You are on page 1of 558

กองทัพบก

คูมือราชการสนาม

วาดวย

การจัดและการดําเนินงานของฝายอํานวยการ

รส.๑๐๑ - ๕

พ.ศ.๒๕๓๙

คําสั่งกองทัพบก
ที่ ๔๘๖/๒๕๓๙
เรื่อง ใหใชหนังสือตําราในราชการ
------------------------
เนื่องจากกองทัพบกไดจัดพิมพคูมือราชการสนามวาดวย การจัดและการดําเนินงานของฝาย
อํานวยการ (รส. ๑๐๑ - ๕) เสร็จเรียบรอยแลว จึงใหใชคูมือราชการสนามดังกลาวเปนหลักฐานของทาง
ราชการ และใหหนวยตาง ๆ เสนอใบเบิกเพื่อขอรับตามอัตราจายทายคําสั่งนี้ไดที่ ยศ.ทบ.
ทั้งนี้ ตั้งแตบดั นี้เปนตนไป

สั่ง ณ วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙

รับคําสั่ง ผบ.ทบ.

พล.ท.

( ปรีชา แคลวปลอดทุกข )

จก.ยศ.ทบ.

ผนวกแนบทายคําสั่ง ทบ.ที่ ที่ ๔๘๖/๒๕๓๙
การเบิกรับ และอัตราจายคูมือราชการสนามวาดวย
การจัดและการดําเนินงานของฝายอํานวยการ
(รส.๑๐๑ - ๕)
-----------------------------
๑. หนวยเบิกจาย
๑.๑ นขต.ทบ. (เวน ทภ.) นขต.ยศ.ทบ. และหนวยนอก ทบ. เบิกรับไดที่ ยศ.ทบ.
๑.๒ มทบ. เบิกรับจาก ยศ.ทบ. เพื่อแจกจายให ทภ., หนวยในบังคับบัญชา ทภ., มทบ. และหนวย
ในพื้นที่ มทบ.
๒. อัตราจาย
๒.๑ หนวยใน ทบ.
กรมฝายเสนาธิการ, กรมฝายกิจการพิเศษและกรมฝายยุทธบริการ (๒), ยศ.ทบ., สบส., วทบ., รร.
เสธ.ทบ., รร.จปร. (๒๐), ศร., ศม., ศป., วพม., รร.กบ.กบ.ทบ., รร.กสร.กสร.ทบ., รร.ศสพ., รร.ศบบ., รด.,
รร.เหลาสายวิทยาการ และศูนยการศึกษา (๑๐), ทภ., ทน. (๗), กองพล, กรม (๕), มทบ., จทบ. (๓), กองพัน.
(๒), บชร., กรม สน. (๕)
๒.๒ หนวยนอก ทบ.
หองสมุด กห., รร.รปภ., ศวจ., ยก.ทหาร, ทร., ทอ. (๒)

----------------------------------

วัตถุประสงคการฝกศึกษาของกองทัพบก

เปนผูนําที่ดี มีคุณธรรม
มีความรูและประสบการณสําหรับการในหนาที่
แข็งแรงทรหดอดทนตอการตรากตรําทํางาน

--------------------------

คํานํา
คูมือราชการสนาม ๑๐๑ – ๕ วาดวย การจัดและการดําเนินงานของฝายอํานวยการเลมนี้ ไดจําขึ้น
เพื่อใหเปนคูมอื อางอิงการปฏิบัติงานของฝายอกนวยการในทุกระดับของกองทัพบกยามปกติ และยามสงคราม
ทั้งนี้โดยสวนวิจัยและพัฒนายุทธศาสตร สถาบันวิชาการทหารบกชัน้ สูง ไดรวบรวมและรวบรวมและเรียบ
เรียงขึ้น โดยพัฒนามาจาก นส. ๑๐๑ - ๕ ซึ่งใชเปนแนวสอนในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก สถาบันวิชาการ
ทหารบกชั้นสูง และ FM ๑๐๑ - ๕ “STAFF ORGANIZATION AND OPERATIONS” ของสหรัฐฯ อีกทั้งได
ขอมูลจากการสัมมนาประจําป ๒๕๓๖ ในเรื่องเดียวกัน
แตอยางไรก็ตาม เนื้อหาบางสวนในคูมือราชการสนามเลมนี้อาจมีขอบกพรองอยูบาง ซึ่งถาทาน
ผูใดเห็นสมควรแกไขขอความ เนื้อหา ใหเหมาะสม กรุณาแจงถึงขอความ ยอหนาและหมายเลขหนาที่
ตองการแกไขมายัง สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง ถนนเทอดดําริห สามเสน จะเปนพระคุณอยางยิ่ง

สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง

สารบัญ
หนา
บทที่ ๑ ความสัมพันธระหวางผูบงั คับบัญชากับฝายอํานวยการ
ตอนที่ ๑ กลาวทั่วไป
๑. ความหมายของการควบคุมบังคับบัญชา ๑-๑
๒. ระบบการควบคุมบังคับบัญชา ๑-๑
ตอนที่ ๒ ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
๓. ผูบังคับบัญชา ๑-๔
๔. ความสัมพันธทางสายการบังคับบัญชา ๑-๔
๕. ความสัมพันธทางการสนับสนุน ๑-๖
๖. รองผูบังคับหนวย ๑-๖
๗. ฝายอํานวยการ ๑-๗
ตอนที่ ๓ หลักการของฝายอํานวยการ
๘. ความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่ของฝายอํานวยการ ๑-๙
๙. ความสัมพันธของฝายอํานวยการกับสวนบัญชาการหนวยรอง ๑ - ๑๐
๑๐. การติดตอระหวางผูบังคับบัญชากับฝายอํานวยการ ๑ - ๑๑
ตอนที่ ๔ งานในหนาที่รว มของฝายอํานวยการ
๑๑. กลาวนํา
๑๒. งานในหนาที่รวมของฝายอํานวยการ ๑ - ๑๓
๑๓. คุณวุฒิของนายทหารฝายอํานวยการ ๑ - ๑๕
๑๔. คุณสมบัติของฝายอํานวยการ ๑ - ๑๖
๑๕. ขอพึงระลึกของฝายอํานวยการ ๑ - ๑๖

บทที่ ๒ การจัดฝายอํานวยการ
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
๑. การจัดและหลักการจัดของฝายอํานวยการ ๒-๑
ตอนที่ ๒ รูปแบบการจัดฝายอํานวยการ
๒. รูปแบบการจัดฝายอํานวยการโดยทัว่ ไป ๒-๓
๓. รูปแบบการจัดฝายอํานวยการแบบพื้นฐาน ๒-๕
๔. องคประกอบและการจัดฝายอํานวยการของกองทัพบกและ ๒-๘
หนวยในกองทัพบก หนา
๕. การจัดแผนกฝายอํานวยการ ๒ - ๑๑

บทที่ ๓ งานในหนาที่ของฝายอํานวยการ
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
๑. หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบโดยทั่วไป ๓-๑
ตอนที่ ๒ เสนาธิการ
๒. หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ ๓-๒
ตอนที่ ๓ ฝายเสนาธิการของหนวยระดับกองพลขึน้ ไป
๓. หนาที่และความรับผิดชอบ ๓-๓
๔. หัวหนาฝายกําลังพล (สธ.๑) ๓-๓
๕. หัวหนาฝายการขาวการอง (สธ.๒) ๓-๖
๖. หัวหนาฝายยุทธการและการฝก (สธ.๓) ๓ - ๑๐
๗. หัวหนาฝายสงกําลังบํารุง (สธ.๔) ๓ - ๑๖
๘. หัวหนาฝายกิจการพลเรือน (สธ.๕) ๓ - ๑๙
๙. ปลัดบัญชี (ปช.) ๓ - ๒๑
ตอนที่ ๔ ฝายเสนาธิการของหนวยบัญชาการชวยรบกองทัพภาค (บชร.)
๑๐. กลาวทั่วไป ๓ - ๒๗
๑๑. เสนาธิการกองบัญชาการชวยรบ ๓ - ๒๗
๑๒. ฝายอํานวยการประสานงาน ๓ - ๒๗
๑๓. ฝายกิจการพิเศษ ๓ - ๒๘
๑๔. ฝายอํานวยการของสวนแยก ๓ - ๒๘
ตอนที่ ๕ นายทหารฝายกิจการพิเศษ
๑๕. กลาวทัว่ ไป ๓ - ๒๙
๑๖. หัวหนากองบัญชาการ (หน.บก.) ๓ - ๒๙
๑๗. นายทหารสารบรรณ ๓ - ๓๐
๑๘. นายทหารสวัสดิการ ๓ - ๓๑
๑๙. นายทหารฝายการสารวัตรของกองพล ๓ - ๓๒
๒๐. นายทหารฝายพระธรรมนูญ ๓ - ๓๔
๒๑. อนุศาสนาจารย ๓ - ๓๖
๒๒. นายทหารฝายการเงิน ๓ - ๓๗
๒๓. นายทหารขาวลมฟาอากาศ ๓ - ๓๘
๒๔. ผบ.หนวยขาวกรองทางทหาร ๓หน- ๓๘

๒๕. นายทหารฝายการประชาสัมพันธ ๓ - ๓๙
๒๖. นายทหารฝายปฏิบัติการจิตวิทยา ๓ - ๓๙
๒๗. นายทหารประวัติศาสตร ๓ - ๔๐

๒๘. นายทหารฝายการวิทยาศาสตร/ฝายการเคมี ๓ - ๔๐
๒๙. นายทหารฝายการขนสง ๓ - ๔๒
๓๐. นายทหารสรรพาวุธ ๓ - ๔๓
๓๑. นายแพทยใหญกองพล ๓ - ๔๔
๓๒. ทันตแพทย ๓ - ๔๕
๓๓. นายทหารฝายพลาธิการ ๓ - ๔๖
๓๔. นายทหารฝายการสัตว ๓ - ๔๖
๓๕. ผูบังคับทหารชางกองพล ๓ - ๔๗
๓๖. ผูบังคับทหารสื่อสารกองพล ๓ - ๔๘
๓๗. นายทหารฝายการปนใหญ ๓ - ๕๐
๓๘. นายทหารฝายการปองกันภัยทางอากาศ ๓ - ๕๒
๓๙. นายทหารฝายการบิน ๓ - ๕๓
ตอนที่ ๖ ฝายอํานวยการประจําตัว
๔๐. กลาวทัว่ ไป ๓ - ๕๔
๔๑. นายทหารคนสนิท (ทส.) ๓ - ๕๔
๔๒. นายทหารฝายจเร ๓ - ๕๔
ตอนที่ ๗ นายทหารติดตอ
๔๓. นายทหารติดตอ ๓ - ๕๖
๔๔. นายทหารอากาศติดตอ (นอต.) ๓ - ๕๘

บทที่ ๔ หลักการดําเนินงานของฝายอํานวยการ
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
๑. งานในหนาที่ของฝายอํานวยการและระเบียบปฏิบัติงาน ๔-๑
ตอนที่ ๒ งานในหนาที่รว มของฝายอํานวยการ
๒. การใหขาวสาร ๔-๓
๓. การทําประมาณการ ๔-๔
๔. การใหขอเสนอแนะ ๔-๔
๕. การจัดทําแผนและคําสั่ง ๔-๕
๖. การกํากับดูแลของฝายอํานวยการ หน
๔ -า๕

ตอนที่ ๓ ระเบียบการดําเนินการรวมของฝายอํานวยการ
๗. การกําหนดและการวิเคราะหปญหา ๔-๗
๘. การประสานงานของฝายอํานวยการ ๔-๘

๙. การดําเนินงานแบบสมบูรณตามขั้นตอนของฝายอํานวยการ ๔ - ๑๐
๑๐. การเยีย่ มเยียน และการตรวจเยี่ยมของฝายอํานวยการ ๔ - ๑๐
๑๑. การติดตอ ๔ - ๑๑
๑๒. การกระจายขาว ๔ - ๑๒
๑๓. การเขียนทางทหาร ๔ - ๑๒
๑๔. การวิจัยของฝายอํานวยการ ๔ - ๑๓
๑๕. ระเบียบปฏิบัติทางธุรการของฝายอํานวยการ ๔ - ๑๔
๑๖. เครื่องมือทางธุรการ ๔ - ๑๕
๑๗. ระบบควบคุมการรับสงขาวาของฝายอํานวยการ ๔ - ๑๖

บทที่ ๕ การแสวงขอตกลงใจ
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
๑. หลักการและวิธีการ ๕-๑
๒. สมมุติฐาน ๕-๒
ตอนที่ ๒ การประมาณสถานการณ
๓. ความมุงหมาย ๕-๔
๔. การประมาณสถานการณ ๕-๔
๕. การประมาณการ ๕-๕
ตอนที่ ๓ ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ
๖. ความมุงหมาย ๕-๗
๗. แบบฟอรม ๕-๗
ตอนที่ ๔ การแสวงขอตกลงใจ
๘. ลําดับขั้นในการแสวงขอตกลงใจ ๕-๘
๙. การปฏิบัติของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ ๕-๙

บทที่ ๖ แผนและการวางแผน
ตอนที่ ๑ กลาวทั่วไป
๑. กรรมวิธีในการวางแผน ๖-๑
ตอนที่ ๒ แผน
๒. คุณลักษณะของแผน ๖-๓
๓. การใชแผน ๖-๔
๔. แบบฟอรม และเทคนิคในการทําแผน ๖-๕
๕. ผนวกประกอบแผน ๖-๕

ตอนที่ ๓ การวางแผน
๖. ขั้นตอนในการวางแผน ๖-๖
๗. การจัดเพื่อการวางแผน ๖-๙
๘. วิธีการวางแผน ๖ - ๑๐
๙. กําหนดการวางแผน ๖ - ๑๐
๑๐. เวลาในการวางแผน ๖ - ๑๑
๑๑. การรักษาความปลอดภัยในระหวางการวางแผน ๖ - ๑๓

บทที่ ๗ คําสั่ง
ตอนที่ ๑ กลาวนํา
๑. กลาวทัว่ ไป ๗-๑
๒. คําสั่ง ๗-๒
ตอนที่ ๒ คําสั่งการรบ
๓. คุณลักษณะของคําสั่งการรบ
๔. คําสั่งยุทธการ ๗-๔
ตอนที่ ๓ คําสั่งการชวยรบ
๕. คําสั่งการชวยรบ ๗-๖
ตอนที่ ๔ คําสั่งอื่น ๆ
๖. ระเบียบปฏิบัติประจํา (รปจ.) ๗-๘
๗. คําสั่งเตือน ๗-๙
๘. คําสั่งเปนสวน ๆ ๗ - ๑๐
ตอนที่ ๕ ผนวกประกอบคําสั่ง
๙. ความมุงหมายในการจัดทําผนวก ๗ - ๑๒
๑๐. การแจกจาย ๗ - ๑๓
๑๑. แบบฟอรม ๗ - ๑๓
หนา
บทที่ ๘ การควบคุมการยุทธ
ตอนที่ ๑ กลาวทั่วไป
๑. ความมุงหมาย ๘-๑
๒. ขอพิจารณาในการจัดที่บญ
ั ชาการ (ทก.)
ตอนที่ ๒ ที่บัญชาการ
๓. โครงสราง ๘-๕
๑๐
๔. ที่บัญชาการทางยุทธวิธี ๘-๖
๕. ที่บัญชาการหลัก ๘-๗
๖. ที่บัญชาการสํารองและที่บัญชาการหลัง ๘-๙
ตอนที่ ๓ การปฏิบตั ิงานของที่บังคับการ
๗. สวนประกอบของ ทก. (สวนของ ฝอ.) ๘ - ๑๐
๘. ฝายอํานวยการประสานงาน ๘ - ๑๑
๙. สวนสนับสนุน ศปย. ๘ - ๑๓
๑๐. การปฏิบตั ิงานของ ศปย. ๘ - ๒๒

ผนวก ก บันทึกและการรายงานในสนาม
ตอนที่ ๑ บันทึกของฝายอํานวยการ
๑ - ๑ บันทึกประจําวัน ก–๒
๑ - ๒ เอกสารแยกเรื่อง ก–๔
ตอนที่ ๒ รายงานตามระยะเวลาของหนวยบัญชาการทางยุทธวิธี
ตัวอยางที่ ๒ - ๑ แบบฟอรมรายงานกําลังพลตามระยะเวลา ก–๗
ตัวอยางที่ ๒ - ๒ รายงานกําลังพลตามระยะเวลาของกองพลทหารราบ ก- ๑๐
ตัวอยางที่ ๒ - ๓ แบบฟอรมรายงานขาวกรองนามระยะเวลา ก – ๑๙
ตัวอยางที่ ๒ - ๔ รายงานขาวกรองตามระยะเวลาของกองพลทหารราบ ก – ๒๓
ตัวอยางที่ ๒ - ๕ แบบฟอรมรายงานยุทธการตามระยะเวลา ก – ๓๑
ตัวอยางที่ ๒ - ๖ รายงานขาวกรองตามระยะเวลาของกองพลยานเกราะ ก – ๓๓
ตัวอยางที่ ๒ - ๗ แบบฟอรมรายงาสนสงกําลังบํารุงตามระยะเวลา ก – ๓๕
ตัวอยางที่ ๒ - ๘ รายงานการสงกําลังบํารุงตามระยะเวลาของกองทัพสนาม ก – ๓๙
ตัวอยางที่ ๒ - ๙ แบบฟอรมรายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลา ก – ๔๕
ตัวอยางที่ ๒ - ๑๐ รายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลาของ ก – ๔๗
กองพลทหารราบ
ตอนที่ ๓ รายงานเบ็ดเตล็ดและสรุป
ตัวอยางที่ ๓ - ๑ รายงานดวนของกองพลทหารราบ ก – ๕๑
(ใชกระดาษเขียนขาว)
ตัวอยางที่ ๓ - ๒ แบบฟอรมของสรุปยอดกําลังพลประจําวัน ก – ๕๒
ตัวอยางที่ ๓ - ๓ สรุปขาวกรองของกองพลทหารราบ (ยานยนต) ก – ๕๓
ตัวอยางที่ ๓ - ๔ แบบฟอรมรายงานสถานการณทางยุทธการ ก – ๕๕
ตัวอยางที่ ๓ - ๕ รายงานสถานการณยุทธการในกระดาษเขียนขาว ก – ๕๗
๑๑
ผนวก ข การประชุมและการบรรยายสรุปทางทหาร
ตอนที่ ๑ การบรรยายสรุปทางทหาร
ข – ๑ กลาวทั่วไป ข–๒
ข – ๒ การบรรยายสรุปขาวสาร ข–๒
ข – ๓ การบรรยายสรุปขอตกลงใจ ข–๒
ข – ๔ การบรรยายสรุปภารกิจ ข–๔
ข – ๕ การบรรยายสรุปของฝายอํานวยการ ข–๕
ข – ๖ เทคนิคการบรรยายสรุป ข–๖
ตอนที่ ๒ การประชุม
ข – ๗ กลาวทั่วไป ข–๙
ข – ๘ ความมุงหมาย ข–๙
ข – ๙ แบบของการประชุม ข – ๑๐
ข – ๑๐ ขอพิจารณาที่มีผลตอการเรียกประชุม ข – ๑๐
ข – ๑๑ การเตรียมการเพื่อการประชุม ข – ๑๑
ข – ๑๒ การดําเนินการประชุม ข – ๑๑
ข – ๑๓ อํานาจหนาที่ของทานประธานในที่ประชุม ข – ๑๑
ข – ๑๔ ระเบียบวาระการประชุม ข – ๑๒
อนุผนวก ๑ รายงานตรวจสอบการประชุม ข – ๑๓
อนุผนวก ๒ แบบรายงานหรือบันทึกการประชุม ข – ๑๗

ผนวก ค การวิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการ (แบบฟอรมและตัวอยาง)


ตัวอยางที่ ค – ๑ แบบฟอรมการวิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการ ค–๒
ตัวอยางที่ ค – ๒ วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการของกองพล หน
ค –า๙
ผนวก ง ประมาณสถานการณ/ประมาณการ
ตอนที่ ๑ ประมาณสถานการณของผูบ ังคับหนวยทางยุทธวิธี ง–๒
ตัวอยางที่ ๑ - ๑ แบบฟอรมการประมาณสถานการณ ง – ๑๓
ของผูบังคับหนวยยุทธวิธี
ตอนที่ ๒ ประมาณสถานการณของผูบ ังคับหนวยชวยรบ ง – ๑๘
ตัวอยางที่ ๒ - ๑ แบบฟอรมการประมาณสถานการณ ง – ๒๑
ของผูบังคับหนวยชวยรบ
ตอนที่ ๓ ประมาณการของฝายอํานวยการ ง – ๒๕
ตัวอยางที่ ๓ - ๑ แบบฟอรมประมาณการกําลังพล ง – ๒๖
๑๒
ตัวอยางที่ ๓ - ๒ แบบฟอรมประมาณการขาวกรอง ง – ๓๐
ตัวอยางที่ ๓ - ๓ แบบฟอรมประมาณการสงกําลังบํารุง ง – ๓๘
ตัวอยางที่ ๓ - ๔ แบบฟอรมประมาณการกิจการพลเรือน ง – ๔๔
ตอนที่ ๔ ตัวอยางเอกสาร
ตัวอยางที่ ๔ - ๑ ประมาณสถานการณทางยุทธวิธี ง – ๔๙
ของผูบัญชาการกองพลทหารราบ
ตัวอยางที่ ๔ - ๒ ประมาณสถานการณการฝก ง – ๖๑
ของผูบัญชาการกองพลทหารราบ
ตัวอยางที่ ๔ - ๓ ประมาณการกําลังพลของกองพลทหารราบ ง – ๖๘
ตัวอยางที่ ๔ - ๔ ประมาณการขาวกรองของกองพลทหารราบ ง – ๘๕
ตัวอยางที่ ๔ - ๕ ประมาณการสงกําลังบํารุงของกองพลทหารราบ ง – ๑๐๔
ตัวอยางที่ ๔ - ๖ ประมาณการกิจการพลเรือนของกองพลทหารราบ ง – ๑๑๕

ผนวก จ ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ
ตัวอยางที่ จ – ๑ แบบฟอรมสวนสรุปขอพิจารณาของฝายอํานวยการ จ–๓
ตัวอยางที่ จ – ๒ ขอพิจารณาของฝายอํานวยการที่สมบูรณ จ–๖

ผนวก ฉ แผน คําสั่ง ผนวกประกอบแผนและคําสั่ง


ตอนที่ ๑ กลาวทั่วไป
ฉ – ๑ กลาวนํา ฉ–๒
ฉ – ๒ คําสั่งเปนสวน ๆ ฉ–๒
ฉ – ๓ ผนวก อนุผนวก ใบแทรก ใบแนบ ฉ–๓
ฉ–๔การเขียนขอความแสดงขอมูลเอกสารในหนาถัดไปของแผนหรือคําสั่ง ฉ–๔
ฉ – ๕ การลงลายมือชื่อและการรับรองสําเนา ฉ–๔
ตอนที่ ๒ เทคนิคโดยทั่วไป
ฉ – ๖ การใชคํายอ ฉ–๕
ฉ – ๗ ประเภทเอกสาร ฉ–๗
ฉ – ๘ การกําหนดชื่อของหนวย ฉ–๘
ฉ – ๙ การกําหนดชื่อของสถานที่หรือลักษณะภูมิประเทศ ฉ–๖
ฉ – ๑๐ วันและเวลา ฉ–๗
ฉ – ๑๑ ทิศทาง ฉ–๘
ตอนที่ ๓ เทคนิคการทําแผนบริวาร
ฉ – ๑๒ กลาวทั่วไป ฉ–๙
๑๓
ฉ – ๑๓ ความสัมพันธระหวางแผนบริวารกับสวนที่เปนขอเขียน ฉ–๙
ฉ – ๑๔ เทคนิคการทําแผนบริวาร ฉ–๙
ตอนที่ ๔ แผนและผนวกประกอบแผน
ฉ – ๑๕ กลาวนํา ฉ – ๑๗
ฉ – ๑๖ แผนยุทธการ ฉ – ๑๗
ฉ – ๑๗ แผนการชวยรบ ฉ – ๑๗
ตัวอยางที่ ๔ - ๑ แบบฟอรมและคําอธิบายในการทําแผนการชวยรบ ฉ – ๑๙
ตัวอยางที่ ๔ - ๒ แผนยุทธการกองทัพภาค ฉ – ๒๓
ตัวอยางที่ ๔ - ๓ แผนการชวยรบกองทัพภาค ฉ – ๓๗
ตัวอยางที่ ๔ - ๔ แผนการกําลังพลกองทัพภาค ฉ – ๕๐
ตัวอยางที่ ๔ - ๕ แผนการสงกําลังบํารุงกองทัพภาค ฉ – ๕๔
ตัวอยางที่ ๔ - ๖ แผนกิจการพลเรือนกองทัพภาค ฉ – ๖๒
ตอนที่ ๕ คําสั่งและผนวกประกอบคําสั่ง
ตัวอยางที่ ๕ - ๑ แบบฟอรมคําสั่งยุทธการ ฉ – ๖๙
ตัวอยางที่ ๕ - ๒ แบบฟอรมคําสั่งการชวยรบ ฉ – ๗๗
ตัวอยางที่ ๕ - ๓ แบบฟอรมระเบียบปฏิบัติ ฉ – ๘๖
ประจําหนวยบัญชาการทางยุทธวิธี
ตัวอยางที่ ๕ - ๔ ตัวอยางระเบียบปฏิบัติประจําของกองบัญชาการชวยรบ ฉ – ๙๔
ตอนที่ ๖ ตัวอยางคําสัง่ ยุทธการ
ตัวอยางที่ ๖ - ๑ คําสั่งการเคลื่อนยายทางถนนฯ (แบบแผนบริวาร) ฉหน– า๙๙
ตัวอยางที่ ๖ - ๒ คําสั่งการเขาตีของกองพลยานเกราะ ฉ – ๑๐๓
(แบบแผนบริวาร)
ตัวอยางที่ ๖ – ๓ คําสั่งการโจมตีของพลทางสงอากาศ
ตัวอยางที่ ๖ – ๔ คําสั่งการตั้งรับของกองทัพนอย
ตัวอยางที่ ๖ - ๕ คําสั่งการเขาตีของกองทัพภาค ฉ – ๑๒๒
ตัวอยางที่ ๖ - ๖ คําสั่งยุทธการของหนวยบัญชาการชวยรบกองทัพภาค ฉ – ๑๒๘
ตอนที่ ๗ คําสั่งแบบอื่น ๆ
ตัวอยางที่ ๗ - ๑ คําสั่งการชวยรบของกองพลทหารราบ (แบบที่ ๓) ฉ – ๑๓๙
ตัวอยางที่ ๗ - ๒ คําสั่งการชวยรบของกองพลทหารราบ (แบบที่ ๒) ฉ – ๑๔๖
ตัวอยางที่ ๗ - ๓ คําสั่งเปนสวน ๆ ของกองพลยานเกราะ ฉ – ๑๕๑
ตัวอยางที่ ๗ - ๔ คําสั่งเตรียมของกองพลทหารราบ ฉ – ๑๕๒
ตอนที่ ๘ ตัวอยางผนวกประกอบคําสั่ง
ตัวอยางที่ ๘ - ๑ ผนวกขาวกรองประกอบคําสั่งยุทธการ ฉ – ๑๕๓
๑๔
ตัวอยางที่ ๘ - ๒ แบบฟอรมผนวกการยิงสนับสนุน ฉ – ๑๖๖
ตัวอยางที่ ๘ - ๓ ผนวกการยิงสนับสนุนประกอบคําสั่งยุทธการ ฉ – ๑๗๐
ตัวอยางที่ ๘ - ๔ อนุผนวกการสนับสนุนทางอากาศฯ ฉ – ๑๗๕
ตัวอยางที่ ๘ - ๕ อนุผนวกปองกันภัยทางอากาศ
ประกอบผนวกการยิงสนับสนุน
ตัวอยางที่ ๘ - ๖ ผนวกทหารชางประกอบ ฉ – ๑๘๓
คําสั่งยุทธการของกองทัพนอย
ตัวอยางที่ ๘ - ๗ ผนวกการสื่อสารประกอบคําสั่งยุทธการกองทัพ ฉ – ๑๘๖
ตัวอยางที่ ๘ - ๘ ผนวกการบินทหารบก ฉ – ๑๙๐
ตัวอยางที่ ๘ - ๙ ผนวกตารางการเคลื่อนยายทางถนน ฉ – ๑๙๒
ประกอบคําสั่งยุทธการ
ตัวอยางที่ ๘ - ๑๐ ผนวกฉากขัดขวาง ฉ – ๑๙๖
ตัวอยางที่ ๘-๑๑ผนวกการใชหวงอากาศประกอบคําสั่งยุทธการของกองทัพ ฉ – ๒๐๓
ตัวอยางที่ ๘ - ๑๒ ผนวกการชวยรบประกอบ ฉ – ๒๐๙
คําสั่งยุทธการของกองพลทหารราบ
ตัวอยางที่ ๘ - ๑๓ ผนวกกิจการพลเรือน ฉ – ๒๑๔
ประกอบคําสั่งชวยรบของกองพล
ตัวอยางที่ ๘ - ๑๔ ผนวกการหมุนเวียนการจราจรฯ ฉ – ๒๑๘
๑๕
บทที่ ๑
ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชากับฝายอํานวยการ
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตอนที่ ๑

กลาวทั่วไป
๑. ความหมายของการควบคุมบังคับบัญชา
การบังคับบัญชา คือ อํานาจทีถ่ ูกตองตามกฎหมายที่มอบใหแกผูบังคับบัญชา ในการสั่งการตอผู
ใตบังคับบัญชาของตน โดยใชยศและตําแหนงเปนสิ่งกําหนด นอกจากนี้ ยังหมายรวมถึงอํานาจหนาทีแ่ ละ
ความรับผิดชอบในการใชทรัพยากรที่มีอยูอ ยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการวางแผน การจัด การใช
การสั่งการ การอํานวยการ การประสานงาน และการควบคุมกําลังทหาร ใหปฏิบัติภารกิจทีไ่ ดรับมอบจน
สําเร็จ ซึ่งขอบเขตของการปฏิบัตินั้น จะตองรวมถึงความรับผิดชอบในเรื่องสุขภาพ สวัสดิการ ขวัญ วินยั
การฝก และประสิทธิภาพการรบของกําลังพลในหนวยทั่งที่เปนหนวยในอัตรา หนวยบรรจุมอบ และหนวย
ที่มาขึ้นสมทบ
การควบคุมบังคับบัญชาเปนกรรมวิธีของผูบังคับบัญชา ในการอํานวยการ ประสานงาน และควบคุม
การปฏิบัติของหนวยทหารใหสําเร็จภารกิจ กรรมวิธีเหลานี้ครอบคลุมถึงการใชกําลังพล ยุทโธปกรณ การ
ติดตอสื่อสาร สิ่งอํานวยความสะดวก และระเบียบการปฏิบัติตาง ๆ ที่จําเปน โดยใชสิ่งเหลานี้ในการรวบรวม
และวิเคราะหขาวสาร ใชในการวางแผนวามีอะไรบางที่จะปฏิบัติ ใชในการออกคําสั่งและคําสั่งชี้แจงในการ
ปฏิบัติ และใชในการกํากับดูแลการปฏิบัติการเหลานั้นดวย
๒. ระบบการควบคุมบังคับบัญชา
เนื่องจากปริมาณและชนิดของงานจํานวนมากที่ผูบังคับบัญชาตองเผชิญหนาอยูนั้น เปนผลใหเกิดความ
ตองการความรวมมือรวมใจจากบุคคลหลายฝาย การผสมผสานระบบยุทโธปกรณตา ง ๆ เขาดวยกัน และการ
แยกประเภทงานอยางเหมาะสม ผูบังคับบัญชาจึงไมเพียงแตรับผิดชอบการบังคับบัญชาและควบคุมหนวยใน
อัตรา หนวยบรรจุมอบ หรือหนวยที่มาขึ้นสบทบเทานั้น ยังจะตองรับผิดชอบในการผสมผสานกําลัง
สนับสนุนที่ไดรับจากหนวยอื่นในกองทัพบก หรือจากเหลาทัพอื่นเขากับการปฏิบัติการของตนดวย ซึ่งงาน
เหลานี้จะสําเร็จลุลวงไปไดกด็ วยระบบการควบคุมบังคับบัญชา อันมีองคประกอบ ๓ สวนที่สัมพันธกันดังนี้
๑๖
• องคกรในการควบคุมบังคับบัญชา เปนเรือ่ งของการจัดกองบัญชาการเพื่อการปฏิบัติ ซึ่งก็คือ
การที่ผูบังคับบัญชาไดจัดฝายอํานวยการเพือ่ บรรลุภารกิจนั้นอยางไร ในการจัดนั้น จะรวมบทบาทและ
ความสัมพันธของฝายอํานวยการ การมอบอํานาจและการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบ รวมถึงการจัดกลุม
งานของฝายอํานวยการเหลานั้นดวย
• กรรมวิธีในการควบคุมบังคับบัญชา เปนวิธีการที่ผบู ังคับบัญชาและฝายอํานวยการนํามาใช
เพื่อใหบรรลุภารกิจของหนวย อันไดแก ขั้นตอนการปฏิบัติและวิธีปฏิบัติที่ใชเพื่อทราบวามีอะไรเกิดขึ้นบาง
และเพื่อที่จะตกลงใจวาจะตองทําอะไร พรอมทั้งออกคําสั่ง/คําแนะนํา ตลอดจนการกํากับดูแลการปฏิบัติการ
นั้น ๆ ดวย ขั้นตอนการปฏิบัติและวิธีปฏิบัติเหลานี้ รวมถึง การบันทึก ระบบการรายงาน การบรรยายสรุป
และระเบียบปฏิบัติอื่น ๆ ที่ชว ยสงเสริมหรือสนับสนุนขั้นตอนในการตกลงใจอีกดวย
• สิ่งอํานวยความสะดวกในการควบคุมบังคับบัญชา ไดแก กองบัญชาการ ระบบการติดตอ
สื่อสาร และเครื่องมืออัตโนมัติตาง ๆ สิ่งเหลานี้สามารถทําใหการดําเนินกรรมวิธีและการสงขาวหรือคําสั่ง
กระทําไดโดยสะดวก ซึ่งเปนสิ่งสําคัญอยางยิงที่จะทําใหการควบคุมบังคับบัญชาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
คุณลักษณะเฉพาะอยางหนึ่งของการควบคุมบังคับบัญชาในการปฏิบัตกิ ารทางทหารก็คือ
จะตองคงประสิทธิภาพไวใหไดภายใตสภาพความตึงเครียดอยางหนักของสนาม ซึ่งไดแก สถานการณที่
คลุมเครือ หวงเวลาที่บีบบังคับ หรืออยูภายใตความเครียดทางจิตและความเครียดในอารมณที่เกิดจากการ
สูญเสียกําลังพลและยุทธภัณฑ นอกจากนี้ ระบบการควบคุมบังคับบัญชาทางทหารยังมีความจําเปนอยางยิ่งที่
จะตองใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทําใหกรรมวิธีการแสวงขอตกลงใจของ
ฝายเราเปนไปไดอยางรวดเร็วและดีกวาฝายขาศึก
ความมีประสิทธิภาพในการควบคุมบังคับบัญชานั้น วัดไดจากการทีห่ นวยสามารถสนองตอบ
เจตจํานงของผูบ ังคับบัญชาไดมากนอยเพียงใด และสามารถที่จะเผชิญกับสถานการณทแี่ ปรผันไดรวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพเพียงใด
ระบบการควบคุมบังคับบัญชา จะตองมีการเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสมกับสภาพการณอยาง
ตอเนื่อง จะตองพัฒนาตามความจําเปนซึง่ เกิดจากอาวุธใหม ๆ การติดตอสื่อสาร ยุทธวิธี จํานวน แบบและ
โครงสรางของหนวยแบบใหม ๆ ซึ่งจะนําเขามาในองคกรการจัด
๑๗
ตอนที่ ๒
ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ

๓. ผูบังคับบัญชา
ผูบังคับบัญชาแตผูเดียวเทานัน้ ที่เปนผูรับผิดชอบตอทั้งความสําเร็จ และความลมเหลวในการ
ปฏิบัติงานทั้งปวงของหนวยซึ่งตนเปนผูบ ังคับบัญชา ผูบังคับบัญชาไมสามารถมอบความรับผิดชอบใหกบั
ผูอื่นได การตกลงใจขัน้ สุดทายตลอดจนความรับผิดชอบในที่สุดจะตกอยูก ับผูบังคับบัญชาแตเพียงผูเดียว
ผูบังคับบัญชาอาจมอบอํานาจหนาทีใ่ หผูอนื่ ปฏิบัติแทนในบางเรื่อง เพื่อความสําเร็จของการปฏิบัติงานของ
หนวยได แตผบู ังคับบัญชาก็ยังตองรับผิดชอบตอการปฏิบัตินั้น ๆ เสมือนหนึ่งไดใชอํานาจหนาทีด่ ังกลาวดวย
ตนเอง
ผูบังคับบัญชาที่ประสบผลสําเร็จจะตองรูจกั การแบงมอบอํานาจหนาที่ และสรางบรรยากาศของ
ความไววางใจซึ่งกันและกัน ความรวมมือกัน และการทํางานรวมกันเปนชุด ผูบังคับบัญชาจะเสริมสรางความ
เขาใจในระเบียบปฏิบัติ และมาตรฐานในการทํางานในทุกระดับหนวยที่ตนรับผิดชอบ ใหอยูใ นแนวทาง
เดียวกัน
ผูบังคับบัญชาสั่งงานในหนาที่รับผิดชอบของตนผานทางสายการบังคับบัญชา ปกติผูบังคับบัญชา
ชั้นเหนือจะออกคําสั่งทั้งปวงไปยังผูบังคับบัญชาหนวยรองของตนตามลําดับ ยกเวนเฉพาะในสถานการณที่
รีบดวนเทานั้น ที่ผูบังคับบัญชาชั้นเหนืออาจสั่งขามผูบังคับหนวยรองของตนได ซึ่งในกรณีเชนนี้ทั้ง
ผูบังคับบัญชาที่ออกคําสั่งและผูบังคับหนวยที่รับคําสั่งควรรีบชี้แจงผูบงั คับหนวยรองที่ถูกสั่งขาม ใหทราบ
โดยเร็ว ที่สดุ เทาที่จะทําได
ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาชั้นเหนือมอบภารกิจใหกับหนวยรองแลว ผูบังคับบัญชาชั้นเหนือจะมอบ
อํานาจหนาทีท่ ี่จําเปนสําหรับการปฏิบัติภารกิจใหสําเร็จใหกับผูบังคับหนวยรองดวยความรับผิดชอบของ
ผูบังคับบัญชามีสองนัย คือ ผูบังคับบัญชามีความรับผิดชอบตอความสําเร็จของภารกิจที่หนวยเหนือไดมอบให
และจะตองรับผิดชอบตอผูใตบังคับบัญชาของตนดวย หลังจากที่ไดมอบอํานาจหนาที่ใหผูบังคับบัญชา
หนวยรองแลว ผูบังคับบัญชาจะตองใหแนวทางปฏิบัติ ทรัพยากร (กําลังพล ยุทโธปกรณ รวมถึงเวลา) และ
การสนับสนุนที่จําเปนตอความสําเร็จของภารกิจ ตลอดจนมีการประเมินผลของการปฏิบัติงาน แตอยางไร
ก็ตามผูบังคับบัญชายังความรับผิดชอบตอความสําเร็จของภารกิจนัน้ อยู
๔. ความสัมพันธทางสายการบังคับบัญชา (Command Relationships)
ความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่ทางสายการบังคับบัญชา จะถูกกําหนดขึ้นตามลักษณะของ
ความสัมพันธกับหนวยตาง ๆ ดังนี้
หนวยในอัตรา (Organic)
เปนการกําหนดใหหนวยเปนสวนประกอบสําคัญในการจัดตั้งหนวยทหาร และไดรับการบรรจุใน
(อจย.) หรืออัตราเฉพาะกิจ (อฉก.) เรียกวา “หนวยในอัตรา”
๑๘
บรรจุมอบ (Assigned)
เปนการกําหนดใหหนวยใดหนวยหนึ่ง ไปอยูในองคประกอบการจัดของอีกหนวยหนึ่งในลักษณะ
ถาวร หนวยรับบรรจุมอบจะควบคุมและดําเนินการดานธุรการใหหนวยบรรจุมอบ ซึ่งหนวยบรรจุมอบจะมี
ภารกิจหลักหรือหนาที่สวนใหญสนับสนุนหนวยรับบรรจุมอบ
สมทบ (Attached)
เปนการที่กําหนดใหหนวย ๆ หนึ่ง เขาไปอยูในองคประกอบการจัดของอีกหนวยหนึ่งในลักษณะ
ชั่วคราว แตถึงแมวาคําสั่งการสมทบจะระบุถึงขอบเขตการปฏิบัติของหนวยขึ้นสมทบ ผูบังคับหนวยที่รับการ
สมทบมีอํานาจควบคุมบังคับบัญชา และตองรับผิดชอบตอหนวยขึ้นสมทบเชนเดียวกับหนวยในอัตราของตน
ยกเวนเรื่องอํานาจหนาที่ทางธุรการกําลังพล อันไดแก การเลื่อนยศ ปลด ยาย สับเปลี่ยนตําแหนง ซึ่งยังคงเปน
ผูบังคับหนวยเดิมที่หนวยขึน้ สมทบนั้นบรรจุมอบอยูแตแรก โดยในคําสั่งการสมทบควรระบุความรับผิดชอบ
ในทางธุรการ และการสนับสนุนของหนวยรับการสมทบที่มีตอหนวยขึ้นสมทบใหชดั เจนดวย
ควบคุมทางยุทธการ (Operational Control, OPCON)
เปนการจัดหนวยหนึ่ง ใหไปขึ้นกับผูบังคับบัญชาของอีกหนวยหนึ่ง เพื่อใชปฏิบัติงานใหบรรลุ
ภารกิจ หรือกิจเฉพาะที่กําหนดมีลักษณะเชนเดียวกับการขึ้นสมทบ เพื่อชวยใหบรรลุภารกิจหรืองานเฉพาะ
ตามปกติแลวจะมีขอบเขตในหนาที่ หวงเวลา หรือพื้นที่ ผูบังคับหนวยที่ควบคุมทางยุทธการ อาจจะสั่งใช
หนวยเขาปฏิบตั ิการและสงวนอํานาจการควบคุมทางยุทธวิธีเอง หรือมอบหมายใหผูอื่นควบคุมทางยุทธวิธี
หนวยนีก้ ็ได การควบคุมทางยุทธการมิไดรวมถึงความรับผิดชอบงานธุรการ การสงกําลังบํารุง การรักษาวินยั
การจัดภายใน และการฝกดวย อยางไรก็ตาม การควบคุมทางยุทธการยังรวมอํานาจหนาที่ในการใหคําแนะนํา
ในการฝกรวมดวย
การบังคับบัญชาทางยุทธการ (Operational Command, OPCOM)
เปนอํานาจหนาที่ของผูบัญชาการหนวยบัญชาการรวม (Unified Command) และผูบ ัญชาการหนวย
บัญชาการเฉพาะ (Specified Command) ในการสั่งการตอหนวยบรรจุมอบตาง ๆ การบังคับบัญชาทางยุทธการ
มีลักษณะคลายกับการควบคุมทางยุทธการ คือหนวยผูบญ ั ชาทางยุทธการไมตองมีความรับผิดชอบดานธุรการ
หรือการสนับสนุนทางสงกําลังบํารุง การบังคับบัญชาทางยุทธการ คือ อํานาจหนาที่มอบหมายใหแกผูบังคับ
หนวยในการมอบภารกิจหรืองานเฉพาะใหแกผูบังคับหนวยรอง ในการสั่งการใหหนวยเขาปฏิบัติการ ในการ
เปลี่ยนแปลงการบรรจุมอบ และในการควบคุมทางยุทธการ/ยุทธวิธีดว ยตนเอง หรือมอบหมายการควบคุมทาง
ยุทธการ/ยุทธวิธีใหแกผูอื่นก็ไดถาตองการ

๕. ความสัมพันธทางการสนับสนุน (Support Relationships)


หนวยใหการสนับสนุนกับหนวยรับการสนับสนุน จะมีความสัมพันธทางการสนับสนุนเพื่อกําหนด
แนชัดความรับผิดชอบและความสัมพันธเฉพาะระหวางหนวย ความรับผิดชอบทางการบังคับบัญชาและการ
สนับสนุนสงกําลังบํารุง รวมถึงอํานาจหนาที่การเปลี่ยนแปลงการจัดหรือมอบบรรจุ สวนของหนวยใหการ
๑๙
สนับสนุนยังคงอยูกับกองบังคับการ/กองบัญชาการหนวยเหนือ หรือหนวยแมหากไมมีการระบุทแี่ ตกตางไป
ความสัมพันธทางการสนับสนุนมี ๓ ลักษณะ ดังนี้
ก. สนับสนุนโดยตรง (Direct Support – DS)
เมื่อหนวยมีหนาที่สนับสนุนโดยตรงแกหนวยใดหนวยหนึ่งแลว ตองมอบความเรงดวนในการ
สนับสนุนใหกับหนวยหรือกําลังนั้นเปนลําดับแรก หนวยสนับสนุนจะรับคอยขอการสนับสนุน โดยปกติ
หนวยสนับสนุนจะจัดนายทหารติดตอและจัดตั้งการติดตอสื่อสารไปให และจะใหคําแนะนําแกหนวยรับการ
สนับสนุนนั้น ๆ การสนับสนุนโดยตรงนี้ไมมคี วามสัมพันธทางสายการบังคับบัญชากับหนวยรับการ
สนับสนุน หนวยรับการสนับสนุนไมสามารถแบง สับเปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงจัดหนวยที่มาสนับสนุน
โดยตรงแกตนได
ข. สนับสนุนสวนรวม (General Support – GS)
เมื่อหนวยมีหนาที่สนับสนุนสวนรวมแลว หนวยจะทําการสนับสนุนตอกําลังทั้งหมดเปนสวนรวม
จะไมกระทําตอหนวยหนึ่งหนวยใดเปนพิเศษ หนวยรองที่ไดรับการสนับสนุนในลักษณะนี้จะขอรับการ
สนับสนุนโดยผาน บก. ของตน และ บก. หนวยรับการสนับสนุนจะพิจารณากําหนดลําดับความเรงดวน
ในการสนับสนุน และมอบภารกิจใหกับหนวยสนับสนุนเปนสวนรวมนั้นเอง
ค. การสนับสนุนทั่วไป
เปนการปฏิบัตทิ ั้งขอ ก. และ ข. ของหนวย ๆ หนึ่งในเวลาเดียวกัน

๖. รองผูบังคับหนวย
ผูบังคับหนวยจะกําหนดระเบียบปฏิบัติที่แนชัดสําหรับการใชรองผูบังคับหนวย ผูบังคับหนวยจะ
ระบุบทบาทและหนาที่ ตลอดจนความสัมพันธของรองผูบังคับหนวย กับเสนาธิการ ฝายอํานวยการ และ
ผูบังคับหนวยรอง รองผูบังคับหนวยตองไดรับขาวสารการปฏิบัติอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถทําหนาที่บังคับ
บัญชาแทนผูบังคับหนวยไดเมื่อจําเปน ผูบ ังคับหนวยแจงใหรองฯ ทราบถึงแผน เจตจํานง เปาหมาย และ
ปญหาตาง ๆ ในขณะที่ฝายอํานวยการจะรายงานขาวสารเกี่ยวกับสถานภาพการปฏิบัติการของฝายอํานวยการ
ใหทราบในฐานะที่เปนผูห นึง่ ในกลุมบังคับบัญชา รองฯ ทําหนาที่บังคับบัญชาแทนตามการสั่งการของ
ผูบังคับหนวยหรือผูบังคับหนวยไมอยู นอกเหนือจากการเตรียมทําหนาที่แทนผูบังคับหนวยเมื่อจําเปนแลว
รองฯ จะปฏิบตั ิงานปกติในหนาที่และความรับผิดชอบตามที่ผูบังคับหนวยกําหนดให
รองผูบังคับหนวยโดยปกติจะไมมีฝายอํานวยการ เมือ่ รองฯ มีหนาที่รับผิดชอบพิเศษเฉพาะเรื่อง
รองฯ จะไดรบั ความชวยเหลือจากฝายอํานวยการในการปฏิบัติหนาที่รับผิสดชอบนั้น ๆ โดยผูบังคับหนวยเปน
ผูสั่งการ รองฯ สามารถสั่งการเสนาธิการหรือฝายอํานวยการได หากอยูในขอบเขตที่ผูบังคับหนวยไดให
อํานาจไว เมื่อรองฯ จําเปนตองมีฝายอํานวยการ ผูบังคับหนวยอาจสั่งการใหนายทหารจากกองบัญชาการหรือ
หนวยรองมาใหความชวยเหลือหรือผูบังคับหนวยอาจมอบกองบัญชาการของหนวยรองให รองฯ ใชในการ
ปฏิบัติภารกิจ
๒๐
๗. ฝายอํานวยการ (THE STAFF)
การยุทธในสนามรบสมัยใหมเปนสิ่งที่ทา ทายอยางสูงสําหรับผูบังคับบัญชา และมีแรงกระทบ
อยางมากตอหนาที่ของฝายอํานวยการในทุกระดับ ฝายอํานวยการจําเปนตองมีประสิทธิภาพสูงกวาสมัยกอน
มาก รวมทั้งจะตองมีความคิดริเริ่มและการประสานงานของนายทหารฝายอํานวยการทุกสวน ฝายอํานวยการ
ชวยผูบังคับบัญชาในการแสวงขอตกลงใจ โดยการจัดหา วิเคราะห และเชื่อมโยงขอมูลขาวสาร และที่สําคัญ
ยิ่ง คือการเสนอขอมูลที่สําคัญ จําเปนประกอบกับขอเสนอแนะใหแกผูบังคับบัญชา เพื่อที่จะอํานวยให
ผูบังคับบัญชาสามารถเลือกขอตกลงใจที่ดที ี่สุด สิ่งที่ฝายอํานวยการปฏิบัติตอขอมูลที่รวบรวมไดนั้น จะมี
ความสําคัญอยางยิ่งยวดตอการปฏิบัติงานในหนาที่ของฝายอํานวยการ
ฝายอํานวยการของทหารมีการจัดเฉพาะพิเศษใหเปนหนวยเดียว มีความเปนปกแผนเพื่อชวย
ผูบังคับบัญชาใหสามารถสําเร็จภารกิจได หนาที่เฉพาะพิเศษของฝายอํานวยการที่ตองปฏิบัติสนองตอ
ผูบังคับบัญชา คือ
• การอํานวยการและติดตามผลการตกลงใจของผูบังคับบัญชาวา ไดถูกนําไปปฏิบัติงานบรรลุ
ภารกิจ
• ใหขอมูลขาวสารที่ถูกตองและทันเวลาแกผูบังคับบัญชาและหนวยรอง
• คาดการณลวงหนาถึงความตองการ และทําประมาณการ
• กําหนดหนทางปฏิบัติตาง ๆ และเสนอแนะหนทางปฏิบัตทิ ี่นาจะสําเร็จภารกิจทีด่ ีที่สุด
• เตรียมแผนและคําสั่ง
ผูบังคับบัญชาจําเปนตองมีฝา ยอํานวยการที่เปนผูเชี่ยวขาญในหนาที่ นายทหารฝายอํานวยการทุกคน
ตองรูไมเฉพาะเพียงบทบาทหนาที่ของตนเอง แตตองรูบทบาทหนาที่ของนายทหารฝายอํานวยการอื่น ๆ ดวย
ฝายอํานวยการตองสรางและรักษาไว ซึง่ ระบบประสานงานและความรวมมือกับภายในสํานักงาน
และกับฝายอํานวยการตาง ๆ ของหนวยเหนือ หนวยรอง และหนวยขางเคียง ฝายอํานวยการตองมุงเนนการ
ปฏิบัติงานชวยผูบังคับบัญชาในการสั่งการบังคับบัญชา และในการสนับสนุนหนวยรองใหปฏิบัติภารกิจได
สําเร็จ
หัวหนาฝายอํานวยการรับผิดชอบตอผูบังคับบัญชา ในการที่จะอํานวยการใหฝายอํานวยการปฏิบัติ
หนาที่อยางเรียบรอย หัวหนาฝายอํานวยการสั่งการและกํากับดูแลฝายอํานวยการ เพื่อใหมนั่ ใจวาการใหการ
สนับสนุนผูบังคับบัญชาเปนไปดวยความเรียบรอย ในระดับกองพันลงมา รองผูบังคับหนวยจะทําหนาที่
หัวหนาฝายอํานวยการ ปกติผูบังคับบัญชาจะใหแนวทางในการปฏิบัติ และขอมูลผานหัวหนาฝายอํานวยการ
ไปยังฝายอํานวยการ หัวหนาฝายอํานวยการจะตัดสินใจและออกคําสั่ง เฉพาะในกรณีที่ผูบังคับบัญชาและรอง
ผูบังคับบัญชาไมอยู และจะอํานวยการประสานการปฏิบัติของหนวย หากมีความจําเปนออกคําสั่งใหม
หัวหนาฝายอํานวยการตองยึดแนวทางในการปฏิบัติ และเจตจํานงของผูบังคับบัญชาที่ใหไวเดิม หากมีการ
ติดตอโดยตรงของนายทหารฝายอํานวยการกับผูบังคับบัญชา จะตองแจงใหหัวหนาฝายและรองผูบังคับบัญชา
ทราบดวย
๒๑
ตอนที่ ๓
หลักการของฝายอํานวยการ

๘. ความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่ของฝายอํานวยการ
นายทหารฝายอํานวยการจะไดรับมอบหนาที่ในสายงาน และจะตองรับผิดชอบตอความสําเร็จของ
การปฏิบัติทางฝายอํานวยการของงานในสายงานนัน้ ๆ
การมอบหมายใหมีผูรับผิดชอบทางฝายอํานวยการสําหรับแตละงาน จะทําใหประสิทธิภาพการ
ทํางานดีขึ้นเพราะ
• ผูบังคับบัญชามีฝายอํานวยการในสายงานเฉพาะเรื่อง รับผิดชอบในการใหคําแนะนํา และความ
ชวยเหลือในงานที่ไดกําหนดขอบเขตไว
• มีตัวแทนในการประสานงาน และใหคําปรึกษากับฝายอํานวยการและกองบัญชาการอื่น ๆ
ในงานที่ไดกําหนดขอบเขตไว
• ทําใหเกิดความมั่นใจวา มีผูใหความสนใจดูแลรายละเอียดทางฝายอํานวยการในการบังคับ
บัญชาทุกสวนอยางทั่วถึง
• ทําใหนายทหารฝายอํานวยการ สามารถมุงความสนใจดูแลงานที่ไดกําหนดขอบเขตไวไดอยาง
สมบูรณ
ผูบังคับบัญชาจะกําหนดอํานาจหนาที่เฉพาะใหฝายอํานวยการ หรือนายทหารฝายอํานวยการ
เฉพาะคน ปกติผูบังคับบัญชาจะมอบอํานาจหนาที่ใหฝายอํานวยการปฏิบัติการในขั้นตอนสุดทายของเรื่อง
ตาง ๆ ตามนโยบายการบังคับบัญชา อํานาจหนาที่ที่มอบหมายใหนายทหารฝายอํานวยการผูใดผูหนึ่งจะ
แตกตางกัน ขึ้นอยูก ับระดับและภารกิจของการบังคับบัญชาความเรงดวนของการปฏิบัติการ และ
ความสัมพันธในสายงานของนายทหารฝายอํานวยการผูน ั้นกับภารกิจหลักของสวนบัญชาการนั้น
การที่นายทหารฝายอํานวยการผูใดไดรับมอบหมายความรับผิดชอบในหนาที่ มิไดหมายความวา
นายทหารฝายอํานวยการผูนนั้ มีอํานาจทางการบังคับบัญชาตอนายทหารฝายอํานวยการอื่น หรือสวนอื่น ๆ
ของสวนบังคับบัญชา ถึงแมวาผูบัญชาการจะยังคงความรับผิดชอบเปนสวนรวมไว แตนายทหารฝาย
อํานวยการผูนนั้ จะตองรับผิดชอบตอวิธีการใชอํานาจหนาที่ที่ไดรับมอบ และผลการปฏิบัติหนาที่ที่ตามมา ใน
การปฏิบัติการในนามของผูบ ังคับบัญชานายทหารฝายอํานวยการตองรับผิดชอบตออํานาจที่ไดรับไวชั่วคราว
เพื่อแกปญหาในกรณีฉุกเฉินดวย
๙. ความสัมพันธของฝายอํานวยการ กับสวนบัญชาการหนวยรอง
นายทหารฝายอํานวยการของสวนบังคับบัญชาหนวยเหนือ อาจใหขอเสนอแนะหรือคําปรึกษาแก
ผูบังคับหนวยรอง แตผูบังคับหนวยรองจะรับหรือไมรับขอเสนอแนะและคําปรึกษาก็ได เชนเดียวกับที่
เขาปฏิบัติตอฝายอํานวยการของเขา นายทหารฝายอํานวยการกํากับดูแลการปฏิบัติตามคําสั่ง หรือคําสั่งชี้แจง
ที่ออกโดยผูบงั คับบัญชาหรือผูบังคับบัญชาลงนามอนุมัติ นายทหารฝายอํานวยการของหนวยเหนือไมมีอํานาจ
๒๒
โดยตําแหนงที่กําหนดหรือสั่งการสวนบังคับบัญชาหนวยรอง ใหลงมือปฏิบัติหรือปฏิบัติตามคําสั่งจากสวน
บัญชาการหนวยเหนือ ในกรณีที่นายทหารฝายอํานวยการไดพิสูจนทราบแนชัดวาหนวยรองไมปฏิบัติตาม
คําสั่งของผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการผูนั้นจะตองแจงใหผูบังคับบัญชาหนวยรอง หรือฝายอํานวยการ
หนวยรองถึงขอบกพรอง (หากเห็นวาเรื่องนั้น ๆ สําคัญจริง) และจะตองรายงานการตรวจพบและให
ขอเสนอแนะที่เหมาะสมแกผูบังคับบัญชาของตน
เชนเดียวกับผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการตองเขาใจหนวยตาง ๆ ที่อยูใตการบังคับบัญชา รวมทั้ง
สถานการณ เทคนิค การปฏิบัติการ ขีดความสามารถ และคุณลักษณะของหนวยเหลานั้น ฝายอํานวยการ
จะตองใหความสนใจหวงใยในเรื่องการสนับสนุนหนวยรองอยางตอเนื่อง และจะตองสรางความสัมพันธทาง
สายงานกับผูบงั คับบัญชาหนวยรอง รวมทั้งฝายอํานวยการของหนวยรองดวย นายทหารฝายอํานวยการไมมี
อํานาจที่จะไมรับหรือปฏิเสธคํารองขอของผูบังคับหนวยรอง และตองไมกาวกายในความรับผิดชอบ หรือ
อํานาจสิทธิของผูบังคับหนวยรองหรือนายทหารฝายอํานวยการอื่น นายทหารฝายอํานวยการทําหนาที่ติดตอ
กับสวนบังคับบัญชาของหนวยรอง ในนามของผูบังคับบัญชาของตนเทานั้น โดยการสงคําสั่งหรือคําสั่งชี้แจง
ใหคําแนะนําและขอเสนอแนะเสนอใหความชวยเหลือหรือเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูล
ตามปกติแลว คําสั่งทั้งปวงจากกองบัญชาการหนวยเหนือที่กําหนดการปฏิบัติการใหหนวยรอง หรือ
ตองการใหหนวยรองปฏิบัติ จะตองมีผูบัญชาการหนวยเหนือเปนผูอนุมัติจะมีขอยกเวนเฉพาะหลักการ
พื้นฐานไวดังนี้
• ผูบังคับบัญชาไดมอบอํานาจหนาที่โดยเฉพาะเจาะจงไว ใหฝายอํานวยการผูออกคําสั่งและคํา
ชี้แจง โดยมีการประกาศใหทราบถึงการมอบหมายอํานาจควบคุมนี้อยางเปนทางการ
• ผูบังคับบัญชามอบอํานาจการควบคุมทางยุทธการหนวย ๆ หนึ่งใหแกนายทหารฝายอํานวยการ
ผูหนึ่ง ผูบังคับบัญชาจะตองประกาศการมอบอํานาจควบคุมนี้อยางเปนทางการเพื่อใหมั่นใจวา หนวยมีความ
เขาใจในเรื่องนี้อยางชัดเจนสมบูรณ การมอบหมายในลักษณะนี้ทําใหนายทหารฝายอํานวยการมีอํานาจหนาที่
ออกคําสั่งเกี่ยวกับการจัดเฉพาะกิจในหนวยรอง การมอบหมายงาน กําหนดเปาหมาย และอํานาจหนาที่ในการ
สั่งการที่จําเปนอยางตอการสําเร็จภารกิจของหนวยรองนั้น
ในการปฏิบัตหิ นาที่ นายทหารฝายอํานวยจการตองประสานงานโดยตรงกับนายทหารฝาย
อํานวยการของหนวยรองอยูเ สมอ ปกติแลว นายทหารฝายอํานวยการจะตอบสนองการขอขอมูลมาอยางไม
เปน ทางการใหกันและกัน แตอยางไรก็ตาม หากนายทหารฝายอํานวยการ หนวยรองพิจารณาเห็นวา การ
ขอขอมูลอยางไมเปนทางการครั้งใดเหมาะสมหรือกาวกายตอสิทธิอํานาจของสวนบังคับบัญชา นายทหารฝาย
อํานวยการหนวยรองสามารถรายงานหัวหนาฝายอํานวยการ (หรือรองผูบังคับบัญชาหนวย) เพื่อขอใหแจง
ฝายอํานวยการของหนวยเหนือสงคําขอขอมูลมาตามสายการบังคับบัญชา
๑๐. การติดตอระหวางผูบังคับบัญชากับฝายอํานวยการ
ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการสามารถติดตอกันตามสายการติดตอสื่อสาร ดังตอไปนี้
• สายการบังคับบัญชา เปนสายตรงที่ใชในการติดตออยางเปนทางการระหวางกองบัญชาการ
ตาง ๆ คําสั่งและคําสั่งชี้แจงทั้งปวงจะสงไปยังหนวยรองดวยสายการติดตอนี้ (ยกเวนคําสั่งที่ผานสายทาง
๒๓
เทคนิคซึ่งจะกลาวตอไป) โดยการใชสายการบังคับบัญชานี้ นายทหารฝายอํานวยการสามารถใชสายการบังคับ
บัญชาติดตอกับหนวยอื่น ๆ ได เมื่อปฏิบัตกิ ารในนามของผูบังคับบัญชา
• สายฝายอํานวยการ เปนสายสําหรับฝายอํานวยการติดตอกับฝายอํานวยการของกองบัญชาการ
หนวยอื่น ในการประสานงานและสงขาวสาร
• สายทางเทคนิค เปนสายติดตอทางเทคนิคระหวางสวนบัญชาการเมือ่ สงคําชี้แจงทางเทคนิค
ใชโดยผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการที่ไดรับอนุญาตใหใชได เนื่องจากเปนการปฏิบัติการมีลักษณะพิเศษ
ทางเทคนิค ตัวอยางเชน คําชี้แจงในการดัดแปลงยุทโธปกรณ และการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวของกับระบบ
ของสวนรวม เชน กระบวนการในการรักษาประวัติสว นบุคคลและบัญชีรายจาย รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทาง
เทคนิคของหนทางปฏิบัติ ซึ่งอาจกระทบผลสําเร็จของภารกิจ ผูบังคับบัญชาตองไดรับทราบถึงการ
เปลี่ยนแปลงทางเทคนิค เพื่อที่จะวิเคราะหไดอยางแมนยําวา การเปลี่ยนแปลงเหลานี้จะทําใหเกิดผลอยางไร
และตองปฏิบัติใหเหมาะสมอยางไร การเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคควรจะกระทําตอเมื่อมีผลดีตอความสําเร็จ
ภารกิจหรือตอความปลอดภัยเทานั้น
การแยกใชสายการติดตอสื่อสารที่แตกตางกัน เปนการแยกใหเห็นชัดถึงความสัมพันธอยางเปน
ทางการระหวางสวนบัญชาการตาง ๆ ฝายอํานวยการตาง ๆ และการหมุนเวียนของขาวสาร กองบัญชาการ
สงคําสั่ง คําสั่งชี้แจง ขอเสนอแนะ ขอแนะนําและขอมูลตาง ๆ ถึงกันและกัน โดยใชสายติดตอสื่อสารเหลานี้
๒๔
ตอนที่ ๔
งานในหนาที่รวมของฝายอํานวยการ

๑๑. กลาวนํา
ฝายอํานวยการประกอบดวยนายทหารตาง ๆ ซึ่งไดรับคําสั่งโดยเฉพาะ หรือไดรับมอบใหทําหนาที่
ชวยเหลือผูบังคับบัญชา นายทหารเหลานีอ้ าจไดรับมอบหมายใหปฏิบตั ิหนาที่ตลอดเวลา หรือทําหนาที่ควบคู
ไปดวยผูบังคับหนวยคนหนึ่งอาจทําหนาที่เปนฝายอํานวยการเพิ่มเติมจากหนาที่บังคับบัญชาหนวยของตน
ก็ได อยางไรก็ตาม การมอบหมายใหปฏิบตั ิหนาที่ควบคูน ี้ควรจะทําในลักษณะจํากัด เพื่อรักษาไวซงึ่ บูรณภาพ
ของสายการบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
ผูบังคับบัญชาจะบังคับบัญชาฝายอํานวยการ แตเสนาธิการจะเปนผูสั่งการและกํากับดูแลการ
ปฏิบัติงานของฝายอํานวยการ สําหรับในหนวยระดับกองพันและหนวยที่ต่ํากวา รองผูบังคับหนวยจะทํา
หนาที่เปนหัวหนาฝายอํานวยการ
ประเภทของฝายอํานวยการ
• ฝายอํานวยการประสานงาน
• ฝายกิจการพิเศษ
• ฝายอํานวยการประจําตัว
• นายทหารติดตอ

๑๒. งานในหนาที่รวมของฝายอํานวยการ
งานในหนาที่รว ม ๕ ประการของฝายอํานวยการ ไดแก การใหขาวสาร, การทําประมาณการ, การให
ขอเสนอแนะ, การทําแผนและคําสั่ง และการกํากับดูแลการปฏิบัติตามแผนและคําสั่ง
ก. การใหขาวสาร
๑) ฝายอํานวยการรวบรวมขาวสารที่ไดรับรายงานเขาสูกองบัญชาการ ทําการจัดเรียบ
ประเมินคา แลวดําเนินกรรมวิธีตอขาวสารเหลานี้อยางรวดเร็ว และคัดแยกขาวสารที่เกี่ยวของซึ่งไดประเมินคา
แลวนําไปรายงานผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการปฏิบัติงานในหนาที่นี้ โดยวิธีการดังนี้
ก) รวบรวมขาวสารจากแหลงขาวที่มีอยู ดํารงการติดตอกับแหลงขาวอยางตอเนื่อง
ตลอดเวลา หากสามารถทําได นายทหารฝายอํานวยการจะกําหนดระเบียบปฏิบัติเพือ่ ใหมีการสงขาวสารไปยัง
กองบัญชาการไดโดยอัตโนมัติ
ข) จัดเรียบและประเมินคาขาวสาร ในขอบเขตของงานในหนาที่ของตนตามลําดับ
๒) ในการรวบรวมขาวสารฉบับลาสุดที่มีอยูนั้น นายทหารฝายอํานวยการจะเพงเล็งถึง
ขาวสารที่เกี่ยวของ แลวรีบสงขาวสารนั้นไปยังผูบังคับบัญชาโดยทันที หรือสงไปยังเจาหนาที่อื่น ๆ และ/หรือ
๒๕
นายทหารฝายอํานวยการในหนวยบัญชาการซึ่งตองการขาวสารนั้น นายทหารฝายอํานวยการจะปฏิบัติหนาที่
นี้โดย
ก) พิจารณาถึงความสําคัญ ความนาเชื่อถือ และความสมบูรณของขาวสารและขาวกรอง
ไมตองรอการรองขอ ในเมื่อคาดวาขาวสารนั้นมีผลกระทบตอการปฏิบัติการทางทหาร
ข) ใหมั่นใจวามีการแลกเปลี่ยนขาวสารกันระหวางฝายอํานวยการดวยกันและกับหนวย
เหนือ หนวยขางเคียง และหนวยรอง ซึ่งจะทําใหฝายอํานวยการและหนวยทหารอื่น ๆ สามารถใชประโยชน
จากขาวสารไดอยางเต็มที่ ในการปฏิบตั ิเชนนี้ นายทหารฝายอํานวยการแตละคนตองมีความเขาใจเบื้องตน
ถึงประเภทของขาวสารที่นายทหารฝายอํานวยการ และผูบังคับบัญชาทั้งปวงตองการดวย
๓) ฝายอํานวยการสรุปความสําคัญของขาวสารที่ไดรับ และขาวสารที่มีอยูในสวนที่เกี่ยวกับ
งานในหนาที่ ซึ่งจําเปนตอสถานการณและการปฏิบตั ิงานของหนวย เพื่อบรรยายสรุปใหผูบังคับบัญชาและ
ฝายอํานวยการอื่น ๆ ทราบ
ข. การทําประมาณการ
๑) ฝายอํานวยการจัดทําประมาณการเพื่อชวยเหลือผูบังคับบัญชา ในการตรวจสอบปจจัยทั้ง
ปวงที่มีอิทธิพลตอหนทางปฏิบัติที่ ผบ.หนวย กําลังพิจารณาอยู โดยอาศัยการประมาณการที่จัดทําขึ้น
ฝายอํานวยการสรุปเสนอรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบถึง
ก) ขอสรุปเกี่ยวกับปจจัยสําคัญจะมีผลกระทบตอสถานการณ
ข) ขอเสนอเกี่ยวกับการใชเครือ่ งมือที่มีอยู เพื่อสนับสนุนหนทางปฏิบตั ิที่เลือกไวได
อยางดีที่สุด
๒) นายทหารฝายอํานวยการจัดทําการประมาณการดวยการคาดคะเนภารกิจและปรับปรุง
อยางตอเนื่อง เพื่อใหไดแผนการปฏิบัติอยางเหมาะสม ความบกพรองในการจัดทําประมาณการเหลานี้ อาจ
นําไปสูความผิดพลาดอยางรายแรงได เพราะวาไมมกี ารพิจารณาสอยางรอบคอบถึงเหตุผล หรืออุปสรรคที่
อาจเกิดขึ้น ไดแก หนทางปฏิบัติที่ไดวางแผนไวแลว
ค. การใหขอเสนอแนะ
นายทหารฝายอํานวยการจัดทําขอเสนอแนะเพื่อชวยเหลือผูบังคับบัญชา โดยอาศัยผลสรุปจาก
ประมาณการ เนนถึงปจจัยสําคัญของงานในหนาที่ ซึ่งอาจทําใหเกิดผลกระทบตอการปฏิบัติงาน การวางแผน
และการปฏิบตั ิการยุทธ รวมถึงขอเสนอการแกไขเพื่อลดความเสียเปรียบ เพื่อใหบรรลุถึงขอตกลงใจและการ
กําหนดนโยบายของผูบังคับบัญชา นายทหารฝายอํานวยการยังใหขอเสนอแกนายทหารฝายอํานวยการอื่น ๆ
และแกผูบังคับหนวยรองดวย ในกรณีหลังนี้ เปนขอเสนอที่มุงหมายเพื่อการชวยเหลือเทานัน้ ไมมีอํานาจ
บังคับทางการบังคับบัญชาแตอยางใด
ง. การทําแผนและคําสั่ง
๑) ฝายอํานวยการแปลงขอตกลงใจและนโยบายของผูบังคับบัญชาเปนแผนและคําสั่งตาง ๆ
ผูบังคับบัญชาอาจกําหนดหนาที่และมอบอํานาจใหฝายอํานวยการสั่งการเพื่อจายผนวกกอนแผนและคําสั่ง
ก็ได
๒๖
๒) ฝายอํานวยการวิเคราะหนโยบาย และขอตกลงใจของผูบังคับบัญชา เพื่อใหมั่นใจวาตนมี
ความเขาใจอยางสมบูรณแลวกอนทีจ่ ะทําแผนและจายคําสั่งเพื่อนําไปปฏิบัติฝายอํานวยการประสานแผนและ
คําสั่งเหลานี้กบั ฝายอํานวยการอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกกองบัญชาการก็ได
๓) ฝายอํานวยการจัดทําแผน โดยอาศัยเหตุการณหรือสถานการณที่คาดคิดขึ้นอีกดวย แผน
เหลานี้จะชวยผูบังคับบัญชาในการแสวงขอตกลงใจ และลดเวลาการทํางานได
จ. การกํากับดูแลการปฏิบตั ิตามแผนและคําสั่ง
ฝายอํานวยการชวยเหลือผูบังคับบัญชาดวยการกํากับดูแล โดยใหมั่นใจวาหนวยรองตาง ๆ
ไดรับและปฏิบัติตามแผนและคําสั่งของผูบังคับบัญชา การกํากับดูแลเชนนี้เปนการปลดเปลื้องภาระของ
ผูบังคับบัญชาจากรายละเอียดไดอยางมาก ทั้งยังเปนการทําใหฝายอํานวยการทราบสถานการณตาง ๆ และชวย
ใหมีการแจงขาวสารแกฝายอํานวยการ เพือ่ ใชสําหรับรายงานความกาวหนาตอไป ขาวสารเชนนี้เปนสิ่งจําเปน
ตอนายทหารฝายอํานวยการอื่น ๆ, ผูบังคับหนวยรอง และฝายอํานวยการของหนวยรอง ในการตีความหมาย
ในนโยบายและขอความชวยเหลือในการแกปญหาขอยุงยากตาง ๆ
๑๓. คุณวุฒขิ องนายทหารฝายอํานวยการ
ก. ตองมีความรูเรื่องเหลา และงานในหนาทีข่ องตนเปนอยางดี
ข. ประสบการณในการบังคับบัญชา
ค. มีความรูเกี่ยวกับขีดความสามารถของหนวยตาง ๆ ที่เปนสวนประกอบหนวยที่ตนสังกัด
ง. ตองสามารถรูเทาทันเหตุการณ สามารถประเมินและตัดสินเหตุการณตาง ๆ ซึ่งมีความสําคัญ
ตอการบรรลุความสําเร็จตามภารกิจ
จ. รูปญหาของหนวย
ฉ. มีความสามารถในการเปนผูน ํา
ช. มีความสามารถในการเขียน การพูดเปนอยางดี

๑๔. คุณสมบัติของฝายอํานวยการ
ก. รูหลักมนุษยสัมพันธเปนอยางดี
ข. มีบุคลิกซึ่งชวยใหสามารถปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นไดอยางฉันทมิตร
ค. ควรมีอุดมการณ และมาตรฐานความคิด
ง. ควรมีสติปญญาและความเชื่อมั่นในตนเองอยางสูงในการชี้แจงเรื่องราวตอผูบังคับบัญชา
และผูอื่นฟง
จ. ซื่อตรงตอหนาที่ มั่นคงเสมอตนเสมอปลาย

๑๕. ขอพึงระลึกของฝายอํานวยการ
ก. นายทหารฝายอํานวยการไมมีอํานาจในการบังคับบัญชา แตอาจออกคําสั่งไดในนามของ
๒๗
ผูบังคับบัญชา เมื่อไดรับมอบอํานาจซึ่งอยูใ นขอบเขตของนโยบายทีก่ ําหนดไว การอางชื่อผูบังคับบัญชาไปใช
อยางไรสาระเปนการละเมิดจริยธรรมที่สําคัญที่สุด
ข. ตองเคารพสิทธิอํานาจของผูบังคับบัญชาหนวยรอง กอนที่จะทําการเยี่ยมหนวยควรจะไดตดิ ตอ
กับผูบังคับหนวยเสียกอน และควรจะอธิบายถึงความมุงหมายในการตรวจเยีย่ มดวย และการไปเยี่ยมก็ไปใน
นามผูแทนของผูบังคับบัญชา
ค. ตองพยายามผูกความสัมพันธอยางใกลชิดกับผูบังคับบัญชา และผูบังคับหนวยรองใหมากที่สุด
เพื่อประโยชนตอการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะตองมีความสุภาพออนนอมตามเหตุการณ
ง. ตองไมรับปากหรือไมอนุมัตคิ ําขอตาง ๆ จากหนวยรอง เพราะผูบังคับบัญชาเทานั้นเปน
ผูตัดสินวาจะอนุมัติหรือไมอนุมัติ
จ. ไมทํางานขามสายงานเพราะถือวาผิดจริยธรรมไมสมควรอยางยิ่งและจะทําใหเกิดความเสียหาย
แกการบังคับบัญชาดวย
ฉ. จะตองระมัดระวังเปนพิเศษที่จะไมละเมิดความไววางใจของผูบังคับบัญชา หรือนําเรื่องราวที่
ผูบังคับบัญชาตองการจะรักษาไวเปนความลับมาเปดเผย
-----------------------
๒๘
บทที่ ๒
การจัดฝายอํานวยการ
ตอนที่ ๑
กลาวนํา
๑. การนัดและหลักการจัดของฝายอํานวยการ
การจัดฝายอํานวยการทางทหารมีขอพิจารณาที่มีความเกีย่ วเนื่องซึ่งกันและกันดังนี้

• ภารกิจ
• งานทีเ่ กีย่ วของ ซึ่งมีลักษณะกวางขวาง
• ระเบียบขอบังคับและกฎหมาย

ภารกิจ
ภารกิจเปนตัวกําหนดวามีกิจกรรมใดบางทีจ่ ะตองปฏิบัตใิ หสําเร็จ ในขณะเดียวกันกิจกรรมตาง ๆ
เหลานี้ ก็เปนตัวกําหนดวา จะจัดฝายอํานวยการอยางไรถึงจะปฏิบัติภารกิจไดสําเร็จ
งานที่เกี่ยวของ
ในหนวยบัญชาการระดับตาง ๆ นั้น ไมวาจะมีภารกิจใด ๆ ก็ตาม สามารถพิจารณาแบงงานที่
เกี่ยวของออกเปนเรื่องใหญ ๆ ไดคือ การกําลังพล การขาว การยุทธการ การสงกําลังบํารุง และการกิจการ
พลเรือน ในบางหนวยบัญชาการที่มีการควบคุมดานสายงานปลัดบัญชี อาจเปนสิ่งจําเปนจะตองมีงานดานการ
บัญชีเพิ่มขึ้นมาดวย
ระเบียบขอบังคับและกฎหมาย
ระเบียบขอบังคับและกฎหมายทางทหาร จะระบุถงึ ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและฝาย
อํานวยการไว
ผูบังคับบัญชาจัดตั้งฝายอํานวยการที่มีประสิทธิภาพไดโดย
ก. กําหนดอํานาจ หนาที่ และความรับผิดชอบ ใหฝายอํานวยการอยางแนชัด
ข. มอบอํานาจในการตกลงใจที่เกี่ยวกับงานปกติใหนายทหารฝายอํานวยการตาง ๆ ตามหนาที่
ความรับผิดชอบอยางเหมาะสม
ค. รวมกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกันไวในพวกเดียวกัน
ง. กําหนดชวงของการควบคุมอยางเหมาะสม
๒๙
ตอนที่ ๒
รูปแบบการจัดฝายอํานวยการ

๒. รูปแบบการจัดฝายอํานวยการโดยทั่วไป
รูปแบบการจัดฝายอํานวยการ โดยทั่วไปมีหัวหนาฝายอํานวยการ ๑ นาย (หรือ รอง ผบ.หนวย)
มีกลุมฝายอํานวยการ ๓ กลุมคือ
• กลุมฝายอํานวยการประสานงาน
• กลุมฝายอํานวยการกิจการพิเศษ
• กลุมฝายอํานวยการประจําตัว และมีนายทหารติดตอ

ผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการประจําตัว
รอง/ผช.

นายทหารติดตอ เสนาธิการ

ฝายอํานวยการประสานงาน

ฝายกิจการพิเศษ

* หมายเหตุ : จํานวนและแผนกของฝายอํานวยการเปลี่ยนไปตามระดับ และประเภทกองบัญชาการ


รูปที่ ๒ – ๑ รูปแบบการจัดฝายอํานวยการโดยทั่วไป

การจัดฝายอํานวยการขึ้นอยูก ับหนาที่ งาน และขอบเขตที่กําหนดไวใน อจย. หรือ อฉก. บางครั้ง


อาจรวมฝายอํานวยการจากสองสวนหรือมากกวาเขาดวยกันเพื่อเปนการประหยัดทรัพยากร กําลังพล และ
ยุทโธปกรณ และเพื่อเปนการทําใหมีการรวมมือในการปฏิบัติมากขึ้น จํานวนนายทหารฝายอํานวยการ
ประสานงาน กิจการพิเศษ หรือประจําตัวจะแตกตางกันในแตระดับการบังคับบัญชา ผูบังคับบัญชามีอํานาจ
ในการจัดฝายอํานวยการของตนไดตามความเหมาะสม แตไมเกินทีไ่ ดรบั อนุมัติใน อจย. หรือ อฉก. เรื่องที่เนน
ในงานที่เกี่ยวของในสายงานของฝายอํานวยการอาจแตกตางกันแลวแตระดับการบังคับบัญชา เอกสารอนุมัติ
รูปแบบการจัดและการบรรจุกําลังจะแสดงใหเห็นกิจกรรมที่ตองทําปกติของแตละสวนยอยของแผนกหรือ
กองฝายอํานวยการ หัวหนาแผนกหรือหัวหนากองฝายอํานวยการในกองบังคับการจะกําหนดการจัดภายใน
๓๐
ของแผนกหรือกองของตน แตทั้งนี้จะตองไดรับความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาและตามที่ไดรับอนุมัติใน
อจย. หรือ อฉก. ขอพิจารณาพื้นฐานในการกําหนดรูปแบบการจัดแผนกหรือกองฝายอํานวยการ จะรวมถึง
• ภารกิจ
• ปริมาณงานทีแ่ ผนกหรือกองตองปฏิบัติ
• จํานวนกําลังพลที่มีอยูและขีดความสามารถของกําลังพล
• ความจําเปนทีเ่ กิดขึ้นโดยพิจารณาจาก การจัดและที่ตั้งของผูบังคับการและกองบัญชาการ
• ความตองการของผูบังคับบัญชาและเสนาธิการ (หัวหนาฝายอํานวยการ)
• ตองใหสามารถปฏิบัติการไดตลอด ๒๔ ชัว่ โมง
หัวหนาแผนกหรือกอง สามารถมอบหมายอํานาจหนาที่ใหนายทหารหรือสเจขาหนาที่กํากับดูแล
งานหรือกิจกรรมการงานหรือกิจกรรมในหนาที่ของแผนกหรือหรือกองบางอยางไดและไมควรใหเกิดงาน
ลนมือ โดยการรับกิจกรรมการงานซึ่งเปนความรับผิดชอบของแผนหรือกองอื่นมาทํา
หัวหนาแผนกหรือกองรับผิดชอบการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของตน รวมถึงการมอบงาน
การปฏิบัติตามระเบียบคําสัง่ และการฝกที่จําเปน เพื่อใหงานลุลวงไปดวยความเรียบรอยภายในแผนกหรือกอง
การฝกนอกเหนือจากการฝกหนาที่ในแผนกหรือกอง (ตัวอยางเชน อาวุธศึกษา การทดสอบรางกาย และการ
ฝกศึกษาอื่น ๆ) ผูบังคับกองรอย กองบังคับการจะเปนผูรับผิดชอบ โดยมีการประสานงานกับหัวหนาแผนก
หรือกองตาง ๆ
รูปแบบของการจัดฝายอํานวยการ (ทั้งสามกลุมฝายอํานวยการที่กลาวมาแลวและการเรียกชื่อฝาย
อํานวยการ ขึน้ อยูกับระดับของกองบัญชาการและขอพิจารณาที่กลาวมาแลว แตรปู แบบโดยทัว่ ไปจะจัดตาม
รูปที่ ๒ – ๑)
๓. รูปแบบการจัดฝายอํานวยการแบบพื้นฐาน
ก. หัวหนาฝายอํานวยการ
เสนาธิการเปนหัวหนาฝายอํานวยการ รับผิดชอบเรื่องการอํานวยการและปฏิบัติงานฝาย
อํานวยการ การประสานการปฏิบัติของนายทหารฝายอํานวยการตาง ๆ รวมทั้งการตอบสนองที่ฉับไวและมี
ประสิทธิภาพของนายทหารฝายอํานวยการ เสนาธิการมีหนาที่อํานวยการการปฏิบัติงานของฝายอํานวยการ
ประสานงานและฝายกิจการพิเศษ โดยปกติ ผูบังคับบัญชาจะมอบอํานาจหนาที่ในการสั่งการกับฝาย
อํานวยการใหเสนาธิการ
ข. ฝายอํานวยการประสานงาน
นายทหารฝายอํานวยการประสานงานเปนฝายอํานวยการหลักของผูบังคับบัญชา ฝาย
อํานวยการประสานงานแตละคนจะมีหนาที่รับผิดชอบงานที่เกี่ยวของ ที่มีลักษณะกวางขวางหนึ่งเรื่องหรือ
หลายเรื่องก็ได ฝายอํานวยการประสานงานเหลานี้ชว ยเหลือผูบังคับบัญชาโดยประสานแผน การปฏิบัติงาน
และการปฏิบตั ิการยุทธของหนวย เมื่อนําทุกแผนกมารวมกันแลวฝายอํานวยการประสานงานจะมีหนาที่ความ
รับผิดชอบ ซึ่งครอบคลุมหนาที่ความรับผิดชอบทั้งหมดของผูบังคับบัญชา ยกเวนในเรื่องที่ผบู ังคับบัญชา
ตองการควบคุมดวยตนเอง หรือในเรื่องทีร่ ะเบียบขอบังคับและกฎหมายทางทหาร กําหนดเฉพาะเจาะจงให
๓๑
ฝายอํานวยการฝายใดฝายหนึ่งรับผิดชอบ ถึงแมวาแผนกฝายกิจการพิเศษไมใชสวนประกอบสวนหนึ่งของฝาย
อํานวยการประสานงาน แตฝายอํานวยการประสานงานก็จะตองกําหนดระเบียบปฏิบัติขึ้น เพื่อใหมั่นใจวา
มีการประสานและรวมการปฏิบัติของฝายกิจการพิเศษทีเ่ กี่ยวของเขากับงานในหนาที่ และความรับผิดชอบ
ของตน
นายทหารฝายอํานวยการประสานงานผูใดผูหนึ่ง อาจไดรับมอบหมายใหปฏิบัตหิ นาที่เปนรอง
หรือผูชวยเสนาธิการของหนวย ทั้งนี้ขึ้นอยูก ับแบบหรือระดับของหนวยโดยทัว่ ไปแลว การมอบหมายดังกลาว
บงชี้ใหเห็นถึงขอบเขต และอํานาจหนาทีท่ ี่ผูบังคับบัญชาไดมอบหมายใหหวั หนาแผนกอํานวยการหลักตาง ๆ
และความกวางขวางและยุงยากซับซอนของการปฏิบัติการในหนวย ๆ นั้น แตอยางไรก็ตาม ผูบังคับบัญชาจะ
กําหนดอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบที่นอกเหนือจากอํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบตามตําแหนงใหกับ
นายทหารฝายอํานวยการซึ่งโดยปกติแลว ภายในขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของฝาย
อํานวยการ จะมีการใหขอเสนอแนะ การวางแผน และการประสานการปฏิบัติในงานที่ตนเกีย่ วของ รวมถึง
การรวมและประสานการปฏิบัติของฝายกิจการพิเศษ เขากับการปฏิบัติการของหนวยใหเหมาะสมดวย
การที่ฝายอํานวยการประสานงานฝายหนึ่ง ตองใหความสนใจหรือตองเขาไปเกีย่ วของโดยตรง
กับงาน ซึ่งอยูใ นความรับผิดของฝายอํานวยการประสานงานอีกฝายหนึง่ เปนเรื่องธรรมดา ตัวอยางเชน การฝก
เปนความรับผิดชอบหลักของหัวหนาฝายยุทธการและการฝก แตหัวหนาฝายขาวกรองและหัวหนาฝาย
สงกําบังบํารุง จะตองเกี่ยวของโดยตรงกับการฝกในเรือ่ งของงานในหนาที่ความรับผิดชอบของตน ในกรณี
ดังกลาว จําเปนตองกําหนดความรับผิดชอบทางฝายอํานวยการไวอยางแนชัด เพือ่ ใหมั่นใจวามีการ
ประสานงานและกําจัดขอขัดแยงที่อาจเกิดขึ้น เสนาธิการจะมอบหมายความรับผิดชอบอยางแตชัดใหฝาย
อํานวยการ แตละฝาย และมอบหมายใหนายทหารฝายอํานวยการผูใ ดผูหนึ่งเปนผูร ับผิดชอบหลัก หนวย
อาจจะรุบุระเบียบปฏิบัติในเรื่องที่ฝายอํานวยการประสานงานตาง ๆ ตองรวมปฏิบัติและเกีย่ วของกันไวใน
รปจ. หรือเอกสาร อื่น ๆ ของหนวย เพือ่ กําหนดผูที่รับผิดชอบหลักและความตองการใหมกี ารประสานใน
เรื่องที่เกี่ยวของกัน
ฝายอํานวยการประสานงานในทุกระดับ จะมีความรับผิดชอบในการจัดหาขาวสาร การวิเคราะห
ขาวสารเพื่อกําหนดความหมายของขาวสารและผลกระทบตอหนวย และที่สําคัญที่สุด คือการใหขอ เสนอแนะ
แกผูบังคับบัญชาอยางถูกตองและทันเวลา เพื่อชวยผูบังคับบัญชาในการแสวงขอตกลงใจที่ดีที่สุด เพื่อทําให
ความรับผิดชอบบรรลุผลสําเร็จ ฝายอํานวยการประสานงานจะตองขอและรับขาวสารและขอเสนอแนะจาก
ฝายกิจการพิเศษ ฝายอํานวยการประสานงานมีหนาที่ความรับผิดชอบในการประสานขาวสาร และ
ขอเสนอแนะที่ไดรับจากฝายกิจการพิเศษ เขากับการปฏิบัติขอแงฝายอํานวยการประสานงานอื่น ๆ ตามความ
จําเปน
ค. ฝายกิจการพิเศษ
นายทหารฝายกิจการพิเศษจะชวยเหลือผูบงั คับบัญชา ในเรื่องงานในหนาที่ซึ่งตองการความชํานาญ
เปนพิเศษ วิชาชีพ และเทคนิค โดยทัว่ ไป จะมีการแบงฝายกิจการพิเศษเปนแผนกตามหนาที่งาน และความ
ชํานาญดานเทคนิคหรือวิชาชีพที่เกี่ยวของกับหนวย จํานวนและหนาทีข่ องฝายกิจการพิเศษในแตละหนวยจะ
๓๒
แตกตางกันไปในแตละระดับหนวย ขึ้นอยูกับที่ไดรับอนุมัติใน อจย. และ อฉก. ความตองการของ
ผูบังคับบัญชา และขนาดและระดับของหนวย ในบางกรณีฝายกิจการพิเศษจะมาจากผูบังคับหนวย ในบาง
กรณีฝาย กิจการพิเศษจะมาจากผูบังคับหนวย ตัวอยางเชน ผูบังคับการกรมปนใหญของกองพล จะทําหนาที่
เปนผูประสานการยิงสนับสนุนของกองพลดวย
ฝายกิจการพิเศษจะชวยเหลือผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการอื่น ๆ โดยปฏิบัติตามหนาที่พื้นฐาน
ของฝายอํานวยการและ
• ชวยฝายอํานวยการประสานงานจัดทําแผน คําสั่ง และรายงาน
• วางแผนและกํากับดูแลการฝกของแผนกของตนเอง กํากับดูแลทางฝายอํานวยการและ
รายงานผูบังคับบัญชาในเรื่องระดับของการฝกของทุก ๆ สวนของหนวยในเรื่องที่ตนเกี่ยวของ
• ปรึกษาและประสานงานกับฝายอํานวยการอื่น ๆ ในเรื่องงานที่เกีย่ วของ

ถึงแมวาฝายกิจการพิเศษสจะไมเปนสวนหนึ่งขอแผนกฝายอํานวยการประสานงาน แตจะมีหลาย
เรื่องที่เกี่ยวของรวมกัน และจะตองติดตอกันเปนประจําในเรื่องที่ทั้งสองฝายมีสวนเกี่ยวของ ฝายอํานวยการ
ประสานงานจะเปนผูรับผิดชอบในการกําหนดแนวทางการปฏิบัติและการประสานการปฏิบัติของฝายกิจการ
พิเศษ ทางฝายกิจการพิเศษอาจมีงานรวมกับฝายอํานวยการประสานงานหลายฝาย ซึ่งจะตองทําเปนประจํา
เชน สารวัตรใหญจะตองประสานกับ สธ.๑ ในเรื่องกฎระเบียบวินยั และขอบังคับของทหาร กับ สธ.๒ ในเรื่อง
ความตองการในการรักษาความปลอดภัย กับ สธ.๓ ในเรื่องความตองการในการระวังปองกันพื้นที่สวนหลัง
กัน สธ.๔ ในเรื่องการเคลื่อนยายทางธุรการ และกับ สธ.๕ ในเรื่องที่เกี่ยวกับประชาชนพลเรือน
ง. ฝายอํานวยการประจําตัว
จะทํางานภายใตการควบคุมโดยตรงของผูบังคับบัญชา และใหความชวยเหลือโดยตรงแก
ผูบังคับบัญชา โดยไมผาน รอง ผบ.หนวย หรือเสนาธิการ และใหความชวยเหลือโดยตรง รวมถึง เจาหนาที่
ตามอนุมัติใน อจย. และ อฉก. ทส. (ที่มีหนาทีช่ วยเหลือผูบังคับบัญชาในเรื่องสวนตัว) เจาหนาที่ที่
ผูบังคับบัญชาตองการกํากับดูแลการปฏิบัติดวยตนเอง และเจาหนาที่ทมี่ ีความสัมพันธเปนพิเศษกับ
ผูบังคับบัญชาตามกฎขอบังคับหรือกฎหมาย โดยปกติแลว ฝายอํานวยการประจําตัวจะรวมถึง จเร นายทหาร
พระธรรมนูญ และอนุศาสนาจารย
นายทหารฝายอํานวยการประจําตัว นอกเหนือจากงานและความรับผิดชอบตามตําแหนงแลว
อาจตองปฏิบัติหนาที่เปนฝายอํานวยการประสานงานหรือเปนฝายกิจการพิเศษดวย ตัวอยางเชน นายทหาร
พระธรรมนูญในระดับกองทัพภาค จะตองเปนหัวหนารับผิดชอบตอการดําเนินงานของแผนกพระธรรมนูญ
ในกองบัญชาการกองทัพภาคดวย
จ. นายทหารติดตอ
เปนตัวแทนของผูบังคับบัญชาที่ทํางานใตการอํานวยการของเสนาธิการ สธ.๓ หรือผูอื่นที่ไดรับ
มอบหมาย ผูบังคับบัญชาอาจมอบงานนายทหารติดตอใหนายทหารชัน้ สัญญาบัตรหรือนายทหารชั้นประทวน
สําหรับงานใดงานหนึ่งเฉพาะเจาะจง หรือในหวงเวลาใดเวลาหนึ่ง
๓๓
นายทหารติดตอจะเปนผูแ ทนของผูบังคับบัญชา ณ บก. หนวยอื่น โดยอาศัยการตาดตอเปนบุคคล
นายทหารติดตอจะเพิ่มความรวมมือ การประสานงาน และกรรแลกเปลี่ยนขาวสาร เมื่อมาถึง บก.หนวยอื่น
นายทหารติดตอตองรายงานตัวตอเสนาธิการ หรือตัวแทนที่ไดรับมอบหมายในการทําการประสานงานทาง
ฝายอํานวยการ หัวหนา บก. หรือ ผบ.รอยบริการ มีหนาที่จัดสิ่งอํานวยความสะดวก (เชน ที่ทํางาน ที่นอน
และเครื่องมือสื่อสาร) ใหนายทหารติดตอ
๔. องคประกอบและการจัดฝายอํานวยการของกองทัพบกและหนวยในกองทัพบก
ก. การจัดฝายอํานวยการในกองทัพบก
กองทัพบก

สํานักงานผูบังคับบัญชา
สลก.ทบ.
กรมฝายอํานวยการ

กพ.ทบ. ขว.ทบ. ยก.ทบ. กบ.ทบ. กร.ทบ. สปช.ทบ.

กรมฝายกิจการพิเศษ
สบ.ทบ. กง.ทบ. สห.ทบ. จบ. สก.ทบ. กสร.ทบ. สวพ. ศอว.ทบ. สตช.ทบ.
กรมฝายยุทธบริการ
กช. สพ.ทบ. พบ. ขส.ทบ. พธ.ทบ. ยย.ทบ. กส.ทบ. สส. วศ.ทบ.

รูปที่ ๒ – ๒ การจัดฝายอํานวยการในกองทัพบก
ข. การจัดฝายอํานวยการในกองบัญชาการกองทัพภาค
มทภ
รอง มทภ ฝายอํานวยการประจําตัว
เสธ ทภ

ฝายอํานวยการประสานงาน รอง เสธ ทภ

กองกําลังพล กองขาว กองยุทธการ กองสงกําลังบํารุง กองกิจการพลเรือน กองปลัดบัญชี


ฝายกิจการพิเศษ
‘ ‘ ‘ ‘ ‘ ‘
หน.กองบังคับการ แผนกแผนที่ แผนกสารบรรณ แผนกสารวัตร แผนกพระธรรมนูญ แผนกสัสดี

แผนกทหารปนใหญ แผนกการเงิน แผนกจเร แผนกอนุศาสนาจารย แผนกสืบสวนสอบสวน


ฝายยุทธบริการ
‘ ‘ ‘ ‘ ‘ ‘ ‘
แผนก แผนก แผนก แผนก แผนก แผนก แผนก
สรรพาวุธ การแพทย ทหารสื่อสาร ขนสง การชาง พลาธิการ ยุทธโยธา
รูปที่ ๒ – ๓ การจัดฝายอํานวยการในกองบัญชาการกองทัพภาค
๓๔
ค. การจัดฝายอํานวยการในกองบัญชาการกองทัพนอย
มทน
รอง มทน ฝายอํานวยการประจําตัว
เสธ ทน

ฝายอํานวยการประสานงาน รอง เสธ ทน

กองกําลังพล กองขาว กองยุทธการ กองสงกําลังบํารุง กองกิจการพลเรือน


ฝายกิจการพิเศษ
‘ ‘ ‘ ‘ ‘
แผนกทหารปนใหญ สวนปองกันภัย สวนการบิน ทบ. สวนการชาง สวนสงคราม
ทางอากาศ นอกแบบ

หน.กองบังคับการ ฝายการเงิน สวน นชค. สวนการติดตอิสื่อสาร สวนสนับสนุนทาง


และอิเล็กทรอนิกส อากาศยุทธวิธี

รูปที่ ๒ – ๔ การจัดฝายอํานวยการในกองบัญชาการกองทัพนอย

ง. การจัดฝายอํานวยการในกองบัญชาการกองพลทหารราบ
ผบ.พล.
รอง ผบ.พล. ฝายอํานวยการประจําตัว
เสธ สวนบัญชาการ
ฝายอํานวยการประสานงาน รอง เสธ

ฝายกําลังพล ฝายขาวกรอง ฝายยุทธการ ฝายสงกําลังบํารุง ฝายกิจการพลเรือน


ฝายกิจการพิเศษ
‘ ‘ ‘ ‘ ‘
ตอนกองบัญชาการ ฝายสารบรรณ แผนกการบิน ฝายการแพทย ฝายอนุศาสนาจารย

ฝายสรรพาวุธ ฝายการเงิน ฝายพลาธิการ ฝายการสารวัตร ฝายพระธรรมนูญ ศาลทหาร

‘ ‘ ‘ ‘ ‘ ‘
ฝายสวัสดิการ ฝายจเร ฝายการชาง แผนกขนสง ฝายทหารปนใหญ อัยการทหาร

ฝายกรรมวิธีขอมูล ฝาย นชค. ฝายการติดตอสื่อสาร


และอิเล็กทรอนิกส
รูปที่ ๒ – ๕ การจัดฝายอํานวยการในกองบัญชาการกองพลทหารราบ
๓๕
จ. การจัดฝายอํานวยการในกองบังคับการกรมทหารราบ

ผบ.กรม
รอง ผบ.กรม สวนบัญชาการ
เสธ

ฝายอํานวยการประสานงาน รอง เสธ

ฝายการขาว ฝายธุรการและกําลังพล ฝายยุทธการและการฝก ฝายสงกําลังบํารุง


ฝายกิจการพิเศษ
‘
น.ฝายการ
‘ ‘ ‘ ‘ ‘
น.การเงิน นายแพทย น.แผนที่ อนุศาสนาจารย น.พระธรรมนูญ
สื่อสาร

รูปที่ ๒ – ๖ การจัดฝายอํานวยการในกองบังคับการกรมพลทหารราบ

ฉ. การจัดฝายอํานวยการในกองพันทหารราบ

ผบ.พัน

รองผบ.พัน
ฝายอํานวยการประสานงาน

ฝายการขาว ฝายธุรการและกําลังพล ฝายยุทธการและการฝก ฝายสงกําลังบํารุง


ฝายกิจการพิเศษ
น.การเงิน นายแพทย น.ยานยนต

รูปที่ ๒ – ๗ การจัดฝายอํานวยการในกองพันทหารราบ
๓๖
ช. การจัดฝายอํานวยการในกองบังคับการมณฑลทหารบก

ผบ.มทบ.
รอง ผบ.มทบ. ฝายอํานวยการประจําตัว
สวนบัญชาการ
เสธ.มทบ.

รอง เสธ.มทบ.
ฝายอํานวยการประสานงาน

กองกําลังพล กองขาว กองยุทธการ กองสงกําลังบํารุง กองกิจการพลเรือน ฝายโครงการและ งป.


ฝายกิจการพิเศษ

ฝายสรรพกําลัง ฝายการสัตว ฝายการเงิน ฝายการสื่อสาร ฝายอนุศาสนาจารย

ฝายการสารวัตร ฝายสวัสดิการ ฝายการแผนที่ ฝายสืบสวนสอบสวน

นายทหารพระธรรมนูญ ศาลทหาร อัยการทหาร

รูปที่ ๒ – ๘ การจัดฝายอํานวยการในกองบังคับการมณฑลทหารบก

๕. การจัดแผนกฝายอํานวยการ
หัวหนาฝายอํานวยการในแตละสายงานในกองบัญชาการ เปนผูพิจารณาในการจัดองคกรเพื่อการ
ปฏิบัติงานของตน แตจะตองไดรับความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชา
ก. ปจจัยมูลฐานในการพิจารณาในการจัดแผนกฝายอํานวยการ
๑) งานในหนาทีท่ ี่ไดรับมอบ
๒) ขอบเขตและความสําคัญของการปฏิบัติงานของสวน
๓) เจาหนาที/่ กําลังพลที่มีอยู
๔) ความตองการของผูบังคับบัญชาและเสนาธิการ
๕) ความตองการแบงสวนราชการของกองบัญชาการ
ข. ลักษณะพึงประสงคของแผนกฝายอํานวยการ
๑) สามารถปฏิบัติงานในหนาที่ไดอยางตอเนื่อง
๒) สามารถปฏิบัติงานไดตลอด ๒๔ ชัว่ โมง
๓) มีความออนตัวตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลง และปริมาณของงานที่เพิม่ ขึ้น
๔) สามารถเคลื่อนยาย โดยไมมีผลกระทบตอความสามารถในการปฏิบัติงานของสวน
ตาง ๆ
๓๗
ค. รูปแบบการจัดองคกรของฝายอํานวยการ มีปรากฏตามตัวอยางดังตอไปนี้
๑) ตาม อจย./อฉก.
๒) ตามภารกิจ
๓) ตามกลุมงาน
๔) ตามสถานการณหรือแบบปฏิบัติงาน

-----------------------------------
๓๘
บทที่ ๓
งานในหนาที่ของฝายอํานวยการ

ตอนที่ ๑
กลาวนํา

๑. หนาที่และความรับผิดชอบโดยทั่วไป
บทนี้จะกลาวถึงหนาที่และความรับผิดชอบของฝายอํานวยการที่บรรจุในกองบัญชาการของหนวย
ในสนามที่ปกติจะตองปฏิบตั ิงานในหนาที่ของฝายอํานวยการแตละฝาย ในทุกระดับหนวยจะมีสวนเกีย่ วของ
กับงานที่อยูใ นความรับผิดชอบของฝายอํานวยการอื่น ๆ ดวย ในระดับสูง (ระดับกองพลขึ้นไป) อาจมี
นายทหารฝายอํานวยการมากกวาหนึ่งนายรับผิดชอบตอสายงานฝายอํานวยการสายงานใดสายงานหนึ่งก็ได
การจัดระเบียบของกองบัญชาการและ รปจ. ของหนวยจะระบุหนาที่และความรับผิดชอบทางฝายอํานวยการ
ของเจาหนาทีฝ่ ายอํานวยการในกองบัญชาการ
๓๙
ตอนที่ ๒
เสนาธิการ

๒. หนาที่และความรับผิดชอบ
เสนาธิการ ทําหนาที่อํานวยการ กํากับดูแล และทําใหมนั่ ใจวาไดมกี ารประสานการปฏิบัติของฝาย
อํานวยการ (ยกเวนงานบางอยางซึ่งผูบังคับบัญชาไดสงวนไว) ทั้งนี้เพื่อชวยใหผูบงั คับบัญชาไมตองเสียเวลา
กับงานที่เปนงานประจํา
เสนาธิการรับผิดชอบในเรื่อง
• การกําหนดและประกาศนโยบายการปฏิบัตงิ านของฝายอํานวยการ
• การปฏิบัติในการแจงขาวสารขอมูลที่มีผลตอการบังคับบัญชาอยางมีประสิทธิภาพใหกับ
ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
• เปนตัวแทนผูบ ังคับบัญชาเมื่อไดรับคําสั่ง
• รักษาแฟมนโยบายของหนวยใหทนั สมัยและดูแลการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติประจํา
(รปจ.)
• การรับทราบเรื่องการเสนอแนะ และการใหขาวสารขอมูลจากฝายอํานวยการ
ประสานงาน หรือฝายกิจการพิเศษที่ใหโดยตรงแกผูบังคับบัญชา และเรื่องที่ผูบังคับบัญชาไดสั่งการโดยตรง
แกฝายอํานวยการประสานงานหรือฝายกิจการพิเศษ
• การกํากับดูแลที่บังคับการหลักและการปฏิบัติงานภายใน

เสนาธิการรับผิดชอบการอํานวยการใหฝายอํานวยการ ปฏิบัติตามขอตกลงใจและแนวความคิดของ
ผูบังคับบัญชา รวมถึงการมอบความรับผิดชอบเฉพาะเมื่อจําเปน ในการเตรียมและออกแผนคําสั่งรายงานและ
เอกสารอื่น ๆ เสนาธิการตองตรวจดูวาการปฏิบัติของฝายอํานวยการมีความเหมาะสม มีการประสานงานและ
มีแผนงานที่จะใหไดผลตามเจตจํานงของผูบ ังคับบัญชา เสนาธิการจะสั่งการอนุมัติการปฏิบัติเมื่อไดรับ
มอบหมาย หากมิไดรับมอบอํานาจหนาทีจ่ ะตองขออนุมตั ิจากผูบังคับบัญชากอน เสนาธิการจะตองรับผิดชอบ
วา ผูบังคับบัญชาหนวยรองตาง ๆ ไดรับแจงถึงการปฏิบัติการที่จะมีผลกระทบตอหนวยของตน
๔๐
ตอนที่ ๓
ฝายเสนาธิการของหนวยระดับกองพลขึ้นไป

๓. หนาที่และความรับผิดชอบ
บทนี้จะกลาวถึงหนาที่ความรับผิดชอบของนายทหารฝายอํานวยการในหนวยระดับกองพลขึ้นไป
การจัดตั้งและการบรรจุของแผนกฝายอํานวยการในสายงานที่เกีย่ วของตาง ๆ จะอํานวยใหนายทหารฝาย
อํานวยการประสานงานสามารถบรรลุหนาที่ความรับผิดชอบของตน
๔. หัวหนาฝายกําลังพล (สธ.๑)
สธ.๑ เปนนายทหารฝายเสนาธิการหลักของผูบังคับบัญชาในเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับดานธุรการ
และกําลังพลทัง้ หมดในหนวย สธ.๑ ตองรับผิดชอบในเรื่องความพรอมของกําลังพลเปนรายบุคคล ดังนั้น
จึงตองตรวจตราและทราบถึงระดับของผลการดําเนินการทางธุรการแกบุคคล และการบริหารบุคคล
ซึ่งหมายถึงการจัดใหมนี โยบาย การบริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกที่จะมีผลตอประสิทธิภาพและความ
มุงมั่นในการทํางานของกําลังพล งานหลักของ สธ.๑ คือการรับขอมูลขาวสารสําหรับการประสาน การให
ขอแนะนํา และการวางแผนเพื่อชวยผูบังคับบัญชาใหสามารถบรรลุภารกิจของหนวย
ความรับผิดชอบหลักของ สธ.๑ ในฐานะฝายอํานวยการประสานงานมีดังนี้
• การรักษายอดกําลังพล
• การจัดการกําลังพล
• การรักษาวินัย กฎขอบังคับและคําสั่ง
• การดําเนินการเกี่ยวกับกําลังพลเรือน
• การสนับสนุนบุคคลจากนอกหนวยดานธุรการ
• การรักษาความปลอดภัยและปองกันอุบัติเหตุ
• การจัดการในกองบัญชาการ
ก. การรักษายอดกําลังพลของหนวย
๑) การทําประมาณการกําลังพลใหทันสมัยเสมอรวมกับฝายอํานวยการอื่น โดย
• รวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลของหนวยที่แสดงถึงจํานวนกําลังพลที่ไดรับ
อนุมัติ บรรจุมอบ และสมทบ ในการพิจารณาควบคูกับหนทางปฏิบัติที่ผูบังคับบัญชาไดวางแผนไว เพื่อ
ประมาณการดานกําลังพลและเพื่อแบงมอบกําลังพลที่มีอยู แหลงของขอมูลรวมถึงรายงานสถานภาพกําลังพล
ประจําวัน การประมาณการกําลังพลรับเพิ่มเติมและสูญเสีย รายงานแพทย รายงานสารวัตรทหาร และรายงาน
การขาดแคลน ชกท. ในระดับวิกฤติ
• การจัดทําประมาณการสูญเสียกําลังพลอยางตอเนื่องใหทนั สมัย เพื่อรองขอกําลังพล
ทดแทน
๔๑
• ตรวจติดตาม รวบรวม และวิเคราะหขอมูล เกี่ยวกับเรื่องที่มีผลกระทบความพรอม
ของกําลังพลเปนบุคคล เชน ขวัญ บรรยากาศภายในหนวย ความมุงมั่นและความสามัคคี ตลอดจนการให
ขอเสนอแนะในเรื่องนโยบายและการปฏิบัติที่จะขจัดปญหา ลดขอบกพรอง และเสริมสรางความพรอมดาน
ขวัญกําลังใจ
๒) วางแผนเพื่อรักษายอดกําลังพล โดยสการวิเคราะหขอมูลยอดกําลังพลทั้งในปจจุบัน และ
ที่คาดหมายในอนาคต รวมถึงสภาพความพรอมรบของกําลังพล
ข. การจัดการกําลังพลของหนวย ไดแก
๑) การทดแทนกําลังพล ซึ่งรวมถึง การตรวจติดตามยอดกําลังพลของหนวย การกําหนด
นโยบายการทดแทนกําลังพล ความตองการกําลังพล และการแบงสรรกําลังพล โดย
• ใหขอแนะนําผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการในเรื่องตาง ๆ เกีย่ วกับการทดแทน
เปนบุคคล และขั้นตอนการปฏิบัติของระบบการทดแทน
• การทําประมาณการความตองการทดแทนกําลังพลเปนบุคคล ซึ่งรวมถึงกําหนด
ความตองการการทดแทนเปนบุคคล กําหนด ชกท. และความชํานาญการที่จะขาเอคลนิยางมาก โดยใชการ
ประมาณการสูญเสียจากการรบ มิใชจากการรบ และการสูญเสียทางธุรการที่คาดการณได
• จัดทําแผนและนโยบายครอบคลุมการบรรจุมอบกําลังพลทดแทน ซึ่งรวมถึงการ
ดําเนินการเกีย่ วกับ ชกท. ทีก่ าํ ลังขาดแคลนมากในหนวยขนาดเล็ก และในระบบอาวุธตาง ๆ
• รองขอและแบงสรรกําลังทดแทนเปนบุคคลตามลําดับความเรงดวน ซึ่งกําหนดโดย
สธ.๓
• ประสานงานกับ สธ.๔ ในเรื่องรวมแผนการทดแทนกําลังพลเขากับแผนสงกําลัง
บํารุง เพื่อใหมนั่ ใจวา กําลังพลทดแทนจะไดรับอาวุธยุทโธปกรณพรอมสําหรับการรบ
• ประสานงานและตรวจติดตามขั้นตอนการดําเนินการทางธุรการ การสนับสนุนการ
เคลื่อนยาย และการกําหนดที่ตั้งของหนวยดําเนินกรรมวิธีทดแทนกําลังพล
• เตรียมแผนการใชกําลังพลที่แพทยกําหนดวาไมสามารถทําการรบได ซึ่งอาจรวมถึง
การประสานงานกับ สธ.๓ เรื่องการฝกงานในหนาที่ใหม
๒) การดําเนินการกําลังพล เชน การทําบัญชียอดกําลังพล การรายงานการสูญเสีย คําสั่ง
แตงตั้ง การรายงานประเมินคานายทหาร การเลื่อนยศ การแบงประเภท การแบงประเภทใหม การบรรจุ
การมอบงานและการมอบเครื่องราชอิสริยาภรณและบําเหน็จรางวัล
๓) กิจกรรมบํารุงรักษาขวัญกําลังพล
๔) การบริการดานศาสนกิจ
๕) การบริการดานกฎหมาย
๖) การบริการไปรษณีย
๗) การสนับสนุนดานการเงินทีจ่ ําเปน
๘) การใหความชวยเหลือในเรื่องบานเมือง
๔๒
๙) การพักผอนหยอนใจและนโยบายการลา

ค. การรักษาวินัย กฎขอบังคับและคําสั่ง
๑) รวบรวมและวิเคราะหขอมูล สรุปผลทางดานบวกและลบ เพื่อใหขาวสารขอมูลหรือ
ขอเสนอแนะแกผูบังคับบัญชาในเรื่องเกีย่ วกับขวัญและวินัย เชน สถิติของการขาดราชการ การหนีทหาร
คดีศาลทหาร การถูกจับกุมและการขอยายหนวยของกําลังพลเปนจํานวนมาก
๒) การวางแผนและกํากับดูแลการปฏิบัติทางธุรการของการรักษาวินยั กฎ ขอบังคับและ
คําสั่ง สธ.๑ รับผิดชอบโดยเฉพาะเกีย่ วกับกําลังพลขาดราชการ การดําเนินการทหารพลัดหนวย การมอบ
รางวัลและลงโทษ รวมถึงการออกคําสั่งทั่วไปเกี่ยวกับกําลังพล การกําหนดมาตรการปองกันการกําหนด
ความผิด สถานที่กักกัน การสนับสนุนของสารวัตรทหาร การบังคับใหปฏิบัติตามกฎหมายบานเมือง ทหาร
ศาลทหาร ตลอดจนกําหนดในเรื่องเกี่ยวกับการอบรมนักโทษ การควบคุมของพลเรือน และการดําเนินการ
เชลยศึก
ง. การดําเนินการกําลังพลเรือน
ไดแก การดําเนินการเพื่อการจัดดําเนินงานธุรการ และการจางลูกจางพลเรือน (โดยมีการ
ประสานงานกับ สธ.๕)
จ. การสนับสนุนบุคคลจากนอกหนวยดานธุรการ
ไดแก การกํากับดูแลเชลยศึก กําลังพลชาติอื่นที่มาสมทบหนวย พลเรือนผูถูกกักกัน และอื่น ๆ
โดยประสานกับฝายอํานวยการและฝายกิจการพิเศษอื่น ๆ ในเรื่องการขอรับการสนับสนุนทางดานธุรการ
การสงกําลัง การกฎหมาย และการสนับสนุนจากองคกรภายนอก (เชน สภากาชาด)
ฉ. ความปลอดภัยและการปองกันอุบัติเหตุ
ไดแก ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดและงานธุรการของกองบัญชาการดังตอไปนี้
๑) การประสานงานและกํากับดูแลการเคลื่อนยาย การจัดระเบียบภายใน การแบงมอบพื้นที่
ภายในและการสนับสนุนทางธุรการแกกองบัญชาการ
๒) การใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการแบงมอบกําลังพล โดยเฉพาะในการใชกําลังพลที่
กองบัญชาการที่ไดรับมอบเปนกลุมใหญ
๓) การแบงสรรที่หลบภัยในพืน้ ที่กองบัญชาการสําหรับกําลังพลเปนสวนรวม และกําลังพล
ในกองบัญชาการ โดยประสานกับ สธ.๓ ในเรื่องการจัดพื้นที่ และ สธ.๔ ในเรื่องวัสดุอุปกรณหลบภัย
๔) จัดระบบควบคุมและการปฏิบัติใหเหมือนกันภายใน บก. แตอยางไรก็ตาม นายทหารฝาย
อํานวยการแตละคน ยังคงตองรับผิดชอบใหการปฏิบัตทิ างธุรการเปนไปอยางเรียบรอย ภายในแผนกหรือกอง
ของตนเอง
สธ.๑ ยังคงตองรับผิดชอบในเรื่องเบ็ดเตล็ด เชน การใหคําแนะนําเกี่ยวกับคุณภาพชีวติ เรือ่ ง
ครอบครัว เรื่องการแตงงานกับคนตางชาติ การลงคะแนนเลือกตั้ง การจัดหาทีพ่ ักอาศัยแกกําลังพลและ
ครอบครัว เรื่องความกาวหนาของหนาที่การงาน รวมถึง แผน คําสั่ง รายงานและเรื่องธุรการอื่น ๆ ที่มิได
๔๓
มอบหมายใหฝายอํานวยการอื่น

๕. หัวหนาฝายการขาวกรอง (สธ.๒)
สธ.๒ เปนนายทหารฝายเสนาธิการหลัก รับผิดชอบในเรื่องการขาวกรองทางทหารทั้งปวงแก
ผูบังคับบัญชา สธ.๒ รวบรวมขาวกรอง ขาวสาร และขอมูล วิเคราะหประเมินคาขาวสารและขอมูล สรุปการ
ประเมินผลและใหขอเสนอแนะแกผูบังคับบัญชา ขาวกรองนี้ตองชวยทําใหผูบังคับบัญชาสามารถวาดภาพ
สนามรบไดอยางทั่วถึง (รวมถึง ภัยคุกคามในทางลึก พื้นที่หนวยระวังปองกัน พืน้ ที่การรบหลัก และพื้นที่
สวนหลัง) สธ.๒ กําหนดเปาหมายสําคัญยิง่ ตาง ๆ ในพืน้ ที่อิทธิพล และพื้นที่สนใจของหนวย สธ.๒ สามารถ
นําสวนตาง ๆ ของกองาบัญชาการ ฝายอํานวยการ และหนวย มาสนับสนุนการดําเนินการดานการขาวกรอง
และตอตานขาวกรอง โดยการใช แผน คําสั่ง และ รปจ. ของหนวย อยางมีประสิทธิภาพ
ความรับผิดชอบหลักทางฝายอํานวยการประสานงานของ สธ.๒ มีดังนี้
• การผลิตขาวกรอง
• การาตอตานขาวกรอง
• การฝกศึกษาดานขาวกรอง
ก. การผลิตขาวกรอง
ไดแก การรวบรวมขาวสารขอมูล การดําเนินกรรมวิธีตอขาวสารขอมูลใหเปนขาวกรองและ
การกระจายขาวกรอง รวมถึง
๑) การดํารงรักษาประมาณการขาวกรองสถานการณใหทันสมัย โดยประสานงานกับฝาย
อํานวยการอื่น ๆ
๒) การเสนอแนะเรื่องหัวขอขาวสารสําคัญ (หขส.) และความตองการขาวกรองอื่น ๆ (ตขอ.)
ใหเหมาะสมกับความตองการดานขาวกรองของผูบังคับบัญชา
๓) การกําหนดความตองการดานการลาดตระเวน การเฝาตรวจ และการคนหาเปาหมาย
รวมถึงใหขอเสนอแนะในการมอบงานใหหนวยตาง ๆ เพื่อตอบสนองความตองการเหลานี้โดยประสานกับ
สธ.๓
๔) การรองขอ รวบรวม และดําเนินกรรมวิธีขาวสารและขาวกรองจากแหลงขาวกรองอื่น ๆ
ซึ่งรวมถึง หนวยขางเคียง หนวยเหนือ และเหลาทัพอื่นดวย
๕) การกํากับดูแลและประสานงานดานการรวบรวมขาวกรองของหนวย และการปฏิบตั ิการ
คนหาเปาหมาย รวมถึง
• การลาดตระเวนทางพื้นดินและทางอากาศ
• ขาวกรองจากรูปภาพและภาพถาย (IMAGERYINTELLIGENCEMINT)
• ขาวกรองจากบุคคล (HUMAN INTELLIGENCE MINT) ซึ่งรวมถึงการสอบสวน
เชลยศึก พลเรือนผูถูกควบคุมหรือคุมขัง และผูลี้ภัย ตลอดจนการสอบถามกําลังพลที่ถูกจับแลวไดคืนมา และ
ผูเล็ดลอดและหลบหนีมา
๔๔
• การนําเอสกสารและยุทโธปกรณที่ยดึ ไดมาตีความ
• การขาวกรองทางการสื่อสาร
• มาตรการสนับสนุนการตอตานขาวกรอง
• การใชหนวยลาดตระเวนระยะไกล
• การรวบรวมขาวกรองเทคนิค สธ.๒ รับผิสดชอบกํากับดูแลศูนยวิเคราะหขอมูลจาก
ทุกแหลง
๖) การดําเนินการจัดเตรียมสนามรบดานการขาว กอนและระหวางการสูรบ และจัดทําผล
ของการจัดเตรียมสนามรบดานการกรองใหฝายอํานวยการและหนวยรองตาง ๆ ทั้งนี้รวมถึงการแสวงหา
ความรูอยางละเอียดเกีย่ วกับขาศึก ภูมิประเทศ และลมฟาอากาศ กรรมวิธีในการจัดเตรียมสนามรบดาน
การขาวจะนํา
• การประเมินภัยคุกคาม
• การกําหนดและประเมินพื้นที่สนใจและพืน้ ที่อิทธิพล
• การวิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการ
• การวิเคราะหลมฟาอากาศ
และการรวมภัยคุกคามเขากับการประเมินมาประกอบการวิเคราะหพิจารณา ผลาของกรรมวิธีการ
จัดเตรียมสนามรบดานการขาว คือ ขอเสนอแนะเกีย่ วกับพื้นที่สนใจของผูบังคับบัญชา และพื้นทีอ่ ิทธิพลแก
ผูบังคับหนวยรอง
๗) การดําเนินกรรมวิธีตอขาวสารใหเปนขาวกรอง รวมถึง การบันทึก การรวบรวม การโยง
สัมพันธ การประเมินคา การตีความ และการแจกจาย
๘) การกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอหนวยในอัตรา และหนวยที่ขึ้นสมทบตาง ๆ ที่มี
หนาที่ดําเนินการรวบรวมขาวสาร ผลิต และกระจายขาวกรอง
๙) การประสานงาน และรวบรวมความตองการสนับสนุนดานการวิเคราะหลมฟาอากาศ
ของหนวย
๑๐) การเสนอเปาหมายตาง ๆ ใหผูประสานการยิงสนับสนุน (ผปยส.)

ข. การตอตานขาวกรอง
ไดแก การวางแผน ประสานงาน และกํากับดูลการปฏิบัติการ เพื่อคนหาทําลาย และ/หรือลวง
ใชการปฏิบัติการดานขาวกรองของขาศึก รวมถึงการปองกันการจารกรรม การบอนทําลายและการวินาศกรรม
งานในหนาที่เฉพาะ ไดแก
๑) การกําหนดขีดความสามารถของขาศึกในการรวบรวมขาวสาร โดยกรรมวิธีตาง ๆ เชน
ขาวกรองบุคคล ขาวกรองจากรูปภาพและภาพถาย ขาวกรองทางการสื่อสารและการปฏิบัติภารกิจขาวกรอง
ของขาศึกที่มุงตอหนวยเรา
๒) การประเมินลอแหลมของหนวยเรา ตอการปฏิบัติการดานขาวกรองของขาศึก
๔๕
๓) การประเมินวิเคราะห เพื่อกําหนดความลอแหลมดานขาวกรอง ของระเบียบปฏิบัติ คําสั่ง
แผน และคําสั่งชี้แจง การปฏิบัติทางการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส และเอกสารตาง ๆ ของฝายเรา เพื่อการ
ปฏิบัติการระวังปองกัน
๔) ชวย สธ.๓ วางแผนปฏิบัติการลวงโดยจัดทํารายงานสรุปเกี่ยวกับ
• วิธีตาง ๆ ของขาศึกในการดําเนินกรรมวิธีตอขาวสาร รวมถึง เรื่องหรือการปฏิบัติ
ตาง ๆ ที่ขาศึกถือวาเปนสิ่งบอกเหตุ
• หนวยขาศึกระดับใดปฏิบัติการดานการลวงตอหนวยเรา
• ปฏิกิริยาตอบโตของขาศึกตอการลวง สําหรับนํามาใชในการปฏิบัติการในอนาคต
๕) การกํากับดูแลงานดานการรักษาความปลอดภัยบุคคลของหนวย
๖) การกํากับดูแลงานดานการรักษาความลับขอมูลขาวสารของหนวย
๗) การใหขอเสนอแนะเรื่องนโยบายการปดขาว หากมีความจําเปน
๘) การดําเนินการทางฝายอํานวยการ ในการกํากับดูแลการปฏิบัติการของหนวยตอขาศึก
และในการรวบรวมขาวสาร รวมถึงการดํารงรักษาการประมาณการขาศึกใหทนั สมัยอยูเสมอ
๙) การตรวจเช็คแผนคําสั่งและ รปจ. ของหนวยรอง เกีย่ วกับดานการปฏิบัติการรวบรวม
ขาวสารและการเฝาตรวจ
๑๐) การประเมินความลอแหลมในการวางกําลังของหนวย ตอการใชอาวุธนิวเคลียรเคมีชีวะ
ของขาศึก รวมกับนายทหารเคมี
ค. การฝกดานขาวกรอง
ไดแก การกํากับดูแลดานการฝกศึกษาของหนวยดานขาวกรองรวมกับ สธ.๓ และ
ผูบังคับบัญชางานในหนาที่เฉพาะ ไดแก
๑) การเตรียมแผนการฝกหนวยดานขาวกรอง และการรวมการฝกศึกษาดานกําลังฝาย
ตรงขาม การจัดเตรียมสนามรบดานการขาว การปฏิบัติการระวังปองกันและการตอตานขาวกรองเขากับ
แผนการฝกอืน่ ๆ ของหนวย
๒) การเตรียมการในสาวนขาศึกสมมุติในการฝก รวมถึงลําดับขั้นตอนการปฏิบัติของขาศึก
สมมุติ
๓) การเยี่ยมเยียนและตรวจเยีย่ มของฝายอํานวยการ เมื่อมีการฝกดานขาวกรอง
๔) กํากับดูแลทางฝายอํานวยการ ตอหนวยขาวกรองทางทหารที่มาใหการสนับสนุนหนวย
ในการฝกดานขาวกรอง
๕) การกํากับดูแลในเรื่องการฝกศึกษาของผูเชีย่ วชาญดานขาวกรอง ที่มาสมทบ หรือบรรจุ
มอบใหกับฝายขาวกรองของหนวย
สธ.๒ มีหนาทีเ่ บ็ดเตล็ดดังนี้
๑) ชวย สธ.๓ กําหนดเปาหมาย วางแผน การดําเนินการใชและประเมินผลการใชอาวุธ
สงครามอีเล็กทรอนิกส
๔๖
๒) ใหขอเสนอแนะเกีย่ วกับพืน้ ที่ปฏิบัติการที่ สธ.๓ ไดเสนอ
๓) จัดหาขอมูลใหแกแผนกฝายอํานวยการตาง ๆ ที่เกี่ยวของในเรื่อง
• การปฏิบัติการสงครามนอกแบบและการปฏิบัติการดานทหาร – พลเรือน
• ขีดความสามารถของขาศึกในการใชอาวุธ นชค. ตาง ๆ
• สภาวะทีต่ องนําอาวุธ นชค. มาใชทําลายขาศึกและปฏิกิริยาตอบโตของขาศึกที่
คาดไว
• การขัดขวางการปฏิบัติการของขาศึกและสิง่ กีดขวาง
• การปฏิบัติการซอนพราง
๔) กําหนดความตองการแผนทีแ่ ละเตรียมแผน นโยบาย และลําดับความเรงดวน ในการ
ดําเนินการเกีย่ วกับแผนที่ของหนวย (การจัดหา การผลิตการพิมพ การลอกแบบและการแจกจาย)
๕) กํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอนายทหารอุตุ และใหการสนับสนุนชุดวิเคราะห
ภูมิประเทศทางการชาง)
๖) เสนอแนะการใชหนวยขาวกรองทางทหาร
๗) จัดทําสวนขาวกรองใน รปจ. ของหนวย
๘) จัดทําสวนขาวกรองและการตอตานขาวกรองในแผน คําสั่ง รายงาน สรุป และเอกสาร
ขอพิจารณา
๙) จัดหาขอมูลขาวกรองและการวิเคราะหภัยคุกคาม สําหรับการปองกันพื้นที่สว นหลัง
(การปฏิบัติการสูรบในพื้นทีส่ วนหลัง และการควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่) ให สธ.๓
๖. หัวหนาฝายยุทธการและการฝก (สธ.๓)
สธ.๓ เปนนายทหารฝายเสนาธิการประสานงานหลัก ที่รับผิดชอบงานดานการยุทธ การวางแผน
การจัด และการฝก นายทหารฝายยุทธการจําเปนตองมีการประสานงานกับนายทหารฝายอํานวยการอื่น ๆ
อยางแนนแฟน เนื่องจากลักษณะงานและความรับผิดชอบของ สธ.๓
สธ.๓ มีความรับผิดชอบหลักทางฝายอํานวยการประสานงานในเรื่องตอไปนี้
• การจัด
• การฝก
• การยุทธ
ก. การจัด
งานเกีย่ วกับการจัด ไดแก
๑) การจัดทําและดํารงรักษาบัญชีหนวยทหารใหทันสมัย รวมถึงการตรวจสอบ และการ
ปรับปรุงแกไขใหมั่นใจวา ไดแบงมอบจํานวน และประเภทหนวยตาง ๆ ที่จําเปนเพื่อใหการสนับสนุน และให
บรรลุภารกิจ
๔๗
๒) การจัดหนวยและการจัดอาวุธยุทโธปกรณใหหนวย การประมาณการ จํานวนและชนิด
หนวยจําเปนตองจัด และลําดับความเรงดวนในการบรรจุเขาหรือทดแทนกําลังพลและอาวุธยุทโธปกรณของ
หนวยตาง ๆ
๓) การบรรจุมอบ การสมทบ และการแยกหนวยทหาร สวนแยกหรือชุดตาง ๆ
๔) การรับหนวยสวนแยกหรือชุดตาง ๆ แลวทําการปฐมนิเทศ ฝกและจัดหนวยเหลานัน้ ใหม
ตามความจําเปน
๕) การกําหนดความจําเปนในการจัดตั้งหนวย ซึ่งอาจรวมถึง
• โครงสรางกําลัง (การตรวจสอบทบทวน วิเคราะหและใหขอเสนอแนะ สําหรับ
หนวยทีว่ างแผนไวหรือที่อยูใ นโครงการ)
• บัญชีหนวยทหาร (การนําหนวยเขาปฏิบตั ิการ การยกเลิกการปฏิบัติการของหนวย
รวมถึงการจัดตั้งหนวย การยกเลิกหนวย และการจัดหนวยใหม)
• การใชและความจําเปนดานกําลังคน (การประเมินการใช และความจําเปนของกําลัง
พลทหารและกําลังพลพลเรือน ในโครงสรางการจัด หนาที่ และปริมาณงานเพื่อใหมั่นใจวาใชอยางถูกตอง
เหมาะสม)
• การแบงมอบกําลังคน (การแบงมอบทรัพยากรดานกําลังคนของหนวยใหหนวยรอง
ภายในขอบเขตจํานวนและตามแนวทางทีไ่ ดกําหนดไว)
• การทํารายงานเกี่ยวกับกําลังคน (รวบรวม การบันทึก และการรายงานขอมูลสําหรับ
ขาวสาร รวมถึง การวางแผน การจัดลําดับ และการแบงสรร)
• การอนุมัติและการใชอาวุธยุทโธปกรณ (สธ.๓ ตองตรวจสอบใหมนั่ ใจวา เอกสาร
เชน อสอ. และ อจย. ระบุจาํ นวนและประเภทอาวุธยุทโธปกรณเทาทีจ่ ําเปนอยางนอยที่สุด และอยางประหยัด
ที่สุด สําหรับปฏิบัติภารกิจที่หนวยไดรบั มอบใหบรรลุผลสําเร็จ) สธ.๓ กําหนดความจําเปนดานกําลังพล
สําหรับยุทโธปกรณ และระบบอาวุธใหมทางปริมาณและคุณภาพดวย

ข. การฝก
๑) การกําหนดความตองการดานการฝก โดยอาศัยภารกิจของหนวยและสถานภาพการฝก
ของหนวยเปนพื้นฐาน
๒) การดําเนินการใหเกิดความมัน่ ใจวา ความตองการดานการฝกสําหรับการสูรบมุงเนน
สอดคลองกับสภาพและระดับการสูรบ
๓) การจัดทําและดําเนินการของตาราง คําสั่งชี้แจง และคําสั่งการฝก รวมถึงการวางแผนและ
การอํานวยการการฝกในสนาม
๔) การกําหนดความตองการและการแบงสรร สป. และยุทโธปกรณตาง ๆ สําหรับการฝก
รวมถึง สป.๓ สําหรับการฝก สนามยิงปน สิ่งอํานวยความสะดวกและเครื่องชวยฝกตาง ๆ
๔๘
๕) การจัดตั้งและการดําเนินการโรงเรียนตาง ๆ ของหนวย การจัดหาและแบงสรรที่เรียนใน
นอกหนวย
๖) การวางแผนและดําเนินการตรวจเยี่ยม ทดสอบและประเมินคาการฝกตาง ๆ
๗) การรวบรวมบันทึกและรายงานการฝก
๘) การดํารงรักษาสภาพความพรอมของหนวยรองทุกหนวย
๙) การวางแผนงบประมาณการฝก และการตรวจติดตามการใชงบประมาณในการสนับสนุน
การฝก
๑๐) การทํากําหนดการสําหรับชุดฝกสอนการใชอาวุธยุทโธปกรณใหมเมื่อหนวยไดรับ
เครื่องมือใหม โดยประสานกับ สธ.๔

ค. การยุทธ
งานเกีย่ วกับดานการยุทธ ไดแก
๑) การรักษาประมาณการยุทธใหทันสมัย โดยประสานกับฝายอํานวยการอื่น ๆ
๒) การจัดทํา การรับรอง และการพิมพแจกจาย ระเบียบปฏิบัติประจํา (รปจ.) ของหนวยโดย
รวบรวมสวนตาง ๆ จากฝายอํานวยการที่เกี่ยวของ
๓) การใหขอเสนอแนะ ลําดับความเรงดวนในการแบงสรรทรัพยากรของหนวยที่มคี วาม
จําเปนยิ่งแตมจี ํานวนจํากัด ซึ่งรวมถึง เวลา กําลังพล สป. และยุทโธปกรณตาง ๆ เชน
• อัตรากระสุนมูลฐาน
• อัตรากระสุนพิเศษ
• อัตรากระสุนที่ตองการ
• อัตราควบคุมการสนับสนุนกระสุนแกหนวยรอง
• ความตองการการทดแทนเปนหนวย และการรองขอตามลําดับการปฏิบัติการ
• ความถี่ทางวิทยุในยานความถี่ ที่มีขอบเขตกําหนดไวในคําแนะนําในการปฏิบัติการ
สื่อสาร (นปส.) และเอกสารคําสั่งอื่น ๆ
๔) การใหขอเสนอแนะในการจัดเฉพาะกิจและการมอบภารกิจใหหนวยรองตาง ๆ
๕) การใชทรัพยากรที่หนวยมีอยู เพื่อใหการดําเนินกลยุทธและการสนับสนุนเปนไปดวย
ความเรียบรอย รวมถึงทรัพยากรที่ใชในการปฏิบัติการลวง
๖) การประสานงานในทุกเรื่องเกี่ยวกับการดําเนินกลยุทธ ทีม่ ีการสนับสนุนการรบ (เชนการ
ยิงสนับสนุน และการทําสงครามอิเล็กทรอนิกส) รวมถึงการปฏิบัติการรวมกับเหลาทัพอื่น (เชน ทอ. ทร. และ
นย.) ในพืน้ ทีด่ านหนาและพื้นที่ดานหลัง และการประสานการใชหว งอากาศโดยหนวยตาง ๆ
๗) การใหขอเสนอแนะในการรวมการปฏิบัติ ของการดําเนินกลยุทธทางยุทธวิธี และ/หรือ
การวางกําลังและการยิงสนับสนุน รวมถึงการยิงสนับสนุนดวยกระสุนพิเศษดวย เชน
๔๙
• การรองขอการสนับสนุนการยิงดวยกระสุนพิเศษและการกระจายการแจงเตือนการ
ใชกระสุนพิเศษ
• การพยากรณการตกธุลีของอาวุธนิวเคลียรของฝายเรา
• การพยากรณจากละอองเคมีใตลมจากการยิงกระสุนเคมีฝา ยเรา
• การกระจายแจงเตือนการยิงอาวุธนิวเคลียร
๘) การเสนอแนะแบงเขตและมาตรการควบคุมตาง
๙) การเสนอแนะพื้นที่ที่ตั้งของที่บังคับการตาง ๆ
๑๐) การกําหนดพืน้ ที่พักแรมในสนาม พื้นทีพ่ ักแรมในโรงเรือน และพืน้ ที่รอคอยของหนวย
ตาง ๆ
๑๑) การจัดทําการบันทึกและการรายงานการปฏิบัติทางยุทธ
๑๒) การกํากับดูแลทางฝายอํานวยการประสานงาน ตอการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส
รวมถึง
• การวางแผน และการกํากับดูแลการปฏิบัติทางสงครามอิเล็กทรอนิกส สนับสนุนการ
ปฏิบัติทางทางยุทธวิธี โดยประสานกับ สธ.๒
• การจัดทําและประสานผนวกสงครามอิเล็กทรอนิกสเขาในแผนและคําสั่ง
• การกําหนดความตองการในการสนับสนุนการปฏิบัติสงครามอิเล็กทรอนิกสทั้งปวง
• การประเมินผลจากการรายงานการรบกวน การกอกวน และขัดขวางคลื่นสัญญาณ
โดยกํากับดูแลประสานกับ สธ.๒ และนายทหารสื่อสาร
• การกํากับดูแลทางฝายอํานวยการประสานงาน ตอสวนสงครามอิเล็กทรอนิกส
• การกําหนดลําดับความเรงดวนเปาหมายในการปฏิบัติ ตามมาตรการตอตานทาง
อิเล็กทรอนิกส และการจัดทําเอกสารมาตรการตอตานทางอิเล็กทรอนิกส
๑๓) กํากับดูแลทางฝายอํานวยการในหนาที่ของฝายกิจการพลเรือน เมื่อหนวยนั้น ๆ ไมมีการ
ตัดหัวหนาฝายกิจการพลเรือน
๑๔) การกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอการปฏิบัติการระวังปองกันของหนวย รวมถึง
• การกําหนดจุดออนของการปฏิบัติการระวังปองกันของหนวย รวมถึงการประเมิน
วิเคราะหความลอแหลมตอการถูกโจมตีดวยอาวุธ นชค. โดยรวมกับนายทหารเคมี ตลอดจนกําหนดระดับของ
การระวังปองกันภัยของหนวย จากการถูกโจมตีดว ยอาวุธ นชค. และใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับระดับลักษณะ
ปองกันตามภารกิจบังคับ (ลปภบ.) สําหรับกําลังพลใหหนวยดวย
• กําหนดสวนสําคัญเกี่ยวกับขอมูลฝายเรา และความลอแหลมดานการปฏิบัติการระวัง
ปองกัน
• การประสานรวมกับ สธ.๒ ในเรื่องการประเมินภัยจากการปฏิบัติการดานขาวกรอง
ของขาศึก
๕๐
• การวางแผน การดําเนินกากรและการประเมินผล การปฏิบัติการตอตาน การเฝา
ตรวจและมาตรการตอตานการเฝาตรวจ
• การประสานงานกับหนวยสารวัตรทหารและ สธ.๒ ตามลําดับ ในเรื่องการ
ดําเนินการมาตรการปองกันความปลอดภัยของหนวย และมาตรการรักษาความลับขาวสารของหนวย
• การประสานงานกับนายทหารสื่อสาร ในเรื่องมาตรการปองกันความปลอดภัยของ
สัญญาณสื่อสาร
• การกํากับดูแลและประสานการดําเนินการสํารวจ การระวังปองกันของหนวยรวมกับ
สธ.๒ เพื่อประเมินคาประสิทธิภาพของการตอตานการเฝาตรวจ และมาตรการปองกันตาง ๆ
• การจัดทํา ประมาณสถานการณการปฏิบัติการระวังปองกัน
• การจัดทําผนวกการปฏิบัติการระวังปองกันในแผนและคําสั่ง
• การกํากับดูแลและประสานการปฏิบัติของสวนฝายอํานวยการ ที่รับผิดชอบในเรื่อง
การปฏิบัติการระวังปองกัน
๑๕) การกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอการปฏิบัติการลวง รวมถึง
• การกําหนดความตองการ และ/หรือโอกาสสําหรับการปฏิบัติการลวงรวมกับ สธ.๒
และการใหขอเสนอแนะเปาหมายการลวง
• การใหขอเสนอแนะในเรื่องที่จะลวงโดยประสานกับ สธ.๒
• การกําหนดและประสานมาตรการการลวง
• การจัดทําผนวกการลวงเขาในแผนและคําสั่ง
๑๖) การกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอการพิทักษพื้นที่สว นหลัง โดยการรวมการปฏิบัติการ
สูรบในพื้นที่สว นหลังเขากับการควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ รวมถึง
• การรวบรวมขาวสารขอมูลจากแผนกฝายอํานวยการตาง ๆ เกี่ยวกับผลกระทบของ
การปฏิบัติการสูรบในพื้นที่สว นหลัง และการควบคุมความเสียหายเปนที่พื้นที่ตองานประจําของฝาย
อํานวยการนั้น
• การวางแผนและประสานการปฏิบัติการสูรบในพื้นที่สวนหลัง และการปฏิบัติการ
ควบคุมความเสียหายเปนพืน้ ที่ รวมกับ สธ.๒ สธ.๔ สารวัตรใหญ ผบ.ช.พล. และนายทหารฝายอํานวยการ
อื่น ๆ
• การตรวจสอบเพื่อใหมนั่ ใจวา แผนการพิทักษพื้นที่สว นหลังของผูบังคับฐานตาง ๆ
เหมาะสมสอดคลองกับภารกิจหลักของหนวย รวมถึงวามีการปฏิบัติทางยุทธวิธีในระดับที่ตองการ
• การรวบรวมขาวสารขอมูลจาก สธ.๔ และนายทหารฝายอํานวยการอืน่ ๆ เกี่ยวกับ
แผนการควบคุมความเสียหายเปนพืน้ ที่ การตรวจทบทวนแผนการควบคุมความเสียหายเปนพืน้ ที่ของ
หนวยรอง เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาปฏิบัติไดผล และเหมาะสมสอดคลองกับลําดับความเรงดวนของการ
ปฏิบัติการควบคุมความเสียหายเปนพื้นทีข่ องหนวยดวย
๕๑
• การใหขอเสนอแนะแกผูบังคับบัญชา ในเรื่องพื้นที่ทางยุทธวิธีในความรับผิดชอบ
และการบังคับบัญชา สําหรับการปฏิบัติการรบในพื้นที่สวนหลัง
• การจัดหนวยควบคุมและประเมินผลการควบคุมความเสียหายเปนพืน้ ที่ตามลําดับ
ความจําเปน
• การจัดทําผนวกการพิทักษพนื้ ที่สวนหลังในแผนและคําสั่ง
• การกํากับดูแลศูนยปฏิบัติการพื้นที่สวนหลัง (ศปพล.) (ระดับ ทน. ขึ้นไป)
๑๗) การกํากับดูแลฝายอํานวยการ ตอการประสานการใชหว งอากาศโดยผาน สธ.๓ อากาศ

๗. หัวหนาฝายสงกําลังบํารุง (สธ.๔)
สธ.๔ เปนนายทหารฝายอํานวยการหลัก รับผิดชอบในเรื่อง การสงกําลัง การซอมบํารุง การขนสง
และการบริการ ในฐานะผูวางแผนดานการสงกําลัง สธ.๔ จะตองติดตอประสานอยางใกลชิด และตอเนื่องกับ
ผูบังคับหนวยสนับสนุนการชวยรบ ทีเ่ ปนผูที่รับผิดชอบประสานอยางใกลชิด และตอเนื่องกับผูบงั คับหนวย
สนับสนุนการชวยรบ ที่เปนผูที่รับผิดชอบในเรื่องการปฏิบัติการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุง และกับ
สธ.๓ ในเรื่องการใหการสนับสนุนการปฏิบัติทางยุทธวิธี
สธ.๔ มีหนาทีห่ ลักทางฝายอํานวยการดังนี้
• การสงกําลัง
• การซอมบํารุง
• การขนสง
• การบริการ
• การบริการทางแพทย
• เบ็ดเตล็ด

ก. การสงกําลัง
งานในเรื่องการสงกําลัง ไดแก
๑) การกําหนดความตองการในการสงกําลัง
๒) การตรวจของการเกณฑ การจัดหา การเก็บรักษา และการแจกจายสิ่งอุปกรณ เสบียงและ
ยุทโธปกรณ รวมถึงการบันทึกรายการสิ่งอุปกรณและยุทโธปกรณตาง ๆ
๓) การดําเนินการใหเกิดความมัน่ ใจวา สิ่งอุปกรณและยุทโธปกรณมีการดูแลควบคุมและมี
การรักษาความปลอดภัยอยางเพียงพอ โดยประสานกับสารวัตรใหญ
๔) การกํากับดูแลการสแจกจายอาวุธ กระสุน (รวมถึงกระสุนตามอัตรากระสุนมูลฐาน) และ
ยุทธภัณฑ ตามลําดับความเรงดวนที่ผูบังคับบัญชากําหนด
๕๒
๕) การกํากับดูแลการแจกจาย และการควบคุมดูแลกระสุนซึ่งมีอัตราอนุมัติ รวมถึงการแจง
อัตราอนุมัติใหหนวยทราบในคําสั่งยุทธการดวย
๖) การใหขอเสนอแนะอัตราพิกัด (สําหรับสิ่งอุปกรณจําเปนสําหรับการทําการรบและ
ชิ้นสวนอะไหล ไมรวมถึงกระสุนวัตถุระเบิด)
๗) การรวบรวม และแจกจายสิ่งอุปกรณและยุทโธปกรณเกิดความจําเปนเกินอัตราและที่ซอม
เก็บคืนได สธ.๔ รับผิดชอบการดําเนินการเกี่ยวกับสิง่ อุปกรณ และยุทโธปกรณที่ยึดไดจากฝายตรงขามโดย
ประสานกับ สธ.๒
๘) การแบงสรร สป.๓ ใหหนวยรอง

ข. การซอมบํารุง
งานเกีย่ วกับการซอมบํารุง ไดแก
๑) การตรวจติดตาม และวิเคราะหสถานภาพความพรอมของยุทโธปกรณตาง ๆ
๒) การกําหนดความตองการดานงานซอมบํารุง ซึ่งรวมถึง การประเมินสถานภาพของหนวย
ซอมบํารุง กําลังพล ความชํานาญ การฝก เครื่องมือซอม เครื่องมือวัดทดสอบและสิ่งอํานวยความสะดวกใน
การซอมบํารุง ตลอดจนการรวบรวมขอเสนอแนะจากสวนตาง ๆ เกี่ยวกับการซอมบํารุงใหผูบังคับบัญชา
๓) การประสานงานกับ สธ.๓ และการเสนอแนะลําดับความเรงดวนทางการซอมบํารุงใหแก
ผูบังคับบัญชา
๔) การตรวจติดตามจํานวนยุทโธปกรณทดแทนวามีเพียงพอสําหรับความพรอมรบ

ค. การขนสง
งานเกีย่ วกับการขนสง ไดแก
๑) การวางแผนและประสานงานดานการขนสง กําลังพล ยุทโธปกรณและสิ่งอุปกรณโดยใช
วิธีขนสงตาง ๆ ที่มีอยู
๒) การจัดทําคําสั่งเคลื่อนยายกําลังทางธุรการ
๓) การใหขอเสนอแนะเรื่องขั้นตอนการปฏิบัติในการควบคุมการขนสงทางภาคพื้นดิน
และทางอากาศ

ง. การบริการ
งานเกีย่ วกับการบริการ ไดแก
๑) การวางแผน และประสานงานกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวกและอาคารตาง ๆ เวนปอม
สนาม และสิ่งกอสรางทางการสื่อสาร
๒) การบริการอาหาร
๓) การปองกันอัคคีภัย
๔) การบริการกําลังพลในเรื่อง ที่อาบน้ํา การซักผา และการแลกเปลี่ยนเสื้อผา
๕๓
๕) การทําทะเบียนหลุมศพ

จ. การบริการทางการแพทย
๑) การสงกลับและรักษาพยาบาล
๒) เวชกรรมปองกัน
๓) ทันตบริการ
๔) หองทดลอง
๕) สัตวรักษ
๖) ถายโลหิต
๗) สงกําลังซอมบํารุงสายแพทย

ฉ. เบ็ดเตล็ด
มีความรับผิดชอบในเรื่องดังนี้
๑) การกําหนดจํานวนของหนวยสนับสนุนทางการสงกําลังวาพอเพียงหรือไม และการให
ขอเสนอแนะในการใชหนวยเหลานั้น
๒) การกําหนดความตองการ หนวยสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงตาง ๆ เพิ่มเติม
๓) การใหขอเสนอแนะ เรื่องลําดับความเรงดวนในการใชหนวยสนับสนุนทางการสงกําลัง
๔) การกําหนดความตองการในการใชกําลังพลเรือนในทองถิ่น เชลยศึก และพลเรือนที่ถูก
ควบคุมตัวหรือกักขัง เพื่อใชงานสนับสนุนดานสงกําลังบํารุง
๕) การใหขอเสนอแนะ สธ.๓ เกี่ยวกับที่ตั้งทั่วไปของพื้นที่สนับสนุนกองพล และการ
เคลื่อนยายของหนวยสงกําลังตาง ๆ
๖) การใหขอเสนอแนะเสนทางสงกําลังบํารุงหลัก แก สธ.๓
๗) การจัดทําประมาณการรายงานคําสั่งและแผนสงกําลังบํารุง
๘) การจัดทํา รับรอง และแจกจายคําสั่งชวยรบ และการประสานงานเพื่อจัดทําสวนการ
สนับสนุนทางการชวยรบ ของคําสั่งหรือแผนยุทธการ
๙) การกําหนดความตองการดานการฝกการสงกําลังบํารุง
๑๐) ปฏิบัติเปนสวนประสานการปฏิบัติ ในการวางแผนงบประมาณสงกําลังบํารุงของหนวย
และการตรวจติดตามดูแลคาใชจายเงินทุน ซึ่งจําเปนในการจัดหายุทธภัณฑ
๑๑) การปฏิบัติจัดหาขอมูลทางฝายอํานวยการให สธ.๓ ในเรื่องขอพิจารณาของการสูรบใน
พื้นที่สวนหลัง และการควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ ที่เกี่ยวกับหนวยสนับสนุนการชวยรบ ใหหนวยรบ
ดานหนาอยางตอเนื่อง
๑๒) การกํากับดูแลการปฏิบัติทางธุรการ เมื่อมีอุบัติเหตุหรือเหตุการณทางเคมี ชีวะ รวมถึงการ
ปฏิบัติการทําลายลางพิเศษ
๕๔
๘. หัวหนาฝายกิจการพลเรือน สธ.๕
สธ.๕ เปนนายทหารฝายเสนาธิการหลัก รับผิสดชอบเรื่องผลกระทบของพลเรือนตอการปฏิบัติการ
ทางทหาร และผลทางการเมือง การเศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา ของการปฏิบัติการทางทหารตอประชาชน
พลเมือง สธ.๕ มีความรับผิสดชอบทางฝายอํานวยการตอการปฏิบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวกับความสัมพันธระหวาง
กําลังทหาร เจาหนาที่ฝายปกครองของรัฐ และประชาชนในพื้นที่ปฏิบัตกิ าร
ความรับผิดชอบหลักทางฝายอํานวยการประสานงานของ สธ.๕ มีดังนี้
• การปฏิบัติการกิจการพลเรือน
• ความสัมพันธระหวางพลเรือนกับทหาร

ก. การปฏิบตั ิการกิจการพลเรือน
งานเกีย่ วกับการปฏิบัติการพลเรือน ไดแก
๑) การใหคําแนะนํา ความชวย และการใหขอ เสนอแนะเกีย่ วกับการประสานการปฏิบัติการ
ดานพลเรือน ทหาร รวมทั้งผลกระทบของการปฏิบัติการจิตวิทยา (ปจว.) (รวมกับ สธ.๓) ตอประชาชน
พลเรือน
๒) การจัดทําแผนและการใหขอเสนอแนะเกีย่ วกับ นโยบาย และขั้นตอนการปฏิบัติในการ
ปฏิบัติการกิจการพลเรือน สําหรับการปฏิบัติสนับสนุนหนวย และ/หรือการปฏิบัติการสนับสนุนรัฐบาล
๓) การจัดทําประมาณกิจการพลเรือน รวมถึงการดําเนินการสํารวจขอมูล และการศึกษาการ
ปฏิบัติทางกิจการพลเรือน
๔) การจัดทําสวนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการกิจการพลเรือน และการประสานงานพลเรือนกับ
ทหาร ในแผนและคําสั่งชวยรบ
๕) การกําหนดความตองการดานหนวยปฏิบัตกิ ารกิจการพลเรือน และกําลังพลเพื่อใหการ
ปฏิบัติการกิจการพลเรือนประสบผลสําเร็จ
๖) การกํากับดูแลการฝายอํานวยการ ตอหนวยปฏิบัตกิ ารกิจการพลเรือนที่ไดบรรจุมอบขึ้น
สมทบ หรืออยูใตการควบคุมทางยจุทธการของหนวยและตอการปฏิบัติการกิจการพลเรือนของหนวยรอง
๗) การกํากับดูแลกิจการพลเรือนของหนวยที่เกี่ยวกับ รัฐบาล เศรษฐกิจ สิ่งอํานวยความ
สะดวกสาธารณะ และงานหนาที่พิเศษ อยางเชน พลเรือนพลัดถิ่น ผูอพยพ ผูลี้ภยั วัตถุทางศิลป อนุสาวรีย
ที่เก็บเอกสารโบราณสําคัญ เรื่องที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมชาติ และขาวสารขอมูลทางพลเรือน
๘) การประสานงานกับ สธ.๒ ดานมาตรการระวังปองกันในการปฏิบัติการ และเรื่องที่
เกี่ยวกับขาวกรองทางทหารของการปฏิบัติการกิจการพลเรือน
ข. ความสัมพันธระหวางพลเรือน – ทหาร
งานในเรื่องความสัมพันธระหวางพลเรือน
๑) การใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายหนวย และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับขอผูกมัด ความ
รับผิดชอบ ระหวางหนวยปกครองพลเรือนกับหนวยทหาร
๕๕
๒) การใหขอเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวของกับประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติการ เชน ประเพณี
ขอตกลงสัญญา ธรรมเนียม และกฎหมายบานเมือง
๓) การทําหนาที่เปนผูปรึกษาหลักในเรื่องเกีย่ วกับ ประชาชนพลเรือน ฝายปกครองทองถิน่
สถาบันตาง ๆ และเศรษฐกิจ
๔) การประสานงานการสนับสนุนดานพลเรือน สําหรับการปฏิบัติการทางยุทธวิธีและการ
ชวยรบ เพื่อปองกันมิใหเกิดการขัดขวางการปฏิบัติทางทหารโดยดานพลเรือน
๕) การกําหนดจํานวนกําลังพลพลเรือนในทองถิ่น สิ่งอุปกรณตาง ๆ ทรัพยากรดานบริการ
และทรัพยากรดานเศรษฐกิจ ที่สามารถนํามาใชได และประสานการนําสิง่ เหลานั้นมาใช
๖) การกําหนดความตองการ และประสานการใชทรัพยากรของทหารสําหรับประชาชน
พลเรือน และกําหนดการควบคุมทรัพยากรตาง ๆ
๗) การสังเกตการณและวิเคราะหความคิดเห็นประชามติ และการวางแผนการปฏิบัติงานดาน
ประชาสัมพันธ เพื่อใหไดมาและรักษาไวซึ่งความเขาใจ ความปรารถนาดีและการสนับสนุนของประชาชน
โดยประสานการปฏิบัติกับนายทหารประชาสัมพันธ
๘) การใหคําแนะนําเกี่ยวกับผลกระทบของการใชอาวุธนิวเคลียร เคมี ชีวะ ของฝายเรา
รวมถึงการจัดทําแผนบริวารบริเวณพืน้ ที่ ๆ รับความเสียหายดานอาคารสิ่งกอสราง ซึ่งกีดขวางการปฏิบัติการ
และผลกระทบของการใชอาวุธนิวเคลียร เคมี ชีวะ ของฝายตรงขามตอประชาชนพลเรือน
๙) การใหคําแนะนําและความชวยเหลือดานเทคนิค เกี่ยวกับการตรวจสอบแนวความคิดและ
สรางอุดมการณใหมให บอกเปลี่ยนฝายและเชลยศึกฝายตรงขาม ตลอดจนพลเรือนผูยายจากถิ่นเดิมทุก
ประเภท เชน ผูพลัดถิ่น ผูลี้ภัย และผูอพยพ
๑๐) การประสานการปฏิบัติการสนับสนุนทางทหารแกการตั้งรับของพลเรือนในพืน้ ที่
ปฏิบัติการ
๑๑) การใหคําแนะนําและความชวยเหลือเจาหนาที่ฝายปกครองทองถิ่น ในการสรางและรักษา
ความสงบเรียบรอยและความปลอดภัย
๑๒) การประสานการสนับสนุนดานพลเรือน ตอการพิทักษพนื้ ที่สวนหลังในพื้นที่ปฏิบัตกิ าร
๑๓) การใหคําแนะนํา ใหความชวยเหลือ และใหขอเสนอแนะในการปฏิบัติ เพื่อใหมนั่ ใจวา
ผูบังคับบัญชาปฏิบัติตามขอผูกมัดดานกฎหมายกับประชาชนพลเรือนในทองถิ่น โดยประสานกับนายทหาร
พระธรรมนูญ
๙. ปลัดบัญชี (ปช.)
ขอบเขตและวานในหนาที่ของนายทหารปลัดบัญชีของหนวยตาง ๆ ในกองทัพบก ในปจจุบนั จะมี
อยู ๒ ระดับดวยกัน คือ ในระดับกองทัพบก และระดับกองทัพภาค โดยสามารถแบงกลุมของงานออกเปน
กลุม ๆ ดังนี้
ก. งานงบประมาณ
๕๖
นายทหารปลัดบัญชีจะเปนผูจัดระบบ และแผนการงบประมาณ การรวบรวมความตองการ
การจัดทําและเสนเองบประมาณ ใหคําแนะนําเกี่ยวกับงบประมาณ การปรับปรุงแกไขโครงการของหนวยใหดี
ยิ่งขึ้น ตลอดจนการบริหารงบประมาณ เพือ่ ใหหนวยใชงบประมาณไดอยางมีประสิทธิภาพ ในการดําเนินงาน
เกี่ยวกับงบประมาณ นายทหารปลัดบัญชีจะมีงานตามลําดับดังนี้
๑) การสงจายงบประมาณโดยมีงานยอย ๆ ดังนี้ คือ
• จัดทําเอกสารสั่งจายงบประมาณ
• จัดทําสถานภาพงบประมาณ งานบริหาร งบสํารองอะไหลประจําป
• สั่งจายงบประมาณ
• แกไขปญหาการสั่งจายงบประมาณ
• พิจารณาในการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
• รวบรวมและจัดทําสถานภาพเงินเหลือจาย
• จัดสรรงบเงินเหลือจายปลายปงบประมาณ
• สั่งจายเงินเหลือจายปลายปงบประมาณ
• การประมาณโดยใกลชิดและตอเนื่อง กับหนวยขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
๒) การจัดทํางบประมาณระหวางป
• ขออนุมัติเงินประจํางวดงบประมาณ รวมทั้งการขออนุมัติเพิ่มเติมระหวางงวด
• ตรวจสอบและจัดทํารายละเอียดเสนอขออนุมัติเงินประจํางวด
• ขออนุมัติงบประมาณเพิ่มเติม และ/หรือขออนุมัติตอหนวยเพื่อดําเนินการสําหรับ
งานที่จําเปนเรงดวน
• ขออนุมัติโอนเปลี่ยนแปลงหมดงบประมาณ
• จัดทําคําของบประมาณเพิ่มเติมตอหนวยเหนือ
• การแถลงปองกันงบประมาณตอหนวยเหนือ (หนวยเหนือใน ทบ. และหนวยเหนือ
สูงกวาระดับ ทบ.)
• การตรวจความรับผิดชอบของหนวยประมาณกอนการเสนอของบประมาณ (ขอ
จัดสรรงบประมาณ)
• เตรียมหลักฐานเพื่อเขารวมประชุมจัดสรรงบประมาณ
๓) การขอกันเงินและขยายไวเบิกจายเหลื่อมป
• แจงหนวยใหเรงรัดการจัดซือ้ จัดจาง และจางเหมา
• ใหหนวยรายงานขอกันเงินขอขยายการกันเงินมาไวเบิกจายเหลื่อมป
• การปฏิบัติตามมาตรการเรงรัดการเบิกจายงบประมาณประจําป ๒๕๓๐ ซึ่งออกโดย
กระทรวงการคลัง
๔) การเบิกงบประมาณแทนสวนราชการอื่น ๆ (เฉพาะ สปช.ทบ. เทานั้น)
๕๗
๕) การวิเคราะหงบประมาณ
• รวบรวมขอมูลความตองการงบประมาณ ของหนวยรับผิดชอบงบประมาณ และ
หนวยเจาของงบประมาณ ตามแผน – งาน – โครงการ ใน กม. ที่ไดรับการจัดสรร และสั่งจายงบประมาณ
• รวบรวมสถิติการสั่งจายงบประมาณของหนวย
• การวิเคราะหและรายงานผลการใชงบประมาณ ตลอดจนเสนอแนะเกีย่ วกับการ
บริหารงบประมาณ
• การวิเคราะหงบประมาณเพือ่ ความสอดคลองกับมาตรการ ประหยัดและคุมคา
• เตรียมแผนภูมใิ นการจัดสรรงบประมาณ
• จัดทําสรุปงบประมาณ (เดือน, งวด, ป)

ข. งานบัญชี
๑) บัญชีการเงิน
• การจัดเตรียม และแจกจายแบบธรรมเนียมการเงินและการบัญชี
• การดําเนินงานทางบัญชี การประสานกับหนวยที่เกี่ยวของทางการบัญชี
๒) การบริการทางการบัญชี
• การขออนุมัติเปดบัญชีสําหรับสวนราชการ
• การตรวจสอบการเงิน
• การสงงบการเงิน
• การเปลี่ยนแปลงลายมือชื่อ ผูสั่งจายเงิน
• การใหคําปรึกษาทางการบัญชี
• การตรวจสอบวิเคราะหการดําเนินงานของหนวยงานตามที่หนวยรองขอ
๓) ดานสัญญา
• ตรวจสอบสัญญาจัดซื้อ และจาง
• ติดตามผลการาหักเงิน ตามสัญญารับสภาพหนี้
• พิจารณาปญหาดานการเงินของทางราชการ
• ดําเนินการเกีย่ วกับเงินชดเชย
๔) การวิเคราะหและการประมวลผล วิเคราะหความถูกตองเกีย่ วกับการดําเนินการทาง
การเงินของหนวย แกไขตามคําแนะนําของเจาหนาที่ตรวจสอบของ ทบ. หรือสูงกวา
๕) การบัญชีทรัพยสิน
• การเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจสั่งจายของหนวย
• การตรวจสอบการชําระหนี้
• การใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการทําสัญญา
ค. งานการจัดงาน
๕๘
๑) ดานธุรการ
๒) การจัดงาน
• วิเคราะหโครงการเริ่มใหม
• ทําปฏิทินโครงการใหม
• ขออนุมัติขยายโครงการตอไป
• การแจกจาย และทําความเขาใจตอระเบียบ ทบ. วาดวยงบประมาณใหกับสวนที่
เกี่ยวของ
• การพิจารณาเรือ่ งอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
๓) การจัดหนวย การจัดตั้งหนวยใหม การปรับปรุงการจัดหนวย
๔) การฝกอบรมเจาหนาที่ทางดานบัญชี การเงิน
๕) การใหขอมูลสาย ปช.ทบ.
ง. งานตรวจสอบและวิเคราะห
๑) วิเคราะหผลงาน
• ผลการาปฏิบัติงานของหนวยภายในปงบประมาณวา สามารถผูกพันงบประมาณได
เทาใด
• ตรวจสอบมาตรการเรงรัดการใชจายงบประมาณ เพื่อใหเหลืองบใชจายเหลื่อม
ปงบประมาณนอยที่สุด
๒) การตรวจสอบ และวิเคราะหโครงการ
• ติดตามความกาวหนาของโครงการตาง ๆ
• ตาดตามผลการบริหารโครงการตาง ๆ
• รายงานประเมินผลโครงการตามปงบประมาณ
• การขอขยายระยะเวลาในโครงการของหนวยที่มีปญหา
• รายงานการจัดเก็บรายไดของแผนดินทีห่ นวยรับผิดชอบ
• รายงานสถิติการใชน้ํามันของหนวย

จ. งานประสานกรรมวิธีขอมูล
๑) งานการงบประมาณกําลังพล
• รายงานสรุปความตองการีงบประมาณการกําลังพล และรายการเงินเดือนคาจาง
• รายงานสรุปเงินคาเชาบาน
๒) การควบคุมงบประมาณของหนวย
• รายงานสถานภาพงบประมาณของหนวย
• รายงานเงินเหลือสงคืนใน ทบ. (หนวยเหนือ)
• รายงานสรุปเงินเดือนสงคืน ทบ.
๕๙
๓) การออมทรัพยของขาราชการ
• สรุปสถานภาพเงิน อทบ.ฝาก
• รายงานอื่น
๔) การกักเงินเบิกเหลื่อมป
๕) การรวบรวมประวัติโครงการ

ฉ. การสํารวจวิธีการจัด ปริมาณงานและกําลังพล รวมทั้งการจัดแบงหนวยของ ทบ.


๑) งานการจัดหนวย พิจารณา
• การจัดตั้งหนวยใหม
• การปรับปรุงการจัดหนวยทีไมใชหนวยทางยุทธวิธี
• การปรับปรุงอัตราสิ่งอุปกรณ อัตราอาคาร อัตราที่ดินและอื่น ๆ
๒) งานการสํารวจวิธีการจัด ปริมาณงาน และอัตรากําลังพลของ ทบ.
ก) การพิจารณาหนวยรับการสํารวจ (หนวย อฉก.)
• สปช.ทบ. กําหนดหนวยรับการสํารวจตามวงรอบโดยการวางแผนการสํารวจ
ประจําปงบประมาณ
• หนวยเสนอผาน ยก.ทบ. และ ยก.ทบ. พิจารณาเสนอเรื่องใหคณะกรรมการ
สํารวจฯ พิจารณาดําเนินการสํารวจหนวยตอไป
ข) หนวยรับการสํารวจฯ เสนอขอมูลการปรับปรุงอัตรา
ค) ปฐมนิเทศเจาหนาที่ชุดสํารวจ
ง) ชุดสํารวจฯ สํารวจหนวยแลวสรุปผลการสํารวจ ฯ เสนอคณะกรรมการสํารวจ ฯ
ของ ทบ. ผานคณะอนุกรรมการปรับผลการสํารวจฯ ของ ทบ. พิจารณา
จ) คณะอนุกรรมการปรับผลการสํารวจฯ ของ ทบ. พิจารณารายละเอียดผลการสํารวจ
หนวยแลว จัดทําเปนรางระเบียบปฏิบัติราชการ
ฉ) คณะกรรมการสํารวจฯ ของ ทบ. พิจารณารางระเบียบปฏิบัติราชการของหนวย
รับการสํารวจ แลวนําเรียน ผบ.ทบ. ขออนุมัติใหหนวยทดลองปฏิบัติราชการ เมื่อ ผบ.ทบ. อนุมัติแลว แจกจาย
คําสั่ง ฯ ใหหนวยทีเ่ กีย่ วของทราบ และใหหนวยเจาของระเบียบปฏิบตั ิราชการทดลองปฏิบัติงานตามคําสั่ง
ช) หนวยทดลองปฏิบัติราชการประมาณ ๓ เดือน ทบ. แตงตั้งชุดติดตามฯไปติดตาม
และประเมินผลการทดลองปฏิบัติราชการ แลวรายงานผลการติดตามใหคณะกรรมการสํารวจฯ ของ ทบ.
ทราบ
ซ) ผลการรายงานผลการติดตามฯ หากไมมกี ารปรับปรุงแกไข หรือมีการปรับปรุงแกไข
เล็กนอย ใหนาํ เรียนประธานคณะกรรมการสํารวจฯ ของ ทบ. เพื่อทราบหรือขออนุมัติแกไข แลวเสนอเรื่องให
ยก.ทบ. นําไปประกอบคําสั่ง ทบ. เรื่องใหใชระเบียบปฏิบัติราชการดําเนินการแกไข อฉก. ในระดับ บก.ทหาร
สูงสุด ตอไป
๖๐
ด) เขารวมประชุมคณะกรรมการพิจารณาอัตราของ บก.ทหารสูงสุด เพื่อชี้แจง
ขอซักถามเกี่ยวกับการปรับปรุงหนวย อฉก. ที่ผานการสํารวจ ฯ เปนกรณีไป
๖๑
ตอนที่ ๔
ฝายเสนาธิการ
ของหนวยบัญชาการชวยรบกองทัพภาค (บชร.)

