You are on page 1of 32

แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test

คำนำ

แนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถของกาลังพลกองทัพบก โดยประยุ กต์ใช้การทดสอบร่างกาย


ในรูปแบบใหม่ของกองทัพ บกสหรัฐ (US Army Army Combat Fitness Test) ฉบับนี้ จัดทาขึ้นตามดาริของ
ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้
กาลังพลของกองทัพบก โดยเฉพาะหน่วยกาลังรบ ได้เห็นความสาคัญของการพัฒนาสมรรถภาพร่ างกายให้แข็งแรง
เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการฝึ ก และการปฏิ บั ติ ก ารรบให้ บ รรลุ ต ามเจตนารมณ์ ข องผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา โดยเฉพาะ
สภาพแวดล้อมและสนามรบในยุคปัจจุบัน ตลอดจนวัฒนธรรมของการออกกาลังกายที่เปลี่ยนแปลงไป แนวทางนี้สามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ทั้งการทดสอบเพื่อพัฒนาสมรรถภาพร่างกาย และการทดสอบเพื่อการแข่งขัน อย่างไรก็ตามหากมี
ข้อผิดพลาดประการใด หรือข้อมูล ขาดหายไปบางส่วน กรุณาให้คาแนะนาเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายยุทธการ กรมรบพิเศษที่ ๑
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๓๖ – ๔๑๑๐๕๓ จะขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง

จัดทาโดย
กรมรบพิเศษที่ ๑
ธันวาคม ๒๕๖๒

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test

สารบัญ

รายการ หน้า

ส่วนที่ ๑ : การทดสอบรูปแบบใหม่ ๖ ท่า


- สถานีที่ ๑ ท่างอเข่าครึ่งนั่ง ยกบาร์น้าหนักขึ้น ๓ ครั้ง โดยต่อเนื่อง ๑ - ๒
หรือท่า Maximum Deadlift
- สถานีที่ ๒ ท่าย่อตัว / ทุ่มน้้าหนักขนาด ๑๐ ปอนด์ ข้ามศีรษะไปด้านหลัง ๓ - ๔
หรือท่า Standing Power Throw
- สถานีที่ ๓ ท่าดันพื้นละมือแล้วกางแขน หรือท่า Hand Relase Push-up ๕ - ๖
- สถานีที่ ๔ ท่าวิ่ง ไป-กลับ พร้อมลากและยกสิ่งของ ในระยะทางทั้งหมด ๒๕๐ เมตร ๗ - ๙
หรือท่า Sprint, Drag, Carry
- สถานีที่ ๕ ท่าดึงข้อแบบ ยกเข่าแตะศอก หรือ ท่า Leg Tuck ๑๐ - ๑๑
- สถานีที่ ๖ วิ่งระยะทาง ๒ ไมล์ หรือ ท่า ๒ Mile Run ๑๒ - ๑๓

ส่วนที่ ๒ : ตารางเกณฑ์วัดผลการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ ๑๔ - ๑๖
ส่วนที่ ๓ : อุปกรณ์สา้ หรับการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ ๑๗ - ๑๙
ส่วนที่ ๔ : แนวทางการทดสอบเพื่อการพัฒนาสมรรถภาพร่างกาย ๒๐
ส่วนที่ ๕ : แนวทางการทดสอบเพื่อการแข่งขัน ๒๑

ใบแนบ
- ใบแนบ ๑ : ภาพกราฟิกในการปฏิบัติของแต่ละท่าทดสอบ ประกอบ ส่วนที่ ๑ ๒๓ - ๒๗
- ใบแนบ ๒ : ตารางคะแนนทดสอบ ACFT กองทัพบกสหรัฐฯ ประกอบ ส่วนที่ ๕ ๒๘

--------------------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑

ส่วนที่ ๑ : การทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ ๖ ท่า

๑. สถานีที่ ๑ : ท่างอเข่าครึ่งนั่ง ยกบาร์น้าหนักขึ้น ๓ ครั้ง โดยต่อเนื่อง หรือท่า Maximum Deadlift


๑.๑ วัตถุประสงค์ : เพื่อทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลัง สะโพกและกล้ามเนื้อขา ในการยกและเคลื่อนย้าย
สิ่งของ / อาวุธยุทโธปกรณ์ / หรือบุคคลที่มีน้าหนัก ตลอดจนการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ ออกจากสนามรบได้อย่าง
ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

