You are on page 1of 97

ฝึกทักษะหมอเส้น

เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต
(Meridian Healer Workshop)
(เอกสารนี้ใช้ประกอบการฝึกทักษะหลักสูตรหมอเส้น)

ขานทอง ดาลาด
บ.ภ. บ.ว. หัตถศาสตร์ ครูรับมอบศิษย์เภสัช-เวช-นวด
โทร ๐๘๖-๗๙๘-๗๔๙๓ , ddalad@hotmail.com

มูลนิธิรวมน้าใจ แฟลต ๑๒ ถนนอาจณรงค์ (ลงทางด่วนท่าเรือ) คลองเตย กรุงเทพฯ


(ใกล้ห้างโลตัส ถนนพระราม ๔), www.facebook.com/khandalad
ประวัติวิทยากร : ขานทอง ดาลาด
• เกิดที่ ตลาดหนองแก อ้าเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
การศึกษา ส้าเร็จประถม มัธยมและครูพิเศษประถมการช่าง กรมวิชาการ
• ส้าเร็จ นธ.เอกและครูสอนปริยัติธรรม ครูสอนโรงเรียนปริยัติสามัญศึกษา วัดบุญบาลประดิษฐ์ อ.ชุมแพ
• อนุฯพุทธศาสนา สถาบันการศึกษาและวัฒนธรรมมาราราเชการา ประเทศศรีลังกา
• วุฒิบัตรภาษาอังกฤษวิชาชีพ มหาวิทยาลัยโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา
• วุฒิบัตรปฏิบัติการภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา
• หลักสูตรผู้จัดการเพื่อการพัฒนา PDM 16th สถาบัน AIM ประเทศฟิลปิ ปินส์
• สัมมนาการวิจัยบนอินเตอร์เน็ต มหาวิทยาลัยเคียว วิทยาเขตฟูจิซาวา ประเทศญี่ปุ่น

