You are on page 1of 137

คำแนะนำ

กำรฝึกทหำรใหม่
ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๔
๑ ต.ค. ๖๓ – ๓๐ ก.ย. ๖๔
คำนำ
การฝึกทหารใหม่ของ ทบ. เป็นการฝึกที่มีความมุ่งหมาย เพื่อให้ทหารกองประจาการทุกเหล่าใน ทบ.
ที่เข้ามารับราชการทหารตาม พ.ร.บ.การรับราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗ ได้รับการฝึกในวิชาทหารเบื้องต้น
เป็ น รายบุ ค คลให้ มี ม าตรฐานเดี ย วกั น ทั่ ว ทั้ ง ทบ. และน าไปใช้ เป็ น พื้ น ฐานในการเข้ า รั บ การฝึ ก ศึ ก ษา
ตามระเบี ย บและหลั กสู ตรการฝึ กของแต่ ละเหล่ าในขั้ นสู งได้ อย่ างต่ อเนื่ อง และเป็ นผลส าเร็จตามนโยบาย
ที่ผู้บังคับหน่วยกาหนด
การฝึกทหารใหม่ในปัจจุบันหน่วยฝึกต้องยึดถือการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึก และ ที่ได้รับ
การแก้ไขเพิ่มเติม เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของผู้บังคับบัญชาและสภาพแวดล้อม อย่างไรก็ตาม จากการตรวจ
เยี่ยมการฝึก พบว่าส่วนที่เกี่ยวข้องยังมีการปฏิบัติที่ไม่สอดคล้องกับนโยบายการฝึก, คาสั่ง และ คาชี้แจงตามที่ ทบ.
กาหนด ตลอดจนการพั ฒนาคุ ณลั กษณะของครูฝึ ก ซึ่ งเป็นส่วนสาคัญในการฝึ กทหารใหม่ ให้ได้รับความรู้ท าให้
การฝึกมีประสิทธิภาพลดลง ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งเป็นผลเสียต่อภาพลักษณ์ที่ดีต่อ ทบ.
คาแนะน าการฝึกทหารใหม่ ฉบั บนี้ ได้ ยึ ดถื อตามระเบี ยบและหลั กสู ตรการฝึ ก การฝึ กทหารใหม่
เบื้ องต้ นทั่ วไป ส าหรับทหารทุ กเหล่ าของ ทบ. (๑๐ สั ปดาห์ ) พ.ศ. ๒๕๖๒ เพิ่ มเติ มเรื่ อ งที่ ท าการฝึ ก บุ ค คล
ท่าเบื้องต้น ตามคู่มือการฝึก ว่าด้วย แบบฝึกบุคคลท่ามือเปล่า และบุคคลท่าอาวุธ โรงเรียนทหารมหาดเล็ก
ราชวัลลภรักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๖๐ โดยได้กาหนดรายละเอียดท่าฝึกเพิ่มเติม และหัวข้อในการสอนอบรม
จานวน ๗ หั ว ข้อ , เพิ่ มเติมแนวทางการพั ฒนาความสมบู รณ์ แข็ งแรงทางร่างกายส าหรั บทหารใหม่ เพื่ อให้
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการฝึก ได้ศึกษาและทาความเข้าใจได้อย่างเป็นลาดับขั้น, เพิ่มเติมตารางการตรวจสอบรายวิชา
การฝึ กจานวน ๕๐๐ ชั่วโมง เพื่ อให้ ผู้ ฝึกทหารใหม่สามารถตรวจสอบและกากั บดู แลรายวิ ชาการฝึกสอน
ให้เป็ นไปตามระเบี ยบและหลักสูตรการฝึกฯ ในส่วนของระเบียบ, คาสั่ง, คาชี้แจง, แนวทางการปฏิบัติ ต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกทหารใหม่ และการจัดตั้ง บก.หน่วยฝึกทหารใหม่ ในเอกสารเล่มนี้ ตลอดจนตัวอย่างคาสั่งการฝึก,
แผนบทเรียน ตาม รส.๒๑ – ๖ ได้ เพิ่ มเติ มข้ อเน้ นย้ าที่ ส าคั ญ คื อ การคั ดเลื อกผู้ ที่ จะต้ องมาปฏิ บั ติ หน้ าที่
ครูฝึกทหารใหม่ ต้องผ่านการตรวจสอบอย่างเข้มงวด รายละเอียดตามที่แนบในเล่มแล้ว ส่วนนอกนั้นยังคงไว้เช่นเดิม
ทั้งนี้คาแนะนาการฝึกทหารใหม่เล่มนี้ เป็นเพียงแนวทางในการจัดการฝึก ผู้บังคับหน่วยจะต้องนาระเบียบและ
หลักสูตรการฝึ ก, คู่ มือการฝึก, คู่ มื อราชการสนาม ตลอดจนคาแนะน า และเอกสารหลัก นิย มที ่เกี ่ย วข้อ ง
มาพิจารณาประยุกต์ใช้ ในการวางแผนจัดการฝึกให้เหมาะสมและสอดคล้องกับภาระหน้าที่ของทหารใหม่
ที่จะต้องปฏิบัติตามภารกิจของหน่วย รวมถึงสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เพื่อฝึกทหารใหม่ให้มีทักษะ และมีความ
ชานาญ จนสามารถปฏิบัติหน้าที่ตอบสนองภารกิจของหน่วย ให้บรรลุผลสาเร็จได้อย่างดียิ่ง
ยศ.ทบ. หวังว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์แก่ ผู้บังคับบั ญชาทุ กระดับตั้งแต่ ผู้ฝึก, ผู้ช่วยผู้ฝึก,
ครูนายสิบ และครูทหารใหม่ ได้เข้าใจถึงการจัดการฝึกและการดาเนินการฝึ กได้ถูกต้อง ตลอดจนเป็นแนวทาง
การแก้ไขปั ญ หาในด้านการฝึ ก ให้ ส าเร็จลุ ล่ วงตามวั ตถุ ประสงค์ และเป็ นไปตามนโยบายของ ทบ. โดยจะไม่
ก่อให้เกิดบาดเจ็บและการสูญเสียจากการฝึกและนาไปสู่ภาพลักษณ์ที่ดีต่อ ทบ. ต่อไป

ยศ.ทบ.
บัญชีรายการแจกจ่าย

อัตรำจ่ำย
ลำดับ รำยกำร หมำยเหตุ
หน่วยละ
๑ กรมฝ่ำยเสนำธิกำร (๖), กรมฝ่ำยกิจกำรพิเศษ (๖), ๑
กรมฝ่ำยยุทธบริกำร (๙)
๒ ทภ. (๔) ๒
๓ ทน. (๔), นสศ., นปอ., นรด., รร.จปร., ๑
๔ พล.ร. (๑๐), พล.ม.(๓), พล.ป. ๒
๕ พล.พัฒนำ (๔), พล.ปตอ., พล.รพศ., พล.ช., ๑
ศสพ., ขกท., ศบบ., ศสร.
๖ มทบ. (๓๕), บชร. (๔) ๑
๗ กรม ร. (๒๗), กรม ม. (๗), กรม ป. (๑๐) ๒
๘ กรม ช. (๕), กรม ส. (๑), กรม ขส.รอ. (๑), ๑
กรม ปตอ. (๒), กรม พัฒนำ (๔), กรม สน. (๔),
ศปภอ.ทบ. (๔),
๙ ศร., ศม., ศป. ๓
๑๐ ศฝยว.ทบ., รร.นส.ทบ. ๑
๑๑ นขต.บก.ยศ.ทบ. ๑
๑๒ หน่วยฝึกทหำรใหม่ ๑
๑๓ อะไหล่ ๒๐
รวมทั้งสิ้น ๖๐๐
หมำยเหตุ ๑. หน่วยจะได้รับเอกสำรตำมรำยกำรแจกจ่ำย
๒. สำมำรถคัดลอกข้อมูลได้จำก www.atc-rta.com

ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ) พ.อ.เฉลิมพล จันดำ
(เฉลิมพล จันดำ)
ผอ.กตฝ.สกฝ.ยศ.ทบ.
สารบัญ
หน้า
คานา
บทที่ ๑ กล่าวทั่วไป ๑–๑

บทที่ ๒ การจัดการฝึก ๒-๑


ตอนที่ ๑ การเตรียมการฝึก ๒-๑
๑. การจัดตั้งหน่วยฝึก ๒-๑
๒. ผู้บังคับหน่วยทุกระดับชั้น ๒-๑
๓. เจ้าหน้าที่ในหน่วยฝึกทหารใหม่ ๒-๑
๔. คุณลักษณะพึงประสงค์ของ ผู้ฝึก , ครูนายสิบ และครูทหารใหม่ ๒-๒
๕. การจัดเตรียมเครื่องช่วยฝึก , แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก และอุปกรณ์การฝึก ๒-๓
๖. พื้นที่การฝึก และสนามฝึก ๒-๓
๗. การจัดทาคาสั่งการฝึก ๒-๔
๘. การดาเนินกรรมวิธีด้านธุรการต่อทหารใหม่ ๒-๗
๙. ตัวอย่าง การวางแผนการจัดทาตารางกาหนดการฝึกเป็นสัปดาห์ ผลัดที่ ๒/๖๓ ๒-๘
๑๐. ตัวอย่าง การวางแผนการจัดทาตารางกาหนดการฝึกเป็นสัปดาห์ ผลัดที่ ๑/๖๔ ๒-๙
๑๑. การปฏิบัติในการส่งกาหนดการฝึก ๒ - ๑๐
๑๒. ตัวอย่างคาสั่งการฝึกทหารใหม่ ๒ - ๑๒
๑๓. การฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ ๒ - ๓๓
๑๔. แผนบทเรียน ๒ - ๓๓
๑๕. เรื่องอื่น ๆ ๒ - ๔๑
๑๖. การเตรียมการรับตรวจการฝึกทหารใหม่ ๒ - ๔๓
๑๗. รายการแผนบทเรียนที่จะต้องจัดทาในการฝึกแต่ละหลักสูตรการฝึก ๒ - ๔๗
๑๘. แนวทางการจัดบอร์ด/ข้อมูล/เอกสารใน กอ.ฝึกทหารใหม่ ๒ - ๔๙
ตอนที่ ๒ การดาเนินการฝึก ๒ - ๖๐
๑. รูปแบบและลักษณะการฝึก ๒ - ๖๐
๒. การฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ ๒ - ๖๑
๓. วิธีการฝึก ๒ - ๖๑
๔. การทบทวนหลังการปฏิบัติ (ทลป.) ๒ - ๖๒
๕. การประเมินผลการฝึกโดยต่อเนื่อง ๒ - ๖๓
๖. เรื่องที่ทาการฝึก ๒ - ๖๓
ตอนที่ ๓ การประเมินผลการฝึกทหารใหม่ ๒ - ๖๘
๑. การประเมินผล ๒ - ๖๘
๒. เจ้าหน้าที่ประเมินผล ๒ - ๖๘
-๒-

๓. วิธีดาเนินการประเมินผล ๒ - ๖๘
๔. การรายงานผลการประเมิน ๒ - ๖๙
๕. แบบฟอร์มการประเมินผลการฝึกเป็นบุคคล ๒ - ๗๐
๖. แบบฟอร์มตารางแสดงผลการฝึกเป็นส่วนรวม ๒ - ๗๒
ตอนที่ ๔ การสนับสนุนการฝึก ๒ - ๗๓
ตอนที่ ๕ ตารางตรวจสอบรายวิชาจานวน ๕๐๐ ชั่วโมง ๒ - ๗๕
บทที่ ๓ นโยบาย, คาสั่ง, วิทยุฯ สั่งการและคาแนะนาที่เกี่ยวข้องกับการฝึกทหารใหม่ ๓-๑
ตอนที่ ๑ นโยบายการฝึก ๓-๑
๑. นโยบายการฝึกทหารใหม่กองทัพบก ๓-๑
๒. นโยบายการฝึกทหารใหม่ จก.ยศ.ทบ. ๓-๖
๓. คาสั่ง ทบ.(เฉพาะ)ที่ ๕๐๕/๕๗ ลง ๑๗ พ.ค.๕๗ เรื่อง การป้องกันและเฝ้าระวัง
การ บาดเจ็บจากความร้อน ในการฝึกทหารใหม่ ๓–๙
๔. คาสั่ง ทบ.(เฉพาะ)ที่ ๕๐๖/๕๗ ลง ๑๗ พ.ค.๕๗ เรื่อง การป้องกันและเฝ้าระวัง
การบาดเจ็บจากความร้อน ในการฝึก ๓ - ๑๒
๕. คาสั่ง ทบ.ที่ ๖๕/๒๕๔๒ ลง ๓ ก.พ. ๔๒ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตทหาร
กองประจาการ ๓ – ๑๔
๖. ข้อเน้นย้ามาตรการนิรภัยในการฝึก (เพื่อพลาง) ๓ – ๒๓
ตอนที่ ๒ แนวทางป้องกันทหารใหม่เจ็บป่วย ๓ – ๒๖
ตอนที่ ๓ คาอธิบายเพิ่มเติมการใช้เครื่องช่วยฝึกและอาวุธ ๓ – ๓๕
๑. วิธีการใช้เครื่องช่วยฝึกคานเล็ง, ช้อนเล็ง, หีบเล็ง และสนามยิงปืนเบื้องต้น ๓ – ๓๕
๒. ตัวอย่างช้อนเล็ง และคานฝึกเล็งที่ปรับปรุงแก้ไข ๓ – ๓๗
๓. ข้อเน้นย้าการใช้อาวุธประจากาย/ประจาหน่วย ๓ – ๔๐
ตอนที่ ๔ เครื่องช่วยฝึกปืนเล็กยาว เอ็ม.๑๖ จาลองประกอบอุปกรณ์การเล็งด้วยแสงเลเซอร์ ๓ – ๔๑
ตอนที่ ๕ การฝึกยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ ๓ – ๔๓
๑. คาอธิบายเพิ่มเติมประกอบการสร้างสนามฝึกยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ ๓ – ๔๓
๒. ภาพรวมสนามฝึกยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ ๓ – ๔๔
๓. รูปภาพตัวอย่างเครื่องกาบังประกอบการสร้างสนามยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ ๓ – ๔๕
๔. การปฏิบัติในการฝึกยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ ๓ – ๔๖
๕. การฝึกยิงเป็นคู่ ๓ – ๔๗
๖. ภาพสังเขปการยิงปืนเป็นคู่ ๓ – ๔๙
-๓–

ตอนที่ ๖ การฝึกศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ๓ – ๕๐
และการพัฒนาความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกายของทหารใหม่ ๓ – ๕๓
ตอนที่ ๗ เรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกทหารใหม่ ๓ – ๖๐

*****************************************
๑–๑

บทที่ ๑
กล่าวทั่วไป

๑. ความมุ่งหมาย คำแนะนำกำรฝึกทหำรใหม่ ยศ.ทบ. ฉบับนี้ กำหนดขึ้นโดยมีควำมมุ่งหมำยดังนี้


๑.๑ เพื่ อใช้เป็นแนวทำงสำหรับ กำรฝึกอบรมทหำรใหม่ ในทุกเหล่ำของ ทบ.ที่เข้ำมำรับรำชกำรทหำร
ตำม พ.ร.บ.รับรำชกำรทหำร พ.ศ. ๒๔๙๗
๑.๒ เพื่อที่จะให้ทหำรใหม่ทุกเหล่ำของ ทบ. ได้ฝึกศึกษำวิชำกำรทหำรเบื้องต้น เป็นรำยบุคคลได้อย่ำง
ถูกต้องและมีมำตรฐำนเดียวกันทั้ง ทบ.
๑.๓ เพื่ อให้ ทุ กหน่ วยฝึ กทหำรใหม่ ของ ทบ. ได้ ด ำเนิ นกำรฝึ กทหำรใหม่ ให้ มี ประสิ ทธิ ภำพตำมมำตรฐำน
ที่กำหนด และสำมำรถเข้ำรับกำรฝึกในเบื้องสูงได้อย่ำงต่อเนื่อง
๒. วัตถุประสงค์
๒.๑ เพื่อให้ ผู้ บังคั บบั ญชำตำมล ำดับชั้นจนถึงผู้ ฝึกทหำรใหม่ เข้ำใจขั้นตอนและวิธี กำรปฏิบั ติ ในกำรฝึ ก
ทหำรใหม่อย่ำงถูกต้อง และสอดคล้องกับนโยบำยกำรฝึก, คำสั่งกำรฝึกฯ คำชี้แจงต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรฝึก
ทหำรใหม่ ตำมที่ ทบ.กำหนด โดยเคร่งครัด
๒.๒ เพื่ อให้หน่วยฝึกทหำรใหม่ทุกหน่วยใน ทบ. ได้มีแนวทำงในกำรปฏิบัติกำรฝึกทหำรใหม่ที่ถูกต้อง และ
เป็นมำตรฐำนเดียวกันทั้ง ทบ.
๒.๓ เพื่ อใช้เป็นแนวทำงในกำรตรวจและประเมินผลกำรฝึกทหำรใหม่สำหรับผู้บังคั บบัญชำ ฝ่ำยอำนวยกำร และ
ผู้ฝึกทหำรใหม่
๓. หลักฐานการฝึก
๓.๑ ระเบียบและหลักสูตรกำรฝึ ก กำรฝึกทหำรใหม่เบื้ องต้ นทั่ วไป สำหรับทหำรทุ กเหล่ำของ ทบ. (๑๐ สัปดำห์ )
พ.ศ. ๒๕๖๒
๓.๒ คู่ มื อกำรประเมิ นผลกำรฝึ กทหำรใหม่ เบื้ องต้ นทั่ วไป ส ำหรั บทหำรทุ ก เหล่ ำของ ทบ. (๑๐ สั ปดำห์ )
พ.ศ. ๒๕๖๓
๓.๓ คำแนะนำกำรฝึกทหำรใหม่ ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๔ (๑ ต.ค. ๖๓ – ๓๐ ก.ย. ๖๔)
๓.๔ คำสั่ง ทบ.(เฉพำะ) ที่ /๖๓ ลง ก.ย. ๖๓ เรื่อง กำรฝึกประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔
๓.๕ เอกสำรประกอบกำรฝึกทหำรใหม่ โดย ยศ.ทบ. ฉบับปรับปรุงใหม่ปี ๒๕๕๐
๓.๖ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง คำชี้แจง ประกำศ และวิทยุสั่งกำรต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรฝึกทหำรใหม่
๒-๑
บทที่ ๒
การจัดการฝก
ตอนที่ ๑
การเตรียมการฝก
๑. การจั ดตั้ งหน วยฝก : การจัด ตั้งหนวยฝกทหารใหมมีความมุงหมาย เพื่อให มีคณะบุ คคลที่มี
ความรูความสามารถ และเขาใจในนโยบายดานการฝกทหารใหมของ ทบ. ไดอยางถองแทดําเนินการฝกอบรม
อํานวยการ กํากับดู แล รวมถึงการเตรี ยมการด านธุ รการ และการประสานงานที่ เกี่ยวของกับการฝ กทหารใหม
ใหบรรลุผลตามความมุงหมายของ ทบ. อันจะทําใหทหารใหมทุกนายในทุกเหลาของ ทบ. ไดรับการฝกศึกษา
วิ ช าการทหารเบื้ อ งต น ที่ เ ป น มาตรฐานเดี ย วกั น และเป น พื้ น ฐานที่ เหมาะสมในการฝ ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร
การฝกของแตละเหลาตอไปไดอยางตอเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุดตอไป ทั้งนี้ การเรียกชื่อหนวยฝกทหารใหม
ใหใชชื่อวา “หนวยฝกทหารใหม (นามหนวย)” เชน “หนวยฝกทหารใหม ร.๒๒ พัน.๒” เพื่อใหเปนแบบอยาง
เดียวกันทั้ง ทบ.
การจัดตั้งหนวยฝกทหารใหม นขต.ทบ. เปนผูพิจารณา จัดตั้งหนวยฝกทหารใหมของหนวยรอง
ของตน ระดับหนวยที่รับผิดชอบการฝกทหารใหม ควรเปนหนวยระดับกองพันหรือเทียบเทาขึ้นไป นขต.ทบ.
ที่ไมมีหนวยรองใหพิจารณาฝากการฝกกับหนวยขางเคียง โดยหนวยฝกทหารใหมจะตองมีคุณสมบัติ ดังนี้
๑.๑ ในการจัดตั้งหนวยฝกทหารใหม ตองมีการบรรจุทหารใหมภายในหนวยฝกอยางนอยที่สุด ๘๐ นาย
ตอ ๑ หนวยฝก และไมควรบรรจุทหารใหมมากกวา ๑๖๐ นาย/หนวยฝก เนื่องจากขอจํากัดของอาคารที่พัก
และสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ อาจไมเพียงพอ มีความแออัด และการกํากับดูแลให ทั่วถึงกระทําไดยาก
เปนผลเสียตอการจัดการฝก เปนตน
๑.๒ มีพื้นที่ฝก/สนามฝก สนามยิงปนของหนวยเอง สามารถดําเนินการฝกไดทุกเวลา โดยไมตอง
ขอรับการสนับสนุนจากหนวยอื่น
๑.๓ มีอาคารสถานที่ และสิ่งอํานวยความสะดวกเปนสัดสวน มีเอกภาพในการควบคุมบังคับบัญชา
และตองไดตามเกณฑมาตรฐานตามคําสั่ง ทบ. ที่ ๖๕/๒๕๔๒ ลง ๓ ก.พ. ๔๒ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตทหาร
กองประจําการ
๑.๔ มีเครื่องชวยฝกเพียงพอ และเหมาะสมตอจํานวนทหารใหมที่รับการฝก
๑.๕ หนวยฝกที่ไดรับการจัดตั้งจะตองดําเนินการฝกครูทหารใหม และทหารใหมทั้งสองผลัด คือ ผลัดที่
๒/๖๓ และ ผลัดที่ ๑/๖๔ โดยไมเปลี่ยนแปลงหนวยฝก เวนในปงบประมาณตอไป
๒. ผูบังคับหนวยทุกระดับชั้น : จะตองใหความสําคัญตอการฝกทหารใหม ตั้งแตการมอบนโยบาย
การฝกทหารใหม, การเตรียมการฝก, การดําเนินการฝก ตลอดจนการสนับสนุนอาวุธยุทโธปกรณเครื่องชวยฝก
และทรัพยากรในการฝก รวมทั้งตองทําการตรวจและกํากับดูแลการฝกอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ ทั้งนี้หนวยฝก
ทหารใหมจะตองรวบรวมนโยบายการฝกทหารใหมแตละระดับและนํ ามาใช เป นแนวทางในการฝก เพื่อให
การฝกทหารใหมของหนวยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
๓. เจาหนาที่ในหนวยฝกทหารใหม : ประกอบดวย ผบ.หนวยฝก, เจาหนาที่ธุรการประจําหนวยฝก,
ผูฝก, ผูชวยผูฝก, ครูนายสิบ และครูทหารใหม
๒–๒

๓.๑ ผบ.หนวยฝก : จัดจากนายทหารชั้นสัญญาบัตรภายในหนวยที่มีอาวุโสดวยคุณวุฒิ โดยปกติ


แลวควรจะเปน ผูบังคับกองรอย หรือบุคคลที่มียศสูงกวาผูฝกฯ โดยมีหนาที่ อํานวยการ, ประสานงาน และ
กํากับดูแลใหการฝกเปนไปตามความมุงหมายตามที่ ทบ.กําหนด และดําเนินงานดานธุรการ, การสนับสนุน
กิจการดานการฝก รวมถึงการจัดเตรียมสิ่งอุปกรณ, เครื่องชวยฝก และสนามฝก เพื่อใหการฝกมีประสิทธิภาพสูงสุด
๓.๒ เจาหนาที่ธุรการประจําหนวยฝก : จัดจากกําลังพลภายในหนวยโดยไมเกี่ยวของกับงานการฝก
โดยตรง เพื่อชวยเหลือ ผบ.หนวยฝก ในการปฏิบัติงานดานธุรการ และการสนับสนุนการฝกทหารใหม รวมถึง
งานดานการบริการ และการรักษาความปลอดภัยดวย
๓.๓ ผูฝก : จัดจาก ผบ.มว.อาวุโสที่มีประสบการณในการฝก หรืออยางนอยไดผานการทําหนาที่
เปน ผูชวยผูฝกมาแลว โดยมีหนาที่เปนผูรับผิดชอบการฝก และทําหนาที่ปกครองทหารใหมพรอม ๆ กันไปดวย
๓.๔ ผูชวยผูฝก : จัดจาก ผบ.มว. ที่มีอาวุโสต่ํากวาผูฝก หรือ จ.ส.อ. อาวุโสที่มีประสบการณในดาน
การฝกทหารใหมมาแลว โดยใหจัดตามความเหมาะสมอยางนอย ๑ นาย
๓.๕ ครูนายสิบ : จัดจากนายสิบที่มีความรู ความสามารถ มีลักษณะทาทางทีด่ ี เพื่อทําหนาทีฝ่ กสอน
ตามวิชาที่ไดรับมอบ และดูแลทหารใหมอยางใกลชิด โดยใหจัดครูนายสิบ ๑ นาย ตอครูทหารใหม ๑ นาย เชน
ครูทหารใหมทั้งสิ้น จํานวน ๑๕ นาย ใหจัดครูนายสิบ จํานวน ๑๕ นาย ดวยเชนกัน (ยอดครูนายสิบจะไมรวม
ยอดอะไหลรอยละ ๒๐ ของจํานวนครูทหารใหม)
๓.๖ ครูทหารใหม : จัดจากพลทหารที่สําเร็จการฝกหลักสูตรครูทหารใหม เพื่อทําหนาที่ชวยเหลือ
ครูนายสิบ โดยจํานวนครูทหารใหมใหถือเกณฑ จํานวนทหารใหม ๘ นาย ตอครูทหารใหม ๑ นาย เศษให
ตัดทิ้งและใหมียอดอะไหลรอยละ ๒๐ ของจํานวนครูทหารใหมของหนวย
ตั ว อย า ง หน วยฝ กทหารใหม ร.๒๒ พั น.๒ มี จํ านวนทหารใหม ๑๒๑ นาย ต องจั ดให
มีครูทหารใหม จํานวน ๑๘ นาย เทานั้น (๑๒๑  ๘ = ๑๕.๑๒ เศษตัดทิ้ง เหลือ ๑๕ + ยอดอะไหล จํานวน ๒๐ %
ของ ๑๕ นาย = ๓) และจะตองมีครูนายสิบ จํานวน ๑๕ นาย
สรุป สัดสวนครูนายสิบ : ครูทหารใหม : ทหารใหม เปน ๑ : ๑ : ๘
๔. คุณลักษณะพึงประสงคของ ผูฝก , ครูนายสิบ และครูทหารใหม
๔.๑ ผูฝก
๔.๑.๑ มีคุณลักษณะของผูนํา มีลักษณะทหารที่ดี และความประพฤติเรียบรอยอยูในระเบียบ
วินยั อยางเครงครัด
๔.๑.๒ การแตงกายเรียบรอยถูกตองตามระเบียบและเหมาะสมตามกาลเทศะ
๔.๑.๓ มีความรูความสามารถ และกระตือรือรนในการฝก
๔.๑.๔ มีความมุงมั่น จริงจัง จริงใจ ตั้งใจในการฝก
๔.๑.๕ มีการควบคุมบังคับบัญชาครูฝก อยางแนนแฟน คุนเคย และเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
๔.๑.๖ อยูใกลชิดทหารใหมตลอดเวลา ดูแลทุกขสุขของทหารใหมอยางทั่วถึง เอาใจใสตอการ
เจ็บปวยของทหารใหม
๔.๑.๗ มีการเตรียมการในเรื่องที่จะฝกสอนเปนอยางดีและพรอมที่จะแกไขปญหาขอขัดของตาง ๆ
ใหลุลวงไปดวยดีได
๒–๓

๔.๑.๘ มีความเขาใจในแนวทางการฝกที่มุงเนนผลการปฏิบัติ
๔.๑.๙ เปนตัวอยางที่ดีแกครูนายสิบ, ครูทหารใหมและทหารใหมไดเปนอยางดีในทุก ๆ เรื่อง
๔.๒ ผช.ผูฝก, ครูนายสิบ และครูทหารใหม มีคุณลักษณะเชนเดียวกับผูฝก
๕. การจัดเตรียมเครื่องชวยฝก, แผนภาพเครื่องชวยฝก และอุปกรณการฝก หนวยฝกทหารใหมจะตอง
เบิก–รับ เครื่องชวยฝก, แผนภาพเครื่องชวยฝก และอุปกรณการฝกใหเรียบรอยกอนดําเนินการฝก โดยใหปฏิบัติ
ดังนี้.-
๕.๑ เตรียมไวใหเพียงพอกับการใชในการฝกทหารใหม ทุกวิชาทุกเรื่อง
๕.๒ ตรวจสภาพใหเรียบรอย มีการเก็บรักษาที่เหมาะสม และมีการซอมบํารุงใหพรอมใชงาน
๕.๓ มีบัญชีคุม และสมุดยืม เรียบรอย
๕.๔ นํามาใชใหเกิดประโยชนอยางแทจริง โดยนํามาใชประกอบการฝกหรือสอนทุกครั้ง
๖. พื้นที่การฝกและสนามฝก สนามฝกตาง ๆ หนวยฝกทหารใหมจะตองเตรียมไวใหอยูในสภาพทีเ่ รียบรอย
พรอมทําการฝก และมีความปลอดภัยเมื่อใชทําการฝก สนามฝกที่ใชทําการฝกทหารใหมมีดงั นี้
๖.๑ สนามฝ ก บุ ค คลเบื้ อ งต น และแถวชิ ด ควรเป น สนามหญ า พื้ น เรี ย บมี แ ท น สู งสํ าหรั บ ผู ฝ ก
สามารถรองรับทหารใหมขณะทําการฝกไดเพียงพอ การฝกทาอยูกับที่และการฝกทาเคลื่อนที่ตาง ๆ รวมถึง
การฝกแบบรวมการไดทั้งหนวยฝก
๖.๒ สนามฝกกายบริหาร
๖.๒.๑ กายบริหารอยูกับที่ เปนลานพื้นเรียบ มีแทนสูงสําหรับผูฝก พื้นที่เพียงพอสําหรับการขยาย
ระยะตอและระยะเคียงของทหารใหมทั้งหนวยฝกไดดี
๖.๒.๒ ราวดึงขอใชทอเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑ ๑/๒ นิ้ว มีการยึดตรึงแข็งแรง มีความ
ปลอดภัยขณะปฏิบัติ มีชองดึงไมนอยกวารอยละ ๑๐ ของจํานวนทหารใหม
๖.๒.๓ สนามฝ กวิ่ ง มี ระยะทางรวม ๒,๐๐๐ เมตร ขนาดความกว างเพี ยงพอ และการจราจร
ไมพลุ กพล าน (หากมี การแขงขันควรใช พื้นที่ ราบเสมอ) มีมาตรการป องกันอุบั ติ เหตุ จากการจราจร เช น มีป าย
กําหนดความเร็วยานพาหนะ มีเจาหนาที่ประจําจุดแยก, มีไฟสัญญาณหรือวัตถุสะทอนแสงในแถวทหาร
๖.๓ สนามฝกยิงปนเบื้องตน ตั้งอยูในที่โลงไดระยะตามคูมือการฝก (แบบวงกลม หรือ แบบคูขนาน)
๖.๔ สนามฝกทางยุทธวิธี ใหเลือกพื้นที่ที่สามารถทําการฝก ใหมีความเหมาะสมกับภูมิประเทศ
ในการรบ มี ความกว างด านหน า และความลึ กในระดั บหมู ปล. ลั กษณะการวางเครื่ องกี ดขวางให วางสลั บ
มิใชวางเปนแถวตรงกัน, ปอมสนาม และหลุมบุคคล ควรอยูในพื้นที่ที่มีการกําบัง และซอนพราง การดัดแปลง
ภูมิประเทศตาง ๆ ใหคํานึงถึงความเหมาะสมในการฝก เพื่อใหเกิดความเขาใจ เมื่อตองนําไปใชปฏิบัติทางยุทธวิธี
และหนวยตองจัดทําโตะทรายหรือภูมิประเทศจําลอง อธิบายใหทหารใหมเขาใจภาพการปฏิ บัติทางยุทธวิธี
ในระดับ บุคคล, การปฏิบัติเปนคู, ชุดยิง และ หมู
๖.๕ สนามฝกยิงปนระยะ ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) ตองเนนกฎความปลอดภัยของสนามฝกยิงปน
และบริเวณโดยรอบ ขณะทําการฝก ชองยิง แนวยิง และเปาตองมีความสมบูรณพรอมใชงาน รวมทั้งหนวยตอง
กําหนดใหใชมาตรการรักษาความปลอดภัยในการใชสนามฝกยิงปนดวยกระสุนจริง อยางเครงครัด
๒–๔

๖.๖ สนามฝกขวางลูกระเบิด ตองอยูในที่โลง จํานวน ๔ ทาขวาง รูปแบบตามคูมือการฝก ฯ


๖.๗ สนามฝกการใชดาบปลายปน ตั้งอยูในพื้นที่ที่สามารถทําการฝกไดอยางเหมาะสม ตามระยะ
ที่กําหนด และตองตรวจสอบเครื่องชวยฝกใหใชงานได และมีความปลอดภัยอยูตลอดเวลา
๖.๘ สนามฝกเดินทางดวยเข็มทิศ ลักษณะพื้นที่เปนปาโปรง ควรอยูแยกตางหากจากสนามฝกอื่น ๆ
๖.๙ สนามฝ กบุ ค คลทํ าการรบ ให ส ามารถทํ าการฝ ก ได ทั้ งเวลากลางวั น และกลางคื น มี ค วาม
เหมาะสม ใกลเคียงกับความเปนจริงของการรบใหมากที่สุด หากมีการดัดแปลงภูมิประเทศตองใหมีความสมจริง
๖.๑๐ สนามฝกสรางเครื่องกีดขวาง ใหมีลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสมสําหรับเป นการรั้งหนวง
หยุดการเคลื่อนที่ของขาศึก
๖.๑๑ พื้นที่การฝกลาดตระเวน ใหพิจารณาภูมิประเทศที่มีทั้งที่โลงแจง, ปาเขา, ลําธารและเสนทาง
สามารถทําการฝกไดทั้งเวลากลางวัน และกลางคืน
๖.๑๒ พืน้ ที่การฝกปอมสนามควรมีระยะที่สามารถปฏิบัติในระดับ หมู ปล. ได เมื่อดัดแปลงภูมิประเทศแลว
ตองกลมกลืนกับสภาพแวดลอมในพื้นที่นั้น ๆ
๖.๑๓ พื้นที่การฝกเคลื่อนที่ทางยุทธวิธี และการพักแรมในสนาม เปนพื้นที่ที่หางจากหนวยประมาณ ๔ ชม. เดิน
และมีความพรอมสําหรับการคางแรมในสนาม เชน แหลงน้ํา เสนทางสงกําลังบํารุง เปนตน
หมายเหตุ
๑. กรณีหนวยฝกทหารใหมมีสนามฝก/พื้นที่ฝกไมครบทั้ง ๑๓ สนาม จะตองขอรับการสนับสนุน
หรือขอใชสนามฝก/พื้นที่ฝกจากหนวยขางเคียง เพื่อใหทหารใหมไดทําการฝกไดครบถวน
๒. ใหทุกหนวยฝกฯ จัดทําแผนผังสนามฝก/พื้นที่ฝกแสดงไวที่หนวยฝกทหารใหม สําหรับสนามฝก
ที่ขอใชจากหนวยขางเคียง ใหเขียนลงในแผนผังดวยวาใชจากหนวยใด
๗. การจั ดทําคํ าสั่งการฝก : หน วยที่รับผิ ดชอบการฝกทหารใหมต องดําเนิ นการจัดทํา คํ าสั่งการฝ ก
ของหน วย เพื่ อให ส วนที่ เกี่ ยวข องปฏิ บั ติ และประสานการปฏิ บั ติ ซึ่งอย างน อยควรระบุ รายละเอียดดั งตอไปนี้
(ตามตัวอยาง)
๗.๑ คําสั่งการฝกประจําป ของ ทบ.
๗.๒ หลักฐานการฝกตาง ๆ ที่ตองใชในการฝกทหารใหม ใหจัดไวเปน ผนวก ประกอบคําสั่งอยางถูกตอง
แนนอน ชัดเจน และครบถวน เพื่อสะดวกตอการนํามาใชและผูฝกจะตองดําเนินการ เบิก – รับ และจัดเตรียมหลักฐาน
การฝกทหารใหมใหเรียบรอย กอนดําเนินการฝก ดังนี้
๗.๒.๑ มีครบตามที่จะตองใชในการสอนอบรม
๗.๒.๒ มีสภาพเรียบรอย มีการเก็บรักษาที่ดี เหมาะสม คนหางาย
๗.๒.๓ มีบัญชีคุมและสมุดยืม แยกกัน และคุมเฉพาะหลักสูตรการฝกทหารใหม
๗.๓ วันเริ่มและวันจบการฝก
๗.๓.๑ ทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓ เริ่ม ๑ พ.ย. ๖๓ จบ ๑๓ ม.ค. ๖๔
ทหารใหม ผลัดที่ ๑/๖๔ เริ่ม ๑ พ.ค. ๖๔ จบ ๙ ก.ค. ๖๔
๒-๕

๗.๓.๒ การนั บ วั น เวลา ในการฝ กตามระเบี ยบและหลั กสู ตรการฝ ก ให เริ่ มนั บตั้ งแต วั น ที่
๑ พ.ย. ๖๓ (ผลัดที่ ๒/๖๓) และวันที่ ๑ พ.ค. ๖๔ (ผลัดที่ ๑/๖๔) โดยในห วง ๑ – ๓ วันแรกของแตละผลัด
จะเปนการดําเนินกรรมวิธีดานธุรการตอทหารใหม และเริ่มทําการฝกตั้งแตวันพฤหัสบดีที่ ๕ พ.ย. ๖๓ (ผลัดที่ ๒/๖๓)
และ ในวันพฤหัสบดีที่ ๖ พ.ค. ๖๓ (ผลัดที่ ๑/๖๔)
ตั ว อย า ง ในผลั ด ที่ ๒/๖๓ ทหารใหม เข า รายงานตั ว ณ หน ว ยฝ ก ฯ การดํ า เนิ น กรรมวิ ธี คื อ
วันอาทิตยที่ ๑ พ.ย. ๖๓ ถึง วันพุธที่ ๔ พ.ย. ๖๓ เพราะฉะนั้นการนับวันแรกของการฝกตามระเบียบหลักสูตร
คือวันจันทรที่ ๒ พ.ย. ๖๓ และใหเริ่มทําการฝกทหารใหมตั้งแต วันพฤหัสบดีที่ ๕ พ.ย. ๖๓ เปนตนไป
๗.๔ การจัดทําตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห) คือ ตั้งแตสัปดาหแรก
ที่ทหารใหมเขารายงานตัวจนทําการฝกจบ ๑๐ สัปดาห เวลาการฝก ๕๐๐ ชั่วโมง
๗.๕ กําหนดเจาหนาที่ในการฝกซึ่งประกอบดวย ผอ.ฝก, รอง ผอ.ฝก, ผูชวย ผอ.ฝก., ผบ.หนวยฝก ,
เจาหนาที่ธุรการประจําหนวยฝก, ผูฝก, ผูชวยผูฝก, ครูนายสิบ และครูทหารใหม
๗.๖ ตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห) มีรายละเอียด ดังนี้
๗.๖.๑ เรื่องและวิชาที่ทําการฝกสอนอบรมครบตามระเบียบหลักสูตรที่กําหนดไว
๗.๖.๒ จํานวนเวลาเปนชั่วโมง ของแตละเรื่องที่ทําการฝกครบตามจํานวนที่ระเบียบหลักสูตรกําหนดไว
๗.๖.๓ การนับวงรอบสัปดาห ใหนับตามวงรอบสัปดาหสากลเริ่มตั้งแตทหารใหมเขาหนวยและ
เริ่มทําการฝกในผลัดที่ ๒/๖๓ มีวันหยุดราชการอยู ๔ วัน คือ วันเสารที่ ๕ ธ.ค. ๖๓ (วันพอแหงชาติ), วันพฤหัสบดีที่ ๑๐ ธ.ค. ๖๓
(หยุ ดวั น รัฐ ธรรมนู ญ ), วันพฤหั สบดีที่ ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวั นศุกรที่ ๑ ม.ค. ๖๔ (หยุ ดวันสิ้ นป และวั นขึ้นป ใหม )
โดยในวันพฤหัสบดีที่ ๑๐ ธ.ค. ๖๓ ไมนับเปนวันหยุด การฝกใหทําการฝกตามปกติ สําหรับวันพฤหัสบดีที่ ๓๑ ธ.ค. ๖๓
และวันศุกรที่ ๑ ม.ค. ๖๔ (หยุดวันสิ้นป และวันขึ้นปใหม) ใหนับเปนวันหยุดการฝก ใหงดทําการฝก เพื่อเปนขวัญและ
กําลังใจใหกับทหารใหม
๗.๖.๔ จํานวนชั่วโมงรวมชองสุดทาย ถูกตองตามเวลาการฝกที่มีอยูในสัปดาหนั้น ๆ การกําหนด
ในแตละสัปดาหจะมีชั่วโมงการฝกเทาใดนั้น ขอใหหนวยพิจารณา ดังนี้
๗.๖.๔.๑ สัปดาหที่ ๑ - ๔

เวลา ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐


๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ ๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ ๑๓๐๐–๑๖๐๐ ๑๖๐๐–๑๗๐๐
วัน (๒๐๐๐ - ๒๒๐๐)
การพัฒนา
จันทร-พฤหัสบดี ฝกประจําวัน ฝกประจําวัน ทักษะการตอสูปองกันตัว การสอนอบรม (๑)
สมรรถภาพรางกาย
(วันละ ๙ ชม.) (๔ ชม.) (๓ ชม.) และกีฬา และ(การฝกกลางคืน)
(๑ ชม.)
การพัฒนา
ศุกร ฝกประจําวัน ฝกประจําวัน ทักษะการตอสูปอ งกันตัว การสอนอบรม (๑)
สมรรถภาพรางกาย
(๙ ชม.) (๔ ชม.) (๓ ชม.) และกีฬา และ(การฝกกลางคืน)
(๑ ชม.)
การพัฒนา
ฝกประจําวัน
เสาร (๕ ชม.) สมรรถภาพรางกาย การ ปบ.อาวุธ, คลัง, อาคารที่พัก/เวลาผูบ ังคับบัญชา
(๔ ชม.)
(๑ ชม.)
หมายเหตุ การทดสอบสมรรถภาพรางกาย เริ่มทําการทดสอบในวันเสารสัปดาหที่ ๔ เวลา ๐๕๓๐
– ๐๖๓๐ และใหทําการ ปบ.อาวุธยุทโธปกรณฯ ในวันศุกร เวลา ๑๖๐๐ – ๑๗๐๐ แทน
๒–๖

๗.๖.๔.๒ สัปดาหที่ ๕ – ๑๐

เวลา ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐


๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ ๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ ๑๓๐๐–๑๖๐๐ ๑๖๐๐–๑๗๐๐
วัน (๒๐๐๐ - ๒๒๐๐)
การพัฒนา
จันทร-พฤหัสบดี ฝกประจําวัน ฝกประจําวัน ทักษะการตอสูปองกันตัว การสอนอบรม (๑)
สมรรถภาพรางกาย
(วันละ ๙ ชม.) (๔ ชม.) (๓ ชม.) และกีฬา และ(การฝกกลางคืน)
(๑ ชม.)
การพัฒนา
ศุกร ฝกประจําวัน ฝกประจําวัน การ ปบ.อาวุธ, คลัง, การสอนอบรม (๑)
สมรรถภาพรางกาย
(๙ ชม.) (๔ ชม.) (๓ ชม.) อาคารที่พัก และ(การฝกกลางคืน)
(๑ ชม.)
การพัฒนา
ฝกประจําวัน
เสาร (๕ ชม.) สมรรถภาพรางกาย เวลาผูบ ังคับบัญชา
(๔ ชม.)
(๑ ชม.)

การจัดตารางกําหนดการฝกหลัก(ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห) คือการจัดทําแผนการฝก
ทหารใหมใหเปนไปตามระเบียบและหลักสูตรการฝกฯ จํานวน ๕๐๐ ชั่วโมง โดยฝายยุทธการและการฝก
ของหนวยเปนผูรับผิดชอบ ตารางการฝกดังกลาวนี้ เพื่อใหหนวยฝกทราบวา ในแตละสัปดาหมีรายวิชาและ
ชั่วโมงการฝกเทาใด ครอบคลุมการฝกครบทุกวิชาทุกเรื่องหรือไม มีจํานวนชั่วโมงการฝ กครบถูกตองตามที่
ระเบียบและหลักสูตรฯ กําหนด ดังตัวอยางในการวางแผน การจัดทําตารางกําหนดการฝกหลัก (หนา ๒ – ๑๙)
๗.๗ ตารางกําหนดการฝกประจําสัปดาห (จากแผนการจัดการฝกที่วางไวตามตัวอยางในหนา ๒ – ๒๒
ถึง ๒ – ๒๓)
๗.๗.๑ แบบของตาราง ใชตามระเบียบและหลักสูตรการฝกทหารใหม ฯ
๗.๗.๒ มีความถูกตอง และตรงกับตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห)
๗.๗.๓ รายการสอน กําหนดรายละเอียดของวิชาเปน ทา และ เรื่องที่จะใหสอนอบรม เชน
- การฝกบุคคลทามือเปลา - ทาตรง, ทาพัก
- การติดตอสื่อสาร - เรื่องหลักการติดตอสื่อสาร
- การอบรมแบบธรรมเนียมของทหาร - เรื่องการรักษาการณ ฯลฯ
๗.๗.๔ หลักฐานจะตองกําหนดใหละเอียด สมบูรณ ชัดเจน งายตอการคนหามาใชในการสอนอบรม
๗.๗.๕ ทุกชองของตารางจะตองมีรายละเอียดที่ถูกตองและเรียบรอย
๗.๗.๖ การกําหนดวิชาและชัว่ โมงทําการฝกจะตองยึดถือระเบียบและหลักสูตรการฝกฯ และ
ใหเปนไปตามคําสั่งการฝกประจําปของ ทบ. โดยจะตองระบุไวในคําสั่งการฝกของหนวยดวย
๗.๗.๗ ในกรณี ที่หนวยจัดตั้ งสถานีฝก เพื่อหมุนเวียนการฝกนั้น ให หน วยกําหนดลงในตาราง
การฝกประจําสัปดาห และแยกออกเปนสถานีในแตละวัน โดยที่ชั่วโมงการฝกรายวิชาที่ทหารใหมแตละคน
เขารับการฝกตองเทากับจํานวนชั่วโมงที่กําหนดไวในตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห)
๒–๗

๗.๘ ตารางกําหนดการฝกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง (ตามตัวอยางหนา ๒ - ๒๔ ) เปนตาราง


กําหนดการฝก ฯ ที่ออกมาพรอมกับตารางกําหนดการฝกประจําสัปดาห โดยฝายยุทธการและการฝกของ
หนวยเปนผูจัดทํา
๗.๘.๑ แบบของตาราง ใชตามระเบียบและหลักสูตรการฝก ฯ
๗.๘.๒ เรื่องที่สอนหรืออบรมในหองเรียนอยูแลวในวันเดียวกันนั้น ไมตองมีการเปลี่ยนแปลง
๗.๙ กําหนดเจาหนาที่ตรวจการฝก เปนมาตรการในการกํากับดูแลของ ผบ.หนวย (แยกเปนผนวก)
๗.๑๐ มาตรการรักษาความปลอดภัยในการฝก
๗.๑๑ กําหนดการใช สป.๕ และวัตถุระเบิด อยางเหมาะสม (แยกเปนผนวก)
หมายเหตุ การกําหนดตารางการฝ กประจํ าสั ป ดาห นั้ น หน ว ยที่รับ ผิ ด ชอบการฝ กทหารใหม
จะตองจัดทําใหเรียบรอย แลวแจงใหผูฝกทราบอยางนอย ๗ วัน และผูฝกจะตองจัดทํา ตารางกําหนด
การฝ ก ประจํ าวั น (ตามตั วอย าง หน า ๒ – ๒๕) ให เรี ยบร อยและแจ งให ครู ฝ ก และหน วยบั งคับบั ญชาทราบ
ลวงหนากอนวันทําการฝก ดังนี้
๑. แบบของตาราง ใชตามระเบียบหลักสูตรการฝก ฯ
๒. รายการตรงกันกับตารางกําหนดการฝกประจําสัปดาห
๓. แยกเปนแตละ ชม. (แยกเนื้อหาของวิชาเปนราย ชม. เชน ๐๘๐๐ - ๐๙๐๐, ๐๙๐๐ - ๑๐๐๐ เปนตน)
๘. การดําเนินกรรมวิธีดานธุรการตอทหารใหม : ในการรับทหารใหมการดําเนินงานดานธุรการ
หรือ การแนะนํ าชี้ แจงทหารใหม ให ดํ าเนิน การให แลว เสร็จภายใน ๑ – ๓ วัน แรก ที่ทหารใหมเขาหน ว ย
ไมจําเปนตองรอใหทหารใหมเขาหนวยจนครบ
๘.๑ ในหวง ๑ - ๓ วันแรก ตั้งแตทหารใหมเขารายงานตัวใหถือวาเปนเวลาในระเบียบหลักสูตร
๘.๒ การดําเนินกรรมวิธีรับทหารใหม ใหดําเนินการในเรื่องตอไปนี้
๘.๒.๑ ชี้แจงระเบียบปฏิบัติประจําวันของหนวยฝก
๘.๒.๒ จั ด ทํ า ประวั ติ แ ละจั ด ทํ าข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เช น ภู มิ ลํ าเนาทหาร, วุ ฒิ การศึ กษา, อาชี พ,
โรคประจําตัว, ยาเสพติด และการรองขอสิทธิลดวันรับราชการ
๘.๒.๓ แจกจายสิ่งของสวนตัวทหารใหม
๘.๒.๔ จายเครื่องแตงกาย และตัดผมทหารใหม
๘.๒.๕ ตรวจโรค และตรวจสารเสพติดในรางกายโดยแพทย
๘.๒.๖ แนะนําผูฝก, ผช.ผูฝก, ครูนายสิบ, ครูทหารใหม, ผูบังคับบัญชา และสถานที่ภายในหนวย
๘.๒.๗ ชี้แจงวัตถุประสงคของการฝก นโยบายการฝก ระเบียบคําสั่งที่เกี่ยวของที่ทหารใหม
ควรรู และอืน่ ๆ ที่มีความจําเปนที่ทหารใหมตองรู
หมายเหตุ การตรวจโรคและสารเสพติดในรางกายโดยแพทย ควรกระทําใหเรียบรอยในหวง
การดํ า เนิ น กรรมวิธี นี้ เพื่ อให การป องกั นและแก ไขป ญหาการเสพยาเสพติ ด กระทํ าได อยางสมบู รณ และ
มีประสิทธิภาพสูงสุด กรณีไมสามารถดําเนินการไดในหวงดําเนินกรรมวิธีฯ ควรใชเวลานอกเหนือจากหวง
กําหนดการฝก แตถาจําเปนตองใชเวลาในหวงการฝก จะตองมีการฝกชดเชยเทากับจํานวนเวลาที่ขาดการฝก
๒–๘

๙. ตัวอยาง การวางแผน การจัดทํา ตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห)


การฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓
เงื่อนไข
๑. ทหารใหมรายงานตัว ณ หนวยฝก ในวันอาทิตยที่ ๑ พ.ย. ๖๓
๒. วั น หยุ ด ราชการคื อ วั น เสาร ที่ ๕ ธ.ค. ๖๓ (วั น พ อ แห งชาติ ), วั น พฤหั ส บดี ที่ ๑๐ ธ.ค. ๖๓
(หยุดวันรัฐธรรมนูญ) ในผลัดที่ ๒/๖๓ ไมนับเปนวันหยุดใหดําเนินการฝกไดตามหนังสือ ยศ.ทบ ที่ กห ๐๔๖๑/
๐๓๖๗ ลง ๑๑ ก.ค. ๔๔ เวน วัน พฤหัสบดีที่ ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวันศุกรที่ ๑ ม.ค. ๖๔ (หยุด วัน สิ้น ปและ
วันขึ้นปใหม) ใหงดทําการฝกเพื่อเปนขวัญและกําลังใจใหกับทหารใหมในชวงเทศกาลปใหม
๓. การดําเนินกรรมวิธีกําหนดใหกระทําใน วันที่ ๑ – ๕ พ.ย. ๖๓ ดังนี้ .-
๓.๑ วันที่ ๑ – ๓ พ.ย. ๖๓ : จัดทําประวัติฯ, จายสิ่งของ และเครื่องแตงกาย
๓.๒ วันที่ ๔ พ.ย. ๖๓ : นําทหารใหมตรวจโรค และตรวจสารเสพติดในรางกายโดยแพทย
๓.๓ วันที่ ๕ พ.ย. ๖๓ : แนะนําผูบังคับบัญชา, แนะนําสถานที,่ ชี้แจงนโยบายวัตถุประสงค
ของการฝก, ระเบียบและคําสั่งที่เกี่ยวของ และทําการฝกฯ
๔. วันเริ่มการฝก วันศุกรที่ ๖ พ.ย. ๖๓
การกําหนดวันฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓ เดือน พ.ย. – ธ.ค. ๖๓
อาทิตย จันทร อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร เสาร
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ (3)/(6) ๖ ๗ สัปดาหที่ ๑ การฝก ๕๐ ชม.
(เริ่มการฝก)
๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ สัปดาหที่ ๒ การฝก ๕๐ ชม.
๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ สัปดาหที่ ๓ การฝก ๕๐ ชม.
๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ สัปดาหที่ ๔ การฝก ๕๐ ชม.