ภาพประกอบแสดงการเสริมสร้างกล้ามเนื้อเพื่อใช้งานในท่าทดสอบ Maximum Deadlift

๑.๒ การทดสอบ
๑.๒.๑ ท่ า ที่ ๑ : เริ่ ม ต้น ผู้ เข้ ารั บการทดสอบยื น ข้า งในบาร์ ย กน้้ าหนั ก เมื่ อพร้ อ มให้ ท้ าการย่ อตั ว ลงไป
ในลักษณะงอเข่าครึ่งนั่ง มือจับก้ารอบที่ราวจับ ล็อคล้าตัว และแผ่นหลังให้ตรง ส้นเท้าติดพื้น เงยคาง ตามองตรงไป
ข้างหน้า

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒

๑.2.2 ท่าที่ ๒ : ผู้เข้ารับการทดสอบ ล็อคแผ่นหลังใช้พลังกล้ามเนื้อจากสะโพกและขาท่อนบน ท้าการยกบาร์


น้้าหนัก ให้พ้นจากพื้นขึ้นมาอยู่ในท่ายืนตรง และหยุดนิ่งชั่วขณะ ล้าตัวและหลังต้องตัง้ ตรงตลอด

๑.2.3 ท่าที่ ๓ : ผู้เข้ารับการทดสอบท้าการย่อเข่า และลดสะโพกลง แล้ววางบาร์น้าหนัก ลงกลับไปอยู่ในท่า


เริ่มต้น ก่อนเริ่มใหม่อีกครั้ง โดยท้าซ้้ากันจนครบจ้านวน ๓ ครั้ง ต่อเนื่อง ด้วยน้้าหนักมากที่สุดที่สามารถยกขึ้นได้

ข้อเน้นย้า : ลาตัวและล็อคแผ่นหลังให้ตรง ปฏิบัตทิ ั้งสามครั้งโดยต่อเนื่อง ไม่ละมือออกจากบาร์จับ และต้องไม่ทิ้ง


น้าหนักลงให้กระดอนช่วยในการยกทั้ง ๓ ครั้ง

----------------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๓

๒. สถานีที่ ๒ : ท่าย่อตัว / ทุ่มน้าหนักขนาด ๑๐ ปอนด์ ข้ามศีรษะไปด้านหลัง หรือท่า Standing Power Throw


๒.๑ วัตถุประสงค์ : เพื่อวัดระดับกาลังของกล้ามเนื้อส่วนบน หัวไหล่ สะโพก และกล้ามเนื้อขา ในการยก / ทุ่ม /
ขว้าง / หรือเคลื่อนย้ายส่งผ่าน สิ่งของ / กาลังพล / อาวุธยุทโธปกรณ์ข้ามเครื่องกีดขวาง หรือบุคคลทาการรบ

ภาพประกอบแสดงการเสริมสร้างกล้ามเนื้อเพื่อใช้งานในท่าทดสอบ Standing Power Throw

๒.๒ การทดสอบ
๒.๒.๑ ท่าที่ ๑ : ท่าเริ่มต้นผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนส้นเท้าอยู่ที่เส้นตรงที่กาหนด หันหลังไปยังทิศทางที่จะขว้าง
มือทั้ง ๒ ข้าง จับถือลูกบอลขนาด ๑๐ ปอนด์

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๔

๒.๒.๒ ท่าที่ ๒ : ผู้เข้ารับการทดสอบทาการย่อตัวลง ลักษณะงอเข่าครึ่งนั่ง สะโพกลงไปเกือบถึงพื้ น สามารถ


ซักซ้อมการเคลื่อนไหวได้ ๒ – ๓ ครั้ง

๒.๒.๓ ท่าที่ ๓ : ผู้เข้ารับการทดสอบทาการโยนลูกบอลจากระหว่างขา ข้ามศีรษะไปด้านหลังให้ไกลที่สุด โดย


ส้นเท้าทั้งสองข้าง ยังคงอยู่ไม่เลยไปจากแนวเส้นตรงที่กาหนด และกรรมการทาการวัดระยะจากเส้นไปยังจุดที่ ลูกบอล
ตกกระทบครั้งแรก แล้วบันทึกผล

จังหวะที่ ๑ โยนลูกบอลจากระหว่างขา จังหวะที่ ๒ ลูกบอลข้ามศีรษะไปด้านหลัง


ข้ามไปยังเหนือระดับศีรษะ

ข้อเน้นย้า : สามารถกระโดดหรือขยับตัวช่วยได้ แต่ส้นเท้าหรือส่วนของร่างกายต้องไม่เลยเข้าไปในเส้นที่กาหนดไว้


และร่างกายต้องไม่หกล้ม
-----------------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๕

๓. สถานีที่ ๓ : ท่าดันพืนละมือแล้วกางแขน หรือท่า Hand Relase Push-up ภายในเวลา ๒ นาที


