You are on page 1of 38

บทที่

การสาธิตตัวอย่างการฝึกบุคคลท่ามือเปล่า

กล่าวทั่วไป
บุคคลพลเรือนซึง่ เข้ารับราชการทหารใหม่ ไม่วา่ จะเข้ามารับราชการในฐานะ
เข้ารับราชการตามพระราชบัญญัตริ บั ราชการทหาร เข้ารับราชการเป็นนักเรียนนายสิบ

29
เข้ารับราชการเป็นนักเรียนนายทหาร หรือสมัครเข้ารับราชการซึง่ ต้องแต่งตัง้ ยศให้กต็ าม

วิชาผู้น�ำ
จ�ำเป็นจะต้องได้รบั การฝึกท่าบุคคลเบือ้ งต้นก่อนเสมอ ทัง้ นีเ้ พือ่ ประสงค์จะฝึกให้บคุ คล
พลเรือนเหล่านีม้ ลี กั ษณะทหารโดยสมบูรณ์ และให้มคี วามรอบรูใ้ นลักษณะท่าทางส่วน
บุคคล ซึ่งมีความจ�ำเป็นจะต้องน�ำไปใช้ในการปฏิบัติตนในเรื่องเกี่ยวกับวินัย และแบบ
ธรรมเนียมของทหารตลอดเวลาทีร่ บั ราชการทหาร การฝึกบุคคลท่าเบือ้ งต้นจึงถือได้ว่า
เป็นการฝึกเริม่ แรกทีม่ คี วามส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการเข้ารับราชการทหาร เนือ่ งจากการฝึก
นี้จะเป็นเครื่องช่วยปูพื้นฐานบุคคลพลเรือนให้เปลี่ยนลักษณะท่าทางเป็นทหารได้
โดยสมบูรณ์ในโอกาสต่อไป
ความมุ่งหมาย
คู ่ มื อ การฝึ ก เล่ ม นี้ ไ ด้ ก� ำ หนดขึ้ น โดยความมุ ่ ง หมายเพื่ อ ให้ ห น่ ว ยทหาร
หรือผู้ที่มหี น้าที่รับผิดชอบในการฝึกบุคคลท่าเบื้องต้นให้กับบุคคลประเภทต่าง ๆ ดังกล่าว
ข้างต้น ได้น�ำไปใช้เป็นแบบฉบับในการฝึกบุคคลท่ามือเปล่าให้เป็นมาตรฐานอันเดียวกัน
เพื่อปรับลักษณะท่าทางของบุคคลพลเรือนให้เป็นทหารโดยสมบูรณ์

ขอบเขต
คูม่ อื การฝึกเล่มนีจ้ ะกล่าวถึงการฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ซึง่ ครอบคลุมท่าทีส่ ำ� คัญ ๆ
และเป็นท่าหลัก ๆ ได้แก่ ท่าตรง ท่าพัก ท่าเดิน ท่าเคารพ ท่าวิ่ง ท่าถอดหมวกและสวม
หมวก ท่าหมอบลุกและรวมถึงการฝึกแถวชิดด้วย

การบรรลุผล
เพื่อให้การฝึกบรรลุความมุ่งหมายดังกล่าวข้างต้น ผู้บังคับบัญชาทุกชั้นตลอด
30

จนผู้มีหน้าที่ฝึกทุกนายจะต้องคอยกวดขัน และหมั่นดูแลให้การฝึกด�ำเนินไปด้วยดีที่สุด
วิชาผู้น�ำ

โดยจะต้องพยายามคิดค้นหาวิธีฝึกและใช้อุบายในการฝึกอย่างประณีตรอบคอบ เอาใจใส่
และเมื่อพบข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการฝึกจะต้องจัดการแก้ไขทันที

การปรับปรุงแก้ ไข
หากผู้ใช้คู่มือเล่มนี้ประสงค์ที่จะให้ข้อเสนอแนะในการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือ
ให้ข้อคิดเห็นต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงคู่มือให้ดีขึ้นย่อมกระท�ำได้ ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ที่จะเสนอให้
เปลี่ยนแปลงเหล่านี้ควรจะแบ่งหน้า ข้อ และบรรทัดตามที่ปรากฏในคู่มือด้วย และควรจะ
ให้เหตุผลประกอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และสามารถน�ำมาประเมินค่าได้
โดยสมบูรณ์ ข้อคิดเห็นเหล่านีข้ อให้สง่ ตรงไปยังแผนกการฝึก กองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ
ค่ายธนะรัชต์ อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
บทที่
การฝึกท�ำหน้าที่ครูฝึกบุคคลท่ามือเปล่า

คำ�แนะนำ�ในการใช้คำ�บอก
เพื่อให้ผู้มีหน้าที่ในการฝึกได้มีความเข้าใจ และสามารถใช้คำ� บอกตามที่
ก�ำหนดไว้ในคู่มอื เล่มนี้ ส�ำหรับสั่งการปฏิบัติท่าต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไม่สับสน และ

31
เป็นไปในแนวทางเดียวกันจึงแนะน�ำให้ผู้ใช้คู่มือได้ทราบถึงรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้
ค�ำบอกดังต่อไปนี้

วิชาผู้น�ำ
(ประเภทของค�ำบอก ค�ำบอกที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ แบ่งลักษณะ
เป็น 4 ประเภทคือ)
1. ค�ำบอกแบ่ง
2. ค�ำบอกเป็นค�ำ ๆ
3. ค�ำบอกรวด
4. ค�ำบอกผสม
การใช้คำ� บอก ลักษณะทีต่ า่ งกันของค�ำบอกประเภทต่าง ๆ จะเป็นเครือ่ งบ่ง
ให้ทราบถึงลักษณะการปฏิบตั ขิ องท่านัน้ ๆ แนวทางในการใช้นำ�้ เสียงเพือ่ สัง่ และเขียน
ไว้ให้เห็นความแตกต่างกันอย่างเด่นชัดโดยการแสดงเครื่องหมายไว้
1. คำ�บอกแบ่ง
เป็นค�ำบอกที่ใช้เพื่อออกค�ำสั่งส�ำหรับท่าฝึกที่ส่วนใหญ่แล้วมักจะก�ำหนดไว้ให้
ปฏิบัติได้เป็นจังหวะเดียวหรือแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ ค�ำบอกแบ่งนี้ ผู้ให้คำ� บอกจะต้องเปล่ง
เสียงบอกในค�ำแรก ด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้วเว้นจังหวะได้เล็กน้อยก่อนทีจ่ ะเปล่ง
เสียงบอกในค�ำหลัง ด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสัน้ การเขียนค�ำบอกชนิดนีจ้ ะแสดงไว้ให้
เห็นด้วยการใช้เครื่องหมาย - กั้นกลางไว้ระหว่างค�ำบอกค�ำหน้าและค�ำหลังตัวอย่างเช่น
‘‘ขวา - หัน’’ เป็นต้น

หัน
ขวา

รูปที่ 1 แสดงการบอก ค�ำบอกแบ่ง


32

2. คำ�บอกเป็นคำ� ๆ
เป็นค�ำบอกที่ใช้เพื่อออกค�ำสั่งส�ำหรับท่าฝึกที่ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่กำ� หนดให้
วิชาผู้น�ำ

ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอน ๆ ได้) และจ�ำเป็นต้องใช้


ค�ำบอกยืดยาวซึง่ อาจจะมีหลายพยางค์กไ็ ด้ จึงจ�ำเป็นต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็นตอน ๆ
หรือค�ำ ๆ ค�ำบอกเป็นค�ำ ๆ นี้ผู้ให้ค�ำบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกทั้งในค�ำแรกและค�ำหลัง
ด้วยการวางน�้ำหนักเสียงไว้เท่า ๆ กันโดยเว้นจังหวะระหว่างค�ำไว้เล็กน้อยไม่ต้องลากเสียง
ยาวในค�ำแรกและเน้นหนักในค�ำหลังเหมือนค�ำบอกแบ่ง การเขียนค�ำบอกชนิดนีจ้ ะแสดงไว้
ให้เห็นโดยการใช้เครื่องหมายกั้นกลางไว้ระหว่างค�ำบอกค�ำหน้าและค�ำหลัง ตัวอย่างเช่น
‘‘ตามระเบียบ, พัก’’ เป็นต้น

