You are on page 1of 70

กองทัพบก

คู่มือราชการสนาม

ว่าด้วย

หลักนิยมการข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี
รส. ๒๔–๔๐

พ.ศ. ๒๕๕๖
วัตถุประสงค์การฝึกศึกษาของกองทัพบก
s เป็นผู้นำ�ที่ดี มีคุณธรรม
s มีความรูแ ้ ละประสบการณ์ส�ำ หรับการในหน้าที่
s แข็งแรงทรหดอดทนต่อการตรากตรำ�ทำ�งาน
คำ�นำ�
ความเป็นมา
ผู้เขียนอาศัยประสบการณ์ในการท�ำงานหลังจากส�ำเร็จหลักสูตรชั้นนายพันเหล่าทหาร
สือ่ สารเข้ามาท�ำงานในต�ำแหน่งอาจารย์โรงเรียนทหารสือ่ สารเมือ่ ปี ๒๕๓๒ - ๓๕ รวม ๔ ปี ในขณะ
นัน้ ก็มคี วามคิดทีจ่ ะพัฒนา ปรับปรุง หลักนิยมของเหล่าทหารสือ่ สารให้ทนั สมัย แต่กท็ �ำได้แค่การ
ปรับปรุงต�ำราสอนหลายเล่มรวมทั้งหนังสือวิชาทหารสื่อสารที่ใช้สอบเข้า รร.สธ.ทบ. จากเดิม
“เล่มเขียว” แก้เป็น “เล่มพราง” และใช้มาจนปัจจุบันตามค�ำสั่งของ พ.อ.วิชัย เวชวงศาทิพย์
(ยศในขณะนั้น)
ครั้นเมื่อปี ๒๕๕๑ สบส. เดิมหรือ ยศ.ทบ. ในปัจจุบันมีโครงการที่จะพัฒนาหลักนิยมทั่ว
ทัง้ กองทัพบกตัง้ แต่ปี ๒๕๕๑ ซึง่ ขณะนัน้ ผูเ้ ขียนรับราชการในต�ำแหน่งรองผูอ้ �ำนวยการกองวิทยาการ
จึ ง รั บ หน้ า ที่ ในการจัดท�ำหลัก นิยม และได้ เ สนอโครงการจั ดท�ำหลั ก นิ ย มไปยั ง สบส. โดย
ท่านเจ้ากรมการทหารสื่อสาร พล.ท.อารักษ์ ประภาพันธุ์ (ยศในขณะนั้น) กรุณาให้การสนับสนุน
ในทุก ๆ ด้าน
วัตถุประสงค์และขอบเขต
คู่มือเล่มนี้เป็นพื้นฐานในการปฏิบัติงานด้านการข่าวสารทางทัศนะ ทั้งภาพนิ่ง และภาพ
เคลื่อนไหว สามารถใช้ได้ในกิจการของทหารเหล่าต่าง ๆ ได้โดยตรง คู่มือเล่มนี้แปลและรวบรวม
มาจาก FM 24-40 Visual Information Doctrine, ต�ำราวิชาองค์แทนการสื่อสาร, หลักนิยมการ
สื่อสารร่วม ปี ๕๐ ซึ่งคณะผู้จัดท�ำโครงการฯ ได้ตัดข้อความบางส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย
และกองทัพบกไทยออกไปบ้าง เพราะเห็นว่าจะมีประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ชัดเจนกว่า
ขอบเขตการใช้งานเน้นในการรบและในการฝึกเพือ่ ท�ำการรบ ซึง่ อาจประยุกต์ในยามปกติ
ได้อีกด้วย
ความคิดเห็นของผู้ใช้ รส. ๒๔-๔๐
หากผู้อ่านพบข้อบกพร่องหรือมีความประสงค์ขอแก้ไขปรับปรุงหรือให้ข้อเสนอแนะ
ต่าง ๆ ในฉบับนี้ กรุณาแจ้งมายัง
กองวิทยาการ กรมการทหารสื่อสาร
เลขที่ ๑๔๙ ถนนพระราม ๕ เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐
โทร. ๙๕๓๖๐ หรือ ๐๒๒๔๓๑๔๑๘
ขอขอบคุณผู้บังคับบัญชาทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ และขอขอบคุณคณะผู้จัดท�ำทุกท่าน
ลงชื่อ พ.อ.
(สิปปกรณ์ แก้วมณี)
รองผู้อ�ำนวยการกองสงครามสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยีทางทหาร
กรมการทหารสื่อสาร/นายทหารโครงการ
บทสรุปผู้บริหาร
วัตถุประสงค์ และขอบเขต
เนือ่ งจากมีความต้องการข่าวสารทางทัศนะทีห่ ลากหลายรูปแบบพิเศษเฉพาะ และมีความ
ต้องการให้มโี ครงสร้างการจัดการทีม่ เี สถียรภาพแก่หน่วยวางก�ำลังในสนามรบให้สามารถปฏิบตั กิ าร
ข่าวสารการภาพได้จริง ในบทที่ ๓ จึงเน้นการโครงสร้างการจัดก�ำลังทีค่ วรจะเป็น ถึงแม้ในปัจจุบนั
โครงสร้างนี้ก็ยังไม่ผ่านการทดสอบในการท�ำงาน แต่ถ้าคงแนวความคิดในการจัดการนี้ไว้เพราะ
จ�ำเป็นจะต้องใช้ในการด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ไม่มีทางเลือกอื่นที่ดีกว่า ผู้บังคับบัญชาและฝ่าย
อ�ำนวยการจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในการใช้งานสนับสนุนภารกิจที่จ�ำเป็น และ “ก�ำหนด
รูปแบบพิเศษเฉพาะ” ให้ได้ในทุกภารกิจ

คู่มือฉบับนี้ใช้เป็นหลักพื้นฐานของกองทัพบกและนาวิกโยธินในการใช้งานระบบข่าวสาร
การภาพและเจ้าหน้าที่ข่าวสารการภาพในการสนับสนุนการยุทธ์ในสงคราม ณ ระดับยุทธวิธี
คู่มือประกอบไปด้วยค�ำอธิบายที่น�ำไปสู่ความเข้าใจว่าการข่าวสารทางทัศนะสามารถสนับสนุน
หลักนิยมการรบของกองก�ำลังเฉพาะกิจอากาศพืน้ ดินและนาวิกโยธินได้อย่างไร และยังได้บรรยาย
คุณภาพและสมรรถนะของสื่อการภาพ (Visual Media) ไว้อีกด้วย คู่มือฉบับนี้ให้บริการเสมือน
ค�ำแนะน�ำแก่ก�ำลังพลทัง้ ในและนอกประจ�ำการซึง่ มีหน้าทีว่ างแผน วางก�ำหนดการ เตรียมการ วาง
ก�ำลัง และใช้กับทหารบกและนาวิกโยธิน

รส. ๒๔-๔๐/รส. ๓-๘ กล่าวถึงรายละเอียดของหลักพืน้ ฐานทีใ่ ช้ในการออกแบบกองก�ำลัง


เพื่อปฏิบัติการข่าวสารการภาพในการรบ การพัฒนาการรบขั้นพื้นฐาน, การพัฒนาการรบขั้นสูง
และการฝึก คูม่ อื นีส้ ร้างให้เห็นภาพ (Visual Image) ของสนามรบซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญต่อผูบ้ งั คับหน่วย
ในการตัดสินใจน�ำหน่วยเข้าปฏิบัติการในรูปแบบต่าง ๆ คู่มือฉบับนี้ระบุหน้าที่ บทบาทของ
ช่างภาพสนาม (combat camera soldier) ในการจับภาพข่าวในสนามรบ และยังอธิบายขีดความ
สามารถของการข่าวสารการภาพ และวิธีการใช้ข่าวสารการภาพของผู้บังคับหน่วยทุกระดับ

พ.อ.สิปปกรณ์ แก้วมณี นายทหารโครงการ/ผู้แปล


สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำ�นำ�
บทสรุปผู้บริหาร

บทที่ ๑ การยุทธ์ของกองกำ�ลังเฉพาะกิจอากาศพื้นดินและทะเล ๑
๑. คำ�นำ� ๑
๒. คำ�นิยาม ๒
๓. ภารกิจ ๕
๔. ข้อยกเว้น ๕
๕. ภัยคุกคาม ๗
บทที่ ๒ ขีดความสามารถ ๑๐
๑. คำ�นำ� ๑๐
๒. กระบวนการจัดการสารคดีข่าวสารการภาพ ๑๒
๓. การประชุม ๒๗
๔. ผลผลิตมัลติมีเดีย ๒๙
๕. การส่งต่อและการแจกจ่าย ๓๐
บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ ๓๖
ตอนที่ ๑ นโยบายและความรับผิดชอบ ๓๖
ตอนที่ ๒ กองทัพบกสนาม ๓๘
ตอนที่ ๓ กองทัพน้อย ๔๖
(Corps)
ตอนที่ ๔ กองพล/กองพลนาวิกโยธิน ๔๙
ตอนที่ ๕ กรมและหน่วยต่ำ�กว่ากรมลงมา ๕๒
บทที่ ๔ การบริหารการส่งกำ�ลัง ๕๖
๑. คำ�นำ� ๕๖
๒. ระบบและอุปกรณ์ ๕๖
๓. การพัฒนาวัสดุอุปกรณ์ ๕๗
๔. การพัฒนาการรบ ๕๗
๕. การส่งกำ�ลังและการซ่อมบำ�รุง ๕๗
๖. การปรนนิบัติบำ�รุง ๕๗

ผนวก ก บรรณานุกรม ๕๘
บทที่ ๑
การยุทธ์ของกองก�ำลังเฉพาะกิจอากาศพื้นดินและทะเล
๑. ค�ำน�ำ
๑.๑ ข่าวสารการภาพ (Visual Information) (VI) เป็นส่วนประกอบหนึง่ ของการบริหาร
ข้อมูลการสื่อสารสนับสนุนการปฏิบัติการร่วมซึ่งท�ำงานร่วมกับการติดต่อสื่อสาร, การใช้เครื่องมือ
อัตโนมัต,ิ การบริหารการบันทึกข้อมูล และการตีพมิ พ์ ส�ำหรับหน่วยรบ ข่าวสารการภาพ (VI) เป็น
ส่วนที่จ�ำเป็นในการยุทธ์ของกองก�ำลังเฉพาะกิจอากาศพื้นดินและทะเลซึ่งปฏิบัติการนี้จะช่วยให้
ได้มาซึ่งภาพของการรบ, การประมวลผลและการท�ำส�ำเนาภาพ, การกู้คืนและการกระจายภาพ
การปฏิบตั กิ ารเริม่ ต้นด้วยการเตรียมการส�ำหรับการปฏิบตั อิ ากาศ-พืน้ ดิน การบังคับบัญชาทุกระดับ
ต้องเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขและการด�ำเนินการในเขตการรบไปถึงสงครามสิ้นสุด

ภาพที่ ๑-๑ การภาพสนับสนุนแก่การวางแผน (จาก FM 6-02.40)

๑.๒ ผู้บัญชาการสนามรบและผู้วางแผนยุทธศาสตร์ มีความต้องการภาพที่มีความ


ถูกต้องของเงื่อนไขและเหตุการณ์ส�ำคัญทั้งก่อน, ระหว่าง และหลัง โดยทันทีทันใดในการปฏิบัติ
การทางยุทธวิธี ผูบ้ งั คับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการทีต่ ระหนักถึงเหตุการณ์ส�ำคัญสามารถตอบสนอง
2 บทที่ ๑ การยุทธ์ของกองก�ำลังเฉพาะกิจอากาศพื้นดินและทะเล

อย่างรวดเร็วและถูกต้องในการต่อต้านจุดแข็งของข้าศึกและหาประโยชน์จากจุดอ่อน ภาพทีเ่ ห็นนัน้


จะช่วยผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นตัดสินใจได้อย่างดีเกี่ยวกับการใช้หน่วยรบ หน่วยสนับสนุนการ
รบ และหน่วยสนับสนุนการช่วยรบได้อย่างมีประสิทธิภาพในสนามรบ

ภาพที่ ๑-๒ การประชุมบรรยายสรุปสถานการณ์


๒. ค�ำนิยาม
๒.๑ ข่าวสารการภาพ (VI) คือการใช้สื่อภาพทั้งที่มีและไม่มีเสียงเพื่อที่จะสื่อสารข้อมูล
ซึง่ นีร้ วมถึงการถ่ายภาพนิง่ ดิจทิ ลั วิดโี อ การบันทึกวิดโี อเคลือ่ นไหว ภาพเคลือ่ นไหว ภาพประกอบ
ที่ท�ำด้วยมือและคอมพิวเตอร์ การน�ำเสนอมัลติมีเดีย และการบันทึกเสียง

ภาพที่ ๑-๓ เป้าหมายถูกท�ำลาย


หมายเหตุ : ข่าวสารการภาพ, ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีและภาพการรบถูกใช้แลกเปลี่ยนกันได้
ตลอดโดยหน่วยรบของหลักนิยมนี้
รส. ๒๔-๔๐ 3

ภาพที่ ๑-๔ ภาพเรือรบถูกท�ำลาย

๒.๒ ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี (Tactical Visual Information) คือกระบวนการ


เกีย่ วกับสารคดีของปฏิบตั กิ ารทางทหารประกอบด้วยการประมวลผล การส่งข้อมูล การท�ำส�ำเนา
การเผยแพร่ภาพ กราฟิกส์ การปฏิบตั กิ ารของการประชุมระยะไกลด้วยวิดโี อและบริการมัลติมเี ดีย
ต่าง ๆ ภายในภูมิภาคหรือสภาพแวดล้อมทางยุทธวิธี ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีรวมไปถึงภาพ
การรบและการให้บริการตามหน้าที่ในสิ่งแวดล้อมทางยุทธวิธี (ภาพที่ ๑-๕ การเคลื่อนย้ายทาง
ยุทธวิธี)

ภาพที่ ๑-๕ การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธี


4 บทที่ ๑ การยุทธ์ของกองก�ำลังเฉพาะกิจอากาศพื้นดินและทะเล

๒.๒.๑ การภาพการรบ (COMCAM) คือ กระบวนการสารคดีการภาพของภาคพื้นดิน


พื้นทะเล และอากาศของกองทัพไทย, พันธมิตร และกองก�ำลังติดอาวุธของประเทศเจ้าบ้าน
ในการรบและการสนับสนุนการรบ และเกี่ยวโยงกับกิจกรรมการฝึกในยามสงบ ตัวอย่างเช่น
การฝึกต่าง ๆ เกมสงคราม และงานยุทธการอื่น ๆ

ภาพที่ ๑-๖ ภาพระหว่างการฝึก

๒.๒.๒ ผู้ใช้งาน จะจัดตั้ง ติดตั้ง ปฏิบัติงาน และบ�ำรุงรักษาการท�ำงานของระบบ


ข่าวสารการภาพและอุปกรณ์ส�ำหรับผู้บังคับบัญชา

ภาพที่ ๑-๗ การฝึกจ�ำลองยุทธ์ด้านข่าวสารการภาพ


รส. ๒๔-๔๐ 5

๒.๓ การยุทธ์ร่วม คือการปฏิบัติการทางทหารที่ร่วมกันหลายเหล่าทัพ ซึ่งถูกก�ำหนด


ภารกิจผ่านระบบปฏิบัติการวางแผนการร่วม (JOPS) ภายใต้การก�ำกับดูแลของกองบัญชาการ
กองทัพไทยและกระทรวงกลาโหม

