You are on page 1of 75

เอก

สาร
ประ
กอบก
ารส
อน
ราย
วช
ิาร
ะบบ
สง
กำ
ลง
ัเ
คร


ืงมอ

กลรหส2
ั 1
02-
211
0
หนว

ยท่

12

านค
ำนวณร
ะบบส

กำล

ัเ
ครอ


งมอ

กลดว

ยระ
บบไฮ
ดรอ
ลก
ิส


ลก
ัสต
ูร
ประ
กาศ
นย
ีบต
ัร
วช
ิา
ชพพ
ี ท
ุธศก

ราช25
56

นา
ยดำ
รงสพ
ัโส

.อ
.ม.
(
เคร


ืงก
ล)
วท
ิย
าลย

เทค
นค
ิทา
ห
ลวง
ซเ
ิม
นตไ

ทยอ
นส
ุร
ณ

ำนก

งาน
คณะกร
รมก
ารก
ารอ
าชว

ศก
ึษากร
ะทร
วงศ

ึษา
ธก
ิา

เอกสารประกอบการสอน
วิชาระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

นายดํารง สัพโส
ค.อ.ม.(เครื่องกล)

วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ

คํานํา

การออกแบบการเรียนรูร ายวิชา ระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110 ระดับ


ประกาศนียบัตรวิชาชีพนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาทฤษฎีที่เนน
การคํานวณใหสามารถเรียนรูเพื่อใหเกิดการเรียนรูในรูปแบบใหม ทําใหผูเรียนมีกิจกรรมรวมตลอดเวลาใน
ลักษณะของผูเรียนเปนศูนยกลาง ตลอดจนไดเกิดแนวคิดในการนําไปประยุกตใชงานไดจริงกับ
ภาคอุตสาหกรรมหลังจบการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการเรียนรูคือ ใบเนื้อหา แบบทดสอบกอนเรียน และ
หลังเรียน แบบฝกหัด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู วิธีการสรางชุดการสอนนี้เริ่มจากศึกษา
หลักสูตรรายวิชาคําอธิบายรายวิชา หนังสือตํารา ผูชํานาญงานในภาคอุตสาหกรรมใหคําแนะนํา และจาก
ประสบการณของผูสอนเอง พรอมทั้ง จากการสังเกตการณปฏิบัติงาน จากนั้นวิเคราะหออกมาเปนงาน
คํานวณ (Job Analysis) จํานวน 12 หนวยการเรียนรู โดยเรียงลําดับตามความยากงายและกลุมของ ระบบ
สงกําลังของเครื่องมือกล ซึ่งผูจัดทําหวังวาผูเรียนที่ผานการใชชุดการสอนดังกลา ว จะมีความกระตือรือรน
มากขึ้นจากการที่มีกิจกรรมรวมตลอดเวลา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน นอกจากนี้
คาดหวังใหผูเรียนยังสามารถนําไปใชงานไดจริงและสามารถนําไปปรับประยุกตใชไดตอไป

ดํารง สัพโส
สาขาวิชาชางกลโรงงาน
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ

โครงสรางการจัดการเรียนรู
วิชาระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง / สัปดาห จํานวน 2 หนวยกิต

1. สภาพรายวิชา
เปนรายวิชาเรียนแผนกชางกลโรงงาน สาขาเครื่องมือกล กลุมทักษะวิชาชีพเลือก หลักสูตรระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2. จุดประสงครายวิชา เพื่อให
1. เขาใจหลักการของระบบสงกําลังเครื่องมือกล
2. คํานวณการสงกําลังเครื่องมือกล
3. มีกิจนิสัยในการทํางานอยางมีระเบียบแบบแผน มีความรับผิดชอบตอตนเอง และสวนรวม

3. สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการ การคํานวณการสงกําลังเครื่องมือกล
2. ประยุกตการสงกําลังในงานเครื่องมือกล

4. คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการทํางานของระบบสงกําลัง วิธีการสงกําลังของเครื่องมือกลแบบตางๆ เครื่อง
เจาะ เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องเจียระไน เครื่องกัด คํานวณการสงกําลัง

การจัดหนวยการเรียนรู
วิชาระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง / สัปดาห จํานวน 2 หนวยกิต

หนวยที่ ชื่อหนวยการเรียนรู จํานวนชั่วโมง


1 งานคํานวณพื้นฐานระบบสงกําลังเครื่องมือกล 2
2 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยสายพาน 4
3 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยโซ 4
4 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยเฟอง 4
5 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยเพลา 4
6 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยคลัตซ 2
7 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยคัปปลิ้ง 2
8 งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยลิ่ม 4
9 งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว 4
10 งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักอัด 2
11 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยลูกเบี้ยว 2
12 งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยไฮดรอลิ กส 2
รวม 36

ตารางวิเคราะหหนวยการเรียนรู
วิชาระบบสงกําลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102-2110 หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง / สัปดาห จํานวน 2 หนวยกิต
ดานพุทธิพิสัย ดานทักษะพิสัย ดานจิตพิสัย

1. การเตรียมพรอม

1. ความรับผิดชอบ

จํานวนชั่วโมงสอน
1. ความรูความจํา

5. การประเมินคา

2. ความสนใจใฝรู
3. ปฏิบัติถูกตอง
2. การตอบสนอง

5. นําไปประยุกต

3. ความซื่อสัตย
4. การวิเคราะห

5. ความสามัคคี
3. การนําไปใช

4. ความมีวินัย
2. ความเขาใจ

4. มีทักษะ
งานคํานวณพื้นฐานระบบสงกําลังเครื่องมือกล                2
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยสายพาน                4
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยโซ                4
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยเฟอง                4
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยเพลา                4
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยคลัตซ                2
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยคัปปลิ้ง                2
งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยลิ่ม                4
งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักเกลียว                4
งานคํานวณระบบขัดตัวสงกําลังเครื่องมือกลดวยสลักอัด                2
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยลูกเบี้ยว                2
งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยไฮดรอลิ กส                2


คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ ใชประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชา ระบบสงกําลัง
เครื่องมือกล รหัสวิชา 2102 – 2110 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เปนแนวทางในการสอนของครู และเปน
แนวทางการประกอบการเรียนของนักศึกษา ตลอดจนใชเปนแนวทางสําหรับผูที่สนใจในวิชาดังกลาวโดยแบง
ออกเปน 12 หนวยการเรียนรู ในแตละหนวยกําหนดใหครูผูสอนและผูเรียนปฏิบัติดังนี้
คําชี้แจงสําหรับครูผูสอน
1. ศึกษาเนื้อหาวิชาในแตละหนวยใหเขาใจกอนทําการสอนและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณตาง ๆ เพื่อใช
ในการเรียนการสอนตามที่ระบุไวในแผนการเรียนรูแตละหนวย
2. ดําเนินการสอนตามแผนการเรียนรูทุกหนวยใหครบ
3. การจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรูในแตละหนวยมีสวนประกอบดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการนําสูบทเรียน (Motivation)
ขั้นตอนที่ 2 ใหรายระเอียดเนื้อหา (Information)
ขั้นตอนที่ 3 มอบหมายงาน (Application)
ขั้นตอนที่ 4 สรุปผลและประเมินผล (Progress)
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ผูสอนจะตองมีทักษะและความชํานาญในการอภิปรายและการสาธิต
อยางดี ซึ่งจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิผล
4. ผูสอนตองทําการทดสอบผูเรียนกอนเรียน
5. การสรุปบทเรียนในแตละหนวยดวยการใหผูเรียนทําแบบฝกหัด และผูสอนควรเฉลยแบบฝกหัด
รวมกับผูเรียนเพื่อใหรูถึงขอผิดพลาดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
6. หลังจากผูเรียนไดเรียนรูในแตละหนวยแลวใหผูสอนแจกแบบทดสอบหลังเรียนและทําการ
ประเมินผล

คําชี้แจงสําหรับผูเรียน
1. ผูเรียนควรศึกษาจุดประสงคการเรียนรู
2. ผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนและตรวจสอบคําตอบในแบบเฉลยดวยความซื่อสัตยรวมกับ
ครูผูสอน
3. ผูเรียนรับฟงการบรรยายเนื้อหาจากครูผูสอนและจากเอกสารประกอบการสอนดวยความตั้งใจ
4. ผูเรียนทําแบบฝกหัดทายหนวยการเรียน และประเมินผลการทําแบบฝกหัดดวยตนเองรวมกับ
ผูครูสอน
5. ผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน และประเมินผลดวยความซื่อสัตยรวมกับผูครูสอน
6. หากผูเรียนมีปญหาจากการฟงเนื้อหาการบรรยาย สามารถสอบถามครูผูสอนไดทันที

