You are on page 1of 87

กองทัพบก

ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
การฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ

ของ
เหล่าทหารราบ
( ๗ สัปดาห์ )
ลฝ. ๗ – ๔๙
พ.ศ. ๒๕๖๓
ผนวก การเบิกรับ และอัตราการแจกจ่าย ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ประกอบ คาสั่ง ทบ.ที่ ๔๒๖/๒๕๖๓ เรื่อง ให้ใช้หนังสือตาราในราชการ ลง ๒๓ ก.ย. ๖๓
ลฝ.๗ - ๔๙ การฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ
ของเหล่าทหารราบ ( ๗ สัปดาห์ )

๑. หน่วยเบิก
๑.๑ นขต.ทบ.(เว้น ทภ.) นขต.ยศ.ทบ.และหน่วยนอก ทบ. เบิกรับจาก ยศ.ทบ.
๑.๒ มทบ. เบิกรับจาก ยศ.ทบ. เพื่อจ่ายให้ ทภ.,หน่วยในบังคับบัญชา ทภ. ใหน่วยในพื้นที่ มทบ.

๒. อัตราแจกจ่าย
๒.๑ หน่วยใน ทบ.
- กรมฝ่ายเสนาธิการ,กรมฝ่ายกิจการพิเศษ,กรมฝ่ายยุทธบริการ (๑)
- ทภ.,ทน.,มทบ. (๒)
- กองพล,กรม.,บชร.,รพศ.,นปอ.,นสศ. (๓)
- กองพัน (๓)
- ยศ.ทบ.,ศฝยว.ทบ.,(๒) ศร.,ศม.,ศป.,(๕),สบส.,วทบ.สบส.,รร.สธ.ทบ.สบส., รร.จปร.,ศสพ.,
รร.เหล่าสายวิทยาการ,ศูนย์การศึกษา (๑)
๒.๒ หน่วยนอก ทบ.
- ห้องสมุด กห.,ยก.ทหาร,ศวจ.,วปอ.,วสธ.,รร.รปภ.,รร,ตท.,ทร.,ทอ.,ตชด. (๑)
วัตถุประสงค์การฝึกศึกษาของกองทัพบก
เป็นผู้นาที่ดี มีคุณธรรม
มีความรู้และประสบการณ์สาหรับการในหน้าที่
แข็งแรงทรหดอดทนต่อการตรากตราทางาน
คานา

ระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ ของเหล่าทหารราบ


(๗ สัปดาห์) เล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นให้มีความเหมาะสม ทันสมัย และ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การฝึกเป็นหน่วยในระดับ
หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ ถือว่าเป็นขั้นการฝึกที่มีความสาคัญยิ่ง เนื่องจากการฝึกหน่วยในระดับนี้ จะ
ทาให้การฝึกเป็นหน่วยในระดับสูงขึ้นไปมีประสิทธิภาพได้
ศูนย์การทหารราบใคร่ขอความร่วมมือจากหน่วย หากมีความเห็นว่าระเบียบและหลักสูตร เล่มนี้มีความ
เหมาะสมหรือไม่ประการใด กรุณาส่งความเห็น และแจ้งข้อเสนอ แนะไปที่ แผนกการฝึก กองวิทยาการ ศูนย์
การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อาเภอปราณบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๖๐ เพื่อที่จะได้นาไปปรับปรุงแก้ไขให้
เหมาะสมต่อไป

ศูนย์การทหารราบ
สารบัญ

บทที่ เรื่อง หน้า


๑ ระเบียบการฝึก 1
ตอนที่ ๑ กล่าวทั่วไป 1
ตอนที่ ๒ การจัดการฝึก ๔
ตอนที่ ๓ การประเมินผล ๙
ตอนที่ ๔ การตรวจสอบ 1๐
ตอนที่ ๕ การรายงานผลการฝึก ๑๑
๒ หลักสูตรการฝึก 1๒
ตอนที่ ๑ ตารางกาหนดการฝึกหลัก 1๒
ตอนที่ ๒ ตารางกาหนดการฝึกเป็นรายสัปดาห์ 1๗
ตอนที่ ๓ แถลงหลักสูตรการฝึก 2๔
๓ การสนับสนุนการฝึก 48
ตอนที่ ๑ ความต้องการ สป.๓ 48
ตอนที่ ๒ ความต้องการ สป.๕ 53
ตอนที่ ๓ ความต้องการ สป.สิ้นเปลือง (การฝึก/ธุรการ) 60
๔ ผนวกประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ผนวก ก ตารางกาหนดการฝึกหลัก (แบบไม่มีขั้นการฝึก)
ผนวก ข ตารางกาหนดการฝึกหลัก (แบบมีขั้นการฝึก)
ผนวก ค ตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์ (แบบไม่มีขั้นการฝึก)
ผนวก ง ตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์ (แบบมีขั้นการฝึก)
ผนวก จ ตารางแถลงหลักสูตรการฝึก (แบบไม่มีขั้นการฝึก)
ผนวก ฉ ตารางแถลงหลักสูตรการฝึก (แบบมีขั้นการฝึก)
ผนวก ช ตารางการฝึกประจาวัน
ผนวก ซ ตารางกาหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
ผนวก ด ตารางความต้องการสิ่งอุปกรณ์สิ้นเปลือง (การฝึกและธุรการ)
ผนวก ต ตารางความต้องการสิ่งอุปกรณ์ (สาย สพ., สาย วศ., สาย ส., สาย พ.
และ เป้า)
ผนวก ถ ตารางความต้องการยานพาหนะ (การฝึกและธุรการ)
ผนวก ท ตารางความต้องการยานพาหนะและสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓ (งานการฝึก
ทั่วไป)
ผนวก น ตารางความต้องการยานพาหนะ และสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓ (หน่วย
ทหารราบเบา และทหารราบมาตรฐาน)
สารบัญ (ต่อ)

บทที่ เรื่อง หน้า


ผนวก บ ตารางความต้องการยานพาหนะ และสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓ (หน่วย
ทหารราบยานเกราะเบา, ทหารราบยานเกราะ และ หน่วยทหารม้า)
ผนวก ป ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา (เฉพาะ
เรื่อง) ประกอบความคิดเห็น (บุคคล)
ผนวก ผ ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชาประกอบ
ความเห็น (บุคคล)
ผนวก ฝ ตารางรายงานสรุปผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา
(ส่วนรวม) ประกอบความคิดเห็นในภาพรวม (เป็นหน่วย)
ลฝ.๗ – ๔๙ หน้า ๑

บทที่ ๑
ระเบียบการฝึก
ตอนที่ ๑
กล่าวทั่วไป

๑. ความมุ่งหมายการฝึก
ระเบี ย บและหลั ก สู ตรการฝึ ก เล่ ม นี้ ได้กํ า หนดขึ้น สํ า หรับ ให้ ผู้ บัง คั บหน่ ว ยทหาร และผู้ ที่ มี ห น้ า ที่
รับผิดชอบ ในการฝึกของหน่วยทหาร ได้นําไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการฝึก การปฏิบัติการรบเฉพาะหน้ าที่ของ
หน่วยระดับ หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ ตามอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ของหน่วยทหารในเหล่าทหาร
ราบ โดย มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทั้งตัวผู้บังคับบัญชาและพลทหารในหน่วยระดับ หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ
ซึ่งบรรจุกําลังอยู่ ในปัจจุบัน มีความรู้และความชํานาญในการปฏิบัติการรบได้ตามลักษณะและหน้าที่เฉพาะแห่ง
หน่วยของตน

๒. วัตถุประสงค์การฝึก
เพื่อให้กําลั งพลของหน่ วยระดั บ หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ มีความคุ้นเคยและมีความ
ชํานาญต่อการปฏิบัติ ทางยุทธวิธีตามเหตุการณ์ต่าง ๆ การบังคับบัญชาในสนาม และปลูกฝังให้ทหารมีความรู้
ความสามารถในกรณี ต่อไปนี้
๒.๑ รู้จักปฏิบัติการตามตําแหน่งหน้าที่ที่ได้รับการบรรจุ
๒.๒ รู้จักประสานงานกันระหว่างบุคคล
๒.๓ รู้จักปฏิบัติการเป็นชุดร่วมกัน
๒.๔ รู้สึกรับผิดชอบและภาคภูมิใจในตําแหน่งหน้าที่ หมู่คณะ และหน่วยของตน
๒.๕ สามารถใช้อาวุธประจํากาย อาวุธประจําหน่วย ตลอดจนการถนอมรักษาอาวุธและการปรนนิบัติ
บํารุงได้ถูกต้อง
๒.๖ ให้ทุกคนมีความรู้ความสามารถ ในการปฏิบัติการรบตามตําแหน่งหน้าที่ของตนและให้สามารถ
ทดแทนหน้าที่อื่น ๆ ภายในหน่วยของตนเมื่อจําเป็นได้
๒.๗ ให้ทหารได้มีโ อกาสฝึกปฏิบัติการรบร่วมกันเป็นหน่ว ย หมู่ ตอน หมวดยานทหารราบเกราะ
ตามลักษณะการปฏิบัติทางยุทธวิธี จนบังเกิดความแน่นแฟ้น และเคยชินตั้งแต่ในยามปกติ
หน้า ๒ บทที่ ๑

๓. ขอบเขตการฝึก
ระเบี ย บและหลั กสู ตรการฝึ ก การฝึ ก เป็น หน่ว ย หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ ของเหล่ า
ทหารราบ ใช้เวลาในการฝึก ๗ สัปดาห์ (๖๙๖ ชั่วโมง)

๔. ความรับผิดชอบการฝึก
การดําเนินการฝึกให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้บังคับกองพันขึ้นไป หรือ ผู้บังคับหน่วยเทียบเท่าโดย
ให้ดําเนินการดังต่อไปนี้
๔.๑ ออกคําสั่งแต่งตั้งผู้อํานวยการฝึก ให้คําแนะนําในการดําเนินการฝึกและสอน ตลอดจนการให้การ
สนับสนุนต่างๆ
๔.๒ ออกคําสั่งแต่งตั้งนายทหารสัญญาบัตร และนายทหารชั้นประทวน ให้ทําหน้าที่เป็น ผู้ฝึก, ครูฝึก
ตามจํานวนที่เหมาะสม
๔.๓ ออกคําสั่งการฝึกให้เป็นไปตามห้วงเวลาที่กองทัพบกําหนด
๔.๔ จัดให้มีการประเมินผลการฝึกอย่างมีประสิทธิภาพ

๕. การบรรลุการฝึก
เพื่อให้บรรลุความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ดังกล่าวแล้วข้างต้น ผู้บังคับบัญชาทุกชั้นตลอดจน ผู้มี
หน้าที่ ฝึกสอน และอบรมทุกนายต้องกวดขันและหมั่นดูแลให้การฝึกดําเนินไปด้วยดีที่สุด ต้องพยายามคิดค้นหาวิธี
ฝึก และใช้อุบายในการฝึก เพื่อให้ทหารแต่ละคนมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง และดําเนินการฝึกอย่าง
ประณีต รอบคอบและเอาใจใส่ เมื่อพบข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการฝึกต้องแก้ไขทันที

๖. หลักฐานอ้างอิง
๖.๑ นโยบายการฝึก คําสั่งการฝึก และบันทึกต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการฝึกทหารแต่ละปีของ ทบ.
๖.๒ คู่มือราชการสนามว่าด้วยการฝึกทหาร (รส. ๒๑ - ๔) พ.ศ. ๒๕๑๒
๖.๓ คู่มือราชการสนามว่าด้วยวิธีเตรียมการ และการดําเนินการฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ รส. (๒๑ - ๖)
พ.ศ. ๒๕๓๐
๖.๔ ภาพยนตร์ฝึก วิดีโอเทป ภาพฉายนิ่ง ภาพฉายเลื่อน เครื่องบันทึกเสียง และแผ่นภาพเครื่องช่วย
ฝึก ต่าง ๆ
๖.๕ คู่มือราชการสนาม คู่มือทางเทคนิค และหลักฐานเตรียมการฝึกต่าง ๆ ที่ ทบ.อนุมัติให้ใช้เป็น
หลักฐาน การฝึก
๖.๖ ระเบียบ ข้อบังคับ คําสั่ง คําชี้แจงอื่น ๆ ของ ทบ. ที่เกี่ยวกับ
๖.๖.๑ การดําเนินการฝึก
๖.๖.๒ ความปลอดภัยในการฝึก
๖.๖.๓ การยิงปืน
ลฝ.๗ – ๔๙ หน้า ๓

๖.๖.๔ อัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่ใช้ทําการฝึก

๗. การบังคับใช้
ให้ใช้ระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ ของเหล่า
ทหารราบ เล่มนี้ เป็นแนวทางในการดําเนินการฝึกตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เว้นแต่กองทัพบกจะได้สั่งการเปลี่ยนแปลง
เป็นอย่างอื่น

๘ การปรับปรุงแก้ไข
๘.๑ การปรับปรุงแก้ไขระเบียบและหลักสูตรการฝึก เล่มนี้ ให้เหมาะสม และเป็นผลดีต่อการฝึกสอน
อบรม ของกองทัพบก เป็นหน้าที่ของกรมยุทธศึกษาทหารบกและศูนย์การทหารราบ หากหน่วยใดมีความประสงค์
จะให้ข้อเสนอแนะในการเปลี่ยนแปลงแก้ไข หรือข้อคิดเห็นต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงระเบียบและหลักสูตรการฝึก เล่มนี้
ให้ดีขึ้น ย่อมกระทําได้ ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ที่จะเสนอให้เปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ควรจะบ่งหน้าข้อและบรรทัด ตามที่
ปรากฏใน ระเบียบและหลักสูตรการฝึก เล่มนี้ด้วย และควรจะให้เหตุผลประกอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่อง
แท้และสามารถ นําไปประเมินค่าได้โ ดยสมบูรณ์ ข้อคิดเห็ นดังกล่ าวนี้ขอให้ ส่ งตรงไปยัง กองวิทยาการ ศูนย์
การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๖๐
๘.๒ หน่วยใดที่ไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกเล่มนี้ หรือมีข้อขัดข้องประการใดก็ดี
ให้ ร ายงานข้ อขัดข้อง พร้ อมด้ว ยข้อเสนอแนะของหน่ว ยต่อผู้ บังคั บบัญชาตามลํ าดับขั้นจนถึง กรมยุทธศึกษา
ทหารบก เพื่อตกลงใจขจัดปัญหาหรือปรับปรุงแก้ไขให้เป็นมาตรฐานที่สมบูรณ์ต่อไป
หน้า ๔ บทที่ ๑

ตอนที่ ๒
การจัดการฝึก

๑. แนวความคิดในการจัดการฝึก
๑.๑ ระเบียบและหลักสูตรการฝึกเล่มนี้ แบ่งขั้นตอนของการฝึกไว้เป็น ๒ ภาค คือ
๑.๑.๑ ภาคการฝึกในที่ตั้ง แบ่งขั้นตอนการฝึกไว้เป็น ๓ ขั้น ดังนี้
๑.๑.๑.๑ การฝึกขั้นที่ ๑ การฝึกเป็นบุคคล
๑.๑.๑.๒ การฝึกขั้นที่ ๒ การฝึกเป็นชุด/หมู่
๑.๑.๑.๓ การฝึกขั้นที่ ๓ การฝึกเป็น มว.
๑.๑.๒ ภาคการฝึกในสนามและการตรวจสอบ (ระดับ มว.ปล.) ดังนี้
๑.๑.๒.๑ การฝึกในสนามฝึกนอกที่ตั้งหน่วย (๑๒ วัน)
๑.๑.๒.๒ การตรวจสอบการฝึกระดับ มว.ปล.นอกที่ตั้งหน่วย (๔ วัน)
๑.๒ การดําเนินการฝึกตามขั้นตอนต่าง ๆ นั้น มีลักษณะแตกต่างกัน การจัดพลทหารเข้ารับ การฝึก
จะต้อง ยึดถือหลักเกณฑ์ตามรายละเอียดที่จะกล่าวต่อไปในข้อ ๔ ส่วนนายทหารสัญญาบัตร และนายทหารชั้น
ประทวน ที่บรรจุรับราชการในหน่วยระดับหมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ จะต้องจัดให้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การฝึกดังต่อไปนี้
๑.๒.๑ ในขั้นการฝึกที่ ๑ การฝึกเป็นบุคคลให้ทําหน้าที่เป็นครูฝึกหรือผู้ช่วยครูฝึกในวิชาการต่าง ๆ
ของขั้นการฝึกที่ ๑ ตามความเหมาะสม
๑.๒.๒ ในขั้นการฝึกที่ ๒ และขั้นการฝึกที่ ๓ การฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวด จะต้องจัดเข้ารับ การ
ฝึ กในฐานะเป็ น ผู้ รั บ การฝึ กตามลํ า ดับ ขั้ น ตอนการฝึ ก เป็น หน่ว ย หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ อย่า ง
เหมาะสม กล่าวคือ ในขั้นตอนของการฝึกเป็นหน่วย หมู่ จะต้องให้เจ้าหน้าที่ภายในหมู่ และผู้บังคับหมู่มีฐานะเป็น
ผู้รับการฝึก ในขั้นตอนของการฝึกเป็นหน่วย ตอน หรือ หมวด จะต้องจัดให้เจ้าหน้าที่ในตอนและผู้บังคับตอนมี
ฐานะเป็น ผู้รับการฝึก ส่วนผู้บังคับหมวดนั้นคงปฏิบัติงานทั้งในฐานะเป็นครูฝึกและนําหน่วยในการฝึกในขั้นตอน
ของ การฝึกเป็นหน่วย หมวด
๑.๒.๓ ขั้นการฝึกภาคสนามและการตรวจสอบ การตรวจสอบจะต้องกําหนดให้เจ้าหน้าที่ภายใน
หน่ ว ย และผู้ บั ง คั บ หน่ ว ยทุก ระดั บ เป็ น ผู้ ป ฏิ บัติ ง านภายในหน่ ว ย และเป็ นผู้ นํ าหน่ว ยเข้ ารั บ การฝึ ก และการ
ตรวจสอบ

๒. การนาไปใช้
๒.๑ ตารางกําหนดการฝึกหลักตามที่กําหนดไว้ในบทที่ ๒ ของระเบียบและหลักสูตรการฝึก เล่มนี้ ได้
กําหนด ไว้สําหรับให้นายทหารฝ่ายยุทธการและการฝึก หรือเจ้าหน้าที่ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้มีหน้าที่รับผิดชอบ และ
ลฝ.๗ – ๔๙ หน้า ๕

กํากับ ดูแลการฝึกของหน่วยได้นําไปใช้เป็นเครื่องมืออํานวยความสะดวกใน การวางแผนการฝึก และจัดทํา


ตาราง การฝึกของแต่ละวิชาให้มีลําดับการสอนที่เหมาะสม และได้ส่วนสัมพันธ์กับความยากง่ายของแต่ละวิชา
๒.๒ แถลงหลักสูตรตามที่กําหนดไว้ในบทที่ ๒ ของระเบียบและหลักสูตรการฝึก เล่มนี้ ครูผู้สอนหรือผู้ฝึก
จะต้องนําเอาไปใช้ในการจั ดทําแผนบทเรียน และปัญหาฝึกโดยเคร่งครัด เพื่อให้ การสอนและฝึกเป็นไปตาม
มาตรฐานตามที่ระเบียบและหลักสูตรการฝึกกําหนด
๒.๓ ผู้บังคับหน่วยที่รับผิดชอบในการจัดทําตารางกําหนดการฝึก อาจจะเปลี่ยนแปลงรายละเอียด บาง
ประการตามที่กําหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ก็ได้ แต่จะต้องให้คงมีวิชาและชั่วโมงการฝึกสอน ไม่น้อย
กว่าที่กําหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ ทั้งนี้เพื่อให้
๒.๓.๑ เหมาะสมกับจํานวนสิ่งอํานวยความสะดวกในการฝึกที่มีอยู่
๒.๓.๒ เหมาะสมกับจํานวนเครื่องช่วยฝึกที่มีอยู่
๒.๓.๓ เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมและสภาพลมฟ้าอากาศ
๒.๔ ผู้ฝึกหรือนายทหารที่รับผิดชอบในการฝึก จะต้องจัดทําตารางกําหนดการฝึกไว้ ๒ ชนิด คือ
๒.๔.๑ ตารางกําหนดการฝึกประจําวัน เพื่อใช้เป็นกําหนดการฝึกประจําวันตามปกติ
๒.๔.๒ ตารางกําหนดการฝึกสํารอง เพื่อใช้เป็นกําหนดการฝึกทดแทนกําหนดการฝึกประจําวัน ใน
เมื่อสภาพสิ่งแวดล้อมไม่อํานวยให้ทําการฝึกตามกําหนดการฝึกประจําวันได้ต้องหมุนเวียนอุปกรณ์ที่ใช้ สนับสนุน
การฝึก หรือเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง เป็นต้น
๒.๕ ผู้บังคับหน่วยทุกระดับ เป็นผู้ที่มีความสําคัญที่จะทําให้การฝึกประสบความสําเร็จ หรือล้มเหลวได้
ฉะนั้น ผู้บังคับหน่ วยทุกคนจะต้องเป็ น ผู้ทรงไว้ซึ่งความรู้ทางวิชาการ มีลักษณะผู้นําที่ดี และสามารถนําหน่ว ย
ปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนที่จะนําหน่วยทําการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้
๒.๖ หน่วยทหารที่ต้องทําการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ ได้แก่
๒.๖.๑ กรมและกองพันทหารราบมาตรฐาน
๒.๖.๒ กองพันทหารราบเบา
๒.๖.๓ กองพันป้องกันฐานบิน
๒.๖.๔ กองร้อยกองบัญชาการกองทัพภาค และกองร้อยกองบัญชาการกองพลทหารราบ
๒.๖.๕ หน่วย ร. ระดับกองร้อยและ/หรือกองพันหรือเทียบเท่า ซึ่งเป็นหน่วยขึ้นตรงส่วนภูมิภาค และ
ส่วนการศึกษา โดยได้รับอนุมัติจากกรมยุทธศึกษาทหารบก
๒.๗ หน่วยที่ขาดอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ เพราะไม่มีกําหนดไว้ใน อจย. หรือ อสอและ/
หรือ ได้รับจ่ายไม่ครบตามอัตราที่กําหนด ให้ผู้บังคับหน่วยเหนือของหน่วยที่ขาดสิ่งอุปกรณ์ดังกล่าวเป็นผู้ดําเนิน
การแก้ไข เพือ่ มิให้การฝึกต้องเสียผลโดยขอยืมจากหน่วยอื่น ๆ ในพื้นที่ของตน
๒.๘ หน่ ว ยควรจั ด ให้ พลทหารทุ กคนได้รับการฝึ กเพิ่มเติ มในเรื่ อง การตรวจค้นและการกู้ทุ่น ระเบิ ด
นอกเหนือไปจากรายละเอียดที่กําหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ให้มากที่สุดเท่าที่จะสามารถกระทําได้
หน้า ๖ บทที่ ๑

