You are on page 1of 12

1

- ตัวอย่าง -
แผนบทเรียน
เรื่อง .......การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า………
1. วัตถุประสงคในการฝก ของ ผบช.
1.1 กิจเฉพาะ
...........การฝึ กบุคคลท่ามือ
เปล่า............................................................................................................
...............
1.2 เงื่อนไข
…...ให้ทำการฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า จำนวน 2 ท่า คือ ท่าตรง และท่ายกอก
โดยให้ทหารใหม่แต่งชุดฝึ กพราง สวมหมวกแก็ป ใช้สนามฝึ ก กรม
นร.รร.นส.ทบ. …………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
1.3 มาตรฐาน
.......เพื่อให้ทหารใหม่สามารถปฏิบัติการฝึ กบุคคลท่ามือเปล่าได้ถูกต้อง
ตามแบบฝึ ก และเป็ นระเบียบแบบแผนเดียวกันของหน่วยทหารมหาดเล็ก
ราชวัลลภรักษาพระองค์ ………………………………………………………………

2. วัตถุประสงคในการฝกตามลําดับขัน
้ ของครูฝก

2.1 วัตถุประสงคในการฝกตามลําดับขัน
้ ของครูฝก เรื่องที่ 1
2.1.1 กิจเฉพาะ
..................ท่า
ตรง..............................................................................................................
....................................
2.1.2 เงื่อนไข
...................ให้ทหารใหม่ แต่งชุดฝึ กพราง สวมหมวกแก็ป ใช้สนามฝึ ก
กรม นร.รร.นส.ทบ. ………………………
2.1.3 มาตรฐาน
2

.......เพื่อให้ทหารใหม่สามารถปฏิบัติท่าตรงได้ถูกต้อง ตามแบบฝึ กและ


เป็ นระเบียบแบบแผนเดียวกันของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษา
พระองค
์ ………………………………………….............................…………………………
2.2 วัตถุประสงคในการฝกตามลําดับขัน
้ ของครูฝก
 เรื่องที่ 2
2.2.1 กิจเฉพาะ
..................ท่ายก
อก...............................................................................................................
...........................
2.2.2 เงื่อนไข
...................ให้ทหารใหม่ แต่งชุดฝึ กพราง สวมหมวกแก็ป ใช้สนามฝึ ก
กรม นร.รร.นส.ทบ. …………………………
2.2.3 มาตรฐาน
.......เพื่อให้ทหารใหม่สามารถปฏิบัติท่ายกอกได้ถูกต้อง ตามแบบฝึ กและ
เป็ นระเบียบแบบแผนเดียวกันของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษา
พระองค์ ………………………………………………………………………………………

3. คําแนะนําทางธุรการ
3.1 การฝก จะกระทําในวันที่………………24 ก.ย. 64
……..เวลา……………0800 – 1000 …………………….
3.2 สถานที่ฝก.......... สนามฝึ ก กรม นร.รร.นส.ทบ.
…………………………………..
3.3 ผูรับการฝก………ทหารใหม่ รุ่นปี 2564 ผลัดที่ 1
……………………………….
3.4 ครูฝก/ผช.ครูฝก …………………… ส.ต. นักรบ หาญกล้า ครู
ฝึ ก ………………………………………….
…………………….พลฯ ชาติชาย กตัญญู
ผช.ครูฝก ……………………………………
3

3.5 อุปกรณและเครื่องชวยฝก
……- แผ่นชาร์ตการฝึ กบุคคลท่ามือปล่า
……………………………………………………………………………………………….
3.6 เอกสารอ้างอิง
3.6.1 คู่มือการฝึ ก ว่าด้วย แบบฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า รร.ทม.รอ.
น.ทม.รอ. พ.ศ. 2560
3.6.2 คู่มือการฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า ( คฝ. 7-6 ) พ.ศ. 2544