การประเมินผล
ครูผูสอนประเมินผลจากกิจกรรมการเรียนการสอนดังนี้
1. จากขอสอบประเมินผลรายวิชากอนเรียนและหลังเรียน
2. จากแบบทดสอบประเมินผลกอนเรียนและหลังเรียนแตละหนวยการเรียนรู
3. จากใบงานที่มอบหมายใหผูเรียนทํา
4. จากแบบฝกหัดแตละหนวยการเรียน
เกณฑการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลไดกําหนดใหใชสัดสวนของคะแนนระหวางภาคตอคะแนนสอบปลายภาค
เทากับ 80 : 20 โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1. คะแนนระหวางภาค 80 คะแนน
1.1 คะแนนจิตพิสัย 20 คะแนน
1.2 คะแนนงานตามกิจกรรมในแตละหนวย 60 คะแนน
2. คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน
3. เกณฑการประเมินผล
ใชเกณฑการประเมินผลแบบอิงเกณฑโดยแบงระดับดังนี้
80-100 คะแนน ระดับเกรด 4
75-79 คะแนน ระดับเกรด 3.5
70-74 คะแนน ระดับเกรด 3
65-69 คะแนน ระดับเกรด 2.5
60-64 คะแนน ระดับเกรด 2
55-59 คะแนน ระดับเกรด 1.5
50-54 คะแนน ระดับเกรด 1
0-49 คะแนน ระดับเกรด 0

สารบัญ
หนา
คํานํา ก
โครงสรางการจัดการเรียนรู ข
การจัดหนวยการเรียนรู ค
ตารางวิเคราะหหนวยการเรียนรู ง
คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการสอน จ
สารบัญ ช
สารบัญภาพ ฌ
สาระสําคัญ 1
วัตถุประสงคทั่วไป 2
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทฤษฏี 3
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานปฏิบัติ 4
แบบทดสอบกอนเรียน 5
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 11
หนวยที่ 5. งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยระบบไฮดรอลิกส
1. หนาที่และการใชงานของระบบไฮดรอลิกส 12
2. ขอดีขอดอยของระบบไฮดรอลิกส 15
3. หลักการพื้นฐานของระบบไฮดรอลิกส 16
4. อุปกรณในระบบไฮดรอลิกสและสัญลักษณ 18
5. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกส 28
6. สูตรคํานวณในระบบไฮดรอลิกส 29
7. เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
ดวยระบบไฮดรอลิกส 34
8. วิธีการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส 34
9. การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 36
10. การจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน 36
11. กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 37
แบบฝกหัด 38
เฉลยแบบฝกหัด 42
แบบทดสอบหลังเรียน 47

สารบัญ (ตอ)
หนา
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 53
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน 54
ใบสั่งงาน 57
ใบประเมินผล 58
ตารางดัชนีแสดงประสิทธิผลการจัดการเรียนรู 59
บันทึกหลังการสอน 61
บรรณานุกรม 62

สารบัญภาพ
ภาพที่ หนา
12.1 แสดงลักษณะของไฮดรอลิกส 12
12.2 แสดงการใชงานของไฮดรอลิกสพลังน้ํา 12
12.3 แสดงการใชงานของไฮดรอลิกสน้ํามัน 13
12.4 แสดงการใชงานของไฮดรอลิกสในงานอุตสาหกรรม 13
12.5 แสดงการใชงานของไฮดรอลิกสน้ํามันในยานพาหนะ 14
12.6 แสดงหนาที่และการใชงานระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงานขนสงและงานโยธาธิการ 14
12.7 แสดงลักษณะการใชงานของไฮดรอลิกส 15
12.8 แสดงการรั่วของน้ํามันไฮดรอลิกส 15
12.9 แสดงความดันของระบบไฮดรอลิกส 16
12.10 แสดงหลักการไหลและความเร็วของน้ํามันไฮดรอลิกส 16
12.11 แสดงการเกิดความของของไหลในพาหนะบรรจุ 17
12.12 แสดงการไหลและความเร็วของน้ํามันไฮดรอลิกส 17
12.13 แสดงลักษณะของทอและสัญลักษณไฮดรอลิกส 18
12.14 แสดงลักษณะของปมและสัญลักษณไฮดรอลิกส 19
12.15 แสดงลักษณะของมอเตอรและสัญลักษณไฮดรอลิกส 20
12.16 แสดงลักษณะของกระบอกสูบและสัญลักษณไฮดรอลิกส 21
12.17 แสดงลักษณะของวาลวควบคุมทิศทางและสัญลักษณไฮดรอลิกส 23
12.18 แสดงลักษณะของวาลวควบคุมความดันและสัญลักษณไฮดรอลิกส 25
12.19 แสดงลักษณะของวาลวควบคุมอัตราการไหลและสัญลักษณไฮดรอลิกส 27
12.20 แสดงสวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกส 28
12.21 แสดงลักษณะของความดันของไฮดรอลิกส 29
12.22 แสดงความดันของระบบไฮดรอลิกส 29
12.23 แสดงการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส 30
12.24 แสดงการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสยกของ 31
12.25 แสดงการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสกดอัดชิ้นงาน 32
12.26 แสดงเครื่องมือและ อุปกรณที่ใชในการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส 34
12.27 แสดงการตรวจสอบน้ําหนักหรือแรงในระบบไฮดรอลิกสแลวจดบันทึก 34

สารบัญภาพ (ตอ)
ภาพที่ หนา
12.28 แสดงการกําหนดความดันของระบบไฮดรอลิกสที่จะใชแลวจดบันทึก 35
12.29 แสดงการคํานวณคาตาง ๆ ในการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส 35
12.30 แสดงการจดบันทึกคาตาง ๆ 36
12.31 แสดงการจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน 36
12.32 แสดงการแขวนปายล็อคเมนสวิทยเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 37
สาระสําคัญ หนาที่ : 1

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
ดวยระบบไฮดรอลิกส
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ

สาระสําคัญ
1. หนาที่และการใชงานของระบบไฮดรอลิกส
2. ขอดีขอดอยของระบบไฮดรอลิ กส
3. หลักการพื้นฐานของระบบไฮดรอลิ กส
4. อุปกรณในระบบไฮดรอลิกสและสัญลักษณ
5. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกส
6. สูตรคํานวณในระบบไฮดรอลิกส
7. เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยระบบไฮดรอลิกส
8. วิธีการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส
9. การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
10. การจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน
11. กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงคทั่วไป หนาที่ : 2

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
ดวยระบบไฮดรอลิกส
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ

วัตถุประสงคทั่วไปของการเรียนรู
1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหนาที่และการใชงานของระบบไฮดรอลิกส
2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับขอดีขอดอยของระบบไฮดรอลิกส
3. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของระบบไฮดรอลิกส
4. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับอุปกรณในระบบไฮดรอลิกสและสัญลักษณ
5. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกส
6. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสูตรคํานวณในระบบไฮดรอลิกส
7. เพื่อใหมีทักษะในการจัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการคํานวณระบบสงกําลัง
เครื่องมือกลดวยระบบไฮดรอลิกส
8. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส
9. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
10. เพื่อใหมีทักษะในการจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานได
11. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอการจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานพรอมกฎ
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทฤษฏี หนาที่ : 3

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

TKL
Behavioral Objectives Remark
R A T
1. บอกชนิดและการใชงานของระบบไฮดรอลิกสได 
2. บอกขอดีขอดอยของระบบไฮดรอลิกสได 
3. อธิบายหลักการพื้นฐานของระบบไฮดรอลิกสได 
4. บอกชื่ออุปกรณในระบบไฮดรอลิกสและสัญลักษณ ได 
5. บอกสวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกส ได 
6. บอกสูตรคํานวณในระบบไฮดรอลิกส ได 
7. บอกรายการเครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการคํานวณระบบสงกําลัง 
เครื่องมือกลดวยระบบไฮดรอลิกสได
8. อธิบายวิธีการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสได 
9. อธิบายหัวขอที่ตองทําการบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานได 
10. บอกวิธีจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานได 
11. บอกกฎความปลอดภัยการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสได 

TKL = Task Knowledge Level


R = Recalled A = Applied T = Transferred
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานปฏิบัติ หนาที่ : 4

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
ดวยระบบไฮดรอลิกส
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ

TSL
Behavioral Objectives Remark
I C A
1. เตรียมเครื่องมือที่ใชในการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสได 
2. ตรวจสอบคาทางเทคนิคในการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสได 
3. คํานวณการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสได 
4. บันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานได 
5. จัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานได 

TSL = Task Skill Level


I = Imitation C = Control A = Automatism
แบบทดสอบกอนเรียน หนาที่ : 5

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

คําสั่ง : จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับขอที่ถูกลงในกระดาษคําตอบที่แจกให เวลาที่กําหนด : 20 นาที