๑๐. กลาวทัว่ ไป
กองบัญชาการชวยรบ มีฝายอํานวยการประสานงานและฝายกิจการพิเศษ เพื่อชวยเหลือ
ผูบังคับบัญชาการกองบัญชาการชวยรบในการปฏิบัติงานในหนาที่ และมีเสนาธิการกองบัญชาการชวยรบเปน
ผูประสานงาน และกํากับดูแล การปฏิบัติงานของฝายอํานวยการอีกดวย
๑๑. เสนาธิการกองบัญชาการชวยรบ
เสนาธิการกองบัญชาการชวยรบ เปนผูประสานงานงานและกํากับดูแลฝายอํานวยการประสานงาน
ฝายยุทธบริการ และฝายกิจการพิเศษอื่น ๆ ใหปฏิบัติตามนโยบายและขอตกลงใจของผูบังคับบัญชาและอาจ
ไดรับมอบหมายจากผูบัญชาการกองบัญชาการชวยรบใหปฏิบัติหนาที่โดยเฉพาะได
๑๒. ฝายอํานวยการประสานงาน
อํานวยการประสานงานของกองบัญชาการชวยรบเรียกชือ่ วา “หัวหนากอง” แบงออกเปน ๔ กอง
คือ กองกําลังพล กองบริการ กองสงกําลังและซอมบํารุง และกองยุทธการและการขาว ภายในกองตาง ๆ ยังมี
เจาหนาที่ฝายอํานวยการอีกตามความจําเปน
ก. หนาที่ของหัวหนากองกําลังพล วางแผน ประสานงาน และใหคําแนะนําเรื่องการกําลังพลและ
ธุรการ ภายในกองบัญชาการชวยรบ และยังกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอฝายธุรการ ฝายการเงินและฝาย
สวัสดิการดวย
ข. หนาที่ของหัวหนากองบริการ วางแผน ประสานงาน และใหคําแนะนําในเรื่องที่เกีย่ วกับบริการ
ขนสง บริการสายแพทย บริการกอสรางและบริการอื่น ๆ และยังกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอฝายขนสง
ฝายแพทย ฝายการชาง ฝายยุทธโยธา ในสวนที่เกี่ยวของกับสายงานนัน้ ๆ
ค. หนาที่ของหัวหนากองสงกําลัง วางแผน ประสานงาน และใหคําแนะนําในเรื่องการสงกําลัง
สิ่งอุปกรณ ทัง้ ๕ ประเภท ตลอดจนการซอมบํารุงยุทธภัณฑตาง ๆ และยังกํากับดูแลฝายยุทธบริการทุก
สายงาน ในสวนที่เกี่ยวของกับการสงกําลังและซอมบํารุงดวย
ง. หนาที่หวั หนากองยุทธการและการขาว วางแผนและจัดทําโครงการการสงกําลังบํารุง
โครงการการฝกและการรักษาความปลอดภัยสถานที่ตั้งทางการสงกําลังบํารุง อีกทั้งยังทําหนาที่ประสานงาน
และกํากับดูแลฝายการสารวัตรดวย
๖๒
๑๓. ฝายกิจการพิเศษ
ฝายกิจการพิเศษกองบัญชาการชวยรบ ประกอบดวย ฝายยุทธบริการและฝายกิจการพิเศษ สําหรับ
ฝายยุทธบริการมี ฝายการชาง ฝายยุทธโยธา ฝายพลาธิการ ฝายสรรพาวุธฝายขนสง ฝายสื่อสาร ฝายการแพทย
ฝายการสัตว และในบางสถานการณอาจจัดฝายวิทยาศาสตรเพิ่มเติมก็ได ฝายกิจการพิเศษอื่น ๆ ประกอบดวย
๕ ฝาย ไดแก ฝายธุรการ ฝายงบประมาณ ฝายการเงิน ฝายสวัสดิการและฝายจัดหา
ก. หนาที่ของฝายยุทธบริการ ชวยเหลือฝายอํานวยการประสานงานของกองบัญชาการชวยรบ
ในการวางแผนการสงกําลังบํารุงในสวนที่สายงานของตนเกีย่ วของ นอกจากนี้ ยังกํากับดูแลการปฏิบัติงาน
ของหนวยสงกําลังบํารุงในสายงานของตนดวย
ข. หนาที่ของฝายกิจการพิเศษ คงมีหนาที่เชนเดียวเหมือนกับฝายยุทธบริการ

๑๔. ฝายอํานวยการของสวนแยก
ในกรณีที่กองบัญชาการชวยรบจัดสวนแยกออกไปปฏิบตั ิงาน ก็จะจัดฝายอํานวยการขนาดยอมให
สวนแยกนัน้ ๆ ตามความเหมาะสม เพื่อชวยเหลือผูบังคับสวนแยกในการวางแผน ประสานงาน และกํากับ
ดูแลการปฏิบัติการสงกําลังบํารุงของสวนแยกนั้น ๆ
๖๓
ตอนที่ ๕
นายทหารฝายกิจการพิเศษ

๑๕ กลาวทัว่ ไป
ในตอนนีจ้ ะกลาวถึงงานในหนาที่ ซึ่งอาจมอบใหนายทหารฝายอํานวยการอื่น ๆ ที่ปฏิบัติหนาที่เปน
ฝายอํานวยการของหนวยบัญชาการ หนวยบัญชาการบางหนวยอาจไมมีนายทหารฝายอํานวยการทั้งหมด
ที่กลาวไวนี้ ดังนั้น การที่จะกําหนดฝายอํานวยการขึ้นเฉพาะนัน้ จะตองพิจารณาระดับของกองบัญชาการ
ขอบเขตอํานาจหนาทีใ่ นการควบคุมและบังคับบัญชา ขอพิจารณาดังกลาวนี้ ไดถกแถลงไวในเรื่องเกี่ยวกับการ
กําหนดหนาทีฝ่ ายอํานวยการ
นายทหารฝายอํานวยการที่กลาวถึงนี้ อาจเปนฝายกิจการพิเศษหรือฝายอํานวยการประสานงาน หรือ
ผูบังคับบัญชาอาจกําหนดใหเปนฝายอํานวยการประจําตัว เจาหนาทีด่ งั กลาวเปนผูชาํ นาญงาน ทํางานรวมกับ
ฝายอํานวยการประสานงานใหคําปรึกษา และชวยเหลือในสายงานทางเทคนิคที่ตนเกี่ยวของ
ถึงแมนายทหารฝายอํานวยการอาจทําหนาที่โดยเฉพาะ ในเรื่องการบังคับบัญชา หนวยทีก่ ําหนดไว
ก็ตาม แตงานในหนาที่ไดรับมอบตามที่จะไดกลาวไวในขอตอไปนี้ จะมีผลสําหรับการปฏิบัติในหนาที่ของ
นายทหารฝายอํานวยการเทานั้น
นายทหารอื่น ๆ จะแนะนําและชวยเหลือผูบังคับบัญชาเทานั้น นายทหารเหลานี้รวมถึง นายทหาร
ติดตอ ผูบังคับหนวยสนับสนุน ผูแทนจากเหลาทัพอื้นที่ทําหนาที่ในตําแหนงนายทหารฝายอํานวยการตัวอยาง
ผูแทนจากเหลาทัพอื่นที่ทําหนาที่ฝายอํานวยการ ไดแก นายทหารติดตอปนใหญเรือ นายทหารอากาศติดตอ
และนายทหารขาวลมฟาอากาศ เปนตน
๑๖. หัวหนากองบัญชาการ (หน.บก.)
หน.บก. มีหนาที่สําคัญ ดังตอไปนี้
ก. ดําเนินการควบคุมทางยุทธการ ตอหนวยทหารที่มาขึ้นตรงตอกองบัญชาการ
ข. จัดการระวังปองกันกองบัญชาการ
ค. จัดระเบียบและการเคลื่อนยายกองบัญชาการ
ง. กํากับดูแลการฝก และกิจการทางขวัญกําลังพลในกองบัญชาการ
จ. กํากับดูแลการรักษาพยาบาล และการสงกําลับในกองบัญชาการ
ฉ. จัดการเลี้ยงดู และที่พักของกองพลในกองบัญชาการ
ช. ตอนรับ และใหความสะดวกแกผูมาเยี่ยมหนวย
ซ. กํากับดูแลหนวยขนสงดวยยานยนตในอัตรา หรือที่ไดรับแบงมอบ
ด. จัดใหมีพื้นที่ปอ งกันภัยสําหรับกําลังพลในกองบัญชาการ
ต. กํากับดูแลการซอมบํารุงยานพาหนะ และยุทธภัณฑกองบัญชาการที่ไดแบงมอบ
๖๔
๑๗. นายทหารสารบรรณ
นายทหารสารบรรณ รับผิดชอบในการกํากับดูแลทางการปฏิบัติและทางเทคนิค สําหรับบริการดาน
ยุทธการ และบริการกําลังพลดังตอไปนี้
ก. บริการจัดการแบบฟอรม
รวมถึงการออกแบบและควบคุมแบบฟอรมภายใน และแบบฟอรมของหนวยบัญชาการ
ข. บริการการจัดการบันทึก
รวมถึง
• การจัดการไปรษณีย รวมถึงการควบคุมการติดตอสื่อสารภายในหองไปรษณียของ
กองบัญชาการ ศูนยการแจกจาย และบริการนําสารซึ่งไมเกี่ยวกับทางยุทธวิธีทั้งเรื่องลับและไมลับ
• การจัดเอกสารโตตอบ รวมถึงการควบคุมจํานวนและคุณภาพ
• การจัดการเก็บเอกสาร รวมทั้งการริเริ่ม การเก็บรักษาและการจําหนาย
ค. บริการจัดการสิ่งพิมพ
รวมถึง
• การรับรองสําเนา การพิมพ และการแจกจายคําสั่งคําชี้แจงทั้งปวง ยกเวน คําสั่งการรบ
คําชี้แจงทางเทคนิคบางเรื่อง และคําชี้แจงทีอ่ อกโดยนายทหารฝายกิจการพิเศษในฐานะผูบังคับหนวย
• การจัดหา เก็บรักษา และแจกจายสิ่งพิมพและแบบฟอรมตาง ๆ
• ติดตามการแจกจายแบบเปนชุด
ง. บริการพิมพและทําสําเนา
รวมถึงการกํากับดูแลโรงพิมพสนาม การควบคุมการจางพิมพในสนาม และการทําสําเนา
เอกสารสําหรับกองบัญชาการ
จ. บริการควบคุมรายงานและการกําหนดมาตรฐาน
ในกองบัญชาการที่ไมมีบัญชี
ฉ. บริการจัดการกําลังพลทางทหาร
ไดแก
• การจัดหา รวมถึงการเกณฑ การสมัคร และการกลับเขารับราชการ
• การทดสอบกําลังพล
• การแบงประเภทและการแบงประเภทใหม
• การบรรจุและการบรรจุใหม
• การประเมินคา
• การเลื่อนยศและการถอดยศ
• การเก็บรักษาบันทึกกําลังพล ยกเวนการลาและการจายเงิน
๖๕
• การใหออกจากราชการ รวมถึงการปลดเกษียณ การไลออก การยาย และการใหพนจาก
ราชการ
• การปฏิบัติการทดแทนกําลัง
ช. บริการสงเคราะหและขวัญ
• รายงานการสูญเสียและการปฏิบัติอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน การพิจารณาถึงการสูญเสีย
ในขณะปฏิบัตหิ นาที่ การเขียนจดหมายแสดงความเสียใจ และการชวยเหลือทายาทผูสูญเสีย
• เครื่องราชอิสริยาภรณและบําเหน็จรางวัล
• การขาดราชการ
• การปรึกษาเรือ่ งสวนตัว รวมทั้งเรื่องครอบครัว
• บริการไปรษณีย
• สวัสดิการ ไดแก การบันเทิง การฝมือ หองสมุด สโมสร การกีฬา การพักผอน การลา และ
กิจกรรมหยอนใจตาง ๆ
• ดุริยางค
ซ. การฝกทางกําลังพลและธุรการ

๑๘. นายทหารสวัสดิการ
เปนผูวางแผน ประสานงาน และอํานวยการเกีย่ วกับสวัสดิการนอกเวลาราชการ ทั้งการกีฬาและ
บันเทิง และใหคําแนะนําแกผูบังคับบัญชาในเรื่องเหลานั้น นอกจากนัน้ ยังมีหนาที่เฉพาะดังนี้
ก. วางแผน ประสานการ และอํานวยการเกีย่ วกับการบํารุงความสุข รวมทั้งโครงการเกี่ยวกับกีฬา
และบันเทิงดวย
ข. ปฏิบัติการเกี่ยวกับศูนยกลางการพักผอนและสโมสร รานขายของ สนามกีฬา อาคาร บานพัก
หองสมุด
ค. ดําเนินการในเรื่องมหรสพของทหาร เชน การฉายภาพยนตร
ง. จัดหาคณะละครหรือคณะบันเทิงตาง ๆ มาแสดงเปนครัง้ คราว
จ. ดําเนินการเกีย่ วกับการพักผอนนอกที่ตั้ง ใหประสานกับการพักผอนภายในที่ตั้งดวย
ฉ. ในฐานะเปนนายทหารฝายการบํารุงความสุขของกองบัญชาการขนาดใหญ ตองทําหนาที่
ประสานการปฏิบัติในเรื่องการบริการบํารุงความสุข และใหคําแนะนําแกผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
ในเรื่องเกีย่ วกับการพักผอนของกําลังพลที่อยูภายใตการบังคับบัญชาทั้งปวง
๑๙. นายทหารฝายการสารวัตรของกองพล
นายทหารฝายการสารวัตรของกองพลมีหนาที่ในเรื่องตอไปนี้
ก. ใหคําแนะนําในเรื่อง การประกาศใช การรักษากฎหมาย คําสั่ง และขอบังคับสําหรับการดํารง
รักษาระเบียบและวินัย การควบคุมประชากรและทรัพยากร การปฏิบัติงานดานการขาวกรองของตํารวจ การ
สืบสวนพิเศษ การควบคุมและเคลื่อนยายผูลี้ภัย และหนาที่ดานการตํารวจที่เกี่ยวของ
๖๖
ข. กําหนดและใหขอเสนอแนะเกีย่ วกับความตองการและการใชหนวย สห. และประสานกับ
ตํารวจ กําลังกึง่ ทหาร และหนวยรักษาความสงบของพลเรือนที่มีอยู
ค. จัดทําและกํากับดูแลโครงการฝก ในสวนที่เกี่ยวของกับทหารสารวัตร และกํากับดูแลทางฝาย
อํานวยการในเรื่องการฝกทหารสารวัตรภายในหนวย
ง. รับ จัดทํา รวบรวมและกระจาย รายงานเกี่ยวกับกิจกรรมสารวัตรทหารและสารวัตรใหญ
จ. ศึกษาและวิเคราะหการปฏิบตั ิของสารวัตรทหาร เพื่อใชเปนมูลฐานในการวางแผนและจัดทํา
นโยบายใหม
ฉ. จัดใหมีขาวสาร และคําแนะนําทุกขัน้ ตอนของกิจกรรมสารวัตรทหารที่เกี่ยวกับขวัญ ความ
ประพฤติ และการปฏิบัติตนของกําลังพลทหาร การควบคุมมิจฉาชีพ นักโทษทหาร ขอบังคับเกี่ยวกับการผาน
และการจํากัดเวลาออกนอกสถานที่ และการจับผูขาดหนีราชการ
ช. กํากับการปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวของ
ซ. ใหคําแนะนําทางเทคนิค และใหความชวยเหลือในเรื่องการใชหนวยทหาร ใหความชวยเหลือ
ทางทหารแกฝา ยปกครองพลเรือน
ด. วางแผนนโยบายและระเบียบปฏิบัติ เพื่อใหมั่นใจวาสถานที่ตั่งทางการสงกําลังบํารุงและ
ธุรการ มีความปลอดภัย
ต. วางแผนและกํากับดูแลการปฏิบัติของสารวัตรทหารดังตอไปนี้
๑) สนับสนุนทางการรบในรูปของการปฏิบัติการรุกและตั้งรับ ตอกําลังขนาดเล็กของฝาย
ตรงขาม การปฏิบัติการทางยุทธวิธีในเขตชุมชน การคุมกันขบวนยานยนต การระวังปองกันเสนทางการ
ลาดตระเวนเสนทาง การปฏิบัติการออมกําลังในภารกิจพิทักษพื้นที่สวนหลัง การปองกันชายแดน
การปฏิบัติการปดลอมและคนหา การตัง้ รับวงรอบโดยเปนสวนของหนวยใหญ การรักษาความปลอดภัย
ระหวางจุดตรวจ ที่ตั้ง หรือที่ปดกั้นถนน รวมถึงการรวมเปนหนวยตอบโตใหแกทตี่ ั้งหรือจุดที่อยูโดดเดี่ยว
๒) การควบคุมการหมุนเวียนและการเคลื่อนยาย การจํากัดเวลาออกนอกสถานที่ ระบบการ
พิสูจนทราบ และลงทะเบียนและเสนทางคมนาคม
๓) กิจกรรมขาวกรองดานการตํารวจ รวมถึงการพัฒนาขอมูลรวมกับตํารวจทองถิ่น และการ
รวบรวม ประเมินคาและแจกจายขอมูลเกีย่ วกับการรักษากฎหมาย และการรักษาความปลอดภัย
๔) กิจกรรมพิทักษพื้นที่สวนหลังรวมถึงการพัฒนาขอมูลรวมกับตํารวจทองถิ่น
๕) รักษากฎหมาย คําสั่งและขอบังคับของทหาร
๖) จับกุมผูกระทําผิดที่เปนทหาร และพลเรือนที่กระทําผิดในพื้นที่อยูใ นความควบคุมของ
ทหาร
๗) รวบรวม สงกลับ ดําเนินกรรมวิธี คุมขัง ดูแล รักษา ควบคุมวินัย ปองกัน ใชงาน
ใหการศึกษา แลกเปลี่ยนตัวเชลยศึกและพลเรือนที่ถูกกักกัน
๘) รักษาความปอลดภัยภายในทีบ่ ังคับการ และสิ่งอํานวยความสะดวกที่สําคัญอื่น ๆ
๙) ปองกันอาชญากรรม และประสานการสืบสวนอาชญากรรมกับเจาหนาที่ตํารวจ
๖๗
๑๐) กักขัง ดูแล และฟนฟูนักโทษทหารในเรือนจํา ศูนยการฝกฟนฟู และที่พักนักโทษใน
โรงพยาบาล
๑๑) การปองกันทรัพยสินของรัฐ รวมถึง การปองกันมิใหยุทธภัณฑและสิ่งอุปกรณถูกขโมย
ระหวางการขนสงหรือเก็บรักษา
๑๒) การรักษาความปลอดภัยตอวัตถุ รวมถึง การสํารวจและการตรวจสภาพ
๑๓) ใชมาตรการเพือ่ ชวยเหลือทหารหรือเจาหนาที่พลเรือน ในการกอความไมสงบโดย
พลเรือน หรือภัยพิบตั ิและประสานมาตรการตาง ๆ เหลานี้
๑๔) ดําเนินการเกีย่ วกับสวนเชลยศึก/พลเรือน ทีถ่ ูกกักกันตัวของศูนยขาวสารในยุทธบริเวณ
๑๕) ใหการสนับสนุนทางสารวัตรทหาร และขีดความสามารถทางการพิทักษพื้นที่สว นหลัง
ของสารวัตรทหาร
๒๐. นายหารฝายพระธรรมนูญ
นายทหารฝายธรรมนูญ มีหนาที่ในเรื่องดังตอไปนี้
ก. ใหคําแนะนําทางกฎหมายแกผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการ ผูบังคับหนวยรอง และกําลังพล ใน
เรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมายทหาร คําสั่งชี้แจงของ กห., ขอบังคับของ ทบ. และขอบังคับของหนวยงานดาน
กฎหมายในประเทศ รวมถึงพระราชบัญญัติของรัฐบาล ระเบียบขอบังคับของรัฐ และกฎหมายของทองถิ่น
กฎหมายตางประเทศ ขอตกลงเกี่ยวกับสถานภาพของกําลังทหาร และกฎหมายระหวางประเทศ
ข. กํากับดูแลและควบคุมการบริหารงานการศาลทหาร และเรื่องทางกฎหมายอื่น ๆ ภายในหนวย
บัญชาการโดย
• ติดตอโดยตรงกับผูบังคับบัญชา ในเรื่องการศาลทหาร
• ตรวจสอบและใหขอเสนอการปฏิบัติที่เหมาะสม ตอขอกลาวหาไปยังผูมีอํานาจเกีย่ วของ
กอนที่จะนําคดีขึ้นพิจารณาในศาลทหารทั่วไป ทบทวนหลักฐานการพิจารณาคดีโดยศาลทหารทั่วไปและ
ตุลาการศาลทหาร และใหขอ เสนอถึงการปฏิบัติซึ่งควรจะกระทําใหกบั ผูมีอํานาจเกีย่ วของ
• จัดทนายตามที่บัญญัติไวในธรรมนูญศาลทหาร
• ทบทวนหลักฐานการพิจารณาคดีโดยศาลทหารพิเศษและศาลทหารกลาง เพื่อหาความ
เหมาะสมทางกฎหมาย ริเริม่ กําหนดขอแกไขตามที่เห็นสมควรเมื่อเห็นวาจําเปน และเปนผูดูแลรักษาหลักฐาน
การพิจารณาคดีของศาลทหารพิเศษและศาลทหารกลาง
• จัดทําและดําเนินกรรมวิธีการติดตอทางเอกสาร เกี่ยวกับผูกระทําผิดที่ถูกลงทัณฑนอก
อํานาจศาล ตรวจสอบคํารองขอผอนผันโทษตามรูปคดีที่เห็นสมควร และใหขอเสนอแกผูบังคับบัญชา
• ใหขอเสนอในนโยบายเกี่ยวกับสภาพการคุมขังผูตองหา กอนและหลังการพิพากษาของ
เจาหนาที่ฝายทหารซึ่งจะนํามาบังคับใช แนะนําและชวยเหลือเจาหนาที่ฝายอํานวยการอื่น ๆ และหนวยรอง
ในการบังคับใหเปนไปตามนโยบายการคุมขังที่ไดกําหนดไว
• รวมกับนายทหารฝายการสารวัตรใหขอเสนอแนะนโยบาย เกี่ยวกับการติดตอกับ
เจาหนาที่รกั ษากฎหมาย และเจาหนาที่ศาลฝายพลเรือน
๖๘
ค. ทบทวนรายงานของนายทหารสอบสวน และของคณะกรรมการนายทหารเพื่อพิจารณาหา
ความเหมาะสมทางกฎหมาย และใหขอเสนอตามที่เห็นสมควรตอผูบังคับบัญชาจัดหาทนายใหในเมื่อไดรับ
การรองขอและเมื่อมีทนายพอ และอยูใ นอํานาจทําไดตามระเบียบขอบังคับของ ทบ. ดวย
ง. กํากับดูแลการฝก การพิจารณาคดีทางทหาร และการฝกศึกษาเรื่องกฎหมายอื่น ๆ ภายในหนวย
บัญชาการ
จ. เมื่อไดรับการรองขอ ใหคําแนะนําตอบุคคลที่มีหนาที่ทางการเงินตามรายการสํารวจ และ
รายงานการสูญหายของเงินทุน
ฉ. ใหความชวยเหลือและแนะนําทางกฎหมายแกกําลังพลฝายทหาร ครอบครัวและบุคคลอื่น ๆ
ตามที่กําหนดไวเกีย่ วกับปญหาสวนบุคคล ปญหาทางแพงและปญหาทางกฎหมาย และกํากับดูแลโครงการ
ชวยเหลือทางกฎหมาย และการปองกันอาชญากรรมของหนวยบัญชาการ
ช. กํากับดูแลและบริหารงานเกีย่ วกับเรื่องราวทั่งปวงในการเรียกรองสิทธิ และการใหขอ เสนอถึง
การปฏิบัติที่ตองทํา รวมทั้งการออกใบรับรองการชําระเงิน ถาเห็นสมควร
ซ. ใหขอคิดเห็นและคําแนะนําทางกฎหมายทีเ่ กี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศ ทั้งที่เปนจารีต
ประเพณีและแบบธรรมเนียม ขอบังคับกรุงเฮก สนธิสัญญาเจนีวาป ๑๙๔๙ ขอตกลงเกี่ยวกับสถานะของ
กองกําลัง และเกีย่ วกับการใชกฎหมายของรัฐในตางประเทศ ใหคําแนะนําถึงปญหาทางกฎหมายของตางชาติ
และปญหากฎหมายระหวางประเทศสวนบุคคล
ด. ตรวจสอบสัญญาการจัดหา ใหคําแนะนําทางกฎหมายเกี่ยวกับขอขัดแยงและปญหาอื่นในการ
จัดหาเมื่อจําเปน จัดหาทนายใหกับคณะกรรมการ พิจารณาคํารองเกี่ยวกับสัญญาของเหลาทัพในกรณีการขอ
ผอนผันตามระเบียบวาดวยการเรงรัดการดําเนินงาน และใหคําแนะนําทางกฎหมายเกีย่ วกับ การใชประโยชน
และการจําหนายทรัพยสินของทางราชการ
ต. กํากับดูแลการดําเนินงาน เกี่ยวกับเรื่องการดําเนินคดีอาชญากรสงครามในหนวยบัญชาการ
รวมถึงการใหคาแนะนําทางกฎหมายเกีย่ วกับการละเมิดกฎหมายระหวางประเทศ
ถ. ใหคําแนะนําเกี่ยวกับทัศนะทางกฎหมายของกิจการพลเรือน การชวยเหลือทางทหารตอ
เจาหนาทีพ่ ลเรือน การบรรเทาทุกขและการปองกันฝายพลเรือน เงินเดือน การเลื่อนยศ การลดยศ การใหออก
จากราชการ กิจกรรมที่ไดรบั อนุมัติ การอุทธรณตอคณะกรรมการบริหาร และการรองเรียนตามธรรมนูญศาล
ทหาร
ท. ใหคําแนะนําทางกฎหมายเกี่ยวกับเงินทุนนอกเหนืองบประมาณ เงินบริจาค การใชและ
จําหนายทรัพยสินของรัฐ ที่ตั้งทางทหาร การชวยเหลือเจาหนาที่พลเรือนโดยทหารการบรรเทาทุกข และการ
ปองกันฝายพลเรือน
๒๑. อนุศาสนาจารย
อนุศาสนาจารยมีหนาทีใ่ นเรือ่ งดังตอไปนี้
ก. แนะนําผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการในเรื่อง ศาสนา ศีลธรรม ขวัญที่เปนผลมาจากศาสนา
๖๙
ข. ประสานกับ สธ.๑ เกี่ยวกับการบรรจุ เลื่อนยศ ยาย และการทดแทน อนุศาสนาจารยของหนวย
รอง และการชวยเหลือที่อนุศาสนาจารยภายในหนวยรองตองการ
ค. กํากับดูแลการดํารงรักษาแฟมนโยบาย และบันทึกของอนุศาสนาจารยในแผน และในแผนก
อนุศาสนาจารยของหนวยรอง
ง. จัดทําสวนทีเ่ กีย่ วของกับอนุศาสนาจารยในแผนเผชิญเหตุ เพื่อใหครอบคลุมทั่วทุกพืน้ ที่ และ
ทุกนิกาย และสถานการณพทิ ักษพื้นที่สว นหลัง และจัดทําแผนเผชิญเหตุของแผนกอนุศาสนาจารยของหนวย
รองตามที่ไดรับความเห็นชอบจากหนวยบัญชาการ
จ. กํากับดูแลการฝกและกําลังพลที่เกี่ยวของกับอนุศาสนาจารยรวมถึงการฝก ผูนํา คําแนะนํา
บุคลิก การศึกษาทางศาสนา การประชุม ฝก และการฝกสอนทางศาสนา
ฉ. ติดตามการจัดหา เก็บรักษา และแจกจายสิงอุปกรณสายอนุศาสนาจารย โดยผานฝาย
อํานวยการที่เกี่ยวของ
ช. กํากับดูแลโครงการอนุศาสนาจารย และกิจกรรมงบประมาณสําหรับเงินทุนตามงบประมาณ
การใชเงินทุนนอกเหนือเงินงบประมาณของอนุศาสนาจารย การใชเงินทุนสงเคราะหนอกเหนือเงิน
งบประมาณของอนุศาสนาจารย และการจัดหาและการใชอนุศาสนาจารยเพิ่มเติม
ซ. วางแผนและกํากับดูแลกิจกรรมทางศาสนาของหนวยบัญชาการ รวมถึงพื้นที่และนิกายตาง ๆ
และการทําพิธสี ําหรับการสูญเสียเปนจํานวนมาก การทําพิธีทางศาสนาใหผูบาดเจ็บในโรงพยาบาลของหนวย
บัญชาการ นักโทษที่ถูกคุมขังหรือถูกจับ เชลยศึกพลเรือนที่ถูกกักขังหรือควบคุมตัวและผูลี้ภยั และโครงการ
ศึกษาทางศาสนา
ด. จัดตั้งการติดตอกับอนุศาสนาจารยของหนวยเหนือ และหนวยขางเคียงกับอนุศาสนาจารยของ
เหลาทัพอื่น และกําลังของชาติพันธมิตรอื่น ๆ กับยังจัดตั้งการติดตอกับวัดตาง ๆ และองคการทางศาสนา
ตาง ๆ และกลุมอื่น ๆ ที่ชวยเหลือในกิจกรรมที่เกี่ยวกับศาสนาและศีลธรรม และประสานกิจกรรมทางศาสนา
ของเขาเหลานัน้ กับหนวยบัญชาการในพืน้ ที่ปฏิบัติการ อนุศาสนาจารยจะรักษาการติดตอกับนายทหารกิจการ
พลเรือน และกําลังพลเกี่ยวของกับศาสนาเมื่อมีบรรจุอยู
ต. ดําเนินการโครงการชี้แนวทางบุคลิก รวมทั้งการผสมผสานหลักการเปนพลเมืองดี ศีลธรรม
และจรรยาบรรณเขาในโครงการดวย
ถ. จัดบริการทางศาสนาตามที่ตองการสําหรับกองบัญชาการ และหนวยสมทบที่ไมมี
อนุศาสนาจารย
๒๒. นายทหารฝายการเงิน
ก. นายทหารฝายการเงิน ปฏิบัติหนาที่เปนนายทหารฝายอํานวยการฝายการเงินในกองบัญชาการ
ที่ไมมีปลัดบัญชี นายทหารฝายอํานวยการฝายการเงินใหคําแนะนําทางเทคนิค หรือบริการแนะนําเกีย่ วกับ
การเงิน แกสวนการเงินที่บรรจุมอบใหแกกองบัญชาการและผูแนะนําผูบังคับบัญชาการ รวมถึงแนะนํา
ผูบังคับบัญชาในเรื่องดังตอไปนี้
• โครงการออมทรัพยสําหรับกําลังพลที่บรรจุมอบ
๗๐
• โครงการควบคุมเงินตราของหนวย
• กิจกรรมตลาดมืด
• สิ่งอํานวยความสะดวกดานการธนาคารในพื้นที่รับผิดชอบของหนวย
• การสงเงินทุนสวนบุคคล
• เรื่องเกี่ยวกับการตรวจสอบและรายงานการสูญเสียเงินทุน
• เงินทุนสําหรับนายทหารการเงิน
• ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการใชจายตอเศรษฐกิจทองถิ่น
ข. ในกองบัญชาการบางหนวย นายทหารการเงินหรือนายทหารฝายการเงินและการบัญชีไดรับ
มอบหนาที่ทั้งทางดานนายทหารฝายอํานวยการ และทางดานการปฏิบัติงานในหนาที่ดวย เชน นายทหาร
การเงินของกองพล
๑) หนาที่ทางฝายอํานวยการ ดานการเงิน ดังไดกลาวมาแลวขางตน
๒) หนาที่ทางการปฏิบัติงานรวมถึง
• ดํารงรักษาความถูกตองทางบัญชี และความปลอดภัยตอเงินของหนวย ยกเวนเงินทุน
คารวบรวมขาวกรอง
• การจายเงินหนวย เวนเงินทุนคารวบรวมขาวกรอง
• ดํารงรักษาหลักฐานทางการเงินและการลาสําหรับกําลังพลที่บรรจุอยู
• คํานวณคาใชจา ยในการเดินทาง
• จัดตั้งและจัดงบ ตัวแทนจายเงิน และชุดบริการเงินลวงหนา
• จัดและเบิกเงินทดแทนสําหรับเจาหนาที่เงินรองจายและตัวแทนจายเงิน
• จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการแลกเปลี่ยนเงิน
• รวบรวมเงินทุน
• จายพันธบัตรออมทรัพยและตั๋วเงิน
• จายบัญชีการคาเมื่อไดรับอนุมัติ
• กํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอการแจกจายเงินจากงบทุนรวบรวมขาวกรอง
• คํานวณและจายเงินสําหรับคาใชจายเบ็ดเตล็ด
• จัดทําการแกไขบัญชีคุมใหแกสมาชิก
• จายเงินใหแกบุคคลพื้นเมืองที่หนวยบัญชาการจายไวเมือ่ ไดรับอนุมัติ

๒๓. นายทหารขาวลมฟาอากาศ
หนวยบริการขาวลมฟาอากาศของกองทัพอากาศ เปนผูจัดนายทหารขาวลมฟาอากาศสนับสนุนให
ผูบังคับบัญชาหนวยทางยุทธวิธี นายทหารขาวลมฟาอากาศมีหนาทีด่ งั ตอไปนี้
๗๑
ก. ใหคําปรึกษาแกผูบังคับบัญชาเกี่ยวกับการใชหนวยงานในหนาที่ และขีดความสามารถของสิ่ง
อํานวยความสะดวกทางลมฟาอากาศที่มาสนับสนุน
ข. รับทราบขาวสารเกี่ยวกับแผนการยุทธอยูเสมอ เพื่อใหมั่นใจวา ไดจัดใหมีสิ่งอํานวยความ
สะดวกอยางเพียงพอกับความตองการของบริการลมฟาอากาศของหนวย
ค. ทําใหมั่นใจวาความตองการสําหรับการจัดหาขอมูล และการรายงานเกีย่ วกับลมฟาอากาศ
เปนไปอยางแจมแจง และไดรับการประสานกับหนวยตาง ๆ ซึ่งเปนผูทํารายงานทั่วทุกหนวยแลว
ง. ทําใหมั่นใจวาความตองการในการบริการลมฟาอากาศ สําหรับการสื่อสารและการชวยรบ
ไดแจงใหหนวยงานซึ่งรับผิดชอบ ในการสงรายงานไดทราบโดยทั่วถึงแลว
จ. ชวยเหลือผูบังคับบัญชาในการวิเคราะห และเพิ่มความตองการในการฝกเรื่องลมฟาอากาศของ
หนวยบัญชาการ
ฉ. รับผิดชอบจัดทําในสวนเกีย่ วกับลมฟาอากาศในแผน/คําสั่งตาง ๆ

๒๔. ผบ.หนวยขาวกรองทางทหาร
หนวยขาวกรองทางทหาร จัดแยกมาจากหนวยขาวกรองทางทหารของ ทบ. โดยสมทบใหกับ
กองพลปฏิบัติงานเปนสวนชวยเหลือแผนก สธ.๒ โดย ผบ.หนวยขาวกรองทางทหารจะใหคําแนะนําตอ สธ.๒
ในการใชหนวยนี้ปฏิบัติงานตามความตองการดานขาวกรองของผูบังคับบัญชา ตามภารกิจดังตอไปนี้
ก. งานดานขาวกรองพิเศษ และการตอตานขาวกรอง
ข. งานดานการวิเคราะห และผลิตขาวกรองทําเนียบกําลังรบ
ค. การซักถามเชลยศึก
ง. การตีความภาพถาย
จ. งานที่จําเปนตองใชภาษาตางประเทศ
ฉ. งานขาวกรองที่ตองใชความชํานาญเปนพิเศษ

๒๕. นายทหารฝายการประชาสัมพันธ
นายทหารฝายการประชาสัมพันธมีหนาทีใ่ นเรื่องดังตอไปนี้
ก. ใหคําแนะนําผูบ ังคับบัญชาและฝายอํานวยการ ในเรื่องทั้งปวงที่เกี่ยวกับหนาที่ทางการ
ประชาสัมพันธของหนวยบัญชาการ รวมถึงการวางแผนประชาสัมพันธ การจัดพิมพหนังสือ และสื่อสาร
การดําเนินงานสถานีวิทยุกระจายเสียงและขาวโพนทะเล และการกระจายขาวสารของกองบัญชาการ โดยใช
สื่อโฆษณาทั้งปวงดังกลาว
ข. ทําใหมั่นใจวา เรื่องราวที่ใชเพื่อแถลงขาวออกไปนั้น ไดมกี ารตรวจสอบความปลอดภัยตาม
นโยบายทีก่ ําหนดไวแลว การกระจายขาวสารที่เกี่ยวของกับหนวยบัญชาการไปยังสือ่ มวลชนตาง ๆ ตามความ
เหมาะสม โดยใหสอดคลองกับนโยบายของหนวยบัญชาการ และนโยบายการรักษาความปลอดภัย ดํารงการ
ติดตอ การตอนรับ การคุมกันผูสื่อขาว ทั้งฝายพลเรือนและฝายทหาร ชวยเหลือผูแทนเหลานั้นใหไดรับและ
เขาใจขาวสารที่เกี่ยวกับหนวยบัญชาการอยางชัดแจง และกํากับดูแลกิจกรรมของผูสื่อขาวเหลานัน้
๗๒
ค. รวมกับ สธ.๓ หรือฝายเสนาธิการดานแผน โครงการ การฝก และรักษาความปลอดภัย เพื่อให
มั่นใจวา กิจกรรมประชาสัมพันธเปนไปโดยสอดคลองกับมาตรการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ
ง. รวมกับนายทหารฝายกิจการพลเรือน สังเกตและวิเคราะหแนวโนมของประชามติ วางแผน
กําหนดการประชาสัมพันธอยางไดผลและตอเนื่อง เพือ่ ใหเกิดและดํารงไวซึ่งความเขาใจ ความปรารถนาดี
และการสนับสนุนของประชาชน
จ. ดําเนินการ และกํากับดูแลตามคําสั่งในการตรวจขาวในพื้นที่การรบ เมื่อเริ่มมีการปฏิบัติของ
ฝายตรงขาม
ฉ. จัดทํา รปจ. แผน และคําสั่งในสวนทีว่ า ดวยการประชาสัมพันธ และการแถลงขาวของหนวย
บัญชาการ
๒๖. นายทหารฝายปฏิบัติการจิตวิทยา
นายทหารฝายปฏิบัติการจิตวิทยา มีหนาทีด่ ังตอไปนี้
ก. ใหคําปรึกษาแกผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการ และหนวยตาง ๆ เกีย่ วกับกิจการทางจิตวิทยา
และการปฏิบตั ิการจิตวิทยา (ปจว.)
ข. ประสานการปฏิบัติการจิตวิทยา
ค. จัดทํากําหนดการฝกในสวนที่วาดวยการ ปจว. และกํากับดูแลการฝก
ง. วางแผนและกํากับดูแลการ ปจว. ไดแก
• ทําแจกจายคําชี้แจงนโยบาย แผน คําสั่งของกรรมการ ปจว.
• แจกจายขอพิจารณาวาดวยการปฏิบัติการจิตวิทยา
• กําหนดความตองการในการวิจัย และการขาวกรองเกีย่ วกับ ปจว.
• วิเคราะหขาวกรองในขั้นตอไป และทําการประมาณการ ปจว.
• ใหคําแนะนํา และขาวสารเกี่ยวกับผลกระทบกระเทือนของการ ปจว. ของฝายตรงขาม
และแจกจายจาวสารนั้นใหกองบัญชาการ
• ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับมาตรการการตอตานการโฆษณาชวนเชื่อ
• ใหคําแนะนําและการชวยเหลือทางเทคนิคในการชี้แจงเบื้องตน
• ชวยเหลือการฝก การ ปจว. แกชาติพันธมิตรและประชาชน รวมทั้งการ ปจว. กับชาติ
พันธมิตร
๒๗. นายทหารประวัติศาสตร
นายทหารประวัติศาสตรมีหนาที่ในเรื่อง
ก. กํากับดูแลกิจกรรมทางประวัติศาสตรในหนวยบัญชาการ และชวยในการวางแผนการเขียน
เรื่องราวทางประวัติศาสตร
๗๓
ข. จัดทําประวัติศาสตรของหนวยในหนวยขนาดใหญ อาจรวมถึงการใหแนวทางในการจัดทํา
ประวัติศาสตรของแผนกฝายอํานวยการ และรวมประวัติศาสตรเหลานี้เปนประวัติศาสตรของหนวยอยาง
สมบูรณ
ค. จัดทําการศึกษา และรายงานพิเศษ โดยอาศัยมูลฐานจากเรือ่ งราวทางประวัติศาสตรที่
รวบรวมไว
ง. กํากับดูแล การรวบรวม การอนุรักษ และการใชหลักฐาน และทรัพยสินทางประวัติศาสตร
รวมทั้งการดําเนินงานพิพิธภัณฑทางประวัติศาสตร

๒๘. นายทหารฝายการวิทยาศาสตร/ฝายการเคมี
นายทหารฝายการวิทยาศาสตร/ฝายการเคมี มีหนาที่ในเรื่องดังตอไปนี้
ก. ชวยเหลือในการวางแผนการใชอาวุธนิวเคลียรและเคมี รวมทั้งการผสมผสานอาวุธเคมีควัน
ในการยุทธขัดขวาง และฉากขัดขวาง
ข. วางแผน และเสนอความตองการหนวยเคมี และการใชหนวยดังกลาว
ค. จัดทําผนวก นิวเคลียร ชีวะ เคมี (นชค.) สําหรับแผนและคําสั่ง ประมาณการ นชค. และจัดทํา
รปจ. สําหรับปองกันการโจมตีโดยนิวเคลียร ชีวะ และเคมี
ง. จัดทําสวนทีเ่ กีย่ วกับ นชค. ในโครงการฝก และกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอการฝกดาน
นชค. ทั่วทั้งหนวยบัญชาการ
จ. กํากับดูแลทางเทคนิคตอกิจกรรม นชค. ทั้งทั้งหนวยบัญชาการ
ฉ. วางแผนและกํากับดูแลเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้
• การปฏิบัติการเคมีและทางดานนิวเคลียร ของการใชอาวุธนิวเคลียรในการปฏิบัติการ
สนับสนุนการรบ และการปฏิบัติการสนับสนุนทางการชวยรบ
• การวิเคราะหเปาหมายเคมีและนิวเคลียร และการคํานวณความตองการกระสุน
• การรับ การเปรียบเทียบ การประเมินคา การจัดทํา และการแจกจายรายงานนิวเคลียร ชีวะ
และเคมี
• การจัดทําและการแจกจายขาวสารเกี่ยวกับสภาพลม
• รายงานการโจมตี โดยนิวเคลียร ชีวะ เคมี และการประเมินคาผลของการโจมตีจากฝาย
ตรงขาม และผลของการโจมตีโดยนิวเคลียรและเคมีของฝายเรา
• รวบรวมขาวสารการอาบพิษของ นชค. รวมกับหนวยเหนือ หนวยรองและหนวยขางเคียง
• การเปรียบเทียบ การประเมินคา และการแจกจายขอมูลการอาบพิษ นขค.
• การดํารงรักษาแผนที่สถานการณ นชค.
• มาตรการเพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดผลของการโจมตีดวย นชค. จากฝายตรงขาม
๗๔
ช. จัดใหมีขอมูลเรื่องประสิทธิภาพในการกอใหเกิดการสูญเสีย และขนาดของอันตรายจากการ
โจมตีดวยอาวุธเคมีของฝายเดียวกัน
ซ. ใหคําปรึกษาเรื่องดังตอไปนี้
๑) ผลกระทบกระเทือนของการอาบพิษ นชค. ตอการปฏิบัติการทางยุทธวิธี การสงกําลัง
บํารุง และกิจการพลเรือน
๒) เรื่องขาวกรองเกี่ยวกับ นชค.
๓) การใชยาทําใหใบไมรว งและยาฆาพืช เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางยุทธวิธี
๔) การทําควัน รวมถึงการประสานกับ สธ.๓ หรือหัวหนากองแผนโครงการการฝก และ
รักษาความปลอดภัย ในกรณีที่การใชควันเปนสวนของการปฏิบัติการลวงทางยุทธวิธี
๕) การทําเพลิง
๖) การใชลักษณะของการปองกันตามภารกิจบังคับ (ลปภบ.)(MISSION ORIENTED
PROTECTIVE POSTYRE – MOPP)
๗) การใชเครื่องจากทางอากาศเพื่อตรวจคนบุคคล
๘) การปองกัน นชค. และนิวเคลียร
ด. การพยากรณการตกธุลี
ต. กํากับดูแลกิจกรรมของสวนนิวเคลียร ชีวะ เคมี
ขาวสารอื่น ๆ เกี่ยวกับงานในหนาที่ที่ไดรับมอบของนายทหารฝายอํานวยการเคมีปรากฏอยูใน รส.
และขาวสารเพิ่มเติมเรื่องการปองกัน นชค. ปรากฏอยูในเอกสารจัดทําโดยหนวยงานที่เกี่ยวของ
๒๙. นายทหารฝายการขนสง
นายทหารฝายการขนสง อาจไดรับการบรรจุใหเปนนายทหารฝายกิจการพิเศษในกองพล และเปน
ผูชวยฝายการขนสงของผูอํานวยการกองสงกําลังบํารุงในกองบัญชาการกองทัพนอย และกองทัพสาม หรือ
เปนผูชวยฝายการขนสงในแผนกอํานวยการ ฝายบริการในสวนบัญชาการสนับสนุนเปนพื้นที่ หนาที่มูลฐาน
เปนไปตามที่กาํ หนดไวเกี่ยวกับการขนสง โดยมีขอยกเวนวา การกํากับดูแลและวางแผนมีคําชี้แจงการ
ปฏิบัติการขนสงวันตอวันมากกวางานในหนาที่ฝายกิจการพิเศษในดานการขนสง มีดังตอไปนี้
ก. วางแผน และใหขอเสนอแนะเกีย่ วกับความตองการ,จํานวนที่มีอยู แบะการใชบริการขนสง
ข. จัดทํากําหนดการฝกวาดวยการขนสง และกํากับดูแลการฝก
ค. วางแผน และใหขอเสนอแนะตอผูบังคับหนวยและฝายอํานวยการ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการขนสง
ไดแก
• ความตองการการขนสงทางอากาศของกองทัพบก ในการปฏิบัติการสนับสนุนทางการ
ชวยรบ
• หนวยบินกองทัพบกที่มีอยู
• การใชการขนสงทางอากาศของกองทัพบกในการปฏิบัติการสนับสนุนทางการชวยรบ
ง. วางแผนและกํากับดูแล ในเรือ่ งดังตอไปนี้
๗๕
• การจัดตั้งและการดําเนินการบริการขนสง
• จัดทําคําสั่งในรายละเอียด สําหรับการเคลื่อนยายหนวยทหารและสิ่งอุปกรณดว ยเครื่องมือ
ขนสงทั้งปวง
• จัดทําคําสั่งเกี่ยวกับการใชเครื่องมือขนสง
• ใหขอเสนอเกีย่ วกับ ที่ตงั้ และความเพียงพอของเสนหลักการสงกําลังและที่ตงั้ ของ
สถานการณชว ยรบ
• ประสานกับหนวยงานขนสงในอัตรา ที่ขึ้นสมทบและที่สนับสนุน
• ติดตั้ง ดําเนินการ และกํากับดูแลกองบังคับการจราจรทางหลวง ปรับปรุงแผนหมุนเวียน
การจราจร โดยรวมมือกับสารวัตรใหญ
• ตรวจสอบและดําเนินกรรมวิธีตอยุทธภัณฑสาย ขส.ที่ยดึ ได
• วางแผน และกํากับดูแลหนวยขนสงที่มาใหการสนับสนุน

๓๐. นายทหารสรรพาวุธ
จัดทํานโยบายและจัดการ ในเรื่องการรับ เก็บรักษา ซอมบํารุง และแจกจายยุทโธปกรณสาย
สรรพาวุธ กระสุนและวัตถุระเบิด
ก. ใหคําแนะนําแกผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ ในเรื่องเกี่ยวกับปญหาทางเทคนิคในดานการ
สรรพาวุธ และใหขอเสนอทีจ่ ําเปนอันเกี่ยวกับปญหาเหลานั้น
ข. วางแผนและอํานวยการในเรื่องการสงกําลังสายสรรพาวุธ
ค. คาดการณลวงหนาเกีย่ วกับการเบิกหนวย และดําเนินการจัดทําบันทึกเกีย่ วกับสถานภาพของ
กระสุน,วัตถุระเบิด และสิ่งอุปกรณสายสรรพาวุธ
ง. อํานวยการปฏิบัติการเกี่ยวกับการเก็บ ซอมบํารุง รวมทั้งการเก็บซอม
จ. ปฏิบัติการตรวจตรายุทโธปกรณสายสรรพาวุธ
ฉ. รวบรวมขาวสารเกี่ยวกับยุทโธปกรณสายสรรพาวุธที่ฝายเราและฝายตรงขามใช
ช. แจกจายสิ่งพิมพอันเกีย่ วกับเทคนิคของกิจการตาง ๆ ในสายสรรพาวุธ
ซ. ทําหนาที่เปนนายทหารฝายการสรรพาวุธของหนวย
ด. ใหขอเสนอเกีย่ วกับการเพิ่มหรือลดระดับสิ่งอุปกรณ
ต. ใหขอเสนอเกีย่ วกับความตองการแรงงาน พื้นที่และการขนสง
ถ. ประสานงานกับหนวยที่มาสนับสนุน เกีย่ วกับนโยบายและปญหาการซอมบํารุง
ท. อํานวยการฝกสอนวิชาสงครามทุนระเบิด วัตถุระเบิด และการทําลาย ในหลักสูตรตาง ๆ ของ
เหลา สพ.
๓๑. นายแพทยใหญกองพล
นายแพทยใหญกองพลมีหนาที่ในเรื่องดังนี้
๗๖
ก. ใหคําปรึกษาในเรื่อง บริการสุขาภิบาลของหนวยบัญชาการ และในดินแดนที่ยดึ ครอง หรือ
ดินแดนของฝายเราที่อยูในขอบเขตความรับผิดชอบของผูบังคับบัญชา
ข. ใหคําปรึกษาถึงผลทางการแพทยที่จะบังเกิดจากสภาพแวดลอม และจากอาวุธนิวเคลียรชีวะ
เคมี ที่จะมีตอกําลังพล เสบียงอาหาร และน้ํา
ค. กําหนดระเบียบปฏิบัติวาดวยการบําบัด และทําใหมั่นใจวา สถานการณรักษาผูปว ยจาก นชค.
มีอยูเพียงพอ ทําใหมั่นใจวาสิ่งอุปกรณสําหรับปฐมพยาบาลมีเพียงพอสําหรับใชในหนวยทหาร ตรวจสอบ
อาหารและน้ํา เพื่อพิจารณาวาเหมาะสมทีจ่ ะใชบริโภคภายหลังถูกสารเคมีชีวะ หรือการเปนพิษดวยรังสี หรือ
การทําใหสกปรกดวยสิ่งอื่น พิสูจนทราบสารชีวะที่ใชตอหนวยทหารฝายเรา ใหคําแนะนํามาตรการเวชกรรม
ปองกันหนวยทหารฝายเรา จากผลของสารชีวะนั้น ๆ และทําการวิเคราะหทางเทคนิคในรายละเอียด
จากผลกระทบกระเทือนของสารเหลานี้ตอหนวยทหารฝายเรา
ง. พิจารณากําหนดความตองการ และกํากับดูแลการเบิก การจัดหา การเก็บรักษา การซอมบํารุง
การแจกจาย และการทําเอกสารของยุทธภัณฑและสิ่งอุปกรณสายแพทย
จ. วางแผนและใหขอเสนอความตองการ ในการแบงประเภทและการใชเจาหนาที่บริการทาง
การแพทย
ฉ. จัดทํากําหนดการฝกในสวนที่วาดวยการแพทย และกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอการฝก
การแพทยในหนวยบัญชาการ วางแผน และกํากับดูแลการฝกเขาหนาที่ทางการแพทยตางชาติ ทัง้ ฝายทหาร
และฝายพลเรือน และเจาหนาที่กึ่งการแพทยเมื่อไดรับคําสั่ง
ช. กํากับดูแลทางฝายอํานวยการและควบคุมทางเทคนิค เมื่อไดรับมอบอํานาจ กลาวไวตอ
กิจกรรมทางการแพทยทวั่ ทั้งหนวยบัญชาการ รวมทั้งอนามัยสวนบุคคล, การสุขาภิบาลสภาพแวดลอม
การปฐมพยาบาล การสุขาภิบาลเกี่ยวกับบริการอาหารและการจัดหาอาหาร และกิจกรรมทางเวชกรรมปองกัน
อื่น ๆ ที่กระทบกระเทือนตออนามัยของหนวยบัญชาการ
ซ. วางแผน และกํากับดูแลการปฏิบัติบริการทางการแพทยดังตอไปนี้
• ระบบการบําบัดและการสงกลับ รวมทั้งการสงกลับทางการแพทย การสงกลับทางอากาศ
โดยหนวยบินพยาบาล และโดยหนวยบินทหารบกที่มิใชหนวยทางการแพทย
• การเวชกรรมปองกันในหนวยบัญชาการ และในกิจกรรมสาธารณสุขตามความจําเปน
• บริการทางการแพทยตามวิชาชีพในหนวยรองตาง ๆ
• จัดทํารายงานและเก็บรักษาบันทึกเกีย่ วกับคนเจ็บ คนปวยและผูบาดเจ็บ
• การสงกําลังซอมบํารุงสายการแพทยและการประกอบแวนสายตา
• การตรวจสอบ และการดําเนินกรรมวิธีตอยุทธภัณฑ และสิ่งอุปกรณทางการแพทยที่ยดึ ได
ซึ่งไมมีคุณคาทางการขาวกรอง และบริการตรวจสภาพตามความจําเปนตอสัตวและอาหารที่ยึดได
• การตรวจสภาพทางเทคนิคตอยุทธภัณฑและสิ่งอุปกรณทางการแพทย รวมทั้งการซอม
บํารุงประจําหนวยดวย
• ระบบรายงานสถานภาพของยุทธภัณฑที่อยูในขอบเขตแหงความรับผิดชอบ
๗๗
• บริการหองทดลองทางการแพทย
ด. บริการถายโลหิต
ต. บริการอนามัยตามวิชาชีพตอเชลยศึก และพลเรือน ผูถูกคุมขัง/กักขัง
ถ. ประสานความตองการสายการแพทยในดานการกอสราง และการขนสง

๓๒. ทันตแพทย
ทันตแพทยมีหนาที่ดังตอไปนี้
ก. ประสานกิจกรรมทันตกรรมกับนายแพทยใหญ
ข. กํากับดูแลทันตกรรมของหนวย
ค. พิจารณากําหนดความตองการ และใหขอเสนอการใชหนวย
ง. วางแผนและกํากับดูแลกําหนดการปองกันทางทันตกรรม
จ. ใหขอเสนอการปรับปรุงแกไขยุทธภัณฑทนั ตกรรม
ฉ. พิจารณาความตองการ อันจําเปนสําหรับยุทธภัณฑ และสิ่งอุปกรณทันตกรรม
ช. จัดทํารายงานเกี่ยวกับกิจกรรมทางทันตกรรมของหนวย

๓๓. นายทหารฝายพลาธิการ
อํานวยการในเรื่อง การกําหนดนโยบายการรับ เก็บรักษา แจกจายสิ่งอุปกรณสายพลาธิการและ
อํานวยการในเรื่อง การปฏิบัติการในหนาที่ของพลาธิการอื่น ๆ เกี่ยวกับกิจการทางการชวยรบ และมีหนาที่
เฉพาะดังนี้
ก. วางแผนและประสานงานเกีย่ วกับการสงกําลัง
ข. ใหคําแนะนําแกผูบังคับบัญชาในเรื่องเกีย่ วกับการใชสิ่งอุปกรณสายพลาธิการตามวัตถุประสงค
ทางยุทธศาสตรหรือยุทธวิธี
ค. วางแผนการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดหา เก็บรักษา และแจกจายสิ่งอุปกรณสายพลาธิการ
ง. ใหขอเสนอเกีย่ วกับที่ตั้งตําบลจาย ตําบลรวบรวมสิ่งอุปกรณเก็บซอม และที่ตั้งสิ่งอํานวยความ
สะดวกอื่น ๆ
จ. ทําหนาที่ผูบังคับหนวยทหารพลาธิการ ที่จัดประจํา/ขึ้นสมทบหนวยใดหนวยหนึ่ง

๓๔. นายทหารฝายการสัตว
นายทหารฝายการสัตวมีหนาที่ดังตอไปนี้
ก. ประสานกิจกรรมการสัตยกับนายแพทยใหญ
ข. กํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอบริการการสัตวของหนวยบัญชาการ
ค. วางแผนและกํากับดูแลงานในหนาทีก่ ารสัตวดังตอไปนี้
• การตรวจอาหารทั้งที่เปนสัตวและไมใชสัตว เพื่อพิจารณาความตองการเกี่ยวกับการใช
เปนอาหารได และมีคุณภาพ
๗๘
• การตรวจยานพาหนะและสถานที่ตาง ๆ ซึ่งใชในการขนสง การจัดหา การดําเนินกรรมวิธี
การเก็บรักษา หรือการจายอาหารเพื่อใหมั่นใจอยามีการใชระเบียบ และวิธีการทางสุขาภิบาลอยางเหมาะสม
แลว
• มาตรการเพื่อการปองกันและการควบคุมเชื้อโรคเกี่ยวกับสัตว และที่เกิดจากอาหารสัตว
• การดูแลและการบําบัดสัตวของทหารและการปองกัน และการควบคุมโรคและการ
ปวยเจ็บของสัตยฝายทหาร
• การตรวจอาหาร รวมทั้งสัตวที่ผลิตอาหารซึ่งเปดเผยตอการอาบพิษจากสารเคมี ชีวะ และ
รังสี เพื่อพิจารณาหาความเหมาะสมในการบริโภค
• มาตรการเพื่อปองกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตวและโรคระบาดสัตว

ง. เสนอแนะในเรื่อง
• มาตรฐานขั้นต่าํ สุด สําหรับการสุขาภิบาลในยานพาหนะและสถานทีต่ าง ๆ ซึ่งใชขนสง
จัดหา ดําเนินกรรมวิธี เก็บรักษา หรือจายอาหาร
• การจัดหาและการจัดงานเกี่ยวกับสัตวของฝายทหาร
• เขารวมอยูในเจาหนาทีแ่ ละหนวยการสัตวสําหรับกิจการพลเรือน
• เจาหนาทีก่ ารสัตวใชบริการหองทดลองการแพทย
จ. พิจารณากําหนดความตองการสิ่งอุปกรณ และยุทธภัณฑสายการสัตว
ฉ. จัดทํารายงานกิจกรรมการสัตวของหนวยบัญชาการ
ช. ใหคําปรึกษา และเสนอแนะในดานการสนับสนุนการปฏิบัติทางทหาร ดวยการใชสัตวและการ
เกษตรกรรมของหนวย
๓๕. ผูบังคับทหารชางกองพล
ผูบังคับทหารชางกองพล มีหนาที่ในเรื่องดังตอไปนี้
ก. ใหคําแนะนําทางเทคนิค เรื่องการเบิก การจัดหา การเก็บรักษา การแจกจาย และการใชคูมือ
เกี่ยวกับยุทโธปกรณสายชาง
ข. กําหนดความตองการหนวยทหารชาง และประสานกับ สธ.๒ เกี่ยวกับการแบงมอบหนวย
ทหารชางแผนที่ถามี และเสนอแนะการใชหนวยดังกลาว
ค. จัดทํากําหนดการสําหรับโครงการฝก และกํากับดูแลทางฝายอํานวยการตอการฝกของทหาร
ชางภายในหนวยบัญชาการ
ง. กํากับดูแลทางเทคนิค ตอกิจกรรมทหารชางภายในหนวยบัญชาการ
จ. วางแผน และกํากับดูแลการปฏิบัติงานของทหารชางในเรื่อง ดังตอไปนี้
๗๙
• การกอสราง การซอมบํารุงและการซอมถนน เสนทาง ทางหลวง สะพาน สนามบิน
ทางน้ําภายในประเทศ และการกอสราง การซอมขนาดใหญ และการซอมบํารุงขนาดใหญตอทางรถไฟ
ทางสายเคเบิ้ล และระบบทางทอ
• การกอสราง การซอมบํารุง การฟนฟูและการซอมคายทหาร โรงทหาร คลังพัสดุ
โรงพยาบาล และสิ่งกอสรางอื่น ๆ ยกเวนสายการติดตอสื่อสาร สนามบิน ทาเรือ ปอมถาวร และเครื่องขาม
ลําน้ําทุกชนิด รวมถึงสะพานเครื่องหนุนลอย สะพานเครื่องหนุนมั่น สะพานทางยุทธวิธี เรือ แพ และสะพาน
บุกโจมตี ในขีดความสามารถ
• การยุทธขัดขวางและฉากขัดขวาง รวมถึงการใหคําแนะนํานายทหารฝายยุทธการเกี่ยวกับ
การใช การกํากับดูแลการใชงานในแงทางเทคนิค การทําแผนและคําสั่งในสวนที่เกีย่ วกับทหารชาง และเมื่อ
เห็นสมควรก็ชวยในการกําหนดที่ตั้งและการกอสรางเครื่องกีดขวาง ซึ่งตองการความชํานาญ และยุทธภัณฑ
พิเศษ
• การยุทธสะเทินน้ําสะเทินบก รวมทั้งการบังคับบัญชาและการควบคุมชุดชายฝง
การยกพลขึ้นบก และการจัดใหมีความคลองแคลวในการเคลื่อนที่ของสวนบุกโจมตี และการสนับสนุน
ทางการชางโดยทั่วไปบนหาด
• การกอสราง การซอมบํารุง การซอมแซม และการปฏิบัติงานของสิ่งสาธารณูปโภค
รวมทั้งระบบการประปา สถานที่อาบน้ําประจําที่ โรงไฟฟาเคลื่อนทีแ่ ละประจําที่ และโรงไฟฟานิวเคลียร
• การปองกันอัคคีภัย ณ ที่ตั้งทางทหารตาง ๆ
• การเขาถือสิทธิ งานธุรการ และการดําเนินการตอสังหาริมทรัพย
• การจัดหา, เก็บรักษา,การผลิตใหม และการแจกจายแผนที่, สิ่งใชแทน, แผนที่ และวัสดุ
เกี่ยวกับแผนที่ ตามแนวทางที่ สธ.๒ กําหนดความตองการไว
• การสรางและติดตั้งเครื่องกลไก การลวง และการแนะนําชวยเหลือกิจกรรม การพราง เพื่อ
สนับสนุนการปฏิบัติการปกปดและการลวงทางยุทธวิธี
• การลาดตระเวนทางการชาง การควบคุมการสํารวจทางแผนที่ โครงการทําแผนที่
การศึกษาภูมิประเทศ ตามแนวทางที่ สธ.๒ ไดกําหนดขึ้น
• การทําลาย รวมถึงการใชดินระเบิดปรมาณูในการทําลาย
• การชวยการพัฒนาแผนหมุนเวียนการจราจร โดยรวมมือกับนายทหารฝายการขนสง และ
สารวัตรใหญ
• การกําหนดชัน้ ถนน สะพาน และสนามบิน และการแจกจายขาวสารดังกลาวตาม
ที่เห็นสมควร การจัดทําและติดตั้งเครื่องหมายจราจร และการแจกจายวัสดุใหแกหนวยสารวัตรทหาร เพือ่
จัดทําและติดตัง้ เครื่องหมายจราจรชั่วคราว
• การควบคุมแมลงและหนู และการรมควันอาคารในสนาม
• การปฏิบัติการทางชางเกี่ยวกับกิจกรรมซอมบํารุงอสังหาริมทรัพยในสนาม
๘๐
• ใหคําแนะนําทางเทคนิค และชวยเหลือในเรื่องราวเกี่ยวกับยุทโธปกรณสายชาง และ
สภาพความพรอมของยุทโธปกรณนนั้ รวมทั้งการดําเนินการตอยุทโธปกรณสายชางที่ยึดได ซึ่งไมมีคา
ทางการขาวกรอง
• กําหนดลําดับเรงดวน และถาวรสําหรับปองกัน นชค. การซอมและยุทธภัณฑรายงาน
การควบคุม
• การกอสรางที่หลบภัยเรงดวน และถาวรสําหรับปองกัน นชค. การซอมสถานที่ตั้งถาวร
ที่ถูกโจมตีโดยนิวเคลียร และการใชเครื่องมือขนยายดินในการทําลายลางพิษ นชค.
ฉ. ใหคําแนะนําผูบ ังคับบัญชาและฝายอํานวยการ ถึงขอพิจารณาสําหรับการลดการทําใหเกิด
เปนพิษและสกปรก และเสนอแนะเทคนิคการแกไขที่จะตองใช ในกรณีที่ไมสามารถหลีกเลี่ยงการทําใหเกิด
เปนพิษและสกปรกไดในขีดความสามารถ
๓๖. ผูบังคับทหารสื่อสารกองพล
ก. ใหคําแนะนําเรื่องการติดตอสื่อสารอิเล็กทรอนิกส รวมถึง การสื่อสาร ที่ตั้งกองบัญชาการที่ตั้ง
สิ่งอํานวยความสะดวกทางการสื่อสาร และการใชกิจกรรมสื่อสารสําหรับการลวง
ข. กําหนด และเสนอแนะความตองการการสนับสนุนทางการสื่อสาร และการใชหนวยสื่อสาร
ไมรวมถึงแผนและขอเสนอเกี่ยวกับหนวยสงกําลัง และซอมบํารุงทางการสื่อสาร
ค. จัดทําสวนของโครงการฝกที่เกี่ยวกับการสื่อสาร และมาตรการตอบโตตอตานทาง
อิเล็กทรอนิกส และกํากับดูแลการฝกการสื่อสาร และมาตรการตอบโตการตอตานทางอิเล็กทรอนิกสภายใน
หนวยบัญชาการ
ง. กํากับดูแลทางเทคนิคตอกิจกรรมสื่อสารทั่วทั้งหนวยบัญชาการ
จ. ประสานการแบงสรรชางความถี่ รวมทั้งการแบงมอบและการใชและการรายงานและดําเนิน
กรรมวิธีตอเรื่องที่เกี่ยวกับระบบวิทยุลวง การรบกวนคลืน่ การขัดขวางและการละเมิดความถี่
ฉ. ชวยเหลือในการจัดทําแผนและผนวกสงครามอิเล็กทรอนิกส
ช. วางแผนและกํากับดูแลการปฏิบัติการเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้
• ที่ตั้ง, การปฏิบัติการ, และการซอมบํารุงระบบการสื่อสารโดยหนวยสื่อสารที่บรรจุให
หรือขึ้นสมทบ
• บริการถายภาพนิ่ง และภาพยนตร ยกเวนภาพถายทางอากาศ และดําเนินการหองสมุด
ฟลมภาพยนตร และการแลกเปลี่ยนอุปกรณที่เกีย่ วกับฟลม
ซ. แนะนําเรื่องเกีย่ วกับสภาพแวดลอมการแผรังสีแมเหล็กไฟฟา ภายในหนวยบัญชาการ
ด. ดูแลเครื่องมือที่สงความถี่วิทยุภายในหนวยบัญชาการ และแนะนําการใชเครื่องมือนี้อยางมี
ประสิทธิภาพ เพื่อลดการรบกวนตอคลื่นวิทยุของเครื่องมือสื่อสารอื่น ๆ และระบบอาวุธตามแบบรวมถึงอาวุธ
นิวเคลียร
ต. แนะนําผลกระทบกระเทือน จากแหลงผลิตความถี่วิทยุทกุ แหงภายในหนวยบัญชาการ
ถ. ประสานมาตรการ เพื่อลดการรบกวนจากการแผรังสีแมเหล็กไฟฟา
๘๑
ท. แนะนําดานเทคนิคเรื่องการติดตอสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ของระบบและเครื่องมือ
อิเล็กทรอนิกส
น. กํากับดูแลนโยบายและระเบียบปฏิบัติ ดานการรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร และ
ดําเนินการเพื่อใหมั่นใจในเรือ่ งดังนี้
• ใชยุทโธปกรณที่ไดรับอนุมตั ิ ดานการรักษาความปลอดภัยทางการติดตอสื่อสารแลว
เทานั้น และการวางแผนขายรหัสลับ ตองคํานึงถึงการรักษาความปลอดภัยทางการติดตอสื่อสาร
• ใชระเบียบปฏิบัติ และวิธีการดําเนินดานการรักษาความปลอดภัยทางอิเล็กทรอนิกส
ที่ไดรับอนุมัตแิ ลว
• สธ.๓ หรือฝายเสนาธิการดานรักษาความปลอดภัย จัดทําแผนและคําสงยุทธการ โดย
ไดรับคําแนะนําเรื่องการติดตอสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยทางยุทธ
บ. จัดทํา ประสาน และจัดพิมพคําแนะนํา การปฏิบัติการติดตอสื่อสารอิเล็กทรอนิกส และ
คําแนะนําการติดตอสื่อสาร – อิเล็กทรอนิกส ที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ
๓๗. นายทหารฝายการปนใหญ
ณ ระดับกอบพลและกองทัพนอย ผูบังคับหนวยปนใหญสนามทําหนาที่นายทหารฝายการปนใหญ
และตามปกติจะไดรับการแตงตั้งใหเปนผูประสานการยิงสนับสนุน (ผปยส.) ดวย ณ ระดับกองทัพสนาม
นายทหารฝายการปนใหญจดั อยูในฝายอํานวยการ และตามปกติไดรบั มอบหมายเปน ผปยส. นายทหารฝาย
การปนใหญเปนฝายกิจการพิเศษปฏิบัติหนาที่ภายใตการกํากับดูแลทางฝายอํานวยการของ สธ.๓ ในหนวย
ขนาดเล็ก, กรม หรือหนวยแยกเฉพาะกิจ ผปยส. ไดแก ผูบังคับหนวยหรือตัวแทนของหนวยปนใหญสนามที่
สมทบ หรือใหการสนับสนุนในกรณีที่ไมมีหนวยปนใหญสนามใหการสนับสนุนหรือสมทบ สถานการณอาจ
บังคับใหผูบังคับหนวยแตงตั้ง ผปยส.ขึ้น เพื่อประสานการยิงที่ไดรับการสนับสนุนอยูนั้น ใน รส.ไดกําหนด
หลักนิยมเรื่อง ผปยส. และระเบียบปฏิบัติในการประสานการยิงสนับสนุนที่เกีย่ วของหนาที่ของนายทหารฝาย
การปนใหญกองพล มีดังนี้
ก. แนะนําเกีย่ วกับการยิงสนับสนุน การคนหาเปาหมาย การตั้งเรดาร การปฏิบัติการยิงตอตาน
การยิง และการปฏิบัติการลวงโดยปนใหญสนาม
ข. ใหขาวสารเรื่องสถานภาพของวิธีการสนับสนุนดวยการยิงของปนใหญสนาม
ค. เสนอแนะการจัดปนใหญสนามเขาทําการรบ
ง. ใหขาวสารเรื่องสถานภาพของกระสุนปนใหญสนามที่มอี ยู และเสนอแนะ สธ.๓ เรื่องอัตรา
กระสุนปนใหญสนามที่ตองการ เสนออัตรากระสุนปนใหญสนามที่ใชได และเสนอแนะอัตรากระสุนที่ใชได
สําหรับหนวยรอง
จ. เสนอแนะการแบงสรร หรือการมอบหมายอาวุธนิวเคลียรและเคมีสําหรับภารกิจปนใหญสนาม
และเสนอแนะอัตรากระสุนพิเศษสําหรับหนวยปนใหญสนาม หนวยรอง ตําบลสงกําลัง และคลังตามความ
เหมาะสม
๘๒
ฉ. ชวยทําแผนและคําสั่งยุทธการ โดยใหขาวสารเกี่ยวกับหนวย และการปฏิบัติการยิงสนับสนุน
กํากับดูแลการจัดทําผนวกการยิงสนับสนุนและอนุผนวกที่ประกอบ เชน แผนการใชระบบการยิงสนับสนุน
เปนเอกเทศ
ช. จัดใหมีการวิเคราะหเปาหมาย และการประเมินคาความเสียหายในการใชอาวุธนิวเคลียร และมี
ตอเปาหมายผิวพื้นโดยหนวยปนใหญสนามของฝายเรา
ซ. ประสานการสํารวจสําหรับปนใหญสนามภายในหนวยบัญชาการ กับหนวยเหนือและหนวย
ขางเคียง
ด. ใหการชวยเหลือทางเทคนิคตอ สธ.๒ เกี่ยวกับการศึกษา และประเมินคาขีดความสามารถของ
ฝายตรงขามในการยิงสนับสนุน
ต. จัดทําโครงการฝกในสวนทีเ่ กี่ยวกับปนใหญสนาม และกํากับดูแลทางฝายอํานวยการเรื่องการ
ฝกหนวยปนใหญสนามภายในหนวยบัญชาการ
ถ. ติดตามสถานภาพการซอมบํารุงของยุทธภัณฑปน ใหญสนาม และแนะนําผูบ ังคับบัญชา
รวมทั้งฝายอํานวยการมีหนาที่และปญหาทีส่ ัมพันธกัน
ท. ประสานการคนหาเปาหมายปนใหญสนามของหนวยบัญชาการกับหนวยเหนือ และหนวย
ขางเคียง
น. เสนอขาวสารและขาวกรองที่ไดรับจากการปฏิบัติการของปนใหญสนามให สธ.๒ ทราบ
บ. จัดและกํากับดูแลสวนการสนับสนุนของศูนยปฏิบัติการทางยุทธวิธีของกองพล และหนวย
ระดับสูงกวา หรือศูนยประสานการยิงสนับสนุนของหนวยราดับต่ําลงมา รวมถึงกองบังคับการของกองพัน
ดําเนินกลยุทธ
ฒ. หนาที่ของผูประสานการยิงสนับสนุนมีดังนี้
๑) แนะนําฝายอํานวยการ และ ผบ. เกี่ยวกับความตองการเครื่องมือในการยิงสนับสนุน และ
ขอใหขอเสนอเกี่ยวกับการใชเครื่องมือเหลานั้น
๒) การใหขอเสนอเกี่ยวกับอัตรากระสุนที่ใชได
๓) ประมาณขีดความสามารถในการยิงสนับสนุนของฝายตรงขาม
๔) วางแผนการปฏิบัติการบวงดวยการยิงสนับสนุนตอเปาหมายบนผิวพื้น
๕) ประสานการยิงสนับสนุน
๖) จัดใหมีการวิเคราะหเปาหมายและประเมินความเสียหาย
๗) จัดทํา/แผนการยิงสนับสนุน
๘) แนะนําผูบังคับบัญชา และฝายอํานวยการ ในเรื่องราวการคนหาเปาหมายของปนใหญ
๓๘. นายทหารฝายการปองกันภัยทางอากาศ
นายทหารฝายการปองกันภัยทางอากาศ มีหนาที่ในเรื่องดังตอไปนี้
ก. กําหนดความตองการหนวย ปภอ. และเสนอแนะเรื่องการแบงมอบใหแกหนวยรอง และเรื่อง
ความสัมพันธทางการบังคับบัญชาระหวางหนวยรอง กับหนวย ปภอ. ทีส่ นับสนุน
๘๓
ข. ใหขอเสนอตอ สธ.๓ เรื่องการแบงมอบอาวุธนิวเคลียรสําหรับภารกิจ ปภอ. และเรื่องอัตรา
กระสุนพิเศษสําหรับหนวย ปภอ.
ค. เสนอแนะภารกิจทางยุทธวิธีใหแกหนวย ปภอ. และกําหนดลําดับเรงดวนในการ ปภอ.
ง. จัดทําสวนทีเ่ กีย่ วกับ ปภอ.ในแผนหรือคําสั่งรวมถึงอนุผนวก ปภอ. ของผนวกการยิงสนับสนุน
และ/หรือ ผนวก ปภอ.
จ. จัดทําสวนทีเ่ กีย่ วกับ ปภอ. ใน รปจ. ของหนวยบัญชาการ
ฉ. ประสานกับ สธ.๒ ในการจัดตั้งและการดําเนินงานระบบขาวกรอง ปภอ.
ช. จัดทําสวนทีเ่ กีย่ วกับ ปภอ. ในโครงการฝก และกํากับดูแลการฝก ปภอ. ของหนวยบัญชาการ
ซ. มั่นใจวาไดประสานการปฏิบัติการ ปภอ. ของ ทบ. ภายในกองกําลังกับหนวยบัญชาการ ปภอ.
ประจําพื้นทีแ่ ละประจําเขต และสวน ปภอ. ของเหลาทัพอื่น และพันธมิตรในพื้นที่ปฏิบัติการ
ด. วางแผนและประสานการใชหวงอากาศกับฝายการบิน และฝายอํานวยการอื่น ๆ ตามความ
จําเปน
ต. ชวยฝายอํานวยการแผนกอืน่ ๆ ในการวิเคราะหขดี ความสามารถในการ สปภอ. ของฝาย
ตรงขาม และกําหนดมาตรการที่จะตอตานหรือหลบหลีก
ถ. สํารวจสถานภาพความพรอมรบของหนวย ปภอ.
ท. สํารวจสภาพของยุทธภัณฑ ปภอ. และใหคาํ แนะนําผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการที่
เกี่ยวของเรื่องปญหาการซอมบํารุง
น. ใหคําปรึกษาเรื่องการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกสทาง ปภอ. โดยประสานกับฝาย
อํานวยการที่เกี่ยวของ
บ. วางแผนและกํากับดูแล การปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกสภายใน ปภอ. รวมถึงชวยในการ
ทําผนวกสงครามอิเล็กทรอนิกสประกอบแผนและคําสั่งยุทธการ
ป. รวมในการพัฒนาหรือทบทวนคําสั่งและระเบียบปฏิบัติในดาน ปภอ. ทีเ่ กี่ยวของกับหนวย
๓๙. นายทหารฝายการบิน
นายทหารฝายการบิน มีหนาที่ในเรื่องดังตอไปนี้
ก. กํากับดูแลทางฝายอํานวยการเกี่ยวกับงานธุรการดานเทคนิคและทางการบิน การฝก ความ
ปลอดภัย และการปฏิบัติการของหนวยบิน ทบ.
ข. สํารวจเรื่องการซอมบํารุงเครื่องบิน และใหคําปรึกษาผูบ ังคับบัญชาเจาหนาที่ฝาย
อํานวยการในสายงานที่เกีย่ วของ และผูบงั คับหนวยรองหลักถึงสภาพของยุทธภัณฑ
ค. จัดทําสวนของโครงการฝกที่เกี่ยวกับการบิน และกํากับดูแลทางฝายอํานวยการเรื่องการฝกบิน
ในหนวยบัญชาการ
ง. ชวยเหลือในการทําแผนและการกํากับดูแลการปฏิบัติการบิน ทบ. ในเรือ่ งตอไปนี้
• การใชการบินในการปฏิบัตกิ ารรบและการสนับสนุนทางการรบ
• การจัดตั้งและดําเนินการของระบบการจัดระเบียบการจราจรทางอากาศ
๘๔
จ. จัดทําสวนของประมาณการ แผน คําสั่ง และรายงานที่เกีย่ วกับการบิน
ฉ. จัดทําสวนของแผนการเคลือ่ นยายทางอากาศที่เกีย่ วกับการบิน รวมกับนายทหารฝาย ปภอ.
และเจาหนาทีอ่ ื่น ๆ ที่เกี่ยวของ โดยชวยเหลือในการพัฒนาแผนการแสวงประโยชนจากหวงอากาศ
ช. ประสานกับเจาหนาที่ฝายอํานวยการที่เกีย่ วของกับ การขนสงและการเคลื่อนยายในเรื่องความ
ตองการเครื่องบินทหารบก สําหรับการปฏิบัติการสนับสนุนทางการชวยรบ
๘๕
ตอนที่ ๗
นายทหารติดตอ

๔๓. นายทหารติดตอ
ในบางกรณี ผูบังคับบัญชาอาจแตงตั้ง นตต. เพื่อใหเปนผูแทนตน ณ บก.หนวยอื่น โดยมอบให
ทําหนาที่เฉพาะอยางและในหวงเวลาที่กําหนด นตต. ปฏิบัติงานภายใตกําหนดการของ เสธ., สธ.๓ หรือผู
ไดรับมอบอํานาจ และผูไดรับมอบอํานาจ และโดยอาศัยความสัมพันธระหวางบุคคล เปนหลัก
นายทหารติดตอ (นตต.) มีหนาที่สําคัญ ดังตอไปนี้
ก. กอนไปประจํา บก.หนวยอืน่
๑) ฟงการบรรยายสรุปจากนายทหารผูรับผิดชอบ/สธ.๓ เกี่ยวกับสถานการณปจจุบันของหนวย
เจตนารมณของผูบังคับบัญชา ตลอดจนแนวความคิดในการปฏิบัติ เชน ที่ตั้งหนวย แนวหนาฝาย สถานภาพ
ความพรอมรบ ไดแก สถานภาพตานกําลังพล ขอพิจารณาดานสงกําลังบํารุง แผนที่ และแผนบริวารแสดง
รายละเอียดตาง ๆ และฟงการบรรยายสรุปสถานภาพปจจุบัน และภารกิจของหนวยที่จะไปประจําอยูดวย
๒) ขอรับทราบขาวสารขอมูลที่จําเปนสําหรับ นตต. จากฝายอํานวยการอื่น ๆ
๓) ตองทําความเขาใจอยางแจมแจงถึงภารกิจ และความรับผิดชอบของตน
๔) เตรียมการเรื่องการติดตอสื่อสาร ยานพาหนะในการเดินทาง ใหสอดคลองกับภารกิจ
ที่ไดรับ เชน การทดลองการติดตอสื่อสารทางวิทยุ นปส., สัญญาณบอกฝาย และ สป.๑ เปนตน
๕) รับเอกสาร – หนังสือแนะนําตัว ไปแสดงยัง บก.หนวยใหม
๖) ถาตองปฏิบัติหนาที่กับชาติพันธมิตรแลว ใหเตรียมเรื่องภาษาหรือจัดหาลามมาชวยเมื่อ
จําเปน
ข. เมื่อไปรายงานตัว ณ ที่ตั้ง บก.หนวยอื่น
๑) ไปรายงานตัวตอผูบังคับบัญชาของหนวยนั้น หรือผูแทน (สธ./สธ.๓) เพื่อขอฟงการ
บรรยายสรุปสถานการณของหนวยใหม
๒) วางการติดตอสื่อสารกับหนวยเดิม และขอรับทราบขาวสารที่เปลี่ยนแปลง
๓) เยี่ยมเยียนแตละแผนกของฝายอํานวยการ ขอรับทราบขาวสารที่จําเปน และขอขอมูลซึง่
เปนเรื่องที่ตองแจงใหหนวยเดิมทราบ
๔) แจงที่อยูของตนที่สามารถติดตามตัวไดตลอดเวลาในบริเวณ บก. แหงนั้น เชน ปฏิบัติงาน
ที่ ศปย. เปนตน
๕) ติดตามขาวสารขอมูลของหนวยใหมใหมาก โดยเฉพาะเรื่องของหนวยที่เราประจําอยู เชน
ภารกิจ ที่ตั้งหนวย การปฏิบัติการในอนาคต เจตนารมณของผูบังคับบัญชา ขอมูลเหลานี้จะเนนที่ความถูกตอง
ของขอมูล
๘๖
ค. ระหวางปฏิบตั ิหนาที่อยู ณ บก.หนวยอื่น
๑) ประสานการปฏิบัติงานระหวาง บก.หนวยเดิม กับหนวยที่ไปประจําอยูอ ยางแนนแฟน
๒) ปฏิบัติภารกิจใหสําเร็จตามทีม่ อบหมาย โดยไมเปนการขัดขวางการปฏิบัติของหนวยที่
ประจําอยู
๓) รายงานสถานการณ และขาวสารของหนวยเดิมที่จําเปนแกผูบังคับหนวย และฝาย
อํานวยการของหนวยที่ประจําอยู
๔) บันทึกการดําเนินงานที่สําคัญเพื่อทํารายงาน
๕) รายงานผลการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ไดรบั มอบ
๖) แจง ผบ.หนวยที่เราประจําอยูไดทราบวา มีเรื่องใดบางที่รายงานกลับไปยังหนวยเดิม
๗) เมื่อเห็นวาไมสามารถจะปฏิบัติหนาที่ไดสําเร็จตามภารกิจที่รับมอบ ตองรายงานหนวย
เดิมของตนทันที
๘) เมื่อปฏิบัติภารกิจเสร็จสิ้นแลว ตองรายงานตัวตอ ผบ.หนวย เพื่อขอเดินทางกลับ
ง. เมื่อกลับมายังหนวยเดิมของตน
๑) บรรยายสรุปขาวสารทั่งหมดที่ไดรับในขณะที่ประจําอยูทหี่ นวยอื่น ใหแกผูบังคับบัญชา
หรือผูแทน (เสธ./สธ.๒/นายทหารที่รับผิดชอบ) รายละเอียดของขาวสารดังตัวอยางเชน รายละเอียดของ
ภารกิจของ บก. หนวยเหนือที่ตนไดไปประจําอยู ทีต่ ั้งหนวยการปฏิบัติในอนาคต เจตนารมณของผูบังคับ
หนวยนัน้ โดยใหรายละเอียดอยางถูกตอง และชัดเจน
๒) แจงความตองการขาวสาร หรือการรองขอการสนับสนุนตามภารกิจของหนวยที่ไป
ประจําอยู
๓) บรรยายสรุปขาวสารที่ไดรับมา ใหตวั แทนของแตละแผนกฝายอํานวยการไดทราบ และ
แจงขาวสารทีห่ นวยเหนือตองการ ในแตละสายงานความรับผิดชอบของอํานวยการ
๔) ติดตามสถานการณสอยางตอเนื่อง เพื่อเตรียมปฏิบัติหนาที่ นตต. ในโอกาสตอไป

๔๔. นายทหารอากาศติดตอ (นอต.)


นายทหารอากาศติดตอมีหนาที่สําคัญดังตอไปนี้
ก. ใหขอเสนอแนะตอผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ เกีย่ วกับขีดความสามารถ ขีดจํากัด และ
การใชหนวยทางอากาศยุทธวิธี เชน การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด การขัดขวางทางอากาศเหนือ
ยุทธบริเวณ การปฏิบัติการรวมเพื่อขมระบบอาวุธปองกันภัยทางอากาศของขาศึก การลาดตระเวนทางอากาศ
และการขนสงทางอากาศ
ข. ดําเนินการเกีย่ วกับขายคําขอทางอากาศ
ค. ดําเนินการเกีย่ วกับขายอํานวยการทางอากาศยุทธวิธร
ง. สงคําขอการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด ในกรณีทเี่ ปนภารกิจเรงดวน การสนับสนุนการ
ลาดตระเวน และการขนสงทางอากาศเรงดวน
๘๗
จ. ประสานการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดกับหนวยยิงสนับสนุน
ฉ. ประสานการปฏิบัติในเรื่องมาตรการการปองกันภัยทางอากาศเปนพืน้ ที่
ช. ใหความชวยเหลือเกี่ยวกับการวางแผน เมือ่ มีการยิงทั้งทางอากาศ และภาคพื้นดินพรอมกัน
ซ. กํากับดูแลชุดควบคุมอากาศยานหนา
ด. กํากับดูแลชุดควบคุมทางอากาศยุทธวิธี
ต. ใหความชวยเหลือ หน.ชุดยิงสนับสนุน ในการอํานวยการโจมตีทางอากาศเมื่อไมมีผูควบคุม
อากาศยานหนา
ถ. ใหความชวยเหลือ สธ.๓ ในการวางแผน และประสานการใชหว งอากาศ

------------------------------------
๘๘
บทที่ ๔
หลักการดําเนินงานของฝายอํานวยการ
------------------------------------------------------------------------
ตอนที่ ๑
กลาวนํา
๑. งานในหนาที่ของฝายอํานวยการและระเบียบปฏิบัติงาน
ฝายอํานวยการจะดําเนินงาน โดยมีวัตถุประสงคมุงที่จะชวยเหลือใหผูบังคับบัญชาสามารถตกลงใจ
และมีการปฏิบัติตามขอตกลงใจไดทันเวลา ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการจะตองพยายามลดหรือปรับปรุง
ขั้นตอนดําเนินงานมิใหยุงยากหรือชักชาเสียเวลา ฝายอํานวยการจะตองดําเนินงานสนับสนุนใหหนวยบรรลุ
ภารกิจ โดยมีระเบียบวิธีการปฏิบัติงานที่จะใหบรรลุภารกิจดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ เสนาธิการเปน
ผูกํากับดูแลฝายอํานวยการใหมั่นใจวา ฝายอํานวยการทุกฝายมีการประสานงานกันอยางทันเวลา และอยางมี
ประสิทธิภาพโดยมีจุดมุงหมายอยางแนชดั ซึ่งนั่นคือ การใหขอเสนอแนะของฝายอํานวยการแกผูบังคับบัญชา
เสนาธิการจะทบทวนการดําเนินงานของฝายอํานวยการทุกสายงาน แกปญหาขอขัดแยงที่เกิดขึ้น และเปน
ผูมอบหมายความรับผิดชอบใหฝายอํานวยการตาง ๆ
ฝายอํานวยการทุกสายงานจะมีงานในหนาที่รวม ๕ ประการ คือ
• การใหขาวสาร
• การทําประมาณการ
• การใหขอเสนอแนะ
• การทําแผนและคําสั่ง
• การกํากับดูแลการปฏิบัติตามขอตกลงใจของผูบัญชาการ
ระเบียบการปฏิบัติงานของฝายอํานวยการ หมายถึง ระเบียบวิธีฝายอํานวยการจะนํามาใชปฏิบัติ
เพื่อใหงานในหนาที่รวมทั้ง ๕ ประการดังกลาวขางตน บรรลุความสําเร็จ หรือกลาวอยางงายคือ
ฝายอํานวยการจะทําอยางไรจึงจะปฏิบัติงานในหนาที่รวมไดเสร็จสมบูรณ นายทหารฝายอํานวยการจะตองมี
ประสบการณและมีความรอบรูที่จะใชเครือ่ งมือ และวิธีการซึ่งฝายอํานวยการทุกสายงานใหรว มกัน และ
จะตองทราบวิธีการในรายละเอียดและเทคนิคการปฏิบัติเฉพาะในสายงานของตนเอง ตัวอยางระเบียบการ
ปฏิบัติงานของฝายอํานวยการอยางหนึ่งคือ การเยีย่ มเยียนของฝายอํานวยการ ฝายอํานวยการจะใชระเบียบวิธี
ปฏิบัติงานนี้เพื่อรวบรวมขาวสาร เพื่อกํากับดูแลการปฏิบัติและเพื่อใหความชวยเหลือหนวยปฏิบัติ
ฝายอํานวยการที่ดําเนินงานตามระเบียบการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ จะชวยใหการปฏิบัติงานในหนาที่
เปนไปดวยความรวดเร็ว สามารถชวยเหลือผูบังคับบัญชาไดดียงิ่ ขึ้น
๘๙
ตอนที่ ๒
งานในหนาที่รวมของฝายอํานวยการ
๒. การใหขา วสาร
ฝายอํานวยการจะรวบรวม จัดระเบียบ วิเคราะห ประเมิน และดําเนินการกระจายขาวสารที่ไดรับ
รายงานอยางตอเนื่องมาสูกองบัญชาการ ฝายอํานวยการจะตองดําเนินกรรมวิธีตอขาวสารที่ไดรับอยางรวดเร็ว
แลวคัดสวนทีม่ ีความสําคัญรายงานตอผูบังคับบัญชา
ฝายอํานวยการปฏิบัติงานในหนาที่ขอนี้ โดยใชวิธีการตอไปนี้
• รวบรวมขาวสารจากแหลงขาวทั้งปวงที่มีอยู
• จัดระเบียบและวิเคราะหขาวสารที่เกี่ยวของ ในขอบเขตของงานในหนาที่ของตน
• ดําเนินการกระจายขาวสารทันสมัยลาสุดที่มีอยู
ฝายอํานวยการจะรวบรวมขอมูลขาวสารจากทุกแหลงขาวสารที่สามารถหาได การรวบรวมขาวสาร
จะตองมีการวางแผนลวงหนาอยางเปนระบบ นายทหารฝายอํานวยการแตละคนจะตองจัดทําแผนรวบรวม
ขาวสาร เพื่อตอบสนองความตองการขาวสารของตน ซึ่งทราบจากประสบการณ จากแผนรวบรวมขาวสารนี้
นายทหารฝายอํานวยการควรไดรับขอมูลขาวสารพรอมเพรียงและเพียงพอ สําหรับนํามาใชในการทําประมาณ
การของฝายอํานวยการได ฝายอํานวยการจะตองบันทึกแผนรวบรวมขาวสาร เพื่อใหสามารถพิจารณาทุกสวน
ที่เกี่ยวของไดอยางละเอียด และเพื่อใหแนใจวามีการรวบรวมขาวสารที่จําเปนอยางแทจริง ขาวสารที่มีความ
จําเปนในสถานการณหนึ่งอาจจะไมมีประโยชนในอีกสถานการณหนึง่ ก็ได เพราะฉะนั้นจะตองมีการเก็บ
รักษาขอมูลเปนอยางดี เพื่อใหมีขาวสารที่จาํ เปนทุกเมื่อทีต่ องการ
ฝายอํานวยการตองมีความออนตัวดานความคิด การเปลี่ยนแปลงทางสถานการณอยางฉับพลัน
อันทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในเรื่องที่ผูบังคับบัญชาจะตองทราบ ซึ่งหมายถึงเนื้อหาการประมาณการ
ของฝายอํานวยการจะตองเปลี่ยนไปดวย และจะตองทบทวนแผนรวบรวมขาวสารใหสอดคลองกับ
สถานการณ และความตองการของผูบังคับบัญชาที่เปลี่ยนไป
ฝายอํานวยการจะจัดระเบียบและวิเคราะหขาวสาร ในขอบเขตของสายงานที่อยูในความรับผิดชอบ
ของตน ฝายอํานวยการจะตองวิเคราะหและสรุปขาวสาร แลวประเมินความสําคัญ ความเชื่อถือไดและความ
สมบูรณของขาวสารนั้น กอนที่จะรายงานเสนอผูบังคับบัญชา ผูบังคับบัญชาไมควรตองรับทราบขาวสาร
มากมายเกินความจําเปน แตจะตองทราบถึงการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่จะมีผลตอการตกลงใจ ฝายอํานวยการ
จะตองไมมอบงานตอเจาหนาที่และหนวยใหหาขอมูลขาวสารที่ไมมีความจําเปน
ฝายอํานวยการจะตองกระจายขาวสารลาสุดที่มีอยู ใหกับผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการอื่น ๆ
หนวยเหนือ หนวยรอง และหนวยขางเคียง อยางรวดเร็วโดยไมตอ งรับการรองขอ เพื่อปฏิบัติงานนี้อยาง
ถูกตองสมบูรณ ฝายอํานวยการจะตองมีความเขาใจพื้นฐานถึงความตองการทางดานขาวสารของผูบังคับ
หนวยทุกหนวย และของฝายอํานวยการทุกสวน
๙๐
๓. การทําประมาณการ
ฝายอํานวยการจัดทําประมาณการเพื่อชวยผูบังคับบัญชาในการตกลงใจ การประมาณการของฝาย
อํานวยการจะประกอบดวย ขอเท็จจริง เหตุการณที่มีความสําคัญ และขอสรุป (ซึ่งอาศัยสถานการณปจจุบัน
หรือที่คาดการณไว) รวมถึงขอเสนอแนะวาควรจะใชทรัพยากรที่มอี ยูอยางไรดีทสี่ ุด ผูบังคับบัญชาจะใช
ขอเสนอตาง ๆ ของฝายอํานวยการชวยในการคัดเลือกหนทางปฏิบัตติ าง ๆ ที่เปนไปไดแลวนําไปวิเคราะห
เพิ่มเติม แผนซึ่งมีความสมบูรณจะขึน้ อยูกับการทําประมาณการของฝายอํานวยการตั้งแตเนิน่ และตอเนื่อง
ความบกพรองในการทําประมาณการของฝายอํานวยการอาจทําใหเกิดขอผิดพลาด และความไมสมบูรณใน
กระบวนการกําหนดหนทางปฏิบัติ
ผูบังคับบัญชาจะนําเอาประมาณการของฝายอํานวยการแผนกตาง ๆ มาใชเปนมูลฐานในการทํา
ประมาณสถานการณของตน เชน ไดกลาวไวดานบนแลวและอธิบายไดในบทที่ ๕
๔. การใหขอ เสนอแนะ
นายทหารฝายอํานวยการจัดทําขอเสนอแนะ เพื่อชวยเหลือผูบังคับบัญชาในการบรรลุขอตกลงใจ
และกําหนดนโยบาย นอกจากนัน้ ยังใหขอเสนอแนะในระหวางฝายอํานวยการดวยกันเองและแกผูบังคับ
หนวยรองดวย ในกรณีทเี่ ปนการใหขอเสนอแนะแกผูบังคับหนวยรองก็เพียงเปนการชวยเหลือผูบังคับหนวย
รองนั้น ๆ เทานั้น มิใชนําไปใชในเชิงสั่งการ ดวยนายทหารฝายอํานวยการไมมีอํานาจในการสั่งการแกผูบังคับ
หนวยรอง
ฝายอํานวยการอาจใหขอเสนอแนะในลักษณะการประมาณการ หรือขอพิจารณาของฝายอํานวยการ
เปนลายลักษณอักษรหรือดวยวาจาก็ได แตไมวาดวยวิธีที่เปนทางการหรือไมเปนทางการ ฝายอํานวยการ
จะตองวิเคราะหและเปรียบเทียบหนทางเลือกที่เปนไปไดตาง ๆ อยางรอบคอบ โดยใชขาวสารทีด่ ีที่สุดที่มีอยู
ฝายอํานวยการจะเสนอหนทางปฏิบัติตาง ๆ แกผูบังคับบัญชาอยางตรงไปตรงมาและโดยไมมอี คติ รวมถึง
รายงานขอดีขอ เสียตาง ๆ ของทุกหนทางปฏิบัติอยางชัดเจนดวย ฝายอํานวยการตองพรอมที่จะเสนอหนทาง
ปฏิบัติที่ดีที่สุดอีกหนทางปฏิบัติใหผูบังคับบัญชาเลือก การเตรียมการจะรวมถึงการประสานงานกับฝาย
อํานวยการอื่น ๆ ซึ่งมีงานในหนาที่ที่ไดรับผลกระทบจากขอเสนอแนะที่เสนอตอผูบังคับบัญชา
ฝายอํานวยการควรเสนอขอเสนอแนะในลักษณะที่ผูบังคับบัญชาตองจําเปนเพียงอนุมัติหรือไมอนุมัติตาม
ขอเสนอแนะเทานั้น

๕. การจัดทําแผนและคําสั่ง
ฝายอํานวยการจัดทํา แจกจายแผนและคําสั่งตามขอตกลงใจของผูบังคับบัญชา โดยใหมั่นใจวา
มีการประสานรายละเอียดที่จาํ เปนตาง ๆ ผูบังคับบัญชาอาจมอบหมายอํานาจหนาที่ใหฝายอํานวยการสามารถ
ออกแผนและคําสั่ง โดยไมตองรอรับอนุมัติจากตน นายทหารฝายอํานวยการผูใดผูหนึ่งอาจไดรบั มอบหมาย
ใหรับผิดชอบการจัดทํา และการพิมพแผนหรือคําสั่ง ฝายอํานวยการอื่น ๆ จะเตรียมสวนของแผนหรือคําสั่งที่
เกี่ยวของกับขอบเจตสายงานของตน (เชน นายทหารยุทธการ/สธ.๓ รับผิดชอบการจัดทําและพิมพแผน
๙๑
ยุทธการเปนสวนรวม โดยมีนายทหารสงกําลังบํารุง/สธ.๔ รับผิดชอบสวนการสงกําลังบํารุงในแผนยุทธการ
นายทหารฝายกําลังพล/สธ.๑รับผิดชอบสวนการกําลังพล และนายทหารฝายกิจการพลเรือน/สธ.๕ รับผิดชอบ
สวนกิจการพลเรือน) หลักการในการวางแผนและวิธีการจัดทําแผนไดอธิบายไวในภาพที่ ๗ สําหรับเทคนิค
ในการนัดทําแผนและคําสั่งศึกษาไดใน ผนวก ฉ
๖. การกํากับดูแลของฝายอํานวยการ
ก. กลาวทั่วไป
๑) ฝายอํานวยการตองกํากับดูแลการปฏิบัติตามแผนและคําสั่งอยางตอเนือ่ ง เพื่อใหเปนไป
ตามแนวทางทีผ่ ูบังคับบัญชาตองการ
๒) นายทหารฝายอํานวยการตองเปนผูมีความคุนเคยอยางถองแทกับแผนของผูบังคับบัญชา
และวิธีการที่ผบู ังคับบัญชาตองการใหปฏิบตั ิดวย นอกจากนั้น นายทหารฝายอํานวยการตองคอยแจงใหทราบ
ถึงเรื่องตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะกระทบกระเทือนตอแผนและจะตองใหขอเสนอแนะการเปลีย่ นแปลงเทาที่
จําเปน
๓) การวิเคราะหรายงาน การเยี่ยมเยียน และการตรวจของฝายอํานวยการ เปนเครือ่ งมือ
ในการกํากับดูแลของฝายอํานวยการ
ข. การวิเคราะหรายงาน
การวิเคราะหและการประเมินคารายงานและสรุปตาง ๆ อยางถูกตอง จะชวยใหนายทหารฝาย
อํานวยการพิจารณาถึงความกาวหนาของการปฏิบัติของหนวยได การรายงานเปนหนทางที่รวดเร็วกวาการ
เยี่ยมเยียนของฝายอํานวยการในการรวบรวมขาวสารที่ทนั สมัยในสายงานตาง ๆ ที่สนใจ อยางไรก็ตาม
การรายงานสวนมากมักจะไมครอบคลุมเหตุการณทกี่ ระทบกระเทือนตอสายงานเหลานี้ไดทั้งหมด ซึ่งผูทําการ
ประเมินคาขอเท็จจริงพึงระลึกไวดว ย
ค. การเยี่ยมเยียนและการตรวจของฝายอํานวยการ
๑) การเยี่ยมเยียนของฝายอํานวยการ นายทหารฝายอํานวยการไปเยีย่ มเยียนหนวยรอง เพื่อหา
ขาวสารเกี่ยวกับสถานการณของหนวยรองใหกับผูบังคับบัญชา และเพื่อที่จะใหแนวทางและความชวยเหลือ
ในขอบเขตของสายงานที่ตนไดรับมอบหนาที่ ผูแทนที่แตงตั้งขึน้ ตามกําหนดเวลาจะไปเยีย่ มเยียนหนวย
ในนามของผูบ ังคับบัญชา การวางตัวของนายทหารฝายอํานวยการควรจะอยูใ นลักษณะที่เพิ่มพูนความสัมพันธ
และความรวมมือฉันทมิตรระหวางฝายอํานวยการกับหนวยนั้น ๆ นายทหารฝายอํานวยการไปเยี่ยมคํานับ
ผูบังคับบัญชาของหนวยรอง เพื่ออธิบายถึงความมุงหมายในการมาเยีย่ มเยียนของตน และเพื่อขอทราบความ
ตองการเพื่อจะใหความชวยเหลือตามที่เห็นสมควร กอนที่จะอําลาจากไป นายทหารฝายอํานวยการควร
รายงานถึงสิ่งที่ตนไดพบเห็นตอผูบังคับบัญชาหนวยรอง นายทหารฝายอํานวยการตองระมัดระวังหลีกเลี่ยง
การวิพากษวิจารณหนวยนั้น ๆ หรือแทรกแซงความรับผิดชอบของผูบังคับหนวยนัน้ ถาปรากฏวาคําสั่งของ
ผูบังคับหนวยเหนือมีการเขาใจผิด นายทหารฝายอํานวยการก็แจงใหผูบังคับหนวยรอง หรือนายทหารฝาย
อํานวยการของหนวยรองทราบขาวสารเพิ่มเติมและแนวทางที่ถูกตอง เมื่อนายทหารฝายอํานวยการกลับมาถึง
กองบัญชาการของตนแลว นายทหารฝายอํานวยการทํารายงานสรุปสั้นๆ ดวยวาจา หรือลากลักษณอักษร
๙๒
เกี่ยวกับสิ่งที่ตนไดพบเห็นจากการเยีย่ มเยียนหนวยใหกับนายทหารฝายอํานวยการอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อที่เขา
เหลานั้นจะสามารถดําเนินการตอไปได
๒) การตรวจของฝายอํานวยการ การตรวจของฝายอํานวยการอาจจะกระทําไดโดยนายทหาร
คนใดคนหนึ่ง หรือเปนชุดก็ไดตามความตองการของผูบังคับบัญชา กอนที่จะดําเนินการตรวจผูบงั คับหนวย
นั้น ๆ จะไดรับการติดตอใหทราบเกีย่ วกับลักษณะและความมุงหมายของการตรวจ ผูบังคับหนวยไดรับ
รายงานอยางไมเปนทางการเกี่ยวกับผลของการตรวจกอนที่นายทหารผูต รวจ หรือชุดตรวจจะออกจาก
กองบังคับการของหนวยไปรายงานการตรวจอยางเปนทางการ และอยางไมเปนทางการจะตองตรงกับความ
เปนจริงแจมแจงและกะทัดรัด
๙๓
ตอนที่ ๓
ระเบียบการดําเนินการรวมของฝายอํานวยการ

๗. การกําหนดและการวิเคราะหปญหา
สวนสําคัญสวนหนึ่งในกรรมวิธีการกําหนดและการวิเคราะหปญหาคือ แนวความคิดในการปฏิบตั ิ
ของผูบังคับบัญชา หลังจากผูบังคับบัญชาไดทําความเขาใจปญหาแลวจะตองกําหนดขอบเขตที่จะตอง
ทําการศึกษาปญหา ใหขาวสารขอมูลที่เกี่ยวของจากประสบการณหรือความรอบรูของตน แลวจะมอบหมาย
ความรับผิดชอบใหฝายที่เกีย่ วของดําเนินการศึกษาปญหานั้นตอไป แนวความคิดของผูบังคับบัญชาที่มีความ
สมบูรณ จะทําใหไดคําตอบที่ถูกตองเหมาะสมและขจัดการปฏิบัติที่ไรประโยชน สวนของฝายอํานวยการหรือ
นายทหารที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ ปกติจะประมาณการกําหนดวันที่ที่การปฏิบัติจะเสร็จสิ้น หรือสุด
หวงเวลาในการปฏิบัติ ในการกําหนดและวิเคราะหปญหานั้น ผูบังคับบัญชาหรือฝายอํานวยการควรใหโอกาส
ในการสอบถามในเรื่องที่ตองการความกระจางชัด
ฝายอํานวยการจะตองวิเคราะหปจจัยทีจ่ ะมีผลกระทบตอการปฏิบัติโดยสม่ําเสมอ สวนสําคัญ
สวนหนึ่งของการวิเคราะห คือ การกําหนดปญหาตางๆที่อาจมีผลกระทบตอฝายอํานวยการหรือผูบ ังคับบัญชา
เปนสวนรวม ขีดความสามารถในการพิจารณาตัดสินอยางถูกตอง และประสบการณ เปนปจจัยสําคัญที่จะ
ทําใหฝายอํานวยการสามารถกําหนดปญหาตาง ๆ ได ฝายอํานวยการควรมีวิธีดําเนินการกําหนดความสําคัญ
ของขอมูลขาวสารที่ไดรับใหม เปรียบเทียบขอมูลเดิมที่มีอยูแลวอยางมีระบบ ระบบการดําเนินการที่ดีจะชวย
ฝายอํานวยการกําหนดความหมายความสําคัญของขาวสาร และกําหนดการปฏิบัติในกรณีที่มีความจําเปน
การทําการวิเคราะหมีทั้งที่มขี ั้นตอนการปฏิบัติที่เปนระเบียบการ และที่ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติ
ที่เปนระเบียบทางการ การวิเคราะหอาจเปนการประเมินคาของรายงานที่ไดรับเปนประจําโดยกระทําในใจ
การวิเคราะหในรายละเอียดของเรื่องใดเรือ่ งหนึ่ง (เชน การวิเคราะหพนื้ ที่ปฏิบัติการที่ สธ.๒ จัดทํา)
การประมาณการของฝายอํานวยการ หรือการทําขอพิจารณาของฝายอํานวยการ สองวิธีสุดทายนี้เปนวิธีที่ฝาย
อํานวยการใชประเมินคาหนทางปฏิบัติที่มีอยู และใหขอเสนอแนะ ซึ่งรายละเอียดจะไดกลาวไวในบทที่ ๕
บางครั้งฝายอํานวยการควรพิจารณานําวิธีวิเคราะหเชิงประมาณมาใชในการวิเคราะห เชน วิธีทาง
สถิติ (STATISTICS) การใชโปรแกรมเชิงเสนตรง (LINEAR PROGRAMMING) การวิเคราะหเชิงเสนตรง
ถดถอย (LINEAR PEGRESSION ANALYSIS) วิธีการแมททริกซ (MATRIX) และเทคนิคการวิเคราะหเชิง
โปรแกรม (PROGRAM EVALUATION AND REVIEW TECHNIQUE) ซึ่งวิธีตาง ๆ ดังที่กลาวจะชวยให
กระบวนการคิดที่มุงตอวัตถุประสงคนั้นสําเร็จไดโดยลดปริมาณความคิด ชวยเปนตัววัดในขนาดและความ
เกี่ยวของสัมพันธ ตลอดจนชวยตอบปญหาตาง ๆ ซึ่งจะนําไปสูหนทางปฏิบัติตาง ๆ ที่เปนไปได อยางไรก็ตาม
ฝายอํานวยการจะไมสามารถใชตัวเลขเปนตัววัดเพื่อการตัดสินไดในทุกเรื่องที่ตองพิจารณา
๙๔
๘. การประสานงานของฝายอํานวยการ
การประสานงานของฝายอํานวยการ คือ การดําเนินการใหมนั่ ใจวา ทุกฝายไดมีการปฏิบัติที่
สอดประสานกันในลักษณะเสมือนหนวยเดียว การปฏิบัติของฝายอํานวยการสวนใหญ มีความจําเปนตอง
มีการประสานงานนอกกองบัญชาการ ไมวาจะเปนกองบัญชาการ หนวยเหนือ หนวยขางเคียง หนวยรอง หรือ
หนวยในการสนับสนุน การประสานงานมีความสําคัญยิ่ง เพราะเหตุผล ๓ ประการ คือ เพื่อใหเกิดความมัน่ ใจ
วาการปฏิบัติของฝายอํานวยการเปนไปอยางสมบูรณและสอดคลองตองกัน เพื่อหลีกเลี่ยงขอขัดแยงและการ
ปฏิบัติงานที่ซ้ําซอน โดยการปรับแผนหรือนโยบายตามความจําเปนกอนที่จะถูกนํามาใช และเพือ่ ใหมั่นใจวา
ไดมีการพิจารณาครอบคลุมในทุกประเด็นแลว
เสนาธิการ (หรือหัวหนาฝายอํานวยการ/รองผูบังคับหนวย) รับผิดชอบใหมีการประสานงานของ
ฝายอํานวยการ และงานที่ไดรับมอบมีความสมบูรณและเสร็จสิ้นทันเวลา ตลอดจนตองใหขอมูลที่ถูกตองแก
ผูบังคับบัญชา เสนาธิการอาจกําหนดระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติขึ้นพิเศษโดยเฉพาะ แตอยางไรก็ตาม
ฝายอํานวยการตองประสานการปฏิบัติระหวางกันเปนประจํา อยางนอยที่สุดฝายอํานวยการทุกสวนจะตองมี
ความเขาใจคุน เคยกับหนาที่ความรับผิดชอบของสวนอื่น ๆ ทุกสวนในหนวย รวมถึงขาวสารขอมูลเกี่ยวกับ
เรื่องใดที่แตละสวนตองการหรือสามารถใหได เมื่อมีความเขาใจคุน เคยเปนอยางดีแลว ฝายอํานวยการถึงจะ
สามารถกําหนดไดวาเมื่อใดมีความจําเปนตองปรึกษาหารือกับฝายอํานวยการสวนอื่น และมีปญหาที่ตอง
ปรึกษาในเรื่องใดบาง แตอยางไรก็ตาม การประสานงานของฝายอํานวยการทีดีจะตองมีความริเริ่ม มีจิตใจ
สามัคคี และมีความสนใจเรือ่ งงานอยางแทจริงในทุกสวน เพื่อใหเกิดผลงานเปนสวนรวม
ฝายอํานวยการประสานงาน จะตองรับผิดชอบในการประสานการดําเนินการของการปฏิบัติ
ซึ่งขอบเขตของงานในหนาทีข่ องตนครอบคลุม บอยครั้งฝายอํานวยการจะกําหนดนายทหารในสวน
ใหรับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย นายทหารรับผิดชอบงานและฝายอํานวยการอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของจะพิจารณา
และประสานงานยอยตาง ๆ ตลอดจนแกไขขอขัดแยงทีอ่ าจเกิดขึ้น ฝายอํานวยการแตละฝายจะพิจารณาการ
ปฏิบัติยากแงคิดของตนเอง และแนวความคิดของผูบังคับบัญชา แลวระบุงานที่เหมาะสมในขอบเขตความ
รับผิดชอบของตนเสนอผูมีอํานาจอนุมัตติ อไป
หากหลังจากมีการประสานการปฏิบัติแลว แตยังมีความเห็นขัดแยงยังไมเห็นพองกันของฝาย
อํานวยการที่เกี่ยวของ และยังมีความจําเปนตองดําเนินการตอไป นายทหารรับผิดชอบงานจะตองหาขอตกลง
ใจใหได โดยการวิเคราะหอยางมีใจเปนกลาง ไมมีอคติวามีการขัดแยงในเรื่องใด และแจงตอผูบังคับบัญชา
หรือผูมีอํานาจอนุมัติ รวมถึงเหตุผลทําไมควรอนุมัติหนทางปฏิบัติที่เสนอ ถึงแมวายังมีความคิดเห็นทีไ่ ม
พองอยู เมื่อฝายอํานวยการจัดทําเอกสารในเรื่องของการประสานการปฏิบัติดงั กลาวเปนลายลักษณอักษร
จะตองแนบผนวกรายงานขอไมเห็นพองตาง ๆ และขอมูลสนับสนุนขอเหลานั้นดวย
วิธีการประสานงานของฝายอํานวยการ ไดแก
• การติดตอและการแลกเปลี่ยนขาวสาร ระหวางฝายอํานวยการดวยกันเองใน
กองบัญชาการ กับนายทหารฝายอํานวยการที่เกี่ยวของในกองบัญชาการหนวยเหนือ หนวยรอง หนวยขางเคียง
๙๕
และหนวยสนับสนุน อาจกระทําไดดว ยการพบปะตัวตอตัว การติดตอดวยเครื่องมือติดตอสื่อสาร เชน วิทยุ
โทรศัพทและการติดตอดวยเอกสาร
• การแจกจายขาวสารสําคัญ ขอตกลงใจ และคําสั่ง ใหรับทราบภายในแผนกฝายอํานวยการ
และระหวางฝายอํานวยการ
• การประชุมอยางเปนทางการ และไมเปนทางการ
• การบรรยายสรุป
• การเสนอเอกสารของฝายอํานวยการไปยังแผนกตาง ๆ ที่เกี่ยวของตามสายงานเพื่อขอ
ทราบขอคิดเห็นและขอขัดของ
• การจัดเจาหนาที่ติดตอ
การประสานงานของฝายอํานวยการเปนเรือ่ งที่ตองใชเวลาอยางมาก ในกรณีที่ตองการความรวดเร็ว
อาจจะไมสามารถทําการประสานงานกันไดสมบูรณ หรือไมอาจรอรับความเห็นพองของเขาหนาที่เกี่ยวของ
ทุกฝายได ในเวลาที่จํากัด นายทหารรับผิดชอบงานจะเสนอแผนหรือขอเสนอแนะไปยังผูมีอํานาจในระดับ
ที่เหมาะสม พรอมรายงานการปฏิบัติที่จะตองดําเนินการโดยเรงดวน และระบุไปดวยวาไดประสานงาน
ไปแลวในเรื่องอะไรบาง และมีขอคิดเห็นทีแ่ ตกตางกันในประเด็นใดบางที่ควรจะนํามาพิจารณาเพื่อหา
ขอตกลง ผูที่มีอํานาจรับผิดชอบระดับดังกลาวก็จะตัดสินใจวาควรจะดําเนินการตอไปอยางไร ในกรณีที่ไม
สามารถประสานงานกันไดสมบูรณ นายทหารรับผิดชอบงานจะแจงใหฝายอํานวยการที่เกี่ยวของทราบถึงการ
ดําเนินงานที่ไดกระทําไปแลว
๙. การดําเนินงานแบบสมบูรณตามขัน้ ตอนของฝายอํานวยการ
การดําเนินงานแบบสมบูรณตามขั้นตอนของฝายอํานวยการ หมายถึง การเสนอขอเสนอหรือหนทาง
ปฏิบัติสําหรับการแกปญหา ๆ หนึ่งโดยฝายอํานวยการ ซึ่งขอเสนอนี้จะไดมาจากการดําเนินการตามขั้นตอน
ในกระบวนการแกปญหา และจะอยูในขั้นสุดทาย ซึ่งหมายถึงอยูในลักษณะพรอมสําหรับผูบังคับบัญชา (หรือ
ผูมีอํานาจอนุมัติสั่งการ) จําเปนเพียงแตตกลงใจอนุมัติ หรือไมอนุมัตติ ามเสนอเทานั้น การดําเนินงานแบบนี้
จะมีการรายงานขอเท็จจริงทีเ่ กี่ยวของ และการนําหนทางปฏิบัติที่เปนไปไดทั้งหมดมาพิจารณา รวมถึงขอดี
ขอเสีย และขอพิจารณาทางจรรยาดวย การดําเนินงานแบบสมบูรณตามขั้นตอนของฝายอํานวยการเปนการ
เสนอหนทางปฏิบัติหนทางเดียวที่ไดมกี ารประสานงานแลว แตไมจําเปนวาทุกฝายไดเห็นพองกันเปน
เอกฉันท จะรวมถึงเอกสารบันทึก เอกสารบันทึกความเห็น คําสั่ง คําชี้แจง หนังสือสั่งการ หรือขอความที่มีผล
บังคับซึ่งผูบังคับบัญชาตองลงนามหรืออนุมัติ
นายทหารฝายอํานวยการ พึงละเวนการเสนอหนทางปฏิบัติปลีกยอยมากมายแกผูบังคับบัญชา
นายทหารฝายอํานวยการมีหนาที่ที่จะตองทํางานในรายละเอียดทีย่ ุงยากตาง ๆ เอง ถาสงสัยก็ควรจะปรึกษา
ขอคําแนะนําผูบ ังคับบัญชาหรือเสนาธิการของหนวย เพื่อขอรับแนวทางเพิ่มเติม หรือเพื่อใหมนั่ ใจวากําลัง
ดําเนินการมาแนวทางที่ถกู ตอง ดวยการดําเนินงานแบบสมบูรณของฝายอํานวยการ จะทําใหผูบงั คับบัญชาได
ขอเสนอแนะที่ดีที่สุด โดยผานการวิเคราะหขอมูลขอเท็จจริงและดุลพินจิ ของฝายอํานวยการแลว
การดําเนินงานแบบสมบูรณตามขั้นตอนของฝายอํานวยการ จะหลีกเลี่ยงการนําเสนอขอเสนอแนะที่ไมไดรับ
๙๖
การพัฒนาอยางครบถวนรอบคอบ และลดโอกาสที่ผูบังคับบัญชาจะตกลงใจผิดพลาดได การดําเนินงานของ
ฝายอํานวยการแบบนี้ สามารถนําไปประยุกตใชไดในระเบียบปฏิบัตติ าง ๆ ของฝายอํานวยการ ไมวาจะเปน
ในรูปขอเขียนหรือวิธีการอื่น ๆ ในการนําเสนอตอหัวหนาฝายอํานวยการ เสนาธิการ หรือผูบังคับบัญชา
กระบวนการดังกลาวนีย้ ังหมายรวมถึงการติดตามผลโดยฝายอํานวยการเพื่อใหมั่นใจวามีการปฏิบัตติ ามคําสั่ง
หรือคําชี้แจงตาง ๆ ดวย
๑๐. การเยี่ยมเยียน และการตรวจเยี่ยมของฝายอํานวยการ
นายทหารฝายอํานวยการไปเยี่ยมเยียนหนวยรอง เพื่อใหไดมาซึ่งขาวสารสําหรับผูบังคับบัญชา เพื่อ
สังเกตการปฏิบัติของหนวยตามคําสง หรือคําชี้แจงที่ออกไป และเพื่อใหคําแนะนําปรึกษา ตลอดจนชวยเหลือ
หนวยรองในขอบเขตสายงานของตน นายทหารฝายอํานวยการจะไดรับแตงตั้งใหไปเยีย่ มเยียนหนวยในนาม
ของผูบังคับบัญชา เมื่อไปถึงหนวยควรไดชี้แจงใหผูบังคับหนวยรองทราบถึงวัตถุประสงคของการเยี่ยมเยียน
และขอความรวมมือเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค กอนที่จะออกจากหนวย ควรที่จะแจงใหผูบังคับหนวยรอง
ทราบถึงสิ่งที่ตรวจพบในระหวางการเยีย่ มเยียน นายทหารฝายอํานวยการควรจะหลีกเลี่ยงไมเขาไปแทรกแซง
ในความรับผิดชอบของผูบังคับหนวยรอง ถาพบวาผูบังคับหนวยรองเกิดความเขาใจผิดในคําสั่งของ
ผูบังคับบัญชา ก็ควรจะใหขอ มูลขาวสาร และคําแนะนําเพิ่มเติมกับผูบงั คับหนวยรองหรือฝายอํานวยการของ
หนวยนัน้ เมือ่ กลับมายังกองบัญชาการแลวก็จะตองรายงานดวยวาจา หรือเปนลายลักษณอักษรอยางสั้น ๆ
ตอหัวหนาแผนกอํานวยการของตน ตอเสนาธิการ หรือตอผูบังคับหนวย เอกสารรายงานการเยี่ยมหนวยนี้
ควรจะสําเนาแจกจายใหกับนายทหารฝายอํานวยการทั้งปวงที่เกีย่ วของ
การตรวจหนวยของฝายอํานวยการ อาจกระทําโดยนายทหารฝายอํานวยการคนใดคนหนึ่ง หรือเปน
ชุดก็ไดแลวแตผูบังคับบัญชาจะกําหนด การตรวจจะทําเพื่อ ตรวจวาหนวยรองไดมีการปฏิบัติไดสอดคลองกับ
นโยบายและระเบียบขอบังคับหรือไม โดยจะพิจารณาทัง้ ในแงบวกและแงลบ กอนตรวจควรแจงใหผูบังคับ
หนวยทราบวัตถุประสงค และวิธีการตรวจเสียกอน กอนที่จะจากหนวย ควรจะไดแจงผลการตรวจแบบไมเปน
ทางการใหหนวยรองทราบเสียขั้นหนึ่งกอน เมื่อกลับมากองบัญชาการแลวก็จัดทํารายงานผลการตรวจเสนอ
ผูบังคับบัญชา พรอมกับจัดสงสําเนารายงานฉบับนั้นไปใหหนวยที่รับการตรวจดวย
๑๑. การติดตอ
การติดตอ หมายถึง การดํารงไวซึ่งการพบปะประสานงานกันระหวางสวนตาง ๆ ของหนวยทหาร
เพื่อใหมนั่ ใจวา
• เกิดความเขาใจรวมกัน ในวัตถุประสงคเดียวกัน และการปฏิบัติเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
• มีการประสานงานและมีความเขาใจกันในระหวางผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการ ทัง้ ของ
กองบัญชาการ หรือหนวยทีป่ ฏิบัติงานรวมกัน และ....
• กับหนวยขางเคียง มีการปฏิบัติทางยุทธวิธใี นแนวทางเดียวกัน และมีการสนับสนุนซึ่งกัน
และกัน
ในทางปฏิบัติ การติดตอสามารถกระทําไดดวยการพบปะตัวตอตัวระหวางผูบังคับบัญชา และ
ฝายอํานวยการ การแลกเปลี่ยนนายทหารติดตอ การกําหนดขอตกลงระหวางหนวยที่อยูเคียงกันในเรื่องการ
๙๗
สนับสนุนซึ่งกันและกัน หรือใชวิธีที่กลาวมาแลวผสมผสานกัน นายทหารติดตอที่จัดขึ้น จะปฏิบัติงาน
ในฐานะตัวแทนของผูบังคับบัญชาอยางเปนทางการ โดยมีเสนาธิการหรือผูที่ไดรับมอบหมายเปนผูกํากับดูแล
หนาที่ความรับผิสดชอบของนายทหารติดตอไดอธิบายไวในบทที่ ๓
เมื่อสามารถทําไดควรมีการติดตอแลกเปลีย่ นกันระหวางหนวยเหนือ หนวยรองและหนวยขางเคียง
แตถาไมสามารถกระทําไดดงั กลาว ก็จะตองยึดหลักการติดตอจากหนวยเหนือไปจากหนวย จากหนวย
สนับสนุนไปยังหนวยรับการสนับสนุน และจากหนวยทางซายไปยังหนวยทางขวา เมื่อหนวยปฏิบัติการผาน
แนวหนวยทีเ่ คลื่อนที่ผาน จะสถาปนาการติดตอกับหนวยที่ถูกผาน (หนวยที่อยูในที่มนั่ )
๑๒. การกระจายขาวสาร
อาจใชการบรรยายสรุปเพื่อเปนการรายงานใหผูบังคับบัญชา และฝายอํานวยการทราบสถานการณ
เผชิญหนาและปญหาที่มีผลกระทบตอการปฏิบัติของหนวยในปจจุบันและที่คาดการณในอนาคต การบรรยาย
สรุปทางทหารไดอธิบายรายละเอียดไวใน ผนวก ข
สําหรับการกระจายขาวสารใหหนวยเหนือ หนวยรอง และหนวยขางเคียงนั้น นิยมใช
เอกสารรายงานและเอกสารสรุป ซึ่งทุกแผนกฝายอํานวยการจะจัดทํา และแจกจายเอกสารดังกลาวนี้ที่อยูใ น
ขอบเขตสายงานของตน สําหรับหนวยรองจะจัดทํารายงานและเอกสารสรุปเทาที่จําเปนตามความตองการของ
ผูบังคับบัญชาเทานั้น ในการจัดทําเอกสารนี้จะมีการทบทวนตลอดเวลาเพื่อขจัดขอความซ้ําซอน และ
รายละเอียดปลีกยอยที่ไมจําเปน จะกําหนดแบบฟอรมและเวลาในการแจกจายไวแนนอนภายใน
กองบัญชาการ ซึ่งก็จะแตกตางกันไปตามกองบัญชาการและตามสถานการณ นายทหารฝายอํานวยการจะตอง
มีความรูคุนเคยกับขอตกลงใจในการทําแบบฟอรมเหลานี้ใหเปนมาตรฐาน การจัดทํารายงานและเอกสารสรุป
ของฝายอํานวยการในการยุทธบรรยายไวในผนวก ก
การเสนอรายงานและเอกสารสรุปอาจทําเพียงครั้งเดียว หรือทําเปนประจํา ถาเปนการจัดทําเพียงครั้ง
เดียวก็ทําตามที่ไดรับคําสั่งใหทํา สวนรายงานหรือเอกสารสรุปที่ตองจัดทําเปนประจําก็จะเปนเรื่องที่จะตอง
แจงหรือรายงานตามระยะเวลาที่กําหนดโดยสม่ําเสมอ เชน ประจําวัน ประจําสัปดาห หรือประจําป รายงาน
และเอกสารสรุปที่จะตองทําที่มีความตองการ ก็จะตองมีระเบียบปฏิบัตกิ ําหนดวาจะทําในสถานการณใด

๑๓. การเขียนทางทหาร
ฝายอํานวยการในหนวยระดับกองพลขึ้นไปจําเปนตองเขียนคําสั่ง คําชี้แจง ขอพิจารณา
เอกสารรายงาน และเอกสารสงขาวตาง ๆ มากมายหลายแบบ ซึ่งจะทําใหเขาใจการปฏิบัติที่มีความยุงยาก
ซับซอนของหนวยไดชัดเจนสมบูรณ ในหนวยระดับต่ําลงมาสวนใหญจะใชการสื่อโดยวาจามากกวา ซึ่งหาก
จะใหนําไปปฏิบัติอยางไดผลตองอาศัยมูลฐานจากคําสั่ง และระเบียบปฏิบัติประจําแบบลายลักษณอกั ษร
ที่ชัดเจนสมบูรณ
แผนและคําสั่ง ระเบียบ ประกาศ บันทึกความเห็น สาสน และขอพิจารณาของฝายอํานวยการปกติ
มักจัดทําเปนลายลักษณอักษร
๙๘
การเขียนเปนวิธีสื่อความคิดเห็นใหแกผูบังคับบัญชา ผูบังคับหนวยรอง และฝายอํานวยการ
อื่น ๆ การเขียนที่ดีจะตองสื่อความหมายของผูเขียนอยางชัดเจน และไมใหเกิดความเขาใจผิดได
หลักมูลฐานในการเขียนที่ดี มีดังตอไปนี้
• มุงตรงประเด็นเขียนเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวของ ยึดมัน่ ในประเด็นหลักที่กําหนดเพียง
เรื่องเดียว
• มีความถูกตอง ตรงขอเท็จจริง ไมมีความผิดพลาดทางตัวอักษร
• ชัดเจน เขียนโดยใชภาษาที่งา ยและอธิบายแจมแจง
• สั้น ใชคําและประโยคสั้นกระชับ ตัดถอยคําและเรื่องที่ไมจําเปนออก
• มีความตอเนื่อง เรียบเรียงเรือ่ งราวเปนไปตามขั้นตอนแบบมีเหตุมีผล
• ยึดมั่นในหลักการและความถูกตองไมใชความเห็นสวนตัว และไมมีอคติ

๑๔. การวิจยั ของฝายอํานวยการ


การวิจยั ของฝายอํานวยการ คือ การรวบรวมและประเมินคาขอเท็จจริงตาง ๆ ที่จะนํามาใชในการ
แกปญหาหรือเพื่อใหไดมาซึง่ ขอมูลที่ตองการ ขอเท็จจริงบางประการอาจจะมีอยูแลวในเอกสารของสํานักงาน
หรืออาจจะตองออกไปหาจากแหลงอื่น ๆ เรื่องที่จะทําการวิจยั นั้น กําหนดไดจากปญหาที่ตองการคําตอบ
เมื่อไดวเิ คราะหปญหาและกําหนดเรื่องหลัก ๆ ที่จะพิจารณาไดแลว นายทหารฝายอํานวยการก็จะสามารถ
กําหนดไดวามีขอมูลชนิดใด และมากนอยเพียงใดที่จะตองไปเก็บรวมรวม
ขอมูลนั้นจะเก็บรวบรวมไดจากแหลงขอมูลมากมายหลายแหลง ผูว ิจัยจะจัดทําบัญชีแหลงขอมูล
ที่เกี่ยวของกับเรื่องราวที่จะวิจัย ผูว ิจยั อาจหาเอกสารอางอิง โดยคนหาจากสารบัญสิ่งพิมพของกองทัพบก
ตรวจดูในหนาหนังสือโตตอบรายงานขอพิจารณาฉบับกอน ๆ ในแฟมเอกสารจองกองบัญชาการที่วาดวย
เรื่องราวที่เกีย่ วของ ตรวจบันทึกควบคุมรายงานตาง ๆ คนควาในหองสมุด (ถามี) ปรึกษาหารือกับบุคคล
ที่เกี่ยวของกับปญหาในทํานองเดียวกันหรือขอความชวยเหลือจากกองบัญชาการอื่น ๆ
ขอมูลที่รวบรวมมาจะตองนํามาวิเคราะหประเมินคา เมื่อจะทําการวิจัยในเรื่องยุงยากซับซอนและ
อาศัยเอกสารอางอิงเปนจํานวนมาก ก็จําเปนจะตองใชระเบียบวิธีการวิจัย ทั้งนี้ใหมีวิธีการประเมินคาขอมูล
วิธีการอางอิงและวิธีการบันทึกขอมูล ผูวิจยั จะตองตั้งคําถาม ๒ ประการ คือ ขอมูลที่มีความเกีย่ วของกับเรื่อง
ที่จะวิจัยหรือไม และขอมูลนัน้ มีความถูกตองเชื่อถือไดหรือไม
ผูวิจัยจะตัดสินกําหนดขอบเขตของการวิจยั เอง และวามีขอมูลเกี่ยวของเพียงพอสําหรับหาผลสรุป
ที่ถูกตองหรือไม ผลจากการวิจยั ทีจ่ ะนําไปใชไดจะตองมีลักษณะเกีย่ วของกับเรื่องที่วิจัย ตรงประเด็น มีขอมูล
สนับสนุน และผานกระบวนการทางความคิดที่มีเหตุมผี ล
๑๕. ระเบียบปฏิบัติทางธุรการของฝายอํานวยการ
ระเบียบปฏิบัตทิ างธุรการไดกลาวไวในบทที่ ๘ เอกสารระเบียบปฏิบัติทางธุรการตอไปนี้ ฝาย
อํานวยการจะนํามาใชใหเกิดความตอเนื่อง สําหรับการดําเนินการของฝายอํานวยการที่สมบูรณ
• แฟมนโยบาย
๙๙
• บันทึก
• คูมือการจัดหนวย
• คูมือฝายอํานวยการ
• ระเบียบปฏิบัตปิ ระจํา
• เอกสารแยกเรื่อง
แฟมนโยบาย
เปนแฟมรวบรวมนโยบายตาง ๆ ของผูบังคับบัญชาและหนวยเหนือที่ใชอยูปจจุบนั และหลักการ
ปฏิบัติมูลฐานสําหรับแผนกฝายอํานวยการที่เก็บรักษาแฟมนี้ ในแฟมนี้จะมีคําสั่งตาง ๆ ที่มีผลบังคับใชอยู
บทเรียนปฏิบตั ิที่ผานมาและขอตกลงใจในอดีตของผูบังคับบัญชาที่หนวยเคยมี นโยบายอาจอยูใ นรูปของการ
บันทึกยอ แผน ขอพิจารณา คําสั่งชี้แจง หรือคําสั่งแฟมนโยบายจะเปนเครื่องอํานวยการปฏิบัติงานของฝาย
อํานวยการ และชี้แนวทางปฏิบัติงานใหกับนายทหารฝายอํานวยการที่เขาบรรจุใหม ฝายอํานวยการมีหนาที่
ดํารงรักษาแฟมนโยบายของหนวยใหทันสมัยสมบูรณ แตละแผนกฝายอํานวยการมีหนาที่ดํารงรักษาแฟม
นโยบายของแผนกนั้น ๆ
บันทึก
บันทึกของฝายอํานวยการ เปนเอกสารสําคัญในการใหขาวสารแกผูบงั คับบัญชาและฝายอํานวยการ
ในกองบัญชาการในระดับสูงและระดับต่ํา และยังใชเปนบันทึกทางประวัติศาสตรดวย รายละเอียดและ
ตัวอยางการบันทึก ดูผนวก ก
คูมือการจัดหนวย
คูมือการจัดหนวยจะระบุการจัด หนาที่การปฏิบัติและความรับผิดชอบของทุกแผนกฝายอํานวยการ
ในหนวย และเปนมูลฐานสําหรับการมอบหมายความรับผิดชอบในการปฏิบัติการ และการประสานงานทาง
ฝายอํานวยการ
แนวทางการปฏิบัติของฝายอํานวยการ
แนวทางการปฏิบัติของฝายอํานวยการ อาจเปนสวนหนึง่ ของระเบียบปฏิบัติประจําสําหรับงานทาง
ธุรการ หรืออาจเปนเอกสารคูมือฝายอํานวยการ ประกอบดวยคําชีแ้ จง วิธีรวบรวมเอกสารของฝายอํานวยการ
แบบฟอรมที่จะใช การปฏิบัติตอขอตกลงและขอขัดแยง และตองมีการติดตอประสานงานเกีย่ วกับเรื่องใดบาง
รองผูบังคับบัญชาเปนผูรับผิดชอบเรื่องแนวทางการปฏิบัติของฝายอํานวยการ (คูม ือฝายอํานวยการ) โดย
เสนาธิการเปนผูใหคําแนะนําเปนสวนใหญ
ระเบียบปฏิบัตปิ ระจํา
ระเบียบปฏิบัตปิ ระจํา (รปจ.) เปนคําสั่งของหนวย ระเบียบปฏิบัติประจําของแตละแผนก
ฝายอํานวยการ และระเบียบปฏิบัติประจําของหนวยหากเหมาะสม จะมีคําชี้แจงเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะตองทํา
ประจําหรือซ้ํา ๆ บอยครั้ง ระเบียบปฏิบัตปิ ระจําจะทําใหเกิดการทํางานเปนหมูคณะที่มีประสิทธิภาพ และลด
ความจําเปนทีต่ องออกคําสั่งคําสั่งชี้แจงซ้ํา ๆ หนวยอาจมีระเบียบปฏิบัตปิ ระจําทางธุรการ, ระเบียบปฏิบัติ
๑๐๐
ประจําทางยุทธวิธีหรือในสนาม และระเบียบปฏิบัติประจําสําหรับการปฏิบัตินอกหนวยอยางใดอยางหนึ่งหรือ
ทั้งหมดสามอยางก็ได ตัวอยางแบบฟอรมของ รปจ. ไดกลาวไวในผนวก ฉ ตอนที่ ๕
เอกสารแยกเรื่อง
เปนแฟมเอกสารบรรจุขอมูลอยางพรอมมูล ที่ฝายอํานวยการใชในการอํานวยการการปฏิบัติงาน
ที่ทําอยู และในการจัดทํารายงาน เอกสารแยกเรื่องของแผนกฝายอํานวยการแผนกหนึ่ง จะเปนแฟมรวบรวม
ขอมูลขาวสารโดยจัดใหมีสารบัญ (เรื่องไดมา) ขอมูลขาวสารนี้จะไดมาจากคําสั่งที่เปนลายลักษณอักษรหรือ
โดยวาจา จากบันทึกขอความ การบันทึกเรื่องราวเหตุการณในบันทึกประจําวัน และจากการประชุม
ฝายอํานวยการ เอกสารแยกเรื่องใชเปนแนวทางหรือแผนสําหรับรวบรวมขาวสารขอมูล เอกสารแยกเรื่อง
อาจรวมถึง ขอสรุป ความคิดเห็น และความคิดของนายทหารฝายอํานวยการ ตลอดจนผลของการตรวจเยี่ยม
ดวยนายทหารฝายอํานวยการจะทําสารบัญของเอกสารแยกเรื่องใหเหมาะสมกับความตองการเฉพาะของ
แผนก (ดูผนวก ก ที่กลาวถึงเอกสารแยกเรื่องของฝายอํานวยการ)
๑๖. เครื่องมือทางธุรการ
นอกจากเอกสารสําคัญระเบียบทางธุรการ แฟมรวบรวมขอมูลและบันทึกตาง ๆ แลว ฝายอํานวยการ
อาจนําสิ่งตอไปนี้มรใชเปนเครื่องมือทางธุรการได เชน
• แผนที่สถานการณ
• ขาวสารประกอบแผนที่สถานการณ

๑๗. ระบบควบคุมการรับสงขาวของฝายอํานวยการ
เปนระบบภายในกองบัญชาการ สําหรับดําเนินการตอการรับเขาและสงออกขอความ และเอกสาร
ติดตอ โดยมีวตั ถุประสงคหลัก คือ
• เพื่อ รับ, สง และบันทึก ขอความเขาออกกองบัญชาการและเอกสารติดตอ
• เพื่อการจัดทําและสงสําเราเอกสารใหฝายอํานวยการที่เกี่ยวของ สําหรับการปฏิบัติตอไป
หรือเพียงรับทราบ
• เพื่อดํารงการควบคุมใหมนั่ ใจวา หนวยปฏิบัติไดดําเนินการในเรื่องที่เกี่ยวของรวดเร็ว
ทันเวลา
• เพื่อกําหนดลําดับความเรงดวนของการปฏิบัติ
• เพื่อควบคุมการใชระดับความลับและลําดับความเรงดวนสําหรับการสงออก
การกําหนดเสนทางและการแจกจายขอความและเอกสารติดตอ ขึ้นอยูกับระเบียบปฏิบัติในการ
ควบคุมที่มีประสิทธิภาพ และความรูสึกกระตือรือรนในการปฏิบัติงานของพลนําสารสและเจาหนาที่ใน
ศูนยขาว ซึ่งนายทหารสื่อสารและรองผูบังคับหนวยมีหนาที่เฉพาะในการดํารงรักษาระบบควบคุมนี้ และ
ในการใหมั่นใจวา มีการกําหนดเสนทางและระเบียบรับสงขอความที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการปฏิบัติ
ตามดวย
๑๐๑
อยางไรก็ตามนายทหารฝายอํานวยการจะตองไมพึ่งเจาหนาที่อื่นในทุกเรื่อง แตจะตองรับผิดชอบ
โดยตรงวา มีการปฏิบัติอยางเครงครัดตามระเบียบตอขอความสําคัญยิ่งที่ตองสงออก และขอความนั้นไปถึง
จุดหมายที่ถูกตองโดยฉับไว

------------------------------------------------
๑๐๒
บทที่ ๕
การแสวงขอตกลงใจ
บทที่ ๑
กลาวนํา
๑. หลักการและวิธีการ
การแกปญหาทางทหารเปนทั้งศาสตรและศิลป ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการมักจะเผชิญกับ
สถานการณทไี่ มแนนอน มีขอมูลซึ่งไมสมบูรณและนาสงสัย และมีหนทางปฏิบตั ิที่เปนไปไดหลายหนทาง
ดวยกันตลอดเวลา ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการไมเพียงแตจะตองตกลงใจวาจะทําอะไรเทานัน้ แตยังตอง
ทราบวาจะตองทําการตกลงใจเมื่อไร การบรรลุถึงขอตกลงใจไดอยางไรนั้น ขึ้นอยูกับการพิจารณาเฉพาะตัว
ของผูน้นั แตอยางไรก็ตาม ขอสรุป ขอเสนอแนะ และขอตกลงใจที่มีเหตุผลนั้น จะไดมาจากการวิเคราะห
ขอเท็จจริงและสมมุติฐานทัง้ สิ้นที่เกี่ยวของกับสถานการณโดยละเอียดทั่วถึง,แจมแจง และไมใชอารมณ
เทานั้น การแกปญหาอยางมีระบบจะชวยใหมีความละเอียดถี่ถวน ความแจมแจง ความพินจิ พิจารณา ความมี
เหตุมีผล และใชความรูในอาชีพของตนไดเปนอยางดี
วิธีแกปญหาตาง ๆ จะไดมาจากกรรมวิธีทมี่ ีลําดับขั้นและมีเหตุผล ซึ่งมีองคประกอบดังนี้
• การรูวามีปญหาอะไรและอยูตรงไหน และสามารถแจกแจงปญหานัน้ ได
• การรวบรวมขอเท็จจริงและการตั้งสมมุติฐาน ที่จําเปนตอการกําหนดขอบเขตและการ
แกปญหา
• การพัฒนาวิธีแกปญหาที่เปนไปได
• การวิเคราะหและเปรียบเทียบวิธีแกปญหาที่เปนไปได
• การเลือกวิธีแกปญหาที่ดีทสี่ ุด
กรรมวิธีที่นิยมใชในการแกปญหาทางทหาร ๓ กรรมวิธี ไดแก การประมาณสถานการณ, การเขียน
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ และการประชุมเพื่อหาขอตกลงใจ ทัง้ ๓ กรรมวิธนี ี้ มีลักษณะคลายคลึงกับ
กรรมวิธีในการแกปญหาที่ไดกลาวมาแลว และจะชวยใหผูบังคับบัญชาสามารถตกลงใจเลือกหนทางปฏิบัติ
ไดอยางเหมาะสม ขอดีของทั้งสามกรรมวิธีนี้คือ
• มีการสรุปแงคิดที่สําคัญของสถานการณซึ่งรวมถึงขอเท็จจริง สมมุติฐานและผลขางเคียง
ของแตละหนทางปฏิบัติ
• ชี้หรือเสนอแนะวาควรใชวธิ ีการตาง ๆ ที่มีอยูอยางไรดีที่สุดเพื่อการแกปญหาหรือเพื่อการ
บรรลุภารกิจ
๑๐๓
๒. สมมุติฐาน
สมมุติฐาน คือ การคาดคะเนที่มีตอสถานการณในปจจุบันหรือในอนาคต ซึ่งถูกสมมุติวาเปน
ขอเท็จจริง เนื่องจากไมสามารถหาขอพิสูจนไดอยางแนชัด ในกรณีที่ขาดขอเท็จจริงสมมุติฐานจะถูกใชเพื่อ
ชดเชยขอมูลของสถานการณที่ขาดหายไป โดยปกติแลว สมมุติฐานจะบอกถึงสิ่งที่จะตองเกิดขึ้นในอนาคต
ซึ่งจะมีผลกระทบตอความสําเร็จของหนทางปฏิบัติ ในการวางแผนนั้น สมมุตฐิ านเปนสิ่งที่ขาดเสียมิได
แตอยางไรก็ตาม ตองจดจําไวเสมอวา การทดแทนสมมุตฐิ านดวยขอเท็จจริงเมื่อสามารถกระทําไดนนั้ เปนสิ่ง
ที่ดีที่สุด ในกรณีที่มีการใชสมมุติฐาน สมมุติฐานจะตองสมจริงมีเหตุผลและกลาวใหแนชัด
การใชสมมุติฐานในกรรมวิธีการแกปญหาใด ๆ นั้น จะตองมีการตรวจสอบความถูกตอง และความ
จําเปนของสมมุติฐานกอนเสมอ สมมุติฐานที่ถูกตองจะถูกใชแทนขอเท็จจริงซึ่งมีผลกระทบโดยตอตอปญหา
นั้น โดยผูที่กําหนดสมมุติฐานนี้ จะตองสามารถอธิบายความเปนมา ความถูกตอง ตลอดจนความจําเปนตองใช
ของสมมุติฐานนี้ได สมมุตฐิ านที่ถูกตองกลาวถึงสภาวะที่จะตองเปนอยูกอน ขอสรุปที่ไดมาจากสมมุติฐานนี้
ถึงจะถูกยอมรับไดโดยไมมคี วามคลางแคลงใจ ถาสมมุติฐานที่ตั้งขึ้นผิดไมถูกตองก็จะทําใหผลของการ
วิเคราะหนั้นผิดพลาดไปดวย สมมุติฐานที่จําเปน คือสมมุติฐานซึ่งมีความสําคัญยิ่งตอการแกปญ  หา แตละ
สมมุติฐานที่นาํ มาใชจะตองมีการตรวจสอบดวยคําถามทีว่ า “สมมุตฐิ านนี้จําเปนอยางยิ่งตอการแกปญหานี้
หรือไม” ถาไดคําตอบวา “ไม” ก็สามารถตัดสมมุติฐานนั้นทิ้งได การมีสมมุติฐานมากเกินไปจะทําใหวิธีการ
แกปญหาที่ไดมากลายเปนสมมุติฐานดวย อยางไรก็ตาม ในบางครั้งควรกําหนดขอบเขตของปญหาที่นํามา
พิจารณา
๑๐๔
ตอนที่ ๒
การประมาณสถานการณ

๓. ความมุงหมาย
ความมุงหมายของการทําประมาณสถานการณ ก็เพื่อรวบรวมและวิเคราะหขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของ
สําหรับใชในการพัฒนาหนทางปฏิบัติที่มีประสิทธิผลสูงสุด ภายใตขอจํากัดในเรื่องเวลาและขาวสารที่มีอยู
การประมาณสถานการณสามมรถกระทําไดในทุกสถานการณ และในทุกระดับและชนิดหนวย ถึงแมวาปกติ
แลวจะใชสําหรับแกปญหาทางยุทธวิธีก็สามารถประยุกตใชกับกิจกรรมทางทหารอื่น ๆ ไดเชนกัน กรรมวิธีนี้
สามารถใชไดทั้งผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ ฝายอํานวยการจะเลือกใชแบบฟอรมในการประมาณการ
เมื่อตองการไดขอสรุปสําหรับเสนอแนะผูบังคับบัญชา แตจะใชแบบฟอรมในการประมาณสถานการณเมื่อ
ตองการเลือกหนทางปฏิบัตใิ นการบรรลุกจิ เฉพาะในสายงานของตน
การประมาณสถานการณ จะกระทําใหถี่ถว นที่สุดเทาที่เวลาและสิ่งแวดลอมจะอํานวยให
รายละเอียดจะมีมากนอยเพียงใดขึ้นอยูก ับระดับและชนิดของหนวย ในระดับต่ํากวากองพลการประมาณ
สถานการณมกั จะกระทําในใจ แบบฟอรมของการประมาณสถานการณจะทําใหการวิเคราะหปจ จัยที่เกีย่ วของ
ตาง ๆ เปนไปอยางมีลําดับขึ้นและมีเหตุผล อีกทั้งขาวสาร ขอสรุป และขอเสนอแนะของประมาณสถานการณ
อื่น ๆ ที่เกี่ยวของอาจถูกนํามาใชได การประมาณสถานการณจะตองมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง เมื่อปจจัย
ตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอการปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงไป เมื่อเกิดขอเท็จจริงใหม ๆ ที่ตองพิจารณา เมื่อ
สมมุติฐานใชไมไดอีกตอไปหรือถูกแทนที่ดวยขอเท็จจริง หรือเมื่อภารกิจมีการเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม
๔. การประมาณสถานการณ
การประมาณสถานการณของผูบังคับบัญชาจะทําใหไดขอตกลงใจวา จะบรรลุภารกิจที่ไดรับมอบ
อยางไร หลังจากพิจารณาภารกิจ ฝายตรงขาม ลักษณะภูมิประเทศ กําลังที่มีอยู เวลา และปจจัยอืน่ ๆ
ที่เกี่ยวของแลว ผูบังคับบัญชาก็จะไดขอ ตกลงใจ การประมาณสถานการณมีพนื้ ฐานมาจากความรูเฉพาะตัว
ในเรื่องสถานการณ ขอพิจารณาทางจริยธรรม และผลของการประมาณการของฝายอํานวยการ รายละเอียด
ของแบบฟอรมในการประมาณสถานการณจะกลาวไวในผนวก ง
ผูบังคับบัญชาของหนวยสนับสนุนการรบและหนวยสนับสนุนทางการชวยรบ จะทําประมาณ
สถานการณในการสนับสนุนการปฏิบัติการ เพื่อพิจารณาวาหนทางปฏิบัติทางยุทธวิธีที่ไดกําหนดขึ้นนั้น
สามารถสนับสนุนไดหรือไม และหนทางปฏิบัติใดที่สนับสนุนไดดีทสี่ ุด การประมาณสถานการณดังกลาว
จะกระทําอยูใ นรูปของการประมาณการ ในฐานะที่ผูบังคับบัญชาเหลานั้นทําหนาที่เปนฝายกิจการพิเศษ

๕. การประมาณการ
ฝายอํานวยการชวยผูบังคับบัญชาในการบรรลุขอตกลงใจ ดวยการทําประมาณการในสายงาน
รับผิดชอบของตน ประมาณการเหลานี้จะวิเคราะหผลกระทบของปจจัยตาง ๆ ซี่งอยูในเรื่องที่เกี่ยวของกับ
๑๐๕
สายงานนั้น ๆ วา มีผลตอการบรรลุภารกิจของหนวยหรือไม และระบุปจจัยที่มผี ลกระทบตอการกําหนด
การวิเคราะห และการเปรียบเทียบหนทางปฏิบัตทิ ี่เปนไปได การปราณการจะทําใหไดขอสรุปและ
ขอเสนอแนะวา หนทางปฏิบัติใดที่สามารถปฏิบัติได ในการทําประมาณการนัน้ ฝายอํานวยการจะตอง
ปรึกษาหารือกับฝายอํานวยการคนอื่น ๆ รวมทั้งหนวยงานที่เกี่ยวของดวย เพื่อใหมั่นใจวาตนไดพิจารณาปจจัย
ทั้งปวงแลว การประมาณการนอกจากจะชวยการทําประมาณสถานการณของผูบ ังคับบัญชาแลว ยังชวย
ฝายอํานวยการทั้งหลายในการพิจารณากําหนดภารกิจในรายละเอียดอีกดวย ฝายอํานวยการจะประมาณการ
ในหลาย ๆ เรื่อง ฝายอํานวยการประสานงานและฝายกิจการพิเศษอาจทําประมาณการ ซึ่งครอบคลุมความ
รับผิดชอบบางสวนหรือทั้งหมดในสายงานของตนได การเสนอประมาณการอาจกระทําดวยวาจา เชน ในการ
บรรยายสรุป หรือกระทําเปนขอเขียนก็ได สวนมากแลวการเสนอประมาณการตอผูบังคับบัญชามักจะเสนอ
เพียงขอสรุปหรือขอเสนอแนะเทานั้น
การประมาณการของฝายอํานวยการใดมักจะเกีย่ วของกับงานในสายงานนั้น ๆ โดยเฉพาะ
ตัวอยางเชน
• การประมาณการกําลังพล วิเคราะหปจจัยทางดานกําลังพลและการบริหารที่มีผลกระทบ
ตอประสิทธิผลของกําลังพลและหนวย เนื่องจากสิ่งเหลานี้มีผลกระทบตอการบรรลุภารกิจ จากผลของการ
ประมาณการนี้จะทําใหไดขอ สรุป และขอเสนอแนะในเรื่องความพรอมของกําลังพล ความเปนไปไดของ
แตละหนทางปฏิบัติจากมุมมองของ สธ.๑ และผลกระทบของแตละหนทางที่มีตอการปฏิบัติการกําลังพล
• การประมาณการขาวกรองวิเคราะหคุณลักษณะของพื้นทีป่ ฏิบัติการ และสถานการณ
ขาศึก เนื่องขากสิ่งเหลานี้กระทบกระเทือนตอการบรรลุภารกิจ ประมาณการนีจ้ ะใหขอสรุปและขอเสนอแนะ
ตามความเหมาะสม ในเรือ่ งผลของพื้นที่ปฏิบัติการที่มีตอกําลังฝายเราและกําลังฝายขาศึก หนทางปฏิบัติ
ที่ขาศึกนาจะกระทํา จุดออนของขาศึกที่สามารถนํามาขยายผล และความเปนไปไดของแตละหนทางปฏิบัติ
ของฝายเรา
• การประมาณการยุทธวิเคราะหปจจัยตาง ๆ ที่กระทบตอการบรรลุภารกิจเพื่อพิจารณา
กําหนดหนทางปฏิบัติตาง ๆ ที่สมเหตุสมผล รวมทั้งพิจารณาผลกระทบของหนทางเหลานั้นที่มตี อกําลังพล
ของฝายเรา ประมาณการนี้จะเสนอแนะหนทางปฏิบัติที่นําไปสูการบรรลุภารกิจ ประมาณการยุทธของ สธ.๓
และประมาณสถานการณของผูบังคับบัญชาจะใชแบบฟอรมเดียวกัน และมักจะมีขอมูลเหมือนกัน อยางไร
ก็ตาม ประมาณการยุทธจะมุงไปสูการเสนอแนะแทนทีจ่ ะเปนขอตกลงใจ
• การประมาณการสงกําลังบํารุงวิเคราะหปจ จัยทางดานการสงกําลังบํารุงที่มีผลกระทบตอ
การบรรลุภารกิจ ประมาณการนีจ้ ะใหขอสรุปและขอเสนอแนะเกีย่ วกับความเปนไปไดในการสงกําลังบํารุง
ของแตละหนทางปฏิบัติ และผลกระทบของแตละหนทางที่มีตอการปฏิบัติการสงกําลังบํารุง
• การประมาณการกิจการพลเรือนวิเคราะหผลกระทบของปจจัยทางดานกิจการพลเรือน
ที่มีผลตอการบรรลุภารกิจ ประมาณการนี้จะใหขอสรุปและขอเสนอแนะในเรื่องความเปนไปไดของแตละ
หนทางปฏิบัติ จากมุมมองของ สธ.๕ รวมทั้งผลกระทบของแตละหนทางที่มีตอการปฏิบัติการกิจการพลเรือน
๑๐๖
• การประมาณการของฝายอํานวยการสายงานอื่น ๆ ก็อาจถูกนํามาใชไดดว ยการประมาณ
การของฝายอํานวยการทุกๆ คน จะทําประมาณการในสายงานที่ตนรับผิสดชอบ ตัวอยางเชน ผูประสานการยิง
สนับสนุนและผูบังคับทหารสื่อสาร ซึ่งจะทําประมาณการทั้งในฐานะที่เปนผูบังคับหนวยรอง และเปนฝาย
กิจการพิเศษ นอสกจากนี้ฝา ยอํานวยการยังอาจทําประมาณการเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อยูในความรับผิดชอบ
ของตน เชน นายทหารยุทธการอาจทําประมาณการเพิ่มเติมเฉพาะเรื่องในสวนของการลวง การระวังปองกัน
ในการปฏิบัตกิ าร และการปฏิบัติการจิตวิทยาเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางยุทธวิธี เปนตน
๑๐๗
ตอนที่ ๓
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ

๖. ความมุงหมาย
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ เปนการวิเคราะหและเสนอแนะวิธีการแกปญหา ซึ่งอาจเปนปญหา
ที่เฉพาะเจาะจง หรือเปนภาพรวม ๆ ของปญหา โดยอาจจัดทําคนเดียวหรือหลายคนรวมกันทําก็ได ถาเปน
ปญหาที่มีขอบเขตกวางขวาง ฝายอํานวยการอาจจัดทําขอพิจารณาแยกในแตละสวนของปญหา นอกจากนี้
ฝายอํานวยการยังอาจเปนผูร ิเริ่มในการจัดทําขอพิจารณาในเรื่องที่ตนเองมีความสนใจโดยเฉพาะก็ได โดยทํา
ผูเดียวหรือเปนกลุมก็ได ตามปกติขอพิจารณาของฝายอํานวยการเปนวิเคราะหในใจตามขั้นตอนอยางมีเหตุ
มีผลเพื่อใหไดขอเสนอแนะแกผูบังคับบัญชาสําหรับการตกลงใจ โดยอาจนําเสนอดวยวาจา เชน ในการ
บรรยายสรุปหรือเปนขอเขียนก็ได ดูผนวก ฉ
ความมุงหมายในการจัดทําขอพิจารณาของฝายอํานวยการเปนเชนเดียวกับการทําประมาณการ คือ
เพื่อรวบรวมและวิเคราะหขาวสารที่มีความเกี่ยวของ สําหรับใชในการพัฒนาวิธีการแกปญหาที่มีประสิทธิผล
มากที่สุด ฝายอํานวยการสามารถจัดทําขอพิจารณาไดทั้งเรื่องทางธุรการและการยุทธ ถึงแมวาในการแกปญหา
ทางยุทธวิธี มักนิยมใชการทําประมาณการมากกวาก็ตาม ขอพิจารณาของฝายอํานวยการที่ทําแบบยอเรียกวา
เอกสารในการตกลงใจ ดูผนวก ฉ
๗. แบบฟอรม
ผนวก ฉ จะกลาวถึงรายละเอียดในการจัดทํา และแบบฟอรมของขอพิจารณาของฝายอํานวยการ
รวมทั้งตัวอยางดวย แมวาขอมูลที่ใหไวนจี้ ะเสนการจัดทําเอกสารในการทําขอพิจารณาฝายอํานวยการ แตก็มี
ประโยชนในการทําความเขาใจลําดับความคิดในการวิเคราะหปญหาในใจ และในการนําเสนอดวยวาจา
ปริมาณของขอมูลที่แสดงไวในการเสนอขอพิจารณาของฝายอํานวยการดวยวาจาหรือเปนขอเขียน
จะมีรายละเอียดแตกตางกันไปในแตละกองบัญชาการ และจะขึ้นอยูกบั ลักษณะของผูนําหนวยนัน้ ๆ รวมทั้ง
ระดับของหนวยบัญชาการดวย ในทํานองเดียวกัน ระดับของความเปนทางการโดยเฉพาะอยางยิง่ ในการ
นําเสนอดวยวาจาก็จะแตกตางกันดวย
๑๐๘
ตอนที่ ๔
การแสวงขอตกลงใจ

๘. ลําดับขัน้ ในการแสวงขอตกลงใจ
ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการใชลําดับขั้นในการแสวงขอตกลงใจ เพื่อหาขอตกลงใจทางยุทธวิธี
และปฏิบัติตามขอตกลงใจนั้น นอกจากนั้น ยังใชวธิ ีนี้ในการแสวงขอตกลงใจในกิจกรรมทางทหารอื่น ๆ
ดวย กรรมวิธนี ี้จะกระทําอยางตอเนื่องเรื่อยไป
ตามปกติ เวลามักเปนปจจัยที่มีความสําคัญยิ่งสําหรับผูบังคับบัญชา และฝายอํานวยการในการแสวง
ขอตกลงใจ หมายเหตุที่แสดงไวในรูปที๕ ่ –๑ ชี้ใหเห็นถึงจุดที่ผูบงั คับบัญชาอาจจําเปนตองดําเนินการตาม
กระบวนกรรมวิธีแสวงขอตกลงใจ และสั่งการดวยวาจาโดยอาศัยขอมูลของตนเทาที่มีอยู เพราะไมอาจ
เสียเวลาไปกับสวนการปฏิบตั ิของฝายอํานวยการในขั้นตอนกรรมวิธีแสวงขอตกลงใจตามปกติได สรุปก็คือ
ลําดับขั้นซึ่งชวยในการแสวงขอตกลงใจนีไ้ มจําเปนตองทําตามทั้งหมด อาจเลือกทําเพียงสวนหนึ่งสวนใดได
เพราะเปนเพียงกรรมวิธีในการหาขอสรุปเทานั้น เมื่อเวลามีจํากัด ผูบ ังคับบัญชาจะตองเลือกปฏิบัติเพื่อใหได
ขอตกลงใจทีท่ ันตอเวลา หนวยรองจะตองมีเวลาอยางนอยสองในสามของเวลาที่มีอยู ผูบังคับบัญชาและฝาย
อํานวยการของหนวยรองจึงจะสามารถวางแผนไดทนั เวลา เสนาธิการของหนวย เปนผูรับผิสดชอบในการ
กํากับดูแลการทํางานใหเปนไปตามเวลาทีก่ ําหนด
ฝายอํานวยการมีหนาที่ในการเสนอขาวสารขอมูล ที่ผูบังคับบัญชาจําเปนตองทราบสอยางตอเนือ่ ง
และหลีกเลีย่ งการมอบภาระใหแกผูบังคับบัญชา โดยไมเสนอขาวสารที่ไมจําเปน การเลือกวาจะเสนอขาวสาร
แกผูบังคับบัญชาในเรื่องใดนั้นขึ้นอยูก ับความรูเกีย่ วกับสถานการณของฝายอํานวยการ, นโยบายของ
ผูบังคับบัญชา และการวิเคราะหที่มีเหตุผลของฝายอํานวยการ ผูบังคับบัญชาจะตองหลีกเลีย่ งการรองขอ
ขาวสารที่มากเกินควร รวมทั้งความพยายามที่จะวิเคราะหขอมูลนั้นดวยตนเองมากเกินไปดวย เพราะจะเปน
การเสี่ยงดวยการถูกทับถมดวยรายละเอียดที่ไมมีที่สิ้นสุด ฝายอํานวยการจะตองชวยเหลือผูบังคับบัญชาดวย
การวิเคราะหรายละเอียด และเสนอเฉพาะขอมูลที่มีความสําคัญยิ่ง ซึ่งรวมถึงขอสรุปและขอเสนอแนะดวย
การปฏิบัติของฝายอํานวยการนี้จะกระทําบอยครั้งเทาที่จําเปนตอการติดตามสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป
ผูบังคับบัญชาจะตองไมรอฟงขาวสารจากการบรรยายสรุปตามระยะเวลาของฝายอํานวยการของตนเทานั้น
แตจะตองรับทราบขอมูลจากฝายอํานวยการในโอกาสอื่น ๆ ดวย มิฉะนั้นจะไมสามารถติดตามสถานการณ
การรบในกาลปจจุบัน ถาผูบ ังคับบัญชาไดรับทราบขาวสารขอมูลจากฝายอํานวยการอยูตลอดเวลาแลว ก็จะ
สามารถตกลงใจไดอยางทันทวงทีเมื่อถึงเวลาจําเปน
ในการแสวงขอตกลงใจมีทั้งการปฏิบัติที่ตองกระทําตามลําดับขั้น และการปฏิบัติที่ตองกระทําไป
พรอม ๆ กัน ซึ่งเวลาที่มีอยู ความเรงดวนของสถานการณ และการตัดสินใจของผูบังคับบัญชา จะมีผลตอการ
ประยุกตใชกรมวิธีในการแสวงขอตกลงใจที่มีเหตุผลนี้
๑๐๙
๙. การปฏิบตั ิของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
ภารกิจของหนวยอาจถูกกําหนดขึ้นจากการสั่งการของ บก.หนวยเหนือ หรือถูกกําหนด/อนุมานโดย
ผูบังคับบัญชาก็ได ในขั้นนี้ ผูบังคับบัญชาอาจเริ่มการวิเคราะหภารกิจ (ตามที่ไดกลาวไวขางลางนี)้ หรือรอง
ขอขอมูลเพิ่มเติมก็ได ผูบ ังคับบัญชาและฝายอํานวยการจะแลกเปลี่ยนขาวสรเกีย่ วกับภารกิจ โดยฝาย
อํานวยการจะเสนอขาวสารเกี่ยวกับสถานการณในปจจุบัน ซึ่งจําเปนตอการวิเคราะหภารกิจใหผบู ังคับบัญชา
ไดรับทราบ
การวิเคราะหภารกิจ เปนวิธกี ารที่ผูบังคับบัญชาใชในการทําความเขาใจกับภารกิจนัน้ การวิเคราะห
ภารกิจจะชี้ถึง
• งานที่ตองกระทํา
• ความมุงหมายที่บรรลุเมื่อกระทํางานตาง ๆ ที่ไดรับมอบหมายสําเร็จ
• ขอจํากัดในการปฏิบัติการของหนวย
งานบางประการจะถูกกําหนดไวในแผน/คําสั่งยุทธการที่ไดรับจาก บก.หนวยเหนือ แลวยังมีงาน
อื่น ๆ ตามความจําเปนของสถานการณ ภารกิจ และความมุงหมายในการปฏิบัติการ ซึ่งผูบังคับบัญชาจะตอง
อนุมานขึ้นในขั้นการวิเคราะหภารกิจ หลังจากที่ไดกําหนดงานตาง ๆ ที่จําเปนตอการบรรลุภารกิจแลว
ผูบังคับบัญชาจะโยงความสัมพันธของงานนั้น (ถาเปนไปได) กับภูมปิ ระเทศ หรือขาศึก ตัวอยางเชน งานที่
กลาวถึงการยึดรักษาหัวหาดบนฝงแมน้ําโขง อาจจะสัมพันธกับภูมิประเทศที่เฉพาะเจาะจงซึ่งสูงขมพื้นที่
ปฏิบัติการ เปนตน วิธกี ารนีจ้ ะชวยใหการกลาวถึงงานตางๆ กับฝายอํานวยการ และผูบังคับหนวยรองเปนไป
อยางเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึน้
การทําความเขาใจกับความมุง หมายที่จะบรรลุจากการสําเร็จกิจตาง ๆ นั้น มีความสําคัญอยู
๒ ประการ คือ ประการแรก จะไดมาซึง่ ความเขาใจเกี่ยวกับเจตนารมณของผูบังคับบัญชา ประการที่สอง
ความเขาใจนี้จะชวยในการกําหนดหนทางปฏิบัติ โดยเปนเครื่องมือที่ผูบังคับบัญชาใชในการพิจารณาวา
หนทางปฏิบัตนิ ั้น ๆ สามารถปฏิบัติไดหรือไม และถาปฏิบัติแลวสามารถบรรลุภารกิจไดหรือไม
ขอจํากัด คือ ขอบเจตของการปฏิบัติของหนวย ซึ่งจะกําหนดเสรีในการปฏิบัติของหนวยในเรื่องการ
ดําเนินการยุทธ และ/หรือ กรรมวิธีในการวางแผน ตัวอยางไดแก งานตาง ๆ ที่อยูในคําสั่งของหนวยเหนือ
ซึ่งกําหนด “พรอมที่จะ.....” “ไมกอน..” “ไมชากวา...” ในทํานองเดียวกัน การสั่งเงียบฟง และการไมไดรับการ
สนับสนุน (เชน การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชดิ ) ตางก็เปนขอจํากัดของหนวยดวยเชนกัน ปกติแลวเวลา
มักเปนขอจํากัดอยางหนึ่งซึ่งจะมีผลกระทบตอเวลาที่มีอยู หรือเวลาที่ใหไวเพื่อการวางแผนและปฏิบัติกิจ
บางประการ ผูบังคับบัญชาจะตองคํานึงถึงคุณลักษณะ และผลกระทบของขอจํากัดตาง ๆ เหลานี้ทุกครั้งที่ทํา
ประมาณสถานการณ
เมื่อผูบังคับบัญชาวิเคราะหภารกิจเสร็จสิน้ แลวก็จะไดภารกิจแถลงใหม ซึ่งจะไดกลาวอยางชัดเจน
และเจาะจงถึงงานที่หนวยตองทําใหสําเร็จ รวมทั้งความมุงหมายที่ตองการดวย ถางานที่ตองกระทํามีมากกวา
หนึ่งอยาง ก็มกั จะกลาวตามลําดับงานที่คาดวาจะตองบรรลุผลในการวิเคราะหภารกิจ ผูบังคับบัญชาอาจ
๑๑๐
มองเห็นงานทีต่ องกระทําเปนจํานวนมาก และในทีก่ ลาวไวในภารกิจแถลงใหม จะตองเปนงานที่สาํ คัญยิ่งตอ
ความสําเร็จของภารกิจเปนสวนรวมเทานัน้
งานประจําหรืองานซึ่งปกติตองกระทําอยูแ ลวในหนวย จะไมกลาวรวมไวในภารกิจแถลงใหม
ตัวอยางเชน การจัด จนท. ติดตอ, การซอมบํารุงถนนในเขต หรือการเติมน้ํามันใหกับยานพาหนะตาง ๆ
เหลานี้ ถือเปนงานประจําซึง่ ควรจะปรากฏใน รปจ.อยูแ ลว ในทํานองเดียวกันความรับผิดชอบตางๆ ที่เปนไป
ตามหลักนิยมของการปฏิบัติในภารกิจที่ไดรับมอบ เชน การจัดการระวังปองกันปกของหนวยของตน หรือ
การรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ที่มีการปฏิบัติการของหนวยกองโจรของฝายตรงขามเหลานี้ ไมควรถือเปนกิจ
ที่สําคัญยิ่ง
ภารกิจแถลงใหมจะเปนมูลฐานสําหรับการทําประมาณการ และประมาณสถานการณ รวมทั้ง
ปรากฏอยูในขอ ๑ ของประมาณการและประมาณสถานการณเหลานัน้ ดวย ไมวาจะทําอยูในรูปของเอกสาร
หรือการบรรยายสรุปดวยวาจาก็ตาม นอกจากนี้ ภารกิจแถลงใหมยังถูกนําไปใชในขอ ๒ (ภารกิจ) ของแผน/
คําสั่งยุทธการดวย
ผูบังคับบัญชาสามารถใหแนวทางในการวางแผนแกฝายอํานวยการไดบอ ยครั้งเทาที่จําเปน โดย
ความถี่ ปริมาณ และขอมูลของแนวทางในการวางแผน จะแปรเปลีย่ นไปตามภารกิจ เวลาที่มีอยูส ถานการณ
ขอมูลที่มีอยู และประสบการณของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ ผูบังคับบัญชาอาจเลือกใหแนวทาง
ในการวางแผนขั้นตนแกฝายอํานวยการตอนประกาศภารกิจแถลงใหม แนวทางนี้กําหนดขึ้นเพื่อชักจูงหรือ
ชี้นําฝายอํานวยการใหเพงความสนใจในการสจัดทํา หรือปรับปรุงประมาณการไปในทิศทางที่กําหนด ซึ่งเปน
การชวยใหกรรมวิธีในการแสวงขอตกลงใจดําเนินไปไดโดยรวดเร็วมากยิ่งขึ้น แตผูบังคับบัญชาตอง
ระมัดระวังมิใหแนวทางในการวางแผนของตนทําใหการทําประมาณการของฝายอํานวยการเอนเอียง อยางไร
ก็ตาม แนวทางในการวางแผนของผูบังคับบัญชาเปนเรื่องที่มีความสําคัญ เพราะเปนการกําหนดจุดเริ่มตน
รวมกับการวางแผนของฝายอํานวยการ
แนวทางในการวางแผนของผูบังคับบัญชาอาจรวมถึงเรื่องตอไปนี้
• ภารกิจแถลงใหม ซึ่งมีมูลฐานมาจากการวิเคราะหภารกิจของผูบังคับบัญชา
• คําแนะนําเรื่องการใชอาวุธนิวเคลียร และอาวุธเคมี
• หนทางปฏิบัตทิ ี่มีผูบังคับบัญชาตองการใหฝายอํานวยการนําไปพัฒนา หรือตัดทิ้ง เมื่อ
จัดทําหรือปรับปรุงประมาณการ
• ขอพิจารณาตามหลักนิยม เชน การลวง การเตรียมสนามรบดานการขาว การสงคราม
อิเล็กทรอนิกส การควบคุมบังคับบัญชา รวมทั้งการปฏิบัติการรบในทางลึก การปฏิบัติการรบในพื้นที่การรบ
หลัก และการปฏิบัติการรบในพื้นที่สว นหลังดวย
• ปจจัยอืน่ ๆ ที่ผูบังคับบัญชาเห็นวามีความสําคัญ ตัวอยางเชน สมมุติฐาน ขอจํากัด ชนิด
ของกองหนุน ขาวสารสําคัญยิ่งที่ตองการ และคําชี้แจงสําหรับการสนับสนุนการชวยรบ เปนตน
ฝายอํานวยการประสานงานจะจัดทําประมาณการโดยใชภารกิจแถลงใหม และแนวทางในการ
วางแผนของผูบ ังคับบัญชา (ถามี) เปนมูลฐานและโดยอาศัยความชวยเหลือจากฝายกิจการพิเศษ ผูซงึ่ อาจตอง
๑๑๑
จัดทําประมาณการในสวนของตนเองดวย ผลที่ไดมาของการประมาณการเหลานี้ คือ ขอเสนอแนะแก
ผูบังคับบัญชาวาจะบรรลุภารกิจไดอยางไร การจัดทําประมาณการเปนงานที่ตองกระทําอยางตอเนื่อง โดยมี
การแลกเปลี่ยนขาวสารขอมูล โดยฝายอํานวยการในระหวางการจัดทําประมาณการของแตละฝายไปพรอม ๆ
กันดวย ตัวอยางเชน ฝายยุทธการจะใหขอมูลแกฝายอํานวยการ
กรรมวิธใี นการแสวงขอตกลงใจ
การปฏิบัติของ ฝอ. 1 การปฏิบัติของ ผบ.
รับภารกิจ

2 2
การใหขาวสาร การใหขาวสาร
→ ขั้นตนแก ผบ. ขั้นตนแก ฝอ.

4 ประมาณการ
3 วิเคราะหภารกิจ x
ภารกิจแถลงใหม ←
และแนวทางการ
วางแผนของ ผบ.

