You are on page 1of 10

เฉลยแบบฝึ กหัดเรื่อง การใช้ คาให้ ตรงความหมาย (ชุดที่ 2)

1. ตอบข้อ 3 การลดความอ้วนให้ได้ผลดีตอ้ งไม่กินจุบจิบตลอดวันอย่างนี้


จุบจิบ ว. อาการที่กินพรํ่าเพรื่ อทีละเล็กละน้อย
ส่ วนข้อ 1 หัวแข็ง หมายถึง ดื้อรั้น ควรใช้วา่ ปากแข็ง ซึ่ งหมายถึง ไม่ยอมปริ ปากเผยความจริ ง
ข้อ 2 อุปการคุณ เป็ นคํานามควรใช้คาํ ที่ทาํ หน้าที่กริ ยาคือ อุปการะ แทน
ข้อ 4 อัธยาศัย ไม่ควรใช้ ควรใช้วา่ หน้าตา

2. ตอบข้อ 2 กําหนดการ ใช้ถกู ต้องแล้ว กําหนดการ น. ระเบียบการที่บอกถึงขั้นตอนของงานที่จะต้องทํา


ตามลําดับ
ส่ วนข้อ 1 จําวัด ควรใช้วา่ จําพรรษา จําวัด แปลว่านอน จําพรรษา ก. อยูป่ ระจําที่วดั 3 เดือนในฤดูฝน
(ใช้แก่พระสงฆ์)
ข้อ 3 อายุขยั ควรใช้วา่ มีอายุครบ
ข้อ 4 สวดพระอภิธรรม (ใช้ในงานศพ) ควรใช้วา่ เจริ ญพระพุทธมนต์ (ใช้ในงานมงคล)

3. ตอบข้อ 1
ส่ วนข้อ 2 เอ่ยปาก ก. หมายถึง เริ่ มต้นเรื่ องสนทนา ควรใช้ ออกปาก หมายถึง ต้องพูดกล่าว เพราะทน
พฤติกรรมไม่ได้
ข้อ 3 ตกแต่ง ก. หมายถึง ตั้งใจทําให้สวยงาม ควรใช้ ตบแต่ง ซึ่ งมี 2 ความหมายคือ จัดให้พอสวยงามและ
มีความหมายว่าแต่งงาน
ข้อ 4 พัวพัน ก. หมายถึง มีส่วนเกี่ยวข้องในทางที่ไม่ดี ผูกพัน ใช้ในความหมายว่า มีความรู ้สึกห่วงใย รักใคร่
กับบุคคลอื่น

4. ตอบข้อ 4 ต้องตา ทําที สะบัดมือ


ต้องตา ก. เห็นแล้วรู ้สึกชอบ , ถูกตา , น่าดู
ทําที ก. แสดงกิริยาหรื ออาการให้ผอู ้ ื่นสําคัญผิด
บาดตา ก. สะดุดตา เพราะเห็นสี ฉูดฉาด , ขัดตาทําให้ไม่สบอารมณ์
สะบัด ก. เคลื่อนไหว หรื อทําให้เคลื่อนไหวไปเร็ วและแรง เพื่อให้สิ่งที่ติดอยูห่ ลุดไป

5. ตอบข้อ 2 ผูจ้ ดั การกีดกันโครงการที่พนักงานเสนอให้พิจารณา กีดกัน ก. กันไม่ให้ทาํ ได้โดยสะดวก


ข้อ 1 ควรใช้ ป้ องกัน ก. กั้นไว้ เพื่อต้านทานหรื อคุม้ ครอง
ข้อ 3 ควรใช้ ขวางกั้น
ข้อ 4 ควรใช้ กีดขวาง ก. ขวางกั้นไว้ ขวางเกะกะ
6. ตอบข้อ 2 หยิบหย่ง หมายถึง ไม่เอาไหน งานหนักไม่เอางานเบาไม่สู้
ส่ วนข้อ 1 ควรใช้ ครํ่าเคร่ ง ว. หมกมุ่นในการทํางานอย่างหามรุ่ งหามคํ่า
ข้อ 3 ควรใช้ ผ่อนคลาย ก. ลดความตึงเครี ยด
ข้อ 4 ควรใช้ คบหา ก. ไปมาหาสู่เข้าเป็ นพวกเดียวกัน

