You are on page 1of 16

คู่มือปฏิบัติงาน การทดสอบสมรรถภาพ

หน่วยงาน โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ กรมแพทย์


ทหารเรือ

บันทึกการอนุมัติและการแก้ไข สำเนา
ที่..............
ชื่อและ
ชื่อและ ชื่อและ วัน
รายละเอียดการ ตำแหน่ง
ฉบับที่ ตำแหน่ง ผู้ ตำแหน่ง บังคับ
แก้ไข ผู้รับผิด
ทบทวน ผู้อนุมัติ ใช้
ชอบ
ฉบับ
- แก้ไขฉบับร่าง
R01
คู่มือการปฏิบัติงาน การทดสอบสมรรถภาพ
ชื่อหน่วย โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ พร.
เลขที่เอกสาร :WP-(CP หรือ SP)01-(Sub CP หรือ
SubSP)01-ชื่อหน่วยงาน-01
ฉบับ
สถานะ : ควบคุม หน้า : ๑/ ๗
ที่...........................
สารบัญ
หัวข้อ หน้า
๑. วัตถุประสงค์ ๒
๒. ผังกระบวนการทำงาน ๓
๓. ขอบเขต ๔
๔. ความรับผิดชอบ ๔
๕. คำจำกัดความ ๕
๖. ข้อกำหนดที่สำคัญ ๕
๗. ตัวชีว้ ัด ๕
๘. ขัน
้ ตอนการปฏิบัติงาน ๖
๙. กฎหมาย มาตรฐาน และเอกสารที่เกี่ยวข้อง๖
๑๐. การจัดเก็บและการเข้าถึงเอกสาร ๗
๑๑. ระบบการติดตามและประเมินผล ๗
๑๒. ภาคผนวก ๗
คู่มือการปฏิบัติงาน การทดสอบสมรรถภาพ
ชื่อหน่วย โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ พร.
เลขที่เอกสาร :WP-(CP หรือ SP)01-(Sub CP หรือ
SubSP)01-ชื่อหน่วยงาน-01
ฉบับ
สถานะ : ควบคุม หน้า : ๒/ ๗
ที่...........................

๑. วัตถุประสงค์
๑.๑ เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการทดสอบสมรรถภาพ
๑.๒ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานให้แก่บุคคลากรที่เกี่ยวข้อง
๑.๓ เพื่อการทดสอบสมรรถภาพ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน การทดสอบสมรรถภาพ
ชื่อหน่วย โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ พร.
เลขที่เอกสาร :WP-(CP หรือ SP)01-(Sub CP หรือ
SubSP)01-ชื่อหน่วยงาน-01
ฉบับ
สถานะ : ควบคุม หน้า : ๓/ ๗
ที่...........................

๒. ผังกระบวนการทำงาน
๒.๑ การทดสอบสมรรถภาพ

มาตร ข้อกำหนดของ
ลำดั ฐาน กระบวนการ
ขัน
้ ตอนของกระบวนการ ผู้รับผิดชอบ
บ เวลา (กฎ ระเบียบ ข้อ
บังคับ)
(นาที)
กระบวนการ
ทดสอบ
ลงทะเบียนเข้ารับ
สมรรถภาพทาง - งานสร้าง
๑. การทดสอบ ๒ นาที
กายกำลังพล เสริมสุขภาพ
ปรับปรุงสุขภาพ
โดย ทร. พศ.๒๕๕๗
๑. รักษาโรค

ตรวจ/วัด สัดส่วน
ร่างกายและสภาวะ
- งานสร้าง
๒. ๓ นาที
เสริมสุขภาพ

กลุ่มไม่เข้าเกณฑ์ กลุ่มทดสอบ

คัดกรองภาวะ พิเศษ

- งานสร้าง
๓. ๒ นาที
เสริมสุขภาพ

กลุ่ม เฝ้ าระวัง


ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ - งานสร้าง
๔. และอบอุ่นร่างกาย ๕ นาที เสริมสุขภาพ

ดำเนินการทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย
- งานสร้าง
๕. ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ๒ นาที
เสริมสุขภาพ
และคลายอุน
่ ร่างกาย

- งานสร้าง
๖. ๕ นาที
เสริมสุขภาพ

รายงานผลการ
- งานสร้าง
๗. ทดสอบสมรรถภาพ ๕ นาที
เสริมสุขภาพ
สมรรถภาพต่ำ สมรรถภาพอยู่
กว่าเกณฑ์ ในเกณฑ์

แนะนำผลการ
ทดสอบ

- งานสร้าง
๘. สัปดา
เสริมสุขภาพ
กิจกรรมรักษา/
ห์
สร้างเสริม
รักษา/สร้างเสริม
สมรรถภาพทาง

คู่มือการปฏิบัติงาน การทดสอบสมรรถภาพ
ชื่อหน่วย โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ พร.
เลขที่เอกสาร :WP-(CP หรือ SP)01-(Sub CP หรือ
SubSP)01-ชื่อหน่วยงาน-01
ฉบับ
สถานะ : ควบคุม หน้า : ๔/ ๗
ที่...........................