๓. ภารกิจ
ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี จะท�ำให้ผบู้ งั คับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการได้มาซึง่ ผลผลิต
ทางด้านภาพและบริการของการสนับสนุนพื้นที่การด�ำเนินงานทั้งหมดรวมถึงการปฏิบัติการ, การ
บังคับบัญชาและการควบคุม, การส่งก�ำลังบ�ำรุง, ข่าวกรองการทหาร, การช่าง, การประชาสัมพันธ์,
ก�ำลังพล, การรักษาพยาบาล, สารวัตรทหาร, หน่วยรบพิเศษ (รวมถึงหน่วยปฏิบัติการพิเศษของ
นาวิกโยธิน), การปฏิบัติการจิตวิทยา, กิจการพลเรือน และประวัติศาสตร์ทางทหาร

ภาพที่ ๑-๘ การภาพการรบ (COMCAM (CC)) สนับสนุนภารกิจอะไรได้บ้าง

๔. ข้อยกเว้น
ภารกิจดังต่อไปนี้โดยปกติจะถูกแยกออกจากข้อก�ำหนดกฎเกณฑ์ในหลักนิยมนี้ ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับระเบียบของกองทัพบกและของนาวิกโยธิน
๔.๑ การเผยแพร่รูปถ่าย, การท�ำแผนที่, การถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์ (x-ray), ภาพจาก
ไมโครฟิล์ม หรือไมโครฟิช
6 บทที่ ๑ การยุทธ์ของกองก�ำลังเฉพาะกิจอากาศพื้นดินและทะเล

๔.๒ ข่าวสารในการควบคุมบังคับบัญชา และการเสนอข้อมูลในระบบอาวุธ


๔.๓ ภาพที่ถูกเก็บเฉพาะการเฝ้าตรวจ, การลาดตระเวนหรือการข่าวและอุปกรณ์ที่ใช้
ในการรวบรวมข่าวสารการภาพซึ่งติดตั้งบนยานพาหนะที่ใช้ในการลาดตระเวน
๔.๔ ภาพที่ใช้ในปฏิบัติการการเข้ารหัส

ภาพที่ ๑-๙ แผนที่บริเวณเขาพระวิหาร



๔.๕ งานกระจายเสียงและภาพจากเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ของกองทัพ และอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง

ภาพที่ ๑-๑๐ สัญลักษณ์ ททบ.๕


รส. ๒๔-๔๐ 7

๔.๖ ภาพจากกล้องถ่ายภาพนิง่ ทีส่ ร้างภาพขึน้ ได้ดว้ ยตัวเองใช้ส�ำหรับท�ำบัตรประจ�ำตัว


และบัตรรักษาความปลอดภัย

ภาพที่ ๑-๑๑ กล้องที่ใช้ท�ำบัตรประจ�ำตัวทหาร

๕. ภัยคุกคาม
๕.๑ ภัยคุกคามต่อระบบข่าวสารการภาพมีทั้งทางกายภาพและทางอิเล็กทรอนิกส์
ทั้ง ๆ ที่ระบบใหม่ ๆ อย่างเช่น Digital still Video (DSV) ซึ่งป้องกันแล้ว แต่ภัยคุกคามทาง
อิเล็กทรอนิกส์จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
๕.๑.๑ ระบบอัตโนมัติ อาจถูกท�ำลายหรือท�ำให้เสียหายด้วยคลื่นกระแทกแม่เหล็ก
ไฟฟ้า ข้อมูลข่าวสารที่เป็นภาพมีจุดอ่อนที่ระบบการสื่อสารที่ใช้ส่งข้อมูล
ข่าวสาร ข้าศึกที่มีศักยภาพสามารถจัดวางระบบอาวุธชนิดต่าง ๆ ซึ่งสามารถ
รบกวนหรือท�ำลายระบบสนับสนุนข่าวสารการภาพของฝ่ายเราได้ ภัยคุกคาม
อาจจะใช้อาวุธธรรมดา, นิวเคลียร์, ชีวภาพ, เคมี, หรืออาวุธปล่อยพลังงาน
บังคับทิศทาง มาท�ำความเสียหายทางกายภาพ ท�ำลาย ก่อกวน “ช่างภาพสนาม”
(Combat Camera Soldiers), การปฏิ บัติ การข่ า วสารการภาพ และ
ระบบติดต่อสื่อสาร ระบบสนับสนุนทางการสื่อสารเป็นจุดอ่อนที่จะเกิดความ
เสียหายทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคลื่นกระแทกแม่เหล็กไฟฟ้า
8 บทที่ ๑ การยุทธ์ของกองก�ำลังเฉพาะกิจอากาศพื้นดินและทะเล

ภาพที่ ๑-๑๒ การก่อสร้างอาคารป้องกันภัยคุกคามทางคลื่นกระแทกแม่เหล็กไฟฟ้า

๕.๑.๒ ภัยคุกคามทางเคมี สามารถท�ำให้หมดไปโดย


• การหลีกเลี่ยง เป็นวิธีการที่ส�ำคัญที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุด
• ใช้ระบบป้องกันความดันเกินโดยรวม (ติดตั้งภายในระบบและเครื่องมือใหม่ ๆ)
หรือใช้วิธีการป้องกันซึ่งสามารถป้องกันก�ำลังพลและเครื่องมือ
• การขจัดสิ่งปนเปื้อน เป็นกระบวนการซึ่งสามารถท�ำความเสียหายให้กับอุปกรณ์
ของระบบข้อมูลข่าวสารที่เป็นภาพมากกว่าสารเคมีที่ถูกใช้ในการท�ำให้หมดไป

ภาพที่ ๑-๑๓ ภาพหลังการโจมตี


รส. ๒๔-๔๐ 9

๕.๒ ผลกระทบของภัยคุกคามต่อความสามารถของข่าวสารการภาพ ถูกคาดการณ์ว่ามี


ไม่มากและเป็นไปโดยทางอ้อม เนื่องจากภาพจะถูกส่งด้วยระบบการสื่อสารทางยุทธวิธีที่มีอยู่
เพราะฉะนั้นการคุกคามโดยการสกัดกั้นที่จุดส่งนั้นเปรียบเสมือนกับการคุกคามระบบการสื่อสาร
ทั้งหมด การคุกคามนี้จะต้องกระท�ำที่ตัวส่งสัญญาณเพื่อที่จะสกัดกั้นการส่งสัญญาณภาพผ่าน
ดาวเทียม ภาพนี้สามารถถูกเปลี่ยนเป็นรูปแบบสัญญาณดิจิทัล, ถูกเข้ารหัส และถูกส่งด้วยรูปแบบ
ผ่านการรักษาความปลอดภัยที่ก�ำหนดไว้ ส�ำหรับสัญญาณภาพแบบอนาล็อกสามารถส่งผ่านสาย
โทรศัพท์ที่ปลอดภัยโดยใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่

ภาพที่ ๑-๑๔ การภาพเพื่อหวังผลในการ ปจว.


บทที่ ๒
ขีดความสามารถ
๑. ค�ำน�ำ
๑.๑ หน่วยทีร่ บั ผิดชอบข่าวสารการภาพของกองทัพบกในสนามรบ มีขดี ความสามารถ
ในการสนับสนุนการร้องขอของข่าวสารการภาพในแต่ละระดับการบังคับบัญชาภายในกอง
ก�ำลังภาคพื้นที่ปฏิบัติการร่วมและสนับสนุน และสามารถขยายไปสู่กองบัญชาการแห่งชาติ
ขีดความสามารถทางด้านข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีนี้ถูกด�ำเนินการด้วยระบบทางข่าวสาร
การภาพและกระบวนการการท�ำงานร่วมกับหน่วยทหาร, กระทรวงกลาโหม และกองบัญชาการ
แห่งชาติ ระบบการสื่อสารทางยุทธวิธีและทางธุรกิจที่มีอยู่จะถูกใช้ในการถ่ายทอดข้อมูลภาพ
เกือบจะพร้อม ๆ กับเหตุการณ์จริง (Real time) ขีดความสามารถทางด้านข่าวสารการภาพของ
กองทัพบกและนาวิกโยธินนี้ท�ำให้การถ่ายทอดของข่าวสารการภาพจากสนามรบไปยังกอง
บัญชาการแห่งชาติเกือบจะพร้อม ๆ กับเหตุการณ์จริง (Real time) โดยมุ่งเน้นไปที่การสนับสนุน
ตามข้อก�ำหนดของภารกิจทางยุทธวิธีของผู้บังคับบัญชา

ภาพที่ ๒-๑ ช่างภาพสนามในการยุทธ์ ติดกล้องที่หมวกเหล็ก (จาก FM 6-02.40)


รส. ๒๔-๔๐ 11

๑.๒ ขีดความสามารถของข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี ประกอบด้วย กระบวนการ


จัดการสารคดี, กระบวนการผลิตข่าวสารการภาพ และการรวบรวมภาพนิง่ , ภาพเคลือ่ นไหว, เสียง
และสื่อกราฟิก (graphics media) ทั้งหลายไปสู่กระบวนการตกลงใจทางด้านยุทธวิธี ขีดความ
สามารถของช่างภาพการรบจะต้องอ่อนตัว, เอาตัวรอดได้และมีความสามารถในการใช้ระบบการ
สือ่ สารทางด้านยุทธศาสตร์, ยุทธวิธแี ละธุรกิจทีย่ งั สามารถใช้ได้เพือ่ ทีจ่ ะส่งข้อมูลภาพพร้อม ๆ หรือ
เกือบจะพร้อมกับเหตุการณ์จริง (Real time) จากที่ใดก็ตามในสนามรบ วิธีการนี้ช่างภาพสนาม
จะให้บริการเสมือนกับเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจชนิดหนึ่งและเป็นส่วนประกอบของก�ำลังรบ
แก่ผู้บังคับหน่วยทางยุทธวิธี โดยอาศัยโครงข่ายการสื่อสารที่ทันสมัยในโลกปัจจุบันมาเสริมระบบ
การสื่อสารทางทหารในกรณีจ�ำเป็น

ภาพที่ ๒-๒ การประสานโครงข่ายสื่อสารเพื่อข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี


12 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

๒. กระบวนการจัดการสารคดีข่าวสารการภาพ
๒.๑ ข้อเท็จจริง หน่วยทีร่ บั ผิดชอบข่าวสารการภาพของกองทัพบกและนาวิกโยธินทาง
ยุทธวิธจี ะให้การสนับสนุนภารกิจร่วมในเรือ่ งการด�ำเนินการบันทึกภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหว, จัดท�ำ
ภาพพิมพ์ (Graphics) และบันทึกข้อมูลทางด้านเสียงซึ่งบ่อยครั้งลึกลงไปในสื่อภาพเคลื่อนไหว
หน่วยนี้จะให้การครอบคลุมทั้งภาคพื้นดิน พื้นทะเลและห้วงอากาศและใช้การติดต่อสื่อสารที่เป็น
สิง่ มีชวี ติ หรือเครือ่ งมือ ช่างภาพการรบทัง้ ของกองทัพบกและนาวิกโยธินจะใช้ระบบกล้องถ่ายภาพ
ทีม่ คี วามคงทน, เชือ่ ถือได้และน�ำ้ หนักเบาซึง่ ประกอบด้วยเลนส์และอุปกรณ์เสริมทีเ่ หมาะสมเพือ่ ให้
ครอบคลุมได้ทุก ๆ สถานการณ์ทางยุทธวิธี

ภาพที่ ๒-๓ พลภาพการรบ พร้อมกล้องบันทึกภาพแบบมือถือ (จาก FM 6-02.40)

ซึ่งประกอบไปด้วยสภาพภูมิอากาศที่เลวร้ายหรือความมืด หน่วยนี้ยังมีขีดความสามารถใน
การส่งต่อสารคดีของกิจกรรมใด ๆ ที่ส�ำคัญผ่านช่องการสื่อสารไปยังศูนย์การภาพรบร่วม (Joint
Combat Camera Center) (JCCC) หรือจุดประเมินมัลติมีเดียของนาวิกโยธิน (Marine Corps
Multi-Media Preassessions Point) (MMPP) วัสดุที่ใช้ในการบันสามารถใช้งานได้ถึงกระทรวง
กลาโหม, ส�ำนักเสนาธิการกองทัพบกหรือผู้บัญชาการนาวิกโยธินหรือหน่วยต่าง ๆ ของกองทัพบก
และนาวิกโยธินที่ใช้ส�ำหรับการสรุป, รายงานและตีพิมพ์, วางแผน, ออกแถลงการณ์, รายงานสู่
สภาผู้แทนและส่งต่อตามล�ำดับไปยังศูนย์ข้อมูลกระทรวงกลาโหมและคลังสารคดีแห่งชาติ
รส. ๒๔-๔๐ 13

ภาพที่ ๒-๔ การส่งต่อสารคดี กิจกรรมต่าง ๆ โดยการสื่อสารทั่วโลก

๒.๑.๑ การจัดการสารคดีจะกระท�ำอย่างตรงไปตรงมาของแต่ละหัวข้อหรือแต่ละ
การปฏิบตั ทิ เี่ กิดขึน้ จริง อาจจะถูกรวบรวมหรือถูกประกอบผลผลิตทีเ่ ป็นสือ่ ภาพเคลือ่ นไหว, การน�ำ
เสนอแบบมัลติมีเดีย (Multimedia presentation) หรือชุดของภาพนิ่งที่มีจุดประสงค์โดยเฉพาะ

ภาพที่ ๒-๕ ภาพจากเหตุการณ์จริง


14 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

๒.๑.๒ การจัดการสารคดีจะให้การสนับสนุนโดยตรงแก่การบังคับบัญชาและการควบคุม,
การปฏิบตั กิ าร, การวางแผน, การเคลือ่ นย้าย, ข่าวกรองทางทหาร, การรักษาพยาบาล, การบริหาร
จัดการ, การประชาสัมพันธ์และข้อก�ำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาพซึ่งสนับสนุนระบบการปฏิบัติ
ในสนามรบและการจัดท�ำสารคดีในสนามรบของกองบัญชาการแห่งชาติจะสนับสนุนข้อก�ำหนดใน
การรบ, การสนับสนุนการรบและการสนับสนุนการช่วยรบ

ภาพที่ ๒-๖ ภาพการปฏิบัติการทางพลเรือน

๒.๑.๓ การจัดการสารคดีอาจจะถูกแปรรูปแบบไปสู่ระบบดิจิทัลส�ำหรับการส่งข้อมูล,
การจัดเก็บ, การกู้ข้อมูล, การแสดงข้อมูลหรือจัดท�ำเป็นสื่อที่ใช้ได้สะดวก (อย่างเช่น รูปถ่าย สไลด์
วิดีโอเทป การน�ำเสนอมัลติมีเดีย)

ภาพที่ ๒-๗ สื่อมัลติมีเดียทั้งหมด


รส. ๒๔-๔๐ 15

๒.๒ ผลลัพธ์ ของการจัดการภาพการรบที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ภาพดังต่อไปนี้


