You are on page 1of 5

วิชาภาษาไทย คอร์ สออนไลน์ เทอม 2/63 ระดับม.

4
โดย ครู พจี่ ๋ า สุ นทรีย์ แจ่ มจิรวัตร แก้ วสาคร

แบบฝึ กหัด

อ่ านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้ วพิจารณาว่ าข้ อความทีก่ าหนดให้ ใช้ โวหารชนิดใด


๑. ตะวันโผล่ พ้นขอบฟ้ายามเช้ า หญิงสาวกาลังนั่งผัดแป้ งอยู่หน้ ากระจก มือเรียวยาวบรรจงจับทีป่ ัดแก้ มปัดลงบนแก้ มขาวเนียนให้ อมชมพู
ระเรื่อ ปากบางรู ปกระจับถูกแต่ งเติมด้ วยลิปสติกสีแดงสด ดวงตากลมโตคู่สวยบรรจงวาดให้ มองดูโครงหน้ าสวยได้ รูปของตนอย่ างพอใจ
(.....................................................................................)

๒. ห้ องสี่เหลีย่ มเล็ก ๆ ในอาคารแห่ งหนึ่ง ผู้คนกาลังวุ่นอยู่กบั การทางานอย่ างเร่ งรีบ ทางโต๊ ะด้ านซ้ าย ชายคนหนึ่งกาลังจับจ้ องอยู่ที่หน้ าจอ
คอมพิวเตอร์ บนโต๊ ะทางานของเขาเต็มไปด้ วยแฟ้มเอกสารทีว่ างอย่ างไม่ เป็ นระเบียบมากนัก หญิงวัยกลางคนเดินผ่านโต๊ ะทางานของชายผู้
นั้นอยู่หลายครั้ง ในมือของเธอมักจะถือเอกสารงานอยู่เสมอ โต๊ ะทางด้ านขวา มีภาพของหญิงสาวคนหนึ่ง เธอเปิ ดหนังสื อเล่ มโตครั้งแล้ ว
ครั้งเล่ าก่ อนจะลงมือเขียนบางอย่ างลงในเอกสารงานทีว่ างอยู่คู่กนั ภาพเหล่ านีม้ กั จะเห็นเป็ นประจาทุกวันอย่ างไม่ มวี นั สิ้นสุ ด
(.....................................................................................)

๓. ถ้ าครู บาอาจารย์ เปรี ยบเสมือนเรื อจ้ าง นักเรี ยนก็คงเปรียบเสมือนผู้โดยสารเรื อที่เรื อจ้ างเต็มใจที่จะไปส่ งให้ ถึงฝั่งอย่ างปลอดภัย เมื่อ
ผู้โดยสารถึงฝั่ งแล้ ว ก็มีบางส่ วนที่กลับมาใช้ บริ ก ารอีก แต่ บางส่ วนก็ไม่ มีโ อกาสได้ กลับ มาใช้ บ ริ การแต่ จะยังจดจาว่ ามีเ รื อจ้ างลานี้อ ยู่
เช่ นเดียวกับคุณครู ทอี่ บรมสั่งสอนนักเรียน เมือ่ นักเรียนจบไป บางส่ วนก็จะคอยกลับมาหาคุณครู ทสี่ ั่งสอนพวกเขาจนได้ ดี แต่ บางส่ วนก็ไม่ มี
โอกาสได้ กลับมาหา แต่ ยงั ระลึกอยู่เสมอว่ าเขาได้ ดมี วี ชิ าความรู้ กเ็ พราะคุณครู ท่านนี้
(.....................................................................................)