6 5 ประมาณสถาน- x
จัดทําแผน/คําสั่ง การณ ขอตกลงใจ
แนวความคิดใน
การปฏิบัติของ ผบ.
8 7 x
แจกจายแผน/คําสั่ง อนุมัติแผน/คําสั่ง

9
กํากับดูแลแล
ขาวคืบหนา ขาวคืบหนา
10
สําเร็จภารกิจ หมายเหตุ ( x ) หากมีเวลาจํากัด ผบ.
อาจจําเปนตองเสร็จสิ้นการทําประมาณ
สถานการณโดยลดขั้นตอนการปฏิบัติ
และอาศัยความรอบรูของตนเองเกี่ยว
กับสถานการณ และสั่งการไปยัง
รูปที่ ๕-๑ กรรมวิธีในการแสวงขอตกลงใจ หนวยรองดวยวาจา

คนอื่น ๆ ในเรื่อง การดําเนินกลยุทธและแผนการยิงสนับสนุนที่ไดพฒ ั นาขึ้นอยางคราว ๆในระหวางการทํา


ประมาณการยุทธ การวิเคราะหหนทางปฏิบัตทิ ี่วานี้ โดย สธ.๒ หรือ สธ.๔ อาจชี้ใหเห็นวา หนทางดังกลาว
๑๑๒
ไมสามารถใหการสนับสนุนไดในแงของ สธ.๒ หรือ สธ.๔ การปฏิบัติในลักษณะนี้จะทําใหฝายอํานวยการ
ในสายงานตาง ๆ สามารถพัฒนาทางเลือกที่ปฏิบัติขึ้นไดพรอม ๆ กัน เพื่อเสนอแนะใหผูบังคับบัญชาพิจารณา
หนาที่ของเสนาธิการคือการกํากับดูแล เพือ่ ใหมั่นใจวาการประมาณการของสายงานตาง ๆ มีการ
ประสานกัน ความคิดเห็นที่ขดั แยงกัน มีการพูดถึงและไดขอยุติ และเรื่องขัดแยงที่เสนอผูบังคับบัญชา ควรเปน
เฉพาะเรื่องจําเปนใหผูบังคับบัญชาทราบเพื่อตัดสินใจเทานั้น อยางไรก็ตาม เสนาธิการจะตองใชความ
ระมัดระวังอยางยิ่งในการกระทําดังกลาว เพื่อมิใหเกิดการกลบเกลื่อนหรือสมยอมกันในเรื่องที่ขัดแยงกันจริง
โดยมุงแตเพียงวาจะเสนอหนทางปฏิบัติที่เหมือนกันใหกับผูบังคับบัญชาเทานั้น ในบางหนวยงานเสนาธิการ
จะเปนผูสนธิประมาณการของสายงานตางๆ เขาดวยกัน แลวเสนอเปนประธานกรรมการรวมประมาณการ
เดียวกับผูบังคับบัญชา
ผูบังคับบัญชาจะประมาณสถานการณเสร็จสิ้นได ดวยการอาศัยความรูความเขาใจในสถานการณ
ที่ตนมีอยู รวมทั้งขอสรุป และขอเสนอแนะ จากการประมาณการของฝายอํานวยการดวย ในระหวางการทํา
ประมาณสถานการณนั้น ผูบ ังคับบัญชาจะกําหนด วิเคราะห และเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ ซึ่งไดพิจารณา
อยางคราว ๆ แลววาสามารถปฏิบัติได หนทางปฏิบัติจะถูกกําหนดวาสามารถปฏิบัติไดก็ตอเมื่อหนทางปฏิบัติ
นั้นสามารถบรรลุภารกิจ สามารถสนับสนุนไดดวยเครือ่ งที่มีอยู และเปนไปตามกฎการสงครามที่ทุกฝายยอม
การกําหนดนีจ้ ะเกิดขึ้นไดกต็ อเมื่อมีวิเคราะหขอเท็จจริงทั้งหมดที่มีอยูอ ยางละเอียดถี่ถวนแลวเทานัน้ ในกรณี
ที่ขาดขอเท็จจริงบางประการก็อาจตั้งสมมุติฐานขึ้นแทนได เมื่อการวิเคราะหไดแสดงใหเห็นวาหนทางใด
ไมสามารถปฏิบัติได หนทางนั้นก็จะถูกตัดทิ้งไปจากการพิจารณา
การวิเคราะหของผูบังคับบัญชายังอาจชี้ใหเห็นวา หนทางปฏิบัติที่กําลังถูกพิจารณานัน้ สมควรมีการ
ปรับปรุงแกไขดวย หนทางปฏิบัติที่ผานการวิเคราะหและปรับปรุงแกไขที่จําเปนจนถือวาสามารถปฏิบัติ
ไดแลว จะถูกนํามาเปรียบเทียบซึ่งกันและกัน ผูบังคับบัญชาเปนผูตกลงใจวาจะเลือกหนทางปฏิบัติใดจาก
หนทางที่เหลือเหลานั้นโดยใชหลักการตัดสิ้นใจ ในกรณีที่ไมทราบขอเท็จจริง หรือไมมีขอเท็จจริงในมือ
ผูบังคับบัญชาจะประมาณสถานการณใหมทุกครั้งที่ไดรับขอมูลขาวสารเพิ่มเติม
เมื่อผูบังคับบัญชาตกลงใจเลือกหนทางปฏิบัติที่ใชบรรลุภารกิจไดแลว ก็จะประกาศขอตกลงใจและ
แนวความคิดในการปฏิบัติใหกับฝายอํานวยการหลักของหนวย ซึ่งในขณะนั้นก็อาจมีผูบังคับหนวยรอง
รวมฟงอยูด วย แนวความคิดเห็นในการปฏิบัติ คือ การบรรยายถึงภาพของการปฏิบัติการที่ผูบังคับบัญชาได
วาดภาพไว ตามปกติ ผูบังคับบัญชาจะประกาศขอตกลงใจ และแนวความคิดในการปฏิบัติดวยวาจา โดยมี
รายละเอียดมากพอที่ฝายอํานวยการและผูบ ังคับหนวยรองจะเขาใจไดวา พวกเขาจะตองทําอะไรบาง และใน
กรณีจําเปนก็สามารถปฏิบัติภารกิจไปไดโดยไมจาํ เปนตองไดรับคําสั่งการเพิ่มเติมอีก ในหนวยระดับสูงกวา
กองพลขอตกลงใจและแนวความคิดในการปฏิบัติอาจถูกเขียนเปนเอกสาร เมื่อมีเวลาเพียงพอผูบังคับบัญชาจะ
แสดงเจตนารมณของตนอยางเดนชัด โดยการอิงหลักนิยมในสงครามสมัยใหม ซึ่งไดแก การรวมกําลังปฏิบัติ
ใหเปนหนึ่ง การใชความไดเปรียบของฝายเราตอจุดออนของฝายตรงขาม การกําหนดและรักษาไวซึ่งความ
หนุนเนื่องของกําลังปฏิบัติหลัก การดํารงการสูรบใหตอเนื่องการปฏิบัติที่รวดเร็ว การโจมตีที่หนักหนวง และ
การเอาชนะฝายตรงขามใหไดโดยรวดเร็ว การใชภูมิประเทศและลมฟาอากาศอยางมีประสิทธิผล รวมทั้งการ
๑๑๓
ปกปองกําลังของตนเองดวย แนวความคิดในการปฏิบัติของผูบังคับบัญชาจะวาดภาพการปฏิบัติการตั้งแต
เริ่มตนจนกระทั่งสิ้นสุด และจะสบอกถึงเจตจํานงของผูบังคับหนวยรอง เพื่อใหหนวยรองสามารถบรรลุ
ภารกิจไดโดยไมจําเปนตองไดรับการสั่งการเพิ่มเติม ซึ่งรวมถึงในกรณีที่ขาดการติดตอสื่อสารดวย
แนวความคิดในการปฏิบัติของผูบังคับบัญชา ควรกลาวรวมถึงเรื่องตอไปนี้
• การจัดเฉพาะกิจ
• มาตรการควบคุม
• การใชหนวยดําเนินกลยุทธหลัก
• การกําหนดการควบคุมบังคับบัญชา (ภารกิจทางยุทธวิธี ความสัมพันธทางการบังคับ
บัญชา และที่ตั้ง ทก.) นอกจากนีย้ ังควรพิจารณาถึง การรบในทางลึก การรบในพื้นที่การรบหลัก และการรบ
ในพื้นที่สว นหลัง/เขตหลังดวย
• การยิงเพื่อสนับสนุนการดําเนินกลยุทธ
• การกําหนดสถานภาพการปองกัน (นชค.) ตามภารกิจ
• ความรับผิดชอบในการปฏิบัติการรบในพื้นที่สวนหลัง/เขตหลัง
• แผนเผชิญเหตุ
• การสั่งการและการใช
O กองหนุน (ถาจําเปน)
O การปองกันภัยทางอากาศ
O ควันในการปองกันฝายเรา และบั่นทอนความสามารถของฝายตรงขาม
O ทหารชาง (ซึ่งรวมถึงเครื่องกีดขวางดวย)
O ฮ.โจมตี
O การสนับสนุนทางอากาศในเชิงรุก
• การติดตอ/การประสานงาน
แผน/คําสั่งจะแสดงใหเห็นถึงขอตกลงใจและแนวความคิดในการปฏิบตั ิของผูบังคับบัญชา สําหรับ
กรรมวิธีในการวางแผน ในการประสานงาน และในการออกคําสั่งนั้น จะตองมีการชั่งใจกันระหวางความเร็ว
และความฉับพลันในการตอบสนองที่จําเปน กับความเปนลําดับขั้นของกรรมวิธีและความละเอียดของการ
วางแผนที่ตองการ ผูบังคับบัญชาจะเปนผูตดั สินใจวาแผน/คําสั่งนั้นควรมีรายละเอียดมากนอยเพียงใด เพื่อให
มั่นใจวาฝายอํานวยการและผูบังคับหนวยรองของตนมีความเขาใจตรงกัน เมื่อสถานการณเปลีย่ นไป ก็อาจ
มีการออกคําสั่งเปนสวน ๆ ที่กะทัดรัด ชัดเจน เพื่อแกไขคําสั่งยุทธการนั้น ๆ สําหรับเรื่องกํากับดูแลนัน้
ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการจะตองกํากับดูแลการจัดทําแผน และการปฏิบัติตามคําสั่งอยางตอเนื่อง
การรายงานขาวคืบหนาของหนวยปฏิบัติเปนสิ่งสําคัญ แผน/คําสั่งจะตองมีการปรับปรุงแกไข
อยูตลอดเวลา เพราะหลังจากที่ขอตกลงใจไดถูกสงไปยังหนวยตาง ๆ เพื่อการปฏิบัติแลว ขอเท็จจริงและ
สถานการณตาง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นในระหวางทีค่ ําสั่งถูกจัดทํานั้น อาจมีการเปลี่ยนแปลงไป ขาวสารความคืบหนา
ของการปฏิบัติการตามแผน/คําสั่งจึงเปนเรื่องที่สําคัญยิ่ง ขาวสารความคืบหนาดังกลาว อาจไดมาจากรายงาน
๑๑๔
ตาง ๆ รวมทั้งการตรวจเยีย่ มดวยตนเองของผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการ หรือผูบังคับหนวยรองและฝาย
อํานวยการของหนวยรอง ความคืบหนาที่ไดรับทราบนี้ จะถูกนํามาประเมินผลวาภารกิจจะบรรลุหรือไม
การเปลี่ยนแปลงที่จําเปนตอคําสั่งกอนหนานี้ อาจกระทําทําไดแมในระหวางกําลังปฏิบัติการโดยการใชคําสั่ง
เปนสวน ๆ ขาวสารความคืบหนาจะชวยลดความไมแนนอนลงได และการตัดสินใจกระทําไดดียิ่งขึ้น เมื่อ
สถานการณเปลี่ยนไปก็จําเปนตองมีการกลงใจใหม โดยอาศัยกรรมวิธีในการแสวงขอตกลงใจซึ่งกระทําซ้ํา
แลวซ้ําอีกจนกวาจะบรรลุภารกิจ
๑๑๕
บทที่ ๖
แผนและการวางแผน

ตอนที่ ๑
กลาวทั่วไป

๑. กรรมวิธใี นการวางแผน
เปนกรรมวิธีอนั เนื่องในการเตรียมการสําหรับภารกิจที่ไดรับมอบหรืออนุมานขึ้นในอนาคต เปน
การตรวจสอบการปฏิบัติการที่คาดการณจากทุกแงทกุ มุมอยางละเอียดและมีระบบการวางแผนและการจัดทํา
แผนเปนสวนหนึ่งของกระบวนการแสวงขอตกลงใจ การวางแผนจะชวยใหการปฏิบัติการในอนาคตงาย
ขึ้นดวย โดยอํานวยใหการปฏิบัติของฝายอํานวยการและสวนตาง ๆ ของหนวยสามารถเปนไปอยางตอเนื่อง
ดวยความรวดเร็วและมีการประสานงาน การวางแผนจะทําใหหนวยรองทราบถึงความตองการในอนาคต
และใหหนวยอยูในสภาพพรอมที่จะปฏิบัติในสถานการณที่เปลี่ยนแปลง การปฏิบัติการทางทหารหากจะ
ประสพความสําเร็จจะตองมีการวางแผนอยางเพียงพอและเหมาะสม การวางแผนอยางถูกตองจะทําให
สามารถพิจารณาปจจัยทั้งปวงในการปฏิบัติการอยางละเอียดและมีระบบ ยิ่งหนวยมีขนาดใหญขึ้น ยิ่งมีความ
จําเปนตองคาดการณและวางแผนระยะยาว เพื่อปฏิบัติในอนาคตมากขึ้น
ฝายอํานวยการวางแผนการปฏิบัติการในอนาคตอยางตอเนื่อง ขอบเขตของการวางแผนนี้ขึ้นอยูก ับ
ระดับหนวย ฝายอํานวยการในหนวยระดับสูงปกติจะเตรียมการสําหรับการปฏิบัติการหนึ่งถึงสองสามเดือน
ในอนาคต ในหนวยระดับต่ําฝายอํานวยการตองวางแผนระยะสั้นเปนหลัก ในการวางแผนฝายอํานวยการ
ทุกคนจะตองพิจารณาสวนของการปฏิบัติการที่เกี่ยวของในขอบเจตสายงานของตน และตรวจสอบผลกระทบ
ตอการปฏิบัติการของหนวยและตอแผนของฝายอํานวยการอื่น ๆ โดยปกติฝายอํานวยการจะทําแผนใน
ขอบเขตสายงานในความรับผิดชอบทางฝายอํานวยการของตน
๑๑๖
ตอนที่ ๓
แผน

๒. คุณลักษณะของแผน
แผนเปนวิธีหรือกําหนดการสําหรับการปฏิบัติการทางทหาร เปนขอเสนอในการปฏิบัติตาม
ขอตกลงใจ หรือแผนงานของหนวย แผนเปนการเตรียมการของหนวยในเรื่อง ๆ หนึ่งเพื่อเผชิญกับเหตุการณ
เฉพาะ โดยเปนสวนหนึ่งของกรรมวิธีการวางแผน แผนอาจกระทําเปนขอเขียนหรือดวยวาจา แมวา แผนจะถูก
เขียนขึ้นมาโดยใชมูลฐานจากสภาวการณและสมมุติฐานที่เฉพาะเจาะจง แตแผนก็มิใชเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลง
มิได แผนยอมมีการแกไขเปลี่ยนแปลงใหมีรายละเอียดและทันสมัยมากขึ้น โดยอาศัยการประมาณการและการ
ศึกษาวิจัยอยางตอเนื่อง
สวนประกอบที่สําคัญยิ่งของแผนหนึ่งๆ นั้นก็คือ หนทางปฏิบัติที่ปฏิบัติไดหนทางหนึ่ง และวิธีการ
ปฏิบัติสําหรับหนทางนัน้ แผนที่ดีจะตอง
• อํานวยใหสามารถบรรลุภารกิจ (ซึ่งเปนวัตถุประสงคของการวางแผนทัง้ ปวง)
• อาศัยขอเท็จจริงและสมมุติฐานที่เปนไปได (ไดมกี ารพิจารณาขอมูลที่เกี่ยวของทัง้ หมด
อยางถูกตอง และลดจํานวนสมมุติฐานใหเหลือนอยที่สุด)
• อํานวยใหพิจารณาการใชทรัพยากรที่มีอยูจริงไดอยางถูกตอง (ซึ่งรวมทั้งทรัพยากรใน
อัตราของหนวย และทีก่ องบัญชาการหนวยเหนือแบงมอบให)
• อํานวยใหมกี ารจัดตามความจําเปน (กําหนดความสัมพันธอยางชัดเจนและความ
รับผิดชอบที่แนนอน)
• อํานวยใหการจัดการดานกําลังพล ดานยุทโธปกรณ และการจัดการดานอื่น ๆ เปนไปดวย
ความเรียบรอยตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติการที่คาดไว
• อํานวยใหมกี ารกระจายอํานาจ (มอบอํานาจใหมากที่สุดเทาทีย่ ังคงการควบคุมที่
จําเปนได)
• อํานวยใหมกี ารติดตอโดยตรง ทําใหเกิดการประสานงานของเจาหนาที่ทุกระดับใน
ระหวางการปฏิบัติตามแผน
• งาย (โดยลดความยุงยากในสวนที่จําเปนใหเปนแบบที่งายที่สุด และตัดสวนตาง ๆ ที่
ไมจําเปนตอความสําเร็จในการปฏิบัติทิ้งไป รวมทั้งขจัดความเขาใจผิดที่อาจมีขึ้นใหหมดไป)
• ออนตัว (เปดชองวางใหสามารถปรับใหเหมาะกับสภาพการปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไป และ
กําหนดหนทางปฏิบัติสํารองไดเมื่อจําเปน)
• การควบคุม (จัดใหมีเครื่องมือในการควบคุมอยางพอเพียง เพื่อใหการปฏิบัติตามแผน
เปนไปตามเจตนารมณของผูบังคับบัญชา)
๑๑๗
• มีการประสาน (ทุกสวนจะตองเขากันอยางดี มีมาตรการควบคุมที่สมบูรณและเขาใจงาย
และจัดใหมกี ารสนับสนุนซึ่งกันและกันตามความตองการ)
แผนโครง คือ แผนขั้นตนที่วางเคาโครงรูปราง หรือลักการของหนทางปฏิบัติกอ นที่จะริเริ่มการ
วางแผนในรายละเอียด ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการอาจใชแผนโครงเพื่อใหขาวสารแกกองบัญชาการ
หนวยเหนือ เพื่อขอรับอนุมัติและแบงมอบกําลังพลและยุทโธปกรณ เพื่อรับทราบขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
ของผูบังคับหนวยรอง เพื่อชวยเหลือผูบังคับบัญชาในการบรรลุขอตกลงใจ และเพือ่ การริเริ่มและการอํานวย
ความสะพวกในการวางแผนของหนวยรอง คําวา “โครง” ใชเพื่อแสดงระดับความสมบูรณของแผนมากกวา
ระดับของหนวย แมวาโดยปกติแลวหนวยระดับสูงจะเปนผูทําแผนโครง แตแผนโครงเหลานี้ก็เปนประโยชน
กับผูบังคับบัญชาทุกคน
๓. การใชแผน
แผนมีชื่อแตกตางกันไปตามสถานการณ เชน “แผนยุทธศาสตร” “แผนการทัพ” “แผนการชวยรบ”
“แผนระดมสรรพกําลัง” “แผนสํารอง” และ “แผนเผชิญเหตุ” เปนตน ชื่อเหลานีไ้ มใชเปนการแบงประเภท
แผน แตเปนการแสดงความมุงหมายของแผนที่ทําขึ้นมากกวา แผนทุกชนิดไมวาจะมีชื่อวาอยางไร
ยอมแสดงออกถึงกรรมวิธีในการวางแผนที่จําเปน เพื่อการปฏิบัติในอนาคต แผนหนึ่ง ๆ นัน้ ยอมพัฒนา
หนทางปฏิบัติ หนทางหนึ่งเพื่อใหบรรลุภารกิจหนึ่ง ๆ คําจํากัดความของแผนชนิดตาง ๆ มีดังนี้
ก. แผนยุทธศาสตร
เปนแผนอํานวยใหวสามารถดําเนินการทั้งปวงเกีย่ วกับการทําสงคราม
ข. แผนการทัพ
แผนนี้ประกอบดวยการปฏิบัติการทางทหารตาง ๆ ที่มีความสัมพันธกัน เพื่อใหบรรลุ
จุดประสงครวมภายในเวลาและพื้นที่ที่กําหนด หนวยบัญชาการรวมเปนหนวยที่มกั ใชแผนการทัพนี้
ค. แผนยุทธการ
เปนแผนปฏิบตั ิการทางทหาร แผนนี้ครอบคลุมการปฏิบัติการครั้งหนึ่งหรือหลายครั้งที่
เชื่อมโยงกันซึง่ ตองดําเนินไปพรอม ๆ กัน หรือตอเนื่องกัน แผนยุทธการจะกําหนดการปฏิบัติการซึ่งไดมาจาก
แผนการทัพ ตัวอยางแผนยุทธการมีกลาวในผนวก ฉ เมื่อมีการประกาศใชแผนตามเวลาหรือสภาวการณ
ที่กําหนดใหมผี ลบังคับใชแลว แผนยุทธการจะกลายเปนคําสั่งยุทธการ แบบฟอรมของแผนยุทธการสามารถ
ปรับใหเหมาะสําหรับการทําผนวกชนิดตางๆ ประกอบแผนหรือคําสั่งการรบไดโดยงาย
ง. แผนการชวยรบ
แผนซึ่งใชสําหรับการปฏิบัติการสนับสนุนทางการชวยรบ โดยอาศัยความตองการทางยุทธการ
ของหนวยซึ่งไดจากการประมาณการที่เหมาะสมเปนมูลฐาน เมื่อมีผลบังคับใชแผนนี้จะกลายเปนคําสั่ง
การชวยรบ ตัวอยางมีกลาวไวในผนวก ฉ
จ. แผนระดมสรรพกําลัง
๑๑๘
เปนแผนซึ่งอธิบายถึงการปฏิบัติในการระดมสรรพกําลัง การจัดตั้งหนวย และ/หรือการขยาย
กําลังเพื่อตอบสนองความตองการในสถานการณสงคราม หรือเหตุการณคับขันโดยกองทัพบก และหนวย
บัญชาการรวมที่เกี่ยวของเปนผูอํานวยการการปฏิบัติ
แผนอื่น ๆ อาจใชเสริมเพื่อใหแผนตาง ๆ ดังที่กลาวขางตนใหสมบูรณ แผนซึ่งไดทําขึ้นเสริมนี้
จะชวยสงเสริมใหแผนนั้นสมบูรณยิ่งขึ้น แผนสํารองจะชวยใหสําเร็จภารกิจในวิธีการทีแตกตางออกไป
แผนเผชิญเหตุมีไวเพื่อเผชิญเหตุการณที่สําคัญ ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึน้ ในพืน้ ที่ยอยทางภูมิศาสตรของหนวย
บัญชาการ
๔. แบบฟอรม และเทคนิคในการทําแผน
มีกลาวไวในบทที่ ๖ และผนวก ฉ

๕. ผนวกประกอบแผน
คําอธิบายวาดวยผนวกตาง ๆ ที่กลาวไวในขอ ๙ ถึงขอ ๑๑ นํามาใชกับผนวกประกอบแผนได
ตัวอยางผนวกประกอบแผนมีกลาวในผนวก ฉ
๑๑๙
ตอนที่ ๓
การวางแผน

๖. ขั้นตอนในการวางแผน
ขั้นตอนในการวางแผน คือ ลําดับการปฏิบัติในการจัดทําแผนโดยผูบ ังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
อยางมีเหตุมีผล ซึ่งมีทั้งหมด ๙ ขั้นตอน สําหรับฝายอํานวยการระดับสูง เชน ระดับกองทัพนอยขึ้นไป จะมี
กรรมวิธีในการวางแผนอยางเปนทางการ โดยมีลําดับการปฏิบัติซึ่งเปนขั้นตอนที่แยกอยางเห็นไดชัด ในหนวย
ระดับต่ําลงมาจะกระทําในใจโดยปฏิบัติอยางตอเนื่อง ลําดับการวางแผนแสดงไวในรูป ๖ – ๑ และไดกลาวไว
ในขอตอไปนี้

คาดคะเน

ตรวจสอบความตองการ ศึกษาเรื่องที่เกี่ยวของ

วิเคราะหภารกิจ กําหนดแนวทางปฏิบัติ

ทําขอพิจารณา เลือกหนทางปฏิบัติ

จัดทําแผน ดําเนินการซักซอม

รูปที่ ๖ – ๑ ขั้นตอนการวางแผน

ก. การคาดคะเนความตองการ
การคาดคะเนเปนการวิเคราะหและประเมินคาขอเท็จจริง และแนวโนมเพื่อกําหนดความ
ตองการที่จะเปนไปได และเปนขั้นแรกของขั้นตอนในการวางแผน โดยมีจดุ ประสงคเพื่อพยากรณสิ่งที่
อาจเกิดขึ้น กองบัญชาการระดับสูงอาจใชการคาดคะเนของผูบงั คับบัญชาเพื่อเริ่มขั้นตอนในการวางแผน
ของตน ผูบังคับหนวยรองจะใชการคาดคะเนนี้เพื่อเริ่มขอพิจารณาและการประมาณสถานการณของตนเอง
การวางแผนและการเตรียมการแตเนิน่ จะชวยลดเวลาสําหรับหนวยในการดําเนินการเพื่อใหพรอมปฏิบัติการ
แตอยางไรก็ตาม เมื่อเปนการคาดการณสําหรับอนาคตที่ยาวไกล ขอเท็จจริงจะมีนอยลงทําใหตองใช
สมมุติฐานมากขึ้น และโอกาสที่ความตองการที่นาเปนไปไดจะเปนไปตามที่คาดคะเนยอมลดลงอยางมาก
๑๒๐
สมมุติฐานเปนสวนสําคัญของการคาดการณและตองนํามาใชในทุกขั้นตอนของการวางแผน ในกรณีที่
ขอเท็จจริงไมเพียงพอจะตองกําหนดสมมุติฐานขึ้นซึ่งกลาวถึงสภาวการณที่นาจะตองเกิดขึ้นจริงกอนที่จะนํา
แผนเฉพาะสําหรับสภาวการณนั้นมาใช การจัดทําแผนสํารองเพื่อเผชิญกับเหตุการณตาง ๆ ทีค่ าดการณไว
จะใชสมมุติฐานที่แตกตางกันไป ผูวางแผนของหนวยรองถือวาสมมุติฐานของหนวยเหนือเปนขอเท็จจริง
ในปญหานัน้ เมื่อมีขอมูลเพิ่มเติมจะตองปรับการคาดคะเนที่ไดทําไวใหสอดคลองกับสถานการณใหม
การเปลี่ยนแปลงในการคาดคะเนทําใหตองแกไขแผนทีก่ ําลังจัดทําอยูห รือที่เสร็จแลวใหเหมาะสมดวย แผนก
ฝายอํานวยการทุกแผนกตองไดรับแขงโดยทันทีถึงการเปลี่ยนแปลง เพื่อใหสามารถทําใหการวางแผนและการ
จัดทําแผนมีการประสานกันทั่วทั้งหนวย
ข. การตรวจสอบความตองการ
การตรวจสอบความตองการที่นาเปนไปได และการกําหนดลําดับความเรงดวนในการ
เตรียมการเปนขั้นที่สองของขั้นตอนในการวางแผน การปฏิบัติในขอนีป้ ระกอบดวยการวิเคราะหการ
คาดคะเนความตองการและสมมุติฐาน เมื่อคํานวณวาโอกาสที่เปนจริงมีมากนอยเพียงใด ซึ่งทําใหสามารถ
กําหนดลําดับความเรงดวนในการวางแผนและเตรียมการ ในขั้นนีก้ ําหนดการวางแผนจะเริ่มปรากฏขึ้น
ค. การศึกษาเรื่องที่เกี่ยวของ
การศึกษาเรื่องที่เกี่ยวของและที่ตองปฏิบัติ และความเกี่ยวพันระหวางความตองการที่นาเปน
ไปไดตาง ๆ เพื่อกําหนดภารกิจหนึ่งหรือหลายภารกิจเปนขั้นที่สามของขั้นตอนในการวางแผน เมื่อภารกิจ
ปรากฏเดนชัดขึ้น ขั้นตอนในการวางแผนจะมีลักษณะคลายคลึงกับการปฏิบัติของผูบังคับบัญชา และฝาย
อํานวยการในกรรมวิธีแสวงขอตกลงใจ
ง. การวิเคราะหภารกิจ
การวิเคราะหภารกิจจะกําหนดงานเฉพาะทีต่ องปฏิบัติความซับซอนของงานและการลําดับ
ความสําคัญของงานเปนขั้นที่สี่ของขั้นตอนในการวางแผน ซึ่งงานในการวางแผนและการแบงขัน้ งานในการ
วางแผนเริ่มปรากฏขึ้น
จ. การกําหนดแนวทางปฏิบัติ
การกําหนดแนวทางปฏิบัตสิ ําหรับงานเฉพาะตาง ๆ เปนขั้นที่หาของขั้นตอนในการวางแผน
การกําหนดแนวทางในการวางแผนจะทําใหผูวางแผนทุกคน ทํางานมุงไปในทิศทางเดียวกันในเวลาเดียวกัน
จะชวยใหการวางแผนพรอม ๆ กันงายขึ้น โดยจัดใหมีพนื้ ฐานเพื่อการพิจารณาในการวางแผน แนวทางนี้อาจ
เปนคําสั่งโดยวาจาจากผูบังคับบัญชาเกี่ยวกับยุทธวิธีเฉพาะปจจัยสําคัญจากการวิเคราะหภารกิจ หนทางปฏิบตั ิ
หรือขั้นตอนปฏิบัติ นโยบายของผูบังคับบัญชาหรือคําสั่งคําชี้แจงจากหนวยเหนือ ซึ่งรวมถึง ภารกิจ กําลังพล
อาวุธ และยุทโธปกรณที่มีอยู ขอพิจารณาในเรื่องขอจํากัดตาง ๆ และคําแนะนําพิเศษ และระเบียบปฏิบัติ
ประจํา
ฉ. การทําขอพิจารณา
การทําขอพิจารณาในการวางแผนเปนขั้นที่หกของขั้นตอนในการวางแผน การทําขอพิจารณา
ในการวางแผนจะกําหนดปจจัยที่สําคัญในการปฏิบัติการ และตรวจสอบปจจัยเหลานั้นอยางละเอียด แบบของ
๑๒๑
การทําขอพิจารณาที่ใชมากที่สุดในขั้นนี้ คือ ขอพิจารณาและการประมาณการของฝายอํานวยการ ซึ่งเปนผล
มาจากการวางแผนและการปฏิบัติอยางตอเนื่อง สามารถปรับใหเขากับสถานการณเฉพาะไดอยางรวดเร็ว
ขอพิจารณาเหลานี้ชวยกําหนดหนทางปฏิบัติตาง ๆ และชวยในการประเมินความเปนไปไดของหนทางปฏิบัติ
ที่นํามาพิจารณา
ช. การเลือกหนทางปฏิบัติ
การเลือกหนทางปฏิบัติเปนขั้นที่เจ็ดของขั้นตอนการวางแผน ในขั้นนี้จะจัดทําแผนโครง
สําหรับแตละหนทางปฏิบัตทิ ี่เลือกไว โดยอาศัยขอพิจารณาที่ทําไวแลวเปนมูลฐาน เนื่องจากจุดมุง หมายของ
ขั้นตอนในการวางแผน คือ การเตรียมการเพื่อเผชิญกับเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นไดในขอบเขตของความมีเหตุ
มีผล ขั้นตอนการเลือกหนทางปฏิบัติจึงมิไดหมายความวาจะตองตัดทิ้งหนทางปฏิบัติตาง ๆ ใหเหลือเพียง
หนทางเดียวเทานั้น แตจะตองคงไวหนทางปฏิบัติตาง ๆ ที่หนวยคาดวาจําเปน เมือ่ เผชิญกับเหตุการณซึ่งอาจ
เกิดขึ้นที่มีความเปนไปไดสูง แตในการปฏิบัติการแตละครั้งจะมีแผนหลักซึ่งทําขึ้นจากหนทางปฏิบัติที่เลือก
ไวทางเดียว สวนหนทางปฏิบัติอื่นที่คงไวจะใชสําหรับทําแผนสํารอง โดยปกติแลวจะจัดทําแผนสํารองเหลานี้
เปนผนวกประกอบแผนหลัก
ซ. การจัดทําแผน
การจัดทําแผนสมบูรณเปนขัน้ ที่แปดของขัน้ ตอนในการวางแผน แผนโครงจะเปนโครงสราง
สําหรับแผนสมบูรณ ซึ่งทําไดโดยการเพิม่ เติมรายละเอียดที่จําเปน รายละเอียดเหลานี้อาจไดมาจากประมาณ
การและขอพิจารณาที่ไดทําไวกอน หรือทีท่ ําใหมในชวงพัฒนาแผน
ด. การดําเนินการซักซอม
การดําเนินการซักซอมเปนขั้นที่เกาและขั้นสุดทายของขั้นตอนในการวางแผนขั้นนีจ้ ะนํามา
ปฏิบัติหรือไมขึ้นอยูกับระดับหนวยเวลาและสิ่งอํานวยความสะดวกทีม่ ีอยู การดําเนินการซักซอมเมื่อเวลา
ทรัพยากร และความปลอดภัยอํานวย เปนสิ่งที่ดี และทําใหสามารถยกเลิกแกไขดัดแปลงหรือปรับปรุงแผนได
ทันทวงที
แผนซึ่งไดจดั ทําโดยขั้นตอนในการวางแผน ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนนี้ไมจําเปนตอง
นําไปใชปฏิบตั ิเมื่อเสร็จสมบูรณ เมื่อไดรับขาวสารเพิ่มเติม หรือมีเหตุการณเกิดขึ้นก็จะตองมีการตรวจ
ปรับปรุงตามความเหมาะสมเปนการปฏิบัติที่กระทําอยางตอเนื่อง จนกวาจะนําแผนไปใชปฏิบัติหรือจนกวา
แผนนั้นหมดความจําเปนแลว
๗. การจัดเพื่อการวางแผน
มีวิธีการมูลฐานสําหรับจัดฝายอํานวยการเพื่อการวางแผน ๔ วิธี
ก. ใชการจัดทีเ่ ปนอยูโดยไมมกี ารเปลี่ยนแปลง วิธีแกนี้ใชสําหรับการปฏิบัติของหนวยตามปกติ
และเปนวิธีทนี่ ิยมมากกวาวิธีอื่น ฝายอํานวยการแตละคนจะมีสว นรวมในการจัดทําแผน แตยังคงหนาที่ความ
รับผิดชอบปกติและอยูใ นทีท่ ํางานเดิม ผูวางแผนประสานกับฝายอํานวยการ แผนก และระดับอืน่ ๆ โดยการ
เยี่ยมเยียนหรือการติดตอทางเอกสาร
๑๒๒
ข. จัดตั้งแผนกหรือตอนวางแผนขึ้นอยางถาวร วิธีที่สองนี้หนวยงานทีต่ ั้งขึ้นพิเศษจะรับผิดชอบ
ในการวางแผนระยะยาว ซึ่งจะชวยปลดเปลื้องภาระจากหนวยงานอื่นใหสามารถมุงเนนในเรือ่ งงานทําแผน
ระยะสั้น และการปฏิบัติการในปจจุบนั วิธีนี้มีประโยชนเมื่อการปฏิบัติการในปจจุบันมีมากและเจาหนาที่มี
เวลาในการวางแผนนอย นอกจากนั้นยังมีประโยชนเมื่อการปฏิบัติการในปจจุบัน และการปฏิบัติการ
ในอนาคตไมมีความเชื่อมโยงกันอยางใกลชดิ ปกติแลว จําเปนตองมีเจาหนาทีเ่ พิม่ เติมสําหรับบรรจุในแผนก
และตอนที่จดั ตั้งขึ้น และอาจจําเปนตองมีสิ่งอํานวยความสะดวกเพิ่มขึน้ ดวย เพื่อใหสามารถแยกฝายวางแผน
กับฝายยุทธการออกจากกันไดอยางสมบูรณ
ค. จัดตั้งคณะกรรมการวางแผนชั่วคราว วิธีที่สามคือ การจัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจกระทํา
โดยมากเพื่อแกปญหาเฉพาะอยาง หรือเพื่อวางแผนการปฏิบัติการ ๆ หนึ่งโดยเฉพาะ เนื่องจากคณะกรรมการนี้
ตั้งขึ้นจากการใชเจาหนาที่ทมี่ ีงานปกติ คณะกรรมการดังกลาวนี้จึงควรใชเพียงเพื่อปองกัน ไมใหฝาย
อํานวยการสายงานใดสายงานหนึ่งตองรับงานจนเกินขีดความสามารถ เมื่อมีการปฏิบัติการที่จําเปนตองมีการ
วางแผนอยางพิเศษ
ง. ใชวิธีที่กลาวมาขางตนผสมกัน วิธีที่สี่เปนการจัดตั้งแผนกวางแผนโดยใชเจาหนาที่จากทุกสวน
เพื่อกําหนดและมอบหมายงานในการวางแผน ซึ่งทุกแผนกจะมีสวนเกี่ยวของหลังจากไดรับมอบหมายงาน
แลว ผูวางแผนจากแผนกตาง ๆ จะกลับไปแผนกตน เพื่อจัดทําสวนของแผนที่คนรับผิดชอบโดยใชการจัด
ที่เปนอยูเดิม
๘. วิธีการวางแผน
มีวิธีการอยู ๒ วิธีมักจะใชกนั บอย ๆ เพื่อกําหนดการปฏิบัติ หนวย ลําดับขั้น และระเบียบปฏิบัติ
ที่ตองใช เพื่อใหบรรลุภารกิจที่ไดรับมอบ วิธีการหนึ่ง ไดแก การวางแผนยอนหลัง คือ เริ่มงานจากเวลา
ที่ตองการบรรลุวัตถุประสงค แลวทํายอนหลัง เทคนิคดงกลาวนี้จะเปนการกําหนดหนวย การจัด การชวยรบ
และเรื่องสําคัญอื่น ๆ ที่จําเปนในการทําใหบรรลุจุดมุงหมาย ความสัมพันธของลําดับหวงเวลาและการปฏิบัติ
ยอมไดมาจากเทคนิคดังกลาว ในขณะทีว่ าดภาพตอไปนั้น การวาดภาพจะเห็นเดนชัดถึงความตองการใน
งานเฉพาะ สภาวการณ หรือสมมุติฐานตาง ๆ และการปฏิบัติตาง ๆ ที่มีความสัมพันธกัน อีกวิธหี นึ่งเปนการ
วางแผนโดยเริม่ จากจุดในปจจุบันไปตามลําดับจนถึงวัตถุประสงคขั้นสุดทาย สิ่งที่สําคัญก็คือการเลือก
จุดเริ่มตนและวางแผนไปจนไดขอสรุปที่สมเหตุผล
๙. กําหนดการวางแผน
กําหนดการวางแผน คือ ตารางกําหนดเวลาของงานในการวางแผนใหเปนไปตามลําดับขั้นตอนที่มี
ระเบียบ กําหนดการนี้เปนเครื่องมือชวยที่มีประโยชนในการประสานเรื่องตาง ๆ ที่จําเปนในกระบวนการ
วางแผน การวิเคราะหงานที่จะตองกระทําในชวงการวางแผนจะกําหนดงานเฉพาะสําหรับการวางแผน
ที่จะตองทํา และลําดับขั้นของการเสร็จสมบูรณของแตละงานดวย ควรจัดทํารายการตรวจสอบหรือตารางเวลา
แตเนิ่นในลําดับการวางแผน โดยถือมูลฐานจากการวิเคราะหดังกลาว ทั้งนี้เพื่อชวยใหสามารถแกปญหาตาง ๆ
ไปตามลําดับอยางมีเหตุมีผล รายงานตรวจสอบนี้จะชวยใหการตรวจสอบความกาวหนาตาม
ระยะเวลาและการประสานงานงายยิ่งขึน้
๑๒๓
การกําหนดขัน้ ตอนการปฏิบัติของงานในการวางแผน ทําใหมั่นใจวา งานเฉพาะตาง ๆ สําเร็จลุลวง
ไปตามลําดับอยางมีเหตุผล ทําใหสะดวกในการประสานการวางแผนพรอม ๆ กันของกองบัญชาการตาง ๆ
กอนที่จะแบงขั้นตอนการปฏิบัติของงาน ควรจะวิเคราะหงานตาง ๆ กอน เมื่อไดกําหนดขั้นตอนการปฏิบัติ
ตาง ๆ ขึ้นแลว ควรใหเวลาแตละระดับหนวยบัญชาการอยางเพียงพอที่จะทํางานทีไ่ ดรับมอบใหสาํ เร็จ รวมถึง
การกระจายขาวสารใหแกหนวยรองใหทนั เวลาดวย อยางไรก็ดี การแบงขั้นตอนการปฏิบัติยอมมีการ
เหลื่อมล้ํากันบาง เพราะวาการวางแผนไดดาํ เนินไปพรอม ๆ กัน งานในขั้นตอนการปฏิบัติขั้นหนึ่งอาจเริ่มได
กอนที่งานในขั้นกอนนัน้ จะแลวเสร็จได ตัวอยางเชน แผนที่เสร็จแลวในบางสวน อาจเตรียมขั้นตอนการ
ปฏิบัติในขั้นเตรียมการ กอนที่จะไดรับคําสั่งชี้แจงอยางเปนทางการก็ได โดยทัว่ ไปการแบงขั้นจะแบงไดดังนี้
ก. ขั้นเตรียมการ ขั้นนี้กระทําโดยอาศัยสมมุติฐานที่มีเหตุผลเกี่ยวกับการปฏิบัติการในอนาคต
หรือความรูเกีย่ วกับแผนชัว่ คราวของกองบัญชาการหนวยเหนือ ซึ่งไดรับทราบกอนที่จะไดรับคําสั่งชี้แจงอยาง
เปนทางการ
ข. ขั้นริเริ่ม เมื่อไดรับคําสั่งชี้แจงแลวจะเริ่มทําแผนโดยอาศัยขาวสารตามที่มีอยูแสละแนวทาง
ในการวางแผน ขั้นนีห้ มายรวมถึง การทําประมาณการและแผนเพื่อพลางของฝายอํานวยการและ
ผูบังคับบัญชา
ค. ขั้นทําแผน ในขั้นนี้จะจัดทําแผนรางโดยอาศัยขาวสารที่สมบูรณมากขึ้น แนวทางในการ
วางแผนทีแ่ นนอน และประมาณการอยางละเอียด ซึ่งผลที่ไดมาคือขอตกลงใจของผูบังคับบัญชาและ
แนวความคิดในการปฏิบัติ
ง. ขั้นอนุมัติ ผูบังคับบัญชาทบทวน แกไขปรับปรุง และอนุมัติแผน
จ. ขั้นจัดพิมพแจกจาย นําแผนซึ่งอนุมัติแลวไปจัดพิมพแจกจาย
ฉ. ขั้นปฏิบัติ กองบัญชาการที่จัดพิมพแจกจายแผนใหความชวยเหลือหนวยรองในการทําแผน
ของหนวยรองใหสมบูรณและในการซักซอมแผน ตามปกติ คําสั่งใหปฏิบัติตามแผนจะใชคําสั่งเปนสวน ๆ
หรือปรากฏในขอ ๓. ของแผนยุทธการ (ขอยอยสุดทาย “คําแนะนําในการประสาน”)
๑๐. เวลาในการวางแผน
เวลาที่ใชในการวางแผนและเริ่มการปฏิบัติยอมแตกตางกันไปตามขนาดของหนวย หนวยระดับ
กองพันในการปฏิบัติการอาจสามารถวางแผนและเริ่มการปฏิบัติภายสองสามชั่วโมง ในกรณีนี้แผนอาจเปน
ผลมาจากการประมาณสถานการณโดยยอ และขอตกลงใจเกีย่ วกับอนาคตใกล ๆ ในระดับกองทัพนอยอาจใช
เวลาสองสามเดือนในการวางแผนกอนเริ่มปฏิบัติการครั้งสําคัญ ปริมาณของรายละเอียดที่ตองพิจารณาในการ
จัดทําแผนจะแตกตางกัน ตามขนาดและชนิดของหนวยบัญชาการ ประสบการณของกําลังพล ความ
สลับซับซอนของการปฏิบัติการ ปจจัยตาง ๆ ของการปฏิบัติการผสมหรือการปฏิบัติการรวม และเวลาที่มี
ในการวางแผนมาตรการที่จะชวยลดเวลาในการวางแผนมีดังนี้
ก. การกําหนดการปฏิบัติในการวางแผน ทีต่ องปฏิบัติประจําเปนระเบียบปฏิบัติประจํา (รปจ.)
จะชวยลดจํานวนรายละเอียดที่ตองอธิบาย และชวยสงเสริมความเขาใจและการทํางานเปนชุดระหวาง
ผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการ และกําลังพล
๑๒๔
ข. การวางแผนพรอม ๆ กันของหนวยบัญชาการระดับตาง ๆ และของแผนกฝายอํานวยการตาง ๆ
ยอมประหยัดเวลา และทําใหคนพบและแกปญหาไดแตเนิ่น อยางไรก็ดี ถือวาไมเปนการปลดเปลื้องความ
รับผิดชอบของหนวยเหนือในการแจงขาวสาร และคําแนะนําแกหนวยรองโดยเร็วทีส่ ุดเทาที่จะทําได ณ ระดับ
หนวยรองตามลําดับลงมา การวางแผนจะบรรจุรายละเอียดที่ตองการสําหรับระดับหนวยนั้น ๆ การประสาน
จะทําใหมั่นใจวาสวนตาง ๆ ในการปฏิบัติที่วางแผนไวมีความสอดคลอง การประสานหมายรวมถึงการ
กําหนดขั้นตอนการปฏิบัติในการปฏิบัติการที่วางแผนไวโดยใหขั้นตอนเหลานั้นเปนจุด ซึ่งการปฏิบัติและ
ตําแหนงที่ตั้งของหนวยตาง ๆ ตองลงตัว การประสานของการวางแผนกระทําโดยการประชุมวายอํานวยการ
และการติดตอเยี่ยมเยียนระหวางหนวยและหนวยงานตาง ๆ ที่เกีย่ วของ การประสานระหวางหนวยเหนือและ
หนวยรองดวยการประชุม หรือการเยี่ยมเยียนในระหวางการวาแผน จะชวยใหมองเห็นและแกปญหาตางๆ ได
การวางแผนจะกระทําพรอม ๆ กันไดมากนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูก ับปจจัยหลายประการ ซึ่งรวมถึงเวลาและ
ระยะทางระหวางหนวยบัญชาการที่เกี่ยวของ และขอพิจารณาเกีย่ วกับการรักษาความปลอดภัย
เนื่องจากหนวยรองที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการนั้น ตางวางแผนของตนเองโดยอาศัยแผนของ
หนวยเหนือถัดไปเปนมูลฐาน ดังนั้นการแบงมอบเวลาอยางเพียงพอใหกับการวางแผนของหนวยรอง จึงเปน
ขอพิจารณาประการหนึ่งของหนวยบัญชาการแตละระดับ การแบงมอบเวลาใหหนวยรองไมเพียงพอจะทําให
เกิดการสับสนในหนวยรองและทําใหผลงานวางแผนของหนวยเหนือสูญเปลา
หนวยสนับสนุนมีขอพิจารณาที่เพิ่มความยุงยากใหกับการวางแผนของตน นอกจากจะ
พิจารณาถึงสภาพแวดลอม ฝายตรงขาม และกองบัญชาการหนวยเหนือแลว ในการวางแผนของหนวย
สนับสนุนจะตองอาศัยแผนของหนวยบัญชาการที่รับการสนับสนุนเปนมูลฐานดวย ขอพิจารณานี้มิใชเปน
เพียงตัวแปรหนึ่งเพิ่มเติมจากสภาวการณที่หนวยสนับสนุนเผชิญอยูน ั้น ทั้งนี้เพราะหนทางปฏิบัติใด ๆ ที่
หนวยรับการสนับสนุนนํามาใชทั้งในระหวางการวางแผนและการปฏิบัติ ยอมมีผลกระทบอยางมากตอการ
วางแผนของหนวยสนับสนุน ทําใหหนวยสนับสนุนตองมีความออนตัวในการปฏิบัติตามแผน ฝายอํานวยการ
ทุกคนควรพิจารณาปญหาตาง ๆ ที่เผชิญหนาหนวยสนับสนุนดวยความรอบคอบ เพราะจะเปนการชวยเหลือ
หนวยสนับสนุนใหสามารถวางแผน เพื่อตอบสนองความตองการของหนวยรับการสนับสนุนไดอยางรวดเร็ว

๑๑. การรักษาความปลอดภัยในระหวางการวางแผน
ในการวางแผนเพื่อการปฏิบตั ิการในอนาคต การรักษาความปลอดภัยเปนขอพิจารณาที่สําคัญ
ประการหนึ่ง การที่จะดํารงความริเริ่มและการจูโจมในการปฏิบัติการที่จะกระทําไวใหไดนั้น จําเปนตอง
ปองกันมิใหขาศึกทราบที่ตั้ง เวลาปฏิบัติการ และวิธีที่จะใชในการปฏิบัติการที่กําลังจะเกิดขึ้น โดยจําเปนตอง
กําหนดมาตรการตาง ๆ ขึ้นเพื่อควบคุมการเขาถึงบริเวณทีใ่ ชในการวางแผน และควบคุมเอกสารในการ
วางแผน ตองกําหนดมาตรการพิเศษเพือ่ ดําเนินการตอเอกสารที่มีชั้นความลับ มาตรการเหลานี้อาจไดแก
การกําหนดตัวบุคคลที่เขาถึงสวนตาง ๆ ในการวางแผน บัตรผานพิเศษ วิธีพิสูจนทราบอื่น ๆ ตอบุคคลที่ไป
ติดตอระหวางกองบัญชาการ และระหวางแผนกฝายอํานวยการในกองบัญชาการขนาดใหญ การจัดสํานักงาน
๑๒๕
แยกตางหากสําหรับการบันทึก การแจกจาย และการสงเอกสารตาง ๆ รวมทั้งการจัดทําแผนปองกันรักษา
ความลับในระหวางการวางแผนสําหรับการปฏิบัติการดวย

-----------------------------------------------------

(หนาเจตนาเวนวาง)
๑๒๖

(หนาเจตนาเวนวาง)
๑๒๗
บทที่ ๗
คําสั่ง

ตอนที่ ๑
กลาวนํา

๑. กลาวทั่วไป
คําวา “คําสั่ง” “คําสั่งนโยบาย” “คําสั่งชี้แจง” และ “บันทึกสั่งการ” ลวนมีความหมายในทางปฏิบตั ิ
เหมือนกันทั้งสิ้น กลาวคือ เปนการสื่อขาวการปฏิบัติดวยขอเขียนหรือดวยวาจา “บันทึกสั่งการ” นั้นผูรับ
ปฏิบัติมีโอกาสเลือกวิธีการปฏิบัติไดนอยกวาคําสั่งแบบอื่น ๆ “คําสั่งนโยบาย” มักนิยมใชเพื่อแจงใหทราบถึง
ความมุงหมาย นโยบาย หรือแผนยุทธศาสตรอยางกวาง ๆ ที่ประกาศโดยผูบ ัญชาการยุทธบริเวณหรือ
ผูบัญชาการที่สูงกวา คําวา “สาสนยุทธการ” มักนําไปใชกันมากทีส่ ุดเกี่ยวกับเอกสารที่กําหนดแนวทางการ
ปฏิบัติและการควบคุมการปฏิบัติของหนวยบัญชาการขนาดใหญ (เชน กองทัพสนาม) ในหวงเวลานาน ๆ
ผนวก ฉ จะเปนตัวอยางของคําสั่งนโยบายและสาสนยทุ ธการ
๒. คําสั่ง
คําสั่งแบงออกเปนประเภทใหญ ๆ ได ๒ ประเภท คือ คําสั่งการรบ และ คําสั่งปกติ
ก. คําสั่งการรบ
คําสั่งการรบเปนคําสั่งที่เกี่ยวกับการปฏิบตั ิการทางยุทธศาสตรหรือทางยุทธวิธี รวมทั้งคําสั่ง
การชวยรบที่เกี่ยวของดวย คําสั่งการรบอาจจะแจกจายออกมาในรูปของแผนกอนในตอนตนแลวจึงกลายเปน
คําสั่งในภายหลัง คําสั่งการรบอื่น ๆ นอกเหนือจากคําสั่งนโยบายและสาสนสั่งการแลว ไดแก
๑) คําสั่งยุทธการ เปนคําสั่งที่ใชสําหรับปฏิบัติการที่ตองมีการประสาน เพื่อใหเปนไปตาม
ขอตกลงใจของผูบังคับบัญชาในการดําเนินการยุทธคราวหนึ่ง คําวา “คําสั่งยุทธการ” หมายรวมถึง คําสั่งการ
เคลื่อนยายทางยุทธวิธี ผูบังคับหนวยสนับสนุนการชวยรบจะใชคําสั่งยุทธการเพื่อกําหนดงานในหนวย
ของตนดวย
๒) คําสั่งการชวยรบ เปนคําสั่งที่ใชสําหรับการสนับสนุนทางการชวยรบทีต่ องมีการประสาน
สําหรับหนวยบัญชาการและการเคลื่อนยายทางธุรการ
๓) ระเบียบปฏิบัตปิ ระจํา (รปจ.) เปนคําสั่งที่กําหนดวิธีการปฏิบัติที่ตองการีกระทําทุกครั้ง
เมื่อมีการปฏิบัติการ
(๔) คําสั่งเตือน เปนคําสั่งแจงเตรียมการลวงหนาสําหรับการปฏิบัติ หรือคําสั่งที่จะตามมา
คําสั่งนี้มักออกมาในรูปสั้น ๆ ดวยวาจาหรือเปนขอเขียน
๑๒๘
(๕) คําสั่งเปนสวน ๆ เปนคําสั่งที่นําบางสวนของคําสั่งที่ละเอียดมาสั่งการ หรือเปนคําสั่ง
เปลี่ยนแปลงคําสั่งที่ออกไวเดิม คําสั่งนี้มักจะออกมาในรูปสั้นๆ ดวยวาจาหรือเปนขอเขียนเชนเดียวกับคําสั่ง
เตือน คําสั่งภารกิจเปนแบบหนึ่งของคําสั่งเปนสวน ๆ ซึง่ จะประกอบดวยสวนที่สําคัญของคําสั่ง ผูบังคับหนวย
ที่มีความชํานาญประสบการณจะสามารถเขาใจไดทนั ทีวา มีอะไรเปลี่ยนแปลงในภารกิจหรือคําสั่งเดิม คําสั่ง
ภารกิจจะกลาวถึงวัตถุประสงคของภารกิจดวย คําสั่งภารกิจนี้อาจสั่งการดวยวาจา เปนลายลักษณอักษรหรือ
เปนแผนบริวาร แตแบบใดก็ตามคําสั่งนี้จะตองสั้น
ข. คําสั่งปกติ
คําสั่งปกติกลาวถึงการปฏิบัติทางธุรการปกติ ณ ที่ตั้งปกติ ซึ่งไดแก คําสั่งทั่วไป คําสั่งเฉพาะ
และบันทึกสั่งการ และรวมถึง คําสั่งศาลทหาร แจงความ หนังสือเวียน และบันทึกขอความดวย
๑๒๙
ตอนที่ ๒
คําสั่งการรบ
๓. คุณลักษณะของคําสั่งการรบ
คําสั่งการรบที่ดี มีลักษณะดังนี้
ก. ความชัดเจน
ในแตละหนวยบัญชาการหรือหนวยงานซึ่งใชคําสั่งการรบจะตองเขาใจคําสั่งนั้นไดโดย
ละเอียด การใชภาษาทางวิชาการที่สูงเกินไปอาจกอใหเกิดการตีความหมายที่ผิดพลาดได การใชถอ ยคําและวลี
ที่ยอมรับกันในทางทหาร ยอมทําใหหนวยงานที่ใชคําสัง่ ทุกหนวยเขาใจความหมายไดตรงกัน
ข. ความสมบูรณ
คําสั่งมีขาวสารและคําชี้แจงทั้งสิ้นที่จําเปนแกการประสานและการปฏิบัติการอยางไรก็ดี คําสั่ง
จะระบุรายละเอียดหรือวิธีการปฏิบัติเฉพาะเทาที่จําเปน เพื่อใหมั่นใจวาการปฏิบัติของหนวยรองที่เกี่ยวของ
สอดคลองกับแผนการปฏิบัติสําหรับกําลังทั้งหมด คําสั่งจะตองกลาวถึงวัตถุประสงคหรือเจตจํานงของ
ผูบังคับบัญชา เพื่อใหผูบังคับหนวยตาง ๆ สามารถสําเร็จภารกิจโดยไมจําเปนตองรับการสั่งการเพิ่มเติม ความ
สมบูรณของคําสั่งหมายรวมถึงการจัดใหมรี ายละเอียดอยางเพียงพอ เพื่อใหผูบังคับหนวยรองทุกคนทราบถึง
การปฏิบัติของหนวยอื่น ๆ ดวย
ค. สั้น
พึงหลีกเลี่ยงถอยคําที่ฟุมเฟอย และรายละเอียดที่ไมจําเปน อยางไรก็ดี คําสั่งไมควรสั้นจนขาด
ความแจมแจงและสมบูรณ
ง. ตระหนักถึงสิทธิของผูบงั คับหนวย
คําสั่งไมควรจะจัดจํากัดความริเริ่มของผูบังคับหนวย ดวยการกําหนดรายละเอียดในการปฏิบัติ
ซึ่งเปนความรับผิดชอบของผูบังคับหนวยนั้น ๆ ยกเวนในกรณีพเิ ศษ เชน การปฏิบัติการที่ตองการจังหวะเวลา
และการประสานงานอยางแนนแฟน จึงควรสั่งผูบังคับหนวยรองโดยแนชัดวาจะใหปฏิบัติงานที่ไดรับมอบ
อยางไร
จ. การใชประโยคบอกเลา
เพื่อความงายและความแจมแจง คําสั่งการรบทุกชนิดควรใชประโยคบอกเลาตลอดขอความ
ของคําสั่ง เชน ประโยคทีว่ า “ขบวนสัมภาระจะไมรว มไปกับกรม (กองพัน)” ประโยคนี้มีขอ บกพรองอยู
สองประการ ประการแรก เจตนาของคําสั่งขึ้นอยูกับคําวา “ไม” ประโยคที่สอง ไมไดกําหนดที่ตั้งที่แนนอน
ของขบวนสัมภาระ ฉะนั้นประโยคที่เหมาะสมควรจะเปน “ขบวนสัมภาระคงอยูใ นที่รวมพล” ฉ.
หลีกเลี่ยงคําสัง่ มีเงื่อนไข
๑๓๐
เชนขอความวา “เขาตีอยางรุนแรง” นอกจากจะไรความหมายแลว ยังจะทําใหคําสั่งตอ ๆ ไปที่
ไมมีคําประกอบหรือคํากริยาวิเศษณมีน้ําหนักนอยลงดวย ขอความวา “พยายามยึดรักษา” หรือ “ใหไกลที่สุด
เทาที่จะทําได” เปนการลดความรับผิดชอบ การใชขอความวา “เขาตีหลัก” นับวาเพียงพอและแจมแจงแลว
และไมจําเปนตองขยายความตอไปอีก
ช. ขอความที่หนักแนน
คําสั่งที่แสดงถึงเจตจํานงและความมุงมั่นของผูบังคับบัญชา การใชภาษาทีไ่ มเด็ดขาด
คลุมเครือ และกํากวม ยอมแสดงความลังเลและไมเด็ดขาด และทําใหผูใตบังคับบัญชาเกิดความไมแนใจและ
ขาดความเชื่อมั่น ผูบังคับบัญชาพึงสั่งการแกผูใตบังคับบัญชาดวยถอยคําที่แนชดั ตรงไปตรงมา วาตนตองการ
ใหผูใตบังคับบัญชาทําอะไร
ซ. ทันเวลา
การแจกจายคําสั่งไดทันเวลา จะทําใหผูบังคับหนวยรองมีเวลาเพียงพอในการวางแผนและ
เตรียมการ การวางแผนพรอม ๆ กันยอมประหยัดเวลาลงได

๔. คําสั่งยุทธการ
ก. ความมุงหมาย
ความมุงหมายของคําสั่งยุทธการ คือ ใหผูบังคับหนวยรองทราบขอมูลขาวสารที่สําคัญตอการ
ปฏิบัติการยุทธ ซึ่งไดแก สถานการณ ภารกิจ การมอบกิจเฉพาะ และการใหการสนับสนุนและการชวยเหลือ
ตาง ๆ เมื่อการยุทธนั้นตองกระทําโดยทันที จะจัดทําคําสั่งที่สมบูรณหรือคําสั่งเปนสวน ๆ โดยอาศัยขอตกลง
ใจและแนวความคิดในการปฏิบัติของผูบังคับบัญชาที่ไดประกาศไว เมื่อการยุทธนัน้ จะตองกระทําในอนาคต
คําสั่งยุทธการอาจเปนแผนยุทธการซึ่งจะปฏิบัติเมื่อมีการสั่งการเพิ่มเติม ตัวอยางเชน “ปฏิบัติตามแผนยุทธการ
ที่ ๑๖ โดยใหเปนคําสั่งยุทธการที่ ๘ วัน ว เวลา น คือ ๑๕๑๗๐๐ ก.ค.๒๕.....”
ข. ขอความในคําสั่งยุทธการ
คําสั่งยุทธการควรมีรายละเอียดเฉพาะเทาทีจ่ ําเปนสําหรับผูบังคับหนวยรองในการจัดทําคําสั่ง
ของหนวยนั้น ๆ และเพื่อใหมั่นใจวาไดมกี ารประสานงานกัน รายละเอียดของวิธกี ารที่หนวยสนับสนุนและ
หนวยพิเศษตาง ๆ จะปฏิบัติภารกิจของตนจะปรากฏอยูในคําสัง่ ของหนวยนัน้ ๆ โดยใชแบบฟอรม
เชนเดียวกับคําสั่งยุทธการ วันแตจะกําหนดไวเปนอยางอื่น
ค. การปฏิบตั ิของฝายอํานวยการ
ในการจัดทําคําสั่ง เสนาธิการเปนผูกํากับดูแลการทํางานของฝายอํานวยการในการจัดทําคําสั่ง
ยุทธการใหเปนไปตามแนวความคิดของผูบังคับบัญชา ฝายยุทธการ (สธ.๓) เปนฝายเสนาธิการหลัก
รับผิดชอบการจัดทํา การพิมพ และการแจกจาย คําสั่งยุทธการของหนวย ฝายอํานวยการคนอื่น ๆ ชวยจัดทํา
ในสวนของคําสั่งยุทธการที่เกี่ยวกับงานในหนาที่ทางฝายอํานวยการของตน ในการจัดทําคําสั่งนี้อาจแตกตาง
กันไป ตั้งแตประโยคเดียวจนถึงทําผนวกที่สมบูรณทั้งฉบับ ทั้งนี้แลวแตความตองการและฝายอํานวยการที่
เกี่ยวของ ดูบทที่กลาวถึงกิจกรรมของฝายอํานวยการประสานงาน ในการจัดทําและการแจกจายคําสั่งยุทธการ
๑๓๑
ตอนที่ ๓
คําสั่งการชวยรบ

๕. คําสั่งการชวยรบ
ก. ความมุงหมาย
ความมุงหมายของคําสั่งการชวยรบ คือ ใหมีแผนการสนับสนุนทางการชวยรบสําหรับ
ผูบังคับบัญชาในการปฏิบัตกิ าร และรวมถึงการเคลื่อนยายทางธุรการดวย คําสั่งการชวยรบอาจจายพรอมกับ
คําสั่งยุทธการหรือประกอบคําสั่งยุทธการ คําสั่งนี้จะใหขอมูลขาวสารกับสวนตาง ๆ ที่ไดรับการสนับสนุน
และเปนมูลฐานสําหรับคําสั่งของผูบังคับหนวยสนับสนุนที่ใหกับหนวยรองของตน โดยทัว่ ไปแลวในหนวย
ระดับสูง คําสั่งการชวยรบจะใชแทนผนวกการชวยรบประกอบคําสั่งยุทธการ และคําสั่งการชวยรบดังกลาว
จะถูกอางถึงในขอ ๔. การชวยรบ ของคําสั่งยุทธการ ในหนวยระดับต่ําอาจจะใชเพียงขอความในขอ ๔.
ของคําสั่งยุทธการเทานั้นก็พอ โดยไมตองจัดทําเปนผนวกการชวยรบหรือคําสั่งการชวยรบ (จายแยก)
ข. ขอความในคําสั่งการชวยรบ
คําสั่งการชวยรบฉบับใหมจะออกในเมื่อสถานการณชวยรบ หรือสถานการณทางยุทธวีธี
เปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง หรือในเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดเปนจํานวนมากทําใหคําสั่งฉบับปจจุบัน
ใชไมได คําสั่งการชวยรบที่สมบูรณจะทําไวเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรดวย ในหวงสถานการณ
ที่ตอเนื่องกันการเปลี่ยนแปลงคําสั่งปจจุบันตามความจําเปนทําโดยการออกคําสั่งเปนสวน ๆ หรือโดยสรุป
เปลี่ยนแปลงในคําสั่งยุทธการ คําสั่งการชวยรบจะจายแยกเปนอีกฉบับตางหาก ในเมื่อคาดวาการสนับสนุน
ทางการชวยรบใชกับแผนหรือคําสั่งยุทธการมากกวาหนึง่ ฉบับ
ผูบังคับบัญชาที่มีความรับผิดชอบหลักทางการชวยรบ มักจะเปนผูอ อกคําสั่งการชวยรบเสมอ
อยางไรก็ดี คําสั่งเหลานี้อาจจะออกโดยผูบ ังคับบัญชาคนอื่น ๆ ก็ได ทั้งนี้แลวแตชนิดของหนวยและภารกิจ
ของหนวยนั้นแลวแตความซับซอนของสถานการณทางการชวยรบและแลวแต รปจ.
ค. การปฏิบตั ิของฝายอํานวยการในการจัดทําคําสั่งการชวยรบ
๑) ฝายอํานวยการที่รับผิดชอบหลักในการทําคําสั่งการชวยรบ ไดแก ฝายสงกําลังบํารุง
(สธ.๔) ซึ่งมีงานในหนาที่หลักทางฝายเสนาธิการในการจัดทํา การพิมพ และการแจกจายคําสั่งการชวยรบของ
หนวยบัญชาการ นายทหารฝายอํานวยการอื่น ๆ และฝายกิจการพิเศษชวยจัดทําในสวนของคําสั่งการชวยรบ
ที่เกี่ยวของกับงานในหนาทีท่ างฝายอํานวยการของตน ในการจัดทําคําสั่ง อาจเปนการทําเพียงประโยคเดียว
ไปจนถึงการทําผนวก ดูบทที่กลาวถึงกิจกรรมของนายทหารฝายอํานวยการในการจัดทํา และการแจกจาย
คําสั่งการชวยรบ
๒) แบบฟอรม แบบฟอรมคําสั่งการชวยรบมีกลาวไวในผนวก ฉ คําสั่งเปนสวน ๆ ของคําสั่ง
การชวยรบไมมีแบบฟอรมตายตัว ใหละทิง้ ขอความซึ่งโดยธรรมดามีอยูแลวในคําสั่งที่สมบูรณในเมื่อขอความ
นั้น ๆ ไมเปลี่ยนแปลง ไมมีความสําคัญ ยังไมมี หรือมีไมสมบูรณในเวลาออกคําสั่ง
๑๓๒
๓) เทคนิค เทคนิคในการทําคําสั่งการชวยรบจะกลาวไวใน ผนวก ฉ
๑๓๓
ตอนที่ ๔
คําสั่งอื่น ๆ

๖. ระเบียบปฏิบัติประจํา (รปจ.)
ก. กลาวทั่วไป
รปจ. เปนเอกสารคําสั่งรวบรวมระเบียบปฏิบัติเฉพาะของหนวย ซึ่งระเบียบเหลานีห้ นวยจะใช
เปนประจํา สําหรับดําเนินงานหรือกิจกรรม หรือปฏิบัติตอเรื่องตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเสมอ ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จ
รปจ. จะชวยอํานวยประโยชน ลดเวลา และเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติการไดโดย
๑) ลดจํานวนและความยาวของคําสั่ง ตลอดจนลดความถีท่ ี่ตองการออกคําสั่งตาง ๆ
๒) งายตอการจัดทํา และสื่อคําสั่งชนิดอื่น ๆ
๓) ทําใหการฝกงายขึ้น
๔) สงเสริมความเขาใจและการทํางานรวมกัน ระหวางผูบังคับบัญชา ฝายอํานวยการ และ
กําลังพล
๕) แนะนําผูมาใหมหรือหนวยขึน้ สมทบใหม ๆ ใหปฏิบัตงิ านตามระเบียบปฏิบัติของหนวย
ได
๖) ใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติ
๗) ลดความสับสนและผิดพลาดลง
ข. ขอความในระเบียบปฏิบตั ิประจํา
๑) แตละหนวยบัญชาการ จัดทํา รปจ. โดยอาศัยบางสวนของ รปจ. ของกองบัญชาการ
หนวยเหนือที่เกี่ยวของ เจตนารมณของผูบังคับบัญชา และระเบียบปฏิบัติที่กําหนดขึ้นจากประสบการณ
๒) รปจ. ของหนวยบัญชาการ ตามธรรมดาแลวจะมีขอความที่กลาวไวอยางแนนอนวา รปจ.
ของหนวยรองจะตองยึดถือและตองสอดคลองกับ รปจ. ของหนวยบัญชาการที่ออก รปจ. นั้น
๓) รปจ. สามารถเปลี่ยนแปลงไดตามความจําเปน เพื่อใหเหมาะกับสภาวการณหรือการ
ปฏิบัติที่เปลี่ยนไป รปจ. จะมีขอมูลตาง ๆ อยางเพียงพอและสมบูรณ เพื่อใชเปนคําแนะนําแกผูที่มาใหม หรือ
หนวยที่ขึ้นสมทบใหมเกีย่ วกับระเบียบปฏิบัติตาง ๆ ที่ตองทําตามในหนวยบัญชาการ ปริมาณรายละเอียดของ
รปจ. ขึ้นอยูกับขนาดของหนวยและสภาพการฝกของหนวย คําชี้แจงทางเทคนิคที่เกี่ยวของกับเขาหนาที่
ชํานาญงานพิเศษจํานวนนอย ไมควรรวมอยูใน รปจ. แตควรออกเปนคําชี้แจง หรือคําสั่งแยกตางหาก หรืออาจ
ออกเปน รปจ.เฉพาะไดตามความเหมาะสม
๔) สรปจ. จะไมใชเพื่อรวบรวมการปฏิบัติหรือระเบียบปฏิบตั ิตาง ๆ ซึ่งกลาวไวในคูมือ และ
เอกสารซึ่งแจกจายใหหนวยรองแลว
๑๓๔
ค. การปฏิบตั ิของฝายอํานวยการในการจัดทํา รปจ.
๑) การจัดทํา การพิมพ และการแจกจาย รปจ. ของหนวยบัญชาการ เปนความรับผิดชอบของ
นายทหารยุทธการ นายทหารฝายอํานวยการอื่น ๆ จัดทําในสวนของ รปจ. ที่เกี่ยวของกับตน
๒) ไมมีแบบฟอรมที่แนนอนสําหรับการจัดทํา รปจ. ดังนั้นจึงสามารถจัดพิมพในแบบฟอรม
ที่ใหผลดีที่สุดตอหนวยบัญชาการ ดูตัวอยางการจัดพิมพ รปจ. แบบหนึง่ ใน ผนวก ฉ
๗. คําสั่งเตือน
ความมุงหมายของคําสั่งเตือน คือ ใชแจงเตือนหนวยรองเปนการลวงหนา เพื่อใหทราบถึงการปฏิบัติ
ที่คาดคิดเอาไว หรือคําสั่งยุทธการที่จะสงตามมาภายหลัง ความมุงหมายหลักก็เพือ่ ที่จะชวยใหหนวยรองกับ
ฝายเสนาธิการของหนวยรอง ไดริเริ่มการเตรียมการทีจ่ ะปฏิบัติภารกิจที่ไดรับมอบ โดยมีการแจงเตือน
ลวงหนาใหทราบถึงรายละเอียดที่จําเปนตอการปฏิบัติการ และมีเวลาในการวางแผนมากที่สุด
ขอความในคําสั่งเตือนและรายละเอียดที่จะเขียนลงในคําสั่งเตือนนั้น ขึ้นอยูกับเวลาและชนิดของ
เครื่องมือสื่อสารที่มีอยู และขาวสารที่สําคัญตอการวางแผนและเตรียมการของ ผบ.หนวยรอง โดยอาจจะ
ประกอบดวยเรื่องตาง ๆ ตามลําดับดังตอไปนี้
ก. สถานการณฝายตรงขาม เหตุการณที่สําคัญ ๆ ภารกิจที่เตรียมจะปฏิบัติ กิจเฉพาะและการ
ปฏิบัติการ
ข. เวลาอยางเร็วที่สุดที่หนวยอาจถูกสั่งใหเริม่ ปฏิบัติการ หรืออาจเปนคําชี้แจงวาในการเริ่มปฏิบัติ
โดยกําลังสวนใหญของหนวย หนวยจะไดรับการแจงเตือนแตเนิน่ หรือกะทันหันเพียงใด
ค. สถานที่และเวลานัดหมาย หากมีการรวมเพื่อรับคําสั่ง โดยระบุดวยวาผูบังคับหนวยหรือผูแทน
ผูใดบางตองเขารวม และแผนที่ ๆ ตองใช หรือเวลาที่คาดวาคําสั่งเปนลายลักษณอกั ษรจะสงไปถึง
ง. คําสั่งการปฏิบัติสําหรับการเตรียมการลวงหนา การลาดตระเวนการเฝาตรวจสนามรบ และการ
ตรวจการณ
ฉ. คําแนะนําในเรื่องธุรการ และการสงกําลังบํารุง เครื่องมือพิเศษทีต่ องการ การจัดกลุม
ยานพาหนะขนสง การเตรียมเคลื่อนยายไปยังที่รวมพล ถาเห็นวาจําเปน
ขอความในคําสั่งเตือนจะตองระบุอยางชัดเจนและแนนอนวา สวนใดในคําสงเปนสวนที่ตอง
ปฏิบัติ เชน การรวมเพื่อรับคําสั่ง สวนใดเปนเพียงการแจงเตือนลวงหนา เชน ภารกิจที่เตรียมจะปฏิบตั ิ
ผูที่ไดรับคําสั่งเตือนนี้จะตองสามารถเขาใจได โดยไมมีขอสงสัยเลยวาสวนใดเปนการปฏิบัติและสวนใด
เปนการแจงเตือน ปกติแลวภารกิจ (กิจเฉพาะ) ของหนวยรอง (ยกเวนการปฏิบัติสําหรับการเตรียมการ
ลวงหนา การลาดตระเวน การเฝาตรวจสนามรบ และการตรวจการณ) จะไมสั่งไวในคําสั่งเตือน
คําสั่งเตือนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติที่มีการเคลื่อนยายกําลังทุกคําสั่งจะตองระบุเวลา (NO MOVE
BEFORE______H/ ไมเคลือ่ นยายกอน______ น.) ซึ่งหากยังไมถึงเวลาดังกลาวนีห้ นวยจะตองอยู ณ ที่ตั้งเดิม
และจะยังไมมกี ารเริ่มเคลื่อนยายใด ๆ ซึ่งหมายความวา หนวยนี้หนวยจะตองอยู ณ ทีต่ ั้งเดิม และจะยังไมมีการ
เริ่มเคลื่อนยายใด ๆ ซึ่งหมายความวา หนวยจําเปนตองออกคําสั่งใหปฏิบัติกอนถึงเวลาที่ระบุนี้ คําสั่งสั่งการนี้
จะกําหนดเวลาใหเริ่มเคลื่อนยายยายจริง หรือหากยังไมมกี ารปฏิบัติหนวยจะตองออกคําสั่งใหยึดหวงเวลาที่ยัง
๑๓๕
ไมใหเคลื่อนยายออกไป หรือออกคําสั่งแจงใหทราบวากําลังตองพรอมเคลื่อนยายได เมื่อไดรับการแจงเตือน
กี่ชั่วโมงหรือกีน่ าทีลวงหนาก็ได
ฝายอํานวยการประสานงานหรือฝายกิจการพิเศษ อาจจะออกคําสั่งเตือนเองก็ได แตทั้งนี้จะตอง
ประสานงานทางฝายอํานวยการใหเสร็จสมบูรณ และผูบังคับบัญชาอนุมัติเสียกอน
คําสั่งเตือนไมมีแบบฟอรมทีก่ ําหนดไวอยางแนชัด ปกติจะใชการสั่งการดวยวาจาหรือใช
กระดาษเขียนขาว โดยใชคําวา “คําสั่งเตือน” เปนหัวเรื่องของขาวและตองมีการตอบรับดวย
๘. คําสั่งเปนสวน ๆ
คําสั่งเปนสวน ๆ จะเปนคําสั่งบางสวนของคําสั่งฉบับสมบูรณที่มีรายละเอียดมากกวาคําสั่งเปน
สวน ๆ เปนคําสั่งผูบังคับบัญชา ซึ่งจะแจงมาทีละสวนในขณะทีก่ ําลังจัดทําคําสั่งสมบูรณอยู แตยังไมเสร็จสิ้น
หรือเปนคําสั่งเฉพาะเจาะจงกับผูบังคับหนวยรอง ซึ่งไมจําเปนตองรับทราบคําสั่งสมบูรณทั้งฉบับ หรือโดย
ปกติจะใชเพื่อแจงการเปลี่ยนแปลงแกไขในคําสั่งฉบับปจจุบันเพื่อใหทันตอเหตุการณ
ขอความในคําสั่งเปนสวน ๆ การจัดทําคําสั่งเปนสวน ๆ จะอาศัยคําสั่งสมบูรณเปนมูลฐาน โดยเวน
ในสวนทีไ่ มมกี ารเปลี่ยนแปลง สวนที่ไมสําคัญ และสวนที่ยังทําไมเสร็จสิ้นสมบูรณ กฎเกณฑทวั่ ไปของการ
จัดทําคําสั่งเปนสวน ๆ คือ
ก. สงถึงผูบังคับหนวยแตละหนวยทีต่ องการใหปฏิบัติตามคําสั่ง (ผูปฏิบัติ)
ข. สงถึง บก.หนวยเหนือ และหนวยขางเคียงที่ตองการแจงขาวสาร (ผูรับทราบ)
ค. อางถึงคําสั่งฉบับกอน ถามี
ง. แจงถึงการเปลีย่ นแปลงในการจัดมอบภารกิจ/งาน (ถามี)
จ. หากจําเปนตองชี้แจงใหเกิดความกระจางชัด อาจกลาวถึงสถานการณที่ทําใหจําเปนตอง
ออกคําสั่งนี้อยางสั้น ๆ คราว ๆ และอาจระบุภารกิจใหม หากมีการเปลีย่ นแปลงจากเดิม
ฉ. ควรเปนคําสั่งที่สั้นและเฉพาะเจาะจงแตไมสูญเสียความกระจางชัด
ช. ใหมีการตอบรับ
ซ. จัดประเภทเอกสารที่เหมาะสม
ฝายอํานวยการประสานงานหรือฝายกิจการพิเศษเปนผูจดั ทํา และแจกจายคําสั่งเปนสวน ๆ โดย
ผูบังคับบัญชาเปนผูอนุมัติ ดูตัวอยางของคําสั่งเปนสวน ๆ ในผนวก ฉ
คําสั่งเปนสวน ๆ ไมมีแบบฟอรมที่แนนอน แนสามารถอาศัยแบบฟอรมของคําสั่งยุทธการเพื่อให
มั่นใจวาเขาใจกันอยางทัว่ ถึง และอาจออกคําสั่งเปนสวน ๆ ดวยวาจาก็ได
๑๓๖
ตอนที่ ๕
ผนวกประกอบคําสั่ง
๙. ความมุงหมายในการจัดทําผนวก
ผนวกเปนสวนหนึ่งของคําสั่งซึ่งเกี่ยวกับเรื่อง ๆ หนึ่งของการปฏิบัติการ (เชน การสนับสนุนการยิง)
จุดมุงหมายของผนวกประกอบคําสั่ง คือ ทําใหขอความมูล,นของคําสั่งสั้น จํานวนและชนิดของผนวก
ขึ้นอยูกับความตองการของแตละคําสั่ง เมื่อมีการจัดทําผนวกผนวกนั้นควรจะชวยเพิ่มความกระจางชัดและ
ประโยชนของคําสั่งใหมากขึน้ การจัดทําผนวกนีจ้ ะชวยใหสามารถเลือกแบบแจกจายขาวสารเฉพาะที่จําเปน
ไปยังสวนทีเ่ กีย่ วของตามความเหมาะสมไดดวย ในผนวกจะมีขาวสารและแนวทางปฏิบัติสําหรับหนวยรอง
และหนวยสนับสนุนของกองบัญชาการ ในการจัดทําผนวกประกอบคําสั่งไมควรใชคําสั่งของผูบังคับหนวย
สนับสนุนที่ออกแกหนวยสนับสนุนของตนเอง นอกจากจะเปนผนวกประกอบคําสั่งนั้น นอกจากนี้ผนวก
ไมควรนําเรื่องที่อยูใน รปจ. แลวมากกลาวอีก แตอาจอางถึง รปจ. ในสวนทีเ่ กีย่ วของตามความเหมาะสม
ขาวสารและแนวทางปฏิบัตทิ ี่อยูในตัวคําสั่ง อาจจะนํามากลาวซ้ําในผนวกหากจําเปน
ถึงแมวามีการจัดทําผนวกประกอบคําสั่งแลว ยังจะตองมีขาวสารที่สําคัญสําหรับการใชหนวยตาง ๆ
ของกองบัญชาการอยางมีประสิทธิผลอยูในตัวคําสั่งดวย ฝายอํานวยการและผูบังคับหนวยรองไมจําเปนตอง
อานผนวกทุกผนวก เพื่อทราบวาการจัดและการใชหนวยขั้นพื้นฐานวาเปนอยางไร ฝายอํานวยการผูที่มีหนาที่
รับผิดชอบในเรื่องการปฏิบัติการหรือการชวยรบที่อยูใ นผนวกจะเปนผูจดั ทําผนวกนั้น ๆ
ผนวกตาง ๆ จะกลาวถึง
๑) รายละเอียดทีข่ ยายคําสั่ง เชน แผนบริวารยุทธการ คําสั่งชี้แจงขาวกรอง เปนตน
๒) คําสั่งชี้แจงการสนับสนุนการรบ เชน การยิงสนับสนุน การปฏิบัติของทหารชาง เปนตน
๓) รายละเอียดทางการชวยรบตาง ๆ เชน แผนบริวารการชวยรบ คําแนะนําในการควบคุม
และการหมุนเวียนการจราจร เปนตน
๔) ขาวสาร หรือคําสั่งชี้แจงเกีย่ วกับการปฏิบตั ิที่เกี่ยวของ เชน การปฏิบัติการกิจการพลเรือน
การควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ การ ปจว. การระวังปองกันพื้นที่สว นหลัง เปนตน
๕) ขาวสารหรือแนวทางปฏิบัตทิ ี่จําเปน เพื่อขยายรายละเอียดของคําสั่ง

๑๐. การแจกจาย
ผนวกจะแจกจายใหกับหนวย หรือหนวยงานทั้งปวง ซึ่งการปฏิบัติของหนวยนัน้ ๆ ไดรับผลกระทบ
จากขาวสารหรือคําสั่งชี้แจงที่อยูในผนวกนั้น ผนวกอาจจายพรอม ๆ กับคําสั่งหรืออาจแจกจายแยกตางหาก
(ขอ ๑๑ กลาวถึงความแตกตางของแบบฟอรม ในเมื่อผนวกจายแยกตางหาก) คําสั่งแตละฉบับควรแจกจายไป
โดยมีผนวกประกอบที่สมบูรณ เวนแตจะมีเหตุผลอันสมควรเทานั้น
๑๓๗
๑๑. แบบฟอรม
ตามธรรมดาแลว ผนวกตาง ๆ ยึดถือตามหัวขอทั้งหาของแบบฟอรมคําสั่งยุทธการ เพื่อประกันวา
ไมมีขอความสําคัญใด ๆ ขาดหายไป ขอตกลงมาตรฐานกําหนดใหใชแบบฟอรมนีก้ ับผนวกการยิงสนับสนุน
ผนวกทหารชาง ผนวกการติดตอสื่อสาร และผนวกการเคลื่อนยายทางถนน แตทั้งนี้ ไมรวมถึงแบบฟอรมของ
ผนวกการชวยรบ (ซึ่งจะตองยึดถือตามแบบฟอรมของคําสั่งการชวยรบเปนหลัก) และผนวกขาวกรอง
แบบฟอรมของผนวกทั้งสองนี้จะขึ้นอยูกับมาตรฐานที่ตกลงกัน
ก. ผนวกขาวกรองมีแบบฟอรมที่ตายตัวกวาผนวกอืน่ ผนวกขาวกรองอาจแจกจายกอนคําสั่ง
ยุทธการก็ได ความมุงหมายของผนวกขาวกรอง คือ
๑) เพื่อกระจายขาวกรองที่จําเปนตอการดําเนินการยุทธ
๒) เพื่อเปนการประกาศ หขส. และ ตขอ. อื่น ๆ ของผูบังคับบัญชา
๓) เพื่อมอบกิจเฉพาะในการรวบรวมขาวสารแกผูบังคับหนวยรอง และหนวยขึน้
สมทบ
๔) เพื่อรองขอขาวสารที่ตองการจากหนวยเหนือ และหนวยขางเคียง
ข. คําชี้แจงทั่วไปในการจัดทําผนวกขาวกรอง ก็เชนเดีย่ วกับคําสั่งยุทธการ โดยใหยึดถือเปน
แนวทางดังนี้
๑) ผนวกจะตองสั้นและแจมแจง
๒) เรื่องราวที่กลาวไวใน รปจ.ของหนวย หรือ รปจ.หนวยเหนือ จะไมนํามากลาวซ้ําอีก
เวนแตจะอางถึง รปจ. นั้นโดยตรง
๓) รายงานขาวกรองอาจแจงหลักฐานอางอิง และที่อยูของผูใหขาวตามความเหมาะสม
๔) ขาวสารใด ๆ ที่กลาวโดยละเอียดเฉพาะเรือ่ ง อาจรวมไวในอนุผนวกประกอบผนวก
ตามธรรมดาอนุผนวก มักไดแก แผนทีห่ รือแผนบริวารสถานการณฝายตรงขาม ภารกิจการเฝาตรวจสนามรบ
ภารกิจการลาดตระเวน ภารกิจการตรวจการณ และตารางการแจกจายแผนที่
ผนวกอาจเปนขอเขียน เสนเรขา แผนบริวาร แผนที่พิมพทับ ภาพวาด ผังหรือตาราง ผนวกอาจจะ
ขยายสวนใดสวนหนึ่งของคําสั่งตามความเหมาะสม ผนวกจะเรียงตามลําดับอักษรและอาจประกอบดวย
อนุผนวกเรียงตามลําดับตัวเลขเทาใดก็ได
ถาผนวกใดผนวกหนึ่งแจกจายออกไปกวางขวางกวาคําสั่งหลัก หรือจายแยกตางหากจากคําสั่งหลัก
จะตองแสดงใหทราบดวยการอางถึงคําสั่งหลัก โดยเขียนในหัวขอเรื่องและคําลงทายอยางที่เขียนในคําสั่ง
(คําแนะนําการตอบรับ ลายเซ็นของผูบังคับบัญชาหรือผูแทนที่รับมอบอํานาจ อนุผนวก การแจกจาย และการ
รับรองสําเนาถาเห็นสมควร) ถาผนวกจายเปนสวนหนึง่ ของคําสั่งและแจกจายพรอมกับคําสั่งหลัก ก็เพียงแต
เขียนแสดงอางอิงถึงคําสั่งหลักไวในชื่อของผนวกวาใชประกอบคําสั่งฉบับใด
ตัวอยางของผนวกและเทคนิคที่นํามาใชในการจัดทําผนวกตางๆ มีอยูใน ผนวก ฉ

-----------------------------------------------------
๑๓๘

บทที่ ๘
การควบคุมการยุทธ
ตอนที่ ๑
กลาวทั่วไป
๑. ความมุงหมาย
สิ่งที่จะกลาวตอไปนี้ เปนเรื่องของการจัดโดยทัว่ ไปของที่บัญชาการเพื่อปฏิบัติการรบเรื่องที่
เกี่ยวของ คนหาไดจาก รส.๑๑ – ๓๕ กองพันทหารสื่อสารกองพล พ.ศ.๒๕๒๖ และเอกสารบรรยายเรื่อง
การควบคุมการยุทธระดับกองพล ของสวนวิชาเสนาธิการกิจ รร.สธ.ทบ.
การจัดกองบัญชาการสําหรับปฏิบัติการรบ จะมุงใหเกิดความคลองตัวในการดําเนินกรรมวิธีบงั คับ
บัญชาและควบคุม ซึ่งรวมไปถึงวิธีการใด ๆ ที่ทําใหบรรลุภารกิจ ไดแก การติดตอสื่อสาร การใชศูนยควบคุม
ตาง ๆ ระบบรวบรวมขาวสาร และการดําเนินงานของฝายอํานวยการทั้งหมดที่มอี ยู รวมทั้งสิ่งอํานวยความ
สะดวกตาง ๆ และเครื่องมือที่จําเปนตอการรวบรวม และวิเคราะหขาวสาร การวางแผน และการกํากับดูแล
ผูบังคับบัญชาจะเปนผูตกลงใจกําหนดที่ตั้ง การประกอบกําลัง และการจัดภายในกองบัญชาการ เพื่อให
สอดคลองกับความตองการตามภารกิจ และสถานการณทางยุทธวิธี
๒. ขอพิจารณาในการจัดที่บัญชาการ (ทก.)
โดยธรรมดาแลว การจัดกองบัญชาการเพือ่ ปฏิบัติการรบใด ๆ ก็ตาม จะบรรลุผลตามที่ตองการได
ก็โดยการจัดรวมกลุมแผนกของฝายอํานวยการ หรือบางสวนของแผนกฝายอํานวยการตาง ๆ เขาไวดว ยกัน
โดยยึดถืองานที่ตองทําเปนหลักเพื่อใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุด และมีการประสานงานระหวางฝายอํานวยการ
อยางตอเนื่อง การดําเนินกรรมวิธีดังกลาวนี้ อาจหมายรวมถึง การแบงหรือการจัดลําดับประเภทของที่
บัญชาการ เพือ่ แยกสวนบังคับบัญชาและควบคุมตาง ๆ เชน ที่บัญชาการทางยุทธวิธี (ที่บังคับการทางยุทธวิธี/
ทก.ยุทธวิธี/ทก.ยว.) ที่บัญชาการหลัก (ที่บังคับการหลัก/ทก.หลัก) และที่บัญชาการหลัง (ที่บงั คับการหลัง/
ทก.หลัง) สําหรับศูนยปฏิบัติการทางยุทธวิธี (สปย.) นั้น เปนสวนหนึ่งของที่บัญชาการหลัก
ที่บัญชาการ (ทก.) ซึ่งประกอบดวยเครื่องมือตาง ๆ รวมทั้งระบบการติดตอสื่อสารเปนเปาหมาย
เรงดวนตอการโจมตีของขาศึก (HIGH – PRIORITY TARGET) จาก ทก. จะมีการแพรคลื่นวิทยุ คลื่น
ความรอน เสียง ทัศนะ และมีลักษณะเปาหมายที่เห็นจากเครื่องเฝาตรวจ (TARGET SIGNATURE) ที่มีการ
เคลื่อนไหวตลอดเวลา ทําใหฝายตรงขามแมจะใชเครื่องมือธรรมดา ๆ ก็สามารถคนหาไดคอนขางงาย นอกเสีย
จากจะลดจุดออนดังกลาวนีล้ งได ทก.จะเปนเปาหมายถูกโจมตีหรืออยางนอยถูกรบกวนดวยวิธกี ารทาง
๑๓๙
อิเล็กทรอนิกสของฝายตรงขาม การดําเนินการเพื่อให ทก. สามารถอยูรอดไดนั้น หมายรวมถึงเทคนิคในการ
ปฏิบัติ เชน การกําหนดทีต่ ั้ง ทก.ใหพน ระยะยิงของระบบ ค. หรือ ป. ของฝายตรงขาม การกระจายทีต่ ั้ง
การลวง การทําให ทก. มัน่ คงแข็งแรง และการเปลี่ยนที่ตงั้ ทก. บอย ๆ ภายใตสภาพแวดลอมตาง ๆ โดยสวน
ใหญแลวจะตองนําเทคนิคทัง้ ปวงมาใชผสมผสานกัน เพือ่ ความอยูรอดของ ทก. อยางไรก็ตาม จะตองพิจารณา
ความอยูรอดประกอบกับความตองการให ทก. สามารถดํารงรักษาไวซึ่งประสิทธิภาพ ตัวอยางเชน ในขณะที่
การยายที่ตั้ง ทก. บอย ๆ อาจจะทําใหสามารถลดจุดออนในการถูกตรวจพบและตกเปนเปาหมายของ ป.
ฝายตรงขาม แตขีดความสามารถในการดําเนินการบังคับบัญชาและควบคุมหรือประสิทธิภาพของ ทก. ก็ถูก
ลดลงดวยเชนกัน โดยเฉพาะในกรณีซึ่งฝายตรงขามที่มีขีดความสามารถในการคนหา ทก. และกําหนดเปน
เปาหมายในการทําลายไดรวดเร็วกวาที่จะสามารถจัดตั้ง ทก.ใหมในแตละครั้ง นอกจากนัน้ การเปลี่ยนยาย
ที่ตั้ง ทก. บอย ๆ จะกบลายเปนการเพิ่มจุดออนในการถูกตรวจพบดวยเรดาหตรวจจับเปาหมายเคลื่อนที่ ดังนัน้
ปญหาการหนีเสือปะจระเขจะตองถูกนํามาพิจารณาใหมคี วามสมดุลกันระหวางความอยูรอดและ
ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
เรื่องที่จะกลาวตอไปนี้ คือขอพิจารณาบางประการที่มีผลกระทบตอการจัดกองบัญชาการเพื่อ
ทําการรบ
ก. ภารกิจที่ไดรับมอบและกิจ/งานตาง ๆ ที่ตองกระทํากับทรัพยากรที่มีอยู ตองอยูในลักษณะ
ที่มีความสมดุลซึ่งกันและกันพอสมควร ผูบังคับบัญชาจะเปนผูพิจารณาวาจะตองดําเนินการอยางไรจึงจะ
บรรลุภารกิจในขณะนั้น และจะจัดกําลังและแบงมอบทรัพยากรอยางเพียงพอใหแกแตละสวนที่เกีย่ วของ
ความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความสะดวกของผูบังคับบัญชา และสวนตาง ๆ ของฝายอํานวยการ
เปนขอหวงใยที่สําคัญ
ข. การกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่ จะตองกระทําอยางชัดแจง การจัด
แผนกฝายอํานวยการตาง ๆ หรือสวนตาง ๆ ของแตละแผนกโดยยึดถือหนาที่งานเปนหลักนัน้ จะทําใหเกิด
ประสิทธิภาพและการประสาน เมื่อมีการจัดสวนบังคับบัญชาและควบคุมตาง ๆ ไวหลายระดับ จะตองกําหนด
อํานาจหนาทีข่ องแตละระดับไวอยางแนชดั ใน รปจ.
ค. เนื่องจากการจัด ทก. ที่มีขนาดใหญมักจะเปนจุดออนในการถูกตรวจพบ ดังนั้นวิธที ี่จะ
ชวยเพิ่มความอยูรอดของ ทก. ก็คือ การจัดแยกสวนของ ทก. ออกเปนระดับตามกลุมงาน (ตามหนาที่) และ/
หรือกระจายสวนตาง ๆ เหลานั้น การกระทําในลักษณะเชนนีจ้ ะเปนผลให ทก. ตาง ๆ มีขนาดเล็กลงใน
บริเวณ ๆ หนึง่
ง. สวนบังคับบัญชาและควบคุมที่มีขนาดเล็กยอมมีความคลองตัวสูงขึ้น รวมทั้งตองใชเวลา
ในการจัดตั้ง การเปลี่ยนที่ตั้ง และเครื่องมือในการขนยายนอยลงไปดวย
จ. ผูบังคับบัญชาจะสวามารถปฏิบัติงานของตนไดอยางมีประสิทธิภาพและไดประสิทธิผล
โดยการจัดใหมีสวนบังคับบัญชาและควบคุมมากกวาหนึ่งระดับ เพราะจะทําใหผูบังคับบัญชานั้นสามารถ
ไปอยูที่ใด ๆ ก็ได โดยยังคงดํารงรักษาการควบคุมที่จําเปนไวไดอยางตอเนื่อง และทําใหสามารถทําใหหนวย
๑๔๐
มีความรูสึกวาผูยังคับบัญชาอยู ณ จุดสําคัญในสถานการณสูรบนั้น เพื่อนําหนวยและควบคุมการสูรบอยาง
ใกลชิด
ฉ. การติดตอสื่อสารประเภทตาง ๆ กับ ทก.หนวยเหนือ ทก.หนวยรอง และหนวยขางเคียง
จะบรรลุไดดว ยระบบการติดตอสื่อสารดังตอไปนี้
๑) วิทยุ เอฟ เอ็ม (เขารหัส) ระดับ หมู ถึง ทภ.
ก) ขายบังคับบัญชา
ข) ขายการขาว
ค) ขายธุรการและสงกําลังบํารุง
๒) วิทยุ เอ เอ็ม (กองรอย – ทภ.)
๓) ชุดวิทยุโทรพิมพ (กองพล – ทภ. – ทบ.)
๔) วิทยุถายทอด (กองพล – ทภ. – ทบ.)
๕) เครื่องโทรศัพทและตูสลับสาย (มว. – ทบ.)
๖) พลนําสาร
ตองมีการจัดเตรียมระบบสื่อสารที่สามารถติดตอไดอยางตอเนื่อง ในขณะทําการเคลื่อนยาย
หรือยายที่ตั้ง การจัดระดับสวนการบังคับบัญชาและการควบคุมตาง ๆ นั้น ขึ้นอยูกบั ระบบการติดตอสื่อสาร
ที่ตอเนื่องและมีประสิทธิผล ผบ.ส.พล. จะตองเขารวมในการวางแผนกําหนดที่ตั้งของ ทก. ตั้งแตเนิ่น เพื่อ
ประกันความสําเร็จในการบังคับบัญชาและการควบคุม จะตองมีการจัดเตรียมแผนเผชิญเหตุไว ในกรณีทกี่ าร
ติดตอสื่อสารขาดหายหรือถูกทําลาย
ช. เชนเดียวกับการปฏิบัติการทางทหารอื่น ๆ ยามปกติผูบังคับบัญชาจะตองทําการจัดและฝก
ทก. และสวนอํานวยการยุทธตาง ๆ เพื่อตอบสนองความตองการไดเมื่อการสูรบเกิดขึ้น มิใชทําการจัดและการ
ฝกตามความจําเปนและความสะดวกเมื่อการสูรบใกลจะเกิดขึ้นเทานั้น
๑๔๑
ตอนที่ ๒
ที่บังคับการ/บัญชาการ

๓. โครงสราง
โดยทั่วไปแลวจะตั้งชื่อ ทก. เปน ทก.หลัก ทก.ยุทธวิธี ทก.สํารอง และ ทก.หลัง ทก.จะไดรับการ
จัดตั้งขึ้นเพื่อชวยผูบังคับบัญชาในสวนงานบังคับบัญชา และควบคุมของการปฏิบัติการสูรบ ใน ทก. จะมีการ
จัดฝายอํานวยการซึ่งมีจุดมุงหมายในการจัดหา รวบรวม และประสานขาวสารสําคัญยิ่งที่จําเปนสําหรับการ
บังคับบัญชาและการควบคุมการปฏิบัติการรบ
ภาระหนาที่ทสี่ ําคัญที่สุดของฝายอํานวยการ คือ การเสนอขาวสารที่มีความสําคัญยิ่งอยางถูกตอง
แมนยําและทันเวลา การรวมหนาที่ของฝายอํานวยการใหปฏิบัติรวมกันจะชวยผูบ ังคับบัญชาในการประสาน
อํานาจกําลังรบที่มีอยูใหสอดคลอง ณ ตําบล และเวลาที่ตองการไดอยางถูกตองเหมาะสมตลอดชวงการ
ปฏิบัติการรบ
โดยธรรมดาแลว ทก. ในทุกระดับ จะตองสามารถจัดใหมีการบังคับบัญชาและควบคุม
ซึ่งครอบคลุมตลอดพื้นที่การสูรบอยางทั่วถึง ไดแก พืน้ ที่ทางลึก พืน้ ที่รบประชิด พื้นที่รบหลัก และพื้นที่
สวนหลัง
ในระดับกองทัพนอย/กองพล สายการบังคับบัญชาจะรวมถึง ผบ.ทน./ผบ.พล. และ รอง ผบ.ทน./
รอง ผบ.พล. ดวย การตกลงใจเกีย่ วกับการควบคุมบังคับบัญชาในการปฏิบัติการยุทธจะกระทําโดย ผบ.ตาง ๆ
ฝายอํานวยการจะวิเคราะหขา วสารที่ไดมาและเสนอขอเสนอแนะแกผบู ังคับบัญชา ผบ.ทน. และ ผบ.พล.
จะกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบและอํานวยการในการสั่งการให รอง ผบ.พล. ทั้ง ๒ คนจะไดรบั แตงตั้งเปน
รอง ผบ.พล.ฝายปฏิบัติการกับ รอง ผบ.พล.ฝายสนับสนุน บอยครั้ง รอง ผบ.พล. อาจไดรับแตงตั้งเปนผูบังคับ
หนวยกําลังเฉพาะกิจ เชน หนวยกําบัง หรือหนวยปฏิบัตกิ ารในพืน้ ที่สวนหลัง
ผบ. จะอยู ณ ตําบลที่สามารถประเมินสถานการณสูรบไดถูกตองแมนยํา ตําลงใจไดอยางทันการณ
และสามารถอํานวยการควบคุมบังคับบัญชาการปฏิบัติการรบได ผบ. อาจเคลื่อนยายไปยังจุดวิกฤติของการ
สูรบ เพื่อที่จะควบคุมการรบอยางใกลชิด แตโดยปกติแลว ผบ.พล. จะอยูที่ ทก.หลัก หรือ ทก.ยุทธวิธี รอง ผบ.
พล.หากไมไดรับมอบหมายใหบังคับบัญชาหนวยกําลังเฉพาะกิจ โดยปกติจะอยูที่ ทก.หลัก หรือ ทก.ยุทธวิธี
หรืออยูที่สวนหลังของกองพล ผบ.พล. อาจอยูที่ ทก.หลัก ในระหวางที่ รอง ผบ.พล.คนหนึ่งอาจอยูท ี่
ทก.ยุทธวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขอบเขตของการยุทธ อาจมีการจัดตั้งกลุม บังคับบัญชาไดเปนการชั่วคราวในทุก
ระดับ เพื่อใชเปน ทก. (หรือเปน ทก.เพิ่มเติม)
การจัด ทก.ของหนวยทหารระดับตาง ๆ
ก. กองทัพนอย จัดตั้ง ทก.ยุทธวิธี ทก.หลัก และกําหนดใหมี ทก.สํารอง (ตามปกติจะเปน
บก.กรม ป. หรือ บก.กรม หนุน) สําหรับพื้นที่สนับสนุนของกองพลบังคับบัญชาโดยผูบังคับการกรม
สนับสนุนและดําเนินการสนับสนุนการปฏิบัติการรบ สวนการปฏิบัตกิ ารรบในพื้นที่สวนหลังนั้น
๑๔๒
อาจจําเปนตองจัดตั้ง ทก. สําหรับพื้นที่สวนหลังก็ได และหากจัดตั้งขึ้นก็อาจบังคับบัญชาโดย รอง ผบ.พล.
ฝายสนับสนุน
ค. กรม จัดตั้ง ทก.ยุทธวิธี ทก.หลัก ทก.หลัง และอาจกําหนด ทก.สํารองไวดว ย พืน้ ที่
สวนหลังของกรมจะสนับสนุนการปฏิบัตกิ ารรบขางหนา
ง. กองพัน จัดตัง้ ทก.หลัก ซึ่งอาจทําหนาที่เปน ทก.ยุทธวิธี และหากจําเปนกองพันอาจ
จัดกลุมบังคับบัญชาขึ้นเพื่อทําหนาที่ ทก.ยุทธวิธี ชั่วคราวก็ได สวน ทก.สํารองก็อาจกําหนดขึ้นไดดวย
๔. ทีบ่ ังคับการ/บัญชาการทางยุทธวิธี
ทก.ยุทธวิธี เมื่อมีการจัดตัง้ ขึ้น จะทําหนาที่เปนกองบัญชาการในแนวหนาของหนวยระดับกรม
ขึ้นไป ตามปกติ ทก.ยุทธวิธีจะประกอบดวยสวนของฝายอํานวยการตาง ๆ จากแผนก สธ.๒/ฝอ.๒ แผนก
สธ.๓/ฝอ.๓ สวนยิงสนับสนุน (สยส.) ชุดควบคุมทางอากาศยุทธวิธี (ชคอย.) สวนปองกันภัยทางอากาศ
และแผนกของ ฝอ. ที่ทําหนาที่สนับสนุนการชวยรบ ตามปกติแลว สธ.๓/ฝอ.๓ ประจําอยูที่ ทก.ยุทธวิธี และมี
ความรับผิดชอบทางฝายอํานวยการตอ ทก.นี้โดยตรง ทก.นี้จะตั้งล้ําไปขางหนามาก เพื่อให ผบ.อยูใกลชิดกับ
หนวยรองตาง ๆ ในแนวหนา และสามารถบัญชาการรบจาก ทก.นี้ไดโดยตรง ซึ่งการจัด ทก.ยุทธวิธีใหใกลชิด
ติดพันกับการรบในลักษณะนี้ ทําให ผบ.ไดพบปะกับ ผบ.หนวยรองของตน เปนการเพิ่มพูนบรรยากาศของ
ความเปนผูนําหนวย โดยแสดงใหเห็นวา ผบ. ก็มารวมทุกขรวมสุขในสนามรบพรอมกับกําลังพลทุกนาย
ทก.ยุทธวิธี มีขนาดเล็กและแพรคลื่นไฟฟาต่ํา ทก.นี้ตองยายทีต่ ั้งไดอยางรวดเร็วและบอย ๆ
การเคลื่อนยายของ ทก.ยุทธวิธีจะขึ้นอยูกับความคืบหนาของการรบ และเปนไปตามความประสงคของ
ผบ. ทก.นี้จะตองดํารงการติดตอสื่อสารอยางตอเนื่องกับหนวยในแนวหนา ทก.หลัก และ บก.หนวยเหนือ
ตลอดเวลา
หนาที่ของ ทก.ยุทธวิธี
ก. หนาที่หลัก คือ การควบคุมการปฏิบัติการรบในขณะปจจุบัน ซึ่งไดแก การควบคุมการรบ
ในพื้นทีก่ ารรบหลัก
ข. หนาที่รอง คือ ติดตามเฝาฟงการรบในพืน้ ที่สวนหลังของทั้งสองฝาย และวางแผนการ
ปฏิบัติในอนาคตสําหรับการรบในพื้นทีก่ ารรบหลัก นอกจากนั้นยังมีหนาที่ทั่วไป ไดแก
๑) พัฒนาขาวกรองการรบที่ ผบ. ตองใหความสนใจในทันที
๒) ควบคุมหนวยดําเนินกลยุทธ
๓) ควบคุม/ประสานงานกับหนวยยิงสนับสนุนที่มีอยูในขณะนั้น
๔) ประสานการใชหวงอากาศ และการปฏิบัติการปองกันภัยทางอากาศในแนวหนา
๕) ติดตอสื่อสารกับ ทก.หลัก เมื่อมีความตองการการสนับสนุนทางการชวยรบ
คุณลักษณะโดยทั่วไปของ ทก.ยุทธวิธี
ก. ปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง
ข. พยายามดํารงรักษาขนาดใหเล็กที่สุดเทาที่จะทําได
ค. เคลื่อนที่ไดรอยเปอรเซ็นต
๑๔๓
ง. มีที่ตั้งล้ําไปขางหนาในสนามรบ ตามปกติอยูหางมาขางหลัง ๘ - ๒๐ กม. จากแนวหนา
สุดของกองทหารฝายเดียวกัน และในระดับกองทัพนอย จะหาง ๒๕ – ๒๐ กม. (พิจารณาจากอาวุธ,ยุทธวิธี
ฯลฯ)
จ. การควบคุมการรบโดยใกลชดิ จะเริ่มจาก ทก.นี้

๕. ที่บังคับการ/บัญชาการหลัก
โดยธรรมดาแลว ทก.หลัก มีที่ตั้งคอนไปขางหลังของหนวยทีว่ างกําลังอยูในแนวหนา ซึ่งในระดับ
กองพล ทก.หลัก จะอยูพ นระยะยิงไกลสุดของปนใหญขนาดกลางของฝายตรงขาม เสนาธิการของหนวย
จะเปนผูควบคุมการปฏิบัติงานของ ทก.หลัก โดยใน ทก.หลัก จะประกอบดวย ฝอ. ที่เกี่ยวของกับการ
ดําเนินการรบในขณะนั้น และการวางแผนปฏิบัติการสําหรับอนาคตงานดังกลาวนี้จะปฏิบัติกันที่ ศปย. ภายใน
ศปย. จะจัด ฝอ. เปนสวน ๆ ตามสายงาน นอกจากตัวเสนาธิการแลว ใน ทก.หลัก จะประกอบดวย สวนของ
สธ.๑/๒/๓ และ ๔ สวนยิงสนับสนุน (สยส.) สวนเคมีที่เกี่ยวของกับการปองกัน นชค. (เชิงรับ) สวนของชุด
ควบคุมทางอากาศยุทธวิธี และสวนควบคุมหวงอากาศ สําหรับสวนควบคุมหวงอากาศซึ่งอยูภายใตการกํากับ
ดูแลทางฝายอํานวยการของ สธ.๓ (อากาศ) ประกอบดวย สวนของ ปภอ. และสวนของ บ.ทบ. ตามปกติ
สธ.๑, ๒ และ ๔ จะอยูที่ ทก.หลัก เมื่อมิไดจัด ทก.ยุทธวิธี ทก.หลัก จะทําหนาที่บังคับบัญชาและควบคุมการ
ปฏิบัติการรบในขณะปจจุบนั ดวย นอกจากนี้หนวยงานที่รับผิดชอบการปฏิบัติการที่มิไดมีลักษณะทางยุทธวิธี
ก็อาจจัดศูนยปฏิบัติการไดตามความเหมาะสม เชน ศูนยปฏิบัติการสงกําลังบํารุง เปนตน
การเปลี่ยนที่ตงั้ ของ ทก.หลัก อาจใชวิธกี ารเคลื่อนยายเปนสวน ๆ หรืออาจเคลื่อนยายทั้งหมดใน
ครั้งเดียวก็ได ซึ่งในกรณีหลังนี้ จะกระทําเมื่อมีการจัดตั้ง ทก.ยุทธวิธี ทีท่ ํางานตลอด ๒๔ ช.ม.เทานัน้ ทก.หลัก
นี้จะตองดํารงการติดตอสื่อสารกับหนวยในแนวหนา ทก.ยุทธวิธี และ บก.หนวยเหนือ อยางตอเนือ่ ง
ตลอดเวลา
หนาที่ของ ทก.หลัก
ก. หนาที่หลัก คือ ทําใหการปฏิบัติการรบดําเนินไปไดโดย
๑) ประสานอํานาจกําลังรบ
๒) อํานวยการตอการรบในพื้นที่ลึกไปขางหลังของฝายตรงขาม
๓) วางแผนการปฏิบัติการรบในอนาคต
ข. หนาที่รอง คือ ประสานเกีย่ วกับการสนับสนุนทางการชวยรบ นอกจากนั้นยังมีหนาทีด่ ังนี้
๑) จัดลําดับขาวสารเสนอผูบังคับบัญชา
๒) ใหไดมาและประสานการสนับสนุนการรบ
๓) รายงาน บก.หนวยเหนือ
๔) เปนศูนยพัฒนาขาวกรองทั้งปวงที่มีอยู
๕) ประสานความตองการสําหรับการปองกันพื้นที่สวนหลัง
๑๔๔
คุณลักษณะโดยทั่วไป
ก. การจัดงานตามหนาที่ที่ตองปฏิบัติ เชน มี ฝสธ.ครบทุกสายงาน
ข. มีที่ตั้งคอนไปขางหลัง ตามปกติ ทก.พล. อยูหางมาขางหลัง ๒๕ – ๕๐ กม. จากแนว
การวางกําลังของหนวยทหารฝายเดียวกัน และหาง ๖๐ กม. หรือมากกวาในระดับ ทก.ทน.
ค. จัดใหมีความคลองแคลว ๖๐ – ๖๐ %
ง. เสนาธิการเปนผูมีหนาที่สั่งการปฏิบัติงาน

๖. ทีบ่ ังคับการ/บัญชาการสํารอง และที่บังคับการ/บัญชาการหลัง


อาจมีการกําหนดหรือจัดตั้ง ทก.สํารอง ขึ้น เพื่อประกันความตอเนื่องในการปฏิบัติในระหวาง
การยายที่ตั้ง ทก. หรือในกรณีที่ ทก. เกิดความเสียหายอยางหนัก กองบัญชาการของหนวยรองอาจถูก
กําหนดใหเปน ทก.สํารอง ก็ได ปกติแลววิธีกําหนด ทก.สํารอง จะกลาวไวใน รปจ.
ตามปกติ ทก.หลัง จะจัดตั้งในระดับกองทัพนอยขึ้นไป (ยกเวน ทน. ของ ทบ.ไทย ทก.หลัง ทภ.
จะเปนผูจ ัดตั้ง) และบังคับบัญชาโดย รอง ผบ.หนวย ทก.หลัง มีหนาที่บังคับบัญชาและควบคุมการสนับสนุน
การปฏิบัติการทางยุทธวิธีในเรื่องที่เกี่ยวกับงานทางธุรการ และการชวยรบ นอกจากนั้นยังอาจทําหนาที่เปน
ศูนยรวมของการปฏิบัติการพิทักษพนื้ ที่สวนหลังดวย หนวยบัญชาการชวยรบของกองทัพนอยเปนหนวย
ปฏิบัติในทางธุรการ และสนับสนุนการสงกําลังบํารุงใหแกกองทัพนอยในระดับกองพล กรม สน. ปฏิบัติ
หนาที่ดังกลาวนี้ ในกรณีที่จาํ เปน ทก.หกลัง อาจถูกจัดตั้งขึ้นในระดับกองพล เพื่อควบคุมบังคับบัญชาการ
ปฏิบัติการพิทักษพื้นที่สว นหลัง โดยมี รอง ผบ.พล ฝายสนับสนุน ทําหนาที่บังคับบัญชา ทก.หลัง ฝสธ.
ซึ่งมักจะทํางานอยูใน ทก.หลัง ไดแก บางสวนของแผนก สธ.๑ และ สธ.๔ สธ.๕ (ปกติจะสอยูใน ทก.หลัง)
จเร นธน. ผบ.ทหารสารวัตร ขกท. เปนตน
หนาที่ ทก.หลัง
ก. หนาที่หลัก คือ ดํารงสถานภาพการรบ และดําเนินการเกี่ยวกับการปฏิบัติการตาง ๆ
ในพื้นที่สว นหลัง
ข. หนาที่รอง คือ ทําหนาที่เปน ทก.หลัก ไดตลอดเวลาเมื่อจําเปน รวมทั้งวางแผนในอนาคต
สําหรับการปฏิบัติของสวนหลัง
คุณลักษณะทั่วไปของ ทก.หลัง
ก. มีที่ตั้งหางมาขางหลังมากพอควร
ข. ไมกําหนดความคลองแคลวในการเคลื่อนที่
ค. ปฏิบัติงานในพื้นที่สวนหลังโดย ผบ.หนวย ระดับกองทัพนอย หรือกองพล เปนผูกําหนด
ตัวนายทหารผูไ ดรับมอบหนาที่
๑๔๕
ตอนที่ ๓
การปฏิบตั ิงานของที่บังคับการ

๗. สวนประกอบของ ทก. (สวนของ ฝอ.)

กองทัพนอย

สยส ทก.ยว.
ตัวแทนต างๆ สคอ.ทน. สยส สวทก.หลั
นสนับสนุกน สคอ ทน
ตามความจําเปน ศสปย.ทน.(ชกท.)
ศสอต ศสอต
สธ ๑ สธ ๒ สธ ๓
สธ ๒ สธ ๓ สธ ๑ สธ ๔ *** ***
สธ ๔
สธ ๕ อื่น ๆ สวน นชค
ตอน ทก ยว สวน นชค

รูปที่ ๘ – ๑ แสดงการจัด ทก.กองทัพนอย

คําอธิบาย :
สยส. - สวนยิงสนับสนุน
สคอ. - สวนควบคุมหวงอากาศ
ศสอต. - ศูนยสนับสนุนทางอากาศโดยตรง รับมอบอํานาจจาก ศยอ. (ศูนยยุทธการทาง
อากาศ)
ชสอต. - ชุดสนับสนุนทางอากาศโดยตรง จัดประจําหนวยภาคพืน้ ระดับ กองพล
ชนอต. - ชุดนายทหารอากาศติดตอ จัดประจําหนวยภาคพืน้ ดินระดับ กรม (ทอ.ไทย)
ชผคน. - ชุดผูควบคุมอากาศยานหนา จัดประจําหนวยภาคพืน้ ดินระดับ กองพัน
*** สหรัฐจะเปนหนวย ASOC (เฉพาะ ทน.) และ ชคอย. หรือ ชุดควบคุมทางอากาศยุทธวิธี
ซึ่งจะมีประจําลงไปถึงระดับกองพันดําเนินกลยุทธ
๑๔๖

กองพล
ทก.ยว. ทก.หลัก
สยส. ตัวแทนตางๆ สคอ.พล. สยส. สวนสนับสนุน สคอ.
ตามความจําเปน ศปย.พล.(ชกท.)
ชสอต. ชสอต.
สธ.๑
สธ.๒ สธ.๓ สธ.๑ สธ.๔ สธ.๔ สธ.๒ สธ.๓ น.อุตุนิยมวิทยา

ชุดตรวจ
ตอน ทก.ยว. สวน นชค. ภูมิประเทศ อื่น ๆ สวน นชค.

รูปที่ ๘ – ๒ แสดงการจัด ทก.กองพล

กรม
ทก.ยว. ทก.หลัก
สยส. ตัวแทนตางๆ สคอ.กรม. สยส. สคอ.กรม.
ตามความจําเปน
ชนอต.
ทหารชาง ฝอ.๒ ฝอ.๓ ชนอต.
ฝอ.๓

สงคราม
ตอน ทก.ยว. อื่น ๆ อิเล็กทรอนิกส

รูปที่ ๘ – ๓ แสดงการจัด ทก.กรม

๘. ฝายอํานวยประสานงาน
ก. สธ.๑
กิจกรรมตางๆ ของ สธ.๑ จะปฏิบัติ ณ ทก.หลัก หรือ ทก.หลัง ตัวแทนของ สธ.๑ อาจไปอยูใน
ทก.ยว. ดวย เพื่อใหขาวสารแก ผบ. และ ฝอ. ในเรื่องสถานการณดาน กพ. และสภาพของ สธ.๑ ในการรบ
ในปจจุบนั และการเปลี่ยนแปลงลําดับความเรงดวน พันธกิจของ สธ.๑ ที่ปฏิบัติ ณ ทก.หลัก จะรวมถึงการ
พัฒนาการประมาณการ การเสนอนโยบายดานกําลังพล และการประสานกิจกรรมดานกําลังพล ระหวาง
ทก.ยว., ทก.หลัก และ ทก.หลัง พันธกิจดานกําลังพลซึ่งกระทําโดยสวนของแผนก สธ.๑ ที่อยู ณ ทก.หลัง คือ
การดํารงรักษาสถานภาพกําลังพลของหนวย การกํากับดูแลทางฝายอํานวยการในเรื่องการสนับสนุนการ
บริการดานกําลังพล การสนับสนุนทางฝายอํานวยการในการพัฒนา และการรักษาขวัญ รวมทั้งพันธกิจของ
ฝอ. ที่เกี่ยวของกับการรักษาวินัย กฎ ขอบังคับ และ คําสั่ง
๑๔๗
ข. สธ.๒
แผนก สธ.๒ สวนใหญจะอยู ณ ทก.หลัก กําลังพลเหลานี้จะดําเนินกรรมวิธีตอขาวสาร
ขาวกรองทั้งปวง และเปนศูนยในการสนธิขาวกรองจากทุกแหลง สวนยอยของแผนก สธ.๒ จะอยู ณ ทก.ยว.
เพื่อจัดใหมีขาวกรองสําหรับ ผบ. และ สธ.๓ ใชเปนขอมูลสําหรับการตกลงใจทางยุทธวิธีในปจจุบัน พันธกิจ
ที่ปฏิบัติ ณ ทก.หลัก คือ การวางแผนการรวบรวมขาวสาร การดําเนินงาน การวิเคราะห การผลิต และการ
กระขายขาวกรอง สวน ลว. และเฝาตรวจของ สธ.๒ จะวางแผนและประสานงานความตองการในการ ลว.
และเฝาตรวจทั้งทางพื้นดินและทางอากาศ และ สธ.๒ จะแจกจายขาวสารกรองที่ไดรวบรวมใหกับทุก ๆ
หนวยที่เกี่ยวของ
ภายใน ศปย. นายทหารฝายขาวกรองจะสนธิตามพันธกิจเขากับแผนกของสวนสนับสนุน ศปย.
เพื่อใหมนั่ ใจวาความพยายามในดานขาวกรองมีการประสานและสนองตอบตรงตามความตองการ ผบ.
ค. สธ.๓
พันธกิจของแผนก สธ.๓ แบงออกเปนสองเรื่อง คือ การควบคุมการปฏิบัติการรบ และการ
ดํารงสถานภาพในการรบ พันธกิจในการปฏิบัติการรบจะกระทําใน ทก.ยว. ขณะที่พนั ธกิจการดํารงสถานภาพ
ในการรบจะปฏิบัติใน ทก.หลัก พันธกิจทีป่ ฏิบัติโดยสวนยอยของแผนก สธ.๓ ใน ทก.ยว. จะรวมถึงการกํากับ
ดูแลการปฏิบัติการ การติดตามสถานการณปจจุบนั ของฝายเรา และการดํารงสถานภาพของหนวย การดํารง
รักษาการประมาณการยุทธใหทันสมัย จัดทําใหสวนดําเนินกลยุทธ และสวนกํากับดูแลของคําสั่งยุทธการเปน
สวน ๆ และการใหขอเสนอแนะในการแบงมอบทรัพยากร (หนวย) เพิ่มเติมตาง ๆ
สวนของ สธ.๓ ใน ทก.หลัก จะติดตามความคืบหนาของการปฏิบัติการรบและประสานการ
สนับสนุนการรบที่มีอยู พันธกิจเฉพาะที่ปฏิบัติโดยสวนนี้ คือ การจัดทําแผนยุทธการ การรับ – การดําเนิน
กรรมวิธี และอนุมัติการรองขอการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชดิ ตามแผน การประสานการเคลื่อนยาย
หนวยทหารทางยุทธวิธี การดํารงรักษาบัญชาหนวยทหาร การเสนอแนะการใชอาวุธนิวเคลียรและอาวุธเคมี
การปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส การสนธิการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ และการปฏิบัติการ
จิตวิทยาไวในแผนและคําสั่งตาง ๆ การประสานการฝก รวมทั้งการเตรียมการรายงานใหกับ บก.หนวยเหนือ
ง. สธ.๔
แผนก สธ.๔ จะแบงอยูที่ ทก.หลัก และ ทก.หลัง แผนกอาจจัดตัวแทนใหกับ ทก.ยว. เพื่อให
มั่นใจวา ผบ. และ ฝอ. ไดรบั คําแนะนําเกีย่ วกับสถานภาพการสงกําลังบํารุง และเพื่อให สธ.๔ ไดรับขาวสาร
เพิ่มเติมเกีย่ วกับสถานการณรบ และการเปลี่ยนแปลงลําดับความเรงดวนในการสงกําลังบํารุง สวนที่อยู
ณ ทก.หลัก จะมีงานหลักในเรื่องการประสานเรื่องที่เกีย่ วของดานการสงกําลังบํารุงเขากับดานยุทธวิธีของการ
สูรบ สวนที่เหลือ ทก.หลัง จะรับผิดชอบในการวางแผนและกํากับดูแลกิจกรรมทางการสงกําลัง การบริการ
การซอมบํารุง และการขนสงที่จําเปนตอการสนับสนุนหนวยบัญชาการ
จ. สธ.๕
แผนกนี้ปกติแลวจะอยูใน ทก.หลัง พันธกิจของ สธ.๕ จะรวมถึงการปฏิบัติที่เกีย่ วของกับ
ความสัมพันธระหวางหนวยบัญชาการ เจาหนาที่พลเรือน และประชาชนในพืน้ ที่ปฏิบัติการ
๑๔๘
ฉ. อื่น ๆ
ตัวแทนของฝายอํานวยการ เชน นายทหารสื่อสารอิเล็กทรอนิกส และทหารชาง ปกติแลวจะอยู
ณ ทก.หลัก นายทหารฝายกิจการพิเศษ และฝายอํานวยการประจําตัว เชน อนุศาสนาจารยจเร นายทหาร
พระธรรมนูญ นายแพทย โดยปกติแลวจะอยู ณ ทก.หลัง รอง ผบ.หนวย จัดใหมสี วนยอยประจํา ทก.หลัก
สําหรับสนับสนุนงานทางธุรการ
๙. สวนสนับสนุน ศปย. (TACTICAL OPERATIONS CENTER (TOC) SUPPORT
ELEMENT)
ก. สวนสนับสนุน
ศปย. จะสนับสนุนพันธกิจของ สธ.๒ และ สธ.๓ ในเรื่องการขาวกรอง สงครามอิเล็กทรอนิกส
(สอ.) และการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ หนวยระดับกองทัพนอยจะจัดสวนนี้จากกองพันปฏิบัติการ
ของหนวยขาวกรองทางทหารของกองทัพนอย และหนวยระดับกองพลจะจัดตั้งขึน้ โดย พัน.ขกท. ในอัตรา
ประกอบดวย
๑) แผนกรวบรวมและกระจายขาวกรอง
๒) แผนกผลิตขาวกรอง
๓) แผนกวิเคราะหตอตานขาวกรอง
๔) แผนกสงครามอิเล็กทรอนิกส
๕) สวนการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ
๖) แผนกลมฟาอากาศของ ทอ.
๗) ชุดสนับสนุนทางการชาง
๘) ตอนกองบังคับการ
ข. แผนกรวบรวมและกระจายขาวกรอง
ปฏิบัติการภายใตการกํากับดูแลของ สธ.๒ แผนกนีจ้ ะ
๑) ควบคุมและกําหนดแนวทางในการปฏิบัตกิ ารขาวกรอง และการปฏิบัติการสงคราม
อิเล็กทรอนิกส โดยมีพื้นฐานมาจากความตองการที่กําหนดขึ้นโดย สธ.๒ (ขาวกรอง,การตอตานขาวกรอง
และมาตรการสนับสนุนสงครามอิเล็กทรอนิกส) และ สธ.๓ (มาตรการตอตานสงครามอิเล็กทรอนิกส และการ
รักษาความปอลดภัยทางการยุทธ)
๒) เตรียมแผนรวบรวมขาวสารตามความตองการของ ผบ. และขอเสนอแนะของ สธ.๒ และ
สธ.๓ ตามความตองการของ บก.หนวยเหนือ และการรองขอจากหนวยขางเคียงและหนวยรอง รวมทั้งการ
สงผานคําขอไปยัง บก.หนวยเหนือ หรือหนวยขางเคียงตามความจําเปน
๓) มอบงานตามภารกิจใหแกหนวย ขกท. ในอัตราและทีม่ าสนับสนุน และสงตองานตาง ๆ
สําหรับหนวยอื่น ๆ ใหกับแผนก สธ.๓ เพื่อการประสานงาน และมอบงานผานทาง สธ.๓
๔) กระจายขาวกรองและขาวสารการรบใหกบั ทุกคนที่ตองการใช รวมทัง้ ทก.ยว. เมื่อมีการ
จัดตั้ง และ สยส. สําหรับการแลกเปลี่ยนขาวสารเปาหมายเรงดวน
๑๔๙
ค. แผนกผลิตขาวกรอง
ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลของ สธ.๒ แผนกนีจ้ ะ
๑) ดําเนินกรรมวิธีโดยการวิเคราะห ประเมินคา ตีความ และสนธิขาวสารจากทุกแหลง
ใหเปนผลผลิตที่จําเปนตอการตอบสนองความตองการของ ทบ.
๒) พัฒนาและดํารงรักษาฐานขอมูลขาวกรอง รวมทั้งขอมูลขีดความสามารถในการรวบรวม
ขาวสารของฝายขาศึก การ ปภอ. ของขาศึก และทําเนียบกําลังรบทางอิเล็กทรอนิกสของขาศึก
๓) ระบุชองวางของความพยายามทางการขาวกรอง และจัดใหมกี ารปอนขอมูลกลับมายัง
แผนกรวบรวม และกระจายขาวกรองเพื่อการปรับแผนการรวบรวมขาวสาร
๔) ดํารงรักษาแผนที่สถานการณในการวิเคราะหขาวกรอง และแฟมเปาหมายทีจ่ ําเปน
สําหรับการพัฒนากําหนดเปาหมาย
๕) รับผลผลิตขาวกรองแหงชาติ และขอมูลขาวสารที่ไดรับจากสํานักงานรักษาความ
ปลอดภัยแหงชาติ
๖) ทํางานกับนักวิเคราะหทางเทคนิค ที่กองพัน ขกท. เพื่อพิสูจนทราบ และประเมินคา
ผลผลิตขาวกรองทางการสื่อสาร
๗) ปฏิบัติงานการเตรียมสนามรบดานการขาว (ตสข.) โดยการประสานกับนายทหารขาว
ลมฟาอากาศจากกองทัพอากาศ และชุดภูมมิ าปนวิทยาของทหารชาง
๘) ชวยเหลือ สธ.๒ ในการเตรียมประมาณการขาวกรอง และในการดํารงไวซึ่งการประมาณ
สถานการณขาศึกอยางตอเนือ่ ง
ง. แผนกวิเคราะหการตอตานขาวกรอง
แผนกนี้ชว ย สธ.๒ ดวยการวิเคราะหการตอตานขาวกรอง เพือ่ สนับสนุนการรักษาความ
ปลอดภัยทางการยุทธ, การพิทักษพนื้ ทีส่ วนหลัง และการลวง โดยจะสนับสนุนโครงการในการ รปภ.
ทางการยุทธของ ผบ. ดวยการเปรียบเทียบขีดความสามารถในการรวบรวมขาวสารของขาศึกกับหนวยใน
กองพลของเรา เพื่อระบุความลอแหลมและมาตรการตอตานการ รปภ. ทางการยุทธ ในการสนับสนุนภารกิจ
จากพิทักษพื้นที่สวนหลังจะกระทําโดยการระบุและเสนอแนะ และ/หรือปฏิบัติเพื่อตัดรอนการคุกคามระดับ ๑
และระดับ ๒ สําหรับการสนับสนุนแผนการลวงนัน้ จะกระทําโดยการเสนอแนะเทคนิคการลวง เพื่อเปน
มาตรการในการตอตานการ รปภ. ทางการยุทธ หรือเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการลวงทางยุทธวิธี
จ. แผนกสงครามอิเล็กทรอนิกส
ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลทางฝายอํานวยการของ สธ.๓ แผนกนีจ้ ะ
๑) จัดใหมีแนวทางปฏิบัติสําหรับการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส
๒) วางแผนแบงมอบสวนสงคราอิเล็กทรอนิกสในอัตรา และที่มาสนับสนุนเพื่อตอบสนอง
ความตองการตาง ๆ
๓) สงผานความตองการตางๆ ในรูปของภารกิจไปยังแผนกรวบรวม และกระจายขาวกรอง
เปนภารกิจที่จะมอบเปนงานใหกับ พัน.ขกท. ความตองการในการคนหาเปาหมายสําหรับการปฏิบัติการ
๑๕๐
รบกวนคลื่นนัน้ จะระบุตามความตองการของการรวบรวม และสงผานใหกับหนวยรองโดยแผนกรวบรวม
และกระจายขาวกรอง และ/หรือ โดย สธ.๓
๔) ประเมินคาความลอแหลมของเครื่องสงผานขาศึกตอมาตรการตอตานทางอิเล็กทรอนิกส
๕) เสนอแนะเปาหมายขาศึกสําหรับมาตรการตอตานทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อสนับสนุนการ
ปฏิบัติการในปจจุบัน และทีไ่ ดวางแผนไว
๖) เสนอแนะลําดับความเรงดวนสําหรับการรบกวนคลื่นดวยเครื่องมือชวยสวนรวม
๗) จัดทําประมาณการ แผน และคําสั่ง ในสวนของหัวขอสงครามอิเล็กทรอนิกส
๘) ประสานความตองการสําหรับมาตรการสนับสนุนสงครามอิเล็กทรอนิกส (มสอ.) เพื่อ
สนับสนุนมาตรการตอตานทางอิเล็กทรอนิกส (มตอ.)
๙) ประสานการควบคุมการเปด – ปดของระบบการรบกวนสําหรับการปฏิบัติการรบกวน
ที่กําลังดําเนินอยู และที่ไดวางแผนไว
๑๐) ชวยเหลือ สธ.๓ ในการประเมินคาการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส และเสนอแนะ
มาตรการตอบโตการตอตานทางอิเล็กทรอนิกส (มตตอ.) ที่เหมาะสม
ฉ. สวนรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ
ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูทางฝายอํานวยการของ สธ.๓ แผนกนีจ้ ะ
๑) บริหารการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธดวยการกําหนดภารกิจ
๒) วางมาตรการการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ
๓) เตรียมการประมาณการ รปภ.ทางการยุทธ และสวนของการ รปภ.ทางการยุทธในแผน
และคําสั่ง
๔) เปรียบเทียบขาวสารขาศึกที่ไดจากแผนกผลิตขาวกรองกับสัญญาณแสดงที่ตั้ง ทก. และ
ทกร. ของหนวยเพื่อกําหนดความลอแหลม มาตรการตอตานการ รปภ.ทางการยุทธ และโอกาสในการลวง
๕) กําหนดภารกิจการสนับสนุนการ รปภ.ทางการยุทธ โดยอาศัยการสํารวจการ รปภ.
ทางการยุทธ แฟมการรักษาความปลอดภัยทางการยุทธ ขีดความสามารถของขาศึก วัตถุประสงคของการ
คนหาการปฏิบัติการระวังปองกัน ซึ่งอาจมีผลกระทบกับสวนสําคัญของขาวสารฝายเรา (ESSENTIAL
ELEMENDLY INFORMATION/EEFI) หรืออาจใหส่งิ บอกเหตุในการปฏิบัติการตามแผนซึ่งฝายเราวางไว
ลวงหนา หรือที่กําลังดําเนินอยูกับฝายขาศึก
๖) สงผานภารกิจการสนับสนุน รปภ.ทางการยุทธใหกับแผนกรวบรวมและกระจาย
ขาวกรอง สําหรับการาอบภารกิจใหกับหนวย/เครื่องมือของ ขกท.
๗) ชวยเหลือ สธ.๓ ในการพัฒนาสวนสําคัญของขาวสารที่มีประโยชนตอ ฝายเรา (EEFI)
๘) ชวยเหลือ สธ.๓ ในการวางแผนการลวงและเฝาฟง และวิเคราะหผลกระทบของการ
ปฏิบัติการลวง
๑๕๑
๙) ดําเนินการใหปฏิบัติตามภารกิจตอตานการขาวกรองของ สธ.๒ กําหนดภารกิจสนับสนุน
การตอตานขาวกรอง และสงผานภารกิจสนับสนุนใหกับแผนกรวบรวมและกระจายขาวกรอง เพื่อการ
มอบงานใหกบั หนวย/เจาหนาที่ของหนวย ขกท.
ช. แผนกลมฟาอากาศ/นายทหารลมฟาอากาศ
นายทหาร/แผนกลมฟาอากาศนี้ จัดจากหนวยบริการลมฟาอากาศของ ทอ.ที่มาสนับสนุนและ
ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลทางฝายอํานวยการของ สธ.๒ แผนกนี้ประกอบดวย นายทหารลมฟาอากาศ
สวนพยากรณอากาศ และชุดตรวจการณลมฟาอากาศ แผนกนี้ใหการสนับสนุนขาวสารลมฟาอากาศในการ
ปฏิบัติการแกผูบังคับหนวย
ซ. แผนก ทก.ยว.
แผนก ทก.ยว. ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลของ สธ.๒ หรือผูชวย สธ.๒ โดยใหการ
สนับสนุนดานการขาวกรองแก ทก.ยว. โดยผานแผนกรวบรวมและกระจายขาวกรอง
ด. ชุดสนับสนุนทางการแผนที่ (ชุดภูมิมาปนวิทยา) (ENGINEER TOPOGRAPHIC
SUPPORT TEAM/TERRAIN TEAM)
ชุดนี้ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลทางฝายอํานวยการของ สธ.๒ โดยใหการสนับสนุนแก
กองพลในเรื่องการเตรียมสนามรบดานการขาว (ตสข.) การวิเคราะหภมู ิประเทศและการศึกษาแผนที่
ต. สวนยิงสนับสนุน (สยส.) (FIRE SUPPORT ELEMENT FSE.)
สวนยิงสนับสนุนรับผิดชอบการวางแผนและการประสานการยิงสนับสนุน ในระดับกองทัพ
นอยจัดกําลังพลจาก ตอน ป.สนามของ บก.และ รอย บก.ทน. ในระดับกองพลจัดโดยหนวยปนใหญของ
กองพล (กรม ป.) ป.พล. ยังจัด สยส. ไปใหแตละกรมและกองพันดําเนินกลยุทธอีกดวย
พันธกิจหลักของ สยส. คือ
๑) ใหคําปรึกษาในเรื่องทั้งปวงที่เกี่ยวของกับการยิงสนับสนุน
๒) พัฒนาแผนการยิงสนับสนุนและประสานการปฏิบัติตามแผนนั้น ซึ่งรวมถึงการยิงอาวุธ
นิวเคลียรและเคมีดวย
๓) ดํารงรักษาสถานภาพปจจุบนั ของการยิงสนับสนุนทั้งปวงที่มีอยูใ นหนวย รวมถึง ป.สนาม
การสนับสนุนทางอากาศ และ ป.เรือ
๔) วางแผน และประสานการยิงสนับสนุนการ ปภอ.ขาศึก
๕) เสนอแนะการจัด ป.สนาม เขาทําการรบ
๖) เสนอแนะลําดับความเรงดวนของเปาหมายในการยิงสนับสนุน
ในระดับกองทัพนอยและกองพล ทั้ง ทก.หลัก และ ทก.ยว. จะมี สยส. กิจกรรมที่ ทก.ยว.
มุงเนนการเฝาฟงสถานการณการยิงสนับสนุนในปจจุบนั เพื่อใหมนั่ ใจวาไดแบงมอบการยิงสนับสนุนอยาง
ถูกตอง ประเมินคาความตองการสําหรับการยิงสนับสนุนเพิ่มเติม คอยใหคําปรึกษา ผบ. ถึงความเพียงพอของ
การยิงสนับสนุนสําหรับการปฏิบัติการที่กําลังดําเนินอยู และชวยสนองตองการในการยิงสนับสนุนเรงดวน
๗) บทบาทของ สยส.ทก.หลัก คือ
๑๕๒
ก) การตอบสนองตอความตองการในการยิงสนับสนุนเรงดวนของ สยส.ทก.ยว.
ข) การวางแผนการยิงสนับสนุนสําหรับการปฏิบัติการในอนาคต
ค) การตอบสนองคํารองขอการยิงสนับสนุนเพิ่มเติมจากหนวยรอง
ง) การพัฒนาแผนการยิงสนับสนุนโดยการประสานกับตัวแทนการยิงสนับสนุน
อื่น ๆ และแจกจายแผนผานทางแผนก สธ.๓
จ) การวางแผนการยิงขม ปภอ.ขาศึก สําหรับการปฏิบัติการในปจจุบนั และในอนาคต
ฉ) การพัฒนาทางเลือกและเสนอแนะการจัด ป.สนาม เขาทําการรบ เสนอแนะลําดับ
ความเรงดวนของเปาหมาย และมาตรการประสานการยิงสนับสนุนตาง ๆ ตลอดจนใหขอเสนอแนะดวย
ถ. สวนควบคุมหวงอากาศ (สคอ.) (AIRSPACE MANGFHEMENT ELEMENT AME.)
สวนควบคุมหวงอากาศ(สคอ.) มีความรับผิดชอบในการกําหนดวาความตองการในการควบคุม
หวงอากาศของ ผบ. จะสนองตอบไดอยางไร สคอ. ระดับกองทัพนอย (กําหนดเปนสวนควบคุมหวงอากาศ
กองทัพนอย) และกองพล (กําหนดเปนสวนควบคุมหวงอากาศกองพล) เปนความรับผิดชอบทางฝาย
อํานวยการของ สธ.๓ และกํากับดูแลโดย สธ.๓ อากาศ
สคอ. ประกอบดวย (ไมจํากัดเฉพาะเทาที่กลาวมานี้)
๑) นายทหารปองกันภัยทางอากาศ
๒) นายทหารนักบิน
๓) นายทหารอากาศติดตอ (นอต.จาก ทอ.)
๔) ผูประสานการยิงสนับสนุน (ผปยส.)
สวนควบคุมหวงอากาศจะตอง
๑) จากการพิจารณาขาวสารเกีย่ วกับการจัดการหวงอากาศตาง ๆ สคอ. จะตองกําหนดและ
แกไขปญหาขอขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นจากการใชหวงอากาศโดย
ก) พัฒนาและดํารงรักษาแผนทีก่ ารใชหว งอากาศ
ข) พัฒนา ดํารงรักษา และแจกจายเสนทางเปนระดับต่ํา (LOW – LEVEL TRANSIT
ROUTE) ที่เสนอแนะไว
ค) ติดตามและแจกจายขาวสารเกี่ยวกับพืน้ ที่หา มบิน เสนทางบินของ ทบ. ที่ใชเปน
มาตรฐาน เขตปลอดอาวุธ การปฏิบัติการที่ไดวางแผนไว การปฏิบัติในการบินที่สําคัญ และที่ตั้งของตําบลเติม
น้ํามันและอาวุธหนา
๒) ถายทอดขาวสารที่เกี่ยวของกับการแจงเตือนภัยในการ ปภอ. กฎการปะทะ (สถานภาพ
อาวุธ) เกณฑพิจารณาขาศึก
๓) คอยตรวจติดตามสถานภาพของหนวย ปภอ. และหนวยบิน ทบ. รวมทั้งใหคําปรึกษาแก
ผบ.
๔) ดํารงรักษาและแจกจายสถานภาพ และที่ตงั้ ของเครื่องชวยนําทางและทีร่ อนลง
๕) ประสานและแจกจายขาวสารที่เกี่ยวของกับการกําหนดระดับความสูงรวมกัน
๑๕๓
๖) แจกจายขาวสารที่เกี่ยวของกับกิจกรรม ปภอ. ของขาศึก
๗) ประสานความตองการในเรื่องเขตควบคุมสถานีการบิน
๘) ใหขาวสารการบริหารหวงอากาศที่เกีย่ วของ การเคลื่อนยายทางอากาศและตรวจสอบวา
ความตองการในการขนสงทางอากาศ ไดถูกกลาวถึงในผนวกการใชหว งอากาศแลว
๙) ประสานสัญญาณบอกฝายสําหรับเครื่องบิน ทบ.
๑๐) ประสานการแจกจายระเบียบปฏิบัติของหนวยบิน ในการขามแนววางกําลังทหารฝาย
เดียวกัน ทั้งเที่ยวไปและกลับ ใหสวนควบคุมการจราจรทางอากาศ (ATC) และหนวยปนใหญปองกันภัย
ทางอากาศ (ADA)
๑๑) แจกจายระบบตารางกริดที่ใชอํานวยความสะพวกในการเตือนภัยลวงหนา และการ
ควบคุมการ ปภอ. ระยะใกลใหกับศูนยปฏิบัติการบิน ((FOC) ศูนยประสานการบิน (FCC) และหนวยบิน
ตาง ๆ
ขาวสารอยางนอยที่สุดที่ สคอ.ควรจัดใหกับศูนยปฏิบัตกิ ารบินและศูนยประสานการบิน ไดแก
๑) เสนทางบินระดับต่ํา และเสนทางบินของ ทบ. ที่ใชเปนมาตรฐาน
๒) ความตองการสําหรับเครื่องนําทาง และสิง่ อํานวยความสะพวกของสถานีขนถาย
๓) พื้นที่หามบิน เขตปลอดอาวุธ มาตรฐานการควบคุมอาวุธ ปภอ. และกฎการปะทะ
๔) ระดับความสูงประสาน
๕) ที่ตั่งหนวย ป.สนาม และ ปภอ.
๖) ผนวกการบินประกอบแผนและคําสั่งยุทธการ
๗) รหัสพิสูจนฝาย
๘) คําสั่งชี้แจงในการประกาศแจงเตือนภัยทางอากาศ(ตัวอยางเชน การโจมตีดวยอาวุธ
นิวเคลียรของฝายเรา การโจมตีดวยการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด การระดมยิงของ ป.สนาม)
ท. ชุดควบคุมทางอากาศยุทธวิธี (ชคอย. – TACTICAL AIR CONTROL PARTY / TACP)
ตามปกติแลวจะจัด ชคอย.ทอ. ใหกับแตละหนวยดําเนินกลยุทธตั้งแตระดับกองทัพนอยถึง
ระดับกองพัน ชคอย. ใหคําแนะนําและชวยเหลือ ผบ. รองขอและประสานการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี
และตอบสนองความตองการตาง ๆ ของหนวยบัญชาการที่รับการสนับสนุน
๑๕๔

ไทย สหรัฐฯ
ศปก.ทอ.
ศปก.ทบ. ASOC
ศยอ.สปก.ทอ.

ศสอต. ทก.ทภ. TACP / ASOC กองทัพนอย

ชสอต. ทก.พล. TACP กองพล

ชนอต. ทก.กรม TACP กองพลนอย

ชผคน. ทก.พัน. TACP กองพัน

รูปที่ ๘ – ๔ แสดงการเปรียบเทียบหนวยควบคุมการสนับสนุน ASOC Air Support Operations Center


กําลังทางอากาศ ไทย – สหรัฐฯ ศูนยปฏิบัติการสนับสนุนทางอากาศ

ชคอย. ประกอบดวย นักบินทางยุทธวิธีและชางเทคนิคที่มีประสบการณ ยานพาหนะทาง


พื้นดิน และ / หรือทางอากาศ และเครื่องมือสื่อสารที่จําเปน เพื่อใหไดมาซึ่งการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี
ตอการปฏิบัติการภาคพื้นดิน รวมทั้งการประสานและการควบคุมดวย การสนับสนุนที่จัดใหมีจะรวมถึง
เครื่องบินขับไล เครื่องบินลาดตระเวน และการปฏิบัติการเคลื่อนยายทางอากาศ(การสนับสนุนการเคลื่อนยาย
ทางอากาศไมไดจัดใหในหนวยระดับต่ํากวากรม) ชคอย. ที่มาสนับสนุนกองทัพนอยเปนหนวยขึ้นตรงตอศูนย
ปฏิบัติการสนับทางอากาศ (AIR SUPPORT OPERATION CENTER / ASOC) และอาจมีที่ตั้งอยูรวมกัน
ศูนยปฏิบัติการสนับสนุนทางอากาศเปนหนวยของ ทอ. ทําหนาที่เปนศูนยรวมสําหรับการปฏิบัติการรวม
อากาศ – พื้นดิน ณ ระดับกองทัพนอย และอาจจัดใหมีที่ระดับหนวยกองพลและ/หรือกรมที่ปฏิบัติการเปน
อิสระได ศูนยนี้อาจจะมีที่ตงั้ รวมกับ ศปย. ของหนวยบัญชาการ หรือแยกออกจากากันก็ได ศูนยปฏิบัติการ
สนับสนุนทางอากาศจะเนนหนักเรื่องการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารการรบ ระหวางกําลังภาคพื้นดินและกําลัง
ทางอากาศเกีย่ วกับการวางแผน การประสานงาน และการปฏิบตั ิการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธีตอการ
ปฏิบัติการภาคพื้นดิน นอกจากนีย้ ังจัดใหมีการตอบสนองอยางรวดเร็วตอคําขอเรงดวนของการสนับสนุนทาง
อากาศเชิงรุกอีกดวย นายทหารที่อาวุโสที่สุดของแตละ ชคอย. คือ นอต. ของหนวยบัญชาการที่รับการ
สนับสนุน โดยปกติแลว ชคอย. จะมีที่ตั้งรวมกับสวนยิงสนับสนุน สยส. และสวนควบคุมหวงอากาศ (สคอ.)
ยกเวนตามกรณีที่กลาวมาแลว
พันธกิจหลักของ ชคอย. คือ
๑๕๕
๑) ชวยเหลือในการวางแผนและการรองขอการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี รวมทั้งการ
สนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด การขัดขวางทางอากาศในสนามรบ และการลาดตระเวน และการเคลื่อนยาย
ทางอากาศ
๒) ใหคําปรึกษาเรื่องการใชและแหลงทรัพยากรในการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี รวมถึง
ขีดความสามารถและขีดจํากัดตาง ๆ
๓) เตรียมการ ตรวจสอบ และสงคํารองขอการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี ไปยังศูนย
ปฏิบัติการสนับสนุนทางอากาศ
๔) ชวยเหลือในการจัดทําแผน และคําสั่งที่เกีย่ วกับการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี รวมทั้ง
อนุผนวกการสนับสนุนทางอากาศประกอบผนวกการยิงสนับสนุน
๕) ประสานการสนธิเครื่องมือการยิงสนับสนุนอื่น ๆ เขากับภารกิจทางอากาศรวมทัง้ การ
รองขอการสนับสนุนการขม ปภอ. ขาศึก
น. ตอน ทก.ยว. (TACTICAL COMMAND POST SECTION / TAC CP SEC)
ตอน ทก.ยว. รับผิดชอบการติดตอสื่อสารของ ทก.ยว. ในระดับกองทัพนอยและกองพล
ในระดับกองทัพนอย ตอน ทก.ยว. จะจัดจากกองพลนอยสื่อสารของกองทัพนอย และในระดับกองพลจะจัด
จาก พัน.ส.พล.
ตอน ทก.ยว. แตละระดับจะจัดระบบการติดตอสื่อสารที่สามารถทดแทนกันไดใหกับ ทก.ยว.
ซึ่งจะทําใหการเปลี่ยนที่ตั้งกระทําไดอยางรวดเร็ว และปฏิบัติการไดอยางตอเนื่อง
๑๐. การปฏิบัติงานของ ศปย.
การปฏิบัติงานของ ศปย. ทีม่ ีประสิทธิภาพจะพัฒนาขึ้นมาได ก็จากเพียงการที่ฝายอํานวยการไดรับ
การฝกมาอยางดี การปฏิบัติงานภายใตการจัดหนวยที่มีประสิทธิภาพ การกําหนดขอจํากัดของขอบเขตอํานาจ
หนาที่ภายใน ศปย. อยางชัดเจนโดย ผบ. ความมีประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานตองการการฝก ของฝาย
อํานวยการอยางทั่วถึง ภายใตสภาวะแวดลอมของสนามรบที่จําลองขึ้นมาจะชวยพัฒนาความชํานาญ
ทางเทคนิค และความเปนปกแผนในการปฏิบัติงานของฝายอํานวยการ และชวยใหหนวยสามารถปฏิบัติงาน
ไดในสภาพสนามรบที่แปรผันในปจจุบัน
ในขณะที่เทคโนโลยีล้ํายุคไดพัฒนาระบบอาวุธ และการติดตอสื่อสารตางๆ ไปสอยางมากมายกวา
ในอดีตที่ผานมา ดังตัวอยางที่เกิดขึ้นในสงครามอาวเปอรเซียที่ผานมา แตอยางไรก็ตาม “คน” ก็ยังเปนอาวุธ
ที่สําคัญยิ่งของทุกระบบอาวุธที่มอยูในโลก และยังมีความลอแหลมตออันตรายมากทีส่ ุดเชนเดียวกัน
ความเหนื่อยลา บางทีอาจจะเปนสิ่งที่ลดระดับอยางสูงสุดในการปฏิบตั ิของทหารในสภาพแวดลอม
ของสนามรบสมัยใหมที่มีระบบอาวุธกาวหนาตางๆ คนจะเปนสวนหนึ่งที่ไมสามารถที่จะทนตอสภาพการ
ปฏิบัติการที่ตอเนื่องไดนาน ๆ สมรรถนะและประสิทธิภาพของทหารจะลดลงเมื่อปฏิบัติการมาแลว ๑๔ ถึง
๑๘ ชั่วโมงติดตอกัน และจะมาถึงจุดต่ําหลังจากที่ปฏิบัติงานอยางตอเนื่องมาแลว ๒๒ ถึง ๒๔ ชั่วโมง
โดยไมมีการพักผอน สมรรถนะจะกระเตือ้ งขึ้นเล็กนอยระหวาง ๘ ถึง ๑๐ ชั่วโมงตอไป แตหลังจากนี้จะเริ่ม
ลดลงอีกครั้งหลังจากการปฏิบัติงานตอเนื่องตลอด ๒๔ ชัว่ โมง จะปรากฏการลดระดับของสมรรถนะอยาง
๑๕๖
เห็นไดชัด และหลังจาก ๓๖ ถึง ๔๘ ชั่วโมงของการปฏิบัติงานตอเนื่องไมมีการพักผอน สมรรถนะที่เกีย่ วกับ
ความชํานาญดานความคิดจะเริ่มลดระดับลง กําลังพลจะหมดประสิทธิภาพลงหลังจากการปฏิบัติงานโดย
ตอเนื่องไมมีการพักผอนนาน ๗๒ ชั่วโมง การลดระดับของสมรรถภาพจะเพิ่มขึน้ อยางรวดเร็วใน
สภาพแวดลอม นชค. และการที่จะนอนในชุดปองกัน นชค. จะมีความยากลําบากมากยิ่งขึ้น
การที่จะลดผลกระทบของการอดนอนใหเหลือนอยที่สุด ผบ.หนวย จะตองสามารถสังเกตอาการ
ของการอดนอน หรือการลดระดับของสมรรถภาพใหได ผลกระทบเหลานี่จะสามารถสังเกตไดคือเวลาในการ
ตอบโตชาลงใชเวลาเพิ่มมากขึ้นในการปฏิบัติงานที่ทราบอยูแลว เกิดการหลงลืมชวงสั้น ๆ และขาดความ
สนใจ เปนตน
วงรอบกลางวัน/กลางคืนมีผลกระทบที่สําคัญตอการแสดงออก (การปฏิบัติ) เมื่อกําลังพลเริ่มเคยชิน
ตอแบบแผนหวงเวลาในการทํางาน/พักผอนแลว ก็จะปรับรางกาย (ทางชีวภาพ) ใหเขากับตารางนี้ได
การปรับตัวของรางกายใหเขากับตารางทํางาน/พักผอน อาจจะใชเวลาตัง้ แต ๒๐ ถึง ๓๐ วัน
ในการใชตารางทํางาน/พักผอนในระหวางการรบนั้นไมมีขอสงสัย แตอยางไรก็ตามการบังคับให
นอนหลับอยางเขมงวดเปนสิ่งสําคัญ เมื่อเปนไปไดทหารแตละคนควรมีเวลาพักผอนอยางนอยที่สุด ๔ ชั่วโมง
ใน ๑ วัน (วงระยะเวลา ๒๔ ชัว่ โมง) การปฏิบัติเชนนี้บางทีอาจจะรักษากําลังพลใหดํารงสภาพอยูไดเปน
ระยะเวลาหลายสัปดาห ถาไมตองปฏิบัติงานที่ใชการแสวงขอตกลงใจที่สลับซับซอน (การใชความคิด)
แตบางทีอาจจะเริ่มแสดงทาทีของการสิ้นเรี่ยวแรงหลังจากผานไป ๒ สัปดาห บางครั้งหนวยอาจจะสามารถ
ดํารงประสิทธิภาพการรบอยูไ ดดว ยการนอน ๓ ชั่วโมง/วัน เปนระยะเวลา ๑ ถึง ๒ สัปดาห
แงคิดอื่น ๆ ของการอดนอนที่ตองนํามาพิจารณา คือ เวลาที่จะฟนสภาพจากผลกระทบของการ
อดนอนภายหลังจากการปฏิบัติการยุทธอยางตอเนื่องในชวงระยะเวลา ๓๖ – ๔๘ ชั่วโมงโดยไมมีการนอน
พักผอน ทหารจะตองการนอนหลับ ๑๒ ชั่วโมงเพื่อใหฟนฟูสภาพปกติ อยางไรก็ตาม ความเมื่อยลาอาจจะ
คงอยูตอไปเปนเวลา ๓ วัน ถาเปนกิจกรรมระดับสูง เชน การรบที่ดําเนินไปในหวงระยะเวลาเดียวกันนี้ (๓๖ –
๔๘ ชั่วโมง) กําลังพลอาจจะตองการการนอนหลับพักผอน ๒ ชวง ระยะเวลาชวงละ ๑๒ ชั่วโมง เพื่อที่จะให
ฟนคืนสูสภาพตามปกติอยางสมบูรณ การที่ปฏิบัติภารกิจโดยไมไดพกั ผอนเลยเปนเวลาตั้งแต ๗๒ ชั่วโมง
หรือมากกวา กําลังพลอาจจะตองการเวลาในการพักผอนมากกวา ๒ หรือ ๓ วัน เพื่อฟนคืนสูสภาพที่มี
สมรรถนะในการทํางานเชนปกติ
เพื่อที่จะลดผลกระทบของการอดนอนใหเหลือนอยที่สุด ผบ. มีทางเลือกหลายหนทาง คําตอบที่ดี
ที่สุดที่อาจเปนไปไดของฝายอํานวยการ คือ การพักผอนระยะสั้น ๆ ตามระยะเวลาและการออกกําลังเบา ๆ
ผบ. อาจจะหมุนเวียนงานแตละตําแหนง ถาเจาหนาทีเ่ หลานี้มีการฝกแลกเปลี่ยนตําแหนงกันไดไวแลว
กําลังพลสองประเภทที่คาดวาจะแสดงอาการของความเหนื่อยลา ประเภทแรกคือ ทหารหนุมที่ไม
มั่นใจในตัวเอง และทหารอาวุโสที่ตองคอยดูแลการปฏิบัติตาง ๆ ผูบังคับหนวย (ผูนาํ ) มักจะเห็นวาตนเองเปน
ผูที่มีความลอแหลมตอการเหนื่อยลานอยที่สุด แตแทที่จริงแลวจากงานที่ตองการตอบสนองเพื่อแกไขปญหา
อยางรวดเร็ว การพิจารณาเหตุผลที่ซับซอนและการวางแผนใหมคี วามละเอียดรอบคอบจะทําใหตวั ผูบังคับ
หนวย (ผูนํา) เปนผูที่มีความลอแหลมตอการถูกลดสมรรถนะเนื่องจากอดนอนมากทีส่ ุดการแสดงออกของการ
๑๕๗
ตองทนอดนอน เปนตัวอยางหนึ่งของการควบคุมตนเองของผูนําซึ่งเปนสิ่งไมสมควร ผบ.หนวย ของหนวย
รองทั้งหลายคิดวาพวกเขาควรจะฝกการทนอดนอนดวยเชนกัน และหลังจากการทนอดนอนเชนนัน้ ๒ – ๓
วันกําลังพลหลักทั้งหมด (ผูบ ังคับหนวยตาง ๆ) ก็จะสิ้นเรี่ยวแรงกันหมด
ทันทีที่มีการรบเริ่มขึ้นและมีการปะทะกับขาศึก แผนการพักผอน การหมุนเวียนหนาที่ และชวงเวลา
การพักผอน อาจจะไมสามารถปฏิบัติได เมื่อใดก็ตามทีม่ ีการวางแผนโดย ผบ. และฝายอํานวยการจะตองเนน
ความสําคัญของ “ปจจัยของคน” ในการปฏิบัติการอยางตอเนื่องในสนามรบ ถึงแมวา การฝก การวางแผน
ที่ถูกตอง และเทคนิคอื่น ๆ อาจจะชวยเพิ่มจํานวนเวลาใหกับเจาหนาที่ใหสามารถดํารงประสิทธิภาพการรบ
ตอไปได ทหารก็ยังคงเปนเครื่องมือที่มีคายิ่ง และลอแหลมตออันตรายมากที่สุดในสนามรบ
เพื่ออํานวยความสะดวกในการหมุนเวียนขาวสารทั้งภายในและภายนอก ทก. จะตองจัดและมี
รูปแบบที่เอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานโดยมีพื้นฐาน คือ สามารถปฏิบัติงานไดตลอด ๒๔ ชั่วโมง ซึ่งจะรวมถึง
การปฏิบัติงานขณะเมื่อ ศปย. กําลังเปลี่ยนผานที่ตั้งและกําลังเคลื่อนยาย จะตองกําหนดผลัดในการทํางานขึ้น
ซึ่งจะอํานวยใหมีทั้งปริมาสกําลังพลที่พอเพียงตอการปฏิบัติงานของ ศปย. และผูช ํานาญการที่ตองการเพือ่
ตกลงใจในรายการตาง ๆ หลัก ๆ ที่สําคัญ กําลังพลที่ตามปกติแลวจัดอยูในกลุมบังคับบัญชา จะไมจัดรวมอยู
ในผลัดของเจาหนาที่เหลานี้
ตารางที่ ๘ – ๑ มีประโยชนเพราะงาย กําลังพลจะมีความเคยชินกับการทํางานรวมกันเมื่อใชตาราง
กําหนดผลัดในการทํางานนีแ้ ลว ตองกําหนดเวลาใหทาบทับกัน ๓๐ นาที ระหวางการเปลี่ยนผลัด เพื่อใหกําลัง
พลของผลัดที่จะพนหนาทีไ่ ดบรรยายสรุปใหกับกําลังพลผลัดที่มารับหนาที่ ตัวอยางเชน
ผลัดที่ ๑ ตามตารางเวลาควรเขารับหนาที่เวลา ๐๕๓๐ และพนหนาที่เวลา ๑๘๐๐ ตอจากนั้นผลัดที่ ๒ ก็จะรับ
หนาที่เวลา ๑๗๓๐ และพนหนาที่ ๐๖๐๐ การกําหนดเวลาใหทาบทับกันเชนนี้จะชวยใหกําลังพลที่พนหนาที่
ไดบรรยายสรุปใหกับกําลังพลที่จะมารับหนาที่ ถาหนวยมีตารางการประชุมสําหรับการใหัขาวสารเพิ่มเติม
ประจําวันอยูแ ลว ก็จะเปนเวลาที่ดีที่สุดทีจ่ ะใชเพื่อการเปลี่ยนผลัดหนาที่ เพราะจะชวยใหผลัดที่เขารับหนาที่
ไดรับฟงการบรรยายสรุปไดอยางเต็มที่ สําหรับการเปลี่ยนผลัดครั้งตอไป การบรรยายสรุปก็จะมีเฉพาะ
จนท.ศปย. ทีจ่ ะเขารวมฟงเทานั้น ผลัดใหมมักจะตองรับฟงการบรรยายสรุปกอนที่จะเริ่มปฏิบัติหนาที่ของตน
๑๕๘
เจาหนาที่ ผลัดที่ ๑ ผลัดที่๒

ตัวแทน ฝยก. ผช.สธ.๓, ส.ยก.(๔) ผช.สธ.๓ อากาศ (๒)


ตัวแทน ฝขว. สธ.๒, ส.ขว. น.ขว.ยว., ส.ขว.(๔)
ตัวแทน น.เคมี น.เคมี ส.เคมี
พลวิทยุโทรศัพท (ยก.) พลวิทยุโทรศัพท ผช.ส.ยก.
เสมียนพิมพดีด เสมียนพิมพดีด (ยก.) เสมียนพิมพดีด (ขว.)
พลวิทยุโทรศัพท (ขว.) ส.วิเคราะหขาว ส.วิเคราะหขาว
พลขับ/เครื่องไฟ พลขับ สธ.๓ พลขับ สธ.๒
ตัวแทนการยิงสนับสนุน นยส. (๓) ส.ยิงสนับสนุน
ตัวแทนทหารชาง ผบ.ช.พล. ส.ยก.
ตัวแทน ทอ. นอต. ศคอย.
ตัวแทน ปภอ. นตต.ปภอ. ส.ติดตอ ปภอ.

ตารางที่ ๘ – ๑ ตัวอยางการแบงผลัดหนาทีข่ องฝายอํานวยการใน ศปย.กองพล

หมายเหตุ : ตารางนี้เปนเพียงแนวทางในการนําไปประยุกตใชในหนวยที่มกี ารจัดแตกตางออกไป


และสามารถนําไปใชไดกับหนวยระดับตางๆ ตามความเหมาะสม
(๑) รอง ผบ.เปน หน.ผลัดที่ ๑
(๒) ผช.สธ.๓ อากาศ เปน หน.ผลัดที่ ๒
(๓) ชุด นตต. จัดเพิ่ม/ลดตามจํานวนที่มีอยู
(๔) นายสิบ (หลัก) ผูรับผิดชอบแตละผลัด

--------------------------------------------------
๑๕๙

(หนาเจตนาเวนวาง)
๑๖๐

(หนาเจตนาเวนวาง)
๑๖๑
ผนวก ก
บันทึกและรายงานในสนาม

ตอนที่ ๑
บันทึกของฝายอํานวยการ

๑ – ๑ บันทึกประจําวัน
บันทึกประจําวัน (บปว.) เปนบันทึกเหตุการณตามลําดับเวลาที่เกิดขึน้ กับหนวยหรือฝายอํานวยการ
ในหวงระยะเวลาหนึ่ง บันทึกประจําวันเปนเครื่องชวยอันสําคัญที่ทําใหการนําหนวยมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก
เปนเอกสารอางอิงที่พรอมใชงานของผูบังคับบัญชา และฝายอํานวยกรร อีกทั้งยังเปนบันทึกที่ถาวรที่ใชอางอิง
ในการฝก ในการสรุปผลการปฏิบัติการ และเปนเอกสารสําคัญทางประวัติศาสตรตามปกติจะบันทึกในวงรอบ
๒๔ ชัว่ โมง ตัวอยางที่ ๑ – ๑ แสดงแบบฟอรมของบันทึกประจําวันและบันทึกขอมูล
ก. วิธีบันทึก
๑) หัวเรื่อง บอกถึงแผนกฝายอํานวยการที่จัดทํา หนวยที่จดั ทํา สถานที่ตั้งหนวย และหวง
เวลาที่ครอบคลุมในการบันทึก
๒) ตัวเรื่อง จะประกอบไปดวยขอมูล ๕ ชอง คือ
ชองที่ ๑ ลําดับ การกรอกขาวลงในบันทึกประจําวันเริ่มดวยขาวหมายเลข ๑,๒,๓,.....
ตามลําดับไป
ชองที่ ๒ เวลา แบงออกเปนเวลาเขาและเวลาออก เวลาเขาคือเวลาที่ไดรับทราบขาวนั้น
หรือเวลาที่ไดรับรายงานเหตุการณที่เกิดขึน้ เวลาออกคือเวลาที่ไดสงขอความเกี่ยวกับขาวที่ไดรับหรือ
เหตุการณที่เกิดขึ้นนั้นออกไป หรือเวลาทีห่ นวยหรือแผนกฝายอํานวยการนั้นไดเริ่มดําเนินการหรือปฏิบัติการ
เกี่ยวกับขาว หรือรายงานเหตุการณที่ไดรับเขามานั้น
ชองที่ ๓ เหตุการณ สาสน คําสั่ง ฯลฯ ชองนี้ใชกรอกรายละเอียดโดยยอที่เปนสาระสําคัญ
ของเหตุการณ สาสน คําสั่ง ฯลฯ เมื่อตองรวมเอกสารที่เกี่ยวกับเหตุการณ สาสนหรือคําสั่งไวในแฟมบันทึก
ประจําวัน ควรบันทึกขอมูลที่สามารถบงชี้ไดวาจําเปนตองรวมเอกสารใดบางเทานั้น การบันทึกในชองนี้
เปนการบันทึกโดยยอเพียงเพื่อสะดวกตอการคนหาเรื่องราวฉบับสมบูรณ หัวขอเรื่อง หมูวันเวลา และความ
เรงดวนของขาวควรบันทึกใหนอยที่สุดเทาที่จําเปนเทานัน้
ชองที่ ๔ การปฏิบัติทีทําไปแลว ชองนีใ้ ชกรอกการปฏิบัติที่กระทําไปแลวทันทีทไี่ ดรับ
เหตุการณ สาสน หรือคําสั่ง โดยใชตวั ยอ เชน “ผท.” บันทึกลงบนแผนที่แลว “ฝอ.” เวียนใหฝายอํานวยการ
๑๖๒
ทราบแลว “ท” แจกจายขาวนั้น ๆ ถึง นขต. และหนวยที่เกี่ยวของแลว “ฟ” ใหทําสําเนาเก็บไวในแฟมบันทึก
ประจําวัน
ข. การบันทึก
การลงรายการบันทึกในบันทึกประจําวัน จะบันทึกรายละเอียดของเหตุการณพรอมวันเวลา
และสถานที่ที่เกิดเหตุการณ การบันทึกเหตุการณจะบันทึกไปตามลําดับเหตุการณที่ไดเกิดขึ้น ซึ่งจะบันทึก
ในเรื่องตอไปนี้
๑) จุดมุงหมาย เรือ่ ง และขอสรุปของการประชุม
๒) ขอตกลงใจของผูบังคับบัญชา
๓) สรุปยอแผนตาง ๆ
๔) การเคลื่อนยายหนวยตางๆ จนถึงระดับกองรอย โดยมีรายละเอียดเพียงพอที่จะติดตามการ
เคลื่อนไหว หรือทราบที่อยูที่แทจริงในขณะนัน้
๕) วันสับเปลี่ยน/โอนการบังคับบัญชา
๖) การเปลี่ยนแปลงในสถานภาพของหนวย
๗) การปฏิบัติในดานการติดตอระหวางกัน
๘) กิจกรรมในการฝก
๙) สภาพลมฟาอากาศ และสภาวการณตางๆ ที่มีผลตอการปฏิบัติ
๑๐) การเยี่ยมเยียนของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการจากกองบัญชาการหนวยอื่น ๆ
๑๑) สรุปยอเกี่ยวกับ คําสั่ง สาสน และการสนทนา
๑๒) การสรุปเหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้นในหวงเวลาที่บันทึกประจําวันฉบับนัน้ ๆ ครอบคลุมอยู
โดยมีคําอธิบายเหตุผลของการเกิดเหตุการณนั้น ๆ และบันทึกเหตุผลของการตัดสินใจตาง ๆ แฟมบันทึก
ประจําวันเปนสมุดแฟมรวบรวมเอกสารและรายงานตาง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องที่ลงไวในบันทึกประจําวัน ในแฟม
นี้จะเก็บสําเนาคําสั่งตาง ๆ รายงานตามระยะเวลา สาสน บันทึกความจํา บันทึกประชุม แผนที่ แผนบริวาร
และเอกสารขอมูลและสถิติ เอกสารสําเนาแตละฉบับจะมีหมายเลขอางอิง ซึ่งจะลงกับการบันทึกใน บปว.
เพื่อใหสามารถคนหาหลักฐานไดสะดวก แฟมบันทึกประจําวันถือวาเปนสวนหนึ่งของ บปว. ซึ่งแตละแฟมจะ
เปด – ปด การบรรจุพรอมกับการ เปด – ปด บันทึกใน บปว.ของแฟมนั้น และถือวาเปนเอกสารบันทึกทาง
ราชการดวย
๑ - ๒ เอกสารแยกเรื่อง
เอกสารแยกเรื่อง เปนเอกสารที่ไมเปนทางการสําหรับรวบรวมขาวสาร ขอมูลจากคําสั่งโดยวาจา
และที่เปนลายลักษณอักษร ขาว บันทึกตาง ๆ รวมทั้งบันทึกการประชุม โดยการจัดเอกสารจะมีสารบัญหัวขอ
เอกสารแยกเรื่องของนายทหารฝายอํานวยการ อํานวยใหฝายอํานวยการรวบรวมขาวสารขอมูลไดสะดวก
ชวยในการทําประมาณการสนเรื่องงานที่เกี่ยวของ และสามารถนํามาใชเปนแหลงอางอิงในการจัดทําแผน
คําสั่งและรายงาน
๑๖๓
เอกสารแยกเรื่องไมมีแบบฟอรมที่ตายตัว แตจะมีสารบัญซึ่งปกติจะเปนหัวขอเรือ่ งที่เกี่ยวกับงาน
ในหนาที่หรือความรับผิดชอบของนายทหารฝายอํานวยการนั้น ๆ ตัวอยาง ๑ – ๒ แสดงตัวอยางเอกสาร
แยกเรื่องของนายทหารฝายขาวกรอง เอกสารแยกเรื่องไมใชเอกสารทางราชการ และควรเปลี่ยนแปลงแกไข
หรือลบลางขาวสารขอมูลเมื่อเปลี่ยนไป หรือไมตองการแลว
๑๖๔
ตัวอยางที่ ๑ – ๑ บันทึกประจําวันของแผนกฝายอํานวยการ
------------
(ประเภทเอกสาร)

บันทึกของฝายอํานวยการหรือนายทหารเวร หนา ๑ จํานวนหนา ๒


หนวยหรือสวนจัดตั้ง ที่ตั้ง หวงเวลา
แผนก สธ.๑ บานเนิน,กนกนคร จาก ถึง
บก.พล.ร.๒๐ เวลา วัน เวลา วัน
๐๐๐๑ ๒๐ พ.ย.๓๕ ๒๔๐๐ ๒๐ พ.ย.๓๕
ลําดับ เวลา เหตุการณ, สาสน, คําสั่ง ฯลฯ การปฏิบัติ ลงชื่อ
(๑) เขา ออก (๓) (๔) (๕)
* * * * * * * * * * * * * * * *
๖ ๐๗๐๐ รับแผนยุทธการที่ ๑๕ ทน.๑ ฟ.
๗ ๐๗๓๐ นธน.-เสนอรายงานการพิจารณาคดีในศาลอาญาระหวางสัปดาหที่แลว ฝอ., ฟ.
๘ ๐๗๓๘ สธ.๔ - เสธ อนุมัติคําขอเพื่อใชพลเรือน ๑๐๐ คน ในหนวยชวยรบใน ฝอ.
พื้นที่สวนหลังของกองพล
๙ ๐๗๕๐ สธ.๑-ไดรับ กทท.๑๐๐ นาย เมื่อวานและคาดวาจะรับอีก ๒๐๐ วันนี้ เสธ., สธ.๓
* * * * * * * * * * * * * * * *
๑๒ ๑๐๑๖ ฝสห. – เสนอรายงานทหารพลัดหนวยระหวางสัปดาหที่แลว ฝอ., ฟ.
๑๓ ๑๐๔๗ ผบ.พล. – ไมใชพลเรือนขางหนาพื้นที่ กรม สน. ฝอ., ท.
๑๔ ๑๑๓๐ สนธ.๑, ทน.๑ – เยี่ยมเยียนทางฝายอํานวยการในเรื่องของ สธ.๑
* * * * * * * * * * * * * * * *
๒๑ ๑๕๐๐ สธ.๑, ทน.๑ – ที่ตั้งใหมของ พัน.กกท.หนา ผท., ท., ฝอ.
๒๒ ๑๖๐๐ เสธ. – ผบ.พล.ประกาศวานายทหารที่เลื่อนยศในสนามรบจะตองบรรจุ
ในกองพัน และในกองรอยเดิมเมื่อวาง
หมายเหตุ : ผท. – บันทึกลงบนแผนที่สถานการณ
ฝอ. – แจกจายฝายอํานวยการ
ท. – แจกจายหนวยทหาร
ฟ. – เก็บเขาแฟม

ชื่อและยศของนายทหารที่ทําหนาที่ ลายมือชื่อ
(ตัวพิมพ)

-------------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๖๕
ตัวอยางที่ ๑ – ๒ เอกสารแยกเรื่องของฝายอํานวยการ
๑๖๖
ตอนที่ ๒
รายงานตามระยะเวลา
ของหนวยบัญชาการทางยุทธวิธี
(แบบฟอรมและตัวอยาง)
ตัวอยางที่ ๒ – ๑ แบบฟอรมรายงานกําลังพลตามระยะเวลา
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
* หมายเหตุ ขอและขอยอยใดไมใชใหเวนได นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน – เวลา
หมายเลขอางสาสน

รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่........
หวงเวลา : (วันและเวลา ถึง วันและเวลา)
อางถึง : แผนที่ (ประเทศ มาตราสวน และระวางของแผนที่) หรือแผนผัง
๑. การักษายอดกําลังพลของหนวย
ก. ยอดกําลังพล ยอดกําลังพลอนุมัติและยอดกําลังพลที่บรรจุจริงขณะสิ้นหวงเวลา และที่ตั้ง
ของหนวยตาง ๆ (หนวยตามอัตราและหนวยที่ขนึ้ สมทบ ใหลงรายการแยก) กําลังที่ไดรับเพิ่มเติมมาระหวาง
หวงเวลา ไดแก กําลังทดแทน กําลังที่กลับจากโรงพยาบาลและกําลังอื่น ๆ กําลังที่สูญเสียระหวางหวงเวลา
ไดแก กําลังสูญเสียเนื่องจากการรบและมิใชจากการรบ การสูญเสียทางธุรการ การสูญเสียนายทหารและ
นายสิบพลทหารตําแหนงสําคัญ ๆ
ข. กําลังทดแทน กําลังทดแทนที่ไดรบั อนุมัติแตยังไมไดรับความรูความสามารถและ
สถานภาพของกําลังทดแทน

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๖๗
------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่.......- นามหนวย)
๒. การบริการกําลังพล
ก. ขอความที่เกี่ยวกับสถานการณหรือปญหาพิเศษไมปกติ เกี่ยวกับการกําหนดประเภท
การบรรจุการเลื่อนยศ การปรับยาย การแบงประเภทใหม การลดยศ การปลดออก การเกษียณ การแยก
การผลัดเปลี่ยนและการจัดการกําลังพลเปนรายบุคคล
ข. สภาพทางขวัญในหนวยตาง ๆ รวมถึงปจจัยที่มีสว นชวยใหสภาพขวัญดีขึ้นแลวเลวลง
การทําตารางกําลังพลหมุนเขาศูนยการลา กําลังพลที่ไดรับบําเหน็จรางวัลและเครื่องราชอิสริยาภรณ และสรุป
เรื่องการบริการกําลังพลอื่น ๆ ที่จัดใหมีขนึ้
๓. กําลังพลเรือน
จํานวนและการใชพลเรือนที่หนวยจาง
๔. เชลยศึกและพลเรือนผูถูกกักกัน/กุมขัง
จํานวนเชลยศึกของฝายตรงขามและพลเรือนผูถูกกักขัง/คุมขัง ที่จับไดหรือยึดตัวไวในระหวาง
หวงเวลา (ทําเปนบัญชีตามหนวยที่จังได) และขอสังเกตในเหตุการณหรือสภาพการณที่ผิดปกติ
๕. การรักษาวินัย กฎขอบังคับและคําสั่ง
วินัยทหาร การศาลทหาร ขอสังเกตในเรื่องทหารพลัดหนวยและปญหาพิเศษใด ๆ เกี่ยวกับกฎ
ขอบังคับและคําสั่ง
๖. การจัดการเรื่องกองบัญชาการ
วินัย สภาพของสถานที่พัก กําบังทัว่ ในบริเวณพื้นที่ และการใชอาคารเอกชนและอาคาร
สาธารณะที่ไมใชของทางทหารเปนกองบัญชาการ
๗. เบ็ดเตล็ด
กลาวถึงการปฏิบัติที่สําคัญ ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของ และบอกชื่อบุคคลสําคัญที่มีสวนเกี่ยวของ
กับการปฏิบัตินั้น ๆ ใหแนบภายถายของบุคคล และภาพหรือเหตุการณที่สําคัญ ๆ ที่เกี่ยวของกับกิจการ
กําลังพล (โดยทําเปนผนวก)

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๖๘
------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่.......- นามหนวย)
ตอบรับ :

(ลงชื่อ).....................................

(..................................)

ตําแหนง......................

ผนวก :
การแจกจาย :
การรับรองสําเนา

ยศ, ชื่อ....................................

(..............................)

ตําแหนง..................

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๖๙
ตัวอยางที่ ๒ – ๒ รายงานกําลังพลามระยะเวลาของกองพลทหารราบ
------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
พล.ร.๒๐
ทาขาม (๖๕๔๕)
๑๖๑๓๐๐ ก.ค..........

รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘
หวงเวลา : ๒๘๑๘๐๐ มิ.ย. ถึง ๑๕๑๘๐๐ ก.ค......
อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง บานนานอย
๑. การรักษายอดกําลังพลของหนวย
ก. ยอดกําลังพล
๑) ยอดกําลังพลทีอ่ นุมัติ และทีบ่ รรจุจริง
ก) หนวยตามอัตรา
กําลังพลอนุมัติ กําลังพลบรรจุจริง
หนวย ที่ตั้ง
น. ส. พลฯ รวม น. ส. พลฯ รวม
บก.รอย บก. ๖๕๔๕ ๔๒ ๐ ๗๙ ๑๓๗ ๔๐ ๐ ๘๙ ๑๒๙
ร.๒๐๑ *** *** *** *** *** *** *** *** ***
ร.๒๐๒ *** *** *** *** *** *** *** *** ***
ร.๒๐๓ *** *** *** *** *** *** *** *** ***
ม.พัน.๒๐๑ (ถ.) *** *** *** *** *** *** *** *** ***
ม.พัน.๒๐๒ (ลว.) *** *** *** *** *** *** *** *** ***
รอย.ลว.ไกล พล.ร.๒๐ *** *** *** *** *** *** *** *** ***
ป.๒๐ *** *** *** *** *** *** *** *** ***
ช.พัน.๒๐ *** *** *** *** *** *** *** *** ***

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๐
------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘ – พล.ร.๒๐)
กําลังพลอนุมัติ กําลังพลบรรจุจริง
หนวย ที่ตั้ง
น. ส. พลฯ รวม น. ส. พลฯ รวม
ส.พัน.๒๐ *** *** *** *** *** *** *** *** ***
รอย.สห.พล.ร.๒๐ *** *** *** *** *** *** *** *** ***
กรม สน.พล.ร.๒๐ *** *** *** *** *** *** *** *** ***

รวม ๑,๐๓๖ ๑๑๗ ๑๔,๔๓๘ ๑๕,๕๙๐ ๑,๐๐๐ ๑๐๐ ๑๓,๙๐๐ ๑๔,๔๔๕

ข) หนวยสมทบ
กําลังพลอนุมัติ กําลังพลบรรจุจริง
หนวย ที่ตั้ง
น. ส. พลฯ รวม น. ส. พลฯ รวม
หนวย ขกท. *** ๑๕ ๒๐ - ๓๕ ๑๔ ๐ ๑๘ ๓๒
ท.พัน.๕ *** *** *** *** *** *** *** *** ***

รวม *** *** *** *** *** *** *** ***

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๑
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘ – พล.ร.๒๐)

๒) กําลังพลที่ไดรับมาระหวางหวงเวลา
ก) หนวยตามอัตรา
เหลาพลรบหรือ กําลังพลทดแทน ผูที่กลับจากโรงพยาบาล อื่น ๆ
เหลาบริการ น. ส. พลฯ น. ส. พลฯ น. ส. พลฯ
ทหารราบ ๓๐ ๐ ๓๘๐ ๑๘ ๐ ๑๓๕ ๐ ๐ ๑๕
ทหารปนใหญ ๗ ๐ ๘๒ ๒ ๐ ๒๗ ๐ ๐ ๗
พลาธิการ *** *** *** *** *** *** *** *** ***

รวม ๔๘ ๐ ๕๒๕ ๙๙ ๐ ๑๘๘ ๐ ๐ ๒๖

ข) หนวยสมทบ ไมมี
๓) กําลังพลที่สูญเสียระหวางหวงเวลา
ก) หนวยตามอัตรา
(๑) การสูญเสียเนือ่ งจากการรบ จํานวนการสูญเสีย
น. ส. พลฯ
(ก) นายในการรบ ๑๗ ๐ ๒๑๒
(ข) ตายเนื่องจากบาดเจ็บหรือ *** *** ***
ประสบอันตรายในการรบ

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๒
------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘ – พล.ร.๒๐)
จํานวนการสูญเสีย
น. ส. พลฯ
(ค) บาดเจ็บหรือประสบอันตราย *** *** ***
ในการรบ
(ง) สูญหายในการรบ *** *** ***
(จ) ถูกจับ *** *** ***
รวม *** *** ***
(๒) การสูญเสียมิใชเนื่องจากการรบ จํานวนการสูญเสีย
น. ส. พลฯ
(ก) ปวยดวยโรค ๙ ๒ ๒๘๐
(ข) ประสบอันตรายมิใชการจากการ *** *** ***
กระทําของฝายตรงขาม
(ค) ตายมิใชเนื่องจากการรบ *** *** ***
(ง) สูญหายมิใชเนือ่ งจากการรบ *** *** ***
รวม *** *** ***
(๓) การสูญเสียทางธุรการ จํานวนการสูญเสีย
น. ส. พลฯ
(ก) การยาย *** *** ***
(ข) การผลัดเปลี่ยน *** *** ***
(ค) อื่น ๆ *** *** ***
รวม *** *** ***

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๓
------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘ – พล.ร.๒๐)

(๔) การสูญเสียเจาหนาที่สําคัญระหวางหวงเวลา
ชื่อ ยศ ตําแหนง ลักษณะการสูญเสีย
วิชัย ณรงคเดช พ.อ. ผบ.ร.๒๐๑ ตายในการรบ
ข) หนวยสมทบ
(๑) การสูญเสียเนือ่ งจากการรบ จํานวนการสูญเสีย
น. ส. พลฯ
(ก) ตายในการรบ ๑ ๐ ๖
(ข) ตายเนื่องจากบาดเจ็บหรือ *** *** ***
ประสบอันตรายในการรบ
(ค) บาดเจ็บหรือประสบอันตราย *** *** ***
ในการรบ
(ง) สูญหายในการรบ *** *** ***
(จ) ถูกจับ *** *** ***
รวม *** *** ***
(๓) การสูญเสียมิใชเนื่องขากการรบ จํานวนการสูญเสีย
น. ส. พลฯ
(ก) ปวยดวยโรค ๑ ๐ ๖
(ข) ประสบอันตรายมิใชจากการ *** *** ***
กระทําของฝายตรงขาม
(ค) ตายมิใชเนื่องจากการรบ *** *** ***
(ง) สูญหายมิใชเนือ่ งจากการรบ *** *** ***
รวม *** *** ***

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๔
-----------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘ – พล.ร.๒๐)

(๓) การสูญเสียทางธุรการ ไมมี


(๔) การสูญเสียเจาหนาที่สําคัญระหวางหวงเวลา ไมมี
ข. กําลังทดแทน
๑) ใบเบิกทีย่ ังไมไดรับกําลังทดแทน ขณะสิ้นสุดหวงเวลามีใบเบิกทีย่ ังไมไดรับกําลังทดแทน
เปนนายทหาร ๓๖ นาย นายสิบ ๑๗ นาย และพลทหาร ๑,๑๔๕ นาย
๒) ขอสังเกต นายทหารและนายสิบพลทหารที่ไดรับทดแทนมาระหวางหวงเวลานี้
มีคุณสมบัติทางรางกายและเทคนิคตามที่ตองการ กําลังทดแทนทีจ่ ําเปนสําหรับทําใหหนวยตาง ๆ มีกําลังเต็ม
อัตราอนุมัตินนั้ ยังไมไดรับมา
๒. การจัดการกําลังพล
ก. การดําเนินการกําลังพล
๑) กําลังพลที่ไดใบรับรองยากนายทหารฝายการแพทยวาไมเหมาะที่จะทําการรบ หรือ
สนับสนุนการรบตอไปแตตอ งสงไปยังกองพลนั้น หนวยยุทธวิธีควรยอมรับกําลังพลผูกลับมาเหลานี้
เปนจํานวนมากเทาที่จะทําได สวนกําลังพลอื่น ๆ ที่จะบรรจุในตําแหนงใหมใหกับหนวยบริการภายในกองพล
นั้น กองพลไดรับถึงจุดอิ่มตัวแลว จึงยืนยันวาไมควรสงคืนบุคคลที่มีสภาพรางกายไมเหมาะสมเหลานี้ไปยัง
หนวยบริการในกองพลอีกเปนอันขาด
๒) ไดสงกลับนายทหารสองนายซึ่งไมไดปฏิบัติงานเนื่องจากเปนกําลังพลเสื่อม
ข. กําลังพลเรือน กองพลไดใชกําลังพลพื้นเมืองโดยเฉลี่ย ๒๐๐ คน เปนแรงงานทัว่ ไปในการ
กอสรางถนนและในโครงการอื่น ๆ ในทํานองเดียวกันนี้
ค. เชลยศึก
๑) เชลยศึกที่จับไดระหวางหวงเวลา น. ส. พลฯ
ก) ร.๒๐๑ พัน.๑ ๕ ๐ ๑๓๖
ข) ร.๒๐๑ พัน.๓ *** *** ***

-----------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๕
-----------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘ – พล.ร.๒๐)

ค) ร.๒๐๒ น.๒ *** *** ***


ง) ม.พัน.๒๐๑ (ถ.) *** *** ***
จ) ม.พัน.๒๐๑ รอย.๓ *** *** ***
ฉ) ม.พัน.๕ *** *** ***
รวม ๔๒ ๒ ๙๔๕
๒) ขอสังเกต ในระหวางเวลา ๒ – ๔ ก.ค. กองทัพไมไดมารับเชลยศึกเลย เรื่องนีย้ อ มเพิ่ม
ภาระใหแกกองพล
๓. การพัฒนาและการรักษาขวัญ
ก. ขวัญและบริการกําลังพล
๑) ขวัญของทุก ๆ หนวยดีเลิศ ยกเวน ร.๒๐๑ กําลังที่บรรจุมอบใหเพิ่งมาถึงเมื่อเร็ว ๆ นี้
ผบ.รอย ที่มีประสบการณจะนองปรับปรุงสภาพของกําลังพลเหลานี้ใหดีขึ้น
๒) กําลังพลที่เขาไปยังศูนยการลาของ ทภ.๓
น. ส. พลฯ
๕ ๖ ๑๗๓
๓) การใหเครื่องราชอิสริยาภรณ เหรียญกลาหาญ
ก) จํานวนรวม
หนวย เหรียญกลาหาญ เหรียญชัยสมรภูมิ เหรียญพิทักษเสรีชน
บก.ร.๒๐๑ ๑ ๑ ๑
ร.๒๐๒ พัน.๑ ๑ ๒ ๐
ม.พัน.๒๐๒ *** *** ***
ช.พัน.๒๐ *** *** ***
รวม *** *** ***

-----------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๖
-----------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘ – พล.ร.๒๐)

ข) รายชื่อแตละบุคคล ผนวก ก (เครื่องราชอิสริยาภรณ)


๔) บริการไปรษณียไดรับการปรับปรุงใหดขี ึ้นตั้งแตหว งเวลารายงานครัง้ สุดทาย และขณะนี้
เปนที่พอใจสามารถสนองความตองการทั้งปวงไดอยางเพียงพอ
๕) บริการอาบน้ํา ซักรีด และแลกเปลี่ยนเสื้อผามีเพียงพอ อยางไรก็ดีสถานการณทางยุทธวิธี
ทําให ร.๒๐๒ ใชบริการเหลานี้ไมไดในระหวางหวงเวลารายงาน
ข. การทะเบียนศพ
๑) จํานวนรวมแยกเปนหนวย ๆ
หนวย น. ส. พลฯ
ร.๒๐๑ พัน.๑ ๔ ๐ ๗๔
ร.๒๐๒ พัน.๒ ๒ ๐ ๓๔
****** *** *** ***
๒) รายชื่อศพแตละคน ผนวก ข (การฝงศพ)

๔. การรักษาวินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง


ก. วินัย
น. ส. พลฯ
๑) ขาดราชการ ๐ ๐ ๑๐
๒) หนีราชการ ๐ ๐ ๒
๓) ความผิดลหุโทษ ๐ ๐ ๐
๔) ทํารายตนเอง ๐ ๐ ๓
๕) อื่น ๆ ๑ ๐ ๘
รวม ๑ ๐ ๒๓

-----------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๗
-----------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานกําลังพลตามระยะเวลาที่ ๑๘ – พล.ร.๒๐)

ข. คดีอาญา
น. ส. พลฯ
๑) ระหวางสอบสวน ๐ ๐ ๑๐
๒) ระหวางพิจารณาของศาล ๐ ๐ ๒
ค. ขอสังเกต
๑) มีการลักทรัพยของพลเรือนเพิ่มขึ้นระหวางหวงเวลา จะตองมีการดําเนินคดีอาญาแก
ผูตองหาที่อยูในอํานาจศาลทหารอยางเด็ดขาด
๒) การปองกันและการควบคุมทหารพลัดหนวยไดรับการปรับปรุงใหดีขนึ้ ระหวางการยุทธ
ในตอนสิ้นหวงระยะเวลา
๕. การจัดการในกองบัญชาการ
ทก.หลัก เคลื่อนยายทีต่ ั้งสามครั้ง ทก.หลัง เคลื่อนยายที่ตั้งหนึ่งครั้ง

๖. เบ็ดเตล็ด
ในระหวางหวงเวลา ๒๘ มิ.ย. – ๑ ก.ค. กองพลเปนกองหนุนของกองทัพนอยในระหวาง หวงเวลา
๒- ๕ ก.ค. กองพลทําการเขาตี
ตอบรับ :
พล.ต. ............................

ผนวก : ก เครื่องราชอิสริยาภรณ (เวน) (วิสิษฐ ทรัพยสินธุ)


ข การฝงศพ (เวน) ผบ.พล.ร.๒๐
การแจกจาย : (เวน)
เปนคูฉบับ
พ.ท. ..........................
(วิทย แคลวคลอง)
หน.ฝกพ.พล.ร.๒๐

-----------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๘
ตัวอยางที่ ๒ – ๓ แบบฟอรมรายงานขาวกรองตามระยะเวลา
-----------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน – เวลา
หมายเลขอางสาสน
รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่....