ตาม
ระเบียบ
พัก

รูปที่ 2 แสดงการบอก ค�ำบอกเป็นค�ำ ๆ


3. คำ�บอกรวด
เป็นค�ำบอกที่ใช้เพื่อออกค�ำสั่งส�ำหรับท่าฝึกที่ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่กำ� หนดให้
ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอน ๆ ได้) และเป็นค�ำสั่งที่ไม่
ยืดยาวหรือมีหลายพยางค์ จึงไม่มีความจ�ำเป็นต้องแบ่งจังหวะการสั่งไว้เป็นตอน ๆ หรือ
ค�ำ ๆ ค�ำบอกรวดนี้ ไม่ว่าจะมีกี่พยางค์ก็ตาม ผู้ให้ค�ำบอกจะต้องบอกรวดเดียวจบโดยวาง
น�ำ้ หนักเสียงเป็นระดับเดียว การเขียนค�ำบอกชนิดนีจ้ ะแสดงไว้ให้เห็นโดยเขียนเป็นค�ำติดต่อ
กันทั้งหมด ไม่ใช้เครื่องหมายใด ๆ ทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น ‘‘ถอดหมวก’’ เป็นต้น

ถอด
หมวก

รูปที่ 3 แสดงการบอก ค�ำบอกรวด

4. คำ�บอกผสม

33
เป็นค�ำบอกทีม่ ลี กั ษณะคล้ายค�ำบอกเป็นค�ำ ๆ จะผิดกับค�ำบอกเป็นค�ำ ๆ ก็ตรง
ที่ค�ำบอกในค�ำหลังจะเป็นค�ำบอกแบ่ง เพราะฉะนั้นค�ำบอกประเภทนี้จึงเป็นค�ำบอกที่ใช้

วิชาผู้น�ำ
เพือ่ ออกค�ำสัง่ ส�ำหรับท่าฝึก ทีส่ ว่ นใหญ่มกั จะก�ำหนดให้ปฏิบตั แิ บ่งค�ำบอกผสมนีใ้ ห้คำ� บอก
จะต้องเปล่งเสียงบอกในค�ำห้วงแรกเช่นเดียวกับค�ำบอกเป็นค�ำ ๆ คือวางน�้ำหนักเสียงไว้
เท่า ๆ กัน ส่วนการเปล่งเสียงในค�ำบอกห้วงหลังก็คงเปล่งเสียงในลักษณะเดียวกันกับ
ค�ำบอกแบ่ง คือ เปล่งเสียงในค�ำแรก ด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้วเว้นจังหวะไว้
เล็กน้อยก่อนที่จะเปล่งเสียงบอกในค�ำหลังด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสั้น การเขียน
ค�ำบอกชนิดนีจ้ ะแสดงไว้ให้เห็นโดยใช้เครือ่ งหมาย , คัน่ กลางไว้ระหว่างค�ำบอกห้วงแรกและ
ห้วงหลัง ส่วนค�ำบอกในห้วงหลังคงใช้เครือ่ งหมาย - คัน่ กลางไว้ระหว่างค�ำบอกค�ำหน้าและ
ค�ำหลัง ตัวอย่างเช่น ‘‘ทางขวา, แลขวา - ท�ำ’’ เป็นต้น
ท�ำ
ทางขวา แลขวา

รูปที่ 4 แสดงการบอก ค�ำบอกผสม


คำ�แนะนำ�ในการฝึก
ล�ำดับขัน้ ตอนในการฝึก สมควรฝึกแบบปิดขัน้ ตอนจนทหารปฏิบตั ไิ ด้คล่องแคล่ว
พอสมควรแล้วจึงค่อยฝึกแบบเปิดขั้นตอน

คำ�บอกปิดขั้นตอน
‘‘จังหวะ’’ ใช้กบั ค�ำบอกแบ่ง และค�ำบอกผสม
‘‘ตอน’’ ใช้กบั ค�ำบอกเป็นค�ำ ๆ และค�ำบอกรวด
ใช้ค�ำบอกเช่นเดียวกับการฝึกแบบเปิดจังหวะหรือเปิดตอน โดยแจ้งเตือนให้
ทหารทราบล่วงหน้าว่าจะฝึกปิดจังหวะหรือปิดตอน ในการปฏิบัติของทหารเมื่อสิ้นค�ำบอก
ให้ปฏิบัตเิ ฉพาะ ‘‘จังหวะที่ 1’’ หรือ ‘‘ตอนที่ 1’’
ส�ำหรับจังหวะหรือตอนที่เหลือให้ใช้ค�ำบอก ‘‘ต่อไป’’ จนกว่าจะปฏิบัติจบ
ท่านั้น ๆ เช่น ท่าขวาหัน ซึ่งแบ่งออกเป็นสองจังหวะ

คำ�บอกเริ่มแรก ‘‘ ขวา – หัน ’’ ปฏิบัติจังหวะที่ 1


34

คำ�บอก ‘‘ต่อไป ’’ ปฏิบัติจังหวะที่ 2


วิชาผู้น�ำ

ท่าตรง
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าตรง”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
ท่าตรงเป็นท่าพืน้ ฐานของทุกท่าก่อนจะปฏิบตั ทิ า่ ใดก็ตามจะต้องเริม่ จากท่าตรง
เสมอ และใช้เป็นท่าแสดงความเคารพเมือ่ อยูใ่ นแถวหรือกรณีทอี่ ยูน่ อกแถวแต่ไม่สวมหมวก
4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “แบ่ง” ใช้ค�ำบอก “แถว - ตรง”

5. การปฏิบัติ
เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอก “แถว - ตรง” ให้ผปู้ ฏิบตั ยิ นื ให้สน้ เท้าทัง้ สองข้างชิดและอยูใ่ น
แนวเดียวกัน ปลายเท้าทั้งสองแยกออกไปทางข้าง ข้างละเท่า ๆ กัน จนปลายเท้าห่างกัน
ประมาณหนึ่งคืบ ปลายเท้าเฉียงท�ำมุม ประมาณ 45 องศา เข่าทั้งสองข้างเหยียดตรงและ
บีบเข่าเข้าหากัน ล�ำตัวตั้งตรง อกผาย ไหล่ผึ่ง แขนทั้งสองข้างอยู่ข้างล�ำตัวในลักษณะ
งอข้อศอกจนเกิดเป็นช่องว่างห่างจากล�ำตัวประมาณหนึ่งฝ่ามือ และพลิกข้อศอกไป
ข้างหน้าเล็กน้อยจนไหล่ทั้งสองข้างตึงและเสมอกัน นิ้วมือทั้งห้าเหยียดตรงเรียงชิดติดกัน
และให้นิ้วกลางแตะที่กึ่งกลางขาท่อนบนหรือประมาณแนวตะเข็บกางเกง น�้ำหนักตัวอยู่
บนเท้าทั้งสองข้าง

35
วิชาผู้น�ำ

ท่าตรง (ด้านหน้า) ท่าตรง (ด้านข้าง)


6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เมื่อสิ้นค�ำบอกว่า ‘‘แถว’’ ให้ นศท. จัดส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้ยืนอยู่
ในลักษณะของท่าตรง ยกเว้นเข่าขวาหย่อนเล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอดให้เต็มที่
และยกอกให้ผายผึ่ง
- เมื่อได้ยินค�ำว่า ‘‘ตรง’’ ให้ นศท. กระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่างรวดเร็วและ
แข็งแรงจนตึง
- ยืนให้สน้ เท้าชิดกันและอยูใ่ นแนวเดียวกัน ปลายเท้าแบะออกข้างละเท่า ๆ กัน
ห่างประมาณ 1 คืบ (ท�ำมุม 45 องศา)
- เข่าทั้งสองข้างเหยียดตรง และบีบเข้าหากัน
- ล�ำตัวยืดตรง อกผาย ไหล่เสมอกัน
- แขนทั้งสองข้างห้อยอยู่ข้างล�ำตัว และเหยียดตรง พลิกข้อศอกไปข้างหน้า
เล็กน้อยจนไหล่ตงึ
- นิ้วมือเหยียดและชิดกัน, นิ้วกลางแตะไว้ที่กึ่งกลางขาท่อนบน ประมาณ
36

แนวตะเข็บกางเกง เปิดฝ่ามือออกไปทางด้านนิ้วก้อยเล็กน้อย
- ล�ำตัวตั้งตรง ไปยื่นคาง
วิชาผู้น�ำ

- สายตามองตรงไปทางข้างหน้าในแนวระดับ

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู


- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
(ครูสั่งให้ทหารทั้งหมดปฏิบัติ) ‘‘แถว - ตรง’’ (ครูสั่งให้ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) แล้วสั่ง,
‘‘พัก’’ (สั่งให้ นศท. ปฏิบัติซ�้ำ 2 - 3 ครั้ง ถ้ามีเวลาพอ)
- (เน้นข้อส�ำคัญ) เท่าที่ได้ให้ นศท. ปฏิบัติ นศท. พอปฏิบัติได้แต่ยังขาดความ
แข็งแรงและความพร้อมเพรียง อีกทั้งปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เช่น หัวเข่าไม่บีบเข้าหากัน
มือเป็นอุ้ง นิ้วกลางไม่แตะอยู่ท่แี นวกึ่งกลางตะเข็บกางเกง ไม่พลิกข้อศอก ถ้าจะให้ดีกว่านี้
นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยู่บ่อย ๆ ครั้งเพื่อให้เกิดความช�ำนาญ
8. แยกทหารออกทำ�การฝึก
- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’
- (ผู้ช่วยครูส่งั ) ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’