๓. ขอบเขต
๓.๑ การทดสอบสมรรถภาพ
เริ่มจากกำลังพลเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางกายตามที่นัดหมาย
ไว้ โดยการกรอกแบบฟอร์มลงทะเบียน ตอบแบบประเมินความพร้อมก่อน
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ( PAR Q ) และลงนามเข้ารับการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายเข้ารับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น โดยการตรวจวัด
ชีพจรและความดันโลหิตขณะพัก ชั่งน้ำหนักตัว วัดส่วนสูง วัดรอบเอว และ
วัดไขมันใต้ผิวหนัง คัดกรองภาวะสุขภาพโดยการประเมินจากข้อมูล
ประวัติสุขภาพ และผลการตรวจสุขภาพประจำปี อัตราเสี่ยงจากการตอบ
แบบประเมินความพร้อมก่อนการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ( PAR Q )
ผลการตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้น โดยแยกเป็ น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มทดสอบปกติ
สามารถเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้ตามขัน
้ ตอนและวิธีการที่
กำหนดทุกประการ กลุ่มทดสอบพิเศษ กำลังพลกลุ่มนีม
้ ีปัญหาทางสุขภาพ
บ้างเล็กน้อย สามารถเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้แต่ต้อง
กระทำด้วยความระมัดระวังเป็ นพิเศษ และกลุ่มไม่เข้าเกณฑ์การทดสอบ
เป็ นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการทดสอบสมรรถภาพทางกายด้วยปั จจัยความ
ผิดปกติทางร่างกายหรือสุขภาพ จนไม่สามารถเข้ารับการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายได้ จะต้องได้รับการแก้ไขปั ญหาทางด้านร่างกายหรือ
สุขภาพให้กลับมาปกติเสียก่อน
เมื่อผ่านการประเมินสภาวะสุขภาพว่าสามารถทำการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายได้ ให้เตรียมร่างกายก่อนทดการทดสอบสมรรถภาพคือ
อบอุ่นร่างกาย ๕ นาที และยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ๕ – ๑๐ นาที
เริ่มทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายตามลำดับดังนี ้ วัดความอ่อนตัว
ของร่างกาย (Sit & Reach Test) , ทดสอบลุกนั่ง (Sit-ups Test) จับเวลา
๑ นาที , ทดสอบดันพื้น (Push-ups Test) จับเวลา ๑ นาที , ทดสอบวิ่ง
ระยะทาง ๒.๔ กม.จับเวลา (Times Running Test) นำผลที่ได้มาเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐานทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทร.
รายงานผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายส่วนบุคคล พร้อมคำ
แนะนำในการพัฒนาสมรรถภาพทางกายส่วนบุคคลให้ดีขน
ึ ้ โดยกำลังพลที่มี
ผลการทดสอบสมรรถภาพต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ฝึ กเพื่อปรับปรุง
แก้ไข/พัฒนาสมรรถภาพทางกายตามกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและ
กระบวนการพัฒนาสมรรถภาพเพื่อสุขภาพที่ดีของกำลังพล ทร. ส่วนกำลัง
พลที่มีสมรรถภาพทางกายมาตรฐาน ฝึ กเพื่อดำรงรักษาหรือสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกายที่ดีตามกระบวนการพัฒนาสมรรถภาพ เพื่อสุขภาพที่ดี
ของกำลังพล ทร.

