You are on page 1of 97

กองทัพบก

ระเบียบและหลักสู ตรการฝึ ก
การฝึ กทหารใหม่ เบื้องต้ นทั่วไป

สาหรับ
ทหารทุกเหล่าของกองทัพบก
(๖ สัปดาห์ )

-------------------------------
พ.ศ. ๒๕๖๔
คำนำ
ระเบี ย บและหลัก สู ต รการฝึ กทหารใหม่ เ บื้ อ งต้น ทั่ว ไป ส าหรั บ ทหารทุ ก เหล่ า ของ
กองทัพบก (๖ สัปดาห์) พ.ศ. ๒๕๖๔ เล่มนี้ กรมยุทธศึกษาทหารบก พิจารณาปรับปรุ งเพิ่มเติมตามนโยบาย
ด้านการฝึ กของกองทัพบก โดยนาข้อมูล แนวทางหลักสู ตร Basic Combat Training (BCT) ของค่ายแจ๊ค
สัน เซาท์ แคโรไลนา เป็ นการฝึ กบุคคลพลเรื อน (เพศชาย/หญิง) ที่ได้รับการคัดเลือกเป็ นทหาร
เพื่อบรรจุ เข้าประจาการในกองทัพสหรัฐ โดยได้จดั ลาดับกลุ่มวิชาจากง่ายไปหายาก และสอดคล้องกับ
คาแนะนา ของกรมแพทย์ทหารบก เพื่อให้ทหารใหม่ของกองทัพบกได้รับการปรับสภาพร่ างกายและ
จิตใจตามลาดับขั้น โดยมุ่งเน้นในด้านการพัฒนาสมรรถภาพร่ างกายให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงอย่างเป็ น
ระบบ มีคุณลักษณะ ทางทหารที่ดี มีความสง่างาม ได้รับการปลูกฝังอุดมการณ์ความรักชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตริ ย ์ และได้รับการฝึ กศึกษาวิชาการทหารเบื้ องต้นเป็ นรายบุคคลให้เป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน เพื่อนาไปใช้เป็ นพื้นฐานในการฝึ กศึกษาตามหลักสูตรการฝึ กของแต่ละเหล่าได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
สรุ ปสาระสาคัญของการปรับปรุ ง แก้ไข ระเบียบหลักสุ ตรนี้ ได้แก่ จานวนชัว่ โมงการฝึ ก จากเดิม ๕๐๐
ชัว่ โมง เป็ น ๓๐๐ ชัว่ โมง โดยเพิ่มเติมวิชาการช่วยเหลือประชาชน ซึ่ งประกอบด้วย การเป็ นผูม้ ีจิตอาสา
และการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย การใช้สื่อสังคมออนไลน์ การฝึ กวิชาชีพเบื้องต้น การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กรมยุท ธศึก ษาทหารบก หวัง ว่า ระเบี ยบและหลักสู ตรการฝึ กทหารใหม่ เบื้ องต้นทัว่ ไป
สาหรับทหารทุกเหล่าของกองทัพบก (๖ สัปดาห์) พ.ศ. ๒๕๖๔ เล่มนี้ จะเป็ นแนวทางให้กบั หน่วยนาไปใช้
ในการจัดการฝึ กทหารใหม่ให้บรรลุตามความมุ่งหมายที่กาหนด หากหน่วยมีขอ้ สงสัยข้อความในเรื่ องใด
หรื อจะให้ขอ้ เสนอแนะในการปรั บปรุ งแก้ไขและพัฒนาให้ดีข้ ึน กรุ ณาระบุหน้า , หัวข้อ, บรรทัด และ
ข้อความนั้น ๆ พร้อมด้วยเหตุผลประกอบในการเสนอแนะหรื อข้อคิดเห็น เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง
สามารถนามาปรับปรุ งแก้ไขได้โดยสมบูรณ์ ส่ งไปยัง กองการตรวจและมาตรฐานการฝึ ก สานักการฝึ ก
กรมยุทธศึกษา -ทหารบก ถนนเทอดดาริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุ งเทพฯ ๑๐๓๐๐ เพื่อที่จะ
ได้นาไปปรับปรุ งแก้ไขให้เหมาะสมต่อไป

กรมยุทธศึกษาทหารบก
+
สารบัญ
หน้ า
บทที่ ๑ ตอนที่ ๑ กล่าวทัว่ ไป ๑–๕
ต อ น ที่ การจัดการฝึ ก ๖ – ๑๑

ตอนที่ ๓ การประเมินผล ๑๒
ตอนที่ ๔ การตรวจการฝึ ก ๑๒
ตอนที่ ๕ การรายงานผล ๑๒
บ ท ที่ ตอนที่ ๑ ตารางกาหนดการฝึ กหลัก ๑๓ – ๑๕

ต อ น ที่ ตารางกาหนดการฝึ กประจาสัปดาห์ ๑๖ – ๑๙

ตอนที่ ๓ กาหนดเวลาการฝึ กประจาวัน ๒๐ – ๒๑
ตอนที่ ๔ แถลงหลักสูตรการฝึ ก ๒๒ – ๖๑
ตอนที่ ๕ การฝึ กยิงปื น ๖๒ – ๖๖
บ ท ที่ ตอนที่ ๑ ความต้องการสิ่ งอุปกรณ์ ประเภทที่ ๓ ๖๗ – ๖๘

ต อ น ที่ ความต้องการสิ่ งอุปกรณ์ ประเภทที่ ๕ ๖๙ – ๗๒

ตอนที่ ๓ ความต้องการ สป. สิ้ นเปลือง ๗๓ – ๗๔
บ ท ที่ ผนวก ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึ กฯ ๗๕

บทที่ ๑
ระเบียบการฝึก
.................................................

ตอนที่ ๑
กล่าวทั่วไป
๑. ความมุ่งหมาย
หลัก สู ตรการฝึ กทหารใหม่ ข องกองทัพ บกก าหนดขึ้ น เพื่ อใช้เป็ นแนวทางส าหรั บ การ
ฝึ กอบรมทหารใหม่ที่เพิ่งเข้ามารับราชการทหารตามพระราชบัญญัติรับราชการ พ.ศ.๒๔๙๗ โดยมีความมุ่ง
หมาย ที่จะให้ทหารใหม่ในทุกเหล่าของกองทัพบก ได้รับการฝึ กศึกษาในวิชาการทหารเบื้องต้นเป็ น
รายบุคคล เพื่อนาไปใช้เป็ นพื้นฐานในการรับการฝึ กศึกษาในหลักสู ตรการฝึ กเบื้องสู งของ
แต่ละเหล่าต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง

๒. วัตถุประสงค์
หลักสู ตรการฝึ กนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อฝึ กอบรมพลทหารที่ยงั ไม่เคยรับราชการทหารมาก่อน
ให้มีความรู ้ในวิชาการทหารเบื้องต้นที่ทหารใหม่ทุกเหล่าของกองทัพบกจะต้องรู ้เหมือนกันทั้งหมด
๒.๑ เพื่ อปรั บ สภาพทางร่ างกายและทางจิ ตใจจากการดาเนิ นชี วิตแบบพลเรื อนมาเป็ น
การดาเนินชีวิตแบบทหารในกรณี ต่อไปนี้
๒.๑.๑ เพื่อให้ทราบถึงคุณลักษณะและท่าทางของทหารที่จะนาไปปรับปรุ งตนเองให้
มีความคุน้ เคยกับชีวิตแบบทหารกับให้เรี ยนรู ้ถึงวิธีปฏิบตั ิตนเพื่อการอยู่และปฏิบตั ิงานร่ วมกันได้อย่างมี
ระบบและเป็ นระเบียบ
๒.๑.๒ เพื่อให้ทราบถึงแบบธรรมเนี ยมของทหารที่จาเป็ นจะต้องนาไปใช้ประพฤติ
ปฏิบตั ิตนตลอดห้วงเวลาที่รับราชการอยูใ่ นกองประจาการและในขณะที่เป็ นทหารกองหนุน
๒.๑.๓ เพื่อปลูกฝังจิตใจให้มีคุณธรรมที่ดีงาม ซึ่งจะเป็ นเครื่ องส่ งเสริ มให้ทหารใหม่
เป็ นบุคคลที่มีคุณค่าต่อกองทัพบกมีอุดมการณ์เพื่อชาติศาสนาพระมหากษัตริ ยแ์ ละประชาชน
๒.๑.๔ เพื่ อ ปลู ก ฝั ง ให้ มี ส่ ว นร่ วมและรั ก ษาไว้ซ่ ึ งระบบการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
๒.๑.๕ เพื่อปลูกฝังให้มีกิริยามารยาทที่ดีงาม, เป็ นผูม้ ีวินยั และขวัญอันสู งส่ ง เป็ นผูม้ ี
คุณค่าทางสังคม เป็ นพลเมืองดีของประเทศ และเป็ นที่เลื่อมใสศรัทธาจากประชาชน ตลอดจนให้สามารถ
เป็ นผูน้ าของท้องถิ่นได้เมื่อปลดออกจากกองประจาการไปแล้ว
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๕

๒.๑.๖ เพื่อเสริ มสร้างให้มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงเป็ นมาตรฐานเดียวกัน อดทน


ต่อการปฏิบตั ิงานอย่างตรากตราและทรหด และปฏิบตั ิหน้าที่ต่างๆได้ท้ งั ยามสงบและยามสงคราม
๒.๒ ฝึ กฝนให้มีความรู ้ในวิชาการทหารเบื้องต้นที่ทหารทุกเหล่าจาเป็ นต้องรู ้ในวิชาการ
ต่าง ๆดังต่อไปนี้คือ
๒.๒.๑ วิชาทหารทัว่ ไป : เพื่อให้ทหารใหม่มีค วามรู ้ในเรื่ องการติดต่อสื่ อสาร รู ้จกั
หลักและวิธีในการติด ต่อสื่ อสารประเภททางสายและวิทยุ วิธีรับ-ส่ งข่าวและการใช้ทศั นสัญญาณ เสี ยง
สัญญาณ, การข่าวเบื้องต้น มีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องการข่าวทางทหารให้มากพอแก่ความจาเป็ นเท่าที่พล
ทหาร ควรจะต้องทราบ และสามารถนาไปใช้ปฏิบตั ิงานตามหน้า ที่ของตนในสนามรบได้เป็ นอย่างดี
รวมทั้ง มีทกั ษะในการเป็ นคนช่างสังเกตและมีทกั ษะเบื้องต้นในการสะกดรอย, การอ่านแผนที่และ
การใช้เข็มทิศ ให้เพียงพอที่จะนาไปปฏิบตั ิหน้าที่ของพลทหารได้, การปฐมพยาบาลและสุขอนามัย รู ้จกั
ขบวนการที่สาคัญและสิ่ งที่เป็ นอันตรายต่อชีวิต และให้ทราบถึงแนวทางในการป้องกันและแก้ไขอันตรายที่
เกิดขึ้น กับให้สามารถช่วยเหลือตนเองและเพื่อนทหารเมื่อได้รับบาดเจ็บ
๒.๒.๒ วิช าการใช้อาวุธ : ให้ทหารใหม่มี ความรู ้ ใ นเรื่ องการใช้อาวุธ ประจากาย,
ลู ก ระเบิ ด ขว้า ง, การใช้ด าบปลายปื นและการปรนนิ บัติ บ ารุ ง อาวุ ธ ยุท โธปกรณ์ , ทราบถึ ง คุณลัก ษณะ
ทัว่ ไป การถอดประกอบ การทางานของเครื่ องกลไก การระวังรักษา และการทาความสะอาด ตลอดจน
ฝึ กให้ทาการยิงปื นได้อย่างแม่นยา, มีความรู ้ในเรื่ องคุณลักษณะและขีดความสามารถของลูกระเบิดขว้า ง
โดยเน้นให้สามารถขว้างลูกระเบิดขว้างได้อย่างแม่นยา, ให้ทหารใหม่มีความรู ้ และมีความคุน้ เคยในการใช้
ดาบปลายปื นต่อสู้กบั ข้าศึกในระยะประชิดได้ทุกลักษณะ ทั้งนี้ เป็ นการฝึ กให้ทหารใหม่รู้จกั และสามารถ
ปฏิบตั ิ ในขั้นพื้นฐานได้ โดยเน้นเพียงความแข็งแรงและความแม่นยาในการปฏิบตั ิ สาหรับความ
ชานาญและ ความคล่องแคล่วนั้นให้ทาการฝึ กเพิม่ เติมในวิชากายบริ หาร/ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว
๒.๒.๓ วิชายุทธวิธี : ให้ทหารใหม่มีความรู ้เกี่ยวกับการปฏิบตั ิการรบเป็ นบุคคลและ
เป็ นหน่วยในเรื่ องการพรางบุคคล เครื่ องสนาม และยุทโธปกรณ์ รวมทั้งการเลือกใช้ที่กาบังและการซ่ อน
พรางอย่างเหมาะสม เพื่อให้สามารถนาไปปฏิบตั ิได้เมื่ออยู่ในสนามรบ, การเรี ยนรู ้หลักและวิธีปฏิบตั ิการ
ฝึ กบุคคลทาการรบในเวลากลางวันและกลางคืน เพื่อนาไปใช้เป็ นพื้นฐานของการปฏิบตั ิการเป็ นหน่วยทาง
ยุทธวิธี, เพิ่มพูนประสิ ทธิ ภาพในการรบของทหารให้สามารถปฏิบตั ิการรบได้ทุกสภาพภูมิประเทศและ
ทัศนวิสัยที่จากัด, เสริ มสร้างให้ทหารใหม่แต่ละคนเกิดความมัน่ ใจในตัวเองในการรบในเวลากลางคืน, มี
ความรู ้และสามารถ สร้างหลุมบุคคลได้, เรี ยนรู ้ถึงลักษณะของเครื่ องกีดขวางต่อต้านเป็ นบุคคลและเครื่ อง
กีดขวางต่อต้านยานพาหนะ พร้อมทั้งสามารถสร้างเครื่ องกีดขวางลวดหนามได้, มีความรู ้เกี่ยวกับการยิง
ปื นประกอบ การเคลื่อนที่ เพื่อให้เกิ ดความคุน้ เคยกับอาวุธประจากายมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถ
ปฏิบตั ิการยิงปื นเป็ นคู่ ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ, ให้มีความรู ้เกี่ยวกับหลักการลาดตระเวนเบื้องต้นและ
ทราบหน้าที่การปฏิบตั ิในฐานะเป็ นพลลาดตระเวน โดยเฉพาะการลาดตระเวนหาข่าวเป็ นหลัก ตลอดจน
ฝึ กให้ทหารใหม่มีจิตใจ ที่ไม่หวาดกลัวต่อเสี ยงปื น เสี ยงระเบิดในสนามรบ จนกระทัง่ เกิดความ
ตอนที่ ๑ หน้า ๖

เชื่อมัน่ ในตนเอง, มีความรู ้ในเรื่ อง การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและพักแรมในสนาม โดยเฉพาะเรื่ องที่ทหาร


ใหม่จาเป็ นจะต้องทราบและสามารถนาไปใช้ในการปฏิบตั ิการรบได้จริ ง

๒.๒.๔ การฝึ กบุคคลท่าเบื้องต้น : ได้แก่การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า, การฝึ กบุคคล


ท่าอาวุธ ,การฝึ กแถวชิ ด และการฝึ กเดินสวนสนาม โดยยึดถือคู่มือการฝึ กของโรงเรี ยนทหารมหาดเล็ก
ราชวัลลภรักษาพระองค์ฯ เป็ นแนวทางในการฝึ ก เพื่อปลูกฝังในเรื่ องการเป็ นผูม้ ีคุณลักษณะทางทหารที่ดี
มีความสง่างาม ความเป็ นผูม้ ีระเบียบวินยั ที่ดี และมีความพร้อมในการปฏิบตั ิภารกิจที่ได้รับมอบ
๒.๒.๕ การช่ ว ยเหลื อ ประชาชน : เพื่ อ ให้ มี ค วามสอดคล้อ งกับ ภารกิ จ ของ
กองทัพบกในยามที่ประเทศไม่มีศึกสงคราม ภัยพิบตั ิตามธรรมชาติต่างๆ ยังคงมีความต่อเนื่อง เช่น อุทกภัย,
อัคคีภยั ,แผ่นดินไหว และตึกถล่ม,ภัยแล้ง เป็ นต้น โดยทหารใหม่จะได้รับการฝึ กอบรมในเรื่ องหลักการกูภ้ ยั
เบื้ องต้น,การช่วยเหลื อผูป้ ระสบภัย ในสภาวะต่างๆ โดยมุ่งเน้นในเรื่ อง การปฐมพยาบาล และภัยพิ บัติ
ประเภทต่าง ๆ ตลอดจนการฝึ กอบรมให้เป็ นผูม้ ีจิตอาสาทาความดีเพื่อประชาชน ซึ่งเป็ นแนวพระราชดาริ
ในรัชกาลที่ ๑๐
๒.๒.๖ วิชาชี พระยะสั้น : เพื่อให้มีวิชาชีพที่สามารถนาไปในการช่วยเหลืองาน
ภายในหน่วย การช่วยเหลือประชาชนและช่วยในการพัฒนาประเทศในขณะที่ประจาการอยู่ในหน่วย และ
สามารถนาไปประกอบอาชีพสุ จริ ตเพื่อเลี้ยงชีพหลังจากปลดประจาการไปแล้วได้

๓. ขอบเขตการฝึก
ระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกทหารใหม่เบื้องต้น ทั่วไป สําหรับทหารทุกหน่วย ของ
ทบ. นี้ ใช้กรอบระยะเวลาการฝึก ๖ สัปดาห์ (๓๐๐ ชั่วโมง) แบ่งเป็น
๓.๑ การดำเนินกรรมวิธีรับทหารใหม่เข้าหน่วย มีระยะเวลา ๒๗ ชั่วโมง
๓.๒ การฝึก มีระยะเวลา ๒๖๐ ชั่วโมง โดยมีรายละเอียดในการฝึก ดังนี้
๓.๒.๑ การฝึกบุคคลท่าเบื้องต้น
๓.๒.๒ การเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย
๓.๒.๓ การช่วยเหลือประชาชน
๓.๒.๔ การสอนอบรม
๓.๒.๕ วิชาทหารทั่วไป
๓.๒.๖ การใช้อาวุธ
๓.๒.๗ การฝึกทางยุทธวิธี
๓.๓ การตรวจสอบการฝึก มีระยะเวลา ๑๓ ชั่วโมง (ทำการตรวจสอบการฝึกหลังจากจบ
การฝึกในแต่ละหมวดวิชา)
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๗

๔. ความรับผิดชอบการฝึก
การดําเนินการฝึก ให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้บังคับกองพันหรื อผู้บังคับหน่วยเทียบเท่า
โดยให้ดําเนินการดังต่อไปนี้
๔.๑ ออกคําสั่งแต่งตั้งผู้อํานวยการฝึก ให้คําแนะนําในการดําเนินการฝึกสอน ตลอดจน
การเตรียมการต่าง ๆ
๔.๒ ออกคําสั่งแต่งตั้งกำลังพล ให้ทําหน้าที่เป็นผู้ฝึก, ผช.ผู้ฝึก, ครูนายสิบ และครูทหารใหม่
ตามอัตราการจัด ๑ : ๑ : ๘ สำหรับครูทหารใหม่เพิ่มอะไหล่อีก ๒๐% เพื่อการฝึกครูทหารใหม่
๔.๓ ออกคําสั่งการฝึกให้สอดคล้องและเป็นไปตามห้วงเวลาที่กองทัพบกกําหนด
๔.๔ จัดให้มีการคัดเลือกตัวพลทหารกองประจําการ เพื่อเข้ารับการฝึก เป็นครูทหารใหม่
อย่างเหมาะสมและยุติธรรม โดยมุ่งถึงผลดีที่จะบังเกิดแก่กองทัพบกเป็นสําคัญ
๔.๕ จัดให้มีการตรวจสอบหรือการสอบอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ทราบคุณวุฒิของ ผู้รับ
การฝึกได้อย่างแท้จริงเมื่อจบการฝึกตามหลักสูตร

๕. การบรรลุผล
เพื่อให้การบรรลุผลตามความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ดงั กล่าวแล้วข้างต้นผูบ้ งั คับบัญชา
ทุกระดับและนายทหารฝ่ ายอานวยการที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการฝึ กสอนอบรมต้องให้ความสนใจอย่าง
ต่อเนื่องจะต้องกากับดูแลการฝึ กอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้ เพื่อให้ผมู ้ ีหน้าที่ทาการฝึ กทหารใหม่ ได้ดาเนินการฝึ ก
อย่างดีที่สุดเมื่อพบข้อบกพร่ องใด ๆ ที่อาจจะมีผลทาให้การฝึ กสอนไม่บรรลุผลดีเท่าที่ควรต้องรี บแก้ไข
หรื อให้ การสนับสนุนเท่าที่จะสามารถกระทาได้ในทันที

ผูฝ้ ึ กต้องพยายามคิดค้นหาวิธีการฝึ ก เพื่อให้ทหารใหม่แต่ละคนมีความรู ้มีความสามารถ


อย่างแท้จริ ง โดยมุ่งไปสู่ การฝึ กที่เน้นผลการปฏิบตั ิและใช้ทรัพยากรสนับสนุ นการฝึ กที่มีอยู่อย่างคุม้ ค่า
การดาเนิ นการฝึ กจะต้องดาเนิ นไปอย่างประณี ตรอบคอบและเอาใจใส่ เมื่อพบข้อบกพร่ องใดๆ ที่เกิดขึ้น
จากการฝึ กและสอน จะต้องแก้ไขหรื อรายงานให้ผูบ้ งั คับบัญชาทราบทันที ผูฝ้ ึ กจะต้องเข้มงวดกวดขัน
ให้ครู นายสิ บและครู ทหารใหม่ ได้ทาการฝึ กสอนทหารใหม่ในความรับผิดชอบของตนด้วยการปฏิบตั ิงาน
อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรมของความเป็ นครู

๖. หลักฐานการฝึ ก
๖.๑ นโยบายการฝึ กคาสั่งการฝึ กและบันทึกสั่งการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึ กทหารแต่ละ
ปี ของกองทัพบก
๖.๒ คู่มือราชการสนามว่าด้วยการฝึ กทหาร (รส.๒๑-๕)
๖.๓ คู่มือราชการสนามว่าด้วยวิธีเตรี ยมการและดาเนินการฝึ กที่เน้นผลการปฏิบตั ิ (รส.๒๑-
ตอนที่ ๑ หน้า ๘

๖)
๖.๔ คู่มือราชการสนามว่าด้วยเครื่ องช่วยฝึ ก (รส.๒๑-๘)
๖.๕ คู่มือราชการสนามว่าด้วย กองร้อยช่วยเหลือประชาชนในการบรรเทาสาธารภัย พ.ศ.
๒๕๕๘
๖.๖ คู่มือการฝึ กเบื้องต้น ร.ร.ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๖๐
๖.๗ คู่มือราชการสนามคู่มือทางเทคนิ คคู่มือการฝึ กและหลักฐานเตรี ยมการฝึ กทหารใหม่
แต่ละวิชาที่กองทัพบกได้อนุมตั ิให้ใช้เป็ นหลักฐานได้
๖.๘ ระเบียบข้อบังคับคาสั่งและคาชี้แจงต่างๆของกองทัพบกที่เกี่ยวข้อง

๗. การบังคับใช้
ให้ใช้ระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กทหารใหม่ของกองทัพบกเล่มนี้ เป็ นแนวทางในการ
ดาเนิ นการฝึ กทหารใหม่ที่เข้ากองประจาการของกองทัพบก ตั้งแต่บดั นี้ เป็ นต้นไปจนกว่ากองทัพบกจะมี
คาสั่งเปลี่ยนแปลงเป็ นอย่างอื่น

๘. การปรับปรุงแก้ ไข
๘.๑ การปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขระเบี ยบและหลัก สู ตรการฝึ กเล่ม นี้ ให้เหมาะสม และเป็ นผลดี
ต่อการฝึ กสอนอบรมของกองทัพบก เป็ นหน้าที่ของกรมยุทธศึกษาทหารบกและศูนย์การทหารราบ หาก
หน่วยใดมีความประสงค์จะให้ขอ้ เสนอแนะในการเปลี่ยนแปลง แก้ไข หรื อข้อคิดเห็นต่าง ๆ เพื่อปรับปรุ ง
ระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กเล่มนี้ ให้ดีข้ ึน และควรแจ้งหน้า ข้อ และบรรทัด ตามที่ปรากฏในระเบียบและ
หลักสู ตรการฝึ กเล่มนี้ดว้ ย รวมทั้งให้เหตุผลประกอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และสามารถนาไป
ประเมินค่าได้ โดยสมบูรณ์ ข้อคิดเห็นดังกล่าวนี้ ขอให้ส่งตรงไปยัง กองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ
ค่ายธนะรัชต์ อาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ๗๗๑๖๐
๘.๒ หน่วยใดที่ไม่สามารถปฏิบตั ิตามระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กเล่มนี้ หรื อมีขอ้ ขัดข้อง
ประการใดก็ดี ให้รายงานข้อขัดข้อง พร้ อมด้วยข้อเสนอแนะของหน่ วยต่อผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับขั้น
จนถึงกรมยุทธศึกษาทหารบก เพื่อตกลงใจขจัดปัญหาหรื อปรับปรุ งแก้ไขให้เป็ นมาตรฐานที่สมบูรณ์ต่อไป

------------------------------------------
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป

ตอนที่ ๒
การจัดการฝึ ก

๑. แนวความคิดในการจัดการฝึก
ระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ได้กําหนดไว้สําหรับให้นายทหารฝ่ายยุทธการและการฝึก หรือ
เจ้าหน้าที่ ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้มีหน้าที่รับผิดชอบ และกํากับดูแลการฝึกของหน่วย ได้นําไปใช้เป็นเครื่องมือ
อํานวยความสะดวก ในการวางแผนการฝึก และจัดทําตารางกําหนดการฝึกของแต่ละวิชา ให้มีลําดับการสอน
และฝึกที่เหมาะสม และสัมพันธ์กับความยากง่ายของแต่ละวิชาโดยจะเริ่มฝึกจากง่ายไปยาก ครูผู้ฝึกและสอน
ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการฝึกและสอนสําหรับแต่ละวิชาจะต้องนําเอาไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทําแผนบทเรียน
เพื่อให้การฝึกและสอนอยู่ภายในขอบเขตตามที่ระเบียบและหลักสูตรการฝึกกําหนด

