒ การปรั บ แต่ ง การปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารต่ อ สถานการณ์ ข องฝ่ า ยเราที่
เปลี่ยนแปลงไป
๗-๒๒.๓ การปรับแต่งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อการตอบโต้ของฝ่ายตรงข้ามที่ไม่
คาดคิด
การด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารตามที่ได้วางแผนไว้
(EXECUTING INFORMATION OPERATIONS AS PLANNED)
๗-๒๓. ความจ�ำเป็นอย่างยิ่งยวดในการด�ำเนินงานคือการไหลเวียนข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง
ระหว่าง นายทหารข่าวกรอง นายทหารยุทธการ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗)
ตลอดจนส่วนวิเคราะห์ และควบคุม (Analysis and control element: ACE) เจ้าหน้าที่ก�ำหนด
เป้าหมายการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารประสานกับเจ้าหน้าที่ก�ำหนดเป้าหมายส�ำหรับผลสะท้อน
กลับเกี่ยวกับกิจต่างด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO tasks) และเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO - rated targets)
๗-๒๔. ในการด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) ด�ำรงค์รักษาตารางการปฏิบัติ ในตารางการปฏิบัตินี้ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยตามระยะ
เวลา และเตรียมไว้ให้กบั นายทหารข่าวกรอง และนายทหารยุทธการ ตลอดจน ส่วนวิเคราะห์และ
ควบคุม (ACE) การใช้ตารางนี้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) รักษาบันทึกในเรื่อง
ของกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ด้วยกิจต่าง ๆ ได้เสร็จสิ้นไปแล้ว นายทหารปฏิบัติ
การข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ท�ำการส่งข้อมูลข่าวสารไปยังส่วนวิเคราะห์และควบคุม นายทหารปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ใช้ข้อมูลข่าวสารนี้ในการรักษาการประสานสอดคล้องการปฏิบัติการ
ข้อมูลข่าวสารกับการปฏิบัติการทั้งมวล
๗-๒๕. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ก�ำหนดว่าผู้บังคับบัญชาของฝ่ายตรงข้ามและ
ผูน้ ำ� ทีต่ กเป็นเป้าหมาย (targeted leaders) ก�ำลังท�ำการตอบโต้ตอ่ การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร
ดังที่คาดการณ์ระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติหรือไม่ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) ยังเฝ้ามองต่อความล่อแหลมใหม่ ๆ ของฝ่ายตรงข้าม และส�ำหรับเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
244 บทที่ ๗

กับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO - related targets) นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร


(สธ.๗) เสนอการเปลี่ยนแปลงต่อค�ำสั่งยุทธการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความผันแปรตลอดห้วง
การปฏิบตั กิ าร นายทหารยุทธการออกค�ำสัง่ เป็นส่วน ๆ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับแนวความคิดในการ
สนับสนุนของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO concept of support), วัตถุประสงค์ของการ
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร, และกิจต่าง ๆ ด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (IO tasks) นายทหาร
ปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ปรับปรุงตารางการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารและตารางการประเมิน
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร เพื่อสะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้
๗-๒๖. เพือ่ ให้เกิดความอ่อนตัวของระบบข้อมูลข่าวสารอันทันสมัย เวลาทีม่ อี ยูใ่ นการขยายผลต่อ
ความล่อแหลมใหม่ ๆ ด้านการบังคับบัญชา และการควบคุมของฝ่ายตรงข้ามอาจจะถูกจ�ำกัดและ
ต้องการ การตอบสนองโดยทันทีทันใดจากองค์ประกอบต่าง ๆ ของการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การปฏิบัติเพื่อเอาชนะการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้ามต้องการให้มีการตอบโต้อย่าง
ทันทีทันใด นายทหารยุทธการอาจจะสั่งการเป็นส่วนด้วยวาจาได้เมื่อการปฏิบัติอย่างทันทีทันใด
เป็นความต้องการ

สธ.๓ ปฏิบัติการ
ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ การปฏิบัติการ
ที่ได้รับอนุญาต ปขส.ในปัจจุบัน

สธ.๓ ฝ่ายแผน ส่วนปฏิบัติการ ปขส. ส่วนวิเคราะห์และควบคุม


ผู้วางแผน ตารางการ ปขส.ที่เกี่ยวข้อง
ด้าน ปขส. สธ.๗ ปฏิบัติ กับข่าวกรอง

สธ.๖
ความล่อแหลม
ด้านคอมพิวเตอร์
และการติดต่อสื่อสาร

รูปที่ ๗-๑ การด�ำเนินการด้าน ปขส. ณ ที่บัญชาการหลัก


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 245

การปรับแต่งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อสถานการณ์ของฝ่ายเราที่เปลี่ยนแปลงไป
(ADJUSTING INFORMATION OPERATIONS TO A CHANGING FRIENDLY SITUATION)
๗-๒๗. การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารจะไม่ได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างแท้จริงตามทีว่ างแผนไว้ เหตุผล
ที่เป็นไปได้ส�ำหรับความแปรปรวนไปจากแผนประกอบด้วย
๗-๒๗.๑ กิจด้านการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารล้มเหลวหรือทรัพยากรได้รบั การสัง่ การใหม่
๗-๒๗.๒ เป้ า หมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารไม่ ส นองตอบตามที่
คาดการณ์ไว้
๗-๒๗.๓ ฝ่ายตรงข้ามตอบโต้การโจมตีด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (IO attack)
อย่างมีประสิทธิภาพ
๗-๒๗.๔ ฝ่ายตรงข้ามรบกวนขัดขวางการบังคับบัญชา และการควบคุมของฝ่ายเราอย่าง
สมบูรณ์
๗-๒๗.๕ แผนเริ่มแรกไม่ได้ระบุเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร/
เป้าหมายที่ให้โอกาส (target of opportunity)
๗-๒๘. ความท้าทายของนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ภายใต้สภาพแวดล้อม
เหล่านี้คือเพื่อประเมินว่าการเปลี่ยนแปลงในการด�ำเนินงานในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารมี
ผลกระทบกระเทือนต่อการปฏิบตั กิ ารในภาพรวมอย่างไร และเพือ่ ก�ำหนดการปฏิบตั ทิ ตี่ ามมาทีม่ ี
ความจ�ำเป็นบนพื้นฐานของปัจจัยน�ำเข้าของผู้บังคับบัญชา นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับนายทหารข่าวกรอง, นายทหารยุทธการ และส่วนวิเคราะห์และควบคุม
ท�ำการพิจารณาหนทางปฏิบัติต่าง ๆ ด�ำเนินการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติอย่างรวดเร็ว และก�ำหนด
หนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้มากที่สุด
๗-๒๙. หากหนทางปฏิบัติที่เลือกไว้ตกอยู่ภายในอ�ำนาจหน้าที่ทางการตัดสินใจของนายทหาร
ยุทธการแล้ว การด�ำเนินงานในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารสามารถได้รับการปรับแต่งได้โดย
ปราศจากการสั่งการจากผู้บังคับบัญชา เมื่อการเปลี่ยนแปลงเกินข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ที่ได้ก�ำหนดไว้
นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ย่อมรับเอาข้ออนุมัติจากผู้บังคับบัญชา ณ จุดนี้การ
ด�ำเนินกรรมวิธีแสวงข้อตกลงใจอย่างเป็นทางการอาจจะเป็นความต้องการก่อนการออกค�ำสั่ง
แบบเป็นส่วน ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าหากการปรับแต่งส�ำคัญ ๆ ทีก่ ระท�ำต่อค�ำสัง่ ยุทธการเป็นสิง่ ที่
จ�ำเป็น ในกรณีเช่นนัน้ นายทหารปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ท�ำงานร่วมกับนายทหารยุทธการ
ด้วยการมีส่วนร่วมในการด�ำเนินกรรมวิธีแสวงข้อตกลงใจทางทหารด้วยเวลาอันจ�ำกัดเพื่อพัฒนา
หนทางปฏิบัติใหม่
246 บทที่ ๗

การปรับแต่งการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารต่อการตอบโต้ของฝ่ายตรงข้ามที่ไม่คาดคิด
(ADJUSTING INFORMATION OPERATIONS TO AN UNEXPECTED ADVERSARY
REACTION)
๗-๓๐. ฝ่ายตรงข้ามอาจจะตอบโต้ในลักษณะที่ไม่คาดคิดต่อการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
หรือต่อการปฏิบัติการทั้งมวล ถ้าหากฝ่ายตรงข้ามกระท�ำการแยกออกไปอย่างเฉพาะเจาะจง
จากที่คาดการณ์ไว้เมื่อค�ำสั่งยุทธการได้รับการยกร่าง ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายเสนาธิการเฝ้ามอง
ต่อแผนการปฏิบตั ทิ แี่ ตกออกไป (Branches) และแผนการปฏิบตั ทิ ตี่ ามมา (sequels) เป็นล�ำดับแรก
ถ้าแผนการปฏิบัติที่แตกออกไปหรือที่ตามมาล้มเหลวเพื่อก�ำหนดสถานการณ์ใหม่อย่างรอบคอบ
ความพยายามในการวางแผนใหม่อาจจะเป็นความต้องการ
๗-๓๑. นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) จัดเตรียมการปฏิบัติการที่แตกออกไปซึ่ง
ปรับปรุง และมุ่งตรงต่อการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเชิงรับเมื่อฝ่ายตรงข้ามกระท�ำการอัน
เป็นเหตุให้เกิดความล่อแหลมต่อการบังคับบัญชา และการควบคุมของฝ่ายเราขึ้นมาใหม่ หรือ
เมือ่ การปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเชิงรุกของฝ่ายเราพิสจู น์แล้วว่าไร้ประสิทธิภาพ นายทหารยุทธการ
และส่วนวิเคราะห์ และควบคุมท�ำงานร่วมกับนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) เพื่อ
รักษาการประเมินค่าขีดความสามารถของฝ่ายตรงข้ามที่ก�ำลังด�ำเนินไปเพื่อการรบกวนขัดขวาง
การบังคับบัญชา และการควบคุมของฝ่ายเรา ตลอดจนค้นหาวิธีการในการลดความล่อแหลมของ
ฝ่ายเรา พร้อมกันนี้ พวกเขาค้นหาโอกาสในการสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
เชิงรุกขึ้นมาใหม่ ภายใต้สภาวการณ์เหล่านี้ นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ท�ำการ
ก�ำหนดความพอเพียงของการปฏิบตั กิ ารทีแ่ ตกออกไป และการปฏิบตั ทิ ตี่ ามมา ถ้าหากไม่เหมาะสม
กับสถานการณ์ พวกเขาจะท�ำการจัดท�ำแผนการปฏิบัติที่แตกออกไปหรือการปฏิบัติที่ตามมาและ
กระจายมันออกไปโดยค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ
๗-๓๒. ถ้าแผนใหม่เป็นความจ�ำเป็น เวลาที่มีอยู่เป็นตัวก�ำหนดระยะเวลาของกระบวนการแสวง
ข้อตกลงใจและปริมาณของรายละเอียดที่จะบรรจุไว้ในค�ำสั่ง นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
(สธ.๗) อาจจะสามารถใช้องค์ประกอบของข้อมูลข่าวสารทีส่ ามารถให้ผลกระทบได้อย่างทันทีทนั ใด
ต่อการปฏิบัติการโดยรวมเท่านั้น ตัวอย่างเช่น การท�ำลายทางกายภาพ (physical destruction)
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ และการปฏิบัติการจิตวิทยาในบางเวลา องค์ประกอบของข้อมูล
ข่าวสารอื่น ๆ ด�ำเนินกรรมวิธีไปตามแผนเริ่มต้นที่วางไว้และได้รับการปรับแต่งในเวลาต่อมา
เว้นเสียแต่ว่าพวกมันขัดแย้งกับแผนใหม่
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 247

ข้อพิจารณาอื่น ๆ (OTHER CONSIDERATIONS)


๗-๓๓. ข้อพิจารณาอื่น ๆ รวมถึง แต่ไม่จ�ำกัดต่อ
๗-๓๓.๑ การด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเริ่มต้นขึ้นแต่เนิ่น ๆ
๗-๓๓.๒ การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส่งผลลัพธ์ที่ไม่คาดการณ์ไว้ก่อน
การด�ำเนินงานการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารเริ่มต้นแต่เนิ่น ๆ
(INFORMATION OPERATIONS EXECUTION BEGINS EARLY)
๗-๓๔. ผู้บังคับบัญชาของฝ่ายตรงข้ามที่เป็นไปได้เริ่มจัดรูปแบบการรับรู้เกี่ยวกับสถานการณ์
อย่างดีกอ่ นทีจ่ ะเผชิญหน้ากับกองก�ำลังฝ่ายเรา การจัดโครงสร้างในข้อเท็จจริงเหล่านี้ ผูบ้ งั คับบัญชา
จัดสร้างรากฐานของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารซึง่ ได้รบั การฝึกหัดอยูเ่ ป็นประจ�ำในทีต่ งั้ หน่วยและ
การฝึก องค์ประกอบของข้อมูลข่าวสารที่ได้รับการเลือกแล้ว (อย่างเช่น การปฏิบัติการจิตวิทยา
การรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร การลวงทางทหาร และกิจการสาธารณะ) อาจจะเริม่ ให้การ
สนับสนุนต่อวัตถุประสงค์ของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเป็นอย่างดีกอ่ นทีก่ ารวางก�ำลังจะเกิดขึน้
เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินงานในการปฏิบตั กิ ารทัง้ มวลแต่เนิน่ ๆ บ่อยครัง้ ที่ การวางแผน การเตรียมการ
และการด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสารเริม่ ขึน้ อย่างดีกอ่ นทีฝ่ า่ ยเสนาธิการจะเริม่ การวางแผน
ในการปฏิบัติการ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารส่งผลลัพธ์ที่ไม่คาดการณ์ไว้ก่อน
(INFORMATION OPERATIONS DELIVERS UNANTICIPATED RESULTS)
๗-๓๕. มันเป็นการยากที่จะประมาณการว่าการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารทั้งเชิงรุกและเชิงรับจะ
กระทบต่อการปฏิบตั กิ ารอย่างไร การปฏิบตั โิ ดยผูท้ ำ� การตกลงใจ เป้าหมายทีส่ ำ� คัญยิง่ ของการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสาร นั้นในบางครั้งน�ำการจู่โจมกลับมา เปิดเผยความอ่อนแอหรือความแข็งแกร่งที่
ไม่คาดการณ์ไว้กอ่ น ในทางเดียวกัน ผูบ้ งั คับบัญชาฝ่ายเราได้รบั ความกดดันโดยการโจมตีตอ่ ระบบ
การบังคับบัญชาและการควบคุมของพวกเขา และอาจจะตอบโต้โดยไม่คาดคิด ความอ่อนตัวเป็น
กุญแจส�ำคัญในความส�ำเร็จในการด�ำเนินการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ผู้บังคับบัญชาและฝ่าย
เสนาธิการที่ได้รับการฝึกมาอย่างดีเท่านั้น ที่เป็นความอ่อนตัวอย่างเพียงพอเพื่อถ่วงดุลกับ การ
ปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารของฝ่ายตรงข้าม ขณะที่มีการขยายผลทั้งความล่อแหลมของฝ่ายตรงข้าม
ที่วางโครงการเอาไว้และที่ไม่คาดการณ์มาก่อน
248 บทที่ ๗

สรุป (SUMMARY)
๗-๓๖. การด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารอย่างสัมฤทธิผลขึ้นอยู่กับทีมเวิร์กโดย
หลาย ๆ ฝ่ายอ�ำนวยการและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็วระหว่างพวกเขา ด้วยการ
ปฏิบตั กิ ารมีการคลีค่ ลายและสถานการณ์ได้เลือ่ นไหลไปมากยิง่ ขึน้ วัตถุประสงค์และกิจต่าง ๆ ของ
การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสารได้รับการพัฒนาไปเพื่อขยายผลแห่งความส�ำเร็จและปกป้องความ
ล่อแหลมของฝ่ายเรา นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) จัดเตรียมการปฏิบัติการที่แตก
ออกไป และการปฏิบัติที่ตามมาเพื่ออ�ำนวยให้ผู้บังคับบัญชาท�ำการปรับแต่งการปฏิบัติการข้อมูล
ข่าวสารอย่างรวดเร็วเมื่อจ�ำเป็น นายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (สธ.๗) ยังท�ำการเตรียมการ
ในการประสานการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ กับฝ่ายอ�ำนวยการและกองบัญชาการอื่น ๆ
ผนวก ก
อ้างอิงปัจจัยน�ำเข้าด้าน ปขส. สู่กระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร (MDMP)
ผนวก ก. นี้จะแสดงรายการการปฏิบัติในการวางแผน ปขส. และผลผลิตด้าน ปขส. ที่เกี่ยวข้องกับกิจต่าง ๆ ในการแสวงข้อตกลงใจ รายการต่าง ๆ
จะเกีย่ วข้องกับแหล่งทีม่ าของข่าวสารทีจ่ �ำเป็นแต่ละกิจ รายละเอียดได้กล่าวไว้แล้วในบทที่ ๕ ส�ำหรับผนวก ข. จะแสดงสถานการณ์สมมติ (Scenario)
และตัวอย่างผลผลิตด้าน ปขส. ในระดับกองทัพน้อย ผนวก ค. แสดงตัวอย่างการประมาณการด้าน ปขส. ส่วนผนวก ง. แสดงตัวอย่าง ผนวก ปขส.
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
รับมอบภารกิจ - แผน/ค�ำสั่ง หน่วยเหนือ - มีส่วนร่วมในการประเมินขั้นต้นของ ผบ.หน่วย - ให้ขอ้ มูลขัน้ ต้นในการท�ำ IPB รวมถึงข่าวสารส�ำคัญ
หรือหน่วยอนุมานขึ้นเอง - รับทราบแนวทางวางแผนขั้นต้นของ ผบ.หน่วย ของฝ่ายเรา (การ รปภ.ป/บ)
- แนวทางวางแผนขั้นต้น (รูป ข-๓) - ระบุกจิ ขัน้ ต้นในการข่าวกรอง การลาดตระเวนและ
ของผบ.หน่วย (รูป ข-๓) - ท�ำการประเมินขั้นต้นเกี่ยวกับ ปขส. เฝ้าตรวจ (ความต้องการข่าวสารด้าน ปขส. : คตส.
- ประมาณการด้าน ปขส. - เตรียมการวางแผน ปขส.) รวมถึงการพิจารณาขีดความสามารถของข้าศึก
(ผนวก ค.) - แบ่งเวลา ที่จะรวบข่าวสารฝ่ายเรา (รปภ.ป/บ)
- ส่ง คตส.ปขส. ส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับขีดความสามารถ
ของข้าศึกในการรวบรวมข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
ให้ สธ.๒
- ก�ำหนดข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราไว้ในค�ำสั่งเตือน
(รูป ข-๔) เสนอแนะข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราต่อ สธ.
๒ และ สธ.๓ (รปภ.ป/บ)
- เรียกประชุมกลุม่ ปฏิบตั งิ านด้านการลวง เริม่ วิเคราะห์
ภารกิจด้านการลวง
- ปรับปรุงประมาณการ ปขส. และการแบ่งมอบเวลา
250
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
วิเคราะห์ภารกิจ- - แผน/ค�ำสั่งหน่วยเหนือ - ท�ำความเข้าใจเจตนารมณ์ และแนวความคิดในการ - กิจที่เกี่ยวข้องกับ ปขส.ที่หน่วยเหนือมอบให้
วิเคราะห์ค�ำสั่งของหน่วย โดยเฉพาะจาก ผนวก ปขส. ปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา
เหนือ - เจตนารมณ์ผู้บังคับ - ท�ำความเข้าใจหน่วยเหนือในเรื่องพื้นที่ปฏิบัติการ
บัญชาเหนือขึน้ ไป ๒ ระดับ ข้อบังคับ ข้อห้าม ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และ
- แนวทางในการวางแผน ทรัพยากรที่มีอยู่
ขั้นต้นด้าน ปขส. จาก - ท�ำความเข้าใจภารกิจของหน่วยข้างเคียง
ผู้บังคับหน่วย - วิเคราะห์ภารกิจในแง่ของ ปขส.
- ก�ำหนดกิจที่หน่วยเหนือมอบให้ในเรื่องที่สัมพันธ์
กับงาน ปขส.
- ระบุข่าวสารที่จ�ำเป็นส�ำหรับการวางแผน ปขส.
วิเคราะห์ภารกิจ - IPB ของหน่วยเหนือ - ให้ข้อมูลด้าน ปขส.ที่จะใช้กับ IPB - ให้ข้อมูลด้าน ปขส.ในการท�ำ IPB ข้อมูลนี้จะเป็น
ท�ำ IPB - ประมาณการของฝ่าย - วิเคราะห์ผู้น�ำส�ำคัญทั้งฝ่ายเราและข้าศึกกระบวน ส่วนหนึ่งของย่อหน้าที่ ๒ ของประมาณการ ปขส.
เสธ.ของหน่วยเหนือ การตกลงใจเพื่อสนับสนุน ระบบข่าวสาร ระบบ (รูป ข-๕)
- แผน/ค�ำสัง่ ของหน่วยเหนือ ควบคุมและบังคับบัญชา - ส่งค�ำขอข่าวสาร ปขส.ให้ สธ.๒
- ระบุขีดความสามารถ/จุดอ่อนด้าน ปขส. ของข้าศึก - ก�ำหนดเป้าหมายในบัญชีเป้าหมายว่าเป้าหมายใด
- วิเคราะห์ขีดความสามารถ/จุดอ่อนด้าน ปขส. ทีต่ อ้ งท�ำลายทางกายภาพ เป้าหมายใดไม่ตอ้ งท�ำลาย
ของฝ่ายเรา ทางกายภาพ
- พิสูจน์ทราบช่องว่าง/จุดอ่อนด้านข่าวกรองในแง่ - ปรับปรุงรายการข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
เปรียบเทียบกับ ปขส.ข้าศึก (รปภ.ป/บ)
- ก�ำหนดเป้าหมายคุ้มค่า ด้าน ปขส.
ผนวก ก
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
- ให้ข่าวสารเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมด้าน ปขส.
ภายในห้วงสนามรบ ผลกระทบของสภาพแวดล้อม
ที่มีต่อการปฏิบัติการด้าน ปขส. ทั้งของฝ่ายเราและ
ฝ่ายข้าศึก
- ก�ำหนด ห/ป.ที่เป็นไปได้ด้าน ปขส.
- ประเมินผลกระทบที่ ปขส.มีตอ่ การปฏิบตั ขิ องฝ่าย
ตรงข้ามก�ำหนดข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเราเพิ่มเติม
(รปภ.ป/บ)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ

วิเคราะห์ภารกิจ - กิจเฉพาะและกิจแฝงที่ - ก�ำหนดกิจเฉพาะและกิจแฝงด้าน ปขส.จากแผน/ - กิจด้าน ปขส. (รูป ข-๖)


ก�ำหนดกิจเฉพาะ กิจแฝง เกีย่ วข้องกับงาน ปขส. จาก ค�ำสั่งของหน่วยเหนือ - ปรับปรุงรายการข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI)
และกิจส�ำคัญยิ่ง แผนและค�ำสั่งหน่วยเหนือ - ก�ำหนดกิจแฝงด้าน ปขส.ในส่วนที่นอกเหนือจาก (รปภ.ป/บ)
- IPB แผน/ค�ำสั่งหน่วยเหนือ - จัดท�ำบัญชีทรัพยากรส�ำคัญยิ่ง (Critical asset)
- ก�ำหนดข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (EEFI) เพิ่มเติม ให้ สธ.๓ (รูป ข-๖)
(รปภ.ป/บ) - ให้ข้อมูลต่อแนวทางก�ำหนดเป้าหมายของหน่วย
- ก�ำหนดข่าวสารต่อแนวทางในการก�ำหนดเป้าหมาย
ของหน่วย
- รวบรวมบัญชีทรัพยากรส�ำคัญยิ่ง
วิเคราะห์ภารกิจ - การจัดเฉพาะกิจ (ส�ำหรับ - ก�ำหนดหน่วยและทรัพยากรด้าน ปขส.ของฝ่ายเรา บั ญ ชี ห น่ ว ยและทรั พ ยากร ปขส.รวมถึ ง ขี ด ความ
ทบทวนทรัพยากรใช้ได้ หน่วย ปขส.) ที่เป็นอยู่ - ตัดสินใจว่าหน่วย ปขส.ที่มีอยู่สามารถปฏิบัติกิจ สามารถ (ประมาณการ ปขส. ข้อที่ ๒ ค. (รูป ข-๗))
ด้าน ปขส.ทั้งหมดหรือไม่ - ร้องขอทรัพยากรด้าน ปขส. เพิ่มเติม ถ้าจ�ำเป็น
251
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
252
การน�ำเข้า
- การจัดเฉพาะกิจของ - หาค�ำตอบว่าทรัพยากรเพิ่มเติม (เช่นหน่วยยิง
หน่วยเหนือ (ส�ำหรับ สนับสนุน) มีความจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติงานหรือ
ทรัพยากรด้าน ปขส.) สนับสนุน ปขส.หรือไม่
- รายงานสถานภาพ - เปรียบเทียบหน่วยและทรัพยากรในแง่ ปขส.
- รปจ.ของหน่วย
วิเคราะห์ภารกิจ - แนวทางขั้นต้นในการ - ก�ำหนดข้อบังคับ (สิ่งที่ต้องท�ำ ข้อห้าม) ด้าน ปขส. รายการข้อบังคับด้าน ปขส.โดยรวมเอาเรื่องที่อาจ
ระบุข้อบังคับ วางแผนของ ผบ.หน่วย รวมถึงเรือ่ งทีอ่ าจมีผลกระทบต่อมาตรการป้องกันใน กระทบมาตรการ รปภ.ป/บ ด้วย (แนวความคิดใน
- แผน/ค�ำสั่ง หน่วยเหนือ การปฏิบัติ (รปภ.ป/บ) การสนับสนุนในผนวก ปขส. หรือ ค�ำแนะน�ำในการ
ประสาน) รูป ข-๘
วิเคราะห์ภารกิจ - แผน/ค�ำสั่ง หน่วยเหนือ - พิสูจน์ทราบและประเมินอันตรายในส่วนที่ - รายการประเมินค่าอันตรายที่มีต่องาน ปขส.
ประเมินความเสี่ยง - ไอพีบี เกี่ยวข้องกับ ปขส. - ปขส. การน�ำเข้า ต่อการประเมินความเสี่ยง
- แนวทางขั้นต้นในการ - ก�ำหนดสิ่งบอกเหตุด้าน รปภ.ป/บ (รูป ข-๑๐)
วางแผนของ ผบ.หน่วย - ประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสิ่งบอกเหตุด้าน มาตรการ รปภ.ป/บ เพื่อพลาง
รปภ.ป/บ เพื่อหาจุดอ่อนด้าน รปภ.ป/บ
- ก�ำหนดมาตรการ รปภ.ป/บ เพื่อพลาง
วิเคราะห์ภารกิจ ความต้องการข่าวสารด้าน - ก�ำหนดข่าวสารที่ ผบ.หน่วยต้องการเพื่อตัดสินใจ - ความต้องการข่าวสารด้าน ปขส.ที่เสนอเป็นหัวข้อ
ก�ำหนดหัวข้อข่าวสาร ปขส. (คตส.ปขส.) ด้าน ปขส.หรือเพื่อประเมินการปฏิบัติด้าน ปขส. ข่าวสารส�ำคัญส�ำหรับ ผบ. (รูปที่ ข-๑๒)
ส�ำคัญส�ำหรับ ผบ. (CCIR) - ก�ำหนดความต้องการข่าวสารด้าน ปขส.เพื่อเสนอ
เป็นหัวข้อข่าวสารส�ำคัญส�ำหรับ ผบ.
ผนวก ก
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
วิเคราะห์ภารกิจ - IPB ขั้นต้น - ค้นหาว่าการวางแผนการปฏิบัติด้าน ปขส.ยัง - คตส.ปขส. ทีร่ ะบุขา่ วสารทีจ่ ำ� เป็นต่อการสนับสนุน
เตรียมผนวก ข่าวกรอง - หขส./คตส.ปขส. มีความต้องการข่าวสารอื่น ๆ เพิ่มเติมบ้างหรือไม่, การวางแผนและการปฏิบัติด้าน ปขส., การประเมิน
การลาดตระเวนและ ประเมินการปฏิบัติขั้นต้น การปฏิบัติขั้นต้น
เฝ้าตรวจ (ขลฝ - ISR) - ตรวจสอบให้แน่ใจว่า ผนวก ขลฝ.มีการระบุ คตส. - คตส. ปขส.ทีเ่ กีย่ วกับขีดความสามารถฝ่ายตรงข้าม
ปขส.ในส่วนที่เกี่ยวกับขีดความสามารถฝ่ายตรงข้าม ต่อการรวบรวม ข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (ขสร.)
ต่อการรวบรวมข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
วิเคราะห์ภารกิจ แผนการใช้เวลาของ สธ.๓ - ก�ำหนดเวลาที่ต้องการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ - ก�ำหนดตารางเวลาด้าน ปขส. (ส่งให้ สธ.๓)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ

แผนการใช้เวลา ที่ปรับปรุงแล้ว ด้าน ปขส. เน้นผลกระทบด้าน ปขส.จากเหตุการณ์ส�ำคัญ


- เปรียบเทียบเวลาที่ได้รับกับตารางเวลาของหน่วย
เหนือและเวลาของข้าศึกที่คาดไว้จากการท�ำไอพีบี
- ปรับแผนการแบ่งมอบเวลาให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
วิเคราะห์ภารกิจ - ประมาณการ ปขส. - เตรียมการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจในส่วนของ - การบรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจในส่วนของ
บรรยายสรุปภารกิจ - รปจ.ของหน่วย ปขส. ปขส. (รูปที่ ๕-๔ )
แถลงใหม่ - บรรยายสรุปประมาณการการลวง - ประมาณการการลวง
วิเคราะห์ภารกิจ - ภารกิจแถลงใหม่ - รับและท�ำความเข้าใจต่อภารกิจที่ได้รับอนุมัติ - ไม่มี
อนุมัติภารกิจแถลงใหม่ - การบรรยายสรุป
วิเคราะห์ภารกิจ
วิเคราะห์ภารกิจ - เจตนารมณ์ของ ผบ. - พัฒนาข้อเสนอแนะ ปขส. การน�ำเข้า เพือ่ จะน�ำไป - เสนอแนะ ปขส. การน�ำเข้าเพื่อไปรวมไว้ใน
พัฒนาเจตนารมณ์ของ ผบ. หน่วยเหนือ แถลงรวมไว้ในเจตนารมณ์ของ ผบ. เจตนารมณ์ ผบ. (รูปที่ ข-๑๔ )
253

ขั้นต้น - ผลจากการวิเคราะห์ภารกิจ
- ประมาณการ ปขส.
254
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
วิเคราะห์ภารกิจ - แผน/ค�ำสั่งของหน่วย - ก�ำหนดเรื่องเสนอแนะด้าน ปขส.ที่ต้องการให้ระบุ - ข้ อ เสนอแนะด้า น ปขส.ที่ต ้องการให้ระบุไ ว้ใน
แจ้งแนวทางในการวาง เหนือ ไว้ในแนวทางในการวางแผน แนวทางในการวางแผน (รูป ข-๑๕)
แผนของ ผบ. - ผลจากการวิเคราะห์ - ปรับปรุงและรวม หัวข้อข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา - เสนอแนะแนวทางในการวางแผน รปภ.ป/บ
ภารกิจ (EEFI) ไว้กับมาตรการ รปภ.ป/บ เพื่อพลาง เพื่อจัด - เสนอแนะแนวทางในการก�ำหนดเป้าหมาย ปขส.
- ประมาณการ ปขส. ท�ำแนวทางในการวางแผน รปภ.ป/บ
วิเคราะห์ภารกิจ - แนวทางในการวางแผน, - เตรียมข้อมูลการน�ำเข้าส�ำหรับค�ำสั่งเตือนข้อมูล - การน�ำเข้าในภารกิจ, เจตนารมณ์ ผบ.ในเรือ่ ง หัวข้อ
ออกค�ำสั่งเตือน เจตนารมณ์ ผบ. ดังกล่าวได้แก่ ข่าวสารส�ำคัญของ ผบ. (CCIR), แนวความคิดในการ
- ภารกิจแถลงใหม่ที่ได้รับ - ก�ำหนดกิจขั้นต้นให้หน่วยรอง ปฏิบัติ (รูป ข-๑๖)
การอนุมัติแล้ว, ภารกิจ - ภารกิจ ปขส.ขั้นต้น - เสนอแนะภารกิจ ปขส.ขั้นต้น
แถลงใหม่ด้าน ปขส., - แนวทางในการวางแผน รปภ.ป/บ
วัตถุประสงค์ขั้นต้นด้าน - ก�ำหนดกิจในการลาดตระเวน และเฝ้าตรวจ
ปขส. - แนวทางในการลวง
- ผลผลิตจากการวิเคราะห์
ภารกิจด้าน ปขส.
วิเคราะห์ภารกิจ - แนวทางในการวางแผน - ทบทวนข้อเท็จจริงและสมมติฐานด้าน ปขส. - ปรับปรุงข้อเท็จจริงและสมมติฐาน
ทบทวนข้อเท็จจริงและ และเจตนารมณ์ ผบ. - ปรับปรุงค�ำแถลงภารกิจด้าน ปขส.ขั้นต้น - ปรับปรุงค�ำแถลงภารกิจ ปขส.
สมมติฐาน - ภารกิจแถลงใหม่ที่ได้รับ - ปรับปรุงมาตรการ รปภ.ป/บ
อนุมัติแล้ว
- ผลผลิตจากการวิเคราะห์
ภารกิจด้าน ปขส.
ผนวก ก
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
พัฒนาหนทางปฏิบัติ - แนวทางในการวางแผน - ก�ำหนดหนทางด้าน ปขส.เพื่อสนับสนุน ห/ป. - แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส.ต่อ
ก�ำหนดทางเลือก และเจตนารมณ์ ผบ. แต่ละ ห/ป. ห/ป.แต่ละ ห/ป.
- ไอพีบี - ระบุองค์ประกอบด้าน ปขส.ที่จะใช้ - ห/ป.ลวงหนึง่ ห/ป.หรือมากกว่า
- หน่วย ทรัพยากร จุดอ่อน - ก�ำหนดว่าจะใช้ ปขส. อย่างไรเพื่อสนับสนุน
ด้าน ปขส. ของทั้งฝ่ายเรา วัตถุประสงค์หลัก
และฝ่ายข้าศึก - ก�ำหนดบทบาทงาน ปขส.ที่มีต่อการปฏิบัติการ
แตกหักและสร้างสภาวะของแต่ละ ห/ป.
- เปรียบเทียบทรัพยากร ปขส. กับทรัพยากรอื่น ๆ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ

ชั่งน�้ำหนักว่าอันใดส�ำคัญกว่ากันเผื่อกรณีที่จ�ำเป็น
ต้องเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
- พัฒนา ห/ป.ลวง (เรื่องที่จะลวง)
พัฒนาหนทางปฏิบัติ - ภารกิจแถลงใหม่ - แบ่งมอบหน่วย/เครื่องมือส�ำหรับแนวความคิด - ก�ำหนดที่ตั้งขั้นต้นของเครื่องมือ ปขส.
วางก�ำลังขั้นต้น - แนวทางในการวางแผน ในการสนับสนุนด้าน ปขส. - ความต้องการเพิ่มเติมทรัพยากร ปขส.
และเจตนารมณ์ ผบ. - ระบุความต้องการเพิ่มเติมส�ำหรับทรัพยากร ปขส.
- ไอพีบี - ตรวจสอบผลกระทบต่อ ห/ป.ลวงที่มีต่อการวาง
- แผนหรือแนวความคิดใน ก�ำลังของหน่วย
การลวง - ระบุเครื่องมือในการลวง
พัฒนาหนทางปฏิบัติ - ห/ป.ทีก่ ำ� หนด (รูป ข-๑๗ ส�ำหรับแต่ละ ห/ป. ส�ำหรับแต่ละ ห/ป.
พัฒนาแนวความคิดในการ หน้า ข-๒๒) - ก�ำหนดแนวความคิดในการสนับสนุน (รูป ข-๑๘) - แผ่นงาน ปขส.การน�ำเข้าที่บรรจุแนวความคิดใน
ปฏิบัติ - ตสข. (IPB) - ก�ำหนดเป้าหมายด้าน ปขส. การสนับสนุนด้าน ปขส.ทีป่ รับปรุงแล้ว, วัตถุประสงค์
255

ปขส. และกิจเฉพาะ ปขส. (รูป ข-๑๙ ถึง ข-๒๒)


256
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
- บัญชีเป้าหมายส�ำคัญ - ประสานสอดคล้องการปฏิบัติขององค์ประกอบ - ตารางเวลาปฏิบัติด้าน ปขส.
(HVTL) ปขส. - ก�ำหนด HPT ที่เกี่ยวกับ ปขส.
- ภารกิจด้าน ปขส. - ก�ำหนดและจัดล�ำดับความเร่งด่วนของกิจ ปขส. - บัญชีเครื่องมือ/หน่วยที่ส�ำคัญ
- แนวความคิดในการ ทั้งเชิงรับและเชิงรุก - ปขส.การน�ำเข้าต่อแผนการบริหารความเสี่ยง รวม
สนับสนุนขั้นต้นด้าน ปขส. - ก�ำหนดเป้าหมาย HVTเป็น HPT ถึงความเสี่ยงที่ยังหลงเหลือที่เกี่ยวข้องกับจุดอ่อน
ส�ำหรับแต่ละ ห/ป. - ก�ำหนดล�ำดับเวลาการปฏิบัติกิจ ปขส.ขั้นต้น รปภ.ป/บ ในแต่ละด้าน (รูป ข-๒๔)
- ปรับปรุง ปขส. การน�ำเข้า ในการประเมินความเสีย่ ง - เกณฑ์วัดความส�ำเร็จ และความต้องการข่าวสาร
ปขส. ส�ำหรับสนับสนุนการประเมินค่า ปขส.
- พัฒนาแผนประเมิน ปขส. - ขสร.เพิ่มเติม
- ก�ำหนด ขสร. (EEFI) เพิ่มเติม - จุดอ่อน รปภ.ป/บ
- ก�ำหนดและประเมินสิง่ บอกเหตุ รปภ.ป/บ เพิม่ เติม - มาตรการ รปภ.ป/บ (กิจเฉพาะด้าน ปขส.) เพื่อ
เพื่อหาจุดอ่อนของ รปภ.ป/บ ป้องกัน จุดอ่อน รปภ.ป/บ
- พัฒนามาตรการ รปภ.ป/บ เพื่อป้องกันจุดอ่อน
- ก�ำหนดความเสี่ยงที่ยังคงเหลือในส่วนที่เกี่ยวข้อง
กับจุดอ่อน รปภ.ป/บ ในแต่ละจุด หลังจากที่มีการ
ใช้มาตรการ รปภ.ป/บ แล้ว (รูป ข-๒๔)
- ก�ำหนดความต้องการข้อมูลป้อนกลับเพื่อประเมิน
ค่า ห/ป.ลวง
- ประเมินค่าความเสีย่ งส�ำหรับ ห/ป.ลวงแต่ละ ห/ป.
- วิเคราะห์ รปภ.ป/บ ส�ำหรับแต่ละ ห/ป.ลวง
ผนวก ก

- เตรียมแผนรองส�ำหรับ ห/ป.ลวงแต่ละ ห/ป.


กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
พัฒนาหนทางปฏิบัติ - ไอพีบี - ประเมินค่าจุดแข็งและจุดอ่อนของการควบคุม - ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของกองบังคับการ
เสนอแนะการจัดส่วน - ประมาณการ ปขส. บังคับบัญชาเพื่อค้นหาจุดอ่อนด้าน ปขส.ของแต่ละ เมื่อประเมินพบจุดอ่อนของระบบควบคุมบังคับ
บังคับการ - การประเมินค่าจุดอ่อน กองบังคับการ (HQ) บัญชา
ปขส. - ประเมินค่าซ�้ำส�ำหรับรายการเครื่องมือส�ำคัญด้าน - ปรับปรุงบัญชีรายการเครื่องมือส�ำคัญให้ทันสมัย
- กิจ ปขส. จากองค์ประกอบ ปขส. - บัญชีรายการขั้นต้นส�ำหรับเครื่องมือ/ทรัพยากรที่
ด้าน ปขส. กิจแต่ละกิจได้รับ
พัฒนาหนทางปฏิบัติ - แถลงหนทางปฏิบัติ - ให้การน�ำเข้ากับแต่ละ ห/ป.ทั้งในส่วนที่เป็นข้อ - การน�ำเข้าส�ำหรับส่วนที่เป็นข้อเขียนและภาพร่าง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ

เตรียมจัดท�ำ ห/ป.เป็น - แนวความคิดในการ เขียนและภาพร่างต่อ สธ.๔ ของแต่ละ ห/ป.


ข้อเขียนพร้อมภาพร่าง สนับสนุนด้าน ปขส.และ - เตรียมจัดท�ำแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน - ภาพร่างแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส.
ประกอบ วัตถุประสงค์ดา้ น ปขส.ของ ปขส.ทั้ ง ส่ ว นที่ เ ป็ น ข้ อ เขี ย นและภาพร่ า งส� ำ หรั บ ส�ำหรับแต่ละ ห/ป. พร้อมระบุวัตถุประสงค์
แต่ละ ห/ป. แต่ละ ห/ป. (เป้าหมาย) ที่ส�ำคัญที่สุด
วิเคราะห์หป. - ห/ป.ที่ก�ำหนด - ก�ำหนดเกณฑ์การประเมินส�ำหรับแต่ละ ห/ป. - ประเมิน ห/ป.ลวงแต่ละ ห/ป.โดยใช้เกณฑ์ทกี่ ำ� หนด
- ไอพีบี - ประสานสอดคล้องกิจด้าน ปขส.ของแต่ละองค์ ก่อนที่จะมีการวาดภาพการรบ war game
- แผ่นงาน ปขส.การน�ำเข้า ประกอบ ส�ำหรับแต่ละ ห/ป.
- ตารางเวลาในการปฏิบัติ - ค้นหาขีดความสามารถด้าน ปขส.ของข้าศึก รวม - ท�ำการประเมินตามเกณฑ์กอ่ นการวาดภาพการรบ
การ ปขส. ถึงการปฏิบัติและการตอบโต้ - ปรับปรุงแผ่นงาน ปขส.การน�ำเข้า
- วาดภาพการรบขีดความสามารถด้าน ปขส.ของ - ปรับปรุงแนวความคิดในการสนับสนุน ปขส.
ฝ่ายเราต่อจุดอ่อนของข้าศึก - ปรับปรุงเป้าหมาย ปขส.
- วาดภาพการรบขีดความสามารถข้าศึกต่อจุดอ่อน - ปรับปรุงกิจ ปขส.
ของฝ่ายเรา
257
258
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
- ประสานสอดคล้องและลดข้อขัดแย้งของกิจด้าน - ปรับปรุง ปขส.การน�ำเข้าต่อตารางแนวทางโจมตี
ปขส.ขั้นต้น (attack guidance matrix) และตารางประสาน
- ปรับปรุงแนวทางในการก�ำหนดเป้าหมายและ สอดคล้องเป้าหมาย (Target Synchronization
รายการเป้าหมายคุ้มค่า Matrix)
- ประสานสอดคล้องและลดความขัดแย้งของ - คตข. ปขส.และค�ำขอข่าวสารทีไ่ ด้ระหว่างการ war
เป้าหมาย ปขส. game
- ก�ำหนดว่าในการปรับปรุง ห/ป.จะมีผลท�ำให้เกิด - ปรับปรุง ขสร., จุดอ่อน รปภ.ป/บ และมาตรการ
ขสร.เพิ่มเติมหรือจุดอ่อนด้าน รปภ.ป/บ หรือไม่ รปภ.ป/บ
ถ้ามีต้องเสนอแนะมาตรการ รปภ.ป/บ เพื่อลด - ข้อ ๓ ของประมาณการ ปขส.
จุดอ่อนเหล่านั้น - ปขส.การน�ำเข้าต่อตารางประสานสอดคล้องของ
- ก�ำหนดมาตรการโจมตีตอ่ เป้าหมายคุม้ ค่า แต่ละอัน สธ.๓
- ทดสอบมาตรการ รปภ.ป/บ - ปขส.การน�ำเข้าต่อรายการเป้าหมายคุ้มค่า
- ก�ำหนดจุดตัดสินใจ (decision point) ในการใช้
มาตรการ รปภ.ป/บ
- ก�ำหนดการสนับสนุนที่ต้องการต่อมาตรการ
รปภ.ป/บ
- ก�ำหนดมาตรการ รปภ.ป/บ ทีต่ อ้ งใช้ตอ่ แผนส�ำรอง
รปภ.ป/บ
- ค้นหาว่ามีมาตรการ รปภ.ป/บ ใดบ้างที่ต้องมีการ
ประสานเพิ่มเติม
ผนวก ก
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
- วาดภาพการรบ ห/ป.ลวงแต่ละ ห/ป.
- ค้นหาว่า ห/ป.ลวง ห/ป.ใดบ้างที่ต้องมีแผนส�ำรอง
(branches) และประเมินความเสี่ยงของ ห/ป.
- ท�ำรายการว่าแผนส�ำรองใดบ้างที่เป็นประโยชน์
มากทีส่ ดุ หรืออันตรายทีส่ ดุ บนแผ่นภาพตกลงใจหรือ
ตารางการปฏิบัติ ปขส.
- การประเมินค่า ห/ป.ทีไ่ ด้ - เปรียบเทียบ ห/ป.แต่ละ ห/ป.เพื่อหาข้อดีข้อเสีย - ข้อดีข้อเสียของแต่ละ ห/ป.ในแง่ ปขส.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ

จากการวิเคราะห์ - ก�ำหนดว่า ห/ป.ใดสามารถให้การสนับสนุนได้ดี - ตกลงใจว่า ห/ป.ใดสามารถให้การสนับสนุนได้ดี


- เกณฑ์การประเมินค่า ที่สุดในแง่ของ ปขส. ที่สุดในแง่ ปขส.
ห/ป. - ค้นหาว่า มาตรการ รปภ.ป/บ ใดบ้างที่ต้องให้ ผบ. - ตารางตัดสินใจ ห/ป.ด้าน ปขส.
อนุมัติ - ข้อ ๔ การประมาณการ ปขส.
อนุมัติหนทางปฏิบัติ - จากการเปรียบเทียบ - ให้ ปขส.การน�ำเข้าต่อการเสนอแนะ ห/ป. - แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส.ต่อ ห/ป.ที่
ห/ป. - ประเมินซ�้ำ ปขส.การน�ำเข้าต่อแนวทางในการ ถูกเลือก (ที่ปรับปรุงแล้ว)
- เสนอ ห/ป.ที่ดีที่สุด วางแผนและเจตนารมณ์ ผบ. - เป้าหมาย ปขส., กิจด้าน ปขส. ตาม ห/ป.ทีถ่ กู เลือก
- ปรับปรุงแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน - ปขส.การน�ำเข้าส�ำหรับค�ำสั่งเตือน (รูป ข-๒๕)
ปขส., เป้าหมาย ปขส.และกิจ ปขส.ต่อ ห/ป. - ตารางการปฏิบัติ ปขส.
ที่ถูกเลือกและจัดท�ำตารางการปฏิบัติ ปขส.
ที่เกี่ยวข้อง
- เตรียม ปขส.การน�ำเข้าส�ำหรับค�ำสั่งเตือน
- มีสว่ นร่วมในการบรรยายสรุปเพือ่ ตกลงใจเลือก ห/ป.
259
260
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ ที่มาของข่าวสาร การปฏิบัติของ สธ.๗ ผลผลิตของ สธ.๗
การน�ำเข้า
- เสนอแนะ ห/ป.ที่ดีที่สุดในแง่ของการสนับสนุน
ด้าน ปขส.
- ขอให้มีการตกลงใจต่อการใช้มาตรการ รปภ.ป/บ
ที่เสี่ยงหรืออาจมีผลต่อการใช้ทรัพยากร
จัดท�ำค�ำสั่ง - ห/ป.ที่ ผบ.อนุมัติ - ตรวจสอบให้มั่นใจว่า ปขส.การน�ำเข้า (เช่น ขสร. - ตารางประสานสอดคล้อง ปขส.
- แนวทางในการวางแผน กิจด้าน ปขส.ทีม่ อบให้หน่วยรอง) ปรากฏอยูใ่ นแผน/ - ย่อหน้า ปขส.ในแผน/ค�ำสั่ง
ของ ผบ.ที่ปรับปรุงแล้ว ค�ำสั่ง - ผนวก ปขส.
- เจตนารมณ์ ผบ. ทีป่ รับปรุง - จัดท�ำผนวก ปขส.ให้เสร็จ - ปขส.การน�ำเข้าต่อตารางประสานสอดคล้อง
แล้ว - ประสานกิจเฉพาะและเป้าหมาย ปขส. แนวทางโจมตี และตารางประสานสอดคล้อง
เป้าหมายผลผลิตของ สธ.๗
- ประมาณการ ปขส. (รวมถึงมาตรการ รปภ.ป/บ) กับ ฝอ. ที่รับผิดชอบ - ผนวกการลวงประกอบผนวก ปขส.
- ภารกิจไอ แนวความคิด องค์ประกอบต่าง ๆ ด้าน ปขส.
ในการสนับสนุนด้าน ปขส. - ประสานกับ ฝอ.อื่น ๆ
เป้าหมาย ปขส. และกิจ - ปรับปรุงตารางการปฏิบัติ ปขส.
ด้าน ปขส.
ผนวก ก
ผนวก ข
สถานการณ์สมมติการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร๑
(Information operations scenario)
ในผนวกนีจ้ ะแสดงตัวอย่างผลผลิตของการปฏิบตั กิ ารข้อมูลข่าวสาร (ปขส.) ระดับกองทัพ
น้อยโดยมีพนื้ ฐานจากสถานการณ์สมมติระดับชาติ ผลผลิตและกิจทีแ่ สดงสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้
ในสงครามหรือการปฏิบัติการทางทหารที่มิใช่สงครามได้ ผลผลิตจะแสดงไว้ตามล�ำดับที่พัฒนาขึ้น
ระหว่างการด�ำเนินตามกรรมวิธีแสวงข้อตกลงใจ (MDMP) ผนวก ก แสดงการปฏิบัติและผลผลิต
ของ สธ.๗ ที่เกี่ยวข้องกับกิจแต่ละกิจในการแสวงข้อตกลงใจ ผนวก ง เป็นตัวอย่างของผนวก
ปขส. ที่ใช้สถานการณ์สมมติเดียวกันนี้ ผนวก ช แสดงตัวอย่างค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ที่เน้น ปขส. โดย
ใช้สถานการณ์สมมตินี้เช่นเดียวกัน ผลผลิตดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ไม่ควรยึดถือเป็น
แบบอย่างตายตัว ข้อมูลที่น�ำเสนอในตัวอย่างมิได้ครบถ้วนสมบูรณ์ แต่แสดงไว้เพียงเพื่อให้เห็น
วิธีการพัฒนาแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส.เท่านั้น
ในกรอบ

สถานการณ์ทั่วไป
หกเดือนทีแ่ ล้ว ประเทศเรนโดวา ใช้กำ� ลังรุกรานประเทศเพือ่ นบ้านทีเ่ ล็กกว่าชือ่ สาธารณรัฐ
ซาน แองกลอส (ดูรูป ข-๑หน้า ข-๒) ประเทศทั้งสองมีความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ มาตั้งแต่
สงครามระหว่างสหรัฐฯ กับสเปน ซาน แองกลอสเป็นประเทศที่เป็นเกาะมีความกว้างจากทิศ
ตะวันออกไปยังทิศตะวันตกประมาณ ๓๐๐ กม. ยาวจากเหนือจดใต้ประมาณ ๒๐๐ กม. ระหว่าง
เรนโดวากับ ซาน แองกลอส มีช่องแคบกว้างประมาณ ๔๕ กม. คั่นกลางเรียกว่า ช่องแคบดาวาโร
พื้นที่ทางด้านตะวันตกของซาน แองกลอส มีชนกลุ่มน้อยเชื้อสายเรนโดวาอาศัยอยู่ซึ่งส่วนใหญ่
เป็นชนชั้นผู้ใช้แรงงาน เรนโดวาฉวยโอกาสที่ชนกลุ่มน้อยเหล่านี้ไม่พอใจในสภาพความเป็นอยู่อ้าง
เป็นสาเหตุในการรุกรานซาน แองกลอส โดยได้รับการสนับสนุนจากชนกลุ่มน้อยเหล่านี้ด้วย
วัตถุประสงค์ทเี่ รนโดวาอ้างคือเพือ่ “ปลดปล่อย” ชนกลุม่ น้อยเรนโดวาในซาน แองกลอส
แต่แท้จริงแล้วเรนโดวาต้องการยึดครองซาน แองกลอสทั้งหมด หลังจากสู้รบกันได้สองเดือน
กองทัพซาน แองกลอส (เอเอสเอ) สามารถหยุดยั้งการรุกของเรนโดวาได้ แต่ก�ำลังของเรนโดวายัง
ยึดพืน้ ทีท่ างด้านตะวันตกของซาน แองกลอสอยูป่ ระมาณหนึง่ ในสามของพืน้ ทีท่ งั้ หมด โดยกองทัพ
ซาน แองกลอสยังคงยึดครองพื้นที่ส่วนที่เหลือไว้ได้ เรนโดวา ก�ำลังเจรจาเพื่อผนวกดินแดน
ยึดครองเป็นส่วนหนึ่งของ เรนโดวา แต่รัฐบาล ซาน แองกลอส ถือว่าเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้และ
ยังมั่นใจว่าสามารถจะขับไล่ก�ำลังของ เรนโดวา ให้ออกไปได้ อย่างไรก็ตามรัฐบาล ซาน แองกลอส

เป็นตัวอย่างที่ยกมาจาก FM 3-13
262 ผนวก ข

ตระหนักดีว่า ยิ่งก�ำลังของเรนโดวา ยึดครองพื้นที่อยู่นานเท่าใด การผลักดันขับไล่จะยิ่งยาก


มากขึ้นเท่านั้น
กองทัพ ซาน แองกลอส เป็นกองทัพที่ได้รับการฝึกมาเป็นอย่างดีและเคยร่วมการฝึก
กับกองทัพสหรัฐฯ มาแล้ว สามารถจะยึดพื้นที่ทางตะวันตกคืนมาโดยล�ำพัง อย่างไรก็ตาม ผู้น�ำ
ซาน แองกลอส เชือ่ ว่าการปฏิบตั กิ ารโดยล�ำพังจะท�ำให้การรบยืดเยือ้ เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง
ต่ออุตสาหกรรมและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ รวมทั้ง ซาน แองกลอส เองก็ไม่มีก�ำลังทาง
เรือที่เข้มแข็งพอจะขัดขวางการเพิ่มเติมก�ำลังของ เรนโดวา จากทางทะเลได้ ซาน แองกลอส
จึงได้ขอความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ เมื่อ ๔๕ วัน ที่ผ่านมา รัฐบาลซาน แองกลอส เชื่อว่าด้วยความ
ช่วยเหลือของกองทัพสหรัฐฯ จะท�ำให้กองทัพ ซาน แองกลอส ยึดพื้นที่คืนมาได้อย่างรวดเร็ว
ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ได้แต่งตั้งผู้บัญชาการรับผิดชอบพื้นที่และจัดตั้งหน่วยเฉพาะกิจร่วม (JTF)
250 เพื่อปฏิบัติการร่วมกับกองทัพ ซาน แองกลอส ด้วยเหตุผลทางการเมือง การจัดกองก�ำลังผสม
จึงมีลกั ษณะคูข่ นานกัน มีการจัดตัง้ ศูนย์การประสาน การสือ่ สาร และการบูรณาการขึน้ (Coalition
Coordination, Communication, and Interaction Center - C3IC) เพื่อประสานการปฏิบัติ
ระหว่างหน่วยเฉพาะกิจร่วม ๒๕๐ กับกองทัพซาน แองกลอส JTF 250 ได้การด�ำเนินการ ปขส.
ไปบางส่วนแล้วในด้านการ ปจว. และการลวง
กิจในการแสวงฯ ที่ ๑ รับภารกิจ
ข-๑ เมื่อได้รับภารกิจหรืออนุมานภารกิจขึ้นเอง ผบ. และ ฝอ. จะท�ำการประเมินขั้นต้น ผบ. จะ
ให้แนวทางขั้นต้น ฝอ. จะเตรียมและออกค�ำสั่งเตือน ค�ำสั่งยุทธการของกองก�ำลังเฉพาะกิจร่วม
๒๕๐ (กกล.ฉก.ร่วม) แสดงไว้ในรูป ข-๒ แสดงให้เห็นค�ำสั่งขั้นต้นจาก ทน.ที่ ๒๑ (XXI Corps)
ในกรอบ
การจัดเฉพาะกิจ
นามหน่วย ที่ตั้ง กองก�ำลัง
ทน.๒๑ ซาน แองกลอส กองก�ำลังกองทัพบก (ARFOR)
หน่วย กEFที่ ๑ ซาน ฮาซินโต กองก�ำลังกองทัพอากาศ (AFFOR)
Combat group ๑๖ ช่องแคบดาวาโร กองก�ำลังกองทัพเรือ (NAVFOR)
พลน้อย.นย.ที่ ๖ ในทะเล กองก�ำลัง นย. (MARFOR)
สถานการณ์
๑. สถานการณ์ทั่วไป
ก. ข้าศึก ก�ำลังฝ่ายรุกราน คือ ทน. เสือของ เรนโดวา ประกอบด้วยสามกองพลยานยนต์คือ พล.ยน.
๑๐๗, ๑๐๘ และ ๑๐๙ โดยวางก�ำลังในแนวปะทะสองกองพลเผชิญหน้ากับกองทัพ ซาน แองกลอสตลอด
แนวกองพลที่สามท�ำหน้าที่ยึดครองพื้นที่ ทน.เสือจัดที่มั่นตั้งรับและรอก�ำลังเพิ่มเติมที่จะมาจากท่าเรือ
RSOSCHKOSH การโฆษณาชวนเชือ่ ของเรนโดวาเน้นการกล่าวหาสหรัฐฯ ว่าเป็นนักล่าอาณานิคมยุคใหม่ และ
ประณามผู้น�ำซาน แองกลอส ว่าเป็นผู้สมคบคิดกับ compradore collaborators.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 263

