You are on page 1of 118

รปจ.

สนาม
กองพันทหารราบที่ ๑
กรมทหารราบที่ ๗
รปจ. สนาม ร.๗ พัน.๑
๑. อ้างถึง
ก. รปจ.สนาม พล.ร. ................................... ลง .........................................
ข. รปจ.สนาม กรม ร. ................................. ลง .........................................
๒. ความมุ่งหมาย
เพื่อให้หน่วยต่างๆ ที่ร่วมประกอบกาลังเป็นกองพันเฉพาะกิจได้ยึดถือเป็นแบบปฏิบัติร่วมกัน ด้วยความ
เรียบร้อย และรวดเร็ว
๓. ความสอดคล้อง
ให้หน่วยในอัตรา หน่วยสมทบและหน่วยสนับสนุนจัดทา รปจ.สนามของหน่วย ให้สอดคล้องกับ รปจ.สนาม
ฉบับนี้
๔. การเปลี่ยนแปลง
หากหน่วยใดต้องการแก้ไข ให้แจ้งข้อความและเหตุผลในการแก้ไขไปยังฝ่ายยุทธการและการฝึก

(ลงชื่อ)
พ.ท. ยุทธพงศ์ กลันทะกะสุวรรณ
(ยุทธพงศ์ กลันทะกะสุวรรณ)
ผบ.ร.๗ พัน.๑
สารบัญ
หน้า
ผนวก ก การควบคุมบังคับบัญชา ก
อนุผนวก ๑ การจัดและการปฏิบัติงาน ของ ทก.หลัก และ ทก.ยุทธวิธี ก–๑
อนุผนวก ๒ ระเบียบการนาหน่วย ก–๓
อนุผนวก ๓ คาสั่ง ก–๖
อนุผนวก ๔ การตรวจความพร้อมรบก่อนปฏิบัติการ ก – ๑๑
ผนวก ข กลยุทธ ข
อนุผนวก ๑ การเคลื่อนย้าย และที่รวมพล ข–๑
อนุผนวก ๒ การเคลื่อนที่เข้าปะทะ ข – ๑๗
อนุผนวก ๓ การเข้าตีเวลากลางวัน ข – ๒๒
อนุผนวก ๔ การเข้าตีเวลากลางคืน ข – ๒๖
อนุผนวก ๕ การตั้งรับ ข – ๓๒
อนุผนวก ๖ การถอนตัว ข – ๓๘
อนุผนวก ๗ การยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ ข – ๔๓
อนุผนวก ๘ การเข้าตีเวลากลางคืน ข – ๔๘
อนุผนวก ๙ การผ่านแนว ข – ๕๐
ผนวก ค การยิงสนับสนุน ค
อนุผนวก ๑ การยิงสนับสนุน ค–๑
อนุผนวก ๒ การปฏิบัติของ ฮ. โจมตี ค – ๑๐
อนุผนวก ๓ การสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี ค – ๑๒
ผนวก ง การข่าวกรอง ง
อนุผนวก ๑ การปฏิบัติการด้านข่าวกรอง ง–๑
อนุผนวก ๒ การปลอดภัยในการปฏิบัติการ ง – ๑๐
ผนวก จ ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ และการอยู่รอดในสนามรบ จ
ผนวก ฉ การป้องกันภัยทางอากาศ ฉ
ผนวก ช การช่วยรบ ช
อนุผนวก ๑ การกาลังพลและการดาเนินการด้านธุรการ ช–๑
อนุผนวก ๒ การส่งกาลังบารุง ช–๓
อนุผนวก ๓ การเตรียมการพื้นที่ ขึ้น – ลง ช–๔
ผนวก ซ การปฏิบัติการป้องกัน นิวเคลียร์ ชีวะ และเคมี ซ
ผนวก ด การสื่อสารและอีเลคทรอนิกส์ ด
ผนวก ต การายงาน ต
อนุผนวก ๑ รายงานด่วนเฉพาะเรื่อง ต–๑
อนุผนวก ๒ การรายงานสถานการณ์ประจาวัน ต–๒
อนุผนวก ๓ แบบรายงานยุทธการตามห้วงระยะเวลา ต–๓
อนุผนวก ๑ (การจัดและปฏิบัติงานของ ทก.) ประกอบผนวก ก (การควบคุมบังคับบัญชา)

๑. กล่าวทั่วไป
เพื่อให้มีการจัด และการปฏิบัติงานของที่บังคับการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ
๒. การจัด
พัน ร. เฉพาะกิจ (หน่วยรบผสมเหล่า) อาจมีการจัดกาลังดังนี้
ก. พัน.ร.
ข. ร้อย.ถ.
ค. ร้อย ป.สนาม
ง. มว.ปตอ.
จ. มว.ช.สนาม
ฉ. หน่วยอื่น ๆ ที่หน่วยเหนือให้ขึ้นสมทบหรือให้การสนับสนุน
๓. การบังคับบัญชา
ก. ที่บังคับการกองพัน
๑) ทก.พัน เป็นสิ่งอานวยความสะดวกของ ผบ.พัน และ ฝอ. ในการควบคุมและสั่งการ
๒) การจัดตั้ง ทก.พัน จะจัดตั้งร่วมกับขบวนสัมภาระรบ ทก.พัน ประกอบด้วย
ก) ทก.หลัก
ข) ทก.ยุทธวิธี
ค) ทก.สารอง
๓) ทก.หลัก ประกอบด้วย
ก) ส่วนบังคับบัญชา ได้แก่
(๑) ผบ.พัน
(๒) ฝอ.๒
(๓) ฝอ.๓
(๔) นยส.
(๕) ผบ.มว.อวน.
(๖) ผบ.มว.ส
(๗) ส่วนระวังป้องกัน
(๘) เจ้าหน้าที่ติดต่อจากหน่วยสมทบและหน่วยสนับสนุน
ข) ส่วนยุทธการ และการข่ าวประกอบกาลังจากตอน บก.พัน อยู่ในความควบคุมของ
ฝอ.๓ ฝอ.๒ และ ผช. ฝอ.๓ ตามลาดับ
ค) ส่วนธุรการและส่งกาลังบารุง ประกอบกาลัง จากตอนธุรการและกาลังพล และตอน
ส่งกาลัง อยู่ในความควบคุมของ ฝอ.๔ และ ฝอ.๑ ตามลาดับ
ง) ส่วนยิงสนับสนุน (สยส) ประกอบกาลังจากผู้แทนอาวุธยิงสนับสนุน อยู่ในความ
ควบคุมของ นยส.
จ) ศูนย์ข่าว ประกอบกาลังจาก มว.ส. อยู่ในความควบคุมของ ผบ.มว.ส.

ก–๑
๔) ทก.สารอง ทุกครั้งที่มีการจัดตั้ง ทก.พัน ฝอ.๑ จะต้องเลือก ทก.สารองไว้ ๑ แห่ง โดยให้อยู่
ใกล้กับเส้นหลักในการคมนาคม
ข. ที่ตั้งและการจัดวางกาลังใน ทก.พัน
๑) ฝอ.๓ เป็นผู้กาหนดที่ตั้งโดยทั่วไป ตามที่ ผบ.พัน ให้แนวทางหรือสั่งการไว้
๒) ฝอ.๑ เป็นผู้เลือกที่ตั้งที่แน่นอน และจัดระเบียบภายใน ทก.พัน โดยประสาน ผบ.มว.ส.

ก–๒
อนุผนวก ๒ (ระเบียบการนาหน่วย) ประกอบผนวก ก (การควบคุมบังคับบัญชา)

๑. กล่าวทั่วไป
เพื่อให้การปฏิบัติ ในการรับคาสั่ง การวางแผน การประสานงาน และการกากับดูแลของ ฝอ. และ ผบ.
หน่วยรอง จึงมีการดาเนินการตามขั้นตอนระเบียบการนาหน่วยดังนี้
 รับภารกิจ
 ให้คาสั่งเตือน
 วางแผนขั้นต้น
 เคลื่อนย้ายเท่าที่จาเป็น
 ลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศ
 ทาแผนสมบูรณ์
 ให้คาสั่ง
 กากับดูแล
๒. การเตรียมการและการปฏิบัติก่อนไปรับคาสั่ง
ก. กาหนดผู้ไปรับคาสั่ง
๑) ฝอ.๒ และ ฝอ.๓ (อาจเพิ่ม ฝอ.๔ และ ฝอ.๑)
๒) ผบ.มว.อวน.
๓) นยส.
๔) ผบ.หน่วยขึ้นสมทบ
๕) ผบ.มว.ส.
๖) พนักงานวิทยุ และพลนาสาร
๗) ผบ.หน่วยขึ้นควบคุมทางยุทธการ
๘) อื่นๆ ตามที่ ผบ.พัน กาหนด
ข. ฝอ.๓ กาหนดเวลา และตาบลขึ้นรถโดยให้ทุกหน่วยพร้อมก่อนเวลาไปรับคาสั่ง อย่างน้อย ๕ นาที
ค. ฝอ.๒ กาหนดเส้นทางไปรับคาสั่ง ทั้งเส้นทางไป และกลับ ทั้งเส้นทางหลักและเส้นทางรอง
ง. ฝอ.๔ จัดยานพาหนะในอัตราที่ต้องใช้
จ. ฝอ.๑ ตรวจยอดผู้ไปร่วมรับคาสั่ง ก่อนเวลาไปรับคาสั่ง ๕ นาที
ฉ. รูปขบวนในการไปรับคาสั่ง
๑) หมู่ ลว.ที่ ๑ - ผบ.พัน. - ฝอ.๒ , ๓ - ฝอ.๑ , ๔ - ผบ.หน่วยขึ้นสมทบ - ฝ่ายกิจกาพิเศษ
- ผบ.มว.ส. - หมู่ ลว.ที่ ๒
๒) ระยะต่อ
ก) หมู่ ลว.ที่ ๑ - ผบ.พัน ใช้ระยะต่อ ๒๐ เมตร
ข) ระยะต่อระหว่างรถที่เหลือในขบวน ๑๕ เมตร

ก–๓
๓) การปฏิบัติเมื่อถึงที่รับคาสั่ง
ก) ฝอ.๑ แจ้งยอดกาลังพลที่ร่วมไปรับคาสั่งกับ ฝอ.๑ ของหน่วยเหนือ
ข) ฝอ.๒ กาหนดพื้นที่ระวังป้องกันให้แก่ ผบ.หมู่ ลว.
ค) ฝอ. และฝ่ายกิจการพิเศษ ให้ประสานกับ ฝอ.ของหน่วยเหนือ หากมีเวลาก่อนรับคาสั่ง
๔) ขั้นตอนตามระเบียบการนาหน่วย
ก) ฝอ.๓ เสนอร่ า งค าสั่ งเตื อ น โดยมี การก าหนดเวลาและสถานที่ ใ นการรั บ ค าสั่ ง ของ
ผบ.หน่วยรอง
ข) คาสั่งเตือนจะต้องส่งไปยังหน่วยรองแต่เนิ่นเพื่อให้มีเวลาในการเตรียมการ
๕) การให้ข่าวสารและการเสนอประมาณการ มีลาดับดังนี้
 ฝอ.๒
 ฝอ.๓
 ฝอ.๑
 ฝอ.๔
 ฝ่ายกิจการพิเศษของกองพัน
 ผบ.หน่วยขึ้นสมทบ
๖) การทาแผนขั้นต้น
ก. ฝอ.๓ รวบรวมแผนขั้นต้นในลักษณะร่างคาสั่งยุทธการรวมทั้ง แผนอื่น ๆ ได้แก่
๑) แผนการใช้เวลา
๒) แผนการเคลื่อนย้ายหน่วย
๓) แผนลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศ
๗) การเคลื่อนย้าย
ก. กองพันจะส่งแผนการเคลื่อนย้ายให้ทุกหน่วยทราบก่อนการปฏิบัติ
ข. หน่วยใดๆ จะเคลื่อนย้ายตามลาพัง จะต้องได้รับแผนการเคลื่อนย้ายและได้รับอนุมัติก่อน
๘) การตรวจภูมิประเทศ เจ้าหน้าที่และการปฏิบัติในการตรวจภูมิประเทศ เช่นเดียวกับ ข้อ ๒
๙) การทาแผนสมบูรณ์ ให้ ฝอ. และฝ่ายกิจการพิเศษร่วมแถลงแผนในส่วนที่รับผิดชอบ เมื่อ ผบ.พัน
ตกลงใจแล้วให้จัดทาคาสั่งด้วยวาจาพร้อมแผ่นบริวาร ให้เสร็จก่อนที่ ผบ.พัน จาให้คาสั่งหน่วยรอง

ก–๔
๑๐) การให้คาสั่ง ให้ ฝอ. และฝ่ายกิจการพิเศษ เข้าร่วมรับคาสั่ง และเตรียมตอบข้อซักถามจาก
ผบ.หน่วยรอง
๑๑) การกากับ ดูแ ล หลั งจาก ผบ.พั น . ออกคาสั่ งแล้ ว ฝอ. จะต้ องทาคาสั่ ง ยุทธการและผนวก
แจกจ่ายหน่วย และกากับดูแลในหน้าที่ตามสายงาน โดยมีการปฏิบัติดังนี้
ก. การบรรยายสรุปกลับของ ผบ.หน่วยรอง
ข. การซักซ้อมการปฏิบัติ
ค. การประสานการปฏิบัติ

ก–๕
อนุผนวก ๓ (คาสั่ง) ประกอบผนวก ก (การควบคุมบังคับบัญชา)

๑. ความมุ่งหมาย เพื่อกาหนดการทา และแจกจ่าย คาสั่งการรบ การแผนยุทธการของกองพัน


๒. คาสั่งการรบ และแผนยุทธการ (ระดับกองพัน)
ก. ฝ่ายอานวยการรับผิดชอบโดยทั่วไป
ข. ฝ่ายอานวยการ และฝ่ายกิจการพิเศษ รับผิดชอบทาคาสั่งการรบที่ตนเกี่ยวข้อง และรับผิดชอบผนวก
ประกอบคาสั่งยุทธการ โดยร่าง ตรวจ แล้วลงนามส่งให้ฝ่ายยุทธการ
ค. ฝ่ายยุทธการ รับผิดชอบในการพิมพ์ การสาเนา และการแจกจ่ายคาสั่งยุทธการ หรือแผนยุทธการโดยมี
ฝ่ายอานวยการและฝ่ายกิจการพิเศษอื่นๆ รับผิดชอบในการพิมพ์ และการสาเนาผนวกที่เกี่ยวข้อง
ง. คาสั่งยุทธการสมบูรณ์จัดทาขึ้นต่อเมื่อ
๑) เริ่มการยุทธ
๒) เปลี่ยนขั้นตอนการยุทธ
๓) มีเวลาเพียงพอ และเพื่อเป็นหลักฐานโดยใช้แผ่นบริวาร ผัง แผนที่สังเขป และตารางประกอบให้
มากที่สุด
จ. นอกจากสถานภาพที่ระบุในข้อ ๒ แล้วให้ใช้คาสั่งแบบมอบภารกิจแก่หน่ วยรอง คาสั่งเป็นส่วนๆ และ
คาสั่งเตรียมให้มากที่สุด เพื่อให้ทันเวลาและเหตุการณ์ที่คลี่คลายไปอย่างรวดเร็ว
ฉ. คาสั่งการรบเป็นส่วน ๆ อาจสั่งการทางนาสาร วิทยุ และโทรศัพท์ แล้วแต่ความเหมาะสม
ช. มว.ส. จะเป็นผู้กาหนดหมายเลขอ้างสาสน์สาหรับคาสั่งยุทธการ
ผนวก อนุผนวก ใบแทรก ใบแนบ ในคาสั่งดังกล่าวถ้ามีจานวนมากการแจกจ่ายอย่างเดียวกันกับคาสั่งจะ
จ่ายพร้อมคาสั่งยุทธการ ให้ใช้หมายเลขอ้างสาสน์หมายเลขเดียวกับคาสั่งหลักฉบับนี้ ส่วน ผนวก, อนุผนวก ใบแทรก
และใบแนบ ซึ่งอัตราการแจกจ่ายไม่เหมือนคาสั่งฉบับนั้น ให้ใช้หมายเลขอ้างสาสน์ต่างหาก
ซ. การใช้แบบฟอร์มในเรื่องคาสั่ง และแผน เพื่อใช้เป็นแบบเดียวกันให้ปฏิบัติดังนี้
๑) แบบฟอร์มคาสั่ง/แผนยุทธการ : ใบแทรก ก
๒) แบบฟอร์มคาสั่งเป็นส่วน ๆ : ใบแทรก ข
๓) แบบฟอร์มคาสั่งเตรียม : ใบแทรก ข

ก–๖
๓. การแจกจ่าย
ก. แบบ ก คาสั่ง/แผน (ยุทธการ)
ฉบับ แจกจ่าย
๑ ตัวจริง
๒ สาเนาคู่ฉบับ (ฝอ.๓)
๓ ผบ.พัน
๔ รอง ผบ.พัน
๕ ฝยก.
๖ ฝอ.๒
๗ ฝอ.๑
๘ ฝอ.๔
๙ ผบ.ร้อย.สสก.
๑๐ ผบ.ร้อย.สสช.
๑๑ ผบ.ร้อย.อวบ.ที่ ๑
๑๒ ผบ.ร้อย.อวบ.ที่ ๒
๑๓ ผบ.ร้อย.อวบ.ที่ ๓
๑๔ ผบ.ร้อย.ถ
๑๕ ผบ.ร้อย.ป.
๑๖ ผบ.มว.ปตอ.
๑๗ ผบ.มว.ช.สนาม
๑๘ – ๒๕ อะไหล่

ก–๗
ใบแทรก ก (แบบฟอร์มแผน/คาสั่ง) ประกอบอนุผนวก ๓ (คาสั่ง)

ชุดที่ ของ ชุด


หน้า ของ หน้า
ทก.ที่ออกคาสั่ง
สถานที่
หมู่ วัน เวลา
หมายเลขอ้างสาสน์
แผนยุทธการ
อ้างถึง : ๑)
๑. สถานการณ์
ก. ฝ่ายข้าศึก
ข. ฝ่ายเรา
ค. หน่วยขึ้นสมทบและหน่วยแยก
ง. สมมุติฐาน
๒. ภารกิจ
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
๒) กลยุทธ
๓) การยิง
ข.
ค.
ง.
จ.

ก–๘
ชุดที่ ของ ชุด
หน้า ของ หน้า
ฉ.
ช. กองหนุน
ซ. คาแนะนาในการประสาน
๔. การช่วยรบ
๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ตอบรับ :

(ลงชื่อ)
( )
ผบ.หน่วย

ผนวก ก


การแจกจ่าย :

เป็นคู่ฉบับ
พ.ต.
( )
ฝอ.๓

ก–๙
ใบแทรก ข ( แบบฟอร์มคาสั่งเตรียมและคาสั่งเป็นส่วนๆ ) ประกอบอนุผนวก ๓ (คาสั่ง)
ทบ. ๔๖๓ – ๐๐๗
กระดาษเขียนข่าว
แบบ สส.๗ ที่ ...........................
สาหรับเจ้าหน้าที่ศูนย์การสื่อสาร ..................................................................
.................................................................................................
.................................................................................................
ความเร่งด่วน – ผู้รับปฏิบัติ ความเร่งด่วน – ผู้รับทราบ หมู่ วัน - เวลา คาแนะนา
หมู่/คา
ถึงผู้รับปฏิบัติ............................................................................ ประเภทเอกสาร
ผู้รับทราบ................................................................................. ที่ของผู้ให้ข่าว

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................
หน้า ใน หน้า อ้างถึงข่าว ชื่อผู้เขียนข่าว หน่วย โทร.
จัดประเภทเอกสาร
จัด ไม่
วันที่ เวลา ระบบ ชื่อ วันที่ เวลา ระบบ ชื่อ รับรองว่าเป็นข่าวราชการ
รับเมื่อ เครื่อง พนักงาน ส่ง เครื่อง พนักงาน
สื่อสาร เสร็จ สื่อสาร
.........................................

นายทหารอนุมัติข่าว

ก – ๑๐
อนุผนวก ๔ (การตรวจความพร้อมรบก่อนการปฏิบัติการ) ประกอบผนวก ก (การควบคุมบังคับบัญชา)

๑. ความมุ่งหมาย เพื่อให้มั่นใจได้ว่า กาลังพลแต่ละบุคคลได้มีการเตรียมการเพื่อปฏิบัติภารกิจและค้นหา


ข้อบกพร่องของยุทโธปกรณ์บางรายการที่มีความจาเป็นต่อภารกิจ โดยการตรวจความพร้อมจะกระทาก่อนการ
ปฏิบัติภารกิจ เช่นเดียวกับการซักซ้อมก่อนปฏิบัติภารกิจ
๒. ขั้นตอนในการตรวจ
ก. ผบ.มว. เลือกตรวจสอบบุคคลและอาวุธประจาหน่วย
ข. รอง ผบ.มว. เลือกตรวจสอบบุคคล อาวุธประจาหน่วย พนักงานวิทยุ ส.พยาบาลและบุคคล
ที่มาสมทบ
ค. ผบ.หมู่ ตรวจสอบทหารทุกคนในหมู่
ง. หน.ชุด ตรวจสอบทหารทุกคนในชุดยิง
๓. รายการตรวจสอบ
ก. กาลังพลเป็นบุคคล และบรรทุกเป็นบุคคล
ข. ยุทโธปกรณ์ประจา ผบ.หน่วยทุกระดับ
ค. ยุทโธปกรณ์ที่มีความสาคัญต่อการปฏิบัติภารกิจ
ง. เจ้าหน้าที่สื่อสาร และเครื่องมือสื่อสาร
จ. กาลังพลของหน่วยขึ้นสมทบ
ฉ. อาวุธ และระบบอาวุธทั้งหมด
๔. วิธีการตรวจ
ก. การตรวจแบบเร่งด่วน
ข. การตรวจแบบประณีต

ก – ๑๑
อนุผนวก ๑ (การเคลื่อนย้ายและที่รวมพล) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

ความมุ่งหมาย
ก. เพื่อกาหนดระเบียบและการปฏิบัติการเคลื่อนย้ายกาลังพล และสิ่งอุปกรณ์รวมทั้งการเตรียมการให้
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ปลอดภัย และถูกต้องตามหลักการ
ข. เพื่อสะดวกแก่การวางแผน ประสานงาน และควบคุม
ขอบเขต
ก. การเคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์ ใบแทรก ก
ข. การเคลื่อนย้ายด้วยรถไฟ ใบแทรก ข
ค. การปฏิบัติ ณ ที่รวมพล ใบแทรก ค

ข–๑
ใบแทรก ก (การเคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์) ประกอบอนุผนวก ๑ (การเคลื่อนย้ายและที่รวมพล)

๑. การจัดขบวนการเคลื่อนย้าย
ก. ขบวนเคลื่อนย้ายจัดขึ้นเพื่อให้มีการควบคุมในการเคลื่อนย้ายเป็นไปอย่างมีระเบียบ
ข. ส่วนประกอบของขบวนประกอบด้วย
๑. ต้นขบวน คือ ส่วนประกอบของ รถคันแรก หรือหน่วยทหารเดินเท้าหน่วยแรก ซึ่งมีผู้บังคั บ
ขบวนหรือผู้แทน ทาการบังคับบัญชาอยู่ที่ต้นขบวน
๒. ตัวขบวน คือ รถทุกคัน หรือหน่วยทหารเดินเท้าทุกหน่วย ซึ่งอยู่ในขบวนเคลื่อนย้ายครั้งนี้นั้น
นอกจากรถหรือหน่วยเดินเท้าต้นขบวน หรือรถหรือหน่วยเดินเท้าท้ายขบวน
๓. ท้ายขบวน คือ ส่วนประกอบของรถ หรือหน่วยทหารเดินเท้า ซึ่งอยู่ท้ายสุดของขบวน
ค. ฝ่ายยุทธการ จัดทาตารางการเคลื่อนย้ายของกองพัน โดยมีรายละเอียดดังนี้
๑. กาลังพล
ก. ยอดกาลังพลที่มีอยู่ปัจจุบันทั้งหมด
ข. ยอดกาลังพลสามารถบรรทุกยานพาหนะของหน่วยได้ และยอดที่ต้องการบรรทุกไปกับ
ยานพาหนะที่ร้องขอของหน่วย
๒. ยุทโธปกรณ์
ก. จานวนของยุทโธปกรณ์ในอัตราที่มีอยู่ ซึ่งไม่สามารถบรรจุไปกับขบวนยานพาหนะของ
หน่วยได้ (คิดเป็นลูกบาศก์ฟุต)
ข. จานวนขนาดของรถบรรทุกที่ต้องการใช้
ง. การจัดตั้งขบวนรถบรรทุก
๑. ผู้บังคับขบวนเป็นผู้กาหนดเวลาออก และ เวลารับ ณ จุดกาหนดเวลาที่มอบให้
๒. ผู้ บั ง คับ ขบวนรถบรรทุ กรับ ผิ ดชอบในการจัด ขบวนรถของตน และในเรื่องการปฏิบั ติการ
เคลื่อนย้ายทั้งปวง เมื่อหมดหน้าที่แล้วให้กลับหน่วยต้นสังกัดทันที
๓. ผู้ บั ง คับ รถขบวนบรรทุ กรับ ผิ ดชอบในการจัด ขบวนรถของตน และในเรื่องการปฏิบั ติการ
เคลื่อนย้ายทั้งปวง เมื่อหมดหน้าที่แล้วให้กลับหน่วยต้นสังกัดทันที
จ. การปฏิบัติของ ผบ.หน่วย ที่ขบวนรถบรรทุกมาขึ้นสมทบในการเคลื่อนย้าย
๑. เมื่อได้ รั บ คาสั่ งให้ เคลื่ อ นย้า ยด้ว ยยานยนต์ ผบ.หน่ ว ย จะเริ่ มเลื อ กตาบลขึ้นทั นที และส่ ง
นายทหารผู้หนึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่นาคาสั่ง คาแนะนาในเรื่องการจัดรถไปยังตาบลรวมของขบวนรถบรรทุก
๒. ผบ.หน่วย จะเลือกตาบลขึ้นรถ การแยกไปตาบลขนลง จะต้องไม่ทาความยุ่งยากให้แก่ขบวน
รถบรรทุก หรือ การจัดขบวนแยกไปถึงหน่วยที่เล็กกว่ากองพัน
๓. รถบรรทุก ปล่อยกลับไปขึ้นในการบังคับบัญชาขบวนรถบรรทุกที่ตาบลขนลง ผู้บังคับขบวน
รถบรรทุกจัดการวางแผนรวมรถของตน เพื่อกลับหน่วยต้นสังกัด

ข–๒
๒. การดาเนินการเคลื่อนย้าย
ก. ทั่วไป
๑) ผู้บังคับหน่วยออกคาสั่งการเคลื่อนย้ายของตน โดยฝ่ายยุทธการกองพัน จะเป็นผู้แจกจ่ายการ
เคลื่อนย้ายพร้อมด้วยแผนที่เส้นทาง ตารางการเคลื่อนย้าย รวมกับคาสั่งนี้ด้วย ในคาสั่งบรรจุเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
ก) เส้นทาง
ข) แผ่นบริวารการเคลื่อนย้าย
ค) อัตราความเร็วในการเคลื่อนย้าย
ง) การรักษาระยะต่อระหว่างรถ
จ) ระยะต่อเป็นเวลาระหว่างหน่วยการเดิน
๒) ผบ.หน่วยการเดิน จะต้องชี้แจงให้พลขับ เกี่ยวกับวินัยในการเคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์ ระยะต่อ
ความเร็ว ฯลฯ
๓) การเคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์ จะต้องกระทาเป็นการเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธีตลอดเวลา
๔) หน่วยต้องมีการเตรียมการปฏิบัติการรบ หรือป้องกันต่อสู้อากาศยานตลอดเวลา
๕) ผู้บังคับขบวนรถ เตรียมการที่จะจัดส่งเจ้าหน้าที่ต่อไปนี้ ยังตาบลที่กาหนดโดยไม่ชักช้า
ก) ผู้แทนในการสั่งจ่าย
ข) จนท.บอก (ปักป้ายเส้นทาง)
ค) จนท.เตรียมที่พัก
ง) จนท.ควบคุมการจราจร
๖) ในกรณีถูกโจมตีทางอากาศ ให้ปฏิบัติตามผนวก ข
๗) หน่วย ปตอ.แยกอยู่ในขบวนการเดิน เพื่อทาการป้องกัน
๘) ห้ามแซงขบวนเด็ดขาด เว้นรถควบคุมหัวขบวน
๙) ในระหว่างขบวนหยุดพัก ให้แต่ละหน่วยการเดินจัดทหารจากรถคันหน้า ๑ คน และคันหลัง
๑ คน อยู่ทางขวาของรถ เพื่อคอยให้สัญญาณจราจร
๑๐) ควบคุมรถที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้บังคับบัญชา ในการเดินประจาอยู่กับรถ และการใช้เสบียง
ที่เหมาะสม
๓. การปฏิบัติภายในขบวน
ก. ขบวนเคลื่อนย้ายอาจจัดรูปขบวนปิด ขบวนเปิด และขบวนทยอย โดยถือเกณฑ์
๑) ขบวนปิด ความหนาแน่น ๔๕ คัน/กม.
๒) ขบวนเปิด ความหนาแน่น ๑๒ คัน/กม.
ข. ขบวนปิด ระยะต่ออย่างมากใช้ ๒ เป็นตัวคูณความเร็ว มีหน่วยเป็นเมตร
ขบวนเปิด ระยะต่ออย่างน้อยใช้ ๓ เป็นตัวคูณความเร็ว มีหน่วยเป็นเมตร

ข–๓
ค. อัตราความเร็วในการเคลื่อนย้ายบนถนน
๑) ขบวนปิด ๓๐ กม./ชม.
๒) ขบวนเปิด ๖๐ กม./ชม.
ง. อัตราความเร็วในการเคลื่อนย้ายในภูมิประเทศ
๑) ขบวนปิด ๑๐ กม./ชม.
๒) ขบวนเปิด ๒๐ กม./ชม.
จ. การกาจัดความเร็ว ถ้าไม่สั่งเป้นอย่างอื่นให้ปฏิบัติดังนี้
๑) รถนา ใช้ความเร็วสูงสุดไม่เกิน ๔๕ ไมล์/ชม. หรือ ๗๕ กม./ชม.
๒) รถคันท้ายขบวน ใช้ความเร็วสูงสุดไม่เกิน ๓๐ ไมล์/ชม. หรือ ๔๐ กม./ชม. เพื่อติดระยะต่อ
เข้าไปให้ได้ตามความต้องการ
๓) ความเร็วสูงสุดสาหรับรถใด ๆ ภายในขบวนต้องไม่เกิน ๓๐ ไมล์/ชม.
๔) ในเวลาผ่านเมือง หรือตาบลคับขันต่างๆ รถทุกคันให้ใช้ความเร็วสูงสุด ไม่เกิน ๔๐ ไมล์/ชม.
หรือ ๘ กม./ชม. และลดระยะต่อลงมาเหลือ ๑๕ – ๒๐ เมตร
ฉ. การจัดหน่วยเคลื่อนย้าย
๑) หน่วยการเดินรถไม่เกิน ๒๕ คัน
๒) ตอนการเดินไม่เกิน ๒ หน่วยการเดิน
ช. ระเบียบในการเคลื่อนย้าย ข–๔
๑) การหยุดพักและการพักแรม
ก) ห้ามมิให้ขบวนเคลื่อนย้ายหยุดพัก ณ จุดใดๆ นอกจากจะถึงจุดที่กาหนดไว้ การหยุด
พัก ให้จอดชิดขอบซ้ายของถนนให้มากที่สุด แล้วให้ลงจากรถแล้วพักอยู่ทางซ้ายของทางเท่านั้น หากกระทาได้ให้พัก
นอกเส้นทางและอาศัยร่มเงาภูมิประเทศ
ข) การพักประจา ชม. ให้ ห ยุดพัก ๑๕ นาที ในชั่วโมงแรก และ หยุด ๑๐ นาที ทุก ๆ
๑ ชม.ต่อไป
ค) การพักนานให้หยุดพัก ๓๐ – ๖๐ นาที ในเมื่อเดินทางติดต่อกันถึง ๖ ชม. หรือเพื่อ
รับประทานอาหาร การหยุดพักนานนี้ต้องจอดรถในพื้นที่ที่ไม่ขัดขวางการจราจรอื่น ๆ
ง) ห้ามมิให้ขบวนเคลื่อนย้าย หรือรถแต่ละคันหยุดพักในเมือง ยกเว้นจะได้สั่งการพิเศษ
จ) การเติมน้ามันควรถือโอกาสขณะพักนาน
ฉ) เมื่อมีการหยุดพักจะต้องมีการจัดยามที่พัก และท้ายขบวน
ช) พลขับและผู้ช่วยจะต้องปรนนิบัติบารุงรถของตนทันทีทุกครั้งที่หยุดพัก
ซ) นายทหารยานยนต์ หรือนายทหารท้ายขบวน หรือผู้ แทนทาการตรวจรถจากท้าย
ขบวน ถึงหัวขบวนเมื่อหยุดพัก
ด) ผู้ควบคุมรถ ให้ถือโอกาสขณะหยุดพักตรวจสิ่งของบรรทุก กากับดูแลการปรนนิบัติ
บารุง ไขข้อบกพร่องให้คืนดีเมื่อพบ