๔. ความรับผิดชอบ
๔.๑ งานสร้างเสริมสุขภาพ มีหน้าที่ดังต่อไปนี ้
๔.๑.๑ ดำเนิน งานอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ประเมิน สิ่ง
แวดล้อมในการทำงาน ประเมินความเสี่ยงที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพจากการ
ปฏิบ ัต ิง าน กิจกรรมปรับ พฤติก รรมสุข ภาพที่ไ ม่เ หมาะสม กิจ กรรมรัก ษา
และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและค้นหาต้นแบบที่ดีในการดูแลสุขภาพ
๔.๑.๒ ดำเนินการป้ องกัน สอบสวนและการควบคุมโรคทางระบาด
วิทยา
๔.๑.๓ ดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน สร้างกระบวนการ
เรียนรู้ในชุมชน และประเมินผล
๔.๑.๔ ดำเนิน การทดสอบสมรรถภาพทางกายกำลัง พล ทร. พื้น ที่
บางนา กิจกรรมพัฒนาสมรรถภาพทางกาย กิจกรรมรักษาและสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกาย
๔.๑.๕ ดำเนิน งานด้า นการตรวจสุข าภิบ าลน้ำดื่ม น้ำใช้ การตรวจ
สุขาภิบาลหน่วยตามระเบียบกองทัพเรือรวมทัง้ การป้ องกันและควบคุมสัตว์ -
แมลงที่เป็ นพาหะนำโรค
คู่มือการปฏิบัติงาน การทดสอบสมรรถภาพ
ชื่อหน่วย โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ พร.
เลขที่เอกสาร :WP-(CP หรือ SP)01-(Sub CP หรือ
SubSP)01-ชื่อหน่วยงาน-01
ฉบับ
สถานะ : ควบคุม หน้า : ๕/ ๗
ที่...........................

๔.๒ งานบริการสุขภาพ มีหน้าที่ดำเนินงานตามขอบข่ายของงานบริการ


สุขภาพ
๔.๓ งานตรวจสุขภาพ มีหน้าที่ดำเนินงานตามขอบข่ายของงานตรวจ
สุขภาพ
๔.๔ งานเภสัชกรรม มีหน้าที่ดำเนินงานตามขอบข่ายของงานเภสัชกรรม
๔.๕ งานกำลังพล มีหน้าที่ดำเนินงานตามขอบข่ายของงานกำลังพล
๔.๖ งานเวชระเบียน มีหน้าที่ดำเนินงานตามขอบข่ายของงานเวช
ระเบียน
๔.๗ จุดคัดกรองผู้ป่วย มีหน้าที่ดำเนินงานตามขอบข่ายของจุดคัดกรองผู้
ป่ วย

๕. คำจำกัดความ
๕.๑ กำลัง พล หมายถึง ข้า ราชการการ ทหาร พนัก งานราชการ
ลูกจ้าง ที่สงั กัดโรงพยาลบาลทหารเรือกรุงเทพ กรมแพทย์ทหารเรือ
๕.๒ อสส. หมายถึง อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.ทหารเรือกรุงเทพ พร. ที่
อยู่ในอาคารพักอาศัยส่วนกลางทหารเรือ พื้นที่บางนา
๕.๓ นขต.ทร. พื้น ที่บ างนา หมายถึง หน่ว ยขึน
้ ตรงกองทัพ เรือ และ
หน่ว ยอื่น ๆ ของกองทัพ เรือ พื้น ที่บ างนา ได้แ ก่ กรมสรรพาวุธ ทหารเรือ
พื้นที่บางนา กองเรือยกพลขึน
้ บกและยุทธบริการ กรมอุทกศาสตร์ โรง
พยาบาลทหารเรือกรุงเทพ กรมแพทย์ทหารเรือ โรงเรียนพลาธิการทหาร
เรือ
๖. ข้อกำหนดที่สำคัญ
๖.๑ มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับประยุกต์เกณฑ์รางวัล
คุณภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕
๖.๒ มาตรฐาน ISO 9002
๖.๓ นโยบายเฉพาะของ ผบ.ทร. ประจำปี งป.๕๘ ด้านกำลังพล ข้อ ๑๑
“ส่งเสริมให้ก ำลังพลในหน่วยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รวมทัง้ กำกับ
ดูแลการทดสอบสมรรถภาพ และการตรวจสุขภาพประจำปี ให้เป็ นไปตาม
กรอบระยะเวลาที่ก ำหนด เพื่อให้ก ำลังพลมีส ุขภาพแข็งแรงและดัชนีมวล
กายเป็ นไปตามมาตรฐานหรือ ลดลงจากที่เ ป็ นอยู่เ ดิม ในปั จจุบ ัน ” และ
ยุทธศาสตร์ พร. เป้ าประสงค์ พร. ที่ ๑ กำลังพลกองทัพเรือมีสข
ุ ภาพดี และมี
สมรรถนะเหมาะสมกับหน้าทีก
่ ลยุทธ์ท่ี ๑.๓ ส่งเสริม สนับสนุนให้ก ำลังพลมี
พัฒนาการสมรรถภาพให้ได้มาตรฐานตามหน้าที่