๓. วิธีดาเนินการฝึก
๓.๑ การดําเนินการฝึก จะต้องยึดถือปฏิบัติตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ในคู่มือราชการสนามว่า ด้วยการฝึก
ทหาร (รส. ๒๑ - ๔) และคู่มือราชการสนามว่าด้วย วิธีเตรียมการและการดําเนินการฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ (รส.
๒๑ - ๖) พ.ศ. ๒๕๓๐ เป็นหลัก
๓.๒ การดําเนินการฝึก จะต้องให้มีการฝึกในทุกเรื่องครบถ้วนตามแถลงหลักสูตรอย่างเคร่งครัด และ
สมจริงเสมอ
๓.๓ การฝึกปฏิบัติทางยุทธวิธีทุกเรื่อง จะต้องนํากําลังพลและยุทโธปกรณ์ที่มีอยู่ตาม อจย. เข้ารับการฝึก
ทั้งหมดอย่างครบถ้วน โดยใช้ตัวผู้นําหน่วยใน ในระดับ หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ ตามอัตราที่บรรจุจริง
เป็นหน่วยเข้ารับ การฝึกไม่ควรใช้วิธีสนธิกําลังหรือจัดกําลังขึ้นใหม่เพื่อทําการฝึก
๓.๔ ในการฝึกปฏิบัติการทางยุทธวิธีเป็นหน่วย ผู้บังคับหน่วยจะต้องใช้ความพยายามทุกวิธีทางที่จะจัด ให้
มีอาวุธยิงสนับสนุนของหน่วย สนับสนุนการฝึกและตรวจสอบให้มากที่สุด
๓.๕ การฝึกปฏิบัติในสนามตามสถานการณ์ทางยุทธวิธีต่าง ๆ นั้น แต่ละหน่วยฝึกจะต้องจัดทําปัญหา ฝึก
ไว้เป็นเอกสารเสมอ และแต่ละปัญหาฝึกเหล่านั้นจะต้องมีคําเฉลยไว้ โดยแน่ชัด โดยจะต้องพยายามคิดค้น สร้าง
ปัญหาสอดแทรกไว้ในลักษณะการต่าง ๆ กัน ให้มากที่สุดเท่าที่จะสามารถกระทําได้ หรือเท่าที่คาดว่าน่า จะเกิดขึ้น
ในสนามรบจริงได้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้นําหน่วยและทหารมีความคุ้นเคยกับการแก้ปัญหาต่าง ๆ ไว้ตั้งแต่ ในเวลาปกติ
๓.๖ เนื่องจากระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้มีเวลาอยู่อย่างจํากัด การดําเนินการฝึกทางยุทธวิธีบางเรื่อง
จึงควรต้องกระทําในลักษณะที่นํากําลังพลของหน่วย ออกไปสอนและฝึกปฏิบัติควบคู่กันไปในภูมิประเทศ โดย ไม่
มีการสอนในห้องเรียน
๓.๗ ภูมิประเทศที่เลือกใช้ทําการฝึก ต้องมีลักษณะสมจริงกับปัญหาหรือเรื่องที่ฝึกและควรเลือกพื้นที่ฝึก
ในลักษณะภูมปิ ระเทศที่ยากลําบากให้มากที่สุด
๓.๘ ผู้บังคับกองพันจะต้องกํากับดูแล ให้มีการออกกําหนดการฝึกประจําสัปดาห์ ให้หน่วยฝึกได้รับ ทราบ
ล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ สัปดาห์ และหน่วยฝึกจะต้องจัดทําตารางกําหนดการฝึกประจําวันขึ้นใช้อีกขั้นหนึ่ง และ
สามารถแสดงให้ผู้ตรวจการฝึกตรวจได้ตลอดเวลา
๓.๙ การฝึกยิงปืนด้วยกระสุนจริงและการใช้วัตถุระเบิด
๓.๙.๑ การใช้กระสุนในการฝึกยิงปืนด้วยกระสุนจริง ให้ยึดถือเกณฑ์ตามที่กําหนดไว้ใน บทที่ ๒
ตอนที่ ๔ ของระเบียบและหลักสูตรการฝึกเล่มนี้
๓.๙.๒ การใช้กระสุนและวัตถุระเบิดในการฝึกทางยุทธวิธีนั้น ผู้บังคับหน่วยจะต้องพิจารณาจัดสรร
สําหรับใช้ในการฝึกอย่างเหมาะสม โดยให้อยู่ในลักษณะประหยัดและให้เกิดคุณค่าอย่างสูงสุด
๓.๙.๓ การฝึกปฏิบัติทางยุทธวิธี ต้องจัดให้มีการฝึกยิงด้วยกระสุนจริงบ่อย ๆ เท่าที่ลักษณะ ภูมิ
ประเทศและสถานภาพกระสุนจะอํานวยให้
๓.๙.๔ รายการกระสุนและวัตถุระเบิดใด ๆ ที่ยังมิได้กําหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ หาก
หน่วยฝึกมีความริเริ่มหรือจําเป็นต้องใช้ ให้รายงานไปยัง ทบ. (ผ่าน ยศ.ทบ.) เพื่อขออนุมัติใช้
ลฝ.๗ – ๔๙ หน้า ๗

๔. การจัดผู้เข้ารับการฝึก
การจัดการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ จะต้องจัดให้พลทหารทุกคนที่ดํารงตําแหน่งต่าง ๆ ของ
หน่วยทุกระดับ เข้ารับการฝึกตามขั้นตอนต่าง ๆ อย่างครบถ้วน โดยยึดถือเป็นหลักเกณฑ์ในการจัดกําลัง เข้ารับ
การฝึกดังต่อไปนี้
๔.๑ ขั้นการฝึกที่ ๑ การฝึกทั่วไป การฝึกในขั้นนี้เป็นการฝึกแบบรวมการให้จัดผู้รับการฝึกที่เป็นพลทหาร
ทุกคนเข้ารับการฝึกรวมกันทั้งหมด ซึ่งหน่วยฝึกอาจจะกําหนดให้มีห้องเรียนจํานวนเท่าใดก็ได้ตาม ความเหมาะสม
๔.๒ ขั้นการฝึกที่ ๒ และขั้นที่ ๓ การฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวด การฝึกในขั้นนี้เป็นการฝึกแบบ แยก
การ หน่วยฝึกจะต้องจัดให้มีห้องเรียนแบ่งออกเป็นพวกต่าง ๆ อย่างครบถ้วน และคัดแยกผู้รับการฝึกเข้ารับ การ
ฝึกตามแนวความคิดที่กล่าวไว้ในข้อ ๑.๒.๒ ข้างต้น ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้คือ
๔.๒.๑ พวกหมวดปื น เล็ ก ได้แ ก่ กํ าลั งพล นายทหาร นายสิ บ และพลทหารของหมวดปื นเล็ ก
กองร้อย อาวุธเบา กองพันทหารราบ
๔.๒.๒ พวกหมวด ค.๖๐ ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวด ค.๖๐ มม.
กองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบ
๔.๒.๓ พวกหมวดอาวุธหนัก ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวดอาวุธหนัก
กองร้อยสนับสนุนการรบ กองพันทหารราบ
๔.๒.๔ พวกหมวดสื่อสาร ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวดสื่อสาร กองร้อย
สนับสนุนการรบ กองพันทหารราบ และหมวดสื่อสาร กองร้อยกองบังคับการ กรมทหารราบ
๔.๒.๕ พวกหมวดช่างโยธา ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวดช่างโยธา
กองร้อยสนับสนุนการรบ กองพันทหารราบ
๔.๒.๖ พวกหมวดลาดตระเวน ได้ แ ก่ กํ า ลั ง พล นายทหาร นายสิ บ และพลทหารของหมวด
ลาดตระเวน กองร้อยสนับสนุนการรบ กองพันทหารราบ
๔.๒.๗ พวกหมวดยานยนต์ ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวดยานยนต์
กองร้อยสนับสนุนการช่วยรบ กองพันทหารราบ และหมวดยานยนต์ กองร้อยกองบังคับการ กรมทหารราบ
๔.๒.๘ พวกหมวดบริการ ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวดบริการ กองร้อย
สนับสนุนการช่วยรบ กองพันทหารราบ
๔.๒.๙ พวกหมวดระวังป้องกัน ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวดระวั ง
ป้องกัน กองร้อยกองบังคับการ กรมทหารราบ
๔.๒.๑๐ พวกหมวดเครื่องยิงหนัก ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวด เครื่อง
ยิงหนัก กองร้อยเครื่องยิงหนัก กรมทหารราบ
๔.๒.๑๑ พวกหมวดต่อสู้รถถัง ได้แก่ กําลังพล นายทหาร นายสิบ และพลทหารของหมวดต่อสู้รถถัง
กรมทหารราบ
๔.๒.๑๒ พวกหมวดรถสายพาน ได้แก่ กําลั งพล นายทหาร นายสิ บ และพลทหารของหมวดรถ
สายพาน กองร้อยรถสายพาน กรมทหารราบ
หน้า ๘ บทที่ ๑

๔.๓ ขั้น การฝึกภาคสนาม ให้ จัดกําลั งพลเข้ารับการฝึกเช่นเดีย วกับรายละเอียดที่กล่าวไว้ในข้อ ๔.๒


ข้างต้น และให้เป็นไปตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ในบทที่ ๒ ตอนที่ ๓ แถลงหลักสูตรการฝึก
๔.๔ ขั้นการตรวจสอบ ให้จัดกําลังพลเข้ารับการตรวจสอบตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ในใน บทที่ ๒ ตอนที่
๓ แถลงหลักสูตรการฝึก

๕. การจัดการฝึกสาหรับหน่วยนอกกรมและกองพันทหารราบ
๕.๑ หน่วยอื่น ๆ ที่มิได้ได้อยู่ในอัตราการจัดของกรมและกองพันทหารราบ ได้แก่ กองร้อยกองบัญชาการ
กองทัพภาค กองร้อยกองบัญชาการกองพลทหารราบ กองร้อย/กองพันบริการมณฑลทหารบก และหน่วยบริการ
ของส่วนการศึกษา ให้ยึดถือหลักการจัดกําลังพลเข้ารับการฝึกและจัดการฝึก โดยอนุโลมตามหลักเกณฑ์ดังนี้
๕.๑.๑ กองร้อยกองบัญชาการกองทัพภาค และกองร้อยกองบัญชาการกองพลทหารราบให้ จัดการ
ฝึกดังนี้
๕.๑.๑.๑ มว.สูทกรรม เช่นเดียวกับ มว.ปืนเล็ก
๕.๑.๑.๒ มว.ป้องกัน เช่นเดียวกับ มว.ระวังป้องกัน กรม ร.
๕.๑.๑.๓ มว.ขนส่ง เช่นเดียวกับ มว.ยานยนต์
๕.๑.๑.๔ มว.ต่อสู้รถถัง เช่นเดียวกับ มว.ต่อสู้รถถัง กรม ร.
๕.๑.๒ กองร้ อย/กองพันบริ การมณฑลทหารบก และหน่ว ยบริการ ส่วนการศึกษา ให้ จัดการฝึ ก
เช่นเดียวกับหมวดปืนเล็ก
๕.๒ กองพันป้องกันฐานบิน ให้จัดการฝึกเช่นเดียวกับหมวดต่างๆ ในกองพันทหารราบ

๖. เครื่องช่วยฝึก
๖.๑ หน่วยฝึกจะต้องพยายามนําเครื่องช่วยฝึกมาใช้ประกอบการสอน และฝึกให้มากที่สุด เช่น ภาพยนตร์
ฝึก วิดีโอเทป ภาพฉายนิ่ง ภาพฉายเลื่อน และแผ่นภาพเครื่องช่วยฝึกต่าง ๆ เป็นต้น เครื่องช่วยฝึกเหล่านี้ ย่อมมี
คุณค่าอย่ างมากที่จ ะช่ว ยให้ การฝึกสอนบั งเกิดผลดี ผู้ ฝึ กจะต้องจัดเตรียมและเลื อกใช้ให้ เหมาะสมกับเรื่องที่
ฝึกสอน โดยจะต้องศึกษาทําความเข้าใจ หรือซักซ้อมให้มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ก่อนที่จะดําเนินการสอน หรือ
ฝึกทุกครั้ง
๖.๒ ในการฝึกสอนหรืออบรมแต่ละครั้งคราวนั้ น มิได้บังคับว่าจะต้องใช้เฉพาะเครื่องช่วยฝึกที่กองทัพบก
กําหนดขึ้นเท่านั้น หน่วยหรือผู้ฝึกอาจมีความคิดริเริ่มคิดค้นหรือจัดทําขึ้นใหม่ เพื่อให้เหมาะสมกับการฝึกสอน หรือ
อบรมของตนในแต่ละครั้งคราวก็ได้
๖.๓ ถ้าหน่วยใดได้คิดค้นเครื่องช่วยฝึกชนิดใหม่ ๆ ซึ่งกองทั พบกยังไม่มีและได้ทดลองใช้แล้วบังเกิดผลดี
ต่อการฝึกสอน ให้แจ้งกองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ ได้ทราบถึงชื่อเครื่องช่วยฝึก รูปร่างลักษณะ ค่าจัดทํา และ
ผลที่ได้รับ เพื่อศูนย์การทหารราบจะได้พิจารณาเสนอต่อกองทัพบกให้เป็นเครื่องช่วยฝึกของกองทัพบก และจัดทํา
แจกจ่ายหน่วยต่อไป
ลฝ.๗ – ๔๙ หน้า ๙

๗. การฝึกภาคสนาม
การฝึกภาคสนามเป็นขั้นตอนการฝึกที่สําคัญขั้นตอนหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวิชาการต่าง ๆ ให้
กําลังพลของหน่วยทุกระดับ มีความคุ้นเคยกับสภาพการรบที่จะต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกันไป และคุ้นเคย ต่อการ
แก้ปัญหาทางยุทธวิธีในรูปแบบต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในสนามรบจนมีความสามารถที่จะปฏิบัติการรบ ได้อย่าง
ทรหดและอดทน และให้เกิดความคุ้นเคยตลอดจนมีความชํานาญยิ่งขึ้นต่อการปฏิบัติร่วมกันเป็นหน่วย โดยจะต้อง
กําหนดให้เป็นการฝึกปฏิบัติทางยุทธวิธีตามสถานการณ์รบที่ ต่อเนื่องกันไปทั้งกลางวันและกลางคืน ในห้วงเวลาที่
กําหนดในภูมิประเทศนอกที่ตั้งปกติ หน่วยฝึกทุกหน่วยควรใช้ความพยายามทุกวิถีทาง ที่จะนํา กําลังทหารออกไป
ฝึกในภูมิประเทศแตกต่างกันออกไป และคิดค้นปัญหาสอดแทรกต่าง ๆ ที่คาดว่าน่าจะเกิดขึ้น ในสนามรบจริงได้
มากที่สุดเท่าที่จะสามารถกระทําได้ และเพื่อฝึกให้ผู้นําหน่วยและทหารได้มีความคุ้นเคย ต่อการแก้ปัญหาทาง
ยุทธวิธีต่าง ๆ เหล่านั้นไว้ตั้งแต่ในเวลาปกติ

๘. การฝึกในเวลากลางคืน
๘.๑ ในขั้นการฝึกที่ ๒ และ ๓ การฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวด มีเรื่องที่จะต้องทําการฝึกในเวลากลางคืน
หลายเรื่อง หน่วยฝึกจะต้องทําการฝึกให้เป็นไปตามเวลาและรายละเอียดที่กําหนดไว้ และใช้เวลาไม่น้อยกว่า
กําหนดอย่างเคร่งครัด
๘.๒ ในขั้นการฝึก การฝึกภาคสนาม และขั้น การตรวจสอบ จะต้องทําปัญหาสอดแทรกต่าง ๆ ให้มีการ
ปฏิบัติ ในเวลากลางคืนให้มาก เพื่อให้ผู้รับการฝึกมีความคุ้นเคยต่อการปฏิบัติการรบในเวลากลางคืน และมีความ
ทรหด อดทนที่ จ ะปฏิบั ติ การรบอย่ างต่ อเนื่ องกั นได้ ทั้งเป็นบุ คคลและเป็น หน่ว ย ในสภาพที่ร่ างกายมี ความ
อ่อนเพลีย จากการอดนอนในเวลากลางคืน

๙. การฝึกยิงปืนด้วยกระสุนจริง
จะต้องให้ทหารทุกคนได้ฝึกยิงปืน ตามที่ได้กําหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกนี้โดยสมบูรณ์ และจะต้อง เพ่งเล็ง
ให้ทุกคนได้ใช้อาวุธประจํากาย และอาวุธประจําหน่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๑๐. ความปลอดภัยและความสมจริง
๑๐.๑ การรักษาความปลอดภัยในการฝึกที่สําคัญที่สุด ก็คือ ผู้ฝึกจะต้องรู้จักใช้สามัญสํานึก ของตน
พิจารณา ว่าเรื่องที่ฝึกนั้นจะเกิดเป็นอันตรายขึ้นได้หรือไม่เพียงไร เช่น การใช้อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด ยานพาหนะ
และเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เป็นต้น แล้วกําหนดมาตรการป้องกันมิให้เกิดอุปัทวเหตุขึ้นได้ โดย
๑๐.๑.๑ การระมัดระวัง
๑๐.๑.๒ ความพินิจพิจารณาในการใช้
๑๐.๑.๓ การกํากับดูแลและการตรวจตราอย่างใกล้ชิด
๑๐.๑.๔ การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการรักษาความปลอดภัยอย่างถูกต้อง
หน้า ๑๐ บทที่ ๑

๑๐.๒ ความสมจริงในการฝึกเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ แต่ทั้งนี้จะต้องคํานึงถึงความปลอดภัยของผู้รับการฝึก


ด้วย เรื่องใด ๆ ก็ตามที่เมื่อจะฝึกแล้วอาจเกิดเป็นอันตรายขึ้นได้ ผู้ฝึกหรือสอนจะต้องคํานึงถึงหลักเกณฑ์ของ
ความปลอดภัยให้มาก และพึ่งอยู่ในความไม่ประมาท
๑๐.๓ การยิงปืนด้วยกระสุนจริง และการใช้วัตถุระเบิดทุกชนิด จะต้องปฏิบัติตามรายละเอียดที่ได้กําหนด
ไว้ในคู่มือราชการสนาม คู่มือทางเทคนิค คําสั่ง คําชี้แจง และแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการฝึกของกองทัพบก
อย่างเคร่งครัด การใช้วัตถุระเบิดจะต้องอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่โดยตรงหรือผู้รับผิดชอบ

๑๑. การแสดงคุณลักษณะและขีดความสามารถของอาวุธ
ถ้าจะมีการแสดงให้ผู้รับการฝึกเห็นคุณลักษณะ และขีดความสามารถของอาวุธชนิดต่าง ๆ แล้ว ควรหา
โอกาส กระทําตั้งแต่เริ่มต้นการฝึก ทั้งนี้เพื่อให้ผู้รับการฝึกเกิดความเชื่อมั่นและคุ้นเคยในการฝึก

๑๒. การอบรม
การอบรมถือว่ามีความสําคัญเท่าเทียมกับการฝึก เพราะการอบรมจะทําให้ทหารอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ
และรับใช้ประเทศชาติได้ตามที่กองทัพบกต้องการ ฉะนั้นระเบียบและหลักสูตรการฝึก เล่มนี้ จึงมุ่งหมายจะทํา การ
อบรมทหาร เพื่อให้ต่อเนื่องกับการอบรมที่กําหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกทหารใหม่ (๑๐ สัปดาห์) จึงได้
เน้นหนักถึงการอบรมในเรื่องที่เกี่ยวกับแบบธรรมเนียมของทหารที่จําเป็นจะต้องทราบ และการอบรม เพื่อปลูกฝัง
อุดมการณ์ความรั กชาติในระดับ หนึ่ ง ผู้ บั งคับบัญชาจะต้องสนใจที่จะจัดให้ มีการอบรมอย่าง ครบถ้ว นตามที่
ระเบียบและหลักสูตรการฝึกกําหนดโดยกําหนดให้นายทหารสัญญาบัตรหรือนายทหารประทวน ยศ จ.ส.อ. เป็น
ผู้ทําการอบรม
ลฝ.๗ – ๔๙ หน้า ๑๑

ตอนที่ ๓
การประเมินผล

๑. การประเมินผลการฝึก
๑.๑ ความมุ่งหมายของการประเมินผลการฝึก การดําเนินการฝึกตามระเบียบและหลักสูตร การฝึกเล่มนี้
ได้กําหนด ให้มีการประเมินผลการฝึก ไว้ในตอนท้ายของหลักสูตร ซึ่งผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปสองระดับจะเป็น
ผู้ทําการประเมินผลการฝึก ทั้งนี้เพื่อ
๑.๑.๑ ให้กําลังพลของหน่วยมีความคุ้นเคย และเกิดความชํานาญยิ่งขึ้นในการปฏิบัติการทาง ยุทธวิธี
เป็นหน่วย
๑.๑.๒ เป็นการเร่งเร้าให้หน่วยระดับต่าง ๆ ได้เข้มงวดกวดขันในการฝึกตามระเบียบและหลักสูตร
กําหนด
๑.๑.๓ ให้ ผู้ บั งคับบั ญชาใช้เป็ นหลั กฐาน ในการประเมินค่าประสิ ทธิภาพการรบของหน่ว ยที่อยู่
ภายใต้การบังคับบัญชาของตน
๑.๑.๔ ให้ผู้บังคับบัญชาและผู้บังคับหน่วยมีข้อมูลที่จะนําไปใช้ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาการฝึก ให้
บังเกิดผลดียิ่งขึ้น
๑.๒ การดําเนินการตรวจสอบ การดําเนินการตรวจสอบการฝึกตามระเบียบและหลักสูตร การฝึกเล่มนี้ ให้
กระทําเฉพาะการปฏิบัติทางยุทธวิธีใ นสนามตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ในบทที่ ๒ ตอนที่ ๓ แถลงหลักสูตรการฝึก
และคู่มือการฝึกว่าด้วยวิธีดําเนินการฝึกและการตรวจสอบการฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวดทหารราบยานเกราะ
เหล่าทหารราบ อย่างเคร่งครัด

๒. เกณฑ์การประเมินผลการฝึก
ในการประเมินผลการฝึก ให้ยึดถือเกณฑ์วัดผลดังนี้
๒.๑ ได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๙๐.๐๐ ถึงร้อยละ ๑๐๐ ดีมาก
๒.๒ ได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๘๐.๐๐ ถึงร้อยละ ๘๙.๙๙ ดี
๒.๓ ได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๗๐.๐๐ ถึงร้อยละ ๗๙.๙๙ พอใช้
๒.๔ ได้คะแนนต่ํากว่าร้อยละ ๗๐.๐๐ ไม่ได้ผล
๒.๕ ผู้ที่มีผลการประเมินผลการฝึกรวมตั้งแต่ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไปถือว่าผ่านการประเมินผลการฝึก
หน้า ๑๒ บทที่ ๑

ตอนที่ ๔
การตรวจสอบ

๑. การตรวจสอบ
การตรวจสอบ เป็นอุบายอย่างหนึ่ง ที่จะทําให้เพิ่มคุณค่าในการยกระดับมาตรฐานการฝึกให้ดีขึ้นและยังมี
ผลทําให้ผู้รับการฝึกเกิดความรักหมู่คณะด้วย การตรวจสอบพร้อมกับการให้รางวัลอย่างเหมาะสมนั้น ย่อมเป็น
การเสริมกําลังใจในการฝึกได้เป็นอย่างดี การตรวจสอบเป็นการกระทําในตอนท้ายของหลักสองระดับเป็น ผู้ทําการ
ตรวจสอบ

๒. การตรวจการฝึก
การตรวจการฝึกกระทําเพื่อให้ทราบผลการฝึกเป็นส่วนรวมของแต่ละหน่วย หากมีข้อบกพร่องก็ให้หาวิธี
ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้ ดีขึ้น ผู้บั งคับหน่ว ยระดับกองพันหรือเทียบเท่าขึ้นไปต้องทําการตรวจการฝึกด้ว ย
ตนเองอย่างใกล้ชิด หากไม่สามารถกระทําได้เพราะติดราชการอื่น จะมอบให้ฝ่ายอํานวยการของตนหรือจะ แต่ งตั้ง
ให้ผู้ที่เหมาะสมทําการตรวจการฝึกแทนก็ได้ เมื่อพบข้อบกพร่องให้รีบแก้ไขทันที และจะต้องบันทึก สภาพการฝึก
ของหน่วยที่รับการตรวจนั้นทุกครั้งว่าได้ตรวจเมื่อไร หน่วยใด ฝึกเรื่องอะไร ผลการฝึกเป็นอย่างไร ได้ดําเนินการ
แก้ไขการฝึกไปแล้วอย่างใดบ้าง ทั้งนี้เพื่อให้ เป็นเครื่องช่วยความจําและเป็นหลักฐานในการตรวจ ครั้งต่อ ๆ ไป
นอกจากนี้ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ชั้นผู้บังคับการกรม หรือเทียบเท่าขึ้นไป จะขอดูควรจะขอดูเฉพาะเรื่อง สําคัญ ๆ
และให้บันทึกข้อวิจารณ์ ตลอดจนคําแนะนําให้ไว้กับหน่วยที่ได้รับการขอดูนั้น เพื่อให้ทราบและใช้เป็น แนวทาง
ปฏิบัติต่อไปด้วย
ลฝ.๗ – ๔๙ หน้า ๑๓

