You are on page 1of 37

การอบรมการยศาสตร

เรื
เรือ่อ
่ งง

การประเมินการทํางานเพื่อวิเคราะหงานทางการยศาสตร
เบือ
้ งตนดวยตนเองโดยใช RULA

โดย
โดย

ผูผูชชววยศาสตราจารย
ยศาสตราจารย นริ
นริศศ เจริ
เจริญญพร
พร
คณะวิ
คณะวิศศวกรรมศาสตร
วกรรมศาสตร มหาวิ มหาวิททยาลั
ยาลัยยธรรมศาสตร ศูน
ธรรมศาสตร ((ศูนยยรรงั งั สิสิตต))

RULA 1
การวิเคราะหงานทางการยศาสตร

การวิเคราะหงานทางการยศาสตรคอื อะไร
การดําเนินงานในการจัดเก็บและรวบรวมขอมูลตางๆ ดวยเทคนิคและวิธีการ
ตางๆ เหมาะสม เชน การใชแบบสอบถาม แบบสํารวจ ตรวจสอบ หรือ การวัด
ดวยเครื่องมือตางๆ เพือ
่ ใชประโยชนในการออกแบบและปรับปรุงงาน ใหมี
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยที่ดีขึ้น ขอมูล
1. คนและทาทางการทํางาน
2. ลักษณะงาน หรือ วิธก ี ารทํางาน
3. ลักษณะเครือ ่ งมือและการใช RULA
4. ลักษณะเครือ ่ งจักรและการใช
5. ลักษณะของสถานีงาน และเนือ ้ ทีใ่ นการทํางาน
6. ลักษณะของสภาพแวดลอมทีเ่ กีย ่ วของ
7. ลักษณะขององคกร และการจัดการ

RULA 2
RULA คืออะไร

Rapid Upper Limb Assessment : RULA

Upper Limb หมายถึง


สวนของแขนและมือ
รวมถึงไหล ซึ่งเปนจุดตอ
ของแขน

RULA 3
ตัวอยางลักษณะงานทีม
่ ีคาวมเสีย
่ ง
ตอการบาดเจ็บของรางกาย

แขนงอไปดานหลังและมี
การกางแขน

มีการยกแขนและไหล

RULA 4
ตัวอยางลักษณะงานทีม
่ ีคาวมเสีย
่ ง
ตอการบาดเจ็บของรางกาย

การบิดงอของขอมือ

RULA 5
RULA มาจากไหน และ ใชทําอะไร

1. ถูกพัฒนาโดย Prof. McAtamney และ Prof. Corlett (1993)


สถาบันการยศาสตรเพื่อการทํางาน
(Institute for OccupationalErgonomics)
มหาวิทยาลัยแหงเมืองนอตติง่ แฮม ประเทศอังกฤษ

2. เพื่อใชในการประเมินความเสี่ยงตอปญหา
การบาดเจ็บของรางกายสวน Upper Limb
ที่อาจปนผลมาจากกาทํางานของแตละ
บุคคล

จะใช RULA เมือ


่ ไร?

RULA 6
เมือ
่ ใดจะใช RULA ในการวิเคราะหงานทางการยศาสตร

รวบรวมขอมูลเบือ
้ งตน ที่สามารถบงชี้ปญหาได
รวบรวมขอมูลเบื้องตน เชน จํานวนการบาดเจ็บ การลาพัก
ความถี่ในการพบแพทยฯลฯ

เดินสํารวจขอมูลในสภาพจริง ทําการบันทึก
สํารวจ และบันทึก
โดยใชเทคนิคตางๆ เชน วีดีโอ หรือ
สภาพงานจริง RULA แบบประเมินและ เครื่องมือวัดตางๆ

วิะเคราะหขอ
 มูลและ วิเคราะหขอ
 มูลที่ไดเพื่อหาสาเหตุ อาจดูจาก
คนหาปจจัยเสีย
่ ง ภาระและปจจัยเสี่ยง และระดับความรุนแรง

