You are on page 1of 53

กองทัพบก

ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
การฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น

ของ

หน่วยรบพิเศษ
( ๘ สัปดาห์ )
ลฝ.๓๗ – ๑๒
_____________
พ.ศ. ๒๕๖๓
กองทัพบก

ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
การฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น

ของ

หน่วยรบพิเศษ
( ๘ สัปดาห์ )
ลฝ.๓๗ – ๑๒
_____________
พ.ศ. ๒๕๖๓
คำสั่งกองทัพบก
ที่ ............... / ๒๕๖๓
เรื่อง ให้ใช้หนังสือตำราในราชการ

กองทัพบกได้ดำเนินการปรั บแก้ไ ขระเบีย บและหลั กสูตรการฝึก อาสาสมัครทหารพราน


เบื้องต้น (๔ สัปดาห์) ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน และได้ดำเนินการ
เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ดังนั้น จึงให้หน่วยที่เกี่ยวข้องยกเลิกระเบียบและหลักสูตรการฝึกอาสาสมั ครทหารพราน
เบื้องต้น (๔ สัปดาห์) ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ตามคำสั่งกองทัพบก ที่ ๑๘๘/๕๖ ลง ๑๑ ก.ค.๕๖ และให้หน่วยใช้
ระเบียบและหลักสูตรการฝึก ลฝ.๓๗ – ๑๒ การฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น (๘ สัปดาห์) ปี พ.ศ.
๒๕๖๓ เป็นหลักฐานในการจัดการฝึก , ดำเนินการฝึก , ตรวจสอบประเมินผลและสนับสนุนการฝึกของ
รร.ทพ.ทบ. และหน่วยต่าง ๆ ทั้งนี้ ให้หน่วยต่าง ๆ เสนอใบเบิกเพื่อขอรับระเบียบและหลักสูตรได้ต าม
ผนวก การเบิกรับและอัตราการจ่าย ประกอบคำสั่งนี้ต่อไป ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

รับคำสั่ง ผบ.ทบ.
พล.ท.
( วิสันติ สระศรีดา )
จก.ยศ.ทบ.
ยศ.ทบ.
สำเนาถูกต้อง
ลงชื่อ ............................................
(...........................................)
ตำแหน่ง
.............../.............../................
ผนวก การเบิกรับ และอัตราการแจกจ่าย ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ประกอบ คำสั่ง ทบ.ที่ /๒๕๖๓ ลง ต.ค.๖๓
ลฝ.๓๗ – ๑๒ ระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น
ของ หน่วยรบพิเศษ (๘ สัปดาห์) ปี พ.ศ.๒๕๖๓

๑. หน่วยเบิก
๑.๑ นขต.ทบ. (เว้น ทภ.), นขต.ยศ.ทบ. และหน่วยนอก ทบ. เบิก – รับ ได้จาก ยศ.ทบ.
๑.๒ มทบ. เบิกรับจาก ยศ.ทบ. เพื่อแจกจ่ายให้ ทภ., หน่วยในบังคับบัญชา ทภ. และหน่วยในพื้นที่ มทบ.
๒. อัตราแจกจ่าย
๒.๑ หน่วยใน ทบ.
- กรมฝ่ายเสนาธิการ เว้น กพ.ทบ., ขว.ทบ., กร.ทบ. และ สปช.ทบ. (๒)
- กรมฝ่ายกิจการพิเศษ เว้น กง.ทบ., จบ.สก.ทบ., สบ.ทบ. และ สตช.ทบ. (๒)
- กรมฝ่ายยุทธบริการ เว้น ยย.ทบ. และ พบ. (๒)
- ยศ.ทบ. (๑๐), ศฝยว.ทบ., ศร., ศม., ศบบ. (๒), รร.ร.ศร.,รร.ม.ศม., รร.ป.ศป. (๕), ศสพ. (๒๐),
รร.สพศ.ศสพ. (๑๐), รร.จปร., รร.สธ.ทบ., วทบ., รร.เหล่าสายวิทยาการ, ศูนย์การศึกษา, ห้องสมุด
รร.เหล่าสายวิทยาการ (๑)
- ทภ., ทน. (๒), กองพล (๒), กรม (๒)
- รร.ทพ.ทบ. (๑๐)
- กรม ทพ. (๑๐), ฝทพ.ทภ. (๕) และ ฉก.ทพ.นย. (๓), ร้อย.ทพ. (๓), มว.ทพ.หญิง (๒)
๒.๒ หน่วยนอก ทบ.
- ห้องสมุด กห., ศวจ., ยก.ทหาร, ทร., ทอ. (๒), รร.ตท., ตชด. (๒)
วัตถุประสงค์การฝึกศึกษาของกองทัพบก
 เป็นผู้นำที่ดี มีคุณธรรม
 มีความรู้และประสบการณ์สำหรับการในหน้าที่
 แข็งแรงทรหดอดทนต่อการตรากตรำทำงาน
คำนำ
ระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึก อาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น เล่มนี้ไ ด้รวบรวมจาก
หลักฐานคู่มือราชการสนาม เอกสารพิเศษ และคู่มือเทคนิคที่ ทบ. อนุมัติให้ใช้เป็นหลักฐานได้ ระเบียบ
ข้อบังคับ คำสั่งและคำชี้แจงต่าง ๆ ของ ทบ. ที่เกี่ยวข้องกับการฝึก เพื่อใช้เป็นแนวทาง สำหรับใช้อ้างอิงในการ
วางแผนและดำเนินการฝึก ของทหารพรานทุกหน่วย ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและสามารถปฏิบัติภารกิจ ที่
ได้รับมอบจากผู้บังคับบัญชาให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์และความมุ่งหมายที่ ทบ. กำหนด
ระเบียบหลักสูตรการฝึกเล่มนี้ หากหน่วยใดมีความประสงค์ที่จะให้ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง
แก้ไ ข กรุณาระบุ หน้า , ข้อ, บรรทัด ตามที่ปรากฏในระเบียบ และหลักสูตรการฝึกนี้และควรให้เหตุผล
ประกอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้และสามารถประเมินค่าในการดำเนินการปรับปรุง แก้ไ ขได้อย่าง
สมบูรณ์ ข้อคิดเห็นดังกล่าวนี้ ขอให้ส่ง ไปที่ กองวิทยาการ ศูนย์สงครามพิเศษ ต.ทะเลชุบศร อ.เมือง
จ.ลพบุรี ๑๕๐๐๐

หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
สารบัญ
บทที่ เรื่อง หน้า
๑ ระเบียบการฝึก
ตอนที่ ๑ กล่าวทั่วไป ๑
ตอนที่ ๒ การจัดการฝึก ๒
ตอนที่ ๓ การยิงปืน ๓
ตอนที่ ๔ การตรวจการฝึก, การประเมินผล และการรายงานผลการฝึก ๔
๒ หลักสูตรการฝึก
ตอนที่ ๑ ตารางกำหนดการฝึกหลัก ๕
ตอนที่ ๒ ตารางกำหนดการฝึกเป็นรายสัปดาห์ (๘ สัปดาห์) ๘
ตอนที่ ๓ แถลงหลักสูตรการฝึก ๑๖
ตอนที่ ๔ ตารางการฝึกยิงปืน ๓๓
๓ การสนับสนุนการฝึก
ตอนที่ ๑ สป.๓ ๓๘
ตอนที่ ๒ สป.๕ ๔๐
ตอนที่ ๓ งบประมาณ ๔๒
๔ ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ผนวก ก ตารางกำหนดการฝึกหลัก (แบบไม่มีขั้นการฝึก) ๔๖
ผนวก ข ตารางกำหนดการฝึกหลัก (แบบมีขั้นการฝึก) ๔๗
ผนวก ค ตารางกำหนดการฝึกประจำสัปดาห์ (แบบไม่มีขั้นการฝึก) ๔๘
ผนวก ง ตารางกำหนดการฝึกประจำสัปดาห์ (แบบมีขั้นการฝึก) ๕๐
ผนวก จ ตารางแถลงหลักสูตรการฝึก (แบบไม่มีขั้นการฝึก) ๕๑
ผนวก ฉ ตารางแถลงหลักสูตรการฝึก (แบบมีขั้นการฝึก) ๕๒
ผนวก ช ตารางการฝึกประจำวัน ๕๓
ผนวก ซ ตารางกำหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ๕๔
ผนวก ด ตารางความต้องการสิ่งอุปกรณ์สิ้นเปลือง (การฝึกและธุรการ) ๕๕
ผนวก ต ตารางความต้องการสิ่งอุปกรณ์ (สาย สพ., สาย วศ., สาย ส., สาย พ. และ เป้า)
ผนวก ถ ตารางความต้องการยานพาหนะ (การฝึกและธุรการ)
ผนวก ท ตารางความต้องการยานพาหนะและสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓ (งานการฝึกทั่วไป)
ผนวก น ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา (เฉพาะเรื่อง)ประกอบ
ความคิดเห็น (บุคคล)
ผนวก บ ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชาประกอบความเห็น
(บุคคล)
ผนวก ป ตารางรายงานสรุปผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา (ส่วนรวม)ประกอบ
ความคิดเห็นในภาพรวม (เป็นหน่วย)
บทที่ ๑
ระเบียบการฝึก
__________________

ตอนที่ ๑ กล่าวทั่วไป
๑. ความมุ่งหมายการฝึก
หลักสูตรการฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทาง สำหรับการฝึกอบรม
อาสาสมัครทหารพรานที่ได้รับการคัดเลือกมาบรรจุทดแทนในหน่วยทหารพรานที่ขาดอัตราหรือที่จัดตั้งขึ้นใหม่
โดยมีความมุ่งหมาย เพื่อให้อาสาสมัครทหารพรานใหม่ได้รับการฝึกในวิชาทหารเบื้องต้นเป็นรายบุคคลเพื่อให้ มี
ความพร้อมในการปฏิบัติงานในหน่วย ระดับชุดปฏิบัติการทหารพราน และ เป็นพื้นฐานในการเข้ารับการฝึก
เป็นหน่วยระดับสูงต่อไป
๒. วัตถุประสงค์การฝึก
หลักสูตรการฝึก นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกอบรมอาสาสมัครทหารพรานใหม่ที่ได้รับการคัดเลือกมาบรรจุ
ทดแทนในหน่วยทหารพรานที่ขาดอัตราหรือที่จัดตั้งขึ้นใหม่ให้มีความรู้ความสามารถ และมีคุณสมบัติดังนี้
๒.๑ ปรับสภาพทางร่างกายและจิตใจจากการดำเนินชีวิตแบบพลเรือนมาเป็นการดำเนิน ชีวิตแบบ
ทหารพราน ในกรณีต่อไปนี้
๒.๑.๑ เพื ่ อ ให้ ท ราบถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะและท่ า ทางของทหารที่ จ ะนำไปปรั บ ปรุ ง ตนเอง ให้ มี
ความคุ้นเคยกับชีวิตแบบทหารกับให้เรียนรู้ถึงวิธีการปฏิบัติตนเพื่อการอยู่และปฏิบัติง าน ได้อย่างมีระบบและ
เป็นระเบียบ
๒.๑.๒ เพื่อให้ทราบถึงแบบธรรมเนียมของทหารที่จำเป็นจะต้องนำไปใช้ประพฤติ ปฏิบัติตน
ตลอดห้วงเวลาที่รับราชการ
๒.๑.๓ เพื่อปลูกฝังจิตใจให้มีคุณธรรมที่ดีงามซึ่ง จะเป็นเครื่องส่งเสริมให้ทหารพราน ใหม่เป็น
บุคคลที่มีคุณค่าต่อกองทัพบก มีอุดมการณ์เพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๒.๑.๔ เพื่อปลูกฝังให้มีส่วนร่วมและรักษาไว้ซึ่ง ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒.๑.๕ เพื่อปลูกฝังให้มีกิริยามารยาทที่ดีงามเป็นผู้มีวินัยและขวัญอันสูงส่ง คุณค่าทางสัง คม เป็น
พลเมืองดีของประเทศ และให้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาจากประชาชน
๒.๑.๖ เพื่อเสริมสร้ างให้ มีร ่างกายที ่ สมบูร ณ์ แข็ง แรงเป็น มาตรฐานเดีย วกันอดทน ต่อการ
ปฏิบัติงานอย่างตรากตรำ และทรหดในพื้นที่ห่างไกลและทุรกันดารได้อย่างต่อเนื่อง
๒.๒ ฝึกฝนให้มีความรู้ในวิชาการทหารเบื้องต้นที่จำเป็นต้องรู้ในวิชาการต่าง ๆดังต่อไปนี้
๒.๒.๑ วิชาทหารทั่วไปให้มีความรู้ในเรื่องการติดต่อสื่อสารการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศการ
ใช้เครื่องมือหาพิกัดด้วยดาวเทียมการข่าวเบื้องต้นการปฐมพยาบาลและ สุขอนามัย และการระเบิดทำลาย, ทุ่น
ระเบิด, กับระเบิด วิชาการใช้อาวุธให้มีความรู้ในเรื่องการใช้อาวุธประจำกายอาวุธประจำหน่วย ลูกระเบิดขว้าง
และการปรนนิบัติบำรุงอาวุธยุทโธปกรณ์
๒.๒.๓ วิชายุทธวิธี ให้มีความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติการรบเป็นบุคคล และเป็นหน่วยระดับ
ชุดปฏิบัติการ โดยเน้นเทคนิคของหน่วยทหารขนาดเล็กปฏิบัติการเป็นอิสระ
หน้า ๒ บทที่ ๑
๓. ขอบเขตการฝึก
๓.๑ เรื่องที่ทำการฝึก ประกอบด้วย การอบรม การฝึกเบื้องต้น การฝึกความสมบูรณ์แข็งแรง ของ
ร่างกาย การฝึกวิชาทหารทั่วไป การฝึกวิชาอาวุธ การฝึกทางยุทธวิธี และการฝึกภาคสนาม
๓.๒ ห้วงระยะเวลาฝึก ๘ สัปดาห์
๓.๓ หลักฐานการฝึก
๓.๓.๑ นโยบายการฝึก คำสั่งการฝึก และบันทึกสั่งการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกทหาร
แต่ละปีของกองทัพบก
๓.๓.๒ คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การฝึกทหาร (รส. ๒๑-๕)
๓.๓.๓ คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย วิธีเตรียมการและดำเนินการฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ
(รส. ๒๑-๖)
๓.๓.๔ คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย เครื่องช่วยฝึก (รส. ๒๑-๘)
๓.๓.๕ คู่มือราชการสนาม, คู่มือทางเทคนิค, คู่มือการฝึก และหลักฐานเตรียมการฝึกทหาร
ใหม่แต่ละวิชา ที่กองทัพบกได้อนุมัติให้ใช้เป็นหลักฐานได้
๓.๓.๖ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง และ คำชี้แจงต่าง ๆ ของกองทัพบกที่เกี่ยวข้องกับระเบียบ
และหลักสูตรการฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น ของกรมทหารพราน (๘ สัปดาห์)
๓.๓.๗ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง และคำชี้แจงต่าง ๆ ของกองทัพบกที่เกี่ยวข้อง
๔. ความรับผิดชอบการฝึก
๔.๑ ผบ.รร.ทพ.ทบ./ ผบ.กรม.ทพ. ที่ ทภ.มอบหมาย เป็นผู้รับผิดชอบและควบคุมเป็นส่วนรวม
๔.๒ การดำเนินการฝึกอยู่ในความรับผิดชอบของ รร.ทพ.ทบ. / กรม.ทพ. หรืออาจมอบให้ ร้อย.
ฝรพ.ทภ.เป็นหน่วยหน่วยรับผิดชอบดำเนินการฝึก

ตอนที่ ๒
การจัดการฝึก
๑. ความมุ่งหมาย
การดำเนินการฝึก มีความมุ่งหมายให้การฝึก ดำเนินไปตามขั้นตอนจากง่ายไปยาก สอดคล้องกับที่หน่วย
ได้กำหนดไว้อย่างเหมาะสม สามารถให้ความรู้และประสบการณ์ แก่ผู้รับการฝึกได้มากที่สุด เท่าที่จะกระทำได้
๒. วิธีดำเนินการฝึก
๒.๑ การดำเนินการฝึก จะต้องยึดถือ และปฏิบัติตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ในคู่มือราชการสนาม
ว่าด้วย วิธีเตรียมการและดำเนินการฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ (รส. ๒๑–๖)
๒.๒. การดำเนินการฝึกควรให้ผู้เข้ารับการฝึกได้มีโอกาสปฏิบัติจริงให้มากกว่าการสอนปากเปล่า
๒.๓ การฝึกหมุนเวียนเป็นวิธีการจัดการฝึกที่ดี จะช่วยให้ทหารพรานมีความตื่นตัวสามารถฝึกและ
สอนได้อย่างทั่วถึง และการฝึกทบทวนบ่อยๆ โดยไม่ใช้เวลามากจะช่วยให้ทหารพราน มีโอกาสทบทวนทำซ้ำ
ทำให้เข้าใจและจดจำได้ดี
๒.๔ ควรทบทวนเรื่องต่างๆที่ได้ฝึกสอนไปแล้ว ให้เข้ากับเรื่องที่จะทำการฝึกสอนต่อไปในโอกาสอัน
เหมาะสม วิธีนี้ควรจะได้พยายามกระทำให้มากที่สุด
ลฝ.๓๒ - ๑๒ หน้า ๓

