You are on page 1of 35

หน้านี้ห้ามลบ ถ้าลบลำดับข้อจะขยับ

ขั้นความลับแบ่งเป็ น 4 ขั้น
1. ลับที่สุด ความลับที่ความสำคัญเกี่ยวกับข่าวสารวัตถุบุคคล เช่น
1.1 เอกสารและแผนการสำคัญอย่างยิ่งของชาติ
1.2 เอกสารการเมืองที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ
1.3 เอกสารแผนการที่จะทำสงคราม หรือ แผนป้ องกันประเทศ
1.4 ประมวลข่าวกรองขีดความสามารถของข้าศึก
1.5 แผนระดมพลและสรรพกำลัง
2. ลับมาก ความลับที่สำคัญเกี่ยวกับข่าวสาร เช่น
2.1 การปราบปรามผู้ก่อการร้าย
2.2 การเจรจาตกลงที่สำคัญระหว่างประเทศ
2.3 รายงานพฤติการณ์คนที่ไม่หน้าไว้วางใจ
2.4 การตรากฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร
2.5 การสูญเสียกำลังพลทางการรบ
2.6 การขาดแคลนยุทโธปกรณ์ที่สำคัญ
2.7 การปฏิบัติที่ได้ผลของข้าศึก
3. ลับ คือ ความลับที่สำคัญเกี่ยวกับวัตถุ บุคคล เอกสาร เช่น
3.1 ระเบียบการประชุมลับ
3.2 ประกาศคำสั่งที่สำคัญอยู่ระหว่างดำเนินการ
3.3 การเคลื่อนย้ายทางธุระการ
3.4 การสืบประวัติหรือพฤติการบุคคลในการมอบความไว้วางใจ
3.5 ความถี่วิทยุสื่อสารและสัญญาณบอกฝ่ าย
3.6 การปฏิบัติการทางยุทธวิธีและการฝึก
4. ปกปิ ด คือ ความลับที่สำคัญเกี่ยวกับวัตถุ บุคคล เอกสาร

แบบทดสอบความรู้วิชาแบบธรรมเนียมทหาร
คำเฉลยอยู่ท้าย
1. คุณสมบัติพื้นฐานของนายทหารสัญญาบัตรมี 5 ประการข้อใดถูก
ก. รักทหารและกองทัพ ข. เสียสละ ค. ซื่อสัตย์ ง.ถูกทุกข้อ
2. แนวทางรับราชการของนายทหารสัญญาบัตรที่ 823/30 ลง 30 ก.ย. 30 ใช้เป็นหลักปฏิบัติต่อนายทหาร
สัญญาบัตร ทุกเหล่าเว้นเหล่าใด
ก.เหล่า พ. ข.เหล่า ดย. ค.เหล่า ผท. และ ธน. ง. ผิดทุกข้อ
3. คุณสมบัติทางทหารมี 8 ประการข้อใดมิใช่
ก.ยึดมั่นและตรงต่อหลักการ ข.พูดตรง จริงใจ เปิ ดเผย ค.ยึดมั่นในอุดมการณ์ของชาติ ง.มีความคิดริเริ่ม
4. ถ้าท่านสอบเลื่อนฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตรท่านจะเป็นนายทหารประเภทใด และบรรจุในหน่วย ระดับใด
ก. ประเภทที่ 2 บรรจุหน่วยทางธุรการ ส่งกำลังบำรุง การศึกษา
ข. ประเภทที่ 3 บรรจุหน่วยระดับ มว. และ กองร้อย
ค. ประเภทที่ 4 บรรจุได้ทุกหน่วยใน ทบ.
ง. ประเภทที่ 2 บรรจุหน่วยระดับ มว. และ กองร้อย
5. ระยะแรกของการรับราชการของนายทหารสัญญาบัตร คือ
ก. 1 - 5 ปี ข. 1 - 7 ปี ค. 1 - 9 ปี ง. 1 - 10 ปี
6. เมื่อท่านรับราชการเป็นนายทหารสัญญาบัตร 7 ปี จะได้ยศชั้นใด
ก. ร.ท. ข. ร.อ. ค. พ.ต. ง .ผิดทุกข้อ
7. หลักสูตรสำคัญขั้นพื้นฐานที่ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพื้นฐานของเหล่าคือ
ก.ชั้นนายร้อย ข. ชั้นนายพัน ค. หลักสูตรเฉพาะหน้าที่ ง. เสธ.ทบ.
8. หลักสูตรที่มีความสำคัญให้ความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงาน การปฏิบัติการรบชั้นสูง คือ
ก. ชั้นนายร้อย ข. ชั้นนายพัน ค. เสธ.ทบ. ง. วทบ.
9. หลักสูตรเฉพาะหน้าที่ ซึ่งให้การศึกษาเกี่ยวการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่เฉพาะ คือ
ก. หลักสูตรส่งทางอากาศ ข. หลักสูตรจู่โจม ค. หลักสูตรศิษย์การบิน ง. ถูกทุกข้อ
10. นายทหารสัญญาบัตรแบ่งเป็น 4 ประเภท และ ประเภทที่สมควรจะบรรจุในหน่วยกำลังรบหรือใกล้ชิด
กำลังรบมากที่สุด คือ
ก. ประเภทที่ 1 ข. ประเภทที่ 2 ค. ประเภทที่ 4 ง. ประเภทที่ 3
11. นายทหารสัญญาบัตรซึ่งถือว่าทำงานไม่ก้าวหน้า เฉื่อยชา ไม่คล่องแคล่ว จากการประเมินค่า ต่ำ หรือ ต่ำมาก
ติดต่อกันกี่ปี
ก. 1.6 ปี ข. 2 ปี ค. 3 ปี ง. 4 ปี
12. คำสั่งกองทัพบกที่ 823/30 แนวทางรับราชการนายทหารสัญญาบัตรเกณฑ์การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย
นายทหารประทวนเลื่อนฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตรเกณฑ์ที่ถือว่าผ่าน คือ
ก. 60 ใน 100 ข. 70 ใน 100 ข. 80 ใน 100 ง. ผิดทุกข้อ
13. หน่วยระดับ นขต.ทบ. ส่งผลการทดสอบสมรรถภาพรางกายถึง ทบ. (ผ่าน สบ.ทบ.)ภายใน
ก. 15 เม.ย. และ 15 ต.ค. ของปี ข. 15 ส.ค. และ 15 ก.ย. ของปี
ค. 15 ก.พ. และ ส.ค. ของปี ง. 15 มี.ค. และ 15 ก.ย. ของปี
14. หลักสูตรชั้นนายพัน ปกติจะรับนายทหารสัญญาบัตรเงินเดือนระดับใดเข้าศึกษา
ก. น.1 ชั้น 11 ขึ้นไป ข. น.1 ชั้น 7 ขึ้นไป ค. น.1 ชั้น 10 ขึ้นไป ง. ผิดทุกข้อ
15. เมื่อรับราชการเป็นนายทหารสัญญาบัตรครบ 13 ปี จะได้เลื่อนยศเป็น
ก. พ.ต. ข. พ.ท. ค. พ.อ. ง. ผิดทุกข้อ
16. หลักปฏิบัติราชการของนายทหารสัญญาบัตรมี 10 ประการ ข้อใดมิใช่
ก. ความสามารถ ข. ความเพียร ค. ความมีไหวพริบ ง. ความรู้
17. ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยประวัติ พ.ศ.ใด
ก. พ.ศ. 2536 ข. พ.ศ.2537 ค. พ.ศ.2538 ง. พ.ศ.2539
18. ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยประวัติแบ่งส่วนราชการกองทัพบก 3 ส่วน ส่วนกลาง ส่วนการศึกษา ส่วนภูมิภาค
อยากทราบว่าข้อใดคือ ส่วนการศึกษา
ก. ศสพ. ข. ศบ.ทบ. ค. ศร. ง. ถูกทุกข้อ
19. ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยประวัติ การบันทึกผลงานดีเด่น ข้อบกพร่อง ในส่วนของนายทหารสัญญาบัตร
ต้องได้รับอนุมัติจากใคร
ก. ผบ.ทบ. ข. ผบ.สส. ค. หน.แผนกประวัติ ง.ผบ.พล
20. ผู้ที่เป็นนักเรียนภายในประเทศ ให้สถานศึกษาจัดทำประวัติรับราชการคนละกี่ชุด
ก. 3 ชุด ข. 2 ชุด ค. 4 ชุด ง. 1 ชุด
21. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. สำเนาหลักฐานต่างๆ ให้ หน. แผนกประวัติ หรือ ประจำแผนกประวัติ รับรองสำเนา
ข. สำเนาบัญชีรับรองวันทวีคูณต้องให้ หน. แผนกประวัติเท่านั้นรับรองสำเนา
ค. ก และ ข ผิด ง. ก และ ข ถูกต้อง
22. หมายเลขชำนาญการทางทหารของนายทหารสัญญาบัตรประกอบด้วยเลขกี่ตัว
ก. 2 ตัว ข. 3 ตัว ค. 4 ตัว 5 ตัว
23. หมายเลขชำนาญการทางทหารนายทหารสัญญาบัตร เลข 1 หมายถึง
ก. การบังคับบัญชา และ การรบ ข. งานบริการ ธุรการ การฝึก ค. จนท.ปรมณู ง. พลร่ม
24. หมายเลข ชกท.นายทหารสัญญาบัตรซึ่งบรรจุผู้ที่มีคุณวุฒิพิเศษมีทั้งหมด 8 หมายเลข เลข 2 หมายถึงอะไร
ก. จนท.สงครามจิตวิทยา ข. จนท.ข่าวกรองทางเทคนิค
ค. จนท.การรบพิเศษ ง. จนท.พัฒนาวิจัยการรบ
25. การให้หมายเลข ชกท. แก่กำลังพลกระทำได้กี่วิธี
ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี

26. ผบ.หน่วยระดับใดมีอำนาจอนุมัติให้ฝึกหน้าที่ ชกท.ใหม่


ก. ผบ.ทบ. ข. มทภ. ค. ผบ.พล เทียบเท่าขึ้นไป ง. ผบ.กรม
27. หากกำลังพลผู้ใดมิได้ปฏิบัติหน้าที่ตามตำแหน่งใน ชกท.ติดต่อกันกี่ปี ขึ้นไปจึงให้ปลดหมายเลข ชกท.
ก. 4 ปี ข. 3 ปี ค. 2 ปี ง. 1 ปี
28. ในการพิจารณากำหนดคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ให้พิจารณาตั้งแต่อัตราชั้นยศใดขึ้นไป
ก. ร.ต. - ร.อ. ข. ร.อ. - พ.ต. ค. พ.ต.เท่านั้น. ง. พ.ต. - พ.อ.
29. บัญชีรับ - ส่งหน้าที่ให้จัดทำกี่ชุด และ รายงานผู้บังบัญชาโดยตรงทราบภายในกี่วัน
ก. 2 ชุด ใน 5 วัน ตั้งแต่วันรับ -ส่งหน้าที่ ข. 3 ชุด ใน 7 วัน ตั้งแต่วันรับ-ส่งหน้าที่
ค. 3 ชุด ใน 5 วัน ตั้งแต่วันรับ-ส่งหน้าที่ ง. 2 ชุด ใน 7 วัน ตั้งแต่วันรับ-ส่งหน้าที่
30. ใครเป็นผู้มีอำนาจในการสั่งบรรจุ - ปลด นายทหารชั้นสัญญาบัตร
ก. ผบ.พล. ข. มทภ. ค. ผบ.ทบ. ง. รมต.กห.
31. การย้ายนายทหารชั้นสัญญาบัตรมีกี่ประเภท
ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 2 ประเภท ง. 1 ประเภท
32. ให้หน่วย / เหล่า เสนอขอย้ายถึง ผบ.ทบ.ได้ตั้งแต่ ต.ค. - พ.ย.ของปี และออกคำสั่งให้แล้วเสร็จใน ม.ค.
ของปี ถัดไปคือการย้ายประเภทใด
ก. การย้ายประจำปี ข. การย้ายเฉพาะราย ค. การย้ายเนื่องจากหน่วยต้องแปรสภาพ
ง. การย้ายเพื่อปรับปรุงตำแหน่งก่อนพิจารณาบำเหน็จ
33. การย้ายเพื่อปรับปรุงตำแหน่งก่อนพิจารณาบำเหน็จประจำปี ให้ หน่วย / เหล่า เสนอขอย้ายถึง ทบ.
ในเดือนใดของปี
ก. 15 ม.ค. ของปี ข. 15 มี.ค. ของปี ค. 15 เม.ย. ของปี ง. 15 พ.ค. ของปี
34. ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการลา พ.ศ.2536 ใครมีอำนาจอนุมัติลาพักผ่อนประจำปี
ก. ผบ.พัน ข. ผบ.กรมขึ้นไป ค. ผบ.พล ง.ผบ.ร้อย
35. หลักราชการ 10 ประการ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้อใดกล่าวถูก
ก. ความสามารถ ข. ความรู้เท่าถึงการณ์ ค. ความจงรักภักดี ง.ถูกทุกข้อ
36. ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการลา พ.ศ.2536 ข้าราชการกองทัพบกใน 1 ปี จะลาป่ วยได้กี่วัน
ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 120 วัน
37. ระเบียบการลากองทัพบก พ.ศ.2536 ข้าราชการสังกัดกองทัพบกบรรจุไม่ถึงกี่เดือนไม่สามารถลาพักผ่อน
ประจำปี ได้
ก. 3 เดือน ข. 4 เดือน ค. 12 เดือน ง. 6 เดือน

38. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. การลาคลอดบุตรให้ลาได้ 90 วันโดยได้รับเงินเดือน และไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์
ข. ข้าราชการกองทัพบกเสนอใบลาคลอดบุตรต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นจนถึง ผบ.กรมขึ้นไป
เป็นผู้อนุมัติลา
ค. การลาพักผ่อนประจำปี ต้องเสนอใบลาถึง ผบ.กรม ขึ้นไปเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ
ง. ถูกทุกข้อ
39. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ข้าราชการกองทัพบกจะลากิจเพื่อไปประเทศอินเดีย ได้ 50 วันทำการ
ข. ข้าราชการกองทัพบกจะลาไปประเทศ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ได้ 55 วันทำการ
ค. ผู้ที่ลากิจซึ่งอยู่ในต่างประเทศประสงค์จะลาต่อให้เสนอใบทางไปรษณีย์ได้
ง. ถูกทุกข้อ
40. นักเรียนทหารจะลากิจเพื่อเดินทางไปต่างประเทศใครเป็นผู้อนุมัติลา
ก. ผบ.รร. ข. มทภ. ค. ผบ.ทบ. ง.ผบ.สส.
41. ข้าราชการกองทัพบกจะต้องเสนอใบลาเพื่อเดินทางไปต่างประเทศถึง ทบ.ก่อนถึงกำหนดเดินทาง
อย่างน้อยกี่วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 10 วัน ง. 45 วัน
42. การลาพักผ่อนประจำปี จะใช้แบบพิมพ์การลา ทบ.ที่เท่าใด
ก. แบบที่ 4 (ทบ.100 - 105) ข. แบบที่ 5 (ทบ.100 - 006)
ค. แบบที่ 3 (ทบ.100 - 007) ง. แบบที่ 6 (ทบ.100 - 106)
43. เลขที่บัตรอนุญาตแบบที่ 1 ให้หน่วยระดับใดเป็นผู้กำหนด
ก. กองร้อย ข. กองพัน ค. กรม ง. กองพล
44. การเก็บใบอนุญาตลาแบบที่ 1 ให้เก็บไว้ที่ใด ในความรับผิดชอบของใคร
ก. กองพัน / เสมียนเวร ข. กองร้อย / ผบ.ร้อย ค.กองร้อย / สิบเวร ง.กองพัน / จ่ากองพัน
45. ผู้บังคับหน่วยระดับใดลงชื่อในใบอนุญาตแบบที่ 1
ก. ผบ.ร้อย ข. ผบ.มว. ค. ผบ.พัน ง. ผิดทุกข้อ
46. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ข้าราชการกองทัพบกจะลาไปประกอบพิธีฮัจย์ที่เมืองเม็กกะได้ ไม่เกิน 120 วัน
ข. การลาไปประกอบพิธีฮัจย์ รมต. กลาโหม เป็นผู้อนุญาตลา
ค. ต้องเสนอใบลาก่อนถึงกำหนดวันลาไม่น้อยกว่า 30 วัน
ง. ถูกทุกข้อ
47. ผู้ที่ได้รับอนุญาตลาไปประกอบพิธีฮัจย์จะต้องเดินทางภายในกี่วัน และ หลังจากกลับจะต้องรายงาน
ให้ผู้บังคับบัญชาทราบภายในกี่วัน
ก. 10 / 5 วัน ข. 10 / 7 วัน ค. 10 / 10 ง. 7 / 7 วัน
48. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. การลาติดตามคู่สมรสเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในต่างประเทศ รมต.กลาโหมเป็นผู้อนุญาต
ข. การลาติดตามคู่สมรสในต่างประเทศ ลาได้ไม่เกิน 2 ปี โดยไม่ได้รับเงินเดือน
ค. ถ้าจำเป็นต้องลาต่อให้ลาได้อีกไม่เกิน 2 ปี รวมไม่เกิน 4 ปี
ง. ถูกทุกข้อ
49. ผู้ที่จะลาไปปฏิบัติงานในองค์การะหว่างประเทศจะต้องรับราชการติดต่อกันไม่น้อยกว่ากี่ปี
ก. 5 ปี ข. 3 ปี ค. 2 ปี ง. ไม่มีข้อถูก
50. สำหรับผู้ที่ลาไปปฏิบัติงานในองค์การสหประชาชาติต้องรับราชการติดต่อกันไม่น้อยกว่ากี่ปี
ก. 5 ปี ข. 3 ปี ค. 2 ปี ง. 1 ปี
51. สำหรับผู้ที่ปฏิบัติในองค์การระหว่างประเทศ ประเภทที่ 2 จะต้องมีอายุไม่เกินกี่ปี
ก. 40 ปี ข. 45 ปี ค. 50 ปี ง. 52 ปี
52. การลาออกหากไม่ลากระชั้นชิดจนเกินไปควรกำหนดวันลาออกล่วงหน้าไม่น้อยกว่ากี่วัน
ก. 60 วัน ข. 45 วัน ค. 30 วัน ง. 15 วัน
53. อนุญาตลาป่ วยคราวหนึ่งได้ไม่เกิน 60 วัน และ ลากิจได้ไม่เกิน 45 วันเป็นอำนาจการอนุญาตของใคร
ก. ผบ.พัน ข. ผบ.กรม ค. ผบ.พล ง. มทภ.
54. ตามระเบียบการลาไปศึกษาในสถานศึกษาของรัฐบาล พ.ศ.2497 ผู้ที่ขออนุญาตลาไปศึกษาในสถานศึกษา
ของรัฐ จะต้องอยู่ในเงื่อนไข ข้อใดกล่าวถูก
ก. ต้องเป็นข้าราชการกลาโหมประจำการมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
ข. การศึกษานั้นต้องเป็นการศึกษาในวิชาที่ตรงกับตำแหน่งหน้าที่
ค. ต้องทำสัญญาและ มีคำรับรองไว้กับกระทรวงกลาโหม
ง. ถูกทุกข้อ
55. ถ้าท่านเป็นนายทหารสัญญาบัตรตำแหน่ง ผบ.มว.ปื นเล็ก ร.1 พัน.4 รอ.ท่านมีอำนาจในการอนุญาตลากิจ
และ ลาป่ วยได้กี่วัน
ก. กิจ 10 ป่ วย 7 วัน ข. กิจ 1 ป่ วย 3 วัน
ค. กิจ 5 ป่ วย 9 วัน ง. กิจ 2 ป่ วย 5 วัน
56. ระเบียบกองทัพบกว่าดว้ยการลาศึกษานอกเวลาราชการและใช้เวลาราชการบางส่วนไปศึกษา พ.ศ.2519
การใช้เวลาราชการบางส่วนไปศึกษาจะต้องมีอายุราชการไม่น้อยกว่ากี่ปี
ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี
57. การขออนุมัติลาไปศึกษานอกเวลาราชการ และ การลาไปศึกษาโดยใช้เวลาราชการบางส่วน
หัวหน้าส่วนราชการระดับใดเป็นผู้อนุมัติ ตามลำดับ
ก. ผบ.พัน / ผบ.กรม ข. ผบ.พัน / ผบ.พล ค. ผบ.กรม / ผบ.พล ง.ผบ.พัน / ผบ.พัน