4. ลำดับการสอน – ฝึ ก และเวลาที่ใช้
ลำดั เวลา
รายการ
บ ที่ใช้
1.1 ครูฝกแถลงวัตถุประสงคในการฝก ของ ผบช.
ขัน
้ 15
การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่าเป็ นสิ่งที่จำเป็ นสำหรับทหาร
ตอน นาที
ใหม่ทุกนาย เพื่อให้ทหารใหม่
ที่ 1
มีลักษณะท่าทางที่ดี เป็ นทหารที่สมบูรณ์และสามารถ
ปฏิบัติการฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า
ได้ถูกต้องตามแบบฝึ กและเป็ นระเบียบแบบแผนเดียวกัน
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์
1.2 ครูฝกแถลงวัตถุประสงคในการฝกตามลําดับขัน
้ เรื่องที่
1
การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่าที่ทหารใหม่จะทำการฝึ กคือ
ท่าตรง หลังจากเสร็จสิน
้ การฝึ กแล้วทหารใหม่สามาปฏิบัติ
ท่าตรงได้ถูกต้องตามแบบฝึ กและเป็ นระเบียบแบบแผน
เดียวกัน ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์
1.3 ครูฝึกสาธิต/แสดงตัวอย่างตามลำดับขัน
้ ของการปฏิบัติ
บอกเรื่องที่จะทำการฝึ ก
“ สวัสดีทหารใหม่ทุกนาย ครูช่ อ
ื สิบตรี นักรบ หาญ
กล้า
4

วันนีจ
้ ะทำการฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า สำหรับชั่วโมงนีจ
้ ะ
ทำการฝึ กในท่าตรง ”
ความมุ่งหมาย
“ เพื่อให้ทหารใหม่ปฏิบัติได้ถูกต้องตามแบบฝึ กและ
เป็ นระเบียบแบบแผนเดียวกันของหน่วยทหารมหาดเล็ก
ราชวัลลภรักษาพระองค์ ”
ประโยชน์
ท่าตรงเป็ นท่าพื้นฐานของทุกท่าก่อนจะปฏิบัติท่าใด ๆ
ลำดั
ก็ตามจะต้องเริ่มจากท่าตรงเสมอ และท่าตรงยังใช้เป็ นท่า

แสดงการเคารพเมื่ออยู่ในแถว หรือกรณีที่อยู่นอกแถวแต่ เวลา
ไม่สวมหมวก ที่ใช้
คำบอก
“ คำบอก เป็ นคำบอก แบ่ง ใช้คำบอกว่า แถว – ตรง ”
แสดงตัวอย่างที่ถูกต้อง
ต่อไปจะให้ดูตัวอย่างที่ถูกต้องจากผู้ช่วยครู ( ครูจะ
เรียกผู้ช่วยครูมาประจำหน้าแถว ) “ผู้ช่วยครู” “หน้า
แถว,ประจำที่” ผูช
้ ่วยครูทวนคำสั่งจากครูฝึกว่า “ประจำที่”
แล้ววิ่งมาประจำต่อหน้าแถวทหารใหม่ ครูฝึกสั่งให้ผช
ู้ ่วยครู
ปฏิบัติในท่าตรง 2 ครัง้ แล้วใช้มือขวาชีไ้ ปยัง ผช.ครู “นีค
่ ือ
ตัวอย่างท่าตรงที่ถูกต้องจากผู้ช่วยครู”

รายการ
แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องพร้อมประกอบคำอธิบาย
“ ต่อไปจะให้ทหารใหม่ดูตัวอย่างพร้อมประกอบคำ
อธิบาย ”
เมื่อได้ยินคำบอกว่า “แถว – ตรง” ให้ทหารใหม่กระตุก
เข่าขวาขึน
้ อย่างรวดเร็วและแข็งแรงยืนให้ส้นเท้าทัง้ สองข้าง
ชิดกันและอยู่ในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทัง้ สองแยกออกไป
ทางข้าง ปลายเท้าเฉียงทำมุมประมาณ ๔๕ องศา เข่าทัง้
5