๒.๕ การฝึกในเวลากลางคืนมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับทหารพราน ดังนั้นจึงจำเป็น


ต้องฝึกอย่างจริงจังภายใต้การกำกับดูแลอย่างเข้มงวด กวดขันของผู้บังคับบัญชา และอาจพิจารณาขยายเวลา
การฝึกให้มากกว่าที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกเท่าที่จะสามารถกระทำได้ โดยจะต้องเพ่งเล็งถึงวินัยของการ
ฝึกในเวลากลางคืนเป็นพิเศษด้วย
๒.๖ การอบรม ถือว่ามีความสำคัญเท่าเทียมกับการฝึก ผู้บังคับบัญชาจะต้องสนใจกำกับดูแล ให้มี
การอบรมอย่างจริงจัง ครบถ้วนตามหลักสูตรการฝึก และหมั่นทำการอบรมด้วยตนเองอยู่เสมอ
๒.๗ การประเมินผล เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่จะทำให้ทหารพรานมีความกระตือรือร้นอย่างต่อเนื่อง
และสามารถยกระดับมาตรฐานการฝึกให้ดีขึ้น การประเมินผลที่กำหนดเกณฑ์มาตรฐานอย่างเหมาะสม
ย่อมจะเป็นการเสริมกำลังใจในการฝึก และสร้างความเชื่อมั่นในตัวเองได้อย่างดียิ่ง
๒.๘ ในกรณีที่มีกระสุน และวัตถุระเบิดเพียงพออาจจะจัดให้มีการแสดงคุณลักษณะและขีดความ
สามารถของอาวุธชนิดต่างๆที่มีอยู่ในอัตราของหน่วยทั้งนี้เพื่อให้ผู้รับการฝึกเกิดความเชื่อมั่น ความคุ้นเคยและ
มีความมั่นใจในการฝึก
๒.๙ เพื่อให้การดำเนินการฝึกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า การฝึกใน หลักสูตรนี้
แต่ละครั้งควรมีทหารพรานใหม่ที่เข้ารับการฝึกจำนวนไม่น้อยว่า ๓๐ คน (เว้นเป็น นโยบายของ ทบ.) โดยให้
ทภ. รวบรวมยอดอาสาสมัครทหารพรานที่ขาดอัตราของแต่ละ กรม ทพ. ในแต่ละ ทภ. รายงาน ทบ. เพื่อขอ
อนุมัติบรรจุทดแทนโดยเปิดรับสมัครและทำการคัดเลือก เพื่อส่งตัวให้ รร.ทพ.ทบ. ดำเนินการฝึกตามระเบียบ
และหลักสูตรการฝึกนี้

ตอนที่ ๓
การยิงปืน
๑. ความมุ่งหมาย
๑.๑ เพื่อให้ทหารพราน ได้ทราบถึง ขั้นตอนในการทำงานและ วิธีการใช้อาวุธประจำกายอย่าง
ถูกต้อง ทราบถึงถึงสาเหตุการติดขัด และสามารถแก้ไขเหตุติดขัดในขั้นต้นได้
๑.๒ เพื่อให้ทหารพราน มีความคุ้นเคย มีความเชื่อมั่น ตลอดจนสามารถใช้อาวุธประจำกายได้ อย่าง
เป็นประสิทธิผล และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
๑.๓ ให้ทราบถึงสมรรถนะ ขีดความสามารถของอาวุธประจำกาย ตลอดจนและเทคนิคใหม่ ๆ ที่จะ
นำมาประยุกต์ใช้กับบุคคลในการปฏิบัติงานจริงๆ
๒. วิธีดำเนินการ
๒.๑ ทหารพรานทุกคนต้องได้รับการฝึกยิงปืนตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึก
นี้ และจะต้องเพ่งเล็งให้ทุกคนได้ใช้อาวุธประจำกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้ทหารพรานได้รับการฝึก
ยิงปืนด้วยกระสุนจริงไปตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง และในขณะที่ทำการฝึกสอนนั้น จะต้องจัดให้ มีผู้ช่วยครูฝึก
หรือครูฝึก คอยให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด
๒.๒ การยิงปืนด้วยกระสุนจริง และการใช้วัตถุระเบิดทุกชนิด จะต้องคำนึงถึงการ
รักษาความปลอดภัย โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการรักษาความปลอดภัยอย่างถูกต้อง และจะต้องปฏิบัติตาม
รายละเอียดที่ได้กำหนดไว้ในคู่มือราชการสนาม, คู่มือการฝึก, คู่มือทางเทคนิค, หลักฐานเตรียมการฝึก, คำสั่ง,
คำชี้แจง ตลอดจนแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการฝึกของกองทัพบก อย่างเคร่งครัด
หน้า ๔ บทที่ ๑

ตอนที่ ๔
การตรวจการฝึก, การประเมินผล และการรายงานผลการฝึก
๑. ความมุ่งหมาย
๑.๑ เพื่อวัดและประเมินผลการฝึกเป็นบุคคล ตลอดจนเป็นการกระตุ้น ให้ทหารพรานใหม่ ให้มีความ
สนใจ กระตือรือร้นในการฝึก
๑.๒ เพื่อให้ทราบ ถึงปัญหา ข้อขัดข้อง ตลอดจนข้อบกพร่องในการฝึก
๑.๓ เพื่อเพิ่มทักษะพิเศษในการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว
๒. วิธีดำเนินการ
๒.๑ ให้หน่วยที่รับผิดชอบจัดการฝึก เป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผลการฝึก โดยรายงาน
ผลให้ หน่วยบังคับบัญชาและหน่วยสายวิทยาการ ( ศสพ.) ทราบ เพื่อรายงานให้หน่วยเหนือต่อไป
๒.๒ ผบ.รร.ทพ.ทบ./ ผบ.กรม.ทพ. รับผิดชอบดำเนินการฝึก หรือ ผู้แทน ที่ได้รับมอบหมาย ให้ทำ
การตรวจการฝึกอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ทราบถึงปัญหา ข้อขัดข้องและข้อบกพร่องเพื่อนำไปแก้ไขในโอกาสแรกที่
สามารถกระทำได้
๒.๓ การรายงานผลการฝึกให้กระทำทันทีเมื่อเสร็จสิ้นการฝึก ทั้งนี้เพื่อให้สามารถ ปรับปรุงแก้ไข
ข้อบกพร่องก่อนที่จะมีการฝึกในโอกาสต่อไป
บทที่ ๒
หลักสูตรการฝึก
ตอนที่ ๑
ตารางกำหนดการฝึกหลัก
เวลา
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน (ชม.) หมายเหตุ
การฝึกภาคที่ตั้ง
๑. การฝึกเบื้องต้น ๓๕
๑.๑ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๑๔
๑.๒ การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ๑๔
๑.๓. การฝึกแถวชิด ๗
๒. การเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกาย ๓๙
๒.๑ กายบริหาร ๓๖ ทุกวันที่ทำการฝึก
๒.๒ การทดสอบร่างกาย ๓ เวลา ๑๖๐๐ – ๑๗๐๐
๓. วิชาตามนโยบาย/ ตามสถานการณ์ ๕๓
๓.๑ วิธีการป้องกันอันตรายจากความร้อนจากการฝึก ๔
๓.๒ มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค โควิด ๑๙ ๓
๓.๓ การเก็บหลักฐานวัตถุพยาน ๔
๓.๔ การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บทางยุทธวิธี ๓
๓.๕ วิธีปฏิบัติต่อวัตถุต้องสงสัยเป็นระเบิดแสวงเครื่อง ๔
๓.๖ กิจกรรมจิตอาสา ๓
๓.๗ การป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ๗
๓.๘ บรรยายพิเศษภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ๓
๓.๙ บรรยายพิเศษด้านการข่าว ๔
๓.๑๐ บรรยายพิเศษด้านกิจการพลเรือน ๓
๓.๑๑ การฝึกปฏิบัติงานด้านการข่าว (การสืบสภาพ) ๗
๓.๑๒ การฝึกปฏิบัติงานด้านกิจการพลเรือน (จัดตั้งมวลชน) ๘
๔. วิชาทหารทั่วไป ๒๘
๔.๑ วิธีการป้องกัน อันตรายจาก เคมี ชีวะ รังสี และ ๓
นิวเคลียร์ (คชรน.)
๔.๒ การติดต่อสื่อสาร ๖
๔.๓ การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ๖
๔.๔ การปฐมพยาบาล ๓
๔.๕ การข่าวเบื้องต้น ๔
๔.๖ การระเบิดทำลาย, ทุ่นระเบิด, กับระเบิด ๖
หน้า ๖ บทที่ ๒

เวลา
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน หมายเหตุ
(ชม.)
๕. การฝึกใช้อาวุธ ๙๑
๕.๑ การฝึกใช้อาวุธประจำกาย ๒๖
๕.๒ การฝึกใช้อาวุธประจำหน่วย ๒๕
๕.๓ การฝึกใช้ลูกระเบิดขว้าง ๒๖
๕.๔ การฝึกยิงปืนฉับพลัน ๑๔
๖. การฝึกทางยุทธวิธี ๘๑(๖)
๖.๑ บุคคลทำการรบในเวลากลางวัน ๘
๖.๒ บุคคลทำการรบในเวลากลางคืน (๖)
๖.๓ การลาดตระเวน ๑๔
๖.๔ การตีโฉบฉวย ๘
๖.๕ การปฏิบัติฉับพลัน ๔
๖.๖ การซุ่มโจมตี/ การต่อต้านการซุ่มโจมตี ๔
๖.๗ การตั้งฐานปฏิบัติการ ๕
๖.๘ การตั้งจุดตรวจ/ จุดสกัด ๓
๖.๙ การปิดล้อม/ ตรวจค้น ๘
๖.๑๐ การปฏิบัติการรบในพื้นที่เขตเมือง ๘
๖.๑๑ การปฏิบัติการในพื้นที่ป่าภูเขา ๔
๖.๑๒ การเล็ดลอดหลบหนี ๓
๖.๑๓ การสะกดรอย ๘
๖.๑๔ การดำรงชีพในป่า ๔
๗. การอบรม (๕๒) เวลา ๑๙๐๐ – ๒๑๐๐
๗.๑ แบบธรรมเนียมทหาร (๘) เว้น การบรรยายพิเศษ
๗.๒ สิทธิและหน้าที่ของทหารพราน (๔) วันที่ทำการฝึกกลางคืน
๗.๓ มารยาทและวินัยทหาร (๔) และ กิจกรรมจิตอาสา
๗.๔ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย (๔)
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๗.๕ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายยาเสพติด, ป่าไม้ (๔)
และผู้หลบหนีเข้าเมือง
๗.๖ ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และราชวงศ์ (๖)
๗.๗ การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง (๖)
๗.๘ ประวัติศาสตร์ชาติไทย (๖)
๗.๙ คุณธรรมและจริยธรรมของทหาร (๖)
๗.๑๐ บทเรียนจากการรบ (๔)
๘. การฝึกภาคสนาม ๔๐(๕๖) ฝึก ๔ วัน
๙. เวลาผู้บังคับบัญชา ๑๗
ลฝ.๓๒ - ๑๒ หน้า ๗

เวลา
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน หมายเหตุ
(ชม.)
รวม ๓๘๔(๑๑๔)

หมายเหตุ - ห้วงการฝึก ๘ สัปดาห์ จำนวน ๕๖ วัน (ไม่รวม พิธี เปิด – ปิดการฝึก และเวลาธุรการ)
- ทำการฝึก วันจันทร์ – วันเสาร์ เว้น วันอาทิตย์
- ทำการฝึกวันละ ๘ ชม. สำหรับ ชม. สุดท้ายให้ทำการฝึกกายบริหารวันละ ๑ ชม.
- เวลาในวงเล็บ (-) หมายถึงการฝึกและการอบรมในเวลากลางคืน
ตอนที่ ๒

หน้า ๘
ตารางกำหนดการฝึกเป็นรายสัปดาห์ (๘ สัปดาห์)
(สัปดาห์ที่ ๑ – สัปดาห์ที่ ๔)
เวลา สัปดาห์ที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๒ สัปดาห์ที่ ๓ สัปดาห์ที่ ๔
ลำดับ วิชาที่ทำการเรียนการสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๑. การฝึกเบื้องต้น ๓๕
๑.๑ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๑๔ - ๗ ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๑.๒ การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ๑๔ - - - ๗ ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๑.๓. การฝึกแถวชิด ๗ - - - - - ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๒. การเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกาย ๓๙
๒.๑ กายบริหาร ๓๖ - - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ -
๒.๒ การทดสอบร่างกาย ๓ - - - - - - - - - - - ๑ - - - - - - - - - - - ๑
๓. วิชาตามนโยบาย/ ตามสถานการณ์ ๕๓
๓.๑ การปฐมพยาบาล และวิธีป้องกัน ๔ ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
อันตรายจากความร้อนจากการฝึก
๓.๒ มาตรการป้องกันการแพร่ระบาด ๓ ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ของโรคโควิด ๑๙
๓.๓ การเก็บหลักฐานวัตถุพยาน ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๔ การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บทางยุทธวิธี ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๕ วิธีปฏิบัติต่อวัตถุต้องสงสัยเป็นระเบิด ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
แสวงเครื่อง
๓.๖ กิจกรรมจิตอาสา ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๗ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

บทที่ ๒
๓.๘ บรรยายพิเศษภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๙ บรรยายพิเศษด้านการข่าว ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
เวลา สัปดาห์ที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๒ สัปดาห์ที่ ๓ สัปดาห์ที่ ๔
ลำดับ วิชาที่ทำการเรียนการสอน

ลฝ.๓๒ - ๑๒
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๓.๑๐ บรรยายพิเศษด้านกิจการพลเรือน ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๑๑ การฝึกปฏิบัติงานด้านการข่าว ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๑๒ การฝึกปฏิบัติงานด้านกิจการพลเรือน ๘ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๔. วิชาทหารทั่วไป ๒๘
๔.๑ วิธีการป้องกันอันตรายจาก เคมี ชีวะ รังสี ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๓ - - - - -
และนิวเคลียร์ (คชรน.)
๔.๒ การติดต่อสื่อสาร ๖ - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ - - - - - -
๔.๓ การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ๖ - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ - - - - - -
๔.๔ การปฐมพยาบาล ๓ - - - - - - - - - - - - - - - ๑ ๑ ๑ - - - - - -
๔.๕ การข่าวเบื้องต้น ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๔ - - - - -
๔.๖ การระเบิดทำลาย, ทุ่นระเบิด, กับระเบิด ๖ - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ - - - - - -
๕. การฝึกใช้อาวุธ ๙๑
๕.๑ การฝึกใช้อาวุธประจำกาย ๒๖ - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ - - - - - - - - -
๕.๒ การฝึกใช้อาวุธประจำหน่วย ๒๕ - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ - - - - - - - - -
๕.๓ การฝึกใช้ลูกระเบิดขว้าง ๒๖ - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ - - - - - - - - -
๕.๔ การยิงปืนฉับพลัน ๑๔ - - - - - - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ - - - - - - - - -
๖. การฝึกทางยุทธวิธี ๘๑(๖)
๖.๑ บุคคลทำการรบในเวลากลางวัน ๘ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ -
๖.๒ บุคคลทำการรบในเวลากลางคืน (๖) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - (๖)
๖.๓ การลาดตระเวน ๑๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
๖.๔ การตีโฉบฉวย ๘ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ -
๖.๕ การปฏิบัติฉับพลัน ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑ ๑ ๑ ๑ -

หน้า ๙
๖.๖ การซุ่มโจมตี/ การต่อต้านการซุ่มโจมตี ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๒
เวลา สัปดาห์ที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๒ สัปดาห์ที่ ๓ สัปดาห์ที่ ๔
ลำดับ วิชาที่ทำการเรียนการสอน

