You are on page 1of 5

นวัตกรรม

…เครื่องพยุงตัวฝกเดิน( Lite gait trainer)…

เจาของผลงาน
งานกายภาพบําบัด กลุม งานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
โรงพยาบาลสองดาว

นวัตกรรม...เครื่องพยุงตัวฝกเดิน(Lite gait trainer)


เจาของผลงาน นายนายณัฐพล จันทรศรีโคตร นักกายภาพบําบัด
นายชาตรี นันอุดร หัวหนางานซอมบํารุง
โรงพยาบาลสองดาว อําเภอสองดาว จังหวัดสกลนคร

บทนํา

ในป จ จุบั น มี คนป ว ยและคนพิ การบริ เวณส วนล างของร างกายมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ มผู ปว ยทางระบบ
ประสาท เชน แขนและขาออนแรง มีปญหาทางดานการเดินหรือการทรงตัว มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสวนมากลวน
ยังไมสามารถควบคุมรางกายใหทรงตัวหรือยืนเองได ซึ่งเกิดจากการที่กลามเนื้อ ออนแรง การควบคุมกลามเนื้อ
ผิดปกติ และความไมมั่นใจในการใชงานสวนตางของรางกาย สงผลใหผูปวยรูสึกกลัวการลงน้ําหนักและการลมทําให
ไมสามารถฝกไดเต็มที่ อีกทั้งนักกายภาพบําบัดและญาติผูปวยไดชวยพยุงฝกผูปวยในการยืนและการเดินอาจสงผล
ใหมีอาการปวดหลังตามมา
การกลับมาเดินไดอีกครั้งนับเปนความหวังลําดับตนๆ ของผูปวยอัมพาต ซึ่งการชวยใหผูปวยกลับมาเดินได
อีกครั้งถือเปนเปาหมายสําคัญประการหนึ่งของการฟนฟูสมรรถภาพ การทําใหผูปวยกลับมาเดินไดไมใชเพียงแตการ
เพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อเทานั้น แตการไดฝกฝนเรียนรูควบคุมการเดินและการเคลื่อนไหวที่ถูกตองแมนยํา
สามารถชวยลดระยะเวลาการฝกเพิ่ มประสิทธิผลได ดี( นอมจิตต นวลเนตร .๒๕๕๒) การใชเครื่ องชวยพยุงเดิ น
สามารถชวยใหผูปวยฝกเดินโดยอิสระมากขึ้น ลดการลงน้ําหนักเริ่มตนการฝก ชวยเพิ่มความมั่นใจในการฝกมากขึ้น
นักกายภาพบําบัดสามารถวิเคราะหลักษณะการเดินเบื้องตนจากการใชเครื่องชวยพยุงฝกเดิน อีกทั้งชวยลดแรงการ
พยุงของผูฝกและญาติได แตเนื่องจากเครื่องพยุงฝกเดินที่ผลิตขายในท้ องตลาดเป็ นสินค้ าจากต่างประเทศ มีราคาแพง
สามารถประยุกต์และประดิษฐ์ ให้ เข้ าลักษณะการใช้ งานตามความจําเป็ นของหน่วยงานได้
จากความเปนมาและความสําคัญ ดังกลาว งานกายภาพบําบัดและทีมงานซอมบํารุง จึงรวมมือกันคิดคน
ประดิษฐเครื่องพยุงตัวฝกเดิน (Lite gait trainer) โดยอาศัยแนวคิด motor releaning (การเรียนรูใหมในการ
เคลื่อนไหว) โดยประยุกตวัสดุอุปกรณที่มีอยูใหเกิดประโยชน เพื่อใหเปนประโยชนในการพัฒนาการฝกเดินทั้งตอ
ผูปวยและผูฝกสอน
วัตถุประสงค
๑. เพื่อสรางอุปกรณในการชวยเดินของผูปวย(Lite gait trainer)และฝกผูปวยกลามเนื้อแขนขาออนแรง
๒. เพื่อลดอุบัติการณเกิดภาวะแทรกซอนของผูปวยและผูฝกสอน(ญาติ)จากการฝกเดิน
๓. เพื่อลดคาใชจายของโรงพยาบาลในการจัดหาอุปกรณ

ตัวชี้วัด
๑. ความพึงพอใจตอเครื่องพยุงฝกเดิน(Lite gait trainer)ของผูปวยระดับดีขึ้นไป มากกวารอยละ ๘o
๒. ความพึงพอใจตอเครื่องพยุงฝกเดิน(Lite gait trainer)ของผูฝกสอนระดับดีขึ้นไป มากกวารอยละ ๘o
๓. อัตราผูปวยมีอาการสามารถเดินได เพิ่มขึ้นรอยละ…….. จากผูปวยทั้งหมด (15 ราย )
๓. อุบัติการณเกิดภาวะแทรกซอนของผูปวยและผูฝกสอน(ญาติ)จากการฝกเดินเทากับ ๐