สรุปผล เสนอวิธีการแกไข เดินสํารวจขอมูลในสภาพจริง ใชแบบตรวจสอบ


ประยุกตใชและติดตามผล แบบวิเคราะหงานตางๆ ชวยรวบรวมขอมูล

RULA 7
ภาระงาน (work load) และ
ลักษณะการใชแรงของกลามเนือ้

ภาระงานแบงไดเปน 3 สวน
1. ภาระงานทางกาย (Physical work load) คือ ทาทางของรางกาย แรง
ที่ใชในการทํางาน อาจเกิดจาก การยก วาง แบก ถือ ผลัก ดึง หมุน บิด กระแทก
เปนตน
2. ภาระงานทางจิตใจ (Mental work load) คือ สิ่งที่สงผลตอความคิด
ความรูสึกทางอารมณ
3. ภาระงานทางสิง่ แวดลอม (Environmental work load) คือ
อุณหภูมิ ความชื้น แสง เสียง เปนตน

ลักษณะงาน
1. งานแบบสถิต (static work) คือทาทางที่ทําใหเกิดการเกร็งของกลามเนื้อ
ตอเนื่องเปนเวลานาน
2. งานแบบพลวัต (dynamic work) คือทาทางการทํางานที่รางกายมีการ
เคลื่อนที่กลามเนื้อทํางานอยูในลักษณะทั้งบีบและคลายตัว

RULA 8
RULA : ประเมินทาทางของรางกาย

1. ศรีษะและคอ (head and neck)


2. ลําตัว (trunk)
3. ไหล (shoulder)
4. แขนสวนบน (upper arm)
5. แขนสวนลาง (lower arm : forearm)
6. มือและขอมือ (hand and wrist)
7. ขาสวนบน (upper leg : tight)
8. ขาสวนลาง (lower leg)
9. เทา (foot)

RULA 9
ขัน
้ ตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธิ ก
ี าร RULA
(Rapid Upper Limb Assessment)

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินตําแหนงแขนสวนบน (upper arm)


1.1 ระดับของแขน การยกที่สูงขึ้น ระดับคะแนนที่ใหมากขึ้น คะแนนอยูร ะหวาง 1-4
1.2 ถามีการยกของไหล ใหบวกคะแนนเพิ่มอีก +1
1.3 ถามีการกางแขน ใหบวกคะแนนเพิม ่ อีก +1
1.4 ถาแขนมีที่รองรับหรือวางพาดอยู ใหลบคะแนน -1
1.5 คะแนนสูงสุดของขั้นตอนนี้จะมีคาไมเกิน 6 คะแนน
1.6 ใหแยกการประเมินแขนซายและขาว
RULA 10
ตัวอยางงานทีเ่ กีย
่ วกับ แขนสวนบน (upper arm)

RULA 11
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

มุมที่วัดเทียบกับแนวดิ่ง

ขั้นตอนที่ 2 การประเมินตําแหนงแขนสวนลาง (lower arm หรือ forearm)


2.1 ระดับของแขนสวนลางควรอยูใ นแนวระดับขณะทํางาน หรืออยูในชวงประมาณ 60-
100องศาวัดจากแนวดิ่ง ถามุมของแขนสวนลางอยูนอกชวงดังกลาว ใหคะแนน
ตามรูปที่ 2 และ 3 จากซาย
2.2 ถามีการทํางานไขวแขนเลยแกนกลางลําตัว ใหบวกคะแนนเพิม ่ อีก +1
2.3 ถามีการทํางานในลักษณะกางแขนออกไปดานขางลําตัว ใหบวกคะแนนเพิ่มอีก +1
2.4 คะแนนสูงสุดในขัน้ ตอนนีม
้ ค
ี าไมเกิน 4 คะแนน
2.5 ใหแยกประเมินระหวางแขนซายและขาว
RULA 12
ตัวอยางงานทีเ่ กีย
่ วกับ แขนสวนลาง (lower arm)

