You are on page 1of 5

1

เอกสารประกอบการสอนวิชาการรักษาด้วยการดัดดึง กบ 321
นิสิตกายภาพบาบัดชั้นปี ที่3 คณะกายภาพบาบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2563
ปฏิบัติการ การดึงคอ ดึงหลังโดยใช้ เครื่ อง
Ifferiooion'T อ.วาสนา เตโชวาณิชย์ อ.อรพินท์ การุณทรัพย์ เจริญ
8pmexunowoosboneVfw unowoosboneration
วัตถุประสงค์ go988barboneof'oadoi
what
rainwags
1. นิสิตสามารถทาการรักษาผูป้ ่ วยที่มีปัญหาต้องได้รับการรักษาด้วยการดึงคอหรื อดึงหลังด้วยเครื่ อง
ได้อย่างถูกต้อง โดยคานึงถึงตัวกาหนดต่างๆต่อไปนี้
www.noefooistnririnin.nziowjroqggmh

1.1 นิสิตสามารถใส่แผ่นดึงคอ หรื อ แผ่นรัดอก แผ่นรัดสะโพกได้ถูกต้อง ไม่หลุด


instability 1.2 นิสิตสามารถตั้งค่าการดึงต่างๆได้แก่ น้ าหนักสู งสุ ด น้ าหนักคงค้าง เวลาการรักษา เวลาดึงค้าง
Fiorinamornitow เวลาพัก ความเร็วในการดึง
rednottainorril 1.3 นิสิตสามารถจัดท่าการดึง เช่น ท่าเริ่ มต้น มีการทามุมของเชือก การใช้เก้าอี้รองขาได้ถูกต้องกับ
พยาธิสภาพผูป้ ่ วย
1.4 นิสิตสามารถจัดเตรี ยมท่าดึง การเตรี ยมผูป้ ่ วย การนาผูป้ ่ วยขึ้นเตียงรักษา
1.5 นิสิตสามารถใช้เครื่ องดึงคอและหลังอย่างถูกต้อง รู ้หลักการปลดเตียงในกรณีดึงหลัง การปลด
รอก สวิทช์ความปลอดภัย
1.6 นิสิตสามารถอธิบายวัตถุประสงค์การดึง การปฏิบตั ิตวั ของผูป้ ่ วยขณะดึง อาการไม่พึง
ประสงค์ การใช้ สวิทช์ ความปลอดภัย

ขั้นตอนการปฏิบัติการ
1. ให้นิสิตจับกลุ่มทาการรักษาโดยการดึงคอและหลังตามโจทย์ต่อไปนี้ โดยพยายามคานึงถึงสภาพผูป้ ่ วย
ให้จาลองการใช้คาพูดอธิบายผูป้ ่ วยระบุวตั ถุประสงค์ ขั้นตอนการดึง
ผูป้ ่ วยอายุ 45 ปี ได้รับการวินิจฉัยว่า C-spondylosis ระดับ C5-6 มีอาการชาแขน 2 ข้าง มา 1 สัปดาห์ เคยทา
การรักษากายภาพบาบัดโดยการดึงคอมาแล้ว 3 ครั้ง
- ตั้งค่า มุมเชือก 35 องศา น้ าหนักการดึง maximum weight …… กิโลกรัม, minimum weight 0 หรื อ
1.5 กก. Hold time 8 sec rest time 8 sec , Total time 20 min
ผูป้ ่ วยอายุ 25 ปี มีอาการปวดท้ายทอยร้าวขึ้นศีรษะมา 2 วัน และมี Facet joint ระดับ C2-3 วางตัวไม่ดี ไม่เคย
รับการรักษาทางกายภาพบาบัด
จงลองตั้งค่าการดึงตั้งค่า มุมเชือก .........องศา น้ าหนักการดึง maximum weight .........กิโลกรัม, minimum
weight 0 หรื อ 1.5 กก. Hold time ….sec, rest time...... sec, Total time .. min