ตอนที่ ๕
การรายงานผลการฝึก

๑. ผู้บังคับหน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่า เป็นผู้รับ ผิดชอบในการทําตารางกําหนดการฝึกหลัก, ตาราง


กําหนดการฝึกประจําสัปดาห์ และตารางกําหนดการฝึกเมื่ อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง และสําเนา แจกจ่ายให้
หน่วยรองของตนทราบล่วงหน้าอย่างน้อยที่สุด ๒ สัปดาห์
๒. ผู้บังคับหน่วยระดับกองร้อย เป็นผู้รับผิดชอบในการทําตารางกําหนดการฝึกประจําวัน และสําเนา
แจกจ่ายให้หน่วยรอง ตลอดจนผู้ฝึกของตนทราบล่วงหน้าอย่างน้อยที่สุด ๑ สัปดาห์
๓. ผู้ที่ได้รับมอบภารกิจให้เป็นผู้สอนและฝึกแต่ละวิชา จะต้องเป็น ผู้รายงานผล การตรวจสอบการฝึกเป็น
รายวิชา (บุคคล) เสนอให้ผู้บังคับบัญชาตามลําดับชั้นของตนทราบ จนถึงผู้บังคับหน่วยระดับ กองพันหรือเทียบเท่า
เมื่อทําการสอนและฝึกในวิชานั้น ๆ จบลงแล้วโดยเร็วที่สุด
๔. ผู้บังคับหน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่า เป็นผู้รับผิดชอบในการทํา รายงานผลการตรวจสอบการฝึก
เป็นรายวิชาประกอบความเห็น (การฝึกเป็นหน่วย) เสนอให้ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือของตนทราบ เพื่อรายงานต่อไป
ตามลําดับจนถึง กองทัพภาค
๕. ผู้บังคับหน่วยระดับที่เป็นผู้ดําเนินการตรวจสอบ เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทํา สรุปรายงานผลการ
ตรวจสอบการฝึกเป็นส่วนรวม (การฝึกเป็นหน่วย)
๖. เสนอให้ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือตามลําดับทราบจนถึงกองทัพภาค ๑ ชุด รายงาน ยศ.ทบ. ๑ ชุด และ
สําเนาให้ศูนย์การทหารราบ ๑ ชุด
๗. ถ้า หน่ ว ยที่ ดํา เนิ น การตรวจสอบเป็ น หน่ ว ยระดั บสู ง กว่า กองพั น ให้ ส่ งรายงานผลการตรวจสอบ
ให้หน่วยระดับกองพันทราบด้วยอีก ๑ ชุด
ลฝ.๗ - ๔๙ หน้า ๑๕

บทที่ ๒
หลักสูตรการฝึก
ตอนที่ ๑
ตารางกาหนดการฝึกหลัก

เวลำ
ลำดับ วิชำที่ทำกำรเรียนกำรสอน แถลงหลักสูตรหน้ำ
(ชม.)
ก. ภำคกำรฝึกในที่ตั้ง
กำรฝึกขั้นที่ ๑ กำรฝึกเป็นบุคคล
๑ การปฐมพยาบาลขั้นต้น และการส่งกลับสายแพทย์ ๔ 33
2 การอบรม (10) 34
2.๑ ประวัติศาสตร์ชาติไทย ๒
2.๒ ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และต่อราชวงศ์ 2
2.๓ การป้องกัน คชรน. “ เคมี ชีวะ รังสี นิวเคลียร์ ” ๒
2.๔ ภัยคุกคามรูปแบบใหม่และแนวทางในการป้องกัน ๑
และต่อต้าน
2.๕ กฎหมายด้านความมั่นคง (กฎอัยการศึก, พระราช ๑
กาหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน และ พรบ.
การรักษาความมั่นคงฯ)
2.๖ สถานการณ์ในพื้นที่ จชต.และแนวทางการ ๑
แก้ปัญหา
2.๗ บทเรียนจากการสู้รบและยุทธวิธีของกาลัง ๑
ฝ่ายตรงข้าม
3 การปฏิบัติงานมวลชน (10) 36
3.๑ จิตอาสาพระราชทาน 4
3.๒ ยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา 2
3.๓ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2
3.๔ การจัดตั้งเครือข่ายมวลชนเพื่อความมั่นคง 2
หน้า ๑๖ บทที่ ๒

เวลำ
ลำดับ วิชำที่ทำกำรเรียนกำรสอน แถลงหลักสูตรหน้ำ
(ชม.)
4 การฝึกและทดสอบร่างกาย/กาลังใจ (๒๔) 38
4.๑ การฝึกต่อสู้ในระยะประชิด ๘
4.๒ การฝึกกายบริหาร ๘
4.๓ การทดสอบร่างกายประจาสัปดาห์ ๘
5 ทบทวนบุคคลทาการรบกลางวัน/กลางคืน ๘(๔) 41
5.๑ การพราง การกาบัง และซ่อนพราง ๒
5.๒ การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธี ๔(๔)
5.๓ การสังเกตและสะกดรอย ๒
6 การฝึกกิจเฉพาะเป็นบุคคลสนับสนุนกิจเฉพาะเป็น 20(๔) 42
หน่วยตามทักษะ ๔ ระดับ
6.๑ ทักษะระดับ ๑ (พลทหาร) กิจเฉพาะสาคัญ
- รวบรวมข่าวสารและรายงาน
- ตรวจการณ์และค้นหาเป้าหมาย
- แก้ไขเหตุติดขัดและปรนนิบัติบารุง
- การใช้ลูกระเบิดขว้าง
- การเคลื่อนที่ผ่านเครื่องกีดขวางทุ่นระเบิด กับ
ระเบิด
- การเคลื่อนที่ภายใต้การยิงเล็งตรง/เล็งจาลอง
- การเลือกที่มั่นสู้รบชั่วคราว
- ทัศนะสัญญาณ
6.๒ ทักษะระดับ ๒ (หน.ชุดยิง) กิจเฉพาะสาคัญ
- ทุ่นระเบิดกับระเบิดและการทาลาย เน้น ค้นหา
รื้อถอน/ทาลาย
- การเข้าและถอดรหัสการติดต่อสื่อสาร
- การกาหนดที่อยู่ของเป้าหมาย
- การร้องขอและปรับการยิง
- การเดินทางด้วยเข็มทิศกลางวัน/กลางคืน
- การใช้ทัศนะสัญญาณ
ลฝ.๗ - ๔๙ หน้า ๑๗

เวลำ
ลำดับ วิชำที่ทำกำรเรียนกำรสอน แถลงหลักสูตรหน้ำ
(ชม.)
- การควบคุมการเคลื่อนที่ / การยิง
- การใช้กล้องตรวจการณ์กลางคืน
- การให้คาสั่งเตรียมและคาสั่งเป็นส่วนๆ
6.๓ ทักษะระดับ ๓ (ผบ.หมู่) กิจเฉพาะสาคัญ
- ทุ่นระเบิดกับระเบิดและการทาลาย
- การเข้าและถอดรหัสการติดต่อสื่อสาร
- การร้องขอและปรับการยิง
- การปฏิบัติตามขั้นตอนการนาหน่วย
- การวิเคราะห์ภูมิประเทศ
- การเลือกที่ตั้งยิงอาวุธ
- การลาดตระเวนของ ผบ.หมู่
- การสั่งการด้วยวาจา
6.๔ ทักษะระดับ ๔ (รอง ผบ.มว./ผบ.มว.) กิจเฉพาะ
สาคัญ
- การปฏิบัติตามขั้นตอนการนาหน่วย
- การวางแผนและควบคุมการปฏิบัติทางยุทธวิธี
ของ มว.
- การจัดทาแผนที่สังเขปและแผ่นบริวาร
- การวางแผนการใช้อาวุธยิงสนับสนุน
- การวางแผนการ ลว.หาข่าว
- การวิเคราะห์ภูมิประเทศ
- การลาดตระเวนของ ผบ.มว.
- การร้องขอและปรับการยิง
- การสั่งการและบรรยายสรุปกลับ
7 การฝึกยิงอาวุธประจากาย ๑๖(๔) 51
7.๑ การยิงเป้าหุ่นในสนามทราบระยะ
7.๒ การยิงปืนตามทานองรบอยู่กับที่และเคลื่อนที่
7.๓ การยิงปืนในเวลากลางคืน
หน้า ๑๘ บทที่ ๒

เวลำ
ลำดับ วิชำที่ทำกำรเรียนกำรสอน แถลงหลักสูตรหน้ำ
(ชม.)
8 การฝึกและทดสอบผู้ชานาญการทหารราบ 19 52
กำรฝึกขั้นที่ ๒ กำรฝึกเป็นชุด/หมู่
๙ รูปขบวนทาการรบของหมู่ ปล. ๔ 54
๑๐ การฝึกตามแบบฝึกทาการรบของ หมู่ ปล. 19 54
๑๐.๑ การปฏิบัติการโจมตีข้าศึก
๑๐.๒ การปฏิบัติเมื่อปะทะข้าศึก
๑๐.๓ การปฏิบัติเมื่อถูกซุ่มโจมตี
๑๐.๔ การผละจากการปะทะ
๑๐.๕ การเข้าสู่อาคารและตรวจค้นภายในอาคาร
๑๐.๖ เทคนิคการเคลื่อนที่ในป่า/ภูเขา
๑๐.๗ การกวาดล้างคูติดต่อและสนามเพลาะ
๑๐.๘ การเจาะช่องผ่านเครื่องกีดขวางลวดหนามและ
สนามทุ่นระเบิด
๑๑ การลาดตระเวนกลางวัน/กลางคืน ๑4(๘) 56
๑๑.๑ การลาดตระเวนรบ (ตีโฉบฉวย, ซุ่มโจมตี)
๑๑.๒ การลาดตระเวนระวังป้องกันและเฝ้าตรวจ
๑๑.๓ การลาดตระเวนหาข่าว
๑๑.๔ การตั้งฐานลาดตระเวน
๑๒ การจัดทาที่มั่นสู้รบ ๔ 58
กำรฝึกขั้นที่ ๓ กำรฝึกเป็น มว.
๑๓ รูปขบวนทาการรบของ มว.ปล. ๔ 59
๑๔ การฝึกตามแบบฝึกทาการรบของ มว.ปล. ๒๐ 59
๑๔.๑ การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธีด้วยการเดินเท้า
๑๔.๒ การเข้าตีเร่งด่วน
๑๔.๓ การตีโฉบฉวย
๑๔.๔ การซุ่มโจมตี / การต่อต้านการซุ่มโจมตี
๑๔.๕ การลาดตระเวนและระวังป้องกัน
๑๔.๖ การเข้าสู่อาคารและตรวจค้นอาคาร
ลฝ.๗ - ๔๙ หน้า ๑๙

เวลำ
ลำดับ วิชำที่ทำกำรเรียนกำรสอน แถลงหลักสูตรหน้ำ
(ชม.)
๑๕ การปฏิบัติการทางทหารในความขัดแย้งระดับต่า ๑๖ 61
๑๕.๑ การปิดล้อมและตรวจค้นหมู่บ้าน
๑๕.๒ การตั้งฐานปฏิบัติการและการระวังป้องกัน
๑๕.๓ การปิดกั้นถนน การตั้งจุดตรวจและตรวจค้น
ยานพาหนะ
๑๕.๔ การสะกดรอยและการลาดตระเวนเฝ้าตรวจ

รวมเวลำฝึกภำคที่ตั้ง ๑92(๒0)

ข. ภำคกำรฝึกในสนำมและกำรตรวจสอบ
(ระดับ มว.ปล.)
๑๗ การฝึกในสนาม (๑๒ วัน) 64
๑๗.๑ การตรวจสอบการเคลื่อนย้ายหน่วยทางยุทธวิธี ๒๔
ด้วยการเดินเท้า (การเดินเร่งรีบประกอบเครื่องสนาม)
๑๗.๒ การฝึกและตรวจสอบการยิงปืนตามทานองรบ ๔๘
- การยิงปืนในป่า
- การยิงปืนในเวลากลางคืน
- การยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่
๑๗.๓ การฝึกการลอดใต้วิถีกระสุน ๒๔
๑๗.๔ การฝึกการปฏิบัติทางยุทธวิธี ๙๖
- การเคลื่อนที่เข้าปะทะ
- การเข้าตีเร่งด่วน
- การตีโฉบฉวย
- การซุ่มโจมตี / การต่อต้านการซุ่มโจมตี
- การลาดตระเวนและการระวังป้องกัน
- การเข้าสู่อาคารและการตรวจค้นภายในอาคาร
๑๗.๕ การฝึกการปฏิบัติการในความขัดแย้งระดับต่า ๙๖
- การปิดล้อมและตรวจค้น
- การตั้งฐานปฏิบัติการและการระวังป้องกัน
หน้า ๒๐ บทที่ ๒

เวลำ
ลำดับ วิชำที่ทำกำรเรียนกำรสอน แถลงหลักสูตรหน้ำ
(ชม.)
- การปิดกั้นถนน การตั้งจุดตรวจและตรวจค้น
ยานพาหนะ
- การสะกดรอย และการลาดตระเวนเฝ้าตรวจ
๑๘ การตรวจสอบ ระดับ มว.ปล. ตามปัญหาและ 66
สถานการณ์ที่กาหนด (๙ วัน)
๑๘.๑ การปฏิบัติทางยุทธวิธี (นทล. ปฏิบัติการเป็น ๙๖
อิสระ)
๑๘.๒ การปฏิบัติการในความขัดแย้งระดับต่า ๙๖
19 เวลาผู้บังคับบัญชา ๒๔ 67
รวมเวลำฝึกในสนำม (๓ สัปดำห์) ๕๐๔
รวมเวลำฝึก หมู่ ตอน หมวดทหำรรำบยำนเกรำะ ๖9๖(๒0)
(๗ สัปดำห์)
ตอนที่ ๒

ลฝ. ๗ – ๔๙
ตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์

แถลง
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ก. ภาคการฝึกในที่ตั้ง
การฝึกขั้นที่ ๑ การฝึกเป็นบุคคล
๑ การปฐมพยาบาลขั้นต้น และการส่งกลับ ๔ ๔ - - - - - - 33
สายแพทย์
2 การอบรม (10) (10) - - - - - - 34
2.๑ ประวัติศาสตร์ชาติไทย ๒ 2 - - - - - -
2.๒ ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และ 2 2 - - - - - -
ต่อราชวงศ์
2.๓ การป้องกัน คชรน. “ เคมี ชีวะ รังสี ๒ 2 - - - - - -
นิวเคลียร์ ”
2.๔ ภัยคุกคามรูปแบบใหม่และแนวทางใน ๑ 1 - - - - - -
การป้องกันและต่อต้าน
2.๕ กฎหมายด้านความมั่นคง (กฎอัยการ ๑ 1 - - - - - -

หน้า ๒๑
ศึก , พระราชกาหนดบริหารราชการใน
สถานการณ์ฉุกเฉิน และ พรบ.การรักษา
ความมั่นคงฯ)
หน้า ๒๒
แถลง
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
2.๖ สถานการณ์ในพื้นที่ จชต.และแนว ๑ 1 - - - - - -
ทางการ แก้ปัญหา
2.๗ บทเรียนจากการสู้รบและยุทธวิธีของ ๑ 1 - - - - - -
กาลัง ฝ่ายตรงข้าม
3 การปฏิบัติงานมวลชน (10) (10) - - - - - - 36
3.๑ จิตอาสาพระราชทาน 4 4 - - - - - -
3.๒ ยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจ เข้าถึง 2 2 - - - - - -
พัฒนา
3.๓ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 2 - - - - - -
3.๔ การจัดตั้งเครือข่ายมวลชนเพื่อความ 2 2 - - - - - -
มั่นคง
4 การฝึกและทดสอบร่างกาย/กาลังใจ (๒๔) (๖) (๖) (๖) (๖) - - - 38
4.๑ การฝึกต่อสู้ในระยะประชิด ๘ ๒ ๒ ๒ ๒ - - -
4.๒ การฝึกกายบริหาร ๘ ๒ ๒ ๒ ๒ - - -
4.๓ การทดสอบร่างกายประจาสัปดาห์ ๘ ๒ ๒ ๒ ๒ - - -
5 ทบทวนบุคคลทาการรบกลางวัน/กลางคืน ๘(๔) 6(2) 2(2) - - - - - 41

บทที่ ๒
5.๑ การพราง การกาบัง และซ่อนพราง ๒ ๒ - - - - - -
5.๒ การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธี ๔(๔) 2(2) 2(2) - - - - -
แถลง

ลฝ. ๗ – ๔๙
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
5.๓ การสังเกตและสะกดรอย ๒ ๒ - - - - - -
6 การฝึกกิจเฉพาะเป็นบุคคลสนับสนุนกิจ 20(๔) ๑๐(2) 1๐(2) - - - - - 42
เฉพาะเป็น หน่วยตามทักษะ ๔ ระดับ
6.๑ ทักษะระดับ ๑ (พลทหาร) กิจเฉพาะ
สาคัญ
- รวบรวมข่าวสารและรายงาน
- ตรวจการณ์และค้นหาเป้าหมาย
- แก้ไขเหตุติดขัดและปรนนิบัติบารุง
- การใช้ลูกระเบิดขว้าง
- การเคลื่อนที่ผ่านเครื่องกีดขวางทุ่น
ระเบิด กับระเบิด
- การเคลื่อนที่ภายใต้การยิงเล็งตรง/
เล็งจาลอง
- การเลือกที่มั่นสู้รบชั่วคราว
- ทัศนะสัญญาณ
6.๒ ทักษะระดับ ๒ (หน.ชุดยิง) กิจเฉพาะ
สาคัญ

หน้า ๒๓
หน้า ๒๔
แถลง
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
- ทุ่นระเบิดกับระเบิดและการทาลาย
เน้น ค้นหารื้อถอน/ทาลาย
- การเข้าและถอดรหัสการ
ติดต่อสื่อสาร
- การกาหนดที่อยู่ของเป้าหมาย
- การร้องขอและปรับการยิง
- การเดินทางด้วยเข็มทิศกลางวัน/
กลางคืน
- การใช้ทัศนะสัญญาณ
- การควบคุมการเคลื่อนที่ / การยิง
- การใช้กล้องตรวจการณ์กลางคืน
- การให้คาสั่งเตรียมและคาสั่งเป็น
ส่วนๆ
6.๓ ทักษะระดับ ๓ (ผบ.หมู่) กิจเฉพาะ
สาคัญ
- ทุ่นระเบิดกับระเบิดและการทาลาย
- การเข้าและถอดรหัสการ

บทที่ ๒
ติดต่อสื่อสาร
- การร้องขอและปรับการยิง
แถลง

ลฝ. ๗ – ๔๙
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
- การปฏิบัติตามขั้นตอนการนาหน่วย
- การวิเคราะห์ภูมิประเทศ
- การเลือกที่ตั้งยิงอาวุธ
- การลาดตระเวนของ ผบ.หมู่
- การสั่งการด้วยวาจา
6.๔ ทักษะระดับ ๔ (รอง ผบ.มว. /ผบ.มว.)
กิจเฉพาะสาคัญ
- การปฏิบัติตามขั้นตอนการนาหน่วย
- การวางแผนและควบคุมการปฏิบัติ
ทางยุทธวิธีของ มว.
- การจัดทาแผนที่สังเขปและแผ่น
บริวาร
- การวางแผนการใช้อาวุธยิงสนับสนุน
- การวางแผนการ ลว.หาข่าว
- การวิเคราะห์ภูมิประเทศ
- การลาดตระเวนของ ผบ.มว.

หน้า ๒๕
- การร้องขอและปรับการยิง
หน้า ๒๖
แถลง
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
- การสั่งการและบรรยายสรุปกลับ
7 การฝึกยิงอาวุธประจากาย ๑๖(๔) ๒ ๒ 4(๔) 4 - - - 51
7.๑ การยิงเป้าหุ่นในสนามทราบระยะ
7.๒ การยิงปืนตามทานองรบอยู่กับที่และ
เคลื่อนที่
7.๓ การยิงปืนในเวลากลางคืน
8 การฝึกและทดสอบผู้ชานาญการทหารราบ 19 - 19 - - - - - 52
การฝึกขั้นที่ ๒ การฝึกเป็นชุด/หมู่
๙ รูปขบวนทาการรบของหมู่ ปล. ๔ - ๔ - - - - - 54
๑๐ การฝึกตามแบบฝึกทาการรบของ หมู่ ปล. 19 - 5 14 - - - - 54
๑๐.๑ การปฏิบัติการโจมตีข้าศึก
๑๐.๒ การปฏิบัติเมื่อปะทะข้าศึก
๑๐.๓ การปฏิบัติเมื่อถูกซุ่มโจมตี
๑๐.๔ การผละจากการปะทะ
๑๐.๕ การเข้าสู่อาคารและตรวจค้นภายใน

บทที่ ๒
อาคาร
๑๐.๖ เทคนิคการเคลื่อนที่ในป่า/ภูเขา
แถลง

ลฝ. ๗ – ๔๙
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
๑๐.๗ การกวาดล้างคูติดต่อและสนาม
เพลาะ
๑๐.๘ การเจาะช่องผ่านเครื่องกีดขวางลวด
หนามและ สนามทุ่นระเบิด
๑๑ การลาดตระเวนกลางวัน/กลางคืน ๑4(๘) - - ๑4(๘) - - - - 56
๑๑.๑ การลาดตระเวนรบ (ตีโฉบฉวย, ซุม่
โจมตี)
๑๑.๒ การลาดตระเวนระวังป้องกันและเฝ้า
ตรวจ
๑๑.๓ การลาดตระเวนหาข่าว
๑๑.๔ การตั้งฐานลาดตระเวน
๑๒ การจัดทาที่มั่นสู้รบ ๔ - - ๔ - - - - 58
การฝึกขั้นที่ ๓ การฝึกเป็น มว.
๑๓ รูปขบวนทาการรบของ มว.ปล. ๔ - - ๔ - - - - 59
๑๔ การฝึกตามแบบฝึกทาการรบของ มว.ปล. ๒๐ - - 2 18 - - - 59
๑๔.๑ การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธีด้วยการ

หน้า ๒๗
เดินเท้า
๑๔.๒ การเข้าตีเร่งด่วน
หน้า ๒๘
แถลง
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
๑๔.๓ การตีโฉบฉวย
๑๔.๔ การซุ่มโจมตี / การต่อต้านการซุ่ม
โจมตี
๑๔.๕ การลาดตระเวนและระวังป้องกัน
๑๔.๖ การเข้าสู่อาคารและตรวจค้นอาคาร
๑๕ การปฏิบัติการทางทหารในความขัดแย้ง ๑๖ - - - ๑๖ - - - 61
ระดับต่า
๑๕.๑ การปิดล้อมและตรวจค้นหมู่บ้าน
๑๕.๒ การตั้งฐานปฏิบัติการและการระวัง
ป้องกัน
๑๕.๓ การปิดกั้นถนน การตั้งจุดตรวจและ
ตรวจค้นยานพาหนะ
๑๕.๔ การสะกดรอยและการลาดตระเวน
เฝ้าตรวจ
รวมเวลาฝึกภาคที่ตั้ง ๑๙๒(๒0) 48(4) 48(4) 48(12) 48 - - -
ข. ภาคการฝึกในสนามและการตรวจสอบ
(ระดับ มว.ปล.)