หน้า ๑๐
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๖.๗ การตั้งฐานปฏิบัติการ ๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๓
๖.๘ การตั้งจุดตรวจ/ จุดสกัด ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๙ การปิดล้อม/ ตรวจค้น ๘ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๐ การปฏิบัติการรบในพื้นที่เขตเมือง ๘ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๑ การปฏิบัติการรบในพื้นที่ป่าภูเขา ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๒ การเล็ดลอดหลบหนี ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๓ การสะกดรอย ๘ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๔ การดำรงชีพในป่า ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๗. การอบรม (๕๒)
๗.๑ แบบธรรมเนียมทหาร (๘) - - - - - - (๒) (๒) (๒) (๒) - - - - - - - - - - - - - -
๗.๒ สิทธิและหน้าที่ของทหารพราน (๔) - - - - - - - - - - - (๒) (๒) - - - - - - - - - -
๗.๓ มารยาทและวินัยทหาร (๔) - - - - - - - - - - - - - (๒) (๒) - - - - - - - -
๗.๔ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - (๒) (๒) - - - -
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๗.๕ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายาเสพติด, (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - (๒) (๒) - -
ป่าไม้ และ ผู้หลบหนีเข้าเมือง
๗.๖ ความจงรักภักดีต่อ ชาติ ศาสนา (๖)
และราชวงศ์
๗.๗ การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง (๖) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๗.๘ ประวัติศาสตร์ชาติไทย (๖) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๗.๙ คุณธรรมและจริยธรรมของทหาร (๖) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๗.๑๐ บทเรียนจากการรบ (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

บทที่ ๒
๘. การฝึกภาคสนาม ๔๐(๕๖) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
เวลา สัปดาห์ที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๒ สัปดาห์ที่ ๓ สัปดาห์ที่ ๔

ลฝ.๓๒ - ๑๒
ลำดับ วิชาที่ทำการเรียนการสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๙. เวลาผู้บังคับบัญชา ๑๗ ๑ ๑ - - - - - - - - - - - - - - - - - -

หน้า ๑๑
ตอนที่ ๒

หน้า ๑๒
ตารางกำหนดการฝึกเป็นรายสัปดาห์ (๘ สัปดาห์)
(สัปดาห์ที่ ๕ – สัปดาห์ที่ ๘)
เวลา สัปดาห์ที่ ๕ สัปดาห์ที่ ๖ สัปดาห์ที่ ๗ สัปดาห์ที่ ๘
ลำดับ วิชาที่ทำการเรียนการสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๑. การฝึกเบื้องต้น ๓๕
๑.๑ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๑๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๑.๒ การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ๑๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๑.๓. การฝึกแถวชิด ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๒. การเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกาย ๓๙
๒.๑ กายบริหาร ๓๖ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ - - - - - - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ - -
๒.๒ การทดสอบร่างกาย ๓ - - - - - - - - - - - ๑ - - - - - - - - - - - -
๓. วิชาตามนโยบายตามสถานการณ์ / ๕๓
๓.๑ การปฐมพยาบาล และวิธีป้องกัน ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
อันตรายจากความร้อนจากการฝึก
๓.๒ มาตรการป้องกันการแพร่ระบาด ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ของโรคโควิด ๑๙
๓.๓ การเก็บหลักฐานวัตถุพยาน ๔ - - - - - ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๔ การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บทางยุทธวิธี ๓ - - - - - ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๕ วิธีปฏิบัติต่อวัตถุต้องสงสัยเป็นระเบิด ๔ - - - - - - ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - -
แสวงเครื่อง
๓.๖ กิจกรรมจิตอาสา ๓ - - - - - - ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๗ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๗ - - - - - - - - ๗ - - - - - - - - - - - - - - -

บทที่ ๒
๓.๘ บรรยายพิเศษภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ๓ - - - - - - - - - ๓ - - - - - - - - - - - - - -
๓.๙ บรรยายพิเศษด้านการข่าว ๔ - - - - - - - - - - ๔ - - - - - - - - - - - - -
เวลา สัปดาห์ที่ ๕ สัปดาห์ที่ ๖ สัปดาห์ที่ ๗ สัปดาห์ที่ ๘
ลำดับ วิชาที่ทำการเรียนการสอน

ลฝ.๓๒ - ๑๒
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๓.๑๐ บรรยายพิเศษด้านกิจการพลเรือน ๓ - - - - - - - - - - ๓ - - - - - - - - - - - - -
๓.๑๑ การฝึกกิจกรรมด้านการข่าว (สืบสภาพ) ๗ - - - - - - - - - - - ๓ - - - - - - - - - - ๔ -
๓.๑๒ การฝึกกิจกรรมด้านกิจการพลเรือน ๘ - - - - - - - - - - - ๔ - - - - - - - - - - ๔ -
๔. วิชาทหารทั่วไป ๒๘
๔.๑ วิธีการป้องกันอันตรายจาก เคมี ชีวะ รังสี ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
และนิวเคลียร์ (คชรน.)
๔.๒ การติดต่อสื่อสาร ๖ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๔.๓ การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ๖ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๔.๔ การปฐมพยาบาล ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๔.๕ การข่าวเบื้องต้น ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๔.๖ การระเบิดทำลาย, ทุ่นระเบิด, กับระเบิด ๖ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๕. การฝึกใช้อาวุธ ๙๑
๕.๑ การฝึกใช้อาวุธประจำกาย ๒๖ - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ - -
๕.๒ การฝึกใช้อาวุธประจำหน่วย ๒๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ - -
๕.๓ การฝึกใช้ลูกระเบิดขว้าง ๒๖ - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๒ ๒ ๒ ๒ - -
๕.๔ การยิงปืนฉับพลัน ๑๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑ ๑ ๑ ๑ - -
๖. การฝึกทางยุทธวิธี ๘๑(๖)
๖.๑ บุคคลทำการรบในเวลากลางวัน ๘ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๒ บุคคลทำการรบในเวลากลางคืน (๖) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๓ การลาดตระเวน ๑๔ - - - - - - - - - ๔ - - - - - - - - - - - - - -
๖.๔ การตีโฉบฉวย ๘ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

หน้า ๑๓
๖.๕ การปฏิบัติฉับพลัน ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๖ การซุ่มโจมตี/ การต่อต้านการซุ่มโจมตี ๔ ๒ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
เวลา สัปดาห์ที่ ๕ สัปดาห์ที่ ๖ สัปดาห์ที่ ๗ สัปดาห์ที่ ๘

หน้า ๑๔
ลำดับ วิชาที่ทำการเรียนการสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๖.๗ การตั้งฐานปฏิบัติการ ๕ ๒ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๘ การตั้งจุดตรวจ/ จุดสกัด ๓ ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๙ การปิดล้อม/ ตรวจค้น ๘ - ๒ ๒ ๒ ๒ - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๐ การปฏิบัติการรบในพื้นที่เขตเมือง ๘ - ๒ ๒ ๒ ๒ - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๑ การปฏิบัติการรบในพื้นที่ป่าภูเขา ๔ - ๑ ๑ ๑ ๑ - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๒ การเล็ดลอดหลบหนี ๓ - - - - - ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๓ การสะกดรอย ๘ - ๒ ๒ ๒ ๒ - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๑๔ การดำรงชีพในป่า - - - - - ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๗. การอบรม (๕๒)
๗.๑ แบบธรรมเนียมทหาร (๘) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๗.๒ สิทธิและหน้าที่ของทหารพราน (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๗.๓ มารยาทและวินัยทหาร (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๗.๔ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๗.๕ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายาเสพติด, (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ป่าไม้ และ ผู้หลบหนีเข้าเมือง
๗.๖ ความจงรักภักดีต่อ ชาติ ศาสนา (๖) (๒) (๒)
และราชวงศ์
๗.๗ การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง (๖) - - (๒) (๒) - - - - - - - - - - - - - (๒) - - - -
๗.๘ ประวัติศาสตร์ชาติไทย (๖) - - - - - - (๒) (๒) - - - - - - - - - - (๒) - - -
๗.๙ คุณธรรมและจริยธรรมของทหาร (๖) - - - - - - - - (๒) (๒) - - - - (๒) (๒) - - - - - (๒) - -

บทที่ ๒
๗.๑๐ บทเรียนจากการรบ (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๘. การฝึกภาคสนาม ๔๐(๕๖) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
เวลา สัปดาห์ที่ ๕ สัปดาห์ที่ ๖ สัปดาห์ที่ ๗ สัปดาห์ที่ ๘

ลฝ.๓๒ - ๑๒
ลำดับ วิชาที่ทำการเรียนการสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๙. เวลาผู้บังคับบัญชา ๑๗ - - - - - - - - - - - - - - - - ๗ ๘ ๘ ๘ ๘ - ๘

หน้า ๑๕
ตอนที่ ๓

หน้า ๑๖
แถลงหลักสูตรการฝึก
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๑. การฝึกเบื้องต้น ๓๕
๑.๑ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๑๔ ๑. การฝึกท่าตรง และท่าพัก ๑.คฝ.๗ – ๖ ๑. เพื่อเสริมสร้างให้มีบคุ ลิก ๑. แผ่นภาพเครื่องช่วย
๒. การฝึกท่าหันอยู่กับที่, ท่าก้าวทางข้างและท่า ๒.คู่มือการฝึก แบบทหารที่สมบูรณ์ ฝึก
ก้าวถอยหลัง ว่าด้วยแบบฝึก ๒. เพื่อให้สามารถจดจำ ๒. วิดีทัศน์การฝึกบุคคล
๓. การฝึกท่าเดิน และท่าหยุดจากเดิน บุคคลท่ามือ ลักษณะท่าทางตามแบบฝึกได้ ท่ามือเปล่า
๔. การฝึกท่าเปลี่ยนเท้าในขณะเดิน และท่าซอย เปล่า รร.ทม. โดยถูกต้องสามารถนำไปใช้
เท้า ทม.รอ. พ.ศ. ปฏิบัติ ตามแบบธรรมเนียมของ
๕. การฝึกท่าหันในเวลาเดิน ๒๕๖๐ ทหารได้ตลอดเวลาที่รับ
๖. การฝึกท่าเคารพ ราชการ
๗. การฝึกท่าวิ่ง, ท่าหยุดจากวิ่ง, ท่าเปลี่ยนเท้า
ในขณะวิ่ง, ท่าเปลี่ยนจากวิ่งเป็นท่าเดิน และ
เปลี่ยนจากเดินเป็นวิ่ง
๑.๒ การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ๑๔ ๑. การฝึกท่าเรียบอาวุธ, ท่าพัก ๑.คฝ.๗ – ๕ ๑. เพื่อเสริมสร้างให้มีบคุ ลิก ๑. แผ่นภาพเครื่องช่วย
๒. การฝึกท่าหันอยู่กับที่,ท่าคอนอาวุธ,ท่าเฉียง ๒.คู่มือการฝึก แบบทหารที่สมบูรณ์ ฝึก
อาวุธ และท่าอาวุธพร้อม ว่าด้วยแบบฝึก ๒. เพื่อให้สามารถจดจำ ๒. วิดีทัศน์การฝึกบุคคล
๓. การฝึกท่าสะพายอาวุธ และแบกอาวุธ บุคคลท่าอาวุธ ลักษณะท่าทางตามแบบฝึกได้ ท่าอาวุธ
๔. การฝึกท่าเคารพ รร.ทม.ทม.รอ. โดยถูกต้องสามารถนำไป ใช้
๕. การฝึกท่าตรวจอาวุธและท่ารวมอาวุธ พ.ศ.๒๕๖๐ ปฏิบัติ ตามธรรมเนียม ของ
ทหารตลอด เวลาที่รับราชการ
๑.๓. การฝึกแถวชิด ๗ ๑. การฝึกแถวหน้ากระดาน ๑.คฝ.๗ – ๖ ๑. เพื่อเสริมสร้างให้มีบคุ ลิก ๑.แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
๑.๑ แถวเดี่ยว, สองแถว, สามแถว ฯ ๒.คู่มือการฝึก แบบทหารที่สมบูรณ์ ๒. วิดีทัศน์การฝึกแถวชิด
๑.๒ การแยกคู่ขาด ว่าด้วยแบบฝึก ๒. เพื่อให้สามารถจดจำ
๑.๓ การนับ บุคคลท่ามือ การปฏิบัติตามแบบฝึกได้

บทที่ ๒
๑.๔ การจัดแถว, การเปิด – ปิดระยะ เปล่า รร.ทม. ถูกต้อง สามารถนำ ไปปฏิบัติ
๑.๕ การพักและการเลิกแถว ทม.รอ. พ.ศ. ตามแบบธรรมเนียมของทหาร
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. การฝึกแถวตอน ๒๕๖๐ ตลอดเวลาที่รับราชการ

ลฝ.๓๒ - ๑๒
๒.๑ แถวเดี่ยว, สองแถว, สามแถว ฯ
๒.๒ การแยกคู่ขาด
๒.๓ การนับ
๒.๔ การจัดแถว, การเปิด – ปิดระยะ
๒.๕ การพักและการเลิกแถว
๒. การเสริมสร้างสมรรถภาพ ๓๙
ร่างกาย
๒.๑ กายบริหาร ๓๖ ให้ฝึกกายบริหารทุกวันที่ทำการฝึก โดย -ฝึกใน รส.๒๑ – ๒๐ ๑. เพื่อเสริมสร้างให้มีบคุ ลิก
เวลา ๑๖๐๐ – ๑๗๐๐ เว้น วันที่ทำการทำการ แบบทหารที่สมบูรณ์
ฝึกเวลากลางคืน หรือกิจกรรมจิตอาสาต่อเนื่อง ๒.เพื่อให้มีความแข็งแรง
สมบูรณ์ทางกาย พร้อมสำหรับ
การฝึก และการปฏิบัติงาน
๒.๒ การทดสอบร่างกาย ๓ ลุกนั่ง และ ,ยึดพื้น ,ทดสอบในท่าดึงข้อ -วิ่ง คำสั่ง ทบ.ที่ - เพื่อทดสอบความแข็งแรง
โดยใช้เกณฑ์และระยะทาง ตามที่กำหนด ๗๘/๓๕ ลง ๒๙ สมบูรณ์ของร่างกาย และความ
ม.ค.๓๕ พร้อมสำหรับการฝึกและปฏิบัติ
งานในหน้าที่
๓. วิชาตามนโยบาย/ ตาม ๕๓
สถานการณ์
๓.๑ วิธีป้องกันอันตรายจาก ๔ - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคลมร้อน,วิธีการ - - เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรค
ความร้อนจากการฝึก ป้องกัน,ช่วยเหลือ และปฐมพยาบาลผู้ได้รับ ลมร้อน สามารถป้องกันตนเอง
อันตรายจากความร้อนจากการฝึก และช่วยเหลือผู้อื่นได้
๓.๒ มาตรการป้องกันการแพร่ ๓ - การตระหนักรู้, การป้องกันตนเอง และวินัย - คู่มือทหาร - เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมี - แผ่นภาพวิธีการป้องกัน
ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ทหารต้านภัยโควิด - ๑๙ (COVID - 19) ต้านภัยโควิด วินัยสามารถป้องกันตนเองจาก การแพร่ระบาดของโรค
ศบค.๑๙ ทบ. โรคโควิด – ๑๙ ได้ โควิด – ๑๙ เป็นบุคคล
๓.๓ การเก็บหลักฐานวัตถุพยาน ๔ - วิธีการเก็บ หลักฐาน และวัตถุพยาน - เอกสารของ - เพื่อให้ทราบหลักพื้นฐานวิธี

หน้า ๑๗
ต่างๆ ในที่เกิดเหตุ การรายงาน และการนำ ส่ง ศพฐ.สตช. การปฏิบัติในการเก็บ หลักฐาน
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)

หน้า ๑๘
หลักฐาน และวัตถุพยาน ต่างๆ ในที่เกิดเหตุ และวัตถุพยาน ต่าง ๆ และ
ตลอดจน เทคนิค วิธีการป้องกันการทำลาย วิธีการป้องกันรักษาพื้นที่เกิด
หลักฐานวัตถุ พยานโดยไม่ตั้งใจ และการป้องกัน เหตุ และการทำลายหลักฐาน
รักษาพื้นที่เกิดเหตุ วัตถุพยานโดยไม่ตั้งใจ
๓.๔ การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บทาง ๓ - หลักการดูแลผู้บาดเจ็บจากการรบทาง - คู่มือดูแล - เพื่อให้ทราบถึงหลักการดูแล - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
ยุทธวิธี ยุทธวิธี การดูแลผู้บาดเจ็บระหว่างการ รบประทะ, ผู้บาดเจ็บจาก ผู้บาดเจ็บจากการรบสามารถ
การดูแลผู้บาดเจ็บในพื้นที่ ประทะ และการดูแล การรบทาง ดูแลผู้บาดเจ็บระหว่างการรบ
ผู้บาดเจ็บระหว่าง รอส่งกลับ ยุทธวิธี พัน.สร. ประทะ, การดูแลผู้บาด เจ็บใน
ที่ ๑ พล.๑ รอ. พื้นที่ประทะ และการดูแล
พ.ศ.๒๕๕๙ ผู้บาดเจ็บระหว่างรอส่งกลับ ได้
ถูกต้องสามารถนำไปใช้ปฏิบัติ
งานได้
๓.๕ วิธีปฏิบัติต่อวัตถุต้องสงสัย ๔ - วัตถุระเบิดแสวงเครื่อง, วิธีปฏิบัติเมื่อตรวจพบ - คู่มือการฝึก - เพื่อให้ทราบถึง หลักการ - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
เป็นวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง วัตถุต้องสงสัย เป็นระเบิดแสวง เครื่อง, วิธีการ ว่าด้วยการฝึก ทำงานของวัตถุระเบิดแสวง
ป้องกันและลดอันตราย จากวัตถุระเบิดแสวง เตรียมความ เครื่อง วิธีปฏิบัติเมื่อตรวจพบ
เครื่อง, การบันทึกและรายงานการจดจำและ การ พร้อมให้กับ วัตถุต้องสงสัย,วิธีการป้องกัน
รายงานวัตถุ ต้องสงสัยว่าเป็นระเบิดแสวงเครื่อง หน่วยที่จะเข้า และลดอันตรายจากวัตถุระเบิด
ปฏิบัติภารกิจใน แสวงเครื่อง การบันทึก ,จดจำ
พื้นที่ จชต. พ.ศ. และ การรายงานวัตถุต้องสงสัย
๒๕๕๖
๓.๖ กิจกรรมจิตอาสา ๓ - การดำเนินกิจกรรมจิตอาสาในพื้นที่ - - เพื่อเสริมสร้างความ
เสียสละ ความมีจิตอาสา
เพื่อประโยชน์ส่วนรวม
๓.๗ การป้องกันและบรรเทาสา ๗ - เป็นการบรรยายให้ความรู้ในการช่วยเหลือผู้ - เพื่อให้มีความรู้ในเบื้องต้น -
ธารณภัย ประสบสาธารณภัย การสาธิต และฝึกการใช้ เทคนิค วิธีการ ในการป้องกัน
อุปกรณ์ในการบรรเทาสารณภัย และ บรรเทาสาธารณภัย

