You are on page 1of 88

ลับมาก

กองทัพบก

(เพื่อพลาง)

คูมือราชการสนาม
วาดวย

หลักนิยมหนวยทหารพราน
รส. ๒๐ – ๑
พ.ศ. ๒๕๖๒

ลับมาก
ลับมาก

กองทัพบก

(เพื่อพลาง)

คูมือราชการสนาม
วาดวย

หลักนิยมหนวยทหารพราน
รส. ๒๐ – ๑
พ.ศ. ๒๕๖๒

ลับมาก
- สําเนาคูฉบับ -


ลับมาก

คํานํา

หลักนิยมหนวยทหารพราน รส.๒๐-๑ ฉบับ พ.ศ.๒๕๕๐ ซึ่งกําลังพลหนวยทหารพราน ไดใช


ยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติมา ซึ่งถือวามีความสมบูรณในระดับหนึ่ง แตเนื่องจากปจจัยสภาพแวดลอม
และสถานการณอื่นๆ ที่ เปลี่ ยนแปลงอยางรวดเร็วในปจจุ บั นทํ าใหเนื้ อหาของหลั ก นิ ย มฯ ฉบั บ ดั งกลาว
ยั ง ไมครอบคลุ ม การปฏิ บั ติ ซึ่ ง หนวยทหารพราน จํ า เปนตองปฏิ บั ติ หนวยบั ญ ชาการสงครามพิ เศษ
จึงไดจัดทําหลักนิยมหนวยทหารพราน รส.๒๐-๑ พ.ศ.๒๕๖๒ ใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น เพื่อใหทหารพราน
และหนวยที่เกี่ยวของในทุกระดับหนวยของกองทัพบกในการฝก-ศึกษา วางแผนและอํานวยการปฏิบัติตางๆ
ทั้งในยามปกติและยามสงคราม นอกจากนั้นยัง ใชเปนหลักฐานใหกําลังรบอื่นๆ สามารถใชเปนพื้นฐาน
ในการปฏิบัติและการประสานงาน เมื่อเขาปฏิบัติการรวมกัน
คณะผูจัดทําขอขอบคุณผูบังคับบัญชา, นักรบพิเศษ หนวยทหารพราน และหนวยที่เกี่ยวของ
ที่ไดกรุณ าเสนอแนวความคิดอันเปนคุณูปการในการพัฒ นาปรับปรุงหลักนิยมหนวยทหารพราน ฉบับ นี้
สงผลใหการทํางานบรรลุผลสําเร็จเพื่อประโยชนของ ทบ. ไทย และเหลาทหารพรานสืบไป

กองวิทยาการ ศูนยสงครามพิเศษ

ลับมาก
ลับมาก
สารบัญ
คํานํา
สารบัญ หนา
ภาคที่ ๑ : กลาวทั่วไป ๑
บทที่ ๑ : กลาวนํา ๑
ตอนที่ ๑ แนวทางการใชกําลังกองทัพบก ๑
ตอนที่ ๒ กองทัพบกในสนาม ๗
- ยุทธศาสตรทหาร ๘
- ความมุงประสงคทางทหาร ๘
- วัตถุประสงคทางทหาร ๘
- แนวความคิดทางยุทธศาสตรทหาร ๘
- แนวความคิดทางยุทธศาสตรกองทัพบก ๙
ตอนที่ ๓ ประวัติการจัดตั้งหนวยทหารพรานของกองทัพบก ๑๘
- วัตถุประสงค ความมุงหมาย ขอบเขต ๑๙
บทที่ ๒ : การแบงสวนงานและหนาที่ของทหารพราน ๒๐
ตอนที่ ๑ กลาวทั่วไป ๒๐
ตอนที่ ๒ คุณลักษณะ ขีดความสามารถ และภารกิจ ๒๐
บทที่ ๓ : กองกําลังทหารพราน กองทัพภาค ๒๓
ตอนที่ ๑ กลาวนํา ๒๓
- กลาวทั่วไป ๒๓
- หนาที่ของกองกําลังทหารพรานกองทัพภาค ๒๓
ตอนที่ ๒ กรมทหารพราน ๒๕
ภาคที่ ๒ : การปฏิบัติการของทหารพราน ๓๓
- กลาวนํา ๓๓
- การเตรียมกําลัง ๓๕
บทที่ ๔ : ทหารพรานในการรบ ๓๗
ตอนที่ ๑ หลักการทําสงคราม ๓๗
ตอนที่ ๒ ทหารพรานในการปฏิบัติการรบ ๓๘
ตอนที่ ๓ การควบคุมบังคับบัญชา ๔๔
บทที่ ๕ : ทหารพรานในการปองกัน และการปราบปรามการกอความไมสงบ ๔๕
ตอนที่ ๑ กลาวนํา ๔๕
- หลักนิยมและความคิดในการปองกันและปราบปราม
การกอความไมสงบ ๔๗
ลับมาก

ตอนที่ ๒ การใชทหารพรานในการปองกันและปราบปราม
การกอความไมสงบ ๔๙
- กลาวนํา ๔๙
- ทหารพรานในการรณรงคดวยการเสริมความมั่นคง ๔๙
- ทหารพรานในการรณรงคดวยการโจมตี ๕๐
- ขอพิจารณาที่สําคัญตอการใชทหารพรานในการปองกัน
และปราบปรามการกอความไมสงบ ๕๑
- การใชทหารพรานในการปองกัน และปราบปราม
การกอความไมสงบ ๕๒
บทที่ ๖ : ทหารพรานในการตอสูเบ็ดเสร็จ ๕๔
ตอนที่ ๑ กลาวนํา ๕๔
ตอนที่ ๒ การปฏิบัติการของหนวยทหารพราน ๕๖
- กลาวนํา ๕๖
- ทหารพรานในการตอสูเบ็ดเสร็จ ๕๗
บทที่ ๗ : การพิทักษพื้นที่เขตหลัง ๕๙
ตอนที่ ๑ กลาวนํา ๕๙
ตอนที่ ๒ ทหารพรานในการปฏิบัติการพื้นที่สวนหลัง ๖๔
บทที่ ๘ : ผลการสัมมนาทหารพรานในการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม ๖๗
ตอนที่ ๑ กลาวนํา ๖๗
ตอนที่ ๒ กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพราน
กองทัพภาคสามารถปฏิบัติได ๖๘
ตอนที่ ๓ กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพราน
สามารถสนับสนุนการปฏิบัติใหกับหนวยอื่นๆ ๖๙
ตอนที่ ๔ กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม ที่หนวยทหารพรานปฏิบัติ
รวมกับหนวยอื่นๆ ซึ่งจะตองไดรับการสนับสนุนและการฝก–อบรมเพิ่มเติม ๗๐
บทที่ ๙ : การสงกําลังบํารุง หนวยทหารพราน ๗๓
ตอนที่ ๑ แนวคิดในการสงกําลังบํารุงของกองทัพบก ๗๓
ตอนที่ ๒ การสงกําลังบํารุงทหารพรานในยามปกติ ๗๓
ตอนที่ ๓ การสงกําลังบํารุงทหารพรานในยามสงคราม ๗๖
ผนวก ก. เอกสารอางอิง ๘๑
ลับมาก

บทที่ ๑
กลาวนํา
หลั ก นิ ย ม (Doctrine) เปนหลั ก พื้ น ฐานซึ่ งกํ า ลั งรบทางทหาร หรือ สวนของกํ าลั งรบ
ทางทหารยึ ด ถื อ เปนแนวทางปฏิ บั ติ ในภาวะสงคราม เปนผลใหตองมี ก ารปรั บ และพั ฒ นาการจั ด
โครงสรางของหนวยใหสอดคลองกับแนวทางของสงครามในอนาคต ตลอดจนยุทธวิธี หลักนิยมในดาน
หลักการและยุทโธปกรณใหทันสมัย

ดังนั้น หลักนิยม (Doctrine) คือ หลักพื้นฐาน ซึ่งกําลังรบทางทหารหรือสวนของกําลังรบ


ทางทหารยึดถือเปนแนวปฏิบัติเพื่อสนับสนุนวัตถุประสงคของชาติ หลักนิยมเปนสิ่งที่เชื่อถือไดแตตอง
พิจารณาในการนํามาใช

หลักนิยมทางทหาร แบงออกเปน ๓ ประเภท คือ


๑. หลักนิยมพื้นฐาน
๒. หลักนิยมสงครามแบบพิเศษ
๓. หลักนิยมยุทธวิธีของหนวย

ขอมูลในการจัดทําหลักนิยม จึงเปนกระบวนการที่เปนระบบ มีการวิเคราะหขอมูลตางๆ ดังนี้


- หลักการทําสงคราม ๑๐ ประการ
- หลักการปฏิบัติการนอกเหนือจากสงคราม
- หลักการทางตํารา
- การฝก
- การยุทธ

ตอนที่ ๑ แนวทางการใชกําลัง ทบ.


การใชกําลัง ทบ. มีขอบเขตของภารกิจที่ตองปฏิบัติ ประกอบดวย การปองกันประเทศ
การพิ ทั กษและเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริย การรัก ษาความมั่ น คงภายใน การรัก ษาความสงบ
เรียบรอยภายในประเทศ การพัฒนาประเทศ และการปฏิบัติการดานอื่นๆ โดยใชกําลังทหารตามที่ไดรับ
มอบหมายตามขอบเขตและอํานาจหนาที่ของหนวยเหนือตั้งแตระดับ ทท., กห. และรัฐบาล ทั้งนี้เพื่อให
สะดวกตอการเตรียมกําลัง จึงไดจัดประเภทการใชกําลัง ทบ. เปน ๒ รูปแบบ ดังนี้
ลับมาก ๒

๑. การปองกันประเทศ : เปนภารกิจหลักของกองทัพบก โดยแนวความคิดในการใชกําลัง


ตามยุทธศาสตรการปองกันประเทศ กห. ซึ่งกําหนดแนวความคิดทางยุทธศาสตร ประกอบดวย การสราง
ความรวมมือดานความมั่นคง การผนึกกําลังปองกันประเทศ และการปองกันเชิงรุก โดยเฉพาะการ
ปองกัน เชิ งรุก นั้ น ไดกําหนดใหพื้ น ที่ การรบแตกหัก อยู บริเวณแนวชายแดน และใชหนวยที่ มี ความ
คลองแคลวในการเคลื่อนที่เขาคลี่คลายสถานการณในขั้นตน และพรอมขยายกําลังไดตามสถานการณ
ซึ่งแบงขั้นตอนการใชกําลังตามแผนปองกันประเทศ ออกเปน ๓ ขั้น ดังนี้

ก. การใชกําลังในขั้นที่ ๑ (ขั้นปกติ) ของแผนปองกันประเทศ : เปนการปฏิบัติตามคําสั่ง


ปองกันชายแดนประจําป ดวยการจัดกําลังปฏิบัติภารกิจปองกันชายแดน ๔ ศูนยปฏิบัติการกองทัพภาค
และศูนยปฏิบัติการหนวยบัญชาการสงครามพิเศษ แยกเปน ๗ กองกําลังปองกันชายแดน (กองกําลัง
บูรพา กองกําลัง สุรสีห กองกําลัง สุรศักดิ์มนตรี กองกําลังผาเมือง กองกําลังนเรศวร และกองกําลัง
เทพสตรี) และ ๔ กองบังคับการควบคุม (๑,๒,๔,๕) ซึ่งแตละกองกําลังมีการจัดและการวางกําลังทั้งกําลัง
ทหารหลั ก ทหารพราน และตํ า รวจตระเวนชายแดน เขาควบคุ ม พื้ น ที่ และพรอมรองรั บ /เผชิ ญ
ภัยคุกคามทางทหารและ ภัยคุกคามรูปแบบตางๆ ในพื้ นที่ชายแดน เพื่อใหพื้นที่เกิดความมั่นคง และ
มีสภาพแวดลอมที่ปลอดภัยอยางถาวร โดยยึดถือการปฏิบัติตามแนวความคิดในการรักษาความมั่นคง
ตามแนวชายแดนของกองทัพบก (พันธกิจ ๓ ประการ) คือ การเฝาตรวจและปองกันชายแดน การจัด
ระเบียบพื้นที่และแกไขปญหาความมั่นคงในพื้ นที่ชายแดน และการประสานความรวมมือกับประเทศ
เพื่อนบาน นอกจากนี้สําหรับในบางพื้นที่ที่สถานการณมีความรุนแรงเกินขีดความสามารถของกําลัง
ปองกันชายแดน หรือมีความตองการกําลังเพิ่มเติมเพื่อเสริมการปฏิบัตินั้น ไดกําหนดให ทภ. จัดเตรียม
รอย.ร./ม. และ รอย.ป. เตรีย มพรอม จากหนวยดําเนิ น กลยุทธระดับ กรม ร., กรม ม. และ กรม.ป.
หนวยละ ๑ กองรอย ใหพรอมเขาปฏิบัติการในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อเปนกองหนุน และเพิ่มเติมการปฏิบัติ
ใหแกกองกําลังปองกันชายแดนตามความจําเปนของสถานการณ โดย มทภ. มีอํานาจ สั่งใชไดเหตุการณละ
๑ รอย.ร./ม. และ ๑ รอย.ป. เตรียมพรอม หวงระยะเวลาปฏิบัติการ ไมเกิน ๑ เดือน และจัดทดแทนทันที
เมื่อถูกใชไป รวมทั้งให นสศ. จัดเตรียม รอย.รพศ. และ รอย.จจ. เตรียมพรอม ใหพรอมเขาปฏิบัติการ
ในพื้นที่ ทภ. เมื่อสั่ง และจัดทดแทนทันทีเมื่อถูกใชไป เพื่อแกไขปญหาตามความจําเปนของสถานการณตอไป
ข. การใชกําลังในขั้นที่ ๒ (ขั้นตอบโต) ของแผนปองกันประเทศ : เปนการปฏิบัติตาม
แผนเผชิญเหตุที่กําหนดในแตละพื้นที่ เมื่อสถานการณลุกลามขยายความรุนแรงเพิ่มขึ้น และการใชกําลัง
เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ แกไขปญหาตามความจํ า เปนของสถานการณไมประสบผลสํ า เร็จ หรือ เมื่ อ ประมาณ
สถานการณแลวไมเพียงพอตอภัยคุกคามที่เกิดขึ้น ศบท.บก.ทท. จะประกาศวัน ต. (โดยความเห็นชอบ
ของ รมว.กห. และ ครม.) หนวยกํ าลั งรบหลัก ที่ ศปก.ทบ. ตองจัด เพิ่ ม เติ ม สํ าหรับ ใชในการแกไข
สถานการณในขั้นตอนนี้ ไดแก
ลับมาก ๓

๑) หนวยพรอมรบเคลื่อนที่เร็วของ ทบ. (ร.๓๑ รอ. และหนวยประกอบกําลัง) โดยมี


ทภ.๑ รับผิดชอบในการจัดเตรียมกําลัง และพรอมเคลื่อนยายได ภายใน ๒๔ ชม. เมื่อสั่ง
๒) กรม ร./ม. ฉก. ของ ทภ. โดยมี แ ตละ ทภ. รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด กํ าลั ง ทั้ ง นี้
ศปก.ทบ.จะพิ จ ารณาจั ด กํ า ลั ง เพิ่ ม เติ ม ใหกั บ ศปก.ทภ. ไดตามความเหมาะสมของสถาณการณ
ซึ่งประกอบดวยหนวยระดับ รอย.ม. (ลว., ยก., ถ.) จาก พล.ม.๒ รอ., รอย.ป. (ป.สนาม และ จรวด)
จาก พล.ป., รอย.ปตอ. (ลํากลองและนําวิถี) จาก พล.ปตอ. และ อากาศยานประเภทตางๆ จาก ศบบ.
โดยพรอมเคลื่อนยายได ภายใน ๔๘ ชม. เมื่อสั่ง
๓) กองพลพรอมรบของ ทบ. ซึ่งประกอบดวย พล.ร.๙ และ พล.ร.๑๕ สําหรับใชเปน
กองหนุน ในแตละแผนเผชิญเหตุ โดยพรอมเคลื่อนยายไดภายใน ๗๒ ชม. เมื่อสั่ง
อยางไรก็ตาม ศปก.ทบ. จะพิจารณากําหนดการใชหนวยเขาปฏิบัติภารกิจ ตามความ
จําเปนของสถานการณและความพรอมของกําลังที่มีอยู ซึ่ง ผบ.ทบ. /ผบ.ศปก.ทบ. จะเปนผูตกลงใจใช
กําลังระดับตางๆ ที่กําหนดไว เพื่อแกไขสถานการณที่เกิดขึ้น และหากประมาณสถานการณแลววา
ไมสามารถที่จะยุติความขัดแยงได จะพิจารณาเสนอให ทท. ประกาศวัน ร. เพื่อการระดมสรรพกําลัง
และ วัน ป. เพื่อเขาสูการปฏิบัติตามแผนปองกันประเทศในขั้นตอไป
ค. การใชกําลังในขั้นที่ ๓ (ขั้นปองกันประเทศ) ของแผนปองกันประเทศ : เมื่อการขยายตัว
ของภัยคุกคามทางทหารลุกลามออกไปจนถึงขั้นเกิดสงคราม หรือมี สิ่งบอกเหตุตั้ งแตยามปกติวาฝาย
ตรงขามจะใชกําลังทหารเต็มขนาดเขารุกรานประเทศไทย เชน การประกาศระดมสรรพกําลังของฝาย
ตรงขาม สําหรับการใชกําลังเต็มขนาดของ ทบ. ในขั้นตอนนี้ ใหปฏิบัติตามแผนปองกันประเทศในขั้น
ปองกันประเทศ ดวยการระดมสรรพกําลัง เมื่อ ทท. ประกาศวัน ร. และ วัน ป. (โดยความเห็นชอบของ
รมว.กห. และ ครม.) ซึ่งกําลังของ ทบ. จะเขาปฏิบัติการในกรอบของการปฏิบัติการรวมของกองทัพไทย
ภายใตการอํานวยการยุทธรวมของ ศบท.บก.ทท. โดยกําลังหลักในการปฏิบัติการในสวนของ ทบ. ไดแก
กองกํ าลั งเฉพาะกิ จรวม ทภ. และ หนวย ฉก.ปพ. รวมตามที่ กํ าหนดไวในการจัดเฉพาะกิ จในขั้น ที่ ๓
ของแผนปองกันประเทศซึ่งประกอบ ดวยกําลังสวนกําลังรบ จํานวน ๙ พล.ร., ๓ พล.ม. และ ๑ พล.รพศ.
และสวนสนับสนุนการรบ จํานวน ๑ พล.ป., ๑ พล.ปตอ., ๑ พล.ช. และ ๑ กรม บ. ภายใตการควบคุมและ
อํานวยการยุทธโดย ศบท.
ง. การควบคุมอํานวยการยุทธ : ศปก.ทบ. จะควบคุมอํานวยการยุทธตอกองกําลังเฉพาะกิจ
และกําลังที่ปฏิบัติภารกิจตามแผนเผชิญเหตุ (ขั้นปองกันชายแดน และขั้นตอบโตตามแผนปองกันประเทศ)
โดย ศบท.บก.ทท. จะเฝาติดตามสถานการณ และมอบนโยบายที่สําคัญและจําเปนตอการปฏิบัติเทานั้น
ทั้งนี้ ทท./ศบท. (คณะผูบัญชาการทหาร) จะเขาควบคุมอํานวยการยุทธรวมตอกองกําลังเฉพาะกิจรวม ทภ.
และหนวย ฉก.ปพ.รวม โดยตรงและเต็มรูปแบบ เมื่อประกาศใชแผนปองกันประเทศแลว หรืออาจเกิดขึ้นได
หากมีการใชกําลัง ตั้งแต ๒ เหลาทัพเขาปฏิบัติการรวมกันตามแผนปองกันประเทศ
ลับมาก ๔

การปฏิ บั ติ ก ารดานความมั่ น คงอื่ น ๆ ในรูป แบบการใชกํ าลั งติด อาวุธสั งหารและยั บ ยั้ ง
(Lethal and Non-lethal Weapons) เชิ งบั งคั บ (Hard Power) เพื่ อ ปองปราม ปองกั น และแกไข
ปญหาที่เกิดขึ้น
ก. การพิ ทั ก ษและเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริย : เปนภารกิ จหลัก ประการหนึ่ ง
ของกองทัพ เพราะสถาบันพระมหากษัตริยเปนสถาบันสูงสุด ที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอความมั่นคง
ของชาติ โดยเฉพาะการเปนสิ่งยึดเหนี่ยวและศูนยรวมจิตใจของคนในชาติ ซึ่งสอดคลองกับความสําเร็จ
ประการหนึ่ง ตามแนวคิดการผนึก กําลังปองกันประเทศ ของยุทธศาสตรการปองกันประเทศของ กห.
โดยในสวนของ ทบ. ไดมอบหมายใหทุกหนวยใหความสําคัญกับภารกิจดังกลาวดวยการดําเนินการใน
ลักษณะตาง ๆ ไดแก
๑) การถวายความปลอดภัย และถวายพระเกียรติแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
สมเด็ จพระนางเจาฯ พระบรมราชินี น าถ และพระบรมวงศานุ วงศ โดยกํ าหนดให ทภ. เปนหนวย
รับผิดชอบหลักในการจัดกําลังหรือสนับสนุนการจัดกําลังถวายความปลอดภัยพระบรมมหาราชวัง และ
พระตําหนัก การแปรพระราชฐาน และการเสด็จพระราชดําเนินในวโรกาสตางๆ
๒) การเฝาตรวจและรายงานการกระทําที่บอนทําลายสถาบันฯ เพื่อใหหนวยงานที่
เกี่ยวของดําเนินการในขั้นตอนตอไป รวมทั้งการชี้แจงขอเท็จจริงหรือตอบโตประเด็นขาวสารที่บิดเบือน
หรือบอนทําลายสถาบันฯ
๓) การจัดกิจกรรมเทิดทูนสถาบันฯ อาทิ การถวายพระพรและการจัดกิจกรรมเฉลิม
พระเกียรติ เนื่องในวันสําคัญตาง ๆ รวมทั้งการเผยแพรขอมูลเทิดทูนสถาบันฯ ในรู ปแบบของการจัดทํา
เปนโครงการ และการจัดกิจกรรมผานสื่อตาง ๆ อาทิ สิ่งพิมพ วิทยุ โทรทัศน และอินเตอรเน็ต เปนตน
๔) การดําเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในสวนที่ ทบ. รับผิดชอบ ๑๒๘
โครงการ ซึ่งจะตองขยายผลการดําเนินการใหมีความกาวหนามั่นคง โดยใชเปนตัวอยางหรือศูนยการ
เรียนรู เพื่อใหกําลังพลและประชาชนใชศึกษาเรียนรู และนําไปประยุกตใชใหเกิด ประโยชนตอการ
ประกอบอาชีพ และการดํารงชีวิต
ข. การรักษาความมั่นคงภายใน : ทบ. ถือเปนหนวยงานหลักทีส่ นับสนุนการปฏิบัตงิ าน
ของ กอ.รมน. ในการอํานวยการและบริหารงาน รวมทั้งการปฏิบัติภารกิจตามแผนงานรักษาความมั่นคง
ภายในประจําป โดยกําหนดใหแตละ ทภ. จัดตั้ง กอ.รมน.ภาค ๑ - ๔ เปนหนวยควบคุมบังคับบัญชา
และอํ า นวยการตอกํ าลั งปฏิ บั ติ ก ารในพื้ น ที่ ข องแต ทภ. จั ด กํ าลั งสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ของ
กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ สวนหนา (กอ.รมน.ภาค ๔ สน.) เพื่อแกไขปญหาในพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต มุงเนนการเสริมสรางและปรับความรับผิดชอบใหกับหนวยในพื้นที่แทนกําลังของ
ลับมาก ๕

ทภ.๑ - ๓ อยางไรก็ ต าม ยังคงมอบหมายให ทภ. ๑ – ๔ ไดจั ด เตรีย มกํ าลังกองหนุ น เพื่ อ รองรับ
สถานการณและ/หรือเพิ่ มเติมการปฏิบั ติใหกับ หนวย ในพื้น ที่ รวมทั้งการเพิ่ม ประสิท ธิภาพในการ
เฝาตรวจ/ควบคุมพื้ น ที่ ดวยการบู รณาการระบบกลอง CCTV ของหนวยงานที่ เกี่ยวของ และดํารง
ความตอเนื่องในการปฏิบัติงานดานกิจการพลเรือนในพื้นที่ เพื่อตอบสนองตองานการตอสูทางความคิด
และงานการเมือง ซึ่งจะสงผลดีตอการปฏิบัติงานในระดับยุทธศาสตรตอไป
ค. การรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศ : การใชกําลังทหารเพื่อเขาระงับเหตุใด ๆ
จะกระทําไดตอเมื่อมีการสั่งการจากรัฐบาล ทั้งนี้ในการดําเนินการ ทบ. จะจัดกําลังพลและยุทโธปกรณ
เขาปฏิบัติ โดยสอดคลองกับสถานการณที่เปนอยูและแนวโนมที่จะพัฒนาตอไป ภายใตการอํานวยการ/
สั่งการ และกํากับดูแลของผูที่ไดรับการแตงตั้งหรือตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งจะตองมีคําสั่งที่ชัดเจนเปน
ลายลักษณอักษรและตองไดรับอนุมัติจาก ผบ.ทบ. หรือผูบังคับบัญชาชั้นเหนือกวากอนเทานั้น รวมทั้ง
ตองกําหนดแนวทางการปฏิบัติหรือกฎการใชกําลังรองรับอยางชัดเจน ตามสถานการณที่ตองเผชิญเพื่อ
อํานวยความสะดวกใหหนวยปฏิบัติสามารถปฏิบัติไดอยางถูกตองตามขอบเขตและอํานาจหนาที่ที่ไดรับ
และอยูบนพื้นฐานหลักสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ทบ. จะตองเตรียมหนวยใหมีความพรอมตั้งแตปจจุบั น ทั้งใน
ดานการจัด/การประกอบกําลัง แผนการปฏิบัติในพื้นที่รับผิดชอบ และระเบียบปฏิบัติประจําของหนวย
ในการปฏิบัติภารกิจการรักษาความสงบเรียบรอย ซึ่ง ทบ. จะมอบหมายใหหนวยระดับ ทภ. หรือ มทบ.
หรือ กองพล รับผิดชอบจัดตั้งหนวยควบคุมบังคับบัญชากําลังปฏิบัติการเมื่อตองปฏิบัติภารกิจดังกลาว
สําหรับการจัดกําลังในสวนปฏิบัติการนั้น ใหพิจารณาจัดจากหนวยที่ถูกกําหนดใหเปนหนวยกําลังรบ
ประจําพื้นที่กอนเปนลําดับแรก
ง. การตอตานการกอการราย : ทบ. ไดเพื่อจัดเตรียมกําลังและยุทโธปกรณใหพรอม
สนับสนุน การปฏิบัติต ามแผนตอตานการกอการรายสากลตามที่ ทท. กําหนดไว โดยกําลังในขั้น ตน
ประกอบดวย หนวยปฏิ บั ติก ารพิ เศษ, ชุ ด ปฏิ บั ติ การบิ น , ชุ ด ตรวจคนและทํ าลายวัต ถุระเบิ ด และ
ชุดปฏิบัติการวิทยาศาสตร นอกจากนี้ ยังสามารถจัดกําลังในสวนอื่น ๆ เพิ่มเติมไดตามความจําเปนของ
สถานการณ เพื่อใหการแกไขปญหาการกอการรายสากลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
จ. การปฏิบัติการเพื่อความมั่นคงตามแนวชายแดน หนวยทหารในพื้นที่จะตองสนับสนุน
การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ของสวนราชการอื่ น ๆ ที่ รั บ ผิ ด ชอบความมั่ น คงและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ช ายแดน
ซึ่งประกอบดวย
๑) การปองกัน และปราบปรามยาเสพติด : ศปก.ทบ. ในฐานะศูนยอํานวยการ
พลังแผนดินเอาชนะยาเสพติดกองทัพบก (ศพส.ทบ.) ใชกําลังปองกันชายแดนและกําลังที่จัดขึ้นเพิ่มเติม
เพื่อปฏิบัติงานในพื้นที่พิเศษและจุดตรวจ/ดานตรวจรวมในพื้นที่ตอนใน ทั้งนี้ ยังคงเพงเล็งการปฏิบัติใน
ลับมาก ๖

พื้น ที่ภาคเหนื อ และภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือที่มีป ญหาการลักลอบขนยาเสพติด รุนแรงตามลําดับ


พรอมทั้งดําเนินโครงการสรางความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในการปราบปรามยาเสพติด
๒) การสกัดกั้นแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง : มุงเนนการแกไขปญหาแรงงาน
ตางดาวผิดกฎหมายและการลักลอบคามนุษยอยางเปนระบบ
๓) การปองกัน การทํ าลายทรัพ ยากรธรรมชาติ และปาไม : ทบ. ไดจัด ทําบัน ทึ ก
ขอตกลงความรวมมือในการอนุรักษทรัพยากรปาไมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
(ทก.) ตั้งแตป ๒๕๕๑ เปนตนมา โดยมอบใหกําลังที่ปฏิบัติหนาที่ในการรั กษาความมั่นคงพื้นที่ชายแดน
ดําเนินการรวมกับเจาหนาที่ปาไมและฝายปกครองในพื้นที่เพงเล็งการดําเนินงานในพื้นที่ภาคเหนือ และ
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ที่ มี ก ารลั ก ลอบตั ด ไมจํ า นวนมาก นอกจากนี้ ได ใหความสํ า คั ญ ตอการ
ดําเนินงานโครงการผืนปาอาเซียน ซึ่งเปนความรวมมือในการอนุรักษผืนปาตามแนวชายแดนกับประเทศ
เพื่อนบาน เพื่อใหเกิดการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน
๔) การปองกัน และปราบปรามสิ่งผิดกฎหมายอื่น ๆ ตามแนวชายแดน : เปนการ
ปฏิบั ติ ต ามนโยบายรัฐบาล เพื่ อ เปนการแกปญหารวมกั นกั บ ประเทศเพื่ อ นบาน โดยมอบหมายให
กองกําลังปองกันชายแดนสกัดกั้นการลักลอบนําเขา-สงออกสินคาเกษตรและสิ่งผิดกฎหมายตามแนว
ชายแดน เชน ขาวเปลือก, ขาวสาร, กระเทียม, น้ํามันเชื้อเพลิงประเภทตาง ๆ
๕) การสนับสนุนโครงการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนทางบก รวมระหวางไทยกับ
ประเทศเพื่ อ นบานของกระทรวงการตางประเทศ : โดยกรมแผนที่ ท หาร เปนหนวยหลั ก ในการ
ดําเนินการ ซึ่ง ทบ. ไดจัดกําลังชุดเก็บกูวัตถุระเบิด และชุดรักษาความปลอดภัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ในพื้นที่ชายแดนดานกัมพูชา, ลาว, เมียนมา และมาเลเซีย ตามที่ไดรับการรองขอ
๖) การปฏิบัติการทุนระเบิดเพื่อมนุ ษยธรรม ทบ. ยังคงสนับสนุนการจัดกําลังพล
และยุทโธปกรณ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของศูนยปฏิบัติการทุนระเบิดแหงชาติ (ศทช.ศบท.) ในการ
ตรวจคนและทําลาย ทุนระเบิด ที่ ต กคางในพื้น ที่ตาง ๆ ตามแนวชายแดน โดยเริ่มดําเนิ นการตั้งแต
ป ๒๕๔๓ จนถึงปจจุบัน และในขั้ นตนมีแผนการดําเนินการไปจนถึงป ๒๕๖๑ นอกจากนี้ ไดกําหนด
ดําเนินงานเพิ่มเติมในพื้นที่ จว.ช.พ. และ จว.ย.ล. โดยมอบหมายใหหนวยในพื้นที่รับผิดชอบจัดกําลัง
รักษาความปลอดภัยสนับสนุนการปฏิบัติ
ฉ. การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ รั ก ษาสั น ติ ภ าพรวมกั บ สหประชาชาติ ทบ. ยั งคงจั ด กํ า ลั งพล
สนับสนุนสหประชาชาติ โดย ทบ. จัดเตรียมกําลังในระบบกําลังเตรียมพรอมของสหประชาชาติ (PCRS)
แยกเปนระดับหนวย ประกอบดวย กองพันทหารราบผสม กองรอยทหารชาง และ โรงพยาบาลสนาม
ลับมาก ๗

ช. การเสริมสรางความรวมมือกับมิตรประเทศ การสรางความรวมมือดานความมั่นคง
กับ ตางประเทศ และการชวยเหลือ ประชาชนและบรรเทาภั ยพิ บั ติน านาชาติ ตามแนวทางการทู ต
ทางทหาร (Defense Diplomacy) เพื่อเสริมสรางความเขาใจอันดีที่จะนําไปสูการรวมกันแกไขปญหา
หากเกิดความขัดแยง และเสริมสรางสนับสนุนขีดความสามารถรวมในภูมิภาค ทั้งในระดับทองถิ่ นและ
ภูมิภาค ในรูปแบบของทวิภาคี และพหุภาคี ผานทางกลไกความรวมมือดานความมั่นคงในรูปแบบตางๆ
โดยมี ทบ. เปนหนวยงานหลักของไทย ในการจัดกําลังพล เขารวมการปฏิบั ติงานรวมกับกําลังพล/
บุคคลากร จากประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศคูเจรจาของอาเซียน
ซ. การพัฒนาประเทศและการชวยเหลือประชาชน : การปฏิบัติภารกิจของ ทบ. โดย
การสนับสนุนกําลังพลเปนรายบุคคล และการจัดหนวยเฉพาะกิจตั้งแตระดับชุดปฏิบัติการจนถึงระดับ
กองรอย โดยมี กํ า ลั ง ปองกั น ชายแดนเปนหนวยปฏิ บั ติ ห ลั ก ดวยการจั ด ชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารพลเรื อ น
เขาดําเนินการตอหมูบานเปาหมาย ทั้งในสวนของการจัดระเบียบพื้นที่ชายแดนและการพัฒนาคุณภาพ
คนและชุมชนพื้นที่ชายแดน การจัดกําลังของหนวยในสวนภูมิภาค และสวนพัฒนาประเทศสนับสนุนงาน
ตามโครงการพระราชดําริ และการสนับสนุนงานตามที่ไดรับมอบหมาย ทั้งนี้การใชกําลังตามภารกิจนี้
จะตองพิจารณาหนวยใหเหมาะสมกับพื้นที่และประเภทของงาน/กิจ และจะตองไมสงผลกระทบตอการ
ปฏิบัติภารกิจการปองกันประเทศ ซึ่งเปนภารกิจหลักของ ทบ.
จากแนวทางการใชกําลัง ทบ.ขางตน จะเห็นวา นอกจากภารกิจปองกันประเทศแลว ยังมี
ภารกิจการปฏิบัติการดานความมั่นคงอื่น ๆ ที่หนวยทหารพรานเกี่ยวของ เชน การพิทักษและเทิดทูน
สถาบันพระมหากษัตริย การรักษาความมั่นคงภายใน การปฏิบัติการเพื่อความมั่นคงตามแนวชายแดน
การเสริมสรางความรวมมือกับมิตรประเทศ การพัฒนาประเทศและการชวยเหลือประชาชน ซึ่งหนวย
ทหารพราน ตองมี ก ารเสริ ม สรางความพรอมใน เรื่ อ งขี ด ความสามารถและอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ
อยางตอเนื่อง เพื่อเสริมการปฏิบัติใหกําลังทหารหลักตอไป

ตอนที่ ๒ กองทัพบกในสนาม
แตเดิมมายุทธศาสตรมีความหมายและความสัมพันธโดยตรงกับหลักการทําสงคราม เพื่อใหได
ชัยชนะ และรวมไปถึงหลักการนําทัพและหลักการปฏิบัติ ซึ่งในปจจุบันถือ วาเปนระดับยุทธการและ
ยุทธวิธี ตอมานักยุทธศาสตรไดตระหนักถึงความสําคัญขององคประกอบและปจจัยตางๆ ที่มีผลกระทบ
ตอการทําสงครามใหไดชัยชนะ นอกเหนือจากการทหาร เชน การเมือง เศรษฐกิจ ทรัพยากร ภูมิศาสตร
วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและอุดมการณของชาติ โดยที่มีความสัมพันธตอเนื่องกัน ทั้งยุทธศาสตรชาติและ
ยุทธศาสตรทหาร
ลับมาก ๘

ยุท ธศาสตรทหาร คื อ ศิ ลปและศาสตรในการใชพลังอํานาจของชาติ เพื่อ ใหบรรลุถึ ง


วัตถุประสงคหรือเปาหมายที่บงไวในนโยบายแหงชาติ เปนหนทางปฏิบัติกวางๆ ที่ผูบริหารใชดําเนินการ
มักครอบคลุมในเรื่อง การเมืองภายใน /การเมืองระหวางประเทศ การปองกันประเทศ ความมั่นคง
ภายใน การเศรษฐกิจ การสังคมจิตวิทยา ดวยการใชพลังอํานาจทางทหารเขาดําเนินการ
ความมุ งประสงคทางทหาร เปนการกํ า หนดเปาหมายหรื อ ภารกิ จ ของพลั ง อํ า นาจ
ทางทหาร เพื่อสนั บสนุน นโยบายของชาติ โดยใชมูลฐานจากนโยบายความมั่นคงแหงชาติ กฎหมาย
ที่บัญญัติขึ้นโดยรัฐสภา และคําสั่งเฉพาะตางๆ ของรัฐบาล โดยทั่วไป กําหนดไวดังนี้.-
- การรักษาเอกราชของรัฐ
- การรักษาความมั่นคงของรัฐ
- การรักษาผลประโยชนของรัฐ
วัตถุประสงคทางทหาร คือ จุดมุงหมายสูงสุดทางทหารของชาติ ทีก่ ําหนดไวเพื่อบรรลุถึง
ความมุงประสงคทางทหาร ซึ่งกําหนดไวดังนี.้ -
- ปองกันราชอาณาจักร
- รักษาความมั่นคง
- รักษาผลประโยชนของชาติ
- รวมพัฒนาประเทศ
แนวความคิ ด ทางยุ ท ธศาสตรทหาร จะกํ า หนดแนวทางปฏิ บั ติ สํ า หรับ วั ต ถุ ป ระสงค
ทางทหาร สําหรับแนวคิดยุทธศาสตรทหาร ในเรื่องของการปองกันและตอสูภัยคุกคามจากภายนอก
อาจกําหนดไวโดยสรุปดังนี้
๑. ปองกันประเทศเชิงรุกดวยการพึ่งตนเองเปนหลัก
๒. ใชมาตรการปองปรามเปนลําดับแรก ดวยการเสริมสรางกําลังปองกันใหเขมแข็ง
๓. กําลังหลักและกําลัง ประจําถิ่นจะตองสามารถเผชิญ การรบแบบกองโจรภายใน และ
ปองกันการรุกรานจากภายนอกพรอมกันได
๔. ปองกันแนวชายแดนในชั้นตน ตอตานดวยลักษณะสงครามนอกแบบและใชสงครามตาม
แบบในขั้นตอไป
๕. พัฒนากําลังรบดวยมูลฐานแหงการพึ่งตนเอง
๖. พัฒนายุทธวิธี การจัด และการฝกสําหรับสงครามเบ็ดเสร็จ เพื่อเผชิญการรุกรานทุกรูปแบบ
๗. ปรับปรุงอาวุธยุทโธปกรณใหทันสมัยและมี ประสิทธิภาพ กําหนดมาตรฐานการจัดหา
และผลิตขึ้นใชรวมกัน เพิ่มขีดความสามารถในการผลิตเอง
๘. จัดหากําลังพลใหเพียงพอ และมีสมรรถภาพ
๙. สามารถปฏิบัติการรบรวมกับ ทอ. และ/หรือ ทร. ได
ลับมาก ๙