ท่ายกอก
1. ความเป็นมา
ท่ า ยกอกเป็ น ท่ า ฝึ ก พระราชทาน สื บ เนื่ อ งมาจากการที่ พ ระบาทสมเด็ จ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่เมื่อครั้งยังทรงด�ำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระบรม
โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสังเกตและทอดพระเนตรเห็นเหล่าบรรดาทหาร
หลายนาย มีบุคลิกลักษณะที่ไม่สง่าผ่าเผย มักจะยืนค่อมตัว ไม่ยืดอก และปลายคางเชิด
จึงพระราชทานค�ำสอน พร้อมทั้งทรงพระเมตตาแสดงพระองค์เป็นตัวอย่าง ด้วยการยืดอก
เก็บคาง และสะบัดหน้าไปยังผู้รับการเคารพ ซึ่งท่ายกอกนี้สามารถน�ำไปปฏิบัติประกอบ

37
กับทุกท่าการฝึกในขั้นตอนสุดท้ายของแต่ละท่าได้ ในระยะแรกทรงเรียกท่าการฝึกนี้
แบบล�ำลองว่า “ท่าแก้เขิน” ต่อมาพระราชทานชื่อท่านี้ว่า “ท่ายกอก”

วิชาผู้น�ำ
2. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่ายกอก”

3. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

4. ประโยชน์
ใช้ส�ำหรับประกอบการปฏิบัติในขั้นตอนสุดท้ายของทุกท่า เพื่อแสดงถึงความ
แข็งแรงและความสง่าผ่าเผยของผู้ปฏิบัติ
5. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “เป็นค�ำ ๆ” ใช้ค�ำบอก “ยก, อก”
38

ท่ายกอก (ด้านหน้า) ท่ายกอก (ด้านข้าง)


วิชาผู้น�ำ

6. การปฏิบัติ
เมื่อได้ยินค�ำบอก “ยก” เป็นการเตือนให้ผู้ปฏิบัติเตรียมพร้อมในการปฏิบัติ
ต่อไป เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอก “อก” ให้ผปู้ ฏิบตั ยิ กหน้าอกขึน้ ในลักษณะกระตุกหน้าอกให้ผงึ่ ผาย
ซึ่งมิใช่การยกไหล่หรือสูดลมหายใจเข้า จากนั้น เมื่อได้ยิน ค�ำบอก “อึ๊บ” ให้ผู้ปฏิบัติสะบัด
หน้าไปทางผู้รับการเคารพ (ในลักษณะการกัดกราม) ไปในทิศทางตรงหน้า ทางขวา
หรือทางซ้ายให้แข็งแรง
หมายเหตุ : แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ 1. กรณีผู้ปฏิบัติมีต้งั แต่ 2 นายขึ้นไป
ให้ผู้ที่มีช้ันยศสูงสุดในบริเวณนั้นเป็นคนสั่ง “ยก, อก” ปฏิบัติให้พร้อมเพรียงกันทุกนาย
และสั่ง “อึ๊บ” พร้อมกับสะบัดหน้าไปในทิศทางผู้รับการเคารพ 2. กรณีผู้ปฏิบัติมีนายเดียว
ให้ผู้ปฏิบตั ิปฏิบัติท่ายกอก และสะบัดหน้าประกอบการแสดงความเคารพให้แข็งแรง
ท่าพัก
ท่าพัก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. ท่าพักในแถว ประกอบด้วย
1.1 ท่าพักตามปกติ
1.2 ท่าพักตามระเบียบ
1.3 ท่าพักตามสบาย
2. ท่าพักนอกแถว ประกอบด้วย
2.1 ท่าพักแถว
2.2 ท่าเลิกแถว

ท่าพักตามปกติ
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก

39
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าพักตามปกติ”

วิชาผู้น�ำ
2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
เพื่อให้ผู้ปฏิบัติผ่อนคลายอิริยาบถจากการปฏิบัติในบุคคลท่ามือเปล่า

4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “รวด” ใช้คำ� บอก “พัก”
ท่าพักตามปกติ (ด้านหน้า) ท่าพักตามปกติ (ด้านข้าง)

5. การปฏิบัติ
เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอก “พัก” ให้ผปู้ ฏิบตั หิ ย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย โดยส่วนอืน่ ๆ ของ
ร่างกายอยู่ในลักษณะท่าตรง เมื่อได้ยินค�ำบอก “แถว” ให้ผู้ปฏิบัติยืดตัวขึ้นพร้อม
40

สูดลมหายใจเข้าปอด เมื่อได้ยินค�ำบอก “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวากลับไปอยู่ในท่าตรง


อย่างรวดเร็วและแข็งแรง
วิชาผู้น�ำ

หมายเหตุ : ท่าพักตามปกตินสี้ ามารถเปลีย่ นเข่าได้ ห้ามพูดคุยกันและเปลีย่ น


ที่ยืนของเท้าทั้งสองข้างเป็นอันขาด

6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบด้วย
- การปฏิบัตทิ ่าพักกระท�ำต่อจากท่าตรง
- เมื่อได้ยินค�ำบอก ‘‘พัก’’ ให้ นศท. หย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย ส่วนอื่นของ
ร่างกายยังคงอยู่ในลักษณะท่าตรง อนุญาตให้ นศท. เปลี่ยนเข่าได้ตามสมควร เท้าจะต้อง
อยู่ที่เดิม ห้ามพูดคุยกันโดยเด็ดขาด
- เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอกว่า ‘‘แถว’’ ให้ นศท. ยืดอกขึน้ พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอด
- เมื่อได้ยินค�ำบอกว่า ‘‘ตรง’’ ให้กระตุกเข่าขึ้นมาอยู่ในลักษณะท่าตรง
อย่างรวดเร็วและแข็งแรง
7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู
- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
- (ครูสั่งให้ทหารปฏิบัติ) ‘‘แถว - ตรง’’ พัก (ครูสั่งให้ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข)
(สั่งให้ นศท. ปฏิบัติซ�้ำ 2 - 3 ครั้ง ถ้ามีเวลาพอ)
- (เน้นข้อส�ำคัญ) เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. พอปฏิบัติได้ แต่ยัง
ขาดความแข็งแรงและความพร้อมเพรียง อีกทัง้ การปฏิบตั ยิ งั มีขอ้ บกพร่อง เช่น ในขณะที่ นศท.
หย่อนเข่ามีการโยกของร่างกายอย่างเห็นได้ชัด และในการกระตุกเข่ากลับเข้ามาอยู่ใน
ท่าตรงนั้นยังขาดความแข็งแรง ถ้าจะให้ดีกว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยู่บ่อย ๆ ครั้ง
เพื่อให้เกิดความช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’ (ผู้ช่วยครูสั่ง) ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’

41
ท่าพักตามระเบียบ

วิชาผู้น�ำ
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าพักตามระเบียบ”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
ใช้ในโอกาสรอรับค�ำสั่งหรือฟังค�ำชี้แจงในลักษณะรูปแถว และใช้ปฏิบัติหน้าที่
เวรรักษาการณ์ (ไม่ประกอบอาวุธ)
4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “เป็นค�ำ ๆ” ใช้ค�ำบอก “ตามระเบียบ, พัก”

5. การปฏิบัติ
เมื่อได้ยินค�ำบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ผู้ปฏิบัติแยกเท้าซ้ายออกไปทางด้าน
ข้าง จากนั้นตบเท้าซ้ายอย่างแข็งแรงประมาณ 30 ซม. พร้อมกับน�ำมือทั้งสองข้างขึ้น
ประสานกันไว้ทางด้านหลัง ในลักษณะหันหลังมือเข้าหาล�ำตัว วางหลังมือซ้ายแนบชิด
ติดล�ำตัวอยู่ใต้เข็มขัดเล็กน้อย มือขวาทับมือซ้าย นิ้วหัวแม่มือขวาทับนิ้วหัวแม่มือซ้าย
มือซ้ายจับมือขวา นิ้วมือทั้งสี่ของมือขวาเหยียดตึงเรียงชิดติดกัน และแบะข้อศอกทั้งสอง
ไปข้างหน้าจนไหล่ตงึ ขาทั้งสองข้างเหยียดตึง น�ำ้ หนักตัวอยู่บนเท้าทั้งสองข้าง ส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายอยู่ในลักษณะท่าตรง
42
วิชาผู้น�ำ

ท่าพักตามระเบียบ (ด้านหน้า) ท่าพักตามระเบียบ (ด้านข้าง)