บทที่ ๒
๑๗ การฝึกในสนาม (๑๒ วัน) 64
แถลง

ลฝ. ๗ – ๔๙
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
๑๗.๑ การตรวจสอบการเคลื่อนย้ายหน่วย ๒๔ - - - - ๒๔ - -
ทางยุทธวิธี ด้วยการเดินเท้า (การเดินเร่งรีบ
ประกอบเครื่องสนาม)
๑๗.๒ การฝึกและตรวจสอบการยิงปืนตาม ๔๘ - - - - ๔๘ - -
ทานองรบ
- การยิงปืนในป่า
- การยิงปืนในเวลากลางคืน
- การยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่
๑๗.๓ การฝึกการลอดใต้วิถีกระสุน ๒๔ - - - - ๒๔ - -
๑๗.๔ การฝึกการปฏิบัติทางยุทธวิธี ๙๖ - - - - ๗๒ ๒๔ -
- การเคลื่อนที่เข้าปะทะ
- การเข้าตีเร่งด่วน
- การตีโฉบฉวย
- การซุ่มโจมตี / การต่อต้านการซุ่ม
โจมตี
- การลาดตระเวนและการระวัง

หน้า ๒๙
ป้องกัน
- การเข้าสู่อาคารและการตรวจค้น
ภายในอาคาร
หน้า ๓๐
แถลง
เวลา สัปดาห์
ลาดับ วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักสูตรหน้า
(ชม.)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
๑๗.๕ การฝึกการปฏิบัติการในความขัดแย้ง ๙๖ - - - - - ๙๖ -
ระดับต่า
- การปิดล้อมและตรวจค้น
- การตั้งฐานปฏิบัติการและการระวัง
ป้องกัน
- การปิดกั้นถนน การตั้งจุดตรวจ
และตรวจค้น ยานพาหนะ
- การสะกดรอย และการ
ลาดตระเวนเฝ้าตรวจ
๑๘ การตรวจสอบ (๙วัน) ระดับ มว.ปล. ตาม 66
ปัญหาและสถานการณ์ที่กาหนด
๑๘.๑ การปฏิบัติทางยุทธวิธี (นทล. ๙๖ - - - - - ๔๘ ๔๘
ปฏิบัติการเป็นอิสระ)
๑๘.๒ การปฏิบัติการในความขัดแย้งระดับต่า ๙๖ - - - - - - ๙๖
19 เวลาผู้บังคับบัญชา ๒๔ - - - - - - ๒๔ 67
รวมเวลาฝึกในสนาม (๓ สัปดาห์) ๕๐๔ - - - - ๑๖๘ ๑๖๘ ๑๖๘
รวมเวลาฝึก หมู่ ตอน หมวดทหารราบ ๖๙๖(๒๐) ๔๘(4) ๔๘(4) ๔๘(12) ๔๘ ๑๖๘ ๑๖๘ ๑๖๘

บทที่ ๒
ยานเกราะ (๗ สัปดาห์)
ลฝ. ๗ – ๔๙ หน้า ๓๑

หมายเหตุ
๑. คิดเกณฑ์เวลาฝึกในภาคที่ตั้ง ๘ ชม.วัน สรุปเวลาการฝึกภาคที่ตั้งฝึก ๕ วัน พัก ๑ วัน (วันอาทิตย์) รวม
ฝึกสัปดาห์ละ ๔๘ ชม. การฝึกภาคสนาม ถือเป็นการฝึกต่อเนื่อง (๒๔ ชม./วัน) รวมฝึกสัปดาห์ละ ๑๖๘ ชม. ทั้งนี้
เวลาผู้บังคับบัญชา คือวันฟื้นฟู/เตรียมการก่อนการตรวจสอบ สําหรับเวลาใน ( ) คือ เวลาฝึกในเวลากลางคืน
๒. การจัดการฝึกให้มุ่งเน้นผลการปฏิบัติ และมุ่งไปสู่การใช้งานตามภารกิจของหน่วย โดยเน้นการฝึกปฏิบัติใน
เรื่องที่กําลังพลเป็นบุคคล/หน่วยยัง ไม่ชํานาญ หรือปฏิบัติไม่ได้มาตรฐานตามที่ต้องการให้มากที่สุดเท่าที่โอกาสอํานวย
๓. การทดสอบร่างกายประจําสัปดาห์ให้กระทําในเช้าวันเสาร์ ก่อนรับประทานอาหารเช้าโดยยึดถือตาม
เกณฑ์การทดสอบร่างกายประจําปีของ ทบ. ทั้งนี้อาจเพิ่มเติมตามความต้องการของหน่วย
๔. การฝึกกิจเฉพาะเป็นบุคคลสนับสนุนกิจเฉพาะเป็นหน่วย ให้ฝึกแยกพวกตามทักษะแต่ละระดับ ทั้งนี้
สามารถเปลี่ยนแปลงและเพิ่มเติมตาม ความต้องการของหน่วย อี กทั้งควรฝึกปฏิบัติซ้ํา ๆ กันบ่อยครั้งในเรื่อง
เดียวกันให้เกิดความชํานาญ (ควรจัดตั้งสถานีฝึกหมุนเวียน)
๕. การฝึกยิงอาวุธประจํากาย ในกรณีที่หน่วยมีข้อจํากัดด้านสนามฝึกในการฝึกภาคที่ตั้ง ให้ฝึกภายในที่ตั้ง
โดยไม่ใช้กระสุน ทั้งนี้ให้ใช้ คชฝ.และ โรงฝึกยิงอาวุธ ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด แล้วจึงไปฝึกยิงด้วยกระสุนจริง
ในการฝึกภาคสนาม
๖. การฝึกและทดสอบผู้ชํานาญการทหารราบ ให้ดําเนินการฝึกด้วยการจัดตั้งสถานีฝึกหมุนเวียน เพื่อให้เกิด
ความชํานาญในแต่ละเรื่อง ทั้งนี้การฝึก ในข้อ ๔ - ๖ มีความเชื่อมโยงกัน และเป็นการฝึกความชํานาญเป็นบุคคล
๗. การปฏิบัติงานมวลชน ให้หาโอกาสจัดกําลังพลไปทัศนศึกษาการดําเนินงานหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งตาม
แนวเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเสริมสร้าง ความเข้าใจในงานมวลชน
๘. การอบรมในสัปดาห์ที่ ๑ - ๔ ข้อ ๗ ไม่คิดเวลาไว้ในหลักสูตร โดยอบรมในเวลากลางคืน (เวลา ๑๙๐๐ –
๒๐๐๐) ในวันที่ไม่มีการฝึกในเวลากลางคืน ตามหลักสูตร
๙. การฝึกเวลากลางคืนถือเป็นเรื่องสําคัญ หน่วยจะต้องดํ าเนินการฝึกให้มากที่สุดเท่าที่โอกาสอํานวย ทั้ง
การฝึกปฏิบัติด้วยสายตาและใช้กล้อง ตรวจการณ์กลางคืน
๑๐. การฝึกทําการรบและการฝึกทางยุทธวิธี ให้เน้นในเรื่องที่สอดรับกับภารกิจของหน่วยและเป็นไปตาม
ความต้องการในการยกระดับขีดความสามารถ ของหน่วย
๑๑. การตรวจสอบการปฏิบัติทางยุทธวิธี และการปฏิบัติในความขัดแย้งระดับําถื ต่ อเป็นการตรวจสอบ
ภารกิจตามปัญหาและสถานการณ์ต่อเนื่อง โดย มุ่งไปสู่การเสริมสร้างประสบการณ์ในการเผชิญสถานการณ์ที่ไม่
แน่นอน หรือคาดการณ์ได้ยาก
๑๒. การตรวจสอบมาตรฐานการฝึก หมู่ ตอน หมวด ประกอบด้วย
๑๒.๑ การยิงปืนตามทํานองรบ
๑๒.๒ การทดสอบผู้ชํานาญการทหารราบ
๑๒.๓ การเคลื่อนย้ายหน่วยทางยุทธวิธีด้วยการเดินเท้า (เดินเร่งรีบ)
๑๒.๔ การปฏิบัติงานทางยุทธวิธี (นทล.ปฏิบัติการเป็นอิสระปัญหา ๗๒ ชั่วโมง)
๑๒.๕ การปฏิบัติการทางทหารในความขัดแย้งระดับต่ํา
ตอนที่ ๓

ลฝ. ๗ – ๔๙
แถลงหลักสูตรการฝึก

ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง


วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ก. ภาคการฝึกในที่ตั้ง
การฝึกขั้นที่ ๑ การฝึกเป็นบุคคล
๑ การปฐมพยาบาลขั้นต้น และการส่งกลับสาย ๔ ให้ทาการสอนและปฏิบัติในเรื่อง - คู่มือเวชกรรม - เพื่อให้มีความรู้ - แผ่นภาพ
แพทย์ - การดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล ป้องกัน เกี่ยวกับการปฐม เครื่องช่วย
- การดูแลและป้องกันการติดเชื้อในระบบ - คู่มือทหารต้าน พยาบาลขั้นต้น ฝึก
ทางเดินหายใจ ภัย Covid - 19 และการส่งกลับ - อุปกรณ์
- การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บเมื่อได้รับ - คู่มือช่วยชีวิต สายแพทย์ ปฐม
สารพิษหรือยาเกินขนาดและภาวะที่ได้รับ ทางยุทธวิธี พ.ศ. พยาบาล
พิษจากสัมผัสสัตว์พิษ/ถูกสัตว์ประเภท ๒๕๖๑ - อุปกรณ์
ต่างๆ กัด/ต่อย - คู่มือการช่วยชีวิต แสวงเครื่อง
- การปฐมพยาบาลบาดแผลต่างๆ ขั้นพื้นฐาน
- การพันผ้าและเข้าเผือก - ตาราการปฐม
- การคัดแยกผู้ป่วยเจ็บในกรณีอุบัติภัยหมู่ พยาบาล
- การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) และการใช้ - คู่มือป้องกันโรค
เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED) ลมร้อน (Heat
- การปฐมพยาบาลการเจ็บป่วยจากความร้อน Stroke) สาหรับ
- การลาเลียงและเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ ผู้รับการฝึกทาง

หน้า ๓๓
- การส่งกลับสายแพทย์ ทหาร
หน้า ๓๔
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
2 การอบรม (10)
2.๑ ประวัติศาสตร์ชาติไทย ๒ - ให้ทาการสอนและอบรมทหารในเรื่อง - คู่มือการอบรม- เพื่อให้ทหารมี
ลักษณะ การก่อตั้งอาณาจักรของประเทศ วิชา ประวัติศาสตร์
ความรัก
ไทยในสมัยต่าง ๆ ชาติไทย ยก.ทบ. ประเทศชาติ
ตั้งแต่กรุงสุโขทัย - กรุงรัตนโกสินทร์, พ.ศ. ๒๕๔๓ และได้มีความรู้
ลักษณะการปกครองเศรษฐกิจสังคม ในเรื่อง ประวัติ
และการทหารของประเทศไทยสมัยต่าง ๆ การปกครอง
ตั้งแต่กรุงสุโขทัย - กรุง รัตนโกสินทร์ ของประเทศไทย
การสงครามที่สาคัญในสมัยสุโขทัย, สมัยที่
อยุธยา, ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ ผ่านมา
2.๒ ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และ 2 - ให้ทาการสอนและอบรมในเรื่อง ความ - เอกสาร หรือ - เพื่อปลูกฝัง
ต่อราชวงศ์ จงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และต่อราชวงษ์ สื่อทางโซเชียล ความจงรักภักดี
ซึ่งทาง ทบ. ต่อชาติ ศาสนา
อนุมัติให้ใช้ และต่อราชวงษ์
2.๓ การป้องกัน คชรน. “ เคมี ชีวะ รังสี 2 ให้ทาการสอนและอบรมในเรื่อง - คู่มือว่าด้วย - เพื่อให้มี - เครื่องแต่ง
นิวเคลียร์ ” - การป้องกันตนโดยการใช้เครื่องแต่งกาย คาแนะนาการ ความรู้เกี่ยวกับ กายป้องกัน
ป้องกัน ป้องกันและการ นิวเคลียร์ เคมี - ชุดทาลาย
- การพิสูจน์ทราบสารเคมีและติดตั้งป้าย ปฏิบัติยามฉุกเฉิน ชีวะ รังสี จน ล้างพิษ
เครื่องหมายพื้นที่เปื้อนพิษ เมื่อ เผชิญ สามารถป้องกัน บุคคล
- การถอดหน้ากากภายใต้ภาวะ คชรน. อันตรายจาก อันตรายเป็น - หน้ากาก

บทที่ ๒
- การข้ามพื้นที่เปื้อนพิษสารเคมี บุคคลได้ ป้องกันเคมี-
ชีวะ
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
- การลาดตระเวนทาง คชรน. ด้วยการ นิวเคลียร์ ชีวะ - กระดาษ
เดินเท้า รังสีเคมี สาหรับ ตรวจ
- การรายงาน คชรน.๑ และ คชรน.๔ ทหารเป็นบุคคล สารเคมี
- การทาลายล้างพิษทางยุทธการ พ.ศ. ๒๕๒๕ M8
(Operational Decontamination) -
เครื่องตรวจ
สารเคมี
- เครื่องวัด
รังสี
2.๔ ภัยคุกคามรูปแบบใหม่และแนวทางใน ๑ - ให้ทาการสอนและอบรมทหารในเรื่อง - แนวทางการ
การป้องกันและต่อต้าน ความรู้ ทั่วไปเกี่ยวกับภัยคุกคามรูปแบบ ปฏิบัติของ ทบ.
ใหม่,การก่อ การร้ายของโลกยุคปัจจุบัน, ในการต่อต้านการ
การก่อการร้ายใน ภูมิภาคเอเชีย ก่อการร้าย ยก.
ตะวันออกเฉียงใต้, การก่อการร้าย ใน ทบ. พ.ศ. ๒๕๔๗
ประเทศไทย, นโยบายและการดาเนินการ
ของ ไทยในการต่อต้านการก่อการร้าย,
แนวความคิด ในการต่อต้านการก่อการ
ร้ายของ ทบ. และ แนวทางการดาเนินงาน
หน้าที่ที่ทหารต้องกระทา ในมาตรการ
การต่อต้านการก่อการร้าย

หน้า ๓๕
2.๕ กฎหมายด้านความมั่นคง (กฎอัยการ ๑ - ให้ทาการสอนและอบรมทหารในเรื่อง - พระราชบัญญัติ
ศึก , พระราชกาหนดบริหารราชการใน บทบาท ของรัฐบาลในการปกครอง ว่าด้วย กฎอัยการ
ศึก พ.ศ. ๒๕๔๗
หน้า ๓๖
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
สถานการณ์ฉุกเฉิน และ พรบ.การรักษา ประเทศให้มีความ มั่นคงโดยใช้กฎอัยการ
ความมั่นคงฯ) ศึกและพระราชกาหนด บริหารราชการใน
สถานการณ์ฉุกเฉินตลอดจนการใช้ - พระราช
เจ้าหน้าที่ของรัฐและหน่วยทหารปฏิบัติ กาหนดการ
ภารกิจต่าง ๆ ให้เกิดความมั่นคง บริหารราชการใน
ภายในประเทศ สถานการณ์
ฉุกเฉิน พ.ศ.
๒๕๔๘
2.๖ สถานการณ์ในพื้นที่ จชต.และแนว ๑ - ให้ทาการสอนและอบรมทหารในเรื่อง - คู่มือการ
ทางการ แก้ปัญหา สถานการณ์ ในพื้นที่ จชต. มูลเหตุของ ปฏิบัติงานใน
ปัญหา, กลุ่มผู้ก่อความ ไม่สงบ, พื้นที่จังหวัด
ยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหา, สถานการณ์ ชายแดนภาคใต้
จชต. ตามนโยบาย ผบ.
ทบ. พ.ศ. ๒๕๕๐
2.๗ บทเรียนจากการสู้รบและยุทธวิธีของ ๑ - ให้ทาการสอนและอบรมทหารในเรื่อง - เอกสารบทเรียน
กาลัง ฝ่ายตรงข้าม การ ปฏิบัติการของฝ่ายตรงข้ามทาง จากการ
ยุทธวิธี ยุทธวิธี ของฝ่ายตรงข้ามที่ใช้ ปฏิบัติงาน/
ปฏิบัติการเป็นประจาบทเรียนจากการรบ บทเรียนจากการ
ในพื้นที่ปฏิบัติการ รบของ ยก.ทบ.

บทที่ ๒
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
3 การปฏิบัติงานมวลชน (10)
3.๑ จิตอาสาพระราชทาน 4 ให้ทาการสอนและอบรมทหารในเรื่อง - แนวพระรา - เพื่อปลูกฝัง - สื่อการ
- ความเป็นมาและความหมายของจิต โชบายการฝึก คุณธรรมตาม สอน
อาสาพระราชทานตามแนวทาง จิตอาสาโดยชุด แนวพระรา
พระราชดาริ วิทยากรที่ผ่าน โชบายการเป็นผู้
การอบรม มีจิตอาสา
- ประเภทของกิจกรรมจิตอาสา
เสียสละ
พระราชทาน ประโยชน์
- ศาสตร์พระราชา ส่วนตัวเพื่อสร้าง
- ทาการฝึกอบรมคุณธรรมให้เป็นผู้ที่มี ประโยชน์ส่วน
ความเสียสละ และการฝึกการบาเพ็ญตน ร่วม
เพื่อสาธารณะประโยชน์และเพื่อส่วนรวม
ตามแนว พระราโชบาย ร.๑๐
3.๒ ยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจ เข้าถึง 2 - สอนให้ทหารมีความรู้ในเรื่องการนาเอา - เอกสารเกี่ยวกับ
พัฒนา ยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจเข้าถึง ยุทธศาสตร์
พัฒนา มาปฏิบัติต่อมวลชนในพื้นที่ พระราชทาน
ปฏิบัติการ เข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา ที่ ทบ.
อนุมัติให้ใช้

หน้า ๓๗
3.๓ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 - สอนให้ทหารมีความรู้ในเรื่องปรัชญา - หนังสือ เรื่อง
ของ เศรษฐกิจพอเพียง,เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
กับทฤษฎี ใหม่ตามแนวพระราชดาริ, ของ สนง.
หน้า ๓๘
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
องค์ประกอบของ ปรัชญาเศรษฐกิจ คณะกรรมการ
พอเพียงและน้อมนาหลักปรัชญา พัฒนาการเศษฐกิจ
เศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ และสังคมแห่งชาติ
3.๔ การจัดตั้งเครือข่ายมวลชนเพื่อความ 2 - สอนให้ทหารมีความรู้ในเรื่อง บทบาท - แนวสอนของ
มั่นคง และ ความสาคัญของมวลชน การจัดตั้ง รร.กร.กร.ทบ.
มวลชน ประจาถิ่น, การปลูกฝังอุดมการณ์
, การเสริมความมั่นคงให้กับมวลชน, การ
ดาเนินการตามโครงการ พัฒนาและ
ป้องกันภายใน,การฝึกกาลังประชาชน
ประจาถิ่น
4 การฝึกและทดสอบร่างกาย/กาลังใจ (๒๔)
4.๑ การฝึกต่อสู้ในระยะประชิด ๘ ๑. สอนให้ทหารได้เรียนรู้และปฏิบัติใน - รส. ๒๑ - ๑๕๐ - เพื่อฝึกสอนให้ - แผ่นภาพ
เรื่อง หลัก พื้นฐานต่าง ๆ ซึ่งนักต่อสู้ระยะ ทหารได้มี เครือ่ งช่วย
ประชิดต้องรู้และ ใช้เพื่อเอาชนะคู่ต่อสู้ ความรู้ถึงวิธร ฝึก
อย่างเด็ดขาด โดยให้เน้น ในเรื่องการใช้ ต่อสู้ระยะประ
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เป็น ประโยชน์, ชืดด้วยมือเปล่า
การเป็นฝ่ายเข้าโจมตีอย่างรุนแรง ต่อ กับคู่ต่อสู้
จุดอ่อนของคู่ต่อสู้, การตั้งหลักและหักโค่น
คู่ ต่อสู้, การใช้แรงปะทะของคู่ต่อสู้ให้เป็น
ประโยชน์ และการใช้ความรวดเร็ว

บทที่ ๒
๒. สอนให้ทหารได้เรียนรู้และปฏิบัติใน
เรื่อง ดังนี้
๒.๑ การทุ่มทับจับกด
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ก. ทุ่มด้วยสะโพก
ข. ทุ่มข้ามไหล่
ค. ท่าทุ่มเมื่อถูกล็อกคอจากด้านหลัง
ง. การกระแทกด้วยศีรษะ
จ. การรัดคอจากด้านหลังและจับกด
๒.๒ การปิดกั้นระบบท่อลาเลียงใน
ร่างกาย
ก. การปิดกั้นด้วยการบีบกดข. การ
ปิดกั้นทางเดินลมหายใจ
ค. การปิดกั้นทางเดินโลหิต
๒.๓ วิธีบีบรัดทางเดินหายใจหรือเส้น
เลือด
ก. ปิดทางเดินอากาศดึงคอเสื้อไขว้
ข. ปิดทางเดินหายใจดึงคอเสื้อ
ค. ปิดทางเดินเส้นเลือดดา/แดง
ง. ปิดทางเดินหายใจที่ลาคอ
๒.๔ วิธีแก้ไขต่อสู้การบีบปิดทางเดิน
หายใจ
ก. ควักลูกตา
ข. จับบิดให้ไหล่หลุด

หน้า ๓๙
ค. การพลิกตัวกลับเมื่อถูกกด
ง. วิธีต่อสู้ตอบโต้การเข้าล็อกจาก
ด้านหลัง
หน้า ๔๐
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
จ. วิธีแก้เมื่อถูกล็อกศีรษะ
๒.๕ การต่อสู้ประชิดตัว
ก. การจับบิดเมื่อถูกจับหรือกระชาก
คอเสื้อ
ข. การจับบิดหักข้อมือจากการถูก
ตะปบแขน
ค. การคุมตัวนักโทษ
ง. การล็อกข้อศอกแนบลาตัว
จ. การล็อกข้อศอกงัดกับหัวเข่า
ฉ. การล็อกข้อศอกงัดกับบ่า
ช. การบิดแขนให้หัวไหล่หลุด
ซ. การล็อกหรือหักข้อเข่า

4.๒ การฝึกกายบริหาร ๘ - ให้นาทหารรับการฝึก กายบริหารครั้งละ - รส.๒๑ - ๒๐ - เพื่อฝึกให้


๑ ชม. โดยใช้เวลาในช่วงเช้า (๑๖๐๐ – ทหารทุกคนมี
๐๗๐๐) เพื่อฝึก กายบริหาร โดยใช้เรื่อง ความสมบูรณ์
ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ดังนี้ แข็งแรงทาง
๑. การฝึกกายบริการท่ามือเปล่าชุดที่ ๑ ร่างกายซึ่งจะทา
และการ ฝึกกายบริหารกับพื้นหญ้าชุดที่ ๑ ให้เกิดพลกาลัง

บทที่ ๒
๒. การฝึกกายบริหารท่ามือเปล่า ชุดที่ ๒ ความทรหด
และการ ฝึกกายบริหารกับพื้นหญ้า ชุดที่ ๒ ความสามารถ
ทางร่างกายและ
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
๓. การฝึกกายบริหารท่ามือเปล่าชุดที่ ๓ เกิดความ
และการ ฝึกกายบริหารเคลื่อนที่ตารางที่ ๑ คล่องแคล่ว
๔. การฝึกกายบริหารประกอบอาวุธ และ ว่องไว
การฝึก กายบริหารเคลื่อนที่ตารางที่ ๒
๕. การฝึกกายบริหารประกอบซุง
4.๓ การทดสอบร่างกายประจาสัปดาห์ ๘ - ให้ทาการทดสอบ ความสมบูรณ์แข็งแรง - หลักฐาน - เพื่อทดสอบ
ทางร่างกายของทหารเป็นรายบุคคล เตรียมการฝึกของ กาลังทางร่างกาย
สัปดาห์ละ ๒ ชม. โดยให้ทาการทดสอบใน กองทัพบก เรื่อง ของทหารให้
เรื่อง การฝึกการบริหาร ผู้บังคับบัญชาเกิด
๑. การวิ่งระยะทาง ๒ กม. ภายในเวลา พ.ศ. ๒๕๒๒ ความมั่นใจได้ว่าผู้
ตามเกณฑ์ อายุที่กาหนด ใต้บังคับ บัญชา
๒. การดึงข้อ ของตนมีความ
๓. การยึดพื้น สมบูรณ์แข็งแรง
๔. การลุกนั่ง ทางร่างกายเป็น
อย่างดีเพื่อปฏิบัติ
ภารกิจต่างๆ ตาม
หน้าที่ได้อย่าง
ทรหดอดทน
5 ทบทวนบุคคลทาการรบกลางวัน/กลางคืน ๘(๔)
5.๑ การพราง การกาบัง และซ่อนพราง ๒ - ให้นาทหารออกไปฝึกทบทวนในสนามฝึก - รส.๒๐ - ๓