๔. ในนา้ มีปลาฉันใด ในเมืองใหญ่ กย็ งั คงมีคนทีม่ นี า้ ใจฉันนั้น แม้ เราจะเคยได้ ยินว่ าคนเมืองหลวงไม่ มีน้าใจ ไม่ ช่วยเหลือผู้อื่น แต่ เหตุการณ์
นา้ ท่ วมทีผ่ ่านมาก็ทาให้ เรารู้ ว่า สิ่งทีเ่ ราเคยได้ ยินมาไม่ ได้ เป็ นความจริง เหตุการณ์ น้าท่ วมครั้งนั้นทุกคนต่ างร่ วมมือร่ วมใจกัน คนที่อยู่บ้าน
ใกล้ เรือนเคียงกันต่ างช่ วยกันขนย้ ายสิ่ งของขึน้ ที่สูง และแบ่ งปันอาหารในยามที่ขาดแคลน นี่คงเป็ นอีกเหตุการณ์ หนึ่งที่จะยืนยันได้ ว่า คน
เมืองหลวงไม่ ได้ แล้ งนา้ ใจอย่ างทีค่ ดิ (.....................................................................................)

๕ “ภาพทุ่งทานตะวัน เหลืองอร่ ามไกลสุ ดสายตาปรากฏในมโนภาพ ตั้งแต่ เมื่อรู้ ว่าจะไปลพบุรี แม้ ว่าการชมทุ่งทานตะวันครั้งนีไ้ ม่ ใช่ ครั้ ง
แรกก็ใจจดใจจ่ อกับเวลานัดหมายในการยกครอบครัวไปท่ องเทีย่ ว” (.....................................................................................)

๖. “เช้ าวันเสาร์ ของต้นเดือนธันวาคม สายลมหนาวกาลังเริ่มต้นขึน้ ครอบครัว ของเราเลือกไปเทีย่ วทุ่งทานตะวันจังหวัดลพบุรีใช้ รถยนต์


ส่ วนตัวเป็ นพาหนะในการเดินทาง (.....................................................................................)

๗ “ทุ่งทานตะวัน เหลืองอร่ ามเกินคาบรรยาย นักท่ องเทีย่ วจานวนมากลุยทุ่ง ลงไปถ่ ายภาพรูปดอกทานตะวัน ทีก่ าลังบานสะพรั่ง ชู ช่อรับ
แสงอาทิตย์ ยามใกล้ เทีย่ ง” (......................................................................................)
วิชาภาษาไทย คอร์ สออนไลน์ เทอม 2/63 ระดับม.4
โดย ครู พจี่ ๋ า สุ นทรีย์ แจ่ มจิรวัตร แก้ วสาคร
๘. “บรรยากาศรื่นรมย์ ลมพัดเย็น สบาย สีของนา้ กับสีของฟ้ากลมกลืนกัน ราวกับแต่ งแต้ ม สีระบายบนภาพวาดได้อย่ างสวยงาม”
(......................................................................................)

๙. การท่ องเทีย่ วไม่ ใช่ เกิดประโยชน์ ต่อตนเองเท่ านั้น แต่ เกิดประโยชน์ แก่ ผ้คู น ในท้ องถิ่นนั้นๆ ด้ วย ทาให้ เกิดอาชีพต่ าง ๆ ในท้ องถิ่น เป็ นการ
กระจาย รายได้ สู่ ชนบท สร้ างงานและสร้ างเงินแก่ ชาวบ้ านับว่ าเป็ นประโยชน์ ร่วมกัน ”
(......................................................................................)

๑๐. ชีวติ คือการต่ อสู้ มนุษย์ เราไม่ ได้ ต่อสู้ กบั เพือ่ น มนุษย์ ด้วยกันเพียงอย่ างเดียว แต่ มนุษย์ จะต่ อสู้ กบั ความยากจน ความคับแค้ น ต่ อสู้ กบั
โรคภัยไข้ เจ็บ ต่ อสู้ กับความชั่วเป็ นต้ น การต่ อสู้ กับความชั่ วเพื่อทาความดี เป็ นการต่ อสู้ ทางใจ เกี่ยวกับการตัดสิ นใจเลือกระหว่ างการ
กระทาในสิ่งดีกบั สิ่งชั่ว (......................................................................................)

