You are on page 1of 18

1

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบฐานสมรรถนะ
บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนโยบายสถานศึกษา 3D

หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556


ประเภทวิชาช่ างอุตสาหกรรม
สาขาวิชาไฟฟ้ ากาลัง
สาขางานช่ างไฟฟ้ ากาลัง

วิชา เครื่ องปรับอากาศ (2104-2106) (ภาคปฏิบตั ิ)

จัดทาโดย
นายวัชระ บัวโฉม
ตาแหน่ ง ครู

แผนกวิชาไฟฟ้ ากาลัง วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี


สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2

รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ ใช้
( ) ควรอนุญาตให้ใช้ในการสอนได้
( ) ควรปรับปรุ งเกี่ยวกับ..........................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ .....................................................
( ........................................ )
หัวหน้าแผนกวิชา
........./.................../............

( ) ควรอนุญาตให้ใช้ในการสอนได้
( ) ควรปรับปรุ งดังเสนอ
( ) อื่น ๆ ................................................................................................................................................
ลงชื่อ .....................................................
( ..................................... )
หัวหน้างานพัฒนาหลักสู ตรการเรี ยนการสอน
........./................./............

( ) ควรอนุญาตให้ใช้ในการสอนได้
( ) ควรปรับปรุ งดังเสนอ
( ) อื่น ๆ ................................................................................................................................................
ลงชื่อ .....................................................
( ................................... )
รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวิชาการ
........./................./............

( ) อนุญาตให้ใช้ในการสอนได้
( ) อื่น ๆ ................................................................................................................................................

ลงชื่อ .....................................................
( .......................................... )
ผูอ้ านวยการวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
........./................./............
3

คานา
รายวิ ช าเครื่ องปรั บ อากาศ รหั ส วิ ช า 2104 – 2106 จั ด เป็ น รายวิ ช าที่ อยู่ ใ น ห ลั ก สู ตร
ประกาศนี ยบัตรวิชาชี พ พุทธศักราช 2556 โดยอยู่ในหมวดวิชาชี พสาขาวิชา ซึ่ งเป็ นรายวิชาบังคับ
สาหรับการจัดการเรี ยนการสอนในสาขาวิชาช่ างไฟฟ้ ากาลัง ผูจ้ ดั ทาได้จดั ทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้
รายวิชานี้ข้ ึนเพื่อให้ตรงกับจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิ บายรายวิชาที่กาหนด ใน
หลักสู ตรของสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา

การแยกหน่ วยการเรี ยนรู ้จะประกอบด้วย 8 หน่ วยการเรี ยนรู ้ โดยภาคทฤษฏีและภาคปฏิ บตั ิจะ
แยกออกจากกัน โดยใช้เวลาเรี ยนจานวน 18 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 7 คาบ แยกเป็ นภาคทฤษฎีจานวน 1
คาบ (รวม 18 คาบ เฉพาะภาคทฤษฎี) ภาคปฏิบตั ิจานวน 6 คาบ (รวม 108 คาบ เฉพาะภาคปฏิบตั ิ) รวม
ทั้งหมด 126 คาบ โดยกิ จกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ ในรายวิชาเครื่ องปรับอากาศ จะสมบูรณ์ ดียิ่งขึ้ นถ้า
ผูเ้ รี ยนได้ผา่ นการจัดการเรี ยนรู ้ในรายวิชาเครื่ องทาความเย็นมาก่อนแล้ว

แผนการจัดการเรี ยนรู ้ฉบับนี้ ผูจ้ ดั ทาหวังว่าคงจะเป็ นประโยชน์ต่อการจัดการเรี ยน การสอนใน


รายวิชาเครื่ องปรับอากาศได้เป็ นอย่างดี ทั้งต่อครู ผดู ้ าเนิ นกิจกรรมการเรี ยนการสอนและต่อตัวนักเรี ยน
เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถนาความรู ้ ไปใช้ในการบริ การ การติดตั้งและตรวจซ่อมระบบเครื่ องปรับอากาศ
ในท้องตลาดได้เป็ นอย่างดี เพื่อจะได้เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมสื บไป

