You are on page 1of 14

มีแนวขอสอบผูคุมน้ํามาใหดูครับ

1.การเก็บน้ําวิเคราะหโลหะตองเติม...HNO3...
2.วิเคราะไซยาไนดเติม...NaOH...
3.โรงงานหมายถึง....
4.กาชใดติดไฟได...NH4..
5.ขั้นตอนโคแอกคูเลชั่น...กวนเร็ว-กวนชา
6.กาชชนิดไดกําจัดเชื้อโรคไดดีที่สุดระหวาง..โอโซน กับ คลอรีน ขอนี้เปนที่ถกกันมากที่สุดนะครับ และออก 5
ครั้งติดแลวครับ
7.น้ําเสียตาม พรบ.35 คือ....
8.การใหลของน้ําในถังดักทรายที่เหมาะสมคือ..0.3 เมตร/วินาที
ปล.มีอีกเยอะครับนี่เปนเพียงตัวอยางบางขอใครมีเพิ่มเติมก็มาแชรกันไดนะครับ จะไดสอบผานกันทุกคน โอกาศ
หนาจะเอามาใหอีกนะครับ
-Cr มาจากน้ําทิ้งอุตสาหกรรมฟอกหนัง
- กาซติดไฟได CH4 (มีเทน)
- การเก็บตัวอยางน้ํา เพื่อดูคา F/M เก็บน้ําเขาดูคา BOD, น้ําบอเติมอากาศดูคา MLVSS
- เดี๋ยวคิดออกแลวมาบอกใหม
กอนอื่นแกขอ4.ครับ กาซติดไฟคือ CH4 ครับ ไมใชNH4 ผมพิมพผิดครับ ขอโทษดวย
9.โรงงานบางประเภทมีการอนุโลมใหคาบางคาเกินมาตรฐานได มีคาอะไรบาง..และอนุโลมใหไมเกินเทาไหร
10.วัชพืชที่นิยมเติมบ Facultative คือ....
11.การทําแหงสลัจดดวยวิธิอัดกรองลดความชื้นไดกี่ %
12.การกําจัดกลิ่นเหม็นในเสนทอใชสารไรครับ..Cl2 หรือเปลา.
13ทอทนแรงดันคือ...
14.กระดาษกรองที่เล็กที่สุดคือขนาดได..
15.การไทรเทรต BOD ใชสารไร..
19.เราจะแกไขปญหากลิ่นเหม็นในบอเหม็นไดอยางไรครับ
20.โรงงานยอมสีควรมีการบําบัดแบบไดจึงจะเหมาะสมครับ
21.คํานวณ Solids 1 ขอ..
22.คํานวณ F/M 1ขอ..
23.คํานวณ MLSS 1 ขอ.
24.การเติมเหล็ก ควรเติมในรูปใด
25.ปรอททําใหเกิดโรค..มินามาตะ.
26.แคดเมี่ยมทําใหเกิดโรค..อิไต อิไต..
27.คาใดบอกถึงปริมาณสารอินทรียในน้ําเสีย..VS...
28.เช็ควาลวทําหนาที่..
29.การออกแบบ Sump (สถานีสูบ) ควรคํานึงถึงอะไรมากที่สุด.
30.คา DO ในถังตกตะกอนควนเปนเทาใด.
31.ประสิทธิภาพของ Granular Activated Carbon ดูจากอะไร..
32.กระบวนการที่ใช Granular activated Carbon เรียกวาอะไร...
33.พารามิเตอรใดไมไดกําหนดไวในมาตรฐน้ําทิ้ง..
34.การกําจัดสาหรายใชสารเคมีใด..ใชคลอรีนหรือเปลาครับ
16.หาแรงมา 1 ขตอมอเตอร 3เฟส สลับกันปมทํางานครับ แตจะหมุนกลับดาน ตองสลับขั้วใหม

ไมแนใจนะคะวาจะไดหรือยังแนวขอสอบนี้
-หา svi
-ให อายุตะกอน ให BOD ใหหาอัตราการไหล
-หา Flow rate ของระบบ Tricking
-หา Qจากสูตรwire 90 H=15cm
-แบคทีเรียที่ชี้บงวา เอเอสมีประสิทธิภาพคือ..โรติเฟอร
ถาหาเจออีกเดี๋ยวมาบอกใหมนะคะ