1.ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันที่ใชสําหรับงานอุตสาหกรรม คือขอใด
ก. เครื่องปมขึ้นรูป ข. รถขุดตัก
ค. ระบบเบรกรถยนต ง. ระบบบังคับเลีย้ ว
2.ขอใดไมใชการแบงชนิดการใชงานระบบไฮดรอลิกสน้ํามัน
ก. ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงานอุตสาหกรรม
ข. ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับยานพาหนะ
ค. ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงานขนสงและงานโยธาธิการ
ง. ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงานอุตสาหกรรมทางเรือ
3. ขอใดกลาวถึงขอดีของระบบสงกําลังดวยไฮดรอลิกสไดถูกตอง
ก. อุปกรณมีน้ําหนักมาก ข. อุปกรณทํางานเคลื่อนตัวชา
ค. สามารถควบคุมไดงายและแมนยํา ง. อุปกรณมีราคาแพง
4. ขอใดกลาวถึงขอดอยของระบบสงกําลังดวยไฮดรอลิกสไดถูกตอง
ก.อายุการใชงานสั้น ข. บังคับและปรับแตงความเร็วไดงาย
ค. ตองมีระบบหลอลื่น ง. เปลี่ยนทิศทางเคลื่อนที่ไดชา
5. ความดันไฮดรอลิกส คือ ความดันที่เกิดจากสิ่งใด
ก. อากาศรอบ ๆ ตัวเรากดดันลงไปบนผิวของน้ํามัน
ข. ปมน้ํามันไฮดรอลิกสอัดน้ํามันใหมีปริมาตรเล็กลง
ค. การกีดขวางการไหลของน้ํามันไฮดรอลิกสที่ถูกสงออกไปจากปม
ง. กานสูบเคลื่อนที่ออกไปดันชิ้นงาน
6. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับความดันในระบบไฮดรอลิกสไดถูกตอง
ก. มีหนวยวัดเปนกิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร
ข. เกิดจากของไหลในทอทางใชงานถูกตานทานหรือกีดขวางการไหล
ค. ปมไอดรอลิกสเปนตัวสรางความดันใหแกระบบ
ง. จะมีคาเปลี่ยนแปลงไมวาจะเกิดรูรั่วจากภายในหรือภายนอก
แบบทดสอบกอนเรียน หนาที่ : 6

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

7. แรงที่เกิดขึ้นภายในกระบอกสูบจะคํานวณไดจากสิ่งใด
ก. พื้นที่ของลูกสูบกับความดันที่เกิดขึ้น ข. อุณหภูมิของน้ํามันไฮดรอลิกส
ค. ขนาดของปม ง. น้ําหนักที่ตานการเคลื่อนที่
8. สัญลักษณของทอควบคุม คือ ขอใด
ก. ข.
ค. ง.
9. สัญลักษณของปมไฮดรอลิกสแบบสงอัตราการไหลคงที่ปรับคาไมได มีทิศทางการไหลทางเดียว คือ
ขอใด
ก. ข.

ค. ง.
10. สัญลักษณของวาลวจัดลําดับการไหลตามความดัน ทํางานโดยทอควบคุมภายในโดยตรง ระบาย
น้ํามันภายนอกวาลว คือขอใด
ก. ข.

ค. ง.
11. สัญลักษณของวาลวควบคุมแบบ 4 ทิศทาง 3 ตําแหนง ตําแหนงกลางปดหมด คือขอใด
ก. ข.

ค. ง.
12. สัญลักษณของวาลวควบคุม อัตราการไหล ปรับคาได มีการชดเชยความดันไหลยอนทางไมชดเชย
คือขอใด
ก. ข.

ค. ง.
แบบทดสอบกอนเรียน หนาที่ : 7

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

13. สัญลักษณของวาลวควบคุมทิศทางแบบ 3 ทิศทาง 2 ตําแหนง ปกติปดคือขอใด

ก. ข.

ค. ง.

14. กระบอกสูบทํางานสองทางสัญลักษณคือขอใด

ก. ข.

ค. ง.

15. ขอใดไมใชสวนประกอบของวงจรในระบบไฮดรอลิกส
ก. ชุดทวนสัญญาณ ข. ชุดบังคับทิศทาง
ค. ชุดปอนสัญญาณ ง. ชุดตัวสงกําลัง

16. ขอใดคือสูตรคํานวณความแรงดันในระบบไฮดรอลิกสที่ถูกตอง
𝐹𝐹
ก. 𝐹𝐹 = ข. P = F × A
𝐴𝐴

𝐴𝐴
ค. 𝑃𝑃 = ง. F = P × A
𝐹𝐹

17. ขอใดคือสูตรคํานวณความสัมพันธระหวางกระบอกสูบ ไฮดรอลิกสดานเล็กและกระบอกสูบดานโต


𝐹𝐹1 𝐹𝐹2
ก. F1 × A2 = F2 × A1 ข. −
𝐴𝐴1 𝐴𝐴2

𝐹𝐹1 𝐹𝐹2
ค.
𝐴𝐴1
÷ 𝐴𝐴2 ง. F1 × A1 = F2 × A2
แบบทดสอบกอนเรียน หนาที่ : 8

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

จากภาพที่กําหนดใหใชตอบคําถามขอที่ 18- 22

18. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 1 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด


ก. ชุดปอนสัญญาณ ข. ชุดตัวสงกําลัง
ค. ชุดตนกําลัง ง. ชุดบังคับทิศทาง
19. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 2 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด
ก. ชุดบังคับทิศทาง ข. ชุดบังคับสัญญาณ
ค. ชุดปอนสัญญาณ ง. ชุดตัวสงกําลัง
20. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 3 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด
ก. ชุดปอนสัญญาณ ข. ชุดตัวสงกําลัง
ค. ชุดตนกําลัง ง. ชุดบังคับสัญญาณ
21. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 4 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด
ก. ชุดตนกําลัง ข. ชุดบังคับสัญญาณ
ค. ชุดปอนสัญญาณ ง. ชุดบังคับทิศทาง
แบบทดสอบกอนเรียน หนาที่ : 9

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

22. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 5 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด


ก. ชุดบังคับทิศทาง ข. ชุดบังคับสัญญาณ
ค. ชุดตัวสงกําลัง ง. ชุดตนกําลัง
จากภาพที่กําหนดใหใชตอบคําถามขอที่ 23- 24

23. จากรูปดานบนจงหาพื้นที่ของกระบอกสูบ A2 ของแทนอัดไฮดรอลิกส


ก. 150 cm2 ข. 200 cm2
ค. 300 cm2 ง. 400 cm2
24. จากภาพดานบนขอที่ 23 ถาตองการ F2 เทากับ 4,000 N จะตองออกแรงกด F1 เทาใด
ก. 400 N ข. 500 N
ค. 600 N ง. 700 N
25. จงคํานวณหาขนาดของลูกสูบไฮดรอลิกส เมื่อตองใชแรงกดอัดสูงสุด 1,000 กิโลกรัม และใช
ความดันในระบบขนาด 30 บาร
ก. 64.5 มิลลิเมตร ข. 65.5 มิลลิเมตร
ค. 66.5 มิลลิเมตร ง. 67.5 มิลลิเมตร
26. กระบอกสูบไฮดรอลิกสขนาดเสนผานศูนยกลาง 80 มิลลิเมตร ใชแรงดันในระบบ 200 กิโลกรัมแรง
ตอตารางมิลลิเมตร จงหาคํานวณหาแรงของกระบอกสูบนี้
ก. 9,855,088 N ข. 9,856,088 N
ค. 9,854,088 N ง. 9,857,088 N
แบบทดสอบกอนเรียน หนาที่ : 10

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

27. ขอใดไมใชเครื่องมือที่ใชในการคํานวณหาระบบการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส
ก. โมเดลระบบสงกําลังเครื่องมือกล+เครื่องคิดเลข
ข. ตาชั่ง + คอนพลาสติก
ค. โมเดลระบบสงกําลังเครื่องมือกล+เวอรเนียฯ
ง. ตาชั่ง + เวอรเนียฯ
28. การบันทึกเพื่อรายงานสรุปผลการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสขอใดที่ตองบันทึก
ก. ปริมาณน้ํามันไฮดรอลิกสที่ใช ข. ความเร็วของกระบอกสูบที่เคลื่อนที่เขาออก
ค. ความดันของระบบไฮดรอลิกสที่ใช ง. ความยาวของกระบอกสูบไฮดรอลิกส
29. ขอใดไมควรปฏิบัติในการเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานคํานวณระบบสงกําลังดวย
ระบบไฮดรอลิกส
ก. ชโลมน้ํามันเครื่องมืออุปกรณที่เปนเหล็ก ข.เก็บเครื่องมือวัดขนาดรวมกับเครื่ องมือที่มีคมตัด
ค. ใชผาเช็ดทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ง. ใชไมกวาดดอกหญากวาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
30. สิ่งแรกที่ควรปฏิบัติเพื่อความความปลอดภัยในการปฏิบัติงานคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบ
ไฮดรอลิกส คือขอใด
ก. ปดเมนสวิทยเครื่องจักรกอนทํางาน ข. ใสแวนตาเพื่อปองกันเศษ
ค. ปดวาลวไฮดรอลิกสในระบบทั้งหมด ง. ตรวจสอบรอบรั่วของระบบไฮดรอลิกส
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน หนาที่ : 11

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

แบบเฉลยขอทดสอบกอนเรียน
ดานทฤษฎี
ขอที่ คําตอบ ขอที่ คําตอบ
1 ก 16 ค
2 ง 17 ง
3 ค 18 ข
4 ข 19 ก
5 ค 20 ง
6 ข 21 ค
7 ก 22 ง
8 ง 23 ข
9 ก 24 ค
10 ค 25 ก
11 ง 26 ง
12 ก 27 ข
13 ข 28 ค
14 ข 29 ข
15 ก 30 ก
ใบเนื้อหา หนาที่ : 12
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

การควบคุมของเหลวใหสามารถสงถายกําลัง
ใหกับเครื่องมือกล ทําใหเกิดแรงและการเคลื่อนที่
ในโรงงานอุตสาหกรรม ในปจจุบันนิยมใช
ระบบไฮดรอลิกส (Hydraulics)