เจริ ญศักดิ์ มีแก้ว


ผูเ้ รี ยบเรี ยง
4

สารบัญ
หน้ า
คานา 4
แผนการจัดการเรียนรู้ 6
การวิเคราะห์ หน่ วยการเรียนรู้ และสมรรถนะรายวิชา 7
ตารางวิเคราะห์ หลักสู ตรรายวิชา 8
ตารางกาหนดหน่ วยการเรียนรู้ และเวลาที่ใช้ ในการจัดการเรียนรู้ 10
หน่ วยที่ 1 เครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ 11
หน่ วยที่ 2 งานคอมเพรสเซอร์ 20
หน่ วยที่ 3 งานตรวจสอบอุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้า 32
หน่ วยที่ 4 งานสาธิ ตและปฏิบตั ิเครื่ องปรับอากาศแบบหน้าต่าง 47
หน่ วยที่ 5 งานสาธิตและปฏิบตั ิเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน 62
หน่ วยที่ 6 การประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าของเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน 77
หน่ วยที่ 7 การประยุกต์ใช้งานเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน 90
หน่ วยที่ 8 การปฏิบตั ิงานนอกพื้นที่หอ้ งปฏิบตั ิการ 101
5

แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา 2104 - 2106 ชื่อวิชา เครื่ องปรับอากาศ
จานวน 3 หน่วยกิต 7 ชัว่ โมง/สัปดาห์
(ภาคทฤษฎี 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ภาคปฏิบตั ิ 6 ชัว่ โมง/สัปดาห์)
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ไฟฟ้ากาลัง

จุดประสงค์ รายวิชา เพื่อให้


1. รู ้ เข้าใจหลักการทางานโครงสร้างและส่ วนประกอบองระบบเครื่ องปรับอากาศ
2. มีทกั ษะเกี่ยวกับการติดตั้ง ซ่อมบารุ ง บริ การ และบารุ งรักษาเครื่ องปรับอากาศ
3. มีเจตคติและกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน มีความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เป็ นระเบียบ
สะอาด ตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู ้เกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทางานของเครื่ องปรับอากาศ
2. ประกอบ ติดตั้ง และตรวจสอบอุปกรณ์เครื่ องปรับอากาศ
3. ซ่อมและบารุ งรักษาเครื่ องปรับอากาศ

คาอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการทางานของระบบเครื่ องปรับอากาศ โครงสร้างส่ วนประกอบ


ของเครื่ อ งปรั บ อากาศแบบต่ าง ๆ อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม การใช้อิ น เวอร์ เตอร์ ในระบบปรั บ อากาศ การ
คานวณหาขนาดเครื่ องปรับอากาศ ติดตั้งเครื่ องปรับอากาศแบบต่าง ๆ การทาสุ ญญากาศ การบรรจุสาร
ทาความเย็น การตรวจสอบหาข้อบกพร่ องและการแก้ไขข้อบกพร่ อง และการบริ การเครื่ องปรับอากาศ
6

การวิเคราะห์ หน่ วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา


รหัสวิชา 2104 - 2106 ชื่อวิชา เครื่ องปรับอากาศ
หน่วยกิต (ชัว่ โมง) 1 – 6 - 3 เวลาเรี ยนต่อภาค 126 ชัว่ โมง

หน่ วยที่ ชื่ อหน่ วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายวิชา


1 เครื่ องมือในงานระบบ 1. แสดงความรู ้เกี่ยวกับหลักการทางาน การบริ การ การ
การ
ปรับอากาศ ติดตั้ง และตรวจซ่อมระบบเครื่ องปรับอากาศ
2 งานคอมเพรสเซอร์ 2. เลือกใช้วสั ดุ – อุปกรณ์เครื่ องทาความเย็นได้ตามลักษณะ
3 งานตรวจเช็กอุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้า ของงานที่ปฏิบตั ิ
3. เลือกใช้เครื่ องมือเครื่ องทาความเย็นได้ตามลักษณะของ
4 งานสาธิตและปฏิบตั ิ
งานที่ปฏิบตั ิ
เครื่ องปรับอากาศแบบหน้าต่าง
4. ปฏิบตั ิใช้เครื่ องมืองานท่อ ตามขั้นตอนและกระบวนการ
5 งานสาธิตและปฏิบตั ิ
5. ปฏิบตั ิใช้เครื่ องมืองานเชื่อมประสาน ตามขั้นตอนและ
เครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
กระบวนการ
6. การประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ใน
6. ปฏิบตั ิใช้เครื่ องมืองานวัดทดสอบ ตามขั้นตอนและ
วงจรไฟฟ้าของเครื่ องปรับอากาศ
กระบวนการ
แบบแยกส่ วน
7. ติดตั้งและทดสอบงานวงจรทางกล ตามขั้นตอนและ
7 การประยุกต์ใช้งานเครื่ องปรับอากาศ
กระบวนการ
แบบแยกส่ วน
8. ติดตั้งและทดสอบงานวงจรไฟฟ้า ตามขั้นตอนและ
8 การปฏิบตั ิงานนอกพื้นที่
กระบวนการ
ห้องปฏิบตั ิการ
9. ปฏิบตั ิงานการทาสุ ญญากาศให้ระบบ ตามขั้นตอนและ
กระบวนการ
10. ปฏิบตั ิงานการบรรจุสารทาความเย็นให้ระบบ ตาม
ขั้นตอนและกระบวนการ
11. ปฏิบตั ิงานบริ การและตรวจซ่อมเครื่ องปรับอากาศ
ตามขั้นตอนและกระบวนการ
12. น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน / การเรี ยน
13. นานโยบายสถานศึกษา 3D ไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน
14. แสดงพฤติกรรมลักษณะนิสัย มีความรับผิดชอบ มี
วินยั มีความละเอียดรอบคอบ และมีความสนใจใฝ่ รู ้ในการ
ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับระบบการทาความเย็น
7

