You are on page 1of 105

แผนการจัดการเรียนรู้ม่ ุงเน้ นสมรรถนะ

ชื่อรายวิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น รหัสวิชา 20100-1007 ทฤษฎี 1 ปฏิบตั ิ 3 หน่วยกิต 2

หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง

ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา เทคนิคพื้นฐาน

สาขางาน เทคนิคพื้นฐาน

จัดทาโดย
นายธวัช ศรี รักษ์
พนักงานราชการ

วิทยาลัยเทคนิคถลาง
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
บันทึกการตรวจแผนการสอน วิทยาลัยเทคนิคถลาง
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562
ชื่อวิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น รหัสวิชา 20100-1007 นก.-ชม.4-2
ชื่อผูส้ อน นายธวัช ศรี รักษ์ ตาแหน่ง พนักงานราชการ แผนกวิชา เทคนิคพื้นฐาน
สอนระดับ (/) ปวช. ( ) ปวส. ชั้น ปี ที่ 1 กลุ่ม 1,2 สาขางาน ช่างยนต์

ความเห็นหัวหน้ าแผนกวิชา เทคนิคพื้นฐาน


( ) ตรวจสอบแล้ว ครบถ้วนสมบูรณ์ตามองค์ประกอบของโครงการสอน
( ) เหมาะสมกับการจัดการเรี ยนการสอน
( ) สอดคล้องกับนโยบาย สอศ.
( ) ตรวจสอบแล้ว ไม่เหมาะสมเนื่องจาก ........................................................................................................

ลงชื่อ .............................................
(นายธวัช ศรี รักษ์)
หัวหน้าแผนกเทคนิ คพื้นฐาน

ความเห็นหัวหน้ างานพัฒนาหลักสู ตรการเรียนการสอน


( ) ตรวจสอบแล้ว เหมาะสมกับการจัดการเรี ยนการสอนและเห็นควรอนุญาตให้ใช้ประกอบการสอนได้
( ) ตรวจสอบแล้ว ไม่เหมาะสมเนื่องจาก ......................................................................................................

ลงชื่อ .............................................
(นายศุภมิตร เส็มสัน)
หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตรการเรี ยนการสอน

ความเห็นรองผู้อานวยการฝ่ ายวิชาการ ความเห็นผู้อานวยการวิทยาลัยเทคนิคถลาง


( ) เห็นควรอนุญาตใช้แผนการสอนทาการสอนได้ ( ) อนุญาต
( ) ไม่เห็นควรอนุญาตใช้เนื่องจาก ........................ ( ) ไม่อนุญาตเนื่องจาก ........................
ลงชื่อ.................................................. ลงชื่อ................................................
(นางกาญจนา ตัณทราวัฒน์พนั ธ์) (นางสาวกชกร บุษราภรณ์)
รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวิชาการ ผูอ้ านวยการวิทยาลัยเทคนิคถลาง
รหัสวิชา 20100-1001 ชื่อรายวิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น นก(ชม.) 2(4)
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 แผนกวิชา เทคนิคพื้นฐาน
จานวนคาบ ทฤษฏี 18 คาบ ปฏิบตั ิ 54 คาบ รวม 72 คาบ

จุดประสงค์ รายวิชา เพื่อให้


1.รู ้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบเทคนิค การใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์เขียนแบบ
2. มีทกั ษะเกี่ยวกับการอ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับภาพฉาย ภาพตัด
และภาพสามมิติตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิค
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทางานด้วยความละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ สะอาด
ตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และรักษาสภาพแวดล้อม

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงวิธีการเขียนแบบเทคนิค การใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์เขียนแบบ
2. อ่านและเขียนแบบภาพชิ้นส่ วนสองมิติ
3. อ่านและเขียนแบบภาพสามมิติ
4. เขียนภาพฉาย ภาพช่วย และภาพตัด
แผนการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2562
ระดับชั้น ปวช.1 สาขาวิชาช่างยนต์ รหัสวิชา 20100-1007 ชื่อรายวิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น

ประเมินผลปลายภาคเรี ยน
ประเมินผลตามสภาพจริ ง
คุณธรรม-จริ ยธรรม
เนื้อหา/เรื่ องที่สอน

แบบฝึ กหัด/ใบงาน

หมายเหตุ
สัปดาห์ที่
หน่วย

รวม
1 1 เครื่ องมือเขียนแบบ 2 4 2 8 คุณธรรม จริ ยธรรม
2 2 มาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิค 2 4 2 8 เก็บทั้งหมด 9 ด้านๆละ
3 คะแนน รวม 27
4 3 การสร้างรู ปเรขาคณิต 2 4 2 8
คะแนน ดังนี้
6 4 การกาหนดขนาดของมิติ 2 4 2 8 1. ความรับผิดชอบ
8 5 การเขียนภาพฉาย 2 4 20 2 8 2.ขยัน
11 6 การเขียนภาพสามมิติ 2 4 2 8 3.ประหยัด
13 7 การเขียนภาพตัด 4 8 4 16 4.ซื่อสัตย์สุจริ ต
15 8 การสเกตซ์ภาพ 2 4 2 8 5.จิตอาสา
6. สามัคคี
17 9 สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานช่างอุตสาหกรรม 2 4 2 8
7. มีวินยั
- สอบปลายภาค - - - - - 8. สะอาด
รวม 20 40 20 20 100 9. สุ ภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 1 หน่ วยที่-
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 1
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง ปฐมนิเทศ จานวนชั่วโมง 1 ช.ม.

สาระสาคัญ
การศึ กษาวิชานี้ เป็ นวิชาที่ เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เพื่ อปลูกฝั งให้ พฒ
ั นาตนเองเข้าสู่ อาชี พ อย่างสม่ าเสมอ และน าไป
ประยุกต์เพื่อวางแผนใช้ในชีวิตประจาวันต่อไป และยังเป็ นการให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสฝึ กทักษะความชานาญการเรี ยนรู ้ดา้ นความรู ้
ความสามารถพื่อมีส่วนร่ วมในการเรี ยนอย่างเต็มที่ในการฝึ กทักษะการปฏิ บตั ิจริ ง เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู ้ และความสามารถ
รวมทั้งสติปัญญาเพื่อแก้ปัญหาได้ ผูเ้ รี ยนวิชานี้นอกจากจะได้ความรู ้ที่ถูกต้องแล้ว สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็ นเครื่ องมือที่
สาคัญในการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันอีกด้วย

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.บอกจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา และคาอธิบายรายวิชาตามหลักสู ตรฯ ได้
2.ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนร่ วมกับผูอ้ ื่นได้
3.บอกแนวทางวัดผลและการประเมินผลการเรี ยนรู ้ได้
4.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ใน
การปฏิบตั ิงาน

สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตาม
หลักการด้วยความละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ

ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพสเกตช์ ภาพ
ช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น
ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่วน
286.103 บารุ งรักษา และเลือกใช้เครื่ องมือเขียนแบบในลักษณะต่าง ๆ

เนื้อหาสาระ
1.จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คาอธิบายรายวิชา และสมรรถนะรายวิชาตามหลักสู ตร
2.ข้อตกลงในการเรี ยน
3. แนวทางวัดผลและการประเมินผลการเรี ยนรู ้
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู ผสู ้ อนแนะนาจุดมุ่งหมายที่ผเู ้ รี ยนจะได้จากหลักสู ตร โดยกาหนดให้ผเู ้ รี ยนทุกคนต้องมีความรู ้
เกี่ยวกับเครื่ องมือเขียนแบบเป็ นส่ วนสาคัญมากในงานเขียนแบบ เพราะการที่จะเขียนแบบให้ถูกต้ อง รวดเร็ ว สวยงาม จะต้อง
อาศัยเครื่ องมือเขียนแบบที่เหมาะสมกับงานนั้นๆ ดังนั้นการเลือกใช้เครื่ องมือเขียนแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม นอกจากจะทาให้
การเขียนแบบมีความละเอียด สวยงาม และรวดเร็ วแล้ว ยังเป็ นการช่วยให้เครื่ องมือเขียนแบบมีอายุการใช้งานยาวนานอีกด้วย

ขั้นสอน
2.ผูเ้ รี ยนกับผูส้ อน ช่วยกันอภิปรายลักษณะต่าง ๆ ของเครื่ องมือเขียนแบบเพื่อให้เข้าใจและนามา
ใช้ในการเขียนแบบได้อย่างเหมาะสม ผูเ้ รี ยนเล่าประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน ซึ่งในปัจจุบนั มีอิทธิพลต่อประชาชนมาก
เนื่องจากนามาเป็ นข้อมูลในการพิจารณาในการเลือกประกอบเป็ นอาชีพได้
3.ผูเ้ รี ยนรับฟังคาชี้แจงสังเขปรายวิชาและการวัดประเมินผล ซักถามข้อปัญหารวมทั้งแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการเรี ยนวิชานี้
ขั้นสรุปและการประยุกต์
4.ผูเ้ รี ยนวางแผนการเรี ยนเขียนแบบลักษณะต่า ๆ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้กบั งานใชีวิตประจา
วันที่จาเป็ นโดยทัว่ ไป ซึ่งทุกคนจะต้องวางแผนการทางานในอนาคต
สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ประเมินแบบฝึ กทักษะ
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบฝึ กทักษะ
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบฝึ กทักษะ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ฝึกทักษะการใช้แครื่ องมือเขียนแบบ
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 1(ต่ อ) หน่ วยที่ 1
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 2-4
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง เครื่ องมือเขียนแบบ จานวนชั่วโมง 3 ช.ม.
สาระสาคัญ
เครื่ องมือเขียนแบบเป็ นส่ วนสาคัญมากในงานเขียนแบบ เพราะการที่จะเขี ยนแบบให้ถูกต้อง รวดเร็ ว สวยงาม จะต้อง
อาศัยเครื่ องมือเขียนแบบที่เหมาะสมกับงานนั้นๆ ดังนั้นการเลือกใช้เครื่ องมือเขียนแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม นอกจากจะทาให้
การเขียนแบบมีความละเอียด สวยงาม และรวดเร็ วแล้ว ยังเป็ นการช่วยให้เครื่ องมือเขียนแบบมีอายุการใช้งานยาวนานอีกด้วย

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.บอกชื่อและวิธีการใช้เครื่ องมือเขียนแบบได้
2.บารุ งรักษาและเลือกใช้เครื่ องมือเขียนแบบได้
3.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่ อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.103 บารุ งรักษา และเลือกใช้เครื่ องมือเขียนแบบในลักษณะต่าง ๆ

เนื้อหาสาระ
1.เครื่ องมือและวิธีการใช้เครื่ องมือเขียนแบบ
2.การบารุ งรักษาเครื่ องมือเขียนแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู ผสู ้ อนเล่าให้ผเู ้ รี ยนฟังว่ามีเครื่ องมือที่ใช้ในการเขียนแบบมีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าที่และวิธีการใช้งานที่
ต่างกันออกไป
2.ผูเ้ รี ยนยกตัวอย่างเครื่ องมือที่ใช้ในการเขียนแบบ เช่น โต๊ะเขียนแบบ กระดานเขียนแบบ ไม้ที บรรทัดเลื่อน ฉาก
สามเหลี่ยม เป็ นต้น

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนอธิบายลักษะเครื่ องมือและวิธีการใช้เครื่ องมือเขียนแบบ และการบารุ งรักษาเครื่ องมือเขียนแบบโดยใช้
แผ่นใสประกอบเพื่อสื่ อความหมายสาระสาคัญของเนื้อหาให้เข้าใจยิ่งขึ้น
4.ครู นารู ปภาพของเครื่ องมือที่ใช้ในการเขียนแบบมีอยูห่ ลายชนิด