สองข้างเหยียดตรงและบีบเข่าเข้าหากัน ลำตัวตัง้ ตรง อก


ผาย ไหล่ผึ่ง แขนทัง้ สองข้างอยู่ข้างลำตัวในลักษณะ
งอข้อศอก จนเกิดเป็ นช่องว่างห่างจากลำตัวประมาณ 1
ฝ่ ามือและพลิกข้อศอกไปข้างหน้าเล็กน้อยจนไหล่ทงั ้ สอง
ข้างตึงและเสมอกัน นิว้ ทัง้ ห้าเหยียดตรงเรียงชิดติดกัน และ
ให้นว
ิ ้ กลางแตะที่กึ่งกลางขาท่อนบนหรือประมาณแนว
ตะเข็บกางเกง น้ำหนักตัวอยู่บนเท้าทัง้ สองข้างศีรษะตัง้ ตรง
สายตามองตรงไปข้างหน้า เสร็จแล้วให้ ยกอก
เท่าที่ได้ดูตัวอย่างจากผู้ช่วยครู มีทหารใหม่ผู้หนึ่งผู้ใด
สงสัย ถาม ถ้าไม่มีให้ผู้ช่วยครูกลับไปประจำที่เดิม ครูสั่ง “ผู้
ช่วยครู” “หน้าแถว,กลับเข้าแถว” ผู้ช่วยครูทวนคำสั่ง
“กลับเข้าแถว”
สรุปเน้นย้ำหัวข้อสำคัญ
ต่อไปจะให้ทหารใหม่ลองปฏิบัติดู ครูฝึกสัง่ ทหารใหม่
ขัน
้ ปฏิบัติใน ท่าตรง 2 ครัง้ เสร็จแล้วสั่งพักตามระเบียบ “ 25
ตอน เท่าที่ได้ดูการปฏิบัติของทหารใหม่ ทหารใหม่ปฏิบัติได้ถูก นาที
ที่ 2 ต้องแต่ยังขาดความแข็งแรงและความพร้อมเพรียง ข้อเน้น
ย้ำ ในการปฏิบัตินว
ิ ้ ทัง้ ห้าเหยียดตรงเรียงชิดติดกัน และให้
ขัน
้ นิว้ กลางแตะที่กึ่งกลางขาท่อนบนหรือประมาณแนวตะเข็บ 10
ตอน กางเกง น้ำหนักตัวอยู่บนเท้าทัง้ สองข้าง ” เสร็จแล้วให้ นาที
ที่ 3 ปฏิบัติท่า ยกอก
แยกฝึ ก
ต่อไปจะให้ทหารใหม่แยกฝึ ก ครูฝึกสัง่ “แถว-ตรง” ,
“ขวา-หัน”, “หน้า-เดิน”
- แบ่งผู้รับการฝึ กเป็ นกลุ่มย่อย ๆ ( เพื่อปฏิบัติ )
15
ขัน
้ แบ่งทหารใหม่ออกเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 10-12 นาย ยืนเรียง
นาที
ตอน แถวในรูปแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว โดยแต่ละกลุ่มจะมีครู
ที่ 1 ฝึ ก 1 นาย และ ผช.ครู 1 นาย
6

3.1 ครูฝึกเรียกรวมเพื่อทบทวน
3.2 ประเมินผลการฝึ ก
ประเมินผลการฝึ กเป็ นบุคคล โดยการสังเกตการปฏิบัติของ
ทหารใหม่ ซึง่ ครูให้ทหารใหม่ปฏิบัติท่าตรง ถ้าทหารใหม่
ปฏิบัติได้ถูกต้อง แข็งแรง และพร้อมเพรียงกัน ถือว่า ผ่าน
ถ้าไม่ผ่าน ให้ทหารใหม่ฝึกฝนจนชำนาญ แล้วทำการ
ประเมินผลซ้ำ จนกว่าจะผ่าน

1.1 ครูฝกแถลงวัตถุประสงคในการฝกตามลําดับขัน
้ เรื่องที่
2
การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่าที่ทหารใหม่จะทำการฝึ กคือ
ท่ายกอก หลังจากเสร็จสิน
้ การฝึ กแล้วทหารใหม่สามา
ปฏิบัติท่ายกอก ได้ถูกต้องตามแบบฝึ กและเป็ นระเบียบ
แบบแผนเดียวกัน ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภ
รักษาพระองค์

ลำดั รายการ เวลา


บ ที่ใช้
1.2 ครูฝึกสาธิต/แสดงตัวอย่างตามลำดับขัน
้ ของการปฏิบัติ
บอกเรื่องที่จะทำการฝึ ก
“ สวัสดีทหารใหม่ทุกนาย ครูช่ อ
ื สิบตรี นักรบ หาญ
กล้า
วันนีจ
้ ะทำการฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า สำหรับชั่วโมงนีจ
้ ะ
ทำการฝึ กในท่ายกอก”
ความมุ่งหมาย
“ เพื่อให้ทหารใหม่ปฏิบัติได้ถูกต้องตามแบบฝึ กและ
เป็ นระเบียบแบบแผนเดียวกันของหน่วยทหารมหาดเล็ก
ราชวัลลภรักษาพระองค์ ”
ประโยชน์
7