ข–๔
ซ. การใช้แสงไฟ
๑) การเคลื่อนย้ายในเขตหลัง รถทุกคันในขบวนเดินทางต้องเปิดไฟทั้งกลางวัน และกลางคืน
๒) การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธี โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในเขตควบคุมแสงไฟ ให้ใช้ไฟพราง
ด. การักษาความปลอดภัยในระหว่างการเคลื่อนย้าย
๑) ต้องจัดเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรไว้ ณ ตาบลที่มีการจราจรคับคั่ง หรือขบวนเคลื่อนย้ายผ่านเมือง
ตามความจาเป็น
๒) ห้ามมิให้ขบวนแซงกัน ไม่ว่าขบวนจะหยุดอยู่ หรือเคลื่อนที่ในทิศทางเดียวกัน ก่อนได้ รับอนุมัติ
จากผู้บังคับขบวนนั้นๆ
๓) เมื่อทาการเคลื่อนย้าย สป.๓ และ สป.๕ รถบรรทุกจะต้องติดธงแดง พลขับจะต้องใช้ ความ
ระมัดระวัง
๔) รถคันนาและรถคันหลังสุดของตอนการเดิน จะต้องปิดป้าย “ต้นขบวน” และ “ท้ายขบวน”
หากหน่วยการเดินเคลื่อนย้ายเป็นอิสระ ให้ดาเนินการในทานองเดียวกัน
๕) รถคันหลังสุด “ท้ายขบวน” ให้เป็นรถกู้ซ่อมเสมอ
ต. รถชารุดเสียหายระหว่างทาง
๑) ให้จอดรถชิดทางด้านซ้ายให้มากที่สุด พลขับให้สัญญาณแก่รถที่ตามมา ให้ผ่านไปได้แล้วทาการ
ตรวจสอบแล้วแจ้งให้ จนท.ท้ายขบวนทราบเมื่อซ่อมเสร็จแล้วให้รีบติดตามหน่วยการเดินของตนทันที แต่ทั้งนี้มิให้
แซงขบวนของหน่วยการเดินอื่นที่ตามไปทัน นอกจากหน่วยการเดินนั้นหยุดพัก
๒) เมื่อพลขับบาดเจ็บ หรือ ไม่สามารถขับรถได้เป็นหน้าที่ของ นายทหารท้ายขบวนจัดพลขับแทน
๓) เมื่อจาเป็นต้องละทิ้งรถออกจากขบวนเดิน เป็นหน้าที่ของนายทหารยานยนต์จะต้องพิจารณา
และดาเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเป็นการส่งซ่อม ฯลฯ
ถ. การปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
๑) นายทหารยานยนต์ ซึ่งประจาท้ายขบวนของหน่วยในการเดินนั้น ทาการช่วยเหลือสอบสวน
และดาเนินการต่อไปตามความเหมาะสม
๒) พลขับต้องปฏิบัติดังนี้
ก) ปฏิบัติตามคาชี้แจงของหน่วย ว่าด้วยการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
ข) รีบแจ้งไปยัง ผู้บังคับขบวนโดยด่วน โดยวิธีอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น แจ้งต่อสารวัตร
ทหาร พลนาสาร หรือการติดต่ออื่น ๆ ต่อผู้บังคับขบวนผู้รับผิดชอบ
ค) วางยามเพื่อป้องกันสิ่งบรรทุกมิให้สูญหาย หรือถูกขโมย
๔. ข้อห้าม
ก. ผู้โดยสาร
๑) ห้ามส่งเสียงเอะอะหรือร้องเพลง
๒) ห้ามนั่งที่อื่น นอกจากที่จัดให้ ห้ามนั่งในรถพ่วง
๓) ห้ามยื่นแขนขาออกนอกรถ
๔) ห้ามขึ้นรถทางด้านข้าง
๕) ห้ามทาสัญญาณ หรือแสงไฟ อันอาจทาให้เกิดการเข้าใจผิด

ข–๕
ข. พลขับ
๑) ห้ามสูบบุหรี่
๒) การขับรถระยะทางไกล จะต้องมีพลขับผลัดไว้ให้
๓) ห้ามดับเครื่องยนต์ หรือใช้เกียร์ว่างขณะลงลาด
๕. การระวังป้องกัน
ก. ผบ.ตอนการเดิน รับผิดชอบในการจัดส่วนระวังป้องกัน
ข. กองพัน จะเป็นผู้ประสานและเพิ่มเติมการปฏิบัติในเรื่อง การควบคุมการจราจร และการระวังป้องกันทั้งปวง
ค. เมื่อถูกโจมตี ให้กระจายหน่วยให้ปลอดภัย เพื่อลดการได้รับอันตรายร่วมกัน

ข–๖
ใบแนบ ๑ (ระเบียบการควบคุมการจราจร) ประกอบใบแทรก ก (การเคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์)

๑. ในการควบคุมการจราจรของกองพันนั้น จัดตั้งขึ้นที่ ทก.พัน อยู่ในการควบคุมของ ฝอ.๔ และ นยน. นายทหาร


ซ่อมบารุง ฝ่ายการสื่อสาร เป็นผู้สนับสนุนตามที่ต้องการ
ก. การสนับสนุนการจราจร ต้องพิมพ์เป็นผนวกไว้ในคาสั่งเคลื่อนย้าย
ข. การสนับสนุนการควบคุมการจราจร อยู่ในความรับผิดชอบของ ฝอ.๔ ,ผบ.หน่วยทุกหน่วย จะต้องปฏิบัติ
ตามแผนการจราจรของกองพัน และออกระเบียบการควบคุมการจราจร ในพื้นที่ของตนเพิ่มเติมโดยอนุโลม
ค. ทุกหน่วยและเป็นรายบุคคลจะต้องรายงานไปยัง บก.ควบคุมการจราจร หรือตาบลควบคุม จราจรที่ใกล้
ที่สุด เมื่อการจราจรติดขัด มีอุบัติเหตุ หรือถูกขัดขวางรวมทั้งการปฏิบัติใดๆ ของข้าศึกที่กระทบกระเทือนต่อสะพาน
ถนน จะต้องรีบรายงานด่วน
ง. ยานพาหนะออกนอกเขตกองพัน จะต้องได้รับการตรวจและแนะนาจาก บก.ควบคุมการจราจรของกอง
พันก่อน
๒. ลาดับความสาคัญในการเคลื่อนย้ายบนถนนที่จัดไว้
ก. เครื่องมือเครื่องใช้ที่จะนาไปอานวยความสะดวกการจราจร
ข. หน่วยทหารที่เคลื่อนที่ทางยุทธวิธี
ค. รถพยาบาล
ง. เจ้าหน้าที่ตรวจและวางสายโทรศัพท์
จ. พลนาสาร
ฉ. ขบวนลาเลียง
ช. เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการจราจร
๓. ระเบียบของยานยนต์
ก. ความเร็ว
๑) กลางวันอย่างสูง ๖๐ กม./ชม.
๒) กลางคืนมีแสงไฟ ๔๐ กม./ชม.
๓) กลางคืนพรางไฟ ๒๕ กม./ชม.
๔) รสพ.ในเวลากลางวัน ๓๐ กม./ชม.
๕) ความเร็วขึ้นอยู่กับสภาพถนน และการจราจรด้วย
ข. การใช้ไฟ หน่วยเป็นผู้กาหนดตามสถานการณ์
ค. การจอดรถ ให้จอดให้เป็นระเบียบ นอกถนนและระยะห่างเหมาะสม

ข–๗
ใบแนบ ๒ (รูปขบวนเคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์) ประกอบ ใบแทรก ก (การเคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์)

รูปขบวนการเคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์
๑. เมื่อการเคลื่อนย้ายกาลังพลและยุทโธปกรณ์ด้วยยานยนต์ทางยุทธวิธี

มว.ม.ลว.

ร้อย.อวบ.ที่ ๑

ร้อย.อวบ.ที่ ๒
ร้อย.สสก.
ร้อย.สสช.
มว.ช.สนาม
มว.ปตอ.

ร้อย.อวบ.ที่ ๓

มว.ลว.

ร้อย.ป.

ข–๘
๒. เมื่อการเคลื่อนย้ายยานยนต์ทางธุรการ

รถนาขบวน

ผู้ควบคุมขบวน

กาลังส่วนใหญ่

รถกูซ้ ่อม

ผู้ช่วยผู้ควบคุมขบวน

ข–๙
ใบแทรก ข (การเคลื่อนย้ายด้วยรถไฟ) ประกอบอนุผนวก ๑ (การเคลื่อนย้ายและที่รวมพล)

๑. เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการปฏิบัติดังนี้
ก. ผู้บังคับขบวน
ข. ผบ.หน่วยทุกหน่วย
ค. เจ้าหน้าที่จัดการขึ้นรถ ลงรถของหน่วย
ง. ผู้อานวยการเคลื่อนย้าย
๒. การกาหนดตู้รถไฟบรรทุกกาลังพลละสัมภาระ
ในการเคลื่อนย้าย กองพันจะกาหนดให้หน่วยรองเกี่ยวกับตู้รถไฟชนิดใด แบ่ งให้กับหน่วยใดบ้าง หน่วยรองต้อ ง
จัดเจ้าหน้าที่ไปร่วมสารวจและกาหนดให้ทราบล่วงหน้าเกี่ยวกับ
ก. เวลาขบวนรถเข้า ,ขบวนรถออก
ข. ตาบลสาหรับบรรทุกขบวนสัมภาระและกาลังพล
ค. เวลาเริ่มบรรทุกกาลังพล
ง. เวลาเริ่มบรรทุกยานพาหนะ และสัมภาระ
จ. ข้อบังคับ และระเบียบขึ้นรถไฟที่จาเป็นต้องทราบ
ฉ. ที่พักคอย ,เส้นทาง
ช. ที่หลบภัย
ซ. การป้องกันต่อสู้อากาศยาน
๓. การปฏิบัติ ณ ที่พักคอย และตาบลขึ้นรถ ลงรถ
ก. ที่พักคอย
๑) ให้กาลังพลอยู่ในที่พักคอย
๒) ชี้แจงการปฏิบัติในการขึ้นรถ และรักษาระเบียบระหว่างการเคลื่อนย้าย
๓) การซักซ้อมการปฏิบัติ และการปฏิบัติเมื่อสัญญาณเตือนภัย
ข. ณ ตาบลขึ้นรถ – ลงรถ
๑) กาหนดสัญญาณขึ้นรถ – ลงรถ
๒) ผบ.หน่วย อานวยการขึ้นรถเมื่อมีคาสั่ง โดยให้เข้าประจาที่กาหนด และตรวจความเรียบร้อย
๓) การลงรถ ต้องปฏิบัติให้ทันเวลา ไม่ล่าช้าก่อนรถไฟเคลื่อนที่ออกจากสถานี
๔) การวางสัมภาระ
ก) เป้ย่าม วางในที่วางของ และใต้ที่นั่ง
ข) อาวุธไว้ใกล้ตัว ระมัดระวังไม่ให้เกิดการชารุดขึ้นได้
๔. การปฏิบัติระหว่างรถไฟเคลื่อนที่
ก. กาลังพลนั่งประจาที่
ข. ระมัดระวังอุบัติเหตุระหว่างทาง
ค. ห้ามกาลังพลลงรถระหว่างรถหยุดสถานีต่าง ๆ
ง. ผบ.หน่วย จัดเวรดูแลทางเข้าออกตู้รถไฟ ห้ามบุคคลอื่น ๆ ผ่านเข้าออก
จ. รักษาความสะอาดของขบวน และไม่ทาให้อุปกรณ์เสียหาย

ข – ๑๐
๕. การปฏิบัติเมื่อถึงปลายทาง
ก. ผู้ควบคุมเตรียมการลงรถก่อนถึงปลายทาง ๓๐ นาที ก่อนถึง ๑๐ นาที ให้ทุกหน่วยพร้อมลงรถได้
ข. ผบ.หน่วยต้องตรวจยอดกาลังพล เมื่อลงรถแล้วนาเข้าที่รวมพลโดยเร็ว
ค. ผบ.หน่วยต้องสารวจให้แน่ใจว่า ไม่มีสิ่งของตกค้างอยู่บนรถไฟ
๖. การระวังป้องกัน
ก. หน่วยที่ทาการเคลื่อนย้าย จัดให้มีการระวังป้องกันต่อสู้อากาศยาน ณ ตาบลต้ นทาง ตาบลปลายทางและ
ระหว่างการเคลื่อนย้าย
ข. จัดอาวุธต่อสู้อากาศยานประจาหัวขบวน และท้ายขบวน
ค. การระวังป้องกันทั่วไป เป็นหน้าที่ของหน่วยที่เคลื่อนย้าย
๗. ระเบียบเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายด้วยรถไฟที่ไม่ได้กล่าวในระเบียบนี้ ให้ปฏิบัติตามระเบียบของกระทรวงกลาโหม
และ ทบ.

ข – ๑๑
ใบแทรก ค (ที่รวมพล) ประกอบ อนุผนวก ๑ (การเคลื่อนย้ายและที่รวมพล)

๑. ความมุ่งหมาย
เพื่อกาหนดระเบียบและการปฏิบัติในที่รวมพล ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ไม่สับสน ปลอดภัย ถูกต้อง
ตามหลักการ และเกื้อกูลต่อการปฏิบัติตามแผนในอนาคต
๒. การเข้าที่รวมพล
ก. ให้เข้าที่รวมพลด้วยระบบนาฬิกา โดย ผบ.พัน จะกาหนดทิศทางหลัก (๑๒ นาฬิกา) เส้นผ่าศูนย์กลาง
ของที่รวมพล (ถ้า ผบ.พัน ไม่กาหนดให้ถือว่าหน้าทิศทางการเดินเป็นหลัก)
ข. ผบ.พัน หรือผู้ที่ได้รับมอบอานาจกาหนดจุดแยกก่อนเข้าที่รวมพลตามความเหมาะสม
ค. แต่ละหน่วย กองร้อยจะเคลื่อนที่เข้าที่รวมพลตามระบบนาฬิกาดังนี้
๑) มว.ม.ลว. เข้าที่ตั้งทางด้านหน้า ในทิศทาง ๑๒ นาฬิกา ของกาลังส่วนใหญ่ ระยะห่าง ๕๐๐ ม.
๒) กองร้อย อวบ.ที่ ๑ ตั้งแต่ ๘ นาฬิกา ถึง ๒ นาฬิกา
๓) กองร้อย อวบ.ที่ ๒ ตั้งแต่ ๖ นาฬิกา ถึง ๘ นาฬิกา
๔) กองร้อย อวบ.ที่ ๓ ตั้งแต่ ๒ นาฬิกา ถึง ๖ นาฬิกา
๕) ร้อย.สสก.และ ร้อย.สสช.อยู่รอบใน วางกาลังเป็นหย่อม ๆ โดย ร้อย.สสก. วางกาลังตั้งแต่ ๑๒
นาฬิกา ถึง ๖ นาฬิกา และร้อย สสช. วางกาลังตั้งแต่ ๖ นาฬิกา ถึง ๑๒ นาฬิกา
๖) มว.ช.สนาม ให้เข้าในพื้นที่ ร้อย.สสก. ตามความเหมาะสม หรือหากสมทบให้ กองร้อยใดก็ให้
เข้าในพื้นที่กองร้อยนั้น
๗) มว.ปตอ. ให้เข้าในพื้นที่ ร้อย.สสช. ตามความเหมาะสม หรือหากสมทบให้กองร้อยใด ก็ให้เข้า
ในพื้นที่กองร้อยนั้น
๘) ร้อย.ป. เข้าที่ตั้งด้านหลัง ในทิศทาง ๖ นาฬิกา ของกาลังส่วนใหญ่ ระยะห่าง ๕๐๐ ม.
๙) ทก.พัน อยู่ย่านกลางหรือตามที่ ผบ.พันกาหนด
ง. เมื่อแต่ละกองร้อยเคลื่ อนที่ถึงจุดแยก ผบ.ร้อย จะควบคุมหน่วยของตนเอง แยกเข้าที่รวมพลในเขต
รับผิดชอบ ตามข้อ๒ และข้อ ๓
จ. ทุกหน่วยรายงานเมื่อเข้าประจาที่เรียบร้อย
๓. การปฏิบัติเมื่อเข้าที่รวมพล
ก. ร้อย.อวบ.
๑) จัดการระวังป้องกันเฉพาะบริเวณ ด้วยการส่งยามคอยเหตุ ๒ – ๓ คน ออกไปหน้าพื้นที่ของตน
ในระยะ ๒๐๐ – ๓๐๐ เมตร
๒) วางอาวุธประจาหน่วยในการยิงคุ้มครอง
๓) รายงานแผนระวังป้องกัน
๔) รายงานยอดอาวุธยุทโธปกรณ์ สถานภาพกาลังพล
๕) ดาเนินการวางสายโทรศัพท์สนาม
๖) ดัดแปลงภูมิประเทศ ถากถางพื้นที่ยิง
๗) สารวจตรวจตรากาลังพล และเตรียมการเบิกสิ่งของต่าง ๆ เพิ่มเติมที่จะใช้ในภารกิจ

ข – ๑๒
๘) พรางร่างกายและอาวุธยุทโธปกรณ์
๙) เบิก สป.ต่าง ๆ โดยประสานกับ ทก.พัน เกี่ยวกับตาบลจ่าย สป.ต่าง ๆ
๑๐) ประสานกับหน่วยข้างเคียง ในรายละเอียดที่ได้ระบุไว้ในคาสั่ง
ข. ร้อย.สสก.
๑) ดาเนินการจัดตั้ง ทก.พัน
๒) จัดเตรียมชุด ลว. ในการที่จะให้คุ้มครองผู้บังคับบัญชาที่จะไปรับคาสั่ง
๓) มว.ส.จัดตั้งระบบการติดต่อสื่อสารทางสาย ไปยังหน่วยรอง เพื่อให้การติดต่อสื่อสารเป็นไป
อย่างต่อเนื่อง
๔) มว.อวน.วางแผนการยิงระวังป้องกันรอบตัวเองของ ค.๘๑ มม. และวางแผนการใช้ ปรส.๑๐๖
ใน ช่องทางที่เหมาะสม ใบแนบ ข
๕) มว.ช่างโยธา ช่วยเหลือในการจัดตั้ง ทก.พัน และสถานที่ต่าง ๆฃ
๖) รายงานสถานภาพกาลังพล ยอดอาวุธยุทโธปกรณ์ และแผนการระวังป้องกันให้กองพันทราบ
ค. ร้อย.สสช.
๑) ด าเนิ น การตรวจตรายานยนต์ ใ ห้ เ ตรี ย มพร้ อ มที่ จ ะใช้ ง านได้ ทั น ที และหาแหล่ ง รวมรถที่
เหมาะสม
๒) วางแผนการใช้ ปก.๙๓ เพื่อระวังป้องกัน ทก.พัน จากการโจมตีทางอากาศ
๓) มว.สร.จัดการดูแลสุขาภิบาลที่รวมพล
๔) จัดตั้งที่ปฐมพยาบาลกองพัน
๕) มว.บริการ จัดตั้งโรงครัวและปฏิบัติงานตามคาสั่ง
๖) ร่วมกับ ร้อย.สสก. ในการจัดตั้ง ทก.พัน
ง. มว.ลว.
๑) จัดการระวังป้องกันเฉพาะบริเวณ ด้วยการส่งยามคอยเหตุ ๒ – ๓ คน ออกไปหน้าพื้นที่ของตน
ในระยะ ๒๐๐ – ๓๐๐ เมตร
๒) วางอาวุธประจาหน่วยในการยิงคุ้มครอง
๓) รายงานแผนระวังป้องกัน
๔) รายงานยอดอาวุธยุทโธปกรณ์ สถานภาพกาลังพล
๕) ดาเนินการวางสายในการติดต่อสื่อสารทางสาย
๖) สารวจตรวจตรากาลังพล และเตรียมเบิกสิ่งของต่าง ๆ เพิ่ม เตรียมที่จะใช้ในภารกิจ
๗) เบิก สป.ต่าง ๆ โดยประสานกับ ทก.พัน เกี่ยวกับตาบลจ่าย สป.ต่าง ๆ
๘) ประสานกับหน่วยข้างเคียง ในรายละเอียดที่ได้ระบุไว้ในคาสั่ง
จ. ร้อย ป.
๑) จัดการระวังป้องกันตนเอง
๒) วางอาวุธยิงในการยิงคุ้มครอง ให้กับกาลังส่วนใหญ่
๓) รายงานแผนระวังป้องกัน
๔) รายงานยอดอาวุธยุทโธปกรณ์ สถานภาพกาลังพล
๕) ดาเนินการวางสายโทรศัพท์สนาม

ข – ๑๓
ฉ. มว.ปตอ.
๑) วางอาวุธยิงในการยิงคุ้มครอง ให้กับส่วนใหญ่
๒) รายงานแผนระวังป้องกัน
๓) รายงานยอดอาวุธยุทโธปกรณ์ สถานภาพกาลังพล
๔) ดาเนินการวางสายโทรศัพท์สนาม
๕) ประสานกับหน่วยข้างเคียง ในรายละเอียดที่ได้ระบุไว้ในคาสั่ง
ช. มว.ช.สนาม
๑) เข้าวางกาลังในพื้นที่ของ ร้อย สสก.
๒) วางแผนและเตรียมการ ลว.ทางการช่าง
๓) รายงานยอดอาวุธยุทโธปกรณ์ สถานภาพกาลังพล
๔) ดาเนินการวางสายโทรศัพท์สนาม
๕) สารวจตรวจตรากาลังพล และเตรียมการเบิกสิ่งของต่าง ๆ เพิ่ม เตรียมที่จะใช้ในภารกิจ
๖) เบิก สป.ต่าง ๆ โดยประสานกับ ทก.พัน เกี่ยวกับตาบลจ่าย สป.ต่าง ๆ
๗) ประสานกับหน่วยข้างเคียง ในรายละเอียดที่ได้ระบุไว้ในคาสั่ง
ซ. ชุด ฮ. โจมตี
๑) รายงานยอดอาวุธยุทโธปกรณ์ สถานภาพกาลังพล
๒) สารวจตรวจตรา ยุทโธปกรณ์ เตรียมที่จะปฏิบัติภารกิจ
๓) ประสานกับ ทก.พัน อย่างใกล้ชิด
๔) ประสานกับหน่วยต่าง ๆ ในรายละเอียดที่ได้ระบุไว้ในคาสั่ง
ใบแนบ ๑ ผังการวางกาลังในที่รวมพล
ใบแนบ ๒ การเข้าที่ตั้งของหมวดอาวุธหนักในที่รวมพล

ข – ๑๔
.ใบแนบ ๑ (ผังการวางกาลังในที่รวมพล) ประกอบใบแทรก ค (ที่รวมพล)

๑๒ นาฬิกา
ทิศทางการเดิน

มว.ม.ลว.

๒ ๓

ร้อย.ป.

ข – ๑๕
ใบแนบ ๒ (การเข้าที่ตั้งของหมวดอาวุธหนักในที่รวมพล) ประกอบใบแทรก ค (ที่รวมพล)

เมื่อหน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็ว เข้าที่รวมพล หมวดอาวุธหนักให้ปฏิบัติดังนี้


๑. วางการยิงระวังป้องกันรอบตัวของ ค.๘๑
๒. วางแผนการใช้ ปรส.๑๐๖ ในช่องว่างที่เหมาะสม
๓. หากมีที่ตั้งยิงหรือช่องทางที่เหมาะสม ค.๘๑ มม. และ/หรือ ปรส.๑๐๖ มม. ในพื้นที่รวมพลของ กองร้อย
อวบ. ให้ ค.๘๑ มม. และ/หรือ ปรส.๑๐๖ มม. เข้าที่ตั้งยิง ในบริเวณดังกล่าวโดยกาหนดดังนี้
ก. หมู่ ค.๘๑ มม. ที่ ๑ และ/หรือ หมู่ ปรส.๑๐๖ ที่ ๑ เข้าที่ตั้งยิงในพื้นที่ของ ร้อย.อวบ.ที่ ๑
ข. หมู่ ค.๘๑ มม. ที่ ๒ และ/หรือ หมู่ ปรส.๑๐๖ ที่ ๒ เข้าที่ตั้งยิงในพื้นทีข่ อง ร้อย.อวบ.ที่ ๒
ค. หมู่ ค.๘๑ มม. ที่ ๓ และ/หรือ หมู่ ปรส.๑๐๖ ที่ ๓ เข้าที่ตั้งยิงในพื้นที่ของ ร้อย.อวบ.ที่ ๓

ข – ๑๖
อนุผนวก ๒ (การเคลื่อนที่เข้าปะทะ) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

๑. กล่าวทั่วไป
ก. ให้ นขต., หน่วยขึ้นสมทบ หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็ว ยึดถือและปฏิบัติตามที่กาหนดในการเคลื่อนที่เข้า
ปะทะในพื้นที่ปฏิบัติการ ซึ่งอาจจะปะทะกับฝ่ายตรงข้ามได้ ในสถานการณ์ดังต่อไปนี้
๑. การเคลื่อนย้ายจากที่รวมพลขั้นต้นไปเข้า
ก) ที่รวมพลขั้นสุดท้าย
ข) ฐานออกตี
ค) แนวตั้งรบ
๒. การขยายผลหรือไล่ติดตามเมื่อสถานการณ์ข้าศึกไม่กระจ่างชัด
ข. เมื่อได้รับคาสั่งให้เคลื่อนที่เข้าปะทะทั้งกองพัน
๒. การจัดและการบรรทุกสาหรับการเคลื่อนย้าย
ก. รูปขบวนของกองพันในการเคลื่อนที่เข้าปะทะจัดแบ่งเป็นส่วน ๆ คือ กองระวังหน้า กาลังส่วนใหญ่
กองกระหนาบ และกองระวังหลัง
ข. การจัดกองระวัง
๑) มว.ม.ลว. เป็นส่วนนา
๒) ปกติจัด ๑ กองร้อยอาวุธเบาเพิ่มเติมกาลัง
๓) หน้าที่
ก) ผลักดันและทาลายการต้านทานของฝ่ายข้าศึกที่ขัดขวางการเคลื่อนที่ของหน่วย
ข) เปิดเส้นทางให้กาลังส่วนใหญ่สามารถเคลื่อนที่ไปได้
ค) ดารงการเกาะหรือการปะทะฝ่ายข้าศึกไว้ เมื่อไม่สามารถทาลายหรือผลักดันออกไปได้
และรีบรายงานให้กาลังส่วนใหญ่ทราบ
ค. การจัดกองกระหนาบ
๑) ปกติ จัด ๑ มว.ปล. เพิ่มเติมกาลังจากกองร้อยอาวุธเบาที่ร่วมในกาลังส่วนใหญ่ ปฏิบัติภารกิจ
ทางด้านข้างซ้ายและขวาของรูปขบวนเดินของกาลังส่วนใหญ่ด้านละ ๑ มว.ปล. เพิ่มเติมกาลัง เมื่อมีเส้นทางหรือ
ภูมิประเทศอานวยให้
๒) หน้าที่ ระวังป้องกันและแจ้งเตือนการเข้ามา และการปฏิบัติของฝ่า ยตรงข้าม จากด้านข้างของ
รูปขบวนการเดิน
ง. กาลังส่วนใหญ่
๑) เป็นกาลังส่วนที่เหลือของกองพัน
๒) ขบวนสัมภาระรบของกองพัน เคลื่อนย้ายตาม ทก.พัน.
๓) อาจแยกขบวนสัมภาระพักออกให้อยู่ในความควบคุมของกรม รอการเคลื่อนย้ายในภายหลัง
หรืออาจให้ร่วมในกาลังส่วนใหญ่ก็ได้

ข – ๑๗
จ. การจัดกองระวังหลัง
๑) ปกติจัด ๑ กองร้อยอาวุธเบาเพิ่มเติมกาลัง
๒) หน้าที่ ระวังป้องกันและแจ้งเตือนการเข้ามา และการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม จากด้านท้ายของ
รูปขบวนเดิน
ฉ. ส่วนสนับสนุน
๑) ร้อย ป.
๒) ชุด ฮ. โจมตี
๓) เคลื่อนย้ายด้วยยานพาหนะของหน่วย
๔) มีหน้าที่ให้การสนับสนุนด้วยการยิง และการโจมตี เมื่อหน่วยมีการปะทะกับข้าศึก

ข – ๑๘
๓. การจัดรูปขบวนเดิน กองพันเป็นกองระวังหน้าในการเคลื่อนที่เข้าปะทะ

ส่วนนา
มว.ม.ลว.
๕๐๐ เมตร
กองระวังหน้า
ส่วนลาดตระเวนหมู่ ( + )
ส่วนล่วงหน้า มว.( + )
ร้อย.อวบ.ที่ ๑
มว.ช.สนาม
๒๐๐ – ๔๐๐ เมตร
กอง กาลังส่วนใหญ่ กอง

กระ ทก.ยว. กระ

หนาบ มว.อวน. หนาบ

๑ ๑
ร้อย อวบ.ที่ ๒ ( - )
มว. (+) มว. (+)
ร้อย อวบ.ที่ ๓ ( - )

กองระวังหลัง

๕๐๐ เมตร
บ.ก.ร้อย.สสก.
ขบวนสัมภาระรบกองพัน
ทก.พัน
มว.ลว.

ร้อย.ป.

ข – ๑๙
๔. มาตรการควบคุม
ก. อัตราความเร็วในการเดินทางด้วยเท้า
๑) บนถนน
ก) เวลากลางวัน ๔ กม./ชม.
ข) เวลากลางคืน ๓.๒ กม./ชม.
๒) ในภูมิประเทศ
ก) เวลากลางวัน ๒.๔ กม./ชม.
ข) เวลากลางคืน ๑.๖ กม./ชม.
ข. ระยะต่อระหว่าง
เวลากลางวัน เวลากลางคืน
๑) บุคคล ๕ เมตร ๒ เมตร
๒) มว. ๕๐ เมตร ๒๕ เมตร
๓) กองร้อย ๑๐๐ เมตร ๕๐ เมตร
ค. อัตราความเร็วในการเดินทางด้วยยานพาหนะ : เคลื่อนที่ตามไม่เกิน ๓๐ กม./ชม.
ง. ระยะต่อระหว่างยานพาหนะกับขบวนเดินเท้า : ไม่ ใ กล้ ก ว่ า ระยะ ๕๐ เมตร และ
ไม่ไกลเกิน ๔๐๐ เมตร เคลื่อนที่เป็นห้วงๆ
จ.การหยุดพัก
๑) เดิน ๔๕ นาทีแรก พัก ๑๕ นาที
๒) ชั่วโมงต่อไปพัก ๑๐ นาที ทุกต้นชั่วโมง
๓) การพักนานหรือพักทานอาหาร ให้หยุดพัก ๑ ชั่วโมง
๔) อาจไม่หยุดพักระหว่างการเคลื่อนย้าย ซึ่งจะแจ้งให้ทราบก่อนการปฏิบัติแต่ละครั้ง
๕. ระเบียบปฏิบัติในระหว่างการเคลื่อนย้าย
ก. ปกติ ใช้รูปขบวนแถวตอนเรียงสองหรือเรียงหนึ่ง
ข. ไม่มีการเดินแซงหรือเดินคู่คุยกัน
ค. ส่วนระวังป้องกันพร้อมใช้อาวุธทันที
ง. ห้าม กพ. ซื้อของหรือขอรับสิ่งของข้างทางเด็ดขาด
จ. เมื่อสั่งว่าหยุดทุกหน่วยหยุดการเดินทันที โดยไม่ต้องปิดรูปขบวนเมื่อไม่ได้รับคาสั่ง
ฉ. รักษาวินัยระหว่างการเดินและพัก
๖. การช่วยรบ
ก. ขบวนสัมภาระรบของกองร้อย เคลื่อนย้ายไปพร้อมกับขบวนสัมภาระรบของกองพัน
ข. รับประทานอาหารก่อนเคลื่อนย้าย และเสบียงติดตัว ๑ มื้อ
ค. ขบวนสัมภาระพัก เตรียมสนับสนุนรถลาเลียงกาลังพลในกองระวังหลังขึ้นไปปฏิบัติการทางหัวขบวนเมื่อสั่ง

ข – ๒๐
๗. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. ผบ.พัน จะอยู่ ณ ทก.ยว.ต้นขบวนของกาลังพลส่วนใหญ่
ข. รอง ผบ.พัน จะอยู่ ณ ทก.พัน ซึ่งเปิดทาการบนรถระหว่างการเคลื่อนย้าย อยู่บริเวณต้นขบวนของ
ร้อย.บก. ในกาลังส่วนใหญ่
ค. การสื่อสาร ใช้วิทยุเป็นหลัก ใช้เท่าที่จาเป็น ส่วนที่อยู่ใกล้ ใช้การสื่อคาสั่ง หรือทัศนสัญญาณในการ
ควบคุม
ง. พลวิทยุ ต้องคอยฟังตลอดเวลาและอยู่ใกล้กับ ผบ.หน่วย สามารถให้ ผบ.หน่วย ใช้วิทยุได้โดยทันที

ข – ๒๑
อนุผนวก ๓ ( การเข้าตีเวลากลางวัน ) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

๑. การลาดตระเวน
ก. ผบ.หน่วยทุกระดับ พยายามลาดตระเวนที่หมายให้ใกล้ที่สุด โดยไม่สูญเสียความลับและไม่เสียงต่อการ
ล้มเหลวของหน่วย
ข. กองร้อยสามารถจัดชุดลาดตระเวนหาข่าวขนาดเล็กเข้าไปพิสูจน์ทราบที่หมาย แต่ต้องประสานกับกอง
พันก่อนออกปฏิบัติงาน
๒. การเตรียมการเข้าตี
ก. การเคลื่ อ นย้ า ยหน่ ว ยจากที่ ร วมพลไปยั ง แนวออกตี หลั ง จากได้รั บค าสั่ ง ยุ ทธการจากกองพั นแล้ ว
กองร้อย ดาเนินการได้ตามความเหมาะสม แต่ไม่ก่อนเวลาอันควร
ข. ให้กองร้อยคานวณเวลาที่ใช้ในการเดินให้ไปถึงแนวออกตี ก่อนเวลาผ่านแนวออกตีเล็กน้อย และไม่ให้
หยุดหน่วยที่แนวออกตี
ค. การปรับรูปขบวนก่อนผ่านแนวออกตี ให้ปรับ ณ ฐานออกตี
ง. ให้อาวุธยิงสนับสนุนเข้าที่ตั้งยิงให้พร้อมก่อนที่หน่วยดาเนินกลยุทธจะผ่านแนวออกตี เพื่อเตรียมการยิง
คุ้มครอง อย่างช้าที่สุดให้พร้อมก่อนเวลาดังนี้
๑) ร้อย ป. ๓๐ นาที
๒) ค.๘๑ มม. ๓๐ นาที
๓) ปรส.๑๐๖ มม. ๑๕ นาที
๔) ค.๖๐ มม. ๑๕ นาที
จ. ผตน.ป. และ ผตน.ค.๘๑ จะต้องส่งบัญชีเป้าหมายที่จะใช้ การเข้าตีให้กับ สยส. กองพันก่อนเวลาออกตี
เพื่อให้มีเวลาแบ่งมอบเป้าหมาย
ฉ. เมื่อเป็นการเข้าตีผ่านหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน ให้ประสานงานเรื่อง
๑) สถานการณ์ข้าศึกที่เผชิญเหตุละลักษณะภูมิประเทศ
๒) จุดผ่านและเส้นทางไปยังจุดผ่านตลอดจนการจัดคนนาทาง
๓) แผนการวางสนามทุ่นระเบิดและเครื่องกีดขวางของหน่วยที่ถูกผ่าน
๔) ที่ตั้งของฐานออกตี อาวุธยิงสนับสนุน ทก.หน่วย และขบวนสัมภาระที่สามารถใช้ได้
๕) แผนการลาดตระเวนของหน่วย
๖) การจัดเจ้าหน้าที่ติดต่อ
๗) มาตรการระวังป้องกันระหว่างการผ่านแนวและการรักษาความลับ
๘) การส่งกลับผู้ป่วยและส่งกาลัง สป.ทดแทน ตลอดจนการช่วยเหลืออื่นๆ
๙) เวลาและสถานการณ์ ในการส่งมอบความรับผิดชอบในการควบคุมพื้นที่
๑๐) สัญญาณบอกฝ่ายและสัญญาณผ่าน
๑๑) ความถี่วิทยุและนามเรียกขานรวมทั้งรายละเอียดใน นปส.ที่จาเป็น