หวงเวลา : (วันและเวลา ถึง วันและเวลา)

อางถึง : แผนที่ หรือแผนผัง

๑. สรุปสถานการณของฝายตรงขาม
ในขอนี้กลาวสรุปสั้น ๆ ถึงการปฏิบัติของฝายตรงขามในหวงเวลา การขยายรายละเอียดตาง ๆ
จะนําไปกลาวไวในขอตาง ๆ ขางลางนี้ และกลาวไวในผนวกตาง ๆ ตามความเหมาะสมหรือกลาวไว
ทั้งสองแหง ในขอนี้กลาวสรุปสั้น ๆ ถึงเหตุการณฝายตรงขาม และกลาวถึงกิจกรรมของฝายตรงขามที่
สําคัญ ๆ อันนาสังเกต รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของขวัญ ยอดกําลังพล การวางกําลัง ยุทธวิธี
ประสิทธิภาพการรบ และยุทธภัณฑ ขอมูลที่มีความยาวมาก ๆ หรือตองแสดงไดดว ยภาพเราขาอาจจะทําเปน
ผนวก
๒. การปฏิบัติของฝายตรงขาม
ในขอนี้พรอมกับขอตอ ๆ ไป กลาวถึงรายละเอียดของสถานการณที่สรุปมาแลวในขอ ๑ รายละเอียด
ขาวกรองที่กลาวไวในขอนี้คลุมถึงการปฏิบัติการทั้งปวงของฝายตรงขาม ขาวสารตาง ๆ อาจจะแสดงดวยเรขา
เปนแผนบริวาร แผนที่พิมพทับ แผนที่สังเขป และผนวก ขอยอยตาง ๆ ใหเวนไดในเมื่อขาวกรองในขอยอย
นั้นไมมีหรือไดกลาวไวอยางเพียงพอแลวในสวนอืน่ ๆ ของรายงานนี้
ก. ทางพื้นดิน (สวนใหญแลวกลาวถึงเหลาพลรบ กองหนุน และกําลังเพิ่มเติม รวมทั้งการตั้งรับ
ดงระเบิด ปอมสนาม ฉากขัดขวาง เครื่องกีดขวาง และสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับตั้งรับอื่น ๆ ของฝายตรงขามดวย)
ข. ทางอากาศ (กลาวถึงการปฏิบัติการของกองทัพอากาศ เชน การทิง้ ระเบิด การสนับสนุน
ทางอากาศใกลชิด การลาดตระเวนทางอากาศยุทธวิธี การเฝาตรวจทางอากาศ ยุทธวิธี และการปฏิบัติการ
สนับสนุนทางอากาศ)

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๗๙
------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่...... – นามหนวย)

ค. การสงทางอากาศ
ง. กําลังนอกแบบ
จ. การปฏิบัติดวยนิวเคลียร ชีวะ หรือเคมี
ฉ. การสงครามอิเล็กทรอนิกส
ช. อื่น ๆ (ตามธรรมดาแลวกลาวถึงหนวยอื่น ๆ นอกจากหนวยพลรบ รวมทั้งขอสังเกต
ตามที่เห็นสมควร ซึ่งไมไดกลาวไวในขออื่น ๆ เกี่ยวกับกองหนุน กําลังเพิ่มเติม ยุทธวิธีใหม ๆ อาวุธและ
ยุทธภัณฑ สถานการณชว ยรบ และการสนับสนุนทางการชวยรบ และยังกลาวถึงขาวกรองทางเทคนิคดวย
๓. ทําเนียบกําลังรบ
ในขอนี้จะกลาวถึงแผนที่สถานการณ (หรือแผนบริวาร) ของฝายตรงขาม ทําเนียบกําลังรบ
ตามแบบฟอรมขางลางนี้ ในเมื่อผูบังคับบัญชาตองการ การเปลี่ยนแปลงในทําเนียบกําลังรบที่สําคัญโดยเฉพาะ
แลวอาจจะสรุปไวในขอนี้ นอกเหนือจากทีก่ ลาวไวโดยละเอียดในผนวกทําเนียบกําลังรบแลว
ก. การประกอบกําลังและการวางกําลัง
ข. กําลัง (กําลังพล อาวุธ และรายการยุทธภัณฑหลัก)
๑) การสูญเสีย
๒) กําลังปจจุบัน
ค. ยุทธวิธี
ง. การฝก
จ. การชวยรบ

-------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๐
------------------
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่...... – นามหนวย)
ฉ. ประสิทธิภาพในการรบ
ช. ขอมูลเบ็ดเตล็ด

๔. การตอตานขาวกรอง
ขอนี้ทั้งขอหรือบางสวนของขอควรจะออกเปนผนวกในเมื่อตองการจายอยางจํากัด
ก. กลาวทั่วไป (กลาวสรุปสั้น ๆ ถึงสถานการณการตอตานการขาวกรองในหวงเวลา)
ข. การจารกรรม
ค. การกอวินาศกรรม
ง. การบอนทําลาย
จ. การรักษาความปลอดภัย (ทางการสื่อสารและมิใชทางการสื่อสาร)
ฉ. เบ็ดเตล็ด (เชน การโฆษณาชวนเชื่อและขาวลือ)

๕. สภาพลมฟาอากาศ
ในขอนี้กลาวถึงผลกระทบกระเทือนของลมฟาอากาศที่มีตอการยุทธในระหวางหวงเวลา

๖. สภาพภูมิประเทศ
ใชผนวก แผนที่พิเศษ และแผนบริวารในเมื่อสามารถทําได รวมทั้งผลกระทบที่จะเกิดตอการยุทธ
ในอนาคตดวยถาเห็นสมควร
๗. การวิเคราะหและขอสังเกต
ในขอนี้ลงและกลาวถึงขอสังเกตเกีย่ วกับขีดความสามารถ และจุดออนของฝายตรงขามตาง ๆ
อยางสั้น ๆ ในขอสรุปจะกลาวถึงผลการประเมินของผูบังคับบัญชา เกี่ยวกับหนทางปฏิบัติที่นาจะกระทํามาก
ที่สุดของฝายตรงขาม เรียงตามลําดับการปฏิบัติที่นาจะทํา และกลาวถึงจุดออนของฝายตรงขามที่หนวย
ของตน หนวยเหนือ หรือหนวยรองนาจะนํามาขยายผลได
ก. ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
ข. จุดออนของฝายตรงขาม

-------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๑
-------------------
(ประเภทเอกสาร) ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่...... – นามหนวย)
๘. ขอสรุป (หนทางปฏิบัติที่ฝายตรงขามนาจะนํามาใช)

(ลงชื่อ)................................
(..........................)
ตําแหนง................

ตอบรับ :
ผนวก :
การแจกจาย :
การรับรองสําเนา
ยศ, ชื่อ..........................
(........................)
ตําแหนง................

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๒
ตัวอยางที่ ๒ – ๔ รายงานขาวกรองตามระยะเวลาของกองพลทหารราบ
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
พล.ร.๒๐
บ.พังโคน (๖๖๘๑) อูทอง
๐๑๐๘๐๐ ส.ค.....
ขว.๑๑๐
รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๔๗

หวงเวลาตั้งแต ๓๑ ก.ค..... ๑๘๐๐ ถึง ๑ ส.ค..... ๑๘๐๐

อางถึง : แผนที่พิเศษ ๑ : ๕๐,๐๐๐ อูทอง

๑. สรุปสถานการณของฝายตรงขาม
ในระหวางหวงระยะเวลา กําลังของฝายตรงขามประมาณ ๒ พัน.ปล. สนับสนุนดวย ถ., ป. กําลัง
ทางอากาศ และสารเคมีชีวะ ไดปฏิบัติการรบหนวงเวลา โดยไดจดั เตรียมที่มั่นขั้นตนตามแนวสันเนิน บ.ฝาง
(๕๙๙๔) .. บ.ศาลา (๖๐๘๖) และเมื่อ ๐๑๑๗๓๐ ส.ค. ฝายตรงขามถอนตัวขามแมน้ําสาย ๓ เปนผลสําเร็จ
ฝายตรงขามไดทําการระเบิดทําลายเขื่อนและสะพานทัง้ สิ้นบริเวณ อ.หนองสา ฝายตรงขามไดปรับปรุงที่มั่น
ตั้งรับทางทิศตะวันตกของลําน้ําสาย ๓ ใหมั่นคงขึ้น นอกจากการดัดแปลงที่มั่นตั้งรับในพื้นที่ขางหนาตลอด
แนวแลว ฝายตรงขามยังไดจัดเตรียมที่มนั่ ตั้งรับเพิ่มเติมไวเปนลําดับ ตามแนวทางเขาสู ม.รัตนานคร ถึงแมวา
ฝายตรงขามจะวางกําลังเบาบางไวในที่มนั่ ปจจุบันก็ตาม แตที่มั่นตั้งรับนี้ก็อยูใ นภูมิประเทศที่เกื้อกูลตอการ
ตั้งรับอยางดีมาก ประกอบกับการใชกําลังทั้งปวงเขาทําการตั้งรับอยางเหนียวแนน ณ ที่มั่นปจจุบนั จะทําให
ฝายตรงขามมีโอกาสบรรลุผลสําเร็จในการตั้งรับ อนึ่ง ในหวงเวลารายงานไมมสี ิ่งบอกเหตุวาฝายตรงขาม
จะยอมเสียพื้นที่ตอไปจนกวาจะถูกบังคับ สิ่งบอกเหตุที่วาฝายตรงขามไดรับคําสั่งใหยับยั้งกําลังของฝายเรา
ไวทางทิศตะวันออกของ ม.รัตนานคร จนถึง ๔ ส.ค.....นั้น เปนการยืนยันใหเชื่อไดวา ฝายตรงขามจะทําการ
ตั้งรับแบบยึดพื้นที่ตามแนวปะทะในปจจุบัน (ผนวก ก แผนบริวารสถานการณฝายตรงขาม)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๔๗ – พล.ร.๒๐)

๒. การปฏิบัติของฝายตรงขาม
ก. ทางพื้นดิน
๑) หนวยทหารราบ พัน.ปล. ฝายตรงขามประมาณ ๒ กองพัน ไดปฏิบัติการรบหนวงเวลา
จากแนวสันเนิน บ.ฝาง – บ.ศาลา และไดถอนตัวขามแมน้ําสาย ๓ ไป กําลังของ กรม.ปล.ที่ ๓๗ ยังคง
เผชิญหนากับ พล.ร.๕๕ หนวย ปล. (คาดวาเปนสวนหนึ่งของกรม.ปล.ที่ ๓๗) ที่ อ.ผาหัก ยังคงเผชิญหนา
อยูกับ กรม.ม.ยานเกราะที่ ๒๐๑ พัน.๑ ตอไป
๒) หนวยยานเกราะ ถ. ประมาณ ๑ กองรอย ไดสนับสนุนการปฏิบัติการรบหนวงเวลาจาก
แนวสันเนิน บ.ฝาง – บ.ศาลา และไดถอนตัวขามลําน้ําสาย ๓ ไปกอนทีส่ ะพานที่ อ.หนองสา จะถูกทําลาย เมื่อ
๓ ส.ค.๐๘๐๐ ไดตรวจพบ กรม ถ. กลางบริเวณ บ.นกเทศ (๔๘๙๓) คาดวาเปนหนวยรอง พล.ปล.ที่ ๑๑
๓) หนวยทหารปนใหญ ป. ไดสนับสนุนการปฏิบัติการรบหนวงเวลาจากสันเนิน บ.ฝาง –
บ.ศาลา และไดถอนตัวขามลําน้ําสาย ๓ ไปกอนที่สะพานที่ อ.หนองสา ถูกทําลาย
๔) หนวยทหารชาง สะพานขามลําน้ําสาย ๓ ทั้งสิ้นในเขตปฏิบัติการ และเขื่อนที่ อ.หนองสา
ไดถูกฝายตรงขามทําลายลงเมื่อ ๑ ส.ค. ๑๗๓๐ ทําใหยานยนตลอไมสามารถลุยขามลําน้ําสาย ๓ ทาง
ตอนเหนือของ อ.หนองสา ไดจนถึงประมาณ ๒ ส.ค. ๑๗๓๐ และหลังจากนัน้ การลุยขามจะกระทําไดดวย
ความลําบาก
๕) กองหนุน ผนวก ก. แผนบริวารสถานการณฝายตรงขาม
๖) กําลังเพิ่มเติม ผนวก ข. ทําเนียบกําลังรบ (เวน)
๗) การตั้งรับของฝายตรงขามและสนามทุนระเบิด ในหวงเวลารายงานฝายตรงขามไดทาํ การ
ปรับปรุงที่มั่นตั้งรับทางทิศตะวันตกของลําน้ําสาย ๓ นอสกจากจะทําการดัดแปลงที่มนั่ ตั้งรับในพืน้ ที่ขางหนา
ตลอดแนว ฝายตรงขามไดจัดเตรียมที่มนั่ ตั้งรับเพิ่มเติมไวในพื้นที่ทเี่ หมาะสมประมาณ ๖ แหง เพื่อเพิม่
ความ ลึกของการตั้งรับ การที่ฝายตรงขามทําลายเขื่อนที่ อ.หนองสา ทําใหลําน้ําสาย ๓ ทางตอนเหนือของ
อ.หนองสา มีระดับน้ําสูงขึน้ เปนผลใหยานลอไมสามารถลุยขามไดจนถึง ๒ ส.ค. ๑๗๐๐ หลังจากนั้นการ
ลุยขามก็ทําไดดวยความยากด (ผนวก ก แผนบริวารสถานการณฝายตรงขาม)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๔๗ – พล.ร.๒๐)

ข. กําลังทางอากาศ เมื่อ ๐๑๐๙๐๐ ส.ค..... บ.ขับไลโจมตีของฝายตรงขามจํานวน ๒ เครื่อง


ไดทําการโจมตี และยิงกวาดขบวนลําเลียงกระสุนของฝายเราที่บริเวณ บ.อูทอง แตมิไดทําการโจมตีติดตาม
โดยใกลชดิ และไดเลิกการโจมตีเมื่อถูกยิงตอตานจาก ปตอ.พัน.๒๐
ค. การสงทางอากาศ ไมปรากฏ
ง. กําลังรบนอกแบบ ไมปรากฏ
จ. การใชสารเคมีชีวะ ไมปรากฏ
ฉ. การสงครามอิเล็กทรอนิกส ไมปรากฏ
ช. การปฏิบัติอื่น ๆ ยังไมปรากฏวาฝายตรงขามมีการใชยทุ ธวิธี อาวุธ และยุทธภัณฑแบบใหม ๆ
ในดานการสงกําลังบํารุงและการทดแทนกําลังกระทําไดอยางจํากัด เนื่องจากเสนทางที่จะใชในการสงกําลัง
ทั้งสิ้นภายในพื้นที่สวนหลังไดถูกทําลาย จากผลการปฏิบัติการรบจนถึงปจจุบันนี้แสดงวา ฝายตรงขามไดมี
การสะสมยุทโธปกรณ และสิง่ อุปกรณพอเพียงที่จะปฏิบัติการรบดวยวิธีรับได
๓. ทําเนียบกําลังรบ
ก. การประกอบกําลังและการวางกําลัง ผนวก ข ทําเนียบกําลังรบ (เวน)
ข. กําลัง
๑) การสูญเสีย ในหวงระยะเวลาฝายเราจับเชลยศึกได ๒๒ คน และไดรับรายงานวาฝาย
ตรงขามเสียชีวิต ๓๕ คน
๒) ยอดกําลังพลปจจุบัน มีกําลังพลประมาณ ๘๐ %
ค. ยุทธวิธี เชลยศึกแจงวาในกรณีที่หนวยถูกตัดขาดใหทําการรบเปนหนวยกองโจร หรือหนวย
เล็ก ๆ ทําการยังชีพในภูมิประเทศ ดําเนินการสูรบโดยตอเนื่องดวยการมุงทําลายกําลังฝายเรามากทีส่ ุด
ง. การฝก ฝายตรงขามเพงเล็งกวดขันเรื่องการรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร
จ. การชวยรบ เชลยศึกแจงวาเจาหนาที่สงกําลังบํารุงไดเริ่มติดตอกับพอคาพื้นเมืองเกีย่ วกับ สป.๑
ฉ. ประสิทธิภาพในการรบของ พล.ป.ที่ ๑๑ อยูในเกณฑดีมากและขวัญของทหารอยูในเกณฑสูง
ช. เบ็ดเตล็ด ไมมี

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๔๗ – พล.ร.๒๐)

๔. การตอตานขาวกรอง
ก. กลาวทั่วไป หนวยแยกตอตานการขาวกรองรายงานวา จับผูตองสงสัยวาเปนจารชนของฝาย
ตรงขามได ๒ คน และผูกอวินาศกรรมของ ๒ คน แตงกายพลเรือน
ข. การจารกรรม สายลับของฝายตรงขาม ๒ คน ซึ่งถูกจับไดที่ บ.แพน (๖๒๙๑) ไดสารภาพวา
งานที่ตนไดรบั มอบคือหาขาวพิสูจนทราบที่ตั้งและการเคลื่อนยายของฝายเรา บริเวณ ม.อูทอง และในขณะที่
ถูกจับไดสายลับมีวิทยุตดิ ตอระยะใกล ๑ ชุด
ค. การกอวินาศกรรม ทหารฝายตรงขาม ๒ คนแตงกายพลเรือน ถูกจับไดในเขตปฏิบตั ิการของ
ร.๕๙ จากการซักถามเบื้องตนทราบวางานที่ไดรับมอบ คือการกอวินาศกรรมที่ตั้งทางทหารของพฤติการณ
เชนนี้คาดวาอาจจะมีมากขึ้น ในเมื่อฝายตรงขามถูกขับไลใหถอยไปทางทิศตะวันตก
ง. การบอนทําลาย สายลับของฝายตรงขาม ๒ คน ที่ถูกจับไดที่ บ.แพน (๖๒๙๑) ไดนําธนบัตร
ปลอมออกใชเปนจํานวนมาก
จ. การรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร ฝายตรงขามกวดขันวินยั ในการใชวิทยุ
ฉ. การโฆษณาชวนเชื่อและขาวลือ ปรากฏวามีการเก็บใบปลิวโฆษณาชวนเชื่อของฝายตรงขาม
ในเขตปฏิบัตกิ ารของ ร.๖๐ สาระสําคัญในใบปลิว สวนใหญจะเปรียบเทียบสภาพของผูที่ปฏิบัติการสงคราม
บริเวณแนวรบกับผูที่อยูทางขางหลัง และใหคํามัน่ สัญญาวาทหารฝายเราที่ยอมแพนั้น เมื่อสงครามสิ้นสุด
ลงแลวจะไดรบั การปลดปลอยและจัดสงคืนถิ่นฐานเปนลําดับแรก
๕. ลมฟาอากาศ
ลมฟาอากาศในหวงระยะเวลาโดยทั่วไปมีเมฆบางสวน มีฝนกระจายทั่วไป ซึ่งมีผลกระทบ
กระเทือนตอความสามารถในการรับน้ําหนักการจราจรเพียงเล็กนอยหรือไมมีเลย ลมพัดจากทิศตะวันตก
เฉียงเหนือดวยความเร็วประมาณ ๘ – ๑๐ ไมล/ชม. อุณหภูมิต่ําสูด ๗๔ ฟ. เมื่อ ๐๑๐๔๑๕ ส.ค....
๖. ภูมิประเทศ
รายงานการพิจารณาภูมิประเทศและลมฟาอากาศทางยุทธวิธี ลง ๑๘๑๙๐๐ ก.ย....

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๔๗ – พล.ร.๒๐)

๗. การวิเคราะห และขอสังเกต
ก. ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
๑) ตั้งรับ ณ ที่มนั่ ปจจุบันดวยกําลัง ๕ พัน. ปล. สนับสนุนดวยปนใหญ สารเคมีชีวะ และ
กําลังทางอากาศที่มีอยูไดตั้งแตบัดนี้
๒) เขาตีตามแนวการวางกําลังของฝายเราดวยกําลัง ๕ พัน. ปล. สนับสนุนดวย ป. การใช
สารเคมีชีวะ และกําลังทางอากาศที่มีอยูไดตั้งแตบัดนีเ้ ปนตนไป
๓) เขาตีดวยการโอบปกดานเหนือ หรือดานใตของฝายดวยกําลัง ๕ พัน.ปล. และกําลัง
เพิ่มเติมทั้งหมด หรือบางสวน ณ ตําบลและเวลาดังแสดงไวในขอ ๔ สนับสนุนดวยการใชสารเคมีชีวะ และ
กําลังทางอากาศที่มีอยู
๔) เพิ่มเติมกําลังในการเขาตี หรือตั้งรับดวยหนวยตาง ๆ ทั้งหมด หรือบางสวน ณ ตําบล และ
เวลาดังตอไปนี้
ระยะเวลาในการเคลื่อนที่
หนวย ระยะเวลา
ยานยนตลอ ขบวนเดินเทา
ก.พัน ปล.ยน.และกรม บ.ทาโพ (๕๖๙๘) ๐๑๑๙๔๐ ส.ค. หรือ ๔๐นาที
ถ.กลาง ในบริเวณบานนกเทศ ภายหลังเริ่มการเคลื่อนที่
บ.นายูง อ.ผาหัก (๕๙๗๙) ๐๒๒๐๐๕ ส.ค. หรือ ๑
ชม. ๕ นาที ภายหลังเริ่ม
การเคลื่อนที่
อ.นายม (๕๓๙๐) หรือที่มั่น ๐๑๑๙๓๐ ส.ค. หรือ ๓๐
ซึ่งไดดัดแปลงไวทาง นาที ภายหลังเริ่มการ
ตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ เคลื่อนที่
ตะวันออกเฉียงใต พื้นที่
บริเวณ บ.นกเทศ,บ.นายูง
ช.พล.ปล. ไมทราบนามหนวย บริเวณ บ.ใหม (๖๐๐๐) ๐๑๒๓๓๐ ส.ค..... ๐๔๑๙๕๐ส.ค.....
ที่ดารานคร

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๔๗ – พล.ร.๒๐)

๕) กําลังทางอากาศของฝายตรงขาม มีขีดความสามารถที่จะโจมตีในพื้นที่ปฏิบัติการของ
กองทัพอยางตอเนื่องดวย บ.ขับไล ๒๐ เทีย่ ว, บ.โจมตี ๒๕ เทีย่ ว, และ บ.ทิ้งระเบิด ๒๐ เที่ยวตอวัน (โดยการ
รวมกําลังทางอากาศฝายตรงขามสามารถจะโจมตีดว ย บ.ขับไล ๑๐๐ เที่ยว/วัน, บ.โจมตี ๑๐๐ เที่ยว/วัน และ บ.
ทิ้งระเบิด ๖๐ เที่ยว/ตอวัน เปนอยางสูง)
ข. ขอสังเกต
๑) ตั้งรับในที่มั่นปจจุบัน
ก) มีสิ่งบอกเหตุดังตอไปนี้
(๑) ขาวสารเรื่องฝายตรงขามไดรับคําสั่งใหตรึงกําลังฝายเราไวทางดานตะวันออก
ของแนวรัตนานคร – กาญจนานคร – สิงหนคร จนถึง ๔ ส.ค.....นั้น ไดรับการยืนยันจากเชลยศึกซึ่งฝายเรา
จับไดในวันนี้
(๒) หนวยทหารฝายตรงขามไดวางกําลังอยูใ นภูมิประเทศซึ่งเกื้อกูลตอการตั้งรับ
เปนอยางมาก
(๓) ฝายตรงขามเสริมความแข็งแรงของที่มั่นตั้งรับดวยการขุดคูสนามเพลาะ และ
จัดวางสนามทุน ระเบิดตลอดแนวการวางกําลัง
ค. จุดออนของฝายตรงขาม
๑) การวางกําลัง ฝายตรงขามรวมกําลังจํานวนมากไวในยานกลาง ตามแนวปะทะบริเวณ
ตอนเหนือ อ.หนองสา แตดวยความกวางของพื้นที่การตั้งรับ ทําใหฝายตรงขามไมอาจใชกําลังที่มีอยูอยาง
จํากัด เพื่อทําการตานทานฝายเราไดตลอดแนว จึงตองวางกําลังเบาบางปองกันปกทัง้ สองขาง บริเวณ อ.ทุงแก
และ อ.ผาหัก จึงเปนการเกื้อกูลใหฝายเขาตีเจาะผานปกของฝายตรงขาม
๒) ปริมาณยุทโธปกรณมีอยางจํากัด เปนผลขากที่ฝายตรงขามถูกปดลอม และเสนทาง
สงกําลังบํารุงถูกตัดขาด ทําใหระดับ สป. มีจํากัด และไมอาจจัดหาในทองถิ่น จึงเปดโอกาสใหฝายเราใช
มาตรการลวงใหฝายตรงขามใช สป. เกินความจําเปน ทําใหไมมี สป. สนับสนุนการยุทธที่ยึดเยื้อได จึงเปน
การบีบบังคับใหจําเปนตองยอมยุติสงคราม
๓) ประชาชนในทองถิ่นไมสนับสนุนฝายตรงขาม เปนการเปดโอกาสใหฝายเราใชการ
สงครามนอกแบบ เพื่อแทรกซึมเขาจัดตั้งกลุมตอตาน ใชรบกวนพืน้ ที่สวนหลัง และใชขัดขวางปฏิบัติการทาง
ทหารของฝายตรงขาม
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๔๗ – พล.ร.๒๐)

๘. ขอสรุป
ฝายตรงขามจะทําการตั้งรับ ณ ที่มั่นปจจุบัน ดวยกําลัง ๕ พัน.ปล. สนับสนุนดวยกําลังเพิ่มเติม
ทั้งหมดหรือบางสวน ในการเขาตีหรือตั้งรับ อํานาจการยิง กําลังทางอากาศและสารเคมีชีวะที่มีอยู

พล.ต. ...............................
(สมชาย สินธุทรัพย)
ผบ.พล.ร.๒๐

ตอบรับ :

ผนวก : ก แผนสบริวารสถานการณฝายตรงขาม (เวน)


ข ทําเนียบกําลังรบ (เวน)

การแจกจาย : แบบ ก

เปนคูฉบับ

พ.ท.
(เพชร จมใตดิน)
หน.ฝขว.๒ พล.ร.๒๐

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๘๙
ตัวอยางที่ ๒ – ๕ แบบฟอรมรายงานยุทธการตามระยะเวลา
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน - เวลา
หมายเลขอางสาสน
รายงานยุทธการตามระยะเวลาที่.....

หวงเวลา : (วันและเวลา ถึง วันและเวลา)

อางถึง : แผนที่ (ประเทศ มาตราสวน และหมายเลขระวาง)

คําแนะนําการทําลาย (ถามี เชน ทําลายภายใน ๔๘ ชัว่ โมงนับตั้งแตไดรับ)

๑. สถานการณฝายเราเมื่อสิ้นระยะเวลา
กลาวถึงสถานการณที่เปนอยูเ มื่อสิ้นสุดหวงเวลา รวมทั้งสภาพการณพิเศษทีค่ วรแจงให
กองบัญชาการหนวยเหนือ สนใจที่ตั้งของหนวยทหารสําคัญ ๆ และกิจกรรมของหนวยตาง ๆ นั้นแตละหนวย
รายละเอียดใหพยายามแสดงไวในแผนที่เปนผนวกประกอบใหมากที่สดุ
๒. ขาวสารของหนวยขางเคียง และหนวยสนับสนุน
กลาวถึงขาวการการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับหนวยขางเคียงและหนวยสนับสนุนระหวางหวงเวลา ซึ่งมี
ความสําคัญตอการปฏิบัติของหนวยบัญชาการ รวมทั้งการปฏิบัติของหนวยทางอากาศ ทางเรือ และทางพื้นดิน
ดวย
๓. การปฏิบัติของฝายเราในหวงเวลา
กลาวโดยยอถึงการปฏิบัติที่ไดทําไปแลว ของหนวยรองของหนวยบัญชาการเรียงตามลําดับ
ดังตอไปนี้ หนวยบัญชาการผสมเหลา ทหารราบ ยานเกราะ ทหารปนใหญ หนวยสนับสนุนการรบและหนวย
อื่น ๆ ใหกลาวถึงการปฏิบัติใด ๆ ที่มีความสําคัญทางยุทธการ และการเคลื่อนยายหนวยดวย รายละเอียดตาง ๆ
อาจจะแสดงไวในแผนบริวาร หรือแผนที่สถานการณที่เปนผนวกประกอบ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๔๗ – พล.ร.๒๐)

๔. ประสิทธิภาพในการรบ
กลาวถึงประสิทธิภาพในการรบของหนวยบัญชาการ รวมทั้งการเปลีย่ นแปลงใด ๆ ที่เกี่ยวของ
ระหวางหวงเวลานั้นดวย ทั้งใหพจิ ารณาตามความเหมาะสมเกี่ยวกับขวัญยอดกําลังพล สถานภาพการฝก
สถานภาพทางอนามัย สถานภาพของสิ่งอุปกรณและยุทธภัณฑ และระยะเวลาทีห่ นวยทําการรบมาแลว
๕. ผลของการยุทธ
กลาวถึงผลของการยุทธที่หนวยบัญชาการไดกระทําไปเปนสวนรวม และที่หนวยรองหลัก
ไดกระทําไปตามที่เห็นสมควร รวมทั้งกลาวถึงผลที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะทีจ่ ะกระทบกระเทือนตอภารกิจ
ในอนาคตที่หนวยบัญชาการจะไดรับมอบเปนสวนรวม หรือที่หนวยบัญชาการจะมอบใหหนวยรบรอง ๆ
ตอไป รายละเอียดของความสําเร็จ หรือความลมเหลวในการปฏิบัติที่จะเปนประโยชนตอการพิจารณาของ
หนวยเหนือ ใหกลาวไวดว ย
๖. เบ็ดเตล็ด
รายละเอียดอืน่ ใดที่ไมเหมาะสมจะกลาวไวในขอตาง ๆ ขางบนนี้ เชน ลมฟาอากาศ สภาพถนนที่มี
ความสําคัญ และปจจัยอืน่ ๆ ซึ่งเกี่ยวของกับการปฏิบัติการของหนวยบัญชาการ
.........................
(ผูบังคับหนวย)
ตอบรับ :

ผนวก :

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา

หมายเหตุ : ขอใดในแบบฟอรมรายงานยุทธการตามระยะเวลาที่ไมใชใหเวนได

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๑
ตัวอยางที่ ๒ – ๖ รายงานยุทธการตามระยะเวลาของกองพลยานเกราะ
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
พล.ร.๒๐
สารแกว
๑๙๐๑๐๐ ธ.ค.....
ยก.๕๗
รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๑๗

หวงเวลา : ๑๘๑๘๐๐ ถึง ๑๙๑๘๐๐ ธ.ค....

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ ระวางสารแกว

๑. สถานการณฝายเราเมื่อสิ้นระยะเวลา
ผนวก ก (แผนบริวารสถานการณ)

๒. ขาวสารของหนวยขางเคียงและหนวยสนับสนุน
การโจมตีทางอากาศกระทําตอที่มั่นของฝายตรงขามทางเหนือของ...............................ระหวาง
เวลา ๑๓๐๐ ถึง ๑๖๐๐

๓. การยุทธของฝายเราในหวงเวลา
ก. หนวยบัญชาการผสมเหลา
๑) ร.๒๐ ยึดสะพานขามลําน้ํา.............บริเวณ..................
๒) ร.๒๔ ยึดทาขามลําน้ํา...................บริเวณ..................
๓) ร.๒๕ เปนกองหนุนของกองพล, เคลื่อนยายจาก............................ไปยังพื้นที่รวมพลใกล
กับ............................
ข. การลาดตระเวน ม.พัน.๒๐ ปองกันปกทางทิศใตของกองพล
ค. ปนใหญ
๑) ป.สนาม ปนใหญทุกกองพันสนับสนุนการเขาตี ความเรงดวนในการสนับสนุนให ร.๒๐,
ร.๒๔ และ ร.๒๕ ตามลําดับ
๒) ปภอ.ป.พัน.๑ ปองกันสะพานขามลําน้ํา.........
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๒
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด

หนา ของ หนา


(รายงานยุทธการตามระยะเวลาที่ ๑๗ – พล.ร.๒๐)

ง. ทหารชาง ช.พัน.๒๐ ปรับปรุงทาขามลําน้ํา........................และซอมบํารุงเสนหลักสงกําลัง


ไปยัง.................

๔. ประสิทธิภาพในการรบ
ยอดกําลังพลของกองพลมีรอยและ ๘๗ การสูญเสีย ร.๒๐ รอยละ ๒ ร.๒๔ รอยละ ๕ ขวัญดีเลิศ
ประสิทธิภาพในการรบดีเลิศ
๕. ผลของการยุทธ
กองพลเขาตีใน ๐๖๓๐ น. ขามลําน้ํา..............ได และขณะนีว้ างกําลังตามที่ปรากฏใน ผนวก ก
(แผนบริวารสถานการณ) เตรียมการเขาตีตอ ไปยัง..........................................ในเวลา ๑๙๐๖๕๐ ธ.ค......
๖. เบ็ดเตล็ด
ก. ลมฟาอากาศ ฝนตกมีลูกเห็บจากเวลา ๐๔๐๐ ถึง ๐๖๐๐ มีผลกระทบกระเทือนเล็กนอยตอ
การยุทธ อากาศเย็น และมีเมฆทั่ว ๆ ไป
ข. คลอง และหนองน้ําแถบลุมลําน้ํา..................และ.................ทําใหการเคลื่อนที่ของกองพล
ชาบางเปนครั้งคราว
พล.ต.สมชาย สินธุทรัพย
ผบ.พล.ร.๒๐

ตอบรับ :

ผนวก : ก แผนบริวารสถานการณ

การแจกจาย : แบบ ก
เปนคูฉบับ
พ.ท..........................
(สมศักดิ์ รักสินธุ)
ฝยก.พล.ร.๒๐

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๓
ตัวอยางที่ ๒ – ๗ แบบฟอรมรายงานสงกําลังบํารุงตามระยะเวลา
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน - เวลา
หมายเลขอางสาสน
รายงานสงกําลังบํารุงตามระยะเวลาที่.....

หวงเวลา : (วันและเวลา ถึง วันและเวลา)

อางถึง : แผนที่ (ประเทศ มาตราสวน และหมายเลขระวาง)

๑. สถานการณสงกําลังบํารุงเมื่อสิ้นระยะเวลา
ที่ตั้งของเสนแบงเขต สถานที่ตั้งตาง ๆ ขบวนสัมภาระ และหนวยทหารที่เกี่ยวของกับการสงกําลัง
การสงกลับ การขนสง บริการ และการปฏิบัติการเบ็ดเตล็ด (เขียนไวบนแผนที่ หรือแผนบริวารเมื่อสามารถ
ทําได)
๒. การสงกลับ
ก. ยอดกําลังพลทีร่ ับการสนับสนุน ยอดกําลังพลโดยเฉลี่ยทีร่ ับการสนับสนุนในหวงเวลา รวมทั้ง
กําลังพลทางทหาร เชลยศึก และพลเรือนผูถ ูกกักกันดวย
ข. สถานภาพการสงกําลัง แสดงสถานภาพของสิ่งอุปกรณรายการที่ขาดแคลน หรือรายการที่มี
ความสําคัญโดยเฉพาะในขณะนัน้
ค. การจัดหาในทองถิ่น การจัดหาสําหรับแตละสายการบริการ และพื้นทีก่ ารจัดหาแสดงถึง
ปริมาณและราคา (กลาวถึงขอมูลจริงหรือโดยประมาณ) ของยุทโธปกรณที่จะจัดหาไดในทองถิ่น
ง. เบ็ดเตล็ด สิ่งอุปกรณเกินอัตรา สิ่งอุปกรณเก็บซอม ยุทโธปกรณทยี่ ึดได สิ่งอุปกรณและ
สิ่งอุปกรณพิเศษ เชน แบบฟอรมและสิ่งพิมพตาง ๆ สิ่งอุปกรณรานคา สิ่งอุปกรณกจิ การพลเรือน และ
สิ่งอุปกรณสวัสดิการ รวมทัง้ เรื่องราวที่จะนํามาลงไดเชนเดียวกับขอ ข ขางบนนี้

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานการสงกําลังบํารุงที่......- หนวย)

๓. บริการ
ก. การขนสง กลาวถึงเรื่องราวที่เกีย่ วของกับการขนสงอยางสั้น ๆ ถึงความคลองตัวในการ
เคลื่อนยายครัง้ สําคัญ ๆ และอุปสรรค
๑) ทางถนน
ก) การแยกประเภทยานพาหนะขนสงและเครื่องจักรกลเปนพวกที่ใชนอกที่ตั้ง และ
พวกทีใ่ ชในทีต่ ั้ง สําหรับยานพาหนะหรือเครื่องจักรกลแตละประเภทนั้น ใหแสดงถึงจํานวนที่มีอยูทั้งสิน้
จํานวนที่ใชงานได จํานวนทีง่ ดใชการ และแยกจํานวนที่งดใชการออกตามประเภทของการซอมบํารุง
ข) จํานวนตันของสิ่งอุปกรณ จํานวนยานพาหนะ และจํานวนของบุคคลที่จะโดยสาร
โดยแยกประเภททั้งนอกที่ตงั้ และในทีต่ ั้ง
ค) การปฏิบัติที่สถานีปลายทาง แสดงถึงจํานวนตันของสิ่งอุปกรณแตละชนิด จํานวน
ของยานพาหนะ จํานวนคนที่จะขึ้นและลง และเครื่องมือที่สถานีปลายทางมีและใชงานได
๒) ทางอากาศ (เชนเดียวกับขอ ๑)
๓) ทางรถไฟ (เชนเดียวกับขอ ๑)
๔) ทางน้ํา (เชนเดียวกับขอ ๑)
๕) ทางทอ
๖) การเคลื่อนยายสิ่งอุปกรณ จํานวนตันของสิ่งอุปกรณที่จะรับเขาที่พื้นที่ และที่สงออกไป
จากพื้นทีแ่ บงเปนประเภทตามวิธีการขนสง
๗) การเคลื่อนยายกําลังพล จํานวนกําลังพลที่จะรับเขาในพืน้ ที่และที่สงออกจากพืน้ ที่
แบงประเภทตามวิธีการขนสง
ข. การกอสราง ระบุโครงการสําคัญ ๆ แสดงจํานวนรอยละที่ไดทําเสร็จไปแลว และที่กาํ ลังทําอยู
และวันที่จะทําใหแลวเสร็จของแตละโครงการ
ค. ที่ตั้งตาง ๆ ที่ตั้งที่สําคัญของสถานบริการที่ไมไดกลาวไวขางตนนี,้ แสดงถึงปริมาณงานที่มีอยู
ในมือตอนเริ่มตนของหวงเวลา งานที่ไดรับ งานทีท่ ําเสร็จแลว และงานทีม่ ีอยูในตอนสิ้นสุดหวงเวลา
แยกประเภทตามชนิดของงานที่ทํา ลงสถานที่ตั้งที่เปดและปดทํางานระหวางหวงเวลา (ระบุที่ตั้ง, วันที่ และ
เวลา)
ง. เบ็ดเตล็ด อสังหาริมทรัพย การซักรีด การอาบน้ํา การแลกเปลี่ยนเสื้อผา และการลางพิษ ฯลฯ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานการสงกําลังบํารุงที่......- หนวย)

๔. การซอมบํารุง
แสดงจํานวนยุทธภัณฑหลักหรือประเภทของยุทธภัณฑทรี่ อการซอมบํารุงซึ่งมีอยูในตอนเริ่มตน
ของหวงเวลา จํานวนทีไ่ ดรับ จํานวนที่ทําแลวเสร็จ และจํานวนที่มีอยูใ นมือตอนสิ้นสุดของหวงเวลา
ยุทธภัณฑรายการหลักทีงดใชการใหแบงตามประเภทและเหตุผลของการงดใชการ และควรระบุยุทธภัณฑ
รายการที่สงบกลับไวดว ย
๕. การสงกลับสายแพทย และการรักษาพยาบาล
ก. การสงกลับสายแพทย กําลังพลที่ประสบอันตราย ปวยไขและบาดเจ็บ จํานวนที่มีอยูในตอน
เริ่มตนของหวงเวลา จํานวนที่ไดรับจากหนวยรับการสนับสนุน จํานวนที่สงกลับโดยทางอากาศ ทางรถไฟ
ทางน้ํา และทางถนน จํานวนทีก่ ลับไปปฏิบัติหนาที่ จํานวนทีต่ ายจํานวนที่มีอยูในตอนสิ้นหวงเวลาซึ่งรอ
การสงกลับโดยทางอากาศ ทางรถไฟ ทางน้ํา และทางถนน รวมกลาวถึงขอมูลเกี่ยวกับคนไขพลเรือนและ
คนไขท่เี ปนเชลยศึกไวดวย เมื่อเห็นสมควร
ข. การรักษาพยาบาล แสดงถึงจํานวนเตียงทีไ่ ดรับอนุมัติ ที่มีอยูในอัตรา และที่มีคนไขประจําอยู
จํานวนเตียงทีไ่ ดรับอนุมัติตามเครดิตและที่จะใชได (โดยอาศัยขีดความสามารถของที่พยาบาลตาง ๆ
ซึ่งปฏิบัติการสนับสนุนหนวยบัญชาการ)
๖. เบ็ดเตล็ด
ก. เสนแบงเขต การเปลี่ยนแปลงระหวางหวงเวลา และกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการ
เปลี่ยนแปลงทีค่ าดไว
ข. กองบัญชาการ ที่ตั้ง และกิจกรรมที่เกีย่ วกับการเคลื่อนยายระหวางหวงเวลา และกิจกรรมที่
เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงที่คาดไว
ค. การเปลี่ยนแปลงงานที่บรรจุมอบใหในระหวางหวงเวลาที่ไดรับมอบ ที่ไดปลอดเปลื้องไปแลว
(แสดง วันเวลา)
ง. การปองกันการสูญเสียหรือความเสียหายของงานการสงกําลังบํารุง ที่เกิดจากฝายตรงขาม
การบอนทําลาย หรือจากภัยธรรมชาติ กลาวถึงการปฏิบัติการแกไขทีไ่ ดทําไป

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานการสงกําลังบํารุงที่......- หนวย)
จ. แผนและคําสั่ง การรับและการจายแผนหรือคําชี้แจงการชวยรบหลัก แนบสําเนาคําสั่ง
การชวยรบแตละฉบับ (หรือการเปลี่ยนแปลงแกไข) ที่ไดจายไปแลว นับตั้งแตรายงานครั้งที่แลวมา
ฉ. เรื่องราวการสงกําลังบํารุงอื่น ๆ ที่มิไดกลาวไว เชน การใชแรงงานพลเรือน และเชลยศึก

...........................
ผูบังคับหนวย

ตอบรับ :

ผนวก :

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๗
ตัวอยางที่ ๒ – ๘ รายงานการสงกําลังบํารุงตามระยะเวลาของกองทัพสนาม
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทภ.๓๐
มหานาค (๗๙๖๓)
๑๒๑๐๐๐ พ.ค.....
กบ.๓๑
รายงานสงกําลังบํารุงตามระยะเวลาที่ ๑๖

หวงเวลา : ๐๗๑๗๐๐ ถึง ๑๒๐๘๐๐ พ.ค....

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวางมหานาค

๑. สถานการณสงกําลังบํารุงเมื่อสิ้นระยะเวลา
ผนวก ก (แผนบริวารการชวยรบ)

๒. การสงกําลัง
ก. ยอดกําลังพลทีร่ ับการสนับสนุน (ยอดโดยเฉลี่ยสําหรับหวงเวลาที่รายงาน)
๑) ทบ.
กําลังฝายทหารที่บรรจุมอบให
ทก.๓ รวมทั้งกําลังทดแทนเปนบุคคล ๒๖๙,๓๐๐ คน
บช.สน.ทบ.ยธบ. ๑๘,๘๐๑ คน
รวมยอดกําลังฝายทหาร ๒๘๘,๑๐๑ คน
แรงงานพลเรือน
แรงงานเคลื่อนที่ ๑๕๕ คน
แรงงานประจําที่ ๖๒๕ คน
รวมแรงงานพลเรือน ๗๘๐ คน
กําลังพลอื่น ๆ
คนไขที่โรงพยาบาล ๓,๙๔๗ คน

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๘
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานการสงกําลังบํารุงที่ ๑๖ – ทภ.๓๐)
เชลยศึกและพลเรือนผูถูกคุมขัง/กักขัง ๒,๐๐๐ คน
ประชาชนพลเรือน (ที่จําเปนจริง ๆ) ๔๑๔,๐๐๐ คน
รวมยอดกําลังพลอื่น ๆ ๔๑๙,๙๔๗ คน
รวมยอดกําลังพลของ ทบ. ๗๐๗,๘๒๘ คน
๒) ทอ.
กําลังฝายทหาร ๒,๗๙๕ คน
แรงงานพลเรือน (ประจําที)่ ๐ คน
รวมยอดกําลังพลของ ทอ. ๒,๗๙๕ คน
๓) ทร.
กําลังฝายทหาร ๓๐๐ คน
แรงงานพลเรือน (ประจําที)่ ๐ คน
รวมยอดกําลังพลของ ทร. ๓๐๐ คน
ข. สถานภาพการสงกําลัง
๑) ระดับของการสงกําลัง ไมเปลี่ยนแปลง
๒) สป.รายการที่ขาดแคลน : ผนวก ข
ค. การจัดหาในทองถิ่น : ผนวก ค
ง. เบ็ดเตล็ด
๑) ยุทโธปกรณทยี่ ึดได ไมมี
๒) ยุทโธปกรณเก็บซอม : ผนวก ง

๓. บริการ
ก. การขนสง
๑) ทางถนน
ก) สภาพยานพาหนะ : ผนวก จ รายงานสถานภาพยานพาหนะ

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑๙๙
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานการสงกําลังบํารุงที่ ๑๖ – ทภ.๓๐)
ข) การใชงาน
ยานพาหนะทีอ่ อกใช สัมภาระที่ขนได (ตันสั้น) กําลังพลที่ขนได (คน)
สัมภาระ ๙,๓๗๕ ๓๗,๔๗๒ -
กําลังพล ๔๙๗ - ๙,๙๓๗
รวม ๙,๘๖๒ ๓๗,๔๗๒ ๙,๙๓๗
๒) ทางอากาศ
ก) สถานภาพอากาศยาน : ผนวก ฉ รายงานสถานภาพอากาศยาน
ข) การใชงาน
(๑) การขนยายไปขางหนา
สัมภาระ (ตันสั้น) ๒,๔๒๘
กําลังพล ๒,๒๓๕
(๒) การสงกลับ
สัมภาระ (ตันสั้น) ๒๘๙
กําลังพล ๒,๔๕๕
๓) การเคลื่อนยายสิ่งอุปกรณ
ก) จํานวนตัน (ตันสั้น) ที่ไดรับใน ทภ.๓๐ โดย
ทางถนน ๑๒,๔๗๔
ทางอากาศ ๒,๗๒๗
ทางรถไฟ ๑๗,๓๗๓
รวม ๓๒,๓๗๓
ข) จํานวนตัน (ตันสั้น) ที่ขนกลับจาก ทภ.๓๐ โดย
ทางถนน ๗๔๓
ทางอากาศ -
ทางรถไฟ ๓,๑๑๐
รวม ๓,๘๕๔

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๐๐
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานการสงกําลังบํารุงที่ ๑๖ – ทภ.๓๐)
๔) การเคลื่อนยายกําลังพล
ก) จํานวนที่ไดรบั ใน ทภ.๓๐ โดย
ทางถนน ๔,๔๙๐
ทางอากาศ ๘,๐๒๗
ทางรถไฟ ๑๗,๒๙๔
รวม ๒๙,๘๑๑
ข) จํานวนที่สงกลับจาก ทภ.๓๐ โดย
ทางถนน ๒,๑๐๕
ทางอากาศ ๒,๔๕๕
ทางรถไฟ ๖,๖๔๕
รวม ๑๑,๒๐๕
ข. การกอสราง: ผนวก ช
๔. การซอมบํารุง : ผนวก ซ
๕. การสงกําลับสายแพทยและการรักษาพยาบาล
ก. กลาวทั่วไป สถานทางการแพทยมีเพียงพอในหวงเวลารายงาน
ข. การสงกลับสายแพทย
ที่มีอยูตอนเริ่มตนของหวงเวลา ๒,๑๘๗ คน
ที่ไดรับระหวางหวงเวลา ๑,๓๑๔ คน
รวม ๓,๕๐๑
ที่สงกลับระหวางหวงเวลา
ทางอากาศ ๑,๒๓๗ คน
ทางรถไฟ ๕๐๐ คน
ทางถนน ๑,๑๙๓ คน
ตาย ๓,๑๕๒ คน
รวม ๓,๑๕๒ คน
ยอดที่มีอยูตอนสิ้นหวงเวลา ๓๔๙ คน
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๐๑
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานการสงกําลังบํารุงที่ ๑๖ – ทภ.๓๐)
ค. การรักษาพยาบาล
เตียงพยาบาล ๒,๐๐๐ เตียง
เตียงพยาบาลที่ใชได ๑,๕๐๐ เตียง
เตียงพยาบาลที่มีคนไข ๑,๑๑๒ เตียง
เตียงวาง ๓๘๘ เตียง

๖. เบ็ดเตล็ด
ก. เสนแบงเขต ไมเปลี่ยนแปลง
ข. กองบัญชาการ ไมเปลี่ยนแปลง
ค. การเปลี่ยนแปลงยอดกําลังพลที่บรรจุมอบให ไมมี
ง. การปองกัน
จ. แผนและคําสั่ง คําสั่งการชวยรบที่ ๗ จายใหเมื่อ ๑๑๐๓๐๐ พ.ค.
ฉ. เรื่องการสงกําลังบํารุงอื่น ๆ
พล.ท. ฐิติ ชายสินธุ
(ฐิติ ชายสินธุ)
มทภ.๓
ตอบรับ :
ผนวก : ก แผนบริวารการชวยรบ (เวน)
ข สป.รายการที่ขาดแคลน (เวน)
ค การจัดหาในทองถิ่น (เวน)
ง ยุทโธปกรณเก็บซอม (เวน)
จ รายงานสถานภาพยานพาหนะ (เวน)
ฉ รายงานสถานภาพอากาศยาน (เวน)
ช การกอสราง (เวน)
ซ การซอมบํารุง

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๐๒
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานการสงกําลังบํารุงที่ ๑๖ – ทภ.๓๐)

การแจกจาย :
เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.อ.
(นันท อุตตระ)
ผอ.กกบ.ทภ.๓
๒๐๓
ตัวอยางที่ ๒ – ๙ แบบฟอรมรายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลา
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน - เวลา
หมายเลขอางสาสน
รายงานสงกําลังบํารุงตามระยะเวลาที่.....

หวงเวลา : (วันและเวลา ถึง วันและเวลา)

อางถึง : แผนที่ (ประเทศ มาตราสวน และหมายเลขระวาง) หรือแผนผัง

คําแนะนําการทําลาย (ถามี เชน ทําลายภายใน ๔๘ ชัว่ โมง นับจากเวลาที่ไดรับ)

๑. สถานการณกิจการพลเรือนเมื่อสิน้ ระยะเวลา
ที่ตั้งของหนวยกิจการพลเรือนและกิจกรรมที่เกี่ยวของของแตละหนวย การเปลี่ยนแปลงใด ๆ
ที่สําคัญของเขต หรือพื้นที่ปฏิบัติการกิจการพลเรือน พฤติการณและเหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้นหลังจาก
สงรายงานครั้งสุดทาย (แสดงไวบนแผนทีห่ รือแผนบริวารที่ทําเปนผนวกเมื่อสามารถทําได)
๒. การปฏิบัติการกิจการพลเรือน ใชผนวกเมื่อจําเปน
ก. การปกครอง
ข. การเศรษฐกิจ
ค. สังคมจิตวิทยา

๓. การปฏิบัติการจิตวิทยา
ก. หนวยงานที่ปฏิบัติ
ข. ผลงานที่กระทําไปในหวงระยะเวลาที่รายงาน

๔. การประชาสัมพันธ
ก. หนวยที่ปฏิบัติ
ข. ผลงานที่กระทําไปในหวงระยะเวลา

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๐๔
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลาที่.....- นามหนวย)

๕. การปลูกฝงอุดมการณทางการเมือง
ก. หนวยงานที่ปฏิบัติ
ข. ผลงานที่กระทําไปในหวงระยะเวลา
๖. เบ็ดเตล็ด
กลาวถึงขอเสนอ และคําขอพิเศษตาง ๆ เชน ปญหาดานกําลังพลจองานกิจการพลเรือนพิเศษ
ที่เกิดขึ้น การขอรับการสนับสนุนหนวยกิจการพลเรือนเพิ่มเติม ขอเสนอในการยกเลิกการควบคุม และขอหาม
ตาง ๆ ขอเสนอในเรื่องการอบรมหนวยทหาร และเรื่องอื่น ๆ ที่มิไดกลาวไวในหัวขอขางบนนี้

.........................
ผูบังคับหนวย

ตอบรับ :

ผนวก :

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๐๕
ตัวอยางที่ ๒ – ๑๐ รายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลาของกองพลทหารราบ
--------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
พล.ร.๒๐
บ.พังโคน (พีบี. ๖๗๙๑)
๒๕๑๐๐๐ ม.ค.....
กร.๐๗
รายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลาที่ ๑

หวงเวลา : ๑๗๑๗๐๐ ถึง ๒๔๑๘๐๐ ม.ค....

อางถึง : แผนที่พิเศษ มาตราสวน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวางอูทอง

๑. สถานการณเมื่อสิ้นหวงเวลา
ก. ผนวก ก แผนบริวารกิจการพลเรือน
ข. นายอําเภอรัตนานคร จัดเจาหนาที่ฝายปกครองในพื้นทีม่ าประจําที่แผนกกิจการพลเรือน
พล.ร.๒๐ ตั้งแต ๑๗ ม.ค.... เพิ่มเติมจากชุดเจาหนาที่ตาดตอที่ทางจังหวัดไดสงมาประจําอยูกับกองพลอยูแลว
๒. การปฏิบัติการกิจการพลเรือน
ก. การปกครอง
๑) เจาหนาที่ฝายปกครองสวนใหญของเมืองรัตนานคร สวนใหญยังคงปฏิบัติหนาที่อยู
ณ ที่ทํางานชัว่ คราวบริเวณบานโนนสูง คาดวาจะยายเขาที่ตั้งเดิมที่เมืองรัตนานครใน ๒ – ๓ วันขางหนา
๒) เจาหนาที่ตํารวจ สามารถใหความรวมมือแกเจาหนาที่สารวัตรทหารในการรักษาความ
สงบเรียบรอยไดเปนอยางดี
๓) ราษฎรอาสาสมัครในพื้นที่สว นหลัง ใหความชวยเหลือในการรักษาความปลอดภัยแก
สถานที่ราชการหลายแหง
๔) สมาชิกสภาตําบลและคณะกรรมการหมูบานในพืน้ ที่ ยังคงสามารถชวยเหลือทางราชการ
ในการควบคุมประชาชนอยูไดเปนสวนใหญ

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๐๖
--------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(รายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลาที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

๕) การอพยพประชาชนออกจากพื้นที่อันตราย เปนไปตามแผนที่กําหนด ขณะนี้ผูอพยพ


ประมาณ ๒,๐๐๐ คนอยูที่บริเวณ บ.นาอุดมดี และสวนราชการพลเรือนยังคงสามารถดําเนินการในเรื่องการ
อพยพตอไปไดโดยไมมีปญหาสําคัญ
ข. เศรษฐกิจ
๑) อาหารสดในพื้นที่กําลังจะเริ่มขาดแคลน อาจจําเปนตองขอรับการสนับสนุนจากพื้นที่
หรือฝายทหาร
๒) รานคาสวนมากเปดกิจการ การคาขายสวนใหญจะกระทําในบริเวณชุมชนใหญ ๆ เทานั้น
และราคาเริ่มจะสูงกวาปกติ
๓) สิ่งอุปกรณในทองถิ่นมีอยูจํากัดมาก ฝายทหารไมสามารถจัดหาไดเลย
๔) การสนับสนุนสิ่งอุปกรณของฝายทหารตอประชาชน จะสั่งการในรายละเอียดภายหลัง
ค. สังคมจิตวิทยา
๑) ระบบไฟฟาในทองถิ่นใชไดเฉพาะในบริเวณชุมชนบางแหงเทานั้น และจํากัดการใช
เฉพาะบางเวลา
๒) การหระปาทุกแหงในพื้นที่ชาํ รุดใชการไมได น้ําดื่มน้ําใชจําเปนตองใชรถบริการ
๓) โรคติดตออยางรายแรง ในพืน้ ที่ระยะนี้มีเพียงอยางเดียวคือโรคมาลาเรีย
๔) สถานพยาบาลเอกชนในทองถิ่นประมาณ ๘๐% จําเปนตองยุบเลิกไปเพราะการสูรบ
๕) นายอําเภอรัตนานครไดแตงตั้งปลัดอําเภอ ๑ นาย เปนเจาหนาที่ใหความชวยเหลือในเรื่อง
แรงงานโดยเฉพาะ
๖) แรงงานพลเรือนสวนใหญเปนประเภทผูใชแรงงานทั่วไป ผูที่มีความชํานาญเปนพิเศษ
ทางการชางมีนอยมาก
๓. การปฏิบัติการจิตวิทยา
ก. หนวยแยก ปจว. จากรอย ปจว.ที่ ๒ ยังคงสมทบกับ พล.ร.๒๐ ตอไป และในหวงเวลาที่ผานมา
ไดมุงการปฏิบตั ิตอทหารฝายตรงขามที่เผชิญหนา และสนับสนุนการดําเนินการตอผูอ พยพผูลี้ภยั เปนหลัก

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๐๗
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลาที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ข. ถึงแมวาประชาชนสวนใหญเปนมิตรกับฝายเรา แตยังคงมีบางกลุมที่มีความคิดเห็นขัดแยง และ


ยังคงตอตานขัดขวางการปฏิบัติการทางทหารอยูบาง ขณะนีก้ ําลังประสานกับเจาหนาที่ฝายบานเมืองในการ
คนหาบุคคลชั้นหัวหนาอยู
ค. ในหวงเวลาที่ผานมาไดปรากฏใบปลิวและการกระจายเสียงของฝายตรงขามในพื้นที่ตอนเหนือ
ของกองพลบางเปนครั้งคราว แตเชื่อวาไมมผี ลตอกําลังพลของฝายเราแตประการใด
๔. การประชาสัมพันธ
ก. การแถลงขาวแกประชาชน กระทําตามการกระจายเสียงเปนสวนใหญ
ข. สื่อมวลชนในพื้นที่ใหความรวมมือกับกองพลเปนอยางดีในดานการประชาสัมพันธ

๕. การปลูกฝงอุดมการณทางการเมือง
ก. ในหวงเวลาที่ผานมา การปลูกฝงอุดมการณทางการเมืองเปนไปอยางไดผล โดยการรวมมือ
ของเจาหนาทีส่ วนราชการพลเรือนในทองถิ่น
ข. กองพลไดจดั ชุดปลูกฝงอุดมการณทางการเมืองไปสนับสนุนหนวยระดับกองพัน ๆ ละ ๑ ชุด
ตั้งแต ๑๘๑๓๐๐ ม.ค....
๖. เบ็ดเตล็ด
ก. ในระยะนี้มักเกิดไฟปาและลุกลามเปนพืน้ ที่กวางไดโดยเร็ว
ข. พล.ร.๒๐ ไดจดั ชุดบริการประชาชนพิเศษเพื่อบริการและชวยเหลือประชาชนตลอด
๒๔ ชัว่ โมง
ตอบรับ :
พล.ต. บุรินทร จอมใจประชา
ผบ.พล.ร.๒๐
ผนวก : ก แผนบริวารกิจการพลเรือน
การแจกจาย : แบบ ก
เปนคูฉบับ
พ.ท.สินธุทรัพย กระชับมิตร
หน.กร.พล.ร.๒๐
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๐๘
ตอนที่ ๓
รายงานเบ็ดเตล็ดและสรุป
(ตัวอยาง)
ตัวอยางที่ ๓ – ๑ รายงานดวนของกองพลทหารราบ (ใชกระดาษเขียนขาว

กระดาษเขียนขาว
แบบ สส.๖ ที่.................
สําหรับเจาหนาที่ศูนยการสื่อสาร..........................................................................................

ความเรงดวน-ผูรับปฏิบัติ ความเรงดวน-ผูรับทราบ หมู วัน เวลา คําแนะนํา


ดวน ดวน
จาก ผบ.ร.๒๐ หมู/คํา
ถึง ผบ.พล.ร.๒๐ (ประเภทเอกสาร)
ขาวที่ ๒๘, ๒๘๑๓๑๖ ก.ค. ... หนวยลาดตระเวนสังเกตเห็น และพิสูจนทราบ ที่ของผูใหขาว
วารถถังขนาดกลาง ๑๐ คัน ของ พัน.๒ พล.ยย.๓๐๗ กําลังเคลื่อนที่ดวยรูปขบวน
เปด ทางตะวันตกของทางหวงหมายเลข ๑๐ ดวยความเร็วประมาณ ๒๐ กม./ชม.
บริเวณ พิกัด (๓๗๖๕) เมื่อ ๒๖๑๔๑๐ ก.ค. ....

หมายเหตุ : รายงานดวนเปนรายงานครัง้ เดียวที่ทุกหนวยนําไปใชเพือ่


สงขาวสารทางการขาวกรองที่มีคาโดยทันที ไมมีแบบฟอรมกําหนดไว
ตายตัว อยางไรก็ดี รายงานนีค้ วรจะตอบคําถามวา ใคร, ทําอะไร, ที่ไหน
และเมื่อใด รายงานดวนทีน่ ําไปใชบอย ๆ มี ๒ แบบ คือ รายงานดวน
และรายงานดวนที่สุด ความเร็วในการสงรายงานมีความสําคัญสําหรับ
ทั้งสองแบบ แตรายงานดวนที่สุดลําดับความเรงดวนสูงกวา
๒๐๙
ตัวอยางที่ ๓ – ๒ แบบฟอรมของสรุปยอดกําลังพลประจําวัน
--------------------
(ประเภทเอกสาร)

สรุปยอดกําลังพลประจําวันที่..........เมื่อ...........๒๕.......

กองบัญชาการ.....................
ยอดกําลังพล (ก) การสูญเสียประจําวัน ไดรับมา หมายเหตุ
อนุมัติ บรรจุ ปฏิบัติ ตายใน บาดเจ็บ หายใน สูญเสียมิใช รวม
(ข) จริง หนาที่ การรบ ใน การรบ จากการรบ (ด)
(ค) (ง) (จ) การรบ (ช) และธุรการ
(ฉ) (ช)
นายทหาร
นายสิบ
พลทหาร
รวม
--------------------
(ประเภทเอกสาร)

หมายเหตุ ตัวเลขที่ไมเปลี่ยนแปลงในระหวางหวงเวลาไมจําเปนตองสงขาวไปคําอธิบายแตละชอง
(ก) รวมทั้งหนวยในอัตราและหนวยสมทบทั้งสิ้น
(ข) ยอดกําลังพลอนุมัติตาม อจย. รวมทั้งของหนวยในอัตราและหนวยสมทบ
(ค) ยอดกําลังพลทีบ่ รรจุจริง รวมทั้งหนวยในอัตราและหนวยสมทบ
(ง) จํานวนของกําลังพลที่ทําหนาที่ในปจจุบนั นั้น
(จ) - (ฉ) – (ช) แสดงความหมายในตัวเองอยูแ ลว
(ซ) แสดงยอดรวมของการสูญเสียกําลังพลเนื่องขากตาย ประสบอันตราย ปวยเปนโรคที่มิใช
การรบหรือการสูญเสียทางยุทธการ
(ด) แสดงยอดรวมของชอง (จ) ถึงชอง (ซ)
(ต) แสดงยอดกําลังทดแทนและกําลังที่กลับมาปฏิบัติหนาที่
(ถ) หมายเหตุที่เกีย่ วของใด ๆ รวมทั้งการสูญเสียเจาหนาที่สําคัญ (ลงชื่อ ยศ ตําแหนง) หรือ
ขาวสารอื่น ๆ อันจําเปนเพื่ออธิบายเรื่องผิดปกติที่ไดนําลงไวในชองกอน ๆ จํานวนของกําลังพลที่ทราบวา
ถูกจับ อาจจะนํามาลงดวยก็ได
๒๑๐
ตัวอยางที่ ๓ – ๓ สรุปขาวกรองของกองพลทหารราบ (ยานยนต)
(ตัวอยางนี้ยดึ ถือตามแบบฟอรมใน รส.๓๐ – ๕)

กระดาษเขียนขาว

แบบ สส.๖ ที่.................

สําหรับเจาหนาที่ศูนยการสื่อสาร............................................................................................

ความเรงดวน-ผูรับปฏิบัติ ความเรงดวน-ผูรับทราบ หมู วัน เวลา คําแนะนํา


ดวนมาก ดวนมาก ๑๖๑๘๐๐ มิ.ย.๓๖
หมู/คํา

จาก ผบ.พล.ยย.๕๒ (ประเภทเอกสาร)

ถึง มทภ.๒ ที่ของผูใหขาว

สรุปขาวกรองที่ ๑๔๔ สิ้นหวงเวลา ๐๔๐๖๐๐


ขอ ๓ ก ฝายตรงขามทําการตั้งรับตอไปในเขตยกเวนการเขาตีเฉพาะตําบลเมื่อ ๐๔๓๕ บริเวณ
๓๗๖๗๕๘ ดวยกําลังประมาณ ๙๐ คน รถถังขนาดกลาง ๓ คัน และการสนับสนุนดวยปนใหญเบา
การเขาตีถูกขับไล
ขอ ๓ ง การโจมตีติดตามมาเมื่อ ๐๔๓๐ ดวยการยิงดวยอาวุธนิวเคลียรแตกอากาศสูงมาก ศูนยทพี่ นื้
ดิน ๓๗๔๗๖๑, เครื่องสงไมทราบ, ขนาดประมาณ ๐.๕ กต...,
ขอ ๓ ฉ การเขาตีสนับสนุนโดย บ.ไอพน ๒ เครื่อง ทําการทิ้งระเบิดและยิงกราดบริเวณ ๓๙๖๗๖๕
ประมาณ ๕ นาที เริ่มเมื่อ ๐๔๒๕
ขอ ๔ ก ตายในการรบที่ยืนยันแลว ๒๐ คน, ประมาณวาจะตายในการรบ ๕ คน, ประมาณวาบาดเจ็บ
ในการรบ ๓๐ คน
ขอ ๔ ข รวมทั้งบาดเจ็บในการรบ ๒ คนดวย
ขอ ๔ ค รถถังกลาง ๒ คันถูกทําลาย, ๑ คัน ไดรับความเสียหาย, บ.โจมตีไอพน ๑ เครื่องถูกยิงตก
ขอ ๖ เชลยศึกกลาววาการสงกําลังกระสุนในหนวยขางหนาอยูใ นเกณฑต่ํา (ค – ๓)
๒๑๑
ขอ ๗ กองลาดตระเวนรายงานวามีกองรอย ป.๑๕๒ มม. ที่ ๓๐๓๒๙๒, เชลยศึกยืนยันที่ตั้งของ
พัน.๒ กรมยานยนตที่ ๑๗ อยูที่บริเวณ ๓๗๕๗๕๖ (ข – ๑)
ขอ ๘ การลาดตระเวนดวยเรดาหสงทางอากาศตรวจพบวา รยบ. ๑๐ คัน กําลังเคลื่อนที่ทางใตบน
ถนนที่ ๓๓๐๒๘๐ เมื่อ ๐๓๔๕
ขอ ๙ บางทีจะเปนยานพาหนะสําหรับการสงกําลังตามปกติ
ขอ ๑๐ หมอกเริ่มมีเมื่อ ๐๔๐๕๔๕ และยังคงมีอยู, พื้นดินน้ําแข็งเกาะตัวและรับน้ําหนักยานพาหนะ
ทุกแบบได
ขอ ๑๑ ไดรับรายงานวาการเขาตีเฉพาะตําบลทําเพื่อเขายึดเนินเขา ๔๐๕ ฝายตรงขามสามารถทํา
การตั้งรับในทีม่ ั่นปจจุบันตอไปได และสามารถทําการเขาตีเฉพาะตําบลเพื่อปรับที่มั่นตั้งรับของตน
ใหดยี ิ่งขึ้นได, สามารถถอนตัวไปยังที่มนั่ ทีแ่ ข็งแรงกวาตามแนวลําน้ํา..........
ขอ ๑๒ ฝายตรงขามนาจะกระทํามากที่สุดคือการตั้งรับในที่มั่นปจจุบนั ตอไป
๒๑๒
ตัวอยางที่ ๓ – ๔ แบบฟอรมรายงานสถานการณทางยุทธการ
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน - เวลา
หมายเลขอางสาสน
รายงานสถานการณทางยุทธการที่

หวงเวลา : (วันและเวลา ถึง วันและเวลา)

อางถึง : แผนที่ (ประเทศ มาตราสวน และหมายเลขระวาง)

(ขอหรือขอยอยใดไมใชใหเวนได)

๑. ฝายตรงขาม
ก. หนวยที่เขาปะทะ
ข. กองหนุนของฝายตรงขามที่อาจมีผลกระทบตอสถานการณในบริเวณนั้นได
ค. อธิบายโดยสรุปถึงการปฏิบัติของฝายตรงขามในระหวางหวงเวลาที่รายงาน
ง. ประมาณการสั้น ๆ ยอดกําลังพล ยุทโธปกรณ ขวัญ และวาฝายตรงขามนาจะทราบถึง
สถานการณของฝายเราเทาไร
จ. ขอสรุปเกี่ยวกับหนทางปฏิบตั ิตาง ๆ แกฝายตรงขามสามารถเลือกปฏิบัติได
๒. สถานการณฝายเรา
ก. ที่ตั้งของสวนในแนวหนา
ข. ที่ตั้งของหนวย กองบัญชาการ และเสนแบงเขต
ค. ที่ตั้งของหนวยขางเคียงและหนวยสนับสนุน
ง. อธิบายถึงรายละเอียดและผลของการปฏิบัติการยุทธระหวางหวงเวลาที่รายงานอยางสั้น ๆ
จ. หนวยที่หมดสมรรถภาพ

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๑๓
--------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(รายงานสถานการณที่ ...- หนวย)

๓. การชวยรบ
กลาวโดยทัว่ ๆ ไปเกี่ยวกับสถานการณการชวยรบถามีผิดไปจากปกติ และมีผลกระทบโดยตรงตอ
สถานการณทางยุทธวิธี
๔. เรื่องทั่วไป
ขาวสารที่ไมไดลงไวในขออื่น

๕. การประเมินสถานการณโดยผูบังคับบัญชา
ใหแลวเสร็จเมือ่ หนวยเหนือสั่งการ

ตอบรับ :
(ลงชื่อ)...................
(................)
ตําแหนง

ผนวก :

การแจกจาย

การรับรองสําเนา

ยศ, ชื่อ.......................
(....................)
ตําแหนง............

--------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๑๔
ตัวอยางที่ ๓ – ๕ รายงานสถานการณยุทธการในกระดาษเขียนขาว
(ใชกระดาษเขียนขาวมาตรฐาน)

กระดาษเขียนขาว

แบบ สส.๖ ที่.................

สําหรับเจาหนาที่ศูนยการสื่อสาร.............................................................................................

ความเรงดวน-ผูรับ ความเรงดวน-ผูรับ หมู วัน เวลา คําแนะนํา


ปฏิบัติ ทราบ
ดวน ดวน
จาก ผบ.ร.๒๐ หมู/คํา

ถึง ผบ.พล.ร.๒๐ (ประเภทเอกสาร)

รายงานสถานการณที่ ๑๕ หวงเวลา ๑๒๐๖๐๐ ถึง ๑๒๑๒๐๐ ก.ค.... ที่ของผูใหขาว


ฝายตรงขาม ที่ตั้ง และการพิสูจนทราบไมเปลี่ยนแปลง มีการยิง
ของฝายตรงขามในพื้นที่ของกองทัพเปนระยะ ๆ ไมมีการลาดตระเวน
ของฝายตรงขาม สถานการณฝายเราไมเปลี่ยนแปลงการชวยรบ การ
สูญเสียกําลังพล ๑๐คน
๒๑๕
(หนาเจตนาเวนวาง)

(หนาเจตนาเวนวาง)
๒๑๖
ผนวก ข
การบรรยายสรุปและการประชุมทางทหาร
๒๑๗
ตอนที่ ๑
การบรรยายสรุปทางทหาร

ข – ๑ กลาวทั่วไป
ก. การบรรยายสรุปทางทหารเปนวิธี ๆ หนึ่งสําหรับเสนอขาวสารตอผูบังคับบัญชาฝายอํานวยการ
หรือผูรวมฟงอื่น ๆ ตามที่กําหนด เทคนิคที่นํามาใชจะพิจารณาจากวัตถุประสงคของการบรรยายการ
ตอบสนองที่ตองการ และบทบาทหนาที่ของผูบรรยาย
ข. การบรรยายสรุปทางทหารแบงออกไดเปน ๔ แบบ คือ การบรรยายสรุปขาวสาร การบรรยาย
สรุปขอตกลงใจ การบรรยายสรุปภารกิจ และ การบรรยายสรุปของฝายอํานวยการ
ข – ๒ การบรรยายสรุปขาวสาร
การบรรยายสรุปขาวสารกระทําเพื่อใหขาวสารขอมูลแกผูฟง ซึ่งตองการใหผูฟงไดรับทราบและ
สามารถเขาใจดวย ในการบรรยายแบบนี้จะไมกลาวถึงขอสรุป ขอเสนอแนะ และจะไมมีความตองการใหได
ขอตกลงใจ แตจะเปนการเสนอขอเท็จจริง ผูบรรยายจะกลาววาวัตถุประสงคของการบรรยายคือการ
ใหขาวสาร เสนอบทนําสั้น ๆ เพื่อใหคําจํากัดความเกี่ยวกับเรื่องที่จะบรรยาย และนําผูฟงเขาสูตัวเรื่องเสร็จแลว
จะเริ่มเสนอขาวสาร
ตัวอยางของเหตุการณบางกรณีที่อาจจําเปนตองมีการบรรยายสรุปขาวสาร ไดแก
y เมื่อมีขาวสารที่มีลําดับเรงดวนสูงที่ตองการใหทราบโดยทันที
y เมื่อมีขาวสารที่มีลักษณะซับซอน เชน แผน ระบบ สถิติ หรือแผนผัง ซึ่งซับซอนและตองการ
คําอธิบายอยางละเอียด
y เมื่อมีขาวสารที่ขัดแยงกัน ซึง่ ตองการชี้แจงรายละเอียด และคําอธิบาย

ข – ๓ การบรรยายสรุปขอตกลงใจ
การบรรยายสรุปขอตกลงใจกระทําเพื่อใหไดรับคําตอบหรือขอตกลงใจ การบรรยายสรุปขอตกลง
ใจเปนการเสนอแนะของฝายอํานวยการซึ่งไดมาจากการวิเคราะห หรือศึกษาวิจัยปญหาหนึ่ง ๆ หรือในเรื่องที่
มีปญหาเรื่องหนึ่ง การบรรยายสรุปขอตกลงใจอยางเปนทางการจะยาวหรือมีรายละเอียดมากนอยเพียงใด
ขึ้นอยูกับระดับหนวย และความรูของผูที่ตองตกลงใจเกี่ยวกับเรื่องนัน้ ในกรณีที่ผูรับฟงการบรรยายสรุปเรื่อง
ปญหากอนแลวและทราบขอมูลวาขาวสารที่เกี่ยวกับปญหานั้นบาง การบรรยายจะมีการจํากัดเพียงกลาวถึง
ปญหา ขาวสารมูลฐานที่จําเปนและขอเสนอแนะในการแกปญหา แตอยางไรก็ตาม ผูบรรยายจะตองพรอม
ที่กลาวถึงสมมุติฐานที่ไดกําหนดขึ้น ขอเท็จจริงที่มี การแกปญหาดวยวิธีอื่นๆ และเหตุผลที่ตกลงใจเลือกวิธี
แกปญหาที่ไดเสนอมา และการประสานงานที่ไดกระทํา หากผูที่รับฟงการบรรยายไมคุนเคยกับปญหา และ/
หรือขอเท็จจริงเกี่ยวกับปญหานั้น การบรรยายสรุปจะตองมีรายละเอียดมากขึน้ ในกรณีนี้ การบรรยายสรุป
จะตองกลาวถึงสมมุติฐานตางๆ ที่กําหนดขึน้ ในการวิเคราะหปญหา ขอเท็จจริงที่เกีย่ วกับปญหานั้น
๒๑๘
ขอพิจารณาถึงวิธีตาง ๆ ในการแกปญหา ขอสรุปตาง ๆ และการประสานงานที่ไดกระทํา ในระดับ
กองบัญชาการชั้นสูงตั้งแตกองทัพนอยขึ้นไปมักใชการบรรยายสรุปขอตกลงใจเปนสวนใหญ ในเรื่องราว
ทั้งปวงที่ตองการขอตกลงใจของผูบังคับบัญชารวมทั้งเรื่องราวทางยุทธวิธี ในระดับกองบัญชาการกองพลและ
หนวยที่ต่ํากวา มักใชแบบการบรรยายสรุปขอตกลงใจอยางไมเปนทางการ
ก. การบรรยายสรุปขอตกลงใจ อาจเปรียบไดกับการเสนอขอพิจารณาของฝายอํานวยการดวย
วาจา เพราะอาศัยขอหลักของขอพิจารณาของฝายอํานวยการนั่นเอง ตามปกติการบรรยายสรุปขอตกลงใจ
มีลําดับหัวขอที่มีเหตุผลดังตอไปนี้
๑) แยก ทําความเขาใจ และระบุปญหา ตลอดจนกลาวถึงจุดประสงคของการบรรยายสรุป
เพื่อแสวงขอตกลงใจ ทั้งนี้ ตองกลาวถึงขาวสารภูมิหลังเพื่อชี้ใหเห็นความเปนมาของปญหา และทําไมจึง
จําเปนตองไดขอตกลงใจ
๒) กลาวถึงสมมุติฐานถาจําเปน สมมุติฐานตองสมเหตุสมผลและสามารถสนับสนุนปญหา
นั้นไดดวย
๓) เสนอขอเท็จจริงที่เผชิญหนาปญหาอยู ขอความในการบรรยายสรุปสวนนี้มีความสําคัญ
อยางยิ่งเชนเดียวกับการบรรยายสรุปขาวสารและใชกฎเกณฑเดียวกัน สําหรับการบรรยายสรุปทั้งสองแบบ
ผูบรรยายสรุปควรยึดมัน่ ในสิ่งที่บรรยายและตองกลาวถึงขอเท็จจริงทีส่ ําคัญ ๆ อยางถูกตองและสมบูรณ
ขอเท็จจริงที่เกีย่ วของกับปญหาโดยตรง ซึง่ เปนที่ทราบของบุคคลตาง ๆ ที่รับฟงอยูแ ลวตองนํามากลาวซ้ําอีก
เนื่องจากวาการบรรยายสรุปนี้เปนการกระทําเพื่อใหไดขอ ตกลงใจ ดังนั้น ผูฟงจึงควรไดรับการเตือนความจํา
ถึงขอเท็จจริงตาง ๆ ที่เกี่ยวของโดยตรงกับปญหา ขอเท็จจริงใหม ๆที่ผูฟงยังไมทราบก็แจงใหทราบเฉพาะ
สวนที่เกีย่ วของโดยตรง และมีอิทธิพลตอการตกลงใจเทานั้น
๔) ถกแถลงหนทางปฏิบัติ กลาวถึงการวิเคราะหหนทางปฏิบัติอยางสั้น ๆ ขอดีและขอเสีย
ของหนทางปฏิบัติแตละหนทางก็นํามากลาวดวย และเปรียบเทียบเชนเดียวกับในหัวขอถกแถลงของ
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ ผูบรรยายสรุปตองชี้ใหเห็นผลที่จะบังเกิดขึ้นของแตละหนทางปฏิบัติ และ
อันตรายที่จะเกิดขึ้นดวย
๕) ใหขอยุติ ผูบรรยายตองใหลําดับที่นาจะเปนไปไดหรือลําดับความดีเดนของแตละหนทาง
ปฏิบัติ
๖) ใหขอเสนอหนึ่งขอหรือหลาย ๆ ขอ ผูบรรยายใหขอเสนอของตนซึ่งอาจใชเปนขอ
ตกลงใจไดหากผูบังคับบัญชาอนุมัติ ในการเสนอของตนนั้น ผูบรรยายควรเตรียมการถกแถลงถึงการ
ประสานงานที่ตองกระทําดวย
ข. ตั้งแตเริ่มตนการบรรยายสรุป ผูบรรยายจะตองกลาวอยางชัดเจนวา วัตถุประสงคคือตองการ
ตกลงใจ เมื่อถึงขอสรุปในการบรรยายสรุปแลวหากผูบ รรยายสรุปยังไมไดขอตกลงใจ ผูบรรยายสรุปจะตอง
ขอใหทําการตกลงใจ และจะตองมั่นใจวาเขาใจขอตกลงใจที่ไดมาอยางแจมแจง หากยังไมแนใจจะตองขอคํา
อธิยายใหกระจางชัด ในเรื่องนี้ขอเสนอแนะซึ่งมีความละเอียดชัดเจนที่อาจใชเปนคํากลาวขอตกลงใจเมื่อ
ไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชาแลวจะชวยลดความคลุมเครือที่อาจเกิดขึ้นได
๒๑๙
ค. ภายหลังการบรรยายสรุป หากเสนาธิการไมอยู ผูบรรยายตองแขงใหเลขานุการของฝาย
อํานวยการ รองผูบังคับหนวย หรือเจาหนาที่ธุรการที่เกี่ยวของกับการตกลงใจ ของผูบังคับบัญชาทราบดวย
ข – ๔ การบรรยายสรุปภารกิจ
การบรรยายสรุปภารกิจเปนแบบหนึ่งของการบรรยายสรุปทางทหาร ซึ่งใชภายใตภาวะการ
ปฏิบัติการยุทธเพื่อใหขาวสารเฉพาะสวน เพื่อใหคําสั่งชีแ้ จงเฉพาะเรื่อง หรือเพื่อใหเขาใจภารกิจอยางลึกซึ้ง
ก. การบรรยายสรุปภารกิจ โดยธรรมดาแลวนายทหารผูบรรยายเพียงคนเดียวเปนผูทํา ซึ่งอาจเปน
ผูบังคับหนวย ผูชวยผูบังคับหนวยคนใดคนหนึ่ง นายทหารฝายอํานวยการคนใดคนหนึ่ง หรือผูแทนฝาย
กิจการพิเศษคนใดคนหนึ่ง ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับลักษณะของภารกิจหรือระดับกองบัญชาการ
ข. ในสถานการณยุทธ หรือเมื่อภารกิจเปนเรื่องที่สําคัญยิ่ง อาจจําเปนที่ตองใหขอมูลรายละเอียด
แกแตละบุคคล หรือหนวยขนาดเล็ก ๆ มากกวาที่ไวในคําสั่ง ซึ่งอาจทําไดดว ยการบรรยายสรุปภารกิจการ
บรรยายสรุปภารกิจจะชวยเสริมคําสั่ง ใหนายละเอียดในความตองการและคําชี่แจงมากขึ้นสําหรับแตละบุคคล
และใหคําอธิบายถึงความสําคัญของบทบาทหนาที่ของแตละบุคคล การบรรยายสรุปแบบนี้ ตองทําดวยความ
ระมัดระวัง เพือ่ ใหมั่นใจวาไมทําใหเกิดความเขาใจสับสนหรือขัดแยงกับคําสั่ง
ข – ๕ การบรรยายสรุปของฝายอํานวยการ
ความมุงหมายของการบรรยายสรุปของฝายอํานวยการ ก็เพื่อใหเกิดการประสานงานและรวมมือกัน
อยางจริงจัง การบรรยายนี้อาจเกี่ยวของกับการแลกเปลี่ยนขาวสาร การประกาศขอตกลงใจภายในหนวย
บัญชาการ การออกคําสั่งสั่งการหรือการใหแนวทางตาง ๆ เพื่อใหบรรลุความมุงหมายนี้ การบรรยายสรุปของ
ฝายอํานวยการ อาจตองรวมลักษณะตาง ๆ ของการบรรยายสรุปขาวสาร การบรรยายสรุปขอตกลงใจและการ
บรรยายสรุปภารกิจหรือการผสมผสานการบรรยายสรุปดังกลาวเขาดวยกัน
ก. ผูเขารวมในการบรรยายสรุปของฝายอํานวยการยอมแตกตางกันไปตามขนาดขอกองบัญชาการ
แบบของการปฏิบัติการที่กําลังดําเนินอยู และความตองการของผูบังคับบัญชา โดยทั่วไปแลวประกอบดวย
ผูบังคับหนวย รองหรือผูชวยผูบังคับหนวย เสนาธิการ ฝายอํานวยการประสานงาน และฝายกิจการพิเศษ
นอกจากนั้นอาจมีผูแทนจากหนวยรองหลักดวย
ข. โดยธรรมดา เสนาธิการจะเปนประธานในการบรรยายสรุปของฝายอํานวยการ และเปน
ผูกําหนดใหผแู ทนของฝายอํานวยการเสนอเรื่องราวที่สนใจของฝายอํานวยการที่อยูใ นที่ประชุมหรือเรื่องราว
ที่ตองการการประสานงานของแผนกฝายอํานวยการ นายทหารฝายอํานวยการแตละคนเตรียมการบรรยาย
สรุปในเรื่องที่อยูในความรับผิดชอบของตน
ค. ในที่ตั้งปกติ การบรรยายสรุปของฝายอํานวยการมักกระทําตามระยะเวลา แตอาจเรียกประชุม
โดยไมเปนตามระยะเวลาไดในเมื่อมีความจําเปนเกิดขึ้น ในกกองบัญชาการของหนวยขนาดใหญ การบรรยาย
สรุปของฝายอํานวยการมักจัดใหมีขึ้นเปนประจําตามกําหนดเวลา ในระหวางการรบ การบรรยายสรุปของฝาย
อํานวยการจะทําตามความตองการของสถานการณ อยางไรก็ตามในระดับกองทัพนอยและหนวยที่สูงกวา
การบรรยายสรุปของฝายอํานวยการก็ยังคงกระทําตามกําหนดเวลาปกติ การบรรยายสรุปของฝายอํานวยการ
๒๒๐
เปนเครื่องมือที่มีคายิ่งตอการปฏิบัติการยุทธ ในอันทีจ่ ะทําใหผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการสามารถเขาใจ
สถานการณอยางถองแทยิ่งกวาวิธีการอื่นใด
ง. เรื่องราวในการบรรยายสรุปของฝายอํานวยการยอมแตกตางกันไปตามระดับหนวย ในหนวย
ระดับต่ํา จะกลาวถึงเรื่องราวที่เกีย่ วของกับการปฏิบัติแบบฉับพลันและการหวังผลในขณะนั้น แตในหนวย
ระดับสูง การบรรยายสรุปอาจกลาวถึงเรื่องราวที่เกี่ยวกับนโยบาย และการหวังผลในระยะยาว ในการ
ปฏิบัติการในสนามหรือในการรบจะกลาวถึงเรื่องราวทางยุทธวิธีเปนสวนใหญ เนื่องขากการบรรยายสรุป
กระทําเปนประจําตามกําหนดเวลา การบรรยายของฝายอํานวยการแตละคน ก็อาจกลาวถึงเรื่องราวที่ทันสมัย
ขึ้นจากที่เคยชีแ้ จงมาแลว
จ. การเสนอประมาณการของฝายอํานวยการ ซึ่งลงเอยดวยการตกลงใจของผูบังคับบัญชาในการ
เลือกหนทางปฏิบัติหนทางหนึ่งโดยเฉพาะ เปนแบบหนึ่งของการบรรยายสรุปของฝายอํานวยการในการ
บรรยายสรุปแบบนี้นายทหารฝายอํานวยการยึดถือแบบฟอรมที่กําหนดไวสําหรับประมาณการของฝาย
อํานวยการที่กาํ ลังเสนอนั้น
ข – ๖ เทคนิคของการบรรยายสรุป
การดําเนินการบรรยายสรุป แบงออกเปน ๔ ขั้น คือ การวิเคราะหสถานภาพ การเตรียมการ
การบรรยายสรุป การดําเนินการบรรยายสรุป และการติดตามผล
ก. การวิเคราะหสถานภาพ
หมายถึง การวิเคราะหผูฟง และวาระโอกาสในการบรรยายสรุป การพิจารณากําหนดความ
มุงหมาย การตรวจสอบสิ่งอํานวยความสะพวกในการบรรยาย และการกําหนดเวลาในการเตรียมงาน
(อนุผนวก ๑ รายการตรวจสอบการบรรยายสรุป)
๑) ผูฟง
ก) ลักษณะของโอกาสและคุณลักษณะของผูฟง มีขอพิจารณาดังนี้
(๑) ใครที่มาฟงการบรรยายสรุป และทําไม
(๒) ผูฟงมีความรูในเรื่องที่จะบรรยายสรุปมากนอยเพียงใด
(๓) ผูฟงมีความรูในเรื่องที่จะบรรยายสรุปมากนอยเพียงใด
(๔) ผูฟงตองการอะไรจากผูบรรยายสรุป
ข) กอนการบรรยายสรุปแตละคราวในครั้งแรก ผูบรรยายสรุปควรสอบถามถึงความ
ตองการของเจาหนาที่โดยเฉพาะที่เขารับฟงการบรรยายสรุป
๒) ความมุงหมาย
ผูบรรยายสรุปตองเขาใจความมุงหมายของการบรรยายสรุป ซึ่งตองกระทําเปนตนวา
ตนจะตองเสนอขอเท็จจริงหรือใหขอเสนอแนะ ความมุงหมายนีเ้ ปนตัวกําหนดลักษณะของการบรรยายสรุป
๓) เวลาที่กําหนดให
๒๒๑
เวลาที่กําหนดใหสําหรับกรรบรรยายสรุปคราวหนึ่ง ๆ จะใหทราบถึงแบบสิ่งอํานวยความ
สะดวกที่จะใชและงานเตรียมการที่ตองทํา ผูบรรยายสรุปตองทราบเวลาที่กําหนดใหโดยประมาณกอน
การเตรียมการบรรยายสรุป
๔) สิ่งอํานวยความสะดวก
ผูบรรยายสรุปตองพิจารณาสิง่ อํานวยความสะดวกที่มีอยู เชนถาการบรรยายสรุปทํา ณ
ที่สํานักงาน การใชยุทธภัณฑขนาดหนักยอมทําไมได ใหพิจารณาถึงเครื่องชวยฝกทางทัศนะ ชางวาดเขียน
และเวลาที่มีอยู ผูบรรยายสรุปตองทําแผนการบรรยายสรุปโดยละเอียดและตองมัน่ ใจวาถาใชผชู วยหลายคน
ตองรูวาตนจะทําอยางไรบาง
๕) การเตรียมงาน
การเตรียมงานตองทําตามกําหนดเวลาอยางรอบคอบ นายทหารผูบรรยายสรุปทุกคนควร
จัดทํา “รายการตรวจสอบ” (ดูตัวอยางใน อนุผนวก ๑ ของ ผนวกนี้) ผูบ รรยายสรุปตองทําประมาณการขั้นตน
เพื่อกําหนดเวลาสุดทายที่ตนตองทํางานแตละอยางใหแลวเสร็จ ผูบรรยายสรุปกําหนดเวลาเพือ่ ใชสิ่งอํานวย
ความสะดวกในเวลาซอม และขอรับทราบการติชม
ข. การเตรียมการบรรยายสรุป
การเตรียมการบรรยายสรุปจะแตกตางกันไปตามแบบ และความมุงหมายของการบรรยายสรุป
ผลจากการวิเคราะหในขั้นแรกจะเปนมูลฐานสําหรับการพิจารณากําหนดการเตรียมการ
ตอไปนี้เปนลําดับขั้นหลักในการเตรียมการบรรยายสรุป
๑) รวบรวมเอกสาร
๒) เขาใจและรูเรื่องราวอยางถองแท
๓) คัดเลือกหัวขอสําคัญ
๔) จัดลําดับหัวขอสําคัญตามเหตุผล
๕) หาขอมูลที่สนับสนุนความถูกตองของขอสําคัญ
๖) เลือกเครื่องชวยสอนทางทัศนะ
๗) เขียนคําบรรยายสรุป
๘) ซักซอมในรายละเอียด (ควรกระทําโดยใหผูที่มีความรอบรูสามารถติชมได)
ค. การดําเนินการบรรยายสรุป
ความสําเร็จของการบรรยายสรุปทางทหาร ขึ้นอยูก ับทาทางในการบรรยายความเชื่อมั่น
ในตัวเอง การทําตัวใหสบาย การบรรยายอยางทะมัดทะแมงดวยคําพูดทีฉ่ ะฉานและชัดถอยชัดคํา ซึ่งตองอาศัย
ความรอบรูอยางถองแทของเรื่องที่จะบรรยายจะชวยใหเกิดความเชื่อถือในตัวผูบรรยายสรุป ผูบรรยายสรุป
ควรทําตัวใหสบายแตไมทิ้งลักษณะทหาร ใชทาทางและการเคลื่อนไหวรางกายตามธรรมชาติ ไมควรทําตัว
แข็งทื่อ คําพูดของผูบรรยายควรเปนไปอยางกะทัดรัด ตรงเปาหมาย และถูกตอง ผูบรรยายควรไดระมัดระวัง
ในเรื่องตอไปนี้
๒๒๒
๑) ความมุงหมายหลัก คือ บรรยายใหตรงกับเรื่องที่ตองการ และตองมั่นใจวาผูฟงเขาใจอยาง
แจมแจง
๒) ควรกลาวนําหรือสรุปเพียงยอ ๆ เทานั้น
๓) ผูบรรยายสรุปตองใชเหตุผลในการเสนอขอสรุป และขอเสนอแนะ
๔) ผูบรรยายสรุปตองคาดคะเน และเตรียมตัวสําหรับการถูกซักถาม หรือตอบคําถาม ณ
จุดใดในเวลาบรรยายสรุปก็ได หากมีการซักถามเกิดขึ้นผูบรรยายสรุปตองตอบคําถามนั้น กอนทีจ่ ะดําเนินการ
บรรยายสรุปตอไป หรือแจงใหทราบวาคําถามนั้นตนจะตอบในตอนทายของการบรรยายสรุปในขณะเดียวกัน
ผูบรรยายไมควรยอมใหคําถามตาง ๆ ทําใหตนเขวไปจากลําดับในการดําเนินการบรรยายตามทีว่ างแผนไว
ถาคําถามนั้นจะตองตอบในตอนทายของการบรรยายสรุป ผูบรรยายตองนําคําถามนั้นมากลาวซ้ําและอางถึง
โดยเฉพาะเรื่องราวที่จะกลาวถึงนั้นดวย ผูบรรยายตองเตรียมตัวที่จะสนับสนุนสวนใดสวนหนึ่งของการ
บรรยายสรุปของตนโดยใหคาํ อธิบาย กอนการดําเนินการบรรยายสรุป ผูบรรยายควรไดคิดถึงคําถามตาง ๆ
ที่อาจจะมีขึ้นไดและเตรียมหาคําตอบไวกอนแลว
ง. การติดตามผล
เมื่อการบรรยายสรุปสิ้นสุดลง ผูบรรยายตองจดทําบันทึกไวเปนหลักฐานบันทึกนี้ควรเปน
บันทึกยอ ๆ เกี่ยวกับเรื่อง วัน เวลา และสถานที่ที่ทําการบรรยายสรุป ตลอดจน ยศ นาม และตําแหนงของ
ผูเขาฟง เรื่องที่บรรยายสรุปนั้นอาจบันทึกในรูปที่สั้นกะทัดรัด อยางไรก็ตาม อาจไมตองบันทึกคําบรรยายไว
ก็ไดแลวแตการปฏิบัติของหนวย ขอเสนอ และคําอนุมัติโดยมีการแกไขใหบนั ทึกไว ตลอดจนคําชี้แจงหรือ
คําสั่งการใด ๆ ที่เปนผลอันเกิดจากการบรรยายสรุปนีก้ ็ใหบนั ทึกไวดวย และใหบนั ทึกวาใครจะเปนผูปฏิบัติ
เมื่อมีขอสงสัยในเจตนารมณผูตกลงใจ ผูรางบันทึกควรสงรางนั้นใหผูตกลงใจตรวจแกกอนที่จะจัดทําฉบับ
ตัวจริง บันทึกนี้จะจายไปใหแผนกอํานวยการ หรือหนวยงานซึ่งตองปฏิบัติตามขอตกลงใจ หรือตองปฏิบัติ
ตามคําชี้แจงทีม่ ีอยูในการบรรยายสรุป หรือหนวยงานซึ่งการปฏิบัติ หรือแผนตาง ๆ อาจไดรับผลกระทบจาก
ขอตกลงใจนัน้
๒๒๓
ตอนที่ ๒
การประชุม

ข – ๗ กลาวทั่วไป
ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการมักจะตองเขารวมในการประชุมอยูเสมอ ๆ อยางหลีกเลี่ยงมิได
ดวยเหตุนี้ ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการจําเปนตองมีความรอบรูเกี่ยวกับเทคนิคของการดําเนินการ และ
การเขารวมประชุมอยางละเอียด บอยครั้งที่สามารถใชการประชุมเปนวิธีติดตอประสานงานแทนการ
เยี่ยมเยียน หรือติดตอทางเอกสารเนื่องจาก
• เมื่อมีเวลาจํากัด การประชุมสามารถทําใหไดผลเร็วและดีกวาการเยีย่ มเยียนหรือติดตอทาง
เอกสาร ระหวางกองบัญชาการที่แยกและมีระยะหางไกลจากกัน
• การประชุมจะทําใหเกิดการประสานงานไดแนนแฟนขึ้นเนื่องขากขอมูลเท็จจริงตาง ๆ และ
ผูเชี่ยวชาญที่ตอ งตีความขอมูลขอเท็จจริงเหลานี้จะอยูด วยกันพรอมหนาในเวลาเดียวกัน ปกติแลวจะสามารถ
ไกลเกลี่ยขอขัดแยงสวนใหญได และสามารถชี้แจงใหทุกหนวยงานที่เขารวมประชุมเขาใจระเบียบปฏิบัติได
อยางสมบูรณถองแท
• เปนวิธีการทํางานที่ดีที่สุดภายในเวลาที่มอี ยู ที่จะใหไดระเบียบปฏิบตั ิ ซึ่งจะทําใหเกิดความ
รวมมือกันอยางสมบูรณระหวางเจาหนาที่/หนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
การประชุมของผูบังคับบัญชา เปนการพบปะของผูบังคับบัญชาตาง ๆ (หรือผูแทนของ
ผูบังคับบัญชา) การประชุมของฝายอํานวยการเปนการพบปะของนายทหารฝายอํานวยการตาง ๆ ตามธรรมดา
แลวเปนนายทหารฝายอํานวยการหลัก (หรือผูแทนของนายทหารฝายอํานวยการนั้นๆ) ไมวาจะเปน
กองบัญชาการแหงเดียวหรือกองบัญชาการหลาย ๆ แหง สวนอื่น ๆ ของฝายอํานวยการอาจเขารวมในการ
ประชุมของผูบังคับบัญชา หรือการประชุมของฝายอํานวยการไดตามความเหมาะสม
ข – ๘ ความมุงหมายของการประชุม
การประชุมจัดใหมีขึ้นเพื่อความมุงหมายโดยเฉพาะอยาง ไดแก การพิจารณากําหนดและการ
ประเมินคาขอเท็จจริงตาง ๆ การแลกเปลีย่ นขาวสารและขอคิดเห็น การประสานการปฏิบัติงาน รวมทั้งการ
บรรลุถึงขอตกลงใจที่อาจทําไดดีที่สุด หรือบรรลุถึงขอตกลงใจในเรื่องเฉพาะอยาง การแกปญหา การกําหนด
นโยบาย และการใหคําชี้แจงหรือคําแนะนํา

ข – ๙ แบบของการประชุม
แบบของการประชุม ซึ่งผูบังคับบัญชา และนายทหารฝายอํานวยการ มักมีสวนเขารวมดวยเสมอ
กลาวไวขางนี้ ผูที่เขารวมยอมแตกตางกันไปตามความมุงหมายของการประชุม และมีผูแทนของหนวยงาน
ที่เกี่ยวของทั้งสิ้นเขารวมดวย
ก. การประชุมของผูบังคับบัญชา
๒๒๔
ข. การประชุมของฝายอํานวยการ
ค. การประชุมวางแผน
ง. การประชุมการฝก
จ. การประชุมของคณะกรรมการ
ฉ. การประชุมสาภาษณ
ช. การประชุมทีม่ ีความมุงหมายหลาย ๆ อยางที่เกี่ยวของกับที่กลาวมาแลวขางตนนี้มากกวา
หนึ่งแบบ
ข – ๑๐ ขอพิจารณาที่มีอิทธิพลตอการเรียกประชุม
กอนการตกลงใจที่จะทําการเรียกประชุม ควรพิจารณาคําถามดังตอไปนี้
ก. วัตถุกระสงคประสงคของการประชุมคืออะไร
ข. หากใชวิธีการอื่น จะสามารถบรรลุวัตถุประสงคอยางไดผลเทาเทียมกัน หรือมากกวาการ
ประชุมหรือไม
ค. การประชุมครั้งนี้จะบรรลุถึงความมุงหมายขั้นต่ําที่ตั้งไวหรือไม
ง. บรรดาขอเท็จจริงที่มีอยูในปจจุบัน ซึง่ จะนํามาเปนหลักฐานอางอิงเพื่อนําไปสูความสําเร็จ
ในการประชุม มีอยูพรอมมูลหรือไม
จ. เวลาเปนสิ่งสําคัญเพียงใด ถาใชการโตตอบทางเอกสาร หรือการเยีย่ มเยียน ซึ่งจะทําใหเสีย
เวลานานเกินไปที่จะไดขอตกลงที่ตองการหรือไม
ฉ. การประชุมจะประหยัดเวลาไดเทาใด
ช. ผูเขารวมประชุมที่เหมาะสมมีอยูหรือไม
ซ. สามารถหาสถานที่ที่สมควร พรอมดวยสิ่งอํานวยความสะดวกที่เหมาะสมไดหรือไม
ด. ขอบเขต หวงเวลา และวาระการประชุมทีก่ ําหนดขึ้น เหมาะสมหรือไม
ต. หัวขอในการประชุมมีความกระจางชัดหรือไม
ถ. สามารถจัดเตรียมการประชุมในเวลาที่กําหนดไดหรือไม

ข – ๑๑ การเตรียมการเพื่อการประชุม
เมื่อมีการตกลงใจเรียกประชุม ฝายอํานวยการก็จะจัดทํารายการตรวจสอบการวางแผนการประชุม
รายการตรวจสอบนี้ชวยใหผูวางแผนการประชุมมั่นใจวา ตนเขาใจความมุงหมายของการประชุมอยางถองแท
พิจารณาบุคคลที่เขารวมประชุมทั้งหมดรวมถึงการวิเคราะหคุณลักษณะของกลุมผูเขารวมประชุม ซึ่งอาจ
สงผลสะทอนจากการรวมกลุมนั้น ๆ จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกและอุปกรณตาง ๆ อยางเหมาะสมและ
มีแผนตาง ๆ สําหรับการเตรียมการ และการรายงานหลังการประชุม
๒๒๕
ข – ๑๒ การดําเนินการประชุม
การดําเนินการประชุมยอมแตกตางกันไปตามความมุงหมาย อํานาจหนาที่ของประธานในที่ประชุม
และระเบียบวาระการประชุม ถาความมุงหมายของการประชุมคือการแกปญหา ประธานในทีป่ ระชุมชี้แจง
ปญหาและนํากลุมในการประชุม ใหทราบถึงขอเท็จจริงหรือสมมุติฐานตาง ๆ และทําการอนุมานเรื่องที่อาจมี
อิทธิพลตอการแกปญหา ประธานควรใหองคประชุมเสนอหนทางแกปญหาหลาย ๆ หนทาง โดยการ
สนับสนุนใหเกิดความคิดโดยเสรี และหลีกเลี่ยงการวิเคราะหเชิงตําหนิ หรือการเปรียบเทียบเมื่อองคประชุม
เสนอหนทางแกปญหาตาง ๆ แลว ประธานควรใหทปี่ ระชุมวิเคราะหเชิงตําแหนง และประเมินหนทาง
การแกปญหาในเรื่องที่สําคัญ ๆ เพื่อทําใหองคประชุมบรรลุถึงหนทางแกปญหาที่ยอมรับไดเพียงประการเดียว
ผูเขารวมประชุมอาจตองมีสวนรวมในการปฏิบัติงานตามผลที่ไดจากคําแกปญหานั้น ๆ ประธานควรมอบ
ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานดังกลาวตามอํานาจหนาที่ของตนแลวก็ดําเนินการประชุมระเบียบวาระ
ตอ ๆ ไป
เมื่อไดรับมอบหมายเขาเปนตัวแทนของหนวยทีเ่ ขารวมประชุม ไมวา ความมุงหมายจะเปนอยางไร
ความสําเร็จของการดําเนินการประชุมขึ้นอยูกับการเตรียมการอยางละเอียด โดยผูเขารวมประชุมการยึดมัน่
ในระเบียบวาระการประชุม หลีกเลี่ยงการพูดนอกประเด็นและรวบรวมผลของการปฏิบัติที่ตองทําภายหลัง
การประชุมลงในแบบฟอรมที่นําไปใชได
ข – ๑๓ อํานาจหนาที่ของประธานในที่ประชุม
อํานาจหนาทีซ่ ึ่งประธานในที่ประชุมไดรบั มอบหมายนัน้ ยอมมีอิทธิพลตอระเบียบปฏิบัติที่จะตอง
ทําตามทั้งประธานในที่ประชุมและผูเขารวมประชุมอื่น ๆ เมื่อประธานในที่ประชุมไมมีอํานาจบังคับบัญชา
เหนือผูเขารวมประชุมจะตองกําหนดบรรดาขอตกลงใจ ขอตกลง หรือขอเสนอทั้งปวง โดยการเจรจาตอรอง
แลวเสนอไปยังผูที่มีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติ
ข – ๑๔ ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระการประชุม จัดทํา และแจกจายไปกอนการประชุม และเปนเครื่องมือหลักที่จะทําให
การประชุมที่จดั ขึ้นนั้นดําเนินไปสูจุดหมายรวมกัน แบบฟอรมงาย ๆ ของระเบียบวาระการประชุมคือ แบบ
บันทึกขอความที่เสนอตอผูเขารวมประชุมที่คาดไว โดยกําหนด วัน เวลา สถานที่ประชุม และรายการเรื่อง
ที่จะประชุม ระเบียบวาระการประชุมที่สมบูรณและจัดทําอยางรอบคอบ ประกอบดวย
ก. การกลาวถึงเรือ่ งแตละเรื่องที่จะนํามาพิจารณา ระบุขอขัดแยงเกี่ยวกับความคิดเห็นและจุดที่
ขอตกลงตองการซึ่งอาจเกิดขึน้
ข. เอกสารหรือขาวสารที่มีอยูทงั้ หมด ซึ่งอาจชวยผูเขาประชุมในการเตรียมตนเองกอนการเขา
ประชุม
ค. กําหนดตัวบุคคลซึ่งจะถูกขอรองใหเสนอขาวสารพิเศษในที่ประชุม
ง. คําแกปญหาทีจ่ ะเสนอใหผูเขารวมประชุมพิจารณา
ในการสรุปการประชุม จะตองจัดทําเปนบันทึกการดําเนินการการประชุม ซึ่งรวมถึงเรื่องที่ประชุม
หมูวัน เวลา และสถานที่ที่ประชุม ตลอดจน ยศ ชื่อ ตําแหนง ที่อยู และหมายเลขโทรศัพทของผูรวมประชุม
๒๒๖
ควรมีการบันทึกเนื้อหาของการประชุม รวมถึงขอตกลงใจและ/หรือขอตกลงตาง ๆ และผูที่มีหนาที่ปฏิบัติ
ตามแตละรายการ
๒๒๗
อนุผนวก ๑ (ประกอบผนวก ข)
รายการตรวจสอบการบรรยายสรุป

๑. การวิเคราะหสถานภาพ
ก. ผูฟง
๑) จํานวนเทาใด
๒) ประเภท
ก) ผูฟงเปนประเภทใดบาง
ข) ผูฟงเปนเหลาเดียวกันทั้งหมดหรือไม
ค) หรือรวมกันหลายเหลา มีพลเรือนหรือชาวตางชาติรวมดวยหรือไม
ง) มีนายทหารชัน้ ผูใหญเขาฟงเทาใด
จ) ผูฟงมีตําแหนงอะไร
ฉ) ผูฟงบรรจุอยูที่ใด
ช) ผูฟงมีพื้นความรูเกี่ยวกับเรื่องที่จะบรรยายมากนอยเพียงใด
ซ) ผูฟงเปนผูมีความรูทั่ว ๆ ไป หรือเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาใดสาขาหนึ่ง
ด) ผูฟงมีความในใจเรื่องใด
ต) ผูฟงชอบอะไร
ถ) คาดวาผูฟงจะมีปฏิกิริยาอยางไรตอการบรรยายสรุป
ข. ความมุงหมายและแบบ
๑) การบรรยายสรุปขาวสาร (แจงขาวสารใหทราบ)
๒) การบรรยายสรุปขอตกลงใจ (เพื่อใหไดขอตกลงใจ)
๓) การบรรยายสรุปของฝายอํานวยการ (เพื่อแลกเปลี่ยนขาวสาร)
๔) การบรรยายสรุปภารกิจ (เพือ่ ทบทวนรายละเอียดที่สําคัญ ๆ)
ค. เรื่อง
๑) เรื่องที่จะบรรยายโดยเฉพาะคืออะไร
๒) ตองการใหครอบคลุมเพียงใด
๓) มีเวลาเทาใด
ง. สิ่งอํานวยความสะดวก
๑) การบรรยายสรุปจะกระทําทีใ่ ด
๒) การจัดสถานทีจ่ ะกระทําอยางไร
๓) จะใชอะไรเปนเครื่องชวยฝกทางทัศนะ
๔) มีขอขัดของอะไรบาง
๕) มีวิธีการแกไขขอขัดของอยางไร
๒๒๘
๒. ลําดับขัน้ ในการเตรียมงาน
ก. การวิเคราะหสถานการณอยางสมบูรณ
ข. การทําโครงเรือ่ งในขัน้ ตน
ค. การพิจารณาความตองการเครื่องชวยฝก ผูช วย และผูบนั ทึก
ง. การเขียนหรือการยกรางใหมหรือทั้งสองอยาง
จ. กําหนดเวลาซอม (สิ่งอํานวยความสะดวกและการวิจารณ)
ฉ. การเตรียมตรวจสอบขั้นสุดทายของเขาหนาที่ผูรับผิดชอบ

๓. การเตรียมการบรรยายสรุป
ก. การรวบรวมเอกสาร
๑) การคนควา
๒) ทําความเขาใจตัวเรื่อง
๓) รวบรวมความคิดเห็นและขอเท็จจริง
ข. การทํารางฉบับแรก
๑) กลาวถึงปญหา (ถาจําเปน)
๒) แยกหัวขอสําคัญ (ขอเท็จจริง)
๓) เลือกหนทางปฏิบัติ
๔) ยกขอดีขอเสีย วิเคราะหและเปรียบเทียบ
๕) พิจารณากําหนดขอยุตแิ ละขอเสนอ
๖) จัดทํารางโครงเรื่อง
๗) จัดทําเครื่องชวยฝกทางทัศนะ
๘) บรรจุเรื่องราวตามความเหมาะสม
๙) ตรวจสอบเจาหนาที่ที่เห็นสมควร
ค. ตรวจสอบและพิมพรางฉบับแรก
๑) ตรวจสอบวาขอเท็จจริงตางๆ เปนสิ่งสําคัญและจําเปน
๒) ตองมีขอเท็จจริงที่จําเปนทั้งสิ้น
๓) ตองมีคําตอบสําคัญคําถามที่คาดวาจะมี
๔) ขัดเกลาเอกสารนั้น
ง. แผนการใชเครือ่ งชวยฝกทางทัศนะ
๑) ตรวจสอบความงาย - อานเขาใจงาย
๒) ปรับปรุงวิธีใช
๒๒๙
จ. การฝกซอม
๑) การซอม (พรอมกับผูชวยและเครื่องชวยฝกทางทัศนะ)
๒) ขัดเกลา
๓) แยกหัวขอสําคัญ ๆ
๔) ทําหัวขอเตือนความจําเปน
๕) ปรับปรุงแกไข
๖) ใชถอยคําที่เหมาะสม

๔. การดําเนินการบรรยายสรุป
ก. การวางทา
๑) ลักษณะทหาร
๒) เคลื่อนไหวพอเหมาะ
๓) ตามองผูฟง
๔) แสดงทาทีพอควร
๕) กิริยามารยาทเรียบรอย
ข. เสียง
๑) ระดับเสียง
๒) ความดัง
๓) ความเร็ว
๔) เสียงสูงต่ํา
๕) การออกเสียง
ค. การวางตัว
๑) กระตือรือรน (ลักษณะทหาร)
๒) เต็มอกเต็มใจ
๓) อารมณขัน
๔) มีความเชื่อมั่น
๕) ตอบคําถาม

๕. การติดตามผล
ก. ตองมั่นใจวามีความเขาใจ
ข. บันทึกขอตกลงใจ
ค. แจงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบ
------------------------------
๒๓๐
อนุผนวก ๒ (ประกอบผนวก ข)
แบบรายงานหรือบันทึกการประชุม

รายงาน (บันทึก) การประชุม..............................


ครั้งที่.........
เมื่อ................
ณ .................
ผูมาประชุม .........................................
........................................
ผูไมมาประชุม .......................................
.......................................
เริ่มประชุมเวลา ............
เรื่องประชุม ๑. ..................................
๒. .................................
๓. .................................
เลิกประชุมเวลา ..............

ยศ ชื่อ (ลายเซ็น)
(ชื่อตัวพิมพ)
ผูจดรายงาน (บันทึก) การประชุม
ตรวจแลว แจกจายได
ลงชื่อ........................ประธาน (ลายเซ็น)
(ตัวพิมพ)
(ตําแหนง).................
วัน.......เดือน............พ.ศ. .......
๒๓๑
(หนาเจตนาเวนวาง)

(หนาเจตนาเวนวาง)
๒๓๒
ผนวก ค
การวิเคราะหพนื้ ที่ปฏิบัติการ
(แบบฟอรมและตัวอยาง)

ในขอ ๑๕ ของบทที่ ๕ กลาวถึงคําอธิบายโดยทัว่ ๆ ไปของการวิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการ รวมทั้งขาวสาร


ที่เกี่ยวกับการจัดทําและการเสนอการวิเคราะหนี้ ตัวอยางที่ ค – ๑ แสดงแบบฟอรมสําหรับการวิเคราะหพื้นที่
ปฏิบัติการ รวมทั้งคําอธิบายเรื่องราวของแตละสวนของแบบฟอรม ตัวอยางที่ ค – ๒ เปนตัวอยางของการ
วิเคราะหพื้นทีป่ ฏิบัติการในระดับกองพล
๒๓๓
ตัวอยางที่ ค – ๑ แบบฟอรมการวิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการ
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน เวลา
หมายเลขอางสาสน (๑)

วิเคราะหพื้นที่ปฏิบตั ิการที่.....

อางถึง : แผนที่ แผนผัง หรือเอกสารอื่นใดที่เกี่ยวของ (๒)

๑. ความมุงหมาย และขอจํากัด
ก. ความมุงหมาย กลาวถึงขอบเขตบริเวณพืน้ ที่กําลังศึกษาพิจารณาวิเคราะหอยู
ข. ภารกิจ กลาวถึงภารกิจของหนวยและขอพิจารณาอืน่ ๆ ซึ่งเปนเครื่องจํากัดในการใช
เอกสารรายงานนี้ (เชน ขอจํากัดในเรื่องเวลา) แผนการปฏิบัติของผูบังคับบัญชาและขีดความสามารถของฝาย
ตรงขาม
๒. ลักษณะทั่วไปของพื้นที่
ขอนี้ลงรายการขอเท็จจริงตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับความมุงหมายและขอพิจารณา ซึ่งเปนเครื่องจํากัด
ในการใชเอกสารรายงานนี้ เพื่อใชเปนมูลฐานของขอตอ ๆ ไป
ก. สภาพอากาศประจําถิ่นหรือลมฟาอากาศ ลงรายการหรืออางถึงเอกสารอื่น ๆ ระหวางหวงเวลา
ที่พิจารณา อันประกอบดวยสภาพทางอุตนุ ิยมวิทยา ซึ่งไดแก ฝน หรือหิมะ หมอก เมฆ อุณหภูมิ ความชื้น
ขอมูลแสงสวาง (รวมทั้งขางขึ้นขางแรม พระจันทรขึ้นและพระจันทรตก BMNT BMCT EECT EENT) และ
ขอมูลอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร
ข. ภูมิประเทศ ใหใชแผนที่หรือแผนบริวาร (ระบายสีพิเศษ) ใหมากที่สุด เพื่อแสดงภาพของ
ลักษณะภูมิประเทศตามขอยอยขางลางนี้ และแสดงผลอันเกิดจากสภาพลมฟาอากาศที่ไดพยากรณไวในขอ
ขางบนตอภูมปิ ระเทศดวย ในแตละลักษณะภูมิประเทศใหกลาวถึงขอเท็จจริงตาง ๆ ซึ่งจะเปนเครือ่ ง

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๓๔
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่.....หนวย)

ชวยในการพิจารณากําหนดผลที่จะบังเกิดจากลักษณะภูมิประเทศนั้นเมื่อมีการใชอาวุธนิวเคลียร สารเคมี และ


ชีวะของฝายตรงขาม และเครื่องมือและยุทธภัณฑที่สําคัญ ๆ ซึ่งใชสนับสนุนหนทางปฏิบัติ (ในขอยอยนีจ้ ะไม
กลาวถึง ผลกระทบที่มีตอหนทางปฏิบตั ิของฝายเราหรือฝายตรงขาม)
๑) พืชพันธุไม พืน้ ที่เปนปา กลาวถึงบริเวณทีอ่ ยูของตนไม ขนาดเสนผาศูนยกลางของลําตน
ความหนาแนน กิ่งกานสาขาที่ปกคลุมและตนไมเตี้ย ๆ ที่ขึ้นตามพื้นดินใตตน ไมใหญ ชนิดของพืชพันธุตาม
ธรรมชาติและที่ปลูกขึ้นในพืน้ ที่ที่ไมใชปา
๒) ลักษณะผิวพืน้ ดิน ชนิด ชัน้ ของมวลดิน ใตมวลดินในพื้นที่และความสามารถในการรับ
น้ําหนักจารจรของมวลดิน สวนประกอบของมวลดินอันเปนผลตอการชักนํารังสี
๓) ลักษณะสิ่งปลูกสราง สิ่งปลูกสรางที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิประเทศซึ่ง
ไดแก ถนน ทางรถไฟ สะพาน อุโมงค เหมืองแรง เมือง ยานอุตสาหกรรม และปอมสนาม รวมทั้งประเภทและ
วัสดุของการกอสรางดวย
ค. ลักษณะอื่น ๆ ใหพิจารณาแยกเปนขอยอยในเมื่อเกีย่ วของ ไดแก สังคม การเมือง เศรษฐกิจ
ศาสนา จิตวิทยาและลักษณะอื่น ๆ อาจไดแก วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทรัพยากร การขนสง กําลังคน และ
อุทกวิทยา ในการพิจารณาแตละลักษณะเหลานี้ใหลงขอเท็จจริงทั้งสิ้นที่มีอยูในพื้นที่ซึ่งกําลังพิจารณา ซึ่งอาจ
มีอิทธิพลตอหนทางปฏิบัติของฝายเราและของฝายตรงขาม ขอบเขตในการกลาวถึงลักษณะเหลานี้
ยอมแตกตางกันไปตามภารกิจและทัศนะอืน่ ๆ ของสภาพสิ่งแวดลอมในการปฏิบัตคิ รั้งนั้น ๆ ลักษณะเหลานี้
จะมีอิทธิพลตอการตกลงใจของผูบังคับบัญชาทุกคนพอสมควร
๓. ลักษณะพื้นที่ทางทหาร
ในขอนี้ใหวเิ คราะหขอเท็จจริงตามที่กลาวมาแลวในขอกอนเพื่อพิจารณาอิทธิพลตอปจจัยตาง ๆ ที่มี
ผลกระทบตอการปฏิบัติทางยุทธวิธีและทางการชวยรบ ซึ่งจะพิจารณาตอไปในการกําหนดหนทางปฏิบัติ
โดยเฉพาะขึ้น การวิเคราะหนี้แบงออกเปนสองสวนคือ แงคิดในทางยุทธวิธี และแงคิดในทางการชวยรบ
ขอบเขตของการวิเคราะหของแตละขอของทั้งสองสวนนีข้ ึ้นอยูกับ ภารกิจ เครื่องมือที่มีอยูทีอํานวยใหบรรลุ
ภารกิจ และเครื่องมือของฝายตรงขาม ซึ่งอาจสามารถใชขัดขวางกันการบรรลุภารกิจของฝายเรา ในการ
พิจารณาปจจัยของแนละแงคดิ ใหกลาวถึงผลที่บังเกิดจากการยิงดวยอาวุธนิวเคลียร สารเคมีและชีวะ และ
เครื่องมือและยุทธภัณฑที่สําคัญที่จะใชในการดําเนินการตามหนทางปฏิบัติ
------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๓๕
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่.....หนวย)

ก. ลักษณะทางยุทธวิธี
๑) การตรวจการณและการยิง แสดงดวยเรขาหรืออธิบายถึงอิทธิพลของลมฟาอากาศ
ที่สูงต่ํา พืชพันธุไม ลักษณะผิวพื้นดิน สิ่งปลูกสรางและลักษณะอื่น ๆ ในทํานองนี้กลาวถึงผลที่เกิดตอ
เครื่องมือเฝาตรวจ ยุทธภัณฑประเภทตองใชการเล็งตรงและเครื่องมือการยิง ผลกระทบกระเทือนที่มีตอการยิง
ไดแก ผลที่เกิดแกเครื่องสง พื้นยิง และประสิทธิผลในการยิง การตรวจการณและการยิงมีสว นเกี่ยวของกับ
หนวยชวยรบเพราะวามีอิทธิพลตอขอพิจารณาในการพิทักษพื้นที่สว นหลัง
๒) การกําบังและซอนพราง แสดงดวยเรขาหรืออธิบายถึงอิทธิพลของลมฟาอากาศ ที่สูงต่าํ
พืชพันธุไม และสิ่งปลูกสราง รวมถึงผลที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีการยิงดวยอาวุธนิวเคลียร เครื่องมือเฝาตรวจ และ
สารเคมีชีวะ ตามความเหมาะสม การพิจารณาในขอนี้เนนถึงการปองกันของกําลังฝายเราและกําลังฝาย
ตรงขาม และกลาวถึงผลที่จะเกิดตอการปฏิบัติการอื่น ๆ ดวย เชน การใชกองโจรหรือกําลังนอกแบบ
การแทรกซึม และการตอตานการแทรกซึม การกําบังและการลวงทางยุทธวิธี การตอตานขาวกรอง การใช
ยานเกราะ และการใชปน ใหญ การพิจารณานีย้ ังตองเนนถึงความตองการในการจัดหาสถานที่สําหรับการ
ปฏิบัติการชวยรบดวย
๓) เครื่องกีดขวาง แสดงเปนเรขาหรืออธิบายถึงเครื่องกีดขวางตามธรรมชาติและที่สรางขึ้น
ทั้งหมดลิทธิพลของที่สูงต่ํา ลมฟาอากาศ พืชพันธุไม ลักษณะผิวพื้นดินและสิ่งปลูกสราง รวมถึงผลกระทบ
ที่เกิดขึ้นตอการยิงดวยอาวุธนิวเคลียรสารเคมีและชีวะตามความเหมาะสม ตลอดจนความสะดวกในการจราจร
และเสนทางทีจ่ ะเขาถึงไวดวย หากเห็นวามีผลกระทบที่สําคัญใหกลาวถึงผลของเครื่องกีดขวางแตละเครื่อง
ที่จะมีตอหนทางปฏิบัติที่นาจะเปนไปไดของฝายเราและฝายตรงขาม กลาวถึงเครื่องกีดขวางและความสะดวก
ในการจราจรที่มีผลกระทบตอการกําหนดที่ตั้งสําหรับหนวยชวยรบดวย
๔) ภูมิประเทศสําคัญ จากการวิเคราะหการตรวจการณและการยิง การกําบังและซอนพราง
เครื่องกีดขวาง และภารกิจ ทําการเลือกภูมิประเทศสําคัญ ใหพิจารณาถึงบริเวณใดหรือพื้นที่ใดก็ตาม ถาหาก
ยึดไวได ครอบครองไวไดหรือควบรุมไวไดแลว จะกอใหเกิดความไดเปรียบเหนือกําลังอีกฝายหนึ่งอยางเห็น
ไดชัด กลาวการพิจารณาอยางสั้น ๆ ถึงอิทธิพลของภูมิประเทศสําคัญแตละแหงการพิจารณาจะเนนถึงการ
พัฒนาหนทางปฏิบัติทั้งฝายเราและฝายตรงขาม อาจจําเปนตองทบทวนแกไขใหมตามขอตกลงใจของ
ผูบังคับบัญชา และตามสถานการณที่เปนอยู ขอพิจารณานี้อาจเวนเสียไดในเมื่อฝายตรงขามไมมีขีด
ความสามารถในการเขายึด หรือเขาควบคุมลักษณะภูมิประเทศซึ่งจะมีผลกระทบตอการบรรลุภารกิจได
------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๓๖
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่.....หนวย)

๕) แนวทางเคลื่อนที่ การกําหนดแนวทางเคลื่อนที่ที่อาจเปนไปได กระทําโดยอาศัยการ


วิเคราะหในแงคิดทางยุทธวิธที ั้งสิ้นที่ไดทํามากอนแลว การกําหนดแนวทางเคลื่อนที่จะไมพจิ ารณาถึงการวาง
กําลังของฝายตรงขาม แนวทางเคลื่อนทีแ่ นวหนึ่ง ๆ นั้นตองมีความสะดวกในการเคลื่อนยาย และมีพนื้ ที่
สําหรับหนวยขนาดใหญ ซึ่งสามารถทําใหเกิดกระทบทีส่ ําคัญตอการยุทธในคราวนัน้ เมื่อกําลังฝายใดฝายหนึ่ง
หรือทั้งสองฝายมีจํานวนเครือ่ งบินอยางเพียงพอ ที่สําหรับการวางกําลังและยุทโธปกรณขางหนาพื้นที่การรบ
และมีผลกระทบที่สําคัญตอการบรรลุภารกิจ อาจจะกําหนดแนวทางเคลื่อนที่ทางอากาศไวดวย ถาลักษณะ
ภูมิประเทศและสภาพลมฟาอากาศไมมีอิทธิพลอยางสําคัญตอการเสนทางบิน จะไมกําหนดแนวทางเคลื่อนที่
ทางอากาศตาง ๆ ใหลงแนวทางเคลื่อนทีข่ องฝายตรงขามกอนแลวลงแนวทางเคลื่อนที่ของฝายเราที่เขาไปยัง
พื้นที่การรบของฝายตรงขาม เมื่อกําลังของฝายมิไดประชิดกัน หรือเมื่อเพียงสวนระวังปองกันปะทะกันใหลง
แนวทางเคลื่อนที่เขาสูพื้นทีก่ ารรบของทั้งสองฝาย ในการลงแนวทางเคลื่อนที่แตละแนวใหอธิบายสั้น ๆ
เปนมูลฐานในการพิจารณาหนทางปฏิบัติที่นาจะกระทําของแตละฝาย สําหรับหนวยชวยรบการกลาวพิจารณา
ถึงแนวทางเคลื่อนที่ยอมอาศัยความตองการในการปฏิบัติการพิทักษพนื้ ที่สวนหลังเปนมูลฐาน
ข. ลักษณะทางการชวยรบ วิเคราะหขอเท็จจริงที่กลาวไวในขอ ๒ และขอสรุปยอยที่ไดมาจาก
แงคิดทางยุทธวิธี (ขอ ก.ขางบน) ในการพิจารณาถึงเรื่องตาง ๆ ที่กลาวไวขางลางนี้ ใหแยกพิจารณาขอเท็จจริง
และขอสรุปซึ่งมีอิทธิพลอยางสูงตอการเลือกหนทางปฏิบัติของฝายเรา หนทางปฏิบัติของฝายตรงขามหรือ
หนทางปฏิบัตทิ ี่จําเปนตองมีการปฏิบัติพิเศษเพื่อใหมั่นใจวามีประสิทธิผลในการรบและมีการสนับสนุนอยาง
เพียงพอ ใหเวนการปฏิบัติใด ๆ ซึ่งมิไดประสบผลกระทบที่สําคัญ
๑) การกําลังพล พิจารณาเรื่องที่มีความสําคัญเปนพิเศษในเมื่อสภาพลมฟาอากาศ และ
ลักษณะภูมิประเทศทุรกันดาร เมื่อพื้นที่ปฏิบัติการมีประชาชนจํานวนมาก รวมทั้งมีกําลังแรงงานจํานวนมาก
หรือเมื่อมีสภาพทางการเมืองและสภาพทางเศรษฐกิจทีไ่ มมั่นคง
๒) การสงกําลังบํารุง พิจารณาเรื่องที่มีความสําคัญเปนพิเศษ เมื่อสภาพลมฟาอากาศและ
ลักษณะภูมิประเทศทุรกันดาร เมื่อพื้นที่ปฏิบัติการกอใหเกิดความตองการทางดานการสงกําลังบํารุงเพิ่มเติม
หรือพื้นที่นนั้ มีแหลงทรัพยากรที่มีคุณคาทางทหาร หรือเมื่อสภาพทางการเมืองและสภาพทางเศรษฐกิจ

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๓๗
------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่.....หนวย)

ไมมั่นคง จะตองกลาวครอบคลุมในรายละเอียดใหหนวยที่มีภารกิจในการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงแก
หนวยอื่น ซึ่งรวมถึงรายละเอียดของเสนหลักการสงกําลัง สิ่งอํานวยความสะดวกในการซอมบํารุง คลังเก็บ
สิ่งอุปกรณ และแหลงวัสดุในการกอสราง
๓) กิจการพลเรือน พิจารณาเรือ่ งที่มีความสําคัญ โดยเฉพาะตอหนวยทางยุทธวิธีเมื่อจํานวน
พลเรือนในพืน้ ที่ที่กอใหเกิดปญหาการควบคุมและจํากัดการใชอํานาจการยิง ขอนี้จะตองมีครอบคลุม
รายละเอียดมากสําหรับหนวยที่มีหนาที่ความรับผิดชอบดานการปฏิบตั ิการกิจการพลเรือน
๔. ผลกระทบของพื้นที่ปฏิบัติการ
กลาวถึงขอสรุป โดยอาศัยขอเท็จจริงและขอมูลตาง ๆ ที่ไดจัดทําขึน้ ในตอนตน ขอสรุปจะกลาว
ในรูปของผลที่เกิดตอหนทางปฏิบัติโดยทั่วไป ที่ฝายเราและฝายตรงขามสามารถเลือกได ดังปรากฏตาม
รายการขางลางนี้
ก. ผลกระทบตอหนทางปฏิบัตขิ องฝายตรงขาม ซึ่งจะแสดงลําดับความสําคัญของหนทางปฏิบัติ
ที่ฝายตรงขามนาจะกระทําแตละหนทาง เชน การเขาตี การตั้งรับ การถอนตัว การใชกําลังทางอากาศ
ยานเกราะ อาวุธนิวเคลียร สารเคมีชีวะ และกองโจร จะตองใหคําชีแ้ จงประกอบแตละหนทางปฏิบัติ (ใหลง
แตละหนทางปฏิบัติเปนหัวขอยอย) เพื่ออธิบายวาลักษณะของพืน้ ที่ปฏิบัติ เกื้อกูลหรือไมเกื้อกูลตอการปฏิบัติ
ในแตละหนทางปฏิบัติ ในการปฏิบัตกิ ารเขาตีใหแสดงแนวทางเคลื่อนที่เขาสูที่หมายที่ดีที่สุด ในการ
ปฏิบัติการตั้งรับใหแสดงพื้นที่บริเวณตั้งรับที่ดีที่สุด และแนวทางเคลื่อนที่สูพื้นที่/บริเวณตั้งรับที่ดีที่สดุ
ข. ผลกระทบตอหนทางปฏิบัตขิ องฝายเรา กลาวพิจารณาเชนเดียวกับทีก่ ลาวไวในขอ ก. ขางบนนี้
โดยกลาวถึงหนทางปฏิบัติอยางกวาง ๆ ซึ่งจะทําใหบรรลุภารกิจเชนการเขาตี การตั้งรับ และการถอนตัว
(รวมทั้งการใชกําลังทางอากาศ ยานเกราะ อาวุธนิวเคลียร สารเคมี และกองโจร)
ตอบรับ :

ลงชื่อ.............
(..................)
(ผูบังคับหนวย) (๓)

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๓๘
----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่.....หนวย)

ผนวก :
การแจกจาย :

การรับรองสําเนา : (๔)

หมายเหตุ
(๑) ใหมีหมายเลขอางสาสนกํากับหากมีการแจกจายเอกสารนี้นอกกองบัญชาการ
(๒) การอางถึงแผนที่จะระบุประเทศ หมายเลขกํากับแผนที่มาตราสวนและชื่อหรือหมายเลข
ระวาง
(๓) ใหลงยศชื่อผูบ ังคับบัญชาหากแจกจายสําเนานอกกองบัญชาการ หากแจกจายภายใน
หนวยให สธ.๒ เปนผูลงนาม
(๔) ตองมีการรับรองสําเนาเอกสารหากาผูบังคับหนวยมิใชผลู งนามและมีการแจกจายสําเนา
นอกหนวย

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๓๙
ตัวอยางที่ ค – ๒ วิเคราะหพื้นที่ปฏิบตั ิการของกองพล
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
พล.ร.๒๐
ม.อูทอง (๗๕๙๓)
๒๙๑๙๐๐ ก.ค......
ขว.๒๐๒
วิเคราะหพื้นที่ปฏิบตั ิการที่ ๑

อางถึง : แผนที่พิเศษ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง ม.อูทอง

๑. ความมุงหมายและขอจํากัด
ก. ความมุงหมาย
เพื่อวิเคราะหพื้นที่ในเขตปฏิบัติการบริเวณ ม.อูทอง – อ.หนองสา – ม.รัตนานคร
ข. ภารกิจ
พล.ร.๒๐ เขาตีเพื่อยึด ม.อูท อง ตั้งแตบัดนี้ และเตรียมการเขาตีตอไปในทิศทาง อ.หนองสา –
ม.รันนานคร เพื่อเขายึด ม.รัตนานคร
๒. ลักษณะทั่วไปของพื้นที่
ก. สภาพอากาศประจําถิ่นและลมฟาอากาศ
๑) สภาพอากาศประจําถิ่น สรุป อากาศประจําถิ่นในเดือน ก.ค. และ ส.ค. (ผนวก ก)
๒) ลมฟาอากาศ รายงานการพยากรณลมฟาอากาศ ทน.๑ (ผนวก ข) ๓๐ ก.ค. – ๑ ส.ค.
ก) ฝน มีฝนเบาบางแผกระจายทั่วไปใน ๓๐ และ ๓๑ ก.ค. ใน ๑ – ๓ ส.ค....
ข) หมอก ใน ๑ – ๓ ส.ค. มีหมอกในตอนเชา ทําใหทัศนวิสัยจํากัดอยูในระยะ ๓๐๐ –
๖๐๐ หลา จนถึง ๐๙๐๐ และเมื่อ ๑๐๐๐ ทัศนวิสัยไมจํากัด
ค) อุณหภูมิ เฉลี่ยทั้งเดือน ๒๒ ฟ. (๕๘ – ๓๖ ฟ.)
ง. ลม พัดจากตะวันตกเฉียงเหนือ แลเตะวันตก ความเร็ว ๘ – ๑๒ ไมล/ชม.
จ. เมฆ ทองฟาโปรง
ฉ. ความกดดันอากาศ

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๐
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ช. ความชื้นสัมพัทธ
ซ. รายการแสงสวาง
วันที่ เริ่มแสงเงิน อ.ขึ้น อ.ตก สิ้นแสงเงิน จ.ขึ้น จ.ตก
๓๐ ก.ค. ๐๓๑๑ ๐๔๓๔ ๑๙๓๙ ๒๑๐๒ ๑๙๑๕ ๐๕๕๕
๓๑ ก.ค. ๐๓๑๒ ๐๔๓๕ ๑๙๓๗ ๒๑๐๐ ๑๙๕๕ ๐๖๓๕
๑ ส.ค. ๐๓๑๓ ๐๔๓๖ ๑๙๓๖ ๒๐๕๙ ๒๐๓๐ ๐๗๑๐
๒ ส.ค. ๐๓๑๕ ๐๔๓๗ ๑๙๓๕ ๒๐๕๗ ๒๑๑๐ ๐๗๕๐
๓ ส.ค. ๐๓๑๖ ๐๔๓๘ ๑๙๓๓ ๒๐๕๕ ๒๑๔๕ ๐๗๒๕

ข. ภูมิประเทศ
๑) ที่สูงต่ําและระบบทางน้ําไหล (แผนบริวารที่ ๑ และ ๓) แมน้ําสายที่ ๓ ไดแบงพื้นที่
ออกเปน ๒ สวน พื้นที่ทางทิศตะวันออกของลําน้ํามีแนวสันเนินใหญ ทอดจากทางทิศตะวันออกไปทิศ
ตะวันตก ในพืน้ ที่ระหวาง ม.อูทอง – อ.หนองสา ลําน้ําที่อยูทางทิศเหนือของสันเนินนี้โดยปกติไหลไปทางทิศ
เหนือ สวนลําน้ําที่อยูทางทิศใตสวนมากไหลไปทางทิศใต สําหรับพื้นที่ทางทิศตะวันตกของแมน้ําสายที่ ๓
มีสันเนินใหญทอดจากทางใต คือ ยอดเนิน ๓๔๐ ม. (๓๕๘๑) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ สันเนินที่อยู
ทางทิศตะวันออกเฉียงใต จะมีลักษณะลาดชันและลาดลงสูแมน้ําสาย ๓ สันเนินใหญอีกแหงหนึ่ง คือ พื้นที่สูง
ทางทิศเหนือของรัตนานคร ซึ่งทอดมาจากทางทิศเหนือ จากลักษณะรอยพับของสันเนินทําใหเกิดแมน้ําสาย
หลักในพื้นทีน่ ี้ก็คือ แมน้ําสาย ๓ ซึ่งโดยปกติตอนที่อยูทางเหนือของ อ.หนาองสา จะมีความลึก ๒ – ๓ ฟุต
และมีความกวางโดยเฉลี่ย ๖๕ ฟุต แมน้ําที่อยูทางตอนใตของทะเลสาบเล็ก ๆ ซึ่งเกิดจากเขื่อนกั้นแมน้ําสาย
๓ ที่ อ.หนองสานั้น จะมีความลึกประมาณ ๔ ฟุต อนึง่ เมื่อเขื่อนกัน้ น้ําถูกทําลายหรือเปดประตูน้ําบางสวน
แลว แมน้ําสาย ๓ ที่อยูทางตอนเหนือของ อ.หนองสา จะมีระดับน้ําสูงขึ้นจนยานลอไมสามารถจะขามได และ
ยานพาหนะใชสายพานก็ขามไดดว ยความลําบาก หวยสักตอนที่อยูระหวางหวยพี้กบั หนองยาง จะมีความลึก
๓ – ๔ ฟุต และมีความกวางโดยเฉลี่ย ๕๕ ฟุต ลําหวยอื่นๆ นอกจากหวยสักและหวยพี้แลวขามไดโดยงาย
๒) ลักษณะพืชพันธุไม (แผนบริวารที่ ๒) พืชพันธุธัญญาหารประกอบดวยตนขาวทีม่ ีอยูใน
ทุงนาขนาดเล็ก ๆ พื้นที่สวนและพืน้ ที่ปาตางๆ ในเดือน ส.ค. ขาวในนาสวนมากเก็บเกีย่ วแลว พื้นที่ซึ่งเปน
สวน สวนใหญอยูในบริเวณทางทิศใตของ อ.หนองสา บริเวณใกล บ.หลวง และบริเวณทางตอนใตของ
------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๑
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

รัตนานคร สําหรับพื้นที่ซึ่งเปนปานอน สวนใหญอยูใ นพื้นที่ทางทิศตะวันตกของแมน้ําสาย ๓ และในบริเวณ


ระหวาง บ.เพิม่ – บ.ตาด และบริเวณทางทิศใตของ บ.คํานอย สําหรับรั้วตนไมทึบซึ่งสวนมากกัน้ อยูรอบ ๆ
ทุงนาขนาดเล็กในพืน้ ที่จะมีความสูงตาง ๆ กัน ตั้งแต ๓ – ๗ ฟุต
๓) ลักษณะพื้นดิน (แผนบริวารที่ ๓) ลักษณะของพื้นดินโดยทั่วไปเปนดินหยาบกับดินหยาบ
ปานกลาง สําหรับผิวดินละเอียดจะปรากฏบริเวณที่ลมุ ตามลําน้ําสาย ๓ และลําธารตาง ๆ จึงไมเปน
เครื่องกีดขวางตามธรรมชาติที่ขัดขวางตอการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ ในเมื่อสภาพลมฟาอากาศไมมีฝน
แมวาจะเปดประตูน้ําและทําลายเขื่อนกั้นน้าํ ก็ตาม ผิวดินละเอียดซึ่งอยูทางตอนเหนือของ อ.หนองสา จะยัง
สามารถรับน้ําหนักจราจรไดตราบเทาที่ระดับน้ํายังไมลนฝง
๔) ลักษณะสิ่งปลูกสราง (แผนบริวารที่ ๔) ถนนสายหลัก ไดแก เสนทางหลวงระหวาง
ม.อูทอง อ.หนองสา ม.รัตนานคร จาก ม.อูทอง – อ.ผาหัก (๕๙๗๙) และระหวาง ม.อูทอง – อ.ทุงแก (๖๒๐๑)
มีเสนทางหลวงขวาง ๒ สาย สายหนึ่งผาน ม.รัตนานคร จากเหนือไปใต นอกจากนี้ยังมีถนนขั้นสองสายตาง ๆ
ทําการเชื่อมตอระหวางถนนายหลักเหลานี้ ในพื้นที่ยงั ปรากฏทางรถไฟขนาดมาตรฐานสายหนึ่งผาน อ.ทุงแก
ไปยัง ม.รัตนานคร บริเวณ ม.อูทอง และ ม.รัตนานคร มีพลเมืองประมาณ ๑๒,๐๐๐ และ ๔,๗๐๐ คน
ตามลําดับ หมูบานทั้งสิ้นเปนหมูบานขนาดเล็ก โรงเรียนสวนมากสรางดวยอิฐ สภาพถนนสายหลักจราจรได
๒ ทาง รับน้ําหนักได ๕ ตัน
ค. ลักษณะอื่น ๆ
๑) การเมือง (เวน)
๒) การสังคม
ก) พื้นที่อยูใ นสภาพชนบทเปนสวนมาก พลเมืองสวนใหญมีอาชีพทํานาหรือทําการคา
ขายจากผลิตผลทางการเกษตรบริเวณ ม.อูทอง เปนยานชุมชนหนาแทนแหงเดียวในพื้นที่นี้ หมูบ านตาง ๆ
มีพลเมืองอยูนอ ยมาก ที่สําคัญ ๆ ไดแก
ม.อูทอง ๑๒,๐๐๐ คน
ม.รัตนานคร ๔,๗๐๐ คน
อ.หนองสา ๔๕๐ คน

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๒
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

บริเวณ ม.อูทอง มีการจัดการปกครองคลายคลึงกับฝายเรา โดยบุคคลชั้นนําตาง ๆ


ทั้งในวงการปกครองและธุรกิจ รวมทั้งพลเมืองโดยทั่วไปมีใจโนมเอียงมาทางฝายเรา องคการตาง ๆ ในหมู
ประชาชนมีความรักชาติและเปนมิตรกับฝายเรา
๓) เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจในบริเวณ ม.อูทอง และพื้นที่บริเวณนี้ขึ้นอยูก ับการเกษตรกรรมเปนสวนใหญ
ตัวเมืองอูทองเองก็เปนตลาดการคาทางเกษตรกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมบางเล็กนอย อาหารที่สะสมไวมี
เพียงพอสําหรับบริโภคในทองถิ่น
๔) จิตวิทยา
สวนใหญของประชาชนในทองถิ่น เปนเกษตรกรมีความรูปานกลาง มีจิตใจรักความเสรี
และรักชาติ บุคคลชั้นนําในวงการปกครองมีความเฉลียวฉลาดรูจกั การผอนสั้นผอนยาว กลาวเปนสวนรวม
ราษฎรในพื้นที่ปฏิบัติการมีความนิยมในฝายเรา
๓. ลักษณะของพื้นที่ทางทหาร
ก. ลักษณะทางยุทธวิธี
๑) การตรวจการณและการยิง
ก) สภาพลมฟาอากาศ ใน ๓๐ และ ๓๑ ก.ค. ซึ่งมีฝนตกและกระจายอยูทั่วไปนั้น ๆ
จะจํากัดตอการตรวจการณภายในหวงระยะเวลาที่มีฝนตกเทานั้น ใน ๓ วันแรกของเดือน ส.ค. จะมีหมอก
ในตอนเชา จนถึง ๐๙๐๐ ซึ่งจะจํากัดการตรวจการณและการยิงที่มีการตรวจการณ นอกจากนี้แลวสภาพของ
ลมฟาอากาศเกื้อกูลตอการตรวจการณเปนอยางดี
ข) ที่สูงต่ํา ทางทิศตะวันออกของแมน้ําสาย ๓ แนวสันเนินระหวาง ม.อูทอง –
อ.หนองสา จะเขาเปนที่ตรวจการณทดี่ ีที่สุด นอกจากนัน้ สันเนินที่ทอดไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และทิศ
ตะวันตกเฉียงใตของ ม.อูทอง ก็จะใชเปนที่ตรวจการณไดดี บริเวณที่สงู ที่สุดทางทิศตะวันตกของแมน้ําสาย ๓
ก็คือ พื้นที่ทางทิศตะวันตกเฉียงใตของเสนทางหลวงที่เชื่อมตอระหวาง อ.หนองสา กับ ม.รัตนานคร บริเวณ
ที่อาจใชเปนทีต่ รวจการณเพิม่ เติมไดอีกก็คอื ที่สูงทางทิศตะวันออก และตะวันตกของ บ.เพิ่ม และเนิน ๑๐๔
บริเวณ บ.ตาล

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๓
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ค) พืชพันธุไมพนื้ ที่ซึ่งเปนปาในบริเวณทางทิศตะวันตกเฉียงใตของ บ.แพน (๖๓๙๒)


และปาทางทิศเหนือของถนนที่เชื่อมตอระหวาง อ.หนองสา กับ ม.รัตนานคร จะจํากัดตอการตรวจการณและ
การยิง สภาพรั้วตนไมที่มีอยูโดยทัว่ ไปในพื้นที่นี้ จะจํากัดตอการตรวจการณ และการยิงอาวุธกระสุนวิถีราบ
เปนอยางมาก ตลอดจนจะลดผลการตรวจการณของอาวุธกระสุนวิถีโคงอีกดวย พืน้ ที่สวนยอม จํากัดการ
ตรวจการณลงเชนกัน
ง) สิ่งปลูกสราง สิงปลูกสรางที่มีอยูในพื้นที่อาจใชเปนที่ตรวจการณไดเปนอยางดี
ดวยการอาศัยที่สูง เชน โบสถ เจดีย ตามหมูบานตาง ๆ อาคารโรงเรือนที่สรางดวยอิฐยอมเปนเครื่องจํากัด
การยิงของอาวุธกระสุนวิถีราบ
๒) การกําบังและซอนพราง
ก) ที่สูงต่ํา บริเวณเนินเขาและซอกเขาตาง ๆ ยอมใหการซอนพรางขากการตรวจการณ
ทางพื้นดินไดดี และใหการกําบังจากการยิงของอาวุธขนาดเล็กไดดีพอใช
ข) พืชพันธุไม สวนยอมใหการซอนพรางไดเปนอยางดี โดยเฉพาะสวนทีอ่ ยูในบริเวณ
ทางทิศใตของ อ.หกนองสา บริเวณทิศใตและทิศตะวันรออกเฉียงใตของ ม.รัตนานคร และบริเวณใกล ๆ กับ
บ.หลวง นอกจากนี้ปาที่อยูในบริเวณทิศใตของ บ.เพิ่ม และปาทางทิศเหนือของ บ.จืด ก็จะใหการซอนพราง
ไดดีเชนกัน สภาพรั้วตนไมที่จะใหการซอนพรางและการกําบังอยางดีจากอาวุธกระสุนวิถีราบของฝายตรงขาม
ค) สิ่งปลูกสราง หมูบานและโรงเรือนซึ่งตั้งกระจายอยูในพื้นที่นี้ อาจใชในการ
ซอนพรางและการกําบังไดบา ง
๓) เครื่องกีดขวาง
ก) ระบบที่สูงต่ําและทางน้ําไหล
(๑) เครื่องกีดขวางตามธรรมชาติ ไดแก
(ก) แมน้ําสาย ๓ เปนแนวลําน้ําทอดขวางหนาการเคลื่อนที่เขาสู
ม.รัตนานคร
(ข) หนองยาง เปนอางเก็บน้ําเหนือเขื่อนอยูดานใต อ.หนองสา
(ค) หนองไทร เก็บกักน้ําบริเวณดานตะวันออกเฉียงเหนือของ บ.ศาลา

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๔
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

(ง) หวยสัก ไหลาก อ.ผาหัก ลงสูหนองยางเปนแนวลําน้ําที่ทอดขวางการ


เคลื่อนที่ทางดานใตของ อ.หนองสา
(จ) หวยพี้ เปนแนวลําน้ําทอดขวางหนาการเคลือ่ นที่เขาสูที่สูงบริเวณ บ.ศาลา
(๒) เครื่องกีดขวางที่สรางขึ้น อาจเกิดจากการเสริมความแข็งแรงใหกับชองทาง
บังคับ และปาเขาสูงชันซึ่งมีปรากฏในบางแหงดวยการขุดคู สนามเพลาะ การวางสนามทุนระเบิดและวางการ
ทําลาย เปนตน
ข) ลักษณะพืชพันธุไม พื้นทีป่ าบริเวณ บ.แพ บ.จืด บ.เพิ่ม และพื้นที่สวนบางแหง
รวมทั้งรั้วตนไมทึบปรากฏอยูทั่วไปในพืน้ ที่ซึ่งเปนทุงนา จัดเปนเครื่องกีดขวางเพราะจะจํากัดการเคลื่อนที่ใน
ภูมิประเทศของยานพาหนะทั้งสิ้น รวมทั้งยานพาหนะประเภทสายพาน
ค) ลักษณะพื้นดิน ถาไมมีฝนหรือฝนตกอยางเบาบางนามพยากรณอากาศแลว พืน้ ที่ซึ่ง
จะไมสามารถรับน้ําหนักการจราจรไดนั้น จะมีอยูเ พียงนามแนวลําน้ําสาย ๓ ทางตอนใต อ.หนองสา เทานัน้
สําหรับบริเวณผิวดินละเอียดที่อยูทางตอนใตของ อ.หนองยาง และบริเวณตามแนวลําน้ําสาย ๓ ทางตอนเหนือ
อ.หนองสา นั้น อาจเปนอุปสรรคในการรับน้ําหนักการจราจรได ถึงแมวาจะเปดประตูกั้นน้ํา หรือเขื่อนบริเวณ
อ.หนองสา ถูกทําลายก็ตาม ถาไมมีฝนตกและระดับน้ําในลําน้ํายังไมลน ฝงแลว ผิวดินละเอียดก็จะยังสามารถ
รับน้ําหนักการจราจรได
ง) ลักษณะสิ่งปลูกสราง เสนทางรถไฟสายที่ผาน บ.จืด ไปทาง ตต./น.นั้น พืน้ ดินที่
วางรางเปนชนิดดินตัด ดินถม จึงงายตอการทรุดตัว ซึ่งจะเปนอุปสรรคตอการเคลื่อนที่เสนทางและสะพาน
สําคัญ หากไดจัดเตรียมการทําลายไว นับเปนเครื่องกีดขวางประเภททีส่ รางขึ้นอีกแบบหนึ่ง
๔) ภูมิประเทศสําคัญ
ก) เนิน ๑๐๒ (๗๑๙๗) บริเวณ บ.ดอนเขียว เปนที่สูงขมดานเหนือ ควบคุมการเคลื่อนที่
จาก อ.ทุงแก เขาสู ม.อูทอง
ข) เนิน ๑๒๖ และเนิน ๑๑๔ (๗๑๙๔) เปนพืน้ ที่สูงขมทางตะวันตกของ ม.อูทอง
ค) สันเนินบริเวณ บ.พังโคน (๖๗๙๑) – บ.มวง (๖๓๘๓) เพราะเกื้อกูลตอการตรวจ
การณไปยัง ม.อูทอง เปนพื้นที่สูงขมเสนทางจาก อ.ผาหัก (๕๙๗๙) เขาสู ม.อูทอง และพื้นที่ตอนใตของ

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๕
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

อ.หนองสา หากอยูในความครอบครองของฝายเรา จะเปนการบีบบังคับใหฝายตรงขามตองถอนตัวเขาสูที่มั่น


ทางตะวันออกของแมน้ําสาย ๓
ง) แนวเนินบริเวณ บ.ฝาง (๖๐๙๓) – บ.ศาลา (๖๐๘๖) เปนที่สูงขม ซึ่งคุมครองดาน
ตะวันออกของแมน้ําสาย ๓ และทอดขวางเสนทางจาก ม.อูทอง เขาสู อ.หนองสา นับเปนแนวเนินที่เหมาะสม
ในการจัดเปนที่มั่นตั้งรับขั้นสุดทาย เพื่อปองกันแมน้ําสาย ๓ จากการเขาตีในทิศทางจาก ม.อูทอง เขาสู
ม.รัตนานคร
จ) แนวสันเนินจากเนิน ๑๑๒ (๕๖๙๑) บ.นาจาน ผาน บ.พังโคน – เนิน ๑๒๖ ม.อูทอง
(๗๕๙๓) เปนพื้นที่สูงขม ตามแนวถนนชัน้ ดีซึ่งทอดตรงจาก ม.อูทอง อ.หนองสา เปนแนวสันเขาที่แบงพื้นที่
ดานตะวันออกของแมน้ําสาย ๓ ออกเปนดานเหนือและดานใต ลักษณะภูมิประเทศตลอดแนวสันเนินเกื้อกูล
ตอการตรวจการณทั้งทางดานเหนือและดานใตของการเคลื่อนที่จาก ม.อูทอง มายังแมน้ําสาย ๓
ฉ) เนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐) เปนพื้นที่สูงขมทางตะวันตกของแมน้ําสาย ๓ เกื้อกูลตอการ
ตรวจการณไปยังแนวลําน้ําสาย ๓ บริเวณตอนใต อ.ทุงแก (๖๒๐๑)
ช) แนวเนินบริเวณ บ.ตาด (๕๕๙๙) – บ.คํานอย (๕๑๙๔) เปนพืน้ ที่สูงขมเกื้อกูลตอการ
ตรวจการณจากทางทิศตะวันตกมายังแมน้ําสาย ๓ บริเวณ บ.หลวง (๕๗๙๗) บ.สิงห (๕๕๙๓) และ บ.ฝาง
(๕๙๙๔)
ซ) เขื่อนและสะพานบริเวณ อ.หนองสา (๕๕๘ฅ) เปนสิง่ กอสรางซึ่งควบคุมระดับน้าํ
ในแมน้ําสาย ๓ เมื่อเขื่อนถูกทําลายจะกอใหเกิดอุปสรรคตอการเคลื่อนที่เขาสู ม.รัตนานคร ของฝายเราจนอาจ
จําเปนตองปฏิบัติการยุทธขามลําน้ํา
ด) แนวเนินจาก บ.จืด (๔๙๘๙) – บ.นกเทศ (๔๗๙๓) เปนที่สูงขมทางดานตะวันตกของ
อ.หนองสา และเปนแนวเนินที่มีขายถนนจาก อ.หนองสา เขาสู ม.รัตนานคร แนวเนินเกื้อกูลตอการ
ตรวจการณบริเวณดานใตของ ม.รัตนานคร
ต) เนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘) ทางตะวันตกของ บ.เพิ่ม (๔๘๙๗) เปนพืน้ ที่สูงขมทาง
ตะวันออกของเมืองรัตนานคร เกื้อกูลตอการตรวจการณไปยังบริเวณตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือของ
ม.รัตนานคร

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๖
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ถ) เนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) บริเวณ บ.ตาล (๔๓๐๑) เปนที่สูงขมทางดานเหนือ เกื้อกูลตอการ


ตรวจการณไปยังดานตะวันตกและตะวันออกของ ม.รัตนานคร จึงกอใหเกิดประโยชนอยางเดนชัดในการ
ควบคุม ม.รัตนานคร
๕) แนวทางเคลื่อนที่
ก) แนวทางจากฝายตรงขามเขาสูที่มั่นของฝายเรา
(๑) เมื่อแนวปะทะอยูบริเวณ บ.โนนสูง – บ.ทาเสา – บ.ขนุน
(ก) แนวทางจากเนิน ๑๐๔ (ม.รัตนานคร)–เนิน ๑๐๗-เนิน ๑๐๔ – ม.อูทอง
แนวทางนี้เปนการเคลื่อนที่จากที่สูงเหนือ บ.รัตนานคร ผานที่ราบโดยมี
ขายถนนขั้นสองเขาสูเนิน ๑๐๗ โดยมีเนิน ๑๐๘ และแนวเนิน บ.ตาด – บ.คํานอย ปองกันปกดานใต
การเคลื่อนที่ผานที่สูงลงต่ํา และเปนที่สูงทางดานเหนือแหงเดียวที่เกื้อกูลตอการตรวจการณเขาสูพื้นที่ทาง
ตะวันออกของแมน้ําสาย ๓ ฝายตรงขามจะประสบความยากลําบากระหวางการขามแมน้ําสาย ๓ และระหวาง
การขามแมน้ําสาย ๓ และระหวางการเคลื่อนที่จากบริเวณตอนใช อ.ทุงแก มาทางตะวันออก แตอาจใช
ประโยชนขายถนนจาก อ.ทุง แก เขาสู ม.อูทอง พื้นที่ บ.นาพุง จะกอใหเกิดอุปสรรคอยางใหญหลวงตอฝาย
ตรงขาม เพราะมีแนวเนินบริเวณ บ.ดอนเขียว ทอดขนานแนวทางเคลื่อนที่ จึงไมอํานวยความสะดวกในการ
ดําเนินกลยุทธทางขาง ขณะเดียวกันการรุกจาก บ.นาพุง จะตองเคลือ่ นที่ผานเนิน ๑๑๔ เขาสู ม.อูทอง ซึ่ง
จะกอใหเกิดความเสียเปรียบเปนอยางยิ่ง เพราะเปนการเคลื่อนที่จากทีต่ ่ําไปสูที่สูง
(ข) แนวทางจากเนิน ๑๐๔ (ม.รัตนานคร) – เนิน ๑๐๘ – แนวเนิน บ.ตาด
(๕๕๙๙) บ.คํานอย (๕๑๙๔) – เนิน ๑๒๖ (๗๑๙๖) บริเวณ ม.อูทอง
การเคลื่อนที่จาก ม.รัตนานคร ถึงแมน้ําสาย ๓ จะกอใหเกิดความไดเปรียบ
ตอฝายตรงขามเพราะเปนการเคลื่อนที่ผานภูมิประเทศสําคัญ คือ เนิน ๑๐๘ บริเวณ บ.เพิ่ม และแนวเนิน บ.ตาด
(๕๕๙๙) – บ.คํานอย (๕๑๙๔) ในระหวางการขามแมน้ําสาย ๓ ฝายตรงขามจะประสบกับความยากลําบาก
เพราะจะตองทําการขามลําน้ําภายใตการตรวจการณของฝายเรา ซึ่งมีที่ตั้งบนเนินบริเวณ บ.ฝาง การเคลื่อนที่
ของฝายตรงขามจากแมน้ําสาย ๓ ไปยังตะวันออกจะกระทําไดดวยความยากลําบากเพราะมีแนวสันเนิน
จากเนิน ๑๐๒ บริเวณ บ.นาจาน ทอดเปนแนวยาวจนถึง ม.อูทอง ซึ่งสันเนินนีน้ อกจากจะสกัดกัน้ การดําเนิน
กลยุทธมาทางดานใตแลว ยังเปนพื้นที่สูงขมที่เกื้อกูลตอการตรวจการณตลอดแนวทางเคลือ่ นที่เขาสู

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๗
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ม.อูทอง ของฝายตรงขามสําหรับการรุกเขาสู ม.อูทองนั้น จะกอใหเกิดความเสียเปรียบแกฝายตรงขาม เพราะ


เปนการเคลื่อนที่จากที่ต่ําเขาหาที่สูง
(ค) แนวทางจากเนิน ๑๐๔ (ม.รัตนานคร) – แนวเนิน บ.นกเทศ (๔๙๓) ถึง บ.จืด
(๔๙๘๙) ผานสันเนินจาก บ.นาจานถึงเนิน ๑๒๖ บริเวณ ม.อูทอง
การเคลื่อนที่จาก ม.รัตนานคร ถึงแมน้ําสาย ๓ ฝายตรงขามจะไดเปรียบ
เพราะเปนการเคลื่อนที่ผานภูมิประเทศสําคัญตามแนวเนิน บ.นกเทศ (๔๘๙๓) – บ.จืด (๔๙๘๙) นอกจากนี้
ยังมีขายถนนชัน้ ดีและทางรถไฟ ชวยอํานวยความสะดวกในการเคลื่อนที่ อุปสรรคสําคัญที่ฝายตรงขามจะ
ประสบคือ การขามแมน้ําสาย ๓ เพราะนอกจากจะตองออมผาน อ.หนองสา ซึ่งเปนเครื่องกีดขวางแลว
ฝายตรงขามยังจะตองรีบเรงเขายึดรักษาและระวังปองกันเขื่อนและสะพานที่ อ.หนองสา ไมใหถูกทําลาย
เสียกอน ความยากลําบากอีกประการหนึ่งคือ การเคลื่อนที่จากแมน้ําสาย ๓ ผานเนิน ๑๐๒ บริเวณ บ.นาจาน
เพราะเปนการเคลื่อนที่จากทีต่ ่ําเขาหาที่สูง นอกจากนี้ยังมีภูมิประเทศสําคัญคือ แนวเนิน บ.ฝาง (๖๐๙๓) –
บ.ศาลา (๖๐๘๖) ทอดขวางแนวทางเคลื่อนที่ ซึ่งหากฝายเรายึดครองไว ฝายตรงขามจะตองทุมเทกําลังและ
เสียเวลาระยะเวลาหนึ่งกอนที่จะเจาะผานแนวสันเนินนีไ้ ปได สําหรับการเคลื่อนที่บนสันเนินเปนที่สูงขม
ตลอดแนว มีขายถนนชั้นดีทําใหสะดวกในการเคลื่อนที่มีพื้นที่ดําเนินกลยุทธกวางขวางเพียงพอ และเปน
แนวทางสั้นทีส่ ุดเขาสู ม.อูทอง
(ง) แนวทางจากเนิน ๑๐๔ (ม.รัตนานคร) – แนวเนิน – บ.นกเทศ (๕๘๙๓) ถึง
บ.จืด (๔๙๘๙) – ผานสันเนิน บ.มวง (๖๓๘๓) – บ.พังโคน (๖๗๙๑) เขาสู ม.อูทอง
การเคลื่อนที่ในขั้นตนจาก ม.รัตนานคร ฝายตรงขามจะไดเปรียบ เพราะ
เปนการเคลื่อนที่ผานพื้นทีส่ ูงขมบริเวณ บ.นกเทศ (๔๘๙๓) – บ.จืด (๔๙๘๙) นอกจากนีย้ ังมีถนนชั้นดีและทาง
รถไฟเปนเครื่องอํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยายกําลังพลและยุทโธปกรณอีกดวย สวนการเคลื่อนที่จาก
บ.จืด ถึง บ.ทากุม จะกอใหเกิดปญหาอยางมากแกฝายตรงขาม เพราะนอกจากตองขามลําน้ําสาย ๓ และพืน้ ที่
เก็บน้ําบริเวณดานใตของ อ.หนองสา แลว ฝายตรงขามยังตองเคลื่อนที่ผานพื้นที่ราบลุมบริเวณดานเหนือ
อ.ผาหัก ตั้งแต บ.แปน ถึง บ.ทากุม ซึ่งถูกควบคุมโดยพื้นที่สูงขมบริเวณ บ.ศาลา (๖๐๘๖) นอกจากนี้ ยังมี
หวยสัก หวยพี้ เปนเครื่องกีดขวางทางปกดานเหนือ สําหรับการเคลื่อนที่จาก บ.ทากุม เขาสู ม.อูทอง นั้น จะทํา
ใหฝายตรงขามไดเปรียบดวยการใชประโยชนจากสันเนิน บ.มวง บ.พังโคน ซึ่งเปนพื้นที่สูงขมทางตะวันตก
ของ ม.อูทอง
------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๘
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

(จ) สรุปแนวทางเคลื่อนที่ดีที่สุด ซึ่งฝายตรงขามอาจใชเคลื่อนที่จาก ม.รัตนา


นคร เขาสู ม.อูทอง คือ แนวทางจากเนิน ๑๐๔ (ม.รัตนานคร) ผานแนวเนิน บ.นกเทศ (๔๘๙๓ – บ.จืด
(๔๙๘๙) ผานสันเนิน บ.นาจาน – เนิน ๑๒๖(๗๑๙๖) บริเวณ ม.อูทอง
(๒) เมื่อแนวปะทะอยูบริเวณแนวแมน้ําสาย ๓
(ก) แนวทางจากเนิน ๑๐๗ (๕๖๐๐) – เนิน ๑๐๒ (๗๑๙๖) – เนิน ๑๑๔
(๗๑๙๔) – ม.อูทอง
การเคลื่อนที่ตามแนวทางนี้ ฝายตรงขามจะอาศัยการซอนพรางจากพื้นที่
ปาบริเวณตอนเหนือของ บ.เพิ่ม เปนพืน้ ทีร่ วมพลเพื่อการรุกผานเนิน ๑๐๗ มาทางตะวันออก การขามลําน้ํา
สาย ๓ และลําน้ําอื่น ๆ ที่มีอยูบริเวณตอนใตของ อ.ทุงแก รวมถึงสภาพพื้นดินออนตามแนวลําน้ํา และบริเวณ
ใกลเคียงจะกอใหเกิดอุปสรรคแกการเคลื่อนที่ ทําใหตองเสียเวลาบาง แตเครื่องกีดขวางเหลานี้ไมอาจหยุดยั้ง
ฝายตรงขามได ในขณะเดียวกันฝายตรงขามสามารถใชประโยชนจากถนนชั้นสอง ซึ่งทอดจาก อ.ทุงแก เขาสู
ม.อูทอง สําหรับการเคลื่อนที่ผานเนิน ๑๐๒ (๗๑๙๖) บริเวณ บ.ดอนเขียวนั้น ในขั้นตนฝายตรงขามจะเกิด
ความเสียเปรียบ เพราะเปนการเคลื่อนทีจ่ ากพื้นที่ต่ําขึน้ พื้นที่สูงจนถึงเนิน ๑๐๒ ซึ่งจะทําใหฝายตรงขาม
ไดเปรียบในการรวมอํานาจกําลังรบ และใชดําเนินกลยุทธเขายึดครอง ม.อูทอง
(ข) แนวทางจากแนวเนินบริเวณ บ.ตาด – บ.คํานอย – เนิน ๑๒๖ ม.อูทอง
การชุมนุมกําลังรบเพื่อการเขาตีของฝายตรงขาม จะอาศัยการกําบังและ
ซอนพรางจากพื้นที่ปาบริเวณ บ.เพิ่ม และอาศัยพืน้ ที่สูงขมของแนวเนิน บ.ตาด – บ.คํานอย ซึ่งเกื้อกูลตอการ
ตรวจการณและการยิงในการดําเนินกลยุทธมาทางตะวันออก เพื่อเขายึด ม.อูทอง โดยฝายตรงขามจะใช
ประโยชนจากลักษณะภูมิประเทศดังกลาว รวมทั้งการซอนพรางจากพืน้ ที่สวนบริเวณ บ.หลวง เพื่อการขาม
ลําน้ําสาย ๓ ซึ่งเปนเครื่องกีดขวาง ทําใหฝายตรงขามเสียเวลาระยะหนึ่ง ในการเคลื่อนยายกําลังขามลําน้ํา
สาย ๓ หลังจากนั้นฝายตรงขามจะประสบกับความยากลําบากในการเคลื่อนที่เขาสู ม.อูทอง เพราะตอง
เคลื่อนที่ในทิศทางขนานกับแนวสันเนินจาก บ.นาจาน ถึงเนิน ๑๒๖ ซึ่งเปนพื้นทีส่ ูงขม และจํากัดการดําเนิน
กลยุทธ ทางดานใตโดยเฉพาะเนินบริเวณ บ.ฝาง (๖๐๙๓) ซึ่งสูงขมทางดานตะวันตกของแมน้ําสาย ๓ และจะ
กอใหเกิดอุปสรรคอยางสําคัญในการขามลําน้ํา และการเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกเขาสู ม.อูทอง ของฝาย
ตรงขาม

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๔๙
------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

(ค) แนวทางจากพืน้ ที่สูงทางตะวันตกของ อ.หนองสา สันเนินจาก บ.นาจาน


ผานเนิน ๑๒๖ เขาสู ม.อูทอง พื้นที่ปาบริเวณตะวันตกของ อ.หนองสา จะทําการกําบังและซอนพรางแกกําลัง
ของฝายตรงขามในการรุกเพื่อขามลําน้ําสาย ๓ บริเวณ อ.หนองสา การเขาตีในขั้นตน จะเกิดความสูญเสีย
กําลังจํานวนมากเพราะจะตองรุกจากที่ต่ําขึน้ สูที่สูง โดยเฉพาะเนินบริเวณ บ.นาจาน และแนวเนินบริเวณ
บ.ฝาง (๖๐๙๓) – บ.ศาลา (๖๐๘๖) ซึ่งเปนภูมิประเทศสําคัญที่สูงขม ทอดขวางแนวทางเคลื่อนที่ จึงเกื้อกูล
ตอการเปนที่มนั่ ตั้งรับปองกันแนวแมน้ําสาย ๓ นอกจากนี้ การขามลําน้ําสาย ๓ ในเมื่อเขื่อนและสะพานที่
อ.หนองสา ถูกทําลายลง จะกอใหเกิดอุปสรรคเพิ่มมากขึ้น แตถาฝายตรงขามสามารถเจาะผานแนวสันเนิน
บ.ฝาง – บ.ศาลา ได ลักษณะภูมิประเทศจะเกื้อกูลตอฝายตรงขามในการรุกเขาสู ม.อูทอง เพราะเปนการ
เคลื่อนที่บนสันเนินซึ่งภูมิประเทศสูงขม มีขายเสนทางชั้นดีทั้งทางถนน มีทางรถไฟ มีพื้นที่เพียงพอทีจ่ ะ
ดําเนินกลยุทธ และเปนแนวทางสั้นที่สุดเขาสู ม.อูทอง
(ง) แนวทางจากเนินบริเวณ บ.จืด – สันเนิน บ.มวง (๖๓๘๓) ถึง บ.พังโคน
(๖๗๙๑) เขาสู ม.อูทอง คือ ใชพื้นที่สูงขมบริเวณ บ.จืด รวมทั้งอาศัยการซอนพรางจากพื้นที่สวน บริเวณ
บ.แปน ทางตอนใต อ.หนองสา รวมทั้งการใชประโยชนจากถนนชัน้ ดีรวมถึงทางรถไฟ เพื่อการเคลื่อนที่ผาน
พื้นที่ตอนเหนือ อ.ผาหัก แลวเคลื่อนที่ผานภูมิประเทศสําคัญคือ แนวสันเนิน บ.มวง (๖๓๘๓) – บ.พังโคน
(๖๗๙๑) ซึ่งเปนพื้นที่สูงขมทางตะวันตกเฉียงใตของ ม.อูทอง ลักษณะของแนวทางนี้มพี ื้นที่กวางขวาง
เพียงพอทีจ่ ะดําเนินกลยุทธ สามารถใชถนนจาก อ.ผาหัก เขาสู ม.อูทอง นอกจากนีย้ ังเปนแนวทางเดียวที่ฝาย
ตรงขามสามารถใชเขาตีผานแนวปะทะ โดยไมตองขามชําน้ําสาย ๓
(จ) สรุปแนวทางเคลื่อนที่ดีที่สุดจากแนวแมน้ําสาย ๓ เขาสู ม.อูทอง คือ
แนวทางจากเนินบริเวณ บ.จืด ผานสันเนิน บ.มวง (๖๓๙๓) – บ.พังโคน (๖๗๙๑) เขาสู ม.อูทอง
ข) แนวทางเขาสูที่มั่นของฝายตรงขาม
(๑) เมื่อแนวปะทะอยูบริเวณแนว บ.โนนสูง – บ.ทาเสา – บ.ขนุน แนวทางเคลื่อนที่
เพื่อควบคุมแนวแมน้ําสาย ๓ มีดังนี้
(ก) แนวทางจากเนิน ๑๑๔ (๗๑๙๔) – เนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐)
แนวทางนี้ ฝายเราสามารถใชพื้นที่สูงขม คือ เนิน ๑๑๔ เพื่ออํานวยความ
สะดวกในการเคลื่อนที่ รวมถึงการใชถนนสาย ม.อูทอง – อ.ทุงแก ใหเปนประโยชน อุปสรรคของการ

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๕๐
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

เคลื่อนที่ในภูมิประเทศ คือ พื้นดินออน ตามแนวลําน้ําบริเวณ บ.นาพง และดานใต อ.ทุงแก และแนวเนิน


บริเวณ บ.ดอนเขียว ซึ่งทอดขนานแนวทางเคลื่อนที่ จึงนับเปนเครื่องกีดขวางตอการเคลื่อนที่ไปทางขาง
ดานเหนือ แมน้ําสาย ๓ เปนเครื่องกีดขวางสําคัญในพื้นที่ ซึ่งสามารถหยุดยั้งการเคลื่อนที่ของฝายไดระยะหนึ่ง
การขามแมน้ําสาย ๓ จะประสบความยากลําบากมากยิง่ ขึ้น ถาฝายตรงขามเขาควบคุมเนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐)
ซึ่งเปนภูมิประเทศสําคัญทางดานตะวันตกของแมน้ําสาย ๓ สําหรับการเคลื่อนที่เพื่อเขายึดครองเนิน ๑๐๗
จะกอใหเกิดความยากลําบากตอฝายเรา เพราะเปนการเคลื่อนที่จากพื้นที่ต่ําไปสูที่สูง
(ข) แนวทางจากเนิน ๑๒๖ (๗๑๙๖) – เนินบริเวณ บ.ฝาง – เนินบริเวณ
บ.คํานอย
การเคลื่อนที่ตามแนวทางนี้ ในขั้นตนจะกอใหเกิดความไดเปรียบตอ
ฝายเรา เพราะเปนการเคลื่อนที่ตามแนวสันเนินจากเนิน ๑๒๖ จนถึง บ.แพน ซึ่งเปนพื้นที่สูงขมเกื้อกูลตอ
การยิง และการตรวจการณมถี นนชั้นดีทอดจาก ม.อูทอง ไปยัง อ.หนองสา มีพื้นที่กวางขวางพอเพียง และมีสิ่ง
อํานวยความสะดวกในการเคลื่อนที่เปนอยางดี การเคลื่อนที่เขาสูแมน้ําสาย ๓ ไดอาศัยประโยชนจากเนิน
บริเวณ บ.ฝาง ซึ่งเปนพื้นทีส่ ูงขมบริเวณนั้น และยังอาจใชประโยชนจากพื้นที่สวน ซึ่งปกคลุมบริเวณ บ.หลวง
และสองฝงแมน้ําสาย ๓ เพื่อซอนพรางการปฏิบัติการขามลําน้ํา รวมถึงการเคลื่อนที่เขายึดครองเนินบริเวณ
บ.คํานอย อุปสรรคสําคัญ คือ การขามแมน้ําสาย ๓ และการรุกจากพืน้ ที่ต่ํา เพื่อยึดครองเนินบริเวณ บ.คํานอย
ซึ่งเปนพื้นที่สงู ขมทางตะวันตกของแมน้ําสาย ๓
(ค) แนวทางจากเนิน ๑๒๖ (๗๑๙๖) – ผานสันเนิน บ.ฝาง ถึง บ.ศาลา เขาสู
เนิน ๑๑๒ บริเวณ บ.นาจาน
แนวสันเนินจากเนิน ๑๒๖ ถึงเนิน ๑๑๒ เปนพืน้ ที่สูงขมที่เกื้อกูลตอการ
ตรวจการณและการยิงตลอดแนวพื้นที่ทางดานตะวันออกของ ม.อูทอง มีเสนทางชั้นดีทอดผานตลอดแนว
มีพื้นที่กวางขวางเพียงพอสําหรับการดําเนินกลยุทธ มีแนวสันเนิน บ.ฝาง – บ.ศาลา ซึ่งเปนพื้นที่สูงขมทาง
ตะวันออกของแมน้ําสาย ๓ มีระยะทางสัน้ ที่สุด จาก ม.อูทอง เขาสูแมน้ําสาย ๓ จึงนับเปนแนวทางเคลื่อนที่ดี
ที่สุด เพื่อควบคุมแมน้ําสาย ๓
(ง) แนวทางจากเนิน ๑๒๖ (๗๑๙๖) – ผานสันเนิน บ.พังโคน (๖๗๙๑) บ.มวง
แลววกขึ้นเหนือผานเนินบริเวณ บ.ศาลา เขาสูเนิน ๑๑๒ บริเวณ บ.นาจาน

------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๕๑
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

การเคลื่อนที่ในแนวทางนี้ ในขั้นตนสามารถแสวงประโยชนจากสันเนิน
บ.พังโคน – บ.มวง ซึ่งเปนที่สูงขมพื้นที่ทางดานใตของ ม.อูทอง และเกื้อกูลตอการเคลื่อนที่มาทางตะวันตก
เฉียงใต จนถึงบริเวณ บ.ทากุม ตอจากนัน้ จะประสบอุปสรรคอยูบางในตอนเคลื่อนที่ผานเนินบริเวณ บ.ศาลา
(๖๐๘๖) เพราะตองผานหวยพี้ และพืน้ ดินออนบริเวณ บ.ศาลา ซึ่งเปนพื้นที่สูงขม และเกื้อกูลตอการควบคุม
แมน้ําสาย ๓
(จ) สรุปแนวทางเคลื่อนที่ดีที่สุดจากแนวปะทะบริเวณ บ.โนนสูง – บ.ทาเสา –
บ.ขนุน เพื่อยึดครองแนวแมน้ําสาย ๓ คือ แนวสันเนินจากเนิน ๑๒๖ (๗๑๙๖) ผานสันเนิน บ.ฝาง – บ.ศาลา
เขาสูเนิน ๑๑๒ บริเวณ บ.นาจาน
(๒) เมื่อแนวปะทะอยูบริเวณแมน้ําสาย ๓ แนวทางเคลื่อนที่เขายึด ม.รัตนานคร
มีดังตอไปนี้
(ก) แนวทางจากเนิน ๑๐๗ เขาสูเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) ทางตอนเหนือ
ม.รัตนานคร
การเคลื่อนที่ตามแนวทางนี้ จะเกิดอุปสรรคอยางใหญหลวงในตอนตน คือ
ระหวางการรุกขามลําน้ําสาย ๓ และการเคลื่อนที่ไปทางตะวันตก เนือ่ งจากตองกระทําผานเนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐)
ซึ่งเปนพื้นที่สงู ขมแมน้ําสาย ๓ เมื่อเคลื่อนที่ผานเนิน ๑๐๗ ไปแลว อาจใชประโยชนจากเสนทางทีม่ ีอยูในการ
เคลื่อนที่เขาสู ม.รัตนานคร แตจะเปนการเคลื่อนที่ดวยความยากลําบาก เพราะจะมีที่สูงขมบริเวณตะวันออก
และตะวันตกของ บ.เพิ่ม ซึ่งทอดขนานแนวทางเคลื่อนที่ทางดานใต ซึ่งนอกจากจะกีดขวางการเคลื่อนยายมา
ทางดานใตแลวยังอาจไดรับอันตรายจากการโจมตีทางปกถาฝายตรงขามยึดหรือควบคุมเนินบริเวณ บ.เพิ่ม
ไวได สําหรับการเขายึดครองเนิน ๑๐๔ ซึ่งสูงขมดานเหนือของ ม.รัตนานคร นั้น ก็จะกระทําไดดวยความ
ยากลําบาก เพราะเปนการเคลื่อนที่จากที่ตา่ํ ขึ้นสูที่สูง
(ข) แนวทางจากเนินบริเวณ บ.ฝาง ผานสันเนินบริเวณ บ.คํานอย (๕๑๙๔) –
บ.ตาด (๕๕๙๙) ผานเนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘) เนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) ทางตอนเหนือ ม.รัตนานคร
การเคลื่อนที่ตามแนวทางนี้ อาจประสบความยากลําบากอยูยางในระหวาง
การขามลําน้ํา และอาศัยการซอนพรางจากพื้นที่สวนบริเวณ บ.หลวง และบริเวณสองฝงแมน้ําสาย ๓
เพื่อเคลื่อนที่เขาควบรุมเนินบริเวณ บ.คํานอย ซึ่งเปนพื้นที่สูงขม โดยอาศัยการกําบังและซอนพรางจากพื้นที่
ปาบริเวณ บ.คํานอย – บ.นอย ตอจากนั้นจะอาศัยพืน้ ที่สูงบริเวณ บ.คํานอย ในการเคลื่อนที่เขายึดทีส่ ูงขม

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๕๒
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

บริเวณเนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘) แลวจึงรุกเขาสูที่สูงบริเวณเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) ซึ่งเปนพื้นที่สูงขมบริเวณ


ม.รัตนานคร แนวทางนีผ้ านที่สูงซึ่งเกื้อกูลตอการตรวจการณและการยิง มีความกวางขวางเพียงพอในการ
ดําเนินกลยุทธและเปนแนวทางสั้นที่สุด เขาสูที่สูงขมทางดานเหนือของ ม.รัตนานคร จึงนับวาเปนแนวทาง
เคลื่อนที่ดีที่สุด
(ค) แนวทางจากเนิน ๑๑๒ บริเวณ บ.นาจาน ผานสันเนิน บ.จืด (๕๙๘๙) –
บ.นกเทศ (๔๗๙๓) เขาสูเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) ทางตอนเหนือ ม.รัตนานคร
การเคลื่อนที่ตามแนวทางนี้ จะประสบความยากลําบากในตอนตน
ระหวางการขามแมน้ําสาย ๓ โดยเฉพาะเมือ่ เขื่อนและสะพานบริเวณ อ.หนองสา ถูกทําลายลง เพราะจะทําให
ระดับน้ําสูงขึน้ รวมทั้งตองปฏิบัติการยุทธขามลําน้ํา แตอาจอาศัยการคุมครองจากแนวสันเนิน บ.ฝาง (๖๐๘๖)
อุปสรรคขั้นตอไปคือ การเคลื่อนที่จากแนวลําน้ําเพื่อเขายึดครองพื้นที่สูงบริเวณ บ.จืด ตอจากนั้นอาจอาศัย
เนิน บ.จืด (๔๙๘๙) – บ.นกเทศ (๔๗๙๓) ซึ่งเปนที่สูงขมเสนทางถนนและทางรถไฟ รวมทั้งพืน้ ที่สวนทาง
ตอนใตของ ม.รัตนานครเปนสิ่งอํานวยความสะดวกในการเคลื่อนที่เขายึดเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) ซึ่งเปนที่สูงขม
ม.รัตนานคร
(ง) สรุปแนวทางเคลื่อนที่ที่ดีที่สุด จากแนวแมน้ําสาย ๓ เขาสูเนิน ๑๐๔
(๔๒๐๑) เพื่อยึดครอง ม.รัตนานคร ไดแก แนวทางจากเนินบริเวณ บ.ฝาง ผานสันเนินบริเวณ บ.คํานอย
(๕๑๙๔) – บ.ตาด (๕๕๙๙) ผานเนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘) เขาสูเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) ทางตอนเหนือ ม.รัตนานคร
ข. ลักษณะทางการชวยรบ
๑) กําลังพล ลักษณะทางสังคมและจิตวิทยา ไมมีผลกระทบในกิจการดานกําลังพลแตอยางใด
๒) การสงกําลังบํารุง ลักษณะทางเศรษฐกิจ อาจกอใหเกิดภาระทางการสงกําลังบํารุงบาง
ถาเกิดการขาดแคลนอาหารขึ้น สภาพโดยทัว่ ไปนับวาไมมีผลกระทบ
(๓) ดานกิจการพลเรือน สภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และจิตวิทยา ไมมีผลกระทบสําหรับการ
ปฏิบัติในครั้งนี้
๔. ผลของพื้นที่ปฏิบัติการ
ก. ผลตอปฏิบัติการทางทหารของฝายตรงขาม

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๕๓
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ผลที่จะเกิดตอการตั้งรับของฝายตรงขาม
๑) ที่มั่นตั้งรับดีทสี่ ุด คือ แนวแมน้ําสาย ๓
๒) ที่มั่นรั้งหนวง เพื่อการรบหนวงเวลาที่เหมาะสม ซึ่งฝายตรงขามนาจะใชเพื่อขัดขวางการ
เขาตีของฝายเรา ไดแก
(ก) แนวสันเนิน บ.ฝาง (๖๐๙๓) – บ.ศาลา (๖๐๘๖)
(ข) แนวแมน้ําสาย ๓
(ค) แนวสันเนินบริเวณ บ.จืด (๔๙๘๙) – บ.ตาด (๕๕๙๙)
๓) ผลจากสภาพลชมฟาอากาศภายหลัง ๑๐๐๐ แลว ลมฟาอากาศจะอํานวยใหมีทัศนวิสยั ทีด่ ี
ซึ่งจะเปนผลใหฝายตรงขามสามารถตรวจการณไปยังแนวทางเคลื่อนที่เขาสูที่มั่นไดอยางดี สวนการที่มีฝน
กระจายอยูทวั่ ไป และหมอกที่มีปรากฏใน ๑ – ๓ ส.ค......ตั้งแตตอนเชา จนถึง (๐๙๐๐) นั้น ยอมจํากัดการ
ตรวจการณของฝายตรงขาม ทิศทางลมเกื้อกูลตอการใชควันและสารเคมีชีวะของฝายตรงขาม
ข. ผลที่จะเกิดตอปฏิบัติการทางทหารของฝายเรา
๑) แนวทางเคลื่อนที่ดีที่สุดจากแนวปะทะบริเวณ บ.โนนสูง – บ.ทาเสา – บ.ขนุน เพื่อ
ยึดครองแนวแมน้ําสาย ๓ ไดแก แนวสันเนินจากเนิน ๑๒๖ (๗๑๙๖) ผานสันเนิน บ.ฝาง (๖๐๙๓) – บ.ศาลา
(๐๖๘๖) เขาสูเนิน ๑๑๒ บริเวณ บ.นาจาน
๒) แนวทางเคลื่อนที่ดีที่สุดจากแนวแมน้ําสาย ๓ เพื่อยึดครองเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) บริเวณ
ตอนเหนือ ม.รัตนานคร ไดแก แนวทางจากเนิน บ.ฝาง ผานสันเนิน บ.คํานอย (๕๑๙๔) – บ.ตาด (๕๕๙๙)
ผานเนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘) เขาสูเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) ทางตอนเหนือของ ม.รัตนานคร
๓) แนวทางเคลื่อนที่ดีที่สุด จาก ม.อูทอง เขายึดครอง ม.รัตนานคร คือ แนวทางจากเนิน
๑๒๖ (๗๑๙๖) ตามแนวสันเนินไปทางตะวันตก จนถึงเนินบริเวณ บ.ฝาง แลวเคลื่อนที่ผานสันเนิน บริเวณ
บ.คํานอย (๕๑๙๔) – บ.ตาด (๕๕๙๙) ผานเนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘) เขาสูเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) เพื่อยึดครอง
ม.รัตนานคร
๔) ผลของสภาพลมฟาอากาศ ทัศนวิสัยจํากัดเกิดจากหมอกที่ปรากฏในตอนเชาของวันที่ ๑ –
๓ ส.ค. ... และสภาพฝนที่มตี กกระจายทัว่ ไปจะเปนอุปสรรคตอการตรวจการณและจะเกื้อกูลตอฝายเราในการ
ดําเนินกลยุทธ เขาสูที่มั่นของฝายตรงขาม ฝนที่มีตกเพียงเล็กนอยจะไมทําใหลําหวยตาง ๆ มีระดับน้ําสูงขึ้น
และจะไมทําใหสภาพการรับน้ําหนักการจราจรของพื้นดินกอใหเกิดอุปสรรคตอการเคลื่อนที่ ทิศทางลม
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๕๔
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(วิเคราะหพื้นที่ปฏิบัติการที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ไมเกื้อกูลตอการใชควันและสารเคมีของฝายเรา

ตอบรับ :

(ลงชื่อ) ...............................
(............................)
ผบ.พล.ร.๒๐
ผนวก : ก สรุปอากาศประจําถิ่น
ข รายงานลมฟาอากาศ
ค แผนบริวารแสดงเนินเขา (แผนบริวารที่ ๑)
ง แผนบริวารแสดงพืชพันธุธัญญาหาร (แผนบริวารที่ ๒)
จ แผนบริวารแสดงลักษณะพืน้ ดิน (แผนบริวารที่ ๓)
ฉ แผนบริวารแสดงลักษณะสิ่งปลูกสราง (แผนบริวารที่ ๔)
การแจกจาย :

เปนคูฉบับ

(ลงชื่อ) ...............
(หน.ฝขว.พล.ร.๒๐)
...../......./.....