๑๑. อีแฟ้ม เป็ นภาชนะชนิดหนึ่งสานด้ วยไม้ ไผ่ไว้ ใส่ ปลา ลักษณะคล้ ายข้ อง แต่ รูปร่ างแบนมีบ่า คอคอด ปากกว้ างพอสมควร มีฝาปิ ดกัน
ไม่ ให้ ปลา กระโดดออกได้ ก้ นเป็ นตาสี่เหลีย่ มโปร่ ง ด้ านล่ างจนถึงบ่ าสานลายขัดทึบ ส่ วนบนตั้งแต่ บ่าถึงคอเป็ นลายโปร่ ง
(......................................................................................)

๑๒. อนิจจา แสงเดือนเพ็ญผ่องกระจ่ างจับพระพักตร์ อยู่เมือ่ กีก้ จ็ างซีดขมุกขมัวลง ท้ องฟ้าสลัวมัวพยับครึ้ม อากาศเย็นเฉียบจับหัวใจ นา้
ค้ างหยดลงเผาะ ๆ เป็ นหยาดนา้ ตาแห่ งสวรรค์ เกสรรังร่ วงพรู เป็ นสายสหัสธาราสรงแห่ งพระพุทธสรีระ
(......................................................................................)

๑๓. สมัยหนึ่งเมือ่ คนไทยเริ่มคิดทีจ่ ะเลิกเปิ บข้ าวด้ วยมือ และต้ องการเครื่องมือการกินของตะวันตกเข้ ามาใช้ ชาวตะวันตกก็ได้ เสนอคนไทย
ด้ วยเครื่องมือการกินอย่ างครบชุดสมบูรณ์ แบบประกอบด้ วยมีดสาหรับหั่น ช้ อนซุป ช้ อนปลา มีดปลา มีดหวาน ฯลฯ จนลานตาหยิบไม่ ถูก
แต่ เมือ่ คนไทยตั้งใจจะรับวัฒนธรรมการกินแบบตะวันตก เขาก็พยายามเลือกคัดเครื่องมือกินเฉพาะคนไทยออกมา จนในทีส่ ุ ดก็ปรากฏอย่ าง
ทีเ่ ห็นทุกวันนีค้ อื ช้ อนหนึ่งคัน และส้ อมหนึ่งคันรวมกันเป็ นคู่หนึ่ง
(......................................................................................)

๑๔. ดอกจันทน์ กะพ้ อร่ วงพรู แต่มไิ ด้ หล่ นลงสู่ พนื้ ดินทีเดียว เกสรเล็กๆ แดงเรื่อแกมเหลืองลอยว่ อน กระจายพลัดพรายอยู่ในอากาศทีโ่ ปร่ ง
สะอาดเหมือนลวดลายของตาข่ ายทีค่ ลุมไตรพระ (......................................................................................)

๑๕. เจ้ างามนาสายลดังกลขอ เจ้ างามศอเหมือนคอสุ วรรณหงส์


เจ้ างามกรรณกลกลีบบุษบง เจ้ างามวงวิลาศเรียบระเบียบไร
(......................................................................................)

๑๖. สมัยพระเจ้ าพรหมทัตครองกรุงพาราณสี ยังมีเศรษฐีผ้หู นึ่งมีทรัพย์ สมบัตมิ ากมาย เศรษฐีน้นั มี