ข – ๒๒
๓. การดาเนินการเข้าตี
ก. ให้กองร้อยระวังป้องกันปีกทั้งสองข้าง ในระหว่างการเข้าตี
ข. การยิงข้ามเขต หรือการเคลื่อนที่ข้ามเขต ระหว่างกองร้อยภายในกองพัน ให้ประสานกันโดยตรงระหว่าง
กองร้อย
ค. เมื่อกาหนดแนวขั้นการเคลื่อนที่
๑) ให้หน่วยรายงานเมื่อเคลื่อนที่ไปถึง
๒) ไม่ต้องหยุดหน่วยที่แนวขั้นนอกจากจะสั่งให้หยุด
ง. การกาหนดแนวประสานขั้นสุดท้าย
๑) ปกติกองพันจะไม่กาหนด เว้นกรณีเข้าตีที่หมายเดียวกันทั้งสองกองพัน
๒) ให้ ผบ.หน่วยสูงสุดที่เข้าตีต่อที่หมายเดียวกันเป็นผู้กาหนด เช่น กองร้อยให้หมวดเข้ายึดที่หมาย
แยกกัน ให้ ผบ.มว. เป็นผู้กาหนด แต่ถ้าใช้กาลังเข้ายึดที่หมายเดียวกันทั้งสองหมวด ให้ ผบ.ร้อย เป็นผู้กาหนด
จ. การใช้สัญญาณเลื่อนฉากการยิง ณ ที่หมาย และการใช้สัญญาณยึดที่หมายได้ ให้ยึดถือเช่นเดียวกับ การ
กาหนดแนวประสานงานขั้นสุดท้าย คือ ผบ.หน่วย สูงสุดในการเข้ายึดที่หมาย เป็นผู้ให้สัญญาณ
๔. เมื่อยึดที่หมายได้
ก. ให้กวาดล้างที่หมายเลยออกไปเพื่อหลีกเลี่ยงการยิงทาลายบนที่มั่นของข้าศึก
ข. ให้กองร้อยริเริ่มการขยายผลออกไปได้ทันทีไม่เกินเขตจากัดการรุก หรือเมื่อไม่ได้กาหนดเขตจากัดการรุก
ไว้ ให้ขยายผลได้ไม่เกิน ระยะสนับสนุนของ ป.ชต. ถ้ามีความประสงค์จะเลยออกไปให้อนุมัติก่อน
ค. หน่วยต้องเตรียมให้พร้อมที่จะขยายผล หรือไล่ติดตามข้าศึกได้โดยไม่ต้องหยุดหน่วย
ง. เมื่อหน่วยหยุดการเคลื่อนที่แล้ว ให้ดาเนินการตามลาดับดังนี้
๑) จัดการระวังป้องกัน
๒) จัดกาลังตรวจค้นที่หมายที่ยึดได้
๓) นากาลังพลเข้าที่วางตัว
๔) จัดทาแผนการยิงป้องกันที่ตั้ง
๕) สารวจความสูญเสียและจัดระเบียบใหม่
๖) รายงานการเสริมความมั่นคงและจัดระเบียบใหม่
๗) เตรียมการเข้าตีต่อไปให้พร้อมปฏิบัติได้ทันทีเมื่อสั่ง

ข – ๒๓
๕. การช่วยรบ
ก. ปกติอาหารจะให้รับประทานให้แล้วเสร็จก่อนออกตี มื้อต่อไปจะจ่ายให้ ณ ที่หมาย
ข. น้าดื่มให้นาติดตัวไปคนละ ๑ กระติก
ค. กระสุนนาไปตามอัตรามูลฐานและ ผบ.หน่วย ต้องแน่ใจว่า สป.๕ เพิ่มเติม และพลุสัญญาณได้เบิกจ่าย
อย่างถูกต้อง
ง. สัมภาระที่ไม่จาเป็นให้รวบรวมไว้ ณ ขบวนสัมภาระรบของกองร้อย แต่ถ้าไม่สามารถขนย้ายได้หมดให้
ส่งกลับไปรวม ณ ขบวนสัมภาระพัก
จ. หน่วยระดับกองร้อยอาวุธเบา ให้นาพลั่วติดตัวไปด้วยทุกนาย เว้น ทก.ร้อย
ฉ. การรักษาพยาบาล
๑) ให้ผู้พบเห็นผู้บาดเจ็บใกล้ที่สุดเข้าทาการปฐมพยาบาล แล้วแจ้งนายิบพยาบาลกองร้อยที่อยู่
ใกล้ที่สุดทราบ เพื่อทาการดูแลต่อไป
๒) กาลังพลทุกนายจะต้องมีผ้าแต่งแผลติดตัวก่อนออกตี
๓) กองร้อยรับผิดชอบการส่งกลับภายในกองร้อย และร้องขอการส่งกลับไปยังสถานพยาบาลกองพัน
๔) ในสถานการณ์ที่เข้าตีอย่างรวดเร็วให้ปฐมพยาบาลผู้ป่วยขั้นต้นแล้วทิ้งไว้ โดยทาเครื่องหมาย
ด้วยผ้าขาวให้สังเกตเห็นได้ง่าย แล้วแจ้งที่อยู่ของผู้บาดเจ็บให้กองพันทราบ เพื่อดาเนินการส่งกลับต่อไป
ช. เชลยศึก
๑) เชลยศึกที่จับได้ ในระหว่างการเลื่อนที่เข้าตี ให้จัดคนเฝ้าไว้ ๑ นาย แล้วส่งมอบให้หน่วยที่
เคลื่อนที่ตามดาเนินการส่งกลับต่อไป
๒) ในพื้นที่ซึ่งไม่มีหน่วยเคลื่อนที่ตามมา ให้กองร้อยจัดผู้ควบคุมรวบรวมไว้ ณ ทก.ร้อย แล้วร้องขอ
การส่ งกลั บ ไปยั งกองพัน หรื อถ้าสถานการณ์ รวดเร็ว มากอาจให้ ผู กมัดตามสั ญญาณทิ้งไว้ แล้ ว แจ้งให้ กองพั น
ดาเนินการรวบรวมต่อไป

ข – ๒๔
๖. การสื่อสาร
ก. ใช้ทางสายเป็นหลัก วิทยุและทัศนสัญญาณเสริม
ข. ระงับการส่งวิทยุ (เฝ้าฟัง) ในระหว่างเตรียมการเข้าตีจนเมื่อข้าศึกทราบการเข้าตีของฝ่ายเรา และให้ใช้
ทางธุรการได้ตามปกติ เฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเข้าตี
ค. ทางสายจะวางจาก ทก.พัน ไปยัง ทก.ยุทธวิธี ของกองพัน ในขั้นต้นระยะไม่เกิน ๑ ไมล์
ง. การควบคุมการผ่านแนวออกตี ให้ควบคุมด้วยเวลาและสั่งการด้วยวาจากองร้อยแจ้งให้กองพันทราบทาง
สาย หรือวิทยุเข้าประมวลลับ

ข – ๒๕
อนุผนวก ๔ (การเข้าตีเวลากลางคืน) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

๑. การลาดตระเวน
ก.ผบ.หน่วยทุกระดับ พยายามลาดตระเวนที่หมายให้ได้ใกล้ที่สุด โดยไม่สูญเสียความลับและไม่เสี่ยงต่อ
ความล้มเหลวของหน่วย
ข. การจัดชุดลาดตระเวน ให้จัดเป็น ๒ ชุด ดังนี้
๑) ชุดลาดตระเวนหาข่าว
ก) กองร้อยให้จัด ๒ ชุด ใช้กาลังชุดละไม่เกิน ๖ นาย
ข) ชุดลาดตระเวนหาข่าวนี้ออกปฏิบัติงานแล้วกลับทั้งหมด ไม่ทิ้งกาลังไว้เฝ้าตรวจที่หมาย
ค) ใช้เมื่อมีเวลาเตรียมการเข้าตีมากกว่า ๕ ชม. ถ้ามีเวลาน้อยกว่า ให้จัดชุดลาดตระเวน
ป้องกันแทน
๒) ชุดลาดตระเวนป้องกัน
ก) กองร้อยจัดชุดเท่ากับจานวนหมวดที่ใช้ยึดที่หมายใช้กาลังชุดละไม่เกิน ๖ นาย
ข) ทาการหาข่าวและเฝ้าที่หมาย ตั้งแต่ก่อนค่ามืดจนถึงเวลาที่กาลังเข้าตีเคลื่อนที่ไปถึง ใช้
กาลัง ๓ – ๔ นายเฝ้าตรวจที่หมายและเส้นทาง กาลังที่เหลือให้กลับมารายงานผลการเฝ้าตรวจให้กองร้ อยทราบ
ก่อนเวลาออกตี
ค) ก่อนออกปฏิบัติภารกิจ จะต้องขอทราบสัญญาณผ่านที่จะใช้ทุกครั้ง
๓) ให้ ผบ.ร้อย อวบ.นาชุดลาดตระเวนที่กองร้อยจะใช้ ไปพร้อมกับ ผบ.ร้อย เมื่อกองพันเรียกไป
รับคาสั่งยุทธการ แต่ให้รออยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงก่อน เมื่อ ผบ.ร้อย รับคาสั่งเรียบร้อยแล้วจะได้ออกปฏิบัติภารกิจ
ลาดตระเวนได้อย่างรวดเร็ว
๒. การเตรียมการเข้าตี
ก. ในระหว่างที่ใช้ชุดลาดตระเวนเพื่อเตรียมการ เข้าตี อาวุธสนับสนุนต้องเตรียมการยิงคุ้มครองให้ชุด
ลาดตระเวนต่างๆ ด้วย
ข. การเคลื่อนย้ายหน่วยจากที่รวมพลไปยังจุดออกตี หลังจากได้รับคาสั่งยุทธการจากกองพันแล้ว กองร้อย
ดาเนินการได้ตามความเหมาะสมโดยไม่เสียความลับ
ค. กาลังที่จะต้องเคลื่อนย้ายไปข้างหน้า เข้าที่ตั้งให้เรียบร้อยก่อนค่ามืด ได้แก่
๑) เจ้าหน้าที่ทางสายของ มว.สื่อสาร และของกองร้อย
๒) อาวุธประจาหน่วยต้องเตรียมการตั้งแต่สิ้นแสงทางทหาร
ง. ให้กองร้อย คานวณเส้นทางที่จะใช้ในการเดิน ให้ไปถึงจุดออกตีก่อนเวลาออกตีเล็กน้อย และไม่ให้หยุด
หน่วยที่จุดออกตี
จ. การปรับรูปขบวนก่อนผ่านจุดออกตี ให้ปรับ ณ ฐานออกตี
ฉ. ผตน.ป. และ ผตน.ค ๘๑ จะต้องส่งบัญชีเป้าหมายที่จะใช้ในการเข้าตีกับ สยส.กองพัน ก่อนสิ้นแสงทาง
ทหารเพื่อประสานการยิงสนับสนุนต่อไป

ข – ๒๖
ช. เมื่อเป็นการเข้าตีผ่านทหารฝ่ายเดียวกัน ให้ประสานงานในเรื่อง
๑) สถานการณ์ข้าศึกที่เผชิญหน้าและลักษณะภูมิประเทศ
๒) จุดผ่านและเส้นทางไปยังจุดผ่าน ตลอดจนจัดคนนาทาง
๓) แผนการวางสนามทุ่นระเบิด และสิ่งกีดขวางของหน่วยที่ถูกผ่าน
๔) ที่ตั้งของฐานออกตี อาวุธยิงสนับสนุน ทก.หน่วย และขบวนสัมภาระที่สามารถใช้ได้
๕) แผนการลาดตระเวนของหน่วย
๖) การจัดเจ้าหน้าที่ติดต่อ
๗) มาตรการระวังป้องกันระหว่างผ่านแนวและการรักษาความลับ
๘) การส่งกลับผู้ป่วยและการส่งกาลังสิ่งอุปกรณ์ทดแทนตลอดจนการช่วยรบอื่นๆ
๙) เวลา และสถานการณ์ในการส่งมอบความรับผิดชอบในการคุมพื้นที่
๑๐) สัญญาณบอกฝ่ายและสัญญาณผ่านที่ใช้
๑๑) ความถี่วิทยุและนามเรียกขานรวมทั้งในรายละเอียด นปส.ที่จาเป็น
๓. การดาเนินการเข้าตี
ก. ให้กองร้อยระวังป้องกันรักษาปีกทั้งสองข้างในการเข้าตี
ข. การยิงข้ามเขต หรือการเคลื่อนที่ข้ามเขตระหว่างกองร้อยในกองพัน ให้ประสานกันได้ โดยตรงระหว่าง
กองร้อย
ค. การใช้การยิงส่องสว่าง ให้ขออนุมัติ กองพันก่อน
ง. รถทุกชนิดปกติจะไม่ให้ออกไปหน้าแนวออกตีก่อนการเข้าตีจะเปิดเผย แต่เมื่อจาเป็นให้ขออนุมัติ และ
ปิดไฟทุกชนิดระหว่างเคลื่อนย้าย
จ. เมื่อกาหนดแนวขั้นการเคลื่อนที่หรือจุดตรวจสอบระหว่างทาง
๑) ให้หน่วยรายงายเมื่อเคลื่อนที่เข้าไปถึง
๒) ไม่ต้องหยุดหน่วยที่แนวขั้น นอกจากจะสั่งให้หยุด
ฉ. การกาหนดแนวปรับรูปขบวน
๑) ปกติกองพันจะไม่กาหนด เว้นกรณีเข้าตีที่หมายเดียวกันทั้งกองพัน
๒) ให้ ผบ.หน่วยสูงสุดที่เข้าตีที่หมายเดียวกันเป็นผู้กาหนด เช่น กองร้อยให้หมวดเข้ายึดที่หมาย
แยกกันให้ ผบ.มว.เป็นผู้กาหนด แต่ถ้าใช้กาลังเข้ายึดที่หมายเดียวกันทั้งกองร้อย ให้ ผบ.ร้อย เป็นผู้กาหนด
ช. เมื่อปรับรูปขบวนที่แนวปรับรูปขบวนเรียบร้อยแล้ว ข้าศึกยั งไม่ทราบการเข้าตี ให้เคลื่อนที่เข้าที่หมาย
ต่อไปโดยเงียบที่สุด จะเริ่มยิงเมื่อข้าศึกทาการยิงก่อนหรือเห็นข้าศึกโดยแน่ชัด ถ้าไม่พบข้าศึกบนที่หมายให้กวาดล้าง
ที่หมายโดยไม่ต้องทาการยิง
ซ. การใช้สัญญาณเลื่อนการยิง ณ ที่หมาย และการใช้สัญญาณยึดที่หมาย ให้ยึดถือเช่นเดียวกับการกาหนด
แนวปรับรูปขบวน คือ ผบ.หน่วยสูงสุดในการเข้าตีที่หมาย เป็นผู้ให้สัญญาณ
๔. เมื่อยึดที่หมายได้
ก. ให้กวาดล้างที่หมายเลยออกไป เพื่อหลีกเลี่ยงการยิงทาลายบนที่มั่นของข้าศึก
ข. ให้กองร้อยริเริ่มการขยายผลออกไปทันทีไม่เกินเขตจากัดการรุก หรือเมื่อไม่ได้กาหนดเขตจากัดการรุกไว้
ให้ขยายผลได้ไม่เกินระยะยิงสนับสนุนของ ป.ชต. ถ้ามีความประสงค์จะเลยออกไปให้ขออนุมัติติก่อน

ข – ๒๗
ค. เมื่อหยุดการเคลื่อนที่แล้ว
๑) จัดการระวังป้องกัน
๒) จัดกาลังตรวจค้นที่หมายที่ยึดได้
๓) นากาลังพลเข้าที่วางตัว
๔) จัดทาแผนการยิงป้องกันที่ตั้ง
๕) สารวจความสูญเสียและจัดระเบียบใหม่
๖) รายงานการเสริมความมั่นคงและจัดระเบียบใหม่
๗) เตรียมการเข้าตีต่อไป ให้พร้อมปฏิบัติทันทีเมื่อสั่ง
๕. แผนเผชิญเหตุระหว่างการเข้าตี
ก. เมื่อข้าศึกทราบการเข้าตีก่อนถึงแนวปรับรูปขบวน
๑) ให้ทาการยิงส่องสว่างเหนือที่หมาย
๒) กองร้อยดาเนินการปรับรูปขบวน และเข้าตีต่อไปเช่นเดียวกับการเข้าตีในเวลากลางวัน
ข. เมื่อการเข้าตีไม่สาเร็จ
๑) ให้กองร้อยทาการถอนตัวลักษณะเดียวกับการถอนตัวเมื่อข้าศึกกดดัน เพื่อผละออกจากข้าศึก
ในขั้นต้น
๒) ใช้การส่องสว่างระหว่างการถอนตัว โดยทาการยิงเหนือที่หมาย
๓) หมวดลาดตระเวนของกองพันและตอน ปรส.๑๐๖ วางกาลังเป็นส่วนกาบังคุ้มครองการถอนตัว
ให้กับกองร้อย แนววางตัวจะแจ้งให้ทราบเมื่อสั่งถอนตัว
๔) กองร้อยใช้เวลาในที่รวมพลให้น้อยที่สุด เพื่อจัดระเบียบหน่วยก่อนเข้าแนว
๕) ถ้า ไม่สั่ ง เป็ น อย่ างอื่น ให้ ก องร้อ ยถอนตั ว ไปวางแนวตั้งรับ บริเ วณที่ใ ช้เป็นแนวออกตีของ
กองร้อยถ้าเป็นการเข้าตีผ่าน ให้ถอนตัวไปเข้าที่รวมพลที่ใช้เตรียมการเข้าตี
๖. การช่วยรบ
ก. อาหารมื้อต่อไปจะจ่าย ณ ที่หมาย
ข. น้าดื่มให้นาติดตัวไปคนละ ๑ กระติก
ค. กระสุนนาไปตามอัตรามูลฐานและ ผบ.หน่วยต้องแน่ใจว่า สป.๕เพิ่มเติม และพลุสัญญาณได้เบิกจ่าย
อย่างถูกต้อง
ง. สั มภาระที่ไม่จ าเป็ นให้ร วมไว้ ณ ขบวนสั มภาระรบของกองร้อย แต่ถ้าไม่สามารถขนย้ายได้ห มดให้
ส่งกลับไปรวม ณ ขบวนสัมภาระพัก

ข – ๒๘
ฉ. การรักษาพยาบาล
๑) ให้ผู้พบเห็นผู้บาดเจ็บใกล้ที่สุดเข้าทาการปฐมพยาบาล แล้วแจ้งนายสิบพยาบาลกองร้อยที่อยู่
ใกล้ที่สุดทราบ เพื่อทาการดูแลต่อไป
๒) กาลังพลทุกนายจะต้องมีผ้าแต่งแผลติดตัวก่อนออกตี
๓) กองร้อยรับผิดชอบการส่งกลับภายในกองร้อย แล้วแจ้งนายสิบพยาบาลกองพัน
๔) ให้สถานการณ์ที่เข้าตีอย่างรวดเร็ว ให้ปฐมพยาบาลผู้ป่วยขั้นต้น แล้วทิ้งไว้โดยทาเครื่องหมาย
ด้วยผ้าขาว ให้สังเกตเห็นได้ง่ายแล้วแจ้งที่อยู่ของผู้ป่วยให้กองพันทราบ เพื่อดาเนินการส่งกลับต่อไป
ช. เชลยศึก
๑) เชลยศึกที่จับได้ในระหว่างการเคลื่อนที่เข้าตี ให้จัดคนเฝ้าไว้ ๑ นาย แล้วส่งมอบให้หน่วยที่
เคลื่อนที่ตามมาดาเนินการส่งกลับต่อไป
๒) ในพื้นที่ซึ่งไม่มีหน่วยเคลื่อนที่ตามมา หรือสถานการณ์รวดเร็วมากอาจผูกมัดสัญญาณทิ้งไว้ แล้ว
แจ้งให้กองพันดาเนินการภายหลัง

ข – ๒๙
๗. การติดต่อสื่อสาร
ก. การเข้าตีแบบลักลอบ ใช้ทางสายเป็นหลัก เมื่อข้าศึกทราบการเข้าตีใช้วิทยุ
ข. เมื่อใช่การแทรกซึม ใช้วิทยุเป็นหลัก จะส่งข่าวเมื่อปะทะ
ค. ระงับการส่งวิทยุ (เฝ้าฟัง) ในระหว่างเตรียมการเข้าตี จนถึง เมื่อข้าศึกทราบการเข้าตีของฝ่ายเราแล้วให้
ใช้ทางธุรการได้ตามปกติ เฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเข้าตี
ง. ทางสาย จะวางจาก ทก.พัน ไปยัง ทก.ทางยุทธวิธี ของกองพันและจะวางไปยังกองร้อยดังนี้
๑) ๑ ทางสายวางไปยัง ทก.ร้อย
๒) ๑ ทางสาย วางไปยั งจุดออกตีของกองร้อย เพื่อใช้ติดต่อกับ ผบ.ร้อยโดยตรง ให้ กองร้อย
ประสานและตรวจสอบสายให้แล้วเสร็จก่อนออกตี
จ. การควบคุมการผ่านแนวออกตี ให้ควบคุมด้วยเวลาและการสั่งการทางสาย กองร้อยแจ้งให้กองพันทราบ
ทางสาย
ฉ. การสื่อสารของอาวุธยิงสนับสนุนไปยังผู้ตรวจการณ์หน้าไม่ต้องวางสาย ให้ใช้วิทยุเฝ้าฟังขั้นต้นและสั่งยิง
เมื่อปะทะกับข้าศึก การติดตามสถานการณ์ของส่วนยิงและศูนย์อานวยการยิง ให้ใช้สายที่วางไปยัง ทก.พัน หรือ
ทก.ร้อย โดยให้หน่วย นั้นๆ แจ้งสถานการณ์ที่คืบหน้าไปให้ทราบอยู่เสมอ

ข – ๓๐
ช. รูปการสื่อสารทางสายในการเข้าตีในเวลากลางคืน

รูปการสื่อสารทางสายในการเข้าตีเวลากลางคืน

(จุดแยกหมู)่

(จุดแยกหมวด) (จุดแยกหมวด)

SB - 993 SB - 993

(จุดแยกกองร้อย)
SB - 22

ทก.พัน

มว.ม.ลว. ร้อย.ป.

มว.ช่างสนาม มว.ปตอ.

ข – ๓๑
อนุผนวก ๕ (การตั้งรับ) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

๑. การลาดตระเวนและการระวังป้องกัน
ก. ทุกหน่วยจัดกาสรลาดตระเวนเพื่อหาข่าว และระวังป้องกันในพื้นที่รับผิดชอบอย่างน้อย ๑ ชุด เสมอ
ก่อนออกปฏิบัติภารกิจให้ประสานกับกองพัน
ข. กองร้อยในพื้นที่ตั้งรับหน้า จัดส่วนระวังป้องกันเฉพาะบริเวณอย่างน้อยกองร้อยละ ๒ ชุด กองร้อย
ทางซ้ายรับผิดชอบช่องว่างระหว่างกองร้อยด้วย
ค. ให้กาลังพลทุกนายและให้หน่วยทุกหน่วยระลึกเสมอว่า เป็นผู้รวบรวมข่าวสารในการรายงานสถานการณ์
ฝ่ายตรงข้าม
ง. ที่ตั้ งยิ ง และการว่า งก าลั งหน่ ว ยในพื้ นที่ ตั้ง รับ หน้ า ให้ ใช้ การซ่ อนพรางตามธรรมชาติ เป็ นหลั ก ให้
เหมาะสมกับภูมิประเทศ เน้นการป้องกันการตรวจการณ์ ทั้งทางพื้นดินและทางอากาศ
จ. ผบ.หน่วยทุกระดับรับผิดชอบในการกาหนดเส้นทางเคลื่อนที่ภายในที่มั่นของตน และในพื้นที่ส่วนหลังให้
น้อยที่สุด พิจารณาเส้นทางที่มีอยู่เดิม ควบคุมการทาเส้นทางใหม่ให้น้อยที่สุด
ฉ. ยามที่จัดประจาหน่วย ให้เป็นยามอากาศด้วย ในระดับหมู่ ให้ยามประจาอาวุธเป็นยามในที่ตั้งของหมู่
ด้วย
ช. ระดับการเตรียมพร้อม และการระวังป้องกัน ที่ตั้งเวลากลางคืน
๑) ก่อนสิ้นแสงทางทหาร ๑ ชม. ถึงหลังสิ้นแสงทางทหาร ๑ ชม. ให้เตรียมพร้อมเต็มกาลัง
๒) หลังสิ้นแสงทางทหาร ๑ - ๒ ชม. ให้เตรียมพร้อม ๑ ใน ๒
๓) หลังสิ้นแสงทางทหาร ๒ ชม. เป็นต้นไป ให้อยู่ในดุลยพินิจของ ผบ.หน่วย อย่างน้อยจะต้องมี
ยามประจาที่ตั้งถึงระดับหมู่ และที่ฟังการณ์ เป็นยามคู่เสมอ
๔) ก่อนเริ่มแสงทางทหาร ๒ ชม. ถึงเริ่มแสงทางทหาร ให้เตรียมพร้อมเต็มกาลัง
๕) เริ่ ม แสงทางทหารให้ เ ตรี ย มพร้ อ ม ๒ ใน ๓ ไปอี ก ๓๐ นาที จากนั้ น อยู่ ใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของ
ผบ.หน่วย
๖) สิ่งของเครื่องใช้ที่ไม่ใช้งานให้เก็บให้เรียบร้อยซ่อนพรางอยู่ในร่มเงา จัดการฝัง และกลบเกลื่อน
เศษวัสดุและอาหารที่ไม่ใช้ให้เรียบร้อย
๒. การเตรียมการและดาเนินการตั้งรับ
ก. ลาดับงานในการตั้งรับ
๑) การระวังป้องกันที่มั่น โดยการกาหนดที่วางตัวและการวางกาลังให้กับส่วนระวังป้องกันเป็น
ลาดับแรก และกาหนดผู้ปฏิบัติหน้าที่ยามประจาที่ตั้งหน่วยต่อไป
๒) นาทหารและอาวุธไปวางตัวตามลาดับ พร้อมกับชี้เขตรับผิดชอบและเขตการยิง
๓) จัดทาแผนการยิงทันทีเมื่อทราบที่ วางตัว โดยถากถางพื้นที่การยิงตามความจาเป็น (ยังไม่ต้อง
ขุดหลุมบุคคล)

ข – ๓๒
๔) วางการสื่อสารทางสาย
๕) วางสนามทุ่นระเบิด
๖) จัดทาหลุมบุคคลและพรางหลุมบุคคล
๗) สร้างเครื่องกีดขวางประเภทต่าง ๆ ผบ.มว.ช.สนาม ประสานกับ ผตน.ป., ผบ.มว.อวน. โดย
ใกล้ชิด
๘) เตรียมที่มั่นเพิ่มเติมและที่มั่นสกัดกั้น
ข. หน่วยในพื้นที่ตั้งรับหน้า รับผิดชอบ
๑) การประสานกับ หน่วยข้างเคียงในการกาหนดที่ตั้ง จุดประสานเขต และความรับผิดชอบที่
แน่นอน
๒) ช่วยเหลือส่วนระวังป้องกันของหน่วย และหน่วยเหนือในเรื่อง
ก) การยิงสนับสนุนและการยิงคุ้มครอง
ข) การผ่านแนวและการถอนตัวกลับ
๓) จัดเตรียมที่มั่นเพิ่มเติม ตามสมมุติฐานการเจาะของหน่วย และหน่วยเหนือ
๔) ประสานการวางเครื่องกีดขวางลวดหนามทางยุทธวิธีกับหมวดช่างโยธา
ค. ให้ทุกหน่วยวางทุ่นระเบิดป้องกันตนเองได้เทื่อได้รับจ่าย และต้องทาแผนการวางส่งกองพันด้วย
ง´เมื่อหน่วยรับผิดชอบในการจัด กดร.
๑) ปกติให้จัดจากกองร้อยหนุน มีกาลัง ๑ มว.ปล. สมทบด้วย ๑ ตอน ปรส.๑๐๖ ,๑ มว.ม.ลว.
๒) ให้กาลัง กดร. เข้าวางในพื้นที่รับผิดชอบ ก่อนที่กาลังในพื้นที่ตั้งรับหน้าจะเข้าแนว
๓) ให้ ผบ.กดร.ทาการซักซ้อมการถอนตัวของกาลัง กดร.ไว้ด้วย
๔) เมื่อไม่สามารถติดต่อกับกองพันได้ ให้ ผบ.กดร.พิจารณาสถานการณ์ในขณะนั้น และมีอานาจ
ในการสั่งถอนตัว โดยไม่ให้ต้องรบติดพันกับข้าศึก แต่ทั้งนี้จะต้องแน่ใจว่าหน่วยในขอบหน้าพื้นที่การรบ ได้ทราบการ
เข้ามาของข้าศึก และเตรียมการต้านทานข้าศึกได้แล้ว
๕) ฝอ.๔ จัด รยบ.๒ ๑/๒ ตัน สนับสนุนการเคลื่อนย้าย จานวน ๓ คัน
๖) มีลาดับการเร่งด่วนในการวางสายโทรศัพท์
จ. การทาแผนการยิง
๑) ส่วนยิงสนับสนุนของกองพัน จะจัดทาแผนการยิงสนับสนุนประเภทไม่เป็นทางการแบบประณีต
๒) พลปืนเล็ก และอาวุธประจาหน่วย (เว้นเครื่องยิงลูกระเบิดของกองร้อยขึ้นไป) ให้จัดทาทันที
เมื่อเข้าที่วางตัวใช้เวลาไม่เกิน ๑๕ นาที หลังวางกาลังบนขอบหน้าที่การรบ
๓) ผบ.หมู่ จัดทาแผนการยิงของหมู่ส่ง ผบ.มว. ไม่เกิน ๓๐ นาที หลังจากกาลังเข้าขอบหน้าพื้นที่
การรบ
๔) ผบ.มว. จัดทาแผนการยิงของหมวด ส่ง ผบ.ร้อย ไม่เกิน ๖๐ นาที หลังจากกาลังเข้าขอบหน้าที่
การรบ

ข – ๓๓
๕) ผตน.ประจากองร้อย จัดทาแผนการสนับสนุนของ ป. และ ค. ส่ง ผบ.ร้อย เพื่ออนุมัติแผน ไม่
เกิน ๓๐ นาที หลังจากกาลังเข้าขอบหน้าพื้นที่การรบ และจัดทารายละเอียดให้เรียบร้อย ภายใน ๖๐ นาที หลังจาก
ที่กาลังเข้าขอบหน้าพื้นที่การรบ
๖) ผบ.ร้อย ส่งแผนการยิงของกองร้อย ส่งกองพัน ไม่เกิน ๑ ชม. ๓๐ นาที หลังจากนากาลังเข้า
ขอบหน้าพื้นที่การรบ
๗) ผปยส.ของกองพั น ประสานแผนการสนับ สนุน ของ ป.และ ค. ให้ เสร็จสิ้ นภายใน ๑ ชม.
๓๐ นาที
๘) ผบ.หน่วยทุกระดับจะต้องทราบว่าจุดระดมยิงของ ป. และ ค. ตามแผนที่วางไว้อยู่ ณ ที่ใดใน
ภูมิประเทศจริง
ฉ. การยิงของอาวุธถ้าไม่กาหนดเป็นอย่างอื่น ให้ถือว่าเป็นการยิงที่ไม่หวังผลในการจู่โจม ให้ทาการยิงด้วย
ระยะยิงหวังผลไกลสุดของอาวุธแต่ละชนิด
ช. อานาจในการขออนุมัติฉากป้องกันขั้นสุดท้ายมอบให้ถึงระดับ ผบ.มว. กองร้อยจะต้องมั่นใจว่า ผบ.มว.
มีสัญญาณตามที่กองพันกาหนดอย่างถูกต้อง
๓. การตั้งรับโดยการเข้าผลัดเปลี่ยน
ก. การประสานกับหน่วยรับการผลัดเปลี่ยน ให้เตรียมการประสานในเรื่อง
๑) ข่าวกรองเกี่ยวกับข้าศึกที่เผชิญหน้า และลักษณะภูมิประเทศ
๒) การจัดเจ้าหน้าที่ติดต่อ
๓) ลาดับในการผลัดเปลี่ยน และเวลาที่จะส่งมอบการควบคุมพื้นที่
๔) การลาดตระเวนพื้นที่วางกาลัง
๕) มาตรการควบคุมการเคลื่อนย้ายและคนนาทาง
๖) แผนการยิง แผนการยิงสนับสนุน แผนยิงฉากขัดขวาง และแผนการตีโต้ตอบ
๗) การแลกเปลี่ยน และการส่งมอบสิ่งอุปกรณ์ รวมทั้ง นปส.
๘) การสนับสนุนทางการช่วยรบ อื่น ๆ
ข. ข้อกาหนดในการผลัดเปลี่ยน
๑) ให้เจ้าหน้าที่ติดต่อประจาหน่วยรับการผลัดเปลี่ยนดังนี้
ก) ผช.ฝอ.๓ ประจา ทก.พัน
ข) รอง ผบ.ร้อย ประจา ร้อย.อวบ.
ค) รอง ผบ.มว.ปล. ประจา มว.ปล.
๒) ลาดับการผลัดเปลี่ยน ปกติให้ใช้การผลัดเปลี่ยนจากหลังไปหน้า
๓) เวลาในการมอบพื้นที่ และการบังคับบัญชา จะกาหนดระยะเวลารับมอบหน้าที่แน่นอนไว้ใน
คาสั่งยุทธการ โดยพิจารราจากเวลาที่เพียงพอสาหรับ
ก) หมวดปืนเล็กเข้าวางกาลัง และจัดการระวังป้องกันแล้ว
ข) เปิด ทก.หน่วย ทุกระดับ และสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทุกหน่วย

