You are on page 1of 15

ข้อสอบตามหลักสูตรผู้ปฏิบัติงานประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ40

ข้อ
pimtons@gmail.com Switch account

Draft saved

* Required

ให้ผู้เข้าอบรมเลือกตอบคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

สามารถ ส่งคำตอบทั้งหมด ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น

สารเคมีในข้อใดที่ใช้ในกระบวนการกำจัดสารโลหะหนักจำพวกสังกะสีและทองแดง ออกจากน้ำ *
เสีย?

โปตัสเซียมเปอร์มังกาเนต

กรดซัลฟิวริก

อลูมิเนียมซัลเฟต

แคลเซียมไฮดรอกไซด์

กระบวนการบำบัดน้ำเสียที่จัดอยู่ในประเภทกระบวนการทางกายภาพ คือข้อใด? *

การตกตะกอนสารแขวนลอย

การย่อยสลายโดยจุลินทรีย์

การแลกเปลี่ยนประจุ

การสร้างตะกอน
อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์แบบไร้ออกซิเจนมีค่าเท่าใด? *

30 - 40 องศาเซลเซียส

10 - 15 องศาเซลเซียส

20 - 30 องศาเซลเซียส

15 - 20 องศาเซลเซียส

ข้อใดเป็นวิธีที่เหมาะสมสำหรับควบคุมพีเอชในระบบกำจัดไนโตรเจนที่อยู่ในขั้นตอนดีไนทริฟิ
ดีไน เค *
ชัน?

เติมโซเดียมไฮโปคลอไรต์

เติมกรดอะเซติก

เติมกรดซัลฟิวริก

เติมโซเดียมไฮดรอกไซด์

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของผู้จัดการสิ่งแวดล้อม ? *

จัดทำแผนการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม

ประเมินและตรวจสอบลักษณะของมลพิษ

รับรองรายงานตามที่ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษเสนอ

จัดทำแผนปฏิบัติการฉุกเฉินเพื่อป้ องกันไม่ให้มลพิษแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม
ใบทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ มีอายุกี่ปีนับจากวันที่ออกใบทะเบียน ? *

5 ปี

4 ปี

3 ปี

2 ปี

ระบบบำบัดน้ำเสียในข้อใดจัดเป็นระบบบำบัดแบบฟิ ล์มตรึง? *

ระบบเอสบีอาร์ และระบบโปรยกรอง

ระบบโปรยกรอง และระบบแผ่นหมุนชีวภาพ

ระบบคูวนเวียน และระบบเอสบีอาร์

ระบบแผ่นหมุนชีวภาพ และระบบคูวนเวียน

ข้อใดกล่าวถึงระบบเอสบีอาร์ได้ถูกต้อง? *

ประกอบด้วย 2 ถัง คือ ถังเติมอากาศและถังสัมผัส

เหมาะสำหรับระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก

เหมาะสำหรับระบบบำบัดที่มีน้ำเสียไหลต่อเนื่อง

ประกอบด้วย 3 ถัง คือ ถังเติมอากาศ ถังสัมผัส และถังตกตะกอน


บ่อแอโรบิกแบบผลิตสาหร่ายให้ได้มากที่สุด มีความลึกน้ำประมาณกี่เมตร? *

1.2 - 1.5 เมตร

0.6 - 0.9 เมตร

0.9 - 1.2 เมตร

0.2 - 0.6 เมตร

แหล่งกำเนิดหลัก ๆ ที่ทำให้เกิดมลพิษน้ำแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ? *

1 ประเภท คือ ชุมชน

4 ประเภท คือ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่ทำการเกษตรและสถานที่ท่องเที่ยว

2 ประเภท คือ ชุมชน และโรงงานอุตสาหกรรม

3 ประเภท คือ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม และพื้นที่ทำการเกษตร

กระบวนการโฟรีดอกซ์อาศัยกระบวนการหลักประเภทใดในการกำจัดมลสารออกจากน้ำเสีย? *

กระบวนการทางกายภาพ-เคมี

กระบวนการทางกายภาพ

กระบวนการทางชีวภาพ

กระบวนการทางเคมี
สารเคมีในข้อใดที่ใช้ในกระบวนการกำจัดสารไซยาไนด์ออกจากน้ำเสีย? *

โซดาไฟและคลอรีน

กรดซัลฟิวริก

เฟอรัสซัลเฟต

แคลเซียมคลอไรด์

ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหน้าที่ของผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ ? *