วุฒิการแพทย์แผนไทย รับใบประกอบโรคศิลปะเภสัชฯ-เวชฯและครูนวด
งานแปลตารา หนังสือปรัชญาสาหรับคนกินพืช หนังสือทฤษฎีแพทย์จีน หนังสือวินิจฉัยโรคแพทย์
จีน หนังสือตาราสมุนไพรจีน ศึกษาการแพทย์อายุรเวทและการแพทย์ธิเบต
วิทยากร ศูนย์เรียนรู้ชมุ ชนไร่ทักสม อ.องค์รักษ์ อบรมนวดพื้นฐาน กศน. คลองเตย
หลักสูตรอบรมหมอเส้น หลักสูตรหมอสมุนไพร
คานิยาม
หมอ เส้น
An expert Meridian
ความถนัดในเฉพาะสิ่งในทีน่ ี่ แนวแล่น แนวทางของ
คือเรื่องเส้นลมปราณ สัญณาณสื่อสารของร่างกาย
หลักสูตรหมอเส้น (Meridian Healer course) หมายถึง กระบวนการเรียนรู้เส้นเพื่อการบ้าบัด
อาการต่างๆด้วยวิธีนวดและกดจุด รมยา การเชื่อมโยงกันของเส้นเป็นเครือข่ายทั่วกายจะใช้เป็น
ช่องทางส่งสัญญาณรับรู้ กระตุ้นระบบไหลเวียนของเลือด-ลมไปท้าหน้าที่ตามระบบสรีระก้าหนด
ได้ การอบรมเฉพาะทางนีใช้เวลา ๒ วันทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติรวมถึงหลังวันผ่านอบรมไป
ต้องไปก้าหนดปฏิบัติงานคลินิกบริการผู้ป่วย ไม่ต่้ากว่า ๖ กรณี โดยไม่มีอาการป่วยไม่ซ้ากัน จึง
พิจารณารับใบสัมฤทธิ์บัตรหมอเส้น (Achievement Certificate)
เส้นลมปราณ คืออะไร
• สาเหตุการเจ็บป่วยเกิดทางร่างกายจากร่างกายเผชิญกับพลังธรรมชาติตามฤดูกาล สิ่งแวดล้อม
และการรับประทานอาหารแม้แต่รับอุบัติเหตุ เหล่านีท้าให้ร่างกายเปลี่ยนแปลง เช่น ความร้อน
สูง ความเย็นต่้าลง การท้างานของอวัยวะภายในเปลี่ยนไป ซึ่งเรียกว่า ป่วย การบ้าบัดนันท้า
การฟื้นฟูความพอดีให้คืนสภาพเดิมหรือความสมดุลผ่านระบบไหลเวียนที่ดีของร่างกายจึงจะ
ท้าให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์
• เส้นลมปราณ (Meridian) มีค้าเรียกกันหลากหลายตามปรัชญาแพทย์ เช่น qi ลม
ลมปราณ พลังลมชีวิตดังกล่าวใช้เครือข่ายของร่างกายไหลเวียนไปจรดศีรษะ มือและเท้า ซึ่ง
ตรวจพบได้ขณะยังไม่สินลมเท่านัน เส้นลมปราณมีชื่อเรียกตามชื่อของอวัยวะ เช่น เส้นหัวใจ
เส้นตับ เส้นปอด ฯลฯ ทังหมดทุกเส้นจะเชื่อมโยงกันตลอดร่างกาย ผู้ศึกษาต้องเริ่มจดจ้าชื่อเส้น
และจุดบนเส้นที่ยาวออกไป แต่ละจุดมีความส้าคัญคือจะสัมพันธ์กับทางกายภาพของร่างกาย
คือ หากจุดนันตังอยู่ตรงกับอวัยวะภายในใดมักจะสะท้อนอาการป่วยออกมาทางจุดนัน ซึ่งอยู่
ชันผิวนีด้วย ดังนันการบ้าบัดอาการไม่สบายทังหลาย ท้าได้จากชันผิวกายภายนอก การบ้าบัด
บนเส้นลมปราณ 12 ด้วยการกด นวด รมยาตามที่เห็นควรต่อการบ้าบัด
พยาธิสภาพ
1. สาเหตุก่อโรคมีจากภายนอก เช่น ฤดูกาลที่หมุนเวียนไปในรอบ 12 เดือน สภาพแวดล้อมที่อาศัยของป่วย เช่น
ระบบนิเวศน์และบ้านอาศัย สถานที่ทา้ งาน เสือผ้า เครื่องครัว เครื่องเสริมความงาม อื่นๆ
2. สาเหตุก่อโรคมีจากภายใน เช่น ชนิดอาหารที่รับประทาน เครื่องดื่ม การสูดดม อื่นๆ
3. สาเหตุดังกล่าวท้าให้การท้างานของร่างกายเปลี่ยนแปลงปรับอุณหภูมิจากเดิมอาจมีอาการเย็นต่้าลงและการ
ท้างานของอวัยวะปรับตัวตามให้มีการท้างานด้อยลงเรียกว่า อาการหย่อน อาการที่แสดงคือ การหดตัว อาการ
ปวด เกร็งตัว ตะคริว ฯลฯ แนวทางบ้าบัดต้องฟื้นฟูร้อน หรือ สาเหตุปรับตัวอุณหภูมิสูงจากเดิมเป็นความร้อนสูง
จะมีอาการร้อนและการอวัยวะถูกกระตุ้นให้ท้างานมากเกินไป เรียกว่า อาการก้าเริบ ระบบไหลเวียนท้างานเร็ว
เกิน ความร้อนเผาพลาญน้า(ธาตุน้า) ภายในให้เหลือน้อยไม่พอต่อการท้าให้อุณหภูมิปกติได้ อาการที่แสดงคือ
ท้องผูก ผิวแห้ง ปวด มีไข้ ฯลฯ แนวทางบ้าบัดต้องฟื้นฟูธาตุน้าให้ความเย็นขึน