5.ครู นารู ปภาพอุปกรณ์ทาความสะอาด ดังนี้


6.ครู แนะนาการบารุ งรักษาเครื่ องมือเขียนแบบได้รับการออกแบบเพื่อให้ใช้เฉพาะงาน หากนาไปใช้กบั งานที่ไม่
เหมาะสม จะทาให้เกิดการเสี ยหายกับเครื่ องมือเขียนแบบได้ โดยสรุ ปดังนี้
1) ไม่ควรใช้ไม้ทีและฉากสามเหลี่ยมเป็ นอุปกรณ์ทาบตัดกระดาษ เพราะจะทาให้ขอบของไม้ที
และฉากสามเหลี่ยมบิ่นจากคมมีดได้
2) ไม่ควรนาเทปกาวติดบนไม้ทีและฉากสามเหลี่ยม เพราะเมื่อลอกออกจะทาให้เกิดยาง
เหนียวบางๆ เมื่อนาอุปกรณ์เหล่านี้ไปเขียนแบบจะทาให้แบบงานสกปรกได้
3) ไม่ควรใช้ปลายวงเวียนเป็ นเหล็กงัด เช่น งัดลวดเย็บกระดาษหรื อนาไปเจาะรู เพราะจะทา
ให้ปลายวงเวียนหัก งอ หรื อทื่อ เมื่อนาไปเขียนแบบอาจลื่นไถลออกจากศูนย์กลางได้
4) การเช็ดทาความสะอาดเครื่ องมือเขียนแบบด้วยน้ ายา ควรเลือกใช้ชนิดที่มีความเข้มน้อยถ้า
ใช้สารเคมีที่มีความเข้มข้นมาก จะทาให้สเกลของเครื่ องมือเขียนแบบลบออกได้ นอกจากนั้นสารเคมีจะ
ทาลายพื้นผิวของอุปกรณ์เขียนแบบอีกด้วย
5) เครื่ องมือเขียนแบบปัจจุบนั มักจะมีคู่มือการใช้งานกากับไว้ ผูใ้ ช้ควรศึกษาการใช้งานและ
การบารุ งรักษาตามที่บริ ษทั ผูผ้ ลิตกาหนดไว้ในคู่มือนั้นๆ
7.ครู เน้นการสร้างภูมิคมุ้ กันกับคนทางานต้องสร้างสติ รู ้เท่าทันความเป็ นจริ งให้มีกาลังเพียงพอที่จะไม่
ลื่นไหลไปตามกระแสแห่ง กิเลส และป้องกันปัญหาที่เกิดใหม่ในสังคมปัจจุบนั ตลอดจนกระตุน้ ให้เปิ ดความคิด กล้าลงมือทา
และให้เกิดความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทางาน" อาจหาญ ย้าถึงปรัชญาแห่งความคิด

ขั้นสรุปและการประยุกต์
5.สรุ ปความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับวิวฒนาการของระบบจานวนและตัวเลข โครงสร้างของระบบจานวนโดยถาม-ตอบ เพื่อ
ประยุกต์ใช้ใน

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ทาใบงานและแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 2 หน่ วยที่ 2
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 5-8
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง มาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิค จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.
สาระสาคัญ
สิ่ งที่สาคัญอย่างยิ่งในงานเขียนแบบ ผูเ้ ขียนแบบจะต้องศึกษามาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนแบบสาขานั้นๆ เพื่อให้
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง ซึ่ งมาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิ คที่ผูเ้ ขียนแบบต้องศึกษาเป็ นการเบื้ องต้น ได้แก่
มาตรฐานของกระดาษเขียนแบบ มาตรฐานเส้น การเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลข การเขียนตัวอักษรไทย วิ ธีการเขียน
ตัวอักษรและมาตราส่วน
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.บอกขนาดของกระดาษเขียนแบบได้
2.บอกชนิดและลักษณะการใช้งานของเส้นงานเขียนแบบเทคนิคได้
3.เขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลขได้ตามมาตรฐาน
4.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่ อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์ ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตาม
มาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนด
ขนาดของมิติและมาตราส่วน

เนื้อหาสาระ
1.กระดาษเขียนแบบ (Drawing Paper)
2.เส้น (Line)
3.การเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลข
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู ผสู ้ อนและผูเ้ รี ยนกล่าวถึในงานเขียนแบบโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานเขียนแบบเครื่ องกลจะมีมาตรฐานด้านต่างๆ
กาหนดไว้อย่างชัดเจน โดยสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ได้กาหนดมาตรฐานต่างๆ
2.ผูเ้ รี ยนยกตัวอย่างสิ่ งที่จะนามาเขียนแบบได้แก่อะไรบ้าง

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนอธิบายกระดาษและสาธิตการเขียนแบบ (Drawing Paper) การเขียนเส้น (Line)
การเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลข พร้อมให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิตามเป็ นขั้นตอน
4.ครู อธิบายกระดาษเขียนแบบมีรูปร่ างเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้า มีสัดส่วนความกว้างและความยาวเท่ากับ 1 : 2 โดยขนาด
กระดาษมาตรฐานจะคิดจากพื้นที่ 1 ตารางเมตร ขนาดกระดาษเขียนแบบตามมาตรฐาน
มาตรฐานของกระดาษเขียนแบบ
ขนาดมาตรฐาน A0 A1 A2 A3 A4 A5 A6
เนื้อที่เขียนแบบ 831x1179 584x831 410x584 287x410 200x287 138x200 95x138
ขนาดกระดาษ 841x1189 594x841 420x594 297x420 210x297 148x210 105x148
ที่ตดั แล้ว

5.ผูเ้ รี ยนฝึ กทักษะโดยใช้เส้นในงานเขียนแบบถูกกาหนดความหนาของเส้นตามมาตรฐาน ISO ซึ่งเป็ นขนาดที่เหมาะสม


สาหรับแบบงานที่จะย่อลงในไมโครฟิ ล์ม และเมื่อถ่ายแบบออกจากไมโครฟิ ล์มแล้ว ไม่ว่าจะย่อหรื อขยายแบบงานมาตรฐาน
ความหนาของเส้นก็ไม่เปลี่ยนแปลง ความหนาของเส้นมาตรฐาน ISO ที่เล็กที่สุดคือ 0.13 มม. โดยจะเพิ่มขนาดความหนาตาม
หลัก “อนุกรมความก้าวหน้าทางคณิ ตศาสตร์ ” หมายถึง ขนาดความหนาของเส้นต่อไปจะต้องคูณด้วย 2 เช่น 0.13  2
= 0.18 มม. เป็ นต้น ดังนั้นขนาดความหนาของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบปัจจุบนั มีดงั นี้ 0.13 0.18 0.25 0.35 0.5 0.7 1.0 1.4 และ
2.0 มม. และเมื่อนามาจัดกลุ่มเส้นจะได้กลุ่มเส้น
ชนิดและความหนา
กลุ่มเส้ น ความหนาเส้ น ชนิดของเส้ น
ของเส้ น
a 0.5 เส้นเต็มหนา
b 0.25 เส้นเต็มบาง
c 0.35 เส้นประ
0.5
d 0.5 เส้นศูนย์กลางใหญ่
e 0.25 เส้นศูนย์กลางเล็ก
f 0.25 เส้นมือเปล่า
6.ผูเ้ รี ยนฝึ กทักษะในการเขียนแบบเส้นชนิดต่างๆ ให้ถูกต้องตามมาตรฐานลงในกระดาษเขียนแบบ A4
(เส้นห่างกัน 8 มม.) ดังนี้ 1) เส้นเต็มหนา 2) เส้นเต็มบาง
3) เส้นประ 4) เส้นศูนย์กลางเล็ก
5) เส้นศูนย์กลางใหญ่ 6) เส้นมือเปล่า
7.ผูเ้ รี ยนเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แบบตัวตรงตามแบบที่กาหนดให้
8.ครู ให้ความรู ้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน
8.1 . กรอบแนวคิด เน้นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละการปฏิบตั ิตนโดยมีพ้นื ฐานวิถีชีวิตดั้งเดิมของ
สังคมไทย มุง้ เน้นการรอดพ้นจากภัยวิกฤต
8.2 คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ใช้ปฏิบตั ิตนได้ทุกระดับเน้นทาสายกลาง
8.3. นิยาม ความพอเพียงประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ
-ความพอประมาฌ คือ ความพอดี ไม่นอ้ ย ไม่มาก ไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ นื่
-ความมีเหตุผล คือ ต้องพิจารณาจากปัจจ้ยที่กี่ยวข้อง กระทาอย่ารอบคอบ
-มีภูมิคมุ้ กันในตัวที่ดี คือ เตรี ยมพร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
8.4. เงื่อนไข คือ เงื่อนไขระดับความพอเพียง ต้องอาศัยความรู ้และคุณะรรมเป็ นพื้นฐาน
8.5. แนวทางปฏิบตั ิ คือ การพัฒนาต้องสมดุลและยัง่ ยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน

สรุปและการประยุกต์
9.ผูเ้ รี ยนวิเคราะห์เนื้อหาการเรี ยนการสอนและหาข้อสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้
ต่อไป พร้อมข้อเสนอแนะตนเอง

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือเขียนแบบ

หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อนักเรี ยน
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงานนักเรี ยน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. ใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ผูเ้ รี ยนทากิจกรรมใบงานและแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้

.
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 3 หน่ วยที่ 2
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 9-12
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง มาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิค จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
สิ่ งที่สาคัญอย่างยิ่งในงานเขียนแบบ ผูเ้ ขียนแบบจะต้องศึกษามาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนแบบสาขานั้นๆ เพื่อให้
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง ซึ่ งมาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิ คที่ผูเ้ ขียนแบบต้องศึกษาเป็ นการเบื้ องต้น ได้แก่
มาตรฐานของกระดาษเขียนแบบ มาตรฐานเส้น การเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลข การเขียนตัวอักษรไทย วิ ธีการเขียน
ตัวอักษรและมาตราส่วน

จุดประสงค์ การเรียนรู้
4.เขียนตัวอักษรไทยได้ตามมาตรฐาน
5.บอกวิธีการและเขียนตัวอักษรและตัวเลขได้ตามมาตรฐาน
6.กาหนดมาตราส่วนในงานเขียนแบบได้
7.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่ อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพสเกตช์ภาพ
ช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข
ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่วน

เนื้อหาสาระ
4.การเขียนตัวอักษรไทย
5.วิธีการเขียนตัวอักษร
6.มาตราส่วน (Scale)
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู ผสู ้ อนกล่าวถึงตัวอักษรไทยมีวิธีการเขียนเหมือนกับตัวอักษรภาษาอังกฤษ ได้แก่ มาตรฐานความสู งของตัวอักษร
ความหนาของเส้น ระยะห่างระหว่างบรรทัด ระยะห่างของตัวอักษร ระยะห่างระหว่างคาและความยาวส่วนบนและล่างของตัว
อักษรไทย ส่วนวิธีการเขียนตัวอักษรไทยมีท้งั แบบตัวอักษรเส้นบาง ตัวอักษรเส้นหนา ตัวอักษรตรงและตัวอักษรเอียง
2.การเขียนตัวอักษรไทยกาหนดความสู งของบรรทัดเท่ากับ 10/10h ระยะห่างต่างๆ จะขึ้นอยูก่ บั ความสู งของบรรทัด
ส่วนการเขียนสระและวรรณยุกต์ให้เขียนให้เหมาะสมกับขนาดของตัวอักษร โดยมีระยะห่างระหว่างบรรทัดไม่ควรเกิน 16/10h
เพราะมีสระทั้งบนและล่างของตัวอักษร มาตรฐานการเขียนตัวอักษรไทย

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนอธิบายและสาธิตการเขียนตัวอักษรไทย วิธีการเขียนตัวอักษร และมาตราส่วน (Scale)
พร้อมให้ผเู ้ รี ยนร่ วมสาธิตไปพร้อม ๆ กัน
4.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมดังนี้
4.1 จงเขียนตัวเลขอารบิกแบบตัวตรงและตัวเอียงตามแบบที่กาหนดให้
4.2 จงเขียนตัวเลขอารบิกและตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กแบบตัวตรงและตัวเอียงตามแบบที่กาหนดให้
4.3 จงเขียนตัวอักษรไทยด้วยตัวบรรจงตามแบบที่กาหนดให้

4.4 จากแบบงานที่กาหนดให้ จงหาขนาดต่างๆ ของแบบงานตามมาตราส่ วนที่กาหนดให้ และเขียน ขนาดลงในารางให้


ครบถ้วน
5. จากแบบงานที่กาหนดให้ จงวัดขนาดในแบบงานและคานวณหาขนาดแบบงานจริ งตามมาตรา
ส่วนที่กาหนดให้ และเขียนขนาดลงในแบบงานให้ครบถ้วน
6.ครู เน้นเศรษฐกิจพอเพียงมีประโยชน์ต่อประชาชนทุกคนไม่ใช่เฉพาะแต่เกษตรกรเท่านั้น แต่นกั เรี ยนนักศึกษา ครู
อาจารย์ เจ้าหน้าที่และนักการภารโรงทุกคนก็สามารถนาหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการเรี ยน การทางาน
ตลอดจนการดาเนินชีวิตประจาวันได้ ซึ่งสามารถกระทาได้ดงั นี้
6.1 ยึดหลักความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายทุกด้าน สละความฟุ่ มเฟื อยในการดารงชีพอย่างจริ งจัง
6.2 ประกอบอาชีพด้วยความสุ จริ ตและถูกต้อง แม้จะเผชิญกับภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม
6.3 ลดละการแก่งแย่งผลประโยชน์ของตนเอง และการแข่งบันทางการค้าขาย ตลอดจนการประกอบ
อาชีพที่มีการต่อสู ้อย่างรุ นแรง
6.4 ขวนขวายใฝ่ หาความรู ้ให้มีรายได้เพิม่ พูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงในการดารงชีวิตเป็ นเป้าหมายสาคัญ
ขั้นสรุปและการประยุกต์
7.ผูเ้ รี ยนสรุ ปเนื้อหาสาระการเรี ยนรู ้ โดยการนาตัวอย่างตัวอักษรมาให้ผเู ้ รี ยนหัดเขียน
สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
3.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมใบงานและแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 4 หน่ วยที่ 3
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 13-16
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การสร้างรู ปเรขาคณิต จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.
สาระสาคัญ
รู ปเรขาคณิ ตเป็ นศาสตร์ ที่ว่าด้วยการสร้างรู ปทรงต่างๆ ซึ่ งผูเ้ ขียนแบบจะต้องนาเทคนิคและวิธีการต่างๆ ทางเรขาคณิ ตไป
ประยุกต์ใช้ในการเขียนแบบ เช่น การแบ่งครึ่ งเส้นและมุม การเขียนเส้นและส่ วนโค้งขนานกัน การสร้างรู ปหลายเหลี่ยม การสร้าง
ส่วนโค้งสัมผัสมุมและวัตถุ 2 วัตถุ การเขียนวงรี เป็ นต้น
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.เขียนรู ปเรขาคณิ ตด้วยวิธีการแบ่งครึ่ งวัตถุได้
2.เขียนรู ปเรขาคณิ ตด้วยวิธีการเขียนเส้นขนานกันได้
3.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่ อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์ ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน
เขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและ
มาตราส่วน
286.103 บารุ งรักษา และเลือกใช้เครื่ องมือเขียนแบบในลักษณะต่าง ๆ
เนื้อหาสาระ
1.การแบ่งครึ่ งวัตถุ (Bisecting an Object)
2.การเขียนเส้นขนาน (Drawing a Line Parallel)

