You are on page 1of 4

คานาม

คานาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ พืช สิ่งของ สถานที่ และสิ่งทั่วๆ ไป


เช่นคาว่า เด็ก ผักชี โรงพยาบาล เป็นต้น คานามแบ่งเป็น 4 ชนิด คือ
๑. คานามสามัญ คือ คานามที่ใช้เรียกชื่อทั่วๆ ไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง
เช่น แมว ดินสอ นักเรียน
๒. คานามวิสามัญ คือ คานามที่ใช้เรียกชื่อเฉพาะเจาะจง เช่น กรุงเทพฯ
พระอภัยมณี เกาะสมุย เชียงใหม่ ถนนพหลโยธิน
3. คาลักษณนาม (ลัก–สะ–หนะ–นาม) คือ คานามที่ใช้บอกลักษณะ
ของคานาม ซึ่งมักจะอยู่หน้าหรือหลังคานามและอยู่ติดกับคานาม หรืออยู่หลังคา
บอกจานวน เช่น อัน ตัว สาย คณะ ฝูง หมู่ ชิ้น ผืน ลูก ห่อ ใบ เครื่อง
หลัง เล่ม แผ่น ข้าง เส้น คัน ม้วน ฉบับ

ข้อสังเกต ถ้าจานวนนับเป็นหนึ่ง อาจใช้คาว่า หนึ่ง ตามหลังคา


ลักษณนามได้ เช่น นกตัวหนึ่ง บ้านหลังหนึ่ง ชายคนหนึ่ง
4. คาอาการนาม (อา–กา–ระ–นาม) คือ คานามที่เกิดจากการนาคา
“การ” และ “ความ” เติมหน้าคากริยา เพื่อแสดงการกระทา สภาพ หรือ
ลักษณะของคน พืช สัตว์ สิ่งของ และสถานที่นั้นๆ
การ มักใช้เติมหน้าคากริยาทีแ่ สดงการกระทา เช่น
การออกกาลังกาย การสนทนา การเต้นรา
ความ มักใช้เติมหน้าคากริยาที่บอกสภาพของกริยานั้นๆ เช่น
ความฝัน ความแห้งแล้ง ความสงบ ความสาเร็จ
ข้อสังเกต คาว่า การ และ ความ หากเติมหน้าคาชนิดอื่นนอกจาก
คากริยาถือเป็นคานามสามัญ ไม่ใช่อาการนาม เช่น การเงิน การไฟฟ้า
การบ้าน
ใบงาน เรื่อง คานาม

1. ให้นักเรียนจาแนกคานามสามัญและคานามวิสามัญ

ไม้สัก สุนทรภู่ นิทานพื้นบ้าน ช้างเอราวัณ ชาวเขา

เพลงชาติไทย สนามหลวง นกพิราบ เศรษฐกิจ โรงเรียนสวนกุหลาบ

คานามสามัญ คานามวิสามัญ

...................................................... ......................................................

...................................................... ......................................................

...................................................... ......................................................

...................................................... ......................................................

...................................................... ......................................................
ใบงาน เรื่อง คานาม

2. ให้นักเรียนเขียนคาลักษณนามของคานามที่กาหนด

คานาม คาลักษณนาม

2.1 เจดีย์ พระที่นั่ง พระบรมฉายาลักษณ์ ...........................................................

2.2 หนังสือ เกวียน เข็ม กรรไกร ...........................................................

2.3 ฤๅษี ยักษ์ ปีศาจ ...........................................................

...........................................................
2.4 ถนน ทางด่วน แม่น้า ลาธาร
...........................................................
2.5 แห อวน สวิง โพงพาง

3. ให้นักเรียนเติมคาว่า “การ” หรือ “ความ” หน้าคาต่อไปนี้

1. ........................พากเพียร 4. ........................รุ่งโรจน์

2. ........................ศึกษา 5. ........................ปราศรัย

3. ........................ท่องเที่ยว 6. ........................อ่อนโยน
ใบงาน เรื่อง คานาม

4. ให้นักเรียนวิเคราะห์ชนิดของคานามในประโยคต่อไปนี้เติมลงในตาราง

1. ช้างโขลงนั้นอยู่ในอุทยานแห่งหนึ่ง
2. ความฝันในบางครั้งก็เกิดขึ้นจากความวิตกกังวลนั่นเอง
3. เหล่าสมาชิกลูกเสือชาวบ้านร่วมกันปลูกป่าชายเลน
4. คณะนักเรียนต่างประทับใจเมื่อได้ไปทัศนศึกษาพระที่นั่งวิมานเมฆ
5. เหล่าทหารซ้อมเดินสวนสนามที่ลานพระบรมรูปทรงม้า

คานามสามัญ คานามวิสามัญ คาลักษณนาม คาอาการนาม

..................................... ..................................... ..................................... .....................................


..................................... ..................................... ..................................... .....................................
..................................... ..................................... ..................................... .....................................
..................................... ..................................... ..................................... .....................................
..................................... ..................................... ..................................... .....................................
..................................... ..................................... ..................................... .....................................
..................................... ..................................... ..................................... .....................................

You might also like