58. การลาไปศึกษาโดยใช้เวลาราชการบางส่วน สำหรับหน่วย นขต.ทบ.ที่ มีผู้บังคับบัญชาต่ำกว่าระดับ ผบ.พล


ให้รายงานถึงใครเป็นผู้อนุมัติ
ก. ผบ.สส. ข. มทภ. ค. ผบ.ทบ. ง. ผิดทุกข้อ
59. หลักเกณฑ์และวิธีปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการ ประเภท ตุลาการพระธรรมนูญ และ อัยการทหาร บัญชี 21
ยศ พล.ต. เงินเดือน บาท / เดือน
ก. 15600 ข. 12000 ค. 9000 ง. 8000
60. หลักเกณฑ์และวิธีปรับอัตราเดือนข้าราชการทหาร ประเภทผู้บริหารระดับสูง บัญชี 19 พ.อ.(พิเศษ)
เงินเดือน บาท / เดือน
ก. 15600 ข. 14500 ค. 10000 ง. 12000
61. คำสั่งกองทัพบกที่ 170 / 36 การมอบอำนาจสั่งการในนาม ผบ.ทบ.เจ้ากรมส่งกำลังบำรุงทหารสั่งการในเรื่องใด
ก. อนุมัติให้ยืมรถยนต์ ขส.ทบ.นอกโครงการช่วยเหลือของสหรัฐ
ข. อนุมัติให้จำหน่าย สัตว์พาหนะ เครื่องสัตว์ภัณฑ์ และ อุปกรณ์เสบียงสัตว์
ค. อนุมัติให้ขึ้นบัญชีคุม อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด และ ยุทโธปกรณ์ทุกชนิดระ
ง. ถูกทุกข้อ
62. ข้อใดมิใช่อำนาจสั่งการของเจ้ากรม ยุทธศึกษาทหารบก
ก. สั่งการในเรื่อง เกี่ยวกับ การฝึก ศึกษา
ข. สั่งการในเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติ การฝึก ศึกษา
ค. สั่งการหรือ อนุมัติใช้ตำรา และ แบบฝึก
ง. ลงนามในการขอใช้ บ.ทอ. และขอใช้เรือของ ทร. สนับสนุนการ ฝึก ศึกษา
63. การทำความเคารพข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เมื่อผ่านให้เริ่มทำความเคารพเมื่อเห็นได้ถนัดหรือ ก่อนถึงประมาณ 3 ก้าวเลิกทำ เมื่อผ่านไปแล้ว 2 ก้าว
ข. เมื่อเข้าหาให้เริ่มทำความเคารพก่อนถึงผู้ หรือ สิ่ง ที่ต้องเคารพ ประมาณ 3 ก้าวเลิกทำเมื่อได้รับอนุญาต
หรือ แล้วเสร็จ
ค. เมื่อผู้ หรือ สิ่ง ที่ต้องเคารพเข้ามาหายังที่ตนอยู่ให้เริ่มทำ และ เลิก เคารพในเวลาอันควร
ง. ถูกทุกข้อ
64. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. เคลื่อนที่ ถือธงท่ายกธงถวายเคารพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมศพ พระบรมอัฐิ เท่านั้น
ข. เมื่อธงทำความเคารพ ให้นายทหารรักษาธงทำวันทยาวุธด้วยท่ากระบี่
ค. อยู่กับที่ ถือธงท่ายกธงถวายความเคารพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมศพ พระบรมอัฐิ เท่านั้น
ง. การทำความเคารพด้วยธงประจำกองนั้นให้กระทำเฉพาะเมื่อธงคี่ไว้
65. นายทหารที่มี ยศ ชั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ให้บรรเลงเพลง
ก. เพลงมหาฤกษ์ ข. เพลงมหาไชย ค. เพลงประจำกอง ง. ผิดทุกข้อ

66. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. แตรเดี่ยวเป่ า 3 จบสำหรับผู้สิ่งซึ่งแตรวงบรรเลง เพลงสรรเสริญพระบารมี และ เพลงชาติ
ข. แตรเดี่ยวเป่ า 2 จบ สำหรับผู้ หรือ สิ่งที่แตรวงบรรเลงเพลงมหาไชย
ค. ขลุ่ยกลอง บรรเลงเพลง มหาไชยในพิธีเปลี่ยนกองรักษาการณ์
ง. ถูกทุกข้อ
67. ท่าทำความเคารพของกองเกียรติยศมีกี่ท่าอะไรบ้าง
ก. 1 ท่า วันทยาวุธ ข. 2 ท่า วันทยาวุธ / ท่าตรง
ค. 3 ท่า วันทยาวุธ / ท่าตรง / วันทยาหัต ง .ผิดทุกข้อ
68. ข้อใดกล่าวผิด
ก. พลทหาร นายทหารประทวนนอกประจำการแต่งเครื่องแบบได้เมื่อ ถูกระดมพล / ถูกเรียก
เข้ารับราชการ
ข. นายทหารสัญญาบัตรนอกประจำการมีสิทธิ์แต่งเครื่องแบบทหารได้เฉพาะในงานราชพิธีเท่านั้น
ค. นายทหารสัญญาบัตรตามข้อ ข. มีสิทธิ์แต่งเครื่องแบบทหารไดทุกโอกาส
ง. นายทหารนอกกอง นายทหารพิเศษ ราชองค์รักษ์พิเศษ แต่งเครื่องแบบทหารได้ทุกโอกาส
69. โอกาสในการคาดกระบี่ นายทหารสัญญาบัตร ข้อใดกล่าวผิด
ก. คุมหรือประจำแถวทหารกองเกียรติยศ
ข. ในงานพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนของทหาร
ค. เป็นอัยการศาลทหาร เวลาพิจารณาคดี
ง. ในงานราชพิธี รัชพิธี ตามหมายกำหนดกา
70. ข้อใดกล่าวถึงถุงมือไม่ถูกต้อง
ก. ถุงมือ ใช้แต่งประกอบเครื่องแบบทหารมี สีขาว สีนวล สีน้ำตาล
ข.โอกาสที่นายทหารสัญญาบัตร ใช้ถุงมือ สีขาว - สีนวล เมื่อคาดกระบี่ และ ประดับเครื่องราช
ค. ถุงมือที่ใช้ประกอบเครื่องแบบทหารมี สีขาว และ สีนวล เท่านั้น
ง. ถูกทุกข้อ
71. ผ้าพันแขนทุกข์มีกี่ขนาดอะไรบ้าง
ก. 2 ขนาด กว้าง 7 และ 10 ซม. ข. 2 ขนาด กว้าง 5 และ 7 ซม.
ค. 2 ขนาด กว้าง 7 และ 9 ซม. ง. 1 ขนาด กว้าง 10 ซม.
72. ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการแต่งเครื่องแบบในโอกาสต่างๆ พ.ศ.2519 โอกาสในการแต่งชุดปกติขาว ข้อใดกล่าวผิด
ก. ในพิธีเลี้ยงรับรองเป็นเกียรติให้แต่งอย่างเหมาะสม
ข. ในงานพระราชทานเพลิงศพ ตำรวจ ทหาร
ค. ในพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนของทหาร
ง. ไปในงานราชพิธี รัชพิธี ตามหมายกำหนดการ

73. เมื่อเป็นตุลาการศาลทหารใน เวลาพิจารณาคดี ในโอกาสรายงานตนเอง ในการเยี่ยมคำนับอย่างเป็นทางการ


ในงานพิธีเป็นเกียรติของหน่วย ให้แต่งเครื่องแบบชนิด
ก. ชุดคอแบะ ข. ชุดปกติขาว ค. ชุดกากีแกมเขียวคอพับแขนยาว ง. ผิดทุกข้อ
74. ทหารประจำการเมื่อออกนอกราชอาณาเขตจะแต่งเครื่องแบบมิได้ เว้นในโอกาสต่อไปนี้ จึงให้แต่งเครื่องแบบได้ ข้อใดกล่าวผิด
ก. เข้าเฝ้ าพระเจ้าแผ่นดิน ประมุขต่างประเทศ จนท. ประเทศ นั้นนัดหมายให้แต่ง
ข. เดินทางภายในประเทศเมื่อต้องแต่งเครื่องแบบ
ค. ฝึก ศึกษา วิชาทหารในต่างประเทศ
ง. ไปดูการทหาร หรือ ไปสมาคมกับทหาร ณ ที่นั้นมีการแต่งเครื่องแบบ
75. ขนาดของป้ ายชื่อที่ถูกต้องตามระเบียบของกองทัพบก คือ
ก. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ซม. ยาว 7.5 ซม. หนา 0.1 ซม.พื้นป้ ายสีดำ ขอบป้ ายสีขาว
ขนาด 0.1 ซม. สลักชื่อสูง 0.7 ซม.
ข. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ซม. ยาว 5.7 ซม.หนา 0.1 ซม.พื้นป้ ายสีดำ ขอบป้ ายสีขาว
สลักชื่อสูง 0.7 ซม.
ค. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ซม. ยาว 7 ซม. หนา 0.1 ซม. พื้นป้ ายสีดำ ขอบป้ ายสีขาว
สลักชื่อสูง 0.7 ซม.
ง. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2.5 ซม. ยาว 7.5 ซม. หนา 0.1 ซม. พื้นป้ ายสีดำ ขอบป้ ายสีขาว
สลักชื่อสูง 0.7 ซม.
76. ข้าราชการกลาโหมประจำการ นักเรียนทหาร ทหารกองประจำการ ลูกจ้าง ในสังกัด ทบ.จะต้องติดป้ ายชื่อเว้น
ก. พล.ต.ขึ้นไป ข.พล.ท.ขึ้นไป ค.พล.อ.ขึ้นไป ง.จอมพล ขึ้นไป
77. การจัดหาป้ ายชื่อสำหรับทหารกองประจำการ หน่วยระดับใดเป็นผู้ดำเนินการจัดหา
ก. กองพล ข. กรม ค. กองพัน ง. กองร้อย
78 . ข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยทหารหญิง พ.ศ.2527 ทหารหญิงบรรจุในเหล่าใดบ้าง
ก. เหล่าช่าง ข. เหล่าทหารถ่ายรูป ค. เหล่าทหารต้นหน ง. ถูกทุกข้อ
79. ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการจัดพี่เลี้ยงว่าที่ร้อยตรี ปัจจุบันใช้ระเบียบของ พ.ศ.ใด
ก. พ.ศ.2512 ข. พ.ศ.2511 ค. พ.ศ.2510 ง.2509
80. ว่าที่ร้อยตรีจะต้องได้รับการอบรม สอดส่อง กวดขันความประพฤติ และอยู่ในความปกครองของพี่เลี้ยง
ไม่น้อยกว่ากี่เดือนจึงได้พิจารณาเป็น ร้อยตรี
ก. 3 เดือน ข. 6 เดือน ค. 4 เดือน ง. ผิดทุกข้อ
81. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการจัดพี่เลี้ยงว่าที่ ร.ต.
ก. ผบ.พัน เทียบเท่าขึ้นไปเป็นผู้สั่งจัดนายทหารพี่เลี้ยง
ค. นายทหารพี่เลี้ยงเป็นนายทหารชั้น ผบ.มว.ในกองร้อยที่ว่าที่ ร.ต.สังกัด
ง. พี่เลี้ยง หนึ่งคนดูแลว่าที่ ร.ต.ไม่เกิน สองคน
จ. ถูกทุกข้อ
82. พี่เลี้ยงว่าที. ร.ต.มีหน้าที่อบรมสั่งสอน สอดส่อง กวดขัน ความประพฤติว่าที่ ร.ต.ในบังคับบัญชาให้มีความรู้
ความสามารถต่าง ๆ ข้อใดกล่าวถูก
ก. ปฏิบัติงานตามตำแหน่งหน้าที่ ความรักชาติ รักเกียรติ การสังคม การประหยัด วินัย
ข. การปกครองตนเอง และปกครองผู้ใต้บังคับบัญชา รักชาติ รักเกียรติ การสังคม การประหยัด วินัย
ค. ความประพฤติจรรยามารยาท รักเกียรติ การสังคม ประหยัด วินัย
ง. ถูกทุกข้อ
83. เพื่อให้ว่าที่ ร.ต.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ให้ถูกต้อง จึงสมควรได้กำหนดให้ว่าที่ ร.ต.
ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆด้วยตนเอง เว้นข้อใด
ก. สิบเวรกองร้อย ข. ผช.กองรักษาการณ์ ค. ผช.ผู้ฝึกทหารใหม่ ง. ผู้ฝึกทหารใหม่
84. ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยงานสารบรรณที่ใช้อยู่ปัจจุบัน พ.ศ.ใด
ก. พ.ศ.2537 ข. พ.ศ.2536 ค. พ.ศ.2535 ง.พ.ศ.2539
85. งานสารบรรณหมายความว่า
ก. จัดทำ รับ - ส่ง เก็บรักษา การยืม ข. จัดทำ รับ - ส่ง เก็บรักษา การยืม การทำลาย
ค. จัดทำ รับ - ส่ง เก็บรักษา การยืม ทำลาย การเช่า ง. จัดทำ รับ - ส่ง เก็บรักษา ทำลาย
86. ตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2537 ส่วนราชการหมายถึง หน่วยระดับใดขึ้นไป
ก. กองร้อย ขึ้นไป ข. กองพัน ขึ้นไป ค. กรม ขึ้นไป ง. กองพล ขึ้นไป
87. หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการมี 6 ชนิดอะไรบ้าง
ก. หนังสือภายนอก หนังสือภายใน หนังสือประทับตรา หนังสือประชาสัมพันธ์
หนังสือสั่งการ หนังสือส่วนราชการ
ข. หนังสือที่ จนท. จัดทำขึ้น หนังสือสั่งการ หนังสือประชาสัมพันธ์ หนังประทับตรา
หนังสือภายนอก หนังสือภายใน
ค. หนังสือภายใน หนังภายนอก หนังสือสั่งการ หนังประชาสัมพันธ์ หนังสือยืม หนังสือประทับตรา
ง. หนังสือภายนอก หนังสือภายใน หนังสือสั่งการ หนังสือประชาสัมพันธ์ หนังสือประทับตรา หนังสือทั่วไป
88. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี ใช้กระดาษตราครุฑติดต่อระหว่างส่วนราชการ หรือ ส่วนราชการมีถึงบุคคลภายนอก
หรือ หน่วยงานอื่นใดที่มิใช้ส่วนราชการ คือหนังสือชนิดใด
ก. หนังสือภายใน ข. หนังสือสั่งการ ค. หนังสือภายนอก ง. หนังสือประชาสัมพันธ์
89. หนังสือภายใน คือหนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีการน้อยกว่าหนังสือภายนอก ติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม
ส่วนราชการเดียวกันใช้กระดาษบันทึกข้อความ จะใช้คำขึ้นต้นใด
ก. เสนอ - ส่ง - ถึง - ตามฐานะผู้ผู้รับ ข. ส่งตามฐานะผู้รับ - ถึง
ค. เสนอ - ถึง ง. เสนอ - ส่ง - ถึง
90. หนังสือประทับตรา คือหนังที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อ ของหัวหน้าส่วนราชการระดับใดขึ้นไป
ก. กองพล เทียบเท่าขึ้นไป ข. กรม ขึ้นไป ค. กองพัน ขึ้นไป ง. กองทัพ ขึ้นไป

91. หนังสือสั่งการ มี 3 ชนิด คือ


ก. คำสั่ง ระเบียบ บันทึก ข. คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ
ค. ประกาศ คำสั่ง ข้อบังคับ ง. ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ
92. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติเป็นหนังที่ต้องจัดส่ง ดำเนินการ ทางสารบรรณด้วยความเร็วเป็นพิเศษ
แบ่งเป็นกี่ชั้น
ก. 1 ชนิด ข. 2 ชนิด ค. 3 ชนิด ง. 4 ชนิด
93. ข้อใดกล่าวผิด
ก. หน่วยแรกที่รับหนังสือ ให้ประทับตรารับหนังสือมุมบนด้านขวาของหน้าแรก
ข. หน่วยต่อไปประทับตรารับหนังสือ ด้านหลังของหน้าแรกเรียงจากซ้ายไปขวา
ค. หนังสือราชการที่ไม่พึงเปิ ดเผย ให้หน่วยแรกประทับตรารับหนังสือมุมบนด้านขวาของซอง
ง. หน่วยต่อไปประทับตรารับหนังสือ ด้านหลังของหน้าแรกเรียงจาก ขวา ไป ซ้าย
94. ข้อใดกล่าวถึงการเก็บหนังสือได้ถูกต้อง
ก. เก็บระหว่างการปฏิบัติ เก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว เก็บเพื่อการตรวจสอบ
ข. เก็บเพื่อการตรวจสอบ เก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
ค. เก็บระหว่างการปฏิบัติ เก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
ง. เก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว เก็บเพื่อการตรวจสอบ เก็บเพื่อเป็นประวัติศาสตร์

95. อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติจะต้องเก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี


ก. 5 ปี ข. 7 ปี ค. 10 ปี ง. 12 ปี
96. หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว คู่สำเนาต้นเรื่องสามารถค้นได้จากที่อื่นจะต้องเก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
ก. 1 ปี ข. 3 ปี ค. 10 ปี ง. 5 ปี
97. ส่วนราชการที่ส่งบัญชีขอทำลายหนังสือแจ้งให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กองจดหมายเหตุแห่งชาติ
ไม่ตอบภายในกี่วันให้ถือว่าให้ความเห็นชอบ และให้ส่วนราชการนั้นทำลายหนังสือได้
ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 120 วัน
98. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ตราส่วนราชการลักษณะวงกลมสองวงซ้อนกัน เส้นผ่าศูนย์กลาง วงนอก 3.5 ซม. วงใน 4.5 ซม.
ข. ตราส่วนราชการลักษณะวงกลมสองวงซ้อนกัน เส้นผ่าศูนย์กลาง วงนอก 5.4 ซม. วงใน 3.5 ซม.
ค. ตราส่วนราชการลักษณะสองวงซ้อนกัน เส้นผ่าศูนย์กลาง วงนอก 4.5 ซม. วงใน 3.5 ซม.
ง. ตราส่วนราชการลักษณะวงกลมสองวงซ้อนกัน เส้นผ่าศูนย์กลาง วงนอก 4.3 ซม. วงใน 3.5 ซม.
99. ข้อใดคือมาตรฐานของกระดาษ เอ - 4
ก. ขนาด 210 x 792 มม. ข. 210 x 297 มม. ค. ขนาด 184 X 210 มม. ง. 52 X 74 มม.

100. คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย หนังสือราชการสำหรับ พระบรมวงศ์ ชั้นพระองค์เจ้า ข้อใดถูกต้องตามลำดับ


ก. ขอประทานกราบทูล ใต้ฝ่ าละอองพระบาท ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ข. ประทานกราบทูล ใต้ฝ่ าพระบาท ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ค. ขอประทานกราบทูล ใต้ฝ่ าพระบาท ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ง. ขอประทานกราบทูล ใต้ฝ่ าพระบาท ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
101. คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย หนังสือราชการสำหรับ สมเด็จพระสังฆราช ข้อใดถูกต้อง
ก. กราบทูล ฝ่ าพระบาท ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ข. ประทานกราบทูล ฝ่ าพระบาท ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ค. ขอประทานกราบทูล ฝ่ าพระบาท ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ง. ประทานกราบทูล ฝ่ าละอองพระบาท ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
102. คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย หนังสือราชการสำหรับ ประธานองค์มนตรีถูกต้องคือ
ก. กราบเรียน กระผม ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ข. กราบเรียน ข้าพเจ้า ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ค. เรียน ข้าพเจ้า ขอแสดงความเคารพอย่างยิ่ง
ง. กราบเรียน ข้าพเจ้า ขอแสดงความเคารพอย่างสูง
103. การจ่าหน้าซองที่ถูกต้องถึง สมเด็จพระสังฆราชเจ้า คือข้อใด
ก. ทูลถวาย ข. กราบทูล ค. ขอประทานกราบทูล ง. ขอกราบทูล
104. ในกรณีผู้ดำรงตำแหน่งในส่วนราชการ หรือ หน่วยงานใดไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นครั้งคราว
ผู้บังคับบัญชาจะสั่งให้ ข้าราช การที่เห็นสมควรรักษาราชการแทนเป็นครั้งคราวเรียกว่า
ก. ทำการแทน ข. รักษาราชการแทน ค. รักษาราชการ ง. รักษาราชการแทนชั่วคราว
105. ในกรณีตำแหน่งในส่วนราชการใด หรือ หน่วยงานใดว่างลง และยังมิได้แต่งตั้งผู้ใดดำรงตำแหน่งนั้น
ผู้บังคับบํญชาให้ข้าราชการที่เห็นสมควรรักษาราชการในตำแหน่งนั้นเป็นการชั่วคราว เรียกว่า
ก. รักษาราชการแทน ข. ทำการแทน ค. รักษาการ ง. รักษาราชการ
106. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. หัวหน้าส่วนราชการ หรือ หัวหน้าหน่วยขึ้นตรงต่อกองทัพบก เทียบเท่าชั้นแม่ทัพจะมอบหมาย
เป็นลายลักษณ์อักษร ให้ข้าราชการในสังกัดมีอำนาจสั่งการในนามของหัวหน้าส่วนราชการนั้น ๆ
ได้เป็นครั่งคราว
ข. ผู้ดำรงตำแหน่ง รอง ผู้ช่วย เสนาธิการ รองเสนาธิการ หรือผู้ช่วยเสนาธิการ ของส่วนราชการ
หรือ หน่วยใดมีอำนาจสั่งการในนามของผู้บังคับบัญชาส่วนราชการหรือหน่วยนั้น ๆ ตามที่ได้มอบหมายได้
ค. การสั่งการในนามของผู้บังคับบัญชาตามที่ได้รับมอบ ใช้คำว่า รับคำสั่ง
ง. ถูกทุกข้อ
107. การสั่งการ และ ประชาสัมพันธ์กระทำได้กี่วิธี
ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี
108. หน่วยงานใดมีอำนาจออกแถลงการณ์
ก. กระทรวงกลาโหมเท่านั้น ข. กองทัพบกเท่านั้น
ค. กห. และ ทบ. ง. ทภ. ทบ. กห.
109. ในกรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง รมต. กลาโหม และ รมช กลาโหม หรือมีแต่ไม่อาจจะปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ใคร
ทำการแทนใน นามของ รมต. กลาโหม ในการสั่งการ
ก. ปลัดกระทรวงกลาโหม ข. ผบ.สูงสุด ค. ผบ.ทบ. ง. ถูกทุกข้อ
110. ข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยการรายงานด่วน พ.ศ.2511 เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติ
อย่างร้ายแรง มีคนชักชวนให้เปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือ คิดทำร้ายผู้บังคับบัญชา ให้รายงานโดยตรงต่อใคร
ก. รายงาน หน.ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อ กห. ข. รายงานโดยตรงต่อ รมต.กลาโหม
ค. รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นก่อน ง. รายงานโดยตรงต่อ มทภ.
111. เกิดเหตุทะเลาะวิวาทจนถึงใช้อาวุธต่อสู้กันขึ้น ในหมู่ทหารด้วยกันเอง หรือเกิดโรคระบาดแก่คนและสัตว์ใน
หรือ ใกล้สถานที่ทางทหาร ให้รายงานตรงต่อใคร
ก. หน.ส่วนราชการขึ้นตรงต่อ กห. ข. รมต.กห.
ค. รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นขึ้นไป ง. ผิดทุกข้อ
112. ระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการรายงานตนเองเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน และเมื่อออกไปนอกเขตจังหวัด พ.ศ.2528
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นให้รีบรายงานตนเองยังหน่วยต้นสังกัดในทันที
ข. ขณะเกิดเหตุฉุกเฉินอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครให้รีบรายงานตนเองยังหน่วยทหารหรือหน่วยกองทัพบกที่อยู่ใกล้
ค. ถ้าหน่วยที่ไปติดต่อราชการอยู่ในศาลาว่าการกระทรวงกลาโหม ให้รายงานตนเองที่ กองธุรการ กรมสารบรรณ
ง. ถูกทุกข้อ
113. ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งราชการพลเรือน บางตำแหน่งกับทางทหาร พ.ศ.2527
ผู้ว่าราชการจังหวัด และ ผู้ว้าราชการกรุงเทพฯ เทียบตำแหน่งทางทหาร คือ
ก. มทภ. ข. ผบ.พล ค. ผบ.กรม ง. ผบ.พัน
114. ตำแหน่งราชการพลเรือนบางตำแหน่ง ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปกครองบังคับบัญชาบุคคลที่อยู่ในสังกัด กระทรวงกลาโหม
นายอำเภอชั้นโท เทียบเท่าตำแหน่งใดทางทหาร
ก. ผบ.พล ข. ผบ.กรม ค. ผบ.พัน ง. ไม่มีข้อถูก
115. ข้าราชการทหารยศ พันตรี นาวาตรี นาวาอากาศตรี เทียบตำแหน่งพลเรือน ระดับใด
ก. ระดับ 6 ข. ระดับ 7 ค. ระดับ 8 ง. ระดับ 5
116. ข้าราชการทหารยศ ร้อยโท เรือโท เรืออากาศโท เทียบข้าราชการพลเรือนระดับใด
ก. ระดับ 3 ข. ระดับ 4 ค. ระดับ 5 ง. ระดับ 6
117. ค่ายทหาร ใน ทภ.1 ค่ายไพรีระย่อเดช ค่ายสมเด็จพระศรีสุริโยทัย อยู่ในจังหวัดใด ตามลำดับ
ก. ปราจีนบุรี / นครปฐม ข. ปราจีนบุรี / ราชบุรี ค. สระแก้ว / ประจวบคีรีขันธ์ ง. ลพบุรี / เพชรบุรี

118. ค่ายทหารใน ทภ.3 และ ทภ.4 ค่ายพระยาไชยบูรณ์ และ ค่ายอภัยบริรักษ์ อยู่ในจังหวัดใด ตามลำดับ
ก. แพร่ / นครศรีธรรมราช ข. เชียงราย / ระนอง ค. แพร่ / พัทลุง ง. ลำพูน / พัทลุง
119. ข้อกล่าวถูกต้อง
ก. เครื่องอิสริยาภรณ์ หมายถึงสิ่งของเครื่องประดับเกียรติของประเทศที่ประมุขประเทศ มิใช่พระมหากษัตริย์
ข. ยุคสมัยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย แบ่งตามลักษณะการประดับเป็น 2 สมัย
ค. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ หมายถึงสิ่งของประดับเกียรติของ ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขสร้างขึ้น
ง. ถูกทุกข้อ
120. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญจักรมาลา จักรพรรดิมาลา สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลใด
ก. ร. 4 ข. ร. 5 ค. ร. 6 ง. ร. 7
121. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญใดต่อไปนี้สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลปัจจุบัน ( ร.9 )
ก. เหรียญราชการชายแดน - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ข. เหรียญกล้าหาญ - เหรียญชัยสมรภูมิ
ค. เหรียญจักรมาลา - จักรพรรดิมาลา ง. เหรียญราชรุจิ - เหรียญรัตนาภรณ์
122. พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดี พ.ศ.2503 แบ่งเครื่องราชออกเป็นกี่ชั้น
ก. 4 ชั้น ข. 5 ชั้น ค. 6 ชั้น ง. 7 ชั้น
123.เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นที่ 4 คือ
ก. เหรียญรามมาลาเข็มกล้ากลางสมร ข. เหรียญโยธิน ค. เหรียญอัศวิน ง. เหรียญมหาโยธิน
124. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ผู้ที่ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นที่ 4 ขึ้นไปให้มีประกาศนียบัตร
ข. ผู้ที่ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้น 5 และ 6 จะได้ประกาศนามในราชกิจจานุเบกษา
ค. ข้อ ก. ผิด
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
125. การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามชั้นยศ ร.ต. น.1 ชั้น 3 ขึ้นไป - ร้อยโท พึงขอพระราชทานชั้นใด
ก. จตุรถาภรณ์มงกุฎไทย ข. จตุรถาภรณ์ช้างเผือก
ค. เบญจมาภรณ์ช้างเผือก ง. เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย
126. การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ยศ พ.อ. ( พิเศษ ) พึงขอพระราชทานชั้นใด
ก. ท.ม. ข. ท.ช. ค. ต.ช. ง. ต.ม.
127. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ก. ผู้จบจากโรงเรียนทหารให้นับตั้งแต่ขึ้นทะเบียนกองประจำการ ถึงปี ที่ขอพระราชทาน
ไม่น้อยกว่า 5 ปี บริบูรณ์
ข. การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่ำกว่าชั้นสายสะพาย ให้ขอได้ปี เว้นปี
ค. การขอพระราชทานเครื่องราชชั้นสายสะพาย ให้ขอได้เมื่อได้รับ ท.ช. ครบ 3 ปี บริบูรณ์
ง. ทุกข้อกล่าวถูก

128. บุคคลต่อไปนี้ใครคือผู้ที่ขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสายสะพายได้เป็นกรณีพิเศษ


โดยไม่ต้องคำนึงถึง 3 ปี บริบูรณ์
ก. ทหารประจำการยศ พล.อ. ขึ้นไป ข. สมาชิกวุฒิสมาชิสภา
ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. ข. และ ค. ถูก
129. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เหรียญจักรมาลา พระราชทานแก่ผู้ที่มียศทางทหาร ซึ่งมีเวลารับราชการไม่น้อยกว่า 15 ปี บริบูรณ์
ข. เหรียญจักรพรรดิมาลา พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน ซึ่งมีเวลารับราชการไม่น้อยกว่า 25 ปี บริบูรณ์
ค. เหรียญจักรพรรดิมาลา พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน ซึ่งมีเวลารับราชการไม่น้อยกว่า 15 ปี บริบูรณ์
ง. ข้อ ก. และ ข.ถูก
130. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ หมวดที่ 4 ว่าด้วยการเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ สำหรับการเรียกคืนมีกี่กรณี
ก. 3 กรณี ข. 4 กรณี ค. 2 กรณี ง. 1 กรณี

131. ในกรณีส่งคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จะส่งคืนเป็นเงิน หรือ เป็นเครื่องราชก็ตาม ให้ดำเนินการส่งคืนภายใน


กี่วันนับตั้งแต่วันถึงแก่กรรม
ก. 30 วัน ข. 15 วัน ค. 60 วัน ง. 90 วัน
132. วัตถุประสงค์ในการจัดทำเอกสารอุดมการณ์กำพล กองทัพบก มีกี่ประการ
ก. 2 ประการ ข. 3 ประการ ค. 4 ประการ ง. 5 ประการ
133. ข้อใดมิใช่วัตถุประสงค์ของการจัดทำ เอกสารอุดมการณ์กำลังพล กองทัพบก
ก. เพื่อให้มีมาตรฐานของคุณลักษณะ และ การแสดงออกถึงความมีอุดมการณ์
ข. เพื่อให้ทราบถึงวิธี และ การนำไปใช้ในการปลูกฝังอุดมการณ์กำพล
ค. เพื่อให้กำลังพลของ ทบ. นำไปปฏิบัติ ปรับปรุงตนเอง และ สร้างเสริมสู่มาตรฐานที่กำหนด
ง. เพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบประเมินผลตนเอง
134. ข้อใดมิใช่องค์ประกอบสำคัญ ของมาตรฐานแห่งความดีงาม หรือ อุดมการณ์
ก. ยึดมั่นในเกียรติและศักดิ์ศรีของชาติ ข. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ค. ความจงรักภักดี ง. ความเสียสละ
135. หน่วยระดับใดในกองทัพบก ที่รับผิดชอบในการ ศึกษา อบรม ปลูกฝังอุดมการณ์กำลังพล
ก. ระดับ มว. ข. กองร้อย ค. กองพัน หรือเทียบเท่าขึ้นไป ง. ไม่มีข้อถูก
136. หน่วยใดในกองทัพบกที่รับผิดชอบในการ อำนวยการ กำกับดูแล อบรม ปลูกฝังอุดมการณ์กำลังพล ทบ.
ในนามของกองทัพบก
ก. กรมยุทธการ ข. กรมยุทธศึกษา ค. กรมกำลังพล ง. กรมเจร
137. หน่วยงานในกองทัพบก ที่รับผิดชอบในการประเมินผลความมีอุดมการณ์ของกำลังพล กองทัพบก
ก. กรมสารบรรณ ข. กรมกิจการพลเรือน ค. กรมกำลังพล ง. กรมเจร
138. หลักในการดำเนินการเพื่อเสริมสร้างความเป็นหนึ่งเดี่ยวใน ทบ. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
ข. ความรักสามัคคีในหมู่คณะ และ แรงจูงใจในระบบการบริหารงาน
ค. ความภูมิใจในการเป็นข้าราชการ และ กำลังพลของ กองทัพบก
ง. ถูกทุกข้อ
139. คุณสมบัติเฉพาะบุคคล ซึ่งได้รับความรัก ความเชื่อถือ ศรัทธา และ การให้ความร่วมมือด้วยความภักดี
จากผู้ใต้บังคับบัญชา เรียกว่า
ก. ความศรัทธา ข. ความภักดี ค. ลักษณะผู้นำ ง. การสร้างความเชื่อถือ
140. ลักษณะผู้นำสามารถเสริมสร้างให้มีขึ้นได้ด้วยการวิเคราะห์ตนเอง อย่างรอบคอบว่าตนยังขาด หรือบกพร่องข้อใด
ลักษณะผู้นำ 14 ประการต่อไปนี้ข้อใดมีผิดอยู่หนึ่งคำ
ก. ความซื่อสัตย์ ความรู้ ความกล้าหาญ ความเด็ดขาด
ข. ความเชื่อถือ ความริเริ่ม ความยุติธรรม ลักษณะท่าทาง
ค. ความซื่อสัตย์ ความรู้ ความสามารถ ความกล้าหาญ
ง. ความอดทน ความไม่เห็นแก่ตัว ความภักดี ดุลพินิจ