๒.๒.๑ ภาพปฏิบัติการทางทหารในการเตรียมการส�ำหรับการเริ่มเข้าสู่สงคราม
๒.๒.๒ ภาพที่ตั้งของฝ่ายเราก่อน, ระหว่างและหลังการรบ
๒.๒.๓ ภาพที่ตั้งของข้าศึก ที่มั่นป้อมค่ายและสิ่งกีดขวางก่อนและหลังการรบ
๒.๒.๔ ภาพการจัดการสารคดีเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภูมิประเทศเพื่อที่จะสนับสนุนการ
วางแผนการปฏิบัติการ, การวางแผนการคมนาคมและชนิดและที่ตั้งฉากขัดขวาง
๒.๒.๕ ภาพถ่ายทางอากาศเฉพาะจะให้ข้อมูลภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวของที่ตั้งฝ่าย
เราและข้าศึก
๒.๒.๖ ภาพความเสียหายยุทโธปกรณ์ในสนามรบของกองก�ำลังฝ่ายเราเพือ่ ทีจ่ ะให้ขอ้ มูล
อย่างทันท่วงทีแก่ผู้วางแผนยุทธการ, ผู้วางแผนการเคลื่อนย้ายและนักพัฒนายุทธภัณฑ์ทางทหาร
เพื่อที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพการกระท�ำตอบโต้
๒.๒.๗ ภาพความเสียหายในสนามรบที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินของประชาชนเพื่อใช้ใน
การพิจารณาชดเชยค่าเสียหาย

ภาพที่ ๒-๘ ภาพความเสียหายของทรัพย์สินพลเรือน ถ่ายจากทางอากาศ

๒.๒.๘ ภาพความเสียหายยุทโธปกรณ์ในสนามรบของข้าศึกเพื่อที่จะให้ประสิทธิภาพ
ของอาวุธของฝ่ายเราให้กับผู้วางแผนยุทธการ, ผู้วางแผนการเคลื่อนย้ายและนักพัฒนายุทธภัณฑ์
ทางทหารและจุดอ่อนของข้าศึกในการใช้ในการวิจัยและพัฒนาในระยะยาว
16 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

ภาพที่ ๒-๙ ความเสียหายยุทโธปกรณ์ในสนามรบ

๒.๒.๙ ภาพการส่งก�ำลัง, ยุทธภัณฑ์, ยุทโธปกรณ์, ก�ำลังพล และสารคดีของข้าศึกที่ถูกตรวจจับ


ได้ใช้ส�ำหรับประเมินการรบ, การสนับสนุนการรบและการสนับสนุนการช่วยรบของข้าศึก ภาพเหล่านี้
อาจจะเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับการข่าวกรองทางทหาร, การปฏิบัติการจิตวิทยา, การสารวัตรทหาร,
และการประชาสัมพันธ์ชุมชน และอาจจะเป็นไปได้ใช้การได้ดีส�ำหรับนักประวัติศาสตร์ทางทหาร
และคลังจัดเก็บ
๒.๒.๑๐ หลักฐานของการฟ้องร้องของอาชญากรรมสงคราม
๒.๒.๑๑ ภาพของการปฏิบตั กิ ารทางทหารส�ำหรับหัวหน้าคณะเสนาธิการร่วมและฝ่าย
อ�ำนวยการของกองทัพบกและนาวิกโยธินใช้ในการตัดสินใจทางยุทธการ
๒.๒.๑๒ วัสดุและทฤษฎีทใี่ ช้ในการรบส�ำหรับการพัฒนาการฝึกและประวัตศิ าสตร์ทาง
ทหาร
๒.๒.๑๓ ภาพการรบครัง้ แรกของอาวุธใหม่ ๆ, ระบบการสนับสนุนการรบใหม่ ๆ และการ
ปรับปรุงแก้ไขกลยุทธ์จะให้ขอ้ มูลทางด้านการรบ, ทฤษฎี, ยุทธภัณฑ์และการพัฒนาการฝึกพร้อมทัง้
ความเหมาะสมของยุทโธปกรณ์และทฤษฎีใหม่แก่ผบู้ งั คับบัญชาในสนามรบและฝ่ายอ�ำนวยการของ
กองทัพบกและนาวิกโยธิน
รส. ๒๔-๔๐ 17

ภาพที่ ๒-๑๐ การรบด้วยอาวุธใหม่ ๆ

๒.๒.๑๔ ส�ำหรับหน่วยนาวิกโยธินภาพการรบยังให้ภาพส�ำหรับการพัฒนาการฝึกและ
ประวัติศาสตร์ทางทหาร

ภาพที่ ๒-๑๑ ยุทโธปกรณ์นาวิกโยธิน กองทัพเรือไทย


18 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

๒.๓ การสนับสนุน หน่วยที่รับผิดชอบข่าวสารการภาพจะจัดให้ก�ำลังพล, เครื่องมือและการ


ด�ำเนินการสนับสนุนที่ถูกก�ำหนดไว้ที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารการภาพเพื่อที่จะท�ำให้งานได้ประสบผล
ส�ำเร็จ หน่วยภาพการรบต้องการรับการสนับสนุนจากหน่วยผู้ขอรับภาพดังต่อไปนี้
๒.๓.๑ ที่พักและเสบียงอาหาร
๒.๓.๒ การสนับสนุนของฝ่ายอ�ำนวยการส�ำหรับการประสานงาน, การปฏิบัติงานและ
การกวาดล้าง
๒.๓.๓ การสนับสนุนยานพาหนะติดตามตามร้องขอ
๒.๓.๔ การสนับสนุนเฮลิคอปเตอร์หรือเครื่องบินปิดปีกติดล�ำตัวส�ำหรับการโดยสาร
หรือการถ่ายภาพทางอากาศ
๒.๓.๕ ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะทางเพือ่ ทีจ่ ะช่วยในการเก็บภาพเพือ่ ตอบสนองงานเฉพาะทาง

ภาพที่ ๒-๑๒ การสนับสนุนเฮลิคอปเตอร์หรือเครื่องบินปิดปีกติดล�ำตัวส�ำหรับการโดยสาร


หรือการถ่ายภาพทางอากาศ

๒.๔ การเพิ่มเติมก�ำลัง นอกเหนือจากภารกิจหลักแล้วภาพการรบยังสามารถเพิ่มเติมความ


สามารถในการท�ำงานที่เกี่ยวกับข่าวสารการภาพในด้านข่าวกรองทางทหาร, สารวัตรทหาร, การ
ปฏิบัติการจิตวิทยา, กิจการพลเรือน, การประชาสัมพันธ์, หน่วยรบพิเศษและหน่วยรบพิเศษของ
นาวิกโยธิน การเพิ่มเติมนี้มีข้อจ�ำกัดเรื่องการด�ำเนินการสนับสนุนตามค�ำสั่งของผู้บังคับบัญชาและ
หน่วยงานข่าวสารการภาพที่มีอุปกรณ์และผ่านการฝึกส�ำหรับการสนับสนุนนั้นเพราะว่าหน่วยเหล่านี้
มีภารกิจเฉพาะด้านและต้องการการฝึกอบรมเฉพาะด้านเช่นกัน นอกจากนี้หน่วยก�ำลังรบนอก
รส. ๒๔-๔๐ 19

ประเทศที่เกี่ยวกับภาพการรบของนาวิกโยธินสามารถเพิ่มเติมหรือถูกเพิ่มเติมด้วยชุดปฏิบัติการ
ภาพการรบส�ำหรับหน่วยภาพการรบของนาวิกโยธินตามการร้องขอ

๒.๕ วิธีการ
๒.๕.๑ สื่อภาพเคลื่อนไหว
• เทคโนโลยีดา้ นสือ่ ภาพเคลือ่ นไหวเป็นวิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากส�ำหรับการติดต่อ
สือ่ สารแต่ละบุคคลหรือกลุม่ ขนาดใหญ่ ผลผลิตของสือ่ ภาพเคลือ่ นไหวจะรายงานให้
ทหาร, นาวิกโยธินและพลเรือนที่เรียนรู้ทฤษฎี, การฝึกและการบังคับบัญชาและ
จุดประสงค์ข้อมูลสาธารณะ ผลผลิตนี้จะให้ความสามารถของการทบทวนการ
ปฏิบัติงานและการฝึกของหน่วยพร้อมทั้งเป็นเครื่องชี้แนะพัฒนาการและเทคนิค
การยุทธ์ที่มีการปรับปรุงใหม่ ๆ แก่ผู้บังคับบัญชา การเคลื่อนที่ของหน่วยไปยัง
ทีต่ งั้ แห่งใหม่อาจจะถูกก�ำหนดต�ำแหน่งโดยภาพเคลือ่ นไหวหรือภาพนิง่ ของลักษณะ
ภูมิประเทศ เทคโนโลยีสื่อภาพเคลื่อนไหวสามารถใช้ในปฏิบัติการทั้งกลางวัน
กลางคืนและสภาวะแสงที่จ�ำกัด
20 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

• สื่อภาพเคลื่อนไหวมีขีดความสามารถในการสนับสนุนผู้บังคับบัญชาในด้านการบริการ
ด้านสื่อภาพเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้
→ การผลิตสารคดีทเี่ ป็นวิดโี อเทปขนาดเล็ก (อย่างเช่น ฟิลม์ ๘ มม.) ระบบรวบรวมสารคดีใน
การรบซึ่งต้องการแสง การพกพาได้ดีซึ่งจะให้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ยอมรับได้ บริการ
เหล่านี้ปกติแล้วถูกใช้ในระดับชุดปฏิบัติการภาพการรบ

→ การผลิตสารคดีทเี่ ป็นวิดโี อเทป (อย่างเช่น Betacam) ระบบรวบรวมวัสดุสารคดีตน้ ฉบับ


ที่ถูกใช้ในการรายงานและการถ่ายทอดต้นร่างวิดีโอที่มีความซับซ้อนของภาพการรบ
รูปแบบพิเศษ

→ ผลผลิตวิดโี อทีถ่ กู ตัดต่อคร่าว ๆ บริการนีส้ ามารถท�ำให้ส�ำเร็จทีร่ ะดับภาพการรบตำ�่ ทีส่ ดุ


เพื่อที่จะสนับสนุนความต้องการทางการยุทธ์ของผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอ�ำนวยการใน
พื้นที่นั้น

→ ผลผลิตวิดโี อทีถ่ กู ตัดต่ออย่างสมบูรณ์ บริการนีป้ กติแล้วถูกใช้ทรี่ ะดับภาพการรบภาคพืน้


เพือ่ ทีจ่ ะสนับสนุนความต้องการทางการยุทธ์ของกองบัญชาการภาคพืน้ ร่วม กองทัพบก
กระทรวงกลาโหม คณะเสนาธิการร่วมและกองบัญชาการแห่งชาติ

→ การเชือ่ มต่อการสือ่ สาร หน่วยข่าวสารการภาพมีขดี ความสามารถในการเปลีย่ นรูปแบบ


จากฟิล์มและภาพอิเล็กทรอนิกส์แบบอนาล็อกไปเป็นรูปแบบดิจิทัลเพื่อใช้ส�ำหรับ
การส่งข้อมูลทางระบบดาวเทียมทางยุทธวิธี ยุทธศาสตร์หรือเช่าเชิงพาณิชย์ (ดูภาพ ๒-๑๒)
การส่งสัญญาณวิดโี อรวมแบบทีไ่ ม่เข้ารหัสระบบมาตรฐาน PAL (Phase Alternating Line)
ต้องการใช้ระบบวงจรไฟฟ้าที่ใช้แบนวิดธ์ ๖ เมกะเฮิรตซ์(๖.๐ megahertz (MHz)
bandwidth) สัญญาณวิดีโอรวมที่เข้ารหัสแบบ PAL ต้องการใช้ระบบวงจรไฟฟ้า
ทีใ่ ช้แบนวิดธ์ ๖.๓ เมกะเฮิรตซ์ สิง่ เหล่านีใ้ นปัจจุบนั จะเกินกว่าขีดความสามารถของระบบ
การสื่ อ สารทางยุ ท ธวิ ธี แ ละยุ ท ธศาสตร์ ซึ่ ง ปราศจากการส�ำรองระบบวงจรไว้ ก ่ อ น
การบี บ อั ด ข้ อ มู ล แบบดิ จิ ทั ล ของสั ญ ญาณวิ ดี โ อรวมแบบ PAL ถู ก พั ฒ นา
เพื่ อ ที่ จ ะบี บ อั ด สั ญ ญาณวิ ดี โ อรวมให้ เ ล็ ก ลงถึ ง ระดั บ แบนวิ ด ธ์ ๔.๕ เมกะเฮิ ร ตซ์
การส่งสัญญาณแบบทันทีทนั ใด (Real time) ของวิดโี อต้องการให้หน่วยข่าวสารการภาพมี
ขีดความสามารถทีจ่ ะเข้าไปใช้ระบบดาวเทียมทางยุทธวิธี ยุทธศาสตร์หรือเช่าเชิงพาณิชย์
ในช่วงความถี่ KU or C band เพือ่ ทีจ่ ะให้ภารกิจประสบผลส�ำเร็จ ส�ำหรับหน่วยนาวิกโยธิน
จะใช้การเชื่อมต่อทางการสื่อสารไปยังชุดปฏิบัติการภาพการรบร่วมในสนามรบ
รส. ๒๔-๔๐ 21

รูปที่ ๒-๑๓ ระบบเชื่อมต่อการส่งข้อมูลวิดีโอภาพเคลื่อนไหว (จาก FM 6-02.40)

๒.๕.๒ วิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัล (Digital Still Video)


• วิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัลช่วยให้การส่งข้อมูลภาพส�ำคัญอย่างเช่น ลักษณะภูมิประเทศ,
การเคลื่อนพลทางยุทธการ, ข้อมูลข่าวกรองและการปฏิบัติการทางยุทธวิธีได้เหมาะสม
กับเวลาโดยตรงจากสนามรบผ่านระดับการบังคับบัญชาไปยังกองบัญชาการแห่งชาติ
วิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัลจะให้ข้อมูลภาพนิ่งเกือบจะพร้อม ๆ กับเหตุการณ์จริงแก่
ผู้บังคับบัญชาเพื่อใช้การช่วยตัดสินใจทางยุทธการที่ส�ำคัญและทันท่วงที

• กล้องวิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัลใช้แผ่นดิสก์ (floppy disk) ๒.๕ นิ้วในการบันทึกภาพ


ทางอิเล็กทรอนิกส์พร้อมด้วยความสามารถในการพิมพ์สภี ายในไม่กวี่ นิ าทีจากเครือ่ งพิมพ์
สี กล้องนีม้ อี ปุ กรณ์ถา่ ยภาพกลางคืน (Night vision device) ทีส่ ามารถใช้ถา่ ยได้ในทีม่ ดื
ภาพวิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัลสามารถถูกส่งผ่านทางโทรศัพท์และดาวเทียมทางยุทธวิธี
ยุทธศาสตร์หรือเช่าเชิงพาณิชย์ซึ่งจะให้การส่งสัญญาณเกือบพร้อม ๆ กับเหตุการณ์จริง
ไปยังที่ใดก็ตามบนโลกนี้อย่างแท้จริง (ดูรูป ๒-๒)
22 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

รูปที่ ๒-๑๔ ระบบเชื่อมต่อการส่งข้อมูลวิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัล (จาก FM 6-02.40)


