You are on page 1of 3

แบบทดสอบเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

ประกอบการเรียนการสอน หน่วย บทกวีเพื่อชีวิต วิชา ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔


-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
๑. พระราชนิพนธ์เรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวีถือ ๖. สิ่งที่นักเรียนควรศึกษาและพิจารณาในการ
เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องใด อ่านเรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ก. บทความ ก. กลวิธีการนำเสนอ
ข. สารคดี ข. แนวความคิดที่แจ่มแจ้งชัดเจน
ค. เรียงความ ค. การใช้ถ้อยคำและการผูกประโยค
ง. การเขียนบรรยายความ ง. ลำดับความให้ผู้อ่านเข้าใจได้สะดวก
๒. บทกวีที่ผู้พระราชนิพนธ์ยกมากล่าวเป็นผลงานของใคร ๗. สรรพนามในบทกวี ผลงานของจิตร ภูมิศักดิ์
ก. จิตร ภูมิศักดิ์ ที่ใช้ว่า "กู" แสดงว่าผู้ที่พูดคือใคร
ข. วาณิช จรุงกิจอนันต์ ก. ผู้เขียน
ค. อังคาร กัลยาณพงศ์ ข. ชาวนา
ง. เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ค. ผู้อ่าน
๓. เนื้อความในเรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวี แสดงให้ ง. ไม่เฉพาะใคร
เห็นถึงพระราชอัธยาศัยของผู้นิพนธ์อย่างไร ๘. “รอบข้างไม่มีนาที่ไหนทิ้งว่าง แต่ชาวนาก็ยังอดตาย”
ก. ชอบเป็นกวี จากข้อความนี้เป็นบทกวีของใคร
ข. เข้าใจปัญหาของชาวนาจีน ก. หลี่เชิน
ค. แสดงบทกวีทัศน์ของชาวนา ข. จิตร ภูมิศักดิ์
ง. เข้าใจปัญหาและความทุกข์ยากของชาวนา ค. อังคาร กัลยาณพงศ์
๔. ผู้นิพนธ์แสดงทัศนะต่อชาวนาอย่างไร ง. เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
ก. เป็นอาชีพที่ทำงานหนัก ๙. คุณค่าของ “ไม่มีนาที่ไหนว่าง แต่ชาวนาก็ยังอดตาย”
ข. เป็นกระดูสันหลังของชาติ คือข้อใด
ค. ชาวนาลำเลิกผู้บริโภคข้าว ก. ความประหลาดใจ
ง. สังคมช่วยเหลือชาวนาในด้านรายได้น้อยมาก ข. ความสะเทือนใจ
๕. เรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวี แสดงแนว ค. ข้อคิด
พระราชดำริเกี่ยวกับบทกวีไทยและบทกวีจีนส่วนที่ ง. คติธรรม
สำคัญที่สุด อย่างไร ๑๐. เทคนิคในการนำเสนอเนื้อหาบทกวีจีน คือวิธี ใด
ก. กล่าวถึงชีวิตและความทุกข์ยากของชาวนากัน ก. บรรยายให้เห็นความเป็นอยู่ของชาวนา
ข. ทรงชี้ให้เห็นกลวิธีนำเสนอของกวีทั้งสองที่ ในยุคนั้น
แตกต่าง ข. เสมือนกับนำชาวนามาบรรยาย เรื่องของ
ค. สะท้อนให้เห็นพระเมตตาธรรมอันเปี่ยมล้นของ ตนให้ผู้อ่านฟัง
พระองค์ที่มีต่อชาวนา ค. บรรยายความรู้สึกอันเกิดจากความ
ง. แสดงถึงความเข้าพระทัยปัญหาต่างๆ ของ สะเทือนใจ ออกเป็นบทกวี
ชาวนา ง. บรรยายภาพที่เห็นเหมือนจิตรกรวาดภาพ
ให้คนชมสะเทือนใจ ออกเป็นบทกวี