ทำรายงานการตรวจสอบ ควบคุม กำกับ ดูแลการทำงานของระบบป้ องกันสิ่งแวดล้อมเป็ นพิษ และ


ส่งให้ผู้จัดการสิ่งแวดล้อมรับรอง

ดำเนินการดูแลระบบต่าง ๆ ของโรงงานที่เกี่ยวข้องกับการบำบัดมลพิษทั้งหมด

ถ้าไม่ประสงค์จะรับผิดชอบระบบป้ องกันสิ่งแวดล้อมเป็ นพิษ ต้องแจ้งให้ผู้จัดการสิ่งแวดล้อมของ


โรงงานทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน

ถ้าไม่ประสงค์จะรับผิดชอบระบบป้ องกันสิ่งแวดล้อมเป็ นพิษ ต้องแจ้งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม


ทราบล่วงหน้าเป็ นลายลักษณ์อักษรไม่น้อยกว่า 15 วัน

ตัวชี้วัดคุณภาพน้ำที่สำคัญที่แสดงถึงการที่น้ำได้รับการปนเปื้ อนจากสารอินทรีย์คือตัวชี้วัดใด ? *

ความขุ่น

โคลิฟอร์มแบคทีเรีย

ตัวชี้วัดคุณภาพน้ำที่สำคัญที่แสดงถึงการที่น้ำได้รับการปนเปื้ อนจากสารอินทรีย์คือตัวชี้วัดใด

ไนเตรต

บีโอดี
คนที่ป่วยเป็นโรคอิไต-อิไต เกิดจากการที่ร่างกายได้รับสารพิษชนิดใด และมีอาการของโรค *
อย่างไร ?

ได้รับสารปรอท มีอาการกระดูกเสื่อม

ได้รับสารแคดเมียม มีอาการผิดปกติทางสมอง

ได้รับสารปรอท มีอาการ คือ ไตทำงานผิดปกติ

ได้รับสารแคดเมียม มีอาการปวดตามกระดูก

ข้อใดกล่าวถึงปฏิกิริยาไนทริฟิ เคชันได้ถูกต้อง? *

เกิดในสภาวะไร้ออกซิเจน เปลี่ยนสารแอมโมเนียไปเป็ นไนไตรต์และไนเตรต ตามลำดับ

เกิดในสภาวะใช้ออกซิเจน เปลี่ยนสารแอมโมเนียไปเป็ นไนไตรต์และไนเตรต ตามลำดับ

เกิดในสภาวะใช้ออกซิเจน เปลี่ยนสารแอมโมเนียไปเป็ นไนเตรตและก๊าซไนโตรเจน ตามลำดับ

เกิดในสภาวะไร้ออกซิเจน เปลี่ยนสารแอมโมเนียไปเป็ นไนเตรตและก๊าซไนโตรเจน ตามลำดับ

สารในข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์แบบไม่ใช้อากาศ ? *

NO3-

CH4

CO2

H2O
ข้อแตกต่างระหว่างกระบวนการเอเอสแบบยืดเวลากับกระบวนการเอเอสแบบธรรมดา คือข้อ *
ใด?

กระบวนการเอเอสแบบยืดเวลามีสลัดจ์ส่วนเกินเกิดขึ้นน้อยกว่า

กระบวนการเอเอสแบบยืดเวลามีค่าอัตราส่วนอาหารต่อจุลินทรีย์ (F/M) มากกว่า

กระบวนการเอเอสแบบยืดเวลามีสลัดจ์ส่วนเกินเกิดขึ้นมากกว่า

กระบวนการเอเอสแบบยืดเวลาต้องมีถังหมักสำหรับย่อยสลายสลัดจ์

ข้อใดกล่าวถึงสระเติมอากาศได้ถูกต้อง? *

ไม่มีการหมุนเวียนสลัดจ์

ความเข้มข้นของ MLSS มีระดับสูงกว่าในระบบอื่น ๆ

มีรูปแบบเป็ นคูหรือคลองที่สร้างให้เป็ นรูปวงรี

บำบัดน้ำเสียได้น้ำที่มีความใสกว่าระบบอื่น ๆ

โรงงานที่มีน้ำเสียปนเปื้ อนสารอินทรีย์ ที่มีภาระบรรทุกบีโอดี (BOD Load) เท่าใด ต้องมีผู้ *


ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ ?