บทที่ ๒
ตลอดจนช่วยเหลือประชาชนที่
ประสบภัยพิบัติ
เวลา

ลฝ.๓๒ - ๑๒
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๓.๘ บรรยายพิเศษ ภัยคุกคาม ๓ - ความรู้เบื้องต้นภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - นส.รร.สพศ. - เพื่อให้ทราบถึงภัยคุกคาม -
รูปแบบใหม่ ศสพ. พ.ศ. รูปแบบใหม่ เพื่อปูพื้นฐาน
๒๕๖๐ ความเข้าใจในการปฏิบัติ งาน
ในหน้าที่
๓.๙ บรรยายพิเศษด้าน ๔ - งานด้านการข่าวที่เกี่ยวข้องกับทหารพราน - - เพื่อให้มีความรู้ ความเข้า ใจ -
การข่าว เบื้องต้น และตระหนักใน
ความสำคัญของงานด้านการ
ข่าวที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติงานของทหารพราน
๓.๑๐ บรรยายพิเศษด้านกิจการ ๓ - งานด้านกิจการพลเรือนที่เกี่ยวข้องกับ - - เพื่อให้มีความรู้ ความเข้า ใจ -
พลเรือน ทหารพราน เบื้องต้น และตระหนักใน
ความสำคัญ ของงานด้าน
กิจการพล เรือน ที่เกี่ยวข้องกับ
การปฏิบัติงานของทหารพราน
๓.๑๑ การฝึกปฏิบัติงานด้านการ ๗ - การฝึกหมู่บ้านสืบสภาพแกนนำในชุมชน - นส.รร.สพศ. - เพื่อให้มีความรู้พื้นฐาน การ -
ข่าว ศสพ. ข่าวในการปฏิบัติงาน
พ.ศ.๒๕๕๕
๓.๑๒ การฝึกปฏิบัติงานด้าน ๘ - การฝึกจัดตั้งมวลชน ในหมู่บ้านหรือชุมชน - นส.รร.สพศ. - เพื่อให้มีความรู้พื้นฐาน การ -
กิจการพลเรือน ศสพ. ข่าวในการปฏิบัติงาน
พ.ศ.๒๕๕๕
๔. วิชาทหารทัว่ ไป ๒๘
๔.๑ วิธีการป้องกันอันตรายจาก ๑. ลักษณะและประเภทของอาวุธนิวเคลียร์ - หลักฐาน - เพื่อให้ทหารได้เรียนรู้ในการ ๑. หน้ากากป้องกัน
เคมี ชีวะ รังสี และนิวเคลียร์ ๒. อันตรายจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ เตรียมการฝึก ป้องกัน และการใช้หน้ากาก ไอพิษ ตามอัตรา
และอาการบาดเจ็บจากรังสี ทหารของ ทบ. ป้องกันไอพิษได้อย่างถูกต้อง ๒. ภคฝ. ๓ – ๑ – ๒
๓. การปฏิบัติเมื่ออาวุธนิวเคลียร์ระเบิด ๓. ภคฝ. ๓ – ๔ - ๓

หน้า ๑๙
๔. เมื่อถูกสารเคมี วิธีบำบัดทำลายล้างพิษ ๔. ภคฝ. ๓ - ๕ – ๑
เวลา

หน้า ๒๐
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๔.๒ การติดต่อสื่อสาร ๖ - หลักในการติดต่อสื่อสาร, ความหมายและประวัติ รส– ๒๔. ๕ - เพื่อให้รู้จักหลักในการ ๑. แผ่นภาพ และ
ของการสื่อสาร, ความสำคัญของ การ ติดต่อสื่อสารประเภทวิทยุ วิธี เครื่องมือสื่อสารที่มีใช้อยู่
ติดต่อสื่อสาร, หลักการติดต่อ สื่อสาร ,ประเภท รับ – ส่งข่าว และสามารถ ในหน่วยทหารพราน
วิทยุ, ประมวลลับ และรหัส, พลนำสาร, ทัศน ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
สัญญาณ, เสียงสัญญาณ
๔.๓ การอ่านแผนที่และการใช้ ๖ ๑. สัญลักษณ์, สี และเครื่องหมายบนแผนที่ การ ๑.รส.๒๑ – ๒๖ ๑. เพื่อให้มีความรู้ในเรื่องการ ๑. แผนที่
เข็มทิศ, การใช้เครื่องมือหาพิกัด ใช้สัญลักษณ์ และสีต่าง ๆ บนแผนที่ ๒.คู่มือพลทหาร ใช้งาน และอ่านแผนที่เบื้องต้น ๒. เข็มทิศ
ด้วยดาวเทียม ๒. ความหมายของเส้นกริด, การกำหนดที่ตั้งโดย ว่าด้วยการ ๒. เพื่อให้สามารถใช้งานแผนที่ ๓. เครื่องหาพิกัดด้วย
อาศัยเส้นกริด, การอ่านพิกัดที่ตั้งของจุดใดจุดหนึ่ง ปฏิบัติในสนาม ในการปฏิบัติงาน ในภูมิ ดาวเทียม
บนแผนที่ พ.ศ. ๒๕๑๖ ประเทศได้ทั้งในกลางวันและ ๔. แผ่นวัดมุม P 67
๓. มาตราส่วนบนแผนที่, มาตราส่วนเส้นบรรทัด, ๓.คู่มือการใช้ กลางคืน ๕. ดินสอ ยางลบ
การวัดระยะบนแผนที่ โดยใช้ เข็มทิศ, เครื่องมือ งานเครื่องหา ๓. เพื่อให้สามารถใช้งาน ๖. แผ่นภาพเครื่องมือ
และมาตราส่วนเส้นบรรทัด พิกัดด้วย เครื่องหาพิกัดด้วยดาวเทียมใน
๔. ทิศทาง มุมภาค ทิศเหนือ, ความหมายและ ดาวเทียม การปฏิบัติงานได้
ลักษณะของมุมภาคทิศเหนือกลับ
๕. การใช้เข็มทิศเลนเซติก, การเล็งเข็มทิศการ
อ่านค่ามุมภาคทิศเหนือ, การใช้เข็มทิศเวลา
กลางคืน, ข้อควรระวังในการใช้เข็มทิศ, การ
วางแผนที่ให้ถูกทิศ
โดยการใช้เข็มทิศ และไม่ใช้เข็มทิศ
๖. การวัดมุม และการกรุยทิศทางบนแผนที่ วิธี
วัดมุมภาคบนแผนที่
๗. การกำหนดจุดที่อยู่ลงในแผนที่ ด้วยวิธีเล็ง
สกัดตรง และเล็งสกัดกลับด้วยการใช้แผนที่ และ
เข็มทิศ

บทที่ ๒
๘. การใช้เครื่องหาพิกัดด้วยดาวเทียมหาพิกัดจุด
ที่ตั้ง จุดใดจุดหนึ่ง
เวลา

ลฝ.๓๒ - ๑๒
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๙. การฝึกใช้แผนที่ เข็มทิศ และเครื่องหาพิกัด
ด้วยเทียมประกอบการเดินทางในภูมิประเทศ
๔.๔ การปฐมพยาบาล ๓ ๑. การปฏิบัติต่อผู้บาดเจ็บ และการพยาบาล ๑.รส.๒๑ -๑๑ ๑. เพื่อให้ทราบถึงกระบวน ๑. แผ่นภาพเครื่องช่วย
ฉุกเฉิน หลักการช่วยชีวิต เมื่อทางเดินหายใจอุด ๒.คู่มือพลทหาร การที่สำคัญและสิ่งที่เป็น ฝึก
ตัน การผายปอด การห้ามเลือด ว่าด้วยการ อันตรายต่อชีวิต ๒. กระเป๋าพยาบาล
๒. อาการกระดูกหัก และการเข้าเฝือก ปฏิบัติใน สนาม ๒. ให้ทราบถึงแนวทางในการ ๓. สายรัดห้ามเลือด
๓. การปฐมพยาบาลผู้ถูกสัตว์มีพิษกัด และการ พ.ศ. ๒๕๑๖ ป้องกัน และแก้ไขอันตราย ที่ ผ้าพันแผล พร้อมอุปกรณ์
ปฐมพยาบาลคนจมน้ำ ๓.คู่มือพลเสนา เกิดขึ้น เข้าเฝือก และ ชุดปฐม
๔. การปฐมพยาบาลผู้หมดสติ อาการเจ็บป่วยที่ รักษ์หลักสูตร ๓. ให้ทราบถึงวิธีการช่วยเหลือ พยาบาล
เป็นอันตรายต่อสมอง การป้องกันและปฐม เบื้องต้นเหล่า ตนเองและเพื่อนทหารพราน
พยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากโรคลมร้อน แพทย์ เมื่อได้รับบาดเจ็บหรืออันตราย
๕. การอนามัยส่วนบุคคล และการ สุขาภิบาลใน
สนาม และกฎสำหรับ หลีกเลี่ยงโรคภัยในสนาม
๔.๕ การข่าวเบื้องต้น ๔ ๑. ความมุ่งหมายและความสำคัญของการ ข่าว ๑.รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ
ทางทหาร ประเภทของข่าวที่มี คุณค่า และความ ๒.คู่มือพลทหาร ในเรื่องของข่าวสารทางทหาร
จำเป็นของข่าวสาร ว่าด้วยการ ให้มากพอแก่ ความจำเป็นที่
๒. ความจำเป็นของทหารในการแสวงหาข่าวสาร ปฏิบัติใน สนาม จะต้อง ทราบ และสามารถ
สอนในเรื่องเจ้าหน้าที่รวบรวมข่าวสาร แหล่ง พ.ศ.๒๕๑๖ นำไปปฏิบัติ งานในสนามได้
ข่าวสาร และการปฏิบัติต่อเชลยศึก
๓. ความรับผิดชอบของทหารในการป้องกัน
ต่อต้านข่าว วินัยในการรักษาความลับ การใช้การ
พรางและการซ่อนพราง การรักษาความปลอดภัย
ทางการ สื่อสาร
๔. วิธีการสังเกต และรายงานข่าวสาร
๔. ระบบการกำหนดเขตการใช้และพราง ไฟ

หน้า ๒๑
ระบบการใช้สัญญาณผ่าน ระบบการรักษาความ
ปลอดภัยในที่ตั้งทางทหาร และวิธีปฏิบัติเมื่อถูก
จับเป็น เชลยศึก
เวลา

หน้า ๒๒
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๔.๖ การระเบิดทำลาย,ทุ่น ๔ - หลักการเบื้องต้น ในการระเบิดทำลาย สอนใน - รส.๕ – ๒๕ -เพื่อให้มีความรู้ในเบื้องต้น
ระเบิด และกับระเบิด เรื่องของดินระเบิดประเภทต่างๆ เครื่องอุปกรณ์ เกี่ยว กับการทำงานของวัตถุ
จุดระเบิด ได้แก่ เชื้อประทุชนวน เชื้อประทุไฟฟ้า ระเบิด
ชนวนฝักแคเวลา ชนวนฝักแคระเบิด และเครื่อง สามารถลด/ ป้องกันอันตราย
จุดชนิดต่างๆ ที่มีใช้ในกองทัพบก ที่อาจเกิดขึ้นกับตนเอง และ
เพื่อนทหารพรานได้
๕. การฝึกใช้อาวุธ ๙๑
๕.๑ การฝึกใช้อาวุธประจำกาย ๒๖ ๑. ทำการสอนในเรื่อง ชิ้นส่วนประกอบและ ๑. ระเบียบและ - เพื่อสอนให้ทราบถึง ๑. แผ่นภาพแสดงการ
ขีปนวิธีของ ปลย.๑๑, ปลย.เอ็ม ๑๖ เอ ๑ และ หลักสูตรการฝึก คุณลักษณะทั่วไป, การ ถอด ทำงานของ ปลย.๑๑,
เอ ๒ ปลย. AK – 47 การตรวจสอบ สภาพ ยิงปืนทหาร ประกอบ, การทำงานของ ปลย.เอ็ม ๑๖ เอ ๑ และ
ชิ้นส่วน การถอดประกอบ การตรวจสอบระบบ การฝึกยิงปืน เครื่อง กลไก, การระวังรักษา, เอ ๒, ปลย. AK – 47
การทำงาน การทำความสะอาดอาวุธ การชโลม เล็กยาว การทำความสะอาด ตลอดจน ๒. กระสุนฝึกบรรจุ
น้ำมัน และการทำความสะอาดdระสุน ประจำปี การฝึกให้ ยิงปืนได้อย่าง ๓. แผ่นภาพฝึกเล็ง
๒. การแก้ไขโดยฉับพลัน เมื่อเกิดการ ติดขัด สำหรับทหารทุก แม่นยำ ๔. คานฝึกเล็ง
เหล่าทัพของ ๕. แท่นวางปืน
ในขณะทำการยิง
ทบ. พ.ศ.๒๕๔๒ ๖. หีบเล็ง
๓. การบรรจุกระสุนใส่ในซองกระสุน และการนำ
๒. รส.๒๓ – ๙ ๗. แผ่นเป้าสำหรับการยิง
กระสุนออกจากซองกระสุน ๓. รส.๒๓-๙-๑ ปรับศูนย์ ระยะ ๒๕ ม.
๔. การจัดปรับศูนย์หน้า – หลัง
๕. การจัดศูนย์พอดี การจัดภาพการเล็ง ประกอบ
เป้าหมาย
๖. การเล็งและการลั่นไก
๗. การฝึกปฏิบัติท่ายิง ได้แก่ ท่านอน, ท่านั่งราบ
,ท่านั่งคุกเข่า,ท่านั่งสูงและยืนยิง
๘. ระเบียบปฏิบัติในสนามยิงปืน ขั้นตอนการ

บทที่ ๒
ปฏิบัติและการรักษาความปลอดภัย
๙. การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคยในสนามยิงปืนระยะ
๑,๐๐๐ นิ้ว (๒๕ ม.)
เวลา

ลฝ.๓๒ - ๑๒
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๕.๒ การฝึกใช้อาวุธประจำ ๒๕ ๑. ทำการสอนในเรื่อง ชิ้นส่วนประกอบ และ ๑.รส.๒๓ – ๖๗ - เพื่อสอนให้ทราบถึง
หน่วย ขีปนวิธีของ ปก.เอ็ม ๖๐, ปก.อาร์.พี.ดี., การ ๒. ตำราเอกสาร คุณลักษณะทั่วไป, การ
(ประเภทปืนกล) ตรวจสอบสภาพชิ้นส่วน การถอดประกอบ การ การฝึกยิง ปก. ถอดประกอบ, การทำงาน
ตรวจสอบระบบการทำงาน การทำความสะอาด อาร์.พี.ดี. ของเครื่องกลไก, การระวัง
การชโลมน้ำมัน และชนิดและการทำความ รักษา, การทำความ
สะอาดกระสุน สะอาด ตลอดจนการฝึกให้
ยิงได้อย่างแม่นยำ
๒. การแก้ไขโดยฉับพลัน เมื่อเกิดการติดขัด
ในขณะทำการยิง
๓. การบรรจุกระสุนใส่ในสายกระสุน และการนำ
กระสุนออกจากสายกระสุน
๔. การจัดปรับศูนย์หน้า – หลัง
๕. การจัดภาพการเล็งประกอบเป้าหมาย
๖. การเล็งและการลั่นไก
๗. การฝึกปฏิบัติท่ายิง ต่าง ๆ
๘. การกราดยิงทางข้าง และทางลึก
๕.๒.๑ การฝึกใช้เครื่องยิง ๑. ทำการสอนในเรื่อง ชิ้นส่วนประกอบและ ขีปน -รส.๒๓ – ๓๑ - เพื่อให้ทราบคุณลักษณะ
ลูกระเบิด ปยล.เอ็ม ๗๙, เอ็ม วิธีของ ปยล.เอ็ม ๗๙, เอ็ม ๒๐๓, การตรวจสอบ ทั่วไป, การถอดประกอบ,การ
๒๐๓ สภาพชิ้นส่วน การถอดประกอบ การตรวจสอบ ทำงานของเครื่องกลไก, การใช้
ระบบการทำงาน การทำความสะอาด การชโลม งานและบำรุงรักษา, การทำ
น้ำมัน และชนิดและการทำความสะอาดกระสุน ความสะอาด
๒. การแก้ไขโดยฉับพลัน เมื่อเกิดการติดขัด ตลอดจนการฝึกให้ยิงได้อย่าง
ในขณะทำการยิง แม่นยำ
๓. การบรรจุ และเลิกบรรจุกระสุน
๔. การจัดปรับศูนย์หน้า – หลัง