๒. การนาไปใช้
๒.๑ ตารางกาหนดการฝึ กหลัก, ตารางกาหนดการฝึ กเป็ นรายสัปดาห์ , กาหนดเวลาการฝึ ก
ประจาวันและแถลงหลักสู ตรการฝึ กตามที่กาหนดไว้ใ นตอนที่ ๔ , ๕ , ๖ และ ตอนที่ ๗ ของระเบี ย บ
และหลักสู ตรการฝึ กนี้ ได้กาหนดไว้สาหรับให้นายทหารฝ่ ายยุทธการและการฝึ กหรื อเจ้าหน้าที่ ผูซ้ ่ ึงได้รับ
แต่งตั้ง ให้มีหน้าที่รับผิดชอบและกากับดูแลการฝึ กของหน่วย ได้นาไปใช้เป็ นเครื่ องมืออานวยความสะดวก
ในการวางแผนการฝึ กและจัดทาตารางกาหนดการฝึ กของแต่ละวิชาให้มีลาดับการสอนที่เหมาะสมและ
ต่อเนื่อง
๒.๒ แถลงหลักสูตรตามที่กาหนดไว้ในตอนที่ ๗ ของระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กนี้ ผูฝ้ ึ ก
ทหารใหม่จะต้องนาเอาไปใช้เป็ นแนวทางในการจัดทาแผนบทเรี ยน พร้อมทั้งดาเนิ นการสอนและฝึ กให้มี
รายละเอียดครบถ้วน และเป็ นไปตามขั้นตอนอย่างถูกต้องตามระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กกาหนดไว้
๒.๓ ผู ้บ ัง คับ หน่ ว ยที่ รั บ ผิ ด ชอบในการจัด ท าตารางก าหนดการฝึ กจะเปลี่ ย นแปลง
รายละเอียดบางประการตามที่กาหนดไว้ในระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กนี้ ได้ แต่จะต้องให้คงมีวิชาและ
ชัว่ โมงการฝึ กสอนไม่นอ้ ยกว่าที่กาหนดไว้ในระเบียบและหลักสู ตรการฝึ กนี้ ทั้งนี้เพื่อ
๒.๓.๑ ให้เหมาะสมกับจานวนสิ่ งอานวยความสะดวกในการฝึ กที่มีอยู่
๒.๓.๒ ให้เหมาะสมกับครู ผสู ้ อนและจานวนเครื่ องช่วยฝึ กที่มีอยู่
๒.๓.๓ ให้เหมาะสมกับสภาพสิ่ งแวดล้อมและสภาพลมฟ้าอากาศ
๒.๔ ผูฝ้ ึ กหรื อนายทหารที่รับผิดชอบในการฝึ กจะต้องจัดทาตารางกาหนดการฝึ กประจาวัน
เพื่อใช้ในการฝึ กประจาวันตามปกติ
๒.๕ ผูฝ้ ึ กจะต้องใช้ดุลยพินิจในการกาหนดวิธีการฝึ กให้เหมาะสมกับจานวนทหารใหม่
จานวนเครื่ องช่วยฝึ ก และจานวนครู ที่มีอยู่เพื่อป้ องกันมิให้ทหารใหม่ตอ้ งรอคอยการฝึ กอันเนื่ องมาจาก
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๗

ความจากัดของเครื่ องช่วยฝึ กและครู


๒.๖ ในการจัดทาตารางกาหนดการฝึ ก ให้ลาดับวิชาที่จะฝึ กสอนจากวิชาที่ง่ายไปหายาก
ตามลาดับ และมีการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง
๒.๗ ผูฝ้ ึ ก ครู นายสิ บ และครู ทหารใหม่ เป็ นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้ประสบผลสาเร็ จหรื อ
ล้ม เหลวผูบ้ ัง คับ หน่ ว ยจะต้อ งพิ ถี พิ ถ ัน ในการจัด ผูฝ้ ึ กครู น ายสิ บ และครู ท หารใหม่ ให้มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ
ต่อการฝึ กสอนและอบรม
๒.๘ หน่วยที่ขาดแคลนเครื่ องมือเครื่ องใช้ในการฝึ กเพราะไม่มีกาหนดไว้เป็ น อจย. หรื อ
อสอ. ให้ผูบ้ งั คับหน่ วยเหนื อของหน่ วยที่ขาดแคลนเครื่ องมือเครื่ องใช้ดังกล่าวเป็ นผูด้ าเนิ นการแก้ไ ข
เพื่อให้การฝึ กทหารใหม่ดาเนินการไปได้อย่างต่อเนื่อง

๓. วิธีดาเนินการฝึ ก
๓.๑ การดาเนินการฝึ กจะต้องยึดถือและปฏิบตั ิตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ในคู่มือราชการ -
สนาม ว่าด้วยวิธีเตรี ยมการและดาเนินการฝึ กที่เน้นผลการปฏิบตั ิ (รส.๒๑ - ๖)
๓.๒ พยายามให้ทหารใหม่ได้มีโอกาสปฏิบตั ิจริ งให้มากกว่าการสอนด้วยปากเปล่าและ
ให้พยายามหลีกเลี่ยงการบอกให้ทหารใหม่จดบันทึกจะทาให้ทหารใหม่เรี ยนรู ้ได้ทนั ภายในเวลาที่กาหนด
๓.๓ การฝึ กหมุนเวียนเป็ นวิธีการจัดการฝึ กที่ดีจะช่วยให้ทหารใหม่มีความตื่นตัวสามารถ
ฝึ กสอนได้อย่างทัว่ ถึงและการฝึ กบ่อยๆ จะช่วยให้ทหารใหม่มีโอกาสทบทวนทาซ้ า ทาให้เข้าใจและจดจา
ได้ดี
๓.๔ ควรทบทวนเรื่ องต่างๆที่ได้ฝึกสอนไปแล้วให้เข้ากับเรื่ องที่ทาการฝึ กสอนในโอกาส
อันเหมาะสม วิธีน้ ีควรพยายามกระทาให้มากที่สุด เช่น เมื่อทหารใหม่ได้ฝึกท่าตรงท่าหันมาแล้ว เมื่อทาการ
ฝึ กการใช้อาวุธประจากายก็ควรจะได้กวดขันท่าตรงและท่าหันไปด้วย เป็ นต้น
๓.๕ ผูบ้ งั คับหน่วยจะต้องควบคุมผูฝ้ ึ กให้ทาการฝึ กสอนไปตามลาดับเรื่ องของแต่ละวิชา
ตามที่ได้กาหนดไว้ในหลักฐานเตรี ยมการฝึ กของกองทัพบก เพื่อให้ทหารใหม่ได้มีพฒั นาการอย่างต่อเนื่อง
๓.๖ ผูบ้ งั คับหน่ วยจะต้องออกกาหนดการฝึ กประจาสัปดาห์ , ตารางกาหนดการฝึ กเมื่ อ
สภาพอากาศเปลี่ ย นแปลงให้ผูฝ้ ึ กทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๗ วัน ผูฝ้ ึ กจะต้องทาตารางก าหนดการฝึ ก
ประจาวันขึ้นและให้ครู ฝึกสอนอบรมตามตารางกาหนดการฝึ กประจาวันผูฝ้ ึ กจะต้องศึกษาในเรื่ องต่อไปนี้
๓.๖.๑ เรื่ องและรายละเอียดที่จะต้องทาการฝึ ก
๓.๖.๒ วิทยากรหรื อครู ผฝู ้ ึ กสอน
๓.๖.๓ หลักฐานการฝึ กที่ตอ้ งใช้หรื อหลักฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
๓.๖.๔ วันและเวลาที่ทาการฝึ กสอนอบรม
๓.๖.๕ สถานที่
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป

๓.๖.๖ การแต่งกายเครื่ องมือเครื่ องใช้และเครื่ องช่วยฝึ ก


๓.๖.๗ การป้องกันอันตรายระหว่างทาการฝึ ก

รายละเอี ยดดังกล่าวนี้ ผูฝ้ ึ กจะทราบได้จากกาหนดการฝึ กที่ผูบ้ งั คับบัญชามอบหมายให้


ซึ่งผูฝ้ ึ กต้องพิจารณาวางแผนกาหนดเรื่ องที่จะฝึ กสอนให้เหมาะสมกับครู สอนอบรม สิ่ งอานวยความสะดวก
เครื่ องช่วยฝึ ก และเวลาที่มีอยู่
๓.๗ ในการทาตารางกาหนดการฝึ กประจาสัปดาห์ ถึงแม้ว่าเวลาในห้วง ๒๐๐๐ - ๒๒๐๐
จะเป็ นเวลานอกหลักสู ตรก็ตาม ถ้าหน่ วยกาหนดให้ฝึกเรื่ องใดให้ระบุไว้ในตารางกาหนดการฝึ กประจา
สัปดาห์ดว้ ย เช่น การฝึ กเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางคืน เป็ นต้น
๓.๘ การยิงปื นด้วยกระสุ นจริ งและการใช้วตั ถุระเบิด ให้ดูรายละเอียดในตอนที่ ๙ และ
ให้ยดึ ถือเป็ นหลักปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
๓.๘.๑ รายการใดที่ยงั มิได้กาหนดหากหน่ วยมีความจาเป็ นต้องใช้ให้รายงานไปยัง
กองทัพบกเพื่อขออนุมตั ิใช้
๓.๘.๒ ต้องกากับดูแลวินยั ในการยิงการใช้อาวุธ และวัตถุระเบิดอย่างใกล้ชิด เพื่อให้
อยูใ่ นเกณฑ์ที่ปลอดภัยเสมอ
๓.๙ การฝึ กความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่ างกาย ให้ยึดถือและปฏิบตั ิตามรายละเอียดที่กล่ าว
ไว้ในคู่มือราชการสนามว่าด้วย การฝึ กกายบริ หาร (รส.๒๑ - ๒๐) คู่มือการพัฒนาสมรรถภาพร่ างกายทหาร
พ.ศ. ๒๕๕๘ คู่มือราชการสนามว่าด้วยการต่อสู้ดว้ ยมือเปล่าและอาวุธ (รส.๒๑-๑๕๐) หรื อตามหลักฐาน
เตรี ย มการฝึ กของกองทัพ บก และดาเนิ นการฝึ กให้ส อดคล้องกับ เรื่ องที่ จ ะต้อ งท าการตรวจสอบซึ่ งมี
รายละเอียดที่กล่าวไว้ในตอนที่ ๗ ด้วย
ส่วนวิชา “การทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่ างกาย” ตามที่ได้กาหนดไว้ในหลักสู ตร
การฝึ กฉบับนี้ มีวตั ถุประสงค์ที่จะให้ใช้เป็ นเวลาสาหรับทาการทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่ างกาย
ของผูร้ ับการฝึ กเป็ นรายสัปดาห์ โดยยึดถือตามหลักเกณฑ์ของการตรวจสอบตามรายละเอียดที่กาหนดไว้
ในตอนที่ ๗ เป็ นหลักเกณฑ์ในการทดสอบ เพื่อให้ผูฝ้ ึ กได้ทราบสภาพความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่ างกาย
และพัฒนาการของทหารใหม่เป็ นรายสัปดาห์ และเร่ งรัดฝึ กให้มีสภาพความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่ างกาย
จนได้ระดับมาตรฐาน พร้อมทั้งขอแนะนาว่าควรจะกาหนด ให้ใช้เวลาในเช้าของวันเสาร์ เป็ นเวลาสาหรับ
ทาการทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่ างกายสัปดาห์ละ ๑ ครั้ ง โดยให้มีการบันทึกข้อมู ลสถิติเป็ น
รายบุคคลตั้งแต่ สัปดาห์ที่ ๑ ถึง ๖ อย่างต่อเนื่อง

๔. การประเมินผล
การประเมิ น ผลเป็ นเครื่ อ งมื อ ในการประเมิ น ค่ า การฝึ กทหารใหม่ ใ นกองทัพ บกเป็ น
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๙

รายบุคคล เพื่อให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันในเรื่ อง วิชาการฝึ กเบื้องต้น วิชาทหารทัว่ ไป วิชาการฝึ กทางยุทธวิธี


วิชาการ ใช้อาวุธ และการทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่ างกาย ตลอดจนเป็ นการเสริ มสร้างให้
ทหารใหม่ มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง มีความกระตือรื อร้นในการพัฒนายกระดับมาตรฐานการฝึ กให้ดี
ยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ทั้งยังเป็ นการปลูกฝังเสริ มสร้างความรักความสามัคคีในหมู่คณะ ผูบ้ งั คับหน่วยระดับ
กองพันหรื อเทียบเท่าจะต้องจัดการประชุมชี้แจง อบรม กรรมการประเมินผลการฝึ กทหารใหม่ให้รับทราบ
ถึ ง วิธี ก ารประเมิ นผล การฝึ กที่ ชัดเจน ถูก ต้อง และสามารถประเมิ นผลได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ การ
ประเมิ นผลให้ก ระท าเมื่ อจบ การฝึ กสอนอบรมแต่ล ะรายวิชา ทหารใหม่ทุก นายจะต้องเข้ารั บการ
ประเมินผลทุกวิชาที่ทาการฝึ กสอนอบรม โดยไม่มีการจาหน่ายยอดทหารใหม่ร้อยละ ๒๐ ของยอดเต็ม
และต้องเพ่งเล็งถึงการรับรู ้ ความเข้าใจในเรื่ อง ที่ทาการฝึ กสอนอบรม สามารถตอบคาถามและปฏิบตั ิได้
อย่างถูกต้องมีประสิ ทธิภาพ ในการจัดทหารใหม่ เข้ารับการประเมินผลการฝึ ก จะต้องจัดแบ่งเป็ นกลุ่มย่อย
เพื่อให้สามารถประเมินผลการฝึ กเป็ นรายบุคคล ได้อย่างทัว่ ถึง พร้อมทั้งสามารถให้คาแนะนา แก้ไข
เพิ่ ม เติ ม แก่ ท หารใหม่ เ ป็ นรายบุ ค คลได้ ทั้ง นี้ เพื่ อ เป็ นการประหยัด เวลาในการรอคอยและให้ เ กิ ด
ประสิ ทธิภาพสูงสุด

๕. เครื่ องช่ วยฝึ ก


๕.๑ ถ้าผูฝ้ ึ กรู ้จกั พิจารณาเลือกใช้เครื่ องช่วยฝึ กต่าง ๆ เช่น วีดิทศั น์การฝึ กและแผ่นภาพ
เครื่ องช่วยฝึ กให้เหมาะสมกับเรื่ องที่จะทาการฝึ กสอนแล้วย่อมมีคุณค่าอย่างมากที่จะช่วยให้การสอนบังเกิด
เป็ นผลดียงิ่ ขึ้นโดยผูฝ้ ึ กและครู จะต้องศึกษาและซักซ้อมวิธีใช้ต่าง ๆ ให้เข้าใจก่อนที่จะทาการสอนและฝึ ก
๕.๒ แผ่นภาพเครื่ องช่วยฝึ กต่าง ๆ อาจปรับปรุ งให้เข้ากับความมุ่งหมายของการฝึ กต่าง ๆ
ได้โดยง่าย แผ่นภาพเครื่ องช่วยฝึ กที่กองทัพบกกาหนดขึ้นนั้นมีอยู่เป็ นจานวนมากและเหมาะสมกับวิธีสอน
แต่ละวิธี บางอย่างเหมาะสมกับการสอนเชิงประชุม บางอย่างเหมาะสมกับการแสดงตัวอย่าง และบางอย่าง
เหมาะสมสาหรับตั้งไว้ให้ดูเพื่อความมุ่งหมายเป็ นการทบทวนความจา หรื อการฝึ กฝนตนเอง ผูฝ้ ึ กควรจะได้
ศึกษาให้ทราบถึงลักษณะของแผ่นภาพเครื่ องช่วยฝึ กกับวิธีใช้อย่างเหมาะสม และควรเลือกใช้ให้เหมาะสม
กับวิธีการฝึ กสอนหรื ออบรมของตนในแต่ละครั้งคราวนั้น
๕.๓ ในการฝึ กสอนหรื ออบรมของผูฝ้ ึ กแต่ละครั้งคราวนั้น ผูฝ้ ึ กอาจมีความริ เริ่ มคิดค้นหรื อ
จัดทาขึ้นใหม่เพื่อให้เหมาะกับการฝึ กสอนหรื อการอบรมของตนในแต่ละครั้งคราวนั้น ๆ ก็ได้
๕.๔ การฝึ กจะเป็ นผลดีอย่างยิ่งถ้าผูฝ้ ึ กและครู มีเวลาสาหรับเตรี ยมการและทาความเข้าใจ
ในเครื่ องช่วยฝึ กที่จะนามาใช้ก่อนที่จะถึงเวลาฝึ กสอนจริ ง
๕.๕ ถ้าผูใ้ ดคิดค้นเครื่ องช่วยฝึ กชนิ ดใหม่ ๆ ซึ่ งกองทัพบกยังไม่มีและได้ทดลองใช้แล้ว
บัง เกิ ดผลดี ต่อการฝึ กสอนให้รายงานเสนอโครงการให้ก องทัพ บกทราบตามสายการบังคับบัญชาเพื่ อ
กองทัพบกจะได้พิจารณากาหนดไว้ใช้เป็ นเครื่ องช่วยฝึ กของกองทัพบกต่อไป
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป

๖. การฝึ กกลางคืน
การสอนในวิชาใดก็ตามที่หลักสู ตรการฝึ กได้แถลงรายละเอียดไว้ใ ห้ทาการฝึ กในเวลา
กลางคืนหน่วยฝึ กหรื อผูฝ้ ึ กจะต้องเข้มงวดกวดขันจัดให้มีการฝึ กในเวลากลางคืนอย่างจริ งจัง โดยจะต้องคง
เวลา ที่กาหนดไว้ในหลักสู ตรการฝึ ก หรื ออาจจะพิจารณาขยายเวลาทาการฝึ กให้มากกว่าที่กาหนดไว้
ในหลักสู ตร การฝึ กเท่าที่จะสามารถกระทาได้ และจะต้องเพ่งเล็งถึงวินัยของการฝึ กในเวลากลางคืนเป็ น
พิเศษด้วย
๗. ความปลอดภัย
๗.๑ การรักษาความปลอดภัยในการฝึ กที่สาคัญที่สุดก็คือผูฝ้ ึ กจะต้องระลึกถึงและพิจารณา
อยูเ่ สมอว่าเรื่ องที่ฝึกนั้นจะเกิดอันตรายขึ้นได้หรื อไม่เพียงใด เช่น การใช้อาวุธกระสุนวัตถุระเบิดยานพาหนะ
และเครื่ องมือเครื่ องใช้ต่าง ๆ เป็ นต้น แล้วกาหนดมาตรการป้องกันมิให้เกิดอุบตั ิเหตุข้ นึ ได้โดย
๗.๑.๑ การระมัดระวัง
๗.๑.๒ การพิจารณาใช้เครื่ องช่วยฝึ กอย่างไม่ประมาท
๗.๑.๓ การกากับดูแลและการตรวจตราอย่างใกล้ชิด
๗.๑.๔ ปฏิ บ ัติตามหลักเกณฑ์ในการรั กษาความปลอดภัยอย่างถูกต้องและเข้มงวด
กวดขัน
๗.๒ ความสมจริ งในการฝึ กเป็ นสิ่ งที่พึงประสงค์ แต่ท้ งั นี้ จะต้องคานึ งถึงความปลอดภัย
ของผูร้ ับการฝึ กด้วยเรื่ องหรื อวิชาใดก็ตาม เมื่ อฝึ กแล้วอาจจะเกิดเป็ นอันตรายขึ้นได้ เจ้าหน้าที่ผูฝ้ ึ กสอน
จะต้องคานึงถึงหลักเกณฑ์ของความปลอดภัยเสมอ
๗.๓ การยิ ง ปื นด้ว ยกระสุ น จริ งและการใช้ ว ัต ถุ ร ะเบิ ด ทุ ก ชนิ ด จะต้อ งปฏิ บัติ ต าม
รายละเอียด ที่ได้กาหนดไว้ในคู่มือราชการสนาม, คู่มือการฝึ ก, คู่มือทางเทคนิ ค, หลักฐานเตรี ยมการฝึ ก,
คาสั่ง, คาชี้แจงและแบบธรรมเนี ยมที่เกี่ยวกับการฝึ กของกองทัพบกอย่างเคร่ งครัด การใช้วตั ถุระเบิดจะต้อง
ได้รับการควบคุมโดยตรงจากผูเ้ ชี่ยวชาญในการใช้วตั ถุระเบิดหรื อผูร้ ับผิดชอบการฝึ กเสมอ

๘. การแสดงคุณลักษณะและขีดความสามารถของอาวุธ
ถ้าต้องการให้มีการแสดงให้ผรู ้ ับการฝึ กเห็นถึงคุณลักษณะและขีดความสามารถของอาวุธ
ชนิ ดต่าง ๆ ควรกระทาตั้งแต่เริ่ มต้นการฝึ ก ทั้งนี้ เพื่อให้ผูร้ ับการฝึ กเกิดความเชื่ อมัน่ เกิดความคุน้ เคยและ
มีความมัน่ ใจในการฝึ ก

๙. การยิงปื น
จะต้องให้ทหารใหม่ทุกนายได้ฝึกยิงปื นตามที่กาหนดไว้ในหลักสู ตรการฝึ กนี้ โดยสมบูรณ์
และจะต้องเพ่งเล็งให้ทุกนายใช้อาวุธประจากายได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ การยิงปื นที่จะให้ได้ผลนั้นจะต้องมี
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๑๑

ความประณี ตในการฝึ กและยึดถือหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้คือ.-


๙.๑ ควรจัดให้ทหารใหม่ได้รับการฝึ กยิงปื นด้วยกระสุ นจริ งตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง โดย
ให้ทหารใหม่ได้มีโอกาสฝึ กยิงปื นอย่างสม่าเสมอ แต่ใช้จานวนกระสุนคราวละไม่มาก
๙.๒ ในการฝึ กยิงปื นด้วยกระสุ นจริ งในครั้งหนึ่ง ๆ นั้น จะต้องไม่ใช้เวลามากเกินไปจนทา
ให้ผรู ้ ับการฝึ กเกิดความเบื่อหน่ายและเมื่อยล้า
๙.๓ ในขณะที่ทาการฝึ กยิงปื นนั้นจะต้องจัดให้มีครู ทหารใหม่เป็ นคู่ฝึก เพื่อให้คาแนะนาอย่าง
ใกล้ชิด
๑๐. การอบรม
การอบรมถื อ ว่า มี ค วามส าคัญ เท่ า เที ย มกับ การฝึ ก ทหารใหม่ จ ะต้อ งได้รั บ การอบรม
แนะแนวทางปฏิ บ ัติ ต นให้มี ค วามประพฤติ ที่ ดีง าม ได้รับการปลูก ฝั ง อุด มการณ์ ทหาร หน้าที่ พ ลเมื อ ง
ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย และการใช้การสื่ อสารที่ถูกต้องในยุกต์ปัจจุบนั
รวมทั้งได้รับการชี้ นาวิสัยทัศน์ที่เหมาะสม เวลาการอบรมทหารใหม่ที่กาหนดไว้ในระเบียบและหลักสู ตร
การฝึ กนี้ ยังไม่เพียงพอ ดังนั้น ผูฝ้ ึ ก ครู นายสิ บ และครู ทหารใหม่ทุก นาย ตลอดจนผูบ้ งั คับบัญชาทุ ก
ระดับชั้นจะต้องแสวงโอกาสทาการอบรมทหารใหม่ของตนให้มากที่สุดเท่าที่จะสามารถกระทาได้ เพื่อเพิ่ม
ความใกล้ชิดและสร้างความอบอุ่น หากได้พบเห็นสิ่ งบกพร่ องอันเป็ นหนทางที่จะทาให้ทหารใหม่ประพฤติ
ตนไปในทางที่มิชอบแล้วจะต้องรี บจัดการแก้ไขในทันที

๑๑. การฝึ กทหารใหม่ เฉพาะหน้ าที่


ทหารทุกเหล่าที่กองทัพบกกาหนดให้ทหารใหม่ตอ้ งรับการฝึ กเฉพาะหน้าที่ ตามระเบียบ
และหลักสูตรการฝึ กทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ของเหล่า ให้ดาเนินการดังนี้
๑๑.๑ กระทาการฝึ กต่อจากการฝึ กตามระเบี ยบและหลักสู ตรการฝึ กทหารใหม่เบื้ องต้น
ทัว่ ไป ณ หน่วยฝึ กที่จดั ตั้งขึ้น หรื อหน่วยที่ฝากการฝึ กรับตัวทหารใหม่กลับไปทาการฝึ กทหารใหม่
เฉพาะหน้าที่ ตาม ชกท. ที่บรรจุ ณ หน่วยต้นสังกัด
๑๑.๒ หน่วยต้องจัดทาบัญชีบรรจุกาลังทหารใหม่ตามตาแหน่งหน้าที่ให้แล้วเสร็ จก่อนจบ
การฝึ กทหารใหม่และแจ้งให้หน่ วยฝึ กทหารใหม่ทราบ เพื่อให้การฝึ กทหารใหม่เฉพาะหน้าที่สามารถ
กระทา ต่อจากการฝึ กทหารใหม่ได้อย่างเป็ นระบบ
๑๑.๓ การฝึ กทหารใหม่เฉพาะหน้าที่จะต้องดาเนิ นการอย่างจริ งจัง และมุ่งไปสู่ การฝึ กที่
เน้นผลการปฏิบตั ิอย่างเป็ นรู ปธรรมเช่นเดียวกับการฝึ กตามระเบียบและหลักสูตรการฝึ กทหารใหม่

๑๒. การจัดตั้งหน่ วยฝึ กทหารใหม่


๑๒.๑ การจัดตั้ง หน่ วยฝึ กทหารใหม่ พร้ อมทั้ง แต่ ง ตั้ง ผูร้ ั บ ผิ ดชอบดาเนิ นการฝึ กตาม
หลักสู ตรการฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไปและการฝึ กทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ ถือเป็ นอานาจหน้าที่ของผู ้
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป

บังคับหน่ วยตั้งแต่ระดับกองพันหรื อเทียบเท่าขึ้นไป หรื อกองร้อยอิสระที่ ได้รับอนุ มตั ิให้จดั ตั้งหน่ วยฝึ ก
ทหารใหม่
๑๒.๒ หน่ วยฝึ กทหารใหม่ควรมียอดทหารใหม่ ที่พึงประสงค์ คือ ๑๒๐ นาย/หน่ วยฝึ ก
หรื อเพิ่ม – ลด ได้ไม่เกิน ๔๐ นาย หากหน่วยใดที่มียอดทหารใหม่แต่ละผลัดจานวนมากกว่า ๑๖๐ นาย ให้
จัดตั้งหน่วยฝึ กทหารใหม่มากกว่า ๑ หน่วย เพื่อให้สามารถจัดการฝึ กตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

๑๓. การปฐมนิเทศทหารใหม่
ห้วงระยะเวลา ๑ – ๓ วัน ตั้งแต่ทหารใหม่เข้ามารายงานตัวให้หน่วยฝึ กทหารใหม่จดั ให้มี
การแนะนาชี้แจงปรับสภาพร่ างกายและจิตใจ และเตรี ยมความพร้อมในด้านต่างๆ ให้เหมาะสม แล้วจึงทา
การฝึ กโดยให้นบั เป็ นเวลาในหลักสูตรการฝึ กด้วย

----------------------------------
ตอนที่ ๓
การประเมินผล

การประเมินผลการฝึ ก เป็ นการกระทาในทุกขั้นตอนของการฝึ กตามหลักสู ตรการฝึ กผู ้


บังคับ-กองพันหรื อผูบ้ งั คับหน่ วยเที ยบเท่าขึ้นไป เป็ นผูด้ าเนิ นการโดยยึดถือคู่มือการประเมินผลการฝึ ก
ทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไปสาหรับทหารทุกเหล่าของ ทบ. เป็ นหลัก และเอกสารที่แจกจ่ายเพิม่ เติม

ตอนที่ ๔
การตรวจการฝึ ก

การตรวจการฝึ กกระท าเพื่ อให้ท ราบผลการฝึ กเป็ นส่ วนรวมของแต่ล ะหน่ วย เมื่ อพบ
ข้อบกพร่ องให้หาวิธีปรับปรุ งแก้ไขให้ดีข้ ึน ผูบ้ งั คับหน่วยต้องทาการตรวจการฝึ กอยู่เสมอ หากไม่สามารถ
กระทาด้วยตนเองได้ตอ้ งให้นายทหารฝ่ ายอานวยการของหน่วยตรวจการฝึ ก หรื อจะแต่งตั้งให้ผทู ้ ี่เหมาะสม
ทาการตรวจการฝึ กแทนก็ได้ เมื่อพบข้อบกพร่ องให้รีบแก้ไขทันทีและจะต้องบันทึกข้อมูลสถิติผลการฝึ ก
ของหน่ ว ยที่ รั บ การตรวจนั้น ทุ ก ครั้ งว่ า ได้ต รวจเมื่ อ ใด หน่ ว ยใด ฝึ กเรื่ อ งอะไร ผลการฝึ กเป็ นอย่างไร
ได้ให้คาแนะนาในการดาเนินการแก้ไขการฝึ กไปอย่างใดบ้าง ทั้งนี้เพื่อให้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาการฝึ กให้
ดี ข้ ึ น ผู ้บ ัง คับ หน่ ว ยต้อ งพิ จ ารณาใช้ ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ เ กื้ อ กู ล ต่ อ การฝึ กอย่ า งมี
ประสิ ทธิภาพ

ตอนที่ ๕
การรายงานผล

๑. ผูฝ้ ึ กจะต้องเป็ นผูท้ าตารางแสดงผลการฝึ กเป็ นรายวิชาประกอบความเห็น (ผนวก ง) เสนอ


ผูบ้ งั คับกองพันหรื อเทียบเท่าให้ทราบ
๒. ผูบ้ งั คับหน่วยระดับกองพันหรื อเทียบเท่า มีหน้าที่
๒.๑ ทาตารางกาหนดการฝึ กประจาสัปดาห์ (ผนวก ก) และสาเนาแจกจ่ายให้หน่ วยรอง
ของตนทราบจนถึงผูฝ้ ึ ก ตารางกาหนดการฝึ กประจาสัปดาห์น้ ีจะต้องมีรายการฝึ กครบห้วง ๑ สัปดาห์
๒.๒ ท าตารางแสดงผลการฝึ กเป็ นส่ ว นรวมประกอบความเห็ น (ผนวก จ) รายงาน
ให้ผบู ้ งั คับบัญชาชั้นเหนือทราบ และจะต้องส่งให้เหล่าสายวิทยาการของตนทราบ ๑ ชุดด้วย
๓. หน่ ว ยบัง คับ บัญ ชาระดับ กองพล หรื อ หน่ ว ยขึ้ น ตรงกองทัพ บก รวบรวมผลการฝึ กและ
ตรวจสอบ (ผนวก ฉ) ของหน่วยในบังคับบัญชาของตน พร้อมทั้งบทเรี ยนจากการฝึ กและตรวจสอบ เสนอ
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๑๓

ยศ.ทบ. โดยตรง จานวน ๑ ชุด ภายใน ๑๕ วัน หลังจบห้วงการฝึ กและตรวจสอบ


ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๑๓

บทที่ ๒
หลักสูตรการฝึก
.......................................