๑๑. ตามความเห็นของผู้แต่งเห็นว่าเหตุใดชาวนายังคง ๑๗. ข้อใดมีความหมายตรงกับ “เหงื่อหยดบนดิน
เป็นชาวนาอยู่อย่างนั้น ภายใต้ต้นข้าว”
ก. เขามีอุดมคติ ก. เหงื่อกูที่สูกิน จึงก่อเกิดมาเป็นคน
ข. เขารักความเป็นชาวนา ข. เหงื่อหยดสักกี่หยาด ทุกหยดหยาดล้วนยากเย็น
ค. เขาเป็นชาวนาด้วยความเคยชิน ค. น้ำเหงื่อที่เรื่อแดง และน้ำแรงอันหลั่งริน
ง. เขาไม่รู้หนทางที่จะทำอะไรได้ดีไปกว่านี้ ง. จากแรงมาเป็นรวง ระยะทางนั้นเหยียดยาว
๑๒. "เมื่อครั้งเป็นนิสิต ข้าพเจ้าได้เคยอ่านผลงาน ๑๘. “ข้าวแต่ละเม็ด คือความยากแค้นแสนสาหัส”
ของจิตร ภูมิศักดิ์ อยู่บ้าง แต่ก็ไม่ได้ศึกษาอย่าง ตรงกับข้อใด
ละเอียด หรือวิเคราะห์อะไร... " น่าจะเป็นช่วงใด ก. สายเลือดกูทั้งสิ้น ที่สูซดกำซาบฟัน
ของบทพระราชนิพนธ์เรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวี ข. เบื้องหลังสิทุกทน และขมขื่นจนเขียวคาว
ก. ช่วงความนำ ค. เหงื่อกูที่สูกิน จึงก่อเกิดมาเป็นคน
ข. ช่วงเนื้อเรื่อง ง. จากรวงเป็นเม็ดพราว ล้วนทุกข์ยากลำเค็ญเข็ญ
ค. ช่วงความลงท้าย ๑๙. บทกวีวรรคใดที่บอกถึงความเหนื่อยยากชัดเจนที่สุด
ง. ช่วงสรุป ก. เหงื่อหยดสักกี่หยาด ทุกหยดหยาดล้วนยากเย็น
๑๓. สารสำคัญของบทกวีทั้งสองมีส่วนเหมือนกันคือข้อใด ข. ปูดโปนกี่เส้นเอ็น จึงแปรรวงมาเป็นกิน
ก. วิธีการนำเสนอ ค. น้ำเหงื่อที่เรื่อแดง และน้ำแรงอันหลั่งริน
ข. สะท้อนให้เห็นเมตตาธรรมที่มีต่อชาวนา ง. สายเลือดกูทั้งสิ้น ที่สูซดกำซาบฟัน
ค. แสดงถึงความเข้าใจปัญหาต่างๆ ของชาวนา ๒๐. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการผลักดันให้ชาวนามา
ง. กล่าวถึงชีวิตและความทุกข์ยากของชาวนา สู่ โรงงานอุตสาหกรรมหรืองานบริการ
๑๔. ข้อคิดที่ได้จากเรื่องนี้คือข้อใด ก. การได้เงินเร็วกว่า
ก. คุณของแผ่นดิน ข. ค่าตอบแทนที่สม่ำเสมอ
ข. คุณค่าของข้าว ค. เป็นงานที่มีเกียรติกว่า
ค. คุณค่าของชาวนา ง. ได้รับสวัสดิการที่ชัดเจน
ง. ทั้ง ข และ ค. ๒๑. “เหงื่อหยดสักกี่หยาด ทุกหยดหยาดล้วน ยากเย็น
๑๕. ข้อใดมีลักษณะการเล่นคำได้ไพเราะทำให้เห็น ปูดโปนกี่เส้นเอ็น จึงแปรรวงมาเปิบกิน
ภาพมากที่สุด น้ำเหงื่อที่เรื่อแดง และน้ำแรงอันหลั่งริน
ก. เปิดข้าวทุกคราวคำ จงสูจำเป็นอาจิณ สายเลือดกูทั้งสิ้น ที่สูซดกำซาบฟัน”
ข. ข้าวนี้นะมีรส ให้ชนชิมทุกชั้นชน บทประพันธ์นี้แสดงเจตนาตามข้อใด
ค. เหงื่อหยดสักกี่หยาด ทุกหยดหยาดล้วนยากเย็น ก. ให้เห็นใจชาวนา
ง. สายเลือดกูทั้งสิ้น ที่สูซดกำซาบฟัน ข. ให้คิดช่วยเหลือชาวนา
๑๖. พระองค์ทรงสรุปความเรียงเรื่องนี้ว่าอย่างไร ค. ให้สำนึกบุญคุณของชาวนา
ก. ชาวนาต้องเป็นชาวนาต่อไป ง. ให้เห็นความเหน็ดเหนื่อยของชาวนา
ข. ต่อไปคนจะกินอาหารเม็ด จ.