หน้า ๒๓
๕. การจัดภาพการเล็งประกอบเป้าหมาย
๖. การฝึกปฏิบัติท่ายิง ต่าง ๆ
เวลา

หน้า ๒๔
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๕.๒.๒ การฝึกใช้ เครื่องยิง ๑. ทำการสอนในเรื่อง ชิ้นส่วนประกอบ และ - คู่มือการฝึก - เพื่อให้ทราบถึง คุณลักษณะ
จรวด อาร์.พี.จี. ๒ และ อาร์.พี. ขีปนวิธีของ เครื่องยิงจรวด อาร์.พี.จี. ๒ และ อาร์. ว่าด้วยการ ฝึก ทั่วไป, การถอดประกอบ, การ
จี. ๗ พี.จี. ๗, การตรวจสอบสภาพชิ้นส่วน การถอด ยิง อาร์.พี.จี.๒ ทำงาน ของเครื่องกลไก, การ
ของ ทบ. พ.ศ. ระวังรักษา, การทำความ
ประกอบ การตรวจสอบระบบการทำงาน การทำ
๒๕๒๔ สะอาด ตลอดจนการฝึกให้ยิง
ความสะอาด การชโลมน้ำมัน และ ชนิดและการ ได้อย่างแม่นยำ
ทำความสะอาดกระสุน
๒. การแก้ไขโดยฉับพลัน เมื่อเกิดการติดขัด
ในขณะทำการยิง
๓. การบรรจุ และเลิกบรรจุกระสุน การจัดปรับ
ศูนย์, กล้องเล็ง
๕. การจัดภาพการเล็งประกอบเป้าหมาย
๖. การเล็งและการลั่นไก
๗. การฝึกปฏิบัติท่ายิง ต่าง ๆ
๕.๓ การฝึกใช้ลูกระเบิดขว้าง ๒๖ ๑. อาวุธศึกษา, คุณลักษณะ, ขีดความสามารถ -รส.๒๓ – ๓๐ - เพื่อให้มีความรู้ใน เรื่อง ๑. แผ่นภาพลูกระเบิด
และ การทำงานของกลไกลูกระเบิดขว้าง, แบบ คุณลักษณะ, ขีดความสามารถ ขว้าง
และส่วนประกอบของลูกระเบิดขว้าง และการทำงานของกลไกลูก ๒. ลูกระเบิดฝึกขว้าง
๒. วิธีการจับถือลูกระเบิดขว้าง, เทคนิคและท่า ระเบิดขว้าง และสามารถขว้าง ๓. ลูกระเบิดซ้อมขว้าง
ขว้างลูกระเบิด ได้แก่ ท่ายืน, ท่านั่งคุกเข่า, ท่า ลูกระเบิดขว้างได้อย่างแม่นยำ
นั่งคุกเข่าจากท่านอน, ท่านอนหงาย, ท่าก้มขว้าง
๕.๓ การฝึกยิงปืนฉับพลัน ๑๔ ๑. ท่าการยิงปืนฉับพลัน ได้แก่ท่ายืนยิง, ท่านั่งยิง - นส. รร.สพศ. - เพื่อให้มีความคุ้นเคย เชื่อมั่น
,ท่านั่งคุกเข้ายิง ในทิศทาง ตรงหน้า, ทางซ้าย, ศสพ. พ.ศ. ในอาวุธประจำกาย และ
ทางขวา, ทางหลัง และนอนหงายยิง ๒๕๔๙ สามารถใช้งานอาวุธ ประจำ
๒. การฝึกยิงปืนฉับพลันในสนามยิงปืน กายได้อย่าง รวดเร็ว
๖. การฝึกทางยุทธวิธี ๘๑(๖)

บทที่ ๒
๖.๑ บุคคลทำการรบในเวลา ๘ ๑. ข้อพิจารณาการใช้ภูมิประเทศตามแง่คิดทาง ๑. รส.๒๑ – - เพื่อให้เรียนรู้หลักการและ - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
กลางวัน ทหาร และสภาพลมฟ้าอากาศ ๗๕ วิธีปฏิบัติการรบในเวลา
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)

ลฝ.๓๗ - ๑๒
๒. การกำบัง และการซ่อนพราง หลักการใช้ที่ ๒. รส.๕ – ๒๐ กลางวัน เป็นบุคคล เพื่อ
กำบัง, วัสดุการพราง, การใช้ฉากหลังและร่มเงา, ๓.คู่มือพลทหาร นำไปใช้เป็นพื้นฐานการปฏิบัติ
วิธีการพราง, การพรางร่างกาย, การพรางอาวุธ, ว่าด้วยการ ทางยุทธวิธี
การพรางเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย การพรางวัสดุ ปฏิบัติ ในสนาม
สะท้อนแสง,วินัยการพราง และการเลือกที่ซ่อน พ.ศ. ๒๕๑๖
พราง
๓. การกะระยะความสำคัญของการกะระยะการ
กะระยะด้วยวิธีการสังเกต แสงและเสียง และการ
วัดระยะทางข้าง การฝึกจดจำระยะ
๔. การตรวจการณ์ หลักการตรวจการณ์ การ
เลือกที่ตรวจการณ์ การตรวจการณ์ระหว่างการ
เคลื่อนที่ ลักษณะร่องรอยต่างๆที่ควรทราบ การ
รายงาน การตรวจการณ์
๕. การเคลื่อนที่ในเวลากลางวัน กฎการเคลื่อนที่
วิธีการเคลื่อนที่โดยทั่วไป การเคลื่อนที่ผ่านเครื่อง
กีดขวาง การเคลื่อนที่ด้วยวิธีการโผ, การคลานสูง,
การคลานต่ำ, การกลิ้ง, การเดินและ การหมอบ
แบบเงียบ, การเคลื่อนที่แบบเงียบ การข้ามลวด
หนาม ,การ ข้ามคูด้วยวิธีการคลานข้าม
๖. การวางตัวในสนามรบ
๗. การเลือกและการใช้เส้นทาง, การหาและ
กำหนดทิศ, วิธีปฏิบัติเมื่อหลงทาง
๘. การใช้อาวุธและวินัยการยิง, การใช้อาวุธเงียบ
๖.๒ บุคคลทำการรบในเวลา (๖) ๑. การฟังเสียง,การสูดกลิ่น, การสัมผัสและการ ๑.รส.๒๑ – ๗๕ -เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพให้ - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
กลางคืน ปรับสายตาให้มองเห็นเวลากลางคืน ๒.รส.๕ – ๒๐ สามารถปฏิบัติการรบได้ในทุก
๒. การใช้ที่ซ่อนพราง, การหาทิศในเวลากลางคืน ๓.คู่มือพลทหาร ทัศนวิสัย , เสริมสร้างความ

หน้า ๒๕
๓. การใช้อาวุธประจำกาย และการค้นหา ว่าด้วยการ มั่นใจในตนเอง และเป็น
เป้าหมายในเวลากลางคืน ปฏิบัติใน สนาม พื้นฐานในการปฏิบัติทาง
เวลา

หน้า ๒๖
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๔. การระวังป้องกันเวลากลางคืน พ.ศ. ๒๕๑๖ ยุทธวิธีในระดับหน่วยที่สูงขึ้น
ต่อไป
๖.๓ การลาดตระเวน ๑๔ ๑. หลักการลาดตระเวน, แบบของการ ๑.รส.๒๑ – ๗๕ -เพื่อสอนให้มีความรู้ เบื้องต้น - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
ลาดตระเวน, ภารกิจ, การจัด, การประกอบกำลัง, ๒.รส.๗ – ๘ เกี่ยวกับการลาดตระเวน และ
ยุทโธปกรณ์, รูปขบวน, การเตรียมการ และการ ฝึกให้เกิดความเชื่อมั่น สามารถ
ปฏิบัติการลาด ตระเวน, เทคนิคการลาดตระเวน ปฏิบัติการลาดตระเวนได้ ทั้งใน
ในเวลากลางวันและเวลากลางคืน เวลากลางวัน และเวลา
๒. การฝึกลาดตระเวนในเวลากลางวันและในเวลา กลางคืน
กลางคืน
๖.๔ การตีโฉบฉวย ๘ ๑. ความมุ่งหมาย, ลักษณะของการตีโฉบฉวย, ๑.รส.๒๑ – ๗๕ -เพื่อสอนให้มีความรู้ -
ลำดับขั้นการปฏิบัติ ได้แก่ การเตรียมการ,การจัด ๒.รส.๗ – ๘ เบื้องต้นเกี่ยวกับการ
กำลัง, การตรวจภูมิประเทศ, การเลือกและเตรียม ตีโฉบฉวย และฝึกให้เกิด
ยุทโธปกรณ์, การเคลื่อนที่ไปจุดนัดพบ ณ ที่หมาย ความชำนาญ สามารถ
, การระวังป้องกัน, การปฏิบัติที่จุดนัดพบ ณ ที่ ปฏิบัติการตีโฉบฉวยได้
หมาย, การปฏิบัติ ณ ที่หมาย,การตรวจค้น และ อย่างมีประสิทธิภาพ
การถอนตัว
๒. การฝึกปฏิบัติโดยครูแสดงตัวอย่าง และแยกชุด
ปฏิบัติโดยครูคอยแนะนำ
๖.๕ การปฏิบัติฉับพลัน ๔ - หลักการ, วิธีการ, และเทคนิคการปฏิบัติฉับพลัน ๑.รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้ทราบถึงวิธีปฏิบัติ เพื่อ - แผ่นภาพการฝึก
ตามสถานการณ์ต่างๆ ได้แก่ การหยุดนิ่งอยู่กับที่, ๒.รส.๗ – ๘ ให้ได้เปรียบข้าศึก และเพื่อลด
การซุ่มโจมตีฉับพลัน, การปฏิบัติเมื่อถูกซุ่มโจมตี, อันตรายจากการกระทำของ
การโจมตีฉับพลัน และการถอนตัวด้วยการยิง ข้าศึก กลับเป็นฝ่ายตอบโต้ใน
โอกาส เผชิญหน้ากันโดยไม่
คาดคิด และฝึกให้เกิดความ
คล่องแคล่ว รวดเร็ว

บทที่ ๒
๖.๖ การซุ่มโจมตี/ การต่อต้าน ๔ ๑. หลักการซุ่มโจมตี, ประเภทการซุ่มโจมตี, การ ๑.รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้ทราบถึงวิธีปฏิบัติ ใน - แผ่นภาพการฝึก
การซุ่มโจมตี จัดกำลัง, รูปแบบการซุ่มโจมตีทั้งแบบเป็นจุด และ ๒.รส.๗ – ๘ การซุ่มโจมตี และวิธีการ
เป็นพื้นที่, การซุ่มโจมตีในเวลากลางวันและ ต่อต้าน เมื่อถูกซุ่มโจมตีเพื่อ ลด
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)

ลฝ.๓๗ - ๑๒
กลางคืน, การเข้าจุดนัดพบ ณ ที่หมาย การเข้า อันตรายจากการกระทำของ
วางตัวในพื้นที่ซุ่มโจมตี, การดัดแปลงภูมิประเทศ, ข้าศึก กลับเป็นฝ่ายตอบโต้
การพราง, วินัย ในการซุ่มโจมตี, การควบคุม และฝึกให้เกิดความคล่องแคล่ว
บังคับบัญชา, การฏิบัติซุ่มโจมตี,การตรวจค้น, การ รวดเร็ว แม่นยำในขั้นตอน การ
ถอนตัว และการายงาน ปฏิบัติ
๒. หลักการต่อต้านการซุ่มโจมตี, ประเภทการ
ต่อต้านการซุ่มโจมตี และ เทคนิค วิธีการต่อต้าน
การซุ่มโจมตี
๖.๗ การตั้งฐานปฏิบัติการ ๕ ๑. ความมุ่งหมาย, ประโยชน์, แนวทาง การ ๑.รส.๒๑ – ๗๕ -เพื่อให้สามารถเลือกและ เข้า - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
จัดตั้งฐานปฏิบัติการ, การเลือกที่ตั้งและเข้า ๒.รส.๗ – ๘ ประจำฐานปฏิบัติการ รวมทั้ง
ประจำฐานปฏิบัติการ, มาตรการระวังป้องกันและ ปฏิบัติภายในฐาน ปฏิบัติการ
คุ้มครองฐาน ปฏิบัติการ ได้อย่างถูกต้อง และฝึกให้
๒. การจัดภายในฐานปฏิบัติการ สามารถปฏิบัติได้ อย่างถูกต้อง
๒. ระเบียบปฏิบัติประจำในฐานปฏิบัติการ รวดเร็ว และ คล่องแคล่ว
๓. การเลือกและสำรวจ ฐานปฏิบัติการ
๖.๘ การตั้งจุดตรวจ/ จุดสกัด ๓ - ความมุ่งหมายในการตั้งจุดตรวจ/ จุดสกัด -คู่มือการตั้งจุด -เพื่อให้ทราบและสามารถ ตั้ง - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
,ประเภท ของจุดตรวจ/ จุดสกัด, การเลือกที่ตั้งจุด ตรวจของ ขว. จุดตรวจ/ จุดสกัด และ ปฏิบัติ
ตรวจ/ จุดสกัด, การจัดกำลัง, การเข้าประจำและ ทบ. ณ จุดตรวจ/ จุด สกัดได้อย่าง
ปฏิบัติ ณ จุด ตรวจ/ จุดสกัด, เทคนิคและวิธีการ รวดเร็ว ถูกต้อง และมี
ตรวจ และวิธีปฏิบัติเมื่อตรวจคบ เป้าหมาย หรือ ประสิทธิภาพ
สิ่งผิดปกติ
๖.๙ การปิดล้อม/ ตรวจค้น ๘ - ความมุ่งหมายในการปิดล้อม/ ตรวจค้น,การข่าว ๑.รส.๓๑ – ๑๖ -เพื่อให้ทราบถึงวิธีการและ - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
กรอง, การประสานงานกับฝ่ายบ้านเมือง, การ ๒.รส.๓๑ – ๒๑ ขั้นตอนในการปิดล้อม ตรวจ
รักษาความลับในการปฏิบัติการ, การจัดกำลัง, ค้น และสามารถ นำไปปฏิบัติ
การดำเนินการปิดล้อมตรวจค้น, การเคลื่อนที่, ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และมี
การคงกำลังปิดล้อม, การบีบกระชับวงล้อม, การ ประสิทธิภาพ