6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เมื่อได้ยินค�ำบอกว่า ‘‘ตามระเบียบพัก’’ ให้ นศท. แยกเท้าซ้ายออกทางข้าง
ประมาณ 30 ซม. อย่างแข็งแรง โดยให้น้�ำหนักตัวอยู่บนขาทั้งสองข้าง
- ในขณะเดียวกันน�ำมือทัง้ สองข้างไปจับไว้กงึ่ กลางด้านหลังประมาณใต้เข็มขัด
โดยให้มือขวาทับมือซ้าย ก�ำมือขวา นิ้วหัวแม่มือขวาเกี่ยวหัวแม่มือซ้าย นิ้วทั้งสี่ของ
มือขวาเรียงชิดกัน ดันศอกไปข้างหน้าเล็กน้อยพอไหล่ตึง
- ยืดอกให้สง่าผ่าเผย ไหล่เสมอกัน ล�ำคอตัง้ ตรง สายตามองไปข้างหน้าในแนว
ระดับแล้วนิ่ง
- เมื่อได้ยินค�ำว่า ‘‘แถว’’ สูดลมหายใจเข้าไปให้เต็มที่เมื่อได้ยินค�ำว่า ‘‘ตรง’’
ให้ชักเท้าซ้ายกลับมาอยู่ในลักษณะท่าตรง พร้อมกับลดมือลงในลักษณะท่าตรง

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู


- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง

43
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
- (ครูสั่งให้ นศท. ทั้งหมดปฏิบัติ) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘ตามระเบียบพัก’’ (ครูสั่งให้

วิชาผู้น�ำ
ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) (สั่งให้ นศท. ทั้งหมดปฏิบัติซ�้ำ 2 - 3 ครั้งถ้ามีเวลาพอ)
- (เน้นข้อส�ำคัญ) เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. พอปฏิบัติได้แต่ยังขาด
ความแข็งแรง และความพร้อมเพรียง อีกทั้งการปฏิบัติมีข้อบกพร่อง เช่นเมื่อ นศท. ได้ยิน
ค�ำบอกว่า ‘‘แถว’’ นศท. มักจะโยกตัวและการแยกเท้าออกทางข้างนั้น ต้องแยกเท้าไป
ด้วยความรวดเร็วและแข็งแรง (ไม่ลากเท้า) ในลักษณะการอัดส้นเท้าซ้ายเข้าหาส้นเท้าขวา
ถ้าจะให้ดกี ว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยู่บ่อย ๆ ครั้ง เพื่อให้เกิดความช�ำนาญ

ท่าพักตามสบาย
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าพักตามสบาย”
2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
ใช้ในการผ่อนคลายอิรยิ าบถเมือ่ อยูใ่ นแถว สามารถจัดระเบียบเครือ่ งแต่งกายได้

4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “เป็นค�ำ ๆ” ใช้ค�ำบอก “ตามสบาย, พัก”

5. การปฏิบัติ
เมื่อได้ยินค�ำบอก “ตามสบาย, พัก” ให้ผู้ปฏิบัติค่อย ๆ หย่อนเข่าขวาลง
เล็กน้อยเหมือนท่าพักตามปกติ ต่อจากนั้นจึงเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ แต่เท้า
44

ข้างใดข้างหนึ่งของผู้ปฏิบัติต้องอยู่เป็นหลักไว้
วิชาผู้น�ำ

ท่าพักตามสบาย
หมายเหตุ : ในการออกค�ำสัง่ เมือ่ ต้องการให้ผปู้ ฏิบตั กิ ลับมาอยูใ่ นท่าตรง ให้ออก
ค�ำสั่งเตือน “เลิกท�ำ” แล้วถึงจะใช้คำ� บอก “แถว - ตรง” และปฏิบัติในท่ายกอก เมื่อได้ยิน
ค�ำบอก “แถว” ให้ผู้ปฏิบัติสูดลมหายใจเข้าปอดสั้น ๆ และยกอกขึ้นแล้วรีบจัดส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายให้อยูใ่ นท่าพักตามปกติ และเมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอก “ตรง” ให้ผปู้ ฏิบตั กิ ระตุกเข่าขวา
กลับมาอยู่ในลักษณะท่าตรงอย่างแข็งแรง

6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เมื่อได้ยินค�ำบอกว่า ‘‘ตามสบาย, พัก’’ ให้ นศท. หย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย
ในท่าพักตามปกติ
- ขัน้ ต่อไปอนุญาตให้เคลือ่ นไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ เท้าข้างใดข้างหนึง่
อยู่กับที่ ห้ามพูดคุย ห้ามนั่ง เว้นแต่ได้รับอนุญาต
- เมื่อได้ยินค�ำว่า ‘‘แถว’’ ไม่ว่า นศท. จะอยู่ในอิริยาบถใด ให้ทหารกลับมาอยู่
ท่าพักตามปกติ
- เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอกว่า ‘‘ตรง’’ ให้ นศท. กระตุกเข่าขวา มาอยูใ่ นลักษณะท่าตรง

45
อย่างรวดเร็วและแข็งแรง

วิชาผู้น�ำ
7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู
- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
- (ครูสั่งให้ นศท. ทั้งหมดปฏิบตั ิ) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘ตามสบาย, พัก’’ (ครูสั่งให้
ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) (สั่งให้ นศท. ปฏิบัติซ�้ำ 2 - 3 ครั้ง ถ้ามีเวลาพอ)
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. พอปฏิบัติได้แต่ยังขาด
ความแข็งแรง และความพร้อมเพรียง อีกทัง้ การปฏิบตั ยิ งั มีขอ้ บกพร่อง เช่น ในขณะที่ นศท.
หย่อนเข่ามีการโยกของร่างกายอย่างเห็นได้ชัด และในการกระตุกเข่ากลับเข้ามาอยู่ใน
ท่าตรงนั้น ยังขาดความแข็งแรง ถ้าจะให้ดีกว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยู่บ่อย ๆ ครั้ง
เพื่อให้เกิดความช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป
8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก
- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’
- (ผู้ช่วยครูส่งั ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’)

ท่าพักแถว
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าพักแถว”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์
46

3. ประโยชน์
ท่าพักแถวเป็นการผ่อนคลายอิริยาบถโดยไม่อยู่ในรูปแบบแถวในระยะเวลา
วิชาผู้น�ำ

ไม่นาน แต่ยงั คงอยู่บริเวณใกล้ที่รวมพลพร้อมเรียกแถว

4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “รวด” ใช้ค�ำบอก “พักแถว”

5. คำ�บอก
แบ่งออกเป็น 2 ตอน
เมื่อได้ยินค�ำบอก ‘‘พักแถว’’ ให้ผู้ปฏิบัติ
ปฏิบัติท่ากึ่งขวาหัน โดยไม่ชดิ เท้า

รูปที่หนึ่ง
ตบเท้าซ้ายไปข้างหน้า น�ำ้ หนักตัวอยู่บนเท้าซ้าย ส้นเท้าขวา
เปิด พร้อมยกมือทั้งสองข้าง ในลักษณะก�ำหลวมขึ้นมา
บริเวณหน้าอก ข้อศอกกางเล็กน้อย พร้อมเปล่งเสียง “เฮ้”
และออกนอกแถวทันที
หมายเหตุ : เมื่อได้ยนิ ค�ำบอก “แถว” ให้เปล่งเสียง “เฮ้”
พร้ อ มกลั บ มาอยู ่ ใ นรู ป แถวเดิ ม พร้ อ มกั บ จั ด แถวและ

47
รูปที่สอง กลับมาอยู่ในลักษณะท่าตรง

วิชาผู้น�ำ
6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอกว่า ‘‘พักแถว’’ ให้ นศท. ทุกคนทีอ่ ยู่ในแถว ต่างคนต่างแยก
ออกไปจากแถวอย่างรวดเร็ว นศท. สามารถพักอยู่บริเวณใกล้เคียง
- เมื่อได้ยินค�ำว่า ‘‘แถว’’ ให้ นศท. รีบกลับมาเข้าแถวในรูปแถวตามเดิม
โดยเร็ว เมื่อจัดแถวเรียบร้อยแล้วให้ยืนอยู่ในลักษณะท่าตรง

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู


- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
- (ครูสั่งให้ นศท. ทั้งหมดปฏิบตั ิ) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘ตามสบาย, พัก’’ (ครูสั่งให้
ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) (สั่งให้ นศท. ปฏิบัติซ�้ำ 2 - 3 ครั้ง ถ้ามีเวลาพอ)
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. มีความเข้าใจแต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง คือ นศท. ยังขาดความรวดเร็วในการแยกย้ายออกจากกัน ถ้าจะให้ดี
กว่านี้ ทหารจะต้องฝึกทบทวนอยู่บ่อย ๆ ครั้ง เพื่อให้เกิดความช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไปออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’
- (ผู้ช่วยครูส่งั ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’)

ท่าเลิกแถว
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าเลิกแถว”
48

2. ความมุ่งหมาย
วิชาผู้น�ำ

เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น


ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
ท่าเลิกแถวเป็นท่าที่ใช้ในโอกาสเลิกจากการฝึก หรือเลิกยืนรับฟังค�ำชี้แจง