ตั้งแต่ 100 กิโลกรัม/วัน ขึ้นไป

ตั้งแต่ 120 กิโลกรัม/วัน ขึ้นไป

ตั้งแต่ 50 กิโลกรัม/วัน ขึ้นไป

ตั้งแต่ 150 กิโลกรัม/วัน ขึ้นไป


ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหน้าที่ของผู้ประกอบกิจการโรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคลากรด้านสิ่ง *
แวดล้อมประจำโรงงาน ?

ต้องจัดให้มีผู้จัดการสิ่งแวดล้อม หากยังไม่มี ให้จัดหาบริษัทที่ปรึกษาเพื่อดำเนินการแทน

เมื่อยื่นขออนุญาตให้มีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงานแล้ว ต้องรอหนังสือตอบอนุญาตจาก
กรมโรงงานอุตสาหกรรมก่อนจึงดำเนินการต่อได้

มีหน้าที่ต้องดำเนินการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ โรงงาน

มีหน้าที่ยื่นขออนุญาตให้มีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน

กระบวนการโฟรีดอกซ์ใช้กำจัดมลสารชนิดใดในน้ำเสีย? *

ปรอท

ฟอสฟอรัส

ซัลเฟต

ไนโตรเจน

ระบบที่ถูกพัฒนาจากระบบแบบเดิมเพื่อแก้ปัญหาการเสียปริมาตรใช้งานของถังปฏิกิริยา โดย *
ไม่ต้องมีตัวกลางในถังปฏิกิริยา ได้แก่ระบบในข้อใด?

RBC

AFB

UASB

SBR
การควบคุมอายุสลัดจ์ในระบบเอเอส พิจารณาจากพารามิเตอร์ในข้อใด? *

น้ำหนักของจุลินทรีย์ในถังเติมอากาศ และน้ำหนักของจุลินทรีย์ในถังตกตะกอน

น้ำหนักของจุลินทรีย์ที่เข้าระบบต่อวัน และน้ำหนักของจุลินทรีย์ในถังเติมอากาศ

น้ำหนักของจุลินทรีย์ที่เข้าและออกจากระบบต่อวัน

น้ำหนักของจุลินทรีย์ในถังเติมอากาศ และน้ำหนักของจุลินทรีย์ที่ออกจากระบบต่อวัน

ในกระบวนการเอเอสแบบธรรมดา การลดสารอินทรีย์ที่ละลายในน้ำเสียเกิดขึ้นที่ส่วนใดของ *
ระบบ?

ท่อหมุนเวียนตะกอน

ถังเติมอากาศ และถังตกตะกอน

ถังตกตะกอน

ถังเติมอากาศ

ในกรณีที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน จนเกิดมลพิษแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม เป็น *


หน้าที่ของใครที่ต้องรายงานให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบ   ?

ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษ

ผู้ปฏิบัติงานประจำระบบป้ องกันสิ่งแวดล้อมเป็ นพิษ

ผู้จัดการสิ่งแวดล้อม

ผู้ตรวจสอบระบบบำบัดมลพิษ
 โรงงานที่ใช้สารโลหะหนัก เช่น สังกะสี แคดเมียม ตะกั่ว ทองแดง เป็นต้น ที่มีปริมาณน้ำเสีย *
เท่าใด ต้องมีผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ?

ตั้งแต่ 50 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ขึ้นไป

ตั้งแต่ 60 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ขึ้นไป

ตั้งแต่ 30 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ขึ้นไป

ตั้งแต่ 40 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ขึ้นไป

ค่าที่แสดงถึงปริมาณมลพิษน้ำ ซึ่งหาได้จากผลคูณระหว่าง “ปริมาณของน้ำเสียในหน่วย *


ลูกบาศก์เมตรต่อวัน” กับ “ความเข้มข้นของมลสารในน้ำเสียในหน่วยกรัมต่อลูกบาศก์เมตร”
เรียกว่าอะไร?

อัตราการไหล

ค่าสมมูล

สมมูลประชากร

ภาระบรรทุก

ข้อใดเป็นสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในขั้นตอนสุดท้ายของการย่อยสลายสารอินทรีย์ในกระบวนการ *
ไร้ออกซิเจน?