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๕๕
(หนาเจตนาเวนวาง)

(หนาเจตนาเวนวาง)
๒๕๖
ผนวก ง
ประมาณสถานการณ / ประมาณการ
ผนวกนีก้ ลาวถึงคําอธิบายเพิ่มเติมเกีย่ วการประมาณสถานการณของผูบ ังคับบัญชา และการประมาณการของ
นายทหารฝายอํานวยการ ดังที่กลาวในบทที่ ๕ นอกจากนีย้ ังกลาวถึงแบบฟอรมที่กําหนดลําดับขั้นในการ
จัดทําประมาณสถานการณ / ประมาณการ และตัวอยาง
๒๕๗
ตอนที่ ๑
ประมาณสถานการณของผูบ ังคับหนวยทางยุทธวิธี
คําอธิบายตอไปนี้ กลาวถึงแบบฟอรมและเนื้อเรื่องของประมาณสถานการณของผูบ ังคับหนวยทาง
ยุทธวิธี และยังอาจนําไปใชเปนประมาณการยุทธไดดวย ยกเวนในขอ ๕ ของประมาณการยุทธใหเรียกวา
“ขอเสนอ” แทนที่จะเรียกวา “ขอตกลงใจ”
๑ – ๑ ขอ ๑ “ภารกิจ”
ภารกิจที่ตองระบุไวตามที่ผูบังคับบัญชาไดพิจารณาไวในขั้นที่ ๓ ของลําดับขั้นในการปฏิบัติงาน
ของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
๑ – ๒ ขอ ๒ “สถานการณและหนทางปฏิบัต”ิ
ในขอนี้ผูบังคับบัญชาจะพิจารณาถึงเรื่องราวและแงคิดทัง้ ปวงของสถานการณ ซึ่งมีผลกระทบตอ
การยุทธ ทั้งนี้เพื่อจะกําหนดหนทางปฏิบตั ิทางยุทธวิธี และทําใหงา ยตอการวิเคราะหหนทางปฏิบัติดังกลาว
เพื่อใหบรรลุภารกิจ
ก. ขอยอย ก ขอพิจารณาที่มีผลกระทบตอหนทางปฏิบตั ิ
ความมุงหมายของขอยอย ก นี้ ก็เพื่อพิจารณาถึงขอเท็จจริงของสถานการณซึ่งอาจมีอิทธิพล
ตอการปฏิบัติของฝายเราและฝายตรงขาม และดังนั้นจึงอาจมีอิทธิพลตอการเลือกหนทางปฏิบัติได
ผูบังคับบัญชาวิเคราะหขอเท็จจริงแตละขอ และคิดถึงผลกระทบที่นาจะเปนไปไดของขอเท็จจริงนัน้ ๆ ที่มีตอ
ขอเท็จจริงอื่น ๆ และตอการปฏิบัติของฝายตรงขาม และของฝายเราในกรณีที่ไมมขี อเท็จจริงใหใชสมมุติฐาน
ที่สมเหตุสมผล
๑) ลักษณะของพืน้ ที่ปฏิบัติ (รวมทัง้ การวิเคราะหถึงผลกระทบของลักษณะพืน้ ที่ที่มีตอ
การยุทธ) ผูบังคับบัญชาพิจารณาเปนเรื่อง ๆ ดังตอไปนี้
ก) ลมฟาอากาศ
(๑) แงคิดทางทหารเกี่ยวกับลมฟาอากาศตามที่พยากรณได และขอมูลแสงสวาง
ในหวงเวลา รวมทั้งผลกระทบของขอมูลเหลานี้ตอการใชกําลังของหนวยและฝายตรงขาม และผลกระทบของ
ลมฟาอากาศที่มีตอเครื่องมือหรือเครื่องมือตรวจวัดตาง ๆ
(๒) ผลกระทบของลมฟาอากาศที่มีตอการยุทธของฝายเรา ของฝายตรงขาม และตอ
ภูมิประเทศ
ข) ภูมิประเทศ

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๕๘
(๑) ผลกระทบของภูมิประเทศตอการตรวจการณและการยิง การซอนเรนและการ
กําบังการเคลื่อนยาย (ทางพื้นดินและทางอากาศ) การใชอาวุธนิวเคลียรและสารเคมีชีวะ เครือ่ งมือแผรังสี
ตาง ๆ เชน เครื่องมือสื่อสาร เครื่องทําสงคามอิเล็กทรอนิกสและเครื่องมือเฝาตรวจสนามรบ การสงคราม
นอกแบบ การปฏิบัติการจิตวิทยา และเครือ่ งมืออื่น ๆ หรือวิธีปฏิบัติการทางทหารอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร
(๒) ผลกระทบจากแงคิดทางทหารของภูมิประเทศที่มีตอการยุทธของฝายตรงขาม
และของฝายเรา
(๓) การพิจารณาหาภูมิประเทศสําคัญและแนวทางเคลื่อนที่
ค) ปจจัยที่เกี่ยวของอื่น ๆ เปนขอยอยตอมา กลาวถึงการวิเคราะหปจจัยทางการเมือง
การเศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ยุทโธปกรณ การขนสงกําลังคน และเรื่องอื่น ๆ
ตามที่เห็นสมควรพรอมกับคิดถึงผลกระทบของปจจัยเหลานั้นที่มีตอการยุทธ
๒) สถานการณฝายตรงขาม ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึง
ก) การวางกําลัง ที่ตั้งของกําลังฝายตรงขาม รวมทั้งสวนการยิงสนับสนุนในเมื่อ
เห็นสมควร การวางกําลังอาจจะแสดงไวในแผนที่หรือแผนบริวาร
ข) การประกอบกําลัง สิ่งบอกเหตุแหงการพิสูจนทราบ อาวุธและแบบของการจัดหนวย
ของกําลังฝายตรงขาม
ค) กําลัง กลาวในรูป ดังตอไปนี้
(๑) กําลังเผชิญหนา จํานวนและขนาดของหนวยทหารฝายตรงขามที่เผชิญหนา
กับเรา
(๒) กําลังเพิ่มเติม จํานวนและขนาดของกําลังเพิ่มเติมของฝายตรงขาม
(๓) กําลังทางอากาศ อาวุธนิวเคลียร เคมีและชีวะ กําลังทางอากาศของฝายตรงขาม
ที่มีอยูเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการรบทางพื้นดิน และถาสามารถทราบไดขนาดและจํานวนของหัวรบ
นิวเคลียรและปริมาณของสารเคมีและชีวะเครื่องมือสงตาง ๆ
(๔) ขอพิจารณาอืน่ ๆ ระบุกําลังของฝายตรงขามที่มิไดกลาวไวขางตน และทราบวา
มีขีดความสามารถพิเศษ เชน การสงครามอิเล็กทรอนิกส การสงครามนอกแบบ หรือการเฝาตรวจสนามรบ
ดวยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส เครื่องโซนาร หรือเครื่องมืออยางอื่นๆ พรอมทั้งคิดถึงผลกระทบของเรื่องเหลานี้
ที่มีตออํานาจกําลังรบของฝายเรา
ง) พฤติการณที่สาํ คัญกอนหนานั้นและทีก่ ําลังเปนอยู ขอยอยนีก้ ลาวถึงพฤติการณ
ที่สําคัญของฝายตรงขามที่ทํากอนหนานั้นและที่กําลังเปนอยู ถามีเหตุเพียงพอที่จะเชื่อไดวา ฝายตรงขาม
มีความรอบรูถึงสถานการณหรือเจตนารมณของฝายเราแลว ผูบังคับบัญชาตองเพงเล็งถึงขอเท็จจริงนี้ดว ย
ผูบังคับบัญชาใหความสนใจโดยเฉพาะตอแบบของการใชอาวุธนิวเคลียรของฝายตรงขาม ผูบังคับบัญชาจะ
คํานึงถึงขอพิจารณาบางประการ เชน การใชอาวุธใหม ๆ หรืออาวุธนอกแบบ ตลอดจนเทคนิคและยุทธวิธี

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๕๙
หรือการเปลี่ยนแปลงใหม ๆ ของยุทธวิธี เทคนิค หรือยุทโธปกรณที่มีอยู รวมทั้งกลาวถึงการประเมินคา
เกี่ยวกับเครื่องมือเทคนิคในการรวบรวมขาวกรองของฝายตรงขามดวย
จ) ลักษณะพิเศษและจุดออน ผูบังคับบัญชากลาวถึงลักษณะพิเศษและจุดออนของฝาย
ตรงขามที่จะมีอิทธิพลตอประสิทธิภาพในการรบของฝายตรงขามในทางดีและทางราย รวมทั้งกลาวถึง
เรื่องราวดังกลาวที่เกีย่ วกับการกําลังพลและการสงกําลังบํารุงดวย
๓) สถานการณฝายเรา ในขอยอยนีก้ ลาวถึงกําลังของฝายเรา โดยใชปจจัยพิจารณา
เชนเดียวกับขอยอย ๒) ดังกลาวแลว ขอยอยนีก้ ลาวถึงกิจกรรมสําคัญ ๆ ลักษณะพิเศษและจุดออนตาง ๆ
ทั้งกอนหนานีแ้ ละปจจุบนั และรวมทั้งเรือ่ งตาง ๆ เชน ขวัญการฝก กิจการพลเรือน และการสงกําลังบํารุง
สธ.๓ รวบรวมขาวสารนี้เพื่อทําประมาณการโดยอาศัยความรูในสถานการณของตนและอาศัยขาวสารที่ได
จาก สธ.๒ สธ.๔ และ สธ.๕ สวนผูบังคับบัญชานั้นยอมไดรับขาวสารนี้โดยตรงขากประมาณการดวยวาจา
ของ สธ.๔ และ สธ.๕ ตามธรรมดาแลวขาวสารมักมีลักษณะเปนขอความยอ ๆ ทัง้ นี้อาจเปนเรื่องซ้ําถึงเรื่อง
ที่ทราบกันดีอยูแลว อยางไรก็ดี การวางกําลังของฝายเราเปนเรื่องสําคัญและตองกลาวโดยละเอียดใหเพียงพอ
เพื่อพิจารณาถึงขอพิจารณาตางๆ ซึ่งจะกระทบตอการเลือกหนทางปฏิบัติของผูบังคับบัญชาไมวาในทางดีหรือ
ทางราย รวมทั้งกลาวถึงความชอแหลมตอการโจมตีดว ยอาวุธนิวเคลียรของฝายขาศึกอีกดวย ขาวสารใน
ขอยอยของประมาณสถานการณนี้ยังกลาวถึงสิ่งบอกเหตุของความลอแหลมของฝายเราที่มีตอการโจมตีของ
ฝายตรงขามดวย
๔) อํานาจกําลังรบเปรียบเทียบ โดยอาศัยการวิเคราะหขอมูลเกีย่ วกับฝายตรงขามและ
สถานการณฝายตรงขาม ผูบังคับบัญชาทําการพิจารณาและระบุขอสรุปของตนเกี่ยวกับอํานาจกําลังรบ
เปรียบเทียบ ขอยุติเหลานี้ประกอบดวย ประมาณการของความสัมพันธอยางกวาง ๆ และโดยทัว่ ๆ ไปของ
อํานาจกําลังรบของฝายเรากับอํานาจกําลังรบของฝายตรงขาม รวมทั้งยอดกําลังพลและความลอแหลมตอ
อันตรายที่สําคัญ ๆ ดวย การวิเคราะหนี้ใหความรูโดยทัว่ ๆ ไปสําหรับการกําหนดหนทางปฏิบัติ และอาจ
บงถึงลักษณะมูลฐานและลักษณะเฉพาะของหนทางปฏิบัติที่นาเปนไปได ขอสรุปเหลานี้ชวยในการดําเนิน
กรรมวิธีทําประมาณการณใหเร็วขึ้น โดยจะใหสิ่งบอกเหตุของหนทางปฎิบัติวา หนทางปฏิบตั ิใดไมนาจะ
เปนไปได และไมควรนํามาพิจารณา ผูบงั คับบัญชาพึงหลีกเลี่ยงที่จะเขาไปเกี่ยวของกับการพิจารณา
ในรายละเอียดเกี่ยวกับกําลังพลหรืออาวุธของทั้งสองฝาย ขอยุติของผูบังคับบัญชาอาศัยความคิดเห็น
โดยทั่วไปในการเปรียบเทียบขีดความสามารถของกําลังทั้งสองฝาย
ข. ขอยอย ข ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
๑) ขีดความสามารถของฝายตรงขาม คือ หนทางปฏิบัติที่ฝายตรงขามสามารถปฏิบัติไดจริง
และเมื่อปฏิบัตแิ ลวจะกระทบกระเทือนตอการบรรลุภารกิจของฝายเรา

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๐
๒) ตามธรรมดาแลว สธ.๒ เปนผูพิจารณาหาขีดความสามารถของฝายตรงขาม และกลาว
ไวในประมาณการขาวกรอง ถามีเหตุผลอันสมควร สธ.๒ ก็ใหการประเมินคาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ
ขีดความสามารถที่นาจะนํามาปฏิบัติดวย ผูบังคับบัญชาพิจารณาขีดความสามารถของฝายตรงขามทั้งปวงที่
สธ.๒ เปนผูเสนอ ผูบังคับบัญชาอาจยอมรับ แกไขและตัดทิ้ง หรือผูบังคับบัญชาอาจคิดหาขีดความสามารถ
เพิ่มเติมก็ได ถาเห็นสมควร
๓) ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงความลอแหลมตออันตรายจากฝายตรงขาม ซึ่งอาจเกิดขึ้นแก
หนวยตน หนวยเหนือ และหนวยรองดวย
ค. ขอยอย ค หนทางปฏิบัตขิ องฝายเรา
๑) ความหมายของหนทางปฏิบตั ิ คือ “ลําดับขั้นการปฏิบัติใด ๆ ที่แตละบุคคลหรือแตละ
หนวยจะตองทําตาม หรือคือแผนซึ่งเปนไปไดเพื่อใหบุคคลหรือผูบังคับบัญชาปฏิบัติจนทําใหสําเร็จภารกิจ
ของตนได หรือคิดแผนการปฏิบัติที่คิดขึ้นเพื่อทําใหงานหรือภารกิจสําเร็จ หรือคือแนวทางในการดําเนินการ
เขาปะทะ” ผูทําประมาณการเปนผูคิดหาหนทางปฏิบัติของฝายเรา อยางไรก็ดี ผูบังคับบัญชาอาจหาหนทาง
ปฏิบัติหนึ่งหรือหลายหนทางก็ได และมอบใหเพื่อเปนแนวทางในการพิจารณาของฝายอํานวยการ
๒) ในขอยอย ค ผูบังคับบัญชาพิจารณาหนทางปฏิบัติตามที่ สธ.๓ เสนอในประมาณการยุทธ
และอาจไมยอมรับ ปรับปรุงใหม หรือคิดหนทางปฏิบตั ิเพิ่มเติมก็ได ถาเห็นสมควร ระเบียบปฏิบัตินี้ชวย
ผูบังคับบัญชาในการพิจารณาถึงหนทางปฏิบัติที่นาจะเปนไปได ทั้งปวงที่มีความสําคัญและแตกตางกันไป
๓) ความสามารถในการคิดหาหนทางปฏิบัติที่เปนไปไดอยางรวดเร็วและถูกตองนั้น เปน
เรื่องสําคัญอยางยิ่งในการแสวงขอตกลงใจที่ดี การพัฒนาและการยอมรับหนทางปฏิบัติที่นาจะเปนไปได
ขึ้นอยูกับอิทธิพลของแงคิดของสถานการณตามที่ไดพิจารณาในขอ ๒ ของประมาณสถานการณนี้ และขึ้นอยู
กับการตัดสินใจของผูทําประมาณการดวย บุคคลที่คิดหาหนทางปฏิบัติควรใชหัวขอตอไปนี้เปนแนวทาง
พิจารณา
ก) หนทางปฏิบัตเิ ปนไปไดหรือไม นั้นก็คือ หนวยมีขีดความสามารถที่จะปฏิบัติตามที่
มุงหมายไดหรือไม
ข) หนทางปฏิบัตจิ ะทําใหบรรลุภารกิจโดยไมทําใหหนวยเกิดความเสียหายจนยอมรับ
ไมได หรือไม
ค) หนทางปฏิบัตมิ ีรายละเอียดเพียงพอหรือไมที่ทําใหหนทางหนึ่งแตกตางจากอีก
หนทางอื่น ๆ ทั้งนี้เพื่อความมุงหมายในการวิเคราะห
๔) การคิดหาหนทางปฏิบัตินั้นมีเทคนิคหลายประการ หนทางปฏิบัติอาจจะกลาวในลักษณะ
กวาง ๆ หรือในรูปของรายละเอียดก็ได ในระหวางการวิเคราะหหนทางปฏิบัตขิ องทั้งสองฝายนั้น ผูทํา

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๑
ประมาณการอาจเพิ่มเติมรายละเอียดและขอความที่แกไขใหดกี ็ได และก็สามารถพัฒนาหนทางปฏิบัตใิ ห
สมบูรณได
ก) แมวาผูทําประมาณการเรื่องตาง ๆ ทั้งปวงไมจําเปนจะตองกลาวเรื่องราวทั้งปวง
ไวในแตละหนทางปฏิบัติกต็ าม แตเรื่องทีค่ วรนํามากลาวไวในหนทางปฏิบัติ คือ
(๑) แบบของการปฏิบัติ (เชน เขาตี ตั้งรับ) (เมื่อใด)
(๒) เวลาซึ่งการปฏิบัตินั้นจะเริ่มทําหรือทําใหแลวเสร็จ (เมื่อใด)
(๓) ที่ตั้งของการปฏิบัตินั้น (ในการตั้งรับ แนวโดยทัว่ ไปของ ขนพร. หรือในการ
เขาตี ทิศทางเขาตีโดยทั่ว ๆ ไป) (ที่ไหน)
(๔) การใชหนวยและยุทโธปกรณที่มีอยู (อยางไร) (การกลาวถึงอยางกวาง ๆ ของ
สวนดําเนินกลยุทธ หรือรูปขบวนที่ใช และถาเห็นสมควรกลาวถึงการใชการยิงดวยอาวุธนิวเคลียร และอาวุธ
เคมี เมื่อจําเปนเพื่อแยกใหเห็นเดนชัดระหวางหนทางปฏิบัติตาง ๆ ก็อาจกลาวถึงการสนับสนุนดวยการยิงดวย)
(๕) ความมุงหมายของการปฏิบัติ (ทําไม) ในหนทางปฏิบัตอิ าจกลาวเพื่อชี้แจงความ
มุงหมายใหกระจางชัด
ข) ตามที่กลาวมาขางตนนี้ หนทางปฏิบัติอาจจะกลาวอยางกวาง ๆ หรือกลาวโดย
ละเอียดก็ได ปริมาณของรายละเอียดจะกลาวแลวแตดุลยพินิจของผูบงั คับบัญชา อยางไรก็ดี หนทางปฏิบัติ
ควรจะกลาวถึงรายละเอียดใหเพียงพอที่จะแยกหนทางปฏิบัติอื่น ๆ ใหเห็นไดอยางเดนชัดเพือ่ ใหสะดวก
ตอการวิเคราะหและการเปรียบเทียบในขั้นตอไป ในตัวอยาง สวนมากแลวขอแตกตางที่เห็นไดชัดจะพบในขอ
ที่ไหน และ อยางไร ในการกลาวถึงหนทางปฏิบัติอาจใชคําวาที่ไหน โดยละคําวา อยางไร ใหแฝงอยู (ตาม
ธรรมดาแลวมักใชในเมื่อกลาวถึงหนทางปฏิบัติในรูปทั่วไป) หรืออาจใชคําวา อยางไร และคําวา ที่ไหน
ใหแฝงอยู (ตามธรรมดาแลวมักใชในเมื่อกลาวถึงหนทางปฏิบัติในรูปของรายละเอียดมากกวา)
ค) หนทางปฏิบัตสิ ําหรับภารกิจการรบดวยวิธรี ุกจะกลาวถึงอะไร (เขาตี) เมื่อไร (เวลา
เขาตี) ที่ไหน (ทิศทางเขาตี) อยางไร (การใชเครื่องมือที่มีอยู) และทําไม (ความมุงหมายของการปฏิบัติ) ดังที่
กลาวมาแลว ปริมาณรายละเอียดในแตละเรื่องขึ้นอยูกับดุลยพินจิ
ง) หนทางปฏิบัตสิ ําหรับภารกิจการรบดวยวิธรี ับ จะกลาวถึงอะไร (ตั้งรับ) เมื่อไร (เวลา
เริ่มการตั้งรับ) ที่ไหน (อาจใชที่ตั้งของ ขนพร. หรือพืน้ ที่ตั้งรับของหนวย) อยางไร (กลาวถึงการใชหนวย
ขางหนา) และ ทําไม (ความมุงหมายของปฏิบัติ) สวนปริมาณรายละเอียดในแตละเรื่องก็ขึ้นอยูกับดุลยพินจิ
๑ – ๓ ขอ ๓ การวิเคราะหหนทางปฏิบัติของทั้งสองฝาย
ผูบังคับบัญชาตองวิเคราะหในแตละหนทางปฏิบัติที่กําหนดไวในขอยอย ๒ ค. ของประมาณ
สถานการณ (ขอ ๑ – ๒ ค) เพื่อพิจารณาหาขอดีและเสียเพื่อรวมรายละเอียดที่ถูกตองเพื่อกําหนดความตองการ

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๒
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ในการสนับสนุนดวยการยิง และเพื่อกําหนดความตองการสําหรับการปฏิบัติอื่นใดที่ตองทํารวมกับหนทาง
ปฏิบัตินั้น ๆ ผูบังคับบัญชาจะทําเรื่องนีใ้ หสําเร็จไดดว ยการจําลองยุทธของหนทางปฏิบัติจากการวางกําลัง ณ
ที่ตั้งปจจุบันไปยังที่หมาย รวมทั้งการปฏิบัติใด ๆ ที่อาจตองการที่จะมีตามมาในเวลาเขายึดที่หมายดวย
ก. ในตอนแรกของการวิเคราะหของผูบงั คับบัญชา
เปนการวิเคราะหในขั้นตน เพื่อแยกใหเห็นขอแตกตางระหวางขอพิจารณาเหลานั้นหรือ
ระหวางขีดความสามารถของฝายตรงขามตามที่กลาวไวในขอ ๒ ข ของประมาณสถานการณซึ่งจะชวย
อยางมากในการเลือกหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุดและหนทางปฏิบัติที่ใชไมได
๑) ขีดความสามารถของฝายตรงขามที่ไมไดเลือกมาใชสําหรับ การวิเคราะหนั้นยังคงเปน
ขีดความสามารถที่ใชไดอยู ซึ่งถาฝายตรงขามกระทําแลวจะมีผลกระทบกระเทือนตอการบรรลุภารกิจได
อยางไรก็ดี ขีดความสามารถเหลานั้นไมชวยในการพิจารณาถึงความสําเร็จที่นาเปนไปไดตามหนทางปฏิบัติ
ของฝายเรา ขีดความสามารถของฝายตรงขามเหลานี้ แมวาไมเลือกก็ตามยังคงนําไปใชเพื่ออางถึงไดตอไป
๒) การพิจารณาถึงขีดความสามารถของฝายตรงขาม ซึ่งควรจะเลือกเพื่อใชในการวิเคราะห
ขึ้นอยูกับดุลยพินิจเนื่องจากยังไมมีกฎทีแ่ นนอนในการดําเนินกรรมวิธี กลาวทั่ว ๆ ไปในเมื่อมีขอสงสัย
เกี่ยวกับวาขีดความสามารถอันหนึ่งอันใดควรจะเลือกหรือไมนั้น ก็ใหอยูในดุลยพินจิ ของผูบังคับบัญชา โดย
ก) วิเคราะหขีดความสามารถของฝายตรงขามที่ สธ.๒ เสนอ ใหความสนใจโดยเฉพาะ
ตอขีดความสามารถซึ่งฝายตรงขามนาจะกระทํามากที่สุด ขีดความสามารถที่ฝายตรงขามนาจะกระทําในลําดับ
ต่ําไมควรเลือก
ข) ตรวจสอบขีดความสามารถในการดําเนินกลยุทธของฝายตรงขามเพื่อพิจารณาถึง
ขีดความสามารถนั้น ถาฝายตรงขามกระทําแลวจะเกิดผลกระทบกระเทือนแตกตางกันตอหนทางปฏิบัติของ
ฝายเรา ขีดความสามารถเหลาเลือกขึ้นเพื่อความมุงหมายในการวิเคราะหเนื่องจากขีดความสามารถเหลานี้
จะชวยในการเลือกหนทางปฏิบัติได
ค) ตรวจสอบขีดความสามารถในการดําเนินกลยุทธของฝายตรงขามที่ไดเลือกไวซ้ําอีก
เพื่อพิจารณาหาลักษณะเฉพาะที่แฝงอยูใ นขีดความสามารถอื่น ๆ ตัวอยางเชน ลักษณะเฉพาะของ
ขีดความสามารถในการรั้งหนวงอาจแฝงอยูในขีดความสามารถในการตั้งรับ เปนตน
ง) อาจจะรวมขีดความสามารถในการดําเนินกลยุทธมากกวาขีดความสามารถเพียง
ประการเดียว เพื่อความมุงหมายในการวิเคราะหใหเร็วและวาย ตัวอยางเชน ผูบังคับบัญชาอาจรวมการตั้งรับ
และการเพิ่มเติมกําลังของการตั้งรับเขาดวยกัน หรือการเขาตีและการเพิ่มเติมกําลังของการเขาตี ก็อาจรวมกัน
ได เปนตน

-----------------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๓
๓) ขีดความสามารถทางปนใหญทางอากาศทางนิวเคลียร ทางเคมีและทางชีวะของฝาย
ตรงขาม เรียกวาขีดความสามารถในการสนับสนุน ขีดความสามารถเหลานี้ ตามธรรมดาแลว ฝายตรงขาม
อาจจะกระทําโดยใหเกีย่ วเนือ่ งกับขีดความสามารถในการดําเนินกลยุทธเทานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับ
กองพลและหนวยทีต่ ่ํากวา ตามธรรมดาแลวผูบังคับบัญชาจึงไมควรเลือกเปนขีดความสามารถในการดําเนิน
กลยุทธ ดังนั้น ในขั้นสุดทายของการเลือกขีดความสามารถของฝายตรงขามซึ่งจะชวยในการเลือกหนทาง
ปฏิบัติที่ดีที่สุดนั้น ผูบังคับบัญชาควรรวมขีดความสามารถในการสนับสนุนเขากับขีดความสามารถในการ
ดําเนินกลยุทธตามที่เลือกไวกอนแลว
๔) สมมุติวาในสถานการณโดยเฉพาะอยางหนึ่ง ผูบังคับบัญชาไดเลือกขีดความสามารถ
ในการตั้งรับ ขีดความสามารถในการเขาตี และขีดความสามารถในการเพิ่มเติมกําลังรวมกับขีดความสามารถ
ในการสนับสนุน รวมทั้งขีดความสามารถทางปนใหญทางอากาศ ทางนิวเคลียร ทางเคมี และทางชีวะ ขึ้นแลว
ก็ใหกลาวตามลําดับ ดังนี้
ก) เขาตี (เดี๋ยวนี้ พรุงนี้) เพิ่มเติมกําลัง (ดวย (โดย)...แบบของหนวยทหาร) สนับสนุน
โดยอาวุธทางอากาศ ปนใหญ นิวเคลียร และเคมี
ข) ตั้งรับ (เดี๋ยวนี้ พรุงนี้) เพิ่มเติมกําลัง (ดวย (โดย)...แบบของหนวยทหาร) สนับสนุน
โดยอาวุธทางอากาศ ปนใหญ นิวเคลียร และเคมี
ข. ตอนที่สองของขั้นการวิเคราะห
คือการวิเคราะหแตละหนทางปฏิบัติที่นาเปนไปไดของฝายเรา (ขอ ๑ – ๒ ค) ผูประมาณการ
อยาพยายามเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติของฝายเราในขอ ๓ เปนลําดับ ของการวิเคราะหโดยอิสระของหนทาง
ปฏิบัติของฝายเราที่ทําตอขีดความสามารถของฝายตรงขามผูประมาณการวิเคราะห ในแตละหนทางปฏิบตั ิ
ของฝายเราตอแตละขีดความสามารถของฝายตรงขามที่ไดเลือกไวแลวแยกตางหากจากกัน เพื่อพิจารณา
หาผลลัพธที่บังเกิดขึ้น ผูประมาณการนึกวาดภาพจากการเตรียมการปฏิบัติจนถึงขั้นดําเนินการ วิธกี ารประการ
หนึ่ง คือ ผูทําประมาณการนึกวาดภาพการปฏิบัติของทั้งสองฝายตามลําดับ จากที่มนั่ ปจจุบันไปจนถึงที่หมาย
ขั้นสุดทาย ผูป ระมาณการพิจารณาบรรดาขอเท็จจริงทั้งมวลที่กําหนดขึ้นในขอ ๑ และ ๒ ของประมาณการ
และผลกระทบกระเทือนของขอเท็จจริงเหลานั้นที่มีตอการปฏิบัติดวยผูประมาณการพิจารณาถึงขีด
ความสามารถของฝายตรงขามที่จะขัดขวางหนทางปฏิบตั ิ และเกณฑความสําเร็จของการขัดขวางของฝาย
ตรงขามดวย ผูประมาณการชั่งใจเกีย่ วกับเกณฑความเสียงกับการยอมรับที่นาเปนไปไดของแตละหนทาง
ปฏิบัติ ผูประมาณการพิจารณาถึงมาตรการเชิงรุกและเชิงรับซึ่งอาจทําใหผลกระทบกระเทือนที่เกิดจากการ
โจมตีดวยอาวุธนิวเคลียร เคมี ชีวะและกองโจร และการโจมตีทางอากาศของฝายตรงขามเหลือนอยที่สุด
เรื่องเหลานี้อาจนํามารวมกันโดยเปนภารกิจรวม เปนเรื่องที่ไมนาจะเปนไปไดหรือไม นาจะกระทําไดสําหรับ
ผูบังคับบัญชาที่จะบรรลุถึงขอยุติเปนสวนรวม เพื่อหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุด จนกวาบรรดาขาวสารทั้งปวงที่ได
ในระหวางการวิเคราะหจะมีอยูพอ และการเปรียบเทียบในขอ ๔ จะแลวเสร็จโดยสมบูรณ
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๔
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ค. ขอ ๓ เปนตอนหนึ่งของประมาณการซึ่งผูบังคับบัญชาพยายามทีจ่ ะวาดภาพและที่จะพึง
บรรยายเหตุการณที่นาเปนไปไดทั้งปวงเพือ่ คนหาจุดแข็งและจุดออนของแตละหนทางปฏิบัติ ตอไปนี้เปน
การกลาวถึงวิธีการประการหนึ่งที่ผูบังคับบัญชาใชในการวิเคราะหหนทางปฏิบัติในการรบดวยวิธรี ุก
๑) ผูบังคับบัญชาเริ่มดวยการพิจารณาอํานาจกําลังรบของฝายตรงขามที่นํามาใชในที่มนั่
ขั้นตนซึ่งจะเขาทําลาย แลวพิจารณาถึงอํานาจกําลังรบทีต่ องการ เพื่อเขาทําลายที่มั่น ซึ่งอยูตรงหนาของกําลัง
รบที่มีอยูของฝายตรงขาม ในระดับกองพล ผูบังคับบัญชาวาดภาพอํานาจกําลังรบในรูปของจํานวนและ
ประเภทของกองพันดําเนินกลยุทธ ผูบังคับบัญชาตรวจสอบการวางกําลังในปจจุบันเพื่อพิจารณาวาหนวย
เหลานี้ไดใชสมเหตุสมผลที่สุดแลวในการทําการตรวจสอบนี้ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงขอเท็จจริงอื่น ๆ ซึ่ง
เกี่ยวของกับการใชหนวยเฉพาะกิจและการวางกําลังขึ้นใหมซึ่งอาจมีความจําเปนเพื่อกําหนดทางปฏิบัติในหวง
เวลานี้ ผูบังคับบัญชาอาจพิจารณาความตองการกองบังคับการควบคุมดวย
๒) แลวผูบังคับบัญชาวาดภาพพิจารณาการเคลื่อนยายหนวยจากที่มั่น ซึ่งหนวยไดจดั วาง
กําลังขึ้นใหม
๓) ผูบังคับบัญชาควรพิจารณาถึงการเคลื่อนยายหนวยขามแนวออกตี พิจารณาถึงผล
กระทบกระเทือนที่มีตอการตั้งรับของฝายตรงขาม และประเมินผลการตอบโตของฝายตรงขามดวยการ
เพิ่มเติมกําลังหรือการตีโตตอบ ในหวงเวลานีก้ พ็ ิจารณาและวาดภาพถึงความตองการสําหรับการเขาตี
สนับสนุนในรูปของหนวยทีจ่ ําเปนตองใชจริง ๆ การพิจารณายังคิดถึงความตองการในการสนับสนุนดวย
การยิง การใชควัน แผนการสนับสนุนทางอากาศ ในการทําลายที่มั่นขั้นตนของฝายตรงขาม ผูบังคับบัญชา
วาดภาพถึงพื้นที่และเหตุการณสําคัญ ๆ และบันทึกขอดีขอเสียไวดว ย เมื่อทําการจําลองยุทธจนกระทั่ง
เขาทําลายที่มั่นของฝายตรงขามเสร็จเรียบรอยแลว ผูบ ังคับบัญชาก็ปรับปรุงการประกอบกําลังเขาตีหลักและ
กําลังเขาตีสนับสนุนที่ตองการ และใหขอ ตกลงใจถึงการประกอบกําลัง, ที่ตั้ง และการใชกองหนุนที่นา จะ
เปนไปได ในเมื่อการเขาตีในตอนตนลมเหลวลง
๔) ผูบังคับบัญชาดําเนินการตามการดําเนินกรรมวิธีในทํานองเดียวกันนี้ตอ เนื่องจากการ
จําลองยุทธไปยังที่หมาย ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงความตองการในการสนับสนุนดวยการยิง การยิงดวยอาวุธ
นิวเคลียร การใชควัน และการสนับสนุนทางอากาศ กําหนดความสามารถของหนวยเขาตีสนับสนุนเพื่อมีสวน
ในความสําเร็จตอหนวยทหารฝายตรงขามที่ยังไมพรอม หรือเพื่อปองกันการใชกําลังเพิ่มเติม ผูบังคับบัญชา
วาดภาพถึงพื้นที่และเหตุการณสําคัญและบันทึกขอดีและขอเสียไวดว ย และผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงการใช
กองหนุน และใหขอตกลงใจในการเคลื่อนยายหนวยไปเขาที่มั่นสนับสนุนที่มีขอดีมากกวา ผูบ ังคับบัญชา
ดําเนินการตามกรรมวิธีนี้ซ้ํา ๆ จนกวาจะยึดที่หมายได
๕) เมื่อเขายึดทีห่ มายไดผูบังคับบัญชาก็จะพิจารณาถึงการเสริมความมั่นคง, การจัดระเบียบ
ใหม, การเสริมสรางกําลัง และการเคลื่อนยายกองหนุนไปยังที่มั่นที่ดีทสี่ ุด
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๕
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๖) ผูบังคับบัญชาดําเนินการตามกรรมวิธีในการวิเคราะหนซี้ ้ํา ๆ สําหรับแตละหนทางปฏิบัติ
ตอแตละขีดความสามารถของฝายตรงขามที่ไดเลือกไวแลว
ง. เมื่อทําการจําลองยุทธของแตละหนทางปฏิบัติ ตอแตละขีดความสามารถของฝายตรงขามที่ได
เลือกไวแลวเสร็จสิ้นโดยสมบูรณ ผูบังคับบัญชาก็ควรจะปรับปรุงเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้
๑) ความตองการในการปรับการวางกําลังในขั้นตนใหม
๒) การประกอบกําลังของกําลังเขาตีหลักและกําลังเขาตีสนับสนุน
๓) ความตองการในการสนับสนุนดวยการยิง และการรวมเทคนิค การปกปดและการลวงทาง
ยุทธวิธี และสงครามอิเล็กทรอนิกสเขาไวดวย
๔) การปฏิบัติตอบโตของฝายตรงขามที่นาจะทําในระหวางแตละขั้นของการยุทธ
๕) พื้นที่และเหตุการณอันตรายที่นาจะมีและในแตละกรณีจะทําใหสําเร็จไดอยางไร
๖) ที่ตั้งในขั้นตนและการประกอบกําลังของกองหนุน และการใชทนี่ าจะทําในระหวางขั้น
การยุทธตาง ๆ
๗) การปฏิบัติที่ตองการในการเสริมความมั่นคง, การจัดระเบียบใหม และการเสริมสราง
กําลังในพื้นทีท่ ี่หมาย
๘) ขอดีและขอเสียของแตละหนทางปฏิบัติ
จ. ผูบังคับบัญชาอาจเลือกหนทางปฏิบัติใด ๆ ตอมา เพือ่ นํามากลาวในขั้นสุดทายของประมาณ
สถานการณ คือใน ขอ ๕. “ขอตกลงใจ” ในรูปของคําวา ใคร อะไร เมื่อใด ทีไ่ หน อยางไร และ ทําไม
การวิเคราะหควรจะขยายความในหนทางการปฏิบัติที่ไดกําหนดขึ้นในตอนเริ่มตน ดวยรายละเอียดที่สําคัญ ๆ
ที่จําเปน
๑ – ๔ ขอ ๔ การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติของฝายเรา
ก. ในขอ ๔ ของประมาณการณ ผูบังคับบัญชาเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติที่กําหนดไวในขอ ๓
และบรรลุถึงขอยุติจนไดหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุด ผูบังคับบัญชาใชบรรดาดุลยพินิจ ความชํานาญ และ
ประสบการณทั้งปวงของตนในการเปรียบเทียบนี้ ขอดีและขอเสียบางประการอาจมีความสําคัญนอยมาก
จนละทิ้งได แตขอดีและขอเสียที่ไดจากผลวิเคราะหนั้น ผูบังคับบัญชาพิจารณาความสําคัญของขอดีและ
ขอเสียแตละเรือ่ งในทางที่เกีย่ วกับการบรรลุภารกิจ
ข. ในขอยอยแรกของขอนี้ ผูบังคับบัญชาบันทึกขอดีและขอเสียของแตละหนทางปฏิบตั ิที่เกิดขึ้น
ระหวางการวิเคราะหผูบังคับบัญชาอาจจัดระเบียบของขอยอยนีใ้ หสําเร็จไดหลายวิธี วิธีหนึ่งคือ เขียนแตละ
หนทางปฏิบัตลิ งและแสดงขอดีและขอเสียในหนทางปฏิบัตินั้น ๆ อีกวิธีหนึ่งอาจนํามาใชคือการพิจารณาเรื่อง

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๖
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ที่สําคัญแยกจากกัน (เชน ภูมิประเทศ เวลา และการวางกําลังของฝายเรา) และบรรดาหนทางปฏิบัติทั้งปวง
ก็นําไปพิจารณาประกอบในแตละเรื่องเหลานั้นพรอมกับทําขอยุติยอ ยสําหรับแตละเรื่องที่สําคัญนั้น ในเมื่อ
นําวิธีนี้มาใชในประการแรก ผูบังคับบัญชาพิจารณาอันใดที่เผชิญหนาตนอยู เนื่องจากไมมีขอพิจารณาเรื่อง
สําคัญใด ๆ ที่จะนํามาใชไดในทุกสถานการณ
ค. ในขอยอยสุดทาย ผูบ ังคับบัญชากลาวถึงขอยุติสวนรวมวาหนทางปฏิบัติอันไหนที่จะให
ความสําเร็จมากที่สุด

๑ – ๕ ขอ ๕ ขอตกลงใจ (ประมาณสถานการณของผูบังคับบัญชา)


ก. ผูบังคับบัญชาใหหนทางปฏิบัติซึ่งตนพิจารณาในขั้นการเปรียบเทียบ วาใหโอกาสใน
ความสําเร็จมากที่สุดเพื่อใชเปนมูลฐานสําหรับขอตกลงใจของตน ขอตกลงใยนีจ้ ะทําใหหนวยสามารถบรรลุ
ภารกิจที่ไดรับมอบตอไป
ข. ขอตกลงใจของผูบังคับบัญชา เปนขั้นสุดทายของประมาณสถานการณ เปนคํากลาวที่ชัดแจง
และสั้นถึงแผนกลยุทธที่ตนอนุมัติเพื่อปฏิบัติการยุทธ ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการของตนอาจนํา
ขอตกลงใจไปใชเพื่อพัฒนาสวนที่เหลือของแผนทางยุทธวิธี
ค. โดยธรรมดาคําวา อะไร เมื่อใด ที่ไหน และอยางไร จะกลาวไวแลวในหนทางปฏิบัติ แตเพื่อให
ผูที่ไมไดมีสวนในการทําประมาณการ มีความเขาใจดีขึ้น ก็มักจะเพิ่มเติมคําวา ใคร (หนวยเอง หรือเฉพาะสวน
ของหนวยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ) และคําวา “ทําไม” (ความมุงหมายและเหตุผล) เขาไวใน “ขอตกลงใจ” นั้นดวย
ตามความจําเปน
ง. ในขั้นการวางแผนการยุทธคราวใดคราวหนึ่งนั้น ผูบังคับบัญชาอาจมีขอตกลงใจอยูหลายขอ
แตเมื่อไดทําประมาณสถานการณของตนจนมองเห็นภาพการดําเนินกลยุทธขึ้นบางแลวก็จะไดขอตกลงใจมา
เพียงขอเดียว อยางไรก็ตาม ขอตกลงใจนี้เปนเพียงขอตกลงใจขั้นตนเทานั้น ซึ่งผูบังคับบัญชาจะเพิ่มเติม
รายละเอียดอืน่ ๆ ของขอตกลงใจนี้ไวในแนวความคิดของตนที่จะใหแกฝายอํานวยการตอไป
๑ – ๖ แบบฟอรมและตัวอยาง
ตัวอยางที่ ๑ – ๑ สรุปคําอธิยายโดยทัว่ ๆ ไป และเนื้อเรื่องของประมาณสถานการณของผูบังคับ
หนวยทางยุทธวิธีซึ่งกลาวมาแลวขางตนนี้ ในตอนที่ ๕ ตัวอยางที่ ๕ – ๑, ๕ – ๒ เปนตัวอยางตามแบบฟอรมนี้
สําหรับผูบัญชาการกองพลนําไปใช

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๗
ตัวอยางที่ ๑ – ๑ แบบฟอรมการประมาณสถานการณของผูบังคับหนวยทางยุทธวิธี
(ประมาณการยุทธของนายทหารฝายยุทธการ)
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน – เวลา
การประมาณสถานการณของผูบงั คับบัญชา

อางถึง : แผนที่หรือแผนผัง

๑. ภารกิจ
ภารกิจที่ตองระบุไวตามที่ผูบังคับบัญชาไดพิจารณาไวในขั้นที่ ๓ ของลําดับขั้นในการปฏิบัติงาน
ของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ (บทที่ ๓)
๒. สถานการณและหนทางปฏิบตั ิ
ก. ขอพิจารณาตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอหนทางปฏิบัติที่อาจจะกระทํา ไดกําหนดถึงขอเท็จจริงของ
สถานการณซึ่งอาจจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติการของฝายเราและฝายตรงขาม ดังนั้นจึงอาจมีผลกระทบตอ
การเลือกหนทางปฏิบัติ วิเคราะหขอเท็จจริงแตละขอ และอนุมานถึงผลที่นาจะเกิดขึ้นของขอนั้น ซึ่งจะมีตอ
ขอเท็จจริงอื่น ๆ และตอการปฏิบัติการของฝายตรงขามและฝายเรา ถาไมมีขอเท็จจริงก็ใหใชสมมุติฐาน
ที่สมเหตุสมผล
๑) ลักษณะของพืน้ ที่ปฏิบัติการ
ก) ลมฟาอากาศ ไดแกแงคิดทางการทหารเกี่ยวกับลมฟาอากาศและขอมูลแสงสวาง
ในหวงเวลา รวมทั้งคาดคะเนหรือผลที่สมมุติขึ้นที่เกิดจากการใชของกําลังฝายเรา และกําลังฝายตรงขาม
เกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร อาวุธเคมี การทําสงครามอิเล็กทรอนิกสเครื่องมือเฝาตรวจสนาม การทําสงคราม
นอกแบบ การทําสงครามจิตวิทยา และวิธกี ารหรือเครื่องมืออื่น ๆ ซึ่งไดรับผลกระทบจากลมฟาอากาศ รวมทั้ง
ผลคาดคะเนหรือผลที่สมมุติขึ้นที่เกิดจากการใชของกําลังฝายตรงขามเกีย่ วกับสารชีวะ สรุปผลการกระทบของ
ลมฟาอากาศที่มีตอการปฏิบัติการยุทธของฝายตรงขามและฝายเรา
ข) ภูมิประเทศ ไดแก แงคิดทางทหารเกี่ยวกับภูมิประเทศ พิจารณาถึงผลที่เกิดจากสภาพ
ภูมิประเทศซึ่งมีตอการตรวจการณและพื้นยิง การซอนเรนและการกําบังการเคลื่อนที่ การใชอาวุธนิวเคลียร
และสารเคมีของฝายเราและฝายตรงขาม และการใชสารชีวะของฝายตรงขาม เครื่องมืออื่น ๆ หรือ
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๘
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ขอความยอแสดงที่มาของเอกสาร)

แงคิดของการปฏิบัติการทางทหารตามที่เห็นสมควร พิจารณาถึงผลกระทบของลมฟาอากาศที่มีตอสภาพ
ภูมิประเทศ สรุปผลกระทบของภูมิประเทศทีมีตอการปฏิบัติการยุทธของฝายตรงขามและฝายเรา
ค) ปจจัยอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวของ ไดแก ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของในเรื่องอุทกศาสตร คลื่นความถี่
วิทยุ สภาพแวดลอม การคมนาคม การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรเทคโนโลยี ยุทโธปกรณ
การขนสง กําลังคน หรือปจจัยอืน่ ๆ ตามความเหมาะสมซึ่งมีผลกระทบตอการปฏิบัติการยุทธ รวมทั้ง
ขอเท็จจริงทั้งปวง และขออนุมานที่ไดจากขอเท็จจริงเหลานั้น ซึ่งมีผลกระทบตอการปฏิบัติการยุทธ และ
สรุปผลกระทบที่มีตอการปฏิบัติการยุทธของฝายตรงขามและฝายเรา
๑) สถานการณฝายตรงขาม ระบุถึงการวางกําลังของฝายตรงขาม รวมทั้งหนวยยิง
สนับสนุน (เมื่อเห็นสมควร) พิจารณากําหนดและกลาวถึงการประกอบกําลังของฝายตรงขาม รวมทั้งการ
พิสูจนทราบ อาวุธและแบบหรือชนิดของการจัดหนวย ระบุถึงขาวสารเกี่ยวกับทําเนียบกําลังรบของหนวย
ทหารราบ (ยานยนต) หนวยยานเกราะ หนวยสงทางอากาศ หนวยเคลื่อนที่ทางอากาศ หนวยทหารมา หนวย
ทหารปนใหญ หนวยกําลังทางอากาศและหนวยกําลังทางเรือที่ใหการสนับสนุน และกําลังรบนอกแบบ
พิจารณากําหนดกําลังของฝายตรงขามและแถลงออกมาในรูปของกําลังที่เผชิญหนา กําลังเพิ่มเติม
ขีดความสามารถทางอากาศ นิวเคลียร เคมีและชีวะ กลาวโดยสรุปถึงพฤติการณของฝายตรงขามกอนหนานัน้
และที่กําลังเปนอยูซึ่งอาจแสดงถึงการปฏิบัติในอนาคต สรุปถึงลักษณะพิเศษและความออนแอซึ่งจะมี
ผลกระทบตอประสิทธิภาพในการรบของฝายตรงขามไมวาในทางดีหรือทางราย พิจารณากําหนดและลง
รายการของความลอแหลมตออันตรายของฝายตรงขาม
๒) สถานการณฝายเรา ไดแก ปจจัยตาง ๆ ซึ่งกระทบกระเทือนตออํานาจกําลังรบ
ของฝายเรารวมทั้งการวางกําลัง การประกอบกําลัง ยอดกําลัง (รวมทั้งกําลังทางอากาศเคมี และอาวุธนิวเคลียร)
ขวัญ การฝก กิจการพลเรือน การชวยรบ ความลอแหลมของฝายเราตอการถูกโจมตีดวยอาวุธนิวเคลียรจากฝาย
ตรงขาม และขอพิจารณาอืน่ ๆ ซึ่งมีผลกระทบตอประสิทธิภาพการรบของฝายเรา ไมวาในทางดีหรือทางราย
๓) อํานาจกําลังรบเปรียบเทียบ แสดงถึงความสัมพันธอยางกวาง ๆ ทัว่ ๆ ไปของ
อํานาจกําลังรบฝายเรากับอํานาจกําลังรบฝายตรงขาม พรอมดวยการประเมินคาถึงความแข็งแรงและความ
ลอแหลมตออันตรายของกําลังฝายตรงขามและกําลังฝายเรา การประมาณการเชนนี้ทําใหมภี ูมิหลังโดย
ทั่ว ๆ ไป

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๖๙
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ขอความยอแสดงที่มาของเอกสาร)

เพื่อที่จะกําหนดหนทางปฏิบตั ิขึ้น และอาจแสดงใหเห็นถึงลักษณะมูลฐานและลักษณะเฉพาะตาง ๆ ของ


หนทางปฏิบัติ
ข. ขีดความสามารถของฝายตรงขาม ลงรายการหนทางปฏิบัติทั้งปวงซึ่งฝายตรงขามสามารถ
ปฏิบัติไดจริง และถาฝายตรงขามปฏิบัติตามนั้นแลวจะมีผลกระทบตอการบรรลุถึงความสําเร็จในภารกิจ
ถาสามารถพิจารณาไดแลวใหแสดงถึงลําดับที่ฝายตรงขามนาจะปฏิบัตติ ามหนทางปฏิบัตินั้นมากนอยกวากัน
อยางไรดวย รวมทั้งความลอแหลมตออันตรายของฝายตรงขามที่หนวยระดับสูงและหนวยระดับต่าํ ของฝายเรา
สามารถนําไปใชประโยชนได
ค. หนทางปฏิบัตขิ องฝายเรา กําหนดหนทางปฏิบัติทางยุทธวิธีซึ่งสมเหตุสมผลที่จะกระทําให
สําเร็จภารกิจ โดยกลาวออกมาในรูป อะไร เมื่อใด ทีไ่ หน และอยางไร รวมทั้งทําไมเมื่อตองการเพื่อความ
ชัดเจน
๓. วิเคราะหหนทางปฏิบัตขิ องทั้งสองฝาย
พิจารณากําหนดผลกระทบที่นาจะเกิดขึ้น จากขีดความสามารถแตละอยางของฝายตรงขามที่มีตอ
ความสําเร็จของแตละหนทางปฏิบัติ (ขอ ๒ ค.) ซึ่งอาจกระทําเปนสองขั้นดังนี้
ก. เลือกขีดความสามารถของฝายตรงขามซึ่งจะชวยในการเลือกหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุด
ข. ในทางกลีบกันวิเคราะหหนทางปฏิบัติแตละหนทางปฏิบัติแตละหนทาง ตอขีดความสามารถ
ของฝายตรงขามแตละอยางที่เลือกไวหรือตอขีดความสามารถของฝายตรงขามรวมกัน พิจารณาถึงผลกระทบ
ของขีดความสามารถของฝายตรงขามตามที่ไดกลาวมาแลว ในขอ ก. ขางตนนี้ และพิจารณาถึงผลกระทบของ
ขอเท็จจริงที่สําคัญ ๆ และสมมุติฐานที่กาํ หนดไวในขอ ๒ ขางตนนี้ พิจารณากําหนดเหตุการณอันตราย
ที่นาจะเกิดขึ้น พื้นที่ เวลา และจะเปนไปอยางไร ถาเหตุการณนนั้ บังเกิดขึ้นในระหวางการดําเนินกรรมวิธีนี้
จะตองพิจารณาถึงจุดแข็งและจุดออน (ขอดีและขอเสีย) ของหนทางปฏิบัติแตละอยางประกอบกับขอเท็จจริง
ที่มีความสําคัญและสมมุติฐานดวย
๔. เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติของฝายเรา
เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติตาง ๆ ในรูปขอดีและเสียที่สําคัญ ซึ่งไดปรากฏขึ้นในระหวางการ
วิเคราะห (ขอ ๓) ตกลงใจวาหนทางปฏิบัติหนทางใดที่มีทางจะสําเร็จภารกิจมากที่สุด วิธีการเปรียบเทียบอีก
วิธีหนึ่งอาจนํามาใชได คือ การพิจารณาเรื่องที่สําคัญ ๆ แยกจากกัน (เชน ภูมิประเทศ เครื่องกีดขวาง และการ

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๐
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ขอความยอแสดงที่มาของเอกสาร)

วางกําลังของฝายเรา) และบรรดาหนทางปฏิบัติทั้งปวงนําไปพิจารณาประกอบในแตละเรื่องเหลานั้น พรอม


กับทําขอยุติยอ ยสําหรับแตละเรื่องที่สําคัญนั้น ๆ
๕. ขอตกลงใจ (ขอเสนอ)
แปลงหนทางปฏิบัติที่ไดเลือกไว (ในขอ ๔) เปนขอความ โดยระบุวากําลังทั้งหนวยทําอะไรและมี
ขอความเกี่ยวกับใคร ทําอะไร เมื่อใด ที่ไหน อยางไร และทําไม ตามความเหมาะสม
(ลงชื่อ)......................
(ผูบังคับหนวย)

ผนวก (ตามความจําเปน)

การแจกจาย

การรับรองสําเนา

(ลงชื่อ)........................
(ผูบังคับหนวย)

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๑
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)

ตอนที่ ๒
ประมาณสถานการณของผูบ ังคับหนวยชวยรบ
การประมาณการของ (นายทหารฝายยุทธการของหนวยบัญชาการชวยรบ ใชคําอธิบาย เนื้อเรื่องและ
แบบฟอรม ของประมาณสถานการณนี้ได ยกเวนในขอสุดทาย (ขอ ๕) ใหใชคําวา “ขอเสนอ” แทน “ขอตกลง
ใจ”)
๒ – ๑ ขอ ๑ ภารกิจ
ภารกิจอาจจะเปนภารกิจทั่วไปหรือภารกิจเฉพาะก็ได ภารกิจที่กลาวในขอนี้คือ ภารกิจที่ตองระบุไว
ตามการวิเคราะหภารกิจของผูบังคับหนวยชวยรบ
ก. ตามธรรมดาแลวภารกิจคือ เพื่อสนับสนุนการยุทธของผูบังคับบัญชาคนอื่น หนึ่งคนหรือหลาย
คนก็ได ภารกิจนี้กําหนดอยูในคําสั่งและคําชี้แจงจากผูบังคับหนวยเหนือกวาหรืออาจจะอนุมานไดจากความ
รอบรูในสถานการณ และในเจตนารมณของผูบังคับหนวยเหนือก็ได ในเมื่อในขอ ๑ นีก้ ลาวเปนภารกิจ
โดยทั่วไปของการสนับสนุน ผูบังคับบัญชาจะกลาวถึงหนทางปฏิบัตขิ องหนวยรับการสนับสนุนหนวยเดียว
หรือหลายหนวยไวดว ยถาทราบ
ข. ตามปกติ ภารกิจเฉพาะจะอยูในขอบเจตภารกิจทัว่ ไปของการสนับสนุน ภารกิจเฉพาะอาจจะ
กําหนดขึ้นในคําสั่ง และคําชี้แจงจากผูบังคับบัญชาที่สูงกวา หรืออนุมานไดจากความรอบรูในสถานการณและ
ในเจตจํานงของผูบังคับบัญชาชั้นสูงกวาก็ได ตัวอยางเชน “สนับสนุนกองพลยานเกราะอีก ๓ กองพล ในดาน
ของกองทัพที่ ๓” และ “เขารับผิดชอบทางกิจการพลเรือนในพืน้ ที่ของกองทัพนอยที่ ๓ ตอไปจนถึง
แมน้ําปราณ” ภารกิจเฉพาะในประมาณสถานการณ อาจกลาวถึงกิจเฉพาะของภารกิจทั่วไป ซึ่งผูบ ังคับบัญชา
ตองตกลงใจทําสําหรับหนทางปฏิบัตินั้น ๆ ภารกิจของผูบังคับหนวยชวยรบในการใหการสนับสนุน สป.๕
ตอกองทัพสนามนั้นเปนตัวอยางอันหนึ่งของกิจเฉพาะซึ่งจะตองกลาวเปนเรื่องหนึ่งตางหากในการประมาณ
สถานการณ
๒ – ๒ ขอ ๒ สถานการณ และหนทางปฏิบัติ
ขอ ๒ ของประมาณสถานการณของผูบ ังคับหนวยชวยรบคงมีความมุงหมายเชนเดียวกันกับความ
มุงหมายในขอ ๒ ของประมาณสถานการณของผูบังคับหนวยทางยุทธวิธี อยางไรก็ดี ลักษณะของการปฏิบัติ
ของหนวยชวยรบตองการเพงเล็งถึงแงคิดทางสถานการณแตกตางไปจากของหนวยทางยุทธวิธี ขอแตกตางนี้
ทําใหจําเปนตองแกไขเนื้อเรื่องและลําดับใน ขอ ๒ ของประมาณสถานการณดังตอไปนี้
ก. ขอยอย ก. “ขอพิจารณาที่มผี ลกระทบตอหนทางปฏิบัตทิ ี่อาจกระทําได”

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๒
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๑) การปฏิบัติการยุทธที่จะตองสนับสนุน ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงลักษณะของการยุทธ
ที่จะตองสนับสนุน การประกอบกําลังของกองกําลังที่รับการสนับสนุนความตองการทางการชวยรบของกําลัง
รับการสนับสนุนที่ตองการพิเศษหรือผิดปกติ และปจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับกองกําลังรับการสนับสนุนซึ่ง
กระทบตอขอบเขต และขนาดของภารกิจสนับสนุน
๒) ลักษณะของพืน้ ที่ปฏิบัติการ ผูบังคับหนวยชวยรบพิจารณาปจจัยตาง ๆ เหมือนกับผูบังคับ
หนวยทางยุทธวิธีพิจารณา ผูบังคับบัญชาใชปจจัยเหลานี้ในการปฏิบัติการชวยรบ เพื่อพิจารณาถึงผลกระทบ
ของลักษณะของพื้นที่ปฏิบัติการที่มีตอการปฏิบัติเหลานี้ตอการบรรลุภารกิจของตน
๓) สถานการณฝายตรงขาม ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงขีดความสามารถของฝายตรงขาม ซึ่ง
คุกคามตอการปฏิบัติการของตน
๔) สถานการณฝายเรา ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงแงคิดตาง ๆ ของสถานการณฝายเราซึ่งให
มูลฐานในการยอมรับขอยุงยากที่คาดวาจะมี หรือความยุงยากที่มีอยูในความสามารถของหนวยในการ
ใหความสนับสนุนตามที่ตองการ
ก) สถานการณฝายเรา ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงการวางกําลังของหนวยหลักของกําบัง
รับการสนับสนุน ผูบังคับบัญชาพิจารณาการวางกําลังในตอนเริ่มตนของการยุทธ และในทุกขั้นของการ
ปฏิบัติการยุทธวิธีซึ่งอาจตองการสนับสนุนทางการชวยรบ ผูบังคับบัญชากําหนดความตองการในการ
สนับสนุนเปนพิเศษ ซึ่งตองการในตอนเริ่มตนของการยุทธและในแตละขั้นตอนตามลําดับของการยุทธ
พิจารณาถึงเทคนิคหรือระเบียบปฏิบัติพิเศษในการสนับสนุนซึ่งตองการใหทําเนื่องจากสถานการณทาง
ยุทธวิธี
ข) สถานการณกําลังพล การสงกําลังบํารุง และกิจการพลเรือน ในขอยอยที่แยกตางหาก
ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงสถานการณทางกําลังพล การสงกําลังบํารุง และกิจการพลเรือน ในแตละขอยอย
กลาวถึงขอพิจารณาของสถานการณภายในหนวย และขอพิจารณาของภารกิจที่สนับสนุนความตองการของ
แตละสายงาน กลาวถึงผลกระทบของขอพิจารณาแตละอยาง หรือทั้งสองที่มีผลตอการบรรลุภารกิจ
ข. ขอยอย ข ขอยุงยากที่คาดวาจะมีหรือขอยุง ยากที่มีอยู ในขอยอยนี้คงเปนไปทํานองเดียวกันกับ
ความมุงหมายของขอยอย ๒ ข ของประมาณสถานการณของผูบังคับหนวยทางยุทธวิธี ผูบังคับหนวยชวยรบ
พิจารณาและระบุขอยุงยากตาง ๆ หรือขอยุงยากที่มีอยูใ นสถานการณทกี่ ําลังดําเนินอยู หรือที่คาดคิดไวซึ่งอาจ
มีผลกระทบตอการบรรลุภารกิจ ขอยุง ยากหรือขอยุง ยากที่มีอยูเ หลานี้ กําหนดไดจากขอพิจารณาของ
ผูบังคับบัญชาในขอยอย ๒ ก ของประมาณสถานการณนี้ และผูบังคับบัญชาใชขอยุงยากนีใ้ นขอวิเคราะหของ
ประมาณสถานการณ
ค. ขอยอย ค “หนทางปฏิบัติของฝายเรา” ผูบังคับบัญชาระบุหนทางปฏิบัติที่อาจทําไดซึ่งจะทําให
บรรลุภารกิจในการสนับสนุน
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๓
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒ – ๓ ขอ ๓ การวิเคราะหหนทางปฏิบัติของทั้งสองฝาย
ผูบังคับบัญชาพิจารณาถึงผลกระทบที่นาจะเกิดขึน้ ของขอยุงยากที่สําคัญ ๆ แตละขอที่มีความสําคัญ
ของแตละหนทางปฏิบัติในตอนนี้ผูบังคับบัญชาอาจจะทําเปน ๒ ขั้น คือ
ก. การเลือกความยุงยากที่สําคัญ ๆ เหลานัน้ ซึ่งมีผลกระทบตอหนทางปฏิบัติทุกหนทางของ
ฝายเราตามที่กาํ หนดขึ้นและกลาวไวในขอ ๒ ค ของประมาณสถานการณ
ข. การวิเคราะหหนทางปฏิบัตแิ ตละหนทางตามที่กลาวไวในขอ ๒ ค ของประมาณสถานการณ
ตอขอยุงยากแตละขอที่ไดเลือกไว พิจารณาถึงผลที่อาจเกิดขึ้นของแตละหนทางปฏิบัติ รวมทั้งเหตุการณ
อันตราย พืน้ ที่ เวลา และขอยุงยากที่สําคัญ (ขอ ๓ ของประมาณสถานการณของผูบังคับหนวยทางยุทธวิธี
(ขอ ง – ๓) ผูบังคับบัญชานําปจจัยเหลานี้มาใชสําหรับการวิเคราะหของตน โดยการพิจารณาผลของ
ขีดความสามารถของฝายตรงขามกับขอยุงยากที่สําคัญ ๆ ที่จะมีตอความสําเร็จของแตละหนทางปฏิบัติ
๒ – ๔ ขอ ๔ การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติของฝายเรา
การเปรียบเทียบของผูบังคับหนวยชวยรบในขอนี้ มีจดุ ประสงคเชนเดียวกับการเปรียบเทียบของ
ผูบังคับหนวยทางยุทธวิธี เชน เพื่อเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติภายหลังที่ไดวิเคราะห เพื่อพิจารณาหาวาหนทาง
ปฏิบัติหนทางใดใหความสําเร็จในการบรรลุภารกิจไดดีทสี่ ุด ขอ ๔ ของประมาณสถานการณของผูบังคับ
หนวยทางยุทธวิธี ขอ ง – ๔) กลาวถึงเทคนิคและระเบียบปฏิบัติ ซึ่งผูบังคับหนวยชวยรบอาจนําไปใชในการ
เปรียบเทียบของตนได
๒ – ๕ ขอ ๕ ตกลงใจ
ในขอนี้ ผูบงั คับบัญชาแปลงหนทางปฏิบัติที่ไดเลือกไวแลวเปนคําอธิบายวาหนวยจะตองทําอะไร
เปนสวนรวม และมีขอความเกี่ยวกับคําวา ใคร อะไร เมื่อใด ที่ไหน อยางไร และทําไม ตามความเหมาะสม
๒ – ๖ แบบฟอรม และตัวอยาง
แบบฟอรมที่กลาวไวในตัวอยางที่ ๒ – ๑ กลาวสรุปถึงคําอธิบายโดยทั่ว ๆ ไปและเนื้อเรื่องของ
ประมาณสถานการณของผูบ ังคับหนวยชวยรบ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๔
ตัวอยางที่ ๒ – ๑ แบบฟอรมประมาณสถานการณของผูบังคับหนวยชวยรบ
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน – เวลา
การปราณสถานการณของผูบ ังคับหนวยชวยรบ

อางถึง : แผนที่ หรือ แผนผัง

๑. ภารกิจ
ก. เมื่อความมุงหมายของการประมาณสถานการณทําเพื่อพิจารณากําหนดหนทางปฏิบัตทิ ี่ดีที่สุด
ในการปฏิบัตภิ ารกิจทัว่ ไปในการสนับสนุน ควรกลาวรวมทั้งภารกิจสนับสนุนตามคําสั่ง และคําชีแ้ จงหนวย
บัญชาการขั้นเหนือ และกลาวถึงหนทางปฏิบัติอยางกวาง ๆ ของหนวยบัญชาการรับการสนับสนุนเมื่อ
เห็นสมควร
ข. เมื่อความมุงหมายของการประมาณสถานการณ ทําเพื่อพิจารณากําหนดหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุด
ในการปฏิบัตภิ ารกิจเฉพาะอยางหนึ่ง (ในกรอบของภารกิจทั่วไป ในการสนับสนุนทางการชวยรบ) อางภารกิจ
เฉพาะนัน้ ขึ้นเพื่อทําการวิเคราะหภารกิจทีก่ ลาวซ้ํานี้คือภารกิจที่นํามาใชในประมาณการ พิจารณากําหนดวามี
กิจเฉพาะใดบางที่ตองทําเพือ่ ใหมั่นใจวาจะบรรลุภารกิจโดยสมบูรณทสี่ ุด กลาวถึงกิจเฉพาะเหลานี้
เรียงตามลําดับงานที่จะตองทําใหแลวเสร็จ พรอยกับบงถึงความมุงหมายของกิจเฉพาะแตละงานตามความ
เหมาะสม
๒. สถานการณ และหนทางปฏิบตั ิ
ก. ขอพิจารณาตางๆ ที่มีผลกระทบตอหนทางปฏิบัติที่อาจกระทําได พิจารณา และวิเคราะห
ขอเท็จจริงของสถานการณซึ่งอายมีผลกระทบตอการเลือกหนทางปฏิบัติวิเคราะหขอเท็จจริงแตละขอและ
อนุมานถึงผลที่นาจะเกิดขึ้นซึ่งจะมีขอเท็จจริงอื่น ๆ และตอการปฏิบัติการของฝายเราและฝายตรงขาม ถาไมมี
ขอเท็จจริงก็ใหใชสมมุติฐานที่สมเหตุสมผล
๑) การปฏิบัติการยุทธที่ตองสนับสนุน กลาวถึงลักษณะของการปฏิบัติการยุทธที่จะตอง
สนับสนุน เนนถึงปญหาในปจจุบันและในอนาคตที่จะเกิดขึ้น และแผนในการปฏิบตั ิการสนับสนุน
๒) ลักษณะของพืน้ ที่ปฏิบัติการ

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๕
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ขอความยอแสดงที่มาของเอกสาร)

ก) ลมฟาอากาศ ไดแก แงคดิ ทางการทหารเกี่ยวกับลมฟาอากาศ สรุปผลกระทบของ


ลมฟาอากาศที่มีตอการปฏิบัติภารกิจสนับสนุน
ข) ภูมิประเทศ ไดแก แงคิดทางการทหารเกี่ยวกับภูมิประเทศที่มผี ลกระทบตอการ
ปฏิบัติภารกิจสนับสนุน รวมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกทางการขนสง เชน ถนน ทางรถไฟ ทาเรือและหาด
ตามความเหมาะสม
ค) ปจจัยอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก ขอเท็จจริงที่เกีย่ วของในเรื่องสภาพทางเศรษฐกิจ
ทางการเมือง ทางสังคมจิตวิทยา ภายในพื้นที่ปฏิบตั ิการสนับสนุน รวมทั้งขอเท็จจริงหรือขออนุมานถึง
ผลกระทบตอการปฏิบัติการสนับสนุน
๓) สถานการณฝายตรงขาม พิจารณากําหนดผลกระทบของการปฏิบัติการของฝายตรงขาม
ในปจจุบนั รวมทั้งการทําสงครามนอกแบบ และการปฏิบัติการยุทธที่ไมเปดเผยที่มีตอการปฏิบัติการ
สนับสนุน ลงรายการขีดความสามารถของฝายตรงขาม ซึ่งฝายตรงขามสามารถปฏิบัติไดจริง และถาฝาย
ตรงขามปฏิบัติตามนั้นแลวจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติการยุทธ พิจารณาหาผลกระทบของขีดความสามารถ
ดังกลาวนี้
๔) สถานการณฝายเรา ไดแก แงคิดที่สําคัญ ๆ ของสถานการณฝายเรา และผลกระทบของ
แงคิดเหลานัน้ ที่มีตอภารกิจ รวมทั้งการพิจารณากําหนดความตองการและสิ่งทีมีอยูของเหลาทรัพยากรทาง
ทหาร และผลกระทบของแผนในอนาคตที่มีตอภารกิจ
ก) สถานการณทางยุทธวิธี ไดแก การวางกําลังของหนวยหลักทางยุทธวิธีในปจจุบนั
และการปฏิบตั ิการยุทธตามโครงการที่วางไว พิจารณาและกลาวถึงผลกระทบของสถานการณทางยุทธวิธีที่มี
ตอภารกิจสนับสนุนทางการชวยรบ
ข) สถานการณกําลังพล ไดจากการประมาณการกําลังพล พิจารณาและกลาวถึง
ผลกระทบของสถานการณกําลังพลทีมีตอภารกิจสนับสนุนทางการชวยรบ
ค) สถานการณสงกําลังบํารุงไดจากการประมาณการสงกําลังบํารุงพิจารณา และ
กลาวถึงผลกระทบของสถานการณสงกําลังบํารุง ที่มีตอภารกิจสนับสนุนทางการชวยรบ
ง) สถานการณกจิ การพลเรือนไดจากการประมาณการกิจการพลเรือน พิจารณาและ
กลาวถึงผลกระทบของสถานการณกิจการพลเรือนที่มีตอภารกิจสนับสนุนทางการชวยรบ

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๖
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ขอความยอแสดงที่มาของเอกสาร)

ข. ขอยุงยากที่คาดวาจะมีหรือขอยุงยากที่มีอยู กลาวถึงขอยุง ยากที่คาดวาจะมีหรือขอยุงยากที่มีอยู


ซึ่งอาจจะมีผลกระทบตอการบรรลุภารกิจ โดยอาจกลาวถึงขีดความสามารถของฝายตรงขาม รวมถึง
ขีดความสามารถทางอาวุธนิวเคลียร เคมี ชีวะ การทําสงครามนอกแบบ และการปฏิบัติการจิตวิทยา หรือขอ
ยุงยากที่คาดวาจะมีหรือขอยุง ยากที่มีอยูที่สาํ คัญ ๆ ซึ่งตองขจัดใหได
ค. หนทางปฏิบัตขิ องฝายเรา พิจารณากําหนดและกลาวถึงหนทางปฏิบตั ิที่เปนไปไดซึ่งจะทําให
บรรลุภารกิจ หากหนทางปฏิบัตินั้นทําใหสําเร็จ
๓. วิเคราะหหนทางปฏิบัตขิ องทั้งสองฝาย
พิจารณากําหนดผลกระทบที่นาจะเกิดขึ้นของขอยุงยากที่สําคัญ ๆ แตละขอที่มีตอ ความสําเร็จของ
แตละหนทางปฏิบัติ (ขอ ๒ ค.) ซึ่งอาจกระทบเปนสองขั้น ดังนี้
ก. เลือกขอยุงยากที่สําคัญเหลานั้น ซึ่งมีผลกระทบตอหนทางปฏิบัติทุกหนทางของฝายเราตามที่
กําหนดขึ้นและกลาวไวในขอ ๒ ค.
ข. วิเคราะหหนทางปฏิบัติแตละหนทางตามที่กลาวไวในขอ ๒ ค. ตอขอยุงยากแตละขอตามที่
เลือกไวแลวจาก ขอ ๓ ก. พิจารณาถึงผลที่อาจจะเกิดขึน้ ของแตละหนทางปฏิบัติ รวมทั้งเหตุการณอันตราย
พื้นที่ เวลา และขอบกพรองที่สําคัญ ๆ
๔. เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติของฝายเรา
เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติตางๆ ในรูปขอดีและขอเสียทีส่ ําคัญซึ่งไดปรากฏในระหวางการวิเคราะห
(ขอ ๓) ตกลงใจวาหนทางปฏิบัติหนทางใดที่มีทางจะสําเร็จภารกิจมากที่สุด (หรือหนทางปฏิบัตทิ างยุทธวิธี
หนทางใดที่สามารถสนับสนุนไดดีที่สุด) วิธีการเปรียบเทียบอีกวิธีหนึ่ง อาจนํามาใชได คือ การพิจารณาเรื่อง
สําคัญ ๆ แยกจากกัน (เชน เวลา, ระยะทางและความลอแหลม) และบรรดาหนทางปฏิบัติทั้งปวงก็นําไป
พิจารณาประกอบในแตละเรื่องเหลานี้ พรอมกับทําขอยุติยอยสําหรับแตละเรื่องที่สําคัญเหลานั้น

-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๗
-----------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ขอความยอแสดงที่มาของเอกสาร)

๕. ขอตกลงใจ (ขอเสนอ)
แปลงหนทางปฏิบัติที่ไดเลือกไว โดยระบุวาหนวยบัญชาการนี้จะทําอะไร และมีขอความเกี่ยวกับ
ใคร ทําอะไร เมื่อใด และทําไม ตามความเหมาะสม

(ลงชื่อ)........................
(...................)
ตําแหนง
ผนวก (ตามความจําเปน)
การแจกจาย
การรับรองสําเนา
ยศ ชื่อ..............
(...............)
ตําแหนง
๒๗๘
ตอนที่ ๓
ประมาณการของฝายอํานวยการ

๓ – ๑ ประมาณการกําลังพล, สงกําลังบํารุง และกิจการพลเรือน


รูปที่ ๓ – ๑, ๓ – ๓ และ ๓ – ๔ สรุปคําอธิบายโดยทัว่ ไป และเนื้อเรื่องของประมาณการกําลังพล,
สงกําลังบํารุง และกิจการพลเรือน ตอนที่ ๔ ตัวอยางที่ ๔ – ๓ , ๔ – ๕ และ ๔ – ๖ เปนตัวอยางตามแบบฟอรม
นี้ที่นายทหารฝายกําลังพล นายทหารฝายสงกําลังบํารุง และนายทหารฝายกิจการพลเรือนนําไปใช
๓ – ๒ ประมาณการขาวกรอง
ตัวอยางที่ ๓ – ๒ สรุปคําอธิบายโดยทัว่ ๆ ไป และเนื้อเรื่องของประมาณการขาวกรอง ตัวอยางที่ ๔
– ๕ เปนตัวอยางตามแบบฟอรมนี้ที่นายทหารฝายการขาวกรองนําไปใช

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๗๙
ตัวอยางที่ ๓ – ๑ แบบฟอรมประมาณการกําลังพล
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน เวลา
หมายเลขอางสาสน
ประมาณการกําลังพลที่.....

อางถึง : แผนที่ แผนผัง แผนบริวาร หรือเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

๑. ภารกิจ
ภารกิจตามที่ระบุไวจากการพิจารณาของผูบ ังคับบัญชาในขั้นที่ ๓ (วิเคราะหภารกิจ) ของลําดับขั้น
ในการปฏิบัติงานของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
๒. สถานการณ และขอพิจารณา
ก. สถานการณทางการขาวกรอง ขาวสารที่ไดรับขากนายทหารการขาวกรอง เมื่อประมาณการ
จําตองกระทําในรายละเอียด และกระทําเปนขอเขียน อาจใชสรุปยอ และการอางถึงเอกสารหรือผนวก
ประกอบเกีย่ วกับการขาวกรอง
๑) ลักษณะพื้นทีป่ ฏิบัติการ
๒) กําลัง และการวางกําลังของฝายตรงขาม สรุปยอขาวสารเกี่ยวกับกําลังพลและการวาง
กําลังของขาศึก หรืออางถึงแผนที่สถานการณ, แผนบริวาร และเอกสารที่เกี่ยวของ ถามีมากกวา ๑ รายการ
ก็ใหเขียนเรียงลําดับขอ ก) ข)
๓) ขีดความสามารถฝายตรงขาม ระบุขีดความสามารถที่ขาศึกสามารถกระทําได รวมทั้ง
ขีดความสามารถที่ขาศึกนาจะปฏิบัติมากทีส่ ุด ถามีมากกวา ๑ รายการ ก็ใหเขียนเรียงลําดับขอ ก) .. ข)
๔) ผลที่จะบังเกิดตอกําลังพล ระบุถึงผลอันเกิดจากลักษณะพืน้ ที่ปฏิบัติการและขาศึก
ที่กระทบตอกําลังพล (รางกายและจิตใจ) และ/หรือ กระทบตอกําลังพล ผลกระทบนี้อาจนําไปเขียนแยกเปน
ขอยอยของลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการ และขาศึกโดยเฉพาะก็ได หรือจะนํามาพิจารณารวมกันทีเดียวในขอนี้กไ็ ด

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณการกําลังพลที่..... – หนวย)

ข. สถานการณทางยุทธวิธี ขาวสารที่ไดรับจากแนวทางในการวางแผนของผูบังคับบัญชา และจาก


นายทหารยุทธการ
๑) การวางกําลังของหนวยรบหลัก อาจอางถึงแผนที่สถานการณ
๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่คาดวาจะกดระทําเพื่อบรรลุภารกิจทางยุทธวิธี (หนทางปฏิบัติเหลานี้
ตองนํามาใชตลอดการทําประมาณการนี้ ตามปกติ สธ.๓ จะเปนผูก ําหนดสอง ห/ป.ขึ้นไป)
๓) การยุทธในขั้นตอไป (ถามี) เชน เขาตีตอ ไป หรือ กลับไปเปนกองหนุน รวมทั้งการ
ปฏิบัติการอื่นใดที่จําเปนตองมีการประสานงานเพิ่มเติม
๔) ผลที่จะบังเกิดตอกําลังพล ระบุถึงผลที่กระทบตอกําลังพล (รางกายและจิตใจ) และ/หรือ
กระทบตอกิจการกําลังพล โดยแยกใหเห็นถึงผลกระทบในแตละหนทางปฏิบัติ และผลที่จะเกิดตอแผนการ
ยุทธที่จะกระทําตอไปดวย
ค. สถานการณการสงกําลังบํารุง รวมทั้งขอมูลจะไดรับจากนายทหารฝายการสงกําลังบํารุง
๑) การวางกําลังในปจจุบันของหนวย และสถานที่ตั้งทางการสงกําลังบํารุง ซึ่งอาจจะมี
ผลกระทบตอการปฏิบัติการกําลังบํารุง
๒) การดําเนินงานทางดานสงกําลังบํารุงตามแผนที่คาดไว ที่อาจจะกระทบตอการปฏิบัติการ
กําลังพล
๓) ผลที่จะบังเกิดตอกําลังพล ระบุถึงผลที่กระทบตอกําลังพล (รางกายและจิตใจ) และ/หรือ
กระทบตอกิจการกําลังพล
ง. สถานการณกจิ การพลเรือน รวมทั้งขอมูลที่จะไดรับจากนายทหารฝายกิจการพลเรือน
๑) การวางกําลังในปจจุบันของหนวย และสถานที่ตั้งทางกิจการพลเรือน ซึ่งมีผลกระทบตอ
การปฏิบัติการทางดานกําลังพล ซึ่งไดมาจากการทําประมาณการกิจการพลเรือน
๒) การดําเนินงานทางดานกิจการพลเรือนตามแผนที่คาดไวที่อาจจะกระทบตอการปฏิบัติการ
กําลังพล
๓) ผลที่จะบังเกิดตอกําลังพล ระบุถึงผลที่กระทบกระเทือนตอกําลังพล (รางกายและจิตใจ)
และ/หรือ กระทบตอกิจการกําลังพล
จ. สถานการณกําลังพล ในขอยอยนีแ้ สดงถึงสถานภาพของสถานการณในปจจุบันไวในขอยอย
ตามหัวของานในหนาที่ของ สธ.๑ ในกรณีขาวสารรายละเอียด ณ ระดับหนวยสูง ๆ อาจใชการสรุปในขอ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด

หนา ของ หนา


(ประมาณการกําลังพลที่..... – หนวย)

ยอยดังกลาวโดยอางเปนผนวกประกอบประมาณการกําลังพล
ฉ. สมมุติฐาน สมมุติฐานใด ๆ ที่จําเปนตองใชเปนมูลฐานสําหรับการริเริ่ม วางแผน หรือการทํา
ประมาณการ สมมุติฐานยอมแกไขตอไปเปนขอมูลที่เปนจริง เมื่อมีแนวทางในการวางแผนโดยเฉพาะขึ้นใน
ขั้นตอนแรกอาจไมสามารถกําหนดสมมุติฐานใหชดั เจนได แตเมื่อเขาสูขั้นการวิเคราะหแลว อาจติดขัด
จึงจําเปนตองกําหนดสมมุติฐานขึ้นมาเพื่อชวยใหสามารถทําการวิเคราะหตอไปได
๓. การวิเคราะห
วิเคราะหตามลําดับการในหนาที่ของ สธ.๑ ใหเห็นวางานในแตละเรือ่ งของ สธ.๑ นั้นกระทบตอ
หนทางปฏิบัตทิ างยุทธวิธีแตละหนทางเหมือนกันหรือไม และผลกระทบนั้นทําใหตองยกเลิกหนทางปฏิบัติ
ใด ๆ หรือไม แยกเขียนเปนขอยอยไปตามลําดับ
๔. การเปรียบเทียบ
ก. ประเมินคาขอขัดของของกําลังพล (ถามี) โดยเพงเล็งตอความสําเร็จภารกิจ โดยใชหนทาง
ปฏิบัติทางยุทธวิธี ซึ่งเขียนไวในประมาณสถานการณของผูบังคับบัญชาหรือประมาณการยุทธของ สธ.๓
มาพิจารณา
ข. เปรียบเทียบขอดีและขอเสียของแตละหนทางปฏิบัติทางยุทธวิธี ซึ่งกําลังพิจารณาอยูจ ากขอคิด
ทางดานกําลังพล รวมทั้งวิธีตาง ๆ ที่ใชแกไขขอบกพรองหรือการแกไขดัดแปลงซึ่งตองใชในแตละหนทาง
ปฏิบัติ
๕. ขอสรุป
ก. จากการพิจารณาในแงกําลังพล แสดงใหเห็นวาภารกิจตามที่กําหนดไวในขอแรกนัน้ สามารถ
สนับสนุนไดหรือไม
ข. ระบุถึงวา หนทางปฏิบัติใด หรือหลายหนทางปฏิบัติใดที่คาดวาจะกระทํา สามารถสนับสนุน
ในแงกําลังพลไดดีที่สุด
ค. ระบุถึงปญหาและขอขัดของทางดานกําลังพลของตาละหนทางปฏิบัติ
ง. ระบุถึงขอเสนอในการแกปญ  หาและขอขัดของทางดานกําลังพล รวมถึงขอเสนออื่น ๆ

(ลงชื่อ)......................
(..................)
ตําแหนง............
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด

หนา ของ หนา


(ประมาณการกําลังพลที่..... – หนวย)

ผนวก :

การแจกจาย

เปนคูฉบับ
ยศ, ชื่อ...............
(..................)
ตําแหนง.........

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๓
ตัวอยางที่ ๓ – ๒ แบบฟอรมการประมาณการขาวกรอง
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน – เวลา
หมายเลขอางสาสน
ประมาณการขาวกรองที่.....

อางถึง : แผนที่ แผนผัง หรือเอกสารอื่น ๆ

๑. ภารกิจ
ภารกิจตามที่ผบู ังคับบัญชาไดพิจารณากําหนดขึ้นในขั้นที่ ๓ (วิเคราะหภารกิจ) ของลําดับขั้นในการ
ปฏิบัติงานของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
๒. พื้นที่ปฏิบัติการ
ในขอนี้พจิ ารณาถึงอิทธิพลของพื้นที่ปฏิบัติการเพื่อใชใหบรรลุถึงขอยุติ ขอนี้ยอมขึ้นอยูก ับ
ขอเท็จจริงและสรุปการวิเคราะหลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการ ถาไดทําการวิเคราะหไวแลวอาจเปนหลักฐานอางอิง
เกี่ยวกับการวิเคราะหของพืน้ ที่ปฏิบัติการ ถามีเรื่องราวและคําอธิบายที่กลาวไวในนั้นเพียงพอ
ก. ลมฟาอากาศ
๑) สภาพที่เปนอยูปจจุบนั รวมถึงรายการแสงสวางและการพยากรณอากาศ หรือขาวสาร
เกี่ยวกับสภาพอากาศประจําถิ่นตามที่เห็นสมควร รายละเอียดเกีย่ วกับขาวสารนี้ใหกลาวไวในอนุผนวก
๒) ผลอันจะบังเกิดตอหนทางปฏิบัติของฝายตรงขาม พิจารณาถึงผลของลมฟาอากาศที่มีตอ
หนทางปฏิบัตอิ ยางกวาง ๆ ของฝายตรงขามแตละหนทาง (เชน เขาตี ตั้งรับ) การพิจารณานัน้ ใหพิจารณาถึง
ลมฟาอากาศที่เกื้อกูลหรือไมเกื้อกูลจอหนทางปฏิบัติแตละหนทาง ในหนทางปฏิบัตติ าง ๆ ใหกลาวถึงการใช
อาวุธนิวเคลียร สารเคมีและชีวะ วิธีการพิเศษตาง ๆ เทคนิคยุทธภัณฑ ระเบียบปฏิบัติ หรือกําลังตาง ๆ ดวย
๓) ผลอันจะบังเกิดตอหนทางปฏิบัติของฝายเรา พิจารณาในทํานองเดียวกันกับที่กลาวมา
ในขอ ๒) ขางตน แตการทําประมาณการไมรวมการใชสารชีวะ และมุงเพงเล็งตอแบบของการดําเนินกลยุทธ
(เชน เขาตี ตั้งรับ) เพื่อใหบรรลุภารกิจ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่..... – หนวย)

ข. ภูมิประเทศ
๑) สภาพที่เปนอยูในปจจุบัน ใชแผนทีแ่ สดงเสนประกอบแทนภูมิประเทศถาสามารถทําได
ใชผนวกเกีย่ วกับรายละเอียดของวัสดุตาง ๆ กลาวถึงขาวสารอันจําเปนเพื่อใหมีความเขาใจในเรื่องการ
ตรวจการณและพื้นยิง การซอนเรนและการกําบัง เครื่องกีดขวาง ลักษณะภูมปิ ระเทศสําคัญ และแนวทางการ
เคลื่อนที่ (รูปที่ ๑ – ๑ ขอ ๓ ก กลาวถึงรายละเอียดของปจจุบันหาประการนี้) รวมทัง้ กลาวถึงผลที่จะบังเกิดขึ้น
ของแตละเรื่องดวยตามที่เห็นสมควรเกี่ยวกับการยิงดวยอาวุธนิวเคลียร สารเคมีและชีวะของฝายตรงขามและ
ขอพิจารณาที่เกี่ยวของอื่น ๆ ดวย
๒) ผลอันจะบังเกิดตอหนทางปฏิบัติของฝายตรงขาม พิจารณาเชนเดียวกันกับผลอันเกิดจาก
ลมฟาอากาศที่มีตอหนทางปฏิบัติในขอยอย ก ๒) สําหรับหนทางปฏิบตั ิในการตั้งรับใหพิจารณาถึงพื้นที่ตั้งรับ
ที่ดีที่สุด และแนวทางเคลื่อนที่ที่ดีที่สุดเขาสูพื้นที่ตั้งรับที่ดีที่สุดนัน้ สําหรับหนทางปฏิบัตใิ นการเขาตีให
พิจารณาถึงแนวทางเคลื่อนทีท่ ี่ดีที่สุด
๓) ผลอันจะบังเกิดตอหนทางปฏิบัติของฝายเรา พิจารณาเชนเดียวกันกับผลที่เกิดจาก ลมฟา
อากาศในขอยอย ก ๓) ขางบนนี้
ค. คุณลักษณะอืน่ ๆ ใหพิจารณาคุณลักษณะเพิ่มเติมตามที่มีสวนเกีย่ วของแยกเปนขอยอยตางหาก
จากกัน เรื่องเหลานี้ ไดแก การสังคม การเมือง การเศรษฐกิจ จิตวิทยา และปจจัยอืน่ ๆ ซึ่งอาจไดแกเรื่องตาง ๆ
เชน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ยุทโธปกรณ การขนสง กําลังคน และอุทกศาสตร เรื่องตางๆ เหลานี้มีหัวขอ
ที่ใชในการวิเคราะหเชนเดียวกับหัวขอในเรื่องของลมฟาอากาศและภูมปิ ระเทศ
๓. สถานการณฝายตรงขาม
ในขอนี้กลาวถึงขาวสารของฝายตรงขามซึ่งจะอํานวยใหสามารถกําหนดขีดความสามารถและ
จุดออนของฝายตรงขามไดในเวลาตอมา และการแกไขขีดความสามารถเหลานี้ใหเหมาะสมกับหนทางปฏิบัติ
เฉพาะอันใดอันหนึ่ง และกลาวถึงความนาเปนไปไดทจี่ ะปฏิบัติตามขีดความสามารถนั้น ๆ
ก. การวางกําลัง อาจอางถึงแผนบริวาร แผนที่สถานการณของฝายตรงขาม หรือเอกสารอื่น ๆ
ที่ไดจัดพิมพขนึ้ ไวกอนแลว
ข. การประกอบกําลัง กลาวโดยสรุปถึงทําเนียบกําลังรบของกําลังทั้งสองฝายและสําลังอื่น ๆ
ของฝายตรงขาม ซึ่งกระทบกระเทือนตอความสําเร็จภารกิจ อาจอางถึงเอกสารที่พิมพขึ้นไวกอนแลวก็ได
อาจกลาวเปนพิเศษถึงหนวยที่มีความสามารถในการทําสงครามอิเล็กทรอนิกส และการปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ
ตามที่เห็นสมควร
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณการขาวกรองที่..... – หนวย)

ค. กําลัง กําลังของฝายตรงขามในขอยอยนี้แบงออกเปนพวก ๆ เชน กําลังเผชิญหนา กําลังเพิ่มเติม


กําลังทางอากาศ นิวเคลียร สารเคมีและชีวะ ความมุงหมายที่แบงออกเปนพวก ๆ ก็เพื่อชวยในการกําหนด
ขีดความสามารถและจุดออนของฝายตรงขาม ซึ่งผูบงั คับบัญชาและฝายอํานวยการนําไปใชในการเลือก
หนทางปฏิบัติ
๑) กําลังเผชิญหนา กําลังเผชิญหนา ไดแก หนวยทางพืน้ ดินของฝายตรงขาม, กองหนุนที่
ใชไดทันทีของหนวยเหลานัน้ และหนวยยิงทางพื้นดินทีใ่ หการสนับสนุนของหนวยนั้น ซึ่งมีเหตุผลโดยแนชดั
วาไดเขาปฏิบตั ิการในพืน้ ทีอ่ ันแนนอนแหงหนึ่ง โดยมิไดคํานึงถึงหนทางปฏิบัติของฝายเราหนทางหนึ่ง
หนทางใด ที่จะใชโดยเฉพาะ การกําหนดกําลังของฝายตรงขามวาเปนกําลังเผชิญหนานัน้ สวนใหญขึ้นอยู
กับการวางกําลัง ที่ตั้ง และระดับหนวยบัญชาการที่จัดทําประมาณการนี้ ตามธรรมดาแลว นายทหารฝายการ
ขาวกรองนับจํานวนกําลังเผชิญหนาเปนขนาดหนวยที่ใช เพื่อเผชิญหนาขนาดหนวยของฝายเราใน
กองบัญชาการของตนเพื่อเปนมูลฐานในการวางแผนการยุทธ (เชน ฝอ.๒ ของกรม ตามปกติพจิ ารณากําลัง
เผชิญหนาในรูปของหนวยขนาดกองรอย สธ.๒ ของกองพลจะพิจารณาในรูปของหนวยขนาดกองพัน สวน
สธ.๒ ของกองทัพนอยจะพิจารณาในรูปของหนวยขนาดกรม) ถาสงสัยวาหนวยหนึ่งหนวยใดจะเปนกําลัง
เผชิญหนาหรือกําลังเพิ่มเติม ใหพิจารณาวาเปนกําลังเพิ่มเติม เหตุผลอนนี้ก็เพื่อใหฝายตรงขามมี
ขีดความสามารถสูงที่สุดในการเพิ่มเติมกําลัง ซึ่งสามารถขัดขวางหนทางปฏิบัติของฝายเราที่กําหนดไวให
๒) กําลังเพิ่มเติม โดยการระบุนามหนวยและที่ตั้ง กําลังเพิม่ เติม ไดแก กําลังของฝายตรงขาม
ซึ่งอาจใชปฏิบัติหรือไมใชปฏิบัติตอเรา ซึ่งขึ้นอยูกับการเลือกหนทางปฏิบัติแตละหนทางของฝายเรา และแผน
ของฝายตรงขาม การพิจารณาวาเปนกําลังเพิ่มเติมนั้น กําลังของฝายตรงขามตองมีความสามารถที่จะนําไปใช
ปฏิบัติตอฝายเรา ณ เวลาและสถานที่ตาง ๆ กัน (ขึ้นอยูก ับขอพิจารณาเกี่ยวกับเวลาและระยะทาง) ในเวลาที่มี
ผลกระทบกระเทือนตอความสําเร็จของภารกิจได ในการพิจารณาวากําลังของฝายตรงขามสวนไหนเปนกําลัง
เพิ่มเติมนั้นใหพิจารณาถึงการวางกําลัง ที่ตงั้ ระดับการควบคุมหรือปจจัยอื่น ๆ ณ เวลาที่จัดทําประมาณการ
๓) ปนใหญ ระบุจํานวนปนใหญของฝายตรงขามที่พิสูจนทราบแลวซึง่ เปนทั้งกําลัง
เผชิญหนาและกําลังเพิ่มเติม ตลอดจนหนวย ป. ทั้งหมดที่พิสูจนทราบแลว และมีระยะยิงที่สามารถสนับสนุน
กําลังเผชิญหนา

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่..... – หนวย)

๔) กําลังทางอากาศ ระบุถึงจํานวนเครื่องยินแตละชนิดที่อยูใ นรัศมีปฏิบัติการ รวมทั้งจํานวน


เที่ยวบินที่สามารถทําไดแตละชนิดของเครือ่ งบินตอวัน ถาสามารถทราบได
๕) อาวุธนิวเคลียร สารเคมีและชีวะ กลาวโดยประมาณตามความเหมาะสมถึงจํานวน แบบ
ขนาด และเครื่องมือสงของอาวุธเคมี ชีวะ และนิวเคลียรและสารเคมีชีวะที่ฝายตรงขามมีอยู (ประมาณการ
เกี่ยวกับขีดความสามารถในการปฏิบัติทางอากาศ นิวเคลียร เคมี และชีวะ ตามปกติแลวจัดทําในระดับกองทัพ
สนามและกองบัญชาการที่สูงกวา หนวยรองในกองทัพสนามใชประมาณการของกองบัญชาการที่สูงกวา)
๖) กําลังอื่น ๆ ประมาณการกําลังอื่น ๆ ที่มิไดระบุไวในหัวขอขางตน ซึ่งมีขีดความสามารถ
ในการปฏิบัตกิ ารพิเศษอันจะตองนํามาพิจารณาดวย เชน สงครามอิเล็กทรอนิกส ปภอ. ตถ. สงครามนอกแบบ
หรือ เฝาตรวจสนามรบ
ง. การปฏิบัติที่สําคัญที่แลวมาและที่เปนอยูในปจจุบัน ในขอยอยนี้ รายการของขาวสารซึ่งได
กลาวไวใชเปนมูลฐานในการวิเคราะห เพื่อกําหนดความเกี่ยวของอันอาจจะเปนไปไดของการปฏิบัติตาม
หนทางปฏิบัตโิ ดยเฉพาะและของจุดออนของฝายตรงขาม การปฏิบัติที่คาดวาเปนความลมเหลวของฝาย
ตรงขามตองบันทึกลงไปดวยซึ่งถือวาเปนขาวสารที่มีคา
จ. ลักษณะพิเศษและจุดออน ขึ้นอยูกับความรูเกี่ยวกับยุทธวิธีของฝายตรงขาม การปฏิบัติ
หลักการสงคราม พื้นที่ปฏิบัติการ และสถานการณของฝายตรงขามตามที่ไดกลาวมาแลว และไดพจิ ารณา
มาแลวกอนหนานี้ กลาวถึงเรื่องราวเหลานั้นซึ่งอํานวยใหสามารถกําหนดจุดออน และสามารถพิจารณาความ
นาเปนไปไดสําหรับการปฏิบัติตามหนทางปฏิบัติโดยเฉพาะของฝายตรงขาม เรื่องราวตาง ๆ ที่นํามากลาว
ใหรวมเปนพวก ๆ ตามหัวขอเรื่องขางลางนี้ ใหใชเฉพาะหัวเรื่องที่เกี่ยวของเทานั้น
๑) กําลังพล ประมาณการยอดกําลังพลตามปกติแลว จะกลาวไวในเมื่อมีกําลังพลนอยกวา
รอยละ ๘๐ ของกําลังพลอนุมัติ ใหกลาวถึงสถานภาพทางขวัญไวดวยถาทราบ
๒) การขาวกรอง ประมาณการเกี่ยวกับความสําเร็จทางดานขาวกรองของฝายตรงขาม ความ
ไมมีประสิทธิภาพ และยังกลาวถึงจุดออนตอการลวงและการตรวจคนของฝายตรงขามไวเสมอ ๆ
๓) ยุทธการ ตามปกติแลวกลาวถึงประมาณการเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการรบ ถาหากวามี
ไมถึงขีดดีเยีย่ ม
๔) การชวยรบ กลาวถึงประมาณการเกีย่ วกับความสามารถของฝายตรงขามในการสนับสนุน
ทางการสงกําลังบํารุงใหหนวยของตน และยังกลาวถึงจุดออนใด ๆ ของฝายตรงขามที่เดนชัดดวย
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่..... – หนวย)

๕) กิจการพลเรือน มักกลาวถึงประมาณการเกี่ยวกับทาทีของฝายตรงขามและประชาชน
พลเรือน สถานภาพของอาหาร สิ่งอุปกรณ สถานการณแพทย และการติดตอสื่อสาร
๖) บุคลิกลักษณะ ตามปกติกลาวถึงประมาณการเกี่ยวกับขีดความสามารถ และ/หรือจุดออน
ของผูบังคับบัญชา และของนายทหารฝายอํานวยการหลักของฝายตรงขามเสมอ
๔. ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
ขึ้นอยูกับบรรดาขาวสารและการวิเคราะหทั้งปวงที่ทํามาแลว กําหนดและบันทึกขีดความสามารถ
ของฝายตรงขาม (ใหดู นส.๓๐-๕) การบันทึกความสามารถจะเปนมูลฐานในการวิเคราะหขา วสารที่มีอยู
เพื่อใหบรรลุถึงขีดความสามารถของฝายตรงขามที่นํามาใชในหนทางปฏิบัติโดยเฉพาะ และความนาที่จะ
เปนไปไดสําหรับการปฏิบัติตามหนทางปฏิบัตินั้น ๆ
ก. การระบุขีดความสามารถ ในแตละขีดความสามารถใหกลาวถึงคําวา อะไร เมื่อใด ทีไ่ หน และ
ดวยกําลังเทาใด
ข. การวิเคราะหและการอภิปราย เพื่อใหเปนมูลฐานในการทําขอยุติตอการปฏิบัติตาม
ขีดความสามารถของฝายตรงขาม และตอความนาที่จะเปนไปได สําหรับการปฏิบัติตามขีดความสามารถนั้น
ใหกลาวอภิปรายไวในขอยอยแยกตางหากสําหรับแตละขีดความสามารถหรือกลาวรวมกันก็ได ใหกลาวถึง
ขอพิจารณาเกีย่ วกับมาตรการการลวงของฝายตรงขามไวดว ย บรรดาขาวสารและขอยุติเกีย่ วของที่แลว ๆ มา
ก็นํามาเปรียบเทียบวาสนับสนุน หรือโตแยงการปฏิบัติตามขีดความสามารถภายหลังทีไ่ ดบันทึกเรื่องราวที่เห็น
ไดชัดทั้งหมดแลว ก็ตัดสินใจจากทัศนะของฝายตรงขามวาการปฏิบัตติ ามขีดความสามารถนั้นเปนคุณหรือไม
เปนคุณตอฝายตรงขาม การตัดสินใจเชนนี้ไมจําเปนตองกระทําถาขอยุตินั้นเห็นไดอยางชัดแจงแลว หรือถา
ไมมีหลักฐานแสดงวาฝายตรงขามจะปฏิบัติตามขีดความสามารถ ยกเวนในเมื่อขีดความสามารถนั้นเปนเรื่อง
หนึ่งที่จะทําใหภารกิจของฝายเราบรรลุความสําเร็จไดยาก หรือเปนไปไมได ขอยกเวนอนนี้เพื่อเพงเล็งถึงการ
คุกคามที่เปนอันตราย
๕. ขอสรุป
ขึ้นอยูกับบรรดาขาวสารและการวิเคราะหทั้งปวงที่ทํามากอนแลว ขอยุตินี้ใหกลาวผลที่บังเกิดขึ้น
ทั้งหมดของพืน้ ที่ปฏิบัติการที่มีตอหนทางปฏิบัติอยางกวาง ๆ ของฝายเรา หนทางปฏิบัติที่ฝายตรงขามนาจะ
ทํามากที่สุด รวมทั้งความนาจะเปนไปไดสาํ หรับการปฏิบัติตามหนทางปฏิบัตินั้น และผลที่บังเกิดจากจุดออน
ของฝายตรงขามซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนได สภาวการณเหลานี้ชว ยในการเลือกหนทางปฏิบัตขิ อง
ฝายเรา
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๘

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณการขาวกรองที่..... – หนวย)

ก. ผลกระทบของขอพิจารณาตาง ๆ ดานการขาวตอการปฏิบัติการยุทธ ในทัศนะของ สธ. ๒


พิจารณาวาสามารถสนับสนุนภารกิจไดหรือไม? อยางไร? และ ห/ป. ใดในทัศนะของ สธ.๒ สามารถ
สนับสนุนไดดีที่สุด
ข. ผลที่บังเกิดจากพื้นที่ปฏิบัตกิ ารที่มีตอหนทางปฏิบัติของฝายเรา สําหรับหนทางปฏิบัติในการ
เขาตีกลาวถึงแนวทางเคลื่อนที่ที่ดีที่สุด สําหรับหนทางปฏิบัติในการตั้งรับ กลาวถึงพื้นที่ตั้งรับที่ดีที่สุดและ
แนวทางเคลื่อนที่ที่ดีที่สุดทีจ่ ะนํามาสูพนื้ ที่ตงรับ และเขาไปในพืน้ ทีต่ ั้งรับนั้น (ขอยอยนีจ้ ะเวนไมทําถาการ
พิจารณาถึงผลที่บังเกิดจากพืน้ ที่ปฏิบัติการที่มีตอหนทางปฏิบัติของฝายเมในขอ ๒. เวนไมทํา เพราะวาการ
วิเคราะหพื้นทีป่ ฏิบัติการฉบับปจจุบันมีอยูเ พียงพอแลว)
ค. หนทางปฏิบัตทิ ี่ฝายตรงขามนาจะนํามาใช ใหระบุหนทางปฏิบัติเรียงตามลําดับความนาจะ
ปฏิบัติตามหนทางปฏิบัติที่นํามากลาวนี้ อาจหมายรวมถึงหนทางปฏิบัตริ องหลาย ๆ หนทางซึ่งสามารถปฏิบัติ
ไดพรอม ๆ กัน ตามธรรมดาแลวสามารถกําหนดหนทางปฏิบัตเิ รียงตามลําดับความนาที่จะปฏิบัติตามได
ไมมากกวาสองหรือสามหนทางโดยอาศัยหลักฐานที่มีอยู
ง. ความลอแหลมของฝายตรงขาม ระบุถึงผลที่บังเกิดจากคุณลักษณะพิเศษและจุดออนซึ่งเปน
ประโยชนแกหนวยเรา หนวยเหนือ หรือหนวยต่ํากวา ลําดับที่เรียงไวนั้นไมมีความสําคัญ

(ลงชื่อ)..........................
(......................)
ตําแหนง...........
ผนวก

การแจกจาย

การรับรองสําเนา (สธ.๒ รับรองสําเนาถาผูบังคับหนวยลงนามในประมาณการ)


ยศ, ชื่อ....................
(...................)
ตําแหนง........
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๘๙
ตัวอยางที่ ๓ – ๓ แบบฟอรมการประมาณการสงกําลังบํารุง
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน เวลา
หมายเลขอางสาสน
ประมาณการสงกําลังบํารุงที่.....

อางถึง : แผนที่ แผนบริวาร หรือเอกสารอื่นตามความจําเปน

๑. ภารกิจ
ภารกิจตามที่ระบุไวจากการพิจารณาของผูบ ังคับบัญชาในขั้นที่ ๓ (วิเคราะหภารกิจ) ของลําดับขั้น
ในการแสวงขอตกลงใจของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
๒. สถานการณและขอพิจารณา
ก. สถานการณขาวกรอง ขาวสารที่ไดรับขากนายทหารการขาว เมื่อประมาณการจําตองแสดง
รายละเอียด และกระทําเปนขอเขียน อาจใชสรุปยอ และการอางถึงเอกสารหรือผนวกเกี่ยวกับการขาวกรอง
ประกอบประมาณการ กบ. ก็ได
๑) ลักษณะพื้นทีป่ ฏิบัติการ กลาวถึงลักษณะโดยทัว่ ไปของพื้นที่ปฏิบัติการ รวมทั้งลักษณะ
อื่น ๆ ที่จะมีผลกระทบตอการสงกําลังบํารุง
๒) กําลังและการวางกําลังของฝายตรงขาม ไมตองการรายละเอียดมากนัก
๓) ขีดความสามารถฝายตรงขาม
ก) ที่มีผลกระทบตอภารกิจทางยุทธวิธี
ข) ที่กระทบกระเทือนตอการสงกําลังบํารุง ขอมูลที่กลาวนี้จะมีรายละเอียดและ
ครอบคลุมถึงผลกระทบที่นา จะเปนไปไดตอการสงกําลังบํารุง รวมถึงขีดความสามารถของฝายตรงขามในการ
โจมตีทางอากาศ การปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธี ปนใหญสนาม นชค. การปฏิบัติการแบบกองโจร
การปฏิบัติการหลังแนว และการออมผานของฝายตรงขาม
ข. สถานการณทางยุทธวิธี ขาวสารที่ไดรับจากแนวทางในการวางแผนของผูบังคับบัญชา และจาก
นายทหารยุทธการ กลาวสั้น ๆ เพื่อใหทราบถึงความมุงหมายทางยุทธวิธี
๑) ที่ตั้งปจจุบันของหนวยหลักทางยุทธวิธี อาจแสดงบนแผนบริวาร
๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่คาดวาจะกระทําเพื่อบรรลุภารกิจทางยุทธวิธี (หนทางปฏิบัติเหลานี้ตอง
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่..... – หนวย)

นํามาใชตลอดการทําประมาณการนี้ ตามปกติ สธ.๓ จะเปนผูกําหนดสอง ห/ป.ขึ้นไป)


๓) การยุทธในขั้นตอไป (ถามี) กลาวถึงการปฏิบัติในขั้นตอไป หรือการปฏิบัติการอื่นใด
ที่จําเปนตองมีการประสานงานเพิ่มเติม หรือประกอบการประมาณการ กบ. เชน เขาตีตอไป หรือ กลับไปเปน
กองหนุน รวมทั้งแผนในอนาคตดวย
ค. สถานการณกําลังพล ขอมูลที่ไดรับจากนายทหารฝายกําลังพลเกี่ยวกับสถานภาพกําลังพลเปน
สวนรวม สถานภาพกําลังเปนหนวย อัตราการสูญเสีย การทดแทนกําลัง เปนตน
๑) ที่ตั้งปจจุบันหนวยงานดานกําลังพล และที่ตั้งทางการกําลังพลใดซึ่งมีผลกระทบตอการสง
กําลังบํารุงในแงมุมตาง ๆ
๒) การดําเนินงานทางดานกําลังพลในอนาคตตามแผนที่คาดไว ที่อาจจะกระทบตอการสง
กําลังบํารุง
ง. สถานการณกจิ การพลเรือน ขอมูลที่จะไดรับจากนายทหารฝายกิจการพลเรือนครอบคลุมถึง
๑) ที่ตั้งในปจจุบนั ของหนวยกิจการพลเรือน และที่ตั้งทางกิจการพลเรือนใด ๆ ซึ่งมี
ผลกระทบกระเทือนตอการปฏิบัติการตาง ๆ ทางดานสงกําลังบํารุง
๒) การดําเนินงานทางดานกิจการพลเรือนตามแผนในอนาคตที่คาดไว ที่อาจจะ
กระทบกระเทือนตอการสงกําลังบํารุง
จ. สถานการณการสงกําลังบํารุง กลาวถึงสถานภาพทางดาน กบ. หากเปนหนวยระดับสูงที่ตองมี
รายละเอียดมาก อาจทําเปนผนวกประกอบประมาณการ กบ. ได โดยแสดงที่ตั้งหนวย/ตําบลสงกําลังในแผน
บริวาร รวมทั้งระบุขีดความสามารถในการสนับสนุนในปจจุบัน และขีดความสามารถที่จะเพิ่มขึ้น/ลดลง
เนื่องจากการปรับการจัดหนวยทีจ่ ะมาขึน้ สมทบ แยกออกไป หรือหนวยทีใ่ หการสนับสนุนตาง ๆ
๑) การซอมบํารุง กลาวถึงขีดความสามารถโดยทั่วไปของการซอมบํารุง เชน ระยะเวลา
ในการซอม สถานภาพชิ้นสวนซอมทีม่ ีผลตอขีดความสามารถในการซอม หรือสถานภาพสิ่งอุปกรณที่จะ
นํามาเพื่อการซอมบํารุง เปนตน
๒) การสงกําลัง กลาวถึงสถานภาพของสิ่งอุปกรณ และขอเสนอทีเ่ กี่ยวกับการสงกําลังที่
สามารถทําได รวมทั้ง สป. ที่ ผบ.ควบคุม และอื่น ๆ โดยเขียนตามลําดับ
- สป.๑ ระดับ สป. ที่มีอยูตามประเภท เปรียบเทียบกับระดับที่กําหนดใหมี

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่..... – หนวย)

- สป.๒ – ๔ ระบุวันสงกําลังที่มีอยูในครอบครองเปรียบเทียบกับที่ระบุใหมีตาม รปจ.


สนามและปญหาในปจจุบัน สป.ที่มีลักษณะเฉพาะ เชน ลวดหีบเพลง ฯลฯ
- สป.๓ เชื้อเพลิงแตละชนิดทีม่ ีอยู รายการแบงมอบหรือจํานวนที่ขาดแคลน
- สป.๕ วันสงกําลังที่มีอยูในครอบครอง การกําหนดอัตรากระสุนที่ตองการ
เปรียบเทียบอัตรากระสุนที่ใชไดในปจจุบนั และอนาคต
๓) การบริการ ขีดความสามารถในปจจุบันและปญหาที่มีอยู เชน ไมมี จนท.รวบรวมศพ
เพียงพอ
๔) การขนสง กลาวถึงสถานภาพในปจจุบัน ขีดความสามารถในการขนสง ปญหาที่มีอยู
สภาพถนน สภาพการจราจร การขนสงระยะไกลกวาปกติ (อาจจะกลาวไวแลวในขอลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการ)
๕) แรงงาน กลาวถึงแรงงานทีม่ ีอยู สถานภาพแรงพลเรือน และขอจํากัดในการใชแรงงาน
เหลานี้
๖) สิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ที่มีอยู และการกอสราง
๗) การสงกลับและการรักษาพยาบาล กลาวถึงขีดความสามารถในการสงกลับและการ
รักษาพยาบาลของหนวยในปจจุบัน สถานภาพ และขอจํากัดอืน่ ๆ รวมทัง้ ที่ไดรับการสนับสนุนจาก
หนวยเหนือ
๘) อื่น ๆ
ฉ. สมมุติฐาน สมมุติฐานใด ๆ ที่จําเปนตองใชเปนมูลฐานสําหรับการริเริ่มวางแผนหรือการทํา
ประมาณการ สมมุติฐานยอมแกไขตอไปเปนขอมูลที่เปนจริง เมื่อมีแนวทางในการวางแผนโดยเฉพาะขึน้
(หมายเหตุ : กอนจะทําประมาณการในขอวิเคราะหตอ ไปนั้น จะตองแนใจวาแนวความคิดในการสงกําลัง
บํารุงที่จะสนับสนุนภารกิจทางยุทธวิธีในครั้งนี้ ไดกาํ หนดหรือคิดไวกอนแลว จะมีแนวความคิดในการ
สนับสนุนอยางไรซึ่งจะเปนโอกาสสุดทายที่จะกําหนดแนวความคิดในการสงกําลังบํารุง กอนที่จะทําการ
วิเคราะหถึงขีดความสามารถในการสนับสนุน)
๓. การวิเคราะห
วิเคราะหปจจัยทั้งปวงทางดานการสงกําลังบํารุงตามขอ ๒ จ ตอแตละหนทางปฏิบัติทางยุทธวิธี
เพื่อใหเห็นปญหาและขอขัดของที่จะเกิดขึ้น มีการใชการคํานวณประกอบเพื่อแสดงถึงการประเมินสถานภาพ
เกี่ยวกับสิ่งอุปกรณตาง ๆ การสูญเสียยุทโธปกรณ การซอมบํารุง ขีดความสามารถในการขนสง ฯลฯ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่..... – หนวย)

ไมใชเพียงแคนี้ แตจะตองนําเอาขอมูลที่ไดจากการคํานวณมาวิเคราะหในแตละขอยอยทั้งปวงอยางละเอียด
โดยเปรียบเทียบจากความเปนจริงและขอมูลตัวเลขประกอบกัน ซึ่งผลจากการวิเคราะหแตละขอยอยตอแตละ
หนทางปฏิบัตนิ ั้น จะกลาวถึงผลกระทบตอทั้งทางดานการสงกําลังบํารุงและดานยุทธวิธี
ก. ความเพียงพอของพื้นที่กําหนดใหมั่นใจวามีพื้นที่พอเพียงแกการปฏิบัตกิ ารชวยรบ มีความ
ปลอดภัยจากการคุกคามของฝายตรงขาม มีหนวยใดตองการใชพื้นทีน่ ี้ดวยหรือไม เชน การผานแนว และสัน
แบงเขตมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม ฯลฯ
ข. ยุทโธปกรณและบริการ
๑) การซอมบํารุง วิเคราะหอยางละเอียดตอขอมูลที่ไดจากการคํานวณ และตามสภาพความ
เปนจริงประกอบกัน เพื่อใหเห็นผลกระทบในแตละหนทางปฏิบัติทั้งดานการสงกําลังบํารุง และยุทธวิธี
๒) การสงกําลัง วิเคราะหตามความตองการ/ความสิ้นเปลือง สิ่งอุปกรณประเภทตาง ๆ
จากผลการคํานวณ และขอมูลการชวยรบ เพื่อดูผลกระทบทั้งดานการสงกําลังบํารุงและยุทธวิธี
๓) การบริการ ดูปจจัยเกีย่ วกับการบริการทางการชวยรบ เชน การซอมแซมเสนหลักการ
สงกําลัง การลางพิษ การบริการน้ําอาบ การซักฟอก การศพ โดยระบุออกมาในรูปปญหาขอขัดของ
๔) การขนสง ขีดความสามารถในการขนสง ขายเสนทางที่มีอยู การขาดแคลนเครื่องมือ
ขนสงและความตองการการขนสงกับเครื่องมือที่มีอยู ตามปกติกองพลไมใชเครื่องมือของหนวยขนสง สป.๕
๕) แรงงาน วิเคราะหปจจัยดาน กบ. ที่มีผลกระทบทั้งดาน กบ. และยุทธวิธี
๖) การสงกลับและการรักษาพยาบาล พิจารณาขีดความสามารถในการสงกลับการ
รักษาพยาบาลของหนวย รวมทั้งที่ไดรับการสนับสนุนตอสถานการณที่จะเกิดขึน้ ในแตละหนทางปฏิบัติ
โดยระบุออกมาวามีปญหาขอขัดของอยางไร
๗) อื่น ๆ ผลกระทบอื่นใดก็ตามที่ยังไมไดกลาวถึง เชน ระยะทางสงกําลัง หรือที่ตั้งตาง ๆ
อยูหางไกลกัน เปนตน
๔. การเปรียบเทียบ
ก. ระบุขอขัดของทางการสงกําลัง ขอดี/ขอเสีย เมื่อจะตองปฏิบัติภารกิจใหสําเร็จ
ข. กําหนด ขอดี/ขอเสีย แตละหนทางปฏิบัติ
ค. วิธีการในการขจัดขอขัดของ หรือการแกไขที่จําเปนในแตละหนทางปฏิบัติ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่..... – หนวย)

๕. ขอสรุป
ก. ระบุภารกิจที่กลาวในขอ ๑ นัน้ สามารถใหการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงไดหรือไม
ข. ระบุถึงหนทางปฏิบัติใดที่จะใหการสนับสนุนทาวงการสงกําลังบํารุงไดดีที่สุด
ค. กลาวถึงขอขัดของที่สําคัญ ๆ ทางดานการสงกําลังบํารุงที่ ผบ. ตองใหความสนใจ
ง. ระบุถึงแนวทางในการแกไขปญหานั้น ๆ รวมถึงการขจัดขอขัดของใหลดนอยลง

(ลงชื่อ)...................
(..................)
ตําแหนง.......

ผนวก : (ตามความจําเปน)

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา

ยศ,ชื่อ.........................
(.....................)
ตําแหนง..........

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๔
ตัวอยางที่ ๓ – ๔ แบบฟอรมการประมาณการกิจการพลเรือน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน – เวลา
หมายเลขอางสาสน

ประมาณการกิจการพลเรือนที่.....

อางถึง : แผนที่ แผนบริวาร แผนผัง หรือเอกสารใด ๆ ตามความจําเปน

๑. ภารกิจ
ก. ภารกิจตามที่ระบุไวจากการพิจารณาของผูบ ังคับบัญชาในขั้นที่ ๓ (วิเคราะหภารกิจ) ของลําดับ
ขั้นในปฏิบัติงานของผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
๒. สถานการณ และขอพิจารณา
ก. สถานการณดานขาวกรอง รวมทั้งขาวสารที่ไดรับจากนายทหารการขาวกรอง เมื่อประมาณการ
จําตองกระทําในรายละเอียดและกระทําเปนขอเขียน อาจใชสรุปขอยอและการอางถึงเอกสารขาวกรองหรือ
จะใชผนวกขาวกรองประกอบการประมาณการก็ได
๑) ลักษณะพื้นทีป่ ฏิบัติการ
๒) กําลังและการวางกําลังของฝายตรงขาม
๓) ขีดความสามารถฝายตรงขาม
ก) กระทบตอภารกิจทางยุทธวิธี
ข) กระทบตอการปฏิบัติการกิจการพลเรือน
ข. สถานการณทางยุทธวิธี ขาวสารที่ไดรับขากแนวทางในการวางแผนของผูบังคับบัญชา และ
จากนายทหารยุทธการ
๑) แสดงการวางกําลังของหนวยรบหลักทางยุทธวิธี
๒) หนทางปฏิบัตติ าง ๆ ที่กําหนดขึ้นจะกระทําเพื่อบรรลุภารกิจทางยุทธวิธี (หนทางปฏิบัติ
เหลานี้ตองนํามาใชตลอดการทําประมาณการนี้ ตามปกติ สธ.๓ จะเปนผูกําหนดสอง ห/ป.ขึ้นไป)
๓) การยุทธในขั้นตอไป (ถามี) เชน เขาตีตอ ไป หรือกลับไปเปนกองหนุน รวมทั้งการ
ปฏิบัติการอื่นใดที่จําเปนตองมีการประสานงานเพิ่มเติม
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการกิจการพลเรือนที่..... – หนวย)
ค. สถานการณกําลังพล รวมทั้งขอมูลที่ไดรับจากนายทหารฝายกําลังพล
๑) การวางกําลังในปจจุบันของหนวยและสถานที่ตั้งทางการกําลังพล ซึ่งมีผลกระทบตอการ
ปฏิบัติการกิจการพลเรือน ซึ่งจะไดมาจากการประมาณการกําลังพล
๒) การดําเนินงานทางดานกําลังพลตามแผนที่คาดไว วาจะกระทําตอไปที่อาจกระทบตอการ
ปฏิบัติการใด ๆ ทางดานกิจการพลเรือน
ง. สถานการณการสงกําลังบํารุง รวมทั้งขอมูลจะไดรับจากนายทหารฝายการสงกําลังบํารุง
๑) การวางกําลังในปจจุบันของหนวยและสถานที่ตั้งทางการสงกําลังบํารุง ซึ่งอาจจะมี
ผลกระทบตอการปฏิบัติการกิจการพลเรือน ซึ่งจะไดมาจากการทําประมาณการสงกําลังบํารุง
๒) การดําเนินงานทางดานสงกําลังบํารุงตามแผนที่คาดไว ที่อาจจะกระทบตอการปฏิบัติการ
กิจการพลเรือน
จ. สถานการณกจิ การพลเรือน จัดเรียงเปนขอยอยที่สามารถบรรจุไวภายในประมาณการฉบับนี้
ได แตในหนวยระดับสูงอาจตองทําเปนผนวกประกอบประมาณการนี้ เนื่องจากมีรายละเอียดมาก
๑) หนาที่ของรัฐ/สวนภูมภิ าค
ก) การบริหารงานปกครอง
ข) ความปลอดภัยสาธารณะ
ค) สาธารณสุข
ง) การแรงงาน
จ) กฎหมาย
ฉ) ประชาสงเคราะห
ช) ระบบการเงิน
ซ) การศึกษา
ด) การปองกันภัยฝายพลเรือน
๒) เศรษฐกิจ
ก) เศรษฐกิจและการคาขาย
ข) อาหารและเกษตรกรรม
ค) ภาวะดานการตลอดของเอกชน
ง) การควบคุมทรัพยสิน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ประมาณการกิจการพลเรือนที่..... – หนวย)

๓) สาธารณูปโภค
ก) การสื่อสาร (การไปรษณีย โทรศัพท)
ข) การขนสง (ทางบก ทางเรือ ทางอากาศ)
ค) เทศกิจ
๔) อื่น ๆ
ก) ผูอพยพ ผูลี้ภัย และพวกพลัดถิ่น
ข) ศิลปกรรม อนุสาวรีย รูปปน
ค) ประเพณีและวัฒนธรรม
ง) ขอมูลทางดานพลเรือนอื่น ๆ
ฉ. สมมุติฐาน สมมุติฐานใด ๆ ที่จําเปนตองใชเปนมูลฐานสําหรับการริเริ่มวางแผนหรือการทํา
ประมาณการ สมมุติฐานยอมแกไขตอไปเปนขอมูลที่เปนจริง เมื่อมีแนวทางในการวางแผนโดยเฉพาะขั้นตอน
แรกอาจไมสามารถกําหนดสมมุติฐานใหชัดเจนได แตเมื่อเขาสูขั้นการวิเคราะหแลว อาจตืดขัดจึงจําเปนตอง
กําหนดสมมุติฐานขึ้นมาเพื่อชวยใหสามารถทําการวิเคราะหตอไปได
๓. การวิเคราะห
วิเคราะหปจจัยทั้งปวงทางดานกิจการพลเรือน ตามขอ ๒ จ ตอแตละหนทางปฏิบัตทิ างยุทธวิธีที่ สธ.
๓ ไดกําหนดเอาไว (ขอ ๒ ข. ๒) เพื่อใหเห็นถึงปญหาและขอเสียตาง ๆ
๔. การเปรียบเทียบ
ก. ประเมินคาขอขัดของของกิจการพลเรือน (ถามี) โดยเพงเล็งตอความสําเร็จภารกิจ โดยใช
หนทางปฏิบัตทิ างยุทธวิธี ซึ่งเขียนไวในประมาณสถานการณของผูบ ังคับบัญชา หรือประมาณการยุทธของ
สธ.๓ มาพิจารณา
ข. คนหาขอดีและจอเสียของแตละหนทางปฏิบัติทางยุทธวิธี ซึ่งกําลังพิจารณาอยูจากขอคิด
ทางดานกิจการพลเรือน รวมทั้งวิธีตาง ๆ ที่ใชแกไขขอบกพรอง หรือการแกไขดัดแปลงซึ่งตองใชในแตละ
หนทางปฏิบัติ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณการกิจการพลเรือนที่..... – หนวย)

๕. ขอสรุป
ก. จากการพิจารณาในแงกจิ การพลเรือน แสดงใหเห็นวาภารกิจตามทีก่ ําหนดไวในขอแรกนัน้
สามารถสนับสนุนไดหรือไม
ข. คนหาขอดีและขอเสียของแตละหนทางปฏิบัติทางยุทธวิธี ซึ่งกําลังพิจารณาอยูจากขอคิด
ทางดานกิจการพลเรือน รวมทั้งวิธีตาง ๆ ที่ใชแกไขขอบกพรอง หรือการแกไขดัดแปลงซึ่งตองใชในแตละ
หนทางปฏิบัติ
๕. ขอสรุป
ก. จากการพิจารณาในแงกจิ การพลเรือน แสดงใหเห็นวาภารกิจตามทีก่ ําหนดไวในขอแรกนัน้
สามารถสนับสนุนไดหรือไม
ข. ระบุถึงวาหนทางปฏิบัติใดหรือหลายหนทางปฏิบัติที่คาดวาจะกระทํา สามารถสนับสนุนในแง
กิจการพลเรือนไดดีที่สุด
ค. ระบุถึงปญหาและขอขัดของทางดานกิจการพลเรือนของแตละหนทางปฏิบัติ
ง. ระบุถึงขอเสนอในการแกปญ  หาและขอขัดของนั้น ทางดานกิจการพลเรือนรวมถึงขอเสนอ
อื่น ๆ
(ลงชื่อ)........................
(.....................)
ตําแหนง..........
ผนวก : (ตามความจําเปน)

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา
ยศ , ชื่อ...............
(..................)
ตําแหนง.......

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๘
ตอนที่ ๔

ตัวอยางเอกสาร
ตัวอยางที่ ๔ – ๑ ประมาณสถานการณทางยุทธวิธีของผูบัญชาการกองพลทหารราบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
พล.ร.๒๐
อ.ศรีโสภณ (TA ๘๐๐๐๔๐)
๐๑๑๑๐๐ ม.ค.....
ประมาณสถานการณที่ ๑

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย – กัมพูชา ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง ๕๔๓๕ I, ๕๔๓๖ I – IV, ๕๗๓๕ I, ๕๘๓๕ I,
และ ๕๘๓๖ I – IV

๑. ภารกิจ
พล.ร.๒๐ ตั้งรับตามแนวลําน้ําพระเนตรพระ ใน ๐๒๐๖๐๐ ม.ค.... เพื่อสกัดกั้นการรุกโตตอบของ
ฝายตรงขาม กําบังการรวมพลชอง ทภ.๑ และปองกันรักษาปมคมนาคมบริเวณศรีโสภณไวใหไดอยางนอยถึง
๐๕๐๖๐ ม.ค.... เตรียมสนับสนุนการเขาตีผา นแก ทภ.๑
๒. สถานการณ และหนทางปฏิบตั ิ
ก. ขอพิจารณาทีจ่ ะกระทบตอหนทางปฏิบัตติ าง ๆ ที่อาจจะกระทําได
๑) ลักษณะของพืน้ ที่ปฏิบัติการ
ก) ลมฟาอากาศ
(๑) ผลกระทบตอหนทางปฏิบัตขิ องฝายตรงขาม ลมฟาอากาศเกื้อกูลแกฝาย
ตรงขามในเรื่องทัศนวิสัย และทิศทางลมเกือ้ กูลแกฝายตรงขามในการใชควันและสารเคมี ลมฟาอากาศเกื้อกูล
แกฝายตรงขามในการใชกําลังทางอากาศ อุณหภูมิในฤดูหนาวอาจทําใหมีผลกระทบตอสุขภาพและ
ขีดความสามารถของกําลังพล
(๒) ผลกระทบตอการปฏิบัติของฝายเรา ลมฟาอากาศเกื้อกูลแกฝายเราในเรื่อง
ทัศนวิสัย และความสามารถในการจราจรบนพื้นดิน ทิศทางลมจะทําใหฝายเราเสียเปรียบในดานอันตราย
อันเกิดจากการใชสารเคมีเปนพิษของฝายตรงขาม อุณหภูมิในฤดูหนาวอาจทําใหมีผลกระทบตอสุขภาพ และ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๒๙๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ขีดความสามารถของกําลังพล
ข) ภูมิประเทศ
(๑) ผลกระทบตอการปฏิบัติของฝายตรงขาม
(ก) ภูมิประเทศเกือ้ กูลตอฝายตรงขาม เนื่องจากลักษณะพืน้ ที่ลาดจากฝายเรา
ลงไปหาฝายตรงขามและสวนใหญเปนที่ราบ ปาโปรง ทําใหยากแกการกําบังและซอนพราง นอกจากนั้นหอง
ภูมิประเทศกวางจะจํากัดตอการเขาตีของฝายตรงขามแนวลําน้ําตาง ๆ พื้นที่ เปนแสวงเครื่องกีดขวางตาม
ธรรมชาติที่สําคัญ ซึ่งจะเปนอุปสรรคที่สําคัญตอการเขาตีและจะเกื้อกูลแกฝา ยในการปฏิบัติการตั้งรับ
โดยเฉพาะอยางยิ่งสะพานตางๆ ถาถูกฝายเราทําลายแลว จะเปนอุปสรรคสําคัญแกฝายเขาตีทันที
(ข) แนวทางเคลื่อนที่ที่ดีที่สุดสําหรับฝายตรงขามในการเขาตี คือตามแนว
ถนนหมายเลข ๖ จาก พนมกําบัง – พนมซะเรียบ – ศรีโสภณ
(๒) ผลกระทบตอการปฏิบัติของฝายเรา ลักษณะภูมิประเทศเกื้อกูลตอฝายเราในการ
ตั้งรับ เพราะมีแนวลําน้ําเปนเครื่องกีดขวางตามธรรมชาติถึง ๓ แนว ฝายเรามีการตรวจการณทดี่ ีเยีย่ มตลอด
แนวหนา และแนวทางเคลื่อนที่ตาง ๆ เขาสูประเทศสําคัญของฝายเรา
ค) ปจจัยที่เกี่ยวของอื่นๆ ทาทีของประชาชนในพื้นที่สว นใหญประมาณ ๘๕% ใหการ
สนับสนุนแกฝายเรา มีเพียง ๑๕% ที่ใหการสนับสนุนแกฝายตรงขาม ซึ่งอาจสรางปญหาใหแกฝายเราและการ
ควบคุมพลเรือนเพื่อปองกันการขัดขวางการปฏิบัติการจะกลายเปนปญหาอยางยิ่ง
๒) สถานการณฝายตรงขาม (สรุปสถานการณดานขาวกรอง)
ก) การวางกําลัง (แผนบริวารสถานการณฝายตรงขาม)
ข) การประกอบกําลัง : ทําเนียบกําลังรบฝายตรงขาม
ค) กําลัง
(๑) กําลังเผชิญหนา ฝายตรงขาม ๑๐ กองพัน ปล. สนับสนุนดวย ป.ตามอัตรา
(๒) กําลังเพิ่มเติม ๓ กรม ร. จาก พล.ร.๓๑๗ และ ๑ กรม ร. จาก พล.ปล.๗๕
ภายใน ๑ ชม.
(๓) กําลังทางอากาศ ฝายตรงขามสามารถครองความเปนเจาอากาศไมเกิน ๑๖ ชม.
(๔) เคมีชีวะรังสีมกี ารสะสมที่ (ยูเอ ๔๓๒๐)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณสถานการณที่ ๑ พล.ร.๒๐)

ง) พฤติการณที่สาํ คัญเมื่อเร็ว ๆ นี้


(๑) เมื่อ ๓๐๒๐๑๐ ธ.ค.มีขบวนลําเลียงขนาดใหญเคลื่อนที่มาตามถนนสายที่ ๖ จาก
เสียมราฐมุงสู อ.ศรีโสภณ คาดวาจะเปนการเคลื่อนยายของ พล.ปล.๓๐๗ และไดตรวจพบ บก.หนวย ฝาย
ตรงขามบริเวณ บ.รอ (๔๔๐๙๖๐) คาดวาเปน บก.พล.ปล.ที่ ๗๑๗
(๒) ฝายตรงขามไดสงชุด ลว.ตอฝายเรามากขึ้น
(๓) มีการแทรกซึมในพื้นที่สว นหลังของฝายเรา จากรายงานการจับกุมพลเรือนฝาย
ตรงขามที่พิกัด ๑๑๐๑๕๕ เมื่อ ๓๑๑๐๒๕ ธ.ค....
(๔) ฝายตรงขามใช บ. ตรวจการณตอที่มั่นฝายเราได ๓๐๒๒๐๐ ธ.ค....และเมือ่
๓๑๐๕๓๐ ธ.ค. ...
(๕) ฝายตรงขามสรางสะพานคนเดินแบบแสวงเครื่อง บริเวณพิกัด ๓๑๐๒๐๗ เมื่อ
๓๑๐๒๐๗ ธ.ค....
(๖) ฝายตรงขามไดลําเลียงสารเคมีทําลายประสาทมาไวที่พกิ ัด ๕๓๔๒๐๔ บริเวณ
ม.บุตตะศรี ตั้งแต ๒๖ ธ.ค....
(๗) ฝายตรงขามไดทําการสงครามอิเล็กทรอนิกส เมื่อ ๓๑๑๑๓๕ ธ.ค.....ทําใหการ
สื่อสารฝายเราติดตอระยะไกลไมไดผล
จ) คุณลักษณะและจุดออน
(๑) กําลังพลของฝายตรงขามขวัญต่ํา เนื่องจากตรากตรําในในการรบมานาน แตมี
ประสบการณการรบสูง
(๒) การขาวกรองขาดเครื่องมือในการหาขาว โดยเฉพาะอุปสรรคทางภาษาระหวาง
ฝายเวียดนามกับกัมพูชา แตไดรับการสนับสนุนขาวสารจากโซเวียต
(๓) ดานยุทธการฝายตรงขาม ขาดแคลการยิงสนับสนุนดานอาวุธหนักระบบการ
ควบคุมบังคับบัญชาไมแนนแฟน เนื่องจากจํากัดดวยเครือ่ งมือสื่อสาร การรวมอํานาจกําลังรบของฝายตรงขาม
สามมารถกระทําไดดังนี้
ถ. ๓–๕ ตอ ๑
ป.สนาม ๖–๘ ตอ ๑
กําลังพล ๔–๕ ตอ ๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

และจะใชรูปขบวนเขาตีเปนระลอกหางกัน ๕ – ๑๕ กม. กวางดานหนาเขาตีของฝาย


ตรงขามประมาณ ๕ – ๑๕ กม. ในการเขาตีประสานฝายตรงขามจะปฏิบัติการโดย
- การลาดตระเวนอยางละเอียด
- การรวมกําลังไดเหนือกวาฝายเรา
- การแทรกซึมดวยหนวยปฏิบัติการพิเศษ (ดั๊กกง)
- ปฏิบัติการรบในทางลึก
- ปฏิบัติการในเวลากลางคืน
(๔) การสงกําลังบํารุงการจัดหา สป. ในทองถิ่น กระทําไดอยางจํากัดเสนทางการ
สงกําลังตาง ๆ ถูกขัดขวาง
(๕) กิจการพลเรือน ทาทีประชาชนในทองถิน่ ไมสนับสนุนฝายตรงขาม เนื่องจาก
ใชมาตรการควบคุมที่เด็ดขาดรุนแรง
(๖) บุคลิกลักษณะ ปญหาดานเชือ้ ชาติทําใหผูบงั คับบัญชา และฝายอํานวยการของ
ฝายตรงขามมีขอขัดแยงอยูเสมอ
๓) สถานการณฝายเรา
ก) ยอดกําลังพล กรม ร.๕๘ และ กรม ร.๖๐ มีกาํ ลังพลพรอมรบประมาณ
๘๕.๔๘% สวน กรม ร.๕๙ มีกําลังพลพรอมรบ ๗๘.๘๕%
ข) การประกอบกําลัง พล.ร.๒๐
ค) การวางกําลัง (แผนบริวารสถานการณ)
ง) การชวยรบ สถานภาพความพรอมรบของยุทโธปกรณตา ง ๆ ประมาณ
๙๕% อัตรากระสุนที่ใชไดสําหรับ ปบค.๑๐๕ มม. จํานวน ๑๒๐ นัด/กระบอก/วัน ปกค.๑๕๕ มม. จํานวน
๘๐ นัด/กระบอก/วัน และ ค.๔.๒ นิ้ว จํานวน ๖๐ นัด/กระบอก/วัน สวนกระสุนอืน่ ๆ ไมเกินอัตรามูลฐาน
อาวุธและกระสุนที่ควบคุม ไดแก กระสุนสองแสง ค.๘๑ มม. และกระสุนสองแสง ปบค.๑๐๕ มม.
จ) ขวัญดีเยีย่ ม ยกเวน ร.๕๙ อยูในเกณฑต่ํา เนื่องจากปฏิบัติการที่ผานมา และ
ผบ.กรม ร. เปลี่ยนใหม แตคาดวาจะสูงขึ้นในไมชา
ฉ) สถานภาพการฝก ดีเยีย่ มโดยเฉพาะการฝกปองกันเคมีชีวะรังสี
ช) ประสิทธิภาพการรบ ดีเยีย่ ม เวน ร.๕๙ อยูในเกณฑพอใช

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ซ) การเพิ่มเติมกําลัง จะไมไดรับการสนับสนุนดานยุทธการจนกวาจะถึงวันที่
๕ ม.ค. และ ม.๔ จะเลิกการสมทบกลับไปอยูการบังคับบัญชาของ ทภ.๑ ใน ๐๓๑๘๐๐ ม.ค. ... แตชุดติดตอ
และกองโจรทีข่ ึ้นควบคุมทางยุทธการกับกองพลของเรา ยังคงอยูเชนเดิมไมเปลี่ยนแปลง
๔) อํานาจกําลังรบเปรียบเทียบ ประมาณวากําลังของฝายเราก้ํากึ่งกับฝายตรงขาม แตจะ
ไดเปรียบถาวางกําลังในภูมิประเทศที่เกื้อกูลในเรื่องกําลังดําเนินกลยุทธ ความคลองแคลวในการเคลื่อนที่ก้ํากึ่ง
ในเรื่องอํานาจการยิงสนับสนุนฝายเราไดเปรียบ การสารเคมีฝายเรามีการระวังปองกันเปนอยางดี การใชกําลัง
ทางอากาศ และสถานการณทางอากาศฝายเราครองความเปนเจาอากาศ เฉพาะตําบลทีต่ องการ
ข. ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
๑) ระบุขีดความสามารถ ฝายตรงขามสามารถปฏิบัติการดังกลาวตอไปนี้
ก) เขาตีที่ตั้งตั้งแตบัดนี้ ตามแนวปะทะดวยกําลังประมาณ ๑๐ กองพัน ปล. สนับสนุน
ดวยการยิงจาก ป. กําลังทางอากาศและสารเคมีชีวะ
ข) ตั้งรับ ณ ที่มั่นปจจุบัน ดวยกําลัง ๑๐ กองพัน ปล. สนับสนุนดวยการยิงจาก ป.กําลัง
ทางอากาศและสารเคมีชีวะ
ค) เพิ่มเติมกําลังในการเขาตีหรือตั้งรับดวยกําลังที่เหลือและกําลังจาก พล.ปล.๓๑๗
ภายใน ๑ ชม.
๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่ฝายตรงขามนาจะกระทํา คือ เขาตีตลอดแนวตั้งแตบัดนี้ดว ยกําลัง ๑๐
กองพัน เพิ่มเติมกําลังดวย กําลังพลสวนที่เหลือของ พล.ปล.๗๕ และกําลังของ พล.ปล.๓๑๗
๓) จุดออน
ก) กําลังพลของฝายตรงขามขวัญต่ํา เนื่องจากตรากตรําจากการรบมานานไมได
ผลัดเปลี่ยนกําลังมานานถึง ๒ ป
ข) ขาดแคลนเครื่องมือในการหาขาว และอุปสรรคทางภาษาระหวางเวียดนามและ
กัมพูชาที่สนับสนุน
ค) ขาดแคลนอาวุธหนักทําใหอาํ นาจการยิงสนับสนุนนอย
ง) ระบบการบังคับบัญชาและควบคุมไมแนนแฟน เนื่องจากขอจํากัดของเครื่องมือ
สื่อสารดานปริมาณและคุณภาพ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)
จ) เสนทางการสงกําลังบํารุงถูกขัดขวาง กระทําในเวลากลางวันไมได ไมสะดวกในการ
ขนยาย สป. เสนหลักการสงกําลังบํารุงมีระยะทางยาวกมาก จาก สควน. การจัดหาในทองถิ่นมีจํากัด
โดยเฉพาะเสบียงและ สป. ในการรบ
ฉ) ประชาชนไมสนับสนุน สควน. เนื่องจากใชมาตรการควบคุมเด็ดขาด ทารุณเกิดกลุม
ตอตาน มีราษฎรอพยพเขามาในเขตของฝายเรา
ค. หนทางปฏิบัตขิ องฝายเรา
๑) ตั้งรับตามแนวลําน้ําพระเนตรพระ โดยวางกําลัง ๓ กองพันทางดานเหนือ (ซาย) และ
๓ กองพันทางดานใต (ขวา) และ ๔ กองพันเปนกองหนุน เพื่อกําบังการรวมพลของกองทัพ กองหนุนจัดสวน
รวป. ๒ กองพัน
๒) ตั้งรับตามแนวลําน้ําพระเนตรพระ โดยวางกําลัง ๓ กองพันทางดานเหนือ (ซาย) และ
๔ กองพันทางดานใต (ขวา) และ ๓ กองพันเปนกองหนุน เพื่อกําบังการรวมพลของกองทัพ กองหนุนจัดสวน
รวป.๒ กองพัน
๓. การวิเคราะหหนทางปฏิบัติ
ก. วิเคราะหหนทางปฏิบัติของฝายตรงขาม
๑) ขีดความสามารถของฝายตรงขามในการตัง้ รับรบหนวงเวลา ไมกระทบตอหนทางปฏิบัติ
ของฝายเรา
๒) ขีดความสามารถของฝายตรงขามที่นากระทํามากที่สุด คือ เขาตีตลอดแนวตั้งแตบดั นี้
เปนตนไปดวยกําลัง ๑๐ กองพัน ปล. ไมเกิน ๐๓๑๘๐๐ ม.ค.... สนับสนุนดวย ป. ในอัตราโดยการเขาตีหลัก
ทางดานใตตามแนวถนนหมายเลข ๖ เนินพนมซะเรียบ (ยูเอ ๐๑๑๐) – เนิน ๘๔ (ยูเอ ๐๒๐๓) – พุงเขาสูเมือง
ศรีโสภณ ดวยกําลัง ๖ กองพัน ปล. และเขาตีสองทางดานเหนือ ตามแนวทางการเคลื่อนที่ในภูมิประเทศ
พุงเขาสูสวายจอกดวยกําลัง ๔ กองพัน เพิม่ เติมกําลังดวยกําลังที่เหลือของ พล.ปล. ๗๕ และกําลังจาก พล.ปล.
๓๑๗ ซึ่งคาดวาฝายตรงขามจะตองทุมเทกําลังสวนใหญใหกับสวนเขาตีหลัก และทําการรุกอยางรวดเร็ว
ข. หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ ตั้งรับตามแนวลําน้ําพระเนตรพระ ใน ๐๒๐๖๐๐ ม.ค..... โดยวางกําลัง
๓ กองพันทางดานเหนือ (ซาย) และ ๓ กองพนทางดานใต (ขวา) และ ๔ กองพันเปนกองหนุน กองหนุน
จัดสวนระวังปองกัน ๒ กองพันพิจารณาตอขีดความสามารถในการเขาตีและเพิ่มเติมกําลังของฝายตรงขาม

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

เนื่องจาก ม.๔ ซึ่งเปนสวนระวังปองกันใหกับกองพลของเราอยูในขณะนี้ จะตองถอนตัวกลับไปอยูในความ


ควบคุมของ ทภ.๑ ใน ๐๓๑๘๐๐ ม.ค..... ดังนั้นสวนระวังปองกันที่จัดออกไปจึงควรใหมีกําลังและ
ขีดความสามารถใกลเคียงกับ ม.๔ และกําลังสวนนี้จะตองใหการชวยเหลือในการถอนตัวกลีบมาขางหลังและ
กําบังการถอนตัวใหกับ ม.๔ ตอไป กําลังสวนนี้จะตองสามารถสกัดกั้นการรุกของฝายตรงขามไดในหวง
ระยะเวลาหนึง่ โดยเฉพาะในขณะที่ ม.๔ ยังอยูในเขตพืน้ ที่รับผิดชอบดานหนาของกองพลและเพือ่ ใหสามารถ
ปฏิบัติภารกิจของสวนระวังปองกันในการแจงเตือน รั้งหนวงและลวงฝายตรงขาม ใหเขาใจวาเปนแนวตั้งรับ
หลักของฝายเราไดอยางสมบูรณ และเหมาะสมกับพื้นที่รับผิดชอบซึ่งกวางมากแลว กําลังสวน รวป. ควรจัด
กําลังดวย ๑ พัน.ร. และ ๑ พัน ม.ยานเกราะ
สําหรับหนวยในพื้นที่ตั้งรับหนา เนื่องจากการวางกําลังทางดานใตจะตองเผชิญกับความคุกคาม
อยางหนักของฝายตรงขาม เพราะเปนพืน้ ที่ที่เปนลักษณะภูมิประเทศสําคัญอยูหลายแหลง เชน ถนนหมายเลข
๖ ซึ่งพุงเขาสูเมืองศรีโสภณ เนินพนมซะเรียบ (ยูเอ ๐๑๑๐) และเนิน ๘๔ (ยูเอ ๐๒๐๓) ซึ่งสามารถควบคุม
เสนทางหมายเลข ๖ ได พื้นดินแข็งเหมาะแกการใชยานยนตและยานเกราะ คาดวาจะเปนดานเขาตีของฝาย
ตรงขาม ซึ่งจะตองทุมเทอํานาจกําลังรบสวนใหญมาทางดานนี้อยางเต็มที่ เพื่อรุกผานแนวตานทางดานนี้
ของเราใหได และในขณะเดียวกัน ฝายเราก็ตองพยายามอยางเต็มความสามารถ เพื่อสกัดกั้นการทําลายฝาย
ตรงขามไมใหผานแนวนี้ไปได ซึ่งมีกําลัง ๓ กองพัน และประกอบกับพื้นที่บางสวนมีลําน้ําอยูในพื้นที่
รับผิดชอบ จะทําใหเกิดการยากลําบากและโยกยายกําลังพล ขาดความลึกในการตั้งรับและกองหนุน
ไมแข็งแรงพอ เมื่อฝายตรงขามรุกเขามาจะทําใหไมสามารถที่จะตีโตตอบผลักดันฝายตรงขามออกไปไดดว ย
ตนเอง และจะทําใหไมสามารถสกัดกั้นการรุกของฝายตรงขามไดนานพอที่จะใชกองหนุนของกองพลในการ
ตีโตตอบไดทนั เวลา
สําหรับหนวยทางดานเหนือนั้น ลักษณะภูมิประเทศดานหนาพืน้ ที่ตงั้ รับหนาเปนที่ลุมยากแกการ
เคลื่อนที่ของยานพาหนะ ปาโปรงในแนวตั้งรับของฝายเราจะเอือ้ อํานวยแกฝายเราในการซอนพรางแกการ
ตรวจการณของฝายตรงขามไดและพื้นที่ในการดําเนินกลยุทธมีจํากัด ซึ่งหนวยขนาด กรม ปล. ของ
ฝายตรงขามสามารถเขาตีได แตดวยอํานาจกําลังรบที่วางไว ๓ กองพัน จึงนาจะพอเพียงในการสกัดกั้นการ
เขาตีของฝายตรงขามได
สําหรับกองหนุนของกองพลในขั้นตนมีกาํ ลังเพียงพอ คือ ๒ กองพัน และเมื่อการปฏิบัติภารกิจ
ระวังปองกันเสร็จแลวจะมีกาํ ลังมากพอที่จะทําใหสามารถเกิดการออนตัวในการโยกยายกําลังไปสนับสนุน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

แกหนวยใน พตน. ถึงแมฝายตรงขามจะเจาะเขามาทั้ง ๒ ดานพรอมกัน กองพลก็ยังมีกองหนุนเพียงพอที่จะใช


ในการตีโตตอบไดอยางเพียงพอ แตทางดานใตซึ่งคาดวาจะเปนดานเขาตีหลักของฝายตรงขามนั้น เมื่อ
ฝายตรงขามเพิม่ เติมกําลังดวยแลวจะทําใหไมสามารถใชกองกหนุนใหเกิดประโยชนไดเลย เพราะจะไม
สามารถยับยั้งและสกัดกั้นฝายตรงขามไวไดนานพอทีจ่ ะใชกองหนุนเขาตีโตตอบไดทันเวลา สําหรับทางดาน
เหนือนัน้ ถึงแมวาฝายตรงขามจะทุมเทกําลังและเพิ่มเติมกําลังเขามา แตพื้นทีด่ ําเนินกลยุทธก็มีจาํ กัดทําใหเรา
สามารถใชภูมิประเทศใหเกิดประโยชน และหนวยทางดานเหนือสามารถที่จะยับยั้งสกัดกั้นฝายตรงขามไวได
นานพอที่จะใชกองหนุนในการเขาตีโตตอบ
อยางไรก็จามกรณีที่ฝายตรงขามเจาะเขามา ๒ ทางพรอม ๆ กัน ลําดับความเรงดวนอันดับแรก
ก็ใหแกทางดานใต เพราะหากไมสามารถสกัดกั้นการเจาะทางใตไดแลว ก็จะทําใหฝา ยตรงขามรุกผานถึงเมือง
ศรีโสภณไดโดยงาย สําหรับทางดานเหนือก็คงใชกองหนุนเพียงบางสวนเพื่อหยุดฝายตรงขามใหไดกอน เมือ่
สามารถทําลายฝายตรงขามที่เจาะเขาทางดานใตไดแลวก็ใชกองหนุนสวนนั้นมาดําเนินการตีโตตอบดานเหนือ
ตอไป
ในการปฏิบัตติ ามหนทางที่ ๑ นี้ จะตองใชอํานาจการยิงสนับสนุนและกําลังทางอากาศอยางสูงสุด
เพื่อทําลายฝายตรงขามตั้งแตระยะไกล และอาจจําเปนตองดึงกําลังกองโจรประจําถิ่น ซึ่งปฏิบัติการอยูทางปก
มาใชเพิ่มเติมกําลังใหแกกําลังหลัก ทั้งในพื้นที่ตั้งรับหนาและในพื้นที่กองหนุน ซึ่งในการทําเชนนี้ก็จะเกิด
ความลอแหลมตอการแรกซึมตอพื้นที่สวนหลัง และอันตรายตอการพิทักษพื้นที่สวนหลังมีมากขึ้น
ความสําเร็จในหนทางปฏิบัตจิ ึงขึ้นอยูกับการใชอํานาจการยิงสนับสนุน และกําลังทางอากาศอยางสูงสุด และ
จะตองใชกองหนุนเขาปฏิบตั ิการในพืน้ ทีด่ านใตอยางรวดเร็ว และทันการอยางมาก
ค. หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ ตั้งรับตามแนวลําน้ําพระเนตรพระ โดยวางกําลัง ๓ กองพันดานเหนือ
(ซาย) และ ๔ กองพันทางดานใต (ขวา) และ ๓ กองพันเปนกองหนุน กองหนุนจัดสวนระวังปองกัน
๒ กองพัน พิจารณาตอขีดความสามารถในการเขาตี และเพิ่มเติมกําลังของฝายตรงขามในหนทางปฏิบัตินี้โดย
ทั่ว ๆ ไป เหมือนกับทางปฏิบัติที่ ๑ แตทางดานใตจะมีกําลังในพืน้ ที่ตั้งรับในดานหนาถึง ๔ กองพัน
และกองหนุน ๓ กองพันซึ่งดานใตพจิ ารณาแลววาฝายตรงขามจะตองทุม เทกําลังเขาตีอยางหนักนั้น ถาหากวา
หนวยดานใตใชภูมิประเทศและวางการยิงอยางเหมาะสม และวางการตั้งรับใหมีเพียงพอ เตรียมทีม่ ั่นสกัดกั้น
ไวตามแนวเคลื่อนที่ที่คาดวาฝายตรงขามจะใชอยางเหมาะสม จะทําใหสามารถยับยั้ง และสกัดกั้นฝายตรงขาม
ไวได และสามารถมีกองหนุนของตนเองใหเพียงพอที่จะใชในการตีโตตอบ ภายในขีดความสามารถที่จะ
หนวงเหนีย่ ว
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

การเจาะของฝายตรงขามไวไมใหกองหนุนของกองพลไดมีเวลาเพียงพอในการตีโตตอบไดอีกดวย ถึงแมฝาย
ตรงขามเจาะเขามาสองทาง กองหนุน ๓ กองพัน ก็นาจะมีการเพียงพอกับลําดับความเรงดวนที่กลาวไวใน
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ และสามารถใชกองหนุนไดอยางเปนปกแผน และมีผลตอการทําลายและตีโตตอบ
๔. เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติของฝายเรา
ก. หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑
๑) ขอดี
ก) สวนระวังปองกันเพียงพอในการแจงเตือน รั้งหนวง ลวงฝายตรงขามได
ข) การแบงมอบอํานาจกําลังรบใน พตน. เทาเทียมกัน สะดวกแกการควบคุมบังคับ
บัญชา
ค) การวางกําลังกองหนุนในขั้นตนมีเพียงพอ
ง) ความออนตัวในการโยกยายกองหนุนในการตีโตตอบ
จ) กองหนุนแข็งแรง สะดวกแกการปฏิบัติตอไปในอนาคต
ฉ) ความปลอดภัยจากการใชสารเคมี ชีวะ ของฝายตรงขามมีมาก เนื่องจากหนวย
กระจายกันเต็มพื้นที่
๒) ขอเสีย
ก) อํานาจกําลังรบใน พตน. จะตองงดทันทีทฝี่ ายตรงขามเพิม่ เติมกําลังเต็ม
ขีดความสามารถ
ข) การรักษาภูมิประเทศ เชน เนินพนมซะเรียบ (ยูเอ ๐๑๑๐ ถนนหมายเลข ๖ สะพาน
กระทําไดอยางจํากัด
ค) หนวยในพื้นทีต่ ั้งรับหนา โดยเฉพาะทางดานใตมกี ําลังนอย ทําใหขาดความลึก
ในการตั้งรับ
ง) เสี่ยงตอการใชกองหนุนไมทนั เวลา เนื่องจากหนวยใน พตน.ไมสามารถยับยั้ง
ฝายตรงขามไวไดนานพอ
จ) ถาหากหนวยยิงสนับสนุนและกําลังทางอากาศถูกฝายตรงขาม ทําลายจน
ขีดความสามารถลดลงอยางมากแลว จะทําใหการสนับสนุนตอหนวยใน พตน. ซึง่ ตองการยิงสนับสนุนจาก
กําลังทางอากาศอยางมากนัน้ หมดไป และเสียงตอการพายแพ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ข. หนทางปฏิบัติ ๒
๑) ขอดี
ก) สวนระวังปองกันเพียงพอในการแจงเตือน รั้งหนวง ลวงฝายตรงขาม
ข) กําลัง พตน. มีมากพอ แมฝายตรงขามจะเพิ่มเติมกําลังเต็มขีดความสามารถ
ค) มีกําลังเพียงพอทีจะควบคุมภูมิประเทศสําคัญคือ เนินพนมซะเรียบ ถนนหมายเลข ๖
ซึ่งเปน สลก. ไวได
ง) การตั้งรับมีความลึก และสามารถยับยั้งฝายตรงขามไวไดนาน มีเวลาใชกองหนุน
ในการปฏิบัตกิ ารตีโตตอบ
๒) ขอเสีย
ก) กําลังกองหนุนในขั้นตนมีนอ ย (เพียง ๑ กองพัน)
ข) กําลังกองหนุนมีเพียงพอแกภารกิจผลักดัน สถาปนา พตน. เทานั้น การรุกโตตอบ
กระทําไดอยางจํากัด
ค) กําลังใน พตน. มีมากลอแหลมตอการใช ป. และกําลังทางอากาศของฝายตรงขาม
ง) กําลังใน พตน.มีมากลอแหลมตอการใชสารเคมี ชีวะ ของฝายตรงขาม

หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ ดีกวา หนทางปฏิบัติที่ ๑

๕. ขอตกลงใจ
พล.ร.๒๐ ตั้งรับตามแนวลําน้ําพระเนตรพระ ใน ๐๒๐๖๐๐ ม.ค..... เพื่อกําบังการรวมพลของ ทภ.๑
และปองกันรักษาปมคมนาคมบริเวณศรีโสภณ โดยให ร.๖๐ตั้งรับดานเหนือ (ซาย) ร.๕๘ เพิม่ เติมกําลังอีก
๑ กองพัน ตั้งรับดานทิศใต (ขวา) ร.๕๙ หยอนกําลัง ๑ กองพัน และ พัน.ม.ยานเกราะเปนกองหนุน และจัด
สวนระวังปองกัน ๒ กองพัน

พล.ต. ........................
(มนตรี ไตรบุรี)
ผบ.พล.ร.๒๐

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ผนวก : (ถามี)

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๐๙
ตัวอยางที่ ๔ – ๒ ประมาณสถานการณฝกของผูบญ
ั ชาการกองพลทหารราบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

๑. วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕......พล.ร.๒๐ กําลังริเริ่มจัดทําวงรอบการฝกประจําปของตนขึ้น แผนโดย


ทั่ว ๆ ไปมีดังนี้
การฝกเปนบุคคล (๒ เดือน) ๑ พ.ย. – ๑๓ ธ.ค.
การฝกเปนหนวยขนาดเล็ก (๒ เดือน) ๑ ม.ค. – ๒๘ ก.พ.
การฝกเปนหนวยขนาดใหญ (๒ เดือน) ๑ มี.ค. – ๓๐ เม.ย.
การประลองยุทธ (๒ เดือน) พ.ค. – มิ.ย.
๒. การฝกยิงปนเปนบุคคลไดกําหนดเปนตารางเวลาในระหวางหวงเวลา ๑๕ พ.ย. – ๑๕ ธ.ค.
๓. เมื่อ ๐๘๐๐ เชาวันนี้ สธ.๓ ของ ทน.๒ ไดมาเยีย่ ม และแจงแก สธ.๓ พล.ร.๒๐ วาหนวยอื่น ๆ ตองการ
สนามยิงปนในระหวางหวงเวลา ๒๐ พ.ย. – ๑๕ ธ.ค. และยังไดแจงแก สธ.๓ พล.ร.๒๐ วา เวลาที่จะมีใหตอไป
สําหรับสนามยิงปนจะเปนในชวงเวลา ๒๐ ก.พ. – ๑๘ มี.ค. ความตองการของกองทัพนอยก็คือให พล.ร.๒๐
รักษาตารางกําหนดเวลาของสนามยิงปนใหได อยางไรก็ดีถาหากกองพลตองการที่จะทําการยิงปนในวันหลัง
กองทัพนอยก็จะทําการเปลีย่ นเวลาใหและกองทัพนอยตองการคําตอบที่แนนอนในตอนเย็นของวันนี้ดวย
๔. ความคิดในตอนแรกของ สธ.๓ พล.ร.๒๐ คือ ตนตองการที่จะรักษาตารางกําหนดเวลาฉบับปจจุบันไว
เนื่องจากไดมกี ารเตรียมการไวอยางรอบคอบแลว อยางไรก็ดี สธ.๓ พล.ร.๒๐ ยังไดทราบวาผูบัญชาการ
กองพลมีขอแยงบางประการในเรื่องการยิงปนในระยะเวลานี้ดว ย ดวยเหตุผลดังกลาวนี้ สธ.๓ พล.ร.๒๐
จึงตกลงใจจะคิดถึงเรื่องนี้กอ นที่จะใหคําตอบแกกองทัพนอย ๕, สธ.๓ พล.ร.๒๐ ไดแจงปญหาตาง ๆ แก
ผูบัญชาการ และฝายอํานวยการในที่ประชุมฝายอํานวยการในตอนเชา ภายหลังที่ไดพิจารณาปญหาเพียงสอง
สามนาที ผูบัญชาการกองพลก็ใหแนวทางในการวางแผนดังตอไปนี้
“ทานฝายอํานวยการ ขาพเจาทราบดีวาเปนการยากที่จะเปลี่ยนแผนของเราในหวงเวลานี้ อยางไรก็ดี
ขาพเจาตองการใหทานทั้งหลายไดมองปญหานี้อยางรอบคอบ ใหรวบรวมขอเท็จจริงทั้งปวงที่บงั เกิดหรือไม
บังเกิดตอการเปลี่ยนแปลงนี้ และนํามาชีแ้ จงโดยสรุปแกขาพเจาใน ๑๖๐๐ วันนี้ ขาพเจาจะใหขอตกลงใจ
ในตอนนัน้ ”
๖. ฝายอํานวยการตาง ๆ ทําขอพิจารณาสถานการณและชี้แจงสรุปใหผูบัญชาการทราบใน ๑๖๐๐
๗. จากผลการชี้แจงสรุป ผูบัญชาการ พล.ร.๒๐ ไดทําประมาณสถานการณในใจดังตอไปนี้

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณฝกที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

๑. ภารกิจ
พล.ร.๒๐ จะทําการฝกพลแมนปนและการฝกยิงปนประจําป (ไมใชภารกิจใหมหรือภารกิจที่สมมุติ
ขึ้น แตเปนภารกิจตอเนื่องและเปนสวนหนึ่งของหวงการฝกตามปกติ)
๒. สถานการณ และหนทางปฏิบตั ิ
ก. ขอพิจารณาทีจ่ ะกระทบตอหนทางปฏิบัตติ าง ๆ ที่อาจจะทําได
๑) ลักษณะของพืน้ ที่ปฏิบัติการ
ก) ลมฟาอากาศ
(๑) หวงเวลา ๑๕ พ.ย. – ๑๕ ธ.ค. ... อุณหภูมโิ ดยเฉลี่ย ๑๖ องศา ฝนตกโดยเฉลีย่
๑๙ มิลลิเมตร ลมผิวพื้นโดยเฉลี่ย ๑๐ – ๑๘ นอต สภาพอยูในเกณฑดีโดยทั่วไปสําหรับการยิงปนใน
สนามยิงปน
(๒) หวงเวลา ๒๐ ก.พ. – ๑๘ มี.ค. ... อุณหภูมโิ ดยเฉลี่ย ๓๕ องศา หิมะตกโดยเฉลี่ย
๒๕ – ๓๘ นิ้ว ผิวพื้นโดย ๒๐ – ๒๐ นอต สภาพอยูในเกณฑยากลําบากสําหรับการยิงปนในสนามยิงปน
ข) ภูมิประเทศ ไมมีขอแตกตางที่สําคัญ ๆ ยกเวนทัศนวิสัยอันจํากัด ที่อาจเกิดขึน้
โดยเฉพาะอยางยิ่งในสนามยิงปนในระยะไกล ๆ ในหวงเวลา ก.พ. – มี.ค.
๒) สถานการณฝายเรา
(จาก สธ.๑) ก) เรื่องที่สําคัญเรื่องหนึ่งที่สําคัญกวาเรื่องตามปกติคือ การสับเปลี่ยนกําลังพลซึ่งจะทํา
กันใน ธ.ค. เพราะวาไดรับนโยบายของกระทรวงกลาโหมเมื่อเร็ว ๆ นี้ กลาววากําลังพลซึ่งจะทํากันใน ธ.ค.
เพราะวาไดรับนโยบายของกระทรวงกลาโหมเมื่อเร็ว ๆ นี้ กลาววากําลังพลทั้งสิ้นจะทําการผลัดเปลี่ยนใน
ธ.ค. และ ม.ค. และจะไปถึง บก.ทบ. ใน ธ.ค.๓๕ และกําลังทดแทนที่คาดวาจะไดสําหรับเดือน ธ.ค. นั้นจะไม
ออกเดินทางจาก บก.ทบ. จนกวาจะถึงหลังวันที่ ๑ ม.ค. นโยบายนี้จะกระทบกระเทือนประมาณรอยละ ๑๕
ของหนวย
(จาก สธ.๒) ข) กองพันขาวกรองทางทหารกําลังเปดสอบรมหลักสูตรนายสิบขาวกรองของหนวย
ใหกับทุกกองพล ตามตารางกําหนดเวลาทีแ่ จกจาย สําหรับ พล.ร.๒๐ กําหนดการฝกอบรมนี้ในชวงเวลา ตั้งแต
๒๐ – ๒๘ ก.พ.