๓.๑ วัตถุประสงค์ : เพื่อวัดระดับความแข็งแรง กาลัง และความทนทานของกล้ามเนื้อส่วนบนของร่างกาย หัวไหล่
และแขน ในการผลัก / ดัน / บุคคล / ยานพาหนะ หรือเครื่องกีดขวาง ตลอดจนเอื้อประโยชน์ ต่อบุคคลทาการรบและ
การต่อสู้ป้องกันตัว

ภาพประกอบแสดงการเสริมสร้างกล้ามเนื้อเพื่อใช้งานในท่าทดสอบ Hand Relase Push-up

๓.๒ การทดสอบ
๓.๒.๑ ท่าที่ ๑ : เริ่มต้นผู้เข้ารับการทดสอบอยู่ในท่าเตรียมดันพื้นตามปกติ เท้าทั้งสองข้ างชิดติดกัน มือทั้งสอง
ข้างคว่าราบไปกับพื้นอยู่ในระนาบมุมหัวไหล่

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๖

๓.๒.๒ ทาการลดตัวลง หน้าอก สะโพก และ ต้นขาแตะพื้น ศีรษะและหน้าห้ามสัมผัสพื้น ละมือสองข้างให้พ้น


จากพื้น

๓.๒.๓ ทาการเหยียดแขนออกไปด้านข้างเป็นรูปตัวที เสร็จแล้วดึงมือกลับมาที่เดิม

๓.๒.๔ ทาการดันตัวขึ้นมาสู่ท่าเริ่มต้นอีกครั้ง นับเป็น ๑ ครั้ง

ข้อเน้นย้า : ระหว่างปฏิบัติ ศีรษะและหน้าต้องไม่ลงไปสัมผัสพื้น


-------------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๗

๔. สถานีที่ ๔ : ท่าวิ่ง ไป-กลับ พร้อมลากและยกสิ่งของ ในระยะทางทังหมด ๒๕๐ เมตร หรือ Sprint, Drag, Carry
๔.๑ วัตถุประสงค์ : เพื่อวัดความแข็งแรงของพลังกล้ามเนื้อ ความเร็ว ความคล่องตัว การทรงตัว และความสามารถ
ในการออกแรง ภายในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อต้องมีการเคลื่อนไหวอย่างทันที ตามสัญชาตญาณ เอื้อต่อการเคลื่อนย้าย
สิ่งของ อาวุธยุทโธปกรณ์หรือผู้บาดเจ็บออกจากการปะทะ ด้วยการยก ลาก หรือวิ่งแบบรวดเร็ว

ภาพประกอบแสดงการเสริมสร้างกล้ามเนื้อเพื่อใช้งานในท่าทดสอบ Sprint, Drag, Carry

๔.๒ การทดสอบ
๔.๒.๑ ท่าที่ ๑ : ท่าเริ่มต้นผู้เข้ารับการทดสอบ นอนคว่าหน้าบนพื้นหลังเส้นที่กาหนด เมื่อกรรมการจับเวลา
และสั่ง “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบทาการออกตัววิ่งด้วยความเร็วไปข้างหน้าแบบสปริ้น วิ่งไป ระยะทาง ๒๕ เมตร และ
ทาการแตะเส้นที่กาหนด แล้วกลับตัววิ่งกลับมายังจุดเริ่มต้นอีกระยะทาง ๒๕ เมตร

จังหวะที่ ๑ นอนคว่าหน้าบนพื้นหลังเส้นที่กาหนด จังหวะที่ ๒ ออกตัววิ่งด้วยความเร็ว ไป-กลับ ๕๐ ม.

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๘

๔.๒.๒ ท่าที่ ๒ : ทาการลากแท่นน้าหนัก ๑๐๐ ปอนด์ หรือประมาณ ๔๕ กิโลกรัมด้วยการเดินเร็ว ถอยหลัง


หรือวิ่งถอยหลังไป ระยะทาง ๒๕ เมตร และทาการกลับตัวหลังเส้นที่กาหนด แล้ว จึงกลับตัวลากแท่นน้าหนัก กลับมายัง
จุดเริ่มต้น ระยะทาง ๒๕ เมตร โดยให้ลากแท่นน้าหนักเข้าเลยเส้นที่กาหนด จึงจะเริ่มท่าต่อไปได้

๔.๒.๓ ท่าที่ ๓ : ทาการวิ่งสไลด์ด้านข้างไปในระยะทาง ๒๕ เมตร โดยวิ่งสไลด์ให้ถึงแตะเส้นที่กาหนด จึงวิ่ง