4. ความเย็นที่เกินก่อการอุดตันทางลม-เลือด นอกจากสาเหตุจากฤดูกาลดังกล่าวแล้วยังเกิดได้ตามข้อต่อต่างๆ
เนื่องมาจากโครงสร้างมีขนาดโตของกระดูก ซึ่งให้ความเย็นสูงกว่าที่อื่นๆ จึงอาจกลายเป็นอุปสรรคต่อการ
ไหลเวียนในคนที่ไม่ออกก้าลังกายหรืออ่อนแอ และเมื่อร่างกายมีพลังงานเกินหรือร้อนได้เผาพลาญธาตุน้ามา
ระยะหนึ่งจนน้าเหนียวข้นในเส้นเรียกว่า อาการเสมหะ จึงอาจอุดตันการไหลเวียนได้ อาการป่วยจากสาเหตุ
เสมหะยากยิ่งที่จะวินิจฉัยให้ชัดเจน จนมีการบันทึกไว้ว่า หากมีอาการใดที่ซับซ้อนให้สันนิษฐานสาเหตุแห่ง
อาการเกิดจากเสมหะ
การรับสัมฤทธิ์บัตร (The Certificate of Achievement)
• ผู้รับการอบรมผ่านการฟังบรรยายและฝึกทักษะหมอเส้น 2 วัน กับวิทยากรแล้ว
• ผู้อบรมให้จัดบริการสุขภาพโดยใช้ใบเวชระเบียนบันทึกการท้างานให้ได้ไม่ต่้ากว่า
๖กรณีและถ่ายภาพลินของผู้รับบริการนันๆโดยมีอาการป่วยไม่ซ้ากัน
• ส่งแฟ้มเอกสารเวชระเบียนบันทึกข้อมูลคนป่วยพร้อมภาพลินของคนป่วย
• ส่งแนบทางอีเมล ddalad@hotmail.com
• ส่งทาง www.facebook.com/khandalad หรือ ด้วยตนเอง มูลนิธิรวมน้าใจ แฟลต
12 ถนนอาจณรงค์ คลองเตย กรุงเทพฯ 10110
• วิทยากรจะตรวจการบันทึกข้อมูลใบเวชระเบียนและลินแล้วเสนอแนะที่สา้ คัญต่อ
การบ้าบัดไปพร้อมสัมฤทธิ์บัตรทางไปรษณีย์หรือมารับด้วยตนเอง
• กรุณาแจ้งนัดก่อน โทร ๐๘๖-๗๙๘-๗๔๙๓
แนะนาการบันทึกใบเวชระเบียน
• ต้องแนะน้าตนเองและกิจกรรมที่ต้องบันทึกใบเวชระเบียนก่อนทุกครัง
• บันทึกข้อมูลแบ่ง ๕ หมวด คือ
 หมวดที่ติดต่อและประวัติโรค
 หมวดอาการปัจจุบัน
 หมวดพฤติกรรมที่อาจก่ออาการ
 หมวดเลือกใช้เทคนิคบ้าบัด
 หมวดแนะน้าให้ผู้รับบริการปรับเปลี่ยนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ใบเวชระเบียน
ตัวอย่างใบสัมฤทธิบ์ ัตร
การจัดการเพื่อการกด-นวด-รมยา
๑. จัดหาห้องขนาดพอเหมาะ พัดลมระบายอากาศ เก้าอีและเตียงให้เหมาะสมกับเทคนิค
๒. ปลั๊กไฟ ไดว์เป่าร้อน แท่งยารม ไม้ขีดไฟ ไม้นวดแมงมุม น้ามันนวด เจลล้างมือและน้าล้างมือ
๓. เสือผ้าขนหนูเล็ก โมเดลเส้นลมปราณ แผนที่นาฬิกาชีวิต แผนที่นวดพืนฐาน
๕. มุมเปลี่ยนชุดรับบริการและเก็บเสือผ้ารวมของติดตัวและให้ผู้รับบริการช้าระล้างเท้าสะอาดทุกครัง
๖. ห้ามนวดคนป่วยมีอาการไข้สูง ห้ามนวดบริเวณผ่าตัด-ที่เสริมเหล็ก-ข้อต่อ
๗. ห้ามนวดผู้ป่วยมีกล้ามเนือตอบสนองช้าอาจท้าให้เส้นเลือดแตก
๙. ให้หมอวินิจฉัยอาการก่อนและวางแผนบ้าบัดทุกครัง
๑๐. อธิบายเทคนิคก่อนใช้ให้ผู้รับบริการได้ทราบทุกครัง
๑๒. หมอต้องไม่พูดมากเว้นแต่หมอถามความรู้สึกขณะก้าลังนวด
๑๓. มอบน้าเปล่า ๑ แก้วให้ผู้รับบริการดื่ม
๑๔. หมอต้องล้างมือก่อนนวดและหลังนวดทุกครัง
ความรู้พื้นฐานกล้ามเนื้อ: เส้นไย
ความรู้พื้นฐาน: ชนิดของกล้ามเนื้อ
ความรู้พื้นฐาน: ร่างกายของเรา
ความรู้พื้นฐาน: กล้ามเนื้อหน้าตรง
ความรู้พื้นฐาน : กล้ามเนื้อด้านข้างและคอ
ความรู้พื้นฐาน: เส้นประสาทแขน
ความรู้พื้นฐาน : มือ
ท่าพื้นฐานประเมินการทางาน : แขนและมือ
โครงสร้าง: ทรวงอกและสะบัก
โครงสร้างกล้ามเนื้อ: ด้านหน้าและหลัง
โครงสร้างกระดูก: ร่างกายและสันหลัง
การประเมินการ : แขน
โครงสร้าง: ต้นขา
โครงสร้างกระดูก: เชิงกรานด้านหน้าและหลัง
โครงสร้าง : กล้ามเนื้อหลัง-เชิงกราน-กระดูกสันหลัง
กายภาพ : ก้นและท้อง
การประเมินตาแหน่ง : กระดูกก้นกบ
โครงกล้ามเนื้อขา :ตอนบนและตอนล่าง
โครงสร้างขา:ด้านข้างและด้านหลังขา
โครงสร้างกระดูก: ขาและเท้า
เส้นเอ็นของเท้าด้านข้าง
สรีระวิทยา :การสร้างพลังงานให้ตนเองจากอาหาร
เสมหะ ตังที่ ปอด