ตารางวิเคราะห์ หลักสู ตรรายวิชา


รหัสวิชา 2104 - 2106 รายวิชา เครื่ องทาปรับอากาศ หน่วยกิต (ชัว่ โมง) 1 – 6 - 3
ชั้น ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างไฟฟ้ากาลัง

พฤติกรรม พุทธิพสิ ั ย ทักษะ จิต จานวน


ชื่ อหน่ วย รวม
1 2 3 4 5 6 พิสัย พิสัย ชั่วโมง
1. เครื่ องมือในงานระบบการปรับ 2 2 7
อากาศ
1. เครื่ องมือในงานระบบการปรับ 1 1 2
อากาศ
2. งานคอมเพรสเซอร์ 3 2 14
2.1 การอ่านค่าแผ่นป้ายและการเช็ก 1 1 3
ขั้วมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
2.2 การทดสอบกาลังทางดูด , ทางอัด 1 3
และการเติมน้ ามันให้คอมเพรสเซอร์
3. การตรวจสอบอุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า 6 3 21
3.1 การตรวจสอบ Circuit breaker, 1 1 3
Selector switch และ Timer
3.2 การตรวจสอบ Fan motor และ 1 1 3
Magnetic contactor
3.3 การตรวจสออบ Potential relay 1 1 3
และ Phase protector
4. งานสาธิตและปฏิบัติ 4 3 21
เครื่ องปรับอากาศแบบหน้ าต่ าง
4.1 ปฏิบตั ิแผงสาธิต 1 3
เครื่ องปรับอากาศแบบหน้าต่าง
4.2 งานบริ การและตรวจซ่อม 1 3
เครื่ องปรับอากาศแบบหน้าต่าง
4.3 งานติดตั้งเครื่ องปรับอากาศ 1 1 3
แบบหน้าต่าง
8

พฤติกรรม พุทธิพสิ ั ย ทักษะ จิต จานวน


ชื่ อหน่ วย รวม
1 2 3 4 5 6 พิสัย พิสัย ชั่วโมง
5. งานสาธิตและปฏิบัติ 6 3 21
เครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
5.1 ปฏิบตั ิแผงสาธิต 1 3
เครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
5.2 งานบริ การและตรวจซ่อม 2 3
เครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
5.3 งานติดตั้งเครื่ องปรับอากาศ 1 2 3
แบบแยกส่ วน
6. การประยุกต์ ใช้ งานอุปกรณ์ ใน 4 2 14
วงจรไฟฟ้าของเครื่ องปรับอากาศแบบ
แยกส่ วน
6.1 การประยุกต์ใช้งานตัวควบคุม 1 1 3
อุณหภูมิแบบ Room thermostat
6.2 การประยุกต์ใช้งานตัวควบคุม 1 1 3
อุณหภูมิแบบ Remote control
7. การประยุกต์ ใช้ งานเครื่ องปรับอากาศ 2 2 7
แบบแยกส่ วน
7. การประยุกต์ใช้งาน 1 1 3
เครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
8. การปฏิบัติงานนอกพืน้ ที่ 3 3 21
ห้ องปฏิบัติการ
1
8.1 งานบริ การทัว่ ไป 3
8.2 ภาคผนวก
1
1 3
รวม 3 11 16 30 50 20 126
ความสาคัญ/สั ดส่ วนคะแนน 30 50 20 126
(ร้อยละ)