RULA 13
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินตําแหนงมือและขอมือ (hand และ wrist)


3.1 ขณะทํางานขอมือไมควรอยูในลักษณะตรง ไมบิดงอ ดังแสดงในรูปที่ 1 จากซายถา
ขอมือมีการบิดงอจะใหคะแนนตามรูปที่ 2 (flexion) และ 3 (extension) จากซาย
3.2 ถามีการทํางานที่เกิดการเบี่ยงขอมือออก (deviation) ดังแสดงในรูปที่ 4 จากซาให
บวกคะแนนเพิม ่ อีก +1
3.3 คะแนนสูงสุดในขัน ้ ตอนนีม
้ ค
ี าไมเกิน 4 คะแนน
3.4 ใหแยกประเมินระหวางแขนซายและขาว

RULA 14
ตัวอยางงานทีเ่ กีย
่ วกับ ขอมือ (wrist)

RULA 15
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินการบิดขอมือ (wrist twist)


4.1 ขณะทํางานขอมือไมควรหมุน ถามีการหมุนขอมือใหคะแนนเปน 1
4.2 ถามีการทํางานที่หมุนขอมือมากเกือบสุด ใหคะแนนเปน 2
4.3 คะแนนสูงสุดในขัน
้ ตอนนีม
้ ค
ี าไมเกิน 2 คะแนน
4.4 ใหแยกประเมินระหวางแขนซายและขาว

RULA 16
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลจากขั้นตอนที่ 1-4 โดยใชตาราง A


นําขอมูลจากขั้นตอนที่ 1-4 ซึ่งเปนผลจากการวิเคราะหทาทางของแขนและมือ
ในขณะทํางานมาเปดคาคะแนนรวมในตาราง A

ขั้นตอนที่ 6 ประเมินระดับของการใชแรงจากกลามเนื้อในการทํางาน
6.1 ถาการทํางานดังกลาวมีลักษณะการใชแรงจากกลามเนื้อแบบสถิต เชน มีการใช
แรงโดยเกร็งกลามเนื้อตอเนื่องนานกวา 1 นาที ใหใสคะแนนเปน 1
6.2 ถาการทํางานเปนแบบซ้ําๆ โดยมีการเคลื่อนไหวกลับไปกลับมาเกินกวา 4 ครั้ง
ตอนาทีหรือมากกวา ใหบวกคะแนนเพิ่มอีก
6.3 คะแนนสูงสุดในขั้นตอนนี้มคี าไมเกิน 2 คะแนน
RULA 17
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 7 ประเมินภาระงานที่ทํา
7.1 ภาระงานที่ทําไดแก แรงที่ใช หรือ น้ําหนักที่ถือ ถานอยกวา 2 กิโลกรัม ให
คะแนนเปน 0
7.2 ถาภาระงานอยูร ะหวาง 2-10 กก. ถือหรือใชแรงนานๆ ครั้ง ใหคะแนนเปน 1
7.3 ถาภาระงานอยูระหวาง 2-10 กก. ถือหรือใชแรงตลอดเวลาหรือทําซ้ําไปมาบอยๆ
ใหคะแนนเปน 2
7.4 ถาภาระงานมากกวา 10 กก. ถือหรือใชแรงแบบสถิต หรือเคลื่อนที่ซ้ําไปมาบอยๆ
หรือ มีการใชแรงทํางานดังกวาอยางรวมเร็ว ใหคะแนนเปน 3

RULA 18
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 8 สรุปผลคะแนนการวิเคราะหของแขนและมือ
รวมผลคะแนนจากขั้นตอนที่ 5 – 7 ไวในขั้นตอนนี้ เพื่อใชเปดตาราง C ในการ
ประเมินผลรวมกับรางกายสวนที่เหลือ