• แผ่นดิสก์ที่ใช้ส�ำหรับวิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัลสามารถถูกท�ำส�ำเนาและส่งด้วยผู้ส่งสาร
(Courier) หรือพลน�ำสาร (Messenger) ไปยังทีต่ งั้ ผูป้ ฏิบตั งิ านทัว่ ทัง้ สนามรบ เทคโนโลยี
ในปัจจุบันสามารถส่งข้อมูลวิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัลด้วยการใช้ IP Technology
หน่ ว ยข่ า วสารการภาพมี เ ครื่ อ งรั บ ส่ ง วิ ดี โ อภาพนิ่ ง แบบดิ จิ ทั ล ซึ่ ง สามารถเชื่ อ มต่ อ
ด้ ว ยกั น กั บ เครื อ ข่ า ยสื่ อ สารที่ มี อ ยู ่ ทั้ ง ทางยุ ท ธวิ ธี แ ละทางธุ ร กิ จ อั ต ราการไหล
ของข้ อ มู ล (Baud rate) ของระบบหมายถึ ง ความเร็ ว ของการส่ ง ข้ อ มู ล
สามารถส่งภาพวิดีโอภาพนิ่งแบบดิจิทัล และสามารถส่ ง ภาพวิ ดี โ อภาพแบบดิ จิ ทั ล
ภาพวิดีโอภาพแบบดิจิทัลในระบบนั้น ๆ ไม่สามารถรวมกันกับระบบควบคุมอัตโนมัติ
ซึง่ ถูกก�ำหนดเป็นอีกแผนกหนึง่ แผนกนีจ้ ะถูกกล่าวในการปรับปรุงให้ในอนาคตของระบบ
ควบคุมอัตโนมัติซึ่งถูกจัดตั้งเป็นแผนกหนึ่งทั่วทั้งกองทัพบก

๒.๕.๓ สารคดีฟิล์มภาพนิ่ง (Film-based still documentation)


• ส�ำหรับภารกิจข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีที่ต้องการภาพที่มีคุณภาพสูง หน่วยข่าวสาร
การภาพทางยุทธวิธีของกองทัพบกและกองพลนาวิกโยธินมีขีดความสามารถในการ
บันทึกภาพนิ่งด้วยการใช้ฟิล์ม เพราะว่าความสามารถในการเคลื่อนย้ายเป็นที่ต้องการ
ส�ำหรับการจัดท�ำสารคดีการรบ ดังนั้นช่างภาพจะต้องเร่งรัดการท�ำฟิล์มพร้อมกับค�ำ
อธิบายที่สมบูรณ์ไปยังหน่วยข่าวสารการภาพของกองทัพน้อยหรือกองก�ำลังภาคพื้น
ส�ำหรับการด�ำเนินการและจัดพิมพ์ต่อไป
รส. ๒๔-๔๐ 23

ภาพที่ ๒-๑๕ ตัวอย่างระบบการเก็บภาพนิ่งผ่านดาวเทียม

• ชุดท�ำงานด้านถ่ายภาพฟิลม์ สีและขาวด�ำรวมทัง้ การพิมพ์จ�ำนวนน้อย ๆ จะจัดไว้ทหี่ น่วย


ภาพการรบกองทัพบกและนาวิกโยธินซึง่ ตัง้ อยูใ่ นทีบ่ งั คับการกองทัพน้อยส่วนหลัง ส่วน
งานจ�ำนวนมาก ๆ และมีปริมาณการพิมพ์สูงจะจัดไว้ที่หน่วยข่าวสารการภาพ ที่
บัญชาการกองทัพบกสนามส่วนหลัง ด้วยวิวัฒนาการของเทคโนโลยี ในระดับกองพล
อุปกรณ์การภาพจะได้รับอ�ำนาจให้แปลงจากฟิล์มให้เป็นไฟล์พร้อมส่งได้ทั้งแบบ
อนาล็อกและแบบดิจิทัล ใกล้เคียงเวลาจริง (near real time)
24 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

ภาพที่ ๒-๑๖ ตัวอย่างระบบการแจกจ่ายภาพนิ่งผ่านดาวเทียม

๒.๕.๔ สารคดีเสียง (Audio Documentation)


• หน่วยข่าวสารการภาพกองทัพบกและนาวิก ด�ำรงไว้ซงึ่ ขีดความสามารถในการท�ำสารคดี
เสียงเพื่อสนับสนุนภารกิจ สารคดีเสียงเป็นผลผลิตจากไมโครโฟนกับเครื่องบันทึกเสียง
หรือเกิดจากระบบบันทึกเสียงซึ่งอยู่ในเครื่องบันทึกภาพวิดีโอ
• สารคดีเสียงใช้เทคโนโลยีเสียงไฮเฟดดิลีและเทปแคสเซตต์มาตรฐาน

๒.๕.๕ ภาพวาด (Graphic)


• การออกแบบ การสร้างสรรค์ ภาพ ๒ มิติ และภาพ ๓ มิติ ด้วยมือและคอมพิวเตอร์
ช่วยวาดภาพเป็นทีล่ ะเอียดของหน่วยข่าวสารการภาพทีส่ นับสนุนภารกิจโดย “ผูเ้ ชีย่ วชาญ
ข่าวสารการภาพ” ในสภาวะแวดล้อมทางยุทธวิธี พลข่าวสารการภาพ จะปฏิบตั ภิ ารกิจดังนี้
รส. ๒๔-๔๐ 25

→ ผลิตกราฟิกเพื่อการตัดสินใจอย่างแม่นย�ำและเป็นทางการ
→ พัฒนาแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียม
→ สร้างแผ่นบริวาร ภูมิประเทศ ที่ตั้งฝ่ายเรา ฝ่ายข้าศึกและพิกัดเป้าหมาย
→ ประสานงานภายในระหว่างการภาพไปสู่ระบบควบคุมการด�ำเนินกลยุทธ์ เพื่อ
ปรับปรุงแผนที่สถานการณ์ให้ทันสมัย
• ผูเ้ ชีย่ วชาญสารคดีภาพวาด จะต้องเตรียมแผ่นแผนผัง โปสเตอร์ และวัสดุการภาพเพือ่
ท�ำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปกสิ่งพิมพ์ บรรยายสรุป สิ่งแสดง และแบบจ�ำลอง ด้วย
การร่างและทาสีแบบหยาบ ๆ เพื่องานยุทธการและงานประวัติศาสตร์

ภาพที่ ๒-๑๗ ภาพจากวิเคราะห์ผู้เชี่ยวชาญภูมิประเทศเฉพาะด้าน

๒.๖ ค�ำอธิบายภาพ (Captions)


๒.๖.๑ หน่วยข่าวสารการภาพ ต้องมีขดี ความสามารถทีจ่ ะระบุค�ำอธิบายภาพและเสียง
ณ เวลาที่ถูกบันทึกไว้มารวมกันหรือประกอบกันได้ในภาพ ๆ เดียว
26 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

ภาพที่ ๒-๑๗ การตรวจสภาพความพร้อมรบหน่วยข่าวสารการภาพ (จาก FM 6-02.40)



๒.๖.๒ ช่างภาพสงคราม ผูซ้ งึ่ เก็บภาพเป็นคนแรกจะต้องยืนยันความถูกต้องของภาพ ชัน้
ความลับของข่าวสารที่มาได้ต่อผู้บังคับบัญชาที่ตนสนับสนุน ค�ำอธิบายภาพนี้จะต้องเป็นจริงและ
ตรงกับความต้องการ

ภาพที่ ๒-๑๙ ช่างภาพสงคราม (Combat Camera Soldier) (จาก FM 6-02.40)


รส. ๒๔-๔๐ 27

๓. การประชุม
๓.๑ ขีดความสามารถในการจัดการประชุมทางยุทธวิธดี ว้ ยภาพวิดโี อและเสียงในทีบ่ งั คับการ
ทางยุทธวิธีด้วยระบบง่าย ๆ ไปจนถึงการใช้มัลติมีเดียในระบบน�ำเสนอ ณ ที่บัญชาการกองทัพบก
สนาม การสนับสนุนการจัดประชุมระหว่างทีบ่ ญ ั ชาการทางยุทธวิธหี รือเชือ่ มโยงทางอิเล็กทรอนิกส์
ไปยังที่บัญชาการทางยุทธศาสตร์ผ่านระบบเครือข่ายประชุมทางไกล (ดูรูป ๒-๑๙)

ภาพที่ ๒-๒๐ ระบบเครือข่ายประชุมทางไกลในสนามรบ (จาก FM 6-02.40)

๓.๒ เครือข่ายประชุมทางไกล ท�ำให้ผเู้ ข้าประชุมสามารถพูดโต้ตอบกันได้โดยระบบติดต่อ


สือ่ สารทีม่ ชี นั้ ความลับ และไม่มชี นั้ ความลับ ขีดความสามารถของระบบสามารถตอบโต้ระหว่างกัน
ได้ทงั้ ภาพและเสียงแบบสองทางสวนกัน (Full Duplex) แก่ทตี่ งั้ ๒ แห่งหรือมากกว่า หรือเป็นแบบ
พูดสวนกันได้เต็มทุกทีต่ งั้ แต่ภาพเป็น one-way พลข่าวสารการภาพหรือนาวิกทีม่ หี น้าทีป่ ระชุมทาง
ไกลนี้ มีหน้าที่ต้องให้การสนับสนุนหน่วยภาพการรบ (COMCAM Unit) สารคดีในการประชุมนี้
หน่วยภาพการรบเป็นผู้เตรียมสนับสนุนในสนามรบ
28 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

ภาพที่ ๒-๒๑ การสื่อสารแบบ Full Duplex

ภาพที่ ๒-๒๒ ระบบรับส่งสัญญาณข่าวสารการภาพทางไกล


รส. ๒๔-๔๐ 29

๔. ผลผลิตมัลติมีเดีย
๔.๑ หน่วยข่าวสารการภาพ ด�ำรงไว้ซึ่งขีดความสามารถที่จะผสมผสาน ภาพนิ่ง ภาพ
เคลื่อนไหว และภาพวาด ไปสู่ผลผลิตข่าวสารการภาพซึ่งมีเนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ
สนับสนุนด้านยุทธวิธีและด้านยุทธศาสตร์ของผู้บังคับบัญชา ตัวอย่างของผลผลิตเหล่านี้ประกอบ
ด้วย วิดีโอรายงาน, ผลผลิตมัลติมีเดียต่าง ๆ
๔.๑.๑ วิดีโอรายงาน (Video Report) ถูกแจกจ่ายในรูปแบบของ Thumb Drive
ที่ใช้ปกติ ขนาด 4 GB จนถึง 32 GB ซึ่งจัดท�ำแบบสารคดีการภาพการรบด้วยภาพวาดอย่างง่าย
มีค�ำบรรยายหรือไม่มกี ไ็ ด้ วิดโี อรายงานจะถูกน�ำมาใช้อย่าง “รวดเร็วและหยาบ ๆ” ส�ำหรับผูบ้ งั คับ
หน่วยทางยุทธวิธีในทันทีที่สถานการณ์จ�ำเป็น เนื่องจากวิดีโอรายงานจัดท�ำโดยหน่วยการภาพ
การรบ ความต้องการวิดีโอรายงานเพื่องานยุทธศาสตร์และยุทธวิธีจะถูกแก้ไขเนื่องมาจาก
บทพากย์ สารคดีการภาพการรบ, ภาพวาดประกอบต่าง ๆ, สเปเชียลเอฟเฟกต์ที่หลากหลาย
และเสียงพากย์ หน่วยข่าวสารการภาพจะผลิตรายงานเพื่อสนับสนุนกองบัญชาการกองทัพสนาม
วิดีโอรายงานบรรจุเนื้อหาที่ใช้งานในระยะเวลาสั้น ๆ (short term use) ราว ๑ ปีหรือน้อยกว่า
ดังนัน้ จึงต้องมีการบริหารจัดการปรับปรุงแก้ไขตามวงรอบประจ�ำปีตามระเบียบของกองทัพบกและ
กระทรวงกลาโหมต่อไป

ภาพที่ ๒-๒๓ ม้วนเทปมินิดีวีดี


30 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

๔.๑.๒ ผลผลิตมัลติมีเดีย ปกติจะออกมาในรูปแบบดิจิทัลซึ่งมีทั้งภาพเคลื่อนไหว


ภาพนิ่ง ภาพวาด และเสียงพากย์ ซึ่งแปลง จัดเก็บ และประกอบกันในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตาม
รูป ๒-๒๓

ภาพที่ ๒-๒๔ ผลผลิตมัลติมีเดีย

๕. การส่งต่อและการแจกจ่าย
๕.๑ การแสวงประโยชน์และการส่งต่อ ผลผลิตของข่าวสารการภาพต่าง ๆ เป็นไปตาม
ขั้นตอนพื้นฐาน ๔ ประการ การจัดท�ำ, การส่ง, การจัดท�ำซ�้ำ และการแจกจ่าย นายทหารข่าวสาร
การภาพในพืน้ ทีจ่ ะรับผิดชอบต่อการด�ำเนินการทัง้ ๔ ขัน้ ตอนจนถึงมือผูร้ บั ส�ำหรับหน่วยข่าวสาร
การภาพของกองทัพบกจะมีการด�ำเนินการเฉพาะต่อการส�ำเนาภาพการรบซึ่งเป็นกุญแจส�ำคัญใน
ระดับสนามรบ ดูภาพ ๒-๒๔
รส. ๒๔-๔๐ 31

ภาพที่ ๒-๒๕ แผนผังแสดงขั้นตอนการแจกจ่ายผลผลิตภาพการรบ ภายในกองทัพบก


(จาก FM 6-02.40)

๕.๑.๑ การแจกจ่ายทางอิเล็กทรอนิกส์ ของผลผลิตข่าวสารการภาพ


• ดิจิทัลทรานซีฟเวอร์ใช้ส่ง Digital Still Video (DSV)

ภาพ ๒-๒๖ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์


32 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

• ระบบโทรศัพท์ทางยุทธวิธี

ภาพที่ ๒-๒๖ โทรศัพท์ทางยุทธวิธี

• ดาวเทียมยุทธวิธี

ภาพที่ ๒-๒๘ ดาวเทียม


รส. ๒๔-๔๐ 33

• ไมโครเวฟ

ภาพที่ ๒-๒๙ รถสื่อสารดาวเทียมและไมโครเวฟ วิดีโอคอนเฟอเรนซ์ของกองทัพบก


• ระบบการสื่อสารของกองก�ำลังมิตรประเทศ
• ระบบการติดต่อสื่อสารกลาโหม (DCS)
• คู่สายเช่าเฉพาะทางดาวเทียมหรือไฟเบอร์ออพติกเอกชน

ภาพที่ ๒-๓๐ ภาพโครงข่าย Fiber Optic ของ CAT


34 บทที่ ๒ ขีดความสามารถ

๕.๑.๒ การแจกจ่ายไม่ใช้อิเล็กทรอนิกส์ ของผลผลิตข่าวสารการภาพ


• พลน�ำสาร
• สื่อรวมในการประชาสัมพันธ์
• ไปรษณีย์ทหาร
• อากาศยานทหาร
• การขนส่งของกองก�ำลังมิตรประเทศ
• ไปรษณีย์ด่วนทางอากาศของพลเรือน
• ถุงเมลสถานทูต
• การน�ำสารของกลาโหม
• ไปรษณีย์ลงทะเบียน (เฉพาะในสหรัฐฯ)
๕.๒ ผลผลิตสารคดีข่าวสารการภาพ จะถูกส่งตรงไปยังสายงานฝ่ายเสนาธิการที่ร้องขอการ
สนับสนุน โดยมีล�ำดับความเร่งด่วนดังนี้
๕.๒.๑ ผู้บังคับหน่วยรบโดยตรง
๕.๒.๒ ผู้บัญชาการกองก�ำลังรบร่วม
๕.๒.๓ ผู้บัญชาการหน่วยรับการสนับสนุน, หน่วยเฉพาะกิจ
๕.๒.๔ กองบัญชาการกองทัพไทย
๕.๒.๕ กระทรวงกลาโหม และเหล่าทัพอื่น ๆ
๕.๒.๖ ทบทวนบทเรียนจากการรบและงานด้านประวัติศาสตร์