แนวความคิดทางยุทธศาสตรของกองทัพบก
ประเด็นยุทธศาสตร และกลยุทธ : เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการกําหนดเปาหมาย วิธีการ
และทรัพยากร ในการดําเนินการเพื่อใหการปฏิบัติราชการของ ทบ. มีประสิทธิผล และนําไปสูวิสัยทัศน ทบ.
ป ๒๕๗๙ ตามที่กําหนดไว จึง ไดมีการกําหนดประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) จํานวน ๖ ประเด็น
รวมทั้งการระบุกลยุทธในการดําเนินการในแตละประเด็นยุทธศาสตรไว ดังนี้
๑) ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ การพิทักษรักษา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย กําหนด
แนวความคิดในการปฏิบัติ ๓ แนวทาง ดังนี้
ก) การพิทักษสถาบันพระมหากษัตริย : วัตถุประสงคเฉพาะ ปกปองสถาบันพระมหากษัตริย
ใหมีความปลอดภัยสูงสุด กลยุทธ ไดแก สนับสนุนการจัดกําลังถวายความปลอดภัยและถวายพระเกียรติในทุก
โอกาส, ปรับปรุงแผนการถวายความปลอดภัยใหมีความทันสมัยและฝกซอมอยางสม่ําเสมอ เปนตน
ข) การเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย : วั ต ถุ ป ระสงคเฉพาะ การปกปองสถาบั น
พระมหากษั ต ริ ย ไมใหถู ก จาบจวง ลวงละเมิ ด กลยุ ท ธ ไดแก สนั บ สนุ น การเผยแพรพระเกี ย รติ คุ ณ และ
พระอัจฉริยภาพของพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค, สนับสนุนการขยายผลและเผยแพร
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาตามแนวทางพระราชดําริ เปนตน
ค) การปกปองสถาบันพระมหากษัตริย : วัตถุประสงคเฉพาะ สถาบันพระมหากษัตริย
ไมถูกจาบจางลวงละเมิด กลยุทธ ไดแก สนับสนุนการติดตามความเคลื่อนไหวของผูไมหวังดีตอสถาบันฯ และ
รายงานการกระทําผิดตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อดําเนินการตามกฎหมาย, พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
ฐานขอมูลในการติดตามตรวจสอบบุคคลและพฤติกรรมอันเปนการหมิ่นหรือละเมิดสถาบันฯ ใหมีความทันสมัย
เปนตน
๒) ประเด็น ยุทธศาสตรที่ ๒ การเสริมสรางศักยภาพและความพรอมของกองทัพ เพื่อการ
ปองกันประเทศ กําหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๔ แนวทาง ดังนี้
ก) การปรับปรุงโครงสราง ทบ. : วัตถุประสงคเฉพาะ ทบ. มีโครงสรางกะทัดรัด เปนกําลัง
อเนกประสงค ออนตั ว และทั น สมั ย แบบสากล กลยุ ท ธ/วิธี ก าร ไดแก ปรับ ปรุงโครงสรางหนวยกํ าลั งรบ
เปนกําลังรบผสมเหลาระดับกรมจํานวน ๒ ใน ๓ ของหนวยกําลังรบทั้งหมด พรอมสวนสนับสนุนตามสัดสวน,
หนวยกําลังรบที่ไมจัดเปนกําลังรบผสมเหลา ใหปฏิบัติห นาที่หนวยประจําพื้นที่ , ปรับปรุงโครงสรางหนวย
ในสวนตาง ๆ เปนตน
ข) การเสริมสรางความพรอมรบ : วัตถุประสงคเฉพาะ ทบ. มีความพรอมรบทั้งดานกําลังพล
ยุท โธปกรณ การฝกศึกษาและแผนการปฏิ บัติ กลยุทธ เสริมสรางความพรอมใหหนวยตาง ๆ ในกําลั งรบ
ผสมเหลาใหปรับ ลดอัตรากําลังพล อัตรากําลังพลที่วางใหบรรจุกําลั งพลสํารอง, พัฒ นาระบบควบคุมและ
อํ า นวยการยุ ท ธ, ปรั บ ปรุ ง หลั ก นิ ย มการยุ ท ธรวม, พั ฒ นาระบบฐานขอมู ล ขาวกรองรวม กองทั พ ไทย,
ลับมาก ๑๐

ปรั บ ปรุ ง หลั ก นิ ย มและระบบการฝกศึ ก ษาใหสอดคลองกั บ กํ า ลั งรบผสมเหลา, พั ฒ นาระบบเทคโนโลยี


สารสนเทศ การสื่อสารและไซเบอร, ปรับปรุงแนวทางการกําหนดความตองการจัดหา/ซอมแซมยุทโธปกรณ
หลักสําคัญ ของ ทบ. ใหมีความทันสมัย, สงเสริมและผลักดันผลการวิจัยและพัฒนาดานยุทโธปกรณเพื่อการ
ปองกันประเทศโครงการตนแบบ, สงเสริมการวิจัยยุทโธปกรณรวมกับเอกชนและตางประเทศ เปนตน
ค) การเสริมสรางความตอเนื่องในการรบ : วัตถุประสงคเฉพาะ ทบ. สามารถปฏิบัติการรบ
ไดอยางตอเนื่องในหวงระยะเวลาที่กําหนด กลยุทธ ไดแก ปรับปรุงระบบสงกําลังบํารุง ใหสอดคลองกับการใช
กําลังรบผสมเหลา, ปรับปรุงระบบกําลังพลสํารองโดยแสวงประโยชนจาก พ.ร.บ. กําลังพลสํารอง พ.ศ.๒๕๕๘
มุงเนนการทดแทนในยามสงครามและการลดงบประมาณทหารประจําการ, พัฒนาเครือขายและจัดตั้งกําลัง
ประชาชนจากทุกภาคสวน เพื่อการปองกันประเทศ และเผชิญกับภัยคุกคามรูปแบบอื่น ๆ เปนตน
ง) การเสริมสรางระบบปองกันชายแดน : วัตถุประสงคเฉพาะ สถานการณชายแดนมีความ
สงบ เรียบรอย กลยุทธ ไดแก สนับสนุนการแกปญหาเสนเขตแดน, สนับสนุนการดําเนินงานของกลไกความ
รวมมือดานความมั่นคงในพื้นที่ชายแดน เพื่อสรางความไวเนื้อเชื่อใจและลดความหวาดระแวง, พัฒนาระบบ
การแจงเตือนภัยคุกคามในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่ระวังปองกัน , สนับสนุนการคาขายตามแนวชายแดน และ
การขามแดนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวชายแดน, จัดระเบียบพื้นที่ชายแดนใหมีความปลอดภัย เปนตน
๓) ประเด็น ยุทธศาสตรที่ ๓ การสนับสนุนการปฏิบัติภ ารกิจการรักษาความมั่นคงภายใน
กําหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๕ แนวทาง ดังนี้
ก) สนั บ สนุ น การแกไขปญหาการกอเหตุ รุ น แรงในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต :
วัตถุประสงคเฉพาะ สถานการณการกอเหตุรุน แรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตยุติลงและประชาชนสามารถ
ดําเนิ น ชีวิต ไดอยางปกติสุ ข กลยุทธ จัดเตรียมกําลั งพลและยุทโธปกรณสนับสนุน กอ.รมน.ภาค ๔ สน.
ในการแกไขปญหาชายแดนภาคใต, สนับสนุนการแกไขปญหาการกอเหตุรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต
ใหสถานการณในพื้นที่มีความสงบเรียบรอย
ข) สนับ สนุน การสรางความปรองดองสมานฉันทของคนในชาติ : วัตถุประสงคเฉพาะ
ประชาชนมีความเชื่อมั่นและศรัทธาในสถาบันหลักของชาติ ไมเกิดความแตกแยกแบงฝายทางการเมือง กลยุทธ
เสริมสรางความรูความเขาใจแกประชาชนใหเห็นประโยชนของความสามัคคี และยึดมั่นในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมาหากษัตริยเปนประมุข
ค) สนับสนุ นการปองกันภัยคุกคามตอความมั่นคงภายในและความสงบเรียบรอยของ
ประเทศ : วัตถุประสงคเฉพาะ สถานการณภายในประเทศมีความสงบเรียบรอยและมีความมั่นคง รวมทั้ง
ประชาชน มีความเขาใจในภัยคุกคาม มีภูมิคุมกัน รวมทั้งรวมมือกับสวนราชการในการแจงเบาะแส กลยุทธ
สนับสนุน สวนราชการที่รับผิดชอบในการรณรงคเพื่อการปองกันภัยคุกคามตอความมั่นคง และความสงบ
เรียบรอย ไดแก การกอการราย ยาเสพติด การหลบหนีเขาเมือง การทําลายทรัพยากรธรรมชาติ อาชญากรรม
ขามชาติ รณรงคเสริมสรางความเขาใจภัยคุกคามความมั่นคงภายในและความสงบเรียบรอย รวมทั้งรวมมือกับ
สวนราชการดวยการแจงเบาะแสโดยใชสื่อวิทยุ โทรทัศน สื่อออนไลน และสื่ออื่น ๆ ของ ทบ.
ลับมาก ๑๑

ง) การสนับ สนุน การดําเนิ นการดานการขาวที่เปนภั ยคุกคามตอการรั กษาความมั่น คง


ภายในและความสงบเรียบรอยของประเทศ : วัตถุประสงคเฉพาะ มีการบูรณาการงานดานการขาวกับสวน
ราชการ ที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพ และสวนราชการที่เกี่ยวของไดรับการแจงเตือนภัยคุกคามแตเนิ่น
กลยุทธ บูรณาการงานดานการขาวกับสวนราชการและหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อความพรอมในการปองกัน
ระวั ง ยั บ ยั้ ง และแกไขภั ย คุ ก คามดานความมั่ น คงและความสงบเรี ย บรอยของประเทศ , เสริ ม สราง
ขีดความสามารถ ดานการขาวตอภัยคุกคามตาง ๆ ทั้งดานการฝกศึกษากําลังพล และการจัดหาเครื่องมือ/
ยุ ท โธปกรณ, สงเสริ ม การจั ด ตั้ ง การรัก ษา และการใชเครื อ ขายกํ าลั งภาคประชาชน เพื่ อ สนั บ สนุ น การ
ปองกันภัยหรือใชเปนแหลงขาวดวย
จ) การสนับสนุนการปราบปรามและการบังคับใชกฎหมายตอภัยคุกคามที่สงผลตอความ
มั่นคงภายในและความสงบเรีย บรอยภายในประเทศ : วัตถุป ระสงคเฉพาะ การกระทํ า ผิ ดที่ส งผลกระทบ
ตอความมั่น คงภายในและความสงบเรียบรอยและผู ดําเนินการถูกจับกุม ดําเนินคดีตามกฎหมาย กลยุท ธ
สนับสนุ นหนวยรับผิดชอบหลักในการปราบปรามภัยคุกคามตอความมั่นคงภายในและความสงบเรียบรอย
อยางบูรณาการ, จัดตั้งและสนับสนุนกลไกประสานการปฏิบัติการปราบปราม/บังคับใชกฎหมายกับหนวยงานหลัก
ในการเผชิญกับสถานการณหรือภัยคุกคาม, สงเสริมการฝกศึกษา อบรมใหกําลังพลมีขีดความสามารถ ในการ
รองรับภารกิจการเผชิญภัยคุกคามรูปแบบตางๆ ตามความรับผิดชอบ เปนตน
๔) ประเด็ น ยุ ท ธศาสตรที่ ๔ การสนั บ สนุ น การพั ฒ นาประเทศและชวยเหลื อ ประชาชน
กําหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๒ แนวทาง ดังนี้
ก) การสนับสนุนการพัฒนาประเทศ : วัตถุประสงคเฉพาะ ประชาชนมีวิถีชีวิตความเปนอยู
ที่ดีขึ้น มีความพรอมเผชิญปญหา และภัยคุกคามไดอยางเหมาะสมและสอดคลองกับบริบทความมั่นคงเฉพาะ
พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน กลยุทธ ไดแก ชวยเหลือ สนับสนุน และสงเสริมการพัฒนาคนและชุมชน
บนพื้ น ฐานการมี ส วนรวมสนั บ สนุ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และความเปนอยู ของประชาชนและชุ ม ชน
ตามแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ , สนั บสนุนและคุมครองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมอยางบูรณาการและเปนระบบ และพัฒนาเพื่อความมั่นคงในพื้นที่หมูบานตามแนวชายแดน และ
หมูบานเขมแข็งคูขนานตามแนวชายแดน เปนตน
ข) การชวยเหลือประชาชน : วัตถุประสงคเฉพาะ การชวยเหลือ สนับสนุน สงเสริมสวน
ราชการพลเรือนและภาคเอกชน ในการชวยเหลือประชาชนที่ประสบภัยพิบัติใหเปนไปอยางรวดเร็ว ทันเวลา
และทันตอสถานการณ กลยุทธ ไดแก บูรณาการความรวมมือกับทุกภาคสวนทั้งในและตางประเทศ, ปรับปรุง
แผนบรรเทาสาธารณภัย ทบ. ใหทันสมัย , พัฒนาการจัดโครงสรางหนวย กลไกการบริหารจัดการสาธารณภัย
กระบวนการวางแผนและสนั บสนุนใหไดมาตรฐานตามหลักสากล พัฒนาเครือขายความรวมมือระหวางชุมชน
ทองถิ่น อําเภอ จังหวัด ในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยพิบัติตาง ๆ เปนตน
ลับมาก ๑๒

๕) ประเด็ น ยุ ท ธศาสตรที่ ๕ การเสริม สรางความรวมมื อดานการทหารกั บ ตางประเทศ,


กําหนดแนวความคิดในการปฏิบัติไว ๓ ประการ ดังนี้
ก) เสริมสรางความสัมพันธที่ดีและความรวมมือทางทหารกับประชาคมระหวางประเทศ :
วัตถุป ระสงคเฉพาะ ประเทศมีความสัมพันธที่ดีกับประชาคมระหวางประเทศ และสามารถปองกัน/ยับยั้ง
ภัยคุกคามขามชาติในความรับผิดชอบของ ทบ. ได กลยุทธ ไดแก เสริมสรางความรวมมือดานความมั่นคงและ
การทหารกับตางประเทศตลอดจนองคการระหวางประเทศ ทั้งในระดับภูมิภาคแลระดับโลก, สงเสริมการจัดทํา
ขอตกลง บั น ทึ ก ความเขาใจ ความรวมมื อ ดานการทหารระหวาง ทบ. กั บ ทบ. มิ ต รประเทศ , สงเสริ ม
ความรวมมือกับมิตรประเทศในการรับมือกับ ปญหาทาทายในความมั่นคงรูปแบบอื่น ๆ โดยเฉพาะปญหาการ
กอการรายและอาชญากรรมขามชาติ เปนตน
ข) สงเสริมการมีบทบาทในอาเซียน : วัตถุประสงคเฉพาะ ประเทศสมาชิดอาเซียนยอมรับ
และเชื่อถือในบทบาทของ ทบ. กลยุท ธ ไดแก สงเสริมการมีบ ทบาทนํ าความรวมมือในกรอบการปร ะชุ ม
รมว.กห. อาเซียน และ รมว.กห. อาเซียนกับประเทศคูเจรจา, เสริมสรางความรวมมือดานการทหารภายใน
อาเซียนในดานตาง ๆ โดยเฉพาะการมุงเนนการเปนผูใหความชวยเหลือทางทหารมากกวาการเปนผูรับ เปนตน
ค) สงเสริมการบริหารจัดการชายแดนและสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิ จชุมชนขามแดน :
วัตถุประสงคเฉพาะ ทบ. มีความสัมพันธที่ดีกับประเทศเพื่อนบาน เงื่อนไขความขัดแยงลดลง เกิดความเชื่อใจ
และความรวมมือพัฒนาเศรษฐกิจขามแดน กลยุทธ สงเสริมใหมีมาตรการการบริหารจัดการชายแดนรวมกัน
กับ ประเทศเพื่ อนบาน เชน การเฝาตรวจ/ลาดตระเวนรวม เปนตน, สนั บ สนุ น การพั ฒ นาพื้ น ที่ ช ายแดน
ใหสอดคลองกับการพัฒนาเขตพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของไทย, บูรณาการการบริหารจัดการชายแดนรวมกับ
หนวยงานที่เกี่ยวของ เปนตน
๖) ประเด็ น ยุ ท ธศาสตรที่ ๖ การพั ฒ นาการการบริห ารจั ด การทรัพ ยากรในการปองกั น
ประเทศ กําหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๓ แนวทาง ดังนี้
ก) การพัฒนาการการบริหารจัดการดานการปฏิบัติภารกิจของ ทบ. : วัตถุประสงคเฉพาะ
ประชาชนสามารถขอรับการสนับสนุนจาก ทบ. ไดในทุกโอกาส กลยุทธ ไดแก สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวม
และใหขอเสนอแนะตอการปฏิบัติภารกิจของ ทบ., สงเสริมการฝกศึกษา อบรม และสรางจิตสํานึกการปฏิบัติ
หนาที่ตามความรับผิดชอบและตามหลักธรรมาภิบาลในโรงเรียนทหาร โรงเรียนหนวย/เหลาสายวิทยาการ และ
สถาบั น การศึ ก ษาของ ทบ., สงเสริ ม การนํ า เทคโนโลยี ส ารสนเทศและระบบฐานขอมู ล มาใช เพื่ อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน, ปรับปรุงการแบงมอบภารกิจของ ทบ. เพื่อมิใหหนวยมีภารกิจ มากเกินไป เปนตน
ข) การพัฒนาการการบริหารจัดการดานกําลังพล : วัตถุประสงคเฉพาะ การบริหารจัดการ
ดานกําลังพลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและโปรงใส กลยุทธ ไดแก พัฒนาระบบการบริหารจัดการกําลังพล
ตามระบบคุ ณ ธรรม, พั ฒ นาระบบการปลดถายกํ าลั งพลที่ มี ป ระสิ ท ธิภ าพ, พั ฒ นาระบบกํ า ลั งพลสํ ารอง
ลับมาก ๑๓

อาสาสมัคร, พัฒนาระบบทหารกองประจําการอาสาสมัคร, พัฒนาระบบสวัสดิการของ ทบ. ใหมีความทันสมัย


ครบถวนตามหลักสากล, พัฒนาระบบสารสารเทศดานกําลังพลใหมีความทันสมัย รวดเร็ว เปนตน
ค) การพัฒนาการบริหารจัดการดานยุทโธปกรณและงบประมาณ : วัตถุประสงคเฉพาะ
ประชาชนและหนวยงานภาครัฐและเอกชนมีความไววางใจ เชื่อมั่นตอ ทบ. กลยุทธ ไดแก สงเสริมการจัดหา
ยุทโธปกรณดวยความโปรงใสและตรวจสอบได, เปดเผยขั้นตอนและวิธีการดําเนินการใหองคกรภายนอก
ไดรับทราบในสวนที่สามารถเปดเผยได เชน การจัดซื้อจัดจาง เปนตน, สงเสริมระบบการตรวจสอบภายใน ใหมี
มาตรฐาน, สงเสริมพัฒนาขีดความสามารถระบบสงกําลังบํารุงของ ทบ. ไปสูระดับสากล เปนตน
ซึ่ง แนวความคิดทางยุทธศาสตรของ ทบ. ในการปองกันประเทศ กําหนดวิธีปฏิบัติสําคัญที่
จะตองดําเนินการ ๒ ประการคือ
การใชยุทธศาสตรเขตหนา ซึ่งหมายถึงการวางกํา ลังรบหลักสวนใหญตามแนวชายแดน ณ
บริเวณชองทางและทาขามที่สําคัญ ซึ่งเปนจุดยุทธศาสตร ปฏิบัติการสงครามนอกแบบในพื้นที่ระวังปองกัน
โดยเตรียมการไวตั้งแตยามปกติ ปฏิบัติการยับยั้งและตอบโตขาศึกในทันทีเมื่อการรุกรานเกิดขึ้น เพื่อยึดรักษา
แนวชายแดนอยางเหนียวแนน การรบหนวงเวลากระทําเพื่อผลทางยุทธวิธีเทานั้น
การใชยุทธศาสตรการตอสู เบ็ดเสร็จ ผนึกกําลังที่มีอยูทั้งสิ้นอันไดแก กําลั งรบหลั ก , กําลั ง
ประจํ า ถิ่ น และกํ า ลั งประชาชาน ตลอดจนทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ทุ ก ชนิ ด เขาปฏิ บั ติ ก ารตอสู แบบเบ็ ด เสร็ จ
ทุกรูปแบบ ตามแนวคิด และแผนการปฏิบัติที่ไดกําหนดไว โดยประสานแผนงานการรักษาความมั่นคงภายใน
และ แผนปองกันประเทศใหสอดคลองสนับสนุนซึ่งกันและกัน
ภาระ หนาที่ และพันธกิจของ ทบ. :
ก. ภาระหนาที่ของ ทบ. ตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.๒๕๕๙ หมวดที่ ๕ (หนาที่ของรัฐ) กําหนด
ไววา "รัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย เอกราช อธิปไตย บูรณภาพแหงอาณาเขตและเขต
ที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย เกียรติภูมิ และผลประโยชนของชาติ ความมั่นคงของรัฐ และความสงบเรียบรอย
ของประชาชน เพื่อประโยชนแหงการนี้ รัฐพึงจัดใหมีการทหาร การทูต และการขาวกรองที่มีประสิทธิภาพ
กําลังทหารใหใชเพื่อประโยชนในการพัฒนาประเทศดวย"
ภารกิจตาม พ.ร.บ. จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ระบุวา
กห. มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
๑) พิทักษรักษาเอกราชและความมั่นคงแหงราชอาณาจักร จากภัยคุกคามทั้งภายในและ
ภายนอกราชอาณาจักร ปราบปรามการกบฏและจลาจล โดยจัดใหมีและใชกําลังทหารตามที่รัฐธรรมนู ญ
แหงราชอาณาจักรไทย หรือตามที่กฎหมายกําหนด
๒) พิทักษ รักษา ปกปองสถาบัน พระมหากษัตริย ตลอดจนสนับสนุนภารกิจของสถาบัน
พระมหากษัตริย
ลับมาก ๑๔

๓) ปกปองพิทักษ รักษาผลประโยชนแหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย


อันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตลอดจนภารกิจอื่นของรัฐในการพัฒนาประเทศ การปองกันปญหาและ
การแกไขปญหาจากภัยพิบัติ และการชวยเหลือประชาชน
๔) ศึกษา วิจัย พัฒนา และดําเนินการดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร
ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีปองกันประเทศ และดานกิจการอวกาศเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนภารกิจของกระทรวงกลาโหมและความมั่นคงของประเทศ
๕) ปฏิบัติการอื่นที่เปนการปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือจากสงครามเพื่อความมั่นคงแหง
ราชอาณาจักรหรือปฏิบัติการอื่นใด ทั้งนี้ ตามที่มีกฎหมายกําหนดหรือตามมติคณะรัฐมนตรี ในการดําเนินการ
ตามขอ ๔ กระทรวงกลาโหมอาจมอบหมายใหสวนราชการในกระทรวงกลาโหมหรือหนวยงานอื่น ในกํากับของ
กระทรวงกลาโหมเปนผูดําเนินการก็ได หรืออาจรวมงาน รวมทุนหรือดําเนินการกับภาคเอกชนตามบทบัญญัติ
แหงชาติก็ได
ข. พันธกิจของ ทบ.
๑) การเตรียมกําลัง ไดแก ดานโครงสรางกําลัง , ความพรอมรบ, ความตอเนื่องในการรบ
และความทันสมัย
๒) การใชกําลั ง ไดแก การปองกั น ประเทศ, การรัก ษาความมั่ น คงภายใน, การรักษา
ความสงบเรียบรอยภายในประเทศ, การพัฒ นาประเทศและชวยเหลือประชาชน, การปฏิบัติการทางทหาร
นอกเหนือ จากสงคราม, การพิทักษรักษาสถาบันพระมหากษัตริย และการเสริมสรางความสัมพันธและความ
รวมมือระหวางมิตรประเทศ
กองทัพบกยามสงคราม
โดยที่ ทบ.มีภารกิจในการใชกําลังรบทางบกเขารวมในการปฏิบัติการตามแผนปองกันประเทศ
เพื่ อ ใหบรรลุ ภ ารกิ จ ดั งกลาว ทบ.จึ งไดวางกํ าลั งรบหลั ก พรอมทั้ งมอบความรับ ผิ ด ชอบและกํ าหนดพื้ น ที่
รับผิดชอบในการปองกันประเทศไวตั้งแตยามปกติ
แนวความคิ ด การจั ดเตรี ยมกํ า ลั ง ทบ. ที่ สํ า คั ญ : เพื่ อให ทบ. สามารถมี ค วามพรอม และ
สามารถปฏิบัติภารกิจหลักในการปองกันราชอาณาจักร และการปฏิบัติภารกิจเพื่อความมั่นคงดานอื่นๆ จะตอง
จั ด เตรี ย มและเสริ ม สรางขี ด ความสามารถใหกั บ หนวยที่ จั ด ตั้ ง ไวแลว ใหมี ค วามเหมาะสมและเพี ย งพอ
ตอการปฏิบัติภารกิจ มีประสิทธิภาพสอดคลองและสมดุลกันทั้งระบบ ซึ่ง ทบ. มีบทบาทในการจัดกําลังแบบ
ประจําทั้งป ในภารกิจตามแผนปองกันชายแดน และการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรในพื้นที่ จชต.
ในขณะเดียวกัน ทบ. ยั งตองใชกําลั งอีกสวนหนึ่งเพื่ อปฏิ บัติภ ารกิจตามเหตุการณหรื อสถานการณ ที่เปน
ภัยคุกคามที่เกิดขึ้น เชน การรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศ และการชวยเหลือประชาชน เปนตน
ลับมาก ๑๕

ดั ง นั้ น เพื่ อ ใหเกิ ด ความตอเนื่ อ ง ชั ด เจน ในการเตรี ย มกํ าลั ง ทบ. จึ งใหหนวยระดั บ กองพั น
ทุกหนวยจัดกองรอยพรอมรบ ๓ ระดับ จากระดับสูงสุดเพื่อการปฏิบัติภารกิจตามแผนปองกันประเทศ และ
การใชกํ า ลั ง ติ ด อาวุ ธ ระดั บ รองลงมาเพื่ อ การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ อื่ น ๆ ที่ มิ ใชสงคราม โดยเฉพาะอยางยิ่ ง
การชวยเหลื อ ประชาชน และการบรรเทาภั ย พิ บั ติ แ ละการพั ฒ นาประเทศ และระดั บ ต่ํ าสุ ด เปนกํ า ลั ง
เตรียมพรอม ณ ที่ตั้งหนวย เพื่อใหไดรับการฝกศึกษา และสามารถประกอบกําลังในระดับสูงขึ้น (กองพัน และ
กรมผสม) ในการปฏิบัติภารกิจตามขีดความสามารถของหนวย (รบตามแบบ) และภารกิจอื่นๆ ที่นอกเหนือจาก
การรบ ทั้งนี้ ยังคงใหมีการแบงกลุมหนวยงานของ ทบ. ตามบทบาทและภาระหนาที่ของหนวย เปน ๗ กลุม
โดยกลุมสวนกําลังรบ เปนสวนงานหลักของ ทบ. ที่ใชในการปองกันราชอาณาจักร โดยสรุปแลว ประกอบดวย
๙ พล.ร., ๓ พล.ม., ๑ พล.รพศ. และกําลังทหารพราน ๒๒ กรม ภายใตการควบคุมและบังคับบั ญ ชาของ
ผูบังคับบัญชาในแตละพื้นที่กองทัพภาค และ บก.ทบ. ดังนี้
- ทภ.๑ ประกอบดวย กําลังรบหลัก ๓ กองพล คือ พล.๑ รอ., พล.ร.๒ รอ., พล.ร. ๙ พรอมทั้ง
กําลังกึ่งทหารจํานวน ๔ กรม ทพ. มี ทน.๑ เปน ทก.ยว. และมี บชร.๑ เปนหนวยสงกําลังบํารุงใหกับหนวย
กําลังรบและหนวยอื่น ๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
- ทภ.๒ ประกอบดวย กําลังรบหลัก ๓ กองพล คือ พล.ร.๓, พล.ร.๖ และ พล.ม.๓ พรอมทั้ง
กําลังกึ่งทหารจํานวน ๔ กรม ทพ. มี ทน.๒ เปน ทก.ยว. และมี บชร.๒ เปนหนวยสงกําลังบํารุงใหกับหนวย
กําลังรบและหนวยอื่น ๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
- ทภ.๓ ประกอบดวย กําลังรบหลัก ๓ กองพล คือ พล.ร.๔, พล.ร.๗ และ พล.ม.๑ และ
กําลังกึ่งทหารจํานวน ๕ กรม ทพ. มี ทน.๓ เปน ทก.ยว. และมี บชร.๓ เปนหนวยสงกําลังบํารุงใหกับหนวย
กําลังรบและหนวยอื่น ๆ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
- ทภ.๔ ประกอบดวย กําลังรบหลัก ๒ กองพล คือ พล.ร.๕ และ พล.ร.๑๕ กําลังกึ่งทหาร
จํานวน ๙ กรม ทพ. และมี บชร.๔ เปนหนวยสงกําลังบํารุงในการรบ
- นสศ. ประกอบดวย กําลังรบหลัก ๑ กองพล (๕ กรม รพศ.)
- พล.ม.๒ รอ. มีหนวยรองหลัก คือ ม.๑ รอ., ม.๔ รอ. และ ม.๕
แนวทางในกําหนดโครงสราง และการจัดหนวย และการปรับปรุงโครงสราง ทบ. มีการบริหาร
จัดการระบบงานของ ทบ. ดังนี้
๑) ดานโครงสรางและการจัดหนวย : ในหวง ๑๐ ป จะมีกําลังรบแบบผสมเหลาระดับกรมที่มี
ความสมบูรณในตัวเอง และหนวยกําลังรบประจําพื้นที่ในการปฏิบัติการทางทหารที่นอกเหนือจากสงคราม
ทั้งนี้ในสวนของหนวยสนับสนุนการรบ หนวยสงกําลังบํารุง หนวยฝกศึกษาและหลักนิยม หนวยสวนภูมิภาค
และหนวยในสวนการพัฒนาประเทศ ตองมีการปรับปรุงโครงการหนวยใหไดสัดสวนที่เหมาะสมตอโครงสราง
ของหนวยกําลังรบทั้งสองแบบดังกลาว โดยแบงตามความเรงดวน ดังนี้
ลับมาก ๑๖

ก) หนวยในสวนกําลังรบและสนับสนุนการรบ : ในหวงที่ ทบ. อยูระหวางการศึกษาและ


พิจารณาปรับการจัดหนวยในสวนกําลังรบของ พล.ร. ไปสูโครงสรางการจัดหนวยกําลังรบผสมเหลาระดับกรม
(Combined Arms Regiment) ใหดํารงขีดความสามารถและโครงสรางการจัดหนวยในรูปแบบ พล.ร./พล.ม.
ดังตอไปนี้
(๑) ดํารงความมุงหมายในการเสริมสรางความสมบูรณใหกับ พล.ร.๗ และ พล.ม.๓
(๒) หนวย ร. : ยังคงใหมีการจัดหนวยในปจจุบัน ๙ พล.ร. รวมทั้งสิ้น ๗๖ กองพัน มี
รูปแบบการจัดหนวย ๓ รูปแบบ ซึ่งประกอบดวย หนวยทหารราบมาตรฐาน, หนวย ร.ยก. และหนวย ร.เบา
(๓) หนวย ม. : ยังคงใหมีการจัดหนวยในปจจุบัน ๓ พล.ม. รวมทั้ งสิ้ น ๒๙ พัน .ม.
มีรูปแบบการจัดหนวย ๓ รูปแบบเชนเดิม
(๔) หนวย รพศ. : ดํารงโครงสรางการจัดหนวย รพศ. ตามโครงสรางการจัดหนวย
ในปจจุบัน ซึ่งประกอบดวย พล.รพศ.๑ (รพศ.๑ – ๕) โดยแตละกรมประกอบดวย ๒ พัน.รพศ. เวน รพศ.๓
ประกอบดวย ๑ พัน.จจ. และ ๑ พัน.ปพ. ทั้งนี้ เพื่อใหหนวย รพศ. มีความกะทัดรัด ออนตัว ทันสมัย ดวยการ
ปรั บ ปรุงแกไข อัตราการจั ดหนวย นสศ., พล.รพศ., กรม รพศ., พัน .รพศ., พั น จจ., พั น.ปจว., พัน ปพ.,
รอย ลว.ไกล และ รอย.ฝรพ.(ทภ.) ตลอดจน กอง พธ.สกอ. และปรับปรุง อฉก. ศสพ. ใหมีความเหมาะสมและ
ตอบสนองตอการปฏิบัติภารกิจของ ทบ.
ข) หนวย ทพ. : ปรับปรุงอัตราการจัดหนวย ทพ. ใหมีความเหมาะสมกับภารกิจ และ
ขีดความสามารถของหนวย โดยยังคงใหดํารงไวซึ่งบทบาทและคุณลักษณะอันพึงประสงคของกําลังประจําถิ่น
และหนวยจรยุทธ มีขีดความสามารถในการปฏิบัติงานดานการขาวและการแจงเตือนในระดั บยุทธศาสตร
การทดแทนกําลังรบหลักตั้งแตยามปกติ ในการปฏิบัติภารกิจปองกันประเทศ การปฏิบัติภารกิจทางทหาร
นอกเหนือจากสงคราม โดยเฉพาะอยางยิ่งการสนับสนุนการสรางสภาวะแวดลอมที่ปลอดภัยใหกับประชาชน
และหนวยงานภาครัฐในพื้นที่ จชต. รวมทั้งภารกิจการปฏิบัติการในพื้ นที่สวนหลังในยามสงครามไดอยางมี
ประสิทธิภาพ โดยในหวงป ๖๐ – ๖๔ ยังคงสถานภาพโครงสรางกําลัง ทพ. ที่ ทบ. จัดตั้งไวแลว จํานวน ๒๒
กรม ทพ. (รวม ๒๗๖ กองรอย) และ ๑๒ มว.ทพ.หญิง (รวม ๗๑ หมู) โดยปจจุบัน ทบ. จัดกําลัง ทพ. สนับสนุน
การปฏิบัติภารกิจการปองกันชายแดนในเขตรับผิดชอบของ ทภ.๑ – ทภ.๓ รวม ๑๐ กรม ทพ. และ ๓ มว.ทพ.หญิง
และสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจการปองกันชายแดนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ ทภ.๔ และภารกิจการรักษา
ความมั่นคงภายในพื้นที่ จชต. รวม ๑๒ กรม ทพ. และ ๙ มว.ทพ.หญิง
ทั้งนี้ ดวยพั ฒ นาการของการเปนประชาคมอาเซียนซึ่งมีการผอนปรนมาตรการในการ
ขามแดนและการไปมาหาสูของภาคประชาสังคมระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งแนวโนมสถานการณ
การใชความรุนแรงในพื้นที่ จชต. มีทิศทางที่จะลดระดับลง ทบ. ไดปรับบทบาทการปฏิบัติภารกิจกําลังทางบก
ที่ อ ยู ใน ความรั บ ผิ ด ชอบใหสอดคลองกั บ สถานการณดานความมั่ น คงดั งกลาว โดยใหมี ก ารบู ร ณาการ
การวางแผนการปรับ การบรรจุ และจั ด กําลั ง ทพ. (ชาย และหญิ ง) ในภาพรวมของ ทบ. ใหสอดคลองกั บ
สถานการณและสภาพความทาทายที่แตกตางกันไปในแตละพื้นที่
ลับมาก ๑๗

การจัดดินแดน
“ การจัดดินแดน ” หมายถึง การกําหนดพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อปฏิบัติการทางทหาร ในเมื่อ
ประเทศเขาสูสภาวะสงคราม
“ เขตสงคราม ” คือ พื้น ที่ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ซึ่งอาจเกี่ยวของกับ การทํ า
สงคราม เขตสงครามไมมีขอบเขตจํากัด อาจประกอบดวยยุทธบริเวณแหงหนึ่ง หรือมากกวาก็ได
“ พื้นที่สงคราม ” คือ เขตสงครามสําหรับการปฏิบัติการยุทธรวม และการยุทธผสม
“ ยุทธบริเวณ” คือ สวนหนึ่งของเขตสงครามที่จําเปนตอการปฏิบัติการทางทหารตามแต
ภารกิ จ ที่ ไ ดรั บ มอบ และจํ า เปนตอกิ จ การธุ ร การ รวมทั้ ง ทางสนั บ สนุ น ตางๆ การปฏิ บั ติ ก ารทาง
ทหารนั้น ยุทธบริเวณจะตองกวางขวางพอที่จะวางกําลังที่ไดรับการแบงมอบ และสวนสนับสนุนดังกลาว
“ พื้นที่ปฏิบัติการ ” คือ ยุทธบริเวณสําหรับการยุทธรวมหรือการยุทธผสม
“ เขตหนา ” คื อ พื้ น ที่ ส วนหนึ่ ง ของยุ ท ธบริ เ วณที่ จํ า เปน สํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ก ารรบ
บนพื้นดิน และการปฏิบัติการชวยรบที่จะตองกระทําโดยพลัน
“ เขตหลัง ” คือ พื้นที่สวนหนึ่งของยุทธบริเวณที่จําเปนแกงานชวยรบของยุทธบริเวณ
“ เขตภายใน ” คือ ดินแดนของประเทศที่ไมรวมอยูในยุทธบริเวณ แตเปนสวนหนึ่งของเขต
สงคราม เขตภายในเปนพื้นที่ สําหรับการสรางสมกําลังพล สิ่งอุปกรณ อุตสาหกรรม ทรัพยากร และบริการตาง ๆ
ใหแกกําลังรบ และเปนพื้นที่ซึ่งตองดํารงไวเพื่อความมั่นคงของชาติ
การจัดดินแดนของประเทศไทย
เมื่อประเทศเขาสูสภาวะสงคราม รมว.กห. มีอํานาจกําหนดพื้นที่ยุทธบริเวณไดตาม ม.๒๓
แหง พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ พ.ศ.๒๕๐๓ การกําหนดพื้นที่ยุทธบริเวณนั้นพิจารณาจากปจจัยวาประเทศไทย
จะทําสงครามกับประเทศใด
การตอสูเบ็ดเสร็จ
แนวความคิดในการผนึกกําลังตอสูเบ็ดเสร็จ ในการปองกันประเทศระดับ ทบ. นี้ จัดทําขึ้น
เพื่ อ เปนแนวทางในการใชกํ า ลั ง รบหลั ก กํ า ลั ง ประจํ า ถิ่ น และกํ า ลั ง ประชาชน ที่ ไ ดรั บ การจั ด ตั้ ง
แลวใหมีประสิทธิภาพสูงสุดในภารกิจการปองกันประเทศ จากภัยคุกคามทั้งจากภายนอกและภายในประเทศ
การตอสูเบ็ดเสร็จ คือระบบการตอสูเพื่อปองปราม ปองกัน หรือตอบโตการปฏิบัติของฝาย
ตรงขามโดยใชกําลังทุกประเภทผสมผสานกันอยางมีแบบแผน เพื่อที่จะสามารถประยุกตใชกับทุกระดับความ
ขัดแยงโดยไมจํากัดดวยหวงเวลา รวมทั้งใชพลังอํานาจของชาติทั้งทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา
และการทหาร เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการ ดังกลาวอยางสอดคลองกัน
ลับมาก ๑๘