ข – ๓๔
๔) ปกติห้ามแลกเปลี่ยนอาวุธยุทโธปกรณ์ และสิ่งอุปกรณ์ของหน่วยทุกชนิด เว้น
ก) สายโทรศัพท์ ซึ่งต้องตรวจสอบความยาว และสภาพของสายก่อน
ข) นปส.ให้ส่งฉบับตัดตอนให้เท่าที่จาเป็น
๕) การรับมอบ สป.สนามทุ่นระเบิด และฉากขัดขวางทุกชนิด จะต้องมีบัญชีส่งมอบ ๔ ชุด ซึ่งมี
ลายมือชื่อ ผบ.หน่วยรับ และส่งต่อ ดังนี้
ก) ส่งกองพัน จานวน ๒ ชุด
ข) เก็บไว้เป็นสาเนาคู่ฉบับ ๑ ชุด
ค) เก็บไว้เป็นหลักฐานที่หน่วยรับการผลัดเปลี่ยน จานวน ๑ ชุด
๖) เมื่อหน่วยเริ่มเคลื่อนย้ายเข้าผลัดเปลี่ยน ให้ใช้ นามเรียกขานและความถี่วิทยุของหน่วยรับการ
ผลัดเปลี่ยนจนกว่าจะถึงเวลารับมอบการบังคับบัญชา
๗) เมื่อ เข้ ารั บ มอบพื้น ที่แ ล้ ว ให้ ใ ช้แผนการยิ ง และที่มั่ นของหน่ว ยเดิ มไปก่อ นจนกว่ าหน่ ว ยมี
ความคุ้นเคยพื้นที่ และทาการลาดตระเวนอย่างละเอียดแล้ว จึงให้ปรับที่มั่นวางกาลังและแผนการยิงต่อไป เว้นเมื่ อ
หน่วยไปรับมอบพื้นที่หรือเข้าผลัดเปลี่ยนกับหน่วยที่มีขนาดแตกต่างกัน
๔. การตีโต้ตอบ
ก. กองพันเป็นหน่วยกาหนดสมมุติฐานการเจาะ
ข. ผบ.หน่วย กองหนุนของกองพัน ให้ร่วมทาแผนในรายละเอียดร่วมกับ ฝอ.๓ ด้วย
ค. ฝอ.๓ ทาแผนที่ ผบ.หน่วยกองหนุน จัดทาไว้ รวบรวมเป็นแผนของกองพัน
ง. การซักซ้อมแผน จะกระทาในพื้นที่จริง ซึ่งจะกาหนดเวลาที่แน่นอนในแต่ละครั้ง อย่างน้อยจะซักซ้อม
จากระดับ ผบ.หมู่ ขึ้นไป
จ. หน่วยในพื้นที่ตั้งรับหน้าจะต้องจัดเตรียมที่มั่น เพื่อยับยั้งการเจาะตามสมมุติฐานการเจาะของกองพันไว้
ด้วย
ฉ. การตีโต้ตอบจะกระทาเมื่อหน่วยในพื้นที่ตั้งรับหน้าสามารถหยุดข้าศึกลงได้ และข้าศึกอ่อนกาลังลง
ช. สถานการณ์ฝ่ายตรงข้ามยังคงรุกเข้ามาได้อย่างต่อเนื่อง ไม่สามารถใช้การตีโต้ตอบได้ ให้ใช้กองหนุนเข้า
ที่มั่นสกัดกั้น เพื่อยับยั้งการเจาะ รอการตีโต้ตอบของหน่วยเหนือต่อไป
ซ. เมื่อทาการตีโต้ตอบได้สาเร็จ ให้หน่วยที่ทาการตีโต้ตอบยึดรักษาและสถาปนาขอบหน้าพื้นที่การรบใน
พื้นที่เข้าตีได้ และเตรียมส่งมอบพื้นที่นั้นให้หน่วยที่รับผิดชอบพื้นที่อยู่เดิม เมื่อสั่ง

ข – ๓๕
๕. กองหนุนขั้นที่ ๒
เมื่อกองพันได้ใช้กองหนุนที่เตรียมไว้ไปแล้ว ให้จัดกองหนุนขั้นที่ ๒ ไว้อีก ๑ หน่วย โดยให้ปฏิบัติดังนี้
ก. ผบ.ร้อย.สสก. เป็น ผบ.กองหนุนขั้นที่ ๒
ข. การประกอบกาลัง
๑) ผบ.ร้อย.สสก.
๒) กาลังรบหลักจัดจาก หมวดลาดตระเวน
๓) กพ.ที่เหลือ
๔) หมวดหนุนของกองร้อยในขอบหน้าพื้นที่การรบ ซึ่งยังไม่ได้ทาการรบ
๕) กาลังหน่วยสมทบอื่น ๆ จะกาหนดเป็นครั้งคราว
ค. ภารกิจ
เข้าที่มั่นสกัดกั้นเพื่อยับยั้งการเจาะของฝ่ายตรงข้าม หรือเข้าตีจากทิศทางอื่น
๖. หลังจากข้าศึกเข้าตี
ก. ตรวจสอบสถานภาพของหน่วย
ข. จัดกาลังตรวจสอบพื้นที่ตั้งรับ เพื่อค้นหาผู้บาดเจ็บฝ่ายเรา, ข้าศึกที่อาจหลงเหลืออยู่ในที่มั่น , ข้าศึกที่
บาดเจ็บ และศพทั้งสองฝ่าย ให้ตรวจค้นทั้งมนที่มั่น และเลยออกไปหน้าแนวตั้งรับอย่างน้อย ๕๐ เมตร
ค. ยามคอยเหตุ ที่จะจัดส่งออกไปอีกครั้ง จะต้องมีกาลังระวังป้องกันออกไปด้วย ขั้นต้นอย่างน้อย ๑ หมู่ปืน
เล็ก เมื่อตรวจความปลอดภัยจนแน่ใจแล้ว จึงให้กาลังป้องกันกลับได้ คงเหลือไว้เฉพาะยามคอยเหตุ
ง. รายงานการเสริมความมั่นคง และจัดระเบียบใหม่
จ. สายโทรศัพท์ที่วางต้องยกสูงจากพื้น พ้นระดับการเคลื่อนย้ายของยานพาหนะ อุปกรณ์ที่ใช้พาด หรือผูก
สายต้องใช้สีกลมกลืนกับธรรมชาติ
ฉ. วิทยุเมื่อเข้าประจาแนวแล้วให้ปิดเครื่อง เว้นสถานีบังคับข่ายให้เฝ้าฟัง หน่วยจะลองเปิดและเฝ้าฟัง เมื่อ
ได้รับแจ้งเตือนการเข้ามาของข้าศึก และจะใช้ได้เมื่อการสื่อสารทางสายขาดลง หรือเมื่อต้องเคลื่อนย้ายกาลัง

ข – ๓๖
ช. รูปการสื่อสารทางสาย
รูปการสื่อสารทางสาย

มว.ม.ลว. มว.ปล. ตอน ปรส.๑๐๖


กดร. กดร.
ผตน. ผตน.

ขนพร. ขนพร.
SB ๙๙๓ SB ๙๙๓

SB ๙๙๓

ตอน ค.๘๑

SB ๙๙๓

ทก.พัน.
ฝอ.๑,๔ SB – ๒๒ บก.ร้อย นขต.

สยส. มว.ส.

ที่พยาบาลกองพัน ทก.กรม

ร้อย.ป. มว.ปตอ.

ขบวนสัมภาระพัก มว.ช.สนาม

ข – ๓๗
อนุผนวก ๖ (การถอนตัว) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

๑. กล่าวทั่วไป
เมื่อทราบว่าต้องถอนตัวภายใต้ความกดดัน ให้ทุกหน่วยเตรียมการไว้ว่า หน่วยต้องถือปฏิบัติได้ทั้งเวลา
กลางวันและกลางคืน หรือเมื่อทัศนวิสัยจากัด
๒. การลาดตระเวนที่มั่นใหม่
ปกติจะมีเวลาในการเตรียมการจากัด อาจไม่สามารถปฏิบัติการ ลว.ที่มั่นใหม่ได้ แต่ถ้ามีเวลาพอให้ปฏิบัติ
ดังนี้
ก. ชุด ลว.ที่มั่นใหม่ ประกอบด้วย
๑) ฝอ.๓ เป้น หน.ชุด ลว.ที่มั่นใหม่
๒)ทก.พัน และ บก.ร้อย ประกอบด้วย
ก) ส่วนเตรียมที่พักของ ทก.พัน
ข) ผบ.ตอน ค.๘๑
ค) ผบ.ตอน ปรส.๑๐๖
ง) นายทหารส่งกาลัง
๓) ร้อย.อวบ.ประกอบด้วย
ก) ผบ.มว.ค.๖๐
ข) รอง ผบ.มว.ปล.
ค) นายสิบสื่อสาร
ง) ผบ.หมู่ ปก.๓ นาย
จ) พลนาสาร มว.ปล. ๓ นาย
๔) หน่วยสมทบ หน่วยขึ้นควบคุม รอง ผบ.หน่วยและเจ้าหน้าที่ หรืออาจกาหนดภายหลัง
ข. หน้าที่
๑) กาหนดรายละเอียดการวางกาลังตั้งรับในที่มั่นใหม่
๒) เตรียมการ สื่อสารทางสาย ณ ที่มั่นใหม่ในขั้นต้น ให้สามารถติดต่อ ไปยัง ร้อย.อวบ.ได้ อย่าง
น้อย ๑ ทางสาย เมื่อได้รับจ่ายสายโทรศัพท์
๓) กาหนดที่ตั้งของจุดแยกหน่วยต่าง ๆ ที่แน่นอน และเส้นทางที่ใช้ในแต่ละส่วนรับผิดชอบ
๔) การจัดทาแผนการยิง ณ ที่มั่นใหม่ ถ้าทาได้
ค. การเตรียมการและปฏิบัติของส่วน ลว.ที่มั่นใหม่
๑) ขอทราบแผนและแนวทางทาแผนจาก ผบ.หน่วย ต้นสังกัด
๒) ยานพาหนะในการเคลื่ อนย้าย ใช้รถล าเลี ยงจากขบวนสั มภาระพักจานวน ๑ คัน ล าเลี ยง
กาลังพล ร้อย.อวบ.ส่วนอื่น ๆ ให้กับส่วนเตรียมที่พัก และ รถ ฝอ.๓
๓) ขบวนสัมภาระพักจัดอาหารมื้อต่อไปเท่าจานวนกาลังพล ที่จะไปตรวจที่มั่นใหม่ ส่งไปพร้อมรถ
ลาเลียงที่ไปรับกาลังพล

ข – ๓๘
๓. การลาดตระเวน ณ ที่มั่นเดิม
เมื่อได้รับคาสั่งเตือนว่าจะมีการถอนตัวภายใต้ความกดดัน ให้ ผบ.หน่วย ทุกระดับปฏิบัติ โดยไม่ต้องรอ
คาสั่งยุทธการ ดังนี้
ก. ลว.กาหนดจุดนัดพบของหมู่ หรือที่รวมพลของหน่วยรองแต่ละหน่วยที่แน่นอนโดยเร็ว และแจ้งที่ตั้ง จุด
นัดพบ หรือที่รวมพลของหน่วยรอง และที่รวมพลของหน่วยให้ ผบ.หน่วยรองทราบ
ข. ผบ.หน่วยที่ได้ทราบจุดนัดพบหรือที่รวมพลของหน่วยตน และของหน่วยเหนือแล้ว ให้ปฏิบัติดังนี้
๑) ลว.จุดนัดพบ/ที่รวมพลของหน่วย ตามที่หน่วยเหนือกาหนดให้
๒) กาหนดการเข้าจุดนัดพบ/ที่รวมพล
๓) ลว.เส้นทางที่จะไปที่รวมพลของหน่วยเหนือ
ค. ให้มั่นใจว่า ผบ.หน่วยรอง ถึง พลทหาร ทราบที่ตั้งของจุดนัดพบของตนและเส้นทางไปยังจุดนัดพบที่ตน
จะต้องไป
ง. วางแผนการถอนตัวในรายละเอียดไปพร้อมกับหน่วยเหนือ

ข – ๓๙
๔. แนวทางในการกาหนดที่รวมพลและจุดนัดพบ

มว.ม.ลว.

ขนพร. (X) ……………………………………………...................………………………………………………………………………….. (X)

มว.ในแนวหน้า ๒๐๐ ม.

มว.หนุนของ มว.ในแนวหน้า จุดนัดพบ


จุดนัดพบกองร้อยในแนวหน้า ของหมู่

ที่รวมพล
มว.ในแนวหน้า

กองร้อยหนุน

ที่รวมพล มว.หนุน
ของกองร้อยใน
แนวหน้า

แนวส่วนกาบังของกรม
ที่รวมพลของ
กองร้อยหนุน

ข – ๔๐
๕. การกาหนดเส้นแบ่งเขตปฏิบัติการและการปฏิบัติในการถอนตัว
ก. หมวดปืนเล็กในการตั้งรับของหมวด โดยการใช้การสู้รบมาทางด้านหลังจนพ้นแนวหมวดหนุน ผบ.หมวด
หนุน ควบคุมการปฏิบัติการต่าง ๆ ของหมู่ หมวด อาจกาหนดที่มั่นระหว่างการถอนตัว เพื่อคุ้มครองให้ส่วนของ
หมวดที่กาลังถอนตัวได้
ข. หมวดหนุนที่เป็นส่วนกาบังของกองร้อย รับผิดชอบเขตกองร้อยเมื่อในหน่วย ขนพร.ถอนตัวผ่านไปแล้ว
การถอนตัวของหมวดหนุนให้ถอนตัว ในเขตจนกว่าจะพ้นแนวกองร้อยหนุนที่เป็น ส่วนกาบังของกองพัน
ค. ผบ.ร้อย อาจกาหนดแนวที่มั่นให้หมวดในแนวหน้าที่เข้าประจาได้ เมื่อพิจารณาเห็นว่าเขตกองร้อยที่มี
ความลึกห่างจากส่วนกาบังของกองพันมาก เพื่อช่วยคุ้มครองการถอนตัวของหมวดหนุน
ง. ปกติให้เขตการถอนตัวของกองร้อยใน ขนพร. สิ้นสุดลงเมื่อพ้นแนวส่วนกาบังของกองพัน จากนั้นให้
กองร้อยเข้าที่รวมพล แล้วจัดรูปขบวนเดินเข้าไปด้านหลัง ในเขตกองพันอย่างรวดเร็ว
จ. กองร้อย ใน ขนพร.อาจได้รับมอบภารกิจให้เข้าที่มั่นระหว่างทาง เพื่อช่วยเหลือการถอนตัวของส่วน
กาบังของกองพันก็ได้
ฉ. ส่ว นกาบัง ของกองพัน ให้ถอนตัวในเขตกองพันไปข้างหลัง เพื่อเข้าที่รวมพลหลังแนวกาบังของกรม
จากนั้นให้จัดรูปขบวนเดินลงไปข้างหลังในเขตกองพันต่อไป
ช. หมู่ ปรส.ที่ตั้งยิงอยู่ในหน่วยใด ให้สมทบไปกับหน่วยนั้น จนเมื่อหน่วยถอนตัวผ่านแนวส่วนกาบังของกอง
พัน ให้หมู่ ปรส.ขึ้นสมทบกับส่วนกาบังของกองพัน จนกว่าจะเข้าที่มั่นใหม่
ซ. ทก.พัน และขบวนสัมภาระรบของกองพันถอนตัวตามที่กาหนดไว้ ถ้าระยะทางถอนตัวไกลจาก ทก.พัน
อาจเข้าที่ตั้งเป็นห้วง ๆ เพื่อช่วยในการควบคุมการถอนตัว ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ด. พิจารราการใช้ควัน และการวางสนามทุ่นระเบิด เพื่อป้องกันการไล่ติดตามของข้าศึก ในระหว่างการ
ถอนตัว
๖. การช่วยรบ
ก. สิ่งของที่ไม่จาเป็นต้องใช้ระหว่างการถอนตัว ให้ส่งกลับไปขบวนสัมภาระพัก หรืออาจให้ไปกับขบวน
สัมภาระรบก็ได้ ผบ.หน่วย รับผิดชอบในการพิจารณาตกลงใจไม่ให้กาลังพลแบกน้าหนัก ที่ไม่จาเป็น
ข. สป.๕ ประเภทลูกระเบิดยิ ง ของ ค. ให้กองร้อยจัดในขบวนสั มภาระไปรับเมื่อได้รับคาสั่งเตือน ให้
เตรียมการถอนตัว
ค. การขนส่ง ให้กองร้อยที่ต้องการรถลาเลียงเพิ่มเติม ร้องขอรถลาเลียงผ่าน ฝอ.๔ เพื่อพิจารณาอนุมัติ
ง. ส่งอุปกรณ์ที่ชารุดรวมทั้งผู้ป่วยเจ็บที่ต้องส่งกลับ ให้ดาเนินการส่งไปข้างหลังเป็นลาดับแรก
จ. ยุทโธปกรณ์ที่ไม่สามารถส่งกลับได้ทันและไม่สามารถนาไปพร้อมกับหน่วยได้ ให้ทาลายทิ้งก่อนถอนตัว
ฉ. กาลังพลที่เจ็บป่วยระหว่างการถอนตัว ให้พยายามนาไปพร้อมกับหน่วย ถ้าไม่สามารถนาไปกับหน่วยได้
ให้แจ้งกองพันทราบโดยเร็ว เพื่อพิจารณาส่งกลับต่อไป

ข – ๔๑
ช. กาลังพล
๑) หน่วยที่พบกาลังพลพลัดหน่วย ให้พิสูจน์ฝ่ายให้แน่ชัดแล้วนาร่วมไปกับกาลังพลของหน่วยด้วย
๒) ทุกหน่วยรักษาขวัญของกาลังพลโดย
ก) ชี้แจงความจาเป็นในการถอนตัว
ข) ชี้แจงการช่วยเหลือที่หน่วยเหนือเตรียมไว้ให้
ค) แสดงลักษณะผู้นา

ข – ๔๒
อนุผนวก ๗ (การยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

๑. กล่าวทั่วไป
ก. จะกาหนดให้หน่วยบินยุทธในการเคลื่อนที่ทางอากาศ เป็นหน่วยสนับสนุนโดยตรง แก่หน่วยปฏิบัติ
ข. เพื่อสะดวกแก่การวางแผน ประสานงาน ให้ฝ่ายยุทธการประสานโดยตรงกับนายทหารฝ่ายยุทธการของ
หน่วยเหนือ ช่วยเหลือผู้บังคับหน่วยปฏิบัติการยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศในเรื่องเทคนิค และยุทธวิธี
๒. ข่าวกรอง
ก. ล้มฟ้าอากาศ
๑) ต้องมีการพยากรณ์อากาศระยะยาวในทันทีที่ได้รับภารกิจ
๒) พยากรณ์อากาศระยะสั้นกระทาตามห้วงเวลาอากาศยาน
ข. ภูมิประเทศ
๑) จะต้องแจกจ่ายแผนที่และภาพถ่ายทางอากาศชนิดมาตราส่วนใหญ่ ครอบคลุมบริเวณที่หมาย
ให้ชัดเจนถึงระดับกองร้อยเป้นอย่างน้อย
๒) การแจกจ่ายภาพถ่ายเฉียงน้อย มาตราส่วนใหญ่บริเวณที่หมายโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ร่วม ณ
ที่หมายให้กับหน่วยระดับกองร้อยหากสามารถทาได้
๓) ฝ่ายยุทธการ จะต้องมีแผนมาตราส่วน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ครอบคลุมพื้นตลอดส้นทางบิน
๔) ใช้ภูมิประเทศจาลอง ให้เป็นประโยชน์มากที่สุดในการชี้แจงสรุป
ค. การต่อต้านข่าวกรอง
๑) ต้องมีการรักษาความปลอดภัย อย่างเข้างวดมากที่สุด โดยเฉพาะการวางแผนการปฏิบัติ
๒) ส่วนโจมตีจะต้องไม่นาคาสั่งยุทธการ หรื อแผนที่ซึ่งเขียนเครื่องหมายต่างๆ เกี่ยวกับการยุทธ
ครั้งนี้หรือสังเขปใด ๆ ไปด้วย
ง. การหลบหลีกและหลีกหนี : หากอากาศยานจาเป็นต้องร่อนลงระหว่างพื้นที่บรรทุกกับที่หมายให้ทุกคน
บนอากาศยานปฏิบัติดังนี้
๑) ถ้าทาได้ให้พยายามบินไปสมทบกับหน่วยทหารฝ่ายเดียวกันในทันที
๒) หากไม่สามารถทาตามข้อ ๑) ได้ให้เตรียมพื้นที่ร่อนลงในบริเวณใกล้เคียงสาหรับการส่งกลับทาง
อากาศ ทั้งนี้เมื่อสถานการณ์ข้อศึกและภูมิประเทศเกื้อกูล
๓) หากไม่สามารถทาตามข้อ ๑) และ ข้อ ๒) ให้หลบหลีกจากการถูกข้อศึกจับและพยายามไป
สมทบกับหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน โดยวิธีการแทรกซึม และรายงานพิกัดของอากาศยานที่ร่อนลงให้หน่วยพิจารณา
ซึ่งอาจต้องทาลายเสียก่อน ที่จะถูกข้อศึกยึดไปเป็นประโยชน์ หากมีผู้บาดเจ็บให้ส่งกลับทางอากาศ

ข – ๔๓
๓. การปฏิบัติ
ก. การวางแผน
๑) การวางแผนการยุทธจะต้องประกอบด้วย
ก) แผนยุทธวิธีบนพื้นดิน
ข) แผนการลงสู่พื้น
ค) แผนการเคลื่อนย้ายทางอากาศ
ง) แผนการบรรทุก
จ) แผนเข้าที่พักคอย
๒) หน่วยเหนือจะเป็นผู้ประสานงาน และอนุมัติแผนการยุทธของหน่วยขนาดเล็กของกองพันต่างๆ
๓) ฝ่ายยุทธการหน่วยเหนือจะประสานโดยตรงกับฝ่ายการบิน เพื่อจะวางแผนการยุทธเคลื่อนที่
ทางอากาศเป็นส่วนรวม (หน่วยรองมีส่วนร่วมในการวางแผน) ดังนี้
ก) กาหนดขนาดและการประกอบกาลังทางอากาศที่ต้องการ สาหรับสนับสนุนแผนการ
ยุทธวิธี
ข) แบ่งอากาศยาน และกาหนดที่ว่างสาหรับบรรทุกสิ่งอุปกรณ์แก่หน่วยรอง
๔) ฝ่ายยุทธการประสานกับนายทหารฝ่ายการบิน เพื่อจะช่วยหน่วยในการเคลื่อนย้ายตามแผน
และระเบียบการขึ้นลงอากาศยาน
ข. การฝึกและการซักซ้อม
๑) ให้คาแนะนาในเรื่อง :
ก) การปฏิบัติการยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ
ข) ทาการคุ้นเคยกับการยืน การนั่ง และการลงอากาศยานชนิดที่จะใช้
ค) ระเบียบการนิรภัยระหว่างขึ้นบินและลง
ง) ยุทธวิธีของการหลบหลีกและหลีกหนี
๒) การซักซ้อม ณ ภูมิประเทศคล้ายคลึงกับบริเวณที่หมายโดยอาศัยภูมิประเทศจาลอง
ค. การบรรทุก
๑) พื้นที่บรรทุก จะต้องได้รับอนุมัติจากหน่วยเหนือ โดยปกติพื้นที่บรรทุกแห่งหนึ่งจะใช้สาหรับ
หน่วยทหารหนึ่งกองร้อย
๒) อากาศยานจะมาถึงพื้นที่บรรทุกในเวลาจวนจะถึงกาหนดการบรรทุกมากที่สุด
ง. การเคลื่อนย้ายทางอากาศ
๑) อากาศยานจะออกจากสนามตามเวลาที่กาหนดในตารางเคลื่อนย้ายทางอากาศ และมาถึง
ณ พื้นที่บรรทุกในเวลาจวนจะถึงกาหนดการบรรทุกมากที่สุด
๒) ทันทีที่นักบินขึ้น อากาศยานที่ทาหน้าที่บังคับหน่วยบิน จะต้องดารงการติดต่อกับศูนย์ประสาน
การบินในความถี่ (คลื่นวิทยุ) ที่กาหนดจนกว่าจะจบภารกิจ และศูนย์ประสานการบินอนุญาตให้หยุดการติดต่อได้

ข – ๔๔
๓) ผู้บังคับหน่วยบินจะรายงานให้ศูนย์ประสานการบินทราบ เมื่อบินถึงจุดควบคุมทุกจุด รายงาน
ประกอบด้วย
ก) ตาแหน่งที่อยู่
ข) เวลา
ค) การปฏิบัติของข้าศึก
ง) ความเสียหายของเครื่องบิน (ถ้ามี)
จ) อากาศยานร่อนลง
ฉ) ผู้บาดเจ็บ (ถ้ามี)
ช) อื่น ๆ
๔) หากจาเป็นฝ่ายยุทธการ โดยนายทหารฝ่ายการบิน อาจต้องถ่ายทอดการติดต่อ เพื่อแน่ ใจว่า
ศูนย์ประสานการบิน จะต้องดารงการติดต่อกับส่วนเคลื่อนที่ทางอากาศยานอย่างแน่นแฟ้น และอย่างต่อเนื่อง
๕) ศูนย์ประสานการบินจะต้องดารงการติดต่อกับ บก.ควบคุมด้วย เพื่อทราบข่าวการบินขึ้นลงของ
เที่ยวบินระลอกต่าง ๆ
๖) ขณะทาการบิน ผบ.หน่วยรบ จะต้องสวมหูฟัง เพื่อติดต่อกับนักบิน ผบ.หน่วยรบ จะอยู่ติดกับ
ประตูเพื่อตรวจการณ์ได้อย่างกวางขวาง และสามารถลงได้เป็นคนแรก
๗) เมื่อถึงตาบลร่อนลง นักบินจะต้องแจ้งให้ ผบ.หน่วยรบทราบ ถึงตาบลร่อนลงให้แน่นอนและ
ทิศทางของที่หมาย ฯลฯ และที่ตั้งของข้าศึก
๘) คาสั่งยุ ทธการ จะต้องระบุสัญญาณฉุกเฉินไว้ใ นคาแนะนาในการประสาน และ ผบ.หน่ว ย
จะต้องชี้แจงให้ทหารทุกคนทราบก่อนขึ้นอากาศยานด้วย
จ. การลงสู่พื้นดิน
๑) นักบินจะแจ้งให้ ผบ.หน่วย รับทราบเมื่อเหลืออีก ๕ นาที จะถึงตาบลร่อนลง ผบ.หน่วยก็จะ
เตรียมให้ทหารทุกคนเตรียมลงพื้น ผบ.หน่วยบิน จะไม่เปลี่ยนตาบลร่อนลงให้ ผิดไปจากที่กาหนดไว้ นอกจากกรณี
ฉุกเฉินอย่างน้อยที่สุด หากจาเป็นต้องเปลี่ยน ผบ.หน่วย จะต้องได้รับข่าวสารตามข้อ ง.)
๒) อากาศยานจะใช้เวลาอยู่บนพื้นดิน ณ ตาบลร่อนลงน้อยที่สุด ปกติจะใช้เวลาประมาณ ๑ นาที
หรือน้อยกว่า

ข – ๔๕
๔. การส่งกาลังบารุง
ก.การส่งกาลัง
๑) สิ่งอุปกรณ์สาหรับส่วนโจมตี (ทุกประเภท) : บก.ควบคุมจะกาหนดในแต่ละการยุทธ
๒) สิ่งอุปกรณ์เพิ่มเติม
ก) เพิ่มเติมเร่งด่วนโดยส่งทางอากาศ, ใช้ร่ม, ตาข่ายหิ้วสิ่งของ ฯลฯ
ข) หน่วยบริเวณที่หมายจะต้องกาหนดตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์เ พิ่มเติม เมื่อถึงเวลาที่
เหมาะสมและสามารถกระทาได้
๓) หน่วยที่ยึดสิ่งอุปกรณ์ได้มีสิทธิ์ที่จะใช้ , ส่วนกระสุนและน้ามัน ฯลฯ อาจจะใช้ได้แต่ต้องได้รับ
อนุมัติจาก บก.ควบคุมก่อน
ข. การพยาบาลและการส่งกลับ : ใช้การส่งกลับทางอากาศว่าจะสามารถบรรจบหรือถอนตัวกลับ
ค. การขนส่ง
๑) รถยนต์
ก) บก.ควบคุม เป็นผู้กาหนดรถยนต์ ในอัตราที่จะนาไป
ข) ใช้รถที่ยึดได้ให้มากที่สุด
๒) อากาศยาน : บก.ควบคุมเป็นผู้กาหนดอากาศยานที่จะใช้สนับสนุน
ง. การบริการ
๑) ชุดบริการเทคนิค จะจัดตามคาขอหรือเมื่อต้องการ
๒) เมื่อจบแล้ว หน่วยสนับสนุนที่อยู่ใกล้ที่สุดจะจัดบริการที่จาเป็น
๕. การบังบัญชา
ก. ผบ.หน่วยดาเนินกลยุทธจะได้รับการแต่งตั้งเป็น ผบ.หน่วยรบเฉพาะกิจเคลื่อนที่ทางอากาศ
ข. นักบินอาวุโสของหน่วยบินจะได้รับการแต่งตั้งเป็น ผบ.ภารกิจบินและจะบังบัญชาอากาศยานทั้งสิ้น
๖. การปฏิบัติของหน่วยและบุคคล
ก. ยานพาหนะ
๑) พลขับ ทาการป้องกัน และ ปบ.ยานพาหนะที่รับผิดชอบ
๒) ยานพาหนะต้องพร้อมที่จะนาไปข้างหน้า
ข. การปฏิบัติในพื้นที่รับขึ้น
๑) การเข้าพื้นที่รับขึ้นต้องได้รับคาสั่งเท่านั้น
๒) ห้ามทิ้งยุทโธปกรณ์ไว้ที่พื้นดิน
ค. การเข้าไปยัง ฮ.
๑) ห้ามเข้า ฮ. ทางด้านหลัง ให้เข้าไปทางด้านหน้าหรือด้านข้าง เว้นการเข้า ฮจ.๔๗ จะเข้าทาง
ด้านหลัง
๒) นาอาวุธ และ เสาอากาศออกห่างจากใบพัด

ข – ๔๖
ง. เครื่องยิงลูกระเบิดให้วางส่วนฐานและขาหยั่งให้แนบกับพื้น
จ. ผู้โดยสารใน ฮ.
๑) รัดเข็มขัด
๒) ปล่อยแขนเสื้อลง
๓) รัดหมวกเหล็กให้แน่น
๔) อาวุธกลและพลยิงอยู่ด้านนอกเพื่อให้ลง ฮ. เป็นคนแรก
๕) ห้ามติดดาบปลายปืน
๖) ปก.เอ็ม.๖๐ วางบนขาทราย
๗) พับเสาอากาศวิทยุ หรือดาให้ต่าลง

ข – ๔๗
อนุผนวก ๘ (การบรรจบ) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

๑. ความมุ่งหมาย เพื่อให้มีวิธีการปฏิบัติการบรรจบเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
๒. กล่ าวทั่วไป เมื่อได้รับ การสั่ งเตือนให้ ปฏิบัติการบรรจบ ผบ.พัน . ฝอ.๒ ฝอ.๓ และนายทหารติดต่อ
ดาเนินการประสานกับหน่วยที่เกี่ยวข้องทันที โดยปกติหน่วยเคลื่อนที่จะเป็นผู้ประสานหน่วยที่อยู่กับที่ หากทั้ง ๒
หน่วยเคลื่อนที่ด้วยกัน บก.หน่วยเหนือจะเป็นผู้กาหนดหน่วยที่ต้องประสาน
ก. การรบ
๑) เรื่องที่ต้องทาการประสาน
ก) ความสัมพันธ์ทางการบังคับบัญชาของทั้ง ๒ หน่วย
ข) ระบบรับรองฝ่าย
ค) แผนการสื่อสาร
ง) กลยุทธ
จ) การยิงสนับสนุน
ฉ) การปฏิบัติหลังจากที่บรรจบกันแล้ว
ช) การสนับสนุน
ซ) แผนสารอง
๒) การสนับสนุนที่หน่วยอยู่กับที่จะดาเนินการให้
ก) จนท.นาทาง
ข) ช่องทางผ่านเครื่องกีดขวาง
ค) การควบคุมการจราจร
ง) การส่งกาลังและซ่อมบารุง
จ) การสนับสนุนทางการแพทย์
ฉ) ข่าวสารเกี่ยวกับข้าศึกที่เป้นอยู่
๓) การสนับสนุนที่หน่วยเคลื่อนที่จะดาเนินการให้
ก) การส่งกาลัง
ข) การซ่อมบารุง
ค) การสนับสนุนทางการแพทย์
ง) การยิงสนับสนุน

ข – ๔๘
ข. การปฏิบัติในการบรรจบ
๑) หน่ ว ยที่ เ คลื่ อ นที่ ทั้ ง ๒ หน่ ว ยจะมี ก ารปรั บ การเคลื่ อ นที่ เ ข้ า หากั น และมี ก าร
ประสานกันอย่างต่อเนื่องโดยใช้ข่ายวิทยุที่กาหนดไว้แล้ว ก่อนจะบรรจบกันจะมีการหยุดหน่วยในเวลาสั้น ๆ ก่อน
๒) หน่วยเคลื่อนที่และหน่วยอยู่กับที่ หน่วยเคลื่อนที่จะกาหนดทิศทางและหน่วยอยู่กับที่
จะแจ้งที่ตั้งให้ทราบ หน่วยที่อยู่กับที่จะนาหน่วยเคลื่อนที่เข้าจุดบรรจบทางวิทยุ
๓) การปฏิบัติหลังจากการบรรจบ ทั้ง ๒ หน่วย ดารงการระวังป้องกันโดยการเคลื่อนที่
อย่างรวดเร็วและปฏิบัติการภารกิจอย่างต่อเนื่อง
๔) การรับรองฝ่าย การสื่อสารทางวิทยุต้องมีการกาหนดการรับรองฝ่ายไว้ก่อนเสมอ