ข. ก�ำลังฝ่ายเรา กองทัพซาน แองกลอส (ASA) เข้าตีในวัน ว. เวลา น. เพื่อท�ำลาย พล. ๑๐๗ และ พล.
๑๐๘ บรรจบกับ ทน.๒๑ บริเวณแม่น�้ำ AWASH เตรียมเข้าควบคุมพื้นที่ปฏิบัติการ COURTNEY และพื้นที่
ปฏิบัติการยกพลขึ้นบก Smedley
๒. ภารกิจ
กกล.ฉก. ร่วม ๒๕๐ เข้าตีในวัน ว. เวลา น. เพื่อกวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ ฟื้นฟูบูรณภาพ
แห่งดินแดนของซาน แองกลอส ยึด Heliotrope กวาดล้าง พื้นที่ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกสเม็ดลีย์ เพื่อป้องกัน
มิให้เรนโดวาส่งก�ำลังเพิ่มเติมมายังซาน แองกลอส บรรจบกับ ASA บริเวณแม่น�้ำอวอช ช่วยเหลือรัฐบาล
ซาน แองกลอสในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการขั้นพื้นฐาน ส่งมอบการควบคุมพื้นที่ปฏิบัติการ
คอร์ทนีย์และพื้นที่ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกสเม็ดลีย์ให้กับ ASA เมื่อสั่ง
๓. การปฏิบัติ
แนวความคิดในการปฏิบัติ
ก. ขั้นที่ ๑ NAVFOR/พลน้อย นย.ที่ ๖ ปฏิบัติการโจมตีสะเทินน�้ำสะเทินบกเพื่อยึด Heliothorpe และ
กวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกสเม็ดลีย์ ทน.๒๑ กวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ บรรจบกับ ASA
บริเวณแม่น�้ำอวอช และบรรจบกับพลน้อย นย.ที่ ๖ การปฏิบัติการแตกหักของฝ่ายเราคือการเข้าตีของ ASA
การปฏิบัติการแตกหักของ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ คือการปฏิบัติการของ ทน.๒๑ ผลลัพธ์ที่ต้องการคือ ทน.เสือ
ถูกท�ำลายหรือถูกจับเป็นเชลยทั้งหมด
ข. ขัน้ ที่ ๒ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ สนับสนุนส่วนราชการพลเรือนของ ซาน แองกลอส ในการฟืน้ ฟูความสงบ
เรียบร้อยและการบริการขั้นพื้นฐาน
ค. ขั้นที่ ๓ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ ส่งมอบการควบคุมพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์และพื้นที่ปฏิบัติการยกพล
ขึ้นบกสเม็ดลีย์ให้กับ ASA
ง. การลวง กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ ลวงว่าจะท�ำการยกพลขึน้ บกและท�ำการยุทธ์เคลือ่ นทีท่ างอากาศเพือ่ ยึด
RSOSCHKOSH และสถาปนาหัวหาดส�ำหรับการปฏิบัติการขั้นต่อไปของ ทน.๒๑ โดยใช้พื้นที่ทางด้านเหนือ
ของซาน แองกลอสเป็นพื้นที่พักคอย
๔. กองก�ำลังทหารบก (ARFOR)
ก. ขั้นที่ ๑
(๑) กวาดล้าง พื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์
(๒) ท�ำการบรรจบกับก�ำลังของ ASA บริเวณแม่น�้ำ AWASH
(๓) ท�ำการบรรจบกับ พลน้อย นย.ที่ ๖ บริเวณ HELIOTROPE
(๔) สนับสนุนการ ปขส. ต่อการปฏิบัติการโจมตียกพลขึ้นบกของ พลน้อย นย.ที่ ๖
(๕) เมื่อบรรจบกับพลน้อย นย.ที่ ๖ แล้วรับผิดชอบเป็น ผบ. กองก�ำลังทางบก
ข. ขั้นที่ ๒ สนับสนุนรัฐบาลซาน แองกลอสในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการประชาชน
ในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์และพื้นที่ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกสเม็ดลีย์
ค. ขัน้ ที่ ๓ ส่งมอบการควบคุมพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารคอร์ทนียแ์ ละพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารยกพลขึน้ บกสเม็ดลียใ์ ห้กบั ASA
264 ผนวก ข

ง. การลวง สร้างภาพการเตรียมการส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารยุทธ์เคลือ่ นทีท่ างอากาศด้าน RSOSCHKOSH


เพื่อสนับสนุนการลวงของ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐
๕. กองก�ำลังทหารอากาศ (AFFOR) (ทุกขั้น)
ก. ครองอากาศ
ข. ป้องกันมิให้ก�ำลังและสิ่งอุปกรณ์ของฝ่ายเรนโดวาเคลื่อนย้ายทางอากาศจาก RSOSCHKOSH ไปยัง
HELIOTROPE
ค. สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารภาคพืน้ ดินของกองก�ำลังผสมด้วยการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชดิ และด้วย
การส่งก�ำลังบ�ำรุงภายในยุทธบริเวณ
ง. ด�ำรงการควบคุมเส้นการคมนาคมทางอากาศ
จ. รับผิดชอบเป็น ผบ.กองก�ำลังทางอากาศหลังการบรรจบกับพลน้อย นย.ที่ ๖
๖. กองก�ำลังทหารเรือ (NAVFOR) (ทุกขั้น)
ก. ปฏิบัติการควบคุมทะเลในพื้นที่ช่องแคบดาวาโร
ข. ป้องกันมิให้ก�ำลังและสิ่งอุปกรณ์ของฝ่ายเรนโดวาท�ำการเคลื่อนย้ายทางทะเลจาก RSOSCHKOSH
ไปยัง HELIOTROPE
ค. สร้างภาพการเตรียมการโจมตียกพลขึ้นบกที่ RSOSCHKOSH
ง. สนับสนุนการปฏิบัติการโจมตียกพลขึ้นบกของ กกล.นย. ที่ HELIOTROPE
จ. สนับสนุนการปฏิบัติการภาคพื้นดินของ กกล.ผสมด้วยการส่งก�ำลังบ�ำรุง
ฉ. ด�ำรงการควบคุมเส้นการคมนาคมทางทะเล
ช. ส่งมอบการควบคุม พลน้อย นย.ที่ ๖ ให้กับ ก RFOR เมื่อบรรจบกับ ทน.๒๑
๗. กองก�ำลังนาวิกโยธิน (MARFOR)
ก. ปฏิบัติการโจมตียกพลขึ้นบกเพื่อยึด HELIOTROPE เพื่อป้องกันมิให้เรนโดวาใช้ในการเพิ่มเติมก�ำลัง
จาก RSOSCHKOSH
ข. กวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกสเม็ดลีย์
ค. บรรจบกับ ทน.๒๑ และเปลี่ยนไปขึ้นการควบคุมทางยุทธการกับ ผบ.กองก�ำลังทางบก ณ จุดบรรจบ
๘. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
ก. การปฏิบัติการครั้งนี้มีชื่อเรียกว่า FRIED ANCHOR
ข. ค�ำสั่งยุทธการนี้มีผลบังคับเมื่อได้รับส�ำหรับการวางแผน และให้ปฏิบัติภายใน ๗๒ ชม.
ค. ห้ามปฏิบัติการจิตวิทยาหรือการ สอ.ด้วยความถี่ที่อาจรบกวนการติดต่อสื่อสารทางพลเรือนในพื้นที่
ง. จ�ำกัดความเสียหายต่อโครงสร้างพื้นฐานทางพลเรือนให้มีน้อยที่สุด
จ. ด�ำรงการสนับสนุนประชาชนในท้องถิ่นตลอดเวลา
การช่วยรบ
๙. (เว้น)
การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
๑๐. เว้น
รูปที่ ข-๒ ค�ำสั่งยุทธการของ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ (ต่อ)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 265

การประเมินขั้นต้นและการให้แนวทางในการวางแผนขั้นต้นของ ผบ.
ข-๒. เมื่อ ผบ. และ ฝอ. ท�ำการประเมินขั้นต้นเสร็จ ผบ.จะให้แนวทางในการวางแผนขั้นต้นรูปที่
ข-๓ เป็นตัวอย่างการให้แนวทางในการวางแผนขั้นต้นของแม่ทัพน้อย ๒๑ ..... เวลา น. ของเรา
อยู่ภายใน ๗๒ ชม. ที่ได้รับ เรามีเวลาที่จะท�ำการแสวงข้อตกลงใจเต็มรูปแบบ ผมต้องการให้ออก
ค�ำสั่งยุทธการได้ภายใน ๒๔ ชม. บรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจให้ผมฟังภายใน ๖ ชม. และ
เตรียมการ WAR GAME ภายใน ๑๒ ชม.
ดูให้ดีว่าชุด นตต.ประจ�ำ ASA และ พลน้อย นย.ที่ ๖ มีทุกสิ่งทุกอย่างที่จ�ำเป็น
สธ. ๒ พิสูจน์ทราบที่ตั้งของกองหนุนของกองพลที่ ๑๐๗ และ ๑๐๘ ระบุที่ตั้งการวางก�ำลังขนาด
กองพันทุกแห่งของกองพล ๑๐๙ สธ.๓ เริ่มการลาดตระเวนเพื่อหาข่าวที่หน่วยเหนือยังไม่ได้ให้มา
หลีกเลี่ยงการปฏิบัติการใด ๆ ที่อาจเปิดเผยภารกิจของ ทน.๒๑ ลดการเคลื่อนย้ายให้มีน้อยที่สุด
หากเป็นไปได้ ข้าพเจ้าต้องการลงมือปฏิบตั กิ ารจากทีต่ งั้ ในปัจจุบนั นี้ หากจ�ำเป็นต้องเคลือ่ นย้าย ต้อง
ปกปิดหรือท�ำให้ดเู สมือนว่าก�ำลังเตรียมการเพือ่ ท�ำการยุทธ์เคลือ่ นทีท่ างอากาศต่อ RSOSCHKOSH
สธ.๓ วางแผนการยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศโดยใช้กองพลที่ ๑๒๑ โดยพิจารณาทั้งการโอบปีกเดียว
และการโอบสองปีก ข้าพเจ้าไม่อยากให้มีการบินข้ามแนวการวางก�ำลังของ ASA
การประสานการยิงสนับสนุน ให้หาว่า ผบ.กกล.ทางอากาศ และ NAVFOR จะช่วยอะไรเราได้บ้าง
ในพื้นที่การข่มการป้องกันภัยทางอากาศข้าศึกร่วม (JSEAD) ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากพวกเขา
การยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศจะสูญเสียมากเกินกว่าจะยอมรับได้ เราจึงต้องการให้พวกเขาเพิ่มเติม
อ�ำนาจการยิงให้กบั ปืนใหญ่ของเราด้วยทันทีทเี่ ราแตะพืน้ การปฏิบตั กิ ารของเราเป็นการปฏิบตั กิ าร
แตกหักของ กกล.ฉก.ร่วม เราจึงต้องการให้พวกเขาช่วยในเรื่องนี้
สธ.๕ ให้เน้นการวางแผนในขั้นที่ ๒ ส�ำหรับ สธ.๓ ผมอยากให้การเปลี่ยนการปฏิบัติจากขั้นการรุก
ไปเป็นการปฏิบัติการสนับสนุนกระท�ำไปโดยลื่นไหลไม่มีการหยุดชะงัก สธ.๗ สนับสนุน สธ.๕ ด้วย
การ ปจว.และด้วยหน่วยและเครื่องมือ ปขส. ทั้งหมดเท่าที่จะหาได้ ผมต้องการให้มีการสูญเสีย
ส�ำหรับพลเรือนน้อยที่สุด สธ.๕ และ สธ.๗ ต้องร่วมมือกันในเรื่องนี้
สธ.๗ ให้ขอ้ เสนอแนะกับผมด้วยว่าเมือ่ ไหร่ถงึ จะเหมาะในการโยกทรัพยากรจากการปฏิบตั กิ ารลวง
มาให้กับการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ ผมอยากให้เกิดการจู่โจมในระดับยุทธการ แต่ก็อยากได้
ทรัพยากรมาสนับสนุนการยุทธ์เคลือ่ นทีท่ างอากาศให้มากทีส่ ดุ ลองมองหาทางทีจ่ ะก�ำหนดทีห่ มาย
ส�ำหรับการยุทธ์เคลือ่ นทีท่ างอากาศเช่นเดียวกับ RSOSCHKOSH ประสานเรือ่ งนีก้ บั NAVFOR ด้วย
266 ผนวก ข

สธ.๗ ปขส. คือปัจจัยชี้ความส�ำเร็จของเรา เราต้องการการจู่โจม แต่ขณะเดียวกันเราต้องติดต่อ


สือ่ สารกันได้ คุณจะต้องดูแลทัง้ สองเรือ่ งนี้ ให้ความเร่งด่วนกับกองพล ๑๐๙ ก่อนแต่กข็ อให้ดรู ะบบ
ควบคุมบังคับบัญชากอง ทน.เสือด้วย ประสานงาน ปขส.ที่อาจรบกวนระบบ C3IC ด้วย และต่อ
ไปนี้คือ ขสร. (EEFI)
- ภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติของ ทน.๒๑
- ที่ตั้งและนามหน่วยส�ำคัญในระบบควบคุมบังคับบัญชาของ ทน.๒๑
- ที่ตั้งและนามหน่วยของ ทก.ยุทธ และ ทก.หลักของ ทน.๒๑, กองพลของ ทน., ปืนใหญ่
ทน., และ บชร.
- ที่ตั้งของระบบ INFOSYS ของ ทก.พลน้อยบินที่ ๒๑ และ ทก.ของกองพันของพลน้อยนี้
(รูป ข-๓ แนวทางในการวางแผนขั้นต้นของ มทน.๒๑)
ค�ำสั่งเตือน
ข-๓. จากการประเมินขั้นต้นและแนวทางในการวางแผนขั้นต้นของ ผบ. ฝอ.ของ ทน.๒๑ จึงออก
ค�ำสั่ง ตามตัวอย่างรูปที่ ข-๔ ดังนี้
............ค�ำสั่งเตือน ๒๑-๑
อ้างถึง ค�ำสั่งยุทธการ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ ที่ ๐๑ แผนที่.........., แผ่นบริวารยุทธการประกอบ
(ดูรูป ข-๑ )
เขตเวลา ซูลู
การจัดเฉพาะกิจ
พล.ร. ๑๒๑ พลน้อย ส.ที่ ๒๑ ป.ทน.
พลน้อยบินที่ ๒๑ กรม.ม.ลว.ที่ ๒๗ พัน ๑ กลุ่ม ปจว. ที่ ๑๙
พลน้อย ขกท.ที่ ๒๑ พลน้อย กร.ที่ ๓๖๕ หน่วยแยก ปชส. ที่ ๒๑

๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก ทน. เสือควบคุมพืน้ ทีท่ างด้านตะวันตกของซาน แองกลอส มีกำ� ลังสองกองพล (๑๐๗
และ ๑๐๘) เผชิญหน้าอยูก่ บั ASA ก�ำลังอีกหนึง่ กองพล (๑๐๙) ท�ำหน้าทีเ่ ป็นกองก�ำลังยึดครองพืน้ ที่
ด้านตะวันตกของซาน แองกลอส
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา ASA เข้าตีวัน ว. เวลา น. เพื่อท�ำลาย ทน. เสือตามแนวปะทะ บรรจบกับ
ทน.๒๑ บริเวณแม่น�้ำอวอช พลน้อย นย.ปฏิบัติการโจมตียกพลขึ้นบกยึด HELIOTROPE เพื่อ
ป้องกันมิให้ เรนโดวา เพิ่มเติมก�ำลังจาก RSOSCHKOSH กวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการยกพล
ขึ้นบกสเม็ดลีย์ บรรจบกับ ทน.๒๑ การปฏิบัติการแตกหักของกองก�ำลังผสมคือการเข้าตีของ ASA
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 267

การปฏิบัติการแตกหักของ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ คือการปฏิบัติการของ ทน.๒๑ กกล.ทางอากาศ


และ NAVFOR สนับสนุน ทน.๒๑ ด้วยการข่ม ปภอ. ข้าศึกร่วมการขัดขวางทางอากาศ และ
การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด
ค. หน่วยขึ้นสมทบและหน่วยแยก (เว้น)
๒. ภารกิจ (จะจัดส่งให้ภายหลัง)
๓. การปฏิบัติ
เจตนารมณ์ (จะจัดส่งให้ภายหลัง)
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ ทน.๒๑ ปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศในวัน ว. เวลา
น.เพือ่ ยึดพืน้ ทีเ่ ป็นฐานปฏิบตั กิ ารหน้าในภาคตะวันตกของซาน แองกลอส กวาดล้างพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร
คอร์ทนีย์, บรรจบกับก�ำลังของ ASA บริเวณแม่น�้ำอวอช, บรรจบกับพลน้อย นย.ที่ ๖, สนับสนุน
รัฐบาลซาน แองกลอส ในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการพื้นฐานต่อพลเรือน
ข. กิจของหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์
(๑) การเคลื่อนย้ายขั้นต้นและค�ำแนะน�ำในการลาดตระเวน (เว้น)
(๒) พล.ร.๑๒๑ เตรียมการยุทธ์เคลือ่ นทีท่ างอากาศและกวาดล้างพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารคอร์ทนีย์
ค. กิจของหน่วยสนับสนุนการรบ
(๑) การเคลื่อนย้ายขั้นต้นและค�ำแนะน�ำในการลาดตระเวน (เว้น)
(๒) พลน้อยบินที่ ๒๑ เตรียมการสนับสนุนการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศของ พล.ร.๑๒๑
(๓) พลน้อย กร.ที่ ๓๖๕ เตรียมการสนับสนุนส่วนราชการซาน แองกลอสในการฟืน้ ฟูความ
สงบเรียบร้อยและการบริการพลเรือนในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ และพื้นที่ปฏิบัติ
การยกพลขึ้นบกสเม็ดลีย์
ง. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
(๑) การก�ำหนดเวลาขั้นต้นคือ เวลา น.คือ (ระบุเป็นหมู่วันเวลา) (๗๒ ชม. นับจากเวลาที่
ได้รับค�ำสั่งยุทธการของ กกล.ฉก. ร่วม) ค�ำสั่งยุทธการคาดว่าจะออกมาเวลา.... (หลัง
จากได้รับค�ำสั่งยุทธการจาก กกล.ฉก. ร่วม ๒๔ ชม) การซักซ้อมจะกระท�ำที่
(ระบุสถานที่) ณ เวลา (ระบุ)
(๒) ขสร.
(ก) ภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติของ ทน.๒๑
(ข) นามหน่วยและที่ตั้งของระบบควบคุมบังคับบัญชาที่ส�ำคัญของ ทน.๒๑
(ค) นามหน่วยและทีต่ งั้ ของ ทก.ยุทธ์, ทก.หลักของ ทน.๒๑ กองพล, ป.ทน. และ บชร.
(ง) ที่ตั้งระบบ INFOSYS ของ ทก.พลน้อยบิน ๒๑ และ ทก.พัน ที่เป็นหน่วยรอง
268 ผนวก ข

(๓) แนวทางการลวง
(ก) การปฏิบัติการลวงในปัจจุบันให้ด�ำเนินต่อไป
(ข) ปกปิดการเคลือ่ นย้ายทุกชนิดหรือสร้างภาพให้ดเู หมือนว่าเป็นการเตรียมการยุทธ์
เคลื่อนที่ทางอากาศต่อ RSOSCHKOSH
(๔) แนวทางในการจัดการกับความเสี่ยง (เว้น)
๔. การช่วยรบ (เว้น)
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร (เว้น)
การรับรองฝ่าย (การรับรองส�ำเนา-เว้น)
รูปที่ ข-๔ ค�ำสั่งเตือนของ ทน.๒๑
กิจที่ ๒ วิเคราะห์ภารกิจ
ข-๔. ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ ฝอ.จะต้องค้นหาปัญหาทางยุทธวิธีที่อาจจะเกิดขึ้นและหา
ทางแก้ปัญหาเหล่านั้น ผลผลิตของการวิเคราะห์ภารกิจคือภารกิจแถลงใหม่ เจตนารมณ์ของ ผบ.
แนวทางในการวางแผนของ ผบ. และค�ำสั่งเตือนอย่างน้อยหนึ่งค�ำสั่ง สธ.๗ ต้องดูให้ดีว่าในผลผลิต
เหล่านั้นได้มีการระบุปัจจัยและปัจจัยน�ำเข้าด้าน ปขส. ส�ำหรับกิจอื่น ๆ ไว้ด้วย ผลผลิตหลักของ
การวิเคราะห์ภารกิจของ สธ.๗ คือ ภารกิจด้าน ปขส. และการปรับปรุงประมาณการ ปขส.
กิจในการวิเคราะห์ภารกิจ
- วิเคราะห์ค�ำสั่งหน่วยเหนือ ก�ำหนดผนวก ข่าวกรอง การลาดตระเวนและเฝ้าตรวจ (ขลฝ.)
- ท�ำ ไอพีบี ท�ำแผนการใช้เวลาที่มีอยู่
- ระบุกิจเฉพาะ กิจแฝง กิจส�ำคัญยิ่ง เขียนภารกิจแถลงใหม่
- ทบทวนหน่วย/เครื่องมือที่มีอยู่ บรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจ
- ระบุข้อบังคับ/ข้อห้าม อนุมัติภารกิจแถลงใหม่
- ระบุข้อเท็จจริงที่ส�ำคัญและสมมติฐาน พัฒนาเจตนารมณ์ ผบ. ขั้นต้น
- ประเมินความเสี่ยง ผบ. ให้แนวทางในการวางแผน
- ก�ำหนด ขส. ส�ำคัญที่ ผบ. ต้องการทราบ (CCIR) ออกค�ำสั่งเตือน
ทบทวนข้อเท็จจริงและสมมติฐาน

วิเคราะห์ค�ำสั่งของหน่วยเหนือ
ข-๕. การวิเคราะห์ภารกิจจะเริ่มขึ้นด้วยการศึกษาค�ำสั่งยุทธการของ ทน.๒๑ อย่างถี่ถ้วนเพื่อ
ก�ำหนดแนวทางในการวางแผนขัน้ ต้นของ ผบ. ในกิจขัน้ นีจ้ ะยังไม่มผี ลผลิตด้าน ปขส.ทีเ่ ป็นทางการ
ออกมา เนื่องจากวัตถุประสงค์ก็เพื่อต้องการให้ทุกฝ่ายได้รับรู้และเข้าใจตรงกันถึงภารกิจและ
ข่าวสารที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องเจตนารมณ์ของ ผบ. หน่วยเหนือ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 269

(หน้า ข-๙)
ท�ำ IPB ขั้นต้น
ข-๖. สธ.๗ เป็นผู้ให้ข้อมูลด้าน ปขส. รวมถึง HVT ที่เกี่ยวข้องกับงาน ปขส. ต่อ สธ.๒ ในการท�ำ
ตสข. ส่วนหนึง่ ของ ตสข. ทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ปขส.จะไปปรากฏอยูใ่ นข้อ ๒ ของประมาณการ ปขส.
(ดูรูป ข-๕)
๒. สถานการณ์และข้อพิจารณา
ก. ลักษณะของพื้นที่ปฏิบัติการและสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
(๑) ลมฟ้าอากาศ พายุที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศในช่วงเวลานี้
เกิดขึ้นไม่บ่อยนัก
(๒) ภูมิประเทศและลักษณะทางกายภาพของสภาพแวดล้อม (เว้น)
(๓) สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร
(ก) สือ่ ให้ความสนใจต่อการปฏิบตั กิ ารของ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ มาก เนือ่ งจากสหรัฐฯ
มีความสัมพันธ์ทยี่ าวนานทัง้ กับซาน แองกลอสและเรนโดวา สือ่ มวลชนต่างประเทศ
ในซาน แองกลอสได้เพิ่มจ�ำนวนขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(ข) สื่อมวลชนในซาน แองกลอสมีเสรีภาพในการท�ำงานมาก การรายงานแบบ
เชิงลึกได้รับความเชื่อถือมาก
(ค) บ้านเรือนส่วนใหญ่ใน ซาน แองกลอส มีเครื่องรับวิทยุ ประชาชนเกือบทุกคนมี
โอกาสรับชมข่าวสารทางโทรทัศน์ซาน แองกลอส อยู่ในระยะที่รับสัญญาณ
ทั้งวิทยุและโทรทัศน์ของเรนโดวาได้ การแพร่คลื่นของซาน แองกลอส ยังคง
ด�ำเนินอยู่ตลอดเวลา
(ง) ซาน แองกลอส อนุญาตให้สื่อต่างประเทศส่วนใหญ่เข้าท�ำข่าวใน ซาน แองกลอส ได้
(๔) สภาพที่น่าจะเป็นในการที่ฝ่ายตรงข้ามเห็นภาพของฝ่ายเรา (เว้น)
ข. ข้าศึก ก�ำลังหลักของฝ่ายตรงข้ามที่เผชิญหน้ากับ ทน.๒๑ คือกองพลที่ ๑๐๙ ของ ทน.เสือ
กองพลที่ ๑๐๗ และ ๑๐๘ เผชิญหน้ากับก�ำลังของ ASA กองพล ๑๐๙ เป็นก�ำลังที่วางยึดครอง
พื้นที่ทางด้านตะวันตกของซาน แองกลอส และวางก�ำลังกระจายเต็มพื้นที่ แต่ไม่มีหน่วยใดรวม
ก�ำลังใหญ่เกินกว่าขนาดกองพัน กองพลที่ ๑๐๗ และ ๑๐๘ มีกองหนุนขนาดกองพลน้อยอยู่ใกล้
กับพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ และอาจเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติการของ ทน.๒๑
(๑) การตั ด สิ น ใจและกระบวนการตั ด สิ น ใจ ผบ.ทน.เสื อ คื อ เป้ า หมายของการลวง
ต้องท�ำให้เขาเชื่อว่า ASA จะยังตั้งรับต่อไป และ ทน.๒๑ จะเตรียมการขยายผลการ
โจมตียกพลขึ้นบกที่ RSOSHKOSH
270 ผนวก ข

(๒) จุดแข็งและจุดอ่อนของ INFOSYS ระบบควบคุมบังคับบัญชาส�ำคัญ และ ปม ขฝล.


(ISR node) ของเรนโดวา ซึ่งรวมถึง ทก.ทน.เสือ, ทก.พล. เรดาร์ ป. ระบบเป้าหมาย,
สถานีควบคุมภาคพื้นดินส�ำหรับ ร้อย.UAV, ที่ตั้งทางการสื่อสาร พล.
(๓) ขีดความสามารถการ ปขส. การวางก�ำลัง การประกอบก�ำลัง และก�ำลัง
(ก) ทน. เสือ และกองพลหน่วยรองได้รับการสนับสนุนระดับยุทธการด้านข่าวกรอง
และเป้าหมายจากหน่วยและองค์กรพิเศษ
(ข) กองพันวิทยุอเิ ล็กทรอนิกส์ที่ ๔๐๙๒ ของกองพล ๑๐๙ สามารถตรวจจับ ก�ำหนด
ทีต่ งั้ และก่อกวนการติดต่อสือ่ สารทัง้ ระบบ AM และ FM ทีแ่ พร่คลืน่ ด้วยความถี่
HF และ VHF กองพัน REC 109 มีขีดความสามารถโจมตีระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ได้ แต่ละกองพลมีหน่วย REC ระดับกองร้อยที่มีขีดความสามารถ
แบบเดียวกัน เว้นการโจมตีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(ค) กองร้อยข่าวสารที่ ๔๐๙ (409 Public Information Company) กองพล ๑๐๙
มีขดี ความสามารถในการผลิตและแพร่สอื่ โฆษณาชวนเชือ่ ได้ แต่ในระดับกองพล
น้อยไม่มีหน่วยแบบนี้ในอัตรา
(ง) เรนโดวามีขดี ความสามารถด้าน ขลฝ. สูงและหลากหลาย มีทงั้ ระบบภาคพืน้ ดิน
และในอากาศยานที่เทียบได้กับประเทศตะวันตก
(จ) ระบบการยิงสนับสนุนของ ทน.เสือมีความทันสมัย มีทั้ง ป. ล�ำกล้อง และ
พัน.ฮ.โจมตี ระดับกองพลน้อยมี ค.ขนาด ๑๒๐ มม. ในอัตรา แต่ละกองพลมี
พันป.ที่ประกอบด้วย ป. อัตตาจร ระยะยิงปานกลางหนึ่งกองพัน และกองร้อย
จรวดหลายล�ำกล้องหนึ่งกองร้อย ป. และจรวดหลายล�ำกล้องของ กองพล ๑๐๙
ให้การสนับสนุน กองพล ๑๐๗ และ กองพล ๑๐๘ ส่วน ค. ของกองพลน้อยยัง
อยู่ในความควบคุมของหน่วย
(ฉ) HVT คือ ทก.ทน., ทก.พล., ทก.พลน้อย, ทีต่ งั้ ทางการสือ่ สาร, เรดาร์ คปม, เรดาร์
ปภอ., ระบบเป้าหมาย, หน่วยสงครามอิเล็กทรอนิกส์ และประชาชนในพื้นที่
(ช) เรนโดวามีความเชี่ยวชาญในการใช้สื่อ ทั้งของตนและสื่อต่างประเทศเพื่อสนับสนุน
การโฆษณาชวนเชื่อของตนเพื่อให้วัตถุประสงค์ทั้งทางการเมืองและการทหาร
(ซ) เรนโดวา มีระบบ ปภอ. และ ระบบ INFOSYS ที่ทันสมัย มีขีดความสามารถ
ในการตรวจจับเป้าหมายระยะไกลและที่บินด้วยความสูงในระดับต�่ำได้ จุดอ่อน
ส�ำคัญ คือโครงสร้างการบังคับบัญชาแบบรวมศูนย์


ตรงนี้น่าจะเป็น กองพัน ๑๐๙ มากกว่าจะเป็นกองพัน ๔๐๙
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 271

(๔) ห/ป.ด้าน ปขส.ที่เป็นไปได้


(ก) หป.๑ (น่าจะกระท�ำมากที่สุด) ผบ.ทน.เสือ ตอบโต้การถูกจู่โจมจากการยุทธ์
เคลื่อนที่ทางอากาศด้วยการใช้กองหนุนของ กองพล ๑๐๗ หรือ ๑๐๘ หน่วยใด
หน่วยหนึ่งหรือทั้งสองหน่วยท�ำการตีโต้ตอบ
(ข) หป.๒ (อันตรายที่สุด) ผบ.ทน.เสือ ล่วงรู้แผนการลวงและเตรียมการโจมตีต่อ
การยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ แผนของข้าศึกจึงอาจวาง ป., ปภอ. และก�ำลัง
ภาคพืน้ ดินทีจ่ ะโจมตีตอ่ พืน้ ทีท่ นี่ า่ จะเป็นพืน้ ทีส่ ง่ ลง (LZ) ของฝ่ายเรา และเตรียม
ส่งผู้พลัดถิ่นเข้าไปในพื้นที่ส่งลง

รูปที่ ข-๕ ข้อ ๒ ประมาณการ ปขส.

ข-๗. สธ.๗ ศึกษา IPB เพื่อก�ำหนดที่ตั้งส�ำคัญของระบบควบคุมบังคับบัญชาของ ทน.เสือ ซึ่ง


ได้แก่ ทก. ที่ตั้งทางการควบคุมบังคับบัญชา ระบบ INFOSYS ที่ส�ำคัญต่อกระบวนการตัดสินใจ
ทั้งของ ทน.เสือ และ พล.๑๐๙ การวิเคราะห์อาจท�ำให้พบข่าวสารที่ยังขาดอยู่ และ สธ.๗
จะส่งค�ำขอข่าวสารที่ยังขาดอยู่ไปให้ สธ.๒ นอกจากนี้ สธ.๗ ยังต้องการข่าวสารเกี่ยวกับหน่วย
และเครื่องมือ ขตฝ. ของ ทน.เสือ เพื่อก�ำหนดขีดความสามารถและจุดอ่อนที่อาจมีผลต่อการยุทธ์
เคลื่อนที่ทางอากาศ ข่าวสารดังกล่าวได้แก่ ขีดความสามารถของ ทน.เสือ ในการรวบรวมข่าวสาร
ในเรื่องระบบควบคุมบังคับบัญชาของ ทน.๒๑ ขีดความสามารถของระบบ ปภอ. ของ ทน.เสือ ที่
จะตอบโต้ต่อการใช้สงครามอิเล็กทรอนิกส์ของฝ่ายเรา ส่วนต่างของงาน ปขส. โดยเฉพาะด้าน
ปจว., กร. (CMO), ปชส. ต้องหาวิธีที่จะสร้างอิทธิพลต่อความคิดและทัศนคติของพลเรือนในพื้นที่
ปฏิบตั กิ ารงานเหล่านีอ้ าจท�ำให้เกิด ตขส.เพิม่ เติมเกีย่ วกับการวิเคราะห์ผฟู้ งั ส�ำหรับงาน ปจว. ตขส.
เหล่านี้จะถูกส่งไปยัง สธ.๒ เมื่อได้รับค�ำตอบแล้วจะน�ำไปใส่ไว้ในข้อ ๒ ของประมาณการ ปขส.
ก�ำหนดกิจเฉพาะ กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิ่ง
ข-๘. ฝอ.ท�ำการวิเคราะห์ค�ำสั่งยุทธการของหน่วยเหนือไปพร้อม ๆ กับการท�ำ IPB เพื่อก�ำหนด
กิจเฉพาะ กิจแฝง และกิจส�ำคัญยิ่งที่ ทน.๒๑ ได้รับ กิจเหล่านี้บางข้ออาจต้องใช้งาน ปขส.ช่วย
เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ส�ำหรับ สธ.๗ กิจข้อนีค้ อื การค้นหากิจเฉพาะทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ปขส.จาก
ค�ำสัง่ ยุทธการของหน่วยเหนือ รวมถึงการก�ำหนดกิจแฝงทีส่ นับสนุนต่อความส�ำเร็จของภารกิจด้วย
นอกจากนี้ยังจะต้องรวบรวมรายการเครื่องมือ/หน่วยส�ำคัญที่มีอยู่ (ดูรูป ข-๖)
272 ผนวก ข

กิจเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับงาน ปขส.
- แสดงให้เห็นถึงการเตรียมการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศต่อ RSOSHKOSH
- สนับสนุนการ ปขส.ต่อการโจมตียกพลขึ้นบกของ พลน้อย นย.ที่ ๖
- (กิจส�ำคัญยิ่ง) สนับสนุนรัฐบาล ซาน แองกลอสในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการพื้นฐาน
แก่ประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์และพื้นที่โจมตียกพลขึ้นบกสเม็ดลีย์
กิจแฝงที่เกี่ยวข้องกับงาน ปขส.
- ป้องกันมิให้การปฏิบัติการถูกเปิดเผย
- ป้องกันระบบควบคุมบังคับบัญชาของทน.๒๑
- ขัดขวาง การ ปภอ., ขลฝ. คบช. (C2) และระบบเป้าหมายของ ทน.เสือและของ พล.๑๐๙ ระหว่างช่วงเวลา
ส�ำคัญในการปฏิบัติการ
- ลดการกีดขวางจากพลเรือนในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์
หน่วย/เครื่องมือส�ำคัญ
- ข่ายสื่อสารร่วมที่ใช้ในพื้นที่ ทน. (common user network) ทั้งเสียงและข้อมูล
- ระบบเชื่อมต่อการติดต่อสื่อสารยุทธวิธี-ยุทธศาสตร์
- ยูเอวี-เอสอาร์ (ฮันเตอร์)
- ควิกฟิกซ์
- การ์เดรล
รูปที่ ข-๖ กิจที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. และหน่วย/เครื่องมือส�ำคัญ

ข-๙. กิจที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. กิจหนึ่งที่ ทน. ได้รับคือ การแสดงให้เห็นการเตรียมการส�ำหรับ


การยุทธ์เคลือ่ นทีท่ างอากาศต่อ RSOSHKOSH ซึง่ เป็นกิจทีส่ นับสนุนต่อการลวงของ กกล.ฉก. ร่วม
การลวงของ กกล.ฉก. ร่วมมุ่งเป้าไปที่ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจของเรนโดวาด้วยการท�ำให้พวกเขา
เชือ่ ว่า สหรัฐฯ ใช้ ซาน แองกลอส เป็นพืน้ ทีพ่ กั คอยส�ำหรับการรุกเรนโดวาโดยการใช้ พลน้อย นย.ที่
๖ ที่ก�ำลังอยู่ในทะเลบริเวณช่องแคบ ดาวาโร ในการ ปจว. ระดับชาติก็จะสนับสนุนความพยายาม
นีเ้ ช่นกันโดยจะเน้นย�ำ้ ให้เห็นว่าประธานาธิบดีสหรัฐฯ ต้องการแก้ไขปัญหาแบบ “ขุดรากถอนโคน”
(โดยการบุกเรนโดวา) แทนที่จะท�ำแบบ “เล็มใบตัดกิ่ง” (ปฏิบัติการรบในซาน แองกลอส) การ
ลวงของ ทน. จะเสริมการลวงของ กกล.ฉก.ร่วม และการลวงในระดับชาติด้วยการแสดงให้เห็น
ภาพว่าก�ำลังเตรียมการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศข้ามช่องแคบ ดาวาโร การท�ำให้ ผบ.ทน.เสือ และ
ผบ. พล.๑๐๙ เชื่อว่าภาพที่เห็นเป็นเรื่องจริงคือกิจในการลวงที่สนับสนุนกิจแฝงใน การ ปขส. นั่น
คือป้องกันมิให้การปฏิบตั กิ ารถูกเปิดเผย นายทหารการลวง (Military deception Officer - MDO)
เป็นผู้ดูแลการปฏิบัติการลวงของ ทน. และประสานสอดคล้องให้เข้ากับการลวงของ กกล.ฉก. ร่วม
การวางแผนการลวงจะกระท�ำไปพร้อม ๆ กับการวางแผนยุทธการในภาพรวม
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 273

ข-๑๐. การสนับสนุนรัฐบาลซาน แองกลอส ในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการ


ขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนในพื้นที่คอร์ทนีย์และสเม็ดลีย์เป็นกิจหลักด้าน กร. อย่างไรก็ตามมันอาจมี
องค์ประกอบหรือกิจกรรมด้าน ปขส. เช่น การประชาสัมพันธ์และการ ปจว. สธ.๗ และ สธ.๕
จะต้องประสานเรื่องนี้กับ สธ.๓ ด้วย
ทบทวนเครื่องมือ/หน่วยที่มีอยู่
ข-๑๑. สธ.๗ ค้นหาหน่วย/เครื่องมือที่มีอยู่ส�ำหรับน�ำมาสนับสนุนการ ปขส. โดยดูจากการจัด
เฉพาะกิจในค�ำสั่งของหน่วยเหนือ (กกล.ฉก.ร่วม) และจาก รปจ.ของ ทน. ทรัพยากรที่มีอยู่เหล่านี้
จะถูกแสดงไว้ในข้อ ๒ ค. (๒) และ (๓) ของประมาณการ ปขส. (ดูรูป ข-๗)

๒. สถานการณ์และข้อพิจารณา
ก. ลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการและสภาพแวดล้อมด้าน ปขส. (เว้น ดู ข-๕ )
ข. ข้าศึก (เว้น ดูรูป ข-๕ )
ค. ฝ่ายเรา
(๑) แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส.ต่อ ห/ป. แต่ละ ห/ป. (ก�ำหนดขึน้ ระหว่างการพัฒนา ห/ป.)
(๒) สถานภาพปัจจุบันของหน่วย/เครื่องมือ ปขส.
(ก) สงครามอิเล็กทรอนิกส์
๑) พลน้อย ขกท.๒๑
๒) พลน้อย ส.๒๑
(ข) การ ปจว.
๑) หน่วย ปจว. ของ ทน.๒๑
๒) พัน ปจว.ที่ ๑ กลุ่ม ปจว. ที่ ๑๙
(ค) การประชาสัมพันธ์
๑) น.ปชส.ทน.๒๑
๒) หน่วยแยก ปชส.ที่ ๒๑
(ง) การท�ำลายทางกายภาพ
๑) หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ของ ทน.๒๑
๒) ป.ทน.
๓) พลน้อยบินที่ ๒๑
(จ.) งาน กร. พลน้อย กร.๓๖๕
(๓) สถานภาพปัจจุบันของทรัพยากร ปขส.
(ก) ชุดติดต่อจากหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
(ข) หน่วย ปขส.ที่ ๑

รูป ข-๗ ข้อ ๒ ค. ประมาณการณ์ ปขส.- การระบุหน่วยและทรัพยากรด้าน ปขส.


274 ผนวก ข

๑) ชุดสนับสนุนสนาม (Field Support Te ก m)


๒) ชุดประเมินจุดอ่อน (ขึ้นสมทบ)
(ค) กกล. ทางอากาศ
๑) สงครามอิเล็กทรอนิกส์. ปจว.
๒) การท�ำลายทางกายภาพ
(ง) กกล.นย.
๑) สอ.
๒) การท�ำลายทางกายภาพ
ง. การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติ (OPSEC) (เว้น)
จ. สมมติฐาน (เว้น ดูรูป ข-๙)
รูป ข-๗ ข้อ ๒ ค. ประมาณการ ปขส.- การระบุหน่วยและทรัพยากรด้าน ปขส. (ต่อ)

ระบุข้อจ�ำกัด (Determine Constraints)


ข-๑๒. การศึกษาค�ำสั่งของ กกล.ฉก. ร่วมของ สธ.๗ จะท�ำให้พบข้อจ�ำกัดที่อาจมีผลกระทบ
ต่องาน ปขส. (ดูรูป ข-๘) ข้อจ�ำกัดเหล่านี้อาจอยู่ในแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการ ปขส.
หรือในหัวข้อค�ำแนะน�ำในการประสาน
- ด�ำรงการช่วยเหลือต่อประชาชนในท้องถิ่น
- จ�ำกัดการสูญเสียโครงสร้างพื้นฐานทางพลเรือนให้น้อยที่สุด
- ห้ามท�ำการ ปจว.หรือ สอ. บนความถี่ที่อาจรบกวนการสื่อสารของประชาชนในท้องถิ่น
รูป ข-๘ ข้อจ�ำกัดที่มีผลกระทบต่อการ ปขส.

ระบุข้อเท็จจริงที่ส�ำคัญและสมมติฐาน (Identify Critical Facts and assumptions)


ข-๑๓. ในระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ สธ.๗ จะต้องค้นหาและระบุขอ้ เท็จจริงและสมมติฐานส�ำคัญ
ที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. ข้อเท็จจริงจะหาได้จากประมาณการ ปขส. ซึ่งปกติจะอยู่ในหัวข้อ ๒ก.,
๒ข., หรือ ๒ค. ส่วนสมมติฐานจะอยู่ในหัวข้อ ๒จ. ดังตัวอย่างในรูป ข-๙

๒. สถานการณ์และข้อพิจารณา
ก. ลักษณะของพื้นที่ปฏิบัติการและสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร (เว้น ดูรูป ข-๕ หน้า ข-๙)
ข. ข้าศึก (เว้น ดูรูป ข-๕ หน้า ข-๙)
ค. ก�ำลังฝ่ายเรา (เว้น ดูรูป ข-๗ หน้า ข-๑๒)
ง. การ รปภ. การปฏิบัติ (opsec) (เว้น ก�ำหนดระหว่างการประเมินความเสี่ยง)
จ. สมมติฐาน
รูป ข-๙ สมมติฐานด้านการ ปขส.ในข้อ ๒ง. ของประมาณการ ปขส.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 275

(๑) กองทัพเรนโดวาจะใช้ประโยชน์จากกฎการใช้ก� ำลังของฝ่ายเราที่ระมัดระวังการสูญเสียของ


พลเรือนโดยการผลักดันให้ผพู้ ลัดถิน่ เข้ามากีดขวางพืน้ ทีส่ ง่ ลง (LZs) หรือเส้นทางเคลือ่ นทีใ่ นพืน้ ที่
เป้าหมาย
(๒) การสนับสนุนในการข่มการ ปภอ.ข้าศึกจะได้จาก หน่วยของ ทอ.และ ทร.
(๓) ขีดความสามารถด้านการ ปขส. ของเรนโดวาจะถูกน�ำมาใช้โจมตีการติดต่อสื่อสารและระบบ
ขลฝ.ของ ทน.๒๑ เพื่อลดประสิทธิภาพการควบคุมบังคับบัญชาและการข่าวของฝ่ายเราในช่วง
เวลาที่วิกฤตในระหว่างการปฏิบัติ
รูป ข-๙ สมมติฐานด้านการ ปขส.ในข้อ ๒ง. ของประมาณการ ปขส. (ต่อ)

ประเมินความเสี่ยง (Conduct Risk assessment)


ข-๑๔. ในระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ สธ.๗ ท�ำการประเมินความเสี่ยงและอันตรายที่จะมีต่อ
การ รปภ.การปฏิบตั แิ ละการควบคุมบังคับบัญชา การประเมินจะใช้เทคนิคเดียวกันกับการประเมิน
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงทางยุทธวิธีที่ระบุไว้ใน FM 100-4 ตัวอย่างแบบย่อได้แสดงไว้
ตามรูปที่ ข-๑๐
ภารกิจ (จะแจ้งให้ทราบภายหลัง) แนวความคิดในการปฏิบัติ : ทน.๒๑ ปฏิบัติการ คทอ.ในวัน ว. เวลา น. เพื่อยึด
พืน้ ทีท่ างด้านตะวันตกของซาน แองกลอส ส�ำหรับใช้เป็นฐานปฏิบตั กิ ารส่วนหน้า, กวาดล้างพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารคอร์ทนีย,์
บรรจบกับกองทัพซาน แองกลอสบริเวณแม่น�้ำอวอช, บรรจบกับ พลน้อย นย.ที่ ๖, สนับสนุนรัฐบาลซาน แองกลอส
ในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการขั้นพื้นฐานต่อประชาชน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
ขสร./การ บช.ค จุดอ่อนการ รปภ. ประเมินอันตราย พัฒนาการ ก�ำหนดความเสี่ยง การควบคุม
ประเภทและ การปฏิบัติ/การ ควบคุม ที่ยังหลงเหลือ
เครื่องมือส�ำคัญ บช.ค.
(ขสร.) ภารกิจ ท�ำรายการจุดอ่อน ประเมินจุดอ่อน ท�ำรายการควบคุม ท�ำรายการ ท�ำรายการ
และแนวความคิ ด ที่เกี่ยวข้องกับ การ รปภ. เพื่อลดความเสี่ยง ความเสี่ยงที่ยัง เครื่องมือที่ สธ.๗
ในการปฏิบัติของ การ รปภ. การปฏิบัติ เหล่านั้น หลงเหลืออยู่ จะใช้ส�ำหรับ
ทน.๒๑ การปฏิบัติ แต่ละจุด ส�ำหรับจุดอ่อน ประเมินการ
แต่ละจุด ควบคุม รวมถึง
รายการความ
ต้องการข่าวสาร
ด้าน ปขส. (ถ้ามี)
เครื่องมือส�ำคัญ ท�ำรายการอันตราย (ประเมินอันตราย ท�ำรายการ ท�ำรายการ
แต่ละเรื่อง) อันตรายที่ยัง เครื่องมือที่ สธ.๗
หลงเหลือ จะใช้ส�ำหรับ
ส�ำหรับอันตราย ประเมินการ
แต่ละเรื่อง ควบคุม รวมถึง
รายการความ
ต้องการข่าวสาร
ด้าน ปขส. (ถ้ามี)
รูป ๘-๑๐ การประเมินขั้นต้นส�ำหรับอันตรายที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. (อย่างย่อ)
276 ผนวก ข

ข-๑๕. คอลัมน์ที่ ๑ เป็นรายการข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (ขสร.), ระบบการบังคับบัญชาและ


การควบคุม (C2), และเครื่องมือส�ำคัญที่ สธ.๗ ระบุ นอกจากนี้ สธ.๗ ต้องระบุจุดอ่อนในการ รปภ.
การปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้องกับ ขสร. การประสานกับ สธ.๓ สธ.๖ จะท�ำให้ สธ.๗ สามารถระบุอนั ตรายที่
อาจท�ำให้เกิดความเสียหายต่อเครือ่ งมือส�ำคัญหรือระบบข้อมูลข่าวสาร (infosys) ได้ (ตามคอลัมน์
ที่ ๒) ตัวอย่างตามรูปที่ ข-๑๑ หน้า...เป็นตารางการประเมินความเสี่ยงที่ สธ.๗ สามารถน�ำไปใช้
เพือ่ ประเมินหาโอกาสทีอ่ นั ตรายอาจเกิดขึน้ หากไม่ใช้การควบคุมเพิม่ เติมจากทีม่ อี ยูใ่ น รปจ. ความ
เสีย่ งจะมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั ว่าอันตรายนัน้ มีโอกาสจะเกิดขึน้ มากน้อยเพียงใด เมือ่ เกิดแล้วจะก่อ
ความเสียหายแค่ไหน (ระบุในคอลัมน์ ๓)
ข-๑๖. ย่อหน้าต่อไปแสดงให้เห็นเหตุผลที่ สธ.๗ ใช้ในการประเมิน ขสร. (หนึ่งเรื่อง) และจุดอ่อน
ของการบังคับบัญชาและการควบคุม (หนึ่งเรื่อง)
- การเปิดเผยภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติของ ทน.๒๑ จะท�ำให้การจู่โจมไม่
อาจกระท�ำได้ สธ.๓ ประเมินว่าอาจมีผลท�ำให้ภารกิจต้องล้มเหลวลงได้ (ผลกระทบอย่างร้ายแรง)
จากการใช้กรรมวิธี รปภ.การปฏิบัติ สธ.๗ พบว่ามีตัวบ่งชี้อะไรบ้างที่ท�ำให้ข่าวสารเรื่องนี้ล่วงรู้ไป
ถึงข้าศึกได้ ทน. เสือมีขีดความสามารถที่ล่วงรู้ตัวบ่งชี้เหล่านี้ตัวใดบ้าง นี่คือจุดอ่อนของการ รปภ.
การปฏิบัติ สธ.๗ จะต้องประสานกับ สธ.๒ เพื่อหาว่า การ ขลฝ. ของเรนโดวามีโอกาสที่จะล่วงรู้ถึง
ตัวบ่งชี้นี้เพียงใด แล้วร่วมกันประเมินหาว่าระบบข่าวกรองของเรนโดวามีโอกาสค้นพบภารกิจและ
แนวความคิดในการปฏิบตั ขิ อง ทน.๒๑ มากน้อยเพียงใด จากนัน้ สธ.๗ จะระบุไว้ในตารางประเมิน
ความเสี่ยงเพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความเสี่ยงใดเกี่ยวข้องกับ ขสร. ในเรื่องใด
- จุดเชื่อมต่อการติดต่อสื่อสารจากระดับยุทธวิธีถึงระดับยุทธศาสตร์ในยุทธบริเวณ
(Tactical - to - strategic theater communications interface points) ถูกก�ำหนดให้เป็น
เครือ่ งมือส�ำคัญของระบบ การบังคับบัญชาและการควบคุม สธ.๗ ร่วมกับ สธ.๖ ประเมินผลกระทบ
หากต้องสูญเสียเครื่องมือส�ำคัญเหล่านี้ไป สธ.๗ ร่วมกับ สธ.๒ ร่วมกันประเมินความน่าจะเป็นต่อ
การสูญเสียจุดเหล่านี้ จากนั้น สธ.๗ จึงจะประเมินความเสี่ยงทั้งมวลที่อาจเกิดขึ้นต่อระบบ
ความรุนแรงของ ความน่าจะเกิดขึ้น
อันตราย ถี่ บ่อย (likely) นาน ๆ ครั้ง น้อย ไม่น่าจะเกิด
ร้ายแรงอย่างยิ่ง สท. สท. สม. สม. สม.
ร้ายแรง สท. สท. สท. สป. สน.
ร้ายแรงไม่มาก สม. สป. สป. สน. สน.
ไม่ร้ายแรง สป. สน. สน. สน. สน.
สท. เสี่ยงที่สุด สม. เสี่ยงมาก สป. เสี่ยงปานกลาง สน. เสี่ยงน้อย ดูค�ำอธิบายเรื่องความเสี่ยงและความน่าจะเกิดขึ้นในเอฟเอ็ม ๑๐๐-๑๔
รูป ข-๑๑ ตารางประเมินความเสี่ยง
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 277

ข-๑๗. จากนั้น สธ.๗ ก�ำหนดการควบคุมเพื่อจัดการกับอันตราย (ระบุในคอลัมน์ที่ ๔) รวมถึง


เครื่องมือในการประเมินการควบคุม (ในคอลัมน์ที่ ๕), ก�ำหนดความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่จาก
อันตรายแต่ละเรื่อง (คอลัมน์ ๖) สธ.๗ อาจค�ำนวณความเสี่ยงทั้งหมดที่มีต่อ ขสร.แต่ละเรื่อง,
อันตรายทีอ่ าจเกิดต่อระบบ การบังคับบัญชาและการควบคุม, และเครือ่ งมือส�ำคัญ ส่วนการควบคุม
ทีต่ อ้ งอาศัยกิจด้าน ปขส.จะระบุไว้ในตารางปัจจัยน�ำเข้า ด้าน ปขส. ส�ำหรับ หป. ส่วนการควบคุมที่
ต้องใช้ทรัพยากรมากจะต้องเสนอเพื่อขออนุมัติต่อ ผบ.ก่อน ส�ำหรับความต้องการข่าวสารด้าน
การ ปขส.เพื่อการประเมินการควบคุมจะถูกส่งไปยัง สธ.๒
ก�ำหนดความต้องการข่าวสารส�ำคัญขั้นต้นของ ผบ. (Determine Initial Commander’s
Critical Information Requirements.)
ข-๑๘. ระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ สธ.๗ จะเสนอแนะความต้องการข่าวสารใด ๆ ที่อาจมีผลต่อ
การตัดสินใจที่ส�ำคัญของ ผบ.ในการใช้ ปขส.ในการปฏิบัติการที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นให้เป็น คตขส. ผบ
(CCIR) สธ.๗ เสนอแนะให้รายการความต้องการข่าวสารด้านการ ปขส. (รูป ข-๑๒) จะถูกรวมไว้
ใน คตขส.ผบ. และส่งให้ สธ.๓ สธ.๗ จะต้องตรวจสอบและปรับปรุงรายการความต้องการข่าวสาร
ด้านการ ปขส. ตลอดเวลาในการปฏิบัติการ