1.3 หากผูป้ ่ วยในข้อ1.1 มีปัญหาที่กล้ามเนื้ อคอ


2

จงลองตั้งค่าการดึงตั้งค่า มุมเชือก .........องศา น้ าหนักการดึง maximum weight .........กิโลกรัม, minimum


weight 0 หรื อ 1.5 กก. Hold time ….sec, rest time...... sec , Total time .. min
1.4ผูป้ ่ วยอายุ 25 ปี ได้รับการวินิจฉัย L-spondylosis L2-3 มีระดับอาการปวดร้าวลงขา /10 upperquotas
ขณะยืน, เดิน เคยทาการรักษากายภาพบาบัดโดยการดึงหลังมาแล้ว 3 ครั้ง
จงลองตั้งค่าการดึงตั้งค่า มุมเชือก .........องศา น้ าหนักการดึง maximum weight .........กิโลกรัม, minimum
weight 0 หรื อ 1.5 กก. Hold time ….sec, rest time...... sec , Total time .. min
(น้ าหนักตัวให้ถามจากนิสิตที่ฝึกจริ ง )
1.5 ถ้าผูป้ ่ วยข้อ1.4 แต่มีพยาธิสภาพระดับ L-spondylosis ระดับ L5-S1 lowerwon
จงลองตั้งค่าการดึงตั้งค่า มุมเชือก .........องศา น้ าหนักการดึง maximum weight .........กิโลกรัม, minimum
weight 0 หรื อ 1.5 กก. Hold time ….sec, rest time...... sec , Total time .. min
(น้ าหนักตัวให้ถามจากนิสิตที่ฝึกจริ ง )
1.6 ผูป้ ่ วย Herniated Nucleus pulposus ระดับ L4-5 มา 4 วันมาโดยเตียง Stretcher ระดับpain 7/10 –ขณะ
ยืนตรง จงลองตั้งค่าการดึงตั้งค่า มุมเชือก .........องศา น้ าหนักการดึง maximum weight .........กิโลกรัม,
minimum weight 0 หรื อ 1.5 กก. Hold time ….sec, rest time...... sec , Total time .. min
(น้ าหนักตัวให้ถามจากนิสิตที่ฝึกจริ ง )

หัวข้อที่ต้องคานึงขณะทาการ Traction

1. คาอธิบายผูป้ ่ วย การแนะนาตัว จะทาการรักษาด้วย การดึงคอหรื อหลัง


- วัตถุประสงค์เพื่ออะไร เช่น ลดอาการปวดร้าวลงขา หรื อลดอาการชา ลดการกดทับเส้นประสาท
หรื อลดการเกร็ งตัวของกล้ามเนื้อ
- ขณะทาจะใช้แรงดึงประมาณเท่าไร เวลานานเท่าไร การดึงจะเป็ นลักษณะอย่างไร เช่นดึงแล้วหยุด
เป็ นช่วงๆ
- ขณะดึงจะรู ้สึกอย่างไรเช่นตึงที่บริ เวณไหน ควรผ่อนคลายอย่าเกร็ง
- อาการที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ถ้ามึนศีรษะ มีอาการปวดเพิ่มหรื อชาเพิ่มสามารถกดสวิทช์หยุดการ
ทางานของเครื่ องได้ทนั ที
2. ท่าดึง การจัดท่า ผูป้ ่ วยนอนหงาย นอนคว่า คานึงถึง มุมการดึง มุมเชือก เช่นต้องการระดับที่เข้าใกล้
ลาตัวมากขึ้น เช่น คอระดับล่างๆ เช่น ระดับ C5-6 มุมเชือกจะflex 30-35 องศา เป้าหมาย Upper
lumbar ใช้การรองด้วยเก้าอี้รองขา
3

น้ าหนักที่ใช้ดึง คานึงถึงระดับเนื้อเยือ่ ที่ตอ้ งการเช่นการดึงหลัง หวังผลที่ช้ นั กล้ามเนื้อ น้ าหนักดึงไม่มาก


เช่น 25-30% น้ าหนักตัว ต้องการข้อต่อ 50% น้ าหนักตัว ในผูป้ ่ วย Herniated disc หวังผล suction disc
ใช้แรงดึงเริ่ มต้น 25-30% น้ าหนักตัว โดยต้องคานึงถึงปัจจัยอื่นของผูป้ ่ วยประกอบ
- ปลดเตียงก่อนเริ่ มดึง หากลืม ให้รอจนน้ าหนักมาอยูท่ ี่ต่าสุ ดและกาลังเริ่ มเพิ่มรอบใหม่
ห้ าม-ปลดเตียงขณะน้ าหนักดึงสู งสุ ด จะเกิดการกระชากเกิดอันตรายต่อผูป้ ่ วยเป็ น critical error
- การระมัดระวังผูป้ ่ วยขณะเปลี่ยนท่า โดยเฉพาะกรณีผปู ้ ่ วย Herniated disc ต้องมีการเกร็งหลังให้
ตรงขณะตะแคงไม่ให้หลังบิด
-การดูแลความเรี ยบร้อยเช่น คลุมผ้า กรณีตอ้ งการ Lower lumbar มีหมอนหนุนใต้เข่าป้องกัน lordotic
และให้กล้ามเนื้อหลังหย่อน
- ถ้าต้องการผลดึงที่กล้ามเนื้อหลัง ต้องใช้ท่าที่มีการยืดโดย ใช้เก้าอี้รองขา
- ขณะหลังดึงหรื อปลดเครื่ องจะทาอย่างไร คาแนะนาผูป้ ่ วยถึงการปฏิบตั ิตวั เช่นดึงคอเสร็จควรนอน
พักสักครู่ ก่อนลุกเพิ่ม Tone กล้ามเนื้อโดยขยับคอเล็กน้อย ตะแคงตัวลุกนัง่ สักครู่
- คาแนะนาเวลากลับบ้าน เช่นถ้ารู ้สึกระบมปวดกล้ามเนื้ อคอเพิ่มทาอย่างไร เช่น ประคบเย็น