ภาพที่ 12.1 แสดงลักษณะของไฮดรอลิกส


(ที่มา : http:// www.exportersindia.com)

1.หนาที่และการใชงานของระบบไฮดรอลิกส
ความกาวหนาในการพัฒนาและนําเอา
ระบบไฮดรอลิกสมาใชงาน สามารถแบงออกได 2
แบบใหญดังนี้
1.1. ไฮดรอลิกสพลังน้ํา เปนการใชพลังงาน
น้ํา การสงน้ํา การควบคุมแหลงน้ําธรรมชาติ อัน
ไดแก การผลิตกระแสไฟฟา การชลประทาน
ภาพที่ 12.2 แสดงการใชงานของไฮดรอลิกสพลังน้ํา
(ที่มา : http://www.balanceenergythai.com/)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 13
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

1.2 ไฮดรอลิกสน้ํามัน เปนการนําเอาน้ํามัน


เปนตัวสงถายกําลัง อันไดแก ระบบเบรกในรถยนต
แมแรงไฮดรอลิกส รถขุดตักดิน และเครื่องกดอัด
เปนตน
นอกจากนี้ไฮดรอลิกสน้ํามันยังสามารถแบง
ตามลักษณะการใชงานได 3 ประเภท

ภาพที่ 12.3 แสดงการใชงานของไฮดรอลิกสน้ํามัน


(ที่มา : http:// www.aliexpress.com)

1.2.1 ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงาน
อุตสาหกรรม (Industrial Hydraulics System)
ไดแก ระบบ ไฮดรอลิกสในเครื่องไส เครื่องกลึง
เครื่องกดอัด เครื่ องปมขึ้นรูปชิ้นงาน เครื่องฉีด
พลาสติก

ภาพที่ 12.4 แสดงการใชงานของไฮดรอลิกส


ในงานอุตสาหกรรม
(ที่มา : http://www.exportersindia.com)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 14
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

1.2.2 ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันยานพาหนะ
(Mobile Hydraulics System) ไดแก ระบบเบรค
ของรถยนต ระบบบังคับเลี้ยวแบบผอนแรงของ
รถยนต
ภาพที่ 12.5 แสดงการใชงานของไฮดรอลิกส
น้ํามันในยานพาหนะ
(ที่มา : http:// www.scimath.org )

1.2.3 ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงาน
ขนสงและงานโยธาธิการ (Oil Hydraulics
System for Handing and Civil) อันไดแก
ระบบไฮดรอลิกสของรถดั๊มพ รถยกของ รถขุดตัก
รถไถ และรถแทรกเตอร เปนตน

ภาพที่ 12.6 แสดงหนาที่และการใชงานระบบ


ไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงานขนสง
และงานโยธาธิการ
(ที่มา : http:// www.chairatchakarn.co.th/)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 15
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

2.ขอดีและขอดอยของระบบไฮดรอลิกส
2.1 ขอดีของระบบไฮดรอลิกสสรุปไดดังนี้
1. สามารถควบคุมไดงายและแมนยํา
2. ถายทอดกําลังงานไดมากจากอุปกรณ
ขนาดเล็ก
3. บังคับและปรับแตงความเร็วไดงาย
4. หลอลื่นไดดวยตนเอง
5. เปลี่ยนทิศทางเคลื่อนที่ไดทันทีที่ตองการ
6. อายุการใชงานนาน
7. ควบคุมทางออมได
8. ปราศจากเฟอง เพลา สามารถสงกําลัง
ภาพที่12.7แสดงลักษณะการใชงานของไฮดรอลิกส ไปไดระยะทางไกล ๆ ดวยทอ
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)

2.2 ขอดอยของระบบไฮดรอลิกสสรุปได
ดังนี้
1. อุปกรณทํางานเคลื่อนตัวชา
2. อุปกรณมีราคาแพง
3. อุปกรณมีน้ําหนักมาก
4. เกิดอุบัติเหตุจากทอแตก อันเนื่องจาก
การทํางานที่ความดันสูง
5. การรั่วซึมของน้ํามันทําใหสกปรก
ภาพที่ 12.8 แสดงการรั่วของน้ํามันไฮดรอลิกส
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 16
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

3.หลักการพื้นฐาน ของระบบไฮดรอลิกส
3.1 การวัดความดัน
ในระบบไฮดรอลิกสใชเกจวัดความดัน
(Pressure Gauge) วัดเฉพาะคาของความดันที่สูง
กวาความดันบรรยากาศ ดังนั้นความดันบรรยากาศ
ปกติที่เกจวัดความดันจะอานคาไดที่ 0
(ความดันบรรยากาศ = 1.033 Kg/cm2 =14.7
psi = 1.013 bar)
ตัวอยางดังภาพที่ 12.9 เชน น้ําหนักของ
น้ํามันที่สูง 25 ฟุต จะทําใหเกิดความดันขึ้นเทากับ
ภาพที่ 12.9 แสดงความดันของระบบไฮดรอลิกส 10 ปอนด/ตารางนิ้ว โดยไมคํานึงถึงขนาดของ
(ที่มา : กิติพันธ ไทยสงค. 2556 : 180) ภาชนะวาเทากันหรือไม

3.2 อัตราการไหลและความเร็วของน้ํามัน
ไฮดรอลิกส
เมื่อน้ํามันไฮดรอลิกสไหลในทอที่มีพื้นที่
หนาตัด (A) จะไดความเร็ว (V) และอัตราการไหล
(Q) ซึ่งเราสามารถหาความสัมพันธกันดังนี้
Q = V×A

V = Q
A
Q
A =
V
ภาพที่12.10 แสดงหลักการไหลและความเร็วของ Q = อัตราการไหล (cm3/s)
น้ํามันไฮดรอลิกส V = ความเร็ว (cm/s)
(ที่มา : ณรงค ตันชีวะวงศ. 2542 : 128) A = พื้นที่หนาตัด (cm2)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 17
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

3.3 การเกิดความดันของของไหลใน
สภาวะตาง ๆ
ปาสคาล พบวา “ของไหลที่อยูในที่ที่มี
ขอบเขตจํากัดนั้นการถายทอดแรงที่กระทําจะ
เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุอยู”
กฎของปาสคาล สรุปไดดังนี้
1. ความดันที่เกิดจากของไหลที่บรรจุอยูใน
ภาชนะจะมีแรงกระทํามีคาเทากันในทุกทิศทางตอ
พื้นที่ผิวภาชนะ
2. ทิศทางของความดันของของไหลจะ
ภาพที่ 12.11 แสดงการเกิดความของของไหลใน กระทําในทิศทางตั้งฉากกับพื้นที่ที่ของไหลนั้น
พาหนะบรรจุ สัมผัสอยู
(ที่มา : Hans Appold และคณะ.1982 : 268) 3. ความดันของของไหลจะมีคาเทากันใน
ระดับความสูงเดียวกัน
3.4 ความเร็วของกระบอกสูบไฮดรอลิกส
ความเร็วของกานสูบจะขึ้นอยูกับขนาดของกระบอกสูบ และอัตราการไหลของน้ํามัน ไฮดรอลิกส ซึ่ง
เราสามารถหาความสัมพันธกันดังนี้

ภาพที่12.12 แสดงการไหลและความเร็วของน้ํามันไฮดรอลิกส
(ที่มา : Hans Appold และคณะ.1982 : 274)
อัตราการไหลของน้ํามันเขาทางดานลูกสูบ(Q1)
ความเร็วของกานสูบจังหวะวิ่งออก (V1) = พื้นที่เต็มของลูกสูบ(A1)
อัตราการไหลของน้ํามันเขาทางดานลูกสูบ(Q2)
ความเร็วของกานสูบจังหวะวิ่งเขา (V2) =
พื้นที่เต็มของลูกสูบ(A2)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 18
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

4. อุปกรณในระบบไฮดรอลิกสและสัญลักษณ
4.1 อุปกรณในระบบทอและสัญลักษณ

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

ทอน้ํามันไฮดรอลิกสเพื่อนํา
ไปใชงาน

ทอระบายน้ํามันไฮดรอลิกส

ภาพที่12.13 แสดงลักษณะของทอและสัญลักษณไฮดรอลิกส
(ที่มา : Catalog festo. 2014 : 146)
4.2 ปมไฮดรอลิกสและสัญลักษณ
ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย
ปมไฮดรอลิกสแบบสงอัตรา
การไหลคงที่ ปรับคาไมได
มีทิศทางการไหลทิศทางเดียว

ปมไฮดรอลิกสแบบสงอัตรา
การไหลคงที่ ปรับคาไมได
มีทิศทางการไหลสองทิศทาง
ใบเนื้อหา หนาที่ : 19
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย


ปมไฮดรอลิกสแบบสงอัตรา
การไหลคงที่ ปรับคาได
มีทิศทางการไหลทิศทางเดียว

ปมไฮดรอลิกสแบบปรับอัตรา
การไหลได มีทิศทางไหล
สองทิศทาง

ภาพที่12.14 แสดงลักษณะของปมและสัญลักษณไฮดรอลิกส
(ที่มา : Catalog festo. 2014 : 107)

4.3 มอเตอรไฮดรอลิกสและสัญลักษณ
ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

มอเตอรไฮดรอลิกส
แบบปรับคาไมได
หมุนไดทิศทางเดียว

มอเตอรไฮดรอลิกส
แบบปรับคาไมได
หมุนไดสองทิศทาง
ใบเนื้อหา หนาที่ : 20
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย


มอเตอรไฮดรอลิกส
แบบปรับคาได
หมุนไดทิศทางเดียว

มอเตอรไฮดรอลิกสแบบปรับคา
ไดหมุนไดสองทิศทาง

ภาพที่12.15 แสดงลักษณะของมอเตอรและสัญลักษณไฮดรอลิกส
(ที่มา : Catalog festo. 2014 : 72)

4.4 กระบอกสูบไฮดรอลิกสและสัญลักษณ
ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

กระบอกสูบทางเดียว
(Single Acting Cylinder)

กระบอกสูบสองทาง
(Double Acting Cylinder)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 21
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

กระบอกสูบสองทางแบบมีกาน
สูบสองดาน
(Double Rod Cylinder)
ภาพที่12.16 แสดงลักษณะของกระบอกสูบและสัญลักษณไฮดรอลิกส
(ที่มา : Catalog festo. 2014 : 19)

4.5 วาลวควบคุมทิศทางและสัญลักษณ
ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 2 ทิศทาง 2 ตําแหนง
ปกติปด

วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 2 ทิศทาง 2 ตําแหนง
ปกติเปด

วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 3 ทิศทาง 2 ตําแหนง
ปกติปด
ใบเนื้อหา หนาที่ : 22
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 3 ทิศทาง 2 ตําแหนง
ปกติเปด

วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 4 ทิศทาง 2 ตําแหนง

วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 4 ทิศทาง 3 ตําแหนง
ตําแหนงกลางปดหมด
ใบเนื้อหา หนาที่ : 23
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 4 ทิศทาง 3 ตําแหนง
ชองตอคูหนึ่งตอถึงกัน
อีกคูหนึ่งถูกปด

วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 4 ทิศทาง 3 ตําแหนง
ตําแหนงกลางเปดหมด

ภาพที่12.17 แสดงลักษณะของวาลวควบคุมทิศทางและสัญลักษณไฮดรอลิกส
(ที่มา : Catalog festo. 2014 : 90)

4.6 วาลวควบคุมความดันและสัญลักษณ
ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวควบคุมความดัน
แบบปกติปด
ใบเนื้อหา หนาที่ : 24
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวควบคุมความดัน
แบบปกติเปด

วาลวควบคุมความดัน
แบบทํางานดวยทอควบคุม
จากภายใน
(แบบกระทําโดยทางตรง)

วาลวควบคุมความดัน
แบบทํางานดวยทอควบคุม
จากภายนอก
(แบบกระทําโดยทางออม)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 25
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวจัดลําดับการไหล
ตามความดัน ทํางานโดยทอ
ควบคุมภายในโดยตรงระบาย
น้ํามันภายในวาลว

วาลวจัดลําดับการไหล
ตามความดันทํางานโดยทอ
ควบคุมภายในโดยตรงระบาย
น้ํามันภายนอกวาลว

ภาพที่12.18 แสดงลักษณะของวาลวควบคุมความดันและสัญลักษณไฮดรอลิกส
(ที่มา : Catalog festo. 2014 : 101)

4.7 วาลวควบคุมอัตราการไหลและสัญลักษณ
ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวควบคุมอัตราการไหล
ปรับคาได ควบคุมไดสองทางไม
มีการชดเชย
ใบเนื้อหา หนาที่ : 26
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวควบคุมอัตราการไหล
ปรับคาได ควบคุมไดสองทางมี
เช็ควาลวอยูภายใน

วาลวควบคุมอัตราการไหล
ปรับคาได ควบคุมได มีการ
ชดเชยความดันไหลยอนทาง
ไมชดเชย

วาลวควบคุมอัตราการไหล
ปรับคาได ควบคุมไดทางเดียว
มีการชดเชยความดัน
มีเช็ควาลวปรับอยูภายใน
ใบเนื้อหา หนาที่ : 27
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ภาพอุปกรณ สัญลักษณ ชื่อและความหมาย

วาลวควบคุมอัตราการไหล
แบบมีวาลวปลดความดัน
ประกอบอยูภายใน

วาลวแบงน้ํามัน

ภาพที่12.19 แสดงลักษณะของวาลวควบคุมอัตราการไหลและสัญลักษณไฮดรอลิกส
(ที่มา : Catalog festo. 2014 : 141)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 28
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

5. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกส

5
4
3

ภาพที่12.20 แสดงสวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกส
(ที่มา : อําพล ซื่อตรง. 2527 : 175)
1. ชุดตนกําลัง
2. ชุดปอนสัญญาณ
3. ชุดบังคับสัญญาณ
4. ชุดบังคับทิศทาง
5. ชุดตัวสงกําลัง
ใบเนื้อหา หนาที่ : 29
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

6. การคํานวณระบบสงกําลังดวยไฮดรอลิกส
จากหลักการพื้นฐานของระบบขับเคลื่อน
ดวยระบบไฮดรอลิกสใชกฎของ ปาสคาล ที่วา
“ความดันของไหลในระบบปดจะมีคาเทากัน
ทุกจุด” ดังนั้น

F = P×A

เมื่อ
ภาพที่ 12.21 แสดงลักษณะของความดัน F = แรงกระทํา
ของไฮดรอลิกส P = ความดัน
(ที่มา : http://nkw05116.circlecamp.com) A = พื้นที่

ถาระบบไฮดรอลิกสสมีกระบอกสูบอยู 2
ขนาดซึ่งมีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ ดังนั้น
F1 = P1 × A1
และ
F2 = P2 × A2
แต
P1 = P2
ดังนั้น

ภาพที่ 12.22 แสดงความดันของระบบไฮดรอลิกส F1 × A1 = F2 × A2


(ที่มา : บุญธรรม ภัทราจารุกล. 2556 : 139)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 30
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ตัวอยางที่ 1 กระบอกสูบไฮดรอลิกสขนาดเสนผานศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร ใชแรงดันในระบบ


100 กิโลกรัมแรงตอตารางมิลลิเมตร จงคํานวณหาแรงของกระบอกสูบนี้

ภาพที่ 12.23 แสดงการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส


(ที่มา : http://www.bloggang.com)
วิธีทํา จากสูตร F = P×A
F = ตองการทราบ
P = 100 kgf/mm2
π𝑑𝑑 2
A =
4
3.14×50 2
=
4

= 1,962.5 mm2
ดังนั้น
F = P×A
F = 100 kgf/mm2 ×1,962.5 mm2
F = 196,250 kgf
แตหนวยของแรง เปน N
F = 196,250 kgf × 9.81 m/s2
= 1,925,212.5 N ตอบ
ใบเนื้อหา หนาที่ : 31
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ตัวอยางที่ 2 ระบบไฮดรอลิกสลิฟตยกรถยนต กระบอกสูบไฮดรอลิกสยกรถยนตมีขนาด


เสนผานศูนยกลาง 0.25 เมตร และกระบอกสูบอันเล็กมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.0125 เมตร เพื่อที่จะ
ยกรถยนตหนัก 2,000 กิโลกรัม จงหาแรงกระทําในกระบอกสูบเล็กเพื่อยกรถยนตขึ้น

ภาพที่ 12.24 แสดงการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสยกของ


(ที่มา : บุญธรรม ภัทราจารุกล. 2556 : 140)
วิธีทํา จากสูตร F1 × A1 = F2 × A2
F1 = ตองการทราบ
F2 = 2,000 kg × 9.81 N = 19,620 N
3.14(0.0125 )2
A1 = = = 0.000126 m2
4

3.14(0.25)2
A2 = = = 0.049 m2
4

𝐴𝐴1
ดังนั้น F1 = F2 ×
𝐴𝐴2

0.000126 𝑚𝑚 2
F1 = 19,620 N ×
0.049 𝑚𝑚 2

F1 = 50.45 N ตอบ
ใบเนื้อหา หนาที่ : 32
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ตัวอยางที่ 3 ตองเลือกใชขนาดของลูกสูบระบบไฮดรอลิกสขนาดเทาใด เมื่อตองใชแรงกดอัด


ชิ้นงานหนักสูงสุด 1,200 กิโลกรัม และใชความดันขนาด 40 บาร

ภาพที่ 12.25 แสดงการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสกดอัดชิ้นงาน


(ที่มา : http://bangkokforklift.blogspot.com)
วิธีทํา จากสูตร F = P×A
แรงยก
F = 1,200 kg
1 kg = 9.81 N
1,200 kg × 9.81 N
11, 772 N
ความดันในระบบ
P = 40 bar
1 bar = 100,000 N/m2
40 bar × 100,000 N/m2
4,000,000 N/m2
แทนคา 11, 772 N = 4,000,000 N/m2 × A
11,772 𝑁𝑁
A =
4,000,000𝑁𝑁/𝑚𝑚 2

A = 0.0029 m2
ใบเนื้อหา หนาที่ : 33
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

จาก
π𝑑𝑑 2
A =
4
แทนคา
π𝑑𝑑 2
0.0029 m2 =
4

2 3.14 ×𝑑𝑑 2
0.0029 m =
4

0.0029 𝑚𝑚 2 ×4
d2 =
3.14

d2 = 0.0037 m2

d = √0.0037𝑚𝑚2

d = 0.0608 m

d = 0.0608 m × 1,000 mm

d = 60.80 mm.
ใบเนื้อหา หนาที่ : 34
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