ท่ายกอก : ใช้สำหรับประกอบการปฏิบัติในขัน
้ ตอน
สุดท้ายของทุกท่า เพื่อแสดงถึงความแข็งแรงและความสง่า
ผ่าเผย ของผู้ปฏิบัติ
คำบอก
“ คำบอก เป็ นคำบอก “เป็ นคำ ๆ” ใช้คำบอก ว่า “ยก,
อก” ”
แสดงตัวอย่างที่ถูกต้อง
ต่อไปจะให้ดูตัวอย่างที่ถูกต้องจากผู้ช่วยครู ( ครูจะ
เรียกผู้ช่วยครูมาประจำหน้าแถว ) “ผู้ช่วยครู” “หน้า
แถว,ประจำที่” ผูช
้ ่วยครูทวนคำสั่งจากครูฝึกว่า “ประจำที่”
แล้ววิ่งมาประจำต่อหน้าแถวทหารใหม่ ครูฝึกสั่งให้ผช
ู้ ่วยครู
ปฏิบัติในท่ายกอก 2 ครัง้ แล้วใช้มือขวาชีไ้ ปยัง ผช.ครู “นี่
คือตัวอย่างท่ายกอกที่ถูกต้องจากผู้ช่วยครู”
แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องพร้อมประกอบคำอธิบาย
“ ต่อไปจะให้ทหารใหม่ดูตัวอย่างพร้อมประกอบคำ
อธิบาย ”
ครูฝึกสั่ง ผช.ครู “ผช.ครู “อก-อก” เมื่อได้ยินคำบอก
“ยก” เป็ นการเตือนให้ผู้ปฏิบัติเตรียมพร้อมในการปฏิบัติ
ต่อไป เมื่อได้ยินคำบอก “อก” ให้ผู้ปฏิบัติยกหน้าอกขึน
้ ใน
ลักษณะกระตุกหน้าอกให้ผงึ่ ผาย ซึ่งมิใช่การยกไหล่หรือสูด
ลมหายใจเข้า จากนัน
้ เมื่อได้ยิน คำบอก “อึ๊บ” ให้ผู้ปฏิบัติ
สะบัดหน้าไปทางผู้รับการเคารพ (ในลักษณะการกัดกราม)
ลำดั ไปในทิศทางตรงหน้า ทางขวา หรือทางซ้ายให้แข็งแรง เวลา
บ ครูฝึกสั่ง ผช.ครู ปฏิบัติอีก 1 ครัง้ “ผช.ครู “อก-อก” ที่ใช้
“อึ๊บ”
การปฏิบัติสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ลักษณะ
1.กรณีผู้ปฏิบัติมีตงั ้ แต่ 2 นายขึน
้ ไป ให้ผู้ที่มีชน
ั ้ ยศ
สูงสุดในบริเวณนัน
้ เป็ นคนสั่ง “ยก, อก” ปฏิบัติให้พร้อม
8

เพรียงกันทุกนาย และสั่ง “อึ๊บ” พร้อมกับสะบัดหน้าไปใน


ทิศทางผู้รับการเคารพ
2.กรณีผู้ปฏิบัติมีนายเดียว ให้ผป
ู้ ฏิบัติปฏิบัติท่ายกอก
และสะบัดหน้าประกอบการแสดงความเคารพให้แข็งแรง
เท่าที่ได้ดูตัวอย่างจากผู้ช่วยครู มีทหารใหม่ผู้หนึ่งผู้ใด
สงสัย ถาม ถ้าไม่มีให้ผู้ช่วยครูกลับไปประจำที่เดิม ครูสั่ง “ผู้
ช่วยครู” “หน้าแถว,กลับเข้าแถว” ผู้ช่วยครูทวนคำสั่ง
“กลับเข้าแถว”

รายการ
สรุปเน้นย้ำหัวข้อสำคัญ
ต่อไปจะให้ทหารใหม่ลองปฏิบัติดู ครูฝึกสัง่ ทหารใหม่
ปฏิบัติใน ท่าตรง 2 ครัง้ เสร็จแล้วสั่งพักตามระเบียบ “
เท่าที่ได้ดูการปฏิบัติของทหารใหม่ ทหารใหม่ปฏิบัติได้ถูก
ต้องแต่ยังขาดความแข็งแรงและความพร้อมเพรียง ข้อเน้น
ย้ำ ในการปฏิบัติเมื่อได้ยินคำบอก “ยก” เป็ นการเตือนให้ผู้
ขัน
้ ปฏิบัติเตรียมพร้อมในการปฏิบัติต่อไป เมื่อได้ยินคำบอก “
ตอน อก” ให้ผู้ปฏิบัติยกหน้าอกขึน
้ ในลักษณะกระตุกหน้าอกให้
ที่ 2 ผึ่งผาย ซึ่งมิใช่การยกไหล่หรือสูดลมหายใจเข้า
แยกฝึ ก 25
ต่อไปจะให้ทหารใหม่แยกฝึ ก ครูฝึกสัง่ “แถว-ตรง” , นาที
ขัน
้ “ขวา-หัน”, “หน้า-เดิน”
ตอน
ที่ 3 - แบ่งผู้รับการฝึ กเป็ นกลุ่มย่อย ๆ ( เพื่อปฏิบัติ )
แบ่งทหารใหม่ออกเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 8 นาย ยืนเรียงแถวใน 10
รูปแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว โดยแต่ละกลุ่มจะมีครูฝึก 1 นาที
นาย และ ผช.ครู 1 นาย