ภาพที่ ๓๑ ภาพอาวุธรุ่นใหม่
รส. ๒๔-๔๐ 35

๕.๓ ภาพจริงทีเ่ ก็บมาได้จากสนามรบ จะถูกตกแต่ง แก้ไขโดยพลภาพการรบเพือ่ การยอมรับ


ทางเทคนิค เสนาธิการด้านข่าวสารการภาพซึง่ เป็นผู้รบั วัตถุดิบมาเป็นคนแรกจะต้องพิจารณากลัน่
กรองเนือ้ หาสาระก่อนเพือ่ ความมัน่ ใจว่าตรงกับวัตถุประสงค์ ภารกิจ การปฏิบตั กิ าร และมีคณ
ุ ภาพ
ตามต้องการ

ภาพที่ ๒-๓๒ ภาพที่ได้อาจไม่ตรงกับความต้องการทางยุทธการ

๕.๔ กระบวนการให้บริการมีดังนี้
๕.๔.๑ แปลงภาพจากฟิล์มและแผ่นใสมาเป็นภาพดิจิทัล
๕.๔.๒ ส่งภาพผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทวิทยุเอฟเอ็ม, วิทยุเข้ารหัส SINCGARS,
ระบบทางสายยุทธวิธี และระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมทางยุทธวิธี
๕.๔.๓ พิมพ์ภาพสี หรือแผ่นใสจากภาพที่ส่งมาทางอิเล็กทรอนิกส์
๕.๔.๔ ทบทวนภาพทั้งหมดเพื่อท�ำรายงานวิดีโอ
๕.๔.๕ ท�ำส�ำเนารายงานวิดีโอและภาพนิ่ง
๕.๔.๖ เตรียมการจัดส่งวัสดุที่ยังไม่ได้ตัดต่อไปยังกองบัญชาการกองทัพบก
๕.๔.๗ ล้างฟิล์มขาวด�ำและสีด้วยน�้ำยาเคมีเก็บไว้เป็นการส�ำรองข้อมูล ภาพที่ได้น�ำไป
แปลงเป็นดิจิทัลเผื่อใช้งานในอนาคต
๕.๔.๘ ปรนนิบัติบ�ำรุง ซ่อมบ�ำรุง อุปกรณ์ของหน่วยข่าวสารการภาพ และของพล
ภาพการรบด้วยอุปกรณ์ที่เหมาะสม
บทที่ ๓
การยุทธ์และการจัดหน่วยในสนามรบ
ตอนที่ ๑ นโยบายและความรับผิดชอบ

๑. บทน�ำ ค�ำสั่งกระทรวงกลาโหม บังคับว่า กิจกรรมของทหารทุกเหล่าจะต้องถูก


ถ่ายท�ำบันทึกเป็นหลักฐานประกอบต่อการฝึกของหน่วยขั้นสูงสุดโดยข่าวสารการภาพ (VI) และ
หน่วยถ่ายภาพการรบ หลักฐานประกอบนี้จะถูกใช้พิจารณาส�ำหรับการตัดสินใจทางยุทธการ
ของกองบัญชาการในสนามรบและใช้เป็นข้อมูลเชิงประวัตศิ าสตร์ ทัง้ การจัดหมวดหมูข่ องการรักษา
ความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยทางยุทธการ และความล่อแหลมต่าง ๆ จะไม่ถูกรวมใน
การปฏิบตั กิ าร ข่าวสารการภาพ (VI), ผลจากข่าวสารการภาพ (VI) สามารถถูกจัดแบ่งได้ทกุ ๆ ระดับ
ที่ต้องการต่อการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ์ จะสังเกตว่า อุปกรณ์ของช่างภาพการรบจะ
ถูกรวบรวมไปที่การปฏิบัติการของกองบัญชาการทบ.สนาม

๒. หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ผูบ้ งั คับหน่วยทัง้ หลายในสนามรบมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในงาน


ข่าวสารการภาพ (VI) และสนับสนุนงานด้านยุทธการผ่านระดับต่าง ๆ ของสงคราม ผู้บัญชาการ
ทุกระดับจะก�ำหนดความต้องการส�ำหรับการสนับสนุนข่าวสารการภาพ (VI) ฝ่ายอ�ำนวยการทางการ
สื่อสารของทุกระดับหน่วยและนายทหารข่าวสารการภาพกองก�ำลังนาวิกโยธิน รับผิดชอบต่อการ
ด�ำเนินการภารกิจข่าวสารการภาพ (VI) สนับสนุนหน่วยรองทัง้ หมดภายใต้การบังคับบัญชา , หน่วย
ควบคุมทางยุทธการ และหน่วยขึ้นสมทบ ผู้บังคับหน่วยจะได้รับการช่วยเหลือในการเข้าปฏิบัติ
หน้าที่ที่ความรับผิดชอบที่กล่าวมาโดยนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการทางสื่อสารและนายทหารฝ่าย
ข่าวสารการภาพ (VI) หรือนายทหารชั้นประทวนที่ประจ�ำการ ณ หน่วยระดับต่าง ๆ
รส. ๒๔-๔๐ 37

ภาพที่ ๓-๑ โครงสร้างการจัดหน่วยข่าวสารการรบ ตามปกติของกองทัพบก

๒.๑ ผช.ผบ.ทบ., สธ.๓ (การยุทธการและแผน) สธ.๓ รับผิดชอบต่อการก�ำหนดและสนธิ


ความต้องการข่าวสารการภาพ (VI) กับความพยายามให้ได้มาซึ่งข่าวสารการรบของผู้บัญชาการ
ทหารบก การผสมผสานของข่าวสารการภาพ (VI) จะเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่กระบวนการ
ตัดสินใจของการปฏิบัติการให้ลุล่วงภารกิจการรบอากาศพื้นดินและทะเล

๒.๒ ฝ่ายอ�ำนวยการสือ่ สาร ฝ่ายอ�ำนวยการสือ่ สารแต่ละระดับหน่วยรับผิดชอบต่อการ


ก�ำกับดูแลข่าวสารการภาพ (VI) โดยตรง ในการสนับสนุนภารกิจที่ได้รับมอบหมาย โดยจะระบุ
และประเมินความต้องการของข่าวสารการภาพ (VI) รวมถึงแนะน�ำการเตรียมการยุทธตามแผนการ
ปฏิบตั ิ เหตุฉกุ เฉิน และการฝึกซ้อมแผนเพือ่ ท�ำให้มนั่ ใจว่าบรรลุเป้าหมายของข่าวสารการภาพ (VI)
และภารกิจของการภาพการรบ และเพื่อด�ำเนินการตามการร้องขอการสนับสนุนช่างภาพการรบ,
นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการสื่อสารรับผิดชอบต่อการชี้แจงขีดความสามารถและขีดจ�ำกัดของ
38 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

หน่วยการภาพการรบและขั้นตอนการร้องขอการสนับสนุนการข่าวสารการรบ นายทหารฝ่าย
อ�ำนวยการสื่อสารรับผิดชอบในการก�ำหนดและสนธิบทบาทของข่าวสารการภาพในการสนับสนุน
ระบบข่าวสารในสนามรบ ณ ระดับหน่วยของตนเอง นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการสื่อสารทุก ๆ ระดับ
หน่วยจะมีนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการข่าวสารการภาพ (VI staff officer) หรือนายทหารประทวนให้
ค�ำแนะน�ำด้านการปฏิบัติการของข่าวสารการภาพ (VI) และการภาพการรบ (COMCAM)

๒.๓ นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการข่าวสารการภาพ (VI staff officer) หรือนายทหาร


ประทวน นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการข่าวสารการภาพ (VI staff officer) หรือนายทหารประทวน
ณ หน่วยทุกระดับรับผิดชอบต่อการให้ความช่วยเหลือแก่นายทหารฝ่ายอ�ำนวยการทางการสือ่ สาร
ในการวางแผนและจัดท�ำค�ำสั่งปฏิบัติการข่าวสารการภาพ (VI) ในการสนับสนุนภารกิจที่ถูก
มอบหมายให้ ณ หน่วยทุก ๆ ระดับ, เขาจะระบุและรวบรวมคุณประโยชน์ของข่าวสารการภาพ (VI)
ต่อการตัดสินใจทางการปฏิบตั กิ ารสนับสนุนแก่การปฏิบตั กิ ารร่วมอากาศภาคพืน้ ดิน เขาจะก�ำหนด
ประสิทธิภาพ และข้อจ�ำกัดของหน่วยการภาพการรบและก�ำหนดขั้นตอนส�ำหรับการร้องขอ, การ
ใช้งาน, และล�ำดับความเร่งด่วนในการสนับสนุนพลภาพการรบ หน้าที่และความรับผิดชอบเหล่านี้
จะถูกก�ำหนดขึ้นโดยนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการทางการสื่อสารของหน่วยระดับตั้งแต่กองทัพน้อย
และต�่ำกว่า

๒.๔ ผใู้ ช้งาน ผูใ้ ช้ทสี่ ามารถปฏิบตั งิ านได้ทที่ กุ ระดับรับผิดชอบต่อการระบุ การก�ำหนด


ประสานงานและการสนธิการสนับสนุนข่าวสารการภาพ (VI) เพื่อน�ำไปสู่กระบวนการตัดสินใจใน
การปฏิบตั กิ าร ผูใ้ ช้จะต้องท�ำให้คนุ้ เคยกับขีดความสามารถ และขีดจ�ำกัด และขัน้ ตอนการร้องขอ
“การภาพสนาม” (COMCAM) โดยทุกขั้นตอนจะระบุไว้ในระเบียบปฏิบัติประจ�ำการปฏิบัติการ
ภาพการรบมาตรฐาน (SOPs)
.
ตอนที่ ๒ กองทัพบกสนาม
๓. ค�ำน�ำ กองร้อยสื่อสารข่าวสารการภาพ (Signal VI Companies) หรือหน่วยการ
ภาพการรบนาวิกโยธิน (Marine Combat Camera Units (MCCUs)) ด�ำเนินการสนับสนุนข่าวสาร
การภาพ VI แก่กองบัญชาการสนามรบ หน่วยควบคุมทางยุทธการหรือหน่วยสมทบ เหนือกองทัพ
น้อย หรือกองก�ำลังนาวิกโยธิน เพื่อกระบวนการตัดสินใจในการยุทธ์หรืองานสารคดีทาง
ประวัติศาสตร์ กองร้อยสื่อสารข่าวสารการภาพ (SIG VI Co) เหล่านี้ถูกส่งไปขึ้นสมทบที่กอง
บัญชาการสือ่ สารสนาม (ทบ.) (TSC (A)) และถูกปรับอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ให้สอดคล้องกับ
อัตราการจัดยุทโธปกรณ์ (TOEs)
รส. ๒๔-๔๐ 39

กองบัญชาการสื่อสารสนาม (ทบ.) (TSC (A)) ปฏิบัติงาน ด�ำเนินการ ทรัพยากรด้าน


ข่าวสารการภาพ (VI) และการภาพสนาม (COMCAM) ตามภารกิจที่ต้องการของการภาพสนาม
ร่วม (Joint COMCAM) ที่ถูกก�ำกับดูแลโดยกองบัญชาการกองก�ำลังรบร่วม (JCCT)

๔. ความรับผิดชอบ
๔.๑ สธ.๓ ทบ.สนาม คือหน่วยงานหลักทีจ่ ะระบุภารกิจและจัดล�ำดับความเร่งด่วนของ
ความต้องการข่าวสารการภาพ (VI) ในการยุทธ์ส�ำหรับกองบัญชาการทบ.สนาม ภารกิจเหล่านี้อยู่
บนพื้นฐานความต้องการทางยุทธการเพื่อที่จะสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจ

๔.๒ นายทหารฝ่ายสือ่ สารทบ.สนาม (TSO) ได้รบั ภารกิจข่าวสารการภาพ (VI) จากสธ.


๓ ทบ.สนามและกองฝ่ายเสนาธิการอื่น ๆ ใน ทบ.สนาม ฝสส.ทบ.สนามรับผิดชอบต่อการสนธิ
ระบบข่าวสารการภาพในสนามรบไปเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการตามแผนยุทธการ วิกฤตการณ์
และการฝึก นายทหารฝ่ายสือ่ สารทบ.สนาม จะจัดล�ำดับความเร่งระบบการสือ่ สารทางยุทธวิธเี พือ่
ให้แน่ใจว่าสามารถส่งข้อมูลแบบ Near Real time ได้ของรูปภาพ นายทหารฝ่ายสือ่ สารทบ.สนาม
(TSO) ต้องแน่ใจว่าอุปกรณ์ทุกอย่างของระบบข่าวสารการภาพ (VI) จะถูกใช้อย่างเหมาะสมและ
ตามการจัดล�ำดับความเร่งด่วนในเมื่อสถานการณ์เข้าสู่สภาวะความต้องการอยู่เหนือการสนับสนุน

๕. การจัดหน่วย
กองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพ (Signal VI Companies) ประกอบด้วยยุทโธปกรณ์ตาม
อัตราการจัดยุทโธปกรณ์ที่ก�ำหนดตาม อจย. (TOE) หน่วยการภาพสนามนาวิกโยธิน (MEF
COMCAM) ประกอบด้วยยุทโธปกรณ์ตามอัตราการจัดยุทโธปกรณ์ทกี่ �ำหนดตามใน (T/O) และการ
จัดสิง่ อุปกรณ์ (T/E) หน่วยระดับหมวดภายในกองร้อยสือ่ สารการภาพจะถูกจัดให้ท�ำงานบนรถพ่วง
เพื่อความสะดวกของพลภาพการรบ และของความต้องการในสนับสนุนข่าวสารการภาพทาง
ยุทธวิธี ส�ำหรับกองบัญชาการทบ.สนาม, หน่วยควบคุมทางยุทธการ หรือหน่วยสมทบสูงกว่า
กองทัพน้อย (ดูภาพที่ ๓-๒)
40 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

ภาพที่ ๓-๒ การจัดกองร้อยสื่อสารข่าวสารการภาพสนาม

๖. บทบาทและหน้าที่
๖.๑ กองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพสนาม (Signal VI Company (COMCAM)) เป็น
หน่วยขึ้นตรงกองบัญชาการสื่อสารสนาม (ทบ.) (TSC (A)) และบก.กองก�ำลังนาวิกฯ จัดสรร
ยุทโธปกรณ์เพือ่ สนับสนุนการร้องขอต้นฉบับภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหวภายในพืน้ ทีก่ องบัญชาการ
ทบ.สนาม กองร้อยสื่อสารของพลภาพการรบ ยังคงจัดให้มีการบริการภาพการรบซึ่งถูกถ่ายโดย
COMCAM และมีผู้ใช้มีความต้องการอยู่ การบริการเหล่านี้รวมไปถึง การประมวลผล การแก้ไข
การคัดลอก การแจกจ่าย และการถ่ายทอดข่าวสารภาพถ่ายส�ำหรับกองบัญชาการทบ.สนาม
หน่วยควบคุมทางยุทธการ และสมทบหน่วยเหนือกว่ากองทัพน้อย หรือนาวิกโยธิน ทันทีที่มี
ความต้องการภาพถ่ายทางยุทธการได้รบั ความพอใจแล้วในระดับ ทบ.สนาม ภาพนัน้ จะถูกส่งต่อไป
ที่กองบัญชาการภาพสนามร่วม (JCCT) เพื่อส�ำหรับการใช้งานโดยกองบัญชาการผสม
รส. ๒๔-๔๐ 41