ตอนที่ ๑
ตารางกำหนดการฝึกหลัก
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน เวลา(ชม.) แถลงหลักสูตร
หน้า
๑ ก.กรรมวิธีรับทหารใหม่เข้าหน่วย ๒๗ ๒๒
๒ ข.การฝึกเบื้องต้น (๓๙) ๒๒
- การฝึกบุคคลท่าเบื้องต้น ๓๙ ๒๒
๓ ค.การเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย (๔๘) ๒๕
- การพัฒนาสมรรถภาพร่างกาย ๒๗ ๒๕
- ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ๗ ๒๕
- กลุ่มจัดตั้ง/ชมรมกีฬา ๘ ๒๖
- การทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกายประจำสัปดาห์ ๖ ๒๖
๔ ง.การช่วยเหลือประชาชน (๒๑) ๒๖
- จิตอาสา (ไม่ประเมินผล) ๖ ๒๖
- การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ไม่ประเมินผล) ๕ ๒๗
- การป้องกันการแพร่ ระบาดโรคติดต่อ ๒ ๒๗
- การปฐมพยาบาล ๘ ๒๘
๕ จ.การสอนอบรม (๒๗) ๒๙
- แบบธรรมเนียมทหาร ๑ ๒๙
- อุดมการณ์ทางทหาร ๑ ๓๐
- ความมั่นคงของชาติและหน้าที่พลเมือง ๑ ๓๒
- ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย ๒ ๓๓
- ศาสตร์พระราชา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และปรัชญาเศรษฐกิจ ๒ ๓๔
พอเพียง
- โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ , ไร่ นาสวนผสม ๑ ๓๔
- วินยั ของชาติ ๑ ๓๔
ตอนที่ ๑ หน้า ๑๔

ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน เวลา(ชม.) แถลงหลักสูตร


หน้า
- กิริยามารยาทราชสานัก และคาราชาศัพท์ ๑ ๓๔
- การพัฒนาบุคลิกภาพ ๑ ๓๕
- การใช้สื่อสังคมออนไลน์ ๑ ๓๕
- การอบรมวิชาชีพระยะสั้น/การเรี ยน กศน. (ไม่ประเมินผล) ๑๕ ๓๕

๖ ฉ. วิชาทหารทั่วไป (๒๐) ๓๖
- การติดต่อสื่อสาร ๕ ๓๖
- การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ๗ ๓๗
- การข่าวเบื้องต้น,การสังเกตและการสะกดรอย ๓ ๓๘
- การระเบิดทำลาย ทุ่นระเบิดและกับระเบิด ๓ ๔๐
- การป้องกันเคมี ชีวะ รังสี และนิวเคลียร์ (คชรน.) เป็นบุคคล ๒ ๔๑
๗ ช. การใช้อาวุธ ๔๒
(๔๘)
- อาวุธศึกษา ๔๒

- การฝึกพลแม่นปืนเบื้องต้น ๔๓
๓๐
- การใช้ลูกระเบิดขว้าง ๔๖

- การใช้ดาบปลายปืน ๔๗

๘ ซ. การฝึกทางยุทธวิธี ๔๙
(๕๗)
- การกำบังและการซ่อนพราง ๔๙

- การฝึกบุคคลทำการรบในเวลากลางวัน ๕๐
๑๖
- การฝึกบุคคลทำการรบในเวลากลางคืน ๕๓

- ป้อมสนาม ๕๕

- เครื่องกีดขวาง ๕๖

- การยิงประกอบการเคลื่อนที่ (เป็นคู)่ ๕๖
๑๔
- การลาดตระเวน/การระวังป้องกัน ๕๗

- การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและการพักแรมในสนาม ๕๙

๙ ด. การตรวจสอบ ๖๐
(๑๓)
- การทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย -

- การฝึกบุคคลเบื้องต้น -

- วิชาทหารทั่วไป -

- การใช้อาวุธ, การยิงปืนด้วยกระสุนจริง -

- การฝึกทางยุทธวิธี -
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๑๕

ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน เวลา(ชม.) แถลงหลักสูตร


หน้า

รวม (ชั่วโมง) ๓๐๐

หมายเหตุ
๑. การสอนและฝึกในลำดับที่ ๗ วิชาการฝึกใช้อาวุธประจํากาย ปลย.ขนาด ๕.๕๖ มม.นั้น หมายความว่า
หน่วยใดใช้ ปลย.เอ็ม.๑๖ ให้สอนและฝึก ปลย.เอ็ม.๑๖ หน่วยใดใช้ ปลย.๑๑ ให้สอนและฝึก ปลย.๑๑ และ
หน่วยใดใช้ ปลย.ทาร์โว ให้ใช้ ปลย.ทาร์โว สอนและฝึก
๒. การอบรมในวิชาต่าง ๆ ลำดับที่ ๕ ควรจะจัดชั่วโมงการอบรมโดยใช้ห้วงเวลาสอน ในห้วงที่มี สภาพ
อากาศร้อน เพื่อทดแทนชั่วโมงการฝึกในเวลากลางวัน ให้เป็นไปตามแนวทางการป้องกันโรคความร้อน อย่างไร
ก็ตาม การอบรมในเวลากลางคืนจะเป็นการผ่อนคลายทหารใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้ทหารใหม่มีเวลาฟื้นฟู ปรับสภาพ
ร่างกาย/จิตใจ ในระยะแรกที่เข้ามาเป็นทหารใหม่ หรือใช้ฝึกทบทวนเพิ่มเติมในบางเรื่องที่ทหารใหม่ ยังปฏิบัติ
ไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้หน่วยจะต้องพิจารณาความเหมาะสมเอง
๓. เวลาของผู้บังคับบัญชาไม่ได้กํ าหนดไว้ในหลักสูตร ให้ใช้เวลา ๑๗๐๐-๑๘๐๐ ของวันจันทร์ - ศุกร์ เป็น
เวลาสำหรับนันทนาการและการเล่นกีฬา และเป็นเวลาสำหรับผู้บังคับบัญชาพบปะกับทหารใหม่ เพื่อการชี้แจง
หรือสร้างความผูกพันทางจิตใจกับทหารใหม่ หรืออาจจะใช้เป็นเวลาสำหรับการอบรมของผู้บังคับบัญชาชั้นสูงหรือ
อนุศาสนาจารย์ หรืออื่น ๆ ตามความเหมาะสม
๔. หมวดวิชาการช่วยเหลือประชาชน ในลำดับที่ ๔ ได้แก่ จิตอาสา และการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
มุ่งเน้นให้ทหารให้เป็นผู้เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม และให้มีการทัศนะศึกษาเยี่ยมชม การ
ปฏิบัติงานของส่วนงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การป้องกันอัคคีภัย และการร่วมกิจกรรมการพัฒนาชุมชน เป็นต้น
๕. เมื่อพิจ ารณาจากการจัดเวลาฝึกสอนดังกล่าวข้างต้น จะทําให้ห น่ว ยฝึกทหารใหม่จัดสรรเวลาให้
ทหารใหม่ได้อย่างเป็นสัดส่วน แยกเป็นเวลาฝึก เวลาเล่นกีฬา เวลารับประทานอาหาร และเวลาพักผ่อน จะช่วย
ให้ทหารใหม่สามารถปรับสภาพร่างกายและจิตใจได้อย่างเหมาะสม มีโอกาสหมุนเวียนศึกษาวิชาการทหารเบื้องต้น
ได้อย่างทั่วถึง รวมทั้งผู้บังคับบัญชา/ผู้ทรงคุณวุฒิได้พบปะทหารใหม่อย่างสม่ำเสมอ

----------------------------------------------------
ตอนที่ ๒

ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ตารางกำหนดการฝึกประจำสัปดาห์

เวลา การฝึกเป็นรายสัปดาห์
เรื่องที่ทำการฝึกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
ก. กรรมวิธีรับทหารใหม่เข้าหน่วย ๒๗ ๒๗ - - - - -
ข.การฝึกเบื้องต้น (๓๙)
- การฝึกบุคคลท่าเบื้องต้น ๓๙ ๘ ๒๐ ๑๑ - - -
ค. การเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย (๔๘)
- การพัฒนาสมรรถภาพร่างกาย ๒๗ ๒ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕

หน้า ๑๖
- ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ๗ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ -
- กลุ่มจัดตั้ง/ชมรมกีฬา ๘ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑
- การทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกายประจำสัปดาห์ ๖ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
ง.การช่วยเหลือประชาชน (๒๑)
- จิตอาสาพระราชทาน ๖ - - - ๔ ๒ -
- การป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย ๕ - - ๒ ๓ - -
- การป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดต่อ ๒ ๒ - - - - -
- การปฐมพยาบาล ๘ ๔ ๔ - - - -
จ. การสอนอบรม (๒๗)
- แบบธรรมเนียมของทหาร ๑ ๑ - - - - -
- อุดมการณ์ทางทหาร ๑ ๑ - - - - -
เวลา การฝึกเป็นรายสัปดาห์

ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
เรื่องที่ทำการฝึกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
- ความมั่นคงของชาติและหน้าที่พลเมือง ๑ - ๑ - - - -
- ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ๒ - ๑ ๑ - - -
- กิริยามารยาทราชสำนัก และคำราชาศัพท์ ๑ - - ๑ - - -
- ศาสตร์พระราชา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนาและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒ - - - ๒ - -
- โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, ไร่นาสวนผสม ๑ - - - - ๑ -
- วินัยของชาติ ๑ - - - - ๑ -
- การพัฒนาบุคลิกภาพ ๑ - - - - - ๑
- การใช้สื่อสังคมออนไลน์ ๑ - - - - - ๑

หน้า ๑๗
- การอบรมวิชาชีพระยะสั้น/การเรียน กศน. ๑๕ - ๓ ๓ ๓ ๓ ๓
ฉ. วิชาทหารทั่วไป (๒๐)
- การติดต่อสื่อสาร ๕ - ๓ ๒ - - -
- การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ๗ - ๕ ๒ - - -
- การข่าวเบื้องต้น, การสังเกตและการสะกดรอย ๓ - ๓ - - - -
- การระเบิดทำลายทุ่นระเบิดและกับระเบิด ๓ - - ๓ - - -
- การป้องกันเคมี ชีวะ รังสี และนิวเคลียร์ เป็นบุคคล ๒ - - ๒ - - -
ช. การใช้อาวุธ (๔๘)
- อาวุธศึกษา ๘ - - ๕ ๓ - -
- การฝึกพลแม่นปืนเบื้องต้น ๓๐ - - - ๒๓ ๗ -
- การใช้ลูกระเบิดขว้าง ๕ - - ๕ - - -
- การใช้ดาบปลายปืน ๕ - - ๓ ๒ - -
เวลา การฝึกเป็นรายสัปดาห์

ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
เรื่องที่ทำการฝึกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
ซ. การฝึกทางยุทธวิธี (๕๗)
- การกำบังและการซ่อนพราง ๔ - - - - ๔ -
- การฝึกบุคคลทําการรบในเวลากลางวัน ๑๖ - - - - ๖ ๑๐
- การฝึกบุคคลทําการรบในเวลากลางคืน ๕ - - - - - ๕
- ป้อมสนาม ๓ - - - - ๓ -
- เครื่องกีดขวาง ๓ - - - - ๓ -
- การยิงประกอบการเคลื่อนที่ (เป็นคู)่ ๑๔ - - - - - ๑๔
- การลาดตระเวน/การระวังป้องกัน ๗ - - - - ๗ -

หน้า ๑๘
- การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและการพักแรมในสนาม ๕ - - - - - ๕
ด. การตรวจสอบ (๑๓)
- การทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย ๒ - - - - - ๒
- การฝึกบุคคลเบื้องต้น ๒ - - ๒ - - -
- วิชาทหารทั่วไป ๒ - - - ๒ - -
- การใช้อาวุธ (๒), การยิงปืนด้วยกระสุนจริง (๓) ๕ - - - - ๕ -
- การฝึกทางยุทธวิธี ๒ - - - - - ๒
รวม ๓๐๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
หมายเหตุ ผู้บังคับหน่วยที่รับผิดชอบในการจัดทำตารางกำหนดการฝึกเป็นรายสัปดาห์ สามารถเปลี่ยนแปลงรายละเอีย ดของจำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการฝึก
ตามที่กำหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ได้ตามความเหมาะสม แต่จะต้องให้คงมีวิชาและจำนวนชั่วโมงการฝึกสอนไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ ในระเบียบ
และหลักสูตรการฝึกนี้ ทั้งนี้เพื่อ
๑. ให้เหมาะสมกับจำนวนสิ่งอำนวยความสะดวกในการฝึกที่มีอยู่
๒. ให้เหมาะสมกับครูผู้สอน และจำนวนเครื่องช่วยฝึกที่มีอยู่
๓. ให้เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมและสภาพลมฟ้าอากาศ

---------------------------------------------------

หน้า ๑๙
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๒๐

ตอนที่ ๓
กาหนดเวลาการฝึ กประจาวัน

๑. ความมุ่งหมาย
๑.๑ เพื่อกาหนดเวลาการฝึ กประจาวัน ให้เป็ นแบบเดียวกันทั้งกองทัพบก
๑.๒ เพื่ อก าหนดเวลาการฝึ กประจาวันให้เหมาะสมกับสถานภาพและบรรลุว ตั ถุประสงค์ข อง
หลักสูตรการฝึ ก

๒. กาหนดการฝึ ก
๒.๑ เวลาในการฝึ กสัปดาห์ละ ๕๐ ชัว่ โมง (นับตั้งแต่วนั จันทร์ ถึง วันเสาร์)
๒.๒ กาหนดการฝึ กประจาวัน
๒.๒.๑ วันจันทร์ – ศุกร์
๐๕๐๐ ตื่นนอน/ตรวจสี ปัสสาวะและวัดอุณหภูมิร่างกาย
๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ การพัฒนาสมรรถภาพร่ างกาย ( ๑ ชม. )
๐๗๐๐ รับประทานอาหาร
๐๘๐๐ เคารพธงชาติ
๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ การฝึ กประจาวัน (๔ ชม.)
๑๒๐๐ รับประทานอาหาร
๑๒๓๐ ตรวจสี ปัสสาวะและวัดอุณหภูมิร่างกาย
๑๓๐๐ – ๑๖๐๐ การฝึ กประจาวัน (๓ ชม.)
๑๖๐๐ – ๑๘๐๐ ชมรมกีฬา/การต่อสู้ป้องกันตัว/เวลาผูบ้ งั คับบัญชา
๑๘๐๐ เคารพธงชาติ/รับประทานอาหาร
๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ - การสอนอบรม (วันจันทร์ และวันพฤหัสบดี) (๑ ชม.)
- การฝึ กวิชาชีพ / การเรี ยน กศน. (วันอังคาร, วันพุธ และ
วันศุกร์) (๑ ชม.)
๒๐๓๐ สวดมนต์
๒๑๐๐ ตรวจสี ปัสสาวะและวัดอุณหภูมิร่างกาย
๒๑๓๐ นอน
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๒๑

๒.๒.๒ วันเสาร์
๐๕๐๐ ตื่นนอน/ตรวจสี ปัสสาวะและวัดอุณหภูมิร่างกาย
๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ การทดสอบสมรรถภาพร่ างกาย (๑ ชม.)
๐๗๐๐ รับประทานอาหาร
๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ การ ปบ.อาวุธ, คลัง, อาคารที่พกั /เวลาผูบ้ งั คับบัญชา

-----------------------------------------
ตอนที่ ๔ หน้า ๒๒
ตอนที่ ๔
แถลงหลักสูตรการฝึก
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๑ ก. กรรมวิธีรับทหาร (๒๗)
ใหม่เข้าหน่วย
๒ ข.การฝึกเบื้องต้น (๓๙)
- การฝึกบุคคลท่า ๓๙ ๑. การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า (๑๘ ชม.) ๑.คู ่ ม ื อ การฝึ ก ว่ า ๑. เพื่อสร้างเสริม ๑.แผ่นภาพ
เบื้องต้น ให้ ท หารใหม่ ท ำการฝึ ก บุ ค คลท่ า มื อ เปล่ า ในท่ า ต่ า งๆ ด้ว ยแบบฝึกบุคคล บุคลิกของทหารใหม่ให้ เครื่องช่วยฝึก
ดังต่อไปนี้ตามลำดับ คือ ท่ามือเปล่า (คฝ.๗ - มีลักษณะท่าทางของ ๒.วีดิทัศน์การฝึก
- การฝึกท่าตรงและท่าพัก ๖)พ.ศ.๒๕๔๔ ทหารโดย สมบูรณ์ บุคคลท่ามือ
- การฝึกท่าหันอยู่กับที่ ๒.คู่มือพระราชทาน ๒.เพื่อให้ทหารใหม่ เปล่า
- การฝึกท่าเดินและท่าหยุดจากการเดิน การฝึกบุคคลท่ามือ สามารถจดจำลักษณะ
- การฝึกท่าเปลี่ยนเท้าในขณะเดินและท่าซอยเท้า เปล่า รร.มหาดเล็ก ท่าทางตามแบบฝึก
- การฝึกท่าเคารพ ราชวัลลภฯ ได้โดยถูกต้องสำหรับ
- การฝึกท่าวิ่งและท่าหยุดจากการวิ่ง , ท่าเปลี่ยนเท้า พ.ศ.๒๕๖๐ นำไปใช้ปฏิบัติตาม
ในขณะวิ่ง, ท่าเปลี่ยนจากการวิ่งเป็นการเดิน และท่าเปลี่ยน แบบธรรมเนียมของ
จากการเดินเป็นการวิ่ง ทหารในตลอดเวลาที่
- การฝึกท่าถอดหมวกและสวมหมวก รับราชการทหาร
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. การฝึกบุคคลท่าอาวุธ (๑๔ ชั่วโมง) ๑.คู่มือการฝึกว่าด้วย ๑.แผ่นภาพ
ให้ทหารใหม่ทำการฝึกบุคคลท่าอาวุธในท่าต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ แบบฝึกบุคคลท่า เครื่องช่วยฝึก
ตามลำดับ คือ อาวุธ(คฝ.๗-๕) พ.ศ. ๒.วีดีทัศน์การฝึก
- การฝึกท่าเรียบอาวุธและท่าพัก ๒๕๔๔ บุคคลท่าอาวุธ
- การฝึกท่าหันอยู่กับที่ , ท่าคอนอาวุธ , ท่าเฉียงอาวุธ , ๒.คู่มือพระราชทาน
ท่าอาวุธพร้อม การฝึกบุคคลอาวุธ

หน้า ๒๓
- การฝึกท่าสะพายอาวุธและท่าแบกอาวุธ รร.มหาดเล็กราช
- การฝึกท่าเดินเมื่อถืออาวุธ วัลลภฯ พ.ศ.๒๕๖๐
- การฝึกท่าเคารพ
- การฝึกท่าตรวจอาวุธและท่ารวมอาวุธ
- การฝึกท่าติดดาบและปลดดาบ
- การฝึกท่าถอดหมวกและสวมหมวก
- ทบทวนการฝึกบุคคลท่าอาวุธ
๓. การฝึกแถวชิด (๗ ชม.) ๑.คู ่ ม ื อ การฝึ ก ว่ า -เพื่อให้ทหารใหม่ได้ - วีดิทัศน์
ให้ ท หารใหม่ท ำการฝึ ก แถวชิด ในเรื่ อ งต่ างๆ ตามลำดับ ด้ว ยแบบฝึกบุคคล รับทราบถึงวิธีการเข้า ประกอบการฝึ ก
ดังต่อไปนี้ ท่ามือเปล่า (คฝ.๗ - แถวได้อย่างถูกต้อง การต่อสู้ด้วยมือ
๖) พ.ศ.๒๕๔๔ ตามแบบฝึกและให้ เปล่าและอาวุธ
ตอนที่ ๔ หน้า ๒๔
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๓.๑ การฝึกแถวหน้ากระดาน ๒.คู่มือพระราชทาน ทราบถึงระเบียบวินัย โดย ยศ.ทบ.
- แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว การฝึกบุคคลท่ามือ ในการเข้าแถวสำหรับ พ.ศ.๒๕๕๐
- แถวหน้ากระดานสองแถว, สามแถวฯลฯ เปล่า รร.มหาดเล็ก นำไปใช้ปฏิบัติตนใน
- การแยกคู่ขาด ราชวัลลภฯ ตลอดเวลารับราชการ
- การนับ พ.ศ.๒๕๖๐ ทหาร
- การจัดแถวเปิด - ปิดระยะ
- การพักและการเลิกแถว
๓.๒ การฝึกแถวตอน
- แถวตอนเรียงหนึ่ง
- แถวตอนเรียงสอง, เรียงสาม ฯลฯ
- การแยกคู่ขาด
- การนับ
- การจัดแถว
- การพักและการเลิกแถว
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๓.๓ การฝึกการเปลี่ยนรูปแถว
- การเปลี่ยนรูปแถวหน้ากระดาน
- การเปลี่ยนรูปแถวตอน
๓.๔ การฝึกการเปลี่ยนทิศทางของขบวนแถวตอนในขณะ
เคลื่อนที่
๓.๕ ทบทวนการฝึกแถวชิด

หน้า ๒๕
๓ ค. การเสริมสร้าง (๔๘)
ความสมบูรณ์
แข็งแรงทางร่างกาย
-การพัฒนา ๒๗ -ให้ทำการพัฒนาสมรรถภาพร่างกายและศิลปะการต่อสู้ ๑.คู่มือการฝึกกาย -เพื่อให้ผู้รับการฝึกมี
สมรรถภาพร่างกาย ป้องกันตัว(เน้นการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ บริหาร(รส.๒๑-๒๐) ความสมบูรณ์แข็งแรง
-ศิลปะการต่อสู้ป้อง- ๗ -เพื่อให้ทหารสามารถผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย พ.ศ.๒๔๙๗ ทางร่างกาย เพื่อให้
กันตัว ได้ตามมาตรฐาน ๒.คู ่ ม ื อ การพั ฒ นา ทหารใหม่มีความรู้และ
สมรรถภาพร่างกาย มีทักษะในเรื่องการ
ทหาร พ.ศ.๒๕๕๘ ต่อสู้ป้องกันตัวด้วย
มือเปล่าและอาวุธ
ตอนที่ ๔ หน้า ๒๖
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-กลุ ่ ม จั ด ตั ้ ง /ชมรม ๘ -ให้ทหารใหม่ได้เข้าร่วมในกิจกรรมกีฬาที่ขอบ และสมัครใจ ๓. คู ่ ม ื อ ราช การ -เพื่อการออกกำลังกาย
กีฬา -ให้ทำการทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย สนามว่ า ด้ ว ยการ ตามทีถ่ นัด ผ่อนคลาย
-การทดสอบความ ๖ -ให้ทำการทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกายเพื่อ ต่ อ สู ้ ด ้ ว ยมื อ เปล่ า
สมบูรณ์แข็งแรงทาง บันทึกข้อมูลของทหารใหม่เป็นรายบุคคลทุกสัปดาห์ โดยใช้ และอาวุธ (รส.๒๑-
ร่างกายประจำ เวลาสัปดาห์ละ ๑ ชม. โดยให้ทำการทดสอบในเรื่อง ๑๕๐) พ.ศ.๒๕๔๘
สัปดาห์ ๑. การดึงข้อ
๒. การลุกนั่ง
๓. การดันพื้น
๔. การวิ่ง ระยะ ๒,๐๐๐ เมตร
๔ ง. การช่วยเหลือ (๒๑)
ประชาชน
-จิตอาสา ๖ -ทำการฝึกอบรมคุณธรรมให้เป็นผู้มีความเสียสละ และการ -แนวพระราโชบาย -เพื่อปลูกฝังคุณธรรม
ฝึกการบำเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์และเพื่อส่วนรวม การฝึกจิตอาสา โดย ตามพระราโชบาย การ
ตามแนวพระราโชบาย ร.๑๐ วิทยากรที่ผ ่า นการ เป็นผู้มีจิตอาสา
อบรม เสียสละประโยชน์
ส่วนตัว เพื่อสร้าง
ประโยชน์ส่วนรวม
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-การป้ อ งกั น และ ๕ -ทำการฝึ ก ศึ ก ษาในเรื ่ อ งภั ย พิ บ ั ต ิ ป ระเภทต่ า งๆ และ -คู่มือการฝึก -เพื่อให้ทหารมีความรู้
บรรเทาสาธารณภัย กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้อ งกันบรรเทาสาธารณภั ย กองร้ อ ยบรรเทา เรื่องการป้องกันและ
ตลอดจนการฝึกการช่วยเหลือประชาชนร่วมกับหน่วยงาน สาธารณภั ย พ.ศ. บรรเทาสาธารณภัย
อื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒๕๕๘ และสามารถปฏิบัติการ
ช่วยเหลือประชาชน