คาถามการทดลอง
1.1 จงระบุหลักการกาหนดน้ าหนักสู งสุ ดและช่วงเวลาการดึงค้าง Hold time เทียบระหว่างพยาธิสภาพที่
กล้ามเนื้อ เช่น กล้ามเนื้อเกร็ งตัว และกระดูกกดทับเส้นประสาท
1.2 ในขณะที่เราทาการรักษาโดยการดึงหลังระดับ L1-2 และใช้เก้าอี้รองขาแล้ว มุมเชือกถ้าตั้งมุมสู ง
ระดับความรู ้สึกจะแตกต่างกันหรื อไม่
1.3 ทาไมจึงระบุให้การปลดเตียงในกรณี ดึงหลังจึงต้องทาขณะพัก หรื อ น้ าหนักเริ่ มดึงน้อยๆ
1.4 จงระบุถึงปัจจัยที่ทาให้เราต้องลดเวลาการรักษาทั้งหมด
4

ตารางแนะนา parameter ในการดึงคอและดึงหลังโดยใช้ เครื่ องจาก Michelle H. Cameron 2018


บริเวณเป้าหมายที่ แรงดึง Hold/relax times Total traction times
ต้องการการรักษา (seconds) (minutes)
Lumbar
Initial/acute phase 13-20 กก. Static 5-10
Joint distraction 22.5กก 15/15 (ทางคลินิก 20-30
50%น้ าหนักตัว นิยมใช้ 20/10)
Decrease muscles 25%น้ าหนักตัว 5/5 20-30
spasm
Disc problems or 25%น้ าหนักตัว 60/20 20-30
stretch soft tissue
Cervical
Initial/acute phase 3-4 กก Static 5-10
Joint distraction 9-13 กก, 7%น.น.ตัว 15/15 (ทางคลินิก ใช้ 20-30
( 20%น้ าหนักตัว) 7-10/7-10s)
Decrease muscles 5-7 กก. 5/5 20-30
spasm
Disc problems or 5-7 กก. 60/20 20-30
stretch soft tissue

รู ปแสดงหน้ าจอเครื่ องTraction


nnnoun.mn

belltract

riovinlaiturrousinoliron
soon
gigging

to
5

awww.nin.sn www.onni.am omnium www.ieninii.m.mn

ni
musi minimumweight
www.r
min
www.iuoi.r.ys.o.io
mm
barraninian

ภาพแสดงแผ่นรัดอก และแผ่นรัดสะโพก

เอกสารอ้างอิง 1. Geoff Maidland, Elly Hengeveld, Kevin Banks, Kay English. Maidland’s
Verterbral Manipulation. 6rth edition, Butterworth-Heinemann. U.S.A. 2001 .
2. Michelle H. Cameron. Physical agents in rehabilitation. An evidence-based approach to
practice. Chapter 19: Traction. 5th edition. ELSEVIER. Canada 2018.
3. William E. Prentice. Chapter 12: Spinal traction. Therapeutic modalities for sports
medicine and athletic training. 5th edition .McGraw-Hill higher education.2003.
4. Harte A.A, Baxter G.D, Gracey J.H. The efficacy of traction for back pain: A systemic
review of randomized controlled trials. Arch Phys Meds Rehabil 2003; V84 oct. p1542-1553.
5. Alain-Yvan Belanger. Therapeutic Electrophysical Agents; Evidence Behind
Practice. 3rd edition . Wolters Kluwer/Lippincott Williams & Wilkins. P334-341

You might also like