สวนอันนี้เปนสรุปยอ
สรุปขอสอบที่เคยสอบผูควบคุมระบบบําบัดมลพิษน้ํา
รายวิชาที่สอบมีจํานวน 4 วิชา จํานวน 100 ขอ ดังนี้
1. กฎหมายดานสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของ และหนาที่ของผูควบคุมดูแลและผูปฏิบัติงานประจําฯ จํานวน 15 ขอ
2. ทฤษฎีการบําบัดมลพิษ – มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานการบําบัดมลพิษชนิดตางๆ จํานวน 35 ขอ
3. เทคนิคการควบคุมระบบบําบัดมลพิษ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแกไขปญหาและอุปสรรคตางๆ ที่จะพบในระหวาง
การเดินระบบบําบัดมลพิษ จํานวน 35 ขอ
4. เทคนิคการวิเคราะหมลพิษ – มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการวิเคราะหมลพิษประเภทตางๆ จํานวน 15 ขอ
(หมายเหตุ ขอมูลรายวิชาที่สอบนี้มาจากการชี้แจงของกรอ. ใน web board ของ website
http://www.diw.go.th)
1.ขอสอบเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดลอม-น้ําและหนาที่ของผูควบคุมและผูปฏิบัติงานประจําระบบบําบัดมลพิษฯ
(15 ขอ)
1) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับ 8 พ.ศ. 2537 กําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิว
ดินออกเปน 5 ประเภท
2) ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 “โรงงาน”หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมี
กําลังรวมตั้งแต 5 แรงมาหรือเทียบเทาขึ้นไป หรือมีคนงานตั้งแต 7 คนขึ้นไป
3) การแบงขนาดโรงงานตามประเภท ชนิด หรือขนาด แบงออกเปน 3 จําพวก ไดแก
ก.โรงงานจําพวกที่ 1 ไดแก โรงงานประเภท ชนิด ขนาดที่สามารถประกอบกิจการโรงงานไดทันทีโดยไมตองขอ
อนุญาต(โดยมากเปนโรงงานขนาดเล็กที่มีเครื่องจักรไมเกิน 20 แรงมา และคนงานไมเกิน 20 คน ยกเวนโรงงาน
ที่ไมมีผลกระทบสิ่งแวดลอมจะถูกจัดใหเปนโรงงานจําพวกที่1 ทุกขนาด)
ข.โรงงานจําพวกที่ 2 ไดแก โรงงานประเภท ชนิด ขนาดที่เมื่อจะประกอบกิจการตองแจงใหกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมทราบกอน(โดยมากเปนโรงงานขนาดกลางที่มีเครื่องจักรไมเกิน 50 แรงมา และคนงานไมเกิน 50
คน )
ค.โรงงานจําพวกที่ 3 ไดแก โรงงานประเภท ชนิด ขนาดที่เมื่อจะประกอบกิจการตองไดรับใบอนุญาตจากกรม
โรงงานอุตสาหกรรมกอน(โดยมากเปนโรงงานขนาดใหญที่มีเครื่องจักรไมเกิน 50 แรงมา และคนงานเกิน 50
คนยกเวนโรงงานที่มีผลกระทบสิ่งแวดลอมสูงจะถูกจัดใหอยูในจําพวกที่3 ทุกขนาด )
4) คามาตรฐานกําหนดลักษณะน้ําทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน ตามประกาศหระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2
พ.ศ. 2539 กําหนดคาอุณหภูมิตองไมมากกวา 40 องศาเซลเซียส , โรงงานบางประเภทไดรับการอนุโลมใหมีคา
มาตรฐานน้ําทิ้งไดสูงกวาปกติ เชน
- น้ําเสียจากโรงฆาสัตว โรงงานทําแปง โรงงานทํากิจการเกี่ยวกับอาหารจากแปงเชน ขนมปง กวยเตี๋ยว, โรงงาน
สิ่งทอหรือเสนใย,โรงงานหมัก ฟอกหนังสัตว, โรงงานทําเยื่อหรือกระดาษ โรงงานเคมีภัณฑ,โรงงานยา, หองเย็น
อนุโลมใหใชคา BOD 60 มก./ล.
- โรงงานทําเครื่องปรุง,ผลิตอาหารสัตว, สิ่งทอหรือเสนใย, หมัก ฟอกหนังสัตว, เยื่อ กระดาษ อนุโลมใหใชคา
COD 400 มก./ล.
5) ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง “การกําหนดประเภท ชนิด และขนาด ของโรงงาน กําหนดวิธีการ
ควบคุมการปลอยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใดๆที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม กําหนดคุณสมบัติและหลักเกณฑการ
ขึ้นทะเบียนผูควบคุมดูแลสําหรับระบบปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษ พ.ศ. 2545” กําหนดประเภทของบุคคลากร
ดานสิ่งแวดลอมประจําโรงงาน ไวเปน 3 ประเภท คือ
1. ผูควบคุมดูแลระบบปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษ ประกอบดวยผูจัดการสิ่งแวดลอม และผูควบคุมระบบบําบัด
มลพิษน้ํา,อากาศ,กาก
2. ผูปฏิบัติงานประจําระบบปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษ
3. บริษัทที่ปรึกษาที่ทําสัญญารับจางเปนผูควบคุมระบบบําบัดมลพิษ(มีหนาที่รับผิดชอบเชนเดียวกับผูควบคุม
ระบบบําบัดมลพิษ)
6) ชนิดและโรงงานที่ตองมีบุคลากรดานสิ่งแวดลอมประจําโรงงาน ไดแก
-โรงงานที่มีปริมาณน้ําเสียตั้งแต 500 ลบ.ม./วัน(ยกเวนน้ําหลอเย็น)หรือมีความสกปรกกอนเขาระบบบําบัด
ตั้งแต 100 กก./วัน ขึ้นไป
-โรงงานที่ใชสารโลหะหนักหรือสารพิษในกระบวนการผลิตที่มีปริมาณน้ําเสียตั้งแต 50 ลบ.ม./วันขึ้นไป
-โรงงานที่กอมลพิษสูง ไดแก
1) โรงไฟฟาพลังงานความรอนขนาดตั้งแต 10 เมกกะวัตตขึ้นไป
2) อุตสาหกรรมปโตรเคมีที่ใชวัตถุดิบซึ่งไดจากการกลั่นน้ํามันปโตรเลียมหรือจากการแยกกาซธรรมชาติขนาด
ตั้งแต 100 ตัน/วันขึ้นไป
3) อุตสาหกรรมกลั่นน้ํามันปโตรเลียมทุกขนาด
4) อุตสาหกรรมแยกหรือแปรสภาพกาซธรรมชาติทุกขนาด
5) อุตสาหกรรมผลิตสารออกฤทธิ์หรือยากําจัดศัตรูพืชหรือสัตวโดยกระบวนการทางเคมีทุกขนาด
6) อุตสาหกรรมผลิตปุยเคมีโดยกระบวนการทางเคมีทุกขนาด
7) โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมทุกขนาด(โรงงานลําดับที่ 101)
8) อุตสาหกรรมน้ําตาล – น้ําตาลทรายดิบ น้ําตาลทรายขาว น้ําตาลทรายขาวบริสุทธิ์ ทุกขนาด
– กลูโคส เดกซโทรส ฟรักโทส ตั้งแต 20 ตัน/วันขึ้นไป
9) โรงงานจัดการกากของเสียและวัตถุอันตรายทุกขนาด(โรงงานลําดับที่ 105 และ 106)
10) โรงงานเหล็กและเหล็กกลา – มีเตาอบกําลังการผลิตตั้งแต 100 ตัน/วัน ขึ้นไป
– มีเตาหลอมเหล็กปริมาตรรวมตั้งแต 5 ตัน/ครั้ง ขึ้นไป
11) โรงงานคลอ-แอลคาไลนที่ใช NaCl เปนวัตถุดิบที่มีการผลิตตั้งแต 100 ตัน/วันขึ้นไป
12) โรงงานปูนซีเมนตทุกขนาด
13) โรงงานถลุงแรหรือหลอมโลหะซึ่งมิใชอุตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกลาที่มีกําลังการผลิตตั้งแต 50 ตัน/วัน
ขึ้นไป
14) โรงงานเยื่อกระดาษที่มีกําลังการผลิตตั้งแต 50 ตัน/วันขึ้นไป
7)กรณีที่ผูควบคุมระบบบําบัดมลพิษน้ําถูกเพิกถอนใบทะเบียนผูประกอบกิจการโรงงานตองดําเนินการจัดหาผู
ควบคุมใหมมาแทนภายใน 90 วัน, ในกรณีที่ผูควบคุมระบบบําบัดมลพิษ ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ตามที่กําหนด
ตองระบุปญหาและเหตุผลเปนลายลักษณอักษรรายงานใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบภายใน 15 วันทําการ,
ในกรณีที่ไมประสงคจะควบคุมระบบบําบัดมลพิษประจําโรงงานอีกตอไปตองแจงใหกรมโรงงานทราบเปนลาย
ลักษณอักษรไมนอยกวา 7 วัน ที่จะไมดําเนินการดังกลาว
8) ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดใหโรงงานที่ตองมีระบบบําบัดน้ําเสียตองติดตั้งเครื่องมือหรือ
เครื่องอุปกรณพิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณเพิ่มเติม พ.ศ. 2547 โดยกําหนดให
1.1 โรงงานที่มีปริมาณน้ําทิ้งเกิน 10,000 ลบ.ม./วัน ขึ้นไป
1.2 โรงงานที่มีปริมาณน้ําทิ้งเกิน 3,000 ลบ.ม./วัน ขึ้นไป ถึง10,000 ลบ.ม./วัน หรือมีปริมาณ Influent
BOD Load ตั้งแต 4,000 กก./วัน ขึ้นไป
ประกาศเพิ่มเติม(ฉบับที2่ ) ในป 2548 เพิ่มขอ 1.3 และ1.4 (อาจจะออกขอสอบ เก็งวานาจะออกขอสอบเรื่อง
นี้)
1.3 โรงงานที่มีปริมาณน้ําทิ้งตั้งแต 1,000 ลบ.ม./วัน ขึ้นไป แตไมถึง 3,000 ลบ.ม./วัน (มีผลบังคับใช 14 ม.ค.
2549)
1.4 โรงงานที่มีปริมาณน้ําทิ้งตั้งแต 500 ลบ.ม./วัน ขึ้นไป แตไมถึง 1,000 ลบ.ม./วัน (มีผลบังคับใช 14 ก.ค.
2549)
ใหโรงงานที่กําหนดในขอ 1.1-1.4 ตองติดเครื่องมือหรืออุปกรณพิเศษเพิ่มเติมคือ
2.1 ติดตั้งเครื่องวัดอัตราการไหลของน้ําทิ้งออกจากโรงงานและติดตั้งมาตรวัดปริมาณการใชไฟฟาสําหรับระบบ
บําบัดน้ําเสียโดยสามารถใหสัญญาณไฟฟาอยางตอเนื่องเพื่อสงเขาสูระบบคอมพิวเตอรของโรงงานเพื่อบันทึก
ขอมูลและแสดงขอมูลยอนหลังไดอยางตอเนื่อง
ประกาศเพิ่มเติม(ฉบับที2่ ) ในป 2548 แกไขขอ2.2 เปนดังนี้
2.2 ติดตั้งเครื่องตรวจวัดคาบีโอดี หรือคาซีโอดีของน้ําทิ้งที่สามารถใหสัญญาณไฟฟาไดอยางตอเนื่องและสงเขา
สูระบบคอมพิวเตอรของโรงงานเพื่อบันทึกขอมูลและแสดงขอมูลยอนหลังไดอยางตอเนื่องโรงงานใดจะติดตั้ง
เครื่องดังกลาวตองไดรับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
เพื่อรายงานการระบายน้ําทิ้งออกจากโรงงานเขากับระบบเครือขายคอมพิวเตอรของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เวน
แตโรงงานที่ไมมีการระบายน้ําทิ้งออกจากโรงงานและโรงงานที่นําน้ําทิ้งไปบําบัดที่โรงงานปรับสภาพของเสีย
รวมไมตองติดตั้งเครื่องมือดังกลาว
9) ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่องหลักเกณฑการใหความเห็นชอบใหโรงงานที่ตองมีระบบบําบัดน้ําเสีย
ตองติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณพิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณเพิ่มเติม พ.ศ. 2547 (ประกาศราช
กิจจานุเบกษา วันที่ 16 กุมภาพันธ 2548)
โรงงานที่ตองติดตั้งเครื่องวัดบีโอดีไดแก โรงงานลําดับที่ 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 ,13, 15, 16, 17, 19,
20,และ 52 ซึ่งประกอบกิจการเกี่ยวกับ สัตวซึ่งมิใชสัตวน้ํา, น้ํานม, สัตวน้ํา, น้ํามันจากพืชหรือสัตว หรือไขมัน
จากสัตว, ผัก พืช ผลไม, เมล็ดพืชหรือหัวพืช, อาหารจากแปง, น้ําตาลซึ่งทําจากออย บีช หญาหวาน หรือพืชอื่นที่
ใหความหวาน, เครื่องปรุงเครื่องประกอบอาหาร, อาหารสัตว, ตมกลั่นหรือผสมสุรา, ผลิตเอทิลแอลกอฮอล,
มอลตหรือเบียร,น้ําดื่ม เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล น้ําอัดลม น้ําแร, ยาง ตามลําดับ
โรงงานที่ตองติดตั้งเครื่องวัดซีโอดีไดแก โรงงานลําดับที่ 22, 24, 29, 38, 40, 42, 44, และ49 ซึ่งประกอบ
กิจการเกี่ยวกับ สิ่งทอ,ถักผา หรือเครื่องนุงหม หรือฟอกยอมสี หรือแตงสําเร็จผา ,หมัก ชําแหละ อบ ปน บด ขัด
แตง เคลือบ สี หนังสัตว, ผลิตเยื่อหรือ กระดาษ, กิจการเกี่ยวกับ เยื่อ กระดาษ หรือกระดาษแข็ง, เคมีภัณฑ
สารเคมี วัสดุเคมีซึ่งมิใชปุย, ยางเรซินสังเคราะห เสนใยสังเคราะห ซึ่งมิใชใยแกว และกลั่นน้ํามันปโตรเลียม
ตามลําดับ
โรงงานที่ตองติดตั้งเครื่องวัดบีโอดีและซีโอดี ไดแก โรงงานลําดับที่ 101 ปรับคุณภาพของเสียรวม
10) มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการอนุรักษแหลงน้ําดิบเพื่อการประปา กําหนดพื้นที่ซึ่งไมอนุญาตใหมีการตั้งหรือ
ขยายกิจการโรงงานบางประเภท สรุปไดดังนี้ คือ โรงงานที่มีน้ําทิ้งประกอบดวยสารพิษประเภทโลหะหนัก
รวมทั้งวัตถุมีพิษที่ใชในการเกษตรและสารเคมีอื่นๆที่เปนพิษ,โรงงานที่มีความสกปรกในน้ําทิ้งมากกวา 1 กก.บี
โอดี/วัน เขตควบคุมคือ อ.บางไทร อ.บางปะอิน จ. อยุธยา, อ.สามโคก อ.เมือง อ.คลองหลวง จ. ปทุมธานี
2.ขอสอบเกี่ยวกับทฤษฎีการบําบัดมลพิษน้ํา(35 ขอ)
1) การเจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณอยางรวดเร็วของสาหรายเนื่องจากมีสารไนโตรเจนและฟอสเฟตสูงเรียกวา
ปรากฎการณ Eutrophication
2) ไนโตรเจนที่พบในน้ําเสียมี 4 ชนิด คือ1. แอมโมเนียไนโตรเจน 2. สารอินทรียไนโตรเจน 3. ไนไตรต
(NO2-) และ 4.ไนเตรต(NO3-)
การกําจัดไนโตรเจน โดยวิธี ไนทริฟเคชั่น-ดีไนทริฟเคชั่น ขั้นตอนแรกคือ ปฏิกิริยา ไนทริฟเคชั่น (เปนปฏิกิริยา
ทางชีวภาพที่ทําใหแอมโมเนียไนโตรเจนและสารอินทรียไนโตรเจน ถูกออกซิไดซเปนไนไตรตและไนเตรต โดย
ออโทโทรฟกแบคทีเรีย Nitrosomonas และ Nitrobacter ตามลําดับ ;ใชออกซิเจน 4.6 กก./NH4+ 1
กก.) ปฏิกิริยา ดีไนทริฟเคชั่น เปนปฏิกิริยาทางชีวภาพที่ทําใหไนไตรตและไนเตรต ถูกเปลี่ยนเปนกาซไนโตรเจน
โดยแฟคัลเททีฟแบคทีเรีย(ในสภาพที่มีอากาศหายใจโดยใชออกซิเจน ในสภาพที่ไมมีอากาศหายใจโดยใช ไน
ไตรตหรือไนเตรต)
3) วิธีการกําจัดฟอสฟอรัสมีการพัฒนาเพื่อใชในการกําจัดพรอมกับไนโตรเจนและบีโอดีคือกระบวนการ
Modified Bardenpho Process, UTC Process, Modified UTC Process
4) วิธีการบําบัดน้ําเสียที่มีแคดเมียม คือ ตกตะกอนดวยไฮดรอกไซด ที่pH 10.5 หรือสูงกวา
5) วิธีการบําบัดน้ําเสียที่มีตะกั่ว คือ ตกตะกอนดวยไฮดรอกไซด ที่pH 9.5-10 ดวยการเติมปูนขาวหรือ
โซดาไฟเพื่อใหเกิดการตกตะกอนผลึกในรูปตะกั่ว(Precipitation) จากนั้นจึงกําจัดตะกั่วออกโดยกระบวนการ
โคแอกกูเลชั่นดวยสารสม
6) วิธีการบําบัดน้ําเสียที่มีอารเซนิก(สารหนู) คือ ดูดซับรวมกับการตกตะกอนโดยใชปูนขาว สารสมและเฟอรริก
คลอไรด
7) วิธีบําบัดน้ําเสียที่มีโครเมียมเฮกซาวาเลนซ คือ รีดิวสใหเปน Cr 3+โดยการเติมสารเคมีเชน ซัลเฟอรได
ออกไซด เฟอรัสซัลเฟต หรือ เกลือซัลไฟตแลวทําใหตกตะกอนผลึกดวยไฮดรอกไซด(โดยเติมปูนขาวหรือ
โซดาไฟ )
8) วิธีการบําบัดน้ําเสียที่มีไซยาไนด โดย ออกซิเดชั่นสองชั้นดวยไฮโปรคลอไรดเรียกวา Alkali
chlorination ใชสารเคมี 2 ชนิดคือโซดาไฟและคลอรีน มี 2 ขั้นตอน คือ 1. ในสภาวะที่เปนดาง คลอรีนจะ
ออกซิไดซไซยาไนดใหเปนไซยาเนต 2. ที่คาพีเอชประมาณ 7-8 ไซยาเนตจะถูกเปลี่ยนเปนไนโตรเจนโดยการ
เติมคลอรีนหรือไฮโปคลอไรด
9) การบําบัดน้ําเสียซึ่งมีสารประกอบอินทรียของปรอท(Organic Mercury)ใชวิธีออกซิเดชั่นใหสารอินทรีย
ของปรอทอยูในรูปคลอไรดโดยใชคลอรีน จากนั้นจึงตกตะกอนใหอยูในรูปสารประกอบซัลไฟด