หัวข้อข่าวสารส�ำคัญ Priority Intelligence Requirements


- ที่ตั้งและลักษณะของระบบ infosys ที่เกี่ยวข้องกับกองพล ๑๐๙ และหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์
- ทีต่ งั้ และลักษณะของระบบ infosys ส�ำคัญทีเ่ กีย่ วกับ ทน.เสือในส่วนของการด�ำเนินกลยุทธ์การ ปภอ. และ
หน่วยยิงสนับสนุนที่อยู่ในระยะสนับสนุนต่อกองพล ๑๐๙
- กองพล ๑๐๙ จะใช้พลเรือนพลัดถิ่นเพื่อขัดขวางการปฏิบัติการของ ทน.๒๑ ในพื้นที่ปฏิบัติการหรือไม่
- ทน.เสือ/กองพล ๑๐๙ จะใช้เครือ่ งมือ/หน่วยในการ ขลฝ.แบบใดเพือ่ พิสจู น์ทราบการปฏิบตั กิ ารและทีห่ มาย
ของการปฏิบัติการครั้งนี้ เครื่องมือ/หน่วยเหล่านั้นมีขีดความสามารถและจุดอ่อนอะไรบ้างและข้าศึก
จะใช้ที่ใด
ความต้องการข่าวสารของฝ่ายเรา Friendly Force Information Requirements
- การสูญเสียและขีดความสามารถที่ลดลงของระบบ infosys ของ ทน.๒๑ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทก.ลอยฟ้า,
ทก.ยุทธวิธี, ข่ายการยิงสนับสนุนของ กองพล ๑๒๑ และกองพลน้อยบินที่ ๒๑
- ความเสียหายหรือการถูกท�ำลายของโครงสร้างพื้นฐานทางพลเรือนในพื้นที่เป้าหมายซึ่งเกิดจากการปฏิบัติ
ของ ทน.๒๑
- การบาดเจ็บและเสียชีวิตของพลเรือนในพื้นที่เป้าหมายอันมีผลมาจากการปฏิบัติการของ ทน.๒๑
รูป ข-๑๒ ความต้องการข่าวสารการ ปขส. ที่เสนอแนะให้เป็นข่าวสารส�ำคัญที่ ผบ.ต้องการทราบ
278 ผนวก ข

ก�ำหนดผนวกการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน (ขลฝ.) ขั้นต้น (Determine


the initial intelligence, reconnaissance, and surveillance annex.)
ข-๑๙. สธ.๒ จะน�ำความต้องการข่าวสารด้าน ปขส. จาก สธ.๗ มาบรรจุไว้ในแผนการรวบรวม
ข่าวสารและการก�ำหนดกิจในการ ขฝล. อีกทัง้ สธ.๓ ยังต้องเตรียมท�ำผนวก ขฝล.ขัน้ ต้นรวมถึงการ
ออกค�ำสั่งที่จ�ำเป็นเพื่อเริ่มการรวบรวมข่าวสาร
วางแผนการใช้เวลา (Plan use of available time)
ข-๒๐. ณ ขณะนี้ สธ.๓ จะปรับปรุงแผนการใช้เวลาขั้นต้นที่ได้ท�ำไว้เมื่อรับภารกิจ สธ.๗ ควรดู
ให้แน่ใจว่า สธ.๓ ได้พิจารณากิจด้าน ปขส.ที่จ�ำเป็นต้องใช้เวลานานในการปฏิบัติอย่างครบถ้วน
เมื่อได้รับแผนการใช้เวลาที่ปรับปรุงแล้ว สธ.๗ จะปรับปรุงแผนการแบ่งมอบเวลาด้านการ ปขส.
ขั้นต้นที่ท�ำไว้ด้วย
เขียนภารกิจแถลงใหม่ (Write the Restated Mission)
ข-๒๑. สธ.๓ จะเขียนภารกิจแถลงใหม่ส�ำหรับเสนอต่อ ผบ.โดยยึดถือภารกิจส�ำคัญยิ่งที่ได้มาจาก
การวิเคราะห์ สธ.๗ เป็นผู้ให้ปัจจัยน�ำเข้า การ ปขส. ที่ได้มาจากการประมาณการ ปขส.ล่าสุด
ภารกิจแถลงใหม่จะต้องระบุกจิ ส�ำคัญยิง่ ด้าน ปขส.ไว้ดว้ ย (ถ้ามี) รูป ข-๑๓ คือตัวอย่างภารกิจแถลง
ใหม่ของ ทน.๒๑
ทน.๒๑ เข้าตีใน วัน ว. เวลา น. เพื่อกวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์, บรรจบกับกองทัพ ASA บริเวณ
แม่น�้ำ อวอช, บรรจบกับ พลน้อย นย.ที่ ๖ บริเวณ HELIOTROPE, สนับสนุนรัฐบาล ซาน แองกลอส
ในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการขั้นพื้นฐานแก่พลเรือน
รูป ข-๑๓ ภารกิจแถลงใหม่ของ ทน.๒๑

บรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจและการอนุมัติภารกิจแถลงใหม่ (Conduct a Mission


analysis Briefing and Approve the Restated Mission)
ข-๒๒. ฝอ.บรรยายสรุปผลการวิเคราะห์ภารกิจต่อ ผบ.เท่าที่เวลาจะอ�ำนวยให้ สธ.๗ ให้ข้อมูล
(input) ตามที่แสดงในรูป ๕-๔ หลังการบรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจ ผบ.จะอนุมัติหรือสั่งให้
แก้ไขภารกิจแถลงใหม่
พัฒนาเจตนารมณ์ของ ผบ.ขั้นต้น (Develop the Initial Commanders’ Intent)
ข-๒๓. ในตอนท้ายของการบรรยายสรุปการวิเคราะห์ภารกิจ มทน.๒๑ จะประกาศเจตนารมณ์
ของ ผบ.ขั้นต้นตามรูป ข-๑๔
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 279

กิจส�ำคัญที่ ทน.๒๑ ต้องท�ำให้ส�ำเร็จคือ


- กวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์
- บรรจบกับก�ำลังของ ASA
- บรรจบกับพลน้อย.นย.ที่๖
- สนับสนุนหน่วยงานพลเรือนของซาน แองกลอสในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการขั้น
พื้นฐานแก่ประชาชน
จังหวะการปฏิบตั ขิ องเราต้องเร็ว ท�ำให้ ผบ.ของเรนโดวาตกตะลึง ท�ำลายก�ำลังเรนโดวาก่อนทีจ่ ะมีเวลาตอบโต้
การโจมตีของเราและก่อนทีพ่ วกเขาจะท�ำลายโครงสร้างพืน้ ฐานทางพลเรือน เตรียมการทีจ่ ะเริม่ การปฏิบตั กิ าร
สนับสนุนไม่ช้ากว่า เวลา น. + ๔๘

รูปที่ ข-๑๔ เจตนารมณ์ขั้นต้นของ มทน.๒๑

ให้แนวทางในการวางแผน (Issue Commander’s guidance)


ข-๒๔. หลังการอนุมตั ภิ ารกิจแถลงใหม่และประกาศเจตนารมณ์ขนั้ ต้นแล้ว มทน.๒๑ จะให้แนวทาง
กับ ฝอ. ฝ่ายต่าง ๆ เพื่อเริ่มด�ำเนินการวางแผน ส�ำหรับแนวทางในการวางแผนด้านการ ปขส. ผบ.
(มทน.) จะให้แยกต่างหากหรือเป็นส่วนหนึ่งของการให้แนวทางในการวางแผนเป็นส่วนรวมก็ได้
กรณีนี้เป็นตัวอย่างที่ มทน. ให้แนวทางในการวางแผนด้านการ ปขส. แยกต่างหาก (รูป ข-๑๕)
จากนั้น สธ.๗ จะใช้แนวทางนี้ไปก�ำหนดเป็นภารกิจด้าน ปขส.ขั้นต้น
(เป้าหมายด้าน ปขส.)
เป้าหมาย การ ปขส.เชิงรับที่เห็นชัดเจนคือ
- ป้องกันข้าศึกมิให้ล่วงรู้ถึงภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติของ ทน.๒๑
- ป้องกันระบบ การบังคับบัญชาและการควบคุม (c2) ของ ทน.๒๑
ก�ำหนดเป้าหมาย การ ปขส.เชิงรุก เพื่อสนับสนุนแต่ละ ห/ป.
(แนวทางวางแผนการ OPSEC)
ขสร.ยังไม่เปลีย่ นแปลง แจ้ง สธ.๓ ด้วยถ้าคุณก�ำหนด ขสร.เพิม่ เติม และประกาศ ขสร.เพิม่ เติมโดยใช้คำ� สัง่ เตือน
ด�ำเนินการตามมาตรการ OPSEC ตามทีร่ ะบุใน รปจ. อย่างต่อเนือ่ ง ประสานการปฏิบตั ิ OPSEC กับการปฏิบตั ิ
การลวง เน้นจุดอ่อน OPSEC ที่อาจท�ำให้ภารกิจที่แท้จริงถูกเปิดเผย
[แนวทางการลวง]
วัตถุประสงค์ในการลวงยังคงเป็นการท�ำให้ มทน.เสือ เชือ่ ว่าเราจะท�ำการโจมตีดนิ แดนเรนโดวา การปฏิบตั กิ าร
ลวงที่ก�ำลังท�ำอยู่ให้กระท�ำต่อไป ถ้ามีแนวโน้มว่าการปฏิบัติการจริงอาจถูกเปิดเผยให้แจ้งผมในทันที
(แนวทางก�ำหนดเป้าหมาย)
- ท�ำลายระบบ ปภอ.
- ลดขีดความสามารถระบบ ขลฝ. (ISR) ความเร่งด่วนอันดับแรกคือระบบ ปภอ.
รูปที่ ข-๑๕ แนวทางการวางแผนการ ปขส. ของ มทน.๒๑
280 ผนวก ข

- รบกวนข่าย คบช. เรนโดวา


- ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายข่าวกรองของเรนโดวา
(แนวทางการ ปจว.)
การ ปจว. เน้นไปที่การท�ำให้พลเรือนอยู่แต่ภายในบ้านระหว่างปฏิบัติการ
(แนวทางงาน ปชส..)
ใช้งาน ปชส. เพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติการและพื้นที่อื่น ๆ ทั่วโลก เน้นบทบาทน�ำของ
ASA บอกความจริงว่าเรามาเพื่อช่วยเหลือให้กองทัพ ASA ปฏิบัติภารกิจให้ส�ำเร็จ
รูปที่ ข-๑๕ แนวทางการวางแผนการ ปขส. ของ มทน.๒๑ (ต่อ)

ออกค�ำสั่งเตือน (Issue a warning order)


ข-๒๕. ในทันทีที่ ผบ. ให้แนวทางในการวางแผนเสร็จ สธ.๓ จะส่งค�ำสั่งเตือนไปยังหน่วยรองและ
หน่วยสนับสนุน (ดูรูป ข-๑๖) สธ.๗ จะให้ข้อมูลต่อ สธ.๓ เพื่อให้น�ำไปใส่ไว้ในค�ำสั่งเตือน ข้อมูลที่
สธ.๗ ให้ไปควรจะระบุเรือ่ งเหล่านีเ้ ป็นอย่างน้อยคือ ภารกิจด้าน ปขส.ขัน้ ต้น แนวทางในการวางแผน
การ รปภ.ปบ. (OPSEC) และแนวทางในการวางแผนการลวง

(หัวเรื่อง- เว้น)
ค�ำสั่งเตือน ๒๑-๐๒
อ้างถึง ค�ำสั่งยุทธการ กกล.ฉก.ร่วม..., หมู่วันเวลา, ค�ำสั่งเตือน ทน.๒๑-๐๑
เขตเวลา...
๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก สรุปข่าวกรองปัจจุบัน
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา ไม่เปลี่ยนแปลง
ค. หน่วยสมทบและหน่วยแยก (เว้น)
๒. ภารกิจ ทน.๒๑ เข้าตีใน วัน ว. เวลา น. เพื่อกวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์, บรรจบกับกองทัพ ASA
บริเวณแม่น�้ำ AWASH, บรรจบกับ พลน้อย นย.๖ บริเวณ HELIOTROPE, สนับสนุนรัฐบาลซาน แองกลอส
ในการฟื้นฟู ความสงบเรียบร้อยและให้บริการพื้นฐานแก่พลเรือน
๓. การปฏิบัติ
เจตนารมณ์. กิจส�ำคัญที่ ทน.๒๑ ต้องท�ำให้ส�ำเร็จคือ (๑) กวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ (๒) บรรจบ
กับ ASA (๓) บรรจบกับ พลน้อย นย.ที่ ๖ และ (๔) สนับสนุนส่วนราชการพลเรือนซาน แองกลอสในการฟื้นฟู
ความสงบเรียบร้อย และการบริการขั้นพื้นฐาน จังหวะการปฏิบัติต้องเร็ว ท�ำให้ ผบ.หน่วยเรนโดวาตะลึงจน
ท�ำอะไรไม่ถูก ท�ำลายก�ำลังเรนโดวาก่อนที่พวกมันจะมีเวลาตอบโต้การโจมตีของเราหรือท�ำความเสียหาย
ต่อระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานของพลเรือน เตรียมเริ่มปฏิบัติการสนับสนุนไม่ช้ากว่า เวลา น.+๔๘
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
[ (๑) - (๖) เว้น ]
รูป ข-๑๖ ค�ำสั่งเตือนของ ทน.๒๑ ฉบับที่ ๒
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 281

(๗) การ ปขส.


(ก) ภารกิจด้าน ปขส. การ ปขส.สนับสนุนการปฏิบัติการของ ทน.๒๑ ด้วยการป้องกันมิให้ข้าศึกชิง
ลงมือต่อการปฏิบตั กิ ารโจมตีเคลือ่ นทีท่ างอากาศก่อน, ป้องกันมิให้พลเรือนขัดขวางหรือเข้าไปในพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย
และบริเวณใกล้เคียง, สร้างสภาวะด้านข่าวสารเพื่อสนับสนุนการสร้างความสงบเรียบร้อยและการบริการ
ขั้นพื้นฐาน
(ข) วัตถุประสงค์ (เป้าหมาย) ด้านการ ปขส.
(๑) ป้องกันมิให้ภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติของ ทน.ถูกเปิดเผย
(๒) ป้องกันระบบ คบช.ของ ทน.๒๑
(ค) รายการเครื่องมือส�ำคัญ
(๑) เครือข่ายผู้ใช้ร่วมในพื้นที่ ทน. (เสียงและข้อมูล)
(๒) จุดเชื่อมต่อการสื่อสารยุทธวิธี-ยุทธศาสตร์
(๓) UAV
(๔) Quick Fix
(๕) Guardrail
(ง) แนวทางในการก�ำหนดเป้าหมาย
(๑) ท�ำลายการ คบช.ส�ำหรับระบบ ปภอ. ในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์
(๒) ลดขีดความสามารถระบบ ขลฝ. ความเร่งด่วนล�ำดับแรกคือระบบ ปภอ.
(๓) รบกวนเครือข่าย คบช.
(๔) ใช้ประโยชน์จากข่ายงานข่าวกรอง
(๕) การ ปจว. เน้นการก่อให้เกิดอิทธิพลต่อประชาชนให้อยู่แต่ในบ้านในระหว่างปฏิบัติการ
(๖) ใช้การ ปชส. เพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อประชาชนทั้งในพื้นที่ปฏิบัติการและพื้นที่อื่น ๆ ทั่วโลก
เน้นบทบาทน�ำของ ASA บอกความจริงว่า เรามาเพื่อช่วยเหลือกองทัพ ASA ให้ปฏิบัติ
ภารกิจให้ส�ำเร็จ
(จ) ข้อจ�ำกัด
(๑) ด�ำรงการสนับสนุนต่อประชาชนในพื้นที่
(๒) จ�ำกัดความเสียหายต่อระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานของพลเรือน
(๓) ห้ามใช้การ ปจว. หรือการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ด้วยความถี่ที่อาจรบกวนต่อระบบ
การติดต่อสื่อสารของพลเรือนในท้องถิ่น
ข. กิจส�ำหรับหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์
(๑) พล.ร. ๑๒๑
(ก) ปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศเพื่อกวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์
(ข) เตรียมการสนับสนุนรัฐบาลซาน แองกลอสในการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยและการบริการ
ขั้นพื้นฐาน
(๒) กรม ม.ลว.ที่ ๒๗
(ก) ก�ำบังปีกด้านทิศตะวันตกของ พล.ร.๑๒๑
(ข) บรรจบกับก�ำลังของกองทัพซาน แองกลอส บริเวณแม่น�้ำ WASH
รูป ข-๑๖ ค�ำสั่งเตือนของ ทน.๒๑ ฉบับที่ ๒ (ต่อ)
282 ผนวก ข

ค. กิจส�ำหรับหน่วยสนับสนุนการรบ
(๑) พลน้อย ขกท.ที่ ๒๑
(ก) สร้างภาพการเตรียมการเคลื่อนย้ายทางอากาศและทางทะเลข้ามช่องแคบดาวาโร
(ข) สนับสนุนแผนการลวงของ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐
(๒) พลน้อย บินที่ ๒๑ สนับสนุนโดยตรงต่อ พล.ร.๑๒๑
ง. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
(๑) คตส.ของ ผบ. (แสดงเฉพาะ ความต้องการข่าวสารด้านการ ปขส.)
(ก) หขส.
((๑)) ทีต่ งั้ และประเภทของระบบ INFOSYS ส�ำคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับ พล.๑๐๙, หน่วยด�ำเนิน
กลยุทธ์ที่เป็นหน่วยรองหลัก, ระบบ ปภอ., และระบบการยิงสนับสนุน
((๒)) ที่ตั้งและประเภทของระบบ INFOSYS ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินกลยุทธ์
ทน.เสือ, ระบบ ปภอ., และระบบการยิงสนับสนุน ที่อยู่ในระยะสนับสนุนต่อกองพล
๑๐๙
((๓)) พล ๑๐๙ จะใช้ผู้พลัดถิ่นเพื่อขัดขวางการปฏิบัติของ ทน.๒๑ ในพื้นที่ปฏิบัติการ
หรือไม่ ถ้าใช้จะใช้อย่างไร
((๔)) ทน.เสือ/พล.๑๐๙ จะใช้เครือ่ งมือแบบใดในการ ขลฝ.เพือ่ พิสจู น์ทราบการปฏิบตั กิ าร
ของฝ่ายเรา เครือ่ งมือเหล่านัน้ มีขดี ความสามารถและจุดอ่อนอย่างไรบ้าง และจะน�ำ
ไปใช้ที่ใดบ้าง
((๕)) ทน.เสือจะล่วงรู้แผนการลวงหรือไม่
(ข) หัวข้อข่าวสารฝ่ายเรา
((๑)) ความเสียหาย/การลดขีดความสามารถ ของหน่วย/ระบบ INFOSYS ส�ำคัญของ ทน.
๒๑ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทก.ในอากาศ, ทก.ยุทธ์ ของ ทน.๒๑ ระบบ คบช. และข่าย
การยิงสนับสนุนของ พล.๑๒๑ และของพลน้อยบินที่ ๒๑
((๒)) ความเสียหายของโครงสร้างพื้นฐานของพลเรือนที่เกิดจากการปฏิบัติการของ ทน.
๒๑ ในพื้นที่เป้าหมาย
((๓)) การบาดเจ็บหรือตายของพลเรือนอันเกิดจากการปฏิบตั กิ ารของ ทน.๒๑ ในพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย
(๒) แนวทางในการวางแผน OPSEC
(ก) ขสร. (EEFI) ไม่เปลี่ยนแปลงจากค�ำสั่งเตือนที่ ๒๑-๐๑
(ข) มาตรการ OPSEC ชั่วคราว (เว้น)
(๓) แนวทางในการจัดการความเสี่ยง - Risk Guidance (เว้น)
(๔) แนวทางในการลวง วัตถุประสงค์ในการลวงยังคงเป็นการท�ำให้ มทน. เสือเชือ่ ว่าฝ่ายเราจะท�ำการ
บุกดินแดนเรนโดวา การลวงที่ก�ำลังกระท�ำอยู่ให้ด�ำเนินการต่อไป หากมีการสงสัยว่าข้าศึก
จะล่วงรู้แผนการที่แท้จริงให้รายงานทันที
๔. การช่วยรบ (เว้น)
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร (เว้น)
ตอบรับ (เว้น)
รูป ข-๑๖ ค�ำสั่งเตือนของ ทน.๒๑ ฉบับที่ ๒ (ต่อ)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 283

ทบทวนข้อเท็จจริงและสมมติฐาน (Review facts and assumptions)


ข-๒๖. สธ.๗ ท�ำการทบทวนข้อเท็จจริงและสมมติฐานด้านการ ปขส. เป็นระยะ ๆ ตลอดห้วงที่
ด�ำเนินตามกรรมวิธเี พือ่ หาข้อตกลงใจเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าได้ดำ� เนินการอย่างถูกต้องครบถ้วน การทบทวน
จะยึดถือภารกิจแถลงใหม่ แนวทางในการวางแผนของ ผบ. (ทีป่ รับปรุงแล้ว) และเจตนารมณ์ของ ผบ.
ข้อเท็จจริงและสมมติฐานจะเป็นส่วนหนึง่ ของการประมาณการด้าน ปขส. ที่ สธ.๗ จะต้องค�ำนึงถึง
อยู่เสมอในระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
กิจข้อที่ ๓ การพัฒนาหนทางปฏิบัติ
ข-๒๗. หลังจากได้รับแนวทางในการวางแผนขั้นต้นจาก ผบ.แล้ว ฝอ.ฝ่ายต่าง ๆ จะพัฒนาหนทาง
ปฏิบัติขึ้นเพื่อท�ำการวิเคราะห์และเปรียบเทียบ สธ.๗ ต้องคอยดูแลให้แน่ใจว่า ฝอ.ฝ่ายต่าง ๆ
ได้น�ำ การ ปขส. ไปเป็นข้อพิจารณา อีกทั้ง สธ.๗ ต้องพัฒนาแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน
ปขส. รวมถึงงานด้าน ปขส.ส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี้เป็นงานด้าน ปขส.
เพื่อสนับสนุนหนทางปฏิบัติอันหนึ่ง หากมีเวลาพอ สธ.๗ จะก�ำหนดงานด้าน ปขส. เพื่อสนับสนุน
หนทางปฏิบัติอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน

งานที่ต้องท�ำในการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
- วิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบทั้งสองฝ่าย
- ก�ำหนดทางเลือก
- วางก�ำลังขั้นต้น
- พัฒนาแนวความคิดในการปฏิบัติ
- เสนอแนะที่ตั้ง ทก.
- เตรียมเขียนหนทางปฏิบัติพร้อมแผ่นภาพสังเขป

วิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบทั้งสองฝ่าย
ข-๒๘. องค์ประกอบของการ ปขส. เป็นปัจจัยหนึง่ ของอ�ำนาจก�ำลังรบ สธ.๗ ต้องดูและให้มนั่ ใจว่า
เมื่อ ฝอ.ฝ่ายต่าง ๆ ท�ำการวิเคราะห์อ�ำนาจก�ำลังรบของทั้งสองฝ่ายได้มีการน�ำเอาหน่วยและ
เครื่องมือด้านการ ปขส.ไปพิจารณาด้วย
ขึ้นหน้า ข-๒๒
สร้างทางเลือก (Generate options)
ข-๒๙. จากแนวทางในการวางแผนของ ผบ.และการเปรียบเทียบอ�ำนาจก�ำลังรบทั้งของฝ่ายเรา
และข้าศึก ฝอ.จะน�ำมาพิจารณาก�ำหนดทางเลือกในการพัฒนาหนทางปฏิบัติ สธ.๗ ต้องมั่นใจว่า
ฝอ.ฝ่ายต่าง ๆ ได้น�ำปัจจัยด้าน ปขส.มาพิจารณาในการก�ำหนดหนทางปฏิบัติด้วย ซึ่งในข้อต่อไป
จากนี้จะแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
284 ผนวก ข

วางก�ำลังขั้นต้น (Array initial forces)


ข-๓๐. สธ.๗ ต้องดูในแน่ใจว่า ในการก�ำหนดความต้องการก�ำลังรบ ฝอ.ฝ่ายต่าง ๆ ได้พิจารณา
ขีดความสามารถและทรัพยากรด้านการ ปขส. ไปด้วย หน่วยที่มีขีดความสามารถด้าน ปขส.
จะได้มาจากรายการเครือ่ งมือ/ทรัพยากรด้านการ ปขส.ทีท่ ำ� ไว้ในระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ และ
แสดงไว้ในย่อหน้า ๒ค.ของประมาณการ ปขส. (ดูรูป ข-๗ หน้า ข-๑๒) นอกจากนี้ สธ.๗ ต้องดูแล
ให้มั่นใจการวางก�ำลังขั้นต้นนั้น ฝอ. ฝ่ายต่าง ๆ ได้ค�ำนึงถึงแผนการลวงแล้ว
พัฒนาแนวความคิดในการปฏิบัติ (Develop the concept of operations)
ข-๓๑. แนวความคิดในการปฏิบัติจะเป็นข้ออธิบายว่าก�ำลังที่วางไว้นั้นจะปฏิบัติภารกิจให้ส�ำเร็จ
ได้อย่างไร รูป ข-๑๗ แสดงให้เห็นหนทางปฏิบัติและแผ่นภาพสังเขปของหนทางปฏิบัติของ
ทน.๒๑ ส�ำหรับขั้นที่ ๑ หนทางปฏิบัติพร้อมแผ่นภาพสังเขปคือผลผลิตขั้นสุดท้ายของงานการ
พัฒนาหนทางปฏิบัติ
ทน.๒๑ ใช้ก�ำลัง ๑ กองพลปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศในวัน ว. เวลา น. โดยใช้เส้นหลักการรุก
ทางอากาศ ๒ เส้นหลัก ยึด ทม. DOG และ ทม. CAT. กรม ม.ลว. ที่ ๒๗ ก�ำบังปีกทางทิศตะวันออก
ของ ทน.และบรรจบกับ ASA ที่รุกมาทางทิศตะวันตก กองพล กวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ และ
บรรจบกับ พลน้อย นย.ที่ ๖
การปฏิบัติการแตกหัก คือการท�ำลายก�ำลังของกองพล ๑๐๙ ทั้งหมดโดยการโจมตีพร้อม ๆ กันทั่วทั้งพื้นที่
ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ โดยกองพลที่ ๑๒๑ และ พลน้อยบินที่ ๒๑ การยิงสนับสนุนของ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐
(การข่ม ปภอ.ร่วม, การขัดขวางทางอากาศ, และการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด)
การปฏิบัติการสร้างสภาวะ วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการสร้างสภาวะเพื่อป้องกันมิให้กองพล ๑๐๙ รวม
อ�ำนาจก�ำลังรบได้ รวมถึงป้องกันมิให้มีการเพิ่มเติมก�ำลังจาก ทน.เสือ หรือจากกองพล ๑๐๗ หรือ ๑๐๘
พลน้อย ขกท.๒๑ สร้างภาพว่ามีการเตรียมการยุทธ์เคลือ่ นทีท่ างอากาศข้ามช่องแคบดาวาโร และยุตกิ ารสร้าง
ภาพเมื่อสั่ง, ท�ำการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ (EA) และข่ม ปภอ.ข้าศึกด้วยเครื่องมือที่ไม่ก่อให้เกิดการสังหาร
(non lethal) ต่อระบบ คบช. ของ พล.๑๐๙, uav. และเครือ่ งมือเฝ้าตรวจระยะไกลค้นหาทีต่ งั้ และติดตามความ
เคลื่อนไหวของ ทน.เสือและกองหนุนของ พล.๑๐๗ และ ๑๐๘, รายงานความเคลื่อนไหวต่อ กรม ม.ลว.๒๗
พลน้อยบินที่ ๒๑ (-) สนับสนุนการเคลื่อนย้ายก�ำลังเคลื่อนที่ทางอากาศของ พลร.๑๐๑ ในพื้นที่ปฏิบัติการ
คอร์ทนีย์ กรม ม.ลว.๒๗ ก�ำบังปีกด้านทิศตะวันตกของ พล.ร.๑๒๑, บรรจบกับ ASA บริเวณแม่น�้ำ AWASH
พลน้อย กร.๓๖๕ สร้างอิทธิพลต่อพลเรือนในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารคอร์ทนียเ์ พือ่ ให้ปฏิบตั ติ ามนโยบายอยูแ่ ต่ในบ้าน
ของรัฐบาลซาน แองกลอส
ป.ทน. เพิ่มเติมก�ำลังให้ ป.พล.๑๒๑ ในการข่ม ปภอ.ข้าศึก, จัด พลน้อย ป.สนับสนุนโดยตรง กรม ม.ลว.๒๗
เมื่อสั่งกลุ่ม ปจว.ที่ ๑๙ พัน.๑ สร้างอิทธิพลต่อพลเรือนในพื้นที่ปฏิบัติการเพื่อให้ปฏิบัติตามนโยบายอยู่แต่ใน
บ้านของรัฐบาลซาน แองกลอส
รูปที่ ข-๑๗ หนทางปฏิบัติและแผ่นภาพสังเขปส�ำหรับขั้นที่ ๑ ทน.๒๑
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 285

กกล.ยว. ท�ำหน้าที่เป็นกองหนุนของ ทน.อีกกิจหนึ่ง (ยอมรับเกณฑ์เสี่ยง)


กองหนุน วางก�ำลังในพื้นที่รวมพล แจ๊คสัน ล�ำดับความเร่งด่วนในการปฏิบัติมีดังนี้ ๑. ปิดกั้นการส่งก�ำลัง
เพิ่มเติมของ ทน.เสือเข้ามาในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ ๒. สนับสนุนส่วนราชการพลเรือนตามแผนยุทธการ
Provider ๓. ตอบโต้ภัยคุกคามระดับสามในพื้นที่ส่วนหลังร่วม
การ ปขส. ก�ำหนดภายหลัง
ภาพสังเขป
การด�ำรงสภาพ (เว้น)
ผลลัพธ์ที่ต้องการ (ขั้นที่ ๑) ก�ำลังทั้งหมดของเรนโดวาถูกท�ำลายหรือถูกจับเป็นเชลย ทน.๒๑ และก�ำลังของ
ASA บรรจบกันบริเวณแม่น�้ำ AWASH ทน.๒๑ และ พลน้อย นย.ที่ ๖ บรรจบกันบริเวณ Heliotrope ทน.๒๑
เปลี่ยนการปฏิบัติไปเป็นการสนับสนุนส่วนราชการพลเรือนของซาน แองกลอส และเตรียมส่งมอบพื้นที่
ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ และพื้นที่ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกสเม็ดลีย์ให้กับซาน แองกลอส

รูปที่ ข-๑๗ หนทางปฏิบัติและแผ่นภาพสังเขปส�ำหรับขั้นที่ ๑ ทน.๒๑ (ต่อ)

ข-๓๒. รายการต่อไปนี้แสดงให้เห็นผลผลิตด้านการ ปขส. ทีจ่ �ำเป็นต้องใช้ในการสนับสนุนหนทาง


ปฏิบตั หิ นทางหนึง่ หากมีเวลา สธ.๗ จ�ำพัฒนาผลผลิตในลักษณะทีค่ ล้ายกันนีเ้ พือ่ สนับสนุนหนทาง
ปฏิบัติหนทางอื่น ๆ ผลผลิตที่ว่านี้ได้แก่
- แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส.
- วัตถุประสงค์ (หรือเป้าหมาย ?) และกิจด้านการ ปขส. เพื่อสนับสนุนแต่ละวัตถุประสงค์
- แผ่นงาน การ ปขส. (IO ปัจจัยน�ำเข้า work sheet)
- ตารางการประสานสอดคล้องการ ปขส.
- การก�ำหนดเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส.
- รายการเครื่องมือ/หน่วยส�ำคัญ
- ประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการ ปขส.
- เกณฑ์พิจารณาความส�ำเร็จ และความต้องการข่าวสารการ ปขส. เพื่อสนับสนุนการ
ประเมินการ ปขส.

แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. (Information Operations Concept of Support)


ข-๓๓. ขณะที่ ฝอ.ก�ำลังพัฒนาหนทางปฏิบัติอยู่นั้น สธ.๗ ก็จะต้องพัฒนาแนวความคิดในการ
สนับสนุนด้าน ปขส. (โดยยึดถือจากภารกิจขั้นต้นด้านการ ปขส.) ไปพร้อม ๆ กันส�ำหรับแต่ละ
หนทางปฏิบัติ (ดูรูป ข-๑๘) จากตัวอย่าง สธ.๗ ได้ก�ำหนดเป้าหมาย (วัตถุประสงค์ด้าน ปขส. ?)
การ ปขส. เชิงรุกเพิ่มเติมให้กับเป้าหมายการ ปขส.เชิงรับที่ก�ำหนดไว้ก่อนแล้วในช่วงการวิเคราะห์
ภารกิจ
286 ผนวก ข

การ ปขส. สนับสนุนการปฏิบัติการของทน.๒๑ ด้วยการป้องกันมิให้มีการขัดขวางการยุทธ์เคลื่อนที่


ทางอากาศในพื้นที่ปฏิบัติการโดยการท�ำให้การกีดขวางทางพลเรือนมีน้อยที่สุด และจะใช้การท�ำลาย
ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง และใช้ประโยชน์จากระบบ คบช. และระบบการยิงสนับสนุนของเรนโดวา, ลวงผู้มี
อ�ำนาจตัดสินใจของเรนโดวา, ท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ และลวงระบบ ขลฝ.เรนโดวา, ป้องกันมิให้ผู้ตัดสินใจ
เรนโดวาได้รับข่าวสารเกี่ยวกับเจตนาและขีดความสามารถของ ทน.๒๑, ป้องกันระบบ คบช.และ infosys
ของฝ่ายเรา, ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อและการลวงของเรนโดวา การปฏิบัติการกิจการพลเรือนจะเน้นย�้ำ
นโยบายของรัฐบาลซาน แองกลอสทีต่ อ้ งการให้ประชาชนอยูแ่ ต่ในบ้าน การ ปขส. สนับสนุนแผนการลวงของ
กกล.ฉก.ร่วม และ ทน.๒๑ เป้าหมายการ ปขส.เรียงตามล�ำดับความเร่งด่วนดังนี้
๑. ป้องกันการเปิดเผยภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติของ ทน.๒๑
๒. ป้องกันระบบ คบช.ของ ทน.๒๑
๓. รบกวนขัดขวาง (disrupt) ระบบ ปภอ., ขลฝ., คบช., และระบบเป้าหมายของเรนโดวา ระหว่างเวลาวิกฤต
ในการปฏิบัติการ
๔. ลดการกีดขวางของพลเรือนในพื้นที่เป้าหมายให้มีน้อยที่สุด
รูป ข-๑๘ แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. และเป้าหมายการ ปขส. ส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่ ๑ ของ ทน.๒๑

เป้าหมายการ ปขส. และกิจในการ ปขส. (Information Operations objectives and


Information Operations tasks)
ข-๓๔. สธ.๗ ก�ำหนดและปรับปรุงเป้าหมายและกิจในการ ปขส.ไปในขณะที่การพัฒนาแนว
ความคิดในการปฏิบตั ไิ ด้ดำ� เนินไป สธ.๗ ของ ทน.๒๑ จะเลือกใช้แผ่นงาน ปขส. เป็นเครือ่ งช่วยในการ
เตรียมการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
แผ่นงาน ปขส. (Information operations ปัจจัยน�ำเข้า worksheet)
ข-๓๕. สธ.๗ จัดท�ำแผ่นงาน ปขส.หนึ่งชิ้นต่อหนึ่งเป้าหมาย ปขส. ส�ำหรับแนวความคิดในการ
สนับสนุนด้านการ ปขส. แต่ละแนวความคิด รูป ข-๑๙ ถึง ข ๒๒ หน้า ข ๒๕ ถึง ข ๓๒ แสดงแผ่น
งานทีเ่ ตรียมไว้สำ� หรับเป้าหมายการ ปขส. ทีส่ นับสนุนต่อหนทางปฏิบตั ทิ ี่ ๑ แต่เนือ่ งจากการ cno,
can และ cne ท�ำโดยหน่วยสูงกว่าระดับ ทน. รูปที่ ข ๑๙ ถึง ข ๒๒ จึงไม่ได้แสดงองค์ประกอบ
เหล่านี้เอาไว้
ตารางการประสานสอดคล้องการ ปขส. (Information operation Synchronization matrix)
ข-๓๖. ตารางการประสานสอดคล้องการ ปขส. แสดงถึงเวลาในการปฏิบัติกิจทั้งหมดด้านการ
ปขส. (ดูรูป ข ๒๓) และมันยังได้แสดงถึงว่า กิจ ปขส. ใดสนับสนุนต่อเป้าหมาย ปขส.ที่ก�ำหนด
นอกจากนี้ ตารางประสานสอดคล้องยังได้แสดงเหตุการณ์หลักส�ำหรับแต่ละระบบปฏิบัติการ
ในสนามรบเพื่อการประสานสอดคล้องการปฏิบัติการทั้งหมดด้วย อีกทั้งตารางการประสาน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 287

สอดคล้องอาจใช้แทนแผ่นภาพสังเขปแสดงแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. ส�ำหรับตาราง


ประสานสอดคล้องการ ปขส. ที่ประกอบหนทางปฏิบัติที่ถูกเลือกจะกลายเป็นตารางการปฏิบัติ
ปขส.ส�ำหรับการปฏิบัติการครั้งนั้น

ห/ป.๑ ทน.ปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศด้วยก�ำลัง ๑ กองพลในวัน ว. เวลา น. ใช้เส้นหลักการรุกทาง


อากาศสองเส้นหลักเพื่อยึด ทม.Dog และ CAT - กรม ม.ลว. ๒๗ ก�ำบังปีกทางทิศตะวันออกของ ทน.
และบรรจบกับกองทัพ ASA ที่ก�ำลังรุกมาทางทิศตะวันตก - กองพลกวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์
และบรรจบกับ พลน้อย.นย.ที่ ๖
แนวความคิดในการ การ ปขส.สนับสนุน ทน.๒๑ โดยป้องกันการขัดขวางการยุทธ์ คทอ.ด้วยการมิให้มีการกีดขวางโดย
สนับสนุนด้าน ปขส. พลเรือนภายในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ ซึ่งจะใช้ทั้งการท�ำลาย การลดประสิทธิภาพ การขัดขวางและ
การใช้ประโยชน์จากระบบ คบช.และระบบการยิงสนับสนุนของเรนโดวา - ท�ำการลวงผูม้ อี ำ� นาจตัดสินใจ
ของเรนโดวา - ท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง และลวงระบบ ขฝล.เรนโดวา - ขัดขวางมิให้ผมู้ อี ำ� นาจ
ตัดสินใจของเรนโดวาได้รับข่าวสารเกี่ยวกับเจตนาและขีดความสามารถของ ทน.๒๑ - ป้องกันระบบ
คบช.และ infosys ของฝ่ายเรา - ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อและการลวงของเรนโดวา การปฏิบัติการ
กิจการพลเรือนจะเน้นนโยบายของรัฐบาลซาน แองกลอสทีต่ อ้ งการให้ประชาชนอยูแ่ ต่ในบ้านการ ปขส.
สนับสนุนต่อแผนการลวงของ กกล.ฉก.ร่วมและ ทน.๒๑
เป้าหมาย ปขส. ๑ ป้องกันการเปิดเผยภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติของ ทน.๒๑
สอ. ปจว. การลวงทาง การท�ำลาย OPSEC การประกัน
ทหาร ทางกายภาพ ข่าวสาร IA
อะไร (กิจ) กิจ สอ.๐๑ กิจ ปจว.๐๑ กิจ. การลวง กิจ ท�ำลาย กิจ OP 01 กิจ IA 01
ขัดขวางระบบ ลดการ ๐๑ ๐๑ ลด ป้องกันมิให้ ป้องกัน
การดักรับและ ต่อต้านและ ลวง มทน.๒๑ ประสิ ท ธิ ภ าพ ทน. ระบบ คบช.,
การค้นหาที่ตั้ง กีดขวางจาก เกี่ยวกับ ระบบ ขฝล. เสือล่วงรู้ INFOSYS, ของ
การสื่อสารของ พลเรือนใน ภารกิจของ เรนโดวาใน ภารกิจของ พล.๑๐๑ และ
เรนโดวา พื้นที่ ทน.๒๑ ทน.เสือ กกล.ฉก.ร่วม ทน.๒๑
ปฏิบัติการ
คอร์ทนีย์ให้
น้อยที่สุด
ท�ำไม (วัตถุประสงค์) ป้องกันการ ป้องกันมิให้ เพื่อป้องกัน ขัดขวางการ ป้องกันมิให้ เพื่อให้ ผบ.ได้
รวบรวมข่าวสาร ภารกิจของ หน่วย คทอ. รวบรวม ข้าศึกล่วงรู้ที่ รับข่าวสารที่
ต่อ ขสร., ที่ตั้ง ทน. ถูกเปิดเผย จากการยิง ข่าวสารและ ตั้งส�ำคัญของ ส�ำคัญตลอด
ทก. ฝ่ายเรา หรือมีอุปสรรค ปภอ. การ คบช. หน่วย คทอ., ห้วงการปฏิบัติ
เนื่องจากการ และการตี สนับสนุนเรื่อง
กีดขวางของ โต้ตอบทาง ที่ลวง
พลเรือน พื้นดิน
ใคร พลน้อย ขกท. หน่วย ปจว. พลน้อย. ป.พล, ป.ทน., จนท.ระบบ, หน่วยทุกหน่วย
๒๑, พัน ขกท. ทน.๒๑ ขกท.ที่ ๒๑ ฮ.โจมตี, การ จนท.ต่อต้าน ของ พล.๑๐๑
พล.๑๒๑ ขัดขวางทาง ข่าวกรอง, ส่วน และ ทน.๒๑
อากาศ (AI) ควบคุมและ
วิเคราะห์ (ACE)
288 ผนวก ข

ที่ไหน ที่ตั้งหน่วยดัก พื้นที่ ทก.ทน.เสือ ระบบ ขฝล. ทั่วพื้นที่ ทั่วพื้นที่


รับและค้นหา ปฏิบัติการ ทน.เสือ ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ
ของ ทน.เสือ คอร์ทนีย์
เมื่อไหร่ น.-๑ น.-๒๔ ในห้วงการ น.-๕ ตลอดห้ ว งการ ตลอดห้ ว งการ
ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ
การต่อต้านการ การโจมตีต่อ การโฆษณา การเพิ่มการ การเคลื่อนย้าย การเพิ่ม ขฝล. ข้าศึกเพิ่มการ
ปฏิบัติ เครื่องมือโจมตี ชวนเชื่อของ ปฏิบัติ ขฝล. ระบบ ขฝล. โจมตีเครือข่าย
(Couteraction) อิเล็กทรอนิกส์ รัฐบาลเรนโดวา คอมพิวเตอร์
ของฝ่ายเรา และการ สอ.
เกณฑ์วัด ระบบที่เป็น ไม่มีการ การเคลื่อนย้าย การประเมิน การ คทอ. ผบ.ได้รับ
ความส�ำเร็จ เป้าหมาย กีดขวางจาก ก�ำลังของเรน ความเสียหาย บังเกิด ข่าวสารส�ำคัญ
ขัดข้อง, ขฝล พลเรือนใน โดวาไปยังที่ที่ จากการยิง ผลในการจู่โจม ตลอดห้วงการ
ยืนยันว่าระบบ ท้องถิ่น ไม่กระทบต่อ สนับสนุนที่มี ปฏิบัติ
ที่เป็นเป้าหมาย การปฏิบัติของ การตรวจการณ์
ไม่ท�ำงาน ฝ่ายเรา
ความต้องการ ระบบของ ทน. การเคลื่อนย้าย การเคลื่อนย้าย การต่อต้าน รายงานการ เจตนาและขีด
ข่าวสาร ปขส. ๒๑ ไม่ถูก ของพลเรือน หน่วยที่เป็น ข่าวกรอง ปฏิบัติการ ความสามารถ
ตรวจจับ เป้าหมาย ตรวจไม่พบ ต่อต้านการ ของข้าศึกต่อ
การรวบรวม ลาดตระเวน การโจมตีระบบ
infosys และ
ระบบ คบช.
ของฝ่ายเรา
หมายเหตุ ทน.๒๑ อนุมัติ กกล.ฉก.ร่วม กกล.ฉก.ร่ ว ม ทน.๒๑ อนุมัติ แต่ละ ทก. แต่ละ ทก.
๒๕๐ อนุมัติ ๒๕๐ อนุมัติ อนุมัติ อนุมัติ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 289

ห/ป.๑ ทน.ปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศด้วยก�ำลัง ๑ กองพลในวัน ว. เวลา น. ใช้เส้นหลักการรุกทาง


อากาศสองเส้นหลักเพื่อยึด ทม.DOG และ CAT. - กรม ม.ลว. ๒๗ ก�ำบังปีกทางทิศตะวันออกของ ทน.
และบรรจบกับกองทัพ ASA ที่ก�ำลังรุกมาทางทิศตะวันตก - กองพลกวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์
และบรรจบกับ พลน้อย.นย.ที่ ๖
แนวความคิดในการ การ ปขส. สนับสนุน ทน.๒๑ โดยป้องกันการขัดขวางการยุทธ์ คทอ. ด้วยการมิให้มีการกีดขวางโดย
สนับสนุนด้าน ปขส. พลเรือนภายในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ ซึ่งจะใช้ทั้งการท�ำลาย การลดประสิทธิภาพ การขัดขวางและ
การใช้ประโยชน์จากระบบ คบช.และระบบการยิงสนับสนุนของเรนโดวา - ท�ำการลวงผูม้ อี ำ� นาจตัดสินใจ
ของเรนโดวา - ท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง และลวงระบบ ขฝล.เรนโดวา - ขัดขวางมิให้ผมู้ อี ำ� นาจ
ตัดสินใจของเรนโดวาได้รับข่าวสารเกี่ยวกับเจตนาและขีดความสามารถของ ทน.๒๑ - ป้องกันระบบ
คบช.และ infosys ของฝ่ายเรา - ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อและการลวงของเรนโดวา การปฏิบัติการ
กิจการพลเรือนจะเน้นนโยบายของรัฐบาลซาน แองกลอสทีต่ อ้ งการให้ประชาชนอยูแ่ ต่ในบ้าน การ ปขส.
สนับสนุนต่อแผนการลวงของ กกล.ฉก. ร่วมและ ทน.๒๑
เป้าหมาย ปขส. ๑ ป้องกันการเปิดเผยภารกิจและแนวความคิดในการปฏิบัติของ ทน.๒๑
ต่อต้าน ต่อต้าน การ รปภ. การป้องกันระบบ การต่อต้าน การ ปชส. การ ปกร.
การ การลวง ทาง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ข่าวกรอง (ตข.)
โฆษณา (ตล.) กายภาพ (ปคข.)
ชวนเชื่อ (รปก.)
อะไร (กิจ) กิจ ตล.๑ กิจ รปก.๑ กิจ ปคข.๑ ป้องกัน กิจ ตข.๑ กิจ ปชส. กิจ ปกร.๑
ใช้ ป้องกัน ระบบ infosys ของ ประเมินค่า ๑ ประเมิน สนับสนุน
ประโยชน์ ระบบ ทน.๒๑ จากการโจมตี โครงการ ผล ปจว. psop
จาก infosys เครือข่ายคอมพิวเตอร์ opsec จากการ ด้วยข้อมูล
แผนการ ของทน. รายงาน ย้อนกลับ
ลวงของ จากการก่อ ของสื่อ เกี่ยวกับ
เรนโดวา วินาศกรรม แนวทาง
หลักใน
การ ปจว.
ท�ำไม (วัตถุประสงค์) เพื่อ ต่อต้าน ป้องกันการรวบรวม เพื่อต่อต้านการ ค้นหาว่ามี ให้ข้อมูล
ประกันว่า การก่อ ข่าวสารจากระบบ ข่าวของเรนโด การรายงาน การเปิดเผย
ผบ.หน่วย วินาศกรรม infosys วา ทั้ง humint, ข่าวภารกิจ ภารกิจที่
ฝ่ายเราไม่ ของเรนโด sigint, imint ของ ทน. อาจเกิดขึ้น
เชื่อการ วา ในสื่อ
ลวงของ หรือไม่
เรนโดวา
ใคร พลน้อย ทุกหน่วย สธ.๖ IANM, IASO, SA พลน้ อ ย ขกท. น.ปชส.ทน. พลน้อย
ขกท.๒๑ ของทุกหน่วย ๒๑ ๒๑ ปกร.๓๖๕
ที่ไหน ระบบ ทั่วพื้นที่ ทั่วพื้นที่ปฏิบัติการ ทั่วพื้นที่ ทั่วพื้นที่ ทั่วพื้นที่
คบช.ทน. ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ
เสือ
เมื่อไหร่ ตลอดเวลา ตลอดเวลา ตลอดเวลา ตลอดเวลา ตลอดเวลา ตลอดเวลา
290 ผนวก ข

การต่อต้านการ เรนโดวา เรนโดวา ก�ำลังเรนโดวาเพิ่ม เรนโดวา ไม่มี ไม่มี


ปฏิบัติ ปรับหรือ เปลี่ยน การโจมตีเครือข่าย เปลี่ยนวิธีการ
(Couteraction) ยุติการ วิธีการก่อ คอมพิวเตอร์ จารกรรมและ
ลวง วินาศกรรม ก่อวินาศกรรม
เกณฑ์วัด ฝ่ายเรา ไม่มีวี่แวว การโจมตีเครือข่าย ไม่มวี แี่ ววว่าการ การ ตข. แนวทาง
ความส�ำเร็จ พิสูจน์ ของการก่อ คอมพิวเตอร์ของเรน ปฏิ บั ติ ก ารของ พบว่าไม่มี หลักใน
ทราบการ วินาศกรรม โดวาไม่มีผลกระทบต่อ ฝ่ายเราถูก การเปิดเผย การ ปจว.
ลวงและ ทน.๒๑ เปิดเผย การปฏิบัติ ได้ผล
ต่อต้าน การ
การลวง
ของเรนโด
วาได้
ความต้องการ พิสูจน์ สิ่งบอก สิ่งบอกเหตุการโจมตี สิง่ บอกเหตุการณ์ สิ่งบอกเหตุ
สิ่งบอกเหตุ
ข่าวสาร ปขส. ทราบเรื่อง เหตุการณ์กอ่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ จารกรรมและ ว่าการ ปจว. ว่า ทน.เสือ
ลวงของเรน วินาศกรรม ของเรนโดวา ก่อวินาศกรรม ได้ผล ล่วงรู้
โดวา ของเรนโดวา ภารกิจ
ของทน.๒๑
หมายเหตุ กกล. ฉก. ทน.๒๑ Stratcom เห็นชอบ กกล.ฉก.ร่วม กกล. ฉก. กกล. ฉก.
ร่ ว ม ๒๕๐ เห็นชอบ ๒๕๐ เห็นชอบ ร่วม ๒๕๐ ร่วม ๒๕๐
เห็นชอบ เห็นชอบ เห็นชอบ
รูป ข-๑๙ แผ่นงาน ปขส., เป้าหมาย ปขส. ที่ ๑
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 291

ห/ป.๑ ทน.ปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศด้วยก�ำลัง ๑ กองพลในวัน ว. เวลา น. ใช้เส้นหลักการรุกทาง


อากาศสองเส้นหลักเพื่อยึด ทม.Dog และ CAT - กรม ม.ลว. ๒๗ ก�ำบังปีกทางทิศตะวันออกของ ทน.
และบรรจบกับกองทัพ ASA ที่ก�ำลังรุกมาทางทิศตะวันตก - กองพลกวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์
และบรรจบกับ พลน้อย.นย.ที่ ๖
แนวความคิดในการ การ ปขส.สนับสนุน ทน.๒๑ โดยป้องกันการขัดขวางการยุทธ์ คทอ.ด้วยการมิให้มีการกีดขวางโดย
สนับสนุนด้าน ปขส. พลเรือนภายในพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์ ซึ่งจะใช้ทั้งการท�ำลาย การลดประสิทธิภาพ การขัดขวางและ
การใช้ประโยชน์จากระบบ คบช.และระบบการยิงสนับสนุนของเรนโดวา - ท�ำการลวงผูม้ อี ำ� นาจตัดสินใจ
ของเรนโดวา - ท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง และลวงระบบ ขฝล.เรนโดวา - ขัดขวางมิให้ผมู้ อี ำ� นาจ
ตัดสินใจของเรนโดวาได้รับข่าวสารเกี่ยวกับเจตนาและขีดความสามารถของ ทน.๒๑ - ป้องกันระบบ
คบช.และ infosys ของฝ่ายเรา - ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อและการลวงของเรนโดวา การปฏิบัติการ
กิจการพลเรือนจะเน้นนโยบายของรัฐบาลซาน แองกลอสทีต่ อ้ งการให้ประชาชนอยูแ่ ต่ในบ้านการ ปขส.
สนับสนุนต่อแผนการลวงของกกล.ฉก.ร่วมและทน.๒๑
เป้าหมาย ปขส. ๒ ป้องกันระบบ คบช.ของ ทน.๒๑
สอ. ปจว. การลวง การท�ำลาย รปภ. การประกัน
ทางกายภาพ ข่าวสาร IA
อะไร (กิจ) กิจ สอ.๐๒ กิจ ปจว.๐๒ กิจ ลวง ๐๒- กิจ opsec กิจ ปกข.๐๒
การปอ. ป้องกัน เพิ่มขีด ท�ำให้ ทน. ๐๒ ป้องกัน ป้องกันระบบ
ก�ำลังพลและ ความสามารถ เสือเชื่อว่า มิให้ ทน.เสือ infosys และ
ยุทโธปกรณ์ การประกัน การป้องกัน ล่วงรู้ภารกิจ ระบบ คบช.
ของ ทน.๒๑ ข่าวสาร (IA) เครือข่าย ของ ทน.๒๑ ของ ทน.๒๑
คอมพิวเตอร์
ของ กกล.ฉก.
ร่วมดีกว่าทีค่ าด
ท�ำไม (วัตถุประสงค์) ป้องกันมิให้ สร้ า งภาพให้ สร้างภาพให้ -ป้องกันการ ให้ ผบ.ได้รับ
มีการรบกวน เห็นว่าขีดความ เห็นว่า ทน. ตรวจจับและ ข่าวสารทีส่ ำ� คัญ
แทรกแซงการ สามารถในการ ๒๑ มีขีด ค้นหาที่ตั้งของ ตลอดเวลาใน
ปฏิบัติการ ปกข.ของทน. ความสามารถ หน่วยเคลื่อนที่ การปฏิบัติการ
๒๑ มีสูงมาก ในการป้องกัน ทางอากาศ
เครือข่าย -สนับสนุน
คอมพิวเตอร์ เรื่องที่ลวง
ใคร พลน้อย ขกท. พัน.๑ กลุ่ม พัน.๑ กลุ่ม เจ้าหน้าที่ ทุกหน่วยของ
๒๑ ปจว.ที่ ๑๙ และ ปจว.ที่ ๑๙ และ ระบบ infosys, ทน.๒๑
สธ.๖ ของ ทน. สธ.๖ ของ ทน. จนท.ตข., บก.
พล.๑๒๑
ที่ไหน ทั่วพื้นที่ บก.ทน.เสือ บก.ทน.เสือ ทั่วพื้นที่ ทน.๒๑,
ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ บก.พล.๑๒๑
และที่ตั้ง
ทางการ คบช.
เมื่อไหร่ น.-๒๔ น.-๔๘ น.-๔๘ ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง
292 ผนวก ข

การต่อต้าน เรนโดวาเพิ่ม เรนโดวาเพิ่ม เรนโดวาเพิ่ม การเพิ่มการ เรนโดวาเพิ่ม


การปฏิบัติ การโจมตีทาง การโจมตี การโจมตี ปฏิบตั กิ าร ขฝล. การโจมตี
อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
เน็ตเวิร์ก/การ เน็ตเวิร์ก เน็ตเวิร์ก/การ
โจมตีทาง โจมตีทาง
อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์
เกณฑ์วัด การป้องกันทาง การปกข.ไม่ การป้องกัน การเคลื่อนที่ ผบ.ได้รับ
ความส�ำเร็จ อิเล็กทรอนิกส์ เปลี่ยนแปลง เครือข่าย ทางอากาศ ข่าวสารส�ำคัญ
มีประสิทธิภาพ คอมพิวเตอร์ไม่ บังเกิดผลใน ตลอดเวลาใน
เปลี่ยนแปลง การจู่โจม การปฏิบัติการ
ความต้องการ ขีดความสามารถ สิง่ บอกเหตุการณ์ สิ่งบอก รายงานการ เจตนาและขีด
ข่าวสารการ ในการโจมตีทาง โจมตีเครือข่าย เหตุการณ์โจมตี ปฏิบัติการ ความสามารถ
ปขส. อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ เครือข่าย ต่อต้านการ ของเรนโดวาที่
ของเรนโดวา และโจมตีทาง คอมพิวเตอร์ ลาดตระเวน จะโจมตีระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ของเรนโดวา infosys/คบช.
ของเรนโดวา ฝ่ายเรา
หมายเหตุ กกล.ฉก.ร่วม กกล.ฉก.ร่วม Stratcom แต่ละบก.เห็น แต่ละบก.เห็น
๒๕๐ เห็นชอบ ๒๕๐ เห็นชอบ เห็นชอบ ชอบ ชอบ