ตอนที่ ๓ ประวัติการจัดตั้งหนวยทหารพรานของกองทัพบก
การจัดตั้งหนวยทหารพรานโดยกองทัพบกนั้น มีผลสืบเนื่องมาตั้งแตป พ.ศ.๒๕๒๑ สถานการณ
กอการรายภายในประเทศ (หรือการดําเนินการสงครามนอกแบบโดยฝายตรงขาม) ไดขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
และยังปรากฏแนวโนมของการใชกําลังตามแบบของชาติพันธมิตรกลุมกอการราย เขามาชวยเหลือทางทหาร
ดวยการใชกําลัง เพื่อขยายผลของสงครามประชาชน ไปสูสงครามประชาชาติ และสงครามประชาคมในที่สุด
จากสถานการณดังกลาว ทํ าใหกองทั พ บก จําเปนจะตองฟนฟู และเตรีย มกํ าลั งเพื่ อ ปองกัน ประเทศ จาก
ภัยคุกคามภายนอก และเพื่อใหยังคงมีกองกําลังทหาร กําลังกึ่งทหาร กําลังประชาชน ที่ เปน กองกําลังตอสู
เบ็ดเสร็จไวเพื่อตอสูกับภัยคุกคามภายใน และเพิ่มศักยสงครามไวตอสูกับภัยคุกคามภายนอกดวย จึงจัดตั้ง
กองกําลังประจําถิ่นขึ้น ประกอบดวย กองพันทหารราบ / มาเบา ตามเขตพื้นที่ทหาร
ตามมณฑลทหารบกตางๆ ในภูมิภาค มีหนวยตํารวจตระเวนชายแดน (ตชด.), หนวยปฏิบัติการ
พิเศษของตํารวจ (นปพ.ตร.) อาสาสมัครทหารพราน (อส.ทพ.) , กําลังประชาชน เชน ลูกเสือชาวบาน(ลส.ชบ.),
อาสาสมัครหมูบานปองกันชายแดน (อส.ปชด.), ไทยอาสาปองกันชาติ (ทส.ปช.), กองหนุนเพื่อความมั่นคง
แหงชาติ (กนช.) เปนตน เขามาผสมผสานจัดระบบเพื่ อนํ าไปสู การตอสู เบ็ ดเสร็จเปนการระดมทรัพยากร
ของชาติเพื่อใชในการตอสูกับภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายใน โครงการหนึ่งของกองทัพบกเพื่อเสริมสราง
กองกําลังตอสูเบ็ดเสร็จ กองทัพบกจึงไดจัดตั้งกองกําลังกึ่งทหารในลักษณะของ “ หนวยอาสาสมัครพิเศษ
(ทหารพราน) ” โดยมี ชื่ อ รหั ส โครงการวา “ โครงการ ๕๑๓ ” ซึ่ งทางรัฐ บาล โดยคณะรัฐ มนตรี ในหวง
ระยะเวลานั้นไดมีมติใหกองทัพบกดําเนินการโครงการ ๕๑๓ เมื่อ ๑๘ ก.ค.๒๑ โดยแบงสวนการจัดตั้งใหเปน
ของกองกําลังทหารพรานที่ขึ้นตรงกับกองทัพบก มีสวนงานบังคับบัญชาที่เรียกวา “ ชุดควบคุมและประสานงาน
โครงการ ๕๑๓ ” มีสวนฐานเปนสวนกองรอยทหารพรานอีกสวนหนึ่ง จัดตั้งใหกับกองทัพภาคตาง ๆ โดยมีสวน
บังคับบัญชาที่เรียกในขณะนั้น เมื่อป ๒๕๒๓ วา “ หนวยเฉพาะกิจทหารพรานกองทัพภาคที่….”
การพัฒนา และเสริมสรางทหารพราน ทั้งในสวนงานบังคับบัญชา และสวนฐานที่เปนกองกําลัง
ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๑ จนถึงป พ.ศ.๒๕๓๖ กองทัพบกใหรวมหนวยกองกําลังทหารพรานกับชุดควบคุมและ
ประสานงานโครงการ ๕๑๓ คายปกธงชัย เปนหนวยเดียวกันเรียกนามหนวยใหมวา “ กองกําลังทหารพราน
กองทัพบก คายปกธงชัย ” และอยูภายใตการกํากับดูแลของสวนโครงการ ๓๑๕ ศูนยปฏิบัติการกองทัพบก
สําหรับกองกําลังทหารพรานที่ขึ้นตรงกับกองทัพภาคนั้นเรียกวา “กองกําลังทหารพราน กองทัพภาคที่ ….”
และอยูภายใตการบังคับบัญชาของกองทัพภาค จนเมื่อ ๒๖ ส.ค.๔๒ กองทัพบกไดอนุมัติหลักการในการปรับ
การดําเนินการของกองกําลังทหารพรานกองทัพบก โดยกําหนดใหยุบกองกําลัง ทหารพรานกองทัพบก และ
แบงมอบกองรอยทหารพรานจูโจมใหกับกองกําลังทหารพรานกองทัพภาคตาง ๆ ใหแลวเสร็จใน ๑ ต.ค.๔๓
ลับมาก ๑๙

วัตถุประสงค, ความมุงหมาย และขอบเขต


ในอดีตที่ผานมาทหารพรานไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อใชในภารกิจการปราบปรามการ กอความ
ไมสงบภายในประเทศเพื่อออมกําลังใหกับกําลังรบหลักและมุงหมายในการใช ตามมาตรการปราบปรามการ
กอความไมสงบทั้ ง ๕ มาตรการ ไดแก การปราบปรามกํ าลั งติ ด อาวุ ธ ดวยยุ ท ธวิ ธี จรยุ ท ธปราบจรยุ ท ธ,
การชวยเหลือประชาชน, การพิทักษประชาชนและทรัพยากรเพื่อแยกมวลชน ออกจากขบวนการกอความ
ไมสงบ และมาตรการเสริมสรางดานการขาวและการ ปจว. ซึ่งประสบผลสําเร็จเปนอยางดี
ในปจจุบัน สถานการณการกอความไมสงบภายในประเทศลดระดับลงจนเขาสูสภาะปกติ
ทหารพรานจึงเริ่มใชในภารกิจการปองกันประเทศเพื่อออมกําลังใหกับกําลัง รบหลักมากขึ้นตามลําดับ และอาจ
ตองเขารับผิดชอบการเฝาระวังพื้น ที่ชายแดนแทนกําลังรบหลั ก เมื่อภัยคุกคามบริเวณชายแดนมี ระดับต่ํา
ซึ่ ง หมายถึ ง ภั ย คุ ก คามดวยกํ า ลั ง ขนาดเล็ ก จากฝายตรงขามหรื อ โจรชายแดน รวมถึ ง การดํ า เนิ น งาน
ตามยุทธศาสตรตอสูเบ็ดเสร็จเพื่อรองรับสถานการณในอนาคต
จากการเปลี่ยนแปลงแนวทางการใชทหารพรานดังกลาว มีผลถึงการพิจารณาโครงสรางการ
จัดหนวยที่จะตองปรับเปลี่ยนตามภารกิจการปองกันประเทศ ซึ่งทหารพรานจะตองมีการจัดที่สมบูรณ มากขึ้น
สามารถที่ จ ะเผชิ ญ ภั ย คุ ก คามจากภายนอกประเทศไดในระดั บ หนึ่ ง กอนที่ กํ าลั งรบหลั ก จะเขาคลี่ ค ลาย
สถานการณตอไป
อยางไรก็ตามกองทัพบกมิไดมีความตองการใชทหารพรานในภารกิจปองกันประเทศเทียบเทา
กําลั งรบหลั ก เพียงแตใชเพื่อการออมกําลั ง ทํ าใหโครงสรางการจัดของทหารพรานตามความตองการของ
กองทัพบกมีลักษณะที่ประหยัด , ออนตัว สามารถลดหรือเพิ่มกําลังไดตามแนวความคิดทางยุทธศาสตรของ
กองทัพ ทหารพรานจึงเปนกําลังกึ่งทหารที่มีอํานาจกําลังรบอยูระหวางกําลังรบหลักและกําลังประชาชนซึ่งจะมี
ความออนตัวเพียงพอที่จะใชในบทบาทของการออมกําลัง แตยังคงมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะลดความเสี่ยง
จากภัยคุกคามภายนอกประเทศได และดวยโครงสรางการจัดหนวยขนาดเบาดังกลาว ประกอบกับคุณลักษณะ
เดนเฉพาะของทหารพรานที่แปลกแตกตางไปจากกําลังรบหลัก การพิจารณาใชทหารพรานตามคุณลักษณะ
ขีดความสามารถและขอจํากัดของหนวยจึงเปนเรื่องที่สําคัญที่หนวยบังคับบัญชาจะพิจารณาใชใหเหมาะสม

------------------------------------------
ลับมาก ๒๐

บทที่ ๒
การแบงสวนงาน และหนาที่ของทหารพราน
ตอนที่ ๑ กลาวทั่วไป
ทหารพรานเปนกําลั งกึ่งทหาร กําลั ง สวนใหญมาจากประชาชนในทองถิ่น มีความคุนเคยกับ
ภูมิประเทศ, ขนบธรรมเนียมประเพณีในทองถิ่นเปนอยางดี ซึ่งเปนคุณลักษณะเดนของทหารพรานจนไดรับ
ฉายาวา ทหารประชาชน ลั ก ษณะเดนดั ง กลาวทํ า ใหทหารพรานมี ค วามคลองแคลวในภู มิ ป ระเทศสู ง
มีความสามารถในการทํางานมวลชน และการปฏิบัติด านการขาวโดยใชมวลชนเปนมูลฐาน สามารถปฏิบัติการ
ในภูมิประเทศยากลําบากไดยาวนาน สามารถพึ่งตนเองไดในภูมิประเทศ โดยมีการสงกําลังบํารุงเพียงเล็กนอย
จากคุณลักษณะดังกลาว ทหารพรานจึงไดรับการจัดโครงสรางหนวยใหสอดคลองตอลักษณะเดน
ดวยการจัดเปนชุดยิงขนาดเล็ก มียุทโธปกรณที่มีน้ําหนักเบา สะดวกตอการเคลื่อนที่ในภูมิประเทศดวยเทา
เปนหลั ก ทําใหเปนขอจํากัดของทหารพรานในดานอํานาจการยิง , การปองกันตนเอง ทั้งนี้ เนื่องจากการ
เพิ่มเติมอํานาจการยิง , เสื้อเกราะ/หมวกเหล็ก และเครื่องมือชางสนามบุคคล จะลดความคลองแคลว และ
ความสามารถในการปฏิ บั ติการในภูมิป ระเทศยากลํ าบากของทหารพราน ขอจํากัดดังกลาวมีผ ลใหหนวย
ทหารพราน ไมเหมาะสมตอการใชปะทะโดยตรง หรือรบติดพันกับกําลั งรบของขาศึก และมีผลตอการรบ
ภายใตอํานาจการยิงของอาวุธวิถีโคงขาศึก
ตอนที่ ๒ ภารกิจ คุณลักษณะ ขีดความสามารถ และบทบาทของหนวยทหารพราน
ภารกิจ ปฏิบัติการรบ เพื่อสนับสนุนหนวยกําลังรบ และปฏิบัติภารกิจอื่น ๆ ตามที่กองทัพบก
มอบหมาย ในการปฏิบัติราชการสนาม หนวยทหารพรานปฏิบัติงานรวมกับกําลังปองกันชายแดนไดรับมอบ
ภารกิจ ตามขอบเขตการใชกําลังของ ทบ. ดังนี้
๑) ภารกิจการปองกัน ประเทศ การใชกํ าลั งในยามปกติ เปนการปฏิ บัติ ตามแผนปองกั น
ประเทศในขั้นปกติ ทหารพรานซึ่งเปนกําลังประจําถิ่น จะปฏิบัติการรวมกับกําลังรบหลักที่จัดเปนกําลังปองกัน
ชายแดน โดยยึดถือแนวความคิดในการสถาปนาความมั่นคงตามแนวชายแดนของ ทบ. ดวยการปฏิบัติพันธกิจ
ทบ. ๓ ประการ ไดแก
ก) การเฝาตรวจและปองกันชายแดน โดยวางกําลังในพื้นที่รับผิดชอบ ทําการลาดตระเวน
เฝาตรวจตามจุดผอนปรน จุดผานแดน ชองทาง ทาขามที่สําคัญ การจัดตั้งจุดตรวจ ดานตรวจ เปนตน
ข) การจัดระเบียบพื้นที่และการแกปญหาความมั่นคงในพื้นที่ชายแดน โดยการปฏิบัติตาม
ยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสร็จและรวมสรางกลไกในการแกปญหาที่กระทบตอความมั่นคงในพื้นที่
ลับมาก ๒๑

ค) การประสานความรวมมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบาน โดยการพั ฒ นาสั ม พั น ธพบปะ


เยี่ยมเยือน สรางมิตรไมตรี กับผูนําทางดานการปกครองทางพลเรือน และผูนําทางทหารทั้งระดับเจาหนาที่และ
ระหวางหนวยงานในพื้นที่
๒) ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายใน ปฏิบัติภารกิจสนับสนุน กอ.รมน. อาทิ การแกไข
ปญหาความไมสงบในพื้นที่ จชต. การจัดกําลังพลสนับสนุน กรมปาไม สกัดกั้นและปองกันการตัดไมทําลายปา
การจัดกําลังสนับสนุนการปองกันและการตอสูเพื่อเอาชนะยาเสพติด การหลบหนีเขาเมือง โดยผิดกฎหมาย
การคาแรงงาน ตางดาว และการคามนุษย การลั กลอบนําเขาสิ นคาหนีภ าษี การลั กลอบคาอาวุธ สงคราม
ปองกันและปราบปรามการโจรกรรมรถยนต และคารถยนตขามชาติ เปนตน
๓) ภารกิจการพั ฒ นาประเทศ ไดแกการสนับ สนุน โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ
โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคงตาง ๆ อาทิ โครงการพัฒนาพื้นที่ดอยตุง โครงการปลูกปา สรางฝาย ขยายคู/
คลอง สนองพระมหากรุณาธิคุณ โครงการปดทองหลังพระ โครงการศิลปาชีพ โครงการรักษาปา เปนตน
๔) ภารกิจการปฏิบัติภารกิจอื่น ๆ ทางทหารที่ไมใชสงคราม อาทิ ตัดทําลายไรฝน, การสกัดกั้น
ยาเสพติด แรงงานตางดาว, ผูหลบหนีเฝาเมือง, การลักลอบทําลายทรัพยากรปาไม การปองกันและสกัดกั้น
การกระทําผิด พ.ร.บ. ศุลกากร และการปฏิบัติภารกิจอื่น ๆ ตามที่ ทภ. มอบหมาย
คุณลักษณะของทหารพราน
- ทหารพราน เปนกําลังกึ่งทหาร/กําลังประจําถิ่น ที่มีการจัดหนวยขนาดเบา
- กําลังพลสวนใหญของทหารพราน เปนประชาชนอาสาสมัครในทองถิ่น
- กองรอยทหารพราน เปนหนวยปฏิบัติการหลัก ประกอบกําลังจากชุดยิงขนาดเล็ก หลาย ๆ ชุดยิง
ขีดความสามารถของทหารพราน
๑. ทหารพรานสามารถปฏิบัติการเปนอิสระในภูมิประเทศ หรือสภาพอากาศที่ยากลําบาก
ไดยาวนาน โดยมีความคลองแคลวในภูมิประเทศสูง
๒. มีความสามารถสูงในการปฏิบัติการรบนอกแบบ สนับสนุนหนวยรบพิเศษ ในการปฏิบัติ
ภารกิจสงครามกองโจร และภารกิจอื่นในพื้นที่ระวังปองกัน และสามารถทําหนาที่เปนกองโจรได และสามารถ
สนับสนุนการรบตามแบบเมื่อไดรับการเพิ่มเติมกําลังดวยอาวุธหนักและสวนการชวยรบอื่นๆ ตามความจําเปน
๓. ปฏิบัติการระวังปองกันพื้นที่สวนหลัง และพิทักษประชาชน/ทรัพยากร เฉพาะบริเวณ
๔. ปฏิบัติการจิตวิทยา, ชวยเหลือประชาชน, การขาว และการตอตานขาวกรอง
๕. สนับสนุนการปองกันและการปราบปรามการกอความไมสงบ
๖. สนับสนุนยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสร็จ
๗. สนับสนุนการพัฒนาประเทศ และการปฏิบัติการทางทหารที่มิใชสงคราม
ลับมาก ๒๒

บทบาทของทหารพราน
๑. ทหารพรานสามารถปฏิบัติการเปนอิสระในภูมิประเทศ หรือสภาพอากาศที่ยากลําบาก
ไดยาวนาน โดยมีความคลองแคลวในภูมิประเทศสูง
๒. มีความสามารถในการปฏิบัติการรบเพื่อสนับสนุนหนวยกําลังรบ โดยอาจไดรับการเพิ่มเติม
กําลังดวยอาวุธหนักและสวนการชวยรบอื่นๆ ตามความจําเปน
๓. ปฏิบัติการระวังปองกันพื้นที่สวนหลังและพิทักษประชาชน/ทรัพยากรเฉพาะบริเวณ
๔. ปฏิบัติการจิตวิทยา, ชวยเหลือประชาชน, การขาว และการตอตานขาวกรอง
๕. สนับสนุนการปองกันและการปราบปรามการกอความไมสงบ
๖. สนับสนุนยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสร็จ
๗. ปฏิบัติภารกิจการรักษาความมั่นคงภายใน
๘. สนับสนุนการพัฒนาประเทศ และการปฏิบัติการทางทหาร ที่ไมใชสงคราม

-----------------------------------------------------------
ลับมาก ๒๓

บทที่ ๓
ฝายทหารพราน กองทัพภาค
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
๑. กลาวทั่วไป
กํ า ลั ง ทหารพรานจั ด อยู ในประเภทกํ า ลั ง กึ่ ง ทหารมี เจาหนาที่ โ ครง ซึ่ ง จั ด มาจากกํ า ลั ง
ประจําการ มีกําลังพลเปนอาสาสมัครทหารพราน ซึ่งการคัดเลือกและบรรจุจากราษฎรอาสาสมัครในทองถิ่น
เปนหลัก ในหวงระยะเริ่มตนนํามาใชในภารกิจของกองทัพภาค เพื่อการรักษาความมั่นคงภายในตามแผนงาน
การปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบ (การตอสูเพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต) โดยปฏิบัติการทางทหาร
ดวยมาตรการตาง ๆ ทางทหาร และการสนับสนุนงานทางการเมืองใหกับสวนราชการตาง ๆ ตลอดจนการ
เสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวาง พลเรือน ตํารวจ ทหาร และประชาชน การใชกําลังทหารพราน แบงเบา
ภาระของกําลังรบหลั ก โดยการเขามาทดแทนและสนับสนุนกําลังรบหลักทั้ง ในภารกิจการรักษาความมั่นคง
ภายใน ภารกิจการปองกันประเทศ
การจั ด ตั้ ง กํ า ลั ง ทหารพรานไดดํ า เนิ น การโดย ทบ. (ศปก.ทบ.) และไดแบงมอบใหกั บ
กองทัพภาคตางๆ เพื่อใชในการปฏิบัติงาน โดยมีกองกําลังทหารพรานกองทัพภาค ซึ่งเปนฝายกิจการพิเศษ
ของกองทัพ ภาค ไดรับ การแบงมอบอํานาจหนาที่ จากกองทัพ บกในการวางแผน การควบคุม การบั งคั บ
บัญชาการอํานวยการ ในการปฏิบัติการของหนวยทหารพรานที่กองทัพบกไดฝากการบังคับบัญชาใหเปนหนวย
ที่ขึ้น ตรงกั บ กองทัพ ภาคในภารกิจการปองกันประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน การรักษาความสงบ
เรียบรอยภายในประเทศ ตลอดจนการชวยเหลือพัฒนาประเทศตามที่กองทัพภาคไดรับมอบหมาย
๒. หนาที่ของฝายทหารพรานกองทัพภาค
๒.๑ ปฏิบัติหนาที่เปนฝายกิจการพิเศษ ซึ่งเปนสวนหนึ่งใน กองยุทธการ ของ กองทัพภาค
ที่มีหนาที่ ในการชวยเหลือแนะนําผูบังคับบัญชาในกิจการทหารพรานของกองทัพภาค ตามขอบเขตในหนาที่
รวมของฝายอํานวยการ
๒.๒ วางแผน อํานวยการ ประสาน กํากับดูแล งานดานตาง ๆ ของทหารพรานในกองทัพภาค
๒.๓ ควบคุม อํานวยการ ประสานงาน กํากับดูแล การปฏิบัติการของทหารพรานในกองทัพภาค
เมื่อไดรับมอบหมาย
ลับมาก ๒๔

โครงสราง การจัด กองบัญชาการทหารพราน กองทัพภาคที่ ๔

กองบัญชาการทหารพราน ทภ.๔

บก. และ รอย.บก. กองยุทธการและการขาว กองกิจการพลเรือน

กองธุรการและกําลังพล กองสงกําลังบํารุง กองโครงการและงบประมาณ


แผนกธุรการ แผนกแผน แผนกส่งกําลัง แผนกปฏิบตั ิการ แผนกโครงการ
แผนกกําลังพล แผนกการข่าว แผนกซ่อมบํารุง กิจการพลเรื อน แผนกงบประมาณ
แผนกยุทธการ ฝ่ ายการเงิน แผนกสนับสนุน
.
ฝ่ ายควบคุมภายใน โครงการพระราชดําริ

บก.ร้ อย ชุดสนับสนุน ตอนยานยนต์

ตอนเสนารักษ์ ตอนสูทกรรม

กองบัญชาการทหารพราน กองทัพภาคที่ ๔
อัตราเฉพาะกิจ
หมายเลข
นามหนวย กองบัญชาการทหารพราน กองทัพภาคที่ ๔ (บก.ทพ.ทภ.๔)
๑. ภารกิจ กองบัญชาการทหารพราน กองทัพภาคที่ ๔ มีหนาที่
๑.๑ วางแผน อํานวยการ ประสานงาน และกํากับดูแลงานดานธุรการและกํา ลังพล ดานการ
ขาว ดานยุทธการ ดานการสงกําลังบํารุง ดานกิจการพลเรือน และดานโครงการและ งบประมาณใหกับ
กรม ทพ. ของ ทภ.๔
๑.๒ ปกครองและบังคับบัญชาหนวยทหารพรานที่ กห. หรือ ทบ. กําหนด
๑.๓ ผูบัญชาการทหารพราน กองทัพภาคที่ ๔ (ผบ.ทพ.ทภ.๔) เปนผูบังคับบัญชา
๒. การแบงมอบ เปนหนวยขึ้นตรงกองทัพภาคที่ ๔
๓. ขอบเขตความรับผิดชอบและหนาที่ที่สําคัญ
๓.๑ รับผิดชอบในกิจการทหารพรานทั้งปวงของ ทภ.๔
๓.๒ วางแผนการปฏิบัติงานของ กรม ทพ.ของ ทภ. ๔ ใหสอดคลองกับแผนแมบทการพัฒนา
หนวยทหารพรานของ ทบ.
๓.๓ วางแผน อํานวยการ และบริหารจัดการดานกําลังพลทหารพราน ทั้งเจาหนาที่โครง และ
อาสาสมัครทหารพรานของ ทภ. ๔
ลับมาก ๒๕

๓.๔ พัฒนาการฝกศึกษาใหกับกําลังพลทหารพรานของ ทภ.๔


๓.๕ ใหขอเสนอแนะดานกิจการทหารพรานของ ทภ.๔
๓.๖ ปกครองบังคับบัญชาหนวยทหารพรานที่ ทบ. มอบให

ตอนที่ ๒ กรมทหารพราน
๑. กลาวทั่วไป
คุ ณ ลั ก ษณะของกรมทหารพรานกองทั พ บกเปนกํ า ลั ง กึ่ ง ทห าร อาศั ย โครงสรางของ
หนวยทหารที่เปนมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งมาใชเปนมูลฐานในการกําหนดหนาที่ การแบงสวนงาน การจัด
กําลั งพลและยุทโธปกรณ มีห ลั กการดําเนินการซึ่งอาศัยประโยชนจากเทคนิคและแนวทางการปฏิบัติของ
สวนกําลังรบทางยุทธวิธี และระเบียบการดําเนินการบริหารการปกครองของทางราชการเปนเกณฑใชยึดถือ
ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความงายและสะดวกตอการเตรียมกําลัง การใชกําลังและสงกําลัง
ในสวนที่เปนโครงสรางของกรมทหารพราน พอจะอนุมานไดวามีเคาโครงมาจากรูปแบบ
การจัดกองรบพิเศษ(พลรม) เวนขีดความสามารถในเรื่องการปฏิบัติการที่คาบเกี่ยวกับการปฎิบัติการทางอากาศ
ที่สําคัญ เคาโครงของสวนบังคับบัญชาคลายกองบังคับการกรมรบพิเศษ มีสวนงานคือกองรอย คลายๆ กับ
รอยรบพิเศษ และในสวนงานของกองรอยเปนชุดปฏิบัติการจํานวน ๖ ชุดปฏิบัติการ ซึ่งกลาวไดวาเปนสวนงาน
ยุทธวิธีที่มีขนาดเล็กที่สุดที่สามารถปฏิบัติการเปนอิสระ และสามารถรวมอํานาจกําลังรบเพื่อดําเนินกลยุทธและ
การยิงใหเพิ่มพูนประสิทธิภาพประสิทธิผลยิ่งขึ้น
โครงสรางดังกลาวของกรมทหารพรานจะมีหลายสวนคลายกับ หนวยทหารราบเบาในระดับ
กองพั น เบา โดยเฉพาะในสวนหนวยสนั บ สนุ น ซึ่ งมี ต อนกองบั งคั บ การและสวนสนั บ สนุ น ที่ จํ า เปนอื่ น ๆ
เพิ่ ม ขึ้ น มา หากเพิ่ ม เติ ม การฝกศึ ก ษาของกํ าลั งพล ใหมี ขี ด ความสามารถตอการปฏิ บั ติ ก ารรบแบบจู โจม
ใหสามารถนําหนวยไปใชในสภาพแวดลอมปกติและในสภาพแวดลอมพิเศษ เชน การยุทธในพื้นที่ปาภู เขา
การยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ การยุทธบริเวณสิ่งกอสรางถาวร การยุทธบริเวณลุมน้ํา เปนตน ดังนั้น จึงกลาวไดวา
กรมทหารพรานสามารถพัฒนาขีดความสามารถไดอยางหลากหลาย และเกิดประโยชนสูงสุดตามที่ตองการได
การประกอบกําลังพลของกรมทหารพราน ในสวนโครงสรางการจัดกําลังในตําแหนงหนาที่
สําคัญ คัดเลื อกและบรรจุ จากเจาหนาที่ทหารกองประจําการ ทั้งนี้ เปนเจาหนาที่ที่ มีทักษะ ประสบการณ
การฝกฝนการปฏิบัติ หรือศึกษามาแลวจนเกิดความชํานาญการทางทหาร เจาหนาที่ประจําการจะเปนแกนนํา
การปฏิ บั ติใหกับ กําลั งพลอาสาสมัคร สํ าหรับในสวนของกําลั งพลอาสาสมัครนั้นมีห ลักการพื้น ฐานในการ
พิจารณา โดยการสรรหามาจากราษฎรในทองถิ่นนั้นๆ ซึ่งมีความคุนเคยกับพื้นที่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และสังคมทองถิ่น นํามาสูระบบการคัดเลือก ผานการฝก การทดสอบและบรรจุเขามา
เปนอาสาสมัครทหารพราน
ลับมาก ๒๖

การประกอบยุทโธปกรณใหกับกรมทหารพราน เปนยุทโธปกรณพื้นฐานที่สามารถจัดหา
ไดงาย จากยุทโธปกรณเกาที่มีอยูแลวและยุทโธปกรณใหม ยุทโธปกรณเหลานั้นอยูในความสามารถที่จ ะนําพา
ไปไดโดยลําพังของตัวกําลั งพล มีสวนนอยที่จําเปนที่จะตองอาศัยเครื่องมือขนสงชวยอํานวยความสะดวก
โดยจะมีอาวุธเบาเปนหลัก และเพิ่มอาวุธหนักที่ใชประกอบการยิงสนับสนุนภายในหนวยประกอบการดําเนิน
กลยุ ท ธบางตามความจํ าเปน สํ าหรับ การสงกําลั งบํ ารุงตอสิ่ งอุป กรณเพิ่ ม เติ ม สิ่ งอุป กรณสิ้ น เปลื องต างๆ
โดยพื้นฐานนั้นใหสามารถดํารงความตอเนื่องในการรบไดในระยะเวลาหนึ่ งโดยไมมีการสงกําลังเพิ่มเติม หากมี
การสงกําลังเพิ่มเติมจะพิจารณาเฉพาะสิ่งอุปกรณที่จําเปน ทั้งนี้ใหแสวงประโยชนจากวัตถุที่มีอยูในทองถิ่น
ใหนํามาใชประโยชนได เพื่อชดเชยการสงกําลังจากสวนหลังไปสวนหนาและชวยลดปริมาณการขนสงลงดวย
การฝกและศึ ก ษาของกํ าลั งพล ควรใหการฝกศึ ก ษาตอบุ ค คลตามตํ าแหนงหนาที่ ต างๆ
ในสวนงานทั้ งหลาย โดยการจัดการฝกที่ เปนพื้น ฐานที่ทุ กคนจะตองเรียนรู เชน การยิงปน แผนที่ เข็มทิ ศ
บุคคลทําการรบ การพราง ฯลฯ เปนตน ฝกความชํานาญการทางทหารของแตละบุคคลตามตําแหนงหนาที่
ในแตละสวนงานที่จะใหไปบรรจุ การทําหนาที่และปฏิบัติห นาที่ร วมกันในสวนที่ตนเองรับผิ ดชอบ เรียนรู
การแบงงานกันทําและทํางานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ ผลผลิตของแตละสวนงานยอยจะกอใหเกิดผลผลิต
ของสวนงานรวม และในทายที่สุดทําใหภารกิจของหนวยเกิดผลสําเร็จ ดังนั้นจึงตองมีการเนนย้ําอยูเสมอวา
ทรัพยากรมนุษยนั้นคือทรัพยากรที่มีคาที่สุด จะตองเสริมสรางและรักษาไว และรวมแรงรวมใจกันปฏิบัติหนาที่
ใหภารกิจขององคการบรรลุผลสําเร็จ
๒. องคประกอบขององคกรกรมทหารพราน
๒.๑ กรมทหารพราน : กลาวตอไปในตอนที่ ๒
๒.๒ กองรอยสนับสนุน : กลาวตอไปในตอนที่ ๓
๒.๓ กองรอยทหารพราน : กลาวตอไปในตอนที่ ๔
๓. หนาที่ของกรมทหารพราน มีหนาที่ดังนี้
๓.๑ มีหนาที่ดําเนินการบริหารราชการหรือการปกครองภายในกรมทหารพราน ใหเปนไปตาม
ระเบียบแบบแผนและกรรมวิธีการบริหารราชการ โดยยึดถือ กฎ ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง นโยบาย และอื่นๆ
ที่เกี่ยวของกับการบริหารราชการ
๓.๒ เตรียมกําลังรบใหเกิดความพรอมรบ และใหตอเนื่องในการรบ
๓.๓ ปฏิ บั ติ ก ารรบหรื อ ที่ ค าบเกี่ ย วกั บ การรบ โดยการใชกํ า ลั ง หนวยทหารขนาดเล็ ก
ทางยุทธวิธีปฏิบัติการเปนอิสระ และการใชกําลังแบบรวมกําลังของหนวยทหารพรานในอัตรา เพื่อปฏิบัติการรบ
โดยตรง และเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการของกําลังรบหลัก
๓.๔ ปฏิบั ติการสนับ สนุนการรบในลักษณะการสนับสนุนโดยตรงใหกับหนวยทหารพราน
ในอัตราของกรมทหารพราน รวมทั้งการปฏิบัติการสนับสนุนทางการชวยรบตามสัดสวนที่เกี่ยวของ
๓.๕ ปฏิบัติการทางทหารที่มิใชการรบ และปฏิบัติการอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบ
ลับมาก ๒๗

๔. ความสัมพันธทางการบังคับบัญชา
เปนหนวยกําลั งกึ่งทหารของกองทั พ บก จัดตั้ ง แบงมอบ และฝากการบั งคับ บั ญ ชาไวกั บ
กองทัพภาค โดยจะมีฝายทหารพราน กองทัพภาค ปฏิบัติห นาที่เปนฝายกิจการพิ เศษ ซึ่งเปนสวนหนึ่ งใน
กองยุทธการ ของ กองทัพภาค ที่มีหนาที่ ในการชวยเหลือแนะนําผู บังคับบัญชาในกิจการทหารพรานของ
กองทัพภาค ตามขอบเขตในหนาที่รวมของฝายอํานวยการ
ผังการจัดกรมทหารพราน
๑) กรมทหารพราน ( อจย. หมายเลข ๒๐ – ๒๑ ลง ๒๑ ม.ค.๒๖)

กรม ทพ.

บก.กรม ทพ. รอย.ทพ. (๖ – ๑๒ รอย.ทพ.)


รอย.สน.

๕. การแบงสวนงานและหนาที่สําคัญ
กรมทหารพรานประกอบดวย สวนงานบั งคั บ บั ญ ชา สวนสนั บ สนุ น การรบและชวยรบ
สวนปฏิบัติการรบ เพื่อใหมีโครงสรางการจัดที่มีความสมบูรณเพียงพอตอการปฏิบัติหนาที่และภารกิ จที่ไดรับ
มอบตามที่กลาวมามีการจัดของสวนงานตาง ๆ คือ กองบังคับการกรม กองรอยสนับสนุน กองรอยทหารพราน
ซึ่งมีหนาที่ดังตอไปนี้
๑. กองบังคับการกรมทหารพราน มีหนาที่ดังนี้.-
๑.๑ มีหนาที่ในการปกครองและบริหารราชการในกรมทหารพราน ใหเปนไปตามระเบียบ
แบบแผนและกรรมวิธีการบริหารราชการ
๑.๒ มีหนาที่ในการบังคับบัญชา ควบคุม อํานวยในการเตรียมกําลัง การใชกําลัง การสงกําลัง
ตอกําลังพลและหนวยในกองบังคับการกรมทหารพราน กองรอยสนับสนุน กองรอยทหารพราน เพื่อปฏิบัติ
ภารกิจใหบรรลุผลสําเร็จ
ลับมาก ๒๘

ผังการจัด กองบังคับการกรมทหารพราน ( อจย. หมายเลข ๒๐ - ๒๒ ลง ๒๑ ม.ค.๒๖ )

บก.กรม ทพ.

บก.กรม ฝกพ. ฝขว. ฝยก. ฝกบ. ฝกร.

๒. กองรอยสนับสนุน มีหนาที่ดังนี้.-
๒.๑ มี ห นาที่ ในการปกครองหรื อ บริ ห ารราชการภายในกองรอยสนั บ สนุ น ใหเปนไป
ตามระเบียบแบบแผนและกรรมวิธีการบริหารราชการ
๒.๒ มีหนาที่ชวยเหลือผูบังคับบัญชา และฝายอํานวยการภายในกรมทหารพราน โดยเปน
ฝายกิจการพิเศษในกิจการงานของกองรอยสนับสนุนเกี่ยวกับการสนับสนุนการรบ และการสนับสนุนทางการ
ชวยรบ
๒.๓ เตรียมกําลังในสวนของกองรอยสนับสนุนใหพรอมรบและเกิดความตอเนื่องในการรบ
๒.๔ ใชกําลังปฏิบัติการที่คาบเกี่ยวกับการรบ โดยบังคับบัญชาและควบคุมตอกําลังพลภายใน
กองรอยรวมทั้งยุทโธปกรณการจั ดและการดําเนินการสนับสนุนการรบ และการสนับสนุนทางการชวยรบ
เพื่อใหกรมทหารพรานปฏิบัติภารกิจเปนผลสําเร็จ
๒.๕ ใชกําลังปฏิบัติการทางทหารอื่น ๆ ที่มิใชการรบตามที่ไดรับมอบ
๒.๖ ใชกําลังปฏิบัติการทางทหารเพื่อชวยเหลือการพั ฒนาการเสริมสรางความสัมพันธอันดี
ระหวางทหาร ขาราชการ ประชาชน
ลับมาก ๒๙

ผังการจัด กองรอยสนับสนุน

กองรอยสนับสนุน

กองบังคับการกองรอย หมวดสนับสนุนการรบ หมวดสนับสนุนทางการชวยรบ

กองบังคับการหมวด ตอนสื่อสาร หมูเครื่องยิงลูกระเบิด

กองบังคับการหมวด ตอนยานยนต ตอนซอมบํารุงยานยนต ตอนสงกําลัง ทีพ่ ยาบาล

การแบงสวนงานและหนาที่ ( ระดับหมวดที่อยูในอัตราของกองรอย )
๑. กองบังคับการกองรอย มีหนาที่ดังนี้.-
๑.๑ ใชอํานาจหนาที่เพื่อดําเนินการปกครองหรือบริ หารราชการภายในกองรอยสนับสนุน
ใหเปนไปตามระเบียบแบบแผนและกรรมวิธีการบริหารราชการ
๑.๒ ปฏิบัติหนาที่เปนฝายกิจการพิเ ศษในกิจการงานของกองรอยสนับสนุ น เกี่ยวกับการ
สนั บสนุนการรบและการสนับสนุน ทางการชวยรบ โดยคอยชวยเหลือผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการใน
กรมทหารพราน
๑.๓ บังคับบัญชาและควบคุมการเตรียมความพรอมรบทางดานกําลังพล ยุทโธปกรณและ
การฝก รวมถึงการดํารงความตอเนื่องในการรบตามสัดสวนของกองรอยสนับสนุน
๑.๔ ใชกําลังปฏิบัติการที่คาบเกี่ยวการรบ โดยบังคับบัญชาและควบคุมตอกําลังพลภายใน
กองรอยสนับสนุน และหนวยรอง รวมทั้งยุทโธปกรณ การจัดและการดําเนินการสนับสนุนการรบและการ
สนับสนุนทางการชวยรบ เพื่อใหกรมทหารพรานไดปฏิบัติภารกิจเปนผลสําเร็จ
๑.๕ บังคับ บัญชาและควบคุมการใชกําลังปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ ที่มิใชการรบตามที่
ไดรับมอบ
๑.๖ บังคับบัญชาและควบคุมการใชกําลังปฏิบัติการทางทหารเพื่อชวยเหลือการพัฒนาการ
เสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางทหาร ขาราชการ ประชาชน ตามที่ไดรับมอบ
ลับมาก ๓๐

๒. หมวดสนับสนุนการรบ
- บังคับบัญชาและควบคุมการติดตอสื่อสาร และการปฏิบัติการยิงสนับสนุนดวยเครื่องยิง
ลูกระเบิดใหกับกองบังคับการกรมทหารพราน และกองรอยทหารพรานตามที่ไดรับมอบหมาย
๓. หมวดสนับสนุนทางการชวยรบ
๓.๑ บังคับบัญชาและควบคุมการใชยานยนตและการซอมบํารุงยานยนต เพื่อสนับสนุน
การขนสงใหกับกรมทหารพราน
๓.๒ บังคับบัญชาและควบคุมการปฏิบัติการสนับสนุนทางการชวยรบ ดานการบริการ
สงกําลัง การบริการทางการแพทย ใหกับกรมทหารพรานและกองรอยทหารพรานตามที่ไดรับมอบ
๓. กองรอยทหารพราน กองรอยทหารพรานเปนหนวยในอัตราของกรมทหารพราน ขึ้นตรงกับ
กรมทหารพราน กองทัพภาค มีหนาที่ดังนี้
๓.๑ หนาที่ในการปกครองหรือบริห ารราชการภายในกองรอยทหารพรานใหเปนไปตาม
ระเบียบแบบแผนและกรรมวิธีการบริหารราชการ
๓.๒ เตรียมกําลังในสวนของกองรอยทหารพรานใหพรอมรบ และเกิดความตอเนื่องในการรบ
๓.๓ ใชกําลั งปฏิบั ติการรบ และอื่น ๆ ที่คาบเกี่ยวการรบโดยบังคับบัญ ชาและควบคุมตอ
กําลังพลและหนวยรองภายในกองรอย รวมทั้งยุทโธปกรณ การจัดและการดําเนินการรบและอื่น ๆ ที่คาบเกี่ยว
การรบ โดยอาศัยแบบการปฏิบัติของหนวยทหารขนาดเล็กทางยุทธวิธีปฏิบัติการเปนอิสระหรือใชกําลังเปน
กองรอย เพื่อใหกรมทหารพรานไดปฏิบัติภารกิจเปนผลสําเร็จ ทั้งการปฏิบัติการโดยตรงและ/หรือปฏิบัติการ
ผสมหนวยเปนชุดรบ กับทหารพรานดวยกันและ/หรือกําลังรบหลัก
๓.๔ ใชกําลังปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ ที่มิใชการรบตามที่ไดรับมอบหมาย
๓.๕ ใชกําลังปฏิบัติการทางทหารเพื่อชวยเหลือการพัฒนา การเสริมสรางความสัมพันธอันดี
ระหวาง ทหาร ขาราชการ ประชาชน ตามที่ไดรับมอบหมาย

ผังการจัดกองรอยทหารพราน ( อจย. หมายเลข ๒๐ - ๑๑๗ ลง ๒๑ ม.ค.๒๖)