๗. ตัวชีว
้ ัด
๗.๑ ระยะเวลาการสอบสวนและควบคุมโรค ภายใน ๔๘ ชั่วโมงหลังได้รับ
รายงาน
๗.๒ จำนวนอุบัติการณ์โรคที่เกิดจากอาหารและน้ำ สิ่งแวดล้อม ขยะ สัตว์
และแมลงนำโรค
๗.๓ ร้อยละของของกำลังที่มีภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพตามแนวทางเมตาบอ
ริก
๗.๔ ร้อยละของกำลังพลที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการปรับพฤติกรรม
สุขภาพ
๗.๕ ร้อยละของความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพใน
ชุมชน
๗.๕ ร้อยละของกำลังพลที่เข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
๗.๖ ร้อยละของกำลังพลที่มีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่
ทร. กำหนด
คู่มือการปฏิบัติงาน การทดสอบสมรรถภาพ
ชื่อหน่วย โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ พร.
เลขที่เอกสาร :WP-(CP หรือ SP)01-(Sub CP หรือ
SubSP)01-ชื่อหน่วยงาน-01
ฉบับ
สถานะ : ควบคุม หน้า : ๖/ ๗
ที่...........................

๘. ขัน
้ ตอนการปฏิบัติงาน
๘.๑ การทดสอบสมรรถภาพ
๘.๑.๑ งานกำลังพล นำกำลังพลเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย โดยให้กรอกแบบฟอร์มลงทะเบียน ตอบแบบประเมินความพร้อมก่อน
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ( PAR Q ) และลงนามเข้ารับการทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย
๘.๑.๒ งานสร้างเสริมสุขภาพประเมินสุขภาพเบื้องต้น โดยการตรวจ
วัดชีพจรและความดันโลหิตขณะพัก ชั่งน้ำหนักตัว วัดส่วนสูง วัดรอบเอว
และวัดไขมันใต้ผิวหนัง คัดกรองภาวะสุขภาพโดยการประเมินจากข้อมูล
ประวัติสุขภาพ และผลการตรวจสุขภาพประจำปี อัตราเสี่ยงจากการตอบ
แบบประเมินความพร้อมก่อนการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ( PAR Q )
ผลการตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้น โดยแยกเป็ น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มทดสอบปกติ
สามารถเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้ตามขัน
้ ตอนและวิธีการที่
กำหนดทุกประการ กลุ่มทดสอบพิเศษ กำลังพลกลุ่มนีม
้ ีปัญหาทางสุขภาพ
บ้างเล็กน้อย สามารถเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้แต่ต้อง
กระทำด้วยความระมัดระวังเป็ นพิเศษ และกลุ่มไม่เข้าเกณฑ์การทดสอบ
เป็ นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการทดสอบสมรรถภาพทางกายด้วยปั จจัยความ
ผิดปกติทางร่างกายหรือสุขภาพ จนไม่สามารถเข้ารับการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายได้ จะต้องได้รับการแก้ไขปั ญหาทางด้านร่างกายหรือ
สุขภาพให้กลับมาปกติเสียก่อน
๘.๑.๓ งานสร้างเสริมสุขภาพให้เตรียมร่างกายก่อนทดการทดสอบ
สมรรถภาพคือ อบอุ่นร่างกาย ๕ นาที และยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ๕ – ๑๐
นาที
๘.๑.๔ งานสร้างเสริมสุขภาพเริ่มทำการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ตามลำดับดังนี ้ วัดความอ่อนตัวของร่างกาย (Sit & Reach Test) , ทดสอบ
ลุกนั่ง (Sit-ups Test) จับเวลา ๑ นาที , ทดสอบดันพื้น (Push-ups Test)
จับเวลา ๑ นาที , ทดสอบวิ่งระยะทาง ๒.๔ กม.จับเวลา (Times Running
Test) นำผลที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ทร.
รายงานผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายส่วนบุคคล พร้อมคำ
แนะนำในการพัฒนาสมรรถภาพทางกายส่วนบุคคลให้ดีขน
ึ้
๘.๑.๕ งานสร้างเสริมสุขภาพ/งานบริการสุขภาพคัดแยกกลุ่มไม่เข้า
เกณฑ์การทดสอบ ให้การแก้ไขปั ญหาทางด้านร่างกายหรือสุขภาพให้กลับ
มาปกติ
๘.๑.๖ งานสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์การทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย และกลุ่มไม่เข้าเกณฑ์การทดสอบ มาฝึ กเพื่อปรับปรุง
แก้ไข/พัฒนาสมรรถภาพทางกายตามกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและ
กระบวนการพัฒนาสมรรถภาพเพื่อสุขภาพที่ดีของกำลังพล ทร.
๘.๑.๗ งานสร้างเสริมสุขภาพนำกำลังพลที่ผ่านการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายมาตรฐาน ฝึ กเพื่อดำรงรักษาหรือสร้างเสริมสมรรถภาพ
ทางกายที่ดีตามกระบวนการพัฒนาสมรรถภาพ เพื่อสุขภาพที่ดีของกำลังพล
ทร.