รูป ข-๑๙ แผ่นงาน ปขส., เป้าหมาย ปขส. ที่ ๒

ต่อต้านการ ต่อต้าน การ รปภ. การป้องกัน การต่อต้าน การ การปฏิบัติการ


โฆษณา การลวง ทางกายภาพ เครือข่าย ข่าวกรอง ประชาสัมพันธ์ กิจการ
ชวนเชื่อ คอมพิวเตอร์ พลเรือน
อะไร (กิจ) กิจ ตฆ.๐๑ ท�ำ กิจ ตล.๐๑ กิจการ กิ จ ปคค.๐๒ กิจ ตข.๐๒ กิจ ปชส.๐๒
กิจ ปกร.๐๒
เป้าหมาย ใช้ประโยชน์ รปภ.กภ.๐๒ ป้องกันระบบ ประเมินผล ป้องกันก�ำลัง
ประสานขอให้
การโจมตีทาง จากแผนการ ป้องกัน infosys ทน. โครงการ พลมิให้ได้รับ
ประเทศ
อิเล็กทรอนิกส์, ลวงของ เครื่องมือ ๒๑ จากการ opsec ข่าวสารที่ไม่
เจ้าบ้าน
เน้นย�้ำการ เรนโดวา อิเล็กทรอนิกส์ จคค. (cn ก) ถูกต้องหรือ
สนับสนุน
ป้องกันทาง ข่าวลวง
ในการต่อต้าน
อิเล็กทรอนิกส์ สายลับ
ท�ำไม เพื่อป้องกัน เพื่อประกันว่า เพื่อป้องกัน เพื่อประกันว่า เพื่อต่อต้าน ขยาย ใช้ประโยชน์
(วัตถุประสงค์) ระบบ คบช. เรนโดวา ลวง ระบบ คบช. ระบบ คบช. humint, sigint ความสามารถ จากหน่วยงาน
ของทน. ผบ.ฝ่ายเรา ของ ทน. จะไม่ถูก และ imint ระบบ คบช. ตข.ของ ASA
ไม่ได้ ขัดขวาง ของเรนโดวา ของทน. และท�ำความ
คุ้นเคยกับ
พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร
ใคร พั น .๑ กลุ ่ ม พลน้อย สธ.๖ ทน.๒๑, สธ.๖/ฝอ.๖, พลน้อย น.ปชส. พลน้อย
ปจว.ที่ ๑๙ ขกท.๒๑ พล.ร.๑๒๑, IANM, IASO, ขกท.๒๑ ทน.๒๑ ปกร.๓๖๕
ฝอ.๒ พัน./พล SA ของ
น้อย ทุกหน่วย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 293

ที่ไหน ที่ตั้งการ คบช. พื้นที่ปฏิบัติ พลน้อย ทั่วพื้นที่ หน่วยของ ทน. ทั่วพื้นที่ ทั่วพื้นที่
ของทน.๒๑ การคอร์ทนีย์ ขกท.๒๑ ปฏิบัติการ ๒๑ และ พล.ร. ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ
๑๒๑ ทุกหน่วย
เมื่อไหร่ ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง ต่อเนื่อง
การต่อต้าน เพิ่มการ ก�ำลังเรนโดวา อุปกรณ์ เรนโดวาเพิ่ม เรนโดวา เรนโดวาเพิ่ม เรนโดวาใช้คน
การปฏิบัติ โฆษณา ปรับหรือหยุด สงคราม การโจมตี เปลี่ยนวิธีการ การปล่อย ท้องถิ่นเป็น
(จากข้าศึก) ชวนเชื่อ การปฏิบัติการ อิเล็กทรอนิกส์ เครือข่าย รวบรวม ข่าวลวง สายลับ
ลวง ถูกเจาะ คอมพิวเตอร์ ข่าวสาร
เกณฑ์วัด ระบบ คบช. ฝ่ายเราพิสูจน์ การเจาะระบบ ระบบ ไม่พบ ไม่มีการ กองทัพ ASA
ความส�ำเร็จ ได้รับการ ทราบความ มีน้อยหรือไม่มี เครือข่าย ข้อบกพร่องใน ปล่อยข่าวลวง สนับสนุน
ป้องกัน จริงเกี่ยวกับ ทน.ปลอดภัย การ opsec การ ตข.ของ
การลวงและ ทน.๒๑
ท�ำการต่อต้าน
การลวงได้
ความต้องการ ไม่มีการ พิสูจน์ทราบ พิสูจน์ทราบ สิ่งบอกเหตุ สิ่งบอกเหตุถึง สิ่งบอกเหตุว่า สิ่งบอกเหตุ
ข่าวสารการ โจมตีทาง เรื่องลวงของ ความพยายาม การโจมตี ความพยายาม มีการปล่อย ว่าการ
ปขส. อิเล็กทรอนิกส์ เรนโดวาได้ เจาะของ เครือข่าย รวบรวม ข่าวลวง สนับสนุน
จากเรนโดวา เรนโดวา คอมพิวเตอร์ ข่าวสาร เพิ่มขึ้น ลดลง
จากเรนโดวา ของเรนโดว
หมายเหตุ ทน.๒๑ กกล.ฉก.ร่ ว ม ทน.๒๑ Stratcom ทน.๒๑ อนุมัติ ทน.๒๑ อนุมัติ Stratcom
อนุมัติ อนุมัติ อนุมัติ อนุมัติ อนุมัติ
รูป ข-๑๙ แผ่นงาน ปขส., เป้าหมาย ปขส. ที่ ๒ (ต่อ)

IANM ผู้จัดการเครือข่ายการประกันข่าวสาร
IASO นายทหารรักษาความปลอดภัยการประกันข่าวสาร
SA ผู้บริหารระบบ
การก�ำหนดเป้าหมายที่เกี่ยวกับ ปขส. (Information - Operations - Related Target
Nominations)
ข-๓๗. สธ.๗ จะก�ำหนดงานสงครามอิเล็กทรอนิกส์และการท�ำลายทางกายภาพ (ตามรูป ข-๑๙
ถึง ข-๓๒ หน้า ข-๒๕ ถึง ข-๓๒) ที่มีพื้นฐานมาจากผลผลิต ปขส. เป้าหมายคุณค่าสูง (hvt) รวม
ทั้งข่าวสารที่ได้จากการวิเคราะห์ภารกิจ แล้วแปลงเป็นเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับ ปขส. หนึ่งหรือ
สองเป้าหมาย เป้าหมายเหล่านี้จะถูกก�ำหนดเป็นเป้าหมายคุ้มค่า hpt ตามกระบวนการกรรมวิธี
เป้าหมาย ส่วนชุดเป้าหมาย (targeting team) จะเป็นผู้ก�ำหนดว่าเป้าหมายเหล่านี้เป้าหมายใด
จะถูกน�ำไปรวมไว้ในรายการเป้าหมายคุ้มค่า hpt (ดูผนวก E) สธ.๗ ก�ำหนดเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
กับการ ปขส. เหล่านี้ รวมถึงความต้องการข่าวสาร ปขส. ก็เพื่อประเมินผลกระทบที่เป้าหมาย
294 ผนวก ข

เหล่านี้มีต่องาน ปขส. และรวมเข้าไว้ในแผ่นงานปัจจัยน�ำเข้าด้าน ปขส. และตารางการประเมินค่า


การ ปขส.ด้วย (ดูรูป ข-๒๖)
รายการเครื่องมือส�ำคัญ (Critical asset List)
ข-๓๘. สธ.๗ เป็นผู้ก�ำหนดว่ารายการเครื่องมือส�ำคัญที่จัดท�ำขึ้นในระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ
จะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ (ดูรูป ข-๖) ส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่ ๑ รายการเครื่องมือส�ำคัญอาจมี
การเพิม่ หรือลดขึน้ อยูก่ บั ว่าถ้าเครือ่ งมือเหล่านัน้ เสียหายหรือลดประสิทธิภาพลงจะมีผลกระทบต่อ
หนทางปฏิบัติอย่างไร
การประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. (Assessment of IO associated risk)
ข-๓๙. ฝอ.ประเมินอันตรายที่เกี่ยวข้องกับหนทางปฏิบัติแต่ละหนทางในขณะที่พัฒนาหนทาง
ปฏิบัตินั้น ๆ (ดูย่อหน้า ข-๑๖ ถึง ข-๑๘ และ เอฟเอ็ม ๑๐๐-๔) สธ.๗ จะท�ำการทบทวนแต่ละ
หนทางปฏิบตั เิ พือ่ หาว่าอาจมีอนั ตรายใดบ้างทีอ่ าจเกิดขึน้ ทัง้ ทางยุทธวิธแี ละโดยอุบตั เิ หตุทอี่ าจเป็น
ผลจากกิจกรรมด้านการ ปขส. จากนั้นจึงก�ำหนดการควบคุมเพื่อจัดการกับอันตรายนั้น ๆ ก�ำหนด
ว่ามีอนั ตรายตกค้าง (residual risk) หรือไม่ แล้วเตรียมทดสอบการควบคุมในระหว่างการวิเคราะห์
หนทางปฏิบตั ิ หากจ�ำเป็นก็จะต้องประสานการควบคุมกับ สธ.อืน่ ๆ ด้วย การควบคุมทีต่ อ้ งน�ำงาน
ปขส. ไปใช้ จะถูกน�ำไปใส่ไว้ในตารางปัจจัยน�ำเข้าด้าน ปขส.ส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ
ภารกิจ ทน.๒๑ เข้าตีในวัน ว. เวลา น. กวาดล้างพื้นที่ปฏิบัติการคอร์ทนีย์, บรรจบกับกองทัพ ASA บริเวณแม่น�้ำ AWASH,
บรรจบกับพลน้อย นย.ที่ ๖ บริเวณ HELIOTROPE, สนับสนุนรัฐบาลซาน แองกลอสในการรักษาความสงบเรียบร้อยและ
การบริการขั้นพื้นฐานต่อประชาชน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
เป้าหมาย ปขส. ระบุอันตราย ประเมินอันตราย พัฒนาการควบคุม ระบุความเสี่ยงที่ ปฏิบัติการควบคุม
หลงเหลืออยู่
ขัดขวาง การ ปภอ. การรบกวน ต�่ำ รปจ. ทน.๒๑ ต�่ำ รปจ.ทน.๒๑
ขฝล. คบช. การ ขัดขวางกันเอง
ด�ำเนินกรรมวิธี ทางอิเล็กทรอนิกส์
เป้าหมายของ
ทน.เสือ ระหว่าง
ห้วงการปฏิบัติ
ลดการกีดขวาง จ�ำนวนพลเรือน สูงอย่างยิ่ง การเริ่มการ ปานกลาง ผนวก ปขส.
โดยพลเรือนใน อพยพที่เกิดจาก ปกร.,ปจว.เพื่อ
พื้นที่เป้าหมาย การกระท�ำของ ควบคุมอาจลด
ให้เหลือน้อยที่สุด เรนโดวาอาจ จ�ำนวนพลเรือน
ขัดขวางการปฏิบตั ิ อพยพในพื้นที่
การของ ทน.๒๑ เป้าหมายได้
รูป ข-๒๔ ปัจจัยน�ำเข้า หรือปัจจัยน�ำเข้า ปขส.ส�ำหรับการประเมินความเสี่ยง (ย่อ)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 295

ข-๔๐. รูป ข-๒๔ แสดงผลของการวิเคราะห์ความเสี่ยงของ สธ.๗ ส�ำหรับ วัตถุประสงค์ ปขส.


เชิงรุกสองประการส�ำหรับ หนทางปฏิบตั ทิ ี่ ๑ ในการวิเคราะห์ความเสีย่ ง สธ.๗ จะใช้หลักการต่อไปนี้
ข-๓๙.๑ การประเมินขั้นต้น (Initial assessment)
ข-๓๙.๑.๑ ภาวะการปะทะกันเองด้านอิเล็กทรอนิกส์ (electronic fratricide)
การรบกวนระบบ ปภอ. ขลฝ., คบช., ระบบเป้าหมายของ ทน.เสือ
และ พล.๑๐๙ ในช่วงเวลาวิกฤตของการปฏิบัติการจะมีความเสี่ยง
ในเรื่องการปะทะกันเองด้านอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม พลน้อย
ขกท. ที่ ๒๑ มีประสบการณ์ในการท�ำสงครามอิเล็กทรอนิกส์ และ
เคยท�ำงานร่วมกับหน่วยสงครามอิเล็กทรอนิกส์ของ กกล.ทอ.และ
กกล.ทอ.บ่อยครั้ง อีกทั้งหน่วยต่าง ๆ ของ ทน.๒๑ ก็มี รปจ.ที่ดี
ผ่านการซักซ้อมมาจนสามารถรับมือกับการก่อกวนและการขัดขวาง
ด้านอิเล็กทรอนิกส์ อื่น ๆ ได้ดี สธ.๗ ได้หารือกับ สธ.๖ ประเมิน
ว่าความรุนแรงของอันตรายมีนอ้ ยมากอีกทัง้ โอกาสทีเ่ กิดขึน้ ก็มนี อ้ ย
เช่นกัน จากตารางประเมินค่าความเสี่ยงตามรูป ข-๑๑ สธ.๗ จึง
ตัดสินใจว่าความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับงานด้านนี้มีน้อย
ข-๓๙.๑.๒ การรบกวนการสื่อสารของพลเรือน จากการปรึกษากับ สธ.๓ สธ.
๗ คาดว่าการรบกวนการสื่อสารของพลเรือนในพื้นที่เป้าหมายอาจ
มีผลให้ภารกิจล้มเหลวได้ (ผลกระทบใหญ่หลวง) สธ.๒ ก็ประเมิน
ว่ามันมีโอกาสจะเกิดขึ้น เว้นแต่ว่ามีการก�ำหนดการควบคุมขึ้นมา
จากตารางประเมินค่าความเสี่ยงตามรูป ข-๑ สธ.๗ จึงก�ำหนดว่า
ความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับอันตรายด้านนี้มีสูงมาก
ข-๓๙.๒ ความเสี่ยงที่ยังเหลืออยู่ (residual risk)
๒-๓๙.๒.๑ ภาวะการปะทะกันเองทางอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากความเสี่ยงใน
การปะทะกันเองทางอิเล็กทรอนิกส์มีน้อย สธ.๒, สธ.๓, สธ.๖ และ
สธ.๗ เห็นว่า ไม่จำ� เป็นต้องก�ำหนดการควบคุมอืน่ ๆ นอกเหนือจาก
ที่ระบุไว้แล้วใน รปจ.
๒-๓๙.๒.๒ การรบกวนการสื่อสารของพลเรือน สธ.๗ คาดว่า การปฏิบัติการ
กิจการพลเรือนและการ ปจว.ที่ก�ำลังวางแผนอยู่จะสามารถลด
โอกาสที่จะเกิดการรบกวนการสื่อสารของพลเรือนได้ จากที่น่าจะ
เกิดขึน้ เป็นครัง้ คราวเป็นน่าจะเกิดขึน้ เพียงครัง้ หนึง่ หรือสองครัง้ จาก
ตารางประเมินค่าความเสี่ยงตามรูป ข-๑๑ หน้า ข-๑๕ สธ.๗ จึง
ก�ำหนดว่าความเสีย่ งทีส่ มั พันธ์กบั อันตรายด้านนีอ้ ยูใ่ นระดับปานกลาง
296 ผนวก ข

ข-๔๑. สธ.๗ ลงรายการผลผลิตจากกระบวนการแสวงข้อตกลงใจหรือการอ้างถึงที่มีการระบุ


การควบคุมไปในคอลัมน์ ๖ ของตารางประเมินค่าความเสี่ยง จากนั้น สธ.๗ ก็ส่งให้กับ สธ.๓
เพื่อน�ำไปรวมไว้ในตารางจัดการความเสี่ยงของหน่วยต่อไป
เกณฑ์พิจารณาความส�ำเร็จและการประเมินค่า (Criteria of Success and assessment)
ข-๔๒. เกณฑ์พิจารณาความส�ำเร็จด้าน ปขส.ส�ำหรับกิจ ปขส.แต่ละกิจ มีระบุไว้แล้วในแผ่นงาน
ปัจจัยน�ำเข้าด้าน ปขส. (ดูรูป ข-๑๙ ถึง ข-๒๒) และตารางประเมินค่า ปขส. (ดูรูป ข-๒๖)
ก�ำหนดหน่วย (Recommend HQs)
ข-๔๓. ระหว่างปฏิบัติกิจนี้ สธ.๗ จะก�ำหนดว่าจะให้หน่วยใดเป็นผู้ปฏิบัติกิจ ปขส.เรื่องใด แล้วท�ำ
ข้อเสนอแนะการจัดเฉพาะกิจโดยใช้ปจั จัยด้าน ปขส.เป็นหลัก ข้อมูลเรือ่ งนีม้ อี ยูใ่ นแผ่นงานปัจจัยน�ำ
เข้าด้าน ปขส.
เตรียมท�ำหนทางปฏิบัติทั้งส่วนที่เป็นข้อความและแผ่นภาพ
ข-๔๔. สธ.๗ เตรียมเขียนหนทางปฏิบตั เิ ป็นข้อความรวมถึงแผ่นภาพประกอบ ส�ำหรับหนทางปฏิบตั ิ
แต่ละหนทางในการปฏิบัติการครั้งนี้ (ดูรูป ข-๑๗)
กิจในการแสวงข้อตกลงใจข้อ ๔ การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ (การวาดภาพการรบ)
ข-๔๕. เมื่อท�ำการวาดภาพการรบแต่ละหนทางปฏิบัติ สธ.๗ ต้องมั่นใจว่าแนวความคิดในการ
สนับสนุนการ ปขส.ต้องเป็นไปตามเจตนาของ ผบ.รวมทั้งตัดสินใจว่าจะปฏิบัติกิจ ปขส.แต่ละกิจ
ในเวลาใด เป้าหมายและกิจในการ ปขส.อาจมีการปรับเปลี่ยนได้หากจ�ำเป็นต้องมีการประสาน
สอดคล้องเพือ่ ให้เหมาะกับการปฏิบตั กิ ารทัง้ หมด เครือ่ งมือช่วยในการวิเคราะห์กค็ อื แผ่นงานปัจจัย
น�ำเข้า ปขส., ข้อความและภาพสังเขปของหนทางปฏิบัติ และตารางประสานสอดคล้อง จากนั้น
สธ.๗ บันทึกผลการวาดภาพการรบโดยวิธเี ขียนเป็นตารางหรือ การบันทึกประกอบภาพสังเขปก็ได้
(ดู FM 5-0) ผลผลิตของการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติส�ำหรับการ ปขส.หรือแนวความคิดในการ
สนับสนุนด้าน ปขส.ที่ได้ปรับปรุงแล้วส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ, เวลาปฏิบัติ, ห้วงเวลาส�ำหรับ
แต่ละกิจ ปขส., รวมถึงข้อดีข้อเสียของแต่ละหนทางปฏิบัติในแง่การ ปขส.
กิจในการแสวงข้อตกลงใจข้อ ๕ การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ
ข-๔๖. ในระหว่างการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ ฝอ.จะหาว่าหนทางปฏิบัติใดที่มีความน่าจะ
เป็นสูงสุดต่อความส�ำเร็จเมื่อเปรียบกับหนทางปฏิบัติของข้าศึกทั้งหนทางที่น่าปฏิบัติมากที่สุด
และหนทางที่อันตรายที่สุด ปัจจัยน�ำเข้าของ สธ.๗ ในการวิเคราะห์นี้จะอยู่ในหัวข้อ ๔ ของ
ประมาณการ ปขส. (ดูผนวก ค)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 297

กิจในการแสวงข้อตกลงใจข้อ ๖ อนุมัติหนทางปฏิบัติ
ข-๔๗. เมื่อเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติเสร็จแล้ว ฝอ.จะเตรียมเสนอแนะต่อ ผบ.ว่าหนทางปฏิบัติ
ใดที่ ผบ.ควรเลือก ข้อเสนอแนะของ สธ.๗ จะเป็นข้อ ๕ ของประมาณการ ปขส. หากเวลาอ�ำนวย
ให้ ฝอ.จะเสนอแนะในระหว่างการบรรยายสรุปเพื่อตกลงใจ ในตอนท้ายของการบรรยายสรุปนี้
ผบ.จะตัดสินใจว่าจะเลือกหนทางปฏิบัติใด จากนั้น ผบ.จะปรับปรุงเจตนารมณ์และให้แนวทางใน
การวางแผนเพิ่มเติม
ข-๔๘. หลังจากได้รับแนวทางในการวางแผนจาก ผบ.แล้ว สธ.๗ จะปรับปรุงแนวความคิดในการ
สนับสนุนด้าน ปขส.ส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่เลือกแล้วเท่าที่จ�ำเป็น ค�ำสั่งเตือนที่ สธ.๓ ส่งออกไป
หลังจาก ผบ.ตกลงใจเลือกหนทางปฏิบัติจะรวมเอาแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการ ปขส.
ที่ปรับปรุงแล้วไว้ด้วย

ค�ำสั่งเตรียม ๒๑-๐๓
อ้างถึง ค�ำสั่งยุทธการ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ ๐๑, หมู่วันเวลา; ค�ำสั่งเตรียม ทน.๒๑ -๐๑; ค�ำสั่งเตรียม ทน.
๒๑-๐๒/หมู่วันเวลา
เขตเวลา
๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก ไม่เปลี่ยนแปลง
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา ไม่เปลี่ยนแปลง
ค. หน่วยสมทบและหน่วยแยก ไม่เปลี่ยนแปลง
๒. ภารกิจ ไม่เปลี่ยนแปลง
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ (เว้น, ดูรูป ข-๑๗ หน้า ข-๒๒)
ข. กิจที่มอบให้หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์
๑) พล.ร.๑๒๑ ไม่เปลี่ยนแปลง
๒) กรม.ม.ลว.ที่ ๒๗ ไม่เปลี่ยนแปลง
ค. กิจส�ำหรับหน่วยสนับสนุนการรบ
๑) พลน้อยบินที่ ๒๑ ไม่เปลี่ยนแปลง
๒) พลน้อย ขกท.ที่ ๒๑ ไม่เปลี่ยนแปลง
๓) พลน้อย ปกร.ที่ ๓๖๕ สนับสนุนหน่วยราชการซาน แองกลอส ในการฟืน้ ฟูการบริการขัน้ พืน้ ฐาน
เมื่อสั่ง
๔) ป.ทน. ชต. พล.ร.๑๒๑, จัดพลน้อย ป.ชต.ต่อกรม ม.ลว.ที่ ๒๗ เมื่อสั่ง
๕) กองพันที่ ๑ กลุ่ม ปจว.ที่ ๑๙ (เว้น)
ก. ข้าศึก ไม่เปลี่ยนแปลง
ง. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
298 ผนวก ข

๑) คตส.ผบ. ขั้นต้น ไม่เปลี่ยนแปลง


๒) แนวทางในการวางแผน OPSEC
(ก) ขสร. ไม่เปลี่ยนแปลง
(ข) มาตรการ opsec ชั่วคราว (เว้น)
๓) แนวทางความเสี่ยง (เว้น)
๔) แนวทางการลวง (เว้น)
๕) ส่งแผนถึง สธ.๓ ไม่ช้ากว่า...(หมู่วันเวลา)
๖) ซักซ้อม ณ ที่รวมพลแจ๊คสัน (หมู่วันเวลา)
๔. การช่วยรบ (เว้น)
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร (เว้น)
ตอบรับ
๑-๖) (เว้น)
๗) การ ปขส.
ก) แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการ ปขส. การ ปขส.สนับสนุนการปฏิบัติการของ ทน.๒๑
ด้วยการป้องกันมิให้ข้าศึกขัดขวางการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ โดยลดการขัดขวางจากพลเรือนทั้งในและ
รอบ ๆ พื้นที่เป้าหมายผ่านทางวิธีการ ท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง และใช้ประโยชน์จากระบบ คบช.
และระบบยิงสนับสนุนของเรนโดวา, ลวงผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจเรนโดวา, ท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง และ
ลวงต่อระบบ ขฝล.เรนโดวา, ป้องกันมิให้ผตู้ ดั สินใจเรนโดวาได้รบั ข่าวสารเกีย่ วกับเจตนาและขีดความสามารถ
ของ ทน.๒๑, ปกป้องระบบ คบช.และระบบ infosys ของฝ่ายเรา, ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อและการลวง
ของเรนโดวา - การปฏิบัติการกิจการพลเรือนจะเน้นนโยบายรัฐบาลซาน แองกลอสที่ให้ประชาชนอยู่กับบ้าน
การ ปขส.สนับสนุนแผนการลวงทั้งของ กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ และ ทน.๒๑
ข) เป้าหมายการ ปขส.
(๑ และ ๒) เป้าหมายการ ปขส. ๑ และ ๒ ไม่เปลี่ยนแปลง
(๓) เป้าหมายการ ปขส.๓ ขัดขวาง ระบบเป้าหมาย การ ปภอ. ขฝล. คบช.ของกองพล ๑๐๙
ในห้วงเวลาส�ำคัญของการปฏิบัติการ

รูป ข-๒๕ ค�ำสั่งเตรียม ทน.๒๑ ฉบับที่ ๓ (ย่อ)

กิจในการแสวงข้อตกลงใจข้อ ๗ ท�ำค�ำสั่ง
ข-๔๙. สธ.๗ ใช้ผลผลิตที่ไ ด้ร ะหว่างการแสวงข้ อ ตกลงใจมาจั ดเตรี ย มปั จจั ย น� ำ เข้ า ส� ำ หรั บ
ค�ำสั่งยุทธการ ส�ำหรับการปฏิบัติการที่ซับซ้อนดังตัวอย่างนี้จ�ำต้องมีผนวกการ ปขส. แยกต่างหาก
(ดูตัวอย่าง อนุผนวก ดี) ปัจจัยน�ำเข้าอย่างน้อยที่สุดคือข้อ ๓ ก (๗) ของค�ำสั่งยุทธการ ข้อ ๓ ก
(๗) ใช้แบบอย่างเดียวกับข้อ ๓ ของ ผนวกการ ปขส. ในสภาวะที่มีเวลาจ�ำกัด สธ.๗ อาจท�ำผนวก
ปขส. ในรูปตารางก็ได้
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 299

การปฏิบัติและการประเมินค่า
ข-๕๐. สธ.๗ อาจท�ำอนุผนวก การ ปขส.ประกอบผนวก การ ปขส.ในรูปแบบตารางการปฏิบัติ
(Execution matrix) ปกติ ตารางประสานสอดคล้องด้านการ ปขส.ส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่เลือก
ไว้จะเป็นมูลฐานในการท�ำตารางการปฏิบัติการ ปขส.ส�ำหรับการยุทธ์ครั้งนั้น ๆ
ข-๕๑. ผบ.จะท�ำการประเมินสถานการณ์และความคืบหน้าของการยุทธ์โดยมี ฝอ.ฝ่ายต่าง ๆ
เป็นผูช้ ว่ ยเหลือ พร้อมทัง้ เปรียบกับภาพการรบที่ ผบ.มอง สธ.๗ รับผิดชอบในการประเมินผลกระทบ
ของการ ปขส. และเสนอแนะการเปลี่ยนแปลงต่อ ผบ. เมื่อเห็นสมควร สธ.๗ อาจน�ำเสนอ
การประเมินในรูปแบบตารางก็ได้ (ดูรูป ข-๒๖)
ผนวก ค
การประมาณการด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
การประมาณการด้านการปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร หรือ ปขส. คือการประเมินค่าของ
สธ.๗ หรือนายทหารปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งว่าปัจจัยด้าน ปขส.ว่าจะมีอิทธิพลต่อหนทาง
ปฏิบัติที่ ผบ. ก�ำลังพิจารณาอยู่อย่างไร ผนวก ค นี้จะอธิบายถึงประมาณการ ปขส. โดยจะแสดง
ให้เห็นบทบาทของ สธ.๗ ในการพัฒนา และรักษาประมาณการ ปขส. ความสัมพันธ์ของประมาณการ
กับกิจต่าง ๆ ของกระบวนการแสวงข้อตกลงใจ ย่อหน้าใดในประมาณการจะถูกน�ำไปใช้ประโยชน์
ในผนวก ปขส. ของแผนหรือค�ำสั่งยุทธการ แบบฟอร์ม รวมถึงตัวอย่างของประมาณการ ปขส.
แบบสมบูรณ์ที่ยึดถือสถานการณ์สมมติเดียวกับที่ใช้ใน ผนวก ข
การพั ฒ นาประมาณการปฏิ บั ติ ก ารข่ า วสาร (Information operations estimate
development)
ค-๑. ประมาณการการปฏิบัติการข่าวสาร (ปขส.) จะสนับสนุนการตกลงใจตลอดห้วงการปฏิบัติ
การ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างกระบวนการแสวงข้อตกลงใจ (ดูรูป ค ๑) ประมาณการ ปขส.
แสดงให้เห็นว่าจะน�ำเอาการ ปขส.ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั กิ ารให้เกิดประโยชน์สงู สุดได้อย่างไร
สธ.๗ ที่มีความช�ำนาญการจะเริ่มด�ำเนินการท�ำประมาณการ ปขส.ในทันทีที่ได้รับค�ำสั่งเตรียมจาก
หน่วยเหนือหรืออาจจะก่อนหน้านั้นถ้าสามารถกระท�ำได้
กิจในการแสวงข้อตกลงใจ การประมาณการของ ฝอ.
รับภารกิจ จัดเตรียมและเริ่มการบันทึกข่าวสาร
ข้อ ๑ ภารกิจ
วิเคราะห์ภารกิจ • แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส.
ข้อ ๒ สถานการณ์และข้อพิจารณา
• ลักษณะของพื้นที่ปฏิบัติการ
พัฒนา หป. • ก�ำลังข้าศึก
• ก�ำลังฝ่ายเรา
วิเคราะห์ หป. • สมมติฐาน
(วาดภาพการรบ) ข้อ ๓ วิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
• การ ปขส. ใน หป.๑
- แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส.
- วัตถุประสงค์การ ปขส.
- วิเคราะห์
- วิเคราะห์ความเสี่ยง
เปรียบเทียบ หป. ข้อ ๔ เปรียบเทียบ หป.
เลือก หป. ข้อ ๕ ข้อเสนอแนะและสรุป

ท�ำค�ำสั่ง ปรับปรุงประมาณการให้
สะท้อนข่าวสารของ หป. ที่เลือก

รูป ค-๑ การประมาณการข้อมูลข่าวสารที่สนับสนุนต่อกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 301

ค-๒. ประมาณการ ปขส. และประมาณการอื่น ๆ ที่จัดท�ำขึ้นเพื่อสนับสนุนองค์ประกอบบาง


องค์ประกอบของการ ปขส. เป็นการประมาณการที่กระท�ำอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา (running
estimate) มันเป็นเอกสารทีจ่ ะต้องมีการปรับปรุงอยูต่ ลอดเวลาตลอดห้วงการปฏิบตั กิ าร และเป็น
เครือ่ งมือของฝ่ายอ�ำนวยการทีใ่ ช้ในการประเมินค่าในระหว่างการเตรียมการและระหว่างการปฏิบตั ๑ิ
ค-๓. หน่วยในระดับต�่ำกว่า ทน. หรือ ทภ. มักไม่ค่อยท�ำประมาณการเป็นลายลักษณ์อักษร
แต่มักจะเสนอประมาณการด้วยวาจาประกอบกับแผ่นบริวาร และแผ่นภาพสังเขป อย่างไรก็ตาม
ความส�ำคัญของรูปแบบของประมาณการมักอยู่ที่การเรียบเรียงจัดล�ำดับข่าวสารที่มีอยู่มากกว่า
จะมองว่ามันจะถูกเขียนออกมาอย่างไร ในการด�ำรงความทันสมัยของประมาณการมีความหมาย
ว่า สธ.๗ ได้ติดตามข่าวสารของสถานการณ์ทุกแง่ทุกมุม และพร้อมที่ให้ข้อเสนอแนะเมื่อ ผบ.ต้อง
ตกลงใจ แบบฟอร์มของประมาณการ ปขส. จะแจกแจงประเด็นต่าง ๆ ตามล�ำดับอย่างสมเหตุ
สมผล สธ.๗ อาจใช้ประมาณการ ปขส.เป็นเครือ่ งช่วยในการบรรยายสรุปเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าได้บรรยาย
ครบถ้วนทุกประเด็นส�ำคัญ ๆ
ค-๔. ปกติ ประมาณการ ปขส.จะให้ข่าวสารที่เพียงพอส�ำหรับจัดท�ำร่างผนวก ปขส. และย่อหน้า
ปขส. ในแผนหรือค�ำสั่งยุทธการได้แล้ว นอกจากนี้มันยังช่วยในการสร้างจินตภาพ หรือวิสัยทัศน์
(Visualization) ของ ผบ. ผนวก ปขส. ที่ได้จากประมาณการ ปขส. ควรจะเพียงพอที่จะเริ่มลงมือ
ปฏิบัติการได้ ประมาณการ ปขส. ควรจะมีข้อมูลให้ครบถ้วนที่สุดเท่าที่เวลาจะอ�ำนวยให้
ค-๕. ย่อหน้า ๑ และ ๒ ของประมาณการ ปขส. จะเป็นข้อมูลทีน่ ำ� ไปใช้ในการบรรยายสรุปวิเคราะห์
ภารกิจ ย่อหน้า ๓, ๔ และ ๕ เป็นข้อมูลที่น�ำไปใช้ในการบรรยายสรุปเพื่อเลือกหนทางปฏิบัติ
ค-๖. ในยามปกติ หน่วยต่าง ๆ จะให้ ฝอ. ท�ำประมาณการในแต่ละด้านเพือ่ เตรียมรับมือเหตุการณ์
ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น การท�ำประมาณการเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานให้ฝ่ายอ�ำนวยการสามารถท�ำ
ประมาณการเมือ่ มีภารกิจเกิดขึน้ ในระหว่างปฏิบตั กิ ารฝ่ายอ�ำนวยการก็ยงั ต้องท�ำประมาณการอย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งประมาณการที่ท�ำระหว่างการปฏิบัติการนี้จะท�ำให้เห็นจุดตกลงใจ (Decision points)
แผนเผชิญเหตุ (branches) และการปฏิบัติที่ตามมา (sequels) หากไม่มีประมาณการ ปขส. สธ.๗
จะต้องเริ่มท�ำในทันทีที่ได้รับภารกิจ และปรับปรุงประมาณการนั้นตลอดห้วงเวลาปฏิบัติการ
เจ้าหน้าที่ในแผนก ปขส. เป็นผู้ให้ข่าวสารส�ำหรับการท�ำประมาณการ ปขส. และข้อมูลการ ปขส.
ในแผนและค�ำสั่งจะมาจากประมาณการ ปขส. นี่เอง


ดู Operational Process
302 ผนวก ค

ค-๗. การพัฒนาประมาณการจะเน้นไปทีก่ ารประเมินสถานการณ์มากกว่าการพัฒนาหนทางปฏิบตั ิ


ความมุ่งหมายของการท�ำประมาณการมิใช่การท�ำแผนสมบูรณ์ แต่เป็นการรวบรวมข่าวสารที่เน้น
แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการ ปขส. เพื่อจะน�ำไปปรับปรุงแก้ไข ส�ำหรับสนับสนุนแนว
ความคิดในการปฏิบัติการรวม การพัฒนาประมาณการจะกระท�ำอย่างต่อเนื่องไม่มีการหยุด และ
ต้องมีการปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา
การวิเคราะห์ภารกิจ (Mission analysis)
ค-๘. ในระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ สธ.๗ จะเป็นผู้ท�ำข้อที่ ๑ และข้อที่ ๒ ของประมาณการ
ปขส. ข้อมูลทั้ง ๒ ข้อจะเป็นแนวทางในการวางแผนการ ปขส. ในขั้นต่อ ๆ ไป ทั้งการปฏิบัติการ
ที่ก�ำลังกระท�ำอยู่ และการปฏิบัติการที่เป็นการเผชิญเหตุ และการปฏิบัติการอื่น ๆ ที่ติดตามมา
(branches and sequel) ในตอนท้ายของการวิเคราะห์ภารกิจ การประมาณการ ปขส. จะมี
ข่าวสารดังต่อไปนี้
ค-๘.๑ ภารกิจ ปขส. แถลงใหม่ (ข้อที่ ๑ สธ.๗ จะระบุภารกิจ ปขส.ขั้นต้นในระหว่างการ
วิเคราะห์แผน ค�ำสั่ง และภารกิจแถลงใหม่ของหน่วยเหนือในระหว่างการวิเคราะห์
ภารกิจ ในขณะเดียวกัน ผบ. จะอนุมัติภารกิจแถลงใหม่ (ภารกิจของการปฏิบัติการ
ทั้งหมด) และภารกิจ ปขส. แถลงใหม่ด้วย)
ค-๘.๒ สภาพของพื้นที่ปฏิบัติการ และสภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารที่อาจมีอิทธิพล
ต่อการปฏิบัติทั้งของฝ่ายเรา และฝ่ายข้าศึก (ข้อ ๒ ก ก�ำหนดขึ้นระหว่างการเตรียม
สนามรบด้านการข่าว)
ค-๘.๓ ขีดความสามารถเกี่ยวกับการ ปขส. ของฝ่ายตรงข้ามในพื้นที่ปฏิบัติการ (ข้อ ๒ ข
ก�ำหนดขึ้นระหว่างการเตรียมสนามรบด้านการข่าว-ตสข. อาจแสดงในรูปแผ่นภาพ
สถานการณ์)
ค-๘.๔ เครื่องมือ และทรัพยากรที่อาจใช้ในบทบาทการ ปขส. (ข้อ ๒ ค ๒ และ ๓) ก�ำหนด
ขณะท�ำการทบทวนเครื่องมือที่ใช้ได้
ค-๘.๕ ข้อเท็จจริง และสมมติฐานด้าน ปขส. ที่ส�ำคัญ (ข้อเท็จจริงอยู่ในย่อหน้าย่อย (ปกติ
เป็นข้อ ๒ ก, ๒ ข หรือ ๒ ค) ของประมาณการ ปขส. ส่วนสมมติฐานอยู่ในย่อหน้า
ย่อย ๒ ง.)
ค-๘.๖ เกณฑ์ ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ ส� ำ หรั บ การวิ เ คราะห์ และเปรี ย บเที ย บหนทางปฏิ บั ติ
(ข้อ ๒ ค.๕)
ค-๘.๗ ข้อเสนอเป้าหมายที่ให้ค่าสูง HPT ด้าน ปขส.
ค-๘.๘ ความต้องการข่าวสารด้าน ปขส.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 303

ค-๙. ข้อ ๒ ของประมาณการ ปขส. จะค่อนข้างสมบูรณ์ในตอนท้ายของการวิเคราะห์ภารกิจ


อย่างไรก็ตามยังไม่ถือได้ว่าเสร็จสมบูรณ์ที่สุดแล้ว ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของการประมาณการที่
ต้องกระท�ำอย่างต่อเนื่องจึงจ�ำต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัยเมื่อได้รับข่าวสารใหม่ ๆ ปกติ ข้อ ๒
ของประมาณการ ปขส. จะกลายเป็นข้อมูลทีน่ ำ� ไปใช้ประโยชน์ในการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจ
การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ
ค-๑๐. สธ.๗ ใช้ข่าวสารที่ได้จากการท�ำประมาณการ ปขส. ปรับปรุงเป้าหมายการ ปขส. พร้อม
ทั้งตรวจสอบความสมเหตุสมผลของแนวความคิดในการสนับสนุนด้านการ ปขส.ต่อหนทางปฏิบัติ
แต่ละหนทาง นายทหารฝ่ายแผนในแผนก สธ.๗ ท�ำการประเมินแนวความคิดในการสนับสนุน
ด้าน ปขส. ส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบตั เิ พือ่ ประกันว่าแนวความคิดในการสนับสนุนนัน้ สามารถบรรลุ
เป้าหมายการ ปขส. ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ได้ นายทหารฝ่ายแผนในแผนก สธ.๗ ยังจะต้องประเมิน
จุดแข็ง และจุดอ่อนของแนวความคิดในการสนับสนุนการ ปขส.ส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบตั อิ กี ด้วย
โดยจะต้องเพ่งเล็งเป็นพิเศษในเรื่องจุดอ่อนส�ำคัญที่หากฝ่ายตรงข้ามขยายผลแล้วจะส่งผลถึง
ความล้มเหลวด้าน ปขส. สธ.จะต้องบันทึกข่าวสารที่ได้ระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติเพื่อน�ำไป
ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลที่พัฒนาขึ้นระหว่างการวิเคราะห์ และเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ จะเป็น
มูลฐานที่น�ำไปเขียนในข้อ ๓ ของประมาณการ ปขส.
ค-๑๑. ในระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบตั ิ สธ.๗ จะปรับปรุง และยืนยันข้อมูลในประมาณการ
ปขส. ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะได้แก่
ค-๑๑.๑ แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. และ เป้าหมายการ ปขส.
ค-๑๑.๒ จุดแข็ง และจุดอ่อนด้านการ ปขส.
ค-๑๑.๓ ความต้องการทรัพยากรการ ปขส. ทั้งในแง่ประสิทธิภาพ และปริมาณ
ค-๑๑.๔ ประสิทธิภาพการ ปขส. ในเรื่อง มาตรการควบคุมความเสี่ยง และผลของความ
เสี่ยงที่ยังหลงเหลือ
ค-๑๒. ผช.สธ.๗ ฝ่ายแผน ประเมินแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. โดยใช้เกณฑ์วัด
ความส�ำเร็จในการวาดภาพการรบของแต่ละหนทางปฏิบัติ ผลของการประเมินจะเป็นมูลฐานใน
การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติแต่ละหนทางดังที่ระบุไว้ในข้อสี่ของประมาณการ
ข้อสรุปและเสนอแนะ
ค-๑๓. เจ้าหน้าที่ในแผนก สธ.๗ วิเคราะห์การวาดภาพการรบของแนวความคิดในการสนับสนุน
ด้านการ ปขส. และเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติแต่ละหนทาง จากนั้นก็จัดล�ำดับ
ว่าหนทางใดน่าจะสนับสนุนภารกิจได้ดีที่สุดตามเกณฑ์การประเมิน ปกติการเปรียบเทียบ และ
304 ผนวก ค

การจัดล�ำดับจะแสดงไว้ในตารางตกลงใจ (decision matrix) ของหนทางปฏิบัตินั้น ๆ ในข้อที่ ๔


ของประมาณการจะแสดงให้เห็นตารางตกลงใจรวมทั้งค�ำอธิบายเป็นข้อความด้วย
ค-๑๔. ภายหลังจากการวิเคราะห์ และเปรียบเทียบแนวความคิดในการสนับสนุนการ ปขส. ฝ่าย
แผนของแผนก สธ.๗ จะเสนอแนะหนทางปฏิบัติที่การ ปขส. สามารถสนับสนุนได้ดีที่สุดตามที่ได้
เปรียบเทียบไว้ การเสนอแนะ และข้อสรุปจะระบุไว้ในข้อสุดท้ายของประมาณการ
ค-๑๕. เมื่อ ผบ. ตกลงใจเลือกหนทางปฏิบัติแล้ว สธ.๗ จะวิเคราะห์ต่อว่าองค์ประกอบใดของงาน
ปขส. จะสามารถสนับสนุนหนทางปฏิบัตินั้นได้ดีที่สุด การวิเคราะห์ในขั้นนี้เป็นเพียงการอธิบาย
เพิ่มเติมจากที่ได้ท�ำไว้ในขั้นตอนการเปรียบเทียบเท่านั้น มิใช่การประเมินใหม่ทั้งหมด
ค-๑๖. สธ.๗ จัดท�ำประมาณการ ปขส.ตามที่แสดงไว้ในรูป ค-๒

สธ.๗
ที่ตั้ง
หมู่วันเวลา
ประมาณการ ปขส. ที่....
อ้างถึง .....
๑. ภารกิจ ภารกิจแถลงใหม่ที่ได้จากการวิเคราะห์ภารกิจ
๒. สถานการณ์และข้อพิจารณา
ก. สภาพของพื้นที่ปฏิบัติการและสภาพแวดล้อมด้านข่าวสาร (ปัจจัยส�ำคัญด้าน ปขส. จากประมาณการ
ข่าวกรอง)
๑) ลมฟ้าอากาศ สภาพลมฟ้าอากาศมีผลกระทบต่อการ ปขส. ของทั้งสองฝ่ายอย่างไร
๒) ภูมปิ ระเทศและสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ในแง่ของภูมปิ ระเทศและสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มีผลกระทบต่อการ ปขส. ของทั้งสองฝ่ายอย่างไร
๓) สภาพแวดล้อมด้านข่าวสาร อธิบายถึงสภาพแวดล้อมทัง้ ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมวิทยา
และจิตวิทยา และด้านข่าวสาร ว่ามีผลกระทบต่อการ ปขส. อย่างไร
๔) ข้าศึกมองภาพก�ำลังฝ่ายเราอย่างไร
ข. ข้าศึก รวมถึงปัจจัยส�ำคัญด้าน ปขส. ที่ได้จากประมาณการข่าวกรอง ระบุการวางก�ำลัง การประกอบ
ก�ำลัง ขีดความสามารถ ก�ำลัง และจุดอ่อนที่อาจมีผลกระทบหนทางปฏิบัติ ตามย่อหน้าย่อยต่อไปนี้ และอาจ
รวมถึงข้อมูลอื่น ๆ ที่จ�ำเป็น
๑) ผู้ตกลงใจและกระบวนการตกลงใจ
๒) จุดแข็งและจุดอ่อนในระบบข่าวสาร
๓) ขีดความสามารถด้าน ปขส. (รวมขีดความสามารถในการรวบรวม) การวางก�ำลัง การประกอบ
ก�ำลัง และก�ำลัง
๔) หนทางปฏิบัติด้าน ปขส.ที่น่าจะกระท�ำ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 305

ค. ก�ำลังฝ่ายเรา
๑) แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. ต่อแต่ละหนทางปฏิบัติ
๒) สถานภาพปัจจุบันของเครื่องมือ ปขส.
๓) สถานภาพปัจจุบันของทรัพยากร ปขส.
๔) เปรียบเทียบความต้องการเครื่องมือและทรัพยากร ปขส. กับขีดความสามารถที่มีอยู่ แล้วให้ข้อ
เสนอแนะ
๕) เกณฑ์วดั ความส�ำเร็จเพือ่ ก�ำหนดความสามารถในการสนับสนุนด้าน ปขส. ต่อแต่ละหนทางปฏิบตั ิ
ก) มาตรการต่อผลกระทบด้าน ปขส.
ข) ผลได้ผลเสีย ผลกระทบที่ได้คุ้มค่าต่อทรัพยากรและเวลาที่ใช้หรือไม่
ค) โอกาสที่จะประสบความส�ำเร็จด้าน ปขส.ต่อแต่ละหนทางปฏิบัติมีมากน้อยเพียงใด
๖) ประเมินจุดอ่อน
ง. OPSEC การรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ
๑) ข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (ขสร.)
๒) สิ่งบอกเหตุ opsec เรียงตาม องค์ประกอบ ขสร. และงานของ ฝอ.
๓) มาตรการ opsec ที่ใช้อยู่เรียงตามองค์ประกอบ ขสร. และงานของ ฝอ.
๔) มาตรการ opsec ที่คิดขึ้นใหม่ เรียงตามองค์ประกอบ ขสร. และงานของ ฝอ.
จ. สมมติฐาน สมมติฐานด้าน ปขส.ที่ท�ำขึ้นในระหว่างวิเคราะห์ภารกิจ
๓. วิเคราะห์หนทางปฏิบัติ (แต่ละ หป.ของฝ่ายเรา)
ก. หป.ที่ ๑
๑) วิเคราะห์แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. โดยใช้เกณฑ์ประเมินการ ปขส. และกรรมวิธี
วาดภาพการรบ (การปฏิบัติ-การตอบโต้-การต่อต้านการตอบโต้) เพื่อสนับสนุน หป.ในการด�ำเนินกลยุทธ์
๒) ประเมินโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย ปขส. ในกรอบเวลาที่มีอยู่ ขีดความสามารถและจุดอ่อนด้าน
ปขส. ของฝ่ายเรา เมื่อเปรียบกับฝ่ายข้าศึก
๓) ก�ำหนดผลกระทบที่ไม่คาดคิด จากกิจ ปขส. และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อ หป. ทั้งของฝ่ายเรา
และฝ่ายข้าศึก
๔) ระบุเหตุการณ์ส�ำคัญที่ควรประเมินในการวิเคราะห์ หป. เพื่อหาความต้องการ ปขส. เชิงรับ
๕) ประเมินประสิทธิภาพและขีดความสามารถด้าน ปขส.ของทัง้ สองฝ่าย ผลกระทบของพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ
การว่าเกื้อกูลงาน ปขส. หรือไม่ รวมถึงจุดอ่อนด้าน ปขส. ที่ส�ำคัญของทั้งสองฝ่าย
๖) ประเมินความเสี่ยงและความล้มเหลว และการถูกเปิดเผยงาน ปขส. ต่อความส�ำเร็จของ หป.
รวมถึงโอกาสในการสูญเสียเครื่องมือส�ำคัญ
๗) วิเคราะห์ความเสี่ยงในการ ปขส.ใน หป. ในแง่ที่ว่าถ้าไม่มีการประเมินหรือประเมินไม่ทันเวลา
๘) ลงรายการ ขสร. ส�ำหรับ หป. นี้ถ้ามีความแตกต่างจาก ข้อ ๒ ง.
ข. หป.ที่ ๒ (ท�ำตามล�ำดับเช่นเดียวกับ หป.๑)
๔. เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติทั้งหมดตามเกณฑ์ประเมินค่า โดยในแต่ละเกณฑ์
ให้เรียงล�ำดับจากดีมากไปน้อย ควรท�ำเป็นตารางเพื่อให้เห็นชัดเจน
ก. เปรียบเทียบข้อเสียในแต่ละ หป. ในแง่ของทรัพยากรและเวลาที่ต้องใช้กับผลส�ำเร็จที่ได้
306 ผนวก ค

ข. เปรียบเทียบระดับความเสี่ยงต่อความส�ำเร็จของ หป.และเครื่องมือที่ใช้ในกรณีที่การ ปขส.ล้มเหลว


หรือภารกิจถูกเปิดเผย
ค. สรุปข้อดีข้อเสียต่อการ ปขส.ในแต่ละ หป. เพื่อประเมินว่า แต่ละ หป.จะมีโอกาสส�ำเร็จมากน้อยเพียงใด
๕. สรุปและข้อเสนอแนะ
ก. เสนอแนะ หป.ที่ดีที่สุดจากการเปรียบเทียบ (สามารถสนับสนุนได้ดีที่สุดในแง่ ปขส.)
ข. ระบุประเด็นด้าน ปขส. ข้อบกพร่อง ความเสี่ยง และข้อเสนอในการลดผลกระทบ

ลงนาม
สธ.๗
ผนวก...(ถ้ามี)
ผนวก...(ถ้ามี)

รูป ค-๒ ตัวอย่างประมาณการ ปขส.

ค-๑๗. เมือ่ ท�ำประมาณการ ปขส.เสร็จ ถือได้วา่ สธ.๗ ได้จดั ท�ำข้อมูลส่วนใหญ่ทจี่ ะน�ำไปใช้ในแผน


และค�ำสั่งแล้ว ข้อมูลส่วนนี้จะถูกน�ำไปท�ำผนวก ปขส.ด้วย (ดูรูป ค-๓)
การบรรยายสรุปการประมาณการ (Staff estimates briefing)
ค-๑๘. การน�ำเสนอประมาณการอาจท�ำในรูปแบบของการบรรยายสรุปเพือ่ ให้ขา่ วสารต่อ ผบ. และ
ฝอ.อื่น ๆ การบรรยายสรุปจะให้ข้อมูลส�ำคัญ ๆ ที่ได้จากการท�ำประมาณการ โดยจะเน้นขีดความ
สามารถและจุดอ่อนด้าน ปขส. ทั้งของฝ่ายเรา และฝ่ายข้าศึก การสนับสนุนด้าน ปขส.ต่อหนทาง
ปฏิบัติต่าง ๆ ที่ก�ำหนด การบรรยายสรุปนี้อาจเป็นส่วนหนึ่งของการบรรยายสรุปวิเคราะห์ภารกิจ
(ข้อ ๑ และ ๒) หรือเป็นส่วนหนึ่งของการบรรยายสรุปการตกลงใจของ ผบ. (ข้อ ๓, ๔, ๕) การ
บรรยายสรุปจะกล่าวถึงประมาณการที่ท�ำข้อ ๑ ทั้งหมด ส่วนข้อ ๒ จนถึงข้อ ๕ จะสรุปเฉพาะ
ใจความส�ำคัญ
ประมาณการ ปขส. ผนวก ปขส.
ข้อที่ ๑ ภารกิจ ข้อ ๑ สถานการณ์

ข้อที่ ๒ สถานการณ์ และ ข้อ ๒ ภารกิจ


ข้อพิจารณา

ข้อที่ ๓ วิเคราะห์หนทางปฏิบัติ ข้อ ๕ การปฏิบัติ


(หป.ที่อนุมัติ)

รูป ค-๓ ความสัมพันธ์ระหว่างประมาณการ ปขส.กับ ผนวก ปขส.