3.1 ครูฝึกเรียกรวมเพื่อทบทวน
9

3.2 ประเมินผลการฝึ ก
ประเมินผลการฝึ กเป็ นบุคคล โดยการสังเกตการ
ปฏิบัติของทหารใหม่ ซึง่ ครูให้ทหารใหม่ปฏิบัติท่ายกอก ถ้า
ทหารใหม่ปฏิบัติได้ถูกต้อง แข็งแรง และพร้อมเพรียงกัน
ถือว่า ผ่าน ถ้าไม่ผ่าน ให้ทหารใหม่ฝึกฝนจนชำนาญ แล้ว
ทำการประเมินผลซ้ำ จนกว่าจะผ่าน

้ 120
รวมเวลาทัง้ สิน
นาที

5. ขอกําหนดในการรักษาความปลอดภัย
5.1 ขอสนับสนุนรถพยาบาลพร้อมเจ้าหน้าที่เสนารักษ์ ณ ทก.ฝึ ก
5.2 ห้วงเวลาในการฝึ กให้เป็ นไปตามคำแนะนำของหน่วยแพทย์
5.3 มีน้ำดื่มในปริมาณที่เพียงพอต่อจำนวนของทหารใหม่ที่เข้ารับการ
ฝึ ก
5.4 เมื่ออากาศร้อนจัดให้ทหารใหม่ทำการฝึ กในที่ร่ม
5.5 ครูฝึกควรให้ทหารใหม่พักตามเวลาที่กำหนด
6. ขอมูลอื่น ๆ ตามที่กําหนดไวใน รปจ. ของหนวย
6.1 ให้นำทหารใหม่มารวมพลในที่รวมพลเพื่อเคารพธงชาติ และครูฝึก
รายงานยอดของทหารใหม่ให้ผู้ฝึกทราบในเวลา 0800 ของทุกวัน
6.2 ก่อนและหลังการฝึ กครูต้องมีการตรวจสอบยอดของทหารใหม่ทุก
ครัง้
6.3 หากทหารใหม่ได้รับบาดเจ็บจากการฝึ กรีบแจ้งเจ้าหน้าที่เสนารักษ์
ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น หากอาการยังไม่ดีขน
ึ ้ ให้รีบนำส่งโรงพยาบาล
ในทันที

แผนการสอนเชิงบรรยาย
1. ส่วนธุรการ
10

บทเรียนเรื่อง การอ่านมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศ


เลนเซติก
วิธีสอน สอนเชิงบรรยายและให้ นนส. ปฏิบัติ
เวลาสอน 50 นาที
ผู้รับการสอน นนส.ทบ. รุ่นที่ 24 ประจำปี การศึกษา 2563

ผู้สอน น. 1 นาย , ส. 2 นาย


เครื่องช่วยฝึ ก/อุปกรณ์การสอน ตามภาคผนวก
หลักฐานอ้างอิง คูม
่ อ
ื การฝึ ก-สอน วิชาครูทหาร , รส.21-6 พ.ศ.
2531 และ คูม
่ อ
ื การฝึ ก-สอน วิชาแผนที่
งานมอบ ศึกษาและทบทวนตามเอกสารที่กำหนด
การแต่งกาย ชุดฝึ กพลาง หมวกแก็ป
ยุทโธปกรณ์ ไม่มี
ลูกมือ ไม่มี
ยานพาหนะ ไม่มี

2. ส่วนหัวข้อการสอน
2.1 การกล่าวนำ ( เวลาที่ใช้ …………5…….. นาที )
ความมุ่งหมาย
1. เพื่อให้ นนส. มีความรู้ความเข้าใจในการวัดมุมภาคทิศ
เหนือโดยใช้เข็มทิศเลนเซติก
2. นนส. สามารถวัดมุมภาคทิศเหนือและอ่านค่ามุมภาคทิศ
เหนือได้คลาดเคลื่อนไม่เกิน 3 องศา
เหตุผล
1. นนส. สามารถนำความรู้ในการวัดมุมโดยใช้เข็มทิศเลนเซ
ติกไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงได้
2. นนส. สามารถวัดมุมภาคทิศเหนือและอ่านค่ามุมภาคทิศ
เหนือในสนามได้ถูกต้องและรวดเร็ว หาก นนส. ไม่มีเครื่อง
มือวัดมุม P-67
11