141. คุณสมบัติในการไตร่ตรอง เพื่อแก้ปัญหา และ หาความจริงเป็นมูลฐานในการตัดสินใจ ฝึกหัดประเมินค่าสถานการณ์


หลีกเหลี่ยงการตัดสินใจอย่างหุนหันพลันแล่น เรียกว่าอะไร
ก. ดุลพินิจ ข. ความกระตือรือร้น ค. ความริเริ่ม ง. ความรู้
142. ความสามารถในการตัดสินใจได้ทันที ประกาศออกมาอย่างชัดเจน และมั่นคง เรียกว่า
ก. ความกล้าหาญ ข. ความอดทน ค. กาลเทศะแนบเนียน ง. ความเด็ดขาด
143. ลักษณะจิตที่ตระหนักดีถึงความน่ากลัวอันตาย แต่สามารถควบคุมให้เข้าเผชิญได้ด้วยความมั่นคง
ก. ความเด็ดขาด ข. ความอดทน ค. ดุลพินิจ ง. ความกล้าหาญ
144. ลักษณะผู้นำทางทหารมี 14 ประการ อยากทราบว่าหลักปฏิบัติของการเป็นผู้นำมีทั้งหมดกี่ข้อ
ก. 10 ข้อ ข. 11 ข้อ ค. 12 ข้อ ง. 14 ข้อ
145. ข้อต่อไปนี้ข้อใดมิใช่หลักปฏิบัติของการเป็นผู้นำ
ก. กาลเทศะ และ แนบเนียน ข. จงแจ้งเรื่องให้คนของตนทราบ
ค. ใช้หน่วยของตนให้เหมาะสมกับขีดความสามารถ ง. ตัดสินใจอย่างรอบคอบและทันสมัย
146. การปรับปรุงตนเองให้เป็นครูที่ดี หลีกเลี่ยงการเก่งเกินตัว ติดตามวิวัฒนาการทางทหารสมัยใหม่ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
อยู่ในหัวข้อ หลักปฏิบัติของการเป็นผู้นำหัวข้อใด
ก. รู้จักตนเองใฝ่ ใจปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ ข. ฝึกคนของท่านให้ทำงานกลมเกลียวเป็นชุด
ค. ทำตนให้เป็นผู้เชี่ยวชาญทั้งทางเทคนิค และ ยุทธวิธี ง. ปฏิบัติตนเองให้เป็นตัวอย่างที่ดี

147. ฝึกการประมาณการณ์อย่างมีเหตุผล ตามลำดับเหตุผลเหตุการณ์ทั้งทางทหาร และ ชีวิตประจำวัน พิจารณา


ถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการใช้หน่วยรอง และ หน่วยสนับสนุน อยู่ในหัวข้อหลักปฏิบัติการเป็นผู้นำหัวข้อใด
ก. ใช้หน่วยของตนให้เหมาะสมกับขีดความสามารถ
ข. ทำตนให้เป็นผู้เชี่ยวชาญทั้งทางเทคนิค และ ยุทธวิธี
ค. รู้จักตนเองใฝ่ ใจปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ
ง. การตัดสินใจอย่างรอบคอบ และ ทันสมัย
148. การนินทาผู้บังคับบัญชาลับหลัง ทำให้ขาดคุณลักษณะการเป็นผู้นำในหัวข้อใด
ก. ความเชื่อถือ ข. ความภักดี ค. ความยุติธรรม ง. ความอดทน
149. ข้อใดมิใช่เทคนิคการเข้ากับผู้บังคับบัญชา
ก. อย่าก่อศัตรูกับเพื่อนร่วมงาน ข. เคารพยกย่องศรัทธาเชื่อมั่นในฐานะของผู้บังคับบัญชา
ค. ให้ความร่วมมือด้วยความเต็มใจเสมอ ง. เรียนรู้นิสัยการทำงานของผู้บังคับบัญชา
150. ข้อใดคือเทคนิคการเข้ากับเพื่อนร่วมงานระดับเดียวกัน
ก. อย่าซัดทอดความผิดให้เขา ข. ใจกว้างพอประมาณ ค. เสมอต้นเสมอปลาย ง. ถูกทุกข้อ
151. หลักสังคมของนายทหารชั้นสัญญาบัตร แบ่งแยกความต้องการของมนุษย์เป็นกี่ประการ
ก. 5 ประการ ข. 6 ประการ ค. 7 ประการ ง. 8 ประการ
152. ต่อไปนี้ข้อใดมิใช่หัวข้อความต้องการของมนุษย์ ในหลักสังคมของนายทหารชั้นสัญญาบัตร
ก. ความต้องการด้านสุขภาพ ข. ความต้องการทางเพศ
ค. ความต้องการผักผ่อน ง. ความต้องการจัดระเบียบ
153. ชายหาดเมืองพัทยา สวนหลวง ร.9 เขาดินวนา จัดเป็นความต้องการของมนุษย์ด้านใด
ก. ความต้องการทางสุขภาพ ข. ความต้องการการศึกษา
ค. ความต้องการสันติสุข ง. ความต้องการทางเศรษฐกิจ
154. ทำให้เกิดการสร้าง การสะสม การเก็บหอมรอมริบ จัดอยู่ในความต้องการของมนุษย์ด้านใด
ก. ด้านเศรษฐกิจ ข. ความต้องการทางเพศ
ค. ความต้องการสันติสุข ง. ความต้องการจัดระเบียบ
155. การคบหาวิสาสะของบุคคล ซึ่งกระทำกันไม่ว่ากรณีใด ๆ เรียกว่า
ก. การสมาคม ข. สังคมวิทยา ค. การพบปะ ง. การเข้าสังคม
156. ข้อใดมิใช่หลักการสร้างนิสัยที่ดีเบื้องต้นเพื่อการสมาคม
ก. การทดลองปฏิบัติโดยไม่มีจุดมุ่งหมาย ข. การแยกปฏิบัติเป็นอย่าง ๆ
ค. การปฏิบัติซ้ำ ๆ กัน ง. การทดลองเรียนรู้
157. หลักการสร้างนิสัยที่ดีเบื้องต้นมีกี่ประการ
ก. 2 ประการ ข. 3 ประการ ค. 4 ประการ ง. 5 ประการ

158. สิ่งปลูกนิสัยสำหรับการเข้าสมาคมที่สำคัญมี 2 ประการข้อใดกล่าวถูกต้อง


ก. จรรยามารยาท / การแสดงตน ข. การแสดงออก / จรรยามารยาท
ค. บุคลิกลักษณะ / สุภาพเรียบร้อย ง. จรรยามารยาท / บุคลิกลักษณะ
159. นิสัยเฉพาะบุคคลที่ทำให้บุคคลแต่ละคนมีกิริยาท่าทางที่ผิดแผก แตกต่างกัน หมายถึง
ก. นิสัยส่วนตัว ข. บุคลิกลักษณะ ค. อารมณ์ ง. ไม่มีข้อถูก
160. หลักสำคัญในการแสดงออกมี 4 ประการ ข้อใดมิใช่
ก. การแสดงตน ข. ความสุภาพเรียบร้อย ค. มีไหวพริบ ง. อารมณ์ดี
161. ข้อใดกล่าวถึงหัวข้อการทำลายบุคลิกลักษณะได้ถูกต้อง
ก. เห็นแก่ตัว - เป็นคนใจน้อย - ขาดความเห็นใจเพื่อนมนุษย์
ข. เป็นคนพูดมาก - กิริยาหยาบโลน - อิจฉาริษยา
ค. พูดมากไร้สาระ - คุยโตโอ้อวด - เห็นแก่ตัว
ง. ถูกต้องทุกข้อ
162. การสำรวจตัวเองนับได้ว่ามีสิ่งซ้อนเร้นในตัว 3 ประการ เกี่ยวกับร่างกาย เกี่ยวกับจิตและ อำนาจจิต
เกี่ยวกับความรู้สึก ข้อใดกล่าวถึงการสำรวจเกี่ยวกับความรู้สึกไม่ถูกต้อง
ก. ความรู้รอบตัวดี - ความทรงจำดี - มีไหวพริบ
ข. ความจงรักภักดี - มีความใฝ่ ดี - ความช่างสังเกต
ค. สมาธิ - ความอดทน - การควบคุมตนเอง
ง. ความถูกต้องแม้นยำ – ความเด็ดขาด
163. ข้อใดคือการเสริมสร้างบุคลิกลักษณะให้ดีเด่นด้วยการปฏิบัติ
ก. ความเมตตากรุณา - ความกล้าหาญ ข. เป็นคนทำอะไรทำจริง - ความจงรักภักดี
ค. ความเชื่อมั่นในตัวเอง - ความอดทนไม่กลัวลำบาก ง. ทุกข้อ
164. ความสำคัญของมรรยาทในสังคมนั้น วาจาเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่ง เพราะวาจาเป็นเครื่องแสดงออกถึงนิสัยใจคอ
ส่วนประกอบของการพูดที่สุภาพ ชัดถ้อย ชัดคำมี 6 ประการ ข้อใดกล่าวผิด
ก. วิธีการสนทนา - เรื่องที่สนทนา
ข. เวลาและสถานมี่ในการสนทนา - การยุติการสนทนา
ค. น้ำเสียงในการสนทนา - ข้อระมัดระวังในการสนทนา
ง. กิริยาท่าทาง - สภาพแวดล้อม
165. ลักษณะการแสดงการเคารพ อันเป็นระเบียบแบบแผนวัฒนธรรมประจำชาติของเราและอยู่ในวงการสมาคมมีกี่วิธี
ก. 6 วิธี ข. 5 วิธี ค. 4 วิธี ง. 3 วิธี
166. การทำความเคารพด้วยวิธีการเปิ ดหมวก ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. จับมุมพับข้างหมวกยกขึ้นทำฉากกับลำตัวประมาณ 110 องศา สูงจากศรีษะประมาณ 1 คืบ
ข. จับมุมพับข้างหมวกยกขึ้นทำฉากกับลำตัวประมาณ 120 องศา สูงจากศรีษะ ประมาณ 1 คืบ
ค. จับมุมพับข้างหมวกยกขึ้นทำฉากกับลำตัวประมาณ 120 องศา สูงจากศรีษะประมาณ 2 คืบ
ง. จับมุมพับข้างหมวกยกขึ้นทำฉากกับลำตัวประมาณ 110 องศา สูงจากศรีษะประมาณ 2 คืบ
167. ข้อใดกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสโมสรทหารผิด
ก. เพื่อเชื่อมความสามัคคี ข. เพื่อบำรุงความรู้ เพื่อเกื้อกูลแก่การครองชีพ
ค. เพื่อส่งเสริมกีฬาและบันเทิง ง. เพื่อเป็นสถานที่พบปะสังสรรค์
168. ข้อใดกล่าวถึงสโมสรทหารได้ถูกต้อง
ก. ผบ.หน่วยนั้น ๆ เป็นนายกสโมสร ข. รอง.ผบ.หน่วย เป็นอุปนายก
ค. สโมสรทหารจัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ 4 ประการ ง. ถูกทุกข้อ
169. การสร้างกำแพงเมือง 3 ชั้น คูน้ำ 2 ชั้น พร้อมป้ อมประจำประตูเมืองทั้ง 4 ด้าน และ ยังมีเส้นทางยุทธศาสตร์
เชื่อมหัวเมืองส่วนกลาง ระยะทางยาว 250 กิโลเมตร คือการทหารในสมัยใด
ก. สมัยกรุงศรีอยุธยา ข. สมัยโบราณ
ค. สมัยกรุงสุโขทัย ง. สมัยกรุงธนบุรี
170. ประวัติกองทัพไทย การทหารในสมัยโบราณนั้นได้แบ่งทหารออกเป็น 4 แผนก ข้อใดถูกต้อง
ก. แผนกยุงฉาง - แผนกทหารบก - แผนกทหารม้า - แผนกอาวุธยุทธภัณฑ์
ข. แผนกทหารบก - แผนกทหารม้า - แผนกเสบียง - แผนกอาวุธยุทธภัณฑ์
ค. แผนกยุงฉาง - แผนกทหารบก - แผนกทหารเรือ - แผนกอาวุธยุทธภัณฑ์
ง. แผนกทหารเรือ - แผนกทหารบก - แผนกทหารม้า – แผนกอาวุธยุทธภัณฑ์
171. ข้อใดกล่าวถึงการทหารในสมัยกรุงศรีอยุธยาไม่ถูกต้อง
ก. ทหารในสมัยอยุธยาเป็นทหารที่มีแบบแผน วิธีการควบคุม ตลอดจนยุทธวิธีเป็นอย่างดี
ข. ทหารในสมัยอยุธยาแบ่งเป็น 4 เหล่า เรียกว่า จตุรงคเสนา
ค. ชายไทยในสมัยอยุธยาจะต้องขี้นทะเบียนเป็นทหารทุกคนเมื่ออายุครบ 18 ปี
ง. การทหารในสมัยอยุธยา แบ่งเป็น 4 แผนก ทหารบก ทหารม้า แผนกยุงฉาง แผนกอาวุธยุทธภัณฑ์
172. กองทัพในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้แบ่งทหารออกเป็น 4 เหล่า เรียกตามตำรา พิชัยสงครามว่า จตุรงคเสนา ข้อใดถูก
ก. พลเท้า - พลม้า - พลอาวุธยุทธภัณฑ์ - พลเสบียง
ข. พลช้าง - พลม้า - พลเท้า - พลอาวุธยุทธภัณฑ์
ค. พลเท้า - พลม้า - พลช่าง - พลช้าง
ง. พลช้าง - พลเท้า - พลม้า - พลอาวุธยุทธภัณฑ์
173. ทหารในสมัยกรุงศรีอยุธยา ทหารที่ใช้ในการ ป้ องกันปี ก ทำการตีโอบโฉบฉวย เพื่อการรบกวนข้าศึก รักษาด่าน
ลาดตระเวน และ หาข่าว คือทหารเหล่าใด
ก. พลเท้า ข. พลม้า ค. พลช้าง ง. พลอาวุธยุทธภัณฑ์
174. การทหารในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ใน พ.ศ. 2430 ได้ปรับปรุงการทหารให้ก้าวหน้า โดยจัดหน่วย
ทหารเป็น 9 กรม เป็นทหารบก 7 กรมข้อใดมิใช่ 1 ใน 7 กรม
ก. กรมทหารล้อมวัง ข. กรมทหารปื นใหญ่ ค. กรมทหารช่าง ง. กรมทหารวังหลัง

175. พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นนครชัยศรีสุรเดช ประกาศให้จัดการเปลี่ยนแปลงกรมกองทหาร ให้เป็นลำดับหมายเลข


ข้อใดผิด
ก. กรมททหารล้อมวัง เป็น กรมทหารราบที่ 2 ค. กรมทหารฝีพาย เป็น กรมทหารราบที่ 3
ค. กรมทหารหน้า เป็น กรมทหารราบที่ 4 ง. กรมทหารล้อมวัง เป็น กรมทหารราบที่ 4
176. การแบ่งส่วนราชการออกเป็น กรม และ กระทรวง แล้วพัฒนาหน่วยทหารเป็น กองพล กรม กองพัน กองร้อย
หมวด หมู่ เป็นครั้งแรก เกิดขึ้นในสมัยใด
ก. รัตนโกสินทร์ตอนกลาง ข. รัตนโกสินทร์ตอนต้น
ค. สมัยกรุงธนบุรี ง. สมัยกรุงศรีอยุธยา
177. ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง - ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แบ่งทหารออกเป็น 3 กองทัพ
กองทัพภาคที่ 2 ตั้งอยู่ที่จังหวัดใด
ก. นครราชสีมา ข. พิษณุโลก ค. เชียงใหม่ ง. นครสวรรค์
178. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยได้ส่งทหารร่วมรบกับฝ่ ายสัมพันธมิตร
ในสงครามโลกครั่งที่ 1 จำนวน 3 กอง ข้อใดถูก
ก. กองยานยนต์ กองบิน กองพยาบาล ข. กองยานยนต์ กองพยาบาล กองทหารราบ
ค. กองบิน กองยานยนต์ กองทหารราบ ง. กองพยาบาล กองบิน กองทหารราบ
179. กองทัพบกไทยในปัจจุบันได้จัดแบ่งหน่วยงานตามภาระหน้าที่ออกเป็น 7 ส่วน ข้อใดถูก
ก. ส่วนบัญชาการ - ส่วนกำลังรบ - ส่วนสนับสนุนการรบ - ส่วนการศึกษา - ส่วนภูมิภาค
ส่วนพัฒนาประเทศ - ส่วนกิจการพิเศษ
ข. ส่วนการศึกษา-ส่วนกำลังรบ -ส่วนสนับสนุนการช่วยรบ-ส่วนบัญชาการ-ส่วนพัฒนาประเทศ
ส่วนภูมิภาค - ส่วนส่งกำลังบำรุง
ค. ส่วนส่งกำลังบำรุง - ส่วนการศึกษา - ส่วนพัฒนาประเทศ - ส่วนบัญชาการ -ส่วนกำลังรบ
ส่วนภูมิภาค - ส่วนสนับสนุนการรบ
ง. ส่วนบัญชาการ -ส่วนกำลังรบ -ส่วนการศึกษา -ส่วนสนับสนุนการช่วยรบ-ส่วนพัฒนาประเทศ
ส่วนภูมิภาค-ส่วนส่งกำลังบำรุง
180. ในด้านการช่วยเหลือประชาชน ทบ. ร่วมมือกับส่วนราชการอื่นๆ ตามโครงการพัฒนาความมั่นคง และโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่อยู่ในความรับผิดชอบของ ทบ. มีกี่โครงการ
ก. 74 โครงการ ข. 75 โครงการ ค. 76 โครงการ ง. 77 โครงการ
181. ผู้บัญชาการทหารบก คนปัจจุบัน พล.อ.ชัยสิทธิ์ ชินวัตร เป็น ผบ.ทบ. ลำดับที่เท่าไร
ก. 31 ข. 32 ค. 33 ง. 34
182. ผู้บัญชาการทหารบกจากอดีตถึงปัจจุบัน จำนวนสามสิบกว่าท่าน ผบ.ทบ.ท่านใดที่อยู่ในตำแหน่งนานที่สุด
ก. พล.อ.พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต ข. จอมพล ประภาส จารุเสถียร
ค. จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ง. จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์