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู ผสู ้ อนกล่าวถึงการสร้างรู ปเรขาคณิ ตเป็ นส่วนที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ซึ่งผูเ้ ขียนแบบจะต้องศึกษา
วิธีการสร้างรู ปเรขาคณิ ตแบบต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อให้สามารถนาไปช่วยในการเขียนแบบงานต่างๆ ได้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม
2.ผูเ้ รี ยนเล่าประสบการณ์ที่เคยวาดรู ปภาพต่าง ๆ ในอดีต และเรี ยนรู ้ว่าต้องเขียนเส้นในลักษณะใดบ้าง
จึงจะน่าดู

ขั้นสอน
3. ครู สอนโดยใช้รูปแบบการเรี ยนแบบ TAI (Team Assisted Individualization) เพื่อเน้นการเรี ยนของ
แต่ละบุคคล ให้มีความรู ้ ความเข้าใจและนาทักษะการเรี ยนรู ้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ในเรื่ องการแบ่งครึ่ งวัตถุ (Bisecting an
Object) และการเขียนเส้นขนาน (Drawing a Line Parallel)
4.ครู ผสู ้ อนอธิบายและสาธิตการพร้อมทั้งให้ผเู ้ รี ยนร่ วมสาธิตคานวณไปพร้อมกัน
5.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมดังนี้
กิจกรรมที่ 1 แบ่งครึ่ งเส้นตรงและส่วนโค้ง (Bisecting a Line and Arc) โดยกาหนดวิธีการสร้าง ดังนี้
1.1 กาหนดเส้นตรงและส่วนโค้ง AB เป็ นเส้นตรงและส่วนโค้งที่ตอ้ งการแบ่งครึ่ ง
1.2 กางวงเวียนรัศมี R (R จะต้องยาวกว่า 1/2 AB)
1.3 ใช้จุด A และจุด B เป็ นจุดศูนย์กลางเขียนส่วนโค้งตัดด้านบนและล่าง จะได้จุดตัด C และ D
1.4 ลากเส้นตรงจากจุด C ไปยังจุด D จะแบ่งครึ่ งเส้นตรงและส่วนโค้งออกเป็ น 2 ส่วนเท่าๆ กัน

กิจกรรมที่ 2 เขียนเส้นขนานกัน (Drawing a Line Parallel to a Line) ดังนี้


2.1 กาหนดเส้นตรง AB และรัศมี R
2.2 กางวงเวียนรัศมี R เขียนส่วนโค้งที่เส้น AB ระยะห่างระหว่างจุดพอประมาณ
2.3 ลากเส้นสัมผัสส่วนโค้ง จะได้เส้นตรง CD มีระยะห่างจากเส้น AB เท่ากับรัศมี R
กิจกรรมที่ 3 ให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิ ดังนี้
1. จากเส้ น ตรง AB ที่ ก าหนดให้ จงแสดงวิ ธี ก ารแบ่ง 2. จากส่ วนโค้ง ABC ที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีการแบ่ง
เส้นตรง AB ออกเป็ น 2 ส่ วนเท่าๆ กันโดยใช้วงเวียน มุม ABC ออกเป็ น 2 ส่วนเท่าๆ กันโดยใช้วงเวียน

3. จากเส้ น ตรง AB ที่ กาหนดให้ จงแสดงวิ ธีการเขี ย น 4. จากส่วนโค้ง BC ที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีการเขียน


เส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรง AB โดยใช้วงเวียนให้มี ส่วนโค้งให้ขนานกับส่ วนโค้ง BC โดยใช้วงเวียนให้มี
ระยะห่าง 20 มม. ระยะห่าง 20 มม.

6.แนะนาการทาบัญชีครัวเรื อนมีความสาคัญต่อแนวทางสู่ความพอเพียง จะทาให้รู้จกั ประมาณตน มีการวางแผนการใช้


จ่ายอย่างรอบคอบ มีสติในการดารงชีวิต การวางแผนที่ดีจะต้องมีการจดบันทึกอย่างต่อเนื่อง เพื่อนาข้อมูลมาพิจารณาหาวิธีการ
เพิ่มรายรับและลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็ น การจัดทาบัญชีครัวเรื อนทาให้นกั เรี ยนรู ้จกั ใช้จ่ายอย่างประหยัด คิดก่อนใช้เป็ นการเริ่ มต้น
การดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง พอมี พอกิน ไม่มีหนี้สิน

ขั้นสรุปและการประยุกต์
7.สรุ ปเนื้อหาการเรี ยนการสอน โดยให้ผเู ้ รี ยนฝึ กเขียนการแบ่งวัตถุ และการเขียนโค้งขนานกัน เช่น การเขียนส่วนโค้ง
ขนานกัน (Drawing an Arc Parallel to an Arc) โดยมีการสร้างดังนี่
(1) กาหนดส่วนโค้ง AB และรัศมี R
(2) กางวงเวียนรัศมี R ใช้จุดศูนย์กลางบนส่วนโค้ง AB เขียนส่วนโค้งระยะห่างระหว่างจุดพอประมาณ
(3) ลากเส้นสัมผัสส่วนโค้ง จะได้ส่วนโค้ง CD มีระยะห่างจากส่วนโค้ง AB เท่ากับรัศมี R
สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
3.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมใบงานและแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 5 หน่ วยที่ 3
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 17-20
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การสร้างรู ปเรขาคณิต จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
รู ปเรขาคณิ ตเป็ นศาสตร์ ที่ว่าด้วยการสร้างรู ปทรงต่างๆ ซึ่ งผูเ้ ขียนแบบจะต้องนาเทคนิคและวิธีการต่างๆ ทางเรขาคณิ ตไป
ประยุกต์ใช้ในการเขียนแบบ เช่น การแบ่งครึ่ งเส้นและมุม การเขียนเส้นและส่ วนโค้งขนานกัน การสร้างรู ปหลายเหลี่ยม การสร้าง
ส่วนโค้งสัมผัสมุมและวัตถุ 2 วัตถุ การเขียนวงรี เป็ นต้น

จุดประสงค์ การเรียนรู้
3.สร้างรู ปเรขาคณิ ตประเภทรู ปหลายเหลี่ยมได้
4.สร้างรู ปเรขาคณิ ตประเภทส่วนโค้งสัมผัสได้
5.เขียนรู ปวงรี ได้
6.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่ อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์
ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น
ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่ วน
286.103 บารุ งรักษา และเลือกใช้เครื่ องมือเขียนแบบในลักษณะต่าง ๆ

เนื้อหาสาระ
3.การสร้างรู ปหลายเหลี่ยม (Drawing Polygon)
4.การสร้างส่วนโค้งสัมผัส (Drawing a Tangent Arc)
5.การเขียนวงรี (Drawing an Ellipse)
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู ผสู ้ อนและผูเ้ รี ยนสนทนาเกี่ยวกับรู ปหลายเหลี่ยมเป็ นรู ปปิ ดที่เกิดจากส่วนของเส้นตรงตั้งแต่ 3 เส้นขึ้นไป โดยที่จดุ
A, B, C, … , P, Q เป็ นจุดที่แตกต่างกันบนระนาบ และไม่มี 3 จุดใดอยูร่ ่ วมส่วนของเส้นตรงเดียวกัน เรี ยกว่า ด้านของรู ปหลาย
เหลี่ยม จุด A, B, C, … , P, Q เรี ยกว่า จุดยอด จานวนมุมในรู ปหลายเหลี่ยม จะเท่ากับจานวนด้านของรู ปหลายเหลี่ยม ส่วนของ
เส้นตรงที่ลากเชื่อมจุดยอดที่ไม่ใช่ปลายของส่วนของเส้นตรงเดียวกัน เรี ยกว่า เส้นทแยงมุม ( diagonal )
2.ผูเ้ รี ยนยกตัวอย่างรู ปหลายเหลี่ยม ดังรู ปภาพ

3.ผูเ้ รี ยนตัดรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัสออกเป็ น 3 ส่วน เพื่อแสดงให้เห็นถึงการสร้างรู ปหลายเหลี่ยม ดังนี้

ขั้นสอน
4. ครู ผสู ้ อนใช้เทคนิคโดยการอธิบายและสาธิตพร้อมสื่ อแผ่นใสประกอบ เพื่อสื่ อความรู ้ ความเข้าใจ และสามารถฝึ ก
ทักษะการเรี ยนรู ้ในเรื่ องการสร้างรู ปหลายเหลี่ยม (Drawing Polygon) การสร้างส่วนโค้งสัมผัส (Drawing a Tangent Arc) และ
การเขียนวงรี (Drawing an Ellipse)
5.ครู อธิบายและสาธิตตัวอย่างการสร้างรู ปสามเหลี่ยมโดยกาหนดความยาวด้านสามด้าน (Drawing a Triangle by to Fix
Length Side) โดยมีวิธีการสร้างซึ่งกาหนดเส้นตรง AB, C และ D เป็ นความยาวด้านของสามเหลี่ยม พร้อมให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิตาม
ดังนี้
5.1 ลากเส้นตรง AB ที่กาหนดให้ ใช้จุด A เป็ นจุดศูนย์กลางกางวงเวียนรัศมีเท่ากับความยาวของเส้น D เขียนส่วนโค้ง
5.2 ใช้จุด B เป็ นจุดศูนย์กลางกางวงเวียนรัศมีเท่ากับความยาวเส้น C เขียนส่วนโค้งจะได้จุดตัด E
5.3 ลากเส้นตรงจากจุด A ไปหาจุด E และลากเส้นตรงจากจุด B ไปหาจุด E จะได้สามเหลี่ยม ABE
6.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ดังนี้
6.1 จากเส้นตรง AB ที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีการสร้างรู ปสามเหลี่ยมด้านเท่าโดยใช้วงเวียน

6.2 จากเส้นตรง AB เส้นตรง C และ D ที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีสร้างสามเหลี่ยมโดยกาหนดความยาวด้านสาม


ด้านโดยใช้วงเวียน

6.3 จากเส้นตรง AB ที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีการเขียนรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัสให้มีความยาวด้านเท่ากับเส้นตรง AB


โดยใช้บรรทัดสามเหลี่ยม

6.4 จากเส้นตรง AB ที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีการเขียนรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้มีความยาวด้านเท่ากับเส้นตรง AB


โดยใช้วงเวียน

6.5 จากวงกลมที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีการเขียนรู ปห้าเหลี่ยมด้านเท่าโดยใช้วงเวียน

6.6 จากวงกลมที่กาหนดให้จงแสดงวิธีการเขียนรู ปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายในวงกลมโดยใช้วงเวียนและบรรทัดสามเหลี่ยม


ร่ วมกัน
6.7.จากเส้นตรง AB ที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีการเขียนรู ปเจ็ดเหลี่ยมด้านเท่า โดยใช้บรรทัดและวงเวียน

6.8 จากเส้นตรง AB ที่กาหนดให้ จงแสดงวิธีการเขียนรู ปแปดเหลี่ยมด้านเท่าโดยใช้วงเวียน

7.ครู เน้นให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั ใช้เหตุผลใช้กระบวนการของการศึกษาในการทางาน ในการดารงชีวิต เพราะการศึกษาคือ