3.ขอสอบเกี่ยวกับเทคนิคการควบคุมระบบบําบัดมลพิษน้ํา(35 ขอ)
1) การวัดอัตราการไหลของน้ําดวยเวียร
1. เวียร(Weir) ชนิดสี่เหลี่ยม
Q = 1.84 LH 1..5
Q = อัตราไหลของน้ําเสีย, ลบ.ม./วินาที
L = ความยาวของสันเวียร, เมตร
H = ความสูงของระดับน้ําเหนือสันเวียร, เมตร
ตัวอยางขอสอบ เวียรสี่เหลี่ยมที่มีความยาวสันเวียร 0.5 เมตร ความสูงน้ําเหนือสันเวียร 0.18 เมตร มีอัตราไหล
ของน้ํากี่ลบ.ม./ชม.
แทนคาตามสูตร
Q = 1.84 (0.5)(0.18) 1..5
= 0.070258 ลบ.ม./วินาที
= 0.070258 x 60 x 60 = 252.93 ลบ.ม./ชั่วโมง
2. เวียร(Weir) ชนิดสามเหลี่ยมใชวัดอัตราไหลของน้ําเสียที่มีปริมาณนอยมีแบบ 60o และ 90o
แบบ 60o Q = 0.85 H 2..5
แบบ 90o Q = 1.47 H 2..5
Q = อัตราไหลของน้ําเสีย, ลบ.ม./วินาที
H = ความสูงของระดับน้ําจากจุดยอดของสามเหลี่ยม, เมตร
2) ระบบโปรยกรอง(Tricking Filter) มีองคประกอบคือ 1.ระบบกระจายน้ําเขา(Distribution system)
2. ตัวกรอง(Filter media) 3. ระบบระบายน้ําทิ้ง(Underdrain system) หลักการทํางาน คือน้ําเสียจะถูก
ปลอยใหไหลผานชั้นตัวกรองโดยระบบกระจายน้ําเขามีหนาที่ทําใหพื้นที่ภาคตัดขวางของตัวกรองไดรับน้ําเสีย
เทากันทุกสวน ซึ่งจุลินทรียที่เกาะติดอยูบนตัวกรองจะทําการยอยสลายสารอินทรียในน้ําเสีย น้ําที่บําบัดแลวจะถูก
สงไปยังถังตกตะกอนเพื่อแยกสลัดจออกแลวจึงระบายน้ําสวนใสทิ้ง
3) ระบบแผนหมุนชีวภาพ( Rotating Biological Contactor, RBC)มีสวนประกอบ ดังนี้ 1. แผนหมุน
ชีวภาพ(Biodisk) 2. Reactor คือ จุลินทรียที่เกาะอยูบนผิวแผนหมุน การหมุนทําใหจุลินทรียสัมผัสน้ําเสีย
และเกิดการกําจัดอินทรียสารในน้ําเสีย 3. Sedimentation tank คือถังตกตะกอน หลักการทํางานคลายระบบ
โปรยกรอง ตางตรงที่มีการหมุนแผนชีวภาพที่มีจุลินทรียเกาะ อัตราการหมุนมีผลตอการบําบัดคือ เปนการเพิ่ม
จํานวนครั้งของการสัมผัสระหวางน้ําเสียกับจุลินทรีย ชวยเพิ่มอัตราการเติมอากาศ
4) ระบบบําบัดน้ําเสียแบบเอเอส(Activated Sludge) ประกอบดวยสวนสําคัญอยางนอย 2 สวนคือ ถังเติม
อากาศ และถังตกตะกอน หลักการทํางานของระบบเอเอสเปนวิธีที่เลียนแบบธรรมชาติ โดยใชปฏิกิริยาชีวเคมี
ขั้นตอนการทํางานของระบบเริ่มตั้งแตน้ําเสียถูกสงเขาสูถังเติมอากาศ ซึ่งมีสลัดจอยูเปนจํานวนมาก ภายในถังมี
ภาวะแวดลอมที่เหมาะตอการเจริญเติบโตของจุลินทรียแบบใชออกซิเจน มลสารที่อยูในน้ําเสียถูกใชเปนอาหาร
ของจุลินทรียและถูกยอยสลายใหอยูในรูป CO2และ H2O เมื่อจุลินทรียเจริญเติบโตและขยายพันธุตอไป จะ
รวมตัวเปนกอนใหญเรียกวาฟล็อกหรือสลัดจ จากนั้นจึงแยกสลัดจออกจากน้ําโดยการตกตะกอน สลัดจที่แยกตัว
อยูกนถังตกตะกอนสวนหนึ่งถูกสูบกลับไปยังถังเติมอากาศ อีกสวนหนึ่งเปนสลัดจสวนเกิน(Excess sludge)
ซึ่งตองทิ้งเพื่อรักษาปริมาณ จุลินทรียในระบบใหมีคาเหมาะสม
วิธีควบคุมการทํางานของระบบเอเอส
1) การควบคุมอัตราสวนอาหารตอจุลินทรียในระบบ (Food to Microorganism Ratio, F/M ratio)
ควบคุมโดยรักษาอัตราสวนของน้ําหนักบีโอดีที่สงเขามาบําบัดตอน้ําหนักจุลินทรียซึ่งวัดในรูปของแข็งแขวนลอย
(MLSS) เรียกคาควบคุมนี้วา อัตราสวนอาหารตอจุลินทรีย(Food to Microorganism Ratio, F/M
ratio) สามารเขียนเปนสมการไดดังนี้
F/M ratio = อัตราการไหลของน้ําเสีย(ลบ.ม./วัน) x บีโอดี (มก./ล.)
ปริมาตรของถังเติมอากาศ(ลบ.ม.) x MLSS(มก./ล.)
แบงรูปแบบการทํางานของกระบวนการเอเอสตามอัตราสวนอาหารตอจุลินทรียไดเปน 3 ประเภท คือ อัตราการ
บําบัดสูง
(High Rate), อัตราการบําบัดธรรมดา(Conventional Rate), และอัตราการบําบัดต่ํา (Low Rate or
Extended Aeration) โดยมีชวงการทํางานตามคา F/M ratio คือ 0.5-2.0, 0.2-0.5, และ 0.05-0.15
ตอวัน ตามลําดับ
อัตราสวนอาหารตอจุลินทรีย(F/M) คืออัตราสวนน้ําหนักสารอินทรียตอน้ําหนักจุลินทรีย โดยปกติคา F/M
ของระบบเอเอส ควรควบคุมเปน 0.20-0.40 กก.บีโอดี ตอ กก.MLVSS ตอวัน
หรือเรียกอีกอยางหนึ่งงวาการควบคุมคาอัตราสวนภาระอินทรียตอปริมาตรถังเติมอากาศ (Organic Loading
, OL)
OL = BOD (มก./ล) x Flow rate(ลบ.ม./วัน) กก.บีโอดี ตอ ลบ.ม ตอวัน
V (ลบ.ม.) x 1,000