RULA 19
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)
Table A : Arm & Wrist Analysis Scores

RULA 20
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)
Table B: Neck, Trunk & Leg Analysis Scores

RULA 21
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 9 การวิเคราะหทาทางของศรีษะและคอ
9.1 ถามุมกมอยูระหวาง 0-10 องศา ใหคะแนนเปน 1
9.2 ถามุมกมอยูระหวาง 10-20 องศา ใหคะแนนเปน 2
9.3 ถามุมกมมากกวา 20 องศา ขึ้นไป ใหคะแนนเปน 3
9.4 ถามีการเงยศรีษะ ใหคะแนนเปน 4
9.5 ถามีการหมุน (twist) ศรีษะ ดวย ใหคะแนนเพิม
่ อีก +1
9.6 ถามีการเอียงศรีษะไปดานขาง ใหคะแนนเพิม่ อีก +1
9.7 คะแนนสูงสุดในขั้นตอนนี้จะมีคาไมเกิน 6 คะแนน
RULA 22
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 10 การวิเคราะหตําแหนงของลําตัว (trunk)


10.1 ลําตัวควรอยูในลักษณะที่ตั้งตรงเมื่อยืน หรือ ในกรณีการนั่งมีพนักพิงรองรับ
อยางดีที่มม
ุ เอียงไมเกิน -20 องศา ใหคะนนเปน 1
10.2 ลําตัวโนมไปดานหนาระหวาง 1-20 องศา ใหคะแนนเปน 2
10.3 ลําตัวโนมไปดานหนาระหวาง 21-60 องศา ใหคะแนนเปน 3
10.4 ลําตัวโนมไปดานหนาระหวางมากกวา 60 องศา ใหคะแนนเปน 4
10.5 ลําตัวมีการหมุน ใหคะแนนเพิ่มอีก +1
10.6 ลําตัวมีการเอียงไปดานขาง ใหคะแนนเพิม ่ อีก +1
10.7 คะแนนสูงสุดในขั้นตอนนี้มค ี าไมเกิน 6 คะแนน
RULA 23
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 11 การประเมินทาทางของขาและเทา
11.1 ขาอยูใ นลักษณะสมดุลซายขาวโดยเทาสามารถวางบนพืน ้ ที่มก
ี ารรองรับดี ให
คะแนนเปน 1
11.2 ถาไมสมดุลหรือพื้นรองรับเทาไมดี ใหคะแนนเปน 2
11.3 คะแนนสูงสุดในขั้นตอนนี้ไมเกิน 2 คะแนน

RULA 24
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 12 สรุปผลทาทางการทํางานจากขั้นตอนที่ 9-11 โดยใชตาราง B

ตาราง B เปนการสรุปผลทาทางของศรีษะลําตัว ขาและเทา โดยใชขอมูลที่


ไดจากขั้นตอนที่ 9 10 และ 11 มาเปดตาราง B

RULA 25
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 13 ประเมินระดับลักษณะการใชแรงจากกลามเนื้อ

13.1 เปนการประเมินลักษณะการใชแรงจากกลามเนื้อวาเปนไปในลักษณะใด แบบ


สถิตหรือ แบบพลวัติดวยความถีม
่ ากนอยขนาดไหน

13.2 ถามีการใชแรงจากกลามเนื้อในแบบสถิตเปนเวลานาน หรือ การทํางานแบบใช


แรงซ้ําๆ ไปมา ดวยความถี่ 4 ครั้งตอนาทีหรือสูงกวา ใหคะแนนเพิม
่ อีก +1

RULA 26
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 14 ประเมินระดับภาระงาน จากน้ําหนักของหรือแรงที่ใช