7. เครื่องมือและ อุปกรณที่ใชในการคํานวณ
ระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส
7.1 โมเดลระบบสงกําลังเครื่องมือกล
7.2 เครื่องคิดเลข
7.3 ตาชั่งสปริง
7.4 ผา

รูปที่ 12.26 แสดงเครื่องมือและ อุปกรณที่ใชในการ


คํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส
(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)

8. วิธีการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบ
ไฮดรอลิกส
วิธีการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบ
ไฮดรอลิกส เพื่อหาขนาดของกระบอกสูบ
มีขั้นตอนดังนี้
8.1 กําหนด,ตรวจสอบน้ําหนักหรือแรงที่
ตองการแลวจดบันทึก

รูปที่ 12.27 แสดงการตรวจสอบน้ําหนักหรือแรงใน


ระบบไฮดรอลิกสแลวจดบันทึก
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 35
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

8.2 กําหนดความดันของระบบไฮดรอลิกสที่
จะใชแลวจดบันทึก

รูปที่ 12.28 แสดงการกําหนดความดันของระบบ


ไฮดรอลิกสที่จะใชแลวจดบันทึก
(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)

8.3 คํานวณหาขนาดของกระบอกสูบ
ไฮดรอลิกส ที่ตองการทราบแลวจดบันทึก

รูปที่ 12.29 แสดงการคํานวณคาตาง ๆ ในการสง


กําลังดวยระบบไฮดรอลิกส
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 36
(Information Sheet)
หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

9. การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
9.1 ผลการกําหนด,ตรวจสอบ น้ําหนักหรือ
แรงที่ตองการ
9.2 ความดันของระบบไฮดรอลิกสที่จะใช
9.3 ขนาดของกระบอกสูบไฮดรอลิกส

รูปที่ 12.30 แสดงการจดบันทึกคาตาง ๆ


(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)

10. การจัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณ
ปฏิบัติงาน
10.1 เช็ดทําความสะอาดชิ้นงาน เครื่องมือ
และ อุปกรณ
10.2 เก็บเขาที่พรอมใชงาน
10.3 ดูแลบริเวณปฏิบัติงานใหสะอาด
ภาพที่ 12.31 แสดงการจัดเก็บเครื่องมือ เรียบรอย
อุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน
(ที่มา : ดํารง สัพโส.2559)
ใบเนื้อหา หนาที่ : 37
(Information Sheet)
หนวยที่ 2 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยสายพาน

11. กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
11.1 หยุดเครื่องจักรกอนทํางานเสมอ
11.2 แขวนปายล็อคเมนสวิทย
11.3 สวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล

ภาพที่ 12.32 แสดงการแขวนปายล็อคเมนสวิทย


เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
(ที่มา : ดํารง สัพโส. 2559)
แบบฝกหัด หนาที่ : 38

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

คําสั่ง : จงตอบคําถามใหถูกตอง เวลาที่กําหนด : 10 นาที


1. จงบอกหนาที่และการใชงานระบบไฮดรอลิกสมาใหถูกตอง
1.1 .
1.2 .

2. จงบอกขอดี ขอดอย ของระบบไฮดรอลิกสมาพอเขาใจ


2.1 ขอดี
1. .
2. .
3. .
4. .
5. .
6. .
7. .
8. .

2.2 ขอดอย
1. .
2. .
3. .
4. .
5. .
แบบฝกหัด หนาที่ : 39

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

3. จงชื่อของอุปกรณระบบไฮดรอลิกสที่กําหนดใหจงเขียนสัญลักษณใหถูกตอง
ชื่ออุปกรณในระบบไฮดรอลิกส สัญลักษณไฮดรอลิกส

1.ปมไฮดรอลิกสแบบสงอัตราการไหลคงที่ ปรับคา
ไมได มีทิศทางการไหลสองทิศทาง

2. มอเตอรไฮดรอลิกสแบบปรับคาไมได
หมุนไดทิศทางเดียว

3. กระบอกสูบสองทาง
(Double Acting Cylinder)

4. วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 2 ทิศทาง 2 ตําแหนงปกติปด

5. วาลวควบคุมทิศทาง
แบบ 4 ทิศทาง 3 ตําแหนง ตําแหนงกลางปดหมด

6.วาลวควบคุมความดันแบบทํางานดวยทอ
ควบคุมจากภายนอก
(แบบกระทําโดยทางออม)
แบบฝกหัด หนาที่ : 40

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

4. จากภาพระบบไฮดรอลิกสจงหาแรงที่ตองกดกระบอกสูบ ดานเล็กใหถูกตอง
แบบฝกหัด หนาที่ : 41

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

5. จงคํานวณหาขนาดกระบอกสูบไฮดรอลิกส เมื่อตองใชแรงยกชิ้นงานหนักสูงสุด 2,200 กิโลกรัม และใช


ความดันขนาด 50 บาร
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 42

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

คําสั่ง : จงตอบคําถามใหถูกตอง
1. จงบอกหนาที่และการใชงานระบบไฮดรอลิกสมาใหถูกตอง
1.1 ไฮดรอลิกสพลังน้ํา อันไดแก การผลิตกระแสไฟฟา การชลประทาน .
1.2 ไฮดรอลิกสน้ํามัน เปนการนําเอาน้ํามันเปนตัวสงถายกําลัง อันไดแก ระบบเบรกในรถยนต .
แมแรงไฮดรอลิกส รถขุดตักดิน และเครื่องกดอัด .

2. จงบอกขอดี ขอดอย ของระบบไฮดรอลิกสมาพอเขาใจ


2.1 ขอดี
1. สามารถควบคุมไดงายและแมนยํา .
2. ถายทอดกําลังงานไดมากจากอุปกรณขนาดเล็ก .
3. บังคับและปรับแตงความเร็วไดงาย .
4. หลอลื่นไดดวยตนเอง .
5. เปลี่ยนทิศทางเคลื่อนที่ไดทันทีที่ตองการ .
6. อายุการใชงานนาน .
7. ควบคุมทางออมได .
8. ปราศจากเฟอง เพลา สามารถสงกําลังไปไดระยะทางไกล ๆ ดวยทอ .

2.2 ขอดอย
1. อุปกรณทํางานเคลื่อนตัวชา .
2. อุปกรณมีราคาแพง .
3. อุปกรณมีน้ําหนักมาก .
4. เกิดอุบัติเหตุจากทอแตก อันเนื่องจากการทํางานที่ความดันสูง .
5. การรั่วซึมของน้ํามันทําใหสกปรก .
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 43

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

3. จงชื่อของอุปกรณระบบไฮดรอลิกสที่กําหนดใหจงเขียนสัญลักษณใหถูกตอง
ชื่ออุปกรณในระบบไฮดรอลิกส สัญลักษณไฮดรอลิกส

1.ปมไฮดรอลิกสแบบสงอัตราการไหลคงที่ ปรับคา
ไมได มีทิศทางการไหลสองทิศทาง

2. มอเตอรไฮดรอลิกสแบบปรับคาไมได
หมุนไดทิศทางเดียว

3. กระบอกสูบสองทาง
(Double Acting Cylinder)

4. วาลวควบคุมทิศทางแบบ 2 ทิศทาง 2 ตําแหนง


ปกติปด

5. วาลวควบคุมทิศทางแบบ 4 ทิศทาง 3 ตําแหนง


ตําแหนงกลางปดหมด

6.วาลวควบคุมความดันแบบทํางานดวยทอ
ควบคุมจากภายนอก (แบบกระทําโดยทางออม)
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 44

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

4. จากภาพระบบไฮดรอลิกสจงหาแรงที่ตองกดกระบอกสูบ ดานเล็กใหถูกตอง

วิธีทํา
จากสูตร F1 × A1 = F2 × A2
F1 = ตองการทราบ
F2 = 1,000 kg × 9.81 N = 981 N
A1 = 10 cm2
A2 = 100 cm2

𝐴𝐴1
ดังนั้น F1 = F2 ×
𝐴𝐴2

10 𝑐𝑐𝑚𝑚 2
F1 = 9,810 N ×
100 𝑐𝑐𝑚𝑚 2

F1 = 981 N ตอบ
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 45

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

5. จงคํานวณหาขนาดกระบอกสูบไฮดรอลิกส เมื่อตองใชแรงยกชิ้นงานหนักสูงสุด 2,200 กิโลกรัม และใช


ความดันขนาด 50 บาร

วิธีทํา
จากสูตร
F = P×A
แรงยก
F = 2,200 kg
1 kg = 9.81 N
2,200 kg × 9.81 N = 21,582 N
ความดันในระบบ
P = 50 bar
1 bar = 100,000 N/m2
50 bar × 100,000 N/m2
5,000,000 N/m2
แทนคา 21,582 N = 5,000,000 N/m2 × A
21,582 𝑁𝑁
A =
5,000,000𝑁𝑁/𝑚𝑚 2