บุตรชาย ๓ คน มีสติปัญญาวิชาความรู้ ทดั เทียมกัน (......................................................................................)
วิชาภาษาไทย คอร์ สออนไลน์ เทอม 2/63 ระดับม.4
โดย ครู พจี่ ๋ า สุ นทรีย์ แจ่ มจิรวัตร แก้ วสาคร
๑๗. งานปั้นขนมจีบแป้ งสิบนี้ เป็ นการแสดงความสามารถของลูกผู้หญิง เริ่มตั้งแต่ โม่แป้ ง เอาแป้ งมาคลึงบนกระดาน ตัดแป้ งเป็ นท่ อนกลม
ๆ แล้ วใช้ นวิ้ ขลิบริมให้ เป็ นเกลียว ปั้นเป็ นรู ปต่ าง ๆ แล้ วนา ไปนึ่ง
(......................................................................................)
๑๘. ครุเป็ นภาชนะเก่ าทีท่ า กันมาตั้งแต่ สมัยพระร่ วง ใช้ ขนนา้ ส่ งส่ วยของเมืองขึน้ เพราะครุทสี่ านจากไม้ ไผ่น้นั มีนา้ หนักเบา สะดวกในการ
ขนย้ ายระยะทางไกล ๆ นอกจากนีย้ งั มีภาชนะเครื่องใช้ อกี มากทีท่ าจากไม้ ไผ่ เช่ น ทา เครื่องมือดักสัตว์ ทา เครื่องดนตรี และอืน่ ๆ
(......................................................................................)

๑๙. สาร ทีใ่ ช้ ในภาษาไทย หมายถึง เรื่องราวอันมีความหมายซึ่งมนุษย์ สามารถรับรู้ ได้ จากแหล่ งต่ าง ๆ
(......................................................................................)

๒๐. สังคมหมายถึง ภาวะการดารงชีวติ โดยเกีย่ วข้ องพึง่ พากันระหว่ างบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึน้ ไปในด้านต่ าง ๆ อาทิ ความเกีย่ วข้ องผูกพันใน
ครอบครัว ชุมชน สถาบัน ส่ วนวัฒนธรรม หมายถึงแบบแผนทีเ่ ป็ นทั้งรู ปธรรมและนามธรรมของการดารงชีวติ อยู่ในสังคม เช่ น แบบ
แผนการแต่ งกาย การแสดงกิริยาอาการ ฯลฯ (......................................................................................)

๒๑. มองไปข้ างหน้ าเห็นนกคุ่มโผขึน้ จากพงหญ้ า หมูป่าสามตัววิง่ พรวดพราดสวนทางมา


(......................................................................................)

จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ด


๑. “บนเนินเขาเตีย้ มีนา้ พุทใี่ ห้ นา้ ตลอดฤดูกาล ทั้งฤดูร้อน และฤดูหนาว ในขณะทีน่ า้ ไหลผ่านเนินเขาผ่านละเมาะหมู่ไม้ แล้ วหายไปในทุ่ง
กว้ างเหนือหมู่บ้านขึน้ ไปนั้น เสียงของมันฟังดูไพเราะยิง่ นัก ชาวบ้ านกาลังสร้ างสะพานเล็ก ๆ ด้ วยหิน ข้ ามลาธารแห่ งนี้ โดยมีวศิ วกรหนุ่ม
เป็ นผู้ควบคุมดูแล” ข้ อความนีใ้ ช้ วธิ ีเขียนแบบใด
๑. อธิบาย ๒. บรรยาย ๓. พรรณนา ๔. การบรรยายและพรรณนา

๒. ข้ อใดเป็ นอุปมาโวหาร
ก. สถานที่แห่งนั้นร่ มรื่ นตั้งอยูท่ ี่ริมบึงใหญ่ ข. นายหาชามทะลุมาวางไว้นอกชานหลังบ้าน
ค. หัวใจเต้น เหมือนกับจะระเบิดออกมาภายนอก ง. เสี ยงปื นต่อสู ้ อากาศยานได้ยนิ ดังสนัน่ จนกระเทือนเจ็บแก้วหู