กระบวนการของการเปลี่ยนปัญหาให้เป็ นปัญญา ปัญญาก็คือการรู ้เข้าใจความจริ งด้วยเหตุผล แล้วนาความจริ งที่คน้ พบมาใช้ใน
การแก้ไขปัญหาในการทางาน ในการดารงชีวิต ทาให้งานก็ได้ผล คนก็เป็ นสุ ข
ความมีเหตุผลเป็ นเครื่ องมือของการศึกษาในทุกๆ เรื่ อง การศึกษากับความมีเหตุผลจึงเกี่ยวข้องสัมพันธ์และยึดโยงซึ่งกันและกัน
การศึกษาที่วางอยูบ่ นฐานของเหตุผลจะนาพาประเทศชาติให้รอดได้ตามแนวทางความมีเหตุมีผลของหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ขั้นสรุปและการประยุกต์
8.สรุ ปการสร้างรู ปหลายเหลี่ยม (Drawing Polygon) การสร้างส่วนโค้งสัมผัส (Drawing a Tangent Arc) และการเขียน
วงรี (Drawing an Ellipse) เพื่อให้เกิดความรู ้และทักษะในการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
3.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ผเู ้ รี ยนทาใบงานและแบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 6 หน่ วยที่ 4
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 21-24
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การกาหนดขนาดของมิติ จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.
สาระสาคัญ
การกาหนดขนาดของมิติ (Dimensioning) มีจุดมุง่ หมายที่จะแสดงสัดส่วนและขนาดต่างๆ ของแบบงานโดยจะต้อง
คานึงถึงขั้นตอนการทางาน การวัดและตรวจสอบ หน้าที่และตาแหน่งของแบบงานนั้นๆ เพื่อช่วยให้การทางานสะดวกรวดเร็ ว ดังนั้น
ผูเ้ ขียนแบบจึงควรทราบวิธีการกาหนดขนาดของมิติที่เป็ นมาตรฐานสากลและใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ในการกาหนดขนาดของมิติได้
ถูกต้อง

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.อธิบายและเขียนเส้นกาหนดขนาด เส้นช่วยและหัวลูกศรกาหนดขนาดได้
2.อธิบายละเขียนตัวเลขกาหนดขนาดได้
3.อธิบายและกาหนดขนาดชิ้นงานได้
4.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่ อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพสเกตช์ภาพ
ช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข
ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่วน

เนื้อหาสาระ
1.เส้นกาหนดขนาด เส้นช่วยและหัวลูกศรกาหนดขนาด
2.ตัวเลขกาหนดขนาด
3.การกาหนดขนาดชิ้นงาน
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู ผสู ้ อนและผูเ้ รี ยนอภิปรายร่ วมกันเรื่ องการกาหนดขนาดของมิติ (Dimensioning) ซึ่งมีองค์ประกอบ
ที่สาคัญ ได้แก่ เส้นกาหนดขนาด (Dimension Lines) เส้นช่วยกาหนดขนาด (Extension Lines) หัวลูกศรกาหนดขนาด (Arrow
Heads) และตัวเลขกาหนดขนาด (Dimension Texts)
2.ผูเ้ รี ยนทดลองเขียนเส้นกาหนดขนาดจากประสบการณ์ที่ผา่ นมาตามความเข้าใจ ดังนี้

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนใช้เทคนิคการอธิบายและสาธิต เพื่อให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเส้นกาหนดขนาด เส้นช่วยและหัวลูกศร
กาหนดขนาด ตัวเลขกาหนดขนาดและการกาหนดขนาดชิ้นงาน
4.ครู ผสู ้ อนสาธิตและแนะนาผูเ้ รี ยนเกี่ยวกับตัวกาหนดขนาด และการกาหนดชิ้นงาน เช่น
5.ผูเ้ รี ยนเขียนเส้นกาหนดขนาด หัวลูกศรและตัวเลขกาหนดขนาดลงในภาพที่กาหนดให้
6.ผูเ้ รี ยนพิจารณาจากแบบงานที่กาหนดให้ จงกาหนดขนาดในแบบงานตามตัวอย่างให้สมบูรณ์

ขั้นสรุปและการประยุกต์
8.สรุ ปเส้นกาหนดขนาด เส้นช่วยและหัวลูกศรกาหนดขนาด ตัวเลขกาหนดขนาด การกาหนดขนาดชิ้นงานที่สามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ

หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ผูเ้ รี ยนทากิจกรรมฝึ กทักษะ และแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 7 หน่ วยที่ 4
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 25-28
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การกาหนดขนาดของมิติ จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
การกาหนดขนาดของมิติ (Dimensioning) มีจุดมุง่ หมายที่จะแสดงสัดส่วนและขนาดต่างๆ ของแบบงานโดยจะต้อง
คานึงถึงขั้นตอนการทางาน การวัดและตรวจสอบ หน้าที่และตาแหน่งของแบบงานนั้นๆ เพื่อช่วยให้การทางานสะดวกรวดเร็ ว ดังนั้น
ผูเ้ ขียนแบบจึงควรทราบวิธีการกาหนดขนาดของมิติที่เป็ นมาตรฐานสากลและใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ในการกาหนดขนาดของมิติได้
ถูกต้อง

จุดประสงค์ การเรียนรู้
4.อธิบายและใช้สัญลักษณ์สี่เหลี่ยมจัตุรัสและเส้นทแยงมุมได้
5.กาหนดขนาดมุมได้
6.บอกข้อกาหนดในการกาหนดขนาดอื่นๆ ได้
7.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ

ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพสเกตช์ภาพ
ช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น
ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่วน

เนื้อหาสาะ
4.การใช้สัญลักษณ์สี่เหลี่ยมจัตุรัสและเส้นทแยงมุม
5.การกาหนดขนาดมุม
6.ข้อกาหนดในการกาหนดขนาดอื่นๆ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ผูเ้ รี ยนและครู ช่วยกันทบทวนความรู ้เดิมจากสัปดาห์ที่แล้ว และให้ผเู ้ รี ยนพิจารณารู ปภาพจากแบบงานที่กาหนดให้ จง
กาหนดขนาดแบบงานให้ถูกต้องสมบูรณ์ ดังนี้

2.ผูเ้ รี ยนพิจารณารู ปภาพเพื่อทบทวนและเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาบทเรี ยนในสัปดาห์น้ ี โดยพิจารณาจากแบบงานที่


กาหนดให้ จงกาหนดขนาดแบบงานให้ถูกต้องสมบูรณ์

ขั้นสอน
3. ครู อธิบายและสาธิตการใช้สัญลักษณ์สี่เหลี่ยมจัตุรัสและเส้นทแยงมุม การกาหนดขนาดมุม ข้อกาหนดในการกาหนด
ขนาดอื่นๆ
4.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 จากเส้นตรง AB และเส้นตรง BC ที่กาหนดให้ จงเขียนส่วนโค้งสัมผัส โดยให้มีรัศมีโค้งเท่ากับ 18 มม.

กิจกรรมที่ 2 จากแบบงานที่กาหนดให้ จงเขียนส่วนโค้งสัมผัสกับส่วนโค้งและเส้นตรงตามตัวอย่างที่กาหนดให้


กิจกรรมที่ 3 จากแบบงานที่กาหนดให้ จงเขียนส่วนโค้งสัมผัสกับวงกลมทั้ง 2 วง ตามตัวอย่างที่กาหนดให้

กิจกรรมที่ 4 จากแบบงานที่กาหนดให้ จงเขียนส่วนโค้งสัมผัสกับวงกลมทั้ง 2 วง ตามตัวอย่างที่กาหนดให้


และเขียนเส้นแสดงการกาหนดขนาดแบบงาน

5.ครู นาแนวคิดทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงมาสอนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้นาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต โดยมีหลักสาคัญ


อยูห่ ลายประการดังนี้
(1).รู ้จกั พึ่งพาตนเอง
(2).ดารงชีวิตอยูอ่ ย่างมีอิสรภาพ
(3).มีความสามารถในการบริ หารจัดการ รู ้จกั คิด รู ้จกั ระบบ
(4).ความขยัน อดทน ไม่ทอ้ ถอย
(5).มีความสามัคคี แสวงหาความร่ วมมือและให้ความร่ วมมือ รวมกลุ่มและมีความสามารถในการทางาน
ร่ วมกันเป็ นกลุ่มคณะ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อทุกฝ่ าย
(6).มีการศึกษาหาข้อมูล ข้อความรู ้ และนามาใช้ในการปฏิบตั ิงานและการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
(7).รู ้จกั การอยูร่ ่ วมกันอย่างเกื้อกูลกัน
(8).รู ้จกั พัฒนาตนเองขึ้นตามลาดับ
(9).นาความรู ้ หลักการ แนวคิด หรื อทฤษฎีต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
6.ครู สรุ ปแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อจะเป็ นแนวทาง เป็ นตัวอย่าง หากได้นาไปปฏิบตั ิแล้วจะทาให้
ทุกคนมีการดารงชีวิตในสังคมอย่างเรี ยบง่าย พอมี พอกิน และช่วยเหลือตนเอง เป็ นหลักการของทฤษฎีเศรษฐกิจพอ

ขั้นสรุปและการประยุกต์
7. สรุ ปสาระสาคัญเพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และนาไปปฏิบตั ิได้
สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ทากิจกรรมฝึ กทักษะและแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 8 หน่ วยที่ 5
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 29-32
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การเขียนภาพฉาย จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.
สาระสาคัญ
ภาพฉายเป็ นภาพที่มีจุดมุ่งหมายในการแสดงภาพชิ้นงานแบบ 2 มิติ ซึ่ งเป็ นภาพที่ใช้สาหรับการเขียนแบบสั่งงานการผลิต
ในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากเป็ นภาพที่สามารถเขียนได้ต้ งั แต่ภาพด้านเดียวจนถึงภาพ 6 ด้าน ขึ้นอยู่กบั ความซับซ้อนของ
ชิ้นงานนั้นๆ รวมทั้งยังเป็ นภาพที่สามารถกาหนดขนาดของมิติและรายละเอียดของแบบงานได้ครบถ้วนที่สุด

จุดประสงค์การเรียนรู้
1.เขียนภาพฉายมุมที่ 1 ได้
2.บอกหลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 1 ได้
3.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพสเกตช์ภาพ
ช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น
ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่วน
เนื้อหาสาระ
1.การเขียนภาพฉายมุมที่ 1
2.หลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 1
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู ผสู ้ อนอภิปรายถึงภาพฉายเป็ นภาพแสดงรู ปร่ างชิ้นงาน เป็ นภาพด้านในระนาบ 2 มิติ ซึ่งอาจจะแสดงภาพด้านเดียว
ภาพสองด้านหรื อภาพสามด้านก็ได้ สาหรับวิธีการมองภาพฉายมีดว้ ยกัน 2 วิธี คือการมองภาพฉาย มุมที่ 1 (First Angle
Projection) และการมองภาพฉายมุมที่ 3 (Third Angle Projection)
2.ผูเ้ รี ยนพิจารณารู ปภาพที่ครู ผสู ้ อนกาหนดใด้ และร่ วมกันแสดงความคิดเห็น เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรี ยนต่อไป

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนอธิบายและสาธิตการเขียนภาพฉายมุมที่ 1 หลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 1 ดังนี้

4.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ดังนี้


กิจกรรมที่ 1 จากแบบงานที่กาหนดให้ จงหาภาพฉายตามทิศทางของหัวลูกศร และนาตัวเลขของภาพ
ฉายเขียนในวงกลมของภาพสามมิติ
กิจกรรมที่ 2 จากภาพสามมิติและภาพฉายที่กาหนดให้ จงเขียนตัวอักษรจากภาพไอโซเมตริ กลงในภาพฉายในตาแหน่งที่
ตรงกัน
5.ครู ให้ความรู ้แก่ผเู ้ รี ยนโดยอภิปรายถึงความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็ นที่
จะต้องมีระบบภูมิคมุ้ กันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้
จะต้องอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการ
ดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความ
ซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู ้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้
สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรมจาก
โลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี

ขั้นสรุปและการประยุกต์
6.ครู ถามคาถามหรื อกาหนดปั ญหาโดยให้ผูเ้ รี ยนระดมสมองช่วยกันคิดหาคาตอบแล้วอธิ บายคาตอบให้เพื่อนทุกคนใน
กลุ่มของตนเองเข้าใจ
7.ครู ใช้วิธีสุ่มนักเรี ยนทุกกลุ่มตอบคาถามและอธิบายให้เพื่อนฟังทั้งชั้นเรี ยน

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ทากิจกรรมฝึ กทักษะ และแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 9 หน่ วยที่ 5
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 33-36
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การเขียนภาพฉาย จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
ภาพฉายเป็ นภาพที่มีจุดมุ่งหมายในการแสดงภาพชิ้นงานแบบ 2 มิติ ซึ่ งเป็ นภาพที่ใช้สาหรับการเขียนแบบสั่งงานการผลิต
ในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากเป็ นภาพที่สามารถเขียนได้ต้ งั แต่ภาพด้านเดียวจนถึงภาพ 6 ด้าน ขึ้นอยู่กบั ความซับซ้อนของ
ชิ้นงานนั้นๆ รวมทั้งยังเป็ นภาพที่สามารถกาหนดขนาดของมิติและรายละเอียดของแบบงานได้ครบถ้วนที่สุด