หน้า ๒๗
ผู้ประสบภัยร่วมกับ
หน่วยงานอื่นได้
-การป้องกันการแพร่ ๒ ทำการฝึกสอนในเรื ่ อ งการป้ องกัน และการปฏิ บั ติ ต ั ว ใน ๑.คู ่ ม ื อ ทหารต้ า น - เพื่อให้ทหารใหม่ - คู่มือทหารต้าน
ระบาดโรคติดต่อ สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ภัย Covid-19 สามารถปฏิบัติตนใน ภัย Covid - 19
(ระดับบุคคล) สถานการณ์การแพร่ (ระดับบุคคล)
๒.คู่มือการป้องกัน ระบาดได้อย่างถูกต้อง
และแก้ไขสถาน เหมาะสม เพื่อป้องกัน
การณ์การแพร่ ตนเองและครอบครัว
ระบาดโรคโควิด๑๙ ให้พ้นจากสถานการณ์
ของกองทัพบก
๒๕๖๓
ตอนที่ ๔ หน้า ๒๘
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-การปฐมพยาบาล ๘ ๑.การปฏิบัติต่อผู้บาดเจ็บและการพยาบาลฉุกเฉิน สอนใน ๑.การปฐมพยาบาล -เพื่อให้ทหารใหม่รู้จัก -แผ่นภาพ
เรื่องการช่วยเหลือชีวิต เมื่อทางเดินลมหายใจอุดตัน, วิธีการ สำหรั บ พลทหาร ขบวนการที่สำคัญและ เครื่องช่วยฝึก
ผายปอด, การใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ(AED), การห้าม (รส.๒๑ – ๑๑) พ.ศ. สิ ่ ง ที ่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ -กระเป๋าพยาบาล
เลือด และให้ปฏิบัติในเรื่องการผายปลอดและการห้ามเลือด ๒๕๕๐ ชี ว ิ ต และให้ ท ราบถึ ง ,ถุ ง มื อ ,สายยาง
๒. การเข้าเฝือก สอนในเรื่องอาการกระดูกหักและวิธีการ ๒.คู่มือพลทหารว่า แนวทางในการป้องกัน รั ด ห้ า มเลื อ ด,
เข้าเฝือกที่ถูกต้อง กับฝึกให้ทหารปฏิบัติในเรื่องการ ด้วยการปฏิบัติการ และแก้ ไ ขอั น ตรายที่ ผ้าพันแผล, ผ้า
เข้าเฝือกในสภาพต่าง ๆ ในสนาม พ.ศ. เกิดขึ้น กับให้สามารถ สามเหลี่ยมเฝือก
๓. การปฐมพยาบาลผู้ถูกสัตว์มีพิษกัดและการปฐมพยาบาล ๒๕๑๗ ช่ ว ยเหลื อ ตนเองและ - หุ่นฝึก CPR
คนจมน้ำ สอนในเรื่องหลักการปฐมพยาบาลเมื่อถูกงูและ ๓.คู ่ ม ื อ พลเสนา เพื ่ อ นทหารเมื ่อ ได้รับ - เครื ่ อ ง AED-
แมลงมีพิษกัดต่อย และหลักการปฐมพยาบาลแก่ผู้จมน้ำ รักษ์หลักสูตร บาดเจ็บ เปลสนาม
พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติ เบื้องต้นเหล่าแพทย์
๔. การปฐมพยาบาลผู้หมดสติและอาการเจ็บป่วยที่เป็น ปี ๒๕๐๗
อันตรายต่อสมอง สอนในเรื่องการป้องกันการเจ็บป่วยจาก
โรคลมร้อนและการปฐมพยาบาล การลำเลียงและ
เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติ
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๕. การอนามัยส่วนบุคคลและการสุขาภิบาลในสนาม สอน
ในเรื่องการระวังรักษาร่างกายให้สะอาดโดยทั่วไป การระวัง
รักษาปาก การระวังรักษาเท้า และกฏสำหรับหลีกเลี่ยง
โรคภัยในสนาม
๕ จ. การสอนอบรม (๒๗)
- แ บ บ ธ ร ร ม เ น ี ย ม ๑ ๑.การปรับปรุงตนเองให้เข้ากับชีวิตทหาร สอนในเรื่อง -คู ่ ม ื อ พลทหารว่ า -เพื ่ อ อบรมทหารใหม่
ทหาร บทบาทหน้าที่ของทหารใหม่โดยเน้นถึงการเริ่มต้นชีวิต ด้ ว ยเรื ่ อ งที ่ ท หาร ได้ เ รี ย นรู ้ ถ ึ ง ลั ก ษณะ

หน้า ๒๙
ทหาร สิ่งที่ต้องปฏิบัติ วัตถุประสงค์ในการฝึกทหารใหม่ สิ่ง ใหม่ควรทราบ พ.ศ. การดำเนินชีวิตในแบบ
ที่ทหารใหม่ควรทราบ โดยเน้นถึงความสำคัญของ ๒๕๒๗ ทหารเพื่อนำไปใช้ใน
เครื่องแบบ ความสำคัญของอาวุธประจำกาย สิทธิของ การปรับปรุงตนเองให้
ทหารใหม่ การปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติประจำ ม ี ค ว า ม ค ุ ้ น เ ค ย กั บ
๒.ความรับผิดชอบภายในหน่วยละความรับผิดชอบในหน้าที่ สิ่งแวดล้อมแบบทหาร
พลทหาร สอนในเรื่องการปฏิบัติตนในหน่วยทหารและ
ความรับผิดชอบในหน้าที่เฉพาะของพลทหารโดยเน้นถึง
ความรับผิดชอบโดยทั่วไปเปรียบเทียบชีวิตการเป็นพลเรือน
กับการเป็นทหาร ความสำนึกในหน้าที่ ความสัมพันธ์
ระหว่างพลทหารกับนายทหาร นายสิบ ในเรื่องการบังคับ
บัญชา และความสัมพันธ์กับเพื่อนทหารและกับ
บุคคลภายนอก
ตอนที่ ๔ หน้า ๓๐
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-อุดมการณ์ทางทหาร ๑ - ความกล้ า หาญ สอนในเรื ่ อ งความกล้ า หาญคื อ อะไร -คู่มือการสอน -เพื่อปลูกฝังจิตใจ
ลักษณะของความกล้าหาญในทางที่ถูก ลักษณะของความ อบรมพลทหารว่า ทหารใหม่ให้เกิดความ
กล้าหาญทางการทหารโดยเน้นถึงความจำเป็นที่ทหารต้องมี ด้วยการปลูกฝัง สำนึกในหน้าที่ทั้งใน
ความกล้าหาญประโยชน์ของความกล้าหาญ โทษของความ อุดมการณ์ทาง ฐานะที่เป็นทหารและ
ขลาด และหลักการเสริมสร้างความกล้าหาญ การเมืองในหน่วย พลเมืองดี
- ความอดทน สอนในเรื่อง ความอดทนคืออะไร ลักษณะ ทหาร เล่ม ๑ พ.ศ. -เพื่ออบรมสั่งสอนให้
ของความอดทนทางกายและใจ ความอดทนทางทหาร โดย ๒๕๒๕ ทหารใหม่มีความรู้ใน
เน้นถึงความจำเป็นที่ทหารต้องมีความอดทน ประโยชน์ของ เรื่องคุณธรรมที่ทหาร
ความอดทนโทษของการขาดความอดทน และหลั ก การ ทุกคนจำเป็นจะต้องมี
เสริมสร้างความอดทน เพื่อนำไปใช้เป็นหลัก
- การเสียสละสอนในเรื่อง การเสียสละคืออะไร ลักษณะ ในการเสริมสร้าง
ของการเสียสละทางกำลังกาย กำลังความคิดและกำลั ง ตนเองให้เพียบพร้อม
ทรั พ ย์ การเสี ย สละทางการทหารโดยเน้ น ถึ ง ข้ อ ควร ไปด้วยคุณธรรมที่
ประพฤติในการเสียสละทั้งทางกำลังกาย กำลังความคิดและ จำเป็นต่อกองทัพบก
กำลังทรัพย์และหลักการเสริมสร้างการเสียสละ ทุกประการ
-ความสามัคคี สอนในเรื่องความสามัคคีคืออะไร ประโยชน์
ของความสามัคคีโทษของการแตกความสามัคคีสาเหตุที่ทำ
ให้เกิดการแตกความสามัคคีทางการทหารโดยเน้นถึงความ
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
จำเป็นที่ทหารต้องมีความสามัคคี การรักษาความสามัคคีใน
หมู่ทหารและหลักการเสริมสร้างความสามัคคี
- ความซื่อสัตย์สุจริตสอนในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตคืออะไร
ลักษณะแห่งความซื่อตรงโดยทั่วไป ความซื่อสัตย์สุจริตทาง
การทหาร โดยเน้ น ถึ ง ความจำเป็ น ที ่ ท หารต้ อ งมี ความ
ซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จริต ลัก ษณะแห่ ง ความซื่ อ ตรงทางทหาร และ

หน้า ๓๑
หลักการเสริมสร้างความซื่อสัตย์สุจริต
- การรักเกียรติสอนในเรื่องคำจำกัดความของคำว่าเกียรติ ,
เกียรติยศ และ เกียรติศักดิ์ ของทหาร โดยเน้นถึงเกียรติยศ,
เกี ย รติ ศ ั ก ดิ ์ ข องทหารคื อ อย่ า งไร คุ ณ ธรรมที ่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด
เกี ย รติ ย ศและเกี ย รติ ศ ั ก ดิ ์ ส ำหรั บ ทหาร และการรั ก ษา
เกียรติยศ, เกียรติศักดิ์ของทหาร
- การรักกรมกอง สอนในเรื่อง กรมกองคืออะไร การรักกรม
กอง โดยเน้นถึงความจงรักภักดี การปฏิบัติตนให้สมกับ
หน้าที่ของทหาร การรักษาทรัพย์สินของทางราชการ การ
รักหมู่คณะ และการรักษาชื่อเสียงของหมู่คณะ
ตอนที่ ๔ หน้า ๓๒
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-ความมั่นคงของชาติ ๑ ๑. สอนในเรื่องลักษณะของความมั่นคงแห่งประเทศโดยเน้น -คู่มือการสอน -เพื ่ อ ให้ ท หารใหม่ ไ ด้
และหน้าที่พลเมือง ถึงความมั่นคงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและการทหาร อบรมพลทหารว่า ทราบถึ ง สภาพแวด-
การป้ อ งกั น ประเทศชาติ ท างการเมื อ ง การป้ อ งกั น ด้วยการปลูกฝัง ล้อมที่ประเทศชาติต้อง
ประเทศชาติทางเศรษฐกิจ การป้องกันประเทศชาติท าง อุดมการณ์ทาง เผชิญต่อสถานการณ์ที่
สังคมและการป้องกันประเทศชาติทางการทหาร โดยเน้น การเมื อ งในหน่ ว ย จะส่ ง ผลกระทบต่ อ
เฉพาะเหตุที่ประเทศชาติต้องมีกำลังทหาร การใช้กำลัง ทหาร เล่ม ๒(ตอน ความมั่นคงของ
ป้องกันประเทศ และหน้าที่ของประชาชนชาวไทยในการ ๒ -๓) พ.ศ.๒๕๒๕ ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ เ กิ ด
ป้องกันประเทศชาติทางการทหาร เมื่อเป็นบุคคลพลเรือน ความรู้ส ึกรัก ประเทศ
เมื่อเป็นทหาร และเป็นทหารกองหนุน ช า ติ ร ู ้ ห น ้ า ท ี ่ และ
๒.สอนในเรื ่ อ งศาสนากั บ สั ง คมไทย ศาสนา คื อ อะไร ร่ ว มมื อ ปฏิ บ ั ต ิ ต นใน
ศาสนามีความสำคัญอย่างไร เราจะต้องปฏิบัติอย่างไรต่อ ฐานะพลเมืองที่ดี เพื่อ
ศาสนาที่เ รานั บ ถื อ การยึดมั่ นต่ อ ศาสนาสำคั ญ อย่ า งไร นำไปใช้ เ ป็ น แนวทาง
ศาสนามีส่วนในการเสริมสร้างสังคมไทยอย่างไร๓. หน้าที่ ในการปฏิ บ ั ต ิ ต นใน
พลเมืองดี สอนในเรื่องความหมายของคำว่า "พลเมืองดี " ขณะที ่ เ ป็ น ทหารและ
หน้าที่ของพลเมืองดีโดยทั่วไป การปฏิบัติเพื่อครอบครัวโดย ปลดออกจาก
เน้นถึงความหมายของคำว่าครอบครัว ต้นเหตุแห่งความ ประจำการไปแล้ว
ทุกข์สุขของครอบครัวการปฏิบัติต่อบิดา มารดา หน้าที่ของ
สามีภรรยา หน้าที่ของบิดาและคุณธรรมของผู้ครองเรือน
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
การปฏิบัติเพื่ อชุมชน การปฏิบัติเพื่ อประเทศชาติ การ
ปฏิบัติเพื่อศาสนา การปฏิบัติเพื่อพระมหากษัตริย์ หน้าที่
ของคนไทยในสภาวะสงครามและการใช้เวลาว่างให้ เป็น
ประโยชน์
-ประวัติศาสตร์ชาติ ๒ ๑. ประวัติศาสตร์ไทยสอนในเรื่องประวัติความเป็นมาของ ๑.คู ่ ม ื อ การสอน -เสริ ม สร้ า งคว ามรู้

หน้า ๓๓
ไทยและบุญคุณของ ชนชาติไทยและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เสาหลักและสิ่งที่ทำ อบรมพลทหารว่ า ความเข้ า ใจที ่ ถ ู ก ต้ อ ง
พระมหากษัตริย์ไทย ให้ประเทศไทยยังเป็นไทยอยู่จนถึงทุกวันนี้ ด้ ว ยการปลู ก ฝั ง เกี ่ ย วกั บ บทบาทและ
๒.ประวัติศาสตร์ชาติไทย ความเสียสละของบูรพมหา อุดมการณ์ทาง ความสำคัญของ
กษัตริย์ไทย ตั้งแต่ยุคกรุงสุโขทัย จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ การเมืองในหน่วย สถาบันพระมหา-
(รัชกาลปัจจุบัน) ทหาร เล่ม ๒(ตอน กษั ต ริ ย ์ ต ่ อ สั ง คมไทย
๒ -๓) พ.ศ.๒๕๒๕ ตามแนวทางการรักษา
๒.แนวทางการ ความมั ่ น คงสถาบั น
อบรมวิชา หลั ก ของชาติ ภ ายใต้
ป ร ะ ว ั ต ิ ศ า ส ต ร์ การปกครองระบอบ
สำหรั บ ทหารใหม่ ประชาธิ ป ไตย อั น มี
ยก.ทบ.พ.ศ.๒๕๕๑ พระมหากษั ต ริ ย ์ ท รง
เป็นประมุข
ตอนที่ ๔ หน้า ๓๔
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-ศาสตร์ พ ระราชา ๒ -ทำการฝึกอบรมให้ทหารมีความรู้เบื้องต้นทั่วไปเกี่ยวกับ -เอกสารประกอบ - เพื่อให้รู้ถึงปรัชญา -วีดิทัศน์ประกอบ
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา แนวทางตามพระราชดำริในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียง การฝึ ก ทหารใหม่ เศรษฐกิจพอเพียงและ การอบรม เรื ่ อ ง
และปรัชญา ตาม(ร่ า ง)ระเบี ย บ ประโยชน์ที่ได้รับและ เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง และหลั ก สู ต รการ สามารถนำไปใช้ใน
ฝึ ก การฝึ ก ทหาร ชีวิตประจำวันได้
-โครงการอันเนื่อง ๑ -ทำการสอนอบรมเรื่องการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ใหม่เบื้องต้นทั่ว ไป -เพื ่ อ ให้ ท หา ร ใ ห ม่
มาจากพระราชดำริ , เพื ่ อ ให้ ส ามารถใช้ ป ระโยชน์ จ ากพื ้ น ที ่ ท ี ่ ม ี อ ยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งมี สำหรั บ ทหารทุ ก เรี ย นรู ้ ก ารทำเกษตร
ไร่นาสวนผสม ประโยชน์สูงสุด เหล่าของ ตามแนวพระราชดำริ
-วินัยของชาติ ๑ -ทำการสอนในเรื่องกฎหมาย การเคารพกฎหมาย สิทธิ กองทั พ บก (๑๐ -เพื ่ อ ให้ ท หาร ให ม่
หน้าที่ตามกฏหมาย สัปดาห์ ) โดย กรม สามารถปฏิบัติตนเอง
ยุทธศึกษาทหารบก มี จ ิ ต สำนึ ก ในการ
ปฏิ บ ั ต ิ ต นให้ อ ยู ่ ใ น
ระเบียบ กฎหมายของ
สังคม
-กิ ร ิ ย ามารยาทราช ๑ -ทำการสอนในเรื่องคำราชาศัพท์ที่จำเป็น และฝึกลักษณะ -เพื่อให้ส ามารถใช้ ค ำ
สำนั ก และคำราชา การเดิน การนั่ง การหมอบและการกราบ ตามแนวทาง ราชาศัพท์และมารยาท
ศัพท์ สำนักพระราชวัง ท่าทางที่ถูกต้อง
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-การพัฒนาบุคลิก - ๑ -สอนทหารในเรื่องการปรับปรุงรูปร่างหน้าตาร่างกาย การ - เพื ่ อ ให้ ท หารใหม่ มี
ภาพ ปรับปรุงการแต่งกาย การปรับปรุงกิริยาท่าทาง การ บุคลิกภาพสง่าผ่าเผย
ปรับปรุงการพูดและการสื่อสาร การปรับปรุงมารยาทใน มี ล ั ก ษณะท่ า ทางที่
การฟัง สุ ภ าพเรี ย บร้ อ ย มี
ถ้อยคำที่ ส ุภ าพเป็ น ที่
ยอมรับของผู้พบเห็น

หน้า ๓๕
-การใช้สื่อสังคม ๑ -ให้คำแนะนำ ย้ำเตือนการใช้สื่อสังคมออนไลน์ให้เป็นไป -แนวทางการใช้สื่อ -เพื่อให้ทหารใหม่ได้รับ
ออนไลน์ ตามระเบียบ กฎหมาย และป้องกันความลับของทาง สังคมออนไลน์ของ แ น ว ท า ง ก า ร ใ ช ้ สื่ อ
ราชการ กองทัพบก ส ั ง ค ม อ อ น ไ ล น ์ ที่
เหมาะสม
-การอบรมวิชาชีพ ๑๕ -ฝึกวิชาชีพระยะสั้นที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานภายในหน่วย -เพื ่ อ ให้ ม ี ว ิ ช าชี พ ที่
ระยะสั้น/การเรียน การช่วยเหลือประชาชน และการประกอบอาชีพเสริมเมื่อ สามารถนำไปในการ
กศน. ปลดประจำการ เช่น ช่างตัดผม ช่างเดินสายไฟอาคาร ช่าง ช่ ว ยเหลื อ งานภายใน
ประปา ช่างสี ช่างไม้ ช่างปูน ฯลฯ รวมทั้งส่งเสริมให้เรียน หน่ ว ย การช่ ว ยเหลื อ
กศน. เริ่มในสัปดาห์ที่ ๕ ของการฝึก ป ร ะ ช า ช น ข ณ ะ ที่
ประจำการอยู่ในหน่วย
และสามารถนำไป
ตอนที่ ๔ หน้า ๓๖
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
ประกอบอาชี พ สุ จ ริ ต
เพื ่ อ เลี ้ ย งชี พ หลั งจาก
ปลดประจำการไปแล้ว
๖ ฉ. วิชาทหารทั่วไป (๒๐) ๑.หลักในการติดต่อสื่อสาร เพื่อสอนให้ทหารใหม่ได้ทราบ ๑. คู ่ ม ื อ ราช การ ๑.คู ่ ม ื อ ราชการสนาม -แผ่นภาพ
-การติดต่อสื่อสาร ๕ ถึงการติดต่อสื่อสาร, วิธีการติดต่อสื่อสาร และการรักษา สนามว่ า ด้ ว ยการ ว่าด้วยการสื่อสาร(รส. เครื่องช่วยฝึก
ความปลอดภัยทางการติดต่อสื่อสาร สื่อสาร(รส.๒๔-๕) ๒๔-๕) ทางสายและ โทรศัพท์สนาม
๒. โทรศัพท์สนามและการใช้ เพื่อสอนและฝึกให้ทหารใหม่ พ.ศ.๒๕๓๕ วิทยุ,วิธีรับส่งข่าวและ และวิทยุ ตาม
ได้ทราบถึงการติดต่อทางโทรศัพท์ , โทรศัพท์สนามในอัตรา ๒. คู ่ ม ื อ ราช การ การใช้ ท ั ศ นสั ญ ญาณ อัตราของกองพัน
ของหน่วย, ระเบียบการพูดโทรศัพท์สนามและทำการฝึกให้ สนามว่ า ด้ ว ยวิ ธี เสียงสัญญาณ พร้อมด้วย
ทหารใหม่ปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์สนาม เตรียมการและ อุปกรณ์และ
๓. วิทยุและการใช้สอนและฝึกทหารใหม่เกี่ยวกับการติดต่อ ดำเนินการฝึกที่เน้น ตามความจำเป็น
ทางวิทยุวิทยุในอัตราของหน่วยระเบียบการพูดวิทยุ และ ผลการปฏิบัติ
การตั้งความถี่โดยสอนและฝึกปฏิบัติควบคู่กันไป (รส.๒๑-๖) พ.ศ.
๔. การใช้ทัศนสัญญาณเสียงสัญญาณ เพื่อสอนให้ทหารใหม่ ๒๕๓๑
ได้ทราบความหมายของทัศนะสัญญาณ เสียงสัญญาณ, ๓. คู ่ ม ื อ ราช การ
เครื่องมือที่ใช้ทำให้เกิดทัศนสัญญาณและเสียงสัญญาณ สนามว่าด้วยการฝึก
ประโยชน์และความจำเป็นในการใช้ทัศนสัญญาณ และเสียง บุ ค คลทำการรบ
สัญญาณ (รส.๒๑-๗๕) พ.ศ.
๒๕๔๗ (บทที่ ๖-๗)
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๔.คู ่ ม ื อ การฝึ ก ว่ า
ด้ ว ยการฝึ ก ความ
ชำนาญการทหาร
ราบฯ (คฝ.๗-๑๑)
พ.ศ.๒๕๔๗
-การอ่านแผนที่และ ๗ ๑.สัญลักษณ์สีและเครื่องหมายแผนที่ สอนในเรื่องการใช้ ๑. คู ่ ม ื อ ราช การ -เพื่อสอนให้ทหารใหม่ -แผนที่ , เข็ ม ทิ ศ

หน้า ๓๗
การใช้เข็มทิศ สัญลักษณ์และสีต่างๆ บนแผนที่ และวิธีอ่านเครื่องหมาย สนามว่ า ด้ ว ยการ มีความรู้ในเรื่องการ จำลอง, เครื่อง
แผนที่ที่ขอบระวาง อ่านแผนที่ (รส.๒๑ อ่านแผนที่และการใช้ มือประกอบการ
๒.ความหมายของเส้นกริด การกำหนดจุดที่ตั้งโดยอาศัย - ๒๖ ) พ.ศ.๒๕๑๕ เข็มทิศให้เพียงพอที่จะ เรียนแผนที่และ
เส้นกริด โดยเน้นในเรื่องการอ่านพิกัดที่ตั้งของจุดใดจุดหนึ่ง ๒.คู่มือพลทหาร ว่า นำไปปฏิบัติหน้าที่ของ บรรทัดเอ็มอาร์๑
และให้ทหารใหม่ฝึกอ่านพิกัดที่ตั้งของตำบลต่างๆ ด้วยการปฏิบัติการ พลทหารได้ หรือ พี-๖๗
๓.มาตราส่วนและระยะทาง สอนในเรื่องมาตราส่ว นเส้ น ในสนาม พ.ศ.
บรรทัดโดยเน้นให้ทราบเฉพาะมาตราส่วนเส้นบรรทัดคือ ๒๕๓๘
อะไรการอ่านมาตราส่วนเส้นบรรทัดและการหาระยะในภูมิ
ประเทศโดยใช้มาตราส่วนเส้นบรรทัด
๔.ทิ ศ ทาง สอนในเรื ่ อ งมุ ม ภาคทิ ศ เหนื อ โดยเน้ น เฉพาะ
ความหมายของมุมภาคทิศเหนือ ,ลักษณะของมุมภาคทิศ
เหนือและมุมภาคทิศเหนือกลับ
ตอนที่ ๔ หน้า ๓๘
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๕.เข็มทิศและการใช้เข็มทิศสอนในเรื่องเข็มทิศเลนเซติค ,
การใช้เข็มทิศโดยเน้นถึงวิธีการเล็งเข็มทิศการอ่านค่ามุม
ภาคทิศเหนือที่หน้าปัด การใช้เข็มทิศในเวลากลางคืนและ
ข้อควรระวังในการใช้เข็มทิศและการวางแผนที่ให้ถูกทิศโดย
การใช้เข็มทิศและไม่ใช้เข็มทิศ
๖.การวัดมุมและกรุยทิศทางบนแผนที่สอนในเรื่องวิธีวัดมุม
บนแผนที่และการกรุยแนวทิศทางลงบนแผนที่
๗.การกำหนดจุดที่อยู่สอนในเรื่องการกำหนดจุดที่อยู่ โดย
การเล็งสกัดตรงและการกำหนดจุดที่อยู่โดยการเล็ งสกัด
กลับ ด้วยวิธีการใช้แผนที่และเข็มทิศ และให้ทหารใหม่ทำ
การฝึกปฏิบัติ
-การข่ า วเบื ้ อ งต้ น , ๓ ๑.ความมุ่งหมายของการข่าวทางทหารและความสำคัญของ ๑.คู่มือพลทหาร ว่า -เพื่อสอนให้ทหารใหม่
การสังเกต และการ ข่าวสอนในเรื่องความมุ่งหมายของการข่าวทางทหาร โดย ด้วยการปฏิบัติการ ได้มีความรู้ความเข้าใจ
สะกดรอย เน้นถึงประเภทของข่าวที่มีคุณค่าต่อทางราชการทหาร และ ในสนาม พ.ศ. ในเรื่องการข่าวทาง
ความสำคัญของข่าวต่อทางราชการทหาร ๒๕๑๗ ทหารให้มากพอแก่
๒.ความรับผิดชอบของทหารเกี่ยวกับการแสวงหาข่าวสาร ๒.คู่มือราชการ ความจำเป็นเท่าที่
สอนในเรื่องเจ้าหน้าที่รวบรวมข่าวสาร แหล่งข่าวสารและวิธี สนามว่าด้วยการฝึก พลทหารควรจะต้อง
ปฏิบัติต่อเชลยศึก บุคคลทำการรบ
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๓.ความรั บ ผิ ด ชอบของทหารเกี ่ ย วกั บ การป้ อ งกั น และ (รส.๒๑ - ๗๕) พ.ศ. ทราบและสามารถ
ต่อต้านข่าว สอนในเรื่องความรับผิดชอบของทหารในการ ๒๕๔๗ นำไปใช้ปฏิบัติงานตาม
ป้องกันต่อต้านข่าว มาตรการในการป้องกันต่อต้านข่าว ๓.คำแนะนำการฝึก หน้าที่ของตนในสนาม
โดยเน้ น ถึ ง วิ น ั ย ในการรั ก ษาความลั บ การรั ก ษาความ บุคคล ในการ ร บ ไ ด ้ เ ป ็ น อ ย ่ า ง ดี
ปลอดภั ย ทางการติ ด ต่ อ สื ่ อ สาร และวิ ธ ี ก ารสั ง เกตและ รวบรวมข่ า วสาร รวมทั้งมีทักษะในการ
รายงานข่าว ทางทหาร เป็นคนช่างสังเกตและ