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณฝกที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

(จาก สธ.๓) ค) กําหนดการฝกไดกําหนดขึ้นตามลําดับอันเหมาะสม ที่กลาวไวในกําหนดการฝกของ


ทบ. การยิงปนตามวันตาง ๆ ในเดือน ก.พ. จะทําใหความกาวหนาในการฝกเปลี่ยนแปลงและตองการให
กองพลแกไขการฝกของตนดังนี้
การฝกเปนบุคคล ๑ พ.ย. – ๓๐ พ.ย. (๑ เดือน)
การฝกเปนหนวยขนาดเล็ก ๑ ธ.ค. – ๓๑ ม.ค. (๒ เดือน)
การฝกเปนหนวยขนาดใหญ ๑ ก.พ. – ๑๙ ก.พ. (๓ สัปดาห)
การฝกยิงปน ๒๐ ก.พ. – ๑๘ มี.ค. (๑ เดือน)
การฝกเปนหนวยขนาดใหญ ๑๙ มี.ค. – ๓๐ มี.ค. (๕ สัปดาห)
การประลองยุทธ ๑ พ.ค. – ๓๐ มิ.ย. (๒ สัปดาห)
การยิงปนจะสอยูระหวางตารางเวลาฝกเปนหนวยขนาดใหญ และจะตองทําตารางกําหนดเวลาขึน้
ใหมสําหรับพืน้ ที่การฝกทั้งของการฝกเปนหนวยขนาดเล็ก และการฝกเปนหนวยขนาดใหญโดยกําหนดขึ้น
พรอม ๆ กัน พื้นที่การฝกเปนหนวยขนาดเล็กเพียงหนึ่งแหงเทานัน้ ที่เราสามารถหาไดใน ธ.ค. ซึ่งไมสูจะ
เทากับพื้นที่ซงึ่ เรากําหนดไวในตารางกําหนดเวลาปจจุบนั
นอกจากนี้ หนวยสนับสนุนของกองทัพนอย และกองทัพสนามบางหนวยจะไมมีเพื่อรวมในการฝก
ผสมเหลาของกองพลในระหวางหวงเวลาเดือน ก.พ. ของการฝกเปนหนวยขนาดใหญ
(จาก สธ.๔) ง) สป.๕ ทั้งสิ้นสําหรับการฝกยิงปนอยูใ นกํามือแลว สธ.๔ ของกองทัพนอยแจงให
กองพลทราบวาในกรณีทกี่ ารยิงปนตองเลือ่ นกําหนดไป กระสุนตองนําสงคืนและจะจายใหใหมในตอนกลาง
เดือน ก.พ.
(หมายเหตุ : ขอ ๒ ก. มีเพียง ๒ ขอยอยเทานั้น เวนขอยอย “สถานการณฝายตรงขาม” และ “อํานาจ
กําลังรบเปรียบเทียบ” เพราะวาไมจําเปนตองนํามาพิจารณาดวย)
ข. อุปสรรคที่สําคัญ ๆ หรือลักษณะของอุปสรรค ไมมี (ในกรณีนี้ ขอ ๒ ข. ไมนํามาพิจารณาและ
เวนเสียไดอยางสิ้นเชิง ที่นําหัวเรื่องของขอนี้มาลงไว ก็เพื่อชี้ใหเห็นวาเปนของขอ ๒ ข. ซึ่งตามปกติแลว
นํามาใชในเมือ่ ขอ “ขีดความสามารถของฝายตรงขาม” ไมนามาพิจารณา)
ค. หนทางปฏิบัตทิ ี่สามารถทําได
๑. ทําการฝกยิงปนในหวงเวลา ๒๐ ก.พ. – ๑๕ ธ.ค....
๒. ทําการฝกยิงปนในหวงเวลา ๑๔ ก.พ. – ๑๘ มี.ค.....
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณฝกที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

(ในสถานการณนี้ จะไมเลือกหนทางปฏิบัติ แตกองทัพนอยจะใหหนทางปฏิบัติแกกองพลในกรณี


เชนนี้ หนทางปฏิบัติทั้งสองประการเปนสิง่ สําคัญยิ่งที่กองพลจะตองดําเนินการตามได)
๓. การวิเคราะหหนทางปฏิบัติของทัง้ สองฝาย
ก. ไมมี (เพราะวาไมมี “ขีดความสามารถของขาศึก” หรือ “อุปสรรคตาง ๆ” ขอนี้จึงไมนํามา
พิจารณา การวิเคราะหตอไปนี้ เปนการวิเคราะหผลกระทบที่เกีย่ วของของแตละหนทางปฏิบัติ ในการ
วิเคราะหนี้ ผูบงั คับบัญชาพิจารณาถึงความสําคัญที่เกี่ยวเนื่องตามการตัดสินใจของตน)
ข. หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ หนทางปฏิบัติที่ ๑ มีขอดีที่สําคัญ ๆ ตอแผนที่ไดกําหนดไว และไดรับอนุมัติ
แลวเวลา, สนามยิงปนและพื้นทีก่ ารฝกไดกําหนดและไดรับการยืนยันไวแลว งานทางฝายอํานวยการตองทํา
เพิ่มขึ้นคือการปรับแผนที่มีอยูขึ้นใหม ขอดีที่สําคัญอยางอื่นของหนทางปฏิบัตินี้คือสภาพลมฟาอากาศที่
อํานวยให
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ มีขอเสียใหญ ๆ คือการยิงปนกอนที่จะมีกําลังสงกําลังพลขนาดใหญกลับ และ
กอนที่จะไดรบั กําลังทดแทน ดังนั้นจึงทําใหความมุงหมายในการฝกเสียผลไปบาง
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ ยังมีขอดี คือการฝกกาวหนาไปอยางเหมาะสม
ค. หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ หนทางปฏิบัติที่ ๒ มีขอเสียที่สําคัญ ๆ คือ ตองการการทํางานของฝาย
อํานวยการเพิม่ เติมและอยางรอบคอบในการปรับแผนการยิงปน, สนามฝก, สป.๕ และโรงเรียนที่ได
วางโครงการไวแลว โดยเฉพาะอยางยิง่ การฝกอบรมดานการขาวกรอง ซึ่งพิจารณาไดวามีความสําคัญ
อยางมาก
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ มีขอเสียอยางอื่น ๆ คือ ขัดขวางความกาวหนาในการฝกความเหมาะสมลง
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ มีขอเสียเกีย่ วกับสภาพลมฟาอากาศที่ไมอํานวยให อยางไรก็ดี การพิจารณาถึง
สถานภาพการพรอมรบของหนวย การปฏิบัติการรบที่อาจบังเกิดขึ้นยอมเปนเรื่องสําคัญ ทั้งในระหวางสภาพ
ลมฟาอากาศที่ไมอํานวยและในสภาพลมฟาอากาศที่อํานวยให ดังนั้นการยิงปนในสนามยิงปนในระหวาง
สภาพลมฟาอากาศ ไมอํานวยอาจจะเปนขอดีอยางแทจริง เพราะวาสามารถทดสอบกองพลภายใตสภาวะ
ที่เสี่ยงอันตรายได เรื่องนี้อาจเปนปจจัยที่สาํ คัญอยางที่สุด
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ มีขอดีที่สําคัญคือ การยิงปนภายหลังการสงกําลังพลกลับผิดปกติ และภายหลัง
กําลังทดแทนไดรับมาแลว

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณสถานการณฝกที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

๔. เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ
ก. การเปรียบเทียบ ห/ป.
ขอดี ขอเสีย
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ - สนับสนุนแผนที่กําหนดให - กําลังพลปกติสูญเสียไปหลังการยิงปน
- รักษาความกาวหนาในการฝก ไดทําเสร็จแลว
อยางเหมาะได - ไมสามารถทดสอบหนวยภายใตสภาพ
- ทดสอบหนวยภายในสภาพอํานวย ลมฟาอากาศรุนแรงได
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ - การยิงปนทําแลวเสร็จภายหลังได - ตองปรับแผนที่กําหนดไวอยาง
รับกําลังทดแทน รอบคอบ
- ทดสอบหนวยภายใตสภาพลมฟา - ขัดขวางความกาวหนาในการฝก
อากาศรุนแรงได อยางเหมาะสม รวมทั้งการฝกอบรม
การขาวกรองที่วางโครงการไวดว ย
- อาจตองมอบพื้นที่การฝกทีด่ ีที่สุด
แหงที่สองให

ข. การพิจารณา (เวน)
ค. ขอยุติ (เวน)

๕. ขอตกลงใจ (เวน)
การพิจารณาและขอยุติในขอยอย ๔ ข. และ ค. และขอตกลงใจในขอ ๕. นั้น ใหเวนเพราะเห็นไดชัด
วาขอตกลงใจนั้นเปนการตัดสินใจอยางบริสุทธิ์ของแตละผูประมาณการ การตัดสินใจนี้เกีย่ วของโดยตรงที่วา
ผูทําประมาณการแตละคนจะวางความสําคัญตอขอดีและขอเสียของแตละหนทางปฏิบัติ ผูทําประมาณการ
คนหนึ่งอาจพิจารณาเพื่อการตัดสินใจของตนวา ผลกระทบกระเทือนอันสําคัญที่สุดก็คือขอดีของแผนที่อนุมัติ
แลว พืน้ ที่การฝกที่ดีที่สุดที่หาได ลมฟาอากาศที่อํานวย และขอเท็จจริงที่วาขณะนี้เปนการสายเกินไปที่จะ
เปลี่ยนแปลง ในกรณีนี้เขาอาจจะเลือกหนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ ผูทําประมาณการคนอื่นอาจพิจารณาขอเท็จจริง
ที่สําคัญที่สุดคือ การฝกยิงปนควรจะกระทําแกกําลังพลผูซึ่งจะอยูกับกองพล ในระหวางหวงเวลาการฝก
ตามลําดับใหมจี ํานวนมากกวา และเขาอาจพิจารณาขอเท็จจริงที่วา เขาสามารถ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(ประมาณสถานการณฝกที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

ทดสอบกองพลภายใตสภาพลมฟาอากาศที่รุนแรงไดดว ย เหตุผลที่วา ถาหนวยใดหนวยหนึ่งสามารถทําการยิง


ไดภายใตสภาพที่รุนแรงแลว หนวยงานนัน้ ก็สามารถทําไดดีกวาภายใตสภาพลมฟาอากาศที่อํานวยให ในกรณี
เชนนี้เขาอาจจะเลือกหนทางปฏิบัติที่ ๒
ตามตัวอยางขางบนนี้แสดงถึงกรรมวิธีของความคิดที่ผูบังคับบัญชาทําใหแลวเสร็จโดยปราศจาก
ขอสงสัยในขณะที่ฝายอํานวยการชี้แจงสรุปใหกับตน บางทีผูบังคับบัญชาควรจะประกาศขอตกลงใจของตน
ตอจากการชี้แจงสรุปในขั้นสุดทาย ประมาณการขางบนนี้อาจทําใหสําเร็จไดดว ยการใชแบบฟอรมของ
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ แบบฟอรมของประมาณการและแบบฟอรมของขอพิจารณาของฝาย
อํานวยการมีความสําคัญอยางยิ่งเหมือน ๆ กัน และมีความมุงหมายเดียวกันคือการแกปญหา ความมุงหมาย
หลักของตัวอยางนี้ก็คือเพื่อชี้ใหเห็นความออนตัวของแบบฟอรมของประมาณการที่แฝงอยู เพราะวาอาจ
นําไปใชไดเสมือนเปนเครื่องมือในการแกปญหาทั้งที่เปนปญหาทางยุทธวิธีและปญหาที่ไมใชทางยุทธวิธี

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๕
ตัวอยางที่ ๔ – ๓ ประมาณการกําลังพลของกองพลทหารราบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
แผนกกําลังพล พล.ร.๗
สิงหนคร (๒๓๓๖๖๔)
๑๘๑๕๐๐ ธ.ค......
ประมาณการกําลังพลที่ ๑๕

อางถึง : แผนที่ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวางบริบูรณนคร – รังษีนคร

๑. ภารกิจ
พล.ร.๗ เขาตีใน ๒๐๐๖๐๐ ธ.ค...... เพื่อยึดและรักษารังษีนครไวใหได

๒. สถานการณและขอพิจารณา
ก. สถานการณขาวกรอง
๑) ลักษณะพื้นทีป่ ฏิบัติการ
ก) ประมาณการขาวกรอง ฉบับที่ ๕ (เวน)
ข) ลําน้ําสายชลลุยขามไดในหนาแลว แตถา เปนหนาฝนจะลุยขามไดเฉพาะดานใตจาก
พิกัด ๓๔๖๘ เทานั้น
ค) ถนนบริบูรณนคร – รังษีนคร เปนถนนชั้นดีใชไดทุกฤดูกลาง พื้นที่ตอนเหนือของ
แนวถนนเปนที่ราบลุม สวนใหญเปนนาขาวกําลังออกรวง หนาฝนพื้นดินออนใชยานพาหนะไมได พื้นที่
คอย ๆ ลาดขึ้นมาสูแนวถนน พื้นที่ตอนใตของตัวถนนเปนที่สูงสลับดวยเนินเตีย้ ๆ เปนปาโปรงดินแข็ง
สามารถใชยานพาหนะวิ่งผานระหวางตนไมไดตลอดป
ง) ฤดูกาล
(๑) ฤดูฝน ก.ย. – ม.ค.
(๒) ฤดูหนาว ก.พ. – พ.ค. แลง
(๓) ฤดูรอน เม.ย. – ส.ค. แลง
จ) แนวทางเคลื่อนที่
(๑) ดานเหนือแนวถนน บริบูรณนคร - รังษีนคร
(๒) ดานใตถนนบริบูรณนคร – รังษีนคร
ฉ) ผลที่จะบังเกิดตอกิจการกําลังพล
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

(๑) การเขาตีเหนือพิกัด ๓๔๖๘ ตองเปนการรบแบบขามลําน้ํา ฉะนัน้ ตองมีกําลัง


ทหารชางสนับสนุน ดานใตลุยขามได
(๒) การเคลื่อนที่ดา นเหนือแนวถนนบริบูรณนคร – รังษีนคร ไมสามารถใช
ยานพาหนะได ความเหน็ดเหนื่อยของทหารจะมีมาก ทําใหขวัญลดลงไดงาย ประกอบกับเปนนาขาวของ
ราษฎรจึงขาดที่กําบังตัวเมื่อถูกยิงจะทําใหขวัญของทหารเสื่อมลงไดเร็ว สวนการเคลื่อนที่บนถนนและดานใต
แนวถนนนั้นสามารถใชยานพาหนะได ความเหน็ดเหนื่อยของทหารจะลดลง รวมทั้งพืน้ ที่เปนปาโปรง
สามารถใชตนไมกําบังตัวไดเมื่อถูกยิง ดังนั้นขวัญของทหารที่เคลื่อนที่ไปบนถนนและทางใตของแนวถนน
จะดีกวาขวัญของทหารที่เคลื่อนที่ไปทางเหนือของถนน
(๓) ฤดูนี้เปนฤดูฝน ดังนัน้ ตองมีอุปกรณกนั ฝนใหทหารอยางเพียงพอ รวมทั้งตองมี
การกวดขันเกีย่ วกับการรักษาสุขวิทยาอนามัยของทหาร การถนอมรักษาอาหารและเวชกรรมปองกันการ
แพอากาศ
๒) การวางกําลังของฝายตรงขาม
ก) แผนบริวารที่ ๑ ประกอบตอนที่ ๑
ข) ขีดความสามารถของฝายตรงขามที่นาจะปฏิบัติมากที่สุด คือตั้งรับอยางแข็งแรง ณ
ที่มั่นปจจุบันเพื่อรอการเสริมกําลัง
ค) ผลที่จะบังเกิดตอกิจการกําลังพล
(๑) ดานเหนือแนวถนน ไมมีสนามทุนระเบิด การสูญเสียนอยกวาและทหารไมเสีย
ขวัญเหมือนดานใตซึ่งเต็มไปดวยสนามทุน ระเบิด
(๒) กองหนุนของฝายตรงขามสามารถใชทางดานใตถนนไดอยางสะดวก และวาง
ไวคอนมาทางดานใต ดังนั้นการสูญเสียของฝายเราจะมีมากทางดานใต
ข. สถานการณทางยุทธวิธี
๑) การวางกําลังของฝายเรา แผนบริวารที่ ๑
๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่คาดวาจะกระทําได
ก) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ เขาตีใน ๒๐๐๖๐๐ ธ.ค.... ตามทิศทางหลักดานเหนือของแนว
ถนนบริบูรณนคร–รังษีนคร แนวถนนอยูใ นเขตเพื่อยึด ทม.๑ และคุมครองรังษีนครโดยใชกําลัง ๑ กรม ร.
ในทิศทางหลัก ๑ กรม ร. เปนกองหนุนเคลื่อนที่ตามหนวยเขาตีหลัก
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ข) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ เขาตีใน ๒๐๐๖๐๐ ธ.ค.... ตามทิศทางหลักดานใตของแนวถนน


บริบูรณนคร – รังษีนคร แนวถนนอยูนอกเขตเพื่อยึด ทม.๒ และคุม ครองรังษีนคร โดยใชกําลัง ๑ กรม ร.
ในทิศทางหลัก ๑ กรม ร. เปนกองหนุนเคลื่อนที่ตามหนวยเขาตีหลัก
ค) เมื่อเสร็จภารกิจนี้ พล.ร.๗ จะปฏิบัติการรุกตอไปทางตะวันออกตามแผน ทภ.๑
ตั้งแต ๒๕ ธ.ค.
ง) ผลที่จะบังเกิดตอกิจการกําลังพล
(๑) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ การสูญเสียจะมีไมมาก แตความเหนือ่ ยยากของกําลังพลจะ
มีมาก รวมทั้งขวัญของทหารจะลดลงมาก ในระหวางการขามชําน้ําสายชล ถาการเขาตีรองทางดานใตสามารถ
ตรึงกําลังกองหนุนของฝายตรงขามไมใหนํามาใชทางดานเขาตีหลักไดแลว ขวัญของทหารทางดานเขาตีหลัก
นี้ก็จะไมลดลงมากนัก โดยเฉพาะเมื่อสามารถรุกขามลําน้ําไดแลว ถากําลังทางดานเขาตีหลักสามารถใช
เสนทางบริบูรณนคร – รังษีนคร ไดแตเนิน ก็จะชวยลดความเหนื่อยยากของทหารลงไดมาก รวมทั้งลดการ
สูญเสียลงไดมากดวย
(๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ การสูญเสียนาจะมีมากกวาหนทางปฏิบัติที่ ๑ ถาใชวิธี
ลุยผานดงระเบิด แตถาเจาะชองก็จะเสียเวลารอคอยทําใหทหารตกเปนเปาการโจมตีจากอาวุธฝายตรงขาม
ซึ่งจะทําใหขวัญลดลง การลุยขามลําน้ําสายชลแมวาจะทําไดรวดเร็ว แตโอกาสทีจ่ ะสูญเสียก็มมี ากเหมือนกัน
เพราะอาจมีทหารวายน้ําไมเปนอยูในหนวยเมื่อขามลําน้าํ ไดแลวก็อาจจะเผชิญกับการสูญเสียอยางหนัก เพราะ
กองหนุนของฝายตรงขามมีแนวโนมที่จะใชในดานนี้โดยเฉพาะฝายตรงขามมีรถถังเปนกองหนุน ยิ่งจะทําให
กําลังพลของฝายเราเสียวขวัญมากเมื่อเผชิญหนากัน ถาหากกองหนุนของฝายตรงขามถูกชักนําไปใชทอี่ ื่น
เสียกอน ก็จะทําใหทหารของเรามีขวัญดีขึ้น และการสูญเสียก็คงไมมากนัก
ค. สถานการณสงกําลังบํารุง
๑) คําสั่งการชวยรบที่ ๑๐ (เวน)
๒) โรงพยาบาลสนามที่ ๑ (ของ ทภ.๑) ตั้งอยูท ี่ ๑๑๖๕ (นอกแผนที่)
๓) ที่พยาบาลของ พล.ร.๗ ตั้งอยูที่ ๒๑๖๔
๔) ตจ.สป.๑ ของ พล.ร.๗ ตั้งอยูที่ ๒๑๖๓
๕) กองรอยรถยนตพยาบาลของ พล.ร.๗ ตั้งอยูที่ ๒๑๖๔
๖) ผลที่จะเกิดตอกิจการกําลังพล

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ก) สถานที่ตั้งของหนวยรักษาพยาบาล อยูไ มไกลจนเกินไป คาดวาจะสามารถรองรับ


กําลังพลที่บาดเจ็บไดอยางทัว่ ถึงและทันเวลา ไมนาจะมีปญหาแกขวัญของกําลังพล
ข) ที่ตั้ง ตจ.สป.๑ นับวาอยูไมไกลเกินกวาที่จะสนับสนุนหนวยในแนวหนา แมวาหนวย
จะเขายึด ทม.๑ และ ๒ ไดแลวก็ตาม แตถาทําไดควรยาย ตจ.สป.๑ ขึ้นไปขางหนาโดยเร็วหลังจากยึด ทม.๑
และ ๒ ไดแลว เพื่อไมใหขลุกขลักในการสนับสนุน สป. ซึ่งอาจเปนสาเหตุที่ทําใหขวัญของทหารลดลงได
ค) สรุปแลวไมมผี ลกระทบที่สําคัญตอกิจการกําลังพล
ง. สถานการณกจิ การพลเรือน
๑) คําสั่งการชวยรบที่ ๑๐ (เวน)
๒) รังษีนคร เปนเมืองใหญมีพลเมืองเหลืออยูป ระมาณ ๘,๐๐๐ คน
๓) พลเรือนถูกฝายตรงขามบังคับใหทํานา ทางดานทิศเหนือของแนวถนนบริบูรณนครรังษี
ขณะนี้อยูในระหวางเก็บเกี่ยว
๔) ผลที่จะเกิดตอกิจการกําลังพล ไมมี
จ. สถานการณกําลังพล
๑) การรักษายอดกําลังพล
กําลังพล
หนวย % ความพรอมรบ
อนุมัติ บรรจุจริง
ร.๒๑ ๓,๑๓๑ ๓,๐๒๗ ๙๖.๖๘
ร.๔๑ ๓,๑๓๑ ๓,๐๒๗ ๙๖.๖๘
ร.๕๑ ๓,๑๓๑ ๒,๙๔๒ ๙๓.๙๖
ป.๗ ๓,๓๖๒ ๓,๐๙๒ ๙๑.๙๗
ม.พัน.๗ ๖๗๔ ๕๙๒ ๘๗.๘๓
ช.พัน.๗ ๗๕๐ ๖๘๓ ๙๑.๐๒
หนวยอื่น ๆ ทีเ่ หลือ ๒,๐๕๘ ๑,๗๗๕ ๘๖.๒๕
รวม ๑๖,๓๓๐ ๑๕,๑๓๘ ๙๒.๗๐

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๑๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

๒) การทดแทนกําลัง
ก) รอย กทท.พล.ร.๗ มีกําลังทดแทน ๑๒๐ นาย สามารถทดแทนไดทันที ที่ตั้งรอย
กทท. พิกัด ๒๑๓๖๖๔
ข) กองพัน กทท.ของ ทภ.๑ มีกาํ ลังทดแทน ๑,๒๐๐ นาย สามารถทดแทนไดทันที
ค) ระยะเวลาในการเบิก นับตัง้ แตเริ่มวางใบเบิก จนกระทั่งกําลังทดแทนเดินทางถึง
รอย กทท. รวม ๔๒ ชม.
ง) นโยบายการรักษายอดกําลังพล หนวยรบหลักตองมีกําลังพลไมต่ํากวา ๘๕ %
ในการปฏิบัตกิ ารรบทุกขั้นตอน
๓) การจัดกําลังพล
ก) การดําเนินการกําลังพลนายทหารตองขออนุมัติ ทภ.๑ กอนเสมอ เวนการสั่งให
ทําการแทน
ข) การดําเนินการกําลังพล ต่ํากวาสัญญาบัตร พล.ร.๗ ดําเนินการเอง
ค) คาดวาจะจับเชลยศึกในหวง ๒๐ – ๒๒ ธ.ค... ไดประมาณ ๑๖๐ คน
ง) ทภ.๑ หามใชแรงงานพลเรือนในเขตกองพล
๔) การพัฒนารักษาขวัญ
ก) ศูนยการพักผอนหยอนใจของ ทภ.๑ จัดตั้งขึ้นที่ดารานคร (หางจากบริบูรณนคร
ไปทางตะวันตก ๔๐ กม.) เปดทําการใน ๑๕ ธ.ค.....
ข) สวนแบงในการลาของ พล.ร.๗ ไมเกิน ๒,๕๐๐ ที่
ค) การตั้งคายพักผอนของกองพลขึ้นเอง ตองขออนุมัติจาก ทภ.๑ ลวงหนา ๕ วัน
ง) ตําบลรวบรวมศพของ พล.ร.๗ ตั้งอยูที่ ๒๒๕๖๙๘
จ) ขวัญของ ร.๒๑, ร.๔๑ อยูใ นเกณฑสูง สวนขวัญของ ร.๕๑ อยูในเกณฑพอใช
๕) วินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง
ก) ทหารที่มีความผิดรายแรง ใหสงกลับไปขึ้นศาลทหารในเขตหลัง
ข) ใหอบรมทหารใหเคารพกฎหมายและประเพณีของทองถิน่ โดยเครงครัด
๖) เบ็ดเตล็ด
ก) ไมอนุญาตใหกําลังพลแตงงานกับพลเรือนในทองถิ่น
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ข) ไมอนุญาตใหผูสื่อขาวสงครามที่มิใชกําลังพลในอัตราของ ทบ. เขามาหาขาวใน


พื้นที่ของกองพล
ฉ. สมมุติฐาน
๑) การรบในชวงนี้คาดวาจะดําเนินไปดังนี้
ก) วันที่ ๑๙ ธ.ค....สถานการณไมมีการรบ
ข) วันที่ ๒๐ ธ.ค.....เขาตีที่มั่นแข็งแรงวันแรก
ค) วันที่ ๒๑ – ๒๒ ธ.ค....เขาตีวันตอไป (ยึดที่หมายได)
๒) อัตราผูบาดเจ็บ
ก) ๖๐ % ของผูบาดเจ็บจากการรบไมตองถูกสงกลับไปจากพื้นที่ของกองพล และ
สามารถกลับเขาปฏิบัติการรบไดใหมใน ๕ วัน
ข) ๘๐ % ของการสูญเสียมิใชจากการรบไมตอ งถูกสงกลับไปจากพืน้ ที่กองพล และ
สามารถกลับเขาปฏิบัติการรบไดใหมใน ๕ วัน

๓. การวิเคราะห
ก. การรักษายอดกําลังพล
๑) ยอดกําลังพล
ก) ยอดกําลังพลปจจุบัน เฉพาะหนวยรบหลัก
ร.๒๑ บรรจุจริง ๙๖.๖๘ %
ร.๔๑ บรรจุจริง ๙๖.๖๘ %
ร.๕๑ บรรจุจริง ๙๓.๙๖ %
ทั้งกองพลบรรจุจริง ๙๒.๗๐ %
ข) วิเคราะหยอดกําลังพล หนวยรบหลักของกองพลและยอดรวมของกองพลมีเกินกวา
๘๕ % ดังนัน้ ยอมไมมีปญหาในการทําการรบในหวงเวลานี้ แต ร.๕๑ มีกําลังนอยกวาอีก ๒ กรม จึงไมควรใช
ร.๕๑ เปนหนวยเขาตี
๒) ประมาณการสูญเสีย (ดูตารางคํานวณการสูญเสียหนวยตาง ๆ ในแตละวันตอนทาย)
ก) ประมาณการสูญเสีย ในหวง ๑๙ – ๒๒ ธ.ค.
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

หนวย ประมาณการสูญเสียในหวง ๑๙-๒๒ ธ.ค. กําลังพลที่เหลือ % ความพรอมรบใน ๒๒ ธ.ค.

ร.๒๑ ๖๓๓ ๒,๓๙๔ ๗๖.๔


ร.๔๑ ๖๓๓ ๒,๓๙๔ ๗๖.๔
ร.๕๑ ๖๓๓ ๒,๓๐๙ ๗๓.๗๘
ป.๗ ๘๓ ๓,๐๐๙ ๘๙.๕
ม.พัน.๗ ๔๗ ๕๔๕ ๘๐.ศ๘๖
ช.พัน.๗ ๓๗ ๖๔๕ ๗๖.๖
หนวยอื่น ๆ ๓๘ ๑,๗๓๗ ๘๔.๔
รวม ๒,๑๐๔ ๑๓,๐๔๓ ๗๙.๘๒
ข) การสูญเสียที่สามารถกลับเขาทําการรบไดใน ๒๗ ธ.ค..... (รักษา ๕ วัน)
(๑) ๖๐ % ของการบาดเจ็บจากการรบ
= (๑๐๗ + ๙๔๔ + ๔๔๘ + ๔๓๒) (.๗๐) (.๖๐)
= ๑๙๓๑ x .๗๐ x .๖๐
= ๘๑๑
(๒) ๘๐ % ของการสูญเสียมิใชจากการรบ
= (๔๕ + ๔๕ l+ ๔๒ + ๔๑) (.๘๐)
= ๑๗๓ x .๘๐
= ๑๓๘
ค) วิเคราะหการสูญเสีย
(๑) พล.ร.๗ จะมีกําลังต่ํากวา ๘๕ % ตั้งแต ๒๓ ธ.ค. จนถึง ๒๗ ธ.ค.....ถาหาก
จะตองเขาทําการรบกอน ๒๗ ธ.ค.....จะตองไดรับการทดแทนกําลังโดยดวน
(๒) กําลังรบหลักของ พล.ร.๗ คือ ร.๒๑, ๔๑, ๕๑ ตางก็มีกําลังต่ํากวา ๘๕ %
ในหวง ๒๓ – ๒๗ ธ.ค..... จําเปนตองไดรบั การทดแทนกําลังถาจะตองทําการรบตอไปในหวงเวลานี้

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

(๓) จํานวนกําลังพลทดแทนที่ตองการ ใน ๒๓ ธ.ค.


= (๑๖๓๓๐ x .๘๕) – ๑๓๐๓๔
= ๑๓๘๘๑ – ๑๓๐๓๔
= ๘๔๗ นาย
(๔) สรุปแลว การสูญเสียในชวงนี้จะยังไมกระทบภารกิจในปจจุบัน แตจะไป
กระทบภารกิจในอนาคต ซึ่งถาหากจะรุกตอไปใน ๒๕ ธ.ค....ตามแผนของ ทภ.๑ แลว พล.ร.๗ จะมีกําลังพล
เหลือไมถึง ๘๕ % ตามนโยบายของ ทภ.๑ จะตองรอจนกวากําลังทีห่ ายจากปวยใน ๒๗ ธ.ค.....กลับเขาประจํา
หนาที่เสียกอน จึงจะสามารถทําการรบไดเต็มขีดความสามารถ
๓) การทดแทนกําลัง
ก) ปจจุบัน พล.ร.๗ มีกําลังขาดอัตราอยู = ๑๖,๓๓๐ – ๑๕,๑๓๘
= ๑,๑๙๒ นาย
ข) กําลังทดแทนใน รอย กทท. มีอยู ๑๒๐ นาย สามารถทดแทนไดทนั ที
ค) พัน กทท. ของ ทภ.๑ มีไวพรอมจายได ๑,๒๐๐ นายเมื่อเบิก
ง) ระยะทําการในการเบิก ๔๒ ชม.
จ) ระยะทําการทัง้ สิ้น = ๔๒ + ๗๒
= ๑๑๔ ชม.
ประมาณ ๕ วัน
ฉ) วิเคราะหการทดแทนกําลัง
(๑) เพื่อใหกําลังพลของ พล.ร.๗ มีมากที่สุด ดังนั้นกําลังทดแทน ๑๒๐ คน ที่มี
ในรอย กทท.ปจจุบันควรจะไดทดแทนใหหนวยโดยทันที เพราะหวงเวลาที่จะทดแทนไดขณะนี้มีเพียงวันที่
๑๘ – ๑๙ ธ.ค....เทานั้น
เพราะฉะนั้นควรประสานกับ สธ.๓ ซึ่งกําหนดลําดับความเรงดวนในการทดแทน
(๒) ถาเบิกกําลังทดแทนจาก ทภ.๑ ในวันนี้ จะสามารถพรอมจายหนวยไดใน
๒๓ ธ.ค.....เปนอยางเร็ว เปนชวงที่สิ้นสุดการรบพอดี
(๓) กําลังทดแทนงวดที่สอง จะสามารถเบิกไดเร็วที่สุด ประมาณ ๒๒ ธ.ค.....เพราะ
ถาเบิกเร็วกกวานั้นจะทําใหเกินขีดความสามารถของรอย กทท. กําลังทดแทนงวดที่สองนี้ จะยายหนวยได
ประมาณ ๒๗ ธ.ค..... แมวาจะไมทันที่จะทดแทนใหหนวยกอนเขาตี ใน ๒๕ ธ.ค.๒๔ ก็ตาม แตถา
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

รอย กทท. สะสมกําลังทดแทนงวดที่สองไว ก็จะเปนการดีที่จะทดแทนในโอกาสตอไป


(๔) ที่ตั้งของ รอย.กทท. พิกดั ๒๑๓๖๖๔ อยูในยานกลางและใกลขายเสนทางที่ดี
แลว แตไมคอ ยเหมาะสมเพราะอยูห างไกลจากหนวยในแนวหนามากเกินไป การจัดสงกําลังทดแทนไปให
หนวยรองจะเสียเวลาในการเดินทางมาก ประกอบกับอยูหางจาก ทก.หลัง มาก (๙ กม.) ยากแกการควบคุม
ดังนั้นควรเปลี่ยนที่ตั้งของ รอย กทท. คือ บริเวณปาดานใตของ สลก. พิกัด ๒๔๐๖๖๐ นอกจากจะงายตอการ
ควบคุมแลว ยังตั้งใกลขึ้นมาขางหนาสะดวกในการสนับสนุนแกหนวยในแนวหนาดวย
(๕) สรุปผลการวิเคราะห
- ควรทดแทนดวยกําลังที่มี ๑๒๐ นาย ขณะนีใ้ หแกหนวยตาง ๆ โดยเร็วที่สุด
โดยประสานลําดับความเรงดวนกับ สธ.๓
- ควรเบิกกําลังทดแทนโดยดวน ๖๐๐ นาย เพื่อทดแทนใหแกหนวยเมือ่ สิ้นสุด
การรบในครั้งนี้
- ควรเบิกกําลังทดแทนมาสะสมไว ๖๐๐ นาย เพื่อไวทดแทนเมื่อมีโอกาส
- ควรเปลี่ยนที่ตั้งรอย กทท. มาอยูบริเวณปาดานใตของ สลก. ใหใกลกับ ทก.
หลัง พิกัด ๒๔๐๖๖๐
๓) สรุปการวิเคราะหเรื่องการรักษายอดกําลังพล
ก) กําลังรบหลักของ พล.ร.๗ ในปจจุบันมีมากพอที่จะทําการรบครั้งนี้
ข) การสูญเสียที่เกิดขึ้นจากการรบครั้งนี้ อาจจะทําใหกองพลไมสามารถปฏิบัติ
ตอไปโดยทันทีอยางไดผล ตองพักเพื่อฟนฟูหนวยประมาณ ๕ วัน เพื่อใหกําลังพลหายจากปวย ดังนั้น
ถาตองการใหหนวยมีประสิทธิภาพในการรบยิ่งขึ้น จึงควรมีการทดแทนกําลังใหมากที่สุดเทาที่จะทําได
ค) การทดแทนทีส่ ามารถกระทําไดกอนการรุกตอไป สามารถกระทําไดเพียง
๗๒๐ นาย แมจะจะไมทําใหจํานวนกําลังพลที่ปฏิบัติการรบจริงเกินกวา ๘๕% ตามที่กองทัพกําหนดแต
ยอดรวมของกองพลก็ต่ํากวาไมมากนัก
ง) ควรมีการยาย รอย กทท. มาตั้งใกลกับ ทก.หลัง
จ) สรุปแลว การรักษายอดกําลังพลไมกอใหเกิดปญหาในการรบครั้งนี้
ข. การจัดการกําลังพล
๑) การดําเนินการกําลังพลต่ํากวาสัญญาบัตร ไมมีปญหายกเวนการดําเนินการกําลังพล
ประเภทนายทหาร เพราะถาเกิดสูญเสียนายทหารในการรบ จะตองรายงาน ทภ.๑ เพื่อขออนุมัติแตงตั้งขึ้น
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ใหม อยางไรก็ดี ถาหากมีการสูญเสียนายทหารขึ้นจริง ก็อาจแกปญหาดวยการตั้งเจาหนาที่อื่นขึ้นทําการแทน


ได นับวาสามารถแกปญหาเฉพาะหนาไปไดชั่วคราว สรุปไดวาไมนาจะมีปญหา
๒) เชลยศึกที่คาดวาจะจับไดมเี พียง ๑๖๐ นาย ไมนา จะมีปญหาแก รอย.สห. ในการจัด
ที่ควบคุม อยางไรก็ตาม ถาสามารถสงตัวเชลยศึกเหลานี้ใหแก ทภ.๑ ไดเร็วเทาไรก็จะลดภาระของ พล.ร.๗
ลงมากเทานั้น ดังนั้นจึงควรเรงรัดใหมีการจัดสงเชลยศึกกลับไป ทภ.๑ ใหเร็วที่สดุ
๓) ตําบลรวบรวมเชลยศึกยังมิไดจัดตั้งขึ้นมากอน แตในการรบหวงนี้ควรจัดตั้งตําบล
รวบรวมเชลยศึกขึ้น เพื่อควบคุมเชลยศึกที่คาดวาจะจับไดไวชวั่ คราวกอนสงตัวให ทภ.๑ สถานที่ซึ่งเหมาะ
ที่จะจัดตั้งตําบลรวมรวบเชลยศึก คือ บริเวณปาดานใต สลก. พิกัด ๒๓๕๖๕๖ เพราะอยูใ กลกบั ทก.หลัก
(๑ กม.) สะดวกในการซักถาม อยูใกล สลก. สะดวกในการสงกลับและอยูใ นพืน้ ที่ปกปดกําบัง การหลบหนี
อาจทําไดงาย เพราะอาจใชเสนทางดานใตของพื้นที่ปฏิบัติการหนีเขาในพื้นที่ของ พล.๒ ได ดังนั้นจึงควร
กําชับ สห. ใหมีการควบคุมโดยใกลชดิ และควรควบคุมเชลยศึกไวไมเกิน ๒๔ ชม. เพื่อมิใหเชลยศึกไวไมเกิน
๒๔ ชม. เพื่อมิใหเชลยศึกคุน เคยกับพื้นที่
๔) ทภ.๑ หามใชพลเรือนในเขตกองพล ดังนั้นจึงไมมีปญหาในการจัดการควบคุมในหนวย
ทหาร
๕) สรุปการวิเคราะหเรื่องการจัดการกําลังพลไมกอใหเกิดปญหาในการรบครั้งนี้
ค. การพัฒนารักษาขวัญ
๑) ศูนยการพักผอนหยอนใจของ ทภ.๑ จัดตั้งขึ้นแลวที่ดารานคร เปดทําการตั้งแต
๑๕ ธ.ค.....ดังนั้น จึงไมจําเปนตองจัดตั้งคายพักผอนของกองพลขึ้น ก็ยอมเปนการเพียงพอทําใหลดภาระของ
กองพลลง
๒) สวนแบงการลาของ พล.ร.๗ไดประมาณ ๒๕๐๐ ที่นบั วาเปนการเพียงพอที่จะใหทหาร
ไดผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันลาแตหวงนี้ยังไมสมควรใหลาเนื่องจากตองเขาทําการรบ การลาควรจะเริ่ม
หลังจากการรบในหวงนี้ผานไปแลว โดยควรพิจารณาใหหนวยทีเ่ ขาทําการรบในหวงนี้มีน้ําหนักในการลา
มาก ๆ และควรจะไดเผยแพรขาวสารนี้ใหทหารรูแตเนิน่ ๆ เพื่อใหทหารเกิดขวัญและกําลังใจในการสูรบ
๓) ตําบลรวบรวมศพของกองพล (๒๒๕๖๘๘) อยูไมไกลจากแนวหนามากนัก คาดวา
จะสามารถใหการสนับสนุนการรบครั้งนี้ไดอยางตอเนื่อง ประกอบกับอยูหาง สลก. จึงหางไกลจากสายตาของ
ผูสัญจรไปมานับวาเหมาะสม แมจะอยูห างจาก ทก.หลัง คอนขางมาก ๖.๕ กม.) แตก็คิดวาไมนา จะมีปญหา
ในการบังคับบัญชาและการเลี้ยงดู ประกอบกับรถที่จะมาสงศพมักเปนรถที่จัดขึ้นพิเศษหรือรถที่ใชรับ สป.๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ดังนั้นจึงทําใหไมเพิ่มความแออัดของการจราจรบน สลก. ดวย


๔) ขวัญของ ร.๕๑ อยูในเกณฑต่ํากวาขวัญของอีก ๒ กรม ดังนั้นจึงไมควรใช ร.๕๑ ในสวน
เขาตีหลัก ควรใช ร.๕๑ เปนกองหนุนหรือหนวยเขาตีรองจะเหมาะสมกวา
๕) สรุปการวิเคราะห ไมนาจะมีปญหาในเรื่องการพัฒนารักษาขวัญ ยกเวนการใช ร.๕๑
ควรใชเปนกองหนุนหรือสวนเขาตีรอง
ง. การรักษาวินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง
๑) การสงทหารที่มีความผิดรายแรงกลับไปขึน้ ศาลในเขตหลัง อาจเปนตัวอยางใหทหาร
ที่กลัวตายเอาอยางดวยการทําความผิดเพิม่ ขึ้น
ฉะนั้น จึงควรเนนใหทราบไวแตเนิ่นวา ทหารที่มีความผิดนั้นมิไดถกู สงตัวกลับไปคุมตัว
เทานั้น แตไดถูกสงไปขึ้นศาลทหารซึ่งจะตองไดรับโทษหนักกวาปกติดวย
๒) การอบรมใหทหารทราบขนบธรรมเนียมประเพณี และกฎหมายของทองถิ่น ควรได
ประสานกับ สธ.๕ รวมทั้งใหจดั ทําคําแนะนําเกีย่ วกับขอแตกตางของประเพณีทองถิ่นที่สําคัญ ๆ แจกจายไป
ใหหนวยรองโดยเร็ว
๓) แนวควบคุมทหารพลัดหนวย ควรกําหนดขึ้นเพื่อปองกันทหารหนีทัพ ลักษณะ
ภูมิประเทศที่เหมาะจะจัดตั้งแนวควบคุมทหารพลัดหนวยมีสองแนวคือ
ก) ใชแนวถนนจากกรกฎนครเริ่มที่พิกัด ๒๗๐๗๑๐ ลงมาทางใตจนถึง ๒๗๐๗๐๐
ตัดขามลําน้ํา ทางรถไฟ มาพบกับถนนที่ ๒๘๐๖๙๕ และใชแนวถนนเปนแนวควบคุมทหารพลัดหนวย
(จากเหนือลงมาใต) จนกระทั่งถึงที่ตั้ง ป.พัน.๕๑ (๒๙๒๗๕๘) แลวตัดพุงขามทุงราบไปบรรจบเขตทางขาง
ของกองพลบริเวณ ๒๙๐๖๕๐ แนวนี้เหมาะที่จะใชเปนแนวควบคุมทหารพลัดหนวย เพราะอยูใกลกับ
แนวหนาทําใหสามารถควบคุมทหารในแนวหนามิใหออกมาหางไกลหนวยมากจนเกินไป และสังเกตเห็น
ไดชัดในภูมิประเทศ ยกเวนสวนที่ผานทุงราบ
ข) ใชแนวถนนจากกรกฎนคร เริ่มที่พิกัด ๒๗๐๗๑๐ เรื่อยลงมาทางใตจนถึงพิกัด
๒๖๗๙๘ เปลี่ยนเปนใชแนวทางรถไฟมาทางตะวันตกเฉียงใตถึงทางตัดกับแนวถนนที่พิกัด ๒๕๕๖๘๔
แลวใชแนวถนนยอนมาทางตะวันออกถึงพิกัด ๒๕๙๖๘๓ จึงใชถนนแยกลงมาทางใตจนจรด พิกัด ๒๖๑๖๖๖
ตัดขามทุงราบมาทางตะวันตกเฉียงใต เพื่อเชื่อมกับแนวถนนที่พิกดั ๒๕๕๖๕๒ แลวใชแนวถนนซึ่งพุงลงใต

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

จนจดกับแนวถนน (เสนกัน้ เขตกองพล) ที่พิกัด ๒๔๘๖๓๘ แนวนี้เหมาะที่จะใชเพราะไมชิดแนวหนา


จนเกินไป ทหารในแนวหนามีเสรีในการเคลื่อนไหวดีกวาแนวในขอ ก) มีแนวซึ่งสังเกตไดชัดทางภูมิประเทศ
เกือบทั้งหมด
ค) เมื่อเปรียบเทียบแลว จะเห็นวาแนวขอ ข) ดีกวาแนวในขอ ก) จึงเลือกใชแนว
ตามขอ ข)
๔) ตําบลควบคุมและรวบรวมทหารพลัดหนวย พิจารณาบนแนวควบคุมทหารพลัดหนวย
แลว จะเห็นวาถาดูจากทางเหนือลงมาแลวจะเห็นวามีตําบลที่เหมาะสมดังนี้
ก) รอยตัดถนนกับลําน้ําที่พิกัด ๒๗๐๗๐๐
ข) รอยตัดถนนกับทางรถไฟที่พิกัด ๒๖๗๖๙๘
ค) ทางแยกถนน ๓ สายที่พิกัด ๒๕๙๖๘๓
ง) แนวถนนเชื่อมกันที่พิกดั ๒๖๐๖๖๖
จ) แนวถนนเชื่อมกันที่พิกดั ๒๔๘๖๔๖
ฉ) แนวถนนตัดกันที่สามแยกพิกัด ๒๔๘๖๓๘
ช) ตําบลที่กลาวมาแลวมีความเหมาะสมคลายคลึงกัน คือ เห็นชัดไดในภูมปิ ระเทศ และ
อยูบนเสนทางที่จะสามารถเคลื่อนที่จากขางหนาลงมาไดสะดวก ถาจะจัดตั้งขึน้ หมดทั้ง ๖ แหง ก็จะทําให
สิ้นเปลืองแรงงาน สห. มากเกินความจําเปน ดังนั้นจึงควรตัดลงเสียบาง คงเหลือเพียง ๔ ตําบล คือ ในขอ ข),
ค), ง) และ ฉ) และจากตําบลที่เลือกทั้ง ๔ แหงนี้ ตําบลที่ควรจะเลือกเปนตําลบรวบรวมทหารคือ ตําบลในขอ
ค) เพราะอยูในยานกลางมีเสนทางที่จะใชติดตอกับหนวยในแนวหนาไดสะดวกที่สดุ
๕) สรุปการวิเคราะห การรักษาวินัย กฎขอบังคับ และคําสั่ง ไมมีปญหาสําคัญพอที่จะ
กระทบกระเทือนการปฏิบัติภารกิจ
จ. เบ็ดเตล็ด
๑) การไมอนุญาตใหกําลังพลแตงงานกับพลเรือนในทองถิ่น จะมีผลบั่นทอนจิตใจทหาร
ลงเปนบางสวน แตถาใหทหารไดมีการลาไปพักผอนยังเขตหลังที่เหมาะสม ก็จะชวยผอนคลายปญหานี้ได
แตเนื่องจาก พล.ร.๗ จะตองทําการรุกตอไปโดยเร็ว จึงไมนาจะเกิดปญหาแกกําลังพลมากนัก
๒) การหามนักขาวสงครามที่มิใชกําลังพลในอัตราของ ทบ. เขามาหาขาวในพื้นที่กองพล
ทําให พล.ร.๗ ไมตองยุงยากในการจัดการรักษาความปลอดภัย รวมทั้งใหการรับรองอื่น ๆ นับวาไมมีปญหา
เกิดแกดานกําลังพล
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

๓) สรุปการวิเคราะหเรื่องเบ็ดเตล็ดไมมีปญหา
๔. การเปรียบเทียบ
ก. ปจจัยของกิจการกําลังพลที่จะมีผลตอการเลือกหนทางปฏิบัติ ไดแก เรื่องการรักษายอดกําลังพล
ขวัญ และบริการกําลังพลเทานั้น สวนเรื่องอื่น ๆ มีผลตอทั้งสองหนทางปฏิบตั ิเทาเทียมกัน จึงไมนํามา
พิจารณาเปรียบเทียบในการเลือกหนทางปฏิบัติ
ข. เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติเกีย่ วกับการรักษายอดกําลังพล
๑) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ การสูญเสียนาจะมีนอ ยกวาที่ไดประมาณการไว เพราะเปนการเขาตี
ในสวนที่ออนแอของฝายตรงขาม ถาสามารถตรึงกําลังกองหนุนฝายตรงขามใหคงอยูที่เดิมไดแลว จะยิ่ง
ลดการสูญเสียของฝายเราไดอยางมาก
๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ การสูญเสียจะทัดเทียมกับที่ไดประมาณการไว หรืออาจจะมากกวา
เพราะเปนการเขาตีตอจุดแข็งของฝายตรงขาม ซึ่งจะมีการวางเครื่องกีดขวางไวอยางแนนหนา แตถาสามารถ
ลอกําลังกองหนุนใหไปใชในพื้นที่อื่นแลว การสูญเสียก็จะลดลงไดมาก อยางไรก็ดี การใช ร.๕๑
ควรหลีกเลี่ยงการกําหนดใหเปนหนวยเขาตีหลัก เนื่องจากไดสูญเสียกําลังพลและขวัญจากการรบทีผ่ านมา
ค. เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติในเรื่องขวัญ และบริการกําลังพล
๑) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ ขวัญของทหารจะลดลงไปตั้งแตเริ่มปฏิบัติการเพราะเปนการเขาตีขาม
ลําน้ํา และแมจะรุกตอไปขวัญของทหารก็คงไมดีขึ้นมากนัก เพราะตองเคลื่อนที่ในที่โลงแจง เปนเปาหมายตอ
อาวุธยิงของฝายตรงขาม ถาฝายตรงขามตกลงใจใชกองหนุนทางดานนี้ดวยแลว จะยิ่งทําใหขวัญของกําลังพล
ต่ําลงอีก เพราะทหารจะตองเผชิญกับรถถังในที่โลงแจง อยางไรก็ดี ในพืน้ ที่ตอนเหนือเปนดินออน
ฝายตรงขามไมสามารถใชรถถังได คงจะไมทําใหขวัญของทหารฝายเราลดลงมากนัก เพราะไมตอ งเผชิญหนา
กับรถถัง ยกเวนหนวยทีเ่ คลื่อนที่ใกลแนวถนน
๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ ขวัญของทหารจะลดลงอยางมากขณะผานสนามทุนระเบิด และ
จะกลายเปนเปาหมายเดนตออาวุธยิงนานาชนิดของฝายตรงขาม ยิ่งการสูญเสียมีมากเทาไร ขวัญของทหาร
ที่เหลือก็ยิ่งตกต่ํามากขึ้นเปนทวีคูณ แมจะผานลําน้ําสายชลไปแลวก็อาจเผชิญกับกองหนุนฝายตรงขาม ซึ่งใช
รถถัง ขวัญของทหารจะยิ่งลดลงอยางมาก ตนไมอาจมีสวนชวยในการกําบังของทหารไดจากอาวุธขนาดเล็ก
เทานั้น ความเหน็ดเหนื่อยของทหารในหนทางปฏิบัตินี้นาจะมีนอยกวาหนทางปฏิบตั ิที่ ๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๒๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณกําลังพลที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

๕. ขอสรุป
ก. การสนับสนุนดานกําลังพล สามารถกระทําไดทั้ง ๒ หนทางปฏิบัติ
ข. ดานกําลังพลสามารถสนับสนุนหนทางปฏิบัติที่ ๑ ไดดีทสี่ ุด
ค. ปญหาที่สาํ คัญ และขอเสนอแนะ
๑) ร.๕๑มีกําลังพลนอยกวากรมอื่น ๆ และสภาพขวัญไมสดู ีนัก ดังนั้นไมควรใชเปนหนวย
เขาตีหลัก
๒) ในหวงเวลานีฝ้ นตกชุก จึงควรจัดใหมีการบริการทางขวัญ ดังนี้
ก) ใหมีเวชกรรมปองกันโรคแพอากาศและโรคอื่น ๆ ในหนาฝน
ข) แจกจายยุทโธปกรณพิเศษอยางเพียงพอ เชน เสื้อกันฝน ถุงมือ ถุงเทา ผาพลาสติก
ค) ผบ.หนวยทุกระดับ ควรตรวจดูแลทหารโดยใกลชิด โดยเฉพาะเรื่องการถนอมรักษา
อาหารเปนพิเศษ

พ.ท. ........................
(........................)
หน.ฝกพ.พล.ร.๗
๓๒๙
ตัวอยางที่ ๔ – ๔ ประมาณการขาวกรองของกองพลทหารราบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
แผนก สธ.๒ พล.ร.๒๐
บ.พังโคน (๖๖๙๑)
๐๑๑๘๓๐ ส.ค......
กข.๑๒๐
ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕

อางถึง : แผนที่พิเศษ ๑ : ๒๕,๐๐๐ แหลมทอง (แผนที่ ก.)


แผนที่พิเศษ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ม.อูทอง

๑. ภารกิจ
พล.ร.๒๐ เขาตีเพื่อยึดรัตนานคร (๔๑๙๗) ตั้งแตบัดนี้ เตรียมเขาตีตอไปทางทิศตะวันตกเพื่อเขายึด
ม.กนกนคร
๒. สภาพของพื้นทีป่ ฏิบตั กิ าร
ก. สภาพลมฟาอากาศ
๑) สภาพที่เปนอยูในหวงเวลาจาก ๑ – ๓ ส.ค... อากาศแจมใส หมอกที่ปรากฏในตอนเชา
จนถึง ๐๙๐๐ ทําใหทัศนวิสยั แตละวันจํากัดอยูในระยะ ๓๐๐ – ๖๐๐ หลา จนเมื่อ ๑๐๐๐ หมอกจางลง ทําให
ทัศนวิสัยไมจาํ กัด ลมจากทิศตะวันตกความเร็ว ๑๐ – ๒๐ ไมล/ชม. หลังจากลมออนปรวนแปร พระจันทร
ขึ้นเต็มดวงในคืน ๑ ส.ค. อุณหภูมิระหวาง ๕๙ ฟ. ถึง ๖๕ ฟ.
รายการแสงสวาง
วัน แรงแสงทางทหาร อ.ขึ้น อ.ตก สิ้นแสงทางทหาร จ.ขึ้น จ.ตก
๑ ส.ค. ๐๒๑๓ ๐๔๓๖ ๑๙๓๖ ๒๐๕๙ ๒๐๓๐ ๐๗๑๐
๒ ส.ค. ๐๒๑๕ ๐๔๒๗ ๑๙๓๕ ๒๐๕๙ ๒๑๑๐ ๐๗๕๐
๓ ส.ค. ๐๓๑๖ ๐๔๓๘ ๑ศ๙๓๓ ๒๐๕๕ ๒๑๔๕ ๐๘๔๕

๒) ผลตอการปฏิบัติทางทหารของฝายตรงขาม ถาฝายตรงขามตั้งรับสภาพของหมอกใน
ตอนเชาจะจํากัดการตรวจการณไปยังแนวทางเคลื่อนไปสูที่มั่นของฝายตรงขาม หลังจาก ๐๙๐๐ แลว สภาพลม
ฟาอากาศจะเกือ้ กูลตอฝายตรงขามในการตรวจการณเปนอยางดี ถาฝายตรงขามเขาตีสภาพของหมอก
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ในตอนเชา จะอํานวยใหฝา ยตรงขามเคลื่อนที่เขาหาฝายเรา โดยฝายเราตรวจการณไดอยางจํากัดจนกระทั่ง


๑๐๐๐ ทัศนวิสัยจึงไมจํากัดฝนไมมีทําใหเกื้อกูลตอการเคลื่อนที่นอกเสนทาง ทิศทางลม ใน ๑ ส.ค....เกื้อกูล
ฝายตรงขามในการใชควันเพื่อปกปดการเขาตี และปฏิบัติการลวงตาง ๆ ลมฟาอากาศเกื้อกูลฝายตรงขาม
ในการใชสารเคมีชีวะ การปฏิบัติการยุทธสงทางอากาศและการยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ
๓) ผลตอปฏิบัติการทางทหารของฝายเรา หมอกในตอนเชาจะชวยใหฝายเราเคลื่อนที่เขาหา
ที่มั่นตั้งรับ โดยฝายตรงขามตรวจการณไดอยางจํากัด ภายหลัง ๑๐๐๐ ทัศนวิสัยไมจํากัดสภาพอากาศแจมใส
ไมมีฝน ยอมเกื้อกูลตอการเคลื่อนที่นอกเสนทางของยานพาหนะและยานยนตประเภทสายพาน และจะรักษา
ระดับน้ําในลําน้ําตาง ๆ ไมใหสูงขึ้น ลมฟาอากาศแจมใสจะชวยใหการใชกําลังทางอากาศและปนใหญของเรา
ในการใชควันและสารเคมีชีวะ ทิศทางลมไมเกื้อกูลฝายเราในการใชควันและสารเคมีชีวะ นอกจากนี้สภาพ
อากาศยังไมอาํ นวยใหฝายเราปฏิบัติการยุทธสงทางอากาศและการยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศอีกดวย
ข. สภาพภูมิประเทศ
๑) สภาพที่เปนอยู
ก) การตรวจการณและการยิง ในพื้นที่ปรากฏที่สูงซึ่งเกื้อกูลการตรวจการณอยางดีอยู
หลายแหง เชน ที่สูงบริเวณ บ.นายม สันเนิน บ.จืด บ.นกเทศ และ บ.คํานอย บ.ตาด ที่สูงเหนือ บ.รัตนานคร
และพื้นที่สูงตะวันออกและตะวันตกของ บ.เพิ่ม เครื่องจํากัดการตรวจการณคือ ปาในบริเวณใกลกับ บ.เพิ่ม
บ.ตาด และบริเวณ บ.นกเทศ รวมกับพืน้ ที่สวนตางๆ ซึ่งมีอยูหลายแหง นอกจากนี้พื้นทีด่ ังกลาวรวมถึงรั้ว
ตนไมทึบซึ่งมีอยูทั่วไปในพืน้ ที่จะจํากัดการยิงของอาวุธวิถีราบ และมีผลทําใหการยิงดวยการตรวจการณของ
อาวุธนําวิถีโคงลดลงบาง หมูบานและอาคารจะจํากัดการยิงของอาวุธกระสุนวิถีราบไดบาง ควันที่เกิดจาก
ไฟไหมปาอันเกิดจากการระดมยิงของปนใหญจะจํากัดการตรวจการณ ฝุนที่เกิดจากลมพัดและการเคลื่อนที่
ของยานยนตจะชวยใหมองเห็นไดจากระยะไกล
ข) การกําบังและการซอนพราง ปา และสวนตาง ๆ จะใหการซอนพรางเปนอยางดี
จากการตรวจการณทางพื้นดินและทางอากาศ การกําบังยอมไดจากเนินชองเขาหมูบานและอาคารที่มีอยู
รั้วตนไมทึบจะเกื้อกูลในการซอนพรางจากการตรวจการณ และชวยใหการกําบังจากการยิงของอาวุธกระสุน
วิถีราบเปนอยางดี
ค) เครื่องกีดขวาง ในพืน้ ที่ไมมีเครื่องกีดขวางที่ทหารเดินเทาผานไมได ถึงกระนั้นก็ดี
ในหวงฤดูฝนเมื่อฝนตกจะเปนอุปสรรคตอการเคลื่อนที่ ทําใหยานพาหนะผานไปไมได ทหารเดินเทาก็ผาน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ไดดว ยความยากลําบาก เมื่อเขื่อนถูกทําลายหรือปลอยใหน้ําไหลทวม แมน้ําสาย ๓ ทางตอนเหนือ อ.หนองสา


จะทําใหยานพาหนะใชลอลุยขามไปได และยานยนตประเภทสายพานก็ขามไปดวยความยากลําบาก จะตองใช
เวลาระบาย ๒๔ ชม. หรือจนถึงประมาณ ๒ ส.ค.... ๑๗๐๐ หลังจากนั้นยานพาหนะอาจลุยขามไดดว ยความ
ยากลําบาก แมน้ําสาย ๓ มีความกวางเฉลี่ยประมาณ ๖๕ ฟุต สวนหวยสัก และหวยพี้ จัดเปนอุปสรรคทําให
ยานพาหนะเคลื่อนที่ผานไดดวยความยากลําบากโดยมีความกวางเฉลี่ย ๖๐ ฟุต และ ๕๐ ฟุต ตามลําดับลําหวย
ตาง ๆ นอกจากหวยสัก และหวยพี้แลวลุยขามไดโดยงาย พืน้ ดินบริเวณแมนา้ํ สาย ๓ และทางตอนใต
อ.หนองสา รวมถึงพื้นที่ปาบริเวณตาง ๆ จะจํากัดถึงการเคลื่อนที่ของยานพาหนะในพืน้ ที่นั้น รัว้ ตนไมทึบเปน
เครื่องกีดขวางตอการเคลื่อนที่ของยานพาหนะทุกประเภทสนามทุนระเบิดทีว่ างไวตลอดพื้นที่ขางหนาที่มั่น
ตั้งรับของฝายตรงขามนับเปนเครื่องกีดขวางที่สรางขึ้นเพื่อเพิ่มเติมความแข็งแรงของเครื่องกีดขวางตาม
ธรรมชาติที่มีอยูเดิมอีกดวย
ง) ภูมิประเทศสําคัญ
(๑) ภูมิประเทศสําคัญในการเขาตีเพื่อยึด ม.รัตนานคร เมือ่ แนวปะทะอยูตามแนว
แมน้ําสาย ๓
(ก) แนวเนินจาก บ.ฝาง (๖๐๙๓) – บ.ศาลา (๖๐๘๖) เปนพื้นที่สูงขมทาง
ตะวันออกของแมน้ําสาย ๓
(ข) เนิน ๑๑๒ (๕๖๙๖) บริเวณ บ.นาจาน เปนที่สูงขมทางตะวันออกของแมน้ํา
สาย ๓
(ค) เนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐) บริเวณทางนะวันตกของ อ.ทุงแก เปนพืน้ ที่สูงขม
แมน้ําสาย ๓ ทางดานเหนือ
(ง) แนวเนิน บ.ตาด (๕๕๙๙) – บ.คํานอย (๕๑๙๔) เปนพื้นที่สูงขมแมน้ํา
สาย ๓
(จ) แนวเนิน บริเวณ บ.จืด (๔๙๘๙) – บ.นกเทศ (๔๘๙๓) เปนพื้นที่สูงขมทาง
ตะวันตกของ อ.หนองสา
(ฉ) เนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘) บริเวณทางตะวันตกของ บ.เพิ่ม (๔๘๙๗) เปนพืน้ ที่
สูงขมทางตะวันออกของ ม.รัตนานคร
(ช) เนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) บริเวณ บ.ตาล (๔๓๐๑) เปนพืน้ ที่สูงขม ม.รัตนานคร

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

(๒) ภูมิประเทศสําคัญในการตั้งรับ เพื่อคุมครอง ม.อูทอง เมื่อแนวปะทะอยูต ามแนว


แมน้ําสาย ๓
(ก) เนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐) เปนพืน้ ที่สูงขมแมน้ําสาย ๓ บริเวณดานตะวันตกของ
อ.ทุงแก
(ข) แนวเนิน บ.ตาด (๕๕๙๙) บ.คํานอย (๕๑๙๔) เปนพืน้ ที่สงู ขมแมน้ําสาย ๓
บริเวณดานใตของ อ.ทุงแก
(ค) แนวเนิน บ.นกเทศ (๕๘๙๓) – บ.จืด (๔๙๘๙) สูงขมแมน้ําสาย๓ บริเวณ
ตะวันตกของ อ.หนองสา
(ง) แนวเนิน บ.ฝาง (๖๐๙๓) – บ.ศาลา (๖๐๗๖) เปนทีส่ ูงขมแมน้ําสาย ๓
ทางดานตะวันออกของ อ.หนองสา
(จ) แนวสันเนิน จากเนิน ๑๑๒ บริเวณ บ.นาจาน (๕๖๙๑) ถึงเนิน ๑๒๖
ทางดานตะวันตกของ ม.อูทอง
(ฉ) เนิน ๑๐๒ บริเวณ บ.ดอนเขียว (๗๐๙๘) สูงขมทางเหนือ บ.อูทอง
(ช) เนิน ๑๑๔ (๗๐๙๖) สูงขมทางตะวันตกของ ม.อูทอง
(ซ) เนิน ๑๒๖ (๗๐๙๔) สูงขมทางตะวันตกของ ม.อูทอง
(ฌ) สันเนินบริเวณ บ.พังโคน (๖๗๙๑) – บ.มวง (๖๓๘๓) สูงขมบริเวณทาง
ตอนใตของ ม.อูทอง และ อ.หนองสา
จ) แนวทางเคลื่อนที่
(๑) ฝายตรงขามใชเขาสูที่มั่นของฝายเรา
(ก) แนวทางจากเนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐) ผาเนิน ๑๒๒ บริเวณ บ.ดอนเขียว
(๗๐๙๙) เขาสู ม.อูทอง
(ข) แนวทางจากแนวเนินบริเวณ บ.ตาด (๕๕๙๙) – บ.คํานอย (๕๑๙๔)
ผานเนิน ๑๑๔ (๗๑๙๖) เขาสู ม.อูทอง
(ค) แนวทางจากเนินบริเวณ บ.จืด (๔๙๘๙) ผานเนิน ๑๑๒ และแนวสันเนิน
จากบริเวณ บ.นาจาน (๕๖๙๑) ผานแนวสันเนิน บ.ฝาง – บ.ศาลา และผานเนิน ๑๒๖ (๗๑๙๔) เขาสู ม.อูทอง

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

(ง) แนวทางจากเนินบริเวณ บ.จืด (๔๙๘๙) ผานสันเนิน บ.พังโคน (๖๗๙๐) –


บ.มวง (๖๙๘๓) เขาสู ม.อูทอง
แนวทางเคลื่อนที่ที่ดีที่สุดซึ่งฝายตรงขามนาจะใชเขาสูทมี่ ั่นของฝายเรา ไดแก
แนวทางจากเนินบริเวณ บ.จืด (๔๙๘๙) ผานเนิน ๑๑๒ และแนวสันเนินจากบริเวณ บ.นาจาน (๕๖๙๑)
ผานเนิน ๑๒๖ (๗๑๙๔) เขาสู ม.อูทอง
(๒) ฝายเราใชเขาสูที่มั่นของฝายตรงขาม
(ก) แนวทางจากเนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐) เขาสูเนิน ๑๐๔ บริเวณ บ.ตาด (๔๓๐๑)
เพื่อควบคุม ม.รัตนานคร
(ข) แนวทางจากเนินบริเวณ บ.ฝาง (๖๐๙๓) ผานแนวเนิน บ.ตาด (๕๕๙๙) –
บ.คํานอย (๕๑๙๔) ผานเนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘) เขาสูเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) เพือ่ ควบคุม ม.รัตนานคร
(ค) แนวทางจากเนิน ๑๑๒ บริเวณ บ.นาจาน (๕๖๙๑) ผานแนวเนิน บ.จืด
(๔๙๘๙) – บ.นกเทศ (๔๘๙๓) เขาสูเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) เพื่อควบคุม ม.รัตนานคร
แนวทางเคลื่อนที่ที่ดีที่สุดซึ่งฝายเรานาจะใชเพื่อการยึดครอง ม.รัตนานคร ไดแก แนวทาง
จากเนินบริเวณ บ.ฝาง (๖๐๙๓) ผานแนวเนิน บ.ตาด (๕๕๙๙) – บ.คํานอย (๕๑๙๔) ผานเนิน ๑๐๘ (๔๗๙๘)
เขาสูเนิน ๑๐๔ (๔๒๐๑) เพือ่ ควบคุม ม.รัตนานคร
๒) ผลตอปฏิบัติการทางทหารของฝายตรงขาม ลักษณะภูมิประเทศเกื้อกูลตอการตั้งรับของ
ฝายตรงขาม ทั้งนี้เพราะที่มนั่ ปจจุบัน คือแนวแมน้ําสาย ๓ ซึ่งฝายตรงขามยึดอยูไ ดมีการดัดแปลงที่มั่นอยางดี
ดวยการขุดคูสนามเพะลาะ และวางสนามทุนระเบิดอยางหนาแนน เพือ่ เสริมความแข็งแรงของเครื่องกีดขวาง
ตามธรรมชาติ คือแนวแมน้ําสาย ๓ บริเวณที่สูงทางดานตะวันตกของแมน้ําสาย ๓ เกื้อกูลตอการตรวจการณ
มายังแนวทางเคลื่อนที่เขาสู ม.รัตนานคร พื้นที่สวนและปาใหการกําบังและซอนพรางเปนอยางวดี
การครอบครองแนวเนินจาก บ.จืด – บ.นกเทศ แนวเนินจาก บ.จืด – ผานสันเนิน บ.พังโคน – บ.มวง เขาหา
ม.อูทอง ลักษณะภูมิประเทศเกื้อกูลตอการใชควันและสารเคมีชีวะอีกดวย
๓) ผลตอปฏิบัติการทางทหารขงฝายเรา ภูมิประเทศทางปกดานใตของเราคือบริเวณ
ดานใต อ.หนองสา ไมเกื้อกูลตอการเขาตี เพราะเปนแนวทางเคลื่อนที่ที่ยากลําบาก เนื่องจากมีหนองน้ําและ
หองภูมิประเทศทางกวางหลายแหงภูมิประเทศทางดานหนาแนวปะทะ บริเวณ บ.นายม และทางปกดานเหนือ
แมน้ําสาย ๓ เปนเครื่องกีดขวางในขั้นตน แตเมื่อขามแมน้ําสาย ๓ ไปไดแลว ภูมิประเทศดาน บ.จืด และ
ดานเหนือจะเกื้อกูลตอการเขาตี แนวทางเคลื่อนที่เขาหาที่มั่นของฝายตรงขาม มี ๓ ทาง คือ ตามแนวทาง
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

จากเนิน ๑๐๗ (๕๘๐๐) บริเวณ บ.นาด (๔๓๐๑) แนวทางจากเนิน ๑๑๒ บริเวณ บ.นาจาน ผานแนวเนิน บ.จืด
– บ.นกเทศ เขาสูเนิน ๑๐๔ และแนวทางจากเนินบริเวณ บ.ฝาง ผานแนวเนิน บ.คํานอย บ.ตาด เขาสูเ นิน ๑๐๘
(๔๗๙๘) เพื่อเขาควบคุม ม.รัตนานคร
ค. ลักษณะอื่น ๆ
๑) การสังคม ใน ม.รัตนานคร มีพลเมืองประมาณ ๔,๗๐๐ คนทาทีของฝายปกครอง และ
นักธุรกิจ รวมทั้งพลเมืองโดยทั่วไป มีจติ ใจโนมเอียงมาทางฝายเรา มีความรักชาติและเปนมิตรกับฝายเรา
พลเมืองโดยทัว่ ๆ ไปมีความรูปานกลางและมีสภาพความเปนอยูโดยอาศัยการทํานาหรือคาขาย
๒) การเมือง มีการจัดการปกครองคลายคลึงกับของเรา และไมพอใจการปกครองของฝาย
ตรงขาม
๓) การเศรษฐกิจ สวนมากพลเมืองมีอาชีพทําการกสิกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมบาง
เล็กนอย อาหารที่สะสมไดมีเพียงพอสําหรับบริโภคเทานั้น จึงไมอาจจัดหาทรัพยากรไดในทองถิน่ และอาจ
ประสบปญหาการขาดแคลนสิ่งอุปโภคบริโภค รวมทั้งยารักษาโรคตาง ๆ อีกดวย
๔) จิตวิทยาสวนใหญของประชาชนในทองถิน่ เปนเกษตรกรมีความรูปานกลาง มีจติ ใจรัก
ความเสรีและรักชาติ ทาทีของราษฎรในพื้นที่ปฏิบัติการมีความนิยมฝายเรา และพยายามตอตานการปกครอง
ของฝายตรงขาม
๕) ผลที่จะเกิดตอปฏิบัติการของฝายตรงขาม พลเรือนในดินแดนที่ฝายตรงขามยึดครอง โดย
สวนรวมมีจิตใจโนมเอียงมาทางฝายเรา ทําใหฝายตรงขามปฏิบัติการไดไมเต็มที่ ถาฝายตรงขามใชหนวย
แทรกซึมหรือหนวยกองโจรเขาปฏิบัติการกับฝายเรา พลเรือนในทองถิน่ อาจไมใหความรวมมือ
๖) ผลตอปฏิบัติการทางทหารของฝายเรา พลเรือนในเขตยึดครองของฝายตรงขาม โดย
สวนรวมมีจิตใจโนมเอียงมาทางฝายเรา อาจใชเปนเครือ่ งมือสนับสนุนการปฏิบัติการโดยหนวยกองโจรของ
ฝายเราได
๓. สถานการณฝายตรงขาม
ก. การวางกําลัง ผนวก ก การวางกําลัง (แผนบริวารที่ ๑)
ข. การประกอบกําลัง กําลังฝายตรงขามซึ่งอยูขางหนากองพลของเราประมาณวาเปน กรม ปล.
๔๕ และ ๗๐ รวมทั้ง กรม ถ.๑๑๑ และหนวยกองพัน ลว.ที่ ๑๑๑ ทั้งหมดนี้เปนหนวยในอัตราของ พล.ปล.๑๑
ปรากฏวา กรม ปล. อีกกรมหนึ่งของ พล.ปล.๑๑ คือ กรม ปล.๓๗ พรอมดวยปนใหญในอัตราอีก
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

สวนหนึ่งไดเขาเผชิญหนาอยูก ับหนวยขางเคียงของ พล.ร.๒๐ ทางดานใตในเขต ทภ.๑ หนวยปนใหญ


ที่สนับสนุนกําลังฝายตรงขามดานหนา พล.ร.๒๐ ประมาณวา มี ๒ พัน.ปบค.๑๒๒ มม. และ ๑ พัน.ปกร.
๑๓๐ มม. ทั้งหมดนี้เปนหนวยในอัตราของ พล.ปล.๑๑ กับยังมี พัน.ปบค.๑๕๒ มม. มาขึ้นสมทบอีก ๒
กองพัน นอกจากนั้นยังคาดวา พัน.ค.๑๒๐ มม. และพัน ปตถ.๗๖ มม. อันเปนหนวยในอัตราของ พล.ปล.๑๑
ไดทําการสนับสนุนกําลังฝายตรงขาม ซึ่งอยูดานหนากับกองพลของเราดวยเหมือนกัน พล.ปล. ไมทราบนาม
หนวยที่ปรากฏบริเวณดารานคร เปนกําลังสวนหนึ่งของ ทน.ปล.๘ ฝายตรงขาม นอกจากนี้ยังมีหนวยใน
กองทัพอากาศที่ ๔ ใหความสนับสนุนกําลังของฝายตรงขามในเขตปฏิบัติการของฝายเรา
ค. กําลัง
๑) กําลังเผชิญหนา กําลังของฝายตรงขามที่เผชิญหนาอยูก ับ พล.ร.๒๐ มีประมาณ ๕ พัน ปล.
สนับสนุนดวยอํานาจการยิงจาก ๕ พัน ปล.๑ พัน ค. และ ๑ ปตถ. กําลังทางอากาศและสารเคมีชีวะที่มีอยู
๒) กําลังเพิ่มเติม กําลังเพิ่มเติมของฝายตรงขามที่มีอยู และสามารถเขาปฏิบัติการในเขต
ของเราได มีดงั นี้
ก) ประมาณ ๑ กองพัน ปล.(ยานยนต)และ กรม ถ.กลาง จากบริเวณ บ.นกเทศ–บ.นายูง
ข) พล.ปล. ไมทราบนามหนวยที่ดารานคร
๓) กําลังทางอากาศ ท.๓๐ประมาณวาฝายตรงขามที่มีกําลังทางอากาศมีรัศมีในการปฏิบตั ิการ
ภายในเขตแหลมทอง คือ บ.ขับไล ๒๕ เที่ยวบิน บ.โจมตีทางพื้นดิน ๒๕ เทีย่ วบิน และ บ.ทิ้งระเบิด
๒๐ เที่ยวบิน/วัน
๔) กําลังอื่น ๆ
ถึงแมในปจจุบันยังไมปรากฏกําลังเหลานี้ แตถาฝายตรงขามไดรับการชวยเหลือเพิม่ เติม
จากประเทศผูใ หการสนับสนุนอยูเบื้องหลัง และฝายตรงขามประสงคจะดํารงเจตนารมณในการยึดครองพื้นที่
บริเวณแหลมทองแลว ฝายตรงขามอาจนํากําลังดังตอไปนี้มาใชในพื้นที่ซึ่งทําใหกระทบกระเทือนการเขาตี
ของฝายเรา
ก) สารเคมีชีวะ เพื่อหยุดยั้งการเขาตีของฝายเรา และขัดขวางมิใหใชพื้นทีส่ ําคัญบางแหง
ข) การยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศและการยุทธสง ทางอากาศ เพื่อเขายึดสถานที่สําคัญ
บางแหงในพืน้ ที่สวนหลังของฝายเรา

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ค) การยุทธสะเทินน้ําสะเทินบก เพื่อเพิ่มเติมกําลังขนาดใหญ และขนยายยุทโธปกรณ


เพื่อเขาตีตอบโตการตรงขามของฝายเรา
ง) การปฏิบัติที่สําคัญในหวงเวลา ผนวก ก แผนบริวารสถานการณ (แผนบริวารที่ ๑)
(๑) ฝายตรงขามไดทําลายเขื่อนที่ อ.หนองสา และสะพานขามแมน้ําสาย ๓ ทั้งหมด
เมื่อ ๑ ส.ค....๑๗๐๐ (ก – ๑)
(๒) จากรายงานการตีความภาพถายในระหวาง ๒ – ๓ วันที่แลวมา แสดงวาฝาย
ตรงขามไดขุดคูสนามเพลาะในบริเวณพืน้ ที่ตาง ๆ ๖ แหง เพื่อใหที่มั่นมีความลึกและไดจัดวางสนามทุนระเบิด
หนาแนนขางหนาที่มั่น บริเวณแนวแมน้ําสาย ๓ (ค – ๓)
(๓) ผอ.ขว.ทภ.๑ แจงขาวสารวาฝายตรงขามไดรับคําสั่งใหตรึงกําลังฝายเราไว
ทางดานตะวันออกของแนวรัตนานคร – กาญจนานคร – สิงหนคร จนถึง ๔ ส.ค. และ ทน.๑ ก็ไดยืนยัน
รายงานี้ (ก – ๑)
(๔) กรม ม.ยานเกราะ ๒๐๑ พัน ๑ รายงานวา ฝายตรงขามที่อยูตรงหนาไดสงหมู
ลาดตระเวนเชิงรุกออกมาปฏิบัตกิ ารอยางหนาแนน และไดสรางฉากการตอตานการลาดตระเวนอยางแข็งแรง
(ก – ๓)
(๕) เชลยศึกที่จังไดใกล ๆ กับ บ.กุม เมื่อ ๑ ส.ค.... ๑๗๐๐ โดย กรม ม.ยานเกราะ
๒๐๑ พัน ๑ ปรากฏวาสังกัดอยูใน กรม ถ. และ พัน.ปล.ยย. ซึ่งตามรายงานการซักถามทราบวา รวมพลอยูใ น
พื้นที่ใกลกับ บ.นกเทศ และ บ.นายูง เชลยศึกใหการวาไดถกู สงออกมาลาดตระเวนเพื่อหาขาวเกี่ยวกับ
ความสามารถในการจราจรตามแนวหุบเขาที่ บ.กุม และตามแนวเนินที่ – บ.มวง (ค – ๓)
จ. ลักษณะพิเศษและจุดออน
๑) กําลังพล ไมมีขาวสารวาฝายตรงขามจะไดกําลังทดแทนมาผลัดเปลี่ยน
๒) การขาวกรอง
๓) ยุทธการ กองพลของฝายตรงขามที่ปะทะกับฝายเราวางกําลังในกวางดานหนามาก และ
ปกของกําลังเผชิญหนาเปดมีกําลังเบาบางในที่มั่น ใชกําลังทางอากาศ รวมทั้งการลาดตระเวนอยางจํากัด
๔) การสงกําลังบํารุง ฝายตรงขามมีสิ่งอุปกรณเพียงพอสําหรับดําเนินการตั้งรับ แตอยางไร
ก็ดี แหลงสงกําลังบํารุงใหแกหนวยตาง ๆ ในบริเวณแหลมทองขณะนี้มีจํากัด เนื่องจากเสนทางสงกําลังจาก
ประเทศฝายตรงขามถูกตัดขาด และเชื่อไดวาฝายตรงขามไมสามารถจัดหาแหลงสงกําลังบํารุงเพียงพอแกการ
รุกขนาดใหญได
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

๕) กิจการพลเรือน ทาทีของประชากรในทองถิ่นไมสนับสนุนฝายตรงขาม
๖) บุคลิกลักษณะ ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการหลักของหนวยทหารฝายตรงขาม แมวา
จะมีประสบการณในการรบอยางดี แตเริม่ ความเบื่อหนายเนื่องจากตองปฏิบัติการรบเปนเวลานาน โดยไมมี
การผลัดเปลี่ยน และขาดการสนับสนุนที่ดีพอ จึงทําใหขาดความริเริ่มในการปฏิบัติ รวมถึงความเฉื่อยชา
ในการดํารงความมุงหมายทีจ่ ะรบเพื่อใหไดชัยชนะ
๔. ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
ก. ระบุขีดความสามารถของฝายตรงขาม ขีดความสามารถของฝายตรงขามมีดังตอไปนี้
๑) ตั้งรับ ณ ที่มนั่ ปจจุบันตั้งแตบัดนี้ดว ยกําลัง ๕ พัน.ปล. สนับสนุนดวยอํานาจการยิงจาก
ปนใหญ และกําลังทางอากาศ รวมทั้งการใชสารเคมีชีวะที่มีอยู
๒) เขาตีตามแนวของเราตั้งแตบัดนี้ดว ยกําลัง ๕ พัน.ปล. สนับสนุนดวยอํานาจการยิงจาก
ปนใหญ และกําลังทางอากาศ รวมทั้งการใชสารเคมีชีวะที่มีอยู
๓) เขาตีโอบปกดานเหนือหรือดานใตตั้งแตบดั นี้ดวยกําลังกองหนุนที่มีอยูทงั้ หมด หรือ
บางสวนสนับสนุนดวยอํานาจการยิงจากปนใหญ กําลังทางอากาศ และการใชสารเคมีชวี ะที่มีอยู
๔) เพิ่มเติมกําลังในการเขาตีหรือตั้งรับดานหนวยตาง ๆ ดังตอไปนี้ทั้งหมด หรือบางสวน ณ
ตําบลและเวลาดังตอไปนี้
หนวย ตําบล ยานยนต เดินเทา
ก) พัน.ปล.(ยานยนต) และ - บ.ทาโพ (๕๖๙๘) - ๑ ส.ค....๑๘๔๐ หรือ ๔๐
กรม ถ.กลาง ในพื้นที่ นาที ภายหลังเริ่มเคลื่อนที่
บริเวณ บ.นกเทศ – บ.นายูง - อ.ผาหัก (๕๙๗๙) - ๑ ส.ค...๑๙๐๕ หรือ ๑
ชม.๕ นาที ภายหลังเริ่ม
- บ.นายม (๕๓๙๐) เคลื่อนที่
ที่มั่นซึ่งไดดัดแปลงไว - ๑ ส.ค....๑๘๓๕ หรือ
และ ตอ./ต. ของ ๓๕ นาที ภายหลังเริ่ม
บ.นกยูง เคลื่อนที่

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

หนวย ตําบล ยานยนต เดินเทา


- พล.ปล. ไมทราบ - บ.ใหม (๖๐๐๓) - ๑ ส.ค....๒๒๓๐ หรือ ๔ - ๔ ส.ค....๑๘๕๐ หรือ
หนวยที่ ม.ดารานคร ชม.๓๐ นาที ภายหลังเริ่ม ๖๒ ชม.๕๐ นาที ภาย
เคลื่อนที่ หลังเริ่มเคลื่อนที่
- อ.ผาหัก (๕๙๗๙) -“- -“-
- บ.นายม (๕๓๙๐) - ๑ ส.ค....๒๑๕๐ หรือ ๓ - ๔ ส.ค....๐๐๕๕ หรือ
ชม.๕๐ นาที ภายหลังเริ่ม ๕๔ ชม.๕๔ นาที ภาย
เคลื่อนที่ หลังเริ่มเคลื่อนที่

๕) รบหนวงเวลา ณ ที่ตั้งปจจุบนั และที่มั่นตามลําดับชั้น เขาสู ม.รัตนานคร


๖) ถอนตัวไปทางทิศตะวันออกของ ม.รัตนานคร ไดตลอดเวลา กอนการเขาตีของฝายเรา
๗) ท.๙๐ ประมาณวากําลังทางอากาศของฝายตรงขาม สามารถโจมตีในพื้นที่ของ ทน.๑
ไดดว ย บ.ขับไล ๒๕ เทีย่ ว/บิน บ.โจมตี ๒๕ เทีย่ ว/บิน และ บ.ทิ้งระเบิด ๒๐ เทีย่ ว/บินตอวัน เปนอยางสูง
แตถาฝายตรงขามรวมเครื่องบินเขาดวยกัน ก็สามารถใชกําลังทางอากาศเขาปฏิบัติการไดสูงสุด ดังนี้ บ.ขับไล
๑๐๐ เที่ยว/บิน บ.โจมตี ๑๐๐ เที่ยว/บิน และ บ.ทิ้งระเบิด ๖๐ เที่ยวบินตอ ๑ วัน
๘) ฝายตรงขามยังมีขีดความสามารถในการใชสารเคมีชีวะ ใชหนวยกองโจรและหนวย
แทรกซึมเขาปฏิบัติการหลังแนวฝายเราไดตลอดเวลา
๙) ขีดความสามารถอื่น ๆ ไดแก
- การยุทธสงทางอากาศ
- การยุทธเคลือ่ นที่ทางอากาศ
- การยุทธสะเทินน้ําสะเทินบก
ข. การวิเคราะหและอภิปรายขีดความสามารถของฝายตรงขาม
๑) การตั้งรับ ณ ที่มั่นปจจุบัน
ก) มีสิ่งบอกเหตุแสดงวาฝายตรงขามนาจะปฏิบัติดังตอไปนี้

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๓๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

(๑) ขาวสารที่วาฝายตรงขามไดรับคําสั่งใหตรึงกําลังของฝายไวทางดานตะวันออก
ของแนวรัตนานคร – กาญจนานคร – สิงหนคร จนถึง ๔ ส.ค.... และไดรับการยืนยันจากเชลยศึกซึ่งฝายเรา
จับไดในวันที่
(๒) หนวยทหารฝายตรงขามไดวางกําลังรักษาภูมิประเทศ ซึ่งเกื้อกูลตอการตั้งรับ
เปนอยางมาก และไดดัดแปลงที่มั่นปจจุบนั ใหเกื้อกูลแกการตั้งรับในทางลึก
(๓) ฝายตรงขาม ไดเสริมความแข็งแรงของที่มั่นตั้งรับดวยการขุดคูสนามเพลาะ
และวางสนามทุนระเบิดไวหนาแนนบริเวณแมน้ําสาย ๓
(๔) ฝายตรงขามไดทําลายสะพานขามแมน้ําสาย ๓ และไดระเบิดเขื่อนที่
อ.หนองสา เมือ่ ๐๑๑๗๐๐ ส.ค.
(๕) กองหนุนของฝายตรงขามที่ตั้งเหมาะสม และพรอมที่จะสนับสนุนการตั้งรับ ณ
ที่มั่นปจจุบัน
ข) การตานทานเหนียวแนน ณ ที่มั่นปจจุบัน ซึ่งมีที่ตั้งอันเกื้อกูลประกอบกับเครื่อง
กีดขวางทีด่ ีขวางหนา คือ แมน้ําสาย ๓ ยอมจะทําใหฝายตรงขามมีโอกาสสําเร็จภารกิจในการตั้งรับ
๒) การเขาตี
ก) เขาตีตรงหนาสิ่งบอกเหตุทแี่ สดงวาฝายตรงขามจะไมปฏิบัติตามขีดความสามารถนี้
(๑) การทําลายสะพานขามแมนา้ํ สาย ๓ เมื่อ ๐๑๑๗๐๐ ส.ค. และการถอนกําลัง
หนวยทหารไปยึดที่มั่นทางตะวันตกของแมน้ําสาย ๓
(๒) การระเบิดเขื่อนที่ อ.หนองสา ซึ่งทําใหความลึกของระดับน้ําในแมน้ําสาย ๓
ทางเหนือของ อ.หนองสา สูงขึ้นในระยะเวลาหนึ่ง กอใหเกิดอุปสรรคในการขามแมน้ําอยางนอย ๒๔ ชม.
หรือจนถึง ๒ ส.ค....๑๗๐๐
ข) ถาฝายตรงขามพยายามเขาตีตรงหนา ก็จะเผชิญกับกําลังที่แข็งแกรงของฝายเรา
ซึ่งวางกําลังในภูมิประเทศเกื้อกูล คือ แนวสันเนิน บ.ฝาง – บ.ศาลา และยังมีแมน้ําสาย ๓ เปนเครื่องกีดขวาง
อีกดวย
๓) การเขาตีโอบปกดานเหนือหรือปกดานใต
ก) การเขาตีโอบปกดานเหนือ ในขณะนีไ้ มมีสิ่งบอกเหตุแสดงวาฝายตรงขามจะปฏิบัติ
ตามขีดความสามารถนี้ได

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ข) เขาตีโอบปกดานใตมีสิ่งบอกเหตุบางประการแสดงวาฝายตรงขามนาจะปฏิบัติตาม
ขีดความสามารถนี้ไดคือ
(๑) ขาวสารจาก กรม ม.ยานเกราะ ๒๐๑ พัน.๑ แจงวาหนวยของฝายตรงขามที่อยู
ตรงหนาไดสงชุดลาดตระเวนเชิงรุกออกปฏิบัติการอยางหนาแนน และไดสรางฉากการตอตานการ
ลาดตระเวนทีแ่ ข็งแรง
(๒) มีชุดลาดตระเวนจากกองหนุนของ พล.ปล.๑๑ ของฝายตรงขามออกปฏิบัติ
ที่บริเวณ บ.กุม
(๓) มีแนวทางเคลื่อนที่ซึ่งเกื้อกูลเปนอยางดียิ่งตามแนวเนิน บ.มวง – บ.ขนุน ไปยัง
ม.อูทอง
ค) ถาฝายตรงขามพยายามโอบปกดานเหนือก็จะเปนการหลีกเลี่ยงกําลังสวนใหญของ
ฝายเรา แตมีแมน้ําสาย ๓ เปนเครื่องกีดขวางและพื้นทีด่ ําเนินกลยุทธจํากัด จึงไมกอ ใหเกิดประโยชนมากนัก
แตถาใชการเขาตีโอบปกดานใตดว ยกําลังกองหนุนของกองพลก็จะเกิดผลดีเพราะนอกจากจะเปนการ
หลีกเลี่ยงกําลังสวนใหญของฝายเราแลวยังชวยใหฝายตรงขามมีโอกาสดีในการหนวยเหนีย่ วการเขาตีของ
ฝายเรา ดังนัน้ ฝายตรงขามจึงมีโอกาสปองกันการเขาตีของฝายเรามิใหสําเร็จไดมากขึ้น โดยการใช พล.ปล.
จากดารานครเพิ่มเติมกําลังทัง้ หมด หรือบางสวนเขาสูพื้นที่ในบริเวณหรือทางตะวันออกของ ม.รัตนานคร
๔) การเพิ่มเติมกําลัง
ก) กองพัน ปล.(ยานยนต) และ กรม.ถ.กลาง ที่ปรากฏอยู ณ ที่ตั้งปจจุบันนี้
เปนสิ่งบอกเหตุแนชัดทีแ่ สดงวาฝายตรงขามจะใชหนวยทั้งหมดนีใ้ นการเพิ่มเติมกําลังใหแกหนวยทหารของ
ฝายตรงขามในเขตของเรา สําหรับ ๒ รอย ปล. บริเวณ บ.คํานอย และ บ.ทุงตาล คาดวาจะใชเพื่อดัดแปลง
ที่มั่นขางหลัง จึงไมคิดเปนกําบังเพิ่มเติมในสถานการณ
ข) ไมมีสิ่งบอกเหตุแสดงวา พล.ปล.ฝายตรงขามที่ดารานคร จะเพิ่มเติมกําลัง
ใหแกหนวยทหารฝายตรงขามในเขตของเราในขณะนี้
ค) แตถาฝายตรงขามเพิ่มเติมกําลังในการตั้งรับดวยกําลังทั้งหมด หรือสวน
ใหญจาก พล.ปล. ที่ดารานครแลว จะเปนการขัดขวางและทําใหภารกิจการเขาตีของฝายเราจะมีทางสําเร็จได
ยากยิ่งขึน้
๕) การรบหนวงเวลา มีสิ่งบอกเหตุวาฝายตรงขามจะปฏิบัตกิ ารรบหนวงเวลาก็มีแต
เพียงการขุดคูสนามเพลาะ ณ ที่มั่นที่นาจะใชหนวงเวลาในพื้นที่ขางหลัง ดวยการใช ๒ รอย ปล.ดัดแปลง
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

พื้นที่บริเวณ บ.คํานอย บ.ทุงตาล บรรดาคูสนามเพลาะเหลานี้อาจจะสรางขึ้นเพื่อจัดที่มั่นใหมีความลึก เพราะ


เปนลักษณะหนึ่งในการตั้งรับของฝายตรงขาม นอกจากนัน้ แลวถาฝายตรงขามพยายามจะรบหนวงเวลา
แทนการตั้งรับ ณ ที่มั่นปจจุบันแลว การที่ฝายตรงขามจะปฏิบัติภารกิจที่ไดรับมอบใหตรึงกําลังของฝายเรา
ทางดานตะวันออกของแนวรัตนานคร กาญจนานคร – สิงหนคร ไปจนถึง ๔ ส.ค....จะสําเร็จหรือไมนั้นยังเปน
ที่สงสัย แนวทีม่ ั่นรั้งหนวงดีที่สุดคือแนวเนิน บ.จืด – บ.นกเทศ ถึงแนวเนิน บ.คํานอย – บ.ตาด
๖) การถอนตัว ไมมีสิ่งบอกเหตุวาฝายตรงขามจะปฏิบัติตามขีดความสามารถ
ในเรื่องนี้
๗) การใชกําลังทางอากาศของฝายตรงขามยังคงใชคุกคามตอไป เพราะ
ขีดความสามารถที่จะรวมกําลังทางอากาศทั้งหมด หรือบางสวนเขาปฏิบัติการในเขตของเรามีไดตลอดเวลา
การปฏิบัติทางอากาศที่สําคัญ ไดแก การบินสกัดกั้น การบินโจมตี การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชดิ
ตอหนวยทหารภาคพื้นดินของฝายตรงขาม ดังปรากฏขาวสารจาก ท.๓๐ วา กําลังทางอากาศที่ฝายตรงขาม
สามารถนํามาใชในบริเวณแหลมทอง มี บ.ขับไล ๒๕ เที่ยว บ.โจมตี ๒๕ เที่ยว และ บ.ทิ้งระเบิด ๒๐ เที่ยว
ตอวัน โดยประมาณ
๘) การใชสารเคมีชีวะ แมจะยังไมปรากฏสิ่งบอกเหตุวาจะมีการใช
ขีดความสามารถนี้ และยังไมมีขาวสารวา ฝายตรงขามไดนําสารเคมีชีวะมาสะสมไวเพื่อใชในพื้นที่แหลมทอง
แตทิศทางลมเกื้อกูลฝายตรงขามในการใชสารเคมีชีวะ และตามหลักนิยมของฝายตรงขามแลวไมถือวาการใช
สารเคมีชีวะเปนการกระทําทีผ่ ิดจากการใชอาวุธปกติ จึงคาดวาฝายตรงขามอาจจะนําสารเคมีชีวะมาใชเพือ่
ขัดขวางฝายเราเมื่อไมสามารถตั้งรับตานทานทางเขาตีฝายเราได หรืออาจใชเพื่อทําลายพื้นที่สําคัญบางแหง
ดวยความมุงหมายไมใหฝายเราใชประโยชนได
๙) ถาฝายตรงขามไดรับการชวยเหลือเพิ่มเติมอยางเต็มที่จากประเทศผูใหการ
สนับสนุนแลว ฝายตรงขามอาจแกไขสถานการณที่เสียเปรียบในปจจุบันดวยการใชการยุทธสงทางอากาศและ
การยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ เพื่อหยุดยัง้ การเขาตีของฝายเรา และใชการยุทธสะเทินน้ําสะเทินบกในการ
เพิ่มเติมกําลังขนาดใหญ และใชปฏิบัติการตอบโตการรุกของฝายไดอีกดวย ในกรณีที่ฝายตรงขามนํา
ขีดความสามารถเหลานี้มาใช จะกอใหเกิดผลกระทบกระเทือนอยางสําคัญตอการบรรลุภารกิจของฝายเรา
และจะเปนปจจัยกอใหเกิดการเปลี่ยนโฉมหนาของสถานการณยุทธในปจจุบัน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ค. สรุปผลการวิเคราะห
จากการวิเคราะหขีดความสามารถดังกลาวขางตนจะเห็นไดวา ฝายตรงขามนาจะปฏิบัติการ
ทางทหารตอฝายได ๔ ประการ คือ การตั้งรับตามแนวแมน้ําสาย ๓ การเขาตีดานใตบริเวณ บ.มวง การเพิ่มเติม
กําลังดวย พัน.ปล.ยย. และ กรม.ถ.กลาง จาก บ.นายูง – บ.นกเทศ และการรบหนวงเวลาจากที่มั่นตามลําดับขั้น
เขาสู ม.รัตนานคร
สําหรับภารกิจในการเขาตีเพือ่ ยึด ม.รัตนานคร หนทางปฏิบัติที่ฝายเราไดวางแผนไวไมวา
จะเปนการกําหนดน้ําหนักการเขาตีหลักทางดานเหนือ คือแนวทางจากเนิน ๑๐๗ – เนิน ๑๐๔ ซึง่ เปนที่สูงขม
ม.รัตนานคร หรือทางดานใต คือ แนวเนินจาก บ.จืด – บ.นกเทศ เขาสู ม.รัตนานคร นั้น ในตอนตนจะยังไม
กระทบกระเทือนจากการรบหนวยเวลาของฝายตรงขาม แตจะเกิดผลอยางมากจากการตั้งรับของฝายตรงขาม
เนื่องจากไดมกี ารจัดเตรียมที่มั่นตั้งรับและการกอสรางเครื่องกีดขวางที่แข็งแรงบริเวณแนวปะทะ รวมทั้งการ
ทําลายเขื่อนและสะพานสําคัญขามแมน้ําสาย ๓ นอกจากนี้ฝายตรงขามยังไดวางกําลังบางสวนเขาตียับยั้ง
ทางดานใตบริเวณ บ.ทากุม อาจเกิดปญหาใหฝายเราตองใชกําลังบางสวนเขาปฏิบัติการตอบโต อันจะทําให
เกิดปญหาตอการเขาตีจากทางดานใตของฝายเรา หรือทําใหการเขาตีประสานของฝายเราตองหยุดชะงักลง
ในกรณีที่ฝายเราเขาตีผานแนวแมน้ําสาย ๓ ประสบผลสําเร็จ แตฝายตรงขามเพิม่ เติมกําลัง
โดยใช พัน.ปล.ยย. และ กรม.ถ.กลาง เขาโตตอบจนสามารถหยุดยั้งการเขาตีของเราไดแลว รวมกําลังเขาตีตอ
ปกดานใตของฝายเราจนสามารถเจาะทะลุแนวฝายเราเขามาได จะกระทบกระเทือนตอการยึดครอง ม.อูทอง
ของฝายเรา
อยางไรก็ดจี ากการวิเคราะหภาพทางการขาวกรองโดยทัว่ ไปของฝายตรงขามแลว ไมนาจะมี
ขีดความสามารถในการเขาตีเจาะแนวของฝายเราได ดังนั้นฝายตรงขามถึงนาจะตองรับอยางเหนียวแนน
ตามแนวแมนา้ํ สาย ๓ โดยอาจใชกําลังบางสวนเขาตียับยัง้ ทางดานใตบริเวณ บ.ทากุม
๕. ขอสรุป
ก. ผลของพื้นที่ตอปฏิบัติการทางทหารของฝายเรา
แนวทางเคลื่อนที่ดีที่สุดเพื่อใชในการรุกเขาสูที่มั่นของฝายตรงขาม ไดแก แนวทางจากเนิน
บริเวณ บ.ฝาง (๖๐๙๓) ผานแนวเนิน บ.คํานอย (๕๑๙๔) – บ.ตาด (๕๕๙๙) มุงเขาสูเนิน ๑๐๘ (๕๗๙๘)
ทางตะวันตกของ บ.เพิ่ม เพื่อยึดครองเนิน ๔๐๑ (๔๐๒๑) ซึ่งเปนพื้นที่สูงขมเกื้อกูลตอการควบคุม
ม.รัตนานคร
ข. หนทางปฏิบัตทิ ี่ฝายตรงขามนาจะนํามาใช
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการขาวกรองที่ ๑๕ – พล.ร.๒๐)

ตั้งรับ ณ ที่มั่นปจจุบัน ดวยกําลัง ๕ พัน.ปล. สนับสนุนดวยกําลังเพิ่มเติมทั้งหมด หรือบางสวน


ในการเขาตีหรือตั้งรับ, อํานาจการยิง, กําลังทางอากาศ และสารเคมีชีวะที่มีอยู
ค. ความลอแหลมของฝายตรงขาม
๑) การวางกําลัง ฝายตรงขามรวมกําลังจํานวนมากไวในยานกลาง ตามแนวปะทะบริเวณ
ตอนเหนือ อ.หนองสา แตดวยความกวางของพื้นที่การตั้งรับ ทําใหฝายตรงขามไมอาจใชกําลังที่มีอยูอยาง
จํากัด เพื่อทําการตานทานฝายเราไดตลอดแนว จึงตองวางกําลังเบาบางปองกันปกทัง้ สองขาง บริเวณ อ.ทุงแก
และ อ.ผาหัก จึงเปนการเกื้อกูลใหฝายเราเขาตีเจาะผานปกของฝายตรงขาม
๒) ปริมาณยุทโธปกรณมีอยางจํากัด เปนผลจากที่ฝายตรงขามถูกปดลอม และเสนทาง
สงกําลังบํารุงถูกตัดขาดทําใหระดับ สป. มีจํากัด และไมอาจจัดหาในทองถิ่น จึงเปดโอกาสใหฝายเราใช
มาตรการลวง ใหฝายตรงขามใช สป. เกินความจําเปน ทําใหไมมี สป. สนับสนุนการยุทธที่ยืดเยื้อได จึงเปน
การบีบบังคับใหจําเปนตองยอมยุติสงคราม
๓) ประชาชนในทองถิ่นไมสนับสนุนฝายตรงขาม เปนการเปดโอกาสใหฝายเราใชการ
สงครามนอกแบบ เพื่อแทรกซึมเขาจัดตั้งกลุมตอตาน เพื่อใชรบกวนพื้นที่สวนหลังและใชขัดขวางปฏิบัติการ
ทางทหารของฝายตรงขาม
ตอบรับ : ทางนําสาร
พ.ท.
( เพชร จมใตดิน )
หน.สธ.๒ พล.ร.๒๐
ผนวก : ก แผนบริวารสถานการณ (เวน)
ข วิเคราะหพื้นทีป่ ฏิบัติการ (เวน)

การแจกจาย

เปนคูฉบับ
พ.ท.
(เพชร จมใตดิน)
หน.สธ.๒ พล.ร.๒๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๔
ตัวอยางที่ ๔ – ๕ ประมาณการสงกําลังบํารุงกองพลทหารราบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
แผนก สธ.๔ พล.ร.๒๐
บ.พังโคน (๖๖๙๑)
๐๑๑๘๐ ส.ค. ...

ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓

อางถึง : แผนที่พิเศษ ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ แหลมทอง


แผนที่พิเศษ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง ม.อูทอง

๑. ภารกิจ
พล.ร.๒๐ ขาตีตอไปใน ๐๒๐๘๐๐ ส.ค. ... เพื่อยึดเมืองรัตนานคร (๔๑๙๗) และเนินสูงทิศเหนือ
เมืองรัตนานคร, ปองกันปกทิศเหนือของกองทัพ และเตรียมการเขาตีตอไปทางทิศตะวันตกเพื่อยึดเมือง
กนกนคร (๒๔๐๔)

๒. สถานการณและขอพิจารณา
ก. สถานการณขาวกรอง
๑) ลักษณะของพืน้ ที่ปฏิบัติการ
ก) ลมฟาอากาศ การพยากรณอากาศในหวงเวลา ๑ – ๓ ส.ค. ... อากาศแจมใสในตอน
เชาตรูมีหมอก ทัศนวิสัยจํากัดในระยะ ๓๐๐ – ๖๐๐ หลา เลยเวลา ๑๐๐๐ ไปแลวทัศนวิสัยไมจํากัด
ข) ภูมิประเทศ ในพื้นที่ปฏิบัตกิ ารไมมีสิ่งกีดขวางใด ๆ เปนอุปสรรคตอทหารเดินเทา
สะพานบนถนนที่ไมลงผิวโดยทั่วไปรับน้าํ หนักอยางสูง ๑๐ ตัน แมน้ําสายทิศเหนือ บ.หนองสา มีความลึก
โดยทั่วไป ๒ – ๓ ฟุต กวาง ๖๕ ฟุต ยานยนตลอไมสามารถลุยขามไปไดจนถึง ๐๒๑๗๐๐ ส.ค...หลังจากนี้
สามารถลุยขามไดดว ยความลําบาก ทะเลสาบบริเวณแมน้ําสาย ๓ ยานยนตขามไมได หวยพี้กวาง ๕๕ ฟุต
และหวยสักกวาง ๖๐ ฟุต ยานยนตลยุ ขามไดดว ยความลําบาก
๒) กําลังและการวางกําลังของฝายตรงขาม
ก) พล.ร.๒๐ ถูกขัดขวางดวยกําลังเผชิญหนา ๕ พัน.ปล. สนับสนุนดวย ๕ พัน.ป. และ
๑ พัน.ถ. โดยประมาณซึ่งวางกําลังอยูบนทีส่ ูงทิศตะวันตกของแมน้ําสาย ๓ กําลังนอกจากนี้มี ๑ กรม.ถ. กับ
๑ พัน.ปล. ของ พล.ปล.๑๑ (- กรม ปล.๓๗) เปนกําลังเพิม่ เติมตอตานของเรา ปรากฏวา กรม ปล.๓๗ ของ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

พล.ปล.๑๑ พรอมดวย ป. ในอัตราตามสวนสัมพันธกําลังขัดขวางหนวยอื่น ๆ ของกองทัพในทิศใตของกองพล


ของเรา สําหรับรายละเอียดดูประมาณการขาวกรองที่ ๑๐ ของแผนก สธ.๒ พล.ร.๒๐ ลง ๐๑๑๘๓๐ ส.ค...
ข) ผอ.ขว.กองทัพแจงวา มีการปฏิบัติการแบบกองโจรอยูเพียงสวนนอยในพื้นที่
ปฏิบัติการของกองทัพ กอง ลว.๒๐ รายงานวาจากปกทิศเหนือถึงฝงทะเลไมมีการปะทะกับฝายตรงขาม
๓) ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
ก) ระบุขีดความสามารถ
(๑) ตั้งรับในที่มั่นปจจุบัน
(๒) เขาตีตรงหนาในทิศทาง บ.หนองสา – ม.อูทอง
(๓) เขาตีโอบปกทิศเหนือหรือปกทิศใตของเราอยางใดอยางหนึ่ง
(๔) เพิ่มเติมกําลังการเขาตีหรือตั้งรับดวยกําลัง ๑ พัน.ปล. ๑ กรม.ถ. และ/หรือ
๑ พล.ปล.
(๕) รบหนวงเวลาในที่มั่นปจจุบนั หรือในที่มนั่ ตามลําดับขั้นเขาหาเมืองรัตนานคร
(๖) ถอนตัวไปทางทิศตะวันตกของเมืองรัตนานคร
(๗) โจมตีตอไปในพื้นที่กองทัพดวย บ.ขับไล ๒๕ เที่ยว บ.โจมตี ๒๕ เที่ยว และ
บ.ทิ้งระเบิด ๒๐ เที่ยวตอวัน
ข) ผลกระทบตอการสงกําลังบํารุง
(๑) ปฏิบัติการโจมตีทางอากาศดวย บ.ขับไล บ.โจมตี และ บ.ทิ้งระเบิด ตาม
ขีดความสามารถที่มีอยู
(๒) รบกวน/ขัดขวางดวยอาวุธยิงสนับสนุนระยะไกล
ข. สถานการณทางยุทธวิธี
๑) การวางกําลังของหนวยหลักทางยุทธวิธีในปจจุบัน ร.๖๐ และ ร.๕๙ วางกําลังในแนวฝง
ทิศตะวันออสกของแมน้ําสาย ๓ ร.๕๘ และ ถ.พัน.๒๐ เปนกองหนุนอยูในบริเวณพืน้ ที่ทศิ เหนือและ
ทิศตะวันออก บ.พังโคน
๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่เปนไปได
ก) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ เขาตีเวลา ๐๒๐๘๐๐ ส.ค....ดวยกําลัง ๓ กรม ร. (-๑ กองพัน)
เคียงกันในทิศทาง อ.ทุงแก (๖๒๐๑) – ถนนเมืองรัตนานคร เขายึดเมืองรัตนานคร และเนินสูงทิศเหนือเมือง
รัตนานคร
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

ข) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ เขาตีเวลา ๐๒๐๘๐๐ ส.ค. ... ดวยกําลัง ๓ กรม ร. (- ๑ กองพัน)


เคียงกันในทิศทาง เนิน ๙๑ (๖๒๐๐) – เนินสูงบริเวณ ๕๒๙๗ – เนิน ๑๐๕ (๔๗๙๘) – เมืองรัตนานคร เขายึด
เมืองรัตนานคร และเนินสูงทิศเหนือเมืองรัตนานคร
ค) หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๓ เขาตี ๐๒๐๘๐๐ ส.ค. ... ดวยกําลัง ๒ กรม ร. เคียงกันในทิศทาง
บ.สิงห (๕๕๙๓) – เนินสูงบริเวณ ๕๒๙๗ – เนิน ๑๐๕ (๔๗๙๘) – เมืองรัตนานคร เขายึดเมืองรัตนานครและ
เนินสูงทิศเหนือเมืองรัตนานคร
๓) แผนการยุทธขนั้ ตอไปภายหลังการยึดเมืองรัตนานครไดแลว ทําการเขาตีตอไปทางทิศ
ตะวันตกเพื่อยึดเมืองกนกนคร
ค. สถานการณกําลังพล
๑) กําลังพลที่รับการสนับสนุน ๑๗,๓๕๐ คน
๒) หนวยและที่ตงั้ ทางการกําลังพล ปจจุบันหางจากเมืองอูทองไปทางทิศตะวันออก ๑๖ กม.
ง. สถานการณกจิ การพลเมือง
มีแรงงานพลเรือนสําหรับใชงาน ๕๐๐ คน การรองขอเพื่อนําไปใชตอ งแจงลวงหนา ๒ ชม.
จ. สถานการณสงกําลังบํารุง
๑) การซอมบํารุง
ก) ปจจัยเวลาในการซอมบํารุง
(๑) หนวยสนับสนุนโดยตรง ๒๔ ชม.
(๒) หนวยสนับสนุน ๗๒ ชม.
ข) สถานภาพชิ้นสวนซอมที่สะสม
(๑) เครื่องควบคุมการยิง ถ. เอ็ม ๔๘ เอ ๕
(๒) เครื่องยนต รยบ. ¼ ตัน, ๒ ½ ตัน
(๓) ลํากลอง ปบค.๑๐๕ มม.
(๔) ชุดเฟองเกียร และเฟองทาย รยบ. ¼ ตัน
ค) การยุบรวมใหทําไดตั้งแตการซอมระดับหนวยขึน้ ไป

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

ง) ความเรงดวนในการซอมบํารุง
(๑) รยบ. ¼ ตัน, ๒ ½ ตัน และ ๑ ¼ ตัน
(๒) ปบค. ขนาด ๑๐๕ มม.
(๓) รสพ.
จ) สถานภาพยุทโธปกรณหลัก
รายการ อนุมัติ บรรจุ ใชงานได สถานภาพ (%)
ถ. ๔๐ ๓๘ ๓๖ ๙๐
รยบ. ** ** ** **
ปบค. ** ** ** **
** ** ** ** **
** ** ** ** **
๒) การสงกําลัง
ก) ตส.ทภ.ตั้งอยูบ ริเวณเมืองนิมิต (๕๙๘๓), ตส.๖๒๓ (สป.๑), ตส.๖๕๒ (สป.๓)และ
ตส.กระสุน ๙๘๓ ทําการสนับสนุนกองพล
ข) คลังกองทัพทุกสายยุทธบริการ ตั้งในพื้นที่การชวยรบของกองทัพ บริเวณ ม.ซาง
(๙๗๐๓)
ค) สป.๑ สะสม ๓ วันสงกําลัง และเสบียง ค. อีก ๒ วันสงกําลัง
ง) สป.๒ สะสม ๒ วันสงกําลัง ประมาณรอยละ ๕ ของเครื่องอาภรณภณ ั ฑตองมีการ
ซอมแซม
จ) สป.๓
- ระดับสะสม ๒ วันสงกําลัง
- ยานยนตทกุ ชนิดเติมน้ํามันเต็มถัง
ฉ) สป.๔
- ลวดหนาม ๒,๐๐๐ ขด
- ลวดหนามหีบเพลง ๕๘๐ ขด
ช) สป.๕ อัตรากระสุนที่ใชไดในปจจุบัน
(๑) ค.๘๑ มม. ๔๐ นัด/กระบอก/วัน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

(๒) ค.๔.๒ นิว้ ๗๐ นัด/กระบอก/วัน


(๓) ป.๑๐๕ มม. ๑๐๐ นัด/กระบอก/วัน
(๔) ชนิดอื่น ๆ ไมเกินอัตรากระสุนมูลฐาน
ซ) น้ํา มีแหลงจายน้ําเพียงพออยูในขณะนี้ แหลงน้ําเพิ่มเติมจะจัดหาจากแหลงที่อยู
ขางหนา นต./นป.
๓) การบริการ
ก) ไดรับการสนับสนุน ๑ พัน.ช.สนาม จาก ทภ.
ข) จนท.ตอนการศพ มีไมเพียงพอที่จะบริการไดอยางรวดเร็ว
๔) การขนสง
ก) เสนทางหมายเลข ๑ และ ๒ สํารองไวสําหรับการปฏิบัติการของ กองพล ชวง
วัน ว. – ๑ ถึง ว.+ ๑
(๑) เมื่อเริ่มปฏิบัติการ จนถึง วัน ว.+ ๑ เสนทางจะหนาแนนดวยการเคลื่อนยาย
หนวยการสงกําลังเพิ่มเติม และประชาชนอพยพหนีภยั กระจายทัว่ ไปในพื้นที่ปฏิบัตกิ าร
(๒) ขายเสนทางอยูในสภาพดี จนถึง นต. แตสภาพถนนหลัง นต. ไปแลว อยูใ น
สภาพคอนขางชํารุด
ข) ระยะทางการสงกําลังเพิ่มเติม ดังนี้
(๑) ระยะหางระหวาง ตส.ทภ. กับ พื้นที่สนับสนุนกองพล ประมาณ ๔๕ กม.
(๒) ระยะหางระหวาง พื้นที่สนับสนุนกองพล ไปยังพืน้ ที่ของกรม ประมาณ
๒๐ กม.
ค) ขีดความสามารถในการขนสง
(๑) การขนสงระยะไกล เสนทางที่ไมโรยผิวถนนได ๒๐๐ ตันสั้น/บนถนนได
๒๘๐ ตันสั้น
(๒) การขนสงระยะใกล เสนทางที่ไมโรยผิวถนนได ๔๒๐ ตันสั้น/บนถนนได
๕๗๖ ตันสั้น
(๓) การขนสง สป.๓ ประมาณ ๒๒๐,๐๐๐ ลิตร/วัน
๕) การสงกําลังและการรักษาพยาบาล
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๔๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

ก) การจัดตั้งที่พยาบาลกองพล และขีดความสามารถในการรักษาพยาบาลได ๓๘๐ เตียง


ข) การสงกลับไดตามขีดความสามารถ เนื่องจากไมมีการขาดแคลนยานพาหนะเพือ่
การนี้
ค) รพ.ทภ.ที่ ๘ ตัง้ อยูบริเวณ อ.นิมิต เพื่อสนับสนุนกองพล
ง) ในปจจุบนั ยังไมมีชุดศัลยกรรมเคลื่อนที่ของ ทภ. มาสนับสนุนกองพล
๖) เสนทางเขตหลังของกองพลในปจจุบนั ตามแผนบริวาร เมื่อการยุทธสามารถรุกคืบหนา
ไปได ควรเตรียมเลื่อนเสนเขตหลังไปขางหนา
ฉ. สมมุติฐาน
หน.สธ.๓ ประมาณวาภารกิจจะบรรลุผลเมื่อสิ้นวันที่สองของการยุทธ

๓. การวิเคราะห
ก. ยุทโธปกรณและบริการ
๑) การซอมบํารุง คาดวาไมมีปญ  หาที่สําคัญในเรื่องการซอมบํารุง สถานภาพการซอมบํารุง
เปนไปตามขอ จ.๑) เพื่อเตรียมการตอไป ควรกําหนดลําดับการซอมบํารุงใหกับ รยบ.๑/๔ ตัน, ปบค.๑๐๕ มม.,
รสพ. และรถบรรทุก สป.๓ ขนาด ๕,๐๐๐ ลิตร
๒) การสงกําลัง
ก) สป.๑ ไมมีปญหา
ข) สป.๒ และ ๔ ไมมีปญหา
ค) สป.๓ ไมมีปญหา
ง) สป.๕ อัตรากระสุนมูลฐานมีครบ แต ทภ. จํากัดการใชกระสุน ค.๘๑ มม.,
ค.๔.๒ นิว้ และ ป.๑๐๕ มม. เมื่อวิเคราะหกระสุนที่ตองการกับกระสุนที่ใชได เปนดังนี้
หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๓
อาวุธ ตองการ ใชได ตองการ ใชได ตองการ ใชได
ค.๘๑ มม. ๗๕ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๐๐ ๘๐
ค.๔.๒ นิว้ ๑๓๕ ๑๔๐ ๑๕๕ ๑๔๐ ๑๖๐ ๑๔๐
ป.๑๐๕ มม. ๙๕ ๒๐๐ ๒๑๐ ๒๐๐ ๒๕๐ ๒๐๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๕๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

๓) การบริการ ไมมีปญหา
๔) การขนสง
ก) การจราจรทางถนนของยานพาหนะขนาดหนักตองถูกจํากัดอยูบนถนนลงผิว
เนื่องจากสะพานตามถนนทีไ่ มลงผิวรับน้ําหนักอยางสูงไดเพียง ๑๐ ตัน
ข) การยุทธในปจจุบันตองเลือกเสนหลักการสงกําลังใหม เสนหลักการสงกําลังที่นาจะ
ใชมีอยูสองเสนทาง คือ
(๑) ถนนเมืองอูทอง – อ.ทุงแก - เมืองรัตนานคร
(ก) สภาพของถนนดี ไมมีขอจํากัดใด ๆ
(ข) ยาวประมาณ ๓๗ กม.
(ค) ขายถนนชั้นสองดีมาก
(ง) เสนทางปลอดภัยจากขีดความสามารถในการเขาตีโอบของฝายตรงขาม
ตอปกทิศใตของเรามาก
(จ) มีขายถนนสํารองดีไปยัง ตส.ของกองทัพ
(ฉ) สนับสนุนหนทางปฏิบัติที่ ๑ และ ๒ ไดดีทสี่ ุด
(๒) ถนนเมืองอูทอง – อ.หนองสา - เมืองรัตนานคร
(ก) สภาพถนนดี ไมมีขอจํากัดใด ๆ
(ข) ยาวประมาณ ๓๕ กม.
(ค) ขายถนนชั้นสองดีมาก
(ง) เสี่ยงตออันตราย ถาฝายตรงขามเขาตีโอบปกทิศใตของเรา
(จ) ถาเมืองอูทองกลับกลายเปนเครื่องกีดขวาง เนื่องจากการเขาตีของฝาย
ตรงขาม จะตองทําทางออมไปสู ตส.ของกองทัพ ซึ่งมีระยะไกลมาก
(ฉ) สนับสนุนหนทางปฏิบัติที่ ๓ ไดดีที่สุด
ค) การขนสงสิ่งอุปกรณตาง ๆ ไมเกินขีดความสามารถ
ค. การสงกลับสายแพทยและการรักษาพยาบาล
จํานวนผูปวยเจ็บโดยประมาณที่ไมสามารถลําเลียงไปไดเพราะตองการการศัลยกรรมฉุกเฉิน
นั้น เกินขีดความสามารถดานศัลยกรรมของที่พยาบาลกองพล และปจจุบนั ไมมชี ุดศัลยกรรมเคลื่อนที่ของ
กองทัพมาใหการสนับสนุนแกกองพล
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๕๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

ง. เบ็ดเตล็ด
ขณะนี้สถานทีต่ ั้งทางการสงกําลังบํารุงของกองพล อยูหางจากแนวปะทะปจจุบันในทางทิศ
ตะวันออก ๓๕ กม. ซึ่งระยะนี้จะหางมากเกินไป ถาการเขาตีคืบหนาไปไดตามแผน
๔. การเปรียบเทียบ
ขอขัดของทางการสงกําลังบํารุงและหนทางปฏิบัติตางๆ ทางยุทธวิธีมีการประเมินคาดังตอไปนี้
ก. ขอขัดของทางการสงกําลังบํารุงที่สําคัญที่ไดพิจารณาแลวในขั้นวิเคราะห มีดังนี้
๑) การสงกําลัง สป.๕ อัตรากระสุนที่ใชไดซึ่งกองทัพอนุมัตนิ ั้น ไมสามารถใหการสนับสนุน
ไดทุกหนทางปฏิบัติ
๒) การขนสง ในเรื่องการพิจารณาเลือก สลก. เพื่อใชในการสนับสนุนการสงกําลังบํารุง
๓) การสงกลับสายแพทยและการรักษาพยาบาล กองทัพไมสามารถจัดชุดศัลยกรรมเคลื่อนที่
ใหได
ข. หนทางปฏิบัตทิ างยุทธวิธี
๑) ความตองการ สป.๕ สําหรับหนทางปฏิบตั ิที่ ๑ นั้นนอยกวาอัตรากระสุนที่ใชได จึงไมมี
ปญหา สวนความตองการเพือ่ สนับสนุนหนทางปฏิบัติที่ ๒ นั้น อัตรากระสุนที่ตองการเกินกวาอัตรากระสุน
ที่ใชไดไมนอยนัก ดังนัน้ คาดวาการยุทธคราวนี้นาจะไดรับความสําเร็จ แมวาอัตรากระสุนที่ใชไดจะไมไดรับ
เพิ่มเติมขึ้นก็ตามที สําหรับหนทางปฏิบัตทิ ี่ ๓ นั้น อัตรากระสุนทีต่ องการเกินกวาอัตรากระสุนที่ใชไดมาก
ดังนั้น ถาปฏิบัติตามหนทางปฏิบัตินี้โอกาสที่จะไดรับความสําเร็จจะมีนอยมาก ซึ่งวิธีแกปญหาที่ดีที่สุด
ควรเปนการขออนุมัติเพื่อเพิม่ อัตรากระสุนที่ใชไดใหเพียงพอ
๒) ขายถนนดานทิศเหนือถาพิจารณาเลือกเปนเสนหลักการสงกําลังจะเกื้อกูลแกหนทาง
ปฏิบัติที่ ๑ และ ๒ เทา ๆ กัน มากกวาหนทางปฏิบัติที่ ๓ สําหรับขายถนนดานทิศเหนือเหมาะทีส่ ุดที่จะเปน
เสนหลักการสงกําลัง เพื่อใชในการสนับสนุนการปฏิบัตใิ นครั้งนี้
๓) ปญหาการสงกลับสายแพทยและการรักษาพยาบาลนั้น มีผลกระทบเทาเทียมกัน
ทุกหนทางปฏิบัติ ซึ่งวิธีการแกปญหาในเรือ่ งนี้ก็โดย
ก) ขอให รพ.ทภ.ที่ ๘ เคลื่อนยายขึ้นมาขางหนาและตัง้ อยูในบริเวณใกลเคียงกับที่
พยาบาลกองพล

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๕๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

ข) ของ ฮ. พยาบาลสนับสนุนเพือ่ สงกลับผูปวยเจ็บอาการสาหัส ตรงไปยัง รพ.ทภ. ที่ ๘


๔) เมื่อพิจารณาประเมินคาปจจัยตาง ๆ ขางตนแลวจะเห็นวาหนทางปฏิบตั ิที่ ๑ เปนหนทางที่
สามารถใหการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงไดดีที่สุด รองลงมาก็หนทางปฏิบัติที่ ๒
๕. ขอสรุป
ก. การยุทธครั้งนี้สามารถใหการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงได
ข. หนทางปฏิบัตทิ างยุทธวิธีที่ ๑ เปนหนทางที่สามารถใหการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุง
ไดดีที่สุด
ค. การสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงตามปกติสามารถสนับสนุนได ยกเวนดังตอไปนี้
๑) ชุดศัลยกรรมเคลื่อนที่ของกองทัพยังไมสามารถมาใหการสนับสนุนแกกองพลได
๒) ถาเลือกหนทางปฏิบัติที่ ๓ แลว อัตรากระสุนที่ตองการเกินกวาอัตรากระสุนที่ใชได
อยางมาก
ง. การแกไขขอขัดของทางการสงกําลังบํารุง
๑) รองขอการสนับสนุนชุดศัลยกรรมเคลื่อนที่ของ ทภ. แจงความตองการเพื่อใหสถานภาพ
ดานการรักษาพยาบาลสูง โดยอาศัยจํานวนผูปวยเจ็บที่คาดคะเนไวเปนมูลฐาน
๒) ถาเลือกหนทางปฏิบัติที่ ๓ แลว ตองขออนุมัติเพิ่มอัตรากระสุนที่ใชไดจากกองทัพ

พ.ท. ขยัน สงกําลัง


( ขยัน สงกําลัง )
หน.สธ.๔ พล.ร.๒๐

หมายเหตุ :
๑. ขอวิเคราะหยทุ โธปกรณและบริการ – การสงกําลัง สป. ประเภทตาง ๆ การที่จะไดวามีปญ
 หา
หรือไมนั้น ใชการวิเคราะห/เปรียบเทียบระหวางความตองการกับ สป. ที่มีอยู

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๕๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการสงกําลังบํารุงที่ ๓ – พล.ร.๒๐)

๒. ความตองการ สป.และอืน่ ๆ หาไดจากประสบการณของผูทําประมาณการประกอบการ


คํานวณโดยใชขอมูลการสงกําลังเปนเกณฑ โดยมีพื้นฐานจากยอดกําลังพล/ยุทโธปกรณที่จะนําเขาปฏิบัติการ
เปนหลัก สามารถหาความตองการ การใช สป.๑, ๒ – ๔, ๓ และ ๕ หาสถานภาพการ ซบร.,
การรักษาพยาบาลได เปนตน
๓. ตัวอยางนี้ ไมไดแสดงการคํานวณหาความตองการไวให
๓๕๔
ตัวอยางที่ ๔ – ๖ ประมาณการกิจการพลเรือน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
แผนกิจการพลเรือน
พล.ร.๒๐
บ.พังโคน (พีบี ๖๗๙๑)
๐๘๑๑๐๐ ม.ค. ....

ประมาณการกิจการพลเรือนที่ ๑

อางถึง : แผนที่พิเศษ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวางอูทอง

๑. ภารกิจ
พล.ร.๒๐ ขาตี ๑๕๐๗๐๐ ม.ค. ... เพื่อยึดรัตนานคร ปองกันปกทางทิศเหนือของทัพและเตรียม
เขาตีตอไปเพือ่ ยึดกนกนคร

๒. สถานการณและขอพิจารณา
ก. สถานการณขาวกรอง
๑) การพยากรณอากาศสําหรับพืน้ ที่ปฏิบัติการในหวง ๑๕ – ๑๗ ม.ค. ... อากาศแจมใสใน
ตอนเชา ทัศนวิสัยจะจํากัดอยูใสระหวาง ๓๐๐ – ๖๐๐ เมตร แตหลังเวลา ๑๐๐๐ ไปแลวทัศนวิสัยไมจํากัด
๒) ในพื้นที่ปฏิบตั ิการ ไมมีสิ่งกีดขวางที่สาํ คัญที่เปนอุปสรรคตอการเคลื่อนยายของหนวย
ทหาร โดยทัว่ ไปสะพานในพื้นที่สามารถรับน้ําหนักไดสูงสุด ๑๐ ตัน
๓) ฝายตรงขามที่เผชิญหนามีประมาณ ๕ พัน ปล. และ ๑ พัน ถ. สนับสนุนดวย ๓ พัน.ป.
และ ๑ รอย ค.
๔) ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
ก) ผลกระทบกระเทือนตอภารกิจทางยุทธวิธี ประมาณการขาวกรองที่ ๑
ข) ผลกระทบกระเทือนตอกิจการพลเรือน
(๑) การทิ้งระเบิดของฝายตรงขาม เพื่อรั้งหนวงการรุกของฝายเราตลอดจนทําลาย
ตัวเมือง แหลงอุตสาหกรรม แหลงอาหาร และการเกษตร เพื่อมิใหเปนประโยชนตอ ฝายเราสําหรับการยุทธใน
อนาคต
(๒) ฝายตรงขามสามารถจัดตั้ง และทิ้งกลุมกองโจรและสายลับไวในเมืองรัตนานคร
เพื่อปฏิบัติการ การจารกรรม, กอวินาศกรรมและการบอนทําลาย
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๕๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการกิจการพลเรือนที่๑ – พล.ร.๒๐)

ข. สถานการณทางการยุทธวิธี
๑) การวางกําลังของ พล.ร.๒๐ วางกําลังแนวฝง ตอ.แมน้ําสาย ๓ ร.๕๙ และ ร.๖๐ เปนกรม
ในแนวหนา ร.๕๙ อยูดานเหนือ ร.๖๐ อยูดานใต โดยมี ร.๕๘ และ ถ.พัน ๒๐ เปนกองหนุนอยูบริเวณดาน
เหนือของ บ.พังโคน
๒) หนทางปฏิบัตทิ ี่กําลังพิจารณา ไดแก เขาตี ๑๕๐๗๐๐ ม.ค. ... ดวยกําลัง ๒ กรมเคียงกัน
เพื่อยึดรัตนานคร และเนินสูงเหนือรัตนานครในทิศทาง
ก) อ.ทุงแก (๖๒๐๑) - ถนนเขาสูรัตนานคร
ข) เนินสูงบริเวณ ๖๒๐๐ – เนินสูงบริเวณ ๕๒๙๗ – เนิน ๑๐๕ – บ.รัตนานคร
ค) บ.สิงห – เนินสูงบริเวณ ๕๒๙๗ – เนิน ๑๐๕ – ม.รัตนานคร
๓) การยุทธของกองพลที่จะกระทําตอไปคือเขาตีตอไปทางทิศ ตต. เพื่อยึดกนกนคร
ค. หนวยและที่ตงั้ ทางการกําลังพล และทางการสงกําลังบํารุง ตั้งอยูทางตะวันออกของ บ.อูทอง
ประมาณ ๑๐ กิโลเมตร
ง. สถานการณกจิ การพลเรือน
๑) ประชาชนในรัตนานครกําลังลี้ภัยจากการรบ คาดวาจะใชเสนทาง อ.ทุงแก – รัตนานคร
และเสนทาง บ.สิงห – รัตนานคร เขาสูแนวหนาของฝายเรา
๒) มีรายงานวาไดเกิดโรคบิดระบาดรุนแรงในพื้นที่ บ.สิงห เมื่อเร็ว ๆ นี้
๓) นโยบายหนวยเหนือดานกิจการพลเรือน
ก) การดําเนินการตอประชาชน ใหพยายามใชประโยชนจากสวนราชการพลเรือน
ในพื้นที่มากทีส่ ุดเทาที่จะกระทําได
ข) เปาหมายหลักของการดําเนินการตอประชาชน คือ การปองกันการกีดขวางการยุทธ
และการบรรเทาความทุกขยากอันเกิดจากการสูรบ
ค) ผบ.พล. สามารถตกลงใจใหการสนับสนุนดานสิ่งอุปกรณ และการบริการแก
ประชาชนไดภายในขีดความสามารถของกองพล
ง) การอพยพพลเรือนเปนกลุมกอน ตองขอความเห็นชอบจากกองทัพกอนทุกครั้ง
จ. สมมุติฐาน
๑) การดําเนินงานสงครามนอกแบบของฝายเราเปนไปตามเปาหมายทีก่ ําหนด
๒) กิจกรรมการทําลายทุกอยางของฝายตรงขามสําเร็จพอประมาณ เนื่องจากถูกตอตานจาก
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๕๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการกิจการพลเรือนที่๑ – พล.ร.๒๐)
ประชาชนและพลพรรคฝายเรา
๓. การวิเคราะห
ก. ห/ป.๑ เขาตีในทิศทาง อ.ทุงแก (๖๒๐๑) – ถนนเขาสูรัตนานคร ยึดเมืองรัตนานครและเนินสูง
เหนือเมืองรัตนานคร การเขาตีในทิศทางนีจ้ ะประสบกับการกีดขวางจากผูลี้ภัยตั้งแตระยะตน ซึ่ง
กระทบกระเทือนการเคลื่อนที่ของหนวยทหารและเปนภาระแกหนวยในการควบคุมประชาชน ซึ่งอาจเสียผล
ทาง ปจว.นอกจากนี้ฝายตรงขามอาจแทรกซึมเขารวมมากับผูลี้ภัย ซึ่งจะมีผลกระทบในเรื่องการระวังปองกัน
พื้นที่เขตหลัง อยางไรก็ดี ห/ป.นีห้ นวยมิไดเคลื่อนทีผ่ านพื้นที่เพาะปลูกซึ่งจะสามารถนํามาใชประโยชนได
เต็มที่
ข. ห/ป.๒ เขาตีในทิศทางเนินสูงบริเวณ ๖๒๐๐ – เนินสูงบริเวณ ๕๒๙๗ – เนิน ๑๐๕ (๔๗๙๘) –
เมืองรัตนานคร ยึดเมืองรัตนานครและเนินสูงเหนือเมืองรัตนานคร การเขาตีในทิศทางนี้เปนการเคลื่อนที่เขาตี
ผานไปในภูมปิ ระเทศเปนสวนใหญ จะไมกระทบกระเทือนจากการกีดขวางของผูลี้ภัยมากนัก อยางไรก็ดี
ห/ป.นี้ หนวยเคลื่อนที่ผานพื้นที่เพาะปลูกของประชาชน ซึ่งจะทําใหเกิดผลเสียทาง ปจว. และกระทบถึงการ
ใชประโยชนจากผลผลิตในพื้นที่
ค. ห/ป.๓ เขาตีในทิศทางบานสิงห ๕๕๙๓ – เนินสูงบริเวณ ๕๒๙๗ – เนิน ๑๐๕ (๔๗๙๘) –
เมืองรัตนานคร ยึดเมืองรัตนานครและเนินสูงเมืองรัตนานคร การเขาตีในทิศทางนีไ้ มกระทบกระเทือนจาก
การกีดขวางของผูลี้ภัยมากนัก แตมีผลกระทบจากโรคระบาดในพืน้ ที่บานสิงห ซึ่งอาจทําใหกําลังพล
ติดเชื้อโรคไดงาย ถาหากไมระมัดระวังการใชน้ําในพืน้ ที่ อยางไรก็ดี ห/ป.นี้ หนวยเคลื่อนที่ผานพื้นที่
เพาะปลูก ซึ่งจะลอแหลมตอการ ปจว. และกระทบถึงการใชประโยชนจากผลผลิตในพื้นที่
๔. การเปรียบเทียบ
หนทางปฏิบัติ ขอดี ขอเสีย
ห/ป. ๑ ๑. ผลผลิตของประชาชนไมเสียหาย ๑. ประสบปญหาผูลี้ภัยกีดขวาง
๒. ใชประโยชนจากผลผลิตได เคลื่อนที่
๓. ไมประสบปญหาโรคติดตอ ๒. การแทรกซึมของฝายตรงขาม
๓. ยากลําบากในการควบคุมประชาชน
ห/ป. ๒ ๑. ไมประสบปญหาการกีดขวาง ๑. ลอแหลมตอการเสียหายของพื้นที่
จากผูลี้ภัยมาก เพาะปลูกของประชาชน
๒. ไมผานพืน้ ที่โรคระบาด ๒. ลอแหลมดาน สปจว.
๓. สะดวกในการควบคุมผูลี้ภัย
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๕๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประมาณการกิจการพลเรือนที่๑ – พล.ร.๒๐)

หนทางปฏิบัติ ขอดี ขอเสีย


ห/ป. ๓ ๑. ไมประสบปญหาจากผูลี้ภัยมากนัก ๑. ผานพื้นที่โรคระบาด
๒. สะดวกในการควบคุมผูลี้ภัย ๒. ลอแหลมตอความเสียหายของ
พื้นที่เพาะปลูกของประชาชน
๓. ลอแหลมดาน ปจว.

จากการเปรียบเทียบจะเห็นวา
ห/ป.๑ กําหนดมาตรการในการตรวจสอบผูลี้ภัยใหเหมาะสมเพื่อปองกันการแทรกซึมของฝาย
ตรงขาม
ห/ป.๒ ใชการปฏิบัติการจิตวิทยาตอประชาชนในพืน้ ที่การรบใหเขาใจถึงความจําเปนที่เราตอง
เคลื่อนที่ผานพื้นที่เพาะปลูก
ห/ป.๓ ใชการปฏิบัติเหมือน ห/ป.๒ และจัดหนวยแพทยใหคําแนะนําและรักษาประชาชนในพืน้ ที่
บานสิงห เพื่อผลการ ปจว. และใหหนวยกวดขันการใชนําเพื่อปองกันโรคระบาดในพื้นที่
๕. ขอสรุป
ก. การเขาตีครั้งนี้งานกิจการพลเรือนสามารถใหการสนับสนุนไดทุกหนทางปฏิบัติ
ข. หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๒ สามารถใหการสนับสนุนไดดีที่สุด
ค. หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑ มีปญหาในเรื่องการควบคุมผูลี้ภัย หนทางปฏิบัตทิ ี่ ๓ มีปญหาเกี่ยวกับ
อันตรายจากโรคระบาด
ง. ขอใหหนวยระมัดระวังในเรือ่ ง การเคลื่อนที่ผานพื้นที่เพาะปลูก และการใชน้ําในพื้นที่ และ
เมื่อยึดเมืองรัตนานครไดแลว เห็นควรประสานกับกองทัพ เพื่อขอใหจดั เจาหนาที่ปกครองจากทองถิ่นมา
ประจําที่กองพลเพิ่มเติมเพื่อชวยเหลือในการดําเนินการตอประชาชนกอนการเขาตี เพื่อยึดเมืองกนกนครตอไป
พ.ท.
( เกง ขยันรบ )
หน.สธ.๕ พล.ร.๒๐

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๕๘
(หนาเจตนาเวนวาง)

(หนาเจตนาเวนวาง)
๓๕๙
ผนวก จ
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ
๓๖๐
แบบฟอรม
ก. ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ ประกอบดวยสวนหลัก ๆ สองสวน คือ สวนตัว เรื่อง และสวน
ผนวกสนับสนุนสวนตัวเรื่องมีแบบฟอรมที่ครบสมบูรณ ดังนี้
ขอ เรื่อง
๑ ปญหา
๒ สมมุติฐาน
๓ ขอเท็จจริง
๔ ขอพิจารณา
๕ ขอสรุป
๖ ขอเสนอ
ข. สวนตัวเรื่อง ตองบรรจุขาวสารอยางเพียงพอ เพื่ออํานวยใหผูบังคับบัญชาตัดสินใจไดอยาง
มีเหตุผล โดยทั่วไปแลวไมควรจะมีขอความเกิน ๒ – ๓ หนา
ค. สวนผนวกสนับสนุน รวมถึงเอกสารสนับสนุนประกอบขอพิจารณาของฝายอํานวยการ ซึ่งจะ
ชวยใหผูบังคับบัญชาสามารถมีขาวสารเพิ่มเติม จากสวนตัวเรื่องมากขึ้น ผนวกตาง ๆ เหลานี้ควรจะมีเฉพาะ
ขอมูลที่เกี่ยวของกับขอพิจารณา และควรจะมีหวั ขอเรื่องที่ชัดเจน และจัดทําขึ้นสําหรับใหคนควาไดสะดวก
ควรบันทึกใหชัดเจนในมุมลางซายของผนวกวา “ผนวก ก” “ผนวก ข” เปนตน
ง. รายละเอียดโดยทั่วไป และเนื้อเรื่องของสวนสรุปของขอพิจารณาของฝายอํานวยการนั้นอยูใน
ตัวอยางที่ จ – ๑ ตัวอยางของขอพิจารณาของฝายอํานวยการที่สมบูรณอยูในตัวอยางที่ จ - ๒
จ. ในระเบียบงานสารบรรณของกองทัพบก การเขียนขอพิจารณาของฝายอํานวยการที่ไมมีความ
ซับซอนและงายตอการสั่งการ จัดทําในรูปของ “บันทึกความเห็น” หัวขอที่กําหนดในการทําบันทึกความเห็น
มี ๔ หัวขอ คือ
ขอ เรื่อง
๑ ปญหา
๒ ขอเท็จจริง
๓ ขอพิจารณา
๔ ขอเสนอ
หมายเหตุ :
ในการปฏิบัติงานประจําวัน อาจละเวนไมเขียนหัวขอเลยก็ได หรือจะเขียนบางหัวขอเพื่อเนนให
เดนชัดขึ้น ก็สามารถกระทําไดเชนกัน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๖๑
ตัวอยางที่ จ – ๑ แบบฟอรมสวนสรุปของขอพิจารณาของฝายอํานวยการ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
กองบัญชาการ
ที่ตั้ง
วัน เดือน ป และเวลา

เรื่อง (มีชื่อเรื่องที่สามารถคนหาในแฟมเอกสารได)
(หัวเรื่องคงใชเหมือนกับหนังสือราชการ แฟมเอกสารอางอิงและเรื่องคงใชแบบหนังสือราชการ
ประเภทเอกสารตองเขียนลงทั้งตอนบนและตอนลางของแตละหนา เมือ่ ไมมีขอใดใหเวนไมตองเขียน)

๑. ปญหา
การเขียนปญหาตองสั้นโดยใหมีลักษณะเหมือนการเขียนภารกิจ ถาเปนปญหาซับซอนใหกําหนด
ขอบเขตและอาจใชขอยอยชวยก็ได
๒. สมมุติฐาน
สมมุติฐานใด ๆ ก็ตามตองเปนสิ่งจําเปนสําหรับการอภิปรายตอปญหาอยางสมเหตุสมผล สมมุติฐาน
ใชเปนขอมูลฐานสําหรับทําขอพิจารณานํามาใชในเมื่อไมมีขอมูลที่แทจริง และใชเพือ่ ขยายหรือจํากัดขอบเขต
ของปญหาในเมื่อสมมุติฐานไมใชขอเท็จจริง สมมุติฐานก็จะตองมีมูลฐานหรือรากฐานมาจากขอเท็จจริง
๓. ขอเท็จจริง
ขอ ๓ นี้กลาวถึงขอเท็จจริงที่มีอิทธิพลตอปญหาหรือตอคําแกปญหานั้น ตองระมัดระวังอยานํา
ขอเท็จจริงที่ไมจําเปนมาเขียนดวย เพราะจะทําใหเกิดความสับสนในขณะทําการอภิปราย ขอเท็จจริงบางเรื่อง
อาจคนพบระหวางการคนควา ในขณะที่ขอ เท็จจริงอื่น ๆ มีอยูในคําสั่งใหพิจารณาปญหา
๔. ขอพิจารณา
ขอ ๔ รวมถึงการวิเคราะหปจจัยที่เกีย่ วของทั้งปวงในรายละเอียด รวมทั้งผลดีและผลเสียของคํา
แกปญหาที่อาจเปนไปไดดว ย ขอนี้เปนขอที่ผูเขียนจะตองทําเปนขอความสั้นๆ อยางแจมแจงจากผลการ
วิเคราะหขอมูลตาง ๆ สําหรับขอพิจารณาที่ยาว ๆ และสลับซับซอนนั้น อาจเขียนเพียงกลาวสรุปกับมีผนวก
การอภิปรายประกอบดวย ผูเขียนจะตองระมัดระวังในเวลาเขียนเรื่องราวแตละเรื่องใหถูกตอง เชนเดียวกับการ
ระมัดระวังในเวลาวิเคราะหขอ มูลตาง ๆ เพื่อเปนหลักประกันวาไดอภิรายขอมูลตามลําดับที่สมเหตุผล

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๖๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕. ขอสรุป
ขอ ๖ ตองเขียนใหสอดคลองกับขอสรุป การปฏิบัติของฝายอํานวยการตองสมบูรณ ตัวอยางเชน
ถามีขอเสนอใหผูบังคับบัญชาลงนามในหนังสือ ก็จะตองมีรางหนังสือแนบไปกับขอพิจารณาโดยทําเปน
ผนวกตางหาก
----------------------------------------

ลายมือชื่อประธานกรรมการ หรือหัวหนาฝายอํานวยการในรายงานที่จดั ทํา


(ดูหมายเหตุ ๑)

ผนวก (ตามความจําเปน)
การเห็นพองดวย/การไมเห็นพองดวย :
แตละนายทหารฝายอํานวยการที่เกี่ยวของแสดงการเห็นพองหรือไมเห็นพองดวย โดยการลง
ลายมือชื่อ ยศ ชื่อ ตําแหนง และหมายเลขโทรศัพท เหตุผลสําหรับการไมเห็นพองดวยควรกลาวโดยสรุป ณ
ที่นี้หรือในหนาตางหากซึ่งอาจจะกลายเปนผนวกเพิ่มเติมของขอพิจารณาของฝายอํานวยการนี้
การพิจารณาการไมเห็นพองดวย :
ผูเขียนขอพิจารณากลาวถึงเหตุผลในการพิจารณาของตนในเรื่องที่ไมเห็นพองดวยใด ๆ การกลาว
จะตองสรุป ณ ที่นี้หรือแนบเปนผนวกเพิ่มเติม ถาการพิจารณาของผูเขียนแสดงใหเห็นวาการไมเห็นพอง
ดวยนั้นไมสามารถรับฟงได ผูเขียนก็จะกลาวถึงเหตุผลเหลานั้นดวย และผูเขียนจะตองลงลายมือชื่อของตน
หรือเซ็นชื่อยอของการพิจารณาการไมเห็นพองดวยในผนวก
เพิ่มเติม :
กลาวถึงผนวกเพิ่มเติมตาง ๆ ถามี เชน ผนวกการไมเห็นพองดวย และการพิจารณาการไมเห็น
พองดวย
การปฏิบตั ิของผูมีอํานาจอนุมัติ : (ไมตองใสหัวขอ)
อนุมัติ (ไมอนุมัติ),รวมถึง (ไมรวมถึง) ขอยกเวนตาง ๆ

(ลงชื่อผูมีอํานาจหนาที)่
ตําแหนง

หมายเหตุ ๑ : ทายลายมือชื่อตองลงตําแหนงและหมายเลขโทรศัพท
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๖๓
ตัวอยางที่ จ – ๒ ขอพิจารณาฝายอํานวยการที่สมบูรณ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
บก.ทน.๑
ปณ.ทหาร ๗๓๑๓
๒๘๐๖๐๐ ก.ค. ....

เรื่อง กําลังพลฝายเราที่ถูกจับเปนเชลยและไดรับตัวกลับคืน

๑. ปญหา
เพื่อพิจารณากําลังพลฝายเราที่ถูกจับเปนเชลย และ ทน.๑ ไดรับตัวกลับคืนมา ควรจะควบคุมตัวไว
ในที่พื้นทีก่ ารชวยรบของกองทัพเพื่อดําเนินกรรมวิธี หรือจะตองสงไปยังเขตหลังโดยทันที
๒. สมมุติฐาน
ก. ในรอบ ๔ เดือนขางหนา ทน.๑ จะไดรับกําลังฝายเราที่ถูกจับเปนเชลยศึกกลับคืนมาประมาณ
เดือนละ ๒๐๐ คน
ข. กําลังพลฝายเราที่ไดรับตัวกลับคืนมาสวนมากมีสภาพรางกายทรุดโทรม

๓. ขอเท็จจริง
ก. การขนสงอยางเหมาะสมยังคงมีอยู
ข. แมวาการขนสงดวยรถยนตบรรทุกยังคงมีอยู แตไมจําเปนตองใช
ค. ขณะนีย้ ังไมมนี โยบายของ ทบ. วาดวยการดําเนินกรรมวิธีและการสงกลับกําลังพลฝายเราที่
ถูกจับเปนเชลยศึกที่ไดรับตัวกลับคืน
ง. ระหวางสงครามโลกครั้งที่สอง กําลังพลฝายเราที่ไดรับตัวกลับคืนมาจะถูกสงกลับไปยังเขต
ภายในเพื่อดําเนินกรรมวิธีและการฟนฟูสภาพอยางสมบูรณ
๔. ขอพิจารณา
ก. ขอดีในการสงกําลังพลฝายเราที่ไดรับตัวกลับคืนไปยังเขตหลังโดยทันที
๑) ทน.๑ ไมจําเปนตองใชกําลังพลเพื่อดําเนินกรรมวิธีตอบุคคลเหลานี้
๒) อาคารบานเรือนอาจขาดแคลนเปนสวนมาก ณ ตําบลที่ไดรับตัวกลับคืนมา และโดยปกติ
สิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ในเขตหลังมีอยูดีกวา
๓) กําลังพลฝายเราที่ไดรับตัวกลับคืนในสภาพรางกายทรุดโทรม จะตองไดรับการ
รักษาพยาบาล ทน.๑ ไมมีสิ่งอํานวยความสะดวกทางการแพทยอนั จําเปนสําหรับเรื่องนี้
๔) การสงกลับอยางรวดเร็วจะทําใหขวัญของหนวยทหารและประชาชนดีขึ้น
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๖๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
(ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ (เจาหนาที่ทหารที่ไดรบั ตัวกลับคืน) ทน.๑)

ข. ผลดีดังกลาวขางตนอาจกลายเปนผลเสียได ถาหากวากําลังพลฝายเราที่ถูกจับเปนเชลยศึกและ
ไดรับการปลอยตัวถูกควบคุมตัวไวในพื้นที่ของกองทัพ ผลดีประการเดียวในการควบคุมตัวบุคคลเหลานั้นไว
ในพื้นที่ของกองทัพก็คือ การไดขาวสารเกี่ยวกับฝายตรงขามโดยการซักถามในรายละเอียด (ซึ่งเปนผลเสีย
ที่เกิดขึ้นจากการสงกลับทันที)
ค. รายละเอียด ดู ผนวก ข ขออภิปราย

๕. ขอสรุป
กําลังพลฝายเราที่ไดรับตัวกลับคืนจากฝายตรงขาม ควรสงกลับไปยังเขตหลังโดยไมชกั ชา

๖. ขอเสนอ
ก. อนุมัติตามขอสรุปในขอ ๕
ข. ลงนามในบันทึกนําเสนอ (ผนวก ก) และนําเสนอตอไปยัง มทบ.๑

(ลายเซ็น) พ.อ.สันติ วิริยา


ผอ.กอง กพ.ทน.๑, โทร.๒๑๑

ผนวก : ก บันทึกนําเสนอ มทภ.๑


ข ขออภิปราย (เวน)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๖๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
(ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ (เจาหนาที่ทหารที่ไดรบั ตัวกลับคืน) ทน.๑)

การเห็นพองดวย
ลายเซ็น
พ.อ.ทวีป หาญกลา ผอ.กองยก.ทน.๑ โทร.๒๑๓
พ.อ.สุชาติ ภวทัน ผองกอง กบ.ทน.๑ โทร.๒๑๔
พ.อ.บัณฑิต สันติ พญ.ทน.๑ โทร.๒๑๖
พ.อ.รณชัย ศรีนันท จเร ทน.๑ โทร.๒๑๗

การไมเห็นพอง
ลายเซ็น พ.อ.สัญชัย สวัสดิ์ ผอ.กอง ขว.ทน.๑ โทร. ๒๑๒ การสงกลับกําลังพลของฝายเรา
ที่ไดรับตัวกลับคืนมาโดยทันที จะทําใหไมมีโอกาสในการซักถามและทําใหไมไดขา วสารเกี่ยวกับฝายตรงขาม
ทันที
การพิจารณาการไมเห็นพองดวย
เปนที่ยอมรับวา ขาวสารที่จะไดจากกําลังพลฝายเราที่ไดรับตัวกลับคืนนั้นตองการใหไดเร็วที่สดุ
เทาที่จะทําได อยางไรก็ดี เนือ่ งจากบุคคลเหลานี้ถูกคุมขังและถูกสงออกไปนอกเขตการรบ ฉะนั้นขาวสารที่ได
จากบุคคลเหลานี้จะไมมีผลกระทบกระเทือนสถานการณทางยุทธวิธีใน ปจจุบันขาวสารตาง ๆ อาจไดจาก
บุคคลเหลานี้โดยการใชแบบซักถามในขณะที่กําลังเดินทางกลับไปยังเขตหลัง หรือในขณะที่เดินทางไปถึง
เขตหลัง ขาวสารที่ไดนี้สามารถจัดสงไปยัง สธ.๒
ผนวกเพิ่มเติม : ไมมี
การปฏิบัติของผูมีอํานาจอนุมัติ (กรอกลงภายหลังการสังการของผูมีอํานาจอนุมัติ)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๖๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ผนวก ก (หนังสือนําเรียน มทภ.๑) ประกอบขอพิจารณาของฝายอํานวยการ (กําลังพลฝายเรา
ที่ไดรับตัวกลับคืน)
(หนังสือฉบับนี้ไมควรลงชื่อผนวกแสดงไว ใบปะหนาตัวอยางนี้ อาจนําไปใชเพื่อแสดงวาเปนผนวก
ประกอบโดยไมตองเขียนลงในตัวจริงได)
กองบัญชาการกองทัพนอยที่ ๑
ปณ.ทหาร ๗๓๑๓
๒๙๐๘๐๐ ก.ค. ...

เรื่อง กําลังฝายเราไดรับตัวกลับคืน

เรียน มทภ.๑

ปณ.ทหาร ๗๙๓๑๕
๑. กระผมขอเรียนเสนอวา กําลังพลฝายเราที่ถูกฝายตรงขามจับเปนเชลย และไดรับตัวกลับคืนมา
เนื่องจากการรุกคืบหนาของกองกําลัง ควรสงไปทําการฟนฟูยังเขตหลังของกองทัพโดยทันที และควรสง
ไปทางอากาศ
๒. แหลงขาวของ ทน.๑ คาดวาจะไดรับตัวเชลยศึกกลับคืนมาประมาณเดือนละ ๒๐๐ คน การที่
ทน.๑ ตองควบคุมบุคคลเหลานี้เพื่อดําเนินกรรมวิธีจําเปนจะตองใชเจาหนาทีแ่ ละสิ่งอุปกรณตาง ๆ ซึ่งจําเปน
อยางมากสําหรับการปฏิบัติทางยุทธวิธี นอกจากนั้นแลว สภาพทางรางกายของบุคคลเหลานี้สวนมากจะมี
สภาพทรุดโทรม ควรไดรับการรักษาพยาบาลภายหลังจากไดรับตัวกลับคืน การรักษาพยาบาลดังกลาว
เจาหนาทีแ่ ละสิ่งอํานวยความสะดวกทางการแพทยปจจุบันในพืน้ ที่ของ ทน.๑ ไมอาจกระทําได
๓. การสงกลับกําลังพลฝายเราที่ไดรับตัวกลับคืนโดยทันที จะทําใหการซักถามเปนไปอยางลาชา
อยางไรก็ดีปญหานี้อาจขจัดใหลดลงไปได โดยการจัดแบบฟอรมการซักถามที่เหมาะสมตามความตองการให
กรอก และจัดใหมีเจาหนาทีต่ ิดตอประจําโรงพยาบาล และศูนยพักฟน ในเขตหลังดวย

(ลงชื่อ) พล.ท. กิจ เสนาธิการ


มทน.๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๖๗
(หนาเจตนาเวนวาง)

(หนาเจตนาเวนวาง)
๓๖๘
ผนวก ฉ
แผน คําสั่ง ผนวกประกอบแผนและคําสั่ง
๓๖๙
ตอนที่ ๑

กลาวทั่วไป
ฉ – ๑ กลาวนํา
ก. แผนและคําสังการรบอาจเปนขอเขียนที่สมบูรณ หรืออาจอธิบายดวยภาพก็ได
ข. เมื่อใชการอธิบายดวยภาพ อาจเขียนลงใสแผนบริวาร หรือบนแผนที่และแจกจายเปนผนวก
(อนุผนวก, ใบแทรก, ใบแนบ) ประกอบสวนที่เปนขอเขียน หรือมีทั้งสวนที่เปนขอเขียนและสวนทีอ่ ธิบายดวย
ภาพรวมอยูใสแผนบริวารเดียวกัน ดูตวั อยางในตอนที่ ๔ และ ๕
ค. การอธิบายดวยภาพจะใหขอมูลและขอแนะนําในการปฏิบัติการ ดวยการใชสัญลักษณ
เครื่องหมายทางทหารจะทําใหสวนที่เปนขอเขียนของคําสั่งมีความสมบูรณ แจมแจง ถูกตอง และสั้นกะทัดรัด
จากการใชเครื่องหมายทางทหารในการวาดเครื่องหมายที่ใช ไดแก เสนเขต พื้นที่รวมพล ที่บังคับการ
แนวออกตี ทิศทางเขาตี เสนทางการถูกรุก จุดประสานเขต แนวขัน้ ที่หมาย แนวประสานการยิงสนับสนุน
แนวประสานการยิง และเสนจํากัดการรุกทางการชวยรบมีเครื่องหมายที่สมควรแสดงดวยภาพ ไดแก
เสนหลักการสงกําลัง สถานที่ตั้ง และสิ่งอํานวยความสะดวกทางการชวยรบ มาตรการควบคุมทหาร
พลัดหนวย และมาตรการควบคุมการจราจร บรรดาคําชี้แจงและขาวสารที่เกี่ยวของที่ไดแสดงดวยภาพแลว
ก็อาจนํามาเขียนเปนรายละเอียดเพิ่มเติมเปนลายลักษณอกั ษรได อยางไรก็ดี สําหรับภารกิจจะใชการเขียนเปน
ลายลักษณอกั ษรเสมอ แมวาจะแสดงดวยภาพไวบนแผนบริวารแลวก็ตาม
ง. เมื่อใชแผนบริวารจะตองพิจารณาใชประกอบกับแผนที่ซงึ่ มีมาตรสวนที่จะใหรายละเอียด
เพียงพอเหมาะสมกับภารกิจ

ฉ – ๒ คําสั่งเปนสวน ๆ
ความมุงหมายของคําสั่งเปนสวน ๆ ก็เพื่อใหมีคําสั่งชี้แจงเฉพาะเรื่องอยางสั้น ๆ และทันเวลา โดย
ไมเสียความแจมแจง เรื่องตาง ๆ ที่มีอยูในคําสั่งฉบับสมบูรณอาจจะละเวนไมตองกลาวในคําสั่งเปนสวน ๆ ได
ในเมื่อเรื่องนัน้ ไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไมมีความสําคัญตอภารกิจ ซึ่งอาจทําใหลาชาหรือยากแกการสง
ขาวสารในขณะแจกจายคําสั่ง คําสั่งเปนสวน ๆ นี้จัดทําและแจกจายโดยฝายอํานวยการประสานงานและฝาย
กิจการพิเศษ โดยไดรับการอนุมัติจากผูบังคับบัญชา โดยทั่วไปแลวคําสั่งเปนสวน ๆ มีลักษณะดังนี้
ก. สงถึงผูบังคับบัญชาของทุกหนวยที่เปนผูปฏิบัติ
ข. สงใหกองบังคับการหนวยเหนือและหนวยขางเคียง
ค. อางถึงคําสั่งยุทธการที่ไดแจกจายใหกอนนี้แลว
ง. กลาวถึงการเปลี่ยนแปลงการจัดเฉพาะกิจ ถามี
จ. อาจกลาวถึงสถานการณโดยยอเมื่อตองการ หรือกลาวถึงภารกิจถามีการเปลี่ยนแปลง
ฉ. จะตองใหคําแนะนําเฉพาะเรือ่ งโดยยอ แตชัดเจน
๓๗๐
ช. ตองใหมีการตอบรับ
ซ. มีชั้นความลับ (ตัวอยางคําสั่งเปนสวน ๆ แสดงไวในตอนที่ ๗)

ฉ – ๓ ผนวก อนุผนวก ใบแทรก ในแนบ


ก. ผนวก ผนวกของคําสั่งจะเรียงตามลําดับตัวอักษรตามทีอ่ างถึงในคําสั่ง ตัวอยางเชน ผนวก ค
(การเคลื่อนยาย) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ พล.ร.๒๐หรือ ผนวก ง (การขนสง) ประกอบคําสั่งการชวยรบที่
๗ ทภ.๑ เปนตน ผนวกจะเขียนคําวา “แผน” ลงไปเฉพาะเมื่อเปนแผนจริง ๆ เทานั้น เชน
ผนวก ง (ฉากขัดขวาง) ไมเขียนวา ผนวก ง (แผนฉากขัดขวาง) นายทหารฝายอํานวยการประสานงานที่ได
รับผิดชอบในการทําคําสั่งยุทธการเปนผูกาํ หนดตัวอักษรประกอบผนวกซึ่งใชประกอบคําสั่งนั้น ๆ ปกติแลว
จะมีแบบฟอรมเชนเดียวกับคําสั่งยุทธการมีขอยกเวนตามขอ ๗ – ๑๑
ข. อนุผนวก ประกอบดวยเรือ่ งราวตาง ๆ ที่จําเปน เพื่อขยายรายละเอียดที่แสดงไวในผนวก
อนุผนวก จะถูกกําหนดเรียงตามลําดับหมายเลข ตัวอยางเชน อนุผนวก ๑ (วิทยุของฝายตรงขาม) ประกอบ
ผนวก ก (การติดตอสื่อสารอิเล็กทรอนิกส) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ พล.ร.๒๐ อนุผนวกไมมีแบบฟอรม
แนนอน อยางไรก็ดีอาจใชหวั ขอทั้ง ๕ ของคําสั่งยุทธการไดเมื่อเห็นสมควร
ค. ใบแทรก ประกอบดวยเรื่องราวที่จําเปนเพือ่ ขยายความในอนุผนวก กําหนดตามลําดับตัวอักษร
เชน ใบแทรก ก (สถานีหลัก) ประกอบอนุผนวก ๑ (วิทยุของฝายตรงขาม) ประกอบผนวก ค
(การติดตอสื่อสาร – อิเล็กทรอนิกส) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ พล.ร.๒๐ ใบแทรกไมมีแบบฟอรมแนนอน
แตอาจใชหัวขอทั้ง ๕ ของคําสั่งยุทธการเมื่อเห็นสมควร
ง. ใบแนบ เปนเรื่องราวเพิ่มเติมที่จําเปนเพื่อขยายความในใบแทรก กําหนดเรียงลําดับตามตัวเลข
ตัวอยางเชน ใบแนบที่ ๑ (ชัว่ โมงการปฏิบัติการ) ประกอบใบแทรก ก (สถานีหลัก) ประกอบอนุมตั ิ ๑ (วิทยุ
ของฝายตรงขาม) ประกอบผนวก ค (การติดตอสื่อสาร – อิเล็กทรอนิกส) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖
พล.ร.๒๐ ในแนบไมมีแบบฟอรมที่แนนอน แตอาจใชหัวขอทั้ง ๕ ขอของคําสั่งยุทธการไดเมื่อเห็นสมควร
จ. อักษรไทยทีใ่ ชระบุหนาหัวขอหรือติดตอทายผนวกและใบแทรกใหใชอักษร ๒๖ตัว ตาม
ระเบียบ ทบ. วาดวยกําหนดลําดับหัวขอในเอกสารราชการ พ.ศ.๒๕๐๘ ลง ๑ มิ.ย.๒๕๐๘ เรียงตามลําดับ
ดังนี้ ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท น บ ป ผ ฝ พ ฟ ม ย ร ว ส อ และ ฮ
ฉ – ๔ การเขียนขอความแสดงขอมูลเอกสารในหนาถัดไปของแผน หรือคําสั่ง
ในหนาที่ ๒ และหนาตอ ๆ ไปของแผน คําสั่ง ผนวก ฯลฯ ใหเขียนสั้น ๆ เกีย่ วกับหัวเรื่องและ
หมายเลขลําดับ (หรือตัวอักษร) นามหนวยและกองบังคับการ เชน ผนวก ก (การขาวกรอง) ประกอบ
แผนยุทธการที่ ๑๕ กองพลทหารราบที่ ๒๐

ฉ – ๕ การลงลายมือชื่อ และการรับรองสําเนา
ก. ผูบังคับบัญชาหรือผูที่ไดรับมอบอํานาจ จะเปนผูลงนามในตนฉบับ สวนผนวก อนุผนวก
ใบแทรก ใบแนบ ทีจ่ า ยพรอมคําสั่งหรือแผนนั้นไมตองลงนาม แตถาจายแยกจากตัวคําสั่งหรือแผน
ผูบังคับบัญชาหรือผูทําการแทนจะตองลงนามเชนเดียวกับตัวคําสั่งหรือแผนนั้น กรณีที่ผูบังคับบัญชาหรือผูทํา
๓๗๑
การแทนลงนามแลว นําตนฉบับไปทําสําเนาโดยเครื่องถายเอกสารก็ไมจําเปนตองรับรองสําเนาอีก ถาไมได
ลงนามในฉบับหลักที่นําไปอัดสําเนาแลว นายทหารฝายอํานวยการที่เกี่ยวของจะตองรับรองสําเนาทุกฉบับ
ของแผนและคําสั่งดวย
ข. ในเมื่อตองมีการลงนามของผูบังคับบัญชาในผนวกแลว (ขอ ๗ – ๑๑) ใหถือปฏิบัติตามขอ ก.
ขางตน ลงนามในสําเนา (นอกจากตนฉบับแลว) ใหนายทหารฝายอํานวยการประสานงานซึ่งมีหนาที่หลีก
ในผนวกนัน้ ๆ เปนผูรับรองสําเนา ยกเวนจะใชการอัดสําเนาโดยเครือ่ งอัตโนมัติ เชน สธ.๑ รับรองสําเนา
ผนวกกําลังพล (รวมถึงอนุผนวก ใบแทรก และในแนบ) ประกอบคําสั่งชวยรบ แมวา สธ.๔ จะรับรองตัวคําสั่ง
นั้นแลวก็ตาม
๓๗๒

ตอนที่ ๒

เทคนิคโดยทั่วไป
ฉ – ๖ การใชคํายอ
ก. คํายอตาง ๆ ใชเพื่อประหยัดเวลาและเนื้อหา ถาคํายอนั้นไมทําใหเสียความแจมแจง การใชคํา
ยอจะตองใหเหมือนกันตลอดทั้งแผน คําสั่ง และผนวก
ข. คํายอจะไมใชในการติดตอสือ่ สารกับนานาชาติซึ่งเปนการสื่อขาวระหวางพันธมิตร ยกเวน
คํายอนั้นเปนที่ทราบกันดีเปนสากล เชน มม.(มิลลิเมตร) หรือคํายอตามขอตกลงนานาชาติ

ฉ – ๗ ประเภทเอกสาร
ก. การแบงประเภทของแผนและคําสั่ง ไดกําหนดไวในระเบียบกองทัพบกแลว
๓๗๓
ข. เอกสารการฝกและการศึกษาเปนแผนหรือคําสั่ง และไมกาํ หนดประเภทเอกสาร อาจเขียนของ
การกําหนด ประเภทเอกสารวา “เฉพาะการฝก” หรืออาจเขียนเฉพาะขอความดังกลาวนี้ที่ตอนบนและลางของ
เอกสารแตละหนาที่จดั ทําขึ้น เอกสารที่กาํ หนดชัน้ ความลับและใชสําหรับความมุงหมายเพื่อ
การศึกษานัน้ จะตองแยกเก็บรักษาตามชั้นความลับของเอกสารนั้น

ฉ – ๘ การกําหนดชื่อของหนวย
ก. การกําหนดหมายเลขของหนวยทหารในกองทัพบก หรือหนวยทหารอากาศใหใชตัวเลข เชน
“หมูกองทัพที่ ๒๑” “กองทัพอากาศทางยุทธวิธีที่ ๑” “กองทัพที่ ๓ (ฝศ.)” “กองทัพนอยที่ ๒” เปนตน การ
กําหนดชื่อหนวยอีกวิธีหนึ่งซึ่งเปนที่ยอมรับโดยทั่วไป เชน ๑/๑/๑/ร.๖๑ (มว.๑ รอย.๑ พัน.๑, ร.๖๑) หรือ ๑/๒
พัน.ส.๒๓ (มว.รอย.๒ พัน.ส.๒๓) หมายเลขแสดงลําดับ (เชน ที่ ๑ ที่ ๒) ใชเพื่อกําหนดชื่อยอของหนวยตน
สังกัด สวนหมายเลขสําหรับนับจํานวน (เชน ๑, ๒, ๓) ใชสําหรับหนวยกําลังของกรม เครื่องหมาย ( - ) แทน
คําวา “หยอนกําลัง” แสดงถึงกําลังที่มีการจัดนอยกวาปกติซึ่งแสดงถึงการแยกสมทบของหนวยในอัตรา และ
เครื่องหมาย ( + ) แทนคําวา “เพิ่มกําลัง” แสดงถึงการรับการขึ้นสมทบของหนวยนอกอัตรา
ข. หนวยรบเฉพาะกิจ อาจกําหนดโดยใชนามสกุลของผูบังคับบัญชาของหนวยรบเฉพาะกิจนั้น
(ฉก.เดชาชัย) หรือใชชื่อรหัส (ฉก.ผานฟา) หรือใชหมายเลข (ฉก.๑๗)
ค. เขตหลัง อาจใชชื่อตามที่ตั้งทางภูมิประเทศ เชน เขตหลังจีน กองบัญชาการเขตหลัง คือ หนวย
บัญชาการสนับสนุนกองทัพบกยุทธบริเวณ อาจกําหนดชื่อตามที่ตงั้ ทางภูมิศาสตรหรือกําหนดเปนหมายเลข
หนวยรองหนวยบัญชาการสนับสนุนกองทัพบกยุทธบริเวณกําหนดชื่อเปนหมายเลข
ง. สถานการณชว ยรบ กําหนดชื่อดังนี้
๑) คลัง กําหนดชือ่ ตามประเภท หมายเลข ประเภทสิ่งอุปกรณ กองทัพหรือเปนสวนของเขต
หลัง จะไมกําหนดประเภทของสิ่งอุปกรณในคลังสนาม อยางไรก็ดี สําหรับคลังยอยในเมื่อตั้งอยูห าง
จากกองบังคับการของคลังสนามแลว จะกําหนดประเภทของสิ่งอุปกรณไวดวย ตัวอยางเชน “คลัง ๖๑๐ สป.๒
และ ๔ ทภ.๓” จะไมกําหนดชื่อคลังดวยหมายเลขที่ซ้ํากัน
๒) ตําบลสงกําลัง กําหนดชื่อโดย การบริการ หมายเลข ประเภทสิ่งอุปกรณ ประเภทเดียว
หรือหายประเภท และหนวยหรือพื้นที่รับการสนับสนุน เชน “ตส.๙๑๓, สป.๕, ทภ.๓” ตําบลสงกําลัง ๒ แหง
จะไมกําหนดชื่อดวยหมายเลขที่ซ้ํากัน วิธีกําหนดชื่อของตําบลสงกําลังกระสุนหนวยเดียวกันอยูในสองที่ตั้ง
เชน ตก.กศ.๖๐๐ (หนา) และ ตส.กศ.๖๐๐ (หลัง) เมือ่ ใดพื้นที่มกี ารกําหนด ตส.กศ. “หนา” ก็ตองแสดง
ตส.กส. “หลัง” ดวย
๓) ตําบลจาย กําหนดชือ่ ดวยประเภทของสิ่งอุปกรณประเภทเดียวหรือหลายประเภทและ
หนวยของตําบลจายนั้น เชน “ตาจ.สป.๑,พล.ร.๒๐” และ “ตจ.สป.๒ และ ๔ พล.ร.๒๐” เปนตน
จ. เมื่อจําเปนตองแสดงกําลังทัพของชาติพันธมิตร ใหแสดงชื่อของประเทศหลังหมายเลข
นามหนวยไวในวงเล็บ (เชน ทน.๔ (ฝศ.)) เปนตน

ฉ – ๙ การกําหนดชื่อของสถานที่หรือลักษณะภูมปิ ระเทศ
๓๗๔
ก. กลาวทั่วไป
๑) ชื่อทางภูมิประเทศของพื้นที่ นคร เมือง แมน้ํา ภูเขา และสถานที่อื่น ๆ ซึ่งมีชื่อเฉพาะ
อยูบนแผนทีแ่ ลว ใหใชชื่อตรงตามที่ปรากฏในแผนที่นนั้
๒) พิกัดตาง ๆ ของสถานที่ หรือลักษณะภูมิประเทศแหงหนึ่งแหงใด ใหแสดงพิกัดกํากับ
ไวเมื่อชื่อนัน้ ปรากฏในคําสั่งครั้งแรก ตอจากนั้นพิกัดตางๆ เหลานี้จะแสดงซ้ําอีกเฉพาะเมื่อจําเปนเพื่อความ
แจมแจงเทานัน้
ข. พื้นที่
ตามธรรมดาการกําหนดชื่อของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง มักเรียกชื่อของตําบลที่อยูเหนือสุดเปน
อันดับแรก แลวเรียกตําบลที่เหลือเวียนตามเข็มนาฬิกา การบรรยายถึงที่ตั้งของขาศึกนั้นเริ่มจากซายไปขวา
และหนาไปหลัง โดยหันหนาเขาหาฝายตรงขาม
ค. ถนน ทางเดิน และทางรถไฟ
แสดงดวยชื่อหรือสถานที่ตาง ๆ บนถนนดวยการเรียกชื่อตามเสนทางการเคลื่อนยาย เชน
เสนทาง บางนา – ตราด เมื่อเคลื่อนยายจากบางนาไป จ.ตราด แตเมือ่ ไมเกี่ยวกับการเคลื่อนยายก็เรียกจากซาย
ไปขวาหรือจากขางหลังไปขางหนาโดยหันหนาเขาหาฝายตรงขาม แนวอื่นๆ ใหกําหนดชื่อทํานองเดียวกับที่
กลาวแลว
ง. ฝงแมน้ํา
กําหนดชื่อฝง “ซาย” หรือ “ขวา” โดยผูกําหนดหันหนาไปทางปลายน้ํา แตถากลาวถึงการเขาตี
ผานแนวลําน้ํา ฝงเราคือ “ฝงใกล” และฝงตรงขามคือฝงที่อยูไกลออกไป
จ. เสนเขต
เปนแนวกําหนดเขตพื้นที่ปฏิบัติการ (รวมทั้งการดําเนินกลยุทธและการยิง) และพื้นที่
รับผิดชอบ เสนเขตกําหนดขึ้นโดยอาศัยแนวภูมิประเทศที่สังเกตเห็นไดงายในการรุกจะบรรยายถึงเสนเขต
จากขางหลังไปหนา และในการตั้งรับหรือรนถอยจะบรรยายจากหนาไปหลัง ถาหากเสนเขตขนานกับ
แนวหนา เชน เสนเขตหลังใหบรรยายจากซายไปขวาโดยหันหนาเขาหาฝายตรงขาม การกลาวถึงเสนเขตที่อยู
ระหวางหนวยจะตองบงโดยแนนอนวาพืน้ ที่หรือตําบลแตละแหงอยูในความรับผิดชอบของ
หนวยใด

ฉ – ๑๐ วันและเวลา
ก. วันหมายรวมถึง วันที,่ เดือน และป (๖ ส.ค.๒๕....) ในการกลาวถึงกลางคืนใหบอกวันที่ทั้ง
สองวันดวย (คือ ๔ – ๕ สิงหาคา ๒๕.....)
ข. กลุมวัน – เวลาใหกลาวตาม รส.๒๐ – ๓๐ คําวา “หลังเที่ยง” “กอนเทีย่ ง” “กลางวัน” “มืดค่ํา”
“EENT” และ “BMNT” ไมใชในกลุมวัน – เวลา
๓๗๕
ค. เมื่อเปนคําสั่งที่ใชอยูในเขตเวลาที่แตกตางกัน ก็ใหใชเวลาที่กรีนิชหรือเวลาในเขตเวลาที่
กองบัญชาการหนวยกําหนดเขตเวลาใหแสดงไวหลังในหัวเรื่องของคําสั่ง ตัวอยางเชน ๐๖๒๐๒๕ Z ส.ค.
หมายถึงเวลา ๒๐๒๕ ตามเวลากรีนิช (ซึ่งแสดงดวยตัวอักษร ๒) ของวันที่ ๖ สิงหาคม(ดู รส.๑๐๑-๑๐-๑)
ง. เมื่อคําสั่งหรือแผนไมบงวันและเวลาเริ่มการยุทธไวโดยแนนอนแลว ใหใชวิธกี ารดังนี้
๑) วันเริ่มตนการยุทธ เรียกวา “วัน ว” (ในภาษาอังกฤษใช”D – DAY” ฝรั่งเศสเรียกวา “J –
DAY”) ระบบนี้จึงเปนดังนี้
* แบบไทย ว–๑ ว ว+๑
* แบบอังกฤษ D–๑ D D+๑
* แบบฝรั่งเศส J–๑ J J+๑
ตามธรรมดา วัน ว ใชสําหรับการปฏิบัติการยุทธ และเมื่อจําเปนอาจเพิ่มประมวลลับของ
การยุทธเขาไปดวย เชน สิงหคํา วัน ว
๒) เมื่อมีการปฏิบัติการยุทธหลายแหงในยุทธบริเวณเดียวกัน ซึ่งอาจกอใหสับสนในการใช
วัน ว เหมือน ๆ กันได ในกรณีนี้อาจใชตัวอักษรแทนได ยกเวน น
๓) การกําหนดชั่วโมงและนาทีสําหรับการปฏิบัติการยุทธนั้น คงปฏิบัติเชนเดียวกับการ
กําหนดวัน แตใหใชตวั อักษร น (H) เชน
น – ๑ ชั่วโมง, น – ๓๐ นาที, น + ๒ ชั่วโมง เปนตน
๔) เมื่อปฏิบัติการยุทธหลายแหงยุทธบริเวณเดียวกัน อาจทําใหสับสนในการกําหนด
ชั่วโมงเหมือน ๆ กันได จึงใชใหอักษรอื่น ๆ แทนได เวนตัวอักษร ก

ฉ – ๑๑ ทิศทาง
ก. ทิศทางกําหนดขึ้นเปนมุมทีท่ ํากับทิศเหนือจริง ทิศเหนือแมเหล็ก หรือทิศเหนือตาราง
ข. ใหใชทิศหลัก (เหนือ ใต ออก ตก) แทนคําวา “ซาย” และ “ขวา” หากสถานการณบงให
จําเปนตองเขียนคําวา “ซาย” และ “ขวา” แลวก็ใหบอกทิศหลักตอทายไวดว ย
๓๗๖
ตอนที่ ๓

เทคนิคในการทําแผนบริวาร
ฉ – ๑๒ กลาวทั่วไป
ก. เทคนิคของแผนบริวารเกีย่ วของกับการใชเครื่องหมายทางทหารอยางถูกตอง เพื่อแสดง
เรื่องราวโดยยอของแผน คําสั่ง และขาวสารที่เกี่ยวของกับสถานการณทหาร
ข. รส.๒๑ – ๓๐ เปนคูมือทางหลักนิยมมูลฐานเกี่ยวกับเครื่องหมายทางทหารที่อนุมตั ิใหใชได
ในหนวยบัญชาการของกองทัพบก ตอไปนี้จะกลาวถึงการใชเครื่องหมายทางทหารเพื่อทําแผนบริวารและ
แผนที่สถานการณ
ฉ – ๑๓ ความสัมพันธระหวางแผนบริวารกับสวนที่เปนขอเขียน
ก. เมื่อแผนบริวารและสวนที่เปนขอเขียนของแผนหรือคําสัง่ เปนเอกสารที่แยกออกจากกัน
• แผนบริเวรจะเปนผนวก โดยมีหวั เรื่องและทายเรื่อง เฉพาะเมื่อตองแยกจาย แยกตางหาก
จากแผน หรือคําสั่งเทานั้น
• การอางถึงผนวกที่เปนแผนบริวาร จะอยูในสวนที่เปนขอเขียนของคําสั่ง
ข. เมื่อแผนบริวารและสวนที่เปนขอเขียนของคําสั่งอยูใ นกระดาษแผนเดียว
• หัวเรื่องและทายเรื่องจะรวมใชดวยกัน
• ไมตองอางถึงแผนบริวารประกอบในสวนที่เปนขอเขียน

ฉ – ๑๔ เทคนิคแผนบริวาร
ก. การใชเสนทึบและเสนประ
เมื่อที่ตั้งของหนวยหรือสถานที่ตั้งหรือตําบลประสาน (เชน ที่รวมพล หรือ เสนเขต) แหงใด
แหงหนึ่งมีผลบังคับใชและยังคงดําเนินอยูต อไป หรือจะมีผลบังคับใชตามคําสั่งซึ่งกําลังจัดทําอยูก็ใหแสดง
ดวยเสนทึบ ถาเปนที่ตั้งที่เสนอหรือที่ตั้งในอนาคตจะแสดงดวยเสนประ และใหเขียนวันเวลาที่จะบังคับใช
กํากับไวดว ย (ถาทราบ)
ข. ที่หมาย
๑) ตามปกติ แผนบริวารจะแสดงที่หมายตาง ๆ สําหรับหนวยที่อยูใ นความควบคุมโดยตรง
ของกองบัญชาการที่ออกแผนหรือคําสั่ง เชน ที่หมายของกองพัน (กองรอย) จะเขียนลงในแผนบริวารยุทธการ
ของกองพล (กรม) เฉพาะสําหรับกองพัน (กองรอย) ที่อยูในความควบคุมโดยตรงของกองพล (กรม) กลาวคือ
ต่ําลง ๒ ระดับ
๓๗๗
๒) ที่หมายแตละแหงจะเขียนดวยเสนทึบรูปไขมีคําวา “ทม.” และมีหมายเลขตัวอักษร
ชื่อรหัส หรือนามหนวยเขียนกํากับไวดว ย ลําดับหมายเลขของที่หมายไมไดแสดงลําดับเรงดวน หรือแสดง
ความสําคัญของที่หมายแตอยางใด
๓) กองบัญชาการหนวยเหนือ อาจมอบที่หมายหนึ่งใหกับหนวยรองหนวยเดียว ทั้งทีห่ มาย
หรืออาจแบงทีห่ มายออกเปนสวน ๆ ก็ได ถาแบงเปนสวน ๆ ก็อาจแสดงที่หมายที่แยกจากกัน และให
หมายเลขตามลําดับ หรืออาจแบงสวนเปนที่หมายตางๆ ดวยเสนแบงเขตที่สังเกตจากภูมิประเทศเห็นไดงาย
บนพื้นดิน
ค. มาตรการควบคุม
๑) เสนเขต
ก) ในการรบดวยวิธีรุก เสนเขตทางขางจะลากเลยที่หมายออกไปในระยะเพียงพอที่จะ
ทําการประสานการยิง และการปฏิบัติในการยึดรักษาและเสริมความมั่นคง ณ ที่หมาย สําหรับการรบดวยวิธี
รับเสนเขตทางขางจะลากเสนไปจนถึงพืน้ ที่ที่อิทธิพลของหนวยบัญชาการ ซึ่งขึ้นอยูกับระยะยิงหวังผล
ขางหนาขอบหนาที่มั่นของอาวุธยิงสนับสนุนของหนวยบัญชาการนัน้
ข) ถาเปนไปได เสนเขตจะกําหนดตามลักษณะของภูมิประเทศที่สังเกตเห็นไดงาย
ทั้งบนแผนที่และบนพื้นดิน เสนเขตทางขางจะไมแบงกึ่งกลางของเสนทาง แตจะแบงใหเสนทางอยูในพื้นที่
รับผิดชอบของหนวยหนึ่งหนวยใดโดยเฉพาะ เพื่อใหมหี นวยรับผิดชอบตอเสนทางอยางแนชดั
ค) ไมจําเปนตองมีเสนเขตระหวางหนวยหลักกับหนวยทหารมายานเกราะ หรือหนวย
ระวังปองกันทีป่ ฏิบัติหนาที่ลาดตระเวนทางปกหนวยหลักนั้น (ตัวอยาง ๔ – ๑ แสดงเทคนิคการเขียนในกรณี
นี้) อยางไรก็ดี ถาหนวยทหารมายานเกราะหรือหนวยลาดตระเวนปฏิบัติหนาที่เปนหนวยเขาตีโดยไดรับมอบ
ที่หมาย ในกรณีนี้เสนเขตจําเปนตองกําหนดระหวางหนวยหลักกับหนวยทหารมา (หนวยลาดตระเวน) จําเปน
เมื่อตองการปลดเปลื้องความรับผิดชอบพื้นที่ของหนวยทางปกใหลดลง
ง) ปกติเสนเขตหลัง จะแสดงไวเฉพาะหนวยระดับกองพลและสูงกวา และจะเขียนลง
ในคําสั่งการชวยรบและคําสั่งยุทธการ
จ) เสนเขตที่เสนอ (เสนประ) ปกติจะแสดงถึงขั้นการปฏิบัติการตอๆ ไป ซึ่งเปนภารกิจ
“เตรียมปฏิบัติ” และ/หรือ “เมื่อสั่ง” ตามทีก่ ําหนดไวในขอ ๓ ของคําสั่ง หรือแผนยุทธการ
๒) แนวขัน้ จะแสดงดวยเสนทึบตั้งฉากกับทิศทางรุก (ถอนตัว) จะเขียนคําวา “แนวขัน้ ” หรือ
คํายอ นข. กํากับ แลวกําหนดตัวอักษร หมายเลข หรือชื่อรหัสไว
๓) แนวออกตี อาจกําหนดตามลักษณะภูมิประเทศที่เห็นเดนชัด หรือเปนที่มั่นของหนวยเขาตี
ในขณะที่ทําการเขาตี เมื่อกําหนดแนวออกตีตามลักษณะภูมิประเทศที่เห็นเดนชัด ก็เขียนเสนทึบพรอมกับ
คําวา “นต.” กํากับ เมื่อการเขาตีกระทําจากที่มั่นปจจุบนั ที่มีการปะทะกัน ใหใชคําวา “แนวออกตี คือแนว
ปะทะ” (คํายอ นต./นป. เขียนลงในแผนบริวารและเขียนไวขางๆ แนวหนาของการวางกําลังฝายเดียวกัน หรือ
ขอบหนาที่มั่นทั้งสองขาง)
๓๗๘
๔) ทิศทางเขาตี ลูกศรทิศทางเขาตีใชเพือ่ กําหนดทิศทางของสวนเขาตีหลักของหนวยรอง
เพื่อประสานแผนกลยุทธอยางใกลชิด (เชน ในการตีโตตอบ) ลูกศรทิศทางเขาตีควรจะบากใหยาวออกไปเทาที่
การควบคุมแบบนี้ มีความสําคัญตอแผนเปนสวนรวม เมื่อหนวยใดหนวยหนึ่งไดรับคําสั่งใหเขายึดที่หมาย
ตามลําดับโดยทิศทางเขาตีหลักตามแนวใดแนวหนึ่ง จะแสดงภาพโดยใชลูกศรอันเดียวลากผานที่หมาย
ไปตามลําดับจนถึงที่หมายสุดทาย หรือจะแสดงดวยลูกศรหลาย ๆ อันโยงที่หมายตาง ๆ ไปตามลําดับก็ได
(รูปที่ ๓ – ๑) ลูกศรทิศทางเขาตีควรจะใชในกรณีที่จําเปนเทานั้น เพราะเปนการจํากัดกลยุทธของหนวยรอง

ทม.๒ ทม.๒

ทม.๑ ทม.๑

รูปที่ ๓ – ๑ เทคนิคการใชลูกศรแสดงทิศทางการเขาตี

๕) เสนหลักการรุก เสนหลักการรุกอาจแสดงโดยใชชอื่ ประมาณกลับหรือชื่อหนวยก็ได


ชื่อหนวยใชเพือ่ ปองกันการเขาใจผิด (รูปที่ ๓ – ๒) หนวยที่ทําการรุกอาจดําเนินกลยุทธหนวยของตน และให
การยิงสนับสนุนไดโดยอิสระทั้งสองขางของเสน ถาหากวาไมเปนการรบกวนการดําเนินกลยุทธของหนวย
ขางเคียง