หน้า ๔๑
และ ปฏิบัติในเรื่อง การพรางร่างกาย, การ - รส.๒๑ - ๗๕
พรางอาวุธ การพรางหมวกเหล็ก, การพราง - รส.๗ - ๘
เสื้อผ้าเครื่อง แต่งกาย, การพรางวัสดุ
หน้า ๔๒
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
สะท้อนแสง, การพรางหลุม บุคคล, วินัย
การพราง, การเลือกใช้ที่ซ่อนพราง, การใช้
ฉากหลังและร่มเงา, การกาบังและการเลือก
ใช้ที่กาบัง
5.๒ การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธี ๔(๔) - ให้นาทหารออกไปฝึกทบทวนในสนามฝึก - รส.๒๑ - ๗๕
และปฏิบัติในเรื่อง เทคนิคการเคลื่อนที่และ
วิธีการเคลื่อนที่, การคลานต่า, การคลานสูง
, การโผ, การเคลื่อนที่แบบย่องเงียบ, การ
ปฏิบัติโดยฉับพลัน ขณะเคลื่อนที่, การ
เคลื่อนที่เป็นชุดยิง, การยิงและการเคลื่อนที่
, การเคลื่อนที่ไปกับรถถัง
5.๓ การสังเกตและสะกดรอย ๒ - ให้นาทหารออกไปฝึกทบทวนในสนามฝึก - รส.๒๑ - ๗๕
และ ปฏิบัติในเรื่องคุณลักษณะของนัก
สะกดรอย, สังเกตการณ์ด้วยสายตาและ
เครื่องมือ, การหาจานวนคนจากรอยและ
อายุของรอย, การปฏิบัติ ในสถานที่เกิดเหตุ
6 การฝึกกิจเฉพาะเป็นบุคคลสนับสนุนกิจ ๒๐(๔)
เฉพาะเป็น หน่วยตามทักษะ ๔ ระดับ
6.๑ ทักษะระดับ ๑ (พลทหาร) กิจเฉพาะ
สาคัญ
- รวบรวมข่าวสารและรายงาน - ให้ทาการเสนอและปฏิบัติในเรื่องวิธีการ - รส.๒๑ - ๗๕

บทที่ ๒
รวบรวมข่าวสารและรายงานข่าวสารโดย - คฝ.๒๑ - ๑
ใช้หัวข้อ การรายงาน SALUTE
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
- ตรวจการณ์และค้นหาเป้าหมาย - ให้ทาการสอนและปฏิบัติในเรื่องเทคนิค - รส.๒๑ - ๗๕
การเฝ้าตรวจ, การตรวจการณ์ในเวลา - คฝ.๒๑ - ๑
กลางวัน, เทคนิคการค้นหาด้วยสายตาการ
ตรวจการณ์ใน เวลากลางคืน, สิ่งที่ต้อง
มองและคอยฟัง, การกะระยะ
- แก้ไขเหตุติดขัดและปรนนิบัติบารุง - ให้ทาการสอนและปฏิบัติในเรื่องการ - คฝ.๒๑ - ๑
แก้ไขเหตุ ติดขัดขั้นต้น, การตรวจอาวุธ,
การถอดปืน, การทาความสะอาดตรวจ
และชโลมน้ามันปืน, การ ประกอบปืน,
การถอดซองกระสุนปืน, การทาความ
สะอาดและชโลมน้ามันซองกระสุน, การ
ประกอบซองกระสุน, การทาความสะอาด
กระสุน
- การใช้ลูกระเบิดขว้าง - ให้นาทหารไปฝึกสอนในสนามฝึกและ - รส.๒๓ - ๓๐
ปฏิบัติ ในเรื่องการเลือกใช้ลูกระเบิดให้ - คฝ.๒๑ - ๑
ถูกต้องตาม วัตถุประสงค์, การขว้างลูก
ระเบิด
- การเคลื่อนที่ผ่านเครื่องกีดขวางทุ่น - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - รส.๒๑ - ๗๕
ระเบิด กับระเบิด และ ปฏิบัติในเรื่อง ชนิดของเครื่องกีด - คฝ.๒๑ - ๑
ขวางพื้นฐาน วิธีทาช่องทางและเจาะช่อง

หน้า ๔๓
สนามทุ่นระเบิด, การ ตรวจค้นทุ่นระเบิด,
การทาเครื่องหมายทุ่นระเบิด, วิธีทา
ช่องทางและเจาะช่องรั้วลวดหนาม,การ
หน้า ๔๔
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
เจาะ ช่องทางลวดหนามชนิดหีบเพลง,
การใช้บังกาโลเตอร์ปิโด
- การเคลื่อนที่ภายใต้การยิงเล็งตรง/ - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - คฝ.๒๑ - ๑
เล็งจาลอง และ ปฏิบัติในเรื่อง การเลือกเส้นทาง
เคลื่อนที่, การใช้ เทคนิคการเคลื่อนที่เป็น
บุคคลให้เหมาะสมโดยใช้ การคลานสูงการ
คลานต่า และการโย, การปฏิบัติ เมื่อถูก
ยิงด้วยอาวุธเล็งจาลองเมื่ออยู่กับที่และใน
ขณะเคลื่อนที่

- การเลือกที่มั่นสู้รบชั่วคราว - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - คฝ.๗ - ๑๑


และ ปฏิบัติในเรื่อง การเลือกที่ตั้งยิง - คฝ.๒๑ - ๑
ชั่วคราวที่มี การตรวจการณ์และการยิงดี
ซึ่งให้ประโยชน์ใน การกาบังและการซ่อน
พรางการถากถางพื้นยิง, การสร้างหลุม
บุคคลเร่งด่วนและการสร้างหลุม บุคคล
เดี่ยวและหลุมบุคคลคู่, การสร้างที่กาบัง
เหนือศีรษะและการสร้างหลุมดักลูก
ระเบิด
- ทัศนะสัญญาณ - ให้ทาการสอนและปฏิบัติในเรื่องการใช้ - คฝ.๗ - ๒๘

บทที่ ๒
ทัศนะสัญญาณและการปฏิบัติท่าสัญญาณ
ต่าง ๆ
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
6.๒ ทักษะระดับ ๒ (หน.ชุดยิง) กิจเฉพาะ
สาคัญ
- ทุ่นระเบิดกับระเบิดและการทาลาย - ให้นาทหารออกไปฝึกในสนามฝึกและ - คฝ.๗ - ๑๑
เน้น ค้นหารื้อถอน/ทาลาย ปฏิบัติ ในเรื่องการติดตั้ง รื้อถอนเครื่องจุด
ระเบิด มาตรฐาน, การจุดระเบิดโดยใช้
เชื้อปะทุชนวน, การตรวจค้นหาทุ่นระเบิด
ด้วยสายตา, การทาลาย ทุ่นระเบิดและกับ
ระเบิด
- การเข้าและถอดรหัสการ - ให้ฝึกสอนทหารและปฏิบัติในเรื่องการ - รส.๒๔ - ๕
ติดต่อสื่อสาร ใช้วิทยุ ในการติดต่อสื่อสารโดยการ
เข้ารหัสและถอดรหัส การสื่อสาร
- การกาหนดที่อยู่ของเป้าหมาย - ให้นาทหารออกไปฝึกในสนามฝึกและ - คฝ.๗ - ๒๘
ปฏิบัติ ในเรื่อง การตรวจการณ์, การกาหนด
ที่ตั้งเป้าหมาย ด้วยพิกัดตาราง, โดยวิธีโป
ล่าร์ และโดยการย้าย จากจุดที่ทราบแล้ว
- การร้องขอและปรับการยิง - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - รส.๗ - ๘
และ ปฏิบัติในเรื่องการร้องขอการยิง, การ - รส.๒๓ – ๙๓
กาหนดที่ตั้ง เป้าหมาย, การปรับการยิง - คฝ.๗ - ๘
เป็นพื้นที่, การยิงหา หลักฐาน, การยิง
ประณีต และการยิงทาลาย

หน้า ๔๕
- การเดินทางด้วยเข็มทิศกลางวัน/ - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - รส.๒๑ - ๒๖
กลางคืน และ ปฏิบัติในเรื่อง การกาหนดจุดที่อยู่ - คฝ.๒๑ - ๑
ของตนเองโดย : ประกอบภูมิประเทศ,
หน้า ๔๖
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
การวัดค่ามุมภาคของเข็มทิศ โดยใช้เข็ม
ทิศเลนเซติก, การวัดระยะทางโดยวิธี
การนับก้าว, การปฏิบัติการเดินทางด้วย
เข็มทิศในเวลากลางวันและกลางคืน

- การใช้ทัศนะสัญญาณ - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - รส.๒๑ - ๗๕


และ ปฏิบัติในเรื่อง เทคนิคการเคลื่อนที่,
การปฏิบัติ โดยฉับพลันขณะเคลื่อนที่,
การเคลื่อนที่เป็นชุด, การยิงและการ
เคลื่อนที่
- การควบคุมการเคลื่อนที่ / การยิง - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - คฝ.๗ - ๒๕
และ ปฏิบัติในเรื่องเทคนิคการเคลื่อนที่,
การปฏิบัติ โดยฉับพลันขณะเคลื่อนที่,
การเคลื่อนที่เป็นชุด, การยิงและการ
เคลื่อนที่
- การใช้กล้องตรวจการณ์กลางคืน - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึกใน - รส.๒๑ - ๗๕
เวลากลางคืน และปฏิบัติการใช้กล้อง - คฝ.๒๑ - ๑
ตรวจการณ์กลางคืน
- การให้คาสั่งเตรียมและคาสั่งเป็น - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - คฝ.๗ – ๑๑

บทที่ ๒
ส่วนๆ และ ปฏิบัติในเรื่อง การให้คาสั่งเตรียม
และการให้คาสั่งเป็นส่วนๆ
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
6.๓ ทักษะระดับ ๓ (ผบ.หมู่) กิจเฉพาะ
สาคัญ
- ทุ่นระเบิดกับระเบิดและการทาลาย - ให้ฝึกสอนในสนามฝึกและปฏิบัติในเรื่อง - รส.๕ - ๒๕
การติดตั้งและรื้อถอนทุ่นระเบิดป้องกัน - คฝ.๗ - ๑๑
ตนเอง, การติดตั้งและรื้อถอนเครื่องจุด - คฝ.๗ - ๒๘
ระเบิดมาตรฐาน การจุดระเบิดโดยใช้เชื้อ
ปะทุไฟฟ้า, การจุด ระเบิดด้วยฝักแค
ระเบิด, การทาลายระเบิดด้าน, การ
ทาลายทุ่นระเบิดและกับระเบิด
- การเข้าและถอดรหัสการ - ให้ฝึกสอนทหารและปฏิบัติในเรื่องการ - รส.๒๔ - ๕
ติดต่อสื่อสาร ใช้วิทยุ ในการติดต่อสื่อสารโดยการ
เข้ารหัสและถอดรหัส การสื่อสาร
- การร้องขอและปรับการยิง - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - รส.๗ - ๘
และ ปฏิบัติในเรื่องการร้องขอการยิง, การ - รส.๒๓ – ๙๓
กาหนดที่ตั้ง เป้าหมาย, การปรับการยิง - คฝ.๗ - ๘
เป็นพื้นที่, การยิงหา หลักฐาน, การยิง
ประณีต และการยิงทาลาย
- การปฏิบัติตามขั้นตอนการนาหน่วย - ให้ฝึกสอนและปฏิบัติในเรื่องการปฏิบัติ - รส.๒๓ - ๙๓
ตามขั้นตอนการนาหน่วย - รส.๗ - ๘
- คฝ.๗ - ๒๘

หน้า ๔๗
- คฝ.๗ - ๑๑
- การวิเคราะห์ภูมิประเทศ - สอนให้ทหารมีความเข้าใจในเรื่อง ภูมิ - รส.๓๐ - ๕
ประเทศ ทั่วไปและผลกระทบ ที่สูงต่าและ
หน้า ๔๘
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ระบบทางน้าไหล, ดู ลักษณะพืชพันธุ์ไม้
ลักษณะพื้นดิน, ลักษณะ สิ่งปลูกสร้าง,
แง่คิดทางทหารเกี่ยวกับภูมิประเทศ,
- การเลือกที่ตั้งยิงอาวุธ - ให้ฝึกสอนในสนามฝึกและปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘
การพิจารณาเลือกใช้ที่ตั้งยิง, การวางพื้น - คฝ.๗ - ๑๑
ยิงของ อาวุธ, การกาบังและซ่อนพราง
ของที่ตั้งยิง
- การลาดตระเวนของ ผบ.หมู่ - ให้ฝึกสอนในสนามฝึกและปฏิเสธในเรื่อง - รส.๗ - ๙๒
การวางแผนการการลาดตระเวน - คฝ.๗ - ๑๑
การเลือกบุคคลที่จะ ร่วมไปลาดตระเวน,
การเคลื่อนที่ไปยังหมายการ] ปฏิบัติ ณ
ที่หมาย การกาหนดจุดตรวจการณ์และ
จุดเฝ้าตรวจ, การแลกเปลี่ยนข่าวสาร
- การสั่งการด้วยวาจา - ให้ฝึกสอนและปฏิบัติในเรื่อง การจัดทา - รส.๗ - ๘
คาสั่งยุทธการของหมู่ ปล. การให้คาสั่ง
ยุทธการด้วยวาจาของ ผบ.หมู่
6.๔ ทักษะระดับ ๔ (รอง ผบ.มว. /ผบ.มว.)
กิจเฉพาะสาคัญ
- การปฏิบัติตามขั้นตอนการนาหน่วย - ให้ฝึกสอนและปฏิบัติในเรื่องการปฏิบัติ - รส.๒๓ - ๙๓
ตามขั้นตอนการนาหน่วย - รส.๗ - ๘
- คฝ.๗ - ๒๘

บทที่ ๒
- คฝ.๗ - ๑๑
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
- การวางแผนและควบคุมการปฏิบัติ - ให้ฝึกสอนในสนามฝึกและปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘
ทางยุทธวิธีของ มว. การวางแผนดาเนินกลยุทธ์, การพัฒนา - คฝ.๗ - ๑๑
สถานการณ์ ค เมื่อนาหน่วยเคลื่อนที่เข้า
ปะทะ, การปฏิบัติเมื่อปะทะข้าศึก การ
รายงาน, การตะลุมบอน, การต่อสู้ในภูมิ
ประเทศที่จากัดและการปฏิบัติพื้นฐาน
๓ ประการ ในภูมิประเทศที่จากัด
- การจัดทาแผนที่สังเขปและแผ่น - ให้ฝึกสอนในสนามฝึกและปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ – ๘
บริวาร การ จัดทาแผนที่สังเขปและแผ่นบริวาร - รส.๒๑ - ๗๕
แผนการยิงของ มว.ปล. ในการตั้งรับ - คฝ.๗ - ๑
- การวางแผนการใช้อาวุธยิงสนับสนุน - ให้ฝึกสอนในเรื่องการวางแผนการยิง - รส.๗ - ๘
สนับสนุน ของอาวุธยิงสนับสนุนในอัตรา - รส.๗ - ๑๐
ของกองร้อยและ กองพันการกาหนด - คฝ.๗ - ๑๑
เป้าหมายยิง,การยิงสนับสนุน ในการเข้าตี
และการยิงสนับสนุนในการตั้งรับ
- การวางแผนการ ลว.หาข่าว - ให้ฝึกสอนในสนามฝึกและปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘
การวางแผนการลาดตระเวนหาข่าว, การ - คฝ.๗ - ๑๑
จัดกาลัง ชุด ลว. หาข่าวแบบของการ ลว.
หาข่าว, การ ปฏิบัติการ ลว. หาข่าวเป็น
พื้นที่และการปฏิบัติ การ ลว.หาข่าวเป็น

หน้า ๔๙
เขต
- การวิเคราะห์ภูมิประเทศ - สอนให้ทหารเข้าใจในเรื่องภูมิประเทศ - รส.๓๐ - ๕
ทั่วไป และผลกระทบ,ที่สูงต่าและระบบ
หน้า ๕๐
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ทางน้าไหล, ลักษณะพืชพันธุ์ไม้, ลักษณะ
พื้นดิน, ลักษณสิ่งปลูกสร้าง, แง่คิดทาง
ทหารเกี่ยวกับประเทศ
- การลาดตระเวนของ ผบ.มว. - ให้ฝึกสอนในสนามฝึกและปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘
การวางแผนการลาดตระเวน, การจัดกาลัง - คฝ.๗ - ๑๑
ลาด ตระเวน, การลาดตระเวนเป็นเขต
และการลาด ตระเวนเป็นพื้นที่
- การร้องขอและปรับการยิง - ให้นาทหารออกไปฝึกสอนในสนามฝึก - รส.๗ - ๘
และ ปฏิบัติในเรื่องการร้องขอการยิง, - รส.๒๓ - ๙๓
การกาหนดที่ตั้ง เป้าหมาย, การปรับการ - คฝ.๗ - ๘
ยิงเป็นพื้นที่, การยิงหา หลักฐาน, การยิง
ประณีต และการยิงทาลาย
- การสั่งการและบรรยายสรุปกลับ - ให้ฝึกสอนและปฏิบัติในเรื่อง คาสั่ง - รส.๗ - ๘
ยุทธการ, การออกคาสั่งด้วยวาจา, การสั่ง - รส.๑๐๑ - ๕
การและการบรรยาย สรุปกลับของแผ่น
และคาสั่งตามภารกิจที่ได้ รับมอบ

7 การฝึกยิงอาวุธประจากาย ๑๖(๔)

บทที่ ๒
7.๑ การยิงเป้าหุ่นในสนามทราบระยะ - ให้นาทหารออกไปฝึกยิงปืนในสนามฝึก - รส.๒๓ - ๙
ยิง ปืนทราบระยะโดยทาการยิงปืนต่อเป้า
หุ่นนอน ในระยะ ๗๕ เมตร และทาการ
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ฝึกยิงต่อเป้าหุ่น ครึ่งตัวในระยะ ๑๗๕
เมตร และระยะ ๓๐๐ เมตร
7.๒ การยิงปืนตามทานองรบอยู่กับที่และ - ให้นาทหารออกไปฝึกยิงปืนในสนามฝึก - รส.๒๓ - ๙
เคลื่อนที่ ยิงปืน ทราบระยะโดยทาการยิงปืนต่อเป้า
- เมื่ออยู่กับที่ หุ่นครึ่งตัวอัตโนมัติหลายๆ ระยะตั้งแต่
- เมื่อเคลื่อนที่ ระยะ ๕๐ เมตร ถึง ระยะ ๓๐๐ เมตร
7.๓ การยิงปืนในเวลากลางคืน - ให้นาทหารออกไปฝึกในสนามยิงปืนใน - รส.๒๓ - ๙
สนามยิงปืนทราบระยะโดยทาการยิงใน
เวลากลางคืน ต่อเป้าหุ่นครึ่งตัวในระยะ
๒๕ เมตรและระยะ ๕๐ เมตร ตามตาราง
การฝึกยิง ปลย. ในเวลากลางคืน
(ผนวก ด)
8 การฝึกและทดสอบผู้ชานาญการทหารราบ 19 - ให้ทาการฝึกสอนในสนามฝึกและปฏิบัติ - คู่มือทดสอบ
หมุนเวียนตามสถานีฝึกในเรื่อง ผู้ชานาญการ
สถานีที่ ๑ การทดสอบสมรรถภาพ ทหารราบ พ.ศ.
ร่างกาย ๒๕๔๗
สถานีที่ ๒ การอ่านแผนที่
สถานีที่ ๓ การปฐมพยาบาล
สถานีที่ ๔ การเดินเร่งรีบระยะทาง
๑๕กม.

หน้า ๕๑
สถานีที่ ๕ ทดสอบความชานาญใช้อาวุธ
ปลย. ขนาด ๔.๕๖ มม.สถานีที่ ๖ การร้อง
ขอและการปรับการยิง ค.-ป.
หน้า ๕๒
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
สถานีที่ ๗ การฝึกบุคคลทาการรบ
สถานีที่ ๘ การติดต่อสื่อสาร
สถานีที่ ๙ การเดินทางโดยใช้แผนที่
เข็มทิศ
สถานีที่ ๑๐ การใช้อาวุธปืนเล็กยาวขนาด
๔.๕๖ มม.
สถานีที่ ๑๑ ลูกระเบิดขว้าง
สถานีที่ ๑๒ ทุ่นระเบิด
สถานีที่ ๑๓ การรายงานข่าวสาร
สถานีที่ ๑๔ เครื่องยิงจรวดต่อสู้รถถัง
ขนาดเบา
สถานีที่ ๑๕ ปืนกลเบาขนาด ๗.๖๒ มม.
สถานีที่ ๑๖ ปืนกลหนักขนาด .๕๐ นิ้ว

การฝึกขั้นที่ ๒ การฝึกเป็นชุด/หมู่
๙ รูปขบวนทาการรบของหมู่ ปล. ๔ - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘ - เพื่อให้ผู้รับ
รูปแบบ และวิธีจัดรูปขบวนทาการรบ - คฝ.๗ - ๘ การฝึกได้มี
ของหมู่ปืนเล็กชนิดต่าง ๆ พร้อมกับเน้นให้ ความชานาญใน
พร้อมกับเน้นให้ทราบถึง ท่าสัญญาณ การใช้รูปขบวน

บทที่ ๒
โอกาสที่ใช้ ข้อดีและข้อเสียของแต่ละ รูป ทาการรบและ
ขบวน การเคลื่อนที่และการเปลี่ยนรูป ใช้ท่าสัญญาณ
ได้อย่างถูกต้อง
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ขบวน (ให้แบ่งการฝึกเป็น ๒ ครั้ง ครั้งละ
๒ ชม.)
๑๐ การฝึกตามแบบฝึกทาการรบของ หมู่ ปล. 19
๑๐.๑ การปฏิบัติการโจมตีข้าศึก - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘ - เพื่อให้ผู้รับ
เตรียม การเพื่อทาการรบของหมู่ ปล., - คฝ.๗ - ๘ การฝึกมี
การปฏิบัติของ หมู่ ปล. เมื่อปะทะข้าศึก, ความสามารถ
หมู่ ปล.ค้นหาและกาหนดที่ตั้งของข้าศึก, ปฏิบัติงานเป็น
หมู่ ปล. ใช้อานาจการยิง เหนือข้าศึก, หมู่ ชุดในการทาการ
ปล.เข้าโจมตีทางปีก, หมู่เสริม ความมั่นคง รบได้อย่าง
และจัดระเบียบใหม่ เหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ

๑๐.๒ การปฏิบัติเมื่อปะทะข้าศึก - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘


วิธีการปฏิบัติเมื่อปะทะข้าศึก, การเข้าที่ - คฝ.๗ - ๘
กาบัง, การยิงข่ม/กดข้าศึก, การดาเนินกล
ยุทธ์เข้าโจมตีข้าศึก
๑๐.๓ การปฏิบัติเมื่อถูกซุ่มโจมตี - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘
ปฏิบัติโดยฉับพลันเมื่อถูกซุ่มโจมตี - คฝ.๗ - ๘
ระยะใกล้ และการ ศ ปฏิบัติโดยฉับพลัน