จุดประสงค์ การเรียนรู้
3.เขียนภาพฉายมุมที่ 3 ได้
4.บอกหลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 3 ได้
5.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพสเกตช์
ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น
ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่วน

เนื้อหาสาระ
3.การเขียนภาพฉายมุมที่ 3
4.หลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 3
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู กล่าวถึงการเขียนภาพฉายมุมที่ 3 เป็ นการเขียนภาพฉายที่จดั อยูใ่ นระบบ ISO เช่นเดียวกันกับ
ภาพฉายมุมที่ 1 แต่เป็ นมาตรฐาน ISO ระบบ A (ISO Method A) หรื อที่เราเรี ยกว่า “ภาพฉายระบบอเมริ กนั ”
สาหรับวิธีการเขียนภาพฉายมุมที่ 3 ชิ้นงานจะถูกวางไว้ในจตุภาคที่ 3 ภาพฉายที่เกิดขึ้นจะตรงข้ามกับการมอง
ภาพมุมที่ 1 เนื่องจากภาพที่เห็นจะถูกวางที่ฉากรับภาพด้านเดียวกันกับตาแหน่งที่มอง
2.ผูเ้ รี ยนยกตัวอย่างการเขียนภาพประกอบ

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนอธิบายและแสดงสาธิตการเขียนภาพฉายมุมที่ 3 และหลักการเขียนภาพฉายมุมที่ 3 พร้อมให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิ
ตามไปพร้อมกัน
4.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 จากภาพสามมิติ A-E ที่กาหนดให้ จงหาภาพด้านหน้า ด้านข้างและภาพด้านบน และเขียนหมายเลขลงใน
ตารางด้านล่าง
กิจกรรมที่ 2 จากภาพสามมิติ A-F ที่กาหนดให้ จงหาภาพด้านหน้า ด้านข้างและภาพด้านบน และเขียนหมายเลขลงใน
ตารางด้านล่าง

กิจกรรมที่ 3 จากภาพสามมิติ A-F ที่กาหนดให้ จงหาภาพด้านหน้า ด้านข้างและภาพด้านบน และเขียนหมายเลขลงใน


ตารางด้านล่าง
กิจกรรมที่ 3 จากภาพสามมิติ A-F ที่กาหนดให้ จงหาภาพด้านหน้า ด้านข้างและภาพด้านบน และ
เขียนหมายเลขลงในตารางด้านล่าง

กิจกรรมที่ 4 จากภาพสามมิติและภาพฉาย 2 ด้านที่กาหนดให้ จงเขียนแบบภาพฉายด้านที่เหลือให้ถูกต้อง


กิจกรรมที่ 5 จากภาพสามมิติและภาพฉาย 2 ด้านที่กาหนดให้ จงเขียนแบบภาพฉายด้านที่เหลือให้ถูกต้อง

กิจกรรมที่ 6 จากภาพสามมิติและภาพฉาย 2 ด้านที่กาหนดให้ จงเขียนแบบภาพฉายด้านที่เหลือให้ถูกต้อง

ขั้นสรุปและการประยุกต์
5.ผูเ้ รี ยนสรุ ปการเขียนภาพและหลักเกณฑ์การเขียนภาพฉายมุมที่ 3 เพื่อให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ได้

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมฝึ กทักษะและแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 10-11 หน่ วยที่ 6
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 37-44
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การเขียนภาพสามมิติ จานวนชั่วโมง 8 ช.ม.

สาระสาคัญ
ภาพสามมิติเป็ นภาพที่แสดงสัดส่วนของชิ้นงาน ในลักษณะที่คล้ายกับรู ปทรงจริ งของชิ้นงาน ซึ่งสามารถแสดงมิติได้ท้งั 3 มิติ
ในภาพเพียงภาพเดียว ทาให้ผูอ้ ่านแบบเข้าใจแบบได้ง่าย แต่ไม่สามารถนาไปใช้เป็ นแบบทางานได้ เนื่ องจากไม่สามารถกาหนด
รายละเอียดต่างๆ ลงในภาพสามมิติได้ครบถ้วน โดยส่วนมากจะใช้ร่วมกับภาพฉาย เพื่อให้อ่านแบบงานได้ง่ายขึ้น

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.บอกชนิดของภาพสามมิติได้
2.เขียนภาพไอโซเมตริ กได้
3.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพสเกตช์ภาพ
ช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น
ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่ วน
เนื้อหาสาระ
1.ชนิดของภาพสามมิติ (Pictorial View Type)
2.การเขียนภาพไอโซเมตริ ก

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู กล่าวถึงภาพสามมิติ เป็ นภาพใช้ในการแสดงลักษณะรู ปร่ างของชิ้นงานครบทั้ง 3 มิติ มักจะนิยมใช้
ประกอบการดูภาพควบคู่กบั ภาพฉาย ซึ่งจะทาให้ง่ายต่อการมองภาพชิ้นงานนั้นๆ มากยิ่งขึ้น ส่วนชนิดและ
วิธีการเขียนภาพสามมิติในงานเขียนแบบมีอยูด่ ว้ ยกันหลายชนิด
2.ผูเ้ รี ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพสามมิติจากรู ปภาพที่ครู นามาให้ศึกษา

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนอธิบายชนิดของภาพสามมิติ (Pictorial View Type) และแสดงการสาธิตการเขียนภาพไอโซ
เมตริ ก โดยให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิตาม
4.ครู อธิบายชนิดของภาพสามมิติ ดังนี้
4.1 ภาพไอโซเมตริ ก (Isometric) เป็ นภาพสามมิติที่นิยมใช้ในการเขียนแบบเครื่ องกลมากที่สุด สามารถเขียนได้ง่าย
เพราะมีมุมเอียงของแกน 30 ทั้ง 2 ด้าน ขนาดความยาวทุกด้านเท่ากับขนาดความยาวจริ ง แต่มีขอ้ เสี ยคือ งานมีขนาดใหญ่กินเนื้อ
ที่มาก
4.2 ภาพออบลิก (Oblique) เป็ นภาพสามมิติที่นิยมเขียนเช่นเดียวกัน เพราะสามารถเขียนได้ง่ายและรวดเร็ ว เนื่องจาก
ภาพด้านหนึ่งจะวางอยูบ่ นแนวระดับ ส่วนอีกด้านหนึ่งเอียงมุม 45 ไปทางด้านซ้ายหรื อด้านขวาก็ได้ ภาพออบลิกสามารถเขียน
ได้ 2 แบบ ดังนี้
(1) คาวาเลียร์ (Cavalier) เป็ นภาพที่มีความลึกของแบบงานเท่ากับขนาดจริ งของชิ้นงาน ซึ่งไม่นิยมใช้ เพราะ
ขนาดและรู ปทรงผิดจากความเป็ นจริ งมากและใช้เนื้อที่ในการเขียนมากขึ้นด้วย
(2.) คาบิเนต (Cabinet) เป็ นภาพมีความลึกของแบบงานเพียงครึ่ งหนึ่งของขนาดจริ ง ซึ่งนิยมใช้มากกว่าแบบ
คาวาเลียร์ เพราะให้ภาพที่เหมือนจริ งมากกว่าและใช้พ้นื ที่ในการเขียนแบบน้อยกว่า
4.3 ภาพไตรเมตริ ก (Trimetric) เป็ นภาพสามมิติที่มีอตั ราส่วนความกว้างและความยาวต่อขนาดความจริ งของชิ้นงานไม่
เท่ากัน ส่วนความสู งมีขนาดเท่ากับความสู งจริ ง เป็ นภาพสามมิติที่ถือว่ามีความสวยงามและมีลกั ษณะคล้ายความเป็ นจริ งที่สุด แต่
เขียนยากเพราะมีมุมเอียงของแกน 12 และ 23 และมีอตั ราส่วนความยาวในแต่ละด้านไม่เท่ากันอีกด้วย
4.4 ภาพไดเมตริ ก (Diametric) เป็ นภาพสามมิติที่มีลกั ษณะคล้ายกับภาพถ่าย มีความสวยงามและคล้ายกับความเป็ นจริ ง
มากที่สุด ทาให้ง่ายต่อการอ่านแบบ แต่เขียนแบบยากเนื่องจากมุมของแนวแกนเอียงเท่ากับ 7 และ 42 ซึ่งจะใช้เวลาในการ
เขียนมาก ส่วนความลึกของภาพจะเขียนเพียงครึ่ งหนึ่งของความลึกจริ งของชิ้นงานเท่านั้น
5.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมดังนี้
กิจกรรมที่ 1 จงเขียนแบบภาพไอโซเมตริ ก พร้อมกาหนดขนาดให้สมบูรณ์ดว้ ยมาตราส่วน 1 : 1 (กาหนดให้ 1 ช่องตา
ข่ายเท่ากับ 10 มม.)
กิจกรรมที่ 2 ให้ผเู ้ รี ยนสร้างวงรี ในภาพไอโซเมตริ ก ตามขั้นตอน ดังนี้
1.สร้างรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนมุม 30 ให้ขนาดแต่ละด้านมีขนาดเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลาง ของวงกลม กาหนดให้จุดที่
1, 2, 3 และ 4 เป็ นจุดแบ่งครึ่ งด้านจุด O และจุด P เป็ นมุมป้านของรู ปสี่ เหลี่ยม
2.จากมุมป้าน O และ P ลากเส้นไปแบ่งครึ่ งด้านตรงข้ามคือจุดที่ 2, 3 และ 1, 4 จะได้จุดตัด Q และ R
3.ใช้จุด Q และ R เป็ นจุดศูนย์กลางเขียนส่วนโค้งเล็ก
4.ใช้จุด O และ P เป็ นจุดศูนย์กลางเขียนส่วนโค้งใหญ่

6.ครู เพิม่ เติมเนื้อหาให้ผเู ้ รี ยนทาความเข้าใจตัวแบบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ประกอบด้วย 3 ห่วง คือ ความ


พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคมุ้ กันในตัวที่ดี 2เงื่อนไข คือ ความรู ้ (รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง) คุณธรรม (ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยัน
อดทน สติปัญญา แบ่งปัน) 4 มิติ คือ มิติดา้ น เศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม อันนาไปสู่ ความสมดุล พร้อมรับต่อการ
เปลี่ยนแปลง

ขั้นสรุปและการประยุกต์
7.ผูเ้ รี ยนสรุ ปขั้นตอนการเขียนภาพไอโซเมตริ ก (Step in Marking an Isometric Drawing) การเขียนภาพไอโซเมตริ กจะ
เขียนเป็ นลาดับขั้น โดยเริ่ มจากการร่ างแกนไอโซเมตริ กและรู ปกล่องขึ้นมาก่อน จากนั้นจึงร่ างแบบจากขนาดความกว้าง ความ
ยาวและความสู งทั้งหมดของชิ้นงานในส่วนที่เห็นชัดเจนและ ส่วนที่เขียนง่ายก่อน แล้วจึงเขียนส่วนอื่นๆ จนครบตามรายละเอียด
ที่กาหนดจากภาพฉาย
สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมฝึ กทักษะ
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 12 หน่ วยที่ 6
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 45-48
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การเขียนภาพสามมิติ จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.
สาระสาคัญ
ภาพสามมิติเป็ นภาพที่แสดงสัดส่วนของชิ้นงาน ในลักษณะที่คล้ายกับรู ปทรงจริ งของชิ้นงาน ซึ่งสามารถแสดงมิติได้ท้งั 3 มิติ
ในภาพเพียงภาพเดียว ทาให้ผอู ้ ่านแบบเข้าใจแบบได้ง่าย แต่ไม่สามารถนาไปใช้เป็ นแบบทางานได้ เนื่องจากไม่สามารถกาหนด
รายละเอียดต่างๆ ลงในภาพสามมิติได้ครบถ้วน โดยส่ วนมากจะใช้ร่วมกับภาพฉาย เพื่อให้อ่านแบบงานได้ง่ายขึ้น

จุดประสงค์ การเรียนรู้
3.เขียนภาพออบลิกได้
4.กาหนดขนาดภาพสามมิติได้
5.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรมค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพสเกตช์ภาพ
ช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น
ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่วน
เนื้อหาสาระ
3.การเขียนภาพออบลิก
4.การกาหนดขนาดภาพสามมิติ (Pictorial Dimensioning)
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู ผสู ้ อนกล่าวถึงภาพออบลิก เป็ นภาพที่เขียนในลักษณะที่ดา้ นขวามือ หรื อด้านซ้ายทามุมเอียงด้านเดียวเท่ากับ 45
องศา และเป็ นด้านที่แสดงความลึกและความสู งของชิ้นงาน ส่วนภาพด้านซ้ายหรื อทางด้านขวามือ จะทามุม 90 องศา เป็ นภาพที่
แสดงความกว้างและความสู ง ของงานส่วนด้านบนของภาพจะแสดงความกว้าง และ ความลึก ของงาน สาหรับความลึกของ
ชิ้นงาน จะลดลงครึ่ งหนึ่งจากขนาดที่เป็ นความยาวจริ ง
2.ผูเ้ รี ยนพิจารณารู ปภาพออบลิกที่ครู นามาประกอบการเรี ยน

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนอธิบายและสาธิตการเขียนภาพออบลิก การกาหนดขนาดภาพสามมิติ (Pictorial Dimensioning) โดยให้
ผูเ้ รี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม

4.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมดังนี้


กิจกรรมที่ 1 จงเขียนแบบภาพออบลิกแบบคาวาเลียร์ พร้อมกาหนดขนาดให้สมบูรณ์ดว้ ยมาตราส่วน 1 : 1 (กาหนดให้
1 ช่องตาข่ายเท่ากับ 10 มม.)