๒๙ ๓๐ ๑ ๒ ๓ ๔
(วันพอแหงชาติ)
สัปดาหที่ ๕ การฝก ๔๕ ชม.

๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ สัปดาหที่ ๖ การฝก ๕๐ ชม.


(วันรัฐธรรมนูญ)
หมายเหตุ : ๒๕ – ๒๖ พ.ย. ๖๓ อบรมสันทนาการ และทํากิจกรรมรวมกับหนวยฝกขางเคียง
(หนวยอาจเปลี่ยนแปลงวันเวลาไดตามความเหมาะสม)
การกําหนดวันฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓ เดือน ธ.ค. ๖๓ - ม.ค. ๖๔
อาทิตย จันทร อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร เสาร
๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ สัปดาหที่ ๗ การฝก ๕๐ ชม.
๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ สัปดาหที่ ๘ การฝก ๕๐ ชม.
๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๑ ๒ สัปดาหที่ ๙ การฝก ๓๒ ชม.
(วันหยุดสิ้นป) (วันขึ้นปใหม)
๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ สัปดาหที่ ๑๐ การฝก ๕๐ ชม.
๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ (5) สัปดาหที่ ๑๑ การฝก ๒๓ ชม.
(จบการฝก)
๒–๙

สรุป การจัดการฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓ กําหนดได ดังนี.้ -


๑. การดําเนินกรรมวิธีตอทหารใหม กระทําในวันที่ ๑ – ๕ พ.ย. ๖๓
๒. วันเริ่มทําการฝก ตามตารางกําหนดการฝกคือ วันศุกรที่ ๖ พ.ย. ๖๓
๓. วันเสารที่ ๕ ธ.ค. ๖๓ (วันพอแหงชาติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๐ ธ.ค. ๖๓ (วันรัฐธรรมนูญ) ไมนับเปน
วันหยุด ใหดําเนินการฝกตามปกติ เวน วันพฤหัสบดีที่ ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวันศุกรที่ ๑ ม.ค. ๖๔ (หยุดวันสิ้นป
และวันขึ้นปใหม) ใหนับเปนวันหยุด และงดทําการฝก เพื่อเปนขวัญและกําลังใจใหกับทหารใหม
๔. วันที่ ๒๕ – ๒๖ พ.ย. ๖๓ อบรมสันทนาการและทํากิจกรรมรวมกับหนวยฝกขางเคียง
(หนวยอาจเปลี่ยนแปลงวันเวลาไดตามความเหมาะสม)
๕. วันจบการฝกจะเสร็จสิ้นในวันพุธที่ ๑๓ ม.ค. ๖๔ รวมเวลา ๕๐๐ ชม. ตามทีร่ ะเบียบและ
หลักสูตรการฝกฯ กําหนด
๑๐. ตัวอยาง การวางแผน การจัดทํา ตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห)
การฝกทหารใหม ผลัดที่ ๑/๖๔
เงื่อนไข
๑. ทหารใหมรายงานตัว ณ หนวยฝก ในวันเสารที่ ๑ พ.ค. ๖๔
๒. วันหยุดราชการ คือ วันอังคารที่ ๔ พ.ค. ๖๔ (วันฉัตรมงคล), วันพุธที่ ๒๖ พ.ค. ๖๔ (วันวิสาขบูชา),
วันพฤหัสบดีที่ ๓ มิ.ย. ๖๔ (วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระราชินี) ในผลัดที่ ๑/๖๔ ไมนับเปนวันหยุด ใหดําเนินการฝก
ตามปกติ
๓. การดําเนินกรรมวิธี กําหนดใหกระทําใน วันที่ ๑ – ๕ พ.ค. ๖๔ ดังนี้.-
๓.๑ วันที่ ๑ – ๓ พ.ค. ๖๔ : จัดทําประวัติ ฯ, จายสิ่งของ และเครื่องแตงกาย
๓.๒ วันที่ ๔ พ.ค. ๖๔ : นําทหารใหมตรวจโรค และตรวจสารเสพติดในรางกายโดยแพทย
๓.๓ วันที่ ๕ พ.ค. ๖๔ : แนะนําผูบังคับบัญชา แนะนําสถานที่ ชี้แจง นโยบาย วัตถุประสงค
ของการฝก ระเบียบ คําสั่งที่เกี่ยวของ และทําการฝกฯ
๔. วันเริ่มทําการฝก คือ วันพฤหัสบดีที่ ๖ พ.ค. ๖๔
การกําหนดวันฝกทหารใหม ผลัดที่ ๑/๖๔ เดือน พ.ค. – มิ.ย. ๖๔
อาทิตย จันทร อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร เสาร
๑ สัปดาหที่ ๑ การฝก ๕ ชม.
๒ ๓ ๔ ๕ (7)/(3) ๖ ๗ ๘ สัปดาหที่ ๒ การฝก ๕๐ ชม.
(วันฉัตรมงคล) (เริ่มการฝก)
๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ สัปดาหที่ ๓ การฝก ๕๐ ชม.
๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ สัปดาหที่ ๔ การฝก ๕๐ ชม.
๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ สัปดาหที่ ๕ การฝก ๕๐ ชม.
(วันวิสาขบูชา)

๓๐ ๓๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ สัปดาหที่ ๖ การฝก ๕๐ ชม
(วันเฉลิมพระราชินฯี )

หมายเหตุ : ๒๖ – ๒๗ พ.ค. ๖๔ อบรมสันทนาการและทํากิจกรรมรวมกับหนวยฝกขางเคียง


(หนวยอาจเปลี่ยนแปลงวันเวลาไดตามความเหมาะสม)
๒ – ๑๐

การกําหนดวันฝกทหารใหม ผลัดที่ ๑/๖๔ เดือน มิ.ย.- ก.ค. ๖๔


อาทิตย จันทร อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร เสาร
๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ สัปดาหที่ ๗ การฝก ๕๐ ชม.
๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ สัปดาหที่ ๘ การฝก ๕๐ ชม.
๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ สัปดาหที่ ๙ การฝก ๕๐ ชม.
๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๑ ๒ ๓ สัปดาหที่ ๑๐ การฝก ๕๐ ชม.
๙ (9)
๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑๐ สัปดาหที่ ๑๑ การฝก ๔๕ ชม.
จบการฝก

สรุป การจัดการฝกทหารใหม ผลัดที่ ๑/๖๔ กําหนดได ดังนี้.-


๑. การดําเนินกรรมวิธีตอทหารใหม กระทําในวันที่ ๑ – ๕ พ.ค. ๖๔
๒. วันเริ่มทําการฝก ตามตารางกําหนดการฝก วันพฤหัสบดีที่ ๖ พ.ค. ๖๔
๓. วันอังคารที่ ๔ พ.ค. ๖๔ (วันฉัตรมงคล), วันพุธที่ ๒๖ พ.ค. ๖๔ (วันวิสาขบูชา), วันพฤหัสบดีที่ ๓
มิ.ย. ๖๔ (วันเฉลิมพระราชินี) ในผลัดที่ ๑/๖๔ ไมนับเปนวันหยุด ใหดําเนินการฝกตามปกติ
๔. วันที่ ๒๖–๒๗ พ.ค. ๖๔ อบรมสันทนาการและทํากิจกรรมรวมกับหนวยฝกฯ ขางเคียง (หนวยอาจ
เปลี่ยนแปลงวันเวลาไดตามความเหมาะสม)
๕. วันจบการฝกจะเสร็จสิ้นในวันที่ ๙ ก.ค. ๖๔ รวมเวลา ๕๐๐ ชม. ตามระเบียบและหลักสูตรการฝกฯ
ทีก่ ําหนด
หมายเหตุ ๑. กรณีหนวยมีความจําเปนตองนําทหารใหมไปปฏิบัติภารกิจสําคัญเรงดวนหรือดําเนินกิจกรรม
ที่ตองใชเวลาในหวงกําหนดการฝก เมื่อจบภารกิจแลวจะตองทําการฝกชดเชยตามเรื่องและระยะเวลาที่ขาด
การฝกไป โดยใชเวลานอกหลักสูตรหรือวันหยุดราชการ
๒. การกําหนดวันเยี่ยมญาติของทหารใหม สมควรใหญาติเยี่ยมไดเฉพาะวันอาทิตย ตั้งแตสัปดาหที่ ๓
เป นต นไป หรื อตามแต ค วามเหมาะสมที่ ห น ว ยเห็ น สมควร ทั้ งนี้ จ ะต อ งคํ านึ งถึ งการรั ก ษาความปลอดภั ย ,
ความเปนระเบียบเรียบรอยและภาพลักษณของตัวทหารใหม, หนวย และ ทบ. ที่จะปรากฏตอญาติทหารใหม
๑๑. การปฏิบัติในการสงกําหนดการฝก
๑๑.๑ หนวยจัดการฝก จัดสงกําหนดการฝกกอนเริ่มหวงการฝกอยางนอย ๑๕ วัน ถึง ยศ.ทบ.
โดยตรง จํานวน ๑ ชุด และหนวยบังคับบัญชาระดับกองพล หรือ นขต.ทบ. จํานวน ๑ ชุด
๑๑.๒ หน วยบั งคับ บั ญ ชาระดับ กองพล หรื อ นขต.ทบ. รวบรวมกําหนดการฝ กของหน วยใน
บังคับบัญชาที่ไดรับตามขอ ๑๑.๑ เสนอ ยศ.ทบ.จํานวน ๑ ชุด
๑๑.๓ การสงกําหนดการฝกให ใชแบบฟอรมตามอนุ ผนวก ๑ ประกอบผนวก ค ในคําสั่ งการฝ ก
ประจําป ๖๒ ดังนี้
๒ – ๑๑

ตารางกําหนดการฝก
หนวยจัดการฝก.....................................
หลักฐาน คําสั่งการฝกของหนวย................ที่......./...........ลง.........................
กําหนดการฝก (ว. ด. ป.)
ลําดับ งานการฝก หนวยรับการฝก หมายเหตุ
ในที่ตั้ง นอกที่ตั้ง/พื้นที่ฝก
๑ การฝกทหารใหม
๒ – ๑๒
๑๒. ตัวอยางคําสั่งการฝกทหารใหม

คําสั่งกองพันทหารราบที่ ............กรมทหารราบที่..........
ที่ /๒๕๖๓
เรื่อง การฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓
------------------
๑. วันมีผลบังคับใช : ๑ พ.ย. ๖๓ – ๑๓ ม.ค. ๖๔
๒. หลักฐาน : ผนวก ก
๓. ความมุงหมายในการฝก
๓.๑ เพื่อให ท หารใหมเป น รายบุ คคล ได รับ การฝ กศึกษาวิ ชาการทหารเบื้ องต น สํ าหรับ นํ าไปใช
ในการฝกขั้นตอไป จนมีประสิทธิภาพทําการรบตามหนาที่ของทหารแตละเหลาได
๓.๒ เพื่อปรับสภาพรางกายและจิตใจของทหารใหมจากการดําเนินชีวิตแบบพลเรือนมาดําเนินชีวิต แบบทหาร
๓.๓ เพื่อปลูกฝงลักษณะทหาร
๓.๔ เพื่อปลูกฝงใหเกิดทัศนคติที่ดีงามตอ ทบ.
๔. ระบบการฝก : ใชการฝกที่เนนผลการปฏิบัติ โดยมีชั่วโมงการปฏิบัติไมนอยกวารอยละ ๗๐ ดังนี้.-
๔.๑ การฝกแบบรวมการ ในการฝกสอนอบรม ดังตอไปนี้
๔.๑.๑ การฝกแถวชิด ๔.๑.๒ การสอนอบรม
๔.๒ การฝกแบบแยกการ โดยจัดการฝกแบบหมุนเวียน ดังนี้
๔.๒.๑ การฝกเบื้องตน (เวนการฝกแถวชิด) ๔.๒.๒ วิชาทหารทั่วไป
๔.๒.๓ การฝกใชอาวุธประจํากาย ๔.๒.๔ การฝกทางยุทธวิธี
๕. เจาหนาที่ฝกทหารใหม : ผนวก ข
๖. วันทําการฝก : ตั้งแต ๖ พ.ย. ๖๓ ถึง ๑๓ ม.ค. ๖๔
๖.๑ จันทร - ศุกร ฝกวันละ ๙ ชม.
๖.๒ วันเสาร ฝกวันละ ๕ ชม.
- เวลา ๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ ตั้งแตสัปดาหที่ ๔ ใหทําการทดสอบสรรถภาพรางกาย)
- เวลา ๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ ตั้งแตสัปดาหที่ ๑ – ๗ ใหทําการฝกสอนในกลุม
วิชาการชวยเหลือประชาชนและการสอนอบรม
๖.๓ การประเมินผลการฝกจํานวนชั่วโมง ๑๙ ชั่วโมง ถือวาเปนเวลาในหลักสูตรแตใหประเมินผล
เมื่อฝกจบเปนรายวิชา หรือตามที่หนวยพิจารณาเห็นสมควร และใหเริ่มประเมินผลไดตั้งแตสัปดาหที่ ๕ เปนตนไป
หรือไมชากวาสัปดาหที่ ๖ จนถึงวันเสร็จสิ้นการฝก
๒ – ๑๓

๗. มาตรฐานการฝก
๗.๑ การประเมินผลการฝกทหารใหม จะตองดําเนินการตอทหารใหมทุกนาย โดยปฏิบัติตามรายการ
ของคูมือการประเมินผล การฝกทหารใหมเบื้องตนทั่วไป สําหรับทหารทุกเหลาของกองทัพบก (๑๐ สัปดาห)
พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยใหยกเลิกการตรวจสอบแบบจัดตั้งสถานีตรวจสอบ ๖ สถานี และการจําหนายยอดทหารใหม
๒๐ % ของยอดเต็ม
๗.๒ ผลการฝกเปนรายวิชา จะตองผานเกณฑที่กําหนดไว ในคูมือการประเมินผล การฝกทหารใหม
เบื้องตนทั่วไป สําหรับทหารทุกเหลาของกองทัพบก (๑๐ สัปดาห) พ.ศ. ๒๕๕๕
๘. สนามฝกและพื้นที่การฝก : ใหหนวยฝก ฯ จัดเตรียมใหเรียบรอย ดังนี้.-
๘.๑ สนามการฝกเบื้องตนและแถวชิด ๘.๒ สนามฝกกายบริหาร (ราวดึงขอ, สนามฝกวิ่ง)
๘.๓ สนามฝกการใชดาบปลายปน ๘.๔ สนามฝกขวางลูกระเบิดซอมขวาง
๘.๕ สนามฝกยิงปนเบื้องตน ๘.๖ สนามฝกทางยุทธวิธี
๘.๗ สนามฝกยิงปน ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) ๘.๘ สนามฝกบุคคลทําการรบ
๘.๙ สนามฝกการเดินทางดวยเข็มทิศ ๘.๑๐ สนามฝกสรางเครื่องกีดขวาง
๘.๑๑ พื้นที่การฝกการลาดตระเวน ๘.๑๒ พื้นทีก่ ารเคลื่อนที่ทางยุทธวิธี และการพักแรม
๘.๑๓ พื้นที่การฝกปอมสนาม ในสนาม
๙. เครื่องชวยฝกตาง ๆ รวมทั้งแผนภาพเครื่องชวยฝก ใหหนวยฝกเตรียมไวใหเรียบรอย
๑๐. ตารางกําหนดการฝก
๑๐.๑ ตารางกําหนดการฝกหลัก(เปนสัปดาห) ตามระเบียบและหลักสูตรการฝก การฝกทหารใหม
สําหรับทหารทุกเหลาของ ทบ.๑๐ สัปดาห พ.ศ.๒๕๖๒ (ผนวก ค หนา ๒ – ๑๙ ถึง ๒ – ๒๑)
๑๐.๒ ตารางกําหนดการฝกประจําสัปดาห (ผนวก ง หนา ๒ – ๒๒ ถึง ๒ – ๒๓)
๑๐.๓ ตารางกํ าหนดการฝ กเมื่ อฝนตก (อนุ ผ นวก ๑ ประกอบผนวก ง หน า ๒ – ๒๔) ตาราง
กําหนดการฝกประจําวัน ( หนา ๒ – ๒๕ ) กําหนดขึ้นใหสอดคลองกับตารางกําหนดการฝกหลัก (เปนสัปดาห)
๑๑. การตรวจการฝก
๑๑.๑ ผบ.พัน หรือเทียบเทาจะตรวจการฝกหรือใหมีผูรับมอบอํานาจ ตรวจอยางไมเปนทางการไดทุกวัน
๑๑.๒ รายการกําหนดการตรวจประจําวันของเจาหนาที่ตรวจการฝกฯ (ผนวก จ หนา ๒ - ๒๖)
๑๑.๓ การตรวจการฝก ผูตรวจจะตองบันทึกผลการตรวจการฝกทหารใหมในสมุดรับตรวจ และ
ตองรายงานให ผบ.พัน ทราบ ทุกวัน
๑๒. บันทึกและรายงาน : ใหดําเนินการตามระเบียบและหลักสูตรโดยเครงครัด
๑๓. คําแนะนําการฝก
๑๓.๑ ใหใชการฝกในสนามฝก มากกวาการสอนในหองเรียน ในอาคาร
๑๓.๒ ใหทหารใหมไดมีการฝกปฏิบัติมากกวาการสอนดวยการบรรยาย ตาม รส. ๒๑ – ๖ วาดวย
วิธีเตรียมการและดําเนินการฝกที่เนนผลการปฏิบัติ พ.ศ. ๒๕๓๑
๑๓.๓ การฝ กยิ งป นด วยกระสุ นจริ งในสนามจะต องสวมหมวกเหล็ กทุ กครั้ งที่ ทํ าการฝ กยิ ง และ
เมื่อทหารใหมสวนหนึ่งเขาแนวยิงแลว สวนที่เหลือใหทําการฝกทบทวนเรื่องตาง ๆ ของวิชาใชอาวุธประจํากาย
เพื่อใหเกิดความชํานาญ
๒ – ๑๔

๑๓.๔ การฝกทางยุทธวิธี จะตองพยายามใหทหารใหมปฏิบัติไดทุกเรื่องที่ไดรับการฝกสอนมาแลว


๑๓.๕ กายบริหารและศิลปะการตอสูปองกันตัว เนนทักษะการตอสูดวยมือเปลา อาวุธมีดสั้น
และการใชดาบปลายปน ทั้งนี้โดยการใชไมหุมนวมแทนปนติดดาบปลายปน เพื่อใหทหารใหมไดรูถึงมุมโจมตี และ
การปองกันให เกิดความคลองแคลวเหมือนการฝกใชดาบปลายปน ตลอดจนให ทหารใหมจับ คูกันทําการฝก
การตอสูปองกันตัว เพื่อฝกทักษะการเขาโจมตีและการปองกันการถูกโจมตีดวย
๑๓.๖ การยิงประกอบการเคลื่อนที่ (เปนคู) เปนการฝกพื้นฐานที่สําคัญของทหารใหม ผูฝกตอง
ชี้ แ จงการปฏิ บั ติ ให ท หารใหม เข าใจทางยุ ท ธวิ ธี ในเรื่ อ งความพร อ มในการใช อ าวุ ธ ระหว างการเคลื่ อ นที่ ,
ความเร็วระหวางเคลื่อนที่ และการเลือกที่กําบังใหเหมาะสม ตามกฎความปลอดภัยซึ่งเปนหัวใจของการใชอาวุธ
ในการปฏิ บั ติ แต ล ะแนวยิ ง จะต องฝกการเล็งและการลั่น ไกโดยทําการยิ งแห ง (Dry Fire) เพื่อให เกิดความ
ชํานาญจึงจะใชกระสุนซอมรบทําการฝกยิงตอไป ทําการฝกยิง ๓ ครั้ง ครั้งละ ๖ นัด/คน รวม ๑๘ นัด
๑๓.๗ วิช าการขาวเบื้ องต น , การสังเกตและการสะกดรอย เนน ใหทหารใหมได รูจั กพิจ ารณา
ภู มิป ระเทศ ลม ฟ าอากาศ และขาศึก ซึ่งมีความสํ าคัญ ต อการปฏิ บั ติการทหาร รวมถึงการซอนพรางและ
รักษาความปลอดภัยในการติดตอสื่อสาร, การสะกดรอยใหพิจารณารอยเทา การตรวจคนและจดจําขณะปฏิบัติ
หนาที่เปน ลว.นํา รวมถึงรูปพรรณบุคคล ยานพาหนะดวย
๑๔. มาตรการรักษาความปลอดภัยในการฝก (กรณีหนวยมีระเบียบหรือคําสั่ง หรือ รปจ.เกี่ยวกับ
การรักษาความปลอดภัยในการฝกใหอางถึงการปฏิบัติดังกลาว) เชน
๑๔.๑ โรคลมรอน (หนวยมีแนวทางปฏิบัติอยางไร)
๑๔.๒ การฝกทางยุทธวิธี (หนวยมีแนวทางปฏิบัติอยางไร)
๑๔.๓ การยิงปน / สนามยิงปน (หนวยมีแนวทางปฏิบัติอยางไร)
๑๔.๔ การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและการพักแรมในสนาม (หนวยมีแนวทางปฏิบัติอยางไร)
๑๔.๕ การใชกระสุนวัตถุระเบิด (หนวยมีแนวทางปฏิบัติอยางไร)
๑๔.๖ การใชเครื่องมือ/เครื่องจักรที่มีความเสี่ยง(หนวยมีมาตรการควบคุมอยางไร)
๑๔.๗ กรณีเกิดการสูญเสียจากการฝกใหรายงานดวน โดยปฏิบัติตามผนวกการรายงานการ
สูญเสียประกอบคําสั่งการฝกประจําป ๒๕๖๑(หนวยมีแนวทางปฏิบัติอยางไร)
๑๕. มาตรการปองกัน สป.๕ รั่วไหลจากการฝก (ตามวิทยุราชการสนาม กบ.ทบ. ดวนมาก ที่ กห ๐๔๐๔/๒๓๒๘
ลง ๑๐ ก.ค. ๕๕)
๑๖. การสนับสนุน :
๑๖.๑ ให ฝยก.ฯ สนับสนุนคูมือ, ตําราการฝก และเครื่องชวยฝก ใหหนวยฝกฯ ตามที่ระบุไว
ในระเบียบและหลักสูตรฯ
๑๖.๒ ฝกบ.ฯ สนับสนุน กระสุนและวัตถุระเบิด ผนวก ฉ
๑๖.๓ ฝอ. อื่น ๆ และ รอย.นขต.ฯ ใหการสนับสนุนการฝกทหารใหมในดานตาง ๆ เมื่อรอง
ขอตามความเหมาะสม
๒ – ๑๕

๑๗. รายละเอียดอื่น ๆ ใหประสานกับ ฝยก.ร. ........... พัน. .......... ไดโดยตรง


ทั้งนี้ ใหเตรียมการตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

สั่ง ณ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

(ลงชื่อ) พ.ท.
(.....................................)
ผบ.ร. ....... พัน. .........
ฝยก.ร. ........ พัน. .......
๒ – ๑๖

ผนวก ก (หลักฐาน) ประกอบ คําสั่ง ร. ....... พัน. ...........ที่ /๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓


คําสั่ง ทบ.
- คําสั่ง ทบ.(เฉพาะ) ที่ /๖๓ ลง ก.ย. ๖๓ เรื่อง การฝกประจําป ๒๕๖๔
ระเบียบและหลักสูตรการฝก
๑. ระเบียบและหลักสูตรการฝก การฝกทหารใหมเบื้องตนทั่วไป สําหรับทหารทุกเหลา ของ ทบ.
(๑๐ สัปดาห) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒. คูมือการประเมินผล การฝกทหารใหมเบื้องตนทั่วไป สําหรับทหารทุกเหลาของ ทบ. (๑๐ สัปดาห)
พ.ศ. ๒๕๕๕
๓. ระเบียบและหลักสูตรการฝกยิงปนทหาร การฝกยิงปนเล็กยาวประจําป สําหรับทหารทุกเหลาของ ทบ.
พ.ศ. ๒๕๓๐
๔. เอกสารประกอบการฝกทหารใหม โดยยศ.ทบ. ฉบับปรับปรุงใหม พ.ศ. ๒๕๕๐
๕. เอกสารประกอบการฝกทหารใหมและการฝกทหารใหมเฉพาะหนาที่ ปรับปรุงใหม ป ๒๕๕๑
๖. เอกสารการฝ กอบรม และประเมิน ผลการฝ กทหารใหม ประกอบรางระเบี ยบและหลั กสูต รการฝ ก
การฝกทหารใหมเบื้องตน สําหรับทหารทุกเหลาของ ทบ. (๑๐ สัปดาห) พ.ศ. ๒๕๔๗
๗. คําแนะนําการฝกทหารใหม ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔ (๑ ต.ค. ๖๓ - ๓๐ ก.ย. ๖๔)
คูมือการฝก
๑. คูมือการฝก วาดวยแบบฝกบุคคลทามือเปลา พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. คูมือการฝก วาดวยแบบฝกบุคคลทามือเปลา พ.ศ. ๒๕๖๐
๓. คูมือการฝก วาดวยแบบฝกบุคคลทามือเปลา (คฝ.๗ - ๖) พ.ศ. ๒๕๔๔
๔. คูมือการฝก วาดวยแบบฝกบุคคลทาอาวุธ (คฝ.๗ - ๕) พ.ศ. ๒๕๔๔
๕. คูมือการฝก วาดวยแบบฝกบุคคลทาอาวุธ ปลย.๕๐ ขนาด ๕.๕๖ มม. (TAVOR) พ.ศ. ๒๕๕๓
๖. คูมือการฝกวาดวยการใชดาบปลายปนสําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖ และ ปลย.๑๑ คฝ.๒๓ – ๕ – ๑ พ.ศ. ๒๕๒๗
๗. คูมือการฝกวาดวยรูปขบวนทําการรบ และการฝกทําการรบ สําหรับหมูและหมวดปนเล็ก พ.ศ. ๒๕๓๒
๘. คูมือวาดวยคําแนะนําการปองกันและการปฏิบัติยามฉุกเฉิน เมื่อเผชิญอันตรายจากนิวเคลียร-ชีวะ-เคมี
สําหรับทหารเปนบุคคล พ.ศ. ๒๕๒๕
๙. คูมือการฝกวาดวยคําแนะนําการทบทวนหลังการปฏิบตั ิสําหรับผูบังคับหนวย (คฝ.๒๕ - ๒๐) พ.ศ. ๒๕๔๔
คูมือราชการสนาม
๑. คูมือราชการสนาม วาดวย การฝกทหาร (รส.๒๑ - ๕) พ.ศ. ๒๕๑๒ (จัดพิมพใหมเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๘)
๒. คูมือราชการสนาม วาดวย วิธีเตรียมการและดําเนินการฝกที่เนนผลการปฏิบัติ (รส.๒๑ - ๖) พ.ศ. ๒๕๓๑
๓. คูมือราชการสนาม วาดวยการฝกยิงปนเล็กยาว เอ็ม ๑๖ เอ.๑ และปนเล็กยาว เอ็ม ๑๖ เอ.๒
(รส.๒๓ - ๙) พ.ศ. ๒๕๔๑
๔. คูมือราชการสนาม วาดวย การฝกยิงและการใชปนเล็กยาวแบบ ๑๑ (ปลย.๑๑) (รส.๒๓-๙-๑)
พ.ศ. ๒๕๔๗
๕. คูมือราชการสนามวาดวยการพราง (รส.๒๐ - ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓
๖. คูมือราชการสนาม วาดวย ทัศนะสัญญาณ ( รส.๒๑ – ๖๐ ) พ.ศ. ๒๕๑๒
๗. คูมือราชการสนาม วาดวย การติดตอสื่อสาร ( รส.๒๔ – ๕ ) พ.ศ. ๒๕๓๕
๒ – ๑๗

๘. คําแนะนําการฝกบุคคลในการรวบรวม และรายงานขาวสารทางทหาร พ.ศ. ๒๕๑๑ (จัดพิมพใหม


เพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๘)
๙. คูมือราชการสนาม วาดวย การอานแผนที่ ( รส. ๒๑ – ๒๖ ) พ.ศ. ๒๕๑๕
๑๐. คูมือราชการสนาม วาดวย การปฐมพยาบาลสําหรับทหาร ( รส. ๒๑ – ๑๑ ) พ.ศ. ๒๕๕๐
๑๑. คูมือราชการสนาม วาดวย การฝกบุคคลทําการรบ ( รส. ๒๑ – ๗๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๗
๑๒. คูมือราชการสนาม วาดวย ลูกระเบิดขวาง และพลุสัญญาณ ( รส.๒๓ – ๓๐ ) พ.ศ. ๒๕๓๕
๑๓. คูมือราชการสนาม วาดวย วัตถุระเบิด และการทําลาย ( รส.๕ – ๒๕ ) พ.ศ. ๒๕๓๔
๑๔. คูมือราชการสนาม วาดวย ปอมสนาม (รส.๕ – ๑๕) พ.ศ. ๒๕๓๔
๑๕. คูมือราชการสนาม วาดวย การเล็ดลอด และหลบหนี (รส.๒๑ – ๗๗) พ.ศ. ๒๕๑๖ (จัดพิมพใหม
เพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๓)
๑๖. (ราง) คูมือราชการสนาม วาดวยการปฏิบัติการในความขัดแยงระดับต่ํา (รส.๗ – ๙๘) พ.ศ. ๒๕๔๙
๑๗. คูมือราชการสนามวาดวย การฝกกายบริหาร ( รส. ๒๑ – ๒๐ ) พ.ศ. ๒๔๙๗
๑๘. คูมือราชการสนามวาดวยการตอสูดวยมือเปลาและอาวุธ (รส.๒๑ - ๑๕๐) พ.ศ. ๒๕๔๘
คูมือพลทหาร
๑. คูมือพลทหาร วาดวยเรื่องที่ทหารใหมควรทราบ พ.ศ. ๒๕๒๗ (จัดพิมพใหมเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๘)
๒. คูมือพลทหาร วาดวยการปฏิบัติในเวลาปกติ พ.ศ. ๒๕๑๗
๓. คูมือพลทหาร วาดวยการปฏิบัติการในสนาม พ.ศ. ๒๕๑๗ (จัดพิมพใหมเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๘)
๔. คูมือสอนอบรม วาดวยการปลูกฝงอุดมการณทางการเมืองในหนวยทหาร พ.ศ. ๒๕๒๕ เลม ๑, ๒
๕. แนวทางการอบรมวิชาประวัติศาสตร สําหรับทหารใหม (เพื่อพลาง) กรมยุทธการทหารบก
๖. คูมือการสอนอบรมวิชาประวัติศาสตรชาติไทย กองทัพบก พ.ศ. ๒๕๕๑
๗. คูมือพลทหารเสนารักษ หลักสูตรเบื้องตน เฉพาะเหลาแพทย ๘ สัปดาห พ.ศ. ๒๕๐๗
๘. คูมือการเฝาระวังปองกันและการปฐมพยาบาลการเจ็บปวยเนื่องจากความรอน (สําหรับหนวยฝก)
กรมแพทยทหารบก
๙. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับยาเสพติด กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด พ.ศ. ๒๕๔๕
๑๐. คูมือการปลูกฝงและสรางเสริมอุดมการณทหาร กองทัพบก กรมยุทธศึกษาทหารบก
หลักฐานเตรียมการฝกทหารใหมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
๑. แผนภาพเครื่องชวยฝก และวีดีทัศน ตามที่ ทบ.กําหนดไวในระเบียบหลักสูตร
๒. คูมือที่เกี่ยวของกับการฝกทหารใหม อื่น ๆ

พ.ต.
(.................................)
ฝอ.๓ .................
๒ – ๑๘

ผนวก ข (เจาหนาที่ฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓) ประกอบคําสั่ง ร.... พัน..... ที.่ ..../๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓
๑. ผูอํานวยการฝก (ควรเปน ผบ.หนวย)
๒. รองผูอํานวยการฝก (ควรเปน รอง ผบ.หนวย)
๓. ผูชว ยผูอํานวยการฝก (ควรเปน ฝอ.๓)
๔. ผบ.หนวยฝก (ควรเปน ผบ.รอย.)
๕. เจาหนาที่ประจําหนวยฝก (จํานวนเจาหนาที่ ตามความเหมาะสม )
๖. ผูฝก
๗. ผูชว ยผูฝก
๘. ครูนายสิบ
............
............
............
๙. ครูทหารใหม (พลทหาร)
............
............
............
............

ตรวจถูกตอง

พ.ต.
(.............................)
ฝอ.๓ ................

หมายเหตุ
๑. หนวยที่จัดตั้งหนวยฝก ๒ หนวยฝกหรือ ๓ หนวยฝก ใหใชคําสั่งการฝกทหารใหม ๑ คําสั่ง
๒. ผนวก ข (เจาหนาที่ฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓ ประกอบคําสั่ง ร....พัน......ที่......../๒๕๖๓
ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ จะตองเพิ่ม ผนวก ข ๒ ชุดหรือ ๓ ชุด ตามที่หนวยจัดตั้งหนวยฝก)
๓. เจาหนาที่หนวยฝกจะไมเหมือนกันใน ผนวก ข คือ ผูฝ ก, ผูชวยผูฝก, ครูนายสิบและ ครูทหารใหม
๔. เอกสารตําราทุกเลมที่อางอิงในการฝกจะตองมีครบทั้ง ๒ หนวยฝก หรือ ๓ หนวยฝก ตาม ผนวก ก
๕. สนามฝก ๑๓ สนาม หนวยจะตองจัดทําเพิ่มเติมตามสัดสวนและใหเหมาะสมในการ
เตรียมการฝก, การจัดการฝก, การดําเนินการฝก, การประเมินผลการฝก รวมถึงพื้นที่การฝกของหนวย
๒ - ๑๙
ผนวก ค ตารางกําหนดการฝกหลัก(เปนสัปดาห) ประกอบคําสั่ง ร……พัน……ที…
่ …../๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓
เวลา สัปดาห
ลําดับ เรื่องที่ทําการฝกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
ก. กรรมวิธีรับทหารใหมเขาหนวย (๓๐)
๑ กรรมวิธีรับทหารใหมเขาหนวย ๓๐
ข. การฝกเบื้องตน (๗๘)
๒ การฝกบุคคลทาเบื้องตน ๗๘
ค. การเสริมสรางความสมบูรณแข็งแรงทางรางกาย (๖๕)
๓ การออกกําลังกาย/ศิลปะการตอสูปองกันตัว ๕๓
๔ การทดสอบความสมบูรณแข็งแรงทางรางกาย ๑๒
ง. การชวยเหลือประชาชน (๔๐)
๕ จิตอาสา ๑๐
๖ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ๑๖
๗ การปฐมพยาบาล ๑๔
จ.การสอนอบรม (๕๖)
๘ แบบธรรมเนียมทหาร ๔
๙ อุดมการณทางทหาร ๖
๑๐ ความมั่นคงของชาติและหนาที่พลเมือง ๒
๑๑ ประวัติศาสตรชาติไทยและพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย ๑๒
๑๒ ศาสตรพระราชา เขาใจ เขาถึง พัฒนา และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๒
๑๓ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ, ไรนาสวนผสม ๘
๑๔ วินัยของชาติ ๔
๑๕ กิริยามารยาทราชสํานัก และคําราชาศัพท ๔
๑๖ การพัฒนาบุคลิกภาพ ๔
ฉ. วิชาทหารทั่วไป (๓๐)
๑๗ การติดตอสื่อสาร ๘
๑๘ การอานแผนที่และการใชเข็มทิศ ๑๐
๒ - ๒๐
เวลา สัปดาห
ลําดับ เรื่องที่ทําการฝกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
๑๙ การขาวเบื้องตน, การสังเกตและการสะกดรอย ๕
๒๐ การทําลายทุนระเบิดและกับระเบิด ๕
๒๑ การปองกันนิวเคลียร ชีวะ เคมี เปนบุคคล ๒
ช. การใชอาวุธ (๖๙)
๒๒ อาวุธศึกษา ๑๐
๒๓ การฝกพลแมนปนเบื้องตน ๔๕
๒๔ การใชลูกระเบิดขวาง ๖
๒๕ การใชดาบปลายปน ๘
ซ. การฝกทางยุทธวิธี (๑๑๓)
๒๖ การกําบังและการซอนพราง ๗
๒๗ การฝกบุคคลทําการรบในเวลากลางวัน ๓๕
๒๘ การฝกบุคคลทําการรบในเวลากลางคืน ๑๐
๒๙ ปอมสนาม ๖
๓๐ เครื่องกีดขวาง ๕
๓๑ การยิงประกอบการเคลื่อนที่ (เปนคู) ๓๐
๓๒ การลาดตระเวน/การระวังปองกัน ๑๒
๓๓ การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและการพักแรมในสนาม ๘
ด. การตรวจสอบ (๑๙)
๓๔ การฝกบุคคลทาเบื้องตน ๓
๓๕ การใชอาวุธ ๕
๓๖ วิชาทหารทั่วไปและการฝกทางยุทธวิธี ๕
๒ - ๒๑
เวลา สัปดาห
ลําดับ เรื่องที่ทําการฝกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
๓๗ การสอนอบรม ๓
๓๘ การทดสอบความสมบูรณแข็งแรงทางรางกาย ๓

รวม ๕๐๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐
ตรวจถูกตอง
พ.ต.
(................................)
ฝอ.๓……………...
หมายเหตุ
๑. ในผลัดที่ ๒/๖๓ ทหารใหมรายงานตัวเขาหนวยในวันอาทิตยที่ ๑ พ.ย. ๖๓ หนวยดําเนินกรรมวิธีตอทหารใหมเปนเวลา ๓ วัน ดังนั้นในสัปดาหที่ ๑ การดําเนินกรรมวิธีตอทหารใหม
ใหนับเปนเวลาในการฝกตามระเบียบและหลักสูตรฯ จํานวน ๓๐ ชม.ดวย
๒. วันหยุดราชการในผลัด ๒/๖๓ คือ วันที่ ๕ ธ.ค.๖๓, วันที่ ๑๐ ธ.ค.๖๓ ไมนับเปนวันหยุดใหดําเนินการฝก ตามปกติ เวนวันที่ ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวันที่ ๑ ม.ค. ๖๔ หยุดวันสิ้นปและวันปใหม
ใหงดทําการฝกเพื่อเปนขวัญและกําลังใจใหกับทหารใหม
๓. การประเมินผลการฝกมีเวลาทั้งสิ้น ๑๙ ชั่วโมง ใหทําการประเมินผลตอทหารใหมทุกนาย (โดยไมมีการจําหนายยอด) เมื่อจบการฝกสอนเปนรายวิชาหรือตามที่หนวยพิจารณาความเหมาะสม
โดยยกเลิกการจัดตั้งสถานีตรวจสอบ ๖ สถานี และเฉลี่ย จํานวนชั่วโมงของการประเมินผลทั้ง ๑๙ ชั่วโมงลงในแตละสัปดาห เริ่มตั้งแตสัปดาหที่ ๕ เปนตนไป แตจะประเมินผลไมชากวา
สัปดาหที่ ๖ จนจบสัปดาหสุดทายของการฝก ในกรณีทหารใหมบางนายไมสามารถประเมินผลไดในบางวิชา เนื่องจากความผิดปกติทางรางกาย เชน แขนหรือขาดามเหล็ก ระบบหายใจไมปกติ
อาน - เขียนหนังสือไมได ใหคณะกรรมการประเมินผลลงความเห็นไวในชองหมายเหตุ
๔. การจัดทําตารางกําหนดการฝกหลัก (เปนสัปดาห ผนวก ค) ยศ.ทบ. ใหเอกภาพแกหนวยในการลงรายละเอียดของจํานวนชั่วโมงที่ใชในการฝก, สอนอบรม และประเมินผลการฝก
ตั้งแตสัปดาหที่ ๒ จนถึงสัปดาหสุดทาย โดยจํานวนชั่วโมงที่ใชในการฝกสอนแตละเรื่องจะตองเปนไปตามระเบียบและหลักสูตรการฝก การฝกทหารใหมเบื้องตนทั่วไปสําหรับทหารทุกเหลาของ ทบ.
(๑๐ สัปดาห) พ.ศ.๒๕๖๒
ตัวอย่าง
ตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์

ผนวก ง ตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์ หน่วย...................................................................... ประกอบคาสั่ง .................................................................................


หลักสูตรการฝึกทหารใหม่ สัปดาห์ที่ ๑
หน่วยฝึก................................................................... ตั้งแต่ ๑ พ.ย. ๖๓ ถึง ๘ พ.ย. ๖๓

เวลา
วัน , วันที่ สถานที่ รายการ วิธีสอน การแต่งกาย ผู้สอน หลักฐาน เครื่องช่วยฝึก
ตั้งแต่ - ถึง
อาทิตย์ที่ อาคารที่พัก - การดาเนินกรรมวิธีรับทหารใหม่ สช., ป. ชุดลาลอง ผู้ฝึก

๒ -๒๒
๑ พ.ย. ๖๓ - เวลาผู้บังคับบัญชา " " ครูฝึก
จันทร์ที่
"
๒ พ.ย. ๖๓ " " "
อังคารที่
"
๓ พ.ย. ๖๓ " " "
เวลา
วัน , วันที่ สถานที่ รายการ วิธีสอน การแต่งกาย ผู้สอน หลักฐาน เครื่องช่วยฝึก
ตั้งแต่ - ถึง
พุธที่ ๐๘๐๐ - ๑๒๐๐ สนามฝึก การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ป. ชุดฝึก ผู้ฝึก คฝ.๗ - ๖ ภคฝ.
๔ พ.ย. ๖๓ ๑๓๐๐ - ๑๔๐๐ " การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ป. " " " วีดิทัศน์
๑๔๐๐ - ๑๖๐๐ " การปฐมพยาบาล ป. " " รส.๒๑-๑๑ "
๑๖๐๐ - ๑๗๐๐ " กายบริหาร ป. ชุดครึ่งท่อน " รส.๒๑-๒๐,รส.๒๑-๑๕๐ "
๑๙๐๐ - ๒๐๐๐ ห้องอบรม การอบรม สช. ชุดลาลอง " คู่มือพลทหารว่าด้วย
ทหารใหม่ควรทราบ
พฤหัสบดีที่ ๐๘๐๐ - ๑๒๐๐ สนามฝึก การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ป. ชุดฝึก ผู้ฝึก คฝ.๗ - ๕ ภคฝ.
๕ พ.ย. ๖๓ ๑๓๐๐ - ๑๖๐๐ " การปฐมพยาบาล ป. " " รส.๒๑-๑๑ วีดิทัศน์

๒ - ๒๓
๑๖๐๐ - ๑๗๐๐ " กายบริหาร ป. ชุดครึ่งท่อน " รส.๒๑-๒๐,รส.๒๑-๑๕๐ "
๑๙๐๐ - ๒๐๐๐ ห้องอบรม การอบรม สช. ชุดลาลอง " คู่มือพลทหารว่าด้วย "
ทหารใหม่ควรทราบ
อาทิตย์ที่ ๐๘๐๐ - ๑๐๐๐ คลัง/อาคาร การปรนนิบัติบารุงอาวุธยุทโธปกรณ์ ป. ชุดฝึก ครูฝึก - -
๘ พ.ย. ๖๓ ที่พัก คลัง อาคารที่พัก " "
๑๐๐๐ - ๑๒๐๐ ห้องอบรม เวลาผู้บังคับบัญชา สช. " ผบช. - -

หมายเหตุ ในตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์ให้ลงเฉพาะเนื้อหาวิขา ตรวจถูกต้อง


ตามเวลาในระเบียบและหลักสูตรกาหนดเท่านั้น พ.ต.
สัปดาห์ที่ ๒ เป็นต้นไปให้เริ่มวันจันทร์ - วันเสาร์ ตามปกติ (....................................)
ฝอ.๓......................
อนุผนวก ๑ ประกอบผนวก ง ตารางการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง

หลักสูตรการฝึกทหารใหม่ สัปดาห์ที่ ๑
หน่วยฝึก......................................................... ตั้งแต่ ๑ พ.ย. ๖๓ ถึง ๘ พ.ย. ๖๓

เวลา
วัน , วันที่ วิชาเดิม วิชาที่เปลี่ยนแปลง สถานที่ ผู้สอน หลักฐาน เครื่องช่วยฝึก
ตั้งแต่ - ถึง
วันพุธที่ ๔ ๐๘๐๐-๑๒๐๐ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า การอ่านแผนที่ และการใช้เข็มทิศ จ.ส.อ.ทรหด ฯ รส.๒๑ -๒๖ ภคฝ.
พ.ย. ๖๓ " ภคฝ.

๒ - ๒๔
ตรวจถูกต้อง
พ.ต.
(....................................)
ฝอ.๓......................
หมายเหตุ
๑. การออกตารางกาหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ควรออกเป็นห้วงระยะเวลาเดียวกันกับตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์ เพื่อให้การแก้ไขตารางกาหนดการฝึก
ประจาสัปดาห์ง่ายขึ้น ในกรณีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงวิชาที่ทาการฝึก
๒. วิชาเดิมที่ต้องการเปลี่ยนแปลงใหม่ จะต้องเป็นวิชาที่ไม่สามารถทาการฝึกหรือปฏิบัติในสนามฝึกได้
๓. วิชาที่เปลี่ยนแปลง จะต้องไม่ใช่วิชาการอบรม และควรเป็นวิชาที่อยู่ในวันถัดไป หรือสัปดาห์ถัดไป ที่สามารถทาการฝึกได้มาทดแทนการฝึก
๔. ฝ่ายยุทธการฯ จะต้องวางแผน เตรียมการ และจัดทาตารางกาหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงด้วยความรอบคอบ เพื่อป้องกันมิให้การฝึกฯ ไม่ครบตามที่ระเบียบและ
หลักสูตร ฯ กาหนด
ตารางกาหนดการฝึกประจาวันหลักสูตรการฝึกทหารใหม่
วันพุธที่ ๔ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓
หน่วยฝึก ...........................

เวลา เวลาใน เวลาที่


รายการ สถานที่ ผู้สอน หลักฐาน การแต่งกาย หมายเหตุ
ตั้งแต่ - ถึง หลักสูตร ฝึกมาแล้ว
๐๘๐๐ – ๐๙๐๐ การฝึกท่าตรง และท่าพัก ๒ - สนามฝึก ผู้ฝึก คฝ. ๗ – ๖ ชุดฝึก
๐๙๐๐ – ๑๐๐๐ การฝึกท่าตรง และท่าพัก (ต่อ) ๒ ๑ ” ” ” ”
๑๐๐๐ – ๑๑๐๐ การฝึกท่าหันอยู่กับที่ ๒ - ” ” ” ”
๑๑๐๐ – ๑๒๐๐ การฝึกท่าหันอยู่กับที่ (ต่อ) ๒ ๑ ” ” ” ”

๒ - ๒๕
๑๓๐๐ – ๑๔๐๐ การปฏิบัติต่อผู้บาดเจ็บฯ ๑ - ” ” รส.๒๑-๑๑ ”
๑๔๐๐ – ๑๕๐๐ การพยาบาลฉุกเฉิน ๑ - ” ” ” ”
๑๕๐๐ – ๑๖๐๐ การเข้าเฝือก ๒ - ” ” ” ”
๑๖๐๐ – ๑๗๐๐ กายบริหาร/ศิลปการต่อสู้ป้องกันตัว ๓๔ - ” ” รส.๒๑-๒๐,รส.๒๑-๑๕๐ ชุดครึ่งท่อน
๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ อบรมเรื่องคุณลักษณะของทหาร ๒ - ห้องอบรม ” คู่มือพลทหารว่าด้วย ชุดลาลอง
ทหารใหม่ควรทราบ

(ลงชื่อ)
(...........................................)
ตาแหน่ง ผู้ฝึกทหารใหม่
๒ – ๒๖
ผนวก จ เจ้าหน้าที่ตรวจการฝึกทหารใหม่ ประกอบ คาสั่ง ร...... พัน. ..... ที่ ……/๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓
ลาดับ ผู้ตรวจ วันที่ตรวจ หมายเหตุ
พ.ย. ๖๓ ธ.ค. ๖๓ – ม.ค. ๖๔
๑ พ.ต.จักรกฤษณ์ จงสง่ากลาง ๑ ๑
๒ ร.ท.ภาคี เข็มกลัด
๓ ร.ท.วสันต์ บุตรสนิท
๔ ร.ท.พรศักดิ์ บุตรเมือง
๕ ร.ท.สาธิต เหลือน้อย
๖ ร.ท.โกศล ลุยตัน
๗ ร.ท.สมบัติ ภักดิ์ชาติ

ตรวจถูกต้อง
พ.ต.
(……......................)
ฝอ.๓ ...........
หมายเหตุ เรื่องที่ควรตรวจและกากับดูแล ดังนี้.-
๑. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการฝึก
๑.๑ การฝึกประจาวัน
๑.๒ การอบรม
๑.๓ การออกกาลังกาย
๑.๔ กายบริหาร/ศิลปะการป้องกันตัว
๑.๕ กีฬา
๑.๖ การทดสอบ
๒. เรื่องความเป็นอยู่ของทหาร
๒.๑ การรับประทานอาหาร
๒.๒ การนอน
๒.๓ การพักผ่อน
๒.๔ น้าดื่ม ห้องน้า ห้องสุขา โรงนอน
๓. สวัสดิการด้านอื่น ๆ ที่จาเป็นตามความเหมาะสม
- เจ้าหน้าที่ที่ตรวจการฝึกทหารใหม่บันทึกผลการตรวจข้อบกพร่อง ข้อควรแก้ไขลงในสมุดตรวจ
การฝึกประจาวัน และให้รายงานผู้บังคับบัญชารับทราบทุกสัปดาห์
๒ – ๒๗
ผนวก ฉ อัตรากระสุนและวัตถุระเบิด ประกอบ คาสั่ง ร..... พัน. .....ที่ ……/๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓
ลาดับ รายการ จานวน หมายเหตุ









๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖

ตรวจถูกต้อง
พ.ต.
( ...................... )
ฝอ.๓ ...........