หน้า ๕๓
เมื่อถูกซุ่มโจมตีระยะไกล
๑๐.๔ การผละจากการปะทะ - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘
วิธีการผละจากการปะทะเป็นบุคคล หรือ - คฝ.๗ - ๘
หน้า ๕๔
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
เป็นคู่, การเคลื่อนที่ โดยวิธีสลับลงไปข้าง
หลัง, การยิงคุ้มกันตนเอง, การเคลื่อนที่ไป
ยังจุดนัดพบและการเข้าวางตัว แห่งใหม่
๑๐.๕ การเข้าสู่อาคารและตรวจค้นภายใน - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘
อาคาร จัดกาลังเข้าโจมตีในอาคาร วิธีการเข้าสู่ - คฝ.๗ - ๘
อาคารและ วิธีการตรวจค้นภายในอาคาร
๑๐.๖ เทคนิคการเคลื่อนที่ในป่า/ภูเขา - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘
เทคนิค การเคลื่อนที่ในป่าและภูเขา - คฝ.๗ - ๘

๑๐.๗ การกวาดล้างคูติดต่อและสนาม - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘


เพลาะ จัดกาลัง, การกวาดล้างคูติดต่อ และสนาม - คฝ.๗ - ๘
เพลาะ, การทาลายบังเกอร์
๑๐.๘ การเจาะช่องผ่านเครื่องกีดขวางลวด - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๒๑ - ๗๕
หนามและ สนามทุ่นระเบิด วิธีการทาช่องทางและเจาะช่องสนามทุ่น
ระเบิด, การตรวจ ค้นทุ่นระเบิด, การเจาะ
ช่องสนามทุ่นระเบิด, วิธีทาช่องทางและ
เจาะช่องรั้วลวดหนาม, การตัดลวดหนาม,
การเจาะช่องทางลวดหนามชนิดหีบเพลง,
การข้ามรั้วลวดหนามและการใช้บังกาโล

บทที่ ๒
เตอร์ปิโด
๑๑ การลาดตระเวนกลางวัน/กลางคืน ๑4(๘)
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
๑๑.๑ การลาดตระเวนรบ - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘ - เพื่อให้ผู้รับ
๑๑.๑.๑ การตีโฉบฉวย การจัดกาลัง การรับคาสั่งจาก ผบ.หมู่, - คฝ.๗ - ๘ การฝึกมีขีด
การเคลื่อนที่จากฐาน ปฏิบัติการไปยังจุด ความสามารถ
นัดพบ ณ ที่หมาย, การเคลื่อนกาลังและ ปฏิบัติงาน
การวางกาลังในการโจมตี, การปฏิบัติการ ร่วมกันเป็นชุด
โจมตีที่หมายและการถอนตัว เพื่อทาการตีโฉบ
ฉวยได้

๑๑.๑.๒ การซุ่มโจมตี - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘ - เพื่อให้ผู้รับ


จัดกาลัง, การเตรียมการ, การรับคาสั่ง - คฝ.๗ - ๘ การฝึกมีขีด
จาก ผบ.หมู่, ค การเคลื่อนที่จากฐานที่ตั้ง ความสามารถ
ไปยังพื้นที่ซุ่มโจมตี, การเข้าประจาจุดนัด ปฏิบัติงาน
พบ ณ ที่หมาย, การเข้าประจาที่ซุ่มโจมตี, ร่วมกันเป็นชุด
การดัดแปลงภูมิประเทศและ การพราง, เพื่อทาการซุ่ม
วินัยการซุ่มโจมตี, การควบคุมบังคับ โจม
บัญชา, การปฏิบัติการซุ่มโจมตีและการ ตีได้
ถอนตัว
๑๑.๒ การลาดตระเวนระวังป้องกัน - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง รส.๗ - ๘
และเฝ้าตรวจ การจัดกาลัง, การเตรียมการ, การรับคาสั่ง - คฝ.๗ - ๘
จาก ผบ.หมู่.ค. การเคลื่อนที่จากฐานที่ตั้ง

หน้า ๕๕
ไปยังพื้นที่เฝ้าตรวจ การปฏิบัติ ณ จุดนัด
พบ ณ ที่หมาย, วิธีการเคลื่อนที่
ลาดตระเวนระวังป้องกันที่ตั้งหน่วย
หน้า ๕๖
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
๑๑.๓ การลาดตระเวนหาข่าว - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติฝนเรื่อง - รส.๗ - ๘
การจัดกาลัง, การเตรียมการ, การรับคาสั่ง - คฝ.๗ - ๘
จาก ผบ.หมู่, แบบของการลาดตระเวนหา
ข่าวเป็นพื้นที่, การปฏิบัติการลาดตระเวน
หาข่าวเป็นเขต, การเคลื่อนที่จากฐาน
ปฏิบัติการไปยังจุดนัดพบ ณ ที่หมาย, การ
เข้าประจา ณ จุดนัดพบ ณ ที่หมาย และ
การกระจายข่าวสาร
๑๑.๔ การตั้งฐานลาดตระเวน - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง ความ - รส.๗ - ๘
มุ่งหมายในการตั้งฐานลาดตระเวน, - คฝ.๗ - ๘
ลักษณะอันพึง ประสงค์ของฐาน
ลาดตระเวน, การระวังป้องกันและ การ
คุ้มครองฐานลาดตระเวน, ระเบียบภายใน
ฐานลาดตระเวน, การลาดตระเวนและ
การปฏิบัติ ภายในฐานลาดตระเวน, การ
ลาดตระเวนที่ตั้งฐาน ลาดตระเวน, การ
เข้าฐานลาดตระเวน, การปรับ วงรอบฐาน
ลาดตระเวน, การลาดตระเวนรอบ ๆ
ฐานลาดตระเวน, การจัดตั้งที่ตรวจการณ์
และที่ ฟังการณ์
๑๒ การจัดทาที่มั่นสู้รบ ๔ - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง กล่าว - รส.๗ - ๘ - เพื่อให้ผู้รับ

บทที่ ๒
ทั่วไป สาหรับการเตรียมที่มั่นสู้รบ, การ - คฝ.๗ - ๘ การฝึกสามารถ
กาบัง, การซ่อน พราง, เขตการยิง, วิธีการ จัดทาที่มั่นสู้รบ
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
เตรียมการที่มั่นสู้รบ การจัดทาที่มั่นสู้รบ ได้อย่างถูกต้อง
แบบต่าง ๆ, การสร้างที่กาบัง เหนือศีรษะ และเหมาะสม
และการกรุลาด, การจัดทาคูสนามเพลาะ
และที่เก็บเครื่องยุทโธปกรณ์
การฝึกขั้นที่ ๓ การฝึกเป็น มว.
๑๓ รูปขบวนทาการรบของ มว.ปล. ๔ - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘ - เพื่อให้ผู้รับ
รูปแบบและ วิธีจัดรูปขบวนทาการรบ - คฝ.๗ - ๘ การฝึกสามารถ
ของ มว.ปล. รูปขบวน ต่าง ๆ, การใช้ ปฏิบัติการรบ
ท่าสัญญาณ, โอกาสที่ใช้รูปขบวน ข้อดี การใช้รูปแบบ
และข้อเสียของแต่ละรูปขบวน, การ ขบวนทาการรบ
เคลื่อนที่และการเปลี่ยนรูปขบวน ของ มว.ปล. ได้
เป็นอย่างดี
๑๔ การฝึกตามแบบฝึกทาการรบของ มว.ปล. ๒๐
๑๔.๑ การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธีด้วยการ - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘
เดินเท้า การเตรียม การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธี, - คฝ.๗ - ๘
รูปขบวนในการเคลื่อน ย้ายทางยุทธวิธี,
เทคนิคการเคลื่อนที่ในรูปแบบ ต่าง ๆ,
การระวังป้องกันในขณะเคลื่อนที่ และ
การหยุดหน่วย, การปฏิบัติเมื่อถึงจุดตรวจ
หรือ จุดแยกหน่วยและที่ตั้งหน่วย,

หน้า ๕๗
มาตรการควบคุม และการรายงาน
หน้า ๕๘
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
๑๔.๒ การเข้าตีเร่งด่วน - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘
เตรียมการเข้าตีของ มว.ปล., การเคลื่อนที่ - คฝ.๗ - ๘
เข้าปะทะ ของ มว.ปล, การปฏิบัติเมื่อ
ปะทะกับข้าศึก, การโจมตีข้าศึกโดย
เร่งด่วน, การปฏิบัติ ณ ที่หมาย, การเสริม
ความมั่นคงและการจัดระเบียบใหม่
๑๔.๓ การตีโฉบฉวย - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘
เตรียม การปฏิบัติภารกิจ, การจัดกาลัง, - คฝ.๗ - ๘
การรับคาสั่งจาก ผบ.มว., การเคลื่อนที่
จากฐานปฏิบัติการไปยังจุด นัดพบ ณ ที่
หมาย, การเคลื่อนกาลังและการวาง กาลัง
ในการโจมตี, การปฏิบัติการโจมตีที่หมาย
และการถอนตัว
๑๔.๔ การซุ่มโจมตี / การต่อต้านการซุ่ม - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘
โจมตี จัดกาลัง, การเตรียมการปฏิบัติภารกิจการ - คฝ.๗ - ๘
รับคาสั่ง ค จาก ผบ.มว., การเคลื่อนที่จาก
ฐานที่ตั้งไปยังพื้นที่ ซุ่มโจมตี, การเข้า
ประจาจุดนัดพบ ณ ที่หมาย, การวาง
กาลังซุ่มโจมตี, การปฏิบัติการซุ่มโจมตี
เป็นจุดหรือเป็นพื้นที่, การถอนตัว, การ
ปฏิบัติโดย ฉับพลันในการต่อต้านการซุ่ม

บทที่ ๒
โจมตี
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก

๑๔.๕ การลาดตระเวนและระวังป้องกัน - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๗ - ๘


จัดหน่วยลาดตระเวน, การเตรียมการ - คฝ.๗ - ๘
ปฏิบัติภารกิจ การรับคาสั่งจาก ผบ.มว.,
การระวังป้องกันตนเอง ในขณะเคลื่อนที่,
การปฏิบัติ ณ พื้นที่อันตราย, การ ใช้จุด
นัดพบ, การปฏิบัติ ณ จุดนัดพบ ณ ที่
หมาย
๑๔.๖ การเข้าสู่อาคารและตรวจค้นอาคาร - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ – ๘
วิธีการเคลื่อนที่เข้าไปในตัวอาคาร, - รส.๒๑ - ๗๕
การเข้าตัวอาคารจาก ร ชั้นสูง, การเข้า - คฝ.๗ - ๘
อาคารจากชั้นล่าง, การเข้าโจมตีใน
อาคาร, วิธีการตรวจค้นกวาดล้างภายใน
อาคาร
๑๕ การปฏิบัติการทางทหารในความขัดแย้ง ๑๖
ระดับต่า
๑๕.๑ การปิดล้อมและตรวจค้นหมู่บ้าน - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - รส.๑๐๐ - ๒๐
เตรียม การปฏิบัติภารกิจ, การจัดกาลัง,
การควบคุม และบังคับบัญชา, วิธีการ

หน้า ๕๙
ตรวจค้น, การเคลื่อน ย้ายเข้าสู่พื้นที่ตรวจ
ค้น, การตรวจค้นหมู่บ้าน และการตรวจ
ค้นภายในบ้านหรืออาคารหลายชั้น การ
หน้า ๖๐
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ควบคุมตัวบุคคลผู้ก่อความไม่สงบและ
แนวร่วม และการส่งมอบพื้นที่
๑๕.๒ การตั้งฐานปฏิบัติการและการระวัง - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๗ - ๘
ป้องกัน ข้อพิจารณา - ในการเลือกที่ตั้งฐาน - คฝ.๗ - ๘
ปฏิบัติการ, การเคลื่อนที่เข้า ฐาน
ปฏิบัติการ, การวางกาลังในฐาน
ปฏิบัติการ การปฏิบัติภายในฐาน
ปฏิบัติการและการระวัง ป้องกันฐาน
ปฏิบัติการ
๑๕.๓ การปิดกั้นถนน การตั้งจุดตรวจและ - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง การ - เอกสารแนว
ตรวจค้นยานพาหนะ เตรียมการ, การจัดกาลัง, การเคลื่อนย้าย สอน ของ รร.ร.
เข้าพื้นที่, การ เลือกพื้นที่จัดตั้งจุดตรวจ ศร.
และจุดสกัดกั้น, การวาง กาลังในการ
จัดตั้งจุดตรวจ, การวางพื้นยิ่งและวาง
เครื่องกีดขวาง ณ จุดตรวจ, การ
ปฏิบัติการตรวจ ค้นบุคคล และตรวจค้น
ยานพาหนะ, การควบคุม ตัวบุคคลผู้ต้อง
สงสัย, การปฏิบัติตามแผนเผชิญ เหตุและ
การถอนตัว

บทที่ ๒
๑๕.๔ การสะกดรอยและการลาดตระเวน - ให้สอนสาธิตและฝึกปฏิบัติในเรื่อง - รส.๒๑ - ๗๕
เฝ้าตรวจ คุณสมบัติของนักสะกดรอย, หลักพื้นฐาน
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ของ การสะกดรอย, การวิเคราะห์รอยเท้า
, วิธีนับ รอยเท้า, ปัจจัยต่าง ๆ ที่กระทบ
ต่อการสะกด รอย, การตีความและการให้
ข่าวกรองอย่าง ทันที ทันใด, การจัดชุด
สะกดรอย, การใช้สุนัขสะกดรอย และการ
ต่อต้านการสะกดรอย
- การลาดตระเวนเฝ้าตรวจ ให้สอนสาธิต
และฝึก ปฏิบัติในเรื่อง การเตรียมการ,
การจัดกาลัง, การ เคลื่อนที่จากที่รวมพล
ไปยังพื้นที่เฝ้าตรวจ, การ ปฏิบัติ ณ จุดนัด
พบ ณ ที่หมาย, การวางกาลังเฝ้า ตรวจ,
การปฏิบัติการเฝ้าตรวจและการรายงาน

ข. ภาคการฝึกในสนามและการตรวจสอบ

หน้า ๖๑
(ระดับ มว.ปล.)
๑๗ การฝึกในสนาม (๑๒ วัน) - ให้จัดหมวดปืนเล็ก กองร้อยอาวุธเบา
กองพัน ทหารราบเข้ารับการฝึกภาคสนาม
หน้า ๖๒
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
ตั้งแต่ต้น สัปดาห์ที่ ๕ จนถึงปลายสัปดาห์
ที่ ๖ เป็นเวลา ๑๒ วัน โดยให้ทาการฝึก
และตรวจสอบการฝึกในลักษณะ จัดตั้ง
เป็นสถานีฝึกและตรวจสอบการฝึกดังนี้ -
๑๗.๑ การตรวจสอบการเคลื่อนย้ายหน่วย ๒๔ - การตรวจสอบการเคลื่อนย้ายหน่วยทาง
ทางยุทธวิธี ด้วยการเดินเท้า (การเดินเร่งรีบ ยุทธวิธีด้วยการเดินเท้า (การเดินเร่งรีบ
ประกอบเครื่องสนาม) (๑ วัน) ประกอบ เครื่องสนาม) จากที่ตั้งปกติไปยัง
พื้นที่การฝึกเป็น ระยะทางไม่น้อยกว่า
๑๕ กม. น้าหนักการบรรทุก เครื่องสนาม
คนละ ๑๒ กก. (ไม่รวมน้าหนักของ อาวุธ/
กระสุนและยุทโธปกรณ์ประจากาย)

๑๗.๒ การฝึกและตรวจสอบการยิงปืนตาม ๔๘ การฝึกและตรวจสอบการยิงปืนตาม - รส.๒๓ - ๙


ทานองรบ (๒ วัน) ทานองรบ (๒ วัน)
- การยิงปืนในป่า
- การยิงปืนในเวลากลางคืน

บทที่ ๒
- การยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
๑๗.๓ การฝึกการลอดใต้วิถีกระสุน (๑ วัน) ๒๔ - การฝึกปฏิบัติการลอดใต้วิถีกระสุน โดย - รส.๗ - ๘
ปฏิบัติตามแบบฝึกทาการรบเป็น มว.ปล. - รส.๒๑ - ๗๕
หมุนเวียน มว.ปล. เข้ารับการฝึกอย่าง
ต่อเนื่อง (๑ วัน)
๑๗.๔ การฝึกการปฏิบัติทางยุทธวิธี (๔ วัน) ๙๖ การฝึกการปฏิบัติทางยุทธวิธี โดยให้ - รส.๗ - ๘
มว.ปล. เข้าฝึกปฏิบัติหมุนเวียนสถานี ดังนี้ - คฝ.๗ - ๘
- การเคลื่อนที่เข้าปะทะ - รส.๒๑ - ๗๕
- การเข้าตีเร่งด่วน
- การตีโฉบฉวย
- การซุ่มโจมตี / การต่อต้านการซุ่มโจมตี
- การลาดตระเวนและการระวังป้องกัน
- การเข้าสู่อาคารและการตรวจค้นภายใน
อาคาร

๑๗.๕ การฝึกการปฏิบัติการในความขัดแย้ง ๙๖ การฝึกการปฏิบัติการในความขัดแย้ง - รส.๑๐๐ - ๒๐


ระดับต่า (๔ วัน) ระดับต่าโดยให้ มว.ปล. เข้าฝึกปฏิบัติ - รส.๗ - ๘
หมุนเวียนสถานี ดังนี้ - รส.๒๑ - ๗๕
- การปิดล้อมและตรวจค้น - คฝ.๗ - ๘

หน้า ๖๓
- การตั้งฐานปฏิบัติการและการระวัง
ป้องกัน
หน้า ๖๔
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
- การปิดกั้นถนน การตั้งจุดตรวจและ
ตรวจค้น ยานพาหนะ
- การสะกดรอย และการลาดตระเวนเฝ้า
ตรวจ
๑๘ การตรวจสอบ ระดับ มว.ปล. ตามปัญหา ๑๙๒ - ให้หมวดปืนเล็ก กองร้อยอาวุธเบา
และสถานการณ์ที่กาหนด (๙ วัน) กองพัน ทหารราบจัดกาลังเข้ารับการ
ตรวจสอบตามปัญหา และสถานการณ์ที่
กาหนดอย่างต่อเนื่องใน การปฏิบัติทาง
ยุทธวิธีของหน่วยทหารขนาดเล็ก
ปฏิบัติการเป็นอิสระและการปฏิบัติการใน
ความ ขัดแย้งระดับต่า โดยให้มี
รายละเอียดในเรื่อง

- การเข้าฐานลาดตระเวนและการระวัง
ป้องกัน
- การลาดตระเวนเส้นทางและการระวัง
ป้องกัน
- การลาดตระเวนหาข่าวและการเฝ้าตรวจ
- การซุ่มโจมตี

บทที่ ๒
- การตีโฉบฉวย
- การปฏิบัติโดยฉับพลัน
ลฝ. ๗ – ๔๙
ลา เวลา เรื่องและรายละเอียด เครื่อง
วิชาที่ทาการเรียนการสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย
ดับ (ชม.) ที่ทาการสอน ช่วยฝึก
- การปิดกั้นถนน, การจัดตั้งจุดตรวจและ
จุดสกัดกั้น
- การปิดล้อมและตรวจค้น
19 เวลาผู้บังคับบัญชา ๒๔ - เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาใช้เป็นเวลาสาหรับ
การ พบปะทหารเพื่อการชี้แจงการปฏิบัติ
ในขั้นต่อไป หรือใช้เป็นเวลาในการ
ทบทวนหลังการปฏิบัติ และ เป็นเวลา
สาหรับการเตรียมการเคลื่อนย้ายหน่วย
กลับที่ตั้งปกติ

หน้า ๖๕
หน้า ๖๘ บทที่ ๓

บทที่ ๓
การสนับสนุนการฝึก
ตอนที่ ๑
ความต้องการสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓

การใช้ สป.๓ ให้ยึดถือหลักดังต่อไปนี้


๑. การประมาณการความต้องการ สป.๓ ให้ยึดถือเกณฑ์คาสั่ง ทบ.ที่ ๓๖๗/๒๕๑๗ ลง ๑๙ ก.ย.๑๗
และตามคาสั่ง ทบ. ที่ ๓๑๔/๒๕๑๘ ลง ๑๘ มิ.ย. ๑๘ เรื่อง ให้ใช้เกณฑ์ความสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิงและ
น้ามันอุปกรณ์สาหรับยานพาหนะและเครื่องมือกลในการใช้งานและการซ่อมบารุง
๒. การใช้ สป.๓ ในการฝึก จะต้องคานึงถึงเครดิต สป.๓ ประจาปีของการฝึกของหน่วยที่ได้รับด้วย
โดยจะต้องแบ่ง สป.๓ ให้สามารถทาการฝึกได้ทุกหลักสูตรและทุกขั้นตอนของการฝึกและการตรวจสอบการฝึก
๓. ให้ปฏิบัติตามคาสั่งของ ทบ. เรื่อง การสนับสนุนการฝึกประจาปีการฝึกนั้นด้วย
๔. ตารางต่อไปนี้เป็นประมาณการความต้องการ สป.๓ ที่คานวณในอัตรา ของส่วนรับการฝึก และ
ส่วน กอ.ฝึก โดยให้ยึดถือข้อ ๑ - ๓ ในการจัดทาประมาณการ สป.๓ ตามสายการบังคับบัญชาจนถึง ยศ.ทบ.
เพื่อพิจารณาต่อไป
๕. ให้หน่วยรับผิดชอบในการฝึกและหน่วยสนับสนุนการฝึก ยึดถือตารางการใช้ สป.๓ ที่กาหนดใน
ตอนที่ ๑ บทที่ ๓ นี้ เป็นแนวทางในการเบิกจ่าย ดังนี้
ความต้องการยานพาหนะและสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓

ลฝ. ๗ - ๔๙
จานวน เกณฑ์ความสิ้นเปลืองวิ่งในภูมิประเทศ เกณฑ์ความสิ้นเปลืองติดเครื่องอยู่กับที่
ความสิ้นเปลือง ความสิ้นเปลือง หมาย
ลาดับ ประเภทยานพาหนะ ระยะทาง รวมระยะทาง รวม สป.๓ (ลิตร) เวลาที่ใช้ รวม สป.๓ (ลิตร)
คัน วัน กม./ลิตร ลิตร/ชม. เหตุ
/วัน ตลอดการฝึก (ชม.)
เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล
ความต้องการ สป.๓ ระดับที่ ๑
๑. กอ.ฝึกและส่วนสนับสนุน
- รถยนต์กู้ซ่อม ขนาด 5 ตัน 1 ๒๑ - 0.4 25 ๕๒๕ - ๑,๓๑๓ - 65 2 - 2,๗๓0
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 2 ๒๑ - 0.8 25 ๕๒๕ - ๑,๓๑๓ - 10 2 - ๘๔๐
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๑/๔ ตัน ๑ ๒๑ 2 - 25 ๕๒๕ ๒๖๒ - 6 - 2 ๒๕๒ -
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๓/๔ ตัน 2 ๒๑ 0.8 - 25 ๕๒๕ ๑,๓๑๓ - 10 - 2 ๘๔๐ -
- รถยนต์บรรทุกน้า ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 1 ๒๑ - 0.8 25 ๕๒๕ - ๖๕๖ - 10 2 - ๔๒๐
- รถยนต์บรรทุกน้ามัน ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 1 ๒๑ - 0.8 25 ๕๒๕ - ๖๕๖ - 10 2 - ๔๒๐
- รถพ่วงบรรทุกสัมภาระ ขนาด ๑/๔ ตัน 2 ๒๑ - - - - - - - - - - -
- รถพ่วงบรรทุกสัมภาระ ขนาด 1 ๑/๒ ตัน ๒ ๒๑ - - - - - - - - - - -
- ส่วน ขศ.สมมุติ
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 2 ๒๑ - 0.8 25 ๕๒๕ - ๑,๓๑๓ - 10 2 - ๘๔๐
๒. ส่วนรับการฝึก
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๑/๔ ตัน ๑ ๒๑ 2 - 25 ๕๒๕ ๒๖๓ - 6 - 2 ๒๕๒ -
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน ๓ ๒๑ - 0.8 25 ๕๒๕ - ๑,๙๖๙ - 10 2 - ๑,๒๖0