183. ข้าราชการชั้นสัญญาบัตร หรือ ผู้ที่ทางการสั่งให้ทำหน้าที่ ในตำแหน่งนายทหารสัญญาบัตร ซึ่งได้รับคำสั่ง


ให้ทำหน้าที่ รับจ่ายเงิน เป็นครั้งคราว เรียกว่า
ก. เจ้าหน้าที่รับจ่ายเงิน ข. นายทหารรับจ่ายเงิน ค. เจ้าหน้าที่การเงิน ง. นายทหารการเงิน
184. นายทหารการเงิน หรือ ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการรับจ่ายเงินทางราชการ เรียกว่า
ก. เจ้าหน้าที่รับจ่ายเงิน ข. นายทหารบัญชี ค. นายทหารการเงิน ง. นายทหารรับจ่ายเงิน
185 ข้าราชการชั้นสัญญาบัตรเหล่าการเงิน หรือ ผู้ทำหน้าที่นายทหารสัญญาบัตรเหล่าการเงินหรือนายทหารการเงินที่
เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารการเงินราชการ ในด้านการ ควบคุม.เบิกจ่าย รับจ่าย การบัญชี เก็บ
รักษา เรียกว่า
ก. นายทหารการเงิน ข. หัวหน้านายทหารการเงิน
ค. นายทหารรับจ่ายเงิน ง. เจ้าหน้าที่รับจ่ายเงิน
186. อัตราเจ้าหน้าที่ในสำนักงานการเงินประกอบด้วยตำแหน่งต่าง ๆ 5 ตำแหน่ง ข้อใดมิใช่
ก. หัวหน้านายทหารการเงิน ข. นายทหารควบคุมการเบิกจ่าย
ค. นายทหารการเงิน ง. นายทหารบัญชี
187. เงินที่ส่วนราชการได้รับ หรือ ต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คณะรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักงบประมาณ กระทรวงการคลัง หมายถึงเงินประเภทใด
ก. เงินนอกงบประมาณประเภทที่ 2 ข. เงินนอกงบประมาณประเภทที่ 1
ค. เงินในงบประมาณ ง. เงินนอกงบประมาณ
188. ข้อใดกล่าวถูก
ก. ผู้ถือลูกกุญแจประตูที่เก็บกำปั่นเก็บเงินไดแก่ ผบ.กองรักษาการณ์ นายทหารเวร
ข. เงินราชการหมายความว่า เงินของทางราชการไม่ว่าจะเป็น เงินใน หรือ นอกงบประมาณ
ค. เงินหมายความรวมถึง เอกสารการเงิน เช่น เช็ค ดาฟต์ ธนาณัติ
ง. ถูกทุกข้อ
189. ข้อใดมิใช่ผู้มีหน้าที่ถือลูกกุญแจกำปั่นเก็บเงินโดยตำแหน่ง
ก. ผู้มีอำนาจสั่งจ่ายเงิน ข. เจ้าหน้าที่การเงิน
ค. นายทหารเวร ผบ.กองรักษาการณ์ ง. หัวหน้านายทหารการเงิน
190. ผู้บังคับบัญชาจะสั่งให้เสมียนการเงินทำหน้าที่ รับจ่ายเงินนอกสำนักงานการเงินเป็นครั้งคราวได้ไม่เกินคราวละกี่บาท
ก. ไม่เกิน 30,000 บาท ข. ไม่เกิน 40,000 บาท ค. ไม่เกิน 50,000 บาท ง. ไม่เกิน 60,000 บาท
191. การจ่ายเงินเดือนค่าจ้าง ข้อใดถูกต้อง
ก. ส่วนราชการที่เบิกเงินจากคลัง ให้เบิกล่วงหน้าเพื่อเตรียมจ่ายก่อนถึงวันกำหนดจ่ายได้ไม่เกิน 2 วันทำการ
ข. ส่วนราชการทมี่มิได้เบิกเงินจากคลัง ให้ขอรับเงินล่วงหน้าเพื่อเตรียมจ่ายได้ไม่เกิน 1 วันทำการ
ค. การจ่ายเงินเบี้ยหวัด บำนาญประจำเดือน ให้ส่วนราชการเบิกเงินล่วงหน้าล่วงหน้าจากคลังได้
ไม่เกิน 1 วันทำการ
ง. ถูกทุกข้อ
192. ในการจ่ายเงินส่วนราชการ บุคคลในข้อใดไม่มีอำนาจในการตรวจสอบ และ ลงลายมือชื่อรับรองก่อนอนุมัติจ่าย
ตามฎีกาเบิก
ก. หัวหน้านายทหารการเงิน ข. ผู้มีอำนาจสั่งจ่ายเงิน
ค. นายทหารควบคุมการเบิกจ่าย ง. เจ้าหน้าที่การเงิน
193. ในการไปรับจ่ายเงินนอกบริเวนสำนักงานการเงิน จำนวนเงินตั้งแต่กี่บาทขึ้นไปจึงจะจัดให้มีผู้ป้ องกันอันตราย
ก. เกิน 50,000 บาท ข. เกิน 60,000 บาท ค. เกิน 70,000 บาท ง. ไม่มีข้อถูก

194. การไปรับจ่ายเงินนอกบริเวนสำนักงานการเงิน และเงินที่ไปรับเป็นเงินสด หรือ เช็คที่มิได้ขีดคร่อมตั้งแต่กี่บาท


ไม่ต้องจัดให้มีผู้ป้ องกันอันตราย
ก. 10,000 – 30,000 บาท ข. 10,000 – 40,000 บาท ค. 10,000 – 50,000 บาท ง. 10,000 – 60,000 บาท

195. เงินยืมประจำส่วนราชการ เงินยืมประจำเจ้าหน้าที่ เงินยืมชั่วคราว เงินยืมเงินเดือนค่าจ้าง เป็นเงินงบประมาณ


ประเภทใด
ก. เงินนอกงบประมาณประเภทที่ 1 ข. เงินนอกงบประมาณประเภทที่ 2
ค. เงินในงบประมาณ ง. เงินนอกงบประมาณ
196. เงินยืมประจำส่วนราชการ เป็น เงินยืมที่จ่ายให้ส่วนราชการเพื่อใช้จ่ายทดรองราชการ ในกรณีหมดความจำเป็น
ที่ต้องใช้เงิน ยืมนั้น ให้นำเงินส่งคืนภายในกี่วัน
ก. 120 วัน ข. 90 วัน ค. 60 วัน ง. 30 วัน
197. เงินยืมทุกประเภทถ้าผู้ยืมมิได้ชำระคืนภายในกำหนดให้เรียกคืนตามเงื่อนไขการยืมภายในกี่วันนับตั้งแต่วันครบกำหนด
ก. ไม่เกิน 120 วัน ข. ไม่เกิน 90 วัน ค. ไม่เกิน 60 วัน ง. ไม่เกิน 30 วัน
198. ผู้จัดเก็บเงินรายได้แผ่นดินจะต้องดำเนินการให้ได้รับเงินถูกต้องตามกำหนดเวลา และ รีบนำเงินส่ง หน.สำนักงาน
หรือ จนท.การเงินอย่างช้าไม่เกินกี่วัน
ก. 3 วันทำการ ข. 5 วันทำการ ค. 7 วันทำการ ง. 10 วันทำการ

199. เงินที่ได้รับตามโครงการช่วยเหลือ เงินรายรับเพื่อบูรณทรัพย์สิน เป็นเงินราชการประเภทใด


ก. เงินนอกงบประมาณประเภทที่ 2 ข. เงินนอกงบประมาณประเภทที่ 1
ค. เงินในงบประมาณ ง. เงินนอกงบประมาณ
200. เงินบำรุงเป็นเงินที่ได้รับจากการบริจาค หรือ มอบให้เพื่อวัตถุประสงค์ใช้จ่ายในส่วนราชการนั้น ๆ โดยแบ่งเป็น
2 ประเภท ข้อใดคือความหมายของเงินบำรุงประเภทที่ 1
ก. เงินที่ผู้บริจาคมอบให้เพื่อให้ส่วนราชการใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้น ๆ
ข. เงินที่ผู้บริจาคมอบให้โดยไม่กำหนดวัตถุประสงค์
ค. เงินที่ผู้บริจาคมอบให้เพื่อให้ส่วนราชการใช้จ่ายเกี่ยวกับสวัสดิการของข้าราชการลูกจ้างในส่วนราชการนั้นๆ
ง. ไม่มีข้อถูก
201. การรับ - ส่ง หน้าที่ในสำนักงานการเงิน บัญชีส่งหน้าที่ให้จัดทำกี่ชุด และ ส่งให้ผู้มีอำนาจสั่งจ่ายเงินทราบ
ภายในกี่วันนับตั้งแต่ส่งหน้าที่เสร็จ
ก. 2 ชุด ใน 3 วัน ข. 2 ชุด ใน 5 วัน ค. 3 ชุด ใน 7 วัน ง. 3 ชุด ใน 10 วัน
202. เงินช่วยเหลือพิเศษ ถ้าข้าราชการผู้ตายมิได้ระบุเจตนาไว้ หรือ บุคคลที่ระบุเจตนาตายก่อนที่จะมีการจ่ายเงิน
ให้จ่ายแก่บุคคลใดตามลำดับ
ก. บิดา มารดา - บุตร - คู่สมรส ข. คู่สมรส - บุตร - บิดา มารดา
ค. ภรรยา - บุตร - บิดา มารดา ง. บิดามารดา - คู่สมรส - บุตร
203. การขอรับเงินช่วยเหลือพิเศษ ให้กระทำภายในกี่วันนับตั้งแต่วันที่ข้าราชการผู้มีสิทธิรับเงินเดือนตาย
ก. ใน 6 เดือน ข. ใน 3 เดือน ค. ใน 24 เดือน ง. ใน 1 ปี

204. การจ่ายเงินเดือนระหว่างลา ให้ข้าราชการลากิจส่วนตัวได้รับเดือนใน 1 ปี ไม่เกิน 45 วันทำการ แต่ในปี ที่เริ่ม


รับราชการให้รับเงินเดือนระหว่างลาได้ไม่เกินกี่วันทำการ
ก. 15 วันทำการ ข. 30 วันทำการ ค. 45 วันทำการ ง. 10 วันทำการ
205. ข้าราชการที่ได้รับอนุญาต ให้ลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือ ปฏิบัติการวิจัย ให้ได้รับเงินเดือนระหว่างลา
ได้ไม่เกินกี่ปี
ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี .
206 . การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว มี ค่าใช่จ่ายต่าง ๆ
หลายรายการ ข้อใดมิใช่
ก. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง - ค่าเช่าที่พัก ข, ค่าพาหนะ - ค่าเชื้อเพลิง - ค่าเช่าพาหนะ
ค. ค่าระหว่างบรรทุก - ค่าจ้างหาบหาม ง. ค่ารับรอง
207. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจำในต่างประเทศ ข้อใดผิด
ก. ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ ข. ค่าเบี้ยเลี้ยง ค. ค่าเครื่องแต่งตัว ง. ค่ารับรอง - ค่าหาบหาม
208. การเดินทางไปราชการประจำในต่างประเทศ ในกรณีมีความจำเป็นต้องเช่าที่พักแรมเกินระยะเวลาที่กำหนดไว้
จะต้องได้รับความตกลงจากกระทรวงใด
ก. กระทรวงเจ้าสังกัด ข. กระทรวงการคลัง ค. กระทรวงการต่างประเทศ ง. กระทรวงมหาดไทย
209. ผู้เดินทางไปราชการประจำในต่างประเทศ จะเบิกค่าพาหนะสำหรับผู้ติดตามได้จะต้องได้รับอนุญาตจาก
กระทรวงใด
ก. กระทรวงเจ้าสังกัด ข. กระทรวงการคลัง ค. กระทรวงต่างประเทศ ง. กระทรวงมหาดไทย
210. การเดินทางไปราชการประจำในต่างประเทศ ผู้มียศ พ.ท. จะเบิกค่าพาหนะสำหรับผู้ติดตามได้ไม่เกินกี่คน
ก. 3 คน ข. 2 คน ค. 1 คน ง. เบิกไม่ได้
211. การเดินทางไปราชการประจำในต่างประเทศ จะเบิกค่าพาหนะสำหรับผู้ติดตามได้ไม่เกิน 2 คน คือผู้มียศชั้นใด
ก. พล.ต. ข. พ.อ. (พิเศษ) ค. พ.อ. ง. พ.ท.

212. ค่าพาหนะสำหรับ คู่สมรส บุตร และผู้ติดตาม จะเบิกไม่ได้ถ้าไม่ได้ออกเดินทางภายในกำหนดกี่วันนับตั้งแต่