ข – ๔๙
อนุผนวก ๙ (การผ่านแนว) ประกอบผนวก ข (กลยุทธ)

๑. กล่าวทั่วไป
ก. การผ่านแนว คือการปฏิบัติอย่างหนึ่งซึ่งหน่วยจะตีเข้าผ่านอีกหน่วยหนึ่ง ซึ่งกาลังปะทะอยู่กับข้าศึก
ข. หน่วยที่ปะทะกับข้อศึกยังคงอยู่กับที่ และให้การสนับสนุนแก่หน่วยที่ผ่านจนกว่าหน่วยนั้นจะบังทางยิง
ของตน หน่วยที่ถูกผ่านอาจอยู่กับที่หรืออาจเข้าปฏิบัติการอย่างอื่นก็ได้
ค.การผ่านแนวในการปฏิบัติที่กระทาเพื่อปลดเปลื้องหน่วยซึ่งใช้กาลังปฏิบัติการรบติดพันจนเกินไปหรือมี
การสูญเสียมาก และเพื่อดาเนินการเข้าตีต่อไป
ง. หน่วยที่จะปะทะจะให้การช่วยเหลือแก่หน่วยเข้าตีทุกอย่าง
๒. วิธีการวางแผน
ก. กล่าวทั่วไป วิธีการวางแผนคล้ายคลึงกั บการสับเปลี่ยนหน่วย เมื่อได้รับคาสั่งเตรียมให้ปฏิบัติอย่างใด
อย่างหนึ่งซึ่งจาเป็นจะต้องผ่านแนวแล้ว ผบ.พัน. และฝ่ายอานวยการ ของหน่วยที่จะผ่านแนวจะต้องจัดการติดต่อ
กับหน่วยที่กาลังปะทะอยู่โดยปกติแล้วหน่วยที่ผ่านจะจัดตั้ง ทก.ยุทธวิธีขึ้นใกล้ กับ ทก. หลักของหน่วยที่กาลังปะทะ
ทันทีที่ได้รับคาสั่งเตรียมหน่วยที่จะผ่านแนว และหน่วยที่กาลังปะทะจะจัดให้มีการประชุมขึ้น เพื่อดาเนินการใน
รายละเอียดเกี่ยวกับการผ่านแนว การแลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ติดต่อจะกระทาทุกระดับหน่วย
ข. รายละเอียดที่ต้องประสาน ในระหว่างการประชุมเพื่อการวางแผนนั้น ผู้บังคุมบัญชาและฝ่ายอานวยการ
ของหน่วยที่เกี่ยวข้องจะประสานกันในเรื่อง
๑) การแลกเปลี่ยนข่าวกรอง
๒) การแลกเปลี่ยนแผนยุทธวิธี รวมทั้งแผนการติดต่อสื่อสาร
๓) การแลกเปลี่ยน นปส. และ รปจ. สนาม
๔) การตกลงเกี่ยวกับการลาดตระเวนของหน่วยที่มาผ่าน
๕) มาตรการในการป้องกันระหว่างการผ่านแนว
๖) การเลือกพื้นที่การผ่านแนวและการจัดเจ้าหน้าที่นาทาง
๗) ลาดับความเร่งด่วนในการใช้เส้นทาง และสิ่งอานวยความสะดวกตลอดจนการจัดการควบคุม
เคลื่อนย้าย ลาดับความเร่งด่วนต้องให้แก่หน่วยที่มาผ่าน
๘) เวลาหรือสถานการณ์แวดล้อม เมื่อมีการส่งมอบความรับผิดชอบในการควบคุมพื้นที่ปฏิบัติการ
๙) การยิงสนับสนุน และการสนับสนุนส่วนอื่น ๆ ที่จะได้จากหน่วยที่กาลังปะทะ
๑๐) การสนับสนุนการช่วยรบที่จะได้รับจากหน่วยที่กาลังปะทะ
๑๑) การแลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ติดต่อ
๑๒) การรวบรวม และการแลกเปลี่ยนข่าวสารเกี่ยวกับการสนับสนุนทุ่นระเบิดของฝ่ายเรา และ
เครื่องกีดขวางอื่นๆ
๑๓) ความสัมพันธ์ทางการบังคับบัญชาระหว่างหน่วยสนับสนุน การรบ และหน่วยสนับสนุนการ
ช่วยรบ ตลอดจนสิ่งอานวยความสะดวกของหน่วยที่มาผ่านกับหน่วยที่กาลังปะทะ

ข – ๕๐
๑๔) มาตรการลดอันตรายจากการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ชีวะ หรือเคมี ของข้าศึก
๑๕) แผนการปกปิดและการลวงเพื่อรักษาความลับ และช่วยให้เกิดผลทางการจู่โจม
ค. การเลือกพื้นที่การผ่าน เมื่อสามารถทาได้ พื้นที่ ๆ จะเลือกการผ่านนั้นควรจะเป็นพื้นที่ที่ไม่ มีหน่วยยึด
อยู่ระหว่างหรืออยู่ทางปีกของหน่วยต่าง ๆ ที่กาลังปะทะ วิธีนี้จะช่วยลดอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้น ถ้าหากหน่วยต้อง
ผ่านที่ตั้งซึ่งมีหน่วยอื่นยึดครองอยู่โดยตรง นอกจากนั้นหน่วยที่มาผ่านอาจลดอันตรายได้โดยให้หน่วยรองตรงไปยัง
พื้นที่ที่จะกระทาการผ่าน
ง. ลาดับความเร่งด่วนในการใช้เส้นทาง หน่วยผ่านจะต้องได้รับลาดับความเร่งด่วน ในการใช้เส้นทางไปยัง
หรือภายในพื้นที่ของหน่วยที่กาลังปะทะ หน่วยที่ส่งผ่านแนวควรจัดลาดับความเร่งด่วนเส้นทางขึ้น การควบคุม
การจราจรในพื้นที่ของหน่วยที่กาลังปะทะนั้น จนกว่าจะมีการโอนความรับผิดชอบพื้นที่ให้แก่หน่วยที่มาผ่านแล้ว
จ. การโอนการบังคับบัญชา เวลาและสถานการณ์แวดล้อมเมื่อมีการส่งมอบความรับผิดชอบในการควบคุม
เขตการปฏิบัติการณ์ในการตั้งรับให้แก่หน่วย ผบ. หน่วยที่มาผ่านพิจารณาจากข้อตกลงร่วมกันหรือคาสั่งของหน่วย
เหนือ โดยธรรมดาแล้ว ผบ. หน่วยที่มาผ่านจะเข้ารับผิดชอบดังกล่าวนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อเริ่มยิงเตรียม หรือ
ก่อนหน้านั้นหรือตามปกติแล้ว ผบ.หน่วยที่กาลังปะทะจะควบคุมทางยุทธการต่อหน่วยต่าง ๆ ของหน่วยที่มาผ่านใน
พื้นที่ของตน จนกระทั่งได้โอนการบังคับบัญชาให้กับ ผบ.หน่วยที่มาผ่านแล้ว ณ เวลานี้ ผบ.หน่วยที่มาผ่านจะเข้า
ควบคุมการปฏิบัติการทางยุทธวิธีของหน่วยทั้งสอง จนกว่าการผ่านแนวจะเสร็จสิ้นสมบูรณ์
ฉ. การสนับสนุนทางยุทธวิธี
๑) หน่วยที่กาลังปะทะจะให้การช่วยเหลือทุกอย่างเท่าที่จะทาได้ ให้แก่หน่วยผ่าน เช่น การทาแผน
ที่สนามทุ่นระเบิด การจัดเจ้าหน้าที่นาทาง การยิงสนับสนุน และการสนับสนุนการรบอื่นๆ
๒) เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมและแผนการดาเนินกลยุทธ จึงมักจะมีแต่เฉพาะอาวุธเล็ง
จาลองต่อหน่วยที่กาลังปะทะเท่านั้น ที่สามารถให้การสนับสนุนต่อหน่วยที่มาผ่านได้ หลังจากที่ได้มีการส่งมอบเขต
ปฏิบัติการ หรือเขตการปฏิบัติการตั้งรับให้แก่หน่วยผ่านแล้ว ผบ.ป. ของหน่วยที่มาผ่านจะเป็นผู้ประสานการยิงทั้ง
มวล
ช. การสนับสนุนทางการช่วยรบ หน่วยที่กาลังปะทะจะให้การช่วยเหลือการสนับสนุนทางการช่วยรบแก่
หน่วยที่มาผ่านดังต่อไปนี้
๑) การส่งกลับผู้บาดเจ็บและเชลยศึก
๒) การควบคุมบุคคลพลเรือนและผู้พลัดถิ่น
๓) การใช้พื้นที่และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น ตาบลส่งน้า สิ่งอานวยความสะดวกทาง
การแพทย์
๔) ลาดับความเร่งด่วนในการใช้เส้นทางและการควบคุมจราจร
๕) การส่งกลับยานพาหนะที่ชารุด

ข – ๕๑
๓. การปฏิบัติการผ่านแนว
ก. หน่วยต่าง ๆ ที่มาผ่านจะเคลื่อนที่จากที่ตั้งข้างหลังเพื่อเข้าตีตามเวลาที่กาหนด การเคลื่อนย้ายนี้ควร
กระทาในห้วงระยะเวลาที่มีทัศนวิสัยจากัด การคานวณการเคลื่อนย้ายต้องกระทาอย่ างรอบคอบเพื่อประกันว่า
หน่วยต่างๆ สามารถเข้าตีได้ตามเวลาโดยไม่ต้องใช้พื้นที่รวมพลหน้า การกระทาเช่น นี้เป็นการลดเวลาที่หน่วยรอง
ต่างๆ ของหน่วยทั้งสองต้องแออัดกันในพื้นที่ข้างหน้า
ข. อาจต้องย้ายกองหนุนของหน่วยที่กาลังปะทะไปเข้าที่รวมพลข้างหลังก่อนที่การผ่านแนวจะเริ่มขึ้น เพื่อ
เป็นการลดความแออัดของหน่วยลงตามธรรมดา บก. ที่สั่งการผ่านแนวจะเป็นผู้กาหนดการใช้วิธีการนี้
๔. มาตรการในการประสานการปฏิบัติที่ควรเน้นเป็นพิเศษดังนี้
ก. เจ้าหน้าที่จากหน่วยผ่าน จะเป็นผู้ลาดตระเวนพื้นที่เติมน้ามันเชื้อเพลิง และเส้นทางเข้า – ออก พื้นที่นี้
โดยได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่นาทางของหน่วยที่กาลังปะทะ หน่วยที่กาลังปะทะอาจมีความจาเป็นปรับที่
มั่น เพื่อให้สะดวกแก่การผ่าน แต่การปรับดังกล่าวนี้ควรกระทาให้น้อยที่สุด
ข. หน่วยที่กาลังปะทะกวาดล้าง และทาเครื่องหมายช่องทางผ่านสนามทุ่นระเบิดของฝ่ายเราเพื่อให้หน่วย
ที่มาผ่าน ผ่านไปได้อย่างรวดเร็ว หน่วยที่ผ่านมาจะใช้เจ้าหน้าที่ติดต่อของตนตามช่องผ่านหรือช่องทางบังคับที่
ยากลาบาก เพื่อช่วยตรวจสอบการผ่านของหน่วยรอง
ค. หน่วยที่กาลังปะทะให้การสนับสนุ่นด้วยการยิง
ง. ตามปรกแล้วหน่วยที่มาผ่านจะได้รับลาดับความเร่งด่วนในการใช้ถนน
จ. หน่วยที่กาลังจะให้ความสนับสนุนการช่วยรบกับหน่วยที่ผ่านระหว่าง และทันทีหลังจากการผ่านตามขีด
ความสามารถ การสนับสนุนนี้อาจหมายรวมถึง สิ่งอานวยความสะดวกทางการแพทย์การดาเนินการต่อเชลยศึก
การกั้นผู้ลี้ภัยจากถนน การจั ดการควบคุมการจราจร การช่วยเหลือจัดการเกี่ยวกับคนตาย แต่ตามปกติแล้วจะไม่
รวมถึงการส่งกาลังน้ามันเชื้อเพลิง น้ามันเครื่อง น้ามันหล่อลื่น หรือกระสุน

ข – ๕๒
อนุผนวก ๑ (การยิงสนับสนุน) ประกอบผนวก ค (การยิงสนับสนุน)

๑. กล่าวทั่วไป
อนุผนวกนี้จัดทาขึ้นเพื่อกาหนดระเบียบ และวิธีในการวางแผนและการประสานการยิงสนับสนุนในการ
สนับสนุนหน่วยดาเนินกลยุทธของกองพัน
๒.การจัด
ก. ใน ทก.พัน ให้จัดส่วนยิ งสนับ สนุน (สยส.) อยู่ภ ายในใกล้กับส่วนยุทธการและการข่าวโดยกาหนดผู้
ประสานการยิงสนับสนุน (ผปยส.) เป็นผู้รับผิดชอบการปฏิบัติตามลาดับ ดังนี้
๑) นยส.ป.จาก ร้อย.ป.
๒) ผบ.มว.อวน.
๓) นตต.ปตอ.
๔) นตต.ชุด ฮจ.
๕) ผช.ฝอ.๓
ข. ผู้ที่ร่วมปฏิบัติงานอยู่ใน สยส.ได้แก่ผู้แทนจากระบบอาวุธยิงสนับสนุนทั้งสิ้นซึ่งประกอบด้วย
๑) นยส.ป.จาก ร้อย.ป
๒) ผบ.มว.อวน. และนายสิบ ลว.
๓) ชผคน. และเจ้าหน้าที่
๔) ผู้แทนจากระบบอาวุธอื่นๆ ที่ใช้ยิงสนับสนุน
๕) ผช.ฝอ.๓
ค. เมื่อกองพันจัด ทก.ยุทธวิธี ออกไปควบคุมการรบห่างจาก ทก.หลักให้ นยส. ร่วมไปกับ ทก.ยุทธวิธีด้วย
๓. หน้าที่และความรับผิดชอบ
ก. ผปยส.
๑) จัดตั้ง และกาบังดูแลองค์กรวางแผนและประสานการยิงสนับสนุน
๒) ให้คาปรึกษา ผบ.พัน. ในทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยิงสนับสนุน
๓) ให้คาปรึกษา ผบ.พัน. เกี่ยวกับการค้นหาเป้าหมาย
๔) ทาการวิเคราะห์เป้าหมาย
๕) จัดทาแผนการยิงสนับสนุน
๖) เสนอแนะการใช้มาตรการประสานการยิงสนับสนุน
๗) แก้ปัญหาข้อขัดข้อง และการซ้าซ้อนต่าง ๆ ในระบบการยิงสนับสนุนด้วยกัน

ค–๑
ข. เจ้าหน้าที่ใน สยส.
๑) เรียนรู้และติดตามสถานการณ์ด้านยุทธการโดยตลอด
๒) รวบรวมเรื่องราวของผลที่บังเกิดขึ้นจากสถานการณ์การรบที่ดาเนินอยู่
๓) ให้คาแนะนาต่อฝ่ายอานวยการของกองพัน ในเรื่องที่ต้องเกี่ยวข้อง
๔) รับผิดชอบในการจัดทาคาสั่งหรือคาขอและรายงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
๕) ริเริ่มการทางานเพื่อให้มั่นใจว่ากิจกรรมในความรับผิ ดชอบสอดคล้องกับแนวความคิดและ
เจตนารมณ์ของ ผบ.พัน และหน่วยเหนือ
๖) รับผิดชอบในการประสานงานกับ ฝอ.และหน่วยต่างๆ เพื่อให้ภารกิจสาเร็จ
ค. การเสนอข่าวสารขั้นต้นของ ผปยส. ให้เสนอในเรื่องดังนี้
๑) ลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการที่มีผลต่อระบบอาวุธยิงสนับสนุน
๒) ขีดความสามารถของข้าศึกที่มีผลต่อระบบอาวุธยิงสนับสนุน
๓) สถานภาพของระบบอาวุธยิงสนับสนุน
ก) การจัดทาการรบ
ข) ที่ตั้งอาวุธยิงสนับสนุนต่างๆ
ค) ภารกิจยิงที่ดาเนินการไปแล้วความสิ้นเปลืองกระสุน และความเสียหายต่างๆ
ง) สถานภาพ กาลังพล และยุทโธปกรณ์ของส่วนยิงสนับสนุน
จ) สถานภาพกระสุน และชนวนได้แก่อัตรากระสุนที่ใช้ได้ และอัตรากระสุนที่ต้องการ
ฉ) ข่าวสารการต่อต้าน ป. และ ค.
ช) การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด และปืนเรือ
ซ) ข่าวสารอื่นๆ ได้แก่
(๑) มาตรการประสานการยิงสนับสนุนที่หน่วยเหนือกาหนด
(๒) การใช้หน่วย ปตอ.
(๓) ระบบอาวุธยิงสนับสนุนอื่นๆ ที่สามารถร้องขอการสนับสนุนได้
ง. การเสนอประมาณการของ ผปยส.ด้วยวาจาให้เสนอตามหัวข้อ ดังนี้
๑) ในแง่คิดของ ผปยส.สามารถสนับสนุนภารกิจได้หรือไม่
๒) หนทางปฏิบัติใดที่ระบบอาวุธยิงสนับสนุนให้การสนับสนุนได้ดีที่สุด
๓) มีข้อขัดข้อง และข้อเสนอแนะ
๔) ข้อเสนอแนะอื่นๆ

ค–๒
๔. การประสานการยิงสนับสนุน
ก. ระบบหมายเลขเป้าหมาย
หมายเลขเป้าหมายใช้เพื่อกาหนด ปม. สามารถระบุ บก.หน่วยที่เป็นผู้วางแผนเป้าหมายนั้นได้ และยัง
สามารถป้องกันการวางแผนเป้าหมายซ้ากัน
หมายเลขเป้ า หมายอาจก าหนดให้ แ ต่ ล ะ ปม. โดย ผตน., นยส., ศอย. ส่ ว นยิ ง สนั บ สนุ น หรื อ ผบ.
หน่วยดาเนินกลยุทธก็ได้
หมายเลขเป้าหมาย ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขผสมกัน โดยใช้อักษร ๒ ตัว และตัวเลข ๔ ตัว เช่น
กค ๓๖๘๑ ตัวอักษรที่นามาใช้นั้นยึดถือตามระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการกาหนดลาดับหัวข้อในเอกสารราชการ พ.ศ.
๒๕๐๘ ลง ๑ มิ.ย.๒๕๐๘
อักษรตัวแรก - กองทัพภาค/หรือกองทัพน้อย เป็นผู้กาหนดให้แก่หน่วยรองระดับกองพล
- ใช้อักษรตั้งแต่ ก – ซ ไปตามลาดับตัวอักษร เช่น ก สาหรับกองพลหมายเลขน้อยที่สุด
อักษร ข สาหรับกองพลหมายเลขถัดมา
สาหรับหน่วยรองได้แก่กรมอิสระของกองทัพภาคหรือกองทัพน้อย และส่วนที่เกี่ยวข้องกับการยิงสนับสนุน
ในระดับของ ทภ. หรือ ทน. นั้นจะได้รับตัวอักษรทั้ง ๒ ตัว และตามด้วยเลข ๔ ตัว โดยกาหนดดังนี้
- กรมอิสระของ ทย.(ทภ.) ใช้อักษร สก. – สซ. (ส นาอักษร ก – ซ ตามลาดับ) ตามเลข
กรมอิสระจากน้อยไปมาก
- สปย.ป.ทน.(ทภ.) ใช้อักษร สอ. (และตัวเลข ๐๐๐๐ – ๙๙๙)
- สยส.ทน.(ทภ.) ใช้อักษร สซ (และตัวเลข ๐๐๐๐ – ๙๙๙)
อักษรตัวที่ ๒ เมื่อกองพลได้รับรองตัวแรกแล้ว กองพลจะกาหนดตัวอักษรตัวที่สองให้แก่หน่วยรองของตน
(กรม/กองพลน้อย) ตามลาดับ จากกรม (กองพลน้อย) หมายเลขน้อยไปมาก
- ใช้อักษรตั้งแต่ ก – ซ
องค์การที่เกี่ยวข้องกับการยิงสนับสนุนของกองพล จะได้อักษรตัวที่ ๒ ตังนี้
- ศปย.กรม ป. ใช้อักษร อ (และตัวเลข ๐๐๐๐ – ๙๙๙๙)
- สยส.กองพล ใช้อักษร ฮ (และตัวเลข ๐๐๐๐ – ๙๙๙๙)
ตัวเลข ๔ ตัว มีแนวทางพิจารณากลุ่มตัวเลขที่กรม (ซึ่งได้รับอักษรนา ๒ ตัวมาแล้ว) แบ่งให้ส่วนต่างๆ ใช้
วางแผน ดังนี้
๐๐๐๐ – ๑๙๙๙ สยส.กรม
๒๐๐๐ – ๒๙๙๙ กองพันหมายเลขต่าสุด
๓๐๐๐ – ๓๙๙๙ กองทัพหมายเลขถัดไป
๔๐๐๐ – ๔๙๙๙ กองพันหมายเลขถัดไป
๕๐๐๐ – ๖๙๙๙ กองพันหรือหน่วยอื่นๆ ของกรม
๗๐๐๐ – ๗๙๙๙ ศอย.พัน.ป.ชต.
๘๐๐๐ – ๙๙๙๙ ตามที่ต้องการจะกาหนด (เช่น กาหนดให้ หมายเลข ๘๐๐๐ – ๘๙๙๙ เป็น ปม.
ต่อต้าน ป. และหมายเลข ๙๐๐๐ – ๙๙๙๙ เป็น ปม.ที่จะใช้กระสุนพิเศษ เป็นต้น)

ค–๓
กองพันดาเนินกลยุทธจะแบ่งหมายเลขให้ส่วนต่างๆ ของตนที่มีอยู่หนึ่งพันหมายเลข ดังนี้
๐๐๐ – ๑๙๙ สยส.กองพัน
๒๐๐ – ๒๙๙ ผตน.ร้อย.๑
๓๐๐ – ๓๙๙ ผตน.ร้อย.๒
๔๐๐ – ๔๙๙ ผตน.ร้อย.๓
๕๐๐ – ๖๙๙ ผตน.อื่นๆ
๗๐๐ – ๗๙๙ ศอย.ค.ของกองพัน
๘๐๐ – ๙๙๙ แบ่งตามต้องการ
ตัวอย่าง เช่น ปม. หมายเลข ขก ๒๒๑๕
ข กองพลหมายเลขรองต่าสุดของ ทน.
ก กรมหมายเลขต่าสุดของกองพลนั้น
๒๐๐๐ – ๒๙๙๙ กองพันหมายเลขต่าสุดของกรม
๒๐๐ – ๒๙๙ ผตน.ร้อย.๑ ของกองพัน

สรุปได้ว่า ปม. ขก ๒๒๑๕ กาหนดโดย ผตน.ร้อย.๑ ของกองพันหมายเลขต่าสุดของกรมหมายเลขต่าสุด


ของกองพลหมายเลขต่าสุดของ ทน.
ระบบหมายเลขเป้าหมายได้กาหนดเป็นลักษณะพิเศษอีก คือ อาจใช้เพียงส่วนหนึ่งก็ได้โดยที่ ยังคงสามารถ
ระบุเป้าหมายให้กับระบบอาวุธยิงสนับสนุนตอบสนองคาขอยิงได้ดังต่อไปนี้
๑) ถ้าเป็นเป้าหมายที่ส่งผ่านกันภายในกองพลฯ อย่างน้อยกรมหนึ่ง อาจใช้เพียงตัวเลข ๔ ตัว
เท่านั้นก็สามารถพิสูจน์ทราบได้ โดยเว้นไม่ต้องกล่าวถึงตัวอักษรอีก ๒ ตัว แต่ต้องถือว่าเป็นที่เข้าใจร่วมกันว่ายังมี
ตัวอักษรอีก ๒ ตัวเท่านั้น
๒) เป้าหมายที่ส่งผ่านออกนอกกรม ก็อาจใช้ตัวอักษรที่สองกับตัวเลขอีก ๔ ตัว ก็ได้แต่ถ้าเป็นการ
ส่งผ่านเป้าหมายนั้นออกนอกกองพลแล้วจาเป็นจะต้องใช้ให้ครบทั้งตัวอักษร ๒ ตัว กับกลุ่มตัวเลข ๔ ตัว ๔ – ๕
เป้าหมาย
ข. มาตรการประสานการยิงสนับสนุน
๑) กล่าวทั่วไป
ตามหน้าที่แล้ว ผปยส. เป็นผู้ประสานการยิงสนับสนุนทั้งปวงที่ยิงเข้ามาในเขตรับผิดชอบ
ของตน และรวมทั้งการยิงที่หน่วยรับการสนับสนุนร้องขอขึ้นมาด้วย โดยจะต้องไม่ให้การยิงนั้นๆ เป็นอันตรายต่อ
ทหารฝ่ายเดียวกันหรือไปขัดขวางการยิงของระบบอาวุธยิงสนับสนุนอื่นๆ และต้องไม่ให้ไปรบกวนการปฏิบัติการ
ของหน่วยข้างเคียงอีกด้วย ในการดาเนินการประสานดังกล่าว ผปยส. จะใช้มาตรการประสานการยิงสนับสนุนเป็น
เครื่องมือช่วยเหลือ

ค–๔
๒) เส้นแบ่งเขต
ผบ.หน่วยดาเนินกลยุทธจะยึดถือเอา “เส้นแบ่งเขต” เป็นเครื่องกาหนดพื้นที่ปฏิบัติการ
ของตน ซึ่งภายในพื้นที่นี้ ผบ.หน่วยจะสามารถดาเนินกลยุทธและทาการยิงได้อย่างเสรี เมื่อมีกาลังข้าศึกปรากฏขึ้น
บริเวณใกล้กับเส้นแบ่งเขต และหน่วยต้องการทาลายล้างกาลังข้าศึกนั้น หน่วยก็อาจดาเนินกลยุทธและทาการยิงเข้า
ไปใกล้หรือข้ามเส้นแบ่งเขตก็ได้ แต่ต้องประสานกับหน่วยข้างเคียงที่ถูกกระทบกระเทือนจากการปฏิบัติการนั้น
เสียก่อน
๓) มาตรการการประสานการยิงสนับสนุนต่างๆ
มาตรการการยิ งสนับสนุนนั้นจะเป็นเครื่องกาหนดว่า พื้นที่ใดในสนามที่ยอมให้มีการ
ปฏิบัติการใดๆ ได้ และพื้นที่ใดที่ไม่ยอมให้มีการปฏิบัติการต่างๆ เลย ผปยส. จะเป็นผู้เสนอแนะให้ใช้มาตรการใด
มาตรการหนึ่งแล้ว ผบ.หน่วยดาเนินกลยุทธก็เป็นผู้ประกาศจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นการเกื้อกูลการปฏิบัติการในพื้นที่ที่
เลือกไว้ภายในห้วงเวลาหนึ่ง โดยการปฏิบัติการต่างๆ จะต้องเป็นไปตามกฎและความมุ่งหมายของมาตรการที่จัดตั้ง
ขึ้นมา
มาตรการประสานการยิ งสนับ สนุ นนั้ น มีอ ยู่ด้ ว ยกัน หลายชนิด แต่พ อสรุป ความมุ่ งหมายของ
มาตรการทุกชนิดออกเป็นสองนัยคือ
- มาตรการอานวยความสะดวก เพื่อความสะดวกในการยิงเข้ามาในพื้นที่หรือข้ามเส้นแบ่ง
เขตของผู้จัดตั้งมาตรการนั้น โดยไม่ต้องประสานเพิ่มเติมอีก (ใช้สัญลักษณ์สีดา)
- มาตรการจากัด เพื่อจากัดการยิงต่างๆ ที่จะยิงเข้ามาในพื้นที่หรือข้ามเส้นที่กาหนดจะทา
การยิงได้ต่อเมื่อได้ประสานกับผู้จัดตั้งแล้วเป็นภารกิจๆ ไป (ใช้สัญลักษณ์สีแดง)
มาตรการต่างๆ นั้น เมื่อกาหนดขึ้นแล้วก็จะแจกจ่ายให้กับหน่วยที่เกี่ยวข้องทราบด้วยการเขียน
ภาพเรขา พร้อมทั้งข้อความประกอบที่จะบอกให้ทราบว่ามาตรการที่กาหนดขึ้นนั้นคืออะไร โดยจะเขียนคาย่อของ
ชื่อมาตรการ บก. หน่วยที่เป็นผู้กาหนดขึ้นและวัน เวลาที่มาตรการนั้นมีผลบังคับใช้

ค–๕
ชื่อมาตรการและภาพเรขา คาอธิบาย
๑. แนวห้ามยิง (นหย.) ก. คาจากัดความและความมุ่งหมาย
ภาพเรขา นหย. คือ แนวที่กาหนดขึ้นเพื่อให้การโจมตีเป้าหมายที่เลย
ตัวอักษรตัวเลขสีดา แนวนี้ออกไป แต่ยังอยู่ในเขตของ บก.หน่วยเหนือที่กาหนดขึ้น
ด้วยอาวุธยิงสนับสนุนประเภทผิวพื้นสู่ผิวพื้น (ค., ป. สนาม หรือ
ป.เรือ สามารถทาการยิงได้โดยไม่ต้องประสานเพิ่มเติมกับหน่วย
นหย. (บก.หน่วยจัดตั้ง).............. เหนือที่กาหนดขึ้นอีกทั้งนี้ก็เพื่อ อานวยความสะดวกแก่หน่วยอื่น
วันเวลาที่มีผลบังคับใช้ ๑๙๐๐ ในการโจมตีเป้าหมายข้ามเส้นแบ่งเขต)
ข. จัดตั้งโดย
ตามปกติกรม หรือกองพลเป็นผู้กาหนดขึ้น บางกรณีกอง
พันอาจกาหนดขึ้นก็ได้
ค. ที่ตั้ง
ควรกาหนดไว้ให้ใกล้กับหน่วยฝ่ายเราเท่าที่จะทาได้ เพื่อ
เปิดพื้นที่ที่เหลือให้มากที่สุดสาหรับทาการยิง
ง. การแจกจ่าย
แจ้งให้ทราบทั้งหน่วยดาเนินกลยุทธและหน่วยยิงสนับสนุน
โดยแจ้งไปยังหน่วยเหนือ หน่วยรอง หน่วยข้างเคียง และหน่วย
สนับสนุน

ค–๖
ชื่อมาตรการและภาพเรขา คาอธิบาย
๒. แนวประสานการยิงสนับสนุน ก. คาจากัดความและความมุ่งหมาย
ภาพเรขา นปยส. คือ แนวที่กาหนดขึ้นเพื่อให้การโจมตีเป้าหมายที่
นปยส.กองพัน เลยแนวออกไปได้ด้วยระบบอาวุธยิงสนับสนุนทุกชนิด กระทาได้
โดยไม่ต้องทาการประสานงานเพิ่มเติมกับหน่วยจัดตั้งอีก และ
นปยส. (บก.หน่วยที่จัดตั้ง) การโจมตีนั้นไม่เป็นอันตรายต่อหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน ทั้งนี้
เพื่ออานวยความสะดวกในการโจมตีเป้าหมายที่เลย นปยส. ไป
ข. หน่วยจัดตั้ง กองทัพน้อยหรือกองพลอิสระ
ค. ที่ตั้ง ปกติจะกาหนดลงบนภูมิประเทศที่เห็นเด่นชัดจากทาง
วันเวลาที่มีผลบังคับใช้...........๑๘๐๐ อากาศ
ง. การแจกจ่าย แจ้งให้ทราบทั้งหน่วยดาเนินกลยุทธและหน่วย
ยิงสนับสนุน โดยแจกจ่ายไปยังหน่วยเหนือ หน่ว ยรอง หน่ว ย
ข้างเคียง หน่วยที่มาสนับสนุน และศูน ย์ควบคุมสนับสนุนทาง
อากาศยุทธวิธี

๓. พื้นที่ยิงเสรี (พยร.) ก. คาจากัดความและความมุ่งหมาย


ภาพเรขา พยร. คือ พื้นที่เฉพาะอันหนึ่งที่กาหนดขึ้นเพื่อให้อาวุธยิง
สีดา สนั บ สนุ น ทั้ ง ปวงท าการยิ ง ในพื้ น ที่ นี้ ไ ด้ โดยไม่ ต้ อ งประสาน
พยร. เพิ่ม เติ มกับ บก.หน่ว ยที่ กาหนดขึ้นมาอี ก ทั้งนี้ ก็เ พื่อเป็น การ
อานวยความสะดวกให้กับ บ. มาปลดระเบิด เพื่อนาไปทิ้งยัง
(กองทัพ) เป้าหมายได้
ข. หน่วยจัดตั้ง ผบ.พล หรือหน่วยที่สูงกว่า โดยประสานความ
.....๐๖๐๐ - ......๐๖๐๐
ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่บ้านเมือง

ค–๗
ชื่อมาตรการและภาพเรขา คาอธิบาย

๔. แนวประสานการยิง (นปย.) ก. คาจากัดความและความมุ่งหมาย


ภาพเรขา นปย. คือ แนวที่กาหนดขึ้นระหว่างหน่วยสองหน่วย ที่จะ
นปย.กองทัพ เข้ า บรรจบกั น โดยห้ า มท าการใดๆ ข้ า มแนวไปถ้ า ยั ง ไม่ ไ ด้
นปย. ประสานกับหน่วยที่ถูกกระทบกระเทือนเสียก่อน
ข. หน่วยจัดตั้ง ผู้บังคับบัญชาของหน่วยที่เข้ามาบรรจบกัน
ค. ที่ตั้ง ควรกาหนดลงบนภู มิประเทศที่เด่นชัด ปกติจะกาหนด
สีแดง ไว้ใกล้ๆ กับหน่วยอยู่กับที่
x x ง. การแจกจ่าย แจ้งให้ทราบทั้งหน่วยดาเนินกลยุทธและหน่วย
ยิงสนับสนุน โดยแจกจ่ายไปยังหน่วยเหนือ หน่ว ยรอง หน่ว ย
ข้างเคียง และหน่วยที่มาสนับสนุน