หน้า๖๙
รวม สป.๓ (ระดับที่ ๑) 1,๘๓๘ 7,220 ๑,๓๔๔ ๖,5๑0
รวม สป.๓ (ระดับที่ ๑) ทั้งสิ้น 3,๑๘๒ ๑๓,๗๓0
จานวน เกณฑ์ความสิ้นเปลืองวิ่งในภูมิประเทศ เกณฑ์ความสิ้นเปลืองติดเครื่องอยู่กับที่

หน้า ๗๐
ความสิ้นเปลือง ความสิ้นเปลือง หมาย
ลาดับ ประเภทยานพาหนะ ระยะทาง รวมระยะทาง รวม สป.๓ (ลิตร) เวลาที่ใช้ รวม สป.๓ (ลิตร)
คัน วัน กม./ลิตร ลิตร/ชม. เหตุ
/วัน ตลอดการฝึก (ชม.)
เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล
ความต้องการ สป.๓ ระดับที่ ๒
๑. กอ.ฝึกและส่วนสนับสนุน
- รถยนต์กู้ซ่อม ขนาด 5 ตัน 1 ๒๑ - 0.4 2๐ ๔๒๐ - ๑,๐๕๐ - 65 ๑.๓๐ - ๑,๗๗๕
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 2 ๒๑ - 0.8 2๐ ๔๒๐ - ๑,๐๕๐ - 10 ๑.๓๐ - ๕๔๖
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๑/๔ ตัน ๑ ๒๑ 2 - 2๐ ๔๒๐ ๒๑๐ - 6 - ๑.๓๐ ๑๖๔ -
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๓/๔ ตัน 2 ๒๑ 0.8 - 2๐ ๔๒๐ ๑,๐๕๐ - 10 - ๑.๓๐ ๕๔๖ -
- รถยนต์บรรทุกน้า ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 1 ๒๑ - 0.8 2๐ ๔๒๐ - ๕๒๕ - 10 ๑.๓๐ - ๒๗๓
- รถยนต์บรรทุกน้ามัน ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 1 ๒๑ - 0.8 2๐ ๔๒๐ - ๕๒๕ - 10 ๑.๓๐ - ๒๗๓
- รถพ่วงบรรทุกสัมภาระ ขนาด ๑/๔ ตัน 2 ๒๑ - - - - - - - - - - -
- รถพ่วงบรรทุกสัมภาระ ขนาด 1 ๑/๒ ตัน ๒ ๒๑ - - - - - - - - - - -
- ส่วน ขศ.สมมุติ
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 2 ๒๑ - 0.8 2๐ ๔๒๐ - ๑,๐๕๐ - 10 ๑.๓๐ - ๕๔๖
๒. ส่วนรับการฝึก
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๑/๔ ตัน ๑ ๒๑ 2 - 2๐ ๔๒๐ ๒๑๐ - 6 - ๑.๓๐ ๑๖๔ -
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน ๓ ๒๑ - 0.8 2๐ ๔๒๐ - ๑,๕๗๕ - 10 ๑.๓๐ - ๘๑๙

บทที่ ๓
รวม สป.๓ (ระดับที่ ๒) 1,๔๗๐ ๕,๗๗๕ ๘๗๔ ๔,๒๓๒
รวม สป.๓ (ระดับที่ ๒) ทั้งสิ้น ๒,๓๔๔ ๑๐,๐0๗
ลฝ. ๗ - ๔๙
จานวน เกณฑ์ความสิ้นเปลืองวิ่งในภูมิประเทศ เกณฑ์ความสิ้นเปลืองติดเครื่องอยู่กับที่
ความสิ้นเปลือง ความสิ้นเปลือง หมาย
ลาดับ ประเภทยานพาหนะ ระยะทาง รวมระยะทาง รวม สป.๓ (ลิตร) เวลาที่ใช้ รวม สป.๓ (ลิตร)
คัน วัน กม./ลิตร ลิตร/ชม. เหตุ
/วัน ตลอดการฝึก (ชม.)
เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล เบนซิน ดีเซล
ความต้องการ สป.๓ ระดับที่ ๓
๑. กอ.ฝึกและส่วนสนับสนุน
- รถยนต์กู้ซ่อม ขนาด 5 ตัน 1 ๒๑ - 0.4 ๑๕ ๓๑๕ - ๗๘๘ - 65 ๑ - ๑,๓๖๕
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 2 ๒๑ - 0.8 ๑๕ ๓๑๕ - ๗๘๘ - 10 ๑ - ๔๒๐
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๑/๔ ตัน ๑ ๒๑ 2 - ๑๕ ๓๑๕ ๑๕๘ - 6 - ๑ ๑๒๖ -
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๓/๔ ตัน 2 ๒๑ 0.8 - ๑๕ ๓๑๕ ๗๘๘ - 10 - ๑ ๔๒๐ -
- รถยนต์บรรทุกน้า ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 1 ๒๑ - 0.8 ๑๕ ๓๑๕ - ๓๙๔ - 10 ๑ - ๒๑๐
- รถยนต์บรรทุกน้ามัน ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 1 ๒๑ - 0.8 ๑๕ ๓๑๕ - ๓๙๔ - 10 ๑ - ๒๑๐
- รถพ่วงบรรทุกสัมภาระ ขนาด ๑/๔ ตัน 2 ๒๑ - - - - - - - - - - -
- รถพ่วงบรรทุกสัมภาระ ขนาด 1 ๑/๒ ตัน ๒ ๒๑ - - - - - - - - - - -
- ส่วน ขศ.สมมุติ
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน 2 ๒๑ - 0.8 ๑๕ ๓๑๕ - ๗๘๘ - 10 ๑ - ๔๒๐
๒. ส่วนรับการฝึก
- รถยนต์บรรทุก ขนาด ๑/๔ ตัน ๑ ๒๑ 2 - ๑๕ ๓๑๕ ๑๕๘ - 6 - ๑ ๑๒๖ -
- รถยนต์บรรทุก ขนาด 2 ๑/๒ ตัน ๓ ๒๑ - 0.8 ๑๕ ๓๑๕ - ๑,๑๘๑ - 10 ๑ - ๖๓๐

รวม สป.๓ (ระดับที่ ๓) 1,๑๐๔ ๓,๕๓๓ ๖๗๒ ๓,๒๕๕

หน้า๗๑
รวม สป.๓ (ระดับที่ ๓) ทั้งสิ้น ๑,๗๗๖ ๖,๗๘๘
หมายเหตุ ๑. อ้างอิง คาสั่ง ทบ.ที่ ๕๔๔/๒๕๓๙ ลง ๒๑ ต.ค. ๓๙ เรื่อง ให้ใช้เกณฑ์ความสิน้ เปลืองและน้ามันอุปกรณ์สาหรับยานพาหนะและเครื่องมือกลสายสรรพาวุธใน

หน้า ๗๒
การใช้งานการซ่อมบารุงและการฝึกขับพลขับเบื้องต้น, คาสัง่ ทบ. ที่ ๒๕๖/๒๕๖๒ ลง ๑๒ ก.ค. ๖๒ เรื่องให้ใช้เกณฑ์ความสิน้ เปลืองน้ามันเชื้อเพลิงและน้ามันอุปกรณ์สาหรับ
ยานพาหนะและเครื่องมือกลสายสรรพาวุธในการใช้งานการซ่อมบารุงและการฝึกขับพลขับเบือ้ งต้น
๒. วิธีคานวณเกณฑ์ความสิ้นเปลือง สป.๓
๒.๑ เกณฑ์ความสิ้นเปลืองในภูมิประเทศ คิดได้ จานวนรถ X จานวนวัน X (ระยะทางต่อวัน /เกณฑ์ความสิ้นเปลือง กม./ลิตร)
๒.๒ เกณฑ์ความสิ้นเปลืองเมื่อติดเครื่องอยู่กับที่ คิดได้ จานวนรถ x จานวนวัน x จานวนชั่วโมงต่อวัน x เกณฑ์ความสิ้นเปลืองเมื่ออยู่กับที่ (ลิตร/ชม.)
๒.๓ สป.๓ ที่ตอ้ งการ = สป.๓ ในภูมิประเทศ ข้อ ๒.๑ + สป.๓ ติดเครืองอยู่กับที่ ข้อ ๒.๒

บทที่ ๓
ลฝ. ๗ – ๔๙ หน้า ๗๓

ตอนที่ ๒
ความต้องการสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๕
(สาย สพ., สาย วศ., สาย ส., สาย พ. และ เป้า)

การใช้กระสุนและวัตถุระเบิดสาหรับการฝึกตามหลักสูตรนี้ ให้ยึดแนวทางการปฏิบัติดังนี้
๑. การใช้กระสุนและวัตถุระเบิด ให้ยึดถืออัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่ได้รับอนุมัติตามเครดิตประจาปี
สาหรับการฝึกตามหลักสูตรของ ทบ. และคู่มือราชการสนามที่เกี่ยวข้อง
๒. เนื่องจากอาวุธยุทโธปกรณ์ในเหล่าทหารราบ มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ สาหรับชนิดอาวุธ ก็ดี
กระสุนวัตถุระเบิดก็ดี อาจจะไม่ตรงกับที่ได้ระบุไว้ ในอัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่กาหนดไว้นี้ ก็อนุโลมให้ใช้
ทดแทนกันได้
๓. กระสุนและวัตถุระเบิดชนิดใหม่ๆ ซึ่งมิได้กาหนดไว้ในอัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่กาหนด อนุโลม
ตามข้อ ๒. และตามที่ ทบ. กาหนด
๔. ให้ปฏิบัติตามคาสั่งของ ทบ. เรื่องการสนับสนุนประจาปี ของการฝึกปีนั้น ๆ
๕. ให้ถือเกณฑ์ความต้องการกระสุนและวัตถุระเบิด ในการฝึกและการตรวจสอบตามตอนที่ ๒ บทที่ ๓ นี้
เป็นเกณฑ์แต่ทั้งนี้จะต้องไม่เกินจากเครดิตกระสุนและวัตถุระเบิดประจาปีที่หน่วยได้รับ และให้พิจารณาในการใช้
ตามความเหมาะสม
๖. ตารางต่อไปนี้เป็นประมารการความต้องการ สป.๕ ที่คานวณในอัตราของส่วนรับการฝึก และส่วน กอ.
ฝึก โดยให้ยึดถือข้อ ๑ - ๕ ในการจัดทาประมาณการ สป.๕ ตามสายการบังคับบัญชาจนถึง ยศ.ทบ. เพื่อพิจารณา
ต่อไป
๗. ให้หน่วยรับผิดชอบในการฝึกและหน่วยสนับสนุนการฝึก ยึดถืออัตรากระสุน ซึ่งได้ระบุไว้ตามตารางการ
ใช้กระสุนที่กาหนดในตอนที่ ๒ บทที่ ๓ นี้ เป็นแนวทางในการเบิกจ่าย ดังนี้
ความต้องการสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๕

หน้า ๗๔
จานวน ทั้งหลักสูตร ราคา หมาย
ลาดับ รายการ หน่วยนับ จานวน ต่อ รวม เหตุ
ระดับที่ ๑ ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓ ระดับที่ ๑ ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓
หน่วย เงิน
สาย สพ.
๑. การฝึกขั้นที่ ๑
ก.ปล.5.56 มม.ธด. (M 855) ปลย. นัด/กระบอก ๓๔ กระบอก ๒๑๖ นัด ๑๘๓ นัด ๑๔๙ นัด ๗,๓๔๔ นัด ๖,๒๒๒ นัด ๕,๐๖๖ นัด
ก.ปล.5.56 มม.ธด. (M 855) ปลก. นัด/กระบอก ๖ กระบอก ๓๐ นัด ๒๐ นัด ๑๐ นัด ๑๘๐ นัด ๑๒๐ นัด ๖๐ นัด
ก.ปก. 7.62 มม. ธด.สาย นัด/กระบอก ๒ กระบอก ๓๐๐ นัด ๒๐๐ นัด ๑๐๐ นัด ๖๐๐ นัด ๔๐๐ นัด ๒๐๐ นัด
ลย.40 มม. นัด/กระบอก ๖ กระบอก ๔ นัด ๓ นัด ๒ นัด ๒๔ นัด ๑๘ นัด ๑๒ นัด
๒. การฝึกขั้นที่ ๒ และ ๓
ก.ปล.5.56 มม.ซร. ปลย. นัด/กระบอก ๓๔ กระบอก ๔๐๐ นัด ๒๐๐ นัด ๑๐๐ นัด ๑๓,๖๐๐ นัด ๖,๘๐๐ นัด ๓,๔๐๐ นัด
ก.ปล.5.56 มม.ซร. ปลก. นัด/กระบอก ๖ กระบอก ๖๐ นัด ๔๐ นัด ๒๐ นัด ๓๖๐ นัด ๒๔๐ นัด ๑๒๐ นัด
ก.ปก. 7.62 มม.ซร. นัด/กระบอก ๒ กระบอก ๖๐๐ นัด ๔๐๐ นัด ๒๐๐ นัด ๑,๒๐๐ นัด ๘๐๐ นัด ๔๐๐ นัด
ลย.40 มม.ซร. นัด/กระบอก ๖ กระบอก ๒๐ นัด ๑๐ นัด ๘ นัด ๑๒๐ นัด ๖๐ นัด ๔๘ นัด
ดินระเบิด ที.เอ็น.ที ๑/๒ ปอนด์ แท่ง ๑ หมวด - - - ๔๐ แท่ง ๒๐ แท่ง ๑๐ แท่ง
ดินระเบิด ที.เอ็น.ที ๑ ปอนด์ แท่ง ๑ หมวด - - - ๔๐ แท่ง ๒๐ แท่ง ๑๐ แท่ง
เชื้อปะทุไฟฟ้า ดอก ๑ หมวด - - - ๔๐ ดอก ๒๐ ดอก ๑๐ ดอก
เชื้อปะทุชนวน ดอก ๑ หมวด - - - ๒๐ ดอก ๑๐ ดอก ๕ ดอก

บทที่ ๓
จุกเกลียวเสียบเชื้อปะทุ ดอก ๑ หมวด - - - ๔๐ ดอก ๒๐ ดอก ๑๐ ดอก
ชนวนฝักแคเวลา ฟุต ๑ หมวด - - - ๔๐ ฟุต ๒๐ ฟุต ๑๐ ฟุต
จานวน ทั้งหลักสูตร ราคา

ลฝ. ๗ - ๔๙
หมาย
ลาดับ รายการ หน่วยนับ จานวน ต่อ รวม เหตุ
ระดับที่ ๑ ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓ ระดับที่ ๑ ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓
หน่วย เงิน
ชนวนฝักแคระเบิด ฟุต ๑ หมวด - - - ๔๐๐ ฟุต ๑๐๐ ฟุต ๕๐ ฟุต
เครื่องจุดระเบิดแบบดึง เอ็ม.๑ อัน ๑ หมวด - - - ๔๐ อัน ๑๐ อัน ๕ อัน
เครื่องจุดระเบิดแบบกด เอ็ม.๓ เอ.๑ อัน ๑ หมวด - - - ๔๐ อัน ๑๐ อัน ๕ อัน
เครื่องจุดระเบิดแบบเลิกดึง เอ็ม.๓ อัน ๑ หมวด - - - ๔๐ อัน ๑๐ อัน ๕ อัน
เครื่องจุดระเบิดแบบเลิกกด เอ็ม.๕ อัน ๑ หมวด - - - ๔๐ อัน ๑๐ อัน ๕ อัน
สาย วศ.
๑ ลข.88 แก๊ส ซี.เอช ลูก ๑ หมวด - - - ๕๐ ลูก ๔๐ ลูก ๓๐ ลูก
๒ ลข.88 ควันขาว ลูก ๑ หมวด - - - ๕๐ ลูก ๔๐ ลูก ๓๐ ลูก
๓ ลข.88 ควันเขียว ลูก ๑ หมวด - - - ๕๐ ลูก ๔๐ ลูก ๓๐ ลูก
๔ ลข.88 ควันสีเหลือง ลูก ๑ หมวด - - - ๕๐ ลูก ๔๐ ลูก ๓๐ ลูก
๕ ลข.88 ควันแดง ลูก ๑ หมวด - - - ๕๐ ลูก ๔๐ ลูก ๓๐ ลูก
๖ ลข.88 ควันสีม่วง ลูก ๑ หมวด - - - ๕๐ ลูก ๔๐ ลูก ๓๐ ลูก
๗ พลุสัญญาณพื้นดินช่อขาว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๘ พลุสัญญาณพื้นดินช่อเขียว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๙ พลุสัญญาณพื้นดินช่อแดง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๑๐ พลุสัญญาณพื้นดินร่มแดง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๑๑ พลุสัญญาณพื้นดินร่มขาว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ

หน้า ๗๕
๑๒ พลุสัญญาณพื้นดินร่มเขียว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๑๓ พลุสัญญาณพื้นดินร่มควันแดง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
จานวน ทั้งหลักสูตร ราคา

หน้า ๗๖
หมาย
ลาดับ รายการ หน่วยนับ จานวน ต่อ รวม เหตุ
ระดับที่ ๑ ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓ ระดับที่ ๑ ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓
หน่วย เงิน
๑๔ พลุสัญญาณพื้นดินร่มควันเขียว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๑๕ พลุสัญญาณพื้นดินควันขาว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๑๖ พลุสัญญาณพื้นดินควันเขียว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๑๗ พลุสัญญาณพื้นดินควันแดง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๑๘ พลุสัญญาณพื้นดินควันเหลือง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๑๙ พลุสัญญาณเครื่องบินดาวคู่แดง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
สว.เขียว
๒๐ พลุสัญญาณเครื่องบินดาวคูเ่ หลือง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๒๑ พลุสัญญาณเครื่องบินดาวคูเ่ ขียว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๒๒ พลุสัญญาณเครื่องบินดาวเดี่ยว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
เหลือง
๒๓ พลุสัญญาณเครื่องบินดาวเดี่ยวเขียว พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๒๔ พลุสัญญาณเครื่องบินดาวเดี่ยวแดง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
๒๕ พลุสัญญาณเครื่องบินดาวแดง พลุ ๑ หมวด - - - ๕๐ พลุ ๔๐ พลุ ๓๐ พลุ
คู่เขียว
๒๖ ระเบิดแสง - เสียง (แฟลตแบงค์) ลุก ๑ หมวด - - - ๑๐ ลูก ๘ ลูก ๕ ลูก
๒๗ พลุสดุด M 49 ลูก ๑ หมวด - - - ๑๐ ลูก ๘ ลูก ๕ ลูก

บทที่ ๓
ลฝ. ๗ – ๔๙ หน้า ๗๗

ตารางการฝึกยิงปืน
๑. การฝึกยิง ปลย. ในสนามยิงปืนทราบระยะประกอบเป้าหุ่น
๑.๑ ความมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้รับการฝึกมีความคุ้นเคยการยิงปืนในหลายๆ ระยะยิง ตลอดจนการใช้ ท่า
ยิงให้เหมาะสมกับภูมิประเทศและมีความคุ้นเคยต่อเป้าที่จะปรากฏในสนามรบ ซึ่งผู้รับการฝึกสามารถทราบ ผล
การยิงอย่างละเอียดในการยิงแต่ละระยะเพื่อนาไปพัฒนาการฝึกยิงปืนให้ได้ดี
๑.๒ การใช้
๑.๒.๑ ผู้รับการฝึกควรจะได้ผ่านการฝึกยิงปืนในสนาม ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) มาแล้ว โดยทา
การยิงต่อเป้าย่อส่วน
๑.๒.๒ ให้มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงปืนตามหลักสูตรนี้ด้วย เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการ
ยิงปืนของผู้รับการฝึกให้ดีขึ้นต่อไป
ตารางยิงที่ ๑ การฝึกยิงปืนในสนามยิงปืนทราบระยะประกอบเป้ารูปหุ่นครึ่งตัวและเป้ารูปหุ่นนอน
ระยะ เวลา/เป้า จานวนกระสุน (นัด)
ท่ายิง หมายเหตุ
(เมตร) (วินาที) ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
๑๐๐ ท่านอนยิงไม่มีเครื่อง ๖๐ ๑๐ ๘ ๕ - ยิงปรับปืนในระยะ
หนุนรอง ยิง ๓๐๐ ม. โดยใช้
๒๐๐ ท่านอนยิงไม่มีเครื่อง ๖๐ ๑๐ ๘ ๕ กระสุนยิงปรับ ๖ นัด
หนุนรอง ทาการยิง ๒ กลุ่มยิง
กลุ่มละ ๓ นัด
๓๐๐ ท่านอนยิงมีเครื่องหนุน ๖๐ ๒๐ ๑๖ ๑๐ - ใช้เป้ารูปหุ่นนอน
รอง และเป้ารูปหุ่นครึ่งตัว
รวม ๔๖ ๓๘ ๒๖

หมายเหตุ ก. ในกรณีที่หน่วยไม่มีสนามยิงปืนทราบระยะให้อนุโลมทาการฝึกยิงปืนในสนามยิงปืน ๒๕ เมตร


(๑,๐๐๐ นิ้ว) ของหน่วยได้ โดยทาการฝึกยิงปืนต่อเป้าย่อส่วน ตามหลักสูตรสารอง ในสนามยิงปืน ๒๕ เมตร (รส.
๒๓ - ๔)
ข. เป็นการฝึกยิงปืนตาม รส. ๒๓ - ๔ (ตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนสนามทราบระยะ) โดยทาการยิงต่อ
เป้าหุ่นครึ่งตัวในระยะ ๓๐๐, ๒๐๐ เมตร และเป้าหุ่นนอนในระยะ ๑๐๐ เมตร
ค. ให้แสดงเป้าครั้งละ ๑ เป้า ต่อ ๑ ช่องยิง นาน ๖๐ วินาที
ง. การให้คะแนน เมื่อผู้ยิง ยิงถูกเป้า ๑ นัด ให้คะแนน ๑ คะแนน
จ. การบันทึกผลการฝึกยิงปืนในหลักสูตรนี้ให้ใช้แบบฟอร์มบันทึกผลคะแนนตาม รส.๒๓ - ๙
ฉ. เกณฑ์การจัดชั้นคุณวุฒิ มีดังนี้ –
หน้า ๗๘ บทที่ ๓

รอยกระสุนถูก คุณวุฒิ

จานวนกระสุน ผู้เชี่ยวชาญ พลแม่นปืน ยิงปืนดี ไม่ได้ผล

๑. เต็มอัตรา ๓๘ - ๔๐ นัด ๓๓ – ๓๗ นัด ๒๖ - ๓๒ นัด ๒๕ นัด


หรือน้อยกว่า
๒. ลดกระสุนระดับ ๑ ๓๐ - ๓๒ นัด ๒๗ - ๓๑ นัด ๑๘ - ๓๐ นัด ๑๗ นัด
หรือน้อยกว่า
๓. ลดกระสุนระดับ ๒ ๑๘ - ๒๐ นัด ๑๖ - ๑๙ นัด ๑๒ - ๑๕ นัด ๑๑ นัด
หรือน้อยกว่า