2) การควบคุมอายุสลัดจ( Sludge Retention Time, SRT)


หมายถึงระยะเวลาเฉลี่ยที่จุลินทรียหมุนเวียนอยูในระบบ มีความสัมพันธโดยตรงกับคาอัตราสวนอาหารตอ
จุลินทรีย ในการควบคุมระบบจะตองทดลองหาคาอายุสลัดจที่เหมาะสม โดยหาความสัมพันธระหวางคาอายุ
สลัดจกับคุณภาพน้ําทิ้ง สามารถเขียนสมการไดดังนี้
SRT = น้ําหนักของจุลินทรียในถังเติมอากาศ
น้ําหนักของจุลินทรียที่ออกจากระบบตอวัน
รูปแบบการทํางานของกระบวนการเอเอสแบบอัตราการบําบัดสูง (High Rate), อัตราการบําบัดธรรมดา
(Conventional Rate), และอัตราการบําบัดต่ํา (Low Rate or Extended Aeration) มีคาอายุสลัดจ
คือ นอยกวา 3 วัน, 5-15 วัน และ มากกวา 20 วัน ตามลําดับ
3)การควบคุมอายุสลัดจในถังเติมอากาศ (Mean Cell Residence Time)
อายุสลัดจ หมายถึง ระยะเวลาที่จุลินทรียอยูในถังเติมอากาศ คํานวณไดจาก น้ําหนักของแข็งแขวนลอย
(MLSS)ในถังเติมอากาศตอน้ําหนักของแข็งแขวนลอย(SS)ที่ออกจากระบบในแตละวัน
อายุสลัดจ (วัน) = MLSS (มก./ล) x ปริมาตรถังเติมอากาศ(ลบ.ม)

4) เวลากักพักน้ํา(Hydraulic Retention Time, HRT)


ระบบเอเอสธรรมดาเวลากักพักน้ําที่เหมาะสม คือ 6-12 ชั่วโมง การคํานวณหาระยะเวลาที่น้ําถูกกักพักในถังที่มี
การไหลตอเนื่อง มีคาเทากับปริมาตรของถังเติมอากาศหารดวยอัตราการไหลของน้ํา เขียนเปนสมการไดดังนี้
เวลากักพักน้ํา (ชม) = ปริมาตรถังเติมอากาศ(ลบ.ม)
อัตราการไหลของน้ํา(ลบ.ม./ชม)
5)การควบคุมอัตราการทิ้งสลัดจสวนเกิน(Excess Sludge)
สามารถคํานวณไดหลายวิธี เชน คํานวณจากอัตราสวนอาหารตอจุลินทรีย(F/M), จากคาอายุสลัดจ, จากดุลมวล
สาร
(1) คํานวณจากอัตราสวนอาหารตอจุลินทรีย(F/M) ถาทราบคา F/M ก็สามารถคํานวณคา M เปน MLSSได
และเปรียบเทียบคาที่คํานวณไดกับคาที่ไดจากการตรวจวัด MLSS น้ําในถังเติมอากาศ
ถา M ที่คํานวณได นอยกวาคา MLSS จาการตรวจน้ําแสดงวามีสลัดจสวนเกิน ซึ่งสามารถหาน้ําหนักสลัดจ
สวนเกินไดจาก ผลตาง MLSS x ปริมาตรถังเติมอากาศ และหาปริมาตรสลัดจสวนเกินไดจากน้ําหนักสลัดจ
สวนเกินหารดวยความเขมขนของสลัดจสูบกลับ
(2) คํานวณจากคาอายุสลัดจ
น้ําหนักของ SS ที่ออกจากระบบตอวัน = น้ําหนัก MLSS ในถังเติมอากาศ/อายุสลัดจ
น้ําหนักของ SS ที่ออกจากระบบ = น้ําหนักสลัดจสวนเกิน + น้ําหนัก SS ในน้ําทิ้ง
ปริมาณสลัดจสวนเกิน = น้ําหนักสลัดจสวนเกิน/ความเขมขนสลัดจสวนเกิน
(3) ดุลมวลสารมี 2 แบบคือ ดุลมวลสารในถังเติมอากาศ และ ดุลมวลสารในถังตกตะกอน
ดุลมวลสารในถังเติมอากาศ โดย
มวลสารเขาถังเติมอากาศ = มวลสารออกจากถังเติมอากาศ
(SSน้ําเขาถังเติมอากาศx อัตราการไหลเขาของน้ําเสีย) + (ความเขมขนของสลัดจสูบกลับxอัตราการสูบสลัดจ
กลับ)
= MLSS ในถังเติมอากาศ x อัตราน้ําลนจากถังเติมอากาศ
โดยอัตราน้ําลนจากถังเติมอากาศ = อัตราการไหลเขาของน้ําเสีย + อัตราการสูบสลัดจกลับ
ดุลมวลสารในถังตกตะกอน โดย
มวลสารเขาถังตกตะกอน = มวลสารออกจากถังตกตะกอน
MLSS ในถังเติมอากาศ x อัตราน้ําลนจากถังเติมอากาศ =
(SSน้ําทิ้งx อัตราการไหลทิ้งของน้ําเสีย) + (ความเขมขนของสลัดจสูบกลับxอัตราการสูบสลัดจกลับ) + (ความ
เขมขนของสลัดจสวนเกินxอัตราการสูบสลัดจสวนเกินทิ้ง)
โดยอัตราน้ําลนจากถังเติมอากาศ = อัตราการไหลเขาของน้ําเสีย + อัตราการสูบสลัดจกลับ

6) ดัชนีปริมาตรสลัดจ(Sludge Volume Index, SVI)


= ปริมาตรสลัดจที่ตกตะกอนใน 30 นาที (มล./ล)
ความเขมขนของตะกอน (มก./ล)
โดยปกติระบบบําบัดน้ําเสียเอเอส คาดัชนีปริมาตรสลัดจมีคาอยูระหวาง 80-120 มล./ก. ถาเกิน 200 มล./ก. จะ
ตกตะกอนไมดี ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากแบคทีเรียเสนใยเกิดขึ้นในถังเติมอากาศ