หมายเหตุ พุทธิ พิสยั ช่อง 1 หมายถึงความรู ้ ช่อง 2 หมายถึงความเข้าใจ ช่อง 3 หมายถึงการนาไปใช้


ช่อง 4 หมายถึงการวิเคราะห์ ช่อง 5 หมายถึงการสังเคราะห์ ช่อง 6 หมายถึงการประเมินค่า
9

ตารางกาหนดหน่ วยการเรียนรู้ และเวลาทีใ่ ช้ ในการจัดการเรียนรู้


รหัสวิชา 2104 - 2106 ชื่อวิชา เครื่ องปรับอากาศ หน่วยกิต (ชัว่ โมง) 1 – 6 - 3

หน่ วยที่ ชื่ อหน่ วย /รายการสอน สั ปดาห์ ที่ ชั่วโมงที่


1. 1. เครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ 1 1-7
1. เครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ
2. 2. งานคอมเพรสเซอร์ 2-3 8 - 21
2.1 การอ่านค่าแผ่นป้ายและการเช็กขั้วมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
2.2 การทดสอบกาลังทางดูด , ทางอัด และการเติมน้ ามันให้คอมเพรสเซอร์
3. 3. การตรวจสอบอุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า 4-6 22 - 42
3.1 การตรวจสอบ Circuit breaker, Selector switch และ Timer
3.2 การตรวจสอบ Fan motor และ Magnetic contactor
3.3 การตรวจสอบ Potential relay และ Phase protector
4. 4. งานสาธิตและปฏิบัติเครื่ องปรับอากาศแบบหน้ าต่ าง 7-9 43 - 63
4.1 ปฏิบตั ิแผงสาธิตเครื่ องปรับอากาศแบบหน้าต่าง
4.2 งานบริ การและตรวจซ่อมเครื่ องปรับอากาศแบบหน้าต่าง
4.3 งานติดตั้งเครื่ องปรับอากาศแบบหน้าต่าง
5. 5. งานสาธิตและปฏิบัติเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน 10 - 12 64 - 84
5.1 ปฏิบตั ิแผงสาธิตเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
5.2 งานบริ การและตรวจซ่อมเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
5.4 งานติดตั้งเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
6. 6. การประยุกต์ ใช้ งานอุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้าของเครื่ องปรับอากาศแบบ 13 - 14 85 - 98
แยกส่ วน
6.1 การประยุกต์ใช้งานตัวควบคุมอุณหภูมิแบบ Room thermostat
6.2 การประยุกต์ใช้งานตัวควบคุมอุณหภูมิแบบ Remote control
7. 7. การประยุกต์ ใช้ งานเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน 15 99 - 105
7. การประยุกต์ใช้งานเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่วน
8. 8. การปฏิบัติงานนอกพืน้ ที่ห้องปฏิบัติการ 16 - 18 106 - 126
8.1 งานบริ การทัว่ ไป
8.2 ภาคผนวก

รวม 18 126
10

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่ วยที่ 1


รหัสวิชา 2104 – 2106 วิชา เครื่ องปรับอากาศ สัปดาห์ที่ 1
ชื่อหน่วย เครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ (ภาคปฏิบตั ิ) จานวน 6 ชัว่ โมง

การออกแบบการจัดการเรียนเพื่อบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ

3. เตรี ยมเครื่ องมือได้เหมาะสมกับการปฏิบตั ิ ภูมิค้ ุมกัน

เหตุผล 4. ปฏิบตั ิงานโดยคานึงถึง


ความละเอียด รอบคอบ
และปลอดภัย
1. บอกการแบ่งชนิดของเครื่ องมือ
ตามลักษณะการใช้งาน
เครื่ องมือในงานระบบ
2. บอกหน้าที่การใช้งานของเครื่ องมือ
การปรับอากาศ
แต่ละชนิดตามหลักการ

คุณธรรม
ความรู้ + ทักษะ

- การแบ่งชนิดของเครื่ องมือ - ความมีวินยั


- หน้าที่การใช้งาน - ความสนใจใฝ่ รู ้ น
ความเย็
- ความหมายและวิวฒั นาการของการปรับอากาศ - ความเป็ นประชาธิ ปไตยและห่างไกลยาเสพติด

เศรษฐกิจ สั งคม วัฒนธรรม สิ่ งแวดล้ อม


1, 2, 3 1,2 1, 2, 4 4
11

หน่ วยที่ 1
จานวน 6 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา เครื่ องปรับอากาศ
ชื่ อหน่ วย เครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ (ภาคปฏิบตั ิ)
เรื่ อง เครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ

1. สาระสาคัญ
ในงานระบบการปรั บ อากาศจ าเป็ นต้อ งใช้เครื่ อ งมื อ หลายชนิ ด โดยสามารถแบ่ งชนิ ด ของ
เครื่ องมือตามลักษณะการใช้งานได้เป็ น 6 ลักษณะคือ เครื่ องมืองานท่อ เครื่ องมืองานเชื่อมประสาน
และเครื่ องมืองานวัดทดสอบ เครื่ องมือในงานติดตั้งระบบใหม่ (เพิ่มเติม) เครื่ องมืองานบริ การตรวจ
ซ่อมและบารุ งรักษา และวัสดุ-อุปกรณ์สิ้นเปลือง โดยเครื่ องมือทั้ง 6 ลักษณะ จะมีหน้าที่การใช้งาน
ที่มีลกั ษณะแตกต่างกันตามชนิดของงาน ซึ่งผูป้ ฏิบตั ิงานจะต้องศึกษาวิธีการแยกแยะชนิดของเครื่ องมือ
และหน้าที่ การใช้งานของเครื่ องมือแต่ละชนิ ดให้เหมาะสมกับงานที่ ปฏิ บตั ิ โดยในการปฏิบตั ิงานจะ
น้อมน าหลักปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยง คุ ณธรรม จริ ยธรรม ความเป็ นประชาธิ ป ไตยและการ
หลีกเลี่ยงจากยาเสพติดมาสอดแทรกไว้ตามความเหมาะสม

2. สมรรถนะประจาหน่ วย
2.1 แสดงความรู ้เกี่ยวกับความหมายและวิวฒั นาการของการปรับอากาศ
2.2 แสดงความรู ้เกี่ยวกับการแบ่งชนิดของเครื่ องมือ และหน้าที่การใช้งาน
2.3 บอกการแบ่งชนิดของเครื่ องมือตามลักษณะการใช้งาน
2.4 บอกหน้าที่การใช้งานของเครื่ องมือแต่ละชนิดตามหลักการ
2.5 เตรี ยมเครื่ องมือได้เหมาะสมกับการปฏิบตั ิ
2.6 ปฏิบตั ิงานโดยคานึงถึงความละเอียด รอบคอบ และปลอดภัย
2.7 แสดงพฤติกรรมถึงความมีวินยั ความสนใจใฝ่ รู ้ ความเป็ นประชาธิ ปไตยและห่างไกลยา
เสพติด
12

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู ้และเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและวิวฒั นาการของการปรับอากาศ
2. เพื่อให้มีความรู ้และเข้าใจเกี่ยวกับการแบ่งชนิดของเครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ
3. เพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่การใช้งานของเครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ
4. เพื่อให้มีทกั ษะเกี่ยวกับการนาเครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ ไปใช้งานให้ตรงกับ
ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ
5. เพื่อให้มีวินยั ความสนใจใฝ่ รู ้ ความเป็ นประชาธิ ปไตยและห่างไกลยาเสพติด
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
1. สามารถอธิบายความหมายและวิวฒั นาการของการปรับอากาศได้
1. สามารถอธิ บายวิธีการแบ่งชนิดของเครื่ องมือในระบบการปรับอากาศได้ได้
2. สามารถอธิบายหน้าที่การใช้งานของเครื่ องมือในระบบการปรับอากาศได้
3. บอกชนิดของเครื่ องมือได้ตรงกับลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ
4. เข้าชั้นเรี ยนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ
5. มีการเตรี ยมความพร้อมในการเรี ยนและปฏิบตั ิงานเสร็ จตามเวลาที่กาหนด
6. มีความละเอียดรอบคอบในการสังเกตหรื อทางาน
7. แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นและให้ความร่ วมมือในการทางาน
8. ใช้เวลาว่างในการทบทวนความรู ้ต่าง ๆ รวมทั้งทางานที่ได้รับมอบหมาย

4. สาระการเรียนรู้
4.1 เครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ
4.1.1 เครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ
กิจกรรมที่ 1 – 1 การรู ้จกั ชนิดและหน้าที่การทางานของเครื่ องมือในงานระบบการ
ปรับอากาศ
เนื้อเรื่ องย่อ
การทาความเย็นและการปรับอากาศมีหลักการที่ใกล้เคียงกัน แต่เครื่ องปรับอากาศมี
ขั้นตอนและรายละเอียดที่มากกว่า
ในการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับระบบการปรับอากาศ จาเป็ นต้องใช้เครื่ องมือจาแนกเป็ น 6 ประการคือ
1. เครื่ องมืองานท่อ ใช้ในการปฏิบตั ิงานท่อทั้งงานบริ การตรวจซ่อมและงานติดตั้งระบบใหม่
2. เครื่ องมืองานเชื่อมประสาน ใช้ในงานเชื่อมประสานทั้งงานบริ การตรวจซ่อมและงาน
ติดตั้งระบบใหม่
3. เครื่ องมืองานวัดทดสอบ ใช้วดั ทดสอบค่าต่าง ๆ ด้านงานกล ,งานไฟฟ้า หรื อปฏิกิริยาของ
13