ปิตตะ ตังที่
กระเพาะอาหาร

วาตะ ตังที่ ล้าไส้ใหญ่


สาระส้าคัญของนา้ ย่อย : ใช้บ้าบัดโรค(Enzyme therapy)
• น้าย่อย เรียกชื่อว่า เอ็นไซม์ หรือ ไฟธาตุ พลังชีวิต นันมีสถานะเป็นกรดที่
เข้มข้นเหมาะสมกับการย่อยอาหารที่กินเข้าไปได้อย่างสมบูรณ์
• ปริมาณของน้ายอยของมนุษย์มีมาแต่ก้าเนิดโดยในวัยเยาว์จะมีน้าย่อย
ปริมาณมากและประสิทธิภาพเมื่อคนมีอายุสูงจะลดลงและด้อย
ประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นภาวะปกติธรรมชาติ
• การก่อโรค เมื่อน้าย่อยด้อยประสิทธิภาพไม่ว่าจะสาเหตุใด หากน้าย่อยน้อย
จะย่อยอาหารได้ไม่ดีและสะท้อนจากมีอาการท้องอืด มีลมในท้อง เมื่อ
อาการนีด้าเนินไปนานท้าให้ร่างกายขาดสารอาหาร กล้ามเนืออ่อนแอ
อวัยวะเสื่อมในการท้างาน
หากน้าย่อยมีเพิ่มมากเกินไปจะย่อยอาหารได้รวดเร็ว ท้าให้หิวอาหารไว
ร่างกายเผาพลาญจนท้าให้ปริมาณน้าลด ร้อนใน ท้องผูก การอักเสบภายใน
มาตรวัดระดับเส้นลมปราณ : ระยะยาวของข้อนิ้วมือ
เส้นลมปราณของไทยมี ๑๐ เส้น (10 Thai Meridians)
๑. อิทา ตังที่ข้างสะดือซ้าย ๑ ข้อและลึก ๒ ข้อ แก้อาการเข่า ขา
๒. ปิงคลา ตังที่ข้างสะดือขวาเฉียง 45 องศา ๑ ข้อและลึก ๒ ข้อ แก้เข่า
๓. สุมมนา ตังที่แนวกลางเหนือสืด ๒ ข้อ แก้นอนไม่หลับ อ่อนเพลียฯ
๔. กาละทารี ตังที่เหนือสะดือ ๑ ข้อ เส้นแยก ๔ ทาง แก้อาการแขน-ขา
๕. สหัสรังสี ตังที่ข้างสะดือซ้าย ๒ ข้อ แก้ปวดขมับ ข้อเข่า ฝ่าเท้า
๖. ทวารี ตังข้างขวาของสะดือ ๒ ข้อแก้อาการเข่า ขาด้านใน ตาตุ่ม
๗. จันทภูสัง ตังที่ข้างซ้ายของสะดือ ๓ ข้อ แก้อาการหูอือ
๘. รุชัง ตังที่ข้างขวาของสะดือ ๓ ข้อแก้อาการต้นคอ หูข้างขวา
๙. สุขุมัง ตังที่ใต้สะดือเยืองซ้าย แก้อาการหัวเหน่า ล้าไส้ตรง ท้องผูก
๑๐. ศิขิณี ตังที่ใต้สะดือเยืองขวา แก้อาการอวัยวะเพศ ทวารเบา
แผนที่เส้นลมปราณมีศูนย์กลางที่
สะดือของมนุษย์เราโดยกดไปตาม
แนวเพื่อบาบัดตามแนวเครือข่าย
ของเส้นในขณะเดียวกันก็บาบัด
อวัยวะที่บริเวณนั้น