หมายเหตุ * ผนวก ฉ อัตรากระสุนและวัตถุระเบิดนั้น จัดทาตามเครดิตที่หน่วยได้รับตาม


ความเป็นจริง
* เครดิต ก.ปล.๕.๕๖ มม.ธด. และ ก.ปล.๕.๕๖ มม.ซร.(ผลัด ๒/๖๓ และ ๑/๖๔)
ให้ใช้ตามที่ได้รับการสนับสนุนจาก ทบ. ทั้งนี้ ยศ.ทบ.จะได้แจ้งให้ทราบต่อไป
๒ – ๒๘
ผนวก ช เจ้าหน้าที่รับผิดชอบสนามฝึก (ส.๑, พล.ฯ ๑) ประกอบ คาสั่ง ร...... พัน. .....
ที่......../๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓

ลาดับ ผู้รับผิดชอบ ผช.ผู้รับผิดชอบ พื้นที่ฝึก และ สนามฝึก หมายเหตุ


๑ จ.ส.อ.รบดี รักดี พล. ฯ กล้า ชอบเรียน สนามฝึกเบื้องต้น
๒ จ.ส.ต.สมชาย เพียรงาม พล. ฯ หนึ่ง สมใจ สนามฝึกกายบริหาร
๓ ........... ........... สนามฝึกยิงปืนเบื้องต้น
๔ ........... ........... สนามฝึกทางยุทธวิธี
๕ ........... ........... สนามฝึกยิงปืน ๒๕ เมตร
๖ ........... ........... สนามฝึกลูกระเบิดขว้าง
๗ ........... ........... สนามฝึกใช้ดาบปลายปืน
๘ ........... ........... สนามฝึกเดินทางด้วยเข็มทิศ
๙ ........... ........... สนามฝึกบุคคลทาการรบ
๑๐ ........... ........... สนามสร้างเครื่องกีดขวาง
๑๑ ........... ........... พื้นที่การฝึกลาดตระเวน
๑๒ ........... ........... พื้นที่ฝึกป้อมสนาม
๑๓ ........... ........... พื้นที่การฝึกเคลื่อนที่ทางยุทธวิธี

ตรวจถูกต้อง
พ.ต.
(……......................)
ฝอ.๓ ...........
๒ – ๒๙

ผนวก ซ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจาการฝึก ประกอบ คาสั่ง ร...... พัน. .....


ที่ /๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓
ลาดับ ผู้รับผิดชอบ สัปดาห์ที่ หมายเหตุ
๑ จ.ส.อ.รบดี รักดี ๑
๒ จ.ส.ต.สมชาย เพียรงาม ๒
๓ ........... ๓
๔ ........... ๔
๕ ........... ๕
๖ ........... ๖
๗ ........... ๗
๘ ........... ๘
๙ ........... ๙
๑๐ ........... ๑๐

ตรวจถูกต้อง
พ.ต.
(……......................)
ฝอ.๓ ...........
หมายเหตุ เรื่องที่ควรตรวจและกากับดูแล ดังนี้.-
๑. การฝึกประจาวัน
๒. การออกกาลังกาย
๓. กายบริหาร/ศิลปะการป้องกันตัว
๔. กีฬา
๒ – ๓๐
ผนวก ด แผนเผชิญเหตุการณ์บาดเจ็บจากความร้อน ประกอบ คาสั่ง ร…... พัน. …..
ที่ ……./๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓
ให้หน่วยฝึกจัดทาแผนผังการเคลื่อนย้ายทหารใหม่ที่บาดเจ็บจากลมร้อน โดยกาหนด
เส้นทางหลัก และ เส้นทางรองในการเคลื่อนย้ายจากหน่วยฝึกไปยังโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด พร้อมทั้งระบุ
ขั้นตอนการปฐมพยาบาลในขั้นต้น และการติดต่อกับทางโรงพยาบาล

ตรวจถูกต้อง
พ.ต.
(……......................)
ฝอ.๓ ...........
๒ – ๓๑

ผนวก ต เจ้าหน้าที่รับผิดชอบการฝึกสอน ประกอบ คาสั่ง ร...... พัน. .....ที่ ……/๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓

ลาดับ ผู้รับผิดชอบ เรื่องที่ทาการฝึกสอน หมายเหตุ


๑ จ.ส.อ.รบดี รักดี การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า
๒ จ.ส.ต.สมชาย เพียรงาม การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
๓ ........... ...........
๔ ........... ...........
๕ ........... ...........
๖ ........... ...........
๗ ........... ...........
๘ ........... ...........
๙ ........... ...........
๑๐ ........... ...........

ตรวจถูกต้อง
พ.ต.
(……......................)
ฝอ.๓ ...........
๒ – ๓๒

ผนวก ถ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบดูแล คชฝ./เอกสารตารา ประกอบ คาสั่ง ร...... พัน. .....


ที่ ………./๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓
ลาดับ ผู้รับผิดชอบ รายการ หมายเหตุ
๑ จ.ส.อ.รบดี รักดี เครื่องช่วยฝึกถาวร ๓๖ รายการ
๒ จ.ส.ต.สมชาย เพียรงาม เอกสารตาราที่ใช้ในการฝึก
๓ ……………. ...........

ตรวจถูกต้อง
พ.ต.
(……......................)
ฝอ.๓ ...........
๒ – ๓๓
๑๓. การฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ ทบ.กาหนดให้ทหารใหม่ต้องรับการฝึกเฉพาะหน้าที่ตามระเบียบ
และหลักสูตรการฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ของเหล่าโดยให้ดาเนินการ ดังนี้.-
๑๓.๑ จะต้องทาการฝึกภายหลังจบการฝึกทหารใหม่แล้ว ไม่เกิน ๑๕ วัน โดยในการฝึกทหารใหม่
ผลัดที่ ๒/๖๓ อนุโลมให้ทาการฝึกภายหลังจากจบการฝึกทหารใหม่แล้วไม่เกิน ๓๐ วัน ทั้งนี้เพื่อแก้ไขปัญ หา
ห้วงการฝึกตรงกับการซักซ้อมการสวนสนาม กระทาสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล
๑๓.๒ การจัดทาคาสั่งการฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ หน่วยต้องจัดทาคาสั่งแยกจากคาสั่งการฝึก
ทหารใหม่
๑๓.๓ หน่ ว ยจะต้ อ งจั ด ท าบั ญ ชี บ รรจุ ก าลั ง พลของทหารใหม่ ต ามต าแหน่ ง หน้ า ที่ และ
จัด ทหารใหม่ เข้ารับการฝึกในวิชาที่ กาหนดตาม ชกท.นั้ น ๆ โดยปฏิ บัติตามระเบียบและหลักสูตรการฝึ ก
ทหารใหม่ เฉพาะหน้ าที่ ของเหล่ า และในกรณี ห น่ วยที่ ฝ ากการฝึ ก ทหารใหม่ ให้ ห น่ ว ยที่ ฝึก ทหารใหม่
ส่งตัวทหารใหม่คืนหน่วยต้นสังกัด เพื่อออกคาสั่งการฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ของหน่วยเองต่อไป
๑๓.๔ ก าหนดการฝึ ก ทหารใหม่ เฉพาะหน้ า ที่ ในสั ป ดาห์ ที่ ๒ เฉพาะ พั น .ร.,พั น .ม.ที่ เป็ น
นขต.กรม.ร., กรม.ม., นขต.พล.ร.และ นขต.พล.ม. ให้ใช้ สป.๕ ตามที่ได้รับการสนับสนุนจาก ทบ. คนละ
๑๐๙ นัด/นาย และกาหนดการยิงปืนในลักษณะต่าง ๆ ตามเอกสารประกอบการฝึกทหารใหม่และทหารใหม่
เฉพาะหน้าที่ ปรับปรุงใหม่ ปี ๒๕๕๑ และคาสั่งการฝึกประจาปี ๒๕๖๔ ประกอบการฝึกด้วย
๑๔. แผนบทเรียน : ครูฝึกซึ่งรับผิดชอบในการฝึก การสอน และการอบรม ในเรื่องนั้น ๆ จะต้อง
จัดทาแผนบทเรียนด้วยตนเอง โดยจัดทาตามเนื้อหาวิชาที่ได้รับมอบหมาย/เรื่องที่ทาการฝึก, การสอนหรือ
อบรม รูปแบบของแผนบทเรียน ให้ปฏิบัติตามคู่มือราชการสนามว่าด้วยวิธีเตรียมการและดาเนินการฝึกที่เน้น
ผลการปฏิ บัติ (รส.๒๑ – ๖) พ.ศ. ๒๕๓๑ ทั้งนี้ครูผู้สอนจะต้องทาด้วยตนเอง เพื่อให้มีความเข้าใจในเนื้ อหา
ขอบเขตการฝึกของวิชานั้น ๆ และเป็นการเตรียมการในเรื่องเครื่องช่วยฝึกหรือสิ่งอุปกรณ์ ประกอบการฝึก
ให้ได้ตามมาตรฐานการฝึกที่ ทบ.กาหนด โดยอยู่ภายใต้การอานวยการ กากับดูแลของผู้ฝึก และ ผบ.หน่วย
เพื่อให้การฝึกเป็นไปตามคาสั่งและนโยบายที่ ทบ.กาหนดอย่างเป็นรูปธรรม
๑๔.๑ หัวข้อการจัดทาแผนบทเรียน มีหัวข้อ ดังนี้
๑๔.๑.๑ วัตถุประสงค์การฝึก ๑๔.๑.๒ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น
๑๔.๑.๓ คาแนะนาทางธุรการ ๑๔.๑.๔ ลาดับขั้นของการปฏิบัติและเวลาที่ใช้
๑๔.๑.๕ ข้อจากัดเกี่ยวกับการรักษา ๑๔.๑.๖ ข้อคิดเห็นและรายละเอียดเพิ่มเติม
ความปลอดภัย
๑๔.๑.๗ การประเมินผลการฝึก (ผู้สอนและผู้รับการฝึก)
๑๔.๒ คาอธิบายการจัดทาแผนบทเรียน
๑๔.๒.๑ วัตถุประสงค์การฝึก คือ เรื่องหลักที่กาหนดให้ ทาการฝึก กาหนดในรูปกิจเฉพาะ
เงื่อนไข มาตรฐาน
๑๔.๒.๒ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น คือ เรื่องย่อยของเรื่องหลักที่กาหนดให้ทา
การฝึก โดยแบ่งเป็นลาดับขั้นที่จะฝึกสอน/อบรมจากง่ายไปหายาก กาหนดในรูปกิจเฉพาะ เงื่อนไข มาตรฐาน
๑๔.๒.๒.๑ กิ จเฉพาะ คื อ เรื่องที่ จะต้ องปฏิ บัติ ให้ ส าเร็จลุ ล่วงไป ดู ได้ จากแถลง
หลักสูตร การฝึกในระเบียบหลักสูตรการฝึก หัวข้อเรื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน
๒ – ๓๔

๑๔.๒.๒.๒ เงื่อนไข คือ กิจเฉพาะหรือเรื่องที่จะต้องปฏิบัตินั้น จะต้องกระทาให้สาเร็จ


ลุล่วงภายใต้เงื่อนไขอย่างใด ดูได้จากคู่มือการประเมินผลการฝึก
๑๔.๒.๒.๓ มาตรฐาน คือ เกณฑ์มาตรฐานของการปฏิบัติที่ยอมรับแล้ว ดูได้จากคู่มือ
การประเมินผลการฝึก
๑๔.๒.๓ คาแนะนาทางธุรการ เป็นการกาหนดรายละเอียดในการฝึก อาจประกอบด้วย
ห้วงเวลาการฝึก, สถานที่ฝึก, ผู้รับการฝึก, ผู้ฝึกและผู้ช่วย, เครื่องช่วยฝึก, หลักฐานอ้างอิง ฯลฯ
๑๔.๒.๔ ลาดับขั้นของการปฏิบัติและเวลาที่ใช้ เป็นการกาหนดหัวข้อเรื่องย่อยที่จะทา
การฝึกสอน แต่ละเรื่องตามวัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น พร้อมทั้งจัดแบ่งเวลาตามที่ได้รับมอบ เพื่อเป็น
การกาหนดขอบเขต การฝึกอบรมได้อย่างครบถ้วน ควรประกอบด้วยข้อย่อย เช่น กล่าวนา, หัวเรื่องย่อยที่
จะทาการฝึกตามเนื้อหา, การฝึกปฏิบัติ,การทดสอบความรู้ความเข้าใจ/การปฏิบัติ, การสรุปในท้ายชั่วโมง
ก่อนจบการฝึก ฯลฯ
๑๔.๒.๕ ข้อจากัดเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย เป็นข้อพึ งระมัดระวังในการฝึกทุก ๆ
ด้ าน เช่ น ความปลอดภั ยในการฝึ ก, ข้ อระมั ดระวั งในการใช้ ยุ ทโธปกรณ์ /เครื่ องช่ วยฝึ ก, การช ารุ ดเสี ยหาย
ของยุทโธปกรณ์, การปฏิบัติตาม รปจ. ของหน่วย เป็นต้น
๑๔.๒.๖ ข้อคิดเห็นและรายละเอียดเพิ่มเติม เป็นการกาหนดรายการกิจเฉพาะที่ผู้รับ
การฝึกจะต้องรู้หรือปฏิบัติได้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น
๑๔.๒.๗ การประเมินผลการฝึกสอนจากครูทหารนั้น เป็นการประเมินผลการฝึกสอน
ของครูผู้รับผิดชอบและผู้รับการฝึกในวิชาที่ทาการฝึกโดยอาจสอบถามความเข้าใจ หรือทดสอบจากปัญหา
สอบแบบอัตนัยหรือปรนัยตามที่กาหนด หรือทดสอบการปฏิบัติจากผู้เข้ารับการฝึก

---------------------------------
๒ – ๓๕

ตัวอย่าง แผนบทเรียน
แผนบทเรียน เรื่องการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ
๑. วัตถุประสงค์การฝึก เพื่อสอนให้ทหารใหม่มีความรู้ในเรื่องการอ่านแผนที่ และการใช้เข็มทิศ
ให้สามารถนาไปปฏิบัติหน้าที่ของพลทหารได้
กิจเฉพาะ : การใช้แผนที่ และการใช้เข็มทิศในหน้าที่ของพลทหาร
เงื่อนไข : ทหารใหม่ได้รับแผนที่ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ เข็มทิศ,
บรรทัดวัดมุม MR-1 หรือ P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดินสอดาและยางลบ
มาตรฐานการฝึก : ๑. ทหารใหม่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง สัญลักษณ์, สี และลักษณะ
ภูมิประเทศที่ใช้บนแผนที่ได้อย่างถูกต้อง
๒. ทหารใหม่สามารถกาหนดจุดที่อยู่เป็นพิกัดทางทหาร และสามารถ
คานวณ และวัดระยะทาง ในแผนที่ได้ถูกต้อง
๓. ทหารใหม่มีความรู้ คุณลักษณะของเข็มทิศเลนเซติค รวมถึงการใช้
เข็มทิศได้ถูกต้อง
๔. ทหารใหม่สามารถบอกจุดที่อยู่ของสิ่งซึ่งไม่ทราบที่ตั้ง โดยการเล็งสกัดตรง
และการเล็งสกัดกลับด้วยวิธีใช้แผนที่และเข็มทิศได้อย่างถูกต้อง
๕. ทหารใหม่สามารถเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางวันและกลางคืน
ได้อย่างถูกวิธี
๒. วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น (ครูฝึกกาหนดเรื่องย่อย จากง่ายไปหายาก)
๒.๑ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๑
กิจเฉพาะ : การอ่านสัญลักษณ์ สี และเครื่องหมายบนแผนที่
เงื่อนไข : ทหารใหม่ ได้รับแผนที่ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ
มาตรฐานการฝึก : ๑. อ่านสัญลักษณ์แผนที่ได้ถูกต้อง ทันทีที่มองเห็นภาพสัญลักษณ์นั้น ๆ
ภายใน ๑ นาที
๒. บอกความหมายของสีที่ใช้บนแผนที่ได้ครบทั้ง ๕ สีและสามารถอ่าน
ลักษณะภูมิประเทศบนแผนที่ได้ถูกต้องว่าที่ใดเป็นน้า, สิ่งก่อสร้างที่
มนุษย์สร้างขึ้น, ป่า, ที่สูง, ภูเขา, ถนน และเส้นทางคนเดินที่ใดบ้าง
ตามคาบอกของครูที่กาหนดให้ภายใน ๑ นาที
๒.๒ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๒
กิจเฉพาะ : การกาหนดจุดที่อยู่เป็นพิกัดทางทหารโดยอาศัยเส้นกริด
เงื่อนไข : ทหารใหม่ได้รับแผนที่ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ
บรรทัดวัดมุม MR-1 หรือ P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดินสอดาและยางลบ
มาตรฐานการฝึก : กาหนดจุดที่อยู่เป็นพิกัดทางทหารใกล้เคียง ๑๐๐ เมตรได้ถูกต้อง
ตามคาบอกของครูที่กาหนดให้ ภายใน ๑ นาที
๒ – ๓๖
๒.๓ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๓
กิจเฉพาะ : การคานวณและวัดระยะทาง โดยใช้มาตราส่วนและระยะทางของแผนที่เส้นกริด
เงื่อนไข : ทหารใหม่ได้รับแผนที่ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับบรรทัดวัดมุม MR-1
หรือ P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดินสอดาและยางลบ
มาตรฐานการฝึก : สามารถคานวณ และวัดระยะทาง ในแผนที่ได้ถูกต้องตามคาบอกของครู
ที่กาหนดให้ ภายใน ๑ นาที
๒.๔ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๔
กิจเฉพาะ : การหาค่ามุมภาคทิศเหนือ
เงื่อนไข : ทหารใหม่ได้รับแผนที่ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ บรรทัดวัดมุม MR-1
หรือ P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดินสอดา และยางลบ
มาตรฐานการฝึก : ๑. เมื่อกาหนดจุดที่อยู่แล้วสามารถวัดมุมภาคทิศเหนือ (กริด) ไปยังตาบลที่
กาหนดให้และอ่านค่ามุมภาคทิศเหนือได้ถูกต้องในเวลาไม่เกิน ๒ นาที
๒. หามุมภาคทิศเหนือได้ถูกต้อง ภายใน ๒ นาที หลังจากทราบค่าของ
มุมภาคทิศเหนือและจุดที่อยู่แล้ว
๒.๕ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๕
กิจเฉพาะ : การอธิบายความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบของเข็มทิศ และการใช้เข็มทิศ
เงื่อนไข : ทหารใหม่ได้รับเข็มทิศเลนเซติค จานวน ๑ เรือน
มาตรฐานการฝึก : ๑. บอกชิ้นส่วนที่สาคัญของเข็มทิศเลนเซติคได้ถูกต้อง ทั้ง ๑๒ ชิ้นส่วน
ภายใน ๓ นาที
๒. อธิบายจากสิ่งต่างๆ ที่มีอิทธิพลทาให้เข็มทิศคลาดเคลื่อนได้ถูกทั้ง
๕ หัวข้อ ภายใน ๒ นาที
๓. อ่านค่ามุมภาคทิศเหนือที่หน้าปัดเข็มทิศ ได้ถูกต้องทันทีที่เล็งเข็มทิศ
ตรงที่หมาย ภายใน ๑ นาที
๔. ตั้งเข็มทิศสาหรับใช้ในเวลากลางคืนได้ถูกต้อง
๒.๖ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๖
กิจเฉพาะ : การวัดมุม และกรุยทิศทางบนแผนที่
เงื่อนไข : ทหารใหม่ได้รับแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ บรรทัดวัดมุม MR-1
หรือ P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดินสอดาและยางลบ และเข็มทิศเลนเซติค จานวน ๑ เรือน
มาตรฐานการฝึก : ๑. ทาการวัดมุมภาคทิศเหนือกริดหรือทิศเหนือแม่เหล็กได้อย่างถูกวิธี และ
สามารถบอกค่าของมุมได้อย่างถูกต้องในเวลา ๑ นาทีจากจุดที่กาหนดให้
๒ จุด
๒. สามารถกรุยทิศทางลงบนแผนที่ได้อย่างถูกวิธีและเสร็จเรียบร้อย ภายใน
๑ นาที หลังจากที่ได้รับคาสั่งให้ปฏิบัติ
๒ – ๓๗
๒.๗ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๗
กิจเฉพาะ : การกาหนดจุดที่อยู่ โดยการเล็งสกัดตรง และการเล็งสกัดกลับ
เงื่อนไข : ทหารใหม่ได้รับแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ บรรทัดวัดมุม MR-1
หรือ P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดินสอดาและยางลบ และเข็มทิศเลนเซติค จานวน ๑ เรือน
มาตรฐานการฝึก : ๑. สามารถบอกจุดที่อยู่ของสิ่งซึ่งไม่ทราบที่ตั้งโดยการเล็งสกัดตรง ด้วยวิธีใช้
แผนที่และไม้บรรทัดอย่างถูกวิธี โดยใช้เวลาไม่เกิน ๕ นาที (จุดเด่น ๒ แห่ง
อยู่ห่างกันไม่เกิน ๑๐๐ ม.)
๒. สามารถบอกจุดที่อยู่ของตนเองบนแผนที่ โดยวิธีเล็งสกัดกลับได้อย่างถูกวิธี โดยใช้
เวลาไม่เกิน ๒ นาที หลังจากได้รับคาสั่งให้หาจุดที่อยู่ของตนเอง
๒.๘ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๘
กิจเฉพาะ : การเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางวัน
เงื่อนไข : ๑. ทหารใหม่ได้รับเข็มทิศเลนเซติค จานวน ๑ เรือน
๒. ใช้สนามฝึกเดินทางด้วยเข็มทิศ (ย่อระยะ) ขนาดกว้าง ๑๐๐ เมตร ลึก ๑๒๐ เมตร
แบ่งเป็น ๔ ระยะ ดังนี้.-
- ระยะที่ ๑ ปักหลักหมายเลขไว้ ๓ หลัก
- ระยะที่ ๒ ปักหลักหมายเลขไว้ ๔ หลัก
- ระยะที่ ๓ ปักหลักหมายเลขไว้ ๗ หลัก
- ระยะที่ ๔ ปักหลักหมายเลขไว้ ๖ หลัก
๓. ทหารใหม่จะต้องเดินจากจุดเริ่มต้นในเวลากลางวัน ผ่านหลักหมายเลขต่าง ๆ
ในสนามไม่น้อยกว่า ๖ หลัก
มาตรฐานการฝึก : เดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางวันถูกวิธีและพบที่หมายถูกต้องครบถ้วนใช้เวลา
เหมาะสม (ไม่เกิน ๒๐ นาที ตั้งแต่เริ่มให้ปัญหาจนถึงที่หมายหลักสุดท้าย)
๒.๙ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้น ๙
กิจเฉพาะ : การเดินทางโดยใช้เข็มทิศในเวลากลางคืน
เงื่อนไข : ๑. ทหารใหม่ได้รับเข็มทิศเลนเซติค จานวน ๑ เรือน
๒. ใช้สนามฝึกเดินทางด้วยเข็มทิศ (ย่อระยะ) ขนาดกว้าง ๑๐๐ เมตร ลึก ๑๒๐ เมตร
แบ่งเป็น ๔ ระยะ ดังนี้.-
- ระยะที่ ๑ ปักหลักหมายเลขไว้ ๓ หลัก
- ระยะที่ ๒ ปักหลักหมายเลขไว้ ๔ หลัก
- ระยะที่ ๓ ปักหลักหมายเลขไว้ ๗ หลัก
- ระยะที่ ๔ ปักหลักหมายเลขไว้ ๖ หลัก
๓. ทหารใหม่จะต้องเดินในเวลากลางคืนจากจุดเริ่มต้นผ่านหลักหมายเลขต่าง ๆ
ในสนามไม่น้อยกว่า ๔ หลัก
มาตรฐานการฝึก : เดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางคืนถูกวิธีและพบที่หมายถูกต้องครบถ้วน ใช้เวลา
เหมาะสม (ไม่เกิน ๓๐ นาที ตั้งแต่เริ่มให้ปัญหาจนถึงที่หมายหลักสุดท้าย)
๒ – ๓๘
๓. คาแนะนาทางธุรการ
๓.๑ ห้วงเวลาการฝึก :
๓.๒ สถานที่ฝึก :
๓.๒.๑ ห้องเรียน
๓.๒.๒ สนามฝึกเดินทางด้วยเข็มทิศ (ย่อระยะ)
๓.๓ ผู้รับการฝึก : ทหารใหม่ ผลัดที่
๓.๔ ผู้ฝึกและผู้ช่วยผู้ฝึก :
๓.๕ เครื่องช่วยฝึกและยุทโธปกรณ์ :
๓.๕.๑ แผนที่มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ๑ ระวาง/คน
๓.๕.๒ เข็มทิศเลนเซติค ๑ เรือน/คน
๓.๕.๓ บรรทัดวัดมุม MR-1 หรือ P-67 ๑ แผ่น/คน
๓.๕.๔ ดินสอดา และยางลบ
๓.๕.๕ เข็มทิศจาลอง
๓.๖ หลักฐานอ้างอิง :
๓.๖.๑ คู่มือราชการสนามว่าด้วยการอ่านแผนที่ (รส. ๒๑ – ๒๖)
๓.๖.๒ คู่มือพลทหารว่าด้วยการปฏิบัติการในสนาม พ.ศ.๒๕๑๗
๒ – ๓๙
๔. ลาดับขั้นของการปฏิบัติและเวลาที่ใช้

ลาดับขั้น การปฏิบัติ เวลาที่ใช้


๑ แจ้งให้ทหารใหม่ทราบถึงความจาเป็นต้องเรียนรู้วิชาการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ๑๐ นาที
แล้วจึงแจ้งให้ทราบขีดความสามารถหรือมาตรฐานที่ต้องการให้ ทหารใหม่จะต้อ ง
ปฏิบัติได้ แล้วจึงแจ้งเรื่องต่าง ๆ ที่จะต้องเรียนรู้ตามลาดับขั้นให้ทหารใหม่ทราบ
๒ ทาการสอนในเรื่องสัญลักษณ์และสีต่างๆ บนแผนที่และวิธีอ่านเครื่องหมายแผนที่ที่ขอบ ๓๐ นาที
ระวาง โดยการแนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตามเมื่อทาการสอนเป็นที่เข้าใจแล้ว จึงให้
ครูฝึกทาการประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกที่กาหนดแล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณีที่มี
ทหารใหม่ไม่ผ่านให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และนาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึกซ้าในโอกาสต่อไป
๓ ครูฝึกทาการสอนความหมายของเส้นกริด และการอ่านพิกัดที่ตั้งของจุดใดจุดหนึ่ง โดยการ ๓๐ นาที
แนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตาม เมื่อทาการสอนเป็นที่เข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการ
ประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกที่กาหนดแล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณี ที่มีทหารใหม่
ไม่ผ่าน ให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และนาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึกซ้าในโอกาสต่อไป
๔ ครูฝึกทาการสอน มาตราส่วนเส้นบรรทัด การอ่าน และการหาระยะในภูมิประเทศโดยการ ๓๐ นาที
แนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตาม เมื่อทาการสอนเป็นที่เข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการ
ประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกที่ กาหนดแล้วทาการบั นทึ กไว้ ในกรณี ที่มี ทหารใหม่
ไม่ผ่าน ให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และนาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึกซ้าในโอกาสต่อไป
๕ ครูฝึกทาการสอน ความหมายและลักษณะของมุมภาคทิศเหนือและมุมภาคทิศเหนือ ๓๐ นาที
กลับ โดยการแนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตามเพื่อให้ทราบถึงทิศทางต่างๆ เมื่อ
ทาการสอน เป็นที่เข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกที่
กาหนดแล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณีที่มีทหารใหม่ไม่ผ่าน ให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และ
นาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึกซ้าในโอกาสต่อไป
๖ ครูฝึกทาการสอน ในเรื่อง เข็มทิศเลนเซติค, การใช้เข็มทิศโดยการแนะนาและให้ทหาร ๓๐ นาที
ใหม่ปฏิบัติตามเพื่อให้ทราบถึง คุณลักษณะของเข็มทิศ มุมภาคทิศเหนือและการใช้
เข็มทิศ เมื่อทาการสอนเป็นที่เข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการประเมินผลตามมาตรฐาน
การฝึกที่กาหนดแล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณีที่มีทหารใหม่ไม่ผ่านให้ครูฝึกเก็บข้อมูล
ไว้และนาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึกซ้าในโอกาสต่อไป
๗ ครูฝึกทาการสอนในเรื่อง วิธีวัดมุมบนแผนที่ และการกรุยแนวทิศทางลงบนแผนที่โดย ๓๐ นาที
การแนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตามเพื่อให้ทราบ วิธีการวัดมุมภาคทิศเหนือหรือ
ทิศเหนือแม่เหล็ก และวิธีกรุยแนวทิศทางลงบนแผนที่ เมื่อทาการสอนเป็นที่เข้าใจ
แล้วจึงให้ครูฝึก ทาการประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกที่กาหนดแล้วทาการบันทึกไว้
ในกรณีที่มีทหารใหม่ ไม่ผ่าน ให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และนาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึก
ซ้าในโอกาสต่อไป
๒ – ๔๐
ลาดับขั้น การปฏิบัติ เวลาที่ใช้
๘ ครูฝึกทาการสอนในเรื่อง การกาหนดจุดที่อยู่ โดยการเล็งสกัดตรงและการกาหนดที่อยู่ ๖๐ นาที
โดยการเล็งสกัดกลับ ด้วยวิธีการใช้แผนที่และเข็มทิศ โดยการแนะนาและให้ทหารใหม่
ปฏิบัติตามโดยให้ทหารใหม่ใช้เข็มทิศประกอบแผนที่ในการกาหนดที่ตั้งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
เมื่อทาการสอนเป็นที่เข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการประเมินผลตามมาตรฐานการฝึกที่
กาหนด แล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณีที่มีทหารใหม่ไม่ผ่าน ให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และ
นาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึกซ้าในโอกาสต่อไป
๙ ครูฝึกนาทหารใหม่ปฏิบัติการเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางวัน โดยจัดทหารใหม่ ๑๒๐
ออกเป็นชุดๆละ ๒-๓ นาย เดินทางด้วยเข็มทิศในสนามฝึกเดินทางด้วยเข็มทิศ นาที
(ย่อระยะ) โดยให้ทหารใหม่พบที่หมายถูกต้องครบถ้วน ภายในเวลาที่กาหนด ในกรณี
ที่มีทหารใหม่ไม่ผ่าน ให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และนาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึกซ้า
ในโอกาสต่อไป
๑๐ ครูฝึกนาทหารใหม่ปฏิบัติการเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางคืน โดยจัดทหารใหม่ ๑๒๐
ออกเป็ น ชุ ด ๆ ละ ๒-๓ นาย เดิ น ทางด้ ว ยเข็ ม ทิ ศ ในสนามฝึ ก เดิ น ทางด้ ว ยเข็ ม ทิ ศ นาที
(ย่อระยะ) โดยให้ทหารใหม่พบที่หมายถูกต้องครบถ้วน ภายในเวลาที่กาหนด ในกรณี (ใช้เวลานอก
หลักสูตรตั้งแต่
ที่ มี ท หารใหม่ ไ ม่ ผ่ า น ให้ ค รู ฝึ ก เก็ บ ข้ อ มู ล ไว้ แ ละน าทหารใหม่ ค นนั้ น ท าการฝึ ก ซ้ า
๒๐๐๐-๒๒๐๐)
ในโอกาสต่อไป
๑๑ ครูฝึกทาการทบทวนและประเมินผลอีกครั้งหนึ่ง ในกรณีที่มีทหารใหม่บุคคลใดไม่ผ่าน ๑๑๐
ในเรื่องใด ให้ครูฝึกทาการฝึกซ้า, นาที
ประเมินผล และพิจารณาแก้ไขเป็นรายบุคคลต่อไป
๑๐
รวมเวลาทั้งสิ้น
ชั่วโมง
๕. ข้อจากัดเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย :
๕.๑ ให้ระมัดระวังในการใช้เข็มทิศและแผนที่ ซึ่งจะทาให้เกิดการชารุดได้
๕.๒ ตามระเบียบปฏิบัติประจาของหน่วย
๖. ข้อคิดเห็นและรายละเอียดเพิ่มเติม
๖.๑ ทหารใหม่จะต้องทราบชื่อระวางของแผนที่และสามารถต่อแผนที่ได้
๖.๒ ทหารใหม่สามารถระบุความสูงและทรวดทรงของภูมิประเทศได้เมื่ออ่านจากแผนที่
๖.๓ ทหารใหม่ทราบวิธีการรักษาแผนที่และเข็มทิศ
๗. การประเมินผลการฝึก (ผู้สอนและผู้รับการฝึก)ให้ปฏิบัติตามคู่มือการประเมินผลการฝึกทหารใหม่ฯ
พ.ศ. ๒๕๕๕ ใน ๒ ลักษณะ ดังนี้
๗.๑ ให้ครูฝึกได้ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบถามทหารใหม่โดยสุ่มตัวอย่างว่าเข้าใจหรือไม่
๗.๒ ให้ทหารใหม่ปฏิบัติในเรื่องการอ่านแผนที่ และการใช้เข็มทิศในสนามฝึกเดินเข็มทิศ
เพิ่มเติม รายละเอียดเนื้อหาการสอนของแต่ละวิชา ตามจานวนชั่วโมงที่ได้แบ่งมอบ
๒ – ๔๑

๑๕. เรื่องอื่น ๆ
๑๕.๑ การจัดการบังคับบัญชาทหารใหม่ ขอให้วางแผนจัดสายการบังคับบัญชาให้มีความต่อเนื่อง ตั้งแต่
การฝึกทหารใหม่ไปจนแยกย้ายบรรจุหน่วย (กองร้อย) โดยให้มีความสัมพันธ์ทางการบั งคับบัญ ชาระหว่าง
ครูนายสิบ ครูท หารใหม่ และทหารใหม่ภายในหน่วย (กองร้อย) เดียวกัน เพื่ อประโยชน์ในการปกครอง
บังคับบัญชา และการปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบอย่างมีประสิทธิภาพ
๑๕.๒ การฝากฝึก หน่วยที่ฝากทหารใหม่ เพื่อรับการฝึกจากหน่วยข้างเคียง จะต้องจัดครูนายสิบ และ
ครูท หารใหม่ ร่ว มท าการฝึ ก ตามอั ต ราส่ ว นที่ ก าหนด (๑ : ๑ : ๘) รวมทั้ ง จะต้ อ งจั ด อาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์
เครื่องช่วยฝึก สป.๕ และ เป้า ให้กับหน่วยที่รับฝากฝึกตามจานวนยอดทหารใหม่ของหน่วย
๑๕.๓ ระเบี ย บ ทบ.ว่ า ด้ ว ยการส่ ง ก าลั ง สป.๕ พ.ศ. ๒๕๔๒ ก าหนดให้ ห น่ ว ยใช้ เบิ ก กระสุ น ฝึ ก
จากจานวนเครติดที่ได้รับแบ่งมอบให้ตามจานวนที่จะใช้ฝึกเฉพาะครั้ง คราวล่วงหน้า เพื่อให้ไ ด้รับกระสุน
ก่อนการฝึกอย่างน้อย ๗ วัน และกาหนดให้ คลังกระสุน บชร./ส่วนภูมิภาค ขอเบิกเพื่อสะสมกระสุนให้เต็ม
ตามระดั บ และการสะสมอื่ น ๆ ที่ ทบ. ก าหนด กั บ ให้ มี ก ระสุ น ที่ จ ะแจกจ่ า ยหน่ ว ยอย่ า งเพี ย งพอ
ตามความจาเป็น การเบิกกระสุน ฝึกเมื่ อได้ รับการแบ่ ง มอบเครดิ ตกระสุ นฝึก จาก นขต.ทบ.แล้ ว ให้ เบิ ก
กระสุนฝึกมาสะสมไว้ให้เพียงพอที่จะสนับสนุนหน่วยรับการสนับสนุนได้ในเวลา ๖ เดือน สาหรับในเดือน
กรกฎาคม - กันยายน ซึ่งจะเป็นห้วงเวลาสิ้นสุดเครดิตกระสุนฝึก เพื่อให้การส่งกาลังเป็นไปอย่างต่อเนื่องและ
ทันเวลา ให้คลังกระสุน บชร./ส่วนภูมิภาค ทาการเบิกกระสุนเท่าจานวนเครดิตที่ได้รับไว้เดิมในเดือนตุลาคม
ถึ ง ธั น วาคม มาสะสมไว้ ล่ ว งหน้ า ดั ง นั้ น การฝึ กในห้ วงต้ นปี งบประมาณ ได้ แก่ การฝึ กครู ทหารใหม่
(ห้วงเดือน ต.ค.) ขอให้ดาเนินการเบิกกระสุนล่วงหน้าตามยอดเครดิตกระสุนของหน่วยในปีงบประมาณก่อน
ซึ่งคลังกระสุน บชร./ส่วนภูมิภาค ได้เตรียมกระสุนสนับสนุนไว้ให้แล้ว ทั้งนี้ เป็นไปตามระเบียบ ทบ. ว่าด้วย
การส่งกาลัง สป.๕ ตามที่กล่าวข้างต้น
๑๕.๔ เรื่องท่าเคารพขณะถืออาวุธ
๑๕.๔.๑ หน่วยฝึกทหารใหม่ มีข้อสงสัยในเรื่องท่าเคารพขณะถืออาวุธ เมื่อแต่งกายไม่เรียบร้อย
เช่ น แต่ ง กายชุ ด ล ารองขณะท าความสะอาดอาวุ ธ , ถื อ อาวุธ แต่ ง เครื่ อ งแบบแต่ มิ ไ ด้ ส วมหมวก เป็ น ต้ น
จะปฏิบัติท่าเคารพนายทหารสัญญาบัตรในลักษณะใด (ท่าวันทยาวุธ หรือท่าตรง (เรียบอาวุธ) )
๑๕.๔.๒ ข้อบังคับทหาร พ.ศ.๒๔๗๘ ว่าด้วยการเคารพบนบก เมื่ออยู่ตามลาพัง ถือปืนอยู่กับที่
ทาวันทยาวุธ
๑๕.๔.๓ จากข้ อบั งคั บทหารตามข้ อ ๑๕.๔.๒ มิ ได้ ก าหนดรายละเอี ยดปลี กย่ อย รวมทั้ งจากการ
ตรวจสอบข้อ มูลเพิ่ม เติม มิได้ มีการกาหนดรายละเอีย ดการปฏิ บัติ ที่ชัด เจนต่อกรณี ในข้ อ ๑๕.๔.๑ ดัง นั้ น
เพื่อให้การปฏิบัติ ท่าเคารพขณะถืออาวุธในห้วงการฝึกทหารใหม่ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและแนวทาง
เดียวกั น จึ งให้อ นุโลมปฏิบั ติท่ าเคารพนายทหารสัญ ญาบัต รเมื่อ ถือ อาวุธ ด้วยท่าวัน ทยาวุธ เมื่อ แต่ ง
เครื่องแบบเรียบร้อยเท่านั้น (สวมหมวก, สวมเสื้อ, สวมกางแกง และสวมรองเท้า) กรณีอื่นนอกเหนือจากนี้
ให้ใช้ท่าตรง (เรียบอาวุธ) ในการทาความเคารพ ทั้ง นี้ ถ้าหาก ทบ. มีการกาหนดระเบียบ, ข้อบัง คับ ,
คาสั่ง ฯลฯ เป็นอย่างอื่น รวมทั้งการปฏิบัติที่มิใช่ห้วงการฝึกทหารใหม่ ให้ปฏิบัติตามที่ ทบ. กาหนด
๒ – ๔๒

๑๕.๕ คาบอกคาสั่งเคารพ
๑๕.๕.๑ หน่วยฝึกทหารใหม่ มีข้อสงสัยในเรื่องการใช้คาบอกคาสั่งเคารพระหว่าง “ทาความเคารพ.....
แถว-ตรง” กับ “แสดงการเคารพ ...... แถว-ตรง” มีการใช้อย่างไร
๑๕.๕.๒ ให้ใช้คาบอกคาสั่งว่า “ถวาย/แสดงความเคารพ” ต่อผู้บังคับบัญชาที่มียศสูงกว่า หรือ
สิ่งที่ทหารต้องแสดงความเคารพซึ่งแบ่งออกเป็น ๓ กรณี ได้แก่ กรณีแถวมีอาวุธ, กรณีแถวไม่มีอาวุธ และ
กรณีการบอกแสดงความเคารพในอาคาร ในห้องเรียนหรือในที่ประชุม(ไม่สวมหมวก) ตามหนังสือ กพ.ทบ.
ที่ กห ๐๔๐๑/๙๗๑ ลง ๑๖ มี.ค.๖๐
๑๕.๕.๓ ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติในห้วงการฝึกทหารใหม่ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยเป็นแนวทาง
เดียวกันจึ งให้ใช้คาบอกเคารพ ตามข้อ ๑๕.๕.๒ ทั้งนี้ หาก ทบ. มีการกาหนดระเบียบ, ข้อบังคับ, คาสั่ง
เป็นอย่างอื่นรวมทั้งการปฏิบัติที่มิใช่ห้วงการฝึกทหารใหม่ ให้ปฏิบัติตามที่ ทบ. กาหนด
๑๕.๖ การอบรมทหารใหม่ในเวลากลางคืน เวลา ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ วิชาการก่อการร้าย/การต่อต้าน
การก่อการร้าย, วิชาความรู้ทั่ วไปเกี่ยวกับยาเสพติด ให้ใช้เอกสารการฝึกอบรมและประเมิน ผลการฝึ ก
ทหารใหม่ประกอบร่างระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกทหารใหม่เบื้องต้น สาหรับทหารทุกเหล่าของ
ทบ. (๑๐ สัปดาห์) พ.ศ.๒๕๔๗
๑๕.๗ คาแนะนา แนวทางการปฏิบัติ สาหรับการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ สาหรับหน่วยทหาร
และ รพ.ทบ. ให้ตรวจสอบกั บ กรมแพทย์ทหารบก เนื่ องจากไข้หวัดได้มี วิวัฒนาการเป็ นไข้หวัด ๒๐๑๐ หรือมิได้
เกิดขึ้นประจาทุกปี
๑๕.๘ หลักการควบคุมโรคติดต่อในค่ายทหาร แนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน สอบสวนและควบคุมการระบาด
ของโรคไวรั สโคโรนาสายพั นธ์ ใหม่ ๒๐๑๙ ( COVID-19 ) ส าหรั บหน่ วยทหาร และ รพ.ทบ. ให้ ตรวจสอบกั บ
กรมแพทย์ทหารบก
๑๕.๙ การรายงานการสูญเสียจากการฝึก ขอให้หน่วยรายงานด่วนตามสายการบังคับบัญ ชาจนถึง ทบ.
และแจ้งให้ ยศ.ทบ. ทราบด้วย ทั้งนี้ เป็นไปตามที่กาหนดไว้ใน ผนวก จ การรายงานการสูญเสีย ประกอบ
คาสั่ง ทบ. เรื่อง การฝึกประจาปี ๒๕๖๔
๑๕.๑๐ เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทราบข้อมูลสถานภาพทหารใหม่ ผลัดที่ ๒/๖๓ และ ผลัดที่ ๑/๖๔ ขอให้
หน่วยฝึกทหารใหม่ ส่งข้อมูลตามตัวอย่างแบบฟอร์มใน วิทยุราชการทหาร ยศ.ทบ. ที่ กห ๐๔๖๑.๑๓/๑๔๔
ลง ๗ พ.ค. ๕๘ ให้ส่งถึง ยศ.ทบ. ภายในวันที่ ๑๕ พ.ย. ๖๓ (ผลัดที่ ๒/๖๓) และวันที่ ๑๕ พ.ค. ๖๔ (ผลัดที่ ๑/๖๔)
๑๕.๑๑ คาแนะการฝึกทหารใหม่ที่จ่ายให้ทุกปีสาหรับใช้เป็นแนวทางการฝึกทหารใหม่ ขอให้หน่วยเก็บไว้
เป็นหลักฐานทุกเล่ม
๒ – ๔๓

๑๖. การเตรียมการรับตรวจการฝึกทหารใหม่
๑. การเตรียมการฝึก ณ หน่วยฝึกทหารใหม่ ดังนี้
๑.๑ นโยบายของผู้บังคับบัญชา
๑.๑.๑ นโยบายที่หน่วยเหนือได้เน้นย้า/กาหนดแนวทางการฝึกทหารใหม่
๑.๑.๒ นโยบายการฝึกทหารใหม่ ยศ.ทบ.
๑.๑.๓ นโยบายการฝึกทหารใหม่ ( ตามสายการบังคับบัญชา ) เช่น ทภ., มทบ., บชร., กองพล, กรม, กองพัน
๑.๒ บุคลากรที่ใช้ในการฝึกและมาตรการในการคัดเลือกครู
- ผบ.หน่วย จะต้องออกคาสั่งคัดเลือกผู้ฝึก, ผู้ช่วยผู้ฝึก, ครูนายสิบและครูทหารใหม่ด้วย
๑.๓ คาสั่งการฝึกของหน่วย
- การออกคาสั่งของหน่วย จะต้องกาหนดวัน เริ่มการฝึก และ วันจบการฝึก ให้ถูกต้องตามผนวก
ประกอบคาสั่งจะต้องครบ เช่น ผนวก ก, ข, ค อนุผนวกจะต้องครบตามตัวอย่างในคาแนะนา เช่น ตารางการฝึก
ประจาสัปดาห์, ตารางสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง เป็นต้น
๑.๔ แผนบทเรียน
๑.๔.๑ ทุกหน่วยฝึกจะต้องจัดทาแผนบทเรียนและรายการแผนบทเรียน (บัญชีคุม) ดังนี้
๑.๔.๑.๑ การฝึกบุคคลเบื้องต้น ( ๗๘ ชม.)
๑.๔.๑.๒ การเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย ( ๖๕ ชม.)
๑.๔.๑.๓ การช่วยเหลือประชาชน ( ๔๐ ชม., ๓ เรื่อง)
๑.๔.๑.๔ การอบรม ( ๕๖ ชม., ๙ เรื่อง )
๑.๔.๑.๕ วิชาทหารทั่วไป ( ๓๐ ชม., ๕ เรื่อง )
๑.๔.๑.๖ วิชาการฝึกใช้อาวุธ ( ๖๙ ชม., ๔ เรื่อง )
๑.๔.๑.๗ การฝึกทางยุทธวิธี ( ๑๑๓ ชม., ๘ เรื่อง )
๑.๔.๒ ทุกหน่วยฝึกจะต้องแบ่งครูที่ รับผิดชอบในการสอนแต่ละวิชา เพื่อ จัดทาแผนบทเรียนตาม
รส.๒๑–๖ ( ๗ หัวข้อ ) และจะต้องเขียนด้วยลายมือครูที่สอนด้วย
๑.๕ การจัดตั้ง บก.หน่วยฝึกทหารใหม่ ตามนโยบายของ จก.ยศ.ทบ. และการจัดบอร์ด/ข้อมูล/เอกสาร
ใน กอ.ฝึกทหารใหม่ ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการฝึก ๙ มาตรฐาน และเพิ่มมาตรฐาน การรักษา
ความปลอดภัยจากการฝึกฯ (ตัวอย่างแนวทางการจัดบอร์ดฯ หน้า ๒ – ๔๙)
๑.๖ สนามฝึก
- ทุกหน่วยจะต้องจัดทาแผนที่สังเขป ๑๓ สนามขนาดใหญ่ติดไว้ที่หน่วยฝึกและย่อขนาดกระดาษ
เอ ๔ เพื่อง่ายต่อการชี้แจง
๑.๗ เครื่องช่วยฝึก
- ทุกหน่วยจะต้องจัดทาบัญชีคุมเครื่องช่วยฝึกทุกชนิดที่มีอยู่ในคลังและเครื่องช่วยฝึกที่จัดทาขึ้นเอง
เช่น เครื่องช่วยฝึกการต่อสู้ ป้องกันตั ว กระสอบทราย, นวม, มีดสั้น, ไม้ หุ้มนวม พร้อ มการจัดเก็บ ให้เป็ น
ระเบียบเรียบร้อย, สะอาด
๒ – ๔๔

๒. การจัดการฝึก
๒.๑ การกาหนดผู้รับผิดชอบและหน้าที่ในการฝึก ผู้ฝึกสามารถออกคาสั่งจัดครูนายสิบและครูทหารใหม่
รับผิดชอบในแต่ละเรื่องและสถานีต่างๆ ได้ดังนี้
๒.๑.๑ รับผิดชอบการฝึกในแต่ละเรื่อง/รายวิขา
๒.๑.๒ รับผิดชอบการจัดหน่วยฝึกทหารใหม่ ตามข้อ ๑ (ส.๑, พลฯ ๑)
๒.๑.๓ รับผิดชอบคลังเครื่องช่วยฝึก – เครื่องช่วยฝึก (ส.๑, พลฯ ๑)
๒.๑.๔ รับผิดชอบสนามฝึก ๑๓ สนาม (สนามฝึกละ ๒ นาย, ส.๑, พลฯ ๑)
๒.๑.๕ แผนบทเรียนทุกนายต้องช่วยจัดทาแบบรวมการ
๒.๒ ตารางกาหนดการฝึก (จะต้องมีในหน่วยฝึกทหารใหม่)
๒.๒.๑ ตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์
๒.๒.๒ ตารางการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
๒.๒.๓ ตารางกาหนดการฝึกประจาวัน (สามารถเคลื่อนย้ายไปสนามฝึกได้)
๒.๓ วิธีการฝึก ใช้การฝึกมุ่งเน้นผลการปฏิบัติ
๒.๓.๑ มีการกาหนดกิจเฉพาะ เงื่อนไข และมาตรฐาน
๒.๓.๒ ใช้วิธีการฝึกแบบรวมการ – แยกการ - ผสม
๒.๓.๓ ทาการฝึกจากง่ายไปหายาก
๒.๓.๔ มีการแบ่งขั้นการฝึก ๓ ขั้นตอน
๓. การดาเนินการฝึก
๓.๑ ฝึกปฏิบัติมากกว่าการบรรยาย
๓.๒ แบ่งผู้เข้ารับการฝึกจานวนเหมาะสมกับเครื่องช่วยฝึก
๓.๓ ฝึกตามตารางกาหนดการฝึก
๓.๔ การทบทวนหลังการปฏิบัติ
๓.๕ คาสั่ง/ระเบียบ มาตรการรักษาความปลอดภัยในการฝึก
๔. การประเมินผลการฝึก
- คาสั่งการประเมินผลการฝึก, การแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผล
๕. การสนับสนุน
๕.๑ หลักฐาน, เอกสาร ตารา มีครบทุกเล่มตามผนวก ก
๕.๒ บัญชีคุมเอกสารตารา และสมุดยืม
๕.๓ เจ้าหน้าที่เสนารักษ์
๕.๓.๑ แผนการส่งกลับทางสายการแพทย์, รพ.ที่ใกล้เคียง
๕.๓.๒ รถพยาบาล, ปรอทวัดอุณหภูมิ, ธงสี
๒ – ๔๕