๖.๒ กองร้อยสือ่ สาร ข่าวสารการภาพสนามยังคงจัดให้มกี ารสนับสนุนการซ่อมบ�ำรุงใน


ระดับทั่ว ๆ ไป แก่หน่วยในอัตราและหน่วยผู้ใช้อุปกรณ์ข่าวสารการภาพทั่วสนามรบ การบริการ
การน�ำเสนอ (Presentation) โดยกองร้อยสื่อสารฯ ให้แก่ บก.ทบ.สนาม กองร้อยสื่อสารข่าวสาร
การภาพ ประกอบไปด้วย บก.ร้อย., หมวดปฏิบัติการและสนับสนุน และหมวดการภาพการรบ
๒ หมวด
๖.๒.๑ บก.ร้อย จัดให้มีการบังคับบัญชา ควบคุม และการประสานงาน ของ
ภารกิจภาพการรบกับกองร้อยข่าวสารการภาพ ซึ่งประกอบด้วยการออกค�ำสั่ง การ
จัดการบริหาร งานยุทธการ และงานส่งก�ำลังบ�ำรุง ซึง่ จ�ำเป็นต่อการท�ำให้บรรลุภารกิจ
ผู้บังคับกองร้อยปฏิบัติหน้าที่เป็นนายทหารฝ่ายข่าวสารการภาพของนายทหารฝ่าย
อ�ำนวยการสื่อสารของ ทบ.สนาม

๖.๒.๒ หมวดปฏิ บั ติ ก ารและสนั บ สนุ น รั บ ผิ ด ชอบต่ อ การประสานงาน


การรวบรวม, การได้มาของภาพถ่าย, การประมวลผล, การแก้ไข, การคัดลอก การ
แจกจ่าย และการถ่ายทอด ที่จ�ำเป็นต่อการสนับสนุนทบ.สนามและความต้องการใน
กองบัญชาการร่วม ซึ่งจะท�ำงานไปพร้อมกันกับผู้ใช้อื่นที่สามารถปฏิบัติงานได้ทั้งหมด
(เช่น PSYOP, MP and PA) เพื่อให้แน่ใจว่าการได้มาของภาพถ่ายนั้นมีมาตรฐานและ
อุปกรณ์ประมวลผลใช้งานได้ดี โดยกองร้อยข่าวสารการภาพ (VI) หมวดปฏิบัติการและ
สนับสนุนจะคัดแยกรายชือ่ และด�ำรงไว้ในการท�ำส�ำเนาภาพถ่ายให้ทวั่ ทัง้ กองทัพบกสนาม
การพิจารณาทบทวนให้ได้หัวข้อข่าวสารที่ก�ำหนด เทคนิคที่ยอมรับได้ เพื่อความ
พึงพอใจทางยุทธการ หมวดนี้จะจัดให้มีการสนับสนุนการน�ำเสนอ บริการแก่ ผบ.ทบ.
และฝ่ายอ�ำนวยการ สนับสนุนการส่งก�ำลังบ�ำรุงทั่วทั้งสนามรบกับ JCCT นายสิบติดต่อ
ด้านข่าวสารการภาพได้รบั อนุญาตให้ท�ำงานทีต่ อนยุทธการตลอด ๒๔ ชัว่ โมงบนงานฝ่าย
อ�ำนวยการข่าวสารการภาพ (VI Staff)

๖.๒.๓ หมวดการภาพสนาม (COMCAM Platoon) ปฏิบัติการถ่ายภาพตาม


แผนที่ก�ำหนดสนับสนุน ทบ.สนาม โดยมีรถถ่ายภาพทางยุทธวิธีประกอบไปด้วยกล้อง
ถ่ายวิดีโอเคลื่อนไหว กล้องภาพนิ่ง และกล้องถ่ายวิดีโอ ภาพทุกภาพจะถูกใส่
หัวข้อข่าวแล้วส่งต่อไปเข้ากระบวนการ การท�ำกระบวนการและการส่งต่อจัดการโดย
หมวดปฏิบัติการและสนับสนุน
42 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

๗. อุปกรณ์ อุปกรณ์ข่าวสารการภาพเป็นสินค้าของพลเรือนที่ไม่มีวางขายและไม่มีการพัฒนา
(Nondevelopmental Item) (NDI) อุปกรณ์ในอัตราของกองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพและของ
ผู้ใช้ต้องมีคุณสมบัติสามารถท�ำกระบวนการและท�ำการส่งต่อได้

๗.๑ รูปแบบการจัดหาและขีดความสามารถ รูปแบบการจัดหาอุปกรณ์ถ่ายภาพการ


รบเหมาะสมกับมาตรฐานของกระทรวงกลาโหมเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าเข้ากันได้ทงั้ ระบบในการบัญชาการ
ร่วม กล้องวิดีโอถ่ายภาพเคลื่อนไหวใช้เทปบันทึกขนาด ๘ มม. ไฮแบนด์, ภาพนิ่งใช้กล้องดิจิทัล
มีเลนส์เดียว (Single Lens Reflex (SLR)) ขนาด ๓๕ มม., กองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพสามารถ
ถ่ายภาพในเวลากลางคืนได้ทงั้ ภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหว ผลผลิตคุณภาพจากอุปกรณ์การตัดต่อ
ที่ใช้ในสนามรบมีคุณภาพระดับความชัดเจนสูง (High Resolution Imagery)

ภาพที่ ๓-๓ ห้องท�ำงานมัลติมีเดีย

๗.๒ การเคลือ่ นที่ กองร้อยสือ่ สารฯ สามารถเคลือ่ นทีด่ ว้ ยยานยนต์ในอัตราไปยังหน่วย


รับการสนับสนุน ยานยนต์นี้ติดตั้งระบบการถ่ายท�ำและตัดต่อได้ทุกที่ในสนามรบ
รส. ๒๔-๔๐ 43

ภาพที่ ๓-๔ รถสื่อสารพร้อมอุปกรณ์ครบ

๗.๓ กระบวนการด�ำเนินงาน หมวดปฏิบัติการและสนับสนุน มีขีดความสามารถท�ำ


กระบวนการได้ทั้งภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่ง ทั้งสีและขาวด�ำ ภาพดิจิทัล สามารถพิมพ์ภาพนิ่ง
ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้

๗.๔ การตัดต่อ ภาพจากกล้องวิดโี อทัง้ หมดจะถูกทบทวนและตัดต่อโดยหมวดยุทธการ


และสนับสนุน การตัดต่อเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจได้แนวทางมาจาก สธ.๓ และฝ่ายอ�ำนวยการ
ข่าวสารการภาพ (VI Staff)
44 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

ภาพที่ ๓-๕ อุปกรณ์ตัดต่อภาพ

๗.๕ การสนับสนุน Presentation ชุดการภาพมีขีดความสามารถที่จะฉายภาพวิดีโอ


และภาพดิจิทัลด้วยเครื่องฉายภาพสี

๗.๖ การแยกหมวดหมู่ ภาพเริ่มแรกทั้งหมดจะถูกทบทวนและจ�ำแนกเพื่อส่งไปยัง


JCCT ภาพจากกล้องที่ใช้ในการน�ำเสนอ บรรยายสรุป จะถูกท�ำส�ำเนาและเก็บไว้ที่หมวดยุทธการ
และสนับสนุน หมวดปฏิบัติการและสนับสนุนด�ำรงไว้ซึ่งระบบฐานข้อมูลอัตโนมัติบันทึกข้อมูล
ตัวเลขการเก็บของข่าวสารการภาพ (Visual Information Record Identification Number
(VIRIN)) สามารถติดตามและอธิบายส�ำเนาภาพทั้งหมดที่มีอยู่ในระดับ ทบ.สนาม

๗.๗ การส่ง การส่งภาพใกล้เวลาจริงระหว่างกองทัพน้อยกับ ทบ.สนาม เป็นความ


รับผิดชอบของหมวดปฏิบัติการและสนับสนุน ภาพจากกล้องวิดีโอจะถูกส่งไปโดยสื่อที่เร็วที่สุด
ที่มีดาวเทียมเป็นระบบสื่อสารหลักที่ใช้ในการส่งภาพระหว่างกองทัพน้อยและ ทบ.สนาม ระบบ
สื่อสารรอง การสื่อสารทางยุทธวิธี ไมโครเวฟ วิทยุ หรือพลน�ำสาร หมวดการภาพ รับผิดชอบ
ในการประสานการส่งภาพไปยัง กองบัญชาการข่าวสารการภาพสนามร่วม (JCCT)
รส. ๒๔-๔๐ 45

ภาพที่ ๓-๖ รถบังคับบัญชาอุปกรณ์ดาวเทียมครบ

ภาพที่ ๓-๗ ข่ายระบบการสื่อสารอื่น ๆ


46 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

ตอนที่ ๓ กองทัพน้อย (Corps)


๘. ค�ำน�ำ กองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพสนามรับผิดชอบด�ำเนินการสนับสนุนข่าวสารการภาพแก่
บก.กองทัพน้อยหรือนาวิกฯ หน่วยควบคุมทางยุทธการ หน่วยขึ้นสมทบ เหนือกว่ากองพลเพื่อ
กระบวนการตัดสินใจในการรบและงานด้านประวัติศาสตร์ มีอัตราการจัดยุทโธปกรณ์ตาม อจย.
ที่ได้รับอนุมัติ

๙. ความรับผิดชอบ
๙.๑ สธ.๓ ทน. เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักซึ่งจะก�ำหนดภารกิจและล�ำดับความเร่งด่วน
ทางการยุทธ์ในเรื่องความต้องการข่าวสารการภาพ ส�ำหรับ บก.ทน. เพื่อสนับสนุนกระบวนการ
ตัดสินใจในการรบ

๙.๒ นายทหารฝ่ายสื่อสารกองทัพน้อย (CSO) ได้รับภารกิจข่าวสารการภาพ (VI)


จาก สธ.๓ ทบ.สนามและกองฝ่ายเสนาธิการอืน่ ๆ ใน ทบ.สนาม ฝสส.ทบ.สนามรับผิดชอบต่อการ
สนธิระบบข่าวสารการภาพในสนามรบไปเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารตามแผนยุทธการ วิกฤตการณ์
และการฝึก นายทหารฝ่ายสือ่ สารทบ.สนาม จะจัดล�ำดับความเร่งระบบการสือ่ สารทางยุทธวิธเี พือ่
ให้แน่ใจว่าสามารถส่งข้อมูลแบบ Near Real time ได้ของรูปภาพ นายทหารฝ่ายสือ่ สารทน. (CSO)
ต้องแน่ใจว่าอุปกรณ์ทุกอย่างของระบบข่าวสารการภาพ (VI) จะถูกใช้อย่างเหมาะสมและตามการ
จัดล�ำดับความเร่งด่วนในเมื่อสถานการณ์เข้าสู่สภาวะความต้องการอยู่เหนือการสนับสนุน

๑๐. การจัดหน่วย
กองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพสนาม (Signal VI Companies) ประกอบด้วยยุทโธปกรณ์
ตามอัตราการจัดยุทโธปกรณ์ทกี่ �ำหนดตาม อจย. (TOE) ประกอบด้วยยุทโธปกรณ์ตามอัตราการจัด
ยุทโธปกรณ์ที่ก�ำหนด และอัตราการจัดสิ่งอุปกรณ์ หน่วยระดับหมวดภายในกองร้อยสื่อสาร
การภาพจะถูกจัดให้ท�ำงานบนรถพ่วงเพื่อความสะดวกของฃ่างภาพสนาม และของความต้องการ
ในสนั บ สนุ น ข่ า วสารการภาพทางยุ ท ธวิ ธี ส�ำหรั บ กองบั ญ ชาการทบ.สนาม, หน่ ว ยควบคุ ม
ทางยุทธการ หรือหน่วยสมทบสูงกว่ากองทัพน้อย (ดูภาพที่ ๓.๒)

๑๑. บทบาทและหน้าที่
๑๑.๑ กองร้อยสื่อสารข่าวสารการภาพสนาม (Signal VI Company (COMCAM)) เป็น
หน่วยขึ้นตรงกองบัญชาการกองทัพน้อย (บก.ทน.) (CSC(A)) จัดสรรยุทโธปกรณ์เพื่อสนับสนุน
การร้องขอต้นฉบับภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวภายในพื้นที่กองบัญชาการทบ.สนาม กองร้อย
รส. ๒๔-๔๐ 47

สื่อสารของช่างภาพสนาม ยังคงจัดให้มีการบริการภาพในสนามซึ่งถูกถ่ายโดยช่างภาพสนาม แลมี


ผู้ใช้มีความต้องการอยู่ การบริการเหล่านี้รวมไปถึง การประมวลผล การแก้ไข การคัดลอก
การแจกจ่าย และการถ่ายทอดข่าวสารภาพถ่าย ส�ำหรับกองบัญชาการทบ.สนาม หน่วยควบคุม
ทางยุทธการ และสมทบหน่วยเหนือกว่ากองทัพน้อย ทันทีที่มีความต้องการภาพถ่ายทางยุทธการ
ได้รับความพอใจแล้วในระดับ ทบ.สนาม ภาพนั้นจะถูกส่งต่อไปที่กองบัญชาการข่าวสารภาพ
การรบร่วม (JCCC) เพื่อส�ำหรับการใช้งานโดยกองบัญชาการผสม

๑๑.๒ กองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพสนาม ยังคงจัดให้มกี ารสนับสนุนการซ่อมบ�ำรุง


ในระดับทั่ว ๆ ไป แก่หน่วยในอัตราและหน่วยผู้ใช้อุปกรณ์ข่าวสารการภาพทั่วพื้นที่การรบของ
กองทัพน้อย การบริการการน�ำเสนอ (Presentation) โดยกองร้อยสือ่ สารฯ ให้แก่ บก.ทน. กองร้อย
สือ่ สารข่าวสารการภาพ ประกอบไปด้วย บก.ร้อย., หมวดปฏิบตั กิ ารและสนับสนุน, หมวดการภาพ
สนาม กองทัพน้อย หมวด และหมวดการภาพสนามสนับสนุนแต่ละกองพล กองพลละ ๑ หมวด

๑๑.๒.๑ บก.ร้อย จัดให้มีการบังคับบัญชา ควบคุม และการประสานงาน


ของภารกิจภาพการรบกับกองร้อยข่าวสารการภาพ ซึง่ ประกอบด้วยการออกค�ำสัง่ การ
จัดการบริหาร งานยุทธการ และงานส่งก�ำลังบ�ำรุง ซึง่ จ�ำเป็นต่อการท�ำให้บรรลุภารกิจ
ผู้บังคับกองร้อยปฏิบัติหน้าที่เป็นนายทหารฝ่ายข่าวสารการภาพของนายทหารฝ่าย
อ�ำนวยการสื่อสารของ ทบ.สนาม