กองรอยทหารพราน

กองบังคับการกองรอย ชุดปฏิบัติการ

(๖ ชุดปฏิบัติการ)
ลับมาก ๓๑

การแบงสวนงานและหนาที่
๑. กองบังคับการกองรอย มีหนาที่ดังนี้
๑.๑ ใชอํานาจหนาที่ดําเนินการปกครอง หรือบริหารราชการภายในกองรอยทหารพราน
ใหเปนไปตามระเบียบแบบแผนและกรรมวิธีบริหารราชการ
๑.๒ บังคับบัญชาและควบคุมการเตรียมความพรอมรบดานกําลังพล ยุทโธปกรณ และ
การฝก รวมถึงการดํารงความตอเนื่องในการรบตามสัดสวนของกองรอยทหารพราน
๑.๓ ใชกําลังปฏิบัติการรบและที่คาบเกี่ยวการรบ โดยบังคับบัญชาและควบคุมตอ กําลังพล
ในกองรอยและหนวยรอง รวมทั้งยุทโธปกรณ การจัดและการดําเนินการเพื่อปฏิบัติการรบ และการปฏิบัติการ
อื่นๆ ที่คาบเกี่ยวการรบ เพื่อใหกองรอยทหารพรานไดปฏิบัติภารกิจเปนผลสําเร็จ ทั้งนี้มีการปฏิบัติการของ
หนวยทหารขนาดเล็กทางยุทธวิธีปฏิบัติการเปนอิสระ และใชผสมหนวยตอหนวยในอัตราและหนวยขึ้นสมทบ
หรือหนวยขึ้นควบคุมทางยุทธการ
๑.๔ บังคับบัญชาและควบคุมการใชกําลังปฏิบัติการทางทหารอื่น ๆ ที่มิใชการรบ ตามที่
ไดรับมอบ
๑.๕ บังคับบัญชาและควบคุมการใชกําลังปฏิบัติการทางทหาร เพื่อชวยเหลือการพัฒนา
การเสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางทหาร ขาราชการ และประชาชน
๒. ชุดปฏิบัติการ มีหนาที่ดังนี้
๒.๑ เตรียมกําลังพล ยุทโธปกรณ การฝก ใหชุดปฏิบัติการมีความพรอมรบ มีลักษณะเปน
หนวยทหารขนาดเล็กทางยุทธวิธีปฏิบัติการเปนอิสระได และใชผสมหนวยไดในการบังคับบัญชาและควบคุม
ของกองรอยทหารพราน หรือเมื่อมีการสั่งการเพิ่มเติมใหเปนชุดรบเฉพาะกิจ
๒.๒ ปฏิบั ติการทางทหารที่ เปนการรบระดับหนวยเบื้องตน หรือทําการรบแบบจู โจม
หรือเมื่อมีการสั่งการเพิ่มเติมใหเหมาะสมกับชุดรบเฉพาะกิจ
๒.๓ ปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ ที่มิใชการรบ ตามที่ไดรับมอบ
๒.๔ ปฏิบัติการทางทหารเพื่อชวยเหลือการพัฒนา การเสริมรางความสัมพันธอันดีระหวาง
ทหาร ขาราชการ และประชาชน
๔. หมวดทหารพรานหญิง
๔.๑ ภารกิจ ดําเนินงานทางดาน การเมือง การขาว การปฏิบัติการจิตวิทยา การชวยเหลือ
ประชาชน การพัฒนา การใหการศึกษา และการรักษาพยาบาลชั้นตนแกประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนปฏิบัติ
ภารกิจอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบ เพื่อเสริมการปฏิบัติของหนวยทหารพราน มีผูบังคับหมวดทหารพรานหญิง เปน
ผูบังคับบัญชารับผิดชอบ
๔.๒ การแบงมอบ เปนหนวยของกองทัพบก อาจแบงมอบใหหนวยรองไดตามความเหมาะสม
๔.๓ บทบาทของทหารพรานหญิง
ลับมาก ๓๒

๔.๓.๑ ปฏิบัติงานการเมือ งและการขาวตอหมูบานเปาหมาย หรือประชาชนในพื้นที่


เปาหมายเพื่อ เสริมการปฏิบัติของหนวยทหารพราน
๔.๓.๒ ปฏิ บั ติ ก ารจิ ต วิ ท ยา และชวยเหลื อ ประชาชนการรั ก ษาพยาบาลในขั้ น ตน
การพัฒนาตลอดจน ใหการศึกษาอบรมแกประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ
๔.๔ ขีดความสามารถของทหารพรานหญิง มีหนาที่ดําเนินงานทางดานการเมือง การพัฒนา
การขาว การปฏิบัติการจิตวิทยา และชวยเหลือประชาชน การรักษาพยาบาล ตลอดจนการใหการศึกษาอบรม
แกประชาชนในพื้นที่ที่รับผิดชอบ และปฏิบัติการกิจอื่น ๆ ที่ไดรับมอบ

ผังการจัด หมวดทหารพรานหญิง

หมวดทหารพรานหญิง

กองบังคับการหมวด หมูทหารพรานหญิง

----------------------------------------------------
ลับมาก ๓๓

ภาคที่ ๒
การปฏิบัติการของทหารพราน

๑. กลาวนํา
ทหารพรานเปนกําลังกึ่งทหารที่มีกําลังพลสวนใหญเปนอาสาสมัครจากประชาชนในทองถิ่น โดยมี
ทหารประจําการทําหนาที่ควบคุมบังคับบัญชา และเปนสวนของโครงสรางในการจัดกําลัง โดยพื้นฐานของ
โครงสรางในการจั ด /การประกอบกํ าลั ง ของทหารพราน เดิมมี ความมุงหมาย เพื่อใชในการสนับ สนุ น การ
ปราบปรามการกอความไมสงบ รูปแบบโครงสรางของทหารพรานที่กําหนดขึ้นมีความมุงหมายเพื่อใชในการรบ
นอกแบบ ในลักษณะของหนวยทหารขนาดเล็ก เปนชุดปฏิบัติการ ซึ่งเปนสวนประกอบของ ชุดยิงขนาดเล็ก
อางอิงตามแบบของชุดปฏิบัติการรบพิเศษ แตมิไดมีความมุงหมายในการใชเชนเดียวกับชุดปฏิบัติการรบพิเศษ
ซึ่งมีโครงสรางของตําแหนงหนาที่อยางสมบูรณที่ จะปฏิบัติการเปนอิส ระไดยาวนาน ในความมุงหมายของ
ชุดทหารพรานมี ค วามคลายคลึ งกั บ หมูปนเล็ กของทหารราบ ซึ่งเนนการจัด และประกอบกํ าลั งของอาวุธ
ที่ประกอบดวย ปล., ปก. และเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๔๐ มม. แตทหารพรานมีความแตกตางจาก หมู ปล.
ที่ความคลองแคลวมากกวา มียุทโธปกรณนอยกวา หมู ปล. โดยเฉพาะอยางยิ่ง ยุทโธปกณที่ใชปฏิบัติการรบ
อยางเหนียวแนน เชน เครื่องมือชางสนาม ในการขุด/สรางที่มั่นตั้งรับเรงดวนหรือถาวร, หมวกเหล็ก เสื้อเกราะ
ปองกันตนเอง ทําใหทหารพรานตองปฏิบัติการรบโดยอาศัยความคลองแคลวเปนหลัก ไมทําการรบแตกหัก
หรือการยึดรักษาที่มั่นตั้งรับ ความแตกตางอีกประการหนึ่งที่สําคัญคือ ความออนตัว ชุด ทหารพรานสามารถ
แยกเปนชุดยิงยอยๆ ได ๒ – ๔ ชุด เขาปฏิบัติการตอขาศึกดวยยุทธวิธีการรบนอกแบบ หรือรวมกําลังเปน
ชุดปฏิบัติการ/หลายชุดปฏิบัติการ จนถึงกองรอยทหารพราน เพื่อสกัดกั้น และทําลายขาศึกเมื่อขาศึกมีอํานาจ
กําลังรบสูงกวา
รูปแบบการปฏิบัติการรบนอกแบบของทหารพราน เปนยุทธวิธีในอุดมคติของหนวยทหารขนาดเล็ก
แตเปนรูปแบบการปฏิบัติที่ยากตอการควบคุม, อํานวยการซึ่งจะตองชดเชยดวยการฝกอยางตอเนื่องรวมถึง
ความคุนเคยระหวางบุคคลภายในหนวยจะชวยลดความสับสนในระหวางปฏิบัติการ นอกจากนี้การปฏิบัติการ
รบนอกแบบจะตองมีความริเริ่มสู ง , มีความหาวหาญ และมุงมั่นที่จะเขาปฏิบัติการตอขาศึกอยางตอเนื่อง
คุณ ลั ก ษณะดังกลาวจะเกิด ขึ้น ไดเมื่ อ ทหารพรานมี ค วามคุ นเคยภู มิ ป ระเทศที่ เขาปฏิ บั ติ การ ความคุนเคย
ภายในหนวย และความคุนเคยภูมิประเทศเปนพื้นฐานสําคัญของการปฏิบัติการรบของทหารพราน
ในการปฏิบั ติการรบของทหารพรานเมื่อเปรียบเทียบกับกองรอยอาวุธเบาทหารราบ กองรอย
ทหารพรานและกองรอย อวบ. มีความแตกตางที่อํานาจการยิงของ รอย.อวบ. สูงกวา รอย.ทพ. มาก ทั้งจํานวน
และชนิดอาวุธ นอกจากนี้โครงสรางการจัดหนวยของ รอย.อวบ. จะมีความเปนปกแผนมากกวา รอย.ทพ.
รวมถึงเครื่องมือชางสนาม และสิ่งอุปกรณปองกันตนเอง กลาวโดยรวมแลว รอย.อวบ. ไดออกแบบเพื่อทํา
การรบอยางเหนียวแนนและแตกหัก โดยใชอํานาจกําลังรบอยางเปนปกแผนในขณะที่ รอย.ทพ. ถูกออกแบบ
ลับมาก ๓๔

เพื่อปฏิบัติการรบนอกแบบ โดยใชความหลากหลายทางยุทธวิธี , ภูมิประเทศ และความสามารถเฉพาะตัวของ


ชุดยิง โดยเฉพาะความแตกตางอยางเดนชัดของอํานาจกําลังรบ ทั้งอาวุธวิถีราบ, วิถีโคง และการสนับสนุน
การรบ / การชวยรบ
ความแตกตางดังกลาว เปนขอจํากัดในการพิจารณาใชทหารพรานทําการรบ ซึ่งจะตองพิจารณา
ใชใหสอดคลองตอลั ก ษณะเดน และเกื้ อ กู ล ใหทหารพรานไดบรรลุ ขี ด ความสามารถสู ง สุ ด ในการรบ
ตามลักษณะของหนวย
สวนการพิจารณาเสริมสรางใหทหารพรานมีอํานาจกําลังรบใกลเคียงกับทหารราบนั้ น มิใชความ
ประสงคของกองทัพบก กองทัพบกตองการกําลังรบที่ประหยัด ใชงานไดหลายรูปแบบ เพื่อใชออมกําลังให
กํ า ลั ง รบหลั ก โดยสิ้ น เปลื้ อ งทรั พ ยากรนอย แตจะตองสามารถรองรั บ ความเสี่ ย งไดเมื่ อ นํ า ไปใชงาน
ในขณะเดี ย วกั น ทหารพรานจะตองเสริ ม สรางขี ด ความสามารถของหนวยใหสู ง สุ ด ดวยการฝก , การทํ า
ความคุ นเคยภู มิ ป ระเทศและการปฏิ บั ติ อื่ น ๆ เพื่ อ ใหความเสี่ ย งดั งกลาวลดลงต่ํ าสุ ด อยางไรก็ ต ามดวย
โครงสรางกําลังพลของทหารพรานที่มาจากอาสาสมัครของประชาชนในทองถิ่น จนไดสมญานามเปนทหาร
ประชาชน ทหารพรานจึงมีความสามารถในงานดานมวลชน และงานดานการขาว และเปนหนวยที่เหมาะสมตอ
การปฏิบัติภารกิจที่อาศัยความรวมมือจากประชาชน หรือการแยงชิงมวลชนในการปองกัน และสถานการณ
ปราบปรามการกอความไมสงบ ทหารพรานมีความเหมาะสมตอการใชในมาตรการทั้ง ๕ มาตรการ ของการ
ปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบ สถานการณการกอความไมสงบ เปนสถานการณออนไหว
การปฏิบัติการใดๆ ทางยุทธการจะตองไดรับการ กลั่นกรองอยางรอบคอบ ซึ่งรวมถึงความประพฤติและการ
ปฏิบัติตนของทหาร และหนวยทหารมีความลอแหลมตอการแสวงประโยชนของฝายตรงขาม เพื่อสรางเงื่อนไข
ความขัดแยง ทั้งสองประการเปนความลอแหลมที่สําคัญของทหารพราน ดังนั้น ในการใชทหารพรานจะตองอยู
ภายใตการวางแผน, กํากับดูแลอยางใกลชิดของหนวยรับผิดชอบจนถึงการฝกอยางเขมงวด เพื่อดํา รงวินัยของ
ทหารพราน การอบรมอุ ด มการณทางการเมื อ งอยางเขมขนและตอเนื่ อ ง, การใหความรู ดานกฎหมาย
ความลอแหลมดังกลาว เปนสิ่งสําคัญที่ผูรับผิดชอบจะตองเพงเล็ง
แตสรุปแลวในสถานการณการปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบทหารพรานไมอาจ
ปฏิบัติภารกิจไดโดยตรง แตควรปฏิบัติในฐานะผูสนับสนุนการปฏิบัติตาง ๆ ภายใตการวางแผน, อํานวยการ
และกํ ากั บ ดู แ ลอยางใกลชิ ด เชนเดี ย วกั บ การปฏิ บั ติ ในการปองกั น และปราบปรามการกอความไมสงบ
เมื่อทหารพรานถูกใชในการพิ ทักษประชาชน และทรัพยากรและการปฏิ บัติทางทางทหาร ที่ มิใชสงคราม
ความลอแหลมของ ทหารพรานจะมีลักษณะที่คลายคลึงกัน ผูรับผิดชอบจะตองเพงเล็งเสมอ
ลับมาก ๓๕

๒. การเตรียมกําลัง
การเตรี ย มกํ า ลั ง เปนพื้ น ฐานสํ า คั ญ ของการดํ า รงคุ ณ ลั ก ษณะและขี ด ความสามารถของ
ทหารพราน ซึ่งจะเปนเครื่องบงชี้ที่สําคัญตอการพิจารณาใชทหารพรานในภารกิจปองกันประเทศบนหลักการ
ของความประหยัด แตมีเกณฑการเสี่ยงที่ยอมรับได ขีดความสามารถที่ลดลงของทหารพรานยอมสงผลใหความ
เสี่ยงสูงขึ้น เปนสิ่งไมพึงประสงค การเตรียมกําลังอยางมีประสิทธิภาพและเต็มขนาด จะประกันความสําเร็จใน
การปกปองอธิปไตยของชาติ และมีความสําคัญตอการปองปรามกําลังจากภายนอกประเทศ
ในระบบการเตรีย มกําลั งนั้ นประกอบดวย การศึก ษา, การฝก อบรม และการปฏิบั ติภ ารกิ จ
ในพื้นที่ปฏิบัติการอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ จะทําใหทหารพรานมีความสามารถที่เปนมาตรฐานตามคุณลักษณะ
ของหนวย
ดานการศึกษา เจาหนาที่ โครงของทหารพรานระดับ ผบ.ชุ ดทหารพราน, รอง ผบ.รอย.ทพ.
จนถึ ง ผบ.รอย. และ ฝอ.กรมทหารพรานควรไดรั บ การศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ปจว., ปปส.และ สนบ. ใน
รร.สพศ.ศสพ. เพื่อเสริมสรางพื้น ฐานความรูที่ จะปฏิบั ติภ ารกิจไดอยางสมบู รณ ตามแนวความคิดในการ
ใชหนวย การดําเนินการเพื่อใหเจาหนาที่โครงเหลานี้ไดเขารับการศึกษาอยางครบถวนเปนความรับผิดชอบของ
กกล.ทพ.ทภ. ที่จะตองประสานกับ ศสพ. โดยตรง
ดานการฝกอบรม กกล.ทพ.ทภ. ควรจัด ใหมี การฝกอบรมระดับ รอย.ทพ. เปนสวนรวม โดย
กกล.ทพ.ทภ. อาจจั ด ใหมี ศู น ยฝก ทพ. ขึ้ น หรือ ใชประโยชนจากคายฝกการรบพิ เศษของแตละกองทั พ
ดําเนิ น การ อยางนอย รอย.ทพ. ควรไดเขารับการฝกอบรมระดับ กองรอย ๒ ปตอครั้ง เรื่องที่ควรทําการ
ฝกอบรม ไดแก การดํารงวินัยทหาร ซึ่งประกอบดวยการอบรมและการฝกแถวชิด , ทาบุคคลเบื้องตน ฯลฯ ,
การปฏิบัติการขาวควรประกอบดวย การ ลว.-เฝาตรวจ, การรายงาน, การขาวลับ และการตอตานขาวกรอง,
การรบพิ เศษ ควรประกอบดวยบุ คคลทํ าการรบ และการลาดตระเวน, การปฏิ บั ติก ารของหนวยทหาร
ขนาดเล็ก , การรบนอกแบบ รวมถึงการปฏิบัติการจิตวิทยา และการชวยเหลือประชาชน ในการฝกระดั บ
รอย.ทพ. ควรจัดใหทหารพรานไดมีโอกาสฝกรวมกับกําลังรบตามแบบทั้งในสวนของฝายเดียวกันและฝายตรงขาม
รอย.ทพ. รับผิดชอบการฝกระดับชุดทหารพราน ซึ่งสามารถทําการฝกไดทั้งการจัดการฝกอยาง
เปนทางการและการฝกตาม รปจ. ประจําวัน , สั ปดาห หรือเดือน ในเรื่องที่เกี่ ยวกับการดํารงวินั ยทหาร,
การรบนอกแบบ โดยจัดใหมีการฝกในทุกโอกาสที่จะสามารถกระทําได และถือเปนภารกิจอันสําคัญของการ
เตรียมกําลัง
กรม ทพ. รั บ ผิ ด ชอบในการตรวจสอบทั้ ง การตรวจสอบการฝกอยางเปนทางการของชุ ด
ทหารพราน ที่ดําเนินการฝกโดย รอย.ทพ. และการตรวจสอบประเมินผล การปฏิบัติภารกิจดานตาง ๆ ของชุด
ทหารพรานตามหวงระยะเวลา เพื่อประกันมาตรฐานของหนวยทหารพรานในความรับผิดชอบ
ลับมาก ๓๖

การฝกของทหารพรานประกอบดวย การฝกทดแทนทหารพรานใหม, การฝกชุดปฏิบัติการทหาร


พราน, การฝกเปนกองรอยทหารพราน (ฝกกําลังกึ่งทหารปองกันประเทศ) การฝกทบทวน มว. ทหารพรานหญิง
และการฝกยิงปนประจําป
ในการปฏิบัติภารกิจในพื้นที่ปฏิบัติการ การทําความคุนเคยภูมิประเทศเปนภารกิจสําคัญของการ
เตรียมกําลัง รอย.ทพ. จะตองจัดใหชุดทหารพรานไดออก ลว.พื้นที่ปฏิบัติการอยางสม่ําเสมอ ทั้งกลางวัน และ
กลางคืน และจะตองฝกใหทหารพรานไดออกปฏิบัติภ ารกิจเปนชุดขนาดเล็ ก ๓ , ๖ และ ๑๒ คนในพื้น ที่
ปฏิบัติการอยางสม่ําเสมอทั้งกลางวัน และกลางคืน จนทําใหทหารพรานมีความคุนเคยภูมิประเทศ ซึ่งจะทําให
ทหารพรานมีความเชื่อมั่น, หาวหาญ ในการปฏิบัติการรบ
กรม ทพ. ควรจั ด หมุ น เวี ย นการวางกํ า ลั งของ รอย.ทพ. ในความรั บ ผิ ด ชอบใหทั่ ว ทุ ก พื้ น ที่
ปฏิบั ติการของกรม เพื่อสรางความคุนเคยภู มิประเทศซึ่งจะอํานวยประโยชนการใช รอย.ทพ. ไดทุกพื้น ที่
รับผิดชอบ และ กกล.ทพ.ทภ. ควรจัดให กรม ทพ. ไดหมุนเวียนปฏิบัติภารกิจทุกพื้นที่ในความรับผิดชอบของ
ทภ. เพื่ อใหทหารพรานสามารถเขาปฏิบั ติการไดทุ กพื้นที่ ของ ทภ. โดยมีขีดความสามารถลดลงนอยที่ สุ ด
อันเนื่อง มาจากความไมคุนเคยภูมิประเทศ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญตอการดํารงขีดความสามารถในการรบของ ทหารพราน

---------------------------------------------
ลับมาก ๓๗

บทที่ ๔
ทหารพรานในการรบ
ตอนที่ ๑ หลักการทําสงคราม
คือ พื้ น ฐานการปฏิ บั ติ ก ารรบ ผู บั งคั บ หนวยทหารพรานทุ ก ระดับ จะตองพิ จ ารณาหลั ก การ
สงครามไปประยุกตใหสอดคลองตอคุณลักษณะ และขีดความสามารถของหนวย, รวมถึง สภาวะแวดลอมใน
การปฏิบัติการ โดยคํานึงถึงการผสมผสานหลักการสงครามแตละขอใหสมดุลยสอดคลอง จึงจะบรรลุผลใหเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติการ โดยมีปจจัยพิจารณาพอสังเขปตามแนวทางดังนี้
๑. หลักการดํารงความมุงหมาย ทหารพรานเปนหนวยทหารขนาดเล็ก ปฏิบัติภารกิจในพื้นที่
หางไกล และมักตองกระจายกําลั งเปนบริเวณกวาง ในการปฏิบัติการรบ ตามยุทธวิธีของการรบนอกแบบ
ทหารพรานจําเปนตองเขาทําการรบดวยหนวยขนาดเล็ก ภายใตการบังคับบัญชา และควบคุม ที่ยากลําบาก
หรืออาจตองปฏิบัติการโดยไมมีการควบคุม บังคับบัญชาเลย เมื่อทหารพรานถูกขาศึกตัดขาด ซึ่งทหารพราน
จะตองปฏิบัติภารกิจตอไปดวยความมุงมั่น ผูบังคับบัญชาหนวยทหารพราน จะตอง ฝก – อบรม หนวยใหมี
คุณลักษณะเชนนี้อยูเสมอ และจะตองออกคําสั่ง แสดงเจตนารมณของตนเอง และหนวยเหนือใหชัดเจนเปนที่
เขาใจ จนถึงกําลังพลคนสุดทาย และภายใตสถานการณที่แปรเปลี่ยนอยางรวดเร็ว ผูบังคับหนวยทหารพราน
ทุกระดับชั้นจะตองมีความริเริ่มอยูเสมอที่จะปฏิบัติภารกิจใหบรรลุ ตามคําสั่ง และเจตนารมณที่ไดรับ
๒. หลักการรุก การปฏิบัติการรุกของทหารพราน เปนสิ่งจําเปน และเปนความอยูรอด ที่สําคัญ
ทหารพรานจะตองแสวงหาความริเริ่มอยูเสมอ ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการประกอบกําลังใหม, การเปลี่ยนทิศทางเขา
ปฏิบัติการ และการเปลี่ยนแปลงยุทธวิธี เชน การซุมยิง, ซุมโจมตี, ตีโฉบฉวย, การขวางระเบิด, วางกับระเบิด
ลวงขาศึกเขาสูพื้นที่สังหาร ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อชิงเปนฝายริเริ่มเหนือขาศึกอยูตลอดเวลา การสูญเสียความริเริ่มอาจ
ทําใหทหารพรานตองถูกบีบบังคับใหรบติดพัน และถูกทําลายในที่สุด
๓. หลักการออมกําลัง ในการปฏิ บัติการรบ ผู บังคับหนวยทหารพราน มีห นวยขนาดเล็ ก
ในความควบคุมเพื่อปฏิบัติการหลายหนวย ผูบังคับหนวยทหารพรานตองแสวงหาหนทางปฏิบัติที่จะใชหนวย
ใหนอยที่สุด และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อเก็บหนวยที่เหลือไวรองรับสถานการณที่ไมไดคาดหมาย หรือเพื่อ
ขยายผลเมื่อพบจุดออนของขาศึก ซึ่งเปนสิ่งพึงประสงคสูงสุดและอาจนํามาซึ่งความสําเร็จในการทําลายขาศึกที่
มีขนาดใหญมากกวาได
๔. หลักการรวมกําลัง การปฏิบัติการรบดวยยุทธวิธีรบนอกแบบของทหารพราน หนวยทหาร
พรานอาจตองกระจายกําลังในบริเวณกวาง ผูบังคับหนวยทหารพรานตองแสวงหาหนทางที่จะสามารถรวมกําลังได
เมื่อตองการ ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการวางระบบการติดตอสื่ อสารที่แนนแฟน หรือการกําหนดสัญญาณนัดหมาย
ภายใตการฝกอยางสม่ําเสมอ ความชํานาญคุนเคยภูมิประเทศ และความคลองแคลวที่เหนือกวา และการ
วางแผนสะสม สป. ไวลวงหนา ทหารพรานอาจสามารถรวมกําลังไดอยางรวดเร็ว ณ ตําบลที่ไดเปรียบ ซึ่งจะทํา
ใหสามารถเอาชนะขาศึกที่มีกําลังมากกวาได
ลับมาก ๓๘

๕. หลั กการกํ าเนิ น กลยุ ท ธ ความสามารถในการดํ าเนิ น กลยุ ท ธของทหารพราน ขึ้ น อยู กั บ
ความคุ นเคยภู มิประเทศและความคลองแคลวที่ เหนื อกวาขาศึ ก เมื่อทหารพรานเขาทํ าการรบดวยยุท ธวิธี
นอกแบบ ผูบังคับหนวยทหารพรานตองแสวงหาตําบล, เวลาและโอกาสที่จะรวมกําลัง เพื่อทําการรบแตกหัก
และทําลายขาศึกอยูเสมอ
๖. เอกภาพการบั งคั บบั ญ ชา ภายใตการปฏิ บั ติของหนวยขนาดเล็ ก และยุทธวิธีของการรบ
นอกแบบเอกภาพการบังคับบัญชาตามสายการบังคับบัญชาเปนสิ่งสําคัญยิ่ง การสูญเสียเอกภาพอาจทําใหการ
ปฏิบัติการสับสน และยุงยาก ผูบังคับหนวยทหารพรานจะตองคํานึงถึงการสรางสรรคความเปนเอกภาพในการ
สั่งการ ควบคุม และตองทําการฝกใหเกิดความคุนเคยอยูเสมอ
๗. หลักการระวังปองกัน การเขาปฏิบัติการของหนวยทหารพราน มีความลอแหลมตอการ
ถูกทําลายอยูตลอดเวลา เนื่องจากรู ปแบบเปนการกระจายหนวยขนาดเล็ก การรักษาความปลอดภัยเกิดจาก
ความระวังในการติดตอสื่อสาร, ความตื่นตัวตอสภาพแวดลอมอยูเสมอ และการดํารงใหไดมาซึ่งขาวสารขาศึก
ตลอดเวลา เปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหหนวยทหารทหารพรานปลอดภัยไมถูกบีบบังคับใหตกอยูในสถานการณ
ที่เสียเปรียบ จนนําไปสูการถูกทําลายในที่สุด การสงวนรักษาหนวย และยืดเวลาในการเขาทําการรบออกไปให
ยาวนานจนกวาจะสามารถคนหาจุดออนของขาศึก และเขาขยายผล ซึ่งหวงเวลาอาจยาวนาน และตอเนื่อง
ตอไป แมนขาศึกจะเขายึดครองพื้นที่ไดแลวก็ตาม การปฏิบัติการหลังแนวการวางกําลังของขาศึก ก็อาจสราง
โอกาส แกทหารพรานที่จะปฏิบัติการสําคัญอันนํามาสูชัยชนะของฝายเราได
๘. หลักการจูโจม การจูโจมเปนหัวใจสําคัญของการปฏิบัติการ ดวยหนวยทหารที่มีขนาดเล็กกวา
ขาศึก ซึ่งผูบังคับหนวยทหารพรานจะตองคํานึงอยูเสมอ สําหรับการจูโจมของหนวยทหารพรานอาจเกิดขึ้นจาก
การรักษาความลับ, ความเงียบ การปฏิบัติการดวยยุทธวิธีที่เหนือความคาดหมาย หรือการปฏิบัติการพรอมๆ กัน
จากหลายทิศทาง รวมถึงการขยายพื้นที่และจุดเขาปฏิบัติการใหครอบคลุ มทุก ๆ สวนของกองกําลั งขาศึก
จะทําใหขาศึกไมอาจคาดเดาตําบล, ทิศทางและรูปแบบการโตตอบของฝายเราได และเปนฝายเสียเปรียบอยู
ตลอดเวลา
๙. หลักความงาย การทําการรบดวยหนวยขนาดเล็ก และยุทธวิธีนอกแบบ การวางแผนและ
การสั่ งการจะตองหาหนทางปฏิบัติที่งายตอความเขาใจ และงายตอการปฏิบัติ เพื่อลดความสับสนในการ
ปฏิบัติการ ซึ่งผูบังคับหนวยทหารพรานอาจใชวิธีแบงมอบเปนพื้นที่ หรือการแบงมอบโดยอาศัยกลุมของขาศึก
เปนกลุม ๆ และการดํารงการติดตอสื่อสาร หรือการนัดหมายเพื่อสรางสรรคความออนตัวในการปรับเปลี่ยน
รูป แบบการปฏิ บั ติ ไดอยางรวดเร็ว ตามสถานการณที่ แ ปรเปลี่ ย นอยูเสมอ ซึ่งสิ่ งเหลานี้ จ ะเกิด ขึ้ น อยางมี
ประสิทธิภาพเมื่อมีการฝกอยางสม่ําเสมอ
ลับมาก ๓๙

๑๐. หลักการตอสูเบ็ดเสร็จ ทหารพรานซึ่งเปนอาสาสมัครจากทองถิ่น, มีกําลังขนาดเบาจะตอง


แสวงหาความรวมมือจากมวลชนในทองถิ่ น เพื่อวางระบบขายการแจงเตือน และรายงาน อันจะนํามาซึ่งการ
ปกปองหนวยจากการถูกจูโจม และสรางโอกาสในการเขาปฏิบัติการกอนและรวมถึงการคํานึงถึงความประสาน
สอดคลองตอการปฏิ บั ติการของกําลั งรบตามแบบ เปนสิ่ งสําคัญ ที่ จะทําใหการปฏิบั ติการของทหารพราน
มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น
การผสมผสานหลักการสงครามของผูบังคับหนวยทหารพรานจะมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
เมื่อทหารพรานไดรับการฝกอยูเสมอ และถือเปนปจจัยสําคัญตอความสามารถในการสรางสมดุลยของหลักการ
สงคราม ที่ อ าจมี น้ํ าหนั ก แตกตาง, ขั ด แยงและเกื้ อ กู ล ซึ่ งกั น และกั น แตความสามารถในการผสมผสาน
อยางเหมาะสมตอสภาพแวดลอมทางการยุทธนั้นจะนํามาซึ่งอํานาจกําลังรบสูงสุด และโอกาสของชัยชนะได

ตอนที่ ๒ ทหารพรานในการปฏิบัติการรบ
ในรูปแบบการพัฒนาการของเทคโนโลยีทางทหารปจจุบัน กําลังรบหลักมีแนวโนมที่จะพัฒนาไปสู
ความทันสมัย เปนกําลังรบที่มีความสมบูรณ มีอํานาจกําลังรบสูง มีความคลองแคลว และมีราคาแพงมากยิ่งขึ้น
จึงทําใหแนวความคิดในการใชกําลัง รบหลักในอนาคต จะถูกใชในระดับสถานการณที่รุนแรง และ มักจะถูก
สงวนไวใช เพื่อทําการรบแตกหักในพื้นที่ที่จะสงผลตอความไดเปรียบในการยุทธขณะนั้น ในลักษณะดังกลาว
ชองวางการวางกําลังของกําลังรบหลักจะขยายกวางมากขึ้น ทั้งทางกวางและทางลึก กําลังรบหลัก มีความ
จําเปนที่ จะตองมีกําลั งรบขนาดเบา, ออนตัว และมีคาใชจายต่ํา เพื่อสนับสนุน ในการลดชองวาง ทางปก,
ทางลึก และในพื้นที่สวนหลัง นอกจากนี้ความทันสมัยของกําลังรบหลักจะทําใหระบบการสงกําลังบํารุงตองมี
ขนาดใหญขึ้นเพื่อรองรับปริมาณการใชกระสุน , น้ํามันใหเพียงพอตอระบบอาวุธสมัยใหม ความตองการในการ
ระวังปองกันเสนหลักการสงกําลังจะมีความสําคัญมากขึ้นเชนกัน ทหารพรานเปนหนวยที่เหมาะสมในการสนอง
ความตองการของกําลังรบหลักดังกลาว นอกจากนี้ในบางสถานการณทหารพราน อาจถูกใชในการออมกําลัง
ใหกับ กําลั งรบหลั ก เพื่อใหกําลั งรบหลั กเขาทํ า การรบแตกหั กไดในเวลา และพื้ นที่ซึ่งไดเปรียบสู งสุ ด หรือ
ทหารพรานอาจถูกใชเพื่อคลี่คลายสถานการณใหกําลังรบหลักที่กําลังถูกกดดันอยางหนั กจากขาศึก เพื่อให
กําลังรบหลักผละออกจากขาศึก และรอดพนจากการถูก ทําลาย ซึ่งในสถานการณดังกลาว ทหารพรานอาจ
เสี่ ย งตอการถูกทําลาย แตดวยคุณ ลักษณะเฉพาะของทหารพราน และความชํานาญภูมิประเทศ โอกาสที่
ทหารพรานจะสลายตัวออกจากสนามรบ โดยไมถูกทําลายทั้งหนวยยอมสูงกวา กําลังรบหลัก ในการปฏิบัติการรบ
ลักษณะดังกลาว ทหารพรานจะเขาทําการรบโดยใชความชํานาญภูมิประเทศ และคุณลักษณะเฉพาะของตนให
เกิ ด ประโยชนสู งสุ ด เพื่ อ ใหบรรลุ ภ ารกิ จ และกระจายกํา ลั งถอนตั ว กลั บ สู แนวรบของฝายเดี ย วกั น หรื อ
หลบซอนในพื้นที่ที่ถูกขาศึกยึดครอง และทําการรบในสงครามนอกแบบภายใตการควบคุมของกําลังรบพิเศษตอไป
การวางกํ า ลั งของทหารพรานในภารกิ จ ปองกั น ประเทศ สํ าหรั บ พื้ น ที่ ภั ย คุ ก ความระดั บ ต่ํ า
ทหารพรานจะวางกําลังควบคุมชองทาง ทาขามที่สําคัญ โดยมีกําลังรบหลักวางกําลังบริเวณปมคมนาคมสําคัญ
ในพื้นที่ทางลึก
ลับมาก ๔๐

ทหารพรานปฏิบัติภารกิจในพื้นที่ภัยคุกคามระดับต่ํา ดวยการปฏิบัติงานดานมวลชน เพื่อผนึก


กําลั งในระบบการตอสู เบ็ ดเสร็จใหเขมแข็ ง ซึ่งจะทํ าใหทหารพรานมีระบบการรายงาน และแจงเตื อนที่ มี
ประสิทธิภาพ สามารถตอบโตไดอยางรวดเร็วตอการรุกล้ําอธิปไตยดวยกําลังขนาดเล็กจากภายนอกประเทศ
และเพื่อใหไดขาวสารครอบคลุมตามภารกิจปองกันประเทศ ทหารพรานวางขายงานดานการขาวลึกเขาไปใน
พื้นที่ระวังปองกันนอกประเทศ ครอบคลุมชุมชนสําคัญบริเวณ ชายแดน โดยมีเปาหมายดานการขาวที่เกี่ยวของ
กั บ ความมั่ น คงบริเวณชายแดน ซึ่ งจะทํ าใหทหารพรานสามารถคลี่ ค ลายสถานการณที่ เกิ ด ขึ้ น ไดอยางมี
ประสิทธิภาพ และที่สําคัญการดํารงความสัมพันธกับเจาหนาที่รัฐระดับทองถิ่นของประเทศเพื่อนบานจะเปน
เครื่องมือในการเสริมสรางความมั่นคงชายแดนรวมกันไดเปนอยางดี
อยางไรก็ตาม แมสถานการณในพื้นที่ภัยคุกคามระดับต่ําจะคอนขางเงียบสงบ แตการปฏิบัติงาน
ลาดตระเวนอยางตอเนื่ องในพื้ น ที่ รับ ผิ ดชอบยังคงมีความจําเปน การลาดตระเวนอยางตอเนื่ อง จะทํ าให
ทหารพรานมีความคุนเคยภูมิประเทศ มีขอมูลเสนทาง, แหลงน้ําบริเวณชายแดน รวมถึงแหลงที่เหมาะสมตอ
การหลบซอนของโจรชายแดน นอกจากนี้การลาดตระเวนอยางตอเนื่องจะทําใหทหารพรานไดรับขาวสาร
ความเคลื่อนไหวของฝายตรงขามในพื้น ที่ตาง ๆ อยูเสมอ จะทําใหทหารพรานประเมินสถานการณไดอยาง
รวดเร็ว สามารถสกัดกั้นและตอบโตกําลังขนาดเล็กจากภายนอกประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ
ในพื้นที่ภัยคุกคามสูง กําลังรบหลักจะวางกําลังบริเวณชองทาง, ทาขามที่สําคัญ และพื้นที่ที่มี
ความขัดแยงสูง ทหารพรานจะถูกใชในบทบาทการออมกําลังดวยการวางกําลังบริเวณชองวางการวางกําลังของ
กําลังรบหลัก ซึ่งมิใชแนวทางเคลื่อนที่ของฝายตรงขาม หรือวางกําลังในทางลึกเพื่อปองกันเสนทางเคลื่อนยาย
และการสงกําลังใหกับกําลังรบหลัก
การวางกําลังในพื้นที่ดานหนา ทหารพรานมักไดรับพื้นที่รับผิดชอบ ซึ่งเปนภูมิประเทศยากลําบาก
ตอการเคลื่ อนที่ของกําลังขนาดใหญฝายตรงขาม ซึ่งทหารพรานจะปฏิบัติภ ารกิจดวยการวางจุดเฝาตรวจ
บริเวณชายแดนและวางกําลังสวนใหญในทางลึก เพื่อใหมีพื้นที่อยางเพียงพอตอการดําเนินกลยุทธดวยวิธีรบ
นอกแบบ ในกรณีที่ฝายตรงขามเปนกําลังขนาดเล็ก ทหารพรานจะเขาสกัดกั้นและรวมกําลังเขาผลักดันหรือ
ทําลายขาศึก หากฝายตรงขามมีกําลังมากกวา ทหารพรานจะกระจายกําลังเปนหนวยขนาดเล็กเขาทําการรบ
ดวยการเขาปะทะอยางตอเนื่อง โดยใชวิธีซุมยิง, ซุมโจมตี หรือตีโฉบฉวย ในเวลาสั้น ๆ แลวผละออกจากขาศึก
เพื่ อเขาปะทะตอไปในทิศ ทางอื่ น การปะทะจากหลายทิ ศทางอยางตอเนื่อ งจะสามารถ หนวงเหนี่ ยวการ
เคลื่ อ นที่ ข องขาศึ ก , ริด รอนกํ าลั ง และทํ า ใหไดขาวสารขาศึ ก อยู ตลอดเวลา ซึ่ งจะทํ าใหการเขาคลี่ ค ลาย
สถานการณของกําลังฝายเรากระทําไดอยางรวดเร็วมีประสิทธิภาพ ในการเขาปะทะดวยวิธีรบนอกแบบทหาร
พรานจะตองมุงมั่นในการริดรอนกําลังขาศึก โดยจะมิใหขาศึกไดมีโอกาสจัดระเบียบและพักผอน ทั้งกลางวัน
และกลางคืน และหากโอกาสอํานวยทหารพรานรวมกําลังเขาผลักดน และทําลายขาศึกดวยกําลังของทหาร
พรานเอง และในกรณีที่มีอาวุธยิงสนับสนุน การปรับการยิงตอกําลังเปนกลุมกอนของขาศึกเปน สิ่งพึงประสงค
หากขาศึ ก มี กํ า ลั งขนาดใหญหรื อ มี ก ารเพิ่ ม เติ ม กํ า ลั งอยางตอเนื่ อ ง การรุ ก คื บ หนาของขาศึ ก อาจทํ า ให
ทหารพรานถูกตัดขาดอยูในพื้นที่สวนหลังของขาศึก ซึ่งทหารพรานจะยังคงปฏิบัติภารกิจตอไป โดยขึ้นการ
ควบคุมทางยุทธการตอกําลังรบพิเศษที่เขามารับ ผิดชอบการสงครามนอกแบบในพื้นที่ที่ขาศึกยึดครองและ
ลับมาก ๔๑