4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “รวด” ใช้ค�ำบอก “เลิกแถว”

5. การปฏิบัติ
แบ่งออกเป็น 2 ตอน
เมื่อได้ยินค�ำบอกว่า ‘‘เลิกแถว’’ ให้ผู้ปฏิบัติ
ปฏิบัติท่ากึ่งขวาหัน โดยไม่ชดิ เท้า

รูปที่หนึ่ง

เตะเท้าซ้ายไปข้างหน้า งุ้มปลายเท้า และตบเท้าลงกับพื้น


น�ำ้ หนักตัวอยูบ่ นเท้าซ้าย ส้นเท้าขวาเปิด พร้อมยกมือทัง้ สอง
ข้างในลักษณะก�ำหลวมขึ้นมาบริเวณหน้าอก ข้อศอกกาง
เล็กน้อย พร้อมเปล่งเสียง “เฮ้” และออกนอกแถวทันที
หมายเหตุ : เมื่อต้องการให้กลับมาอยู่ในรูปแถว ผู้ควบคุม
แถวต้องท�ำการเรียกแถวใหม่โดยสามารถเปลี่ยนรูปแถวได้

49
รูปที่สอง

วิชาผู้น�ำ
6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เมือ่ ผูค้ วบคุมแถวสัง่ ‘‘เลิกแถว’’ ให้ทหารในแถวแยกย้ายออกจากแถวโดยเร็ว
- รอฟังค�ำเรียกแถวใหม่

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู


- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
- (ครูสั่งให้ นศท. ทั้งหมดปฏิบตั ิ) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘ตามสบาย, พัก’’ (ครูสั่งให้
ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) (สั่งให้ นศท. ปฏิบัติซ�้ำ 2 - 3 ครั้ง ถ้ามีเวลาพอ)
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ ทหารมีความเข้าใจแต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง คือ นศท. ยังขาดความรวดเร็วในการแยกย้ายออกจากกัน ถ้าจะให้ดี
กว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยู่บ่อย ๆ ครั้ง เพื่อให้เกิดความช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไปออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’
- (ผู้ช่วยครูส่งั ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’)

ท่าหันอยู่กับที่
ท่าหันอยู่กับที่ แบ่งออกเป็น 5 ท่า
1. ท่าซ้ายหัน
50

2. ท่าขวาหัน
3. ท่ากลับหลังหัน
วิชาผู้น�ำ

4. ท่ากึ่งซ้ายหัน
5. ท่ากึ่งขวาหัน

ท่าซ้ายหัน
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าซ้ายหัน”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์
3. ประโยชน์
ใช้เปลี่ยนทิศทางของแถวจากทิศทางตรงหน้าไปยังทิศทางด้านซ้าย

4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “แบ่ง” ใช้ค�ำบอก “ซ้าย - หัน”

5. การปฏิบัติ
แบ่งออกเป็น 2 จังหวะ

จังหวะหนึ่ง จังหวะสอง 51
วิชาผู้น�ำ

จังหวะหนึ่ง : เมื่อได้ยินค�ำบอก “ซ้ายหันจังหวะ - หนึ่ง” ให้ผู้ปฏิบัติเปิด


ปลายเท้าซ้าย ยกส้นเท้าขวาขึ้นเล็กน้อย ใช้ส้นเท้าซ้ายเป็นจุดหมุน หมุนตัวไปทางซ้าย
ด้วยแรงเหวี่ยงของสะโพกจนได้ 90 องศา ในขณะที่หมุนตัวไปนั้นให้ใช้ปลายเท้าขวา
กดแน่นกับพื้น แล้วบิดส้นเท้าขวาออกนอกล�ำตัวจนขาขวาเหยียดตึง ส้นเท้าขวาเปิด
ปลายเท้าขวาชีไ้ ปในทิศทางตรงหน้า เมือ่ หันได้ทแี่ ล้ว น�ำ้ หนักตัวจะอยูบ่ นเท้าซ้าย ในขณะที่
หมุนตัวไปนั้นให้ผู้ปฏิบัตริ ักษาลักษณะท่าทางของล�ำตัวให้อยู่ในลักษณะท่าตรง
จังหวะสอง : เมื่อได้ยินค�ำบอก “ซ้ายหันจังหวะ - สอง” ให้ผู้ปฏิบัตินำ� ส้นเท้า
ขวามาชิดส้นเท้าซ้าย ในลักษณะการวาดเท้าไปด้านข้างขาเหยียดตึง แล้วอัดส้นเท้าอย่าง
แข็งแรง หลังจากนั้นให้ปฏิบัติในท่ายกอก
หมายเหตุ : เมื่อปฏิบัติในรูปแถว การอัดส้นเท้าต้องปฏิบัติให้เกิดความ
แข็งแรงพร้อมเพรียง เสียงชิดเท้าต้องเป็นเสียงเดียวกัน

6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เพือ่ ให้งา่ ยต่อการฝึกจึงแบ่งการปฏิบตั อิ อกเป็น 2 จังหวะจะท�ำการฝึกปิดจังหวะ
จังหวะที่ 1 เมื่อได้ยนิ ค�ำบอกว่า ‘‘ซ้าย - หัน’’ ให้ นศท. เปิดปลายเท้าขวา
ยกส้นเท้าซ้ายใช้ส้นเท้าขวาและปลายเท้าซ้ายเป็นจุดหมุน หมุนตัวไปทางขวาจนได้
90 องศา ส้นเท้าซ้ายเปิด บิดส้นเท้าออกนอกตัวจนรู้สึกว่าขาข้างซ้ายตึง แขนทั้งสองข้าง
ทิ้งดิ่งข้างล�ำตัวอยู่ในลักษณะท่าตรง
จังหวะที่ 2 น�ำเท้าขวามาชิดเท้าซ้ายในลักษณะการอัดส้นเท้ากลับมาอยู่ใน
ท่าตรงอย่างแข็งแรงและนิง่ นศท. ได้ดตู วั อย่างทีถ่ กู ต้องจากผูช้ ว่ ยครูประกอบกับค�ำอธิบาย
52

มีใครสงสัย ไม่เข้าใจให้ถาม
วิชาผู้น�ำ

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู


- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
- (ครูสั่งให้ นศท. ทั้งหมดปฏิบัติ) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘ซ้ายหัน จังหวะที่ 1’’
(ครูสั่งให้ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) ‘‘จังหวะที่ 2’’ (และต่อไปเปิดจังหวะ) ‘‘ซ้าย - หัน’’
แล้วสั่งพัก
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. มีความเข้าใจ แต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง เช่นเมื่อหันเสร็จแล้ว นศท. ไม่นิ่ง ยังมีการขยับเท้าอยู่, ไม่ใช้แรงเหวี่ยง
ของสะโพกเป็นจุดหมุน, เวลาหันมือยังแกว่ง ล�ำตัวโอนเอนส้นเท้าไม่บิดออกนอกล�ำตัว
การอัดส้นเท้าไม่แข็งแรง ถ้าจะให้ดกี ว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยู่บ่อย ๆ ครั้ง เพื่อให้
เกิดความช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไป ออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’ (ผู้ช่วยครูสั่ง ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน ’’)

ท่าขวาหัน
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าขวาหัน”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

53
3. ประโยชน์

วิชาผู้น�ำ
ใช้เปลี่ยนทิศทางของแถวจากทิศทางตรงหน้าไปยังทิศทางด้านขวา

4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “แบ่ง” ใช้ค�ำบอก “ขวา - หัน”

5. การปฏิบัติ
แบ่งออกเป็น 2 จังหวะ
เมื่อได้ยินค�ำบอกว่า ‘‘ขวาหันจังหวะ - หนึ่ง’’ ให้ผู้ปฏิบัติ
เปิดปลายเท้าขวายกส้นเท้าซ้ายขึ้นเล็กน้อยใช้ส้นเท้าขวาเป็น
จุดหมุน หมุนตัวไปทางขวาด้วยแรงเหวี่ยงของสะโพกจนได้
90 องศา ในขณะที่หมุนตัวไปนั้นให้ใช้ปลายเท้าซ้ายกดแน่น
กับพื้นแล้วบิดส้นเท้าซ้ายออกนอกล�ำตัวจนขาซ้ายเหยียดตึง
ส้นเท้าซ้ายเปิด ปลายเท้าซ้ายชี้ไปในทิศทางตรงหน้า เมื่อหัน
ได้ที่แล้ว น�้ำหนักตัวจะอยู่บนเท้าขวาในขณะที่หมุนตัวไปนั้น
จังหวะหนึ่ง
ให้ผปู้ ฏิบตั ริ กั ษาลักษณะท่าทางของล�ำตัวให้อยูใ่ นลักษณะท่าตรง