สไลด์กลับมายังจุดเริ่มต้น ระยะทาง ๒๕ เมตร โดยต้องหันหน้าไปทางเดิมทั้งไปและกลับ มือทั้งสองข้างกางมือยกขึ้นข้าง
ลาตัวเพื่อรักษาสมดุล

จังหวะที่ ๑ วิ่งสไลด์ด้านข้างไปในระยะทาง ๒๕ เมตร จังหวะที่ ๒ วิ่งสไลด์ด้านข้างกลับในระยะทาง ๒๕ เมตร

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๙

๔.๒.๔ ท่าที่ ๔ : ทาการยกหิ้วน้าหนักด้วยมือ ๒ ข้าง ข้างละ ๔๐ ปอนด์ หรือ ๒๐ กิโลกรัม เดินเร็วหรือวิ่งไปใน


ระยะทาง ๒๕ เมตร โดยผ่านเส้นที่ก้าหนดแล้วจึ งกลับตัวมายังจุดเริ่มต้น ระยะทาง ๒๕ เมตร และต้องวางลูกเหล็ก
น้้าหนักหลังเส้นที่ก้าหนด จึงเริ่มท่าต่อไปได้

๔.๒.๕ ท่าที่ ๕ : รอบสุดท้ายท้าการวิ่งด้วยความเร็ วแบบสปริ้นไป ระยะทาง ๒๕ เมตร ท้าการแตะเส้น ที่


ก้าหนดแล้วกลับตัว วิ่งกลับมายังจุดเริ่มต้นอีกระยะทาง ๒๕ เมตร และท้าการบันทึกเวลาเมื่อผู้เข้ารับการทดสอบผ่าน
เส้นที่ก้าหนด

ข้อเน้นย้้า : สิ่งของและอุปกรณ์ ต้องจัดวางอยู่บนเส้นที่ก้าหนดอย่างเคร่งครัด


-------------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๐

๕. สถานีที่ ๕ : ท่าดึงข้อแบบ ยกเข่าแตะศอก หรือ ท่า Leg Tuck


๕.๑ วั ตถุ ป ระสงค์ : เพื่อ ทดสอบพลั ง และความสามารถในการเคลื่ อนไหว ความแข็ งแกร่ ง และทนทานของ
กล้ามเนื้อหน้าท้อง แขน หัวไหล่ และกลุ่มกล้ามเนื้อแกนหลัก ของขาท่อนบน ที่ใช้ในการยึด/เกาะ / ปีนข้ามสิ่งกีดขวาง
ตลอดจนการปีนเชือกและไต่เชือก

ภาพประกอบแสดงการเสริมสร้างกล้ามเนื้อเพื่อใช้งานในท่าทดสอบ Leg Tuck

๕.๒ การทดสอบ
๕.๒.๑ ท่าที่ ๑ : ท่าเริ่มต้นผู้เข้ารับการทดสอบท้าการโหนตัว มือสองข้างก้ารอบชิดกันที่บาร์ แขนล้าตัว และขา
เหยียดตรง

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๑

๕.๒.๒ ท่าที่ ๒ : ผู้เข้ารับการทดสอบ ท้าการงอศอก สะโพก เอว และเข่า เพื่อดึงเข่าขึ้นให้แตะศอกทั้ง ๒ ข้าง

๕.๒.๓ ท่าที่ ๓ : ผู้เข้ารั บการทดสอบลดล้าตัว และขาลง ให้เหยียดตรงเหมือนท่าเริ่มต้น ถือเป็นการครบ


๑ วงรอบ จากนั้นให้ปฏิบัติไปให้ได้จ้านวนครั้งมากที่สุดจนกว่าจะหมดก้าลัง

ข้อเน้นย้้า : เข่าจะต้องขึ้นไปแตะศอก ทุกครั้งที่ปฏิบัติ

--------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๒

๖. สถานีที่ ๖ : วิ่งระยะทาง ๒ ไมล์ หรือ ท่า ๒ Mile Run


๖.๑ วัตถุประสงค์ : เพื่อวัดระดับความทนทาน ของการหมุนเวียนโลหิตในร่างกาย การหายใจ และความแข็งแกร่ง
ของร่างกายส่วนล่าง ความสามารถ ในการเคลื่อนไหวทางเท้า เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ ที่ต้องใช้ความ
ทรหดอดทนสูงอย่างต่อเนื่อง เช่น การแทรกซึมทางเท้า หรือการเดินทางไกลประกอบน้้าหนักเครื่องสนาม เป็นต้น

ภาพประกอบแสดงการเสริมสร้างกล้ามเนื้อเพื่อใช้งานในท่าทดสอบ ๒ Mile Run

๖.๒ การทดสอบ
๖.๒.๑ ท่าที่ ๑ : ผู้เข้ารับการทดสอบเข้าเตรียมพร้อมหลังเส้นกาหนดจุดเริ่มต้น