7) การควบคุมดูแลถังตกตะกอน
ทําไดโดยกําหนดระดับความลึกของชั้นสลัดจสะสมในถังตกตะกอน เชน ไมเกิน 1 ใน 3 ของขนาดความจุของถัง
ตกตะกอนเปนตน
ปริมาตรสลัดจสะสม(ลบ.ม.) = น้ําหนักสลัดจที่เขาสูถังตกตะกอน(กก./วัน)
ความเขมขนของสลัดจสะสมในถังตกตะกอน(มก./ล.)
8) การเติมธาตุอาหาร
ในถังเติมอากาศ BOD:N:P:Fe ในน้ําเสียควรมีคา 100:5:1:0.5 น้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมมักจะขาด
ธาตุอาหาร ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิดการไมจมตัวของสลัดจ(Bulking Sludge) จึงตองตรวจสอบปริมาณธาตุ
อาหาร ถามีคาตัวใดตัวหนึ่งขาดไปก็จะตองมีการเติมสารเคมีใหเพียงพอ
วิธีการคํานวณหาธาตุอาหารที่จําเปน
(1) คํานวณปริมาณบีโอดี (BOD Loading)
(2) เปรียบเทียบลักษณะน้ําเสียกับลักษณะที่ตองการ
(3) คํานวณปริมาณธาตุอาหารที่ตองการเพิ่ม
(4) คํานวณปริมาณสารเคมีที่ตองเติม
ตัวอยาง อัตราน้ําเสียเขาระบบเอเอส 2,000 ลบ.ม./วัน น้ําเสียมีคา
BOD 400 มก./ล. สารเคมีทีใชเติม Urea 45% N
N 4 มก./ล. Trisodium Phosphate 18% P
P 2 มก./ล. Ferric Chloride 30% Fe
Fe 0.4 มก./ล.
วิธีทํา 1. คํานวณปริมาณบีโอดี BOD x อัตราการไหลของน้ําเสีย = 800 กก./วัน
2. เปรียบเทียบลักษณะน้ําเสียกับลักษณะที่ตองการ
น้ําเสีย BOD:N:P:Fe = 400 : 4 : 2 : 0.4 = 800 : 8 : 4 : 0.8
ตองการ BOD:N:P:Fe = 100 : 5 : 1 : 0.5 = 800 : 40 : 8 : 4
3. ปริมาณธาตุอาหารที่ตองการเพิ่ม
N = 40 - 8 = 32 กก./วัน
P = 8 - 4 = 4 กก./วัน
Fe = 4 - 0.8 = 3.2 กก./วัน
4. สารเคมีที่ตองเติม
เติม Urea 45% N = 32/0.45 = 71.1 กก./วัน
เติม Trisodium Phosphate18% P = 4/0.18 = 22.2 กก./วัน
เติม Ferric Chloride 30% Fe = 3.2/0.30 = 10.7 กก./วัน
4.ขอสอบเกี่ยวกับเทคนิคการวิเคราะหมลพิษน้ํา(15 ขอ)
1) การเก็บตัวอยางน้ําเพื่อวิเคราะหโลหะหนักตองเติม HNO3 ถึง pH < 2 (เพื่อละลายโลหะ ปองกันการตก
ผลึก)
อุปกรณเก็บตัวอยางน้ํา ประกอบดวย ขวดเก็บตัวอยาง มักเปนขวดโพลีเอทิลีน ขนาด 500-1000 มล. ยกเวนการ
วิเคราะหน้ํามันและไขมันตองใชขวดแกว สําหรับขวดเก็บแบคทีเรียตองเปนขวดแกวหรือขวดโพลิโพรพิลีน ที่
ผานการนึ่งฆาเชื้อแลวปดดวยกระดาษอะลูมิเนียมฟอยล หามเปดขวดกอนเก็บตัวอยาง การเก็บตัวอยางพวกโลหะ
หนัก,น้ํามันและไขมันตองลางขวดเก็บตัวอยางดวย กรดไนตริก(HNO3) กอนใชงาน และถาเปนพวกยาฆา
แมลงตองลางขวดดวยตัวทําละลายอินทรียกอนใชงาน
ปริมาตรของตัวอยางน้ําที่ตองการ มีตั้งแต 100-1000 มล. ขึ้นอยูกับจํานวนและชนิดพารามิเตอรที่ตองการ
วิเคราะห เชน ตองการวิเคราะห คลอรีนตกคาง, ไซยาไนด, ทีดีเอส, น้ํามันและไขมัน, ไนโตรเจน, ยาฆาแมลง
ตองเก็บตัวอยางน้ําเสียอยางนอย 1000 มล. เปนตน
2) การรักษาตัวอยางน้ํา เพื่อปองกันการเปลี่ยนแปลงลักษณะของตัวอยางในชวงเวลาหลังการเก็บ กอนการตรวจ
วิเคราะห ทําไดโดยการเติมสารเคมี การแชเย็นที่ 4 oC ซึ่งขึ้นอยูกับชนิดพารามิเตอรที่ตองการตรวจ เชน
แคลเซียม คลอไรด ฟลูออไรด สามารถเก็บที่อุณหภูมิหองได สวนพารามิเตอรอื่นๆตองแชเย็นที่ 4 oC
พารามิเตอรที่ตองมีการเติมสารเคมีเพื่อรักษาตัวอยาง ไดแก - ซีโอดี, แอมโมเนีย, ทีเคเอ็น, ไนเตรต-ไนไตรต,
น้ํามันและไขมัน, ฟนอล, ทีโอซี ตองเติม กรดซัลฟูริก(H2SO4) ถึง pH<2
- ไซยาไนด เติม NaOH ถึง พีเอช > 12 และเก็บในที่มืดพรอมแชเย็นที่ 4 oC
- ความกระดาง, โลหะ,โลหะละลาย เติม กรดไนตริก(HNO3) ถึง pH<2 วิเคราะหภายใน 6 เดือน
บีโอดีตองวิเคราะหภายใน 6 ชม. พีเอช , ความขุน,ไซยาไนด ภายใน 24 ชม. อื่นๆ วิเคราะหภายใน 7 วัน
3)วิธีการเก็บตัวอยางน้ํา มี 2 แบบ คือ แบบจวง(grab)กับแบบผสมรวม(composite)
หลักการเก็บตัวอยางน้ําเสียแบบผสมรวม คือ
4) SVI คือ ดัชนีวัดปริมาตรสลัดจ หนวย มล./ก. หาไดจาก SV30 x 1000/ SS
SV30 คือ ปริมาตรสลัดจที่ตกตะกอนในเวลา 30 นาที หนวย มล./ล. SS คือคาที่วิเคราะหไดจากตัวอยางใน
Lab หนวย มก./ ล.
5) การวิเคราะหคาดีโอ และ บีโอดีสําหรับน้ําเสีย ควรทําการเจือจาง(Dilution) ใหเหมาะสม การทําการเจือจาง
ควรทําเปน Percent Mixture (เชนน้ําเสียสกปรกมาก ทําการเจือจาง 5% Mix หมายความวา ใชตัวอยางน้ํา
เสีย 5 ml ละลายในน้ําเจือจาง(Dilutor) 100 ml) แตละ Dilution ควรมีการใชออกซิเจนในน้ํา คือ DO0-
DO5 มากกวา 2 มก./ล. และมี DO5 อยางนอย 0.5 มก./ล
ถาเจือจางตัวอยางน้ําเสียมาก(%Mix ต่ํา เชน 0.5%Mix คือใชตัวอยางน้ําเสีย 5 ml ละลายในน้ําเจือจาง
(Dilutor) 1000 ml) อาจจะทําใหคาปริมาณออกซิเจนหมดไปตั้งแตวันที่2-3 แลว คา DO5 จึงเปน 0 มก./ล
จะทําใหไมสามารถคํานวณคาที่แทจริงได
ถาเจือจางตัวอยางน้ําเสียนอย( %Mix สูง เชน 50% Mix คือใชตัวอยางน้ําเสีย 500 ml ละลายในน้ําเจือจาง
(Dilutor) 1000 ml) อาจจะทําใหคาปริมาณออกซิเจนมีเหลือมาก แลว คา DO5 มีคาสูง มก./ล อาจจะทําให
คา BOD ต่ํากวาคาที่แทจริงได
ถามีสารที่ถูกออกซิไดซโดยออกซิเจนโมเลกุลได เชน Fe2+, SO32-,S2-, Aldehyde อาจทําใหคาดีโอใน
แหลงน้ําลดลงดวย
6) ในการวิเคราะหหาโลหะหนัก จําเปนตองมีการเตรียมตัวอยางกอนการวิเคราะห โดยการแยกเอาโหะที่ตองการ
วิเคราะหออกจากน้ําเสียเพื่อลดการรบกวนจากสารอินทรีย และกําจัดปจจัยอื่นที่มีผลรบกวนตอการวิเคราะห
เทคนิคการแยกที่นํามาใชไดแก
ก. การชะละลายสวนที่เปนโลหะ มี 2 แบบ
1. เติมกรด HNO3 หรือ HCl 5 มล. ลงในตัวอยาง 100 มล. ตมใหเดือดประมาณ 10 นาที ใชกับตัวอยางที่
แทบจะไมมีความขุน
2. การยอยดวยกรดโดยเติม HNO3 หรือ HCl 5 มล.ลงในตัวอยาง 100 มล.ใหความรอนจนปริมาตรเหลือ
ประมาณ 15 มล. ใชกับตัวอยางที่มีสารแขวนลอยอนินทรีย เชน ไฮดรอกไซด, ซัลไฟด, ฟอสเฟต ฯลฯ
ข. การยอยสลายสารอินทรีย จําเปนตองทําใหหมดไป หรือใหลดลงในระดับที่ไมเปนอุปสรรคตอการวิเคราะห มี
2 วิธี
1. ยอยดวยกรดโดยเติม HNO3 5-10 มล. ลงในน้ําตัวอยาง 100 มล. แลวใหความรอนบนเตาไฟฟา จน
ปริมาตรของเหลวเหลือประมาณ 10 มล. จึงเติม HNO3 5 มล. และ H2SO4 5 มล. ใหความรอนจนเกิดควัน
สีขาว ของ H2SO4 ทิ้งไวใหเย็นแลวกรองสวนที่ไมละลายออก ใชไดกับตัวอยางหลายชนิด แตไมเหมาะกับการ
วิเคราะหโดย Flame Atomic Absorption และ ICP เนื่องจากมีกรด H2SO4 เหลือตกคางอยู
3. ยอยดวยกรดโดยเติม HNO3 และ HClO4 ขั้นตอนเหมือน 1. แต เปลี่ยนจากการเติม H2SO4 5 มล.เปน
HClO4 10 มล. ใชในกรณีที่ตัวอยางประกอบดวยสารอินทรียที่ถูกออกซิไดซไดยาก แตตองระวังมากเพราะ
อาจเกิดระเบิดได
ค. การสกัดดวยตัวทําละลาย (sovent Extraction) อานเพิ่มเติม หนา 7-66 ในตําราระบบบําบัดมลพิษน้ําของ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
7) ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม บับที่ 2 พ.ศ. 2539 เรื่อง กําหนดคุณลักษณะของน้ําทิ้งที่ระบายออกจาก
โรงงานกําหนดใหใชวิธีการตรวจสอบโลหะหนักดังนี้
1. Zn, Cr, Cu, Cd, Ba, Pb, Ni, Mn ใหใชวิธี AAS ชนิด Direct Aspiration หรือ Plasma
Emission Spectroscopy ชนิด Inductively Coupled Plasma:ICP)
2. As, Se, ใหใชวิธี AAS ชนิด Hydride Generation หรือ Plasma Emission Spectroscopy
ชนิด Inductively Coupled Plasma:ICP
3. Hg ใหใชวิธี AAS Cold Vapor Technique

