You are on page 1of 4

แผนบทเรียน

เรื่อง เครื่องกีดขวาง

๑. วัตถุประสงค์ในการฝึ กของผู้บังคับบัญชา
กิจเฉพาะ เครื่ องกีดขวาง
เงื่อนไข ทหารแต่งกายกายเครื่ องแบบฝึ กสวมหมวกเหล็ก,เข็มขัดสนาม,สายโยงบ่า,กระติก
น้ำ และอาวุธประจำกาย ขนาด ๕.๕๖ มม. เพื่อทำการฝึ กในสนาม
มาตรฐานการฝึ ก ทหารมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ อง ประโยชน์ของเครื่ องกีดขวาง วิธรการ
สร้างและคุณลักษณะของเครื่ องกีดขวาง

๒. วัตถุประสงค์ในการฝึ กตามลำดับขั้นของครู ฝึก


๒.๑ วัตถุประสงค์ในการฝึ กตามลำดับขั้นของครู ฝึก เรื่ องที่ ๑
กิจเฉพาะ หลักการทัว่ ไปเรื่ องเครื่ องกีดขวาง ในเรื่ องความหมายการแบ่งประเภท หลักการ
เลือกที่ต้ งั และการใช้เครื่ องกีดขวางโดยทัว่ ไป
เงื่อนไข ทหารแต่งกายกายเครื่ องแบบฝึ กสวมหมวกเหล็ก,เข็มขัดสนาม,สายโยงบ่า,กระติก
น้ำ และอาวุธประจำกาย ขนาด ๕.๕๖ มม. เพื่อทำการฝึ กในสนาม
มาตรฐานการฝึ ก ทหารทุกคนมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องเครื่ องกีดขวางเบื้องต้น

๒.๒ วัตถุประสงค์ในการฝึ กตามลำดับขั้นของครู ฝึก เรื่ องที่ ๒


กิจเฉพาะ เครื่ องกีดขวางลวดหนาม,ทุ่นระเบิดสังหารและกับระเบิด,ขวากไม้
เงื่อนไข ทหารแต่งกายกายเครื่ องแบบฝึ กสวมหมวกเหล็ก,เข็มขัดสนาม,สายโยงบ่า,กระติก
น้ำ และอาวุธประจำกาย ขนาด ๕.๕๖ มม. เพื่อทำการฝึ กในสนาม
มาตรฐานการฝึ ก ทหารทุกคนรู ้จกั เครื่ องกีดขวางลวดหนาม,ทุ่นระเบิดสังหารและกับ
ระเบิด,ขวากไม้

๒.๓ วัตถุประสงค์ในการฝึ กตามลำดับขั้นของครู ฝึก เรื่ องที่ ๓


กิจเฉพาะ การฝึ กปักเสาและการพันลวด
เงื่อนไข ทหารแต่งกายกายเครื่ องแบบฝึ กสวมหมวกเหล็ก,เข็มขัดสนาม,สายโยงบ่า,กระติก
น้ำ และอาวุธประจำกาย ขนาด ๕.๕๖ มม. เพื่อทำการฝึ กในสนาม
มาตรฐานการฝึ ก ทหารทุกคนสามารถปั กเสาและพันลวดแบบต่างๆ ได้

๒.๔ วัตถุประสงค์ในการฝึ กตามลำดับขั้นของครู ฝึก เรื่ องที่ ๔


กิจเฉพาะ การสร้างเครื่ องกีดขวาง ( ลวดหนามกระโจมสู ง )
เงื่อนไข ทหารแต่งกายกายเครื่ องแบบฝึ กสวมหมวกเหล็ก,เข็มขัดสนาม,สายโยงบ่า,กระติก
น้ำ และอาวุธประจำกาย ขนาด ๕.๕๖ มม. เพื่อทำการฝึ กในสนาม
มาตรฐานการฝึ ก ทหารทุกคนสามารถสร้างเครื่ องกีดขวาง ( ลวดหนามหนามกระโจมสู ง
)

๓ คำแนะนำทางธุรการ
๓.๑ การดำเนินการฝึ ก
- วันที่......เดือน..................พ.ศ..............
๓.๒ สถานที่ฝึก
- สนามฝึ ก หน่วยฝึ กที่ ๑ ศร.พัน ๑
๓.๓ ผูร้ ับการฝึ ก ทหารรุ่ นปี .....๒๕๕๔......ผลัดที่ ......๑........
๓.๔ ครู ฝึก
- ส.ท.ยุทธนา อินทร์ภู่
๓.๕ เครื่ องช่วยฝึ ก
- กระดานไวท์บอร์ด
- แผนภาพเครื่ องช่วยฝึ ก เรื่ อง เครื่ องกีดขวาง
- เสาเหล็กเกลียว
- ลวดหนาม
- ถุงมือและคีมตัดลวด
๓.๖ เอกสารอ้างอิง
- คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย ป้ อมสนาม ( รส. ๕ -๑๕ ) พ.ศ.๒๕๑๒
- คู่มือราชการสนาม ว่าด้วยบุคคลทำการรบ ( รส.๒๑ – ๗๕ ) พ.ศ.
๒๕๔๗ (ผนวก ค)
- คือพลทหาร ว่าด้วยการปฏิบตั ิในสนาม พ.ศ.๒๕๓๘
- คู่มือการฝึ ก ว่าด้วย การฝึ กเฉพาะหน้าที่ระดับพลทหารและสิ บตรี
กองประจำการ ( คฝ.๒๑ – ๑ ) พ.ศ.๒๕๔๗
๔. ลำดับขั้นของการปฏิบัติและเวลาที่ใช้