วันที่ข้าราชการผู้นั้นออกเดินทาง
ก. 120 วัน ข. 160 วัน ค. 180 วัน ง. 1 ปี
213. ค่าพาหนะ สำหรับ บุตร ซึ่งเดินทางไปอยู่ในต่างประเทศ หรือ บุตรที่เกิดในระหว่างที่รับราชการ อยู่ในต่างประเทศ
จะเบิกไม่ได้ถ้ามิได้เดินทางกลับภายในกำหนดกี่ปี นับตั้งแต่ข้าราชการ หรือ ลูกจ้างผู้นั้นเดินทางกลับ
ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 1 ปี
214. คู่สมรส บุตร จะเบิกค่าเครื่องแต่งตัวมิได้ถ้าไม่ได้ออกเดินทางภายในกำหนดกี่ปี นับตั้งแต่ข้าราชการ
หรือลูกจ้างผู้นั้นออกเดินทาง
ก. 1 ปี ข. 2 ปี ค. 3 ปี ง. 6 เดือน
215. ข้าราชการ หรือ ลูกจ้างซึ่งเดินทางจากเมืองหนึ่งไปราชการอีกเมืองหนึ่งในประเทศเดียวกัน คู่สมรส บุตร
ซึ่งติดตามไปอยู่ด้วยจะเบิกค่าพาหนะได้ กี่เท่าของเงินเพิ่มพิเศษ
ก. 1 เท่า ข. 2 เท่า ค. 1 เท่าครึ่ง ง. 2 เท่าครึ่ง
216. ข้าราชการ ลูกจ้าง บุตร หรือ คู่สมรสเดินทางจากต่างประเทศกลับประเทศไทย จะเบิกค่าพาหนะได้กี่เท่า
ของเงินเพิ่มพิเศษ
ก. 2 เท่า ข. 1 เท่า ค. 2 เท่าครึ่ง ง. 1 เท่าครึ่ง
217. ข้าราชการ หรือ ลูกจ้างเดินทางไปราชการ จากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่งจะเบิกค่าพาหนะได้กี่เท่าของเงิน
เพิ่มพิเศษ
ก. 2 เท่า ข. 2 เท่าครึ่ง ค. 1 เท่า ง. 1 เท่าครึ่ง
218. ข้าราชการ หรือ ลูกจ้าง รวมทั้งบุตร และ คู่สมรสเดินทางจากประเทศไทยไปปฎิบัติราชการในต่างประเทศ
เบิกค่าพาหนะได้กี่เท่าของเงินเพิ่มพิเศษ
ก. 2 เท่า ข. 2 เท่าครึ่ง ค. 1 เท่า ง. 1 เท่าครึ่ง
219. ถ้าท่านเดินทางไปราชการนอกจังหวัดพื้นที่ที่ตั้งสำนักงานซึ่งปฎิบัติราชการปกติ หรือ ไปราชการจากอำเภอหนึ่ง
ไปยังอำเภอเมืองจังหวัดเดียวกัน ท่านจะต้องเบิกเบี้ยเลี้ยงประเภทใด
ก. ประเภท ข. ข. ประเภท ค. ค. ประเภท ก. ง. ประเภท พิเศษ
220. อัตราเบี้ยเลี้ยงดินทางภายในประเทศ ข้าราชการทหารยศ ร.ต. - ร.อ.เบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
ประเภท ก. และ ข. ได้วันละเท่าไร
ก. ประเภท ก. 180 ข. 108 บาท / วัน ข. ประเภท ก. 120 ข. 72 บาท / วัน
ค. ประเภท ก. 240 ข. 144 บาท / วัน ง. ไม่มีข้อใดถูก
221. อัตราค่าเช่าโรงแรมในประเทศ ข้าราชการยศ ร.ต. - พ.อ. เบิกได้ไม่เกินกี่บาท / วัน
ก. 800 บาท / วัน ข. 1000 บาท / วัน ค. 1200 บาท / วัน ง. 2000 บาท / วัน
222. ประเทศที่มีสิทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้นจากประเภท ก.ได้อีกไม่เกินร้อยละ 40 มีทั้งหมด 3 ประเทศ ข้อใดถูก
ก. สหรัฐอเมริกา - อิตาลี - แคนาดา ข. สหรัฐอเมริกา - ออสเตรเลีย - ออสเตรีย
ค. อิตาลี - สวีเดน - แคนาดา ง. ฝรั่งเศส - รัสเซีย - ญี่ปุ่ น
223. ประเทศที่มีสิทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้นจากประเภท ก.ได้อีกไม่เกินร้อยละ 25 มี 5 ประเทศ ข้อใดถูก
ก. สหรัฐอเมริกา - ไอแลนด์เหนือ - สเปน - อิตาลี - สิงคโปร์
ข. ฝรั่งเศส - รัสเซีย - ญี่ปุ่ น - อิตาลี - แคนาดา
ค. อิตาลี - แคนาดา - รัสเซีย - ออสเตรเลีย – สเปน
ง. สหรัฐอเมริกา - ฝรั่งเศส - สเปน - ออสเตรีย - แคนาดา
224. ประเทศที่สิทธิเบิกค่าเช่าที่พัก ประเภท ก. และ ข. มีประเภทละกี่ประเทศ
ก. ประเภท ก. 33 ข. 70 ประเทศ ข. ประเภท ก. 72 ข. 33 ประเทศ
ค. ประเภท ก. 33 ข. 72 ประเทศ ง. ประเภท ก. 30 ข. 75 ประเทศ
225. ค่ารักษาพยาบาลหมายความว่า เงินที่สถานพยาบาลเรียกเก็บในการรักษาพยาบาล ข้อใดผิด
ก. ค่ายา - ค่าเลือด - ค่าสารทดแทน - ค่าน้ำยา - ค่าออกซิเจน
ข. ค่าตรวจสุขภาพประจำปี - ค่าวิเคราะห์โรค
ค. ค่าอวัยวะเทียม และ อุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค
ง. ค่าบริการทางการแพทย์ - ค่าตรวจ รวมทั้งค่าจ้างพยาบาลพิเศษ - ค่าธรรมเนียมพิเศษ
และ ค่าอื่น ๆ ที่มีลักษณะตอบแทนพิเศษ
226. ต่อไปนี้ข้อใดผิด
ก. การรักษาพยาบาล หมายรวมถึง การตรวจสุขภาพประจำปี
ข. สถานพยาบาล หมายความว่า สถานพยาบาลของทางราชการและสถานพยาบาลเอกชน
ค. สถานพยาบาลเอกชน หมายความว่า สถานพยาบาลที่มีเตียงรับผู้ป่ วยไว้ค้างคืนไม่ต่ำกว่า 25 เตียง
ง. สถานพยาบาลเอกชน หมายความว่าสถานพยาบาลที่มีเตียงรับผู้ป่ วยไว้ค้างคืนเกิน 25 เตียงขึ้นไป
227. ผู้มีสิทธิรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลมีสิทธิรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสำหรับบุตรได้กี่คน
ก. 1 -2 คน ข. 1 - 3 คน ค. 1 - 4 คน ง. 1 - 5 คน
228. บุคคลต่อไปนี้ใครไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพประจำปี
ก. ลูกจ้างชั่วคราว ข. ลูกจ้างประจำ ค. ข้าราชการบำนาญ ง. ข้าราชการ
229. ในกรณีผู้มีสิทธิรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลมีบุตรที่มีสิทธิรับเงินสวัสการยังไม่ถึง 3 คนต่อมา
มีบุตรแฝดทำให้มีบุตรเกิน 3 คน บุตรของผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการจะมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการได้กี่คน
ก. ได้ 1 - 3 คน ข. ได้ 1 - 2 คน ค. ไม่ได้เลย ง. ได้ตั้งแต่คนที่หนึ่งถึงคนสุดท้าย
230. ในกรณีผู้มีสิทธิรับเงินช่วยเหลือไม่อาจยื่นหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาลต่อสถานพยาบาล
ได้ทันก่อนออกจากสถานพยาบาลให้สถานพยาบาลปฎิบัติดังนี้ ข้อใดถูก
ก. เรียกเก็บเงินตามจำนวนที่ผู้มีสิทธิพึงได้รับเงินสวัสดิการการรัษาพยาบาล
ข. ภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับเงินมัดจำให้สถานพยาบาลคืนเงินมัดจำแก่ผู้มีสิทธิ
ค. ในกรณีผู้มีสิทธิ มิได้นำหนังสือรับรองการมีสิทธิมาขอรับเงินมัดจำคืนในระยะเวลาที่กำหนด
ให้สถานพยาบาลยึดเงินมัดจำ
ง. ถูกทุกข้อ
231. ในกรณีผู้มีสิทธิไม่อาจลงลายมือชื่อในใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลด้วยตนเองได้ ข้อใดถูก
ก. กรณีผู้มีสิทธิยังมีสติสัมปชัญญะดีแต่ไม่อาจลงลายมือชื่อได้ให้พิมพ์ลายนนิ้วมือ
ข. กรณีผู้มีสิทธิไม่รู้สึกตัว หรือ ไม่มีสติสัมปชัญญะ และ ไม่อาจลงลายมือชื่อได้ให้บุคคล
ในครอบครัว ผู้อนุบาล หรือ ผู้พิทักษ์ ลงลายมือชื่อแทน
ค. หากไม่มีบุคคลในครอบครัว ตามที่กำหนดใน ข้อ ข. ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้บังคับบัญชา
ง. ถูกทุกข้อ
232. การรับรองการใช้สิทธิ ให้ข้าราชการตั้งแต่ระดับใดขึ้นไปมีอำนาจรับรองการใช้สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของตนเอง
ก. ระดับ 7 ขึ้นไป ข. ระดับ 8 ขึ้นไป ค. ระดับ 9 ขึ้นไป ง. ระดับ 10 ขึ้นไป
233. ส่วนราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม ให้ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ระดับใดขึ้นไปเป็นผู้มีอำนาจรับรองการใช้สิทธิ
เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของข้าราชการ หรือ ลูกจ้างในสังกัด
ก. พ.ท. ขึ้นไป ข. พ.ต. ขึ้นไป พ.อ. ขึ้นไป ง. ผิดทุกข้อ
234. ข้าราชการทหารตั้งแต่ชั้นยศใดขึ้นไป ให้มีอำนาจรับรองการใช้สิทธิเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของตนเอง
ก. พ.อ.(พ) ขึ้นไป ข. พ.อ. ขึ้นไป ค. พล.ต. ขึ้นไป ง. พ.ท. ขึ้นไป
235 ส่วนราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นยศใดขึ้นไปเป็นผู้อนุมัติการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการ
เกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
ก. พ.ต. ขึ้นไป ข. พ.อ.(พ) ขึ้นไป ค. พ.อ. ขึ้นไป ง. พ.ท. ขึ้นไป
235. การขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล กรณีเข้ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่ วยในของโรงพยาบาลยาสูบ โรงพยาบาลรถไฟ
โรงพยาบาลโรคปอดกรุงเทพ ให้ส่วนราชการสังกัดของผู้มีสิทธิเบิกชำระหนี้ ให้โรงพยาบาลข้างต้นภายในกี่วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 60 วัน ง. 90
237. เงินค่าเล่าเรียน หมายความว่าเงินค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ซึ่งสถานศึกษาของเอกชนเรียกเก็บตามอัตราที่กำหนด
จะต้องได้รับอนุญาตจากใคร
ก. กระทรวงศึกษาธิการ ข. ทบวงมหาวิทยาลัย ค. ก. และ ข. ถูก ง. กระทรวงการคลัง
238. พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร บุตร หมายความว่า บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่ง
มีอายุไม่กินกี่ปี ในวันที่ 1 พ.ค.ของทุกปี
ก. ไม่เกิน 25 ปี ข. ไม่เกิน 20 ปี ค. ไม่เกิน 18 ปี ง. ไม่มีข้อถูก
239. บุคคลใดต่อไปนี้ไม่มีสิทธิ์ รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร
ก. ลูกจ้างประจำ ข. ข้าราชการชั้นพลตำรวจที่อยู่ระหว่างการอบรม
ค. ลูกจ้างชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง ง. ข. และ ค. ถูก
240. ผู้มีสิทธิรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร มีสิทธิรับเงินสวัสดิการการศึกษาของบุตรได้เพียงกี่คน
ก. 1 -2 คน ข. 1 - 3 คน ค. 1 - 4 คน ง. 1 - 5 คน
241. บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชน ในหลักสูตรสูงกว่ามัธยมปลาย หรือ เทียบเท่าแต่ไม่สูงกว่าอนุปริญญา
หรือเทียบเท่า และ หลักสูตรนั้นแยกต่างหากจากหลักสูตรปริญญาตรี จะมีสิทธิเบิกค่าเล่าเรียนได้หรือไม่
ก. ได้ตามที่กระทรวงการคลังกำหนด ข. ได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของที่จ่ายจริง
ค. ก. และ ข. ถูก ง. เบิกไม่ได้
242. บุตรที่ศึกษาในสถานศึกษาของเอกชน ในหลักสูตรไม่สูงกว่ามัธยมปลาย หรือ เทียบเท่า มีสิทธิเบิกค่าเล่าเรียนได้หรือไม่
ก. เบิกไม่ได้ ข. เบิกได้ครึ่งหนึ่ง ค. เบิกได้ 1 ใน 3 ง. เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง
243. ในกรณีถูกสั่งพักราชการ หรือ ให้ออกจากราชการไว้ก่อน เมื่อคดีถึงที่สุดปรากฎว่าผู้นั้นได้รับเงินเดือนระหว่าง
ถูกสั่งพักราชการหรือออกราชการไว้ก่อน ให้ผู้มีสิทธินำหลักฐานการรับเงินของสถานศึกษามาเบิกได้
ภายในกี่วันตั้งแต่คดีถึงที่สุด
ก. ใน 365 วัน ข. ใน 180 วัน ค. ใน 120 วัน ง. ใน 90 วัน
244. การรับรองการใช้สิทธิเกี่ยวกับสวัสดิการการศึกษาบุตร ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหม ให้ผู้บังคับบัญชา
ตั้งแต่ระดับใดขึ้นไปเป็นผู้มีอำนาจรับรองสิทธิของข้าราชการ หรือ ลูกจ้างในหน่วยงานนั้น
ก. พ.อ.ขึ้นไป ข. พ.ท. ขึ้นไป ค. พ.ต. ขึ้นไป ง. พ.อ.(พ) ขึ้นไป
245. การรับรองการใช้สิทธิเกี่ยวกับสวัสดิการการศึกษาบุตร ข้าราชการทหารชั้นยศใดขึ้นไปมีอำนาจรับรอง
การใช้สิทธิของตนเอง
ก. พ.ท. ขึ้นไป ข. พ.ต. ขึ้นไป ค. พ.อ.(พ) ขึ้นไป ง. พ.อ. ขึ้นไป
246. ใบสำคัญรับเงินเบี้ยเลี้ยงทำเป็นสามฉบับ พิมพ์ต่างสีชุดเดียวกัน มี สีขาว - สีชมพู - สีเขียว สีที่ใช้เป็นหลักฐาน
ประกอบเอกสารจ่าย คือสีอะไร
ก. สีขาว ข. สีเขียว ค. ทั้งสามสี ง. สีชมพู
247. ใบสำคัญรับเบี้ยเลี้ยงสีขาวใช้ประกอบหลักฐานอะไร
ก. หน่วยเบิกเก็บเป็นหลักฐาน ข. ใช้ประกอบเอกสารจ่าย
ค. เจ้าหน้าที่การเงินเก็บเป็นหลักฐาน ง. ใช้เป็นใบสำคัญประกอบฎีกาเบิก
248. บัญชีอัตราเบี้ยเลี้ยง สำหรับผู้ถูกเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชาทหาร เพื่อทดลองความพรั่งพร้อม และ
การระดมพล กี่บาท / วัน
ก. 50 บาท / วัน ข. 58 บาท / วัน ค. 71 บาท / วัน ง. 60 บาท / วัน
249. พระราชบัญญัติเงินเดือนของข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการ ถ้าข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการ จำเป็นต้อง
ส่งมอบงาน ให้เบิกจ่ายเงินเดือนให้ถึงวันส่งมอบงานเสร็จ แต่ต้องไม่เกินกี่วันตั้งแต่วันทราบคำสั่ง
ก. 7 วัน ข. 10 วัน ค. 15 วัน ง. 30 วัน
250. ข้อใดกล่าวถึงเงินเดือนระหว่างพักราชการได้ถูกต้อง
ก. ถ้าข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการมิได้กระทำความผิด และ ไม่มีมลทิน หรือ มัวหมอง ให้จ่ายเต็ม
ข. ถ้าข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการได้กระความผิด และ ถูกลงโทษให้ออก ไล่ออก ปลดออกห้ามมิให้จ่าย
ค. ถ้าข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการเสียชีวิตก่อนคดีถึงที่สุด ให้เจ้ากระทรวงพิจารณาตามหลักฐาน
ที่มีอยู่ว่าจะจ่าย หรือ ไม่จ่าย
ง. ถูกทุกข้อ

251. ข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการ ตัด งด และ จ่ายเงินเดือน หากผู้ถูกควบคุมตัวต้องส่งมอบงานระหว่างควบคุมตัว


ให้จ่ายเงินเดือน และ ค่าเช่าบ้านในระหว่างส่งมอบงานนั้นด้วย แต่ต้องไม่เกินกี่วัน
ก. 10 วัน ข. 15 วัน ค. 7 วัน ง. 30 วัน
252. การตรวจค้นยานพาหนะของทางราชการ เช่น รถสงคราม เครื่องบิน เรือซึ่งชักธงราชนาวี ขณะปฏิบัติราชการ
และ มีนายทหารสัญญาบัตรควบคุมยานพาหนะนั้น จนท. ผู้ตรวจค้นจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา
ชั้นใดก่อนตรวจ
ก. ผบ.พล ขึ้นไป ข. ผบ.กรม ขึ้นไป ค. ผบ.พัน ขึ้นไป ง. ไม่มีข้อถูก
253. ฝ่ ายทหารจะทำการสอบสวนการกระทำผิดของทหารตามกฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลทหารได้เฉพาะกรณี
ต่อไปนี้ ข้อใดถูก
ก. คดีที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร
ข. คดีอาญาเกี่ยวด้วยวินัยทหารตามกฎหมายวินัยทหาร
ค. คดีอาญาเกี่ยวด้วยความลับของทางราชการทหาร
ง. ถูกทุกข้อ
254. ในกรณีทหารและตำรวจก่อการวิวาทกัน ไม่ว่าจะมีบุคคลภายนอกร่วมกระทำผิดด้วยหรือไม่ก็ตาม ให้ฝ่ ายตำรวจ
รายงานเหตุการณ์ถึงใคร
ก. รายงาน รมต. มหาดไทย
ข. รายงานผู้บังคับบัญชาทหารโดยตรง
ค. รายงานตามลำดับชั้นถึงผู้บัญชาการตำรวจนครบาล ในกรุงเทพฯ หรือ รายงานถึง
หัวหน้าตำรวจภูธร ในต่างจังหวัด
ง. รายงาน รมต. กลาโหม
255. ศาลทหารตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498 แบ่งเป็น 3 ชั้น ข้อใดถูก
ก. ศาลชั้นต้น - ศาลทหารกลาง - ศาลทหารสูงสุด
ข. ศาลชั้นต้น - ศาลทหารกรุงเทพ - ศาลทหารสูงสุด
ค. ศาลมณฑลทหาร - ศาลทหารกลาง - ศาลทหารสูงสูด
ง. ศาลชั้นต้น - ศาลประจำหน่วยทหาร - ศาลทหารสูงสุด
256. ศาลชั้นต้นมีกี่ศาลอะไรบ้าง
ก. 3 ศาล ศาลจังหวัดทหาร - ศาลทหารกรุงเทพ - ศาลมณฑลทหาร
ข. 2 ศาล ศาลประจำหน่วยทหาร - ศาลจังหวัดทหาร
ค. 3 ศาล ศาลจังหวัดทหาร - ศาลประจำหน่วยทหาร - ศาลทหารกรุงเทพ
ง. 4 ศาล ศาลจังหวัดทหาร - ศาลมณฑลทหาร - ศาลทหารกรุงเทพ - ศาลประจำหน่วยทหาร
257. เมื่อทหารปฏิบัติหน้าที่อยู่นอกอาณาจักร หรือ กำลังเดินทางเพื่อไปปฏิบัติหน้าที่นอกอาณาจักร และ มีกำลังพล
ไม่น้อยกว่ากี่กองพันให้จัดตั้งศาลประจำหน่วยทหาร
ก. 2 กองพัน ข. 1 กองพัน ค. 3 กองพัน ง. 1 กองพล
258. ใครมีอำนาจแต่งตั้ง ถอดถอนตุลาพระธรรมนูญ ศาลทหารกลาง ศาลทหารสูงสุด
ก. รมต. กลาโหม ข. ผบ.สูงสุด
ค. ผบ.ทบ. ง. กราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้ง
259. ต่อไปนี้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องถึงคดีที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร
ก. คดีที่ต้องดำเนินการในศาลคดีเด็ก และ เยาวชน
ข. คดีที่ศาลทหารว่าไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร
ค. คดีที่เกี่ยวพันกับคดีที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร
ง. คดีที่บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารกับบุคคลมิได้อยู่ในอำนาจศาลทหารกระทำผิดร่วมกัน
260. ศาลมณฑลทหาร ศาลทหารกรุงเทพ ศาลประจำหน่วยทหาร มีตุลาการพระธรรมนูญกี่นายในการพิจารณาคดี
ก. 1 นาย ข. 2 นาย ค. 3 นาย ง. 4 นาย
261. ศาลทหารสูงสุด จะต้องมีตุลาการห้านายเป็นองค์พิจารณาคดี ข้อใดถูกต้อง
ก. นายพล 3 นาย ตุลาการพระธรรมนูญ 2 นาย
ข. ชั้นนายพล 2 นาย ตุลาการพระธรรมนูญ 3 นาย
ค. นายทหารชั้นนายพัน 2 นาย ตุลาการพระธรรมนูญ 2 นาย ชั้นนายพล 1 นาย
ง. ชั้นนายพล 4 นาย ตุลาการพระธรรมนูญ 1 นาย
262. ใครเป็นผู้มีอำนาจ แต่งตั้ง ถอดถอน ตุลาการ ศาลทหารกรุงเทพ
ก. ผบ.ทบ. ข. ผบ.สูงสุด ค. รมต. กลาโหม ง. กราบบังคมทูลทรงแต่งตั้ง
263. ตุลาการพระธรรมนูญ เป็นตุลาการในศาลทหารได้ทุกศาล แต่ต้องมียศ ตามชั้นศาล ข้อใดผิด
ก. ศาลชั้นต้น เป็นชั้นนายร้อย ข. ศาลทหารกลาง เป็นชั้นนายพัน
ค. ศาลทหารสูงสุด เป็นชั้น พ.อ. อัตราเงินเดือน พ.อ.(พ)

ง. ศาลทหารสูงสุด เป็นชั้น พ.ท. อัตราเงินเดือน(พ.อ.)