แลวพรุงนี้เจอกันคราบบบบบบบบ
แนวขอสอบ ผูควบคุมมลพิษน้ํา

ขอ ถาม ตอบ


1. Chlorine เติมที่ไหน ทําหนาที่อะไร ขั้นตอนสุดทายของระบบบําบัด ใชเพื่อฆาเชือ
้ โรค
2. ระบบ RBC มีอะไรบาง แผนหมุนชีวภาพ , Reactor และ ถังตกตะกอน
3. Check Valve คืออะไร อุปกรณปองกันไมใหน้ําไหลยอนกลับ
ตั้งกรวย Imhove Cone ทิ้งใหตกตะกอน 60 นาที
4. วิธีการหา Settable Solid ทําไดอยางไร
หนวยเปน ml/l
แบคทีเรียที่แสดงถึงประสิทธิภาพของระบบ AS
5. Rotifer
คืออะไร
6. กําจัด CN- โดยใชกระบวนการอะไร Chlorination
ไฮโปคลอไรด อิออนกับ(Ocl) กับ กรดไฮโป
7. HOCl มีปสภ.การกําจัดดีกวา OCl
คลอรัส (HOCl) อยางไหนดีกวากัน
คลอรีนรวมตกคาง (Monochloramine,
8. คลอรีนทําปฏิกริยากับแอมโมเนีย แลวไดอะไร
Dichloramine, Trichloramine)
คลอรีน - อาจทําใหเกิดกลิ่น และสารกอมะเร็ง แต
จะเหลือตกคางในน้ํา หางาย ราคาถูก กําจัด
สาหรายและตะใครนา้ํ ได
9. คลอรีนกับโอโซนตางกันอยางไร
โอโซน - เปนกาซไมเสถียรทําลายสี กลิ่นได ราคา
แพง ละลายน้ําไดนอย ไมเหลือตกคางในน้ํา ทํา
ใหจลท.ปนปอนลงน้ําไดอีก ปสภ.สูงกวา
10. SVI คืออะไร SV30 *1000 / SS
ปริมาณความสกปรกของน้ําเสียที่ไหลออกจาก
11. Shock Load คืออะไร แหลงกําเนิดตอการไหลเขาระบบบําบัด มากกวา
ปกติอยางกระทันหันในบางชวงเวลา
น้ําจากกระบวนการผลิต จากการลาง จากน้ําหลอ
12. น้ําเสียอุตสาหกรรม หมายถึงอะไร
เย็น จากการใชของพนักงานและน้ําอื่นๆ
Surface Area และ Iodine number ทั้งคูตองสูง
13. Activate Carbon ประสิทธิภาพขึ้นกับอะไร
ประสิทธิภาพจะดี
การแลกเปลี่ยนไอออนหากเสื่อมสภาพจะทํา
14. ฟนฟู (Regeneration)
อยางไร
15. ระบบใดเปนระบบไรอากาศ UASB
CH4, H2O, H2S กาซใด ทําใหเกิดการกัด กาซไฮโดรเจนซัลไฟด เพราะทําปฏิกริยากับ
16.
กรอน ออกซิเจนได กรดซัลฟวริก
17. การคํานวณอัตราการไหลเวียรสี่เหลี่ยม Q = 1.84LH1.5
18. น้ําเสีย SS มากใช อะไรวัดอัตราการไหล Parshall Flume
19. TKN บอกอะไรไดบาง Organic-N , NH3-N
20. pH ที่ควบคุมตามกฎหมายเทากับเทาไร 5.5 - 9
21. Temp ที่ควบคุมตามกฎหมายเทากับเทาไร <40 C
22. พารามิเตอรทต
ี่ อ
 งวัดทันทีหลังเก็บตัวอยาง pH, Temp , DO , Cl2
เพื่อหาปริมาณสารเคมีที่เหมาะสม, สภาพแวดลอม
23. Jar Test ทําเพื่ออะไร
ที่เหมาะสมและสารเคมีที่เหมาะสม
24. EQ มีหนาที่อะไร ปรับคุณภาพน้ําเสียและปรับอัตราการไหล
25. Coaugulant Aid มีอะไรบาง Bentonite Clay, polymer
26. ถามีการเก็บตัวอยางน้ําทีใ่ ชขวดพลาสติก ฟนอล
คุณภาพต่าํ ราคาถูก จะมีสารใดปนเปอน
27. ปรากฎการณ Eutrophication เกิดจากอะไร สารอาหารมาก
28. ถาตองการเพิ่มไนโตรเจนตองเติมอะไร ยูเรีย
29. การลดกลิ่นเหม็นในเสนทอตองเติมสารอะไร ปูนขาว และโซดาไฟ