วิธีการศึกษา
๑.ศึกษาอุปกรณตางๆ ที่ใชในการฝกเดินในผูปวยอัมพาตตางๆ
๒.ประชุมทีมงานกายภาพบําบัดและทีมงานซอมบํารุงในการออกแบบประดิษฐเครื่องมือโดยใชโปรแกรม
Google sketchup pro8

๔. คํานวนสัดสวนของอุปกรณโดยอิงความสูงและน้ําหนักเฉลี่ยของประชากรไทย
สัดสวนในผูชายโดยเฉลี่ย น้ําหนักเทากับ ๖๘.๙ กก. สูง ๑๖๙.๔ ซม.
สัดสวนในผูหญิงโดยเฉลี่ย น้ําหนักเทากับ ๕๗.๔ กก. สูง ๑๕๖.๙ ซม.
(จุฬาลักษณ(ออนไลน) เขาถึงไดจากhttp://www.sizethailand.org/journal_eng.html )
ไดขนาดเครื่องมือ กวางxยาวxสูง เทากับ 80x170x200 เซนติเมตร
คํานวณจุดเอียงที่เสี่ยงตอการลมโดยใชสูตร tan℮=d/h
-องศาการลมดานขางจะได ๘o/๒oo =o.๔ ดังนั้นวัตถุจะลมเมื่อเอียงมากกวา ๒๑ องศา -
-องศาการลมดานหนาหลังจะได ๑๗o/๒oo=o.๘๕ ดังนั้นวัตถุจะลมเมื่อเอียงมากกวา ๔o องศา
๔.ปรึกษาการเลือกอุปกรณโดยคําแนะนําจากหนวยงานซอมบํารุงโรงพยาบาลสองดาว โดยใชวัสดุ
อุปกรณดังนี้
๔.๑ คาอุปกรณโครงสราง มูลคา ๒,๕๕o บาท
- เหล็กกลมเสนผานศูนยกลาง ๓" x ๑.๗o m. จํานวน ๒ ทอน
- เหล็กกลองขนาด ๓"x1๑.๕"x๑mm จํานวน ๑ ทอน
- เหล็กกลองเหล็กกลองขนาด ๑"x๑"x๑mm จํานวน ๑ ทอน
- คาเข็มขัดพยุงเต็มตัว จํานวน ๑ ชุด
๔.๒ คาลอเลื่อนจํานวน ๔ ตัว มูลคา ๕๐๐ บาท
รวมทั้งสิ้น ๓,o๕o บาท

๕.ทําการประดิษฐเครื่องชวยพยุงฝกเดิน รวมกับทีมโรงซอมบํารุง โรงพยาบาลสองดาว

๖.ทดสอบเครื่องมือที่ประดิษฐขึ้น ณ อาคารสามัครคีอุปถัมป โรงพยาบาลสองดาว

ทดสอดการรับน้ําหนัก ทดสอบมุมเอียงตอการลมพบวามุมเอียงไมเกิน ๒๓ ศา

๗.ทดสอบความพึงพอใจเครื่องมือเครื่องชวยพยุงฝกเดิน(Lite gait trainer) กับผูปวยอัมพาตตางๆและผู


ฝกสอน(ญาติหรือผูดูแล)

ผลลัพธการดําเนินงาน
๑. ความพึงพอใจตอเครื่องพยุงฝกเดิน(Lite gait trainer)ของผูปวยระดับดีขึ้นไป รอยละ ๘๖.๖๗
๒. ความพึงพอใจตอเครื่องพยุงฝกเดิน(Lite gait trainer)ของผูฝกสอนระดับดีขึ้นไป รอยละ ๙๓.๓๓
๓.
๔.ลดคาใชจายทางโรงพยาบาลจํานวน ๕๖๙๕๐ บาท (จากราคาเครื่องทั่วไปทีจ่ ําหนายในทองตลาด
๖o,ooo บาท คานวตกรรม ๓,o๕o บาท )

โอกาสพัฒนา
๑.การปรับรูปลักษณใหดูสวยงาม และเพิ่มกระบอกสูบไฮดรอลิกยกผูปวยแทนการปรับเชือกขึ้นลง
๒.เปนตนแบบพัฒนาเครื่องฝกเดินในเด็กที่มีพัฒนาการเดินลาชาหรือผิดปกติตอไป
๓.ใชเครื่องฝกผูปวยที่มีอาการหลากหลายรูปแบบและเพิ่มระยะเวลาศึกษามากขึ้น

กระบวนการเรียนรูที่เกิดขึ้น
๑.เกิดการเรียนรูในกระบวนการงานคุณภาพโดยเนนผูรับบริการเปนศูนยกลาง
๒.เรียนรูการทํางานรวมกับเปนทีม
๓.แกไขปญหาที่เกิดขึ้นโดยอาศัยการบูรณาการความรูโดยใชหลักการ แนวคิด และองคความรูที่
หลากหลายจากบุคลากรในทองถิ่น

You might also like