๖. กากับดูแล
๖.๑ มีการกาหนดเจ้าหน้าที่ตรวจการฝึก (ในผนวก จ ประกอบคาสั่งการฝึกของหน่วย)
๖.๒ มีสมุดบันทึกการตรวจการฝึก, สมุดตรวจเยี่ยม เป็นต้น
๖.๓ การรายงานการสูญเสียจากการฝึก : ให้ดูในคาสั่งการฝึกประจาปี ผนวก จ
๗. อื่น ๆ
- สวัสดิการต่าง ๆ ที่หน่วยดาเนินการ
หมายเหตุ กาหนดการทดสอบความรู้ผู้ฝึกทหารใหม่ ผู้ช่วยผู้ฝึกฯ ครูนายสิบและครูทหารใหม่
๒ – ๔๖

ตัวอย่างการจัดหน่วยฝึกเตรียมการรับตรวจฯ
“หน่วยฝึกทหารใหม่ ร.๒๒ พัน.๒”
(บอร์ด) ๑

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

๑. นโยบาย ผบช.ทุกระดับ ๒. คาสั่งการคัดเลือกผู้ฝกึ , ผู้ช่วยฯ, ครูนายสิบ, ครูทหารใหม่


๓. คาสั่งการฝึกทหารใหม่ฯ ๔. บัญชีคุมแผนบทเรียน
๕. แผนที่สนามฝึก ๑๓ สนาม(ย่อ) ๖. บัญชีคุมเครื่องช่วยฝึก
๗. คาสั่งการประเมินผลการฝึกทหารใหม่ฯ ๘. มาตรการนิรภัยในการฝึก
๙. คาสั่งแต่งตั้ง จนท.คลังเครื่องช่วยฝึก, สนามฝึก ๑๓ สนาม
๑๐., ๑๑., ๑๒. - อื่นๆ
บอร์ด ๒ บอร์ด ๓

ตารางการฝึกเมื่อสภาพอากาศ
ตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์ เปลี่ยนแปลง
(หน้า ๒ – ๑๙ ถึง ๒ – ๒๐) (หน้า ๒ – ๒๑)

บอร์ด ๔

ตารางกาหนดการฝึกประจาวัน
หลักสูตรการฝึกทหารใหม่
(หน้า ๒ – ๒๒)

โต๊ะ โต๊ะ
วางเอกสาร,ตารา – บัญชีคุม วางเครื่องช่วยฝึกของหน่วยที่ใช้
ในการประกอบการฝึก

หมายเหตุ บอร์ดที่ ๑ – ๔ กว้าง ๔๐ นิ้ว X ยาว ๖๐ นิ้ว


๒ – ๔๗

๑๗. รายการแผนบทเรียนที่จะต้องจัดทาในการฝึกแต่ละหลักสูตรการฝึก
แผนบทเรียนการฝึกครูทหารใหม่ การจัดทาแผนบทเรียนการฝึกครูทหารใหม่ ประกอบด้วย (๑๔ เรื่อง)
การฝึกทบทวนและการยิงปืน (๓๖ ชม.)
๑. แผนบทเรียนการฝึกทบทวนบุคคลท่าเบื้องต้น (๑๒ ชม.)
๒. แผนบทเรียนการฝึกทบทวนการใช้ดาบปลายปืน (๖ ชม.)
๓. แผนบทเรียนการฝึกทบทวนการใช้ลูกระเบิดขว้าง (๔ ชม)
๔. แผนบทเรียนการฝึกทบทวนการฝึกบุคคลทาการรบ (๖ ชม.)
๕. แผนบทเรียนการฝึกทบทวนการใช้อาวุธ และการฝึกยิงปืน (๘ ชม.)
การฝึกทาหน้าที่ครู
๑. แผนบทเรียนวิชาครูทหาร (๑๘ ชม.)
๒. แผนบทเรียนวิชาการฝึกทาหน้าที่ครูทหารในการฝึกบุคคลท่าเบื้องต้น (๒๖ ชม.)
๓. แผนบทเรียนวิชาการฝึกทาหน้าที่ครูทหารในการฝึกการใช้ดาบปลายปืน (๑๐ ชม.)
๔. แผนบทเรียนวิชาการฝึกทาหน้าที่ครูทหารในการฝึกการใช้ลูกระเบิดขว้าง (๘ ชม.)
๕. แผนบทเรียนวิชาการฝึกทาหน้าที่ครูทหารในการฝึกบุคคลทาการรบ (๑๘ ชม.)
๖. แผนบทเรียนวิชาการฝึกทาหน้าที่ครูทหารในการฝึกการใช้อาวุธประจากาย (๒๐ ชม.)
การอบรม
๑. แผนบทเรียนการอบรมระเบียบการภายในหน่วย (๑ ชม.)
๒. แผนบทเรียนการอบรมการบังคับบัญชาและการเคารพ (๒ ชม.)
๓. แผนบทเรียนการอบรมวินัยทหาร (๑ ชม.)
แผนบทเรีย นการฝึกสิบ ตรีกองประจาการ การจัดทาแผนบทเรีย นการฝึก สิบ ตรีก องประจาการ
เป็นไปตามรายละเอียดเรื่องที่ทาการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกสิบตรีกองประจาการของแต่ละเหล่า
แผนบทเรียนการฝึกทหารใหม่ การจัดทาแผนบทเรียนการฝึกทหารใหม่ ประกอบด้วย (๒๗ เรื่อง)
การฝึกบุคคลเบื้องต้น (๗๘ ชม)
- แผนบทเรียนการฝึกบุคคลท่ามือเปล่า/บุคคลท่าอาวุธ/การฝึกแถวชิด
วิชาทหารทั่วไป (๓๐ ชม, ๕ เรื่อง)
๑. แผนบทเรียนวิชาการติดต่อสื่อสาร
๒. แผนบทเรียนวิชาการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ
๓. แผนบทเรียนวิชาการข่าวเบื้องต้น, การสังเกตและการสะกดรอย
๔. แผนบทเรียนวิชาการระเบิดทาลาย ทุ่นระเบิด และกับระเบิด
๕. แผนบทเรียนวิชาการป้องกันนิวเคลียร์ ชีวะ และเคมี เป็นบุคคล
วิชาการฝึกใช้อาวุธ (๖๙ ชม, ๔ เรื่อง)
๑. แผนบทเรียนวิชาการฝึกใช้อาวุธประจากาย
๒. แผนบทเรียนวิชาการยิงปืนด้วยกระสุนจริง
๓. แผนบทเรียนวิชาการใช้ลูกระเบิดขว้าง
๔. แผนบทเรียนวิชาการใช้ดาบปลายปืน
๒ – ๔๘
การฝึกทางยุทธวิธี (๑๑๓ ชม, ๘ เรื่อง)
๑. แผนบทเรียนวิชาการกาบังและการซ่อนพราง
๒. แผนบทเรียนวิชาการฝึกบุคคลทาการรบในเวลากลางวัน
๓. แผนบทเรียนวิชาการฝึกบุคคลทาการรบในเวลากลางคืน
๔. แผนบทเรียนวิชาป้อมสนาม
๕. แผนบทเรียนวิชาเครื่องกีดขวาง
๖. แผนบทเรียนการยิงประกอบการเคลื่อนที่ (เป็นคู่)
๗. แผนบทเรียนวิชาการลาดตระเวน/การระวังป้องกัน
๘. แผนบทเรียนวิชาการเคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและการพักแรมในสนาม
การอบรม (๕๖ ชม, ๙ เรื่อง)
๑. แผนบทเรียนวิชาแบบธรรมเนียมของทหาร
๒. แผนบทเรียนอุดมการณ์ทางทหาร
๓. แผนบทเรียนความมั่นคงของชาติและหน้าที่พลเมือง
๔. แผนบทเรียนประวัติศาสตร์ชาติไทยและพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์
๕. แผนบทเรียนศาสตร์พระราชา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๖. แผนบทเรียนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ, ไร่นาสวนผสม
๗. แผนบทเรียนวินัยของชาติ
๘. แผนบทเรียนกิริยามารยาทราชสานัก และคาราชาศัพท์
๙. แผนบทเรียนการพัฒนาบุคคลิกภาพ

แผนบทเรี ยนการฝึกทหารใหม่ เฉพาะหน้ าที่ การจัดทาแผนบทเรียนการฝึ กทหารใหม่เฉพาะหน้ าที่


เป็นไปตามรายละเอียดเรื่องที่ทาการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่ของแต่ละเหล่า
หมายเหตุ หากมีการเพิ่มเติมวิชาการฝึกสอนในแต่ละหลักสูตรการฝึก ให้หน่วยทาแผนบทเรียนทุกวิชาที่ทา
การฝึกสอนเพิ่มเติมนั้นๆ

----------------------------------------------
๒ – ๔๙
แนวทางการจัดบอร์ด/ข้อมูล/เอกสาร ใน กอ.ฝึกทหารใหม่
ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการฝึก ๙+๑ มาตรฐาน

มาตรฐาน เอกสารประกอบตามมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ ๑
การจัดการฝึกและการพัฒนาการฝึก
๑. นโยบายการฝึก ผบช.ตามลาดับชั้น
๒. บัญชีรายชื่อเอกสาร ตารา รส. คฝ.
๓. บัญชีคุมตารา และสมุดจ่าย-ยืม
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ๔. ประชุมเตรียมการ การฝึกทหารใหม่และบันทึกการประชุม
การจัดระบบการฝึกและพัฒนาการฝึก การแบ่งมอบความรับผิดชอบให้แต่ละส่วน
๕. คาสั่งฝึกฯ,ตารางการฝึกหลัก ,ตารางการฝึกประจาสัปดาห์ และ
ตารางการฝึกประจาวัน
๖. ตารางการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
๑. ผังการจัดส่วนต่าง ๆ ใน กอ.ฝึกทหารใหม่ พร้อมระบุ
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒
อานาจหน้าที่
ประสิทธิภาพการจัดการฝึกที่เน้นการปฏิบัติ
๒. รายการแผนบทเรียนครบทุกวิชาและครบ 7 หัวข้อ
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ๑. แผนบทเรียนครบทุกรายวิชา
การฝึกเรียนการสอนภายในหน่วยทหาร ๒. สมุดจ่าย-ยืม แผนบทเรียน
๑ รายการแบบประเมินผลการฝึกทหารใหม่
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ๒. แผนการตรวจสอบการฝึกทหารใหม่
ประสิทธิภาพการประเมินผลการฝึก ๓. คาสั่งตรวจสอบซ้ากรณีทดสอบไม่ผ่าน
๔. บันทึกแนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องจากการประเมินผล
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ๑. บันทึกขออนุมัติการ ทลป.
ประสิทธิภาพการทบทวนหลังการปฏิบัติ ๒. บันทึกรายงานผลการ ทลป. ตามสายการบังคับบัญชา
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ๑. สมุดตรวจเยี่ยม
ประสิทธิภาพการกากับดูแล ๒. แผนการตรวจเยี่ยมของ ผบช., ฝอ.
๑. แผนการป้องกันอันตรายและมาตรการรักษาความปลอดภัย
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗
ในการฝึก
ประสิทธิภาพการป้องกันอันตรายและการ รปภ.
๒. คาสั่งกาหนดนายทหารนิรภัยและเจ้าหน้าที่นิรภัย
มาตรฐานที่ ๒
คุณภาพของผู้เข้ารับการฝึก
๑. แบบฟอร์มประวัติประจาตัวทหารใหม่
๒. ข้อมูลสถานภาพทหารใหม่
๒ – ๕๐
มาตรฐาน เอกสารประกอบตามมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
๓. ตารางสถิติข้อมูลด้านคุณวุฒิการศึกษา และอาชีพทหารใหม่
ก่อนเข้ารับราชการ
๔. ตารางสถิติข้อมูลด้านการเจ็บป่วยของทหารใหม่ ก่อนเข้ารับ
ราชการ
๕. ตารางสถิติข้อมูลด้านยาเสพติดของทหารใหม่ ก่อนเข้ารับ
ราชการ
๖. ตารางสถิติข้อมูลด้าน อายุ, การขอสิทธิ์วันรับราชการ
และภูมิลาเนาของทหารใหม่ ก่อนเข้ารับราชการ
๗. แผนการพัฒนาสมรรถภาพร่างกายกาลังพล
๘. ข้อมูลกลุ่มเฝ้าระวัง (สภาพร่างกาย/สภาพจิตใต/ยาเสพติด
(ต้องมีผ้าคลุม)
๙. แบบฟอร์มประวัติประจาตัวทหารใหม่
๑๐. ข้อมูลสถานภาพทหารใหม่
มาตรฐานที่ ๓
อุปสรรคในการฝึกและแนวทางในการแก้ไขปัญหา
๑. ข้อมูลการศึกษาของกาลังพลที่อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการฝึก
(อ่านไม่ออก/เขียนไม่ได้/มีปัญหาทางสมอง/อื่น ๆ)
๒. ข้อมูลการใช้ยาเสพติดก่อนเข้ากองประจาการ
๓. สภาพอากาศในพื้นที่ทาการฝึก ความร้อน/ความชื้น/
๔. ข้อมูลทหารใหม่ที่มีโรค,ความเจ็บป่วย,ความพิการ ที่เป็น
ปัญหาต่อการฝึก (งดฝึก,ทุเลาฝึก,รอปลด,ฯลฯ)ก่อนเข้ารับราชการ
๕. ปัญหาด้านการส่งกาลังบารุง,สนามฝึกฯ,เครื่องช่วยฝึก
และอื่น ๆ
มาตรฐานที่ ๔
คุณภาพครูฝึก
๑. บัญชีครูฝึกทหารใหม่ของหน่วยประจาปี ๒๕๖๒
(ทั้งครูนายสิบและครูทหารใหม่)
๒. เอกสารขออนุมัติจัดการประชุมพิจารณาคัดเลือกครูฝึก
ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ ๓. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกครูฝึก
ครูฝึกมีความรู้ทางวิชาการ
๔. บันทึกสรุปผลการประชุมพิจารณาคัดเลือกครูฝึก
และมีความสามารถในการฝึก
๕. บันทึกขออนุมัติทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถ
สามารถครูฝึก
๖. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทดสอบประเมินผลความรู้
ความสามารถครูฝึก
๒ – ๕๑
มาตรฐาน เอกสารประกอบตามมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
๗. สรุปผลการทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถครูฝึก
๘. บันทึกขออนุมัติตัวบุคคลบรรจุและทาหน้าที่ในคาสั่งฝึก ฯ
๙. รายชื่อครูฝึกทหารใหม่
๑๐. ประวัตินายสิบ และประวัติครูทหารใหม่(เรียงตาม
ตาแหน่ง)
๑๑. คู่มือครูฝึกทหารใหม่
ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒
ครูฝึกได้รับการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์
๑. คาสั่งฝึกครูทหารใหม่
๒. ผลการประเมินผลการตรวจสอบการฝึกครูทหารใหม่
๓. ขออนุมัติทาการฝึกและทดสอบซ้า สาหรับครูทหารใหม่
ที่ไม่ผ่านเกณฑ์
๔. บันทึกส่งตัวครูฝึกเข้ารับการอบรมโรคลมร้อน
มาตรฐานที่ ๕
คุณภาพสนามฝึก
๑. ระเบียบว่าด้วย กาหนดแนวทางในการบริหารจัดการและ
การใช้สนามฝึก ของหน่วย
๒. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพสนามฝึก
๓. บันทึกการกาหนดคุณสมบัติของสนามฝึกและพื้นที่ฝึก,
กาหนดผู้รับผิดชอบ และการดาเนินการ
๔. คาสั่งแต่งตั้งนายทหารนิรภัยและเจ้าหน้าที่นิรภัยสนามฝึก
ยิงปืน ๑,๐๐๐ นิ้ว
๕. คาสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบสนามฝึก และพื้นที่การฝึก
มาตรฐานที่ ๖
การประชาสัมพันธ์การฝึก
๑. ระเบียบ/คาสั่ง/นโยบาย ของ กห.,ทบ.ที่เกี่ยวข้องกับการ
ประชาสัมพันธ์
๒. คาสั่ง พล.ร.๓ เรื่อง กาหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์
งานการฝึกของหน่วย
๓. แผนการประชาสัมพันธ์งานการฝึกของหน่วย
๔. คาสั่งแต่งตั้งคณะทางานประชาสัมพันธ์งานการฝึกของหน่วย
๕. บันทึกขออนุมัติการจัดตั้งกลุ่มไลนผู้ปกครอง และ
แนวทางปฏิบัติในการส่งข้อมูล
๒ – ๕๒

มาตรฐาน เอกสารประกอบตามมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ ๗
คุณภาพกรรมการ
๑. บัญชีกรรมการประเมินผลการฝึกของหน่วยประจาปี
๒. บันทึกการกาหนดมาตรฐาน กรรมการประเมินผลการฝึก
๓. ขออนุมัติจัดการประชุมพิจารณาคัดเลือกกรรมการ
ประเมินผลการฝึก
๔. สรุปผลการประชุมพิจารณาคัดเลือกกรรมการประเมินผล
ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๑ การฝึก
กรรมการมีความรู้ความสามารถในการ ๕. ขออนุมัติทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถ
ประเมินผล กรรมการประเมินผลการฝึก
๖. สรุปผลการทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถ
กรรมการประเมินผลการฝึก
๗. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการฝึก
๘. คู่มือกรรมการประเมินผล
๙. บัญชีกรรมการประเมินผลการฝึกของหน่วยประจาปี
๑. แผนการอบรมให้ความรู้กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๒
๒. คาสั่งการฝึกครูทหารใหม่, พัฒนาขีดความสามารถ,
กรรมการได้รับการเพิ่มพูนความรู้
พร้อมผลการประเมิน
มาตรฐานที่ ๘
การบริหารทรัพยากรในการฝึก
ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๑ ๑. เอกสารแบ่งมอบงบประมาณ
ประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ ๒. ฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณ
๑. เอกสารแจกจ่าย สป.๓ สนับสนุนงานการฝึกประจาปี
ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๒
๒. บันทึกการกาหนดมาตรการควบคุมการใช้ สป.๓
ประสิทธิภาพการบริหาร สป.๓
๓. บันทึกกาหนดมาตรการป้องกันการรั่วไหล สป.๓
๑. เอกสารการแจกจ่าย สป.๕
๒. เอกสารรายงานการเบิก และรายงานการใช้ สป.๕
สนับสนุนการฝึกฯ
ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๓ ๓. แผนการใช้ สป.๕ สาหรับงานการฝึกทหารใหม่
ประสิทธิภาพการบริหาร สป.๕ และเป้า ๔. แบบฟอร์มรายงานการใช้ สป.๕ สนับสนุนการฝึกฯ
๒ – ๕๓
มาตรฐาน เอกสารประกอบตามมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
๑. รายการแผนภาพ
๒. สมุดคุมเครื่องช่วยฝึก
๓. บัญชีคุมเครื่องช่วยฝึก
ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๔
๔. สมุดจ่าย-ยืมเครื่องช่วยฝึก
ประสิทธิภาพการสนับสนุนเครื่องช่วยฝึกและอื่น ๆ
๕. บันทึกกาหนดเจ้าหน้าที่คลังเครื่องช่วยฝึก และกาหนด
ความรับผิดชอบ
๖. แผนผังและกาหนดเจ้าหน้าที่สาหรับป้องกันทหารหนี
๑. รายการของแจกกาลังพล
๒. สิทธิของทหารใหม่ที่จะได้รับในห้วงการฝึก เช่น เงินเดือน
ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๕ เบี้ยเลี้ยง
ข้อมูลสวัสดิการของทหารใหม่ ๓. สรุปผลรายการของจัดหาของทหารใหม่
๔. สิทธิที่ทหารใหม่จะได้รับเมื่อฝึกจบ (เงินเดือน+เบี้ยเลี้ยง
ที่จะได้รับเมื่อหักค่าใช้จ่ายในห้วงการฝึกแล้ว)
๑. คาสั่งแต่งตั้ง ให้ ผบ. /ฝอ. มีส่วนร่วมตั้งแต่ขั้นตอนการ
มาตรฐานที่ ๙ วางแผนการฝึก
การประกันคุณภาพการฝึกระดับหน่วย ๒. แผนการจรวจเยี่ยมของหน่วยเหนือ กรม. กองพล และหน่วย
ของตนเอง
๑. คาสั่งแต่งตั้งนายทหารนิรภัยการฝึก
๒. ระเบียบ/คาสั่ง/ข้อเน้นย้า/วิทยุ เกี่ยวกับการป้องกันโรคลมร้อน
๓. คาสั่งกาหนดมาตรการป้องกันโรคลมร้อนของหน่วยฝึก
มาตรฐานที่ ๑๐
๔. แผนเผชิญเหตุ, แผนการส่งกลับสายแพทย์ พร้อมแผนผัง
การรักษาความปลอดภัยจากการฝึก
เส้นทางในกรณีกาลังพลเกิดโรคลมร้อน
๕. หมายเลขโทรศัพท์ของเจ้าหน้าที่ และสถานพยาบาลใกล้เคียง
๖. แผนผังกาหนดสีธง, เวลาการฝึก เมื่อสภาพอากาศร้อน
๒ – ๕๔
ตัวอย่าง แนวทางการจัดบอร์ด/ข้อมูล/เอกสาร ใน กอ.ฝึกทหารใหม่
ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการฝึก 9+1 มาตรฐาน
บอร์ดที่ 1

บอร์ดที่ 2
๒ – ๕๕

บอร์ดที่ 3

บอร์ดที่ 4
๒ – ๕๖

บอร์ดที่ 5

บอร์ดที่ 6
๒ – ๕๗

บอร์ดที่ 7

บอร์ดที่ 8
๒ – ๕๘

บอร์ดที่ 9

บอร์ดที่ 10
๒ – ๕๙

บอร์ดที่ 11
“ยาว 240 ซม.”
“กว้าง 120 ซม.”

***บอร์ดมาตรฐานการประกันคุณภาพการฝึก ๙+๑ มาตรฐาน


ลักษณะการติดตั้ง
๑. ขนาดบอร์ด ใช้ไม้อัด กว้าง ๑๒๐ ซม. x ยาว ๒๔๐ ซม.
๒. ๑ บอร์ด สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ติดข้อมูลได้จานวน ๒ แผ่น (ตามตัวอย่าง) หากมีข้อมูล
แต่ละมาตรฐานฯ มาก หน่วยสามารถเลื่อนข้อมูล และจัดเรียงข้อมูลแต่ละบอร์ดได้ ตามความ
เหมาะสม
๓. หน่วยสามารถจัดทาเป็นบอร์ดเคลื่อนย้ายได้ หรือ ติดฝาผนังก็ได้
๔. ข้อมูลที่ติดบอร์ดสามารถทาเป็นไวนิลได้ จัดเรียงข้อมูลตามลาดับมาตรฐานการประกันคุณภาพ
การฝึก ๙+๑ มาตรฐาน
๕. หน่วยทีม่ ีพื้นที่ บก.หน่วยฝึก คับแคบ สามารถปรับลดขนาดบอร์ดได้ตามความเหมาะสม
๒ – ๖๐

ตอนที่ ๒
การดาเนินการฝึก
๑. รูปแบบและลักษณะการฝึก
การฝึกทหารใหม่ให้ใช้การฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ โดยให้ฝึกปฏิบัติมาก ๆ เพื่อให้เกิดทักษะความชานาญ
ในการปฏิบัติแต่ละเรื่อง การดาเนินการในรายละเอียดจะใช้วิธีการใดนั้นผู้ฝึกทหารใหม่จะต้องใช้ดุลยพินิจ
ในการก าหนดวิ ธี ก ารฝึ ก ให้ เหมาะสมกั บ จ านวนทหารใหม่ จ านวนเครื่องช่ วยฝึ ก และจ านวนครู ฝึ กที่ มี อ ยู่
เพื่อป้องกันมิให้ทหารใหม่ต้องรอคอยการฝึกอันเนื่องมาจากความจากัดของเครื่องช่ว ยฝึก และครูฝึก ซึ่งผู้ฝึก
สามารถทาการฝึกได้ ๓ แบบ คือ
- การฝึกแบบรวมการ เช่น วิชาการสอนอบรม, การฝึกแถวชิด
- การฝึกแบบแยกการ เป็นการฝึกหมุนเวียน แยกเป็นสถานีฝึก
- การฝึกแบบผสม (ทั้งแบบรวมการ และแยกการ)
การฝึกแบบแยกการ เป็นวิธีการฝึกที่ดีมาก ทาให้ทหารใหม่เกิดความสนใจ มีความชานาญ ได้มีโอกาส
ใช้ เครื่องช่วยฝึกอย่ างทั่ วถึง ไม่ เกิ ดความเบื่ อหน่ าย โดยจั ดทหารใหม่แบ่ งออกเป็ นกลุ่ ม หรื อ พวก ให้ มี จ านวน
ใกล้เคียงกัน จานวนกลุ่มที่เหมาะสมคือ ๔ กลุ่ม เพื่อรับการฝึกสอน หมุนเวียน ๔ วิชา ๆ ละ ๒ ชม. ในแต่ละวัน
หรืออาจแบ่งเป็น ๘ กลุ่มวิชา ๆ ละ ๑ ชม. ทาการฝึกอยู่ในบริเวณไม่ห่างไกลกัน เรื่องที่สามารถนามาจัดการฝึก
หมุนเวียนได้ คือ
- การติดต่อสื่อสาร - การอ่านแผนที่ฯ - การปฐมพยาบาลฯ
- การใช้อาวุธประจากาย - การระเบิดทาลายฯ - การฝึกบุคคลทาการรบในเวลากลางวัน
- การใช้ลูกระเบิดขว้าง - การฝึกหมู่ทางยุทธวิธี - การฝึกบุคคลทาการรบในเวลากลางคืน
ตามที่เวลาการฝึกสอนของแต่ละวิชาไม่เท่ากัน ดังนั้นการจัดการฝึกหมุนเวียน จะต้องกาหนดให้ดี เมื่อหมด
เวลาของวิชานั้น ๆ แล้วก็เอาวิชาอื่นมาแทนต่อไป
รูปแบบการฝึกจะเป็นแบบใดก็ตาม การดาเนินการฝึกนั้น ผู้ฝึก ครูนายสิบและครูทหารใหม่ จะต้อง
ปฏิบัติในลักษณะดังนี้.-
๑. ให้ฝึกจากง่ายไปหายากและเป็นไปตามตารางกาหนดการฝึกประจาวัน
๒. มุ่งเน้นการปฏิบัติมากกว่าการบรรยายเป็นสิ่งที่พึงกระทา และให้ทหารใหม่ได้ศึกษาทาความเข้าใจก่อน
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติ แต่มิใช่กระทาในลักษณะให้ทหารใหม่ ได้ใช้วิธีการท่องจา
และให้มีการทบทวนหรือทดสอบความรู้ในช่วงท้ายชั่วโมงว่าทหารใหม่มีความเข้าใจตามที่รับการฝึก/ศึกษา
ที่ผ่านมาหรือไม่
๓. การแจกจ่ายเอกสารประกอบการฝึก ให้ทหารใหม่ได้นาศึกษาเพิ่มเติม หรือบอกให้ทหารใหม่จดบันทึก
เฉพาะหัวข้อที่สาคัญเท่านั้น เพื่อให้ทหารใหม่ได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
ก่อนการฝึกจริงจะทาให้ทหารใหม่เข้าใจได้เร็วขึ้น
๔. ให้นาเครื่องช่วยฝึกมาใช้อย่างเหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการฝึก
๕. เมื่อฝึกจบในแต่ละวิชาจะต้องมีการประเมินผลทุกครั้งโดยต่อเนื่อง
๖. จะต้องแก้ไขทันที เมื่อทหารใหม่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามแบบฝึก
๒ – ๖๑

๒. การฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ
ลักษณะของการฝึกที่เน้ นผลการปฏิ บัตินั้น ต้องมีวัตถุประสงค์ การฝึกที่แน่ชัด โดยระบุไว้อย่ างชัดเจนว่า
ทหารใหม่ จ ะต้ อ งมี ขี ด ความสามารถท าอะไรได้ บ้ า งเมื่ อ จบการฝึ ก โครงสร้ า งของวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารฝึ ก
ประกอบด้วย ๓ ส่วน คือ
๑. กิจเฉพาะ คือ เรื่องที่จะต้องปฏิบัติให้สาเร็จลุล่วงไป (ผู้ฝึกทราบได้จาก ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
การฝึก ทหารใหม่เบื้ องต้ นทั่ วไป สาหรับทหารทุกเหล่าของกองทั พบก (๑๐สัปดาห์) พ.ศ. ๒๕๖๒ ตอนที่ ๗
แถลงหลักสูตรการฝึก หัวข้อเรื่อง และรายละเอียดที่ฝึกสอน)
๒. เงื่อนไข คือ เรื่องที่จะต้องปฏิบัตินั้นจะต้องกระทาให้สาเร็จลุล่วงภายใต้เงื่อนไขอย่างใด(ผู้ฝึกทราบได้
จาก คู่มือการประเมินผลการฝึกทหารใหม่ เบื้องต้นทั่วไป สาหรับ ทหารทุกเหล่าของกองทัพบก ๑๐ สัปดาห์
พ.ศ.๒๕๕๕)
๓. มาตรฐานการฝึก คือ มาตรฐานของการปฏิบัติที่ยอมรับแล้ว (ผู้ฝึกทราบได้จาก คู่มือการประเมินผล
การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป สาหรับ ทหารทุกเหล่าของกองทัพบก ๑๐ สัปดาห์ พ.ศ.๒๕๕๕)
การที่ระบุ กิจเฉพาะ, เงื่อนไข และมาตรฐานการฝึกไว้ในวัตถุประสงค์การฝึกโดยชัดแจ้งนั้น ย่อมจะทาให้
ทหารใหม่มีความเข้าใจว่า ถ้าตนสามารถปฏิบัติงานได้สาเร็จเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กาหนดนั้น แสดงว่า
ใช้ได้ แต่ถ้าไม่สามารถปฏิบัติได้ ทหารใหม่ก็จะทราบได้เองว่าจะต้องเรียนรู้ในสิ่งใดอีกจึงบรรลุถึงมาตรฐานนั้น
ดังนั้นทุกครั้งที่ทาการฝึกจึงมีความจาเป็นต้องทาให้ทหารใหม่มีสภาวการณ์ของการเรียนรู้ คือ มีความสานึก
ว่าตนต้องรับการฝึก และมีความเข้าใจว่าจะต้องเรียนรู้ในเรื่องอะไรบ้าง
๓. วิธีการฝึก
ใช้หลักนิยมการฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ รส.๒๑ – ๖ (พ.ศ.๒๕๓๑) ประกอบกับการทบทวนหลังการปฏิบัติ
(ทลป.) ทุกขั้นตอนของการฝึกในแต่ละขั้น โดยแบ่งเป็น ๓ ขั้นตอน ดังนี้.-
๓.๑ ขั้นสาธิต (CRAWL PHASE) ดาเนินการโดย ผบ.หน่วย/ผู้ฝึก พูดกับทหารใหม่ถึงกิจเฉพาะเป็นหน่วย
ทีละขั้น อธิบายว่าแต่ละคน หรือหน่วยจะต้องทาอะไร (อธิบายกิจเฉพาะ เงื่อนไข มาตรฐานการฝึก) แสดงตัวอย่าง
กิจเฉพาะรอง โดยการปฏิบัติให้ดูตั้งแต่เริ่มแรกจนกระทั่งจบทั้งกิจเฉพาะเป็นหน่วย อธิบายมาตรการวัดสมรรถภาพ
ในแต่ละขั้นตอนในรายละเอียดถกแถลง หน้าที่ของกิจเฉพาะสนับสนุนภายในกิจเฉพาะหลักและตอบคาถาม
๓.๒ ขั้นปิดตอน (WALK PHASE) เป็นการปฏิบัติช้า ๆ ทีละขั้นด้วยการชี้แจงเงื่อนไขที่ริเริ่มกิจเฉพาะให้ทหารใหม่
แต่ ละคนปฏิ บั ติ หน้ าที่ ในแต่ ละขั้ นตอนอย่ างช้ า ๆ ก่ อนแนะน าและวิ จารณ์ การปฏิ บั ติ ในแต่ ละขั้ นตอนที่ ปฏิ บั ติ
หยุดการฝึก ถ้าเห็นว่าต้องแก้ไข และเริ่มฝึกต่อไปในกิจเฉพาะนั้น จนกระทั่งสามารถปฏิบัติได้ตามมาตรฐานโดยไม่ต้องแนะนา
๓.๓ ขั้นเปิดตอน หรือขั้นปฏิบัติเต็มที่ (RUN PHASE) การฝึกในขั้นนี้ให้ทหารใหม่ปฏิบัติกิจเฉพาะเป็นบุคคล
หรือเป็ นหน่วยด้ วยความเร็วสูงสุด เช่ นเดี ยวกับการปฏิบั ติในระหว่างการรบจริง ด้ วยการกาหนดเงื่อนไขที่ริเริ่ ม
กิจเฉพาะ ให้ฝึกปฏิบัติกิจเฉพาะไปโดยเสรีจนจบการปฏิบัติ ถ้าไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องให้เริ่มไปปฏิบัติ ในขั้น
ปิดตอนอีกครั้ง เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่กิจเฉพาะจะต้องปฏิบัติ ฯลฯ เช่น ภายใต้การป้องกัน นชค., ภูมิประเทศ ที่แตกต่าง,
การเปลี่ยนตัวผู้ปฏิบัติในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ และฝึกให้ท้าทายด้วยการใช้ข้าศึกสมมุติ คชฝ.เลเซอร์ หรือการใช้กระสุนจริง
ในตอนสุดท้ายให้ทาการทบทวนหลังการปฏิบัติ (ทลป.) เพื่อสรุปจุดแข็ง จุดอ่อนของกาลังพลหน่วยที่เข้าทาการฝึก
๒ – ๖๒

๔. การทบทวนหลังการปฏิบัติ (ทลป.) ให้ทาการบันทึก และลงนามโดยผู้ฝึก


๔.๑ การทบทวนหลังการปฏิบัติ ให้ข้อมูลย้อนกลับสาหรับการฝึกทุกอย่าง การ ทลป. เป็นกรรมวิธีทบทวน
ที่ได้รับการกาหนดโครงสร้างที่ทาให้ผู้เข้าร่วมการฝึกทุกคนค้นพบด้วยตนเองว่าเกิดอะไรขึ้น ทาไมถึงเกิดขึ้น และ
หน่วยจะปฏิบัติให้ดีกว่าเดิมได้อย่างไร การ ทลป. เป็นการถกแถลงอย่างมืออาชีพที่ต้องการความกระตือรือร้น
ของผู้เข้ารับการฝึกทุกคน การ ทลป. ไม่ใช่เป็นการวิจารณ์และมีประโยชน์กว่าการวิจารณ์ ดังนี้
๔.๑.๑ มุ่งโดยตรง รายการกิจเฉพาะที่สาคัญต่อภารกิจ (รกสภ.) ซึ่งกาหนดขึ้นมาจากจุดมุ่งหมายการฝึก
๔.๑.๒ เน้นการปฏิบัติที่มุ่งให้ถึงมาตรฐานของกองทัพบก มากกว่าจะตัดสินว่าสาเร็จหรือล้มเหลว
๔.๑.๓ ใช้ “คาถามนา” เพื่อช่วยเหลือผู้ร่วมการฝึกสามารถค้นพบบทเรียนสาคัญด้วยตนเองในเหตุการณ์การฝึก
๔.๑.๔ ให้ทหารใหม่และผู้นาได้เข้าร่วมด้วยเป็นจานวนมาก จึงทาให้สามารถระลึกถึงเหตุการณ์ฝึกได้เป็น
จานวนมาก และร่วมรับทราบบทเรียนที่ได้รับมากขึ้น
๔.๒ การทบทวนหลังการปฏิบัติประกอบด้วย ๔ ส่วนคือ
๔.๒.๑ กาหนดว่าเกิดอะไรขึ้น ผู้ป ระเมินผลและผู้ร่วมการฝึกจะกาหนดว่าอะไรเกิดขึ้น จริง ๆ
ระหว่างการฝึกปฏิบัติกิจเฉพาะสาหรับการฝึกแบบสองฝ่าย กาลัง ขศ.สมมุติจะช่วยอธิบายการไหลเลื่อน
ของเหตุการณ์การฝึก และอภิปรายถึงผลที่เกิดขึ้นจากมุมมองของข้าศึก
๔.๒.๒ กาหนดว่าอะไรถูก อะไรผิด กับสิ่ง ที่เกิดขึ้น ผู้ร่วมการฝึกจะทราบจุดแข็งและจุดอ่อนใน
การปฏิบัติของตน ผู้ประเมินผลจะเล่นบทบาทสาคัญในการถกแถลง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการฝึกสรุปผลการปฏิบัติ ที่
สอดคล้องกับหลักนิยมมาตรฐานของกองทัพบก และสัมพันธ์กับภารกิจการรบ
๔.๒.๓ ก าหนดว่า จะมี วิธี ที่ ค วรปฏิ บั ติ กิ จ เฉพาะที่ แ ตกต่ า งไปอย่ างไรในการปฏิ บั ติ ค รั้ ง ต่ อ ไป
ผู้ป ระเมินผลจะนากลุ่มผู้ร่วมการฝึกในการกาหนดว่าจะมีวิธีการปฏิบัติกิจเฉพาะที่แตกต่างออกไปอย่างไร
หากมีการฝึกในครั้งต่อไป สิ่งนี้จะมีผลทาให้เกิดแรงจูงใจบุคคล และหน่วยในการฝึกดารงความสามารถในระดับ
ความชานาญที่ต้องการ
๔.๒.๔ ฝึกปฏิบัติกิจเฉพาะเดิมอีกครั้งซึ่งควรจะทาทันทีเท่าที่จะทาได้เพื่อแปลงการสังเกตการณ์
และการประเมินผลสู่การแก้ไข การฝึกเพิ่มเติมจะทาให้ผู้เข้าร่วมการฝึกประยุกต์ใช้บทเรียนที่ได้รับจากการ
ทลป.ผู้นาเข้าใจว่า กิจเฉพาะทุกกิจเฉพาะจะไม่สามารถปฏิบัติเข้าสู่มาตรฐานได้ ดังนั้นระหว่างการวางแผน
ระยะสั้นและแผนก่ อนการฝึกให้ มีความอ่อนตัวในแบบที่ ทาการฝึก และตารางการฝึก ซึ่ งจะเปิ ดโอกาสให้
สามารถทาการฝึกเพิ่มเติมได้ทันทีหลังจากมีการ ทลป.
๔.๓ การ ทลป. ส่วนใหญ่จะนาไปใช้เป็นเทคนิคในการพัฒนาผู้นาหน่วยหลายระดับไปพร้อมกัน หลังจาก
การ ทลป. กับผู้เข้าร่วมทั้งหมดแล้ว ผู้ฝึกอาวุโสจะใช้เวลาการ ทลป. สาหรับการถกแถลงอย่างผู้ชานาญกับ
ผู้น าหน่ วยที่ก าหนดเฉพาะ การถกแถลงนี้ มั กจะรวมถึง การ ทลป. ในเรื่องที่ เฉพาะเจาะจงมากขึ้น เพื่ อ
ช่วยเหลือผู้นาต่อผลการฝึกที่เกิดขึ้ น สิ่งสาคัญ ยิ่ง กว่าก็คือผลสรุปของการถกแถลงนี้เป็นการประชุมที่ยอด
เยี่ยม สาหรับการถกแถลงถึงหัวข้อที่ก้าวหน้ายิ่งขึ้น ซึ่งควรดาเนินการต่อจากการฝึกที่เพิ่งจบไป เช่น หลักนิยมที่
เกิดขึ้นใหม่หรือการสนธิกาลังสาหรับอนาคต
๒ – ๖๓

๕. การประเมินผลการฝึกโดยต่อเนื่อง
จากผลของการที่จัดให้มีการเน้นหนักในเรื่อง “การเรียนโดยการปฏิบัติ” นั้น ผู้ฝึกจึงมีโอกาสได้
ทราบถึงความคืบหน้าของสิ่งที่ได้ทาการฝึกไปโดยต่อเนื่อง และทราบถึงประสิทธิผลของการฝึกไปโดยลาดับด้วย
ผู้ฝึก จึง ไม่จาเป็น ต้องรอคอยดูผ ลการทดสอบเมื่อ ตอนจบการฝึก การที่รอคอยให้ก ารฝึก จบสิ้น ลงแล้ว
จึง ค้น หาว่ามีผู้ใดรู้เรื่องเล็กน้อยหรือมีผู้ใดไม่รู้เรื่องเลยนั้น จะเป็นการเสียเวลามาก อันที่ จริงแล้วในขณะที่
ทหารใหม่ที่รับการฝึกแสดงให้เห็นถึงความดีเด่นของบทบาทในการปฏิบัติงานทั้งปวงในระหว่างที่ฝึกหัดนั้น
ก็ย่อมจะเป็นเครื่องบ่ งชี้ให้ผู้ฝึกได้ทราบในทันที ว่า ทหารใหม่เหล่านั้ นมีความคืบหน้าในการฝึกเป็ นผลดี
เพียงไร และในทานองเดียวกันทหารใหม่เหล่านั้นก็ไม่จาเป็นต้องคอย ให้การฝึกจบลงเสียก่อนแล้วจึงค้นหา
ว่าตนสามารถทาอะไรได้ดีเพียงไร เนื่องจากว่า ในวัตถุประสงค์การฝึกของแต่ละเรื่องที่ฝึกนั้นได้กาหนด
มาตรฐานการฝึ กไว้ แล้ ว ทหารใหม่ จะสามารถทราบผลการปฏิ บั ติง านขอตนและพยายามที่ จะเพิ่ม ขี ด
ความสามารถของตนให้บรรลุถึงเป้าหมายนั้นเอง
๖. เรื่องที่ทาการฝึก
๖.๑ การฝึกเบื้องต้น (จานวน ๗๘ ชม.) ให้หน่วยฝึกยึดถือคู่มือการฝึกว่าด้วย แบบฝึกบุคคลท่ามือเปล่า
และบุคคลท่าอาวุธ โรงเรียนทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๖๐ ให้เพิ่มท่าการฝึกบุคคลเบื้องต้น
ในการตรวจสอบ ดังนี้
๖.๑.๑ บุคคลท่ามือเปล่า
๖.๑.๑.๑ ท่ายกอก หน้า ๒
๖.๑.๑.๒ ท่านั่งคุกเข่าวันทยหัตถ์ และท่าเลิกนั่งคุกเข่าวันทยหัตถ์ หน้า ๑๗ – ๑๘
๖.๑.๑.๓ ท่าออกนอกแถวและท่ากลับเข้าแถว นอกนั้นไม่เปลี่ยนแปลง หน้า ๔๖
๖.๑.๒ บุคคลท่าอาวุธ
๖.๑.๒.๑ ท่ายกอก หน้า ๒
๖.๑.๒.๒ ท่ายกปืน และเอาปืนลง หน้า ๗
๖.๑.๒.๓ ท่าวางปืน และท่าหยิบปืน หน้า ๘
๖.๑.๒.๔ ท่าเตรียมใช้อาวุธและท่าเรียบอาวุธจากท่าเตรียมใช้อาวุธ หน้า ๑๘
๖.๑.๒.๕ ท่าคอนอาวุธ เรีรยบอาวุธจากท่าคอนอาวุธ หน้า ๑๙
๖.๑.๒.๖ ท่ารับตรวจและท่าเลิกรับตรวจ หน้า ๒๘ – ๓๐
๖.๑.๒.๗ ท่าตรวจอาวุธ หน้า ๓๒
๖.๑.๒.๘ ท่าติดดาบและปลดดาบ หน้า ๓๖ – ๓๘
๖.๑.๒.๙ ท่าแบกอาวุธจากท่าวันทยาวุธ, ท่าวันทยาวุธจากท่าแบกอาวุธ หน้า ๕๘ – ๖๐
๖.๑.๒.๑๐ ท่าถือปืนตามเสด็จ และท่าเรียบอาวุธจากท่าถือปืนตามเสด็จ หน้า ๖๒
๖.๑.๒.๑๑ ท่าถวายความเคารพจากท่าถือปืนตามเสด็จ หน้า ๖๔
๖.๑.๒.๑๒ ท่าเปลี่ยนยาม หน้า ๗๐
๖.๑.๒.๑๓ ท่ายืนยามถวายพระบรมศพและเลิกยืนยามถวายพระบรมศพ หน้า ๗๒ – ๗๔
๖.๑.๒.๑๔ ท่ากอดปืนนั่งคุกเข่า และเลิกกอดปืน หน้า ๗๖
๖.๑.๒.๑๕ ท่าอาวุธพระราชทานเลิกบรรจุ ๑๒ ขั้นตอน หน้า ๑๐๗
๒ – ๖๔

๖.๑.๓ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ใช้ช่วงเวลาการฝึก ๐๘๐๐ - ๑๒๐๐, ๑๓๐๐ - ๑๖๐๐ การฝึกบุคคล


ท่ามือเปล่า ควรสอดแทรกด้วยการฝึกแถวชิด
๖.๑.๔ การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ใช้ช่วงเวลาการฝึก ๐๘๐๐ - ๑๒๐๐, ๑๓๐๐ - ๑๖๐๐
๖.๑.๕ การฝึกแถวชิด ใช้ช่วงเวลา ๐๘๐๐ - ๑๒๐๐ การฝึกแถวชิดหน่วยสามารถฝึกสอดแทรกได้
ตลอดเวลา เมื่อมีการรวมพลหรือการเข้าแถว
๖.๒ การทดสอบความสมบูรณ์ทางร่างกาย (จานวน ๖๕ ชม.)
๖.๒.๑ การออกกาลังกาย/ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว จานวน ๕๓ ชม.
๖.๒.๒ การทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย จานวน ๑๒ ชม. ใช้เวลา ๐๕๓๐ – ๐๗๓๐ ของ
วันเสาร์สัปดาห์ที่ ๔ – ๙ สัปดาห์ละ ๒ ชม. (หน่วยอาจใช้เวลาเช้าวันเสาร์ได้ตามความเหมาะสม)
๖.๓ การช่วยเหลือประชาชน (จานวน ๔๐ ชม.)
๖.๓.๑ วิชาจิตอาสา (จานวน ๑๐ ชม.)
๖.๓.๒ วิชาการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (จานวน ๑๖ ชม.)
๖.๓.๓ วิชาการปฐมพยาบาล (จานวน ๑๔ ชม.)
๖.๔ การฝึก วิชาทหารทั่วไป (จานวน ๓๐ ชม.)
๖.๓.๑ วิชาการติดต่อสื่อสาร (จานวน ๘ ชม.)
๖.๓.๒ วิชาการอ่านแผนที่ และการใช้เข็มทิศ (จานวน ๑๐ ชม.)
๖.๓.๓ วิชาการข่าวเบื้องต้น, การสังเกตและการสะกดรอย (จานวน ๕ ชม.)
๖.๓.๔ วิชาทุ่นระเบิดกับระเบิด (จานวน ๕ ชม.)
๖.๓.๕ วิชาการป้องกันนิวเคลียร์ ชีวะ เคมี เป็นบุคคล (จานวน ๒ ชม.)
๖.๔ การฝึกใช้อาวุธ (จานวน ๖๙ ชม.)
๖.๔.๑ การฝึกใช้อาวุธประจากาย ใช้อาวุธตามอัตราของหน่วยและการปรนนิบัติบารุง
(จานวน ๑๐ ชม.)
๖.๔.๒ การฝึกพลแม่นปืนเบื้องต้น (จานวน ๔๕ ชม.)
๖.๔.๒ การใช้ลูกระเบิดขว้าง (จานวน ๖ ชม.)
๖.๔.๓ การใช้ดาบปลายปืน (จานวน ๘ ชม.)
๖.๕ การฝึกทางยุทธวิธี (จานวน ๑๑๓ ชม.)
๖.๕.๑ การกาบังและการซ่อนพราง (จานวน ๗ ชม.)
๖.๕.๒ การฝึกบุคคลทาการรบในเวลากลางวัน (จานวน ๓๕ ชม.)
๖.๕.๓ การฝึกบุคคลทาการรบในเวลากลางคืน (จานวน ๑๐ ชม.)
๖.๕.๔ การฝึก เรื่องป้อมสนาม (จานวน ๖ ชม.)
๖.๕.๕ การฝึก เรื่องเครื่องกีดขวาง (จานวน ๕ ชม.)
๖.๕.๖ การยิงประกอบการเคลื่อนที่ (เป็นคู่) (จานวน ๓๐ ชม.)
๖.๕.๗ การลาดตระเวน, การระวังป้องกัน (จานวน ๑๒ ชม.)
๖.๕.๘ การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและการพักแรมในสนาม (จานวน ๘ ชม.)
๒ – ๖๕

๖.๖ การอบรม จ านวน ๕๖ ชม. ให้ ห น่ ว ยจั ด การสอนอบรมตามระเบี ย บและหลั ก สู ต รการฝึ ก