264. การพิจารณาคดีของศาลทหาร ในคดีที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่กี่ปี ขึ้นไป ถ้าจำเลยแถลงต่อศาลก่อน
พิจารณาคดีว่ายากจนและต้องการทนาย ก็ให้ศาลตั้งให้
ก. เกิน 5 ปี แต่ไม่ถึง 7 ปี ข. เกิน 5 ปี แต่ไม่ถึง 8 ปี
ค. เกิน 5 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี ง. เกิน 3 ปี แต่ไม่ถึง 8 ปี
265. การอุทธรณ์ และ ฎีกา ของศาลทหารในเวลาปกติ โจทก์ หรือ จำเลย จะอุทธรณ์ หรือ ฎีกาได้ภายในกี่วัน
ก. ใน 10 วัน ข. ใน 15 วัน ค. ใน 30 วัน ง. ใน 45 วัน
266. การอุทธรณ์ และ ฎีกา ศาลทหาร ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการตาม ม.30 หรือ ผู้มีอำนาจลงโทษจะอุทธรณ์ หรือ
ฎีกา ได้ภายในกี่วัน
ก. ใน 30 วัน ข. ใน 15 วัน ค. ใน 10 วัน ง. ใน 45 วัน

267. การบังคับตามคำพิพากษาของศาลทหาร ใครเป็นผู้มีอำนาจลงโทษตามคำพิพากษาของศาล จังหวัดทหาร


ศาลมณฑล ทหาร ศาลทหารกรุงเทพ
ก. ผู้บังคับบัญชาของจำเลยชั้น ผบ.พล ขึ้นไป ข. ผู้บังคับบัญชาชั้น ผบ.พัน ที่อยู่ต่างถิ่นกับ ผบ.พล
ค. ก. และ ข.ถูก ง. รมต. กลาโหม
268. พระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พ.ศ. 2476 ได้กำหนดตัวอย่างการกระทำผิดวินัยทหารไว้ 9 ข้อ ข้อใดคือ
การกระทำผิดวินัย ข้อที่ 3 และ 4
ก. ไม่รักษาระเบียบการทำความเคารพระหว่างผู้ใหญ่ผู้น้อย - ก่อให้แตกความสามัคคีในคณะทหาร
ข. กล่าวคำเท็จ - ใช้กิริยาวาจาไม่สมควร หรือ ประพฤติไม่สมควร
ค. ก่อให้แตกความสามัคคีในคณะทหาร - กล่าวคำเท็จ
ง. ไม่รักษามรรยาทให้ถูกต้องตามแบบธรรมเนียมทหาร - ก่อให้แตกความสามัคคีในคณะทหาร
269. ทัณฑ์ที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารในหมวด 2 นั้นกำหนดไว้กี่สถาน
ก. 6 สถาน ข. 5 สถาน ค. 4 สถาน ง. 7 สถาน
270. จากตารางเกณฑ์เทียบชั้นผู้ลงทัณฑ์ และ รับทัณฑ์ ผบ.พัน. เป็นผู้ลงทัณฑ์ และ รับทัณฑ์ ชั้นใด
ก. ลงทัณฑ์ชั้น 4 รับ ชั้น ก ข. ลงทัณฑ์ชั้น 6 รับ ชั้น ค
ค. ลงทัณฑ์ชั้น 5 รับ ชั้น ข ง. ลงทัณฑ์ 7 รับ ชั้น ง
271. ถ้าท่านได้เป็นนายทหารสัญญาบัตร ตำแหน่ง ผู้บังคับหมวดปื นเล็ก ร.1 พัน.4 ท่านจะมีอำนาจลงทัณฑ์
และรับทัณฑ์ชั้นใด
ก. ลงทัณฑ์ ชั้น 9 รับ ชั้น ฉ ข. ลงทัณฑ์ ชั้น 8 รับ ชั้น จ
ค. ลงทัณฑ์ ชั้น 9 รับ ชั้น ช ง. ลงทัณฑ์ ชั้น 8 รับ ชั้น ฉ
272. ต่อไปนี้ข้อใดผิด
ก. หมายร้องทุกข์จะต้องมีลายมือชื่อของผู้ร้องทุกข์ ถ้าไม่มีลายมือชื่อผู้บังคับบัญชาจะไม่พิจารณา
ข. ถ้าจะกล่าวทุกข์ผู้ใดจะต้อง ให้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นโดยตรง
ค. ห้ามร้องทุกข์ ในขณะกำลังเข้าแถว ปฏิบัติหน้าที่เวรยาม
ง. ถ้าผู้บังคับบัญชาได้รับเรื่องร้องทุกข์เมื่อใด ต้องรีบไต่สวน และ จัดการโดยเร็วภายใน 15 วัน
273. ระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยผู้ซึ่งไม่สมควรจะดำรงอยู่ใน ยศทหาร และ บรรดาศักดิ์ พ.ศ. 2507 ต่อไปนี้โทษ
ในข้อใดไม่ต้องถอด ยศ และ บรรดาศักดิ์
ก. ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง
ข. ต้องคดีอาญา
ค. หนีราชการในเวลาประจำการ
ง. เปิ ดเผยความลับของทางราชการจนเกิดความเสียหายแก่ประเทศชาติอย่างร้ายแรง
274. ผู้ซึ่งไม่สามารถดำรงอยู่ในยศทหาร และ บรรดาศักดิ์ ชั้นสัญญาบัตรให้รายงาน รมต. กลาโหมเพื่อพิจารณา
ถอดถอนจาก ยศ และ บรรดาศักดิ์ แต่สำหรับข้าราชการกลาโหมต่ำกว่าชั้นสัญญาบัตร ซึ่งมีบรรดาศักดิ์ด้วยจะต้อง
รายงานถึงใครเพื่อ ถอดจาก ยศ และ บรรดาศักดิ์
ก. ผบ.ทบ. ข. มทภ. ค. รมต.กห. ง. ผบ.พล
275. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 บรรดามาตรการที่กำหนดขึ้นตลอดจนการดำเนิน
การทั้งปวง เพื่อที่จะ พิทักษ์รักษา คุ้มครอง ป้ องกัน สิ่งที่เป็นความลับทางราชการให้พ้นจากการ รั่วไหล
การจารกรรม บ่อนทำลาย ก่อวินาศกรรม เรียกว่า
ก. การรักษาความปลอดภัย ข. การป้ องกันอันตราย
ค. การตรวจการณ์ ง. การเฝ้ าตรวจ
276. การกระทำใด ๆ ในทางลับเพื่อให้ได้ล่วงรู้ หรือ ได้ไปสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการแก่ผู้ไม่มีอำนาจหน้าที่ เรียกว่า
ก. การบ่อนทำลาย ข. การแทรกซึม
ค. การโจรกรรม ง. การจารกรรม
277. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 เอกสาร หมายถึง
ก. ข่าวสารที่บันทึกไว้ในแบบใด ๆ ข. สิ่งที่พิมพ์ เขียน วาด ระบาสี
ค. แถบบันทึก ภาพถ่าย ฟิ ล์ม ง. ทุกข้อคือ เอกสาร
278. การกระทำใด ๆ ที่มุ่งก่อให้เกิดความแตกแยก ปั่นป่ วน กระด่างกระเดื่อง อันจะนำไปสู่การก่อความไม่สงบ
หรือ ความอ่อนแอ ภายในชาติ หมายถึง
ก. การมุ่งทำลาย ข. การบ่อนทำลาย ค. การก่อการร้าย ง. การแทรกแซง
279. สิ่งของทั้งหลายที่ใช้ประจำกาย ประจำหน่วย ทหาร ตำรวจ เช่น เครื่องนุ่งห่ม เครื่องมือ ยานพาหนะ อาวุธ เรียกว่า
ก. บริภัณฑ์ ข. ยุทโธปกรณ์ ค. ยุทธภัณฑ์ ง. อุปกรณ์
280. การที่บุคคลมีอำนาจหน้าที่ หรือ ได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาให้ได้ทราบ ครอบครอง ดำเนินการ หรือ
เก็บรักษาสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ รวมทั้งการที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในที่ซึ่งน่าจะได้ทราบเกี่ยวกับ
สิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ หมายถึง
ก. การเข้าถึง ข. ความไว้วางใจ ค. การรักษา ง. การเข้าหา
281. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 แบ่งการรักษาความปลอดภัยออกเป็นกี่ประเภท
ก. 6 ประเภท ข. 5 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 3 ประเภท
282. ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. การรักษาความปลอดภัย เกี่ยวกับ บุคคล – เอกสาร – สถานที่
ข. กรมประมวลข่าวกลาง สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นองค์การรักษาความปลอดภัยฝ่ ายพลเรือน
ค. ศูนย์รักษาความปลอดภัย สำนักผู้บัญชาการทหารสูงสุด กระทรวงกลาโหม เป็นองค์การรักษา
ความปลอดภัยฝ่ ายทหาร
ง. ถูกทุกข้อ

283. ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ชั้นความลับของทางราชการ ข้อใดถูกต้อง


ก. ลับที่สุด – ลับมาก – ลับ ข. ลับที่สุด – ลับมาก – ลับ - ปกปิ ด
ค. ลับที่สุด – ลับมาก – ปกปิ ด ง. ลับที่สุด – ลับมาก – ลับเฉพาะ
284. แผนการระดมพล และ แผนการระดมสรรพกำลัง การประมาณการข่าวกรองเกี่ยวกับความสามารถของข้าศึก
เอกสารเกี่ยวกับแผนการทำสงคราม หรือ แผนป้ องกันประเทศ จัดอยู่ในชั้นความลับใด
ก. ลับ ข. ลับมาก ค. ลับที่สุด ง. ไม่มีข้อถูก
285. ความลับที่มีความสำคัญมากเกี่ยวกับ ข่าวสาร วัตถุ บุคคล ถ้าความลับดังกล่าวทั้งหมด หรือ เพียงบางส่วน
รั่วไหลไปถึงบุคคลที่ไม่มีอำนาจหน้าที่ จะทำให้เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติอย่างร้ายแรง เป็นความหมาย
ของชั้นความลับใด
ก. ลับมาก ข. ลับที่สุด ค. ลับ ง. ปกปิ ด
286. ต่อไปนี้ข้อใดถูก
ก. ชั้นความลับ ” ลับ” ได้แก่ความที่มีความสำคัญเกี่ยวกับ บุคคล เอกสาร สถานที่ ถ้าความลับทั้งหมด
หรือ เพียงบางส่วน รั่วไหล ถึงบุคคลที่ไม่มีอำนาจหน้าที่ จะทำให้เกิดความเสียหายต่อทางราชกการ
ข. ความถี่วิทยุสื่อสาร สัญญาณบอกฝ่ าย พิสูจน์ฝ่ าย ตลอดจนรายการที่ตั้งสถานีวิทยุสื่อสารจัดอยู่ใน
ชั้นความลับ “ ลับ “
ค. การเคลื่อนย้ายทางธุรการ จัดอยู่ในชั้นความลับ “ ลับ “
ง. ถูกทุกข้อ
287. ต่อไปนี้ข้อใดผิด
ก. ข่าวสารจากแหล่งข่าวเปิ ด ซึ่งรวบรวมขึ้นเพื่อประโยชน์ในการข่าวกรอง จัดอยู่ในชั้นความลับ “ ปกปิ ด “
ข. “ปกปิ ด” ได้แก่ความลับซึ่งไม่พึงเปิ ดเผยให้ผู้ไม่มีอำนาจหน้าที่ทราบ โดยสงวนไว้ให้ทราบเฉพาะบุคคล
ที่มีอำนาจหน้าที่ เพื่อประโยชน์ในทางราชการ
ค. เอกสารเกี่ยวกับความต้องการ จัดหา และ การส่งกำลังของคลังวัสดุของทางราชการ
จัดอยู่ในชั้นความลับ “ ลับ “
ง. แผนการ หรือ คำสั่งที่มิได้จัดไว้ในชั้นความลับอื่น ซึ่งอยู่ระหว่างการดำเนินการ และ ไม่สมควรเปิ ดเผย
จัดอยู่ในชั้นความลับ “ปกปิ ด”
288. ใครเป็นผู้มีอำนาจกำหนดชั้นความลับ และ รับรองความไว้วางใจ ในชั้น ลับที่สุด ตามลำดับ
ก. ผบ.กรม / ผบ.กรม ข. ผบ.พล – ผบ.หน่วยชั้น ผบ.พล ขึ้นไป / ผบ.พล ขึ้นไป
ค. ผบ.พล / ผบ.กรม ง. ไม่มีข้อถูก
289. ในการตรวจสอบประวัติ และ พฤติการณ์ของบุคคล บุคคลในข้อใดต่อไปนี้ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบเป็นพิเศษ
ก. บุคคลที่จะได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ หรือ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญในส่วนราชการ
ข. บุคคลที่มี เชื้อชาติ สัญชาติ ภูมิลำเนา อยู่ในประเทศที่มีนโยบายเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ
ค. บุคคลที่เป็นเชลยศึกสงคราม
ง. บุคคลที่ติดต่อกับองค์การ หรือ บุคคลที่มีพฤติการณ์เป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ

290. การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับเอกสาร จะต้องพิจารณาถึงหัวข้อใดบ้างในการกำหนดชั้นความลับ


ก. ผู้มีอำนาจกำหนดชั้นความลับ ข. เครื่องหมายแสดงชั้นความลับ
ค. ความรับผิดชอบในการกำหนดชั้นความลับ ง. ทุกข้อ
291. การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล ในการดำเนินการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคลจะต้องพิจารณา
ถึงเรื่องใดบ้าง
ก. การรับรองความไว้วางใจบุคคล เพื่อให้เข้าถึงชั้นความลับต่าง ๆ
ข. การอบรมเรื่องการรักษาความปลอดภัย – การทะเบียนความไว้วางใจบุคคล
ค. การตรวจสอบบุคคล เพื่อบรรจุเป็นข้าราชการและเพื่อกำหนดความไว้วางใจ
ง. ทุกข้อ
292. ใครเป็นผู้มีอำนาจกำหนดชั้นความลับ ลับที่สุด
ก. อธิบดี – หัวหน้าคณะทูต ข. ผู้ช่วยฝ่ ายทหาร – ผบ.ตำรวจ
ค. ผบ.ทบ. – ผบ.สูงสุด ง. ถูกทุกข้อ
293. บุคคลในข้อใดต่อไปนี้ ไม่มีอำนาจกำหนดชั้นความลับ ลับมาก
ก. หัวหน้ากอง ข. ผบ.กรม ค. ผบ.หมวด ง. ผบ.ร้อยอิสระ
294. ต่อไปนี้ข้อใดจับคู่ไม่ถูกต้อง
ก. ลับที่สุด / อธิบดี ข. ลับมาก / ผู้บังคับการเรือชั้นสาม
ค. ลับ / หน.แผนก ง. ลับมาก / ผบ.ร้อยอิสระ
295. ต่อไปนี้ข้อใดกล่าวถึงการปรับชั้นความลับ และยกเลิกชั้นความลับไม่ถูกต้อง
ก. เอกสารจะ ลด เพิ่ม ยกเลิก ชั้นความลับได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากเจ้าของเรื่องเดิมแล้ว
ข. ถ้าสามารถกำหนดล่วงหน้าได้ให้เจ้าของเรื่องเดิมแสดงข้อความในการปรับชั้นความลับไว้หน้าแรกของเอกสาร
ค. ผู้บังคับบัญชาตามลำดับสายงาน มีอำนาจปรับชั้นความลับได้โดยไม่ต้องแจ้งให้เจ้าของเรื่องเดิมทราบ
ง. ผู้บังคับบัญชาตามลำดับสายงาน มีอำนาจปรับชั้นความลับได้แต่ต้องแจ้งให้เจ้าของเรื่องเดิมทราบ