การบ้าบัดโรคเส้นอีกทางคือการใช้
สมุนไพร ที่มีสรรพคุณขับพิษ สิ่งอุปสรรค
ออกจากเส้น ชื่อ “ยาประจุพิษ “ เพื่อ
ช้าระพิษอุดตันภายในเส้น ตามต้ารา
แพทย์แผนไทยมีหลายต้ารับ

เส้นลมปราณเหล่านีเชื่อมระหว่างชันผิวหนัง
กับอวัยวะโดยพาดผ่านเครื่อข่ายไปทั่ว
ร่างกาย หากมีการติดขัด หรือ อุดตันภายใน
จะบ้าบัดด้วยการนวด กดจุด และสมุนไพร
เพื่อกระตุ้นลม-เลือดไหลเวียน
จุดเส้น 10 บริเวณท้อง
ข้างซ้าย
ข้างขวา
จุดเส้นบาบัดอาการท้อง-เอว-เชิงกราน-เข่า
1. เส้นรัตตะฆาต
2. เส้นปัตตะฆาต
3. เส้นสันตะฆาต
4. เส้นมุตตะฆาต
“ฝึกกดต้าแหน่งตามล้าดับจาก
ใต้ซีกโครงลอย ขอบเอว หัวเชิงกราน
และร่องเชิงกราน”
แนะน้าชื่อเส้นลมปราณ

เส้นลมปราณหยาง อักษรย่อ เส้นลมปราณหยิน อักษรย่อ


ปอด LU / lung ม้าม SP/spleen
เยือหุ้มหัวใจ PC ตับ LR/ Liver
/pericardium
หัวใจ HT/Heart กระเพาะอาหาร ST / stomach
ส้าไล้ใหญ่ LI/Large ถุงน้าดี GB/Gall
Intestine bladder
ล้าไส้เล็ก SI /small กระเพาะปัสสาวะ BL / Bladder
Intestine
ซานเจียว SJ/San Jiao ไต KI/Kidney
ชื่อเส้นลมปราณแพทย์จีน
ความสัมพันธ์ระหว่างอาการจากเส้นลมปราณ LU LI
๑. การท้าหน้าที่ของอวัยวะตามปกติ
๒. ความผิดปกติของอวัยวะ

LU/
ปอด

LI/ล้าไส้
ใหญ่
ความสัมพันธ์ระหว่างอาการจากเส้นลมปราณ ST SP

ST/กระเพาะ SP/
อาหาร ม้าม

๑. การท้าหน้าที่ของอวัยวะ
ตามปกติ
๒. ความผิดปกติของอวัยวะ
ความสัมพันธ์ระหว่างอาการจากเส้นลมปราณ HT SI
๑. การท้าหน้าที่ของอวัยวะตามปกติ
๒. ความผิดปกติของอวัยวะ
HT/
หัวใจ

SI/
ล้าไส้
เล็ก
ความสัมพันธ์ของโรคจากเส้นลมปราณ BL KI
BL/
กระเพาะ
ปัสสาวะ

๑. การท้าหน้าที่ของ
อวัยวะตามปกติ
๒. ความผิดปกติของ
อวัยวะ
KI/ไต
ความสัมพันธ์ระหว่างอาการจากเส้นลมปราณ PC SJ
๑. การท้าหน้าที่ของอวัยวะตามปกติ
๒. ความผิดปกติของอวัยวะ
PC/
เยือหุ้ม
หัวใจ

SJ/ซานเจียว
ความสัมพันธ์ระหว่างอาการจากเส้นลมปราณ GB LR

LR/
GB/ ตับ
ถุงน้าดี
๑. การท้าหน้าที่ของ
อวัยวะตามปกติ
๒. ความผิดปกติของ
อวัยวะ
องค์รวมมนุษย์ตามทฤษฎีความร้อนและความเย็น

หยิน
หยิน
หยาง

หยาง
ประเมินร่างกายและนวดกระตุ้น ๖ คู่
ให้หมอตรวจประเมินร่างกายก่อน
นวดหรือกดจุดสะท้อนทุกครัง
โดยใช้มือเพื่อตรวจ
๑. การตอบสนองของ
กล้ามเนือ
๒. การสะท้อนเจ็บของเส้น
๓. การตัดสินใจเลือกเส้นและ
จุดเพื่อใช้กดบ้าบัดต่อไป

ใช้โมเดลเส้นและค้นหาต้าแหน่งเส้นลมปราณบนร่างกายทัง ๑๒ เส้น เน้นดูแนวของเส้นจาก


จุดเริ่มต้นไปจนสุด ค้นหาต้าแหน่งและกดจะให้สรรพคุณบ้าบัดในคราวเดียวกัน
จุดกดที่ศีรษะและใบหน้า
การตรวจร่างกายเบื้องต้น ๑ (เส้นปอด-ลาไส้ใหญ่)
ปอดท้าหน้าที่ฟอกเลือดให้กลับมาใช้ได้อีกและ
กระจายน้าในส่วนบนของร่างกาย การท้าหน้าที่
สัมพันธ์กับล้าไส้ใหญ่
หากใช้มือกด LU 5 เบา ๒ – ๓ ครัง รู้สึกเจ็บจะ
สะท้อนความผิดปกติเกิดขึน เช่น ปอดร้อน อัน
อักเสบ ฯลฯ ความสัมพันธ์ของอวัยวะทังสองท้าให้
รับการกระจายของอาการโรคด้วย