กาซใดที่เกิดจากระบบการไมใชอากาศ แลวติด
30. CH4
ไฟ

31. อุปกรณอะไรใชกวาดตะกอนผิวน้ํา Skimer


เครื่องมือชนิดใดมีความแมนยําทีส
่ ุดในการวัด
32. Electromagnatic meter
อัตราการไหล
กระบวนการบําบัดน้ําเสียโครเมียมใชอะไรเติม
33. FeSO4
เพื่อลด โครเมียมหก เปนโครเมียมสาม
ถาขวดเก็บตัวอยางมีผงซักฟอกไมควรนําไป
34. ฟอสเฟต
เก็บตัวอยางอะไร
35. ขอใดคือ Tertiary Treatment กําจัดฟอสฟอรัส
กําจัด คลอรีน ในการวิเคราะห COD ตองเติม
36. HgSO4
สารใด
ถาหากผูควบคุมไมสามารถดําเนินการได ตอง ภายใน 15 วัน นับจากวันที่ไมสามารถดําเนินการ
37.
แจงกรมโรงงานภายในกี่วัน ได
ถาหากผูควบคุมไมประสงคจะดําเนิน การ ตอง
38. ไมนอยกวา 7วัน กอนที่จะไมทํา
แจงกรมโรงงานภายในกี่วัน
ถาหากผูควบคุมมลพิษถูกเพิกถอนใบอนุญาต
39. ภายใน 90 วัน นับแตวันที่ถูกเพิกถอน
บริษัทตองจัดหามาแทนภายในกี่วัน
ถาหากผูควบคุมถูกยึดใบอนุญาตจะถูกจํากัด
40. 3 ป หลังจากถูกเพิกถอน
สิทธิเปนเวลากีป
่ 
41. ใบอนุญาตมีอายุกี่ป หลังจากที่ออกให 3 ป หลังจากที่อนุญาต
ขอจํากัดของการใชเวียรในการวัดอัตราการไหล
42. หามมีของแข็งแขวนลอยสูง
คืออะไร
จุดสําหรับติดตัง้ Buffle guage ตองหางจาก
43. ไมนอยกวา 4 เทาของความสูงเหนือสันเวียร
เวียรเทาไร
ความเร็วของการไหลในรางกับความเร็วผิวน้าํ ความเร็วที่รางคิดเปน 80%ของความเร็วที่ผวิ น้ํา
44.
สัมพันธกันอยางไร v = 0.8 v surface
ความเร็วของการไหลในทอเพือ่ ปองกันการ
45. 0.6 m/s
ตกตะกอนเทากับเทาไร
ใชกับน้ําแปรปรวนการเก็บไหลตอเนื่อง คุณภาพ
46. Composit ใชวด
ั ตัวอยางที่มล
ี ก
ั ษณะอยางไร สม่ําเสมอ โดยน้ําที่แปรปรวนมาก วัด BOD 4
Hr/time, แปรปรวนนอย 12 Hr/ครั้ง
47. ขวดใหม มักมีสารอะไร ปรอทซัลเฟต
48. การลางขวดเก็บตัวอยางควรลางดวยสารใด กรดโครมิก
เติม MnSO4 Alkali Iodine Azide โดยไมให
49. เก็บตัวอยางเพื่อวิเคราะหคา DO อยางไร สัมผัสกับอากาศ และใชฝาขวดแบบ Ground
joint
50. ที่หวยคลิตี้พบปญหาใด ตะกั่ว
51. ตัว Titrant ในการวิเคราะห BOD คืออะไร โซเดียมไทโอซัลเฟต
ความเร็วไหลผานกรวดทรายของระบบ
52. 0.3 m/s
Grit Removal เปนเทาไหร
53. scrapper arm มีหนาที่อะไร กวาดตะกอนทีก
่ นถัง
54. Baffle มีหนาทีอ
่ ะไร กั้นตะกอนลอยไมใหหลุดออกจากน้ํา
55. Primary Sludge มีความเขมขนเทาไร 2.5-5.5% solids
56. Secondary Sludge มีความเขมขนเทาไร 0.5-1.2% solids
MonoChloramine,
Combined Residual Chlorine ฆาเชื้อโรคนอย
57. DiChloramine TriChloramine รวมเรียกวา
กวา Free residual Chlorine แต อยูในน้าํ นานกวา
อยางไร
Microfilter (MF), Ultrafilter (UF), Reverse
58. MF>UF>RO
Osmosis (RO) จงเรียงลําดับ ขนาดรูพรุน
Acetongenesis ขั้นตอนการยอยสลายทั้งหมด
59. Acetongenesis คือกระบวนการอะไร Acidogenesisp ยอยเปนกรด
อินทรีย Methanogenesis ไดกาซมีเทน
60. PAO คืออะไร Phosphorus Accumulation Organisms
แสดงองคประกอบของระบบโดยแสดงคาระดับ
61. Hydraulic Profile บอกอะไร
ตาง ๆ เชนคาระดับน้ํา คาระดับพื้นดิน คาระดับทอ
เครื่องจักรตั้งแต 5 แรงมา หรือ คนงานตั้งแต 7
62. ขอใดถือวาเปนโรงงานตาม พรบ.
คน
โรงงานเยื่อกระดาษ สามารถปลอยน้ําทิ้งที่มค
ี า
63. ไมเกิน 400 mg/l
COD เทาไหร
โรงงานฟอกยอม และโรงฟอกหนัง สามารถ
64. ไมเกิน 60 mg/l
ปลอยน้ําทิ้งที่มค
ี า BOD เทาไหร
โรงงานฟอกหนังสามารถปลอยน้ําทิ้งที่มี
65. ไมเกิน 100 mg/l
คา TKN เทาไหร
66. มาตรฐาน TDS เทากับเทาใด ไมเกิน 3000 mg/l
67. รายงาน EIA มีหนวยงานใดควบคุม สํานักงานนโยบายและแผนสิง่ แวดลอม
68. แหลงน้ําผิวดินแบงเปนกี่ประเภท 5 ประเภท
69. สูตรโมเลกุลของ microorganism คือขอใด C5H7NO2
70. O3 เปน N2 Bact. ใชสารอาหารมาจากแหลงใด เมทานอล กรดอะซิติก สารอินทรีย
71. ปจจัยอะไรที่มผ
ี ลตอ Tricking Filter Hydrualic Loading
72. สารใดใชในการ fix น้ําเสียทีม
่ โี ลหะ เติม HNO3
อัตราสวน Contact- Stabilization เทากับ
73. 1:4
เทาไร
Preminary-Thickening-Stabilization-
74. ขั้นตอนการกําจัด Sludge
Condition-Dewatering-Dispose
75. เราใชอะไร preserve ในการ DO MnSO4 + Modify Azide
76. เมมเบรนชนิดใดที่มีขนาด Pore Size เล็กทีส
่ ด
ุ Reverse Osmosis

You might also like