ขั้นตอนที
ลำดับ ่ ๑ ๑.๑ แถลงวัตถุประสงค์ในการฝึ กของผูรายการบ้ งั คับบัญชา เวลาที่ใช้
๑.๒ แถลงวัตถุประสงค์ในการฝึ กของครู ฝึก เรื่ องที่ ๑
- หลักการทัว่ ไปเรื่ องเครื่ องกีดขวาง ในเรื่ องความหมายการแบ่งประเภท
หลักการเลือกที่ต้ งั และการใช้เครื่ องกีดขวางโดยทัว่ ไป
๑.๓ ครู ฝึกอธิบาย / แสดงตัวอย่าง ๑๐
ขั้นตอนที่ ๒ ๒.๑ แยกพวกออกทำการฝึ กตามพื้นที่ ภายในเวลาที่ก ำหนด ๓๐
ขั้นตอนที่ ๓ ๓.๑ เรี ยกรวมเพื่อทำการทดสอบมาตรฐานการฝึ ก ๒๐
ขั้นตอนที่ ๑ ๑.๑ แถลงวัตถุประสงค์ในการฝึ กของครู ฝึก เรื่ องที่ ๒
- เครื่ องกีดขวางลวดหนาม,ทุ่นระเบิดกับระเบิด,ขวากไม้
๑.๒ ครู ฝึกอธิบาย / แสดงตัวอย่าง ๑๐
ขั้นตอนที่ ๒ ๒.๑ แยกพวกออกทำการฝึ กตามพื้นที่ ภายในเวลาที่ก ำหนด ๓๐
ขั้นตอนที่ ๓ ๓.๑ เรี ยกรวมเพื่อทำการทดสอบมาตรฐานการฝึ ก ๒๐
ขั้นตอนที่ ๑ ๑.๑ แถลงวัตถุประสงค์ในการฝึ กของครู ฝึก เรื่ องที่ ๓
- การฝึ กปักเสาและการพันลวด
๑.๒ ครู ฝึกอธิบาย / แสดงตัวอย่าง ๑๐
ขั้นตอนที่ ๒ ๒.๑ แยกพวกออกทำการฝึ กตามพื้นที่ ภายในเวลาที่ก ำหนด ๓๐
ขั้นตอนที่ ๓ ๓.๑ เรี ยกรวมเพื่อทำการทดสอบมาตรฐานการฝึ ก ๒๐
ขั้นตอนที่ ๑ ๑.๑ แถลงวัตถุประสงค์ในการฝึ กของครู ฝึก เรื่ องที่ ๔
- การสร้างเครื่ องกีดขวาง (ลวดหนามกระโจมสู ง)
๑.๒ ครู ฝึกอธิบาย / แสดงตัวอย่าง ๒๐
ขั้นตอนที่ ๒ ๒.๑ แยกพวกออกทำการฝึ กตามพื้นที่ ภายในเวลาที่ก ำหนด ๖๐
ขั้นตอนที่ ๓ ๓.๑ เรี ยกรวมเพื่อทำการทดสอบมาตรฐานการฝึ ก ๔๐
รวมเวลาทั้งสิ้ น ๕ ช.ม.

๕. ข้ อกำหนดในการรักษาความปลอดภัย
- ครู ฝึกต้องควบคุมกำกับดูแลการสร้างเครื่ องกีดขวางอย่างใกล้
- กำชับทหารเรื่ องความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์

๖. ข้ อคิดเห็นและรายระเอียดเพิม่ เติม
- ครู ฝึกหมัน่ ทบทวนและตรวจสอบทหารอยูเ่ สมอ
๗. แนวทางการฝึ ก
- จะต้องเตรี ยมสิ่ งอุปกรณ์ที่น ำมาใช้อย่างพอเพียง

๘. การประเมินผล
ประเมินผล
ลำดับ การปฏิบตั ิ ผ่าน ไม่ผา่ น หมายเหตุ
๑ การสร้างเครื่ องกีดขวาง ลวดหนามกระโจมสู งได้ โดยจัดทหารใหม่เป็ น
ชุดๆละ ๖ นาย

You might also like