ล้าไส้ใหญ่ ท้าหน้าที่เก็บอาหารเก่ารอการขับออกไป
เมื่อตรวจด้วยการใช้นิวมือกดบริเวณ LI 11 เบา ๒
– ๓ ครัง หากรู้สึกเจ็บ สะท้อนอาการผิดปกติ เช่น
ล้าไส้ใหญ่ขาดน้า ท้องผูก การขับถ่ายไม่ปกติ มีพิษ
ตกค้าง ล้าไส้ใหญ่อักเสบ หากอาการรุนแรงจะ
เชื่อมโยงไปที่ปอด ท้าให้ลมขึนเบืองบน มีอาการไอ
กลิ่นปากเหม็น เป็นต้น
การตรวจร่างกายเบื้องต้น ๒(เยื้อหุ้มหัวใจ-ซานเจียว)
เยื่อหุ้มหัวใจ รวมเอาหัวใจด้วย เมื่อ
ใช้มือกดที่ PC3 เบา ๒ – ๓ ครัง
หากรู้สึกเจ็บ สะท้อนระบบท้างาน
ของหัวใจ ความกังวลของจิตใจ การ
พักผ่อน การนอนหลับ เลือด
ไหลเวียน ฯลฯ
การตรวจร่างกายเบืองต้น ๓(เส้นหัวใจ-ล้าไส้เล็ก)
หัวใจ หมายถึง กล้ามเนือหัวใจ มีจุดกดที่ Ht
3 บริเวณหัวกระดูกข้อศอกด้านใน
การตรวจร่างกายเบื้องต้น ๔(เส้นตับ-ถุงน้าดี)
การตรวจร่างกายเบืองต้น ๕(เส้นกระเพาะอาหาร-ม้าม)
การตรวจร่างกายเบื้องต้น ๖ (เส้นไต-กระเพาะปัสสาวะ)
จุดวงกลมขาวเป็นจุดของเส้นลมปราณอะไร....กดเลย
ศีรษะ (Head)
อุปกรณ์ : เครื่องมือไม้นวดแมงมุม ให้ปล่อยผม เก็บ
เครื่องประดับ สร้อยคอ (ระวังสูญหายด้วย)
จุดกด/นวดท่านั่ง :
•ใช้ไม้นวดคลึงเบารอบๆ ทั่วศีรษะต่อเนื่องไม่ยกไม้แมงมุมบ่อย จะทาให้รู้สึก
สบายเน้นย้านวดท้ายทอยระดับหู ระดับกลางหู ระดับติงหู เน้นที่ ตาแหน่ง
GB20,BL9, BL10, SI19 และใช้กดจุดเบา
• เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียน ปวดศีรษะ คลายเครียด ความดันโลหิต ปรับสมดุล
พลังหยางกับหยินมาบรรจบกันที่ศีรษะ
คอ (Neck)
อุปกรณ์ : เครื่องมือ ไม้นวดแมงมุม น้ามันนวด
จุดกด / นวดในท่านั่ง :
ทาน้ามันบริเวณคอด้านหลัง ใช้ไม้นวดลากลง-ขึนเบา
ในขณะมืออีกข้างประคองหน้าฝากไว้และให้สลับข้างไม้
นวดแมงมุมและลากขึน-ลงเบาๆ (BL,GB20) หมุน
ใบหน้า(ช้าๆ)ไปขวา-หน้าตรง-ซ้าย-หน้าตรง-ก้ม-
หน้าตรง-หงายหน้า-หน้าตรง
• เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียน บ้าบัดอาการเครียด
ลมปะกังปวดหัวในตอนเช้า อาการวิงเวียน
บ่า-ไหล่ (Shoulder)
อุปกรณ์ : เครื่องมือไม้นวดแมงมุม น้ามันนวด
จุดกด /นวดท่านั่ง : ทาน้ามันบริเวณไหล่ให้ทั่วๆ ใช้ไม้นวดลาก
ตามแนวกล้ามเนื้อกดแรงปานกลางลากไป-มา สลับใช้หมุนไม้
นวดเป็นวงกลมบนกล้ามเนื้อไหล่ทั้งสองข้าง (BL,SJ15,GB20)
และใช้มือดันแนวสันกล้ามเนื้อบ่าไปด้านหลัง
• เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียน บ้าบัดอาการเครียดบริเวณไหล่ บ้าบัด
อาการที่เกิดกับแขนและมือ
สะบัก (Scapular)
อุปกรณ์ : เครื่องมือไม้นวดแมงมุม น้ามันนวด จัดท่านอนคว่า
จุดกด / นวดท่านอนคว่า: คนป่วยสวมเสื้อนิ่มบาง ให้ใช้ไม้
นวดบนเสื้อตาแหน่งบริเวณของสะบัก (SI11) ให้ลากที่ต้น
แขนไป-มาระหว่างข้อศอก (แนวเส้นสะบักไหล่ตาย) และ
ใช้มือกดกระตุ้นตาแหน่ง SI9, LI14 และนวดรอบๆสะบัก
• เพื่อบรรเทาอาการจุกแน่นท้อง ลมในท้อง ปวดศีรษะไหล่
ติด นอนไม่หลับ แขนยกไม่ขึน
แขน (ARM) -ให้คลึงคลายกล้ามเนือรอบด้วยไม้แมงมุม
กด-นวดคลายกล้ามเนือแต่
ละชินซึ่งควบคุมนิวมือแต่ละ
นิว และนวดข้อมือ ดูให้ภาพ
กล้ามเนือประกอบ
และรีดนิวมือแต่ละนิวทัง
ด้านข้างและด้านหน้าไปจน
สุดนิวและหมอนมือ
กล้ามเนื้อด้านหน้าแขน -ให้คลึงคลายแต่ละนิ้ว
ข้อมือ (Carpal)
อุปกรณ์ : เครื่องมือไม้นวดแมงมุม จัดคนป่วยให้ถอดเสื้อ
แขนยาว และมือกด
จุดกด / นวด: ทาน้ามันเริ่มที่แขนจรดถึงข้อมือ
• ใช้ไม้นวดลากกดเบาที่แขนตอนกลาง-ขอบล่างไปจนถึง
ข้อมือ ตาแหน่ง SI5,SI4
• เพื่อทาให้เลือดไหลเวียนหล่อเลี้ยงหัวใจเพิ่มขึ้น บรรเทา
อาการนอนไม่หลับ แขน-นิ้วมือตะคริว รู้สึกชา
หมอนมือ LI4
นวดหมอนมือบ้าบัดอาการ
ต่างๆ ตลอดแขนและลินเฉ
ปากเบียว LI 4
แผ่นสันหลัง -ท่านอนคว่า
อุปกรณ์ : เครื่องมือไม้นวดแมงมุม จัดให้สตรีถอดเสื้อชั้นในเพือ่
เหมาะกับการลากไม้นวดบนแนวกล้ามเนือ้ สันหลัง
จุดกด / นวด : ใช้ไม้นวดบนเสื้อ แบ่ง ๒ ช่วง ๑.จากคอ-ระดับสะบัก
๒. ระดับสะบัก-เอว ส่วนผู้ชายถอนเสื้อและทาน้ามันบนหลังตาม
แนวสันหลัง (BL) ใช้ไม้นวดลากกดแรงปานกลางเว้นช่องกระดูก
ให้นวดเฉพาะกล้ามเนื้อเท่านั้น ทั้งสองข้างจรดเอวเพือ่ บรรเทา
อาการเครียด ปวดหลัง กระตุ้นให้เลือดไหลเวียนขึ้นสู่สมอง
ส่วนกลางและอวัยวะภายใน
บริเวณเอวและตะโพก -ท่านอนคว่า
อุปกรณ์ : ไดว์เป่าลมร้อน ผ้าขนหนูเล็ก จัดคนป่วยให้นอนคว่า
จุดกด / นวด : ใช้ผ้าขนหนูเล็กวางบนตาแหน่งแล้วใช้ไดว์เป่าลมร้อน
อย่างระมัดระวังไม่ให้ร้อนเกินไปและฝ่ามือกดนาบจุดบนผ้าที่
ตะโพกสลักเพชร (GB30) และย้ายผ้าขนหนูไปที่อื่นโดยเป่าร้อน
ไปทั่วเอว-เชิงกรานและเหนือเอวเล็กน้อย(BL22-23,BL25) ตรง
ตาแหน่งอวัยวะไต
• เพื่อบรรเทาอาการปวดเอว กระตุ้นเลือดไหลเวียน ปวดประจาเดือน
(กรณีบาบัดอาการปวดให้มานวดก่อนประจาเดือนมา ๑ สัปดาห์)
บรรเทาความเสื่อมทางเพศ นวดคลายสลักเพชร
ก้นย้อย-โคนขา
อุปกรณ์ : เครื่องมือไม้นวดแมงมุม ไม่สวมยีนหนา
จุดกด / นวด : ใช้ไม้นวดหนึ่งปุ่มกดลงก้นย้อยตรงกลาง
ท่อนขาโดยจับไม้นวดแน่นๆ กดกลางขาและลากขึน-ลง
บนกางเกงตลอดถึงข้อเข่า จนกล้ามเนือนันอ่อนอย่าง
พอใจ (BL36,BL37,BL38)
• เพื่อกระตุ้นให้เลือดไหลเวียนสะดวก บรรเทาอาการ
ตะคริวขา ปวดขา ปวดขาที่อ่อนแรง
ขาตอนบนท่านอนหงาย
อุปกรณ์ : เครื่องมือไม้นวดแมงมุม น้ามันนวด คนป่วยนอน
หงายเหยียดขา
จุดกด / นวด : ๑.ท่านอนหงาย ๒. ใช้สันมือดันกล้ามเนือ้ เหนือข้อ
เข่าเข้าด้านใน (LR8,LR9) และด้านนอก (GB31,GB32,GB33)
๓. ให้คลึงจุดเจ็บ นาน ๒ นาที
• เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนของเลือดผ่านเข่าไป บรรเทาอาการ
นั่งยาก
ข้อเข่า (Knee joint)
อุปกรณ์ : ใช้ไม้นวดแมงมุม น้ามันนวด คนป่วยนอน
ท่านอนคว่า
จุดกด / นวด : ๑.ในท่านอนคว่านวดเหนือข้อพับเข่าและใต้
ข้อพับเข่า ๒.ทาน้ามันที่ข้อพับเข่าถึงน่องและใช้ไม้นวด
ลากขึ้น-ลงจนกล้ามเนื้อและใช้หลังมือแตะจนรู้สึกอุ่น
นวดน่องและฝ่าเท้า
การกดย้าจุด SP6 จุดพบกับของ
เส้นม้าม ตับและไต เพื่อบ้ารุงสตรี
ประจ้าเดือนผิดปกติและเท้าเย็น,
SP5 บ้าบัดอาการที่เท้าและจุด
BL57 แก้ตะคริวขา
นวดน่องและฝ่าเท้า
อุปกรณ์ : ใช้ไม้นวดแมงมุม น้ามันนวด จัดคนป่วยนอนคว่า
จุดกด / นวดนอนคว่า : ทาน้ามันทั่วน่อง (BL55,56,57,58,59,62,63 และ
ใช้ไม้นวดกดเบาลากไป-มาตามแนวขาตอนล่างจนถึงตาตุ่ม ผลจะ
SP5)
ทาให้เท้าอุ่นขึ้น