หน้า ๓๙
๔.การสังเกตและการสะกดรอย ๔.คู ่ ม ื อ การฝึ ก ว่ า มีทักษะเบื้องต้นในการ
๔.๑ การสะกดรอยสอนในเรื่องปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ ด้ ว ยการฝึ ก เฉพาะ สะกดรอย
สะกดรอย วิ ธ ี ใ นการสะกดรอย การปฏิ บ ั ต ิ ห น้ า ที ่ พ ล หน้ า ที ่ ร ะดั บ พล
ลาดตระเวนนำ การพิจารณารอยเท้า การตรวจค้น และ ทหารและสิ บ ตรี
การสังเกต จดจำตลอดจนการแยกแยะสิ่งผิดปกติต่าง ๆ กองประจำการ
๔.๒ การสังเกตสอนในเรื่องวิธีการสังเกตสิ่งบอกเหตุ, การ (คฝ.๒๑-๑)
สำรวจ, การจดจำรูปพรรณบุคคล และยานพาหนะของผู้ พ.ศ.๒๕๖๓
ต้องสงสัย
ตอนที่ ๔ หน้า ๔๐
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-การระเบิดทำลาย : ๓ ๑.หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับระเบิดทำลาย สอนในเรื่อง ๑. คู ่ ม ื อ ราช การ -เพื่อให้ทหารใหม่มี -แผ่นภาพเครื่อง
ทุ่นระเบิดและกับ ประเภทของดินระเบิดชนิดต่างๆที่มีใช้ในกองทัพบก,เครื่อง สนามว่ า ด้ ว ยวั ต ถุ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ช่วยฝึก
ระเบิด อุปกรณ์การจุดระเบิด ได้แก่ เชื้อปะทุไฟฟ้า เชื้อปะทุชนวน ระเบิดและการ หลักการทำงานของ -เครื่องอุปกรณ์
ชนวนฝักแคเวลาชนวนฝักแคระเบิด เครื่องจุดชนวนชนิด ทำลาย(รส.๕-๒๕) วัตถุระเบิด ทุ่นระเบิด, การระเบิด
ต่างๆ และหลักการทำงานของจุดชนวนชนิดต่างๆ และ พ.ศ.๒๕๓๔ กับระเบิด และวัตถุ ทำลาย
หลักการทำงานของเครื่องอุปกรณ์การระเบิดทำลาย ๒.คู ่ ม ื อ ทุ ่ น ระเบิ ด ต้องสงสัยจนสามารถ
๒.ทุ่นระเบิดและระเบิดแสวงเครื่อง สอนในเรื่องทุ่นระเบิด และกับระเบิดของ ลดอันตรายแก่ ต นเอง
แบบต่ า งๆที ่ ม ี ใ ช้ ใ นกองทั พ บก หลั ก การทำงานของทุ่ น กองทัพบก และทราบถึงการ
ระเบิดและระเบิดแสวงเครื่อง ๓.เอกสารความรู้ ปฏิบัติขั้นต้นเมื่อมีการ
๓.กับระเบิด สอนในเรื่องความหมายของคำว่า กับระเบิด เบื ้ อ งต้ น เกี ่ ย วกั บ ขู่วางระเบิด
หลักการทำงานของกับระเบิดและการตรวจค้นกับระเบิด ระเบิดแสวงเครื่อง
๔.วิธีลดอันตรายจากทุ่นระเบิดและกับระเบิด รวมทั้งระเบิด โดย กช.พ.ศ.๒๕๕๑
แสวงเครื่อง สอนให้ทหารใหม่ทราบถึงวิธีลดอันตรายจาก ๔. คู ่ ม ื อ ราช การ
ทุ่นระเบิด สนามว่าด้วยบุคคล
ทำการรบ (รส.๒๑-
๗๕) พ.ศ.๒๕๔๗
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๕.คู ่ ม ื อ การฝึ ก ว่ า
ด้ ว ยการฝึ ก ความ
ชำนาญการทหาร
ราบฯ (คฝ.๗-๑๑)
พ.ศ.๒๕๔๗
-การป้องกันเคมี ชีวะ ๒ ๑.การแบ่งประเภทและคุณลักษณะของสารเคมี และชีวะ ๑ . ค ู ่ ม ื อ ว ่ า ด ้ ว ย -เพื ่ อ ให้ ท หารใหม่ มี -แผ่นภาพเครื่อง

หน้า ๔๑
รังสี และนิวเคลียร์ และผลอันตรายของอาวุธนิวเคลียร์ สอนในเรื่องการแบ่ง ค ำ แ น ะ น ำ ก า ร ความรู ้ เ กี ่ ย วกั บ เคมี ช่วยฝึก,หน้ากาก
เป็นบุคคล ประเภทสารเคมี ช นิ ด ต่ า งๆ และคุ ณ สมบั ต ิ ท ี ่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ป้ อ งกั น และการ ชีวะ รังสีและนิวเคลียร์ ป้องกันไอพิษ
อันตราย การแบ่งประเภทสารชีวะชนิดต่างๆ และคุณสมบัติ ปฏิ บ ั ต ิ ย ามฉุ ก เฉิ น จนสามารถป้ อ งกั น
ที่ก่อให้เกิดอันตราย ผลอันตรายของอาวุธนิวเคลียร์ โดย เมื่อเผชิญอันตราย อันตรายเป็นบุคคลได้
เน้นถึงแรงระเบิดความร้อน และรังสี จากนิวเคลียร์-ชีวะ-
และกับระเบิดรวมทั้งระเบิดแสวงเครื่อง เคมี สำหรั บ ทหาร
๒.แนะนำการใช้หน้ากากป้องกันไอพิษ ในเรื่องท่าสะพาย เป็นบุคคล พ.ศ.
ย่ามหน้ากากการปรับหน้ากาก, การสวมหน้ากาก และการ ๒๕๒๕
ตรวจสอบ ๒.คู่มือพลทหารว่า
๓. การนำหลักการและการปฏิบัติตนในการป้องกันชีวะ ไป ด้วยการปฏิบัติการ
ใช้ในชีวิตประจำวัน เน้นการป้องกันการแพร่ระบาดของ ในสนาม พ.ศ.๒๕๑๗
โรคติดต่อในสถานการณ์ปัจจุบัน
ตอนที่ ๔ หน้า ๔๒
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๗ ช. การใช้อาวุธ (๔๘)
-อาวุธศึกษา ๘ ๑. ความรู้พื้นฐาน และอาวุธศึกษา ๑. คู ่ ม ื อ ราช การ -เพื่อสอนให้ทหารใหม่ -แผ่นภาพแสดง
๑.๑ การปรนนิบัติบำรุง ปลย.เอ็ม .๑๖ เอ๑,เอ๒,เอ๔, สนามว่ า ด้ ว ยปื น ทราบถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะ การถอด
ปลย.เอ็ม.๔,ปลย.๑๑,ปลย.ทาร์โว ปลย.การิล(ตามที่หน่วย เล็ ก ยาวปลย.๑๑ ทั่วไป การถอด ประกอบชิ้นส่วน
ได้รับแจกจ่าย) และซองกระสุน ทำการสอนในเรื่องของการ (รส.๒๓-๙-๑)พ.ศ. ประกอบ การทำงาน ของปลย.เอ็ม๑๖
ตรวจอาวุธและชิ้นส่วน การตรวจสอบสภาพชิ้นส่วน,การทำ ๒๕๔๗ ของเครื ่ อ งกลไก การ เอ๑,เอ๒,ปลย.
ความสะอาดและชโลมน้ำ มันหล่ อลื่น ,การถอดประกอบ ๒. คู ่ ม ื อ ราช การ ระวังรักษา และการทำ ๑๑ และ ปลย.
ชิ้นส่วนและการตรวจสอบระบบการทำงาน,การประกอบ สนามว่าด้วยการฝึก ความสะอาด ทาร์โว,กระสุนฝึก
ซองกระสุน,การตรวจสภาพและการทำความสะอาดกระสุน ยิงปืนเล็กยาว เอ็ม บรรจุเครื่องมือ
๑.๒ การแก้ไขโดยฉับพลัน สอนให้ทหารได้ทราบถึงการ ๑๖เอ๑และปืนเล็ก รมศูนย์ปืน,
แก้ไขโดยฉับพลันเมื่อเกิดการติดขัดขึ้นในขณะทำการยิง ยาวเอ็ม๑๖เอ๒ เครื่องมือปรับ
๑.๓ สอนในเรื่องการบรรจุกระสุนใส่ในซองกระสุนและ (รส.๒๓-๙) หรือวัสดุปลาย
การนำกระสุน ออกจากซองกระสุ น โดยการบรรจุให้ หั ว พ.ศ.๒๕๔๑ แหลมเป้าสำหรับ
กระสุนชี้ไปในทิศทางเดียวกับเครื่องหมายที่ซองกระสุนทั้ง ๓. คู่มือราชการ ยิงปรับศูนย์ใน
ในแบบบรรจุทีล ะนัดและการบรรจุเร่งด่วนทหารจะต้ อง สนามว่าด้วยการฝึก ระยะ ๒๕ เมตร
แสดงวิธีนำกระสุนออกจากซองกระสุนได้อย่างถูกต้อง โดย ปลย.ทาโวร์ ขนาด
การใช้การดันที่จานท้ายซองกระสุน ๕.๕๖ มม.(รส.๒๓-
๙-๒) พ.ศ.๒๕๕๕
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๑.๔ การปรับและการจัดศูนย์ และการรมศูนย์ สอนให้
ทหารทราบถึงวิธีการปรับการจัดศูนย์หน้าและศูนย์หลังให้
ไปอยู ่ ใ นตำแหน่ ง ที ่ จ ะทำให้ บ ั ง คั บ การเล็ ง และยิ ง ถู ก
เป้าหมายตามทิศทางที่ต้องการ รวมทั้งการทำความสะอาด
และรมศูนย์ปืน
-การฝึกพลแม่นปืน ๓๐ ๑. หลักพื้นฐานของพลแม่นปืน ๑.ระเบียบและ -เพื่อให้ทหารใหม่มี -แผ่นภาพฝึกเล็ง

หน้า ๔๓
เบื้องต้น ๑.๑ สอนให้ทหารได้ทราบถึงการจัดศูนย์พอดี และการจัด หลั ก สู ต รการฝึ ก ทักษะการยิงปืน และ คานฝึกเล็ง แท่น
ภาพเล็ง การจัดภาพศูนย์พอดีที่ถูกต้อง การจัดภาพการเล็ง ก า ร ฝ ึ ก ย ิ ง ปื น ทำการยิงปืนได้อย่าง วางปื น หี บ เล็ ง
ประกอบเป้าหมายที่ถูกต้อง,การจัดภาพเล็งโดยใช้แท่นวาง ประจำปี สำหรั บ แม่นยำ เพื่อพัฒนาไปสู่ และตรวจสอบ
ปืนหีบเล็ง และช้อนเล็งให้ได้กลุ่มการเล็ง ทหารทุกหน่วยของ การฝึกยิงปืนเบื้องสูง การเล็ง แผ่นเป้า
๑.๒ การฝึกปฏิบัติท่ายิงให้ทำการฝึกทหารใหม่ในท่ายิง กองทัพบก (๑ ต่อไป สำหรับยิงปรับ
ต่างๆ ท่ายิงที่มีเครื่องหนุนรอง,ท่านอนยิง, ท่านั่งคุกเข่ายิง สัปดาห์ ) พ.ศ. ศูนย์ระยะ ๒๕
ทำการยิงต่อเป้าหมาย ๒๕๖๓ (ลฝ.๒๑–๓) เมตร
๑.๓ การฝึกยิงแห้ง ให้นำทหารใหม่ออกไปทำการฝึกใน
สนามฝึกยิงแห้งโดยใช้ท่ายิงในข้อ ๑.๒ โดยเน้นหนักในท่า
ยิงที่มีเครื่องหนุนรองและท่านอนยิง โดยนำหลักการทั้ง ๔
ประกอบคือ ท่ายิงที่มั่นคง, การเล็ง , การควบคุมการหายใจ
และการเหนี่ยวไกมาใช้ในการฝึกยิงแห้งให้ได้ถูกต้อง
ตอนที่ ๔ หน้า ๔๔
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๑.๔ สอนให้ทหารใหม่ได้ทราบถึงชนิดและประเภทของ ๒. คู ่ ม ื อ ราช การ
เป้าปรับศูนย์รบและเป้ารูปหุ่นย่อส่วน สนามว่ า ด้ ว ยปื น
๑.๕ ระเบียบปฏิบัติในสนามยิงปืน สอนให้ทหารมีความ เล็ ก ยาวปลย.๑๑
เข้าใจในขั้นตอนการปฏิบัติและการรักษาความปลอดภัยใน (รส.๒๓-๙-๑)พ.ศ.
สนามยิงปืน ๒๕๔๗
๒. การฝึกยิงจัดกลุ่มกระสุน ให้นำทหารใหม่ออกไปทำการ ๓. คู ่ ม ื อ ราช การ
ฝึกยิงจัดกลุ่มกระสุนด้วยกระสุนจริงโดยไม่มีการปรับศูนย์ สนามว่าด้วยการฝึก
และไม่คำนึงถึงตำบลกระสุนถูกเป้าว่าจะอยู่ทางใด กระสุน ยิงปืนเล็กยาว เอ็ม
เกาะกลุ่มกันก็ใช้ได้ โดยให้ทหารใหม่ฝึกปฏิบัติจากท่านอน ๑๖ เอ๑ และปื น
ยิงที่มีเครื่องหนุนรองให้ทำการยิงโดยใช้กระสุน ๒๗ นัด ยิง เล็กยาวเอ็ม๑๖ เอ
๙ ครั้งๆละ ๓ นัด เพื่อเปรียบเทียบในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ ๒ (รส.๒๓-๙) พ.ศ.
เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) ๒๕๔๑
๓. การยิงปรับศูนย์รบในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ เมตร ๔. คู ่ ม ื อ ราช การ
(๑,๐๐๐ นิ้ว) ให้นำทหารใหม่ออกไปทำการฝึกยิงปืนด้วย สนามว่าด้วยการฝึก
กระสุนจริงในสนามระยะ๒๕ เมตร ทำการยิงในท่านอนยิงที่ ปลย.ทาโวร์ ขนาด
มีเครื่องหนุนรองใช้กระสุน ๑๘นัด,เป้าปรับศูนย์รบระยะ ๕.๕๖ มม.(รส.๒๓-
๙-๒) พ.ศ.๒๕๕๕
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒๕๐ เมตร (ปลย.เอ็ม ๑๖ เอ๑) หรือเป้าปรับศูนย์รบระยะ
๓๐๐ เมตร(ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ๒) และเป้าหุ่นย่อส่วนระยะ
๒๐๐ เมตร (ปลย.๑๑)ทหารแต่ละคนจะต้องยิงปรับศูนย์รบ
โดยให้กลุ่มกระสุนเข้าบริเวณกึ่งกลางเป้าได้โดยใช้กระสุน
๑๘ นัด แบ่งชุดย่อยชุดละ ๓ นัด ในการยิง ๒ ชุดสุดท้าย
กระสุนไม่น้อยกว่า ๕ ใน ๖ นัดจะต้องอยู่ในวงกลมเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง ๔ ซม. สำหรับ ปลย.๑๑ให้ทำการเล็งที่จุดเล็ง

หน้า ๔๕
คือ สี่เหลี่ยมจตุรัสสีขาวโดยใช้ศูนย์หน้าทาบทับบริเวณนั้น
ตำบลกระสุ น ถู ก เป้ า จะอยู ่ บ ริ เ วณกากบาท ในการคิ ด
คะแนน ถ้ า กระสุ น ถู ก ภายในบริ เ วณตั ว หุ ่ น ที ่ เ ป็ น รอย
เส้นประ ถือว่าได้คะแนน
หมายเหตุ ทหารใหม่ที่ไม่สามารถยิงปรับศูนย์รบได้โดยใช้
กระสุน ๑๘ นัด นั้นต้องถูกนำไปฝึกพิเศษ เพื่อค้นหาและ
แก้ไขข้อ บกพร่ องเมื่ อครูฝ ึ ก แก้ ไขข้ อ บกพร่ องได้แ ล้ ว จึ ง
กลับมาทำการยิงปรับศูนย์รบใหม่อีกครั้ง
๔. การฝึกยิง เพื่ อ ความคุ้น เคยในสนามระยะ ๒๕ เมตร
(๑,๐๐๐ นิ้ว)ให้นำทหารออกไปทำการยิงปืนในสนามระยะ
๒๕ เมตร(๑,๐๐๐ นิ้ว)โดยใช้เป้าหุ่นย่อส่วนและกระสุนจริง
ตามที่กองทัพบกกำหนด
ตอนที่ ๔ หน้า ๔๖
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๕. การยิงประเมินผลต่อเป้ารูปหุ่น ย่อส่ว นในระยะ ๒๕
เมตร ให้นำทหารออกไปทำการฝึกยิงปืนด้วยกระสุนจริงใน
สนามทราบระยะ ๒๕ เมตร( ๑,๐๐๐ นิ้ว ) ในเรื่องการยิง
ปรับศูนย์ และการยิงบันทึกผล รวมทั้งในระหว่างการฝึกยิง
ปืนด้วยกระสุนจริงในสนามนี้ให้ทำการประเมินผลการตรวจ
อาวุธเป็นบุคคลโดยประเมินผลจากการปฏิบัติว่าได้เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจอาวุธหรือไม่
-การใช้ลูกระเบิด ๕ ๑. คุ ณ ลั ก ษณะ ขี ด ความสามารถและการทำงานของ -คู่มือราชการสนาม -เพื ่ อ ให้ ท หารใหม่ มี -แผ่นภาพ
ขว้าง เครื่องกลไกของลูกระเบิดขว้าง สอนในเรื่องความสำคัญของ ว่ า ด้ ว ยลู ก ระเบิ ด ค ว า ม ร ู ้ ใ น เ ร ื ่ อ ง เครื่องช่วยฝึก
ลูกระเบิดขว้าง,คุณลักษณะขีดความสามารถและการทำงาน ข ว ้ า ง แ ล ะ พ ลุ คุ ณ ลั ก ษณะและขี ด -ลข.ซ้อมขว้าง
ของเครื่องกลไก และส่วนประกอบของลูกระเบิดขว้างแบบ สั ญ ญาณ(รส.๒๓- ความสามารถของลู ก
ต่างๆ ๓๐) พ.ศ.๒๕๓๕ ระเบิดขว้าง โดยเน้นให้
สามารถขว้างลูกระเบิด
ขว้ า งได้ อ ย่ า งแม่ น ยำ
เป็นสำคัญ
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. ท่าขว้างลูกระเบิด สอนในเรื่องท่าสำหรับใช้ในการขว้าง
ลูกระเบิดโดยเน้นถึง วิธีการจับถือลูกระเบิดขว้าง,เทคนิค
ของการขว้าง และท่าขว้างต่าง ๆ ได้แก่ ท่ายืน, ท่านั่งคุกเข่า
, ท่าก้มขว้างกับฝึกให้ทหารใหม่ปฏิบัติท่าขว้างลูกระเบิด
ต่างๆ ในสนามฝึกขว้างลูกระเบิดมาตรฐาน
๓. การฝึกขว้างลูกระเบิดด้ว ยลูกระเบิดจริงให้นำทหาร
ออกไปทำการฝึกขว้างลูกระเบิด ซ้อมขว้างและลูกระเบิด

หน้า ๔๗
ขว้างจริงในสนามขว้างลูกระเบิด
-การใช้ดาบปลายปืน ๕ ๑. เทคนิคในการใช้ดาบปลายปืน สอนและสาธิตในเรื่อง ๑.คู ่ ม ื อ การฝึ ก ว่ า -เพื ่ อ สอนและฝึ ก ให้ -อาวุธปืนจำลอง,
หลักการใช้ดาบปลายปืนเข้าโจมตีในมุมโจมตีด้วยท่าต่างๆ ด้ ว ยการใช ้ ด า บ ทหารใหม่มีความรู้และ -ไม้นวม
รวมทั้งการป้องกันการถูกโจมตีด้วยดาบปลายปืน ซึ่งได้แก่ ปลายปื น (คฝ.๒๓- มีความคุ้นเคยในวิธีใช้ -แผ่นภาพ
ท่าเบื้องต้น,ท่าหมุนตัว,ท่าแทง,ท่าปัดแล้วแทง,ท่าปัดแล้วตี ๒๕-๑)พ.ศ.๒๕๒๗ ดาบปลายปืนต่อสู้กั บ เครื่องช่วยฝึก
และท่าตีด้วยพานท้าย ๒. คู ่ ม ื อ ราช การ ข้ า ศึ ก ในระยะประชิด -วีดีทัศน์
๒. การฝึกการใช้ ดาบปลายปื นแทง ให้นำทหารออกฝึ ก สนามว่ า ด้ ว ยการ ได้ในทุกลักษณะโดยใน ประกอบการฝึ ก
เพื่อให้เกิดความชำนาญและคล่องแคล่วในท่าแทง ต่ อ สู ้ ด ้ ว ยมื อ เปล่ า การฝึกนั้นให้ทำการฝึก การต่อสู้ด้วยมือ
และอาวุธ (รส.๒๑- ให้ทหารใหม่รู้จักและ เปล่ า และอาวุ ธ
๑๕๐)พ.ศ.๒๕๔๘ สามารถปฏิบัติในขั้น โดย ยศ.ทบ.
พ.ศ.๒๕๕๐
ตอนที่ ๔ หน้า ๔๘
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๓. การฝึกการใช้ดาบปลายปืนท่าปัดแล้วแทง ให้นำทหาร -พื้นฐานได้โดยเน้น
ใหม่ออกทำการฝึก เพื่อให้เกิดความชำนาญและคล่องแคล่ว เพียงความแข็งแรงและ
ในท่าปัดแล้วแทงทั้งทางซ้ายและขวา ความแม่นยำในการ
๔. การฝึกการใช้ดาบปลายปืนท่าปัดแล้วตีให้นำทหารใหม่ ปฏิบัติ สำหรับความ
ออกทำการฝึก เพื่อให้เกิดความชำนาญและคล่องแคล่วใน ชำนาญและความ
ท่าปัดซ้ายแล้วตีด้วยพานท้ายตั้งและตีด้วยดาบ,ท่าปัดซ้าย คล่องแคล่วนั้นให้ทำ
แล้วตีด้วยพานท้ายราบและตีด้วยดาบ,ท่าปัดซ้าย แล้วตี การฝึกเพิ่มเติมในวิชา
ด้วยพานท้ายตั้งกระแทกด้วยพานท้ายและตีด้วยดาบ และ กายบริหาร/ศิลปะการ
ท่าปัดซ้ายแล้วตีด้วยพานท้ายราบ กระแทกด้วยพานท้าย ต่อสู้ป้องกันตัว
และตีด้วยดาบ
๕. การฝึกการใช้ดาบปลายปืนท่าตีด้ว ยพานท้าย ให้นำ
ทหารใหม่ อ อกทำการฝึ ก เพื ่ อ ให้ เ กิ ด ความชำนาญและ
คล่องแคล่วในท่าตีด้วยพานท้ายตั้งกระแทกด้ วยพานท้าย
และตีด้วยดาบ,ท่าตีด้วยพานท้ายตั้งและตีด้วยดาบ,ท่าตี
ด้วยพานท้ายราบ กระแทกด้วยพานท้ายและตีด้วยดาบ,
ท่าตีด้วยพานท้ายราบและตีด้วยดาบ
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๖. การฝึกการใช้ดาบปลายปืนประกอบหุ่น ให้นำทหารใหม่
ออกทำการฝึกใช้ดาบปลายปืนในสนามฝึกที่มีหุ่นแทง โดย
เน้นหนักในการโจมตีฝ่ายตรงข้ามตามมุมโจมตีต่าง ๆ
๗. การฝึกต่อสู้ด้วยเครื่องช่วยฝึกแทนปืนติดดาบปลายปืน
(ไม้หุ้มนวม)ให้ทหารจับคู่ฝึกการต่อสู้ด้วยการใช้เครื่องช่วย
ฝึกดังกล่าวเพื่อพัฒนาทักษะในการเข้าโจมตีตามมุมต่าง ๆ