เมื่อได้ยินค�ำบอก “ขวาหันจังหวะ - สอง” ให้ผู้ปฏิบัตินำ� ส้นเท้า


ซ้ า ยมาชิ ด ส้ น เท้ า ขวาในลั ก ษณะการวาดเท้ า ไปด้ า นข้ า ง
ขาเหยียดตึง แล้วอัดส้นเท้าอย่างแข็งแรง หลังจากนัน้ ให้ปฏิบตั ิ
ในท่ายกอก
หมายเหตุ : เมื่อปฏิบัติในรูปแถว การอัดส้นเท้าต้องปฏิบัติ
54

ให้เกิดความแข็งแรงพร้อมเพรียง เสียงชิดเท้าต้องเป็นเสียง
เดียวกัน
วิชาผู้น�ำ

จังหวะสอง

6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เพือ่ ให้งา่ ยต่อการฝึกจึงแบ่งการปฏิบตั อิ อกเป็น 2 จังหวะจะท�ำการฝึกปิดจังหวะ
จังหวะที่ 1 เมื่อได้ยนิ ค�ำบอกว่า ‘‘ซ้าย - หัน’’ ให้ นศท. เปิดปลายเท้าขวา
ยกส้นเท้าซ้าย ใช้ส้นเท้าขวาและปลายเท้าซ้ายเป็นจุดหมุน หมุนตัวไปทางขวาจนได้
90 องศา ส้นเท้าซ้ายเปิด บิดส้นเท้าออกนอกตัวจนรู้สึกว่าขาข้างซ้ายตึง แขนทั้งสองข้าง
ทิ้งดิ่งข้างล�ำตัวอยู่ในลักษณะท่าตรง
จังหวะที่ 2 น�ำเท้าขวามาชิดเท้าซ้ายในลักษณะการอัดส้นเท้ากลับมาอยู่ใน
ท่าตรงอย่างแข็งแรงและนิง่ นศท. ได้ดตู วั อย่างทีถ่ กู ต้องจากผูช้ ว่ ยครู ประกอบกับค�ำอธิบาย
มีใครสงสัย ไม่เข้าใจให้ถาม
7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู
- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผู้ช่วยครูกลับเข้าที)่
- (ครูสงั่ ให้ นศท. ทัง้ หมดปฏิบตั )ิ ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘ซ้ายหัน จังหวะที่ 1’’ (ครูสงั่ ให้
ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) ‘‘จังหวะที่ 2’’ (และต่อไปเปิดจังหวะ) ‘‘ซ้าย - หัน’’ แล้วสั่ง พัก
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. มีความเข้าใจแต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง เช่นเมื่อหันเสร็จแล้ว นศท. ไม่นิ่งยังมีการขยับเท้าอยู่, ไม่ใช้แรงเหวี่ยงของ
สะโพกเป็นจุดหมุน, เวลาหันมือยังแกว่ง ล�ำตัวโอนเอน ส้นเท้าไม่บดิ ออกนอกล�ำตัว การอัด
ส้นเท้าไม่แข็งแรง ถ้าจะให้ดกี ว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยู่บ่อย ๆ ครัง้ เพือ่ ให้เกิดความ
ช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไป ออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก

55
- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’ (ผู้ช่วยครูสั่ง ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน ’’)

วิชาผู้น�ำ
ท่ากลับหลังหัน
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่ากลับหลังหัน”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
ใช้เปลี่ยนทิศทางของแถวจากทิศทางตรงหน้าไปยังทิศทางตรงข้าม
4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “แบ่ง” ใช้ค�ำบอก “กลับหลัง - หัน”

5. การปฏิบัติ
แบ่งออกเป็น 2 จังหวะ

เมื่อได้ยินค�ำบอก ‘‘กลับหลังหันจังหวะ - หนึ่ง” ให้ผู้ปฏิบัติ


เปิดปลายเท้าขวายกส้นเท้าซ้ายขึ้นเล็กน้อย ใช้ส้นเท้าขวา
เป็นจุดหมุน ให้ยกเท้าซ้ายเหวี่ยงไปทางซ้าย และน�ำปลาย
เท้าซ้ายไปวางแตะพื้นไว้ ด้านหลังเฉียงไปทางซ้ายของล�ำตัว
ประมาณครึ่งก้าวหรือหนึ่งช่วงไหล่ ปลายเท้าซ้ายอยู่ในแนว
เดียวกับส้นเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึงส้นเท้าเปิด หมุนตัวไปทาง
ขวาด้วยแรงเหวีย่ งของสะโพกจนได้ 180 องศา หรือจากทิศทาง
ตรงหน้าไปข้างหลัง ในขณะที่หมุนตัวไปนั้น ให้รักษาลักษณะ
56

จังหวะหนึ่ง
ท่าทางของล�ำตัวอยู่ในลักษณะท่าตรง
วิชาผู้น�ำ

เมื่อได้ยินค�ำบอก “กลับหลังหันจังหวะ - สอง” ให้ผู้ปฏิบัติ


น�ำส้นเท้าซ้ายมาชิดส้นเท้าขวา ในลักษณะการวาดเท้าไป
ด้านข้างขาเหยียดตึง แล้วอัดส้นเท้าอย่างแข็งแรง หลังจากนั้น
ให้ปฏิบัตใิ นท่ายกอก
หมายเหตุ : เมื่อปฏิบัติในรูปแถว การอัดส้นเท้าต้องปฏิบัติ
ให้เกิดความแข็งแรง พร้อมเพรียง เสียงชิดเท้าต้องเป็นเสียง
เดียวกัน
จังหวะสอง
6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เพื่อให้ง่ายต่อการฝึกจึงแบ่งการปฏิบัติเป็น 2 จังหวะ
จังหวะที่ 1 เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอกว่า ‘‘กลับหลัง - หัน’’ ให้ นศท. เปิดปลายเท้าขวา
ยกส้นเท้าซ้ายให้ส้นเท้าขวาและปลายเท้าข้างซ้ายเป็นจุดหมุน หมุนตัวไปทางขวา 180
องศา จนกลับหน้าเป็นหลัง ในขณะเดียวกันเหวี่ยงเท้าซ้ายไปทางซ้ายแตะพื้นอยู่ประมาณ
แนวส้นเท้าขวา ส้นเท้าซ้ายเปิด ส้นเท้าซ้ายบิดออกมาทางซ้ายจนขาซ้ายตึง เพื่อเป็นการ
ทรงตัวมือทั้งสองข้างอยู่ในลักษณะของท่าตรง การยืนให้น�้ำหนักตัวอยู่บนเท้าขวา
จังหวะที่ 2 น�ำเท้าซ้ายมาชิดเท้าขวา เพือ่ ยืนในลักษณะท่าตรงอย่างแข็งแรง

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู


- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
- (ครูสั่งให้ นศท. ทั้งหมดปฏิบัต)ิ ‘‘แถว - ตรง’’ “กลับหลังหัน จังหวะที่ 1”

57
(ครูสั่งให้ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) “จังหวะที่ 2” (และต่อไปเปิดจังหวะ) “กลับหลัง - หัน”
แล้วสั่งพัก

วิชาผู้น�ำ
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. มีความเข้าใจ แต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง เช่นเมื่อหันเสร็จแล้ว นศท. ไม่นิ่งยังมีการขยับเท้าอยู่, ไม่ใช้แรงเหวี่ยงของ
สะโพกเป็นจุดหมุน เวลาหันมือไม่แนบข้างล� ำตัว ล�ำตัวไม่ตั้งตรง ส้นเท้าไม่บิดออก
นอกล�ำตัว และในการอัดส้นเท้าไม่แข็งแรงถ้าจะให้ดีกว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยู่
บ่อย ๆ ครั้ง เพื่อให้เกิดความช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไป ออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’ (ผู้ช่วยครูสั่ง ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน ’’)
ท่ากึ่งซ้ายหัน
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่ากึ่งซ้ายหัน”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
ใช้เปลี่ยนทิศทางของแถวจากทิศทางตรงหน้าไปยังทิศทางด้านซ้าย (ทิศทาง
เฉียง 45 องศา จากทิศทางตรงหน้า)

4. คำ�บอก
58

เป็นค�ำบอก “แบ่ง” ใช้ค�ำบอก “กึ่งซ้าย - หัน”