๓. ความรู้ คู่เปรียบด้ วย กาลัง กายแฮ


สุ จริตคือเกราะบัง ศาสตร์ พ้อง
ปัญญาประดุจดัง อาวุธ
กุมสติต่างโล่ ป้อง อาจแกล้ วกลางสนาม
บทประพันธ์ นีเ้ ป็ นโวหารชนิดใด
ก. เทศนาโวหาร ข. อุปมาโวหาร ค. บรรยายโวหาร ง. พรรณนาโวหาร
วิชาภาษาไทย คอร์ สออนไลน์ เทอม 2/63 ระดับม.4
โดย ครู พจี่ ๋ า สุ นทรีย์ แจ่ มจิรวัตร แก้ วสาคร
๔. “แดดในยามเย็น กาลังอ่ อนลงสู่ สมัยใกล้ วิกาล ทอแสงแผ่ ซ่านไปยังสาลีเกษตร แลละลิ่วเห็นเป็ นทางสว่ างไปทั่วประเทศสุ ดสายตา ดู
ประหนึ่งมีหัตถ์ ทพิ ย์ มาปกแผ่ อานาจสวัสดีเบือ้ งบนมีกลุ่มเมฆเป็ นคลืน่ ซ้ อนซับสลับกัน ต้ องแสงแดด จับเป็ น สี ระยับ วะวับแวว ประหนึ่ง
เอาทรายทองไปโปรยปรายเลือ่ นลอยละลิว่ เรี่ย ๆ รายลงจดขอบฟ้า”
ข้ อความนีเ้ ป็ นโวหารชนิดใด
ก. อุปมาโวหาร ข. เทศนาโวหาร ค. พรรณนาโวหาร ง. บรรยายโวหาร

๕ “อันความง่ วงเหงาเบื่อหน่ าย เหนื่อยเพลียนั้นเกิดขึน้ เพราะความเกียจคร้ าน หาเกิดขึน้ เพราะความเพียรไม่ ความเกียจคร้ านอาจจะจับ


ดวงใจของมนุษย์ และละกินให้ สึกหรอไปได้ ประดุจสนิมจับเหล็กหรือกาฝากจับไม้ ”
ข้ อความนีเ้ ป็ นโวหารชนิดใด
ก. เทศนาโวหาร ข. อุปมาโวหาร ค. บรรยายโวหาร ง. พรรณนาโวหาร

๖. “ถ้ าหากว่ าต่อไปผู้คนขาดศีลธรรม ขาดความกตัญญูรู้ คณ


ุ บิดามารดาครู อาจารย์ ผู้มพี ระคุณทั้งหลายมากขึน้ กว่ านี้ บ้ านเมืองจะเกิด
มิคสัญญีความเดือดร้ อนจะเกิดขึน้ ทุกหย่ อมหญ้ า เพราะคนชั่วมากกว่ าคนดี ถ้ าคนเราได้ ละทิง้ ประเพณีทดี่ งี ามมาแต่ ยุคโบราณ บ้ านก็ไม่
เป็ นบ้ าน เมืองก็ไม่ เป็ นเมือง
ข้ อความนีเ้ ป็ นโวหารชนิดใด
ก. เทศนาโวหาร ข. อุปมาโวหาร ค. บรรยายโวหาร ง. พรรณนาโวหาร

๗. “ในสมัยพ่ อขุนรามคาแหงมีการปกครองแบบพ่ อปกครองลูก ซึ่งเป็ นรากฐานของ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยมาจนถึงทุกวันนี้


ข้ อความนีเ้ ป็ นโวหารชนิดใด
ก. เทศนาโวหาร ข. อุปมาโวหาร ค. บรรยายโวหาร ง. พรรณนาโวหาร

๘. “เขาคลอขลุ่ยครวญเสียงเพียงแผ่วผิน ชะลอนิว้ พลิว้ ผ่านจากม่ านหมอง


โสดสะอืน้ อ้ อยอิง่ ทิง้ ทานอง เป็ นคาพร้ องพลิว้ พรายระบายใจ
ข้ อความนีเ้ ป็ นโวหารชนิดใด
ก. เทศนาโวหาร ข. อุปมาโวหาร ค. บรรยายโวหาร ง. พรรณนาโวหาร