7. ตอบข้อ 1 คิดตก หมายถึง คิดจนได้คาํ ตอบ


ส่ วนข้อ 2 คิดมาก หมายถึง คิดจนเกินความพอดี เครี ยด
ข้อ 3 คิดสั้น หมายถึง คิดจะทําร้ายตนเอง
ข้อ 4 คิดเล็กคิดน้อย หมายถึง คิดละเอียดมากเกินไปจนไม่ยอมเสี ยเปรี ยบใครง่าย ๆ

8. ตอบข้อ 1 เธอคงทําข้อสอบได้ถกู อกถูกใจครู จึงได้คะแนนดีอย่างนี้ ควรใช้วา่ ถูกใจครู ไม่ควรใช้ ถูกอกถูกใจซึ่ ง


หมายถึงพึงพอใจในลักษณะชูส้ าว

9. ตอบข้อ 2 ช่วงเช้าที่ผา่ นมามีผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาอย่างคับคัง่ - คับคัง่ ก. อัดแอ , ยัดเยียด , เบียดเสี ยดกัน
ส่ วนข้อ 1 ควรใช้ ขวักไขว่ ว. อาการที่เคลื่อนไหวสวนกันไปมาอย่างสับสน
ข้อ 3 ควรใช้ หนาแน่น ว. คับคัง่ , แออัด
ข้อ 4 ควรใช้ แออัด ว. ยัดเยียด , แน่น

10. ตอบข้อ 3 กระจุ๋มกระจิ๋ม กระวีดกระวาด กระฉับกระเฉง สะลืมสะลือ


กระจุ๋มกระจิ๋ม หมายถึง เล็ก ๆ น่าเอ็นดู
กระวีดกระวาด หมายถึง เร่ งทําด้วยความกระฉับกระเฉง
สะลึมสะลือ หมายถึง งัวเงีย อยูใ่ นอาการง่วงหรื อเพิ่งรู ้สึกตัว

11. ตอบข้อ 1 ทําไมเธอถึงทําหน้าเล่อล่าอย่างนั้น “หน้าตาเล่อล่า” หมายถึง ทําหน้าตาตกใจ


ข้อ 2 ควรใช้ ซวดเซ ก. เอนไป , เอียงไป, จวนล้ม, เสี ยหลัก (มักใช้แก่ฐานะความเป็ นอยู่)
ข้อ 3 ควรใช้ ซา หรื อ เบาลง
ข้อ 4 ควรใช้ ซ้อม เพราะซักซ้อม หมายถึงเตรี ยมมาก่อนล่วงหน้า

12. ตอบข้อ 4 อัดแอ จะไม่ใช้กบั รถติด อัดแอจะใช้กบั การที่มีผคู ้ นมากมายจนยัดเหยียดกัน รถติดควรใช้วา่ คับคัง่
จะดีกว่า
13. ตอบข้อ 4 ชาวบ้านสามารถพลิกฟื้ นแผ่นดินที่แห้งแล้งแห่งนี้ให้อุดมสมบูรณ์ได้
พลิกฟื้ นแผ่นดิน หมายถึง ทําพื้นดินให้อยูใ่ นสภาพที่ดีข้ ึน
ส่ วนข้อ 1 หลังจากผ่าตัดได้เพียง 1 อาทิตย์ ดาราชื่อดังก็ฟ้ื นตัวดีข้ ึนมาก ควรใช้วา่ อาการดีข้ ึนมาก
ฟื้ นตัว หมายถึง กลับดีข้ ึน เช่น เศรษฐกิจฟื้ นตัว
ข้อ 2 รัฐบาลอนุมตั ิเงินงบประมาณ 300 ล้านบาท ให้ฟ้ื นฟูบาทวิถีในกรุ งเทพฯ ควรใช้วา่ ปรับปรุ ง
ฟื้ นฟู หมายถึง ทําให้ดีข้ ึนใช้กบั บ้านเมืองที่ซบเซาลงและได้รับการแก้ไขทําให้ดีข้ ึนในที่สุด
ข้อ 3 สะพานนี้ชาํ รุ ดแล้ว ทางจังหวัดกําลังเตรี ยมรื้ อฟื้ นต้นเดือนหน้านี้ ควรใช้วา่ รื้ อ
รื้ อฟื้ น หมายถึง เอามาทําใหม่ เช่น ตํารวจรื้ อฟื้ นคดีน้ ีอีกครั้ง เพราะญาติผตู ้ ายมาร้องทุกข์