แก๊สหรื อน้ ายา


4. เครื่ องมือในงานติดตั้งระบบใหม่ (เพิ่มเติม) เป็ นเครื่ องมือที่จาเป็ นต้องใช้เพิ่มเติมจาก 3
ประเภทแรก เมื่อมีการติดตั้งเครื่ องปรับอากาศใหม่
5. เครื่ องมืองานบริ การตรวจซ่อมและบารุ งรักษา เป็ นเครื่ องมือที่จาเป็ นต้องใช้งานเมื่อมีการ
ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับบริ การตรวจซ่อมและบารุ งรักษา
6. วัสดุ - อุปกรณ์สิ้นเปลือง เป็ นวัสดุ – อุปกรณ์ใช้แล้วหมดไปทั้งใบงานบริ การตรวจซ่อม
และติดตั้งระบบใหม่

5. กิจกรรมการเรียนรู้
สอนครั้งที่ 1. ชั่วโมงที่ 1 – 6 (การรู ้จกั ชนิดและหน้าที่การทางานของเครื่ องมือในงานระบบ
การทาปรับอากาศ)
จัดการเรียนรู้ โดยวิธีการสอนแบบทดลอง
ก่อนจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ครู ผูส้ อนจาเป็ นต้องมี การจัดเตรี ยมสื่ อการเรี ยนรู ้ ,วัสดุ, อุปกรณ์
และครุ ภณ
ั ฑ์ให้มีความพร้อมในการดาเนิ นกิจกรรม มีการเข้าสอนตรงเวลา ตรวจความเรี ยบร้อยและ
ความพร้ อมของตัวนักเรี ยนรวมทั้งเครื่ อ งมื อ วัสดุ – อุป กรณ์ ที่ นักเรี ยนจาเป็ นต้องมี การเตรี ยมมา
บันทึกเอกสารประจาชั้นเรี ยนให้เรี ยบร้อย จากนั้นจึงนาเข้าสู่ ข้ นั ตอนกิจกรรมการเรี ยนรู ้

1. ขั้นนาสู่ บทเรียน
1.1 แนะนาให้นกั เรี ยนได้รู้และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเรี ยนรายวิชาเครื่ องทา
ความเย็นและปรับอากาศ 2
1.2 แนะนาเอกสารอ้างอิงและเอกสารที่ใช้ประกอบการเรี ยนรู ้ เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยน
ได้ซกั ถามเรื่ องเอกสารอ้างอิงและเอกสารอื่น ๆ หลังจากนั้นให้สรุ ปและจดบันทึกไว้
1.3 นักเรี ยนทาใบทดสอบก่อนเรี ยน รายวิชาเครื่ องทาความเย็นและปรับอากาศ 2
1.4 เข้าสู่ ความรู ้พ้นื ฐาน อธิ บายเรื่ องความหมายวิวฒั นาการและความหมายของการ
ปรับอากาศ เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ร่วมยกตัวอย่างประกอบ
14

2. ขั้นปฏิบัติกจิ กรรม
2.1 แนะนาเอกสารฯ หัวข้อ 1.1 เรื่ องเครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ
2.2 แนะนา,อธิ บายถึงกฎในโรงงานต่าง ๆ รวมถึงการเบิก – จ่ายวัสดุ - อุปกรณ์และ
เครื่ องมือต่าง ๆ ในการปฏิบตั ิงาน
2.3 ให้นกั เรี ยนลงมือปฏิบตั ิตามใบงานที่ 1.1.1 โดย ชี้แจงลาดับขั้นตอนในการลง
ปฏิบตั ิให้นกั เรี ยนเข้าใจแล้วจึงปฏิบตั ิ
3. ขั้นสรุ ป
3.1 นักเรี ยนสรุ ปผลการปฏิบตั ิงาน
3.2 อบรมเรื่ องระเบียบการใช้เครื่ องมือ การปฏิบตั ิตามกฎของโรงงาน ความตั้งใจใน
การปฏิบตั ิงานและการตรงต่อเวลา
3.3 ครู ผสู ้ อนเน้นย้าให้นกั เรี ยนตระหนักถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
นโยบายสถานศึกษา 3D ในส่ วนของความละเอียด ความรอบคอบ ความปลอดภัย ความมีวินยั
ความสนใจใฝ่ รู ้ ความเป็ นประชาธิ ปไตยและห่างไกลยาเสพติด
4. ขั้นประเมินผล
4.1 ใบทดสอบความรู ้ที่ 1.1.1
4.2 ใบทดสอบความรู ้ที่ 1.1.2
4.3 ใบประเมินผลที่ 1.1
4.4 ทาการบันทึกหลังการจัดการเรี ยนรู ้

การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความมีเหตุผล
- นักเรี ยนบอกวิธีการแบ่งชนิดของเครื่ องมือตามลักษณะการใช้งาน
- นักเรี ยนบอกหน้าที่การใช้งานของเครื่ องมือแต่ละชนิดตามหลักการ
2. ความพอประมาณ
- นักเรี ยนเตรี ยมเครื่ องมือได้เหมาะสมกับการทดลอง
3. การมีภูมิค้ ุมกันในตัวทีด่ ี
- นักเรี ยนปฏิบตั ิงานโดยคานึงถึงความละเอียด รอบคอบ และปลอดภัย
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรี ยนมีความรู ้เกี่ยวกับวิธีการการแบ่งชนิดของเครื่ องมือในงานระบบการปรับ
อากาศ
- นักเรี ยนรู ้หน้าที่การใช้งานของเครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ
15

5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรี ยนมีความละเอียดรอบคอบ และแสดงพฤติกรรมถึงความมีวินยั ความสนใจ
ใฝ่ รู ้

การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 D
1. ด้ านประชาธิปไตย
- มีการเปิ ดโอกาสนักเรี ยนได้แสดงความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
2. ด้ านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็ นไทย
- นักเรี ยนมีความละเอียดรอบคอบ และแสดงพฤติกรรมถึงความมีวินยั ความสนใจ
ใฝ่ รู ้
3. ด้ านภูมิค้ ุมกันภัยจากยาเสพติด
- นักเรี ยนใช้เวลาว่างในการทบทวนความรู ้ต่าง ๆ รวมทั้งทางานที่ได้รับมอบหมาย

6. สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้


สื่ อสิ่ งพิมพ์
- เอกสารประกอบการจัดการเรี ยนรู ้ฯ
- เอกสารอ้างอิง ลาดับที่ 1-5
สื่ อโสตทัศน์
- แผ่นใส แสดงรู ปเครื่ องมือในงานระบบการปรับอากาศ
หุ่นจาลองหรื อของจริง
- เครื่ องมือในพื้นที่ปฏิบตั ิการฯ

7. หลักฐาน
หลักฐานความรู้
- ผลการสังเกต
- ผลการมอบหมายงาน
- ผลการทดสอบจากใบทดสอบฯ
- ผลการประเมินผลจากใบประเมินผลฯ
หลักฐานการปฏิบัติงาน
- ผลงาน / ชิ้นงานของนักเรี ยน
- ผลการประเมินผลจากใบประเมินผลฯ
16

8. วัดและประเมินผล
8.1 เครื่ องมือประเมิน
8.1 ใบทดสอบความรู ้ที่ 1.1.1
8.2 ใบทดสอบความรู ้ที่ 1.1.2
8.3 ใบประเมินผลที่ 1.1
8.2 วิธีการประเมิน
- ประเมินกิจนิสัยการปฏิบัติงาน โดยการสังเกตพฤติกรรมการแสดงความคิ ดเห็ น
และการรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ความเข้าใจและการมีส่วนร่ วม ความรับผิดชอบ ความมีระเบียบ
วินัย ความประพฤติ การแต่ งกาย การปฏิ บ ัติ ตามกฎต่ าง ๆ ของโรงงาน การตรงต่ อเวลา การ
เตรี ยมพื้ น ฐานความรู ้ ในการปฏิ บ ัติ งาน และคุ ณ ธรรม จริ ยธรรมพื้ น ฐานทั่วไปตามหัวข้อ ของใบ
ประเมินผลที่ 1.1
- ประเมิ น กระบวนการปฏิ บั ติงาน โดยการสังเกตกระบวนการการเตรี ยมวัสดุ –
อุปกรณ์ การใช้วสั ดุ อุป กรณ์ การใช้เครื่ องมื อ และการปฏิ บตั ิ งานตามขั้น ตอน ตามหัวข้อของใบ
ประเมินผลที่ 1.1
- ประเมินผลงาน โดยการสังเกตความรู ้ ความเข้าใจในงานที่ ปฏิ บตั ิ การนาไปใช้
งานที่ ม อบหมายหรื อกิ จ กรรมหลังเรี ยน ประเมิ น ความรู ้ โดยใช้ใบทดสอบความรู ้ ที่ 1.1.1 และใบ
ทดสอบความรู ้ที่ 1.1.2 ประเมินคุณภาพของงาน การปฏิบตั ิงานหรื อการทดสอบเพิ่มเติม ตามหัวข้อ
ของใบประเมินผลที่ 1.1
8.2 เกณฑ์ การประเมิน
- คะแนน 80 – 100 = ดี
- คะแนน 70 – 79 = ปานกลาง
- คะแนน 60 – 69 = พอใช้
- คะแนน 50 – 59 = ต้องปรับปรุ ง