วิชาผู้น�ำ

5. การปฏิบัติ
แบ่งออกเป็น 2 จังหวะ
เมื่อได้ยินค�ำบอก ‘‘กึ่งซ้ายหันจังหวะ - หนึ่ง” ให้ผู้ปฏิบัติ
เปิดปลายเท้าซ้ายยกเส้นเท้าขวาขึ้นเล็กน้อย ใช้ส้นเท้าซ้าย
เป็นจุดหมุน หมุนตัวไปทางซ้ายด้วยแรงเหวีย่ งของสะโพกจนได้
45 องศา ในขณะที่หมุนตัวไปนั้นให้ใช้ปลายเท้าขวากดแน่น
กับพื้นแล้วบิดส้นเท้าขวาออกนอกล�ำตัวจนขาขวาเหยียดตึง
ส้นเท้าขวาเปิดปลายเท้าขวาชี้ไปในทิศทางตรงหน้า เมื่อหัน
ได้ที่แล้วน�้ำหนักตัวจะอยู่บนเท้าซ้าย ในขณะที่หมุนตัวไปนั้น
จังหวะหนึ่ง ให้ผปู้ ฏิบตั ริ กั ษาลักษณะท่าทางของล�ำตัวให้อยูใ่ นลักษณะท่าตรง
เมื่อได้ยินค�ำบอก “กึ่งซ้ายหันจังหวะ - สอง” ให้ผู้ปฏิบัตินำ�
ส้นเท้าขวามาชิดส้นเท้าซ้ายในลักษณะการวาดเท้าไปด้านข้าง
ขาเหยียดตึง แล้วอัดส้นเท้าอย่างแข็งแรง หลังจากนัน้ ให้ปฏิบตั ิ
ในท่ายกอก
หมายเหตุ : เมื่อปฏิบัติในรูปแถว การอัดส้นเท้าต้องปฏิบัติ
ให้เกิดความแข็งแรง พร้อมเพรียง เสียงชิดเท้าต้องเป็นเสียง
จังหวะสอง เดียวกัน

6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เพื่อให้ง่ายต่อการฝึกจึงแบ่งการปฏิบัติออกเป็น 2 จังหวะ เช่นเดียวกับ
ท่าซ้ายหัน จะแตกต่างเพียงการหันไปเพียง 45 องศาเท่านั้น

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู

59
- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่

วิชาผู้น�ำ
- (ครูสงั่ ให้ นศท. ทัง้ หมดปฏิบตั )ิ “แถว - ตรง” “กึง่ ซ้ายหัน จังหวะที่ 1” (ครูสงั่ ให้
ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) “จังหวะที่ 2” (และต่อไปเปิดจังหวะ) “กึ่งซ้าย - หัน” แล้วสั่งพัก
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. มีความเข้าใจ แต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง เช่นเมื่อหันเสร็จแล้ว นศท. ไม่นิ่งยังมีการขยับเท้าอยู่, ไม่ใช้แรงเหวี่ยงของ
สะโพกเป็นจุดหมุน เวลาหันมือไม่แนบข้างล�ำตัว ล�ำตัวไม่ตั้งตรง ส้นเท้าไม่บิดออกนอก
ล�ำตัว และในการอัดส้นเท้าไม่แข็งแรงถ้าจะให้ดกี ว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยูบ่ อ่ ย ๆ ครัง้
เพื่อให้เกิดความช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไปออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป
- ในขณะทีห่ มุนตัว นศท. จะต้องหมุนตัวให้ได้ 45 องศา หรือกึง่ ซ้ายหันเท่านัน้

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’ (ผู้ช่วยครูสั่ง ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’)
ท่ากึ่งขวาหัน
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
บุคคลท่ามือเปล่า “ท่ากึ่งขวาหัน”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
ใช้ เ ปลี่ ย นทิ ศ ทางของแถวจากทิ ศ ทางตรงหน้ า ไปยั ง ทิ ศ ทางด้ า นขวา
(ทิศทางเฉียง 45 องศา จากทิศทางตรงหน้า)

4. คำ�บอก
60

เป็นค�ำบอก “แบ่ง” ใช้ค�ำบอก “กึ่งขวา - หัน’’


วิชาผู้น�ำ

5. การปฏิบัติ
แบ่งออกเป็น 2 จังหวะ
เมื่อได้ยินค�ำบอกว่า ‘‘กึ่งขวาหันจังหวะ - หนึ่ง” ให้ผู้ปฏิบัติ
เปิดปลายเท้าขวายกส้นเท้าซ้ายขึ้นเล็กน้อย ใช้ส้นเท้าขวา
เป็นจุดหมุน หมุนตัวไปทางขวาด้วยแรงเหวีย่ งของสะโพกจนได้
45 องศา ในขณะที่หมุนตัวไปนั้นให้ใช้ปลายเท้าซ้ายกดแน่น
กับพื้น แล้วบิดส้นเท้าซ้ายออกนอกล�ำตัวจนขาซ้ายเหยียดตึง
ส้นเท้าซ้ายเปิดปลายเท้าซ้ายชี้ไปในทิศทางตรงหน้า เมื่อหัน
ได้ทแี่ ล้ว น�ำ้ หนักตัวจะอยูบ่ นเท้าขวา ในขณะทีห่ มุนตัวไปนัน้ ให้
จังหวะหนึ่ง ผูป้ ฏิบตั ริ กั ษาลักษณะท่าทางของล�ำตัวให้อยูใ่ นลักษณะท่าตรง
เมื่อได้ยินค�ำบอก “กึ่งขวาหันจังหวะ - สอง” ให้ผู้ปฏิบัติ
น�ำส้นเท้าซ้ายมาชิดส้นเท้าขวาในลักษณะการวาดเท้าไปด้านข้าง
ขาเหยียดตึง แล้วอัดส้นเท้าอย่างแข็งแรง หลังจากนัน้ ให้ปฏิบตั ิ
ในท่ายกอก
หมายเหตุ : เมื่อปฏิบัติในรูปแถว การอัดส้นเท้าต้องปฏิบัติ
ให้เกิดความแข็งแรง พร้อมเพรียง เสียงชิดเท้าต้องเป็นเสียง
จังหวะสอง เดียวกัน

6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เพื่อให้ง่ายต่อการฝึกจึงแบ่งการปฏิบัติออกเป็น 2 จังหวะ เช่นเดียวกับ
ท่าขวาหัน จะแตกต่างเพียงการหันไปเพียง 45 องศา เท่านั้น

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู

61
- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมื่อไม่มีใครสงสัย ต่อไปนี้จะให้ นศท. ลองปฏิบัติดู (ผู้ช่วยครู กลับเข้าที่)

วิชาผู้น�ำ
- (ครูสงั่ ให้ นศท. ทัง้ หมดปฏิบตั )ิ “แถว - ตรง” “กึง่ ขวาหัน จังหวะที่ 1” (ครูสงั่ ให้
ผู้ช่วยครูตรวจดูและแก้ไข) “จังหวะที่ 2” (และต่อไปเปิดจังหวะ) “กึ่งขวา - หัน” แล้วสั่งพัก
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. มีความเข้าใจแต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง เช่นเมื่อหันเสร็จแล้ว นศท. ไม่นิ่งยังมีการขยับเท้าอยู่, ไม่ใช้แรงเหวี่ยงของ
สะโพกเป็นจุดหมุน เวลาหันมือไม่แนบข้างล�ำตัว ล�ำตัวไม่ตั้งตรง ส้นเท้าไม่บิดออกนอก
ล�ำตัว และในการอัดส้นเท้าไม่แข็งแรง ถ้าจะให้ดกี ว่านี้ นศท. จะต้องฝึกทบทวนอยูบ่ อ่ ย ๆ ครัง้
เพื่อให้เกิดความช�ำนาญ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไปออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป
- ในขณะที่หมุนตัว นศท. จะต้องหมุนตัวให้ได้ 45 องศา หรือกึ่งขวาเท่านั้น

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’ (ผู้ช่วยครูสั่ง ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’)
ท่าเคารพ
ท่าเคารพ สามารถใช้แสดงความเคารพได้ทั้งขณะอยู่กับที่และเคลื่อนที่
แบ่งออกเป็น 2 ท่า
1. ท่าวันทยหัตถ์
1.1 ท่าตรงหน้าวันทยหัตถ์
1.2 ท่าทางขวาวันทยหัตถ์
1.3 ท่าทางซ้ายวันทยหัตถ์
2. ท่าแลขวา, แลซ้าย

ท่าแลขวา, แลซ้าย
1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
62

บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าแลขวา, แลซ้าย”


วิชาผู้น�ำ

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
เพื่อใช้ในการแสดงความเคารพบุคคลหรือใช้แสดงการเคารพวัตถุ, สถานที่
(เมื่อผู้ปฏิบัติไม่สวมหมวก หรือไม่สามารถปฏิบัติท่าวันทยหัตถ์ได้)

4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “แบ่ง” ใช้ค�ำบอก “แลขวา - ท�ำ”, “แลซ้าย - ท�ำ”
5. การปฏิบัติ
เมื่อได้ยินค�ำบอก “แลขวา (ซ้าย) - ท�ำ” ให้ผู้ปฏิบัติสะบัดหน้า ไปทางขวา
(ทางซ้าย) ประมาณ 45 องศา อย่างแข็งแรง ใบหน้าตั้งตรงและสายตามองตรงไปด้านหน้า
ในแนวระดับ โดยส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอยูใ่ นลักษณะท่าตรง จากนัน้ ให้ปฏิบตั ใิ นท่ายกอก
และสะบัดหน้าไปยังทิศทางผู้รบั การเคารพ