ทหารพรานจะเปนแกนหลักสําคัญในการจัดตั้งและใชมวลชนในพื้นที่ที่ถูกออมผานเขาทําสงครามกองโจรตอ
ขาศึกตอไป
การปฏิบัติภ ารกิจดังกลาว จะมีประสิทธิภ าพเมื่อทหารพรานมีความคุนเคยภูมิประเทศอยาง
แทจริง ซึ่งจะทําใหมีความคลองตัว , มีความมุงมั่นหาวหาญ และสามารถกระจายกําลังเปนหนวยขนาดเล็ก
หลาย ๆ หนวยเขาปฏิบัติการตอขาศึกไดโดยไมสับสน และสามารถหลบหลีกการรบติดพันหรือการกวาดลาง
จากขาศึกไดอยางรวดเร็วเปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จ
ในการปฏิบัติภารกิจลักษณะดังกลาว การควบคุมบังคับบัญชาและการติดตอสื่อสารจะกระทําได
อยางยากลําบาก ความคุนเคยภูมิประเทศ, คุนเคยในฝายเดียวกันจะชวยลดความสับสนปองกันการปะทะ
กันเองลงได ในการปฏิบัติการ การกําหนดที่อยูตนเองมีความสําคัญ ซึ่งทหารพรานอาจใชเครื่องมือหาพิกัดเพื่อ
ยืนยันที่อยูของตนอยูเสมอหรืออาจกําหนดจุดอางอิงในภูมิประเทศที่กําหนดไวลวงหนาหลายๆ จุด จะทําให
การควบคุมบังคับบัญชากระทําไดงายขึ้น ในดานการสื่อสารหากทหารพรานไดรับเครื่องมือสื่อสารระยะใกล
อยางเพียงพอที่จะควบคุมชุดยิงขนาดเล็กของทหารพราน จํานวน ๒ – ๓ เครื่อง ตอชุดทหารพราน จะอํานวย
ประโยชนตอการกระจายกํา ลัง และรวมกําลังไดอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหการปฏิ บัติภ ารกิจมีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น แตหากขาดแคลนเครื่องมือสื่อสาร การฝกอยางสม่ําเสมอในพื้นที่ปฏิบัติการจะทําใหชุดยิงขนาดเล็กของ
ทหารพราน สามารถปฏิบัติภารกิจอยางเปนอิสระไดโดยอัตโนมัติ
อยางไรก็ ต ามสิ่ งที่ ท หารพรานจะตองคํ า นึ ง ถึ ง อยู เสมอคื อ โครงสรางของทหารพราน มิ ได
ออกแบบมาเพื่อทําการรบโดยตรงกับขาศึก การกระจายกําลัง , การเคลื่อนไหวอยูเสมอเปนปจจัยความอยูรอด
ของทหารพรานเพื่ อปฏิบัติภารกิจใหบรรลุผลสําเร็จ การรบติดพันเปนอันตรายอยางยิ่งสําหรับ ทหารพราน
และหากมีหนวยใดหนวยหนึ่งของทหารพรานถูกบีบบังคับใหตองทําการรบติดพัน ผูบังคับหนวยทหารพราน
จะตองใชหนวยอื่นๆ เขาคลี่คลายสถานการณโดยเร็ว
ในการสงกําลังบํารุงและการสงกลับ ผูบังคับหนวยทหารพรานจะตองเลือกพื้นที่ทางขาง หรือ
ทางดานหลั งเปนที่ตั้งสํารองตั้งแตยามปกติ และเตรียมการสําหรับเสนทางการสงกําลัง /สงกลั บที่ป กปดไว
ลวงหนา การสะสม สป.๑, สป.๕ ไว ณ ที่ตั้งสํารอง เมื่อสถานการณเขาสูภาวะตึงเครียดจะชวยดํารงความ
ตอเนื่องในการรบของทหารพรานไดยาวนานยิ่งขึ้นจนกวาเสนทางสงกําลังที่เตรียมไวจะถูกเปดใช และจะตอง
สามารถยายที่ตั้งสํารอง/เสนทางสงกําลังไดโดยทันทีเมื่อขาศึกเขาคุกคาม
การใชกําลังทหารพรานในการปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ
เนื่องจากการกอความไมสงบ เปนขบวนการที่ซับซอน มีความละเอียดออน และมักจะมุงโจมตี
ความลอแหลมของฝายเรา ดังนั้น ขบวนการในการปองกันและการปราบปรามการกอความไมสงบ จึงเปนตอง
กระทําดวยการระดมสรรพกําลัง รูปแบบของการรณรงค ซึ่งหมายถึงการรวมแรงรวมใจทั้งพลเรือน ตํารวจ
ทหารและประชาชน และจะตองใชการโฆษณาประชาสัมพันธอยางเต็มที่เพื่อขยายผลของงานใหเปนที่ยอมรับ
ของประชาชนทั่ ว ประเทศ สรางเปนกระแสในการรวมปฏิ บัติ งาน ซึ่ งในระดับ ภู มิ ภ าคหรือระดับ ทองถิ่ น
การดําเนินงานก็จําเปนตองกระทําในลักษณะของการรณรงคเชนเดียวกัน เพียงแตกรอบกิจกรรมระดับทองถิ่น
ลับมาก ๔๒

จะมีขนาดเล็ กกวา แตยังคงตองยึดถือแนวความคิด ในการระดมสรรพกําลังทั้งพลเรือน ตํารวจ ทหาร และ


ประชาชนในพื้นที่เชนกัน โดยรูปแบบของการรณรงคจะมีอยูสองลักษณะ คือ การรณรงคดวยการเสริมความ
มั่นคง และการรณรงคดวยการโจมตี
การรณรงคดวยการเสริมความมั่นคง เปนการระดมสรรพกําลัง ทรัพยากร และการใชกําหนดการ
วิธีการตาง ๆ เพื่อฟนฟูระบบการควบคุมพื้นที่ และการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ การเมือง
และสังคมจิตวิทยาในพื้นที่ ขจัดเงื่อนไขและปญหาของการกอความไมสงบใหหมดไป
การรณรงคดวยการโจมตี เปนการปฏิบัติการรบตอเปาหมาย กําลังทางยุทธวิธี และฐานที่มั่น
ของฝายกอความไมสงบบนพื้น ที่ชวงชิงหรือพื้นที่ที่อยูในความควบคุมของฝายกอความไมสงบ และรวมถึง
กิจกรรมทางยุทธวิธีอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางยุทธวิธีดวย
กิ จ กรรมในการรณรงคเสริม ความมั่ น คง และการรณรงคดวยการโจมตี จ ะมี กิ จ กรรมสํ าคั ญ
๕ มาตรการ คือ มาตรการดานการขาวกรอง มาตรการพิทักษประชาชนและทรัพยากร มาตรการดานการ
ปฏิบัติการจิตวิทยา มาตรการดานกิจการพลเรือนและมาตรการทางยุทธวิธี ซึ่งในการรณรงคเสริมความมั่นคง
และรณรงคดวยการโจมตี จะพิ จารณาใชมาตรการทั้ง ๕ มาตรการดังกลาว ตามความเหมาะสมหนั กเบา
ใหสอดคลองตอสถานการณในแตละรู ป แบบของการรณรงคการวางแผนอํ า นวยการ และความคุ ม การ
ปฏิบัติการในทุกระดับพื้นที่จําเปน ตองกระทําอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ ทหารเปนสวนหนึ่งของกําลัง
ในการเขาปฏิบัติการโดยเฉพาะอยางยิ่งทหารพราน อาจมีส วนรวมในการปฏิบัติโดยอาจเปนสวนหนึ่ งของ
กองกําลังทหารที่เขาปฏิบัติการ หรืออาจเปนกําลังสวนใหญของทหารในการปฏิบัติการ ซึ่งกําลังทหารพราน
จะตองศึกษาแนวทางการปฏิบัติของยุทธศาสตรการปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบ และยึดถือ
ปฏิบัติอยางเครงครัด
การใชกําลังทหารพรานในการตอสูเบ็ดเสร็จ
ในการปฏิบัติตามยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสร็จ สถานการณภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในภาวะกอนและ
ระหวางสงคราม ประเทศมักเผชิญภัยคุกคามจากทั้งภายในประเทศโดยการชี้นําของฝายตรงขามและการ
คุกคามดวยกําลังรบจากนอกประเทศ รวมถึงการติดพันสถานการณสงคราม กําลังประจําถิ่นรวมถึงทหารพราน
จะปฏิบัติภารกิจออมกําลังใหกับกําลังรบหลัก ดวยการเขารับผิดชอบในการปราบปรามการกอความไมสงบ
ภายในประเทศ เสริมการวางกําลั งของกําลั งรบหลั ก และสนับสนุนการปฏิบั ติการรบของกําลั งรบหลั กใน
รูปแบบของการสงครามกองโจรและการพิทักษพื้นที่เขตหลัง
อยางไรก็ ต ามจากคุ ณ ลั ก ษณะ ขี ด ความสามารถและหวงเวลาในการประจํ า การของ
ทหารพราน ซึ่ ง มี ร ะยะเวลานานพอสมควร รวมถึ ง การฝกและประกอบกํ า ลั ง ทํ า ใหทหารพรานมี ขี ด
ความสามารถสูงกวากําลัง กึ่งทหารอื่นๆ ซึ่งหากมีการฝกอยางเหมาะสมแลว ทหารพรานสามารถปฏิบัติการรบ
เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติการของกําลังรบตามแบบไดหลายรูปแบบตามที่กลาวมาแลวในเรื่องการทําการรบของ
ทหารพรานทํ าใหทหารพรานเปนกําลั งที่ มีคุณ คา คุมคาตอการใชในการออมกําลั งใหแกกําลั งรบหลั กตาม
ยุทธศาสตร การตอสูเบ็ดเสร็จ
ลับมาก ๔๓

การใชกําลังทหารพรานในการปฏิบัติการพื้นที่สวนหลัง
ในการปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลัง กองทัพภาคจะจัดตั้ง ศป.พล. ระดับทัพภาคขึ้นเพื่อวางแผน
อํานวยการประสานงานเปนสวนรวม โดยมีการจัดตั้ง ศป.พล. ในระดับ มทบ. รับผิดชอบเปนพื้นที่ในสวนของ
พื้นที่ทางการสงกําลัง บชร. และ บชร. สวนแยก จะจัดตั้ง ศค.พขล. ขึ้นรับผิดชอบเฉพาะบริเวณแหลง/พื้นที่
ทางการสงกําลัง สําหรับการปองกันสถานที่สําคัญเฉพาะแหง และที่ตั้งของหนวยตาง ๆ หนวยนั้นๆ จะจัดตั้ง
เปน ศปฐ. รับผิดชอบและเชนเดียวกันในระบบการปองกันภัยฝายพลเรือน ซึ่งมุงหมายเพื่ อการบรรเทาภัย
จะจัดตั้ง กอ.ปพร. ภาคจังหวัดและอําเภอคูขนาน
แนวทางการใชกํ า ลั ง ทหารพราน เหมาะสมตอการใชกํ า ลั ง ในระบบการปฏิ บั ติ ก าร
พื้นที่สวนหลัง ในรูปแบบของกําลังตอบโต ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการตอบโตภัยคุกคามระดับที่ ๒ ในเขตที่
รับผิดชอบ และอาจไดรับมอบหมายใหเปนกําลังปองกันฐาน สําหรับที่ตั้งสําคัญทางการสงกําลังแหลงพลังงาน
สําคัญ เพื่อปกปองการคุกคามระดับ ๑ ระดับ ๒ ตอสถานที่สําคัญดังกลาว ในกรณีที่ ศป.พล. ตองใชกําลัง
ทหารพรานเปนสวนหนึ่งของกําลัง กยล. จําเปนตองไดเปนหนวยระดับ กรม ทพ. และตองไดรับการสนับสนุน
ยานพาหนะในการเคลื่ อนยายกําลั งเปนกลุ มกอนพรอมกัน อยางเปนปกแผนอยางนอย ๓ รอย ทพ. และ
มว.ค. หนัก เพื่อสามารถเผชิญการคุกคามระดับ ๓ ไดตลอดพื้นที่ของ ศป.พล.
การใชกําลังหนวยทหารพรานในการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม
ในสถานการณปจจุบัน ซึ่งเปนยุคหลังสงครามเย็น และในหวง ๑๐ ปที่ผานมา ไดมีการกลาวถึง
และอภิปรายกันอยางกวางขวางเกี่ยวกับบทบาทของทหารในการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม เนื่องจาก
การใชกําลังกองทัพที่มุงเนนการทําสงครามเปนหลักไดลดลง กองทัพจึงนาจะถูกใชในภารกิจที่เปนประโยชน
ในภาพรวม กองทัพเปนหนวยงานและองคกรที่มีความพรอมทั้งกําลังพลและเครื่องมือ นาจะถูกนํามาใชงาน
เพื่อสนองตอบตอผลประโยชนของชาติและผลประโยชนรวมกันของสังคมโลก อยางไรก็ตามการพัฒนากองทัพ
ที่จะตองเผชิญ กับ ภัยคุกคามในรู ปแบบปจจุบั น เชน การแกไขปญหาการใชกําลังในความขัดแยงระดับ ต่ํา
การแกปญหาเกี่ยวกับแรงงาน เพื่อรองรับสถานการณในยามสงครามไดอยางตอเนื่อง และพรอมจะปฏิบัติการ
ทางทหารที่มิใชสงครามดวย
๑) กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพรานกองทัพภาค สามารถปฏิบัติได
โดยพิจารณาจากคุณลักษณะ ขีดความสามารถ และหลักนิยมของกองทัพบกรวมทั้งขีดจํากัดดานทรัพยากรตาง ๆ
ของหนวยทหารพราน สามารถพิจารณาไดเปน ๒ ประเด็น ไดแก
(ก) กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพรานสามารถสนับสนุน การ
ปฏิบัติใหกับหนวยอื่นๆ ประกอบดวย การตอตานและตอบโตการกอการราย การปองกันและปราบปรามการ
กอความไมสงบ การแสดงกําลัง การโจมตี และการตีโฉบฉวย การคนหาและกูภัย
ลับมาก ๔๔

(ข) กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพรานปฏิบัติรวมกับหนวย
อื่น ๆ ได แตตองไดรับการสนับสนุนและการฝก-อบรมในดานตาง ๆ สวนใหญเปนงานที่มีความตอเนื่องใชเวลา
ปฏิบัติยาวนานเพิ่มเติม ประกอบดวย การชวยเหลือเพื่อมนุษยธรรม การสนับสนุนทางทหารตอเจาหนาที่
พลเรือน การสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย การปฏิบัติการอพยพผูไมมีสวนรวมในการรบ การสนับสนุนการ
ปราบปรามยาเสพติด การดําเนินงานตามโครงการพระราชดําริ การปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ
๒) กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพราน สามารถสนับสนุนการ
ปฏิบัติใหกับหนวยอื่นๆ ประกอบดวย การตอตานและตอบโตการกอการราย การปองกันและปราบปรามการ
กอความไมสงบการแสดงกําลัง การโจมตีและการตีโฉบฉวย การคนหาและกูภัยทางทหาร
๓) กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม ที่หนวยทหารพรานปฏิบัติรวมกับหนวยอื่น ๆ
ซึ่ งจะตองไดรั บ การสนั บ สนุ น และการฝก - อบรมเพิ่ ม เติ ม ประกอบดวย การชวยเหลื อ เพื่ อ มนุ ษ ยธรรม
การสนับสนุนทางทหารตอเจาหนาที่พลเรือน การสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย การปฏิบัติการอพยพผูไมมี
สวนรวมในการรบ การสนั บ สนุ น การปราบปรามยาเสพติ ด การดํ า เนิ น งานตามโครงการพระราชดํ า ริ
การปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ ซึ่งทหารพรานอาจมีสวนรวมกับกําลังอื่นๆ ในการปฏิบัติ
การปฏิบัติกิจกรรมทางทหารที่มิใชสงคราม จะตองไมสงผลกระทบตอภารกิจหลักของหนวย
ปฏิบั ตินั้น ๆ และจะตองเปนไปตามนโยบายของรัฐบาลหรือการสั่ งการของกระทรวงกลาโหม กองทัพบก
กองทัพภาค กองกําลังเฉพาะกิจ โดยมีฝายอํานวยการกองกําลังทหารพรานกองทัพภาค เปนผูดูแลรับผิดชอบ
ในการใหขอมูลขาวสาร การประมาณการ การใหขอเสนอแนะ การจัดทําแผนและคําสั่ง การกํากับดูแล และ
ประสานงาน นําไปสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม โดยเพิ่มเติมความรูดานหลักการ และยุทโธปกรณที่จําเปนใหกับ
หนวยทหารพราน
ตอนที่ ๓ การควบคุมบังคับบัญชา
ในการใชทหารพรานปฏิบัติการรบ โดยปกติแลวทหารพรานจะถูกใชในระดับกรมทหารพราน
ทั้งนี้เพื่อใหกรมทหารพรานพิจารณาใชกําลังไดอยางออนตัว ซึ่งกรมทหารพรานจะพิ จารณาใชกําลัง โดยเก็บ
อยางนอย ๑ กองรอยทหารพราน พรอมอาวุธยิงสนับสนุน เปนกองหนุน และพรอมใหการสนับสนุนตลอด
พื้นที่ปฏิบัติการของกรม
เมื่อทหารพรานในระดับกรมทหารพรานหรือรอยทหารพราน กองรอยหนึ่ งหรือหลายกองรอย
ปฏิบัติการรบ เพื่อสนับสนุ น การปฏิบัติการของกําลังรบตามแบ หรือกรณีกําลังรบตามแแบบเขาคลี่คคลาย
สถานการณในพื้นที่รับผิดชอบของกรมทหารพราน กรมทหารพรานจะขึ้นควบคุมทางยุทธการตอกําลังรบตาม
I แบบที่ใหการสนับสนุน โดยในขั้นการวางแผนกําลังรบหลักจะกําหนดภารกิจของตนในการเขาปฏิบัติการ และ
ทหารพรานจะวิเคราะหหนทางปฏิบัติของตน โดยใชรูปแบบและยุทธวิธีของหนวยทหารพรานในการสนับสนุน
การปฏิบัติภารกิจของกําลังรบตามแบบ

now Mw www.onrdo rosarioanana


-----------------------------------------------

grower's
overly
ลับมาก ๔๕

บทที่ ๕
ทหารพรานในการปองกัน และการปราบปรามการกอความไมสงบ
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
การกอความไมสงบ คือความเคลื่อนไหวของขบวนการที่มุงประสงคจะลมลางอํานาจรัฐที่มีอยูเดิม
เปาหมายอาจจํากัดเพียงตองการแยกตัวออกจากการควบคุมของรัฐบาล จนถึงการเขายึดอํานาจของรัฐ และ
เขาแทนที่รัฐบาลปจจุบัน โดยการใชการบอนทําลาย และการตอสูดวยอาวุธ ซึ่งมีระดับความรุนแรงยังไมถึงขั้น
สงครามการเมือง
รูปแบบของการกอความไมสงบมี ๔ รูปแบบ คือ
๑. การกอความไมสงบ โดยใชวิธีบอนทําลาย
๒. การกอความไมสงบ โดยใชแกนนําปฏิวัติ
๓. การกอความไมสงบ แบบมุงเนนมวลชน
๔. การกอความไมสงบ แบบดั่งเดิม
การกอความไมสงบทั้ง ๔ รูปแบบดังกลาวนั้น รูปแบบการกอความไมสงบแบบมุงเนนมวลชน
ถือเปนรูปแบบของการกอความไมสงบที่ปองกัน และปราบปรามยากที่สุด และการกลาวถึงการปองกัน และ
ปราบปรามการกอความไมสงบของหลักนิยมทหารพรานฉบับนี้จะกลาวถึงเฉพาะการใชในสถานการณการ
กอความไมสงบแบบมุงเนนมวลชน
มูลเหตุของการกอความไมสงบมีปจจัยจากความตองการของประชาชนที่ไมไดรับการสนองตอบ
ซึ่งอาจเปนความตองการในปจจัยพื้นฐานของชีวิต หรือความเชื่อในประเพณี และศาสนา สวนใหญของการ
กอความไมสงบแบบมุงเนนมวลชนจะเริ่มตนจากชนบทที่หางไกล หรือชุมชนเมืองที่ซับซอนมีเงื่อนไขของปญหา
ที่ไมไดรับการสนองตอบจากรัฐ และประการสําคัญคือ เปนพื้นที่ซึ่งกลไกของรัฐออนแอ มีประสิทธิภาพต่ํา
ซึ่งอาจเนื่ องมาจากความหางไกล, ทุ รกัน ดาร หรือ เกิด ความซับ ซอนของชุม ชนเมือ ง อยางไรก็ตามในเมื่ อ
ขบวนการกอความไมสงบไดกอตัวขึ้นแลว ความจําเปนในการกอตั้งกําลังติดอาวุธ ซึ่งเปนองคกรสําคัญของ
ขบวนการในการขยายขอบเขต, อิทธิพล ยังคงจําเปนตองใชชนบทเปนฐาน ประสานรวมกับการเคลื่อนไหว
ในเมือง และในบางพื้นที่ซึ่งมักจะเปนพื้นที่ไมเกื้อกูลตอการสรางรากฐานจากชนบทอันเนื่องมาจากภูมิประเทศ
ไมเกื้อกูล ขบวนการกอความไมสงบจะพัฒนาองคกรติดอาวุธในชุมชนเมือง เพื่อพัฒนาไปสูสงครามกองโจร
ในเมื อง แตสํ าหรับ ประเทศไทย ชุมชนเมืองมั กประกอบดวยชนหลายชนชาติ , ศาสนาและประเพณี และ
ที่สําคัญ ชุมชนเมืองของไทย มีอํานาจตอรองทางการเมือง สูงกวาชนบทและมักไดรับการสนองตอบจากรัฐ
มากกวา จึงมักไมเกื้อกูลตอการพัฒ นาองคกรกอความไมสงบ ชนบทจึงเปนเปาหมายสําคัญ ที่ลอแหลมตอ
แทรกแซงจากขบวนการกอความไมสงบ ประกอบกับภูมิประเทศ สภาพแวดลอมชนบทไทยมีความเกื้อกูล
มากกวาชุมชนเมือง การกอความไมสงบของไทยจึงมักพัฒ นาจากชนบทสูเมือง ในรูปแบบของการใชชนบท
เปนฐาน และชุมชนเมืองเปนแนวรวมในการสนับสนุน
ลับมาก ๔๖

สําหรับการกอความไมสงบแบบบอนทําลาย และการใชแกนนําปฏิวัติการสรางองคกรกอความไมสงบ
มักกอเกิด และขยายตัวในชุมชนเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งชุมชนเมื องขนาดใหญ การปราบปรามการกอความ
ไมสงบจึงมักเปนความรับผิดชอบของตํารวจหรือเจาหนาที่ ซึ่งไดรับการฝกอบรมพิเศษ สําหรับการกอความ
ไมสงบแบบดั้งเดิม ซึ่งกอตัวขึ้นจากชนกลุมนอยที่มีความแตกตางทางชนชาติศาสนา รูปแบบความเคลื่อนไหว
ขององคกรกอความไมสงบจะมีลักษณะคลายคลึงกับการกอความไมสงบแบบมุงเนนมวลชน
การกอความไมสงบแบบมุงเนนมวลชน เปนแบบของการกอความไมสงบที่มีวิธีการดําเนินการ
และการจัดองคกรสลับซับซอน ยากตอการปองกันและปราบปราม การกอความไมสงบแบบนี้มีความยุงยาก
มากในการเริ่มจัดตั้ง แตเมื่อสามารถจัดตั้งไดแลวก็มีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จมาก
ขั้นตอนการพัฒนาขององคกรกอความไมสงบแบบมุงเนนมวลชน อาจใชระยะเวลายาวนานหลาย
สิ บ ป ตั้ งแตเริ่ มตนจนสถานการณสุ กงอม และประสบผลสํ าเร็ จในที่ สุ ด ขั้ นตอนของการกอความไมสงบ
แบงออกเปน ๓ ขั้นตอน ตามลําดับดังนี้
ขั้น ตอนที่ ๑ ระยะเริ่ม ตนและซอนเรน กิ จ กรรมความไมสงบในขั้น นี้ ไดแก การกอตั้ ง
ขบวนการซึ่งจําเปนตองซอนเรนในระยะแรก สําหรับการเคลื่อนไหวในการกอความไมสงบจะใชวิธีบอนทําลาย
เปนหลัก และเมื่อมีความเขมแข็งขึ้น ก็จะยกระดับกิจกรรมในการบอนทําลายใหเขารูปแบบตามแนวทางที่
ตองการ และ มีจํานวนครั้งถี่ขึ้น แตอยางไรก็ดีจะไมใชวิธีการรุนแรงขนาดใหญ และไมใชกิจกรรมที่ยากตอการ
ควบคุม
ขั้นตอนที่ ๒ สงครามกองโจร การดําเนินการในขั้นนี้จะเริ่มตนเมื่อความเคลื่อนไหวในการ
บอนทําลายไดรับฐานการสนับสนุนจากทองถิ่นหรือภายนอกอยางเพียงพอแลว ก็จะเริ่มการสงครามกองโจร
หรือการใชความรุนแรงดวยวิธีอื่นในลักษณะเดียวกันอยางมีระบบและมีรูปแบบตอฝายรัฐบาล
ขั้ นตอนที่ ๓ สงครามขบวนการ เปนการดํ า เนิ น การเมื่ อ การทํ าสงครามกองโจรประสบ
ความสําเร็จ สามารถทําลายโครงสรางพื้นฐานทางการเมือง, เศรษฐกิจ, สังคม และการทหารของฝายรัฐบาล
จนออนแอลง ฝายกอความไมสงบ จะขยายกําลังเปนหนวยขนาดใหญ เขายึดที่ห มายทางภูมิ ศาสตร และ
ทางการเมืองที่สําคัญ เพื่อมุงไปสูการลมลางรัฐบาล และเขาควบคุมประเทศตอไป
โครงสรางการจัดองคกรของการกอความไมสงบแบบมุงเนนมวลชนประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้
พรรค เปนสวนในการชี้ นํา และควบคุม ทําหนาที่กําหนดนโยบาย และกํากับดูแลการปฏิบัติ
ทั้งปวงของขบวนการ
องคกรมวลชน เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นในกลุ มของมวลชนทั้งในชุมชนเมือง และชนบทโดย
แฝงตัวอยูในองคกรดั้งเดิมที่มีอยู เพื่อขยายผลในการบอนทําลายแสวงหา และใหการสนับสนุนแกขบวนการ
กอความไมสงบ
กําลังติดอาวุธ เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นเมื่อขบวนการมีความเขมแข็งเพียงพอ เพื่อทําหนาที่
พิ ทัก ษพรรค พื้ น ที่ และทรัพ ยากรของขบวนการกอความไมสงบ รวมถึ งการใชขยายขอบเขตอิ ท ธิพ ลของ
ขบวนการ จนนําไปสูสงครามขบวนการตอไป
ลับมาก ๔๗

การกอความไมสงบแบบมุงเนนมวลชน แบงพื้นที่ของการปฏิบัติการเปน ๓ พื้นที่อยางกวางๆ


ตามลําดับของการควบคุมดังนี้
พื้ น ที่ ในความควบคุ ม ของกองโจร เปนพื้ น ที่ ซึ่ งเปนที่ ตั้ งของกองบั ญ ชาการคายพั ก และ
ฐานกองโจร ซึ่งกองโจรจะตานทานกําลังฝายปราบปรามอยางเหนียวแนนเพื่อไมใหเขาไปในพื้นที่
พื้นที่ชวงชิง เปนพื้นที่หลักในการปฏิบัติการรุกของกองโจร เพื่อขยายพื้นที่ในความควบคุมให
กวางขวางยิ่งขึ้น กองโจรอาจไมตอตานกําลังฝายปราบปราม และอาจยอมใหฝายปราบปรามเขาไปได แตจะใช
การปฏิบัติการรบกวนขัดขวางแทนการตอตานอยางเหนียวแนน
พื้ น ที่ ในความควบคุ ม ของฝายรัฐ บาล เปนพื้ น ที่ ที่ ฝ ายรัฐ บาลมี อิท ธิพ ลอยู และสามารถ
ควบคุมสถานการณไวได กิจกรรมของขบวนการกอความไมสงบ เปนเพียงการใชกองโจรขนาดเล็กเขารบกวน
แตกิจกรรมสวนใหญจะเปนการบอนทําลาย, กอวินาศกรรม, จารกรรม, ปฏิบัติการจิตวิทยา และการกอการราย
เปนตน
หลักนิยม และแนวความคิดในการปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบ
แนวความคิดพื้นฐานของการปราบปรามการกอความไมสบ คือการปองกันไมใหการกอความ
ไมสงบขยายตัวลุกลามจนถึงขั้นการเปนภัยคุกคามที่มีอันตราย การปองกันดังกลาวสามารถกระทําไดโดยการ
ปองกันไมใหเกิดความไมสงบ และการขจัดเงื่อนไข การกอความไมสงบดวยการแกไขสภาพแวดลอมที่เปน
ชนวนเหตุของการกอความไมสงบเสียตั้งแตเริ่มตน และเมื่อการกอความไมสงบเกิดขึ้นแลว จะตองเนนการใช
วิธีการเพื่อลดระดับความรุนแรงลง การดําเนินการของยุทธศาสตร การปองกันการกอความไมสงบ จะตอง
กระทําโดยประชาชนเปนสวนรวม ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนเปนเปาหมายสําคัญ ยิ่งของขบวนการกอความ
ไมสงบ การชวงชิงการนํามวลชนเปนฝายเรา มีความสําคัญตอการดําเนินการปราบปรามการกอความไมสงบ
ยุทธศาสตรพื้นฐานของการปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ คือการพัฒนาและการ
ปองกันภายใน
การพัฒนาภายใน คือ การดําเนินการเพื่อสรางความเจริญใหกับชุมชนในทุกระดับ เพื่อขจัด
เงื่อนไขอันเปนปจจัยความตองการขั้นพื้นฐานของประชาชน ดวยการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางสังคม และ
เศรษฐกิจใหประชาชนมีความเปนอยูที่ดีขึ้น และที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือการพัฒนาโครงสรางของสถาบัน
ในชุมชนเพื่อเปนชองทางใหกับประชาชนในการแสดงออก สนองตอบความตองการตาง ๆของชุมชน มิใหเกิด
สภาวะกดดั น จนกลายเปนเงื่อ นไขที่ ฝ ายกอความไมสงบเขาแทรกแซงได กลไกของรัฐ ในพื้ น ที่ จ ะตองให
ความสําคัญตอการพัฒนาองคกรที่เปนตัวแทนของประชาชนสนับสนุนความเคลื่อนไหวและความตองการที่
ประชาชนเสนอผานตัวแทนเพื่อใหการพัฒนาไดสนองตอบตอความตองการของประชาชน และเปนเครื่องมือ
ของรั ฐ ในการยึ ด เหนี่ ย วมวลชนไวเปนฝายเรา ในสถานการณความไมสงบบางสถานการณที่ เกี่ ยวของกั บ
ความเชื่อ, ประเพณีและศาสนา การพัฒนาภายในอาจใหความสําคัญตอความเชื่อเหลานั้นเปนประการแรก
เพื่อไมใหประชาชนเกิดความรูสึกโดดเดี่ยว, แปลกแยกไปจากชุมชนสวนใหญ จนเปนเงื่อนไขใหฝายกอความ
ไมสงบชวงชิงการนําได
ลับมาก ๔๘

การปองกันภายใน เปนมาตรการของฝายรัฐในการปกปองชุมชนใหเกิดความปลอดภัย ทั้งจาก


การบอนทําลาย, กอวินาศกรรม หรือการขมขูดวยกําลังเพื่อมิใหชุมชนตกอยูภายใตความหวาดกลัวจนไมอาจ
รวมมือกับรัฐในการพัฒนา ภายใตการเติบโตของขบวนการกอความไมสงบ ขบวนการขยายอิทธิพลเหนือพื้นที่
ชวงชิง ดวยการขัดขวางการพัฒนาของฝายปราบปราม รัฐจะตองใชกําลังและมาตรการทั้งปวงในการควบคุม
สถานการณ แตจะตองดําเนินไปภายใตกรอบของความจําเปน โดยใหกระทบตอความเปนอยูของประชาชนให
นอยที่สุด และจะตองใชการโฆษณาประชาสัมพันธอยางเต็มขนาด เพื่อทําความเขาใจ และแสวงหาความรวมมือ
จากประชาชน การสรางระบบการปองกันภายในโดยใหประชาชนมีสวนรวมเปนสิ่งที่พึงประสงค
ตอนที่ ๒ แนวความคิดในการปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบ
เนื่องจากการกอความไมสงบ เปนขบวนการที่ซับซอน มีความละเอียดออน และมักจะมุงโจมตี
ความลอแหลมของฝายเรา ดั ง นั้ น ขบวนการในการปองกั น และการปราบปรามการกอความไมสงบ
จึงจําเปนตองกระทําดวยการระดมสรรพกําลัง ในรูปแบบของการรณรงค ซึ่งหมายถึงการรวมแรงรวมใจทั้ง
พลเรือน, ตํารวจ, ทหารและประชาชน และจะตองใชการโฆษณาประชาสัมพันธอยางเต็มที่เพื่อขยายผลของ
งานใหเปนที่ยอมรับของประชาชนทั่วประเทศ สรางเปนกระแสในการรวมปฏิบัติงาน ซึ่งในระดับภูมิภาค หรือ
ระดั บ ทองถิ่ น การดํ า เนิ น งานก็ จํ าเปนตองกระทํ าในลั ก ษณะของการรณรงคเชนเดี ย วกั น เพี ย งแตกรอบ
กิจกรรมระดับทองถิ่นจะมีขนาดเล็กกวา แตยังคงตองยึดถือแนวความคิดในการระดมสรรพกําลั งทั้ง พลเรือน,
ตํารวจ, ทหารและประชาชนในพื้นที่เชนกัน
รูปแบบของการรณรงคจะมีอยูสองลักษณะ คือ การรณรงคดวยการเสริมความมั่นคง และการ
รณรงคดวยการโจมตี
การรณรงคดวยการเสริมความมั่นคง เปนการระดมสรรพกําลัง ทรัพยากร และการใชกําหนดการ,
วิธีการตาง ๆ เพื่อฟนฟูระบบการควบคุมพื้นที่ และการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ การเมือง
และสังคมจิตวิทยาในพื้นที่ขจัดเงื่อนไข และปญหาของการกอความไมสงบใหหมดไป
ในการรณรงคดานการเสริมความมั่นคงจะประกอบดวย การเตรียมการ ซึ่งเปนเรื่องการฝกอบรม
เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ทั้งพลเรือน, ตํารวจ, ทหาร จากนั้นจะเปนการเคลื่อนยายเขาพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อปดลอม,
กดดัน ขจัดแกนนํา แนวรวมของฝายกอความไมสงบ แลวจึงดําเนินการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดลอมในพื้นที่
ปฏิบัติการ ขจัดเงื่อนไขปญหา จัดตั้งองคกรมวลชน, กําลังปองกันตนเองของประชาชนเขามามีสวนรวมในการ
ปองกันชุมชน จนกวาจะสามารถควบคุมสถานการณได จึงจะสงมอบใหเจาหนาที่ปกครองดําเนินการตอไป
การรณรงคดวยการโจมตี เปนการปฏิบัติการรบตอเปาหมาย กําลังทางยุทธวิธี และฐานที่มั่นของ
ฝายกอความไมสงบในพื้นที่ชวงชิ งหรือพื้นที่ที่อยูในความควบคุมของฝายกอความไมสงบ และรวมถึงกิจกรรม
ทางยุทธวิธีอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางยุทธวิธีดวย
กิจกรรมในการรณรงค เสริมความมั่นคง และการรณรงคดวยการโจมตีจะมีกิจกรรมสําคัญ ๕ มาตรา
คือ มาตรการดานการขาวกรอง, มาตรการพิ ทักษประชาชน และทั พยากร, มาตรการดานการปฏิ บัติการ
จิตวิทยา, มาตรการดานกิจการพลเรือนและมาตรการทางยุทธวิธี ซึ่งในการรณรงคเสริมความมั่นคง และ
ลับมาก ๔๙

รณรงคดวยการโจมตรี จะพิ จ ารณาใชมาตรการทั้ ง ๕ มาตรการดั งกลาวตามความเหมาะสมหนั ก เบา


ใหสอดคลองตอสถานการณ ในแตละรูปแบบของการรณรงค
อยางไรก็ตาม ในการปองกัน และ การปราบปรามการกอความไมสงบ เปนการดําเนินการที่
ละเอียดออน ซับซอน จําเปนตองอาศัยความรวมมือทุกฝาย ขอบกพรองจากการปฏิบัติงานของฝายเราอาจ
กลายเปนเงื่อนไขที่ฝายตรงขามแสวงประโยชนขยายผล กลายเปนปญหารายแรงในหวงตอไป การวางแผน,
อํานวยการ และควบคุมการปฏิบัติการในทุกระดับพื้นที่จําเปนตองกระทําอยางเปนระบบ และ มีประสิทธิภาพ
ทหารเปนสวนหนึ่งของกําลังในการเขาปฏิบัติการ โดยเฉพาะอยางยิ่งทหารพราน อาจมีสวนรวมในการปฏิบัติ
โดยอาจเปนสวนหนึ่ งของกองกํ าลั งทหารที่ เขาปฏิ บั ติ ก าร หรือ อาจเปนกํ าลั งสวนใหญของทหารในการ
ปฏิบัติการ ซึ่งกําลังทหารพรานจะตองศึกษาแนวทางการปฏิบัติของยุทธศาสตรการปองกัน และปราบปราม
การกอความไมสงบ และยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัด
ตอนที่ ๒ การใชทหารพรานในปองกัน และการปราบปรามการกอความไมสงบ
๑. กลาวนํา
ทหารพรานเปนหนวยที่ มี กํ า เนิ ด ขึ้ น เพื่ อ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในสถานการณการปองกั น และ
ปราบปรามการกอความไมสงบ การกอตั้งทหารพรานในขณะนั้นเกิดจากแนวคิ ดในการชิงการนํามวลชนใน
ทองถิ่น โดยรับสมั ครคนในทองถิ่นเขาเปนทหารพราน ทหารพรานในขณะนั้นจึงเปนแกนนําสํ า คัญ ในการ
ปฏิบัติงานเพื่อปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบจนสามารถควบคุมสถานการณ และกลับเปนฝายรุก
นําไปสูการรุกทางการเมือง และยุติสถานการณไดในที่สุด
ตามคุณลักษณะของทหารพรานที่เปนคนในทองถิ่น ทําใหทหารพรานมีความรู , ความเขาใจ
ในความรูสึกนึกคิดของประชาชน, รูจักขนบธรรม เนียม, ประเพณีความเชื่อของประชาชน รวมถึงความคุนเคย
ตอบุ คคลสําคัญ ซึ่งเปนที่เคารพนั บ ถือของประชาชน ทหารพรานจึงเปนหนวย ที่มีความเหมาะสมตอการ
ปฏิบั ติงานมวลชนในพื้น ที่การกอความไมสงบดวยมาตรการตาง ๆ ของการรณรงคเสริมความมั่นคง และ
สําหรับมาตรการการรณรงคดวยการปราบปราม ทหารพรานซึ่งมีการจัดหนวยขนาดเล็กมี ความคลองตัว ,
ชํานาญภู มิ ป ระเทศ, ชํานาญยุ ท ธวิธี การรบนอกแบบ จึ งเปนหนวยที่ เหมาะสมตอการใชเพื่ อ กดดัน กํ าลั ง
ติดอาวุธของฝายกอความไมสงบ นอกจากนี้ดวยเหตุผลที่ทหารพรานเปนคนในทองถิ่ น การใชกําลังและความ
รุนแรงในการปฏิบัติจะถูกจํากัดขอบเขตดวยความสัมพันธในทองถิ่น ซึ่งจะเปนประโยชนในกรอบสําคัญของ
การรณรงคปราบปรามที่กําหนดใหใชกําลังเทาที่จําเปนเทานั้น ซึ่งจะชวยลดเงื่อนไขที่อาจเกิดจากความรุนแรง
ในการปราบปรามของฝายเราได
๒. ทหารพรานในการรณรงคดวยการเสริมความมั่นคง
พื้นที่เสริมความมั่นคงเปนพื้นที่ที่มีความสําคัญตอการปองกัน และปราบปรามการกอความ
ไมสงบ เนื่องจากจะเปนฐานสนั บ สนุ นใหกับฝายเราในการรุกเขาสู พื้นที่ ช วงชิง และเขตฐานที่ มั่น ของฝาย
กอความไมสงบ ความสําเร็จของการปฏิบัติงานในพื้นที่เสริมความมั่นคงจะมีผลตอการจํากัดขอบเขตการเติบโต
ลับมาก ๕๐