หน้า ๔๙
และการป้องกันการถูกโจมตี
๘ ซ.การฝึกทางยุทธวิธี (๕๗)
-การกำบั ง และการ ๔ ๑. การกำบังและการซ่อนพราง สอนในเรื่องคำจำกัดความ ๑. คู ่ ม ื อ ราช การ -เพื ่ อ สอนและฝึ ก ให้
ซ่อนพราง ของการกำบัง การซ่อนพราง การใช้ฉากหลังและร่มเงา, สนามว่ า ด้ ว ยการ ทหารใหม่ ม ี ค วามรู้
หลักการเลือกใช้ที่กำบัง, หลักการพรางเบื้องต้น, วัสดุเครื่อง พราง (รส.๒๐-๓) ความสามารถในเรื ่ อ ง
พราง, วิ ธ ี ก ารพรางโดยเน้ น เฉพาะ การพรางร่ า งกาย พ.ศ.๒๕๔๓ การพรางบุคคล เครื่อง
การพรางอาวุ ธ การพรางหมวกเหล็ ก การพรางเสื ้ อ ผ้ า ๒.คู่มือราชการ สนามและยุทโธปกรณ์
เครื่องแต่งกาย การพรางวัสดุสะท้อนแสง การพรางหลุม สนามว่าด้วยการฝึก รวมทั ้ ง การเลื อ กใช้ ที่
บุคคล วินัยการพราง และการเลือกใช้ที่ซ่อนพราง บุคคลทำการรบ กำบั ง และการซ่ อ น
(รส.๒๑-๗๕) พ.ศ. พรางอย่ า งเหมาะสม
๒๕๔๗ เพื่อให้สามารถนำไปใช้
ตอนที่ ๔ หน้า ๕๐
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. การฝึกปฏิบัติใช้ที่กำบังการพรางและการซ่อนพราง ให้ ๓.คู่มือพลทหาร ว่า ในโอกาสที่ปฏิบัติการ
ทหารใหม่ฝึกปฏิบัติในเรื่องการพรางร่างกาย,การพรางอาวุธ ด้วยการปฏิบัติการ ในสนามรบ
การพรางหมวกเหล็ ก ,การพรางเสื ้ อ ผ้ า เครื ่ อ งแต่ ง กาย ในสนาม พ.ศ.
การเลือกใช้ที่ซ่อนพราง และการพรางหลุมบุคคล ๒๕๑๗
๔.เอกสารการพราง
บุ ค คลป้ อ มสนาม
และการพรางที่พัก
แรม โดย กช.พ.ศ.
๒๕๕๑
-การฝึกบุคคลทำการ ๑๖ ๑. การพิจารณาใช้ภ ูมิประเทศและลมฟ้า อากาศให้ เ ป็ น ๑.คู่มือราชกาสนาม -เพื่อให้ทหารเรียนรู้ -แผ่นภาพ
รบในเวลากลางวัน ประโยชน์ สอนในเรื ่ อ งลั ก ษณะภู ม ิ ป ระเทศโดยทั ่ ว ไป ว่ า ด้ ว ยบุ ค คลทำ หลักและวิธีปฏิบัติการ เครื่องช่วยฝึก
ลักษณะภูมิประเทศที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติการทางทหาร, การรบ(รส.๒๑ - เป็นบุคคลในเวลา
การพิจารณาภูมิประเทศตามแง่คิดทางทหาร และสภาพลม ๗๕) พ.ศ.๒๕๔๗ กลางวัน เพื่อนำไปใช้
ฟ้าอากาศ เป็นพื้นฐานของการ
ปฏิบัติการเป็นหน่วย
ทางยุทธวิธี
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. การกะระยะ สอนในเรื่องความสำคัญของการกะระยะ ๒. คู่มือพลทหารว่า
การกะระยะด้วยสายตา,การกะระยะด้วยวิธีการสังเกตแสง ด้วยการปฏิบัติการ
และเสียง, และการวัดระยะทางข้าง ในสนาม พ.ศ.
๓. การฝึกการกะระยะให้ นำทหารใหม่ อ อกไปฝึก ในภู มิ ๒๕๑๗
ประเทศในเรื่อง การฝึกจดจำระยะ ๑๐๐ เมตร บนพื้นดิน,
การฝึ ก กะระยะโดยใช้ ห น่ ว ยหลั ก ๑๐๐ เมตร การฝึ ก

หน้า ๕๑
กะระยะโดยใช้ ว ิ ธ ี จ ดจำลั ก ษณะปรากฏของเป้ า หมาย,
การฝึกการกะระยะโดยการสังเกตแสงและเสียง การฝึกการ
วัดระยะทางข้าง
๔. การตรวจการณ์ สอนในเรื่องหลักการตรวจการณ์ ,การ
เลือกที่ตรวจการณ์การตรวจการณ์ในขณะเคลื่อนที่,ลักษณะ
ของร่องรอยต่าง ๆที่ควรทราบ และการรายงานการตรวจ
การณ์
๕. การเคลื่อนที่ในเวลากลางวัน สอนและสาธิต ในเรื่องกฎ
ทั่วไปในการเคลื่อนที,่ วิธีการเคลื่อนที่โดยทั่วไป,การเคลื่อนที่
ผ่านเครื่องกีดขวาง, และการเคลื่อนที่เป็นหน่วย
ตอนที่ ๔ หน้า ๕๒
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๖. การฝึกเคลื่อนที ่ในเวลากลางวัน ให้นำทหารใหม่ ฝึ ก
ปฏิบัติเพื่อให้มีความชำนาญ และคล่องแคล่วในเรื่อง การ
เคลื่อนที่ด้วยวิธีการโผ(เน้นการเคลื่อนที่ให้เร็วและการทำตัว
ให้ต่ำขณะโผ),การคลานต่ำ,การคลานสูง,การหมอบและลุก,
การเดินและการทำท่าหมอบแบบเงียบที่สุด ,การคลานแบบ
เงียบที่สุด, การข้ามลวดหนาม,การลอดใต้ลวดหนาม,การ
ข้ามเครื่องกีดขวางชนิดต่ำ และการข้ามคูด้วยวิธีการคลาน
ข้าม
๗. การฝึ ก วางตั ว ในสนามรบ สอนและให้ ท หารใหม่ ฝึ ก
ปฏิบัติควบคู่กันไปในเรื่องวิธีการวางตัวและหลักการวางตัว
ในสนามรบในแบบในแบบที่ถูกต้องต่างๆ
๘. การเลือกและการใช้เส้นทาง,การหาทิศและการกำหนด
ทิศและวิธีปฏิบัติเมื่อหลงทาง, โดยเน้นถึงวิธีการและให้ฝึก
ปฏิบัติด้วยตนเอง
๙. การใช้ อ าวุ ธ และวิ น ั ย การยิ ง สอนในเรื ่ อ งคำแนะนำ
เกี่ยวกับการใช้อาวุธประจำกายโดยทั่วไป,การใช้อาวุธเงียบ
และวินัยการยิง
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๑๐. การป้องกันอันตรายเป็นบุคคลในเวลากลางวัน สอนใน
เรื่องการป้องกันอันตรายเชิงรุกโดยเน้นถึง การใช้ที่วางตัวที่
มีลักษณะกำบัง การใช้ที่ซ่อนพราง การใช้อำนาจการยิง
การเคลื่อนที่เข้าหาข้าศึก การเคลื่อนที่ผ่านตำบลกระสุนตก
ป. และ ค. การรั ก ษาการติ ด ต่ อ และการสื ่ อ คำสั ่ ง การ
ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นชุด การป้องกันอันตรายเชิงรับโดย

หน้า ๕๓
เน้นถึง การถากถางพื้นยิง การดัดแปลงภูมิประเทศ
๑๑. ฝึกปฏิบัติการใช้อาวุธ /วินัยการยิงและการป้องกัน
อันตรายเชิงรุก
-การฝึกบุคคลทำการ ๕ ๑. การฟั ง เสี ย ง การสู ด กลิ ่ น การสั ม ผั ส และการรั ก ษา ๑. คู ่ ม ื อ ราช การ ๑.เพื ่ อ ให้ ท หารใหม่ -แผ่นภาพ
รบในเวลากลางคืน สายตาให้เห็นในเวลากลางคืน สอนในเรื่องความสำคัญของ สนามว่าด้วย บุคคล เรี ย นรู ้ ห ลั ก และวิ ธี เครื่องช่วยฝึก
การรบในเวลากลางคืน การฟังเสียง การสูดกลิ่นและการ ทำการรบ(รส.๒๑ - ปฏิ บ ั ต ิ ก ารเป็ น บุ ค คล
สัมผัส, การรักษาสายตาให้เห็นในเวลากลางคืน ปัจจัยอัน ๗๕) พ.ศ.๒๕๔๗ ในเวลากลางคื น เพื่ อ
เป็นผลกระทบกระเทือนต่อการมองเห็นในเวลากลางคืน ๒.คู่มือพลทหารว่า นำไปใช้ เ ป็ น พื ้ น ฐาน
การถนอมสายตาในเวลากลางคืนและความเชื่อมั่น ด้วยการปฏิบัติการ ของการปฏิบัติการ
ในสนามพ.ศ. เป็นหน่วยทางยุทธวิธี
๒๕๑๗
ตอนที่ ๔ หน้า ๕๔
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. การฝึกการฟังเสียง การสูดกลิ่น การสัมผัสและการรักษา ๒.เพื่อเพิ่มพูน
สายตาให้เห็นในเวลากลางคืน ให้นำทหารใหม่ออกทำการ ประสิทธิภาพในการรบ
ฝึกเวลากลางคืน ในเรื่องการฟังเสียง,การสูดกลิ่น,การสัมผัส ของทหารให้ ส ามารถ
โดยเน้นถึงการถอดประกอบอาวุธประจำกายในความมืด , ปฏิบัติการรบได้ในทุ ก
การคลำเพื่อพิสูจน์ทราบสิ่งของต่าง ๆ และการรักษาสายตา สภาพภูมิประเทศและ
ให้เห็นในเวลากลางคืน ทัศนวิสัย
๓. การฝึกการใช้สายตาในเวลากลางคืน ให้นำทหารใหม่ทำ ๓.เพื ่ อ เสริ ม สร้ า งให้
การฝึกในเวลากลางคืนในเรื่องการพิสูจน์ทราบสิ่งต่างๆโดย ทหารใหม่แต่ละคนเกิด
การตรวจการณ์ในที่มืด ความมั่นใจในตัวเองใน
๔. การใช้ที่ซ่อนพราง, การหาทิศ, การเคลื่อนที่,และการ การรบในเวลากลางคืน
ปฏิบัติเมื่อมีการใช้พลุส่องแสง สอนและสาธิตในเรื่องการใช้
ที่ซ่อนพรางในเวลากลางคืน,การหาทิศทางในเวลากลางคืน,
การเคลื่อนที่ในเวลากลางคืน ,การเคลื่อนที่ผ่านเครื่องกีด
ขวางโดยเน้นถึงการข้ามลวดหนาม การลอดใต้ลวดหนาม
การตัดลวดหนาม การข้ามคูหรือสนามเพลาะ การเคลื่อนที่
ผ่านพื้นที่อันตรายโดยเน้นถึงการผ่านที่โล่งแจ้งการข้ามถนน
การผ่านหมู่บ้าน และการปฏิบัติเมื่อมีการใช้พลุส่องแสง
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๕. การใช้อาวุธประจำกายและการค้นหาเป้าหมาย สอน
และให้ทหารใหม่ปฏิบัติควบคู่กันไปในเรื่องการเตรียมการ
ยิงก่อนมืดค่ำ,การเตรียมการยิงในขณะมืดค่ำ การยิงในเวลา
กลางคืน ,โอกาสที่จะใช้อาวุธและการค้นหาเป้าหมายโดย
เน้นถึงการกำหนดที่ตั้งของเป้าหมายและการหาระยะ
๖. การระวังป้องกันในเวลากลางคืน สอนและให้ทหารใหม่

หน้า ๕๕
ฝึกปฏิบัติควบคู่กันไปในเรื่องการระวังป้องกันเป็นบุคคลใน
เวลากลางคืน โดยเน้นถึงการใช้สัญญาณผ่าน การประสาน
การปฏิบัติการรักษาการณ์ การใช้เครื่องมือเตือนภัย การใช้
แสงและเสียง
-ป้อมสนาม ๓ ๑. หลักเบื้องต้นของป้อมสนามเร่งด่วน สอนและสาธิตใน ๑. คู ่ ม ื อ ราช การ -เพื ่ อ ให้ ท หารใหม่ มี -แผ่นภาพ
เรื่องความจำเป็นของป้อมสนาม,การใช้ป้อมสนาม, การ สนามว่าด้วยบุคคล ความรู ้ แ ละสามารถ เครื่องช่วยฝึก
ดัดแปลงภูมิประเทศ ลำดับความเร่งด่ว นของงาน, การ ทำการรบ(รส.๒๑ - สร้างหลุมบุคคลได้
ปรับปรุงพื้นยิง,รูปแบบของหลุมบุคคลเดี่ยวและรูปแบบของ ๗๕) พ.ศ.๒๕๔๗
หลุมบุคคลคู่และการสร้างที่มั่นต่อสู้และการวางพื้นยิงของ ๒.คู่มือพลทหารว่า
อาวุธประจำกาย ด้วยการปฏิบัติการ
ในสนาม พ.ศ.
๒๕๑๗
ตอนที่ ๔ หน้า ๕๖
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. การฝึกสร้างหลุมบุคคล ให้นำทหารออกไปฝึกหัดสร้าง
หลุมบุคคลทั้งหลุมบุคคลเดี่ยวและหลุมบุคคลคู่
-เครื่องกีดขวาง ๓ ๑. หลั ก การทั ่ ว ไปเรื ่ อ งเครื ่ อ งกี ด ขวาง สอนในเรื ่ อ ง ๑. คู ่ ม ื อ ราช การ -เพื ่ อ ให้ ท หารใหม่ ไ ด้ -แ ผ ่ น ภ า พ
ความหมายของคำว่าเครื่องกีดขวาง การแบ่งประเภทเครื่อง สนามว่าด้วยบุคคล เรียนรู้ถึงลักษณะของ เครื ่ อ งช่ ว ยฝึ ก
กี ด ขวาง,หลั ก การเลื อ กที ่ ต ั ้ ง และการใช้ เ ครื ่ อ งกี ด ขวาง ทำการรบ(รส.๒๑- เครื่องกีดขวางต่อต้าน ชนิดต่าง ๆทั้ ง ที่
โดยทั่วไป และการใช้เครื่องกีดขวางชนิดต่าง ๆ ๗๕) พ.ศ.๒๕๔๗ บุ ค คลและเครื ่ อ งกี ด เป็ น เครื ่ อ งกี ด
๒. เครื่องกีดขวางต่อต้านบุคคลที่สร้างขึ้น สอนและสาธิตใน (ผนวก ค) ขวางต่อต้าน ขวางบุ ค คลและ
เรื่องเครื่องกีดขวางลวดหนาม,ทุ่นระเบิดสังหารและกับ ๒.คู่มือพลทหารว่า ยานพาหนะพร้ อ มทั้ ง ยานพาหนะ
ระเบิด, ขวากไม้กับให้ทหารใหม่ฝึกปฏิบัติตามสมควร ด้วยการปฏิบัติการ สามารถสร้างเครื่องกีด
๓. เทคนิคการเคลื่อนที่ผ่านหรือข้ามเครื่องกีดขวาง การ ในสนาม พ.ศ. ขวางลวดหนามได้
เจาะช่องผ่านเครื่องกีดขวาง ๒๕๓๘
-การยิงประกอบการ ๑๔ ๑. สอนให้ทหารใหม่ได้ทราบถึงกฎความปลอดภัยในการยิงปืน ๑.เอกสารประกอบ -เพื่อสอนให้ทหารใหม่มี -แผ่นภาพ
เคลื่อนที่ (เป็นคู)่ ประกอบการเคลื่อนที่ และเข้าใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติ การฝึ ก ทหารใหม่ ความรู้เกี่ยวกับการยิง เครื่องช่วยฝึก
๒. การยิงประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่ โดยให้ทหารใหม่ได้เข้าใจ ตาม(ร่ าง)ระเบี ย บ ประกอบการเคลื่อน ที่
ขั้นตอนการปฏิบัติการยิงคุ้มกันการเคลื่อนที่และการเคลื่อนที่ และหลักสูตรการฝึก และเกิดความคุ้นเคยกับ
ภายใต้การยิงคุ้มกัน รวมทั้งการใช้ที่กำบังลักษณะต่างๆ และการ การฝึ ก ทหารใหม่ อาวุธประจำกายมาก
ใช้ท่ายิงให้เหมาะสมกับที่กำบังนั้นๆ หลังจากนั้นให้ทำการฝึก เบื้องต้นทั่วไป ยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถ
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
จนเกิดความชำนาญ แล้วจึงใช้กระสุนเพื่อทำการฝึกด้วยกระสุน สำหร ั บทหารทุ ก ปฏิบัติการเป็นคู่ได้อย่าง
ซ้อมรบ จำนวน ๓ ครั้งๆ ละ ๖ นัด/คน เหล่ า ของทบ.(๑๐ มีประสิทธิภาพ
สั ปดาห์ ) โดย ยศ.
ทบ.ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง
ใหม่ ปี ๒๕๕๐
-การลาดตระเวน/ ๗ ๑. หลักการลาดตระเวน สอนในเรื่อง คำจำกัดความแบบของการ ๑.คู่มือราชการสนาม ๑.เพื่อสอนให้ทหารใหม่

หน้า ๕๗
การระวังป้องกัน ลาดตระเวน, ภารกิจ การจัดกำลังพลและยุทโธปกรณ์ หน้าที่ ว่าด้วยบุคคลทำการ ม ี ความร ู ้ เก ี ่ ยว กั บ
ของพลลาดตระเวน ในขั้นการเตรียมการและการปฏิบัต ิการ รบ (รส.๒๑ - ๗๕) หลั ก การลาดตระเวน
ลาดตระเวน พ.ศ.๒๕๔๗ เบื้องต้นและทราบหน้าที่
๒. การฝึกการลาดตระเวนในเวลากลางวัน ให้นำทหารใหม่ ๒.คู่มือราชการสนาม การปฏิบัติในฐานะเป็น
ออกไปฝึกปฏิบัติการลาดตระเวนหาข่าวในภูมิประเทศ โดยเน้น ว่ าด้ วย หมู่ , หมวด พลลาดตระเวนโดยเน้น
ถึ งงานในหน้ าที ่ พลลาดตระเวน ในขั ้ นเตรี ยมการและการ ปื นเล็ กทหารราบ( ถึ งการลาดตระเวนหา
ปฏิบัติการลาดตระเวน รส.๗ - ๘ ) พ.ศ. ข่าวเป็นหลัก
๒๕๔๘
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก

ตอนที่ ๔ หน้า ๕๘
(ชม.)
๓. การฝึกลาดตระเวนในเวลากลางคืน ให้นำทหารใหม่ ๓ . เ อ ก ส า ร ๒.เพื่อให้เกิดความ
ออกไปฝึกปฏิบัติการลาดตระเวนหาข่าวในภูมิประเทศใน ประกอบกา ร ฝึ ก คุ้นเคยและความ
เวลากลางคืน โดยเน้นถึงงานในหน้าที่ของพลลาดตระเวน ทหารใหม่ ตาม(ร่าง) เชื่อมัน่ ในตนเอง
ในขั้นการเตรียมการและการปฏิบัติการลาดตระเวน ระเบียบและ
๔.การระวังป้องกัน สอนในเรื่อง เทคนิคการระวังป้องกัน หลักสูตรการฝึกการ
มาตรการที่จำเป็นต้องใช้ในการระวังป้องกันตนเองและ ฝ ึ ก ท ห า ร ใ ห ม่
หน่วยระหว่างการเคลื่อนที่ และในที่ตั้ง เบ ื ้ องต ้ นท ั ่ วไป
สำหร ั บทหารทุ ก
เหล่ าของทบ. (๑๐
ส ั ป ด า ห์ ) โ ด ย
ย ศ . ท บ . ฉ บั บ
ปร ั บปร ุ งใหม่ ปี
๒๕๕๐
๔.คู่มือการฝึกว่าด้วย
การฝึกและประเมิน-
ผลการฝึกหมู่ปืนเล็ก
และหมวดปืนเล็ก
เหล่าทหารราบ(คฝ.
๗-๘)พ.ศ.๒๕๔๑
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
-การเคลื ่ อ นที ่ ท าง ๕ ๑. สอนในเรื่องการเตรียมการก่อนออกเดินทาง เทคนิคการ ๑.คู่มือพลทหารว่า -เพื่อสอนและฝึ กให้ -แผ่นภาพ
ยุ ท ธวิ ธ ี แ ละการพั ก เคลื่อนที่ทางยุทธวิธี เช่น การเคลื่อนที่แบบเฝ้าตรวจสลับ ด้วยการปฏิบตั ิการ ทหารใหม่มีความรู ้ใน เครื่ องช่วยฝึก
แรมในสนาม และการระวังป้องกันในการเดินด้วยเท้าทางยุทธวิธี ในสนาม พ.ศ. เรื่ องการเคลื่อนที่ทาง
๒. การพักแรม สอนในเรื่อง คำจำกัดความของคำว่าการพัก ๒๕๑๗ ยุทธวิธี
แรมในสนาม, ระเบียบการปฏิบัติในการพักแรมและการ ๒.คู่มือการฝึ กว่า
ระวังป้องกันในการพักแรม สุขวิทยาอนามัยในการเดินทาง ด้วยการฝึ กและ

หน้า ๕๙
และการสุขาภิบาลในที่พักแรม โดยเน้นถึง การปฏิบัติตน ประเมินผลการฝึ ก
ก่อนออกเดินทาง การปฏิบัติตนในระหว่างเดินทาง การ หมู่ปืนเล็กและ
ปฏิบัติตนในเวลาหยุดพั กประจำชั่วโมงและพักนาน,การ หมวดปื นเล็ก เหล่า
สุขาภิบาลในการพักแรม
ทหารราบ (คฝ.๗-
๓. การใช้เครื่องสนาม สอนในเรื่องเครื่องมือ เครื่องใช้
๘) พ.ศ.๒๕๔๑
ประจำกายที่จำเป็นต้องใช้ในการเดินทางไกลโดย เน้นถึง
(ผนวก ก เทคนิค
เครื่องแต่งกายและเครื่องนอน,เครื่องมือโยธาสนามประจำ
การปฏิบตั ิทาง
กาย,เครื่องสนาม,สิ่งของเครื่องใช้ส่วนตัว,วิธีบรรจุสิ่งของลง
ยุทธวิธี หัวข้อ ก-๙
ในเป้สนามและการเกาะเกี่ยวเครื่องสนาม
การเคลื่อนที่ทาง
ยุทธวิธี หน้า ๑๐๒
และหัวข้อ ก-๑๕
ตอนที่ ๔ หน้า ๖๐
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๔. การกางกระโจม สอนสาธิต และให้ทหารใหม่ฝึกปฏิบัติ การลาดตระเวน
ควบคู่กันไปในเรื่องการใช้เสื้อคลุมกันฝนทำกระโจมหรือเพิง แ ล ะ ก า ร ร ะ วั ง
ที่พักแบบต่างๆและการใช้เต๊นท์ประจำกาย ป้ อ งกั น เป็ นพื้ น ที่
๕.การดำรงชีพในป่า หน้า ๕๑๔)๓.คู่มือ
หมายเหตุ ส ำหรั บ การนำทหารใหม่ อ อกทำการฝึ ก การ ราชการสนามว่ า
เคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและการพักแรมในสนามนั้นหน่วยฝึก ด้ว ยการฝึ กบุ ค คล
ควรจะกระทำในสัปดาห์ที่ ๕-๖ ของการฝึกตามหลักสูตรนี้ ทาการรบ (รส.๒๑-
และถือเป็นกิจกรรมประกอบหลักสูตร ๗๕) พ.ศ.๒๕๔๗
๙ ด. การตรวจสอบ (๑๓)
การตรวจสอบ ๑๓ -ให้ ผบ.หน่วย ตั้งแต่ระดับผู้บังคับกองพัน หรือ ผบ.หน่วย ๑.คู ่ ม ื อ การฝึ ก ว่ า -เพื่อประเมินค่าผลการ
เที ย บเท่ า ขึ ้ น ไปจั ด ให้ ม ี ก ารตรวจสอบ เพื ่ อ ให้ ท ราบขี ด ด้วยการประเมินผล ฝึ ก ที ่ ไ ด้ ท ำการฝึ ก ไป
ความสามารถของทหารเป็นรายบุ คคลตามรายละเอี ย ด การฝึ ก ทหารใหม่ แล้วทัง้ หมด
ที่กล่าวไว้ในคู่มือการฝึกว่าด้วยการประเมินผลการฝึกทหาร สำหรั บ ทหารทุ ก
ใหม่ สำหรับทหารทุกเหล่าของกองทัพบก ถ้าไม่สามารถ เหล่าของ
ดำเนินการตรวจสอบให้แล้วเสร็จโดยใช้เวลาตามที่หลักสูตร กองทัพบก
กำหนด ให้ ด ำเนิ น การตรวจสอบต่ อ ไปโดยใช้ เ วลานอก (๖ สั ป ดาห์ ) พ.ศ.
หลักสูตร ในการตรวจสอบให้กระทำเมื่อจบการฝึกสอน ๒๕๖๔
ลฝ. การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
ลำดับ วิชา เวลา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการสอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
อบรมแต่ละหมวดวิชา ทหารใหม่ทุกนายจะต้องเข้ารับการ
ประเมินผลทุกวิชาที่ทำการฝึก โดยไม่มีการจำหน่ายยอด
ทหารใหม่ร้อยละ ๒๐ ของยอดเต็ม และต้องเพ่งเล็งถึงการ
รับรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่ทำการฝึก สามารถตอบคำถาม
และปฏิบัติได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ ในการจัดทหาร
ใหม่เข้ารับการประเมินผลการฝึกจะต้องจัดแบ่งเป็นกลุ่ม

หน้า ๖๑
ย่อย เพื่อให้สามารถประเมินผลการฝึกเป็นรายบุคคลได้
อย่างทั่วถึงพร้อมทั้งสามารถให้คำแนะนำแก้ไขเพิ่มเติมแก่
ทหารใหม่เป็นรายบุคคลได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการประหยัดเวลา
ในการรอคอยและให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๖๒

ตอนที่ ๕
การฝึกยิงปืน

๑. การยิงปืนตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาว สําหรับทหารใหม่
๑.๑ ความมุ่งหมาย
ใช้เป็นหลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาวสําหรับทหารใหม่ทุกเหล่าของกองทัพบก กําหนดขึ้นเพื่อใช้
เป็นหลักฐานสําหรับการยิงปืนเล็กยาวในพื้นฐานเบื้องต้นสําหรับทหารใหม่ทุ กเหล่า และกําลังพลที่ได้รับการบรรจุ
เข้ารับราชการใหม่ในกองทัพบก
๑.๒ การใช้การยิงตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาวให้ใช้ในกรณี ดังนี้
๑.๒.๑ เริ่มฝึกยิงปืนครั้งแรกหลังจากได้ทําการฝึกใช้อาวุธเบื้องต้นมาแล้ว
๑.๒.๒ ทําการฝึกยิงในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว)
๑.๒.๓ ทําการยิงเพื่อปรับปืนในกรณีเร่งด่วน
๑.๒.๔ มีกระสุนน้อยจนไม่อาจทําการยิงตามหลักสูตรอื่นได้
๑.๒.๕ ใช้ยิงเพื่อความคุ้นเคย และยิงประเมินผลขั้นพื้นฐาน
๑.๒.๖ ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงตามหลักสูตรนี้ แต่สามารถประเมินผลการยิงได้
๑.๓ ตารางยิง
๑.๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้ ใช้สําหรับปืนเล็กยาว หรือปืนเล็กสั้น ที่สามารถยิงเป็นกึ่งอัตโนมัติได้
ทุกชนิด
๑.๓.๒ ให้ทหารทําการฝึกยิง ตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๒.๑ ตารางที่ ๑ จํานวน ๒๗ นัด
๑.๓.๒.๒ ตารางที่ ๒ จํานวน ๑๘ นัด
รวม ๔๕ นัด
๑.๓.๒.๓ ตารางที่ ๓ (ฝึกยิงคุ้นเคย) จํานวน ๔๙ นัด
๑.๓.๒.๔ ตารางที่ ๓ (ประเมินผล) จํานวน ๔๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๑๔๓ นัด
๑.๓.๓ ในกรณีที่มีกระสุนจํากัด ให้ทหารทําการฝึกยิงได้ ๓ แบบ ตามจํานวนกระสุนที่ได้รับ
๑.๓.๓.๑ แบบที่ ๑ ทําการฝึกยิงตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๓.๑.๑ ตารางที่ ๑ จํานวน ๒๗ นัด
๑.๓.๓.๑.๒ ตารางที่ ๒ จํานวน ๑๘ นัด
รวม ๔๕ นัด
๑.๓.๓.๑.๓ ตารางที่ ๓ เฉพาะลําดับ ๑ และ ๒
(ฝึกยิงคุ้นเคย) จํานวน ๒๙ นัด
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๖๓