• เพื่อทาให้เลือดเวียนสะดวก บรรเทาตะคริวขา ปวดขา เข่ายึด ขาเย็น


และปวดเอว คลายเครียดกล้ามเนื้อ รองช้า เท้าบวม เท้าเย็น
ให้กาหนดจุดบาบัดบนฝ่าเท้า
ซึ่งมีพลังหยางและหยินมาบรรจบกันที่นี่
การประเมินศักยภาพของเท้า...เบา
ระยะเวลานัดคนป่วย
• ภายหลังคนป่วยรับการบาบัดครบแล้วให้คนป่วยดื่มน้า ๑ แก้ว
และหมอชาระล้างมือและควรนัดคนป่วยมาพบภายใน ๓ – ๔
วัน และอาการระหว่างวันนัด ผู้ป่วยอาจมีอาการระบมบ้างใน
บางรายวันที่ ๒ และ๓ แล้วจะอาการดีขึ้นรวมทั้งอาการป่วยที่ไม่
รุนแรงด้วย หมอบันทึกเวชระเบียนเพิ่มเกี่ยวกับอาการรวม
เทคนิคที่ใช้ในครั้งนีไ้ ว้ ด้วย
เทคนิคเพิ่มเติมบาบัดปวดเข่า
• ๑.จัดให้ผู้มานวดในท่านั่งบนโต๊ะสูง ขายื่นออกมาพอสมควร
• ๒.หมอใช้มือจับใต้ข้อพับเข่าและนิวโป้งวางที่เหนือสะบ้า
• ๓.ให้ผู้มานวดโยกขาขึน-ลงตามสะดวกไป-มา
ประเมินระยะจุดกดท้อง
บาบัดมดลูก(ขอบคุณคุณหมออุเส็น วงศ์นิรัตน์)

การตรวจให้คลาหรือกดเบาๆ ตามหมายเลข 1 2 3 4
1. ตรวจมดลูกตะแคง หากใช้มือกดข้างใดรู้สึกเจ็บระบุว่ามดลูกตะแคงไปข้างนัน
2. ใช้มือกดตรวจเส้นร่องกระดูก หากรู้สึกเจ็บระบุว่ามีการอันของลม-เลือด
3. ใช้มือกดตรวจเอว หากรู้สึกเจ็บระบุว่า ปวดเอว-หลัง กล้ามเนือบริเวณเอวตึง
4. ใช้มือกดตรวจมดลูกหย่อน หากรู้สึกเจ็บระบุว่า มดลูกหย่อน อาการปัสสาวะบ่อยๆ
การตรวจมดลูกตะแคง กดเบาที่ 1 ทัง สอง ข้าง

บริเวณสีน้าเงิน หมายเลข 1 ตรวจด้วยการกดเบาทังสองข้าง


บ้าบัดมดลูกตะแคง เพื่อบ้าบัดการมีบุตรยาก

บ้าบัดด้วยการกดค้างมือไว้บริเวณสีน้าเงิน 1 และค่อยคู้ขาเข้าจน
ตังฉาก
บ้าบัดมดลูกตะแคง

มือยังกดที่ 1 ค้างไว้แล้วพับขาที่คู้ไปด้านตรงกันข้าม
บ้าบัดมดลูกตะแคง

มือยังกดที่ 1 ค้างไว้พับขาที่คู้ไปด้านตรงกันข้ามจนสุด
เพื่อบ้าบัดการมีบุตรยากเนื่องมากมดลูกตะแคง
เส้นร่องกระดูกเชิงกราน เพื่อบ้าบัดอาการปวดเข่าและปวดประจ้าเดือน

ตรวจด้วยการกดที่ 2 บริเวณสีเขียวทังสองข้าง
เส้นร่องกระดูกเชิงกราน
ตรวจพบ
อาการเจ็บ

เมื่อ
บ้าบัด
ให้พลิก
มือเข้า
มือกดที่ 2 บริเวณสีเขียว บ้าบัดปวด
ประจ้าเดือน ปัสสาวะยาก บ้ารุงเพศ
เส้นร่องกระดูกเชิงกราน

มือยังกดที่ 2 บริเวณสีเขียวกดค้างไว้และคู้ขาเข้า
แล้วพับไปข้างตรงกันข้ามจนสุด
เส้นรังที่หัวเข่า บ้าบัดอาการปวดเข่า-เอว

กด 3 บริเวณสีส้ม กดมือค้างไว้
แล้วคู้ขาเข้าและพับขาไปข้าง
ตรงกันข้าม
ตรวจบ้าบัดมดลูกหย่อน เลข 4 เพื่อบ้าบัดอาการปัสสาวะบ่อย