๒. การฝึกยิงปืนทานองรบเมื่ออยู่กับที่ (ตามสถานการณ์เชิงรับ)
๒.๑ ความมุ่งหมาย : เพื่อให้ผู้รับการฝึกเกิดความชานาญในการใช้อาวุธประจากายทาการยิงต่อ
เป้าหมาย ที่เกิดขึ้นโดยทันทีทันใด สามารถทาการยิงต่อเป้าหมายในจังหวะการยิงเร็วต่อเป้าหมายที่ปรากฎหลายๆ
เป้าหมายต่อเนื่องกัน ตลอดจนเป็นการฝึกการตรวจการณ์ในเขตการยิงของตนและสามารถกะระยะเป้าหมาย ได้
ถูกต้อง
๒.๒ การใช้
๒.๒.๑ ก่อนทาการยิงด้วยกระสุนจริง ควรให้ผู้รับการฝึกได้ทาการฝึกการยิงและการลั่นไก อย่าง
ต่อเนื่ องเสี ย ก่อน และฝึ กการตรวจการณ์กะระยะเป้าหมายที่เกิดขึ้นให้ เคยชิน เพื่อให้ ส ามารถทาการยิง ต่อ
เป้าหมายหุ่นล้มลุกอัตโนมัติได้ทันตามกาหนดเวลา
๒.๒.๒ ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึ กยิงปืนตามหลักสูตรนี้ แต่อาจจะวัดผลการยิงได้ตาม
หลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในหมายเหตุท้ายตารางยิงนี้
ตารางยิงที่ ๒ การฝึกยิงปืนทานองรบเมื่ออยู่กับที่ (ตามสถานการณ์เชิงรับ) ในสนาม
ยิงปืนทราบระยะ
เวลา/
ระยะ จานวนกระสุน (นัด)
ท่ายิง เป้า หมายเหตุ
(เมตร)
(วินาที) ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
๗๕ ท่ายิงจากหลุมบุคคล ๕ - ๗ ๑๐ ๘ ๕ - ใช้เป้ารูปหุ่นนอน
มีเครื่อง หนุนรอง อัตโนมัติ
๑๗๕ ท่านอนยิงมีเครื่อง ๕-๗ ๑๐ ๘ ๕ - ใช้เป้ารูปหุ่นครึ่งตัว
หนุนรอง อัตโนมัติ
๓๐๐ - ท่ายิงจากหลุม ๕–๗ ๑๐ ๘ ๕ - ใช้เป้ารูปหุ่นครึ่งตัว
บุคคลมีเครื่อง หนุน อัตโนมัติ
รอง - ยิงปรับปืนในระยะ
- ท่านอนยิงมีเครื่อง ๕-๗ ๑๐ ๘ ๕ ๓๐๐ ม.ใช้กระสุนยิง
หนุนรอง ปรับ ๖ นัด ทาการยิง ๒
กลุ่มยิง กลุ่มละ ๓ นัด
ลฝ. ๗ – ๔๙ หน้า ๗๙

เวลา/
ระยะ จานวนกระสุน (นัด)
ท่ายิง เป้า หมายเหตุ
(เมตร)
(วินาที) ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
รวม ๔๖ ๓๘ ๒๖

หมายเหตุ ก. เป็นการฝึกยิงปืนตาม รส.๒๓ - ๔ (ตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนต่อเป้าหุ่นอัตโนมัติใน สนามยิงปืน


ทราบระยะ) โดยทาการยิงต่อเป้ารูปหุ่นครึ่งตัวและเป้ารูปหุ่นนอนล้มลุกอัตโนมัติ
ข. ให้ ใช้รู ป แบบสนามฝึ กยิ งปืนทราบระยะประกอบเป้าหุ่ นอัตโนมัติใน ตอนที่ ๖ การยิงเป้าหุ่ น
อัตโนมัติในสนามยิงปืนทราบระยะตาม รส.๒๓ - ๔
ค. ผู้รับการฝึกทาการยิงครั้งละ ๑ เป้า ด้วยกระสุนที่กาหนดให้ โดยทาการยิงในจังหวะการยิงเร็ว
ต่อเนื่อง ใช้เวลาในการยิง ๕ - ๗ วินาทีต่อเป้า
ง. ให้แสดงเป้าครั้งละ ๑ เป้า ต่อ ๑ ช่องยิง นาน ๔ - ๗ วินาที
จ. การบันทึกผลการฝึกยิงปืนในหลักสูตรนี้ให้ใช้แบบฟอร์มบันทึกผลคะแนนตาม รส.๒๓ - ๙
ฉ. เกณฑ์การวัดผลการยิง มีดังนี้ –

รอยกระสุนถูก เกณฑ์การวัดผล

จานวนกระสุน ดีมาก ดี พอใช้ ไม่ได้ผล

๑. เต็มอัตรา ๒๘ - ๔๐ นัด ๒๔ - ๒๗ นัด ๑๗ - ๒๓ นัด ๑๖ นัด หรือน้อยกว่า

๒. ลดกระสุนระดับ ๑ ๒๒ - ๓๒ นัด ๑๙ - ๒๓ นัด ๑๓ - ๑๘ นัด ๑๒ นัด หรือน้อยกว่า


๓. ลดกระสุนระดับ ๒ ๑๔ - ๒๐ นัด ๑๒ - ๑๓ นัด ๘ - ๑๑ นัด ๗ นัด หรือน้อยกว่า

๓. การฝึกยิงปืนทานองรบเมื่อเคลื่อนที่ (ตามสถานการณ์เชิงรุก)
๓.๑ ความมุ่งหมาย : เพื่อให้ผู้รับการฝึกเกิดความชานาญในการใช้อาวุธประจากายทาการยิงต่อ
เป้าหมาย ที่เกิดขึ้นโดยทันทีทันใดและสามารถเคลื่อนที่ไปเข้าที่กาบังข้างหน้า สามารถทาการยิงต่อเป้าหมายได้
อย่าง แม่นยาโดยฉับพลัน
๓.๒ การใช้
๓.๒.๑ ก่อนทาการยิงด้วยกระสุนจริง ควรให้ผู้รับการฝึกได้ทาการฝึกการเล็งและการลั่นไก
เสียก่อน และฝึกการตรวจการณ์ การกะระยะและการเคลื่อนที่ตามลักษณะภูมิประเทศไปเข้าที่กาบังอย่างรวดเร็ว
เพื่อให้สามารถทาการยิงต่อเป้าหมายหุ่นล้มลุกอัตโนมัติได้ทันตามกาหนดเวลา
๓.๒.๒ ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงปืนตามหลักสูตรนี้ แต่อาจจะวัดผลการยิงได้ตาม
หลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในหมายเหตุท้ายตารางยิงนี้
หน้า ๘๐ บทที่ ๓

ตารางยิงที่ ๓ การฝึกยิงปืนทานองรบเมื่อเคลื่อนที่ (ตามสถานการณ์เชิงรุก)


ในสนามยิงปืนตามสถานการณ์
จานวนกระสุน
หมายเหตุ
ระยะ เวลา/เป้า (นัด)
ท่ายิง
(เมตร) (วินาที) ระดับ ระดับ ระดับ
๑ ๒ ๓
๑๐๐ จากจุดเริ่มต้น ใช้ท่านอนยิงมี ๕ - ๗ ๘ ๖ ๕ - ใช้เป้ารูปหุ่นนอน
เครื่องหนุนรอง ล้มลุกอัตโนมัติ
๑๐๐ จากแนววางตัวที่ ๑ ระยะ ๕-๗ ๘ ๖ ๕ - ยิงปรับปืนใน
๕๐ เมตร ใช้ท่านอนยิงไม่มี ระยะ ๑๐๐ ม.ใช้
เครื่องหนุนรอง กระสุนยิง
๒๐๐ จากแนววางตัวที่ ๒ ระยะ ๘ - ๑๐ ๑๒ ๑๐ ๘ ปรับ ๖ นัด ทาการ
๑๐๐ เมตร ใช้ท่านอนยิง ยิง ๒ กลุ่มยิง กลุ่ม
ไม่มีเครื่องหนุนรอง ละ ๓ นัด
๓๐๐ จากแนววางตัวที่ ๓ ระยะ ๘ – ๑๐ ๑๒ ๑๐ ๘
๑๕๐ เมตร ใช้ท่านอนยิง
มีเครื่องหนุนรอง
รวม ๔๖ ๓๘ ๓๒

หมายเหตุ ก. เป็นการฝึกยิงปืนตาม รส.๒๓ - ๔ (ตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนต่อเป้าหุ่นอัตโนมัติใน สนามยิงปืน


ตามสถานการณ์) ประกอบกับคู่มือการฝึก ว่าด้วย การยิงปืนตามสถานการณ์ พ.ศ. ๒๕๒๗
ข. ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงปืนตามหลักสูตรนี้ แต่อาจจะวัดผลการยิงได้ตาม หลักเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ในหมายเหตุท้ายตารางยิ่งนี้
ค. ผู้รับการฝึกจะทาการยิงในแต่ละแนววางตัว แล้วเคลื่อนที่ด้วยความรวดเร็วไปเข้าที่วางตัว ในแนว
ใหม่ตามระยะที่กาหนดในตารางยิ่ง โดยทาการยิงต่อเป้าหุ่นอัตโนมัติที่ปรากฏในจังหวะการยิงเร็ว ต่อเนื่องดังนี้
(๑) จากจุดเริ่มต้นทาการยิง ด้วยกระสุนที่กาหนดให้ ในเวลา ๗ วินาที ต่อเป้าล้ม-ลุก รูปหุ่นนอน
อัตโนมัติ ในระยะ ๑๐๐ เมตร เมื่อยิงจบให้ผู้เข้ารับการฝึกเคลื่อนที่ไปเข้าที่วางตัวที่แนว ๕๐ เมตร
(๒) จากแนววางตัวระยะ ๕๐ เมตร ทาการยิงด้วยกระสุนที่กาหนดให้ ในเวลา ๗ วินาที ต่อ
เป้าล้มลุก รูปหุ่นนอนอัตโนมัติในระยะ ๑๐๐ เมตร เมื่อยิงจบให้ผู้รับการฝึกเคลื่อนที่ไปเข้าที่วางตัวที่แนว ๑๐๐
เมตร
(๓) จากแนววางตัวระยะ ๑๐๐ เมตร ทาการยิงด้วยกระสุนที่กาหนดให้ ในเวลา ๑๐ วินาที ต่อ
เป้าล้ม-ลูก รูปหุ่นครึ่งตัวอัตโนมัติในระยะ ๒๐๐ เมตร เมื่อยิงจบให้ผู้เข้ารับการฝึกเคลื่อนที่ไปเข้าที่วางตัวที่แนว
๑๕๐ เมตร
(๔) จากแนววางตัวระยะ ๑๕๐ เมตร ทาการยิงด้วยกระสุนที่กาหนดให้ ในเวลา ๑๐ วินาที ต่อ
เป้า ล้ม-ลุกรูปหุ่นครึ่งตัวอัตโนมัติในระยะ ๓๐๐ เมตร เมื่อยิ่งจบให้ผู้เข้ารับการฝึกตรวจอาวุธ , ตรวจเป้า และ
ปฏิบัติ ตามคาสั่งของนายทหารกากับการยิง
ง. ให้แสดงเป้าครั้งละ ๑ เป้าต่อ ๑ ช่องยิง โดยใช้เวลาแสดงเป้าตามที่กาหนดไว้ในตารางยิง
จ. การบันทึกผลการฝึกยิงปืนในหลักสูตรนี้ให้ใช้แบบฟอร์มบันทึกผลคะแนนตาม รส.๒๓ - ๙
ลฝ. ๗ – ๔๙ หน้า ๘๑

ฉ. เกณฑ์การวัดผลการยิง มีดังนี้ –

รอยกระสุนถูก เกณฑ์การวัดผล

จานวนกระสุน ดีมาก ดี พอใช้ ไม่ได้ผล

๑. เต็มอัตรา ๒๘ - ๔๐ นัด ๒๔ - ๒๗ นัด ๑๗ - ๒๓ นัด ๑๖ นัด


หรือน้อยกว่า
๒. ลดกระสุนระดับ ๑ ๒๒ - ๓๒ นัด ๑๙ - ๒๓ นัด ๑๓ - ๑๘ นัด ๑๒ นัด
หรือน้อยกว่า
๓. ลดกระสุนระดับ ๒ ๑๔ - ๒๐ นัด ๑๒ - ๑๓ นัด ๘ - ๑๑ นัด ๗ นัด
หรือน้อยกว่า

๔. การฝึกยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่บัดดี้ , เป็นชุดยิง และเป็นหมู่ปืนเล็ก ในสนามยิงปืนตาม


สถานการณ์
๔.๑ ความมุ่งหมาย : เพื่อให้ผู้รับการฝึกมีความชานาญในการใช้อาวุธประจากายยิงต่อเป้าหมายที่
ปรากฏขึ้นตามสถานการณ์ได้อย่างฉับพลันและแม่นยา สามารถยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ ดาเนินกลยุทธ์ ยิ่ง
คุ้มครองซึ่งกันและกันภายในหมู่ปืนเล็กได้อย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ ตลอดจนรู้จักการใช้ที่กาบังตาม ลักษณะ
ภูมิประเทศในสนามรบเพื่อป้องกันตนได้อย่างเหมาะสม
๔.๒ การใช้
๔.๒.๑ การยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ มีการฝึก ๓ ขั้น ดังนี้
(ก) การยิงปืนเป็นคู่บัดดี้ (๒ นาย)
(ข) การยิงปืน เป็นชุดยิง (๖ นาย)
(ค) การยิงปืนเป็นหมู่ปืนเล็ก (๘ นาย)
๔.๒.๒ ก่อนทาการฝึกยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ ควรให้ผู้รับการฝึกได้ทาการฝึกในเรื่อง บุคคล
ทาการรบและการฝึกยิงปืนในสนามยิงปืน ๒๕ เมตร (๑,๐๐ นิ้ว) มาแล้วเป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้รับการฝึกรู้ถึง เทคนิค
การยิงและการดาเนินกลยุทธ์ในสนามรบขั้นต้นมาก่อน
๔.๒.๓ การประเมิ น ผลการฝึ ก การยิ ง ปื น ประกอบการเคลื่ อ นที่ ใ นหลั ก สู ต รนี้ ให้ ท าการ
ประเมินผล โดยใช้เกณฑ์ “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน” ตามมาตรฐานการฝึกที่กาหนดไว้ในคู่มือการฝึกที่กาหนดเท่านั้น
หน้า ๘๒ บทที่ ๓

ตารางยิงที่ ๔ การฝึกยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่บัดดี้, เป็นชุดยิงและเป็นหมู่ปืนเล็ก


ในสนามฝึกยิงปืน ตามสถานการณ์
ระยะ เวลา/เป้า จานวนกระสุน
ท่ายิง หมายเหตุ
(เมตร) (วินาที) (นัด)
๑๕ ท่านอนยิงไม่มีเครื่องหนุนรอง ๓ - ๕ หมายเลขคี่ ๓ นัด - ทาการยิงต่อเป้าล้มลุก
หมายเลขคู่ ๖ นัด อัตโนมัติ
๒๕ ท่านอนยิง หรือ ท่านั่งคุกเข่า ๕ - ๗ หมายเลขคี่ ๗ นัด - กระสุนถูกเป้า ๑ นัด นับ
ในที่กาบัง หมายเลขคู่ ๔ นัด ๑ คะแนน
๓๐ ท่านอนยิงไม่มีเครื่องหนุนรอง ๘ - ๑๐ หมายเลขคี่ ๓ นัด
หมายเลขคู่ ๓ นัด
รวม ๑๓ นัด/นาย

หมายเหตุ ก. เป็นการฝึกยิงปืนทางยุทธวิธี ประกอบการเคลื่อนที่ตามคู่มือการฝึกพัฒนาขีดความสามารถการยิง


ปืนเป็นบุคคลและหน่วยทหารขนาดเล็กของ ทบ. พ.ศ. ๒๕๕๐
ข. การจัดทารูปแบบสนามให้หน่วยดาเนินการจัดทาตามคู่มือการฝึก (ที่กล่าวถึงในข้อ ก. โดยใช้เป้า
ล้มลุกอัตโนมัติ (เป้ารูปหุ่นครึ่งตัวและรูปหุ่นนอน) ใช้ในการทดสอบประเมินผลการยิงปืนในหลักสูตรนี้
ค. ให้แสดงเป้าครั้งละ ๑ เป้าต่อ ๑ ช่องยิง นาน ๓ - ๕ วินาที
ง. การปฏิบัติของผู้รับการฝึก ให้ปฏิบัติตามคู่มือการฝึกพัฒนาขีดความสามารถการยิงปืน เป็นบุคคล
และเป็นหน่วยทหารขนาดเล็กของ ทบ. พ.ศ. ๒๕๕๐ (คาสั่ง ทบ.ที่ ๔๒๕/๒๕๕๐ ลง ๖ ธ.ค.๕๐)
จ. การประเมินผลการฝึกในภาพรวมให้ประเมินผลโดยใช้เกณฑ์ “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน
ฉ. เกณฑ์การวัดผลการยิง (โดยอนุโลม) ดังนี้
เกณฑ์การวัดผล (คะแนน)
รายการปฏิบัติ หมายเหตุ
ดีมาก ดี พอใช้ ไม่ได้ผล
๑. การยิ ง ปื น เป็ น คู่ ๒๐ - ๒๖ ๑๖ - ๑๙ ๑๒ - ๑๕ ๑๑ หรือ ยิงกระสุนถูกเป้า ๑ นัด
บัดดี้ ต่ากว่า นับ ๑ คะแนน
๒. การยิงปืนเป็นชุด ๖๐ - ๗๘ ๔๖ - ๕๙ ๓๖ - ๔๕ ๓๕ หรือ
ยิง ต่ากว่า
๓. การยิงปืนเป็นหมู่ ๑๐๐ - ๗๖ - ๙๙ ๖๐ - ๗๕ ๕๙ หรือ
ปืนเล็ก ๑๓๐ ต่ากว่า

ช. ให้นาผลการยิงไปพิจารณาร่วมกับการปฏิบัติตามขั้นตอน อื่น ๆ ที่ผู้ฝึกต้องการประเมินผลการ


ปฏิบัติ แล้วจึงกาหนดเป็นเกณฑ์ “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน”
๕. การฝึกยิงปืนในเวลากลางคืน
๕.๑ ความมุ่งหมาย : เพื่อให้ผู้รับการฝึกเกิดความคุ้นเคยในการใช้อาวุธประจากายทาการยิงต่อ
เป้าหมาย ที่เกิดขึ้นโดยทันทีในเวลากลางคืน โดยไม่มีอุปกรณ์ช่วยให้แสงสว่าง และสามารถทาการยิงต่อเป้าหมาย
ได้ อย่างแม่นยา
๕.๒ การใช้
ลฝ. ๗ – ๔๙ หน้า ๘๓

๕.๒.๑ ก่อนที่จะทาการฝึกยิงปืนในเวลากลางคืน ต้องให้ ผู้ รับการฝึ กทาการปรับสายตาให้


คุ้นเคยกับความมืดประมาณ ๓๐ นาที
๕.๒.๒ ไม่มีการจัดขั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงปืนตามหลักสูตรนี้ แต่อาจจะต้องวัดผลการยิงได้ตาม
หลัก เกณฑ์ที่กาหนดไว้ในหมายเหตุท้ายตารางยิงนี้
ตารางยิงที่ ๕ การฝึกยิงปืนในเวลากลางคืน
จานวนกระสุน
ระยะ เวลา/เป้า
ท่ายิง (นัด) หมายเหตุ
(เมตร) (วินาที)
ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
๒๕ ท่านอนยิงไม่มีเครื่องหนุน ๑๕ - ๒๐ ๗ ๔ ๓ - ใช้เป้ารูปหุ่นล้มลุก
รอง นอนอัตโนมัติ
๕๐ ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง ๑๕ - ๒๐ ๘ ๕ ๔ - ใช้เป้ารูปหุ่นนั่ง
ล้มลุกอัตโนมัติ
๕๐ ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง ไม่จากัด ๙ ๙ ๙ - ยิงปรับปืนด้วย
(ทาการยิงปรับปืน) เวลา กระสุน ๓ กลุ่ม กลุ่ม
ละ ๓ นัด
รวม ๒๔ ๑๘ ๑๖

หมายเหตุ ก. เป็นการฝึกยิงปืนในเวลากลางคืนตาม รส.๒๓ - ๔ ประกอบเป้าหุ่น ล้มลุก อัตโนมัติ เป็นการฝึกยิง


ปืนเพื่อให้ทหารเกิดความคุ้นเคยในการฝึกยิงปืนในเวลากลางคืนตามสถานการณ์ที่กาหนดเท่านั้น โดยไม่มีการจัด
ขั้นคุณวุฒิ แต่สามารถใช้เกณฑ์การประเมินผล “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน”
ข. เกณฑ์การประเมินผล “ผ่าน” จะต้องยิงถูกเป้าทั้ง ๒ แนวยิง รวมกันไม่ต่ากว่า ๗ นัด
ค. เกณฑ์การประเมินผล “ไม่ผ่าน” เป็นการยิงถูกเป้าทั้ง ๒ แนวยิง รวมกันต่ากว่า ๗ นัดลงมา
หน้า ๘๔ บทที่ ๓

ตอนที่ ๓
ความต้องการ สป.สิ้นเปลือง
(การฝึกและธุรการ)

๑. เพื่อให้ การฝึกเป็ น หน่ วย หมู่ ตอน หมวด ของเหล่าทหารราบ (๗ สั ปดาห์ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ หน่ว ย
สามารถประมาณการงบประมาณในการเบิกเครื่องช่วยฝึกสิ้นเปลืองได้ในอัตรา ๒,๐๐๐ บาท/หมวด ที่ทาการออก
ฝึก
๒. ภาพยนตร์ฝึก ภาพฉายนิ่ง และภาพฉายเลื่อน มีคุณค่ามากที่จะช่วยให้การฝึกสอนบังเกิดผล ควร
นามาใช้และพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับเรื่องที่จะทาการฝึกสอน
๓. แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึกต่าง ๆ อาจปรับให้เข้ากับความมุ่งหมายของการฝึก แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึกที่
ทบ. กาหนดขึ้น มีจานวนมากและเหมาะสมแก่วิธีสอนแต่ละวิธีบางอย่างเหมาะสมกับการสอนเชิงประชุมบางอย่าง
เหมาะสมกับการแสดงตัวอย่าง บางอย่างเหมาะสมกับการตั้ งไว้ดู เพื่อความมุ่งหมายเพื่อทบทวนความจาและฝึก
ตนเอง
๔. ในการฝึกมิได้บังคับว่าจะต้องใช้เฉพาะเครื่องช่วยฝึกของ ทบ. ที่กาหนดขึ้นเท่านั้น ผู้ฝึกอาจมีการ
ริเริ่มคิดค้นหรือจัดทาขึ้นใหม่เพื่อให้เหมาะสม
๕. การฝึกสอนจะได้ผลดีเป็นอย่างยิ่ง ถ้าผู้ฝึกสอน มีการเตรีย มการเครื่องช่วยฝึก และทาความเข้าใจ
เครื่องช่วยฝึก ที่จะนามาใช้ก่อนถึงเวลาสอนจริง
๖. หากมีผู้ ใดคิดค้นเครื่ องช่วยฝึกชนิดใหม่ๆ ขึ้นมา ซึ่งได้ทดลองใช้แล้ ว เป็นผลดีต่อการฝึกสอน ให้
รายงานให้ ทบ. ทราบ และขออนุมัติใช้เครื่องช่วยฝึกนั้น ๆ เพื่อเป็นหลักฐาน และ ทบ. จะได้พิจารณากาหนดไว้ใช้
เป็นเครื่องช่วยฝึกของ ทบ. ต่อไป
ลฝ. ๗ – ๔๙ หน้า ๘๕

ความต้องการสิ่งอุปกรณ์สิ้นเปลือง

ราคา
ลาดั หน่วย จานว หน่วยละ จานวนเงิน หมาย
รายการ
บ นับ น ส.ต เหตุ
( บาท )
บาท .
1 กระดาษถ่ายเอกสารขนาด เอ 4 สั้น รีม 6 135 810 -
80 แกรม
2 กระดาษถ่ายเอกสารขนาด เอฟ 14 รีม 2 145 290 -
ยาว 80 แกรม
3 สมุดปกแข็ง เบอร์ 3 เล่ม 3 35 105 -
4 ปากกาลูกลื่น (คละสี น้าเงิน,แดง,ดา) โหล 2 60 120 -
5 ปากกาเขียนไวท์บอร์ด แท่ง 2 20 40 -
6 ปากกาหมึกเคมี (คละสี น้าเงิน, แท่ง 2 20 40 -
แดง, ดา)
7 ปากกาลบคาผิด ด้าม 3 45 135 -
8 กาวแท่ง แท่ง 2 45 90 -
9 เหล็กหนีบกระดาษชนิดหูลวด กล่อง 2 25 50 -
10 ลวดเสียบกระดาษ กล่อง 5 10 50 -
11 ลวดเย็บกระดาษ เบอร์ 10 กล่อง 2 10 20 -
12 แฟ้มเสนอหนังสือ แฟ้ม 2 110 220 -
13 แผ่นอะซิเตท เมตร 2 15 30 -
รวมเป็นเงิน 2,000 -

You might also like