๙. ข้ อความต่อไปนีอ้ ธิบายตามกลวิธีใด
“ตลาดนัดเป็ นตลาดชั่วคราวทีม่ กี ารนัดหมายให้ ผ้ซู ื้อและผู้ขายมาชุมนุมกันเพือ่ ซื้อขายแลกเปลีย่ นสินค้ าซึ่งกันและกันประมาณ ๗ วันต่ อ
ครั้ง หรือครึ่งเดือนต่ อครั้ง ตามแต่ จะนัดหมายตกลงกัน”
ก. การใช้ตวั อย่าง ข. การกล่าวซ้ าด้วยถ้อยคาแปลกออกไป
ค. การจากัดความ ง. การเปรี ยบเทียบความแตกต่าง

๑๐. การบรรยายและการพรรณนาต่ างกันในประการสาคัญอย่ างไร


ก. สานวนภาษา ข. การให้รายละเอียด
ค. การดาเนินเรื่ อง ง. ประเภทของเรื่ องราวที่บรรยายหรื อพรรณนา
วิชาภาษาไทย คอร์ สออนไลน์ เทอม 2/63 ระดับม.4
โดย ครู พจี่ ๋ า สุ นทรีย์ แจ่ มจิรวัตร แก้ วสาคร
๑๑. ข้ อใดไม่ ใช่ ลกั ษณะการบรรยาย
ก. เรื่ องตัดไม้ทาลายป่ าเป็ นเรื่ องสาคัญมีผลกระทบกระเทือนทั้งสภาพแวดล้อมและลดทรัพยากรจากป่ านานาชนิดที่มีคุณค่าอนันต์ต่อ
มนุษยชาติ
ข. พื้นล่างสะพรั่งด้วยเทียนหยดสีม่วงดอกเล็กดอกน้อยเรี ยงรายพราวเต็มกิ่งสลับกับพยับหมอกสี ม่วงหม่นเต็มพื้นดิน
ค. ห้องทกห้องเป็ นห้องพื้นเพดานแบบเก่า ห้อยโคมทองเหลืองลงมาจากเพดาน พื้นกระดานเป็ นไม้สกั ทองสี เหลือง
ง. เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิ น ดินด่านเกวียน เอกลักษณ์โดดเด่นของโคราชที่บ่งบอกถึงตานานแห่งประวัติศาสตร์และ
อารยธรรม

๑๒. “วัฒนธรรมทีเ่ ป็ นมรดกสืบทอดกันมามีท้งั ทีเ่ ป็ นวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ อนั ดีงามทีย่ กระดับจิตใจและพฤติกรรมตลอดจนอุดมการณ์


แห่ งชีวติ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ แก่ ตวั เราและสังคม และมีวฒ ั นธรรมทีไ่ ม่สร้ างสรรค์ ทเี่ ป็ นตัวถ่ วงความเจริญของสังคม ทาให้ ชุมชนงมงายไม่ เป็ น
ตัวของตัวเอง ถูกชักจูงได้ ง่าย มีทศั นคติทเี่ ป็ นอันตรายต่ อตัวเองและต่ อสังคม” กลวิธีในการอธิบายข้ างต้ นตรงกับข้ อใดมากทีส่ ุ ด
ก. การใช้ตวั อย่าง ข. การกล่าวซ้ าด้วยถ้อยคาแปลกออกไป
ค. การจากัดความ ง. การเปรี ยบเทียบความแตกต่าง