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 307

สรุป
ค-๑๙. ประมาณการ ปขส. เป็นทั้งกระบวนการและผลผลิต ในแง่ของความเป็นกระบวนการ
จ�ำต้องใช้วิธีการในการรวบรวม และด�ำเนินกรรมวิธีต่อข่าวสารอย่างมีวินัยรวมทั้งต้องมีการ
บันทึกผลด้วย เครื่องมืออัตโนมัติ เช่นฐานข้อมูล และโปรแกรมเวิร์ด โพรเซสซิง จะช่วยให้ สธ.๗
สามารถท�ำงานได้อย่างอ่อนตัว และตอบสนองต่อความต้องการที่หลากหลายได้ ในส่วนที่เป็น
ผลผลิต ประมาณการ ปขส.เป็นเอกสารที่ต้องมีการปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา ประมาณการที่มีอยู่ใน
ขณะนัน้ จะช่วยให้ สธ.๗ ให้ขา่ วสารอย่างถูกต้องถ้าความต้องการในการวางแผนมีการเปลีย่ นแปลง
ผนวก ง
ผนวกปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร
ผนวกนี้จะกล่าวถึงเนื้อหาของผนวกปฏิบัติการข่าวสารประกอบแผน และค�ำสั่ง เนื้อหา
ในผนวกนี้จะแสดงถึงแบบฟอร์มของผนวก ปขส. และผนวกประกอบ (ดูรูป ง-๑ ถึง ง-๖) รวมทั้ง
ตัวอย่างของผนวก ปขส. (ดูรูป ง-๗) และตารางการประสานการปฏิบัติการ ปขส. (ดูรูป ง-๘)
การท�ำผนวก ปขส. (Information operations annex development)
ง-๑. ผนวกการปฏิบัติการข่าวสาร (ปขส.) มีเนื้อหาหลักสามประการ คือ
ง-๑.๑ ข้อสถานการณ์ จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ในแง่ของการ ปขส.
ง-๑.๒ ข้อการปฏิบตั ิ รวมถึงตาราง แสดงถึงแนวทางการปฏิบตั ทิ จี่ ำ� เป็นเพือ่ รวมผลกระทบ
ที่ต้องการจากองค์ประกอบของการ ปขส.และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
ง-๑.๓ ตารางการประเมินค่า แสดงถึงข่าวสารที่ต้องการเพื่อประเมินค่ากิจด้าน ปขส.
ผนวก ปขส. ยังแสดงการช่วยรบ การบังคับบัญชาและการสือ่ สารในแง่ของการ ปขส. ทีย่ งั มิได้มกี าร
ระบุไว้ในส่วนใดของแผนหรือค�ำสั่ง ข่าวสารบางส่วนในผนวก ปขส.ได้มาจาก ประมาณการ ปขส.
ข้อมูลส่วนใหญ่ของผนวกสามารถจะน�ำมาจากประมาณการ ปขส. (ดูรูป ค-๓) ข้อมูลส่วนใหญ่ใน
ตารางการปฏิบัติ และประเมินค่าจะได้มาจากแผ่นงาน ปขส.ประกอบหนทางปฏิบัติที่ได้รับความ
เห็นชอบจาก ผู้บังคับบัญชาแล้ว
สถานการณ์ (Information paragraph)
ง-๒. รายละเอียดในข้อนี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ในแง่ของการ ปขส. รายละเอียดจะต้อง
ไม่ซำ �้ กับสถานการณ์ในแผน/ค�ำสัง่ แต่เป็นแง่มมุ ของการ ปขส.ทีม่ ผี ลกระทบต่อการปฏิบตั กิ าร ปขส.
ทัง้ เชิงรับและเชิงรุก สภาพแวดล้อมทาง ปขส. (รวมถึงสาธารณูปโภคของทางพลเรือน) มีผลกระทบ
ต่อการปฏิบัติทั้งของฝ่ายเรา ฝ่ายข้าศึก และก�ำลังอื่น ๆ อย่างไร รวมถึงสภาพแวดล้อมทาง ปขส.
มีอิทธิพลต่อการป้องกันเครื่องมือ/หน่วยของฝ่ายเราได้อย่างไร
การปฏิบัติและตารางการปฏิบัติ (Execution paragraph and matrix)
ง-๓. ข้อการปฏิบัติจะแสดงถึงแนวทางที่ใช้ในการประสานสอดคล้ององค์ประกอบ/กิจกรรมด้าน
ปขส. และผลที่ ผบ.ต้องการให้เกิดจากการใช้การ ปขส.
ง-๔. ตารางการปฏิบัติ ปขส. ปกติจะท�ำเป็นผนวกประกอบผนวก ปขส. โดยแสดงให้เห็นว่ากิจ
ปขส.ใดจะต้องปฏิบัติเมื่อไหร่ และจะเป็นเครื่องมือช่วยให้ สธ.๗ ติดตาม และประสานสอดคล้อง
การปฏิบัติการ ปขส. และช่วยไม่ให้เกิดความเสียหายระหว่างการปฏิบัติการ รวมทั้งจะช่วยให้รวม
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 309

ผลอ�ำนาจก�ำลังรบ ณ จุดแตกหักได้ นอกจากนี้ สธ.๗ จะต้องน�ำกิจ ปขส.ไปไว้ในตารางการปฏิบัติ


ของ สธ.๓ ด้วย
ง-๕. ตารางการปฏิบัติ ปขส.มิใช่เป็นเอกสารก�ำหนดกิจ กิจด้าน ปขส. ที่มอบให้หน่วยรองจะอยู่
ในผนวกองค์ประกอบ ปขส. (IO element appendixes) หรือในผนวกอื่น ๆ ที่ประกอบแผน/ค�ำสั่ง
ตารางประเมินค่า (Assessment Matrix)
ง-๖. ตารางประเมินค่านีจ้ ะเป็นการรวมเอาเกณฑ์วดั ความส�ำเร็จส�ำหรับแต่ละกิจ ปขส. ข่าวสารที่
ต้องการเพือ่ เป็นเครือ่ งวัด รวมถึงทีม่ าของข่าวสาร (ดูรปู ข-๒๖) แผ่นงาน ปขส. และตารางประสาน
สอดคล้องการ ปขส. จะมีรายละเอียดส�ำหรับข่าวสารดังกล่าวซึง่ ได้ทำ� การปรับปรุงมาแล้วในระหว่าง
การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
ง-๗. ตารางประเมินค่า ปขส. จะรวมถึงความต้องการข่าวสารทีต่ อ้ งการเพือ่ น�ำมาผลิตเป็นข่าวกรอง
ที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส., ก�ำหนดเป้าหมายคุ้มค่า และประเมินความส�ำเร็จของกิจ ปขส. นอกจาก
นี้ สธ.๗ จะต้องสอบทานความต้องการข่าวสาร ปขส.ว่าสอดคล้องกับแผนรวบรวมหรือไม่
ผนวก... (การปฏิบัติการข่าวสาร) ประกอบค�ำสั่งยุทธการ...
๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก
๑) ภูมปิ ระเทศ กล่าวถึงลักษณะภูมปิ ระเทศทีม่ ผี ลกระทบต่อองค์ประกอบการ ปขส. แต่ละองค์ประกอบ
๒) ลมฟ้าอากาศ กล่าวถึงสภาพลมฟ้าอากาศที่มีผลกระทบต่อองค์ประกอบการ ปขส. แต่ละองค์
ประกอบ
๓) ขีดความสามารถด้าน ปขส. ของข้าศึก
ก) ระบุองค์ประกอบ ปขส. ข้าศึก
ข) ระบุจุดอ่อนในระบบ คบช. ข้าศึก
ค) ระบุขีดความสามารถข้าศึกที่จะมีผลต่อระบบ คบช. ของฝ่ายเรา
ง) ระบุสถานการณ์ข้าศึก การวางก�ำลัง หน่วยข่าวกรอง และการปฏิบัติที่ข้าศึกน่าจะกระท�ำ
จ) ระบุข่าวสารเฉพาะที่มีผลโดยตรงต่อการปฏิบัติ ปขส. ฝ่ายเราตามที่วางแผนไว้
ข. ฝ่ายเรา
๑) ระบุขีดความสามารถด้าน ปขส.
๒) ก�ำหนดหน่วย/เครื่องมือที่ต้องใช้ในการโจมตีเป้าหมายข้าศึก
๓) ระบุหน่วยฝ่ายเดียวกันที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการ ปขส.
๔) ระบุข้อจ�ำกัดที่ส�ำคัญของการ ปขส. ที่วางแผนไว้
๕) ระบุแนวโน้มการเกิดการขัดแย้งกันเองในการแพร่คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าของฝ่ายเดียวกันโดยเฉพาะ
เมื่อมีการปฏิบัติการร่วมหรือผสม ระบุวิธีการลดความขัดแย้งและก�ำหนดความเร่งด่วนในการแบ่งมอบ
รูป ง-๑ แบบฟอร์มผนวก ปขส.
310 ผนวก ง

ค. ข้อพิจารณาในแง่พลเรือน ระบุบุคคลและกลุ่มคนที่มีบทบาทส�ำคัญในพื้นที่ปฏิบัติการ
ง. หน่วยแยกและหน่วยสมทบ
๑) รายการหน่วย ปขส. ที่แยกสมทบหรือขึ้นสมทบ
๒) รายการทรัพยากร ปขส. ที่ได้รับจากหน่วยเหนือ
๒. ภารกิจ
ระบุภารกิจด้าน ปขส.
๓. การปฏิบัติ
ก. แผนการสนับสนุน
๑) แนวความคิดในการสนับสนุน อธิบายแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. และเป้าหมาย ปขส.
ความซับซ้อนของแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. อาจท�ำให้ต้องท�ำเป็นแผนผังแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างเป้าหมาย ปขส. กับความสัมพันธ์ของกิจ ปขส. อีกทั้งต้องอภิปรายแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน
ปขส. ทัง้ มวลรวมถึงรายละเอียดเฉพาะในหัวข้อย่อยหรือในผนวก หากสงสัยในเรือ่ งเวลาของแต่ละกิจว่ากิจใด
ท�ำเมือ่ ใดให้ดจู ากตารางการปฏิบตั ิ ปขส. ผนวกนีค้ วรมีขา่ วสารทีจ่ ำ� เป็น เพือ่ ประสานสอดคล้องการก�ำหนดเวลา
ของแต่ละองค์ประกอบหรือกิจกรรมให้สมั พันธ์กนั ถ้าหากท�ำได้ควรระบุขอ้ จ�ำกัดในส่วนทีเ่ กีย่ วกับ ปขส. ด้วย
๒) การ รปภ.ป/บ. ระบุดว้ ยว่า การ รปภ.ป/บ. ท�ำให้ขา้ ศึกไม่ลว่ งรู้ ขฝร. ได้อย่างไร ประสานสอดคล้อง
องค์ประกอบนี้กับองค์ประกอบ ปขส. อื่น ๆ ส�ำหรับรายละเอียดให้ดูที่ ผนวก ๑ การ รปภ.ป/บ.
๓) การ ปจว. ระบุวา่ กิจ ปจว. จะขัดขวาง ลดขีดความสามารถ หรือมีอทิ ธิพลต่อข้าศึกอย่างไร ก�ำหนด
ผูร้ บั ทราบข่าวสาร ผลทีต่ อ้ งการ (จัดล�ำดับความเร่งด่วนด้วย) ประสานสอดคล้ององค์ประกอบนีก้ บั องค์ประกอบ
อื่น รายละเอียดเพิ่มเติมดูจาก ผนวก ๒ การ ปจว.
๔) การลวง ระบุวา่ กิจการลวงจะลวงหรือมีอทิ ธิพลต่อข้าศึกอย่างไร ประสานสอดคล้ององค์ประกอบ
นี้กับองค์ประกอบอื่น รายละเอียดเพิ่มเติมดูจาก ผนวก ๓ การลวง
๕) สงครามอิเล็กทรอนิกส์ ระบุว่ากิจ สอ. จะขัดขวาง ลดความสามารถ หรือลวงข้าศึกอย่างไร ระบุ
มาตรการ สอ. ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ ก�ำหนดเป้าหมายและผลที่ต้องการของการ สอ. ตามล�ำดับความเร่งด่วน
ประสานสอดคล้ององค์ประกอบนี้กับองค์ประกอบอื่น รายละเอียดให้ดู ผนวก ๔ การสงครามอิเล็กทรอนิกส์
๖) การปฏิบัติต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ปคค.) ส�ำหรับหน่วยที่สูงกว่า ทน.หรือ หน่วยระดับ ทน./
พล.ที่ถูกก�ำหนดให้เป็น กกล.ฉก.ร่วม การระบุความต้องการ ปคค. ถือว่าเหมาะสม แต่ส�ำหรับหน่วยที่ต�่ำกว่า
นีห้ รือไม่ได้ถกู ก�ำหนดให้เป็น กกล.ฉก.ร่วม การระบุความต้องการ ปคค. ไม่มคี วามจ�ำเป็น ส�ำหรับหน่วย กกล.
ฉก.ร่วม ข้อหรือผนวก ปคค. จะระบุกิจ ปคค. ว่าเป็น การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (จคค.) การป้องกัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ปกคค.) และ การขยายผลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ขผคค.) ตามข้อต่อไปนี้
๗) การโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (จคค.) ระบุวา่ กิจ จคค. จะท�ำลาย ขัดขวาง และลดประสิทธิภาพ
ข้าศึกได้อย่างไร รวมถึงก�ำหนดเป้าหมาย ผลที่ต้องการ โดยการจัดล�ำดับความเร่งด่วน ประสานสอดคล้อง
องค์ประกอบนี้กับองค์ประกอบอื่น ๆ ส่งค�ำขอการ จคค.ไปยังหน่วยเหนือเพื่อขออนุมัติและด�ำเนินการ
๘) การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ปกคค.) ระบุว่า กิจ ปกคค. จะป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ของเราได้อย่างไร ประสานองค์ประกอบนี้กับองค์ประกอบอื่น ๆ ส�ำหรับรายละเอียด ดูผนวก ฉ การบังคับ
บัญชา ควบคุม คอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
รูป ง-๑ แบบฟอร์มผนวก ปขส. (ต่อ)
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 311

๙) การขยายผลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ขผคค.) ส�ำหรับหน่วยทีส่ งู กว่า ทน. หรือ ทน./พล.ทีถ่ กู ก�ำหนด


เป็น กกล.ฉก.ร่วม สามารถก�ำหนดกิจ ขผคค. ได้ ส่วนหน่วยที่ต�่ำกว่านี้ไม่ควรก�ำหนดกิจ ขผคค. ส�ำหรับ กกล.
ฉก.ร่วม หัวข้อหรือผนวก ขผคค. จะระบุกิจและประสานสอดคล้องการ ขผคค. กับองค์ประกอบอื่น ๆ ของ
การ ปขส. ส่งค�ำขอการ ขผคค. ไปยังหน่วยเหนือเพื่อขออนุมัติและด�ำเนินการ
๑๐) การท�ำลายทางกายภาพ (ทกภ.) ระบุว่ากิจ ทกภ.จะท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ และขัดขวางข้าศึก
ได้อย่างไร ก�ำหนดเป้าหมายและผลที่ต้องการตามความเร่งด่วน ประสานสอดคล้ององค์ประกอบนี้กับ
องค์ประกอบอื่น ๆ รายละเอียดดู ผนวก D การยิงสนับสนุน
๑๑) การประกันข่าวสาร (ปกส.) ระบุวา่ กิจ ปกส.จะป้องกันมิให้ขา้ ศึกเข้าถึงระบบ คบช.ของฝ่ายเราได้
อย่างไร ระบุขา่ วสารใดและระบบ Infosys ใดทีต่ อ้ งป้องกัน ประสานสอดคล้ององค์ประกอบนีก้ บั องค์ประกอบ
อื่น ๆ ส�ำหรับรายละเอียด ดูผนวก ฉ การบังคับบัญชา ควบคุม คอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
๑๒) การ รปภ.ทางกายภาพ (รปภ.กภ.) ระบุวา่ กิจ รปภ.กภ. จะป้องกันการกระท�ำของข้าศึกได้อย่างไร
ประสานสอดคล้ององค์ประกอบนีก้ บั องค์ประกอบอืน่ ๆ ส�ำหรับรายละเอียด ดูผนวก K การสารวัตร (provost
marshal)
๑๓) การต่อต้านข่าวกรอง (ตข.) ระบุวา่ กิจ ตข. จะสามารถขัดขวาง ลดประสิทธิภาพ และใช้ประโยชน์
จากข้าศึกอย่างไร ระบุหน่วยที่ต้องป้องกัน ประสานสอดคล้ององค์ประกอบนี้กับองค์ประกอบอื่น ๆ ส�ำหรับ
รายละเอียดเรื่องการต่อต้านข่าวกรอง ดูผนวก ข ข่าวกรอง
๑๔) การต่อต้านการลวง (ตล.) ระบุว่าการ ตล.จะขัดขวางหรือใช้ประโยชน์จากข้าศึกอย่างไร ระบุ
หน่วยที่ต้องป้องกันประสานสอดคล้ององค์ประกอบนี้กับองค์ประกอบอื่น ๆ ส�ำหรับรายละเอียดเรื่องการ
ต่อต้านการลวง ดูผนวก ข ข่าวกรอง
๑๕) การต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ (ตฆ.) ระบุว่ากิจและวัตถุประสงค์ในการ ตฆ.จะสามารถขัดขวาง
ลดประสิทธิภาพ และใช้ประโยชน์จากข้าศึกอย่างไรจากหนทางปฏิบัติที่เลือกแล้ว ระบุหน่วยที่ต้องป้องกัน
ประสานสอดคล้ององค์ประกอบนี้กับองค์ประกอบอื่น ๆ ส�ำหรับรายละเอียด ดูผนวก ๒ การ ปจว.
๑๖) การปฏิบตั กิ ารกิจการพลเรือน (ปกร.) การ ปกร.เป็นกิจกรรมทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การ ปขส. ระบุวา่
การ ปกร.สนับสนุนองค์ประกอบการ ปขส.อย่างไร ส�ำหรับรายละเอียดดูผนวก ยู การปฏิบตั กิ ารกิจการพลเรือน
๑๗) การประชาสัมพันธ์ (ปชส.) การ ปชส. เป็นกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการ ปขส. และต้องมีการ
ก�ำหนดกิจด้าน ปขส.ให้กับการ ปชส. รายละเอียดดูผนวก วี การประชาสัมพันธ์
ข. กิจของหน่วยรอง ทบทวนกิจเฉพาะและกิจแฝงของหน่วย
๑) ก�ำหนดกิจด้าน ปขส. ให้หน่วยด�ำเนินกลยุทธ์
๒) ก�ำหนดกิจให้หน่วย ปจว.
๓) ก�ำหนดกิจให้หน่วย สอ.
๔) ก�ำหนดกิจให้หน่วย ตข.
ค. ส่วน ปขส. (IO Cell)
๑) รายนามสมาชิกในส่วน ปขส.
๒) ก�ำหนดกิจที่ไม่ได้ระบุไว้ใน รปจ.ให้ส่วน ปขส.
ง. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
รูป ง-๑ แบบฟอร์มผนวก ปขส. (ต่อ)
312 ผนวก ง

๑) ก�ำหนดค�ำสั่งหรือค�ำแนะน�ำที่หน่วยตั้งแต่สองหน่วยขึ้นไปต้องกระท�ำ โดยที่ค�ำสั่งหรือค�ำแนะน�ำ
นี้ยังไม่ได้มีการระบุไว้ในส่วนอื่น ๆ ของแผน/ค�ำสั่ง
๒) ระบุกฎการใช้ก�ำลัง (ROE) ที่ใช้เฉพาะในแต่ละองค์ประกอบ ปขส.
๓) ระบุผนวกที่สามารถหารายละเอียดเพิ่มเติมได้
๔) ข่าวสารใน รปจ. ไม่ต้องน�ำมากล่าว
๕) ระบุข้อจ�ำกัดนอกเหนือจากในแนวความคิดในการสนับสนุน
๔. การช่วยรบ
ก�ำหนดความต้องการการแจกจ่าย สป. การขนส่ง การสนับสนุนประเทศเจ้าบ้าน ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการ
ปขส. ทัง้ ปวง ส�ำหรับการสนับสนุนองค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบจะระบุไว้ในผนวกส�ำหรับองค์ประกอบนัน้ ๆ
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
รายละเอียดที่ส�ำคัญด้านการบังคับบัญชาและการสื่อสารที่เกี่ยวกับการ ปขส. ปกติจะกล่าวไว้ในตัวแผน/
ค�ำสั่ง ข้อความในข้อนี้จะกล่าวถึงส่วนที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ของ
การ ปขส.ด้วยกัน
อนุผนวก ๑ การ รปภ.ป/บ.
อนุผนวก ๒ การ ปจว.
อนุผนวก ๓ การลวง
อนุผนวก ๔ สงครามอิเล็กทรอนิกส์
อนุผนวก ๕ ตารางการปฏิบัติ
รูป ง-๑ แบบฟอร์มผนวก ปขส. (ต่อ)

อนุผนวก ๑ (การ รปภ.ป/บ.) ประกอบผนวก...(การปฏิบัติการข่าวสาร) ประกอบค�ำสั่งยุทธการที่...


๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก
๑) ระบุการคาดการณ์ของข้าศึกต่อฝ่ายเรา ในด้าน องค์ประกอบ เจตนา และการปฏิบัติการ
๒) ระบุองค์ประกอบหลักในการรวบรวมข่าวสารของข้าศึก (เช่น sigint, humint, imint)
๓) ระบุฝ่ายที่อาจสนับสนุนข้าศึก (เช่น ประเทศอื่น ๆ)
๔) ระบุองค์กรข่าวกรองที่ไม่ใช่ของทางการที่มีแนวทางสนับสนุนผู้น�ำ (ถ้ามี)
๕) ระบุจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์ประกอบข่าวกรองข้าศึก
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา
๑) รายการข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (ขสร.) ของหน่วยเหนือ
๒) รายการข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา
๓) กิจส�ำคัญ ๆ ของการ การ รปภ.ป/บ.
ค. หน่วยสมทบและหน่วยแยก
๑) ระบุความต้องการหน่วยสมทบเพื่อปฏิบัติ การ รปภ.ป/บ.
รูป ง-๒ แบบฟอร์มผนวก การ รปภ.ป/บ.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 313

๒) ระบุหน่วยแยกส�ำหรับเสริมการปฏิบัติ การ รปภ.ป/บ.


๒. ภารกิจ
บรรยายสั้น ๆ ว่า การ รปภ.ป/บ.จะป้องกันไม่ให้ข้าศึกล่วงรู้ ขสร. อย่างไร และสนับสนุนเป้าหมาย ปขส.
อย่างไร
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวทางสนับสนุน
๑) ระบุกจิ การ รปภ.ป/บ. อธิบายขัน้ การปฏิบตั กิ าร รวมถึงการ การ รปภ.ป/บ. สามารถช่วยให้บรรลุ
เจตนารมณ์และผลลัพธ์ที่ต้องการได้อย่างไร
๒) ระบุกจิ การ รปภ.ป/บ. ส�ำหรับหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ในส่วนทีย่ งั ไม่ได้ระบุในค�ำสัง่ หลักและผนวก ปขส.
ทั้งนี้ต้องมั่นใจว่าหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ได้ด�ำเนินการเรื่อง การ รปภ.ป/บ. อย่างถูกต้องสอดคล้องกับภัยคุกคาม
๓) ระบุมาตรการต่อต้านที่หน่วยต้องปฏิบัติเพื่อป้องกันมิให้ข้าศึกรวบรวมข่าวสารได้
๔) ระบุวธิ กี ารตอบโต้และมาตรการต่อต้านข่าวกรอง, หน่วย, แผนงานทีส่ ำ� คัญส�ำหรับการปฏิบตั กิ าร
รวมถึงการ รปภ.บุคคล การ รปภ.ทางกายภาพ, การ รปภ.ทางการสื่อสาร, การ รปภ.ทางการสัญญาณ
การลาดตระเวนและการต่อต้านการลาดตระเวน ต้องให้มั่นใจว่าการปฏิบัติต้องมุ่งไปสู่ภัยคุกคามต่อ
ความปลอดภัยทั้งจากภายในและภายนอก
๕) ระบุว่า การ รปภ.ป/บ. สนับสนุนองค์ประกอบอื่น ๆ ของ ปขส.ได้อย่างไร
๖) ระบุแนวความคิดในการติดตามประสิทธิภาพของมาตรการ การ รปภ.ป/บ. ในระหว่างการปฏิบตั ิ
๗) ก�ำหนดความต้องการข่าวสารด้าน ปขส.ที่เกี่ยวข้องกับ การ รปภ.ป/บ. เพื่อน�ำไปสอบทาน
๘) ระบุความต้องการ การสรุปบทเรียนหลังการปฏิบัติ (AAR)
ข. กิจที่มอบให้หน่วยรอง
๑) มาตรการตอบโต้ที่หน่วยบางหน่วยต้องกระท�ำ
๒) ก�ำหนดมาตรการตอบโต้ทตี่ อ้ งเน้นเป็นพิเศษแก่หน่วยบรรจุมอบ ขึน้ สมทบ หรือสนับสนุน มาตรการ
ตอบโต้เหล่านี้ก�ำหนดขึ้นเพื่อต่อต้านการคุกคามทางการข่าวกรองของข้าศึกโดยเฉพาะ
๓) ก�ำหนดมาตรการ การ รปภ.ป/บ. เฉพาะเพื่อด�ำเนินการ โดยก�ำหนดเป็นขั้นและระบุความ
รับผิดชอบเฉพาะเรื่องส�ำหรับหน่วยรองนั้น ๆ
ค. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
๑) ก�ำหนดมาตรการ การ รปภ.ป/บ. ที่หน่วยสองหน่วยขึ้นไปต้องปฏิบัติ
๒) ระบุความต้องการในการประสานกับการ ปชส.
๓) ก�ำหนดแนวทางในการยุติกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การ รปภ.ป/บ.
๔) ก�ำหนดแนวทางในการยกเลิกชั้นความลับและการเปิดเผยข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับ การ รปภ.ป/บ.
๔. การช่วยรบ
ก�ำหนดความต้องการการสนับสนุน สป.ที่เกี่ยวกับการ การ รปภ.ป/บ. (ถ้ามี)
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา ระบุที่ตั้งของ สธ.๗
ข. การสื่อสาร ระบุความต้องการการติดต่อสื่อสารพิเศษที่เกี่ยวกับ การ รปภ.ป/บ. (ถ้ามี)
รูป ง-๒ แบบฟอร์มผนวก การ รปภ.ป/บ. (ต่อ)
314 ผนวก ง

อนุผนวก ๒ (การ ปจว.) ประกอบ ผนวก พี (การปฏิบัติการข่าวสาร) ประกอบค�ำสั่งยุทธการที่...


๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก
๑) แสดงหน่วยและทรัพยากรทั้งทางทหารและพลเรือนที่ข้าศึกสามารถน�ำมาใช้ในการ ปจว. ได้
รวมถึงการ ปจว.ของข้าศึกในอดีต (เป้าหมายคือใคร ด้วยเครื่องมือแบบใด มีประสิทธิภาพอย่างไร)
๒) ระบุผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจของข้าศึก
๓) ระบุบุคลิกของผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจของข้าศึก ที่ปรึกษา รวมถึงเจ้าหน้าที่ส�ำคัญ (โดยเฉพาะ
นักวิเคราะห์ข่าวกรอง)
๔) ระบุหน่วยข้าศึกที่มีผลต่อกิจกรรมการต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา
๑) โครงการ ปจว. ที่ก�ำลังกระท�ำ (ถ้ามี)
๒) ระบุความมุ่งหมายการ ปจว. ในพื้นที่ปฏิบัติการ
๓) กิจ ปจว. ที่ต้องการให้บรรลุ
๔) หน่วยที่มิได้ขึ้นการบังคับบัญชาและกิจในการต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อของหน่วยเหล่านั้น
ค. หน่วยสมทบและหน่วยแยก
๑) หน่วย/เครื่องมือ ปจว.ที่ขึ้นสมทบหรือแยกสมทบ
๒) ทรัพยากร ปจว.ที่ได้รับจากหน่วยเหนือ
๒. ภารกิจ
แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปจว. (ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไหร่ ท�ำไม)
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวทางสนับสนุน
๑) กิจต่าง ๆ ในการ ปจว.
๒) แนวความคิดในการสนับสนุนด้านการต่อต้านโฆษณาชวนเชื่อ
๓) กิจกรรมในการต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อในแต่ละขั้น
๔) อธิบายล�ำดับกิจกรรมในแต่ละขัน้ ก�ำหนดแนวทางในแต่ละช่วงส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารต่อต้านการ
โฆษณาชวนเชื่อ
ข. กิจของหน่วยรอง
๑) กิจทีม่ อบให้ตอ้ งระบุหน่วยรับผิดชอบให้ชดั เจน และมีวธิ สี อบทานเพือ่ วัดประสิทธิภาพของกิจกรรม
การ ปจว.
๒) ระบุหน่วยรับผิดชอบในการประสานกิจกรรมต่าง ๆ ในการต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ
๓) ก�ำหนดกิจในการต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อให้หน่วยรองแต่ละหน่วยพร้อมทั้งระบุจุดอ่อน
ค. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
๑) ระบุกิจกรรมและทรัพยากรที่ใช้ได้ของผู้ฝ่ายเป็นกลาง
๒) ระบุกิจกรรม/พฤติกรรมของฝ่ายเป็นกลางที่เกื้อกูลต่อความส�ำเร็จภารกิจ
รูป ง-๓ ตัวอย่างแบบฟอร์มผนวก การ ปจว.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 315

๓) ระบุบุคลิกลักษณะของผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจ ที่ปรึกษาหลัก เจ้าหน้าที่หลัก การแบ่งกลุ่มงาน


(รวมถึงคนที่บทบาทส�ำคัญ) เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ข่าวกรอง
๔) ระบุกลุ่มบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการวางแผน การตัดสินใจ และประสิทธิภาพต่อการบรรลุภารกิจ
๕) ระบุว่ากลุ่มดังกล่าวมีแนวโน้มในการตอบสนองต่อการ ปจว. อย่างไร
๖) ระบุเป้าประสงค์ แรงจูงใจ และลักษณะพิเศษของกลุ่มดังกล่าว
๗) ผู้น�ำกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของกลุ่ม
๘) ความมุ่งหมายการ ปจว. ที่ได้รับอนุมัติ แนวทางที่เน้น แนวทางที่ควรหลีกเลี่ยง
๙) ระบุกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ปฏิบัติการ สื่อหลัก ข้อมูลปูมหลังของทัศนคติกลุ่มเป้าหมาย จุดอ่อน
ประสิทธิภาพ การตอบสนองต่อการ ปจว. ทั้งของฝ่ายเราและฝ่ายข้าศึก
๑๐) กิจกรรมและการปฏิบัติการทางทหารของหน่วยรองที่เกื้อกูลต่อการ ปจว.
๑๑) แนวทาง opsec ต่อความล่อแหลมและการใช้การ ปจว.
๑๒) ระบุอ�ำนาจในการก�ำหนดชั้นความลับส�ำหรับกิจ ปจว. แต่ละกิจ
๑๓) กลไกในการประสานสอดคล้องการ ปจว.ระหว่างหน่วย ปจว. ที่ขึ้นสมทบกับเจ้าหน้าที่ ปจว.
ในอัตรา
๑๔) กรรมวิธีในการประสานอากาศยาน ทั้ง บ.ปีกติดล�ำตัว, ฮ., อากาศยานไร้คนขับ และ ป.สนาม ที่
ใช้ในการน�ำส่งผลผลิตการ ปจว.
๑๕) ความต้องการข่าวกรองปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการ ปจว. (หรืออ้างถึง ผนวก ข่าวกรอง)
๑๖) ระบุว่าข่าวกรอง การต่อต้านข่าวกรองแบบต่าง ๆ การติดตามการ รปภ. และข้อมูลย้อนกลับ
หน่วยจะได้รับอย่างไร
๑๗) ความต้องการการประสานกับหน่วยข้างเคียงและหน่วยงานพลเรือน
๑๘) ความต้องการการประสานระหว่างส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านโฆษณาชวนเชื่อ
๑๙) ระบุวา่ การก�ำหนดความต้องการการต่อต้านการโฆษณาชวนเชือ่ จะต้องมีการรักษาความปลอดภัย
เป็นพิเศษอย่างไร
๒๐) ระบุความต้องการการรายงานการปฏิบตั ทิ จี่ ำ� เป็นต่อการก�ำกับดูแลกิจต่อต้านการโฆษณาชวนเชือ่
อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. การช่วยรบ
ก. ก�ำหนดทรัพยากรที่ต้องการในการ วางแผน เตรียมการ ปฏิบัติ และประเมินผล การ ปจว.
ข. ระบุความต้องการในการส่งก�ำลังบ�ำรุง ที่รวมถึงการเตรียมการ การแจกจ่ายและการเก็บรักษา สป.ที่
ใช้ในการ ปจว. การขนส่งวัสดุและก�ำลังพลในการ ปจว. ไปยังพื้นที่ปฏิบัติการ การตั้งฐานและการสนับสนุน
ระหว่างการ ปจว. การส่งก�ำลังและซ่อมบ�ำรุงสิ่งอุปกรณ์ รวมถึงการงบประมาณและก�ำลังพล
ค. ก�ำหนดรายงานงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับงบพิเศษ
ง. ก�ำหนดงานด้านก�ำลังพลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับก�ำลังพลท้องถิ่น
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
รูป ง-๓ แบบฟอร์มผนวก ปจว. (ต่อ)
316 ผนวก ง

๑) ก�ำหนดอ�ำนาจการอนุมตั แิ ละการเผยแพร่การ ปจว. ว่าเรือ่ งใดอยูใ่ นอ�ำนาจใครหรือมอบให้กบั ใคร


๒) ก�ำหนดอ�ำนาจการอนุมัติเกี่ยวกับการพัฒนาผลผลิตการ ปจว. กิจกรรม และโครงการ ว่าเรื่องใด
อยู่ในอ�ำนาจของ ผบ. และเรื่องใดที่ ผบ.มอบอ�ำนาจให้ใคร
๓) ก�ำหนดอ�ำนาจในการเผยแพร่ผลผลิตการ ปจว. ที่ได้รับอนุมัติว่าในพื้นที่ใดเป็นอ�ำนาจของ ผบ.
หรือแบ่งมอบอ�ำนาจให้หน่วยรองได้
๔) ระบุระบบข้อมูลข่าวสารที่จะใช้ในการก�ำหนดหนทางปฏิบัติ ควบคุม ประสาน และก�ำกับดูแล
การปฏิบัติต่อหนทางปฏิบัติที่ได้รับอนุมัติ
๕) ก�ำหนดค�ำรหัส
รูป ง-๓ แบบฟอร์มผนวก ปจว. (ต่อ)

อนุผนวก ๓ (การลวง) ประกอบ ผนวก พี (การปฏิบัติการข่าวสาร) ประกอบค�ำสั่งยุทธการที่...


๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก
๑) ระบุผลการประเมินสภาพและเป้าประสงค์ของข้าศึก (เกื้อกูล ไม่เกื้อกูล ในมุมมองข้าศึก) ว่า
แผนการลวงฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านหรือใช้ประโยชน์ (exploit)
๒) ระบุขีดความสามารถทางทหารของข้าศึกที่ส�ำคัญที่อาจมีผลกระทบต่อการลวง
๓) อธิบายเป้าหมายการลวง
๔) อธิบายความเชื่อและทัศนคติทางลบของเป้าหมายการลวง
๕) อภิปรายความสามารถของเป้าหมายการลวงทีจ่ ะตอบโต้ ทีผ่ า่ นมาข้าศึกท�ำอย่างไรกับสถานการณ์
และเงื่อนไขแบบเดียวกันหรือที่คล้าย ๆ กัน
๖) อภิปรายหนทางปฏิบัติที่เป็นไปได้ของข้าศึกและหากไม่ใช้การลวงผลของหนทางปฏิบัติดังกล่าว
จะเป็นอย่างไร
๗) สรุป ประมาณการ หรือตัง้ สมมติฐานว่าเป้าหมายการลวงจะเชือ่ ความจริงเรือ่ งใดเพือ่ ให้เป้าหมาย
การลวงนั้นตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการลวง
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา ระบุแผนการลวงของหน่วยเหนือ
ค. หน่วยสมทบและหน่วยแยก
๑) หน่วยสมทบและหน่วยแยก ในการสนับสนุนการลวง
๒) ระบุหน่วย/เครื่องมือสนับสนุนการลวงที่มาขึ้นสมทบหรือแยกสมทบ
๓) ระบุทรัพยากรที่ใช้ได้จากหน่วยเหนือในการสนับสนุนการลวง
๒. ภารกิจ
ระบุว่าการลวงจะสนับสนุนวัตถุประสงค์การ ปขส.ได้อย่างไร
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวทางปฏิบัติ

รูป ง-๔ ตัวอย่างผนวกการลวงประกอบผนวก ปขส.


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 317

๑) ระบุวัตถุประสงค์การลวง เป้าหมาย และเรื่องที่ลวง อธิบายขั้นการปฏิบัติรวมถึงแผนการลวงว่า


สนับสนุนต่อการบรรลุเจตนารมณ์ของ ผบ.และผลลัพธ์ของการปฏิบัติการได้อย่างไร
๒) ระบุกจิ ในการลวงส�ำหรับหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ เฉพาะทีย่ งั ไม่ได้กล่าวไว้ในค�ำสัง่ ยุทธการ ต้องมัน่ ใจ
ว่าหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ปฏิบัติตามแผนอย่างถูกต้อง สอดคล้องกับภัยคุกคามในขณะนั้น
๓) ระบุมาตรการตอบโต้ทหี่ น่วยจะต้องใช้เพือ่ ป้องกันการรวบรวมข่าวสารของข้าศึกและแผนการลวง
ถูกเปิดเผย
๔) ระบุว่าการลวงสนับสนุนแนวความคิดในการปฏิบัติการอย่างไร อธิบายว่าจะสนธิการลวงเข้ากับ
ผนวก ปขส. อย่างไร รวมถึงขั้นการปฏิบัติในการลวง
ก) ระบุองค์ประกอบ ปขส.อื่น ๆ ที่สนับสนุนต่อการปฏิบัติการลวง
ข) ระบุแผนและการปฏิบัติการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงต่อการลวง
ค) ระบุความต้องการในการประสานและลดความขัดแย้ง
๕) อธิบายเค้าโครงการปฏิบัติการลวงและเครื่องมือที่ใช้ การระบุอย่างกว้าง ๆ ถึงแบบการปฏิบัติ
เครื่องมือที่ใช้จะกล่าวถึงในแต่ละขั้น หากเป็นไปได้ควรระบุเวลาส�ำหรับการปฏิบัติในแต่ละขั้นที่ส�ำคัญ ๆ
ใช้ใบแทรก เอ เหตุการณ์ลวงและตารางเวลาปฏิบัติเพื่อแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม
๖) ระบุผลที่ต้องการให้เกิดต่อเป้าหมายการลวงในแง่ของการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติต่อเรื่องบางเรื่อง
ที่การลวงต้องการให้เกิด ระบุให้ชัดเจนว่าเราต้องการให้เป้าหมายท�ำหรือไม่ท�ำอะไรที่เกี่ยวข้องกับหน่วย
ขีดความสามารถ และการปฏิบัติการของข้าศึก ระบุว่าขีดความสามารถ สถานการณ์ เงื่อนไข หรือการปฏิบัติ
การของฝ่ายเราจะได้ประโยชน์ถ้าเป้าหมายท�ำอย่างที่เราต้องการ
๗) แสดงการปฏิบัติของฝ่ายเราที่จะท�ำให้เป้าหมายการลวงเชื่อ เรื่องที่ลวงต้องแสดงออกในลักษณะ
ที่สอดคล้องกับแบบที่เป้าหมายการลวงคาดคิด ระบุว่าเป้าหมายต้องการเห็นอะไรในประมาณการข่าวกรอง
ของหน่วยตน
ข. กิจของหน่วยรอง
๑) ระบุกิจในการลวงให้หน่วยรอง รวมถึงค�ำอธิบายว่ากิจดังกล่าวสนับสนุนแผนการลวงในภาพรวม
อย่างไร ระบุมาตรการเฝ้าตรวจข้าศึกที่ฝ่ายเราต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษด้วย
๒) ระบุการปฏิบัติและการรายงานกลับให้กับหน่วยที่มีส่วนในการปฏิบัติและก�ำกับดูแลการลวง
ดู ใบแทรก ซี การจัดเฉพาะกิจ (ถ้ามี)
ค. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
๑) ระบุการประสานส�ำหรับหน่วยตัง้ แต่สองหน่วยขึน้ ไป ระบุการรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับข้าศึกทีแ่ สดง
ถึงความส�ำเร็จหรือความล้มเหลวของการลวง
ก) ระบุการปฏิบัติการข่าวหรือสิ่งบอกเหตุเฉพาะที่ฝ่ายเราควรเฝ้าระวัง เพื่อให้ทราบว่าการ
รวบรวม การแยกแยะ และการกระจายข่าวกรองของข้าศึกบ่งบอกว่าการลวงอาจถูกเปิดเผย
ข) ระบุการปฏิบตั หิ รือไม่ปฏิบตั ขิ องข้าศึกบางอย่างทีอ่ าจบ่งบอกว่าเป้าหมายได้ปฏิบตั สิ อดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ของการลวง

รูป ง-๔ ตัวอย่างผนวกการลวงประกอบผนวก ปขส. (ต่อ)


318 ผนวก ง

๒) ระบุและจัดอันดับความเสี่ยงในเรื่อง ความล้มเหลว การถูกเปิดเผย และผลกระทบที่ไม่คาดคิด


เป็นสามอันดับคือ สูง ปานกลาง และต�่ำ
๓) อภิปรายมาตรการรักษาความปลอดภัยและเรือ่ งปกปิดทีจ่ ะใช้เพือ่ เชือ่ มโยงกับการปฏิบตั กิ ารลวง
ก�ำหนดค�ำรหัส นามสมมติ ค�ำเตือนพิเศษ หรือกรรมวิธตี อ่ เอกสาร วัตถุ และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง ดูผนวก opsec
ก) ระบุการรักษาความปลอดภัยบางเรื่อง ข้อห่วงใย นโยบาย การปฏิบัติ และกรรมวิธีส�ำหรับก�ำลังพล
ทุกนายและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
ข) ระบุการรักษาความปลอดภัยบางเรื่อง ข้อห่วงใย นโยบาย การปฏิบัติ และกรรมวิธีที่ใช้กับก�ำลังพล
บางนาย เหตุการณ์บางเหตุการณ์ และกิจกรรมบางเรื่อง
๔. การช่วยรบ
ก. ระบุมาตรการในการธุรการและส่งก�ำลังบ�ำรุงบางเรื่องที่อาจต้องใช้ในการปฏิบัติการลวง
๑) ระบุความต้องการในการธุรการและส่งก�ำลังบ�ำรุงทัว่ ๆ ไปและกรรมวิธที ตี่ อ้ งใช้ในการปฏิบตั กิ ารลวง
๒) ระบุกิจในงานธุรการและส่งก�ำลังบ�ำรุงหรือกรรมวิธีที่ควรให้ความส�ำคัญเพื่อสนับสนุนบุคลากร
และงานในด้านธุรการและการส่งก�ำลังบ�ำรุง
ข. จัดท�ำประมาณการการใช้ทรัพยากรและวัสดุในการปฏิบัติตามแผนการลวง
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา ระบุความรับผิดชอบโดยทัว่ ไปและความรับผิดชอบโดยเฉพาะของหน่วยแต่ละระดับ
ส�ำหรับการปฏิบัติตามแผนการลวง
๑) อ�ำนาจในการอนุมัติ ระบุอ�ำนาจในการอนุมัติตามล�ำดับชั้นในแผนการลวง
๒) อ�ำนาจในการก�ำกับดูแลและยุตกิ ารปฏิบตั กิ ารลวง ก�ำหนดหน่วยและระดับหน่วยทีร่ บั ผิดชอบการ
ปฏิบัติตามแผนการลวง ผบ.หน่วยที่มีอ�ำนาจในการสั่งยุติการปฏิบัติ ระบุตัวบุคคลอื่น ๆ ที่มีอ�ำนาจในการยุติ
การปฏิบัติการลวงในสภาวะวิกฤติ
ข. การสื่อสาร ก�ำหนดมัชฌิม วิธีการ และ นปส. ส�ำหรับใช้ในการควบคุมก�ำลังพลและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบัติการลวง
ใบแทรก
ใบแทรก ก. เหตุการณ์ลวงและตารางการปฏิบัติ
ใบแทรก ข. ข้อมูลสอบทาน (feedback) และกรรมวิธีการติดตาม
ใบแทรก ค. การจัดเฉพาะกิจ

รูป ง-๔ ตัวอย่างผนวกการลวงประกอบผนวก ปขส. (ต่อ)


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 319

อนุผนวก ๔ (สงครามอิเล็กทรอนิกส์) ประกอบ ผนวก พี (การปฏิบัติการข่าวสาร) ประกอบค�ำสั่งยุทธการที่...


๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก
๑) ระบุจุดอ่อนของระบบ ข้อมูลข่าวสาร และระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (สอ.) ของข้าศึก
๒) ระบุขีดความสามารถข้าศึกที่จะขัดขวางการแพร่คลื่นสงครามอิเล็กทรอนิกส์ของฝ่ายเรา
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา
๑) ระบุทรัพยากรและเครื่องมือ สอ. ที่มีผลกระทบต่อการวางแผน สอ. ของหน่วยรอง
๒) ระบุก�ำลังชาติอื่นที่เป็นฝ่ายเราที่ ผบ.หน่วยรองต้องปฏิบัติการร่วมกัน
๓) ระบุความทับซ้อนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของฝ่ายเรา โดยเฉพาะในการปฏิบัติการร่วม/ผสม
ก�ำหนดวิธีการลดความทับซ้อนและล�ำดับความเร่งด่วนในการแพร่คลื่น
ค. หน่วยสมทบและหน่วยแยก
๑) รายการเครื่องมือ สอ. ที่ขึ้นสมทบและแยกสมทบ
๒) รายการทรัพยากร สอ. ที่ได้รับจากหน่วยเหนือ
๒. ภารกิจ
ระบุว่าการ สอ.จะสนับสนุนวัตถุประสงค์การ ปขส.อย่างไร
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวทางการปฏิบัติ ระบุกิจในการ สอ.
ข. กิจของหน่วยรอง ระบุกิจในการ สอ.ของแต่ละหน่วย
ค. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
๑) ระบุการปฏิบัติส�ำหรับหน่วยตั้งแต่สองหน่วยขึ้นไป
๒) ระบุความต้องการการประสานการ สอ. ระหว่างหน่วย
๓) ระบุแนวทางการควบคุมการแพร่คลื่น
๔. การช่วยรบ ระบุการสนับสนุนด้านการช่วยรบต่อการ สอ.
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
ข. การสื่อสาร ระบุความต้องการการสื่อสารพิเศษที่เกี่ยวข้องกับการ สอ.

รูป ง-๕ ผนวกการลวง


320 ผนวก ง

อนุผนวก ๕ (ตารางปฏิบัติ ปขส.) ประกอบ ผนวก พี (การปฏิบัติการข่าวสาร) ประกอบค�ำสั่งยุทธการที่...


ระบุวัตถุประสงค์ ปขส.ในแง่ของผลที่ต้องการให้เกิดขึ้นจากการ ปขส.
หน่วยหรือระบบ กิจในการ ปขส. เวลา ณ ที่หมายหรือ สถานที่ หมายเหตุ
ผลทีต่ ้องการให้เกิด
• หน่วย ระบุกิจตาม ปขส. • ต่อเนื่อง • ที่ตั้งหน่วย • ขสร.
• ระบบ องค์ประกอบ • เมื่อสั่ง • พิกัดกริด • ปฏิเสธ
• ระบบส่ง • ไม่ช้ากว่า • เป้าหมาย • ป้องกันอิทธิพล
• ระบบอาวุธ • ต่อเนื่อง • ท�ำลาย
• ตามแผนการยิง
ค�ำแนะน�ำพิเศษ
รูป ง-๖ ตัวอย่างตารางปฏิบัติ ปขส.

ผนวก พี (การปฏิบัติการข่าวสาร) ประกอบค�ำสั่งยุทธการที่...ทน.๒๑


๑. สถานการณ์
ก. ข้าศึก ดูผนวก ๑ (การเตรียมสนามรบด้านการข่าวขั้นต้น) ประกอบ ผนวก ข (ข่าวกรอง)
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา
๑) หน่วยและทรัพยากร ปขส.ที่ต้องการ
ก) ทน.๒๑ : หน่วยแยกค้นหาเป้าหมายที่..., กองร้อย ซี พัน.ขกท.ที่... (uav), ร้อย ปจว.ที่...
ข) ยุทธบริเวณ : EC 130 H, EC-130 E, EA-6 B, F-16 CJ (HARM), AC-130 Specter)
๒) ข้อจ�ำกัดส�ำคัญยิ่งขึ้นอยู่กับปัจจัย METT - TC
ค. ข้อพิจารณาทางพลเรือน
๑) สื่อของซาน แองกลอส มีเสรีภาพในการน�ำเสนอ
๒) บ้านส่วนใหญ่ของซาน แองกลอส มีเครื่องรับวิทยุ
๓) พลเรือนส่วนใหญ่มีเครื่องรับโทรทัศน์
ง. หน่วยสมทบและหน่วยแยก หน่วย 362 ร้อย ปจว., พัน ปกร. ที่ ๔๔๙ ...
๒. ภารกิจ การ ปขส. สนับสนุนการปฏิบัติการของ ทน.๒๑ ด้วยการป้องกันมิให้มีการชิงลงมือขัดขวาง
การยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ, ก่อให้เกิดอิทธิพลเหนือประชาชนในท้องถิ่นเพื่อมิให้ขัดขวางฝ่ายเราทั้งในและ
บริเวณรอบ ๆ พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร, สร้างสภาวะทีเ่ กือ้ กูลด้านข่าวสารเพือ่ สนับสนุนความสงบเรียบร้อยและการบริการ
ขั้นพื้นฐานแก่ประชาชน
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวทางสนับสนุน
๑) แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. การ ปขส. สนับสนุนการปฏิบัติการของ ทน.๒๑ โดย
ป้องกันการขัดขวางการปฏิบตั กิ ารเคลือ่ นทีท่ างอากาศและลดการกีดขวางของพลเรือนภายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร
รูป ง-๗ ตัวอย่างผนวก ปขส.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 321

และพื้นที่โดยรอบด้วยการ ท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง และใช้ประโยชน์จากระบบ คบช. และระบบ


การยิงสนับสนุนของเรนโดวา, ลวงผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจเรนโดวา, ท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง และลวง
ระบบ ขฝล. เรนโดวา, ขัดขวางมิให้ผู้ตัดสินใจเรนโดวาได้รับข่าวสารเกี่ยวกับเจตนาและขีดความสามารถของ
ทน.๒๑, ป้องกันระบบ คบช.และ ข้อมูลข่าวสาร ของฝ่ายเรา, ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อและการลวงของ
เรนโดวา, การ ปกร. เน้นย�้ำนโยบายของรัฐบาลซาน แองกลอสที่ให้ประชาชนอยู่แต่ภายในบ้าน, การ ปขส.
สนับสนุนแผนการลวงของ กกล.ฉก.ร่วมและของ ทน.๒๑, วัตถุประสงค์ ปขส.เรียงตามล�ำดับความเร่งด่วนดังนี้
ก) ป้องกันมิให้การปฏิบัติการถูกเปิดเผย
ข) ป้องกันระบบ คบช.ของ ทน.๒๑
ค) ขัดขวางระบบ ปภอ., ขฝล., คบช., และระบบเป้าหมาย ระหว่างเวลาวิกฤตในการปฏิบัติการ
ง) ลดการกีดขวางจากพลเรือนในพื้นที่เป้าหมายให้เหลือน้อยที่สุด
๒) การ รปภ.ป/บ. (ดูผนวก ๑ การ รปภ.ป/บ.) ก่อนเวลา น. ป้องกันมิให้ มทน. เสือล่วงรู้ภารกิจ
ที่แท้จริงของ ทน.๒๑, หลังเวลา น. ป้องกันมิให้ มทน. เสือทราบที่หมายของการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ
และเส้นหลักการรุก, ตลอดห้วงเวลาการปฏิบัติการ การ รปภ.ป/บ. .ให้ความส�ำคัญกับการป้องกัน hvt และ
ขฝร., ขฝร.จะรวมถึงการเคลื่อนย้ายเข้าพื้นที่พักรอ ที่รวมพล ที่ตั้งเรดาร์ต่อต้าน ป. ที่ตั้งเรดาร์ ปภอ. ต�ำบล
เติมกระสุนและเชื้อเพลิงหน้าที่ตั้งทางการสื่อสาร ที่กองกระสุน ทุกหน่วยปฏิบัติการต่อต้านการลาดตระเวน
เพื่อป้องกัน hvt, ปกปิดกิจวัตรประจ�ำวันของ ผบ.พล., รอง ผบ.พล., และ เสธ.พล.
๓) การ ปจว. (ดูผนวก ๒ การ ปจว.) การ ปจว. สนับสนุนนโยบายรัฐบาลซาน แองกลอส ที่ต้องการ
ให้ประชาชนอยู่แต่ในบ้าน โดยการใช้ใบปลิว และการกระจายเสียงผ่านเครื่องขยายเสียง ผลผลิตการ ปจว.
จะเน้นเรื่องหลักคือ นโยบายรัฐบาลซาน แองกลอส, ขยายผลความล้มเหลวและความสูญเสียของเรนโดวา
ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อของเรนโดวา, รักษาขวัญพลเรือนในพื้นที่ยึดครอง เรียกร้องให้ทหารเรนโดวา
ยอมแพ้โดยฝ่ายเราจะมีที่พักและอาหารให้, ขยายผลจากชัยชนะของฝ่ายเราและความพ่ายแพ้ของเรนโดวา,
การ ปจว. สนับสนุนการลวงของ ทน.
๔) การลวง (ดูผนวก ๓ การลวง) การลวงของ กกล.ฉก.ร่วมจะมุ่งท�ำให้ผู้น�ำระดับชาติของเรนโดวา
สหรัฐฯ จะใช้ซาน แองกลอสเป็นฐานส�ำหรับนาวิกโยธินบุกเรนโดวาข้ามช่องแคบ ดาวาโร การลวงนีจ้ ะสนับสนุน
โดยการ ปจว.ระดับชาติ การลวงของ ทน.๒๑ เสริมการลวงระดับชาติ และของ กกล.ฉก.ร่วม ด้วยการท�ำให้
เห็นว่า ทน.๒๑ ก�ำลังเตรียมการบุกทั้งการเคลื่อนที่ทางอากาศและการยกพลขึ้นบกข้ามช่องแคบดาวาโร
๕) สงครามอิเล็กทรอนิกส์ (ดูผนวก ๔ สอ.) ก่อน เวลา น. การ สอ.สนับสนุนการลวงของ ทน., หลัง
เวลา น. การ สอ. สนับสนุนการข่มอาวุธ ปภอ. เพื่อขัดขวางระบบ คปม. และระบบ คบช. ของข้าศึก
๖) การ ปคค. เว้น
๗) การ จคค. ทน. จะส่งค�ำขอการ จคค.ถึง กกล.ฉก.ร่วม ๒๕๐ ผลการปฏิบัติจะส่งถึง ผบ. และ
สธ.๗
๘) การ ปกคค. (ดูผนวก เอช. การ คบช. สื่อสาร และคอมพิวเตอร์) ผู้จัดการระบบจะเน้นย�้ำการ
ป้องกันและมาตรการเชิงรับ

รูป ง-๗ ตัวอย่างผนวก ปขส. (ต่อ)


322 ผนวก ง

๙) การใช้ประโยชน์จากระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ข้าศึก เว้น
๑๐) การท�ำลายทางกายภาพ (ดูผนวก ง. การยิงสนับสนุน) ป.ทน. และระบบการยิงสนับสนุนของ
กกล.ฉก.ร่วม สนับสนุนการเคลื่อนที่ทางอากาศและการลวง ท�ำลายที่ตั้งทางการ คบช. ข้าศึก ณ จุดแตกหัก
ระหว่างการรบ ระบบข้อมูลข่าวสาร และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีส่ นับสนุนการส่งข่าวสารหรือทีเ่ ป็นประโยชน์
ต่อข้าศึกจะถูกขัดขวางหรือลดประสิทธิภาพแต่ไม่ต้องท�ำลาย
๑๑) การประกันข่าวสาร (ปกส.) (ดูผนวก เอช การ คบช. สื่อสาร และคอมพิวเตอร์) สธ.๖ เฝ้าติดตาม
ระบบเครือข่ายตลอดเวลาเพื่อค้นหาไวรัส และการเจาะระบบ สธ.๖ ต้องน�ำกฎ รปภ. ระบบมาบังคับใช้อย่าง
จริงจัง ผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ในระบบจะได้รบั ค�ำเตือนในการ รปภ. เครือข่ายเป็นระยะทาง อีเมล และหน้าเว็บเพจ
ของระบบ
๑๒) การ รปภ. ทางกายภาพ (ดูผนวก เค การสารวัตร) ตลอดห้วงการปฏิบัติการ ทุกหน่วยในพื้นที่
ส่วนหลังร่วมปฏิบัติการต่อต้านการลาดตระเวนเพื่อค้นหาและท�ำลายหน่วยปฏิบัติการพิเศษข้าศึก ป้องกันที่
ตั้งการ คบช. และเส้นการคมนาคมที่ส�ำคัญ ทหารสารวัตรจะสนธินโยบายอยู่ติดบ้านของรัฐบาลเข้ากับการ
ต่อต้านการแทรกซึมในแผนการปฏิบัติการพื้นที่ส่วนหลัง สห. จะจัดการแลกเปลี่ยนข่าวสารเกี่ยวกับสายลับ
ข้าศึกกับต�ำรวจและหน่วยงานความมั่นคงของประเทศเจ้าบ้าน กับหน่วยงาน ตข. และศูนย์ ปกร.
๑๓) การต่อต้านข่าวกรอง (ดูผนวก ข ข่าวกรอง) หน่วย/เครือ่ งมือต่อต้านข่าวกรองสนับสนุนการพิทกั ษ์
ก�ำลังรบและพิสูจน์ทราบความเคลื่อนไหวของหน่วยปฏิบัติการพิเศษจากข่าวสารที่ได้จากพลเรือน การติดต่อ
กับต�ำรวจ ซาน แองกลอส รวมถึงการจัดตัง้ แหล่งข่าวขึน้ การต่อต้านข่าวกรอง/การซักถามเชลยศึก จะช่วยให้
ได้ข่าวสารหน่วยปฏิบัติการพิเศษข้าศึกเมื่อได้มีการแลกเปลี่ยนกับการ ปกร. หน่วย สห. และส่วน ปขส.หลัก
ของ ทน.๒๑
๑๔) การต่อต้านการลวง (ดูผนวก ข. ข่าวกรอง) กิจกรรมต่อต้านการลวงจะแจ้งเตือนล่วงหน้าต่อหน่วย
รองเกี่ยวกับการลวงของเรนโดวา และฝ่ายเราใช้ประโยชน์จากการล่วงรู้นั้น
๑๕) การต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ (ดูผนวก ๒ ปจว.) หน่วย ปจว.ทน.๒๑ สื่อข่าวสารต่อต้านการ
โฆษณาชวนเชือ่ ของเรนโดวา แนวทางในการต่อต้านคือเน้นความเป็นเอกภาพของซาน แองกลอส เปรียบเทียบ
ความเป็นอยู่ของชาวซาน แองกลอสกับชาวเรนโดวา ในขณะเดียวกัน น.ปชส. ของ กกล.ฉก. ร่วมจะให้ข่าวที่
ถูกต้องต่อสื่อนานาชาติและสื่อสหรัฐฯ เกี่ยวกับ กกล.ฉก.ร่วม และการปฏิบัติการของกองทัพซาน แองกลอส
๑๖) การปฏิบัติการกิจการพลเรือน (ดูผนวก...การ ปกร.) สนับสนุนนโยบายอยู่กับบ้านตลอดห้วง
การปฏิบัติการ ประสานกับ นธน.เกี่ยวกับกฎการใช้ก�ำลังและข้อจ�ำกัดท้องถิ่น ความเร่งด่วนการปฏิบัติให้
กับการติดต่อกับหน่วย ปกร. ซาน แองกลอส ประสานกับการ ปจว. สห. หน่วย ตข. และหน่วยซักถาม
เชลยศึก เพื่อจัดตั้งการปฏิบัติงาน ณ ต�ำบลรวบรวมพลเรือนพลัดถิ่น ประสานกับหน่วย ปจว.เกี่ยวกับการให้
ข่าวต่อพลเรือนพลัดถิ่น
๑๗) การประชาสัมพันธ์ (ดูผนวก... ปชส.) งาน ปชส. ประสานกับสื่อของซาน แองกลอสเกี่ยวกับ
นโยบายอยูก่ บั บ้าน โครงการข่าวสารภายในจะเน้นประเด็นการพิทกั ษ์ก�ำลังรบ, การป้องกัน ขสร. และข่าวสาร
ที่หน่วยข้างเคียงให้ความส�ำคัญ แจ้งความจริงเกี่ยวกับการสูญเสียของฝ่ายเรา และเหตุการณ์บางเหตุการณ์

รูป ง-๗ ตัวอย่างผนวก ปขส. (ต่อ)


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 323

เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการโฆษณาชวนเชื่อ การแพร่ข่าวลวง และข่าวลือ การสนับสนุนสื่อที่อยู่


กับหน่วยจะเป็นการให้ข่าวเกี่ยวกับการปฏิบัติการในสภาพแวดล้อม นชค. ล�ำดับความเร่งด่วน คือ
ก) เน้นบทบาทน�ำของกองทัพ ซาน แองกลอส
ข) แพร่ข่าวความส�ำเร็จฝ่ายเราและความล้มเหลวฝ่ายตรงข้าม
ค) ประกาศจุดยืนและขีดความสามารถที่เหนือกว่าของสหรัฐฯ การ ปชส.จะสนับสนุนสื่อระดับ
ชาติและระดับนานาชาติ
ข. กิจของหน่วยรอง ดูผนวก ๕ (ตารางการปฏิบัติ)
ค. ส่วน ปขส.
๑) ส่วน ปขส. ประกอบด้วยผู้แทนจากองค์ประกอบ ปขส. และฝ่ายอ�ำนวยการประสานการสาย
ต่าง ๆ
๒) อ�ำนวยความสะดวกในการประสานและสนธินโยบายอยู่กับบ้านเพื่อค้นหาหน่วยพิเศษ
ของข้าศึก และสนับสนุนการ opsec การลวง และการพิทักษ์ก�ำลังรบ
๓) ช่วยเหลือหน่วยรองในการวางแผน/ประสานภารกิจ ปขส.
๔) วิเคราะห์ข่าวสารที่ได้รับผ่านทางนโยบายอยู่กับบ้าน และข่าวสารที่ได้จากที่อื่น ๆ ดูแล
ให้ข่าวสารทั้งปวงถึงมือผู้ดูและแผนรวบรวมข่าวสาร ช่วยเหลือในการตรวจสอบความถูกต้องของรายงาน
อ�ำนวยความสะดวกให้มีการกระจายข่าวสารถึงนายทหารเวรทันเวลา
๕) การประชุม ตาม รปจ.
ง. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
๑) ทน.๒๑ จะติดต่อกับหน่วย ปชส., ปกร., ปจว., ตข/ซักถามเชลย และ สห.ของ ซาน แองกลอส
เพื่อประสานในการพิสูจน์ทราบและรายงานความเคลื่อนไหวและที่ตั้งของกองก� ำลังพิเศษฝ่ายตรงข้าม การ
ปขส. จะประสานการ สอ.,ปจว., และการท�ำลายทางกายภาพเพื่อขัดขวางหรือลดประสิทธิภาพที่ตั้งทางการ
คบช.ทน. เสือและระบบ infosys ทีม่ ผี ลต่อกระบวนการตัดสินใจของเรนโดวา ในระหว่างการยุทธ์เคลือ่ นทีท่ าง
อากาศ การ ปขส.จะลดการกีดขวางจากพลเรือนพลัดถิน่ ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ และสนับสนุนการลวงของ ทน.๒๑
ส่วน ปขส.ของ ทน.๒๑ จะสนธิการปฏิบัติการ ปชส., ปกร., ปจว., สห., องค์กรเอกชน, ขฝล, การ รปภ.ฐาน,
การพิทักษ์ก�ำลังรบ และ opsec ให้มีความเป็นเอกภาพเพื่อสนับสนุนนโยบายอยู่กับบ้านของรัฐบาลซาน
แองกลอส การปฏิบัติได้แก่
ก) สนธิโครงการ “เพื่อนบ้านมีส่วนร่วม” ของ ทน.๒๑ กับโครงการของซาน แองกลอส ที่ให้
ประชาชนรายงานความเคลื่อนไหวที่น่าสงสัยว่าจะเป็นฝ่ายตรงข้าม
ข) แสวงหาความร่วมมือและการสนับสนุนนโยบายอยู่กับบ้านจากประชาชน สื่อท้องถิ่น
องค์กรเพื่อมนุษยธรรม หน่วยงานรักษากฎหมาย และหน่วยงานของรัฐบาลซาน แองกลอส
ค) จัด ตั้งศูน ย์รับ รายงานพร้อ มหมายเลขโทรศั พ ท์ เ พื่ อ ให้ ประชาชนแจ้ ง เบาะแสความ
เคลื่อนไหวที่น่าสงสัยทั่วทั้งพื้นที่ปฏิบัติการ

รูป ง-๗ ตัวอย่างผนวก ปขส. (ต่อ)


324 ผนวก ง

ง) จัดตั้งศูนย์ให้พลเรือนพลัดถิ่นใช้เป็นที่รับอาหารและที่พักจากองค์กรเอกชนที่ปฏิบัติงาน
อยู่ในพื้นที่ปฏิบัติการ
จ) แสวงหาความร่วมมือจากประชาชนด้วยการใช้การสื่อมวลชนสัมพันธ์ที่เปิดเผย ทั้งใน
ซาน แองกลอส และในสหรัฐฯ
๒) ส่วน ปขส. ทน.๒๑. สธ.๗ จะบรรยายสรุปประสิทธิภาพของนโยบายอยูก่ บั บ้านและกิจกรรม
ด้านการ ปขส. อื่น ๆ ในที่ประชุมเพื่อติดตามสถานการณ์ของฝ่ายอ�ำนวยการของ ทน.
๔. การช่วยรบ ดูผนวก..การช่วยรบ
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) สธ.๗ รายงานกิจกรรม ปขส. ที่ส�ำคัญต่อ เสธ.
๒) ทน.๒๑ จะประสานเครื่องมือ/หน่วยที่จะใช้ในบทบาทด้าน ปขส.
๓) ส่วน ปขส.ทน.๒๑ ตั้งอยู่ ณ ทก.หลัก
ข. การสื่อสาร ดูผนวก...การควบคุมบังคับบัญชา การสื่อสาร และคอมพิวเตอร์
อนุผนวก ๑ การ รปภ.ป/บ.
อนุผนวก ๒ ปจว.
อนุผนวก ๓ การลวง
อนุผนวก ๔ สงครามอิเล็กทรอนิกส์
อนุผนวก ๕ ตารางปฏิบัติ ปขส.
ตอบรับ

รูป ง-๗ ตัวอย่างผนวก ปขส. (ต่อ)


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 325

ผนวก...(ตารางปฏิบัติ ปขส.) ประกอบ ผนวก...(การ ปขส.) ประกอบค�ำสั่งยุทธการที่...