หน้า ๒๗
ตรวจค้น, การายงาน และการถอนตัว
เวลา

หน้า ๒๘
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๖.๑๐ การปฏิบัติการในพื้นที่เขต ๘ - ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติการในพื้นที่ -แนวสอน - เพื่อให้ทราบถึงหลักพื้นฐาน -สนามฝึก รร.สพศ.ศสพ.
เมือง เขตเมือง, ข้อจำกัดในการปฏิบัติ, การตรวจ รร.สพศ.ศสพ. วิธีปฏิบัติการในเขตพื้นที่เมือง
การณ์, เทคนิคการเคลื่อนที่ และเทคนิคการตรวจ สามารถนำไปปฏิบัติงานได้
ค้นอาคาร
๖.๑๑ การรบในป่าและภูเขา ๔ - ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการรบในป่าภูเขา, ๑.รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้ทราบหลักพื้นฐาน - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
ขีดจำกัดในการปฏิบัติการรบ, การเตรียมการ ๒.รส. ๗ – ๑๕ เทคนิควิธีการปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติการในพื้นที่ป่าภูเขา, หลักการ รบในพื้นที่ป่าภูเขา
เดินภูเขา, การ ลาดตระเวน, การตรวจการณ์,
การยิง และการปฏิบัติต่อที่หมายบนภูเขา
๖.๑๒ การเล็ดลอด และหลบหนี ๓ - ความมุ่งหมายในการเล็ดลอด และการหลบหนี, -รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้ทราบถึงวิธีการเล็ด -
หลักพื้นฐานวิธีปฏิบัติเมื่อถูกโดดเดี่ยว หรือพลัด ลอด และวิธีปฏิบัติเมื่อถูกจับ
หลง มาตรการรักษาความปลอดภัย ตลอดจนวิธี เป็นเชลยศึกตลอดจนวิธีการ
ปฏิบัติเมื่อถูกจับเป็นเชลยศึก หลบหนี
๖.๑๓ การสะกดรอย ๘ - ความมุ่งหมายและหลักพื้นฐานการสะกดรอย, ๑.รส.๒๕ – ๒๖ - เพื่อให้ทราบ หลักพื้นฐาน - แผ่นภาพการฝึก
เทคนิควิธีการสะกดรอย และเทคนิควิธีการ ๒.รส.๓๕ – ๓๖ เทคนิค วิธีการสะกดรอย, และ
ต่อต้านการสะกดรอย การต่อต้านการสะกดรอย
สามารถนำไปปฏิบัติงานได้
๖.๑๔ การดำรงชีพในป่า ๔ - กล่าวนำ, ความมุ่งหมายของการดำรงชีพในป่า, - แนวสอน - เพื่อให้ทราบถึงวิธีการปฏิบัติ -
วิธีการหาทิศ, การหาน้ำ, การหาอาหาร, การ รร.สพศ.ศสพ. ในการดำรงชีวิตในป่า เมื่อถูก
ถนอมอาหาร, การเลือกที่พัก โดดเดี่ยวหรือ
๗. การอบรม (๕๒)
๗.๑ แบบธรรมเนียมทหาร (๘) ๑. ระเบียบการภายในหน่วย, การปฏิบัติงาน -คู่มือพลทหาร - เพื่ออบรม ให้มีความรู้ความ -
ประจำ วัน, การลาพัก ว่าด้วย เรื่อง ที่ เข้าใจในแบบธรรมเนียมของ
๒. การบังคับบัญชา, ผู้บังคับบัญชาทางทหาร ทหารใหม่ควร ทหาร สามารถจดจำนำไปใช้ใน
อำนาจหน้าที่ของผู้บังคับบัญชา, การปฏิบัติตนต่อ ทราบ ระหว่างรับราชการได้อย่าง

บทที่ ๒
ผู้บังคับบัญชา และโทษของการขัดตามคำสั่ง พ.ศ.๒๕๒๗ ถูกต้อง
๓. การแสดงความเคารพ, บุคคลและสิ่งที่ทหาร
จะต้องแสดงการเคารพ
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)

ลฝ.๓๗ - ๑๒
๗.๒ สิทธิและหน้าที่ของทหาร (๔) ๑. สิทธิ และประโยชน์ที่ทหารพรานจะได้รับ ใน - เอกสารของ - เพื่อให้ทราบถึงสิทธิ หน้าที่ -
พราน เรื่อง เงินเดือน, เบี้ยเลี้ยง, ค่าเลี้ยงดู, เครื่องแต่ง ศปก.ทบ. และสิทธิประโยชน์ ของตนเอง
กาย สิทธิกำลังพล ในระหว่างการรับราชการและ เกี่ยวกับสิทธิ ในระหว่างรับราชการ
เมื่อออก จากราชการไปแล้ว อันพึงได้ของ
๒. หน้าที่ของทหารพราน ความรับผิดชอบใน ทหารพราน
หน้าที่ ความสำนึกในหน้าที่ ข้อดีขงการเคร่งครัด
ในหน้าที่ ข้อเสียของการละเลยต่อหน้าที่
๗.๓ มารยาทและวินัยทหาร (๔) ๑. มารยาทโดยทั่วไปของทหารต่อผู้บังคับบัญชา - คู่มือพลทหาร - เพื่อสอนให้มีความรู้ ความ -
และผู้ใหญ่ ว่าด้วย เรื่องที่ เข้าใจในเรื่องมารยาท และ
๒. มารยาทโดยทั่วไปของทหารต่อทหาร และ ทหารใหม่ควร วินัยของทหาร เพื่อนำไปใช้ใน
ประชาชน ทราบ ระหว่างรับ
๓. ข้อควรประพฤติภายในและภายนอกหน่วย พ.ศ.๒๕๒๗ ราชการ
๔. วินัยของทหาร คำจำกัดความ ความจำเป็นของ
วินัยในหมู่ทหาร, หน้าที่และสิทธิของ
ผู้บังคับบัญชา, ตัวอย่างการกระทำผิดวินัยทหาร
และการลงทัณฑ์
๗.๔ การปกครอง ในระบอบ (๔) - ความหมายของประชาธิปไตย, หลักสำคัญใน - คู่มือการสอน - เพื่อปลูกฝังให้มีความรู้ -
ประชาธิปไตยอันมีระมหา การปกครองระบอบประชาธิปไตย ๓ ประการ อบรมทหาร ความเข้าใจในการปกครอง
กษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ได้แก่ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค, องค์กร ว่าด้วย การ ระบอบประชาธิปไตย
๓ ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และ ปลูกฝัง อุดม อันมีพระมหากษัตริย์ทรง
ตุลาการ, หลักนิติธรรม, รัฐสภา, คณะรัฐมนตรี, การณ์ทาง เป็นประมุข
สิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนชาวไทย การเมืองใน
หน่วยทหาร
พ.ศ.๒๕๒๕
๗.๕ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายยา (๔) ๑. ความผิดที่เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ -เอกสาร - เพื่อสอนให้มีความรู้ ความ -
เสพติด,ป่าไม้, ผู้หลบหนีเข้า ปฏิบัติงานได้แก่ กฎหมายยาเสพติดให้โทษ, กฎหมายที่ เข้าใจในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

หน้า ๒๙
เมือง กฎหมายเกี่ยวกับป่าไม้และทรัพยากร, กฎหมายผู้ เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติงาน สามารถ
หลบหนีเข้าเมือง และคนต่างด้าว ปฏิบัติ หน้าที่ของตนได้ถูกต้อง
เวลา

หน้า ๓๐
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. อำนาจหน้าที่และวิธีปฏิบัติของทหารพราน ใน
ฐานะผู้ช่วยเจ้าพนักงาน
๗.๖ ความจงรักภักดีต่อชาติ (๖) -สถาบันหลักของชาติ และความสำคัญของ -คู่มือการสอน ๑.เพื่อเสริมสร้างความ
ศาสนา และราชวงศ์ สถาบันพระมหากษัตริย์, ความจงรักภักดีต่อ อบรมทหาร จงรักภักดีต่อสถาบันหลักของ
สถาบันกษัตริย์และราชวงศ์ ว่าด้วย การ ชาติอันได้แก่ ชาติ ศาสนา
ปลูกฝัง อุดม พระมหากษัตริย์
การณ์ทาง ๒.เพื่อเสริมสร้างความ
การเมืองใน จงรักภักดีต่อสถาบัน
หน่วยทหาร พระมหากษัตริย์และราชวงศ์
พ.ศ.๒๕๒๕
๗.๗ การปลูกฝังอุดมการณ์ทาง (๖) ๑. ความหมายของชาติ องค์ประกอบความเป็น -คู่มือการสอน ๑. เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ -
การเมือง ชาติ ความรักประเทศชาติและข้อควรปฏิบัติของผู้ อบรมทหาร ความรักชาติ ศาสนา
รักชาติ ว่าด้วย การ พระมหากษัตริย์
๒. การป้องกันประเทศชาติ ความมั่นคงของชาติ ปลูกฝัง อุดม ๒. สร้างสำนึกในหน้าที่ทั้งใน
องค์ประกอบความมั่นคงของชาติ และการป้องกัน การณ์ทาง ฐานะที่เป็นทหารพรานและ
ประเทศชาติทางทหาร การเมืองใน ประชาชนคนไทย
หน่วยทหาร
พ.ศ.๒๕๒๕
๗.๘ ประวัติศาสตร์ชาติไทย (๖) - ความเป็นมาของประเทศไทย, พระมหา -คู่มือการสอน - เพื่ออบรมให้มีความรู้ ความ -
กรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ประวัติและ อบรมทหาร ว่า เข้าใจ และความภาคภูมิใจใน
พระเกียรติคุณของ พระมหากษัตริย์ไทย ประวัติ ด้วยการปลูกฝัง ชาติ วีรชนคนไทย และพระ
และเกียรติคุณ วีรชนไทย อุดม การณ์ทาง มหา กรุณาธิคุณของ
การเมืองใน พระมหากษัตริย์ไทย
หน่วยทหาร
พ.ศ.๒๕๒๕

บทที่ ๒
๗.๙ คุณธรรม และจริยธรรม (๖) ๑. ความกล้าหาญ ความหมายของความ กล้า -คู่มือการสอน - เพื่ออบรมสั่งสอนให้มี ความรู้ -
หาญ, ความจำเป็นที่ทหารต้องมี ความกล้าหาญ อบรมทหาร ความเข้าใจใน คุณธรรม และ
ประโยชน์
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก

ลฝ.๓๒ - ๑๒
(ชม.)
ของทหาร ของความกล้าหาญ, โทษของความขลาด และ ว่าด้วย การ จริยธรรมที่ทหารทุกคน
หลักการเสริมสร้างความกล้าหาญ ปลูกฝัง อุดม จำเป็นต้องมี เพื่อนำไปใช้
๒. ความอดทน ความหมายของความอดทน, การณ์ทาง ประพฤติปฏิบัติตนปฏิบัติตน
ลักษณะความอดทนทางกาย, ทางใจ ประโยชน์ การเมืองใน และเป็นหลักในการเสริมสร้าง
ของความอดทน โทษของการขาดความอดทน หน่วยทหาร ตนเองให้ เพียบพร้อมด้วย
๓. การเสียสละ ความหมายของการเสียสละ พ.ศ.๒๕๒๕ คุณธรรม จริยธรรม
ลักษณะการเสียสละทางกำลังกาย กำลังความคิด
กำลังทรัพย์ การเสียสละทางการทหาร หลักการ
เสริมสร้างความเสียสละ
๔. ความสามัคคี ความหมายและประโยชน์ของ
ความสามัคคี โทษของการแตกความสามัคคี
ความจำเป็นที่ทหารต้องมีความสามัคคี การรักษา
ความ สามัคคีในหมู่ทหาร
๕. ความซื่อสัตย์สุจริต ความหมายและ ลักษณะ
ทั่วไปของความซื่อสัตย์ ความซื่อสัตย์ทางทหาร
ความจำเป็นที่ทหารต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต
๖. การรักเกียรติ ความหมายของเกียรติยศและ
เกียรติศักดิ์สำหรับทหาร หลักการเสริมสร้างรักษา
เกียรติยศ เกียรติศักดิ์ทหาร
๗.๑๐ บทเรียนจากการรบ (๔) ๑. เหตุการณ์สำคัญ ของยุทธการต่าง ๆ ของ -บันทึกบทเรียน - เพื่ออบรม เสริมสร้างความ -
หน่วยในแต่ละพื้นที่ของกองทัพภาคต่าง ๆ จากการรบของ กล้าหาญ ขวัญ กำลังใจ ในการ
๒. บทเรียนจากการรบในยุทธการต่าง ๆ ของไทย แต่ละ ยุทธการ สู้รบ และความมุ่งมั่นในการ
รักษาอธิปไตยของชาติ
๘. การฝึกภาคสนาม ๔๐(๕๖) - ให้นำกำลังทหารพรานใหม่ ที่เข้ารับการฝึก ไป - - เพื่อให้ทหารพรานใหม่ได้มี -
ทำการฝึกภาคสนาม ในภูมิประเทศทีส่ มจริง ทั้งใน ความคุ้นเคยต่อการปฏิบัติ
เวลากลางวันและเวลากลางคืน ตามบ่งการปัญหา ภารกิจในภูมิประเทศจริง

หน้า ๓๑
ฝึกที่ สมมุติอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มีข้าศึกสมมุติ และสามารถ ประยุกต์ใช้
ตามบ่งการปัญหาฝึกที่กำหนด ความรู้ในการปฏิบัติงานได้
หน้า ๓๒
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องและรายละเอียดที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๘. เวลาผู้บังคับบัญชา ๑๗ - - ๑. เป็นเวลาให้ผู้บังคับบัญชา -
ได้พบปะเพื่อสอบถามความ
เป็นอยู่ ปัญหา ข้อขัดข้องต่างๆ
เพื่อนำไป แก้ไข และเป็นการ
เสริมสร้างขวัญกำลังใจในการ
ฝึก
๒. เป็นเวลาอะไหล่ สำหรับ
การฝึกเมื่อสภาพ อากาศ
เปลี่ยนแปลง
๓. เป็นเวลาสำหรับการดำเนิน
การทางธุรการ

บทที่ ๒
ตอนที่ ๔
ตารางการฝึกยิงปืน
๑. การยิงปืนตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาว สำหรับทหารใหม่
๑.๑ ความมุ่งหมาย
ใช้เป็นหลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาวสำหรับทหารใหม่ทุกเหล่าของกองทัพบก กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็น
หลักฐานสำหรับการยิงปืนเล็กยาวในพื้นฐานเบื้องต้น สำหรับทหารใหม่ทุกเหล่า และกำลังพลที่ได้รับการบรรจุ
เข้ารับราชการใหม่ในกองทัพบก
๑.๒ การใช้ การยิงตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาวให้ใช้ในกรณี ดังนี้
๑.๒.๑ เริ่มฝึกยิงปืนครั้งแรกหลังจากได้ทำการฝึกใช้อาวุธเบื้องต้นมาแล้ว
๑.๒.๒ ทำการฝึกยิงในสนามยิงปืน ระยะ ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว)
๑.๒.๓ ทำการยิงเพื่อปรับปืนในกรณีเร่งด่วน
๑.๒.๔ มีกระสุนน้อยจนไม่อาจทำการยิงตามหลักสูตรอื่นได้
๑.๒.๕ ใช้ยิงเพื่อความคุ้นเคย และยิงประเมินผลขั้นพื้นฐานผลการยิงได้
๑.๒.๖ ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงตามหลักสูตรนี้แต่สามารถประเมินผลการยิงได้
๑.๓ ตารางยิง
๑.๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้ใช้สำหรับปืนเล็กยาว หรือปืนเล็กสั้นที่สามารถยิงเป็นกึ่งอัตโนมัติได้ทุกชนิด
๑.๓.๒ ให้ทหารทำการฝึกยิง ตามตารางดังต่อไปนี้
๑) ตารางที่ ๑ จำนวน ๒๗ นัด
๒) ตารางที่ ๒ จำนวน ๑๘ นัด
รวม ๔๕ นัด
๓) ตารางที่ ๓ (ฝึกยิงคุ้นเคย) จำนวน ๖๙ นัด
๔) ตารางที่ ๓ (ประเมินผล) จำนวน ๖๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๑๘๓ นัด
๑.๓.๓ ในกรณีที่มีกระสุนจำกัดให้ทหารทำการฝึกยิงได้ ๔ แบบ ตามจำนวน กระสุนที่ได้รับ
๑.๓.๓.๑ แบบที่ ๑ ทำการฝึกยิงตามตารางดังต่อไปนี้
๑) ตารางที่ ๑ จำนวน ๒๗ นัด
๒) ตารางที่ ๒ จำนวน ๑๘ นัด
รวม ๔๕ นัด
๓) ตารางที่ ๓ เฉพาะลำดับ ๑ ,๒, ๕ และ ๖ (ฝึกยิงคุ้นเคย)
จำนวน ๔๙ นัด
๔) ตารางที่ ๓ เฉพาะลำดับ ๑, ๒, ๕ และ ๖ (ประเมินผล)
จำนวน ๔๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๑๔๓ นัด
๑.๓.๓.๒ แบบที่ ๒ ทำการฝึกยิงตามตารางดังต่อไปนี้
๑) ตารางที่ ๑ จำนวน ๒๗ นัด
๒) ตารางที่ ๒ จำนวน ๑๘ นัด
รวม ๔๕ นัด
๓) ตารางที่๓ เฉพาะลำดับ ๑ และ ๒ (ฝึกยิงคุ้นเคย) จำนวน ๒๙ นัด
๔) ตารางที่๓ เฉพาะลำดับ๑ และ ๒ (ประเมินผล) จำนวน ๒๙ นัด
หน้า ๓๔ บทที่ ๒
รวมทั้งสิ้น ๑๐๓ นัด
๑.๓.๓.๓ แบบที่ ๓ ทำการฝึกยิงตามตารางดังต่อไปนี้
๑) ตารางที่ ๑ จำนวน ๒๗ นัด
๒) ตารางที่ ๒ จำนวน ๑๘ นัด
รวม ๔๕ นัด
๓) ตารางที่ ๓ เฉพาะลำดับ ๑ และ ๒ (ประเมินผล) จำนวน ๒๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๗๔ นัด
๑.๓.๓.๔ แบบที่ ๔ ทำการฝึกยิงตามตารางดังต่อไปนี้
๑) ตารางที่ ๑ จำนวน ๑๒ นัด
๒) ตารางที่ ๒ จำนวน ๙ นัด
รวม ๒๑ นัด
๓) ตารางที่ ๓ เฉพาะลำดับ๑ และ ๒ (ประเมินผล) จำนวน ๒๙ นัด
รวมทั้งสิ้น ๕๐ นัด
๑.๓.๔ ในกรณีที่กระสุนขาดแคลนให้ผู้บังคับหน่วยทหารพิจารณาให้ทหารทำการ ฝึกยิงโดยไม่ต้อง
ให้ทหารทำการยิงประเมินผล ตามตาราง ( ในช่องหมายเหตุ ) ดังต่อไปนี้
๑) ตารางที่ ๑ จำนวน ๑๒ นัด
๒) ตารางที่ ๒ จำนวน ๙ นัด
รวม ๒๑ นัด