รูปที่ ๓ – ๒ การเขียนเสนหลักการรุก
๓๗๙
๖) จุดประสานเขต แสดงดวยรูปวงกลมมีเครือ่ งหมาย “X” อยูภายในตรงกลาง และเขียนบน
เสนแบงเขต จุดประสานเขตเมื่อเขียนบนแนวของหนาที่มั่น และแนวที่มั่นรักษาดานทั่วไปแลว จะตองเขียน
ชื่อแนวนั้น ๆ ประกอบดวย เชน “ขนม.” และ “นทดป.” นอกจากทีว่ านีก้ ็อาจจะเขียนกํากับไดแตไมจําเปน
๗) จุดตรวจ แสดงดวยวงกลม มีชื่อ, ตัวอักษร หรือหมายเลขอยูภายในและเขียนตรงกลางบน
พิกัดที่ตั้งของภูมิประเทศทีจ่ ะใชเปนจุดตรวจ ธรรมดาจุดตรวจจะเขียนในแผนบริวารที่แยกทําเปนผนวก
ประกอบคําสั่ง
๘) จุดประสาน แสดงเปนรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสพรอมกับมีหมายเลขเขียนตรงกลางตั้งอยูบนพิกัด
ที่ตั้งของจุดนัน้
๙) จุดบรรจบ แสดงดวยรูปวงกลม พรอมกับมีหลายเลขอยูท างขวา และมีจุดหนึง่ จุดอยูกลาง
วงกลม จุดนั้นตั้งอยูบนพิกัดที่ตั้งของจุดบรรจบนั้น
ง. ที่ตั้งหนวยและสถานที่ตั้งตางๆ
๑) ในการเขาตี หนวยเขาตีใหแสดงดวยเสนเขต, แนวปะทะ (นป.), เครื่องหมายของหนวย
และ/หรือ เครือ่ งหมายของทีบ่ ังคับการ (รูปที่ ๓ – ๓)

รูปที่ ๓ – ๓ แผนบริวารแสดงการเขาตีของกองพล

๒) ในการตั้งรับ แสดงหนวยที่ตั้งรับอยู ขนพร. แสดงเสนเขต, จุดประสานเขต และ


เครื่องหมายทีบ่ ังคับการ แนว ขนพร. อาจเขียนเปนแนวประ แนวที่มนั่ รักษาดานรบ (นทดร.) และแนวที่มั่น
รักษาดานทัว่ ไป (นทดป.) แสดงไวดังรูปที่ ๓ - ๔
๓๘๐

รูปที่ ๓ – ๔ แผนบริวารแสดงหนวยบน ขนพร. ของกองพลในการตั้งรับ


๓) ในการตั้งรับก็เชนกัน การเขียนเสนทึบรูปไขแสดงที่มั่นที่เขาประจําที่แลว และเขียน
เสนประรูปไขแสดงที่มั่นที่ยงั ไมไดเขาประจํา แตเปนที่มนั่ ตั้งรับที่เตรียมการไวแลว เครื่องหมายที่แสดงขนาด
หนวยที่เกี่ยวของใหเขียนบนเสนรอบวงของรูปไขนั้น ทีม่ ั่นอาจแสดงดวยตัวเลข หรือตัวอักษรอยูภ ายในรูปไข
รูปที่ ๓ – ๕ แสดงถึงเทคนิคในการกําหนดที่มั่นตั้งรับ
ก) ตามธรรมดาแลว ที่มั่นตั้งรับที่อยูในความควบคุมโดยตรงของกองบัญชาการที่ออก
คําสั่ง จะแสดงไวบนแผนบริวารเทานั้น ที่มั่นตั้งรับของหนวยที่ต่ํากวาจะแสดงไวกต็ อเมื่อมีความตองการเปน
พิเศษในการประสานแนวตั้งรับ
ข) รูปไข แสดงพื้นที่โดยรอบของการเขาพื้นที่ตั้งรับของหนวยทหารแตไมใชพื้นที่ทอี่ ยู
ในความรับผิดชอบทั้งสิ้น

ก) ที่มั่นตั้งรับของกองพันที่เขาประจําที่แลว ข) ทีมั่นตั้งรับซึ่ง ร.๖๘ พัน.1 เขาประจําทีแ่ ลว


ค) ที่มั่นตั้งรับของกองพันทีย่ ังไมเขาประจําแตไดเตรียมการไวแลว
(หรือทีม่ ั่นตั้งรับสํารอง)

รูปที่ ๓ – ๕ เทคนิคในการกําหนดที่มั่นตัง้ รับ


๓๘๑
ค) ดานทึบของรูปไขควรจะหันเขาหาทิศทางที่มีความเกีย่ วของหลัก
ก) เมื่อทราบทีต่ ั้ง ทก. ข) เมื่อไมทราบที่ตั้ง ทก.
ค) เมื่อหนวยสองหนวยประกอบกําลังเปนกอง
หนุนอยูในที่รวมพลเดียวกัน (ไมไดแสดงถึง
ความสัมพันธทางการบังคับบัญชาในระหวาง
สองหนวยนี้)

ง) หนวยกองหนุนแสดงโดยการผสม ก), ข) และ ค) เขาดวยกัน

รูปที่ ๓ – ๖ ที่ตั้งกองหนุน

๔) ที่ตั้งกองหนุน ใหแสดงดวยเครื่องหมายของพื้นทีร่ วมพลเพื่อจํากัดเขตพืน้ ที่และดวย


เครื่องหมายของที่บังคับการถาทราบที่ตั้งแนนอนของที่บงั คับการ หรือใหแสดงดวยเครื่องหมายของหนวย
(รูปที่ ๓ – ๖) หนวยในกองหนุนไมจาํ เปนตองเขาประจําที่มั่นทุกแหงภายในเครื่องหมาย หรือรับผิดชอบ
ในพื้นที่ทั้งหมดที่ไดกําหนดไว เวนเสียแตวาจะสั่งการเชนนั้น
๕) หนวยทหารมา ซึ่งมีภารกิจระวังปองกันอาจแสดงที่ตั้งทัว่ ๆ ไปดังรูป ๓ – ๗ ภารกิจ
เฉพาะของหนวยจะปรากฏอยูในแผนบริวารหรือในสวนที่เปนขอเขียนของคําสั่ง
๖) ตําบลสงกําลังหรือสถานการณชวยรบ ใหแสดงดวยเครื่องหมายตามทีก่ ําหนดไวใน
รส. ๒๑ – ๓๐ ที่ตั้งแนนอน แสดงโดยเขียนเสนตอเขากับเครื่องหมายนั้น จุดปลายของเสนแสดงถึงตําบลที่ตั้ง
ที่แนนอน
จ. เสนทาง
๑) ลูกศรใชแสดงเสนทางการเดินและเขียนคําวา “เสนทาง” พรอมดวยตัวเลข ตัวอักษร หรือ
นามหนวย กํากับไวบนเสนทาง อาจเขียนลูกศรกํากับเมือ่ ตองการแสดงถึงการจารจรทางเดียว การจราจรทาง
สํารอง หรือการจราจรสองทาง
๓๘๒

รูปที่ ๓ – ๗ ที่ตั้งโดยทั่ว ๆ ไปของหนวยทหารมา

๒) เสนหลักการสงกําลังใหเขียนคําวา “สลก.” กํากับไว ลูกศรที่เขียนกํากับไวจะแสดงถึง


การจราจรเสนทางเดียว การจราจรทางเดียวสํารองหรือการจราจรสองทาง
๓๘๓
ตอนที่ ๔

แผนและผนวกประกอบแผน
ฉ – ๑๕ กลาวนํา
ก. ในบทที่ ๖ กลาวถึงขาวสารโดยทั่วไปเกีย่ วกับกรรมวิธใี นการวางแผน ในผนวกนีจ้ ะอธิบายถึง
เทคนิค และหลักการที่เกีย่ วกับการทําแผนยุทธการ และแผนการชวยรบและยังไดกลาวถึงขาวสารเกี่ยวกับ
แบบฟอรม และเนื้อเรื่องของแผนยุทธการ และแผนการชวยรบ ตลอดจนผนวกประกอบแผนเหลานี้ดวย แลว
ยังมีตัวอยางแผนตาง ๆ และผนวกประกอบแผนเหลานีอ้ ยูดวย
ข. โดยทั่วไป แบบฟอรมของแผนคงคลายคลึงกับแบบฟอรมของคําสั่ง ทั้งนี้เพื่อใหงายแกการ
เปลี่ยนแปลงเปนคําสั่ง เมื่อถึงกําหนดเวลาและสภาวการณที่แผนจะมีผลบังคับใช แผนจะกลาวเปนคําสั่ง
แบบฟอรมของแผนอาจนําไปใชในการทําผนวกตาง ๆ ดวย
ค. ระเบียบปฏิบัตแิ ละเทคนิคที่จะนํามาใชในการวางแผนกลาวไวในตอนที่ ๑, ๒, และ ๓

ฉ – ๑๖ แผนยุทธการ
ก. แบบฟอรม
แบบฟอรมของแผนยุทธการก็คือ แบบฟอรมของคําสั่งยุทธการนั่นเอง (ตอนที่ ๕) แตมี
ขอยกเวนดังตอไปนี้
๑) ใหเพิ่มหัวขอ “สมมุติฐาน” เปนขอยอย ง. ในหัวขอ ๑ สมมุติฐานที่ใชเปนมูลฐานสําหรับ
แผนทุกขอจะกลาวไวในขอนี้
๒) วันเวลาและสภาวะที่แผนจะมีผลบังคับใช จะกําหนดไวในขอยอยเกีย่ วกับคําแนะนําการ
ประสานในขอ ๓
ข. ตัวอยาง
ตัวอยางที่ ๔ – ๒ เปนตัวอยางของแผนยุทธการ และผนวกประกอบแผน

ฉ – ๑๗ แผนการชวยรบ
สวนประกอบทั้งหลายของแผนการชวยรบ (สงกําลังบํารุง กําลังพล กิจการพลเรือน)อาจแจกจาย
เปนแผนแยกตางหากหรือพิมพเปนผนวกประกอบแผนการชวยรบก็ได วิธีนี้ปกติใชในการยุทธรวมและอาจ
ใชในสถานการณอื่น ๆ ที่ตองการแจกจายผนวกแยกจากการแจกจายแบบแผนสมบูรณ
ก. ตัวอยางที่ ๔ – ๑ แสดงแบบฟอรมและคําอธิบายในการทําแผนการชวยรบ
ข. ตัวอยาง ตัวอยาง ๔ – ๓ ถึง ๔ – ๖ แสดงแผนการชวยรบและผนวกประกอบแผน แผนการ
กําลัง แผนการสงกําลังบํารุง และแผนกิจการพลเรือนของกองทัพภาค
๓๘๔
ตัวอยางที่ ๔ – ๑ แบบฟอรมและคําอธิบายในการทําแผนการชวยรบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
นามหนวย
ที่ตั้งหนวยจัดทํา
หมู วัน เวลา
หมายเลขอางสาสน

แผนการชวยรบ_ _ (ประเภท หมายเลขลําดับ และ/หรือ ชือ่

อางถึง : แผนที่ แผนผัง และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ (หมายเหตุ ๑)

เขตที่เวลาที่ใชตลอดแผน :

๑. สถานการณ
กลาวถึง สถานการณโดยทัว่ ไปเปนสวนรวม เพื่อใหเขาใจสถานการณปจจุบนั ที่มอี ิทธิพลตอการ
ชวยรบ
ก. ฝายตรงขาม กลาวถึงการประกอบกําลัง การวางกําลัง ที่ตั้ง การเคลื่อนยายกําลังพล
โดยประมาณ และการพิสจู นทราบ (การอางถึงแผนยุทธการหรือผนวกขาวกรอง) ประกอบแผนยุทธการ
(ถาหากไดจัดพิมพขึ้นแลว หรือกําลังจะจัดทําขึ้น) ลําดับขีดความสามมารถของฝายตรงขามที่มีอิทธิพลตอ
ภารกิจสนับสนุนทางการชวยรบ
ข. ฝายเรา กลาวถึงขาวสารเกีย่ วกับกําลังฝายเราที่เกีย่ วของ ซึ่งอาจมีอิทธิพลโดยตรงตอภารกิจ
สนับสนุนทางการชวยรบ นอกเหนือจากหนวยที่ปรากฏอยูในแผนยุทธการที่อางถึง หรือหนวยที่กลาวไวใน
ขอตาง ๆ ของแผนการชวยรบนี้
ค. หนวยขึ้นสมทบและหนวยแยก อาจเขียนไวในขอนี้หรือทําเปนผนวก
ง. สมมุติฐาน กลาวถึงสมมุติฐานที่ใชเปนขอมูลฐานในการวางแผน เชน กําลังพลที่ไดรับการ
สนับสนุน อัตราและทิศทางการเคลื่อนยายของการปฏิบัติการทางยุทธวิธี การอพยพของผูลี้ภัย และการ
สนับสนุนจากหนวยงานอืน่ ๆ
๒. ภารกิจ
กลาวถึงภารกิจการสนับสนุนทางการชวยรบและความมุง หมาย

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๘๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความแสดงที่มาของเอกสาร)

๓. กลาวทั่วไป
(หมายเหตุ ๒)

๔. ยุทโธปกรณและบริการ
(หมายเหตุ ๒)

๕. การสงกลับสายแพทยและการรักษาพยาบาล
(หมายเหตุ ๒)

๖. การกําลังพล
(หมายเหตุ ๒)

๗. กิจการพลเรือน
(หมายเหตุ ๒)

๘. เบ็ดเตล็ด
กลาวถึงกําหนดเวลาและสภาวะทีแ่ ผนจุมผี ลบังคับใช (หมายเหตุ ๒)

๙. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
(หมายเหตุ ๒)

ตอบรับ :
(ลงนาม)
(ผูบังคับหนวย)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๘๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก

แจกจาย

การับรองสําเนา

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๘๗
หมายเหตุ
๑. เมื่อใชแผนที่ในขออางถึงแลว อยางนอยจะตองมีหมายเลขลําดับชุด
ระวางแผนที่ และมาตราสวน
๒. เนื้อเรื่องและแบบฟอรมของขอเหลานี้ ยึดถือตามแบบฟอรมและคํา
แนะนําเชนเดียวกับหัวขอในคําสงการชวยรบ (รูปที่ ๕ – ๒ ตอนที่ ๕
๓๘๘
ตัวอยางที่ ๔ – ๒ แผนยุทธการกองทัพภาค
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทภ.๑
กทม.
๒๐๑๐๐๐ ก.พ.๔๔
ยก.๐๓๐

แผนยุทธการที่ ๑ (แผนยุทธหัตถี)

อางถึง : ๑) แผนยุทธการ ทบ.๔๔


๒) แผนที่ประเทศไทย – กัมพูชา ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวาง ND ๔๗ – ๑๖, ND ๔๘ – ๑๓,
ND ๔๘ – ๑๔, ND ๔๘ – ๙, D ๔๘ – ๑๐, ND ๔๗ – ๘, MD ๔๘ – ๕, ND ๔๘ – ๖

การจัดเฉพาะกิจ : ผนวก ก การจัดเฉพาะกิจ

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม
๑) ผนวก ข ขาวกรอง
๒) รายงานสรุปสถานการณดานการขาวกรองที่ ๑
ข. ฝายเรา
๑) ทบ. ปองกันการรุกรานโดยเปดเผยจากกองกําลังของเวียดนาม กัมพูชา และลาว ดวยกําลัง
รบหลัก กําลังประจําถิ่น และกําลังอาสาสมัครประชาชน ตามแนวชายแดนดานอินโดจีน เพื่อรักษาเอกราช
และอธิปไตยของไทย และทําการรุกโตตอบเมื่อจําเปน
๒) ผบ.ทบ.ตองการใหการปฏิบตั ิการในครั้งนีเ้ ปนการตั้งรับเชิงรุก โดยเนนการทําลาย
ขีดความสามารถในการเขาตีของฝายตรงขามใหมากที่สดุ และเอื้ออํานวยตอการรุกโตตอบของ ทบ.ในอนาคต
๓) ทร. ปองกันการรุกรานทางทะเลบริเวณอาวไทย และพืน้ ที่ชายฝงทะเลในดานทางดานใต
ของพื้นที่ปฏิบัติการสนับสนุนการปฏิบัติการของกําลังทางบกดวยอาวุธทางเรือและกําลังทางอากาศนาวี

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๘๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑)

๔) ทภ.๒ ตั้งรับในเขตทางดานเหนือของพื้นที่ปฏิบัติการเพื่อทําลายการรุกรานของฝาย
ตรงขาม
๕) ทอ.สนับสนุนการปฏิบัติการของ ทภ.๑
ค. หนวยขึ้นสมทบและหนวยแยก : ผนวก ก การนัดเฉพาะกิจ
ง. สมมุติฐาน
๑) สถานการณการกอการรายในประเทศ แมอาจมีระดับความรุนแรงมากกวาปจจุบัน
แตรัฐบาลสามารถควบคุมสถานการณภายในไวได
๒) สหภาพพมาและกลุมสมาชิกอาเซียน ยังคงมีความสัมพันธอันดีกับประเทศไทย
๓) การรุกรานของฝายตรงขามในพื้นที่ของ ทภ.๑ ใชกําลังไมเกิน ๘ พล.ปล. โดยมีทิศทาง
เขาตีหลักตามแนวถนนสุวรรณศร
๔) ฝายเราสามารถครองอากาศเฉพาะตําบลไดในหวงเวลาจํากัด

๒. ภารกิจ
ทภ.๑ ตั้งรับใน วัน ว เวลา น ตามแนวชายแดนดานตะวันออก จากเขาพนมพริก (ทีวี ๑๓๗๒)
ถึงเทือกเขาบรรทัด (ทีเอ ๗๘๖๘) เพื่อทําลายการรุกรานของฝายตรงขาม
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ : ผนวก ค แผนบริวารยุทธการ
๑) เจตจํานงของผูบ ังคับบัญชา
* * * * * * *
๒) กลยุทธ
ทภ.๑ ตั้งรับเพื่อปองกันการรุกรานของฝายตรงขามตามแนวชายแดนภาคตะวันออกดาน
ติดตอกับ กพป.โดยใชกําลังพล ๓ พล.ร. ตั้งรับในเขต มี พล.ร.๒๐ อยูทางดานเหนือ พล.ร.๒ ในยานกลาง
และ พล.ร.๙ อยูทางดานใต พล.ร.๑๑ และกองทัพนอยที่ ๑๑ เปนกองหนุน ๘ การปฏิบัติแบงออกเปน ๔ ขั้น
คือ
ขั้นที่ ๑ ขั้นเตรียมการ
ทภ.๑ จัดตั้ง ศป.พล.ทภ.๑ (ผนวก ง การพิทักษพื้นทีเ่ ขตหลัง) พล.ร.๒๐, พล.ร.๒ และ พล.ร.๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑)

เคลื่อนยายเขาวางกําลังตั้งรับในเขต ตั้งแตวัน ว – ๕ ดวยยานพาหนะในอัตราและที่ไดรับเพิ่มเติมตามแผน


(ผนวก จ การเคลื่อนยาย) วางกําลังปองกันเสริมความแข็งแรงของที่มั่นตั้งรับและวางระบบฉากขัดขวาง
ตามแนวทางเคลื่อนที่ที่คาดวาฝายตรงขามจะเขามา (ผนวก ฉ ฉากขัดขวาง) พล.ร.๑๑ และกองทัพนอยที่ ๑๑
เปนกองหนุน เตรียมเคลื่อนยายเขาที่รวมพลบริเวณ อ.สระแกว จ.ปราจีนบุรี
ขั้นที่ ๒ ขั้นการตั้งรับ
พล.ร.๒๐, พล.ร.๒ และ พล.ร.๙ วางกําลังปองกันตามแนวชายแดน พรอมตั้งรับในวัน ว แตละ
กองพลจัดสวนระวังปองกันของตนเอง ทําหนาที่รั้งหนวงสวนนําของกองพลระลอกแรกของฝายตรงขาม
ในเขตใหไดอยางนอย ๒ ชม. การรบในทางลึกใชกําลังทางอากาศยุทธวิธีตอเปาหมายยานเกราะในบริเวณ
พื้นที่อสูร สุครีพ และองคต เพื่อรั้งหนวงกองพลระลอกสองของฝายตรงขาม ศป.พล.ทภ.๑ รับผิดชอบการ
พิทักษพนื้ ที่เขตหลัง (ผนวก ง การพิทักษพื้นที่เขตหลัง) พล.ร.๑๑ และทัพนอยที่ ๑๑ เคลื่อนยายกําลังเขาที่
รวมพลขั้นตนที่ อ.สระแกว จ.ปราจีนบุรี ใสขั้นนี้ ทภ.๑ จะใช พล.ร.๑๑ ในการเขาตีโตตอบกําลังฝายตรงขาม
เพื่อสถาปนาพื้นที่ตั้งรับหนา โดยเพงเล็งตอพื้นที่ตามแนวถนนสุวรรณสร
ขั้นที่ ๓ ขั้นการรุกโตตอบ
พล.ร.๒๐ และ พล.ร.๙ ตรึงกําลังของกองพลระลอกสองของฝายตรงขามในเขต พล.ร.๒
รั้งหนวงกําลังของกองพลระลอกสองของฝายตรงขามเขาหาแนวที่ไมยอมใหฝายตรงขามผาน กําลังทางอากาศ
ยุทธวิธีโจมตีตอ เปาหมายยานเกราะในบริเวณพืน้ ที่รักษา เพื่อลดการคุกคามทางปกของกองทัพนอยที่ ๑๑
ซึ่งจะเขาตีกรมระลอกสองของกองพลระลอกสองของฝายตรงขามในบริเวณพืน้ ที่พฆิ าต ตามแนวทางการ
เคลื่อนที่แดง
ขั้นที่ ๔ ขั้นการสถาปนาแนวตั้งรับ
พล.ร.๒๐, พล.ร.๒ และ พล.ร.๙ ทําลายกําลังฝายตรงขามในเขตและสถาปนาแนวตัง้ รับ
ตามแนวชายแดน กองทัพนอยที่ ๑๑ ทําหนาที่เปนสวนกําบังของ ทภ.๑
๓) การยิง
ก) ความเรงดวนในการยิงสนับสนุนและการใชกําลังทางอากาศยุทธวิธี ในขั้นตนใหกับ
พล.ร.๒ และใหกับกองทัพนอยที่ ๑๑ เมื่อเขาปฏิบัติการ (ผนวก ข การยิงสนับสนุน)
ข) การปองกันภัยทางอากาศ ปฏิบัติการปองกันตามลําดับคือ ตจ.สป.๕, ตจ.สป.๓ และ
ทก.ทภ.๑ (ผนวก ซ การปองกันภัยทางอากาศ)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑)

๔) การสงครามนอกแบบ
ทภ.๑ ปฏิบัติการสงครามนอกแบบตอกองกําลังของฝายตรงขามใน กพป. ตั้งแตวัน ว – ๒
เพื่อรังหนวงและตัดทอนอํานาจกําลังรบของฝายตรงขาม (ผนวก ด การสงครามนอกแบบ)
๕) การปกปดและการลวงทางยุทธวิธี
ทภ.๑ ปฏิบัตกิ ารลวงทางยุทธวิธี เพื่อใหฝายตรงขามทําการเขาตีหลักตามแนวทางถนน
สุวรรณศร (ผนวก ต การปกปดและการลวงทางยุทธวิธี)
๖) การสงครามอิเล็กทรอนิกส
ทภ.๑ ปฏิบัตกิ ารสงครามอิเล็กทรอนิกสตอเปาหมายทางการบังคับบัญชา และระบบการ
คนหาเปาหมาย เพื่อรบกวนและลดประสิทธิภาพในการปฏิบัติการของฝายตรงขาม (ผนวก ถ การสงคราม
อิเล็กทรอนิกส)
ข. พล.ร.๒
๑) ตั้งรับในเขตจากพิกัด ๑๕๐๓ ถึง ๔๗๒๐ เพื่อทําลายกองพลระลอกแรกของฝายตรงขาม
๒) รั้งหนวงกรมระลอกแรกของกองพลระลอกสองของฝายตรงขาม เขาหาแนวที่ไมยอมให
ฝายตรงขามผาน
๓) สนับสนุนการรุกโตตอบของกองทัพนอยที่ ๑๑
๔) สถาปนาแนวตั้งรับตามแนวชายแดน
ค. พล.ร.๙
๑) ตั้งรับในเขตจากพิกัด ๑๓๗๒ ถึง ๑๕๐๓ เพื่อทําลายกองพลระลอกแรกของฝายตรงขาม
๒) ดํารงการติดตอและประสานการปฏิบัติการตั้งรับกับหนวยของ ทร.ทางดานทิศใต
๓) ตรึงกองพลระลอกสองของฝายตรงขามในเขต
๔) สนับสนุนการรุกโตตอบของกองทัพนอยที่ ๑๑
๕) สถาปนาแนวตั้งรับตามแนวชายแดน
ง. พล.ร.๒๐
๑) ตั้งรับใสเขตจากพิกัด ๔๗๒๐ ถึงพิกัด ๗๘๖๘ เพือ่ ทําลายกองพลระลอกแรกของฝาย
ตรงขาม
๒) ดํารงการติดตอและประสานการปฏิบัติการตั้งรับกับหนวยของ ทภ.๒ ทางดานทิศเหนือ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑)

๓) ตรึงกองพลระลอกสองของฝายตรงขามในเขต
๔) สนับสนุนการรุกโตตอบของกองทัพนอยที่ ๑๑
๕) สถาปนาแนวตั้งรับตามแนวชายแดน
จ. พล.ม.๒
๑) ขึ้นควบคุมทางยุทธการตอ ทน.๑๑ ใน วัน ว - ๕
๒) รับการสมทบ ช.พัน.๑๕ ใน วัน ว - ๕
๓) รับการสมทบ ม.พัน.๑๑ และ ร.๑๑๓ ในการปฏิบัติขั้นที่ ๓
ฉ. ปนใหญ
๑) ป.๑๑ : ชร. – พย.ป.๒ และ ชต.พล.ร.๑๑ เมื่อขึ้นปฏิบัติการ
๒) ป.๒๑ : ชร. – พย.ป.๒ และ ชต.ทัพนอยที่ ๑๑ เมื่อขึ้นปฏิบัติการ
๓) ป.พัน.๗๑๑ : พย.ป.๒๐
๔) ป.พัน.๗๑๒ : พย.ป.๙
๕) ป.พัน.๗๑๓ : ชร.
๖) รอย ป.คปม.ที่ ๑ : ชร.
๗) รอย ป.คปม.ที่ ๑ : ชร.
๘) ผนวก ช การยิงสนับสนุน
ช. พล.พัฒนาที่ ๑ : สนับสนุนสวนรวม
ซ. ช.๑ รอ.
๑) สนับสนุนสวนรวม
๒) จัด ช.พัน.๑๕ สมทบ พล.ม.๒ ในวัน ว – ๕
๓) ผนวก ฉ ฉากขัดขวาง
ด. ส.พัน.๒๑ และ รอย ปสอ.ที่ ๑
๑) สนับสนุนสวนรวม
๒) ผนวก ก การสงครามอิเล็กทรอนิกส
ต. กองบินปกหมุนที่ ๑ : สนับสนุนสวนรวม
ถ. ฐปรย.รพศ.๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑)

๑) สนับสนุนกองพลในพื้นทีก่ ารรบหลักในเรือ่ งการตรวจการณ และการปรับการยิง


๒) ในกรณีเรงดวนใหประสานกับกองพลในพื้นที่การรบหลักไดโดยตรง
๓) ผนวก ด การสงครามนอกแบบ
ท. ชุดปฏิบัติการ กร. : จัดสวนแยกชุดปฏิบัตกิ าร กร.สมทบให พล.ร.๒, พล.ร.๙ และ พล.ร.๒๐
ในวัน ว – ๕ แตละสวนแยกประกอบดวย จนท.จากชุดลามภาษา ชุดควบคุมผูอพยพ/ผูลี้ภัย ชุดปกครอง ชุดสืบ
สภาพ และรวบรวมขอมูล และชุดแรงงาน
น. กกล.อส.ทพ.ทภ.๑
๑) จัด กรม ทพ.๑๒ ขึ้นควบคุมทางยุทธการตอ มทบ.๑๒ ในวัน ว – ๕
๒) ผนวก ง การพิทักษพื้นทีเ่ ขตหลัง
บ. กองหนุน
๑) ทน.๑๑
ก) ควบคุมทางยุทธการตอ พล.ม.๒ ในวัน ว – ๕
ข) เขาที่รวมพลขั้นตนที่ อ.สระแกว จ.ปราจีนบุรี
ค) รุกโตตอบเพื่อทําลายกรมระลอกสองของกองพลระลอกสองของฝายตรงขาม
บริเวณพืน้ ที่ปก ษา
ง) เปนสวนกําบังของ ทภ.๑
๒) พล.ร.๑๑
ก) เขาที่รวมพลขั้นตนที่ อ.สระแกว จ.ปราจีนบุรี
ข) เตรียมปฏิบัติการตีโตตอบเมื่อสั่ง
ค) สมทบ ม.พัน.๑๑ และ ร.๑๑๓ ให พล.ม.๒ ในการปฏิบัตขิ ั้นที่ ๓
ง) เตรียมปฏิบัติการรุกโตตอบเมื่อสั่ง
จ) เตรียมกําลัง ๑ กองพัน เพื่อปฏิบัติการทําลายกําลังฝายตรงขามในเขตหลัง (ผนวก ง
การพิทักษพื้นที่เขตหลัง)
ป. คําแนะนําในการประสาน
๑) แผนนี้มีผลบังคับใชในการวางแผน และเตรียมการเมื่อไดรับ ปฏิบัติเมื่อสั่ง
๒) วัน ว คือวันทีท่ ุกหนวยของ ทภ.๑ วางกําลังในพื้นที่รับผิดชอบเสร็จเรียบรอย
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑)

๓) วัน ว เวลา น จะแจงลวงหนาอยางนอย ๑๐ วัน


๔) เสนเขตหลังของกองพล คือ แนวทีไ่ มยอมใหฝายตรงขามผาน
๕) กองพลในพืน้ ที่การรบหลักประสานกับ ฐปรย.รพศ.๑ ในเรื่องการตรวจการณ และปรับ
การยิงในพื้นที่ กพป.
๖) มทบ. และ บก.ตชด.ภาค ๑ ปฏิบัติการในพืน้ ที่เขตหลัง (ผนวก ง การพิทกั ษพื้นทีเ่ ขตหลัง)
๗) ใหทุกหนวยประสานแผนในรายละเอียดกับหนวยขางเคียง หรือหนวยที่เกี่ยวของได
โดยตรงตั้งแตไดรับแผนนี้
๔. การชวยรบ : แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑

๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ทก.หลัก ทภ.๑ อ.สระแกว จ.ปราจีนบุรี (SA ๘๔๓๐) เปดทําการวัน ว – ๕
๒) ทก.หลัง ทภ.๑ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี (QR ๕๗๕๗) เปดทําการวัน ว – ๕
ข. การสื่อสาร
๑) ผนวก ท การสื่อสาร
๒) นปส. และ นสป. ฉบับปจจุบัน มีผลบังคับใชในชัน้ ตน

ตอบรับ : นําสาร

พล.ท.
(สนธิ กลารบ)
มทภ.๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑)

ผนวก ก บัญชีหนวยทหาร (เวน)


ข ขาวกรอง
ค แผนบริวารยุทธการ
ง การพิทักษพื้นที่เขตหลัง (เวน)
จ การเคลื่อนยาย (เวน)
ฉ ฉากขัดขวาง (เวน)
ช การยิงสนับสนุน
ซ การปองกันภัยทางอากาศ (เวน)
ด การสงครามนอกแบบ (เวน)
ต การปกปดและการลวงทางยุทธวิธี (เวน)
ถ การสงครามอิเล็กทรอนิกส (เวน)

การแจกจาย : แบบ ก

เปนคูฉบับ
พ.อ.
(ภาณุ รัศมี)
ผอ.กยก.ทภ.๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ผนวก ค (แผนบริวารยุทธการ (สังเขป) ประกอบแผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑)

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย – กัมพูชา ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวาง ND ๔๗ – ๑๖, ND ๔๘ – ๑๓,


ND ๔๘ – ๑๔, ND ๔๗ – ๑๒, ND ๔๘ – ๙, ND ๔๘ – ๑๐, ND ๔๗ – ๘, ND ๔๘ – ๕, ND ๔๘ – ๖

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ผนวก ช (การยิงสนับสนุน) ประกอบแผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑

อางถึง : แผนที่ยุทธการรวม มาตราสวน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวาง ND ๔๗ – ๘, ND ๔๘ – ๑๒,


ND ๔๗ – ๑๖, ND ๔๘ – ๕, ๔๘ – ๖, ๔๘ – ๙, ๔๘ – ๑๒, ๔๘ – ๑๓, ๔๘ – ๑๔

๑. สถานการณ : แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑

๒. ภารกิจ
ทหารปนใหญสนามและอาวุธยิงสนับสนุนทั้งปวง สนับสนุนการตั้งรับของ ทภ.๑ ดวยการยิง
กระสุนธรรมดาและกระสุนพิเศษ
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบตั ิ
ทภ.๑ วางแผนการยิงสนับสนุนดวยกระสุนธรรมดาและกระสุนพิเศษ โดยมุงทําลายกําลังฝาย
ตรงขามในพืน้ ที่นอกประเทศใหมากที่สดุ โดยเฉพาะตอกําลังระลอกสองของฝายตรงขาม ตามความเรงดวน
ของภารกิจ คือ การยิงทางลึก การตอตานการยิง การขมการ ปภอ. ของฝายตรงขาม และการสนับสนุนใกลชิด
การปฏิบัติทางอากาศยุทธวิธี ปฏิบัติตามความเรงดวนของภารกิจ คือ การขัดขบวางทางอากาศในสนามรบและ
การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด ความเรงดวนในการสนับสนุนในขั้นตนใหแก พล.ร.๒, พล.ร.๒๐ และ
พล.ร.๙ ตามลําดับ ในขั้นรุกโตตอบใหความเรงดวนแกกองทัพนอยที่ ๑๑ และ พล.ร.๒ ตามลําดับ
ข. การสนับสนุนทางอากาศ
๑) กลาวทั่วไป
ก) ทภ.๑ ไดรับการสนับสนุนเที่ยวบินในการ สอก. จํานวน ๒๐ เทีย่ วตอวัน เทีย่ วบินใน
การขัดขวางทางอากาศในสนามรบ จํานวน ๔๐ เทีย่ วบินตอวัน และเทีย่ วบินการลาดตระเวนทางอากาศ
ยุทธวิธี จํานวน ๑๐ เที่ยวบินตอวัน
ข) ความเรงดวนในการสนับสนุนในขั้นตนใหแก พล.ร.๒, พล.ร.๒๐ และ พล.ร.๙
ตามลําดับ ในขั้นการรุกโตตอบ มอบความเรงดวนใหแก กองทัพนอยที๑่ ๑ และ พล.ร.๒ ตามลําดับ
ค) ทภ.๑ ควบคุมการใชเที่ยวบินการขัดขวางทางอากาศในสนามรบ และการ
ลาดตระเวนทางอากาศยุทธวิธีเปนสวนรวม ใหกองพลรองขอตาม รปจ.

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ช (การยิงสนับสนุน) ประกอบแผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑

๒) การแบงมอบเที่ยวบิน สอก. เพื่อการวางแผน


ก) ทภ.๑ จํานวน ๔ เที่ยวบิน
ข) พล.ร.๒ จํานวน ๘ เที่ยวบิน
ค) พล.ร.๙ จํานวน ๔ เทีย่ วบิน
ง) พล.ร.๒๐ จํานวน ๔ เที่ยวบิน
๓) เบ็ดเตล็ด
ก) ใหวางแผน ๒ เที่ยวบินตอภารกิจ
ข) อนุผนวก ๑ แผนการสนับสนุนทางอากาศ
ค. การสนับสนุนดวยเคมี
* * * * * * *
ง. ปนใหญสนาม
๑) กลาวทั่วไป
ก) ความเรงดวนในการสนับสนุนในขั้นตนใหกับ พล.ร.๒, พล.ร.๒๐ และ พล.ร.๙
ตามลําดับ ในขั้นการรุกโตตอบมอบความเรงดวนใหแก กองทัพนอยที่ ๑๑ และ พล.ร.๒ ตามลําดับ
ข) ความเรงดวนของภารกิจ คือ การยิงทางลึก การตอตานการยิง การขมการ ปภอ.ของ
ฝายตรงขาม และการสนับสนุนใกลชดิ
ค) ความเรงดวนของเปาหมาย คือ ทก.ฝายตรงขาม อาวุธยิงสนับสนุนระบบการ
ตรวจการณคน หาเปาหมาย และกําลังฝายตรงขาม
๒) การจัดเพื่อทําการรบ
ก) ป.๑๑ : ชร. – พย.ป.๒ และ ชต.พล.ร.๑๑ เมื่อขึ้นปฏิบัติการ
ข) ป.๒๑ : ชร. – พย.ป.๒ และ ชต.กองทัพนอยที่ ๑๑ เมื่อขึน้ ปฏิบัติการ
ค) ป.พัน.๗๑๑ : พย.ป.๒๐
ง) ป.พัน.๗๑๒ : พย.ป.๙
จ) ป.พัน.๗๒๓ : ชร.
ฉ) รอย จลก.ที่ ๑ : ชร.
ช) รอย.ป.คปม.ที่ ๑ : ชร.
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๓๙๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ช (การยิงสนับสนุน) ประกอบแผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑

๓) เบ็ดเตล็ด
ก) หนวย ป. ทุกหนวยในขัน้ ตน ใหตั้งล้ําไปขางหนากอนที่จะมีการปะทะกับฝาย
ตรงขามในระลอกแรก
ข) ใชกระสุนในการ พย. ไมเกิน ๗๐ % ของอัตรากระสุนที่ใชได
ค) กองพลในพืน้ ที่การรบหลัก วางแผนการยิงทําลายการเตรียมไมเกิน ๒๐ นาที
ง) อนุผนวก ๓ แผนการสนับสนุนของ ป.สนาม
จ. คําแนะนําในการประสาน
๑) นปยส.ทภ.๑ ในขั้นตน คือ แนวที่หางจากแนวชายแดน ๕ กม. มีผลบังคับใชตั้งแต วัน ว
๒) การจัดทําบัญชีเปาหมายใหเรียงตามลําดับความเรงดวน และสงถึง สยส.ทภ.๑
๓) การระงับการยิงในกรณีจะกระทําดวยคําสั่งวิทยุ

๔. การชวยรบ : แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร : แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑

อนุผนวก : ๑ แผนการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี (เวน)


๒ แผนการสนับสนุนดวยเคมี (เวน)
๓ แผนการสนับสนุนของ ป.สนาม (เวน)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๐
ตัวอยางที่ ๔ – ๓ แผนการชวยรบกองทัพภาค
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทภ.๑
กทม.
๒๐๑๐๐๐ ก.พ.๔๔
กบ.๐๑๐
แผนการชวยรบที่ ๑

ตามแผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑

อางถึง : ๑) แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑


๒) แผนที่ยุทธการรวม ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ประเทศไทย – กัมพูชา ลําดับชุด ๑๕๐๑ ระวาง ND ๔๗ –
๑๖, ๔๘ – ๑๓, ๔๘ – ๑๔, ๔๗ – ๑๒, ๔๘ – ๙, ฑ๘ – ๑๐, ฑ๙ – ๘, ๔๘ – ๕, ๘ - ๖
๑. สถานการณ
ก. ฝายขาศึก : ผนวก ข (ขาวกรอง) ประกอบแผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑
ข. ฝายเรา : แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑
ค. หนวยขึ้นสมทบและหนวยแยก : ผนวก ก (บัญชีหนวยทหาร) ประกอบแผนยุทธการที่ ๑ –
ทภ.๑
ง. สมมุติฐาน
๑) ทั่วไป
ก) ตามแผนปองกันประเทศดานตะวันออกของ ทบ.
ข) หนวยปฏิบัติทางการชวยรบของ ทภ.๑ พรอมใหการสนับสนุน ทภ.๑ ตั้งแตวนั ว-๕
ค) บช.กบ.ทบ. สามารถใหการสนับสนุนทางการชวยรบเพิ่มเติมและตอเนื่องแก ทภ.๑
ตั้งแตวนั ว
ง) เสนทางคมนาคมตาง ๆ ในพืน้ ที่ ทภ.๑ สวามารถใชการไดดี โดยเฉพาะอยางยิ่งตั้งแต
เสนเขตหลังของกองพลเขามา (ในพื้นที่เขนหลัง) ไดรบั การระวังปองกันการกอวินาศกรรท และซุมโจมตีจาก
ฝายตรงขาม

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

๒) ทางการสงกําลังบํารุง
ก) กบร.๑ และ มทบ./จทบ.ในพื้นที่ ไดรับการบรรจุอัตราเต็มและพัฒนาใหมี
ขีดความสามารถสูงขึ้น เพียงพอตอการสนับสนุนหนวยกําลังรบของ ทภ.๑ ได ๕ – ๖ กองพล
ข) กองพลตาง ๆ ไดรับการพัฒนาใหมีกรมสนับสนุนบรรจุอัตราเต็ม และพรอม
ดําเนินการสนับสนุนไดตั้งแต วัน ว - ๕
๓) ทางการกําลังพล ยอดกําลังพลที่จะตองสนับสนุน
ก) พล.ร.๙ (เบา ๑๔,๙๐๐
ข) พล.ร.๒๐(ยก.) ๑๙,๕๐๐
ค) พล.ร.๒๐ (ยก.) ๑๙,๒๔๐
ง) พล.ร.๑๑ (ยย.) ๑๘,๔๐๐
จ) พล.ม.๒ (ถ.) ๑๗,๓๐๐
ฉ) บชร.๑ ๘,๗๕๐
ช) มทบ.๑๑ – ๑๔ ๘,๕๐๐
ซ) นขต.บก.ทภ.๑ ๑๐,๒๐๐
๔) ทางกิจการพลเรือน
ก) ทภ.๑ไดรับการสนับสนุนหนวยปฏิบัตกิ ารกิจการพลเรือนตามที่ตองขอ
ข) สวนราชการพลเรือนไดจัดทําแผน ปพร. ไดเรียบรอย และมีการซักซอมเปนประจํา
ค) ฝายทหารสามารถใหการสนับสนุน สป.๕ บางรายการทีจ่ ําเปนแกฝายพลเรือน

๒. ภารกิจ
ทภ.๑ ใหการสนับสนุนทางการชวยรบแกหนวยตาง ๆ ในการปฏิบัตติ ามแผนปองกันประเทศ ตาม
แนวชายแดนในพื้นที่รับผิดชอบตั้งแต วัน ว – ๕ และเตรียมการใหการสนับสนุนตอไปในการรุกโต
ตอบของ ทภ.๑

๓. กลาวทั่วไป
ก. การสนับสนุนทางการชวยรบของ ทภ.๑ แกหนวยตางๆ ในการปฏิบัตติ ามแผนยุทธการ ทภ.๑นี้
แบงการปฏิบัติเปน ๓ ขั้น คือ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

๑) ขั้นที่ ๑ (เตรียมการ)
ก) หนวยปฏิบัติทางการชวยรบของ ทภ.๑ เตรียมการจัดหนวยในสวนเกีย่ วของ และ
ซักซอมระเบียบการปฏิบัติตาง ๆ ตลอดจนการแจงขอมูลขาวสารที่จําเปนเพื่อใหหนวยรับการสนับสนุนทราบ
ข) บชร.๑ เตรียมการจัดตั้งสวนแยกตาง ๆ เพื่อสนับสนุนใหกับกรมสนับสนุนกองพล
ตาง ๆ ๑ สวนแยกตอ ๑ กองพล และ มทบ./จทบ.ในพื้นที่ เตรียมจัดหนวยเปนตําบลสงกําลังของ ทภ.๑
ใหพรอมที่จะดําเนินการสนับสนุนไดทันที เมื่อถึงขั้นการปฏิบัติตอไป
๒) ขั้นที่ ๒ (การปองกันประเทศ)
หนวยปฏิบัติทางการชวยรบของ ทภ.๑ ดําเนินการสนับสนุนหนวยตาง ๆ ในพื้นทีต่ ั้งรับ
(เขตหนา) และหนวยที่ปฏิบัติการรุกออกนอกประเทศ โดยลําดับความเรงดวนในการสนับสนุนใหกับหนวย
ในพื้นที่ตั้งรับ และความเรงดวนตอไปใหกับหนวยปฏิบัติการรุกออกนอกประเทศ รวมทั้งเตรียมการขอรับ
การสนับสนุนเพิ่มเติมจาก บช.กบ.ทบ.
๓) ขั้นที่ ๓ (การรุกโตตอบ)
สวนแยก บชร.๑ ที่เตรียมไว ดําเนินการสนับสนุนใหกับหนวยปฏิบตั ิการรุกออกนอก
ประเทศ โดยการเคลื่อนยายหนวยสนับสนุนติดตามเทาที่จําเปนเทานัน้
ข. หนวยปฏิบัติทางการชวยรบของ ทภ.๑ (ผนวก ค แผนที่เสนทางและที่ตั้งทางการชวยรบ
สังเขป)
๑) บชร.๑
ก) สวนแยกที่ ๑ บชร.๑ ที่ตั้งบริเวณ บ.แซรออ อ.วัฒนานคร สนับสนุน พล.ร.๒๐(ยก.)
ข) สวนแยกที่ ๒ บชร.๑ ที่ตั้งบริเวณ บ.แกง อ.วัฒนานคร สนับสนุน พล.ม.๒ (ถ.)
ค) สวนแยกที่ ๓ บชร.๑ ที่ตั้งบริเวณ กิ่ง อ.วังน้ําเย็น สนับสนุน พล.ร.๙ (เบา)
ง) สวนแยกที่ ๔ บชร.๑ ที่ตั้งชั้นตนบริเวณ อ.สระแกว สนับสนุน พล.ร.๒ (ยก.)
จ) บชร.๑ (-) ที่ตั้งบริเวณ อ.เมือง จว.ปราจีนบุรี (ในคายจักรพงษ) สนับสนุนสวนแยก
ตาง ๆ ของ บชร.๑ และ นขต.ทภ.๑ อื่น ๆ
๒) มทบ.๑๑ และ มทบ.๑๓ : เตรียมการสนับสนุนกําลังพลและสิ่งอุปกรณตาง ๆ แก ทภ.๑
๓) มทบ.๑๒ (ในคายจักรพงษ)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

ก) จทบ.ป.จ. เปน ตส.ทภ.๑ ควบคุมและดําเนินงานโดย บชร.๑ (-) สนับสนุนหนวย


ตาง ๆ ในพื้นที่รับผิดชอบ
ข) จทบ.ฉ.ช.
(๑) จัดพื้นที่สว นหนึ่งเปน ตส.สวนหนาของ บช.กบ.ทบ.
(๒) เปน ตส.ทภ.๑สนับสนุนหนวยในพืน้ ที่รับผิดชอบ
๔) มทบ.๑๔ (ในคายนวมินทราชินี)
ก) จัดพื้นที่สว นหนึ่งเปนที่ตั้ง ตส.สวนหนาของ บช.กบ.ทบ.
ข) เปน ตส.ทภ.๑ สนับสนุนหนวยในพืน้ ที่รับผิดชอบ
ค) เตรียมการสนับสนุนสวนแยกที่ ๓ และสวนแยกที่ ๔ บชร.๑
ค. หนวยปฏิบัติทางการชวยรบของ ทภ.๑ จัดทําแผนการสนับสนุนของตนและบัญชีหนวยรับการ
สนับสนุนให ทภ.๑ทราบ ทุกขั้นการปฏิบตั ิ รวมทั้งรายงานที่ตั้งทางการชวยรบตาง ๆ ของตนอยางตอเนื่อง
ง. การปฏิบัติการสนับสนุน ใหพิจารณาใชแนวทางตาม รปจ.ทบ. ตามสายงานที่เกี่ยวของ เวนแต
จะมีการสั่งการเปลี่ยนแปลง
จ. หนวยรับการสนับสนุนจัดทําแผนการชวยรบของตน ให ทภ.๑ ทราบทุกขั้นการปฏิบัติ และ
รายงานที่ตั้งทางการชวยรบตาง ๆ ของตนอยางตอเนื่อง
ฉ. หนวยขึ้นการควบคุมทางยุทธการใหรับการสนับสนุนจากหนวยตนสังกัด เวนแตจะมีการ
สั่งการเปลี่ยนแปลง
๔. ยุทโธปกรณและบริการ
ก. การสงกําลัง
๑) สป.๑
ก) บชร.๑ สะสมเสบียง ก (ขาวสาร) เสบียง ข (อาหารกระปอง) ๒๐ วันสงกําลัง
สําหรับเสบียง ค (อาหารสําเร็จรูป) ๑๐ วันสงกําลัง
ข) กรมสนับสนุนกองพล สะสมเสบียง ก และ ข ๓ วันสงกําลังสําหรับเสบียง ค ๑ วัน
สงกําลัง
ค) ใหใชยอดกําลังพลที่มีอยูจริง เปนเกณฑเบิก
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

ง) การรักษาระดับสะสมใหจัดหาในทองถิ่น
จ) เสบียงสดใหพยายามจัดหาในทองถิ่น
ฉ) ตําบลสงกําลังตางๆ ของ บชร.๑ และ มทบ./จทบ.ในพื้นที่ ใชวิธีการแจกจาย ณ ทีต่ งั้
หนวยรับการสนับสนุน
ช) ความตองการเพิ่มเติม หรือในสวนที่ไมสามารถจัดหาไดใหเสนอไปยังหนวย
สนับสนุนของตน หรือโดยตรงตอ สคบ.บชร.๑
๒) สป.๒ - ๔
ก) สป.๒ : ใหทกุ หนวยสะสมไดตามอัตราเต็ม
ข) สป.๔ : ถือเปน สป.ควบคุม ใหเสนอความตองการตามสายการบังคับบัญชาเพื่อ
อนุมัติ
ค) การแจกจาย : เชนเดียวกับ สป.๑
๓) สป.๓
ก) ระดับการสะสม
(๑) บชร.๑ สะสม ๑๕ วันสงกําลัง
(๒) พล.ร.๙ (เบา) ๑ “
(๓) พล.ร.๒ (ยก.) ๒ “
(๔) พล.ร.๒๐ (ยก.) ๒ “
(๕) พล.ร.๑๑ (ยย.) ๑ “
(๖) พล.ม.๒ (ถ.) ๒ “
ข) ให บชร.๑ กําหนดระดับสะสม สป.๓ ของ ตส.ท-.๑ อื่น ๆ ตามความเหมาะสม
ค) การแจกจายเชนเดียวกับ สป.๑
๔) สป.๕
ก) ระดับการสะสม
(๑) บชร.๑ สะสม ๑๕ วันสงกําลัง
(๒) ตส.ทภ.๑ อื่น ๆ ให บชร.๑ กําหนดตามความเหมาะสม

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

ข) อัตรากระสุนที่ใชได
(๑) พล.ร.๙ (เบา), พล.ร.๒๐ (ยก.) และ พล.ร.๑๑ (ยย.)
(ก) ค.๔.๒ นิว้ ๘๐
(ข) ปบค.๑๐๕ มม. ๑๔๐
(ค) ปกค.๑๕๕ มม. ๑๒๐
(๒) พล.ร.๒ (ยก.) และ พล.ม.๒ (ถ.)
(ก) ค.๔.๒ นิว้ ส๙๐
(ข) ปบค.๑๐๕ มม. ๑๕๐
(ค) ปกค.๑๕๕ มม. ๑๒๐
(๓) อาวุธอื่น ๆ ตามอัตรากระสุนมูลฐาน
ค) การแจกจาย ณ ที่ตั้ง ตส.ทภ.๑ ตาง ๆ ในพืน้ ที่
๕) การสงกําลังแผนที่ตาม รปจ.ทภ.๑
๖) น้ํา
ก) แหงน้ําบริโภค
(๑) บริการประปาในทองถิ่น
(๒) ตําบลจายน้ําของทหารชางในพื้นที่
ข) การใชน้ําจากแหลงอื่นเพื่อการบริโภค ใหตมหรือใชยาเม็ดฆาเชื้อโรคเสียกอน
ค) การจายยาฆาเชื้อโรค จะจายพรอม สป.๑
๗) สป.ที่ยึดได
ก) ใหรายงานตามสายการบังคับบัญชา
ข) การสงกลับ สป.ใหสงไปยังตําบลรวบรวม สป.ของ ทภ.๑ ในพืน้ ที่
ค) ศคบ.บชร. ตั้งอยูกับ บก.บชร.๑ บริเวณ อ.เมือง จว.ปราจีนบุรี (คายจักรพงษ)
ข. การขนสง
๑) หนวยสนับสนุนของ ทภ.๑รับผิดชอบการขนสงจากเขตหลังไปยังเขตหนา
๒) ใหใชการขนสงทางถนนและทางรถไฟเปนหลัก

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

๓) การขนสงทางอากาศใหใชเมือ่ การขนสงทางผิดพื้นไมไดผล หรือเปนกรณีจําเปนและ


เรงดวนเทานัน้
ก) การขอตามแผน ใหเสนอคําขอตามสายงานสงกําลัง จนถึง ทภ.๑ ลวงหนาอยางนอย
๔๘ ชม.
ข) การขอแบบเรงดวน ใหเสนอคําขอตามสายการบังคับบัญชา จนถึง ทภ.๑
๔) การเกณฑเครือ่ งมือขนสงจากทองถิ่นตองขอรับการอนุมัติจาก ทภ.๑ กอน
๕) เสนหลักการสงกําลัง
ก) ทางถนน
(๑) ถนนหมายเลข ๓๓ : จว.นครนายก – จว.ปราจีนบุรี – อ.กบินทรบุรี –
อ.สระแกว – อ.วัฒนานคร และ อ.อรัญประเทศ
(๒) ถนนหมายเลข ๓๐๔ : จว.ฉะเชิงเทรา – อ.พนมสารคาม – อ.กบินทรบุรี
และ จว.นครราชสีมา
(๓) ถนนหมายเลข ๓๑๗ : อ.สระแกว – กิ่ง อ.วังน้ําเย็น – อ.โปงน้ํารอน และ
จว.จันทบุรี
(๔) ถนนหมายเลข ๓๔๔ : อ.สัตหีบ – บ.เกาะจันทร และ อ.พนมสารคาม
ข) ทางรถไฟ : กทม. – จว.ฉะเชิงเทรา – จว.ปราจีนบุรี – อ.กบินทรบุรี – อ.สระแกว –
อ.วัฒนานคร และ อ.อรัญประเทศ
๖) สถานีปลายทาง
ก) ทางรถไฟ : กทม. – จว.ฉะเชิงเทรา – จว.ปราจีนบุรี – อ.กบินทรบุรี – อ.สระแกว –
อ.วัฒนานคร – อ.อรัญประเทศ
ข) ทางอากาศ : อ.เมืองปราจีนบุรี – อ.วัฒนานคร – อ.สัตหีบ – อ.เมืองจันทบุรี
๗) สลก.ทุกเสนใหวิ่งสวนทาง : ทุกสะพานบน สลก.รับน้ําหนักได ชั้น ๖๐
๘) ชุดควบคุมการเคลื่อนยาย จะจัดประจํา ณ สถานีปลายทางทุกแหง
๙) ผนวก ง การหมุนเวียนและการควบคุมจราจร
ค. การบริการ
๑) การกอสรางอาคารที่เปนลักษณะถาวรใหงดเวน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

๒) การกอสราง ปรับปรุง ซอมแซม เสนทางตางๆ ใหลําดับความเรงดวนตอเสนหลักการรุก


และเสนหลักการสงกําลังในพื้นที่ของกองพลเปนหลัก
๓) การใชสิ่งอํานวยความสะพวกตาง ๆ ในทองถิ่น ใหประสานกับเจาหนาที่ฝายปกครอง
ในทองถิ่นนั้น ๆ กอน
๔) การบริการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ให บชร.๑ และ มทบ./จทบ. ในพื้นที่พจิ ารณาดําเนินการได
ตามความเหมาะสม
๕) ตําบลจายน้ํา ทภ.๑ : ผนวก จ
ง. แรงงาน
๑) การใชแรงงานพลเรือนใหใชวิธีจางเปนหลัก และใหใชแรงงานในทองถิ่นใหมากที่สุด
โดยประสานกับเจาหนาที่ฝายปกครองกอน
๒) งดเวนการใชแรงงานพลเรือนในพืน้ ที่สวนหนาของกองพล เวนไดรบั อนุมัติจาก มทบ.๑
๓) การปฏิบัติอื่น ๆ เกี่ยวกับแรงงานพลเรือน ใหสอดคลองกับนโยบายกิจการพลเรือนของ
ทภ.๑ แตตองไดรับอนุมัติจาก มทบ.๑
จ. การซอมบํารุง
๑) การซอมบํารุงยุทโธปกรณ ควรกระทํา ณ ที่ตั้งหนวยใช หรือหนวยรับการสนับสนุนให
มากที่สุดเทาทีจ่ ะกระทําได โดยการจัดชุดซอมเคลื่อนที่
๒) การซอมบํารุงแบบยุบรวม ปกติกระทําในระดับหนวยสนับสนุนโดยตรง แตหนวยใช
สามารถกระทําไดเมื่อมีความจําเปนและสถานการณทางยุทธวิธีบังคับ แตตองแจงใหหนวยสนับสนุนโดยตรง
ทราบทุกครั้ง
๓) ลําดับความเรงดวนในการซอมบํารุงทั่วไปใหกับหนวยกําลังรบในพื้นทีด่ านหนาสุด และ
ตอยุทโธปกรณหลักในการรบ
๔) การรองขอการซอมบํารุงฉุกเฉินแกยุทโธปกรณที่มีความสําคัญ ในระดับการสนับสนุน
ทั่วไปใหรายงานดวน ผานสายการบังคับบัญชา
ก. การสงกลับ
๑) ใหใชการสงกลับทางถนนเปนหลัก ยกเวนกรณีฉุกเฉินใหสงกลับทางอากาศ
๒) หนวยสงกลับของ ทภ.๑ รับผิดชอบการสงกลับทางพื้นดินจากที่พยาบาลกองพล ไปยังที่
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

พยาบาลของ ทภ.๑ หรือโรงพยาบาลประจําถิ่นของ ทภ.๑ ที่ใกลที่สุด


๓) ทภ.๑ จัดชุด ฮ.พยาบาลประจํา ณ รพ.คายจักรพงษ รพ.อ.สระแกว และ รพ.คาย
สุรสิงหนาท สําหรับสงกลับคนไขในกรณีฉุกเฉิน
๔) ทอ.สนับสนุน บ.ลําเลียงสงกลับคนไข ณ สถานีปลายทางอากาศทุกแหงไป รพ.รร.๖
วันละ ๑ เที่ยว ความจุ ๕๐ เตียง
๕) นโยบายการสงกลับ
ก) ทภ.๑ จํานวน ๒๐ วัน
ข) กองพล จํานวน ๗ วัน
ข. การรักษาพยาบาล
๑) ทบ.จัดชุดศัลยกรรมเคลื่อนที่สมทบ ทภ.๑ ณ รพ.คายสุรสิงหนาท อ.อรัญประเทศ
๒) การรักษาพยาบาลกําลังพลและครอบครัว ใหพยายามใชหนวยพยาบาลทหาร (บชร.๑
และสวนแยกตาง ๆ) และโรงพยาบาลทหาร (รพ. มทบ./จทบ.ในพืน้ ที่) ของ ทภ.๑
๓) โรงพยาบาลพลเรือนในทองถิ่นสามารถใหการสนับสนุนฝายทหารได ๑๐% – ๑๕ % ของ
จํานวนเตียงประจําโรงพยาบาลนั้น ๆ
๔) การรักษาพยาบาลแกเชลยศึก ใหมีความเรงดวนรองจากกําลังฝายเรา

๖. กําลังพล : ผนวก ข

๗. กิจการพลเรือน : ผนวก ค

๘. เบ็ดเตล็ด
ก. แผนนี้มีผลบังคับใชในการวางแผน เตรียมการ และประสานงานเมื่อไดรับ และปฏิบตั ิเมื่อสั่ง
ข. วัน ว – ๕ คือ วันที่หนวยปฏิบัติทางการชวยรบของ ทภ.๑ พรอมดําเนินการสนับสนุนใน
ขั้นการปองกันประเทศ
ค. ใหทุกหนวยทีร่ ับผิดชอบพื้นที่และหนวยในพื้นที่ประสานการปฏิบัติในการ รปภ. ที่ตั้ง,
เสนหลักการสงกําลัง และเสนทางตางๆ อยางเขมงวด
ง. เสนเขตหลังของ ทภ.๑ ไมเปลี่ยนแปลง
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๐๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการชวยรบที่ ๑ – ทภ.๑)

จ. เสนเขตหลังของกองพลตาง ในพื้นที่ตั้งรับหนาไมเปลีย่ นแปลง และเปนแนวพรางไฟของ


ทภ.๑ ดวย
ฉ. รายงานการสงกําลังบํารุงตามระยะเวลาของกองพลทุกรอบ ๗ วัน ปดเวลา ๑๘๐๐
ช. การเบิก รับ แจกจาย สงคืน ใหใชแนวทางตาม รปจ.ทบ. และ รปจ.ทภ.๑ ตามสายงานที่
เกี่ยวของ
ซ. การเกณฑ แรงงานยานพาหนะ และสิ่งของใหกระทําผาน มทบ./จทบ.ในพืน้ ที่โดยให
สอดคลองกับนโยบายทางดานกิจการพลเรือน และตองไดรับอนุมัติจาก มทภ.๑
ด. อนุมัติใหทําลาย สป./ยุทโธปกรณเปนการฉุกเฉิน เพื่อปองกันขาศึกยึดได เวน สป.สายแพทย
๙. การบังคับบัญชา
ก. การบังคับบัญชา
๑) ทก.ทภ.๑ (หลัก) : อ.สระแกว จว.ปราจีนบุรี (เอสเอ ส๘๔๓๐) เปดทําการวัน ว – ๕
๒) ทก.ทภ.๑ (หลัก) : อ.เมือง จว.ปราจีนบุรี (คิวอาร ๕๗๕๗) เปดทําการ วัน ว – ๕
๓) ทก.บชร.๑ : อ.เมือง จว.ปราจีนบุรี (คิวอาร ๕๖๕๘) เปดทําการ วัน ว – ๕
ข. การสื่อสาร : แผนยุทธการที่ ๑ – ทภ.๑

ตอบรับ : นําสาร

พล.ท.
(สนธิ กลารบ)
มทภ.๑
ผนวก : ก กําลังพล (เวน)
ข กิจการพลเรือน (เวน)
ค แผนบริวารแผนที่เสนทางและที่ตั้งทางการชวยรบ (สังเขป)
ง ตําบลจายน้ํา ทภ.๑ (เวน)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๐
การแจกจาย : แบบ ก

เปนคูฉบับ

พ.ท.
( )
ประจํา กกบ.ทภ.๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ค แผนบริวารเสนทางและที่ตั้งทางการชวยรบ (สังเขป) ประกอบแผนการชวยรบ
ที่ ๑ – ทภ.๑

อางถึง : แผนที่........................................

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๒
ตัวอยางที่ ๔ – ๔ แผนการกําลังพลของทัพภาค
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทภ.๓
คายสมเด็จพระนเรศวร,
พิษณุโลก
๒๔๐๙๐๐ ส.ค. ...
กพ.๒๑๒
แผนการกําลังพล “พิทักษไทย” ตามแผนยุทธการ “พิทักษไทย”

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวาง ภาคเหนือ

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม
๑) สถานการณ : ผนวก ก ขาวกรอง ประกอบแผนยุทธการพิทักษไทย และรายงานขาวกรอง
ตามระยะเวลาฉบับปจจุบัน
๒) ขีดความสามารถฝายตรงขามสามารถใชกองโจรรบกวนการปฏิบัติการของฝายเราทั่ว
พื้นที่อาจเปนผลใหกําลังพลสูญเสียมากขึ้น จะเปนผลในทางขวัญของกําลังพลที่ถูกรบกวนอยูตลอดเวลา
ข. ฝายเรา
๑) แผนยุทธการ “พิทักษไทย” – ทภ.๓
๒) พล.ร.๒๑ เคลื่อนยายจากที่ตงั้ ปกติ และคาดวาจะมาถึงพืน้ ที่รับผิดชอบใน ว + ๓
ค. สมมุติฐาน
๑) ทางยุทธวิธี แผนยุทธการ “พิทักษไทย” – ทภ.๓
๒) ทางการกําลังพล ยอดกําลังพล
ก) พล.ร.๔ ๑๗,๐๐๐
ข) พล.ร.๒๑ ๑๗,๐๐๐
ค) พล.ม.๑ ๑๑,๐๐๐
ง) หนวยทหารของ ทภ. ๕,๕๐๐
รวม ๕๐,๕๐๐
๓) ทางการสงกําลังบํารุง แผนการสงกําลังบํารุง “พิทักษไทย” – ทภ.๓
๔) ทางกิจการพลเรือน แผนกิจการพลเรือน “พิทักษไทย” – ทภ.๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
แผนการกําลังพลที่ ๑ – ทภ.๒)

๒. ภารกิจ
ใหการสนับสนุนทางธุรการและการกําลังพลแก ทภ.๓ ในการรบหนวงเวลา บริเวณแนวชายแดน
ในวัน ว ถึง วัน ว + ๑๐
๓. กลาวทั่วไป
แผนการกําลังพลนี้ใหการสนับสนุนทางดานธุรการ และการกําลังพล ในการปฏิบัติการรบหนวง
เวลาบริเวณแนวชายแดนของ ทภ.๓
๔. งานในหนาที่
ก. การรักษายอดกําลังพลของหนวย
๑) การเบิกกําลังพลฉุกเฉิน ใหกระทําเมื่อหนวยระดับกองพันและสูงกวามียอดกําลังพล
ต่ํากวาอัตราอนุมัติ ๗๐%
๒) กําลังทดแทน กองพัน กทท. ทภ.๓ มีกาํ ลังทดแทน ๔๐๐ คน สามารถทดแทนกําลังให
กองพลละ ๑๐๐ คน ในขั้นตน กําลังทดแทนเปนหนวยจัดใหไดขนาด ๑ มว.ปล.
๓) กําลังพลประเภทชางซอมวิทยุขาดแคลนมาก
ข. การจัดการกําลังพล
๑) ระเบียบปฏิบัตทิ างกําลังพล หามโยกยายกําลังพลออกนอกหนวยกองพลตั้งแต ว - ๓
๒) กําลังพลพลเรือน การจางพลเรือนตองไดรับการตรวจสอบความไววางใจจาก สธ.๒
(ฝอ.๒) กอนเสมอ หามใชพลเรือนในพื้นที่ขางหนาของกองพลเวนแตไดรับอนุมัติจาก มทภ.๓
๓) เชลยศึก
ก) คายกักกันเชลยศึก
(๑) รจ.มทบ.๓๒ ลําปาง
(๒) รจ.จทบ.อ.ต. อุตรดิตถ
(๓) รจ.จทบ.พ.ล. พิษณุโลก
๔) บชร.๓ รับผิดชอบในการสงกลับเชลยศึกจากตําบลรวบรวมของกองพลมายังคายกักกัน
ของ ทภ.๓

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
แผนการกําลังพลที่ ๑ – ทภ.๒)

ค. การพัฒนาและการรักษาขวัญ
๑) ขวัญและการบริการกําลังพล
ก) ในดาน พล.ม. ฝายตรงขามมีขีดความสามารถในการโฆษณาชวนเชื่อสูงมาก ผบ.
หนวยทุกระดับจะตองดําเนินการอยางเขมแข็ง เพื่อลดผลเสียที่จะบังเกิดจากการปฏิบัติการจิตวิทยาของฝาย
ตรงขามใหเหลือนอยที่สุด
ข) การบริการไปรษณีย จดหมายทุกฉบับจะจัดสงโดยทางอากาศถึงกองพลทุกวัน
ใหดําเนินการแจกจายถึงตัวผูรับโดยเร็วทีส่ ุด
๒) การทะเบียนศพ
ก) สุสานของ ทภ.
(๑) อ.เมืองลําปาง ๑ แหง
(๒) อ.เมืองนาน ๑ แหง
(๓) อ.เมืองพิษณุโลก ๑ แหง
ข) ศพของหนวยใน พล.ม.๑ ใหสงกลับมายังสุสานของ ทภ. ที่อยูใกลที่สดุ
ค) บชร.๓ สงศพกลีบขากที่รวบรวมศพของกองพลไปยังสุสานของ ทภ.
ง. การรักษาวินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง
๑) หนวยทหารทุกหนวยจุตองไดรับการอบรมในเรื่องวัฒนธรรมและประเพณีของทองถิ่น
เปนอยางดีกอนเขามาในพืน้ ที่ของ ทภ.๓ โดยเฉพาะ พล.ม.๑ จะตองเพงเล็งเปนพิเศษ
๒) ผูบังคับบัญชาทุกระดับสนใจในปญหาการคาของเถื่อนและการลักขโมยสิ่งอุปกรณทาง
ทหาร และหาทางกําจัดใหหมดสิ้นไป
๓) หลีกเลี่ยง การใชเขตศาสนสถานตาง ๆ เปนที่พักอาศัยของหนวยทหารถาจําเปนตอง
ไดรับอนุมัติจาก มทภ.๓ กอน
จ. เบ็ดเตล็ด
๑) การรับรองผูมาเยี่ยมเปนบุคคลสําคัญตองจัดการรักษาความปลอดภัยโดยกวดขัน
๒) แผนนี้มีผลบังคับใชเมื่อไดรบั คําสั่ง

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
แผนการกําลังพลที่ ๑ – ทภ.๒)

๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. ที่ตั้งทางกําลังพลตาง ๆ เมื่อจัดตั้งแลวใหรายงาน
ข. ที่ตั้ง ทก. และการติดตอสื่อสาร : แผนการชวยรบ “พิทักษไทย” – ทภ.๓

ตอบรับ :

(ลงชื่อ) พล.ท.
(.................)
มทภ.๓
เปนคูฉบับ
พ.อ.
(.....................)
ผอ.กกพ.ทภ.๓

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๖
ตัวอยางที่ ๔ – ๕ แผนการสงกําลังบํารุงของกองทัพภาค
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทภ.๓
คายสมเด็จพระนเรศวร
พิษณุโลก
๒๔๐๙๐๐ ส.ค. ....
กบ.๒๔๐

แผนการสงกําลังบํารุง “พิทกั ษไทย” ตามแผนยุทธการ “พิทักษไทย”

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวางภาคเหนือ

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม
๑) สถานการณฝายตรงขาม : ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบแผนยุทธการพิทักษไทย และ
รายงานขาวกรองตามระยะเวลาปจจุบัน
๒) ขีดความสามารถ ฝายตรงขามสามารถใชกองโจรรบกวน สลก. และสถานการณชว ยรบ
ของ ทภ.๓ ไดตลอดทั่วทั้งพืน้ ที่ ภัยคุกคามไมรุนแรงกวาระดับ ๒
ข. ฝายเรา
๑) แผนยุทธการพิทักษไทย
๒) พล.ร.๒๑ เคลื่อนยายจากที่ตงั้ ปกติ และคาดวาจะมาถึงพืน้ ที่รับผิดชอบใน วัน ว + ๓
ค. สมมุติฐาน
๑) ทางยุทธวิธี
ก) ทภ.๓ รบหนวงเวลาตามลําดับขั้นจากแนวที่มั่นชายแดนจนถึงแนวที่มั่นขั้นสุดทาย
ตั้งแต วัน ว ถึง วัน ว + ๓
ข) การตั้งรับ ณ ที่มั่นตามชายแดนใชเวลา วัน ว ถึง ว + ๑
๒) ทางกําลังพล ยอดกําลังพลที่จะสนับสนุน
ก) พล.ร.๔ ๑๗,๐๐๐
ข) พล.ร.๒๑ ๑๗,๐๐๐
ค) พล.ม. ๑๑,๐๐๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการสงกําลังบํารุงที่ ๑ – ทภ.๑)

ง) หนวยทหารของ ทภ. ๕,๕๐๐


รวม ๕๐,๕๐๐
๓) ทางการสงกําลังบํารุง
ก) รัฐบาลไดปรับปรุงเสนทางคมนาคมติดตอกับแขวงไชยบุรีเรียบรอยกอน วัน ว
ข) หนวยในเขตหลังสามารถจัดสง สป. เขาพื้นที่ของ ทภ.๓ ไดประมาณวันละดังนี้
(๑) ทางถนน ๘๐๐ ตัน
(๒) ทางรถไฟ ๔๐๐ตัน
(๓) ทางอากาศ ๑๐๐ ตัน
๔) ทางกิจการพลเรือน ความตองการ สป.สําหรับกิจการพลเรือนในยามฉุกเฉินไมเกินวันละ
๕๐ ตัน
๒. ภารกิจ
ใหการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงแก ทภ.๓ ในการรบหนวงเวลาบริเวณชายแดนใน วัน ว ถึง
วัน ว + ๑๐
๓. กลาวทั่วไป
ก. บชร.๓ ใหการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงแกหนวยของ ทภ.๓ โดย
๑) บชร.๓ จัดสวนแยกไปสนับสนุนโดยตรง พล.ม. ดานไชยบุรีหนึ่งหนวยสนับสนุน
โดยตรง พล.ร.๒๑ ดาน จ.นานหนึ่งหนวย และเพิ่มเติมกําลังให จทบ. และ มทบ. ที่แปรสภาพเปน ตส.ทภ.
๒) จทบ.ช.ร.แปรสภาพเปน ตส.ทภ.ขึ้นตรงตอ บชร.๓ สนับสนุนโดยตรง พล.ร.๔ ดาน
เชียงราย
๓) มทบ.๓๓ แปรสภาพเปน ตส.ทภ. สนับสนุนโดยตรง พล.ร.๔ ดานเชียงใหม
๔) จทบ.อ.ต.แปรสภาพเปน ตส.ทภ.สนับสนุนสวนรวมแก ตส.ทภ.ดานไชยบุรี
๕) มทบ.๓๒ แปรสภาพเปน ตส.ทภ.สนับสนุนสวนรวมแก ตส.ทภ.ในดาน พล.ร.๔
๖) มทบ.๓๑ จัดพืน้ ที่บางสวนให บช.กบ.ทบ. และสนับสนุนในพืน้ ที่รับผิดชอบ
๗) บชร.๓ (-) สนับสนุนโดยตรงหนวยทหารของ ทภ.๓ และสนับสนุนสวนรวมแก ตส.ทภ.
ในดานกองพลตาง ๆ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการสงกําลังบํารุงที่ ๑ – ทภ.๑)

ข. ที่ตั้งทางการชวยรบของ ทภ.ทุกแหงเปดทําการไดใน วัน ว เวลา น


ค. ผนวก ก แผนที่สังเขป

๔. งานในหนาที่
ก. ยุทโธปกรณและบริการ
๑) การสงกําลัง
ก) สป.๑
(๑) สําหรับ ตส.ทภ. ที่สนับสนุนสวนรวมที่สงกําลังให ตส.ทภ.ที่สนับสนุน
โดยตรง ใชวิธีแจกจาย ณ ที่ตงั้ หนวย หนวยอื่น ๆ ใชวิธีแจกจาย ณ ตําบลสงกําลัง
(๒) การสงกําลังเพิ่มเติม ถือตามยอดกําลังพลของหนวย หนวยรับการสนับสนุน
รายงานความตองการพิเศษมายัง บก.บชร.๓
(๓) เสบียงสด พยายามจัดหาในทองถิ่นใหมากที่สุด
ข) สป.๒ และ ๔
(๑) ลําดับเรงดวนแรกในการทดแทน รยบ.๒ ½ ตัน สัมภาระและเครื่องมือสื่อสาร
ไดแก พล.ม.
(๒) วัสดุปอมสนาม ใหจดั หาในทองถิ่นใหมากที่สุด ทภ.๓ จะสนับสนุนลวด
หีบเพลง ลําดับเรงดวนแรกคือ พล.ม.
(๓) สป.ที่ ผบ.ควบคุม คือ รถกูขนาด ๑๐ ตัน (๖x๖) และแผนที่ระวางนอกประเทศ
(๔) การแจกจายเชนเดียวกับ สป.๑
ค) สป.๓
(๑) การแจกจายเชนเดียวกับ สป.๑
(๒) ลําดับเรงดวนแรกในการแจกจาย คือ พล.ร.๔
ง) สป.๕
(๑) การแจกจาย ณ ตําบลสงกําลัง
(๒) อัตรากระสุนที่ใชได
(ก) ค.๔.๒ นิว้ ๔๕ นัด/กระบอก/วัน
(ข) ป.๑๐๕ นิ้ว ๑๒๐ นัด/กระบอก/วัน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๑๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการสงกําลังบํารุงที่ ๑ – ทภ.๑)

(ค)
อาวุธชนิดอื่น ๆ ตามอัตรากระสุนมูลฐาน
จ)ระดับสะสม : ผนวก ข ระดับสะสม สป.ประเภทตาง ๆ
ฉ)แผนที่ : รปจ.ทภ.๓
ช)น้ํา
(๑) ยาเม็ดทําความสะอาดน้ําจะจายพรอมกับเสบียง
(๒) หนวยตาง ๆ รับน้ําจากตําบลจายน้ําของ ช. เทานั้น
(๓) น้ําในทองถิ่นหามใช นอกจากจะไดตมแลว
๒) การขนสง
ก) สลก.
(๑) ทางรถไฟ พิษณุโลก – เชียงใหม
(๒) ทางถนน
(ก) พิษณุโลก – สุโขทัย – สวรรคโลก – เดนชัย – แพร – นาน - ปว
(ข) พิษณุโลก – ตาก – ลําปาง – เชียงราย – แมจัน
(ค) ลําปาง – เชียงใหม - เชียงดาว
(ง) พิษณุโลก – หลมสัก – ดานซาย – ปากหมัน – ปากลาย - ไชยบุรี
(จ) สวรรคโลก – อุตรดิตถ – น้ําปาด – มวงเจ็ดตน – ปากลาย - ไชยบุรี
(๓) ผนวก ก แผนที่สังเขป
ข) สถานีปลายทางรถไฟ
(๑) พิษณุโลก
(๒) อุตรดิตถ
(๓) เดนชัย
(๔) ลําปาง
(๕) เชียงใหม
ค) สถานีปลายทางอากาศ
(๑) พิษณุโลก
(๒) นาน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการสงกําลังบํารุงที่ ๑ – ทภ.๑)

(๓) เชียงราย
(๔) ลําปาง
(๕) เชียงใหม
ง) ชุดควบคุมการเคลื่อนยาย ตําบลปลายทางรถไฟทุกแหง
จ) คําขอใหสงกําลังทาง ฮ. จะตองเสนอไปยัง บก.บชร.๓ ลวงหนาไมนอยกวา ๑๐
ชั่วโมง
ฉ) คําขอใหสงกําลังทางอากาศยามฉุกเฉิน ใหเสนอตรงไปยัง สธ.๔ ทภ.๓ โดยใช
วิธีการสื่อสารที่เร็วที่สุด
ช) ใชวิธีการสงผานใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อลดเวลาในการขนถาย
๓) บริการ
ก) การกอสราง ไมกอสรางสิ่งกอสรางถาวรเปนอันขาด ใหเพงเล็งการซอมบํารุง สลก.
ทางถนน ลําดับเรงดวนแรก คือ สลก.ที่สนับสนุน พล.ม.
ข) บริการสนาม ตส.ทภ.ทุกแหง อาจจางเหมาซักรีดเสื้อผาของหนวยที่รับการ
สนับสนุนในทองถิ่นได แตตองไดรับอนุมัติจาก ผบ.บชร.๓ กอน
๔) การซอมบํารุง
ก) ลําดับเรงดวนแรกในการซอมบํารุงยานยนตลอและเครื่องมือสื่อสารไดแก พล.ม.
ข) ตําบลรวบรวม สป.เก็บซอม, ตส.ทภ.ทุกแหงจัดตั้งตําบลรวบรวม สป.เก็บซอม
ค) บชร.๓ จัดชุดซอมเคลื่อนที่ สนับสนุน พล.ม. และ พล.ร.๔ ในขั้นตน
ข. การสงกลับสายแพทย และการรักษาพยาบาล
๑) การสงกลับ
ก) พัน สร.สนับสุนของ บชร.๓ ทําการสงกลับคนไขโดยรถยนตพยาบาลจากที่พยาบาล
กองพลมายังสถานพยาบาลทีใ่ หการสนับสนุน
ข) รถไฟพยาบาล จากเชียงใหม – พิษณุโลก วันละหนึ่งขบวน ความจุ ๕๐ เตียง
ค) การสงกลับทางอากาศ
(๑) จัดชุด ฮ.พยาบาลประจํา ณ ที่พยาบาลกองพลทุกแหงเพื่อสงกลับคนไขที่มี
ลําดับเรงดวนสูงสุด
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการสงกําลังบํารุงที่ ๑ – ทภ.๑)

(๒) ทอ.จัด บ.ลําเลียง สงกลับคนไขที่ตองสงเขตหลังตามสถานีปลายทางอากาศ


สามวันตอหนึง่ เที่ยวบิน ความจุ ๒๐ เตียง
ง) เสนทางสงกลับ : สลก.
จ) การสงกลับจาก พล.ม. ถือการสงกลับทางอากาศเปนหลัก โดย ทภ.๓ จะเปน
ผูดําเนินงาน
ฉ) นโยบายในการสงกลับของ ทภ. ๓๐ วัน ของกองพล ๗ วัน
๒) การรักษาพยาบาล
ก) พัน.สร.สนับสนุนของ บชร.๓ จัดกําลังไปเสริมขีดความสามารถของ
(๑) รพ.มทบ.๓๒
(๒) หมวดพยาบาล จทบ.อ.ต.
ข) พัน.สร.สนับสนุนของ บชร.๓ จัดตั้งที่พยาบาลหนึ่งแหงที่นาน
ค) กองพยาบาล จทบ.ช.ร. และ มทบ.๓๓ สมทบกับที่พยาบาล พล.ร.๔ จัดตั้งเพื่อ
สนับสนุนหนวยทหารในแนวหนา
ง) รพ.ที่พิษณุโลก เสริมขีดความสามารถของ รพ.สมเด็จพระนเรศวร ความจุ ๒๐๐
เตียง
จ) พบ.จัดชุดศัลยกรรมฉุกเฉินไปประจําที่พยาบาลกองพลเฉพาะในพื้นที่สนับสนุน
กองพลทุกกองพล
ค. เบ็ดเตล็ด
๑) เสนเขตหลัง : ผนวก ก แผนที่สังเขป
๒) การระวังปองกันพื้นที่สว นหลัง ผนวก ด (การระวังปองกันพื้นที่สว นหลัก) ประกอบแผน
ยุทธการ “พิทกั ษไทย” – ทภ.๓
๓) เตรียมแผนการทําลาย สป.ในกรณีฉุกเฉินเพื่อปองกัน ขศ.ยึดไปใชประโยชน เวน สป.
สายแพทย
๔) การควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ : รปจ.ทภ.๓
๕) แผนนี้ใชเพื่อการวางแผนเมื่อไดรับแผน ใชบังคับตามแผนเมื่อไดรับคําสั่ง

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(แผนการสงกําลังบํารุงที่ ๑ – ทภ.๑)

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ทก.บชร.๓ : คายสมเด็จพระนเรศวร พิษณุโลก
๒) ทก.สํารอง บชร.๓ : ทก.รอย พธ. สนับสนุนโดยตรง
ข. การสื่อสาร
๑) ผนวก ท (การสื่อสาร) ประกอบแผนยุทธการ “พิทักษไทย” – ทภ.๓
๒) นปส.ดรรชนี ๑ – ๔

ตอบรับ :

(ลงชื่อ) พล.ท.
( )
มทภ.๓
ผนวก : ก แผนที่สังเขป (เวน)
ข ระดับสะสม สป.ประเภทตาง ๆ

การแจกจาย

เปนคูฉบับ
พ.อ.
( )
ผอ.กกบ.ทภ.๓

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๓
ตัวอยางที่ ๔ – ๖ แผนกิจการพลเรือนของกองทัพภาค
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทภ.๓
คายสมเด็จพระนเรศวร
พิษณุโลก
๒๔๐๙๐๐ ส.ค. ...
กร.๕๕

แผนกิจการพลเรือน “พิทักษไทย” ตามแผนยุทธการ “พิทักษไทย – ทภ.๓

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย มาตราสวน ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวางภาคเหนือ

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม
๑) สถานการณ : ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบแผนยุทธการ “พิทักษไทย” และรายงาน
ขาวกรองตามระยะเวลา – ทภ.๓
๒) ฝายตรงขามไดหยุดชะงักเนือ่ งจากกําลังสวนเขาตีไดรับการสูญเสีย และวางกําลังอยู
ตามแนว อ.แมสะเรียง อ.เชียงดาว อ.พะเยา และ อ.ทุงชาง ในลักษณะยึดที่มั่นขางหนาเพื่อรอการเพิ่มเติมกําลัง
๓) กองโจรฝายตรงขามสามารถกอกวนที่ตั้งตางๆ ไดอยางเบาบาง ขีดความสามารถของ
ขาศึกในพืน้ ทีส่ วนหลังจํากัดเพียงใชอาวุธเบาและอาวุธอัตโนมัติเทานัน้
๔) กองโจรขาศึกดําเนินการโฆษณาชวนเชื่อในหมูพวกชาวเขาอยางกวางขวาง และสามารถ
ใชประโยชนจากชาวเขาในการดําเนินการได
ข. ฝายเรา
๑) การจัดเฉพาะกิจ ตามแผนยุทธการ “พิทักษไทย” – ทภ.๓
๒) ทบ.จะสงมอบ รอยกิจการพลเรือนให ทภ.๓ ไดกอนวัน ว – ๓๐ และจะเดินทางถึง
บก.ทภ.๓ กอน วัน ว - ๒๐
ค. หนวยขึ้นสมทบ และหนวยแยก : ผนวก ก การจัดเฉพาะกิจ
ง. สมมุติฐาน
๑) ทภ.๓ สามารถสนับสนุนสิ่งอุปกรณสําหรับกิจการพลเรือนในยามฉุกเฉินไดไมนอยกวา
วันละ ๗๕ ตัน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(แผนกิจการพลเรือนที่ ๑ – ทภ.๑)

๒) การปฏิบัติการของฝายตรงขามจะไมกระทําอยางรุนแรงตอพื้นที่ที่มีชมุ ชนอยูหนาแนน
๒. ภารกิจ
ทภ.๓ ดําเนินงานกิจการพลเรือนตั้งแตบัดนี้เปนตนไป เพื่อสนับสนุนการรบหนวงเวลาบริเวณ
ชายแดนตามแผนยุทธการพิทักษไทย

๓. กลาวทั่วไป
ก. แผนกิจการพลเรือนนี้ใหการสนับสนุนดานกสิจการพลเรือนในการปฏิบัติการรบหนวงเวลา
บริเวณชายแดนของ ทภ.๓
ข. หนวยกิจการพลเรือนปฏิบัติการเพื่อควบคุมและอพยพพลเรือ/ผูลี้ภัยในพื้นที่ปฏิบัตกิ าร มิให
ขัดขวางการปฏิบัติทางทหาร เพื่อฟนฟูขอ บังคับ ความสงบเรียบรอย ชวยเหลือเจาหนาที่ฝายปกครองทองถิ่น
ตรวจทองที่รวมกับเจาหนาทีร่ ักษาความสงบเรียบรอย
ค. หนวยกิจการพลเรือนใหความชวยเหลือตามความจําเปน หรือดําเนินการตามมาตรการควบคุม
ตอหนวยงาน และ จนท.ในทองถิ่นที่ตองการเพื่อสถาปนาหรือดํารงไวซึ่งขอบังคับ ความปลอดภัย และการ
ปกครอง
ง. ใหปฏิบัติโดยยึดถือนโยบายตามหลักนิยมกิจการพลเรือนของ ทบ. พ.ศ.๒๕๒๕
จ. จัดใหมีการควบคุมประชาชน และทรัพยากรที่เหมาะสมเพื่อปองกันคุมครองประชาชนจาก
อันตราย และมิใหฝายตรงขามนําไปใชประโยชนได
ฉ. ชุดกิจการพลเรือนที่บริเวณคายสมเด็จพระนเรศวร (พิษณุโลก) ใหการสนับสนุนเปนหนวย
สําหรับ ทก.ทภ.๓ ชุดกิจการพลเรือนสนับสนุนเปนพืน้ ทีส่ ามารถสนับสนุนใหไดในเมื่อกองพลรองขอ
ช. ชุดกิจการพลเรือนสนับสนุนเปนหนวยใหการสนับสนุนทางกิจการพลเรือนในแตละกองพล
ซ. การปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับพลเรือนในทุกหนวยระดับกองพัน จะตองประสานกับ จนท.
พลเรือนในทองถิ่น

๔. งานในหนาหนา
ก. การปฏิบัติการกิจการพลเรือน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(แผนกิจการพลเรือนที่ ๑ – ทภ.๑)

๑) การปกครอง
ก) ประสานกับ จนท.พลเรือนในทองถิ่น เพื่อการใหความคุมครองความปลอดภัยแก
ประชาชนและบังคับใหเปนไปตามกฏหมาย คําสั่งชี้แจง และนโยบาย
ข) ควบคุม จับกุม ผูลักลอบคาอาวุธ วัตถุระเบิด ในทองถิ่นมิใหฝาย ขศ. ไดรับการ
สนับสนุนการสงกําลังบํารุงเพิ่มเติม
ค) ลดอิทธิพลของฝายตรงขามในพื้นที่ตางๆในทองถิ่น โดยจัดชุดคุมครองหมูบานขึ้น
ง) จัดเจาหนาที่ปกครองชั้นหัวหนาในทองถิ่นที่ไวใจไดควบคุมและเปลี่ยนแปลงเมื่อ
จําเปน
จ) ดําเนินการชวยเหลือ การรักษาพยาบาลและโรคติดตอ ตอเจาหนาที่พลเรือน
ในทองถิ่นและประชาชน
๒) เศรษฐกิจ
ก) ควบคุมทรัพยากรในทองถิ่น เพื่อนํามาใชประโยชนทางทหารเทาทีจ่ ําเปนและมิให
เปนประโยชนตอฝายตรงขาม
ข) จัดการใหมีการปนสวนอาหารในทองถิ่น และควบคุมเครื่องอุปโภคบริโภคแก
ประชาชนในทองถิ่น เพื่อบรรเทาความอดอยากของประชาชนตามความจําเปน
ค) การจัดหาในทองถิ่นจะตองจํากัดอยูเพียงการีจัดหาแรงงาน และ สป.๔ สายทหารชาง
ซึ่งตองการเพื่อซอมแซมเสนทางคมนาคมเทานั้น
๓) สังคมจิตวิทยา
ก) จัดตั้งแหลงควบคุมการอพยพแกบุคคลพลัดถิ่นและผูลี้ภยั โดยใชการขนสงพลเรือน
ใหมากที่สุด
ข) ใชระบบการสือ่ สารของพลเรือนเพิ่มเติมจากของทหาร
ค) สรางทัศนคติที่ดีใหมีตอจิตใจของประชาชนและทหาร รวมทั้งสรางอุดมการณใน
การตอสู
ง) เรงเราใหเกิดความรวมมือ และความสามัคคีรวมกันระหวางทหารและประชาชน
โดยการปฏิบัตกิ ารจิตวิทยา และการสรางความสัมพันธอนั ดีกับชุมชน
จ) ที่รวมบุคคลพลัดถิ่นและผูลี้ภัย (ผนวก ก การปฏิบัติการกิจการพลเรือน)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(แผนกิจการพลเรือนที่ ๑ – ทภ.๑)

ฉ) การขนสงของพลเรือนจะนําไปใชเพื่อการขนยาย สป. พลเรือนยามฉุกเฉินใน


ทุกแหงที่สามารถทําได การขนสงของฝายทหารอาจใชไดเฉพาะกรณีฉกุ เฉิน
ช) การสงกลับพลเรือนเปนจํานวนมาก ๆ จะทําเมื่อไดรับคําสั่งจาก ผบ.พล. หรือ
ผบ.หนวยที่สูงกวาเทานั้น การสงกลับเปนจํานวนมากออกนอกเขตของกองพลจะทําในเมื่อไดรับอนุมัติจาก
ทภ.๓ เทานัน้
ซ) รักษาและดํารงไวซึ่งสิ่งอํานวยความสะดวกสาธารณะที่จาํ เปนตอการทหาร
โดยเฉพาะสนามบินพลเรือน ทาเรือ โกดังเก็บสินคา ชุมสายโทรศัพท และโรงกรองน้ํา
ข. การปฏิบัติการจิตวิทยา
๑) การปฏิบัติการจิตวิทยา ใหกระทําทุกขัน้ ตอนการปฏิบัติเพงเล็งเปนพิเศษในการทําลาย
ขวัญ และกําลังใจการตอสูของฝายตรงขาม ทั้งทหารและประชาชนฝายตรงขาม
๒) ใชเครื่องมือที่มีอยูในทองถิน่ ใหเปนประโยชนมากที่สดุ ในการปฏิบตั ิการจิตวิทยา
๓) ผนวก ข การปฏิบัติการจิตวิทยา
ค. การประชาสัมพันธ
๑) การประชาสัมพันธไดยดึ ถือระเบียบกองทัพบก วาดวยการประชาสัมพันธ พ.ศ. ... กอน
๒) ใชเครื่องมือที่มอี ยูในทองถิน่ ใหเปนประโยชน ในการแถลงขาวสารใหกับประชาชน
ในพื้นที่รับผิดชอบทราบ โดยประสานกับเจาหนาที่ฝายปกครองโดยใกลชิด
๓) ผูแทนสื่อมวลชนที่จะเขาไปทําขาวในพื้นที่การรบ จะตองไดรับอนุมตั ิจาก ทภ.๓ กอน
๔) ผนวก ค การประชาสัมพันธ
ง. การปลูกฝงอุดมการณทางการเมือง
๑) เรงรัดการปลูกฝงอุดมการณทางการเมืองใหกับกําลังพลในหนวยทุกระดับใหมีจิตใจที่
กลาหาญ มีความเสียสละ ความสามัคคี ตลอดจนมีคุณธรรมและอุดมการณที่มั่นคงและดีงาม
๒) เรงรัดการปลูกฝงอุดมการณทางการเมืองใหกับประชาชนในพืน้ ที่รับผิดชอบ เพื่อ
เสริมสรางอุดมการณ ขวัญ กําลังใจ ความเสียสละ ในการตอสูรวมกับฝายทหารในระบบการตอสูเบ็ดเสร็จ
โดยประสานกับเจาหนาที่ฝายปกครองโดยใกลชิด
๓) ผูบังคับบัญชาทุกระดับชั้น กระทําตัวเปนตัวอยางทีด่ ี กวดขันความประพฤติและการ
ปฏิบัติตัวของกําลังพลใหเปนที่เลื่อมใสศรัทธาแกประชาชนในพืน้ ที่
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

(แผนกิจการพลเรือนที่ ๑ – ทภ.๑)

๔) ผนวก ง การปลูกฝงอุดมการณทางการเมือง

๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ที่ตั้งการกิจการพลเรือนตาง ๆ เมื่อจัดตั้งแลวใหรายงานใหทราบ
๒) ศูนยอํานวยการกิจการพลเรือนของ ทภ. ตัง้ ณ คายสมเด็จพระนเรศวร พิษณุโลก
ข. การสื่อสาร
๑) ผนวก ป การสื่อสาร ประกอบแผนยุทธการ “พิทักษไทย” – ทภ.๓
๒) นปส.ดรรชนี ๑ - ๔

ตอบรับ : ทางสาย

พล.ท.วาสนา บารมี
( วาสนา บารมี )
มทภ.๓

ผนวก : ก การปฏิบัติการกิจการพลเรือน (เวน)

ข การปฏิบัติการจิตวิทยา (เวน)

ค การประชาสัมพันธ (เวน)

ง การปลูกฝงอุดมการณทางการเมือง (เวน)

การแจกจาย :

เปนคูฉบับ
พ.อ.สนธิชัย กฤชเรือง
(สนธิชัย กฤชเรือง)
ผอ.กกร.ทภ.๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๒๘
ตอนที่ ๕

คําสั่งและผนวกประกอบคําสั่ง
ฉ – ๑๘ กลาวทั่วไป
ก. ในบทที่ ๗ กลาวถึงขาวสารโดยทั่ว ๆ ไป ที่เกี่ยวกับคําสั่ง ในตอนนี้จะกลาวถึงขาวสารที่
เกี่ยวกับแบบฟอรมและเนื่องเรื่องของคําสั่งและของผนวก และอนุผนวกประกอบคําสั่งและยังมีตัวอยาง
ตามแบบที่กลาวไวดวย
ข. เพื่อใหตวั อยางตาง ๆ สั้นลงไดใชเครื่องหมายดอกจันแสดงบางสวนของขอหรือทั้งขอซึ่งละไว
โดยใชเครื่องหมายดอกจันสามดอกแทนการละขอความสั้น ๆ หรือประโยคเดียวและใชดอกจันเจ็ดดอกแทน
การละทั้งขอความใหญหรือทั้งขอยอย
ฉ – ๑๙ คําสั่งยุทธการ
รายละเอียดและเนื้อเรื่องโดยทั่ว ๆ ไปของสวนตาง ๆ ในแบบฟอรมของคําสั่งยุทธการ มีสรุปไวใน
ตัวอยางที่ ๕ – ๑ ตัวอยางของคําสั่งยุทธการมีกลาวไวในตัวอยางที่ ๖ – ๑ ถึง ๖ – ๖
ฉ – ๒๐ คําสัง่ การชวยรบ
รายละเอียดและเนื้อเรื่องโดยทั่ว ๆ ไปของสวนตาง ๆ แตละสวนในแบบฟอรมของคําสั่งการ
ชวยรบมีสรุปไวในตัวอยางที่ ๕ – ๒

ฉ – ๒๑ คําสั่งแบบอื่น ๆ
ตัวอยางของคําสั่งเปนสวน ๆ คําสั่งเตรียม มีกลาวไวในตัวอยางที่๗ – ๓ ถึง ๗ – ๔

ฉ – ๒๒ ผนวก และอนุผนวก
ตัวอยางของผนวกและอนุผนวกตาง ๆ กลาวไวในตัวอยาง ๘ – ๑ ถึง ๘ – ๑๔

ฉ – ๒๓ ระเบียบปฏิบัตปิ ระจํา
แบบฟอรมของระเบียบปฏิบตั ิประจํา (รปจ.) ไมมีกําหนดไวแนชัด ในตัวอยางที่ ๕ – ๓ และ ๔ – ๕
กลาวถึงแบบฟอรม และคําอธิบายของ รปจ. ของหนวยบัญชาการทางยุทธวิธีและหนวยบัญชาการชวยรบ
ตามลําดับ
๔๒๙
ตัวอยางที่ ๕ – ๑ แบบฟอรมคําสั่งยุทธการ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
(ไมเปลี่ยนแปลงจากคําสั่งดวยวาจา)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ขอความ “ไมเปลี่ยนแปลงยากคําสั่งดวยวาจา” หรือ “ไม หนวยออกคําสั่ง
เปลี่ยนแปลงยากคําสั่งดวยวาจา เวนขอ..” ใหลงไวที่นี้ถาได ตําบลออกคําสั่ง
มีการสั่งการดวยวาจาเกี่ยวกับการยุทธในครั้งนี้ใหพิมพ ถา (อาจใชรหัส)
ไมมีคําสั่งดวยวาจาใหปลอยวางไว กลุมตัวเลขแสดงวัน
เวลาที่ลงนามในคําสั่ง
(คําสั่งมีผลบังคับตามเวลานี้
วันแตจะไดกําหนดเปน
อยางอื่นในขอ ๓)
หมายเลขอางสาสน

คําสั่งยุทธการ (ชนิดและที่ของคําสั่ง ดูหมายเหตุ ๑)

อางถึง : ลงรายการของแผนที่ แผนผัง หรือเอกสารอื่นใดที่ชว ยใหเขาใจคําสั่ง การอางแผนที่จะตอง


ระบุประเทศ หรือพื้นที่ทางภูมิศาสตร และ/หรือหมายเลขกํากับแผนที่ มาตราสวน และชื่อ
หรือหมายเลขระวาง

เขตเวลา : (เขตเวลาที่ใชในการยุทธครั้งนี้ ถาไมจําเปนตองระบุใหชดเจนก็เวนเสียได)

การจัดเฉพาะกิจ :
ถาการจัดกําลังเขาทําการรบของหนวยยืดยาวหรือสลับซับซอน ใหเริ่มดวยหนวยรบ หรือ
สวนประกอบทางยุทธวิธีเพือ่ ปฏิบัติภารกิจเฉพาะที่มารวมเปนหนวยบังคับบัญชาเดียวกันขึ้นนั้น (ลงยศและ
ชื่อของผูบังคับบัญชาของสวนปฏิบัติการนี้ดวย ถาเห็นสมควร) ใชชอื่ ยอสําหรับหนวยในอัตราได แตชื่อของ
หนวยนอกอัตราควรเขียนอยางสมบูรณของสวนปฏิบัติการนี้ดวย ถาเห็นสมควร ลงชื่อของหนวยนอกอัตรา
โดยสมบูรณ ชื่อยอตาง ๆ อาจนําไปใชสําหรับหนวยในอัตราได
การเขียนลงนีใ้ หลงหนวยขึ้นสมทบดวย ยกเวนหนวยนัน้ จะมีคําวา “สต” “ชร.” “พย..” “ชต.” หรือ
“ควบคุมทางยุทธการ” ระบุไวซึ่งแสดงวามีบทบาทสนับสนุนตอหนวยที่ออกคําสั่งเทานั้น

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

เวลาคราวหนึ่งหรือหลายคราวในการขึ้นสมทบ การแยกหนวย หรือการสนับสนุนที่มีผลบังคับใช


อาจนําลงในทีน่ ี้ดวยแทนที่จะนําลงในขอ ๑ ค. ถาสามารถทําได
ลําดับของหนวยที่เคลื่อนที่ตามเสนหลักการรุก ในการยุทธดวยวิธีรกุ นั้น อาจนําลงในที่นกี้ ไ็ ด
อยางไรก็ดี หากมีการใชเทคนิคนี้แลว ควรจะมีหมายเหตุเพื่ออธิบายประกอบตามความเหมาะสมดวย
การจัดเฉพาะกิจจะนําไปลงในขอ ๓ หรือทําเปนผนวกประกอบคําสั่งก็ได ถาไมไดนําลงไวในที่นี้
แลว
๑. สถานการณ
ขาวสารของสถานการณทั้งปวงที่สําคัญเพื่อใหเกิดความเขาใจในสถานการณ ที่กําลังดําเนินอยู ขอนี้
แบงเปน ๓ ขอยยอย ขอนี้จะมีขอยอย ก., ข. และ ค. ดังกลาวไวขางลาง
ก. กําลังฝายตรงขาม ไดแกขาวสารที่เปนจริงเกี่ยวกับฝายตรงขาม สวนมากเปนการอางเอกสาร,
แผนบริวาร หรือผนวกขาวกรองทีจัดทําขึ้นซึ่งเปนการเพียงพอแลว (หมายเหตุ ๒)
ข. กําลังฝายเรา ขาวสารเกี่ยวกับหนวยเหนือ หนวยขางเคียง หนวยสนับสนุน หรือหนวยเพิ่มเติม
กําลัง ควรระบุขาวสารนี้ในขอบเขตจํากัดเพียงเทาที่จําเปนใหผูบังคับหนวยรองรู เพื่อปฏิบัติภารกิจของตน
ใหเปนผูสําเร็จ
ค. หนวยขึ้นสมทบและหนวยแยก แจงรายการหนวยที่มาขึ้นสมทบและหนวยที่แยกไปจาก
กองบัญชาการที่ออกคําสั่งพรอมดวยเวลาที่มีผลบังคับใชในการปฏิบตั ิดวย หนวยเหลานี้ไดนําลงไวในขอการ
จัดเฉพาะกิจแลวใหอางการจัดเฉพาะกิจหรือผนวกไวในที่นี้ดวย สําหรับหนวยที่ขึ้นสมทบอยูแลว ในขณะนั้น
อาจใชคําวา “ยังคงขึ้นสมทบ” ได
๒. ภารกิจ
ดังกลาวใหชัดเจนและรัดกุม ถึงกิจสําคัญที่หนวยจะตองปฏิบัติใหสําเร็จพรอมดวยความมุงหมาย
ตามธรรมดาแลว การกลาวถึงภารกิจนี้มกั ประกอบดวยคําวา ใคร อะไร เมื่อใด ทําไม และที่ไหน ซึ่งมาจาก
คําสั่งของกองบัญชาการหนวยเหนือ หรือจากการคิดขึ้นของผูบังคับบัญชาเอง สวนคําวา “อยางไร” (หนวย
เดียวหรือหลายหนวยที่ทําการเขาตีหลัก และขอความขยายอื่น ๆ) นั้นเหมาะที่จะอยูใ นขอยอย ๓ ก.
“แนวความคิดในการปฏิบัต”ิ มากกวาการกลาวถึงภารกิจใหทําอยางสมบูรณ แมวาจะกลาวในแผนบริวาร
ยุทธการก็ตาม ในขอ ๒. นี้ ไมมีขอยอย

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) เจตนารมณของผูบังคับบัญชา (COMMANDER‘S INTENT) คือ การมอง หรือวาดภาพ
การรบอยางกวาง ๆ ของผูบังคับบัญชาวาจะนํากําลังของตนเขาทําการรบอยางไร (เชน เขาตี ตั้งรับ รบหนวง
เวลา ฯลฯ) และจะมีผลลัพธเชนใดบาง ตัวอยางเจตนารมณของ ผบ.ทบ. ตองการใหยบั ยั้งฝายตรงขาม ดวยการ
รบแตกหักบริเวณแนวชายแดน และใหกองทัพภาครักษาแนวตั้งรับตามแนวชายแดนไวใหได ตัวอยาง
เจตนารมณของ มทภ.๑ ตองการใหการรุกโตตอบในครั้งนี้ เปนไปดวยความรวดเร็วและหนักหนวง เพื่อให
สามารถสถาปนาแนวตั้งรับตามแนวชายแดนใหเสร็จสิ้นกอนที่ ทน. ในระลอกที่สองของฝายตรงขามเขา
ประชิดแนวชายแดน
๒) แนวความคิดในการปฏิบัติ อาจเขียนเปนขอเดียวหรืออาจแบงเปนหลายขอยอย เชน เมื่อ
กลาวถึงการดําเนินกลยุทธ เขียนวา “กลยุทธ” และเมื่อกลาวถึงแผนการยิงสนับสนุน เขียนคําวา “การยิง” ฯลฯ
๓) ในกรณีที่กายุทธนั้นเกีย่ วของกับขั้นการปฏิบัติหลายขั้น แนวความคิดในการปฏิบตั ิ หรือ
กลยุทธที่เกี่ยวของอาจจะเขียนเปนขอยอยเพื่ออธิบายถึงแตละขั้นการปฏิบัติในแตละขั้นการปฏิบัติจะตอง
กําหนดชื่อไวเสมอ เชน ขั้น ๑, ขั้น ๒
๔) แนวความคิดในการปฏิบัติที่ยาวมากๆ อาจทําเปนผนวกประกอบคําสั่ง
ข. ในขอยอยซึ่งกํากับดวยตัวอักษรนับแตขอนีไ้ ปกลาวถึงกิจเฉพาะซึ่งมอบหมายใหกําลังแตละ
สวนของหนวยที่ไดรับภารกิจทางยุทธวิธี ซึ่งจะตองปฏิบัติใหบรรลุผลสําเร็จภารกิจหรือกิจเฉพาะของหนวย
รองซึ่งมีกลาวไวเพียงพอแลวบนแผนบริวารยุทธการ ไมมีความจําเปนตองนํามากลาวซ้ําอีกในขอยอยเหลานี้
เมื่อมีคําชี้แจงเปนจํานวนมากก็ใหเขียนลงเปนเรื่อง ๆ ถามีลําดับเรงดวนหรือลําดับในการบรรลุความสําเร็จ
แลว ก็ใหกลาวไวดวยหนวยตาง ๆ ซึ่งไมเปนกองหนุนใหเรียงตามลําดับดังตอไปนี้
๑) หนวยบัญชาการผสมเหลาใหลงลําดับแรกหากทําได หมายถึงกองบัญชาการของ
หนวยบัญชาการที่ใหญที่สุดที่เปนหนวยรองของหนวยที่ออกคําสั่ง เชน หนวยรบเฉพาะกิจ เปนตน หนวย
บัญชาการผสมเหลาใหเรียงตามลําดับตัวอักษร หรือตามลําดับหมายเลข ตามความเหมาะสม
๒) หนวยกําลังรบที่ไมอยูในประเภทตามขอ ๑) ขางบนนีใ้ หเรียงตามลําดับ
ก) ทหารราบ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

ข) ทหารราบยานยนต
ค) ทหารราบเคลื่อนที่ทางอากาศ
ง) ทหารราบสงทางอากาศ
จ) หนวยยานเกราะใหลงหนวยรถถังเปนลําดับแรกและตามดวยหนวยโจมตี
บ.ปกหมุน หนวยทหารมา (กองพันทหารมายานเกราะของกองพล/กรมทหารมายานเกราะของกองทัพนอย)
และหนวยทหารมาอากาศ
ฉ) หนวยกําลังรบอื่น ๆ ตัวอยางเชน หนวยทหารชางที่ทําภารกิจการรบโดยตรง
เปนตน
ช) ทหารปนใหญ ขอทหารปนใหญนี้แบงในขอยอยลงไปอีก ขอแรกเปนเรื่องของปน
ใหญสนาม ขอที่สองเปนเรื่องของปนใหญปองกันภัยทางอากาศ และในขอที่สามเปนการอางถึงผนวกการยิง
สนับสนุน ในการเขียนปนใหญสนามนั้น ใหเขียนหนวยในอัตราและหนวยขึน้ สมทบเรียงตามลําดับหมายเลข
(หมายเลของกรม) เริ่มตนดวยหนวยที่มีหลายเลขนอยที่สดุ ในขอยอยปนใหญนใี้ หกลาวถึงการจัดปนใหญเพื่อ
ทําการรบ และการอางถึงผนวกการยิงสนับสนุน
๓) หนวยอื่น ๆ ที่ใหการสนับสนุนการรบ หนวยเหลานี้ใหเขียนเรียงตามลําดับตัวอักษร
ที่แสดงเหลา ภารกิจสนับสนุนทางการชวยรบตามปกติไมเขียนลงในนี้ ไมมีความจําเปนที่ตอ งเขียนหนวย
ตาง ๆ ทั้งสิ้นในหนวยบัญชาการ เวนไวแตเมื่อตองการใหคําแนะนําในการใชหนวยใดหนวยหนึ่งทางยุทธวิธี
โดยเฉพาะทั้งหนวย ตัวอยางเชน คําแนะนําแกหนวยทหารชางหนวยหนึ่งยอมเกี่ยวกับการสนับสนุนการรบซึ่ง
เปนสวนหนึ่งของภารกิจของหนวยเทานั้น
๔) หนวยกองหนุน การประกอบกําลังและคําแนะนําทีจ่ ะใหเขียนในขอยอยกอนขอยอย
สุดทายของขอ ๓. และเขียนคําวา “กองหนุน”
ในกรณีที่หนวยหนึ่ง ๆ เปนกองหนุนทั้งสิ้นในเวลาที่คาํ สั่งมีผลบังคับใชหนวยดังกลาว
จะเขียนลงในขอยอยนี้เทานัน้ (แมวาหนวยรองของหนวยในกองหนุนไปขึน้ สมทบหรือไปสนับสนุน
หนวยอื่นซึ่งไดรับมอบภารกิจตามที่กลาวมาในขอขางบนนี้) หนวยที่ไมเปนกองหนุนตามเวลาที่คําสั่งมีผล
บังคับใชแตไดกําหนดใหเปนกองหนุน ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต ใหเขียนลงไวในขอยอยกอนขอนี้ตาม
ความเหมาะสมและใหเขียนในขอยอยนี้ดว ย พรอมกับขอความวา เมื่อใดหรือภายใตภาวการณใดทีจ่ ะใหหนวย
นั้นเปนกองหนุนไวดว ย การเขียนหนวยตั้งแตสองหนวยหรือมากกวาในขอยอยนี้มไิ ดหมายความวาเปนการ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

ขึ้นสมทบเทานั้น
๕) ขอยอยสุดทายของขอ ๓. มีหัวขอวา “คําแนะนําในการประสาน” จะบรรจุรายละเอียดของ
การประสานงานและการควบคุมที่นํามาใชกับหนวยตาง ๆ ของหนวยบัญชาการตั้งแตสองหนวยขึ้นไป ลําดับ
ความเรงดวนและระเบียบการประสานงานสําหรับการใชหวงอากาศเหนือสนามรบก็เขียนลงที่นดี้ ว ย
๔. การชวยรบ
กลาวถึงคําชี้แจงทางการชวยรบที่เกีย่ วของ และหนทางซึ่งการสนับสนุนดังกลาวจะจัดทําขึ้นสําหรับ
การยุทธนั้น รวมทั้งอัตรากระสุนที่ใชได อัตรากระสุนพิเศษ และการแบงมอบสิ่งอุปกรณ รายการที่ขาดแคลน
ยิ่ง ถาคําสั่งการชวยรบยังมีผลบังคับใช หรือจายแยกตางหาก หรือถามีการแจกจายผนวกการชวยรบ ก็ให
อางถึงเรื่องเหลานั้น ขอ ๔. นี้มีขอยอยอยางไรก็ไดตามตองการ และถือตามลําดับและตามหัวเรื่องของขอ
ตาง ๆ ตามคําสั่งการชวยรบ
๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
คําแนะนําเกีย่ วกับการบังคับบัญชาและการปฏิบัติการติดตอสื่อสาร ขอนี้อาจมีขอยอยมากเทาใดก็ได
ตามความตองการ ตามธรรมดาแลวมีขอยอยสองเรื่อง คือ “การบังคับบัญชา” และ “การสื่อสาร” คําแนะนํา
ทางการบังคับบัญชาไดแก ที่ตั้งของที่บังคับการ (ทก.) ของหนวยรองและของหนวยเหนือ ในขอนี้ตองเขียน
การกําหนดทีบ่ ังคับการสํารองและการสืบตําแหนงการบังคับบัญชาไวดวย ถามิไดกําหนดเรื่องนีไ้ วใน รปจ.
คําแนะนําในการสื่อสารอาจอางถึงผนวกก็ได แตอยางนอยที่สุด ควรจะเขียนตัวเรื่องและจายหมายเลขกํากับ
ของคําแนะนําการปฏิบัติการสื่อสาร (นปส.)ที่ใชอยูใ นขณะนั้นไวดว ย
การตอบรับ
ขอนี้เปนสวนหนึ่งของทายคําสั่งซึ่งระบุไวในที่นี้ เปนการแสดงวาผูรับจะตองตอบวาไดรับและ
เขาใจในคําสั่งแลว โดยใชหมายเลขอางสาสนที่กําหนดไวในหัวขอคําสั่ง

ลายเซ็นของผูบังคับบัญชา
(หมายเหตุ ๔)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ผนวก : (ตามลําดับตัวอักษรพรอมดวยหัวขอเรื่อง)

การแจกจาย

การรับรองสําเนา : (หมายเหตุ ๔)

หมายเหตุ
๑. ชนิดของคําสั่งยุทธการ (เชน ทบ.,ทร.,ทอ.หรือรวม) ตามปกติแลวมักจะเขียนในเวลา
ปฏิบัติการยุทธผสมหรือการยุทธรวม ถาเปนคําสั่งภายในเหลาทัพเดียวแลวก็ไมตองบอกชนิดของ
คําสั่งยุทธการ ถาจําเปนอาจใชนามรหัสของการยุทธนั้นก็ได คําสั่งยุทธการของหนวยบัญชาการ
หนึ่ง ๆ นั้นใหเรียงหมายเลขตามลําดับจนครบรอบปปฏิทิน
๒. การอางผนวก อาจทําไดทุกโอกาสที่ตองการเพื่อใหผูอานเกิดความสนใจผนวกนั้น ๆ
ทั้งนี้ใหอางเพียงครั้งเดียวก็พอแลว
๓.เมื่อเขียนหนวยซึ่งมีทั้งหมายเลขลําดับของหนวยตนสังกัด และชื่อตามตัวอักษร
ทั้งสองอยาง ใหเขียนเรียงตามหายเลขตามลําดับและหนวยตนสังกัดและเขียนเรียงตามลําดับ
ตัวอักษรของหนวยตนสังกัดนั้น ถาหากมีมากกวาหนึ่งหนวยในหนวยตนสังกัดเดียวกัน
๔. ชือ่ และยศของผูบ ังคับบัญชาจะปรากฏอยูในสําเนาคําสั่งทุกฉบับ ตนฉบับของคําสั่ง
(หมายเลข ๑) ตองลงลายมือชื่อโดยผูบังคับบัญชา หรือโดยผูแทนผูมีอาํ นาจโดยเฉพาะคนใดคนหนึง่
ตนฉบับนี้เปนเอกสารทางประวัติศาสตรซึ่งจะเก็บรวมไวในแฟมของกองบัญชาการ ถาผูบังคับบัญชา
รอง หรือเสนาธิการลงนามในฉบับหลัก ซึ่งเมื่อสําเนาออกเปนคําสั่งที่มลี ายเซ็นเหมือนกันเชนนั้นได
ทุกฉบับโดยเครื่องพิมพอัตโนมัติแลว ก็ไมจําเปนตองมีการรับรองสําเนาอีก แตถามิไดลงนามไวใน
คําสั่งเชนนั้นสําเนาคําสั่งตอไปทุกฉบับจะตองมีการรับรองสําเนาโดยนายทหารฝายเสนาธิการ หรือ
นายทหารฝายอํานวยการของหนวยผูทําคําสั่งนั้น
๕. คําวา “ไมเปลี่ยนแปลง” “ใหดูแผนบริวาร” “ผนวก..” “สรุปขาวกรองที่...” “ไมมี”
ยอมใหเขียนลงได และตามขอเท็จจริงแลวอาจนํามาใชไดตามความจําเปนและตามที่เห็นสมควรเพื่อ
ทําใหคําสั่งสั้นลง ขอยอย ๑ ก., ๑ ข., ๑ ค., ๒., ๓.,๕. พรอมกับหัวเรื่องแตละขอควรจะมีอยูในคําสั่ง
ยุทธการเสมอ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๕
ตัวอยางที่ ๕ – ๒ แบบฟอรมคําสั่งการชวยรบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
(ไมเปลี่ยนแปลงจากคําสั่งดวยวาจา) ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ขอความ “ไมเปลี่ยนแปลงจากคําสั่งดวยวาจา” หรือ หนวยที่ออกคําสั่ง
ตําบลออกคําสั่ง
“ไมเปลี่ยนแปลงจากคําสั่งดวยวาจา เวนขอ..” ใหลง
กลุมตัวเลขแสดงวันเวลา
ไวที่นถี้ าไดมีการสั่งการดวยวาจาเกี่ยวกับการยุทธใน
ครั้งนี้ใหพิมพ ถาไมมีคําสั่งดวยวาจาใหปลอยวางไว ที่ลงนามในคําสั่ง
(หมายเลข ๑)
หมายเลขอางสาสน

คําสั่งการชวยรบที่.....(บอกชนิดและที่ของคําสั่ง) (หมายเหตุ ๒)

ตามคําสัง่ ยุทธการที่.....(ถาเกีย่ วของ)

อางถึง : (แผนที่ แผนผัง และเอกสารอื่นใดที่จําเปนเพื่อชวยใหเขาใจคําสั่งนี้)

เขตเวลา :

การประกอบกําลังและที่ตั้งของหนวยธุรการ และสงกําลังบํารุง

ขาวสารของขอนี้อาจลงไวทนี่ ี้ หรือลงไวในขออื่นที่เกีย่ วของในคําสั่ง หรือลงไวในแผนบริวารก็ได ถาไมลง


หนวยตาง ๆ ไวในทีน่ ี้ขอนี้กไ็ มตองมี
๑. สถานการณ
กลาวโดยทัว่ ไปถึงปจจัยทางธุรการ และการสงกําลังบํารุงที่มีผลกระทบกระเทือนตอการสนับสนุนการยุทธ
รวมทั้งขาวสารใด ๆ เกี่ยวกับสถานการณเปนสวนรวมโดยทั่วไปที่จําเปน เพื่อใหเขาใจถึงสถานการณปจจุบัน
เนื่องขากขาวสารนั้นมีอิทธิพลตอการสนับสนุนทางการชวยรบ
ก. กําลังฝายตรงขาม การประกอบกําลัง การวางกําลัง ที่ตั้ง การเคลื่อนยาย ยอดกําลังพล
โดยประมาณ และการพิสูจนทราบหนวยทหารฝายตรงขาม (อาจอางถึงคําสั่งยุทธการหรือผนวกขาวกรอง
ประกอบคําสั่งยุทธการซึ่งไดออกไปแลวหรือจะตองออก) กลาวถึงขีดความสามารถของฝายตรงขามที่สามารถ
กระทบกระเทือนตอภารกิจสนับสนุนทางการชวยรบได

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

ข. กําลังฝายเรา ขาวสารที่เกี่ยวของกับกําลังฝายเราซึ่งนอกเหนือจากทีก่ ลาวไวในคําสั่งยุทธการ


ที่อางถึง หรือหนวยตาง ๆ ที่กลาวไวในหัวขอตอไปของคําสั่งนี้ซึ่งยะมีผลกระทบกระเทือนโดยตรงตอภารกิจ
สนับสนุนทางการชวยรบ
๒. ภารกิจ
กลาวถึงภารกิจสนับสนุนทางการชวยรบเปนสวนรวมใหสั้นและชัดเจน

๓. กลาวทั่วไป
กลาวถึงแผนโดยทั่ว ๆ ไปสําหรับการสนับสนุนทางการชวยรบ และกลาวถึงคําสั่งใด ๆ ซึ่งไมอาจ
นํามาลงไวในหัวขอตาง ๆ ของคําสั่งได (เชน ที่ตั้งของพื้นที่สนับสนุนของกองพลในคําสั่งของกองพล ที่ตั้ง
ของหนวยหรือเขาหนาที่ประสานงาน คําแนะนําทัว่ ๆ ไป สําหรับการเคลื่อนยายสถานที่ตั้งตาง ๆ
๔. ยุทโธปกรณและบริการ
กลาวถึงขาวสารเกี่ยวกับสิ่งอุปกรณตาง ๆ (ความตองการประจําวันปกติ) การขนสง การซอมบํารุง
การกอสราง บริการอื่น ๆ และการแบงมอบแรงงาน เพื่อความมุงหมายในการสนับสนุนทางการชวยรบ
ก. การสงกําลัง ขอนี้อาจมีขอยอยสําหรับสิ่งอุปกรณแตละประเภท แผนที่ น้ํา สิ่งอุปกรณพิเศษ
ยุทโธปกรณเกินอัตรา ยุทโธปกรณเก็บซอม และยุทโธปกรณที่ยึดได เมื่อสามารถทําไดในแตละขอบอย
ใหกลาวถึงที่ตั้งของสถานที่ตั้งตาง ๆ ซึ่งเกี่ยวของกับการดําเนินการตอสิ่งอุปกรณ และยุทโธปกรณใหกับ
หนวยรับการสนับสนุน เวลาเปดหรือปดทําการ หนวยปฏิบัติการ หนวยรับการสนับสนุน ระดับการสงกําลัง
วิธีการและตารางกําหนดเวลาแจกจาย คําแนะนําในการเสนอรายงานตามปกติเกีย่ วกับสิ่งอุปกรณเฉพาะอยาง
ที่กําหนดให และคําแนะนํา หรือขาวสารที่เกี่ยวของอื่น ๆ ที่จําเปนสําหรับหนวยรับการสนับสนุน คําแนะนํา
และ/หรือาขาวสารที่เกี่ยวของกับสิ่งอุปกรณตั้งแตสองประเภทขึ้นไปทีต่ องปฏิบัติรวมกัน อาจนําลงเปนหนึ่ง
ขอยอยก็ไดในเมื่อตองการใหสั้น แตใหชัดเจน สําหรับ สป.๕ กลาวถึงการแตงตั้งและที่ตั้งของผูมีอํานาจ
อนุมัติการเบิกกระสุนอัตรากระสุนที่ใชได และอัตรากระสุนพิเศษตามความเหมาะสม
ข. การขนสง กลาวถึงที่ตั้งของตําบลปลายทางและสถานที่ตั้งตาง ๆ (สถานีรถไฟ สนามบิน
ทาเรือ และหาด) และหนวยปฏิบัติการ ตารางกําหนดเวลาตาง ๆ (ตารางการเดิน ตารางการเดินรถ ตารางเวลา
ขึ้นรถไฟ) มาตรการควบคุมและการจัดระเบียบการจราจร เชน ระเบียบ ขอหาม การแบงมอบลําดับเรงดวนใน
การใชเสนทาง และตําบลจัดระเบียบและควบคุมการจราจร และการกําหนดเสนหลักการสงกําลัง (สลก.)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

ขอความที่นํามาลงในขอยอยนี้ไมจาํ เปนจะตองจํากัดเพียงการปฏิบัติของเหลาทหารขนสงเทานั้น และอาจ


กลาวถึงการขนสงทางทะเล ชายฝง ทางถนน ทางรถไฟ ทางอากาศ ทางทอ และการขนสงเบ็ดเตล็ดดวยก็ได
ค. บริการ กลาวถึงขาวสารและ/หรือคําแนะนําสําหรับหนวยรับการสนับสนุน คือ กําหนดชนิด
ของบริการที่มีอยู ชื่อและทีต่ ั้งของหนวย หรือสถานที่ที่ใหบริการนัน้ การบรรจุ มอบใหหนวยรับสนับสนุน
และตารางกําหนดเวลาบริการถาเกี่ยวของ ภารกิจบริการสําหรับหนวยบริการซึ่งไมไดกลาวไวในคําสั่งอื่น ๆ
(เชน ลําดับเรงดวนในการทํางานของทหารชาง) อาจกลาวไวในขอยอยนี้ได กลาวถึงเรื่องตาง ๆ ลงในขอยอย
ขางลางนี้เกี่ยวกับสถานบริการ ที่ตั้งที่กําหนด หนวยปฏิบัติ และการบรรจุมอบหมายใหหนวยบริการตาง ๆ
นอกจากนี้ภารกิจพิเศษซึ่งไมไดกลาวไวในคําสั่งอื่น ๆ อาจจะมอบใหกบั หนวยบริการในขอยอยนี้
๑) การกอสราง
๒) บริการสนาม การซักรีด การอาบน้ํา การซอมแซมและแลกเปลี่ยนเสื้อผา การทําขนมปง
การลางพิษ การอาบน้ํายาเสือ้ ผา หรือการอาบน้ํายาเสื้อผาซ้ํา การทะเบียนศพ
๓) บริการเพื่อสุขภาพ เวชบริการ ทันตบริการ บริการการสัตว รวมทัง้ บริการหองทดลอง
บริการแวนตา บริการถายโลหิต เวชกรรมปองกัน และการอนามัย และสุขาภิบาล
๔) บริการสถานที่ตั้ง อสังหาริมทรัพย การซอมแซมและสิ่งสาธารณูปโภค การปองกันเพลิง
การถายเทสิ่งโสโครกและการกําจัดขยะ การประปา
๕) บริการอื่น ๆ การบิน การทําลายวัตถุระเบิด การถายรูป และการจัดหา
ง. แรงงาน กลาวถึงนโยบายเกี่ยวกับการใชพลเรือนและเชลยศึก และพลเรือนผูถูกคุมขัง/กักขัง
ขอหามในการใชพลเรือนและเชลยศึก การแบงมอบและลําดับเรงดวนของแรงงานที่มีอยู ชื่อและที่ตั้งของ
หนวยแรงงานที่มีอยู
จ. การซอมบํารุงกลาวถึงลําดับเรงดวนในการซอมบํารุงที่ตั้งของสถานการซอมบํารุง และตําบล
รวบรวมตาง ๆ
๕. การสงกลับสายแพทยและการรักษาพยาบาล
ในขอนี้ กลาวถึงขาวสารและคําแนะนําสําหรับหนวยรับการสนับสนุน เกีย่ วกับการกําหนดแผน
ในการสงกลับ และการรักษาพยาบาลใหกบั เจาหนาที่ฝายทหารที่ปวยไข หรือไดรับบาดเจ็บ
ก. การสงกลับ กลาวถึงที่ตรวจโรค ที่พยาบาลกองพัน ที่พยาบาลกรม และที่พยาบาลกองพล
กลาวถึงตําบลที่อยูตรงกันขามกับที่ตั้งของแตละสถานที่เหลานั้น เวลาเปดและปดทํางานหนวยปฏิบัติ และ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

หนวยรับการสนับสนุน ขอยอยนี้ควรจะกลาวถึง เสนทาง เครื่องมือ และตารางกําหนดเวลาในการสงกลับ และ


ความรับผิดชอบตาง ๆ ในการสงกลับนั้น เมื่อสามารถทําไดควรจะกลาวถึงนโยบายการสงกลับและนโยบาย
การรักษาพยาบาลดวย นโยบายโดยเฉพาะกับการสงกลับทางอากาศและสงกลับคนไขที่ไดรับพิเศษ นชค.
ก็นํามากลาวไวดว ย
ข. การรักษาพยาบาล กลาวถึงโรงพยาบาลตาง ๆ (โรงพยาบาลสงกลับ โรงพยาบาลประจําถิ่น
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลสนาม และสถานพักฟน ) โดยกลาวถึงที่ตั้งของแตละแหง เวลาเปดและปด
ทํางานและหนวยรับการสนับสนุนถาเห็นสมควร ถาไดกําหนดนโยบายที่แนนอนเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
คนไขที่ไดรับพิษจากสารเคมี ชีวะ หรือรังสีนิวเคลียร แลวก็ควรนํามาลงไวในขอยอยนี้
๖. การกําลังพล
ในขอนี้กลาวถึงบรรดาขาวสารและคําชี้แจงที่จําเปนทั้งปวงที่เกีย่ วกับเรื่องราวทางกําลังพล รวมทั้ง
แรงงานพลเรือนตางชาติที่ใชในหนาที่สนับสนุนทางการทหารโดยตรงดวย ในแตละหัวขอยอยขางลาง
ดังตอไปนี้เมื่อเห็นสมควร ก็ใหลงสถานที่ ที่ตั้ง และเวลาเปดและปดทําการ หนวยปฏิบัติ หนวย หรือพื้นที่
รับบริการ การพักผอน การลา และการหมุนเวียนผลัดเปลี่ยน และอัตราสวนที่แบงมอบใหกับหนวย หนวยที่
รับผิดชอบในการเคลื่อนยาย หรือปกครองกําลังพล รายงานที่ตองการใหทํา การเบิกหรือแผนเกี่ยวกับกิจการ
กําลังพล และการอางถึงเรื่องราวที่จําเปนตามคําสั่ง คําชี้แจง หรือ รปจ.ฉบับที่แลว ๆ มา
ก. การรักษายอดกําลังพลของหนวย
๑) การรายงานยอดกําลังพล กลาวถึงคําชี้แจงในการเสนอขอมูลที่ตองการ เพื่อทําให
ผูบังคับบัญชาทราบสถานภาพของยอดกําลังพลอยูเสมอ คําชี้แจงเหลานี้ควรรวมถึงความตองการสําหรับการ
รายงานตามปกติ และการรายงานพิเศษตามหลังเมื่อเกิดการโจมตีทําลายลางขนาดใหญ หรือเกิดภัยพิบตั ิทาง
ธรรมชาติ
๒) การทดแทนกําลัง กลาวถึงประกาศที่กําหนดขึ้นสําหรับการเบิกกําลังพลที่มีอยู คําชี้แจงใน
การเสนอใบเบิก คําชี้แจงในการดําเนินกรรมวิธีและการเคลื่อนยายกําลังทดแทน ทีต่ ั้งของหนวยกําลังทดแทน
และหนวยซึ่งจะสนับสนุน ชนิด และทีต่ ั้งของกําลังทดแทนเปนหนวยที่อยูภายใตการควบคุมของ
กองบัญชาการที่ออกคําสั่ง
ข. การจัดการกําลังพล

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๓๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

๑) การดําเนินการกําลังพล กลาวถึงขาวสารและ/หรือคําชี้แจงใด ๆ เกี่ยวกับการแบงประเภท


การบรรจุ การเลื่อนยศ การยาย การแบงประเภทใหม การลดยศ การปลด การเกษียณ การไลออก การฝก
การผลัดเปลี่ยน และการประหยัดกําลังพล
๒) กําลังพลพลเรือน กลาวถึงแหลงของแรงงานพลเรือน ที่ตั้งของสํานักงาน เจาหนาที่
พลเรือน หรือ ศูนยบริการแรงงานอื่น ๆ และแหลงรวมแรงงาน นโยบาย และระเบียบปฏิบัติในการจัดหา
ขอจํากัดในการใชแรงงานพลเรือน ระเบียบปฏิบัติในการปกครองและควบคุม ตารางกําหนดเวลาจายเงิน
อัตราคาจางและการสนับสนุนทางการชวยรบที่จัดให และความรับผิดชอบผูบังคับหนวยรองในการ
ปกครอง อางถึง รปจ. ตามที่เห็นสมควรหรืออาจกลาวถึงอัตราการจายเงินโดยเฉพาะ และสภาพการใชงาน
อื่น ๆ ไวเปนผนวกหนึ่งก็ได
๓) เชลยศึก และพลเรือนผูถูกกักกัน กลาวถึงคําแนะนําเกีย่ วกับการรวบรวมการพิทกั ษรักษา
การดําเนินกรรมวิธี การสงกลับ การใชประโยชน การปฏิบัติตอเชลยศึก และวินัยของเชลยศึก พลเรือนที่ถูก
กักกัน กําลังพลทั้งปวงที่ถูกจับกุม แตยงั ไมอาจพิสูจนวาเปนฝายใดโดยทันที ที่ตงั้ ของสถานอํานวยความ
สะดวกของเชลยศึก และพลเรือนผูถูกกักกัน
ค. การพัฒนาและรักษาขวัญ
๑) ขวัญ และบริการกําลังพล กลาวถึงขาวสารและ/หรือคําชี้แจงเกีย่ วกับการลา สิ่งอํานวย
ความสะดวกในการพักผอนหยอนใจ เครือ่ งราชอิสริยาภรณ เหรียญตรา และบําเหน็จรางวัล บริการไปรษณีย
และการเงิน ศาสนกิจ อนามัยสวนบุคคล กิจกรรมสวัสดิการรานคา กิจกรรมสงเคราะห และการชวยเหลือทาง
กฎหมาย
๒) การทะเบียนศพกลาวถึง ทีต่ ั้งของตําบลศพ ระเบียบปฏิบัติในการสงกลับ การเก็บรักษา
สิ่งของติดตัว และพิธีการศพที่จัดทําขึ้น คําชี้แจงที่กลาวถึงระเบียบปฏิบัติทาจะตองปฏิบัติในกรณีที่มีการแยก
ฝงเดี่ยว การฝงเปนกลุมกอน และ/หรือศพที่ไดรับพิษจะตองนํามากลาวไวในขอยอยนี้ หรือใน รปจ. ของ
หนวยดวย
ง. การรักษาวินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง กลาวถึงขาวสาร และคําชี้แจงเกี่ยวกับการทํางานและ
เกียรติภูมิของหนวยทหาร การควบคุมและการดําเนินการตอทหารพลัดหนวย รวมทั้งที่ตั้งของตําบลรวบรวม
ทหารพลัดหนวย และคําชี้แจงพิเศษสําหรับควบคุมทหารพลัดหนวยเพิม่ เติมในกรณีที่เกิดการโจมตีทําลาย
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

ลางขนาดใหญ คําแนะนําสําหรับการดําเนินงานธุรการของศาลทหาร และขาวสารหรือคําชี้แจงใด ๆ เกี่ยวกับ


ความสัมพันธระหวางเจาหนาที่ทหารกับฝายพลเรือน เชน ความใกลชิดสนิทสนม การคาตลาดมืด การขาย
ทรัพยสินของรัฐบาล และการเคารพตอกฎหมายทองถิ่น
จ. การจัดการในกองบัญชาการ กลาวถึง คําแนะนําเกีย่ วกับการเคลื่อนยาย การจัดระเบียบภายใน
การจัดหนวยงาน และการปฏิบัติงานของกองบังคับการ และการแบงมอบที่พกั กําบังในพื้นที่ของ
กองบัญชาการ
ฉ. เบ็ดเตล็ด กลาวถึง เรื่องราวทางกําลังพลใด ๆ ที่ไมไดมอบหมายโดยเฉพาะเจาะจงใหกับ
แผนกฝายเสนาธิการอื่น ๆ หรือที่ไมไดกลาวไวในขอยอยใดที่กลาวมาแลวขางตน

๗. กิจการพลเรือน
ก. ในขอนี้กลาวถึง บรรดาขาวสารและคําชี้แจง ตลอดจนนโยบายที่จําเปนทั้งปวงเกี่ยวกับเรื่องราว
ทั้งปวง
ข. การปฏิบัติการจิตวิทยา กลาวถึงรายละเอียดเกีย่ วกับการปฏิบัติการจิตวิทยา ตลอดจนหนวย
ปฏิบัติทางจิตวิทยาที่มีอยูหรือที่มาขึ้นสมทบ รวมทั้งกิจกรรมทางดานการปฏิบัติการจิตวิทยาทีห่ นวยจะตอง
ปฏิบัติ กลุมเปาหมายและลําดับความเรงดวนในการปฏิบัติตอกลุมเปาหมาย
ค. การประชาสัมพันธ กลาวถึงรายละเอียดในดานการประชาสัมพันธที่ตองปฏิบัติ
ง. การปลูกฝงอุดมการณทางการเมือง กลาวถึงรายละเอียดในการปลูกฝงอุดมการณทางการเมือง
ที่หนวยจะตองปฏิบัติ โดยระบุถึงเจาหนาที่ที่ปฏิบัติ กลุมเปาหมายทีจ่ ะปลูกฝงอุดมการณ ตลอดจนลําดับความ
เรงดวนในการปฏิบัติ/ขั้นตอนการปฏิบัติ
๘. เบ็ดเตล็ด
กลาวถึงคําแนะนําพิเศษที่ไมปรากฏในขอตาง ๆ ขางบนนี้
ก. เสนเขต ที่ตั้งของเสนเขตหลังและเสนเขตอื่น ๆ ที่จําเปนสําหรับความมุงหมายทางการชวยรบ
ข. การปองกัน มาตรการที่กําหนดขึ้นเพื่อปองกันหนวยและ/หรือสถานการณชวยรบในเรื่องนี้
มักประกอบดวยการประกาศใหหนวยยุทธวิธีใหความคุม ครอง หนวยหรือสถานการณชว ยรบที่รับความ
คุมครอง และปจจัยเกีย่ วกับเหตุการณใด ๆ ที่ตองใหความคุมครองการประกาศนี้เปนเพียงขาวสารสําหรับ
หนวยชวยรบไดทราบเทานัน้ ไมเปนคําสั่งใหหนวยยุทธวิธีเขาเกี่ยวของแตอยางใด คําแนะนําที่เกี่ยวของ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

จะไดจากแผนการพิทักษพื้นที่สวนหลัง หรืออาจอางถึงผนวกหรือทั้งสองประการที่ควรจะนําลงในขอยอยนี้
ดวย
ค. รายงานพิเศษ กลาวถึงรายงานตาง ๆ ที่ตองการใหสงแตตองไมกลาวไวในขอยอยตาง ๆ
ขางบนมาแลว หรือกลาวถึงรายงานที่ตองการเพงเล็งพิเศษ
ง. เรื่องราวทางการชวยรบอื่น ๆ กลาวถึงขาวสารและ/หรือคําชี้แจงที่ไดกลาวไวในขอยอย
ตาง ๆ ขางบนนี้
๙. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ขอนี้กลาวถึงที่ตั้งและการเคลื่อนยายกองบัญชาการ การจัดเจาหนาทีต่ ิดตอ คําชี้แจงในการบอกฝาย
และพิสูจนฝาย และกฎทั่ว ๆ ไปเกีย่ วกับการใชเครือ่ งมือสื่อสารและเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ เมื่อ
พิจารณาเห็นจําเปนอาจทําเปนผนวกก็ได
การตอบรับ : ...(หมายเหตุ ๔)

ลายเซ็นของผูบังคับบัญชา
(หมายเหตุ ๓)

ผนวก :

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา :

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

หมายเหตุ
๑. นีค้ ือเวลาที่แทจริงที่ผูบังคับบัญชาลงนามในคําสั่ง และเปนเวลาที่คําสั่งมีผล
บังคับใช นอกจากจะกลาวเปนอยางอื่นในขอ ๘ ขางบนนี้
๒. ชนิดของคําสั่งการชวยรบ ตามธรรมดาแลว มักจะบงไวสําหรับการยุทธรว ม
หรือการยุทธผสม สําหรับในเหลาทัพเดียวแลว ตามปกติมักเวนไมเขียนชนิดของคําสั่ง
การชวยรบ เมื่อตองการอาจใชชื่อรหัสก็ได
๓. ยศและนามของผูบังคับบัญชาปรากฏอยูในสําเนาคําสั่งทุกฉบับ คําสั่ง
ตนฉบับ (ฉบับที่ ๑) ตองใหผูบังคับบัญชา หรือผูแทนผูมีอํานาจโดยเฉพาะลงลายมือชื่อ
ถาเสนาธิการเปนผูลงนามใหใช คําวา “รับคําสั่ง” เพิ่มไปดวย คําสั่งฉบับที่ลงลายมือชื่อ
นี้เปนฉบับประวัติศาสตร เก็บไวในแฟมเอกสารของกองบัญชาการ
๔. ในกรณีที่ผูบังคับบัญชา หรือผูแทนผูมีอํานาจลงลายมือชื่อในฉบับหลัก
และสามารถผลิตสําเนาลายมือชื่อติดอยูด วยเครื่องพิมพอัตโนมัติ ไมจําเปนตองมีการ
รับรองสําเนา แตถาไมสามารถพิมพลายมือชื่อได นายทหารฝายอํานวยการผูทําคําสั่ง
เปนผูรับรองสําเนาทุกฉบับและในบรรทัดลายเซ็นของผูบังคับบัญชาจะพิมพยศ นาม
และนามสกุล

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๓
ตัวอยางที่ ๕ – ๓ แบบฟอรมระเบียบปฏิบัติประจําหนวยบัญชาการทางยุทธวิธี
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
กองบัญชาการ
ที่ตั้ง
วันเวลา

ระเบียบปฏิบัติประจํา

๑. กลาวทั่วไป
ก. ความมุงหมาย กลาวถึงเรื่องราวโดยทัว่ ๆ ไป และการใช รปจ. รวมทัง้ กรณีที่สามารถนําไปใช
ไดและกรณีพเิ ศษอื่นใดทีน่ ําไปใชไมได
ข. ความสอดคลอง คําแนะนําที่ตองการใหระเบียบปฏิบัตขิ องหนวยรองและหนวยสนับสนุน
สอดคลองกับ รปจ. นี้

๒. การบังคับบัญชาและการควบคุม
ในขอนี้บรรจุขาวสารเกี่ยวกับการนํา รปจ. ไปใชโดยทั่ว ๆ ไปในการปฏิบัติการรบ, การสนับสนุน
การรบ และการปฏิบัติการชวยรบของหนวยบัญชาการ
ก. การจัด ในเมือ่ สามารถทําได ใหกําหนดการจัดหนวยเฉพาะกิจทีต่ องจัดเสมอ ๆ และการจัด
หนวยสนับสนุนและหนวยขึ้นสมทบ
ข. ที่บังคับการ
๑) การประกอบกําลัง การเคลื่อนยายและการควบคุมที่บังคับการสํารองและการรับชวง
อํานาจการบังคับบัญชาของกองบัญชาการที่ออก รปจ. ศูนยปฏิบัติการทางยุทธวิธี
๒) ความตองการ และระเบียบปฏิบัติในการรายงานขาวสารเกี่ยวกับการบังคับการของ
หนวยรอง
ค. การติดตอและประสานงาน ความรับผิดชอบในการติดตอระหวางกองบัญชาการและความ
รับผิดชอบในการประสานงานระหวางกองบัญชาการ
ง. การติดตอสื่อสาร – อิเล็กทรอนิกสทุกฉบับซึ่งสามารถนําไปใชกับหนวยตาง ๆ ทั้งสิ้นของ
กองบัญชาการที่ออก รปจ. นีไ้ ด
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาจองเอกสาร)

๓. การประสานการปฏิบัติการรบ และการสนับสนุนการรบ
ในขอนี้ซึ่งอยูในตัวเรื่องของ รปจ. ใหบรรจุขาวสารการนําไปใชไดโดยทั่ว ๆ ไปไวประกอบกับ
อางถึงผนวกทีเ่ กี่ยวของตามความเหมาะสม ซึ่งจะกลาวถึงระเบียบปฏิบัติไวโดยละเอียด
ก. ขาวกรอง
๑) การลาดตระเวนและการเฝาตรวจ คําแนะนําเกีย่ วกับการจัดหา การดําเนินกรรมวิธีและ
การกระจายขาวสารซึ่งหามาไดโดยการลาดตระเวนทางพื้นดินและทางอากาศ หรือโดยเครื่องมือเฝาตรวจ
รวมทั้งระเบียบปฏิบัติในการขอการสนับสนุนดวย
๒) เชลยศึกและพลเรือนผูถูกคุมขัง/กักขัง ระดับหนวยและรายละเอียดในการซักถาม เพื่อให
ภารกิจทางการขาวกรองบรรลุความถูกตองอยางเต็มที่
๓) เอกสารที่ยึดได คําแนะนําในการเก็บรักษา และการดําเนินกรรมวิธีตอ เอกสารที่ยึดได
๔) ขาวกรองทางเทคนิค กําหนดรายการของยุทโธปกรณฝา ยตรงขาม ซึ่งตองการตรวจสอบ
และคําแนะนําในการดําเนินกรรมวิธีและการจําหนาย
๕) แผนที,่ ภาพถาย, แผนที่ภาพถาย และแบบจําลองภูมิประเทศ คําแนะนําเกี่ยวกับสิ่งที่มีอยู,
การเบิก และการแจกจาย
๖) ลมฟาอากาศ
๗) การตอตานการขาวกรอง คําแนะนําเกี่ยวกับการกําหนดมาตรการตอตานการขาวกรอง
ตามปกติและเปนพิเศษ รวมทั้งการตอตานการชาดตระเวน และการตอตานการแทรกซึม
๘) การตกธุลี การเฝาตรวจและการสํารวจรังสี, การคนหาสารเคมี และการสุมตัวอยาง
สารชีวะ
๙) เจาหนาที่ และหนวยขาวกรองที่ใหการสนับสนุนและที่ขนึ้ สมทบ
ข. ยุทธการ
๑) การประสานการยิงสนับสนุน ขอยอยนี้กลาวถึงการวางแผนและการดําเนินการสนับสนุน
เพื่อใหเปาหมายตาง ๆ ถูกครอบคลุมอยางเหมาะสมดวยอาวุธตาง ๆ ที่สมควร ซึ่งควรกลาวถึงระเบียบปฏิบัติ
เกี่ยวกับระบบการกําหนดหมายเลขเปาหมาย ความปลอดภัย การตรวจการณ การยิงของปนใหญสนาม การ
สนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด การสนับสนุนการยิงทางเรือ การปองกันภัยทางอากาศ การใชควันและการ
สองสวางในสนามรบ ประเภทความเสียหายจากนิวเคลียร
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

๒) การระวังปองกัน การรับผิดชอบหนวย ความตองการในการประสานงานและการรองขอ


ความชวยเหลือ
๓) การพัฒนาของสถานการณ คําชี้แจงพิเศษเกีย่ วกับการจัดตั้งและการดํารงการติดตอ และ
การทําใหงานการลาดตระเวนพิเศษโดยหนวยลาดตระเวน และหนวยระวังปองกันบรรลุความสําเร็จ
๔) สนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี ระเบียบปฏิบัตใิ นการเสนอคําขอ
๕) การใชอาวุธนิวเคลียร การแบงมอบอาวุธ อํานาจในการสั่งยิง แนวความปลอดภัย เกณฑ
การเสี่ยง และการรายงานผลของการยิงอาวุธนิวเคลียร
๖) การปฏิบัติการปองกันภัยทางอากาศ
๗) การปฏิบัติการบินทหารบก
๘) การปฏิบัติการเคมี
๙) การปฏิบัติการทหารชาง
๑๐) การปฏิบัติการติดตอสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส
๑๑) การปฏิบัติการของสารวัตรทหาร
๑๒) ฉากขัดขวางและการยุทธการขัดขวาง
๑๓) การปกปดและการลวงทางยุทธวิธี การจัดตั้งจุดควบคุมตลอดกิจกรรม
๑๔) การสงครามอิเล็กทรอนิกส
๑๕) การสงครามนอกแบบ
๑๖) การปฏิบัติการกิจการพลเรือน
ค. เทคนิค คําสั่งและรายงานทางยุทธการและทางการขาวกรองเกี่ยวกับการปฏิบัติการรบ และการ
สนับสนุนการรบ
ง. ขอพิจารณาพิเศษ
๑) ความคลองแคลว ในขอนีก้ ลาวถึงขาวสาร เชน การจัดหนวยการเดิน, การควบคุม, ลําดับ
เรงดวน, ความแนนและอัตราความเร็ว, การหยุดพัก, แสงไฟ, การผาน, การทําเครื่องหมายบนยานพาหนะ
และการรายงานอุบัติเหตุ
๒) การปฏิบัติการในเวลากลางคืน
๓) การจัดระเบียบและการประสานในการใชหวงอากาศ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

๔) การปฏิบัติเพื่อทําใหผลจากอาวุธนิวเคลียร เคมีและชีวะของฝายตรงขามลดนอยที่สุด
๕) การระวังปองกันพื้นที่สว นหลัง

๔. การประสานงานของการปฏิบัติการชวยรบ
ใหกลาวถึงระเบียบปฏิบัติสําคัญ ๆ ที่นําไปใชไดโดยทั่วไปในเนื้อเรื่องของ รปจ.นี้เทานั้น สวนใหญ
ของหัวเรื่องในขอยอยขางลางนี้จะอางถึงผนวกตาง ๆ ทีก่ ลาวถึงเรื่องราวในรายละเอียด
ก. กลาวทั่วไป ในขอยอยนี้กําหนดการจัดหนวยชวยรบตามปกติในการสนับสนุนการยุทธของ
หนวย ถาเปนเจาหนาที่ประสานงานเพียงหนวยเดียว เชน (ผูบังคับหนวยบัญชาการสนับสนุน) ก็ใหกลาวถึง
ขาวสารที่วานีด้ วย
ข. เทคนิคคําสั่ง และรายงานเกีย่ วกับการปฏิบัติการชวยรบ
ค. ระเบียบปฏิบัตโิ ดยละเอียด
๑) การสงกําลังบํารุง
ก) การประสานกิจการชวยรบภายในสายงานชวยรบแตละหนวย
ข) ยุทโธปกรณและบริการ
(๑) การสงกําลัง สิ่งอุปกรณทุกประเภท
(๒) การขนสง การขนสงทุกแบบ
(๓) บริการ (รวมทัง้ การซอมบํารุง) อาจทําเปนผนวก
๒) การกําลังพล
ก) การรักษายอดกําลังพลของหนวย
(๑) บันทึกและรายงานยอดกําลังพล ระเบียบปฏิบัติในการรายงานสถานภาพกําลัง
พล, การสูญเสียของหนวย
(๒) การทดแทนกําลัง
ข) การจัดการกําลังพล
(๑) การดําเนินการกําลังพล นโยบาย และกิจกรรมทางกําลังพลที่ใชในกําหนดการ
จัดการกําลังพล

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

(๒) กําลังพลพลเรือน นโยบายและระเบียบปฏิบัติสําหรับการจัดการกําลังพลตอ


บุคคลพลเรือนและชนชาติในทองถิ่น รวมทั้งหนวยพลเรือนประเภทเคลื่อนที่ และความรับผิดชอบของ
ผูบังคับหนวยรองในการปกครองดูแล การจายเงินและการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงตามสถานการณ
ตาง ๆ ซึ่งไดแก
(ก) การปรับปรุงแกไขยามฉุกเฉินของระบบการใชงานที่มีอยู
(ข) วิธีการปกครองในสถานการณที่เปลี่ยนแปลง และในสถานการณที่มี
เสถียรภาพ
(ค) การจัดและการบริหารของหนวยเคลื่อนที่
(๓) เชลยศึกและพลเรือนผูถูกคุมขัง/กักขัง ทุกขั้นตอนตามปกติในการดําเนิน
กรรมวิธี, การดูแล, การลงบัญชี และการสงกลับนอกจากการซักถาม
ค) การพัฒนาและการรักษาขวัญ
(๑) ขวัญและบริการกําลังพล ในขอนี้กลาวถึงการไมอยู ณ ที่ทํางานตามอนุมัติให
ทําได (การลา ๒๔ ชม., การพักผอนหยอนใจ, การลากิจ) เครื่องราชอิสริยาภรณและบําเหน็จรางวัล, ไปรษณีย,
สิ่งอุปกรณรานคา, การเงิน,อนุศาสนาจารย และสวัสดิการ
(๒) บริการทะเบียนศพ นโยบายในการเก็บและการดําเนินการตอศพของฝายเรา
และฝายตรงขาม
ง) การรักษาวินัย, กฎขอบังคับและคําสั่ง, การปฏิบัติและลักษณะทาทีของหนวยทหาร,
การควบคุมทหารพลัดหนวย และเรื่องราวทางวินยั อื่น ๆ
จ) การจัดการในกองบัญชาการ ที่นําไปใชกับที่บังคับการของกองบัญชาการที่ออก
รปจ. นี้เทานั้น
ฉ) เบ็ดเตล็ด เรื่องอื่น ๆ ที่ไมไดกลาวไวในขอยอยขางบน
๓) เรื่องราวการชวยรบเบ็ดเตล็ด
ก) ที่ตั้งของเสนเขตหลังและการกําหนดพื้นทีบ่ ริการ
ข) ความรับผิดชอบทางการชวยรบสําหรับการดําเนินการตออาวุธนิวเคลียร
๔) การควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่ ควรพิจารณาถึงบรรดาภัยพิบตั ิทั้งปวงที่อาจเกิดขึน้ ได
จะตองประสานกับแผนการพิทักษพนื้ ที่สวนหลัง
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

๕) การประชาสัมพันธและความสัมพันธกับชุมชน นโยบายเพื่อปรับปรุงความสัมพันธ
ระหวางทหารกับพลเรือนใหดีขึ้น

ลงชื่อ
(ผูบังคับบัญชา)

ผนวก : ก. การปฏิบัติภายในและการเคลื่อนยายกองบัญชาการ
ข. เชลยศึก พลเรือนผูถูกคุมขัง/กักขัง และยุทโธปกรณที่ยึดได
ค. การลาดตระเวนและการเฝาตรวจ
ง. การตอตานการขาวกรอง
จ. การประสานการยิงสนับสนุน
ฉ. การปฏิบัติเพื่อทําใหการโจมตีดวยเคมี, ชีวะ และนิวเคลียรลดนอยลงที่สุด
ช. การปองกันทางอากาศ
ซ. การบินทหาร
ด. การสงครามเคมี
ต. การเคลื่อนยาย
ถ. การสงครามนอกแบบ
ท. การปฏิบัติการจิตวิทยา
น. การระวังปองกันพื้นที่สว นหลัง
บ. เคมี
ป. ทหารชาง
ผ. การแพทย
ฝ. สารวัตรทหาร
พ. การติดตอสื่อสาร - อิเล็กทรอนิกส
ฟ. การสงกําลัง

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๔๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

ม. การบริการ
ย. การขนสง
ร. ความรับผิดชอบทางการชวยรบในการดําเนินการตออาวุธนิวเคลียร
ว. การควบคุมความเสียหายเปนพื้นที่

การแจกจาย :

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น)
(หน.ยก.)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๕๐
ตัวอยางที่ ๕ – ๔ ตัวอยางระเบียบปฏิบัติประจํากองบัญชาการชวยรบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ชอง หนา
หนา ของ หนา
หนวยบัญชาการชวยรบ
ที่ตั้ง
วันเวลา

ระเบียบปฏิบตั ิประจํา

ภาคที่หนึง่ – การจัด และการในหนาที่

ตอนที่ ๑ การใช
ในตอนนี้ กลาวถึงความมุงหมายและขอบเขตของระเบียบปฏิบัติประจํา และกลาวถึงการนําระเบียบ
นี้ไปใช
ตอนที่ ๒ การจัด
โดยอาศัยผังการจัดใหแสดงรูปการจัดของหนวยบัญชาการชวยรบ และกองบัญชาการของหนวย
บัญชาการชวยรบนั้น ๆ
ตอนที่ ๓ การในหนาที่
๑. ในขอกลาวทัว่ ไป ใหอธิบายถึงการประกอบกําลังของสวนหลักของการบัญชาการ (เชน สวน
บังคับบัญชาและสวนอํานวยการ) ความมุง หมายจองกองบัญชาการและความรับผิดชอบอยางกวาง ๆ และการ
ในหนาที่ของผูบังคับบัญชาและนายทหารฝายอํานวยการ
๒. ในขอตอ ๆ ไปใหกลาวถึงความรับผิดชอบโดยเฉพาะและการในหนาที่ของกองแผนกฝาย
อํานวยการ และของหนวยรองของหนวยบัญชาการ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๕๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ชอง หนา
หนา ของ หนา
(ระเบียบปฏิบตั ิประจํากองบัญชาการชวยรบ)

ภาคที่สอง – การปฏิบตั ิของฝายอํานวยการ

ตอนที่ ๑ ความสัมพันธระหวางผูบ ังคับบัญชากับฝายอํานวยการ


โดยการแยกเปนขอตางหาก ใหกลาวถึงความสัมพันธหลักระหวางสวนตาง ๆ ของหนวยบัญชาการ
ชวยรบ และระหวางหนวยบัญชาการชวยรบกับกองบัญชาการหนวยเหนือ หนวยขางเคียงและหนวยรับการ
สนับสนุน เรื่องราวตอไปนี้ตอ งแสดงไวอยางแนชัด กลาวคือ
๑. สายการบังคับบัญชาและสายทางเทคนิค
๒. ความรับผิดชอบซับซอน เชน บุคคลคนหนึ่งเปนทั้งผูบังคับบัญชาและนายทหารฝาย
อํานวยการ
๓. ความรับผิดชอบในการติดตอและการประสานกับหนวยบัญชาการหนวยเหนือ หนวยรองและ
หนวยขางเคียง
๔. ความรวมมือและการประสานกันระหวางแผนกฝายอํานวยการ

ตอนที่ ๒ การขาวกรอง
ในตอนนีใ้ หกลาวถึงความรับผิดชอบและกําหนดระเบียบปฏิบัติในบรรดาเรื่องราวทัง้ ปวงที่เกีย่ วกับ
การปฏิบัติการขาวกรองของหนวยบัญชาการ
ตอนที่ ๓ ประมาณการ แผน และคําสั่ง
ในตอนนีใ้ หกลาวถึงความรับผิดชอบและกําหนดระเบียบปฏิบัติในการจัดทําประมาณการ แผน และ
คําสั่ง
ตอนที่ ๔ การระวังปองกัน
ในตอนนีใ้ หกลาวถึงความรับผิดชอบในการพิทักษพนื้ ทีส่ วนหลังของสวนตาง ๆ ทั้งสิ้นของหนวย
บัญชาการ เรื่องนี้อาจจัดทําเปนผนวกประกอบ รปจ. หรือประกอบแผนยุทธการที่เกีย่ วขอก็ได

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๕๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ชอง หนา
หนา ของ หนา
(ระเบียบปฏิบตั ิประจํากองบัญชาการชวยรบ)

ตอนที่ ๕ การสงกําลังบํารุง
ในตอนนี้ กลาวถึงระเบียบปฏิบัติโดยละเอียดเกีย่ วกับการสงกําลัง, การกอสราง, การเคลื่อนยาย,
การซอมบํารุง, บริการ และแรงงาน ในตอนนี้มีความเกี่ยวของกับคําสั่งการชวยรบมาก และมีเรือ่ งราวเปน
อันมากที่ปรากฏใน รปจ.นี้ที่ไมจําเปนตองกลาวซ้ําอีกในคําสั่งการชวยรบ อยางไรก็ดี ก็ควรอางถึง รปจ.
ที่เกี่ยวของดวย รายละเอียดของการปฏิบัติการสงกําลังบํารุงตามปกติแลวจะแยกไปกลาวไวในผนวกตาง ๆ
กัน และในตัวเรื่องในขอนี้คงเขียนการอางอิงผนวกที่เกี่ยวของไวเทานัน้
ตอนที่ ๖ การกําลังพล
ในตอนนี้ กลาวถึงระเบียบปฏิบัติโดยละเอียดเกีย่ วกับเรือ่ งราวทั้งปวงของการจัดการกําลังพล และ
การปฏิบัติทางกําลังพล เรื่องราวดังตอไปนีค้ วรจะไดกลาวถึง คือ
๑. บันทึก และรายงานยอดกําลังพล
๒. การทดแทนกําลัง
๓. วินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง

ตอนที่ ๗ กิจการพลเรือน
ในตอนนี้ ควรกลาวถึงระเบียบปฏิบัติโดยละเอียดและสมบูรณเกีย่ วกับกิจกรรมทางดานกิจการ
พลเรือนที่เกี่ยวของกับการปกครอง การเศรษฐกิจ การสังคมจิตวิทยาในพื้นที่รับผิดชอบ โดยแยกออกเปนงาน
ยอย ๆ เชน การรักษาความสงบเรียบรอย การควบคุมประชาชนพลเรือน การหามออกนอกเขตบริเวณและ
ขอหามอื่น ๆ การสงกําลังพลเรือน การควบคุมเครื่องอุปโภคบริโภค การใชแรงงานพลเรือน การ
ประชาสัมพันธ การดําเนินการตอผูอพยพ ผูลี้ภัย การสนับสนุนการปองกันภัยฝายพลเรือน ฯลฯ
ตอนที่ ๘ ธุรการ
ในตอนนีก้ ลาวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องราวธุรการภายใน ซึ่งไมไดกลาวไวในตอนอื่น ๆ ของ
รปจ.นี้ กิจกรรมดังตอไปนีอ้ าจนํามากลาวไวในตอนนี้ คือ บริการไปรษณีย การจัดงานบันทึก, การติดตอ,
การพิมพ, รายงานเบ็ดเตล็ด, ระเบียบปฏิบัติทางฝายอํานวยการ, บันทึกของฝายอํานวยการ, การดํารงรักษา
บันทึกประจําวัน, แฟมนโยบาย, รายงานของหนวย, ระเบียบการแตงกาย, ชั่วโมงทํางาน,การควบคุมรายงาน,

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๕๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ หนา
หนา ของ หนา
(ระเบียบปฏิบตั ิประจํากองบัญชาการชวยรบ)

การควบคุมแบบฟอรม, บริการในสํานักงาน, บริการสื่อขาวและนําสาร, การเก็บเอกสารลับ, กิจกรรมการเงิน


และกิจกรรมรายไดของแผนดิน, การตรวจสอบและการสอบสวน และการในหนาทีท่ างธุรการ เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ
ตอนที่ ๙ การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ในตอนนีก้ ลาวถึงกิจกรรมตาง ๆ เชน ที่ตั้งของที่บังคับการ และคําชีแ้ จงพิเศษ และรายงานทีไ่ มได
กลาวไวในภาคอื่น ๆ ของ รปจ.นี้ และยังกลาวถึงคําแนะนําพิเศษเกี่ยวกับการติดตอสื่อสาร ซึ่งไมไดกลาวไว
ในผนวกการสือ่ สาร, คําแนะนําการสื่อสารประจํา และคําแนะนําการปฏิบัติการสื่อสาร

ลงนาม
(ผูบังคับบัญชา)
ผนวก :
ผนวกตาง ๆ ประกอบ รปจ. ทําใหการใช รปจ. สะดวกขึ้น และทําใหเรื่องราวในตัวเรื่องของ รปจ.
สั้น สมบูรณ แจมแจง และงาย โดยการใชผนวกขาวสารตาง ๆ ซึ่งถูกจํากัดขอบเขตหรือเปนเทคนิคในการใช
สามารถดึงออกจากตัวเรื่องของ รปจ.ได เรื่องราวในผนวกหนึ่ง ๆ นั้นไมจําเปนตองกลาวซ้ําในตัวเรื่องของ
รปจ.อีก อยางไรก็ดี ควรจะอางถึงผนวกตาง ๆ ที่เกี่ยวของ การใชผนวกยังทําใหการใช รปจ. สะดวก โดยการ
ยอมใหพิมพและแจกจายผนวกตาง ๆ เปนจํานวนมากกวาการพิมพ และการแจกจายตัว รปจ. รวมกับผนวก
ทั้งสิ้นดวย รายการผนวกดังตอไปนี้อาจกลาวไวใน รปจ.ของหนวยบัญชาการชวยรบ คือ
ผังการจัดหนวย
แผนบริวารชวยรบ
การขาวกรอง
การปฏิบัติการจิตวิทยา
การสงกําลัง
การซอมบํารุง
การกอสราง
บริการสุขภาพ
บริการสนาม

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๕๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ชอง หนา
หนา ของ หนา
(ระเบียบปฏิบตั ิประจํากองบัญชาการชวยรบ)

กระสุนวัตถุระเบิด
การสนับสนุนของอาวุธนิวเคลียร
การขนสง
การกําลังพล
ฝายธรรมนูญ
สารวัตรทหาร
การเงิน
การจัดหา
การพิทักษพื้นที่สวนหลัง (ในเมื่อไมไดพิมพเปนแผนยุทธการแยกตางหาก)
แผนเผชิญเหตุอื่น ๆ (ในเมื่อไมไดพิมพเปนแผนยุทธการแยกตางหาก)
ผนวกอื่นๆ ตามความเหมาะสม

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๕๕
ตอนที่ ๖

ตัวอยางคําสั่งยุทธการ
ตัวอยางที่ ๖ – ๑ คําสั่งการเคลื่อนยายทางถนนของกองพลยานเกราะ
(แบบแผนบริวาร)

แผนพับ
คําสั่งยุทธการที่ ๙ – พล.ยก.๒๓
การจัดเฉพาะกิจ
ฉก.ร.๑ ฉก.ร.๒
ร.พัน.๑ ร.พัน.๑
ร.พัน.๒ ร.พัน.๒
ร.พัน.๓ ร.พัน.๓
ม.พัน.๑ รอย.๑ ม.พัน.๑ รอย.๒
ฉก.ร.๓ นขต.พล.
ร.พัน.๑ ม.พัน.๒
ร.พัน.๒ หนวย ขว.ทหาร ๒๒๓๒ (ยังคงสมทบ)
ร.พัน.๓ ช.พัน.๒๓
ม.พัน.๑ (-) ส.พัน.๒๓
ป.๒๓ รอย.กพร.๒๒๑ (ยังคงสมทบ)
ป.พัน.๕๐ รอย.สห.๒๓
ป.พัน.๕๑ กรมสนับสนุน
ป.พัน.๕๒ พัน.ซบร.๒๓
ป.พัน.๕๓ พัน.สร.๒๓
ป.พัน.๕๔ พัน.สก.และ ขส.๒๓
ปตอ.พัน.๔๔๐

แผนพับ

แผนพับ ------------------- แผนพับ


(ประเภทเอกสาร)
๔๕๖

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม : ผนวก ก การขาวกรอง
ข. ฝายเรา : ทน.๑ เขาตีใน ๓ ก.ค....
ค. หนวยสมทบ และหนวยแกยก : การจัดเฉพาะกิจ

---------------------
แผนพับ (ประเภทเอกสาร) แผนพับ
แผนพับ
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

๒. ภารกิจ
กองพลเคลื่อนที่ใน ๐๑๒๐๓๐ ก.ค..... ดวยขบวน ๒ ขบวนไปยังบานทาสี เพื่อเปนกองหนุนของ
ทน.๑
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ กองพลจะเคลื่อนที่เปนสองเสน ทางจากกองหนุนของกองทัพ
ไปเปนกองหนุน ทน.๑ ตามผนวก ข ตารางการเคลื่อนยายทางถนน(เวน)
ข. ฉกร.๑ เคลื่อนที่ตามเสนทางแดง
ค. ฉก.ร.๒ เคลื่อนที่ตามเสนทางน้ําเงิน
ง. ฉก.ร.๓ ติดตาม ฉก.ร.๒
จ. ม.พัน.๒๒ เคลื่อนที่ ๐๑๑๙๐๐ ก.ค. ... ตามเสนทางแดง และเสนทางน้ําเงิน วางผูน ําทางและ
ปองกันพื้นที่รวมพลของกองพลใน ๐๒๐๒๐๐ ก.ค. ...
ฉ. ป.๒๓ ติดตาม ฉก.ร.๓
ช. นขต.พล.ติดตาม ฉก.ร.๑
ซ. กรมสนับสนุน ติดตาม นขต.พล.
ด. คําแนะนําในการประสาน สวนลวงหนาเคลื่อนที่พรอม ม.พัน.๒๒
๔. การชวยรบ
ไมมี
๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. ทก.พล.ระหวางการเคลื่อนที่อยูหวั ขบวน นขต.พล.
ข. ผนวก ค การสือ่ สาร นปส.ดรรชนี ๒ – ๓ ยังคงเงียบรับฟง
ตอบรับ :
พล.ต. ชัย อาจหาญ
๔๕๗
( ชัย อาจหาญ )
ผบ.พล.ยก.๒๓

แผนพับ
แผนพับ
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ผนวก : ก การขาวกรอง (เวน)


ข ตารางการเคลื่อนยายทางถนน (เวน)
ค การสือ่ สาร (เวน)

การแจกจาย :

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.ท.สมศักดิ์ รักสมบัติ
(สมศักดิ์ รักสมบัติ)
๔๕๘
แผนพับ

ตัวอยางที่ ๖ – ๒ คําสั่งการเขาตีของกองพลยานเกราะ (แบบแผนบริวาร)


แผนพับ
คําสั่งยุทธการที่ ๙
อางถึง : แผนที่พิเศษ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวางรัตนคีรี
การจัดเฉพาะกิจ
ฉก.ร.๑ ฉก.ร.๒
ร.๑ ร.๒
ม.พัน.๑๑ ม.พัน.๓
ป.พัน.๕๐ (ชต.) ป.พัน.๕๑ (ชต.)
ปตอ.พัน.๔๔๐ รอย.๑ ปตอ.พัน.๔๔๐ รอย.๒
ช.พัน.๒๓ รอย.๑ ช.พัน.๒๓ รอย.๒
ช.พัน.๒๓ รอย.๕ หมู ช. ช.พัน.๒๓ รอย.๕ หมู ช.
รอย สห.๒๓ มว.๑ รอย สห.๒๓ มว.๒
ฉก.ร.๓ ป.๒๓
ร.๓ ป.พัน.๕๒
ม.พัน.๑๔ ป.พัน.๕๓
ม.พัน.๑๕ ป.พัน.๕๔
ช.พัน.๒๓ รอย.๓ ป.พัน.๖๓๑ (๑๕๕, อจ)
(สมทบมีผลใน ๐๑๑๔๐๐ มิ.ย....)
ปตอ.พัน.๔๔๐ (-)
นขต.พล.
ม.พัน.๒๒
ช.พัน.๒๓ (-)
รอย.ช.๕๕๓๕ (เครื่องหนุนลอย) (สมทบมีผลใน ๐๑๑๖๐๐ มิ.ย....)
หนวยแยก ขว.๒๒๓๙ (ยังคงสมทบ)
ส.พัน.๒๓
รอย.กร.๒๑๓ (ยังคงสมทบ)
รอย.สห. (-)
กรม.สน.
พัน.ซบร.๒๓
พัน.สร.๒๓
แผนพับ
๔๕๙
พัน.สก.และ ขส.๒๗
แผนพับ
๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม : ผนวก ก การขาวกรอง
ข. ฝายเรา
๑) ทน.๑ เขาตีใน ๐๒๐๓๓๐ มิ.ย.... ดวยกําลังสองกองพล พล.ยก.๒๓ ทางดานตะวันตก
(ซาย) และ พล.ร.๒๐ ทางดานตะวันออก (ขวา) เขายึดเมืองรัตนคีรี (๕๐๘๐) และเตรียมการเขาตีตอไปทาง
ทิศเหนือ
๒) พล.ยย.๕๕ ติดตามและสนับสนุน พล.ยก.๒๓
๓) ม.ยก.๒๐๑ ปองกันปกตะวันตกของ ทน.
๔) กําลังของ ทอ.ยุทธวิธีที่ ๙ สนับสนุน พล.ยก.๒๓
๕) ป.พัน.๖๗๑ (๘ นิ้ว อจ.) เพิม่ เติมกําลังยิง ป.๒๓
ค. หนวยขึ้นสมทบและหนวยแยก : การจัดเฉพาะกิจ

๒. ภารกิจ
กองพลเขาตีใน ๐๒๐๓๓๐ มิ.ย.... เขายึดทาขามลําน้ําสามสมอ และเตรียมการเขาตีตอไปทาง
ทิศเหนือ
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) เจตจํานงของผูบ ังคับบัญชา
* * * * * * *
๒) กลยุทธ กองพลเขาตีผาน พล.๕๕ ดวยกําลัง ๒ กรม ร. ฉก.ร.๑ ทางดานตะวันตก ฉก.ร.๒
ทางดานตะวันออก ฉก.ร.๓ เปนกองหนุน เขายึดทาขามลําน้ําสามสมอระหวางบานปาดิบ (๔๔๘๓) กับบาน
กวางนอย (๔๕๐๐) ในเขต และเตรียมการเขาตีตอไปทางเหนือ
๓) การยิง การยิง ป.ชร.จะใชเพื่อตัดรอนกําลังกองหนุนของฝายรุกรานบริเวณพืน้ ที่ทจ่ี ะผาน
การยิงเตรียม ๓๐ นาที จะเริม่ ยิงใน น – ๒๐ นาที (ผนวก ข การยิงสนับสนุน)

แผนพับ
๔๖๐
แผนพับ ----------------------- แผนพับ
(ประเภทเอกสาร)

ข. ฉก.ร.๑
ค. ฉก.ร.๒
ง. ม.พัน.๒๒ เคลื่อนที่ตาม ฉก.ร.๒ ตั้งแตเริ่มตน ปองกันปกตะวันออกของกองพล
๔๖๑
แผนพับ ----------------------- แผนพับ
(ประเภทเอกสาร)

แผนพับ ชุดที่ ของ ชุด


จ.ป. หนา ของ หนา
๑) ป.สนาม พล.ยก.๒๓
ก) ป.พัน.๕๐ : ชต.ร.๑ บานทุง (๔๐๘๐)
ข) ป.พัน.๕๑ : ชต.ร.๒ ๐๑๐๙๐๐ มิ.ย....
ค) ป.พัน.๕๒ : ชร.เตรียม ชต.ร.๓ เมื่อสั่ง ยก.๐๑๐
ง) ป.พัน.๕๓ : พย.ป.พัน.๕๑
จ) ป.พัน.๕๔ : พย.ป.พัน.๕๐
ฉ) ป.พัน.๖๓๑ ชร.