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๓

๖.๒.๒ ท่าที่ ๒ : เมื่อกรรมการสั่ง “เริ่ม” พร้อมจับเวลา ผู้เข้ารับการทดสอบจึงทาการออกตัววิ่ง เป็นระยะทาง


๒ ไมล์ หรือ ๓.๒ กม. และทาการบันทึกเวลาเมื่อผู้เข้ารับการทดสอบผ่านเส้นที่กาหนด

-----------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๔

ส่วนที่ ๒ : ตารางเกณฑ์วัดผลการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test

สถานีที่ ๑ สถานีที่ ๒ สถานีที่ ๓ สถานีที่ ๔ สถานีที่ ๕ สถานีที่ ๖


ผลการ
น้้าหนัก ระยะ จ้านวน เวลา จ้านวน เวลา
ทดสอบ
(ปอนด์) (กก.) (เมตร) (ครั้ง) (นาที) (ครั้ง) (นาที)
100 340 155 12.5 60 1:33 20 13:30
99 12.4 59 1:36 13:39
98 12.2 58 1:39 19 13:48
97 330 150 12.1 57 1:41 13:57
96 11.9 56 1:43 18 14:06
95 11.8 55 1:45 14:15
94 320 145 11.6 54 1:46 17 14:24
93 11.5 53 1:47 14:33
92 310 141 11.3 52 1:48 16 14:42
91 11.2 51 1:49 14:51
90 300 136 11 50 1:50 15 15:00
89 10.9 49 1:51 15:09
88 290 132 10.7 48 1:52 14 15:18
87 10.6 47 1:53 15:27
86 280 127 10.4 46 1:54 13 15:36
85 10.3 45 1:55 15:45
84 270 123 10.1 44 1:56 12 15:54
83 10 43 1:57 16:03
82 260 118 9.8 42 1:58 11 16:12
81 9.7 41 1:59 16:21
80 250 113 9.5 40 2:00 10 16:30
79 9.4 39 2:01 16:39
78 240 109 9.2 38 2:02 9 16:48
77 9.1 37 2:03 16:57
76 230 104 8.9 36 2:04 8 17:06
75 8.8 35 2:05 17:15

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๕

สถานีที่ ๑ สถานีที่ ๒ สถานีที่ ๓ สถานีที่ ๔ สถานีที่ ๕ สถานีที่ ๖


ผลการ
น้้าหนัก ระยะ จ้านวน เวลา จ้านวน เวลา
ทดสอบ
(ปอนด์) (กก.) (เมตร) (ครั้ง) (นาที) (ครั้ง) (นาที)
74 220 100 8.6 34 2:06 7 17:24
73 8.5 33 2:07 17:33
72 210 95 8.3 32 2:08 6 17:42
71 8.2 31 2:09 17:51
70 200 91 8 30 2:10 5 18:00
69 7.8 28 2:14 18:12
68 190 86 7.5 26 2:18 4 18:24
67 7.1 24 2:22 18:36
66 6.8 22 2:26 18:48
65 180 82 6.5 20 2:30 3 19:00
64 170 77 6.2 18 2:35 19:24
63 160 73 5.8 16 2:40 19:48
62 150 68 5.4 14 2:45 2 20:12
61 4.9 12 2:50 20:36
60 140 64 4.5 10 3:00 1 21:00
59 3:01 21:01
58 3:02 21:03
57 3:03 21:05
56 3:04 21:07
55 4.4 9 3:05 21:09
54 3:06 21:10
53 3:07 21:12
52 3:08 21:14
51 3:09 21:16
50 130 59 4.3 8 3:10 21:18

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๖

หมายเหตุ : เกณฑ์วัดผลการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test

๑. สถานีการทดสอบ
- สถานีที่ ๑ : ท่างอเข่าครึ่งนั่ง ยกบาร์น้าหนักขึ้น ๓ ครั้ง โดยต่อเนื่อง หรือท่า Maximum Deadlift
- สถานีที่ ๒ : ท่าย่อตัว / ทุ่มน้้าหนักขนาด ๑๐ ปอนด์ ข้ามศีรษะไปด้านหลัง หรือท่า Standing Power
Throw
- สถานีที่ ๓ : ท่าดันพื้นละมือแล้วกางแขน หรือท่า Hand Relase Push-up ภายในเวลา ๒ นาที
- สถานีที่ ๔ : ท่าวิ่ง ไป-กลับ พร้อมลากและยกสิ่งของ ในระยะทางทั้งหมด ๒๕๐ เมตร หรือ Sprint, Drag,
Carry
- สถานีที่ ๕ : ท่าดึงข้อแบบ ยกเข่าแตะศอก หรือ ท่า Leg Tuck
- สถานีที่ ๖ : วิ่งระยะทาง ๒ ไมล์ หรือ ท่า ๒ Mile Run
๒. เกณฑ์การทดสอบ
- เกณฑ์ผ่านในระดับดีเยี่ยม =
- เกณฑ์ผ่านในระดับดี = SIG
- เกณฑ์ผ่านมาตรฐาน = MOD