9. กิจกรรมเสนอแนะ / งานที่มอบหมาย
ก่ อนเรียน
ให้นกั เรี ยนสังเกตตามสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เช่น บ้านเรื อน, ร้านค้า, ห้องแถว, ศูนย์การค้า หรื อ
ภายในสถานศึกษาต่าง ๆ จะเห็นถึงอิทธิ พลของระบบการทาความเย็น ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันให้
นักเรี ยนจดบันทึก ระบบการทาความเย็นชนิดต่าง ๆ ที่สงั เกตเห็นตามสถานที่ดงั กล่าว
17

ขณะเรียน
ให้นกั เรี ยนได้ยกตัวอย่างชนิดของระบบการทาความเย็นชนิดต่าง ๆ ที่สงั เกตเห็นตามสถานที่
ต่าง ๆ มาบอกเล่ากับเพื่อนในห้อง
ร่ วมทากิจกรรมต่าง ๆ และการเรี ยนรู ้ที่เป็ นไปตามกิจกรรมการเรี ยนรู สอนครั้งที่ 1 ชัว่ โมงที่ 1-6
หลังเรียน
หลังจากนักเรี ยนได้ทราบถึงความสาคัญของระบบกาทาความเย็นและได้รู้จกั เครื่ องมือต่าง ๆ ที่
ใช้งานในระบบการปรับอากาศแล้วแล้ว จึงให้นกั เรี ยนสังเกตต่อไปว่าในวงจรน้ ายาในระบบการปรับ
อากาศประกอบด้วยอุปกรณ์อะไรบ้าง เปรี ยบเทียบความแตกต่างกับวงจรน้ ายาของระบบการทาความ
เย็นทัว่ ๆ ไป

กิจกรรมเสนอแนะ
..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

10. เอกสารอ้ างอิง


1. สนอง อิ่มเอม. 2544. เครื่ องทาความเย็นและปรับอากาศรถยนต์ . กรุ งเทพมหานคร:
อมริ นทร์ พริ้ นติ้งแอนด์พลับบลิชชิ่ง.
2. สมศักดิ์ สุ โมตยกุล. 2545. เครื่ องทาความเย็นและปรับอากาศ. กรุ งเทพมหานคร:
บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จากัด (มหาชน).
3. งานบริ การ ฝ่ ายบริ การ . การซ่อมตูเ้ ย็น (เล่ม 1) . กรุ งเทพมหานคร:บริ ษทั เอ.พี. เนชัน่ แนล เซลส์
จากัด.
4. ห.จ.ก. กุลธร เอนเจเนียริ่ ง .2540. อุปกรณ์ เครื่ องทาความเย็น. กรุ งเทพมหานคร.
5. Andrew D.Althouse, Carl H. Turnquist, Alfred F. Bracciano.1982. Modern Refrigeration and
Air Conditioning. South Holland, Illinois: The Goodheart – Willcox Company, Ine.

11. บันทึกหลังการสอน
ข้ อสรุ ปหลังการสอน
........................................................................................................................................... .........
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
18

ผลการเรียนรู้
...................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
ผลการสอนของครู
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
.......................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหาและ / หรื อพัฒนา
...................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ......................................................
( ........................................... )
วันที่ ......เดือน ...............พ.ศ. ..........

บันทึกการตรวจสอบและ / หรื อข้อเสนอแนะของหัวหน้ าแผนกวิชา


.............................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ......................................................
( .......................................... )
วันที่ ......เดือน ...............พ.ศ. ..........

You might also like