กิจกรรมที่ 2 จงเขียนแบบภาพออบลิกแบบคาบิเนต พร้อมกาหนดขนาดให้สมบูรณ์ดว้ ยมาตราส่วน 1 : 1 (กาหนดให้ 1


ช่องตาข่ายเท่ากับ 10 มม.)
กิจกรรมที่ 3 จากแบบงานภาพฉาย 3 ด้าน จงเขียนแบบภาพไอโซเมตริ กและภาพออบลิกแบบคาบิเนตในกระดาษเขียน
แบบ ด้วยมาตราส่วน 1 : 1

ขั้นสรุปและการประยุกต์
5..ครู ใช้คาถามหรื อกาหนดปัญหาโดยให้ผเู ้ รี ยนระดมสมองช่วยกันคิดหาคาตอบแล้วอธิบายคาตอบให้เพื่อนทุกคนใน
กลุ่มของตนเองเข้าใจ
6.ครู ใช้วิธีสุ่มผูเ้ รี ยนทุกกลุ่มตอบคาถามและอธิบายให้เพื่อนฟังทั้งชั้นเรี ยน

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ทาใบงานและแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 13 หน่ วยที่ 7
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 49-52
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การเขียนภาพตัด จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.
สาระสาคัญ
ในงานเขียนแบบชิ้นงานที่มีความซับซ้อนมาก ซึ่ งยากต่อการอ่านแบบและเขียนแบบ ดังนั้นเพื่อให้ง่ายต่อการ
อ่านแบบเขียนแบบและสามารถแสดงรายละเอียดของแบบงานได้สมบูรณ์มากขึ้น จึงนิยมนาวิธีการผ่าชิ้นงาน เพื่อแสดงรู ปร่ างทั้งภายใน
และภายนอกของชิ้นงาน ซึ่งการผ่าดังกล่าวไม่ใช่เป็ นการผ่าชิ้นงานจริ งๆ เป็ นเพียงการจินตนาการในการมองภาพเท่านั้น ส่วนภาพ
ที่ได้จากการผ่าอาจจะเขียนไว้ที่ภาพด้านใดด้านหนึ่งของภาพฉาย นอกภาพฉาย และภาพสามมิติก็ได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.บอกความหมายและคาจากัดความของการเขียนภาพตัดได้
2.บอกหลักเกณฑ์และเขียนภาพตัดได้
3.อธิบายและเขียนเส้นลายตัดได้
4.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรมค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ

ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน
เขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและมาตราส่วน

เนื้อหาสาระ
1.ความหมายและคาจากัดความของการเขียนภาพตัด
2.หลักเกณฑ์การเขียนภาพตัด
3.การเขียนเส้นลายตัด (Section Line)
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู กล่าวภาพตัด (Section View) เป็ นการใช้มโนภาพหรื อการจินตนาการตัดเพื่อผ่าชิ้นงานออกเป็ นสองส่วน โดยนา
ส่วนใดส่วนหนึ่งของชิ้นงานออกไป และนาอีกส่วนที่เหลือมาแสดงรายละเอียดภายในชิ้นงานที่มีความยุง่ ยากซับซ้อน ให้ง่ายต่อ
การเขียนแบบและอ่านแบบ
2.ผูเ้ รี ยนพิจารณารู ปภาพและสรุ ปได้ว่าภาพตัดเป็ นการจินตนาการเพื่อมองภาพภายในของชิ้นงาน (ส่วนที่ถูกบัง) ซึ่ง
โดยปกติการแสดงจะแสดงด้วยเส้นประ แต่ถา้ เขียนเป็ นภาพตัดรายละเอียดภายในของชิ้นงาน ก็จะสามารถแสดงด้วยเส้นเต็มหรื อ
เส้นขอบรู ปได้ ส่วนเนื้อของชิ้นงานที่ถูกตัดก็จะแสดงด้วยเส้นลายตัด

ขั้นสอน
3.ครู อธิบายแความหมายและคาจากัดความของการเขียนภาพตัด และสาธิตการเขียนภาพตัดตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด
และสาธิตการเขียนเส้นลายตัด (Section Line) พร้อมทั้งให้ผเู ้ รี ยนแสดงการหาไปพร้อม ๆ กัน โดยเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนร่ วมแสดง
ความคิดเห็น

4.ผูเ้ รี ยนปฏัติกิจกรรมดังนี้
กิจกรรมที่ 1 จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษเขียนแบบ A3 โดยเปลี่ยนภาพ
ด้านหน้าให้เป็ นภาพตัดเต็มตามแนวตัด A-A ด้วยมาตราส่วน 1 : 1 และกาหนดขนาดให้ถูกต้อง
กิจกรรมที่ 2 จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปลี่ยนภาพด้านหน้าให้เป็ น
ภาพตัดครึ่ งตามแนวตัด B-B ด้วยมาตราส่วน 1 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

5.ครู เน้นให้ผเู ้ รี ยนสร้างภูมิคมุ้ กันที่ดีในตัวเอง โดยปฏิบตั ิตนตามกติกา ข้อตกลง การเขียนภาพตัดทุกครั้ง โดยอาศัย


เงื่อนไขความรู ้รู้จกั ระมัดระวังในการเขียนภาพตัด เลือกเขียนวิธีทางที่ถูกต้อง รู ้จกั ฝึ กทักษะในการปกฏิบตั ิดว้ ยตนเองได้
เหมาะสม พร้อมทั้งอาศัยเงื่อนไขคุณธรรม มีสติปัญญาในการเขียน รู ้จกั ใช้ปัญญา ในการเขียนภาพและเอื้อเฟื้ อแบ่งปันกันทางาน
อย่างถูกวิธี
ขั้นสรุปและการประยุกต์
6.ครู ใช้คาถามหรื อกาหนดปัญหาโดยให้ผูเ้ รี ยนระดมสมองช่วยกันคิดหาคาตอบแล้วอธิบายคาตอบให้เพื่อนทุกคนใน
กลุ่มของตนเองเข้าใจ
7.ครู ใช้วิธีสุ่มผูเ้ รี ยนทุกกลุ่มตอบคาถามและอธิบายให้เพื่อนฟังทั้งชั้นเรี ยน

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ผเู ้ รี ยนฝึ กทักษะในการคานวณเพิม่ เติม โดยครู ผสู ้ อนมอบหมายงานพิเศษ
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 14 หน่ วยที่ 7
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 53-56
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การเขียนภาพตัด จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
ในงานเขียนแบบชิ้นงานที่มีความซับซ้อนมาก ซึ่ งยากต่อการอ่านแบบและเขียนแบบ ดังนั้นเพื่อให้ง่ายต่อการอ่านแบบ
เขียนแบบและสามารถแสดงรายละเอียดของแบบงานได้สมบูรณ์มากขึ้น จึงนิ ยมนาวิธีการผ่าชิ้นงาน เพื่อแสดงรู ปร่ างทั้งภายในและ
ภายนอกของชิ้นงาน ซึ่งการผ่าดังกล่าวไม่ใช่เป็ นการผ่าชิ้นงานจริ งๆ เป็ นเพียงการจินตนาการในการมองภาพเท่านั้น ส่ วนภาพที่ได้
จากการผ่าอาจจะเขียนไว้ที่ภาพด้านใดด้านหนึ่งของภาพฉาย นอกภาพฉาย และภาพสามมิติก็ได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้
4.บอกประเภทของชิ้นส่วนที่ยกเว้นในการเขียนภาพตัดได้
5.บอกหลักการหมุนส่วนประกอบชิ้นงานให้อยูใ่ นระนาบตัดได้
6.เขียนภาพตัดชนิดต่างๆ ได้
7.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ

ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตาม
มาตรฐานเขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนด
ขนาดของมิติและมาตราส่วน

เนื้อหาสาระ
4.ชิ้นส่วนที่ยกเว้นในการเขียนภาพตัด
5.การหมุนส่วนประกอบชิ้นงานที่ไม่อยูใ่ นระนาบตัด
6.การเขียนภาพตัด (Section View)

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นอย่างชัดเจน และแสดงออกอย่างสนุกสนานจนสามารถเข้าใจ และเพื่อให้
ผูเ้ รี ยนสามารถเขียนภาพตัดในลักษณะต่างๆ ได้
2.ครู ช้ ีแจงให้ผเู ้ รี ยนทราบว่าในการเขียนภาพตัดนั้น จะใช้เครื่ องมือหลายลักษณะในการเขียน ดังนั้นการเขียนจึงอยูบ่ น
พื้นฐานของขั้นตอนที่ถูกต้อง ในการออกแบบการเขียนเพื่อที่จะให้งานเขียนนั้น ๆ ออกมาดี
3.ผูเ้ รี ยนพิจารณารู ปภาพการตัดชิ้นงานบางครั้ง ถึงแม้ว่าแนวตัดจะตัดผ่านชิ้นส่วน เช่น เพลา แขนหรื อก้าน ซี่หรื อกงล้อ
สลัก หมุดย้า ครี บ ลิ่ม ลูกปื น และชิ้นส่วนมาตรฐาน ชิ้นส่วนต่างๆ เหล่านี้จะถือว่าไม่ถูกตัด เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในการ
เขียนแบบและอ่านแบบ

ขั้นสอน
4.ครู อธิบายชิ้นส่วนที่ยกเว้นในการเขียนภาพตัด สาธิตการหมุนส่วนประกอบชิ้นงานที่ไม่อยูใ่ นระนาบตัด และสาธิต
การเขียนภาพตัด (Section View) โดยให้ผเู ้ รี ยนฝึ กปฏิบตั ิตาม
5.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมดังนี้
กิจกรรมที่ 1 จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปลี่ยนภาพด้านหน้าให้เป็ นภาพ
ตัดครึ่ งตามแนวตัด C-C ด้วยมาตราส่วน 1 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

กิจกรรมที่ 2 จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปลี่ยนภาพด้านหน้าให้เป็ นภาพตัด


หลายระนาบตามแนวตัด A-F ด้วยมาตราส่ วน 2 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง
กิจกรรมที่ 3 จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปลี่ยนภาพด้านหน้าให้เป็ นภาพตัด
หลายระนาบตามแนวตัด A-F ด้วยมาตราส่ วน 2 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

กิจกรรมที่ 4 จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปลี่ยนภาพด้านหน้าให้เป็ น


ภาพตัดหมุนโค้งตามแนวตัด A-A ด้วยมาตราส่ วน 1 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง
กิจกรรมที่ 5 จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปลี่ยนภาพด้านหน้าให้เป็ น
ภาพตัดหมุนข้างแบบเขียนทับในภาพฉายตามแนวตัด A-A ด้วยมาตราส่วน 1 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

กิจกรรมที่ 6 จงเขียนภาพฉายด้านเดียว (ภาพด้านหน้า) ลงในกระดาษ A3 และเขียนภาพตัดเคลื่อนที่ตามแนว


ตัด A-A, B-B และ C-C ด้วยมาตราส่วน 1 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง
กิจกรรมที่ 7 จงเขียนภาพฉายด้านเดียวเป็ นตัดเฉพาะส่วนตามขอบเขตการตัดที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A4 ด้วย
มาตราส่วน 1 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

กิจกรรมที่ 7 จงเขียนภาพฉายด้านเดียวเป็ นตัดเฉพาะส่วนตามขอบเขตการตัดที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A4 ด้วย


มาตราส่วน 1 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

กิจกรรมที่ 8 จงเขียนภาพตัดย่อส่วนตามขอบเขตการตัดที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A4 ด้วยมาตราส่วน 1 : 1 พร้อม


กาหนดขนาดให้ถูกต้อง
กิจกรรมที่ 9 จงเขียนภาพตัดเกลียวตามแบบงานที่กาหนดให้ ด้วยมาตราส่วน 1 : 1 พร้อมกาหนดขนาดให้
ถูกต้อง

กิจกรรมที่ 10 จากภาพสามมิติและภาพตัดที่กาหนดให้ จงเลือกภาพตัดให้ตรงกับภาพสามมิติและเขียนหมายเลขลงใน