A = 0.00432 m2
เฉลยแบบฝกหัด หนาที่ : 46

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

จาก
π𝑑𝑑 2
A =
4
แทนคา
π𝑑𝑑 2
0.00432 m2 =
4

3.14 ×𝑑𝑑 2
0.00432 m2 =
4

2 0.00432 𝑚𝑚 2 ×4
d =
3.14

d2 = 0.0055 m2

d = √0.0037𝑚𝑚2

d = 0.074 m

d = 0.074 m × 1,000 mm

d = 74 mm.
แบบทดสอบหลังเรียน หนาที่ : 47

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

คําสั่ง : จงทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับขอที่ถูกลงในกระดาษคําตอบที่แจกให เวลาที่กําหนด : 20 นาที


1.ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันที่ใชสําหรับงานอุตสาหกรรม คือขอใด
ก. ระบบบังคับเลีย้ ว ข. รถขุดตัก
ค. ระบบเบรกรถยนต ง. เครื่องปมขึ้นรูป
2.ขอใดไมใชแบงชนิดการใชงานระบบไฮดรอลิกสน้ํามัน
ก. ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับยานพาหนะ
ข. ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงานอุตสาหกรรม
ค. ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงานอุตสาหกรรมทางเรือ
ง. ระบบไฮดรอลิกสน้ํามันสําหรับงานขนสงและงานโยธาธิการ
3. ขอใดกลาวถึงขอดีของระบบสงกําลังดวยไฮดรอลิกสไดถูกตอง
ก. สามารถควบคุมไดงายและแมนยํา ข. อุปกรณทํางานเคลื่อนตัวชา
ค. อุปกรณมีน้ําหนักมาก ง. อุปกรณมีราคาแพง
4. ขอใดกลาวถึงขอดอยของระบบสงกําลังดวยไฮดรอลิกสไดถูกตอง
ก. อายุการใชงานสั้น ข. บังคับและปรับแตงความเร็วไดงาย
ค. ตองมีระบบหลอลื่น ง. เปลี่ยนทิศทางเคลื่อนที่ไดชา
5. ความดันไฮดรอลิกส คือ ความดันที่เกิดจากสิ่งใด
ก. กานสูบเคลื่อนที่ออกไปดันชิ้นงาน
ข. อากาศรอบ ๆ ตัวเรากดดันลงไปบนผิวของน้ํามัน
ค. ปมน้ํามันไฮดรอลิกสอัดน้ํามันใหมีปริมาตรเล็กลง
ง. การกีดขวางการไหลของน้ํามันไฮดรอลิกสที่ถูกสงออกไปจากปม
6. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับความดันในระบบไฮดรอลิกสไดถูกตอง
ก. มีหนวยวัดเปนกิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร
ข. ปมไอดรอลิกสเปนตัวสรางความดันใหแกระบบ
ค. จะมีคาเปลี่ยนแปลงไมวาจะเกิดรูรั่วจากภายในหรือภายนอก
ง. เกิดจากของไหลในทอทางใชงานถูกตานทานหรือกีดขวางการไหล
แบบทดสอบหลังเรียน หนาที่ : 48

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

7. แรงที่เกิดขึ้นภายในกระบอกสูบจะคํานวณไดจากสิ่งใด
ก. พื้นที่ของลูกสูบกับความดันที่เกิดขึ้น ข. อุณหภูมิของน้ํามันไฮดรอลิกส
ค. ขนาดของปม ง. น้ําหนักที่ตานการเคลื่อนที่
8. สัญลักษณของทอควบคุม คือ ขอใด
ก. ข.
ค. ง.
9. สัญลักษณของปมไฮดรอลิกสแบบสงอัตราการไหลคงที่ปรับคาไมได มีทิศทางการไหลทางเดียว คือ
ขอใด
ก. ข.

ค. ง.
10. สัญลักษณของวาลวจัดลําดับการไหลตามความดัน ทํางานโดยทอควบคุมภายในโดยตรง ระบาย
น้ํามันภายนอกวาลว คือขอใด
ก. ข.

ค. ง.
11. สัญลักษณของวาลวควบคุมแบบ 4 ทิศทาง 3 ตําแหนง ตําแหนงกลางปดหมด คือขอใด
ก. ข.

ค. ง.
12. สัญลักษณของวาลวควบคุม อัตราการไหล ปรับคาได มีการชดเชยความดันไหลยอนทางไมชดเชย
คือขอใด
ก. ข.

ค. ง.
แบบทดสอบหลังเรียน หนาที่ : 49

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

13. สัญลักษณของวาลวควบคุมทิศทางแบบ 3 ทิศทาง 2 ตําแหนง ปกติปด คือขอใด


ก. ข.

ค. ง.

14. กระบอกสูบทํางานสองทางสัญลักษณ คือขอใด

ก. ข.

ค. ง.

15. ขอใดไมใชสวนประกอบของวงจรในระบบไฮดรอลิกส
ก. ชุดปอนสัญญาณ ข. ชุดบังคับทิศทาง
ค. ชุดทวนสัญญาณ ง. ชุดตัวสงกําลัง
16. ขอใดคือสูตรคํานวณความแรงดันในระบบไฮดรอลิกสที่ถูกตอง
𝐹𝐹
ก. 𝐹𝐹 = ข. F = P × A
𝐴𝐴
𝐴𝐴
ค. 𝑃𝑃 = ง. P = F × A
𝐹𝐹

17. ขอใดคือสูตรคํานวณความสัมพันธระหวางกระบอกสูบ ไฮดรอลิกสดานเล็กและกระบอกสูบดานโต


ก. F1 × A2 = F2 × A1 ข. F1 × A1 = F2 × A2
𝐹𝐹1 𝐹𝐹2 𝐹𝐹1 𝐹𝐹2
ค.
𝐴𝐴1

𝐴𝐴2
ง.
𝐴𝐴1
÷ 𝐴𝐴2
แบบทดสอบหลังเรียน หนาที่ : 50

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

จากภาพที่กําหนดใหใชตอบคําถามขอที่ 18- 22

18. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 1 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด


ก. ชุดปอนสัญญาณ ข. ชุดบังคับทิศทาง
ค. ชุดตนกําลัง ง. ชุดตัวสงกําลัง
19. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 2 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด
ก. ชุดบังคับทิศทาง ข. ชุดบังคับสัญญาณ
ค. ชุดปอนสัญญาณ ง. ชุดตัวสงกําลัง
20. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 3 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด
ก. ชุดปอนสัญญาณ ข. ชุดตัวสงกําลัง
ค. ชุดบังคับสัญญาณ ง. ชุดตนกําลัง
21. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 4 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด
ก. ชุดตนกําลัง ข. ชุดบังคับสัญญาณ
ค. ชุดปอนสัญญาณ ง. ชุดบังคับทิศทาง
แบบทดสอบหลังเรียน หนาที่ : 51

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

22. สวนประกอบของวงจรไฮดรอลิกสหมายเลข 5 มีชื่อเรียกตรงกับขอใด


ก. ชุดตนกําลัง ข. ชุดบังคับสัญญาณ
ค. ชุดตัวสงกําลัง ง. ชุดบังคับทิศทาง
จากภาพที่กําหนดใหใชตอบคําถามขอที่ 23- 24

23. จากรูปดานบนจงหาพื้นที่ของกระบอกสูบ A2 ของแทนอัดไฮดรอลิกส


ก. 400 cm2 ข. 300 cm2
ค. 150 cm2 ง. 200 cm2
24. จากภาพดานบนขอที่ 23 ถาตองการ F2 เทากับ 4,000 N จะตองออกแรงกด F1 เทาใด
ก. 400 N ข. 500 N
ค. 600 N ง. 700 N
25. จงคํานวณหาขนาดของลูกสูบไฮดรอลิกส เมื่อตองใชแรงกดอัดสูงสุด 1,000 กิโลกรัม และใช
ความดันในระบบขนาด 30 บาร
ก. 64.5 มิลลิเมตร ข. 65.5 มิลลิเมตร
ค. 66.5 มิลลิเมตร ง. 67.5 มิลลิเมตร
26. กระบอกสูบไฮดรอลิกสขนาดเสนผานศูนยกลาง 80 มิลลิเมตร ใชแรงดันในระบบ 200 กิโลกรัมแรง
ตอตารางมิลลิเมตร จงหาคํานวณหาแรงของกระบอกสูบนี้
ก. 9,855,088 N ข. 9,856,088 N
ค. 9,854,088 N ง. 9,857,088 N
แบบทดสอบหลังเรียน หนาที่ : 52

หนวยที่ 12: งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล


วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

27. ขอใดไมใชเครื่องมือที่ใชในการคํานวณหาระบบการสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส
ก. ตาชั่ง + เวอรเนียฯ
ข. ตาชั่ง + คอนพลาสติก
ค. โมเดลระบบสงกําลังเครื่องมือกล+เวอรเนียฯ
ง. โมเดลระบบสงกําลังเครื่องมือกล+เครื่องคิดเลข
28. การบันทึกเพื่อรายงานสรุปผลการคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกสขอใดที่ตองบันทึก
ก. ปริมาณน้ํามันไฮดรอลิกสที่ใช ข. ความเร็วของกระบอกสูบที่เคลื่อนที่เขาออก
ค. ความดันของระบบไฮดรอลิกสที่ใช ง. ความยาวของกระบอกสูบไฮดรอลิกส
29. ขอใดไมควรปฏิบัติในการเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงานคํานวณระบบสงกําลังดวย
ระบบไฮดรอลิกส
ก. ชโลมน้ํามันเครื่องมืออุปกรณที่เปนเหล็ก
ข.เก็บเครื่องมือวัดขนาดรวมกับเครื่องมือที่มีคมตัด
ค. ใชผาเช็ดทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ
ง. ใชไมกวาดดอกหญากวาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
30. สิ่งแรกที่ควรปฏิบัติเพื่อความความปลอดภัยในการปฏิบัติงานคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบ
ไฮดรอลิกส คือขอใด
ก. ปดเมนสวิทยเครื่องจักรกอนทํางาน ข. ใสแวนตาเพื่อปองกันเศษ
ค. ปดวาลวไฮดรอลิกสในระบบทั้งหมด ง. ตรวจสอบรอบรั่วของระบบไฮดรอลิกส
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน หนาที่ : 53