14. ตอบข้อ 4 น้องสาวของฉันทํางานหนักจนเกินตัว


เกินตัว หมายถึง กระทําสิ่ งใดเกินความสามารถ
ส่ วนข้อ 1 เกินเลย หมายถึง ล่วงเกินผูอ้ ื่น ขาดความเคารพ
ข้อ 2 เกินแกง หมายถึง มากเกินไป มักจะใช้ร่วมกับคําว่า แก่จนเกินแกง หมายถึง แก่มาก
ข้อ 3 เกินหน้า หมายถึง ทํางานได้ดีเด่นกว่าผูอ้ ื่น

15. ตอบข้อ 2 ตัดพ้อ ตัดหน้า ตัดขาด ตัดบท


ตัดพ้อ หมายถึง ต่อว่าเพราะน้อยใจ
ตัดหน้า หมายถึง ชิงทําก่อนผูอ้ ื่น
ตัดขาด หมายถึง ไม่คบหาติดต่อกันอีกต่อไป
ตัดบท หมายถึง พูดให้ยตุ ิก่อนเกิดความบาดหมาง

16. ตอบข้อ 1 ใจปลาซิ ว ใช้ได้ถกู ต้องแล้ว ใจปลาซิ ว หมายถึง ไม่มีความอดทน


ส่ วนข้อ 2 เลือดเข้าตา หมายถึง สูโ้ ดยไม่กลัวตาย ควรใช้สาํ นวนในข้อนี้วา่ เลือดขึ้นหน้า
ข้อ 3 ปี กกล้าขาแข็ง หมายถึง พึ่งตนเองได้
ข้อ 4 เคียงบ่าเคียงไหล่ หมายถึง ร่ วมทุกข์สุขกันมา ควรใช้วา่ เดินเคียงกันมา

17. ตอบข้อ 3 โยกย้ายใช้กบั ตําแหน่งหน้าที่การงาน ควรใช้ เคลื่อนย้าย ใช้กบั สิ่ งของต่าง ๆ ย้ายกองทัพ
ส่ วนข้อ 1 กรู หมายถึง อาการที่วงิ่ เข้าไปพร้อม ๆ กันจํานวนมาก
ข้อ 2 คิดค้น หมายถึง คิด ศึกษาสิ่ งใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น
ข้อ 4 สื บสวน หมายถึง พยายามสื บหา

18. ตอบข้อ 3 แม่เห็นแก่ลกู จึงมาอยูก่ บั ลูกตอนสอบ ไม่ให้ใช้ “เพราะ” เนื่องจากข้อความหลังสันธาน “เพราะ”


จะต้องเป็ นเหตุ ถ้าจะใช้เพราะประโยคนี้ตอ้ งเปลี่ยนเป็ น แม่มาอยูก่ บั ลูกตอนสอบเพราะเห็นแก่ลกู
19. ตอบข้อ 1 ผูอ้ ่านหาซื้ อหนังสื อใหม่ ๆ ที่นกั อ่านเสนอแนะไว้
ควรใช้วา่ แนะนํา เพราะเสนอแนะ หมายถึง แสดงความคิดเห็น
ข้ออื่นใช้คาํ ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว

20. ตอบข้อ 1 คํากริ ยาในข้อ 1 คือ “จัก” หมายถึง ทําให้เป็ นแฉกหรื อหยัก ใช้คมมีดผ่าไม้ไผ่หรื อหวายให้เป็ นเส้น
บาง ๆ มักใช้กบั ตอก ซึ่ งหมายถึงไม้ไผ่ที่ถกู จักบาง ๆ เอาไว้ผกู หรื อสานสิ่ งต่าง ๆ
ข้อ 2 “ขริ บ” ควรใช้เป็ น “ขลิบ” หมายถึง ตัดเล็มด้วยตะไกร ส่ วน “ขลิบ” หมายถึง เย็บหุม้ ริ มผ้า
หรื อของอื่นๆ เพื่อกันลุ่ยหรื อเพื่อให้งาม
ข้อ 3 “เราะ” ควรใช้ “เลาะ” ใช้กริ ยานี้กบั เลาะตะเข็บ เลาะชายผ้า ซึ่ งหมายถึงทําให้หลุดออก
ข้อ 4 “ชําแหละ” ควรใช้ “แล่” ซึ่ งหมายถึงการใช้มีดทําให้สิ่งนั้น ๆ เป็ นแผ่นบาง ๆ เช่น แล่ เนื้อทําให้เป็ น
แผ่นบาง ๆ แต่ชาํ แหละนั้นหมายถึงการใช้มีดผ่าไปยังส่ วนต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์หรื อตรวจดู