ตารางด้านล่าง
กิจกรรมที่ 11 จากภาพด้านหน้าและภาพด้านบนที่กาหนดให้ จงเขียนภาพด้านข้างให้เป็ นภาพตัดพร้อมเขียน
ชื่อภาพตัดตามแนวตัดที่กาหนดให้
กิจกรรมที่ 12 จากภาพด้านข้างและภาพด้านบนที่กาหนดให้ จงเขียนภาพด้านหน้าให้เป็ นภาพตัดพร้อมเขียน
ชื่อภาพตัดตามแนวตัดที่กาหนดให้

6.ครู เพิ่มเติมความรู ้เรื่ องความพอประมาณ พอใจในสิ่ งที่ตนมีอยู่ ความมีเหตุผลรู ้จกั คิดพิจารณา เลือกของอุปกรณ์การ
ทางานให้เหมาะสมกับการทางานและตนเอง ความมีภูมิค้มุ กันทีด่ ีในตัวเองปฏิบตั ิตนตามหลักเกณฑ์การเขียนแบบในลักษณะต่าง
ๆ ตามข้อตกลง การเขียนแบบทุกครั้ง เงื่อนไขความรู้สามารถเลือกอุปกรณ์ในการใช้ปฏิบตั ิงานของใช้ให้เหมาะสมกับตนเอง
เงื่อนไขคุณธรรมการรู ้จกั การออกแบบและเขียนแบบร่ วมกับคนอืน่ ได้อย่างมีความสุ ข สนุกสนานเพลิดเพลิน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
7.ผูเ้ รี ยนแต่ละคนเปลี่ยนกันอธิบายเรื่ องที่คน้ คว้า และได้ขอ้ สรุ ปมาให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มฟัง
8.ครู สังเกตพฤติกรรมกลุ่ม และร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาอีกครั้งจากแผ่นใส

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ผูเ้ รี ยนฝึ กทักษะเพิ่มเติม โดยครู ผสู ้ อนกาหนดงานพิเศษให้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 15 หน่ วยที่ 8
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 57-60
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การสเกตซ์ภาพ จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
การสเกตช์ภาพ (Sketching View) เป็ นการเขียนแบบวิธีหนึ่ง ซึ่งเป็ นการเขียนโดยไม่ใช้เครื่ องมือเขียนแบบช่วยในการเขียน ใช้
เพียงมือเปล่าและอุปกรณ์ที่จาเป็ นคือดินสอ ยางลบและกระดาษเท่านั้น โดยสามารถสเกตช์วตั ถุและรู ปทรงต่างๆ ได้แก่ การลากเส้น
ตรง การสเกตช์วงกลม การสเกตช์วงรี การสเกตช์ส่วนโค้ง การสเกตช์ภาพไอโซเมตริ กและการสเกตช์ภาพฉาย

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.สเกตช์เส้นตรงได้
2.สเกตช์วงกลมได้
3.สเกตช์วงรี ได้
4.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตามหลักการด้วยความ
ละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์ ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน
เขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและ
มาตราส่วน

เนื้อหาสาระ
1.การสเกตช์เส้นตรง (Line Sketching)
2.การสเกตช์วงกลม (Circle Sketching)
3.การสเกตช์วงรี (Ellipse Sketching)
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู กล่าวถึงการสเกตช์ภาพเป็ นกระบวนการหนึ่งในการเขียนแบบ ที่ใช้เครื่ องมือเพียงดินสอ ยางลบ
และกระดาษเท่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในการร่ างแนวคิดในการออกแบบของผูอ้ อกแบบหรื อวิศวกร เพื่อนาไปสู่ การ
ออกแบบและการเขียนแบบอย่างเป็ นระบบภายหลัง
2.ผูเ้ รี ยนยกตัวอย่างวิธีการสเกตช์รูปเรขาคณิ ตรู ปทรงต่างๆ

ขั้นสอน
3.ครู ผสู ้ อนอธิบายและสาธิตการสเกตช์เส้นตรง (Line Sketching) และให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิตาม โดยการสเกตช์เส้นตรงให้
จับดินสอห่างจากปลายดินสอมากกว่าปกติประมาณ 2-3 เท่า ปลายดินสอจดกับจุดเริ่ มต้นและทามุมประมาณ 90 กับแนวเส้นที่ลาก
โดยใช้สายตาเล็งแนวที่จะลากเส้นจากจุดเริ่ มต้นไปยังจุดปลายของเส้น และลากเส้นด้วยความเร็ วด้วยแขนโดยใช้ศอกและไหล่ช่วยใน
การควบคุมเคลื่อนที่ในการลากเส้น

4..ครู ผสู ้ อนอธิบายและสาธิตการสเกตช์วงกลม (Circle Sketching) และให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิตาม


ซึ่งการสเกตช์รูปวงกลมสามารถสเกตช์ได้หลายวิธี ตัวอย่างเช่น การสเกตช์วงกลมจากสี่ เหลี่ยมจัตุรัส เป็ นการสเกตช์วงกลมโดย
เขียนรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส ให้มีขนาดเท่ากับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางวงกลม ลากเส้นทแยงมุมและกาหนดจุดที่วงกลมจะต้องลากผ่าน
เขียนส่วนโค้งผ่านจุดที่กาหนดด้วยเส้นร่ าง จากนั้นจึงลากด้วยเส้นเต็มหนา

5.ครู ผสู ้ อนอธิบายและสาธิตการสเกตช์วงรี (Ellipse Sketching) โดยให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิตาม ซึ่งการสเกตช์วงรี สามารถทา
ได้ 2 วิธี ดังนี้
5.1 การสเกตช์วงรี จากสี่ เหลี่ยมผืนผ้า เป็ นการสเกตช์วงรี โดยสเกตช์รูปสี่ เหลี่ยมผืนผ้าให้มีขนาดเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลาง
หลัก (Major Diameter) และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรอง (Minor Diameter) ของวงรี ลากเส้นแบ่งครึ่ งทั้งด้านยาวและด้านกว้างของ
สี่ เหลี่ยม เขียนส่วนโค้งที่จุดตัดของเส้นแบ่งครึ่ งทั้ง 4 ด้าน เขียนรู ปวงรี ดว้ ยเส้นร่ าง เมื่อได้รูปวงรี ที่ถูกต้องจึงเขียนเส้นเต็มหนา

5.2 การสเกตช์วงรี โดยการวัดระยะ เป็ นการสเกตช์วงรี โดยการใช้เศษกระดาษกาหนดระยะรัศมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางหลัก


และเส้นผ่าศูนย์กลางรอง เช่น กาหนดระยะ ac เป็ นรัศมีเส้นผ่าศูนย์กลางหลักและ ab เป็ นรัศมีเส้นผ่าศูนย์กลางรองของวงรี หมุนเศษ
กระดาษโดยใช้จุด b และ c เป็ นจุดศูนย์กลาง และร่ างจุดตามการเคลื่อนที่ของจุด a และเขียนเส้นเต็มหนาตามแนวร่ าง
6.ผูเ้ รี ยฯสเกตช์เส้นตรง วงกลม ส่วนโค้ง วงรี ตามแบบงานที่กาหนดให้

7.ครู สอนเสริ มเพิ่มเติมความรู ้เกี่ยวกับความพอประมาณ รู ้จกั ที่แสดงความรักต่อประเทศชาติของตน ความมีเหตุผล


สามารถบอกกับคนอื่นได้ว่าตนเองนั้นมีความรักประเทศชาติของตนเองได้ การภูมิค้มุ กันที่ดีในตัวเองปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่าง
และแสดงพลังในการรักชาติของตนเอง ;เงื่อนไขความรู ้ การแสดงความเป็ นไทย เช่น ธงชาติไทย ภาษาพูด ศาสนา ตัวหนังสื อ
และการแต่งกายซึ่งแสดงให้เห็นความเป็ นคนไทย และเงื่อนไข: คุณธรรมปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียมประเพณี ได้อย่างดีและ
เหมาะสม

ขั้นสรุปและการประยุกต์
8.ครู สรุ ปบทเรี ยน โดยใช้แผ่นใสประกอบ และอภิปรายซักถามข้อสงสัย
9.สรุ ปโดยทากิจกรรมต่อเนื่อง ตอบคาถามจากบทความในกิจกรรมส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ และทา
ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ซึ่งครู ผสู ้ อนพิจารณาตามความเหมาะสม
สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ผเู ้ รี ยนฝึ กทักษะจากกิจกรรม
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 16 หน่ วยที่ 8
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 61-64
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง การสเกตซ์ภาพ จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
การสเกตช์ภาพ (Sketching View) เป็ นการเขียนแบบวิธีหนึ่ง ซึ่งเป็ นการเขียนโดยไม่ใช้เครื่ องมือเขียนแบบช่วยในการเขียน ใช้
เพียงมือเปล่าและอุปกรณ์ที่จาเป็ นคือดินสอ ยางลบและกระดาษเท่านั้น โดยสามารถสเกตช์วตั ถุและรู ปทรงต่างๆ ได้แก่ การลากเส้น
ตรง การสเกตช์วงกลม การสเกตช์วงรี การสเกตช์ส่วนโค้ง การสเกตช์ภาพไอโซเมตริ กและการสเกตช์ภาพฉาย

จุดประสงค์ การเรียนรู้
4.สเกตช์ส่วนโค้งได้
5.สเกตช์ภาพไอโซเมตริ กได้
6.สเกตช์ภาพฉายได้
7.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้
ในการปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตาม
หลักการด้วยความละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ

ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน
เขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและ
มาตราส่วน
เนื้อหาสาระ
4.การสเกตช์ส่วนโค้ง (Arc Sketching)
5.การสเกตช์ภาพไอโซเมตริ ก (Isometric Sketching)
6.การสเกตช์ภาพฉาย (Orthographic Sketching)
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู ทบทวนและกล่าวว่าการสเกตช์ภาพ เป็ นการเขียนแบบโดยใช้เพียงมือเปล่าและอุปกรณ์ที่จาเป็ นคือดินสอ ยางลบ
และกระดาษเท่านั้น โดยสามารถสเกตช์วตั ถุและรู ปทรงต่างๆ ได้แก่ การลากเส้นตรง การสเกตช์วงกลม การสเกตช์วงรี การ
สเกตช์ส่วนโค้ง การสเกตช์ภาพไอโซเมตริ กและการสเกตช์ภาพฉาย
2.ผูเ้ รี ยนทดลองสเกตช์ภาพรู ปแบบต่าง ๆ หน้าชั้นเรี ยน เพื่อฝึ กทักษะความชานาญที่ศึกษาผ่านมา

ขั้นสอน
3.ครู อธิบายและสาธิตการสเกตช์ส่วนโค้ง (Arc Sketching) โดยให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิตาม โดยให้ลากเส้นตรง 2 เส้นตัดกัน
เป็ นมุมฉากและกาหนดระยะรัศมีส่วนโค้ง ลากเส้นแบ่งครึ่ งมุมฉากและกาหนดจุดที่ส่วนโค้งจะลากผ่าน เขียนส่ วนโค้งด้วยเส้นร่ าง
แบบ เมื่อได้ส่วนโค้งที่ถูกต้องจึงลงเส้นเต็มหนา

5.ครู อธิบายและสาธิตการสเกตช์ภาพไอโซเมตริ ก (Isometric Sketching) โดยให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิตาม


ตัวอย่าง เช่น กาหนดจุด O เป็ นจุดเริ่ มต้น ลากเส้นแนวดิ่ง OA และลากเส้นแกนไอโซเมตริ ก OB และ OC ทามุมกับแนวระดับ
30 ถ่ายระยะความสู งของแบบงานมาที่เส้น OA ความกว้างมาที่เส้น OB และความลึกมาที่เส้น OC ลากเส้นไอโซเมตริ กขนาน
กับแกนไอโซเมตริ ก

6.ครู อธิบายและสาธิตการสเกตช์ภาพฉาย (Orthographic Sketching)


การสเกตช์ภาพฉายมีหลักการและขั้นตอนเช่นเดียวกับการเขียนแบบภาพฉาย โดยเริ่ มต้นร่ างภาพจากภาพด้านหน้า ด้านข้างและ
ภาพด้านบนแบบคร่ าวๆ จากนั้นร่ างรายละเอียดต่างๆ ของภาพให้ครบถ้วนโดยใช้เส้นฉายภาพ ขั้นตอนสุ ดท้ายให้ลบเส้นร่ างภาพ
ออก จึงลงเส้นหนักทับเส้นร่ าง และกาหนดขนาดในภาพสเกตช์
6..ครู ใช้วิธีการสอนโดยการจัดกลุ่มอภิปรายแบบถาม-ตอบหรื อปุจฉาวิสัชนา (Questioning–Answering)
ประกอบด้วยสมาชิกประมาณ 6-8 คน เป็ นผูด้ าเนินการอภิปราย 1 คน มีผเู ้ ชี่ยวชาญที่รับเชิญมาครึ่ งหนึ่ง อีก
ครึ่ งหนึ่งเป็ นตัวแทนจากกลุ่มผูฟ้ ัง ผูด้ าเนินการอภิปรายให้ ผูแ้ ทนผูฟ้ ังเสนอข้อคาถามให้วิทยากรตอบ และเป็ น
ตัวกลางช่วยเชื่อมโยงและสรุ ปความคิดเห็น จุดประสงค์ของกลุ่มแบบนี้กค็ ือการช่วยให้สมาชิกกลุ่มเกิดความ
เข้าใจในปัญหาหรื อเรื่ องที่ศึกษาในแง่มุมต่างๆ ตามความต้องการหรื อความสนใจของผูฟ้ ังอภิปราย โดยผูเ้ รี ยน
ช่วยยกตัวอย่างประกอบการเรี ยนการสอน
7.กาหนดให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมดังต่อไปนี้
กิจกรรมที่ 1 จากภาพฉาย 2 ด้านที่กาหนดให้ จงสเกตช์ภาพไอโซเมตริ กตามกล่องไอโซเมตริ กที่กาหนดให้
กิจกรรมที่ 2 จากภาพฉาย 2 ด้านที่กาหนดให้ จงสเกตช์ภาพไอโซเมตริ กตามกล่องไอโซเมตริ กที่กาหนดให้