2.2 การอธิบาย ( เวลาที่ใช้ …………40…….. นาที )


การใช้เข็มทิศวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่ มีขน
ั ้ ตอนการ
ปฏิบัติดังนี ้
2.2.1 ต้องวางแผนที่ให้ถูกทิศ โดยปฏิบัติดังนี ้
- เปิ ดฝาตลับเข็มทิศเลนเซติกและก้านเล็งออกจนสุด
- ใช้มาตราส่วนเส้นบรรทัดของเข็มทิศเลนเซติก ( ขอบ
ด้านตรง ) ทาบไปกับเส้นกริดตัง้ โดยหันฝาตลับไปทางหัวแผนที่
- จับแผนที่ หมุนจนกึง่ กลางหัวลูกศรที่หน้าปั ดเข็มทิศ
เลนเซติกมาอยู่ใต้เส้นดัชนีสีดำ
2.2.2 ยกเข็มทิศออกโดยแผนที่ไม่ขยับเขยื้อน
2.2.3 ใช้ขอบด้านตรงของเข็มทิศเลนเซติกทาบระหว่าง
ตำบลทัง้ สอง โดยให้ขอบด้านตัวเรือนเข็มทิศทับตำบลต้นทางและขอบฝา
ตลับเข็มทิศทับตำบลปลายทาง
2.2.4 อ่านมาตรามุมภาคทิศเหนือตรงใต้เส้นดัชนีสีดำ

คำถาม 1. ขัน
้ ตอนแรกของการการปฏิบัติการใช้เข็มทิศวัด
มุมภาคทิศเหนือบนแผนที่คืออะไร
2. การอ่านมาตรามุมภาคทิศเหนือ นนส. จะอ่านได้เมื่อ
ใด
สรุปย่อย 1. ในการวางแผนที่ให้ถูกทิศเมื่อยกเข็มทิศ
ออกจากแผนที่แล้วถ้าแผนที่ขยับเขยื้อนแม้เพียงเล็กน้อย นนส. ต้อง
วางแผนที่ให้ถูกทิศใหม่ เพื่อป้ องกันการอ่านค่าของมุมภาคทิศเหนือ
ความคลาดเคลื่อน
2. ในการวางแผนที่ให้ถูกทิศ ต้องหาพื้นที่สำหรับ
วางแผนที่ ที่มีลักษณะราบเรียบ ไม่มีวัสดุอ่ น
ื ใดที่มีผลกระทบต่อเข็มทิศ
เลนเซติก
2.3 สรุป / ทบทวน ( เวลาที่ใช้ …………5……….. นาที )
ก. เปิ ดโอกาสให้ นนส. ถาม / ตอบข้อซักถาม
12

ข. เน้นย้ำประเด็นที่สำคัญ
สรุปย่อย 1. ในการวางแผนที่ให้ถูกทิศเมื่อยกเข็มทิศออกจาก
แผนที่แล้วถ้าแผนที่ขยับเขยื้อนแม้เพียงเล็กน้อย นนส. ต้องวางแผนที่ให้
ถูกทิศใหม่ เพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อน
2. ในการวางแผนที่ให้ถูกทิศ ต้องหาพื้นที่วางที่มี
ลักษณะราบเรียบ ไม่มีวัสดุอ่ น
ื ใด
ที่มีผลกระทบต่อเข็มทิศเลนเซติก
ค. กล่าวปิ ดการสอนอย่างประทับใจ
หาก นนส. มีความเข้าใจในการปฏิบัติและสามารถใช้เข็มทิศเลน
เซติกวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่ได้อย่างดีแล้ว ถือได้ว่า นนส. สามารถ
ดำรงตนเพื่อเป็ นพื้นฐานเพื่อก้าวไปสู่ความเป็ นทหารอาชีพได้โดยไม่ยาก
เย็น
ส่วนภาคผนวก
เครื่องช่วยฝึ ก/อุปกรณ์การสอน
1. แผ่นชาร์จประกอบการสอน
2. แผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 ตามจำนวนนักเรียน
3. เข็มทิศเลนเซติก

You might also like