การฝึก ทหารใหม่เบื้ องต้ นทั่วไป ส าหรับทหารทุ กเหล่ าของ ทบ. (๑๐ สัปดาห์ ) พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยใช้เวลา
๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ ของวั น จั น ทร์ - ศุ ก ร์ การน าทหารใหม่ เยี่ ย มชมพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ และสถานที่ ส าคั ญ ทาง
ประวัติศาสตร์ให้กระทาในช่วงวันหยุดราชการ โดยไม่นับเป็นชั่วโมงการฝึกอบรม เพื่อให้ทหารใหม่ได้เห็น
วีรกรรม หรือสถานที่ ต่าง ๆ ที่สาคัญ ทางประวัติศาสตร์ เพื่อจะได้รู้ว่าวีรกษั ตริย์ วีรชน และบรรพบุ รุษ
ได้ปกป้องประเทศชาติมาอย่างไร
เรื่องที่ทาการอบรม มีดังนี้
- แบบธรรมเนียมทหาร
- อุดมการณ์ทางทหาร
- ความมั่นคงของชาติและหน้าที่พลเมือง
- ประวัติศาตร์วัฒนธรรมของชาติและพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์
- ศาตร์พระราชา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนาถบพิตร
- โครงการพระราชดาริ, ไร่นาสวนผสม
- วินัยของชาติ
- กิริยามารยาทราชสานัก และคาราชาศัพท์
- การพัฒนาบุคลิกภาพ
๖.๗ การฝึกในเวลากลางคืน จะต้องนาทหารใหม่ฝึกเวลากลางคืนตามเวลาจริง เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย
การปฏิบัติในความมืด เรื่องที่จะต้องดาเนินการฝึกในเวลากลางคืน ได้แก่ การฝึกบุคคลทาการรบในเวลา
กลางคืนและการฝึกเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางคืนโดยมีรายละเอียด ดังนี้.-
๖.๗.๑ การฝึกบุคคลทาการรบในเวลากลางคืน
๖.๗.๑.๑ การฟังเสียง การสูดกลิ่น การสัมผัส และการรักษาสายตาให้เห็นในเวลากลางคืน โดย
ให้นาทหารใหม่ออกทาการฝึกในเวลากลางคื น เรื่อง การฟั งเสียง, การสูดกลิ่น, การสัมผัส, การคลาเพื่อพิ สูจน์
ทราบสิ่งของต่าง ๆ และการรักษาสายตาให้เห็นในเวลากลางคืน รวมถึงการถอดประกอบอาวุธประจากายใน
ความมืด
๖.๗.๑.๒ การฝึ กการใช้ ส ายตาในเวลากลางคื น ให้ นาทหารใหม่ ทาการฝึก ในเวลา
กลางคืน ในเรื่องการพิสูจน์ทราบสิ่งต่าง ๆ โดยการตรวจการณ์ในที่มืด
๖.๗.๑.๓ การฝึกการใช้ที่ซ่อนพราง, การหาทิศ, การเคลื่อนที่และการปฏิบัติเมื่อมีการใช้พลุส่องแสง
ให้นาทหารใหม่ทาการฝึกในเวลากลางคืน, การเคลื่อนที่ในเวลากลางคืน,และการหาทิศโดยการดูดาวเหนือ
๖.๗.๒ การฝึกเดินทางด้ วยเข็มทิ ศในเวลากลางคืน ให้น าทหารใหม่ฝึกปฏิ บัติเดิ นทางด้วยเข็ มทิ ศ
ในเวลากลางคืนในสนามฝึ ก เดิ นทางด้ วยเข็ ม ทิศ ย่ อระยะในกรณี ที่ หน่ว ยไม่ มีส นามฝึ ก ฯ ให้ พิ จ ารณาใช้
พื้ น ที่ ใ นหน่ ว ยหรื อ พื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งหน่ ว ย โดยใช้ เ วลานอกหลั ก สู ต ร ตั้ ง แต่ ๒๐๐๐ – ๒๒๐๐
๒ – ๖๖

๖.๘. การยิ ง ปื น ของทหารใหม่ : จะต้ องท าการฝึ กตั้ ง แต่ ขั้ นพื้ น ฐานท่ ายิ ง, การเล็ งและการลั่ นไก,
การจัดศูนย์พอดี, การแก้ปัญหาเหตุติดขัดโดยฉับพลัน โดยการทาการฝึกยิงปืนด้วยกระสุนจริง จะต้องทาการฝึกยิง
แห้งบ่อย ๆ เพื่อให้ทหารเกิดความมั่นใจและชานาญในการใช้อาวุธ สาหรับการยิงด้วยกระสุนจริงจะต้องทาการ
ยิงปืนให้เป็นไปตามระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป สาหรับทหารทุกเหล่าของ
ทบ.(๑๐ สัปดาห์) พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังนี้
๖.๘.๑ การฝึกครูทหารใหม่ หน่วยฝึกจะได้รับ สป.๕ ตามที่ได้รับการสนับสนุนจาก ทบ. ทั้งใน
ส่วนผู้รับการฝึกครูทหารใหม่, ครูนายสิบ และผู้ฝึกที่ปฏิบัติหน้าที่ในการฝึกทหารใหม่
๖.๘.๒ การฝึกทหารใหม่จะได้รับ ก.ปล.๕.๕๖ มม. ตามที่ไ ด้รับการสนับสนุนจาก ทบ. จานวน
๑๘๓ นัด และกาหนดการยิงปืนตามตารางการฝึกยิงปืน ในตอนที่ ๘ ดังนี้.
๖.๘.๒.๑ การยิงจัดกลุ่มกระสุน จานวน ๒๗ นัด (เป้าปรับศูนย์รบ)
๖.๘.๒.๒ การยิงปรับศูนย์รบ จานวน ๑๘ นัด (เป้าปรับศูนย์รบ)
๖.๘.๒.๓ การยิงเพื่อความคุ้นเคย จานวน ๖๙ นัด (เป้าปรับศูนย์รบและเป้าหุ่นย่อส่วน)
๖.๘.๒.๔ การยิงประเมินผล จานวน ๖๙ นัด (เป้าปรับศูนย์รบและเป้าหุ่นย่อส่วน)
รวม ๑๘๓ นัด
๖.๘.๓ ผู้ฝึกทหารใหม่ ควรศึกษาในเรื่องการฝึกยิงปืนตาม รส.๒๓ - ๙, รส. ๒๓ – ๙ - ๑ ระเบียบและ
หลักสูตรการฝึก การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่ว ไป สาหรับทหารทุกเหล่าของ ทบ.(๑๐ สัปดาห์) พ.ศ.๒๕๖๒
เพื่อให้การยิงปืนของทหารใหม่ได้ผลดี และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
๖.๘.๔ ในกรณีที่ทหารใหม่ยิงปืนจัดกลุ่มกระสุน จานวน ๒๗ นัด ตามข้อ ๖.๘.๒.๑ ไม่ได้ผล
ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ ให้นาทหารใหม่กลับไปฝึกในสถานีการใช้คานฝึกเล็ง (การฝึกจัดศูนย์พอดี) ,
สถานีการใช้หีบการเล็ง (การเล็ง ๓ จุด), สนามฝึกยิงปืนเบื้องต้น (สนามฝึกยิงปืนแบบวงกลมและแบบขนาน
ฝึกการเล็ง – การลั่นไก) แล้วจึงนาทหารใหม่กลับไปทาการยิงจัดกลุ่มกระสุนใหม่อีกครั้ง
๖.๘.๕ การยิงประกอบการเคลื่อนที่ (เป็นคู่) ใช้ ก.ปล.๕.๕๖ มม.ซร. จานวน ๑๘ นัด/คน
๖.๘.๖ หาก ทบ.มีข้อจากัดในการสนับสนุน ก.ปล.ขนาด ๕.๕๖ มม. สาหรับการฝึก ยศ.ทบ.
จะทาการปรับอัตรากระสุนการฝึกทหารใหม่และแจ้งให้หน่วยรับทราบต่อไป
๖.๙ เวลาผู้บังคับบัญชา (ใช้ห้วงเวลา ๑๐๐๐ – ๑๒๐๐ ทุกวันเสาร์ของสัปดาห์)
๖.๙.๑ เวลาผู้บังคับบัญชานี้ ใช้สาหรับผู้บังคับบัญชาได้มาพบปะทหารใหม่เพื่อชี้แจงหรือสร้างความสัมพันธ์
ทางจิตใจกับทหารใหม่ ดังนี้.-
๖.๙.๑.๑ การปรับสภาพจากบุคคลพลเรือนมาเป็นทหาร
๖.๙.๑.๒ ปรึกษาปัญหาด้านครอบครัวและเรื่องส่วนตัว
๖.๙.๑.๓ ปรึกษาปัญหาด้านสุขภาพและยาเสพติด
๖.๙.๑.๔ ปรึกษาปัญหาเรื่องอื่น ๆ
๒ – ๖๗

๖.๙.๒ การอบรมของ อศจ. ถ้ากาหนดให้อบรมเรื่องที่มีอยู่ในหลักสูตรบางเรื่องก็ได้


๖.๙.๓ ควรจัดให้มกี ารรื่นเริงของทหารใหม่ตามความเหมาะสม เพื่อทหารใหม่จะได้มีการ
แสดงออกซึ่งความสนุกสนานบ้าง ต่อหน้าเพื่อนฝูงและผู้บังคับบัญชาหรือให้ทหารใหม่ได้มีโอกาสระบาย
ความรู้สึกต่าง ๆ เพื่อลดภาวะความเครียดทางจิตใจตามนโยบาย ผบ.ทบ.
๖.๑๐ เวลาที่ ใช้ ในการประเมิ นผล มี จ านวน ๑๙ ชม. ให้ ผบ.หน่ วย ตั้ งแต่ ระดั บผู้ บั งคับกองพั น หรื อ
เทียบเท่าจัดให้มีการประเมินผลเมื่อจบการฝึกในแต่ละวิชาหรือหน่วยพิจารณาการตรวจสอบได้เองตามความเหมาะสม

…………………………………………………
๒ – ๖๘

ตอนที่ ๓
การประเมินผลการฝึกทหารใหม่
การประเมินผลการฝึกทหารใหม่ ใช้คู่มือการประเมินผลการฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป สาหรับทหาร
ทุกหน่วยของ ทบ. (๑๐ สัปดาห์ ) พ.ศ.๒๕๖๓ ประกอบกั บคาแนะน าการตรวจสอบการฝึกทหารใหม่ของ ทบ.
พ.ศ. ๒๕๖๓
๑. การประเมินผล เป็นเครื่องมือในการประเมินค่าการฝึกของทหารใหม่ใน ทบ. โดยให้หน่วยฝึกทหารใหม่
สามารถคัดเลือกทหารใหม่ที่มีความรู้ความสามารถในแต่ละวิชา เข้าทาการตรวจสอบการฝึกทหารใหม่ได้
(ไม่มีการจับฉลากเลือกตัวบุคคล) เพือ่ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันในวิชาการฝึกดังนี้
๑.๑ วิชาการทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย
๑.๒ วิชาการฝึกบุคคลท่าเบื้องต้นและแถวชิด
๑.๓ วิชาการใช้อาวุธประจากาย
๑.๔ วิชาการยิงปืนด้วยกระสุนจริง
๑.๕ วิชาทหารทั่วไปและการฝึกทางยุทธวิธี
๒. เจ้ า หน้ าที่ ป ระเมิ น ผล ผู้ บั ง คั บ หน่ วยทหารระดั บ กองพั น หรือ เที ย บเท่ า จะต้ อ งออกค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง
คณะกรรมการประเมินผล โดยมีจานวนกรรมการตามความเหมาะสม ซึ่งประกอบด้วย
๒.๑ ประธานกรรมการ ๑ นาย
๒.๒ หัวหน้ากรรมการประจาวิชา จานวน ๕ นาย
๒.๓ กรรมการประจาวิชา จานวนตามความเหมาะสม
๒.๔ ผู้ช่วยกรรมการประจาวิชา จานวนตามความเหมาะสม
หมายเหตุ ผู้ บั งคั บ หน่ ว ยระดั บ กองพั น หรื อ เที ย บเท่ า ควรจะต้ อ งมี ก ารประชุ ม ชี้ แ จง อบรม เจ้ าหน้ า ที่
ประเมินผลที่เป็นกรรมการในคณะกรรมการประเมินผลการฝึกให้ทราบถึงวิธีการประเมินผลการฝึกที่ชัดเจน
และถูกต้องสามารถทาการประเมินผลการฝึกทหารใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. วิธีดาเนินการประเมินผล
๓.๑ หน่ วยฝึ กทหารใหม่ ส ามารถคั ด เลื อ กทหารใหม่ ที่ มี ค วามรู้ค วามสามารถในแต่ ละวิช า เข้ ารับการ
ประเมินผลในทุกวิชาที่ท าการฝึก โดยใช้ระบบการตรวจสอบการฝึก ๑ วันต่อ ๑ หน่ วยต่อ ๖ สถานี การจาหน่าย
กระทาได้เฉพาะกรณีจาเป็นเท่านั้น เช่น ทหารใหม่เจ็บป่วย ไม่สามารถเข้ารับการประเมินผลการฝึกได้ เป็นต้น
๓.๒ ให้ทาการประเมินผล โดยใช้รายละเอียดตามหัวข้อการประเมินผลในคู่มือการประเมินผลการฝึกทหารใหม่
เบื้องต้นทั่วไป สาหรับทหารทุกหน่วยของ ทบ. (๑๐ สัปดาห์) พ.ศ.๒๕๖๓ ประกอบคาแนะนาการตรวจสอบการฝึก
ทหารใหม่ของ ทบ. พ.ศ. ๒๕๖๓
๓.๓ การทดสอบความรู้ของวิชาการอบรม ให้ผู้สอนใช้วิธีสอบถามความเข้าใจของทหารใหม่ โดยการสุ่มตัวอย่างเป็น
รายบุคคล ในช่ วงท้ายชั่วโมงของวิชาการสอนอบรม ตามค าแนะน าการตรวจสอบการฝึกทหารใหม่ ของ ทบ. พ.ศ.
๒๕๖๓
๓.๔ วิชาการยิงประกอบการเคลื่อนที่ (เป็นคู่) การสังเกต การสะกดรอย และการรายงาน ซึ่งเป็นวิชาที่เพิ่มเติมขึ้นใหม่
ให้ หน่วยทาการประเมินผลเมื่ อจบการฝึกเป็นรายวิชา โดยให้ ผบ.หน่วย เป็นผู้พิ จารณาจัดคณะกรรมการประเมินผล
ตามความเหมาะสม
๒ – ๖๙

๓.๕ คณะกรรมการประเมินผล จะต้องใช้เวลาทาการประเมินผลการฝึกทหารใหม่ของหน่วยตามที่ ระเบียบ


และหลักสูตร ฯ กาหนดคือจานวน ๑๙ ชั่วโมง หรือใช้ระบบการตรวจสอบการฝึก ๑ วันต่อ ๑ หน่วยต่อ ๖ สถานี
ตามคาแนะนาการตรวจสอบการฝึกทหารใหม่ของ ทบ. พ.ศ. ๒๕๖๓
๓.๖ การจัดห้วงเวลาการประเมินผล ใช้แนวทางคาแนะนาการตรวจสอบการฝึกทหารใหม่ของ ทบ. พ.ศ. ๒๕๖๓
๓.๗ หลักเกณฑ์ในการประเมินผล ใช้แนวทางคาแนะนาการตรวจสอบการฝึกทหารใหม่ของ ทบ. พ.ศ. ๒๕๖๓
๓.๘ ทหารใหม่ที่มีผลการประเมิน ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนด ให้ทาการฝึกอบรมเพิ่ มเติมและทาการ
ตรวจสอบประเมินผลการฝึกซ้า
๔. การรายงานผลการประเมิน
๔.๑ กรรมการที่ ทาหน้าที่ประเมิ นผลแต่ ละวิชาจะต้องรายงานผลการประเมินรวมทั้ งบั นทึ กสรุปผล และ
รายละเอียดประกอบให้ผู้บังคับหน่วยทราบ ภายใน ๒๔ ชั่วโมง โดยผ่านทางประธานกรรมการประเมินผล
๔.๒ ผู้บังคับหน่วยรายงานผลให้ผู้บัง คับหน่วยเหนือทราบภายในเวลา ๓ วัน นับตั้งแต่ประเมินผลเสร็จ
เรียบร้อย
๔.๓ การรายงานผล ถ้าหน่วยใดผลการฝึกอยู่ในเกณฑ์ “ไม่ผ่าน” ตามมาตรฐานที่กาหนด จะต้องให้
เหตุผลประกอบ ดังนี้
๔.๓.๑ วิชาใดทีไ่ ม่ผ่านมาตรฐานที่กาหนด
๔.๓.๒ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างดาเนินการฝึก
๔.๓.๓ ความผิดปกติของตัวทหารใหม่ที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
๔.๓.๔ อื่น ๆ
รายละเอียดในการประเมินผลนั้นกระทาได้ ทั้งการประเมินผลการฝึกเป็นบุคคล และการประเมินผล
เป็นหน่วยโดยคณะกรรมการ ฯ และผู้ฝึกอาจนาเอาวิธีการประเมินผลการฝึกนี้ไปดาเนินการประเมินผลขณะทา
การฝึกได้ทุกเนื้อหาวิชาที่ทาการสอน หรือฝึกอื่น ๆ ได้
หมายเหตุ : การปฏิ บั ติในการรายงานผลการฝึ กและตรวจสอบ ให้ ห น่ ว ยจัด ส่ งสรุป ผลการฝึ ก และ
ตรวจสอบภายใน ๑๕ วัน หลังจบห้วงการฝึกและตรวจสอบ โดยให้ปฏิบัติดังนี้
๑. หน่วยจัดการฝึกส่งสรุปรายงานผลการฝึกและตรวจสอบ รวมทั้งบทเรียนจากการฝึ ก
เสนอ เหล่าสายวิทยาการของตน จานวน ๑ ชุด และหน่วยเหนือ ระดับกองพล หรือหน่วยเหนือระดับ
นขต.ทบ. จานวน ๑ ชุด
๒. หน่วยบังคับบัญชาระดับกองพล หรือ นขต.ทบ. รวบรวมผลการฝึกและตรวจสอบของ
หน่วยในบังคับบัญชาของตนที่ได้รับตามข้อ ๑ เสนอ ยศ.ทบ.โดยตรง จานวน ๑ ชุด
๓. การรายงานผลการฝึ ก และตรวจสอบของหน่ ว ย ให้ ใ ช้ แบบฟอร์ม การรายงานตาม
ที่กาหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกทหารใหม่

……………………………….
แบบฟอร์มการบันทึกผลการฝึกเป็นบุคคล (ไว้ที่หน่วย)
--------------------------------------
แบบบันทึกผลเป็นบุคคล
ยศ - ชื่อ…………………………………………………..ตาแหน่ง………………………………………ชกท………………..สังกัด……………………..
การฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึก….(การฝึกทหารใหม่, การฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าที่, การฝึกครูทหารใหม่, การฝึกสิบตรีกองประจาการ, การฝึก ชกท.ของเหล่าต่าง ๆ
การฝึกบิน ฯลฯ)….
เรื่อง / วิชาที่ทาการฝึก…………………………………………………………
มาตรฐานการฝึก………………………………………………………………
การประเมินผล
ผลการประเมิน ยศ-ชื่อ-ตาแหน่งของผู้ประเมิน
ลาดับ กิจเฉพาะ และข้อคิดเห็น ปัญหาข้อขัดข้องที่สาคัญ หมายเหตุ
ครั้งที่ ว.-ด.-ป.
ผ่าน ไม่ผ่าน ผบช.ตามลาดับชั้น

๒ - ๗๐
ครูฝึก/ผบช.โดยตรง
เหนือขึ้นไป ๑ ระดับ
๑ ๑


ฯลฯ
๒ ๑


ฯลฯ
หมายเหตุ การบันทึกผลการฝึกเป็นบุคคล ให้ทาสาเนาบันทึกเป็นหลักฐานไว้ที่หน่วยบังคับบัญชาขึ้นไปถึงระดับกองร้อยหรือเทียบเท่า
ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ) ร.อ……………………………..
(…………………………….)
กรรมการประเมินผล
๒ – ๗๑
คำชี้แจงประกอบ (แบบฟอร์มกำรบันทึกผลเป็นบุคคล)
-----------------------------
๑. ช่องลำดับ ให้บันทึก จำนวนเรื่องของวิชำที่ทำกำรฝึก
๒. ช่องกิจเฉพำะ ให้บันทึก เรื่องต่ำง ๆของวิชำที่ทำกำรฝึก
๓. ช่องกำรประเมินผล ให้ บั น ทึ ก กำรท ำกำรประเมิ น ผลและบั น ทึ ก ผล ของครู ฝึ ก /
ผบช. โดยตรง หรือ ผบช. ตำมลำดับชั้นเหนือขึ้นไป ๑ ระดับ ซึ่งจะทำกำรประเมินผลกี่ครั้งก็ได้โดยแสดง
เครื่อ งหมำย ( / ) ในช่ อ ง “ผ่ ำน” เมื่ อ ผ่ ำนตำมเกณฑ์ ม ำตรฐำนที่ ก ำหนด และแสดงเครื่ องหมำย ( / )
ในช่อง “ไม่ผ่ำน” เมื่อไม่ผ่ำนตำมเกณฑ์มำตรฐำนที่กำหนด
๓.๑ ช่องครั้งที่ ให้บันทึก ลำดับครั้งที่ทำกำรประเมินผลในกิจเฉพำะนั้น
๓.๒ ช่อง ว. – ด. - ป. ให้บันทึก วัน เดือน ปี ที่ทำกำรประเมินผลตำมลำดับครั้ง
๓.๓ ช่องผลกำรประเมิน ให้บันทึก ผลของกำรประเมินโดยแสดงเครื่องหมำย ( / ) ในช่อง
“ผ่ำน” หรือ “ไม่ผ่ำน” ตำมลำดับ
๓.๔ ช่องผู้บั นทึก กำรประเมิ นผล(ครูฝึ ก/ผบช. โดยตรง) ให้ล งนำมผู้บัน ทึก และข้อคิ ดเห็ น
ทุกครั้งที่ทำกำรฝึกในแต่ละกิจเฉพำะเสร็จสิ้นลงหรือเมื่อมีกำรทบทวนในกิจเฉพำะนั้น ๆ
๓.๕ ช่อ งผู้ บั น ทึ ก กำรประเมิ น ผล (ผบช. ตำมลำดั บ ขั้น เหนื อ ขึ้น ไป ๑ ระดั บ ) ให้ ล งนำม
ผู้บันทึกและข้อคิดเห็น ซึ่งจะทำกำรประเมินผลและบันทึกผลในโอกำสใดก็ได้ เพื่อประเมินค่ำขีดควำมสำมำรถของ
กำลังพล
๔. ช่องปัญหำข้อขัดข้องที่สำคัญ ให้บันทึก ปัญ หำข้อขัดข้องที่สำคัญ ซึ่งผู้บันทึกพิจำรณำแล้ว
เห็ น ว่ ำ หำกละเลยถึ ง ปั ญ หำนี้ แ ล้ ว จะมี ผ ลกระทบต่ อ ประสิ ท ธิ ภ ำพและขี ด ควำมสำมำรถของก ำลั ง พล
ที่เข้ำรับกำรฝึก

---------------------
แบบฟอร์มตารางแสดงผลการฝึกเป็นส่วนรวมของหน่วยฝึกประกอบความเห็น
ตารางแสดงผลการฝึกทหารใหม่เป็นส่วนรวมประกอบความคิดเห็น
หลักสูตรการฝึกทหารใหม่ รุ่นปี……………ผลัดที่……………หน่วย…………..

เวลา ผลการฝึกเฉลี่ยทั้งหน่วย ความเห็นของหน่วยฝึก


ลาดับ วิชาและเรื่องที่ฝึก
ในหลักสูตร ที่ใช้ฝึกจริง เปอร์เซ็นต์ ชั้น ข้อขัดข้อง สิ่งที่ควรแก้ไข

๒ -๗๒
(ลงชื่อ)………………………………………….
(………………………….)
ตำแหน่ง ผู้บังคับหน่วย

หมายเหตุ
๑. ตารางนี้ใช้สาหรับผู้บังคับหน่วยฝึกบันทึกผลการฝึกเป็นส่วนรวมของทุกวิชาที่ปรากฏอยู่ในหลักสูตรการฝึก
๒. ผบ.หน่วยฝึกจะบันทึกได้โดยรวบรวมจากรายงานของผู้ฝึกสอนหรือผู้ฝึก และจากการตรวจการฝึกด้วยตนเองอย่างใกล้ชิด
๓. หลักฐานนี้เก็บไว้ที่หน่วยฝึก ๑ ชุด เสนอเหล่าสายวิทยาการของตน และ ยศ.ทบ.หน่วยละ๑ ชุด และรายงานตามสายการบังคับบัญชาจนถึงกองทัพภาค
๔. การบันทึกผลการฝึกเป็นส่วนรวมประกอบความคิดเห็น ให้ยึดถือเกณฑ์การประเมินผลเช่นเดียวกับ ผนวก ง ในระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกทหารใหม่เบื้องต้นทั่วไป
สาหรับทหารทุกเหล่า ของ ทบ. (๑๐ สัปดาห์) ปี ๒๕๖๒
๒ – ๗๓

ตอนที่ ๔
การสนับสนุนการฝึก

๑. การสนับสนุนจากหน่วยฝึก หรือหน่วยบังคับบัญชา
๑.๑ จัดแบ่ง สป.๕ สาหรับการฝึกทหารใหม่ไว้อย่างเหมาะสมและพอเพียง
๑.๒ จัดเตรียมเป้าไว้อย่างพอเพียง
๑.๓ จัดหาหลักฐานการฝึก, คู่มือ, เอกสาร, ตารา และเครื่องช่วยฝึก ให้พร้อมที่จะนาไปใช้ในการฝึก
๑.๔ สนับสนุนในด้านธุรการอื่น ๆ เช่น รถพยาบาล เป็นต้น
๒. การสนับสนุนจาก ยศ.ทบ.
๒.๑ งบประมาณค่าเครื่องช่วยฝึก
๒.๑.๑ ค่าเครื่องช่วยฝึกสิ้ นเปลือง สนั บสนุ นให้ เป็ นค่ าวัสดุ สิ้นเปลื องเป็ น รายบุ คคลเฉพาะ
การฝึกทหารใหม่ จานวน ๖๐ บาท/คน, การฝึกครูทหารใหม่ ๒ ผลัด, การฝึกสิบตรีกองประจาการ หน่วยฝึกละ
๒,๐๐๐ บาท/ผลัด (๖,๐๐๐ บาท), การฝึกทหารใหม่ ๒ ผลัด หน่วยฝึกละ ๒,๐๐๐ บาท ( ๔,๐๐๐ บาท)
๒.๑.๒ ค่าเบี้ยเลี้ยงฝึกนอกที่ตั้ง (ค่าเบี้ยเลี้ยง และเงินเพิ่มพิเศษพลทหาร สาหรับเดินทางไกล
ทหารใหม่) ๒ วัน/ผลัด ตามยอดกาลังพลที่จัดการฝึก
๒.๑.๓ สป.๓ ให้การสนับสนุน สป.๓ ประเภทเบนซินไร้สารฯ ๙๑ และดีเซลหมุนเร็ว แก่หน่วยฝึก
ทหารใหม่ ตามที่ได้รับการจัดสรรจาก ทบ. ตามวงรอบการฝึกประจาปี ๒๕๖๓
๒.๒ เอกสาร, ตารา, เครื่องช่วยฝึก, แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก, ฟิล์มภาพยนตร์, วีดีทัศน์, แผ่นบันทึกข้อมูล
๒.๓ สป.๕, เป้า และวัตถุระเบิด ให้การสนับสนุนแก่หน่วยฝึกทหารใหม่ ทั้งนี้ให้ เป็นไปตามเกณฑ์
การแจกจ่ายในข้อ ๖
๓. การส่งกาลังบารุงจากเหล่าสายยุทธบริการอื่น ๆ
๓.๑ สพ.ทบ. (สป.๕, อาวุธ, ยุทโธปกรณ์อื่น ๆ)
๓.๒ พธ.ทบ. (สป.๓, เครื่องแต่งกาย, เครื่องสนาม ฯลฯ)
๔. สิ่งอุปกรณ์ และเครื่องช่วยฝึก ให้นามาใช้ประกอบการฝึกอย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์สูง สุด
ตลอดจนให้ คิ ด ค้ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ส าหรั บ เป็ น เครื่อ งมื อ ช่ วยในการฝึ ก สอน ให้ ท หารใหม่ เรี ย นรู้ เข้ าใจ และ
เกิดทักษะความชานาญในการปฏิบัติ
๕. การจาหน่ายเครื่องช่วยฝึก ให้หน่วยปฏิบัติตามระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.๒๕๓๙
๖. เกณฑ์การแจกจ่าย
๖.๑ การฝึกครูทหารใหม่ใช้ ก.ปล.๕.๕๖ มม.ธด. จานวน ๕๐ นัด/นาย ตามที่ได้รับการสนับสนุน
จาก ทบ.โดยทาการฝึกยิงปืนทุกนายทั้งผู้ฝึก, ผู้ช่วยผู้ฝึก, ครูนายสิบ และครูทหารใหม่ ใช้ตารางการฝึกยิงปืน
ตามระเบียบการฝึกทหารใหม่ ๑๐ สัปดาห์ พ.ศ.๒๕๖๒ (ตอนที่ ๘)
๒ – ๗๔

๖.๒ การฝึ ก ทหารใหม่ ผลั ด ที่ ๒/๖๓ และผลั ด ที่ ๑/๖๔ ใช้ ก.ปล.๕.๕๖ มม.ธด.ตามที่ ได้ รั บ
การสนับ สนุนจาก ทบ. จานวน ๑๘๓ นัด/นาย โดยใช้ตารางการฝึกยิง ปืน ตามระเบี ยบการฝึกทหารใหม่
๑๐ สัปดาห์ พ.ศ.๒๕๖๒ (ตอนที่ ๘) ทั้งนี้ ทบ. มีข้อจากัดในการสนับสนุน ก.ปล.๕.๕๖ มม.สาหรับการฝึก
ยศ.ทบ. จะทาการปรับอัตรากระสุนการฝึกทหารใหม่ และแจ้งให้หน่วยรับทราบต่อไป
๖.๓ การฝึ กการยิ งประกอบการเคลื่ อนที่ (เป็ นคู่ ) ของทหารใหม่ ใช้ ก.ปล.๕.๕๖ มม.ซร. จ านวน
๑๘ นัด/คน
๖.๔ เป้าสาหรับการฝึกครูทหารใหม่ และการฝึกทหารใหม่ในงบประมาณปี ๒๕๖๔ มีดังนี้
๖.๔.๑ การฝึกครูทหารใหม่
๖.๔.๑.๑ เป้าปรับศูนย์รบ ๒ เป้า/คน
๖.๔.๑.๒ เป้ารูปหุ่นย่อส่วน ๒ เป้า/คน
๖.๔.๒ การฝึกทหารใหม่
๖.๔.๒.๑ เป้าปรับศูนย์รบ ๔ เป้า/คน
๖.๔.๒.๒ เป้ารูปหุ่นย่อส่วน ๖ เป้า/คน
๗. เบี้ยเลี้ยงฝึกนอกที่ตั้ง : ทหารใหม่ ออกฝึกนอกที่ตงั้ จะได้รับเงินเพิ่มพิเศษวันละ ๒๔ บาท
๘. รายละเอียดเพิ่มเติม ให้ประสาน สกฝ.ยศ.ทบ., โทร.ทศท.๐-๒๒๔๑ – ๔๑๐๖, โทร.ทบ. ๘๙๐๒๒ – ๒๓
หมายเหตุ การสนั บสนุนการฝึกทหารใหม่ เป็ นหน้ าที่ของผู้ บังคั บบั ญชาของหน่ วยฝึ กทหารใหม่ ที่จะ
สนับสนุน งบประมาณและสิ่งอุปกรณ์ตามที่ได้รับการแบ่งมอบจาก ทบ. สาหรับใช้ในการฝึกได้ครบถ้วน
ทั น เวลาและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สาหรั บ หน่ ว ยที่ ฝ ากทหารใหม่ ให้ หน่ วยอื่ นฝึ ก มี หน้ าที่ ด าเนิ นการ และ
ให้การสนับสนุนหน่วยฝึกทหารใหม่ที่ตนฝากการฝึกไว้ด้วย

*********************************************

ตรวจถูกต้อง
พ.อ. เฉลิมพล จันดา
( เฉลิมพล จันดา )
ผอ.กตฝ.สกฝ.ยศ.ทบ.
๒ – ๗๕

ตอนที่ ๕
ตารางตรวจสอบรายวิชาการฝก ๕๐๐ ชัว่ โมง
ตารางตรวจสอบรายวิชาการฝกทหารใหมจํานวน 500 ชั่วโมง
หนวยฝกทหารใหม ............................................
เวลา จํานวนชั่วโมงที่ฝกแลว
ลําดับ เรื่องที่ทําการฝก หมายเหตุ
(ชม.) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37
ก. กรรมวิธีรับทหารใหมเขาหนวย 30
1 ข. การฝกบุคคลเบื้องตน 78
1.1 บุคคลทามือเปลา
1.2 บุคคลทาอาวุธ
1.3 การเดินสวนสนาม
1.4 แถวชิด
ค. การเสริมสรางความสมบูรณแข็งแรงทางรางกาย 65

๒ - ๗๖
2 กายบริหาร/ศิลปะการตอสูปองกันตัว 53
3 การทดสอบความสมบูรณแข็งแรงทางรางกาย 12
ง. การชวยเหลือประชาชน 40
4 จิตอาสา 10
5 การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 16
6 การปฐมพยาบาล 14
6.1 การปฐมพยาบาลเบื้องตน
6.2-การเขาเฝอก
6.3-การหามเลือด
6.4-การทําเปลสนาม
จ. การสอนอบรม 56
7 5.1 แบบธรรมเนียมทหาร 4
8 5.2 อุดมการณทางทหาร 6
เวลา จํานวนชั่วโมงที่ฝกแลว
ลําดับ เรื่องที่ทําการฝก หมายเหตุ
(ชม.) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37
9 5.3 ความมั่นคงของชาติและหนาที่พลเมือง 2
10 5.4 ประวัติศาสตรชาติไทยและพระราชกรณียกิจ 12
ของพระมหากษัตริย
11 5.5 ศาสตรพระราชา เขาใจ เขาถึง พัฒนา และ 12
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
12 5.6 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ, ไรนา 8
สวนผสม
13 5.7 วินัยของชาติ 4
14 5.8 กิริยามารยาทราชสํานัก และคําราชาศัพท 4
15 5.9 การพัฒนาบุคลิกภาพ 4

๒ -๗๗
ฉ. วิชาทหารทั่วไป 30
16 การติดตอสื่อสาร 8
16.1 การรับ -สงขาว
16.2 การติดตอสื่อสารทางวิทยุ
16.3 การติดตอสื่อสารทางสาย
17 การอานแผนที่และการใชเข็มทิศ 10
17.1 การอานแผนที่
17.2 การใชเข็มทิศ
18 การขาวเบื้องตน 5
19 การระเบิดทําลาย, ทุนระเบิดและกับระเบิด 5
เวลา จํานวนชั่วโมงที่ฝกแลว
ลําดับ เรื่องที่ทําการฝก หมายเหตุ
(ชม.) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37
20 การปองกันนิวเคลียร, ชีวะและเคมีเปนบุคคล 2
ช. การฝกการใชอาวุธ 69
21 การฝกใชอาวุธประจํากาย/ยิงปนดวยกระสุนจริง 55
21.1 การฝกทายิงเบื้องตน, การบรรจุและเลิกบรรจุ
21.2 การฝกคานเล็ง
21.3 การฝกเล็งสามจุด
21.4 การยิงปนดวยกระสุนจริง
22 การใชลูกระเบิดขวาง 6
การสอนเชิงสาธิต

๒ -๗๘
การปฏิบัติในสนามฝก
23 การใชดาบปลายปน 8
ซ. การฝกทางยุทธวิธี 113
24 การกําบังและการซอนพราง 7
25 การฝกบุคคลทําการรบในเวลากลางวัน 35
25.1 การสอนเชิงสาธิต
25.2 การปฏิบัติภาคสนาม
26 การฝกบุคคลทําการรบในเวลากลางคืน 30
26.1 การสอนเชิงสาธิต
26.2 การปฏิบัติภาคสนาม
27 ปอมสนาม 6
เวลา จํานวนชั่วโมงที่ฝกแลว
ลําดับ เรื่องที่ทําการฝก หมายเหตุ
(ชม.) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37
28 เครื่องกีดขวาง 5
29 การยิงประกอบการเคลื่อนที่ ( เปนคู ) 30
29.1 การสอนเชิงสาธิต

๒ -๗๙
29.2 การปฏิบัติภาคสนาม
30 การลาดตระเวน/การระวังปองกัน 12
31 การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธีและการพักแรมในสนาม 8
ด.การตรวจสอบ 19
๓-๑

บทที่ ๓
นโยบาย, คาสั่ง และคาแนะนาที่เกี่ยวข้องกับการฝึกทหารใหม่
ตอนที่ ๑
นโยบายการฝึก

(สำเนำ)
คำสั่งกองทัพบก
ที่ ๒๔๑/๒๕๓๖
เรื่อง นโยบำยกำรฝึกทหำรใหม่กองทัพบก
-------------
๑. กล่ำวทั่วไป
๑.๑ กองทัพบกได้กำหนดนโยบำยด้ำนกำรฝึกไว้ว่ำ ให้หน่วยเพ่งเล็งและให้ควำมสำคัญ ต่อ
กำรฝึกตำมวงรอบประจำปี โดยถือว่ำเป็นกำรฝึกที่เป็นมำตรฐำนของกองทัพบก ซึ่งจะต้องจัดให้มีกำรฝึกทุกขั้นตอน
และทุกหลักสูตรตั้งแต่กำรฝึกเป็นบุคคล, กำรฝึกเป็นหน่วยเบื้องต้น และกำรฝึกเป็นหน่วยเบื้องสูงตำมลำดับ
๑.๒ กำรฝึกทหำรใหม่เป็นส่วนหนึ่งของกำรฝึกเป็นบุคคล ซึ่งจัดสำหรับทหำรกองประจำกำร
ที่เข้ำมำรับรำชกำรตำมพระรำชบัญญัติรับรำชกำรทหำร โดยทหำรกองประจำกำรดังกล่ำวเป็นกำลังพลส่วนใหญ่
ของกองทัพบก ที่ประกอบขึ้นเป็นหน่วยทหำรต่ำง ๆ กำรฝึกทหำรใหม่จึงเป็นกำรฝึกที่เป็นพื้นฐำนและเป็นกำรฝึก
หลักที่มีควำมสำคัญยิ่ง กล่ำวคือ เป็นกำรฝึกเพื่อเปลี่ยนสภำพทหำรกองประจำกำรจำกบุคคลพลเรือนให้เป็นทหำร
เป็นกำรฝึกเพื่อให้ทหำรกองประจำกำรสำมำรถปฏิบัติงำนตำมตำแหน่งหน้ำที่ และทำให้หน่วยมีควำมพร้อมรบในขณะ
ประจำกำรและเป็นกำรฝึก เพื่อให้ทหำรกองประจำกำรสำมำรถนำวิชำควำมรู้ และประสบกำรณ์ ไปใช้ในกำรพัฒนำประเทศ
เมื่อปลดจำกประจำกำรไปแล้วได้
๑.๓ โดยที่ ก ำรรับ รำชกำรเป็ น ทหำรกองประจ ำกำรเป็ น ไปตำมข้ อ บั ง คั บ ของกฎหมำย
ประชำชนที่อยู่ในหลักเกณฑ์บำงส่วน จึงไม่มีควำมสมัครใจและพยำยำมหลีกเลี่ยงกำรเข้ำรับรำชกำรทหำร รวมทั้งมี
ทัศนคติที่ขัดแย้งต่อกำรเข้ำรับรำชกำรทหำร และกำรฝึกของทหำรกองประจำกำรอยู่เสมอ
๒. วัตถุประสงค์ ปรับปรุงระบบกำรฝึกทหำรใหม่ของกองทัพบก เพื่อให้กำรฝึกเป็นไปอย่ำงมี
ประสิทธิภำพ เป็นมำตรฐำนเดียวกัน และเสริมสร้ำงให้บังเกิดภำพลักษณ์ที่ดีต่อกองทัพบก
๓. นโยบำยทั่วไป
๓.๑ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับกำรฝึกทหำรใหม่ทั้งปวง ได้แก่ ผู้บังคับบัญชำตำมลำดับชั้น จนถึงผู้ฝึก
ทหำรใหม่ จะต้องได้รับทรำบนโยบำยกำรฝึกทหำรใหม่ของกองทัพบกโดยถ่องแท้และถูกต้องตรงกัน กับจะต้อง
ปฏิบัติตำมนโยบำยดังกล่ำวอย่ำงเคร่งครัด
๓–๒
๓.๒ ในด้ำนจิตใจ จะต้องทำกำรฝึกเพื่อเสริมสร้ำงให้ ทหำรกองประจำกำร รวมถึงครอบครัว
บังเกิดควำมรักควำมผูกพัน และควำมศรัทธำต่อครูฝึก ผู้ฝึก ผู้บังคับบัญชำ และหน่วยเป็นส่วนรวม อันจะเป็นผลให้
ชำยไทยมีควำมเต็มใจ และสมัครใจเข้ำรับใช้ชำติในกำรเป็นทหำร มีควำมเสียสละและอดทนไม่ย่อท้อ ต่อกำรฝึก
มีวินัย และตั้งใจปฏิบัติหน้ำที่ตำมที่ได้รับมอบหมำยจนครบระยะเวลำประจำกำรที่กำหนด
๓.๓ หลักสูตรกำรฝึกทหำรใหม่ จะต้องได้รับกำรปรับปรุงพัฒนำให้ทันสมัย และเสริมสร้ำง
ควำมชำนำญ ในกำรปฏิบัติด้วยระยะเวลำอันสั้นที่สุดเท่ำที่จะกระทำได้และกำรจัดสรรทรัพยำกรต่ำง ๆ เพื่อใช้ใน
กำรฝึกตำมหลักสูตรกำรฝึกทหำรใหม่ให้ถือว่ำเป็นเรื่องที่มีควำมสำคัญในควำมเร่งด่วนอันดับแรก
๓.๔ กำรลงทั ณฑ์ ทหำรกองประจ ำกำรที่ กระท ำผิ ดวินั ยทหำร ให้ ด ำเนิ นกำรตำมวิ ธีกำรและ
ตำมอำนำจ กำรลงทัณฑ์ที่กำหนดไว้ในประมวลวินัยทหำร ซึ่งมี ๕ สถำน ได้แก่ ภำคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กัก ขัง
และจำขังเท่ำนั้น ห้ำมใช้วิธีกำรลงทัณฑ์ที่นอกเหนือจำกนี้โดยเด็ดขำด
๔. นโยบำยเฉพำะ ให้หน่วยและผู้ที่เกี่ยวข้องดำเนินกำรดังนี้.
๔.๑ กรมยุทธศึกษำทหำรบก
๔.๑.๑ กำหนดนโยบำยและแนวทำงปฏิบัติในรำยละเอียดเพิ่มเติม รวมทั้งกำกับดูแล
กำรปฏิบัติ เพื่อให้เป็นไปตำมนโยบำยนี้ และให้ข้อเสนอแนะหนทำงปฏิบัติ ในกำรปรับปรุงระบบกำรฝึกทหำรใหม่
ต่อกองทัพบกอย่ำงต่อเนื่อง
๔.๑.๒ ด ำเนิ น กำรให้มี โสตทั ศนู ป กรณ์ และเอกสำรคู่ มือ ผู้ฝึ กทหำรใหม่ เพื่ อแจกจ่ ำย
ให้หน่วยใช้ในกำรฝึกสอนผู้ฝึกทหำรใหม่ ให้เข้ำใจขั้นตอนและวิธีกำรปฏิบัติในกำรฝึกทหำรใหม่อย่ำงทั่วถึง
๔.๑.๓ ดำเนินกำรให้มีกำรประชุมสัมมนำหรือชี้แจงผู้ฝึกทหำรใหม่ ทุกหน่วยและทุกผลัด
เพื่อให้ทรำบและปฏิบัติตำมนโยบำยและแนวทำงปฏิบัติในกำรฝึกทหำรใหม่ของกองทัพบกอย่ำงถูกต้อง
๔.๑.๔ ปรั บปรุ งพั ฒนำหลั กสู ตรกำรฝึ กทหำรใหม่ และก ำหนดควำมต้ องกำรทรั พยำกร
เพื่อสนับสนุน กำรฝึกตำมหลักสูตรกำรฝึกทหำรใหม่ให้สอดคล้องกับควำมจำเป็นอย่ำงเพียงพอ
๔.๒ ผู้บังคับบัญชำตำมลำดับชั้น
๔.๒.๑ จะต้องให้ควำมสนใจและกำกับดูแลกำรฝึก ตำมหลักสูตรกำรฝึกทหำรใหม่ โดยใกล้ชิด
เพื่อให้มั่นใจว่ำทหำรกองประจำกำรได้รับกำรปฏิบัติและได้รับกำรฝึกให้เป็นไปตำมนโยบำยกองทัพบกอย่ำงแท้จริง
และมีผลกำรฝึกเป็นไปตำมเกณฑ์ที่กองทัพบกกำหนด
๔.๒.๒ ให้เพ่งเล็งในด้ำนสวัสดิกำร ควำมเป็นอยู่ และขวัญ ของทหำรกองประจำกำรกับ
กำรปฏิบัติของผู้รับผิดชอบในกำรลงทัณ ฑ์ทหำรกองประจำกำรเป็นพิเศษ รวมทั้งกำกับดูแลกำรจัดสรรและ
กำรใช้ทรัพยำกรที่กองทัพบกให้กำรสนับสนุน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกำรฝึก
๔.๒.๓ ให้ข้อเสนอแนะกำรปรับปรุงระบบกำรฝึกทหำรใหม่ต่อกองทัพบกอย่ำงต่อเนื่อง
๓–๓

๔.๓ ผู้บังคับหน่วยฝึกทหำรใหม่
๔.๓.๑ อำนวยกำรฝึกและจัดกำรฝึก ให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์ และวิธีกำรที่กองทัพบก
และ กรมยุทธศึกษำทหำรบกกำหนดเพ่งเล็งเป็นพิเศษในกำรคัดเลือกให้ได้ผู้ปฏิบัติหน้ำที่ ผู้ฝึก ผู้ช่วยผู้ฝึก ครูฝึก
ชั้นนำยสิบ และครูทหำรใหม่ที่เหมำะสม และเป็นไปตำมคุณสมบัติที่กองทัพบกกำหนดอย่ำงแท้จริง
๔.๓.๒ ดำเนินกำรเพื่อให้ผู้ฝึกทหำรใหม่ และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทรำบนโยบำยกำรฝึก
ทหำรใหม่ของกองทัพบกที่ถูกต้อง และกำกับดูแลกำรปฏิบัติให้เป็นไปตำมนโยบำยโดยใกล้ชิดและเข้มงวด
๔.๓.๓ เอำใจใส่ ในกำรให้ ควำมรู้ ค ำแนะน ำ และกำรฝึ กอบรมแก่ ผู้ ฝึ กทหำรใหม่ และผู้ ที่
เกี่ยวข้องด้วยตนเอง ถึงวิธีกำรปฏิบัติในกำรฝึกที่ถูกต้องและเหมำะสม รวมทั้งให้กำรดูแลบำรุงขวัญ กับให้กำร
สนับสนุนกำรฝึกแก่ผู้ฝึกทหำรใหม่อย่ำงเต็มขีดควำมสำมำรถ
๔.๓.๔ ให้ข้อเสนอแนะกำรปรับปรุงระบบกำรฝึกทหำรใหม่ ต่อผู้บังคับบัญชำตำมลำดับชั้น
อย่ำงต่อเนื่อง
๔.๔ ผู้ฝึกทหำรใหม่
๔.๔.๑ ศึกษำให้ท รำบโดยถ่อ งแท้ ถึงนโยบำยกำรฝึก ทหำรใหม่ของกองทัพ บก ค ำสั่ ง
ตลอดจนระเบี ยบหลั กสู ตร และหลั กฐำนเอกสำรที่ เกี่ ยวข้ องกั บกำรฝึ กทหำรใหม่ และแจ้ งให้ ผู้ ที่ เกี่ ยวข้ อง ได้ แก่
ผู้ช่วยผู้ฝึก ครูฝึก ชั้นนำยสิบ และครูทหำรใหม่ ทรำบ
๔.๔.๒ ปฏิบัติตำมนโยบำยกำรฝึกทหำรใหม่ของกองทัพบก และกำกับดูแลกำรปฏิบัติ
ของผู้ช่วยผู้ฝึก ครูฝึกชั้นนำยสิบ และครูทหำรใหม่ ให้เป็นไปตำมนโยบำยโดยใกล้ชิดและเข้มงวด
๔.๔.๓ จะต้องเสียสละและทุ่มเทเพื่อดำเนินกำรฝึกให้เป็นไปตำมหลักสูตรและคำสั่งของ
หน่วยฝึก รวมทั้งดูแลเอำใจใส่ทหำรกองประจำกำรเป็นรำยบุคคลด้วยตนเองตลอดเวลำ เพื่อให้ทรำบถึงสภำพ
ผลกำรฝึกควำมเป็นอยู่ร่ำงกำยและจิตใจตลอดจนสภำพทำงด้ำนขวัญ ในอันที่จะได้ใช้เป็นข้อมูลปรับปรุงแก้ไข
กำรฝึกให้เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ
๔.๔.๔ ให้ข้อเสนอแนะกำรปรับปรุงระบบกำรฝึกทหำรใหม่ ต่อผู้บังคับหน่วยฝึกทหำรใหม่อย่ำง
ต่อเนื่อง
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ ๒๓ เมษำยน ๒๕๓๖
รับคำสั่ง ผบ.ทบ.
สำเนำถูกต้อง
พ.อ. เฉลิมพล จันดำ
(ลงชื่อ) พล.อ. ยุทธนำ แย้มพันธุ์
(เฉลิมพล จันดำ)
ผอ.กตฝ.สกฝ.ยศ.ทบ. (ยุทธนำ แย้มพันธุ์)
ผช.ผบ.ทบ.
๓–๔
นโยบายการฝึกทหารใหม่ของ ทบ.
(วิทยุราชการทหาร ยก.ทบ. ด่วนมาก ที่ กห ๐๔๐๗/๑๐๓๖๗ ลง ๑๒ ก.ค. ๖๒)
-----------------------
๑. กำรฝึกทหำรใหม่ของ ทบ. คือจุดตำยของ ทบ. ที่ส่งผลต่อภำพลักษณ์ กำรดำเนินกำรใด ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ต้องเป็นไปด้วยควำมเหมำะสม สมเหตุสมผล และสำมำรถตอบสังคมได้
๒. ให้ พบ. จัดทำเอกสำร และคู่มือในกำรป้องกันกำรบำดเจ็บ และเสียชีวิตของทหำรใหม่จำกโรคลมร้อน
(Heat Stroke) ไม่ใช่ ต่ำงหน่ วยต่ ำงคิ ด โดยต้ องกำหนดรำยละเอียด (จำนวนและชนิ ด) ของสิ่ง อุ ปกรณ์
มำตรฐำน และขั้นตอนกำรปฏิบัติอย่ำงเป็นแบบแผน (Pattern) ที่มปี ระสิทธิภำพและสำมำรถปฏิบัติได้จริง
ให้แก่หน่วยฝึกทหำรใหม่ทุกหน่วยตั้งแต่กำรป้องกันแก้ไขเหตุฉุกเฉิน กำรเตรียมกำรแก้ไขอำกำรโรคลม
ร้อน และแผนกำรเคลื่อนย้ำยผู้ป่วยฉุกเฉิน
๓. ให้ ห น่ ว ยฝึก ทหำรใหม่ จัด ให้ มี น้ ำแข็ง อยู่ ในกระติก อย่ ำงเพี ย งพอตลอดทั้ ง วั น โดยมี ป ริ ม ำณน้ ำแข็ ง
ตำมสัดส่วนของทหำรใหม่ในแต่ละหน่วยฝึกอย่ำงเหมำะสม (ปริมำณ/ทหำรใหม่/หน่วยฝึก)
๔. ให้ ผู้ ฝึก/ครู ฝึกทหำรใหม่ ควบคุ มและบั งคั บให้ ทหำรใหม่ดื่ มน้ ำตลอดห้ วงกำรฝึ ก เพื่ อลดผลกระทบจำก
โรคลมร้อน โดยพิจำรณำใช้ขวดน้ำแบบใสที่ง่ำยต่อกำรสังเกตว่ำทหำรใหม่ได้ดื่มน้ำในปริมำณมำกน้อยเพียงใด
๕. ให้ ห น่ วยฝึ ก ทหำรใหม่ ค วบคุ ม และหลี ก เลี่ ย งปั จ จั ย เสี่ ย งที่ อ ำจเกิ ด โรคลมร้ อ น คื อ สภำพแวดล้ อ ม
(กำรถ่ ำยเทอำกำศของโรงนอน) ควำมเสี่ ยงต่ อบุ คคล (สภำพร่ำงกำยของทหำรใหม่ ) และกิจ กรรม
จำกกำรฝึก (กำรหลีกเลี่ยงกำรฝึกท่ำมกลำงอำกำศร้อน)
๖. ให้กำรฝึกทหำรใหม่ ๑๐ สัป ดำห์ ของทุ กหน่วยฝึกทหำรใหม่ต้องเป็นมำตรฐำนเดียวกัน โดยมุ่ งเน้ น
กำรฝึกพื้นฐำนที่จำเป็นให้แก่ทหำรใหม่เพียงอย่ำงเดียว มิใช่ห้วงเวลำของกำรรับน้องใหม่ ผบ.พัน. และ
ผู้ฝึกทหำรใหม่ ต้องกำกับดูแลไม่ให้มีกำรแอบลงโทษ ผู้ใดฝ่ำฝืนจะลงโทษเด็ดขำด โดยเมื่อจบกำรฝึก
ต้องสำมำรถทำกำรรบได้ตำมตำแหน่ง
๗. กำรคัดเลือกทหำรใหม่ในปีงบประมำณ ๒๕๖๓ (ผลัดที่ ๑/๖๓ และ ๒/๖๓) ให้ดำเนินกำรด้วยควำม
รอบคอบอย่ำงแท้จริง มุ่งเน้นที่คุณภำพ ต้องเป็นผู้ที่มีร่ำงกำยและจิตใจที่พร้อมต่อกำรฝึก โดยจัดจำนวน
คณะกรรมกำรตรวจเลือกให้สอดคล้องกับปริมำณผู้เข้ำรับกำรตรวจเลือก รวมทั้งต้องเพิ่มบุคลำกรทำง
กำรแพทย์/แพทย์ ในกำรซักถำมและบันทึกหลักฐำนในกำรตรวจที่ชัดเจน
๘. ให้ปรับปรุงหน่วยฝึกทหำรใหม่ ให้มีสภำพที่พร้อมต่อกำรรองรับจำนวนทหำรใหม่ที่เข้ำรับกำรฝึกในแต่
ละผลัดได้อย่ำงเพียงพอ ไม่แออัด และมีกำรระบำยอำกำศที่ดี รวมทั้งให้ดูแลกำรประกอบเลี้ยงเพื่อทหำร
ใหม่ได้รับประทำนอำหำรที่มีคุณภำพ ทั้งนี้ ผู้ฝึกต้องนอนหน่วยฝึกตลอดห้วงกำรฝึก
๓–๕