ตารางการฝึกยิงปืนในสนามยิงปืน ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว)


ตารางที่ ๑ การยิงจัดกลุ่มกระสุน
ท่ายิง เป้า เวลา(วินาที) กระสุน คะแนน หมายเหตุ
นอนยิงมี เป้าปรับศูนย์ ไม่จำกัดเวลา ๒๗ - ทำการยิง ๙ ครั้ง ๆ ละ ๓ นัด กรณีที่มี
เครื่องหนุน ก กระสุนจำกัดทำการยิง ๔ ครั้งๆละ
รอง ๓ นัด ( ๑๒ นัด)
๑. ความมุ่งหมาย
ในการฝึกยิงปืนเพื่อจัดกลุ่มกระสุนเพื่อสอนให้ทหารได้เรียนรู้ถึงการยิงปืนโดยไม่ต้อง ปรับศูนย์และ
ไม่ต้องคำนึงถึงตำบลกระสุนถูกบนแผ่นเป้าว่าจะถูกที่กลางตัวหรือไม่ ขอเพียงกระสุน เกาะกลุ่มก็ใช้ได้ และเพื่อ
เป็นพื้นฐานให้ทหารได้ทำการปรับปืน ตั้งศูนย์รบในโอกาสต่อไป
๒. คำแนะนำ
การยิงปืนจัดกลุ่มกระสุนให้ยึดถือปฏิบัติดังนี้
๒.๑ เมื่อทหารเรียนรู้ทฤษฎีแล้วควรนำทหารออกไปฝึกยิงปืนเพื่อจัดกลุ่มกระสุนใน ระยะเวลา
ที่ไม่ห่างกันมากนัก
๒.๒ ผู้รับการฝึกจะต้องพยายามใช้อาวุธปืนเล็กยาวขนาด ๕.๕๖ มม. กระบอกเดิม ตลอดห้วง
การฝึก
๒.๓ ให้ถือว่าเป็นการฝึกยิงปืนภาคบังคับไม่ควรงดเว้นหรือนำ ปลย. ขนาดอื่นมาใช้ยิง
แทน
ลฝ.๓๗ - ๑๒ หน้า ๓๕
๒.๔ ให้ทำการฝึกยิงในเวลากลางวันในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ ม. โดยใช้เป้าสำหรับยิง ปรับศูนย์
อย่างน้อยใช้กระสุน ๒๗ นัดยิง ๙ ครั้งๆ ละ ๓ นัดในทุก ๒ ครั้งให้จัดกลุ่มกระสุนกลุ่ม ละ ๓ นัดเพื่อเปรียบเทียบ
และในครั้งสุดท้ายขนาดกลุ่มกระสุนไม่ควรเกินเส้นผ่าศูนย์กลาง ๔ ซม.
๓. ตารางการฝึกยิง
๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้จะต้องใช้สำหรับ ปลย. ขนาด ๕.๕๖ มม. เท่านั้น
๓.๒ ในกรณีที่กระสุนมีจำกัดไม่สามารถทำการฝึกยิงด้วยกระสุนคนละ ๒๗ นัดได้ให้ใช้ กระสุน
ได้อย่างน้อย ๑๒ นัด

ตารางการฝึกยิงปืนในสนามยิงปืน ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว)


ท่ายิง เป้า เวลา(วินาที) กระสุน คะแนน หมายเหตุ
นอนยิงมีเครื่อง เป้าปรับศูนย์ ไม่จำกัดเวลา ๑๘ - ทำการยิง ๖ ครั้ง ๆ ละ ๓ นัด กรณี
หนุนรอง รบ ที่มีกระสุนจำกัดทำการยิง ๓ ครั้งๆ
ละ ๓ นัด (๙นัด)

๑. ความมุ่งหมาย
เป็นการฝึกยิงปืนเพื่อตั้งศูนย์รบเพื่อสอนทหารได้เรียนรู้ถึงวิธีการปรับตั้งศูนย์รบสำหรับ ปลย. ขนาด ๕.๕๖
มม. เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการปรับตั้งศูนย์รบในโอกาสที่จำเป็นด้วยตนเองได้และเพื่อประสงค์จะให้ทหารได้
ทำการปรับปืนตั้งศูนย์รบสำหรับอาวุธประจำกายของตนเองได้
๒. คำแนะนำ
การยิงปืนเพื่อตั้งศูนย์รบให้ยึดถือปฏิบัติดังนี้
๒.๑ เมื่อได้ทำการยิงจัดกลุ่มกระสุนแล้ว ควรนำทหารออกไปฝึกยิงปืนเพื่อจัดกลุ่มกระสุนใน
ระยะเวลาที่ไม่ห่างกันมากนัก
๒.๒ ผู้รับการฝึกจะต้องพยายามใช้อาวุธปืนขนาดเล็กยาว ๕.๕๖ มม. กระบอกเดียว กับที่ได้ทำ
การฝึกยิงจัดกลุ่มกระสุนมาแล้วทำการยิง
๒.๓ ให้ถือว่าเป็นการฝึกยิงปืนภาคบังคับไม่ควรงดเว้นหรือนำ ปลย. ขนาดอื่นมาใช้ยิงแทน
๒.๔ เมื่อได้ทำการยิงปรับปืนตั้งศูนย์รบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรให้ทหารจัดตำแหน่งของ ควงปรับ
ทางระยะและควงปรับทางทิศที่ศูนย์หน้าและศูนย์หลังไว้ซึ่งเป็นตำแหน่งของควงปรับทาง ระยะและควงปรับ
ทางทิศของปืนกระบอกนั้นสำหรับทหารคนนั้นหากสามารถกระทำได้ก็น่าจะใช้ วิธีให้ทำเครื่องหมายบันทึกผล
อย่างใดอย่างหนึ่งติดไว้ที่พานท้ายปืน
๒.๕ การยิงเพื่อปรับปืนตั้งศูนย์รบไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิ
๓. ตารางการฝึกยิง
๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้จะต้องใช้สำหรับ ปลย. ขนาด ๕.๕๖ มม. เท่านั้น
๓.๒ ในกรณีที่กระสุนมีจำกัดไม่สามารถทำการฝึกยิงด้วยกระสุนคนละ ๑๘ นัดได้ให้ ใช้กระสุนได้
อย่างน้อย ๙ นัด
หมายเหตุ
๑. ในการยิงปืนเพื่อตั้งศูนย์ให้ทำการยิงในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ เมตร โดยใช้ ปลย. เอ็ม.๑๖เอ.๑ หรือ
เอ.๒ ในท่านอนยิงที่มีเครื่องหนุนรองใช้กระสุน ๑๘ นัดเป้าปรับศูนย์รบระยะ ๒๕๐ เมตร (ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑)
หรือเป้าปรับศูนย์รบ ระยะ ๓๐๐ เมตร (ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒)
หน้า ๓๖ บทที่ ๒
๒. ผู้รับการฝึกจะต้องสามารถทำการยิงปรับศูนย์ โดยใช้กระสุน ๑๘ นัดให้กลุ่มกระสุน เข้าบริเวณ
กึ่งกลางเป้า และให้แบ่งกระสุนออกเป็นชุดย่อย ชุดละ ๓ นัด ยิง ๖ ครั้ง

๓. ในการยิง ๒ ชุดสุดท้ายเป็นการยิงหาผลกระสุนไม่น้อยกว่า ๕ ใน ๖ นัดกระสุน จะต้องอยู่ในวงกลม


เส้นผ่าศูนย์กลาง ๔ ซม.
๔. ในกรณีที่ทหารไม่สามารถยิงปรับศูนย์รบได้โดยใช้กระสุรน ๑๘ นัดจะสุนต้องถูกนำไป ฝึกเป็นพิเศษ
เมื่อค้นหาและแก้ไขข้อบกพร่องได้แล้ว จึงกลับมาทำการยิงปรับศูนย์ใหม่อีกครั้ง
๕. ถ้ามีกระสุนจำกัด ซึ่งจำเป็นต้องทำการยิงโดยใช้กระสุน ๙ นัดให้ทำการฝึกยิงโดย แบ่งกระสุน
ออกเป็นชุด ๆ ละ ๓ นัด
ตารางที่ ๓ การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคยและยิงประเมินผลในสนามระยะ ๒๕ เมตร
ลำ ท่ายิง เป้า เวลา กระ คะแนน หมายเหตุ
ดับ สุน
๑ ท่านอนยิง เป้าปรับศูนย์ ไม่จำกัด ๙ -ปรับปืน
๒ ท่านอนยิง รูปหุ่นย่อ ๕ นาที ๒๐ ๒๐ -ลำดับที่๒ ใช้กระสุน ๒ ซองๆละ๑๐ นัด
๓ ท่านั่งราบยิง รูปหุ่นย่อ ๕ นาที ๑๐ ๑๐ -ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง ๑๐ นัด
๔ ท่านั่งสูงยิง รูปหุ่นย่อ ๕ นาที ๑๐ ๑๐ -ท่านอนยิงไม่มีเครื่องหนุนรอง ๑๐ นัด
๕ ท่านั่งคุกเข่ายิง รูปหุ่นย่อ ๑๐ นาที ๑๐ ๑๐ เวลา ๕ นาที รวมทั้งการเปลี่ยนซอง
๖ ท่ายืนยิง รูปหุ่นย่อ ๑๐ นาที ๑๐ ๑๐

๑. การฝึกยิง ปลย.เอ็ม.๑๖ ในสนามระยะ ๒๕ เมตร โดยใช้ท่านั่งราบ, ท่านั่งสูง, ท่านั่งคุกเข่า, ท่ายืนและท่า


นอนยิง เป้ารูปหุ่นย่อส่วน
๑.๑ ทำการฝึกยิงในเวลากลางวัน ในสนามระยะ ๒๕ เมตร
๑.๒ ใช้กระสุนคนละ ๖๐ นัดท่านั่งราบ, ท่านั่งสูง, ท่านั่งคุกเข่าและท่าละยืน ๑๐ นัด ท่านอน
ยิง ๒๐ นัด
๑.๓ การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคยสามารถแบ่งออกเป็น ๓-๕ ครั้งโดยใช้กระสุนเฉลี่ยครั้ง ละเท่า
ๆ กัน เพื่อเปิดโอกาสให้ทหารฝึกยิงปืนบ่อย ๆ
๒. การประเมินผลให้ถือเกณฑ์ผ่านดังนี้
๒.๑ ทหารทำการยิงในท่านั่งยิงและยืนยิงถูกเป้ารูปตัวหุ่นย่อส่วนอย่างน้อย ๑๖ นัด จาก ๒๐
นัด โดยไม่จำเป็นต้องถูกภายในวงกลมกลางรูปตัวหุ่น คิด ๑ นัด ๑ คะแนน
๒.๒ ทหารทำการยิงในท่านอนยิงถูกเป้ารูปตัวหุ่นย่อส่วนอย่างน้อย๑๔นัดจาก๒๐ นัด โดยไม่
จำเป็นต้องถูกภายในวงกลมกลางรูปตัวหุ่น คิด ๑ นัด ๑ คะแนน
๒.๓ ในกรณีใช้เป้ารูปหุ่นย่อส่วนระยะ ๒๐๐ เมตร ซึ่งออกแบบมาสำหรับ ปลย.๑๑ ใช้ ฝึกยิง
ในสนามระยะ ๒๕ เมตร กระสุนถูกภายในเส้นประของเป้ารูปหุ่นย่อส่วนระยะ๒๐๐ เมตร ถือว่าได้คะแนน

๓. เกณฑ์การคิดคะแนน
ลำดับ เกณฑ์ ท่านั่งและยืนยิง ท่านอน
๓.๑ เกณฑ์ดีมาก ๓๘ - ๔๐ คะแนน ๑๙ - ๒๐ คะแนน
๓.๒ เกณฑ์ดี ๓๔ - ๓๗ คะแนน ๑๗ - ๑๘ คะแนน
๓.๒ เกณฑ์พอใช้ ๒๐ - ๓๓ คะแนน ๑๔ - ๑๖ คะแนน
๓.๔ ไม่ได้ผล ๒๐ - ๓๓ คะแนน ต่ำกว่า ๑๔ คะแนน
ลฝ.๓๗ - ๑๒ หน้า ๓๗
หมายเหตุ
๑. อย่างน้อยที่สุดทหารควรได้รับการฝึกยิงปืนในสนามระยะ๒๕เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) ในท่านอนยิงมี
เครื่องหนุนรองจำนวนกระสุนไม่ต่ำกว่า ๒๑ นัด/คน
๒. ทหารควรได้รับการฝึกยิงปืนเพื่อความคุ้นเคยในสัปดาห์ที่ ๓
๓. ในกรณีที่การประเมินผลมีอุปสรรคทหารควรยึดถือท่านอนยิงเป็นเกณฑ์การ ประเมินผลหลัก
๔. ทหารควรได้รับการฝึกยิงเพิ่มหลังจากบรรจุตามตำแหน่งหน้าที่ในหลักสูตรอื่นๆเพื่อเพิ่มความ
ชำนาญ
หน้า ๓๘
บทที่ ๓
การสนับสนุนการฝึก
---------------------
ตอนที่ ๑
สป.๓

ยานพาหนะ ระยะทาง (กม.) สป.๓


เกณฑ์ แก๊สโซฮอล์ ดีเซล น้ำมันเครื่อง น้ำมันเครื่อง
ลำดับ หน่วย ที่ตั้ง ไป-กลับ/ ออกเทน หมุนเร็ว เบนซิน sae ดีเซล sae หมายเหตุ
ชนิด จำนวน รวม ความ
คัน สิ้นเปลือง ๙๑ (ลิตร) (ลิตร) ๔๐ (ลิตร) ๔๐ (ลิตร)
๑. ๕๒๐ ธุรการ วันละ ๑๐ ลิตร
รร.สพศ. อ.ปากช่อง
๒. รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๒ ๕๖๐ ๕๖๐ ๒ ๒๘๐ เคลื่อนย้ายไป-กลับ
ศสพ. จว.นม.
รร.สพศ. อ.ปากช่อง
๓. รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๕ ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐ ๕ ๒๘๐ เคลื่อนย้ายไป-กลับ
ศสพ. จว.นม.
๔. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๓ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕ ๑๐๐ ตรวจเส้นทางปัญหาฝึก
๕. กอ.ฝึก รพ.ปากช่อง รดส.ขนาดเล็ก ๑ ๑,๕๖๐ ๑,๕๖๐ ๗ ๒๒๒ รถพยาบาล
๖. กอ.ฝึก สนามฝึก รดส.ขนาดเล็ก ๑ ๒,๗๐๐ ๒,๗๐๐ ๗ ๓๘๕ รถพยาบาล
๗. กอ.ฝึก สนามยิงปืน รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๕๐๐ ๕๐๐ ๒ ๒๕๐ ฝึกยิงปืน(กลางวัน,กลางคืน)
๘. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๑,๘๙๐ ๑,๘๙๐ ๒ ๙๔๕ ฝึกการตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด
๙. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๖๐๐ ๖๐๐ ๒ ๓๐๐ ฝึกการปิดล้อม/ตรวจค้น