21. ตอบข้อ 4 “ขัด” ในข้อนี้มีความหมายต่างจากข้ออื่น หมายถึง ถูให้สะอาด ถูให้ข้ ึนเงา ทําความสะอาด


แต่คาํ ว่า “ขัด” ในข้ออื่น ๆ ใช้ในความหมายว่า ทําให้ติด ไม่ให้หลุดออกมาได้

22. ตอบข้อ 3 ฉนวน หมายถึง วัตถุที่ไฟฟ้ าหรื อความร้อนผ่านไม่ได้สะดวก , วัตถุที่ไม่เป็ นตัวนําไฟฟ้ าหรื อความ
ร้อนควรใช้ ชนวน หมายถึง ต้นเหตุให้เกิดเรื่ องอื่นขึ้นต่อไป
ส่ วนข้อ 1 เบาะแส หมายถึง ลู่ทาง ร่ องรอย , ลาดเลา , เค้าเงื่อน
ข้อ 2 วอดวาย หมายถึง หมดไป , สิ้ นไป , ตาย
ข้อ 3 กลมเกลียว หมายถึง ที่เข้ากันได้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน

23. ตอบข้อ 1 การก่อสร้างตึกสูงในเมืองเชียงใหม่บดบังทัศนียภาพอันเป็ นเอกลักษณ์ของเมือง ใช้คาํ ได้ถกู ต้องแล้ว


ส่ วนข้อ 2 คําว่า “สถานการณ์” ควรใช้วา่ “เหตุการณ์”
ข้อ 3 คําว่า “เสื่ อมสมรรถนะทางกาย” ควรใช้วา่ “สมรรถภาพทางกาย” เพราะ “สมรรถนะ หมายถึง
ความสามารถของเครื่ องจักรกล ยานพาหนะต่าง ๆ
ข้อ 4 คําว่า “แปรสภาพ” ควรใช้วา่ “แปรรู ป”
24. ตอบข้อ 3 สถาบันที่มีอิทธิ พลกับความคิดของเด็กมากก็คือโรงเรี ยน ใช้บุพบทผิด ที่ถกู ต้องควรใช้บุพบท “ต่อ”
เพราะบุพบท “ต่อ” จะใช้แสดงว่ามีฝ่ายรับ ผูร้ ับมักมีฐานะและตําแหน่งเหนือกว่าและเป็ นเจ้าหน้าที่

25. ตอบข้อ 3 ผ่อนปรน หมายถึง แบ่งหนักให้เป็ นเบา , เอาไปทีละน้อย , ขยับขยายให้เบาบางลง


ควรใช้ ผ่อนคลาย หมายถึง ลดความตึงเครี ยด
ส่ วนข้อ 1 ผัดผ่อน หมายถึง ผัดพอให้ทุเลา หรื อหย่อนคลายลง
ข้อ 2 ผ่อนผัน หมายถึง ลดหย่อนให้
ข้อ 4 ผ่อนคลาย หมายถึง ลดความตึงเครี ยดลง
26. ตอบข้อ 2 ลําบากใจ หมายถึง ไม่สะดวกใจ ควรใช้ละอายใจ หมายถึง รู ้สึกอายในความชัว่ ที่จะกระทําหรื อ
สํานึกผิดในความชัว่ หรื อความผิดที่ทาํ ไว้
ส่ วนข้อ 1 ขัดใจ หมายถึง โกรธเพราะทําไม่ถกู ใจ , ไม่ยอมให้ทาํ ตามใจ
ข้อ 3 ร้าวรานใจ หมายถึง เสี ยใจ , เจ็บปวดใจ

27. ตอบข้อ 1 เงียบสงัด หมายถึง สงบเงียบเพราะปราศจากเสี ยงรบกวน


ส่ วนข้อ 2 เงียบกริ บ หมายถึง เงียบสนิท ใช้กรณี ที่มีคนอยูแ่ ต่ไม่มีเสี ยง เช่น เมื่อครู เดินเข้ามานักเรี ยน ทุก
คนต่างเงียบกริ บ
ข้อ 3 เงียบเชียบ หมายถึง วังเวง เงียบ ไม่มีเสี ยง ใช้กรณี ที่มีคนอยูแ่ ต่ไม่มีเสี ยง เช่น ผูร้ ้ายย่องเข้ามาใน
บ้านของเธอต่างเงียบเชียบ
ข้อ 4 เงียบเหงา หมายถึง เปล่าเปลี่ยว , ว้าเหว่ , ไม่มีใครไปมาหาสู่