๑๑.๒.๒ หมวดปฏิบัติการและสนับสนุน รับผิดชอบต่อการประสานงาน,


การรวบรวม, การได้มาของภาพถ่าย, การประมวลผล, การแก้ไข, การคัดลอก,
การแจกจ่าย และการถ่ายทอด ที่จ�ำเป็นต่อการสนับสนุนทบ.สนามและความต้องการ
ในกองบั ญ ชาการร่ ว ม ซึ่ ง จะท�ำงานไปพร้ อ มกั น กั บ ผู ้ ใ ช้ อื่ น ที่ ส ามารถปฏิ บั ติ
งานได้ทั้งหมด (เช่น PSYOP, MP and PA) เพื่อให้แน่ใจว่าการได้มาของภาพถ่ายนั้นมี
มาตรฐานและอุปกรณ์ประมวลผลใช้งานได้ดี โดยกองร้อยข่าวสารการภาพ (VI) หมวด
ปฏิบตั กิ ารและสนับสนุนจะคัดแยกรายชือ่ และด�ำรงไว้ในการท�ำส�ำเนาภาพถ่ายให้ทวั่ ทัง้
กองทัพบกสนาม การพิจารณาทบทวนให้ได้หัวข้อข่าวสารที่ก�ำหนด เทคนิคที่ยอมรับ
ได้ เพือ่ ความพึงพอใจทางยุทธการ หมวดนีจ้ ะจัดให้มกี ารสนับสนุนการน�ำเสนอ บริการ
แก่ ผบ.ทบ. และฝ่ายอ�ำนวยการ สนับสนุนการส่งก�ำลังบ�ำรุงทั่วทั้งสนามรบกับ JCCC
นายสิบติดต่อด้านข่าวสารการภาพได้รับอนุญาตให้ท�ำงานที่ตอนยุทธการตลอด ๒๔
ชั่วโมงบนงานฝ่ายอ�ำนวยการข่าวสารการภาพ (VI Staff)
48 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

๑๑.๒.๓ หมวดการภาพสนาม (COMCAM Platoon) ปฏิบัติการถ่ายภาพ


ตามแผนที่ก�ำหนดสนับสนุน ทบ.สนาม โดยมีรถถ่ายภาพทางยุทธวิธีประกอบไปด้วย
กล้องถ่ายวิดีโอเคลื่อนไหว กล้องภาพนิ่ง และกล้องถ่ายวิดีโอดิจิทัล ภาพทุกภาพจะ
ถูกใส่หัวข้อข่าวแล้วส่งต่อไปเข้ากระบวนการ การท�ำกระบวนการและการส่งต่อจัดการ
โดยหมวดปฏิบัติการและสนับสนุน

๑๒. อุปกรณ์ อุปกรณ์ข่าวสารการภาพเป็นสินค้าของพลเรือนที่ไม่มีวางขายและไม่มีการพัฒนา


(Nondevelopmental Item) (NDI) อุปกรณ์ในอัตราของกองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพและของ
ผู้ใช้ต้องมีคุณสมบัติสามารถท�ำกระบวนการและท�ำการส่งต่อได้

๑๒.๑ รูปแบบการจัดหาและขีดความสามารถ รูปแบบการจัดหาอุปกรณ์ถ่ายภาพการ


รบเหมาะสมกับมาตรฐานของกระทรวงกลาโหมเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าเข้ากันได้ทงั้ ระบบในการบัญชาการ
ร่วม กล้องวิดโี อถ่ายภาพเคลือ่ นไหว, ภาพนิง่ ใช้กล้องดิจทิ ลั กองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพสนาม
สามารถถ่ายภาพในเวลากลางคืนได้ทั้งภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ผลผลิตคุณภาพจากอุปกรณ์
การตัดต่อที่ใช้ในสนามรบมีคุณภาพระดับความชัดเจนสูง (High Resolution Imagery)

๑๒.๒ การเคลือ่ นที่ กองร้อยสือ่ สารฯ สามารถเคลือ่ นทีด่ ว้ ยยานยนต์ในอัตราไปยังหน่วย


รับการสนับสนุน ยานยนต์นี้ติดตั้งระบบการถ่ายท�ำและตัดต่อได้ทุกที่ในสนามรบ

๑๒.๓ กระบวนการด�ำเนินงาน หมวดปฏิบัติการและสนับสนุน มีขีดความสามารถท�ำ


กระบวนการได้ทงั้ ภาพเคลือ่ นไหวและภาพนิง่ ทัง้ สีและขาวด�ำ และภาพดิจทิ ลั สามารถพิมพ์ภาพ
นิ่งด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้

๑๒.๔ การตัดต่อ ภาพจากกล้องวิดีโอทั้งหมดจะถูกทบทวนและตัดต่อโดยหมวด


ยุทธการและสนับสนุน การตัดต่อเพือ่ สนับสนุนการตัดสินใจได้แนวทางมาจาก สธ.๓ และฝ่ายอ�ำนวย
การข่าวสารการภาพ (VI Staff)

๑๒.๕ การสนับสนุน Presentation ชุดการภาพมีขีดความสามารถที่จะฉายภาพวิดีโอ


และภาพ DSV ด้วยเครื่องฉายภาพสี
รส. ๒๔-๔๐ 49

๑๒.๖ การแยกหมวดหมู่ ภาพเริ่มแรกทั้งหมดจะถูกทบทวนและจ�ำแนกเพื่อส่งไปยัง


JCCC ภาพจากกล้องที่ใช้ในการน�ำเสนอ บรรยายสรุป จะถูกท�ำส�ำเนาและเก็บไว้ที่หมวดยุทธการ
และสนับสนุน หมวดปฏิบตั กิ ารและสนับสนุนด�ำรงไว้ซงึ่ ระบบฐานข้อมูลอัตโนมัตบิ นั ทึกข้อมูลตัวเลข
การเก็บของข่าวสารการภาพ (Visual Information Record Identification Number (VIRIN))
สามารถติดตามและอธิบายส�ำเนาภาพทั้งหมดที่มีอยู่ในระดับ ทน.

๑๒.๗ การส่ ง การส่ ง ภาพใกล้ เ วลาจริ ง ระหว่ า งกองพลกั บ ทน. เป็ น ความ
รับผิดชอบของหมวดปฏิบัติการและสนับสนุน ภาพจากกล้องวิดีโอจะถูกส่งไปโดยสื่อที่เร็วที่สุดที่มี
ดาวเทียมเป็นระบบสือ่ สารหลักทีใ่ ช้ในการส่งภาพระหว่างกองทัพน้อยและ ทบ.สนาม ระบบสือ่ สาร
รอง การสื่อสารทางยุทธวิธี ไมโครเวฟ วิทยุ หรือพลน�ำสาร หมวดการภาพหรือ MCCU
รับผิดชอบในการประสานการส่งภาพไปยัง JCCC

ตอนที่ ๔ กองพล/กองพลนาวิกโยธิน

๑๓. ค�ำน�ำ หมวดการภาพการรบ รั บ ผิ ด ชอบด�ำเนิ น การสนั บ สนุ น ข่ า วสารการภาพแก่


กองบัญชาการกองพล หน่วยควบคุมทางยุทธการ และหน่วยขึ้นสมทบ เพื่อกระบวนการตัดสินใจ
ในการรบและงานด้านประวัติศาสตร์ มีอัตราการจัดยุทโธปกรณ์ตาม อจย. ที่ได้รับอนุมัติ

๑๔. ความรับผิดชอบ
๑๔.๑ สธ.๓ กองพล เป็นผูร้ บั ผิดชอบหลักซึง่ จะก�ำหนดภารกิจและล�ำดับความเร่งด่วน
ทางการยุทธ์ในเรื่องความต้องการข่าวสารการภาพ ส�ำหรับ บก.พล. เพื่อสนับสนุนกระบวนการ
ตัดสินใจในการรบ

๑๔.๒ นายทหารฝ่ายสือ่ สารกองพล (ฝสส.พล.) ได้รบั ภารกิจข่าวสารการภาพ (VI) จาก


สธ.๓ กองพลและกองฝ่ายเสนาธิการอื่น ๆ ในสนาม ฝสส.พล.สนามรับผิดชอบต่อการสนธิระบบ
ข่าวสารการภาพในสนามรบไปเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการตามแผนยุทธการ วิกฤตการณ์ และ
การฝึก นายทหารฝ่ายสื่อสารกองพล จะจัดล�ำดับความเร่ง ระบบการสื่อสารทางยุทธวิธีเพื่อให้
แน่ ใ จว่ า สามารถส่ ง ข้ อ มู ล ภาพแบบ Near Real time ได้ นายทหารฝ่ า ยสื่ อ สารกองพล
(ฝสส.พล.) ต้องแน่ใจว่าอุปกรณ์ทุกอย่างของระบบข่าวสารการภาพ (VI) จะถูกใช้อย่างเหมาะสม
และใช้ตามการจัดล�ำดับความเร่งด่วนในเมื่อสถานการณ์เข้าสู่สภาวะความต้องการมีเกินการ
สนับสนุน
50 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

๑๕. การจัดหน่วย
หมวดข่าวสารการภาพสนาม (Signal VI Platoons) ประกอบด้วยยุทโธปกรณ์ตามอัตรา
การจัดยุทโธปกรณ์ทกี่ �ำหนดตาม อจย. (TOE) หน่วยการภาพการรบนาวิกโยธิน (MEF COMCAM)
ประกอบด้วยยุทโธปกรณ์ตามอัตราการจัดยุทโธปกรณ์ทกี่ �ำหนดตามใน (T/O) และการจัดสิง่ อุปกรณ์
(T/E) หน่วยระดับหมวดภายในกองร้อยสื่อสารการภาพจะถูกจัดให้ท�ำงานบนรถพ่วงเพื่อความ
สะดวกของพลภาพการรบ และของความต้องการในสนับสนุนข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี ส�ำหรับ
กองบัญชาการทบ.สนาม, หน่วยควบคุมทางยุทธการ หรือหน่วยสมทบสูงกว่ากองทัพน้อย (ดูภาพ
ที่ ๓-๘)

ภาพที่ ๓-๘ การจัดหมวดข่าวสารการภาพสนาม

๑๖. บทบาทและหน้าที่
๑๖.๑ หมวดข่าวสารการภาพการรบ (Signal VI Platoon (COMCAM)) เป็นหน่วยขึ้น
ตรงกองบัญชาการกองพล จัดสรรยุทโธปกรณ์เพื่อสนับสนุนการร้องขอต้นฉบับภาพนิ่ง และภาพ
เคลือ่ นไหวภายในพืน้ ทีก่ องบัญชาการกองพล หมวดภาพการรบ ยังคงจัดให้มกี ารบริการภาพสนาม
ซึ่งถูกถ่ายโดย ช่างภาพสนาม การบริการเหล่านีร้ วมไปถึง การประมวลผล การแก้ไข การคัดลอก
การแจกจ่าย และการถ่ายทอดข่าวสารภาพถ่าย ให้กองบัญชาการกองพล หน่วยควบคุมทาง
รส. ๒๔-๔๐ 51

ยุทธการ และหน่วยขึ้นสมทบทันทีที่มีความต้องการภาพถ่ายทางยุทธการได้รับความพอใจแล้วใน
ระดับกองพล ภาพนั้นจะถูกส่งต่อไปที่ บก.ทน. เพื่อส�ำหรับการใช้งาน

๑๖.๒ หมวดข่าวสารการภาพสนาม ยังคงจัดให้มีการสนับสนุนการซ่อมบ�ำรุงทั่วไปแก่


หน่ ว ยในอั ต ราและหน่ ว ยผู ้ ใ ช้ อุ ป กรณ์ ข ่ า วสารการภาพในกองพล การบริ ก ารการน�ำเสนอ
(Presentation) โดยกองร้อยสื่อสารฯ ให้แก่ บก.ทน. กองร้อยสื่อสารข่าวสารการภาพสนาม
ประกอบไปด้วย บก.ร้อย., หมวดปฏิบัติการและสนับสนุน, หมวดข่าวสารการภาพสนาม ๑ หมวด
และหมวดการภาพสนามสนับสนุนแต่ละกองพล

๑๖.๒.๑ กองบังคับการหมวด จัดให้มีการบังคับบัญชา ควบคุม และ


การประสานงาน กั บ กองร้ อ ยข่ า วสารการภาพ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยการออก
ค�ำสัง่ การจัดการบริหาร งานยุทธการ และงานส่งก�ำลังบ�ำรุง ซึง่ จ�ำเป็นต่อการท�ำให้
บรรลุภารกิจ ผู้บังคับกองร้อยปฏิบัติหน้าที่เป็นนายทหารฝ่ายข่าวสารการภาพ
ของนายทหารฝ่ายอ�ำนวยการสื่อสารของ ทบ.สนาม

๑๖.๒.๒ ตอนปฏิบัติการและสนับสนุน รับผิดชอบต่อการประสานงาน,


การรวบรวม, การได้มาของภาพถ่าย, การประมวลผล, การแก้ไข, การคัดลอก,
การแจกจ่ า ย และการถ่ า ยทอด ที่ จ�ำเป็ น ต่ อ การสนั บ สนุ น ทบ.สนาม
และความต้องการในกองบัญชาการร่วม ซึ่งจะท�ำงานไปพร้อมกันกับผู้ใช้อื่นที่
สามารถปฏิบัติงานได้ทั้งหมด (เช่น PSYOP, MP and PA) เพื่อให้แน่ใจว่าการได้
มาของภาพถ่ายนั้นมีมาตรฐานและอุปกรณ์ประมวลผลใช้งานได้ดี โดยกองร้อย
ข่าวสารการภาพ (VI) หมวดปฏิบัติการและสนับสนุนจะคัดแยกรายชื่อและด�ำรงไว้ใน
การท�ำส�ำเนาภาพถ่ายให้ทั่วทั้งกองทัพบกสนาม การพิจารณาทบทวนให้ได้หัวข้อ
ข่าวสารที่ก�ำหนด เทคนิคที่ยอมรับได้ เพื่อความพึงพอใจทางยุทธการ หมวดนี้
จะจัดให้มีการสนับสนุนการน�ำเสนอ บริการแก่ ผบ.ทบ. และฝ่ายอ�ำนวยการ
สนับสนุนการส่งก�ำลังบ�ำรุงทัว่ ทัง้ สนามรบกับ JCCC นายสิบติดต่อด้านข่าวสารการ
ภาพได้รับอนุญาตให้ท�ำงานที่ตอนยุทธการตลอด ๒๔ ชั่วโมงบนงานฝ่ายอ�ำนวย
การข่าวสารการภาพ (VI Staff)
52 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

๑๗. อุปกรณ์ อุปกรณ์ข่าวสารการภาพเป็นสินค้าของพลเรือนที่ไม่มีวางขายและไม่มีการพัฒนา


(Nondevelopmental Item) (NDI) อุปกรณ์ในอัตราของกองร้อยสือ่ สารข่าวสารการภาพและของ
ผู้ใช้ต้องมีคุณสมบัติสามารถท�ำกระบวนการและท�ำการส่งต่อได้

๑๗.๑ รูปแบบการจัดหาและขีดความสามารถ รูปแบบการจัดหาอุปกรณ์ถ่ายภาพการ


รบเหมาะสมกับมาตรฐานของกระทรวงกลาโหมเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าเข้ากันได้ทงั้ ระบบในการบัญชาการ
ร่วม กล้องวิดีโอถ่ายภาพเคลื่อนไหวใช้เทปบันทึกขนาด ๘ มม. ไฮแบนด์, ภาพนิ่งใช้กล้อง DSV มี
เลนส์เดียว (Single Lens Reflex (SLR)) ขนาด ๓๕ มม., กองร้อยสื่อสารข่าวสารการภาพสามารถ
ถ่ายภาพในเวลากลางคืนได้ทั้งภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ผลผลิตคุณภาพจากอุปกรณ์การตัดต่อ
ที่ใช้ในสนามรบมีคุณภาพระดับความชัดเจนสูง (High Resolution Imagery)

๑๗.๒ การเคลื่อนที่ หมวดสื่อสารฯ สามารถเคลื่อนที่ด้วยยานยนต์ในอัตราไปยังหน่วย


รั บ การสนั บ สนุ น ยานยนต์ นี้ ติ ด ตั้ ง ระบบการถ่ า ยท�ำและตั ด ต่ อ ได้ ทุ ก ที่ ใ นสนามรบส�ำหรั บ
นาวิกโยธิน ดูบทที่ ๖

๑๗.๓ การสนับสนุน Presentation ชุดการภาพมีขีดความสามารถที่จะฉายภาพวิดีโอ


และภาพดิจิทัล ด้วยเครื่องฉายภาพสี

๑๗.๔ การส่ง การส่งภาพใกล้เวลาจริงระหว่างกองพลกับ ทน. เป็นความรับผิดชอบของ


หมวดปฏิบัติการและสนับสนุน ภาพจากกล้องวิดีโอจะถูกส่งไปโดยสื่อที่เร็วที่สุดที่มี ดาวเทียมเป็น
ระบบสื่อสารหลักที่ใช้ในการส่งภาพระหว่างกองทัพน้อยและ ทบ.สนาม ระบบสื่อสารรอง การ
สื่อสารทางยุทธวิธี ไมโครเวฟ วิทยุ หรือพลน�ำสาร หมวดการภาพสนาม รับผิดชอบในการ
ประสานการส่งภาพไปยัง JCCC

ตอนที่ ๕ กรมและหน่วยต�่ำกว่ากรมลงมา

๑๘. ค�ำน�ำ ชุดการภาพสนาม รับผิดชอบด�ำเนินการสนับสนุนข่าวสารการภาพแก่ บก.