ก๊าซไฮโดรเจน ก๊าซมีเทน

กรดอะเซติก ก๊าซมีเทน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

ก๊าซมีเทน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

กรดอะเซติก ก๊าซมีเทน
ในการออกแบบระบบเอเอสแบบธรรมดา กำหนดให้ระบบใช้เวลาในการกักตะกอนนานเท่าใด? *

5 - 10 วัน

15 - 20 วัน

1 - 4 วัน

4 - 8 ชั่วโมง

กระบวนการในข้อใดจัดเป็นระบบบำบัดน้ำเสียขั้นที่สาม? *

ระบบโปรยกรอง

ระบบสร้างตะกอนแบบเคมี

ระบบปรับพีเอช

ระบบดูดซับด้วยคาร์บอน

ระบบใดเป็นระบบไร้อากาศ? *

AS

SBR

RBC

UASB
สารในข้อใดที่ใช้เป็นสารรีดิวซ์เพื่อลดความเป็นพิษของโครเมียมในน้ำเสีย? *

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์

โซเดียมไบซัลไฟต์

โซเดียมไฮโปคลอไรด์

ก๊าซคลอรีน

สำหรับระบบเอเอส ค่า F/M ratio คำนวณได้จากพารามิเตอร์ในข้อใด? *

น้ำหนักของบีโอดีที่เข้าระบบต่อวัน และน้ำหนักของ MLSS ในถังเติมอากาศ

น้ำหนักของบีโอดีที่เข้าและออกจากระบบต่อวัน

น้ำหนักของบีโอดีในถังตกตะกอน และอัตราการไหลของน้ำเสียที่เข้าระบบต่อวัน

น้ำหนักของ MLSS ในถังตกตะกอน และปริมาตรของถังตกตะกอน

สารชนิดใดที่ใช้ในการฟื้ นฟูสภาพของเรซินแลกเปลี่ยนไอออนในถังกำจัดความกระด้างในน้ำ  ? *

กรดซัลฟิวริก

โซเดียมไฮดรอกไซด์

โซเดียมคลอไรด์

กรดไฮโดรคลอริก
บริษัทที่ปรึกษามีความรับผิดชอบเหมือนกับบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงานในตำแหน่ง *
ใด ?

ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษ

ผู้ปฏิบัติงานประจำระบบป้ องกันสิ่งแวดล้อมเป็ นพิษ

ผู้จัดการสิ่งแวดล้อม

ผู้ตรวจสอบระบบบำบัดมลพิษ

กระบวนการในข้อใดจัดเป็นระบบบำบัดน้ำเสียขั้นที่สอง? *

ระบบปรับพีเอช

ระบบสร้างตะกอนแบบเคมี

ระบบโปรยกรอง

ระบบดูดซับด้วยคาร์บอน

สารผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาดีไนทริฟิ
ดีไน เคชันคืออะไร? *

ไนเตรต

แอมโมเนีย

ก๊าซออกซิเจน

ก๊าซไนโตรเจน
การเกิดปรากฏการณ์ยูโทรฟิ เคชันในแหล่งน้ำเป็นผลมาจากแหล่งน้ำนั้นมีสารใดอยู่ในปริมาณ *
มาก ?

ซัลเฟต

นาโนแตรต

ไนเตรต

แคลเซียม

การกำจัดสารไนโตรเจนออกจากน้ำเสียจัดอยู่ในขั้นตอนใดของกระบวนการบำบัดน้ำเสีย? *

ระบบกำจัดขั้นสุดท้าย

ระบบบำบัดขั้นที่สาม

ระบบบำบัดขั้นที่สอง

ระบบบำบัดขั้นต้น

บ่อแอโรบิกแบบผลิตสาหร่ายให้ได้มากที่สุด มีชื่อเรียกอีกอย่างว่าอะไร? *

Anaerobic Ponds

Maturation Ponds

Facultative Ponds

High Rate Ponds


ระบบ RBC มีส่วนประกอบที่สำคัญอะไรบ้าง? *

ถังปฏิกิริยาและถังตกตะกอน

ถังแอนแอโรบิกและถังบรรจุหินกรอง

ถังแอนแอโรบิกและถังตกตะกอน

ถังปฏิกิริยาและถังบรรจุหินกรอง

Page 2 of 2

Back Submit Clear form

Never submit passwords through Google Forms.

This content is neither created nor endorsed by Google. Report Abuse - Terms of Service - Privacy Policy

 Forms

You might also like