๑.๓.๓.๑.๔ ตารางที่ ๓ เฉพาะลําดับ ๑ และ ๒


(ประเมินผล) จํานวน ๒๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๑๐๓ นัด
๑.๓.๓.๒ แบบที่ ๒ ทําการฝึกยิงตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๓.๒.๑ ตารางที่ ๑ จํานวน ๒๗ นัด
๑.๓.๓.๒.๒ ตารางที่ ๒ จํานวน ๑๘ นัด
รวม ๔๕ นัด
๑.๓.๓.๒.๓ ตารางที่ ๓ เฉพาะลําดับ ๑ และ ๒
(ประเมินผล) จํานวน ๒๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๗๔ นัด
๑.๓.๓.๓ แบบที่ ๓ ทําการฝึกยิงตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๓.๓.๑ ตารางที่ ๑ จํานวน ๑๒ นัด
๑.๓.๓.๓.๒ ตารางที่ ๒ จํานวน ๙ นัด
รวม ๒๑ นัด
๑.๓.๓.๓.๓ ตารางที่ ๓ เฉพาะลําดับ ๑ และ ๒
(ประเมินผล) จํานวน ๒๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๕๐ นัด
๑.๓.๔ ในกรณีที่มีกระสุนขาดแคลนให้ผู้บังคับหน่วยพิจารณา ให้ทหารทำการฝึกยิงโดยไม่ต้องทำ
การยิงประเมินผล ตามตาราง (ในช่องหมายเหตุ) ดังต่อไปนี้
๑.๓.๔.๑ ตารางที่ ๑ จํานวน ๑๒ นัด
๑.๓.๔.๑ ตารางที่ ๒ จํานวน ๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๒๑ นัด

ตารางการฝึกยิงปืนในสนามยิงปืน ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว)


ตารางที่ ๑ การยิงจัดกลุม่ กระสุน
ท่ายิง เป้า เวลา(วินาที) กระสุน คะแนน หายเหตุ
นอนยิงมีเครื่อง ปรับศูนย์รบ ไม่จำกัดเวลา ๒๗ - - ทำการยิง ๙ ครั้งๆ ละ ๓ นัด กรณีที่มี
หนุนรอง กระสุนจำกัดทำการยิง ๔ ครั้งๆ ละ ๓
นัด (๑๒ นัด)
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๖๔

๑. ความมุ่งหมาย
เพื่อสอนให้ทหารใหม่ได้เรียนรู้ถึงการยิงปืนโดยไม่ต้องปรับศูนย์และไม่ต้องคํานึงถึงตําบลกระสุนถูก
บนแผ่นเป้าว่าจะถูกที่กลางตัวหรือไม่ขอเพียงกระสุนเกาะกลุ่มเท่านั้นก็ใช้ได้ และเพื่อเป็นพื้นฐานให้ทหารใหม่
ได้ทําการปรับปืนตั้งศูนย์รบในโอกาสต่อไป
๒.คําแนะนํา การยิงปืนจัดกลุ่มกระสุนให้ยึดถือปฏิบัติ ดังนี้
๒.๑ เมื่อทหารใหม่เรียนรู้ทฤษฎีแล้ว ควรนําทหารใหม่ออกไปฝึกยิงปืนเพื่อจัดกลุ่มกระสุนในระยะเวลา
ที่ไม่ห่างกันมากนัก
๒.๒ ผู้รับการฝึกจะต้องพยายามใช้อาวุธปืนเล็กยาว ขนาด ๕๕๖ มม. กระบอกเดิมตลอดห้วงการฝึก
๒.๓ ให้ถือว่าเป็นการฝึกยิงปืนภาคบังคับ ไม่ควรงดเว้น หรือนําปลย. ขนาดอื่นมาใช้ยิงแทน
๒.๔ ให้ทําการฝึกยิงในเวลากลางวัน ในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ เมตร โดยใช้เป้าสําหรับยิงปรับศูนย์
อย่าง น้อยใช้กระสุน ๒๗ นัด ยิง ๙ ครั้ง ๆ ละ ๓ นัด ในทุก ๒ ครั้ง ให้จัดกลุ่มกระสุน กลุ่มละ ๓ นัด เพื่อ
เปรียบเทียบ และในครั้งสุดท้ายขนาดกลุ่มกระสุนไม่ควรเกินเส้นผ่านศูนย์กลาง ๔ ซม
๓. ตารางการฝึกยิง
๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้จะต้องใช้สําหรับปลย.ขนาด ๕.๕๖ มม. เท่านั้น
๓.๒ ในกรณีที่มีกระสุนจํากัด ไม่สามารถทําการฝึกยิงด้วยกระสุน คนละ ๒๗ นัดได้ให้ใช้กระสุน อย่าง
น้อย ๑๒ นัด

ตารางที่ ๒ การยิงเพื่อปรับศูนย์รบในสนามยิงปืน ๒๕ เมตร


ท่ายิง เป้า เวลา(วินาที) กระสุน คะแนน หายเหตุ
นอนยิงมีเครื่อง ปรับศูนย์รบ ไม่จำกัดเวลา ๑๘ - - ทำการยิง ๖ ครั้งๆ ละ ๓ นัด
หนุนรอง กรณีที่มีกระสุนจำกัดทำการยิง
๓ ครั้งๆ ละ ๓ นัด (๙ นัด)
๑. ความมุ่งหมาย
เพื่อสอนทหารใหม่ได้เรียนรู้ถึงวิธีการปรับตั้งศูนย์รบ สําหรับปลย. ขนาด ๕.๕๖ มม. เพื่อให้สามารถ
นําไปใช้ในการปรับตั้งศูนย์รบในโอกาสที่จําเป็นด้วยตนเองได้ และเพื่อประสงค์ จะให้ทหารใหม่ได้ทําการปรับ ปืน
ตั้งศูนย์รบ สําหรับอาวุธประจํากายของตนเองได้
๒. คําแนะนํา การยิงปืนเพื่อตั้งศูนย์รบให้ยึดถือปฏิบัติ ดังนี้
๒.๑ เมื่อได้ ทํา การฝึ ก ยิง จัด กลุ่ ม กระสุ นแล้ว ควรนําทหารใหม่อ อกไปฝึ กยิ งปืนเพื่ อ ตั้ งศูน ย์ ร บ
ในระยะเวลาที่ไม่ห่างกันมากนัก
๒.๒ ผู้รับการฝึกจะต้องพยายามใช้ปืนเล็กยาว ขนาด ๕.๕๖ มม. กระบอกเดียวกันที่ได้ทําการฝึกยิงจัด
กลุ่มกระสุนมาแล้วทําการยิง
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๖๕

๒.๓ ให้ถือว่าเป็นการฝึกยิงภาคบังคับ ไม่ควรงดเว้น หรือนําปลย.ขนาดอื่นมาใช้ยิ่งแทน


๒.๔ เมื่อได้ทําการยิงปรับปืนตั้งศูนย์รบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรให้ทหารใหม่จัดตําแหน่งของควงปรับ
ทางระยะและควงปรับทางทิศที่ศูนย์หน้าและศูนย์หลังไว้ ซึ่งเป็นตําแหน่งของควงปรับทางระยะและควงปรับ ทาง
ทิศของปืนกระบอกนั้น สําหรับทหารใหม่คนนั้น หากสามารถกระทําได้ก็น่าจะใช้วิธีให้ทําเครื่องหมายบันทึก ผล
อย่างใดอย่างหนึ่งติดไว้ที่พานท้ายปืน
๒.๕ การยิงเพื่อปรับปืนตั้งศูนย์รบไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิ
๓. ตารางการฝึกยิง
๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้จะต้องใช้สําหรับปลย.ขนาด ๕.๕๖ มม. เท่านั้น
๓.๒ ในกรณีที่มีกระสุนจํากัด ไม่สามารถทําการฝึกยิงในสนามยิงปืนด้วยกระสุน ๑๘ นัดได้ ให้ใช้
กระสุน อย่างน้อย ๕ นัด
หมายเหตุ
๑. ในการยิงปืนเพื่อตั้งศูนย์รบให้ทําการยิงในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ เมตร โดยใช้ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑,
ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒ และ ปลย.๑๑ ในท่านอนยิงที่มีเครื่องหนุนรองใช้กระสุน ๑๘ นัด เป้าปรับศูนย์รบ ระยะ ๒๕๐
เมตร (ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑) หรือเป้าปรับศูนย์รบ ระยะ ๓๐๐ เมตร (ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒)และเป้าปรับศูนย์รบระยะ
๒๐๐ เมตร (ปลย.๑๑)
๒. ผู้รับการฝึกจะต้องสามารถทําการยิงปรับศูนย์ โดยใช้กระสุน ๑๘ นัด ให้กลุ่มกระสุนเข้าบริเวณ
กึ่งกลางเป้าและให้แบ่งกระสุนออกเป็นชุดย่อย ชุดละ ๓ นัด ยิง ๖ครั้ง
๓. ในการยิง ๒ ชุดสุดท้าย เป็นการยิงหาผลกระสุนไม่น้อยกว่า ๕ ใน ๖นัด กระสุนจะต้องอยู่ในวงกลม
เส้นผ่านศูนย์กลาง ๔ ซม.
๔. ในกรณีที่ทหารใหม่ไม่สามารถยิงปรับศูนย์รบได้โดยใช้กระสุน ๑๘ นัด จะต้องถูกนําไปฝึกเป็นพิเศษ
เพื่อค้นหาและแก้ไขข้อบกพร่องได้แล้วจึงกลับมาทําการยิงปรับศูนย์ใหม่อีกครั้ง
๕. ถ้ามีกระสุนจํากัด ซึ่งจําเป็นต้องทําการยิงโดยใช้กระสุน ๙ นัด ให้ทําการฝึกยิง โดยแบ่งกระสุน
ออกเป็นชุด ๆ ละ ๓ นัด

ตารางที่ ๓ การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคยและยิงประเมินผลในสนาม ระยะ ๒๕ เมตร


ลำดับ ท่ายิง เป้า เวลา(วินาที) กระสุน คะแนน หายเหตุ
๑ นอนยิง ปรับศูนย์รบ ไม่จำกัด ๙ - - ปรับปืน
๒ นอนยิง รูปหุ่นย่อส่วน ๑๐ นาที ๒๐ ๒๐ - ลำดับที่ ๒ใช้กระสุน ๒ซองๆละ ๑๐
๓ นั่งคุกเข่ายิง รูปหุ่นย่อส่วน ๑๐ นาที ๑๐ ๑๐ นัด ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง ๑๐
๔ ยืนยิง รูปหุ่นย่อส่วน ๑๐ นาที ๑๐ ๑๐ นัดท่านอนยิงยิงไม่มีเครื่องหนุนรอง
๑๐ นัด เวลา ๑๐ นาที รวมทั้งการ
เปลี่ยนซองกระสุน
๑. การฝึกยิงในสนามระยะ ๒๕ เมตร โดยใช้ท่านั่งคุกเข่า, ท่ายืนและท่านอนยิงเป้ารูปหุ่นย่อส่วน
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๖๖

๑.๑ ทําการฝึกยิงในเวลากลางวัน ในสนาม ระยะ ๒๕ เมตร


๑.๒ ใช้กระสุนคนละ ๔๐ นัด ท่านั่งคุกเข่ายิง และท่ายืนยิง ท่าละ ๑๐ นัด ท่านอนยิง ๒๐ นัด
๑.๓ การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคยสามารถ แบ่งออกเป็น ๓ – ๔ ครั้ง โดยใช้กระสุนเฉลี่ยครั้งละเท่า ๆ กัน
เพื่อเปิดโอกาสให้ทหารใหม่ฝึกยิงปืนบ่อย ๆ
๒. การประเมินผลให้ถือเกณฑ์ผ่าน ดังนี้
๒.๑ ทหารใหม่ทําการยิงในท่านั่งยิง และยืนยิงถูกเป้ารูปตัวหุ่นย่อส่วนอย่างน้อย ๑๐ นัด จาก ๒๐ นัด
(๕๐%) ถือว่า “ผ่าน” โดยไม่จําเป็นต้องถูกภายในวงกลมกลางรูปตัวหุ่นคิด ๑ นัด ๑ คะแนน
๒.๒ ทหารใหม่ทําการยิงในท่านอนยิงถูกเป้ารูปตัวหุ่นย่อส่วนอย่างน้อย ๑๔ นัด จาก ๒๐ นัด (๗๐%)
ถือว่า “ผ่าน” โดยไม่จําเป็นต้องถูกภายในวงกลมกลางรูปตัวหุ่นคิด ๑ นัด ๑ คะแนน
๒.๓ ในกรณีใช้เป้ารูปหุ่นย่อส่วนระยะ ๒๐๐ เมตร ซึ่งออกแบบมา สําหรับ ปลย.๑๑ ใช้ฝึกยิงในสนาม
ระยะ ๒๕ เมตร กระสุนถูกภายในเส้นประของเป้ารูปหุ่นย่อส่วนระยะ ๒๐๐ เมตร ถือว่าได้คะแนน
๓. เกณฑ์การคิดคะแนน

ลำดับ เกณฑ์ ท่านั่งยิงและยืนยิง ท่านอนยิง


๑ ดีมาก ๑๗ ถึง ๒๐ คะแนน ๑๙ – ๒๐ คะแนน
๒ ดี ๑๔ ถึง ๑๖ คะแนน ๑๗ – ๑๘ คะแนน
๓ พอใช้ ๑๐ ถึง ๑๓ คะแนน ๑๔ – ๑๖ คะแนน
๔ ไม่ได้ผล ต่ำกว่า ๑๐ คะแนน ต่ำกว่า ๑๔ คะแนน

หมายเหตุ
๑. อย่างน้อยที่สุดทหารใหม่ควรได้รับการฝึกยิงปืนในสนาม ระยะ ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) ใน ท่า
นอนยิงมีเครื่องหนุนรอง จํานวนกระสุนไม่ต่ำกว่า ๒๑ นัด/คน
๒. ทหารใหม่ควรได้รับการฝึกยิงปืนเพื่อความคุ้นเคยบ่อย ๆ และต่อเนื่อง
๓. ในกรณีที่การประเมินผลมีอุปสรรค ทหารใหม่ควรยึดถือท่านอนยิงเป็นเกณฑ์การประเมินผลหลัก
๔. ทหารใหม่ควรได้รับการฝึกยิงเพิ่มเติมในหลักสูตรอื่น ๆ หลังจากบรรจุตามตําแหน่งหน้าที่ เพื่อให้
เกิดความชํานาญยิ่งขึ้น

--------------------------------
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๖๗

บทที่ ๓
การสนับสนุนการฝึก
.........................
ตอนที่ ๑
ความต้องการสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓

การใช้ สป.๓ ให้ยึดถือหลักดังต่อไปนี้


๑. การประมาณการความต้องการ สป.๓ ให้ยึดถือเกณฑ์คำสั่ง ทบ.ที่ ๓๖๗/๒๕๑๗
ลง ๑๙ ก.ย.๑๗ และตามคำสั่ง ทบ. ที่ ๓๑๔/๒๕๑๘ ลง ๑๘ มิ.ย. ๑๘ เรื่อง ให้ใช้เกณฑ์ ความ
สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันอุปกรณ์สำหรับยานพาหนะและเครื่องมือกลในการใช้งานและการ
ซ่อมบำรุง
๒. การใช้ สป.๓ ในการฝึก จะต้องคำนึงถึงเครดิต สป.๓ ประจำปีของการฝึก ของ
หน่วยที่ได้รับด้วย โดยจะต้องแบ่ง สป.๓ ให้สามารถทำการฝึกได้ทุกหลักสูตรและทุกขั้นตอน ของ
การฝึกและการตรวจสอบการฝึก
๓. ให้ปฏิบัติตามคำสั่งของ ทบ. เรื่อง การสนับสนุนการฝึกประจำปีการฝึกนั้นด้วย
๔. ตารางต่อไปนี้เป็นประมาณการความต้อ งการ สป.๓ ที่คำนวณในอัตราของ
ส่ว นรับ การฝึกและส่ว น กอ.ฝึก โดยให้ยึดถือข้อ ๑ - ๓ ในการจัดทำประมาณการ สป.๓ ตาม
สายการบังคับบัญชาจนถึง ยศ.ทบ. เพื่อพิจารณาต่อไป
๕. ให้หน่วยรับผิดชอบในการฝึกและหน่วยสนับสนุนการฝึก ยึดถือตารางการใช้
สป.๓ ที่กำหนดใน ตอนที่ ๑ บทที่ ๓ นี้ เป็นแนวทางในการเบิกจ่าย ดังนี้
ตารางความต้องการยานพาหนะและสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓

หน้า ๖๘
จำนวน ความต้องการ
เกณฑ์ ระยะทาง สป.๓/ลิตร
ลำดับ ชนิดยานพาหนะ สิ้นเปลือง ระยะบน ภูมิ ระยะทาง แก๊สโซฮอล์ ดีเซล
คัน วัน
(กม./ลิตร) ถนน ประเทศ (กม.) ๙๑
(กม.)
๑ กอ.ฝึก และส่วนสนับสนุน
- รยบ.ขนาดเล็ก ๑ ๓๐ ๗ ๒๐ - ๒๐ ๘๕
- รยบ. ขนาดเบา ๑ ๓๐ ๙ ๒๐ - ๒๐ ๖๖
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๒ ๑/๒ ตัน ๑ ๑๐ ๒ ๒๐ - ๒๐ ๑๐๐

๒ ส่วนรับการฝึก
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๒ ๑/๒ ตัน ๒ ๑๐ ๒ ๒๐ - ๒๐ ๒๐๐

บทที่ ๓
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า ๖๙

ตอนที่ ๒
ความต้องการสิ่งอุปกรณ์ ประเภทที่ ๕
(สาย สพ., สาย วศ. และ เป้า)

การใช้กระสุนและวัตถุระเบิดสำหรับการฝึกตามหลักสูตรนี้ ให้ยึดแนวทางการปฏิบัติดังนี้
๑. การใช้กระสุนและวัตถุระเบิด ให้ยึดถืออัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่ได้รับอนุมัติตามเครดิต
ประจำปี สำหรับการฝึกตามหลักสูตรของ ทบ. และคู่มือราชการสนามที่เกี่ยวข้อง
๒. เนื่องจากอาวุธยุทโธปกรณ์ในเหล่าทหารราบ มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ สำหรับชนิด
อาวุธก็ดี กระสุนวัตถุระเบิดก็ดี อาจจะไม่ตรงกับที่ได้ระบุไว้ในอัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่กำหนดไว้นี้ อนุโลม
ให้ใช้ทดแทนกันได้
๓. กระสุนและวัตถุระเบิดชนิดใหม่ ๆ ซึ่งมิได้กำหนดไว้ในอัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่กำหนด
อนุโลมตามข้อ ๒. และตามที่ ทบ. กำหนด
๔. ให้ปฏิบัติตามคำสั่งของ ทบ. เรื่องการสนับสนุนประจำปี ของการฝึกปีนั้น ๆ
๕. ให้ถือเกณฑ์ความต้องการกระสุนและวัตถุระเบิด ในการฝึกและการตรวจสอบตามตอนที่ ๒
บทที่ ๓ นี้เป็นเกณฑ์ แต่ทั้งนี้จะต้องไม่เกินจากเครดิตกระสุนและวัตถุระเบิดประจำปีที่หน่วยได้รับ และ ให้
พิจารณาในการใช้ตามความเหมาะสม
๖. ตารางต่อไปนี้เป็นประมารการความต้องการ สป.๕ ที่คำนวณในอัตราของส่วนรับการฝึก และ
ส่วน กอ.ฝึก โดยให้ยึดถือข้อ ๑ - ๕ ในการจัดทำประมาณการ สป.๕ ตามสายการบังคับบัญชาจนถึง ยศ.ทบ. เพื่อ
พิจารณาต่อไป
๗. ให้หน่วยรับผิดชอบในการฝึกและหน่วยสนับสนุนการฝึก ยึดถืออัตรากระสุนซึ่งได้ระบุไว้
ตามตารางการใช้กระสุนที่กำหนดในตอนที่ ๒ บทที่ ๓ นี้ เป็นแนวทางในการเบิกจ่าย
ความต้องการสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๕

ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
จำนวน ทั้งหลักสูตร ราคา
ลำดับ รายการ หน่วยนับ จำนวน ระดับที่ ระดับที่ ระดับที่ ระดับที่ ระดับที่ ระดับที่ หมายเหตุ
ต่อหน่วย รวมเงิน
๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓
สาย สพ.
๑ ก.ปล.5.56 มม.ธด. นัด/นาย ๑ นาย ๑๔๓ นัด ๑๐๓ นัด ๗๔ นัด
๒ ก.ปล.5.56 มม.ซร. นัด/นาย ๑ นาย ๑๘ นัด ๑๒ นัด ๖ นัด
๓ ถุงดินดำจุกพลาสติกและชนวน ลูก/คน ๑ ลูก ๑ ๑ ๑
๔ ลข. ๘๘ ซ้อมขว้าง ชุด/คน ๑๐ ชุด ๑๐ ๘ ๖
๕ ลข.สังหาร ลูก/คน ๑ ลูก ๑ ๑ -

หน้า ๗๓
๖ ดินระเบิด ที.เอ็น.ที ๑/๒ ปอนด์ แท่ง ๕๐ นาย ๑๐ ๘ ๖
๗ เชื้อปะทุไฟฟ้า ดอก ๕๐ นาย ๕ ๔ ๓
๘ เชื้อปะทุชนวน ดอก ๕๐ นาย ๑๐ ๘ ๖
๙ ชนวนฝักแคเวลา ฟุต ๕๐ นาย ๕ ๔ ๓
๑๐ จุกเกลียวเสียบเชื้อปะทุ ดอก ๕๐ นาย ๑๐ ๘ ๖
๑๑ ชนวนกดระเบิด (เอ็ม.๑เอ.๑) อัน ๕๐ นาย ๒ ๒ ๒
๑๒ ชนวนเลิกกดระเบิด (เอ็ม.๕) อัน ๕๐ นาย ๒ ๒ ๒
๑๓ ชนวนดึง - เลิกดึง (เอ็ม.๓) อัน ๕๐ นาย ๒ ๒ ๒
๑๔ ประทัด เอ็ม.๘๐ ดอก ๑ นาย ๑ ๑ -
สาย วศ.
๑ ลข.88 ควันสี ลูก ๕๐ นาย ๕ ๓ ๒
๒ พลุสัญญาณสี ต่างๆ นัด ๕๐ นาย ๕ ๓ ๒
ลฝ.การฝึ กทหารใหม่เบื้องต้นทัว่ ไป หน้า ๗๑

อัตรากระสุ นและวัตถุระเบิด
ให้หน่วยที่รับผิดชอบในการฝึ กทหารใหม่และหน่วยสนับสนุ นยึดถือ อัตรากระสุ นวัตถุ
ระเบิดและเป้า ซึ่งได้ระบุไว้ดงั ต่อไปนี้เป็ นแนวทางในการกาหนดการฝึ กและการเบิกจ่ายคือ

๑. อัตรากระสุ น ปลย.ขนาด ๕.๕๖ มม.ธรรมดา (หรื อกระสุ น ปล. อื่นๆ ตามชนิดอาวุธที่ใช้ สาหรับ
การฝึ กยิงปื นด้ วยกระสุ นจริง)

จานวน
ลาดับ รายการ ต่อทหาร หมายเหตุ
(นัด)
๑ สาหรับใช้การฝึ กยิงจัดกลุ่มกระสุน ๒๗ ๑ คน
ในสนามระยะ ๒๕ เมตร
๒ สาหรับใช้การฝึ กยิงปรับศูนย์รบ ๑๘ ๑ คน
ในสนามระยะ ๒๕ เมตร
๓ สาหรับใช้การฝึ กยิงเพื่อความคุน้ เคย ๔๙ ๑ คน
ในสนามระยะ ๒๕ เมตร
๔ สาหรับใช้การประเมินผลการยิงปื น ๔๙ ๑ คน
ในสนามระยะ ๒๕ เมตร

รวมการใช้กระสุ นทั้งสิ้ น ๑๔๓ ๑ คน

๒. อัตราลูกระเบิดขว้ างที่ใช้ สาหรับการฝึ กขว้ างลูกระเบิด

ลาดับ รายการ จานวน ต่อทหาร หมายเหตุ


๑ ถุงดินดาจุกพลาสติกและชนวน ๑๐ ชุด ๑ คน -ใช้ซอ้ มขว้างคนละ ๕
ชุด
ลข.๘๘ ซ้อมขว้าง ตรวจสอบ ๕ ชุด
๒ ลข.๘๘ สังหาร ๑ ลูก ๑ คน -ให้ขว้างคนละ ๑ ครั้ง
ตอนที่ ๒ หน้า ๗๒

๓. อัตรากระสุ นและวัตถุระเบิดที่ใช้ สาหรับฝึ กสอนสาธิตและตรวจสอบ

ต่อทหาร
ลาดับ รายการ จานวน หมายเหตุ
ผู้รับการฝึ ก
๑ ลข.๘๘ ซ้อมขว้าง ๑ ลูก ๑ คน
๒ ลข.๘๘ สังหาร ๑ ลูก ๑ คน
๓ ลข.๘๘ ควันสี ๕ ลูก ๕๐ คน
๔ ดินระเบิด ที.เอ็น.ที. ขนาด๑/๒ ๑๐แท่ง ๕๐ คน
ปอนด์
๕ เชื้อปะทุไฟฟ้า ๕ ดอก ๕๐ คน
๖ เชื้อปะทุชนวน ๑๐ ดอก ๕๐ คน
๗ ชนวนฝักแคเวลา ๕ ฟุต ๕๐ คน
๘ จุกเกลียวเสียบเชื้อปะทุ ๑๐ ดอก ๕๐ คน
๙ ชนวนกดระเบิด (เอ็ม.๑ เอ.๑) ๒ อัน ๕๐ คน
๑๐ ชนวนเลิกกดระเบิด (เอ็ม.๕) ๒ อัน ๕๐ คน
๑๑ ชนวนดึง - เลิกดึง (เอ็ม.๓) ๒ อัน ๕๐ คน
๑๒ พลุสัญญาณสี ต่าง ๆ ๕ นัด ๕๐ คน
๑๓ ประทัด เอ็ม.๘๐ ๑ ดอก ๑ คน
๑๔ ก.ปล. ขนาด ๕.๕๖ มม.ซ้อมรบ ๑๘ นัด ๑ คน
(หรื อขนาด ๗.๖๒ มม. ซ้อมรบ)

.
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า ๗๓

ตอนที่ ๓
ความต้ องการ สป.สิ้นเปลือง
(การฝึ กและธุรการ)

๑. การฝึกทหารใหม่ เบื้องต้น ทั่ว ไปสำหรับทหารทุก เหล่า ของกองทัพบก (๖ สัปดาห์) พ.ศ.