หน่วย/เครื่องมือ กิจ ปขส. เวลาปฏิบัติหรือ สถานที่ หมายเหตุ
ผลที่ต้องการ
ป.ทน.๒๑ การท� ำ ลายทาง น.-๕ ที่ตั้งระบบ ขฝล. ใช้ข้อมูลการเป้าหมาย
กายภาพ -๐๑ ข้าศึก ล่าสุดจาก สธ.๒ ทน.
๒๑ และ พล.ร.๑๒๑
สธ.๖, ฝอ.๖ ของ ปกคค.-๐๑ เริ่ม น-๔๘ แล้วท�ำ ทั่วพื้นที่ปฏิบัติการ
ทน., พล., และ อย่างต่อเนื่อง
ทุก ๆ หน่วย
น.ปชส.ทน. ปชส.-๐๑ เริ่ม น-๔๘ แล้วท�ำ ทั่วพื้นที่ปฏิบัติการ การรายงานข่าวที่น้อย
อย่างต่อเนื่อง อาจแสดงว่าการ ปจว.
ได้ผล
หน่วยของ ทน.๒๑ การ รปภ.ทาง เริ่ม น-๔๘ แล้วท�ำ ทั่วพื้นที่ปฏิบัติการ สห.ให้ข้อมูลต่อ เสธ.
กายภาพ-๐๑ อย่างต่อเนื่อง
หน่วยของ ทน.๒๑ ปกส.-๐๑ เริ่ม น-๔๘ แล้วท�ำ ทั่วพื้นที่ปฏิบัติการ
และของ พล.ร. อย่างต่อเนื่อง
๑๒๑
พลน้อย ขกท.๒๑ ปจว.-๐๑ น.-๒๔ พื้นที่ปฏิบัติการ ถ้าพลเรือนพลัดถิ่นไม่
คอร์ทนีย์ อยู่บนถนนถือว่าส�ำเร็จ
พลน้อย ขกท.๒๑ ลวง-๐๑ เริ่ม น-๔๘ แล้วท�ำ ทก.ทน.เสือ
อย่างต่อเนื่อง
พลน้อย ขกท.๒๑ ตข.-๐๑ เริ่ม น.-๔๘ จากนั้น ทั่วพื้นที่ปฏิบัติการ
กระท�ำทุก ๆ ๑๐ ชม.
พลน้อย ขกท.๒๑/ สอ.-๐๑ เวลา น. ระบบดักรับและ ใช้ข้อมูลการเป้าหมาย
พัน.ขกท.๑๒๑ ค้นหาของ ทน.เสือ ล่าสุดจาก สธ.๒ ทน.
๒๑ และ พล.ร.๑๒๑
พลน้อย ปกร. ปกร.-๐๑ เริ่ม น-๔๘ แล้วท�ำ ทั่วพื้นที่ปฏิบัติการ
๓๖๕ อย่างต่อเนื่อง
พัน.๑ กลุ่ม ปจว. ปจว.-๐๑ น.-๒๔ พื้นที่ปฏิบัติการ ถ้าพลเรือนไม่อยู่บน
ที่ ๑๙ คอร์ทนีย์ ถนนถือว่าส�ำเร็จ
รูป ง-๘ ตัวอย่างตารางการปฏิบัติ ปขส. (ย่อ)
ผนวก จ
กรรมวิธีเป้าหมายในการ ปขส. (Information Operations Targeting)
ผนวกนี้กล่าวถึงกรรมวิธีเป้าหมายที่ใช้ในการพัฒนาและปฏิบัติต่อเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
กับการ ปขส. โดยกรรมวิธีจะเกี่ยวข้องกับพันธกิจกรรมวิธีเป้าหมายสี่ประการคือ การตัดสินใจ
(Decide) การค้นหา หรือการตรวจจับ (detect) การปฏิบัติ (deliver) และการประเมิน
(assess) พันธกิจตัดสินใจจะกระท�ำแบบเดียวกับการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร (military decision
making process). ผนวกนี้จะเป็นตัวเสริม ยุทธวิธี เทคนิค และกรรมวิธี ในกรรมวิธีเป้าหมาย
ส�ำหรับรายละเอียดในเรื่องกรรมวิธีเป้าหมาย (targeting process) และตัวอย่างของผลผลิต
ในกรรมวิธีเป้าหมายดูได้จาก FM 6-20-101
กรรมวิธีเป้าหมายและชุดกรรมวิธีเป้าหมาย (Targeting process and targeting team)
จ-๑. กรรมวิธเี ป้าหมายเป็นกระบวนการทีป่ ระสานสอดคล้องการยิงทัง้ ทีม่ ผี ลในทางสังหารและ
ไม่สงั หาร (lethal and non lethal) กับผลกระทบเกีย่ วกับระบบปฏิบตั กิ ารในสนามรบ (BOS)
อื่น ๆ กรรมวิธีเป้าหมายเป็นสิ่งที่ส�ำคัญในการปฏิบัติการของกองทัพบก ชุดกรรมวิธีเป้าหมายจะ
เป็นผูก้ ำ� หนดว่าจะโจมตีเป้าหมายใด ด้วยวิธใี ด ทีไ่ หน เมือ่ ใด โดยอาศัยแนวทางกรรมวิธเี ป้าหมาย
ของ ผบ. (targeting guidance) และวัตถุประสงค์ในกรรมวิธเี ป้าหมาย (targeting objectives)
เป็นพื้นฐาน จากนั้นจะแบ่งมอบเป้าหมายให้กับระบบอาวุธเพื่อให้เหมาะสมกับผลลัพธ์ที่ต้องการ
ให้เกิดขึน้ เสธ./รอง คือหัวหน้าชุดกรรมวิธเี ป้าหมาย โดยมีผแู้ ทนจากส่วนยิงสนับสนุน, สธ.๒, สธ.๓,
และผู้แทน ทอ. เป็นแกนหลักส�ำคัญของชุดกรรมวิธีเป้าหมาย ฝอ.ประสานงาน และฝ่ายกิจการ
พิเศษจะมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามกรรมวิธีเป้าหมายเมื่อมีความต้องการ ผู้แทนแผนก สธ.๗ จะ
เข้าร่วมในการประชุมกับชุดกรรมวิธีเป้าหมายทุกครั้ง โดยท�ำหน้าที่ให้ข้อมูลเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
กับการ ปขส. และสนธิปัจจัยด้าน ปขส. เข้ากับกรรมวิธีเป้าหมายด้วย
จ-๒. กรรมวิธีเป้าหมาย สนับสนุนการ ปขส.ทั้งเชิงรับและเชิงรุก การปฏิบัติต่อเป้าหมายที่
เกี่ยวข้องกับการ ปขส. จะมีส่วนช่วยในการบรรลุวัตถุประสงค์ ปขส.เชิงรุกในเรื่อง
จ-๒.๑ การท�ำลาย ลดประสิทธิภาพ ขัดขวาง ลวง และใช้ประโยชน์จากระบบ ควบคุมบังคับ
บัญชาของข้าศึก
จ-๒.๒ ลดหรือมีอิทธิพลต่อขวัญและก�ำลังใจของข้าศึก
จ-๒.๓ เกิดอิทธิพลต่อผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจข้าศึก
จ-๒.๔ ท�ำให้ประชาชนในพื้นที่สนับสนุนฝ่ายเรา

ส�ำหรับ FM 6-20-10 ก�ำลังอยู่ระหว่างการพัฒนาเป็นคู่มือราชการสนามของ ทบ.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 327

กรรมวิธีเป้าหมายในการ ปขส.เชิงรับจะช่วยป้องกันฝ่ายเรา ทั้งหน่วย ผู้น�ำหน่วย การตัดสินใจ


ข่าวสาร ระบบข่าวสาร ประชาชน รวมถึงประชาชนที่เป็นกลาง
จ-๓. วิธกี ารของ ทบ.ทีใ่ ช้ในกรรมวิธเี ป้าหมายจะขึน้ อยูก่ บั พันธกิจ ๔ ประการคือ การตัดสินใจ
การตรวจจับ การปฏิบตั ิ และการประเมิน (ดูรปู จ-๑) พันธกิจ ตัดสินใจ จะเกิดขึน้ ในเวลาเดียวกัน
กับการวางแผน พันธกิจ ตรวจจับ เกิดขึ้นระหว่างการเตรียมการและการปฏิบัติตามแผน พันธกิจ
ปฏิบัติ เกิดขึ้นในช่วงการปฏิบัติตามแผนเป็นส่วนใหญ่ แม้ว่าเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส.จะ
ถูกกระท�ำขณะที่ฝ่ายเราก�ำลังวางแผนอยู่ก็ตาม พันธกิจ ประเมิน เกิดขึ้นทุกขั้นตอนแต่จะเข้มข้น
ในระหว่างการปฏิบัติตามแผน

ขั้นการปฏิบัติ พันธกิจในกรรมวิธี กิจ (task) ในกรรมวิธีเป้าหมาย


เป้าหมาย
ประเมิน การวางแผน ตัดสินใจ - ก�ำหนดเกณฑ์วัดความส�ำเร็จในการ
ประเมินความเสียหาย
- จัดท�ำค�ำสั่ง
- ปรับปรุงรายกรรมวิธีเป้าหมาย hpt
- ปรับปรุงมาตรฐานการเลือกเป้าหมาย
- ปรับปรุงตารางแนวทางโจมตีเป้าหมาย
- ส่งค�ำขอ ความต้องการข่าวสาร/ค�ำขอ
ข่าวสารด้าน ปขส.ต่อ สธ.๒
ประเมิน การเตรียมการ การค้นหาเป้าหมาย - ปฏิบัติตามแผนรวบรวม
การปฏิบัติ - ปรับปรุง หขส./ ความต้องการข่าวสาร
ปขส. เมื่อได้รับปรับปรุงรายการ hpt
และ ตารางแนวทางโจมตีเป้าหมาย
การส่งอาวุธไปยัง ท�ำการโจมตีตามตารางแนวทางโจมตี
เป้าหมาย เป้าหมาย
ประเมินค่า - ประเมินผลการโจมตี
- ติดตามเป้าหมายที่โจมตีแบบไม่สังหาร

รูป จ-๑ กิจและกิจกรรมในกรรมวิธีเป้าหมาย

จ-๔. กรรมวิธีเป้าหมายเป็นการปฏิบัติที่เป็นวงรอบ โดยจังหวะการรบ (Battle rhythm)


จะเป็นตัวก�ำหนดความถีใ่ นการประชุมของชุดกรรมวิธเี ป้าหมาย การประชุมภายในแผนก สธ.๗
จะก�ำหนดโดย สธ.๗ เพื่อให้การก�ำหนดเป้าหมาย ปขส.เป็นไปตามกรอบที่ ผบ.ก�ำหนด สธ.๗
328 ผนวก จ

อาจจัดประชุมกรรมวิธีเป้าหมายพร้อม ๆ กับการประชุมของส่วน ปขส.เพื่อประหยัดเวลาก็ได้


รูป จ-๒ แสดงถึงตัวอย่างการจัดเวลาที่สอดคล้องกับจังหวะการรบของ ผบ.
รูป จ-๒ ดูจากเอกสาร
ตัดสินใจ (Decide)
จ-๕. พั น ธกิ จ การตั ด สิ น ใจเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกิ จ กรรมวางแผนของกระบวนการปฏิ บั ติ ก าร
(Operational Process) พันธกิจนี้เกิดขึ้นพร้อม ๆ กับการด�ำเนินการตามกรรมวิธีแสวงข้อตกลง
ใจทางทหาร (MDMP) ระหว่างพันธกิจนี้ ชุดกรรมวิธีเป้าหมายจะเพ่งเล็งความสนใจ และให้ความ
เร่งด่วนกับการรวบรวมข่าวสาร และการวางแผนการโจมตี ชุดกรรมวิธีเป้าหมายจะจัดล�ำดับ
ความเร่งด่วนส�ำหรับกรรมวิธีเป้าหมายในแต่ละขั้น หรือแต่ละเหตุการณ์โดยยึดถือเจตนารมณ์ของ
ผบ. และแนวความคิดในการปฏิบัติ ผลผลิตที่ได้ออกมาจะแสดงถึงล�ำดับความเร่งด่วนดังต่อไปนี้

จ-๕.๑ รายการเป้าหมายคุม้ ค่า (high payoff target) รายการนีจ้ ะเรียงเป้าหมายคุม้ ค่า


ต่าง ๆ ตามล�ำดับความเร่งด่วน เป้าหมายคุ้มค่าคือเป้าหมายข้าศึกที่เมื่อสูญเสียแล้ว
จะมีส่วนช่วยให้หนทางปฏิบัติของฝ่ายเราประสบความส�ำเร็จ เป้าหมายคุ้มค่าคือ
เป้าหมายให้ค่าสูง (ดูค�ำจ�ำกัดความจากย่อหน้า จ-๖) ที่ได้จากการวาดภาพการรบ
การที่ภารกิจของ ผบ.จะบรรลุผลส�ำเร็จได้ ฝ่ายเราจะต้องโจมตีเป้าหมายเหล่านี้
อย่างได้ผล เป้าหมายคุ้มค่าในการ ปขส. ได้แก่ ที่ตั้งทางการบังคับบัญชาและ
การควบคุม เครื่องมือรวบรวมข่าวสารของข้าศึก เป็นต้น
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 329

จ-๕.๒ แผนรวบรวมข่าวกรอง (Intelligence collection plan) สธ.๒ จัดท�ำแผนรวบรวม


ข่าวกรองโดยประสานกับ สธ.๓ ในการนี้จะมีการสนธิการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ
และการลาดตระเวน (ขฝล.) เพื่อให้ได้ค�ำตอบส�ำหรับ หขส. (ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
จาก FM 34-2) แผนรวบรวมข่าวกรองเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อพันธกิจ
ตรวจจับ และประเมิน
จ-๕.๓ มาตรฐานการเลือกเป้าหมาย (Target selection standard) จะเป็นเครื่อง
ก�ำหนดเกณฑ์สำ� หรับตัดสินใจว่าเมือ่ ไหร่จงึ จะมีการก�ำหนดทีต่ งั้ เป้าหมายให้ถกู ต้อง
เพียงพอเพื่อด�ำเนินการโจมตี
จ-๕.๔ ตารางแนวทางการโจมตี (Attack guidance matrix - AGM) จะแสดงรายการ
เป้าหมาย หรือประเภทเป้าหมาย, เป้าหมายคุ้มค่าหรือเป้าหมายให้ค่าสูง (HPT)
เฉพาะ, เวลาโจมตี, วิธีการโจมตี และข้อจ�ำกัดที่มี
จ-๕.๕ ตารางประสานสอดคล้องเป้าหมาย (Target synchronization matrix) เป็นตาราง
ที่แสดงรายการเป้าหมายคุ้มค่าแยกตามประเภท และหน่วยงานรับผิดชอบในการ
ตรวจจับ, โจมตี, และประเมินผลการโจมตี ตารางนี้จะรวมข้อมูลจากรายการ
เป้าหมายคุ้มค่า
แผนรวบรวมข่าวกรอง และตารางแนวทางโจมตีไว้ด้วยกันชุดกรรมวิธีเป้าหมาย
จะพัฒนา และมีส่วนช่วยในการท�ำผลผลิตเหล่านี้ตลอดห้วงเวลาการด�ำเนินกรรมวิธีเพื่อตกลงใจ
ผบ.จะให้ความเห็นชอบต่อผลผลิตเหล่านี้ในขั้นอนุมัติหนทางปฏิบัติ สธ.๗ ต้องดูให้มั่นใจว่า
ผลผลิตเหล่านี้บรรจุข่าวสารที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติต่อเป้าหมายด้าน ปขส. การวิเคราะห์ความเสี่ยง
ด้าน ปขส. ทีท่ ำ� โดย สธ.๒ และ สธ.๗ จะเป็นข้อมูลพืน้ ฐานในการตัดสินว่าเป้าหมาย ปขส. ใดจะถูก
โจมตี (ดูบทที่ ๑ และบทที่ ๕ ส�ำหรับผลที่ต้องการส�ำหรับการ ปขส.เชิงรุก และเชิงรับ)
จ-๖. เป้าหมายให้ค่าสูง คือเป้าหมาย (สิ่ง) ที่ ผบ.หน่วยข้าศึกต้องการเพื่อปฏิบัติภารกิจให้
ส�ำเร็จ การสูญเสียเป้าหมายให้ค่าสูงจะท�ำให้ข้าศึกไม่สามารถปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ได้ทวั่ ทัง้ พืน้ ทีส่ นใจของฝ่ายเรา ในระหว่างการวิเคราะห์ภารกิจ และการพัฒนาหนทางปฏิบตั ิ สธ.๗
พัฒนาเป้าหมายให้ค่าสูงด้าน ปขส.ไปพร้อม ๆ กับการก�ำหนดวัตถุประสงค์ และกิจ ปขส. ไม่
จ�ำเป็นว่ากิจ ปขส.ทั้งหมดจะเป็นรายการเป้าหมาย ระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ สธ.๗
จะเป็นผูก้ ำ� หนดว่า เป้าหมายให้คา่ สูงใดสมควรก�ำหนดเป็นเป้าหมายคุม้ ค่า (HPT) และปรับปรุง
ข้อมูล ปขส. ที่จะใช้กับตารางแนวทางโจมตี และมาตรฐานการเลือกเป้าหมาย สธ.๗ จะสนธิ
วัตถุประสงค์ ปขส. (IO objectives), กิจ ปขส. และเป้าหมาย ปขส. เข้าด้วยกันเพื่อให้มั่นใจว่า
สามารถปฏิบัติภารกิจ ปขส.ได้ส�ำเร็จ
330 ผนวก จ

วิเคราะห์ภารกิจ (Mission analysis)


จ-๗. ผลผลิตด้าน ปขส. สองอย่างในการวิเคราะห์ภารกิจ ของ สธ.๗ คือ รายกรรมวิธเี ป้าหมาย
ให้ค่าสูงด้าน ปขส. และข้อเสนอแนะต่อแนวทางกรรมวิธีเป้าหมายของ ผบ. สธ.๗ จะท�ำงาน
ร่วมกับ สธ.๒ ในระหว่างการเตรียมสนามรบด้านการข่าว (IPB) เพื่อพัฒนาเป้าหมายให้ค่าสูงด้าน
ปขส. นอกจากนี้ สธ.๗ จะต้องท�ำงานร่วมกับชุดกรรมวิธเี ป้าหมายเพือ่ พัฒนาข้อเสนอแนะแนวทาง
กรรมวิธีเป้าหมายด้าน ปขส.
การเตรียมสนามรบด้านการข่าว
จ-๘. ส่วนหนึ่งของการเตรียมสนามรบด้านการข่าว IPB เป็นการจัดท�ำแผ่นภาพหลักนิยมที่แสดง
ให้เห็นการวางก�ำลังข้าศึกโดยไม่ค�ำนึงถึงข้อจ�ำกัดเรื่องภูมิประเทศ จากนั้น สธ.๒ จะปรับการวาง
ก�ำลังให้สอดคล้องกับภูมิประเทศ และลมฟ้าอากาศเพื่อให้ได้แผ่นภาพสถานการณ์ที่พอจะท�ำให้
เห็นหนทางปฏิบตั ขิ องข้าศึกได้ แผ่นภาพสถานการณ์นจี้ ะช่วยให้ สธ.๒ ก�ำหนดเป้าหมายให้คา่ สูงได้
สธ.๗ จะร่วมกับ สธ.๒ ในการท�ำ IPB เพือ่ ค้นหาขีดความสามารถ และจุดอ่อนด้าน ปขส. ของข้าศึก
และฝ่ายอืน่ ๆ ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ขีดความสามารถ และจุดอ่อนเหล่านีจ้ ะกลายเป็นเป้าหมายให้คา่
สูงด้าน ปขส.
แนวทางกรรมวิธีเป้าหมาย (Targeting Guidance)
จ-๙. แนวทางในการวางแผนของ ผบ.ทีใ่ ห้ในตอนท้ายของการวิเคราะห์ภารกิจจะรวมแนวทาง
กรรมวิธีเป้าหมายอยู่ด้วย แนวทางกรรมวิธีเป้าหมายจะอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ต้องการจากการยิง
ทั้งที่ให้ผลในทางสังหาร และไม่สังหาร โดยจะก�ำหนดเป็นวัตถุประสงค์ของกรรมวิธีเป้าหมาย
(จ�ำกัด, ขัดขวาง, หน่วงเหนี่ยว, เปลี่ยนทิศทาง หรือท�ำลาย) หรือผลกระทบด้าน ปขส. (ท�ำลาย,
ลดขีดความสามารถ, ขัดขวาง, ลวง, ใช้ประโยชน์ หรือมีอิทธิพล) กรรมวิธีเป้าหมายจะมุ่งไปที่ขีด
ความสามารถที่ส�ำคัญ พันธกิจ เช่น ขีดความสามารถที่จะระดมฝูงชน ใช้การบังคับบัญชาและ
การควบคุม จากหน่วยข้างหน้า หรือรวมการยิงปืนใหญ่ กรรมวิธีเป้าหมาย ปขส. จะมุ่งไปที่
เป้าหมายให้ค่าสูงที่ข้าศึกต้องใช้เพื่อมิให้ฝ่ายเราบรรลุวัตถุประสงค์ด้าน ปขส. ได้
จ-๑๐. สธ.๗ จัดท�ำข้อมูล ปขส. ส�ำหรับใช้ในการให้แนวทางกรรมวิธีเป้าหมายโดยดูจาก
ภารกิจ ปขส. และกิจที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. ข้อมูลดังกล่าวได้แก่ พันธกิจ ขีดความสามารถ
หรือหน่วยทีจ่ ะถูกโจมตี ผลด้าน ปขส.ทีต่ อ้ งการ และวัตถุประสงค์ในการโจมตี สธ.๗ ใช้แนวทาง
กรรมวิธเี ป้าหมายเพือ่ เลือกเป้าหมายคุม้ ค่าด้าน ปขส.จากรายการเป้าหมายให้คา่ สูง เป้าหมายคุม้ ค่า
เหล่านี้จะได้รับการยืนยันในระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 331

จ-๑๑. แนวทางกรรมวิธีเป้าหมายจะถูกพัฒนาขึ้นแยกต่างหากจากวัตถุประสงค์ ปขส. ซึ่ง


ค่อนข้างจะกว้างและครอบคลุมถึงการ ปขส.ทั้งเชิงรุก และเชิงรับที่ต้องใช้การโจมตีที่มีผลสังหาร
และไม่สงั หาร สธ.๗ จะท�ำข้อเสนอแนะส�ำหรับแนวทางกรรมวิธเี ป้าหมายทีส่ นับสนุนต่อวัตถุประสงค์
ปขส.
จ-๑๒. ในการพัฒนาข้อมูลส�ำหรับแนวทางกรรมวิธีเป้าหมายนั้น สธ.๗ จะพิจารณาถึงเวลา
เผื่อไว้ส�ำหรับการ ปขส. เชิงรุกจนกว่าจะสามารถเห็นผลการปฏิบัติที่ชัดเจนได้ องค์ประกอบ
ของ ปขส. บางประการต้องการแนวทางกรรมวิธีเป้าหมายส�ำหรับใช้ในการค้นหาเป้าหมาย
ท�ำการปฏิบัติต่อเป้าหมาย และประเมินผลการท�ำลายต่อเป้าหมายนั้นในขณะที่หน่วยก�ำลังรบ
เตรียมการส�ำหรับการปฏิบัติการหลัก ตัวอย่างเช่น ผบ.อาจต้องการโดดเดี่ยวกองหนุนของข้าศึก
ทั้งในทางจิตวิทยา และทางอิเล็กทรอนิกส์ก่อนที่จะใช้การยิงที่มีอ�ำนาจสังหารต่อกองหนุนนั้น
ดังนั้นจึงต้องใช้การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic attack - EA) ต่อระบบบังคับบัญชาและ
ควบคุม และ การ ปจว. ของข้าศึกล่วงหน้า ๒๔ ถึง ๔๘ ชั่วโมง การจะบรรลุวัตถุประสงค์ ปขส.
ส�ำหรับในขัน้ นีจ้ ำ� เป็นต้องมีแนวทางกรรมวิธเี ป้าหมายทีก่ ำ� หนดความเร่งด่วนให้กบั เป้าหมาย ปขส.
อย่างเหมาะสม
การพัฒนาหนทางปฏิบัติ
จ-๑๓. ระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ ฝ่ายอ�ำนวยการของหน่วยจะก�ำหนดหนทางปฏิบัติที่
เป็นไปได้โดยการน�ำเอาองค์ประกอบต่าง ๆ ของอ�ำนาจก�ำลังรบมารวมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้บรรลุภารกิจได้ดีที่สุด สธ.๗ จะจัดท�ำแนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส. ซึ่งจะระบุ
ถึงวัตถุประสงค์การ ปขส., และกิจ ปขส. ส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ การพัฒนา และประสาน
เป้าหมาย ปขส.จะแสดงโดยกิจ ปขส.
(ดูรูป จ-๓)
332 ผนวก จ

จ-๑๔. หากจะบรรลุวัตถุประสงค์ ปขส. จ�ำเป็นต้องมีการปฏิบัติต่อเป้าหมายให้ค่าสูง โดย สธ.๗


จะก�ำหนดเป้าหมายนั้น ๆ ให้เป็นเป้าหมาย ปขส. และก�ำหนดเป็นกิจ ปขส.ในแผ่นงาน ปขส.
(IO input worksheet) เป้าหมาย ปขส.ที่ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติจะกลายเป็นเป้าหมายคุ้มค่า
การด�ำเนินการดังกล่าวเกิดขึ้นในระหว่างการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
จ-๑๕. ระหว่างการพัฒนาหนทางปฏิบัติ ชุดกรรมวิธีเป้าหมายจะท�ำการวิเคราะห์ค่าเป้าหมาย
ประสานและลดความทับซ้อนเป้าหมาย และก�ำหนดเกณฑ์ในการประเมินความเสียหายโดย สธ.๗
มีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
การวิเคราะห์คุณค่าของเป้าหมาย (Target value analysis)
จ-๑๖. ชุดกรรมวิธีเป้าหมายจะท�ำการวิเคราะห์คุณค่าของเป้าหมายส�ำหรับแต่ละหนทางปฏิบัติ
ที่ก�ำหนดขึ้น แหล่งข้อมูลขั้นต้นของการวิเคราะห์คุณค่าเป้าหมายคือตารางเป้าหมาย (Target
spreadsheet และแผ่นงานเป้าหมาย target sheet)
จ-๑๗. ตารางเป้าหมายจะระบุกลุม่ เป้าหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับพันธกิจของฝ่ายตรงข้ามทีส่ ามารถ
เป็นอุปสรรคต่อหนทางปฏิบัติของฝ่ายเรา หรือมีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จของข้าศึก ปกติ
ส่วนยิงสนับสนุนจะเป็นผู้จัดท�ำตารางเป้าหมาย การวิเคราะห์เป้าหมายที่เกี่ยวกับการ ปขส.
อาจท�ำแยกเป็นเป้าหมายเดี่ยว ๆ หรือท�ำเป็นกลุ่มเป้าหมายก็ได้ สธ.๗ จะร่วมกับผู้ประสานการยิง
สนับสนุนเพือ่ ก�ำหนดว่าวิธใี ดจะเหมาะสมทีส่ ดุ โดย สธ.๗ จะเป็นผูก้ ำ� หนดกลุม่ เป้าหมายด้าน ปขส.
โดยเฉพาะ ซึง่ แต่ละกลุม่ เป้าหมายจะได้รบั การจัดล�ำดับความเร่งด่วน (รวมถึงเป้าหมาย ปขส.ด้วย)
โดยพิจารณาจากความส�ำคัญของกลุ่มเป้าหมายนั้น ๆ ต่อหนทางปฏิบัติของข้าศึก ในการวาดภาพ
การรบชุดกรรมวิธีเป้าหมายจะใช้ตารางเป้าหมายเพื่อก�ำหนดว่าจะโจมตีเป้าหมายให้ค่าสูงอันใด
นอกจากนี้ สธ.จะต้อง
จ-๑๗.๑ มั่นใจว่าตารางเป้าหมายรวมเอาข่าวสารเกี่ยวกับหน่วย/เครื่องมือ ปขส.และ
เป้าหมายให้ค่าสูงที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส.ไว้แล้ว
จ-๑๗.๒ มัน่ ใจว่ากลุม่ เป้าหมาย ปขส. (ถ้าก�ำหนดไว้) ได้รบั การประเมินค่าว่ามีความส�ำคัญ
ในแง่ของการ ปขส. ต่อหนทางปฏิบตั ขิ องฝ่ายเราแต่ละหนทาง ถ้าไม่มกี ารก�ำหนด
กลุ่มเป้าหมาย ปขส. สธ.๗ ต้องมั่นใจว่าเป้าหมายที่เกี่ยวกับ ปขส.ได้รับการจัด
ล�ำดับความเร่งด่วนภายในกลุ่มเป้าหมายที่มันอยู่ด้วย
จ-๑๘. แผ่นงานเป้าหมายจะบรรจุข่าวสารที่จ�ำเป็นส�ำหรับการปฏิบัติการโจมตีต่อเป้าหมาย
แผ่นงานเป้าหมายเป็นผลผลิตที่จัดท�ำขึ้น ณ สถานที่นั้น ๆ รายละเอียดในแผ่นงานเป้าหมายจะ
บ่งบอกว่าการโจมตีตอ่ เป้าหมายนัน้ จะมีผลกระทบต่อข้าศึกอย่างไร สธ.๗ จัดท�ำแผ่นงานเป้าหมาย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 333

ส�ำหรับเป้าหมายให้ค่าสูงที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. เพื่อท�ำการวิเคราะห์ในแง่ของการ ปขส.


เป้าหมายให้คา่ สูงเหล่านีจ้ ะถูกแสดงออกมาในรูปของกลุม่ เป้าหมายย่อย (เช่นผูต้ ดั สินใจของข้าศึก)
ความต้องการข่าวสารจะรวมถึง
จ-๑๘.๑ อิทธิพลที่มีต่อผู้ตัดสินใจ
จ-๑๘.๒ ผู้ตัดสินใจใช้ท�ำการสื่อสารอย่างไร
จ-๑๘.๓ ผู้ตัดสินใจสื่อสารกับใคร
จ-๑๘.๔ จุดอ่อน, ความล่อแหลม, เข้าถึงยาก ง่ายหรือไม่, ความเป็นไปได้, และจุดกดดัน

การลดความทับซ้อนและการประสานเป้าหมาย (Deconflicting and Coordinating Target)


จ-๑๙. สมาชิกในส่วน ปขส. ก�ำหนดเป้าหมายที่เกี่ยวกับการ ปขส. และให้ค�ำแนะน�ำต่อ สธ.๗
เกี่ยวกับผลที่เป็นไปได้จากการโจมตีเป้าหมายเหล่านั้น การลดความทับซ้อนของผลกระทบ
ที่เกิดจากการโจมตีเป้าหมาย ปขส. จะมีความสลับซับซ้อนมากกว่าการลดการทับซ้อนผลกระทบ
จากการยิงที่มีผลสังหาร เนื่องจากการ ปขส. ต้องการให้เกิดอิทธิพลต่อพลเรือน บางครั้งการเข้า
ปฏิบัติต่อเป้าหมายอาจส่งผลกระทบได้พอ ๆ กับการท�ำลายเป้าหมายนั้น ก�ำลังพลในสายงาน
การปฏิบัติการกิจการพลเรือน การประชาสัมพันธ์ และการ ปจว. จะประเมินผลได้จากการปฏิบัติ
ต่อเป้าหมายในแง่นี้ การโจมตีเป้าหมายบางเป้าหมายอาจเกิดผลกระทบทางกฎหมายได้ ดังนั้น
ผู้แทนฝ่ายพระธรรมนูญจะประเมินเป้าหมายในแง่ดังกล่าวด้วย ถ้าการปฏิบัติต่อเป้าหมาย ปขส.
อาจส่งผลกระทบนอกพื้นที่ปฏิบัติการ สธ.๗ ต้องประสานกับหน่วยเหนือเพื่อขออนุมัติก่อน
จ-๒๐. สมาชิกในส่วน ปขส. จะพิจารณาเป้าหมายทุกเป้าหมายในแง่ขององค์ประกอบ ปขส.
ทุก ๆ องค์ประกอบ การลดความทับซ้อนต้องแน่ใจว่าการปฏิบัติต่อเป้าหมายจะไม่ก่อให้เกิด
ผลกระทบที่อาจส่งผลเสียต่อผลกระทบของกิจ ปขส.อื่น หรือเป้าหมายที่เกี่ยวกับ ปขส.อื่น ๆ
มิฉะนั้นอาจส่งผลเสียต่อการบรรลุภารกิจได้ การประสานงานจะเป็นการท�ำให้การปฏิบัติต่อ
เป้าหมายต่าง ๆ ส่งเสริมซึ่งกันและกัน และช่วยให้บรรลุเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา สธ.๗ ของ
แต่ละระดับหน่วยอาจปฏิบัติต่อเป้าหมายเดียวกัน หรืออาจต้องการผลกระทบต่างกัน ดังนั้น
กรรมวิธีเป้าหมาย ปขส.จะรวมถึงการประสาน และลดความทับซ้อนกับ สธ.๗ ของหน่วยเหนือ
และหน่วยรองก่อนที่ชุดกรรมวิธีเป้าหมายจะประชุมกัน เป้าหมาย ปขส. บางเป้าหมายอาจ
ถูกก�ำหนดโดยฝ่ายอ�ำนวยการคนอื่น ๆ ได้ สธ.๗ จะน�ำเสนอผลกระทบที่ต้องการเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์การ ปขส.ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายเหล่านั้นเมื่อชุดกรรมวิธีเป้าหมายก�ำหนดว่า
จะปฏิบัติต่อเป้าหมายเหล่านั้นอย่างไร
334 ผนวก จ

เกณฑ์ก�ำหนดการประเมินค่า (Assessment Criteria)


จ-๒๒. โดยทั่วไป ผลของการโจมตีแบบให้ผลในทางสังหารสามารถจะประเมินได้โดยอาศัย
เกณฑ์ภาวะวิสัย (เชิงปริมาณ) เช่นอัตราส่วนเป็นเปอร์เซ็นต์ของเป้าหมายที่ถูกท�ำลาย สธ.๗
ร้องขอการประเมินความเสียหายต่อเป้าหมายเหล่านัน้ อย่างไรก็ตามการประเมินความเสียหายจาก
การโจมตีแบบไม่ให้ผลในทางสังหารอาจต้องใช้เกณฑ์แบบ อัตตวิสยั และเฝ้าติดตามเป้าหมายนัน้
สักระยะหนึง่ การจัดท�ำเกณฑ์วดั ความส�ำเร็จจะต้องมีความเข้าใจต่อผลลัพธ์ทตี่ อ้ งการ การประเมิน
ผลการโจมตีโดยใช้เกณฑ์อัตตวิสัยอาจจะต้องแปลความหมายของข่าวสารในแง่ของผลกระทบ
เชิงปริมาณก็ได้ รวมถึงก�ำหนดได้ว่าผลกระทบนี้จะเปลี่ยนไปหรือไม่เมื่อเวลาผ่านไป
จ-๒๓. เป้าหมายที่เกี่ยวกับการ ปขส.ที่โจมตีแบบไม่สังหารเช่น การก่อกวน หรือการแพร่ข่าวสาร
เพื่อการ ปจว. อาจต้องใช้การประเมินด้วยวิธีการอื่นนอกเหนือจากที่ใช้ในการประเมินความ
เสียหาย สธ.๗ จะก�ำหนดเกณฑ์วัดความส�ำเร็จส�ำหรับเป้าหมายเหล่านี้รวมถึงก�ำหนดข่าวสารที่
ต้องการส�ำหรับบ่งบอกว่าสอดรับกับเกณฑ์วัดหรือไม่ สธ.๗ จัดท�ำค�ำขอข่าวสารด้าน ปขส. หรือ
ค�ำขอข่าวสาร (Request for information - RFI) ส�ำหรับข่าวสารดังกล่าว ถ้าเป้าหมายเหล่านี้
ได้รับการอนุมัติ ค�ำขอข่าวสารด้าน ปขส.หรือค�ำขอข่าวสารที่ต้องการส�ำหรับประเมินผลการโจมตี
ต่อเป้าหมายดังกล่าวจะกลายเป็นความต้องการข่าวกรองเร่งด่วน (PIRs) ที่ สธ.๒ จะต้องเพิม่ เข้าไป
ไว้ในแผนการรวบรวมข่าวสาร ถ้าหน่วยไม่มีเครื่องมือที่จะตอบสนองต่อค�ำขอข่าวสารด้าน ปขส.
เป้าหมายจะไม่ถูกปฏิบัติเว้นแต่ว่าแนวทางการโจมตีจะก�ำหนดเป็นอย่างอื่น หรือผู้บังคับบัญชา
สั่งการ การประเมินความเสียหายสามารถท�ำได้จากหลายทางเช่น
จ-๒๓.๑ สธ.๒ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลของสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (สอ.)
จ-๒๓.๒ สธ.๓ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลการขัดขวางระบบการบังคับบัญชาและการควบคุม
ของหน่วยลาดตระเวน
จ-๒๓.๓ สธ.๕ ให้ข้อมูลประสิทธิภาพของการปฏิบัติการกิจการพลเรือน
จ-๒๓.๔ นายทหารประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรายงานการปฏิบัติการของสื่อ
ต่างประเทศ
วิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
จ-๒๔. การวิเคราะห์หนทางปฏิบตั ิ (วาดภาพการรบ) เป็นกระบวนการทีฝ่ า่ ยอ�ำนวยการน�ำมา
ใช้ในการก�ำหนดมโนภาพ และความลื่นไหลของการรบ ในระหว่างการวาดภาพการรบนี้ ฝ่าย
อ�ำนวยการจะต้องก�ำหนดหรือตกลงใจในเรื่องต่อไปนี้
จ-๒๔.๑ เป้าหมายให้ค่าสูงอันใดที่จะเลือกเป็นเป้าหมายคุ้มค่า
จ-๒๔.๒ เมื่อใดจึงจะปฏิบัติการโจมตีต่อเป้าหมายคุ้มค่าแต่ละเป้าหมาย
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 335

จ-๒๔.๓ จะใช้ระบบอาวุธใดต่อเป้าหมายคุ้มค่าแต่ละเป้าหมาย
จ-๒๔.๔ ผลที่ต้องการจากการโจมตี แสดงออกในรูปของวัตถุประสงค์กรรมวิธีเป้าหมาย
หรือผลด้าน ปขส.
จ-๒๔.๕ เป้าหมายคุม้ ค่าใดทีต่ อ้ งมีการประเมินความเสียหาย สธ.๗ ส่งค�ำขอการประเมิน
ความเสียหายส�ำหรับเป้าหมายคุ้มค่าด้าน ปขส. ให้กับ สธ.๒ เพื่อให้ สธ.๒ น�ำไป
รวมไว้ในแผนการรวบรวมข่าวสาร
จ-๒๔.๖ เป้าหมายคุ้มค่าใดที่ต้องมีค�ำแนะน�ำพิเศษ หรือต้องการการประสานเป็นพิเศษ
จ-๒๕. จากการวาดภาพการรบ ชุดกรรมวิธเี ป้าหมายจะจัดท�ำรายการต่อไปนีส้ ำ� หรับแต่ละหนทาง
ปฏิบัติ
จ-๒๕.๑ รายการเป้าหมายให้ค่าสูง
จ-๒๕.๒ มาตรฐานการคัดเลือกเป้าหมาย
จ-๒๕.๓ ตารางแนวทางการโจมตี
จ-๒๕.๔ ตารางประสานเป้าหมาย
รายการเป้าหมายคุ้มค่า
จ-๒๖. ในระหว่างวาดภาพการรบ ฝ่ายอ�ำนวยการจะก�ำหนดว่าเป้าหมายให้ค่าสูงอันใดที่ควร
จะเลือกเป็นเป้าหมายคุ้มค่าส�ำหรับหนทางปฏิบัติแต่ละหนทาง เป้าหมายคุ้มค่าเป็นเป้าหมาย
ที่ข้าศึกมีความจ�ำเป็นต้องใช้ และมีความส�ำคัญต่อหนทางปฏิบัติของฝ่ายเราในแง่ของการท�ำให้
เจตนารมณ์ของ ผบ. บรรลุการเลือกเป้าหมายขึ้นอยู่กับแนวทางกรรมวิธีเป้าหมายของผู้บังคับ
บัญชา (Commander’s targeting guidance) เมื่อน�ำเป้าหมายคุ้มค่ามาเรียงตามล�ำดับความ
เร่งด่วนก็จะได้รายการเป้าหมายให้ค่าสูง (high payoff target list)
จ-๒๗. หนทางหนึ่งที่จะจัดท�ำรายกรรมวิธีเป้าหมายคุ้มค่าก็คือ รวมเป้าหมายคุ้มค่าไว้เป็นชุด
เป้าหมาย (target sets) ตามขีดความสามารถและพันธกิจทีร่ ะบุไว้ในวัตถุประสงค์กรรมวิธเี ป้าหมาย
(targeting objectives) เช่น ถ้า ผบ.ต้องการให้ “ถ่วงเวลาการเคลื่อนที่ข้ามล�ำน�้ำ Y ของหน่วย
ยานเกราะข้าศึกเพื่อเปิดโอกาสให้ฝ่ายเราท�ำลายด้วย บ.และ ป.” ฝ่ายเราจะต้องก�ำหนดชุด
เป้าหมาย ๒ ชุด ชุดแรกคือ “ขีดความสามารถในการข้ามล�ำน�้ำ” และ “ระบบการบังคับบัญชา
และการควบคุมของหน่วยยานเกราะข้าศึก” ชุดเป้าหมายจะถูกก�ำหนดและจัดล�ำดับความเร่งด่วน
ตามขั้นการปฏิบัติการ เป้าหมายภายในชุดเป้าหมายก็จะถูกจัดล�ำดับตามความส�ำคัญในเรื่อง
คุณค่า ล�ำดับการปรากฏ ความส�ำคัญ หรือเกณฑ์พจิ ารณาทีส่ อดคล้องกับวัตถุประสงค์กรรมวิธี
เป้าหมาย ชุดกรรมวิธีเป้าหมายต้องน�ำข้อมูลเหล่านี้มาใช้ในการปรับปรุงเป้าหมายคุ้มค่า เพื่อให้
เป้าหมายคุ้มค่านั้นสนับสนุนต่อแนวความคิดในการปฏิบัติ
336 ผนวก จ

มาตรฐานการเลือกเป้าหมาย
จ-๒๘. มาตรฐานการเลือกเป้าหมาย (มลป.) เป็นเกณฑ์ส�ำหรับใช้กับกิจกรรมของข้าศึกว่า
กิจกรรมใดสมควรปฏิบัติในฐานะที่เป็นเป้าหมาย ปกติจะเผยแพร่ออกมาในรูปของตาราง
มาตรฐาน เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ข่าวกรองทางทหารใช้ มลป. เพื่อเลือกเป้าหมายจากข่าวสารที่
เกี่ยวข้องกับการรบแล้วส่งต่อให้กับส่วนยิงสนับสนุนเพื่อท�ำการโจมตี ผู้ดูแลระบบการโจมตีเช่น
ส่วนควบคุมการยิง และศูนย์อ�ำนวยการยิงใช้ มลป. เพื่อก�ำหนดว่าจะท�ำการโจมตีเป้าหมายอันใด
อันหนึ่งเมื่อใด สธ.๒ และผู้ประสานการยิงสนับสนุนคือผู้ก�ำหนด มลป. ส่วน สธ.๗ จะเป็นผู้
ช่วยเหลือและดูแลให้มนั่ ใจว่าในการก�ำหนด มลป.นัน้ ได้มกี ารพิจารณาเรือ่ งเป้าหมายของการปฏิบตั ิ
การข้อมูลข่าวสารด้วยทั้งนี้รวมถึงการก�ำหนดมาตรฐานที่เหมาะสมส�ำหรับการปฏิบัติต่อเป้าหมาย
ดังกล่าว
จ-๒๙. ส�ำหรับการโจมตีแบบไม่สังหาร สธ.๗ อาจพัฒนารายละเอียดของเกณฑ์ชี้วัดเพื่อเสริม
หรือทดแทนเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดโดยส่วนยิงสนับสนุน ตัวอย่างเช่น มลป. ทีไ่ ม่สงั หารระหว่างการปฏิบตั ิ
การเพื่อสันติภาพอาจระบุว่าสิ่งใดเป็นสิ่งบ่งบอกถึงฝูงชนที่ไม่เป็นมิตร (เช่นกลุ่มคนที่มีจ�ำนวน
เกินกว่า ๒๕ คน มีไม้หรืออาวุธแบบอื่น มีผู้น�ำที่มีวิทยุสื่อสารหรือโทรศัพท์มือถือเพื่อควบคุมฝูงชน
เหล่านัน้ ) ดังนัน้ สธ.๗ จะก�ำหนดจุดกดดันเป็นกรณีเฉพาะ เช่นความน่าเชือ่ ถือของคนผูน้ นั้ จากนัน้
สธ.๗ ก็จะใช้เครื่องมือ/ผลผลิตพิเศษเพื่อโจมตีต่อจุดกดดันนั้นโดยการเผยแพร่ผ่านระบบ หรือ
ช่องทางการติดต่อสื่อสารพิเศษเพื่อให้เกิดผลลัพธ์อย่างที่ฝ่ายเราต้องการ
ตารางแนวทางการโจมตี (Attack guidance matrix)
จ-๓๐. ชุดกรรมวิธีเป้าหมายเสนอแนะแนวทางในการโจมตีโดยอาศัยผลจากการวาดภาพ
การรบ แนวทางการโจมตีปกติจะส่งมอบไปตามหน่วยต่าง ๆ ในรูปของตาราง ตารางแนวทางการ
โจมตีจะรวมเอาข่าวสารทีจ่ ะกล่าวถึงต่อไปนีไ้ ว้ดว้ ยกัน โดยเรียงตามชุดเป้าหมายหรือเป้าหมายคุม้ ค่า
จ-๓๐.๑ เวลาในการโจมตี (ระบุในรูปของ เร่งด่วน (immediate) ตามแผน (planned)
หรือเมื่อได้รับ (acquired))
จ-๓๐.๒ ระบบการโจมตี (attack system) ที่ได้รับมอบ
จ-๓๐.๓ เกณฑ์การโจมตี (ท�ำให้หมดสภาพ (neutralize) ข่ม (suppress) รบกวน
(harass) หรือท�ำลาย (destroy))
จ-๓๐.๔ ข้อจ�ำกัดหรือค�ำแนะน�ำพิเศษ
จ-๓๑. ในการปฏิบตั ใิ นห้วงเวลาใดเวลาหนึง่ ควรจะมีตารางแนวทางโจมตีเพียงชุดเดียว อย่างไร
ก็ตาม หากมีการแบ่งการปฏิบัติการเป็นขั้น ๆ ในแต่ละขั้นอาจมีตารางแนวทางโจมตีเฉพาะใน
ขั้นนั้น ๆ ได้ ระบบการโจมตีทั้งหมดทั้งที่มีผลสังหารและไม่สังหาร (การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์,
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 337