จํากัดการสนับสนุ น จนถึงผลตอการปดลอมทางยุท ธศาสตรตอขบวนการกอความไมสงบ ในพื้นที่ดังกลาว


ฝายพลเรือนจะมีบทบาทในการพัฒนาขจัดเงื่อนไขของการกอการ
ทหารพรานซึ่ งเปนคนในทองถิ่น มีค วามสั ม พั น ธกั บ มวลชน,บุ ค คลสํ าคัญ ตาง ๆ รวมถึ ง
ความเขาใจความตองการและปญหาตาง ๆ ของประชาชน ทหารพรานจึงเปนหนวยที่เ หมาะสมตอการใชใน
การชวยเหลือ ประชาชน, การปฏิบัติการจิตวิทยา, การดําเนินการดานการขาว และการจัดตั้งกําลังประชาชน
นําไปสูการพิทักษประชาชนและทรัพยากร เพื่อบรรลุถึงการปดลอมทางยุทธศาสตรตอฝายกอการราย
ในการใชทหารพรานปฏิบัติงานเสริมความมั่นคง ควรใชเปนหนวยระดับกรมทหารพราน
ในพื้นที่ขนาดที่เหมาะสม โดยใชการแบงเขตการปกครองเปนกรอบในการวางกําลัง ขนาดของพื้นที่รับผิดชอบ
ขึ้นกับจํานวนและขนาดของชุมชน/ประชากรในพื้นที่ การใชทหารพรานเปนหนวยขนาดกรมจะทําใหทหาร
พรานมี อ งคกรของฝายอํ านวยการในการวางแผน, อํานวยการและกํากั บ ดู แลโดยใกลชิด ทั้ งนี้ เนื่ อ งจาก
สถานการณการกอความไมสงบเปนสถานการณที่มีความลอแหลม ปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานอาจถูก
ขยายผลโดยฝายกอการออกไปอยางกวางขวาง และสํ า หรั บ รอยทหารพรานเปนหนวยที่ ไมมี ก ารจั ด
ฝายอํานวยการ จึงจําเปนตองไดรับการอํานวยการ, กํากับดูแลอยางใกลชิดโดยหนวยเหนือ
ในดานการควบคุมบังคับบัญชากรมทหารพรานจะขึ้นควบคุมทางยุทธการตอ ศปก.ทภ. หรือ
กองบั ญ ชาการที่ ศปก.ทภ. จั ดตั้งขึ้ น และมอบการควบคุมบั งคับ บัญ ชาให การวางแผนจะกระทํ ารวมกั น
ระหวางพลเรือน, ตํารวจ, ทหารในองคกรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ และ
สั่งการผาน ศปก.ทภ. หรือกองบัญชาการที่จัดตั้งขึ้น เพื่อมอบภารกิจตอกรมทหารพรานตอไป
อยางไรก็ตาม ในพื้นที่ที่มีความรุนแรงของการกอความไมสงบต่ํา ผบ.กรม ทหารพรานอาจ
ไดรับการแตงตั้งเปนคณะกรรมการในองคกรปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบระดับภูมิภาค จังหวัด
หรืออําเภอ โดย ศปก.ทภ. มอบหมายกรมทหารพรานนั้นๆ ใหสนับสนุนองคกรรณรงคสงเสริมความมั่นคง
ดังกลาว โดยตรง
๓. ทหารพรานในการรณรงคดวยการโจมตี
พื้นที่ที่ใชการรณรงคดวยการโจมตี เปนพื้นที่ที่มีภัยคุกคามจากกําลังติดอาวุธของฝายกอความ
ไมสงบสูง ชุมชนในพื้นที่มีแกนนํา , แนวรวมของขบวนการแทรกอยู และมีความตอเนื่ องกับเขตฐานที่มั่นของ
ฝายกอการ ภารกิจสําคัญของการรณรงคดวยการโจมตี คือ การเรงสรางสภาพแวดลอมที่ปลอดภัย จํากัดความ
เคลื่อนไหวของแกนนํา/แนวรวมของขบวนการกอความไมสงบ จนนําไปสูการสลายแกนนํา /แนวรวม รวมถึง
การปกปองการโจมตีจากกําลังติดอาวุธ จนถึงการเขากวาดลางทําลายกําลังติดอาวุธ
ทหารพรานมักถูกใชเพื่อการวางกําลังควบคุมชุมชนสําคัญที่เชื่อมตอจากเขตฐานที่มั่นของ
ฝายกอการไปยังชุมชนอื่นๆ ซึ่งทหารพรานนอกจากจะใชในทางยุทธวิธีบอยครั้งเพื่อการปดลอม ตรวจคน
สกัดกั้นเสนทางการเคลื่อนที่ของฝายตรงขาม คนหา และทําลายกําลังติดอาวุ ธ ซึ่งจากคุณลักษณะของหนวย
ทหารพราน หนวยทหารพรานจะมีความเหมาะสมตอการใชในภารกิจดังกลาว
ลับมาก ๕๑

ในการปฏิบัติภารกิจทหารพราน จะเขาควบคุมชุมชนอยางรวดเร็วดวยการปดลอม ตรวจคน


เพื่อควบคุมหรือกดดัน แกนนํา /แนวรวม เรงสรางแกนนําฝายเรา, จัดตั้งระบบงานขาวกรอง, ลาดตระเวน/
เฝาตรวจอยางตอเนื่อง เพื่อจํากัดการเคลื่อนไหวของฝายกอการ การใชระบบงานขาวกรองอยางมีประสิทธิภาพ
และการลาดตระเวน/เฝาตรวจจะนําไปสูการตอบโตและทําลายกําลังติดอาวุธ, สลายแกนนํา/แนวรวมในที่สุด
อยางไรก็ตามการใชกําลังของทหารพรานจะตองคํานึงถึงขอบเขตการใชกําลังเทาที่จําเปน ซึ่ง
เปนหัวใจสําคัญของการรณรงคดวยการโจมตี และจะไมกอปญหาเงื่อนไขความขัดแยงที่จะทําใหการกอการ
ขยายตัวยิ่งขึ้น การพิจารณาใชกําลังตองกระทําบนพื้นฐานของความจําเปน ความชอบธรรม ซึ่งจะตองมีการ
ปฏิบัติการจิตวิทยา และประชาสัมพันธรวมดวยเสมอ เพื่อแสดงใหเห็นถึงความจําเปนที่จะตองปราบปรามดวย
กําลังติดอาวุธ
ในการควบคุมบังคับ บัญ ชา กรมทหารพรานจะขึ้นควบคุมทางยุทธการตอ ศปก.ทภ. หรือ
กองบัญชาการที่ ศปก.ทภ. จัดตั้งขึ้น และมอบใหควบคุมบังคับบัญชา การปฏิบัติการของทหารพราน จะเปนไป
ตามแผนรวมที่ ศปก.ทภ./กองบัญชาการจัดตั้งขึ้นไดรวมวางแผนกับองคกรปองกันและปราบปรามการกอความ
ไมสงบระดับภูมิภาคหรือระดับทองถิ่น
๔. ขอพิจารณาที่สําคัญตอการใชทหารพรานในการปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ
ทหารพรานเปนกําลั งอาสาสมั ครจากประชาชนในทองถิ่น การรับ สมั ครทหารพรานจาก
ประชาชนในทองถิ่ น เพื่ อ จั ด ตั้ ง รอยทหารพรานขึ้ น ใหม อาจเปนกลยุ ท ธสํ า คั ญ ตอการชิ ง มวลชน
พลิกสถานการณขึ้น เปนฝายรุกของฝายเรา เนื่องจากทหารพรานที่บรรจุใหม ๑ คน อาจทําใหมีแนวรวม
ฝายเราเพิ่มขึ้นมากกวา ๑๐ คนจากความสัมพันธในชุมชน และการจัดตั้งทหารพราน ๑ กองรอย อาจสามารถ
ควบคุมพื้ น ที่ได ทั้งตําบลหรือหลายตําบล อยางไรก็ตาม การรับสมัครทหารพรานในพื้นที่กอความไมสงบ
มีความจําเปนตองใชความรอบคอบรัดกุม เนื่องจากอาจถูกแทรกแซงจากฝายกอการ และกลายเปนเครื่องมือ
ของฝายกอการในการขยายเงื่อนไขความขัดแยงในพื้นที่มากขึ้น
ในพื้นที่กํารกอความไมสงบ มีความออนไหวตอปญหาความขัดแยงและมีความลอแหลมตอ
การสรางสถานการณ เพื่อใหเกิดเงื่อนไขใหม ๆ ขึ้น ทหารพรานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จะตองมีวินัยอยางเครงครัด
เจาหนาที่โครงในรอยทหารพรานจะตองไดรับการฝกอบรมอยางดี และจําเปนตองมีการคัดเลือกเปนพิเศษ
อุดมการณ, ความสามารถ และความมีวินัยของเจาหนาที่โครงมีความสําคัญตอความสําเร็จภารกิจ
เจาหนาที่โครงจะตองไดรับการอบรมสม่ําเสมอ เพื่อสรางความเขาใจและจิ ตสํานึกในการ
ปฏิบัติงานในพื้นที่ หนวยระดับกรมทหารพรานจะตองติดตามสถานการณอยางใกลชิด วิเคราะหและประเมิน
คาสถานการณอยางตอเนื่อง เพื่อใหการอํานวยการ, กํากับดูแล แนะนํารอยทหารพรานในการปฏิบัติภารกิจ
ไดอยางถูกตองเหมาะสมตลอดเวลา ความผิดพลาดของการวิเคราะหสถานการณ อาจสงผลในทางยุท ธศาสตร
ตอการปราบปรามการกอความไมสงบของฝายเราอยางกวางขวาง ในสวนของรอยทหารพราน ที่เขาปฏิบัติการ
อาจตองเผชิญ ตอความเครีย ดสูง กรมทหารพรานจําเปนตองมีการหมุนเวียนกําลั งสับ เปลี่ ยนใหเหมาะสม
ลับมาก ๕๒

เพื่อปองกันมิใหเกิดความเครียดสะสมมากจนกอใหเกิดความเสียหายตอภาพลักษณขององคกร ฝายเรา และ


กลายเปนเงื่อนไขที่ฝายกอการแสวงประโยชนได
๕. การใชทหารพรานในการปองกัน และการปราบปรามการกอความไมสงบ
๕.๑ มาตรการปฏิบัติการจิตวิทยา
ทหารพรานในการปฏิบัติการจิตวิทยา กลาวไดวาทหารพรานมีจุดเดน เนื่องจากเปนคน
ในทองถิ่ น มี ค วามรู , ความเขาใจในทองถิ่ น , ขนบธรรมเนี ย มประเพณี และวัฒ นธรรมประจํ า ถิ่ น และมี
ความคุ นเคยกั บ กลุ มเปาหมายเปนอยางดี สามารถทํ าหนาที่ เปนสื่ อ ในการปฏิ บั ติ ก ารจิต วิ ท ยาไดอยางมี
ประสิทธิภาพ แตอาสาสมัครทหารพรานรวมถึงเจาหนาที่โครงในรอยทหารพรานสวนใหญมีการศึกษานอย
ทํ า ใหเปนจุ ด ออนตอการปฏิ บั ติ ง านจิ ต วิ ท ยา จํ า เปนตองไดรั บ การอบรม , ชี้ นํ า อยางสม่ํ า เสมอ
หนวยบังคับบัญชา หรืออํานวยการในพื้นที่ปฏิบัติการจะตองวางแผนดานการปฏิบัติการจิตวิทยาอยางรวมการ
และจั ดใหมีการอบรมทหารพรานอยางสม่ํ าเสมอตอเนื่ อง เพื่ อใหการปฏิบั ติการจิตวิท ยาของทหารพราน
มีประสิทธิภาพ ในระดับกรมทหารพราน อาจพิจารณาจัดตั้งชุดปฏิบัติงานดานจิตวิทยาขึ้นในรอยสนับสนุน Marly
overlay
แทนหมู อาวุ ธ ยิ ง สนั บ สนุ น เพื่ อ ใชสนั บ สนุ น เปนสวนรวมแก รอย.ทหารพรานในพื้ น ที่ และสํ า หรั บ
รอย.ทหารพรานมีประเด็นสําคัญที่ตองพิจารณาเปนพิเศษในเรื่องการรักษาวินัย , การไมเขาไปเกี่ยวของกับ
ผลประโยชนใน พื้นที่เพื่อดํารงความศรัทธาของประชาชน ซึ่งจะเปนพื้นฐานเบื้องตนของการปฏิบัติงานดาน
จิตวิทยา
ในพื้นที่มีความเชื่อหรือศาสนาที่ออนไหวเปนพิเศษ ทหารพรานซึ่งเปนอาสาสมัครจาก
ทองถิ่นนั้น ๆจะตองไดรับการสนับสนุนใหไดรับการประกอบกิจตามความเชื่อและศาสนานั้นๆอยางเต็มที่ เพื่อ
ชิงการนําในทองถิ่น เวนแตความเชื่อเหลานั้นจะผิดตอกฎหมาย
๕.๒ มาตรการดานการขาวกรอง
เมื่อเขาสูพื้นปฏิบัติการทหารพรานจะตองวิเคราะหพื้นที่โดยทันที เพื่อพิจารณาปรับปรุง
แผนดานตางๆ ที่ไดวางไวแลว และจะตองกระทําสม่ําเสมอตลอดหวงระยะเวลา โดยพิจารณาความเหมาะสมดาน
ตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบที่อาจเกี่ยวพันถึงเงื่อนไขของฝายกอความไมสงบ และความปลอดภัยของหนวย
ในการปฏิบั ติงานดานการขาว กําลั งพลซึ่งเปนคนในทองถิ่นจะเปนเครื่องมือสําคัญ
ในการรวบรวมขาวสาร, การดํ าเนิ น การดานการขาวเพื่ อ จั ด ตั้ งผู ใหขาว และการแสวงหาตั ว แทนในการ
ปฏิบัติงานขาวลับ อยางไรก็ตามการปฏิบัติงานขายงานขาวลับ อาจจําเปนตองกระทําโดยกรมทหารพรานหรือ
หนวยที่ สู งกวา โดย รอยทหารพรานใหการสนั บ สนุ น ทั้ งนี้ เพื่ อ การรั ก ษาความลั บ , ความปลอดภั ย ของ
หนวยงาน และการดํารงความเชื่อถือ ไววางใจของประชาชนในทองถิ่นตอรอยทหารพราน
การลาดตระเวน/เฝาตรวจ, การจัด ตั้ งดาน/จุ ดตรวจเปนเครื่องมื อ ในการรวบรวม
ขาวสารที่สําคัญของรอยทหารพราน กําลังพลของรอยทหารพรานจํา เปนตองมีขีดความสามารถในการแกะ–
สะกดรอย เพื่อใหสามารถขยายผลขาวสารที่ไดรับจากการลาดตระเวน/เฝาตรวจ ใหมากที่สุด
ลับมาก ๕๓

๕.๓ มาตรการดานกิจการพลเรือน
การชวยเหลื อ ประชาชนของทหารพรานพิ จ ารณาดํ า เนิ น การ ๒ รู ป แบบ คื อ
การชวยเหลือประชาชนตามยุทธศาสตรพัฒ นา ซึ่งมีการวางแผนอยางรวมการในระดับกองบัญชาการหรือ
กองอํานวยการ และทหารพรานกระทําตามแผนในฐานะสวนปฏิบัติการในพื้นที่ ในการดําเนินการดังกลาว
หนวยเหนือจะตองใหการสนับสนุนทั้งดานงบประมาณ, สิ่งอุปกรณรวมถึงการโฆษณา/ประชาสัมพันธ เพื่อสราง
ความเขาใจในภาพรวมแกประชาชนอยางถูกตองและเหมะสม ทั้งนี้เนื่องจากการพัฒนาในลักษณะนี้มักจะมี
ผลกระทบใน วงกวาง และอาจมีประชาชนบางสวนเสียประโยชน ในอีกรูปแบบหนึ่งทหารพรานจะทําการ
ชวยเหลือประชาชนตามกรอบของขีดความสามารถของหนวยโดยหวังผลในการปฏิบัติ งานดานจิตวิทยาเฉพาะ
เหตุการณ ซึ่งทหารพรานควรแสงหาโอกาสดําเนินการอยูเสมอ แตจะตองพิจารณามิใหซ้ําซอนหรือขัดแยง
ตอแผนการพัฒนาในภาพรวม เพื่อมิใหสงผลเสียหายตอการดําเนินการของหนวยเหนือ
๕.๔ มาตรการในการพิทักษประชาชนและทรัพยากร
การดําเนินการพิทักษประชาชนและทรัพยากรของทหารพรานจะตองกระทําในกรอบ
ของหนวยเหนือระดับกองบัญชาการหรือกองอํานวยการ การพิจารณาในมาตรการใด ๆ เพิ่มเติมในพื้นที่จะตอง
ไดรับการอนุมัติกอนเสมอ การเพิ่มมาตรการในการควบคุมพฤติกรรมของประชาชนจะสงผลกระทบกวางขวาง
จึงตองไดรับการพิจารณาอยางรอบคอบ
ในระดับ ทองถิ่นนอกจากปญหาการกอความไมสงบแลว มักจะมีปญหาผูมีอิทธิพล,
การกระทําผิดกฎหมายรวมอยูดวย ทหารพรานจะตองพิจารณาอยางรอบคอบในการจัดการปญหาตาง ๆ โดย
พิจารณาผลกระทบตอภารกิจในการปราบปรามการกอความไมสงบทุกๆ ดาน โดยจะตองพิจารณาใชมาตรการ
ตางๆ ตอบุคคลเหลานั้นเปนรายๆ อยางระเอียดรอบคอบ และควรใชตํารวจซึ่งเปนผูมีหนาที่โดยตรงในการ
รัก ษากฎหมายเปนผู ดํ าเนิ น การ ทั้ งนี้ เพื่ อมิ ใหทหารพรานตองตกอยู ในสถานการณขัด แยงจนไมสามารถ
ปฏิบัติงานตามมาตราการตาง ๆ ที่ไดวางแผนไวแลว
๕.๕ มาตรการทางยุทธวิธี
ทหารพรานจะตองคํ า นึ ง ถึ ง หลั ก การใชกํ า ลั ง ใหนอยที่ สุ ด เทาที่ จํ า เปนเสมอ ซึ่ ง
หมายรวมถึงวิธีการในการปฏิบัติ , อาวุธที่ใชในการปฏิบัติการ, การใชอาวุธที่มีอํานาจทําลายเปาหมายรุน แรง
เกินกวาความจําเปน อาจสงผลเสียตอการปฏิบัติงานตามมาตรการอื่น ๆ แมแตอาวุธ ปลย.M.๑๖ ที่มีอํานาจ
การฉีก/ทําลายบาดแผลขนาดใหญก็เปนอาวุธที่ควรพิจารณาความเหมาะสมใหสอดคลองตอสถานการณหนวย
ระดับรอยทหารพรานควรไดรับการประกอบกําลังดวยอาวุธที่มีความหลากหลายเพื่อจะพิจารณาใชใหเหมาะสม
ในรอยทหารพราน ซึ่งมีอาสาสมัครจากทองถิ่นจะเปนแหลงขอมูลในการพิจารณาที่ดีตอการกําหนดกรอบความ
รุนแรงของการใชกําลัง และอาวุธในการปราบปราม

--------------------------------------------------
ลับมาก ๕๔

บทที่ ๖
ทหารพรานในการตอสูเบ็ดเสร็จ
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
การตอสูเบ็ดเสร็จ คือ ระบบการตอสูเพื่อปองปราม ปองกัน หรือตอบโตการปฏิบัติ ของฝายตรง
ขาม โดยใชกําลังทุกประเภทผสมผสานกันอยางมีแผน เพื่อที่จะสามารถปรับใหใชกับทุกระดับ ความขัดแยงใน
ทุ ก หวงของสถานการณ รวมทั้ งใชพลั งอํ านาจของชาติ ทั้ งดานการเมื อง, เศรษฐกิ จ , สั งคมจิ ตวิ ท ยา และ
การทหาร เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการอยางสอดคลอง
การจัดพื้น ที่ในระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ แบงพื้นที่ของประเทศไทยเปน ๓ พื้นที่ห ลัก ๆ เพื่ อให
สอดคลองกับการกําหนดงานหลัก
การจั ด พื้ น ที่ ร ะวั ง ปองกั น /พื้ น ที่ อิ ท ธิ พ ลของขาศึ ก ในยามปกติ คื อ พื้ น ที่ น อกแนวชายแดน
ในปจจุบัน ในยามสงครามหมายถึง พื้นที่ในการครอบครองของขาศึก ซึ่งอาจหมายถึงพื้นที่ภายในประเทศ
บางสวนที่ถูกขาศึกยึดครอง
พื้นที่การรบ คือ พื้นที่ที่ถูกใชในการปฏิบัติการรบ ซึ่งไดแก พื้นที่ตั้งแตแนวที่ไมยอมใหขาศึกผาน
จนถึงแนวจํากัดการรุก
พื้ น ที่ เขตหลั ง คื อ พื้ น ที่ ห ลั งแนวที่ ไมยอมใหขาศึ ก ผานและรวมถึ งพื้ น ที่ ที่ เหลื อ ของประเทศ
ทั้งหมด

แนวไมยอมใหขาศึกผาน/ แนวชายแดน แนวจํากัดการรุก


เสนเขตหลังของกองพล

พื้นที่เขตหลัง พื้นที่การรบ พื้นที่นอกประเทศ/


พื้นที่อิทธิพลขาศึก

หวงเวลาและสถานการณในระบบการตอสู เบ็ ด เสร็จ แบงหวงเวลาเปน ๓ หวงเวลาคื อ


ยามปกติ, หวงเวลาใกลสงครามและหวงสงคราม ซึ่งแตละหวงเวลาไดกําหนดหนาที่และความรับผิดชอบของ
กําลั งประเภทตางๆ ไว โดยมีกําลั งที่ เกี่ยวของคือ กําลั งรบหลั ก ,กําลั งประจําถิ่น ,กําลั งกึ่งทหาร และกําลั ง
ประชาชน
ลับมาก ๕๕

กําลังรบหลัก หมายถึง กําลังประจําการ และกําลังพลสํารองที่เตรียมไวเพื่อเผชิญกับภัยคุกคาม


จากภายนอกประเทศ
กําลังประจําถิ่น หมายถึง กําลังประจําการบางสวนที่กําหนดบทบาทใหรับผิดขอบเปนพื้นที่
กําลังกึ่งทหาร หมายถึง กําลังที่มีการจัด และประกอบกําลังแบบทหาร เชน อส.ทพ., ตชด. ฯลฯ
กําลังประชาชน หมายถึง กลุมประชาชนที่ไดรับการฝกอบรมและจัดตั้งขึ้นเปนกลุม , เปน
หนวยคลายกําลังทหาร
แนวความคิดในการปฏิบัติ
ในยามปกติ แบงสถานการณยามปกติเปน ๒ เหตุการณ คือ การปฏิบัติของกําลังประเภทตาง ๆ
บริเวณชายแดน และการปราบปรามการกอความไมสงบในพื้นที่ภายในของประเทศ ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากปญหา
ภายใน หรือการแทรกแซงจากภายนอกประเทศ เพื่อบอนทําลายความมั่นคงของประเทศ เพื่อลดศักยภาพของ
ชาติลงกอนที่จะเขารุกรานดวยกําลังตอไป
ในยามปกติเมื่อไมปรากฏสถานการณการกอความไมสงบ และภาวะความขัดแยงกับประเทศ
ขางเคียงมีระดับต่ํา กําลังรบหลักมีภารกิจในการเตรียมกําลัง , ฝก และพัฒนาหนวยใหเกิดความทันสมัย และมี
ประสิทธิภาพ กําลังประจําถิ่น, กําลังกึ่งทหาร และกําลังประชาชน ภายใตการอํานวยการของ ศปก.ทภ. จะเขา
รับผิดชอบพื้นที่ชายแดน ดําเนินการพัฒนาใหเกิดความมั่นคงในพื้ นที่ จัดตั้งระบบงานดานการขาว เพื่อเฝา
ตรวจ/แจงเตือนสถานการณบริเวณชายแดน และนอกชายแดน
ในยามปกติ เมื่ อ เผชิ ญ สถานการณการกอความไมสงบ กํ า ลั ง รบหลั ก เปนสวนหลั ก ในการ
ปราบปรามการกอความไมสงบ กําลั งประจําถิ่น , กําลังกึ่งทหาร และกําลั งประชาชนใหการสนับสนุ นการ
ปฏิบัติการของกําลังรบหลัก ทั้งดานการปฏิบัติทางยุทธวิธี , การสนับสนุนอื่น ๆ และการเสริมสรางความมั่นคง
บริเวณชายแดน เพื่อแบงเบาภาระของกําลังรบหลัก
ในสถานการณใกลสงคราม สถานการณใกลสงคราม ภัยคุกคามบริเวณชายแดนมีระดับความ
รุนแรงมากขึ้น กําลังรบหลักหลักจําเปนตองถอนกําลังออกจากการปราบปรามการกอความไมสงบเขาวางกําลัง
บริ เวณชายแดน โดยเฉพาะอยางยิ่ งพื้ น ที่ ซึ่ งเปนแนวทางการเคลื่ อ นที่ ข องขาศึ ก ที่ ค าดไว เพื่ อเตรี ยมรั บ
สถานการณรุนแรงที่อาจเกิดจากการคุกคามภายนอกประเทศ กําลังประจําถิ่น, กําลังทหารจะเขารับผิดชอบ
การปราบปรามการกอความไมสงบภายใน และยังคงรับผิดชอบพื้นที่บางสวนบริเวณชายแดน ซึ่งเปนชองวาง
การวางกําลังของกําลังรบหลัก และมิใชพื้นที่ที่เปนแนวทางการเคลื่อนที่ของขาศึก เพื่อปองกันการแทรกซึม
จากภายนอกประเทศ โดยมีกําลังประชาชนใหการสนับสนุนทั้งในการปราบปรามการกอความไมสงบ และการ
เสริมสรางความมั่นคงบริเวณชายแดนในพื้นที่ทองถิ่นของตน รวมถึงการเตรียมการเพื่อทําสงครามกองโจรใน
กรณีพื้นที่ในความรับผิดชอบถูกยึดครองโดยกําลังขาศึก
เมื่อสงครามใกลจะเกิดขึ้น กําลังประชาชนเริ่มมีบทบาทในการเตรียมการพิทักษพื้นที่เขตหลัง
การรักษาความมั่นคงปลอดภัย และความสงบในทองถิ่นรวมกับเจาหนาที่พลเรือน, กําลังประจําถิ่น และกําลัง
กึ่งทหาร
ลับมาก ๕๖

ยามสงคราม กําลังรบหลักสวนใหญวางกําลังในพื้นที่ตั้งรับหนา เพื่อสกั ดกั้นยับยั้งการเขาตีของ


ขาศึก โดยวางกําลังตามแนวทางการเคลื่อนที่หลักของขาศึ ก และแนวทางเคลื่อนที่รองอื่น ๆ ที่คาดวาขาศึกใช
ปฏิบัติการวางกําลังกองหนุนในทางลึกในพื้นที่ที่เหมาะสม และสอดคลองตอการวางกําลังตามแนวชายแดน
และภัยคุกคามที่คาดวาจะเกิดขึ้น
กําลังประจําถิ่น และกําลังกึ่งทหารใหการสนับสนุนการตอสูของกําลังหลัก กําลังประจําถิ่น, กําลัง
กึ่งทหารที่ว างกําลั ง ในพื้ น ที่ ช องวางของกําลั งรบหลั ก เตรียมปฏิ บั ติการกองโจรเมื่อ ถูกขาศึกรุก ผาน หรื อ
ออมผาน กําลังประจําถิ่น, กําลังกึ่งทหารในพื้นที่เขตหลังเขารวมเปนกําลังพิทักษพื้นที่เขตหลัง
สําหรับกําลังทหารพรานเปนกําลังกึ่งทหารมีภารกิจในระบบการตอสูเบ็ดเสร็จในแตละขั้นตอน
และพื้นที่ ดังกลาวขางตน โดยมีรูปแบบการปฏิบัติประกอบดวย
- การตอสูเพื่อเอาชนะการกอความไมสงบ
- เสริมกําลังประจําการ ในการปองกันประเทศในพื้นที่นอกแนวทางเคลื่อนที่ และพื้นที่ที่อาจถูก
แทรกซึมจากขาศึก
- ปฏิบัติการสงครามกองโจรเมื่อถูกขาศึกรุก/ออมผาน
- เปนกําลังในการพิทักษพื้นที่เขตหลัง
ตอนที่ ๒ การปฏิบัติการของทหารพราน
๑. กลาวนํา
ในการปฏิบัติตามยุทธศาสตรการตอสูเบ็ดเสร็จ สถานการณภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในภาวะกอน
และระหวางสงคราม ประเทศมักเผชิญภัยคุกคามจากทั้งภายในประเทศโดยการชี้นําของฝายตรงขาม และการ
คุกคามดวยกําลังรบจากภายนอกประเทศ ซึ่งสถานการณดังกลาวกําลังรบหลักตองเตรียมความพรอมที่จะ
เผชิญภัยคุกคามจากภายนอกประเทศ รวมถึง การติดพันการรบในสถานการณสงคราม กําลังประจําถิ่นรวมถึง
ทหารพรานจะปฏิบัติภารกิจออมกําลังใหกับกําลังรบหลักดวยการเขารับผิดชอบในการปราบปรามการกอความ
ไมสงบภายในประเทศ, เสริมการวางกําลังของกําลังรบหลัก และสนับสนุนการปฏิบัติการรบของกําลังรบหลัก
ในรูปแบบของการสงครามกองโจร และการพิทักษพื้นที่เขตหลัง
อยางไรก็ ต ามจากคุ ณ ลั ก ษณะ, ขี ด ความสามารถและหวงเวลาในการประจํ า การของ
ทหารพราน ซึ่งมีระยะเวลานานพอสมควร รวมถึงการฝกและประกอบกําลังทําใหทหารพรานมีขีดความสามารถ
สูงกวากําลังกึ่งทหารอื่นๆ ซึ่งหากมีการฝกอยางเหมาะสมแลว ทหารพรานสามารถปฏิบัติการรบเพื่อสนับสนุน
การปฏิบัติการของกําลังรบตามแบบไดหลายรูปแบบ ตามที่กลาวแลวในเรื่องการทําการรบของทหารพราน
ทําใหทหารพรานเปนกําลังที่มีคุณคา คุมคาตอการใชในการออมกําลังใหแกกําลังรบหลักตามยุทธศาสตรการ
ตอสูเบ็ดเสร็จ
ลับมาก ๕๗

๒. ทหารพรานในการตอสูเบ็ดเสร็จ
ในสถานการณความขัดแยงระดับต่ํา ทหารพรานออมกําลังใหกับกําลังรบหลักดวยการวาง
กําลังบริเวณชายแดน ควบคุมชองทาง, ทาขามสําคัญ ปฏิบัติการลาดตระเวน/เฝาตรวจพื้นที่ชายแดนในความ
รับผิดชอบ วางขายงานดานการขาว ครอบคลุมพื้นที่ชายแดนลึกเขาไปจนถึงพื้นที่ระวังปองกัน , วางขายการ
รายงานขาวสารครอบคลุมพื้นที่รับ ผิดชอบเพื่อสามารถตอบโตกําลั งขนาดเล็กที่อาจเขามากอความไมสงบ
บริเวณชายแดนไดอยางทันทวงทีและมีประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติการทหารพรานระดับกรมทหารพรานจะขึ้น
ควบคุ ม ทางยุ ท ธการตอ ศปก.ทภ.หรื อ กองบั ญ ชาการที่ ศปก.ทภ. จั ด ตั้ ง ขึ้ น รั บ ผิ ด ชอบพื้ น ที่ ช ายแดน
กรม ทหารพรานจะวางกําลังกองรอยทหารพรานควบคุมชองทางทาขามที่สําคัญ เพื่อปฏิบัติภารกิจเฝาระวัง
พื้นที่ชายแดนดวยการปฏิบัติงานขาวครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบและพื้นที่ระวังปองกัน รวมถึงการทําหนาที่เปน
แกนในการประสานกําลังประชาชน, สวนงานพลเรือนภายใตการอํานวยการของ ศปก.ทภ./กองบัญชาการที่
จัดตั้งขึ้น เพื่อสรางโครงขายการปองกันตลอดแนวชายแดน การปฏิบัติการดังกลาว กรมทหารพรานจะมี
บทบาทสําคัญในการประสานงานกับองคกรตาง ๆ ซึ่งควบคุมกําลังประชาชนและรวมถึงองคกรที่ปฏิบัติงาน
ตามแผนยุทธศาสตรพัฒ นา ภายใตการวางแผนและอํานวยการเปนสวนรวมของ ศปก.ทภ./กองบัญชาการ
ที่จัดตั้งขึ้น
รูปแบบการปฏิบัติการของทหารพรานคงเปนไปตามแนวทางของทหารพรานในการปฏิบัติการรบ
และทหารพรานในการปราบปรามการกอความไมสงบที่กลาวแลว
เมื่อสถานการณความขัดแยงมีระดับสู งขึ้นภัยคุกคามจากภายนอกประเทศมีความชัดเจน
มากขึ้น กําลังรบหลักเขารับผิดชอบวางกําลังในพื้นที่ชองทาง,ทาขามที่สําคัญทหารพรานจะถอนตัวออกไป
สนับสนุนกําลังรบหลัก เพื่อควบคุมชองวางการวางกําลังของกําลังรบหลัก ใหการสนับสนุนตอกําลังรบหลักดาน
การขาว, การระวังปองกันการแทรกซึมของฝายตรงขาม, ประสานโครงขายของกําลังประชาชนในพื้นที่เพื่อ
เสริมระบบระวังปองกัน พื้ น ที่เปนสวนรวมใหแกกําลั งรบหลั กที่เขาวางกําลั งควบคุมชองทางทาขามสํ าคัญ
และเพื่อประสานความแนนแฟน ของระบบการระวังปองกันอยางมีประสิทธิภาพ หนวยระดับกรมทหารพราน
อาจขึ้นควบคุมทางยุทธการตอกองบังคับการเฉพาะกิจระดับกรมทหารราบ ที่เขารับผิดชอบพื้นที่ หรืออาจ
ยังคงขึ้นควบคุมทางยุทธการตอ ศปก.ทภ./กองบัญชาการที่จัดตั้งขึ้น
เมื่ อ กรมทหารพรานวางกํ า ลั ง บริ เวณชายแดนซึ่ ง มี ภู มิ ป ระเทศจํ า กั ด การเคลื่ อ นที่ ข อง
ฝายตรงขาม โดยเขารับผิดชอบพื้นที่ตอเนื่องจากพื้นที่ รับผิดชอบของกรมทหารราบเฉพาะกิจ ขอพิจารณาที่
สํ า คั ญ ยอมขึ้ น กั บ ระดั บ การคุ ก คามจากภายนอก ในสถานการณภั ย คุ ก คามไมมากนั ก กรมทหารราบ
เฉพาะกิ จจะมีพื้น ที่รับ ผิดชอบขนาดใหญ มีรูปแบบการวางกําลังกระจายทางขางครอบคลุมพื้นที่ชายแดน
ทหารพราน จะขึ้นควบคุมทางยุทธการตอกรมทหารราบเฉพาะกิจเพื่อประสานระบบระวังปองกันเพิ่มความลึก
ของการวางกําลั งใหแกกําลั งรบหลั กดวยการปฏิ บั ติ ภ ารกิจดานความมั่ น คงบริเวณชายแดนและการขาว
เปนหลัก ในสถานการณการคุกคามระดับสูงกําลังรบหลักจะวางกําลังเปนกลุมกอนทางลึกมากขึ้น กรมทหารพราน
จะเขารับผิ ดชอบพื้นที่ซึ่งเปนชองวางการวางกําลั งของกําลังรบหลักและเตรียมพรอมสําหรับการปฏิบัติ ใน
การรบในพื้นที่รับผิดชอบ โดยขึ้นควบคุมทางยุทธการตอกองบัญชาการระดับกองพลที่ ศปก.ทภ. จัดตั้งขึ้น
ลับมาก ๕๘

ในสถานการณสงคราม ทหารพรานปฏิบัติการรบในพื้นที่รับผิดชอบ, ใหการสนับสนุนการ


ปฏิบัติการรบแกกําลังรบหลักดวยการปฏิบัติการรบนอกแบบตามยุทธวิธีและคุณลักษณะของหนวย จนถึงการ
ปฏิบัติการรบแบบกองโจรโดยขึ้นควบคุมทางยุทธการตอหนวยรบพิเศษที่เขารับผิดชอบเมื่อถูกขาศึกรุกผาน
หรืออาจถอนตัวกลับมาทําหนาที่พิทักษพื้นที่เขตหลังใหกับกําลังรบหลัก โดยขึ้นควบคุมทางยุทธการตอ มทบ.
ที่รับผิดชอบ

---------------------------------------------------------
ลับมาก ๕๙

บทที่ ๗
การพิทักษพื้นที่เขตหลัง
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
๑.๑ ความสําคัญของการพิทักษพื้นที่เขตหลัง
ในสภาพแวดลอมทางการยุ ท ธปจจุ บั น และในอนาคตกองทั พ ไดรั บ การพั ฒ นาใหมี
ขีดความสามารถสู งขึ้น ในดานความคลองแคลว, อํานาจการยิง และการโจมตีทางอากาศ ทําใหสนามรบ
ถูกขยายขึ้นทั้งทางกวางและทางลึก สนามรบในอนาคตจึงมิไดจํากัดอยูเฉพาะในพื้นที่เขตหนา แตเปาหมายใน
พื้นที่สวนหลัง ซึ่งเปนแหลงพลังงาน, แหลงผลิต เพื่อสนับสนุนกําลังรบ กําลังเปนเปาหมาย ที่ฝายตรงขาม
ใหความสําคัญในการทําลาย ซึ่งอาจจะมากกวาความพยายามในการทําลายกําลังรบในพื้นที่เขตหนาและดวย
ขีดความสามารถของอากาศยาน, เทคโนโลยีของอาวุธยิง, ขีปนาวุธทําใหพื้นที่สวนหลัง มีความลอแหลมสูงที่จะ
ถูกคุกคามดวยการโจมตีทางอากาศ, ขีปนาวุธและการยุทธสงทางอากาศ, การยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ รวมถึง
การแทรกซึมของหนวยขนาดเล็ก, กําลังรบพิเศษเพื่อรวบรวมขาวสาร,กําหนด/ชี้เปาหมายเพิ่มขีดความสามารถ
ในการทําลายของระบบอาวุธตางๆ การโจมตี/ทําลาย ของฝายตรงขามตอพื้นที่สวนหลังของฝายเราจะสงผล
กระทบตอการยุทธในเขตหนา ทั้งนี้เนื่องจาก กองทัพในปจจุบันมีเทคโนโลยีสูงจําเปนตองพึ่งพิงแหลงพลังงาน
และการผลิต, การสงกําลังบํารุงจากพื้นที่สวนหลังมากขึ้น ความตอเนื่องในการสงกําลัง/ซอมบํารุง มีผลอยาง
สําคัญ ที่จ ะรักษาความตอเนื่องในการยุทธ และมีผลตอการแพชนะอยางรวดเร็วในเขตหนา ทําใหประเทศ
มหาอํา นาจสวนใหญตองวางแนวระวังปองกั นออกไปนอกประเทศ ซึ่งอาจไกลออกไปหลายพั น กิ โลเมตร
เพื่อปกปองพื้นที่สวนหลังของตนใหพนจากการสูรบในเขตหนาอยางสิ้นเชิง
ชัยชนะในเขตหนาเปนเพียงชัยชนะในยุทธวิธี แตชัยชนะหรือพายแพในสวนหลังคือ ผลทาง
ยุทธศาสตร ที่จะกําหนดผลแพชนะในสงครามอยางแทจริง
๑.๒ คําจํากัดความ
๑.๒.๑ พื้ น ที่ ส วนหลั ง คื อ พื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตรที่ กําหนดขึ้น เพื่ อ ใชเปนพื้ น ที่ สํ าหรั บ การ
สนับสนุนการรบ และการชวยรบของหนวยทางยุทธวิธีในเขตหนามีขอบเขตตั้งแตหลังเสนเขตหลั งของกองพล
ที่ปฏิบัติการตามแนวชายแดนลงมารวมตลอดจนพื้นที่ที่เหลือทั้งหมดของประเทศในสวนที่มิใชพื้นที่การรบ
๑.๒.๒ กําลังในพื้นที่สวนหลัง ไดแก กําลังรบหลัก กําลังประจําถิ่น และกําลังประชาชน
๑.๒.๒.๑ กําลังรบหลักหมายรวมถึง กําลังประจําการ และกําลังสํารองหรือทหาร
กองหนุน กําลังประเภทนี้ เมื่อไดรับมอบภารกิจใหทําการรบในพื้นที่สวนหลัง เรียกวา “กําลังในการปฏิบัติการ
พิทักษพื้นทีส่ วนหลัง” (กําลัง กพล.)
ลับมาก ๖๐