๒) ปภอ. ปตอ.พัน.๔๔๐ (-) ปองกันตามลําดับเรงดวน คือ ป.พัน.๕๔, ป.พัน.๕๓ และ


ทก.พล.
๓) ผนวก ข การยิงสนับสนุน
ฉ. ช.พัน.๒๓ (-) : ผนวก ค ทหารชาง
ช. นขต.พล. : เคลื่อนที่ตาม ฉก.ร.๑
ซ. กรมสนับสนุน : ในตอนเริม่ ตน คงตั้งอยู ณ ที่ตั้งปจจุบนั
ด. กองหนุน : ฉก.ร.๓ เคลื่อนที่ตาม ม.พัน.๒๒ ในระหวางการผานแนว หลังจากนั้นเคลื่อนที่ตาม
ฉก.ร.๒ เตรียมการเขาปฏิบัติภารกิจของ ฉก.ร.๒ หรือ ฉก.ร.๑ ตามลําดับ เตรียมการปองกันปกตะวันออกของ
กองพล
ต. คําแนะนําในการประสาน
๑) หนวยนําประสานการผานแนวในเขต
๒) ผนวก ง ตารางการเคลื่อนยายทางถนน

๔. การชวยรบ
ผนวก จ การชวยรบ

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ผนวก ฉ การสือ่ สาร นปส.ดรรชนี๑ – ๓ เงียบรับฟงตอไปจนถึง น – ๒๐ นาที
ตอบรับ :
พล.ต.ปรารภ ชอบธรรม
(ปรารภ ชอบธรรม)
ผบ.พล.ยก.๒๓
๔๖๒

แผนพับ
แผนพับ

ผนวก : ก การขาวกรอง (เวน)


ข การยิงสนับสนุน (เวน)
ค ทหารชาง (เวน)
ง ตารางการเคลื่อนยายทางถนน (เวน)
จ การชวยรบ (เวน)
ฉ การสื่อสาร (เวน)
การแจกจาย : แบบ ก
เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.ท.เลิศชาย ศรีสวัสดิ์
๔๖๓
แผนพับ
ตัวอยางที่ ๖ – ๓ คําสั่งการโจมตีของกองพลสงทางอากาศ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
พล.สอ.๑๐๒
บานทาแขก
๒๑๐๙๓๐ ม.ค.๒๕...
ยก.๐๐๘
คําสั่งยุทธการที่ ๒
อางถึง : แผนที่ในประเทศไทย ๑ : ๕๐๐,๐๐๐ ระวางบานดอกสัก และ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวางบานนารวม
การจัดเฉพาะกิจ
สวนโจมตี
ฉก.ร.๑ ฉก.ร.๒
ร.พัน.๓๑๑ สอ. ร.พัน.๓๑๔ สอ.
ร.พัน.๓๑๒ สอ. ร.พัน.๓๑๕ สอ.
ร.พัน.๓๑๓ สอ. ร.พัน.๓๑๖ สอ.
ป.พัน.๕๗ ป.พัน.๕๘
ช.พัน.๑๐๒ รอย ๑ ส.พัน.๑๐๒ รอย.๒ มว.๒
ส.พัน.๑๐๒ รอย.๒ มว.๑ ชุดควบคุมอากาศยานทางยุทธวิธี ๔ ชุด
ชุดควบคุมอากาศยานทางยุทธวิธี ๔ ชุด หนวยแยก รอย.สกอ.๑๐๒
หนวยแยก รอย.สกอ.๑๐๒ พัน.สร.๑๐๒ รอย.๒
พัน.สร.๑๐๒ รอย.๑ รอย.สห.๑๐๒ มว.๒
รอย.สห.๑๐๒ มว.๑
ฉก.ร.๓ ป.๑๐๒
ร.พัน.๓๑๗ สอ. บก.รอย บก.ป.สอ.๑๐๒
ร.พัน.๓๑๘ สอ. นขต.พล.
ป.พัน.๕๙ ร.พัน.๓๑๙ สอ.
ช.พัน.๑๐๒ รอย.๓ ชุดควบคุมอากาศยานทางยุทธวิธี ๑ ชุด
ส.พัน.๑๐๒ รอย.๒ มว.๓ ม.พัน.๒๘
ชุดควบคุมอากาศยานทางยุทธวิธี ๒ ชุด พัน.บ.๑๐๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๖๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๒ – พล.สกอ.๑๐๒)

หนวยแยก, รอย.สกอ.๑๐๒ ช.พัน.๑๐๒ (-)


พัน.สร.๑๐๒ รอย.๓ ส.พัน.๑๐๒ (-)
รอย.สห.๑๐๒ มว.๓ รอย.สห.๑๐๒ (-)
กรมสนับสนุน (-) สวนติดตาม
หนวยแยก, รอย.สกอ.๑๐๒ กรมสนับสนุน (-)
หนวยแยก, รอย.สกอ.๑๐๒ บก.และรอย.บก. (-)
พัน.สร.๑๐๒ (-) ส.พัน.๑๐๒ รอย.๒ มว.ปฏิบัติการ
สวนหลัง หนวยแยก, รอย.สกอ.๑๐๒
กรมสนับสนุน (-) พัน.ซบร.๑๐๒
ส.พัน.๑๐๒ รอย.๑ มว.ปฏิบตั ิการสวนหลัง หนวยแยก บก.
รอย.สกอ.๑๐๒ (-) พัน.ซบร.๑๐๒ รอย.๑ (-)
พัน.ซบร.๑๐๒ รอย.๑ มว.สนับสนุน ซบร. พัน.ซบร.๑๐๒ รอย.๒

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม : ผนวก ก การขาวกรอง
ข. ฝายเรา
๑) ทน.๑ เขาตีไปทางทิศเหนือจากที่มั่นปจจุบนั เพื่อทําลายกําลังฝายตรงขามในเขต
๒) กกล.ผสม ฟาคีรี เขาตีในวัน ว ในบริเวณ ม.ทาขาม (๖๒๕๗๗๓) โดยการโจมตีสงทาง
อากาศดวยกําลัง พล.สอ.๑๐๒, กองบิน ๓๐ ใหการเคลื่อนยายทางอากาศ
๓) กองโจรของฝายเราชวยเหลือในวัน ว และภายหลังวัน ว และภายหลังวัน ว โดยขัดขวาง
การเคลื่อนยายของกําลังเพิ่มเติมของฝายตรงขามไปยังทาขาม
๔) กองบินยุทธวิธี ๙ ดํารงการครองอากาศและใหการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชดิ ตอ
กกสล.ผสม ฟาคีรี
ค. หนวยแยกและหนวยขึ้นสมทบ : การจัดเฉพาะกิจ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๖๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๒ – พล.สกอ.๑๐๒)

๒. ภารกิจ
พล.สอ.๑๐๒ เขาตีในวัน ว เวลา น เพื่อยึดทาขามลําน้าํ มหาชลในบริเวณ บ.ทาขาม สกัดกั้นการ
เคลื่อนยายของฝายตรงขาม และชวยเหลือการผานแนวของ พล.ยก.๒๒
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ : ผนวก ข แผนบริวารยุทธการ
๑) เจตนารมณของผูบังคับบัญชา
* * * * * * *
๒) กลยุทธ
ก) การยุทธครั้งนี้เกี่ยวของกับการโจมตีสงทางอากาศในเวลากลางวัน เพื่อเขายึด
หวงอากาศแหงเดียว พล.สอ.๑๐๒ จะตองเขายึดหวงอากาศหนึ่งแหง ซึ่งรวมถึงทาขามลําน้ํามหาชลไวดว ย
และจะตองสกัดกั้นการเคลื่อนยายของฝายตรงขามในบริเวณ ม.ทาขาม ไวจนกวาจะเขาบรรจบกับ พล.ยก.๒๓
ข) สวนโจมตีจะเขายึดทาขามเรือมหาชล ในบริเวณ ม.ทาขามไว และทําลายลางการ
ตานทานอยางมีระเบียบของฝายตรงขามภายในหัวอากาศ
ค) การยุทธในลําดับตอไปภายในหัวอากาศจะทําเพื่อใหมนั่ ใจวาการตั้งรับตามแนว
หวงอากาศสามารถปองกันทาขามตาง ๆ ไดจนกวาจะเขาบรรจบกัน
๓) การยิง การโจมตีทางอากาศ กอนการปฏิบัติการจะเริ่มในเวลา น – ๓๐ นาที และหยุด
ในเวลา น – ๑ นาที การโจมตีทางอากาศจะทําลายหรือตัดรอนกําลังฝายตรงขามในพืน้ ที่เปาหมายทัว่ ๆ ไป
ข. ฉก.ร.๑ เตรียมการเพื่อเขาบรรจบกับ พล.ยก.๒๓ ใน วัน ว + ๓
ค. ฉก.ร.๒
ง. ฉก.ร.๓
จ. ม.พัน.๒๘ ทําการลาดตระเวนขางหนา ขนพร.จนถึงระยะ ๒๐ กิโลเมตร ตามลําดับความ
เรงดวน คือทางหลวงหมายเลข ๒๓, ๖๒, ๔๙ และ ๕๑
ฉ. การยิง
๑) ปนใหญสนาม
ก) ป.พัน.๕๗ สมทบ ฉก.ร.๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๖๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๒ – พล.สกอ.๑๐๒)

ข) ป.พัน.๕๘ สมทบ ฉก.ร.๒


ค) ป.พัน.๕๙ สมทบ ฉก.ร.๓
๒) ผนวก ค การยิงสนับสนุน
ช. พัน.บ.๑๐๒ : ผนวก ง การบิน
ซ. ช.พัน.๑๐๒ : ผนวก จ ทหารชาง
ด. กองหนุน : ร.พัน.๓๑๙ เตรียมการเพื่อใชกําลังตามลําดับความเรงดวน ไดแก ฉก.ร.๑, ฉก.ร.๒,
ฉก.ร.๓
ต. คําแนะนําในการประสาน
๑) วัน ว เวลา น จะแจงใหทราบลวงหนา ๗ วัน
๒) คําสั่งใหใชแผนสํารอง การเลื่อนกําหนดเวลาหรือการยกเลิกเปนอํานาจของ ผบ.พล.สอ.
๑๐๒ เทานัน้
๓) ผนวก ฉ แผนการตีโตตอบ
๔) ผนวก ช การเคลื่อนยายทางอากาศ
๕) ผนวก ซ การแจกจาย

๔. การชวยรบ : คําสัง่ ชวยรบที่ ๓

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ทก.พล.ที่ ๖๗๘๙๕๐
๒) หนวยรองรายงานที่ตั้ง ทก.
ข. การสื่อสาร
๑) ผนวก ด การสื่อสาร
๒) นปส.ดรรชนี ๑ - ๕
ตอบรับ :
พล.ต. สามารถ ราชประชา
( สามารถ ราชประชา )
ผบ.พล.สอ.๑๐๒
------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๖๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๒ – พล.สกอ.๑๐๒)

ผนวก : ก การขาวกรอง (เวน)


ข แผนบริวารยุทธการ
ค การยิงสนับสนุน (เวน)
ง การบิน (เวน)
จ ทหารชาง (เวน)
ฉ แผนการตีโตตอบ (เวน)
ช การเคลื่อนยายทางอากาศ (เวน)
ซ การแจกจาย (เวน)
ด การสื่อสาร (เวน)

การแจกจาย : ผนวก ซ

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.ท. สุริยา มาเร็ว
(สุริยา มาเร็ว)
หน.ยก.พล.สอ.ร.๑๐๒

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๖๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ผนวก ข (แผนบริวารยุทธการ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ พล.สกอ.๑๐๒


อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๕๐๐,๐๐๐ ระวางบานดอกรัก และ ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวางบานนารวม

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๖๙
ตัวอยางที่ ๖ – ๔ คําสั่งการตั้งรับของกองทัพนอย
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทน.๑๑
บานชองเขา (WL ๔๖๒๕)
๑๘๑๒๐๐ ส.ค.๒๕...
ยก.๐๐๒

คําสั่งยุทธการที่ ๖

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวาง เมืองกบินทร

การจัดเฉพาะกิจ : ผนวก ก การจัดเฉพาะกิจ

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม:ผนวก ข การขาวกรอง
ข. ฝายเรา
๑) ทภ.๑ ตั้งรับจากเมืองสามเขา (***) ถึงเมืองเสียมงาน (***) โดยให ทน.๑๓ อยูทางเหนือ,
ทน.๑๑ อยูก ลาง และ ทน.๑๒ อยางทางใต
๒) กองบินยุทธวิธีที่ ๔ สนับสนุน ทภ.๑
ค. หนวยสมทบและหนวยแยก : ผนวก ก การจัดเฉพาะกิจ

๒. ภารกิจ
ทน.๑๑ ตั้งรับในเขตตั้งแต *** ถึง *** ใน ๒๐๑๒๐๐ ส.ค., จัดสวนกําบังของกองทัพนอยตามแนว
ลําน้ํา น้ําเงิน และรั้งหนวงฝายรุกรานขางหนา ขนพร.จนถึง ๒๒๒๔๐๐ ส.ค.,
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ : ผนวก ค แผนบริวารยุทธการ
๑) เจตนารมณของผูบังคับบัญชา
* * * * * * *
๒) กลยุทธ ทน.๑๑ ตั้งรับในเขต แบงเปนสามขั้น
ก) ขั้นที่ ๑ ทน.๑๑ ตั้งรับในเขตดวยกําลังสามกองพล ในพื้นที่ตั้งรับหนา พล.ร.๑๙
อยูทางเหนือ, พล.ยย.๕๓ อยูก ลาง และ พล.ยย.๕๔ อยูทางใต และรั้งหนวงฝายรุกรานขางหนาแนวที่มั่นตั้งรับ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทน.๑๑)

จนถึง ๒๒๒๔๐๐ ส.ค. พล.ยก.๒๕ จัดกําลังเปนสวนกําบังของกองทัพนอยตามแนวลําน้าํ น้ําเงินและ


ปฏิบัติการกําบัง
ข) ขั้นที่ ๒ เมื่อสวนกําบังทําการถอนตัว ทน.๑๑ ยังคงทําการตั้งรับอยูไ มยอมใหฝาย
ตรงขามเจาะทะลุเลยแนวน้ําตาลได, พล.ยก.๒๕ เตรียมปฏิบัติการตีโตตอบ ตามลําดับความเรงดวน คือ
ในพื้นที่รับผิดชอบของ พล.ยย.๕๓
ค) ขั้นที่ ๓ ทน.ทําการตีโตตอบเพื่อทําลายกําลังฝายตรงขามที่เจาะทะลุพนื้ ที่ตั้งรับเขามา
ได
๓) การยิง
ก) ทางอากาศ ลําดับความเรงดวนในการสนับสนุนทางอากาศใกลชิด คือสวนกําบัง
กองพลที่อยูในพื้นที่ตั้งรับหนา และสนับสนุนกําลังตีโตตอบ (อนุผนวก ๑ การสนับสนุนทางอากาศ ประกอบ
ผนวก ง การยิงสนับสนุน)
ข) ปนใหญ ลําดับความเรงดวน คือ สวนกําบัง, กองพลที่อยูในพื้นที่ตงั้ รับหนา และ
สนับสนุนกําลังตีโตตอบตามคําสั่ง (อนุผนวก ๒ การสนับสนุนการยิงดวยปนใหญ ประกอบผนวก ง การยิง
สนับสนุน)
ข. พล.ร.๑๙ : ตั้งรับในเขต รักษาเนิน ๔๕๐ และ ๓๙๐
ค. พล.ยย.๕๓
๑) จัดตั้งที่มั่นรั้งหนวงขัน้ ตนตามแนว ขนพร.ในเขต
๒) เมื่อสวนกําบังของ ทน.ทําการถอนตัวผาน ขนพร.รั้งหนวงในเขตและรักษาเนิน ๓๒๐
ง. พล.ยย.๕๔ ตั้งรับในเขตและรักษาสันเนิน ๔๑๐ - ๓๖๙
จ. พล.ยก.๒๕
๑) จัดกําลังเปนสวนกําบังของ ทน.ตามแนวลําน้ํา น้ําเงิน รั้งหนวงฝายรุกรานขางหนาแนว
ที่มั่นตั้งรับใหไดเวลาอยางนอยที่สุดถึง ๒๒๒๔๐๐ ส.ค.
๒) ภายหลังที่บรรลุภารกิจของสวนกําบังแลว เปนกองหนุนของ ทน.
๓) ยกเลิกการสมทบ ม.ยก.๒๐๑ เมื่อถอนตัวผาน ขนพร.
ฉ. ม.ยก.๒๐๑
๑) สมทบ พล.ยก.๒๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทน.๑๑)

๒) เตรียมแยกการสมทบเมื่อถอนตัวผาน ขนพร. แลว และรวมพลเปนกองหนุนของ ทน.


ที่บริเวณทาสําลี (BM ๑๕๕๐)
ช. ปนใหญ
๑) ปนใหญสนาม
ก) ป.๒๕ ซร. เมื่อภารกิจของสวนกําบังสําเร็จแลว ไปอยูใ นความควบคุมของ พล.ยก.
๒๕ เมื่อเขาทําการรบ
ข) พวก ป.๖๔
(๑) สมทบกับ พล.ยก.๒๕ ในตอนตน
(๒) เมื่อปฏิบัติภารกิจของสวนกําบังเสร็จแลวไปอยูในความควบคุมของ ป.ทน.
และ ชร. – พย ป.๑๔
ค) พวก ป.๖๖ : พย.ป.๕๓
ง) พวก ป.๖๗ ชร. – พย ป.๕๔
จ) พวก ป.๖๘ : ชร.
ฉ) พัน.คปม.ที่ ๑ : ชร.
ช) ป.๒๑๒ พัน.๑ (SGT) : ชร.
๒) ปภอ.(พวก ปตอ.๔๐๕)
ก) ใหการปองกันภัยทางอากาศระยะต่ําและระยะสูงปานกลาง ในพืน้ ทีป่ ฏิบัติการของ
ทน. ลําดับความเรงดวน คือ กองหนุนของ ทน., ป.๒๑๒ พัน.๑ (SGT), ทก.ทน.
ข) ผนวก จ การปองกันภัยทางอากาศ
๓) ผนวก ง การยิงสนับสนุน
ซ. พัน.บ.๑๓๖ ชร. ลําดับความเรงดวนในขั้นที่ ๑ คือ สวนกําบังของ ทน.
ด. พัน.บ.๑๓๗ ชร.
ต. พล.นอย ช.๕๓ ชร.
๑) กรม ช.๖๐
ก) ชร.
ข) จัดหนึ่งกองพัน ชต.พล.ร.๑๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทน.๑๑)

ค) เตรียมหนึ่งกองพันทําการสนับสนุน พล.ยน.๒๕ เมื่อทําการรบ


๒) กรม ช.๖๑
ก) ชร.
ข) ช.พัน.๕๒๕ ชต.พล.ยย.๕๔
ค) ช.พัน.๕๒๗ ชต. พล.ยย.๕๓
๓) ช.พัน.๕๒๓
ก) ขึ้นสมทบ พล.ยก.๒๕ ในขัน้ ที่ ๑
ข) ภายหลังที่ปฏิบัติภารกิจของสวนกําบังสําเร็จแลว ก็ขนึ้ สมทบ กรม ช.๖๐
๔) ผนวก ฉ ทหารชาง
๕) ผนวก ข ฉากขัดขวาง
ถ. กองหนุน
๑) พล.ยก.๒๕ ภายหลังจากปฏิบัติภารกิจของสวนกําบังสําเร็จแลว รวมพลที่บริเวณบานนารี
(***) เปนกองหนุนของ ทน., ลําดับความเรงดวนในการเขาทําการรบทางดาน พล.ยย.๕๓
๒) ร.๓๑๕
ก) ลําดับความเรงดวนในการเขาทําการรบในขั้นที่ ๑ ทางดาน พล.ยย.๕๓ ในขณะที่
พล.ยก.ที่ ๒๕ ทําการถอนตัวลําดับความเรงดวนในการเขาทําการรบทางดาน พล.ร.๑๙
ข) เตรียมที่มั่นสกัดกั้นตามลําดับความเรงดวน ก, ข และ ค
ค) เตรียมใชกําลังปองกันพื้นที่สว นหลัง ลําดับความเรงดวนคือ สลก.
๓) ม.ยก.๒๐๑ ภายหลังการถอนตัวของสวนกําบังแลวรวมพลอยูบริเวณทาสําลี (BM ๑๕๕๐)
เปนกองหนุนของ ทน., ลําดับความเรงดวนในการเขาทําการรบดาน พล.ยย.๕๔
ท. คําแนะนําในการประสาน
๑) กองพลในพืน้ ที่ตั้งรับหนา จัดสวนระวังปองกันใน ๒๐๑๒๐๐ ส.ค.
๒) ลําดับความเรงดวนในการเคลื่อนยายทางถนนใหแก พล.ยก.๒๕ จนกวาจะเสร็จสิ้น
ภารกิจเปนสวนกําบัง
๓) กองพลในพืน้ ที่ตั้งรับหนารักษาการติดตอกับ พล.ยก.๒๕ ในระหวางการปฏิบัติเปนสวน
กําบัง และเตรียมการชวยเหลือการถอนตัวผานแนวพื้นทีต่ ั้งรับหนา
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทน.๑๑)

๔) หัวขอขาวสารสําคัญ (เรียงตามลําดับความเรงดวน)
ก) ฝายตรงขามจะเขาตีหลักดวยกําลังเทาใด ที่ไหน และเมือ่ ไร
ข) ฝายตรงขามจะใชอาวุธเคมี เพื่อตอตานฝายเราตอไปหรือไม ถาใชใชเมื่อใด ที่ไหน
จํานวนเทาใด ขนาดอะไร และดวยเครื่องสงชนิดใด เครือ่ งสงอาวุธเคมีของฝายตรงขามตั้งอยูที่ใด
๔. การชวยรบ
ก. คําสั่งการชวยรบที่ ๗ – ทภ.๑
ข. ผนวก ซ การชวยรบ

๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ทก.หลักของ ทน. เปดทําการที่ ทาสําลี (BM ๑๕๕๐) ใน ๒๐๐๘๐๐ ส.ค.
๒) หนวยอื่น ๆ เลือกที่ตั้งและรายงานใหทราบ
ข. ผนวก ด การสื่อสาร นปส.ดรรชนี ๑ - ๕

ตอบรับ :

พล.ท. สมคิด สุขใจ


( สมคิด สุขใจ )
มทน.๑๑

ผนวก : ก การจัดเฉพาะกิจ (เวน)


ข การขาวกรอง (เวน)
ค แผนบริวารยุทธการ
ง การยิงสนับสนุน (เวน)
จ การปองกันภัยทางอากาศ (เวน)
ฉ ทหารชาง (เวน)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทน.๑๑)

ช ฉากขัดขวาง (เวน)
ซ การชวยรบ (เวน)
ด การสื่อสาร (เวน)

การแจกจาย :

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.อ.ชนะศึก คึกดี
(ชนะศึก คึกดี)
ผอ.กยก.ทน.๑๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ค (แผนบริวารยุทธการ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทน.๑๑

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวางเมืองกบินทร

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๖
ตัวอยางที่ ๖ – ๕ คําสั่งการเขาตีของกองทัพภาค
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทภ.๒
ทาสราญ (MV ๑๑๗๘)
๑๐๑๘๐๐ พ.ค.๒๕......
ยก.๐๐๕

คําสั่งยุทธการที่ ๘
อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๑๕๐,๐๐๐ ระวาง เมืองชัยศรี
การจัดเฉพาะกิจ : ผนวก ก การจัดเฉพาะกิจ

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม
๑) ฝายรุกรานไดหยุดชะงักอยูเนื่องจากกําลังสวนเขาตีไดรบั การสูญเสียอยางหนัก และได
วางกําลังในขณะนี้อยู ณ ทีม่ ั่นจากบานปราณี (MB ๘๕๒๙) ถึงบานมหาชัย (NV ๒๑๓๕) ในลักษณะยึดรักษา
ที่มั่น ยอดกําลังพลของหนวยทางยุทธวิธีประมาณ ๗๐ เปอรเซ็นต
๒) ผนวก ข การขาวกรอง
๓) รายงานขาวกรองตามระยะเวลาที่ ๕, บก.กกล.เดชาชัย ๑๐๑๒๐๑ พ.ค....
ข. กําลังฝายเรา
๑) กกล.เดชาชัย เขาตีเพื่อยึดแนวลําน้ําเขียว – สายชล (DB ๗๔๕๑) และเตรียมการเขาตี
ตอไปทางทิศตะวันออกเพื่อเขายึดแนว กากี (FA ๑๓๑๐) – สีดา (GB ๘๔๑๕)
๒) ทภ.๑ เขาตีเพื่อเขายึดทามหาราช (CA ๔๗๒๘) และเตรียมการเขาตีตอไปเพือ่ เขายึด
ทาขามลําน้ําเขียวในเขต
๓) ทภ.๓ เขาตีเพือ่ เขายึดเมืองเชียงเขต (GB ๕๙๙๐) และเตรียมการเขาตีตอไปเพื่อยึดเมือง
สายชล
๔) กองบินยุทธวิธีที่ ๔ สนับสนุน ทภ.๒ ทําลายเครื่องบินและสถานที่ตาง ๆ ของฝายตรงขาม
และขัดขวางเสนทางคมนาคมของฝายตรงขาม
ค. หนวยสมทบและหนวยแยก : ผนวก ก การจัดเฉพาะกิจ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๘ – ทภ.๒)

๒. ภารกิจ
ทภ.๒ เขาตีใน ๒๙ พ.ค.... เพื่อยึด *** (***) และ *** (***) และเตรียมการเขาตีตอไปเพื่อยึด ***
(***) (***) และทาขามลําน้ําเขียว
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ : ผนวก ค แผนบริวารยุทธการ
๑) เจตนารมณของผูบังคับบัญชา
* * * * * * *
๒) กลยุทธ การยุทธจะดําเนินการเปนสองชั้น
ก) ขั้นที่ ๑ ทภ.๒ เขาตีดวยกําลัง ๒ ทน. เคียงกันเพื่อเขายึด *** (***) และ *** (***)
ทน.๒๑ อยูทางทิศเหนือ (ซาย) ทน.๒๒ อยูทางทิศใต (ขวา) และเปนสวนเขาตีหลักของกองทัพ
ข) ขั้นที่ ๒ เมื่อเขายึด *** และ *** ไดแลวกองทัพเขาตีตอไปดวยกําลังสองกองทัพ
นอยเคียงกันเพื่อเขายึด *** และ *** ทาขามชําน้ําเขียว ทน.๒๑ ทางทิศเหนือ (ซาย) เปนสวนเขาตีหลักของ
กองทัพ
๓) การยิง
ก) ทางอากาศ
(๑) กองบินยุทธวิธีที่ ๔ โจมตีที่มั่นที่ทราบแลวของฝายตรงขามในระหวางปฏิบัติ
ขั้นที่ ๑ ตามลําดับความเรงดวนคือ ที่ตั้งปนใหญของฝายรุกราน และจุดตานทานของฝายตรงขามในเขต
(๒) ลําดับความเรงดวนในการสนับสนุนทางอากาศใหกับ ทน.๒๒ ในขั้นที่ ๑
ใหกับ ทน.๒๑ ในขั้นที่ ๒
(๓) อนุผนวก๑ การยิงสนับสนุนทางอากาศ ประกอบผนวก ง การยิงสนับสนุน
ข) ปนใหญ
(๑) ลําดับความเรงดวนในการสนับสนุนดวยปนใหญใหกับ ทน.๒๒ ในขั้นที่ ๑
ใหกับ ทน.๒๑ ในขั้นที่ ๒
(๒) อนุผนวก ๒ การยิงสนับสนุนดวยปนใหญ ประกอบผนวก ง การยิงสนับสนุน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๘ – ทภ.๒)

ข. ทน.๒๑
๑) เขายึด ***
๒) เตรียมการเขาตีตอไปเพื่อยึด ***
ค. ทน.๒๒
๑) เขายึด *** และหัวสะพานขามลําน้ํา *** คลอง ***
๒) เตรียมการเขาตีตอไปเพื่อยึด ***
ง. ปนใหญ
๑) ปนใหญสนาม ป.พัน.๓๐๕ : ชร.
๒) ปภอ. (ป.๔๓)
ก) ลําดับความเรงดวนคือ การปองกันคลัง สป.๕, คลัง สป.๓, ทก.หลักของกองทัพ
ข) ผนวก จ การปองกันภัยทางอากาศ
๓) ผนวก ง การยิงสนับสนุน
จ. พัน.เคมี ๓๐๑
๑) ชร.
๒) ผนวก ฉ เคมี
ฉ. พล.นอย ช.๕๐ (กองทัพ)
๑) ชร.
๒) ผนวก ช ทหารชาง
ช. กองหนุน
๑) พล.ยก.๒๓ ลําดับความเรงดวนในการใชในขั้นที่ ๑ ในเขตของ ทน.๒๒ เตรียมการเพื่อ
ขึ้นสมทบ ทน.๒๑ ในขั้นที่ ๒
๒) พล.ยย.๕๒ ในขั้นที่ ๒ เปนกองหนุนของกองทัพที่บริเวณ *** (***) เมื่อสั่ง
ซ. คําแนะนําในการประสาน
๑) ในขั้นที่ ๑ จุดประสานเขตที่ *** (***)
๒) การขึ้นสมทบ, การแยกสมทบ และการเปลี่ยนแปลงเสนแบงเขตมีผลบังคับ ใน ๑๑๘๐๐๐
พ.ค. นอกจากจะสั่งเปนอยางอื่น
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๗๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๘ – ทภ.๒)

๓) ผนวก ซ การปฏิบัติการจิตวิทยา
๔) ผนวก ด การสงครามนอกแบบ
๕) ผนวก ต การระวังปองกันพืน้ ที่สวนหลัง
๖) ผนวก ถ การปกปดและการลวงทางยุทธวิธี
๗) ผนวก ท การสงครามอิเล็กทรอนิกส

๔. การชวยรบ
ก. คําสั่งการชวยรบที่ ๗ – ทภ.๒
ข. ยุทโธปกรณ และบริการ
๑) ทน.๒๒ มีลําดับความเรงดวนสูงสําหรับสิ่งอุปกรณและการขนสงในระหวางปฏิบตั ิ
ในขั้นที่ ๑
๒) ทน.๒๑ มีลําดับความเรงดวนสําหรับสิ่งอุปกรณและการขนสงในระหวางการปฏิบัติ
ในขั้นที่ ๒
ค. กิจการพลเรือน ผนวก น กิจการพลเรือน

๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ทก.หลักของ ทภ.๒ อยูที่ (***) ทก.หลังอยูที่ *** (***)
๒) ที่ตั้งของ ทก.ตาง ๆ ของ ทภ.ในอนาคตจะแจงใหทราบตอไป
ข. การสื่อสาร
๑) ผนวก บ การสื่อสาร
๒) นปส. ดรรชนี ๑ – ๔

ตอบรับ :
พล.ท....................
(..................)
มทภ.
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๘ – ทภ.๒)

ผนวก : ก การจัดเฉพาะกิจ
ข การขาวกรอง (เวน)
ค แผนบริวารยุทธการ (เวน)
ง การยิงสนับสนุน (เวน)
จ การปองกันภัยทางอากาศ (เวน)
ฉ เคมี (เวน)
ช ทหารชาง (เวน)
ซ การปฏิบัติการจิตวิทยา (เวน)
ด การสงครามนอกแบบ (เวน)
ต การระวังปองกันพื้นที่สว นหลัง (เวน)
ถ การปกปดและการลวงทางยุทธวิธี (เวน)
ท การสงครามอิเล็กทรอนิกส(เวน)
น กิจการพลเรือน
บ การสื่อสาร (เวน)

การแจกจาย :

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.อ.................
(...............)
ผอ.กยก.ทภ.๒

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๑
ตัวอยางที่ ๖ – ๖ คําสั่งยุทธการของหนวยบัญชาการชวยรบ กองทัพภาค
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
บชร.๓
ดงภูเก็ต,
(NQ ๕๐๘๒๔๖)
พิษณุโลก
๐๑๐๘๐๐ ส.ค.....
ผก.๗๘๑

คําสั่งยุทธการที่ ๑

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๑๕๐,๐๐๐ ระวาง ลําปาง – เชียงราย - นาน

การจัดเฉพาะกิจ : ผนวก ก การจัดเฉพาะกิจ

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม : ผนวก ข (การขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – ทภ.๓
ข. กําลังฝายเรา : ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – ทภ.๓
ค. หนวยแยกและหนวยขึ้นสมทบ : ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑
– ทภ.๓
๒. ภารกิจ
สนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงใหแกกําลังปฏิบัติการของ ทหาร ตํารวจ และพลเรือนซึ่งอยูในความ
ควบคุมทางยุทธการของ ทภ.๓ ในการปฏิบัติการคนหาและทําลาย ผกค.ในพืน้ ที่ อ.เชียงคํา, อ.จุน, อ.ปง และ
อ.เชียงมวง จว.เชียงราย
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) ในการปฏิบัตขิ อง ทภ.๓ ในครั้งนี้ บชร.๓ จัดตั้ง สย.บชร.๓ เปนหนวยงานเพื่อสนับสนุน
การชวยรบ (ผนวก ข การจัดหนวยงาน สย.บชร.๓)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓)

๒) หนาที่ และความรับผิดชอบของหนวยงานใน สย.บชร.๓ (ผนวก ค หนาที่และความ


รับผิดชอบ)
๓) ขั้นการปฏิบัติ ในการปฏิบัตกิ ารครั้งนี้แบงออกเปน ๕ ขัน้ ดังนี้
ก) ขั้นที่ ๑ ขั้นเตรียมการ เริ่มปฏิบัติตั้งแตบัดนีแ้ ละสิ้นสุดในวัน ว – ๔๙ ไดแก
(๑) การจัดตั้ง บก.สย.บชร.๓ และ บก.นขต. เพื่อวางแผนการปฏิบัติของหนวย
ตามภารกิจทีไ่ ดรับมอบ ตลอดจนการประสานงานและติดตามงานกับสวนราชการที่เกีย่ วของ
(๒) การจัดหา สป. และสิ่งอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติการตลอดจนการเบิก
การรับ สป. จากสายยุทธบริการที่เกี่ยวของ เพื่อใหพรอมที่จะนําไปสนับสนุนหนวยปฏิบัติการไดทันที เมื่อ
เคลื่อนยายเขาพื้นที่ปฏิบัติการ
(๓) เตรียมและจัดผังงานตลอดจนงานธุรการตาง ๆ ที่จําเปนใหพรอมกอนการ
เคลื่อนยายเขาพื้นที่ปฏิบัติ
(๔) จัดทําแผนการบรรทุกกําลังพล และ สป.ที่จะนําไปใหเรียบรอย และพรอมกอน
ถึงวัน ว - ๔๙
ข) ขั้นที่ ๒ การเคลื่อนยายหนวยเขาพื้นที่ปฏิบัติการ
(๑) ทุกหนวยที่ประกอบกําลังและหนวยสมทบของ สย.บชร.๓ เคลื่อนยายจากที่ตั้ง
ปกติเขาพื้นทีป่ ฏิบัติการ เริ่มวัน ว – ๔๘
(๒) รอย.ขส.รยบ.ผสม จัดยานพาหนะสนับสนุนการเคลื่อนยาย นขต. และหนวย
สมทบ สย.บชร.๓ ตามแผนและจัดตอน รยบ.กลาง ขึ้นสมทบ ตส.๓๑๐ นอกนั้นขึ้นสมทบ ตส.๓๐๒ เมื่อเสร็จ
สิ้นภารกิจ
(๓) ชุด สพ.ซอมบํารุง จุดชุดซอมเคลื่อนที่สองชุด สนับสนุนหนวยเคลื่อนยาย
ทางถนนที่ ตาก และ ลําปาง ตั้งแตวัน ว – ๓๑ แลวถอนตัวกลับไปขึ้นสมทบ ตส.๓๐๒ เชียงคํา ๑ ชุด และ
กองซอมบํารุง สย.บชร.๓ อ.จุน อีก ๑ ชุด
(๔) ผนวก ง แผนการเคลื่อนยายหนวยเขาพืน้ ที่ปฏิบัติการ
ค) ขั้นที่ ๓ ขั้นปฏิบัติการ ขั้นนีแ้ บงการสนับสนุนเปน ๔ ตอน คือ
(๑) ตอนที่ ๑ สนับสนุนการเคลื่อนยายหนวยเขาพื้นที่ตั้งแตวนั ว–๔๘ ถึงวัน ว-๔๑
(๒) ตอนที่ ๒ สนับสนุนการปฏิบตั ิการตั้งรับตั้งแต วัน ว – ๔๐ ถึงวัน ว - ๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓)

ง) ขั้นที่ ๔ ขั้นการเคลื่อนยายกลับที่ตั้งปกติ ทุกหนวยงานใน สย.บชร.๓ เตรียมการ


เคลื่อนยายกําลังพลและ สป. กลับที่ตั้งปกติเมื่อสั่ง
จ) ขั้นที่ ๕ การรายงานผลการปฏิบัติ ทุกหนวยรายงานผลการปฏิบัติ สงถึง บก.บชร.๓
ภายใน ๑๕ วัน นับตั้งแตวนั กลับถึงและเขาที่ตั้งปกติแลว (ผนวก จ การรายงานผลการปฏิบัติ)
ข. บก. และ นขต.สย.บชร.๓ ปฏิบัติตามหนาที่และความรับผิดชอบ
ค. ตส.๓๐๑ ปฏิบัติตามหนาที่และความรับผิดชอบ
ง. ตส.๓๐๒ ปฏิบัติตามหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ
จ. คําแนะนําในการประสาน
๑) วัน ว จะกําหนดภายหลัง
๒) ผนวก ฉ การระวังปองกัน

๔. การชวยรบ : คําสัง่ การชวยรบที่ ๑ – ทภ.๓

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ที่ตั้ง
ก) ทก.ยุทธวิธี ทภ.๓ : สนามบินเชียงคํา
ข) บก.สย.บชร.๓ : อ.จุน
ค) ตส.๒๐๒ : สนามบินเชียงคํา
จ) บก.บชร.๓ ที่ตั้งปกติ พิษณุโลก
๒) ทุกหนวยรายงาน บก.สย.บชร.๔ ทันที เมื่อเขาที่ตั้ง
ข. การสื่อสาร : ผนวก ซ (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – ทภ.๓

พ.อ......................
(....................)
ผบ.บชร.๓

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓)

ผนวก : ก การจัดเฉพาะกิจ (เวน)


ข การจัดหนวยงาน สย.บชร.๓ (เวน)
ค หนาที่และความรับผิดชอบ
ง แผนการเคลื่อนยาย (เวน)
จ การรายงานผลการปฏิบัติ (เวน)
ฉ การระวังปองกัน (เวน)

การแจกจาย : รปจ.

เปนคูฉบับ
พ.อ.......................
(....................)
หก.แผนฯ บชร.

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ค (หนาที่และความรับผิดชอบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓

อางถึง : แผนที่ ประเทศไทย ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ระวางลําปาง – เชียงราย – นาน

เพื่อใหหนวยงานตาง ๆ ของ สย.บชร.๓ สามารถสนับสนุนการปฏิบัตกิ ารของ ทภ.๓ ไดเปนอยางดี


จึงกําหนดหนาที่และความรับผิดชอบไวดงั นี้
๑. บก.สย.บชร.๓
ก. หนาที่ปกครอง บังคับบัญชา วางแผน อํานวยการ ประสานงาน และกํากับดูแลการปฏิบัติงาน
สงกําลังบํารุงของหนวยรองและหนวยสมทบ ใหดําเนินการไปตามตามหรือนโยบาย
ข. ความรับผิดชอบ
๑) ปกครองบังคับบัญชาหนวยงานสงกําลังบํารุงและหนวยบริการทั้งสิ้นของ สย.บชร.๓
และขึ้นสมทบ
๒) วางแผน อํานวยการ กํากับดูแลการปฏิบัติงานสงกําลังบํารุง และการบริการของหนวยรอง
และหนวยสมทบ
๓) ประสานการสนับสนุนทางการสงกําลังบํารุงระหวางหนวยเหนือ หนวยรอง และหนวย
รับการสนับสนุน
๔) ปฏิบัติงานธุรการทั้งปวง ตลอดจนการสนับสนุนหนวยรองและหนวยสมทบ รวมทั้ง
การจัดซื้อหา สป.ในทองถิ่น
๕) รวบรวมสถิติขอมูลทางการสงกําลังบํารุงและรายงานการสงกําลังบํารุงตามระยะเวลา
เสนอหนวยเหนือตามกําหนด
๖) จัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบัติเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจเสนอหนวยเหนือ ภายใน ๓๐ วัน
นับแตวนั กลับเขาที่ตั้งปกติ
๒. มว.บร.สย.บชร.๓
ก. หนาที่ใหการระวังปองกัน อํานวยความสะดวก และการบริการทั้งสิ้นแก บก.สย.บชร.๓ และ
เจาหนาที่ทกุ นายใน บก.สย.บชร.๓
ข. ความรับผิดชอบ
๑) ใหการระวังปองกัน บก. และผูบังคับบัญชาในที่ตั้ง

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ค (หนาที่และความรับผิดชอบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓

๒) ใหการบริการทั้งปวง ตลอดจนเปนลูกมือในการปฏิบัติงานของ บก.สย.บชร.๓ และหนวย


สมทบอื่นตามความเหมาะสม
๓. มว.สื่อสารปฏิบัติการ
ก. หนาที่ ปฏิบัตงิ านศูนยการสื่อสาร สย.บชร.๓
ข. ความรับผิดชอบ
๑) อํานวยการ ควบคุม กํากับดูแล และปฏิบัติงานศูนยการสื่อสารของ สย.บชร.๓
๒) ปฏิบัติการสื่อสารทางสายภายในที่ตั้งของหนวยใน บก.สย.บชร.๓ และ นขต.ในที่ตั้ง
เดียวกัน หรือหนวยใกลเคียง
๓) ปฏิบัติการสื่อสารทางวิทยุในขายสงกําลังบํารุง ระหวาง บก.สย.บชร.๓ หนวยรอง
หนวยขางเคียง หนวยรับการสนับสนุน และหนวยเหนือ
๔) รวบรวมสถิติขอมูลทางการสื่อสาร เสนอตอ บก.สย.บชร.๓

๔. กองสงกําลัง
ก. หนาที่ปฏิบัติงานสงกําลัง สป. ทุกประเภทสนับสนุนหนวยปฏิบัติการตามคําสั่งของ ทภ.๓
ในขอบเขตจํากัด
ข. ความรับผิดชอบ
๑) ปฏิบัติงานเอกสารบัญชีคมุ สปทุกประเภทที่ใชสนับสนุน และนําเขาในพื้นที่ปฏิบตั ิการ
๒) ดําเนินการเบิก – รับ – เก็บรักษา – แจกจาย สป.สนับสนุนหนวยปฏิบัติการในพื้นที่
รับผิดชอบ รวมทั้งการบรรจุหีบหอเพื่อจัดสงดวยเมื่อจําเปน
๓) ปฏิบัติการจําหนาย สป.ที่หนวยสงคืน เมือ่ พิจารณาแลวไมสามารถซอมใหคุมคาได หรือ
สูญหายในระหวางปฏิบัติการ
๔) เสนอความตองการยานพาหนะในการรับ – สง สป. สนับสนุนหนวยปฏิบัตกิ าร และ
หนวยเหนือตามความจําเปน
๕) รวบรวมสถิติขอมูลผลการปฏิบัติทางการสงกําลังตลอดจนรายงานสถานภาพ สป.
ประจําวันเสนอตรงตอ บก.สย.บชร.๓

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ค (หนาที่และความรับผิดชอบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓

๖) ปฏิบัติงานธุรการ ประกอบเลี้ยง และเลี้ยงดูเพื่อสนับสนุนกําลังพลในหนวยตน

๕. กองซอมบํารุง
ก. หนาที่ปฏิบัติการซอมบํารุงยุทโธปกรณทุกประเภทในขั้นที่ ๓ และ ๔ อยางจํากัด สนับสนุน
แกหนวยปฏิบตั ิการนอกอัตรากองพล และ/หรือหนวยที่ไมมีหนวยซอมบํารุงในอันราหรือเมื่อไดรับการ
รองขอ
ข. ความรับผิดชอบ
๑) ดําเนินกรรมวิธีตอเอกสารใบสั่งงานและสงซอม สป. ที่หนวยรับการสนับสนุนนําสงซอม
๒) ปฏิบัติงานซอมบํารุงยุทโธปกรณที่หนวยสงซอม และสงกลับคืนหนวยสงซอมเมื่อ
ซอมเสร็จ
๓) รวบรวมและสงซอมยุทโธปกรณที่ชํารุดเกินขั้นในความรับผิดชอบของตนเมื่อจําเปน
หรือนําสงคืนหนวยเดิมที่นําสงซอมเพื่อนําสงซอมตามสายงานปกติเมือ่ เสร็จสิ้นภารกิจแลว
๔) ในกรณีจําเปนทําการซอมคืนสภาพ สป. บางรายการที่ชํารุดใชการไมได ซึ่งหนวย
นําสงคืนไวใหสามารถใชงานได เพื่อนําสงกองรอยสงกําลังเพื่อแจกจายหนวยรับการสนับสนุนตอไป
๕) เบิก – รับ – สะสมชิ้นสวนซอมบางรายการที่จําเปนไวตามจํานวนทีเ่ หมาะสม เพือ่ ใช
ในการซอมบํารุงโดยเฉพาะ
๖) รวบรวมสถิติผลการปฏิบัติและขอมูลทางการซอมบํารุง ตลอดจนรายงานสรุปผลการ
ปฏิบัติงานประจําวันเสนอตรงตอ บก.สย.บชร.
๗) ปฏิบัติงานธุรการ การประกอบเลี้ยงและเลีย้ งดูกําลังพลในหนวยตน

๖. กองบริการ
ก. หนาที่ อํานวยการ ประสานงาน และกํากับดูแลการปฏิบัติการบริการสนามสนับสนุนหนวย
ปฏิบัติการตามคําสั่ง ทภ.๓ และภายในหนวย สย.บชร.๓
ข. ความรับผิดชอบ
๑) พิจารณาใหการสนับสนุนการเคลื่อนยายกําลังพล และ สป. แกหนวยรับการสนับสนุน
ตามคําขอ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ค (หนาที่และความรับผิดชอบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓

๒) ดําเนินกรรมวิธีตอศพและรวบรวมศพเพื่อสงกลับออกนอกพื้นที่ปฏิบตั ิการ
๓) ใหการรักษาพยาบาลแกผูปวยเจ็บของหนวยปฏิบัติการทีส่ งกลับทางถนน และของ บก.
และ นขต.สย.บชร.๓ ในบริเวณที่ตั้งนั้น รวมทั้งการสงกลับทางถนนไปยัง รพน.ที่ ตส.๓๐๑
๔) บริการน้ําบริโภคแกหนวยใน บก. และ นขต.สย.บชร.๓ ตลอดจนหนวยใกลเคียงในพื้นที่
นั้น รวมทั้งการสงน้ําบริโภคใหหนวยปฏิบตั ิการในแนวหนาตามคําขอ
๕) รวบรวมสถิติผลการปฏิบัติงาน และขอมูลทางบริการสนามในความรับผิดชอบ ตลอดจน
การรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานประจําวันเสนอตรงตอ บก.สย.บชร.๓
๖) ปฏิบัติงานธุรการ การประกอบเลี้ยง และเลี้ยงดูกําลังพลในหนวยตน

๗. ตําบลสงกําลัง ๓๐๑
ก. หนาที่ อํานวยการ ประสานงาน และกํากับดูแลปฏิบัตงิ านสงกําลังและบริการของเจาหนาที่
ใน ตส.๓๐๑ ใหดําเนินการไปตามแผนและคําสั่งของ บก.สย.บชร.๓
ข. ความรับผิดชอบ
๑) ปฏิบัติงาน ณ ตําบลสงกําลังในการรับ – เก็บรักษา – แจกจาย สป. ตามคําสั่ง บก.สย.
บชร.๓ และหนวยเหนือ
๒) ปฏิบัติงานตําบลขนถาย สป.ตนทางและปลายทางรถไฟ
๓) ปฏิบัติงานสํานักงานขนสงตนทางและปลายทางรถไฟ
๔) เปนที่พักคอยการสงกลับผูปวยเจ็บเพื่อรอการสงกลับทางรถไฟ (ในกรณีจําเปน)
๕) รวงรวมสถิติผลการปฏิบัติงานและขอมูลทางการบริการสนาม ในความรับผิดชอบ
ตลอดจนการรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานประจําวันเสนอตรงตอ บก.สย.บชร.๓
๘. ตําบลสงกําลัง ๓๐๑
ก. หนาที่ อํานวยการ ประสานงาน และกํากับดูแลการปฏิบัติงานสงกําลัง และงานสบริการของ
หนวยใน ตส.๓๐๒ ใหดําเนินไปตามแผนและคําสั่งของ บก.สย.บชร.๓
ข. ความรับผิดชอบ
๑) สนับสนุนการสงกําลังและบริการตาง ๆ แกหนวยปฏิบัตงิ านตั้งแตขั้นที่ ๓

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๘๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ค (หนาที่และความรับผิดชอบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓

๒) สนับสนุนการเคลื่อนยายกําลังพลของหนวยปฏิบัติการที่เคลื่อนยายโดยทางอากาศจาก
สนามบินเชียงคําไปยังที่รวมพลในขั้นที่ ๓ ของแตละหนวย
๓) สนับสนุนการเคลื่อนยายกําลังพลของปฏิบัติการจากพืน้ ที่ในการปฏิบตั ิการ ขั้นที่ ๓
ตอนที่ ๒ ไปเขาพื้นที่รวมพลในตอนที่ ๓
๔) เสนอความตองการเบิกรับ สป.ที่จําเปนตองใชสนับสนุนหนวยปฏิบัติการโดยตรงจาก
บก.สย.บชร.๓
๕) รวบรวมสถิติผลการปฏิบัติงาน และขอมูลทางการสงกําลังและบริการสนามในความ
รับผิดชอบ ตลอดจนการรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานประจําวันเสนอตรงตอ บก.สย.บชร.๓
๖) ปฏิบัติงานธุรการ การประกอบเลี้ยงและเลีย้ งดูกําลังพลใน ตส.๓๐๒

๙. ศูนยควบคุมทางการแพทย (ศคพ.)
ก. หนาที่ อํานวยการ ประสานงาน และกํากับดูแลการปฏิบัติงานของหนวยแพทยในพืน้ ที่
ปฏิบัติการ
ข. ความรับผิดชอบ
๑) ใหการรักษาพยาบาลแกผูปวยเจ็บในพื้นทีป่ ฏิบัติการ
๒) สงกลับผูปวยเจ็บออกจากพืน้ ที่ปฏิบัติการโดยทางถนนหรือทางอากาศแลวแตความจําเปน
๓) ใหคําแนะนําการรักษาพยาบาลขั้นตนแกผปู วยเจ็บ ณ ฐานปฏิบัติการ ขณะรอการสงกลับ
ทางอากาศมายัง รพน.
๔) เบิก – รับ สป.สายแพทย ไดแก เวชภัณฑตาง ๆ โดยตรงจาก พบ. เพื่อสนับสนุน รพน.
และหนวยปฏิบัติการตามแผนในพืน้ ที่รับผิดชอบ
๕) กําหนดมาตรการตาง ๆ เพือ่ ใหเปนที่มนั่ ใจวากําลังพลของหนวยปฏิบัติการไดรับ และใช
สป.ทางเวชกรรมปองกันครบถวน และไดประโยชนอยางแทจริง
๖) ประสานกับสถานพยาบาลของหนวยราชการอื่น เพื่อขอใชหรือขอรับการสนับสนุนเปน
กรณีพิเศษเมื่อฉุกเฉินหรือเรงดวน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๙๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ค (หนาที่และความรับผิดชอบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๑ – บชร.๓

๗) รวบรวมสถิติขอมูลทางแพทย ตลอดจนการรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานประจําวัน
เสนอตรงตอ บก.สย.บชร.๓
๘) ปฏิบัติงานธุรการ การประกอบเลี้ยงและเลี้ยงดูกําลังพลที่ปวยเจ็บใน รพน. และกําลังพล
ของหนวยตน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๙๑
ตอนที่ ๗
ตัวอยางคําสั่งแบบอื่น ๆ
ตัวอยางที่ ๗ – ๑ คําสั่งการชวยรบของกองพลทหารราบ (แบบที่ ๑) แบบแผนบริวาร
คําสั่งการชวยรบที่ ๔ แผนพับ

ตามคําสั่งยุทธการที่ ๔ – พล.ร.๓

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง บ.ดานคู

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม
๑) ผนวก ข (การขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – พล.ร.๓
๒) ขีดความสามารถของฝายตรงขาม
ก) กองโจรฝายตรงขามสามารถคุกคามสถานการณชว ยรบ และเสนหลักการสงกําลังได
ข) ฝายตรงขามสามารถคุกคามพื้นที่สวนหลังไดเพียงอาวุธเบา และอาวุธอัตโนมัติ
เทานั้น
ข. กําลังฝายเรา
๑) การนัดเฉพาะกิจของ พล.ร.๓ :ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ –
พล.ร.๓
๒) พล.ร.๓ จะสงกําลัง สป.๕ และชวยเหลือการซอมบํารุงใหแก ตชด., อส. เมื่อไดรับคําสั่ง
จาก ทภ.
๒. ภารกิจ
ใหการสนับสนุนทางการชวยรบแก พล.ร.๓ ในการเขาตีเพื่อเขายึดที่สูงบริเวณ บ.น้ําสราง (๓๔๘๑)
โคกทําเชือก (๓๕๘๓) ตามแนวความคิดในการปฏิบัติที่กลาวไวในคําสั่งยุทธการที่ ๔
๓. กลาวทั่วไป
พล.ร.๓ สนับสนุนทางการชวยรบแกหนวยตาง ๆ โดยจัดตั้งพื้นที่สนับสนุนของกองพลที่ บ.ดาน
(MB ๓๖๕๔) ลําดับความเรงดวนในการสนับสนุนใหแก ฉก.ร.๓ และ ร.๒ เมื่อเขาปฏิบัติการ สลก.ใชถนน
หมายเลข ๓ เปนหลัก ใหประหยัดการใช สป.๓ ทุกประเภท และกองพลจะจัดชุดซอมเคลื่อนที่สนับสนุนการ

แผนพับ
แผนพับ -------------------- แผนพับ
(ประเภทเอกสาร)
๔๙๒
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ซบร. แกกรมในแนวหนา การเคลื่อนยายสถานที่ตั้งตาง ๆ ใหระมัดระวังการปฏิบัติการของกองโจรและการ


โจมตีทางอากาศ โดยสถานที่ตั้งตาง ๆ ประสานแผนการปองกันของตนเอง
๔. ยุทโธปกรณและบริการ
ก. การสงกําลัง
๑) สป.๑
ก) แจกจาย ณ ตจ.สป.๑ องพล, กําหนดเวลาแจกจายตาม รปจ.
ข) หนวยตาง ๆ สะสมเสบียงประเภท ค. ๒ วัน สงกําลังใน ๔ – ๗ ม.ค.....
๒) สป.๒ และ ๔ รยบ. ๒ ½ ตัน ลําดับแรกใหกับ ฉก.ร.๓
๓) สป.๓
ก) ตส.สป.๓ ทภ. อยูบริเวณ บ.วังชมภู (๓๖๗๒)
ข) การแบงมอบน้ํามัน สป.๓ เชื้อเพลิง : ผนวก ก (การแบงมอบน้ํามันเชือ้ เพลิง)
๔) สป.๕
ก) ตส.กน.ทภ. อยูบริเวณ บ.วังชมภู (๓๖๗๒)
ข) อัตรากระสุนที่ใชได
(๑) ค.๘๑ มม. ๕๐ นัด/กระบอก/วัน
(๒) ค.๔.๒ นิว้ ๑๐๐ นัด/กระบอก/วัน
(๓) ป.๑๐๕ มม. ๙๐ นัด/กระบอก/วัน
(๔) ป.๑๕๕ มม. ตามอัตรากระสุนมูลฐาน
(๕) กระสุนชนิดอืน่ ๆ ไมจํากัด
๕) น้ํา น้ําในทองถิ่นหามใชดื่ม นอกจากจะตมแลว
ข. การขนสง
๑) สะพานบนเสนหลักการสงกําลัง สะพานคอนกรีตสองทางชั้น ๖๐ สะพานไมทางเดียว
ชั้น ๓๐
๒) คําขอเพื่อใหสง กําลังทางอากาศฉุกเฉินจะตองเสนอผาน สธ.๔ กองพล
ค. การบริการ
๑) การเก็บกูแ ละทําลายทุนระเบิด ใหรองขอ พัน.ช.สนามไดโดยตรง
๒) ลําดับความเรงดวนแรกสําหรับงานชาง คือ การเสริมความมั่นคงสะพานไม และการซอม
บํารุง สลก.

แผนพับ แผนพับ
๔๙๓

แผนพับ -------------------- แผนพับ


(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ง. การซอมบํารุงความเรงดวนในการ ซบร. เครื่องมือสื่อสารและยานยนตลอใหแก ฉก.ร.๓

๕. การสงกลับสายแพทย และรักษาพยาบาล
ก. การฉีดวัคซีนปองกันอหิวาตและไทฟอยด ตองทําใหเสร็จกอน ๒๐๒๔๐๐ ธ.ค....
ข. การสงกลับทางอากาศ สําหรับผูไดรับบาดเจ็บจากการรบ ใหกระทําในกรณีเรงดวน
ค. รพ. ของ ทภ. อยูบริเวณ อ.ชัยบาดาล สามารถใหการสนับสนุนเพิ่มเติมได

๖. การกําลังพล
ก. การรักษายอดกําลังพลของหนวย
๑) ระหวางหวงเวลา ๕ – ๗ ม.ค.- เสนอสรุปยอดกําลังพลประจําวันปดรายงาน เวลา ๑๕๐๐
สงถึง บก. ใน ๑๘๐๐
๒) กองพลไดรับสวนแบงกําลังทดแทน ๑๐๐ คน ลําดับความเรงดวนแรก คือ ฉก.ร.๓
ข. การจัดกําลังพล เชลยศึกที่เปนนายทหารสัญญาบัตรใหสงตัวไปซักถามที่ บก.พล. โดยดวน
ค. การพัฒนาและการรักษาขวัญ
๑) เสนอขอเหรียญกลาหาญใหผูปฏิบัติการรบหลังจากยึด ทม.ไดแลวภายในสามวัน
๒) จดหมายสวนตัวจะจายใหเมือ่ ยึด ทม.ไดแลว
ง. การรักษาวินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง
๑) ทหารพลัดหนวยในหนวยเดียวกัน ตั้งแต ๑๐ คนขึ้นไป ที่รวบรวมไดในเวลาเดียวกัน
ใหรายงานผาน สธ.๑ โดยดวน
๒) ระมัดระวังการคายุทธภัณฑของทางราชการอยางเขมงวดโดยเฉพาะ สป.๕
๑) เสนอขอเหรียญกลาหาญใหผูปฏิบัติการรบหลังจากยึด ทม.ไดแลวภายในสามวัน
๒) จดหมายสวนตัวจะจายใหเมือ่ ยึด ทม.ไดแลว
ค. การพัฒนาและการรักษาขวัญ
ง. การรักษาวินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง

แผนพับ แผนพับ
แผนพับ -------------------- แผนพับ
(ประเภทเอกสาร)
(ไมเปลี่ยนแปลงจากคําสั่งดวยวาจา)
๔๙๔
แผนพับ -------------------- แผนพับ
(ประเภทเอกสาร)
แผนพับ แผนพับ
ค. การพัฒนาและการรักษาขวัญ
ง. การรักษาวินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง
๑) ทหารพลัดหนวยในหนวยเดียวกัน ตั้งแต ๑๐ คนขึ้นไป ที่รวบรวมไดในเวลาเดียวกัน
ใหรายงานผาน สธ.๑ โดยดวน
๒) ระมัดระวังการคายุทธภัณฑของทางราชการอยางเขมงวดโดยเฉพาะ สป.๕

๗. กิจการพลเรือน
ก. การปกครอง
๑) สงเสริมและสนับสนุนสวนราชการพลเรือนในพืน้ ที่รับผิดชอบ การปฏิบัติงานแทนโดย
ฝายทหารจะตองขออนุมัติจาก ผบ.พล.
๒) การรักษาความสงบเรียบรอยในพื้นที่ ใหใชเจาหนาทีต่ ํารวจ กําลังกึ่งทหารและราษฎร
อาสาสมัครใหมากที่สุด
๓) หามพลเรือนออกจากบานหลังเวลา ๑๘๐๐ เปนตนไป
๔) การกําหนดพืน้ ที่ หรือเขตหวงหามใหกระทําตามความจําเปน
๕) การอพยพพลเรือนออกนอกเขตรับผิดชอบของกรม ตองไดรับอนุมัติจาก ผบ.พล.
๖) ประสานงานกับฝายเพลเรือนอยางตอเนื่องเกี่ยวกับการปองกันภัยฝายพลเรือน
ข. การเศรษฐกิจ
๑) กวดขันการคาตลาดมืด และการกักตุนสินคา ใหดําเนินการลงโทษอยางรุนแรง
ตอผูกระทําผิดโดยประสานกับฝายบานเมืองอยางใกลชิด
๒) ควบคุมและกระตุนผลผลิตในทองถิ่นใหพอเพียงในการดํารงชีพของประชาชน
๓) การใชทรัพยากรในทองถิ่น ใหกระทําเทาที่จําเปน เพื่อหลีกเลี่ยงความเดือดรอน
แกประชาชน
๔) การสงกําลังพลเรือน ใหกระทําเฉพาะกรณีจําเปน ภายในขีดความสามารถของหนวย
ค. การสังคมจิตวิทยา
๑) คุมครองปองกันแกสถานที่ตงั้ เกี่ยวกับการบิการสาธารณะในพื้นที่รับผิดชอบ เชน
โรงไฟฟา สถานที่ทําการประปา เขื่อน และโทรคมนาคมตาง ๆ ใหปลอดภัยมากที่สดุ เทาที่จะทําได
๒) หลีกเลี่ยงการกระทําความเสียหายตอปูชนียสถาน และสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร
ในพื้นที่
๓) การสนับสนุนการรักษาพยาบาล และการสงกลับสายแพทย ใหมุงกระทําเฉพาะกรณีเรง
แผนพับ แผนพับ

แผนพับ แผนพับ
๔๙๕
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
พล.ร.๓
วัดจอมแจง (๓๕๕๖๒๒)
๑๔๑๑๐๐ ม.ค.....
กบ.๑๔๒

ดวนและจําเปนเทานั้น
๔) ดําเนินการประชาสัมพันธ และการปฏิบตั ิการจิตวิทยา อยางตอเนื่องในพื้นที่รับผิดชอบ
เพื่อไมใหประชาเสียขวัญและกําลังใจ
๕) เตรียมมาตรการในการฟนฟูบูรณะพืน้ ที่ทไี่ ดรับความเสียหายจากการรบ โดยประสาน
การปฏิบัติกับฝายพลเรือน
๘. เบ็ดเตล็ด
ก. เสนแบงเขตหลังของกองพล คือ แนวพรางแสงไฟ
ข. ระวังปองกันสถานที่ตั้งตาง ๆ ดวยกําลังของหนวยเอง และใหเปนไปตามแผนการระวังปองกัน
พื้นที่สวนหลังของกองพลตามคําสั่งยุทธการที่ ๔
๙. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
นปส. ดรรชนี ๑ – ๔ ผนวก ง การสื่อสาร ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – พล.ร.๓

ตอบรับ :

(ลงชื่อ) พล.ต.ปรมุข ศิลปรบ


(ปรมุข ศิลปรบ)
ผบ.พล.ร.๓
ผนวก : ก การแบงมอบน้ํามันเชื้อเพลิง (เวน)

การแจกจาย : แบบ ก

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.ท. ช. เชิงรุก
(ชาย เชิงรุก)
หน.กบ.พล.ร.๓
แผนพับ
๔๙๖
ตัวอยางที่ ๗ – ๒ คําสั่งการชวยรบของกองพลทหารราบ (แบบที่ ๒)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
พล.ร.๙
อุดรธานี (๗๗๖๖)
๑๑๑๑๐๐ ม.ค.....
กบ.๐๒๒
คําสั่งการชวยรบที่ ๖

ตามคําสัง่ ยุทธการที่ ๖ – พล.ร.๙

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง ม.อุดรธานี

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม
๑) ผนวก ข (การขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ – พล.ร.๙
๒) ขีดความสามารถของฝายตรงขาม สายลับของขาศึกสามารถกอวินาศกรรมที่ตั้งทางการ
ชวยรบและ สลก.ไดตลอดหวงการคุกคามระดับ ๑
ข. กําลังฝายเรา : ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ – พล.ร.๙

๒. ภารกิจ
ใหการสนับสนุนทางการชวยรบแก พล.ร.๙ ในการตั้งรับปองกัน ม.อุดรธานี

๓. กลาวทั่วไป
พล.ร.๙ ใหการสนับสนุนหนวยตางๆ โดย กรม สน.พล.ร.๙ จัดตั้งทางการชวยรบเพื่อสนับสนุน
กองพลบริเวณ บ.หนองปลาดุก (๘๓๗๔) ลําดับความเรงดวนในการใหการสนับสนุน ไดแก ร.๑, ร.๓
ตามลําดับ และ ร.๒ เมื่อเขาปฏิบัติการโดยใชถนนสายอุดร – หนองขือ เปน สลก. ใหทุกหนวยจํากัดการใช
สป.๓ ในหวงตนของการปฏิบัติการ สป.ที่ควบคุม คือ น้ํามันเครื่องและแผนที่ กรม สน. จะจัดสวนแยก
ไปสนับสนุนในพื้นที่สนับสนุนของ ร.๑ และ ร.๓ ในขั้นตน การระวังปองกัน สลก. และที่ตั้งทางการชวยรบ
ให กรมสน. ดําเนินการรวมกับ ร.๒

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๙๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งการชวยรบที่ ๖ – พล.ร.๙)

๔. ยุทโธปกรณ และการบริการ
ก. การสงกําลัง
๑) สป.๑ กําหนดเวลาแจกจายตาม รปจ.
๒) สป.๒ และ ๔
ก) ที่กอง สป.๔ สายชางของ ทภ. : อ.เมืองอุดรธานี (๗๗๖๗)
ข) ลวดหนามและกระสอบทราย ลําดับเรงดวนแรก พัน ร. ใน นตล.
๓) สป.๓
ก) ตส.สป.๓ ทภ. อ.เมืองอุดรธานี (๗๗๖๘)
ข) น้ํามันเครื่องสําหรับ รยบ.๒ ½ ตัน ขาดแคลนมาก เปนสิ่งอุปกรณรายการที่ตอ ง
ควบคุม
๔) สป.๕
ก) ตส.กน.ทภ. อ.เมืองอุดรธานี (๗๘๖๖)
ข) อัตรากระสุนที่ใชได คือ อัตรากระสุนมูลฐาน
๕) น้ํา น้ําในทองถิ่นหามดื่ม นอกจากจะไดใชยาทําความสะอาดแลว
๖) แผนที่ มีจํานวนจํากัดตองประหยัดในการใช
ข. การขนสง
๑) การจราจรในเขตเทศบาล ม.อุดร : ผนวก ข (การหมุนเวียนและการควบคุมการจราจร)
๒) ลําดับเรงดวนแรกในการขนสง สิ่งอุปกรณปอมสนามให กรม ร. ในแนวหนา
ค. บริการ
ลําดับเรงดวนแรกของงานชางคือชวยเหลือในการถากถางพื้นที่สําหรับทําที่ตั้งยิง ป. ลําดับ
เรงดวนในการซอมบํารุง รยบ.๒ ½ ตัน ของ ร.๑
ง. การซอมบํารุง : ลําดับความเรงดวนในการซอมบํารุง รยบ.๒ ½ ตัน ให ร.๑

๕. การสงกลับสายแพทย และการรักษาพยาบาล
ก. รพ.ของ ทภ. : อ.เมืองอุดรธานี (๗๗๗๑)
ข. ใช รยบ.๒ ½ ตัน สัมภาระเพื่อชวยเหลือการสงกลับใหมากที่สุด

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๙๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
(คําสั่งการชวยรบที่ ๖ – พล.ร.๙)

๖. การกําลังพล : ผนวก ค (กําลังพล)

๗. กิจการพลเรือน
ก. หามพลเรือนออกนอกบาน ๑๘๐๐ - ๐๖๐๐
ข. ญวนอพยพในบริเวณ ม.อุดรธานี ใหควบคุมไวที่ตําบลรวบรวมพลเรือน วัดโรงชาง (๗๗๖๖)
๘. เบ็ดเตล็ด : เสนเขตหลังกองพล คือ แนวพรางแสงไฟ
๙. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. ทก.สํารองของกรมสนับสนุน คือ ทก.พัน.ซบร.
ข. นปส. ฉบับปจจุบัน : ผนวก จ (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ – พล.ร.๙

ตอบรับ :

(ลงชื่อ) พล.ต.ชาญ ดีเสมอ


(ชาญ ดีเสมอ)
ผบ.พล.ร.๙

ผนวก : ก แผนบริวารชวยรบ
ข การหมุนเวียน และการควบคุมการจราจร (เวน)
ค กําลังพล (เวน)

การแจกจาย : แบบ ก

(ลายเซ็น) พ.ท.คํานึงยุทธ สุขแข


(คํานึงยุทธ สุขแข)
หน.กบ.พล.ร.๙

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๔๙๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ก (แผนบริวารชวยรบ) ประกอบคําสั่งการชวยรบที่ ๖ – พล.ร.๙

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑: ๕๐,๐๐๐ ระวาง ม.อุดรธานี

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๐๐
ตัวอยางที่ ๗ – ๓ คําสั่งเปนสวน ๆ ของกองพลยานเกราะ

กระดาษเขียนขาว
ที่..........................
แบบ สส.๖
สําหรับเจาหนาที่ศูนยการสื่อสาร.......................................................................................................................

ความเรงดวน-ผูรับปฏิบัติ ความเรงดวน-ผูรับทราบ หมู วัน เวลา


คําแนะนํา
ดวน ดวน ๑๗๑๔๑๕ มิ.ย.๒๗
จาก ผบ.พล.ม.๒๓ หมู/คํา
ถึง ผูรับปฏิบัติ ผบ.ม.๑, ผบ.ม.๒ (ประเภทเอกสาร)
ผูรับทราบ มทบภ.๑, ผบ.พล.ยก.๕๒ ที่ของผูใหขาว..../๒๗

อางถึง : คําสั่งยุทธการที่ ๑๑ – พล.ม.๒๓


๑. การเปลี่ยนแปลงการจัดเฉพาะกิจ : ฉก.๑๓ สมทบ ม.๑๓
๒. กําลังฝายตรงขามประมาณ ๑ กรม ถ. ปฏิบัติการรังหนวงในเขต ม.๒
๓. ม.๓ ออมผาน ม.๒ ทางทิศเหนือเขาตีตอไปใน ๑๗๑๕๓๐ มิ.ย.- เพื่อยึด ทม.๑
๔. กรม ป.๒๓ : ป.พัน.๑๓ ซต.ม.๓
๕. เสนแบงเขตใหมระหวาง พล.ม.๒๓ – พล.ยก.๕๒, ม.๑ ใชแนวปจจุบัน ม.๓, เสนแบงเขตทาง
ตะวันออกใชแนวถนนธงไชยถึงพิกัด ๗๐๕๕๖๓ และทางตะวันตกใชทางรถไฟจนถึง พิกัด ๗๙๒๗๐๘
๖. ตอบรับ : โทรศัพท

พล.ต.วิชาติ
ผบ.พล.ม.๒๓
ผูอนุมัติขาว
๕๐๑
ตัวอยางที่ ๗ – ๔ คําสั่งเตรียมของกองพลทหารราบ

กระดาษเขียนขาว
ที่..........................
แบบ สส.๖
สําหรับเจาหนาที่ศูนยการสื่อสาร.......................................................................................................................

ความเรงดวน-ผูรับปฏิบัติ ความเรงดวน-ผูรับทราบ หมู วัน เวลา


คําแนะนํา
ดวน ดวน ๑๕๐๘๐๐ มิ.ย.๒๗
จาก ผบ.พล.ร.๒๐ หมู/คํา
ถึง ผูรับปฏิบัติ ผบ.นขต.พล.ร.๒๐ (ประเภทเอกสาร)
ผูรับทราบ ที่ของผูใหขาว..../….

๑. กองพลเคลื่อนยายในคืน ๕ – ๖ ส.ค. ไปเขาที่รวมพลทางตะวันออสกของลําน้ํา.......................


บริเวณ..................(พิกัด****) และเตรียมเขาตีในเชาตรู ๗ ส.ค.- ในเขต เพื่อยึดทาขามลําน้ําบริเวณ................
เพื่อกําบังการใชกําลังของ ทภ.๑
๒. ๕ กองรอย ขส. ขึ้นสมทบกองพลใน ๑๕๑๙๐๐ ส.ค. -
๓. แผนการเคลื่อนยาย และแผนยุทธการจะจายให ณ ที่ประชุมสั่งการใน๑๕๑๓๐๐ ส.ค. -

พล.ต.
ผบ.พล.ร.๒๐
อนุมัติขาว
๕๐๒
ตอนที่ ๘
ตัวอยางผนวกประกอบคําสัง่
ตัวอยางที่ ๘ – ๑ ผนวกขาวกรองประกอบคําสั่งยุทธการ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
พล.ร.๒๐
บานหินโมก (๔๖๗๑)
๑๐๑๙๐๐ ก.ย.๒๕....
ขว.๐๑๓
ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ พล.ร.๒๐

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑: ๕๐,๐๐๐ ระวางบานไขแตก

๑. สรุปสถานการณฝายตรงขาม
สรุปขาวกรองที่ ๕๕ และอนุผนวก ๑ แผนบริวารสถานการณ

๒. หัวขอขาวสารสําคัญ
ก. หัวขอขาวสารสําคัญ ฝายรุกรานจะเพิ่มเติมกําลังของตนตามแนวลําน้ํา *** กอนเวลาเขาตี
หรือไม ถากระทํา, เมื่อใด, ที่ไหนและดวยกําลังอะไร ใหเพงเล็งเปนพิเศษตอกรมยานยนตและกรมรถถังกลาง
ในบริเวณ *** (***)
ข. ความตองการขาวกรองอื่น ๆ (ไมเรียงตามความสําคัญ)
๑) ฝายรุกรานจะทําการตั้งรับในแนวที่มั่นปจจุบันตอไปหรือไม ถากระทําฝายรุกรานจะจัด
ที่มั่นอยางไร ดวยกําลังอะไร ใหเพงเล็งเปนพิเศษตอที่ตงั้ และกิจกรรมของกองหนุนและความลอแหลมตอการ
โจมตีดวยอาวุธนิวเคลียร
๒) ฝายรุกรานจะเขาตีกอน ๑๑๐๕๐๐ ก.ย.... หรือไม ถากระทํา ทําเมื่อใด, ที่ไหน และดวย
กําลังเทาใด ใหเพงเล็งเปนพิเศษตอเสนหลักผานเนิน ๕๓๖ (***) – เนิน (***) – CR 981 (***)
๓) ฝายรุกรานจะใชอาวุธนิวเคลียรตอตานฝายเราหรือไม ถาใช ใชเมื่อใด, ที่ไหน, มากเทาใด
และขนาดอะไร และดวยเครือ่ งมือสงชนิดใด
๔) ฝายรุกรานจะใชสารเคมีและชีวะหรือไม ถาใช เปนสารอะไร, ใชเมื่อใด, อยางไร และ
ที่ไหน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๐๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

๓. คําสั่ง และคําขอขาวสาร
ก. คําสั่งใหแกหนวยขึน้ สมทบและหนวยรอง
๑) ร.๒
ก) รายงานทันทีเมื่อไดรับขาว
(๑) สถานภาพของการกอสรางที่มั่นตั้งรับและสนามทุนระเบิด ตามแนวลําน้ํา ***
และทางทิศตะวันออกของลําน้ํา
(๒) ที่ตั้งและขนาดของที่กองกระสุน และทีต่ ั้ง ขนาด และรายการของที่เก็บ
ยุทธภัณฑสายทหารชาง
(๓) การกวาดลาง ชองวาง ผานเครื่องกีดขวางภายในที่มั่นของฝายรุกรานในเขตของ
กองพล
(๔) จํานวน ขนาด การประกอบกําลัง และเวลาที่สังเกตเห็นหนวยลาดตระเวนของ
ฝายตรงขาม
(๕) กิจกรรมและขนาดของหนวยที่สกัดกัน้ การลาดตระเวนของฝายเราในพื้นที่
ขางหนา
(๖) การขัดขวางของหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขาม ซึ่งยุทธภัณฑใหเพื่อ
กิจกรรมเคมีชวี ะ
(๗) การปรากฏตัวของหนวยทหารฝายตรงขาม ซึ่งมีหนากากปองกันพิษ และ/หรือ
สวมเสื้อผาปองกันพิษ
ข) รายงานทันทีเมื่อไดรับขาวและรายงานปฏิเสธใน ๑๑๐๔๐๐ ก.ย.
(๑) ความเคลื่อนไหวในพื้นที่รวมพลของกรม ถ.กลาง (-) และ พัน ถ. ในบริเวณ บ.
ขนุน (๓๕๒๖)
(๒) ความเคลื่อนไหวของกองพันยานยนตบนเนิน ๕๐๓ (***)
(๓) สถานภาพของการกอสรางที่มั่น ตั้งรับ และสนามทุนระเบิดตามแนวลําน้ํา และ
ทางทิศตะวันออกของลําน้ํา
(๔) ที่ตั้งและขนาดของที่กองกระสุน และที่ตั้งขนาดและรายการของที่เก็บ
ยุทธภัณฑสายทหารชาง
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๐๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

(๕) การกวาดลางชองวางผานเครื่องกีดขวางภายในที่มนั่ ของฝายรุกรานภายในเขต


ของกองพล
(๖) จํานวน ขนาด การประกอบกําลัง และเวลาที่สังเกตเห็นหนวยลาดตระเวนของ
ฝายตรงขาม
(๗) กิจกรรมและขนาดของหนวยสกัดกัน้ การลาดตระเวนของฝายเราในพืน้ ที่
ขางหนา
(๘) การขัดขวางของหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขามซึ่งจัดยุทธภัณฑให
เพื่อกิจกรรมเคมีชีวะ
(๙) การปรากฏตัวของหนวยทหารฝายตรงขาม ซึ่งมีหนากากปองกันพิษ และ/หรือ
สวมเสื้อผาปองกันพิษ
ข) รายงานทันทีเมื่อไดรับขาว และรายงานปฏิเสธใน ๑๑๐๔๐๐ ก.ย.
(๑) ความเคลื่อนไหวในพื้นที่รวมพลของกรม ถ.กลาง ( - ) และ พัน.ถ. ในบริเวณ
***
(๒) ที่ตั้งและการเคลื่อนไหวของกรมยานยนตในบริเวณ ***
๓) ม.๒๑ : รายงานทันทีเมื่อไดรับขาว
ก) ความเคลื่อนไหวของกองพันยานยนตบนเขา ๕๐๓
ข) สถานภาพของการกอสรางของที่มั่นตั้งรับ และสนามทุนระเบิดแนวลําน้ําสายชล
และทางทิศตะวันออสกของลําน้ําสายใจ
ค) ที่ตั้งและขนาดของกองกระสุน และที่ตั้ง ขนาด และรายงานที่เก็บที่เก็บยุทธภัณฑ
สายทหารชาง
ง) การกวาดลางชองวางผานเครื่องกีดขวางภายในที่มนั่ ของฝายรุกรานในเขตของ
กองพล
จ) จํานวน ขนาด การประกอบกําลัง และเวลาที่สังเกตเห็นหนวยลาดตระเวนของฝาย
ตรงขาม
ฉ) กิจกรรมและขนาดของหนวยสกัดกัน้ การลาดตระเวนของฝายเราในพืน้ ที่ขางหนา
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๐๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

ช) การขัดขวางหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขามซึ่งจัดยุทธภัณฑเพื่อกิจกรรม
เคมีชีวะ
ซ) การปรากฏตัวของหนวยทหารฝายตรงขามซึ่งมีหนากากปองกันพิษ และ/หรือสวม
เสื้อผาปองกันพิษ
๔) ป.๒๐
ก) รายงานทันทีเมื่อไดรับขาว
(๑) สถานภาพของการกอสรางที่มั่นตั้งรับสนามทุนระเบิดตามแนวลําน้ํา และทาง
ทิศตะวันออกของลําน้ํา
(๒) การกวาดลางชองทางผานเครื่องกีดขวางภายในที่มั่นตัง้ รับชองฝายรุกราน
ในเขตของกองพล
(๓) จํานวน ขนาด การประกอบกําลัง และเวลาสังเกตเห็นหนวยลาดตระเวนของ
ฝายตรงขาม
(๔) กิจกรรมและขนาดของหนวยสกัดกัน้ การลาดตระเวนของฝายเราในพืน้ ที่
ขางหนา
(๕) การขัดขวางของหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขามซึ่งจัดเตรียมยุทธภัณฑ
เพื่อกิจกรรมเคมีชีวะ
ข) รายงานทันทีเมื่อไดรับขาวแลวรายงานปฏิเสธใน ๑๑๐๔๐๐ ก.ย... ที่ตั้งปนใหญ
รวมทั้งจํานวนอาวุธ ขนาดปากลํากลอง และสภาพของการดัดแปลงที่ตงั้ ยิง
๕) พัน.บ.๒๐
ก) รายงานเมื่อไดรับขาว
(๑) ความเคลื่อนไหวของกองพันยานยนตทางทิศเหนือ และทางทิศ ตอ. ของ
CR ๙๘๗
(๒) ความเคลื่อนไหวของกองพันยานยนตบนเนิน ๕๐๓
(๓) ที่ตั้ง ขนาด ประเภทของหนวยทหารบริเวณเนิน ๕๓๖ (เหนือ ***)
(๔) สถานภาพของการกอสรางที่มั่นตั้งรับ และสนามทุนระเบิดตามแนวลําน้ํา***
และทางตะวันออกของลําน้ํา
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๐๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

(๕) ที่ตั้งและขนาดของที่กระสุน และที่ตั้ง ขนาด และรายการของที่เก็บยุทธภัณฑ


สายชาง
(๖) การจัดทําหลุมบุคคล และการปรากฏของยุทธภัณฑเกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร
(๗) การขัดขวางของหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขามซึ่งจัดยุทธภัณฑเพื่อ
กิจกรรมเคมีชวี ะ
ข) รายงานเมื่อไดรับรายงานปฏิเสธใน ๑๑๐๔๐๐ ก.ย....
(๑) การเคลื่อนยายตามถนนดังตอไปนี้
(ก) ทางเหนือทางหลวงที่ ๒๕ (***)
(ข) ทางตะวันตกของทางหลวงที่ ๒ (***)
(ค) ทางตะวันตกของทางหลวงที่ ๔ (***)
(๒) ความเคลื่อนไหวในพื้นที่รวมพลของกรม ถ.กลาง ( - ) และ พัน.ถ.ในบริเวณ
***
(๓) ที่ตั้งและความเคลื่อนไหวของกรมยานยนตในบริเวณ
(๔) ทีต่ ั้งยิงของปนใหญ รวมจํานวนของอาวุธ ขนาดปากลํากลอง และสภาพของ
การดัดแปลงทีต่ ั้งยิง
๖) พัน.ช.๒๐ : รายงานทันทีเมื่อไดรับขาว
ก) สถานภาพของการกอสรางที่มั่นตั้งรับ และสนามทุนระเบิดตามแนวลําน้ํา***
และทางทิศตะวันออกของลําน้ํา
ข) การขัดขวางของหนวยชาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขามซึ่งจัดยุทธภัณฑเพื่อ
กิจกรรมเคมีชวี ะ
ข. คําขอไปยังหนวยเหนือ หนวยขางเคียง และหนวยทีใ่ หความรวมมือ
๑) ท.๑ไดรับคําขอใหจัดหาขาวสาร
ก) เมื่อไดรับขาว
(๑) ที่ตั้ง ขนาด และประเภทของหนวยทหารในบริเวณเนิน ๕๓๖ (เหนือ***)
(๒) จํานวน ประเภท ทิศทางเคลื่อนยาย และในเวลาการเคลื่อนยายของการจราจร
ของยานทางอากาศ หรือยานทางผิวพื้นภายในเขตของกองพลโดยใหเพงเล็งเปนพิเศษตามทางหลวงที่ ๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๐๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

(๓) ชุมนุมหนวยทหารรวมทั้งประเภทของยานพาหนะทางทิศตะวันออกของ
ทางหลวงที่ ๒๕ ในเขตของกองพล
(๔) การพบเห็นปอมสนามและการปรากฏของหนวยทหารตามแนวดังตอไปนี้
(ก) เนิน ๕๐๓ – CR ๙๘๗
(ข) เนิน ๕๑๘ (***) เนิน – ๕๓๖ (***) – เนิน ๔๙๙ (***)
(๕) ที่ตั้งและขนาดที่กองกระสุนและที่ตั้ง ขนาด และรายการของที่เก็บยุทธภัณฑ
สาย ช.
(๖) การปรากฏของการเคลื่อนยายยานพาหนะขนาดหนักมากที่มีการคุมกันโดยให
เพงเล็งตามทางหลวงที่ ๒ จาก *** (***) ถึง ***
(๗) การปรากฏตัวของหนวยรักษาความปลอดภัยพิเศษในพืน้ ที่ใด ๆ ทางทิศ ตอ.
ของทางหลวงที่ ๒๕
(๘) ที่ตั้งเครื่องสงสําหรับอาวุธนําวิถีหรือจรวดในเขตของกองทัพนอยที่สามารถ
โจมตีตอกองพลได
(๙) การจัดทําหลุมบุคคล และการปรากฏของยุทธภัณฑเกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร
(๑๐) การขีดขวางของหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขามซึ่งยุทธภัณฑ เพื่อ
กิจกรรมเคมีชวี ะ
(๑๑) บรรดาการเคลื่อนยายและการกอง สป.เคมีชีวะทั้งปวงในเขตของกองพล
(๑๒) การปรากฏตัวของหนวยทหารที่มีหนากากปองกันพิษ และ/หรือ สวม
เสื้อผาปองกันพิษ
ข) รายงานทันทีเมื่อไดรับขาวและรายงานปฏิเสธใน ๑๑๐๔๐๐ ก.ย.
(๑) การเคลื่อนยายตามถนนดังตอไปนี้
(ก) ทางเหนือของทางหลวงที่ ๒๕
(ข) ทางตะวันตกของทางหลวงที่ ๒
(ค) ทางตะวันตกของทางหลวงที่ ๔
(๒) ความเคลื่อนไหวในพื้นที่รวมพลของ กรม ถ. กลาง ( - ) และ พัน.ถ.ในบริเวณ
***
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๐๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

(๓) ที่ตั้งและความเคลื่อนไหวของกรมยานยนตในบริเวณ
(๔) ที่ต้งั และความเคลื่อนไหวของกรมยานยนตทางทิศตะวันตกเฉียงใตของ
RC ๙๙๔
(๕) ที่ตั้งยิงของปนใหญ รวมทั้งจํานวนอาวุธ ขนาดปากลํากลองและสภาพ
การดัดแปลงทีต่ ั้งยิง
(๖) ทก. ตําบลสงกําลัง และสถานะการแพทยทางตะวันออกของทางหลวงที่ ๒๕
ค) พล.ร.๑๘ไดรบั คําขอใหจัดหาขาวสาร
(๑) รายงานเมื่อไดรับขาว
(ก) การชุมนุมหนวยทหาร รวมทั้งประเภทของยานพาหนะทางทิศ ตอ.ของ
ทางหลวงที่ ๒๕ ในเขตของกองพล
(ข) การปรากฏของการเคลื่อนยายพาหนะขนาดหนักมากที่มกี ารคุมกัน โดย
ใหเพงเล็งเปนพิเศษตามทางหลวงที่ ๒ จาก *** ถึง ***
(ค) การปรากฏตัวของหนวยรักษาความปลอดภัยพิเศษในพืน้ ที่ทางทิศ ตอ.
ของทางหลวงที่๑๕
(ง) ที่ตั้งเครื่องสงสําหรับอาวุธนําวิถี หรือจรวดภายในพื้นที่ของ พล.ร.๑๘
(จ) ที่ตั้งยิงของปนใหญขนาดหนัก รวมทั้งจํานวนอาวุธขนาดกวาง
ปาก ลํากลองและสภาพการดัดแปลงทีต่ งยิงในเขตของ พล.ร.๑๘
(ฉ) การจัดทําหลุมบุคคล การปรากฏของยุทธภัณฑเกีย่ วกับอาวุธนิวเคลียร
(ช) การขัดขวางของหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขาม
(ซ) บรรดาการเคลื่อนยายทีก่ อง สป. เคมีชีวะทัง้ ปวงในเขต
(ด) การปรากฏตัวของหนวยทหารฝายตรงขามซึ่งมีหนากากปองกันพิษ และ
หรือสวมเสื้อผาปองกันกัน
ง) รายงานทันทีเมื่อไดรับขาวและรายงานปฏิเสธใน ๑๑๐๔๐๐
(๑) การเคลื่อนยายตามถนนดังตอไปนี้
(ก) ทางเหนือของทางหลวงที่ ๒๕
(ข) ทางตะวันตกของทางหลวงที่ ๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๐๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

(ค) ทางตะวันตกของทางหลวงที่ ๒๔
(๒) ที่ตั้งและความเคลื่อนไหวของกรมปนเล็กยานยนตทางทิศตะวันตกเฉียงใต
RC ๙๙๔ (***)
(๓) พล.ยย.๕๒ ไดรับคําขอใหจดั หาขาวสาร
(ก) ชุมนุมหนวยทหาร รวมทั้งประเภทของยานพาหนะทางทิศตะวันออกของ
ทางหลวงที่ ๒๕ ในพืน้ ที่ในความสนใจของกองทัพ
(ข) การปรากฏของการเคลื่อนยายยานพาหนะขนาดหนักมากที่มีการคุมกัน
โดยใหเพงเล็งเปนพิเศษตามทางหลวงที่ ๒ จาก *** ถึง ***
(ค) การปรากฏตัวของหนวยรักษาความปลอดภัยพิเศษในพืน้ ที่ใด ๆ ทางทิศ
ตะวันออกของทางหลวง ๒๕
(ง) ที่ตั้งเครื่องสงสําหรับอาวุธนําวิถีหรือจรวดภายในพื้นทีใ่ นความสนใจของ
พล.ยย.๕๒
(๔) รายงานเมื่อไดรับขาว
(ก) ชุมนุมหนวยทหาร รวมทั้งประเภทของยานพาหนะทางทิศตะวันออกของ
ทางหลวงที่ ๒๕ ในเขตของกองพล
(ข) การปรากฏของการเคลื่อนยายยานพาหนะขนาดหนักมากที่มีการคุมกัน
โดยใหเพงเล็งเปนพิเศษตามทางหลวงที่ ๒ จาก *** ถึง ***
(ค) การปรากฏตัวของหนวยรักษาความปลอดภัยพิเศษในพืน้ ที่ทางทิศ
ตะวันออกของทางหลวงที่ ๑๕
(ง) ที่ตั้งเครื่องสงสําหรับอาวุธนําวิถี หรือจรวดภายในพื้นที่ของ พล.ร.๑๘
(จ) ที่ตั้งยิงของปนใหญขนาดหนักรวมทั้งจํานวนอาวุธขนาดปากลํากลองและ
สภาพการดัดแปลงที่ตั้งยิงในเขตของ พล.ร.๑๘
(ฉ) การจัดทําหลุมบุคคล การปรากฏของยุทธภัณฑเกีย่ วกับอาวุธนิวเคลียร
(ช) การขัดขวางของหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขาม ซึ่งยุทธภัณฑ
เพื่อกิจกรรมเคมีชีวะ
(ซ) บรรดาการเคลื่อนยายทีก่ อง สป.เคมีชีวะทัง้ ปวงในเขต
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

(ด) การปรากฏตัวของหนวยทหารฝายตรงขามซึ่งมีหนากากปองกันพิษ และ


หรือสวมเสื้อผาปองกัน
ง) รายงานทันทีเมื่อไดรับขาวและรายงานปฏิเสธใน ๑๑๐๔๐๐
(๑) การเคลื่อนยายตามถนนดังตอไปนี้
(ก) ทางเหนือของทางหลวงที่ ๒๕
(ข) ทางตะวันตกของทางหลวงที่ ๒
(ค) ทางตะวันตกของทางหลวงที่ ๒๔
(๒) ที่ตั้งและความเคลื่อนไหวของกรมปนเล็กยานยนตทางทิศตะวันตกเฉียงใต
RC ๙๙๔ (***)
(๓) พล.ยย.๕๒ ไดรับคําขอใหจดั หาขาวสาร
(ก) ชุมนุมหนวยทหาร รวมทั้งประเภทของยานพาหนะทางทิศตะวันออกของ
ทางหลวงที่ ๒๕ ในพืน้ ที่ในความสนใจของกองทัพ
(ข) การปรากฏของการเคลื่อนยายยานพาหนะขนาดหนักมากที่มีการคุมกัน
โดยใหเพงเล็งเปนพิเศษตามทางหลวงที่ ๒ จาก *** ถึง ***
(ค) การปรากฏตัวของหนวยรักษาความปลอดภัยพิเศษในพืน้ ที่ใด ๆ ทางทิศ
ตะวันออกของทางหลวง ๒๕
(ง) ที่ตั้งเครื่องสงสําหรับอาวุธนําวิถี หรือจรวดภายในพื้นที่ในความสนใจของ
พล.ยย.๕๒
(จ) ที่ตั้งยิงของปนใหญขนาดหนักรวมทั้งจํานวนอาวุธขนาดปากลํากลองและ
สภาพการดัดแปลงที่ตั้งยิง
(ฉ) การจัดทําหลุมบุคคล การปรากฏของยุทธภัณฑที่เกีย่ วกับอาวุธนิวเคลียร
(ช) การขัดขวางของหนวยลาดตระเวนใด ๆ ของฝายตรงขาม ซึ่งยุทธภัณฑ
เพื่อกิจกรรมเคมีชีวะ
(ซ) บรรดาการเคลื่อนยายทีก่ อง สป.เคมีชีวะทัง้ ปวงในเขต
(ด) การปรากฏตัวของหนวยทหารฝายตรงขามซึ่งมีหนากากปองกันพิษ และ
หรือสวมเสื้อผาปองกันพิษ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

๔. มาตรการในการดําเนินการตอกําลังพล เอกสาร และยุทโธปกรณ

ก. เชลยศึก เชลยศึกจาก พล.ผ.๕๘ จะตองรายงานไปยัง สธ.๒ กองพลโดยมีชักชา


ข. ยุทโธปกรณทยี่ ึกได ยุทธภัณฑสาํ หรับสงครามอิเล็กทรอนิกส และชนวน ทีวี ที่ทําขึ้นของฝาย
ตรงขามจะตองระมัดระวังรักษาไวและรายงานไปยัง สธ.๒ กองพลโดยไมชกั ชา
๑) ภาพหลักของเขตของกองพล (ประมาณ ๑ : ๑๐,๐๐๐)
ก) แตละ พล.นอย, ป.พล. ไดรับ ๖ ฉบับ
ข) แตละ พัน.ถ., พัน.ร. ยานยนต ม.พัน. ๑ – ๒๑ พัน.บ.๒๐, ช.พล., นายทหาร
ฝายการสื่อสารของกองพลไดรับ ๑ ฉบับ
๒) ภาพถายที่มีคําอธิบายประกอบจะจายไปโดยอัตโนมัติในเมื่อมีพอเพียง
๓) คําขอเที่ยวบินถายภาพทางอากาศที่วางแผนลวงหนาเสนอไปยัง ทก. พล. ใน ๑๔๐๐
ทุกวัน เริ่มมีผลใน ๑๐ ก.ย....
ค. อนุผนวก๒ (การลาดตระเวนทางอากาศ)

๕. เอกสาร และ/หรือ ยุทธภัณฑที่ตองการ


ก. อาวุธปนเล็กทุกชนิดของฝายตรงขาม
ข. สะเก็ดระเบิดของอาวุธยิงสนับสนุนของฝายตรงขามทุกชนิด

๖. การตอตานขาวกรอง
ก. ทุกหนวยประสานการใชเครือ่ งบินทหารบกโดยผานทาง ศปย. เพื่อลดจํานวน บ. ในอากาศ
เหนือพืน้ ที่ในเขตของกองพลกอนเขาตีใหเหลือนอยที่สุด
ข. อนุผนวก๓ (การตอตานขาวกรอง)

๗. รายงานและการแจกจาย : รปจ.

๘. เบ็ดเตล็ด
การเฝาตรวจทางวิทยุอยางตอเนื่องเริ่มใน ๑๑๐๖๐๐ ก.ย.... และทําเรื่อยไปจนกระทั่งกองพล
จะสั่งการเปนอยางอื่นและจะแจงใหทราบตอไป
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐)

ตอบรับ : (หมายเหตุ ๑)
พล.ต.......................
(เขียว ชาญเวช)
ผบ.พล.ร.๒๐

อนุผนวก : ๑ แผนบริวารสถานการณ (เวน)


๒ การลาดตระเวนทางอากาศ (เวน)
๓ การตอตานขาวกรอง (เวน)

การแจกจาย : เชนเดียวกับคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ (หมายเหตุ ๑)

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น).........
หน.สธ.๒

หมายเหตุ ๑. ใหเขียนลงไวเมื่อผนวกมีการแจกจาย แตกตางกับการแจกจายคําสั่ง หรือแจกจายผนวก


แยกตางหากจากคําสั่ง

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๓
ตัวอยางที่ ๘ – ๒ แบบฟอรมผนวกการยิงสนับสนุน
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
หนวยที่ออกคําสั่ง
ตําบลออกคําสั่ง
(เปนรหัสได)
กลุมตัวเลข
วัน – เวลา ที่ลงนาม
หมายเลขอางสาสน

ผนวก.. (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ...

อางถึง : แผนที่ แผนผัง และเอกสารอื่นใดที่จําเปนเพื่อชวยใหเขาใจ

เขตเวลา :

๑. สถานการณ
เขียนขาวสารที่มีผลกระทบตอการยิงสนับสนุนซึ่งไมไดกลาวไวใน ขอ ๑ สถานการณของคําสั่ง
ยุทธการ หรือเขียนขอความที่ตองการขยาย ขอ ๑ ของคําสั่งยุทธการ
ก. กําลังฝายตรงขาม
๑) อางถึง ผนวกการขาวกรองได
๒) ขีดความสามารถของฝายตรงขามเกี่ยวกับกําลังทางอากาศ ป.สนาม ปนเรือ อาวุธเคมี
อาวุธนิวเคลียร
ข. กําลังฝายเรา
๑) แผนของ บก.หนวยเหนือ โดยยอ
๒) แผนการยิงสนับสนุนของหนวยเหนือ และหนวยขางเคียง
๓) กําลังทางอากาศ ปนเรือ และอาวุธนิวเคลียรที่สามารถใหการสนับสนุนได
ค. หนวยสมทบ และหนวยแยก หนวยยิงสนับสนุนที่สมทบและแยกสมทบ รวมทั้งเวลาที่มีผล
บังคับใชดวย

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

๒. ภารกิจ
ภารกิจการยิงสนับสนุนโดยทั่ว ๆ ไปที่กะทัดรัดและชัดเจน

๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติกลาวสั้น ๆ เทาที่เห็นสมควรกลาวถึง งานในการยิงสนับสนุน
การจัดกลุมของระบบอาวุธและลําดับความเรงดวนในการยิงสนับสนุน การยิงกระสุนนิวเคลียร เคมีรวมกับ
กระสุนธรรมดา
ข. การสนับสนุนทางอากาศ
๑) กลาวทั่วไป กลาวถึงพันธกิจหลัก ๆ หรืองานตองกระทําในการสนับสนุนการปฏิบัติการ
ยุทธโดยกําลังทางอากาศ
๒) การแบงมอบ กลาวถึงเที่ยวบินเพื่อการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด (CAS) และการ
ขัดขวางทางอากาศในสนามรบ (BAI) รวมถึงลําดับความเรงดวนในการโจมตีหรือการควบคุมเปนพิเศษ
๓) เบ็ดเตล็ด ชี้แจงรายละเอียดที่ยังไมไดกลาวถึงใสขางตน หรืออางถึงอนุผนวกการ
สนับสนุนทางอากาศ
ค. การสนับสนุนดวยอาวุธเคมี
๑) กลาวทั่วไป กลาวถึงแนวความคิดในการใชกระสุนเคมี
๒) อัตราพิกัดเคมี แสดงรายละเอียดเปนตารางเกี่ยวกับชนิดของกระสุนเคมี จํานวนที่มีอยู
ของแตละหนวยยิงสนับสนุน หรือจํานวนที่จะตองสนับสนุนแตละขั้นตอน
๓) เบ็ดเตล็ด ชี้แจงรายละเอียดทีย่ ังไมไดกลาวถึง หรืออางอนุผนวกการสนับสนุนดวยเคมี
ง. ปนใหญสนาม
๑) กลาวทั่วไป กลาวถึงแนวความคิดโดยทั่วไปในการสนับสนุนแตละขั้นตอน แตละ
ชวงเวลา หรือการสนับสนุนโดยทั่ว ๆไป
๒) การจัดเพื่อทําการรบ
๓) เบ็ดเตล็ด ชี้แจงรายละเอียดที่ยังไมไดกลาวถึงหรืออางถึงอนุผนวกการสนับสนุนของ
ป.สนาม

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

จ. การสนับสนุนดวยปนเรือ
๑) กลาวทั่วไป กลาวถึงแนวความคิดในการสนับสนุน รวมทั้งขอจํากัดในเรื่องหวงเวลา หรือ
ขั้นตอนที่จะสนับสนุน
๒) การแบงมอบปนเรือ การจดพวกเรือ และ/หรือ การจัดพวกเพื่อทําการรบ
ก) การแบงมอบชุดผูตรวจการณปนเรือ และชุดตรวจการณชายฝง
ข) การแบงมอบเรือเพื่อสนับสนุน และ/หรือ ขบวนรบ
๓) เบ็ดเตล็ด (หากมีขอมูลเพิ่มเติม)
ก) การกําหนดวิถกี ระสุน (เชน ทิศทาง ความสูงของกระสุนวิถี สูงสุด– ต่ําสุด เปนตน)
ข) การแบงมอบคลื่นความถี่ที่ใชติดตอ
ค) อางถึง อนุผนวก การสนับสนุนดวยปนเรือ
ฉ. การสนับสนุนดวยอาวุธนิวเคลียร
๑) กลาวทั่วไป กลาวถึงแนวความคิดในการสนับสนุนดวยอาวุธนิวเคลียรการจัดเตรียม –
การควบคุมในการริเริ่มของการใช และผูมีอาํ นาจสั่งการ
๒) อัตราพิกัดอาวุธนิวเคลียร แสดงรายละเอียดเปนตารางเกี่ยวกับแรงระเบิดของหัวรบ
(yield) จํานวนหัวรบ - ระบบอาวุธที่ใชในการสนับสนุนแตละขั้นตอนหรือหนวยทีม่ ีอยูอาจทําเปนอนุผนวก
เพื่อขยายความได
๓) เบ็ดเตล็ด (หากมีขอมูลเพิ่มเติม)
ก) ที่ตั้งระบบอาวุธสง (แผนบริวาร)
ข) ความปลอดภัยของหนวยทหาร
ค) ขอจํากัด และขอบังคับตาง ๆ
ง) อางถึงอนุผนวก การสนับสนุนดวยอาวุธนิวเคลียร
ช. คําแนะนําในการประสาน
๑) แนวประสานการยิงสนับสนุน (นปยส.)
๒) ลําดับ เวลา น และเวลาทีจ่ ะเริ่มสนับสนุนดวยอาวุธนิวเคลียร
๓) ขอแนะนําในการประสานการโจมตีเปาหมายที่ตองโจมตีดวยอาวุธมากกวา ๑ ระบบ
๔) ขอแนะนําการแกไขเพิม่ เติม
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)

ชุดที่ ของ ชุด


หนา ของ หนา
(ขอความโดยยอแสดงที่มาของเอกสาร)

๔. การชวยรบ
ก. อางถึง ผนวกการชวยรบหรือคําสั่งการชวยรบ
ข. ที่ตั้งของตําบลสงกําลังกระสุนตาง ๆ
ค. การซอมบํารุงประจําวันของระบบอาวุธ อัตรากระสุนที่ใชไดของอาวุธแตละชนิด

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ที่ตั้ง ทก.หลัก, ทก.สํารอง
๒) ที่ตั้ง ทก.ป. หรือที่ตั้งสวนยิงสนับสนุน
ข. การสื่อสาร

ตอบรับ :
ยศ ชื่อ นามสกุล
(ชื่อ นามสกุล)
ตําแหนง
อนุผนวก :

การแจกจาย :

การรับรองสําเนา

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๗
ตัวอยางที่ ๘ – ๓ ผนวกการยิงสนับสนุนประกอบคําสั่งยุทธการกองพล (จายพรอม)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ข (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐

อางถึง : แผนที่ ***

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม
๑) ผนวก ก (การขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐
๒) ฝายตรงขามมีความสามารถทําการโจมตีหนวยยิงสนับสนุนดวยอาวุธเคมีจากทางอากาศ
อาวุธสงและปนใหญ กําลังทางอากาศของฝายตรงขามสามารถใช บ. ทิ้งระเบิดวันละ ๔๐ เทีย่ วบิน และ
บ.ขับไลทิ้งระเบิดวันละ ๑๕๐ เที่ยวบินในเขตของ ทน.๑
ข. กําลังฝายเรา
๑) ทน.เขาตีใน ๑๔๐๔๓๐ ก.ย... พล.ร.๒๐ อยูดานตะวันออก และ พล.ร.๒๑ อยูทางดาน
ตะวันตก, เขายึดฝงเหนือของลําน้ํา *** และทําลายกําลังฝายตรงขามในเขต
๒) กองบินยุทธวิธีที่ ๙ สนับสนุน ทภ.๒ โดยการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดสอยางนอย
ที่สุดวันละ ๓๐ เที่ยวบินสําหรับหวงเวลา ๑๔๐๔๐๐ ถึง ๑๕๒๐๐๐ ก.ย... ลําดับเรงดวนแรกใหกบั ทน.๑
จนกระทั่งเขายึดฝงเหนือของลําน้ํา *** ได
๓) การสนับสนุนดวยปนใหญ
ก) ป.พัน.๓๐๕: ชร.ทภ.๒ ลําดับความเรงดวนในการยิงใหกับ ทน.๑
ข) ป.๒๓ ชร.-พย.ป.๒๐ กลีบไปอยูในความควบคุมของ พล.ยก.๒๓ เมื่อสั่ง
ค) พวก ป.๖๓ : พย.ป.๒๐
ง) การยิงสนับสนุนดวยปนหมูเ รือ ยิงสนับสนุนดวยปนเรือ (TG 38.1) สนับสนุน ทน.๑
หนวยยิงสนับสนุน ทน.๑หนวยยิงสนับสนุนสอง (TG38.21) ใหการสนับสนุน พล.ร.๒๐
ค. หนวยสมทบและหนวยแยก การสมทบมีผล ๑๓๑๙๐๐ ก.ย....
๑) ป.๖๑๑ พัน.๑ (๑๐๕ อจ.)
๒) ป.๖๓๑ พัน.๒ (๑๕๐ อจ.)

๒. ภารกิจ
ปนใหญในกองพลและสวนยิงสนับสนุนใหการสนับสนุนการยุทธของ พล.ร.๒๐ โดยการยิง
สนับสนุนดวยปนใหญ กําลังทางอากาศยุทธวิธี ปนเรือ และการสนับสนุนการปองกันภัยทางอากาศ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ข (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐

๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) กลยุทธ คําสั่งยุทธการที่ ๒ – พล.ร.๒๐
๒) การยิง ในเวลา น – ๓๐ นาที กองพลจะใชกําลังทางอากาศยุทธวิธีตอกําลังของขาศึก
บนเนิน ๓๗๕ (๑๙๑๓๙๕) และบนเนิน ๔๒๑ (๒๒๔๔๑๐) มีการยิงเตรียมดวยปนใหญและปนเรือ ๓๕ นาที
เริ่มยิงใน น – ๓๐ นาที
ข. การสนับสนุนทางอากาศ
๑) กลาวทั่วไป บ.ขับไลทิ้งระเบิดสิบหกเครือ่ งเตรียมพรอมในอากาศในเวลา น ถึง น+๑
ชั่วโมงเหนือเขตของกองทัพนอยจะไดรับภารกิจตามทีศ่ ูนยปฏิบัติการทางยุทธวิธีของกองทัพนอยอนุมัติ
ลําดับความเรงดวนในการสนับสนุนใหกบั พล.ร.๒๐ ตั้งแต ๑๔๐๙๐๐ ก.ย....
๒) การแบงมอบเพื่อการวางแผน
ก) พล.ร.๒๐ไดรบั สอก. ๑๔ เที่ยวบิน/วัน
ข) แบงมอบดังนี้
ฉก.ร.๑ จํานวน ๖ เทีย่ วบิน
ฉก.ร.๒ จํานวน ๔ เทีย่ วบิน
พล.ร.๒๐ จํานวน ๔ เทีย่ วบิน
๓) เบ็ดเตล็ด
ก) วางแผน ๒ เทีย่ วบินตอภารกิจ
ข) อนุผนวก๑ การสนับสนุนทางอากาศ
ค. การสนับสนุนดวยปนใหญ
๑) ป.สนาม
ก) กลาวทั่วไป ป.สนามจะสนับสนุนการเขาตีดวยการยิงเตรียมตั้งแต น – ๓๐ นาที ถึง
น + ๕ นาที
ข) การจัดเพื่อทําการรบ
(๑) ป.๒๐
ป.พัน.๔๕ : ชต.ฉก.ร.๑
ป.พัน.๔๖ : ชต.ฉก.ร.๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๑๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ข (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐

ป.พัน.๔๗ : ชร.-พย. ป.พัน.๔๕, ชต.ฉก.ร.๓ เมื่อสั่ง


ป.พัน.๔๘ : ชร.-พย. ป.พัน.๔๖
ป.พัน.๔๙ : ชร.
ป.พัน.๖๑๑ : พย. ป.พัน.๔๕, พย. ป.พัน.๔๗ เมื่อสั่ง
ป.พัน.๖๓๑ : ชร.
(๒) ป.เพิ่มเติมกําลังยิง
พวก ป.๖๓
ป.พัน.๖๑๑ (๑๕๕,อจ.)
ป.พัน.๖๑๒ (๑๕๕,อจ.)
ป.พัน.๖๓๑ (๑๕๕,อจ.)
ป.พัน.๖๕๑ (๑๕๕,ลจ.)
ค) เบ็ดเตล็ด
(๑) ป.พัน.๔๕ วางแผนการยิงของ ป.พัน.๔๗ และ ป.พัน.๖๑๑ สําหรับการยิงเตรียม
เทานั้น
(๒) ป.พัน.๕๖ วางแผนการยิงของ ป.พัน.๔๘ ในหวงเวลา น – ๒๐ นาที ถึง น + ๔
นาที
(๓) อนุผนวก ๒ การยิงสนับสนุนของ ป.
(๔) การปองกันภัยทางอากาศ : อนุผนวก ๓ การยิงสนับสนุนดวยปน ปภอ.
ง. การยิงสนับสนุนดวยปนเรือ
๑) กลาวทั่วไป หนวยยิงสนับสนุนของ (TG ๓๘๑๒) สนับสนุนการเขาตีเริ่มในเวลา น – ๑
ชั่วโมง สนับสนุนการเขาตีดว ยการยิงเตรียมในเวลา น – ๓๐ นาที ถึง น + ๕ นาที
๒) การแบงมอบการยิงสนับสนุนดวยปนเรือ
ก) เรือลาดตระเวนหนักหนึ่งลํา (CA) ชร.กองพลจนกวากองทัพนอยจะสั่งยกเลิก
ข) เรือพิฆาตหนึ่งลํา (DD) ชต.พล.นอย.๑
๓) เบ็ดเตล็ด : อนุผนวก ๔ การยิงสนับสนุนดวยปนเรือ
จ. คําแนะนําในการประสาน
๑) นปยส.ทน.๑ ตามแนวลําน้ํา *** มีผลบังคับใชใน ๑๔๐๔๐๐ ก.ย....
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ข (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐

๒) สงอนุผนวกการยิงสนับสนุน ใหสว นยิงสนับสนุน (FSE) กอน ๑๓๒๒๐๐ ก.ย....


๓) รายงานการวิเคราะหเปาหมายภายหลังการโจมตีสงไปสวนยิงสนับสนุนของกองพล
๔) การยกเลิกภารกิจยิงฉุกเฉินใชขอความกระจางชัด แตจะยิงตอไปถาตอบสัญญาณบอกฝาย
ไมได
๔. การชวยรบ
ก. ผนวก ง (การชวยรบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐
ข. อัตรากระสุนที่ใชได ชวงเวลา ๑๒๐๖๐๐ – ๑๘๑๘๐๐ ก.ย...
๑๐๕ มม. ๑๕๐ นัด/กระบอก/วัน
๑๕๕ มม. ๑๒๐ นัด/กระบอก/วัน
กระสุนประเภทอื่น ๆ ไมจํากัด

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) สวนยิงสนับสนุน ทก.หลักของกองพล อยูท ี่ ***
๒) สวนยิงสนับสนุน ทก.ยว.พล อยูที่ ***
๓) ทก.ป.๒๐ (ขัน้ ตน) อยูที่พิกดั ๑๙๓๐๖๐
ข. การสื่อสาร
๑) นปส. ดรรชนี ๑ - ๑๔
๒) การสื่อสารทางวิทยุกอนการเขาตี ใหดําเนินการตามปกติ
๓) ผนวก ฉ (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๔ – พล.ร.๒๐

ตอบรับ :

อนุผนวก : ๑ การยิงสนับสนุนทางอากาศ (เวน)


๒ การยิงสนับสนุนดวยปนใหญ (เวน)
๓ การยิงสนับสนุนดวยปน ปภอ. (เวน)
๔ การยิงสนับสนุนดวยปนเรือ (เวน)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๑
ตัวอยางที่ ๘ – ๔ อนุผนวกการสนับสนุนทางอากาศประกอบผนวกการยิงสนับสนุน
ประกอบคําสั่งยุทธการกองทัพ (จายพรอม)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
อนุผนวก ๑ (การยิงสนับสนุนทางอากาศ) ประกอบผนวก ง (การยิงสนับสนุน)
ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๓ – ทภ.๒

อางถึง : แผนที่ ***

การจัดเฉพาะกิจ : ใบแทรก ก การจัดกองบินยุทธวิธีที่ ๙

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม : ผนวก ข (การขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๓ – ทภ.๒
ข. กําลังฝายเรา
๑) กองบินยุทธวิธีที่ ๘ สนับสนุน ทภ.๑
๒) กองบินยุทธวิธีที่ ๑๐ (บ.ลําเลียง) ปฏิบัติภารกิจทั่วทั้งพืน้ ที่รับผิดชอบกองบินยุทธวิธีที่ ๙
ค. หนวยสมทบและหนวยแยก : ใบแทรก ก การจัดกองบินยุทธวิธีที่ ๙

๒. ภารกิจ
กองบินยุทธวิธีที่ ๙ ปฏิบัติการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี ซึ่งไดแกการตอบโตทางอากาศ
การขัดขวางทางอากาศ และการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดใหกบั ทภ.๒
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการสนับสนุนทางอากาศ
๑) มีผลบังคับโดยทันที คือการสนับสนุนทางอากาศที่มีอยูจะตองรวมกําลังโจมตีตออาวุธ
นําวิถีจากผิวพืน้ ของฝายตรงขามเปนลําดับแรก และปฏิบัติการขัดขวางทางอากาศตอขีดความสามารถในการ
เคลื่อนยายทางรถไฟและทางถนนของฝายตรงขามทางทิศตะวันตกของ * * * (***) * * * (***) โดยเพงเล็ง
ที่ทาขามลําน้ํา * * * ลําดับเรงดวนที่สอง คือ การโจมตีตอที่รวมพลของฝายตรงขามที่ทราบแลว ซึ่งอยูนอก
ระยะยิงของปนใหญโดยใหเพงเล็งเปนพิเศษตอหนวยยานยนตในบริเวณ * * * (***) และกองพลรถถัง
ในบริเวณ * * *
๒) ประมาณวาจะมี บ.ขับไลยทุ ธวิธี ๑๖๘ เที่ยวบินสําหรับการสนับสนุนทางอากาศโดย
ใกลชิด และมี บ.ขับไลยุทธวิธี ๑๙๐ เที่ยวบิน, บ.ทิ้งระเบิดยุทธวิธี ๔๐ เที่ยวบิน และอาวุธนําวิถี ๓๐ นัด
สําหรับขัดขวางทางอากาศใน ๒๔ พ.ค.
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
อนุผนวก ๑ (การยิงสนับสนุนทางอากาศ) ประกอบผนวก ง (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่ง
ยุทธการที่ ๓ – ทภ.๒

๓) ลําดับเรงดวนในการสนับสนุนทางอากาศ คือ ทน.๑, ทน.๗ และ ทน.๓


ข. ทน.๑ :
๑) แตละเครื่องของ บ.ขับไลยทุ ธวิธีทั้ง ๘ เครื่องมีสามเที่ยวบิน บรรทุกอาวุธแบบ ๕ รายงาน
นายทหารอากาศติดตอของ ทน. ในเวลา ๑๕๐๐, ๑๖๐๐ และ ๑๗๐๐
๒) ใบแทรก ข ภารกิจการตอตานการยิงปนใหญที่ไดวางแผนลวงหนาและภารกิจการ
สนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด
ค. ทน.๒ :
๑) บ.ขับไลยุทธวิธี ๘ เครื่อง บรรทุกอาวุธแบบ ๖ มีอยูพรอมเมื่อเรียกเพื่อคุมครองขบวนของ
พล.ยก.๒๓ เมื่อเขาปฏิบัติการ การควบคุมใชผูควบคุมอากาศยานหนาผานทางนายทหารอากาศติดตอของ
กองพล
๒) ใบแทรก ข ภารกิจการตอตานการยิงปนใหญที่วางแผนไวลวงหนา และภารกิจสนับสนุน
ทางอากาศโดยใกลชิด
ง. ทน.๓ : ใบแทรก ข ภารกิจการตอตานการยิงปนใหญที่ไดวางแผนลวงหนาและภารกิจ
การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด
จ. ภารกิจการสนับสนุนทางอากาศโดยทันที : บ.ขับไลยุทธวิธี ๓๒ เครื่อง เตรียมพรอมอยูบน
ลานบินภายหลัง ๑๕๐๗๐๐ พ.ค... ใบแทรก ค ภารกิจการขัดขวางที่ไดวางแผนไวลวงหนา
ฉ. คําแนะนําในการประสาน
๑) แนวทิ้งระเบิดปจจุบันและทีไ่ ดวางแผนลวงหาใบแทรก ง แนวขัดขวางพื้นที่ขัดขวาง และ
แนวทิ้งระเบิด
๒) ผูควบคุมอากาศยานทางยุทธวิธีสําหรับ ทน.๑, ทน.๒ และ ทน.๓ จะพรอมใน ๒๓๑๘๐๐
พ.ค... เมื่อตองการ
๓) ทน. และกองพลแจงให บก. นี้ทราบลวงหนา ๓๐ นาทีกอนเวลาที่ตองการใหปฏิบัติ
ภารกิจ “ตามคําขอ”
๔. การชวยรบ
คําสั่งการชวยรบที่ ๔ – ทภ.๒

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
อนุผนวก ๑ (การยิงสนับสนุนทางอากาศ) ประกอบผนวก ง (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๓ –
ทภ.๒
๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ผนวก ค (แผนบริวารยุทธการ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๓ – ทภ.๒
๒) ที่ตั้งสํารองของ ศปย. จะแจงใหทราบภายหลัง
ข. การติดตอสื่อสาร
๑) ผนวก ข (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๓ – ทภ.๒
๒) สัญญาณเรียกขาน และความถี่สําหรับชุดควบคุมอากาศยาน นปส.ท.๑
๓) สัญญาณเรียกขานและความถี่สําหรับกองบินยุทธวิธีที่ ๙ นปส.ท.๑
๔) รหัสฉุกเฉินเพือ่ หยุดการโจมตีทางอากาศ นปส.ท.๑
๕) การสื่อสารฉุกเฉินเพื่อหยุดการโจมตีทางอากาศ นปส.ท.๑
๖) การหมายเขตเปาหมาย นปส.ท.๑
ใบแทรก : (หมายเหตุ ๑)
ก การจัดกองบินยุทธวิธีที่ ๙ (เวน)
ข การตอตานการยิงปนใหญที่ไดวางแผนไวลวงหนาและภารกิจการสนับสนุนทางอากาศโดย
ใกลชิด
ค ภารกิจการขัดขวางที่ไดวางแผนไวลว งหนา (เวน)
ง แนวขัดขวาง และแนวทิ้งระเบิด (เวน)

หมายเหตุ
๑. ใบแทรกอาจจะแจกจายแยกตางหากก็ได
ใบแทรก ข และใบแทรก ค แกไขทุก ๆ วัน ใบแทรก ก
และใบแทรก ง แกไขตามความจําเปน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ใบแทรก ข (การตอตานการยิงปนใหญที่ไดวางแผนลวงหนาและภารกิจการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชดิ
ประกอบอนุผนวก ๑ (การสนับสนุนทางอากาศ) ประกอบผนวก ง (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่ง
ยุทธการที่ ๓ – ทภ.๒

นามเรียกขาน การควบคุม/
หมายเลขลําดับ ภารกิจ/เปาหมาย ที่ตั้ง เวลายิง ระบบอาวุธ
บ. หมายเหตุ
๑๐ – ๑ - ๒๑ เตรียมพรอมบน จะกําหนด เมื่อรองขอ บ.ขับไลยุทธวิธี *** จะกําหนด
พื้นดิน ให ภายหลัง ๓๒ เครื่อง ติด ให
๒๒๐๗๐๐ อาวุธแบบ
๒,๔,๕
๑๕ – ๙ – ๒๑ เครื่องปดกั้นถนน ๗๓๒๗ ๒๒๐๗๐๐ บ.ขับไลยุทธวิธี *** พล.ร.๑๕
ปตถ. ๖ กระบอก ๔ เครื่อง บรรทุก ผูควบคุม
และอาวุธอัตโนมัติ อาวุธ ๔ แบบ อากาศยาน
๔ แหง หนา
๒๕–๑๘–๒๑ ทก.กรม ๗๕๔๕ ๒๒๐๘๐๐ บ.ขับไลยุทธวิธี ***
๔ เครื่อง บรรทุก
อาวุธ
ว-๑-๒๑ ปรส.เคลื่อนที่ *** ถึง *** ๒๒๑๔๓๐ บ.ขับไลยุทธวิธี *** ไมจําเปน
๔ เครื่อง

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๕
ตัวอยางที่ ๘ – ๕ อนุผนวกปองกันภัยทางอากาศประกอบผนวกการยิงสนับสนุน
ประกอบคําสั่งยุทธการกองพล
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
อนุผนวก ๓ (การปองกันภัยทางอากาศ) ประกอบผนวก ง (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่ง
ยุทธการที่ ๒๐ – พล.ร.๒๐

อางถึง : แผนที่มาตราสวน ***

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม : ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๐ – พล.ร.๒๐
ข. ฝายเรา
๑) กองพลตั้งรับในเขต ม.๔ เปนหนวยกําบัง ฉก.ร.๑ อยูดานเหนือ ฉก.ร.๒ ยานกลางและ
ฉก.ร.๓ อยูดานใต กองหนุนและสวนทีเ่ หลือของกองพลรวมพลที่บริเวณเหนือ ม.รัตนานคร
๒) กองพลไดรับมอบเที่ยวบินสนับสนุนทางอากาศ ๔๐ เที่ยวบิน เพื่อการวางแผนโดยมี
ลําดับความเรงดวนใหแก ม.๔ ในชั้นตน ลําดับความเรงดวนในการยิงสนับสนุนใหแก ม.๔ และ ฉก.ร.๑
ตามลําดับ
ค. หนวยสมทบ และหนวยแยก : ปตอ.พัน.๒๐ รอย ๑ สมทบ ม.๔ ตั้งแต ๒๐๐๖๐๐ ม.ค....

๒. ภารกิจ
ปตอ.พัน.๒๐ สนับสนุนการปองกันภัยทางอากาศระยะใกลเปนสวนรวม ใหแกขบวนสัมภาระของ
กรม, กรมสนับสนุน ทก.พล.(หลัก) ทก.ป.๒๐ และใหความเรงดวนในการปองกันภัยทางอากาศระยะใกลแก
ม.๔ เมื่อปฏิบัติการเปนหนวยกําบัง และขณะถอนตัวผานแนว
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ : คําสั่งยุทธการที่ ๒๐ – พล.ร.๒๐
ข. ปตอ.พัน.๒๐(๒๐/๔๐ มม.)
๑) ปตอ.พัน.๒๐ รอย ๑ ในชัน้ ตนสมทบ ม.๔ โดยจัด ๒ มว.ผสมอาวุธ ปองกันตามแนว
ทางบินของกําลังทางอากาศที่จุดปองกันหมายเลข ๑, จัด ๑ มว.ผสมอาวุธ ปองกัน ทก.ม.๔ และขบวนสัมภาระ
, เตรียม ชต.ฉก.ร๓ เมื่อสั่ง โดยมีลําดับความเรงดวนในการปองกันภัยทางอากาศแกขบวนสัมภาระของกรม
และ ป.สนาม ที่ใหการสนับสนุน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
อนุผนวก ๓ (การปองกันภัยทางอากาศ) ประกอบผนวก ง (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการ
ที่ ๒๐ – พล.ร.๒๐

๒) ปตอ.พัน.๒๐ รอย ๒ : ชต.ฉก.ร.๑; ลําดับความเรงดวนในการปองกันภัยทางอากาศใหแก


ขบวนสัมภาระ และ ป.สนามที่ใหการสนับสนุน
๓) ปตอ.พัน.๒๐ รอย ๓ : ชต. ฉก.ร.๒; ลําดับความเรงดวนในการปองกันภัยทางอากาศใหแก
ขบวนสัมภาระกรม และ ป.สนามที่ใหการสนับสนุน
๔) ปตอ.พัน.๒๐ รอย ๔ : ชร.; ลําดับความเรงดวนในการปองกันภัยทางอากาศใหแก ทก.
กรม สน., ตจ.สป.๓, ตส.สป.๕ (หนา) ที่อยูใกลกับ....., ทก.พล. (หลัก)
๕) ใบแทรก ก แผนบริวารการปองกันภัยทางอากาศ
๖) ชุดเรดาหคนหาเปาหมายระดับต่ํา (LAADS) ติดตั้งตามลําดับในพืน้ ที่ดังตอไปนี้.-
ก) ขายแจงเตือนภัยเนิ่นใหแกหนวยยิงในพืน้ ที่ ฉก.ร.๑
ข) ขายแจงเตือนภัยเนิ่นใหแกหนวยยิงในพืน้ ที่สนับสนุนกองพล
ค. คําแนะนําในการประสาน
๑) ปตอ.พัน.๒๐ รอย ๑ ประสานการ ปภอ. กับ หนวย ปตอ.ที่บรรจุมอบใหกับ ม.๔
๒) อนุผนวก ๔ (การประสานหวงอากาศ) ประกอบผนวก ง (การยิงสนับสนุน) ประกอบ
คําสั่งยุทธการที่ ๒๐ – พล.ร.๒๐
๔. การชวยรบ
ก. ผนวก จ (การชวยรบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๐ – พล.ร.๒๐
ข. การซอมบํารุงระบบติดตอใหกระทําทุกวัน

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ทก.ปตอ.พัน.๒๐ อยูที่ พิกัด **** ใกลบานฟา
๒) ทก.ปตอ.พัน.๒๐ (สํารอง) คือที่ตั้ง ทก.ปตอ.พัน.๒๐ รอย.๔
ข. การสื่อสาร
๑) ผนวก ฉ (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๐ – พล.ร.๒๐
๒) การพิสูจนฝาย (IFF) ใชรหัส ๓A ดูใบแทรก ข
๓) นปส. หมายเลขดรรชนี ๓ มีผลบังคับใช
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
อนุผนวก ๓ (การปองกันภัยทางอากาศ) ประกอบผนวก ง (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒๐ –
พล.ร.๒๐
ใบแทรก : ก แผนบริวารการปองกันภัยทางอากาศ
ข รหัส 3A การพิสูจนฝาย (IFF)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๘
ตัวอยางที่ ๘ – ๖ ผนวกทหารชางประกอบคําสั่งยุทธการของกองทัพนอย (จายพรอม)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ทหารชาง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ – ทน.๑๑

อางถึง : แผนที่ ****

การจัดเฉพาะกิจ : ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ – ทน.๑๑

๑. สถานการณ
ก. ฝายตรงขาม ผนวก ข (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ ทน.๑๑
ข. กําลังฝายเรา
๑) คําสั่งยุทธการที่ ๑ ทน.๑๑
๒) กรม ช. ทน.๑๑ จะเขาทําการซอมบํารุงถนนใน ๑๔๐๐๐๑ เม.ย. – ตามพื้นที่ที่แสดงไวใน
อนุผนวก ๑ แผนบริวารทหารชาง
๓) พวกป.๔๐๑ (ปภอ.) ใหการปองกันภัยทางอากาศตอตําบลที่สรางสะพานทุกแหงของ ทน.
ในระหวางกําลังสรางและภายหลังที่สรางเสร็จเรียบรอย
๔) พัน.ส.๗๒๑ (ทน.) จะจัดหนึ่งชุดทางสายใหกับ กรม ช.๕๕ (สนาม) และ กรม ช.๕๖
(สนาม) หนวยละชุด เพื่อชวยในการสรางและบํารุงรักษาการติดตอสื่อสารทางสาย
ค. หนวยสมทบและหนวยแยก : ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒–ทน.๑๑

๒. ภารกิจ
หนวย ช.ทน. สนับสนุนการยุทธขามลําน้ําของ ทน.๑๑ โดยการสราง และสงขามดวยแพสงขาม,
สรางสะพาน และซอมบํารุงถนนในเขตของ ทน. ในวัน ว เวลา น

๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ ***
ข. พล.นอย ช.๕๐
๑) กรม ช.๕๕ (สนาม)
ก) การสนับสนุนการขามลําน้ําของ พล.ร.๒๐
(๑) สรางและสงขาม
(ก) แพทางยุทธวิธีเบา ณ ตําบล ***, ตําบล *** แหงละ ๒ แพ ใน น + ๓ ชม.
(ข) แพเพื่อสนับสนุนการจราจรชั้น ๖๐ ณ ตําบล ***, *** และ *** แหงละ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๒๙
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ทหารชาง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ – ทน.๑๑

๑ แพ ใน น + ๓ ชม.
(ค) สะพานเครื่องหนุนลอยเพื่อสนับสนุนการจราจรชั้น ๖๐ ณ ตําบล *** และ
*** แหงละ ๑ สะพาน ใน น + ๑๐ชม.
(๑) สนับสนุนการเขาตี ณ ฝงไกล
ข) ซอมบํารุงถนนในเขตจนถึง ๐๑๒๔๐๐ ก.ค. ... (อนุผนวก ๑ แผนบริวารยุทธการ
ทหารชาง)
ค) จัดตั้งตําบลจายน้ําในบริเวณพื้นที่ขามลําน้าํ ทั้งสองแหง
ง) สนับสนุน พล.ยน.๕๒ เมื่อสั่ง
๒) กรม ช.๕๖ (สนาม)
ก) สนับสนุนการขามลําน้ําของ พล.ร.๑๕
(๑) สรางและสงขาม
(ก) แพทางยุทธวิธเี บา ณ ตําบล *** และ *** แหงละ ๒ แพ ใน น + ๓ ชม.
(ข) แพเพื่อสนับสนุนการจราจรชั้น ๖๐ ณ ตําบล ******, ***, *** และ ***
แหงละ ๑ แพ ใน น + ๓ ชม.
(ค) สะพานเครื่องหนุนลอยเพื่อสนับสนุนการจราจรชั้น ๖๐ ณ ตําบล *** ใน
น + ๑๐ ชม.
ข) ซอมบํารุงถนนในเขตจนถึง ๐๑๒๔๐๐ ก.ค., (อนุผนวก ๑ แผน บริวารยุทธการ
ทหารชาง)
ค) จัดตั้งตําบลจายน้ําสองแหง ณ บริเวณพื้นที่ขึ้นบก
ง) สนับสนุน พล.ยก.๒๓ เมื่อสั่ง
๓) กรม ช.๕๖ (สนาม) ชร.
ค. คําแนะนําในการประสาน จะตองสรางและบํารุงรักษาสายขึงขามลําน้ําเพื่อปองกันอันตราย ณ
ทุกแหงของตําบลที่สรางสะพาน
๔. การชวยรบ : คําสัง่ การชวยรบที่ ๒ – ทน.๑๑

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ทหารชาง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ – ทน.๑๑

๕. การบังคับบัญชาและการติดตอสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
ข. การสื่อสาร ผนวก ต (การสือ่ สาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ – ทน.๑๑

อนุผนวก : ๑ แผนบริวารยุทธการทหารชาง (เวน)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๑
ตัวอยางที่ ๘ – ๗ ผนวกการสื่อสารประกอบคําสั่งยุทธการของกองทัพ (จายพรอม)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ฉ (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๕ – ทภ.๒

อางถึง : แผนที่ ****

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขามและขีดความสามารถ : ประมาณการขาวกรองที่ ๒
๑๗๑๒๐๐ ก.พ.... กําลังกองโจรโจมตีรถนําสารเพิ่มมากขึ้น ฝายตรงขามมีความสามารถ
รบกวนวิทยุทงั้ สิ้นได
ข. กําลังฝายเรา
๑) *** (ยุทธบริเวณ) วางสายภายนอกจากตําบลแยกสายของยุทธบริเวณไปยังศูนย
การสื่อสารเปนพื้นที่ของกองทัพ
๒) คําสั่งยุทธการที่ ๕ – ทภ.๒
ค. หนวยขึ้นสมทบและหนวยแยก : ผนวก ก (บัญชีหนวยทหาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๕ –
ทภ.๒
๒. ภารกิจ
จัดตั้ง ดําเนินงาน และซอมบํารุงระบบการติดตอสื่อสารของกองทัพ และจัดตั้งตําบลปลายทาง ณ
หนวยหลักทั้งสิ้นของกองทัพ ระบบการติดตอสื่อสารในตอนแรกใหเริ่มไดใน ๐๒๑๕๐๐ มี.ค....
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ ระบบการติดตอสื่อสารของกองทัพจะดําเนินงานตามที่กําหนด
ไวใน รปจ. ใหเพงเล็งถึงการใชประโยชนของการติดตอสื่อสารทางสายของพลเรือนที่มีอยู ซึง่ อยูในความ
ความควบคุมของกองทัพ ถาสิ่งอํานวยความสะดวกเหลานั้นสามารถนํามาใชไดโดยไมตองฟนฟูมากนัก
บริการนําสารทางทางอากาศจะตองใชเพิม่ มากขึ้น
ข. พัน.ส.ที่ ๒๐ : หนวยขึ้นสมทบ รอย ส.๗๓๑ (ศูนย ส.) (กองทัพ)
๑) ประสานการปฏิบัติ และการฝกอยางตอเนื่องและสนับสนุนทางการชวยรบแกหนวย ส.
ที่บรรจุมอบ และที่มาขึ้นสมทบ
๒) จัดตั้ง ดําเนินงาน และบํารุงรักษาระบบและสิ่งอํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสาร
ของ ทก.หลัก ทก.สํารอง ของกองทัพ และศูนยปฏิบัติการทางยุทธวิธีหลักและสํารองของกองทัพ ใหการ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ฉ (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๕ – ทภ.๒

สนับสนุนทางการสื่อสารภายในสําหรับหนวยและสถานที่ตั้ง ดังกลาวเมื่อไดรับคําสั่งจาก ผบ.ส. ของกองทัพ


จัดใหมีบริการถายภาพและบริการนําสาร
๓) ปฏิบัติการอยางตอเนื่องของระบบการติดตอสื่อสารของกองทัพ
๔) เตรียมการจัดตั้งศูนยการสื่อสารเปนพื้นทีท่ างทิศตะวันออกของ จว.นครราชสีมา
๕) ใหการสนับสนุนทางการสื่อสารสําหรับการปฏิบัติการปองกันพื้นที่สว นหลัง (ผนวก ช
(การระวังปองกันพื้นที่สว นหลัง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๕ – ทภ.๒)
๖) ใหการสนับสนุนทางรหัสแกหนวยทหารของกองทัพและกองทัพนอยและกองพล
ค. คําแนะนําในการประสาน
๑) ทางสาย
ก) อนุผนวก ๑ เสนทางสาย
ข) อนุผนวก ๒ ระบบทางสาย และสายเคเบิลของการพาณิชย
๒) วิทยุ
ก) อนุผนวก ๓ ขายวิทยุ
ข) หนวยที่เขาปะทะคงรักษาการติดตอตามปกติ หนวยอื่น ๆ เงียบ รับฟงจนถึง น +
๑๕ นาที
ค) อนุผนวก ๔ ลําดับเรงดวนการใชคลื่นความถี่
๓) วิทยุถายทอด
ก) อนุผนวก ๕ ระบบวิทยุถายทอดของกองทัพ
ข) วิทยุถายทอดเปนเครื่องมือติดตอสื่อสารหลัก
๔) ศูนยการติดตอสื่อสาร : รปจ. ท.๓๐ (อม.)
๕) ศูนยสื่อสารเปนพื้นที่ของกองทัพ : ที่ตั้งปจจุบัน ๗๐๖ คายสุรนารี จว.นครราชสีมา
๖) อนุผนวก ๖ ผังแสดงระบบสื่อสารของกองทัพ
๗) หนังสือวาดวยเสนทางติดตอทางโทรศัพทและโทรพิมพจะจายโดยระบบควบคุม
ตามความจําเปนแกหนวย ส. ที่ปฏิบัติ ณ ระบบการสื่อสารเปนพื้นที่ของกองทัพ กองทัพนอย และกองพล
ตาง ๆ
๘) สมุดหมายเลขโทรศัพทจะจายใหหนวยตาง ๆ โดย ผบ.ส.กองทัพ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ฉ (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๕ – ทภ.๒

๙) บริการนําสาร
ก) อนุผนวก ๗ ตารางกําหนดเวลานําสาร
ข) ทน.และกองพลจัดตั้งและรายงานพืน้ ที่ทิ้งขาวและเก็บขาว
๑๐) สภาพการแผรงั สีแมเหล็กไฟฟา : ผนวก ซ (การแผรังสีแมเหล็กไฟฟา) ประกอบคําสั่ง
ยุทธการที่ ๕ – ทภ.๒

๔. การชวยรบ : คําสัง่ การชวยรบที่ ๒ – ทภ.๒

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
ข. นปส.ทภ.๒ ดรรชนี ๑ - ๑๕

อนุผนวก : ๑ เสนทางสาย (เวน)


๒ ระบบทางสายและสายเคเบิลของการพาณิชย (เวน)
๓ ขายวิทยุ (เวน)
๔ ลําดับเรงดวนความถี่ (เวน)
๕ ระบบวิทยุถายทอดของกองทัพ (เวน)
๖ ผังแสดงระบบสื่อสารของกองทัพ (เวน)
๗ ตารางกําหนดเวลานําสาร (เวน)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๔
ตัวอยางที่ ๘ – ๘ ผนวกการบินทหารบกประกอบคําสั่งยุทธการของกองทัพ (จายพรอม)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ช (การบิน ทบ.) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทภ.๒

อางถึง : แผนที่ ****

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม
๑) ผนวก ข (การขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทภ.๒
๒) กําลังทางอากาศของฝายตรงขามมีความสามารถทําการขับไล/ทิ้งระเบิดในเขตไดเปน
ระยะ ๆ
ข. กําลังฝายเรา : คําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทภ.๒
ค. หนวยขึ้นสมทบ และหนวยแยก : ผนวก ก (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ –
ทภ.๒
๒. ภารกิจ
สนับสนุนการปฏิบัติการรุกของ ทภ.๒ เพื่อขับไลกําลังฝายตรงขามในเขตสนับสนุนการระวัง
ปองกันพื้นที่สว นหลีงของกองทัพและสนับสนุนการปฏิบัติการสงกําลังบํารุง
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ ***
ข. พวก บ.๑๑๒
๑) ลําดับเรงดวนในการสนับสนุนใหแก ทน.๒ และ ทน.๑๑ ตามลําดับ
๒) เตรียมจัด ฮ. ขนาดกลาง ๔ เครื่อง เพื่อสนับสนุนการระวังปองกันพืน้ ที่สวนหลัง โดยถือ
การรองขอเปนมูลฐาน เตรียมจัดหนึ่งกองรอย ฮ. ขนาดกลางสําหรับเคลื่อนยายกําลังกองหนุนเมื่อไดรับแจง
ลวงหนา ๒ ชัว่ โมง
ค. รอย บ.ที่ ๑๕๐ (ควบคุมจราจรทางอากาศ)
๑) ใหการชวยเหลือสวนการบิน ทบ. ในเขตหนาเพื่อใหสวนเหลานี้สามารถปฏิบัติการ ณ
สนามบินได และสามารถปฏิบัติภารกิจการบินในเวลากลางคืนและในเวลาสภาพอากาศเลวรายไดสาํ เร็จ
๒) จัดตั้งศูนยอํานวยการบินบริเวณ * * * (* * *) และประสานระหวางศูนยอํานวยการบินกับ
ผบ.ปภอ.ทภ.๒

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ช (การบิน ทบ.) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทภ.๒

ง. คําแนะนําในการประสาน
๑) อนุผนวก ๑ การปฏิบัติของศูนยอํานวยการบิน
๒) อนุผนวก ๒ การควบคุมการจราจรทางอากาศ

๔. การชวยรบ : คําสัง่ การชวยรบที่ ๗ – ทภ.๒

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) พวก บ.๑๐๓ *** (***)
๒) พัน.บ.๑๒๕ *** (***)
๓) พัน.บ.๑๓๔ *** (***)
๔) รอย.บ.๑๕๐ (ควบคุมจราจรทางอากาศ) **** (*****)
ข. การสื่อสาร ผนวก ถ (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๖ – ทภ.๒

อนุผนวก : ๑ การปฏิบัติของศูนยอํานวยการบิน (เวน)


๒ การควบคุมการจราจรทางอากาศ (เวน)

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๖
ตัวอยางที่ ๘ – ๙ ผนวกตารางการเคลื่อนยายทางถนนประกอบคําสั่งยุทธการ (จายพรอม)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ตารางการเคลื่อนยายทางถนน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๙ – พล.ร.๒๐

อางถึง : แผนที่ ****

๑. ความเร็วเฉลี่ย : ๒๐ กม./ชม.

๒. ความแนนของการจราจร : กม.ละ ๒๐ คัน

๓. การหยุด : รปจ.

๔. เสนทาง
ก. เสนทางแดง
๑) ตอนการเดิน ๑, ๓, ๔ และ ๕
๒) ตําบลเริ่มตน : ทางแยก ๔๓๑ ที่ ๒๐๑๖๙๙
๓) ตําบลสําคัญ : *** (***) ทางแยก ๒๔๒ (NB ๔๕๕๗๐๑), *** (OA ๕๘๕๖๙๒), สะพาน
ขาม น.น้ําเงินที่ PA ๖๘๓๖๘๖ และ *** (OA ๗๖๕๖๘๕)
๔) ตําบลแยกขบวน ทางแยก ๒๑๑ ที่ QA ๙๙๐๖๒๘
๕) การแบงชั้นเสนชัย : ๖ × ๕๐
๖) ขอจํากัดของเสนทาง : สะพานขาม น.น้ําเงิน ๖ × ๕๐
ข. เสนทางน้ําเงิน
๑) ตอนการเดิน ๒ และ ๖
๒) ตําบลเริ่มตน : ทางแยก ๕๒๖ ที่ MS ๒๒๙๕๐๙
๓) ตําบลสําคัญ : ทางแยก ๕๙๒ MS ๓๓๔๔๘๑, (NS ๔๐๑๔๙๐) (OT ๗๙๐๕๐๑) และ
สะพานขาม น.น้ําเงินที่ RS ๘๕๐๔๔๙๕
๔) ตําบลแยกขบวน : ๑๐๕ ที่ RS ๙๘๑๕๑๑
๕) การแบงชั้นเสนทาง : ๑๐ × ๕๐
๖) ขอจํากัดของเสนทาง : สะพานขาม น.น้ําเงิน ๖ × ๕๐

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ตารางการเคลื่อนยายทางถนน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๙ – พล.ร.๒๐

๕. เสนทางหลักไปสูตําบล : ไมมี
๖. เสนทางหลักที่ออกจากตําบล : ไมมี
* * * * * * * * * * * *
ตอน การจัดและ จํานวน ขั้นการ ที่ตั้ง เสน ที่ตั้ง ความ การควบคุมการเคลื่อนยาย หมาย
การ การบังคับ ยาน บรรทุกของ ปจจุบัน ทาง ใหม ยาวเปน ที่ตั้งตําบล เวลา เวลา เหตุ
เดิน บัญชา พาหนะ รถหนักที่สุด นาที ที่สําคัญ ถึง ถึง
๑. พลนอย.๑ พื้นที่ แดง พื้นที่ ๖๕ ตําบลเริ่มตน ๐๕๓๐ ๐๕๓๐
ผบ.ขบวน ทางแยก ๐๖๑๐ ๐๗๑๕
พ.อ._ ทางแยก๒๔๒ ๐๖๓๐ ๐๗๓๕
ทางแยก ๐๗๑๕ ๐๙๒๐
สะพาน น.น้ําเงิน ๐๗๕๕ ๐๙๐๐
๖๕ ทางแยก ๐๘๑๕ ๐๙๒๐
๒. พลนอย ๒ พื้นที่ น้ําเงิน พื้นที่ ๖๕ ตําบลเริ่มตน ๐๕๓๐ ๐๖๓๕
ผบ.ขบวน ทางแยก ๕๙๒ ๐๕๔๘ ๐๖๕๓
พ.อ._ ทางแยก ๐๖๓๐ ๐๗๓๕
ทางแยก ๐๘๐๐ ๐๙๐๕
สะพาน น.น้ําเงิน ๐๘๔๐ ๐๙๔๕
ตําบลแยกขบวน ๐๙๒๐ ๑๐๒๕
๓. พลนอย.๓ พื้นที่ แดง พื้นที่ ๖๕ ตําบลเริ่มตน ๐๖๕๐ ๐๗๕๕
ผบ.ขบวน ทางแยก ๐๗๓๐ ๐๘๓๕
พ.อ._ ทางแยก ๒๔๒ ๐๗๕๐ ๐๘๕๕
ทางแยก ๐๘๓๕ ๐๙๔๐
สะพาน น.น้ําเงิน ๐๙๑๕ ๑๐๒๐
ทางแยก ๐๙๓๕ ๑๐๔๐
ตําบลแยกขบวน ๑๐๑๕ ๑๑๒๐
๔. ป.พล. พื้นที่ แดง พื้นที่ ๗๐ ตําบลเริ่มตน ๐๘๑๐ ๐๙๒๐
ผบ.ขบวน ทางแยก ๐๘๕๐ ๑๐๐๐
พ.อ._ ทางแยก ๒๔๒ ๐๙๑๐ ๑๐๒๐
ทางแยก ๐๙๕๕ ๑๑๐๕
สะพาน น.น้ําเงิน ๑๐๓๕ ๑๑๔๕
ทางแยก ๑๐๕๕ ๑๒๐๕
ตําบลแยกขบวน ๑๑๓๕ ๑๒๔๕

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ตารางการเคลื่อนยายทางถนน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๙ – พล.ร.๒๐
ตอน การจัดและ จํานวน ขั้นการ ที่ตั้ง เสน ที่ตั้ง ความ การควบคุมการเคลื่อนยาย หมาย
การ การบังคับ ยาน บรรทุกของ ปจจุบัน ทาง ใหม ยาวเปน ที่ตั้งตําบล เวลา เวลา เหตุ
เดิน บัญชา พาหนะ รถหนักที่สุด นาที ที่สําคัญ ถึง ถึง
๔. นขต. พื้นที่ แดง พื้นที่ ๑๑๖ ตําบลเริ่มตน ๐๙๓๐ ๑๑๓๐
กองพล ทางแยก ๑๐๑๕ ๑๒๑๑
ผบ.ขบวน ทางแยก ๒๔๒ ๑๐๓๕ ๑๒๓๑
พ.อ._ ทางแยก ๑๑๒๐ ๑๓๖๑
สะพาน น.น้ําเงิน ๑๒๐๐ ๑๓๕๖
ทางแยก ๑๒๒๐ ๑๔๑๖
ตําบลแยกขบวน ๑๓๐๐ ๑๕๕๖
๕. บชร. พื้นที่ แดง พื้นที่ ๑๓๖ ตําบลเริ่มตน ๐๙๔๔ ๑๒๒๐
ผบ.ขบวน ทางแยก ๒๔๒ ๑๐๐๒ ๑๑๓๘
พ.อ._ ทางแยก ๑๐๔๔ ๑๒๒๐
สะพาน น.น้ําเงิน ๑๒๑๔ ๑๓๕๐
ทางแยก ๑๒๕๔ ๑๔๒๐
ตําบลแยกขบวน ๑๓๓๔ ๑๕๐๐

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๓๙
ตัวอยางที่ ๘ – ๑๐ ผนวกฉากขัดขวางประกอบคําสั่งยุทธการของกองทัพ (จายแยก)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ฉากขัดขวาง และการยุทธขัดขวาง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒

อางถึง : แผนที่ ****

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม : ผนวก ก (การขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ – ทภ.๑
ข. กําลังฝายเรา : คําสั่งยุทธการที่ ๒ – ทภ.๑
ค. หนวยขึ้นสมทบ และหนวยแยก : ไมมี

๒. ภารกิจ
ทภ.๑ วางฉากขัดขวางและปฏิบัติการยุทธขัดขวางในเขต เพื่อสนับสนุนการเขาตีและการตั้งรับ
ในพื้นที่ *** (***)
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) กลาวทั่วไป
ก) จะตองใชฉากขัดขวางอยางกวางขวางเพื่อเปนการประหยัดกําลัง จะตองใชวัสดุ
ในทองถิ่นเพื่อสรางฉากขัดขวางใหมากที่สดุ
ข) นอกจากกลาวไวในที่อื่น ๆลําดับเรงดวนในการสรางฉากขัดขวาง คือ
(๑) ฉากขัดขวางกําบัง
(๒) ฉากขัดขวางทางปกตะวันตก (ซาย) ของกองทัพ
(๓) ฉากขัดขวางระหวางกลาง
(๔) ฉากขัดขวางทางปกตะวันออก (ขวา) ของกองทัพ
ค) อนุผนวก ๑ แนวความคิดแสดงที่ตั้งฉากขัดขวาง อนุผนวกนี้แสดงเครื่องกีดขวาง
ที่ประสานกันแลวซึ่งกองทัพตองการ แตไมไดกลาวถึงความแนน ความลึก หรือจํานวนของเครื่องกีดขวาง
แตละแหงไว หนวยรับผิดชอบจะตองสรางเครื่องกีดขวางตามความจําเปน เพือ่ ใหขัดขวางการเคลื่อนยาย
ฝายตรงขามใหไดมากที่สุด ถนนและเสนทางเคลื่อนที่เขาหาซึ่งเคลื่อนที่ไดดว ยความเร็วสูง จะตองปดกั้น
ในทางลึกในจํานวนทีน่ อยทีส่ ุด

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ฉากขัดขวาง และการยุทธขัดขวาง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒

ง) การทําลายศูนยชุมนุมชนและเสนทางคมนาคม การขนสงสิ่งธารณูปโภคเหมืองแร
โรงงาน และสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ อาจมีผลรายตอการสนับสนุนทางการชวยรบของกองกําลังยกพล
ขึ้นบกของฝายเราอยางมหันตนั้นจะตองหลีกเลี่ยงไมกระทํา
จ) เมื่อเขายึด *** ไดพื้นทีน่ ี้กําหนดเปนฉากขัดขวาง ที่มีความสําคัญตอหนวยทหารเปน
สวนรวม
๒) การรุก แผนและการวางฉากขัดขวางในการยุทธขั้นนี้ (ว ถึง ว + ๑๐) จะตองทําใหแลว
เสร็จโดยกองทัพนอยทั้งสอง เครื่องกีดขวางตามแผนหรือที่คิดจะสรางจะตองกลมกลืนกับแผนฉากขัดขวาง
ของกองทัพนอยและกองทัพ จะตองวางฉากขัดขวางใหใชงานไดอยางเต็มที่ในการตีโตตอบของฝายตรงขาม
ไปยังพื้นที่สังหาร โดยเฉพาะอยางยิ่งทางปกตะวันตก
๓) การตั้งรับ คาดหมายไววากองทัพจะตองรับ ณ *** ประมาณ ๒๐ วัน (ว + ๑๐ ถึง ว + ๓๐)
ฉากขัดขวางจะตองตั้งอยูใ นที่สามารถบังคับการตีเขาของฝายตรงขามใหไปสูพื้นที่สังหาร ฉากขัดขวาง
ในสวนกลางจะตองสรางใหมีชองทางอยางเพียงพอเพื่อใหกําลังกองหนุนของกองทัพในพืน้ ที่สวนหลัง หรือ
ในพื้นทีก่ ารรบสามารถเคลื่อนยายกําลังไดอยางเสรี
ข. ทน.๒

ฉากขัดขวาง ลําดับความเรงดวน หมายเหตุ

ชองเขาที่ *** (DA ๘๐๑๓๕๐) ๑ วางการทําลายดวยดินระเบิด และจุดระเบิดเมื่อ


สั่งจาก บก.นี้เทานั้น
ชองเขาที่ *** (DA ๗๑๐๕๘๐) ๑ วางการทําลายดวยดินระเบิดและจุดระเบิดเมื่อ
สั่งจาก บก.นี้เทานั้น
โรงกลั่นน้ํามันที่ ***(DA ๗๑๐๕๘๐) ๑ วางการทําลายดวยการระเบิด จุดระเบิดเมื่อ
สอวาจะถูกยึด
ฉากขัดขวาง กขค DA ๖๒๕๗๑ ๑
สนามบินที่ *** (DA ๖๕๐๑๙๐) ๒ วางการทําลายดวยดินระเบิด เมื่อสั่งจาก บก.นี้เทานั้น
ฉากขัดขวาง คต ที่ DA ๗๘๕๘๙๐ ๒
ฉากขัดขวาง จตที่ DA ๖๙๐๘๔๕ ๒
ฉากจัดขวาง จฉ ที่ DA ๗๓๕๒๘๕ ๓

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ฉากขัดขวาง และการยุทธขัดขวาง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒

ค. ทน.๑๒

ฉากขัดขวาง ลําดับความเรงดวน หมายเหตุ

ฉากขัดขวาง คง ที่ DY ๖๕๓๘๒๕ ๑


ฉากขัดขวาง ฉชช DA ๐๕๐๘๒๐ ๒
สิ่งอํานวยความสะดวกทาเรือที่ *** ๒ ทําลายดวยดินระเบิดและจุดระเบิด เมื่อถูกคุกคามวา
(DY ๔๕๐๗๑๐)
โรงงานแวนตาที่ *** (DA ๔๘๐๓๒๐) ๒ ทําลายดวยการระเบิด และสงเครื่องเจียระไนเลนสไป
ยัง *** เมื่อถูกคุกคามวาจะเขายึดและเมื่อไดรับคําสั่ง
จาก บก.นี้เทานั้น
ฉากขัดขวาง คฉ ที่ DA ๔๘๐๓๒๐ ๓
ฉากขัดขวาง จฉ ที่ DA ๕๑๕๑๒๐%

ง. ช.๕๐

ฉากขัดขวาง ลําดับความเรงดวน หมายเหตุ

ชองเขาเหนือ *** (DY ๕๖๐๐๕๐) ๑ วางการทําลายดวยดินระเบิด ณ ตําบลที่ ทน.๑๒


กําหนดให จะจุดระเบิดไดเมื่อสั่งจาก บก.นี้เทานั้น
ชองเขาผาน *** (DY ๖๑๐๙๒๐) ๑ วางการทําลายดวยดินระเบิด ณ ตําบลที่ ทน.๑๒
กําหนดให จะจุดระเบิดไดเมื่อสั่งจาก บก.นี้เทานั้น
โรงงานที่ *** (DA ๔๒๕๖๔๐) ๑ วางการทําลายดวยดินระเบิด ทําลายเมื่อถูกคุกคามวา
จะเขายึด
ฉากขัดขวาง กท ที่ DA ๖๓๐๗๖๕ ๒
ฉากขัดขวาง ฉทถ ที่ DA ๖๓๐๖๙๐ ๒
ฉากขัดขวาง ชถ ที่ DA ๖๓๐๘๘๐ ๒
ฉากขัดขวาง ถ ที่ DA ๔๒๐๕๗๐ ๔
ฉากขัดขวาง ดต ที่ DA ๔๒๐ส๘๓๐
ฉากขัดขวาง ถนบ ที่ DA ๓๓๐๗๗๐ ๕
ฉากขัดขวาง ซบ ที่ DA ๕๓๐๖๕๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ฉากขัดขวาง และการยุทธขัดขวาง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒

จ. คําแนะนําในการประสาน
๑) ทน. ประสานที่ตั้งของฉากขัดขวางตามแนวเสนเขต รวมทั้งชองทางและชองวางที่ขยาย
ออกไปดวย
๒) ชองทางและชองวาในฉากขัดขวางตามที่กองทัพสั่งการไวหลังแนว ขนพร.จะปดเมือ่
กองทัพสั่ง
๓) ชองวางและชองทางเพิ่มเติมในฉากขัดขวางตามที่กองทัพสั่งการไวจะมีไดตอเมื่อไดรับ
การรองขอ
๔) การระเบิดสะพานและสิ่งอํานวยความสะดวกทางการขนสงอื่น ๆ ในสวนหลังของ
ขนพร. จะจุดระเบิดไดเมื่อ บก.นี้ผานไปแลว หรือเมื่อ บก.นี้ปลอยการควบคุมเสนทางแลว
๕) ไมอนุมัติใหวางดงระเบิดประเภทรบกวน
๖) แผนฉากขัดขวางฉบับสมบูรณสง ทภ.๑ นี้ ใน ๐๙๑๕๐๐ มิ.ย.
๗) แผนฉากขัดขวางฉบับสมบูรณจะไมแจกจายต่ํากวากองพล สําเนาบางสวนตามความ
เหมาะสม จะสงไปขางหนาเพียง ทก.กรม.
๘) การสรางฉากขัดขวางจะตองเริ่มดําเนินการโดยไมตองรอคําสั่ง การปรับปรุงระบบ
ฉากขัดขวางจะตองกระทําตลอดเวลาที่ปฏิบัติการยุทธ
๙) การอาบพิษดวยสารเคมีตองไดรับอนุมัติเปนเฉพาะกรณีจากกองทัพ
๑๐) ฉากขัดขวางและการยุทธขัดขวางตองไมเปนเครื่องกีดขวางการยุทธในอนาคตของ
กองทัพ โดยเฉพาะอยางยิ่งทางทิศเหนือ
๑๑) เจาหนาที่ของ *** จะหาเปาหมายทางการขาวกรองทางเทคนิคในเขตของ ทภ.๑ เจาหนาที่
ดังกลาวจะตองไดรับความรวมมือและการชวยเหลืออยางเต็มที่
๑๒) ผนวก ค (การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ – ทภ.๑
๑๓) อนุผนวก ๒ ทีต่ ั้งดงระเบิด
๑๔) อนุผนวก ส๓ การอาบยาพิษดวยสารเคมี
๑๕) อนุผนวก ๔ การทําลายดวยการระเบิด

๔. การชวยรบ
ก. คําสั่งการชวยรบที่ ๒ – ทภ.๑
ข. ไมอนุมัติใหใชแรงงานพลเรือน ขางหนาพื้นที่สนับสนุนของกองพล
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๓
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก จ (ฉากขัดขวาง และการยุทธขัดขวาง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. นปส. ดรรชนี ๑ - ๕
ข. รายงาน และบันทึก
๑) สนามทุนระเบิด ใหเสนอรายงานตามความจําเปนบงถึงจํานวน การเริม่ ทําการ แลวเสร็จ,
และการเปลี่ยนแปลงดวยเครื่องมือสื่อสารที่เร็วที่สุดที่มอี ยู โดยใหสอดคลองกับการรักษาความปลอดภัย
ทางการสื่อสาร บันทึกเปนลายลักษณอักษรมาตรฐานใหสงตามไปทั้งหมด แมแตสนามทุนระเบิดปองกัน
๒) การอาบพิษ รายงานที่ตั้งที่จะทํา ความกวางขวาง แบบและความหนาแนน เวลาประมาณ
จะทําแลวเสร็จ และเวลาประมาณทีจ่ ะรั้งหนวงไดสําเร็จ
๓) การทําลายดวยการระเบิดและเครื่องกีดขวางอื่นๆ รายงานที่ตั้ง แบบความกวางขวาง และ
เวลาประมาณจะทําแลวเสร็จ

ตอบรับ :
(ลงนาม) พล.ท. .....................
(....................)
มทภ.๑

อนุผนวก : ๑ แนวความคิดแสดงที่ตั้งของฉากขัดขวาง (เวน)


๒ ที่ตั้งดงระเบิด (เวน)
๓ การอาบพิษดวยสารเคมี (เวน)
๔ การทําลายดวยการระเบิด (เวน)

การแจกจาย

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.อ. .....................
( ..................... )
หน.สธ.๓

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๔
ตัวอยางที่ ๘ – ๑๑ ผนวกการใชหวงอากาศประกอบคําสั่งยุทธการของกองทัพ (จายแยก)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ทภ.๒
๐๑๐๘๐๐ ม.ค.๒๕.....
บก.๓๔
ผนวก ด (การใชหวงอากาศ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔

อางถึง : แผนที่ * * *

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายขาศึก : คําสั่งยุทธการที่ ๔ – ทภ.๒
ข. กําลังฝายเรา : คําสั่งยุทธการที่ ๔ – ทภ.๒
ค. หนวยขึ้นสมทบและหนวยแยก ไมมี

๒. ภารกิจ
ทภ.๒ จัดการจัดระเบียบและควบคุมหวงอากาศเพื่อใหมี่นใจยามีการประสานงานอยางมี
ประสิทธิภาพและถูกตอง และสามารถเขาไปถึงหวงอากาศไดทันเวลาของบรรดาผูใชหวงอากาศทั้งปวง
บนพื้นที่การรบโดยใหมีการขัดแยงระหวางกันแตนอยทีส่ ุด
๓. การปฏิบตั ิ
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) การใชหว งอากาศ
ก) เครื่องบินของทุกเหลาทัพตองมีเสรีในการดําเนินการยุทธโดยไมมีขอ ผูกมัดใด ๆ
นอกจากเรื่องที่ตองการสําหรับการบังคับบัญชา การควบคุมการประสาตงานภายในและระหวางเหลาทัพที่
เขารวมในการปฏิบัติการ และเพื่อความปลอดภัย
ข) กําหนดความสูงสําหรับการประสานคือ ๗๐๐๐ ฟุต เครื่องบินของกองทัพบกจะตอง
มีเสรีในการบินตามกฎการบินดวยสายตาในระดับความสูงต่ํากวาระดับนี้โดยไมมีขอ หามตามที่กลาวไวใน
ผนวกนี้ (อนุผนวก ๑ แผนบริวารเสนทางบิน)
ค) อาวุธจากผิวพืน้ สูผิวพื้นและอาวุธปองกันภัยทางอากาศมีเสรีในการยิงในหวงอากาศ
ทั้งสิ้นภายใตมาตรการ ประสานการยิงสนับสนุนตามปกติเทานั้น ขอจํากัดมีเกี่ยวกับสภาพความพรอมรบ และ
กฎการปะทะ

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ด (การใชหวงอากาศ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔

ง) ขอจํากัดและความเสี่ยงตาง ๆ ที่มีตอกิจการบินและการปองกันภัยทางอากาศ ทําใหมี


การกําหนดลําดับเรงดวนในการปฏิบัติการขอิงผูบังคับบัญชาขึ้น
๒) แนวความคิดในการสนับสนุนทางอากาศ
ก) การบินทหารบก : ผนวก ฐ (การบินทหารบก) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – ทภ.๒
ข) กองบินยุทธวิธีที่ ๙ : อนุผนวก ๒ (การยิงสนับสนุนทางอากาศ) ประกอบผนวก ง
(การยิงสนับสนุน) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – ทภ.๒
ข. ลําดับเรงดวนของหวงอากาศ
๑) ในเมื่อไดรับรหัส *** การปองกันภัยทางอากาศของ ทบ. มีลําดับเรงดวนทั้งสิ้นในพื้นที่
ที่กําหนดให และบรรดาการจราจรทางอากาศของฝายเราทั้งสิ้นจะตองวางโดยทันทีในหวงอากาศ
ก) - - - หวงอากาศในเขตหนาทัง้ สิ้นวาง
ข) - - - หวงอากาศของ ทน.๑ วาง
ค) - - - หวงอากาศของ ทน.๒ วาง
ง) - - - หวงอากาศของ ทน.๓ วาง
จ) รหัส *** (วางหมดทุกแหง) จะสงกระจายเสียงทุก ๆ ๑๐ นาที เปนเวลา ๓๐ วินาที
๒) พื้นที่ของ ทน.๑ ลําดับเรงดวน ไดแก การจราจรตามเสนทางบินดานตะวันตก/ฉนวน ๓๒
และ ๒
๓) พื้นที่ของ ทน.๒ ลําดับเรงดวน ไดแก การจราจรตามเสนทางบินดานตะวันออก/ฉนวน ๑,
๔, ๒๑ และ ๒๒
๔) พื้นที่ของ ทน.๓ ลําดับเรงดวน ไดแก การจราจรตามเสนทางบินดานตะวันตก/ฉนวน ๓๐
และ ๓
๕) บ.ขับไลทิ้งระเบิดของ ทอ. มีลําดับความเรงดวนตอทีห่ มาย ก, ข และ ค จาก ๑๘๐๕๐๐ ถึง
๑๘๐๕๕๐ ม.ค...
๖) เครื่องบินสําหรับการยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศ และการยิงสนับสนุนทางอากาศของ ทบ.
มีลําดับความเรงดวนจาก ๑๘๐๕๕๑ ม.ค... จนกระทั่งปฏิบัติการยุทธเคลื่อนที่ทางอากาศบนที่หมาย ก เสร็จ
เรียบรอยแลว
๗) เครื่องบินจะไมเขาไปในพืน้ ที่หวงหาม โดยไมมีการปฏิบัติตามมาตรการหวงหาม
ที่กําหนดไว (อนุผนวก๑ แผนบริวารเสนทางบิน)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๖
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ด (การใชหวงอากาศ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔

๘) เครื่องบินจะตองไมเขาไปในพื้นที่หามเขา (โดยเด็ดขาด) ไมวาเวลาใด (อนุผนวก๑ แผน


บริวารเสนทางบิน)
ค. หนวยจัดระเบียบการจราจรทางอากาศ ที่ตั้งของศูนยปฏิบัติการบินและศูนยประสานการบิน
และพื้นทีใ่ นความรับผิดชอบ (ผนวก ถ (การบินทหารบก) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – ทภ.๑)
๑) บรรดา บ. ของ ทบ. ที่บินไปขางหนาในพื้นที่ของกองพลยกวัน บ.เฝาตรวจ ใหบนิ ต่ํากวา
๖๐๐ ฟุต จนถึง ๑๘๐๕๕๐ ม.ค....
๒) แนวควบคุมการจราจรทางอากาศ มีผลใน ๑๘๐๕๕๐ ม.ค....
๓) คําเตือนภัยทางอากาศ จะกระจายทางหนวยจัดระเบียบการจราจรทางอากาศทั้งสิ้น
ทก.ปภอ.ทบ. และขายกระจายขาวเตือนภัย
๔) บ.ที่มีสมรรถนะสูงจะไมบนิ ต่ํากวาระดับปลอดภัยในความสูง ๑๐๐๐ ฟุต เวนแตเวลา
บินขึ้นและบินลงนอกจากจะอยูในความควบคุมของผูควบคุมอากาศยานหนาอยางแนนอนแลว
๕) บรรดาการบินทั้งปวงที่อยูเหนือระดับความสูงประสานงานหรือที่บินออกจากเขตหนา
จะตองอยูใ นความควบคุมของศูนยการควบคุม และรายงานของกองบินยุทธวิธีที่ ๙
๖) ฉนวนอากาศ *** จํากัดความสูงระหวาง ๑๕๐๐ ฟุต กับ ๗๐๐๐ ฟุต จาก ๑๘๐๖๔๕ ถึง
๑๘๐๙๐๐ ม.ค. สําหรับการใช บ.ลําเลียงหนวยทหาร
๗) การปฏิบัติการบินในพืน้ ที่ของ ฉก.ร.ตาง ๆ ของ พล.ร.๑๙ และ พล.ร.๒๑ จํากัดใหเฉพาะ
บ. ของ ฉก.ร. และ บ. ที่สนับสนุนโดยตรงตอ ฉก.ร.
๘) เสนทางบิน/ฉนวน ข ๑ และ จ ๑ จํากัดใหเฉพาะ บ. ทีท่ ําภารกิจการติดตอทางอากาศจาก
๑๕๐๖๐๐ ม.ค. ถึง ๑๖๒๔๐๐ ม.ค.
๙) บ. ที่บินตามเสนทาง/ฉนวนอากาศ ภายใตการควบคุมโดยตรงของหนวยจัดระเบียบ
การจราจรทางอากาศตามความเหมาะสม ตั้งแตเวลาออกเดินทางจนถึงที่หมายการบิน แบบควบคุมตองการ
การประสานงานดังตอไปนี้
ก) เหนือความสูงประสานงาน
(๑) แผนการบินใหผานไปยัง ศคร.กองยุทธวิธีที่ ๙
(๒) แผนการบินใหผานไปยัง ทก.ปภอ.ทบ.
(๓) บรรดาหนวยจัดระเบียบการจราจรทางอากาศของ ทบ. ทั้งสิ้นที่เกี่ยวของ
จะไดรับการแจงขาวใหทราบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๗
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ด (การใชหวงอากาศ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔

๑๐) ฉนวนอากาศ ก และ ข กําหนดใหเปนฉนวนการเก็บกู


จ. กฎการปองกันภัยทางอากาศสําหรับการปะทะ
๑) บ. ที่บินฝาแนวควบคุมการจราจรทางอากาศจากดานของฝายตรงขามจะตองติดพันไว ถา
ไมสามารถพิสูจนทราบวาเปนของฝายเราโดยแทจริง
๒) บ. ที่บินผานพื้นที่หวงหามในการปองกันภัยทางอากาศจะตองติดพันไว ถาไมสามารถ
พิสูจนทราบวาเปนของฝายเราโดยแทจริงได (บรรดา บ.ทั้งปวงในพื้นที่หวงหามจะตองเขาติดพัน)
๓) บ. ที่ใชเครื่องมือตอตานทางอิเล็กทรอนิกสจะตองเขาติดพันไว ถาไมสามารถพิสูจนทราบ
วาเปนของฝายเราโดยแทจริงได
๔) บ. ที่กําบังบินตามเสนทางบิน/ฉนวนตาง ๆ หรือที่ปฏิบัติการหนีภัยจะไมเขาติดพัน
เวนแตจะสามารถพิสูจนทราบวาเปนฝายศัตรู
๕) บ. ที่บินในความเร็วต่ํากวา ๑๕๐ นอต ภายในเขตหนาและนอกพืน้ ที่หวงหามในการ
ปองกันภัยทางอากาศ จะไมเขาติดพันนอกจากจะสามารถพิสูจนทราบวาเปนฝายศัตรูอยางแทจริง บ. ที่บิน
ในความเร็วสูงกวา ๑๕๐ นอต จะตอิงเขาติดพันนอกจากจะสามารถพิสูจนทราบวาเปนของฝายเราโดยแทจริง
๔. การชวยรบ : คําสัง่ การชวยรบที่ ๔ – ทภ.๒

๕. การบังคับบัญชา และการติดตอสื่อสาร
ก. การบังคับบัญชา
๑) ผนวก ค (แผนบริวารยุทธการ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – ทภ.๒
๒) ที่ตั้งของ FOC, FCC อนุผนวก ๑ แผนบริวารเสนทางบิน
๓) ที่ตั้งของ AADCP ผนวก จ (การปองกันภัยทางอากาศ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ –
ทภ.๒
ข. การสื่อสาร
๑) ผนวก ซ ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – ทภ.๒; นปส.ดรรชนี๑ - ๓
๒) สัญญาณเรียกขานและความถี่ นปส.ทภ.๒
๓) สัญญาณเรียกขาน และความถี่ของกองบินยุทธวิธีที่ ๙ นปส.ทภ.๒
๔) ความถี่ในเวลาเดินทางของตนหน แผนความถี่ทางอากาศ วันที่ ๒๑ ธ.ค. ...

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๘
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ด (การใชหวงอากาศ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔

ตอบรับ :

พล.ท. ....................
(....................)
มทภ.๒

อนุผนวก : ๑ แผนบริวารแสดงเสนทางบิน (เวน)

การแจกจาย แบบ ข

เปนคูฉบับ
(ลายเซ็น) พ.อ. .....................
( .................. )
ฝอ.กยก.ทภ.๒

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๔๙
ตัวอยางที่ ๘ – ๑๒ ผนวกการชวยรบประกอบคําสั่งยุทธการของกองพลทหารราบ (แบบที่ ๑) จาย
พรอม มีแผนบริวารประกอบ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ฉ (การชวยรบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – พล.ร.๓

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย, ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง บ.ดานคู

๑. กลาวทั่วไป
พล.ร.๓ ใหการสนับสนุนแกหนวยตาง ๆ โดยจัดตั้งพื้นที่สนับสนุนของกองพลที่บานดาน MB
๓๖๕๔) ลําดับความเรงดวนในการสนับสนุนใหแก ฉก.ร.๓ และ ร.๒ เมื่อเขาปฏิบัติการเสนหลักการสงกําลัง
ใชถนนหมายเลข ๓ เปนหลัก ใหประหยัดการใช สป.๓ ทุกประเภท และกองพลจะจัดชุดซอมเคลื่อนที่
สนับสนุนการซอมบํารุง ใหแก กรมในแนวหนา การเคลื่อนยายสถานที่ตั้งตาง ๆ ใหระมัดระวังการปฏิบัติการ
ของกองโจร และการโจมตีทางอากาศของฝายตรงขาม โดยที่ตั้งตาง ๆ ประสานแผนการปองกันของตนเอง
(อนุผนวก ๑ แผนบริวารชวยรบ)
๒. ยุทโธปกรณ และบริการ
ก. การสงกําลัง
๑) สป.๑
ก) แจกจาย ณ ตจ.สป.๑ กองพล, กําหนดเวลาแจกจายตาม รปจ.
ข) หนวยตาง ๆ สะสมเสบียง ๒ วัน สงกําลังใน ๔ – ๗ ม.ค...
๒) สป.๒ และ ๔ สําหรับ รยบ.๒ ½ ตัน ลําดับแรกใหกับ ฉก.ร.๓
๓) สป.๓
ก) ตส.สป.๓ ทภ. ที่ บ.วังชมภู (๓๖๗๒)
ข) การแบงมอบน้ํามันเชื้อเพลิง : อนุผนวก ๒ การแบงมอบน้ํามันเชื้อเพลิง
๔) สป.๕
ก) ตส.กน. ทภ. บ.วังชมภู (๗๖๗๒)
ข) อัตรากระสุนที่ใชได
(๑) ค.๘๑ มม. ๕๐ นัด/กระบอก/วัน
(๒) ค.๔.๒ นิว้ ๗๐ นัด/กระบอก/วัน
(๓) ป.๑๐๕ มม. ๙๐ นัด/กระบอก/วัน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๕๐
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ฉ (การชวยรบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – พล.ร.๓

(๔) ป.๑๕๕ มม. อัตรากระสุนมูลฐาน


(๕) กระสุนชนิดอืน่ ๆ ไมจํากัด
๕) น้ํา น้ําในทองถิ่นหามใชดื่ม นอกจากจะตมแลว
ข. การขนสง
๑) สะพานบน สลก. : สะพานคอนกรีต สองทางชั้น ๖๐, สะพานไมทางเดี่ยวชัน้ ๓๐
๒) คําขอเพื่อใหสง กําลังทางอากาศฉุกเฉินจะตองเสนอผาน หน.กบ. กองพล
ค. บริการ
๑) การเก็บกู และทําลายวัตถุระเบิดใหรองขอ พัน.ช.สนามไดโดยตรง
๒) ลําดับเรงดวนแรกสําหรับงานชาง คือ การเสริมความมั่นคงสะพานไมและการซอมบํารุง
สลก.
ง. การซอมบํารุง
๑) ลําดับความเรงดวนในการ ซบร. เครื่องมือสื่อสารและยานยนตลอใหแก ฉก.ร.๓
๒) จัดชุดซอมเคลื่อนที่สนับสนุนทั้ง ๒ กรมในแนวหนา

๓. การสงกลับสายแพทย และการรักษาพยาบาล
ก. การฉีดวัคซีนปองกันไทฟอยด ตองทําใหเสร็จกอน ๒๐๒๔๐๐ ธ.ค....
ข. การสงกลับทางอากาศสําหรับผูไดรับบาดเจ็บจากการรบ ใหกระทําในกรณีเรงดวน
ค. รพ.สนาม ทอ. อ.ชัยบาดาล สามารถใหการสนับสนุนเพิม่ เติมได
๔. การกําลังพล
ก. การรักษายอดกําลังพลของหนวย
๑) ระหวางหวงเวลา ๕ – ๗ ม.ค.... เสนอสรุปยอดกําลังพลประจําวัน ปดรายงานเวลา ๑๕๐๐
สงถึง บก.นี้ใน ๑๘๐๐
๒) กองพลไดรับสวนแบงกําลังทดแทน ๑๐๐ คน ลําดับเรงดวนแรก คือ ฉก.ร.๓
ข. การจัดการกําลังพล เชลยศึกที่เปนนายทหารสัญญาบัตรใหสงตัวไปซักถามที่ บก.พล. โดยดวน
ค. การพัฒนาและการรักษาขวัญ
๑) เสนอขอเหรียญกลาหาญใหผูปฏิบัติการรบ หลังจากยึด ทม. ไดแลวภายในสามวัน
๒) จดหมายสวนตัวจะจายใหเมือ่ ยึด ทม. ไดแลว

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๕๑
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ฉ (การชวยรบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – พล.ร.๓

ง. การรักษา วินัย กฎ ขอบังคับ และคําสั่ง


๑) ทหารพลัดหนวยในหนวยเดียวกัน ตั้งแต ๑๐ คนขึ้นไปที่รวบรวมไดในเวลาเดียวกัน
ใหรายงานผาน หน.กพ. โดยดวน
๒) ระมัดระวังการคายุทธภัณฑของทางราชการอยางกวดขันโดยเฉพาะ สป.๕

๕. กิจการพลเรือน
ก. หามพลเรือนออกนอกบาน ๑๘๐๐ ถึง ๐๗๐๐
ข. การอพยพพลเรือนออกนอกเขตของกรม ตองไดรับอนุมตั ิจาก ผบ.พล.

๖. เบ็ดเตล็ด
ก. เสนเขตหลังของกองพล คือ แนวพรางแสงไฟ
ข. ระวังปองกันสถานที่ตั้งตาง ๆ ดวยกําลังของหนวยเอง และใหเปนไปตามการระวังปองกัน
พื้นที่สวนหลังของกองพลตามคําสั่งยุทธการที่ ๔
อนุผนวก : ๑ แผนบริวารชวยรบ
๒ การแบงมอบน้ํามันเชื้อเพลิง (เวน)
หมายเหตุ :
ถาผนวกจายแยกตางหากจากคําสั่งยุทธการ ใหเขียน “หัวเรื่อง” “ทายเรื่อง” และตองมีหัวขอทั้ง
๙ ขอ ของคําสั่งการชวยรบ ตามตัวอยางที่ ๗ – ๒ คําสั่งการชวยรบของกองพลทหารราบดวย

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๕๒
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

อนุผนวก ๑ (แผนบริวารชวยรบ) ประกอบผนวก ฉ (การชวยรบ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๔ – พล.ร.๓

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง บ.ดานคู

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๕๓
ตัวอยางที่ ๘ – ๑๓ ผนวกกิจการพลเรือนประกอบคําสั่งชวยรบของกองพล
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
พล.ร.๒๐
บ.หันคา (๒๒๒๑๑๐)
๓๐๑๕๐๐ ธ.ค.๒๔
กร.๐๒๒
ผนวก ง (กิจการพลเรือน) ประกอบคําสั่งการชวยรบที่ ๒

อางถึง : แผนที่ประเทศไทย๑ :๕๐,๐๐๐ ระวางวัฒนานคร

๑. สถานการณ
ก. กําลังฝายตรงขาม
๑) ผนวก ก (ขาวกรอง) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒
๒) การปกครองดินแดนทีย่ ึดไดจากฝายตรงขามยังคงใชเจาหนาที่ปกครองตอไปภายใตการ
อํานวยการของทหาร และผูเชียวชาญจากประเทศของตน
ข. กําลังฝายเรา
๑) เจาหนาที่ของสวนราชการพลเรือน ซึ่งปฏิบัติหนาที่ ณ ที่ตั้งชัว่ คราวบริเวณ บ.จําปา
(๒๓๑๐) ยังคงสามารถติดตามสถานการณและพรอมที่จะเขาปฏิบัตหิ นาที่ในพื้นทีท่ ี่ฝายเรายึดคืนกลับมาได
ทันที
๒) รอย.ปจว.ที่ ๒ ยังคงสมทบ พล.ร.๒๐ ตอไป
๓) ผนวก ข (การจัดเฉพาะกิจ) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒

๒. ภารกิจ
พล.ร.๒๐ ดําเนินงานกิจการพลเรือนในพืน้ ที่รับผิดชอบ เพื่อสนับสนุนการตั้งรับใน ๐๑๐๖๐๐ ม.ค.
เพื่อปองกันวัฒนานคร และเตรียมการรุกโตตอบตอไป
๓. กลาวทั่วไป
ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ
๑) การดําเนินการกิจการพลเรือน เพื่อสนับสนุนการตั้งรับเพื่อปองกันวัฒนานคร
ประกอบดวยการอพยพพลเรือนออสกจากพื้นที่ตั้งรับหนา การควบคุมประชาชน การดําเนินการตอผูลี้ภยั
การรักษาความสงบเรียบรอย การบรรเทาความทุกขยากอันเกิดจากการรบและการฟนฟูสาธารณูปโภค
ในพื้นทีเ่ พื่อการ
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๕๔
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ง (กิจการพลเรือน) ประกอบคําสั่งการชวยรบที่ ๒

ใชประโยชนตอ ไป
๒) หนวยปฏิบัติการในการดําเนินการกิจการพลเรือน ไดแก นขต.พล.ร.๒๐, ฉก.ตาง ๆ และ
รอย ปจว.ที่ ๒ โดยการชวยเหลือของชุดติดตอจากสวนราชการพลเรือน ทั้งที่ประจําอยูที่ บก.พล. และจัดไป
สมทบแตละ ฉก.
๓) เปาหมายของการดําเนินการกิจการพลเรือน ไดแก การปองกันการกีดขวางการรบ
การปองกันหรือบรรเทาความทุกขยากจากการรบ และความรวมมือสนับสนุนจากประชาชน
ข. การมอบอํานาจ
นขต.พล.ร.๒๐ และ ผบ.ฉก.ร. ตาง ๆ มีอํานาจและหนาที่ในการปกครองพื้นที่รับผิดชอบ
ตามที่กําหนดไวใน พ.ร.บ. กฎอัยการศึก และตามที่ระบุไวใน รปจ. กิจการพลเรือนของกองพล
ค. คําแนะนําในการประสาน
ทุกหนวยมอบหมายความรับผิดชอบในการดําเนินการตอประชาชนในพื้นที่ใหกับ
เจาหนาที่
๔. งานในหนาที่
ก. ดานการปกครอง
๑) สงเสริมและสนับสนุนสวนราชการพลเรือนในพืน้ ที่รับผิดชอบ การปฏิบัติงานแทนโดย
ฝายทหารใหกระทําเทาที่จําเปน และรายงานใหกองพลทราบกอนทุกครั้ง
๒) การรักษาความสงบเรียบรอย ในพื้นทีใ่ ชเจาหนาที่ตํารวจ กําลังกึ่งทหารและราษฎร
อาสาสมัครใหมากที่สุด
๓) หามพลเรือนออกจากบานหลังเวลา ๑๘๐๐ เปนตนไป
๔) การกําหนดพืน้ ที่หรือเขตหวงหามใหกระทําเทาที่จําเปน โดยหลีกเลี่ยงความเดือดรอน
ที่จะเกิดกับประชาชนใหมากที่สุด
ข. ดานเศรษฐกิจ
๑) ควบคุมและกระตุนผลผลิตในทองถิ่นใหเพียงพอในการดํารงชีพของประชาชน
๒) กวดขันการคาตลาดมืดและการกักตุนสินคาอยางจริงจัง และรายงานเหตุการณใหทราบ
ตลอดเวลา
๓) การดําเนินการตอทรัพยสินของประชาชน : รปจ.กิจการพลเรือน

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๕๕
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก ง (กิจการพลเรือน) ประกอบคําสั่งการชวยรบที่ ๒

ค. ดานสังคมจิตวิทยาและหนาที่พิเศษ
๑) การสนับสนุน สป. และยานพาหนะของทหารตอประชาชน กระทําไดภายใน
ขีดความสามารถของหนวยที่มีอยู
๒) การสนับสนุนการบริการดานการรักษาพยาบาล และการสงกลับทางการแพทยในพื้นที่
ใหมุงกระทําเฉพาะกรณีเรงดวนและฉุกเฉินเทานั้น ความตองการทีส่ ูงขึ้นไปใหประสานกับกองพลเพื่อการ
ดําเนินการที่เหมาะสมตอไป
๓) การอพยพพลเรือนใหกระทําเทาที่จําเปน ใชเจาหนาที่ เครื่องมือ และยานพาหนะพลเรือน
ใหมากที่สุด การอพยพพลเรือนเปนกลุมกอนเลยเสนเขตหลังหรือออกนอกพืน้ ทีร่ ับผิดชอบ ตองรายงาน
ขออนุมัติกองพลกอนทุกครัง้
๔) หลีกเลี่ยงการทําความเสียหายตอปูชนียสถาน และสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร
ในพื้นที่
ง. รายละเอียดเพิม่ เติมและการปฏิบัติอื่น ๆ : รปจ. กิจการพลเรือน

๕. การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ก. ผนวก สงกําลังบํารุง พล.ร.๒๐, ทก.หลัง บานเตาฮวย ๒๒๐๑๑๘
ข. ผนวก ค (การสื่อสาร) ประกอบคําสั่งยุทธการที่ ๒ – พล.ร.๒๐

ตอบรับ :
พล.ต.
( )
ผบ.พล.ร.๒๐
การแจกจาย : แบบ ก

เปนคูฉบับ
พ.ท.ทรัพยสินธุ ระรินประชา
(ทรัพยสนิ ธุ ระรินประชา)
หน.กร.พล.ร.๒๐

---------------------
(ประเภทเอกสาร)
๕๕๖
ตัวอยางที่ ๘ – ๑๔ ผนวกการหมุนเวียนการจราจรประกอบคําสั่งการชวยรบของกองพล
ยานเกราะ (จายพรอมคําสั่ง)
---------------------
(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา

ผนวก ก (การหมุนเวียนและการควบคุมการจราจร) ประกอบคําสั่งการชวยรบที่ ๑๔ – พล.ยก.๒๓

อางถึง : แผนที่....................

---------------------
(ประเภทเอกสาร)

You might also like