ปจว.) จะต้องบรรจุไว้ในตารางแนวทางโจมตีเพื่อให้การใช้งานเกิดความประสานสอดคล้องกัน
ปกติตารางแนวทางโจมตีจะเป็นส่วนหนึง่ ของผนวกการยิงสนับสนุน อย่างไรก็ตามไม่ถอื ว่าตาราง
แนวทางโจมตีเป็นเอกสารเพือ่ มอบภารกิจ ทัง้ นีก้ จิ ในการโจมตีสำ� หรับหน่วย/เครือ่ งมือซึง่ รวมถึง
องค์ประกอบ ปขส. นัน้ จะถูกระบุไว้แล้วในข้อกิจทีม่ อบให้หน่วยรองในผนวกหรือผนวกทีเ่ กีย่ วข้อง
ตารางประสานเป้าหมาย (ตปม.) (Target synchronization matrix)
จ-๓๒. ตารางประสานเป้าหมายจะบรรจุเป้าหมายคุม้ ค่าแยกตามประเภทและหน่วยรับผิดชอบ
ในการตรวจจับ โจมตี และประเมินความเสียหายจากการโจมตีนั้น ๆ ตปม.จะรวมเอาข้อมูล
จากรายการเป้าหมายคุ้มค่า แผนรวบรวมข่าวกรอง และตารางแนวทางโจมตีไว้ด้วยกัน ตปม.
ทีจ่ ดั ท�ำสมบูรณ์แล้วจะช่วยให้ชดุ กรรมวิธเี ป้าหมายตรวจสอบได้วา่ หน่วย/เครือ่ งมือทีม่ อี ยูไ่ ด้รบั มอบ
พันธกิจในกรรมวิธีเป้าหมายส�ำหรับเป้าหมายแต่ละตัวแล้ว ชุดกรรมวิธีเป้าหมายอาจจัดท�ำ ตปม.
ส�ำหรับหนทางปฏิบัติแต่ละหนทางหรืออาจใช้รายการเป้าหมายคุ้มค่า, มลป. และตารางแนวทาง
โจมตีส�ำหรับการวาดภาพการรบแล้วจัดเตรียม ตปม. เฉพาะหนทางปฏิบัติที่ได้รับอนุมัติแล้วก็ได้
การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ เลือกหนทางปฏิบัติ และจัดท�ำค�ำสั่ง
จ-๓๓. ภายหลังการวาดภาพการรบส�ำหรับหนทางปฏิบัติที่ก�ำหนดไว้ทั้งหมดแล้ว ฝอ.จะท�ำการ
เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติเหล่านั้น และเสนอแนะให้ ผู้บังคับบัญชาตกลงใจ เมื่อผู้บังคับบัญชา
ตกลงใจผลผลิตกรรมวิธเี ป้าหมายส�ำหรับหนทางปฏิบตั นิ นั้ จะเป็นมูลฐานส�ำหรับกรรมวิธเี ป้าหมาย
ของการปฏิบัติการครั้งนั้น ชุดกรรมวิธีเป้าหมายจะประชุมกันเพื่อปรับปรุงรายการเป้าหมาย
คุ้มค่า, มลป., และ ตปม. แล้วบรรจุไว้ในแผนรวบรวม จากนั้นสมาชิกในชุดกรรมวิธีเป้าหมาย
ต้องตรวจดูให้แน่ใจว่าปัจจัยต่าง ๆ ในเรื่องกรรมวิธีเป้าหมายที่อยู่ในส่วนที่ตนรับผิดชอบได้ถูกระบุ
ไว้ในแผน และค�ำสั่งอย่างถูกต้อง
ตรวจจับ (Detect)
จ-๓๔. พันธกิจในการตรวจจับคือ การค้นหาที่ตั้งเป้าหมายที่มีความแม่นย�ำเพียงพอที่จะ
ปฏิบัติต่อเป้าหมายนั้นได้ ซึ่งปกติจะขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตามแผนรวบรวมข่าวกรองอย่างมี
ประสิทธิภาพ แม้ว่า สธ.๒ จะดูแลการปฏิบัติตามแผนรวบรวมข่าวกรองในส่วนรวม แต่หน่วย/
เครื่องมือในการรวบรวมก็ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ สธ.๒ ทั้งหมด ดังนั้นส่วนหรือแผนกในฝ่ายอ�ำนวยการ
อื่น ๆ รวบถึง สธ.๗ จะต้องให้ข่าวสารที่ตรงกับค�ำขอที่ได้จากการรวบรวมโดยเครื่องมือในความ
รับผิดชอบของตนให้กับ สธ.๒ ในท�ำนองเดียวกัน สธ.๒ ก็จะต้องให้ข่าวสารการรบ และข่าวกรอง
ต่อแผนกที่พิสูจน์ทราบข่าวตามค�ำขอนั้นด้วย การแลกเปลี่ยนข่าวสารซึ่งกันและกันจะช่วยให้ฝ่าย
เราสามารถประเมินค่าการโจมตีได้ทันเวลา ประเมินค่าการ ปขส. และพัฒนาเป้าหมายใหม่ได้
ดังนั้นการจัดการข่าวสารที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น
338 ผนวก จ

จ-๓๕. แผนรวบรวมข่าวกรองจะให้ความส�ำคัญกับการพิสูจน์ทราบเป้าหมายคุ้มค่า และการ


ตอบค�ำถาม หขส. ซึ่งการจัดล�ำดับความเร่งด่วนจะดูว่าเป้าหมายนั้น หรือข่าวสารนั้นจะสนับสนุน
แนวความคิดในการปฏิบัติ และช่วยในการบรรลุเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาหรือไม่ หขส.
สามารถจะบรรจุความต้องการข่าวสารในการ ปขส.ไว้ด้วยก็ได้ นอกจากนี้ หขส.สามารถช่วยเหลือ
สธ.๗ ในการประเมินค่าการ ปขส.ของตนได้ด้วย ดังนั้นพันธกิจในการตัดสินใจ (Decide) และ
ตรวจจับ (Detect) อาจมีการทาบทับกันได้ การตรวจจับเป้าหมายที่ใช้การโจมตีแบบไม่สังหาร
อาจต้องขอรับการสนับสนุนการด�ำเนินการด้าน ขฝล. จากหน่วยเหนือ ชุดกรรมวิธีเป้าหมายอาจ
ต้องปรับรายการเป้าหมายคุ้มค่า และตารางแนวทางโจมตีให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และความ
เปลีย่ นแปลง สธ.๗ สามารถจะส่งความต้องการข่าวสาร ปขส. และค�ำขอข่าวสารใหม่ได้หากจ�ำเป็น
การปฏิบัติ (Deliver)
จ-๓๖. พันธกิจการปฏิบัติเป็นการกระท�ำต่อเป้าหมายที่อยู่ในมาตรฐานการเลือกเป้าหมาย
ที่ตรวจจับได้แล้ว ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในตารางแนวทางโจมตี เป้าหมายคุ้มค่าที่ถูก
ค้นพบ และเข้าเกณฑ์ มลป. จะถูกติดตาม และปฏิบัติ ณ เวลาที่ระบุไว้ในค�ำสั่งยุทธการ/ตาราง
แนวทางโจมตี เครื่องมือรวบรวมอื่น ๆ จะคอยติดตามเป้าหมายคุ้มค่าที่ทราบที่ตั้งแต่เพียง
คร่าว ๆ เมื่อเป้าหมายเหล่านีเ้ ข้าเกณฑ์ มลป. ต�ำแหน่งของเป้าหมายดังกล่าวจะถูกส่งไปยังระบบที่
ได้รบั มอบหมายให้ปฏิบตั ติ ามทีร่ ะบุไว้ในตารางแนวทางโจมตี ไม่ใช่วา่ เป้าหมายคุม้ ค่าทัง้ หมดจะได้
รับการพิสจู น์ทราบอย่างแม่นย�ำเพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั ไิ ด้กอ่ นถึงขัน้ การปฏิบตั ิ ชุดเป้าหมายบางชุดอาจ
มีเป้าหมายทีไ่ ด้รบั การพิสจู น์ทราบอย่างแม่นย�ำเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ เครือ่ งมือรวบรวม และระบบ
ข่าวกรองจะพัฒนาข่าวสารทีส่ ามารถก�ำหนดทีต่ งั้ หรือคุณสมบัตเิ ป้าหมายทีแ่ ม่นย�ำเพียงพอต่อการ
ตัดสินใจปฏิบัติ รายการเป้าหมายคุ้มค่าจะระบุความเร่งด่วนส�ำหรับการปฏิบัติในขั้นนี้ให้ส�ำเร็จ
การประเมิน (Assess)
จ-๓๗. การประเมินจะด�ำเนินการตลอดห้วงเวลาของการปฏิบัติการ การประเมินผลการโจมตี
แบบสังหารต่อเป้าหมาย ปขส. จะกระท�ำในท�ำนองเดียวกันการประเมินผลการยิงสนับสนุน และ
การโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ การโจมตีอาจกระท�ำซ�้ำได้จนกว่าจะบังเกิดผลตามที่ระบุไว้ในตาราง
แนวทางการโจมตีเป้าหมายนั้นไม่สอดคล้องกับ มลป.อีกต่อไป
จ-๓๘. ผลการโจมตีแบบไม่สังหารต่อเป้าหมาย ปขส. จะต้องมีการประเมินอย่างต่อเนื่อง สธ.๗
เป็นผูร้ บั ผิดชอบในการประเมินดังกล่าวรวมถึงติดตามการรายงาน ตามความต้องการข่าวสาร ปขส./
ค�ำขอข่าวสารที่ถูกส่งเข้ามาระหว่างการวางแผน (พันธกิจตัดสินใจ) องค์ประกอบ/กิจกรรม ปขส.
ที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่ (เช่น การต่อต้านข่าวกรอง การ ปชส. และการ ปกร.) สามารถ
จะท�ำการรวบรวมผลการปฏิบัติการ ปขส. แบบไม่สังหาร เช่น การ ปจว. และการต่อต้านการ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 339

โฆษณาชวนเชื่อได้ สธ.๗ จะใช้เกณฑ์พิจารณาความส�ำเร็จที่ได้พัฒนาขึ้นในระหว่างการวิเคราะห์


หนทางปฏิบัติเพื่อประเมินประสิทธิภาพการ ปขส. และติดตามเป้าหมายเพื่อการประเมินผลอย่าง
ต่อเนื่อง สธ.๗ จะใช้ข้อมูลเหล่านี้เป็นพื้นฐานในการปฏิบัติต่อเป้าหมายต่อไป หรือเลิกปฏิบัติ หรือ
ใช้หน่วย ปขส. อื่นเข้าปฏิบัติการแทน การตัดสินใจที่จะปฏิบัติ หรือเลิกปฏิบัติต่อเป้าหมายขึ้นอยู่
กับว่าจะสนับสนุนต่อวัตถุประสงค์การ ปขส. หรือไม่
จ-๓๙. ปริมาณข่าวสารจ�ำนวนมากทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการปฏิบตั กิ ารอาจท�ำให้ฝา่ ยเราติดตามข่าวสาร
ผลการโจมตีเป้าหมายได้ยาก สธ.๒, สธ.๓ และ สธ.๗ จะต้องท�ำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดเพื่อให้
ได้รับข่าวสารการประเมินความเสียหายของเป้าหมาย ปขส.ทันเวลา สธ.๗ จะต้องจัดตั้งกลไก
และกรรมวิธีร่วมกันกับเจ้าหน้าที่ในแผนกฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ โดยเฉพาะแผนก สธ.๒ เพื่อท�ำให้
การใช้ข้อมูลสนับสนุนการประเมินผลบังเกิดประโยชน์สูงสุด

สรุป
จ-๔๐. สธ.๗ พัฒนาเป้าหมาย ปขส. เพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์การ ปขส. ตลอดห้วงการปฏิบัติ
เพื่อแสวงข้อตกลงใจ สธ.๗ จะสนธิการวางแผนการ ปขส. เข้ากับกรรมวิธีเป้าหมาย ในระหว่าง
การเตรียมการ และการปฏิบัติ สธ.๗ จะติดตามการประเมินความเสียหาย และรายงานอื่น ๆ เพื่อ
ประเมินประสิทธิภาพการ ปขส. ต่อเป้าหมาย ปขส. และเพื่อประเมินผลของการ ปขส. ทั้งหมด
ผนวก ฉ
ความรับผิดชอบของฝ่ายอ�ำนวยการและความสามารถในการสนับสนุน
(Staff Responsibilities and Supporting Capabilities)
ผนวก ฉ ระบุความรับผิดชอบในการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. ของฝ่ายอ�ำนวย
การสายงานต่าง ๆ ของหน่วยในกองทัพบกตัง้ แต่ระดับกองทัพน้อย กองพล และกรม อีกทัง้ ยังระบุ
ขีดความสามารถและการสนับสนุนของหน่วยเหล่านี้ รูป ๑-๒ บทที่ ๑ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์
ระหว่างองค์ประกอบ ปขส./กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง แบบของการปฏิบัติการและความรับผิดชอบ
ของหน่วย
ความรับผิดชอบของกองทัพน้อยและกองพลในการปฏิบัติการข่าวสาร
ฉ-๑. ทน. และ พล. จะมีแผนก สธ.๗ ในอัตรา โดยมี สธ.๗ เป็นผู้ก�ำกับดูแล แผนก สธ.๗ ท�ำ
หน้าที่ในการวางแผน ประเมินค่าและดูแลการเตรียมการและการปฏิบัติการข่าวสาร สธ.๗
มีความรับผิดชอบในฐานะฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานท�ำหน้าที่ประสานฝ่ายกิจการพิเศษต่าง ๆ
ได้แก่ นายทหารสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic warfare officer), นายทหารการลวง
(Military deception officer), นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบตั กิ าร (รปภ.ปบ. (OPSEC)
officer) และนายทหาร ปจว. ซึ่งแต่ละคนจะมีหน้าที่ดังต่อไปนี้
สธ.๗ การ ปขส.
ฉ-๒. สธ.๗ เป็นฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานส�ำหรับกิจกรรมทั้งปวงด้านการ ปขส. และกรรมวิธี
เกี่ยวกับเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. การปฏิบัติการปัจจุบัน (Current operation)
ฉ-๓. รส.๖-๐ ระบุความรับผิดชอบโดยทั่วไปของ สธ.๗ และ ฝอ.๗ ส�ำหรับการปฏิบัติการปัจจุบัน
ดังนี้
ฉ-๓.๑ ประกันว่าการสนับสนุนด้าน ปขส.ท�ำให้ฝา่ ยเรามีความเหนือกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร
ฉ-๓.๒ ประสานสอดคล้องการ ปขส.ทั้งเชิงรุกเชิงรับกับการปฏิบัติการทั้งปวง
ฉ-๓.๓ ประเมินผลการ ปขส.เชิงรุก และเชิงรับในทุกกระบวนการของการปฏิบตั กิ าร เสนอ
แนะการปรับเปลี่ยนเมื่อจ�ำเป็น
ฉ-๓.๔ ประสานและประสานสอดคล้ อ งการ ปขส.ระดั บ ยุ ท ธวิ ธี กั บ การ ปขส.ระดั บ
ยุทธบริเวณ-ยุทธศาสตร์ และระดับยุทธการ
ฉ-๓.๕ ประสานงานองค์ประกอบ และกิจกรรม ปขส.แทนเสธ.หรือรอง ผบ.
ฉ-๓.๖ สนธิการข่าวกรองจาก สธ.๒ เข้ากับการ ปขส.
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 341

ฉ-๓.๗ ติดตามการปฏิบัติขององค์ประกอบ ปขส.เพื่อประกันว่าสามารถส่งข่าวในปริมาณ


มากบังเกิดขึ้นได้เมื่อต้องการ
ฉ-๔. นอกจากนี้ สธ.๗ ยังมีความรับผิดชอบต่อไปนี้
ฉ-๔.๑ ขอการสนับสนุนทรัพยากร ปขส.จากหน่วยเหนือผ่านทาง สธ.๓
ฉ-๔.๒ สนธิการ ปขส.เข้ากับการปฏิบัติการปัจจุบันทั้งปวง
ฉ-๔.๓ ประสานสอดคล้องมาตรการต่าง ๆ เพื่อป้องกันข่าวสารของฝ่ายเราและขีดความ
สามารถ ปขส.อืน่ ๆ จากการโจมตี สธ.๖ ร่วมกับ สธ.๗ รับผิดชอบการจัดการประกัน
ข่าวสาร, การป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดูแลประกันว่ากิจกรรมในการประกัน
ข่าวสารสนับสนุนวัตถุประสงค์การ ปขส.ตามทีร่ ะบุไว้ในผนวก ปขส. สธ.๗ สนับสนุน
การประกันข่าวสารด้วยการวิเคราะห์จุดอ่อนภายนอก
ฉ-๔.๔ ประสานสอดคล้องขีดความสามารถขององค์ประกอบ ปขส.ทั้งปวง
ฉ-๔.๕ ประสานกับ ฝอ.ของหน่วยเหนือในเรื่องที่เกี่ยวกับการ ปขส.
ฉ-๔.๖ ประสานกับ สธ.๗ ของทน.และพล.น้อยในเรื่องที่เกี่ยวกับการ ปขส.
ฉ-๔.๗ ประสานให้มีการเชื่อมต่อ/เข้าถึงข่าวสารระหว่างทหารกับพลเรือน
ฉ-๔.๘ ติดตามสภาพแวดล้อมด้านข่าวสารนอกพื้นที่ยุทธบริเวณ
ฉ-๔.๙ ติดตาม และเสนอแนะการปรับปรุงความต้องการข่าวสารการ ปขส.
ฉ-๔.๑๐ ประสานกับ สธ.๒ เพื่อตอบสนองความต้องการข่าวสารการ ปขส.
ฉ-๔.๑๑ ด�ำรงการติดต่อกับผูส้ นับสนุนทัง้ ทีเ่ ป็นทหาร รัฐบาล องค์กรเอกชน เพือ่ ให้ได้ขา่ วสาร
ตาม ความต้องการข่าวสารการ ปขส.ที่ปกติไม่อาจหาได้ในระดับยุทธวิธี
ฉ-๔.๑๒ เป็นผู้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
ฉ-๔.๑๓ ระบุหน่วย/เครื่องมือ ปขส.ที่ได้รับจากหน่วยเหนือ
แผน
ฉ-๕. รส. ๖-๐ ก�ำหนดความรับผิดชอบของ สธ.๗ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับแผน ดังนี้
ฉ-๕.๑ ประสานงานทางฝ่ายอ�ำนวยการในเรื่องการปฏิบัติการ ปขส. ทั้งปวง
ฉ-๕.๒ ประสานการจัดท�ำแผนและค�ำสั่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส.
ฉ-๕.๓ จัดท�ำผลผลิตงาน ปขส. อื่น ๆ
ฉ-๕.๔ เสนอแนะการก�ำหนดความเร่งด่วนให้กับพันธกิจ ปขส. ที่ก�ำหนดขึ้นระหว่างการ
วางแผน
ฉ-๕.๕ จัดการให้ขดี ความสามารถของหน่วยงาน ปขส. ของหน่วยเหนือสนับสนุนต่อหน่วยงาน
ปขส.ระดับชาติและระดับยุทธบริเวณ
342 ผนวก ฉ

ฉ-๖. ยังมีความรับผิดชอบในการวางแผนของ สธ.๗ ที่ รส. ๖-๐ ระบุไว้ ดังนี้


ฉ-๖.๑ ประสานแผนการ ปขส.กับหน่วยเหนือและหน่วยรอง
ฉ-๖.๒ ประเมินผลการ ปขส.ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ ตลอดห้วงการปฏิบัติการ ปรับปรุงแผน
ดังกล่าวหากจ�ำเป็น
ฉ-๖.๓ เสนอแนะค�ำขอข่าวสาร ปขส. ให้เป็นส่วนหนึง่ ของค�ำขอข่าวสารส�ำคัญของ ผบ. (CCIR)
ฉ-๖.๔ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
ฉ-๖.๕ ก�ำหนดวัตถุประสงค์และพันธกิจการ ปขส.
ฉ-๖.๖ ก�ำหนดความเร่งด่วนส�ำหรับวัตถุประสงค์และพันธกิจ ปขส.
ฉ-๖.๗ ประสานสอดคล้องและลดการทับซ้อนในการวางแผนส�ำหรับการปฏิบตั ติ ามพันธกิจ
ปขส.
ฉ-๖.๘ จัดท�ำผลผลิต ปขส. ส�ำหรับ ผบ. และ ฝอ.
ฉ-๖.๙ จัดท�ำข้อมูล ปขส. ส�ำหรับใช้ในการเตรียมสนามรบด้านการข่าว
ฉ-๖.๑๐ สนธิขีดความสามารถของการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน (ISR)
ที่ได้จาก สธ.๓ และ สธ.๒ เข้ากับการวางแผนการ ปขส.
ฉ-๖.๑๑ ให้ข้อมูล ปขส. ต่อส่วนวางแผนของแผนก สธ.๓
ฉ-๖.๑๒ จัดท�ำแผน ปขส. ให้สอดคล้องกับแนวความคิดในการปฏิบตั แิ ละเจตนารมณ์ของ ผบ.
ฉ-๖.๑๓ ส่งค�ำขอข่าวสาร ปขส. ที่ต้องใช้การสนับสนุนจากการข่าวกรองให้กับ สธ.๒
กรรมวิธีเกี่ยวกับเป้าหมาย (Targeting)
ฉ-๗. รส. ๖-๐ ระบุความรับผิดชอบของ สธ.๗ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับกรรมวิธเี กีย่ วกับเป้าหมาย ดังนี้
ฉ-๗.๑ เข้าร่วมประชุมกรรมวิธีเกี่ยวกับเป้าหมาย
ฉ-๗.๒ เสนอแนะผลกระทบในแง่ ปขส. ที่ต้องการให้เกิดอิทธิพลต่อฝ่ายตรงข้ามในเรื่อง
ความเชื่อ การตัดสินใจ และการปฏิบัติ
ฉ-๘. รส. ๖-๐ ยังได้กำ� หนดความรับผิดชอบของ สธ.๗ ในเรือ่ งทัว่ ๆ ไปเกีย่ วกับกรรมวิธเี ป้าหมาย
ดังนี้
ฉ-๘.๑ ก�ำหนดเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส.
ฉ-๘.๒ ประสานการก�ำหนดชือ่ เป้าหมาย ปขส. กับส่วนวิเคราะห์และควบคุม (analysis and
control element - ACE)1 ของแผนก สธ.๒
ฉ-๘.๓ ให้ข้อมูลในการจัดท�ำการเตรียมสนามรบด้านการข่าว


ไม่มีใน อจย.ของ ทบ.ไทย จัดตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะส่วน
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 343

มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
๑. ให้ข้อมูลด้าน ปขส.ในการด�ำเนินงานตามกรรมวิธีเป้าหมาย
๒. ให้ข้อมูลด้าน ปขส.ในการท�ำบัญชีเป้าหมาย การประมาณการ และการประเมินผล
๓. รับข้อมูลจากแหล่งข่าวสารระดับชาติ และจากภายนอกยุทธบริเวณ
๔. ช่วยเหลือในการลดความทับซ้อนของเป้าหมายในก�ำหนดการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์
และการรวบรวมการ ขฝล.
๕. ก�ำหนดเป้าหมาย ปขส. ส�ำหรับการโจมตีทั้งแบบสังหารและไม่สังหาร
การวางแผนและก�ำกับดูแลทางฝ่ายอ�ำนวยการ (Staff Planning and Supervision)
ฉ-๙. สธ.๗ (ฝอ.๗) มีความรับผิดชอบในการวางแผนและก�ำกับดูแลทางฝ่ายอ�ำนวยการ ดังนี้
ฉ-๙.๑ จัดตั้งและก�ำกับดูแลส่วน ปขส.
ฉ-๙.๒ ประสานการ ปขส.กับหน่วยงานอืน่ ๆ (ส�ำนักข่าวสารระดับชาติ, เอกอัครราชทูต ฯลฯ)
นายทหารสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Warfare Officer) (น.สอ.)
ฉ-๑๐. ปกติ น.สอ. จะเป็นทหารเหล่าข่าวทีท่ ำ� หน้าทีใ่ นการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (สอ.) หน้าทีข่ อง
น.สอ.ตามที่ระบุไว้ใน ฉ เอ็ม ๖-๐ มี ดังนี้
ฉ-๑๐.๑ ประสานกับ สธ.๗ เพื่อสนธิการ สอ. เข้ากับการ ปขส.
ฉ-๑๐.๒ ประสาน เตรียม และรักษาบัญชีเป้าหมาย สอ., พันธกิจ สอ., ค�ำขอ สอ., และ
ตารางการตรวจจับ/โจมตี (sensor/attack matrix) ในส่วนที่เป็นการ สอ.
ฉ-๑๐.๓ ประสานกับ ผปยส. และส่วนวิเคราะห์และควบคุม (ace) ของแผนก สธ.๒ เพื่อ
ก�ำหนดโอกาสในการใช้ สอ.
ฉ-๑๐.๔ เข้าร่วมประชุมกรรมวิธีเกี่ยวกับเป้าหมาย
ฉ-๑๐.๕ วิเคราะห์กิจกรรมการ สอ.ของฝ่ายตรงข้าม (ร่วมกับ สธ.๒)
ฉ-๑๐.๖ ประเมินจุดอ่อนฝ่ายตรงข้าม, ขีดความสามารถของฝ่ายเรา, ภารกิจของฝ่ายเรา
ในแง่การ สอ.
ฉ-๑๐.๗ ก�ำหนดความเร่งด่วนบัญชีเป้าหมาย การ คบช.ของฝ่ายตรงข้าม โดยน�ำ เป้าหมาย
คุณค่าสูงและเป้าหมายส�ำคัญเป็นมูลฐาน (ร่วมกับ ผปยส.)
ฉ-๑๐.๘ ก�ำหนดกิจในการ สอ. โดยใช้บัญชีเป้าหมายการ คบช. เป็นมูลฐาน, แจกจ่าย
เป้าหมายการ สอ.
ฉ-๑๐.๙ ประสานบัญชีเป้าหมาย สอ.กับหน่วย ขกท.ในอัตราและกับหน่วยข้างเคียงและ
หน่วยเหนือ
344 ผนวก ฉ

ฉ-๑๐.๑๐ ประสานกับ น.สอ.ของหน่วยเหนือเพื่อลดความทับซ้อนการแพร่คลื่นสื่อสาร


ด้าน ปขส.
ฉ-๑๐.๑๑ ช่วยเหลือ สธ.๖ เพื่อก�ำหนดความต้องการในการป้องกันทางอิเล็กทรอนิกส์
ฉ-๑๐.๑๒ จัดท�ำประมาณการ สอ.และผนวก สอ.ประกอบ ผนวก การ ปขส.
ฉ-๑๐.๑๓ ส่งและประสานเป้าหมายสนับสนุนการ สอ. (electronic warfare support)
กับ สธ.๒ เจ้าหน้าที่ที่จัดการในการรวบรวมของแผนก สธ.๒ จะบูรณาการ
การสนับสนุนการ สอ. เข้ากับแผนรวบรวมและแผนการประสานสอดคล้อง
ข่าวกรอง Intelligence synchronization plan.
ฉ-๑๐.๑๔ ชี้แจงจุดอ่อนด้าน สอ.ทั้งของฝ่ายเราและฝ่ายตรงข้ามส�ำหรับหนทางปฏิบัติ
แต่ละหนทาง
ฉ-๑๑. รส. ๖-๐ ยังได้ระบุความรับผิดชอบของ น.สอ. ต่อ สธ.๗ ดังนี้
ฉ-๑๑.๑ เสนอแนะว่า ณ จุดใดควรน�ำเรื่อง สอ.มาพิจารณาในระหว่างการวางแผน
ฉ-๑๑.๒ ลดความทับซ้อนของเป้าหมายโดยการก�ำหนดบัญชีร่วมจ�ำกัดความถี่ (joint
restricted frequency list)
ฉ-๑๑.๓ จัดผู้แทนประจ�ำ ณ ส่วน ปขส.
ฉ-๑๑.๔ ส่งและประสานเป้าหมายในการสนับสนุนการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (สสอ.)
กับ สธ.๒ จากนัน้ สธ.๒ จะน�ำไปสนธิกบั แผนรวบรวมและแผนประสานสอดคล้อง
ข่าวกรอง
นายทหารการลวง (นล.) (military deception officer)
ฉ-๑๒. เป็นผูท้ มี่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบในการประสานเครือ่ งมือและการปฏิบตั กิ ารลวง รส. ๖-๐ ก�ำหนด
ความรับผิดชอบของ นล.ไว้ ดังนี้
ฉ-๑๒.๑ ก�ำกับดูแลทางฝ่ายอ�ำนวยการต่อกิจกรรมด้านการลวงทั้งปวง
ฉ-๑๒.๒ ให้ค�ำแนะน�ำด้านการลวงทางทหาร
ฉ-๑๒.๓ จัดการข่าวสารที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติการลวง
ฉ-๑๒.๔ ก�ำหนดความต้องการหรือหาโอกาสในการลวง (ร่วมกับ สธ.๒)
ฉ-๑๒.๕ เสนอแนะต่อ สธ.๗ ในเรื่องเป้าหมายในการลวง วัตถุประสงค์การลวง และเรื่อง
ที่ลวง
ฉ-๑๒.๖ จัดท�ำผนวกการลวง ประกอบผนวก ปขส.
ฉ-๑๒.๗ ประสานมาตรการ รปภ. ปบ. รปภ.ปบ. (OPSEC) กับนายทหาร รปภ.ปบ. (OPSEC)
เพื่อปกปิดแผนการลวง
ฉ-๑๒.๘ ประสานกับ นล., สธ.๗, ผูป้ ระสานงานทหารช่าง และนายทหารเคมีของหน่วยเหนือ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 345

ฉ-๑๒.๙ แจกจ่ายแผนการลวงให้เฉพาะผู้ที่จ�ำเป็นต้องทราบ
ฉ-๑๒.๑๐ บูรณาการเครื่องมือที่ใช้ในการลวง
ฉ-๑๒.๑๑ ประเมินผลการปฏิบัติการลวง
ฉ-๑๓. ความรับผิดชอบเพิ่มเติมของ นล.
ฉ-๑๓.๑ ท�ำให้มั่นใจว่าการลวงสนับสนุนการบรรลุเจตนารมณ์ของ ผบ.
ฉ-๑๓.๒ ก�ำกับดูแลผู้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
ฉ-๑๓.๓ เสนอแนะผูท้ คี่ วรอยูใ่ นกลุม่ ปฏิบตั งิ านด้านการลวง (deception working group)
ฉ-๑๓.๔ จัดผู้แทนประจ�ำส่วน ปขส.
ฉ-๑๓.๕ ประสานกับ สธ.๗ เพื่อประกันว่าการปฏิบัติการลวงมีการผนึกก�ำลังอย่างได้ผล
ฉ-๑๓.๖ ดูแลว่ากิจด้าน ปขส.อื่น ๆ กับการลวงไม่ขัดแย้งซึ่งกันและกัน
ฉ-๑๓.๗ รวบรวมและด�ำเนินกรรมวิธตี อ่ ข่าวสารว่าเป้าหมายในการลวงด�ำเนินการควบคุม
บังคับบัญชาอย่างไร
นายทหารรักษาความปลอดภัยการปฏิบัติการ (รปภ.ปบ. (OPSEC))(Operations security
officer)
ฉ-๑๔. น.รปภ.ปบ. ช่วยเหลือ สธ.๗ ในการปฏิบตั เิ รือ่ ง รปภ.ปบ. ผบ.หน่วยทุกระดับ ตัง้ แต่กองพัน
จนถึงกองทัพน้อยมีอ�ำนาจในการแต่งตั้งนายทหารคนใดคนหนึ่งภายในหน่วยเป็น น.รปภ.ปบ. รส.
๖-๐ ก�ำหนดความรับผิดชอบของ น.รปภ.ปบ. ดังนี้
ฉ-๑๔.๑ ประเมินการ รปภ.ปบ. เพื่อวิเคราะห์สถานภาพการ รปภ.ปบ.ของหน่วย
ฉ-๑๔.๒ ประสานกับหน่วยเหนือเพื่อการสนับสนุนกิจกรรมในการ รปภ.ปบ.
ฉ-๑๔.๓ ก�ำหนดข่าวสารส�ำคัญของฝ่ายเรา (ขสร.) (Essential elements of friendly
information - EEFI) และจุดอ่อนด้าน รปภ.ปบ. และเสนอแนะ ขสร.ต่อ ผบ.
ฉ-๑๔.๔ เสนอแนะมาตรการ รปภ.ปบ. จากการพิจารณาข้อดีข้อเสียระหว่างความเสี่ยง
ของภารกิจกับการลงทุนลงแรง (cost) ในการป้องกัน
ฉ-๑๔.๕ จัดท�ำผนวก รปภ.ปบ. ประกอบผนวก ปขส.
ฉ-๑๔.๖ ประสานกับสมาชิกในส่วน ปขส.เพื่อให้การ รปภ.ปบ. ครอบคลุมส่วนส�ำคัญ
รวมถึงการแจกจ่ายมาตรการ รปภ. ปบ.
ฉ-๑๔.๗ แบ่งมอบกิจในการ รปภ.ปบ. (OPSEC) ให้หน่วยรอง ผ่าน สธ.๗ ไปยัง สธ.๓
ฉ-๑๔.๘ ก�ำหนดผลเสียหายหากมีการรัว่ ไหลของระบบ Infosys, กิจ หรือข้อมูลของฝ่ายเรา
ฉ-๑๔.๙ ประสานกับ IOC (หาค�ำจ�ำกัดความไม่พบ) คนที่ ๑ ในเรือ่ งการประเมินจุดอ่อน
ด้าน ปขส.
346 ผนวก ฉ

ฉ-๑๔.๑๐ ประเมินประสิทธิภาพมาตรการพิทกั ษ์กำ� ลังรบ (ร่วมกับ สธ.๗, ผูป้ ระสานทหาร


ช่าง และนายทหารเคมี)
ฉ-๑๕. ความรับผิดชอบนอกเหนือจากที่กล่าวข้างบน ได้แก่
ฉ-๑๕.๑ ขอรับการสนับสนุนการประเมินจุดอ่อนการ ปขส. และทีมแดงไปยัง สธ.๓
(ผ่าน สธ.๗)
ฉ-๑๕.๒ ร้องขอทีมงานปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ฉุกเฉินของ ทบ. (Army computer
emergency response team) ไปยัง สธ.๖ (ผ่าน สธ.๗)
ฉ-๑๕.๓ ประสานกับ สธ.๒ เพื่อก�ำหนดขีดความสามารถในการรวบรวมของฝ่ายตรงข้าม
ฉ-๑๕.๔ จัดผู้แทนประจ�ำส่วน ปขส.
นายทหารปฏิบัติการจิตวิทยา (Psychological Operations Officer) (น.ปจว.)
ฉ-๑๖. น.ปจว.มีหน้าทีใ่ นการประสานกิจการทัง้ ปวงทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ปจว. ถ้าหน่วยไม่มี น.ปจว.
บรรจุอยู่ ผบ.หน่วย ปจว. ที่มาขึ้นสมทบอาจท�ำหน้าที่เป็น น.ปจว. ของหน่วยที่ตนขึ้นสมทบได้
ความรับผิดชอบของ น.ปจว.ตามที่ระบุใน รส. ๖-๐ มีดังนี้
ฉ-๑๖.๑ ประสานกับ สธ.๗ เพื่อให้การ ปจว.มีความประสานสอดคล้องกัน
ฉ-๑๖.๒ ประสานสอดคล้อง การ ปจว.ของหน่วยกับการ ปจว.ของหน่วยเหนือ
ฉ-๑๖.๓ ท�ำผนวก ปจว. ประกอบ ผนวก ปขส.
ฉ-๑๖.๔ วางแผนและประสานกิจกรรมในการ ปจว.
ฉ-๑๖.๕ ด�ำเนินการ ปจว.เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการ
ฉ-๑๖.๖ แบ่งมอบทรัพยากรทัง้ ในอัตราและทีไ่ ด้รบั การสนับสนุน เพือ่ สนับสนุนการ ปจว.
ฉ-๑๖.๗ จัดล�ำดับความเร่งด่วนในการปฏิบัติงานให้กับหน่วย ปจว.ที่มาขึ้นสมทบ
ฉ-๑๖.๘ ประเมินค่าขีดความสามารถในการ ปจว.ของข้าศึก รวมถึงประสิทธิภาพการ ปจว.
ของฝ่ายเราต่อกลุ่มเป้าหมาย (ร่วมกับ สธ.๒ และ สธ.๕)
ฉ-๑๖.๙ ประสานผลลัพธ์ทาง ปจว.ที่อาจเกิดขึ้นกับ สธ.๕
ฉ-๑๖.๑๐ ประสานกับ สธ.๕ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการเพื่อช่วยเหลือพลเรือนพลัดถิ่น
ฉ-๑๖.๑๑ ประสานการทดสอบผลผลิตการโฆษณาชวนเชื่อและผลผลิตการต่อต้านการ
โฆษณาชวนเชื่อ ทั้งก่อนและหลังการปฏิบัติ
ฉ-๑๖.๑๒ ประเมินผลประสิทธิภาพการ ปจว.
ฉ-๑๖.๑๓ ประเมินผลกระทบทางจิตวิทยาของการปฏิบตั กิ ารทางทหารทีม่ ตี อ่ ฝ่ายตรงข้าม
และพลเรือนในท้องถิ่น
ฉ-๑๖.๑๔ ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อและการแพร่ข่าวลวงของฝ่ายตรงข้าม
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 347

ฉ-๑๖.๑๕ ประสานกับนายทหารประชาสัมพันธ์และ สธ.๕ เพือ่ ให้การแพร่ขา่ วสารมีความ


ต่อเนื่องและสอดคล้องกัน
ฉ-๑๗. นอกจากนี้ น.ปจว. ยังมีความรับผิดชอบต่อเรื่องดังต่อไปนี้
ฉ-๑๗.๑ เป็นที่ปรึกษาและให้ค�ำแนะน�ำด้านการ ปจว.
ฉ-๑๗.๒ ประสานกับ สธ.๒ เพื่อสืบเสาะในเรื่อง
ฉ-๑๗.๒.๑ อุดมการณ์ร่วมของฝ่ายที่มีท่าทีไม่เป็นมิตร
ฉ-๑๗.๒.๒ กิจกรรมหาทุนของฝ่ายตรงข้าม
ฉ-๑๗.๒.๓ ท�ำเนียบก�ำลังรบของฝ่ายที่มีท่าทีไม่เป็นมิตร
ความรับผิดชอบทางฝ่ายอ�ำนวยการของนายทหารอื่น ๆ ในเรื่อง การ ปขส.
(Other staff officer information operations responsibilities)
ฉ-๑๘. นอกเหนือจากความรับผิดชอบที่ก�ำหนดไว้ใน รส. ๖-๐ แล้ว ฝ่ายอ�ำนวยการต่อไปนี้ยังมี
ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับการ ปขส. ดังต่อไปนี้
เสนาธิการ
ฉ-๑๙. เสธ. (หรือรองในหน่วยระดับกองพัน) คือผู้ช่วยหลักของ ผบ.หน่วยในการ อ�ำนวยการ
ประสานงาน ก�ำกับดูแล และฝึกฝ่ายอ�ำนวยการสายต่าง ยกเว้นในเรื่องที่ ผบ. ก�ำหนดไว้ให้อยู่ใน
อ�ำนาจ ผบ.โดยเฉพาะ ความรับผิดชอบของ เสธ.ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. ได้แก่
ฉ-๑๙.๑ ประกันว่าฝ่ายเรามีความเหนือกว่าด้านข่าวสาร ณ เวลาและต�ำบลที่ ผบ.ก�ำหนด
ฉ-๑๙.๒ ประกันว่าองค์ประกอบด้านข่าวสาร (information element) ได้ถูกบูรณาการ
ไว้ในการปฏิบัติการตามเจตนารมณ์และแนวความคิดในการปฏิบัติของ ผบ.
ในหน่วยระดับ ทน., กองพล, กรม, สธ.๗ และฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานอื่น ๆ
จะช่วยเหลือ เสธ. ส�ำหรับงานในความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับการ ปขส.
ฉ-๑๙.๓ ประกันว่า การด�ำเนินงาน ปขส. สอดคล้องกับการจัดการข่าวสาร (information
management) และการ ขฝล. เพื่อให้บังเกิดความเหนือกว่าด้านข่าวสาร
ฉ-๑๙.๔ เป็นประธานประชุมกรรมวิธีเกี่ยวกับเป้าหมาย
ฉ-๑๙.๕ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
สธ.๑
ฉ-๒๐. สธ.๑ เป็นฝ่ายอ�ำนวยการหลักในด้านก�ำลังพล แต่มีความรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
การ ปขส. ดังนี้
ฉ-๒๐.๑ ประสานกับ สธ.๗ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส.
ฉ-๒๐.๒ จัดผู้แทนไปประจ�ำส่วน ปขส.
348 ผนวก ฉ

ฉ-๒๐.๓ สนับสนุนก�ำลังพลให้กับงาน ปขส.


ฉ-๒๐.๔ ให้ค�ำแนะน�ำด้าน ปขส. ในผนวก ก�ำลังพล ประกอบผนวกการช่วยรบ
ฉ-๒๐.๕ ด�ำเนินงานด้านพันธกิจการก�ำลังพลตามที่ระบุไว้ใน ฉ เอ็ม ๑๒-๖
ฉ-๒๐.๖ ทบทวนภารกิจ ปขส.และ ปัจจัย METT - TC ในแง่ของการสนับสนุนด้านก�ำลังพล
ฉ-๒๐.๗ ให้กับปรึกษากับนายทหารการลวง ในเรื่องความต้องการก�ำลังพล
ฉ-๒๐.๘ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
สธ.๒
ฉ-๒๑. สธ.๒ เป็นฝ่ายอ�ำนวยการหลักทีร่ บั ผิดชอบงานต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการข่าวกรอง การต่อต้าน
ข่าวกรอง การรักษาความปลอดภัย และการฝึกข่าวกรองทางทหาร สธ.๒ เป็นผู้ผลิตข่าวกรองที่
สธ.๗ และฝ่ายกิจการกิจการพิเศษของ สธ.๗ น�ำไปใช้ ความรับผิดชอบของ สธ.๒ ในส่วนที่
เกี่ยวกับการ ปขส.ได้แก่
ฉ-๒๑.๑ ประสานกับ สธ.๗ ในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการ ปขส.
ฉ-๒๑.๒ ร่วมประชุมกับส่วน ปขส.
ฉ-๒๑.๓ ท�ำค�ำแนะน�ำเรื่อง ปขส.ในผนวกข่าวกรอง
ฉ-๒๑.๔ ให้ข่าวสารเกี่ยวกับระบบ คบช.ข้าศึกเพื่อการประเมินจุดอ่อน
ฉ-๒๑.๕ ช่วยเหลือการตรวจจับการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยการแจ้งเตือนและประเมิน
ค่ากิจกรรมของฝ่ายที่มีท่าทีไม่เป็นมิตร เรียงล�ำดับการรวบรวมข่าวสารเกี่ยวกับ
สิ่งบอกเหตุกิจกรรมบางอย่างเป็นการเฉพาะ
ฉ-๒๑.๖ น�ำค�ำขอข่าวสาร ปขส.จาก สธ.๗ รวมไว้ใน intelligence reach
ฉ-๒๑.๗ ตอบค�ำขอข่าวสาร ปขส.
ฉ-๒๑.๘ ประสานกับหน่วยต่อต้านข่าวกรอง หน่วยงานรักษากฎหมาย ผู้พัฒนาระบบ
infosys ผู้ให้บริการเครือข่าย และผู้ใช้เพื่อการแบ่งปันข่าวสารที่เกี่ยวข้องอย่าง
ทันเวลา
ฉ-๒๑.๙ เตรียมประเมินค่าจุดอ่อนระบบ คบช.ข้าศึก ในเรื่อง
ฉ-๒๑.๙.๑ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และอิทธิพลทางวัฒนธรรม
ฉ-๒๑.๙.๒ เป้าหมายและวิธีการที่ใช้ในการรุก
ฉ-๒๑.๙.๓ กรรมวิธเี พือ่ ตกลงใจของฝ่ายตรงข้าม (หรือฝ่ายทีม่ ที า่ ทีไม่เป็นมิตร)
ฉ-๒๑.๙.๔ ประวัติผู้น�ำคนส�ำคัญ ผู้ตกลงใจ ผู้ท�ำหน้าที่ในการสื่อสาร และที่
ปรึกษาของคน เหล่านั้น รวมถึงปัจจัยกระตุ้นและลักษณะผู้น�ำ
ฉ-๒๑.๙.๕ การเตรียมสนามรบด้านการข่าวเกีย่ วกับระบบ คบช.และระบบข้อมูล
ข่าวสาร infosys
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 349

ฉ-๒๑.๙.๖ เปรียบเทียบขีดความสามารถ การ ปขส.เชิงรุกของฝ่ายตรงข้ามกับ


จุดอ่อนของฝ่ายเรา
ฉ-๒๑.๑๐ รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดท�ำฐานข้อมูลสงครามอิเล็กทรอนิกส์และรายกรรมวิธี
เกี่ยวกับเป้าหมาย คบช.
ฉ-๒๑.๑๑ สนับสนุนข่าวกรองต่อการลวง โดยเฉพาะในเรื่องต่อไปนี้
ฉ-๒๑.๑๑.๑ ก�ำหนดระบบข้อมูลข่าวสาร (Infosys) ข้าศึกที่จะส่งข่าวสาร
ไปให้ถึงเป้าหมายในการลวง
ฉ-๒๑.๑๑.๒ ช่วยเหลือ สธ.๖ วางแผนการใช้ระบบข้อมูลข่าวสาร (Infosys)
ของฝ่ายเราเป็นเครื่องมือในการลวง
ฉ-๒๑.๑๑.๓ จัดท�ำมาตรการต่อต้านข่าวกรองเพือ่ ป้องกันมิให้ขา้ ศึกตรวจจับ
การลวงของฝ่ายเราได้
ฉ-๒๑.๑๒ สนับสนุนค�ำขอการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วยการประเมิน
สธ.๓
ฉ-๒๒. สธ.๓ เป็นฝ่ายอ�ำนวยการทีม่ คี วามรับผิดชอบหลักในด้านการฝึก การวางแผนและการปฏิบตั ิ
การ และการพัฒนาหน่วยให้ทนั สมัย สธ.๓ เป็นผูป้ ระสานสอดคล้องการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธแี ละ
รับผิดชอบในการจัดท�ำค�ำสั่ง ความรับผิดชอบของ สธ.๓ ในเรื่องของการ ปขส. ได้แก่
ฉ-๒๒.๑ มอบกิจให้หน่วย/เครื่องมือเพื่อให้บรรลุความเหนือกว่าด้านข่าวสาร
ฉ-๒๒.๒ บรรยายสรุปแผนและการปฏิบัติการในปัจจุบันในการประชุมส่วน ปขส.
ฉ-๒๒.๓ ร้องขอทรัพยากร ปขส.จากหน่วยเหนือโดยการเสนอแนะของ สธ.๗ เมื่อได้รับ
การแบ่งมอบให้แล้วก็มอบความรับผิดชอบในการประสานให้กับ สธ.๗
ฉ-๒๒.๔ บูรณาการ ขฝล.เข้ากับการปฏิบตั กิ ารทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจาก สธ.๒ (ร่วมกับ เสธ.)
ฉ-๒๒.๕ บูรณาการการสนับสนุนด้านอวกาศ, ปขส. (กับ สธ.๗) และการยิงสนับสนุนเข้า
กับการปฏิบัติการทั้งปวง
ฉ-๒๒.๖ สธ.๓ เป็นฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานที่มีความรับผิดชอบในการประสานงานที่
เกี่ยวข้องกับการ ปขส.กับฝ่ายกิจการพิเศษดังต่อไปนี้
ฉ-๒๓. นายทหารเคมี๒ (น.เคมี) น.เคมีมีความรับผิดชอบทางฝ่ายอ�ำนวยการในการป้องกัน
นิวเคลียร์ ชีวะ เคมี (นชค.) การใช้ควัน และการใช้หน่วย/เครื่องมือเคมี ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับ
การ ปขส.ได้แก่


การจัดของ ทบ.ไทยไม่มี
350 ผนวก ฉ

ฉ-๒๓.๑ ประสานกับ น.ปจว.และ สธ.๗ เมือ่ ฝ่ายตรงข้ามมีขดี ความสามารถในการใช้อาวุธ


ที่มีอ�ำนาจท�ำลายล้างสูง
ฉ-๒๓.๒ จัดผู้แทนไปประจ�ำส่วน ปขส.
ฉ-๒๓.๓ ท�ำค�ำแนะน�ำด้าน ปขส.ในผนวกเคมี
ฉ-๒๓.๔ น�ำแง่มุมด้าน ปขส.เข้ารวมไว้กับผนวก การป้องกัน นชค. และการใช้ควัน
ประกอบแผนและค�ำสั่ง
ฉ-๒๔. นายทหารอวกาศ๓ (น.อวกาศ) (Space operation officer) น.อวกาศเป็นผู้ให้การ
สนับสนุนทางยุทธวิธีที่เกี่ยวข้องกับอวกาศและประสานขีดความสามารถทางด้านอวกาศที่มา
สนับสนุนให้กับหน่วยความรับผิดชอบของนายทหารอวกาศมี ดังนี้
ฉ-๒๔.๑ ประสานกับชุดสนับสนุนการอวกาศของ ทบ. เพื่อประสานงานการใช้หน่วย/
เครื่องมือด้านอวกาศสนับสนุนการ ปขส.
ฉ-๒๔.๒ จัดผู้แทนประจ�ำส่วน ปขส.
ฉ-๒๔.๓ น�ำค�ำขอ ปขส. ไปรวมไว้ในผนวกอวกาศประกอบผนวกที่ประกอบค�ำสั่ง
ฉ-๒๔.๔ ประสานค�ำขอการสนับสนุนด้านอวกาศจาก ทบ.กับหน่วยเหนือ
ฉ-๒๔.๕ ประสานกับนายทหารกรรมวิธเี กีย่ วกับเป้าหมายด้าน ปขส. เพือ่ กรรมวิธเี กีย่ วกับ
เป้าหมายที่เกี่ยวกับระบบอวกาศของฝ่ายตรงข้าม
ฉ-๒๔.๖ สนับสนุนการ รปภ.ปบ. (OPSEC) และการลวงด้วยการจัดท�ำท�ำเนียบก�ำลังรบ
ด้านอวกาศฝ่ายตรงข้าม พร้อมทั้งติดตามดาวเทียมฝ่ายตรงข้ามในเรื่องวงโคจร
และพื้นที่ครอบคลุม
ฉ-๒๔.๗ ติดตามองค์ประกอบด้านอวกาศ (ฮาร์ดแวร์, ระบบ และกลไกการรายงานข้อมูล)
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสาร การก�ำหนดต�ำแหน่งบนพื้นโลก การเฝ้า
ตรวจ/แจ้งเตือนทีใ่ ช้เครือ่ งมืออวกาศ ลมฟ้าอากาศ ภูมปิ ระเทศ และสิง่ แวดล้อม
ฉ-๒๔.๘ ด�ำเนินการวิเคราะห์การวางแผนการปฏิบัติและก�ำหนดว่าการอวกาศสามารถ
จะสนับสนุนความต้องการ ปขส.ในการประเมินจุดอ่อนรวมถึงความต้องการ
ในอนาคตด้วย
ฉ-๒๔.๙ ติดตามการท�ำงานของระบบดาวเทียมในการก�ำหนดวงโคจรทีเ่ กีย่ วกับการ คบช.
สธ.๔
ฉ-๒๕. สธ.๔ เป็น ฝอ. หลักในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการช่วยรบ (สสช.) ความ
รับผิดชอบของ สธ.๔ ในเรื่องการ ปขส. ได้แก่

การจัดของ ทบ.ไทยไม่มี
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 351

ฉ-๒๕.๑ ประสานกับ สธ.๗ ในเรื่องการ ปขส.