๑.๒.๒.๒ กําลังประจําถิ่น หมายถึง กําลังประจําการบางสวนที่กําหนดบทบาทไวให


มีความรับผิดชอบเปนพื้นที่ในสวนหลัง เชน พัน.ร.เบา , รอย ร.มทบ./จทบ.
๑.๒.๒.๓ กําลังกึ่งทหารซึ่งไดรับมอบหมายใหปฏิบัติภารกิจในพื้นที่สวนหลัง
๑.๒.๒.๔ กํ า ลั ง ประชาชน ไดแก กํ า ลั ง มวลชนที่ ก องทั พ หรื อ สวนราชการอื่ น ๆ
จัดตั้งขึ้น เชน ลูกเสือชาวบาน,อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน, ทสปช., กนช. เปนตน
๑.๒.๒.๕ การบังคับบัญชาและการควบคุม
รองแมทัพภาค จะทําหนาที่ ในผูบังคับบัญชา การปฏิบัติในพื้นที่สวนหลัง
มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลังของกองทัพภาค และบังคับบัญชาหนวยตางๆ ที่ถูกจัด
สํ าหรับ การปฏิบั ติการในพื้ น ที่ส วนหลั งผานทาง ทก.หลั งของกองทั พภาค ซึ่งประกอบดวย ๓ สวน ไดแก
กองบั งคับการ, สวนปฏิบัติการ และสวนสนับสนุนการชวยรบ ทก. หลังกองทัพภาคจะเขาตีตั้งใกลกับ ทก.
ของกองบัญชาการชวยรบ เพื่อการระวังปองกัน และเพื่องายในการประสานงาน ทั้ง ๒ ทก.นั้น เปนอิสระและ
แตกตางกัน
๑.๒.๒.๖ ศูนยปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลัง
ประกอบดวย ๔ ฝายที่สําคัญ คือ กองบังคับการ, ฝายปฏิบัติการ,ฝายแผน
และฝายปองกั น ฐาน/ควบคุ ม ความเสี ย หายเปนพื้ น ที่ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาจะเฝามองการปฏิ บั ติ ก ารของ
ศูนยปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลั งและสั่งการเกี่ยวกับความพยายามตลอดจนเนนเกี่ยวกับการปฏิบัติของฝาย
ปองกันฐานปฏิบัติการหรือฝายควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ ผูบังคับบัญชาจะทําการตัดสินใจเกี่ยวกับการ
กําหนดฐานปฏิบัติการและกลุมฐานปฏิบัติการตลอดจนกําหนดผู บังคับบัญชาของฐานปฏิบัติการหรือกลุ ม
ฐานปฏิบัติการ โดยการประสานงานกับ ทก.หลัง กองทัพภาค ผูบังคับบัญชาจะกําหนดสภาพภัยคุกคามในพื้นที่
ปฏิบัติการของศูนยปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลัง
๑.๒.๒.๗ การควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่
การควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ประกอบดวยมาตรการที่ดําเนินการกอน,
ระหวางและหลังการปฏิบัติของขาศึก หรือความเสียหายจากธรรมชาติ เพื่อลดโอกาสของความเสียหายและ
ผลกระทบจากความเสียหายเปนพื้ นที่สวนหลังจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติการในพื้ นที่หลังทั้งปวง ผูบังคับ
บัญชาการปฏิบัติในพื้นที่สวนหลังกองทัพภาค มีความรับผิดชอบเกี่ยวกับควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ในพื้นที่
สวนหลังของกองทัพภาค ผูบังคับ บัญชาการปฏิบัติการในที่สวนหลังกองทัพภาคจะดําเนินการเกี่ยวกับการ
ควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ผานทาง ทก.หลังทัพภาค
ลับมาก ๖๑

๑.๒.๒.๘ การจัดหนวยในการปฏิบัติการพื้นที่สวนหลัง

๕ หนวย เปน ๑ ฐานปฏิบัติการ ( ๒-๖ คือมาตรฐาน)


๕ ฐานปฏิบัติการ เปน ๑ กลุมฐานปฏิบัติการ (๒-๖ คือมาตรฐาน)
= ๒๕ หนวย (ปกติ < ๒๐)
๕ กลุมฐานปฏิบัติการ จะอยูในความรับผิดชอบของ
๑ ศูนยปฏิบัติการ ในพื้นที่สวนหลัง (๒-๖ คือมาตรฐาน)
= ๑๒๕ หนวย (ปกติ < ๔๐๐)
หมายเหตุ (๑) * เปนหนวยระดับกองรอย หรือเทียบเทา
(๒) ใชจํานวนหนวย ๕ หนวยในการสรางกลุม
(๓) * จํานวนกลุมฐานปฏิบัติการที่อยูในเขต มทบ.รับผิดชอบ
จะขึ้นอยูกับจํานวนหนวยที่มีอยูจริงในพื้นที่ ดังนั้น จึงไม
สามารถกําหนดได
(๔) จํานวน มทบ. ที่จะอยูในพื้นที่สวนหลังขึ้นอยูกับกองทัพภาค
เปนผูกําหนด
๑.๒.๒.๙ กองอํานวยการการปองกันภัยฝายพลเรือน
ภารกิ จ กอ.ปพร. มี ภ ารกิ จ ตามที่ กํ าหนดไวใน พ.ร.บ. ปองกั น ภั ย ฝาย
พลเรือน พ.ศ.๒๕๒๒ รวมทั้งประสานงานกับฝายทหาร เพื่อเตรียมการสนับสนุนการปฏิบัติในพื้นที่สวนหลัง
ตั้งแตยามปกติ และปฏิบัติงานโดยขึ้นการควบคุมทางยุทธการตอหนวยทหารเจาของพื้นที่เมื่อเกิดภาวะสงคราม
หรือเมือ่ มีการประกาศใชกฎอัยการศึก
ความหมายของการปองกันภัยฝายพลเรือน
พ.ร.บ. ปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๔ ไดใหความหมาย
ของการปองกันภัยพลเรือนวาหมายถึง การดําเนินการโดยเจาหนาที่ปองกันภัยฝายพลเรื อนในการปองกัน
บรรเทาอันตราย หรือความเสียหายอันเนื่องมาจากสาธารณภัย ภัยทางอากาศ หรือการกอวินาศกรรมไมวาการ
ดําเนินการนั้นจะไดกระทํากอนเกิดภัย ขณะเกิดภัย หรือภายหลังภัยไดผานพนไปแลวและหมายความรวมถึง
การอพยพประชาชน และสวนราชการเพื่อการนั้น
๑.๒.๒.๑๐ กําลังทางยุทธวิธีปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลัง
ภารกิจหลักของกําลังทางยุทธวิธีปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลัง (กยล.) คือ
การเอาชนะ กํ า ลั งฝายขาศึ ก ในพื้ น ที่ ส วนหลั งของกองทั พ ภาค ที่ เกิ น ขี ด ความสามารถของกํ าลั ง ตอบโต
(สารวัตรทหารระดับ ทภ.ที่จัดตั้งขึ้น ทหารพราน, ตชด. ฯลฯ เพื่อใหสามารถตอตานภัยคุกคามในพื้นที่สวนหลัง
ไดอยางกวางขวาง กําลังทางยุทธวิธีปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลัง จึงมีการจัดที่ออนตัว, สามารถปฏิบัติการไดทั้ง
เวลากลางวัน และกลางคืน และทุกสภาพอากาศ, และมีความคลองแคลวในการเคลื่อนที่เหนือกวาฝายขาศึก
ไมวาจะมีการเคลื่อนยายหรือการวางกําลังในที่มั่น
ลับมาก ๖๒

๑.๒.๒.๑๑ กําลังตอบโตของกองทัพภาค
กํ า ลั ง ตอบโตของกองทั พ ภาค อาจจะเปนหนวยทหารพราน, ตชด.,
สารวัตรทหาร ระดับ ทภ. ที่ถูกจัดตั้งขึ้น หรือหนวยอื่น ๆ ซึ่งจะมีการเพิ่มเติมกําลั งดวยหนวยยิงสนับ สนุ น
หนวยยิงสนับสนุน และหนวยสนับสนุนที่จะมอบใหแกหนวยที่เปนกําลังตอบโต อาจจะประกอบดวยปนใหญ
สนามและอากาศยาน กําลังตอบโตของกองทัพภาคจะไดรับการฝกเกี่ยวกับการรองขอและการปรับการยิงเล็ง
จําลอง ตลอดจนการควบคุมการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด โดยการชวยเหลือจากชุดควบคุมทางอากาศ
ยุทธวิธี (ชคอย.) ผูนําอากาศยานของกองกําลังทางบก สําหรับการปฏิบัติการ โจมตีทางอากาศรวม
๑.๓ ภัยคุกคามในพื้นที่สวนหลัง
ภัยคุกคามในพื้นที่สวนหลัง มีตั้งแตระดับ บุคคล เชน สายลับ , ผูจารกรรม, จารชน และ
การกอวินาศกรรม กลุมกําลังขนาดเล็ก เชน กลุมกอการราย, กองโจร จนถึงการใชกําลังเปนกลุมกอน เชน
กําลังสงทางอากาศ/เคลื่อนที่ทางอากาศ และกําลังสะเทินน้ําสะเทินบก
( หมายเหตุ : ภัยคุกคามในพื้นที่สวนหลังเกินกวาที่ไ ดกลาวมาแลวในขางตน การจัดกําลัง
ตอบโต และกําลังทางยุทธวิธี ตองสอดคลองกับภัยคุกคามที่เกิดขึ้น และหากจําเปนตองใชทหารพรานในการรบ
อยางทหารราบ ทหารพรานจะตองไดรับ การสนั บ สนุ น อาวุธ ยิ งสนั บ สนุ น และกํ าลั งทางอากาศเขารวม
ปฏิบัติการ )
ฝายขาศึกจะปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลังของกองทัพภาคในฐานะเปนสวนหนึ่งของแผนกการ
ปฏิบัติการรบดวยวิธีรุก กิจกรรมของฝายขาศึกที่ปฏิบัติการในพื้นที่สวนหลังของกองทัพภาคกระทําเพื่อใหเกิด
ความเกื้อกูลตอการปฏิบั ติการในอนาคตหรือสนับสนุนตอการปฏิบัติการในอนาคต หรือสนับสนุ นตอการ
ปฏิบัติการระยะใกลในปจจุบัน ในพื้นที่การรบ กิจกรรมของฝายขาศึกในพื้นที่ สวนหลังของกองทัพภาค กระทํา
เพื่อกอใหเกิดความหวาดกลัว ,เสีย ขวัญ และสู ญเสี ยความเชื่ อถือของประชาชนพลเรือนในพื้นที่ นอกจากนี้
กิจกรรมดังกลาวของขาศึกยังกําหนดขึ้นเพื่อรบกวนระบบการสนับสนุ นทางการชวยรบในพื้นที่สวนหลังของ
ฝายเราในทุกๆ ระดับ
ระดับการปฏิบัติของภัยคุกคามในพื้นที่สวนหลังจะแบงเปน ๓ ระดับ โดยเนนที่การตอบโต
ของฝายเราเพื่อเอาชนะภัยคุกคามนั้นมากกวาเนนที่ขนาดหรือแบบของภัยคุกคาม ดังนี้

ระดับ ๑ เปนภัยคุกคามที่สามารถเอาชนะดวยมาตรการปองกันตนเองของฐานปฏิบัติการ
หรือกลุมฐานปฏิบัติการ ตัวอยางของภัยคุกคามระดับ ๑ อาจเปน
การปฏิบัติของสายลับที่ขาศึกควบคุมอยู
การกอวินาศกรรม โดยแนวรวมของขาศึก
การกอการราย
ลับมาก ๖๓

ระดับ ๒ เปนภัยคุกคามที่เกินขีดความสามารถในการปองกันตนเองของฐานปฏิบัติการ
หรือกลุมฐานปฏิบัติการและสามารถเอาชนะดวยกําลังตอบโต ที่มีการยิงสนับสนุน ตัวอยางของภัยคุกคาม
ระดับ ๒ อาจเปน
การปฏิบัติการเพื่อหันเหหรือกอวินาศกรรม ของกําลังรบนอกแบบ
การปฏิบัติการซุมโจมตี ตีโฉบฉวยหรือลาดตระเวน โดยกําลังตามแบบขนาดเล็ก
ภารกิจปฏิบัติการพิเศษหรือสงครามนอกแบบ
ระดั บ ๓ เปนภั ย คุ ก คามที่ ผู บั งคั บ บั ญ ชา จํ าเปนจะตองตั ด สิ น ใจใชกํ าลั งทางยุ ท ธวิ ธี
ตามแบบเขาปฏิบัติการ ตัวอยางภัยคุกคามระดับ ๓ อาจเปน
การปฏิบัติการเคลื่อนที่ทางอากาศ
การปฏิบัติการสงทางอากาศ
การปฏิบัติการสะเทินน้ําสะเทินบก
การปฏิบัติของกําลังภาคพื้นดินอยางปราณีต (เชน การยุทธบรรจบของกําลังดําเนิน
กลยุทธระดับยุทธการกับหนวยสงทางอากาศ หรือโจมตีทางอากาศ หรือโจมตีทางอากาศขนาดเล็กกวา เพื่อ
จัดกําลังใหญขึ้น
การปฏิบัติการแทรกซึม กิจกรรมของฝายขาศึกนั้น ไมจําเปนที่จะตองเกิดขึ้นอยาง
เปนลําดับ ตลอดจนอาจจะไมมีความสัมพันธซึ่งกันและกันก็ได พื้นที่สวนหลังของกองทัพภาคอาจจะเผชิญกับ
กิจกรรมของภัยคุกคามหลายๆ รูปแบบในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้บางกิจกรรมไดเกิดขึ้นลวงหนากอนการเปน
ศัตรูซึ่งกันและกันเสียอีก
๑.๔ แนวความคิดในการปฏิบัติ
ในการปฏิ บั ติ ก ารในพื้ น ที่ ส วนหลั ง กองทั พ ภาคจะจั ด ตั้ ง ศป.พล. ระดั บ ทั พ ภาคขึ้ น
เพื่ อ วางแผน, อํ านวยการ, ประสานงานเปนสวนรวม โดยมี ก ารจัด ตั้ ง ศป.พล.ในระดั บ มทบ.และ จทบ.
รั บ ผิ ด ชอบเปนพื้ น ที่ ในสวนของพื้ น ที่ ท างการสงกํ า ลั ง บชร.และ บชร.สวนแยก จะจั ด ตั้ ง ศค.พขล.
ขึ้นรับผิดชอบเฉพาะบริเวณแหลง/พื้นที่ทางการสงกําลัง สําหรับการปองกันสถานที่สําคัญเฉพาะแหง และที่ตั้ง
ของหนวยตางๆ หนวยนั้นๆ จะจัดตั้งเปน ศปฐ.รับผิดชอบ และเชนเดียวกันในระบบการปองกันภัยฝายพลเรือน
ซึ่งมุงหมายเพื่อการบรรเทาภัยจะจัดตั้ง กอ.ปพร.ภาค,จังหวัด และอําเภอคูขนาน
ภายใตการควบคุมอํานวยการของ ศฝ.พล. ในการปองกันที่ตั้งสําคัญจะมีการจัดตั้งกําลัง
ปองกั น ฐาน ซึ่ ง อาจประกอบดวย เจาหนาที่ ข องสวนราชการ, สถานที่ นั้ น ๆ ที่ ป ระกอบกํ า ลั ง ขึ้ น อยาง
เพียงพอที่จะตอบโตภัยคุกคามระดับที่ ๑ ได และหากภัยคุกคามเกินระดับที่ ๑ กําลังตอบโตที่จัดตั้งขึ้นในเขต
ทองที่ จ ะเขาปฏิ บั ติ ก ารตอบโตภั ย คุ ก คามระดั บ ที่ ๒ เมื่ อ ภั ย คุ ก คามเกิ ด ขึ้ น หรื อ พั ฒ นาไปสู ภั ย คุ ก คาม
ระดับที่ ๓ กําลัง กยลฺ. จะเขาตอบโตทําลายภัยคุกคามดังกลาว
ลับมาก ๖๔

ตอนที่ ๒ ทหารพรานในการปฏิบัติการพื้นที่สวนหลัง
๒.๑ คุ ณ ลั ก ษณะ/ขี ด ความสามารถ ตามที่ ก ลาวแลวในขางตน คุ ณ ลั ก ษณะเดนเฉพาะของ
ทหารพรานไดแก การเปนอาสาสมั ค รในทองถิ่ น มี ค วามคุ นเคยภู มิ ป ระเทศ และประชาชนในพื้ น ที่ มี
ความสามารถทําการรบดวยหนวยขนาดเล็กในรูปแบบชุดยิง สามารถประกอบกําลังรวมชุดยิงเปนหนวยระดับ
กองรอย แตยังคงมีความเปนปกแผนและอํานาจกําลังรบต่ํากวา รอย.ร. เมื่อปฏิบัติการในพื้นที่ที่ชํานาญ และ
มี ภู มิ ป ระเทศเกื้อ กู ล ตอการใชกํ าลั งขนาดเล็ ก จะมี ค วามสามารถสู ง มี ค วามสามารถในงานดานการขาว
เปนอยางดี
๒.๒ แนวทางการใชกํ า ลั ง ทหารพราน ทหารพรานเหมาะสมตอการใชกํ า ลั ง ในระบบการ
ปฏิบัติการพื้นที่สวนหลัง ในรูปแบบของกําลังตอบโต ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการตอบโตภัยคุกคามระดับที่ ๒
ในเขตที่ รับ ผิ ดชอบ และอาจไดรั บ มอบหมายใหเปนกําลั งปองกั น ฐาน สํ าหรับที่ ตั้งสํ าคัญ ทางการสงกําลั ง
แหลงพลังงานสําคัญ เพื่อปกปองการคุกคามระดับ ๑ ระดับ ๒ ตอสถานที่สําคัญดังกลาว ในกรณีที่ ศป.พล.
ตองใชกําลังทหารพรานเปนสวนหนึ่งของกําลัง กยล. จําเปนตองใชเปนหนวยระดับ กรม ทพ. และตองไดรับ
การสนั บ สนุ น ยานพาหนะในการเคลื่ อนยาย กํ าลั งเปนกลุ มกอนพรอมกั น อยางเปนปกแผนอยางนอย ๓
รอย ทพ. และ มว.ค.หนัก เพื่อสามารถเผชิญการคุกคามระดับ ๓ ไดตลอดพื้นที่รับผิดชอบของ ศป.พล.
๒.๓ การใชทหารพรานเปนกําลังปองกันฐาน ทหารพรานจะถูกใชในระดับ รอย.ทพ.ขึ้นควบคุม
ทางยุทธการตอ ศปฐ. มีหนาที่รับผิดชอบในการวางกําลังระวังปองกันที่ตั้ง , สะกัดกั้น ทําลายกลุมกําลังฝาย
ตรงขามในการคุกคามระดับ ๑ และตอบโตการคุกคามระดับ ๒ ของฝายตรงขาม ทําการรบอยางเหนียวแนน
เพื่อตรึงกําลั งการคุกคามระดับ ๓ ของขาศึก เพื่อรอการสนั บสนุน จากกําลั งตอบโตขางเคียง และการเขา
คลี่คลายสถานการณของกําลัง กยล.ซึ่งรับผิดชอบในการตอบโตการคุกคามระดั บ ๓ ตอไป ในการปฏิบัติการ
ปองกันฐาน ทหารพรานจะวางขายงานทางการขาวและขายการรายงานของประชาชนในพื้นที่ ครอบคลุมพื้นที่
รับผิดชอบ จัดตั้งจุดเฝาตรวจ ณ ตําบลที่สํา คัญ และลอแหลมตอการแทรกซึมหรือการรวบรวมกําลังของฝาย
ตรงขาม ทําการลาดตระเวนอยางตอเนื่อง เพื่อใหไดขาวสารในพื้นที่รับผิดชอบอยางสม่ําเสมอ ในการปฏิบัติ
ทางยุทธวิธี ของทหารพราน ในการปองกันฐานเปนภารกิจที่ทหารพรานจํา เปนตองทําการรบอยางเปนปกแผน
เชนเดียวกับทหารราบ เพื่อปกปองพื้นที่รับผิดชอบ แตสิ่งอันพึงประสงค คือ การวางระบบงานดานการขาว,
การเฝาตรวจ/ลว.เพื่อแจงเตือนและพิสูจนทราบ การคุกคามที่เกิดขึ้นแตเนิ่น และดวยความชัดเจน เพื่อเขาตอบ
โตขาศึ ก ตั้ ง แตระยะไกล ซึ่ ง จะทํ า ใหทหารพรานสามารถดํ า เนิ น กลยุ ท ธตามลั ก ษณะของการตอบโต/
หนวงเหนี่ ย วขาศึก โดยมีพื้ น ที่ดํ าเนิน กลยุท ธ อยางเพียงพอ จะทําใหทหารพรานสามารถเพิ่ มเวลาในการ
หนวงเหนี่ยวขาศึกที่มีขนาดใหญ เพื่อรอการสนับสนุนกําลังตอบโตขางเคียง และกําลัง กยล. ตอไป
อยางไรก็ตามในการเขาตอบโตขาศึกแตระยะไกลทหารพรานจําเปนตองพิสูจนทราบกําลัง
ขาศึกอยางชัดเจน ทั้งนี้เพื่อมิใหตกอยูในกลลวง และถูกกําลังหลักของขาศึกตลบหลังได หากขาดความชัดเจนแลว
การรวมกําลังปองกันฐานในที่ตั้ง เพื่อทําการรบอยางทหารราบยังเปนสิ่งจําเปน
ลับมาก ๖๕

๒.๔ การใชกํ า ลั ง ทหารพรานเปนกํ า ลั ง ตอบโตในเขตรั บ ผิ ด ชอบ ทหารพรานในระดั บ


กองรอย ทพ.อาจไดรับมอบหมายใหเปนกําลังตอบโตเขาวางกําลังรับผิดชอบเขตพื้นที่ขึ้นควบคุมทางยุทธการ
ตอ ศป.พล. ซึ่งอาจมีกําลังทหารพราน, กําลังกึ่งทหารอื่น ๆ หรือกําลังประจําการบางสวนไดรับมอบหมาย
เชนเดียวกันในพื้นที่ตางๆ ของ ศป.พล. ขนาดของเขตพื้นที่ที่ไดรับผิดชอบยอมขึ้นอยูกับการวางแผนของ ศป.พล.
ตามระดับการคุกคามที่คาดวาจะเกิดขึ้น ซึ่งหนาที่ของทหารพรานดังกลาวคือการตอบโตการคุกคามระดับ ๒
ในเขตรับผิดชอบตรึงกําลัง/หนวงเหนี่ยวการคุกคามระดับ ๓ รอการสนับสนุนจากกําลังตอบโตในพื้นที่ขางเคียง
หรือการเขาคลี่คลายสถานการณของกําลัง กยล. ตอไป
การปฏิบัติภ ารกิจเปนกําลังตอบโตเปนสิ่ งพึงประสงค และสอดคลองตอคุณ ลักษณะของ
ทหารพราน ในการวางกําลังทหารพรานจะพิจารณาวางกําลังในพื้นที่คาดวาเปนการแทรกซึมผาน หรือพื้นที่
เกื้อกูลตอการสะสม/รวมกําลังของฝายตรงขาม วางระบบงานขาว, การรายงานครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบ
วางจุดเฝาตรวจพื้นสําคัญ และทําการลาดตระเวนพื้นที่รับผิดชอบอยางสม่ําเสมอ การประสานงานกับ อปพร.
ในพื้นที่เพื่อเชื่อมโยงระบบการเฝาตรวจ/แจงเตือน และการรายงานของกําลังประชาชนเปนสิ่งจําเปน
ในการตอบโตการคุกคามที่เกิดขึ้น ทหารพรานมีความจําเปนตองมียานพาหนะที่สนับสนุน
การเคลื่อนยายกําลังตลอดพื้นที่รับผิดชอบ แตหากขาดแคลนยานพาหนะ ทหารพรานจําเปนตองประสาน
อปพร.ในพื้นที่เพื่อเตรียมการสนับสนุนยานพาหนะจากฝายพลเรือนและจะตองมี การซักซอมอยูเสมอรวมถึง
การวางระบบยานพาหนะสํารองเพื่อประกันความสามารถในการเคลื่อนยายกําลังพลเขาตอบโตการคุกคามไดอยาง
รวดเร็ว
การปฏิบัติทางยุทธวิธีทหารพรานสามารถใชยุทธวิธีของตนในการตอบโตหรือหนวงเหนี่ยว
การคุกคามที่เกิดขึ้นโดยมีเสรีในการปฏิบัติคอนขางสูง โดยเฉพาะเมื่อสามารถพิสูจนทราบการคุกคามไดแตเนิ่น
อยางไรก็ตามความสามารถทางยุทธวิธีของทหารพรานจะบรรลุขีดความสามารถสูงสุด ทหารพรานจําเปนตอง
คุนเคยและชํานาญพื้นที่ที่เขาปฏิบัติการ ซึ่งผูบังคับหนวยทหารพรานจะตองดําเนินการใหเกิดขึ้น รูปแบบการ
ปฏิบัติเชนเดียวกับการปฏิบัติการรบของทหารพรานที่กลาวแลวในบทตน ๆ
๒.๕. การใชทหารพราน เปนสวนหนึ่ ง ของกํ า ลั ง กยล. ลั ก ษณะพึ ง ประสงคของการใช
ทหารพรานในภารกิจนี้จะใชเปน กรมทหารพราน และจะตองไดรับการสนับสนุนยานพาหนะในการเคลื่อนยาย
กําลังอยางนอย ๓ รอย ทพ และ มว.ค.หนัก พรอมกันเพื่อความเปนปกแผนในการเขาตอบโต/ทําลายภัยคุกคาม
ระดับ ๓ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่รับผิดชอบของ ศป. พล. ซึ่งกรมทหารพรานขึ้นการควบคุมทางยุทธการ
ในการวางกําลัง กรม ทพ. จะวางกําลังบริเวณ ปมคมนาคมในพื้นที่รับผิดชอบเพื่อสะดวก
ตอการเคลื่อนยายกําลังตลอดพื้นที่ปฎิบัติการและใกลตอแหลงการสงกําลัง, แหลงผลิตและแหลงพลังงานที่อาจ
เปนเปาหมายสําคัญของฝายตรงขาม
การปฏิ บั ติ ท างยุ ท ธวิ ธี การเขาปฏิ บั ติ ก ารของ กรม ทพ. ในฐานะของกํ า ลั ง กยล.
ทหารพรานจําเปนตองทําการรบอยางเปนปกแผนดวยความมุงมั่นและหาวหาญเพื่อทําลายการคุกคามที่เกิดขึ้น
ซึ่งผูบั งคับการกรมทหารพรานจะตองฝกเพิ่มเติม ใหกับทหารพรานเพื่อทําการรบอยางทหารราบ ผบ.รอย
ทหารพราน ตองสรางสรรค ความเปนปกแผนในระดับกองรอยของชุดยิงตางๆ ภายในกองรอยซึ่งความสัมพันธ
ลับมาก ๖๖

ภายในหนวยและการจัดลําดับอาวุโสของผบ. ชุดทหารพรานจะชวยให ผบ.รอย ใชกําลังเปนปกแผนดวยการรวม


ชุดทหารพรานหลายชุดเขาดวยกันได
อยางไรก็ตาม ลักษณะอังพึงประสงคของการไดรับภารกิจเชนนี้ ทหารพรานควรไดรับการ
มอบหมายเปนกํ า ลั งสวนหนึ่ งของกํา ลั ง กยล. โดยมี กํ าลั งระดั บ กรม ร. หรือ กรม ม. เปนกํ าลั งรบหลั ก
การประกอบกําลังลักษณะดังกลาวทหารพรานซึ่งเปนหนวยขนาดเบาเหมาะสม ที่จะใชเปนกําลังสวนแรกที่เขา
ปะทะและคลี่คลายสถานการณในขั้นตนกอนที่กําลัง กรม ร., กรม ม. ซึ่งเปนกําลังหลักจะเขาทําลายขาศึกตอไป
การปฏิบัติภารกิจของทหารพรานในการปฏิบัติการพื้นที่สวนหลัง ทหารพรานมักไดรับ
มอบหมายใหเปนสวนกําลังรบซึ่งอาจเปนกําลังของ ศปฐ, ศป.พล. หรือเปนสวนหลังกําลังของ กยล. แตยังคงมี
ภารกิจอื่น ๆ ที่ทหารพรานอาจไดรับมอบหมายจาก ศป.พล. เชน ภารกิจบรรเทาสาธารณะภัยการฟนฟูบูรณะ
พื้นที่ภายหลังการประสบภัยพิบัติที่อาจเกิดจากภัยธรรมชาติและภัยจากการรบ ซึ่งทหารพรานจะเขาปฏิบัติ
รวมกับกําลังฝายพลเรือนอื่น ๆ ภายใตการอํานวยการของ อปพร.ระดับตางๆ ซึ่งทหารพรานควรไดรับการ
ฝกอบรมเพิ่มเติม รวมถึงการฝกรวมกับฝายพลเรือน เพื่อประสานความรวมมือระหวางกันแตเนิ่น
อยางไรก็ตามการใชทหารพรานในภารกิจดังกลาวจะตองไมกระทบตอภารกิจหลักในฐานะ
ของหนวยกําลังพิทักษพื้นที่เขตหลัง แตการปฏิบัติภารกิจดังกลาวทหารพรานควรไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติมจาก
ศป.พล. หรือ อปพร.ระดับพื้นที่นั้น ๆ

-------------------------------------------
ลับมาก ๖๗

บทที่ ๘
ผลการสัมมนา
ทหารพรานในการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
แนวทางการปฏิบัติที่หนวยทหารพรานสามารถปฏิบัติได และจะปฏิบัติอยางไร พิจารณาจากการ
ปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามของกองทัพบกที่สามารถปฏิบัติได เพื่อพิจารณาการนําหนวยทหารพรานไปใช
ในยามปกติ ในภารกิจการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามภายใตขอจํากัดของทรัพยากร และบุคลากร
เนื่ องจากปจจุบั น โลกไดกาวเขาสู ยุคโลกาวิวัฒ นมีการเปลี่ ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้ งทางดาน
การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย การติดตอสื่อสารเปนไปอยางรวดเร็วในทุกภูมิภาคของโลก
เรียกไดวาโลกไรพรมแดน มิติความสัมพันธระหวางประเทศเปนไปในลักษณะการรวมกลุมในภูมิภาคเดียวกัน
หรื อการเชื่ อมโยงกั บ ภู มิ ภ าคอื่ น การแกไขปญหาความขั ดแยงระหวางกัน ดวยการทํ าสงครามขนาดใหญ
เปนไปไดยากในอนาคต แตรูป แบบการปฏิ บัติท างทหารจะเปลี่ ยนแปลงไปในลักษณะการปฏิบัติกิจกรรม
ทางทหารที่มิใชสงครามมากยิ่งขึ้น สํ าหรับกองทัพบกไทยในปจจุบันไดหั นมาใหความสําคัญกับการปฏิบัติ
ทางทหารที่มิใชสงคราม ซึ่งเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกนั่นเอง อีกทั้งสอดคลองกับการปรับ
โครงสรางของกองทัพบก เพื่อใหสามารถเตรียมกําลังและใชกําลังไดอยางเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบัน
ในสถานการณปจจุบัน ซึ่งเปนยุคหลังสงครามเย็น และในหวง ๑๐ ปที่ผานมาไดมีการกลาวถึง
และอภิปรายกันอยางกวางขวางเกี่ยวกับบทบาทของทหารในการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม เนื่องจากวา
การใชกําลังกองทัพที่มุงเนนการทําสงครามเปนหลั กไดลดลง กองทัพจึงนาจะถูกใชในภารกิจที่เปนประโยชน
ในภาพรวม กองทัพเปนหนวยงานและองคกรที่ มีความพรอมทั้งกําลังพลและเครื่องมือ นาจะถูกนํามาใชงาน
เพื่อสนองตอบตอผลประโยชนของชาติและผลประโยชนรวมกันของสังคมโลกอยางไรก็ตามการพัฒนากองทัพ
ที่จะตองเผชิญ กับ ภัย คุกคามในรูป แบบปจจุบัน เชน การแกไขปญหาการใชกําลังในความขัดแยงระดับ ต่ํา
การแกปญหาเกี่ยวกับ แรงงาน ยาเสพติด อาชญากรรมขามชาติ สิ่งแวดลอม ซึ่งกองทัพจะตองมีการเตรียม
กําลั งเทาที่ จํ าเปน โดยใหสอดคลองกั บ สถานการณ และงบประมาณที่ มี อยู และจะตองอยู ในเกณฑของ
ความเสี่ยงที่ยอมรับได พรอมทั้งจะตองสามารถปฏิบัติภารกิจในยามปกติ และสามารถขยายกําลังเพื่อรองรับ
สถานการณในยามสงครามไดอยางตอเนื่อง และพรอมที่จะปฏิบัติการทางทหารที่มิใชสงครามดวย
จากการศึกษาเอกสารประกอบการสัมมนาและแนวสอนเรื่อง การปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือ
การสงคราม รร.สธ.ทบ. ไดจําแนกกิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม ออกเปน ๑๙ ประเภท ไดแก
๑.๑ การตอตานและตอบโตการกอการราย
๑.๒ การปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ
๑.๓ การแสดงกําลัง
๑.๔ การโจมตีและการตีโฉบฉวย
๑.๕ การสนับสนุนการกอความไมสงบ
ลับมาก ๖๘

๑.๖ การคนหาและกูภัย
๑.๗ การชวยเหลือเพื่อมนุษยธรรม
๑.๘ การสนับสนุนทางทหารตอเจาหนาที่พลเรือน
๑.๙ การสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย
๑.๑๐ การปฏิบัติการอพยพผูไมมีสวนรวมในการรบ
๑.๑๑ การปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ
๑.๑๒ การสนับสนุนการปราบปรามยาเสพติด
๑.๑๓ การดําเนินงานตามโครงการพระราชดําริ
๑.๑๔ การปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ
๑.๑๕ การควบคุมการแพรขยายอาวุธ
๑.๑๖ การประกันเสรีในการเดินเรือ/การบินผาน
๑.๑๗ การคุมครองการเดินเรือ
๑.๑๘ การแทรกแซงและสกัดกั้นในนานน้ํา
๑.๑๙ การบังคับใชเขตหวงหาม
ไดพิจารณาเรื่อง กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามออกเปน ๒ ประเด็นสําคัญ เพื่อให
สามารถกําหนดภาพรวมกิจกรรมการปฏิบัติในระดับ กองทัพบก กองทัพภาค และ กรม.ทพ.ทภ. ไดอยาง
เหมาะสมกับขีดความสามารถของหนวย
กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่กองทัพบกสามารถปฏิบัติได ไดแก กิจกรรม
ตามขอ ๑-๑๕ ดังกลาวขางตน ทั้งนี้เมื่อพิจารณาจากคุณลักษณะ ขีดความสามารถและหลักนิยมของแตละ
เหลาทัพ จะเห็นไดวากิจกรรมเรื่อง การประกันเสรีในการเดินเรือและการบินผาน, การคุมครองการเดินเรือ ,
การแทรกแซงและสกั ด กั้ น ในนานน้ํ า และการบั งคั บ ใชเขตหวงหาม ควรจะเปนกิ จ กรรมการปฏิ บั ติ ของ
กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ
ตอนที่ ๒ กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพรานกองทัพภาคสามารถปฏิบัติได
โดยพิจารณาจากคุณลักษณะ ขีดความสามารถ และหลักนิยมของกองทัพบก รวมทั้งขีดจํากัด
ดานทรัพยากรตางๆ ของหนวยทหารพราน สามารถพิจารณาไดเปน ๒ ประเด็น ไดแก
๒.๑ กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพรานสามารถสนับสนุนการปฏิบัติ
ใหกับหนวยอื่นๆ
๒.๑.๑ การตอตานและตอบโตการกอการราย
๒.๑.๒ การปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ
๒.๑.๓ การแสดงกําลัง
๒.๑.๔ การโจมตี และการตีโฉบฉวย
๒.๑.๕ การคนหาและกูภัย
ลับมาก ๖๙

๒.๒ กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงครามที่หนวยทหารพรานปฏิบัติรวมกับหนวยอื่นๆ ได
แตตองไดรับการสนับสนุนและการฝก – อบรมในดานตางๆ สวนใหญเปนงานที่มีความตอเนื่องใชเวลาปฏิบัติ
ยาวนาน เพิ่มเติม
๒.๒.๑ การชวยเหลือเพื่อมนุษยธรรม
๒.๒.๒ การสนับสนุนทางทหารตอเจาหนาที่พลเรือน
๒.๒.๓ การสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย
๒.๒.๔ การปฏิบัติการอพยพผูไมมีสวนรวมในการรบ
๒.๒.๕ การสนับสนุนการปราบปรามยาเสพติด
๒.๒.๖ การดําเนินงานตามโครงการพระราชดําริ
๒.๒.๗ การปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ
ตอนที่ ๓ กิจกรรมการปฏิบัติทางทหารที่มิใชสงคราม ที่หนวยทหารพรานสามารถสนับสนุนการปฏิบัติ
ใหกับหนวยอื่น ๆ
๓.๑ การตอตานและตอบโตการกอการราย เปนกิจกรรมหรือการปฏิบัติการทางทหารโดยใช
มาตรการในการตอตาน เพื่อลดความลอแหลมในการกอการราย และตอบโตเพื่ อปองกันปราบปรามการ
กอการราย และตอบโตการกอการราย
- งานตอตาน เปนมาตรการเชิงรับ โดยปฏิบัติงานดานการขาวเปนหลัก
- งานตอบโต เปนมาตรการเชิงรุกดวยการปฏิบัติการทางยุทธวิธีในระหวางและหลังเกิด
เหตุการณ
๓.๒ การปองกัน และปราบปรามการกอความไมสงบ คือ การปฏิบั ติการทางทหาร กึ่งทหาร
และกิจการพลเรือน เพื่อเอาชนะการกอความไมสงบ
งาน : ที่หนวยทหารพรานสามารถปฏิบัติไดโดยตรง ไดแก การปฏิบัติการจิตวิทยา และการ
ปฏิบัติดานการขาว ซึ่งเปนมาตรการเสริมในการ ปปส. สําหรับมาตรการหลักไดแก การพิทักษประชาชนและ
ทรัพยากร, การปรับปรุ งสภาพแวดลอมและชวยเหลื อประชาชน, และการปราบปรามกองกําลั งติดอาวุธ ,
การกระทําผิด พรบ.ปาไม, การลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย, การกระทําผิด พรบ.ยาเสพติด, การกระทําผิด
พรบ. อาวุธสงคราม ฯลฯ หนวยทหารพรานจะเขาไปมีส วนรวมในการปฏิ บัติเมื่อไดรับ การสั่ งการ โดยมี
ฝายอํานวยการ กรม ทพ.ทภ. เปนผูประสานงานโครงการตางๆ ตามภารกิจ
๓.๓ การแสดงกําลัง เปนการปฏิบัติการแสดงเจตนารมณที่เดนชัดใหปรากฏ เพื่อปลดเปลื้อง
สภาพการณที่ไมพึงประสงค ที่เมื่อปลอยไวอาจจะทําใหสถานการณบานปลายและเกิดความเสียหายที่เปน
ผลเสียตอผลประโยชนของชาติ อาจรวมถึงการฝกรวมก็ได เชน
- การฝก
- การสาธิต
- การสวนสนาม แสดงแสนยานุภาพ
ลับมาก ๗๐