๑๓. ข้ อใดไม่ เป็ นการพรรณนา


ก. ตั้งแต่จกั รพรรดิลงมาถึงยาจกล้วนได้รับความทรมานจากม่านตาซึ่งไม่ยอมปิ ดและหัวใจซึ่งไม่ยอมระงับในเวลาซึ่งธรรมชาติตอ้ งการให้
เรานอน
ข. ถ้าต่างคนต่างแผ่เมตตาให้ผิวโลกพร่ าด้วยละอองแห่งเมตตาจิต โลกก็จะประสบสันติสุขโดยแท้จริ ง
ค. เมื่อปลาเสื อมองเห็นแมลงเล็กเกาะนิ่งตามใบหญ้า มันจะเป่ าฟองน้ าเหมือนเด็กเป่ าไม้ซางไปที่นกตัวเล็กๆ
ง. งานส่วนหนึ่งของสุนทรภู่ เป็ นกลอนบทละคร แต่สุนทรภู่ก็มิได้เขียนขึ้นเพื่อแสดงเสมอไป หากมุ่งให้อ่านมากกว่า

๑๔. “วัยรุ่นทุกคนจาเป็ นต้องแก้ปัญหาชีวติ เมือ่ ประสบเหตุวกิ ฤตแต่ ละอย่ างได้ ด้วยตนเอง ความรักอย่ างเงียบ ๆ ของเรานั่นแหละทีจ่ ะช่ วย
ประคับประคองเขาไว้ ได้ ถ้ าเราแนะนา ก็ย่อมจะถูกปฏิเสธ ถ้ าเราชีแ้ จงเหตุผลก็อาจถูกโกรธเคือง แม้แต่ การตักเตือนเล็ก ๆ น้ อย ๆ ก็มกั ถูก
มองไปในแง่ โจมตีส่วนตัว การสร้ างความไว้ วางใจในความรักของพ่ อแม่และการให้ เกียรติแก่ วยั รุ่นแต่ ละคน คือการปล่อยให้ เขาได้ ฝ่าฟัน
ภยันตรายในวิถีชีวติ ของเขาด้ วยตนเอง” ข้ อความนีอ้ ธิบายด้ วยวิธีใด
๑. อธิบายข้อมูลไปตามลาดับ ๒. อธิบายโดยการกล่าวซ้ าด้วยถ้อยคาอื่น
๓. อธิบายโดยการยกตัวอย่าง ๔. อธิบายโดยมีขอ้ มูลเปรี ยบเทียบ

๑๕. “สุ ขภาพจิตของลูกเป็ นสิ่งสาคัญทีส่ ุ ด แม่ จะเสียดายมากหากว่ าลูกเรียนเก่ งแต่ สุขภาพจิตเลวร้ ายมีโรคต่ าง ๆ รุมเร้ า ชนิดหมอตรวจ
เท่ าไรก็ไม่ พบ นอกจากนีไ้ ม่อยากให้ ลูกเป็ นคนใจแคบเคร่ งเครียด มุ่งแต่ ความสาเร็จของตนเองจนลืมนึกถึงผู้อนื่ เพราะฉะนั้นหากลูกแสดง
ว่ ามีความรับผิดชอบเรื่องเรียน ไม่ เหลวไหลก็เป็ นทีพ่ อใจแล้ ว ไม่ จาเป็ นว่ าต้ องเอาชนะคนอืน่ เพราะคนเก่ งจริง ๆ นั้น คือคนทีส่ ามารถรวม
การทางานได้ เป็ นทีม ไม่ ใช่ คนทีเ่ ก่ งอยู่คนเดียว บางครั้งการทีล่ ูกหวังความเก่ งทีส่ ุ ดอาจจะถูกมองได้ว่าไม่ ยอมรับความเก่ งของคนอืน่ ต่ อไป
ในอนาคตก็จะไม่มใี ครยอมรับความเก่ งของลูกเช่ นกัน ” ข้ อความนีใ้ ช้ กลวิธีใดในการอธิบาย
๑. การอธิบายตามลาดับชั้น ๒. การใช้ตวั อย่าง
๓. การเปรี ยบเทียบความเหมือนกันและความต่างกัน ๔. การชี้ถึงสาเหตุและผลลัพธ์ที่สมั พันธ์กนั

You might also like