---------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๗

ส่วนที่ ๓ : การจัดเตรียมอุปกรณ์ส้าหรับการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ
Army Combat Fitness Test

๑. สถานีที่ ๑ : ท่างอเข่าครึ่งนั่ง ยกบาร์น้าหนักขึ้น ๓ ครั้ง โดยต่อเนื่อง หรือท่า Maximum Deadlift


- อุปกรณ์ส้าหรับการทดสอบร่างกาย สถานีที่ ๑ จ้านวน ๓ รายการ ประกอบด้วย
๑.๑ บาร์รับน้้าหนัก (Hexagon bar)
๑.๒ ลูกเหล็กน้้าหนักตามเกณฑ์การทดสอบ
๑.๓ แผ่นยางรองพื้น

๒. สถานีที่ ๒ : ท่าย่อตัว / ทุ่มน้าหนักขนาด ๑๐ ปอนด์ ข้ามศีรษะไปด้านหลัง หรือท่า Standing Power


Throw
- อุปกรณ์ส้าหรับการทดสอบร่างกาย สถานีที่ ๒ จ้านวน ๔ รายการ ประกอบด้วย
๒.๑ ลูกบอลขนาด ๑๐ ปอนด์
๒.๒ ตลับเมตรวัดระยะ
๒.๓ สนามทดสอบเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
๒.๔ กรวยชี้ต้าบลลูกบอลตก

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๘

๓. สถานีที่ ๓ : ท่าดันพื้นละมือแล้วกางแขน หรือท่า Hand Relase Push-up ภายในเวลา ๒ นาที


- อุปกรณ์ส้าหรับการทดสอบร่างกาย สถานีที่ ๓ จ้านวน ๒ รายการ ประกอบด้วย
๓.๑ แผ่นยางรองพื้น
๓.๒ นาฬิกาจับเวลา

๔. สถานีที่ ๔ : ท่าวิ่ง ไป-กลับ พร้อมลากและยกสิ่งของ ในระยะทางทังหมด ๒๕๐ เมตร หรือ Sprint, Drag,
Carry
- อุปกรณ์ส้าหรับการทดสอบร่างกาย สถานีที่ ๔ จ้านวน ๓ รายการ ประกอบด้วย
๔.๑ แท่นลาก, เชือกลาก, ลูกเหล็กน้้าหนักตามเกณฑ์ทดสอบ
๔.๒ ลูกเหล็กส้าหรับหิ้วยกน้้าหนักตามเกณฑ์การทดสอบ
๔.๓ นาฬิกาจับเวลา

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๑๙

๕. สถานีที่ ๕ : ท่าดึงข้อแบบ ยกเข่าแตะศอก หรือ ท่า Leg Tuck


- อุปกรณ์ส้าหรับการทดสอบร่างกาย สถานีที่ ๕ จ้านวน ๑ รายการ ประกอบด้วย ราวโหนตัวทดสอบ

๖. สถานีที่ ๖ : วิ่งระยะทาง ๒ ไมล์


- อุปกรณ์ส้าหรับการทดสอบร่างกาย สถานีที่ ๖ จ้านวน ๒ รายการ ประกอบด้วย
๖.๑ นาฬิกาจับเวลา
๖.๒ สนามส้าหรับการทดสอบและกรวยก้าหนดระยะ

---------------------------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๐

ส่วนที่ ๔ : แนวทางการทดสอบเพื่อการพัฒนาสมรรถภาพร่างกาย

วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ก้าลังพลประจ้าการทุกคนในกองทัพบกได้พัฒนาขีดความสามารถทางด้านร่างกาย และความ