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

แบบเฉลยขอทดสอบหลังเรียน
ดานทฤษฎี
ขอที่ คําตอบ ขอที่ คําตอบ
1 ง 16 ข
2 ค 17 ข
3 ก 18 ง
4 ข 19 ก
5 ง 20 ค
6 ง 21 ค
7 ก 22 ก
8 ข 23 ง
9 ค 24 ค
10 ข 25 ก
11 ก 26 ง
12 ง 27 ข
13 ค 28 ค
14 ก 29 ข
15 ค 30 ก
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน หนาที่ : 54

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ลําดับขั้นการปฏิบัตงิ านคํานวณระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิกส
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน คําอธิบายขั้นตอนการทํางาน เครื่องมืออุปกรณ ขอควรระวัง
1. ศึกษาขอมูล
- การใชเครื่องมือวัดขนาด
- อุปกรณและสัญลักษณ
ในระบบไฮดรอลิกส - ใบเนื้อหา
- สูตรคํานวณตาง ๆ ใน
ระบบไฮดรอลิกส

2. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

- เครื่องมือสําหรับที่ใชใน
การคํานวณระบบสงกําลัง - ใบเบิกเครื่องมือ
เครื่องมือกลดวยระบบ
ไฮดรอลิกส

3. ตรวจสอบน้ําหนักของวัตถุที่
ตองการยก

- ตรวจสอบน้ําหนักของวัตถุ - ตาชั่งสปริง
ที่ตองการยกดวยตาชั่ง - ใบสั่งงาน
- จดบันทึกน้ําหนักที่ชั่งได
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน หนาที่ : 55

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน คําอธิบายขั้นตอนการทํางาน เครื่องมืออุปกรณ ขอควรระวัง


4. ตรวจสอบความดันในระบบ
ไฮดรอลิกสที่ใช - ตรวจสอบความดันใน
ระบบไฮดรอลิกสที่ใช - ใบสั่งงาน
- จดบันทึกคาความดันใน - เกจวัดความดัน
ระบบไฮดรอลิกสที่ใช

5. คํานวณคาตาง ๆ ของระบบสง
กําลังดวยไฮดรอลิกส
- คํานวณหาขนาดของ - ใบสั่งงาน
กระบอกสูบไฮดรอลิกส - เครื่องคิดเลข
ที่ใชงาน

6. บันทึกรายงานสรุปผลการ
ปฏิบัติงาน
- บันทึกผลการคํานวณที่ได
เชน ขนาดความโตของ - ใบสั่งงาน
กระบอกสูบที่จะใชงาน
ใบลําดับขั้นการปฏิบัติงาน หนาที่ : 56

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน คําอธิบายขั้นตอนการทํางาน เครื่องมืออุปกรณ ขอควรระวัง


8. จัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและ
บริเวณปฏิบัติงาน
- ทําความสะอาดเครื่องมือ - ผา
และชิ้นงานทุกครั้งหลัง - น้ํามันกันสนิม
เสร็จงาน
ใบสั่งงาน หนาที่ : 57

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

คําสั่ง : จงคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยสายพานอัตราทดชั้นเดียว เวลาที่กําหนด : 30 นาที

ลําดับขั้นการทํางาน เครื่องมือ อุปกรณ


1. ศึกษาขอมูล 1. โมเดลระบบสงเครื่องมือกล
2. เตรียมชิ้นงานและเครื่องมืออุปกรณ 2. เครื่องคิดเลข
3. กําหนด,ตรวจสอบน้ําหนักหรือแรงที่ตองการแลวจดบันทึก 3. ตาชั่ง
4. กําหนดความดันของระบบไฮดรอลิกสที่จะใชแลวจดบันทึก 4. ผา
5. คํานวณหาขนาดของกระบอกสูบไฮดรอลิกส แลวจดบันทึก
6. บันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
7. จัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

สรุปผลการทํางาน

ชื่อ: เลขที่: กลุม: .


ใบประเมินผล
(Evaluation Sheet) หนาที่ : 58

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

การประเมินผลงานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกลดวยสายพานอัตราทดชั้นเดียว
ชื่อ.............................................................ว/ด/ป........................ ผูประเมิน..........................................
ผลการประเมิน
จุดประเมินผล
ผาน ไมผาน หมายเหตุ
1. ศึกษาขอมูล
2. เตรียมชิ้นงานและเครื่องมืออุปกรณ
3. กําหนด,ตรวจสอบน้ําหนักหรือแรงที่ตองการแลวจดบันทึก
4. กําหนดความดันของระบบไฮดรอลิกสที่จะใชแลวจดบันทึก
5. คํานวณหาขนาดของกระบอกสูบไฮดรอลิกส แลวจดบันทึก
6. บันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
7. จัดเก็บเครื่องมืออุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

วัดได
คุณภาพของผลงาน

ดีมาก ดี พอใช แกไข


วัดไมได 1.ความเรียบรอย
2.ความสะอาด
1.ความปลอดภัย
.เจตคติ
2.ความสะอาด(บริเวณทํางาน)

เวลาเริ่ม...........เวลาเสร็จ...........ใชเวลา.........ชม........นาที สรุปผลการประเมิน ผาน ไมผาน


ตารางดัชนีการเรียนรู หนาที่ : 59

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ดัชนีประสิทธิผล การจัดการเรียนรู ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) ภาคเรียนที่ ....../…………


แผนกวิชาชางกลโรงงาน สาขางานเครื่องมือกล กลุม …………….
ผลคะแนน ผลตาง ดัชนี รอยละคะแนน
ลําดับ ชื่อ – สกุล
Pre-Test Post-Test คะแนน ประสิทธิผล ที่เพิ่มขึ้น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
ตารางดัชนีการเรียนรู หนาที่ : 60

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ดัชนีประสิทธิผล การจัดการเรียนรู ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) ภาคเรียนที่ ....../…………


แผนกวิชาชางกลโรงงาน สาขางานเครื่องมือกล กลุม …………….
ผลคะแนน ผลตาง ดัชนี รอยละคะแนน
ลําดับ ชื่อ – สกุล
Pre-Test Post-Test คะแนน ประสิทธิผล ที่เพิ่มขึ้น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
บันทึกหลังการสอน หนาที่ : 61

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

ผลการใชแผนการจัดการเรียนรู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการเรียนของนักเรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………….ผูบันทึก
(……………………………….)
…………/…………/………...
บรรณานุกรม หนาที่ : 62

หนวยที่ 12 : งานคํานวณระบบสงกําลังเครื่องมือกล
วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ดวยระบบไฮดรอลิกส

กิติพันธ ไทยสงค. งานนิวเมตริกสและไฮดรอลิกสเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพเอมพันธ,


2556.
ณรงค ตันชีวะวงศ. นิวเมตริกสและไฮดรอลิกสเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสมาคม
สงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน), 2542.
บุญธรรม ภัทราจารุกล. งานนิวเมตริกสและไฮดรอลิกสเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร :
บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน), 2556.
อําพล ซื่อตรง. ไฮดรอลิคสและนิวแมติคส. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
พระนครเหนือ, 2527.
Festo (Thailand), Co., LTD. Catalog Hydraulic Festo. Thailand, 2014.
Hans Appold, Kurt Feiler, Alfred Reinhard,Paul Schmidt, Technology of the Metal Trade.
Deutsche Gesellschaft Fur Technische Zusammenarbeit,1982.
http://www.aliexpress.com/item/YQ32-200T-three-beam-four-post-hydraulic-press-
machine-hydraulic-pressing-machine-with-IOS-and-CE/1670357690.html, เขาถึง 14
ธันวาคม 2558
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=eq0&month=01-05-2005&group=15&gblog=1,
เขาถึง 16 ธันวาคม 2558
http://www.balanceenergythai.com/ระบบการผลิตไฟฟา/, เขาถึง 14 ธันวาคม 2558
http://bangkokforklift.blogspot.com/2013/05/hydraulic.html, เขาถึง 14 ธันวาคม 2558
http://www.chairatchakarn.co.th/hino/fm1jnkd_bgt_ngv_dump, เขาถึง 16 ธันวาคม 2558
http://www.exportersindia.com/foshan-constant/hydraulic-press-machine-foshan-china-
494722.html, เขาถึง 18 ธันวาคม 2558
http://www.exportersindia.com/rapidflowindia/, เขาถึง 14 ธันวาคม 2558
http://nkw05116.circlecamp.com/index.php?page=kwamdannai, เขาถึง 16 ธันวาคม 2558
http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/1667-กฎของพาสคาลและระบบ
ไฮดรอลิก?groupid=273, เขาถึง 13 ธันวาคม 2558

You might also like