14.1 ใหพิจารณาน้ําหนักของที่ยกหรือแรงที่ใชในการทํางาน เชน แรงผลัก แรงกด


แรงดึง เปนตน วามีคามากนอยเพียงใด
14.2 ถาภาระงานที่ใชมค ี านอยกวา 2 กก. ทําเปนนานๆ ครั้ง ใหคะแนนเปน 0
14.3 ถาภาระงานที่มชมค ี าระหวาง 2-10 กก. ทําเปนครั้งคราว ใหคะแนนเปน 1
14.4 ถาภาระงานที่ใชมค ี าระหวาง 2-10 กก. ออกแรงแบบสถิตหรือเกิดขึ้นซ้ําไปมา
ใหคะแนนเปน 2
14.5 ถาภาระงานที่ใชมคี ามากกวา 10 กก. ออกแรงแบบสถิต หรือเกิดซ้ําไปมาบอยๆ
หรือมีการออกแรงอยางรวดเร็ว ใหคะแนนเปน 3

RULA 27
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)

ขั้นตอนที่ 15 สรุปผลการวิเคราะห ศีรษะ คอ ลําตัว ขา และเทา


เปนผลรวมคะแนนจากขั้นตอนที่ 12 ซึ่งไดจากการเปดตาราง B รวมกับคะแนนใน
ขั้นตอนที่ 13 และ 14 ซึ่งเปนลักษณะการใชงานกลามเนือ ้ และภาระงานที่ตองทํา คะแนน
รวมที่ไดใสไวในขั้นตอนนี้ เพื่อนําไปเปดตารางสรุปผลของ RULA ในตาราง C

ขั้นตอนที่ 16 หรือขั้นสุดทาย คือการสรุปผลระดับคะแนนของ RULA ในตาราง C


16.1 นําคาที่ไดในขั้นตอนที่ 8 และ คะแนนทีไ
่ ดในขั้นตอนที่ 15 ไปใชในการเปด
ตาราง C
16.2 โดยคะแนนในขั้นตอนที่ 8 ใชเลือกตําแหนงของแถว สวนคะแนนในขั้นตอนที่
15 ใชเลือกตําแหนงของคอลัมภ ชองที่ตัดกันระหวางคะแนนทัง้ สอง ในตาราง C เปน
ระดับคะแนนสุดทายของ RULA
16.3 คะแนน RULA จะมีคาอยูระหงาง 1-7 คะแนนทีส ่ ูงกวาหมายถึงความเสี่ยงตอ
ปญหาทางดานการยศาสตรมส ี ูงดวย

RULA 28
ขั้นตอนในการวิเคราะหงานโดยใชวธ
ิ ก
ี าร RULA (ตอ)
Table C : Final Scores

คะแนนสรุปจากขั้นตอนที่ 15
คะแนนสรุปจากขั้นตอนที่ 8

RULA 29
การสรุปผลการวิเคราะหงานโดยใช RULA
แบงออกเปน 4 ระดับ

ระดับ 1 : คะแนนอยู 1-2 งานนัน ้ ยอมรับได แตอาจเปนมีปญ


 หาทางการยศาสตรไดถา
มีการทํางานดังกลาว ซ้ําๆ ตอเนื่องเปนเวลานานกวาเดิม

ระดับ 2 : คะแนนอยูท ี่ 3-4 งานนัน


้ ควรไดรบ
ั การพิจารณา การศึกษาละเอียดขึ้นและ
ติดตามวัดผลอยางตอเนือ ่ ง การออกแบบงานใหมอาจมีความจําเปน

ระดับ 3 : คะแนนอยูท ี่ 5-6 งานนัน


้ เริม
่ เปนปญหา ควรทําการศึกษาเพิ่มเติมและรีบ
ดําเนินการปรับปรุงลักษณะงานดังกลาว

ระดับ 4 : คะแนนตั้งแต 7 ขึ้นไป งานนัน


้ มีปญ
 หาดานการยศาสตร ที่ตองไดรบ
ั การ
ปรับปรุงโดยทันที

ที่มา : McAtamney, L and Corlett, E.N. (1993) RULA: a servey method for investigation of
work-related upper limb disorders, Applied Ergonomics, 24(2) 91-99
อางอิงจาก : Professor Alan Hedge, Cornell University (2001)