กิจกรรมที่ 3 จากภาพฉาย 3 ด้านที่กาหนดให้ จงสเกตช์ภาพฉายตามแบบงานที่กาหนดให้


กิจกรรมที่ 4 จากภาพไอโซเมตริ กที่กาหนดให้ จงสเกตช์ภาพฉาย 3 ด้าน

8.ครู ให้ความรู ้เพิ่มเติมเรื่ องความพอประมาณ โดยใช้เครื่ องมืออุปกรณ์เขียนแบบอย่างเห็นคุณค่าเกิด


ประโยชน์สูงสุ ด ความมีเหตุผลเข้าใจเหตุผลในการประหยัดเครื่ องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ และ สามารถนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้ การภูมิค้มุ กันทีด่ ีในตัวเอง รู ้จกั การใช้เครื่ องมืออุปกรณ์ และสามารถบอกประโยชน์และโทษ
ของเครื่ องมืออุปกรณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เงื่อนไขความรู้ รู ้จกั เครื่ องมืออุปกรณ์ ลักษณะของเครื่ องมืออุปกรณ์
วิธีการใช้ อธิบายและบอกประโยชน์และโทษของได้ เงื่อนไขคุณธรรมรู ้จกั การประหยัด และนาไปใช้ประโยชน์
ประหยัด ให้มากที่สุด

ขั้นสรุปและการประเมินผล
9.สรุ ปโดยการถามความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนเกี่ยวกับการสเก็ตช์ภาพในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
10.ครู และผูเ้ รี ยนทบทวนบทเรี ยน โดยการอธิบายซักถาม และให้แต่ละกลุ่มทากิจกรรมส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ โดยร่ วมมือ
กันทากิจกรรมส่งครู
11.ครู และผูเ้ รี ยนร่ วมสรุ ปเนื้อหาในหน่วยการเรี ยนอีกครั้ง โดยวิธีถาม–ตอบและซักถามข้อสงสัย ผูเ้ รี ยนทาแบบ
ประเมินผลการเรี ยนรู ้
สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ฝึ กทากิจกรรมเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดทักษะความชานาญในการนาไปใช้ โดยครู ผสู ้ อนกาหนดให้
บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 17 หน่ วยที่ 9
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 65-68
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานช่างอุตสาหกรรม จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
ในงานเขียนแบบไม่ว่าในสาขาวิชาใดก็ตาม ไม่อาจที่จะเขียนภาพตามความเป็ นจริ งของชิ้นส่ วนหรื อชิ้นงานนั้นๆ ได้
เป็ นจริ งที่สุด จาเป็ นต้องใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ช่วยในการเขียนแบบทั้งสิ้ น ดังนั้น ผูเ้ ขียนแบบจึงจาเป็ นต้องเรี ยนรู ้เกี่ยวกับสัญลักษณ์
เบื้องต้นที่ใช้ในงานเขียนแบบของแต่ละสาขาวิชา เพื่อให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในงานเขียนแบบได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.บอกและใช้สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบเครื่ องกลได้
2.บอกและใช้สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบไฟฟ้าได้
3.บอกและใช้สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบก่อสร้างได้
4..มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้
ในการปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตาม
หลักการด้วยความละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ

ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน
เขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและ
มาตราส่วน

เนื้อหาสาระ
1.สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบเครื่ องกล
2.สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบไฟฟ้า
3.สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบก่อสร้าง
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1.ครู และผูเ้ รี ยนช่วยกันทบทวน ถึงแม้ทุกวันนี้จะใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเขียนแบบ แต่ก็
หลีกเลี่ยงที่จะใช้เครื่ องมือเขียนแบบที่ใช้มือเขียนไม่ได้ เนื่องจากการลืมหรื อตกหล่นขณะเขียนด้วยโปรแกรม
เขียนแบบภายหลังพริ้ นงานแล้ว ดังนั้นกระดานเขียนแบบ ดินสอ ฉากปรับองศา ยางลบ ฯลฯ คงต้องใช้ต่อไป
หัวข้อเครื่ องมือที่ใช้เขียนแบบนี้จะเน้นเฉพาะเครื่ องมือที่สาคัญและจาเป็ นที่ตอ้ งใช้ร่วมกับโปรแกรมเขียนแบบ
2.ครู เล่าว่าในปั จจุบนั การใช้คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ ช่วยในการเขียนแบบ มีใช้อย่างมากและกว้างขว้าง ซึ่ งช่วยให้การ
เขียนแบบเป็ นไปอย่างสะดวกรวดเร็ ว สาหรับการเขียนสัญลักษณ์มาตรฐานต่างๆ เพิม่ เติมในแบบงานนั้น ๆ ถ้ามีสัญลักษณ์ที่สร้าง
แล้วอยูใ่ นโปรแกรมสาเร็ จรู ปก็จะเป็ นประโยชน์ต่อการเขียนแบบให้รวดเร็ วขึ้น
ขั้นสอน
3.ครู อธิ บายและสาธิ ตสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบเครื่ องกล สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบไฟฟ้ า และ
สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบก่อสร้าง และให้ผเู ้ รี ยนฝึ กปปฏิบตั ิตาม
4.ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมดังนี้
กิจกรรมที่ 1 จงอธิบายความหมายของสัญลักษณ์ที่กาหนดให้
ที่ สัญลักษณ์ ความหมาย
1. Rd
2. Tr
3. S
4. R
5. M
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.

กิจกรรมที่ 2 จงอธิบายความหมายของสัญลักษณ์ที่กาหนดให้
ที่ สัญลักษณ์ ความหมาย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
5.ครู อธิบายเสริ มความรู ้เรื่ องความพอประมาณ ความพึงพอใจในบทบาทหน้าที่ของคนเองและความเป็ นอยูข่ อง
ครอบครัว หรื อรู ้จกั การใช้สิ่งของเครื่ องใช้เหมาะสมกับลักษณะงานและอย่างรู ้คุณค่า ความมีเหตุผล โดยควรยึดถือการประกอบ
อาชีพด้วยความถูกต้องสุ จริ ต หรื อการใช้เครื่ องมืออุปกรณ์ในการเขียนแบบได้อย่างถูกวิธีทาให้ปลอดภัยและเกิดประโยชน์สูงสุ ด
การมีภูมิค้มุ กันที่ดีในตัวเอง ต้องดูแลเอาใจใส่สมาชิกในครอบครัว ให้อยูด่ ีมีสุข หรื อใช้เครื่ องมืออุปกรณ์เขียนแบบได้ถูกต้อง
เหมาะสมกับวัย เงื่อนไขความรู้สามารถบอกความสาคัญ และบทบาทหน้าที่ของตนเองได้ หรื อเก็บบารุ งรักษาเครื่ องมืออุปกรณ์
ในการเขียนแบบได้และเงื่อนไขคุณธรรม การมีความกตัญญูกตเวที ต่อผูม้ ีพระคุณ
ขั้นสรุปและการประยุกต์
6.ผูเ้ รี ยนแต่ละคนช่วยกันสรุ ปมาให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มฟัง โดยครู สังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
7.จัดกิจกรรมต่อเนื่อง โดยให้นกั ศึกษาอ่านเนื้อหาแล้ววิเคราะห์สรุ ปผล
8.ผูเ้ รี ยนทาแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยน วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น
2.สื่ อแผ่นใส
3.กิจกรรมการเรี ยนการสอน
4.เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของผูส้ อน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรี ยนรู ้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. ใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่ องมือวัดผล
1. แบบประเมินใบงาน
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เกณฑ์ การประเมินผล
1. แบบประเมินใบงาน เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
2. แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้ เกณฑ์การผ่าน 50% ขึ้นไป
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
4. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
5. แบบประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การประเมินตาม
สภาพจริ ง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้ผเู ้ รี ยนทาแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้

บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการที่ 18 หน่ วยที่ -
รหัส 20100-1001 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 69-72
ชื่ อหน่ วย/เรื่ อง ทบทวน/สอบปลายภาคเรี ยน จานวนชั่วโมง 4 ช.ม.

สาระสาคัญ
จากการที่ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาวิชานี้ จะได้รับความรู ้ความเข้าใจ และเกิดทักษะการฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนโดยเน้นผูเ้ รี ยน
เป็ นศูนย์กลาง ให้ผเู ้ รี ยนฝึ กคิด เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 (แก้ไขปรับปรุ งเพิ่มเติม พ.ศ. 2545) โดยยึดหลักการนาไปใช้ให้เกิดไปประโยชน์ในการพัฒนาสังคม พร้อมทั้งนาหลัก
คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูส้ าเร็ จการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มา
ประยุกต์ใช้กบั กิจกรรมการเรี ยนอย่างเหมาะสม
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. นาเรื่ องที่ทบทวนตามเนื้อหาวิชาไปใช้ประโยชน์ได้
2. แจ้งคะแนนระหว่างภาคเรี ยนให้ผเู ้ รี ยน
3. แก้ปัญหาการเรี ยนของผูเ้ รี ยนได้
4. นักเรี ยนนาความรู ้ที่ศึกษามาไปสอบปลายภาคเรี ยนได้
5.มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะหลัก
286.วิเคราะห์รูปแบบ มาตรฐานการเขียนแบบ และประยุกต์ใช้หลักการเขียนแบบเทคนิคพื้นฐานเพือ่ ใช้
ในการปฏิบตั ิงาน
สมรรถนะย่อย
286.1 วางแผนการเขียนแบบในเทคนิครู ปแบบต่างๆ การใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบตาม
หลักการด้วยความละเอียดรอบคอบ เป็ นระเบียบ ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
ตัวบ่ งชี้
286.101 อธิบายหลักการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น การใช้เครื่ องและอุปกรณ์เขียนแบบ
286.102 อ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเกี่ยวกับรู ปภาพสองมิติ ภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3
ภาพสเกตช์ภาพช่วย ภาพสามมิติ ภาพตัดและสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน
เขียนแบบเทคนิคในการใช้เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรู ปเรขาคณิ ต การกาหนดขนาดของมิติและ
มาตราส่วน
286.103 บารุ งรักษา และเลือกใช้เครื่ องมือเขียนแบบในลักษณะต่าง ๆ

เนื้อหาสาระ
1. ทบทวนเนื้อหาวิชาที่ได้ศึกษามาแบบย่อ
2. รวบรวมคะแนนระหว่างภาคเรี ยน
3. ปัญหาการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
4. สอบปลายภาคเรี ยน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครู แจ้งให้ผูเ้ รี ยนทราบคะแนนระหว่ างภาค และกลางภาค จุดประสงค์ที่ผูเ้ รี ยนยังไม่ได้ปฏิบตั ิ หรื อไม่ผ่าน หรื อ
ไม่ได้สอบ ให้นกั เรี ยนดาเนินการโดยพบครู ผสู ้ อนกาหนดวันเวลาที่จะปฏิบตั ิหรื อสอบ หรื อเรี ยนเพิ่มเติม
2. ผูเ้ รี ยนรับทราบจุดประสงค์การสอบปลายภาคว่า จะมีการสอบเรื่ องใดบ้าง ผูเ้ รี ยนไม่เข้าใจเรื่ องใดก็ให้ซกั ถาม
3. ครู และผูเ้ รี ยนร่ วมกันทบทวนบทเรี ยนที่ผา่ นมาโดยสรุ ป

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


1.ข้อมูลการเก็บคะแนน
2.จุดประสงค์การสอบปลายภาค

หลักฐาน
1.ใบเช็ครายชื่อเข้าห้องเรี ยน และเข้าห้องสอบ
2.ข้อสอบ
3.เอกสารในการสอบต่างๆ

การวัดผลและการประเมินผล
ตามเกณ์ที่ได้แจ้งไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้สัปดาห์ที่ 1-18

กิจกรรมเสนอแนะ
แจ้งการประเมินผลผูเ้ รี ยนที่ติด ร, มส
บันทึกหลังการสอบ
ข้ อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

You might also like