๕. พื้นทีป่ ระสานการยิง (พปย.) สีแดง ก. คาจากัดความและความมุ่งหมาย


ภาพเรขา พปย. คือ พื้นที่หนึ่งที่กาหนดขึ้นโดยมีข้อจากัดการโจมตี
ซึ่งการยิงใดที่นอกเหนือไปจากนั้น จะต้องทาการประสาน บก.
หน่วยที่จัดตั้งเสียก่อน
ข. หน่วยจัดตั้ง หน่วยระดับกองพันหรือสูงกว่า
พปย.(ร.๖)
ค. ที่ตั้ง ควรกาหนดไว้บนภูมิประเทศที่เด่นชัด
มีผลตั้งแต่......๑๘๐๐ ง. การแจกจ่าย แจ้งให้ทราบทั้งหน่วยดาเนินกลยุทธและหน่วย
ยิง สนั บสนุ น โดยแจกจ่ า ยไปยั ง หน่ ว ยเหนื อ หน่ ว ยรอง และ
หน่วยข้างเคียง

ค–๘
ชื่อมาตรการและภาพเรขา คาอธิบาย

๖. พื้นที่ห้ามยิง (พหย.) ก. คาจากัดความและความมุ่งหมาย


ภาพเรขา พหย. คือ พื้นที่อันหนึ่งซึ่งไม่อนุมัติให้ทาการยิง หรือผลการ
ยิงไปกระทบกระเทือน ยกเว้นใน ๒ กรณี
พหย. ๑. เมื่อ บก.หน่วยจัดตั้งอนุมัติให้ยิง
พล.ร.๖ ๒. เมื่อกาลังข้าศึกที่อยู่ใน พหย.ทาการเข้าตีหน่วยผ่านเรา
.....๑๘๐๐ - ......๑๘๐๐ ผบ.หน่วยนั้น ก็สามารถทาการยิงโต้ตอบได้ เพื่อป้องกันหน่วย
ของตน
เส้นล้อมรอบและเส้นทแยงสีแดง ข. หน่ ว ยจั ด ตั้ ง โดยกองพล หรื อ กองทั พ น้ อ ยร่ ว มกั บ ฝ่ า ย
บ้านเมือง
พหย. ค. ที่ตั้ง ควรกาหนดไว้ในภูมิประเทศที่เด่นชัด โดยการบอกเป็น
พล.ร.๖ พิกัด หรือเป็นรัศมีจากจุดศูนย์กลาง
ง. การแจกจ่าย แจ้งให้ทราบทั้งหน่วยดาเนินกลยุทธและหน่วย
......๑๘๐๐
ยิงสนับสนุน โดยแจกจ่ายไปยังหน่วยเหนือ หน่ว ยรอง หน่ว ย
ข้างเคียง และหน่วยที่มาสนับสนุน

ค–๙
อนุผนวก ๒ (การปฏิบัติของ ฮ.โจมตี) ประกอบผนวก ค (การยิงสนับสนุน)

๑. การใช้ ฮท.๑ (อว.) จานวน ๒ เครื่อง (ชุดยิงเบา)


ก. ใช้เพื่อคุ้มกันขบวนยานยนต์ระดับหมู่ หมวด หรือระดับใหญ่กว่าในสถานการณ์ที่ไม่มีความกดดันจาก
ขศ.
ข. ใช้เพื่อการ ลว.เส้นทาง หรือพื้นที่ซึ่งไม่กว้าง และลึกมากทั้งนี้เพื่อการคุ้มกันซึ่งกันและกันได้
ค. ใช้ทาลาย ขศ. ด้วยอาวุธที่มีอยู่ซึ่งลักษณะของเป้าหมายจะเป็น ทหารราบ, ขบวนสัมภาระ สามารถใช้
อาวุธยิงเป็นฉากกาบังได้
ง. รูปขบวนการเคลื่อนที่และการใช้อาวุธขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ และ/หรือ การวางกาลังของ ขศ.
๒. การใช้ ฮท.๑ (อว.) จานวน ๓ เครื่อง (ชุดยิงหนัก)
ก. ใช้เพื่อคุ้มกันขบวนยานยนต์ของระดับกองร้อยถึงระดับกองพัน
ข. ใช้เพื่อการ ลว.พื้นที่ขนาดกว้างด้านหน้ามาก และสามารถกดดันการวางกาลังของ ขศ. ได้โดยอาศัยการ
ยิงประสานกันจากระบบอาวุธที่มีอยู่
ค. ใช้ทาลายกาลัง ขศ. ที่เป็นกลุ่มก้อน ขบวนยานยนต์ ขบวนสัมภาระ ยิงทาลายเป็นพื้นที่กว้าง
๓. การใช้ ฮจ.๑ จานวน ๒ เครื่อง
ก. ใช้เพื่อการคุ้มกันขบวนยานยนต์ หรือกองกาลังฝ่ายเราทางปีกมีความคล่องตัวสูง สามารถเคลื่อนที่ไป
พร้อมกับขบวนยานยนต์ได้ และมีอาวุธทาลายที่รุนแรงถึง ๓ ประเภท
ข. ใช้เพื่อการ ลว.ในแนวลึกโดยอาศัยอุปกรณ์การมองที่ติดอยู่กับอากาศยานประกอบกับความคล่องแคล่ว
ในการเคลื่อนที่
ค. ใช้ทาลายที่หมายเป็นตาบล เป็นจุด รถหุ้มเกราะ รถถัง และที่มั่นแข็งแรง ใช้อาวุธยิงเป็นฉากกาบังได้
ง. การเคลื่อนที่ และรูปขบวนการโจมตีขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ภูมิประเทศและลักษณะเป้าหมาย
๔. การใช้ ฮท.๑ (อว.) ๒ เครื่อง ทางานร่วมกับ ฮจ.๑ จานวน ๒ เครื่อง (ชุดยิงเพิ่มเติมกาลัง/ชุดยิงผสม)
ก. ใช้เพื่อการคุ้มกันการเคลื่อนที่ของฝ่ายเราโดยใช้แบ่งมอบเขตทางปีกกันอย่างแน่นอน หรือใช้ ฮจ.๑ คุ้ม
กันทางปีกส่วน ฮท.๑ คุ้มกันด้านหลัง
ข. ใช้ทาลาย ขศ. ได้ทั้งบุคคลจนถึงรถถัง ทาลายเป้าหมายเป็นพื้นที่และเป็นจุดได้
ค. รูปขบวนการเคลื่อนที่และการใช้อาวุธ ควรแบ่งมอบเป้าหมายให้แน่นอนหรือสลับทีมเข้าทาลาย รูป
ขบวนขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ การวางกาลังของฝ่ายเรา และ/หรือ ของ ขศ.
๕. การใช้ ฮ.ติดอาวุธทั้งหมด (๖ เครื่อง)
ก. ใช้เมื่อมีการเข้าตี หรือตั้งรับของกองกาลังส่วนใหญ่ของฝ่ายเรา มี่ การกดดันจากฝ่าย ขศ. มาก หรือเพื่อ
การรบขั้นแตกหัก
ข. ใช้ทาลาย ขศ บุคคล ถึงรถถัง มีอานาจการยิงที่รุนแรงและต่อเนื่อง โดยอาจแบ่งเป็น ๒ – ๓ ทีม เพื่อ
ความสะดวกในการควบคุม และมีส่วนหนึ่งเป็นกองหนุนหรือส่วนเพิ่มเติมอานาจการยิง
ค. รูปแบบการเคลื่อนที่ และการเข้าใช้อาวุธ ขึ้นอยู่กับภูมิประเทศการวางกาลังของฝ่ายเรา และ/หรือ ฝ่าย
ขศ. ควรแบ่งมอบเป้าหมายและพื้นที่ใช้อาวุธให้ชัดเจน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ค – ๑๐
๖. การแบ่งชุดยิง
ก. ชุดยิงเบา ประกอบด้วย ฮ. ติดอาวุธ ๒ เครื่อง
ข. ชุดยิงหนัก ประกอบด้วย ฮ. ติดอาวุธ ๓ เครื่อง
ค. ชุดยิงเพิ่มเติมกาลัง ประกอบด้วย ฮ. ติดอาวุธมากว่า ๓ เครื่องขึ้นไป
ง. ชุดยิงผสม ประกอบด้วย ฮจ.๑ และ ฮท.๑ ติดอาวุธ

ค – ๑๑
อนุผนวก ๓ (การสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี) ประกอบผนวก ค (การยิงสนับสนุน)

๑. ความมุ่งหมาย
เพื่อให้การขอรับการสนับสนุนทางอากาศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางในการปฏิบัติของ
หน่วย
๒. ขอบเขต การร้องขอรับการสนับสนุนทางอากาศในภารกิจต่อไปนี้
ก. การบิน ทบ.
๑) การ ลว.ทางอากาศ
๒) การส่งกลับผู้ป่วย ในกรณีเร่งด่วน
๓) การ รับ – ส่ง สป. ในกรณีจาเป็น
๔) การยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ
๕) การบอกทิศทางการเคลื่อนที่แก่หน่วยดาเนินกลยุทธ
ข. ทอ.
การสนับสนุนกางอากาศโดยใกล้ชิด
๓. การปฏิบัติ
ก. การร้องขอรับการสนับสนุน
๑) ในภารกิจที่หน่วยรองร้องขอ ให้ร้องขอผ่าน ทก.พัน.ร. เพื่อพิจารณาอนุมัติ
๒) เตรียมการติดต่อสื่อสารตาม นปส.
๓) ฝอ.๓ ส่งคาขอตามแบบฟอร์มที่แนบถึง หน่วยเหนือประสานการปฏิบัติ
๔) ในภารกิจการ ลว.ทางอากาศ ฝอ.๒ ทาแผนการ ลว. โดยประสานกับ ฝอ.๓
ข. หน่วยภาคพื้นดิน
๑) เมื่ออากาศยานบินผ่านที่ตั้งหน่วย ให้เปิดวิทยุโดยใช้ความถี่ตาม นปส. รับฟังข้อความที่นักบิน
ต้องการติดต่อด้วย และแจ้งข่าวสารที่นักบินต้องการ
๒) การติดต่อกับอากาศยาน ใช้นามเรียกขานตาม นปส. ทุกครั้ง
๓) เมื่ออากาศยานออกนอกพื้นที่รับผิดชอบ ให้ปิดเครื่องได้
๔) เมื่อตรวจพบอากาศยานประสพอุบัติเหตุในเขตรับผิดชอบ ให้รีบรายงาน ทก.พัน.ร. ทราบ
โดยเร็วที่สุด และให้หน่วยที่อยู่ใกล้ที่เกิดเหตุจัดชุดช่วยเหลือทันที
๕) หน่วยที่ออกปฏิบัติงานนอกที่ตั้ง จะต้องมีความถี่ อากาศ – พื้นดิน พร้อมนามเรียกขานของ
อากาศยานทุกครั้ง

ค – ๑๒
๖) ให้หน่วยภาคพื้นดิน แจ้งเตือนนักบินเมื่อตรวจการณ์เห็นว่าอากาศยานบินล้าแนววางกาลังตั้ง
รับไปทางฝ่ายข้าศึก
๗) หน่วยที่กาลังปฏิบัติการ ลว. ไม่ว่าในภารกิจใดก็ตาม เมื่อมีอากาศยานบินผ่านต้องตั้งความถี่
อากาศ – พื้นดิน ติดต่อกับนักบินเพื่อแจ้งเตือนสถานการณ์ทั่วไปให้นักบินทราบสั้นๆ

ค – ๑๓
ใบแทรก ก (คาขอการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด) ประกอบอนุผนวก ๓ (การสนับสนุนทางอากาศ ยุทธวิธี)

ตอนที่ ๑ ข้อมูลภารกิจ วัน, เวลา ส่ง..........รับ..........

๑. หน่วย/ชคอย............................ ข. คาขอที.่ ...........................


๒. เป้าหมาย ก. รถถัง.......................... จ. สะพาน..........................
ข. ที่กาบัง............................. ฉ. กองทหาร......................
ค. ที่ตั้งปืน............................ ช. คลังพัสดุ........................
ง. ยานพาหนะ....................... ซ. อื่นๆ..............................
๓. พิกัดเป้าหมาย..............................................................
๔. ผลที่ต้องการ ก. ทาลาย ค. ทาให้หมดอานาจ
ตามแผน เร่งด่วน ข. ขัดขวาง ง. ทาให้ได้รับอันตราย
๕. ก. วนป.ที่ต้องการ................................. วนป.ล่าสุด....................................
๖. หมายเหตุ.................................................................................................

รับทราบ กองพล...............กรม..................กองพัน............................

๗. ความสาคัญทางยุทธวิธี............................................................................
๘. การควบคุม..............................................................................................
๙. อัตราบรรทุกอาวุธ.....................................................................................
๑๐. ความเร่งด่วน..................................... ข. ก่อน......................................

ตอนที่ ๒ ทบ.ดาเนินการ ตอนที่ ๓ ทอ.ดาเนินการ

ตรวจสอบที่ตั้งเป้าหมายโดย...................................... ตรวจสอบที่ตั้งเป้าหมายโดย.........................................
ประสานกับ.................................. โดย..................... ข้อเสนอแนะ................................................................
อนุมัต.ิ ....................................................................... บ. และอาวุธ................................................................
ไม่อนุมัต/ิ เหตุผล....................................................... อนุมัติ................................ไม่อนุมัติ.............................
เหตุผล.........................................................................

ค – ๑๔
ตอนที่ ๔ คาสั่งปฏิบัติตามภารกิจ

หน่วย………............….……… จะต้องปฏิบัติตามภารกิจใน….......……..(วัน - เดือน)……………...........………...........……..


๑. หมายเลขภารกิจ……........…… ๒. สัญญาณเรียกขาน…….........…. ๓. จานวน และ บ.แบบ…….................……………
๔. วนป…………………..…… ๕. อาวุธ…………..……… ๖. ผู้ควบคุมหน้า…………………………………………………………………..
๗. ตาบล วนป…………..……….. ๘. ความถี่หลัก…………………. ๙. ความถี่รอง………………………………………….…………….
๑๐. ที่ตั้งและลักษณะเป้าหมาย………………………………………………………………..……………………………………………………
๑๑……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ตอนที่ ๕ การแจ้งให้ทราบ

การแจ้งหน่วย ทอ. …………..…… การแจ้ง ศดร. …………………การแจ้ง ชคอย. ………………………………….…………………


การประสานกับ ทอ. อื่นๆ ………………………………………………………..…………………………………………………………………..
การแจ้งหน่วย ทบ………………..……. การแจ้ง นตต.ทบ…………………………………………………………………………………….

ตอนที่ ๖ การรายงานผลการโจมตีทางอากาศของหน่วยภาคพื้น

๑. หน่วย………….………(ผู้รายงาน) วันที่…….…..เดือน………………………. พ.ศ. ……………………………..……………………….


๒. การโจมตีทางอากาศที่ พิกัด……………………………………………………...………………………………………………………………
๓. เป้าหมาย
ก. รถถัง ข. ที่กาบัง
ค. ที่ตั้งปืน ง. คลังอาวุธและเสบียง
จ. สะพาน ฉ. บุคคลหรือกองทหาร
ช. ที่พักอาศัย ซ. อื่น ๆ ………..…………
๔. ผลจาการใช้อาวุธ
ก. เข้าเป้าหมายทั้งหมด ข. เข้าเป้าหมายบางส่วน
ค. ที่พักอาศัยถูกทาลาย ซ. อื่น ๆ ………….……...
๕. สิ่งที่พบเห็นจากการถูกทาลาย
ก. บุคคลสูญเสีย…….คน ข. ยุทโธปกรณ์……………………รายการ
ค. ที่พักอาศัยถูกทาลาย…..หลัง ง. อื่น ๆ……………...………

ค – ๑๕
๖. การพิสูจน์ทราบ
ก. เข้าพิสูจน์ทราบ ข. จากแหล่งข่าว
๗. ข่าวสารอื่น ๆ ที่จะแจ้งให้ทราบ…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………....…………….………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….....……………………………
………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
หมายเหตุ………………………………………………………………………………………………………………………..…….……………………
…………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………

ค – ๑๖
ใบแทรก ข (แบบคาขอใช้เครื่องบินและ ฮ. ) ประกอบอนุผนวก ๓ (การสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี)

จาก ……………………………….……..……… ผู้รับทราบ ………………………………………………………..


ถึง ………………………………..……………….
ที่ กห …………………………….……………… วัน, เวลา …………………….…….…………………………….
๐.๑ คาขอที่ ๑ ๐.๒ ภารกิจ……………………………………………
๐.๓ ได้รับคาขอจาก……………….…. ๐.๔ วัน,เวลา,ปฏิบัติ……………………………….
๑. ผู้ขอใช้………………….……..……………. โทรศัพท์หมายเลข……………………………………………..
๒. ติดต่อที่…………………….……………… โทรศัพท์หมายเลข………………………………………………
๓. ความมุ่งหมาย…………………………………….……………………….………………………………………..
๓.๑ ลักษณะของที่บรรทุก…………………………………………………………………………..
๓.๒ น้าหนักสูงสุดประมาณ…………………………………………………………………………
๓.๓ จานวนผู้โดยสาร………….นาย (ชื่อ………………………………...……………………..)
๔. รับวันที,่ เวลา……………………………….…………………….………………………………………………….
๔.๑ เร็วที่สุด……………………….………. ช้าที่สุด………………………………………………..
๔.๒ วัน,เวลาสารอง……………………………………………………………………………………
๕. ติดต่อที่……………………………………..………….ก่อนวันรับการสนับสนุน
๖. สถานที่…………………………พิกัด…………………..ของขึ้น/ของลง…………………….…..เวลาบิน
๖.๑ …………………………………..……..…. ๖.๑ ………………………………………………….
๖.๒ …………………………………………..… ๖.๒ …………………………..……………………..
๖.๓ ………….……………………………..…….๖.๓ ……………………………….………………..
๗. บ.ที่ใช้………………………………………………….. ความเร่งด่วน………………………………………….
๘. หมายเหตุ………………………………………………………….………………………………………………….
๙. ผู้รับคาขอ…………………………………..……. ผู้ส่งหรือผู้ขอ…………………….………………………..
(.……..………………………………….) (….……………………………..………….)
ตาแหน่ง…………………………………….…….. ตาแหน่ง……………………………..……………..
วันที…่ ………………………………………..………. วันที่………………………………………………….

ค – ๑๗
อนุผนวก ๑ (การปฏิบัติการด้านการข่าว) ประกอบผนวก ง (การข่าวกรอง)

ก. การข่าวกรองทางยุทธวิธี
๑. กล่าวทั่วไป
ก) เพื่อให้ทุกหน่วยยึดถือเป็นหลักในการปฏิบัติงานด้านข่าวกรองทางยุทธวิธี เพื่อให้การปฏิบัติงานด้าน
การข่าวเป็นไปในแนวทางเดียวกันและเกิดความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน
ข) ผบ.หน่วย ทุกระดับจะต้องให้ความสนใจและกวดขันการปฏิบัติของกาลังพลทั้งการรวบรวบข่าวสารและ
การต่อต้านข่าวกรอง
๒. การเตรียมการก่อนออกปฏิบัติภารกิจ
ก) แผนที่ ทุกหน่วยเบิกรับได้จากฝ่ายการข่าวก่อนปฏิบัติภารกิจอย่างน้อย ๓ วัน พร้อมทั้งจัดทาแผนที่
สถานการณ์ในความรับผิดชอบ
ข) วิเคราะห์พื้นที่ปฏิบัติการ
ให้ ฝ่ ายการข่าวจั ดทาวิเคราะห์ พื้นที่ปฏิบัติการและรายการแก้ไขแผนที่ทุกครั้งก่อนที่ห น่ว ยจะ
เคลื่อนย้ายออกจากที่ตั้งปกติ และบรรยายสรุปหรือแจกจ่ายเอกสารให้ทุกหน่วยทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ วัน
โดยให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดที่คาดว่าหน่วยจะต้องปฏิบัติ
ค) การทบทวนความรู้กาลังพลในเรื่อง
๑) การรวบรวมและการรายงานข่าวสาร
๒) มาตรการต่อต้านข่าวกรอง
๓) การตรวจค้นและการปฏิบัติต่อเชลยศึก เอกสารและวัสดุที่ยึดได้
๔) การรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร
๓. การรวบรวมและการรายงานข่าวสาร
ก) การรวบรวมข่าวสาร
๑) การตรวจการณ์ทางพื้นดิน
(ก) ทุกหน่วยรายงานที่ตั้งที่ตรวจการณ์ให้ทราบทันทีเมื่อจัดตั้งและเปลี่ยนย้ายที่ตั้ง
(ข) ทุกระดับหน่วยรับผิดชอบการตรวจการณ์และรายงานการปฏิบัติของ ขศ.
๒) การลาดตระเวนทางพื้นดิน
(ก) ให้หน่วยรองจัดชุดลาดตระเวนหาข่าวในพื้นที่รับผิดชอบได้โดยไม่ต้องรับคาสั่ง และให้
ปฏิบัติหน้าที่ต่อต้านการลาดตระเวนของฝ่ายตรงข้ามด้วย ซึ่งจะต้องไม่ไกลเกินกว่าที่กองพันสนับสนุนการยิงได้
(ข) ให้หน่วยรองส่งแผนลาดตระเวนของหน่วยถึง บก.หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็ว เวลา
๐๙๐๐ โดยคิดวงรอบ ๒๔ ชม.เริ่มวงรอบเวลา ๑๘๐๐ ในกรณีเร่งด่วนสามารถจัดชุดลาดตระเวนได้ก่อนเริ่มวงรอบ
โดยแจ้งให้ บก.หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็ว ทบ.ทราบด้วย

ง–๑
(ค) ก่อนส่งชุดลาดตระเวนออกทางานทุกครั้งจะต้องปฏิบัติดังนี้
(๑) แจ้ งกองพันให้ ทราบถึงเวลาไป เวลากลั บ เส้ นทาง การสื่ อสารทีใช้ การ
ประกอบกาลังภารกิจ
(๒) แจ้งหน่วยยิงสนับสนุนในอัตราของตนทราบ
(๓) แจ้งหน่วยทุกหน่วยที่ชุดลาดตระเวนจะเข้าไปใกล้ทราบ
(๔) สั่งการและซักซ้อมความเข้าใจกับชุดลาดตระเวน
(ง) การปฏิบัติเมื่อปะทะกับข้าศึก ให้ชุดลาดตระเวนรายงานการปะทะในข่ายของกองพัน
โดยทันทีเมื่อหน่วยทราบการปะทะรายงานให้หน่วยเหนือทราบโดยเร็ว นยส.จะติดตามสถานการณ์และให้การ
ช่วยเหลือโดยการเฝ้าฟังในข่ายของกองพันพร้อมรบเคลื่อนที่เร็ว ทบ.
(จ) การปฏิบัติหลังการลาดตระเวน
(๑) ชุดลาดตระเวนรายงานผลการลาดตระเวนให้หน่วยทราบทันทีเมื่อเดินถึง
ที่ตั้งหน่วย
(๒) กองพันบันทึกและรายงานผลการลาดตระเวนส่งหน่วยเหนือ ภายใน ๓ ชม.
หลังจากกลับเข้าที่ตั้งเว้นเมื่อมีข่าวสารสาคัญเร่งด่วนให้รายงานทันที เฉพาะข่าวที่จาเป็นส่วนที่เหลือรายงานเป็น
เอกสารให้ทราบภายหลัง : ใบแทรก ก แบบรายงานผลการลาดตระเวน
ข) การรายงานข่าวสาร
๑) หน่วยรองรับผิดชอบในการรายงานข่าวด่วนเท่านั้นโดยใช้การเขียนข่าวส่งทางระบบการสื่อสาร
ที่เหมาะสมกับชั้นความลับ และสถานการณ์ในขณะนั้นการรายงานนอกเหนือจากนี้ให้ฝ่ายการข่าวเป็นผู้รวบรวมเพื่อ
ส่งหน่วยเหนือต่อไป
๒) รายงานผลการลาดตระเวนให้รายงานดังนี้
(ก) การตอบยืนยันหรือปฏิเสธ หขส.และ ตขอ.ถ้าตอบยืนยันให้รายงานเป็นข่าวด่วน ถ้า
ตอบปฏิเสธให้รายงานทุกวันเวลา ๑๕๐๐ ในรายงานสถานการณ์ประจาวัน
(ข) การปฏิบัติทั้งสิ้นของ ขศ.
(ค) ผลการปฏิบัติของฝ่ายเราที่เกิดขึ้นกับ ขศ.
(ง) ที่ตั้งเครื่องกีดขวางหรือการรื้อถอนเครื่องกีดขวาง
(จ) การปะทะกันเองของกาลังต่างชาติ
(ฉ) การก่อการร้าย
(ช) การละเมิดการรักษาความปลอดภัย
(ซ) เอกสารและวัสดุที่มีชั้นความลับสูญหาย
(ฌ) บุคคลฝ่ายที่เราที่รู้ความลับหรือหายไปจากหน่วย

ง–๒
๔. การต่อต้านข่าวกรอง
ผบ.หน่วยเป็นผู้รู้รับผิดชอบในกิจกรรมต่อต้านข่าวกรองของหน่วยและรับผิดชอบในการฝึกสอนแก่กาลังพล
ภายในหน่วยโดยได้กาหนดแนวทางการปฏิบัติทั่วไปดังนี้
ก) การรักษาความปลอดภัยบริเวณที่ตั้ง
๑) ให้ ผบ.หน่วยรับผิดชอบการ รับ - แจกจ่าย สัญญาณผ่านแก่กาลังพลของหน่วยให้แล้วเสร็จ
ก่อน ๑๘๐๐
๒) การทาเครื่องหมายหรือลบเครื่องหมายให้กระทาในเวลากลางคืนใช้สัญญาณผ่านกับทุกคนและ
ผู้แปลกหน้าในเวลากลางคืน
๓) เมื่อเข้าที่ตั้งใหม่ทุกครั้งให้หน่วยทาแผนระวังป้องกันของหน่วย โดยการกากับดูแลของรอง
ผบ.หน่วย
๔) จัดให้มีการพรางหรืการกาบังอาวุธยุทโธปกรณ์ตลอดจนที่ตั้งหน่วยเพื่อให้รอดพ้นจากการตรวจ
การณ์ทั้งทางพื้นดินและทางอากาศ และเมื่อออกจากพื้นที่ให้ทาการกลบเกลื่อนร่องรอยต่างๆ ให้เรียบร้อย
๕) หลุมบุคคลและหลุมหลบภัยในทุกที่ตั้ง กาลังพลทุกคนจะต้องมีหลุมบุคคลของตนเอง และทุก
ส่วนต้องต้องมีหลุมหลบภัยประจาตัวของตน
๖) ผบ.หน่วยรับผิดชอบในการวางแผนการลาดกระเวนของหน่วยและส่งแผนการลาดตระเวน
ให้แก่กองพันล่วงหน้าอย่างน้อย ๒๔ ชม. ก่อนการปฏิบัติโดยระบุรายละเอียดเส้นทาง พิกัด พื้นที่ ห้วงเวลาประเภท
การ ลว. และการประกอบกาลังของชุดลาดตระเวน
๗) หากพลถูกข้าศึกจับเป็นเชลย ให้ตอบข้อซักถามของฝ่ายตรงข้ามได้เพียง ยศ,ชื่อ หมายเลข
ประจาตัว วัน เดือน ปี เกิด สัญชาติเท่านั้น
ข) การรักษาความปลอดภัยทางเอกสาร
๑) ห้ามกาลังพลนาเอกสารเกี่ยวกับ แผนที่ คาสั่งยุทธการ นปส. ทั้งฉบับ ติดตัวออกไปนอกหน่วย
เมื่อต้องปฏิบัติเกินกว่าเขตของหน่วยให้คัดลอกเฉพาะที่จาเป็นเท่านั้น
๒) ห้ามกาลังพลเขียน จม.เกี่ยวกับความลับของทางราชการหรือเขียนสิ่งที่มีผลกระทบต่อทาง
ราชการโดยตรงให้ครอบครัวทราบโดยเด็ดขาด
๓) ห้ามนาเอกสาร บันทึก ภาพถ่าย หรือสิ่งอุปกรณ์ต่างๆ ที่เป็นความลับของทางราชการนาติด
ตัวออกไปนอกที่ตั้ง
๔) ให้ ผบ.หน่วยตรวจไปรษณีย์ของกาลังพลทุกครั้งทั้งทางเข้าและทางออก
๕) ก่อนที่จะมีการเคลื่อนย้าย ผบ. หรือ รอง จะต้องทาตรวจสอบกาลังพลทุกนายว่าไม่หลงลืมหรือ
ทาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการข่าว เช่น นปส. แผ่นบริวาร แผนที่ เอกสารสาคัญต่างๆ สูญหายในพื้นที่นั้น ๆ

ง–๓
ค) การรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร
๑) การส่งข่าวที่กาหนดชั้นความลับ ให้เข้ารหัสอย่างสมบูรณ์ห้ามส่งข่าวที่เข้ารหัสผสมกับข้อความ
กระจ่าง
๒) การรับส่งข่าวทางเครื่องมือสื่อสารให้พิจารณาใช้กาลังออกอากาศต่าก่อนเสมอหากไม่สามารถ
รับส่งได้จึงให้ใช้กาลังออกอากาศสูง
๓) ให้พนักงานวิทยุปฏิบัติตามที่ นปส. กาหนดไว้อย่างเคร่งครัดห้ามพูดคุยล้อเล่นทางวิทยุกันโดย
เด็ดขาด
๔) หลีกเลี่ยงการส่งข่าวที่มีข้อความยาวเกินไป หรือส่งข่าวในคราวเดียวกันหลายฉบับพร้อมกันจะ
ทาให้ ขศ. สามารถตรวจจับช่องการสื่อสารของฝ่ายเราได้
๕) ให้ มีการรับ รองฝ่ ายทุกครั้งที่ได้รับข่าวสารหรือคาสั่ งจากแหล่ งข่าวที่ไม่ทราบมาก่อน หรือ
คาแนะนาที่ผิดปกติ
๖) ในกรณีที่ถูกรบกวนคลื่นวิทยุให้เปลี่ยนไปใช้ความถี่รองหรืออะไหล่ตามประมวลลับที่กาหนดขึ้น
ชั่วคราว
ง) การ รปภ.เกี่ยวกับอาวุธและยุทโธปกรณ์
๑) ให้ทุกหน่วยจัดให้มีการพรางหรือกาบังยุทโธปกรณ์ให้รอดพ้นจากการตรวจการณ์ทั้งทางพื้นดิน
และทางอากาศ
๒) จัดยาม รปภ. ทุกครั้งเมื่อหยุดหน่วย
๓) ห้ามกาลังพลละทิ้งอาวุธประจากาย
จ) การปฏิบัติต่อยุทโธปกรณ์และเอกสารที่ยึดได้จากข้าศึก
๑) อาวุธยุทโธปกรณ์และเอกสารที่ยึดได้จากข้าศึกให้ส่งกลับทางสายการบังคับบัญชา
๒) สิ่งอุปกรณ์ที่จะต้องส่งกลับ
(ก) อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด
(ข) เครื่องมือสื่อสาร
(ค) เครื่องหมายสนาม เวชภัณฑ์
(ง) สิ่งอุปกรณ์ที่ปรากฏใหม่
๓) ให้ผูกสิ่งอุปกรณ์ที่ส่งกลับโดยระบุรายละเอียดชื่อ อุปกรณ์,วัน,เวลา,สถานที่ยึดได้,หน่วยที่ยึดได้
และรายละเอียดต่างๆ ที่เห็นสมควร
๔) ยุทโธปกรณ์ที่ไม่สามารถส่งกลับได้ให้เสนอภาพถ่าย, ภาพวาดไปแทน และขออนุมัติทาลาย
ต่อหน่วย
๕) ให้รายงานเกี่ยวกับยุทโธปกรณ์ที่ยึดได้ให้รายงานด่วนต่อฝ่ายการข่าวหน่วยเคลื่อนที่เร็ว ทบ.
โดยระบุรายละเอียดของยุทโธปกรณ์ประเทศผู้ผลิต, รายละเอียดของผู้ยึดได้ (ใคร,เมื่อใด,ที่ไหน,อย่างไร)
๖) ป้ายผูกติดยุทธภัณฑ์ที่ยึดได้ : ใบแทรก ข

ง–๔
๕. เชลยศึก
ให้ ผบ.หน่วยเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการต่อเชลยศึกผู้ต้องสงสัยในเรื่องกรรมวิธีทางการข่าวขั้นต้นและให้
ส่งกลับทางสายการบังคับบัญชา
ก) ให้ดาเนินการซักถามขั้นต้นต่อเชลยศึกที่ถูกจับได้ผูกป้ายแสดงตนและดาเนินการส่งกลับไปยัง
หน่วยเหนือเพื่อดาเนินการต่อไป
ข) เชลยศึกบาดเจ็บให้กระทาการซักถามเท่าที่จาเป็นแล้วควบคุมส่งกลับทางสายการแพทย์
ค) การปฏิบัติโดยทั่วไปให้กระทาอย่างมีมนุษยธรรมตามข้อตกลงระหว่างประเทศ ณ กรุงเจนีวา
พ.ศ.๒๔๙๒
ง) การปฏิบัติต่อผู้สงสัย และผู้กลับใจให้ดาเนินการขั้นต้นเช่นเดียวกับเชลยศึกและให้ส่งกลับตาม
สายการบังคับบัญชา เพื่อดาเนินการต่อไป
จ) ป้ายผูกติดผู้จับกุม : ใบแทรก ค
ฉ) ป้ายผูกติดเชลยศึก : ใบแทรก ง
๖. อื่น ๆ
ก) รายงานให้ ผบ.หน่วยทราบทันทีมีเหตุการณ์ดังนี้
๑) แผนที่, นปส., แผ่นบริวารสูญหาย
๒) บุคคลที่ส่อพิรุธว่าจะเป็นจารชนหรือสายลับ
๓) การกระทาเป็นการบ่อนทาลายภายในหน่วย

ง–๕
ใบแทรก ก (แบบรายงานผลการลาดตระเวน) ประกอบ อนุผนวก ๑ (การปฏิบัติการด้านการข่าว)

แบบรายงานผลการลาดตระเวน
จาก (หน่วย)………………………………………….……หมู่ ,วัน,เวลา………………………………………………………………………
ถึง ผบ.หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็ว ทบ.
อ้างถึง (แผนที่)…………………………………………………………………………….………………………………………………………..
๑. ขนาดและการจัดหน่วย ลว………..…………………………………..…………………………………………………………………..
๒. ภารกิจ…………………………………………………………………………….………………………………………………………………
๓. เวลาไป……………………………………………..….……เวลากลับ……………………………….………………………………………
๔. เส้นทางไป…………………………….………………………………………………………………………………………………………….
เส้นทางกลับ…………………………………………………………………………………………………………………………………….
๕. ลักษณะภูมิระเทศ
ก. สภาพทั่วไป…………………………………….……………………………………………………………………………………………
ข. สภาพเส้นทาง…………………………………………………………….……………..…………………………………………………
ค. เครื่องกีดขวาง………………………………………………………………………………………………………………………………
๖. ขศ (ระบุ กาลัง การวางกาลัง พฤติกรรม พิกัด และเวลาขณะตรวจพบ อาวุธ ท่าที ขวัญ เจตนาของ ขศ.
ที่จะกระทาต่อไป
๗. ผลของการเผชิญกับ ขศ. …………………………………………………..………………………………………………………………
๘. การแก้ไขแผนที…่ ………………………………………………………………………………………………………………………………
๙. ข่าวสารอื่นๆ……………………………………………………………..……………………………………………………………………..
๑๐. สภาพของหน่วย ลว……………………………………………………………………..…………………………………………………
๑๑. สรุปและข้อเสนอแนะ…………………………………………………………….……………………………………………………….