๙. กฎหมาย มาตรฐาน และเอกสารที่เกี่ยวข้อง


๙.๑ คู่มือมาตรฐานสุขภาพกองทัพเรือ
๙.๒ คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) กระบวนการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายกำลังพล ทร.
กรมแพทย์ทหารเรือ กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๗
๙.๓ คู่มือเวชศาสตร์ป้องกันกองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๓
๙.๔ อทร.๙๓๐๒ การสุขาภิบาลหน่วยเรือ และหน่วยบก

คู่มือการปฏิบัติงาน การทดสอบสมรรถภาพ
ชื่อหน่วย โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ พร.
เลขที่เอกสาร :WP-(CP หรือ SP)01-(Sub CP หรือ
SubSP)01-ชื่อหน่วยงาน-01
ฉบับ
สถานะ : ควบคุม หน้า : ๗/ ๗
ที่...........................

๑๐. การจัดเก็บและการเข้าถึงเอกสาร

ชื่อเอกสาร สถานที่เก็บ ผู้รับผิดชอบ การจัดเก็บ ระยะ


เวลา
๑. ผลการตรวจ งานกำลังพล งานกำลังพล ๑. แฟ้ ม ๑๐ ปี
สุขภาพประจำปี เอกสาร
กำลังพล รพ.ฯ ๒. ไฟล์ข้อมูล
ใน
คอมพิวเตอร์
๒. ผลการตรวจ งานกำลังพล งานกำลังพล ๑. แฟ้ ม ๑๐ ปี
สุขภาพกลุ่มเสี่ยง เอกสาร
กำลังพล รพ.ฯ ๒. ไฟล์ข้อมูล
ใน
คอมพิวเตอร์
๓. รายงานผลการ งานสร้างเสริมสุข งานสร้าง ๑. แฟ้ ม ๕ ปี
ดำเนินโครงการส่ง ภาพ เสริมสุขภาพ เอกสาร
เสริมสุขภาพ ๒. ไฟล์ข้อมูล
ใน
คอมพิวเตอร์
๔.สถิติการรายงาน งานสร้างเสริมสุข งานสร้าง ๑. แฟ้ ม งาน
และการสอบสวน ภาพ เสริมสุขภาพ เอกสาร สร้าง
โรค เสริมสุข
ภาพ
๕. ผลการทดสอบ งานสร้างเสริมสุข งานสร้าง ๑. แฟ้ ม ๕ ปี
สมรรถภาพทางกาย ภาพ เสริมสุขภาพ เอกสาร
กำลังพล รพ.ฯ ๒. ไฟล์ข้อมูล
ใน
คอมพิวเตอร์

๑๑. ระบบการติดตามและประเมินผล
๑๑.๑ แผนปฏิบัติราชการประจำปี
๑๑.๒ ตัวชีว้ ัด : - ระยะเวลาการสอบสวนและควบคุมโรค ภายใน ๔๘
ชั่วโมงหลังได้รับรายงาน
- จำนวนอุบัติการณ์โรคที่เกิดจากอาหารและน้ำ สิ่งแวดล้อม
ขยะ สัตว์และแมลงนำโรค
- ร้อยละของของกำลังที่มีภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพตามแนวทาง
เมตาบอริก
- ร้อยละของกำลังพลที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการปรับ
พฤติกรรมสุขภาพ
- ร้อยละของความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุข
ภาพในชุมชน
- ร้อยละของกำลังพลที่เข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย
- ร้อยละของกำลังพลที่มีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์
มาตรฐานที่ ทร. กำหนด

๑๒. ภาคผนวก
๑๒.๑ แบบฟอร์มรายละเอียดตัวชีว้ ัด
๑๒.๒ การรายงานผลการปฏิบัติราชการประจำปี

You might also like