แข็งแรงให้มีความพร้อมทั้งการฝึกและการรบให้มากยิ่งขึ้น โดยแบ่งก้าลังพลออกเป็น ๒ ระดับ คือ
๑. ระดับก้าลังพลทั่วไปทั้งกองทัพบก หมายถึง
หน่วยที่ต้องการให้ก้าลังพลมีความพร้อมด้านร่างกายในระดับปานกลางตามมาตรฐานทั่วไป ซึ่งก้าลังพล
ทุกนายจะต้องผ่านการทดสอบระดับนี้ โดยใช้เกณฑ์ผ่าน ๖๐ คะแนน หรือ ๖๐ % ประกอบด้วย ๖ ท่า คือ
๑.๑ ท่างอเข่าครึ่งนั่ง ยกบาร์น้าหนักต่อเนื่องกัน ๓ ครั้ง โดยไม่ละมือ ( Maximum Deadlift ) ให้ใช้
เกณฑ์น้าหนักตัวผู้รับการทดสอบ + ๑๐ กิโลกรัม เป็นเกณฑ์ผ่าน
๑.๒ ท่าย่อตัวทุ่มน้้าหนักขนาด ๑๐ ปอนด์ ข้ามศีรษะไปด้านหลัง ( Standing Power Throw ) ให้ใช้
เกณฑ์ผ่าน ๖๐% คือทุ่มให้ได้ระยะทาง ๔.๕ เมตร ขึ้นไป
๑.๓ ท่าดันพื้นแบบละมือแล้วกางแขน ( Hand Relase Push-up ) ให้ใช้เกณฑ์ผ่าน ๖๐% คือปฏิบัติได้
๑๐ ครั้งขึ้นไป ภายในเวลา ๒ นาที
๑.๔ ท่าวิ่งระยะทาง ๒๕๐ เมตร เพื่อลาก – ยก อุปกรณ์น้าหนัก ( Sprint, Drag, Carry ) ให้ใช้เกณฑ์ผ่าน
๖๐% คือสามารถปฏิบัติได้ภายในเวลา ๓.๐๐ นาที
๑.๕ ท่าดึงข้อแบบยกเข่าแตะศอก ( Leg Tuck ) ให้ใช้เกณฑ์ผ่าน ๖๐% คือสามารถท้าได้ ๑ ครั้งขึ้นไป
๑.๖ วิ่งระยะทาง ๒ ไมล์ ให้ใช้เกณฑ์ผ่าน ๖๐% คือสามารถปฏิบัติได้ภายในเวลา ๒๑.๐๐ นาที
๒. ก้าลังพลในหน่วยก้าลังรบ ที่ต้องการให้มีความพร้อมด้านร่างกายระดับสูง โดยใช้เกณฑ์ ผ่าน ๗๐% หรือ ๗๐
คะแนน ขึ้นไป ประกอบด้วย ๖ ท่า คือ
๒.๑ ท่างอเข่าครึ่งนั่ง ยกบาร์น้าหนัก ต่อเนื่องกัน ๓ ครั้ง โดยไม่ละมือ ( Maximum Deadlift ) ให้ใช้
เกณฑ์น้าหนักตัวผู้รับการทดสอบ + ๑๐ กิโลกรัม เป็นเกณฑ์ผ่าน
๒.๒ ท่าย่อตัวทุ่มน้้าหนักขนาด ๑๐ ปอนด์ ข้ามศีรษะไปด้านหลัง ( Standing Power Throw ) ให้ใช้
เกณฑ์ผ่าน ๗๐% คือทุ่มให้ได้ระยะทาง ๘.๐๐ เมตร ขึ้นไป
๒.๓ ท่าดันพื้นแบบละมือแล้วกางแขน ( Hand Relase Push-up ) ให้ใช้เกณฑ์ผ่าน ๗๐% คือปฏิบัติได้
๓๐ ครั้งขึ้นไป ภายในเวลา ๒ นาที
๒.๔ ท่าวิ่งระยะทาง ๒๕๐ เมตร เพื่อลาก – ยก อุปกรณ์น้าหนัก ( Sprint, Drag, Carry ) ให้ใช้เกณฑ์ผ่าน
๗๐% คือสามารถปฏิบัติได้ภายในเวลา ๒.๑๐ นาที
๒.๕ ท่าดึงข้อแบบยกเข่าแตะศอก ( Leg Tuck ) ให้ใช้เกณฑ์ผ่าน ๗๐% คือสามารถท้าได้ ๕ ครั้งขึ้นไป
๒.๖ วิ่งระยะทาง ๒ ไมล์ ให้ใช้เกณฑ์ผ่าน ๗๐% คือสามารถปฏิบัติได้ภายในเวลา ๑๘.๐๐ นาที