กดเลข 4
สีแดง
บ้าบัดมดลูกหย่อน

กด 4 บริเวณสีแดงค้างไว้แล้วคู้
ขาทังสองเข้าเมื่อเข่าทังตังฉาก
ให้โกยขึนและเหยียดออกแล้ว
เริ่มท้าอีกรอบ
บาบัดอัมพาตครึ่งซีก
• สาเหตุ เส้นเลือดสมองแตก หรือ ตีบ
• แพทย์แผนโบราณวินิจฉัยว่า โรคครึ่งตัวขาดลมครึ่งตัวอัมพาต
• หลักการบาบัด
การนวดจะผลักดันลมจากข้างที่ปกติไปข้างที่ขาดลมครึ่งตัวและใช้ยา
สมุนไพรบ้ารุงกระเพาะอาหารและม้าม การฟื้นฟูธาตุไฟของร่างกายและการ
ขับเหงื่อตามแนวสันหลัง
• วิธีการ
๑.นวดเส้นข้างที่ปกติมีพลังลมสมบูรณ์ ๒. รมยา หรือ ขูดตามแนวเส้น
ข้างผิดปกติเพื่อรับรองลมไหลมาจากข้างปกติ โดยท้าทั่วร่างกาย
๒.ใช้ค้อนยางนิ่มเคาะเบาตามที่กดจุดและแนวกล้ามเนือของด้านที่งอหรือ
ยืดไม่ออก
โรครูมาทิสซั่ม (ไขข้ออักเสบ)
• อาการ ข้อแข็ง ข้อศอกยืดไม่ตรง กล้ามเนือหดตัว ปวดข้อเข่า
• อาการทีแ่ ขนสาเหตุ ล้าไส้ใหญ่เลือดคั่งขัดขวางทางเดิน
• วิธีบาบัด บ้าบัดแขน ให้กด LI10 และขูดถึงต้นแขน นาน ๕ นาที
ทดสอบให้ยืดแขนออกและสมุนไพรบ้ารุงกระเพาะอาหาร
• อาการที่ขาสาเหตุ ที่เส้นลมปราณม้าม (SP)
• วิธีบาบัด นวดเส้นปราณม้าม SP5(Shangqui), SP10(Xuihai) นวดนาน
๓ นาที ทดสอบให้ยืนและนั่งย่องๆ
ฝึกทักษะเทคนิคการหมุนข้อต่อต่างๆ
• ๑. การหมุนแขน
• ๒. การหมุนขา
• ๓. การหมุนเอว
• ๔.การหมุนข้อเท้า
• ๕ การกดจุดท้อง
หมายเหตุ หมุนเป็นวงกลมให้ได้เท่าที่ยืดได้และให้ค่อย
ทาซ้าๆ ห่างกันเป็นระยะๆ
• เพื่อลดอุปสรรคไหลเวียนของเลือดให้สะดวกยิ่งขึ้นและ
เพิ่มประสิทธิภาพการบาบัด
การใช้ความร้อนบาบัด
การรมยา (Moxibustion) / รมผิวหนังแดงเรื้อให้หยุด
วัตถุประสงค์ เพื่อขับไล่ความชืน ลดบวมและให้ลม-เลือดไหลเวียน เสริมภูมิต้านทานโรค
แนะนาการใช้สมุนไพรร่วมการบาบัด
• ยาหอมเนาวโกศ/น้าดอกไม้เทศ น้าขิง กินร่วมกัน เพื่อเสริมการกระจายลม ความดันโลหิตสูง
• ยาต้ารับธรณีสันฑฆาต เพื่อกระจายลมและขจัดพิษและของเสียในล้าไส้
• โกศน้าเต้าหรือใบชุมเห็ดเทศ ครังละ 15 กัรม ต้ม กินเพื่อระบาย ถ่ายพิษ
• ยาต้ารับเบญจกุล เพื่อเพิ่มความอุ่นกาย บ้ารุงเลือด บ้ารุงก้าลัง
• ขิง ต้ม 15 กรัม กินเพื่อให้ความอุ่นกาย กระจายลม เลือด-ลมเข้าสู่ปลายประสาท ความจ้าเสื่อม ลมชัก
• อบเชย ต้ม 15 กรัม กิน เพื่อบ้ารุงไตให้อุ่น ลดการปัสสาวะ แก้จุกเสียด ลดน้าตาลในเลือดและไขมัน
• ตะไคร้บ้าน ต้ม 15 กรัม กิน เพื่อต้มกินขับปัสสาวะ ลดปวดเข่า
• ยาบ้ารุง-ขับถ่าย ใช้แก่นฝาง แก่นขีเหล็ก เถาวัลย์เปรียง แก่นแสมสาร เปลือกส้ม ต้มอย่างละ 15 กรัม กิน
เพื่อใช้กับคนป่วยเรือรังที่อ่อนเพลีย
• สาเหร่ายชนิดเม็ด เพิ่มเลือด ให้ท้องหลวม บ้ารุงร่างกาย อ่อนเพลีย บ้ารุงตับ หากกินก่อนอาหารลดไขมัน
• ยาบ้ารุงกระเพาะอาหาร คือ ข่าแก่ ขิงแก่ ดีปลี เอาอย่างละ 15 กรัม ต้ม กิน เช้า-เย็น ก่อนอาหาร
• ยาต้ารับเบญจโลกวิเชียร แก้ไข้ ไข้พิษ ไข้หวัด
อาการที่พบบ่อยๆ
• อาการท้องอืด มีลมในท้องมาก ชี้อาการระบบย่อยหย่อนประสิทธิภาพ
แนะนาให้ยาบารุงกระเพาะอาหารและม้าม ให้สามารถทาหน้าที่ได้ดีขึ้น
ให้กินยาหรือผักรสขมเพื่อกระตุ้นหลั่งน้าดี
• อาการท้องผูกเรื้อรัง แนะนาให้รับประทานยาขับถ่าย ระบาย เพื่อลดภาวะลมตรึง
ในเส้นและนอกเส้น ขับการสะสมพิษในร่างกาย กรณีคนป่วยเรื้อรังอ่อนแอควร
ปรับสูตรยาระบายรวมด้วยการบารุงกระเพาะอาหาร ดื่มน้าเพิ่มและหยุดกาแฟ
• อาการกล้ามเนื้ออ่อน ลีบ เล็ก สะท้อนอวัยวะขาดอาหาร(เลือด) ต้องกระตุ้นให้
เลือดไหลเวียนโดยเฉพาะเส้นที่มุ่งสู่สมองต่อเนื่อง ให้พักผ่อน กินผักเพิ่มขึ้น
• ปรับให้ดื่มน้า กินผักสด ออกกาลังให้เหงื่อออกและลดปริมาณอาหาร
ความคาดหวังหลังนวด
การนวดทาให้ ร่างกายตลอดอวัยวะภายในเข้มแข็ง
เพราะจะมีแรงลมไปขับเลือดคืออาหารของอวัยวะที่
ถึงอวัยวะนั้นๆเพียงพอ ดังนั้น การนวดเสมือนการ
ลอกคลองที่ตื้นเขินมีสวะขัดขวางในเส้น เมื่อ
กล้ามเนื้อและอวัยวะได้รับอาหารเต็มอิ่มแล้วจะสร้าง
พลังต้านทานโรคหรือต่อสู้กับโรคได้อย่างอัตโนมัติ
ขอขอบพระคุณทุกแหล่งข้อมูลที่ได้น้ามาอ้างอิงไว้ ณ โอกาสนี
“โชคดีย่อมเป็นของคนมั่นฝึกเสมอ”

You might also like