๒๕๖๔ หน่ วยสามารถประมาณการงบประมาณในการเบิกเครื่ องช่วยฝึ กสิ้ นเปลืองได้ในอัตรา ๒,๐๐๐ บาท/
หน่วยฝึ ก ๒. ภาพยนตร์ฝึก ภาพฉายนิ่ง และภาพฉายเลื่อน มีคุณค่ามากที่จะช่วยให้การฝึ กสอนบังเกิดผล
ควรนามาใช้และพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับเรื่ องที่จะทาการฝึ กสอน
๓. แผ่น ภาพเครื่ อ งช่ ว ยฝึ กต่ าง ๆ อาจปรั บ ให้เ ข้า กับ ความมุ่ง หมายของการฝึ ก แผ่น ภาพ
เครื่ องช่วยฝึ ก ที่ ทบ. กาหนดขึ้น มีจานวนมากและเหมาะสมแก่วิธีสอนแต่ละวิธี บางอย่างเหมาะสมกับการสอน
เชิ งประชุม บางอย่างเหมาะสมกับการแสดงตัวอย่าง บางอย่างเหมาะสมกับการตั้งไว้ดู เพื่อความมุ่งหมาย
เพื่อทบทวนความจาและฝึ กตนเอง
๔. ในการฝึ กมิได้บงั คับว่าจะต้องใช้เฉพาะเครื่ องช่วยฝึ กของ ทบ. ที่กาหนดขึ้นเท่านั้น ผูฝ้ ึ กอาจ
มีการริ เริ่ มคิดค้นหรื อจัดทาขึ้นใหม่เพื่อให้เหมาะสม
๕. การฝึ กสอนจะได้ผลดีเป็ นอย่างยิ่ง ถ้าผูฝ้ ึ กสอนมีการเตรี ยมการเครื่ องช่วยฝึ ก และทาความ
เข้าใจเครื่ องช่วยฝึ กที่จะนามาใช้ก่อนถึงเวลาสอนจริ ง
๖. หากมี ผูใ้ ดคิ ดค้นเครื่ องช่ วยฝึ กชนิ ดใหม่ ๆ ขึ้ นมา ซึ่ งได้ทดลองใช้แล้วเป็ นผลดี ต่อการ
ฝึ กสอน ให้รายงานให้ ทบ. ทราบ และขออนุ มตั ิ ใช้เครื่ องช่ วยฝึ กนั้น ๆ เพื่อเป็ นหลักฐาน และ ทบ. จะได้
พิจารณากาหนดไว้ใช้เป็ นเครื่ องช่วยฝึ กของ ทบ. ต่อไป
ตอนที่ ๓ หน้า ๗๔

ความต้ องการสิ่ งอุปกรณ์ สิ้นเปลือง

ราคา
หน่ วย หมาย
ลาดับ รายการ จานวน หน่ วยละ จานวนเงิน
นับ เหตุ
( บาท ) บาท ส.ต.
๑ กระดาษถ่ายเอกสารขนาด เอ สั้น ๘๐ รี ม ๖ ๑๓๕ ๘๑๐ -
แกรม
๒ กระดาษถ่ายเอกสารขนาด เอฟ ๑๔ ยาว รี ม ๒ ๑๔๕ ๒๙๐ -
๘๐ แกรม
๓ สมุดปกแข็ง เบอร์ ๓ เล่ม ๓ ๓๕ ๑๐๕ -
๔ ปากกาลูกลื่น (คละสี น้ าเงิน,แดง,ดา) โหล ๒ ๖๐ ๑๒๐ -
๕ ปากกาเขียนไวท์บอร์ด แท่ง ๒ ๒๐ ๔๐ -
๖ ปากกาหมึกเคมี (คละสี น้ าเงิน,แดง, ดา) แท่ง ๒ ๒๐ ๔๐ -
๗ ปากกาลบคาผิด ด้าม ๓ ๔๕ ๑๓๕ -
๘ กาวแท่ง แท่ง ๒ ๔๕ ๙๐ -
๙ เหล็กหนีบกระดาษชนิดหูลวด กล่อง ๒ ๒๕ ๕๐ -
๑๐ ลวดเสี ยบกระดาษ กล่อง ๕ ๑๐ ๕๐ -
๑๑ ลวดเย็บกระดาษ เบอร์ ๑๐ กล่อง ๒ ๑๐ ๒๐ -
๑๒ แฟ้มเสนอหนังสื อ แฟ้ม ๒ ๑๑๐ ๒๒๐ -
๑๓ แผ่นอะซิเตรท เมตร ๒ ๑๕ ๓๐ -
รวมเป็ นเงิน ๒,๐๐๐ -
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า ๗๕

บทที่ ๔
ผนวก ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
------------------------------
ในบทนี้จะเป็นการรวบรวมตัวอย่างผนวกต่าง ๆ ที่สำคัญ สำหรับให้หน่วยที่จัดการฝึก ตามระเบียบ
และหลักสูตรการฝึก ในการจัดทำการเตรียมข้อมูลต่าง ๆ สำหรับให้ผู้ที่มีอำนาจและมีความรับผิดชอบในขอบเขต
งาน ที่เกี่ยวข้องลงนามในท้ายตารางประเภทต่างๆ เพื่อเป็นการแจ้งเตือนการปฏิบัติ, ประสานการปฏิบัติ, การ
สั่งการปฏิบัติให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งปวง ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารสำคัญที่จะต้องจัดทำไว้ใน กอ.ฝึก, การ
รายงานผล การฝึก และอื่น ๆ ทั้งนี้จึงขอให้หน่วยที่จัดการฝึกได้นำไปพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสม และเป็น
แบบอย่าง อันเดียวกันภายใน ทบ. ประกอบด้วย
๑. ผนวก ก ตารางกำหนดการฝึกประจำสัปดาห์
๒. ผนวก ข ตารางการฝึกประจำวัน
๓. ผนวก ค ตารางกำหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
๔. ผนวก ง ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึก เป็นรายวิชา (เฉพาะเรื่อง) ประกอบ
ความคิดเห็น(บุคคล)
๕. ผนวก จ ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมิน การฝึกเป็นรายวิชาประกอบความเห็น
(บุคคล)
๖. ผนวก ฉ ตารางรายงานสรุปผลการตรวจสอบและประเมิน การฝึกเป็นรายวิชา (ส่วนรวม) ประกอบ
ความคิดเห็นในภาพรวม (เป็นหน่วย)
ตอนที่ ๓ หน้า 76

(ตัวอย่าง)
ผนวก ก ตารางกำหนดการฝึกประจำสัปดาห์ จัดกลาง ขนาด ๒๐ ทึบ

เวลา สัปดาห์ แถลงหลักสู ตรหน้ า


ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
ก.การฝึ กวิชา.................. ๑๕(๓)
๑ -เรื่ อง ๕(๑)
๒ -............................ ๕(๒)
๓ -............................ ๕
ไม่มีขั้นการฝึก
ข.การฝึ กวิชา...............
๔ -เรื่ อง
๕ -............................
๖ -............................
ค.การฝึ กวิชา...............
๗ -เรื่ อง
๘ -............................
๙ -............................
รวมเวลาการฝึ กใน ลฝ.
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า 77
ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ)........................................................
(......................................................)
ตำแหน่ง........................................................
ผู้บังคับหน่วย

หมายเหตุ : การนำตารางไปใช้
๑. จำนวนตัวเลขของ ชม. ที่ไม่วงเล็บหมายถึง จำนวน ชม.ที่ทำการเรียนการสอนในเวลาการฝึก
๒. จำนวนตัวเลขของ ชม. ที่อยู่ในวงเล็บหมายถึง จำนวน ชม.ที่ทำการเรียนการสอนนอกเวลาการฝึก
๓. ตารางนี้จะเป็นการนำวิชาการเรียนการสอนอบรมและการปฏิบัติภายในหลักสูตรทั้งหมดบรรจุไว้ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ของการจัดทำหลักสูตรการฝึก ทั้งเป็น
วิชาการเรียนการสอนในเวลาการฝึก และนอกเวลาการฝึก
๔. ช่วยให้ ผบ.หน่วย และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้รับทราบจำนวนวิชา, จำนวนเรื่องของแต่ละวิชา, จำนวน ชม. (การสอนในเวลาการฝึกและนอกเวลาการฝึก) ในภาพรวมของ
หลักสูตรในแต่ละวิชา ที่หลักสูตรกำหนดให้ทำการเรียนการสอนในสัปดาห์ที่เท่าใด ใช้ระยะเวลาในการเรียนทั้งหมดกี่สัปดาห์ เพื่อการวางแผนเตรียมการในการจัดการฝึก
(เตรียมครู, กำหนดวัน, เวลา, สถานที,่ อุปกรณ์เครื่องช่วยฝึก และอื่น ๆ)
๕. นำไปใช้ประโยชน์ประกอบในการจัดทำตารางกำหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
ตอนที่ ๓ หน้า 78

(ตัวอย่าง)
ผนวก ข ตารางการฝึกประจำวัน
หลักสูตร ...................หน่วย .................... จัดกลาง ขนาด ๒๐ ทึบ

วันที่ ........................เดือน .............พ.ศ. .................


เวลา เวลาใน เวลานอก เวลาที่ ผู้รับผิดชอบ
ลาดับ เรื่ องที่ฝึก การแต่ งกาย สถานที่ หลักฐาน หมายเหตุ
ตั้งแต่ ถึง หลักสู ตร หลักสู ตร ฝึ กจริง การฝึ ก

ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ)........................................................
(.....................................................)
ตำแหน่ง........................................................
ผู้บังคับหน่วย
หมายเหตุ : การนำตารางไปใช้
๑. การพิจารณาในการจัดทำตารางการฝึกประจำวันผู้ที่รับผิดชอบจะต้องดูข้อมูลในตารางการฝึกประจำสัปดาห์ และพิจารณาให้เหมาะสมกับปัจจัยการฝึก (การฝึกจากง่าย
ไปหายากของภายในแต่ละสัปดาห์ และความเชื่อมโยงและความต่อเนื่องในการฝึกของหลักสูตร ตลอดจนไปถึงปัจจัยความพร้อมในหลายประการเช่น ครูผู้สอน, สถานที่ฝึก, เครื่องช่วย
ฝึก, สภาพแวดล้อมในการฝึก และอื่น ๆ
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า 79
๒. ตารางกำหนดการฝึกประจำวันควรจะกระทำให้แล้วเสร็จอย่างน้อย ๒ สัปดาห์ก่อนที่จะทำการฝึก
ตอนที่ ๓ หน้า 80

(ตัวอย่าง)
ผนวก ค ตารางกำหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
จัดกลาง ขนาด ๒๐ ทึบ
หน่วย ....................................
หลักสูตร ...................................................................................................
หน่วยฝึก ...................................................................................................
เวลา
ลาดับ วัน/เดือน/ปี วิชาเดิม วิชาที่เปลีย่ นแปลง หลักฐาน ผู้สอน สถานที่ฝึก หมายเหตุ
ตั้งแต่ ถึง








...

ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ)........................................................
(......................................................)
ตำแหน่ง........................................................
ผู้บังคับหน่วย
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า 81

หมายเหตุ : การนำตารางไปใช้
๑. การออกตารางกำหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ควรที่จะออกในห้วงเวลาเดียวกับตารางกำหนดการฝึกประจำสัปดาห์ เพื่อให้การแก้ไขตารางกำหนด
การฝึกประจำสัปดาห์กระทำได้ง่าย ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงวิชาที่ทำการฝึกสอน
๒. รายการวิชาเดิมที่ต้องการเปลี่ยนแปลงใหม่ จะต้องเป็นวิชาที่ไม่สามารถทำการฝึกปฏิบัติในสนามฝึกได้ในขณะห้วงเวลานั้น ๆ
๓. รายการวิชาที่ต้องการเปลี่ยนแปลงใหม่ จะต้องเป็นวิชาที่อยู่ในวันถัดไป หรือสัปดาห์ถัดไป และจะต้องเป็นรายการวิชาที่สามารถทำการฝึกได้ (จะต้องไม่ใช่วิชาเกี่ยวกับ
การอบรม)
๔. ผู้ที่รับผิดชอบในการฝึก หรือฝ่ายยุทธการ
๔.๑ จะต้องวางแผน เตรียมการ และจัดทำตารางกำหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงด้วยความรอบคอบ เพื่อป้องกันไม่ทำให้เกิดผลกระทบต่อการฝึก เช่น
ไม่สามารถทำการฝึกได้ครบทุกรายวิชาและทุกเรื่องของวิชาที่กำหนดไว้ตามที่ระเบียบและหลักสูตรกำหนดไว้
๔.๒ จะต้องจัดเตรียมแผนรองรับไว้ล่วงหน้า โดยศึกษาข้อมูลสภาพอากาศ เพื่อป้องกันความผิดพลาดต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
๔.๓ ควรออกตารางกำหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ก่อนที่จะทำการฝึกอย่างน้อย ๓-๕ วัน เพื่อการเตรียมการของครู หรือผู้ที่รับผิดชอบการฝึกนั้น ๆ,
สถานที่ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ ๓ หน้า 82

(ตัวอย่าง)
ผนวก ง ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา(เฉพาะเรื่อง)
ประกอบความคิดเห็น(บุคคล) จัดกลาง ขนาด ๒๐ ทึบ
หลักสูตร ...................หน่วย ....................
ตรวจสอบและประเมินจำนวน............วิชา/จำนวน..........เรือ่ ง
ยศ ชื่อ สกุล .......................................................................................................ลำดับที่....(ตามบัญชีรายชื่อ)....

หมาย
ลาดั เวลาใน เวลานอก เวลาที่ ผลการฝึ ก ความคิดเห็นของครูฝึกหรื อผู้รับผิดชอบการฝึ ก
วิชาที่ฝึก คะแนน เหตุ
บ หลักสู ตร หลักสู ตร ฝึ กจริง
๑ ๒ ๓ ๔ ข้อขัดข้อง สิ่ งที่ควรแก้ไข
๑ วิชา.......... ๕ ๓ ๘ (ปัญหาที่พบในการฝึ ก) (ข้อเสนอแนะ)
๑.๑ เรื่ อง...... ๑ ๑ ๗๕ √
๘๒ √
๑.๒ เรื่ อง...... ๑ ๑
รวม - - - ๘๓ √
๒ วิชา.......... ๕ ๓ ๘
๒.๑ เรื่ อง...... ๑ ๑ ๗๕ √
๘๒ √
๒.๒ เรื่ อง...... ๑ ๑
รวม - - - ๘๓ √

ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ)........................................................
(......................................................)
ตำแหน่ง........................................................
ครูฝึกหรือครูผู้สอน
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า 83

หมายเหตุ : การนำตารางไปใช้
๑. ตารางนี้กำหนดไว้สำหรับ ครูฝึกหรือครูผู้สอนหรือผู้ที่รับผิดชอบการฝึก ใช้ในการบันทึกเวลาและผลการฝึกประกอบความคิดเห็นเสนอให้ ผบ.หน่วย (ผบ.พัน.หรือ
เทียบเท่า)
๒. ตารางนี้เป็นตารางที่ ครูฝึกหรือครูผู้สอนหรือผู้ที่รับผิดชอบการฝึก ใช้ในการบันทึกโดยจะมุ่งประเด็นไปเฉพาะเรื่องที่ทำการเรียนการสอนของแต่ละวิชาของผู้ที่เข้ารับ
การฝึกเฉพาะเป็นรายบุคคล (ผลที่ได้จะแสดงให้เห็นคะแนนจากผลการตรวจสอบประเมินด้านวิชาการและการปฏิบัติในภาพรวมเฉพาะเรื่องของเข้ารับการทดสอบเป็น
รายบุคคล)
๓. การเขียนแสดงความคิดเห็นของ ผู้รับผิดชอบการฝึกหรือครูผู้สอน จะต้องใช้การพิจารณาผลการฝึกของผู้เข้ารับการฝึกเป็นรายบุคคลด้วยการนำเวลาในการฝึก,
ผลของการฝึก(วิชาการและการปฏิบัติ), สภาพแวดล้อมการฝึก และเครื่องช่วยฝึก เป็นหลักการพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะความเห็นเฉพาะรายบุคคลในช่อง (ความคิดเห็น
ของครู ฝึกหรื อผู้รับผิดชอบการฝึ ก)
๔. ตารางนี้จะทำการตรวจสอบประเมินผลและรวบรวมผลการประเมิน เฉพาะเรื่องใน ๑ วิชาหรือมากกว่าก็ได้ ให้ผู้รับผิดชอบการฝึกหรือครูผู้สอน เป็นผู้พิจารณา
เพื่อป้องกัน การสับสนในการบันทึกคะแนนและการรวบรวมผล
๕. ตารางนี้จะช่วย ผู้รับผิดชอบการฝึกหรือครูผู้สอน ใช้ในการวางแผนในการพัฒนาผู้เข้ารับการฝึกให้มีขีดความสามารถสูงขึ้น และหรือให้อยู่ในมาตรฐานที่ ทบ.กำหนด
และสามารถนำไปเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ประเมินการจัดการเรียนการสอนของตนเอง
๖. เกณฑ์การพิจารณา
๖.๑ ระดับ ๑ : ต้องปรับปรุง (ผลการฝึกที่มีคะแนนน้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ลงมา)
๖.๒ ระดับ ๒ : พอใช้ (ผลการฝึกที่มีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๗๐ - น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ลงมา)
๖.๓ ระดับ ๓ : ดี (ผลการฝึกที่มีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ - น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ลงมา)
๖.๔ ระดับ ๔ : ดีมาก (ผลการฝึกที่มีคะแนน ตั้งแต่ร้อยละ ๙๐ - ๑๐๐)
ตอนที่ ๓ หน้า 84

(จุดทศนิยมจำนวน ๒ ตัว กรณีที่จุดทศนิยมมากกว่าตั้งแต่ ๕ ขึ้นไปให้ปัดเศษนั้นมีค่าเป็น ๑ เช่น ๖๙.๔๕ = ๗๐, ๖๙.๔๔ = ๖๙, ๘๙.๒๕ = ๘๙)
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า 85
(ตัวอย่าง)
ผนวก จ ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา
ประกอบความคิดเห็น(บุคคล) จัดกลาง ขนาด ๒๐ ทึบ

หลักสูตร ...................หน่วย ....................


ตรวจสอบและประเมินจำนวน............วิชา
ยศ ชื่อ สกุล ........................................................................................................ลำดับที่....(ตามบัญชีรายชื่อ)...

ผลการฝึ ก ความคิดเห็นของครูฝึกหรื อผู้รับผิดชอบการฝึ ก หมายเหตุ


เวลาใน เวลานอก เวลาที่
ลาดับ วิชาที่ฝึก คะแนน
หลักสู ตร หลักสู ตร ฝึ กจริง
๑ ๒ ๓ ๔ ข้อขัดข้อง สิ่ งที่ควรแก้ไข
(ปัญหาที่พบในการฝึ ก) (ข้อเสนอแนะ)
๑ วิชา............... ๕ ๓ ๘ ๘๓ √
๒ วิชา............... ๘ - ๘ ๖๘ √
๓ วิชา............... - ๕ ๕ ๗๐ √
๔ วิชา............... - ๕ ๕ ๘๘ √
รวมคะแนนเฉลี่ยทั้งหลักสู ตร ๗๘.๕ พอใช้

ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ)........................................................
(.....................................................)
ตำแหน่ง........................................................
ผู้ที่รับผิดชอบการฝึก
ตอนที่ ๓ หน้า 86

หมายเหตุ : การนำตารางไปใช้
๑. ตารางนี้กำหนดไว้สำหรับ ครูฝึกหรือครูผู้สอนหรือผู้ที่รับผิดชอบการฝึก ใช้ในการบันทึกเวลาและผลการฝึกประกอบความคิดเห็นเสนอให้ ผบ.หน่วย (ผบ.พัน.หรือ
เทียบเท่า)
๒. ตารางนี้เป็นตารางที่ ครูฝึกหรือครูผู้สอนหรือผู้ที่รับผิดชอบการฝึก ใช้ในการบันทึกโดยจะมุ่งประเด็นไปที่รายวิชาที่ทำการเรียนการสอนของผู้เข้ารับการฝึกเฉพาะ
เป็นรายบุคคล (ผลที่ได้จะแสดงให้เห็นคะแนนจากผลการตรวจสอบด้านวิชาการและการปฏิบัติในภาพรวมเฉพาะรายวิชาที่เข้ารับการทดสอบเป็นรายบุคคล)
๓. การเขียนแสดงความคิดเห็นของ ผู้รับผิดชอบการฝึกหรือครูผู้สอน จะต้องใช้การพิจารณาในผลการฝึกของผู้เข้ารับการฝึกเป็นรายบุคคลด้วยการนำเวลาในการฝึก,
ผลของการฝึก(วิชาการและการปฏิบัติ), สภาพแวดล้อมการฝึก และเครื่องช่วยฝึก เป็นหลักการพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะความเห็นเฉพาะรายบุคคลในช่อง(ความคิดเห็น
ของครู ฝึกหรื อผู้รับผิดชอบการฝึ ก)
๔. ตารางนี้จะทำการตรวจสอบประเมินผลและรวบรวมผลการประเมินเป็นรายวิชา โดยการนำผลการตรวจสอบและประเมินผลจาก ตารางรายงานผลการตรวจสอบ
และประเมินการฝึกเป็นรายวิชา (เฉพาะเรื่อง) ประกอบความคิดเห็น (บุคคล) บันทึกแล้วพิจารณาให้ความเห็น
๕. ตารางนี้จะช่วย ผู้รับผิดชอบการฝึกหรือครูผู้สอน ใช้ในการวางแผนในการพัฒนาผู้เข้ารับการฝึกให้มีขีดความสามารถสูงขึ้น และหรือให้อยู่ในมาตรฐานที่ ทบ.
กำหนด และสามารถนำไปเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ประเมินการจัดการเรียนการสอนของตนเองได้
๖. เกณฑ์การพิจารณา
๖.๑ ระดับ ๑ : ต้องปรับปรุง (ผลการฝึกที่มีคะแนนน้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ลงมา)
๖.๒ ระดับ ๒ : พอใช้ (ผลการฝึกที่มีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๗๐ - น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ลงมา)
๖.๓ ระดับ ๓ : ดี (ผลการฝึกที่มีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ - น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ลงมา)
๖.๔ ระดับ ๔ : ดีมาก (ผลการฝึกที่มีคะแนน ตั้งแต่ร้อยละ ๙๐ - ๑๐๐)
(จุดทศนิยมจำนวน ๒ ตัว กรณีที่จุดทศนิยมมากกว่าตั้งแต่ ๕ ขึ้นไปให้ปัดเศษนั้นมีค่าเป็น ๑ เช่น ๖๙.๔๕ = ๗๐, ๖๙.๔๔ = ๖๙, ๘๙.๒๕ = ๘๙)
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า 87
ตอนที่ ๓ หน้า 88

(ตัวอย่าง)
ผนวก ฉ ตารางรายงานสรุปผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา(ส่วนรวม)
ประกอบความเห็นในภาพรวม(เป็นหน่วย) จัดกลาง ขนาด ๒๐ ทึบ

หลักสูตร ...................หน่วย ....................


จำนวนวิชาที่ตรวจสอบ ........................วิชา/จำนวนผู้ที่เข้ารับตรวจสอบ...........นาย
ความคิดเห็นของ ผบ.หน่ วย
เวลาใน เวลานอก เวลาที่ฝึก คะแนน ผลการฝึ ก
ลาดับ วิชา ข้อขัดข้อง สิ่งที่ควรแก้ไข หมายเหตุ
หลักสู ตร หลักสู ตร จริง เฉลีย่
ผ่าน ไม่ผ่าน (ปัญหาที่พบในการฝึ ก) (ข้อเสนอแนะ)
๑ วิชา............................ ๕ ๓ ๘ ๗๖ √ -
๒ วิชา............................ ๘ - ๘ ๖๔ - √
๓ วิชา............................ - ๕ ๕ ๗๓ √ -
คะแนนรวมเฉลี่ยของ - - - ๗๑ พอใช้
หลักสูตร

ระยะ 2 บรรทัด
ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ)........................................................
(.....................................................)
ตำแหน่ง...............................................................
ผบ.หน่วยฝึ ก หรื อ ผบ.พัน. หรื อ เทียบเท่า
ลฝ.การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป หน้า 89

หมายเหตุ : การนำตารางไปใช้
๑. ตารางนี้กำหนดไว้สำหรับ ผบ.หน่ วยฝึ ก หรื อ ผบ.พัน. หรื อ เทียบเท่ า ใช้ในการบันทึกเวลาการฝึกประกอบความคิดเห็นในภาพรวมของหน่วยฝึกในทุกรายวิชา
ที่ทำการเรียนการสอนที่ปรากฏอยู่ในระเบียบและหลักสูตรการฝึก
๒. ตารางนี้เป็นตารางที่ ผบ.หน่วยฝึ ก หรื อ ผบ.พัน. หรื อ เทียบเท่า จะทำการบันทึกโดยจะมุ่งประเด็นเจาะจงในวิชาที่ทำการเรียนการสอนซึ่งจะแสดงผลคะแนน
ในภาพรวมของหน่วย ด้วยการรวบรวมผลการตรวจสอบประเมินการฝึกจากการรายงานของ ครู หรือ ผู้สอน หรือ ผู้ฝึก และจากการตรวจการฝึกด้วยตนเองอย่างใกล้ชิด
๓. ตารางนี้จะช่วย ผบ.หน่วยฝึ ก หรื อ ผบ.พัน. หรื อ เทียบเท่า ได้รับทราบผลการประเมินในภาพรวมซึ่งสามารถนำไปใช้ในกำหนดนโยบายการวางแผนในการพัฒนา
ผู้เข้ารับการฝึกให้มีขีดความสามารถสูงขึ้น และหรือให้อยู่ในมาตรฐานที่ ทบ.กำหนด และสามารถนำไปเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ประเมินการจัดการเรียนการสอน
๔. กรณีที่ในแต่ละเรื่องที่ทำการตรวจสอบมีผู้เข้ารับการตรวจสอบไม่เท่ากันสามารถนำไประบุไว้ในช่องหมายเหตุ ในเรื่องนั้น ๆ ได้
๕. เกณฑ์การพิจารณา
๕.๑ ระดับ ๑ : ต้องปรับปรุง (ผลการฝึกที่มีคะแนนน้อยกว่า ตั้งแต่ร้อยละ ๖๙ ลงมา)
๕.๒ ระดับ ๒ : พอใช้ (ผลการฝึกที่มีคะแนน ตั้งแต่ร้อยละ ๗๐-๗๙)
๕.๓ ระดับ ๓ : ดี (ผลการฝึกที่มีคะแนน ตั้งแต่ร้อยละ ๘๐-๘๙)
๕.๔ ระดับ ๔ : ดีมาก (ผลการฝึกที่มีคะแนน ตั้งแต่ร้อยละ ๙๐-๑๐๐)
๖. ช่องสุดท้ายหรือบรรทัดสุดท้ายของตาราง จะแสดงคะแนนรวมเฉลี่ยของทั้งหลักสู ตรจากผลการตรวจสอบและประเมินผลในภาพรวมของหน่ วยฝึ กนั้น ๆ
(วิชาการและการปฏิบตั ิ) ในทุกรายวิชาที่ทำการเรียนการสอนที่ปรากฏอยู่ในระเบียบและหลักสูตรการฝึก
๗. หลักฐานการตรวจสอบและประเมินผลนี้เก็บไว้ที่หน่วยฝึกจำนวน ๑ ชุด เสนอหน่วยและเหล่าสายวิทยาการของตน และ ยศ.ทบ. หน่วยละ ๑ ชุด และรายงาน
ตามสายการบังคับบัญชาจนถึงระดับ ทภ.

You might also like