ค. ความทุกข์ของชาวนานี้สะเทือนใจยิ่งนัก
ง. กวีและชาวนาเป็นทุกข์พอ ๆ กันเสมอมา
๒๒. ที่ผู้นิพนธ์กล่าวว่า “สมัยที่ข้าพเจ้าได้เห็นเอง บทกวีต่อไปนี้ใช้สำหรับตอบข้อ ๒๙ – ๓๐
ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันนัก” หมายความว่า “ไม่มีนาที่ไหนว่าง แต่ชาวนาก็ยังอดตาย”
อย่างไร ๒๙. กวีเสนอข้อความที่มีลักษณะเป็นอย่างไร
ก. ภาพชีวิตของชาวนาไทยกับจีนไม่มีอะไร ก. สอดรับกันดี ข. เป็นเหตุเป็นผลดี
แตกต่างกันเลย ค. เป็นความตรงกันข้ามกัน
ข. แม้โลกจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ง. เป็นความเป็นไปไม่ได้
ชาวนาก็ไม่เคยพัฒนาตัวเอง ๓๐. ข้อใดไม่น่าจะเป็นแนวคิดแทรกที่เกิดจากการอ่าน
ค. ไม่ว่าใครก็ตามต่างเห็นเหมือนกันว่าชีวิต ข้อความนี้
ชาวนาไม่มีคุณค่าอะไร ก. ชาวนาถูกเอาเปรียบ
ง. ไม่ว่าสมัยใดชาวนาก็ยังประสบปัญหา ข. ชาวนาเป็นทาสของที่ดิน
และมีชีวิตทุกข์ยากมาตลอด ค. เป็นการทำนาที่ไร้ผล
๒๓. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงความขัดแย้ง ง. ชาวนาเอาเงินไปทำอย่างอื่น
ก. ตอนอาทิตย์เที่ยงวัน ชาวนายังพรวนดิน
ข. เหงื่อหยดบนดินภายใต้ต้นข้าว
ค. รอบข้างไม่มีที่นาที่ไหนว่าง แต่ชาวนาก็ยังอดตาย ****************************
ง. ใครจะรู้บ้างว่าในจานใบนั้น ข้าวแต่ละเม็ดคือ
ความยากแค้นแสนสาหัส
คำตอบต่อไปนี้ใช้สำหรับตอบข้อ ๒๔-๒๗
ก. ข้าวเมล็ดหนึ่งจะกลายเป็นหมื่นเมล็ด
ข. เหงื่อหยดบนดิน ภายใต้ต้นข้าว
ค. ตอนพระอาทิตย์เที่ยงวัน ชาวนาก็ยังพรวนดิน
ง. ข้าวแต่ละเม็ด คือความยากแค้นแสนสาหัส
๒๔. ข้อใดเป็นการเขียนเชิงบรรยาย
ก. ก ข. ข
ค. ค ง. ง
๒๕. ข้อใดเป็นอธิพจน์ที่โน้มน้าวใจ
ก. ก ข. ข
ค. ค ง. ง
๒๖. ข้อใดเป็นโวหารอุปลักษณ์
ก. ก ข. ข
ค. ค ง. ง
๒๗. ข้อใดเป็นจินตพจน์อ่านแล้วสะเทือนใจ
ก. ก ข. ข
ค. ค ง. ง
๒๘. “รอบข้างไม่มีนาที่ไหนว่าง แต่ชาวนาก็ยังอดตาย”
ข้อความนี้เป็นโวหารใด
ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์
ค. อติพจน์ ง. ปฏิพากย์

You might also like