๙. ให้นำแนวทำงกำรฝึกทหำรใหม่ ๑๐ สัปดำห์ ผลัดที่ ๑/๖๒ ตำมพระรำโชบำย ซึ่งได้ดำเนินกำรฝึกเสร็จสิ้น


ไปแล้ว ณ รร.ทม.รอ. พิจำรณำปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกำรฝึกทหำรใหม่ของ ทบ. ในผลัดต่อไป
เช่ น กำรปรั บ ห้ ว งเวลำกำรฝึ ก ตำมสภำพอำกำศ กำรจั ด ครู ที่ ป รึ ก ษำ และกำรก ำหนดโทษสู ง สุ ด
ที่สำมำรถลงโทษทหำรใหม่ได้ในแต่ละวัน (จำนวนครั้ง/คน/วัน) เป็นต้น
๑๐. ห้ำมนำทหำรใหม่ไปทำงำนอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับกำรฝึก หรือไม่ได้กำหนดไว้ในตำรำงกำรฝึก
๑๑. ให้จัดตั้งศูนย์แพทย์ฉุกเฉินในแต่ละพื้นที่ และให้มีสำยด่วน ( Hot line) เพื่อรองรับกำรบำดเจ็บ/เจ็บป่วย
ระหว่ำงห้วงกำรฝึกของทหำรใหม่ ให้สำมำรถดำเนินกำรช่วยเหลือได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและทันเวลำ
๑๒. ให้แต่ละหน่วยฝึกทหำรใหม่พิจำรณำปรับแนวทำงกำรฝึกทหำรใหม่ให้สอดคล้องกับสภำพภูมิประเทศ
และสภำพอำกำศ ในพื้นที่ของตน โดยเป็นไปในลักษณะกำรคิดนอกกรอบ เพื่อให้กำรจัดกำรฝึกเกิด
ประโยชน์สูงสุด หลีกเลี่ยงผลกระทบจำกโรคลมร้อน เช่น กำรกำหนดรูปแบบกำรฝึก ลำดับกำรฝึก ต้องมี
ควำมอ่อนตัวสำมำรถปรับเปลี่ยนได้ตำมควำมเหมำะสม โดยยังคงดำรงมำตรฐำนและวัตถุประสงค์ของ
กำรฝึก
๑๓. ให้ ผบ.หน่วยฝึก และผู้ฝึก ของแต่ละหน่วยฝึกทหำรใหม่ พิจำรณำและกำหนดกำรแต่งกำยของทหำรใหม่
ในห้ ว งกำรฝึ ก ให้ เหมำะสม สอดคล้ อ งกั บ สภำพอำกำศในแต่ ล ะช่ ว งเวลำ โดยไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งแต่ ง
เครื่องแบบฝึกเต็มชุดทุกครั้ง
๑๔. ให้ รพ.ค่ำยฯ ที่รับผิดชอบในแต่ละหน่วยฝึกทหำรใหม่จัดกำรอบรมผู้ฝึก และผู้ช่วยผู้ฝึกทุกครั้งก่อนทำกำรฝึก
๑๕. ให้กำหนดมำตรกำรในกำรปฏิบัติต่อทหำรใหม่ที่มีค่ำ BMI เกินค่ำมำตรฐำน เช่น กำรแยกฝึก กำรหลีกเลี่ยง
กำรฝึกที่อำจทำให้เกิดอันตรำย และกำรแยกออกกำลังกำย
๑๖. กำรออกกำลังกำย ให้พิจำรณำวิธีดำเนินกำรที่เหมำะสมตำมสภำพแวดล้อม เช่น กำรวิ่งเป็นแถว (วิ่งแยกหมู่,
แยกหมวด) และกำรเล่นกีฬำตำมควำมสมัครใจ

---------------------
๓–๖

นโยบายการฝึกทหารใหม่ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓


จก.ยศ.ทบ.
กำรฝึกทหำรใหม่ เป็ นกำรฝึกที่เป็นพื้นฐำนและเป็นกำรฝึกหลักที่มีควำมสำคัญยิ่งของ ทบ. เป็นกำรฝึก
เพื่อเปลี่ยนสภำพทหำรกองประจำกำรจำกบุคคลพลเรือนให้เป็นทหำร สำมำรถปฏิบัติงำนตำมตำแหน่งหน้ำที่ทำให้หน่วย
มีควำมพร้อมในกำรปฏิบัติภำรกิจ และสำมำรถเข้ำปฏิบัติกำรรบได้นอกจำกนั้นทหำรกองประจำกำรยังสำมำรถนำวิชำ
ควำมรู้และประสบกำรณ์ไปใช้ในกำรพัฒนำประเทศ เมื่อปลดจำกประจำกำรไปแล้วได้ จึงเป็นหน้ำที่ของ ผบ.หน่วย และ
ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในกำรสร้ำงเสริมควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ถูกต้องให้แก่ กำลังพลที่ได้ เข้ำรับรำชกำรใหม่ผู้บังคับบัญชำ
ทุกระดับต้องไม่ปล่อยปละละเลยในกำรกำกับดูแล อย่ำงสม่ำเสมอ และดำเนินกำรฝึกตำมนโยบำยที่สำคัญ ดังนี้
๑. กำรฝึกทหำรใหม่ เป็ นกำรฝึกพื้ นฐำนเบื้องต้น เพื่ อปรับสภำพจำกบุ คคลพลเรือนให้ เป็นทหำร
ดังนั้น กำรฝึกในห้วง ๔ สัปดำห์แรก จะต้องให้เวลำทหำรใหม่ได้ปรับตัว โดยให้เริ่มทำกำรฝึกจำกเรื่องง่ำย ๆ และเบำ ๆ
เช่น ทำกำรฝึกอบรมวิชำที่สำมำรถเรียนทำงทฤษฎีในห้องเรียนเสริมด้วยกำรนำวิทยำศำสตร์กำรกีฬำมำประยุกต์ใช้ในกำร
เสริมสร้ำงกล้ำมเนื้อและควำมแข็งแรงของแต่ละบุคคล ให้มีควำมพร้อมแล้วจึงค่อยๆ เพิ่มระดับควำมเข้มข้นของกำรฝึก
ที่ต้องใช้กำลังร่ำงกำยตำมระเบียบและหลักสูตรกำรฝึกในสัปดำห์ต่อ ๆ ไปสำหรับกำรฝึกบุคคลท่ำเบื้องต้นให้หน่วยยึดถือ
คู่มือกำรฝึกที่ได้รับพระรำชทำนเพื่อทำกำรฝึกให้กับทหำรใหม่
๒. กำรฝึกศึกษำ จะต้องเน้นให้ทหำรใหม่รู้จักคิด และมีควำมเข้ำใจในเรื่องที่ทำกำรฝึกศึกษำอย่ำงแท้จริง
มำกกว่ำกำรท่องจำ โดยครูผู้ฝึกจะต้องชี้แจงให้ทหำรใหม่เข้ำใจถึงวัตถุประสงค์ของกำรฝึกในแต่ละขั้นตอน ตลอดจนกำร
นำไปใช้ประโยชน์และจะต้องฝึกให้ทหำรใหม่มีทักษะควำมชำนำญในกำรปฏิบัติให้สำมำรถนำไปใช้งำนได้จริง
๓. กำรฝึกทำงยุทธวิธี ครูผู้ฝึกจะต้องอธิบำยให้ทหำรใหม่เข้ำใจภำพรวมองค์ประกอบของสนำมรบ
อธิบำยกำรปฏิบัติของแต่ละส่วน และชี้แจงกำรปฏิบัติของตัวทหำรใหม่ในแต่ละขั้นตอน จะต้องปฏิบัติอย่ำงไร ด้วย
เหตุผลอะไร โดยจะต้องอธิบำยประกอบภูมิประเทศจำลอง แผนภำพเพื่อให้ทหำรใหม่เข้ำใจและเห็นภำพกำรปฏิบัติทำง
ยุทธวิธี
๔. กำรป้องกันกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อน (Heat Stroke) ทุกหน่วยฝึกต้องระมัดระวังเรื่องกำรบำดเจ็บ
จำกควำมร้อน โดยเฉพำะในห้วงกำรฝึกสัปดำห์ที่ ๑ – ๔ ของกำรฝึก หน่วยฝึกและทหำรใหม่จะต้องปฏิบัติตำมคู่มื อและ
คำแนะน ำกำรป้องกั นกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนของ พบ. อย่ ำงเคร่งครัด จะต้องก ำหนดมำตรกำรป้องกันและแก้ไข
กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินจะต้องสำมำรถส่งตัวผู้เจ็บป่วยไปยังโรงพยำบำลอย่ำงทันเวลำ เพื่อมิให้ทหารใหม่เสียชีวิต
๕. กำรป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ ๒๐๑๙ ให้ทุกหน่วยฝึกทหำรใหม่ จะต้องกำหนด
มำตรกำรป้ องกั นและแก้ ไข รวมถึ งต้ องระมั ดระวั ง ไม่ ให้ เกิดกำรแพร่ระบำดในหน่วยฝึกทหำรใหม่ และให้ยึ ดถื อ
แนวทำงกำรปฏิบัตกิ ำรป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ ๒๐๑๙ ของ พบ. นำมำดำเนินกำรอย่ำงเคร่งครัด
๓–๗

๖. ผู้บังคับหน่วย และ ผู้บังคับหน่วยฝึกทหำรใหม่ ตลอดจนผู้ฝึกและครูทหำรใหม่ต้องบังคับบัญชำ


ปกครองดูแลกำรฝึกทหำรใหม่ ตลอดจนสวัสดิกำรควำมเป็นอยู่ รวมทั้งขวัญและกำลังใจของทหำรใหม่อย่ำงต่อเนื่อง
สม่ำเสมอ สำหรับกำรลงทัณฑ์ทหำรใหม่ที่กระทำควำมผิดวินัยทหำรจะต้องดำเนินกำรตำมวิธีกำรและอำนำจหน้ำที่ที่
กำหนดไว้ในประมวลวินัยทหำรอย่ำงเคร่งครัด ซึ่งกำหนดกำรลงทัณฑ์ไว้ ๕ สถำน คือ ภำคทัณฑ์ ทัณฑ์กรรม กัก ขัง
และจำขัง ห้ำมใช้วิธีกำรลงทัณฑ์ที่นอกเหนือจำกนี้ โดยเฉพำะการทาร้ายร่างกายทหารใหม่จะต้องไม่เกิดขึ้นอย่าง
เด็ดขาดโดยหน่วยฝึกต้องกำหนดมำตรกำรให้สอดคล้องกับสภำพแวดล้อมดังนี.้ -
๖.๑ กำรคัดเลือกผู้ที่ปฏิบัติหน้ำที่ ผู้ฝึกทหำรใหม่, ผช.ผู้ฝึกทหำรใหม่, ครูนำยสิบ และครูทหำรใหม่
ต้องตรวจสอบในด้ำนทัศนคติ, ภูมิหลัง, และทำงด้ำนจิตเวช โดยเฉพำะกำลังพลที่ได้รับกำรบรรจุใหม่ เพื่อให้ได้ครูฝึก
ที่มีคุณภำพ และช่วยป้องกันกำรฝ่ำฝืนมำตรกำรกำรลงทัณฑ์ตลอดจนจะต้องสร้ำงควำมตระหนักหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ
ในกำรฝึกทหำรใหม่
๖.๒ กำรกำกับดูแลกำรฝึกทหำรใหม่นำยทหำรฝ่ำยยุทธกำรฯ, ผู้ฝึกทหำรใหม่, ผช.ผู้ฝึกทหำรใหม่
ครูนำยสิบ และ ครูทหำรใหม่ ต้องไม่ปล่อยปละละเลย โดยเฉพำะผู้ฝึกต้องอยู่ประจำหน่วยฝึก และต้องนอนที่หน่วยฝึก
๖.๓ ครูฝึกต้องเป็นผู้ที่มีควำมรู้และควำมสำมำรถถ่ำยทอดควำมรู้ให้ผู้รับกำรฝึก ได้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพ มีกำรปฏิบัติจำกง่ำยไปยำก
๖.๔ กำรเพิ่มมำตรกำรลงทัณฑ์กับผู้ที่ฝ่ำฝืน, กำรติดตั้งกล้องวงจรปิด และกำรติดตั้งกล่องรับ
ควำมคิดเห็นจำกทหำรใหม่ เป็นต้น
๖.๕ กำรจัดตั้ง บก.หน่วยฝึกทหำรใหม่ ต้องจัดตั้งในอำคำรถำวรที่มีสภำพสมบูรณ์ ห้ำมใช้อำคำร
ที่ชำรุดทรุดโทรมรวมถึงโรงนอนทหำรใหม่ต้องมีสภำพดี มีสำธำรณูปโภครวมถึงสิ่งแวดล้อมที่ดี กำรจัดกำรฝึก ต้องจัด
ครูทหำรใหม่ ตำมอัตรำส่วน ๑ : ๑ : ๘
๖.๖ กำรจัด บก.หน่วยฝึกทหำรใหม่ ให้ยึดถือตำมแบบกำรจัดกองร้อยฝึกเดิม ประกอบด้วย
- ผบ.หน่วยฝึก จัดจำกนำยทหำรสัญญำบัตรภำยในหน่วยที่มีอำวุโส ควรจะเป็นผู้บังคับ
หน่วยซึ่งเป็นเจ้ำของอำคำรหรือสถำนที่ ในกำรจัดตั้ง บก.หน่วยฝึกทหำรใหม่
- เจ้ำหน้ำที่ธุรกำรประจำหน่วยฝึก จัดจำกกำลังพลภำยในหน่วย โดยไม่เกี่ยวข้องกับ
งำนกำรฝึกโดยตรง เพื่อช่วยเหลือ ผบ.หน่วยฝึกในกำรปฏิบัติงำนด้ำนธุรกำร
- เจ้ ำ หน้ ำที่ ส นั บ สนุ น กำรฝึ ก จั ด จำกก ำลั ง พลภำยในหน่ ว ย โดยไม่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ
งำนกำรฝึกโดยตรง เพื่อช่วยเหลือ ผบ.หน่วยฝึก ในกำรสนับสนุนกำรฝึกทหำรใหม่ รวมถึงงำนด้ำนกำรบริกำรและ
กำรนิรภัยกำรฝึก
- ผู้ฝึกทหำรใหม่ จัดจำก ผบ.มว.อำวุโสที่มีประสบกำรณ์ในกำรฝึก หรืออย่ำงน้อยได้ผ่ำน
กำรทำหน้ำที่เป็นผู้ช่วยผู้ฝึกมำแล้ว
- ผู้ช่วยผู้ฝึกฯ อย่ำงน้อย ๑ นำย จัดจำก ผบ.มว.ที่มีอำวุโสต่ำกว่ำผู้ฝึก หรือจ.ส.อ.อำวุโส
ที่มีประสบกำรณ์ในด้ำนกำรฝึกทหำรใหม่มำแล้ว
๓–๘

- ครูนำยสิบ จัดจำกนำยสิบที่มีควำมรู้ ควำมสำมำรถ มีลักษณะท่ำทำงที่ดี และดูแล


ทหำรใหม่อย่ำงใกล้ชิด โดยจัดครูนำยสิบ ๑ นำย ต่อครูทหำรใหม่ ๑ นำย ต่อทหำรใหม่ ๘ นำย
- ครูทหำรใหม่ จัดจำกพลทหำรที่สำเร็จกำรฝึกหลักสูตรครูทหำรใหม่ เพื่อทำหน้ำที่
ช่วยเหลือครูนำยสิบ โดยจำนวนครูทหำรใหม่ให้ถือเกณฑ์จำนวนทหำรใหม่ ๘ นำย ต่อครูทหำรใหม่ ๑ นำย และ
ให้มียอดอะไหล่ร้อยละ ๒๐ ของจำนวนครูทหำรใหม่ของหน่วย
- บก.หน่วยฝึกฯ ต้องมีห้องอบรม ห้องฝึกฝน คลังเครื่องช่วยฝึก
ตัวอย่างรูปแบบการจัดตั้ง หน่วยฝึกทหารใหม่ฯ

หน่วยฝึกทหำรใหม่ฯ

บก. มว.บริกำรฯ มว.สนับสนุนฯ มว.ฝึกฯ/ครูฝึก



เจ้ำหน้ำที่ธุรกำรฯ ชุดซักรีดฯ ชุดจัดเครื่องช่วยฝึกฯ ผช.ผู้ฝึกฯ

ชุดจัดน้ำดื่มฯ ชุดจัดเตรียมสนำมฝึกฯ ครูนำยสิบ : ๑

ฯลฯ ชุดเสนำรักษ์ฯ ครูทหำรใหม่ : ๑

ฯลฯ ทหำรใหม่ : ๘

๖.๗ พื้นที่กำรฝึกและสนำมฝึก ต้องอยู่ในสภำพที่เรียบร้อยพร้อมทำกำรฝึก และมีควำม


ปลอดภัยเมื่อใช้ทำกำรฝึก โดยจัดสถำนีฝึกตำมที่จะตรวจสอบกำรฝึก ตั้งแต่กำรฝึกครูทหำรใหม่
๖.๘ ให้เยี่ยมญำติได้ตั้งแต่วันแรกที่เข้ำหน่วยฝึกฯ
๖.๙ ควรสำรวจควำมรู้ ควำมสำมำรถ ของทหำรใหม่ทุกนำย ตั้งแต่เข้ำหน่วยฝึก เพื่อเป็น
ข้อมูลพื้นฐำน และภำยในสัปดำห์ที่ ๔ ต้องทรำบว่ำทหำรใหม่ มีควำมรู้ ควำมสำมำรถในด้ำนใดบ้ำงเพื่อสำมำรถ
มอบหมำยงำนให้กับทหำรใหม่ปฏิบัติได้อย่ำงเหมำะสม เมื่อจบกำรฝึกแล้ว
๖.๑๐ ควรสอนกำรปฐมพยำบำลตั้งแต่แรก
๖.๑๑ ฝึกทหำรใหม่ให้เป็นสุภำพบุรุษ มีลักษณะทหำรที่ดี เมื่อจบกำรฝึกต้อง มีสุขภำพดี
แข็งแรง ท่ำทำงดี มีจิตอำสำ
๖.๑๒ ฝึกทหำรใหม่หนึ่งนำยต้องได้มวลชนเพิ่มขึ้น (ญำติทหำรใหม่มีควำมประทับใจ)
๖.๑๓ กำรรับประทำนอำหำร ควรให้ใช้ถำดหลุม ตักอำหำรเอง ขอควำมร่วมมือ มีอำหำร
อย่ำงน้อยมื้อละ ๒ อย่ำง, ไข่วันละ ๑ ฟอง และ ผลไม้วันละอย่ำง
-------------------------------
๓–๙

( สำเนำ )

คำสั่งกองทัพบก
(เฉพำะ)
ที่ ๕๐๕/๕๗
เรื่อง กำรป้องกันและเฝ้ำระวังกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อน ในกำรฝึกทหำรใหม่

เนื่ องจำกสภำพภู มิอ ำกำศในทุ ก ภู มิ ภ ำคของประเทศไทยในปั จ จุบั น มี ก ำรเปลี่ ยนแปลง


อยู่เสมอ เป็นผลมำจำกสภำวะโลกร้อนทำให้อุณหภูมิและควำมชื้นสัมพัทธ์ในอำกำศเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลกระทบ
โดยตรงต่อกำรฝึกต่ำง ๆ ของทหำร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรฝึกทหำรใหม่ ซึ่งยังไม่เคยชินกับสภำพแวดล้อม
และกำรฝึก จึงอำจเกิดกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนจนถึงขั้นทุพพลภำพหรือเสียชีวิตได้ ซึ่งกำรบำดเจ็บจำก
ควำมร้อนนั้นสำมำรถป้องกันได้ด้วยกำรเตรียมควำมพร้อมของหน่วยฝึกและหน่วยรักษำพยำบำลในพื้นที่ทุก
ระดับ ตลอดจนกำรได้รับควำมร่วมมื อจำกผู้บั ง คับบั ญ ชำทุ กระดับ ชั้น จึง ให้ หน่ วยต่ำง ๆ ในกองทัพ บก
ที่เกี่ยวข้องกับกำรฝึกทหำรใหม่ ปฏิบัติดังนี้
๑. ให้ยกเลิก คำสั่ง กองทัพ บก (เฉพำะ) ที่ ๑๐๐๖/๕๔ ลง ๑๐ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๕๔
เรื่องกำรเฝ้ำระวังและป้องกันกำรเจ็บป่วยจำกควำมร้อนในกำรฝึกทหำรใหม่ โดยให้ใช้คำสั่งฉบับนี้แทน
๒. ให้ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชำทุ ก ระดั บ ชั้ น ของหน่ ว ยฝึ ก ทหำรใหม่ จนถึ ง ผู้ บั ง คั บ หน่ ว ยขึ้ น ตรง
กองทัพบก
๒.๑ ปฏิบัติตำมประกำศ กรมแพทย์ทหำรบก เรื่องคำแนะนำในกำรป้องกัน กำรเฝ้ำระวัง
กำรปฐมพยำบำล และกำรรัก ษำพยำบำลกำรบำดเจ็บ จำกควำมร้อน ลงวัน ที่ ๑๙ มี นำคม พ.ศ. ๒๕๕๗
อย่ำงเคร่งครัด
๒.๒ รับผิดชอบต่อกำรป้ องกัน มิให้ท หำรใหม่และเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ ยวข้องได้รับบำดเจ็บ
จำกควำมร้อนในกำรฝึกทหำรใหม่ โดยจะต้องกำกับดูแลกวดขันให้หน่วยฝึกทหำรใหม่ปฏิบัติตำมประกำศ
ในข้อ ๒.๑ และพิจำรณำลงทัณฑ์ตำมสมควรแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องที่ไม่ปฏิบัติตำมคำแนะนำฯ จนเป็นเหตุให้ทหำรใหม่
และผู้เกี่ยวข้องได้รับกำรบำดเจ็บขั้นรุนแรงจำกควำมร้อน
๓. ผู้บังคับหน่วยฝึกทหำรใหม่/ผู้อำนวยกำรฝึกทหำรใหม่
๓.๑ จัดให้มีกำรอบรมควำมรู้ โดยเจ้ำหน้ำที่ของโรงพยำบำลในสังกัดกองทัพบก เกี่ยวกับ
กำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนและกำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น ให้แก่ผู้ฝึก ผู้ช่วยผู้ฝึก ครูนำยสิบ ครูทหำรใหม่และ
เจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องก่อนเริ่มกำรฝึกทุกครั้ง
๓.๒ จั ด ให้ มี ก ำรอบรมควำมรู้ โดยเจ้ ำ หน้ ำ ที่ ข องโรงพยำบำลในสั ง กั ด กองทั พ บก
เรื่องกำรปฏิบัติตัวในกำรป้องกันและเฝ้ำระวังกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนแก่ทหำรใหม่ ภำยใน ๑ สัปดำห์
หลังจำกกำรรับตัวทหำรใหม่เข้ำหน่วยฝึก
๓ – ๑๐

๓.๓ จัดให้มีเครื่องมือในกำรติดตำมสภำพอำกำศที่อำจเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดกำรบำดเจ็บ
จำกควำมร้อน เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิและควำมชื้นสัมพัทธ์ เพื่อกำรเฝ้ำระวังและกำหนดมำตรกำรในกำรฝึก
ให้เหมำะสมต่อไป
๓.๔ จัดเจ้ำหน้ำที่เสนำรักษ์ประจำหน่วยฝึก และจั ดตั้ง ที่ปฐมพยำบำล โดยจัดเตรียม
ยำและเวชภัณฑ์ และอุปกรณ์สำหรับกำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น รวมถึงรถพยำบำลส่งป่วยให้มีควำมพร้อม
ต่อกำรปฏิบัติงำน และต้องประสำนแผนกำรส่งต่อผู้ป่วยกับ โรงพยำบำลในสังกัดกองทัพบก ในพื้นที่หรือ
โรงพยำบำลนอกสังกัดกองทัพบกในพื้นที่อย่ำงใกล้ชิด
๓.๕ จัดให้มีกำรตรวจคัดกรองควำมเสี่ยงต่อกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนแก่ทหำรใหม่ก่อน
เข้ำรับกำรฝึก เพื่อพิ จำรณำคัดแยกทหำรใหม่ที่มีป ระวัติเสี่ยง สำหรับเฝ้ำระวังเป็ นพิเศษและต้องท ำกำร
ซักถำม และจดบันทึกข้อมูลควำมเสี่ยงต่อกำรเจ็บป่วยในช่วงเย็นของทุกวัน ที่มีกำรฝึก รวมทั้ง กำรบันทึ ก
ข้อมูลสภำพแวดล้อมของกำรฝึกในแต่ละวัน
๓.๖ จั ด ท ำแผนเผชิ ญ เหตุ ในกำรปฐมพยำบำลและส่ ง ต่ อ ไปรั ก ษำพยำบำล ณ
สถำนพยำบำล ในกรณีที่ทหำรใหม่บำดเจ็บจำกควำมร้อนและจะต้องมีกำรซักซ้อมอยู่เสมอ
๓.๗ แจ้ งผู้ บังคับ หน่ วยสำยแพทย์ และประสำนกำรปฏิบั ติ เพื่อ ป้อ งกั นกำรบำดเจ็ บ
จำกควำมร้อนกับหน่วยสำยแพทย์และ/หรือโรงพยำบำลในสังกัดกองทัพบก ในพื้นที่อย่ำงใกล้ชิด
๓.๘ รำยงำนตำมสำยกำรบั งคับบัญชำ เมื่อมีทหำรที่ สงสั ยว่ำบำดเจ็บจำกควำมร้อนและ
เข้ำรับรักษำตัวในโรงพยำบำลหรือเสียชีวิต พร้อมทั้งแจ้งโรงพยำบำลในสังกัดกองทัพบก ในพื้นที่ทรำบทันที
ที่สำมำรถกระทำได้หรือภำยใน ๒๔ ชั่วโมง เพื่อร่วมกันค้นหำสำเหตุและพิจำรณำแก้ไขปัญหำพร้อมให้ควำม
ช่วยเหลือต่อไป
๔. ผู้อำนวยกำรโรงพยำบำลในสังกัดกองทัพบก
๔.๑ ดำเนินงำนป้องกันและเฝ้ำระวังกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนจำกกำรฝึก และรำยงำน
ผลกำรดำเนินงำนป้องกันและเฝ้ำระวังกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนมำยัง กรมแพทย์ทหำรบก ภำยใน ๓๐ วันหลัง
เสร็จสิ้นกำรฝึก
๔.๒ รำยงำนผลกำรสอบสวนโรค กรณีเกิดกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อน ถึงกรมแพทย์ทหำรบก
ทันทีที่สำมำรถกระทำได้ หรือภำยใน ๒๔ ชั่วโมงหลังได้รับแจ้งจำกหน่วยฝึก
๔.๓ ประสำนแนวทำงกำรรั ก ษำพยำบำลและกำรส่ ง ต่ อ ผู้ป่ ว ยจำกกำรบำดเจ็ บ จำก
ควำมร้อนกับโรงพยำบำลนอกสังกัดกองทัพบก เพื่อที่จะสำมำรถให้กำรรักษำพยำบำลได้อย่ำงทันท่วงทีและ
เป็นมำตรฐำนเดียวกัน
๕. ผู้ฝึก ผู้ช่วยผู้ฝึก ครูฝึก ครูทหำรใหม่ และเจ้ำหน้ำที่เสนำรักษ์ประจำหน่วยฝึก ต้องได้รับ
กำรพัฒนำทักษะในกำรคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อกำรเกิดกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อน และกำรปฐมพยำบำลอย่ำง
สม่ำเสมอและสำมำรถปฏิบัติงำนได้จริง
๓ – ๑๑

๖. ให้ เจ้ ำ กรมแพทย์ ท หำรบก เป็ น ผู้รั บ ผิ ด ชอบในกำรวำงแผน อ ำนวยกำร ตลอดจน


ดำเนินกำร และกำกับดูแลกำรเฝ้ำระวังป้องกันกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนจำกกำรฝึก ให้เป็นไปด้วยควำม
เรียบร้อย กรณีหน่วยมีข้อสงสัยสำมำรถสอบถำมข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กองส่งเสริมสุขภำพและเวชกรรมป้องกัน
กรมแพทย์ทหำรบก โทรศัพท์ทหำรบก ๙๔๔๒๓ หรือโทรศัพท์ ๐-๒๓๕๔-๔๔๒๑
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ ๑ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๕๗

รับคำสั่ง ผบ.ทบ.

(ลงชื่อ) พล.ท. ทลวงรณ วรชำติ


( ทลวงรณ วรชำติ )
จก.ยศ.ทบ.

สำเนำถูกต้อง
พ.อ. เฉลิมพล จันดำ
(เฉลิมพล จันดำ)
ผอ.กตฝ.สกฝ.ยศ.ทบ.

*** หมำยเหตุ พบ. ได้ยกเลิกประกำศตำมข้อ ๒.๑ แล้ว และให้ใช้ประกำศของ กรมแพทย์ทหำรบก เรื่อง


คำแนะนำกำรป้องกัน กำรเฝ้ำระวัง กำรปฐมพยำบำล และกำรรักษำพยำบำลกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อน
ลงวันที่ ๑๙ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ แทน (http://www.amed.go.th/rtamed/prevent/)
๓ – ๑๒

(สำเนำ)
คำสั่งกองทัพบก
(เฉพำะ)
ที่ ๕๐๖/๕๗
เรื่อง กำรป้องกันและเฝ้ำระวังกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนในกำรฝึก

เนื่องจำกปัจจุบันสภำพภูมิอำกำศในทุกภูมิภำคของโลกมีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เป็นผล
มำจำกสภำวะโลกร้อนทำให้อุณหภูมิและควำมชื้นสัมพัทธ์เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อกำรฝึก จึงอำจเกิด
กำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนจนถึงขั้นทุพพลภำพหรือเสียชีวิตได้ กำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนนั้นสำมำรถป้องกัน
ได้ด้วยกำรเตรียมพร้อมของหน่วยจัดกำรฝึก หน่วยรับกำรฝึก และหน่วยรักษำพยำบำลในทุกระดับทั้งในด้ำน
กำรป้องกันและเฝ้ำระวัง ตลอดจนกำรกำกับดูแลอย่ำงใกล้ชิดของ ผู้บังคับบัญ ชำทุกระดับชั้น จึงให้หน่วย
ต่ำงๆ ในกองทัพบกที่เกี่ยวข้องปฏิบัติดังนี้
๑. ผู้บังคับหน่วยจัดกำรฝึกและผู้บังคับหน่วยรับกำรฝึก
๑.๑ ยึดถือ ประกำศ กรมแพทย์ทหำรบก เรื่องคำแนะนำในกำรป้องกันและเฝ้ำระวังกำร
ปฐมพยำบำล และกำรรักษำพยำบำลกำรบำดเจ็ บจำกควำมร้ อนลงวันที่ ๑๙ มี นำคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เพื่ อเป็ น
แนวทำงในกำรปฏิบัติตำมควำมเหมำะสมกับภำรกิจ
๑.๒ จัดทำแผนเผชิญ เหตุ ในกำรปฐมพยำบำล และส่ง ต่อกำลัง พลที่ รับกำรฝึกที่ได้รับ
บำดเจ็บจำกควำมร้อนไปรักษำพยำบำล ณ สถำนพยำบำลและควรมีกำรซักซ้อมแผน
๑.๓ รำยงำนตำมสำยกำรบังคับบัญชำ เมื่อมีทหำรที่สงสัยว่ำบำดเจ็บจำกควำมร้อนและ
เข้ำรับรักษำตัวในโรงพยำบำลหรือเสียชีวิต พร้อมทั้งแจ้งให้ โรงพยำบำลในสังกัดกองทัพบกในพื้นที่ทรำบ
ทันทีที่สำมำรถกระทำได้หรือภำยใน ๒๔ ชั่วโมง เพื่อร่วมกันค้นหำสำเหตุและพิจำรณำแก้ไขปัญหำพร้อมให้
ควำมช่วยเหลือต่อไป
๑.๔ ยึ ด ถื อ แนวทำงกำรกำรป้ อ งกั น และเฝ้ ำ ระวั ง กำรบำดเจ็ บ จำกควำมร้ อ น โดย
พิจำรณำปรับใช้ตำมควำมเหมำะสมสำหรั บกำรปฏิบัติกำรทำงทหำรอื่นใดที่กำลังพลมีควำมเสี่ยงที่จะได้รับ
กำรบำดเจ็บจำกควำมร้อน
๒. ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชำทุ ก ระดั บ ชั้ น และผู้ บั ง คั บ หน่ ว ยสำยแพทย์ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ กำรป้ อ งกั น
มิให้กำลังพลได้รับบำดเจ็บจำกควำมร้อนในกำรฝึก โดยจะต้องกำกับดูแล กวดขันให้ผู้จัด กำรฝึกและผู้รับกำร
ฝึก ปฏิ บั ติ ต ำมค ำแนะน ำในข้อ ๑.๑ และพิ จำรณำลงทั ณ ฑ์ ต ำมสมควรแก่ ผู้ ที่ เกี่ ยวข้ อ งที่ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต ำม
คำแนะนำฯ จนเป็นเหตุให้กำลังพลได้รับบำดเจ็บจำกควำมร้อนที่รุนแรง
๓. ผู้บังคับหน่วยจัดกำรฝึก
๓.๑ จั ดให้ มี กำรให้ ควำมรู้เกี่ย วกับ กำรบำดเจ็ บจำกควำมร้อนและกำรปฐมพยำบำล
เบื้องต้น ให้แก่ ผู้จัดกำรฝึก ผู้เข้ำรับกำรฝึกและเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง ก่อนเริ่มกำรฝึกทุกครั้ง
๓ – ๑๓

๓.๒ จัด ให้ มี เครื่อ งมื อ ในกำรติ ดตำมสภำพอำกำศที่ อ ำจเป็ น ปั จ จัย ที่ ก่ อ ให้ เกิ ดกำร
บำดเจ็บจำกควำมร้อน เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิและควำมชื้นสัมพัทธ์ เพื่อกำรเฝ้ำระวังและกำหนดมำตรกำรใน
กำรฝึกให้เหมำะสมต่อไป
๓.๓ จัดให้มีเจ้ำหน้ำที่สำยแพทย์ประจำ ที่ บังคับกำรฝึกและ/หรือประจำส่วนรับกำรฝึก
โดยให้จัดตั้งที่ปฐมพยำบำลจัดเตรียมยำและเวชภัณฑ์และอุปกรณ์สำหรับกำรปฐมพยำบำลเบื้องต้นรวมถึ ง
รถพยำบำลส่งป่วย เพื่อให้มีควำมพร้อมต่อกำรให้กำรรักษำพยำบำลในกรณีพบผู้ป่วยที่ได้รับบำดเจ็บจำก
ควำมร้อนในสถำนกำรณ์จริง และต้องประสำนแผนกำรส่งต่อผู้ป่วยกับ โรงพยำบำลสังกัดในกองทัพบกใน
พื้นที่ หรือโรงพยำบำลนอกสังกัดกองทัพบกในพื้นที่อย่ำงใกล้ชิด
๔. ผู้บังคับหน่วยรับกำรฝึกต้องเตรียมควำมพร้อมของสภำพร่ำงกำยและจิตใจของกำลังพล
ที่จะเข้ำรับกำรฝึกและควรมีกำรทดสอบร่ำงกำยตำมเกณฑ์มำตรฐำนของแต่ละหลักสูตร หำกมิได้กำหนดไว้
ให้ถือตำมเกณฑ์กำรทดสอบร่ำงกำยประจำปีของกองทัพบก
๕. ผู้อำนวยกำรโรงพยำบำลในสังกัดกองทัพบก
๕.๑ รำยงำนผลกำรสอบสวนโรคกรณี เกิดกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนถึง กรมแพทย์ -
ทหำรบกทันทีที่สำมำรถกระทำได้หรือภำยใน ๒๔ ชั่วโมงหลังได้รับแจ้งจำกหน่วยฝึก
๕.๒ ประสำนแนวทำงกำรรั กษำพยำบำลและกำรส่ง ต่ อ ผู้ป่ ว ยจำกกำรบำดเจ็ บ จำก
ควำมร้อนกับโรงพยำบำลนอกสังกัดกองทัพบกที่อยู่ใกล้หน่วยฝึกหรือเป็น โรงพยำบำลที่มีโอกำสได้รับกำรส่ง
ต่อจำกโรงพยำบำลในสังกัดกองทัพบก เพื่อที่จะสำมำรถให้กำรรักษำพยำบำลได้อย่ำงทั นท่วงทีและเป็ น
มำตรฐำนเดียวกัน
๖. เจ้ำกรมแพทย์ทหำรบก เป็นผู้รับผิดชอบในกำรวำงแผนอำนวยกำรตลอดจนดำเนินกำร
และกำกับดูแลกำรป้องกันเฝ้ำระวังกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อนจำกกำรฝึก ให้เป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ ๑ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๕๗

รับคำสั่ง ผบ.ทบ.

(ลงชื่อ) พล.ท. ทลวงรณ วรชำติ


สำเนำถูกต้อง
( ทลวงรณ วรชำติ )
พ.อ. เฉลิมพล จันดำ
จก.ยศ.ทบ.
(เฉลิมพล จันดำ)
ผอ.กตฝ.สกฝ.ยศ.ทบ.
*** หมำยเหตุ พบ. ได้ ยกเลิ กประกำศตำมข้ อ ๑.๑ แล้ ว และให้ ใช้ ประกำศของ กรมแพทย์ ทหำรบก เรื่ อง
คำแนะนำกำรป้องกัน กำรเฝ้ำระวัง กำรปฐมพยำบำล และกำรรักษำพยำบำลกำรบำดเจ็บจำกควำมร้อน ลงวันที่
๑๙ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ แทน สำมำรถโหลดได้ที่ (http://www.amed.go.th/rtamed/prevent/)
๓ – ๑๔
(สำเนำ)
คำสั่งกองทัพบก
ที่ ๖๕/๒๕๔๒
เรื่อง กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำร
--------------------------
ทบ.มีนโยบำยที่จะพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำร เพื่อให้ทหำรกองประจำกำรมีสภำพ
ควำมเป็นอยู่ที่ ดีขึ้นระหว่ำงอยู่ในกองประจำกำร และมีควำมรู้ในสำยวิชำชีพเพียงพอที่จะน ำไปประกอบอำชีพ
ภำยหลังปลดจำกกองประจำกำร โดยได้รับกำรบริกำร สวัสดิกำร ที่จำเป็นอย่ำงเหมำะสมและเพียงพอ ซึ่งนอกจำก
จะเป็นกำรเสริมสร้ำงขวัญและกำลังใจ ให้พร้อมที่จะปฏิบัติงำนตำมตำแหน่งหน้ำที่ เพื่อรักษำเอกรำชอธิปไตยของ
ชำติอย่ำงเต็มควำมสำมำรถแล้ว ยังเป็นกำรเสริมสร้ำงภำพพจน์ที่ดีของ ทบ. อีกด้วย
๑. ขอบเขต : กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำร ดำเนินกำรใน ๖ ด้ำน ดังนี้
๑.๑ ด้ำนอำหำรและโภชนำกำร
๑.๒ ด้ำนเครื่องแต่งกำย เครื่องนอน และของใช้ประจำตัว
๑.๓ ด้ำนที่พักอำศัย
๑.๔ ด้ำนสุขภำพ ร่ำงกำย
๑.๕ ด้ำนสวัสดิกำรอื่น ๆ
๑.๖ ด้ำนคุณธรรม และจริยธรรม
๒. กำรปฏิบัติ
๒.๑ แนวควำมคิดในกำรปฏิบัติ
กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำร มุ่งพัฒนำในด้ำนปัจจัยสี่ ซึ่งเป็นควำม
ต้องกำรพื้นฐำนของมนุษย์เป็นลำดับแรกและด้ำนอื่น ๆ เป็นลำดับถัดไป ขณะเดียวกันจะต้องพัฒนำคุณธรรม
และจริยธรรมควบคู่กันไปด้วยอย่ำงต่อเนื่อง โดยกำหนดเป็นแนวทำงให้หน่วยนำไปปฏิบัติ เพื่อให้ทหำรกอง
ประจำกำรในหน่วยต่ำง ๆ ของ ทบ.มีคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น และเป็นมำตรฐำนเดียวกัน ทั้งนี้จะต้องมีกำรติดตำม
ประเมินผล เพื่อให้เกิดเป็นรูปธรรม
๒.๒ ด้ำนอำหำรและโภชนำกำร
๒.๒.๑ หน่วยจะต้องจัดให้มีกำรประกอบเลี้ยงแก่ทหำรกองประจำกำร โดยคำนึงถึง
คุณค่ำทำงโภชนำกำรและควำมเพียงพอด้ำนปริมำณเป็นเบื้องต้น นอกจำกนี้ควรมีควำมน่ำรับประทำนใน
เรื่องของรสชำติ ควำมสะอำด และกำรจัดแต่งด้วย ทั้งนี้จะต้องมีกำรควบคุมตรวจสอบกำรใช้ค่ำประกอบเลี้ยง
ให้เหมำะสมสัมพันธ์กันกับคุณภำพและปริมำณอำหำรอย่ำงสม่ำเสมอ
๒.๒.๒ อำหำรมื้อกลำงวัน และมื้อเย็น ให้มีกับข้ำว ๒ อย่ำง และใน ๑ สัปดำห์ให้จัด
อำหำรท้องถิ่น หรืออำหำรพิเศษ อย่ำงน้อย ๑ มื้อ
๒.๒.๓ ผู้ ป รุ ง อำหำรต้ อ งแต่ ง กำยสะอำดและไม่ เ ป็ น โรคติ ด ต่ อ , โรงครั ว ,
ที่รับประทำนอำหำร ภำชนะที่ใช้ประกอบใส่และตักอำหำรต้องสะอำด ถูกสุขลักษณะ ปรำศจำกแมลงหรือ
สัตว์ที่จะเป็นพำหนะนำเชื้อโรค
๒.๒.๔ ภำชนะที่ใช้ใส่และตักอำหำรรับประทำน ต้องล้ำงให้สะอำดแล้วผึ่งให้แห้ง
ทุกครั้ง หลังใช้งำน เพื่อที่จะนำไปใช้ในมื้อต่อไป
๓ – ๑๕

๒.๓ ด้ำนเครื่องแต่งกำย เครื่องนอน และของใช้ประจำตัว


๒.๓.๑ เครื่อ งแต่ ง กำย เครื่อ งนอน และของใช้ที่ ท หำรกองประจำกำรได้ รับ กำร
แจกจ่ำยจะต้ องมีควำมเหมำะสม ทั้งรำยกำรและจำนวนที่ได้รับ รวมทั้งมีคุณภำพดีพอที่จะใช้ได้ตลอดอำยุ
กำรใช้งำน (กบ.ทบ.ดำเนินกำร)
๒.๓.๒ หน่ วยต้ อ งจั ด ให้ มี อุป กรณ์ แ ละสถำนที่ ส ำหรับ กำรซั ก รีด เสื้ อ ผ้ ำแก่ ท หำร
กองประจำกำร หำกทำได้ควรจัดหำเครื่องซักผ้ำ รีดผ้ำ และเจ้ำหน้ ำที่เพื่อบริกำรเป็นส่วนรวม โดยไม่คิด
ค่ำใช้จ่ำยหรือคิดในรำคำทุน
๒.๓.๓ จัดให้มีร้ำนจำหน่ำยเครื่องหมำยและเครื่องแบบทหำรในรำคำที่ประหยัด และ
เป็นธรรม เพื่อให้ทหำรสำมำรถจัดหำเพิ่มเติมได้ตำมสมัครใจ
๒.๔ ด้ำนที่พักอำศัย
๒.๔.๑ ปรับปรุงแบบอำคำรที่เกี่ยวข้องกับทหำรกองประจำกำรได้แก่ โรงทหำร, ห้องน้ำ,
ห้องส้วม, โรงเลี้ยง และโรงครัว ให้สะดวกสบำยและถูกสุขลักษณะยิ่งขึ้น (กบ.ทบ.ดำเนินกำร)
๒.๔.๒ จัดสภำพแวดล้อมโดยรวมภำยในหน่วยให้เป็นระเบียบ สะอำด ร่มรื่น สร้ำง
บรรยำกำศที่ ดี ในกำรปฏิ บัติงำนและกำรพักอำศัย เฉพำะอย่ำงยิ่งบริเวณอำคำรโรงทหำร นอกจำกจะต้อง
สะอำดถูกสุขลักษณะแล้ว ควรปรับปรุงให้สะดวกสบำยขึ้นเท่ำที่จะทำได้ อย่ำงน้อยที่สุดควรติดมุ้งลวดและ
พัดลมเพดำนบริเวณโรงนอนทหำร
๒.๔.๓ อำคำร ห้องน้ำ – ส้วม ทหำรต้องสะอำด มีกำรระบำยน้ำที่ดีและปรำศจำก
กลิ่นเหม็น
๒.๔.๔ จัดให้มีห้องพักผ่อนและสิ่งอำนวยควำมสะดวกภำยในอำคำรโรงทหำร อำทิ
โทรทั ศ น์ วี ดี โอ สเตริ โอ คำรำโอเกะ หนั ง สื อ พิ ม พ์ และหนั ง สื อ อื่ น ๆ เพื่ อ ควำมรู้ แ ละควำมบั น เทิ ง แก่
ทหำรกองประจำกำร
๒.๕ ด้ำนสุขภำพร่ำงกำย
๒.๕.๑ หน่วยระดับกองร้อยต้องจัดให้มีตู้ยำ และเครื่องมือปฐมพยำบำลไว้ประจำหน่วย
๒.๕.๒ ส่ งเสริม ให้ ท หำรกองประจำกำรออกก ำลั ง กำยอย่ ำ งสม่ ำเสมอ เพื่ อ ให้ มี
ร่ำงกำยแข็งแรง และห่ำงไกลยำเสพติด โดย ผบ.หน่วยทุกระดับชั้นนำทหำรกองประจำกำรออกกำลังกำยด้วย
ตนเองเท่ำที่จะสำมำรถทำได้
๒.๕.๓ จั ดสร้ำงสนำมกีฬำและจัดหำอุปกรณ์ กี ฬำตำมขีดควำมสำมำรถ โดยหน่ วย
ระดับกองพันหรือเทียบเท่ำ ควรมีสนำมฟุตบอลอย่ำงน้อย ๑ สนำม และหน่วยในระดับกองร้อยควรจัดให้มี
สนำมตะกร้อ สนำมวอลเลย์บอลและโต๊ะ ปิงปอง ทุกกองร้อย ทั้งนี้จะต้องปลุกเร้ำให้ทหำรกองประจำกำร
สนใจเล่นกีฬำ ด้วยกำรจัดให้มีกำรแข่งขันกันตำมโอกำสที่เหมำะสม
๒.๕.๔ หน่วยรักษำพยำบำล ต้องให้กำรดูแลสุขภำพและรักษำพยำบำลทหำรกอง
ประจำกำรในระดับเดียวกันกับข้ำรำชกำรทหำร
๒.๖ ด้ำนสวัสดิกำรอื่น ๆ
๒.๖.๑ กำรฝึกอบรมวิชำชีพ เพื่อให้ทหำรกองประจำกำรสำมำรถนำควำมรู้ที่ได้รับไป
ประกอบอำชีพหลังจำกปลดประจำกำรได้จริง (กบ.ทบ.ดำเนินกำร)
๒.๖.๒ กำรขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำ เพื่อส่งเสริมให้ทหำรกองประจำกำรได้ศึกษำต่อ
นอกระบบโรงเรียน (ยก.ทบ.ดำเนินกำร)
๓ – ๑๖

๒.๖.๓ ร้ำนค้ำสวัสดิกำร จำหน่ำยสินค้ำที่จำเป็นในชีวิตประจำวันในรำคำถูก


๒.๖.๔ ร้ำนตัดผม
๒.๖.๕ กำรไปรษณีย์, โทรศัพท์
๒.๖.๖ กำรบริกำรอื่น ๆ
๒.๗ ด้ำนคุณธรรมและจริยธรรม
ดำเนินกำรโดยกำรอบรม ชี้แจง ประจำวัน กำรอบรมศีลธรรมตำมห้วงเวลำ รวมทั้ง
กำรร่ ว มกิ จกรรมทำงศำสนำในโอกำสอั นควร เพื่ อให้ เกิ ดทั ศนคติ ค่ ำนิ ยม และพฤติ กรรม ในกำรด ำรงชี วิ ต
ประจำวันในเรื่องต่อไปนี้
๒.๗.๑ ไม่ติดยึดกับควำมเป็นวัตถุนิยม และมุ่งแสวงหำควำมสุขทำงใจยิ่งกว่ำทำงกำย
๒.๗.๒ กำรไม่ยุ่งเกี่ยวและมั่วสุมอบำยมุขและสิ่งเสพติดทุกประเภท
๒.๗.๓ กำรรู้จักประหยัด อดออม ไม่ฟุ่มเฟือย และก่อหนี้สิน
๒.๗.๔ มีระเบียบวินัย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ และมีควำมสำมัคคี
๒.๘ รำยกำรที่กำหนดตำมแนวทำงในคำสั่งนี้ ถือเป็นเกณฑ์ต่ำสุดที่หน่วยต้องดำเนินกำร
ให้ได้และเป็นควำมรับผิดชอบของ ผบ.หน่วยทุกระดับ ตลอดจนหน่วยที่เกี่ยวข้องที่จะต้องให้ควำมร่วมมือ
๒.๙ กำรตรวจสอบกำรประเมินผล : ผนวก ก
๒.๑๐ คำสั่งใดที่เกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำร และขัดแย้ง
หรือซ้ำซ้อนกับคำสั่งนี้ ให้ยกเลิกและใช้คำสั่งนี้แทน
๓. กำรสนับสนุน
๓.๑ ใช้งบประมำณและทรัพยำกรของหน่วยที่มีอยู่ในกำรดำเนินกำร
๓.๒ ให้กรมฝ่ำยเสนำธิกำรและกรมฝ่ำยยุทธบริกำรให้กำรสนับสนุนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ ๓ กุมภำพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๒

(ลงชื่อ) พล.อ. สุรยุทธ์ จุลำนนท์


( สุรยุทธ์ จุลำนนท์ )
ผบ.ทบ.
กพ.ทบ.