RULA 30
ขอจํากัดและขอควรระวังในการใช RULA

1. ปจจัยทีเ่ กี่ยวของมีเพียง 3 ปจจัยใหญเทานัน



- ทาทางการทํางาน (posture)
- ปริมาณแรงที่ใช (Force )
- ลักษณะ และความถีใ่ นการใชงาน (static or repetitive work)

2. คะแนนทีไ
่ ดรบ
ั หลักจากการประเมินเปนเพียงความเสี่ยง

3. คะแนนต่ําไมไดยน
ื ยันเสมอไปวางานนัน
้ จะปลอดภัย ในทาง
ตรงกันขามคะแนนสูงมิใชการยืนยันเสมอไปวางานนัน
้ จะมีปญหา
รุนแรง

4. การวิเคราะหงานควรใชขอมูลอืน
่ ๆ ประกอบการพิจารณาดวย

RULA 31
ตัวอยางการประยุกต RULA รวมกับ AI

กราฟแสดงความสัมพันธของคา AI และ RULA (Left Hand)


จี้สกรู
4
ใสลอ ติดสติ๊กเกอร
High 3.5

ใสถ ุง แม็กซ ย้ําหัวรถ


3
ตรวจสอบ จี้กันชน
Action Level (RULA)

2.5

2
ย้ําลอ ใสหวั รถ ตอกจานลอ

1.5

Low 0.5

0
0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

AI
Low High
RULA 32
เอกสารอางอิง

1. นริศ เจริญพร (2543) “การยศาสตร (Ergonomics)” JICA, กรุงเทพฯ

2. McAtamney, L. and Corlett, E.N. (1993) RULA: a survey method for


the investigation of work-related upper limb disorders. Applied
Ergonomics, 24, 91-99.

3. Wilson, J.R. and Corlett, E.N. (1995). "Evaluation of Human Work".


2nd Edition, Taylor & Francis. London, UK.

4. Hedge, A. (2001) RULA employee assessment worksheet. Cornell


University, US.

RULA 33
แบบประเมินทีใ
่ ชในการวิเคราะหงานทางการยศาสตร
ตั
ตัววอย
อยาางบางส
งบางสววนที
นทีน่น
่ ย
ิย
ิ มใช
มใช

แบบประเมิน ลักษณะและวิธีใช การประยุกต ขอดี-ขอเสีย

Abnormal ใชสอบถามความรูสึกจาก ใชในการสํารวจปญหา สะดวกรวมเร็ว สามารถ


Index ผูปฏิบัติงานโดยตรง บอก เบื้องตน โดยสรุปจาก ใชกับคนจํานวนมากๆ
ออกมาเปนระดับคะแนน 0-9 ขอมูลคนกลุมใหญ ใหรายละเอียดนอย
ใชไดกับลักษณะงาน บางครั้งไมพอที่จะใชใน
ทุกประเภท การปรับปรุงงาน

Posture ใชวิเคราะหทาทางการ เหมาะใชในการฝกฝน ไมเสียคาใชจายมากแต


Targerting ทํางานเทียบกับแนวดิ่ง ใช และทําความเขาใจ อาจเสียเวลาในการ
บันทึกคามุมที่เกิดขึ้นจาก เรื่องการเคลื่อนไหว บันทึกผล
ทาทางในการทํางานของ มากกวาใชในงานจริง แตมี
มค ี วามคลาดเคลื่อน
สวนตางของรางกาย แบง งาย ไมเหมาะกับงานที่มี
ออกเปน 10 สวน การเคลื่อนไหวรางกาย
มาก

RULA 34
แบบประเมินทีใ
่ ชในการวิเคราะหงานทางการยศาสตร
ตั
ตัววอย
อยาางบางส
งบางสววนที
นทีน่น
่ ย
ิย
ิ มใช
มใช