ลงนาม…………………………………..…………….
ผบ.หน่วยลาดตระเวน
หน่วย……………………………….…………..
๑๒. บันทึกเพิ่มเติมของผู้ซักถาม………………………………………………………………….………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………….
ลงนาม………………………………………………….
ผู้ซักถาม
………../………../…………

ง–๖
ใบแทรก ข (ป้ายผูกติดยุทธภัณฑ์ที่ยึดได้) ประกอบผนวก ๑ (การปฏิบัติด้านการข่าว)

----------------------------
ป้ายผูกติดยุทธภัณฑ์ที่ยึดได้

ทบ.๒๐๐ - ๐๒๐
ป้ายผูกยุทธภัณฑ์ที่ยึดได้
ชื่อ…………………………….…………………………………………..……
หมายเลข……………………………………………………………………
วันเดือนปีที่ยึดได้……………………………………………...…...…….
สถานที่ยึดได้………………….………………………………..………….
หน่วยที่ยึดได้................................................................................
เหตุการณ์ขณะที่ยึดได้………………………………………….………
…………………………………………………………………………………
อื่นๆ………………………………………………..…………………………
คาเตือน
ยุทธภัณฑ์นี้เก็บไว้เพื่อ
วิเคราะห์
ใช้ประโยชน์
เก็บกู้ และส่งกลับ
ทาลาย
ลงชื่อ…………………………………………………………….
(…………………………..…………………….)
ตาแหน่ง…………………………………

(พิมพ์ตาม รปจ.การข่าวกรองทางเทคนิคของ ทบ.พ.ศ.๒๕๒๕)

ง–๗
ใบแทรก ค (ป้ายติดผู้จับกุม) ประกอบอนุผนวก ๑ (การปฏิบัติด้านการข่าว)

ป้ายผู้ถูกจับกุม
กว้าง ๑๑ ซม.

ป้ายผู้จับถูกจับคุม ทบ.๑๐๔-๐๔๕
๑. หน่วยที่จับได้เป็นผู้กรอกรายการ
๒. ห้ามมิให้หน่วยที่จับนาทรัพย์สินส่วนตัวและ
ทรัพย์สินที่มีคุณค่าทางจิตใจไปจากผู้ถูกจับ
ชื่อเต็ม………………………….……….……………………………..
เวลาที่จับ…………………...…วันที่จับ…….…………………….
สถานที่จับ………………………………..………………………….
พฤติการณ์ที่จับ…………………………………………………….
เอกสารที่ค้นได้………………………………………….………….
อาวุธที่ค้นได้…………………………………..…………………….
ทรัพย์สินอื่น ๆ ที่เอาไปจากผู้ถูกจับ (หากมิได้เอา
ไปก็ให้บันทึกด้วย)………………………………..……………….
ผู้จับ……………………………………………………...…………….
นามเต็ม……………………………………………………..….……..
นามหน่วย………………………….………………….…….………

ด้านหลัง

คาอธิบายวิธีใช้ป้ายผู้ถูกซักถาม
ข้อ ๑.ความมุ่งหมายเพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงตัว
และบันทึกหลักฐานที่จาเป็นของผู้จับกุม
ข้อ ๒.วิธีให้หน่วยที่จับได้เป็นผู้กรอกรายการทั้งหมด
แล้วคล้องคอผู้ถูกจับไว้จนกว่าจะเสร็จการ
ดาเนินกรรมวิธีเชลยศึกตามปกติทาเพียงแผ่นเดียวใน
กรณีที่มีเหตุการณ์จาเป็นเพราะต้องรับส่งกลับทาง
สายการแพทย์จนหน่วยที่จับอาจกรอกข้อความทันได้
ก็ให้สารวัตรทหารที่ควบคุมหรือรักษาการณ์อยู่ ณ
โรงพยาบาลเป็นผู้กรอกแทนการกรอกข้อความให้
พยายามหาข่าวที่ถูกต้องเป็นจริง

ง–๘
ใบแทรก ง (ป้ายผูกติดเชลยศึก) ประกอบ อนุผนวก ๑ (การปฏิบัติด้านการข่าว)

-----------------------
ป้ายเชลยศึก

เชลยศึก
ชื่อ...........................................................................................
วัน,เวลา,ที่ถกู จับ.....................................................................
สถานทีถ่ ูกจับ…………………………………………………………………
เหตุการณ์ขณะจับกุม..............................................................
หน่วยจับกุม............................................................................

(ด้านหลัง)

คาแนะนาการใช้แผ่นป้าย
๑. หน่วยจับกุมต้องกรอกข้อความต่าง ๆ ในด้านหน้าให้
ครบถ้วนโดยเร็วที่สุดเท่าที่สามารถจะกระทาได้แล้วใช้เชือกทาเป็นห่วงคล้อง
คอเชลยศึกแต่ละคน
๒. เชลยศึกต้องรักษาแผ่นป้ายนี้ไว้ไม่ให้ชารุดสูญหายหรือ
ถูกทาลายเป็นอันขาด

หมายเหตุ ป้าย กว้าง ๕ ซม. ยาว ๑๖ ซม.

ง–๙
อนุผนวก ๒ (การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการ) ประกอบผนวก ง (การข่าวกรอง)

๑. กล่าวทั่วไป
การรักษาความปลอดภัยเป็นการป้องกันกิจกรรมและการปฏิบัติทางทหารให้รอดพ้นจาการตรวจจับของ
ฝ่ายข้าศึก การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติที่ดีนั้น จะเป็นการค้นหาและการลดจุดอ่อนทางด้านการข่าวของ
ฝ่ายเรา โดยนามาใช้ได้ทุกการปฏิบัติของกองพันและหน่วยรอง การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการต้อง
ส่งเสริมจุดแข็งในการจู่โจมโดยการป้องกันข่าวสารที่มีชั้นความลับ และข่าวสารธรรมดา

๒.การรักษาความปลอดภัยทางวัตถุ (ทางกายภาพ)
หน่วยทหาร ที่ตั้งต่าง ๆ ยุทโธปกรณ์ วัสดุ และการปฏิบัติของหน่วยทหารต้องมีการรักษาความปลอดภัย
วิธีการรักษาความปลอดภัยทางวัตถุประกอบด้วย
ก. ใช้กระสอบทรายวางด้านบน
ข. คลุมกระจกรถด้วยผ้า
ค. ใช้ที่ตรวจการณ์อย่างน้อยที่สุด ๑ แห่ง สาหรับ มว.ปล.
ง. กาลังเตรียมพร้อมอย่างน้อยที่สุด ๑ ใน ๓
จ. จัดชุดลาดตระเวนอย่างน้อยที่สุด ๑ ชุด ต่อหน่วย โดยจัดออกไปตั้งแต่เริ่มแสง และ ในเวลาอื่นเป็น
ห้วง ๆ
ฉ. จัดการลาดตระเวนทางอากาศตั้งแต่เริ่มแสงทางทหารจนสิ้นแสงทางทหาร
ช. การออกนอกพื้นที่วางกาลัง จะต้องได้รับอนุมัติตามสายการบังคับบัญชา
ซ. เข้มงวดวินัยการใช้แสงและเสียง จากัดการใช้แสง เช่น ห้ามจุดไฟ และสูบบุหรี่ในเวลากลางคืนโดย
เปิดเผย

๓. การรักษาความปลอดภัยในการสื่อสาร
การรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสารจะรวมถึงการรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสารและอีเลคทรอ
นิกส์ ผู้ส่งข่าวทางวิทยุจะต้องปฏิบัติดังนี้
ก. ต้องมีระบบรับรองฝ่าย และมีการอนุมัติให้ส่งข่าวทุกครั้ง
ข. ต้องเข้มงวดในการรักษา นปส.
ค. ใช้วิทยุกาลังต่า
ง. การส่งแต่ละครั้งไม่เกิน ๑๕ วินาที
จ. ใช้เสาอากาศที่รักษาทิศทางการส่งคลื่น
ฉ. ใช้ระเบียบการใช้วิทยุและการรายงานแบบย่อ
ช. ส่งข่าวโดยใช้ข้อความกะทัดรัด และใช้เวลาสั้นๆ
ซ. เปิดเสียงวิทยุเบาๆ และแนบหูฟังขณะรับข่าว
ฌ. ใช้รหัสหรือคาสั่งย่อ
ญ. การส่งข่าวเวลากลางคืนให้ใช้เสียงเบาๆ

ง – ๑๐
๔. การรักษาความปลอดภัยทางเอกสาร
สิ่งที่เป็นประโยชน์ทางด้านการข่าวให้กับข้าศึก ประกอบด้วยสิ่งที่มีชั้นความลับ และ ไม่มีชั้น ความลับ
จาเป็นต้องมีการป้องกัน เช่น เอกสาร คาร้อง รายงาน ที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติทางยุทธวิธี ใช้การคัดแยกและ
ป้องกันคาสั่ง การกระจ่ายข่าว แผ่นภาพต่าง ๆ ทาให้มั่นใจว่าจะป้องกันรักษาจากหน่วยโดย
ก. กาหนดชั้นความลับของแผน และคาสั่ง รวมถึงวิธีการลดชั้นความลับ และการทาลายเอกสารลับ
ข. กาหนดชั้นความลับ คาสั่งฝึกทุกคาสั่ง
ค. การกาหนดให้แจกจ่าย แผน/คาสั่ง โดยถือหลักให้ทราบตามความจาเป็น
ง. บรรยายสรุปให้หน่วยสนับสนุนทราบถึงความสาคัญของแผน/คาสั่ง
จ. จัดทาทะเบียนผู้เข้าถึงเอกสารและระเบียบการนาส่งเอกสาร
ฉ. ไม่กล่าวถึงหัวข้อข่าวสารที่ต้องการเร่งด่วนต่อหน้าผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
ช. กาหนดวิธีการทาลายหัวข้อข่าวสารที่ต้องการเร่งด่วน เช่น การเผา การย่อยทาลาย การเคี้ยวให้ ละเอียด
หรือกลืนลงไป เป็นต้น

ง – ๑๑
ผนวก จ (ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่และความอยู่รอดในสนามรบ)

๑. ความมุ่งหมาย เพื่อเป็นแนวทางในการใช้ทหารช่างสนับสนุนการปฏิบัติการรบของกองพัน
๒. บทบาทของหน่วยทหารช่าง
ก. การใช้หน่วย ช. หน่วย ช. จะใช้ตามภารกิจพื้นฐานในลักษณะความชานาญด้านเทคนิค และเครื่องมือ
พิเศษรวมทั้งยังให้คาแนะทางด้านการช่างให้กับหน่วยที่ได้รับการสนับสนุน
ข. ภารกิจ
๑) ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่
ก) การเจาะช่องและการอ้อมผ่านเครื่องกีดขวาง
ข) การต่อต้านสนามทุ่นระเบิด
๒) การต่อต้านความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ โดยการสร้างเครื่องกีดขวางและการทาลายด้วย
วัตถุระเบิด
๓) ความอยู่รอดในสนามรบ โดยการป้องกันที่มั่นและจากัดการโจมตีต่อที่มั่น
๔) งานช่างทั่วไป
ก) การบารุงรักษาเส้นหลักส่งกาลัง
ข) การกวาดล้างเครื่องกีดขวางและสนามทุ่นระเบิด
ค) การทาที่ตั้งทางการส่งกาลังบารุง
ง) การทาสะพานทดแทนสะพานทางยุทธวิธี
ค. การควบคุมทางยุทธวิธี
๑) การสนับสนุนโดยตรง
๒) การสนับสนุนโดยทั่วไป
๓) การขึ้นสมทบ
๔) การควบคุมทางยุทธการ


ผนวก ฉ (การป้องกันภัยทางอากาศ)

๑. กล่าวทั่วไป
ก. เนื่องจากกองพันตาม อจย.๗ - ๑๕ ปัจจุบันไม่มีอาวุธป้องกันภัยทางอากาศอย่างเพียงพอจึงให้ใช้อาวุ ธ
เบาทุกชนิด เป็นอาวุธที่ทาการยิงต่อภัยทางอากาศต่าง ๆ ในพื้นที่รับผิดชอบด้วย
ข. เมื่อมีหน่วย ปตอ. เข้ามาให้การสนับสนุนในพื้นที่ให้ทุกหน่วยสามารถดาเนินการประสานได้โดยตรงและ
แจ้งผลการประสานให้กองพันทราบด้วย
ค. รายละเอียดในการปฏิบัติ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้นี้ให้เป็นไปตาม รส.๔๔ - ๘ (คู่มือราชสนามว่าด้วย
การใช้อาวุธขนาดเล็กต่อสู้ป้องกันการโจมตีทางอากาศ)
ง. ความหมาย
๑) สภาพการเตือนภัยทางอากาศ
ก) สภาพ แดง หมายถึง การโจมตีของเครื่องบิน หรือขีปนาวุธ ของ ขศ. ใกล้เกิดขึ้นหรือ
กาลังเกิดขึ้น
ข) สภาพ เหลือง หมายถึง การโจมตีของเครื่องบิน หรือขีปนาวุ ธของข้าศึกอาจเกิดขึ้นได้
หรือน่าจะเป็นไปได้
ค) สภาพ ขาว หมายถึง การการโจมตีของเครื่องบิน หรือขีปนาวุธ ของ ขศ. ไม่น่าจะ
เกิดขึ้นหรือ ไม่น่าจะเป็นไปได้
๒) สถานภาพควบคุมการยิง และการปฏิบัติเมื่อขาดการติดต่อสื่อสาร
ก) สถานภาพควบคุมการยิง
(๑) ยิงเสรี หมายถึง ให้การยิงต่ออากาศยานที่ไม่แจ้งอย่างแน่ชัดว่าเป็นฝ่ายเรา
(๒) ยิงระวัง หมายถึง ทาการยิงเฉพาะอากาศยานที่พิสูจน์ได้ว่าเป็น ขศ.
(๓) ห้ามยิง หมายถึง ระงับการยิงต่ออากาศยานทุกชนิด เว้นแต่ในการป้องกัน
หรือได้รับคาสั่งอย่างเป็นทางการ
ข) การปฏิบัติเมื่อขาดการติดต่อสื่อสาร
หากขาดการติดต่อสื่อสารกับหน่วยเหนือที่มีอานาจในการควบคุมหน่วยจะต้อง
ปฏิบัติโดย ให้การติดต่อสื่อสารใช้การได้ ซึ่งในระหว่างนี้จะทาให้การติดต่อสื่อสารขาดตอนลงปฏิบัติที่หน่วยยิง
จะต้องกระทาเพิ่มเติมเพื่อสถานภาพควบคุมการยิงกาหนดเป็น
(๑) ยิงระวัง หน่วยยิงจะคงในสถานภาพยิงระวังต่อไป
(๒) ห้ ามยิง หากได้กาหนดห้ วงเวลาห้ามยิงไว้ห น่ว ยยิงคงอยู่ในสภาพห้ ามยิง
ต่อไปจนสิ้นสุดห้วงเวลาที่กาหนดแล้วกลับเข้าสู่สถานภาพยิงระวัง หากมิได้กาหนดห้วงเวลาห้ามยิงไว้หน่วยยิงคง
ดารงอยู่ในสถานภาพห้ามยิงต่อไปเป็นเวลา ๓๐ นาที แล้วกลับเข้าสู่สภาพยิงระวัง
(๓) ยิงเสรี หากได้กาหนดห้วงเวลายิงเสรีไว้คงปฏิบัติเช่นเดียวกับสถานภาพห้าม
ยิงหากมิได้กาหนดห้วงเวลายิงเสรีไว้ หน่วยยิงจะต้องกลับเข้าสู่สภาพยิงระวังทันที


๒. การปฏิบัติเมื่อถูกเข้าศึกโจมตี
ก. ถูกข้าศึกโจมตีทางอากาศในที่ตั้ง
๑) พลประจาอาวุธประจาหน่วยเข้าประจาอาวุธกาลังที่เหลือเข้าประจาหลุมบุคคลเตรียมยิงอากาศ
ยานด้วยอาวุธประจากาย
๒) ทาการยิงต่อสู้อากาศยานด้วยปริมาณการยิงอย่างหนาแน่น
๓) อาวุธประจาหน่วยให้มีการติดพันเป้าหมาย
ข. ถูกข้าศึกโจมตีทางอากาศในขณะเคลื่อนย้าย
๑) ตรวจพบอากาศยานไม่ทราบฝ่ายหรือฝ่ายข้าศึกบินอยู่ในพื้นที่
ก) แน่ใจว่ากาพลทุกคนได้รับฟังการชี้แจงจาก ผบ. ขบวนแล้ว
ข) จัดยามอากาศและมอบเขตตรวจการณ์ให้
๒) ตรวจพบอากาศยานของข้าศึกกาลังมุ่งหน้าเข้าหาขบวน
ก) แจ้งให้ ผบ. รถ และผู้ควบคุมรถแต่ละคันทราบ
ข) จอดรถลงขอบถนนแบบสลับฟันปลา
ค) รักษาระยะต่อไว้
ง) ให้กาลังพลลงรถโดยเร็วกระจ่ายกาลังออกและเข้ าประจาที่พร้อมจะยิงต่ออากาศยาน
ของข้าศึก
๓. การเริ่มยิง
ก. ผบ.หน่วยทุกหน่วยมีอานาจในการควบคุมการยิงในหน่วยของตนตามสภาวะการควบคุมการยิงที่กาหนด
ถ้าไม่ได้สั่งเป็นอย่างอื่นให้ถือว่าเมื่อหน่วยปฏิบัติการในสนามให้ใช้สภาวะควบคุมการยิงคือยิงระวัง
ข.ข้อพิจารณาในการสั่งยิง
๑) อากาศยานที่ละเมิดเขตหวงห้าม หรือบินผ่านพื้นที่ป้องกันโดยไม่ได้มีการประสานล่วงหน้า
๒) พิสูจน์ฝ่ ายได้ว่า เป็นฝ่ ายตรงข้ามจากข่าวกรอง หรือจากเครื่องหมายที่แสดงไว้ว่าเป็นฝ่าย
ตรงข้าม
๓) อากาศยานที่มีพฤติการณ์ ดังนี้
ก) ทาการโจมตีต่อกาลังฝ่ายเราทางพื้นดิน หรืออากาศยานฝ่ายเรา
ข) ทิ้งพลุส่องสว่างในพื้นที่ฝ่ายเราโดยไม่ได้ประสารล่วงหน้า
ค) ทาท่าการบินต่าลงสูง บุคคล ยานพาหนะ อาวุธ และที่ตั้งฝ่ายเรา
ง) ทาการทิ้งร่มบุคคลจานวนมาก หรือบินลงเพื่อส่งกาลังพลในพื้นที่ฝ่ายเราโดย ไม่ได้มี
การประสารล่วงหน้า
ค. การเริ่มยิง จะกระทาได้เมื่อที่หมายเข้ามาในระยะยิงหวังผลของอาวุธของตนที่รับผิดชอบหรือทาการ
ยิงดัก

ฉ–๑
๔. ยามอากาศ
ก. การจัด ที่ตั้งหน่วยอิสระหรือหน่วยระดับหมวดขึ้นไปให้จัดอย่างน้อย ๑ จุด ๆ ละ ๑ นาย ทาการเฝ้า
ตรวจอากาศยาน ประจาอยู่ ณ พื้นที่ซึ่ง ผบ.หน่วยพิจารณาแล้วเห็นว่าตรวจการณ์ได้ดีและกว้างไกลที่สุดในพื้นที่ของ
หน่วย
ข. การแจ้งข่าวของยามอากาศ ทันทีที่เห็นอากาศยานใช้ชี้มือไปยังที่หมายพร้อมทั้งเป่านกหวีด ยาว ๓ – ๔
ครั้ง หรือเสียงไซเรนยาว ผบ. หน่วยที่อยู่ในพื้นที่ หรือพลวิทยุหรือโทรศัพท์แจ้ง บก. หน่วยเหนือต่อไปให้เร็วที่สุด
โดยถือว่ามีความเร่งด่วน ด่วนที่สุด
ค. ข้อความในการรายงาน
ยามอากาศ (หน่วย) ตรวจพบเครื่องบิน ดังนี้
ข่าว ตัวอย่าง
- สัญญาณเตรียมพร้อม - ด่วนที่สุด
- แผนที่ตั้งที่ตรวจการณ์หรือที่ตั้งเรดาร์ - ๙ นาฬิกา
- จานวนอากาศยาน - ๓ เครื่อง
- การประจักษ์ฝ่าย - ผ่ายซ้าย (ขวา), บินเข้า
- หมดข้อความ - เลิก
๕. ข้อกาหนดในการป้องกันภัยทางอากาศ
ก. ปก.๙๓ ในอัตราของ ร้อย.สสช.ให้จัดพลประจาปืน และฝึกการใช้ ดังนี้
๑) กระบอกที่ ๑ เสมียนกองร้อย เป็นพลยิง ทหารบริการเป็นพลยิง ผช. และพลกระสุน
๒) กระบอกที่ ๒ พลวิทยุโทรเลข เป็นพลยิง ทหารบริการเป็นพลยิง ผช. และพลกระสุน
๓) กระบอกที่ ๓ ส.กระสุนเป็นพลยิง พลจ่ายกระสุนเป็นพลยิง ผช. และพลกระสุน
ข. การจัด ปก.๙๓ ประจาส่วนต่างๆ ให้กระบอกที่ ๑ และ ๒ ประจันขบวนสัมภาระพักและให้กระบอกที่ ๓
ประจาขบวนสัมภาระรบ
ค. ปก. ของหมู่ ลว.ให้ร่วมป้องกันทางอากาศกับ ปก.๙๓ เมื่ออยู่ใน ท.ก. พัน โดยให้ ผบ.ร้อย. สสก.เป็นผู้
ควบคุมการใช้อาวุธในการป้องกันภัยทางอากาศในพื้นที่ของ ทก.พัน.และขบวนสัมภาระรบ
ง. ผบ.ร้อย.สสช. เป็นผู้ควบคุมการใช้อาวุธในการป้องกันภัยทางอากาศในขบวนสัมภาระพัก
จ. ระหว่างการเคลื่อนย้ายหน่วยอาวุธกลทุกชนิดให้พร้อมใช้งานในการยิงที่หมายในอากาศ
ฉ. ทุกหน่วยมีสิทธิ์อย่างเต็มที่ในการยิงป้องกันตนเองเมื่อถูกโจมตีก่อน
ช. ที่ตั้ง ทก.หน่วย และขบวนสัมภาระจะต้องทาการพรางให้พ้นจากการณ์ทางอากาศวัสดุที่มีความมันวาว
และกระจกรถให้หาวัสดุปิดทับ หรือพรางไม่ให้เกิดการสะท้อนแสงทั้งเมื่ออยู่กับที่ และขณะเคลื่อนที่

ฉ–๒
ซ. การกาหนดที่วางตัว ที่ตั้งอาวุธ และการจอดยานพาหนะ ให้ใช้ร่มเงาจากธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ต่อ
การพรางให้มากที่สุด
ด. ให้พรางไฟในเวลากลางคืนเสมอ
ต. การใช้อาวุธทาการยิงให้ปฏิบัติตามวิธียิงใน รส.๔๔ – ๘

ฉ–๓
อนุผนวก ๑ (การกาลังพลและการดาเนินการด้านธุรการ) ประกอบผนวก ช (การช่วยรบ)

๑. การจัดการกาลังพล
ก. การรายงาน ให้หน่วยรายงานสถานภาพกาลังพลประจาแนวเมื่อยอดลดลงต่ากว่า ๘๕ เปอร์เซ็นต์ ๗๐
เปอร์เซ็นต์ และ ๕๐ เปอร์เซ็นต์ รวมถึงการสูญเสียกาลังพลหลัก และการทดแทนกาลังพลชั่วคราว
ข. การทดแทน กาลังพลทดแทนอยู่ในความควบคุมของส่วนธุรการและส่งกาลังบารุง ให้หน่วยประสานการ
ขนส่งกาลังทดแทนได้โดยตรง สถานที่และเวลาในการส่งกาลังพลทดแทนขึ้นอยู่กับสถานการณ์ทางยุทธวิธี
ค. ผู้ป่วยเจ็บ ให้หน่วยรายงานสถานภาพกาลังพลที่ป่วยเจ็บทั้งหมดมายังส่วนธุรการและส่งกาลังบารุงโดย
วิทยุ ผู้ป่วยเจ็บที่เป็น หน.ชุดยิง ขึ้นไป ให้ติดป้ายแสดงให้ชัดเจน การขอการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บให้ประสานผ่านแผนก
ส่งกาลังบารุงตามที่สถานการณ์ทางยุทธวิธีเอื้ออานวย
๒. ธุรการกาลังพล
ก. การไปรษณีย์ การบริการด้านไปรษณีย์ จะดาเนินการที่ส่วนธุรการกาลังพล โดยมีเสมียนไปรษณีย์เป็นผู้
รวบรวมและแจกจ่าย
ข. บาเหน็จความชอบ ตามระเบียบ ทบ.
๓. การรักษาพยาบาล
ก. การวางแผน
๑) นายแพทย์อาวุโส ประสาน ฝอ.๔ ในเรื่องการวางแผนสนับสนุนทางการแพทย์ในเรื่อง ดังนี้
ก) การรักษาพยาบาล
ข) การส่งกลับ
ค) การส่งกาลังและการทดแทนสิ่งอุปกรณ์สายแพทย์
๒) การบริการทางการแพทย์ นอกเหนือจากนี้ จะดาเนินการโดย บก.หน่วยเหนือ
ข. การส่งกลับสายแพทย์ เมื่อมีผู้ป่วยเจ็บให้รายงานทันทีทางข่ายบังคับบัญชา เพื่อให้ส่วนธุรการและส่ง
กาลังบารุงได้ดาเนินการ ทุกหน่วยต้องพยายามส่งกลับผู้ ป่วยเจ็บ กลับมายังที่พยาบาลอย่างต่อเนื่อง ความเร่งด่วน
ในการส่งกลับผู้ป่วยเจ็บ กาหนดโดยเจ้าหน้าที่เสนารักษ์ของหน่วย ซึ่งขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วยเจ็บ และทาการ
ส่งกลับพร้อมกับยุทโธปกรณ์ของผู้ป่วยเจ็บละบุคคลด้วย
ค. เวชกรรมป้องกัน
๑) สุขาอนามัยประจาวันให้มีการ อาบน้า โกนหนวด และแปรงฟัน
๒) ให้ทหารหลีกเลี่ยงการจับถืองู ไม่ว่าจะเป็นกรณีไดก็ตาม หากถูกงูกัดให้ดาเนินการดังนี้
ก) รัดเหนือแผล และไม่รัดให้แน่นจนเกินไป
ข) ทหารที่ถูกงูกัดจะต้องส่งกลับสายแพทย์โดยทันที
๓) ให้ทราบหลีกเลี่ยงการจับสัตย์ใด ๆ หากทหารถูกสัตย์กัดให้รายงานนายแพทย์กองทันที
๔) ให้ชุดเวชกรรมป้องกันกองร้อย ตรวจสอบความสะอาด ห้องสุขา และที่รับประทานอาหารทุก
วันและรายงานให้ ร้อง ผบ.ร้อย. ทราบ

ช–๑
๔. กฎหมาย
ก. การปฏิบัติต่อยุทโธปกรณ์ที่ยืดได้จากข้าศึก
๑) ยุทโธปกรณ์ที่ยึดได้ ต้องส่งกลับตามสายการบังคับบัญชา
๒) ห้ามเก็บสินสงครามได้ครอบครอง
ข. อาวุธและกระสุน
๑) ห้ามครอบครองอาวุธ กระสุน และวัตถุระเบิด เป็นสมบัติส่วนตัว
๒) กระสุนวัตถุระเบิด ต้องดูแลรักษาและนาส่งคืนเมื่อจบภารกิจ

ช–๒
อนุผนวก ๒ (การส่งกาลังบารุง) ประกอบผนวก ช (การช่วยรบ)

๑. กล่าวทั่วไป หน่วยในอัตรา หรือหน่วยสมทบของกองพัน จะได้รับการสนับสนุนทางการช่วยรบจาก


ขบวนสัมภาระรบ หรือขบวนสัมภาระพักของกองพันในพื้นที่ขบวนสัมภาระของกรม ผบ.ร้อย.สสช. และนายสิบส่ง
กาลังจะเป็นผู้ประสานการปฏิบัติในเรื่องการส่งกาลังทั้งปวงกับ ฝอ.๔ ของกรม และ ฝอ.๔ ของกองพัน
๒. การควบคุมบังคับบัญชา
ก. ฝอ.๔ กองพัน เป็นผู้วางแผน และปฏิบัติในขบวนสัมภาระรบของกองพัน ทางสถานีบังคับข่ายของ
ส่วนธุรการ และส่งกาลังบารุง
ข. ฝอ.๔ เป็นผู้กาหนดที่ตั้งต่างๆ ในขบวนสัมภาระรบ
ค. ผบ.ร้อย.สสช. เป็นผู้กาหนดที่ตั้งต่างๆ ในขบวนสัมภาระพัก และเป็นผู้ควบคุมขบวนสัมภาระพัก
๓. การจัด
ก. ขบวนสัมภาระกองพัน จะกาหนดเป็นขบวนสัมภาระรบ และขบวนสัมภาระพัก ขึ้นอยู่กับภารกิจที่
ได้รับ และเครื่องมือต่าง ๆ ที่มีอยู่
ข. ขบวนสัมภาระรบ จะตั้งขึ้นข้างหน้าเพื่อสนับสนุนและจัดตั้งศูนย์ธุรการและส่งกาลังบารุงสาหรับการ
ปฏิบัติทางการช่วยรบระหว่างหน่วยที่อยู่ข้างหน้ากับขบวนสัมภาระพัก
๑) ฝอ.๔ กองพัน ปฏิบัติงานในขบวนสัมภาระรบ โดยจัดส่วนประกอบของขบวนสัมภาระพักและ
ขบวนสัมภาระรบ ติดตามและวิเคราะห์สถานภาพของอุปกรณ์รวมถึงทาประมาณการ เพื่อดารงการปฏิบัติ
๒) ฝอ. ๑ กองพั น ปฏิ บั ติ ง านในขบวนสั ม ภาระรบ เพื่ อ ให้ ผบ.พั น ทราบในเรื่ อ งของความ
แข็งแกร่ง และการสูญเสียโดยประมาณของหน่วยโดยขึ้นอยู่กับความต้องการทางยุทธการและการส่งกาลังบารุง
ค. ขบวนสัมภาระพัก ตั้งอยู่ในหมวดสัมภาระของกรม (พื้นที่สนับสนุนของกรม) ประกอบด้วยเครื่องมือ
ทางการช่วยรบ ขบวนสัมภาระพักนี้จะทาหน้าที่เป็นจุดประสานงานการช่วยรบกับหน่วยเหนือด้วย
๑) ผบ.ร้อย.สสก. ปฏิบัติงานในขบวนสัมภาระพัก เพื่อประสานกับหน่วยสนับสนุนในพื้นที่ขบวน
สัมภาระของกรม ให้เกิดการคล่องตัวของการส่งกาลังบารุง
๒) ผบ.มว.บริการ ปฏิบัติงานในขบวนสัมภาระพัก เพื่อดาเนินการในเรื่อง การทดแทนสิ่งอุปกรณ์
และร้องขอการขนส่ง รวมถึงการกากับดูแลขบวนลาเลียงและการประสานเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของ
เส้นทางส่งกาลัง

ช–๓
อนุผนวก ๓ (การเตรียมพื้นที่ ขึ้น - ลง) ประกอบผนวก ช (การช่วยรบ)

๑. การเตรียมพื้นที่ขึ้น – ลง ฮ.
ก. ถ้าสามารถเลือกพื้นที่ได้แล้วหน่วยทางพื้นดินควรจัดตั้งพื้นที่ขึ้น – ลง ได้โดยไม่ต้องเสียเวลาและแรงงานใน
การดัดแปลงมากนัก และจะต้องเกื้อกูลต่อการปฏิบัติทางยุทธวิธีตามแผนด้วย
ข. พื้นที่ขึ้น – ลง สาหรับ ฮ. จะต้องมีลักษณะดังนี้
๑) เป็นพื้นราบไม่ขรุขระจนเกินไป สามารถรับน้าหนัก ฮ. ได้และลาดไม่เกิน ๑๕ องศา
๒) พื้นที่ดังกล่าวจะต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า ๕๐ x ๕๐ เมตร หรือ เส้นผ่าศูนย์กลาง ๒๐ – ๗๕ เมตร
๓) ต่อจากพื้นที่ว่าง ฮ. ในข้อ ๒ ออกไปโดยรอบอีกไม่น้อยกว่า ๒๐ ม. จะต้องไม่มีสิ่งกีดขวางเหนือพื้นดินสูง
เกิน ๓ ฟุต
๔) พื้นที่ว่าง ฮ. นี้ถ้าสามารถทาได้ให้กาจัดฝุ่นเพื่อให้นักบินสามารถมองเห็นพื้นที่วาง ฮ. ได้อย่างชัด เช่น
กวาดพื้นหรือลาดน้าพื้นเปียก เป็นต้น
๕) พื้นที่ว่าง ฮ. นี้ทุกแห่งจะต้องทาเครื่องหมาย นปส. ที่มีผลยังคับใช้ให้ชัดเจนและหลีกเลี่ยงให้ ฮ. เข้าตาม
ลม
๖) เมื่อ ฮ. บรรทุกสัมภาระหนัก ฮ.จะไม่สามารถทาการขึ้นลงทางดิ่งได้ดังนั้นเมื่อบรรทุกสัมภาระ ฮ.จะต้อง
ใช้พื้นที่ขึ้น – ลงมากยิ่งขึ้น
๒. การรายงานพื้นที่ลงของ ฮ.
ก. หน่วยทางพื้นดินเมื่อจัดตั้งพื้นที่ขึ้นลงจะต้องรายงานให้หน่วยทราบถึงรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้
๑) นามรหัส – จาก นปส. หรือกาหนดขึ้น
๒) ที่ตั้ง – พิกัด ศูนย์เขตการบินเป็นเลข ๖ ตัว
๓) รายละเอียด ลักษณะผิวพื้น ความยาว ความกว้างของพื้นที่วาง ฮ.
๔) เครื่องกีดขวาง ลักษณะเครื่องกีดขวาง มุมภาค ระยะจากพื้นที่ลง
๕) แนวบิน รายงานมุมบินเข้าที่เหมาะสมเป็นมุมภาค
๖) จุดหลักฐาน ลักษณะภูมิประเทศสิ่งก่อสร้างที่มองไม่เห็นได้ชัดเจนจากทางอากาศรายงานมุมภาคและ
ระยะทางจากพื้นที่ลง
ข. รางานพื้นที่ลงของ ฮ. มีข้อควรพิจารณาคือ
๑) ไม่จาเป็นต้องเรียงหัวข้อในการรายงานให้ครบทุกข้อ
๒) แนวบินต้องใช้เลือกทิศทางที่บินทวนลมเสมอถ้าสามารถเลือกได้
๓) ถ้าหน่วยสามารถจัดได้หลายพื้นที่ให้จัดพื้นที่ขึ้นลงสารองไว้ด้วย
๔) หน่วยทางพื้นดินต้องรายงานเพิ่มเติมก่อนที่ ฮ. จะเข้าสู่พื้นที่โดยรายงาน
สถานการณ์ทางยุทธวิธีบนพื้นดิน ประกอบด้วย
- การหมายพื้นที่ลง
- การสนับสนุนและการให้การระวังป้องกันแก่ ฮ.