สำเนำถูกต้อง
พ.อ. เฉลิมพล จันดำ
(เฉลิมพล จันดำ)
ผอ.กตฝ.สกฝ.ยศ.ทบ.
๓ – ๑๗

ผนวก ก (กำรตรวจสอบและประเมินผล) ประกอบคำสั่ง ทบ. ที่ ๖๕/๒๕๔๒ ลง ๓ ก.พ. ๔๒


เรื่อง กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำร
๑. วัตถุประสงค์ในกำรตรวจสอบ
๑.๑ เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยต่ ำ ง ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งให้ ค วำมสนใจและดู แ ลเอำใจใส่ ในกำรพั ฒ นำ
คุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำรให้ดีขึ้น
๑.๒ เพื่อชี้แจง แนะนำ และตรวจสอบกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำรของหน่วย
๑.๓ เพื่อให้ทรำบข้อเท็จจริงและปัญหำข้อขัดข้องในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำร
๑.๔ เพื่อตรวจสอบและประเมินค่ำ ผบ.หน่วยที่รับกำรตรวจสอบและเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง
๒. ประเภทของกำรตรวจสอบ
๒.๑ กำรตรวจสอบตำมสำยกำรบังคับบัญชำ เป็นกำรตรวจสอบของ นขต.ทบ.ตำมลำดับ
จำกหน่วย กรม – กองพล – ทภ./นขต.ทบ.
๒.๒ กำรตรวจสอบของ ทบ.ดำเนินกำรโดยชุดตรวจเยี่ยมและแนะนำกำรปฏิบัติงำนด้ำน
กำลังพลประจำปี
๓. กำรปฏิบัติ
๓.๑ กำรตรวจสอบตำมสำยกำรบังคับบัญชำ
๓.๑.๑ ให้ นขต.ทบ. ตรวจสอบหน่ วยรองตำมสำยกำรบั งคั บบั ญชำ ที่ ได้ รั บทหำรกอง
ประจำกำร โดยหน่วยระดับกรม ตรวจหน่วยระดับกองพัน, หน่วยระดับกองพล ตรวจหน่วยระดั บกรม และ
หน่วยระดับ ทภ./นขต. ตรวจกองพล/หน่วยรองของ นขต.ทบ.
๓.๑.๒ หน่วยรับกำรตรวจ : หน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่ำขึ้นไปที่ได้รับทหำรกองประจำกำร
๓.๑.๓ รำยละเอียดในกำรตรวจ (อนุผนวก ๑ – ๒)
๓.๑.๔ ให้ชุดตรวจเยี่ยม และแนะนำกำรปฏิบัติงำนด้ำนกำลังพลประจำปี รำยงำนผลกำร
ตรวจสอบให้ ผบ.ทบ.ทรำบ ภำยหลังกำรตรวจภำยใน ๓๐ วัน
๔. มำตรกำรควบคุม
๔.๑ กำรตรวจสอบตำมสำยงำนกำรบัง คับบัญ ชำและกำรตรวจสอบของ ทบ.ให้ใช้กำร
ตรวจโดยไม่แจ้งหน่วยรับตรวจล่วงหน้ำ เพื่อให้ทรำบผลที่ตรงกับควำมเป็นจริง
๔.๒ หน่ วยรับ ตรวจที่ มีผ ลคะแนนต่ ำกว่ำร้อ ยละ ๗๐ ให้ ห น่ วยรีบ แก้ไ ขข้อ บกพร่อ ง
ภำยใน ๓ เดือน เพื่อรับกำรตรวจซ้ำในครั้งที่ ๒
๔.๓ หน่ ว ยรั บ กำรตรวจที่ มี ผลคะแนนต่ ำกว่ำร้ อ ยละ ๗๐ ติด ต่ อ กั น ๒ ครั้ ง ถื อ เป็ น
ข้อบกพร่องของ ผบ.หน่วย ให้หน่วยเหนือตำมสำยกำรบังคับบัญชำพิจำรณำลงโทษ หลังจำกนั้นให้รำยงำนผล
กำรลงโทษจนถึง ผบ.ทบ. แล้วปรับย้ำยออกจำกตำแหน่งต่อไป
๓ – ๑๘

๔.๔ หน่ วยรับ กำรตรวจที่ มีผ ลกำรตรวจเป็ น คะแนนได้เกิ นกว่ำร้อยละ ๗๐ แต่ไ ม่ถึ ง
ร้อยละ ๘๕ จะต้องพัฒนำคุณภำพชีวิตทหำรกองประจำกำรให้ดีขึ้นทุกปี จนกว่ำผลกำรตรวจมีคะแนนเกิน
ร้อยละ ๘๕ หำกไม่สำมำรถดำเนินกำรได้ให้พิจำรณำกำรปรับย้ำย ผบ.หน่วย ออกจำกตำแหน่งต่อไป
๕. ให้ห น่วยรับ กำรตรวจและหน่วยต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้กำรสนั บสนุนและอำนวยควำม
สะดวกตำมควำมเหมำะสมที่หน่วยตรวจ/ชุดตรวจ ร้องขอ

----------------------------------------------
๓ - ๑๙
อนุผนวก ๑ (เรื่องและหัวข้อในการตรวจ) ประกอบ ผนวก ก (การตรวจและประเมินผล)
ประกอบคาสั่ง ทบ.ที่ ๖๕/๒๕๔๒ ลง ๓ ก.พ. ๔๒
------------------------------------------------------------
แบบประเมินผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตทหารกองประจาการ
หน่วย.............................................................
คะแนน ผลการตรวจ
ลาดับ รายการ หมายเหตุ
เต็ม ครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒
ด้านอาหารและโภชนาการ (๒๐)
๑ คุณภาพอาหารที่นามาประกอบเลี้ยงเหมาะสมกับ ๕
ราคาครบถ้วนตามรายการ และการใช้ค่าประกอบ
เลี้ยงสอดคล้องกับยอดเงินที่หักเบี้ยเลี้ยงทหารกอง
ประจาการ
๒ ผู้ปรุงอาหาร, สภาพโรงครัว, ที่รับประทานอาหาร ๓
และภาชนะที่ใช้ประกอบ, ใส่ หรือตักอาหารสะอาด
ปราศจากเชื้อโรค
๓ อาหารที่นามาปรุงมีคุณค่าทางโภชนาการ มีความ ๖
เพียงพอ รสชาติ สะอาด และน่ารับประทาน
๔ รายการอาหารมื้อกลางวันและเย็นมีกับข้าว ๒ อย่าง ๒
และใน ๑ สัปดาห์ มีอาหารท้องถิ่นหรืออาหารพิเศษ
อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ มื้อ
๕ สภาพที่ล้างภาชนะนาไปผึ่งให้แห้งหลังใช้งาน ๒
ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอน และของใช้ส่วนตัว
๖ ได้รับครบตามรายการแจกจ่าย และมีคุณภาพ และ ๓
เหมาะสมกับราคา
๗ มีอุปกรณ์ซักรีดเสื้อผ้าให้บริการทหารกองประจาการ ๓
เช่น เตารีด, เครื่องซักผ้า, เครื่องรีดผ้า เป็นต้น
๘ จัดเจ้าหน้าที่บริการซักรีดผ้าเป็นส่วนรวม โดยไม่คิด ๒
ค่าใช้จ่ายหรือคิดในราคาต้นทุน
๓ - ๒๐

คะแนน ผลการตรวจ
ลาดับ รายการ หมายเหตุ
เต็ม ครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒
๙ มีร้านค้าจาหน่ายเครื่องหมาย และเครื่องแบบในราคา ๒
ที่ประหยัดและเป็นธรรม
ด้านที่พักอาศัย (๒๐)
๑๐ มีสภาพแวดล้อมโดยรวมของหน่วยเป็นระเบียบ, ๕
สะอาด และร่มรื่น
๑๑ บริเวณอาคารโรงทหารเป็นระเบียบ สะอาด ร่มรื่น ๖
สะดวก สบาย โรงนอนทหารมีการติดมุ้งลวดและ
พัดลมเพดาน
๑๒ มีห้องพักผ่อน และสิ่งอานวยความสะดวก ๖
๑๓ สภาพห้องน้า - ส้วม ทหาร สะอาด และปราศจาก ๓
กลิ่นเหม็น
ด้านสุขภาพ (๑๐)
๑๔ หน่วยระดับกองร้อยมีตู้ยาและเครื่องมือปฐมพยาบาล ๒
๑๕ หน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่า มีสนามฟุตบอล ๒
อย่างน้อย ๑ สนาม
๑๖ หน่วยระดับกองร้อย มีสนามตะกร้อ, สนามวอลเลย์บอล ๒
และโต๊ะปิงปอง
๑๗ หน่วยรักษาพยาบาลให้การดูแลสุขภาพและรักษา ๒
พยาบาลทหารกองประจาการ ในระดับเดียวกับ
ข้าราชการทหาร
๑๘ มีการออกกาลังกายประจาวันอย่างสม่าเสมอ โดย ผบ. ๒
หน่วยทุกระดับเป็นผู้นาออกกาลังกาย
ด้านสวัสดิการอื่น ๆ (๒๐)
๑๙ มีการฝึกอบรมวิชาชีพ เพื่อให้ทหารกองประจาการ ๘
นาความรู้ไปประกอบอาชีพได้จริง หลังปลดประจาการ
๒๐ มีการจัดการศึกษาต่อนอกระบบโรงเรียน ๓
๒๑ มีร้านค้าสวัสดิการจาหน่ายสินค้าที่จาเป็นในชีวิต ๓
ประจาวันราคาถูกกว่าท้องตลาด
๓ - ๒๑

คะแนน ผลการตรวจ
ลาดับ รายการ หมายเหตุ
เต็ม ครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒
๒๒ มีร้านตัดผม มีบริการไปรษณีย์ และโทรศัพท์ทางไกล ๔
๒๓ การบริการอื่น ๆ ๒
ด้านคุณธรรมและจริยธรรม (๒๐)
๒๔ มีการอบรมชี้แจงประจาวัน ๓
๒๕ มีการอบรมศีลธรรมตามห้วงเวลา ๓
๒๖ มีการนาทหารไปร่วมกิจกรรมทางศาสนาตาม ๒
โอกาสอันควร
๒๗ จานวนทหารกระทาผิดวินัย ติดยาเสพติด และ ๖
อบายมุขอื่น ๆ มีน้อยมากหรือไม่มีเลย
๒๘ มีการแสดงออกถึงความมีวินัยที่ดี อาทิ การตบแต่ง ๖
ร่างกาย เครื่องแต่งกาย และการแสดงความเคารพ
เป็นต้น

รวม (๑๐๐)
๓ – ๒๒

อนุผนวก ๒ (หลักเกณฑการใหคะแนนในการตรวจ) ประกอบ ผนวก ก (การตรวจสอบและประเมินผล)


ประกอบคําสั่ง ทบ.ที่ ๖๕/๒๕๔๒ ลง ๓ ก.พ. ๔๒

หลักเกณฑการใหคะแนนในการตรวจเพื่อประกอบผลการปฏิบัติ กําหนดเปนระดับ ดังนี้.-

๑. ดีเลิศ แสดงผลการปฏิบัติอยูในระดับสูงสุด เมื่อคิดเปนคะแนนใหถือรอยละ ๙๕ ขึ้นไป


๒. ดีมาก แสดงผลการปฏิบัติอยูในระดับสูง แตยังไมถึงระดับดีเลิศ เมื่อคิดเปนคะแนน
ใหถือรอยละ ๘๕ ขึ้นไป แตไมถึงรอยละ ๙๕
๓. ดี แสดงผลการปฏิบัติอยูในระดับคอนขางสูง แตยังไมถึงระดับดีมาก เมื่อคิดเปน
คะแนนใหถือรอยละ ๗๕ ขึ้นไป แตไมถึงรอยละ ๘๕
๔. พอใช แสดงผลการปฏิบัติวาไดสําเร็จลุลวงไปอยางนอยที่สุด ก็สมความมุงหมาย
ในขั้นต่ํา เมื่อคิดเปนคะแนนใหถือรอยละ ๗๑ ขึ้นไป แตไมถึงรอยละ ๗๕
๕. ยังไมพอใช แสดงผลการปฏิบัติวายังไมถึงขั้นความมุงหมายที่กําหนดไวขั้นต่ํา เมื่อคิดเปน
คะแนนถือวาต่ํากวารอยละ ๗๐

--------------------------------------------------------------------
๓ – ๒๓

ข้อเน้นย้ำมำตรกำรนิรภัยในกำรฝึก (เพื่อพลำง)
--------------------------------------------

๑. เป้ำหมำย : เพื่อให้หน่วยจัดการฝึกอย่างมีความสมจริง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ


หลั กนิ ย ม ยุท ธวิธี เทคนิ ค และขั้น ปฏิ บั ติก าร รวมทั้ ง มีค วามปลอดภัย โดยมี การกาหนด วิ ธี การและ
มาตรการนิ รภั ยในทุก ขั้น ตอนการฝึ ก ตั้ง แต่ การวางแผน การเตรียมการ การดาเนิ น การฝึก และการ
ประเมินผลการฝึก
๒. หลักกำรจัดกำรฝึก : ให้ยึดถือหลักนิยม ยุทธวิธี เทคนิค และขั้นปฏิบัติการ ตามคู่มือ
ราชการสนามของ ทบ.รวมทั้ง กฎ ระเบียบ คาสั่ง คาชี้แจง ที่มีผลบัง คับใช้ ประกอบกับการประยุกต์ใช้
หลักการจัดการความเสี่ยง/ความล่อแหลม เพื่อวิเคราะห์และพัฒนาหนทางปฏิบัติในการจัดทาแผนการฝึก
๓. บทบำท หน้ำที่ ควำมรับผิดชอบ :
๓.๑ ให้ผู้บังคับหน่วย กวดขัน เน้นย้า และกากับดูแล การฝึกโดยใกล้ชิด ทั้งในขั้นการวาง
แผนการฝึก เตรียมการฝึก ดาเนินการฝึก และประเมินผลการฝึก เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและหลักการฝึก
การจัดการฝึกข้างต้น ทั้งนี้ ผู้บังคับหน่วย/ผู้อานวยการฝึก เป็นผู้รับผิดชอบต่อการฝึกของหน่วย
๓.๒ ฝ่ายอานวยการ/ฝ่ายกิจการพิเศษ มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และ
กากับดูแล เพื่อช่วยเหลือผู้บังคับหน่วยในการ กวดขัน เน้นย้า และกากับดูแลในรายละเอียดตามขอบเขต
ความรับผิดชอบทาง ฝ่ายอานวยการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และหลักการฝึก การจัดการฝึกข้างต้น
๓.๓ ให้หน่วยแต่งตั้งนายทหารนิรภัยการฝึก และเจ้าหน้าที่นิรภัยการฝึก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในการฝึ ก ที่มีความเสี่ยง/ความล่อแหลม เช่น การฝึกยิงปืน การฝึกเกี่ ยวกั บวัตถุระเบิด และการฝึกทาง
ยุทธวิธีด้วยกระสุนจริง เป็นต้น ให้หน่วยดาเนินการอย่างจริงจัง และเป็นรูปธรรมดังนี้
๓.๓.๑ นายทหารนิรภัยการฝึก มีหน้าที่ร่วมวางแผนการฝึก เตรียมการ และควบคุม
การฝึก เพื่อให้การฝึกเป็นไปอย่างปลอดภัย ทังนีให้ได้รับมอบอ้ำนำจจำกผู้บังคับหน่วย/ผู้อ้ำนวยกำรฝึก
ในกำรทักท้วง ยับยัง ยุติ กำรฝึกที่อำจก่อให้เกิดอันตรำยกับก้ำลังพล และยุทโธปกรณ์ และหำกกรณีเกิด
อุ บั ติ เหตุ ขึ นในระหว่ ำงกำรฝึ ก ให้ นำยทหำรนิ ร ภั ย ยุ ติ ก ำรฝึ ก โดยทั น ที ทั้ ง นี้ ให้ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง จาก
นายทหารสัญญาบัตรที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ซึ่งมีตาแหน่งสูงกว่าผู้บังคับหน่วยรับ
การฝึก ๑ ระดับเป็นอย่างน้อย เช่น การฝึกทางยุทธวิธีของหน่วยระดับ มว. ให้แต่งตั้งนายทหารระดับ
ผบ.ร้อย./รอง ผบ.ร้อย. ขึ้นไป เป็นนายทหารนิรภัยการฝึก
๓.๓.๒ เจ้าหน้าที่นิรภัยการฝึก มีหน้าที่ ช่วยเหลือนายทหารนิรภัยการฝึก ในการให้
ข้อเสนอแนะ ในขั้นการวางแผน และเฝ้าติดตามการปฏิบัติในขั้นการฝึก โดยให้พิจารณาแต่งตั้งจากนายทหารสัญญา
บัตร หรือนายทหารประทวน ที่มีความชานาญ/เชี่ยวชาญเฉพาะด้านตามความจาเป็นแต่ละการฝึก
๓ – ๒๔

๔. มำตรกำรนิรภัยเฉพำะ :
๔.๑ การเคลื่ อ นที่ ป ระกอบการยิ ง ของส่ ว นด าเนิ น กลยุ ท ธ์ ในการฝึ ก ทางยุ ท ธวิ ธี
ด้วยกระสุนจริง ให้หลีกเลี่ยงการกาหนดแนวทาง/เส้นทางเคลื่อนที่ที่ตัดหรือทาบทับกัน ทั้ง นี้ให้หน่วย
พิจารณากาหนดมาตรการควบคุมให้รัดกุม เช่น แนวทาง/เส้นทางเคลื่อนที่ แนวขั้นการปฏิบัติ แนวห้ามยิง
แนวจากัดการยิง เป็นต้น
๔.๒ การยิงอาวุธยิงสนับสนุน ประเภทอาวุธยิงเล็งตรง ให้หลีกเลี่ยงการยิงที่มีความเสี่ยง/
ล่อแหลมต่ออันตราย เช่น กาหนดแนวยิงตัดหรือทับแนวเส้นทางเคลื่อนที่ของส่วนดาเนินกลยุทธ์ในแต่ละ
ขั้นการปฏิบัติ ทั้งนี้ให้หน่วยพิจารณากาหนดมาตรการควบคุมให้รัดกุม เช่น ที่ตั้งยิง แนวห้ามยิง แนวจากัด
การยิ ง และที่ หมาย/ต าบลกระสุ นตก เป็ นต้ น โดยให้ พิ จารณาปั จจั ยภู มิ ประเทศเกี่ ยวกับ ความลาดชั น
ความเอียง ของที่ตั้งยิง ลักษณะของที่หมาย ประกอบกับ ขีปนวิธีของอาวุธแต่ละชนิด มุมยก/มุมกด ในขณะ
ทาการยิง อันอาจส่งผลให้หัวกระสุนเกิดการสะท้อน/แฉลบข้ามไปยังบริเวณพื้นที่ด้านหลัง/ด้านข้างของ
ที่หมาย ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้
๔.๓ การยิงอาวุธยิงสนับสนุน ประเภทอาวุธวิถีโค้ง ให้หลีกเลี่ยงการยิง ที่มีความเสี่ยง/
ล่อแหลมต่ออันตราย เช่น การกาหนดที่หมาย/ตาบลกระสุนตกใกล้แนวทหารฝ่ายเดียวกัน การกาหนด
แนวยิง ตัด หรือทาบทับแนวทาง/เส้นทางเคลื่อนที่ของส่วนดาเนินกลยุทธ์ ในแต่ละขั้นการปฏิบัติ ทั้ง นี้
ให้หน่วยพิจารณากาหนดมาตรการควบคุมให้รัดกุม เช่น บัตรปลอดภัย (ระบุมุมทิศ มุมสูง ส่วนบรรจุ)
เขตปลอดภัย (หลักเขตการยิง ซ้าย – ขวา) ที่ตั้งยิง ที่หมาย/ตาบลกระสุนตก แนวห้ามยิง พื้นที่ห้ามยิง
เป็นต้น
๔.๔ การยิ งอาวุ ธ ยิ ง สนั บ สนุ น จากอากาศยาน ให้ ห ลี ก เลี่ ย งการยิ ง ที่ มี ค วามเสี่ ย ง/
ล่อแหลมต่ออันตราย เช่น การกาหนดที่หมาย/ตาบลกระสุนตกใกล้แนวทหารฝ่ายเดียวกัน การกาหนด
ตาบลปล่อยอาวุธหลังแนวทหารฝ่ายเดียวกัน ทั้งนี้ให้หน่วยพิจารณากาหนดมาตรการควบคุมให้รัดกุม เช่น
เส้นทางบินเข้า ระดับสูงบิน ตาบลปล่อยอาวุธ เส้นทางบินออก และการประสานการปฏิบัติระหว่างหน่วย
บ.และส่วนดาเนินกลยุทธ์
๔.๕ ให้ผู้บังคับหน่วยกวดขัน และดาเนินการให้กาลังพลมีความพร้อม ทั้งในด้านความรู้
ทักษะให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงานตามตาแหน่งหน้าที่ นอกจากนั้นให้คานึงถึงความพร้อมทางด้านร่างกาย
และสภาพจิตใจ/ทัศนคติ อันอาจเป็นสาเหตุของอันตรายได้
๔.๖ ให้ ห น่ ว ยที่ เกี่ ย วข้ อ ง ประกอบด้ ว ย หน่ ว ยใช้ หน่ ว ยสนั บ สนุ น โดยตรง หน่ ว ย
สนับสนุนทั่วไป กรมฝ่ายยุทธบริการ ดาเนินการด้านการส่งกาลัง และซ่อมบารุงให้เป็นไปตามระเบียบ ทบ.
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้อาวุธ ยุทโธปกรณ์ และ สป.ในการฝึกได้อย่างปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การเบิ ก – จ่าย เก็ บรักษา จาหน่าย ส่งคืน สป.๕ ในการฝึก นอกจากนั้ นในการฝึ กยิง สป.๕ ประเภท
จรวด/อาวุธนาวิถี ให้หน่วยใช้ประสานหน่วยสนับสนุน เพื่อตรวจสภาพก่อนการใช้งาน กรณีการตรวจ
สภาพครั้งล่าสุดได้ดาเนินการมาก่อน ๓ เดือน นับถึงวันฝึกยิง
๓ – ๒๕

๔.๗ การจัดทาแผนการฝึก ให้หน่วยจัดทาแผนเผชิญ เหตุรองรับการปฏิบัติกรณี ต่าง ๆ


ตามที่หน่วยได้มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง/ความล่อแหลม ที่อาจเกิดอันตรายขึ้นได้ อันเป็นการกาหนด
มาตรการป้องกันอีกระดับหนึ่ง
๔.๘ ให้หน่วยวางแผน เตรียมการ ในการแก้ไข เหตุการณ์/อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง กรณีกาลังพลได้รับบาดเจ็บ โดยจัดให้มีแผนการรักษาพยาบาล และการส่งกลับ จัดให้มีบุคลากร
ทางการแพทย์อ ย่างเหมาะสม เพี ยงพอ จัดให้มี ยานพาหนะส่ง กลั บ พร้อ มติด ตั้ง อุป กรณ์ ทั้ ง นี้ในการ
พิจารณากาหนดรายละเอียดของแผน จะต้องคานึงถึงจานวนผู้รับการฝึก ลักษณะการฝึกที่ดาเนินการ
การใช้อาวุธ/วัตถุระเบิด ระยะทางระหว่างพื้นที่ฝึกกับพื้นที่รักษาพยาบาลขั้นต้น เป็นต้น
๔.๙ การวางแผนการฝึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกาหนดสนามฝึกทางยุทธวิธีด้วยกระสุน
จริง/สนามยิงปืนในภูมิประเทศ ต้องจัดเตรียมสนามฝึกและกาหนดมาตรการควบคุมให้รอบคอบ รัดกุม
เพื่อ ไม่ให้เกิ ดอัน ตรายกับ พื้น ที่ข้างเคีย ง ทั้ง ในส่วนของพื้น ที่พั กอาศัย และพื้ นที่ เพาะปลูก ของราษฎร
สาหรับการฝึกทางยุทธวิธีบริเวณแนวชายแดน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น และความไว้วางใจซึ่งกัน
และกันกับประเทศเพื่อนบ้านนั้น ให้หน่วยใช้ความระมัดระวัง ในการวางแผน และการปฏิบัติอย่างยิ่งยวด
ทั้งนี้ให้หน่วยหลีกเลี่ยงการฝึกทางยุทธวิธีโดยใช้กระสุนจริง และพิจารณาใช้ การฝึกทางยุทธวิธีโดยไม่ใช้
กาลัง (TACTICAL EXERCISE WITHOUT TROOPS : TEWT) เป็นหลัก

---------------------------------------------------------------

ตรวจถูกต้อง
(ลงชื่อ) พ.อ. สมศักดิ์ รุ่งสิตา
(สมศักดิ์ รุ่งสิตา)
ผอ.กอง ยก.ทบ.
สาเนาถูกต้อง
พ.อ. เฉลิมพล จันดา
(เฉลิมพล จันดา)
ผอ.กตฝ.สกฝ.ยศ.ทบ.
๓ – ๒๖

ตอนที่ ๒
แนวทางป้องกันทหารใหม่เจ็บป่วย

การเจ็บป่วยจากความร้อน ซึ่งได้แก่ การบวมแดด, ผดผื่นคันจากความร้อน, ลมแดด, ตะคริวแดด,


การเกร็งแดด, การเพลียแดด และโรคลมร้อน มักจะเกิดขึ้นได้ในระหว่างการฝึกของทหาร ดังนั้นเพื่อเป็ นการ
ป้องกันมิให้ทหารใหม่ซึ่งเข้า รับราชการทหารเกิดการเจ็บป่วยจากความร้อนในระหว่างการฝึกตามระเบียบ
และหลัก สูต รการฝึก ทหารใหม่ จนท าให้ เกิ ดการบาดเจ็บหรื อเสียชีวิต จึงให้ หน่ วยฝึกทหารใหม่ ตลอดจนผู้ ที่
เกี่ยวข้องกับการฝึกทหารใหม่ปฏิบัติตามคู่มือ การเฝ้าระวังและการปฐมพยาบาลการเจ็บป่วยเนื่องจากความร้อน
(สาหรับหน่วยฝึก) ของกองส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารบก และคู่มือการเฝ้าระวัง
และการปฐมพยาบาลการเจ็ บป่ วยเนื่ องจากความร้ อน (ส าหรับหน่ วยสายแพทย์ ของกองส่ งเสริมสุขภาพและ
เวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารบก) ซึ่งได้แจกจ่ายให้กับหน่วยฝึกทหารใหม่แล้ว ทั้งนี้การป้องกันมิให้ทหารใหม่เกิด
การเจ็บป่วยจากความร้อนเป็นสิ่งพึงประสงค์มากที่สุด แต่อย่างไรก็ตามหากทหารใหม่เกิดการเจ็บป่วยจาก
ความร้ อนขึ้น จะต้ อ งรีบ ท าการปฐมพยาบาลลดความร้ อนทั น ที ก่ อนส่ง ตัว ไปเข้ า รับ การรัก ษาพยาบาล
ยังหน่วยแพทย์ต่อไป โดยสรุปข้อมูลเกี่ยวกับโรคลมร้อน แนวทางการป้องกัน และการปฐมพยาบาล ดังนี้
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคลมร้อน
๑. สภาพอากาศที่ร้อนจัด ไม่มีลมพัดและความชื้นของอากาศสูง
๒. การออกกาลังกาย หรือฝึกหนักเกินไป
๓. การได้รับน้าไม่พอเพียงกับความต้องการของร่างกาย
๔. การใส่เสื้อผ้าที่หนาและปกปิดร่างกายมิดชิดเกินไป
๕. เพิ่งหายจากการเจ็บป่วยหรือได้รับบาดเจ็บ
๖. ความไม่เคยชินต่อสภาพแวดล้อมและการฝึก
๗. การเป็นโรคติดเชื้อหรือเป็นไข้
๘. ความอ้วน (ค่าดัชนีมวลกาย  ๓๐ กิโลกรัมต่อตารางเมตร)
๙. เคยป่วยเนื่องจากความร้อน
๑๐.มีอาการอ่อนเพลีย
๑๑.พักผ่อนน้อย นอนไม่หลับ
๑๒.การรับประทานอาหารมากเกินไปก่อนออกกาลังกาย
๑๓.การดื่มสุราก่อนออกกาลังกาย
๑๔.ผู้สูงอายุ
๑๕.การได้รับยาบางอย่าง ได้แก่ ยาขับปัสสาวะ ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งเหงื่อ
๑๖.ต่อมเหงื่อทางานผิดปกติ เช่น โรคสะเก็ดเงิน
๓ – ๒๗

แนวทางการป้องกันการเจ็บป่วยจากความร้อนสาหรับหน่วยฝึกทหาร
๑.ขั้นเตรียมการ
๑.๑ สาหรับผู้บังคับบัญชา
๑.๑.๑ กากับ ดูแล กวดขันให้หน่วยฝึกทหารใหม่ปฏิบัติตามประกาศกรมแพทย์ทหารบก เรื่องคาแนะนา
ส าหรั บ ผู้ บั งคั บหน่ วย, ผู้ ฝึ ก, ครู ฝึ ก และเจ้ าหน้ าที่ ที่ เกี่ ยวข้ องกั บการป้ องกั น, การปฐมพยาบาล และการ
รักษาพยาบาลการเจ็บป่วยจากความร้อน
๑.๑.๒ กาหนดให้มีการตรวจร่างการทหารใหม่เพื่อคัดกรองผู้ที่มีโรคประจาตัวหรือผู้ที่มีน้าหนักเกิน หรือ
ผู้ที่ติดยาเสพติด รวมถึงดื่มสุราอย่างหนักก่อนเข้ากองประจาการ และมีอาการไข้ ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงอาจนาไปสู่การ
เจ็บป่วยจากโรคลมร้อนได้
๑.๑.๓ กากับดูแลให้มีเครื่องวัดความชื้นสัมพัทธ์ เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย และสิ่งอุปกรณ์ปฐมพยาบาล
ขั้นพื้นฐานที่ทันสมัย (ตามคาแนะนาของหน่วยสายแพทย์ในพื้นที่) เพียงพอต่อจานวนกาลังพลของหน่วยและ
พร้อมใช้งานขณะที่ทา การฝึก
๑.๒ สาหรับหน่วยฝึก
๑.๒.๑ ส่งผู้ฝึก, ครูนายสิบ, ครูทหารใหม่ และเจ้าหน้าที่เสนารักษ์ประจาหน่วยฝึก เข้ารับการอบรม
จาก รพ.ทบ.ในพื้นที่ เรื่อง การเจ็บป่วยจากความร้อน การประเมินอาการ การปฐมพยาบาล และการส่งผู้ป่วยไป
โรงพยาบาล ให้ครบทุกนาย
๑.๒.๒ เตรียมสิ่งอุปกรณ์ปฐมพยาบาลและสิ่งอุปกรณ์ช่วยชีวิตพื้นฐานให้ พร้อมใช้ ได้แก่
๑.๒.๒.๑ เปลสนาม ต้องกางออกและวางไว้ในสถานที่ที่หยิบใช้ได้สะดวก พร้อมรับผู้ป่วยเมื่อมีเหตุ
ฉุกเฉินได้ทันที
๑.๒.๒.๒ ถังน้า ขนาด ๒๐๐ ลิตร หรือขนาดตามความเหมาะสมและเติมน้าสะอาดให้เต็มสาหรับ
ใช้เช็ดตัว ใช้ล้างหน้า ต้องมีฝาปิดเพื่ อป้องกันแมลง ฝุ่นละออง หรือใบไม้ไม่ให้ร่วงตกลงสู่ถังซึ่งจะทาให้น้า
มีกลิ่นเน่าเหม็น ไม่สะอาดและอาจทาให้เกิดผื่นคันได้
๑.๒.๒.๓ ผ้าขนหนู ขนาดกว้าง X ยาว ประมาณ ๑๔ X ๒๘ นิ้ว เป็น สี่เหลี่ย มฝืน ผ้าสาหรับ
เช็ดตัวเพื่อลดไข้หรือใช้ชุบน้าสะอาดบิดให้หมาด เช็ดหน้า ขณะพักและใช้คล้องคอบริเวณท้ายทอยใต้ปกเสื้อ
เพื่อ ช่วยลดความร้อน ขณะท าการฝึกกลางแดด ควรมีผ้ าขนหนูป ระจาตัวทหารทุก คนเพราะสามารถ
นามาใช้ในการปฐมพยาบาลผู้เจ็บป่วย จากความร้อนได้ (เช็ดตัวและใช้ป้องกันการกัดลิ้น)
๑.๒.๒.๔ กระบอกฉีดน้า ชนิดพ่นละอองฝอยสาหรับพ่นไปบริเวณรอบ ๆ ตัวผู้ป่วยและเหนือ
ศีรษะของ ผู้รับการฝึก เพื่อให้อุณหภูมิของอากาศบริเวณนั้นต่ากว่าอุณหภูมิร่างกายจึงทาให้ร่างกายระบายความ
ร้อนออกมาได้ ทุกสถานีฝึกและที่ปฐมพยาบาลของหน่วยฝึกต้องมีอย่างน้อยแห่งละ ๕ อัน เติมน้าสะอาดให้เต็ม
เมื่อกดหัวฉีดแล้วน้าพ่นออกมาเป็นละอองฝอยได้ไกล ไม่ตกลงมาเป็นหยดน้าใกล้ตัวซึ่งไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ
๑.๒.๒.๕ พั ดลม หรือ กระดาษแข็ ง ใช้พั ด เพื่ อ ให้มี ก ารถ่ ายเทเคลื่อ นไหวของอากาศบริเวณ
รอบตัวผู้ป่วย เป็นการช่วยให้เหงื่อและน้าระเหยได้เร็วขึ้นขณะที่ทาการเช็ดตัว เพื่อลดไข้หรือระบายความ
ร้อนออกจากร่างกาย
๓ – ๒๘

๑.๒.๒.๖ รถส่ งผู้ ป่ วย อาจเป็ นรถพยาบาล รถจิ๊ ป หรื อรถกระบะที่ มี อุ ปกรณ์ ช่ วยชี วิ ตพื้ นฐาน
มีอุปกรณ์ ปฐมพยาบาลและมีการระบายอากาศที่ดี โดยน ามาจอดที่ถนนด้านหน้าหน่วยฝึกให้อยู่ในสภาพ
พร้อมส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาลได้ทันที และมอบหมายผู้ทาหน้าที่พลขับไว้ด้วย
๑.๒.๒.๗ ยา และเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ช่วยชีวิตพื้นฐานและอุปกรณ์ชุดปฐมพยาบาล ที่จาเป็นของ
เจ้าหน้าที่เสนารักษ์สนามประจาหน่วยฝึก
๑.๒.๒.๘ ไดร์เป่าผม ใช้ลมอุ่นประมาณ ๔๕ องศาเซลเซียส เป่าย้อนรูขุมขนตามบริเวณแขน ขา
และลาตัว ขณะที่เช็ดตัวผู้ป่วยตามไปด้วย เพื่อให้เส้นเลือดฝอยบริเวณผิวหนังขยายตัวซึ่งทาให้มีการระบายความ
ร้อนออกจากร่างกายได้เร็วขึ้น
๑.๒.๓ เตรียมเอกสารและคู่มือต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจัดเตรียมไว้ที่ บก.หน่วยฝึก เช่น คู่มือการป้องกันและ
การปฐมพยาบาลการเจ็บป่วยจากความร้อนสาหรับหน่วยฝึกทหาร แผนการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยฝึก
กับ รพ.ทบ./ รพ.สาธารณสุข ในพื้นที่ แบบบันทึกการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน (ข้อมูลส่วน
บุคคลประจาวัน/ข้อมูลการฝึกประจาวัน (บันทึกทุกช่วงเวลาที่กาหนด) จัดทาบอร์ดให้ความรู้เรื่องการป้องกัน
การเกิดการเจ็บป่วยจากความร้อน การประเมินอาการการเจ็บป่วยจากความร้อนจากน้อยไปหามาก การ
ปฐมพยาบาลการเจ็บป่วยจากความร้อน พร้อมผังการไหลของงาน เรื่อง แนวทางการปฏิบัติเมื่อมี ผู้ป่วยเจ็บ
จากความร้อนขณะนาส่ง รพ.
๑.๒.๔ เตรียมฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระหว่างเจ้าหน้าที่เสนารักษ์ประจาหน่วยฝึก ผช.ครูฝึก และผู้รับ
การฝึก โดยจาลองสถานการณ์ฝึก การประเมินอาการผู้ป่วยจากกรณีศึกษา การปฐมพยาบาล การช่วยชีวิต
พื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร และการส่งผู้ป่วยไป รพ.ตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบในแผนฯ จนเกิดทักษะ
เมื่อมีเหตุการณ์จริงเกิดขึ้นจะสามารถประเมินอาการเบื้องต้นและให้การปฐมพยาบาลผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที
ถูกต้อง ทาให้ลดอัตรา การเจ็บป่วย/เสียชีวิต/พิการ ในระหว่างการฝึกลงได้
๑.๒.๕ เตรียมประสานกับ รพ.สาธารณสุขในพื้นที่ กรณีที่หน่วยฝึกอยู่ในพื้นที่ห่างไกลจาก รพ.ทบ. ให้ทา
หนั งสือราชการ ถึงผู้บริหาร รพ.สาธารณสุข ในพื้นที่ ที่ใกล้ที่สุดโดยตรง เพื่อประสานการปฏิบัติกับแพทย์
พยาบาลที่เกี่ยวข้อง ในแนวทางการรักษาพยาบาลผู้ป่วยเจ็บจากความร้อนและปัญหาที่เคยเกิดขึ้ น เพื่อให้
เกิดการขยายเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคลมร้อน ที่เป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่องทุกปี
๒. ขั้นก่อนทาการฝึก หน่วยฝึกควรดาเนินการดังนี้
๒.๑ ประสานงานกั บ ศูน ย์เฝ้าระวังติด ตามสถานการณ์ โรคลมร้อ น ซึ่ ง รพ.ทบ.เป็ น ศูน ย์ กลางจัดตั้ ง ใน
แนวทางต่าง ๆ ที่หน่วยต้องปฏิบัติเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยจากความร้อนในระหว่างการฝึก
๒.๒ การบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล (กาลังพลเป็นผู้บันทึกด้วยตนเองเพียงครั้งเดียว) เพื่อเป็นข้อมูลในการ
ค้นหาปัจจัยเสี่ยงจากบุคคลซึ่งอาจมีปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการเจ็บป่วยจากความร้อนในระหว่างการฝึกได้ เช่น
ความเคยชิน จากความร้อน การออกกาลังกาย โรคประจาตัวและการใช้ยา ฯลฯ
๒.๓ ให้ทาการฝึกสร้างความเคยชินกับความร้อน ใน ๒ สัปดาห์แรก ดังนี้
๒.๓.๑ สัปดาห์แรกไม่ควรฝึกเกินวันละ ๕ – ๖ ชั่วโมง เวลาที่เหลือใช้ดาเนินงานด้านธุรการ เช่น การ
บันทึกข้อมูลส่วนบุคคล การตรวจสุขภาพร่างกาย การฉีดวัคซีน
๒.๓.๒ สัปดาห์ที่ ๒ ไม่ควรฝึกเกินวัน ละ ๗ – ๘ ชั่วโมง เวลาที่เหลือดาเนินงานด้านธุรการ เช่น การ
อบรม เรื่อง สุขศาสตร์ส่วนบุคคล ความรู้เรื่องโรคติดต่อและการป้องกัน การเฝ้าระวังป้องกันการเจ็บป่วยจาก
ความร้อนตามระดับความรุนแรงต่าง ๆ เพื่อการดูแลสุขภาพของผู้รับการฝึกและเพื่อนผู้รับการฝึก (คู่บัดดี้)
๓ – ๒๙

๒.๓.๓ มีการเฝ้าระวังการเกิดโรคลมร้อนอย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบบันทึกการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจาก


ความร้อน (ข้อมูลส่วนบุคคลประจาวัน)
๒.๓.๔ ให้ความรู้ทหารผู้รับการฝึก เรื่อง อาการเจ็บป่วยจากความร้อน การประเมินอาการเจ็บป่วย
จากความร้อน การปฐมพยาบาลตามอาการ และการสัง เกตอาการเจ็บ ป่วยด้วยตนเองและสามารถบอก
อาการที่ เกิด ขึ้น ให้ กับ เพื่ อน ผู้ รับการฝึ กข้ างเคียง (คู่บั ดดี้) ครูฝึ ก ผู้ ช่วยครูฝึก เพื่ อให้ก ารช่วยเหลื อได้
ทันท่วงที
๒.๔ การตรวจสุขภาพทหารใหม่ เพื่อคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยง (กรรมวิธีทางด้านธุรการ) เช่น การซักประวัติ
รายบุ คคลในขั้ น ต้ น คั ด กรองสภาวะสุ ข ภาพเมื่ อ แรกเข้ า โดยนายสิ บ เสนารั ก ษ์ ป ระจ าหน่ ว ยฝึ ก หรื อ
ผู้รับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมายเช่น การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง การหาค่าดัชนีมวลกาย ซักประวัติก าร
เจ็บป่วยในอดีตและในปัจจุบัน แล้วลงบันทึกสุขภาพรายบุคคลไว้เป็นหลักฐาน โดยแยกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มป่วย
เพื่อประโยชน์ ในการเฝ้ าระวังป้ องกันการเจ็บป่วยจากความร้อนสาหรับกลุ่ มป่ วยหรือกลุ่มที่มี ปัจจัยเสี่ ยงส่ วน
บุคคลให้ส่ง รพ.ทบ.เพื่อรับการตรวจรักษาจากแพทย์ต่อไป สาหรับตรวจสุขภาพทหารใหม่ ให้ประสานขอแพทย์
จาก รพ.ทบ.ในพื้นที่เพื่อตรวจสุขภาพและคัดกรองกาลังพลที่อาจเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคลมร้อน แล้วนาผล
การตรวจสุขภาพมาจัดการฝึกตามกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย
๒.๕ การฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก (เข็มแรก/เดือนที่ ๐) ควรฉีดวัคซี นในสัปดาห์แรกช่วงมีการตรวจ
ร่างกายทหารใหม่ (ห้วงดาเนินการทางธุรการ) เนื่องจากหากฉีดในห้วงของการฝึกผู้รับการฝึกบางรายอาจมี
อาการแพ้วัคซีน ทาให้มีไข้ซึ่งเป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการเจ็บป่วยจากความร้อนได้
๓. ระหว่างการฝึก
๓.๑ การเลือกสถานที่ฝึก ควรเลือกสถานที่ ฝึกที่มีลมพัดผ่าน อากาศถ่ายเทได้ดี เป็ นพื้นหญ้ า ดีกว่าพื้ น
ซีเมนต์/ถนน ฝึกกลางแดดมีลมพัด ดีกว่า ฝึกในร่มมีลมร้อน ๆ ดีกว่า ฝึกในร่มแต่อับลม
๓.๒ การวัดอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม และความชื้นสัมพัทธ์
๓.๒.๑ การใช้เครื่องวัดความชื้นสัมพัทธ์ที่ได้มาตรฐานตามที่ พบ.กาหนด (วิธีการใช้ สถานที่ตั้ง การตั้งให้
พร้อมใช้งาน)
๓.๒.๒ แนะนาให้ใช้เครื่องวัดความชื้นสัมพัทธ์แบบดิจิตอล (ถ้าเป็นไปได้) เนื่องจากให้ค่าที่เที่ยงตรง
เชื่อถือได้
๓.๒.๓ การอ่านค่าความชื้นสัมพัทธ์จากเครื่องที่ไม่ใช่ระบบดิจิตอล (ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ควรมอบหมายให้นาย
สิบเสนารักษ์ หรือผู้ที่ได้รับการอบรมในเรื่องการวัด การอ่านค่า และการให้สัญญาณธง เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบใน
การอ่านค่าความชื้นสัมพัทธ์ และชักธงสัญญาณตามเวลาที่ผู้ฝึกกาหนด
๓.๓ การดื่มน้า ให้ทหารดื่มน้าทุกครั้งที่พัก โดยจะต้องดื่มน้าอย่างน้อย ๒ ลิตร/ต่อวัน และให้สังเกตสีปัสสาวะ
ถ้าปัสสาวะ สีเข้ม แสดงถึงร่างกายขาดน้า ให้ดื่มน้าเพิ่มมากขึ้น หากมีอาการ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหรือรู้สึก
อ่อนเพลีย ให้ดื่มน้าผสมเกลือแกง ๑ ช้อนชา ต่อน้า ๑ ลิตร หรือเกลือแกง ๑/๔ ช้อนชา ผสมกับน้าเปล่า ๑ แก้ว
จะเท่ากับ ๐.๑ % saline solution
๓ – ๓๐

๓.๔ การแต่งกาย ควรเลือกชุดที่ระบายความร้อนได้ดีเหมาะสมกับสภาพอากาศและกิจกรรมการฝึก หลังฝนตก


มีอากาศเย็นแต่ความชื้นสัมพัทธ์สูง ถ้าจะออกกาลังกายอย่างหนักหรือวิ่งเหยาะ ๆ ให้สวมชุดครึ่งท่อนและไม่
ควรใช้เวลานาน หรือ งดกิจกรรมการฝึกนั้น
๓.๕ ทัศนคติของครูฝึก และผู้ช่วยครูฝึก
๓.๕.๑ เห็นความผิดปกติของทหารใหม่ เช่น ไม่ทาตามคาสั่ง มึน พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ช้า ซึม คิดว่า
แกล้ง อู้ ซึม ทาให้ลดโอกาสของทหารใหม่ในการรับการบริการทางการแพทย์อย่างทันท่วงที ห้ามซ่อม ให้รีบ
ส่ง รพ.ทันที เพื่อให้แพทย์เป็นผู้วินิจฉัยและลงความเห็นว่าให้ฝึกต่อหรืองดฝึกแล้วรับไว้รักษาตัวใน รพ.
๓.๕.๒ มีไข้ ให้งดการฝึกทุกกรณี แม้จะทานยาลดไข้ ไข้ลดแล้วก็ตาม
๓.๕.๓ เมื่อมีอาการเจ็บป่วยเกี่ยวกับความร้อนให้รีบส่ง รพ.ที่อยู่ใกล้ที่สุดทั นที อย่ามัวแต่ปฐมพยาบาล
ก่อนแล้วจึงส่ง (เพราะสามารถให้การปฐมพยาบาลขณะนาส่งได้)
การปฐมพยาบาลการเจ็บป่วยจากความร้อน
ปกติอุณหภูมิร่างกายของคนเราอยู่ที่ ๓๗ องศาเซลเซียส ซึ่งอวัยวะภายในร่างกายต่าง ๆ ทางาน
ได้ตามปกติ เมื่อร่างกายขาดความสมดุลเกิดความร้อนสะสมจนอุณ หภูมิสูงขึ้นเกินกว่า ๔๐ องศาเซลเซียส
ความร้อนจะทาลายเนื้อเยื่อของอวัยวะต่าง ๆ ทุกระบบทั่วร่างกาย ทาให้อวัยวะต่าง ๆ บาดเจ็บจนทางานผิดปกติ
เกิดการเจ็บป่วยจากความร้อน ซึ่งมีระดับความรุนแรงตามลาดับได้แก่ การบวมแดด, ผดผื่นคันจากความร้อน,
ลมแดด, ตะคริวแดด, เกร็งแดด, เพลียแดด จนถึงขั้นโรคลมร้อน (Heat Stroke)
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยโรคลมร้อน (Heat Stroke) จะต้องลดอุณหภูมิร่างกายโดยการระบาย
ความร้อนออกจากร่างกายผู้ป่วยให้เร็วที่สุด โดยการนาผู้ป่วยเข้าที่ร่ม ถอดเสื้อผ้า พ่นละอองน้ารอบตัวผู้ป่วย ใช้
พัดลมพัดให้น้าระเหย เช็ดตัวด้วยน้าอุณหภูมิปกติ ถอดรองเท้า และยกปลายเท้าให้สูง ขึ้น ถ้ารู้สึกตัวให้ดื่ม
น้าเย็น (ไม่ต่ากว่า ๑๕ องศาเซลเซียส) และรีบนาส่งหน่วยรักษาพยาบาลโดยเร็วที่สุด โดยเช็ดตัวให้ผู้ป่วย
ไปตลอดทาง ห้ามให้ยาแอสไพรินเพราะจะทาให้เลือดออกง่ายผิดปกติ
การประเมินอาการ
๑. ให้เจ้าหน้าที่เสนารักษ์ที่ประจาอยู่ในสนามฝึกประเมินอาการผู้ป่วยและดาเนินการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ตามอาการและระดับการเกิดการเจ็บป่วยจากความร้อน โดยปฏิบัติตามแนวทางของกรมแพทย์ทหารบก
๒. กรณี สงสั ยหรือไม่ สามารถประเมิ นอาการได้ ชั ดเจน ให้ ส่ งผู้ป่ วยไป รพ.ทบ.ในพื้ นที่ ทั นที ในระยะที่ อาการ
ยังไม่รุนแรง ไม่ควรให้เกิดอาการอยู่ในระยะอันตราย ซึ่งอาการที่อยู่ในระยะอันตรายมีดังนี้
๒.๑ หายใจเร็วกว่า ๔๐ ครั้ง/นาที
๒.๒ หายใจลาบาก หอบเหนื่อย รูจมูกบาน
๒.๓ ลูกกระเดือกเลื่อนขึ้นลงตามจังหวะการหายใจ
๒.๔ กระดูกไหปลาร้าโยกขึ้นลงตามจังหวะการหายใจอย่างชัดเจน
๒.๕ ตรวจดูสิ่งแปลกปลอมในช่องปากและทางเดินหายใจ ให้ออกซิเจน
๒.๖ ชีพจรเต้นเร็ว ไม่สม่าเสมอ หรือเต้นเร็วกว่า ๑๔๐ ครั้ง/นาที
๒.๗ ความดันโลหิต ต่ากว่า ๑๐๐/๖๐ มม./ปรอท หรือความดันโลหิตสูงกว่า ๑๖๐/๑๐๐ มม./ปรอท
๓ – ๓๑