กรมหรือนาวิกฯ หน่วยควบคุมทางยุทธการ หน่วยขึ้นสมทบ เหนือกว่ากองพลเพื่อกระบวนการ
ตัดสินใจในการรบและงานด้านประวัติศาสตร์ มีอัตราการจัดยุทโธปกรณ์ตาม อจย. ที่ได้รับอนุมัติ
รส. ๒๔-๔๐ 53

๑๙. ความรับผิดชอบ
๑๙.๑ ฝอ.๓ กรม เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักซึ่งจะก�ำหนดภารกิจและล�ำดับความ
เร่งด่วนทางการยุทธ์ในเรื่องความต้องการข่าวสารการภาพ ส�ำหรับกรมเพื่อสนับสนุนกระบวนการ
ตัดสินใจในการรบ

๑๙.๒ นายทหารฝ่ายสื่อสารกรม (BSO) ได้รับภารกิจข่าวสารการภาพ (VI) จาก สธ.๓


กองพลและกองฝ่ายเสนาธิการอื่น ๆ ใน ทบ.สนาม ฝสส.พล.สนามรับผิดชอบต่อการสนธิระบบ
ข่าวสารการภาพในสนามรบไปเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการตามแผนยุทธการ วิกฤตการณ์ และ
การฝึก นายทหารฝ่ายสือ่ สารกองพล จะจัดล�ำดับความเร่ง ระบบการสือ่ สารทางยุทธวิธเี พือ่ ให้แน่ใจ
ว่าสามารถส่งข้อมูลแบบ Near Real time ได้ของรูปภาพ นายทหารฝ่ายสื่อสารกองพล (DSO)
ต้องแน่ใจว่าอุปกรณ์ทุกอย่างของระบบข่าวสารการภาพ (VI) จะถูกใช้อย่างเหมาะสมและตามการ
จัดล�ำดับความเร่งด่วนในเมื่อสถานการณ์เข้าสู่สภาวะความต้องการอยู่เหนือการสนับสนุน

๒๐. การจัดหน่วย
ชุดการภาพสนาม (COMCAM Team) ประกอบด้วยยุทโธปกรณ์ตามอัตราการจัด
ยุทโธปกรณ์ที่ก�ำหนดตาม อจย. (TOE) ประกอบด้วยยุทโธปกรณ์ตามอัตราการจัดยุทโธปกรณ์
อัตราการจัดสิง่ อุปกรณ์ หน่วยระดับชุดการภาพสนามจะถูกจัดให้ท�ำงานบนรถพ่วงเพือ่ ความสะดวก
ของช่างภาพสนาม และของความต้องการในสนับสนุนข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี แก่กอง
บังคับการกรม (ดูภาพที่ ๓-๙)
54 บทที่ ๓ การยุทธ์และการจัดหน่วยทหารการภาพในสนามรบ

ภาพที่ ๓-๙ การจัดชุดการภาพสนามระดับกรม


.
๒๑. บทบาทและหน้าที่
ชุดการภาพสนาม (COMCAM) เป็นหน่วยขึ้นตรงกองบังคับการกรมจัดสรรยุทโธปกรณ์
เพื่อสนับสนุนการร้องขอต้นฉบับภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวภายในพื้นที่กรม ชุดการภาพสนาม
ยังคงจัดให้มีการบริการภาพการรบซึ่งถูกถ่ายโดย COMCAM และมีผู้ใช้มีความต้องการอยู่ การ
บริการเหล่านี้รวมไปถึง การประมวลผล การแก้ไข การคัดลอก การแจกจ่าย และการถ่ายทอด
ข่าวสารภาพถ่าย ส�ำหรับ บก.กรม หน่วยควบคุมทางยุทธการ และสมทบหน่วยเหนือกว่ากรม ทันที
ทีม่ คี วามต้องการภาพถ่ายทางยุทธการได้รบั ความพอใจแล้วในระดับกรม ภาพนัน้ จะถูกส่งต่อไปที่
กองบัญชาการกองพลเพื่อส�ำหรับการใช้งานโดยกองบัญชาการกองพล

๒๒. อุปกรณ์ อุปกรณ์ข่าวสารการภาพเป็นสินค้าของพลเรือนที่ไม่มีวางขายและไม่มีการพัฒนา


(Nondevelopmental Item) (NDI) อุปกรณ์ในอัตราของชุดการภาพสนามและอัตราของผูใ้ ช้ตอ้ ง
มีคุณสมบัติที่สามารถผลิตภาพและท�ำการส่งต่อได้

๒๒.๑ รูปแบบการจัดสรรและขีดความสามารถ รูปแบบการจัดสรรอุปกรณ์ถา่ ยภาพการ


รบเหมาะสมกับมาตรฐานของกระทรวงกลาโหมเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าเข้ากันได้ทงั้ ระบบในการบัญชาการ
ร่วม กล้องวิดีโอถ่ายภาพเคลื่อนไหว และภาพนิ่งใช้กล้องดิจิทัล สามารถถ่ายภาพในเวลากลางคืน
ได้ทงั้ ภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหว ผลผลิตคุณภาพจากอุปกรณ์การตัดต่อทีใ่ ช้ในสนามรบมีคณ
ุ ภาพ
รส. ๒๔-๔๐ 55

ระดับความชัดเจนสูง (High Resolution Imagery)

๒๒.๒ การเคลื่อนที่ สามารถเคลื่อนที่ด้วยยานยนต์ในอัตราไปยังหน่วยรับ


การสนับสนุน ยานยนต์นี้ติดตั้งระบบการถ่ายท�ำและตัดต่อได้ทุกที่ในสนามรบ

๒๒.๓ การสนับสนุน Presentation ชุดการภาพมีขีดความสามารถที่จะฉายภาพ


วิดีโอและภาพ DSV ด้วยเครื่องฉายภาพสี

๒๒.๔ การส่ง การส่งภาพใกล้เวลาจริง (Near Real time) ระหว่างหน่วยเป็น


ความรับผิดชอบของหมวดปฏิบัติการและสนับสนุน ภาพจากกล้องวิดีโอจะถูกส่งไปโดยสื่อที่เร็ว
ที่สุดที่มีดาวเทียมเป็นระบบสื่อสารหลักที่ใช้ในการส่งภาพระหว่างหน่วยในกรม ระบบสื่อสารรอง
การสื่อสารทางยุทธวิธี ไมโครเวฟ วิทยุ หรือพลน�ำสาร หมวดการภาพหรือ MCCU รับผิดชอบใน
การประสานการส่งภาพไปยัง JCCC
บทที่ ๔
การบริหารการส่งก�ำลัง
๑. ค�ำน�ำ
๑.๑ การจัดท�ำและการเผยแพร่ของการสนับสนุนและอุปกรณ์ข่าวสารการภาพมี
ความส�ำคัญเทียบเท่ากับการสนับสนุนด้านอื่น ๆ ของกองทัพบก ข้อก�ำหนดที่แน่นอนของ
ความต้องการโดยรวมและความต้องการความปลอดภัยเป็นสิง่ ส�ำคัญ การจัดท�ำในพืน้ ทีข่ องข้อมูล
ภาพที่เฉพาะเจาะจงต้องได้รับอนุญาตเพื่อที่จะสนับสนุนปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลภาพที่
จ่ า ยออกนั้ น ถู ก ก�ำหนดเวลาของการท�ำลายเพราะว่ า อายุ ก ารใช้ ง านได้ ถู ก ประสานร่ ว มกั บ
หน่วยข่าวสารการภาพภาคพื้นซึ่งเป็นหน่วยใช้
๑.๒ ระบบและอุปกรณ์ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี
๒. ระบบและอุปกรณ์
๒.๑ ระบบและอุปกรณ์ขา่ วสารการภาพทางยุทธวิธเี ป็นสิง่ ทีส่ ามารถใช้ได้อย่างต่อเนือ่ ง
หรือซ�้ำ ๆ โดยปฏิบัติการข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี สิ่งนี้ถูกใช้บันทึก, ผลิต, ท�ำส�ำเนา,
ด�ำเนินการ, ออกอากาศ, ตัดต่อ, เผยแพร่และจัดเก็บข่าวสารการภาพ
๒.๒ ระบบและอุปกรณ์ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีจะด�ำรงอยู่ได้ถ้าองค์ประกอบ
ต่าง ๆ ถูกเชื่อมต่อและออกแบบให้ท�ำงานหลัก ๆ ร่วมกันได้ ระบบที่มีจุดประสงค์เพื่อที่จะ
ตอบสนองข้อก�ำหนดต่าง ๆ ต้องไม่ได้รบั ด้วยวิธกี ารทีละเล็กละน้อย ค่าใช้จา่ ยระบบทัง้ หมดประกอบ
ด้วยค่าใช้จา่ ยรวมของอุปกรณ์ใหม่ ๆ ทัง้ หมด, อุปกรณ์เสริมและซอฟต์แวร์ทเี่ กีย่ วข้องทีใ่ ช้ในระบบ
ปฏิบัติการทั้งหมด เมื่อความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบข่าวสารการภาพ
ทางยุทธวิธีถูกก�ำหนดในข้อตกลงความต้องการนั้นจะประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการ
ฝึกในค่าใช้จ่ายทั้งหมด
๒.๓ การปรับปรุงข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีเป็นการเปลี่ยนหรือแก้ไขระบบที่มีอยู่ซึ่ง
จะปรับปรุงประสิทธิภาพ, เพิ่มขีดความสามารถหรือสนับสนุนหน่วยใช้ได้มากขึ้น
๒.๔ เมือ่ อุปกรณ์ทมี่ คี ณ
ุ สมบัตเิ ป็นอุปกรณ์ขา่ วสารการภาพทางยุทธวิธจี ะเป็นส่วนส�ำคัญ
ของระบบหรืออุปกรณ์การท�ำงานข่าวสารการภาพ อุปกรณ์นจี้ ะถูกจัดการให้เป็นส่วนหนึง่ ของระบบ
หรืออุปกรณ์การท�ำงานข่าวสารการภาพอย่างเช่น เครื่องวัดสัญญาณไฟฟ้า กล้องจุลทรรศน์ที่
ประกอบมากับกล้องถ่ายภาพ
๒.๕ เมื่ออุปกรณ์ถูกระบุเป็นอุปกรณ์ข่าวสารการภาพเป็นส่วนส�ำคัญของระบบหรือ
อุปกรณ์การท�ำงานข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี อุปกรณ์นี้จะถูกจัดการให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบ
รส. ๒๔-๔๐ 57

หรืออุปกรณ์การท�ำงานข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีอย่างเช่น คอมพิวเตอร์ที่ประกอบกับตัว
สับเปลีย่ นสัญญาณวิดโี อหรือคอมพิวเตอร์ทปี่ ระกอบกับระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกทีท่ �ำงานด้านการ
ผลิตกราฟิก

๓. การพัฒนาวัสดุอุปกรณ์
กรมการทหารสือ่ สารท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูพ้ ฒ
ั นาวัสดุอปุ กรณ์ส�ำหรับระบบและอุปกรณ์ขา่ วสาร
การภาพทางยุทธวิธี ซึ่งจะให้การจัดหา, บ�ำรุงรักษาและสนับสนุนการขนส่งแบบรวมการส�ำหรับ
ระบบและอุปกรณ์ขา่ วสารการภาพทางยุทธวิธชี นิดทีเ่ ป็นความลับและวางแผน, โปรแกรม, จัดการ,
วิจัย, พัฒนา, ทดสอบ และประเมินค่าเทคโนโลยีข่าวสารการภาพทั่วโลก

๔. การพัฒนาการรบ
๔.๑ ผูพ้ ฒ
ั นาการรบของระบบข่าวสารการภาพทางยุทธวิธคี อื กองการภาพกรมการทหาร
สื่อสารเป็นผู้พัฒนาการรบ ในการปฏิบัติงานร่วมกันกับผู้พัฒนาวัสดุอุปกรณ์กองการภาพกรมการ
ทหารสือ่ สารจะด�ำเนินการพัฒนาแผนและแนวความคิดส�ำหรับองค์กรข่าวสารการภาพทางยุทธวิธี
ระบบอุปกรณ์ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีอีกทั้งยังเตรียมการอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ภายใน
โครงสร้างของกองก�ำลัง

๔.๒ ความต้องการระบบและอุปกรณ์ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีถูกเสนอซึ่งจะแสดง
ต่อไป ความต้องการทีอ่ นุมตั แิ ล้วจะถูกรวมตามล�ำดับไว้ในอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ตามระเบียบ
ของกองทัพบก หน่วยข่าวสารการภาพทางยุทธวิธพี ร้อมด้วยรหัสการแสดงตัวของหน่วยทีถ่ กู อนุมตั ิ
จะด�ำรงรักษาบัญชีรายการรวมของระบบและอุปกรณ์ข่าวสารการภาพทางยุทธวิธีทางระเบียบ
ของกองทัพบก

๔.๓ หน่วยการข่าวสารการภาพสนามทุกระดับที่ได้รับอนุมัติให้ใช้อัตราการจัดและ
ยุทโธปกรณ์/อัตราการจัดและยุทโธปกรณ์จะใช้อุปกรณ์มาตรฐานชนิดที่เป็นความลับ

๕. การส่งก�ำลังและการซ่อมบ�ำรุง กรมการทหารสื่อสารด�ำเนินการสนับสนุนชิ้นส่วนซ่อมตาม
ระเบียบ ทบ.

๖. การปรนนิบัติบ�ำรุง การปรนนิบัติบ�ำรุงเป็นไปตามระเบียบของ ทบ.


58 ผนวก ก

ผนวก ก
บรรณานุกรม
FM 24-40 Tactical Visual Information Doctrine
ASIGN Commercial Proposal

You might also like