๓.๔ การโจมตีและการตีโฉบฉวย
การโจมตี เปนการปฏิ บั ติ ก ารในลั ก ษณะเชิ งรุ ก ดวยการทํ า ความเสี ย หาย ยึ ด ทํ าลาย
เปาหมายทั้งนี้เพื่อผลทางการเมืองเปนหลัก
การตีโฉบฉวย เปนการปฏิบัติการขนาดเล็กดวยความรวดเร็วในดินแดนฝายตรงขามเพื่อการ
แสวงหาขอมูล ทําใหฝายตรงขามสับสน หรือการทําลายฐานที่มั่นตางๆ แลวถอนตัวหลังบรรลุภารกิจ
๓.๕ การคนหาและกูภัยทางทหาร เปนการดําเนินงานเพื่อคนหา กําหนดที่ตั้ง บงชี้ กู ภัยและ
สงคืนบุ คคลทั้ งที่ มีชีวิตและเสี ยชีวิต เครื่องมือสํ าคัญ หรือวัตถุที่มีผ ลตอความมั่นคงของประเทศชาติ และ
ประชาชน โดยอาศัยขายงานขาวในพื้นที่ และความชํานาญภูมิประเทศ
- งานคนหา โดยการลาดตระเวน และใชขายงานขาวในพื้นที่
- งานกูภัย โดยใชเครื่องมือและขีดความสามารถที่มีอยู
ตอนที่ ๔ กิจ กรรมการปฏิ บั ติ ท างทหารที่ มิ ใชสงคราม ที่ ห นวยทหารพรานปฏิ บั ติ ร วมกับ หนวยอื่น ๆ
ซึ่งจะตองไดรับการสนับสนุนและการฝก - อบรมเพิ่มเติม
๔.๑ การชวยเหลือเพื่อมนุษยธรรม เปนการชวยปลดปลอยหรือลดผลจากภัยพิ บัติที่เกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติ หรือที่มนุษยสรางขึ้น หรือสถานการณที่มีผลกระทบเปนวงกวาง เชน ความเจ็บปวย โรคระบาด
ความหิวโหย หนวยทหารพรานสามารถปฏิบัติงานนี้ในพื้นที่หางไกล และตองการความรวมมือ ในการประสาน
การปฏิ บั ติร ะหวางองคกรตาง ๆ อยางแนชั ดโดยใกลชิ ดในดานการแพทย, อาหารและปจจัย สํ าคั ญ อื่ น ๆ
การชวยเหลือเพื่อมนุษยธรรม ไดแก
- การบรรเทาทุกขในขั้นตน
- การแจงเตือนและใหความรูเกี่ยวกับวัตถุระเบิด เปนตน
๔.๒ การสนับสนุนทางทหารตอเจาหนาที่พลเรือน เปนการดําเนินงาน เพื่อสนับสนุนตอเจาหนาที่
ฝายพลเรือน เปนไปตามกฎหมายที่ไดกําหนดขอบเขต และเปนสถานการณฉุกเฉินที่เกินขีดความสามารถของ
ฝายพลเรือน เชน การรักษาสถานการณเพื่อใหไดมีการเขาไปฟนฟูกฎหมายและรักษาความสงบเรียบรอย
ภายหลังการจลาจล
- การสนับสนุนดานบุคลากร ยุทโธปกรณ การฝก การพัฒนามวลชนสัมพันธ
- การสนับสนุนพื้นที่พรอมสิ่งอํานวยความสะดวก
- การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร
๔.๓ การสนับสนุ นการบรรเทาสาธารณภัย เปนการดําเนินงานเพื่อชวยเหลือประชาชน ภายใน
ชาติดวยกันเองที่ประสบภัยพิบัติ โดยการดําเนินงานในลักษณะสนับสนุนการดําเนินงานของฝายพลเรือน เชน
หนวยทหารพรานจะเขาไปดําเนินงานเมื่อไดรับการรองขอ
- การปฏิบัติการจิตวิทยาขั้นตน
- การสนับสนุนบุคลากรและสิ่งอุปกรณ
ลับมาก ๗๑

๔.๔ การปฏิบัติการอพยพผูไมมีสวนรวมในการรบ เปนการดําเนินงานเพื่อใหเกิดความปลอดภัย


กับประชาชน ดวยการอพยพเคลื่อนยายไปยังพื้นที่ที่ปลอดภัยกวา โดยหนวยทหารพรานอาจได รับมอบหมาย
ใหชวยเหลือฝายปกครองในการคุมกันและใหการสนับสนุนในการวางแผนและการอพยพ
- วางแผนในการใหการสนับสนุนและชวยเหลือคุมกัน
- การปฏิบัติการจิตวิทยา
- การคัดแยกผูแฝงตัวมากับผูอพยพ
๔.๕ การสนับ สนุน การปราบปรามยาเสพติด เปนการปฏิบัติการทางทหารเพื่อสนับสนุน การ
ดําเนินงานในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดที่เปนปญหาใหญของชาติ
งาน : ที่หนวยทหารพรานสามารถเขาไปมีสวนรวมในการปฏิบัติได
- การปองกัน
- การปราบปราม
๔.๖ การดําเนินงานตามโครงการพระราชดําริ เปนการปฏิบัติการทางทหารที่กองทัพมีสวนเขาไป
ดําเนินงาน สนับสนุนและเกี่ยวของเปนอยางมาก
งาน : ที่หนวยทหารพรานสามารถปฏิบัติได
- การปฏิบัติการจิตวิทยา
- การสนับสนุนบุคลากรและยุทโธปกรณ
๔.๗ การปฏิบัติการทางทหารอื่นๆ ซึ่งทหารพรานอาจมีสวนรวมกับกําลังอื่น ๆ ในการปฏิบัติ เชน
- การปฏิบัติการลวง
- การชวยเหลือดานการฝกศึกษาและยุทโธปกรณใหกับหนวยพลเรือนในพื้นที่
- การปฏิบัติการจิตวิทยาทางยุทธวิธี
- การ รปภ. บุคคลสําคัญ
- การพัฒนาประเทศ
- การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการชวยเหลือดานมนุษยธรรม
- การรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
- การปฏิบัติการอื่นๆ
การปฏิบัติกิจกรรมทางทหารที่ มิใชสงครามจะตองไมสงผลกระทบตอภารกิจหลักของหนวย
ปฏิบัตินั้ นๆ และจะตองเปนไปตามนโยบายของรัฐบาล หรือ การสั่งการของกระทรวงกลาโหม กองทัพบก
กองทั พ ภาค กองกํ าลั งเฉพาะกิ จ โดยมี ฝ ายอํ านวยการของกองกํ าลั งทหารพรานกองทั พ ภาค เปนผู ดู แ ล
รับผิดชอบในการใหขอมูลขาวสาร การประมาณการ การใหขอเสนอแนะ การจัดทําแผนและคําสั่ง การกํากับ
ดูแลและประสานงาน นําไปสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม โดยเพิ่มเติมความรูดานหลักการ และยุทโธปกรณที่
จําเปนใหกับหนวยทหารพราน
ลับมาก ๗๒

ตามมาตรา ๗๒ ของรั ฐ ธรรมนู ญ แหงราชอาณาจั ก รไทย และมี ก ฎหมายรองรั บ เจาหนาที่


ฝายทหาร คื อ กระทรวงกลาโหม มี อํ า นาจและหนาที่ เกี่ ย วกั บ การปองกั น และรั ก ษาความมั่ น คงแหง
ราชอาณาจักร จากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ โดยจัดใหมีและใชกําลังทหารตามที่รัฐธรรมนูญ
ราชอาณาจักรไทยกําหนดและราชการอื่นๆ ตามที่กฏหมายกําหนด ใหเปนอํานาจหนาที่ของกระทรวงกลาโหม
หรือสวนราชการที่สังกัดกระทรวงกลาโหม " การใชกําลังทหารเพื่อปฏิบัติหนาที่ราชการอื่นใดที่เปนไปตามมติ
คณะรัฐมนตรี ใหเจาหนาที่ฝายทหารเปนพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายวาดวยการนั้น ทั้งนี้ เพื่อใหทหาร
ที่ปฏิบัตหิ นาที่นอกเหนือจากภารกิจของทหาร จะมีอํานาจเปนเจาพนักงานไดโดยอัตโนมัติ "

-------------------------------------------------
ลับมาก ๗๓

บทที่ ๙
การสงกําลังบํารุง หนวยทหารพราน
ระบบงานสงกําลังบํารุง นับวามีความสําคัญยิ่ งในการดํารงความตอเนื่องของการปฏิบัติภารกิจ
ของทหารพราน ใหยืดถือหลัก ความออนตัว ความงาย เพียงพอและเหมาะสมตอภารกิจ ภูมิประเทศของหนวย
ในการปฏิบัติดานการสงกําลังบํารุง
ตอนที่ ๑ แนวความคิดในการสงกําลังบํารุงของกองทัพบก
เพื่อใหหนวยตาง ๆ ในกองทัพบกสมามารถดําเนินการสงกําลังบํารุงเปนไปดวยความเรียบรอย
และบรรลุภารกิจ จึงกําหนดแนวความคิดในการสงกําลังบํารุง ดังนี้
๑. ใชระบบการสงกํา ลัง บํารุงระบบเดียวกัน ทั้งในยามปกติแ ละในยามสงครามใหมากที่สุด
เทาที่จะทําได
๒. ตองเปนไปตามมาตรฐานเดียวกันแตอาจจะมีขอแตกตางกันบางทั้งนี้เนื่องจากความแตกตาง
ของที่ตั้ง สภาพภูมิประเทศ ลมฟาอากาศ และเหตุการณที่เผชิญหนาหนวยนั้น ๆ
๓. มอบความรับผิดชอบในการสงกําลังบํารุงใหแก กองทัพภาค เปนหนวยดําเนินการสนับสนุน
หนวยใชที่อยูในเขตพื้นที่ใหมากที่สุด โดยการกระจายสิ่งอุปกรณ การบริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ
ออกไปยังสถานที่ตั้งการสงกําลังบํารุงในสวนภูมิภาค
๔. จัดและเตรียมใหมีสิ่งอุปกรณอยูในสภาพพรอมใชงานตลอดเวลา ดวยการจัดหาตามปกติและ
ยึดถือนโยบายการดําเนินการเกี่ยวกับกิจการอุตสาหกรรมปองกันประเทศ ของกระทรวงกลาโหมเปนหลัก โดย
ใหความสําคัญกับอุตสาหกรรมภายในประเทศ
๕. จัดและเตรียมใหมีการสะสมสิ่งอุปกรณสํารองสงครามที่จําเปนไว รวมทั้งเตรียมการระดม
สรรพกําลังดานการสงกําลังบํารุงไวใหพรอม
๖. จัดและเตรียมใหมีการบริการ สิ่งกอสราง การที่ดิน และการสาธารณูปโภค รวมทั้งสิ่งอํานวย
ความสะดวกทัง้ ปวงใหสามารถสนองความตองการแกหนวยตาง ๆ ไดอยางครบถวน
๗. จัดใหมีหนวยสงกําลังบํารุงอยางเพียงพอ และใหไดสวนสัมพันธกับหนวยกําลังรบ โดยการ
ปรับปรุงเพิ่มขีดความสามารถของหนวยสงกําลังบํารุงที่มีอยูแลว และจัดตั้งหนวยสงกําลังบํารุงขึ้นใหมตาม
ความจําเปน
๘. พัฒนาระบบการสงกําลังบํารุง ใหเหมาะสมและทันสมัยอยูเสมอ
ตอนที่ ๒ การสงกําลังบํารุงหนวยทหารพรานในยามปกติ
๑. หนวยสนั บ สนุ น ทางการสงกํ า ลั งบํ า รุ งระดั บ กองทั พ บก รับ ผิ ด ชอบการกํ าหนดภารกิ จ
นโยบายแนวความคิดความรับผิดชอบ และระบบการสงกําลังบํารุง รวมทั้งรับผิดชอบในการสนับสนุนทางการ
สงกําลังบํารุงแกหนวยตาง ๆ ในกองทัพบก โดยแบงมอบความรับผิดชอบ ดังนี้
ลับมาก ๗๔

๑.๑ กรมสงกําลังบํารุงทหารบก รับผิดชอบทางการสงกําลังบํารุงของกองทัพบก โดยมีหนาที่


ดังตอไปนี้
๑.๑.๑ วางแผน ดําเนินการ ประสานงาน และกํากับการเกี่ยวกับการสงกําลังบํารุงของ
กองทัพบก ซึ่งไดแก การสงกําลัง การซอมบํารุง การขนสง การบริ การทางการแพทย และการบริการอื่น ๆ
ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ รวมถึงงบประมาณในการสงกําลังบํารุงดวย
๑.๑.๒ อํานวยการ และกํากับการเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย และอสังหาริมทรัพย ในความ
ครอบครองของกองทัพบก
๑.๑.๓ กําหนดนโยบาย และอํานวยการฝก การวิจัยและพัฒนาการทางการสงกําลังบํารุง
๑.๑.๔ ดําเนินการใหการศึกษาเกี่ยวกับการสงกําลังบํารุงของกองทัพบก
๑.๑.๕ ใหขอเสนอแนะผูบังคับบัญชาเกี่ยวกับงานดานการสงกําลังบํารุง
๑.๒ กรมขาวทหารบก รับผิดชอบในการกําหนดความตองการ และควบคุมการแจกจาย
แผนที่ทหารและภาพถายทางอากาศสนับสนุนหนวยตาง ๆ ในกองทัพบก
๑.๓ กรมฝายกิจการพิเศษ ไดแก กรมสารบรรณทหารบก กรมสวัสดิการทหารบก และหนวย
บัญชาการรักษาดินแดน รับผิดชอบในฐานะเปนฝายกิจการพิเศษของกองทัพบกในสายงานที่รับผิดชอบ และมี
หนาที่เกี่ยวกับการสงกําลัง และซอมบํารุงสิ่งอุปกรณในความรับผิดชอบ ตามรายละเอียดที่กําหนดไว
๑.๔ กรมฝายยุทธบริการ ไดแก กรมการทหารชาง กรมการทหารสื่ อสาร กรมสรรพาวุธ
ทหารบก กรมการขนสงทหารบก กรมพลาธิก ารทหารบก กรมแพทยทหารบก กรมยุ ท ธโยธาทหารบก
กรมการสั ต วทหารบก และกรมการวิ ท ยาศาสตรทหารบก รั บ ผิ ด ชอบในฐานะเปนฝายยุ ท ธบริ ก ารของ
กองทัพบกในสายงานที่รับผิดชอบ และมีหนาที่เกี่ยวกับการสงกําลังบํารุง ดังนี้
๑.๔.๑ วางแผน อํานวยการ ประสานงาน แนะนํา กํากับการ ดํา เนินการวิจัยและพัฒนา
เกี่ยวกับ การผลิตจัดหา สงกําลัง ซอมบํารุง และบริการเกี่ยวกับกิจการและสิ่งอุปกรณในความรับผิดชอบ
๑.๔.๒ ดําเนินการผลิต สงกําลัง และซอมบํารุงสิ่งอุปกรณในการที่กองทัพบกมอบหมาย
ใหรับผิดชอบ
๑.๔.๓ กําหนดหลักนิยมและจัดทําตํารา ตลอดจนการฝกและศึกษาเกี่ยวกับกิจการและ
สิ่งอุปกรณในความรับผิดชอบ
๑.๔.๔ สนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงแกหนวยตาง ๆ ในกองทัพบก
๑.๕ กรมยุทธศึกษาทหารบก รับผิดชอบสนับสนุนการฝกเกี่ยวกับเครื่องชวยฝก จัดพิมพสรรพ
ตํารา คูมือทางเทคนิค และอุปกรณการชวยฝก และปฏิบัติการทางทหารของกองทัพบก
๒. หนวยสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงระดับกองทัพภาค รับผิดชอบในการสนับสนุนทางการ
สงกําลังบํารุงใหแกหนวยในอัตราและหนวยอื่นๆ ที่กองทัพบกมอบหมายใหมีที่ตั้ง หรือเขาปฏิบัติการอยูในพื้นที่
ของกองทัพภาค หรือพื้นที่ ที่กองทัพบกกําหนด โดยมี กองบัญชาการชวยรบ มณฑลทหารบกและ จังหวัด
ทหารบกเปนหนวยปฏิบัติในการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุง
ลับมาก ๗๕

๑. กองบัญชาการชวยรบ สนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงแกหนวยตาง ๆ ในอัตรากองทัพภาค


และหนวยของกองทัพบก
๒. มณฑลทหารบก และ จังหวัดทหารบก สนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงใหแกหนวยทหาร
ในพื้นที่รับผิดชอบ ดังนี้
๒.๑ สนับสนุนโดยตรงและสนับสนุนทั่วไปสิ่ งอุปกรณประเภท ๑ เวนกรณีที่กองทัพบก
ไดกําหนดระเบียบหรืออนุมัติหลักการเปนอยางอื่นไวโดยเฉพาะใหถือปฏิบัติตามระเบียบหรืออนุมัติหลักการ
ที่เกี่ยวของกับเรื่องนั้น
๒.๒ สนับสนุนโดยตรงและสนับสนุนทั่วไป สิ่งอุปกรณประเภท ๒ และ ๔ สายยุทธโยธา,
สายแพทย (ยาและเวชภัณ ฑสิ้น เปลือง) และสายพลาธิการ (เครื่องแตงกาย เครื่องประกอบเครื่องแตงกาย
เครื่องนอน เครื่องใชประจํากายและประจําหนวย)
๒.๓ สนับ สนุน โดยตรงสิ่ งอุปกรณประเภท ๓ และสะสมสิ่งอุปกรณประเภท ๓ สํารอง
สงครามตามระดับที่กองทัพบกกําหนด
๒.๔ สนับสนุนโดยตรงสิ่งอุ ปกรณประเภท ๕ ฝก-ศึกษาและสะสมสิ่งอุปกรณประเภท ๕
สํารองสงคราม ตามระดับที่กองทัพภาคมอบหมายให
๒.๕ สนับสนุนการซอมบํารุงสนับสนุนโดยตรงสิ่งอุปกรณสายยุทธโยธา
๒.๖ การเคลื่อนยาย และการขนสงกําลังพล สิ่งอุปกรณ และสัตว
๒.๗ การรักษาพยาบาล และการสงกลับสายแพทย
๒.๘ เปนตําบลสงกําลั งของกองบั ญ ชาการชวยรบ ตามที่ กองทัพ ภาค หรือกองทั พบก
กําหนดเพื่อทําหนาที่เกี่ยวกับการเก็บรักษา การแจกจายและการจําหนายสิ่งอุปกรณ
๒.๙ การดําเนินการเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย การกอสราง ซอมแซม ปรับปรุง รื้อถอน
อาคารสิ่งปลูกสราง และสาธารณู ปโภค การติดตั้งและซอมสิ่งอํานวยความสะดวก ตามนโยบายการแบงมอบ
งานที่กองทัพบกกําหนด
๓. การมอบความรับผิดชอบในการสงกําลังบํารุงใหแกหนวยงานทางการสงกําลังบํารุงของ
หนวยในบังคับบัญชาของกองทัพภาค ใหอยูในอํานาจของแมทัพภาคที่จะสั่งการ โดยไมขัดแยงกับหลักการ
สงกําลังบํารุงที่กองทัพบกกําหนด และจะตองแจงใหกรมฝายยุทธบริการและหนวยที่เกี่ยวของทราบดวย
๓. หนวยทหารซึ่งมีหนวยสงกําลังบํารุงในอัตรา หรือไดรับหนวยสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุง
มาสมทบดําเนินการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุง ใหแกหนวยรองของตนและหนวยอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบ
๔. หนวยขึ้นตรงและหนวยของกองทัพบก (หนวยนอกกองทัพภาค) ที่มีที่ตั้งปกติถาวรอยูใน
พื้นที่กองทัพภาคที่ ๑ ใหรับการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงในเรื่องตางๆ จากกรมฝายยุทธบริการ มณฑล
ทหารบก หรือจังหวัดทหารบก ที่หนวยนั้นๆ ตั้งอยูในพื้นที่
๕. หนวยขึ้นตรงและหนวยของกองทัพบก (หนวยนอกกองทัพภาค) และหนวยตางกองทัพภาค
ที่มีที่ตั้งปกติถาวรหรือจัดทํากําลังเขาปฏิบัติการในสนามในพื้นที่ กองทัพภาคใด ใหขอรับการสนับสนุนจาก
หนวยสนับสนุนการสงกําลังบํารุงในอัตราของกองทัพภาคนั้น เวนแตจะมีการสั่งการเปนอยางอื่น
ลับมาก ๗๖

๖. มณฑลทหารบกที่ ๑๑, มณฑลทหารบกที่ ๑๔, มณฑลทหารบกที่ ๒๑, จังหวัดทหารบก


พิษณุโลก, จังหวัดทหารบกทุงสง ไมตองดําเนินการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงใหแกหนวยทหารในพื้นที่
รับผิดชอบในเรื่องที่กรมฝายยุทธบริการ หรือกองบัญชาการชวยรบใหการสนับสนุนโดยตรงแกหนวยนั้นๆ อยูแลว
ใหกรมฝายยุทธบริการ กรมฝายกิจการพิเศษ และกองทัพภาคกําหนดรายละเอียดและวิธีปฏิบัติ
เพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม โดยพิจารณารวมกับกรมสงกําลังบํารุงทหารบก แลวเสนอใหกองทัพบกอนุมัติ
เปนหลักการเพื่อยึดถือปฏิบัติตอไป
ตอนที่ ๓ การสงกําลังบํารุงหนวยทหารพรานในยามสงคราม
๑. กลาวทั่วไป
สําหรับหนวยทหารพรานที่ปฏิบัติราชการสนามและหนวยสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุง
มีแนวทางในการปฏิบัติและประสานงาน เพื่อใหระบบการสงกําลังบํารุงสนับสนุนภารกิจของหนวยในสนาม
จนบรรลุผลและเกิดอุปสรรคนอยที่สุด จึงใหทุกหนวยยึดถือปฏิบัติตามแนวทาง ดังนี้
๑.๑ คํ าสั่ งกองทั พ บก ที่ ๔๘๗/๒๕๔๓ ลง ๓ ต.ค.๔๓ เรื่องการกําหนดภารกิจ นโยบาย
แนวความคิดและความรับผิดชอบในการสงกําลังบํารุงของกองทัพบก
๑.๒ ระเบียบปฏิบัติประจํา การสงกําลังบํารุง สนับสนุนหนวยปฏิบัติราชการสนามของ ทบ. พ.ศ.๒๕๓๑
๑.๓ ระเบียบ คําสั่ง อนุมัติหลักการ ขอบังคับแบบธรรมเนียมทางการสงกําลังของกองทัพบก
ที่มีผลบังคับใชในการปฏิบัติราชการสนามโดยอนุโลม
๑.๔ ระเบียบปฏิบัติประจําของหนวยและหนวยเหนือที่กําหนด
๒. การเตรียมการของหนวยกอนเขาปฏิบัติการ
๒.๑ ทุกหนวยใหความสําคัญในเรื่องการจัดทําแผนการชวยรบหรือผนวกการชวยรบประกอบ
แผนยุทธการหรือแผนเผชิญเหตุ และจัดใหมีการทดสอบในหวงเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งสําเนาใหหนวยเหนือ
หนวยสนับสนุนในพื้น ที่ และ ทบ. (ศปก.ทบ.) ทราบทุกครั้ง เพื่ อตรวจสอบและเรงรัดติดตามการสนับ สนุ น
ใหแกหนวยไดทันตามความตองการและตอเนื่อง
๒.๒ การตรวจสอบความพรอมรบดานยุทโธปกรณ
๒.๒.๑ ยุทโทปกรณหรือสิ่งอุปกรณที่หนวยจะตองนําไปจากที่ตั้งปกติ เพื่อปฏิบัติงานตาม
แผนไดแก
๒.๒.๑.๑ อาวุธประจํากาย ประจําหนวย และ สป.๕ ตามอัตรามูลฐานที่ตองใช
ในการปฏิบัติงาน
๒.๒.๑.๒ ชิ้ น สวนซอมตามอั ต ราพิ กั ด สํ า หรั บ หนวยใช และชิ้ น สวนซอม
ที่เหมาะสม สําหรับหนวยสนับสนุน
๒.๒.๑.๓ ยาและเวชภัณฑตามอัตราที่กําหนด
๒.๒.๑.๔ ยุทโธปกรณหรือสิ่งอุปกรณอื่น ๆ ที่หนวยเหนือกําหนด
ลับมาก ๗๗

๒.๒.๒ ยุทโธปกรณหรือสิ่งอุปกรณของหนวยที่ยังขาดอัตรา ซึ่งอาจเกิดจากยังไมไดรับ


การแจกจายหรือคางจาย ยังอยูในระหวางการสงซอม ยังอยูระหวางดําเนินการขออนุมัติจําหนาย ไดรับอนุมัติ
ใหจําหนายแลวแตยังไมไดเบิกทดแทน หรืออื่ นๆ ที่ทําใหยุทโธปกรณ หรือสิ่งอุปกรณของหนวยขาดอัตราใน
ทุ ก กรณี ดั ง กลาวแลว หนวยทหารพราน จะตองรายงานตามสายการบั งคั บ บั ญ ชาใหหนวยเหนื อ ทราบ
เพื่อพิจารณาแกปญหาเสียกอนเปนลําดับแรก และตองคอยติดตามผลอยูเสมอ รวมทั้งแจงให ทภ. (ศปก.ทภ.)
ทราบเพือ่ ติดตามและเรงรัดหนวยที่เกี่ยวของดําเนินการตอไป
๒.๒.๓ ดํ า เนิ น การแกไขปญหาการขาดแคลนอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ หรื อ สิ่ ง อุ ป กรณ
บางรายการที่ จํ า เปนตอการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ดวยการพิ จ ารณาปรั บ โอนสิ่ ง อุ ป กรณที่ ไ ดรั บ การแจกจาย
เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานไวเปนสวนรวมตามความเหมาะสม รวมทั้งพิจารณาดําเนินการตามความจําเปน
ในการยืม สป.๒ – ๔ ของหนวยขึ้นตรงสายงานปกติ เพื่อใหสามารถปฏิบัติภารกิจตามแผนปองกันชายแดนได
อยางมีประสิทธิภาพ
๒.๒.๔ ตรวจสอบและเสนอความตองการสิ่ งอุปกรณนอกอัตราหรือสิ่งอุปกรณพิเศษ
เพื่อเสริมขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจของหนวยใหสําเร็จตามเปาหมาย โดยเสนอความตองการตาม
สายการบั งคั บ บั ญ ชาผาน ทภ. (ศปก.ทภ.) เมื่ อ ไดรับ อนุ มั ติ แลว จึ งขอรั บ การสนั บ สนุ น ในพื้ น ที่ ห รือ ตาม
สายการสงกําลังบํารุงตอไป
๒.๒.๕ ยุทโธปกรณหรือสิ่งอุปกรณตางๆ ที่ห นวยนําไปใชปฏิบัติงานในสนาม ตองเปน
ยุทโธปกรณหรือสิ่งอุปกรณหรือสิ่งอุปกรณที่ใชการไดอยางสมบูรณๆ ไมนํายุทโธปกรณหรือสิ่งอุปกรณที่งดใช
การหรืออยูในสภาพใกลจะงดใชการไปใชในสนาม เพราะจะเปนการเพิ่มภาระในการซอมบํารุงในสนามซึ่ง
กระทําไดอยางจํากัด และยังเปนปญหาแกหนวยในการใชยุทโธปกรณหรือสิ่งอุปกรณนั้นๆ ดวย
๒.๓ การเตรียมการอื่นๆ
๒.๓.๑ หนวยทหารพราน จะตองทราบและทํ าความเขาใจตอระเบี ย บ คํ า แนะนํ า
ตลอดจนขอมูลทางดานการสงกําลังบํารุงที่ไดรับการแจกจาย รวมทั้งตองทราบสถานการณสงกําลังพลบํารุง
และวิธีการที่จะขอรับการสนับสนุนในพื้นที่ปฏิบัติการ
๒.๓.๒ หนวยจะตองประสานกับหนวยสนับสนุน และหนวยเหนืออยางใกลชิดในทุกกรณี
โดยตอเนื่อง
๒.๓.๓ ตรวจสอบและพิจารณาบรรจุกําลั งพลที่มีความรูความชํานาญพิ เศษ สําหรั บ
หนวยสนับสนุนการชวยรบไดแก พลประจําเครื่องมือ ชางซอมบํารุง และเจาหนาที่สงกําลัง เปนตน
๒.๓.๔ ใหทุ ก หนวยใหความสํ าคั ญ ตอการจั ด หนวยทางการสงกํ าลั งบํ ารุงสนั บ สนุ น
ตามแผนยุทธการ หรือแผนเผชิญเหตุ เมื่อมีการใชกําลังทุกระดับไดทันที
๒.๓.๕ จัดทําความตองการงบสงกําลังบํารุงประจําป โดยยึดถือแนวทางการเสนอความ
ตองการที่ ศปก.ทบ. (ฝกบ.ศปก.ทบ.) กําหนดให ทั้งนี้ หนวยตองเสนอความตองการถึง ศปก.ทภ. ภายใน
๑๕ วัน ภายหลังจากที่หนวยไดรับทราบอนุมัติอัตราเฉพาะกิจการจัดกําลังปองกันชายแดนประจําปแลว
ลับมาก ๗๘

๓. การปฏิบัติของหนวยในระหวางที่อยูในสนาม
๓.๑ การสงกําลัง
๓.๑.๑ หนวยทหารพราน จะตองดํ า เนิ น การควบคุ ม ทางบั ญ ชี การเก็ บ รั ก ษาตอ
สิ่งอุปกรณที่ไดรับการสนับสนุนจาก ศปก.ทบ. ใหเปนไปดวยความเรียบรอย ถูกตอง และใหเปนไปตามระเบียบ
คําสั่งที่เกี่ยวของอยางเครงครัด เพื่อใหทราบสถานภาพสิ่งอุปกรณไดตลอดเวลา และเปนการปองกันการสูญเสีย
จากภัยพิบัติตางๆ หรือการโจรกรรม
๓.๑.๒ หนวยจะตองรายงานสถานภาพยุทโธปกรณ หรือสิ่งอุปกรณที่นําไปใชในการ
ปฏิบัติการตามสายการบังคับบั ญชา ถึง ศปก.ทภ. ภายใน ๑๕ วัน หลังจากเคลื่อนยายกําลังเขาที่ตั้งหนวย
ในสนามเรียบรอยแลว รวมทั้งสําเนาใหหนวยสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงในพื้นที่ทราบดวย และรายงาน
ทุกครั้งที่ มีการเปลี่ ย นแปลง โดยระบุ ชนิ ด จํานวน หมายเลขยุท โธปกรณหรือสิ่ งอุปกรณใหแนชัด และมี
รายการที่ตองรายงานดังนี้
๓.๑.๒.๑ อาวุธ เครื่องควบคุมการยิง กระสุน และวัตถุระเบิด
๓.๑.๒.๒ ยานพานะ
๓.๑.๒.๓ เครื่องมือสื่อสาร
๓.๑.๒.๔ เครื่องมือกล
๓.๑.๒.๕ เครื่องมือพิเศษอื่นๆ ที่หนวยเหนือมอบให
๓.๑.๓ ยุทโธปกรณหรือสิ่งอุปกรณตางๆ ที่หนวยทหารพราน นําไปใชในการปฏิบัติงาน
ในสนามจะตองเปนการใชเพื่อการปฏิบัติตามภารกิจที่ไดรับมอบหมาย และเปนการปฏิบัติราชการสนามเทานั้น
การใชงบประมาณที่ไดรับการสนับสนุนจากหนวยเหนือตองคํานึงถึงความประหยัด และใหอยูในกรอบวงเงิน
ที่ ไดรั บ การจั ด สรร การเสนอความตองการเพิ่ ม เติ ม ระหวางป ใหพิ จ ารณาเสนอเฉพาะรายการที่ จํ า เปน
เพื่อแกไขสถานการณที่พัฒนาไปหรือที่ไ มคาดคิดมากอน หรือตามนโยบาย/สั่งการของผูบังคับบัญชาในระดับ
หนวยเหนือเปนหลัก
๓.๑.๔ ผบ.หนวยทหารพรานทุกระดับ จะตองกวดขันและกํากับดูแลการดําเนินการตอ
สป.๕ สาย สพ. และ สาย วศ. อยางถู ก ตองและเหมาะสม โดยยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามคํ า สั่ ง /ระเบี ย บตางๆ
ที่เกี่ยวของ รวมทั้งมาตรการอื่นๆ ที่หนวยกําหนดขึ้นอยางเครงครัด โดยเฉพาะ สป.๕ ที่ยึดไดซึ่งอาจจะไมมี
ความปลอดภัย ในการเก็บรักษาในระหวางรอการอนุมัติทําลาย ซึ่งหนวยจะตองติดตามเรงรัดและประสานการ
ปฏิบัติตามขั้นตอนตางๆ กับหนวยที่เกี่ยวของอยางใกลชิด เพื่อมิใหเกิดความเสียหายจากอุบัติเหตุหรือการ
รั่วไหลสูญหายที่อาจเกิดขึ้นได
๓.๑.๕ การใช สป.๓ และ สป.๕ หนวยจะตองเพงเล็งในดานการประหยัด โดยเฉพาะ
สป.๕ ใหพิจารณาใชใหเกิดประโยชนและประสิทธิภาพในการทําลายเปาหมายใหมากที่สุด โดยใหสอดคลองกับ
ระเบียบที่หนวยเหนือกําหนด สป.๓ ตองมีการวางแผนการใชตามลําดับความสําคัญของภารกิจ
ลับมาก ๗๙

๓.๑.๖ การดําเนินการจัดหา ใหหนวยยึดถือตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการ


พั ส ดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบั บ แกไขเพิ่ ม เติ ม จนถึ งปจจุ บั น รวมทั้ งระเบี ย บ, คํ าสั่ งกํ าหนดไวอยางเครงครั ด
การดําเนินกรรมวิธีตองมีความโปรงใสสามารถรับการตรวจสอบได ทุกขั้นตอน
๓.๒ การซอมบํารุง
๓.๒.๑ ผบ.หนวยทหารพรานทุกระดับ จะตองดูแลและเอาใจใสการใชงาน การปรนนิบัติ
บํารุง การซอมบํารุงอาวุธยุทโธปกรณทั้งในและนอกอัตรา โดยเฉพาะอาวุธพิเศษตองกวดขันในเรื่องการใชให
ถูกตองตามคู มือเพื่ อยื ดอายุการใชงาน เชน กลองตรวจการณเวลากลางคืน GPS วิทยุความถี่กาวกระโดด
เปนตน รวมทั้งที่ไดรับการจายยืม เพราะถาชํารุดขึ้นมาแลวการทดแทนกระทําไดยาก และไมไดทันทีที่ตองการ
๓.๒.๒ บันทึกผลการใชยุทโธปกรณพิเศษที่ไดรับการแจกจายจากหนวยเหนือ วามีความ
เหมะสมในการปฏิบัติมากนอยเพียงใด แลวสรุปรายงานให ศปก.ทภ. ทราบ เมื่อจบภารกิจ
๓.๒.๓ ยุทธภัณฑหลักหรือยุทโธปกรณกรณีพิเศษที่เกิดชํารุด หนวยครอบครองจะตอง
รายงานให ศปก.ทภ. ตามสายการบังคับบัญชาทราบดวย และดําเนินการสงซอมตามสายการซอมบํารุง กรณีที่
เกิดการสูญหายจะตองรายงานดวนถึง ศปก.ทภ. ภายใน ๒๔ ชั่วโมงหลังจากที่ทราบเหตุการณ
๓.๓ การบริการในสนาม
๓.๓.๑ หนวยทหารพราน จะตองมีแผนหรือเตรียมการในเรื่องการขาดแคลน อาหาร น้ํา
สป.๓ และ สป.๕ ไวเสมอ เพราะการสนับสนุนดานการสงกําลังบํารุงโดย ฮ. บางครั้งอาจจะประสบปญหา
สนับสนุนใหไมทันความตองการของหนวย ทั้งนี้ จะตองเพงเล็งไมใหขาดความคลองตัวในการปฏิบัติ
๓.๓.๒ หนวยทหารพราน จะตองควบคุมใหกําลั งพลปฏิบั ติตามหลั กสุ ขาภิ บ าลและ
อนามัย ดวยการใหมีเวชกรรมปองกัน ในเรื่องการปองกันไขมาลาเรีย การทําน้ําใหสะอาดกอนดื่ม ฯลฯ
๓.๓.๓ หนวยทหารพราน จะตองวางแผนแกปญหาในการอํ า นวยความสะดวก
ใหสามารถดําเนินการ สง – รับ ผูปวยเจ็บออกจากพื้นที่ปฏิบัติการไดไมวาสถานการณจะบีบบังคับอยางไร
เพื่อดํารงขวัญของกําลังพลในหนวย โดยขอใหพิจารณาวางแผนการสงกลับทางอากาศไวดวย
๓.๔ การรายงาน
๓.๔.๑ รายงานสถานภาพการสงกํ า ลั ง บํ า รุ ง ตามแบบฟอรมการสงกํ า ลั ง บํ า รุ ง
ตามระยะเวลาทุกหวง ๑๕ วัน ตามสายการบังคับบัญชาในวันที่ ๑๕ และ ๓๐ ของเดือน โดยปดรายงานเวลา
๑๖๐๐ แลวรายงานถึง ศปก.ทภ.๒ ภายใน ๑๘๐๐
๓.๔.๒ รายงานปญหาขอขัดของเรงดวน และใหขอเสนอแนะทั้งปวงที่เกี่ยวของกับการ
สงกําลังบํารุงตามสายการบังคับบัญชาให ศปก.ทภ.๒ ทราบ
๔. การปฏิบัติของหนวยทหารพราน ภายหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจในสนาม
๔.๑ หนวยจะตองสํารวจรายละเอียดการชํารุดสูญหายของอาวุธยุทโธปกรณและสิ่งอุปกรณ
ทั้งปวงที่นําไปใชในการปฏิบัติการ โดยแยกออกเปนรายการ ดังนี้
๔.๑.๑ รายการที่ชํารุดสูญหายจากการกระทําของฝายตรงขามหรือจากการใชงาน
ลับมาก ๘๐

๔.๑.๒ รายการที่จะตองสงซอมหรือสงคืน
๔.๑.๓ รายการที่ขออนุมัติจําหนาย พรอมดวยเหตุผล
๔.๒ ดําเนินการสงซอมอาวุธยุทโธปกรณที่ชํารุดตามสายการสงกําลัง กรณีที่ตองจําหนายให
ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบกวาดวยการจําหนายสิ่งอุปกรณ พ.ศ.๒๕๓๙ ตอไป
๔.๓ ดําเนินการเบิก สป.๕ ทดแทนในสวนที่ใชไปในการปฏิบัติงานใหครบตามอัตรามูลฐาน
โดยเร็วเปนความเรงดวนแรก พรอมทั้งดําเนิ นการเบิกทดแทนอาวุธยุทโธปกรณตางๆ ที่ไดรับอนุมัติจําหนาย
ตามสายการสงกําลัง
๔.๔ ดําเนินการสงคืนอาวุธยุทโธปกรณและสิ่งอุปกรณที่ไดรับการจําหนายใหแลวเสร็จภายใน
๑๕ วัน หลังจากจบภารกิจ
๕. ปญหาขอขัดของทางการสงกําลังบํารุง
๕.๑ ใหรายงานใหหนวยเหนือและหนวยสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงทราบทันที และ
จะตองติดตามผลการแกไขตามขั้นตอนของหนวยเหนืออยางใกลชิด
๕.๒ หากหนวยมี ค วามจําเปนตองแกไขปญหาเฉพาะหนาที่ ต ามสถานการณที่ บี บ บั งคั บ
ใหหนวยดําเนินการตามขีดความสามารถเทาที่จะกระทําได โดยใหเหมาะสมสอดคลองกับความจําเปน และ
ตองรายงานใหหนวยเหนือตามสายการบังคับบัญชาจนถึง ศปก.ทภ. ทราบทุกครั้ง

--------------------------------------------------------
ลับมาก ๘๑

เอกสารอางอิง

๑. คูมือราชการสนาม ๑๐๐ – ๑ ถึง ๔ วาดวยหลักนิยมกองทัพบก พ.ศ.๒๕๓๙ กองทัพบก


๒. คูมือราชการสนาม วาดวยการปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ รส. ๑๐๐–๒๐
พ.ศ.๒๕๔๐ กองทัพบก
๓. การพิทักษพื้นที่เขตหลัง นส.๑๙ - ๔๕ - ๔ กันยายน ๒๕๓๙ สถาบันวิชาการทหารบก ชั้นสูง

*********************

You might also like