แบบประเมิน ลักษณะและวิธีใช การประยุกต ขอดี


อดี-ขอเสีย

Job strain ถูกพัฒนาโดย Moore และ ใชกับงานที่มีการใชมือ ใชสะดวก แตอาจ


index Garg (1955) เพื่อใชประเมิน และขอมือแบบซ้ําๆ คลาดเคลื่อนไดงาย
ความเสี่ยงของมือและขอมือ เชน งานเย็บผา ทํา ขึน
้ อยูก
 ับความชํานาญ
เปนวิธีการสํารวจการทํางาน รองเทา ชําแหละ ของผูประเมินเปนหลัก
ดวยตาและเทียบขอมูล เนื้อสัตว งานประกอบ
ออกมาเปนคะแนน ซึ่งจะบอก เปนตน
ถึงระดับของความเสี่ยง
OWAS (the ถูกพัฒนาใชในประเทศ ใชประเมินทาทางการ ใชไดสะดวกและ
Ovako ฟนแลนด เพื่อประเมิน ทํางาน เพื่อพิจารณาวา รวดเร็ว งายที่จะเรียนรู
Working ทาทางการทํางานใน ทาทางดังกลาวมีความ แตทาทางที่และภาระ
Posture อุตสาหกรรมผลิตเหล็ก เหมาะสมหรือควรไดรับ งานที่ใชถูกประเมิน
Analyzing การแกไขเรงดวน อยางกวางๆ
System) เพียงใด บอกระดับ รายละเอียดอาจไม
ความเสี่ยงเพื่อการเฝา เพียงพอ เชน ลักษณะ
ระวัง การใชแรงจาก
กลามเนื้อ

RULA 35
แบบประเมินทีใ
่ ชในการวิเคราะหงานทางการยศาสตร
ตั
ตัววอย
อยาางบางส
งบางสววนที
นทีน่น
่ ย
ิย
ิ มใช
มใช

แบบประเมิน ลักษณะและวิธีใช การประยุกต ขอดี


อดี-ขอเสีย

RULA (Rapid ใชประเมินทาทางการทํางาน ถูกออกแบบสําหรับการ ไมไดใชการวัดจาก


upper limb ดวยระดับคะแนน โดยแยก ประเมินระดับปญหา เครื่องมือ เปนการ
assessment) เปฯ ซึง่ จะบอกถึงความเสี่ยง ทางการยศาสตร ที่ คาดคะเนจากสายตา
ของปญหาทางดานการย เกี่ยวกับใชไดกับงาน ดังนั้นอาจเกิดความ
ศาสตรโดยเฉพาะ MSDs หลากหลายแบบ โดย คลาดเคลื่อนงาย ตอง
เฉพาะงานที่มีการใช อาศัยการฝกฝนและ
แรงของไหล แขน และ ความชํานาญของผู
มือ การนั่งทํางาน หรือ วิเคราะห
ยืนควบคุมเครื่องจักร
Body ใชประเมินความรูสึก ใชเปนแบบประเมิน ขอมูลอาจเกิดการ
discomfort ผูปฏิบัติงาน โดยพิจารณา เบื้องตนในงารทุก ลําเอียงจากผูประเมิน
แยกเปนสวนตางๆ ของ ประเภท ในการหา ไดงาย ขึน
้ อยูก
 ับ
รางกาย ใหเปนระดับคะแนน ตําแหนงของรางกายที่ เทคนิคของผูใช
ของความเมื่อยลา อาการ มีความเสี่ยงตอปญหา
ปวด เปนตน ทางการยศาสตร นํามา
ประกอบรวมกับ
วิเคราะหรวมกับ
ลักษณะงาน และสถานี
งาน
RULA 36
การใชมือในทาทางตางๆ

RULA 37

You might also like