----------------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๑

ส่วนที่ ๕ : แนวทางการทดสอบเพื่อการแข่งขัน

วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ก้าลังพลประจ้าการในกองทัพบกทุกนายได้พัฒนาขีดความสามารถทาง
ร่างกายให้แข็งแรงสูงสุด เพื่อความพร้อมรบและประสิทธิภาพในการฝึก และการปฏิบัติงานในสนามรบ ให้บรรลุผลการ
ปฏิบัติตามเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
๑. ก้าลังพลที่เข้าแข่งขัน
๑.๑ เป็นก้าลังพลประจ้าการในกองทัพบกทุกนาย ที่บรรจุรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี
๑.๒ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีโรคประจ้าตัวที่จะเป็นอันตรายต่อการทดสอบ
๑.๓ ลักษณะเข้าแข่งขันจัดเป็นทีม / ทีมละ ๖ นาย
๑.๔ ไม่สามารถเปลี่ยนตัวผู้เข้ารับการทดสอบได้ เมื่อเข้าสู่ระบบการรายงานตัวและทดสอบแล้ว
๑.๕ การแต่งกายในการทดสอบ ใช้ชุดพละศึกษา/กางเกงขาสั้น
๒. เกณฑ์การให้คะแนนในการแข่งขันใช้ระบบการให้คะแนน ตามมาตรฐานของกองทัพบกสหรัฐฯ โดยมีตารางให้
คะแนน : ใบแนบ ๑ ตารางคะแนนทดสอบ ACFT กองทัพบกสหรัฐฯ ( สถานีละ ๑๐๐ คะแนน / รวม ๖ สถานี
เป็น ๖๐๐ คะแนนต่อก้าลังพล ๑ นาย )
๓. ในกรณีผลรวมคะแนนเฉลี่ยเท่ากัน ให้ไปพิจารณาคะแนนดิบในสถานีที่ ๒ , สถานีที่ ๔ และสถานีที่ ๖ ตามล้าดับ
เพื่อหาผู้ชนะจากคะแนนดิบ
๔. ตามกฎของกองทัพบกจะใช้ Application ทีช่ ่วยแปลงผลคะแนนดังนี้
๔.๑ ACFT ส้าหรับมือถือระบบ Android
๔.๒ ACFT ส้าหรับมือถือระบบ IOS

ภาพตัวอย่าง Application แปลงผลคะแนนการทดสอบ ACFT (Army Combat Fitness Test)

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๒

๕. อื่นๆ
- เวลาพัก
: สถานีที่ ๑ ไปสถานีที่ ๒ พัก ๒ นาที
: สถานีที่ ๒ ไปสถานที่ ๓ พัก ๓ นาที
: สถานีที่ ๓ ไปสถานีที่ ๔ พัก ๓ นาที
: สถานีที่ ๔ ไปสถานที่ ๕ พัก ๔ นาที
: สถานีที่ ๕ ไปสถานีที่ ๖ พัก ๕ นาที

------------------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๓

ใบแนบ ๑ (ภาพกราฟิกในการปฏิบัติของแต่ละท่าทดสอบ) ประกอบส่วนที่ ๑ การทดสอบรูปแบบใหม่ ๖ ท่า

๑. ท่างอเข่าครึ่งนั่ง ยกบาร์น้าหนักขึ้น ๓ ครั้ง หรือท่า Maximum Deadlift

รูปภาพจ้าลองการปฏิบัติต่อเนื่อง

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๔

๒. ท่าย่อตัว / ทุ่มน้้าหนักขนาด ๑๐ ปอนด์ ข้ามศีรษะไปด้านหลัง หรือท่า Standing Power Throw

รูปภาพจ้าลองการปฏิบัติต่อเนื่อง

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๕

๓. ท่าดันพืนละมือแล้วกางแขน หรือท่า Hand Relase Push-up

รูปภาพจ้าลองการปฏิบัติต่อเนื่อง

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๖

๔. ท่าวิ่ง ไป-กลับ พร้อมลากและยกสิ่งของ ในระยะทางทังหมด ๒๕๐ เมตร หรือ Sprint, Drag, Carry

๕. ท่าดึงข้อแบบ ยกเข่าแตะศอก หรือ ท่า Leg Tuck

รูปภาพจ้าลองการปฏิบัติต่อเนื่อง

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๗

๖. วิ่งระยะทาง ๒ ไมล์ หรือ ท่า ๒ Mile Run

----------------------------------

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test หน้าที่ ๒๘

ใบแนบ ๒ (ตารางคะแนนทดสอบ ACFT กองทัพบกสหรัฐฯ) ประกอบส่วนที่ ๕ แนวทางการทดสอบเพื่อการแข่งขัน

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
แนวทางการทดสอบร่างกายรูปแบบใหม่ของกองทัพบกสหรัฐ Army Combat Fitness Test

กรมรบพิเศษที่ ๑ ค่ายวชิราลงกรณ์
กองพลรบพิเศษที่ ๑ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ

You might also like