บทที่ ๓
๑๐. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๒,๘๐๐ ๒,๘๐๐ ๒ ๑,๔๐๐ ฝึกการรบในป่าภูเขา
๑๑. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๒ ๖๐๐ ฝึกระเบิดทำลาย
ลฝ.๓๗ - ๑๒
ยานพาหนะ ระยะทาง (กม.) สป.๓
เกณฑ์ แก๊สโซฮอล์ ดีเซล น้ำมันเครื่อง น้ำมันเครื่อง
ลำดับ หน่วย ที่ตั้ง ไป-กลับ/ ออกเทน หมุนเร็ว เบนซิน sae ดีเซล sae หมายเหตุ
ชนิด จำนวน รวม ความ
คัน สิ้นเปลือง ๙๑ (ลิตร) (ลิตร) ๔๐ (ลิตร) ๔๐ (ลิตร)
๑๒. กอ.ฝึก สนามยิงปืน รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๗๐๐ ๗๐๐ ๒ ๓๕๐ ฝึกการลาดตระเวน
๑๓. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๖๓๐ ๖๓๐ ๒ ๓๑๕ ฝึกบุคคลทำการรบ
๑๔. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒ ๑๐๐ ฝึกการซุ่มโจมตี/ตีโฉบโฉย
๑๕. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๒ ๖๐๐ ฝึกการสะกดรอย
๑๖. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๒,๘๐๐ ๒,๘๐๐ ๒ ๑,๔๐๐ ฝึกการเล็ดลอดหลบหนี
๑๗. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๙ ๕๔๐ ๕๔๐ ๒ ๒๗๐ ฝึกการเดินแผนที่เข็มทิศ
๑๘. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๒,๑๐๐ ๒,๑๐๐ ๒ ๑,๐๕๐ ส่ง นร.เข้าพื้นที่ฝึก
๑๙. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๕ ๔,๒๐๐ ๔,๒๐๐ ๕ ๘๔๐ บรรทุกของ
๒๐. กอ.ฝึก สนามฝึก รถน้ำ ๑ ๕๘๐ ๕๘๐ ๓ ๑๙๓ ส่งน้ำ
๒๑. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๒ ๓,๕๐๐ ๓,๕๐๐ ๕ ๗๐๐ ส่งเสบียง
๒๒. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๑ ๒,๖๐๐ ๒,๖๐๐ ๕ ๕๒๐ ซื้อ สป.
รร.สพศ. อ.ปากช่อง
๒๓. รดส.ขนาดเล็ก ๑ ๒๘๐ ๒๘๐ ๗ ๔๐ ตรวจเยี่ยมการฝึก
ศสพ. จว.นม.
๒๔. กอ.ฝึก กรุงเทพฯ. รดส.ขนาดเล็ก ๑ ๑,๑๘๒ ๑,๑๘๒ ๗ ๑๖๘ อจ.บรรยายพิเศษ (กทม.)
รวม ๒,๙๖๐ ๘,๘๖๘ ๒๙ ๘๘
หมายเหตุ ๑. คำสั่ง ทบ.(เฉพาะ) ที่ ๔๘๔/๔๒ ลง ๒๗ เม.ย.๔๒ เรื่อง ให้ใช้เกณฑ์ความสิ้นเปลือง น้ำมันเชื้อเพลิง และน้ำมันอุปกรณ์สำหรับยานพาหนะ และเครื่องมือกลสายขนส่งในการใช้งานซ่อมบำรุง
และการฝึกพลขับเบื้องต้น
๒. คำสั่ง ทบ.ที่ ๕๔๔/๒๕๓๙ ลง ๒๑ ต.ค.๓๙ เรื่อง ให้ใช้เกณฑ์ความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันอุปกรณ์สำหรับยานพาหนะและเครื่องมือกลสายสรรพาวุธ ในการใช้งานการซ่อมบำรุง

หน้า ๓๙
และการฝึกพลขับเบื้องต้น
หน้า ๔๐ บทที่ ๓
ตอนที่ ๒
สป.๕
๑. ความต้องการขั้นต้น ถืออัตราตามกระสุนมูลฐานที่ ทบ. กำหนด
๒. การเบิกทดแทนหน่วยใช้เบิกจากตำบลส่งกำลังหรือคลังสนับสนุนในพื้นที่ จำนวนที่ ขอเบิกต้องไม่
เกินอัตราอนุมัติ
๓. การเบิกนอกอัตรา กระทำได้เป็นครั้งคราวและต้องได้รับอนุมัติก่อน
๔. ให้หน่วยที่รับผิดชอบในการฝึกทหารพรานใหม่และหน่วยสนับสนุนยึดถืออัตรา กระสุน ,วัตถุระเบิด
และเป้าตามที่ได้ระบุไว้นี้เป็นแนวทางในการกำหนดการฝึกและการเบิกจ่าย ดังนี้
๔.๑ อัตรากระสุน ปลย. ขนาด ๕.๕๖ มม. ธรรมดา (หรือกระสุน ปล. อื่นๆ ตาม ชนิดอาวุธที่ใช้
สำหรับการฝึกยิงปืนด้วยกระสุนจริง )
ลำดับ รายการ จำนวน ต่อ หมาย
(นัด) ทหาร เหตุ
๑ สำหรับใช้การฝึกยิงจัดกลุ่มกระสุนในสนาม ระยะ๒๕เมตร ๒๗ ๑ คน
๒ สำหรับใช้การฝึกยิงปรับศูนย์รบในสนาม ระยะ ๒๕ เมตร ๑๘ ๑ คน
๓ สำหรับใช้การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคยในสนาม ระยะ ๒๕ เมตร ๖๙ ๑ คน
๔ สำหรับใช้การประเมินผลการยิงปืนในสนาม ระยะ ๒๕ เมตร ๖๙ ๑ คน
รวมการใช้กระสุนทั้งสิ้น ๑๘๓ ๑ คน

๔.๒ อัตราลูกระเบิดขว้างที่ใช้สำหรับการฝึกขว้างลูกระเบิด
ลำดับ รายการ จำนวน ต่อทหาร หมายเหตุ
๑ ถุงดินดำจุกพลาสติกและชนวน ลข.๘๘ ซ้อมขว้าง ๕ ชุด ๑ คน ใช้ซ้อมขว้าง
๒ ลข.๘๘ สังหาร ๑ ลูก ๑ คน ให้ขว้างคนละ๑ครั้ง

๔.๓ อัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่ใช้สำหรับฝึกสอน และสาธิต


จำนวน
ลำดับ รายการ ต่อทหาร หมายเหตุ
(นัด)
๑ ลข.๘๘ ซ้อมขว้าง ๑ ลูก ๑ คน
๒ ลข.๘๘ สังหาร ๕ ลูก ๓๐ คน
๓ ลข.๘๘ ควันสี ๕ ลูก ๓๐ คน
๔ ดินระเบิด ทีเอ็นที ขนาด ๑/๒ ปอนด์ ๑๐ แท่ง ๓๐ คน
๕ เชื้อปะทุไฟฟ้า ๕ ดอก ๓๐ คน
๖ เชื้อปะทุชนวน ๑๐ ดอก ๓๐ คน
๗ ชนวนฝักแคเวลา ๕ ฟุต ๓๐ คน
๘ ชนวนกดระเบิด (เอ็ม. ๑ เอ ๑) ๒ อัน ๓๐ คน
๙ ชนวนเลิกกดระเบิด (เอ็ม. ๕) ๒ อัน ๓๐ คน
๑๐ ชนวนดึง - เลิกดึง (เอ็ม. ๓) ๒ อัน ๓๐ คน
๑๑ พลุสัญญาณสีต่าง ๆ ๕ นัด ๓๐ คน
ลฝ.๓๗ - ๑๒ หน้า ๔๑

จำนวน
ลำดับ รายการ ต่อทหาร หมายเหตุ
(นัด)
๑๒ ประทัด (เอ็ม. ๘๐) ๑ ดอก ๓๐ คน
๑๓ กปลย.(ซ้อมรบ) ขนาด ๕.๕๖ มม. หรือ ๗.๖๒ มม. ๒๐ นัด ๑ คน ใช้ฝึกทางยุทธวิธี
หน้า ๔๒
ตอนที่ ๓
งบประมาณ
๓. ความต้องการเกี่ยวกับการเงิน (ค่าเบี้ยเลี้ยง, ค่าเลี้ยงดู, ค่าสมนาคุณวิทยากร, ค่าเครื่องช่วยฝึกสิ้นเปลือง และค่าเครื่องช่วยฝึกพิเศษ)
๓.๑. ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าเลี้ยงดู
จำนวนบาท/ คน คูณด้วย
ความต้องการเกี่ยวกับการเงิน จำนวน จำนวนเงิน
จำนวนวันตามหลักสูตร รวมเงิน หมาย
ลำดับ ยศ – ชั้น
ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าอาหาร ค่า ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าอาหาร ค่า ผู้เข้ารับ เจ้า ต่อ ๑ คน เหตุ
บาท สตางค์
บาท/วัน บาท/วัน เลี้ยงดู บาท/วัน บาท/วัน เลี้ยงดู การฝึก หน้าที่
๑. ผู้เข้ารับการฝึก
- อส.ทพ. - ๑๙๐.- - - ๑๐,๖๔๐.- - ๒๕๐ - ๑๐,๖๔๐ ๒,๖๖๐,๐๐๐ - ๕๖ วัน
๒. ส่วนอำนวยการฝึก
- พล.ต. - พ.อ.(พ.) ๒๗๐.- - - ๑๖,๒๐๐.- - - - ๓ ๑๖,๒๐๐ ๔๘,๖๐๐ - ๖๐ วัน
- จ.ส.อ. – ส.ต. ๒๔๐.- - - ๑๔,๔๐๐.- - - ๑๐ ๑๔,๔๐๐ ๑๔๔,๐๐๐
- พลฯ - ๒๔.- - - ๑,๔๔๐ - ๑๐ ๑,๔๔๐ ๑๔,๔๐๐
๓. ส่วนการฝึก
- พ.อ. – ส.ต. ๒๔๐.- - - ๑๔,๔๐๐.- - - - ๕๑ ๑๔,๔๐๐ ๗๓๔,๔๐๐ -
๔. ส่วนสนับสนุนการฝึก
- พ.อ. – ส.ต. ๒๔๐.- - - ๑๔,๔๐๐.- - - - ๑๘ ๑๔,๔๐๐. ๒๕๙,๒๐๐
- พลฯ - - ๒๔ - - ๑,๔๔๐ - ๕ ๑,๔๔๐ ๗,๒๐๐
๕. การเปิด – ปิด การฝึก
- ค่าพิธี เปิด-ปิด การฝึก ๑,๐๐๐ -
- ค่าเครื่องดื่ม ๑,๒๐๐ -
- ค่าประกาศนียบัตร ๒๖๓ ๑๕ ๓,๙๔๕ -
(อะไหล่ ร้อยละ ๕)
รวม (สามล้านแปดแสนเจ็ดหมื่นสามพันเก้าสี่ร้อยสี่สิบห้าบาทถ้วน) ๓,๘๗๓,๙๔๕

บทที่ ๓
ลฝ.๓๗ - ๑๒ หน้า ๔๓
๓.๒ ค่าสมนาคุณวิทยากร
จำนวนชั่วโมง จำนวนชั่วโมง จำนวนเงิน
ลำดับ วิชาที่ใช้วิทยากร หมายเหตุ
ตามหลักสูตร ที่ใช้วิทยากร บาท
๑. การเก็บหลักฐาน - วัตถุพยาน ๑๔ ๑๐ ๒,๐๐๐.- (๒๐๐.-บาท/ชม.)
๒. บรรยายพิเศษด้านการข่าว ๔ ๔ ๘๐๐.-
๓. บรรยายพิเศษด้านกิจการพลเรือน ๔ ๔ ๘๐๐.-
รวม (สามพันหกร้อยบาทถ้วน) ๓,๖๐๐.-

หมายเหตุ : หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห ๐๔๐๖/ ๓๗๒๕๕, ๒๔๗๒ ลง ๑๔ ก.พ.๕๖ (เอกสารหมายเลข ๕)

๓.๓ ค่าเครื่องช่วยฝึก (เครื่องช่วยฝึกสิ้นเปลือง)


เกณฑ์สิ้นเปลือง จำนวนผู้เข้ารับการ ความต้องการทั้ง
ระยะเวลาการฝึกศึกษา หมายเหตุ
ต่อคน (บาท) ฝึก (คน) หลักสูตร (บาท)
๘ สัปดาห์
- ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑,๖๗๓.- ๒๕๐ ๔๑๘,๒๕๐.-

หมายเหตุ คำสั่ง ทบ. ที่ ๖๕๐/ ๒๕๕๘ ลง ๒ พ.ย.๕๘ เรื่อง อัตราเครื่องช่วยฝึกสิ้นเปลืองงานศึกษาตามหลักสูตร

๓.๔ ค่าเครื่องช่วยฝึกพิเศษ (การฝึก)


ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ หน่วยนับ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
หน่วยละ
๑ แผ่นภาพประกอบการฝึกสอน แผ่น ๑๑๐ ๒๕๐ ๒๗,๕๐๐ วิชาละ ๕ แผ่น
๒ Chem-Light (ฝึกการรบในป่าและภูเขา) กล่อง ๒๕ ๑,๗๕๐ ๔๓,๗๕๐ - กล่องละ ๑๐ อัน
๓ ค่าคู่มือ (ผู้เข้ารับการฝึก) เล่ม ๒๕๐ ๑๕๐ ๓๗,๕๐๐
๔ เครื่องมือหาพิกัดดาวเทียม อัน ๒๐ ๘,๐๐๐ ๑๖๐,๐๐๐
๕ อุปกรณ์ฝึกบุคคลทำการรบ ชุด ๒๕๐ ๑๕๐ ๓๗,๕๐๐ - ฝุ่นพราง,หลอดเรืองแสง
๖ เชือก เส้น ๒ ๒๐,๐๐๐ ๔๐,๐๐๐
๗ อุปกรณ์การตั้งจุดตรวจจุดสกัด ๘,๕๐๐ - เหมาจ่าย
๘ อุปกรณ์การปิดล้อม/ตรวจค้น ๕,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๙ อุปกรณ์การสะกดรอย ๑,๕๐๐ - เหมาจ่าย
๑๐ อุปกรณ์ระเบิดทำลายแสวงเครื่อง ๒๐,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๑ อุปกรณ์ดำรงชีพในป่า ๔,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๒ อุปกรณ์ยิงปืนฉับพลัน ๓,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๓ อุปกรณ์ยิงปืนในป่า ๓,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๔ อุปกรณ์ยิงปืนในเวลากลางคืน ๓,๐๐๐ - เหมาจ่าย
หน้า ๔๔ บทที่ ๓

ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ หน่วยนับ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
หน่วยละ
๑๕ อุปกรณ์ฝึกรบในพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง ๓,๕๐๐ - เหมาจ่าย
๑๖ อุปกรณ์ทำเสาอากาศแสวงเครื่อง ๒,๕๐๐ - เหมาจ่าย
๑๗ อุปกรณ์ฝึกเดินแผนที่เข็มทิศเวลากลางคืน ๒,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๘ อุปกรณ์ชุดปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- เครื่องวัดความดัน เครื่อง ๑ ๓,๕๐๐ ๓,๕๐๐
- Betadin ขวด ๓ ๙๒ ๒๗๖
- สำลีก้อน ถุง ๕ ๑๐๐ ๕๐๐
- E thy Alcohol ขวด ๖ ๕๕ ๓๓๐
- Micropor ม้วน ๓๐ ๑๕ ๔๕๐
- ระเบิดปิงปอง ลูก ๕๐ ๑๐ ๕๐๐
- ๐.๙๙ % NSS ๑๐๐๐ ML. ขวด ๓๐ ๓๒ ๙๖๐
- Medicath No.๒๒ อัน ๖๐ ๑๐ ๖๐๐
- Set I.V. เชต ๖๐ ๑๐ ๖๐๐
- สีผสมอาหารแบบน้ำ (สีแดง) ขวด ๑๐ ๑๕ ๑๕๐
- ลูกโป่งทำหลอดเลือดเทียม ถุง ๑๐ ๔๐ ๔๐๐
รวมชุดอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้อน ๘,๒๖๖
รวมค่าเครื่องช่วยฝึกพิเศษ ๔๑๐,๕๑๖

๓.๕ ค่าเป้า

ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ หน่วยนับ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
หน่วยละ
๑. เป้า หุ่นนั่ง ข.๒๒๙๙ แผ่น ๒๕๐ ๑๙๙.๕๐ ๔๙,๘๗๕
๒. เป้า หุ่นยืน ค.๒๒๖๒ แผ่น ๒๕๐ ๓๐๓ ๗๕,๗๕๐
๓. เป้าปพ. แบบ ก. ๒๒๕๕ หุ่น ๕๐๐ ๘.๗๕ ๔,๓๗๕
๔. เป้าปพ. แบบ ข. ๒๒๕๖ หุ่น ๒๕๐ ๙.๒๕ ๒,๓๑๒
รวมค่าเป้า ๑๓๒,๓๑๒

๓.๖ ค่าแบตเตอรี่

ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ หน่วยนับ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
หน่วยละ
๑. ถ่านไฟฉายขนาดเล็กแบบอัลคาไลน์ ก้อน ๑,๐๐๐ ๙.๕๐ ๙,๕๐๐
๒. BA ๓๓๘๖/๔๐ ก้อน ๒๐๐ ๕๘๕ ๑๑๗,๐๐๐
ลฝ.๓๗ - ๑๒ หน้า ๔๕

ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ หน่วยนับ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
หน่วยละ
๓. BA- ๖๒๔ ก้อน ๑๕๐ ๒๗๙ ๔๑,๘๕๐
๔. UM-๑ ก้อน ๒๐๐ ๓๓.๕๐ ๖,๗๐๐
รวมค่าแบตเตอรี่ ๑๗๕,๐๕๐

You might also like