ฉ-๒๕.๒ ด�ำเนินการสนับสนุนการช่วยรบต่อการ ปขส.
ฉ-๒๕.๓ ดูแลให้มั่นใจว่า ทรัพยากรด้าน ปขส. ได้ถูกน�ำไปรวมไว้ในรายการส�ำหรับ ผบ.
ตรวจสอบระบบควบคุมการสนับสนุนการช่วยรบ
ฉ-๒๕.๔ สนับสนุนการช่วยรบต่อการ ปขส. ตามล�ำดับความเร่งด่วนและตามค�ำขอ
ฉ-๒๕.๕ ติดตามการสนับสนุนการช่วยรบส�ำหรับหน่วย/เครื่องมือการ ปขส.
ฉ-๒๕.๖ ติดตามความพร้อมรบของหน่วย/เครื่องมือ ปขส.
ฉ-๒๕.๗ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเสถียรภาพ/ขีดความสามารถ/จุดอ่อนด้านการ สสช. ส�ำหรับ
ประมาณการ ปขส. และการวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ
ฉ-๒๕.๘ เสนอแนะการแบ่งมอบทรัพยากรการ ปขส.
ฉ-๒๕.๙ ท�ำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการร้องขอการ สสช. ต่อการ ปขส.
ฉ-๒๕.๑๐ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
ฉ-๒๕.๑๑ วิเคราะห์ปัจจัยการ สสช. ที่มีอิทธิพลต่อการลวง
ฉ-๒๕.๑๒ สสช.ต่อการลวง
ฉ-๒๕.๑๓ ให้ค�ำแนะน�ำต่อกลุ่มท�ำงานการลวง (Deception Working Group) ว่าการ
ลวงจะมีผลกระทบต่อก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์ในส่วนการ สสช.อย่างไร
ฉ-๒๕.๑๔ จัดผู้แทนไปประจ�ำส่วน ปขส.
ฉ-๒๕.๑๕ ท�ำค�ำแนะน�ำด้านการ ปขส. ในผนวกการช่วยรบ
สธ.๕
ฉ-๒๖. สธ.๕ เป็น ฝอ.หลักในด้านกิจการพลเรือน (กร.) สธ.๕ เป็นผู้ประเมินข้อพิจารณาด้าน
กร.และเป็นผู้ก�ำหนดจุดศูนย์ดุลด้านการ กร. ความรับผิดชอบของ สธ.๕ ในส่วนที่เกี่ยวกับ กร.มี
ดังนี้
ฉ-๒๖.๑ ประสานกับ สธ.๗ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการ ปขส.
ฉ-๒๖.๒ จัดผู้แทนประจ�ำส่วน ปขส.
ฉ-๒๖.๓ ด�ำเนินการด้าน กร.ที่สนับสนุนการ ปขส.
ฉ-๒๖.๔ จัดให้งานด้าน กร.และ ปขส.สนับสนุนการปฏิบัติการรวม
ฉ-๒๖.๕ ค้นหาและจัดหาทรัพยากรพลเรือนมาสนับสนุนการ ปขส.
ฉ-๒๖.๖ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
ฉ-๒๖.๗ ให้ค�ำแนะน�ำต่อ นล.ว่าการลวงมีผลต่อกิจกรรม กร.อย่างไรบ้าง
ฉ-๒๖.๘ ประสานกับ สธ.๗ และ น.ปจว. เกี่ยวกับแนวโน้มความเห็นของประชาชน
ฉ-๒๖.๙ ประสาน สธ.๗, น.ปชส., และ น.ปจว., เพื่อมิให้การแจกจ่ายข่าวสารขัดแย้งกัน
352 ผนวก ฉ

สธ.๖๔ (การบังคับบัญชา, ควบคุม, สื่อสาร และคอมพิวเตอร์)


ฉ-๒๗. สธ.๖ เป็น ฝอ.หลักในเรื่องการบังคับบัญชา การควบคุม การสื่อสาร คอมพิวเตอร์,
การปฏิบัติการเครือข่าย (network operations) และการจัดการข่าวสาร (information
management - IM) ส่วน ปขส.จะมีผู้แทนจากแผนก สธ.๖ อยู่ด้วย ความรับผิดชอบของ สธ.๖
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. ได้แก่
ฉ-๒๗.๑ ประสานกับ สธ.๗ ในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส.
ฉ-๒๗.๒ ประสานกับ สธ.๓ เรื่องการจัดการและการให้ข้อมูลข่าวสาร
ฉ-๒๗.๓ จัดผู้แทนไปประจ�ำส่วน ปขส.
ฉ-๒๗.๔ ท� ำ ค� ำ แนะน� ำ ด้ า น ปขส.ในผนวกการบั ง คั บ บั ญ ชา ควบคุ ม สื่ อ สาร และ
คอมพิวเตอร์
ฉ-๒๗.๕ อ�ำนวยการการปฏิบัติการเครือข่ายของหน่วยรองและส่วนจัดการข่าวสาร
ฉ-๒๗.๖ ประสานการปฏิบัติการเครือข่ายและการสนับสนุนด้านการจัดการข่าวสาร
ต่อการ ขฝล. กับ สธ.๒
ฉ-๒๗.๗ ประสานกับชุดปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ฉุกเฉินของ ทบ.-ชปคฉ.ทบ.๕ (Army
Computer Emergency Response Team - ACERT) ในเรือ่ งซอฟต์แวร์ปอ้ งกัน
ไวรัสและวิเคราะห์/ให้ค�ำปรึกษาเรื่องภัยคุกคามเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หลังจาก
ได้รับแจ้งจาก สธ.๓
ฉ-๒๗.๘ ประสานกับชุดปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ฉุกเฉินภูมิภาค-ชปคฉ.ภภ. (Regional
Computer Emergency Response Team - RCERT) ในเรือ่ งการบุกรุกเครือข่าย
ข่าวสาร ระบบที่อนุมัติ และซอฟต์แวร์ หลังจากได้รับแจ้งการสนับสนุนจาก สธ.๓
ฉ-๒๘. นายทหารปฏิบตั กิ ารเครือข่าย๖ (network operations officer) เป็นผูส้ นธิการใช้ขา่ วสาร
กับระบบ Infosys, การปฏิบัติการสื่อสารและคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่ายข่าวสาร องค์ประกอบ
ของการปฏิบัติการเครือข่ายได้แก่
ฉ-๒๘.๑ การจัดการเครือข่าย (Network management) การจัดการเครือข่ายช่วยให้
ผบ.หน่วยสามารถดูแลและจัดการเครือข่ายเพื่อสนับสนุนการ ปขส. รวมทั้ง
สามารถปรับเปลี่ยนการแบ่งมอบขีดความสามารถด้านเครือข่ายได้สะดวก
ฉ-๒๘.๒ การจัดการแจกจ่ายข่าวสาร (information dissemination management)
คือขีดความสามารถในการจัดการต่อการส่งต่อค�ำขอข่าวสาร

การจัดของ ทบ.ไทยไม่มี

การจัดของ ทบ.ไทยไม่มี

การจัดของ ทบ.ไทยไม่มี
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 353

ฉ-๒๘.๓ การประกันข่าวสาร information assurance การประกันข่าวสารจะรวมถึง


การส่งแผน ค�ำสั่ง และตรวจสอบเพื่อลดจุดอ่อนด้านข่าวสารและระบบข้อมูล
ข่าวสาร (Infosys) ให้มีน้อยที่สุด รวมทั้งท�ำให้เครือข่ายมีความสอดคล้องกับ
แนวความคิดในการป้องกันทางลึก วัตถุประสงค์ของการประกันข่าวสารเพื่อ
ป้องกันระบบ Infosys และเครือข่ายจากการกระท�ำของข้าศึก ความรับผิดชอบ
ของ สธ.๖ ด้านการประกันข่าวสารจะรวมไปถึงการจัดการการประกันข่าวสาร
(IA management) และพันธกิจในการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ฉ-๒๙. ในระดับกองทัพน้อยและกองพล สธ.๖/ผู้จัดการการประกันข่าวสาร (IA manager) เป็นผู้
ก�ำกับดูแลผูจ้ ดั การเครือข่ายประกันข่าวสารและดูแลการปฏิบตั ขิ องนายทหาร รปภ.ประกันข่าวสาร
(IA security officer) ของหน่วยรองด้วย
ฝ่ายอ�ำนวยการประจ�ำตัว (Personal Staff Officer)
ฉ-๓๐. ฝอ.ประจ�ำตัวจะปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมโดยตรงของ ผบ.หน่วย ผบ.จะเป็นผู้ให้
แนวทางว่าเมื่อใด ฝอ.ประจ�ำตัวจะประสานหรือให้ข่าวสารต่อ เสธ.และฝ่ายอ�ำนวยการอื่น ๆ
รายละเอียดที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นความรับผิดชอบด้าน ปขส.ของ ฝอ.ประจ�ำตัวแต่ละต�ำแหน่ง
ฉ-๓๑. นายทหารประชาสัมพันธ์ (น.ปชส.) จะต้องท�ำความเข้าใจและตอบสนองต่อความต้องการ
รับรู้ข่าวสารของทหาร, ครอบครัว และประชาชนทั่วไป ความรับผิดชอบของ น.ปชส.ในด้าน ปขส.
ได้แก่
ฉ-๓๑.๑ ประสานกับ สธ.๗ ในเรือ่ งส�ำคัญ ๆ ด้านการ ปชส. ทีอ่ าจมีผลกระทบต่อการ ปขส.
ฉ-๓๑.๒ จัดผู้แทนประจ�ำส่วน ปขส.
ฉ-๓๑.๓ น�ำค�ำแนะน�ำด้าน ปขส. บรรจุไว้ในผนวก ปชส.
ฉ-๓๑.๔ ประสานกับนายทหาร/นายสิบ ปจว. และ สธ.๕ เพื่อให้แน่ใจว่า กิจกรรมในการ
ปจว., การ กร. และการ ปชส. ไม่ส่งข่าวสารที่ขัดแย้งกัน
ฉ-๓๑.๕ ท�ำงานร่วมกับ สธ.๕ และหน่วยงานอืน่ ๆ เพือ่ น�ำเสนองานและมุมมองของกองทัพ
อย่างถูกต้องเหมาะสม
ฉ-๓๑.๖ สังเกตการณ์และติดตามข่าวสารเกี่ยวกับแผนและการปฏิบัติการลวง
ฉ-๓๑.๗ ดูแลและก�ำกับการเยือนหน่วยของสื่อมวลชนที่สามารถสนับสนุนวัตถุประสงค์
การลวงโดยไม่ละเมิดนโยบายการ ปชส.
ฉ-๓๑.๘ ให้ค�ำแนะน�ำคณะท�ำงานด้านการลวง (Deception working group) ในเรื่อง
ผลกระทบของการลวงที่มีต่อการ ปชส.
354 ผนวก ฉ

ฉ-๓๒. นายทหารพระธรรมนูญ (Staff Judge Advocate) นธน. เป็นที่ปรึกษาด้านกฎหมายของ


ผบ.หน่วย และเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำต่อ สธ.๓ และ สธ.๗ ในแง่มุมของกฎหมายของการ ปขส. ความ
รับผิดชอบของ นธน. ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. ได้แก่
ฉ-๓๒.๑ ให้ค�ำแนะน�ำต่อ สธ.๗ ด้านกฎหมายในการปฏิบัติการ ปขส.ขณะวางแผน
ฉ-๓๒.๒ บรรจุคำ� แนะน�ำด้าน ปขส.ในผนวกเกีย่ วกับกฎหมายทีป่ ระกอบผนวกการช่วยรบ
ฉ-๓๒.๓ จัดผู้แทนประจ�ำส่วน ปขส.
ฉ-๓๒.๔ ให้ค�ำแนะน�ำด้านกฎหมายต่อกฎการใช้ก�ำลัง (ROE) ในการ ปขส.
ฉ-๓๒.๕ ตรวจสอบแผน นโยบาย ค�ำสั่ง และกฎการใช้ก�ำลังด้าน ปขส.ที่ออกโดยหน่วย
ว่าไม่ขัดแย้งกับกฎหมายอื่น ๆ และกฎการท�ำสงคราม
ฉ-๓๒.๖ ประกันว่าการฝึกและการเผยแพร่ข่าวสารในการ ปขส.สอดคล้องกับกฎการท�ำ
สงครามและกฎหมายอื่น ๆ
ฉ-๓๒.๗ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการลวง
ฉ-๓๒.๘ ให้ค�ำแนะน�ำต่อคณะท�ำงานการลวงในแง่กฎหมายและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
ต่อพันธกรณีในสนธิสัญญาและข้อตกลงที่มีอยู่
ความรับผิดชอบในการปฏิบัติการข่าวสารของกองพลน้อย๗
(Brigade Information Operations Responsibilities)
ฉ-๓๓. กองพลน้อยด�ำเนินกลยุทธ์มีอยู่ ๓ แบบด้วยกันคือ กองพลน้อยเฉพาะกิจ สไตรค์เกอร์
(Stryker brigade combat team), กองพลน้อยเนชันนัลการ์ดเพิ่มเติมก�ำลัง (Army National
Guard enhanced brigade) และกองพลน้อยด�ำเนินกลยุทธ์ของกองพล (divisional maneuver
brigade) แต่ละแบบก็มีขีดความสามารถแตกต่างกัน (หมายเหตุผู้แปล- เนื่องจากไทยไม่มีกองพล
น้อยสองแบบแรก การประยุกต์ใช้จึงน่าจะเกิดกับแบบหลังมากกว่า จึงขอแปลเฉพาะแบบหลัง
เท่านั้น)
กองพลน้อยด�ำเนินกลยุทธ์ของกองพล (Divisional maneuver brigade)
ฉ-๓๙. ปกติกองพลมักไม่ต้องให้กองพลน้อยหน่วยรองวางแผนและปฏิบัติการ ปขส. เอง แต่อาจ
มอบกิจที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. ให้กับกองพลน้อย และปกติกองพลน้อยมักจะปฏิบัติการ ปขส.
เชิงรับอย่างจ�ำกัด อย่างไรก็ตามกองพลน้อยด�ำเนินกลยุทธ์อาจได้รบั มอบกิจบางอย่างในห้วงเวลาใด
เวลาหนึ่งให้ท�ำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งในการ ปขส. ของกองพลหรือกองทัพน้อย


เป็นการจัดใน ทบ.สหรัฐอเมริกา ยกมาเป็นตัวอย่างเพื่อการศึกษาเปรียบเทียบเท่านั้น
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 355

ฉ-๔๐. ในกองพลน้อยจะไม่มแี ผนก ปขส. บรรจุอยู่ จึงต้องจัดก�ำลังพลบางส่วนท�ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบ


ด้านการ ปขส. รอง ผบ.พลน้อยจะเป็นผู้ประสานเกี่ยวกับการ ปขส. ภายในหน่วย ฝอ. ฝ่ายต่าง ๆ
จึงมีหน้าที่รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส. ดังนี้
ฉ-๔๐.๑ ฝอ.๒ ท�ำหน้าที่ด้านการ รปภ.ทางกายภาพและการต่อต้านข่าวกรอง
ฉ-๔๐.๒ ฝอ.๓ ท�ำหน้าที่ในการ รปภ.ปบ. (OPSEC) และการต่อต้านการลวง
ฉ-๔๐.๓ ฝอ.๓ รับผิดชอบในการออกค�ำสั่ง (ตามแนวทางที่ ผบ.ให้ไว้) และก�ำกับดูแลการ
ปจว. และดูแลเพือ่ ประกันว่าการปฏิบตั งิ านของ ชุด ปจว.ทีข่ นึ้ สมทบสนับสนุนต่อ
แผนของกองพลน้อยและกองพล
ฉ-๔๐.๔ ฝอ.๕ ติดตามการ ปกร. (ตามแนวทางของ ผบ.) และดูแลเพือ่ ประกันว่าการท�ำงาน
ของ ชุด กร.ที่มาขึ้นสมทบ สนับสนุนภารกิจ กร.ของกองพลน้อยและกองพล
ฉ-๔๐.๕ นายทหารการยิงสนับสนุน (นยส.) วางแผนและท�ำลายทางกายภาพต่อเป้าหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับการ ปขส.
เมื่อกองพลน้อยถูกแยกสมทบออกจากกองพล จะต้องจัดนายทหารคนใดคนหนึ่งในแผนก ปขส.
ของกองพลไปประจ�ำ ณ บก.พลน้อยนั้นด้วย
ความรับผิดชอบด้าน ปขส.ของกองก�ำลังกองทัพบก (กกล.ทบ.)๘
(Army Service Component Command IO Responsibilities)
ฉ-๔๑. สธ.๗ ของ กกล.ทบ. เป็นฝ่ายอ�ำนวยการประสานงานทีร่ บั ผิดชอบด้านการ ปขส. ของหน่วย
ส่วนต่าง ๆ ในแผนก สธ.๗ ได้แก่ แผนกปฏิบัติการปัจจุบัน แผนกแผน และแผนก ปจว. (การ ปขส.
ในระดับยุทธการจะกล่าวไว้ใน รส. ๓-๙๓)
ฉ-๔๒. สธ.๗ จะเป็นผู้สนธิการ ปขส. ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ เป็นผู้ประสานและใช้ขีดความสามารถ
ด้าน ปขส. ทีม่ อี ยูใ่ นอัตราและทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนให้เกิดผลต่อฝ่ายตรงข้าม และก่อให้เกิดอิทธิพล
ต่อผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจ ข่าวสาร และระบบ Infosys ในเชิงรับแล้ว สธ.๗ เป็นผู้สนธิและประสาน
ในเรื่อง นโยบาย กรรมวิธี การปฏิบัติ ก�ำลังพล และเทคโนโลยีเพื่อป้องกันข่าวสารและระบบ
Infosys ของฝ่ายเรา
ฉ-๔๓. สธ.๗ สนับสนุนศูนย์การปฏิบัติการเข้าพื้นที่ระยะแรกด้วยการจัดตั้งส่วน ปขส. ขึ้น และ
ท�ำการประเมินความต้องการขั้นต้นของ กกล.ทบ. ส่วน ปขส. จะประกอบด้วยก�ำลังพลด้าน ปขส.
เป็นแกนหลัก จากนั้นก็แปรสภาพเป็นแผนก ปขส. เมื่อมีการจัดตั้งกองบัญชาการ กกล.ทบ. สธ.๗
จะจัดผู้แทนไปประจ�ำส่วน ปขส.ของ กกล.ฉก.ร่วมนั้น

ใช้อ้างอิงเพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้ในหลักการยุทธ์ร่วม
356 ผนวก ฉ

แผนกปฏิบัติการปัจจุบัน (Current Operations Division)


ฉ-๔๔. หน้าที่ของแผนกปฏิบัติการปัจจุบันมีดังนี้
ฉ-๔๔.๑ ด�ำรงการประมาณการ ปขส.ในปัจจุบัน
ฉ-๔๔.๒ เตรียมข้อมูล ปขส. ที่ต้องใช้ในค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ
ฉ-๔๔.๓ เสนอแนะความเร่งด่วนในการแบ่งมอบทรัพยากรส�ำคัญเพื่อสนับสนุนภารกิจ
ปขส., แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน ปขส., วัตถุประสงค์การ ปขส., และ
พันธกิจการ ปขส.
ฉ-๔๔.๔ เสนอแนะการจัดเฉพาะกิจและมอบกิจให้หน่วยรองที่มีขีดความสามารถด้าน
ปขส. ต่อ สธ.๓
ฉ-๔๔.๕ ประสานเรือ่ งต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ปขส. รวมถึงขีดความสามารถด้าน ปขส.
ของเหล่าทัพอื่นและกองทัพประเทศอื่นกับการด�ำเนินกลยุทธ์และการยิงระดับ
ยุทธการ
แผนกแผน (Plans Division)
ฉ-๔๕. แผนกแผนจะสนธิการ ปขส. เข้ากับกระบวนการวางแผนของหน่วย นอกจากหน้าทีใ่ นการ
ปขส. ส�ำหรับการวางแผนระดับยุทธวิธีแล้ว แผนกแผนยังมีหน้าที่ดังต่อไปนี้
ฉ-๔๕.๑ วางแผน รปภ.ปบ. (OPSEC) ระดับยุทธการเพื่อรักษาความเป็นเอกภาพของ
ยุทธศาสตร์ทหารและแผนการทัพ
ฉ-๔๕.๒ วางแผนและประเมินการลวงเพือ่ ให้เกิดอิทธิพลต่อความคิดและความคาดหมาย
ของ ผบ. หน่วยฝ่ายตรงข้าม ปกปิดการปฏิบัติของฝ่ายเรา เตรียมเครื่องมือ
อิเล็กทรอนิกส์และการลวงเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการร่วม
ฉ-๔๕.๓ เตรียมท�ำผนวก ปขส.
แผนกปฏิบัติการจิตวิทยา (Psychological operations division)
ฉ-๔๖. แผนก ปจว. ท�ำหน้าที่ทางฝ่ายอ�ำนวยการในด้านการก�ำกับดูแล การวางแผน และเสนอ
แนะนโยบายในเรื่องการ ปจว. หน้าที่ของแผนก ปจว. มีดังนี้
ฉ-๔๖.๑ ให้ขอ้ เสนอแนะต่อ ผบ.ในเรือ่ งการวางแผน และ นโยบาย การ ปจว. ต่อเป้าหมาย
ที่เป็นฝ่ายตรงข้ามและฝ่ายเป็นกลาง
ฉ-๔๖.๒ ดูแลให้การปฏิบัติของหน่วย ปจว.สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันเพื่อ
สนับสนุนต่อการปฏิบัติการหลัก
ฉ-๔๖.๓ วางแผนการใช้ชุดประเมินผลการ ปจว.
ฉ-๔๖.๔ ประสานและก�ำหนดความต้องการส�ำหรับองค์กร ปจว.ในอัตราและที่ได้รับการ
สมทบ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 357

ขีดความสามารถด้าน ปขส.ของหน่วยระดับสูงกว่า กกล.ทบ.


(Echelons above army service component command information operations
capabilities)
ฉ-๔๗. หน่วยระดับยุทธวิธีและระดับยุทธการมีขีดความสามารถด้าน ปขส.ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
แต่ในระดับทีส่ งู กว่ายังมีขดี ความสามารถด้าน ปขส.ทีส่ ามารถสนับสนุนต่อหน่วยระดับยุทธวิธแี ละ
ยุทธการได้ ดังต่อไปนี้
หน่วยบัญชาการอวกาศและป้องกันขีปนาวุธ
(Space and Missile Defense Command)
ฉ-๔๘. หน่วยบัญชาการอวกาศและป้องกันขีปนาวุธ (SMDC) เป็นของกองทัพบกที่ขึ้นอยู่กับ
หน่วยบัญชาการยุทธศาสตร์สหรัฐฯ (US Strategic Command) ท�ำหน้าที่ให้การสนับสนุนต่อ
STRATCOM ในเรื่องการป้องกันและการโจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ฉ-๔๘.๑ SMDC ประสานการป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์สนับสนุน STRATCOM
ตามที่ ทบ. ก�ำหนด
ฉ-๔๘.๒ ให้แนวทางในการเข้าร่วมการฝึกร่วมต่อ หน่วยบัญชาการปฏิบตั กิ ารข่าวสารที่ ๑
(1st Information Operations Command (Land)) ในเรือ่ งการโจมตีเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
หน่วยบัญชาการปฏิบัติการข่าวสารที่ ๑ (ทางบก)๙
(1st Information Operations Command (Land))
ฉ-๔๙. เมื่อได้รับภารกิจจาก ฝ่ายยุทธการของ ทบ. น.ปขส. ที่ ๑ (บก) จะให้ความช่วยเหลือ
ต่อ ผบ.กกล.ทบ.ในการด�ำเนินการ ปขส. (วางแผน เตรียมการ ปฏิบตั กิ าร และประเมินผล) ประสาน
กับหน่วยของเหล่าทัพหรือชาติอื่น หน่วยงานของรัฐและหน่วยงานเอกชน หน่วยระดับ กกล.ทบ.,
ทน., พล. ส่งค�ำขอการสนับสนุนใน ๓ เรื่องหลัก ๆ ได้แก่ การสนับสนุนในสนาม (Field support),
การปฏิบัติฉุกเฉินด้านคอมพิวเตอร์, และการประเมินจุดอ่อน น.ปขส.ที่ ๑ (บก) อาจได้รับการ
เพิ่มเติมก�ำลังจาก เนชันนัล การ์ด หรือกองหนุน ในยามปกติหรือเมื่อ ทบ.ต้องการ ความสัมพันธ์
ทางการบังคับบัญชาของ น.ปขส.ที่ ๑ (บก) มีดังนี้คือ
ฉ-๔๙.๑ น.ปขส.ที่ ๑ (บก) ขึ้นควบคุมทางยุทธการต่อฝ่ายยุทธการของ ทบ.
ฉ-๔๙.๒ น.ปขส.ที่ ๑ (บก) ขึน้ ควบคุมทางการบริหาร (Administrative Control) กับหน่วย
บัญชาการข่าวกรองและการรักษาความปลอดภัย ทบ. (US Army Intelligence
and Security Command - INSCOM)

เป็นหน่วยที่อยู่ในอัตราการจัดของ ทบ.สหรัฐฯ ยกมาเป็นตัวอย่างเพื่อใช้ในการศึกษาเท่านั้น
358 ผนวก ฉ

ขีดความสามารถของ น.ปขส.ที่ ๑ (บก) ได้แก่


ชุดสนับสนุนสนาม (Field Support Team)
ฉ-๕๐. ชุดสนับสนุนสนาม (ชสส.) ปกติจะเป็นก�ำลังส่วนแรกที่ถูกส่งเข้าพื้นที่เพื่อให้การสนับสนุน
การ ปขส.โดยจะให้การสนับสนุนโดยตรงต่อ ผบ. หน่วยของ ทบ. ไม่ว่าจะเป็น ผบ.กกล.ทบ.ของ
กกล.ฉก.ร่วม, มทน., หรือ ผบ.พล. เมื่อได้รับการร้องขอ หากการปฏิบัติภารกิจในระยะยาว ชสส.
อาจขึ้นสมทบต่อหน่วยรับการสนับสนุนและจะเป็นส่วนหนึ่งของส่วน ปขส. (IO cell)
ฉ-๕๑. ชสส. ปกติจะบังคับบัญชาโดยนายทหารยศพันตรีหรือพันโท ส่วนก�ำลังพลจะประกอบ
ด้วยบุคคลที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ ซึ่งอาจจะมีพลเรือนกลาโหมหรือผู้รับจ้างอยู่ด้วย
และสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตลอด ๒๔ ชม. ขีดความสามารถของ ชสส. ได้แก่
ฉ-๕๑.๑ ช่วยเหลือ สธ.๗ ผ่านทางการปฏิบัติงานในส่วน ปขส.
ฉ-๕๑.๒ วิเคราะห์และสนับสนุนการ ปขส. เต็มรูปแบบ
ฉ-๕๑.๓ สนับสนุนการพัฒนาแผนและค�ำสั่ง
ฉ-๕๑.๔ ช่วยเหลือในการจัดท�ำบัญชี ประมาณการ และประเมินค่าเกี่ยวกับเป้าหมาย
ฉ-๕๑.๕ ติดตามและประเมินการปฏิบัติการปัจจุบันและเหตุการณ์ส�ำคัญเกี่ยวกับผล
กระทบด้านการ ปขส.
ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินคอมพิวเตอร์กองทัพบก (ชปฉค.) (Army Computer Emergency
Response Team)
ฉ-๕๒. ชปฉค. เป็นส่วนหนึ่งของแผนกปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท�ำหน้าที่ ป้องปราม
ตรวจจับ ประสาน ตอบสนอง และรายงานเหตุการณ์ที่กระทบต่อการรักษาความปลอดภัยระบบ
Infosys สนธิการข่าวกรอง และขีดความสามารถการจัดการเครือข่ายและระบบให้เป็นการป้องกัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทมี่ เี อกภาพ ชปฉค. เป็นหน่วยประสานงานหน่วยเดียวของ ทบ.ส�ำหรับรายงาน
เหตุการณ์และจุดอ่อนในระบบ Infosys และยังเป็นหน่วยงานของ ทบ.ที่ท�ำหน้าที่แลกเปลี่ยน
รายงานเหตุการณ์และการเจาะระบบกับเหล่าทัพและองค์กรอื่น ๆ
ฉ-๕๓. เมื่อได้รับค�ำสั่งจากฝ่ายยุทธการ ทบ. ชปฉค. จะส่งเจ้าหน้าที่ออกไปช่วยเหลือ ผบ.หน่วย,
ผูจ้ ดั การการ รปภ.ข่าวสาร, ผูด้ แู ลระบบ ในเรือ่ งทางเทคนิคเกีย่ วกับการบุกรุกเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เช่น การกู้ระบบหลังจากถูกโจมตี เป็นต้น
ชุดประเมินจุดอ่อนการปฏิบัติการข่าวสาร (Information Operations Vulnerability
Assessment Teams)
ฉ-๕๔. น.ปขส.ที่ ๑ (บก) มีชุดประเมินจุดอ่อนการปฏิบัติการข่าวสารที่ช่วยให้การพิทักษ์ก�ำลัง
รบของกองทัพบกได้ผลดียิ่งขึ้น โดยการประเมินขีดความสามารถของ ผบ. หน่วยที่จะน�ำเอาการ
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 359

ปขส. เชิงรับไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบตั ิการในยามปกติ แผนเผชิญเหตุ และการฝึกได้ ชุดประเมิน


จุดอ่อนการปฏิบัติการข่าวสารจะท�ำให้ฝ่ายเราทราบจุดอ่อนทาง ปขส.ของฝ่ายเรารวมถึงขีดความ
สามารถของฝ่ายข้าศึกเช่นกัน
ฉ-๕๕. ชุดประเมินจุดอ่อนการปฏิบตั กิ ารข่าวสารมีสว่ นช่วยในการพิทกั ษ์กำ� ลังรบและการประกัน
ข่าวสารด้วยการวิเคราะห์จุดอ่อนและเสนอแนะมาตรการ ปขส. เชิงรับเพื่อลดจุดอ่อนดังกล่าว ซึ่ง
ความสามารถพิเศษของชุดได้แก่
ฉ-๕๕.๑ เครือข่ายโทรคมนาคมคอมพิวเตอร์
ฉ-๕๕.๒ รปภ.ปบ. (OPSEC), การ รปภ.การสือ่ สาร, และโปรแกรมการ รปภ.คอมพิวเตอร์
ฉ-๕๕.๓ สอ., ปจว., กร., และการวางแผนและก�ำหนดเป้าหมายการ ปชส.
ฉ-๕๕.๔ กระบวนการแสวงข้อตกลงใจ
ฉ-๕๕.๕ ข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐาน
ฉ-๕๖. เมื่อได้รับภารกิจจากฝ่ายยุทธการ ทบ. ชุดประเมินจุดอ่อนการปฏิบัติการข่าวสารจะ
ถูกส่งไปประจ�ำพื้นที่เพื่อประเมินและพิสูจน์ทราบจุดอ่อนของการ ปขส. ทั้งปวง รวมถึงระบบ
Infosys ของหน่วย ชุดฯ อาจถูกส่งไปยังที่ตั้งปกติ พื้นที่ฝึก หรือพื้นที่ปฏิบัติการของหน่วย เพื่อ
ช่วยเหลือหน่วยในการลดจุดอ่อนที่ตรวจพบเพื่อการพิทักษ์หน่วยและการประกันข่าวสาร ชุดฯ
มักจะมีนายทหารระดับพันตรีพันโทเป็นหัวหน้าซึ่งจะท�ำหน้าที่ในการประสานงานกับ ผบ. หรือ
ฝ่ายอ�ำนวยการของหน่วยนั้น ๆ
ชุดประเมินความล่อแหลมทีมฟ้า (Vulnerability Assessment Blue Teams)
ฉ-๕๗. ใน น.ปขส.ที่ ๑ (บก) ยังมีชุดประเมินจุดอ่อนบลูทีม ที่ท�ำการประเมินการพิทักษ์ก�ำลังรบ
ด้าน ปขส. ที่เน้นเรื่องเครือข่ายและการไหลเวียนของข่าวสารภายในหน่วย ชุดจะน�ำข่าวสารที่ได้
รับเพือ่ พิสจู น์ทราบจุดอ่อนทีม่ อี ยูห่ รือทีอ่ าจเกิดขึน้ ประเมินค่าความเสีย่ ง และเสนอแนะมาตรการ
เพื่อลดหรือก�ำจัดความเสี่ยงเหล่านั้น การประเมินจะพิจารณาองค์ประกอบ ปขส.ทั้งปวงเว้น
แต่วา่ ผบ. หน่วยจะต้องการให้ประเมินเรือ่ งอืน่ โดยปกติแล้ว การประเมินจะรวมไปถึงการวิเคราะห์
โครงสร้างการไหลเวียนข่าวสารของหน่วย การแสวงข้อตกลงใจ จุดอ่อนในระบบ คบช.ของหน่วย
ฉ-๕๘. กระบวนการประเมินจะประกอบไปด้วยการสัมภาษณ์ การตรวจสอบระบบ Infosys,
เอกสาร, สถานภาพการฝึก, นโยบายการ รปภ. และการปฏิบัติตามระเบียบของหน่วย บลูทีม
ยังประเมินจุดอ่อนของหน่วยต่อการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้ามในเรื่อง การข่าวกรอง การโจมตี
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การลวง การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ และกิจกรรมในการจัดการความเชื่อ
(การโฆษณาชวนเชื่อ, การ ปจว.) เป็นต้น
360 ผนวก ฉ

ชุดประเมินความล่อแหลมทีมแดง (Vulnerably Assessment Red Teams)


ฉ-๕๙. ช น.ปขส.ที่ ๑ (บก) ยังมีชุดประเมินจุดอ่อนทีมแดงท�ำหน้าที่เป็นเสมือนข้าศึกที่ต้องการ
กระท�ำต่อระบบข้อมูลข่าวสาร (Infosys), ข่าวสาร ระบบ คบช. และการแสวงข้อตกลงใจของ
ฝ่ายเรา ภารกิจของทีมแดงมีวัตถุประสงค์อยู่สองประการด้วยกันคือ เสริมความเข้มแข็งให้กับ
ความพร้อมรบของหน่วย และตรวจสอบประสิทธิภาพของมาตรการตอบโต้ที่หน่วยและทีมฟ้าใช้
การปฏิบัติของทีมแดงเป็นการช่วยให้หน่วยได้มีการฝึกที่สมจริงและข้อมูลสนองกลับที่จ�ำเป็นต่อ
การปรับปรุง ปขส.เชิงรับ การท�ำงานของทีมแดงจะถูกจ�ำกัดด้วยกฎหมายและนโยบายของ ทบ.
การท�ำงานของทีมแดงจะเข้มข้นและให้ข้อมูลและข้อเสนอที่สมจริงสมจังเพียงใดขึ้นอยู่กับการ
ผ่อนปรนของกฎการใช้ก�ำลังและกฎหมายที่มีอยู่
The Army Reprogramming Analysis Team - Threat Analysis (ARAT - TA)
ฉ-๖๐. ARAT - TA สนับสนุนหน่วยรบและฝ่ายพัฒนายุทโธปกรณ์ของกองทัพด้วยการตรวจสอบ
ความเคลื่อนไหวสัญญาณข่าวสารที่อาจท�ำให้ฝ่ายเราต้องปรับเปลี่ยนระบบตรวจจับ เช่นเรดาร์
เตือนภัย การเฝ้าตรวจ ระบบป้องกันตนเอง และกระสุนน�ำวิถที จี่ ะต้องมีการปรับเปลีย่ นซอฟต์แวร์
ภายใน นอกจากนี้ ARAT - TA ยังสนับสนุนความอยู่รอดของหน่วยบิน ทบ. ด้วย
ศูนย์ปฏิบัติการปัจจุบัน (Current Operations Center)
ฉ-๖๑. ศูนย์ปฏิบัติการปัจจุบันเปรียบเสมือนหัวใจของการด�ำเนินการของ น.ปขส.ที่ ๑ (บก)
ที่รวมเอาขีดความสามารถในการปฏิบัติการ ขีดความสามารถในการข่าวกรองสนับสนุนการ ปขส.
และขีดความสามารถในการติดต่อสื่อสารไว้ด้วยกัน
ฉ-๖๒. ศูนย์ปฏิบัติการปัจจุบันให้การสนับสนุนชุดปฏิบัติการของ น.ปขส.ที่ ๑ (บก) ที่ถูกส่งไป
ปฏิบัติงานตามที่ต่าง ๆ และสนับสนุนหน่วยที่ชุดดังกล่าวไปสนับสนุนด้วย
ฉ-๖๓. ส่วนสนับสนุนข่าวกรองจะให้การสนับสนุนความต้องการในการวางแผนขัน้ ต้นของชุดทีจ่ ะ
ถูกส่งไปปฏิบัติงาน ส่วนปฏิบัติการจะติดตามการปฏิบัติงานของหน่วยต่าง ๆ ตลอดเวลา ผ่านทาง
เครือข่ายการสื่อสารชั้นดีที่มีอยู่
การปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Operations)
ฉ-๖๔. น.ปขส.ที่ ๑ (บก) อยูภ่ ายใต้การควบคุมทางยุทธวิธี (Tactical Control - TACON) ของหน่วย
บัญชาการป้องกันขีปนาวุธและอวกาศ (Space and Missile Defense Command) ในเรื่องการ
โจมตีเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 361

ฉ-๖๕ ความสัมพันธ์ระหว่าง น.ปขส.ที่ ๑ (บก) กับฝ่ายยุทธการ ทบ. ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง


ฝ่ายยุทธการ ทบ.ยังคงมอบภารกิจให้ น.ปขส.ที่ ๑ ท�ำการสนับสนุนให้หน่วย กกล.ทบ. และหน่วย
หลักอื่น ๆ ของ ทบ.ด้วย
US Army Intelligence and Security Command (เว้น)
US Army Network Enterprise Technology Command/9th Army Signal Command
(เว้น)
ผนวก ช
ตัวอย่างค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ส�ำหรับการ ปขส.
อนุผนวกนี้เป็นตัวอย่างของค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ส�ำหรับการปฏิบัติการสนับสนุน (support
operation) ในเขตสงคราม สถานการณ์สมมติจะใช้สถานการณ์เดียวกับในอนุผนวก ข
ช-๑. หลังจาก ทน.๒๑ และกองทัพซาน แองกลอสได้เริม่ การโจมตีหลายชัว่ โมง นักก่อวินาศกรรม
ของเรนโดวาได้วางระเบิดโรงงานผลิตปุ๋ยใกล้กับเมือง ซาน ฮาซินโต ซึ่งอยู่ทางด้านตะวันออกของ
ซาน แองกลอส (ดูรูป บี-๑ หน้า บี-๒) รัฐบาลซาน แองกลอส ได้ร้องขอให้ ทน.๒๑ ช่วยเหลือ
ในการรักษาความสงบเรียบร้อยจนกว่าฝ่ายพลเรือนและทหารของซาน แองกลอส จะควบคุม
สถานการณ์ไว้ได้ ซาน แองกลอส ยังได้ร้องขอให้ ทน.๒๑ ช่วยเหลือในการก�ำจัดสารปนเปื้อน
และรักษาพลเรือนที่บาดเจ็บด้วย
ช-๒. ฝ่าย เสธ. ทน.๒๑ ได้เตรียมแผนเผชิญเหตุ เรียกว่า แผนโพรไวเดอร์ ที่มีการคาดหมายถึง
สถานการณ์ดังกล่าวไว้แล้ว ซึ่งในแผนโพรไวเดอร์ก็ได้มีการระบุให้หน่วยต่าง ๆ ตระเตรียมแผนใน
ส่วนของตนไว้พร้อม เมื่อได้รับแจ้งการโจมตี ทน.๒๑ จึงประกาศใช้แผนโพรไวเดอร์ทันที ทก.ของ
ทน.๒๑ ได้ออกค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ตาม รูป ช-๑ ถึงหน่วยทุกหน่วยในพื้นที่รวมพลแจ็คสันและสจ๊วต
ชุดที่...ของ...ชุด
ทก.ทน.๒๑
หมู่วันเวลา
ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ที่...
อ้างถึง ค�ำสั่งยุทธการที่...
แผนยุทธการโพรไวเดอร์
การจัดเฉพาะกิจ ฉก.โพรไวเดอร์
พัน.ฉก.๒-๔ ร้อย ปจว.ที่ ๓๖๑
พัน.กร.ที่ ๑๒๒ พัน.ขกท.ที่ ๑๐๒ (สต.)
ร้อย สห. ๒๑๒ กรม.ฉก.ที่ ๔๐๔ (สต.)
ร้อย สห.ที่ ๓๐๑ พัน.สน.ที่ ๗๐๒ (สต)
๑. สถานการณ์ เวลา ๐๙๐๐...มีผู้ก่อวินาศกรรมไม่ระบุฝ่ายจุดระเบิดขนาดใหญ่ที่โรงงานผลิตปุ๋ยนอกเมือง
ซาน ฮาซินโต พิกัด...แรงระเบิดท�ำให้โรงงานถูกท�ำลายและท�ำให้เกิดพื้นที่อันตรายเป็นวงกว้างรัศมี ๒ กม.
รัฐบาลซาน แองกลอส ได้ขอความช่วยเหลือให้ฝ่ายเราเข้าจัดการผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์ครั้งนี้
ก. ฝ่ายข้าศึก
รูป ช-๑ ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ของ ทน.๒๑
รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 363

๑) หน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special purpose force) ยังคงปฏิบัติการทางด้านตะวันออกของ


ซาน แองกลอส โดยพยายามแฝงตัวอยูใ่ นองค์กรเอกชนและประชาชนในซาน ฮาซินโต เพือ่ หาข่าว
และขัดขวางการปฏิบตั กิ ารของหน่วยทหารสหรัฐฯ และซาน แองกลอส อันตรายส�ำคัญส�ำหรับทหาร
สหรัฐฯ เจ้าหน้าทีพ่ ลเรือนระดับสูง และนักการเมือง น่าจะมาจากชุดพลซุม่ ยิงของหน่วยปฏิบตั กิ าร
พิเศษดังกล่าว นอกจากนีห้ น่วยปฏิบตั กิ ารพิเศษอาจปฏิบตั โิ ดยตรงต่อเป้าหมายอ่อนแอ เช่นหน่วย
ทหารระดับหมู่ ทีต่ งั้ ทาง คบช.ทีไ่ ม่มกี ารป้องกัน เป็นต้น วัตถุประสงค์ทหี่ น่วยปฏิบตั กิ ารพิเศษคือ
สร้างความหวาดกลัวให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชนและบ่อนท�ำลายขวัญของทหารสหรัฐฯ
๒) สมาชิกขององค์การปลดปล่อยเรนโดวา (Rendovan Liberation Front) ยังคงพยายามจัดตั้ง
กองก�ำลังก่อความไม่สงบจากประชาชนในพื้นที่ จะมีการเดินขบวนประท้วงการปฏิบัติการและ
จะยั่วยุให้เกิดความรุนแรงเพื่อให้สื่อรายงานข่าวการท�ำร้ายประชาชนของทหารสหรัฐฯ
ข. ก�ำลังฝ่ายเรา
๑) ทน.๒๑ ไม่เปลี่ยนแปลง
๒) กองทัพบกซาน แองกลอส
ก) ปฏิบัติการแตกหักคือการโจมตีเพื่อขับไล่ ทน.เสือ ออกจาก ซาน แองกลอส
ข) ก�ำลังเฉพาะกิจของซาน แองกลอส ทีป่ ระกอบด้วยทหารและพลเรือนก�ำลังรวมพลอยูท่ ฮี่ าราร์
พิกัด.คาดว่าจะสามารถควบคุม ซาน ฮาซินโตและพื้นที่บริเวณโดยรอบได้ภายใน ๔๘ ชม.
หน่วยงานพลเรือนและต�ำรวจใน ซาน ฮาซินโต ยังไม่ได้รับความเสียหายใดๆ
๒. ภารกิจ ฉก.โพรไวเดอร์วางก�ำลังใน ซาน ฮาซินโต เพื่อสนับสนุนหน่วยงานพลเรือนและกวาดล้างสารพิษ
ปนเปือ้ นจากโรงงานผลิตปุย๋ จัดตัง้ ต�ำบลจ่าย สป.๑ เพือ่ สนับสนุนองค์กรเอกชน, สนับสนุนทางการแพทย์และ
สิง่ อ�ำนวยความสะดวกทางการแพทย์ในพืน้ ที,่ ป้องกันและควบคุมการก่อความวุน่ วายด้วยการสนับสนุนต�ำรวจ
ซาน ฮาซินโต, และโอนการควบคุมให้กับหน่วยเฉพาะกิจของกองทัพซาน แองกลอส เมื่อมาถึง (ไม่ช้ากว่า
วัน ว.+ ๔)
๓. การปฏิบัติ
เจตนารมณ์ นี่เป็นเหตุการณ์วิกฤต ความส�ำเร็จของการปฏิบัติการครั้งนี้ขึ้นอยู่กับการรักษาความเชื่อมั่นของ
ประชาชนในพืน้ ทีต่ อ่ รัฐบาลซาน แองกลอส การช่วยเหลือต้องท�ำอย่างรวดเร็วและต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัย
ของก�ำลังพลด้วย
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) กิจที่ต้องกระท�ำ
ก) ท�ำให้พื้นที่มีความปลอดภัย/ป้องกันหน่วย
ข) แจกจ่ายอาหาร น�้ำ และบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน
ค) รักษาความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย รวมถึงการควบคุมฝูงชน
ง) จัดการติดต่อกับหน่วยงานพลเรือนในท้องถิ่นและองค์กรเอกชน
จ) เตรียมคุ้มกันขบวนล�ำเลียงอาหารขององค์กรเอกชนเพื่อป้องกันการปล้นชิง
ฉ) กวาดล้างสารปนเปื้อนจากโรงงานปุ๋ยที่ถูกท�ำลาย
รูป ช-๑ ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ทน.๒๑ (ต่อ)
364 ผนวก ช

๒) การปฏิบัติการครั้งนี้แบ่งออกเป็น ๕ ขั้น
ก) ขั้นที่ ๑ แจ้งเตือน รวมก�ำลัง และส่งก�ำลังเข้าพื้นที่ พัน.ฉก. ๒-๑๔ รวมก�ำลังจัดตั้ง ฉก.โพร
ไวเดอร์ และเริม่ เตรียมเคลือ่ นย้าย ด�ำรงการติดต่อสือ่ สารกับ ทก.ทน.๒๑ ประสานกับศูนย์ปฏิบตั ิ
การกิจการพลเรือน (ศกร.) เรื่องสถานการณ์ด้าน กร.ในปัจจุบันและสภาพทั่วไปของพื้นที่
ข) ขัน้ ที่ ๒ วางก�ำลังในพืน้ ทีพ่ กั คอยและประเมินสถานการณ์ เคลือ่ นย้ายทางบกและทางอากาศ
เข้าพื้นที่รวมพล โพรไวเดอร์ บริเวณ (พิกัด....) วางก�ำลังป้องกัน จัดให้มีการติดต่อกับรัฐบาล
ท้องถิ่น รัฐบาลกลาง/ หน่วยงานเอกชน, ลาดตระเวนพื้นที่ปฏิบัติการ ซาน ฮาซินโต และ
ปรับปรุงแผนการสนับสนุน
ค) ขั้นที่ ๓ ป้องกันพื้นที่ปฏิบัติการ ซาน ฮาซินโต วางก�ำลังป้องกันต�ำบลจ่าย สป.ต่างจะจัดส่ง
เข้ามาจากพื้นที่รวมพล โพรไวเดอร์ ปฏิบัติการลาดตระเวนเชิงรุกเพื่อขยายพื้นที่รักษาความ
ปลอดภัย จัดตั้งต�ำบลจ่ายเพิ่มเติมหากจ�ำเป็น ประสานงานการช่วยเหลือระหว่างประเทศ
เจ้าบ้าน/องค์กรเอกชน และของหน่วย ชักจูงให้ประเทศเจ้าบ้านมีส่วนร่วมในการวางแผน
ประสานงานและปฏิบัติงานเพื่อความเข้าใจอันดี ป้องกันทรัพยากรจากสภาพอากาศและ
การลักขโมย ด�ำรงการพิทักษ์หน่วยอย่างต่อเนื่อง
ง) ขัน้ ที่ ๔ รักษาความสงบเรียบร้อยและแจกจ่ายสิง่ ของจ�ำเป็น รักษาความสงบเรียบร้อยในพืน้ ที่
ปฏิบตั กิ าร ซาน ฮาซินโต แจกจ่ายสิง่ ของ การสนับสนุน ให้ความช่วยเหลือทางด้านการแพทย์
แก่ประชาชน ติดตามการปฏิบตั งิ านขององค์กรเอกชน/ประเทศเจ้าบ้าน ประเมินจุดอ่อน และ
ด�ำรงการพิทักษ์หน่วย
จ) ขั้นที่ ๕ ส่งมอบพื้นที่, การสนับสนุนและเคลื่อนย้ายกลับ ส่งมอบการปฏิบัติการให้กับหน่วย
เฉพาะกิจของกองทัพ ซาน แองกลอส ไม่ชา้ กว่า วัน ว.+๔ เกณฑ์พจิ ารณาในการส่งมอบได้แก่
(๑) พลเรือนทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บจากเหตุการณ์ครัง้ นีไ้ ด้รบั การรักษาพยาบาลและอยูใ่ นความดูแล
ของแพทย์หรือสถานทางการแพทย์
(๒) จัดตั้งต�ำบลจ่าย สป.๑ เสร็จสิ้น สามารถแจกจ่ายอาหารตามปริมาณที่ก�ำหนดได้
หน่วยงานเอกชน/เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสามารถด�ำเนินการแจกจ่ายต่อไปได้
(๓) ไม่มีการปล้นชิง การประท้วง หรือการก่อความวุ่นวายจากประชาชน
(๔) หลังการส่งมอบ ฉก.โพรไวเดอร์เคลือ่ นย้ายกลับทีต่ งั้ เดิมเพือ่ ฟืน้ ฟูกำ� ลัง เตรียมรับภารกิจ
เป็น กยล. (Tactical combat force)
ข. กิจของหน่วยรอง
๑) พัน.ฉก.๒-๔๑
ก) ควบคุมบังคับบัญชา ฉก.โพรไวเดอร์
ข) ก�ำหนดความรับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัย การขนส่ง และการด�ำรงสภาพ
ค) ระวังป้องกันพื้นที่รวมพลโพรไวเดอร์ ไม่ช้ากว่าเวลา ๒๑๐๐ วัน. ว.
ง) เตรียมรับการส่งมอบอาหารทางอากาศในพืน้ ทีร่ วมพล โพรไวเดอร์ ไม่ชา้ กว่า วัน ว.+ ๑ เวลา
๐๖๐๐

รูป ช-๑ ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ทน.๒๑ (ต่อ)


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 365

จ) เริ่มจัดการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น ไม่ช้ากว่า วัน ว. เวลา ๑๒๐๐


ฉ) เตรียมรับก�ำลังพลสนับสนุนเพิ่มเติมที่จะมาทาง ฮ. ไม่ช้ากว่า วัน ว. เวลา ๑๒๐๐
ช) ประสานกับ สธ.๕ เรื่องการสนับสนุนประเทศเจ้าบ้าน/องค์กรเอกชน
ซ) ประสานกับ นธน.เรื่องกฎการใช้ก�ำลัง
ฌ) ประสานกับ สธ.๕ เพื่อรับทราบความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ซาน ฮาซินโต
๒) ร้อย ปจว.ที่ ๓๖๑ ด�ำเนินการออกอากาศทางเครื่องขยายเสียง แจกจ่ายใบปลิว และออกอากาศ
ทางวิทยุ เนื้อหาของการ ปจว.เป็นการแนะน�ำให้ประชาชน ซาน ฮาซินโต พยายามอย่าเข้าใกล้
โรงงานปุย๋ และบอกทีต่ งั้ ต�ำบลจ่ายอาหารและบริการทางการแพทย์ ให้ประชาชนรายงานข่าวสาร
ที่เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของเรนโดวา
๓) ร้อย สห.ที่ ๒ และร้อย สห.ที่ ๓๐๑
๑) จัดก�ำลังเพื่อคุ้มกัน ฉก.โพรไวเดอร์ไปยังที่รวมพลโพรไวเดอร์
๒) ป้องกันที่รวมพลโพรไวเดอร์
๓) คุ้มกันขบวนล�ำเลียงอาหารขององค์กรเอกชนภายในพื้นที่ปฏิบัติการ ซาน ฮาซินโต เมื่อสั่ง
๔) พัน.ขกท.๑๐๒ (สต.)
ก) ประเมินท่าทีของประชาชนในท้องถิ่นต่อการปฏิบัติการของทหารสหรัฐฯ
ข) จัดก�ำลังเป็นชุดเพือ่ ปฏิบตั กิ ารพิทกั ษ์หน่วย เตรียมพร้อมเคลือ่ นย้ายทางอากาศจาก DSA Zinc
ไม่ช้ากว่า...
ค) จัดการติดต่อกับต�ำรวจของประเทศเจ้าบ้าน
ง) ประเมินภัยคุกคามและจุดอ่อนตลอดห้วงเวลาปฏิบัติการ
๕) พลน้อย ฉก.๔๐๔ (สต.)
ก) จัด ฮ.สนับสนุนการล�ำเลียงอาหาร ๒๕ ตัน ต�ำบลรับของขึน้ (PZ) พิกดั ...ต�ำบลร่อนลงคือพืน้ ที่
รวมพลโพรไวเดอร์ ส่งอาหารไปยังต�ำบลร่อนลง ไม่ช้ากว่า...
ข) สนับสนุนการเคลื่อนย้ายให้กับเจ้าหน้าที่องค์กรเอกชนเมื่อร้องขอ แต่เจ้าหน้าที่เหล่านั้นต้อง
เซ็นยินยอมไม่เรียกร้องค่าเสียหายเมื่อเกิดความสูญเสียขึ้น
ค) เตรียมสนับสนุนการยิงด้วยอาวุธที่มีความแม่นย�ำสูง
๖) พัน.สน.ที่ ๗๐๒ (สต.)
ก) เคลือ่ นย้ายหน่วยสนับสนุนทางการส่งก�ำลังบ�ำรุงเริม่ แรกทางอากาศจาก DSA Zinc ไปยังพืน้ ที่
รวมพลโพรไวเดอร์ไม่ช้ากว่า (หมู่วันเวลา) หน่วยที่ต้องเคลื่อนย้ายทางพื้นดินเริ่มเคลื่อนย้าย
ไม่ช้ากว่า (หมู่วันเวลา)
ข) สนับสนุนการช่วยรบต่อ ฉก.โพรไวเดอร์
ค) แจกจ่ายอาหารและน�้ำอย่างเพียงพอต่อพลเรือน ๓๕๐๐ คน
ง) สนับสนุนเจ้าที่ด้านสุขภาพเพื่อประเมินอันตรายในพื้นที่ ซาน ฮาซินโต
จ) ปฏิบัติการในพื้นที่ส่งลงเพื่อรับ สป.จาก ฮ. เมื่อสั่ง
ฉ) ปฏิบัติการในพื้นที่ส่งลงเพื่อรับ สป.จาก ฮ. เมื่อสั่ง

รูป ช-๑ ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ทน.๒๑ (ต่อ)


366 ผนวก ช

๗) ร้อย.เคมี ๑๒๒ กวาดล้างสารปนเปื้อนจากโรงงานปุ๋ยบริเวณ ซาน ฮาซินโต


ค. กิจส�ำหรับเจ้าหน้าที่
๑) สธ.๕/ศกร.
ก) เข้าที่ตั้งที่เดียวกับ บก.พัน.ฉก.๒-๔
ข) ท�ำความรู้จักและประสานกับเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น
ค) แจกจ่ายอาหารและน�้ำอย่างเพียงพอต่อพลเรือน ๓๕๐๐ คน
ง) ประสานการสนับสนุนจากรัฐบาลซาน แองกลอส
จ) ประสานการสนับสนุนองค์กรเอกชนผ่านทาง ศกร.
๒) น.ปชส. จัดให้มีการแถลงข่าวโดยเน้นในเรื่องต่อไปนี้
ก) การท�ำลายโรงงานผลิตปุย๋ ที่ ซาน ฮาซินโตเป็นการก่อการร้ายโดย แนวร่วมปลดปล่อยเรนโดวา
ข) การท�ำลายโรงงานผลิตปุย๋ ไม่มผี ลต่อการปฏิบตั ทิ างทหารแต่อย่างใด แต่วตั ถุประสงค์ทผี่ กู้ อ่ การ
กระท�ำก็เพื่อก่อให้เกิดความสูญเสียต่อพลเรือนเท่านั้น
ค) ฉก.โพรไวเดอร์เคลื่อนย้ายเข้าพื้นที่ปฏิบัติการโพรไวเดอร์เพื่อลดความสูญเสียของพลเรือน
ง) ทหารของ ฉก.โพรไวเดอร์ พร้อมกับองค์กรเอกชนและหน่วยงานรัฐบาลประจ�ำท้องถิ่นก�ำลัง
จัดตั้งต�ำบลจ่ายอาหาร
จ) ฉก.โพรไวเดอร์ ให้การสนับสนุนทางการแพทย์และการ รปภ.เพื่อสนับสนุนเจ้าหน้าที่รัฐ
ใน ซาน ฮาซินโต
๓) แพทย์ใหญ่ ประสานกับกองพันส่งก�ำลังบ�ำรุงทางการแพทย์ส�ำหรับการขนส่ง สป.สายแพทย์ทาง
อากาศตามรายการ...
ง. ค�ำแนะน�ำในการประสาน
๑) ประเด็นสนทนา ต่อไปเป็นแนวทางส�ำหรับใช้เป็นประเด็นสนทนาในเรื่องการก่อวินาศกรรม
โรงงานปุ๋ยที่ ซาน ฮาซินโต ส�ำหรับทหาร ฉก.โพรไวเดอร์ ที่อาจต้องพูดคุยกับสื่อมวลชนหรือ
หน่วยงานพลเรือน ประเด็นเหล่านี้ใช้ส�ำหรับเป็นแนวทางพูดคุยที่เป็นจริงและเท่าที่ทราบใน
ปัจจุบัน หากมีการขอข้อมูลเพิ่มเติม ควรแนะน�ำให้ขอต่อ น.ปชส.ต่อไป
ก) กลุ่มก่อการร้ายชื่อว่า แนวร่วมปลดปล่อยเรนโดวา เป็นผู้โจมตีโรงงานผลิตปุ๋ย
ข) โรงงานผลิตปุย๋ ที่ ซาน ฮาซินโต ถูกท�ำลาย และมีแก๊สพิษรัว่ ไหลสูอ่ ากาศบริเวณรอบ ๆ โรงงาน
ค) ก�ำลังมีการส�ำรวจจ�ำนวนที่แท้จริงของพลเรือนที่เสียชีวิต และผู้ไม่มีที่อยู่อาศัย แต่ความ
เสียหายรอบ ๆ โรงงานอยู่ในขั้นรุนแรงมาก
ง) ทหารสหรัฐฯ ปฏิบตั งิ านโดยประสานงานกับนายกเทศมนตรี ซาน ฮาซินโต และองค์กรช่วยเหลือ
นานาชาติ เพื่อให้การช่วยเหลือถึงมือพลเรือนที่ได้รับความสูญเสียจากการก่อการร้ายได้มาก
ที่สุด
จ) เราไม่สามารถให้ความเห็นต่อลักษณะความช่วยเหลือที่แน่นอนได้ รวมถึงที่ตั้งของหน่วย
ทีใ่ ห้การช่วยเหลือดังกล่าว หากต้องการข่าวสารเพิม่ เติมส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารของทหารสหรัฐฯ
ให้ติดต่อกับ น.ปชส.

รูป ช-๑ ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ทน.๒๑ (ต่อ)


รส. ๓-๑๓ ว่าด้วยการปฏิบัติการสารสนเทศ 367

ฉ) เราขอแสดงความเห็นอกเห็นใจและจะสนับสนุนประชาชน ซาน ฮาซินโต ผู้ตกเป็นเหยื่อการ


ก่อการร้ายอย่างเต็มความสามารถ
๒) อันตรายจากสารเคมี สารเคมีหลัก ๆ ทีเ่ ป็นอันตรายได้แก่ ไดคลอโรอะนีลนี , คลอโคไพริดนิ ลิ , และ
กรดเบนโซอิก ลักษณะ มาตรการป้องกัน และการปฐมพยาบาล มีดังนี้
ก) อันตรายเมื่อหายใจเข้าหรือสัมผัส
ข) ติดไฟได้เมื่อถูกท�ำให้ร้อน
ค) น�ำ้ ทีช่ ะล้างมีพษิ และมีฤทธิก์ ดั กร่อน ภาชนะบรรจุควรใช้นำ�้ หล่อเย็น ห้ามให้นำ�้ เข้าภาชนะบรรจุ
ง) ย้ายผู้ป่วยเจ็บไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์และให้ออกซิเจน
จ) เราไม่สามารถให้ความเห็นต่อลักษณะความช่วยเหลือที่แน่นอนได้ รวมถึงที่ตั้งของหน่วย
ทีใ่ ห้การช่วยเหลือดังกล่าว หากต้องการข่าวสารเพิม่ เติมส�ำหรับการปฏิบตั กิ ารของทหารสหรัฐฯ
ให้ติดต่อกับ น.ปชส.
ฉ) เราขอแสดงความเห็นอกเห็นใจและจะสนับสนุนประชาชน ซาน ฮาซินโต ผู้ตกเป็นเหยื่อการ
ก่อการร้ายอย่างเต็มความสามารถ
๓) ข่าวสารส�ำคัญส�ำหรับ ผบ.
ก) ขนาดและที่ตั้งของข้าศึกในพื้นที่
ข) จ�ำนวนของพลเรือนผู้ป่วยเจ็บแยกตามประเภท (เร่งด่วนต้องผ่าตัด, เร่งด่วน, ด่วน, ปกติ)
อายุ/เพศ
ค) ที่ตั้งและขีดความสามารถของสิ่งอ�ำนวยความสะดวกของ ซาน แองกลอส ในพื้นที่ ซาน
ฮาซินโต
ง) สป.๑, ๘ และเลือดที่ ซาน แองกลอสมี
จ) โรงงานปุ๋ยถูกท�ำลายด้วยอาวุธท�ำลายล้างสูงหรือระเบิดธรรมดา
ฉ) เครื่องบิน/เครื่องมือส่งกลับผู้ป่วยของซาน แองกลอส ในพื้นที่
ช) ในพื้นที่มีการช่วยเหลือด้านศาสนาใด
๔. การบริการ พัน.สน.ที่ ๗๐๒ เป็น บก.สนับสนุนการช่วยรบของ ฉก.โพรไวเดอร์
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ผบ.พัน.ฉก.๒-๔ เป็น ผบ. ฉก.โพรไวเดอร์
๒) ทก.ทน.๒๑ ควบคุมการปฏิบัติ
ข. การสื่อสาร ไม่เปลี่ยนแปลง
ตอบรับ

ลงชื่อ....

รูป ช-๑ ค�ำสั่งเป็นส่วน ๆ ทน.๒๑ (ต่อ)

You might also like