63
ท่าเคารพตรงหน้า ท่าแลขวา ท่าแลซ้าย

วิชาผู้น�ำ
หมายเหตุ : เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอก “แล - ตรง” ให้สะบัดหน้ากลับมาอยูใ่ นลักษณะ
ท่าตรง หลังจากนั้น ให้ปฏิบัติในท่ายกอก
- กรณีที่ผู้ปฏิบัติเป็นนายทหารชั้นสัญญาบัตร ไม่สวมหมวกหรือไม่สามารถ
ปฏิบัติท่าวันทยหัตถ์ได้ ให้ปฏิบัติท่าโค้งค�ำนับ

6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เมื่อได้ยินค�ำบอกว่า “แลขวา - ท�ำ” “แลซ้าย - ท�ำ” และเมื่อเลิกแสดง
การเคารพ “แล - ตรง” ให้ทหารสะบัดหน้าไปทางขวาประมาณกึ่งขวา ทางซ้ายประมาณ
กึง่ ซ้าย หรือ 45 องศา ใบหน้าตัง้ ตรง สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ ร่างกายส่วนอืน่
อยูใ่ นลักษณะท่าตรง เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอกว่า “แล - ตรง” ให้สะบัดหน้ามาอยูใ่ นลักษณะท่าตรง
7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู
- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง
(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
- (ครูสงั่ ให้ นศท. ทัง้ หมดปฏิบตั )ิ “แถว - ตรง”, “แลขวา (ซ้าย) - ท�ำ” “แล - ตรง”
(สั่งให้ นศท. ปฏิบัติซ�้ำ 2 - 3 ครั้ง ถ้ามีเวลามากพอ
เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. มีความเข้าใจ แต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง เช่น การสะบัดหน้าไม่แข็งแรง และสายตาไม่จับจ้องไปที่ผู้ที่รับการเคารพ
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไป ออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’ (ผู้ช่วยครูสั่ง ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’)

ท่าวันทยหัตถ์
64

1. เรื่องที่จะทำ�การฝึก
วิชาผู้น�ำ

บุคคลท่ามือเปล่า “ท่าวันทยหัตถ์”

2. ความมุ่งหมาย
เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตามแบบฝึ ก และเป็ น ระเบี ย บแบบแผนเดี ย วกั น
ของหน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

3. ประโยชน์
เพื่อใช้ในการแสดงความเคารพบุคคลหรือใช้แสดงการเคารพวัตถุ, สถานที่
(เมื่อผู้ปฏิบัติสวมหมวก)
4. คำ�บอก
เป็นค�ำบอก “รวด” ใช้ค�ำบอก “วันทยหัตถ์” เป็นค�ำบอก “ผสม” ใช้ค�ำบอก
“ตรงหน้า (ทางขวาหรือทางซ้าย), วันทยหัตถ์”

5. การปฏิบัติ
ท่าวันทยหัตถ์ เป็นท่าแสดงความเคารพเมือ่ ผูป้ ฏิบตั สิ วมหมวก เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอก
“วันทยหัตถ์” หรือ “ตรงหน้า (ทางขวาหรือทางซ้าย), วันทยหัตถ์” ให้ผู้ปฏิบัติยกมือขวา
ขึ้นมาอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในลักษณะงอแขนท่อนล่างเข้าหาล�ำตัว ฝ่ามือเหยียดตรง
ไปตามแนวแขนท่อนล่าง แล้วให้ปลายนิ้วชี้ไปแตะขอบล่างของกระบังหมวกในแนวหางคิ้ว
นิ้วมือเหยียดตรงและเรียงชิดติดกัน ข้อมือไม่หักและให้เปิดฝ่ามือขึ้น ประมาณ 30 องศา
ศอกขวาเปิดขนานกับพื้น ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอยู่ในลักษณะท่าตรง จากนั้นให้ปฏิบัติ
ในท่ายกอก และสะบัดหน้าไปยังทิศทางผู้รับการเคารพ

65
วิชาผู้น�ำ

ท่าตรงหน้าวันทยหัตถ์ ท่าทางขวาวันทยหัตถ์ ท่าทางซ้ายวันทยหัตถ์

หมายเหตุ : ท่าทางขวา (ซ้าย) วันทยหัตถ์ ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับท่าตรงหน้า


วันทยหัตถ์ โดยมีการสะบัดหน้าไปทางขวา (ซ้าย) เมื่อได้ยินค�ำบอก “มือลง” ให้ผู้ปฏิบัติ
ลดมือขวาลงมาอยู่ในลักษณะท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ถ้าปฏิบัติจากท่าทางขวา
(ซ้ า ย) วั น ทยหั ต ถ์ ให้ ส ะบั ด หน้ า กลั บ มาในทิ ศ ทางตรงหน้ า พร้ อ มกั บ ลดมื อ ขวาลง
หลังจากนั้นให้ปฏิบัติในท่ายกอก
6. แสดงตัวอย่างที่ถูกต้องประกอบคำ�อธิบาย
- เมือ่ ได้ยนิ ค�ำบอกว่า “วันทยหัตถ์” , “ตรงหน้า, วันทยหัตถ์” ให้ นศท. ยกมือขวา
ขึ้นมาอย่างรวดเร็วและแข็งแรง นิ้วทั้งห้าเรียงชิดติดกัน ข้อมือไม่หักน�ำปลายนิ้วชี้ไปแตะ
ขอบล่างของหมวก ประมาณเหนือแนวทางตาขวา ฝ่ามือเปิดประมาณ 30 องศา แขนขวา
ท่อนบนเสมอแนวไหล่ เฉียงไปข้างหน้าเล็กน้อย ร่างกายส่วนอื่นอยู่ในลักษณะท่าตรง
ท่าทางขวาวันทยหัตถ์, ท่าทางซ้ายวันทยหัตถ์ เมื่อได้ยินค�ำบอก “ทางขวา
(ซ้าย), วันทยหัตถ์” ให้ นศท. สะบัดหน้าไปยังผูร้ บั การเคารพพร้อมกับยกมือท�ำท่าวันทยหัตถ์
อย่างรวดเร็วและแข็งแรง ตามองจับตาผู้รับการเคารพ และหันหน้าตามจนผู้รับการเคารพ
เคลื่อนที่ผ่านไปแล้ว 2 ก้าว ให้สะบัดหน้ากลับพร้อมลดมือลงเอง
- เมื่ อ ผู ้ รั บ การเคารพไม่ เ คลื่ อ นที่ ผ ่ า นก็ ใ ห้ ส ะบั ด หน้ า กลั บ พร้ อ มลดมื อ ลง
เมื่อต้องการให้เลิกแสดงการเคารพในทุกท่า วันทยหัตถ์ ให้ใช้คำ� บอก “มือลง” ให้ นศท.
ลดมือลงมาอยู่ในลักษณะท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง

7. สรุป เน้นข้อสำ�คัญ และให้ นศท. ลองทำ�ดู


66

- เท่าที่ นศท. ได้ดูตัวอย่างพร้อมค�ำอธิบายมาแล้วนี้ มี นศท. คนใดสงสัยบ้าง


(เว้นระยะเล็กน้อย) เมือ่ ไม่มใี ครสงสัย ต่อไปนีจ้ ะให้ นศท. ลองปฏิบตั ดิ ู (ผูช้ ว่ ยครู กลับเข้าที)่
วิชาผู้น�ำ

- (ครูสั่งให้ นศท. ทั้งหมดปฏิบัติ) “แถว - ตรง” “ตรงหน้า (ทางขวา, ทางซ้าย),


วันทยหัตถ์” “มือลง” (สั่งให้ นศท. ปฏิบัติซ�้ำ 2 - 3 ครั้ง ถ้ามีเวลามากพอ)
- เน้นข้อส�ำคัญ เท่าที่ได้ให้ นศท. ลองปฏิบัติ นศท. มีความเข้าใจแต่ปฏิบัติ
ยังมีข้อบกพร่อง เช่น วาดมือขึ้นท�ำท่าวันทยหัตถ์, การเอามือลงยังขาดความแข็งแรงและ
ไม่นิ่ง, แขนท่อนบนไม่เสมอแนวไหล่, ข้อมือหัก นิ้วแตก เป็นต้น
- ต่อไปจะให้ นศท. แยกไป ออกไปท�ำการฝึกหาความช�ำนาญกับครูคนต่อไป

8. แยก นศท. ออกทำ�การฝึก


- (ครูสั่ง) ‘‘แถว - ตรง’’ ‘‘แยก - ฝึก’’ (ผู้ช่วยครูสั่ง ‘‘ขวา - หัน’’ ‘‘หน้า - เดิน’’)

You might also like