๓. การป้องกัน การฝึกหรือออกกาลังกายขณะอากาศร้อน ควรหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดการเจ็บป่วย


จากความร้อน โดยให้ปฏิบัติดังนี้
๓.๑ การฝึ กหรือออกกาลั งกาย ควรเริ่มจากน้อ ยไปหามาก เพื่อ ทาให้ร่างกายเกิดความเคยชิน และ
ระหว่างฝึกควรมีการพักบ้างเป็นระยะ การฝึกทหารใหม่ในระยะแรกต้องระมัดระวังให้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในระยะ ๒ สัปดาห์แรกของการฝึก
๓.๒ หลีกเลี่ยงการฝึกหรือออกกาลังกายอย่างหักโหม ในขณะที่มีอากาศร้อนจัด ควรฝึกเฉพาะช่วงเช้า เย็น
หรือกลางคืน
๓.๓ ไม่ใส่เสื้อผ้าหนาหรือปกปิดร่างกายมิดชิดเกินไป
๓.๔ ดื่มน้ าให้เพี ยงพอทั้งก่อนออกกาลังกาย ระหว่างออกกาลังกายและหลังการออกกาลังกาย ถ้าออก
กาลังกายนานกว่า ๑ ชม. ควรดื่มน้าที่เติมเกลือแกงเล็กน้อย (๑ ใน ๔ ช้อนชาต่อน้า ๑ แก้วหรือ ๑ ช้อนชาต่อน้า
๑ ลิตร) เพื่อทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปทางเหงื่อ
๓.๕ ถ้าเจ็บป่วยหรือเป็นไข้ ให้งดออกกาลังกาย
๓.๖ งดดื่มสุราและงดรับประทานอาหารก่อนไปออกกาลังกาย
๓.๗ เลือกวิธีออกกาลังกายให้เหมาะสมกับวัย
๓.๘ ขณะฝึกหรือออกกาลังกาย ผู้ควบคุมการฝึกต้องหมั่นสังเกตผู้รับการฝึก หากเริ่มมีอาการป่วยจาก
ความร้อนให้หยุดฝึกและรีบปฐมพยาบาลก่อนที่อาการจะรุนแรง
๓.๙ หลังจากการฝึกหรือออกกาลังกาย ควรพักผ่อนให้เพียงพอ
๔. อาการผิดปกติซึ่งเป็นอาการนาของการเจ็บป่วยจากความร้อน ในกรณีที่ทหารมีอาการผิดปกติซึ่งเป็น
อาการนาของ การเจ็บป่วยจากความร้อน ได้แก่ เป็นตะคริวที่แขน ขา หน้าท้อง อาเจียน เวียนศีรษะ มีไข้ ให้
หยุดพักและทาการปฐมพยาบาล สังเกตอาการ หากมีกรณีเร่งด่วนหรืออาการที่น่าจะเป็นอันตรายถึงชีวิต ดังที่จะ
กล่าวต่อไป แม้เพียงอาการอย่างใดอย่างหนึ่ งให้ รีบ ตามเจ้าหน้าที่เสนารักษ์หรือแพทย์ประจาหน่วยฝึก และ
เตรียมนาส่งโรงพยาบาลโดยเร่งด่วน และให้การปฐมพยาบาลตลอดเวลาที่นาส่ง มิฉะนั้นผู้ป่วยอาจมีอาการรุนแรง
จนเสียชีวิตหรือพิการได้ ซึ่งอาการเจ็บป่วยจากความร้อนที่ไม่ควรให้เกิดขึ้นหลังจากเริ่มมีอาการในระยะแรก
ได้แก่
๔.๑ เป็นตะคริวอย่างรุนแรง
๔.๒ อาเจียนอย่างผิดสังเกต
๔.๓ ปวดท้องรุนแรง
๔.๔ จุกแน่นหน้าอก
๔.๕ สับสน หมายถึงไม่สามารถตอบคาถามง่าย ๆ เกี่ยวกับบุคคล สถานที่ เวลา ได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
ภายในเวลา ๑๕ วินาที หรือปฏิบัตินอกคาสั่ง หรือฝ่าฝืนคาสั่ง ฟังง่าย ๆ แล้วไม่เข้าใจ
๔.๖ ผิวหนังแห้ง แม้มีเหงื่อแต่เมื่อเช็ดตัวแห้งแล้วก็ไม่มีเหงื่อออกมาทั้งที่ยังดูเหนื่อยหรือมีไข้สูง
๔.๗ ชัก หมดสติ ม่านตาไม่ตอบสนองต่อแสง
๔.๘ ตัวเขียว ริมฝีปากเขียวคล้า
๓ – ๓๒

๔.๙ มีเลือดออกทางจมูก หรือเหงือกอย่างต่อเนื่อง


๔.๑๐ ปัสสาวะราด หรืออุจจาระราด
๕. การปฐมพยาบาลในสนามฝึก ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
๕.๑ รีบนาผู้ป่วยเข้าที่ร่ม ถอดเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายออกให้หมด
๕.๒ ยกปลายเท้าผู้ป่วยให้สูงขึ้น ๑๕ องศา
๕.๓ เช็ดตัวด้วยน้าอุณหภูมิปกติ หรือพ่นน้าเป็นละอองฝอยบริเวณรอบ ๆ ตัวผู้ป่วย และเป่าพัดลมไปยัง
ตัวผู้ป่วยเพื่อให้เกิดการระเหยของเหงื่อ
๕.๔ นาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด พร้อมกับให้การปฐมพยาลไปตลอดทาง
๕.๕ วัดปรอททางทวารหนัก (เป็นอุณหภูมิแกนของร่างกายซึง่ เป็นอุณหภูมิที่แท้จริง) และวัดซ้าทุก
๑๐ นาที เพื่อประเมินอาการไข้จนกว่าอุณหภูมิลดลง น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๓๘ องศาเซลเซียส
๕.๖ ให้สารน้าทางเส้นเลือดด้วย ๐.๙% NSS เมื่อถึงโรงพยาบาลแล้วควรพยายามระบายความร้อนออก
จากร่างกายผู้ป่วยตลอดเวลา จนกระทั่งอุณหภูมิวัดทางทวารหนักลดลงอยู่ในระดับ ๓๘ องศาเซลเซียส จึงจะนา
ผู้ป่วยขึ้นนอนที่เตียงได้ และวัดอุณหภูมิซ้าทุก ๑๐ นาที แล้ววัดซ้าทุก ๑ ชั่วโมง จนอุณหภูมิปกติเหลือ ๓๗
องศาเซลเซียส ต่อไปวัดทุก ๔ ชั่วโมง โดยบันทึกข้อมูลในแบบสอบสวนโรคฯ มอบให้เจ้าหน้าที่ รพ.
๓ – ๓๓

แนวทางการดูแลผู้มีอาการเจ็บป่วยจากความร้อน

ผู้ที่ถูกสงสัยว่ามีอาการเจ็บป่วยจากความร้อน

ยุติการฝึกทันที รายงานผู้บังคับบัญชาสูงสุดให้ทราบ
เพื่อประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับกาลังพลที่เหลือ
นาผู้ป่วยเข้าที่ร่ม

ประเมินความรู้สึกตัว

ยังพอรู้สึกตัว ไม่มีสติ

จับนอนตะแคงป้องกันการสาลัก

ให้การปฐมพยาบาล

๑. ถอดเสื้อผ้าออกทั้งหมด
๒. เช็ดตัวด้วยน้าอุณหภูมิปกติทั้งตัว โดยเช็ดจากปลายมือ ปลายเท้า เข้าสู่หัวใจ (ย้อนรูขุมขน)
๓. พ่นน้าบริเวณรอบ ๆ ตัวผู้ป่วยด้วยกระบอกฉีดน้าเพื่อช่วยระบายความร้อนจากร่างกายผู้ป่วย
๔. ให้ผู้ป่วยนอนในที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ใช้พัดลมหรือกระดาษแข็งพัดให้ลมผ่านผิวร่างกายเร็ว
เพื่อให้น้าระเหยจนแห้ง
๕. ถ้าสามารถวัดความดันโลหิต จับชีพจร วัดอัตราการหายใจและวัดอุณหภูมิทางทวารหนักได้ให้ทา และบันทึกไว้
เป็นหลักฐานเพื่อมอบให้กับทาง รพ.ที่รับรักษาไว้
๖. ถ้าผู้ป่วยมีความดันโลหิตต่ากว่า ๙๐/๖๐ mmHg พิจารณาให้ ๐.๙% NSS (Isotonic solution)
ทางเส้นเลือดดา ถ้าทาได้โดยไม่เสียเวลา
๗. รีบนาส่ง รพ.ทบ.โดยเร็วที่สุด
ระหว่างนาส่ง รพ.ทบ.ในพื้นที่ ให้ปฏิบัติในข้อ ๑-๔ อย่างต่อเนื่องต่อไป
เมื่อถึงโรงพยาบาล

* รายงานอาการเบื้องต้น, สัญญาณชีพที่วัดได้, การรักษาที่ได้กระทาแล้ว และ การเปลี่ยนแปลงของอาการ


ผู้ป่วย ให้แพทย์ที่ รับการรักษาต่อได้ทราบ
* รายงานผู้บังคับบัญชาสายแพทย์ของตนให้ทราบโดยเร็วที่สุด จากนั้นเขียนสรุปรายงานส่ง พบ.
(ผ่าน กสวป.พบ.) ทันที
๓ – ๓๔

มาตรการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน A B C D E สาหรับผู้ป่วย Heat Stroke

๑. Airway การเอาวัตถุออกจากช่องปาก
- นาสิ่งแปลกปลอมในปากออกให้หมด เช่น ฟันปลอม, ทอฟฟี่ ฯลฯ
- ลิ้นตกหรือไม่ ใช้วิธีการเชยคางขึ้น
- ระวังการกัดลิ้นโดยใช้ผ้า
๒. Breathing การดูแลทางเดินหายใจ
- หลังจากนาสิ่งแปลกปลอมออกจากช่องปากแล้ว ให้ดูการหายใจ มีลิ้นตกหรือไม่ ถ้ามีลิ้นตกใช้วิธีการ
เชยคางเพื่อให้มกี ารหายใจดีขึ้น
๓. Circulation ระบบไหลเวียนเลือด
- วัดความดันโลหิต ถ้าต่ากว่า ๑๐๐/๖๐ mm/Hg
- เตรียมการให้สารน้าทางเส้นเลือดด้วย NSS ๖๐ หยด/นาที
๔. Decrease body temperature กระบวนการลดความร้อน
- ใช้กระบวนการลดความร้อนจากร่างกายตามขั้นตอน คือ ถอดเสื้อผ้า, เช็ดตัว, พรมน้าด้วยละอองฝอย
บริเวณรอบตัวผู้ป่วย, ทาให้น้าระเหยด้วยการใช้พัดลม, ใช้ไดร์เป่าผม (ลมอุ่น)
- วัดปรอททางทวารหนัก หรือใช้ปรอทแบบดิจิตอล
๕. Evacuate การส่งกลับ
- นาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้โดยเร็วที่สุด พร้อมกับให้การปฐมพยาบาลไปตลอดทางในระหว่าง
นาส่ง รพ.
๓ – ๓๕

ตอนที่ ๓
คําอธิบายเพิ่มเติมการใชเครื่องชวยฝกและอาวุธ
วิธีการใชเครื่องชวยฝกคานฝกเล็ง, ชอนเล็ง, หีบปดเปา และสนามยิงปนเบื้องตน
๑. การใชคานฝกเล็ง
๑.๑ เครื่องชวยฝกคานฝกเล็ง ประกอบดวย
๑.๑.๑ คานฝกเล็ง
๑.๑.๒ แผนศูนยหลังจําลอง ขนาด ๓ x ๓ นิ้ว รูศูนยหลังจําลองเสนผานศูนยกลาง ๑ ซม.
๑.๑.๓ แผนเปาหุนยอสวน ขนาด ๓ x ๓ นิ้ว รูปหุนยอสวนกวาง ๑ ซม., สูง ๑.๕ ซม.
๑.๒ การปฏิบัติ
๑.๒.๑ การจัดศูนยพอดี วิธีการปฏิบัติใหทหารใหม ใชคานฝกเล็งพาดที่บาที่ถนัด และใสแผนศูนย
หลังจําลองที่ชองบากตัวคานฝกเล็ง หางจากรูศูนยตรวจสอบ ๕ ซม.
๑.๒.๒ ใสแผนเปาหุนยอสวนที่ชองบากตัวคานฝกเล็งดานหนาศูนยหนาจําลอง
๑.๒.๓ ใหทหารใหมเล็งที่รูศูนยตรวจสอบผานรูศูนยหลังจําลองและใหศูนยหลังจําลองอยูกึ่งกลาง
ศูนยหนาจําลองทั้งทางดิ่งและทางระดับ
๑.๒.๔ ใหศูนยหนาจําลองอยูกึ่งกลาง รูปเปาหุนยอสวนในจุดวงกลมสีขาว
๒. การฝกเครื่องชวยฝกหีบปดเปา
๒.๑ เครื่องชวยฝกหีบปดเปา ประกอบดวย
๒.๑.๑ หีบปดเปาสําหรับฝกเล็ง ๓ จุด ปดกระดาษสีขาว
๒.๑.๒ หีบพาดปน ( ไมหรือโครงเหล็ก )
๒.๑.๓ ปลย.ของหนวยทีใ่ ชในการฝก (หนวยที่ใช ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๔ จะมีปญหาที่หูกะวินบน และ
ชองใสซองกระสุนจะไมสนิท)
๒.๑.๔ ชอนเล็งที่ปรับปรุงใหม กวาง ๗ ซม. ยาว ๒๕ ซม. ติดรูปเปาหุนยอสวนตามชนิดอาวุธ เชน
ปลย.๑๑ ใชรูปเปาหุนยอสวน ๒๐๐ เมตร, ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ ใชรูปเปาหุนยอสวน ๒๕๐ เมตร, ปลย.เอ็ม.๑๖
เอ.๒, เอ.๔ หรือ ทาโวร ใชรูปเปาหุนยอสวน ๓๐๐ เมตร และดานตรงขามใหติดรูปเปาหุนยอสวน ๕ : ๓ ทุกชนิด
๒.๑.๕ ชอนเล็งถาฝกในระยะ ๒๕ เมตร ใหเจาะรูเสนผานศูนยกลาง ๑ ซม. และถาฝกในระยะ
๑๕ เมตร ใหเจาะรูเสนผานศูนยกลาง ๐.๖ ซม. (ตัวอยางในคําแนะนํา)
๒.๒ การปฏิบัติ
๒.๒.๑ ใหวางหีบปดเปาในพื้นที่ฝก ที่เสมอและเมื่อทดลองขยับไปมาไมเคลื่อนไหว
๒.๒.๒ ใหวางหีบพาดปนอยูตรงขามกับหีบปดเปาระยะ ๒๕ เมตร หรือ ๑๕ เมตร แลวแตพื้นที่ฝก
ใหเปนแนวเดียวกัน และนําอาวุธที่หนวยใชวางพาดที่หีบพาดปนโดยวิธีจัดเสนเล็งใหตรงกลางบริเวณหีบปด
เปาที่ปดกระดาษสีขาวไว
๓ – ๓๖

๒.๒.๓ ใหคูบัดดี้นั่งบนหีบปดเปาและใชซอนเล็งวางทาบทับที่กระดาษสีขาวหีบปดเปา ใหใชชอนเล็ง


ตามชนิดอาวุธที่หนวยทําการฝก ทหารใหมที่ทําการฝกนอนยิงและใหเล็งปนไปยังชอนเล็งกึ่งกลางวงกลม สีขาวใน
รูปเปาหุนยอสวน เมื่อทหารใหมจัดศูนยพอดีแลวใหสัญญาณคูบัดดี้ บันทึกที่ชอนเล็งครั้งที่ ๑, ครั้งที่ ๒, ครั้งที่ ๓
เมื่อครบ ๓ ครั้ง ใหคูบัดดี้ใชชอนเล็งที่เจาะรู เสนผานศูนยกลาง ๑ ซม. ฝกระยะ ๒๕ เมตร, หรือ ระยะ ๑๕ เมตร
ใชรูเสนผานศูนยกลาง ๐.๖ ซม.
๒.๒.๔ ใหวัดจุด ๓ จุด ถาอยูในวงกลมตรวจสอบถือวาผานตามเกณฑมาตรฐานที่ตองการ แตถา
อยูเกินกวาวงกลมตรวจสอบทั้ง ๓ จุด ถือวาการฝกเล็ง ๓ จุด ไมไดผล จะตองฝกเล็งใหมจนกวาจะไดผลตาม
เกณฑมาตรฐานที่กําหนด
๓. สนามฝกยิงปนเบื้องตน มี ๒ แบบ คือ แบบแนวขนาน, แบบวงกลม
๓.๑ เครื่องชวยฝกประกอบดวย
๓.๑.๑ เปาหลักเล็ง (ยาว ๕๕ นิ้ว, กวาง ๕.๕ นิ้ว) หรือยาวกวา ๕๕ นิ้ว ก็ได เนื่องจากปจจุบันการฝก
การเล็งใชรูปเปาหุนยอสวนตามชนิดอาวุธ การเล็งไมใชการเล็งแบบศูนยนั่งแทนตอเปารูปวงกลมเสนผาน
ศูนยกลางวงกลม ๗/๘ นิ้ว แตใชเปารูปหุนยอสวนตามชนิดอาวุธ
๓.๑.๒ หลักหมายเลข (ยาว ๑๘ นิ้ว, กวาง ๕ นิ้ว)
๓.๒ การปฏิบัติ
๓.๒.๑ ปกเปาหลักเล็งระยะหางระหวางเป า ๕๐ นิ้ว/เปา (ใหหน วยจัดทําไมนอยกวา ๑๐ เป า
หรือมากกวาก็ได)
๓.๒.๒ ปดเปารูป หุนยอสวนตามชนิ ดอาวุธที่ใชฝกแตละหนวย (ปลย.๑๑ ใชรูปเปาหุน ยอสวน
ระยะ ๒๐๐ เมตร, ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ ใชรูปเปาหุนยอสวนระยะ ๒๕๐ เมตร, ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒,เอ.๔ ใชรูป
เปาหุนยอสวนระยะ ๓๐๐ เมตร, ปลย.๕๐ ทาโวร ใชของ ทาโวร เปนตน) ทานอนยิงสูงจากพื้นดิน (ประมาณ
๙ นิ้ ว ) ให ท หารใหม ท ดลองนอนยิ งว าป น จะขนานกั บ พื้ น ดิ น หรื อไม หน ว ยสามารถเปลี่ ย นได ต ามความ
เหมาะสม, ทานั่งยิง ๓ ทา ใหใชรูปเปาหุนยอสวนปดเปาหลักเล็ง (ประมาณแนวสายตาพลยิง) และทายืนยิง
ปดเปารูปหุนยอสวนประมาณแนวปนที่ขนานกับพื้นดิน หนวยที่ทําการฝกสามารถปรับตามความสูง – ต่ํา
ของทหารใหมไดตามความเหมาะสม
๓.๒.๓ ปกหลักหมายเลข ใหตรงกับเปาหลักเล็ง ระยะ ๒๕ เมตร เวนชองวางระหวางหลักหมายเลข ๕๐ นิ้ว

--------------------------------
ตัวอยางชอนเล็งที่ปรับปรุงแกไขของ ปลย.๑๑, ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑, ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒

ปลย.๑๑ ใชเปาหุนยอสวน ระยะ ๒๐๐ ม. ฝกเล็งระยะ ๒๕ ม. และการฝกระยะ ๑๕ ม. ใชยออัตราสวน ๕ : ๓ จากเปาหุนยอสวน ระยะ ๒๐๐ ม.
๔ ๑


๒ ๓


ฝกเล็ง ระยะ ๑๕ ม.

ฝกเล็ง ระยะ ๒๕ ม.
แผนเล็ง ๓ จุด ปลย.๑๑
วงกลมตรวจกลุมกระสุน ระยะ ๑๕ ม.

วงกลมตรวจกลุมกระสุน ระยะ ๒๕ ม.


ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ ใชเปาหุนยอสวน ระยะ ๒๕๐ ม. ฝกเล็งระยะ ๒๕ ม. และการฝกระยะ ๑๕ ม. ใชยออัตราสวน ๕:๓ จากเปาหุนยอสวน ระยะ ๒๕๐ ม.
๓ - ๓๗




๒ ๓


ฝกเล็ง ระยะ ๑๕ ม.

ฝกเล็ง ระยะ ๒๕ ม.
วงกลมตรวจกลุมกระสุน ระยะ ๑๕ ม.


แผนเล็ง ๓ จุด ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑

วงกลมตรวจกลุมกระสุน ระยะ ๒๕ ม.


ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒ ใชเปาหุนยอสวน ระยะ ๓๐๐ ม. ฝกเล็งระยะ ๒๕ ม. และการฝกระยะ ๑๕ ม. ใชยออัตราสวน ๕ : ๓ จากเปาหุนยอสวน ระยะ ๓๐๐ ม.

๔ ๒ ๓

ฝกเล็ง ระยะ ๒๕ ม.
ฝกเล็ง ระยะ ๑๕ ม.

แผนเล็ง ๓ จุด ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒


วงกลมตรวจกลุมกระสุน ระยะ ๑๕ ม.

วงกลมตรวจกลุมกระสุน ระยะ ๒๕ ม.

๓ - ๓๘

๑ ชอนเล็ง กวาง ๗ ซม. ยาว ๒๕ ซม.


๒ วงกลมสําหรับตรวจสอบ การเล็ง ๓ จุด เสนผานศูนยกลาง ขนาด ๑ ซม. ใชตรวจสอบการฝกเล็ง ระยะ ๒๕ ม.
๓ วงกลมสําหรับตรวจสอบ การเล็ง ๓ จุด เสนผานศูนยกลาง ขนาด ๐.๖ ซม. ใชตรวจสอบการฝกเล็ง ระยะ ๑๕ ม.
๔ ติดรูปเปาหุนยอสวน ตามแตละชนิดอาวุธของหนวยที่ทําการฝกในระยะ ๒๕ ม. ดังนี้.-
- ปลย.๑๑ ใชรูปเปาหุนยอสวน ระยะ ๒๐๐ ม.
- ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ ใชรูปเปาหุนยอสวน ระยะ ๒๕๐ ม.
- ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒ ใชรูปเปาหุนยอสวน ระยะ ๓๐๐ ม.
๕ ติดรูปเปาหุนยอสวน ตามชนิดอาวุธในขอ ๔ โดยยออัตราสวน ๕ : ๓ เพื่อใชฝกในระยะ ๑๕ ม.
๖ เจาะรูขนาดเสนผานศูนยกลาง ๒ มม. บริเวณจุดสีขาวกลางเปา
ตัวอยาง คานฝกเล็งที่ปรับปรุงแกไข (จากคานฝกเล็งเดิม)

๔ ๒
-- กวาง ๐.๕ ซม. ๑
-- สูง ๑.๕ ซม.
๕ ซม.
๒๐ ซม.

แผนเปาหุนยอสวน แผนศูนยหลังจําลอง
- ขนาด ๓.๓ นิ้ว - ขนาด ๓.๓ นิ้ว
๓ - ๓๙

- รายละเอียดตัวเปาหุนยอสวน - รายละเอียดรูปศูนยหลังจําลอง
ตามขอ ๔ ตามขอ ๒

๑ รูศูนยตรวจสอบ : ขนาดเทาเดิม ไมเปลี่ยนแปลง

๒ ศูนยหลังจําลอง : รูศูนยหลังจําลอง เสนผานศูนยกลาง ๑ ซม. ระยะอยูหางจากรูศูนยตรวจสอบ ๕ ซม.

๓ ศูนยหนาจําลอง : กวาง ๐.๕ ซม. สูง ๑.๕ ซม. ระยะอยูหางจากรูศูนยตรวจสอบ ๒๐ ซม.

๔ เปาหุนยอสวน : รูปเปาหุนยอสวน กวาง ๑ ซม. สูง ๑.๕ ซม. ระยะตามคานฝกเล็งเดิม


๓ – ๔๐
ขอเนนย้ําการใชอาวุธประจํากาย/ประจําหนวย
เมื่ อตรวจการณ พ บเป าหมายในเขตด านหน าแนวที่ รับ ผิ ด ชอบ ตามหลั กการแล ว สมควรยิ ง
เปาหมายในระยะใกลกอน ดวยเหตุผลที่วาเปาหมายระยะใกลนั้นมีอันตรายตอเราที่สุดตามหลักการรบที่เกิดขึ้น
จริง ดังนั้นการฝกของหนวย ผูรับผิดชอบการฝกตองสรางความเขาใจใหผูรับการฝกไดทราบถึงหลักการและ
เหตุผลในการที่ตองทําการยิงตอเปาหมายในระยะใดกอน-หลัง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสถานการณและความจําเปนใน
เวลานั้น คือ
๑. การยิงเปาหมายในระยะใกลกอน ในกรณีที่เกิดเปาหมาย ๒ ระยะหรือหลายระยะพรอม ๆ กัน
หรือในเวลาใกลเคียงกัน รวมทั้งการยิงตอขาศึกขณะเขาตะลุมบอน
๒. การยิงเปาหมายในระยะไกลกอน ในกรณีที่เปาหมายระยะใกลยังไมเกิดขึ้น หรือกรณีที่เปน
การยิงตามขั้นตอน คือการยิงในระยะไกล และการยิงในระยะใกล โดยที่เปาหมายมิไดเกิดขึ้นพรอม ๆ กันหลาย
ระยะ ถาหากทําการยิงเปาที่อยูในระยะไกลกอน สิ่งที่ทหารทุกนายจะตองคํานึงถึงอันดับแรก คือ เปาหมาย
นั้นอยูในระยะยิงหวังผลของอาวุธประจํากายของตนเองหรือไม
๓. การยิงเปาหมายเคลื่อนที่เขาหาตัว วิธกี ารเล็งยิงเปาหมายเคลื่อนที่ในลักษณะนี้ ถาเปนรถถัง
จะตองเล็งยิงที่ปอมปน หรือทหารราบเดินเทาใหเล็งยิงที่บริเวณศีรษะ ทั้งนี้จะตองอยูในระยะยิงหวังผลของ
อาวุธชนิดนั้นดวย
๔. การยิงเปาหมายเคลื่อนที่ออกหางจากตัวเรา วิธีเล็งยิงเปาหมายเคลื่อนที่ในลักษณะนี้ใหเล็ง
ยิงตั้งแตบริเวณหนาอกของขาศึกต่ําลงไป และจะตองอยูในระยะยิงหวังผลของอาวุธที่ใชเชนเดียวกัน
๕. การใชอาวุธประจํากาย อยูในที่กําบังขณะที่ทหารทําการยิงดวยมือที่ถนัด ถาหากมือที่ถนัด
ไมสามารถยิงได หรือถูกขาศึกยิงกดดันจนไมสามารถยิงโตตอบได ใหทหารทําการฝกเขาที่กําบังดานที่ยิงดวยมือ
ทีไ่ มถนัดเพื่อเปนการฝกการใชอาวุธดวยมือที่ไมถนัด ใหสามารถทําการยิงโตตอบได
๖. การเปลี่ยนซองกระสุน เมื่อทําการยิงตอเปาหมายที่เกิดขึ้นจนกระสุนหมด และจะตองเปลี่ยน
ซองกระสุนใหม ทหารจะตองมองเปาหมายตลอดเวลาขณะเปลี่ยนซอง เพื่อจะไดเห็นเปาหมายวาเคลื่อนที่ไป
ในทิศทางใด ถาหากทหารเปลี่ยนซองกระสุนใหม โดยกมมองการเปลี่ยนซองกระสุนและการบรรจุกระสุนเขา
รั งเพลิ ง จะทํ าให เป าหมายที่ เกิ ด ขึ้ น ในช ว งระยะเวลาสั้ น ๆ นั้ น หายไป ทหารจะไม ส ามารถทราบได ว า
เปาหมายเคลื่อนที่ไปทิศทางใด หรือเคลื่อนที่เขาหาตัวทหาร อาจเปนอันตรายได
๗. การฝ กทหารใหม ให ใช อ าวุ ธ ประจํ ากาย ตั้ งแต เริ่ ม การฝ ก ทหารใหมจ นปลดประจํ าการ
เพื่อใหเกิดความชํานาญกับอาวุธประกายโดยไมตองปรับศูนยรบกอนการยิงปน และเปนการประหยัด สป.๕
๘. การยิงเปาหุนยอสวน ๑๐ ตัว ใหยิงรูป ๕๐ ม., ๑๐๐ ม., ๑๕๐ ม., ๒๐๐ ม., ๒๕๐ ม.,๓๐๐ ม.
เนื่องจากระยะใกลใหถือวามีอันตราย หรือสมมุติวาขาศึกอยูใกลตัวเรา

*****************************************
๓ – ๔๑

ตอนที่ ๔
เครื่องชวยฝกปนเล็กยาว เอ็ม.๑๖ จําลอง ประกอบอุปกรณการเล็งดวยแสงเลเซอร
ศูนยอํานวยการสรางอาวุธ ศูนยการอุตสาหกรรมปองกันประเทศ และพลังงานทหาร ไดแจกจาย
เครื่องชวยฝกปนเล็กยาว เอ็ม.๑๖ จําลอง (ภาพที่ ๑) ใหกับ ทบ. โดยมอบให ยศ.ทบ.แจกจายใหกับหนวย
เพื่อใชในการฝกแทน ปลย.เอ็ม.๑๖ ซึ่งเปนยุทโธปกรณหลัก โดยเครื่องชวยฝกดังกลาวมีรูปรางและน้ําหนัก
ใกลเคียงกับ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ สามารถติดดาบปลายปน ขาทราย และซองกระสุนได มีชุดโครงลูกเลื่อน
จําลองสามารถลั่นไกได แตไมสามารถยิงดวยกระสุนจริงได โดยหนวยสามารถนําไปใชฝกบุคคลทาอาวุธ,
การถอดประกอบ ตลอดจนการฝกบุคคลทําการรบในเรื่องที่ไมมีการใชกระสุนซอมรบหรือกระสุนจริงได
เพื่อใหการใชงานเครื่องชวยฝก ปลย.เอ็ม.๑๖ จําลอง เกิดประโยชนสูงสุด ยศ.ทบ.ไดนํามาปรับปรุง
ประกอบเขากับระบบการเล็งดวยแสงเลเซอร (ภาพที่ ๒ - ๔) เพื่อใหสามารถทําการฝกการเล็งและการลั่นไก
ใหเกิดความชํานาญกอนการยิงปนดวยกระสุนจริง ดังนั้นจึงขอใหหนวยนําเครื่องชวยฝก ปลย.เอ็ม.๑๖ จําลอง
ไปใชในการฝก โดยเฉพาะการฝกทหารใหม เพื่อใหเกิดประโยชนและเพิ่มประสิทธิภาพการฝกตอไป

ภาพที่ ๑ ปลย.เอ็ม.๑๖ จําลอง

เลเซอร
สวิซปิ ด – เปิ ด

ทอ PVC

สายยู ทองเหลือง

แผงวงจรประกอบด้วย ๒ ส่วนตามภาพ

ลังถาน + แบตเตอรี่
สายไฟจากแผงวงจรไป - เลเซอร
๓ – ๔๒

ภาพที่ ๒ ปลย.เอ็ม.๑๖ จําลอง ประกอบอุปกรณการเล็งดวยแสงเลเซอร

ภาพที่ ๓
การติดตั้งเลเซอร (ปลย.เอ็ม.๑๖ จําลอง ศูนยหนา)

ภาพที่ ๔
ปลย.เอ็ม.๑๖ จําลอง ประกอบเสร็จเรียบรอยแลว
๓ – ๕๒

การตอสูตัวตอตัวดวยไมหุมนวม
๓ – ๕๓
การพัฒนาความสมบูรณแข็งแรงทางรางกายสําหรับทหารใหม
กลาวนํา
การรบเปนกิจกรรมที่ตองใชแรงกายแรงใจอยางสูงสุด หากทหารไมถึงพรอมดวยสมรรถภาพรางกาย
ที่สมบูรณแข็งแรงแลวไซรยอมไมสามารถทําการรบอยางมีประสิทธิภาพ
รางกายที่แข็งแรงเปนพื้นฐานของการฝกทางยุทธวิธีทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนบุคคลหรือเปนหนวยและ
การฝกทางยุทธวิธีที่มีประสิทธิภาพจะตองฝกซ้ําบอย ๆ จนเกิดความชํานาญนี่คือเหตุผลที่ทหารจําเปนต อง
มีสมรรถภาพรางกายที่สูงกวาบุคคลในวิชาชีพอื่น ประโยชนของการมีสมรรถภาพรางกายที่แข็งแรงในดานอื่น ๆ
ไดแก การลดอาการเจ็บปวย, การทนทานตอความเหน็ดเหนื่อยจากการฝก, การมีลักษณะทหารที่เขมแข็ง
สงาผาเผยเปนที่เลื่อมใสของคนทั่วไปทําใหเกิดความรวมมือรวมใจภายในหนวยในการปฏิบัติงานเปนทีม
ระดับสมรรถภาพรางกายของทหารคนหนึ่งยอมมีผลกระทบโดยตรงตอความพรอมรบของหนวยเปน
สวนรวมดวย บทเรียนจากประวัติศาสตรไดบงไวชัดเจนวาสมรรถภาพรางกายมีบทบาทสําคัญตอประสิทธิภาพ
การรบ ทหารที่มีสมรรถภาพรางกายที่ดีไมเพียงแตเปนทรัพยากรบุคคลที่มีคาของกองทัพ แตยังเปนผูที่สามารถ
ดํ ารงชี วิ ต ได อย างมีความสุ ข มีลั กษณะทหารองอาจผึ่ งผายเป น ที่ เ ลื่ อมใสของบุ คคลทั่ว ไป และทําให เ กิ ด
ภาพลักษณที่ดีตอกองทัพบก การดูแลใหกําลังพลในหนวยมีสมรรถภาพรางกายอยูในเกณฑที่กองทัพบกกําหนด
เปนความรับผิดชอบของผูบังคับหนวยทุกระดับ
ความรับผิดชอบของผูนําหนวย
การพัฒนาสมรรถภาพรางกายจะไดผลหรือไมขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของผูนําหนวย โดยเฉพาะผูนํา
หนวยอาวุโสจะตองปฏิบัติตนเปนตัวอยางและควรเขารวมในโปรแกรมการออกกําลังกายอยูเสมอ กลาวคือ
ตองเปนตัวอยางในการออกกําลังกาย
การจั ด ทําโปรแกรมการพัฒ นาสมรรถภาพร างกายจะต องมี การวางแผนที่ ดี หากทําโดยขาดการ
วางแผน และการจัดการที่ดีจะเปนผลเสียตอขวัญและกําลังใจของหนวย โปรแกรมที่ดีจะทําใหการพัฒ นา
สมรรถภาพรางกายไดผลเหมาะสมกับ เวลาผูนํ าหนวยต องประเมินระดับสมรรถภาพร างกายของกําลั ง พล
ในหนวยอยูในเสมอ เพื่อตรวจสอบวายังตองปรับปรุงในดานใด แลวปรับโปรแกรมใหสอดคลอง
หากพบวากําลังพลคนใดมีสมรรถภาพรางกายที่ต่ํากวาเกณฑหรือมีสภาพรางกายที่ไมอาจพัฒนาใหมี
สมรรถภาพรางกายไดถึงเกณฑมาตรฐาน ก็อาจตองจัดโปรแกรมเปนพิเศษใหกําลังพลดังกลาว ซึ่งตองพิจารณา
เปนราย ๆ ไป ทั้งนี้เวลาที่จัดไวสําหรับการพัฒนาสมรรถภาพรางกายของกําลังพลจะตองใชใหเกิดประสิทธิภาพ
สูงสุดโดยจะตองหลีกเลี่ยงเหตุการณดังตอไปนี้
• การขาดการเตรียมการหรือเตรียมตัวของผูบังคับหนวยเอง
• จัดกลุมที่ใหญเกินไปใหคนใดคนหนึ่งรับผิดชอบ
• การฝกไมหนักพอทําใหไมเกิดการพัฒนา
• พัฒนาการชาเกินไปจนกําลังพลเบื่อหรือเร็วเกินไปจนเกิดการบาดเจ็บจํานวนมาก
• เนนพิธีการและรูปแบบมากเกินไป (เชนใหหนวยวิ่งเปนแถวชา ๆประกอบการรองเพลงหรือเนน
ความพรอมเพรียงเขาจังหวะ, ออกกําลังทาเดิม ๆ ซ้ํา ๆ ทุกวันเปนตน)
• สิ่งอํานวยความสะดวกไมเพียงพอตองเขาคิวยาวเพื่อรอใชอุปกรณออกกําลังกาย
• ใชเวลาพักนานเกินไปจนไมพัฒนา
๓ – ๕๔

องคประกอบของสมรรถภาพรางกาย
สมรรถภาพรางกายมีองคประกอบหลัก ๔ องคประกอบ คือ :
1. ความทนทานในระบบไหลเวียนโลหิต(Cardiorespiratory (CR) Endurance) เปนความสามารถ
ของรางกาย ในการนําเอาออกซิเจนและสารอาหารที่จําเปนไปสูกลามเนื้อ และนําของเสียออกจากเซลล
เนื้อเยื่อกลับมาฟอก ในทีน่ ี้จะใชคําเรียกวาระบบแอโรบิก
2. กํ า ลั ง และความทนทานของกล า มเนื้ อ (Muscular Strength and MuscularEndurance)
ความแข็งแรงของกล ามเนื้ อเป น ความสามารถสู งสุ ด ในการออกแรงของกล ามเนื้ อต อแรงต านในหนึ่ ง ครั้ ง
(เชนการยกของหนัก, การออกแรงดึงหรือดัน) สวนความทนทานของกลามเนื้อ คือ ความสามารถของกลามเนื้อ
ในการออกแรงเคลื่อนที่แบบซ้ํา ๆ ตอแรงกระทําเปนระยะเวลานาน
3. ความยืดหยุน (Flexibility) คือความสามารถของขอ (เชนเขา, ศอกฯลฯ) ในการเคลื่อนไหวใน
แตละทิศทางตามปกติ
4. ความสมสวนของรู ปร า ง (Body Composition) ปริ มาณไขมัน ในร างกายเมื่อเปรี ยบเทียบกับ
มวลกายทั้งหมด (total body mass) อยูในเกณฑที่เหมาะสม
การออกกําลังกายอยางถูกตองเหมาะสม จะทําใหทหารสามารถพัฒนาสมรรถภาพรางกายไดครบ
ทุกองคประกอบตามศักยภาพของแตละคน

หลักพื้นฐานของการออกกําลังกาย (Principles of Exercise) 7 ขอ


หลักพื้นฐานตอไปนี้ส ามารถใช ได กับ กําลังพลทุกคนไมวาจะมีร ะดับสมรรถภาพรางกายต่ํ าหรื อสู ง
ตั้งแตคนที่ไมเคยออกกําลังกายเลยจนถึงนักกีฬาระดับโลก หลักการขั้นพื้นฐานดังกลาวคือ
1. ความสม่ําเสมอ การออกกําลังกายใหไดผลทหารจะตองออกกําลังกายบอย ๆ อยางนอยจะตอง
ออกกําลังกายใหมีสมรรถภาพครบ ๔ องคประกอบสัปดาหละ ๓ ครั้ง การออกกําลังกายที่ขาดความสม่ําเสมอ
จะเปนผลเสียมากกวาดี ความสม่ําเสมอยังนําไปใชไดกับการพักผอน, การนอน และการรับประทานอาหาร
2. ความกาวหนา การเพิ่มความหนักและเวลาอยางคอยเปนคอยไปจะทําใหระดับของสมรรถภาพ
รางกายสูงขึ้น
3. ความสมดุล โปรแกรมการออกกําลังกายตองครอบคลุมครบ ๔ องคประกอบการเนนองคประกอบ
ใดองคประกอบหนึ่งมากเกินไป จะทําใหองคประกอบอื่น ๆ ดอยลงไป
4. ความหลากหลาย ควรปรับเปลี่ยนกิจกรรมในการออกกําลังกายใหหลากหลาย เพื่อเพิ่มความ
นาสนใจและหลีกเลี่ยงความเบื่อ และเพื่อกระตุนใหทหารอยากเห็นผลความกาวหนาของตนเอง
5. มีความเฉพาะเจาะจง การออกกําลังกายจะตองใหตรงกับเปาหมายที่กําหนด เชน ถาตองการให
ทหารทําเวลาในการวิ่ งให ดี ขึ้น การฝ กก็ควรเน น การวิ่ งเป น หลั ก การว ายน้ํ าแมจ ะเป น การออกกําลั งกาย
ในประเภทที่เสริมสมรรถภาพระบบไหลเวียนโลหิต แตก็ไมชวยใหทหารทําเวลาในการวิ่ง ๒ กม. ใหดีขึ้นเทากับ
โปรแกรมฝกวิ่ง
๓ – ๕๕

6. การพักฟน การออกกําลังกายตามองคประกอบ ควรมีวันหนักเบาสลับกัน ถาวันใดออกกําลั ง


(ในองคประกอบใด) หนักวันตอมาควรออกเบาหรืองดออก (ในองคประกอบนั้น) เพื่อใหรางกายไดมีเวลาในการ
พักฟน และอีกวิธีหนึ่งก็คือการออกกําลังกายที่สลับกลุมกลามเนื้อวันเวนวัน เชน วันจันทร, พุธ, ศุกรออกกําลัง
เนนกลามเนื้อบริเวณแขนและไหลวันอังคาร, พฤหัสบดี, เสารออกกําลังเนนกลามเนื้อหนาทองและขาเปนตน
7. การทําใหเกิน การออกกําลังแตละแบบหรือแตละทาควรใหเกิดแรงกระทําที่เกินปกติตอรางกาย
ทีละนอย เพื่อใหรางกายปรับสภาพอยางคอยเปนคอยไป
การปรับสภาพสมรรถภาพรางกายขั้นตาง ๆ
โปรแกรมการพัฒนาสมรรถภาพรางกายควรแบงออกเปน ๓ ขั้น คือ ขั้นเตรียม(preparatory), ขั้นปรั บ
สภาพ (conditioning) และขั้นดํารงสภาพ (maintenance) แตทั้งนี้ใหดูปจจัยเรื่องอายุ, ระดับสมรรถภาพรางกาย
และกิจกรรมการออกกําลังกายที่เคยทํา ทหารที่อายุนอยและสุขภาพดีอาจสามารถเริ่มที่ขั้นการปรับสภาพเลยก็ได
สําหรับคนที่ผานการออกกําลังกายมาแลวเปนประจํา ก็ควรใหอยูในโปรแกรมดํารงสภาพ

โปรแกรมสําหรับหนวย
ผูบังคับหนวย จึงควรกําหนดโปรแกรมการออกกําลังกายใหเหมาะสมกับหนวยของตน กําลังพลแตละคน
ก็มีสมรรถภาพรางกายแตกตางกัน การออกกําลังกายบางแบบ เชน การวิ่งควรจัดกลุมทีมี่สมรรถภาพใกลเคียงกัน
แทนที่จะใชโปรแกรมแบบเดียวกันทั้งหนวย หนวยขนาดกองรอยควรจะแบงเปนกลุมประมาณ ๓ ถึง ๖ กลุม
ในการฝกวิ่งของกลุมทหารในกลุม ควรจะวิ่งดวยอัตราชีพจรฝกของตน เมื่อทหารคนใดเห็นวาความเร็วของกลุ ม
ในการวิ่งไมหนักพอที่จะทําใหชีพจรเตนถึงชีพจรฝก ก็ควรยายไปยังกลุมที่ใชโปรแกรมที่หนักกวา
การจัดกลุมวิ่งตามสมรรถภาพควรมีจุดมุงหมาย ๒ ประการ คือ
๑) ชวยใหทหารพัฒนาระดับสมรรถภาพรางกายใหถึงจุดสูงสุด
๒) ชวยใหทหารที่มีสมรรถภาพรางกายต่ํากวามาตรฐาน สามารถพัฒนาสมรรถภาพรางกายใหถึง
เกณฑที่ ทบ. กําหนด
ทหารที่ มี สมรรถภาพร างกายอยู ในเกณฑ สู ง ๆ ควรสนั บสนุ นให พั ฒนาให สู งขึ้ นอี ก ไม ควรให มาวิ่ ง
ในอัตราเร็วที่ชา ๆ ตามกําลังพลสวนใหญ ในกลุมที่มีสมรรถภาพรางกายต่ํากวามาก ๆ เพราะนอกจากจะทํ าให
ขาดความทาทายแลวผานไปนาน ๆ กําลังพลเหลานี้จะเสียขวัญ และขาดแรงจูงใจในการพัฒนาสมรรถภาพรางกาย
ไปดวย ดังนั้นจึงขอใหผูฝกและครูฝกทหารใหม ที่เกี่ยวของปฏิบัติตามคูมือการพัฒนาสมรรถภาพรางกายทหาร
พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยจัดทําตารางการพัฒนาความสมบูรณแข็งแรงทางรางกายของทหารใหมของหนวยฝกฯ ตนเอง
๓ - ๕๖
ตารางการพัฒนาความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกายของทหารใหม่
สัปดาห์ที่ การปฏิบัติ
เดิน - วิ่งเร็ว ท่าลุกนั่ง, หมายเหตุ
สัปดาห์ที่ ๑ วัน วิ่งช้า วิ่งปานปลาง ทดสอบร่างกาย
สลับวิ่ง สลับวิ่งช้า ดันพื้น,ดึงข้อ
จันทร์ การวอมล์ก่อน
๐๕๓๐- / - - - กายบริหาร - และหลัง
๐๗๐๐
อังคาร จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / กายบริหาร การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ และหลัง
พุธ
๐๕๓๐- / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
พฤหัสบดี จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
ศุกร์
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
เสาร์
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
อาทิตย์
พัก
สัปดาห์ที่ ๒
จันทร์ การวอมล์ก่อน
๐๕๓๐- / / / - กายบริหาร - และหลัง
๐๗๐๐
อังคาร จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
๓ - ๕๗
สัปดาห์ที่ การปฏิบัติ
เดิน - วิ่งเร็ว ท่าลุกนั่ง, หมายเหตุ
สัปดาห์ที่ ๒ วัน วิ่งช้า วิ่งปานปลาง ทดสอบร่างกาย
สลับวิ่ง สลับวิ่งช้า ดันพื้น,ดึงข้อ
พุธ จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐
พฤหัสบดี
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
ศุกร์
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
เสาร์
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
อาทิตย์
พัก
สัปดาห์ที่ ๓
จันทร์ การวอมล์ก่อน
๐๕๓๐- / / / กายบริหาร - และหลัง
๐๗๐๐
อังคาร จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
พุธ
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐
พฤหัสบดี จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
๓ - ๕๘
สัปดาห์ที่ การปฏิบัติ
เดิน - วิ่งเร็ว ท่าลุกนั่ง, หมายเหตุ
สัปดาห์ที่ ๒ วัน วิ่งช้า วิ่งปานปลาง ทดสอบร่างกาย
สลับวิ่ง สลับวิ่งช้า ดันพื้น,ดึงข้อ
ศุกร์
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
เสาร์
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
อาทิตย์
พัก
สัปดาห์ที่ ๔
จันทร์ การวอมล์ก่อน
๐๕๓๐- / / / กายบริหาร - และหลัง
๐๗๐๐
อังคาร จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
พุธ
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐
พฤหัสบดี จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
ศุกร์
๐๕๓๐- / / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
เสาร์
๐๕๓๐- / การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ และหลัง
อาทิตย์
๓ - ๕๙
สัปดาห์ที่ การปฏิบัติ
เดิน - วิ่งเร็ว ท่าลุกนั่ง, หมายเหตุ
สัปดาห์ที่ ๒ วัน วิ่งช้า วิ่งปานปลาง ทดสอบร่างกาย
สลับวิ่ง สลับวิ่งช้า ดันพื้น,ดึงข้อ
สัปดาห์ที่ ๕
จันทร์
๐๕๓๐- / / / กายบริหาร - การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ และหลัง
อังคาร จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
พุธ
๐๕๓๐- / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐
พฤหัสบดี จัดกลุ่มตามความสามารถ
๐๕๓๐- / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
ศุกร์
๐๕๓๐- / / กายบริหารและ การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ ท่าที่ถูกต้อง และหลัง
เสาร์
๐๕๓๐- / การวอมล์ก่อน
๐๗๐๐ และหลัง
อาทิตย์
พัก

๑. ในสัปดาห์ที่ ๖ - ๑๐ ควรพัฒนาให้ทหารใหม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมร่วมกันได้เป็นส่วนรวม
๒. ให้ผู้ฝึกและครูฝึกที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามคู่มือการพัฒนาสมรรถภาพร่างกายทหารใหม่ พ.ศ.๒๕๕๘
๓ – ๖๐

ตอนที่ ๗
เรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการฝกทหารใหม
เอกสาร/หลักฐาน เพิ่มเติมที่หนวยสามารถหาดูไดจาก คําแนะนําการฝกทหารใหม ประจําปงบประมาณ
แตละปยอนหลัง
๑. วิชาการสอนอบรม เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง (ขอมูลจากหนังสือ เรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร”
จัดทําโดย คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ)
๒. คําแนะนํา การสงเสริมการศึกษา ทหารกองประจําการ (กศน.)
๓. เพลงมารชปลุกใจ จํานวน ๒๖ เพลง

----------------------------------------------------------------

You might also like