ช–๔
ค. การหมายที่ลงกระทาเมื่อ
๑) แสดงศูนย์กลางที่ตั้งกาลังฝ่าย
๒) แสดงทิศทางลมเพื่อกาหนดแนวทางบินเข้า
๓) กาหนดจุดพื้นที่ของ ฮ.

ช–๕
ผนวก ซ (การปฏิบัติการป้องกันนิวเคลียร์ ชีวะและเคมี)

๑. กล่าวทั่วไป
การป้องกัน นชค. ตามสถานการณ์ยุทธวิธี จะขึ้นอยู่กับปัจจัย ภารกิจ ข้าศึก ภูมิประเทศและลมฟ้าอากาศ
กาลังฝ่ายเราและเวลาที่มีอยู่
๒. การแจ้งเตือนและสัญญาณเตือนภัย นชค.
ก. การลาดตระเวน นชค. การตรวจสอบอาวุธเคมีใช้ชุดอุปกรณ์ เอ็ม ๒๕๖ และ เอ็ม ๘/เอ็ม ๙ และ
เครื่องมือตรวจวัดรังสี ใช้ชุดอุปกรณ์ ไอ เอ็ม – ๑๗๔
ข. สัญญาณเตือนภัย
๑) ใช้การตะโกน “แก๊ส” เป็นการเตือนภัยเคมีและชีวะ
๒) การให้ สั ญญาณแขนและมือ ในการเตือนภั ย นชค. ใช้ตามคู่มือพลทหารว่ าด้ว ยการปฏิบั ติ
ราชการสหนาม
๓) สัญญาณเตือนภัยอื่นๆ อาจกาหนดด้วยเสียงแตรรถ หรือ สัญญาณไซเรน
๓. การใช้หน้ากากป้องกัน
ก. การสวมหน้ากาก ให้กาลังพลทุกคนสวมหน้ากากทันทีเมื่อ
๑) ได้รับสัญญาณแจ้งเตือนกับ นชค.
๒) เมื่อกาพลผู้หนึ่งผู้ไดแสดงอาการได้รับพิษจากสารเคมี
ข. การถอดหน้ากาก
๑) เมื่อเห็นว่าปลอดภัยจาก นชค. โดยผู้ที่อาวุโสของหน่วยเป็นผู้สั่งให้ถอด
๒) ขั้นตอนที่ปฏิบัติตาม รส.๓ – ๔
๔. การรายงานเมื่อถูกโจรตีด้วย นชค
ให้ปฏิบัติตามคาแนะนาในการทา และ การตีความ ตาม รส.๓ – ๓
๕. ลักษณะป้องกันตามภารกิจบังคับ
ก. การใช้หน้ากากอย่างเดียว การป้องกันเมื่อใช้หน้ากากอย่างเดียวทหารจะสวมชุดฝึก รองเท้า ครึ่งน่อง ถุง
มือหนัง มีความพอเพียงในการป้องกันแก๊สอันตรายได้ การที่ทหารจะใช้ชุดคลุมป้องกัน ถุงมือยาง และ รองเท้าบู๊ต
สวมทับเฉพาะที่มีการเปื้อนพิษจากของเหลวหรือของแข็ง
ข. ลักษณะป้องกันสารเคมีตามภารกิจบังคับ (ลปภบ) ระดับ ๐ - ๕
๑) ชุดคลุมป้องกันสารเคมีที่ประกอบกับถุงมือยาง รองเท้าบู๊ต สวมทับและชุดป้องกันการเปื้อนพิษ
จะใช้ตามปัจจัย METT –T ประกอบด้วย ภารกิจ ข้าศึก ภูมิประเทศและลมฟ้าอากาศ กาลังที่มีอยู่ และเวลาที่มีอยู่
๒) ลักษณะป้องกันตามภารกิจบังคับระดับ ๐ – ๔ (ลปภบ ๐ - ๔) ประกอบด้วยการปฏิบัติ ดังนี้


ลปภบ ชุดคลุมป้องกัน ร้องเท้าบู๊ตสวมทับ หน้ากากป้องกัน ถุงมือ
๐ นาพา นาพา นาพา นาพา

๑ สวมเปิด หรือ สวมปิด นาพา นาพา นาพา

๒ สวมเปิด หรือ สวมปิด สวมใส่ สวม นาพา

๓ สวมเปิด หรือ สวมปิด สวมใส่ สวมใส่ สวมใส่

๔ สวมใส่ สวมใส่ สวมใส่ สวมใส่

ซ–๑
ผนวก ด (การสื่อสารและอีเลคทรอนิกส์)

๑. การจัดเพื่อเข้าปฏิบัติการยุทธ
ก) มว.สื่อสาร
๑) ณ ทก.
(ก) ทางสาย
(๑) ชุดสร้างสายสนาม ๒ ชุดสาหรับการสื่อสาร ณ ทก. ไปยังหน่วยรอง
(๒) ชุดพนักงานสลับสาย ๑ ชุด ปฏิบัติงานสนับสนุน ทก.
(ข) วิทยุ
(๑) จัดตั้งเป็นสถานีบังคับข่าย ควบคุมบัญชาหน่วยต่าง ๆ ภายในและติดต่อกับ
หน่วยเหนือ หน่วยข้างเคียง หน่วยขึ้นสมทบ ณ ทก. หลัก
(๒) ชุดวิทยุที่จัดขึ้นสมทบกับหน่วยอื่น ๆ เมื่อสั่ง
ข) ศูนย์ข่าว และนาสาร จัดประจา ทก.
๑) ทางสาย
(ก) ชุดสร้างสาย ๑ ชุด สาหรับวางการสื่อสารทางสาย ณ ทก.หลัก และการวางไปยัง
หน่วยรอง
(ข) ชุดพนักงานสลับสาย ๑ ชุด ปฏิบัติงานสนับสนุน ทก.หลัก
๒) วิทยุ จัดตั้งเป็นสถานีบังคับข่าย ณ ทก. หลัก
(ก) ข่ายบังคับบัญชา
(ข) ข่ายยุทธการและการข่าว
(ค) ข่ายยิงสนับสนุน
(ง) ข่ายยุทธการและส่งกาลังบารุง
๓) อื่นๆ
(ก) เมื่อได้รับการสนับสนุนชุดวิทยุปลายทางให้ดาเนินการเชื่อมโยงระบบการสื่อสารของ
หน่วยเข้ากับช่องการสื่อสารระบบวิทยุถ่ายทอดโดยวางทางสายจากเครื่องสลับสาย และ/หรือ เครื่อง สื่อสารหน่วย
ไปยังชุดวิทยุปลายทาง
(ข) จัดตั้งปฏิบัติงานบารุงรักสาระบบการสื่อสารของหน่วย
๔) การเคลื่อนย้ายหน่วย
(ก) มว.ส.
(ข) การควบคุมการจราจรให้ปฏิบัติตามหน่วยเหนือกาหนด
(ค) ส่วนลาดตะเวนของ มว. ส. ร่วมไปกับส่วน ลว.เลือกที่จั้ง ทก.
๕) การปฏิบัติตอนทางสาย
วงจรทางสายวางจาก ทก. ไปยังหน่วยต่างๆ ดังนี้
(ก) ไปยัง นขต. หน่วยละ ๑ ทางสาย
(ข) ไปยังหน่วยสนับสนุนการรบ และหน่วยช่วยรบอื่น ๆ หน่วยละ ๑ ทางสาย
(ค) ไปยังหน่วยสมทบ หน่วยข้างเคียง (ตามคาสั่ง)
(ง) ไปยัง ทก. ยุทธวิธี ๒ ทางสาย (เมื่อจัดตั้ง)


๒. ลาดับการติดตั้ง
ก) จัดชุดสร้างสายสนามเพื่อจัดสร้างวงจรทางสายให้เป็นไปอย่างรวดเร็วตามลาดับความเร่งด่วนของการจัด
สร้างสายสนามจาก ทก. หลัก ไปยังหน่วยต่าง ๆ ดังนี้
(๑) พัน.ร.
(๒) หน่วยสนับสนุนการรบ หน่วยสนับสนุนการช่วยรบ และหน่วยข้างเคียง
ข) จัดวางโทรศัพท์ภายใน ทก.หน่วยหลัก ตามลาดับความเร่งด่วน ดังนี้
(๑) ศูนย์ข่าว และนาสาร
(๒) ผบ.พัน
(๓) ฝยก.
(๔) ฝขว.
(๕) รอง ผบ.พัน
(๖) ฝกบ.
(๗) ฝกพ.
(๘) มว.ส.
(๙) สยส.
(๑๐) ชุด จนท.ติดต่อ
(๑๑) นขต.
(๑๒) หน่วยขึ้นสมทบ
(๑๓) อื่น ๆ
๓. การสร้างทางสาย
ก) ให้ใช้สายเหนือศีรษะทุกแห่งที่ทาได้
ข) รายงานการใช้ทางสายมายัง ฝสส. หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็ว ทบ.
ค) ใช้ประมวลป้ายผูกสายตามที่กาหนดไว้ใน นปส. ฉบับปัจจุบัน
ง) ชุดสลับสายมีลาดับความเร่งด่วนในการใช้ถนนรองจากยานพาหนะรบ รถพยาบาลและรถนาสาร
จ) หมายเลขวงจรแบ่งมอบตามที่กาหนดไว้ในอนุผนวก (แผนผังระบบโทรศัพท์) ประกอบผนวก การสื่อสาร
ประกอบคาสั่งยุทธการของหน่วยเหนือ

ด–๑
๔. การปฏิบัติงานทางสาย
ก) จัดให้มีการสื่อสารทางสายได้ตลอดทุกหน่วย
ข) รายงานการฝ่าฝืนการ รปภ.ส. ไปยัง ฝสส.
ค) ติดตั้งปฏิบัติงาน และบารุงรักษาให้เป็นไปตามหลักนิยมทางการสื่อสาร
๕. ตอนวิทยุ
ก) เครื่อง รับ – ส่ง วิทยุติดตั้งห่างจาก อย่างมากไม่เกิน ๓ กม.
ข) ชุดเครื่องบังคับไกลให้ตั้ง ณ ส่วนการสื่อสารอีเลคทรอนิกส์ของ ทก.
ค) ชุดวิทยุที่จัดขึ้นไปสมทบกับหน่วยต่าง ๆ ให้รายงาน ที่ตั้งต่อ ผบ.มว.ส และ ฝสส.ของหน่วยรับการสมทบ
ง) ให้ดารงการติดต่อสื่อสารทางวิทยุโดยเจ้าหน้าที่ตู้ปฏิบัติงานร่วมกับผู้บังคับบัญชาหรือ ผบ.หน่วย เช่น นาย
สิบสื่อสาร พลวิทยุโทรเลข รับข่าวแทนในขณะผู้บังคับบัญชา หรือ ผบ.หน่วยไปตรวจการณ์/สั่งการ ให้กับหน่วยรอง
โดยหน่วยเหนือต้องให้เวลาในการกระจ่ายข่าวสาร และการตกลงใจแก่หน่วยรองในกรณีที่ผู้รับมิใช่ผู้บังคับหน่วย
๖. การจัดตั้งข่ายวิทยุเพื่อปฏิบัติการยุทธให้จัดตั้งข่ายวิทยุดังนี้
ก. ข่ายบังคับบัญชา
ข. ข่ายธุรการ/ส่งกาลังบารุง
๑) ในการเข้าปฏิบัติการยุทธให้จัดตั้งข่ายวิทยุปกติ ตามที่กาหนดไว้ใน นปส.
๒) ให้ใช้วิทยุเฉพาะเมื่อการสื่อสารทางสายใช้ไม่ได้หรือไม่เพียงพอ
๓) ข่าวประเภทด่วนที่สุดอาจส่งเป็นข้อความธรรมดา ทั้งนี้ต้องให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ใน
นปส. ฉบับปัจจุบัน
๔) ห้ามใช้เครื่องวิทยุ ในข่ายเตือนภัยไปในความมุ่งหมายอย่างอื่น เว้นแต่จะได้รับคาสั่ง
๕) ให้ควบคุมขนาดคลื่นของข่ายเตือนภัย/กระจ่ายข่าวตลอดเวลา
๖) จัดให้มีระบบสนธิวิทยุ/สาย ตามความจาเป็นทางสถานการณ์ทางการยุทธ และเมื่อสั่งให้ใช้กาลัง
ออกอากาศต่าที่สุดเท่าที่สามารถทาได้
๗) เฝ้าฟังการสื่อสารในข่ายตลอดเวลาที่เปิดทาการ
๘) รายงานการฝ่าฝืน รปภ.ส. ถึง ผบ.มว.ส.

ด–๒
๗. ทัศนะสัญญาณ และเสียงสัญญาณ
การสื่อสารด้วยทัศนะสัญญาณ และเสียงสัญญาณให้ปฏิบัติตาม นปส. และ นสป. ฉบับปัจจุบัน
๘. การนาสาร
ก. ใช้พลนาสารพิเศษแต่น้อย
ข. ทาเครื่องหมายสาหรับรถนาสารให้เห็นได้ง่าย “รถนาสาร”
ค. รถนาสารมีลาดับความเร่งด่วนในการใช้ถนนรองจากยานพาหนะรบ และรถพยาบาล
ง. รายงาน ผบ.มว.ส. เมื่อเกิดจากการล่าช้าในการส่งข่าวอันเนื่องมาจากอุปสรรคเกี่ยวกับการใช้ถนน
๙. ศูนย์ข่าว และนาสาร
ก. การจัดตั้งศูนย์ข่าว และนาสาร
๑) จัดตั้งศูนย์ข่าว และนาสาร
ก) ศูนย์ข่าวประจา ทก.หลัก
ข) ศูนย์ข่าว ณ ที่ตั้งพิเศษ (จัดตั้งตามคาสั่ง)
๒) ให้ พิ จ ารณาประการแรกในการเลื อกที่ ตั้ งศู น ย์ข่ า วในบริเ วณ ทก. โดยให้ มี การติ ดต่ อ กับ ฝ่ า ย
อานวยการ และ ผู้บังคับบัญชาได้สะดวก
ข. การปฏิบัติงานของศูนย์ข่าว และนาสาร
๑) ปฏิบัติงานต่อเนื่องตลอดเวลา
๒) เป็นผู้ให้สัญญาณเตือนภัยแก่ ทก.หลัก เมื่อถูกโจมตีด้วย นชค.ยานเกราะ ทางอากาศ หรือพลร่ม
ค. การรักษาความปลอดภัยทางการอักษรลับ
๑) จัดตั้งตอนการอักษรลับให้ใกล้ศูนย์ ส.
๒) การปฏิบัติงานของตอนการอักษรลับให้อยู่ภายใต้การอานวยการของ ฝอ. ๒
๓) การเคลื่อนย้าย และการป้องกันเครื่องมือเครื่องใช้ในการทาข่าวลับของตอนการอักษรลับให้อยู่
ภายใต้การอานวยการของ ฝอ.๒
๔) รายงาน ฝอ.๒ ทันทีถึงการฝ่าฝืน ระเบียบการ รปภ. ทางการอักษรลับ และความไม่ปลอดภัยของ
เครื่องมือทางการอักษรลับ
๑๐. เบ็ดเตล็ด
ก. ลาดับความเร่งด่วนในการใช้ถนนตามลาดับความเร่งด่วน ดังนี้
๑) ยานพาหนะรบ
๒) รถพยาบาล
๓) รถนาสาร
ข. การปฏิบัติงานในระบบสื่อสารประเภทวิทยุ

ด–๓
กฎในการปฏิบัติงานต่อไปนี้จะช่วยให้การใช้เวลาในการสื่อสารมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นลดการฝ่าฝืน และการรักษา
ความปลอดภัยได้มากขึ้น
๑) ห้ามส่งข่าวใด ๆ ก่อนได้รับอนุมัติ
๒) ให้สานึกอยู่ตลอดเวลาว่า ขศ. กาลังฝังเราอยู่
๓) ห้ามปฏิบัติการใด ๆ ดังต่อไปนี้
ก) ละเมิดคาสั่งการระงับวิทยุ
ข) สนทนาเรื่องส่วนตัว
ค) ส่งข่าวในข่ายบังคับโดยไม่ได้รับอนุญาต
ง) ใช้เวลาปรับหรือ ทดลองเครื่องนานเกินควร
จ) ส่งชื่อหรือตาแห่นงพนักงาน
ฉ) ใช้ข้อความธรรมดาโดยไม่ได้รับอนุญาต
ช) ใช้คาย่อต่าง ๆ เกินกว่าที่กาหนดไว้
ซ) ใช้ภาษาธรรมดาแทนคาย่อตามระเบียบการ
ด) ใช้ภาษาที่ไม่หยาบไม่เป็นมงคล
๑๑. การติดต่อสื่อสารของหน่วย
ก. ระเบียบพูดวิทยุโทรศัพท์ให้ยึดปฏิบัติตามระเบียบการพูดวิทยุโทรศัพท์ของกรมทหารสื่อสาร ทบ.
ข. การเปิดข่ายสถานีให้เริ่มเปิดข่ายทุก ๐๖๐๐ การปิดข่ายสถานีให้ปิดข่ายเวลา ๒๑๐๐ ของทุกวันเว้น
เมื่อสถานการณ์ติดพัน แล้วแต่จะจบสถานการณ์ หรือสามารถดารงการติดต่อสื่อสารทางสายได้แล้ว
ค. นามเรียกขาน และความถี่ใช้งานเป็นหลักจนกว่าจะได้รับ นปส. ฉบับใหม่ หรือได้รับแจ้งการเปลี่ยนแปลง
จาก โดย รปจ.สนามจะควบคุมการปฏิบัติของหน่วยหลักส่วนการปฏิบัติของหน่วยรองให้ปฏิบัติของให้ปฏิบัติตาม
รปจ. ของแต่ละหน่วย
๑๒. ความรับผิดชอบ
ก. ผบ.พัน ดารงการติดต่อสื่อสารทางสาย ทางวิทยุ ด้วยข่ายการบังคับบัญชาหน่วยเหนือ เพื่อรับคาสั่ง
และรายงานสถานการณ์ และสั่งการแก่หน่วยรอง และ หน่วยที่มาสมทบ ด้วยการใช้ทาง สาย วิทยุ ข่ายบังคับ
บัญชาของหน่วย
ข. รอง ผบ.พัน ดารงการติดต่อสื่อสารทางสาย ทางวิทยุ ด้วยข่ายการบังคับบัญชาหน่วยเหนือ เพื่อรับคา
สั่งและรายงานสถานการณ์ และสั่งการแก่หน่วยรอง และ หน่วยที่มาสมทบ ด้วยการใช้ทาง สาย วิทยุ ข่ายบังคับ
บัญชาของหน่วย

ด–๔
ค. ฝอ. ดาเนินการติดต่อสื่อสารกับ ผบ.พัน ทางข่ายบังคับบัญชาของหน่วย
ง. ผบ.นขต. และ ผบ.หน่วยสมทบ ดารงการติดต่อสื่อสารกับ ผบ.พัน เพื่อรายงานสถานการณ์กับ และ
รับคาสั่งด้วยการใช้ทางสาย ทางวิทยุ ทางข่ายบังคับบัญชา

ด–๕
ผนวก ต (การรายงาน)

๑. ความมุ่งหมาย
ก. เพื่อให้หน่วยเหนือ หน่วยรอง หน่วยข้างเคียง ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบสถานการณ์ การปฏิบัติ และผล
การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข. เพื่อเป็นประวัติในการปฏิบัติงานของหน่วยต่าง ๆ
ค. เพื่อให้วิธีรายงาน และแบบรายงานเป็นระเบียบเดียวกันทุกหน่วย
ง. เพื่อสะดวกแก่การตรวจสอบ
๒. การรายงานด้วยยุทธการ
ก. การรายงานหน่วยที่ขึ้นตรง หน่วยสมทบ และหน่วยขึ้นควบคุมทางยุทธการต่อ จะต้องรายงานดังนี้
๑) รายงานด่วนเฉพาะเรื่อง : อนุผนวก ๑
๒) รายงานสถานการณ์ประจาวัน : อนุผนวก ๒
ข. การายงานที่กองพัน จะต้องรายงานหน่วยเหนือ
๑) รายงานยุทธการตามระยะเวลา : อนุผนวก ๓
๒) รายงานผลการปฏิบัติตามแผนยุทธการของหน่วย
๓. การปฏิบัติการรายงาน
ก. รายงานทั้ง ๒ ประเภท ตามข้อ ๒ ก ถือว่าเป็นอกสารลับให้ส่งทางวิทยุเข้ารหัส ถ้าที่ตั้งหน่วยใกล้เคียงกัน
ให้ส่งทางนาสาร
ข. รายงานทั้ง ๒ ประเภท ตามข้อ ๒ ข ถือว่าเป็นอกสารลับให้ส่งหน่วยเหนือทางนาสาร
ค. รายงานด่วนเฉพาะเรื่อง ให้หน่วยรายงานทันทีเมื่อมีเหตุการณ์
ง. รายงานสถานการณ์ประจาวัน ให้หน่วยรายงานสถานการณ์ต่ าง ๆ ในรอบ ๒๔ ชม. เสนอรายงานเวลา
๑๔๐๐ ฝ่ายยุทธการ รวบรวมรายงานไปยังหน่วยเหนือ วันละ ๑ ครั้ง ปิดสถานการณ์เวลา ๑๔๐๐ ส่งถึง ทก.
หน่วยเหนือเวลา ๑๕๐๐
จ. รายงานผลการปฏิบัติตามแผนยุทธการของหน่วย ให้ฝ่ายยุทธการรายงานหลังจากที่จบการปฏิบัติตาม
แผนภายใน ๓ วัน ส่งไปยังหน่วยเหนือ


อนุผนวก ๑ (รายงานด่วนเฉพาะเรื่อง) ประกอบผนวก ต การรายงาน

๑. ความมุ่งหมาย เพื่อรายงานข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์ อันอาจมีผลต่อการตกลงใจในการยุทธของหน่วย


๒. รายละเอียด
ก. การรายงานด้านยุทธการเฉพาะเรื่อง กระทาเมื่อ
๑) ข้าศึกเจาะทะลุทะลวง หรือปฏิบัติการตีโต้ตอบ
๒) ข้าศึกปฏิบัติการยุทธส่งทางอากาศ,การยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ หรือการยกพลขึ้นบก
๓) ข้าศึกใช้อาวุธใหม่ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อน ในพื้นที่ปฏิบัติการ
๔) เครื่องมือสื่อสารสูญหาย
๕) ทาลายสะพาน หรือปิดเส้นทางคมนาคม
๖) ข้าศึกมีการใช้สารเคมีพิเศษ
๗) มีผู้บาดเจ็บเป็นจานวนมากในทันทีทันใด หรือมียุทโธปกรณ์เสียหายเป็นจานวนมากในทานอง
เดียวกัน
๘) มีสถานการณ์ล่อแหลมต่อหน่วยกาบัง หรือหน่วยป้องกันทางปีก
๙) มีสถานการณ์ปะทะกับข้าศึก
ข. รายงานการกระทาโดยส่งข่าวสั้น ๆ โดยเครื่องมือสื่อสารที่เร็วที่สุดดังนี้
๑) เหตุการณ์ที่ระบุ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้น (ใคร.ทาอะไร)
๒) วัน,เวลา
๓) สถานที่ พิกัด แผนที่
๔) การประเมินค่าของ ผบ.หน่วย มาตรการต่อต้าน และข้อเสนอแนะ
๓. คาแนะนา
ก. ถ้าเป็นรายงานด้วยวาจาทางวิทยุ หรือโทรศัพท์ จะต้องส่งการรายงานเป็นเอกสารตาม
ข. รายงานจะต้องจัดลาดับชั้นความลับ ตามสถานการณ์ ของเหตุการณ์เสมอ

ต–๑
อนุผนวก ๒ (การรายงานสถานการณ์ประจาวัน) ประกอบผนวก ค การรายงาน
…………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………
จาก ………………………………….
ถึง ผู้รับปฏิบัติ ………………..…………………….
ผู้รับทราบ ……………..……………………….
ที…่ …………………………………………………. วันที่…………………………………………..
………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………….
สรุปรายงานสถานการณ์ประจาวันในห้วงระยะเวลา ตั้งแต่………………..ถึง………………..
๑. กาลังผล (แยกรายงาน)
๒. การข่าว (แยกรายงาน)
ก. ที่ตั้ง
ข. การปฏิบัติในรอบ ๒๔ ชม. ที่ผ่านมา
สรุปการปฏิบัติของหน่วยรองจนถึงหน่วยระดับหมวด ตลอดจนผลการปฏิบัติการโต้ตอบของฝ่าย
ตรงข้ามเรียงตามลาดับ
๑) นามหน่วยของหน่วยระดับหมวด
รายงานการปฏิบัติและผลการปฏิบัติจนเหตุการณ์ในเขตรับผิดชอบของหน่วยดังกล่าว
๒) ………………………………………………………………
๓) ………………………………………………………………
ฯลฯ

๔) สรุปผลการสูญเสียของฝ่ายตรงข้าม
- การสูญเสียกาลังพล (ตาย,บาดเจ็บ,ถูกจับ,มอบตัว)
- ยุทโธปกรณ์ที่ยึดได้จากฝ่ายตรงข้าม
ค. การปฏิบัติในรอบ ๒๔ ชม. ต่อไป (สรุปสั้น ๆ ว่าหน่วยจะทาอะไร,ที่ไหน)
๓. การช่วยรบ (สถานการณ์ช่วยรบเฉพาะที่มีผลกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติของหน่วยในทันทีตลอดจนการสูญเสีย
ยุทโธปกรณ์หน่วยเรา ทั้งจากการรบ และมิใช่การรบ)
๔. การปฏิบัติการทางจิตวิทยา
๕. เรื่องอื่น ๆ ที่เห็นควรรายงานหน่วยเหนือให้ทราบ เช่น การตรวจเยี่ยมของผู้บังคับบัญชา ฯลฯ

ต–๒
อนุผนวก ๓ (แบบรายงานยุทธการตามห้วงระยะเวลา) ประกอบผนวก ต (รายงาน)
……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………….
หน่วย
ที่ตั้ง
วัน,เดือน,ปี
รายงานยุทธการตามระยะเวลา (ประจาเดือน) ที…่ ……………………………..
ห้วงระยะเวลา…………….(วัน,เดือน,พ.ศ.)………ถึง………….(วัน,เดือน,พ.ศ.)………………
อ้างถึง : แผนที่ประเทศไทย มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง……………………………

๑. สถานกรณีในห้วงระยะเวลา
- ที่ตั้งหน่วยรอง (ควรแยกเป็นผนวกต่าง ๆ บอกพิกัดที่ตั้งหน่วยต่าง ๆ)
รายงานสถานการณ์ทั่วไป ที่เห็นว่าหน่วยรับรายงาน และหน่วยรับทราบ ควรจะต้องทราบ
๒. ข่าวสารของหน่วยข้างเคียง และหน่วยสนับสนุน
- ข่าวสารของหน่วยข้างเคียง และหน่วยสนับสนุนทั้งทางพื้นดินและอากาศ ตามลาดับหน่วยในห้วงระยะเวลา
รายงาน
๓. การปฏิบัติของหน่วยในห้วงระยะเวลา
- สรุปการปฏิบัติที่สาคัญของหน่วย และหน่วยรอง ที่ขึ้นตรง ตามลาดับภายในห้วงระยะเวลารายงาน
๔. ประสิทธิภาพในการรบ
ก. สถานภาพในด้านกาลังพล (ลงสถานภาพกาลังพลที่ปฏิบัติงานอยู่ในห้วงระยะเวลารายงาน โดยคิดเป็นร้อย
ละของยอดกาลังพลอนุมัต)ิ
ข. สภาพด้านขวัญ (ลงสถานภาพในด้านขวัญโดยทั่วไป ในห้วงระยะเวลารายงาน)
ค. สถานภาพด้านสุขภาพ (ลงสถานภาพในด้านสุขภาพของกาลังพลโดยทั่วไป เช่น สุขภาพทั่วไปดีหรือสุขภาพ
ไม่ดีก็ให้บอกด้วยว่าส่วนใหญ่เกิดจากอะไร)
ง. สถานภาพในการฝึก (ลงสถานภาพในการฝึกว่าหน่วยได้มีการฝึกพิเศษ หรือฝึกทบทวนในด้านใดบ้างและผล
การฝึกโดยทั่ว ๆ ไป )
จ. สถานภาพในการส่งกาลังบารุง (ลงเฉพาะในเรื่องที่ประสบปัญหาข้อขัดข้อง หรือขาดแคลนเป็นพิเศษ)

ต–๓
๕. สรุปผลการปฏิบัติ
ก. การปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการทาลายฝ่ายตรงข้าม (สรุปจานวนครั้งการปฏิบัติและในแต่ละครั่งให้สรุปสั้น ๆ
ตามหัวข้อต่อไปนี้)
๑) เป้าหมาย
๒) ขนาดกาลังที่ใช้
๓) ห้วงระยะเวลาการปฏิบัติงาน
๔) ผลการปฏิบัติ
ข. การปฏิบัติเพื่อสกัดกั้น และขัดขวางการส่งกาลังบารุงฝ่ายตรงข้าม
๑) การ ลว. ตรวจค้นและสกัดกั้น………………ครั้ง,ปะทะ………………….ครั้ง
๒) การซุ่มโจมตี…………..ครั้ง,ปะทะ…………….ครั้ง
๓) การตั้งจุดตรวจ……………….แห่ง (ให้บอกที่ตั้งจุดตรวจทุกแห่งด้วย)
ค. การจัดตั้งกาลังคุ้มครองเส้นทาง (เส้นทางที่จัดกาลังทหารคุ้มครอง,ขนาดกาลังที่ใช้ และผลการปฏิบัติ)
ง. การปฏิบัติทางทหาร เพื่อตอบโต้การคุกคามของฝ่ายตรงข้ามตามเหตุการณ์
๑) เป้าหมาย
๒) ขนาดกาลังที่ใช้
๓) ห้วงระยะเวลาการปฏิบัติงาน
๔) ผลการปฏิบัติ
จ. การปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม
๑) ซุ่มโจมตีฝ่ายเรา…………ครั้ง (กลางวัน……ครั้ง กลางคืน…….ครั้ง)
๒) โจมตีฝ่ายเรา…………….ครั้ง (กลางวัน……ครั้ง กลางคืน…….ครั้ง)
๓) ทาการรบกวนฐานการยิงฝ่ายเรา……ครั้ง (กลางวัน……ครั้ง กลางคืน…….ครั้ง)
๔) ทาการยิง บ. และ ฮ. ฝ่ายเรา…………ครั้ง (เฉพาะที่ทาให้ บ. และ ฮ. ฝ่ายเราชารุดเสียหาย )
ฉ. การสูญเสียกาลังพล
๑) ฝ่ายเรา
ก) ตาย…………นาย (ถูกยิง……นาย ถูกกับระเบิด………..นาย อื่น ๆ ………...นาย)
ข) บาดเจ็บ……..นาย (ถูกยิง……นาย ถูกกับระเบิด………..นาย อื่น ๆ ………...นาย)
ค) ถูกจับ………นาย
ง) สูญหาย………นาย
จ) รวมทั้งสิ้น…………นาย
๒) ฝ่ายตรงข้าม
ก) ตาย………….นาย
ข) บาดเจ็บ……….นาย
ค) ถูกจับ……..นาย
ง) มอบตัว……..นาย
จ) รวมทั้งสิน……..นาย

ต–๔
ช. การสูญเสียยุทโธปกรณ์
๑) ฝ่ายเรา
- (ลงรายการและจานวนยุทโธปกรณ์, สป. และสิ่งต่าง ๆ ที่ชารุด หรือสูญหายจากการกระทา
ของข้าศึก ในห้วงระยะเวลารายงาน)
๒) ฝ่ายตรงข้าม
- (ลงรายการและจานวนยุทโธปกรณ์, สป. และสิ่งต่าง ๆ ที่ชารุด หรือสูญหายจากการกระทา
ของฝ่ายเรา ในห้วงระยะเวลารายงาน)
๖. เรื่องอื่น ๆ
(เรื่องต่าง ๆ นอกเหนือจากรายงานแล้วตามข้อ ๑ – ๔ ที่ต้องรายงานให้ทราบเพิ่มเติม)

ต–๕

You might also like