296. การตรวจเอกสารลับ ซึ่งมีอยู่ในทะเบียนเอกสารลับ รปภ. 19 จะกระทำเมื่อใด


ก. ทุก 6 เดือน
ข. ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนตัวนายทะเบียนเอกสารลับ
ค. ทุก 3 เดือน
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
297. เมื่อได้รับคำสั่งให้โอนเอกสารลับใด ๆ ระหว่างส่วนราชการให้ จนท. ผู้โอน และ ผู้รับ ทำใบรับรองการโอนเอกสารลับ ไว้
เป็นหลักฐาน ข้อใดคือใบรับรองการโอนเอกสารลับ
ก. รปภ.13 ข. รปภ. 14 ค. รปภ. 15 ง. รปภ. 16
298. เมื่อมีคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ทำลายเอกสารลับ เมื่อทำลายเอกสารลับนั้นแล้วให้จัดทำใบรับรองการทำลายเอกสารลับ
ข้อใดคือใบรับรองการทำลายเอกสารลับ
ก. รปภ. 14 ข. รปภ. 15
ค. รปภ. 16 ง. รปภ. 17
299. ต่อไปนี้ข้อใดถูก
ก. การบรรจุเอกสารลับ เอกสารลับที่สุด ลับมาก จะต้องบรรจุซอง หรือ ห่อ ทึบแสงสองชั้นอย่างมั่นคง
ข. เจ้าหน้าที่นำสารที่จะส่ง เอกสารลับที่สุด ลับมากจะต้องเป็นข้าราชการชั้นตรี หรือ เทียบเท่าขึ้นไป
ค. จนท. นำสารที่ส่ง เอกสารลับที่สุด ลับมาก จะต้องผ่านการตรวจประวัติ และ ขึ้นทะเบียนความไว้วางใจ
ไม่ต่ำกว่าชั้นความลับของเอกสารที่ส่ง
ง. ถูกทุกข้อ
300. การเก็บเอกสารลับที่สุด และ ลับมาก ให้ปลอดภัย จะต้องเก็บที่ใด และ ใช้กุญแจชนิดใด
ก. เอกสารลับที่สุด และ ลับมาก จะต้องเก็บไว้ในห้องนิรภัย หรือ ตู้นิรภัย
ข. กุญแจระหัส ชนิดเปลี่ยนหมายเลขระหัสไดตั้งแต่ สามชั้น ขึ้นไป
ค. กุญแจระบบกระเดื่องชนิดคุณภาพดีควรมีกระเดื่องตั้งแต่หกอันดับ ขึ้นไป
ง. ถูกทุกข้อ
301. ในการเก็บเอกสาร ลับที่สุด ลับมาก เลขระหัสสำหรับห้องนิรภัย หรือ ตู้นิรภัยและ ตู้เก็บลูกกุญแจรวมควรจะ
เปลี่ยนเมื่อใด ข้อใดผิด
ก. เมื่อมีการเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ในสำนักงานที่รู้ระหัสกุญแจนั้น
ข. เมื่อความลับรั่วไหล หรือ สงสัยว่าจะรั่วไหล
ค. ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้แน่นอนทุก ๆ สาม เดือน
ง. ตามห้วงระยะเวลาไม่นานกว่าหกเดือนต่อหนึ่งครั้ง
302. การทำลายเอกสารลับ ให้นายทะเบียนเอกสารลับ หรือ ผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับ บันทึกการทำลายไว้ใน
ใบรับรองการทำลายเอกสารลับ รปภ. 15 จำนวน 2 ชุด เก็บไว้เป็นหลักฐานไม่น้อยกว่ากี่ปี
ก. 1 ปี ข. 2 ปี ค. 3 ปี ง. 6 เดือน
303. ข้อใดคือความมุ่งหมายของการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่
ก. เพื่อกำหนดมาตรฐานในการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ทางราชการ
ข. เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ของส่วนราชการ
ค. เพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการดำเนินมาตรการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ของทางราชการ
ง. ถูกทุกข้อ
304. ในการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ ภยันตรายที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ แบ่งเป็นกี่อย่าง อะไรบ้าง
ก. 3 อย่าง การกระทำทั่วไป / การทำเปิ ดเผย / การกระทำทางลับ
ข. 2 อย่าง การกระทำโดยทางลับ / การกระทำโดยทางเปิ ดเผย
ค. 2 อย่าง การกระทำโดยทั่วไป / การกระทำโดยเปิ ดเผย
ง. 3 อย่าง กระทำโดยทางตรง / กระทำโดยเปิ ดเผย / กระทำทางลับ
305. ข้อใดมิใช่มาตรการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่
ก. เครื่องกีดขวางแบ่งเป็น 2 อย่าง เครื่องกีดขวางทางธรรมชาติ และ เครื่องกีดขวางที่ มนุษย์ทำขึ้น
ข. การให้แสงสว่างมี 2 อย่าง ให้แสงสว่างโดยตรง และ ให้แสงสว่างโดยรอบ
ค. จัดที่จอดรถให้อยู่ห่างจากตัวอาคารที่สำคัญ และ หรือ สิ่งของที่ติดไฟง่ายไม่น้อยกว่า 10 เมตร
ง. จัดที่จอดรถให้อยู่ห่างจากตัวอาคารที่สำคัญ และ หรือ สิ่งของที่ติดไฟง่ายไม่น้อยกว่า 6 เมตร
306. เขตห้วงห้ามเฉพาะ คือ เขตพื้นที่ซึ่งมีสิ่งที่เป็นความลับตลอดจน บุคคล หรือ สิ่งที่มีความสำคัญ ซึ่งจะต้อง
พิทักษ์รักษา ข้อใดไม่จัดอยู่ในพื้นที่เขตหวงห้ามเฉพาะ
ก. ศูนย์ปฏิบัติการสื่อสาร ข. ที่เก็บอาวุธ / เก็บเชื้อเพลิง
ค. ชุมสายโทรศัพท์ ง. กองบังคับการทหาร
307. ข้อใดกล่าวผิด
ก. เขตหวงห้ามเด็ดขาด คือ เขตพื้นที่ซึ่งมีสิ่งที่เป็นความลับตลอดจน บุคคล หรือ สิ่งของที่มีความสำคัญยิ่ง
ซึ่งจะต้องพิทักษ์รักษา
ข. เขตหวงห้ามเด็ดขาด คือ เขตพื้นที่ซึ่งมีสิ่งที่เป็นความลับตลอดจนบุคคล หรือ สิ่งที่มีความสำคัญ
ซึ่งจะต้องพิทักษ์รักษา
ค. เขตหวงห้ามเฉพาะ คือ เขตพื้นที่ซึ่งมีสิ่งที่เป็นความลับตลอดจน บุคคล หรือ สิ่งที่มีความสำคัญ
ซึ่งจะต้องพิทักษ์รักษา
ง. พื้นที่ควบคุม คือ พื้นที่ที่อยู่ติดต่อ หรือ อยู่โดยรอบพื้นที่หวงห้าม
308. ต่อไปนี้ข้อใดมิได้จัดอยู่ในเขตพื้นที่ หวงห้ามเด็ดขาด
ก. ห้องงปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ข. ห้องปฏิบัติการลับ
ค. ศูนย์ปฏิบัติการสื่อสาร ง. ชุมสายโทรศัพท์
309. ข้อใดคือมาตรการการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ
ก. การกำหนดพื้นที่ที่มีการรักษาความปลอดภัย ข. ที่ทำการของผู้เข้าประชุม
ค. การตรวจประจำวัน / การตรวจทางเทคนิค ง. ทุกข้อ
310. การรักษาความปลอดภัยในการประชุม กำหนดให้มีบัตรผ่านหรือป้ ายแสดงตนอย่างน้อย 3 แบบ
สำหรับใช้ในการควบคุม ข้อใดผิด
ก. แบบที่ 1 สำหรับผู้เข้าประชุม / ผู้เข้าฟังการประชุม / ผู้เข้าถึงการประชุม
ข. แบบที่ 2 สำหรับเจ้าหน้าที่เทคนิค / เจ้าหน้าที่บริการ / เจ้าที่ทำความสะอาด
ค. แบบที่ 2 สำหรับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ในการประชุม
ง. แบบที่ 3 สำหรับเจ้าหน้าที่เทคนิค / เจ้าหน้าที่ทำความสะอาด / ช่างฝีมือ
311. ข้อใด คือ ความมุ่งหมายการปฏิบัติเมื่อเกิดการละเมิดการรักษาความปลอดภัย
ก. ลดความเสียหายให้เหลือน้อยที่สุด
ข. ป้ องกันมิให้เกิดการละเมิดการรักษาความปลอดภัยซ้ำ
ค. หาข้อบกพร่อง สาเหตุ ผลเสียหายเพื่อปรับปรุงแก้ไข
ง. ถูกทุกข้อ
312. สาเหตุแห่งการละเมิดรักษาความปลอดภัย มีกี่ประการ อะไรบ้าง
ก. 1 ประการ ขาดวินัย
ข. 2 ประการ ขาดจิตสำนึก / ขาดวินัย
ค. 2 ประการ ขาดจิตสำนึก และ วินัย / การจารกรรม และ การก่อวินาศกรรม
ง. 1 ประการ การจารกรรม
313. ข้อใดคือหน้าที่ความรับผิดชอบของนายทะเบียนเอกสาร
ก. พิทักษ์รักษาบรรดาเอกสารลับที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนเอง
ข. เก็บรักษาบัญชี และ ลายมือชื่อนายทะเบียนเอกสารลับ และ ผู้ช่วยของส่วนราชการในสังกัด
ค. ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับ ยกเลิก ชั้นความลับ แจกจ่าย และ ทำลายเอกสารลับ
ง. ถูกทุกข้อ
314. แบบเอกสารที่ใช้ในการรักษาความปลอดภัยมีทั้งหมด 20 แบบ รปภ.3 และ รปภ.4 คือแบบเอกสารใดตามลำดับ
ก. ใบรับรองความไว้วางใจ / ทะเบียนความไว้วางใจ
ข. ทำเนียบลับที่สุดและลับมาก / ใบรับเอกสารลับ
ค. ใบปกเอกสารลับที่สุด / ใบปกเอกสารลับมาก
ง. ใบปกเอกสารลับ / ใบปกเอกสารปกปิ ด
315. ข้อใดผิด
ก. ลับที่สุด หมายถึงข้อมูลข่าวสารลับซึ่งหากเปิ ดเผยทั้ง หรือ เพียงบางส่วน อาจเกิดความเสียหาย
แก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่างร้ายแรงที่สุด
ข. ลับมาก หมายถึงข้อมูลข่าวสารลับซึ่งหากเปิ ดทั้งหมด หรือ เพียงบางส่วน อาจก่อให้เกิดความเสียหาย
แก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่างร้ายแรง
ค. ลับ หมายถึงข้อมูลข่าวสารลับซึ่งหากเปิ ดเผยทั้งหมด หรือ เพียงบางส่วน อาจก่อให้เกิดความเสียหาย
แก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่างร้ายแรง
ง. ลับ หมายถึงข้อมูลข่าวสารลับซึ่งหากเปิ ดเผยทั้งหมด หรือ เพียงบางส่วน อาจก่อให้เกิดความเสียหาย
แก่ประโยชน์แห่งรัฐ
316. การกำหนดให้ข้อมูลข่าวสารลับอยู่ในชั้นความใดให้พิจารณาถึงองค์ประกอบในข้อใดเป็นหลัก
ก. ความสำคัญของเนื้อหา ข. แหล่งที่มาของข่าวสาร – วิธีการนำไปใช้
ค. จำนวนบุคคลที่ควรทราบ ง. ถูกทุกข้อ
317. ข้อมูลข่าวสารที่ได้จัดทำมาแล้ว และ มีการกำหนดชั้นความลับไว้ถ้ามิได้มีการกำหนดชั้นความลับใหม่
เป็นรายชิ้น เกินกี่ปี ให้ถือว่าชั้นความลับนั้นเป็นอันยกเลิก
ก. 1 ปี ข. 5 ปี ค. 10 ปี ง. 20 ปี

318. ใบปกสีที่ใช้ปิ ดทับข้อมูลข่าวสารลับ ข้อใดผิด


ก. ลับที่สุด ใบปกสีแดง ข. ลับมาก ใบปกสีแดง
ค. ลับ ใบปกสีน้ำเงิน ง. ลับที่สุด ใบปกสีเหลือง
319. ท่าบ่าอาวุธ และ ท่าสวมกระบี่ มีกี่จังหวะ
ก. บ่าอาวุธ 2 / สวมกระบี่ 3 จังหวะ ข. บ่าอาวุธ 3 / สวมกระบี่ 3 จังหวะ
ค. บ่าอาวุธ 3 / สวมกระบี่ 4 จังหวะ ง. บ่าอาวุธ 2 / สวมกระบี่ 2 จังหวะ
320. ข้อใดคือโอกาสในการชักกระบี่
ก. เมื่อประจำแถวในการตรวจพลสวนสนาม
ข. เมื่อประจำแถวทหารเป็นกองเกียรติยศ กองรักษาการณ์
ค. เมื่อมีคำบอกคำสั่งให้ชักกระบี่ เวลาเชิญธงไชยเฉลิมพล
ง. ถูกทุกข้อ

เฉลยคำตอบแบบทดสอบวิชาแบบธรรมเนียมทหาร
1. ง 31. ข 61. ง 91. ข 121. ก 151. ค 181. ค 211. ค 241. ค 271. ก 301. ค
2. ค 32. ก 62. ก 92. ค 122. ค 152. ค 182. ข 212. ง 242. ง 272. ข 302. ก
3. ค 33. ง 63. ง 93. ง 123. ค 153. ก 183. ก 213. ข 243. ก 273. ข 303. ง
4. ข 34. ข 64. ค 94. ก 124. ง 154. ข 184. ง 214. ก 244. ค 274. ค 304. ข
5. ง 35. ง 65. ข 95. ค 125. ก 155. ก 185. ก 215. ค 245. ข 275. ก 305. ค
6. ข 36. ค 66. ง 96. ง 126. ข 156. ง 186. ค 216. ง 246. ง 276. ง 306. ก
7. ก 37. ง 67. ก 97. ข 127. ง 157. ค 187. ข 217. ก 247. ง 277. ง 307. ข
8. ข 38. ง 68. ข 98. ค 128. ง 158. ง 188. ง 218. ข 248. ก 278. ข 308. ง
9. ง 39. ง 69. ค 99. ข 129. ง 159. ข 189. ค 219. ค 249. ค 279. ค 309. ง
10. ค 40. ค 70. ค 100. 130. ก 160. ก 190. ค 220. ก 250. ง 280. ก 310. ข
11. ข 41. ก 71. ก 101. 131. ข 161. ง 191. ง 221. ค 251. ข 281. ง 311. ง
12. ข 42. ง 72. ค 102. 132. ค 162. ค 192. ข 222. ง 252. ก 282. ง 312. ค
13. ง 43. ข 73. ก 103. 133. ง 163. ง 193. ก 223. ก 253. ง 283. ข 313. ง
14. ก 44. ค 74. ข 104. 134. ก 164. ง 194. ค 224. ค 254. ค 284. ค 314. ก
15. ข 45. ค 75. ก 105. 135. ค 165. ก 195. ข 225. ง 255. ก 285. ก 315. ค
16. ง 46. ง 76. ข 106. 136. ก 166. ข 196. ง 226. ค 256. ง 286. ง 316. ง
17. ง 47. ก 77. ค 107. 137. ง 167. ง 197. ค 227. ข 257. ข 287. ค 317. ง
18. ง 48. ง 78. ง 108. 138. ง 168. ง 198. ก 228. ก 258. ง 288. ข 318. ก
19. ก 49. ก 79. ข 109. 139. ค 169. ค 199. ข 229. ง 259. ค 289. ค 319. ข
20. ข 50. ค 80. ข 110. 140. ค 170. ก 200. ก 230. ง 260. ก 290. ง 320. ง
21. ง 51. ง 81. ง 111. 141. ก 171. ง 201. ค 231. ง 261. ข 291. ง
22. ค 52. ก 82. ง 112. 142. ง 172. ค 202. ข 232. ค 262. ค 292. ง
23. ก 53. ค 83. ง 113. 143. ง 173. ข 203. ง 233. ข 263. ง 293. ค
24. ข 54. ง 84. ก 114. 144. ข 174. ง 204. ก 234. ก 264. ค 294. ข
25. ก 55. ข 85. ข 115. 145. ก 175. ง 205. ค 235. ง 265. ข 295. ค
26. ค 56. ข 86. ก 116. 146. ค 176. ก 206. ง 236. ข 266. ก 296. ง
27. ข 57. ข 87. ข 117. 147. ง 177. ข 207. ง 237. ค 267. ค 297. ก
28. ง 58. ค 88. ค 118. 148. ข 178. ก 208. ข 238. ก 268. ง 298. ข
29. ข 59. ข 89. ง 119. 149. ค 179. ค 209. ก 239. ง 269. ข 299. ง
30. ง 60. ค 90. ก 120. 150. ง 180. ก 210. ค 240. ข 270. ข 300. ง
จัดทำโดย ร.ต. บุญทัน ชื่นชม
อาจารย์ รร.สพศ.สสพ.

เฉลยคำตอบแบบทดสอบวิชาแบบธรรมเนียมทหาร
321. ค 350. ข 380. ง 410. ข 440. ก 470. ค 500. ค 530. ค 560. ค 590. ก 620. ค
322. ค 351. ก 381. ก 411. ค 441. ค 471. ค 501. ข 531. ง 561. ง 591. ข 621. ก
323. ข 352. ง 382. ง 412. ง 442. ค 472. ก 502. ก 532. ข 562. ก 592. ข 622. ง
324. ง 353. ข 383. ค 413. ก 443. ง 473. ข 503. ง 533. ก 563. ค 593. ค 623. ข
325. ข 354. ง 384. ข 414. ค 444. ก 474. ก 504. ก 534. ค 564. ข 594. ก 624. ค
326. ก 355. ค 385. ง 415. ง 445. ข 475. ง 505. ค 535. ง 565. ง 595. ง 625. ก
327. ข 356. ง 386. ก 416. ข 446. ง 476. ค 506. ข 536. ก 566. ง 596. ง 626. ข
328. ง 357. ง 387. ข 417. ค 447. ง 477. ง 507. ง 537. ข 567. ก 597. ข 627. ง
329. ค 358. ง 388. ค 418. ข 448. ง 478. ข 508. ค 538. ค 568. ค 598. ค 628. ง
330. ข 359. ค 389. ค 419. ค 449. ก 479. ก 509. ค 539. ก 569. ง 599. ก 629. ข
331. ข 360. ก 390. ก 420. ก 450. ข 480. ง 510. ง 540. ค 570. ข 600. ง 630. ง
332. ง 361. ง 391. ค 421. ข 451. ค 481. ค 511. ข 541. ง 571. ก 601. ง 631. ค
333. ก 362. ข 392. ก 422. ค 452. ง 482. ง 512. ก 542. ก 572. ง 602. ข 632. ง
334. ข 363. ค 393. ข 423. ข 453. ก 483. ง 513. ค 543. ค 573. ค 603. ค 633. ก
335. ง 364. ค 394. ก 424. ง 454. ค 484. ก 514. ข 544. ง 574. ก 604. ก 634. ค
336. ง 365. ง 395. ข 425. ง 455. ก 485. ข 515. ง 545. ค 575. ง 605. ง 635. ง
337. ง 366. ก 396. ค 426. ข 456. ง 486. ง 516. ค 546. ข 576. ข 606. ค 636. ง
338. ก 367. ง 397. ง 427. ค 457. ง 487. ง 517. ก 547. ก 577. ง 607. ข 637. ก
339. ข 368. ก 398. ข 428. ง 458. ค 488. ค 518. ข 548. ง 578. ค 608. ค 638. ข
340. ง 369. ค 399. ข 429. ข 459. ค 489. ก 519. ก 549. ง 579. ก 609. ง 639. ง
341. ค 370. ง 400. ง 430. ก 460. ก 490. ง 520. ค 550. ง 580. ข 610. ง
342. ก 371. ก 401. ง 431. ง 461. ง 491. ค 521. ข 551. ค 581. ค 611. ง
343. ข 372. ค 402. ง 432. ข 462. ง 492. ข 522. ง 552. ข 582. ง 612. ค
344. ก 373. ง 403. ก 433. ค 463. ข 493. ง 523. ก 553. ก 583. ค 613. ข
345. ค 374. ข 404. ข 434. ก 464. ก 494. ง 524. ค 554. ง 584. ข 614. ค
346. ข 375. ข 405. ก 435. ข 465. ค 495. ก 525. ง 555. ข 585. ก 615. ง
347. ง 376. ข 406. ข 436. ค 466. ง 496. ข 526. ง 556. ค 586. ค 616. ก
348. ข 377. ค 407. ค 437. ค 467. ข 497. ก 527. ข 557. ก 587. ง 617. ข
349. ง 378. ข 408. ง 438. ง 468. ค 498. ค 528. ก 558. ง 588. ข 618. ง
379. ค 409. ก 439. ข 469. ง 499. ก 529. ค 559. ข 589. ข 619. ง

เตรียมสอบสายงานทั่วไป
ประจำปี 2556

You might also like