28. ตอบข้อ 3 ระวังกระเป๋ าดี ๆ นะอย่าให้ใครฉกชิงเอาไปได้ ใช้คาํ ตรงตามความหมายมากที่สุด


ส่ วนข้อ 1 เคลือบแคลง หมายถึง สงสัย ควรใช้วา่ เคลือบแฝง หมายถึง ปิ ดบัง ซ่อนเร้นอยู่
ข้อ 2 ตกหาย หมายถึง หายไป ควรใช้วา่ ตก หมายถึง ขาดไปไม่สมบูรณ์ ใช้กบั ตัวอักษรหรื อข้อความที่
พิมพ์จะใช้วา่ “พิมพ์ตกไป”
ข้อ 4 ข่มขวัญ หมายถึง ขู่ให้ฝ่ายตรงข้ามกลัว ทําให้ขวัญเสี ย ควรใช้วา่ ข่ม หมายถึง แสดงกิริยาวาจาให้เห็น
ว่าเหนือกว่า หรื อทําให้อีกฝ่ ายหนึ่งรู ้สึกว่าด้วยกว่า

29. ตอบข้อ 2 ไฟจากแปลงทดลองในป่ าเต็งรังของสถานีวิจยั สัตว์ป่าเกิดไหม้ลุกลามไปจนเกือบถึงกรงสัตว์ใช้คาํ


ตรงความหมาย

ข้อ 1 สกัดกั้น หมายถึง ขัดขวางมิให้ทาํ โดยสะดวก ควรใช้วา่ ป้ องกัน


ข้อ 3 เดินเรื่ อยเปื่ อย หมายถึง เดินไปอย่างไม่มีจุดหมาย ควรใช้วา่ เดินตามกันมา
ข้อ 4 แพร่ กระจาย หมายถึง กระจายไปที่ต่าง ๆ ควรใช้วา่ เป็ นที่รู้จกั

30. ตอบข้อ 1 วิชยั ทําผิดระเบียบของบริ ษทั เป็ นครั้งแรก ผูจ้ ดั การจึงยอมผ่อนผันให้ลงโทษเพียงภาคทัณฑ์เท่านั้นใช้


คําถูกต้องตามความหมาย
ข้อ 2 โยกย้าย หมายถึง เปลี่ยนสถานที่ในการทํางาน ควรใช้วา่ ย้าย
ข้อ 3 ประปราย หมายถึง มีอยูห่ ่าง ๆ เช่น ผมหงอกประปราย ฝนตกประปราย ควรใช้วา่
ฝนตกโปรยปราย
ข้อ 4 คัดเลือก หมายถึง เลือกเอาที่ตอ้ งการเอาไว้ คัดเอาที่ไม่ตอ้ งการออก ควรใช้วา่ คัด เพราะหมายถึง แยก
สิ่ งที่รวมกันอยูเ่ พื่อเอาไว้หรื อเอาออก
31. ตอบข้อ 1 ประท้วง ก. กระทําการหรื อแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วย หรื อไม่
พอใจอย่างยิ่ง เช่น อดข้าวประท้วง เขียนหนังสื อประท้วง
ส่ วนข้อ 2 ทักท้วง ก. กล่าวหรื อแสดงออกเป็ นทํานองว่ายังไม่เห็นด้วย
ข้อ 3 ท้วงติง ก. ค้านไว้
ข้อ 4 โต้แย้ง ก. แสดงความเห็นแย้งกัน

32. ตอบข้อ 4 สิ นนํ้าใจ น. เงินหรื อทรัพย์ที่ให้เป็ นรางวัลเป็ นการตอบแทนนํ้าใจ


ข้อ 1 สิ นบน น. ทรัพย์หรื อสิ่ งของที่จะทําให้เป็ นเครื่ องบูชาคุณ หรื อตอบแทนผูท้ ี่จะช่วยให้สาํ เร็ จ
ตามประสงค์ , ทรัพย์ที่จะทําให้เพื่อจูงใจให้ทาํ ผิดต่อหน้าที่ โดยผูใ้ ห้มุ่งประโยชน์ของตน
ข้อ 2 สิ นจ้าง น. เงินค่าบําเหน็จ บําเหน็จ หมายถึง รางวัล , ค่าเหนื่อย , ค่าความชอบเป็ นพิเศษ
ข้อ 3 สิ นไหม น. เงินค่าปรับผูแ้ พ้คดีให้แก่ผชู ้ นะคดี

33. ตอบข้อ 2 คนสมถะอย่างอาจารย์ชยั นาท ใครอย่าไปขอร้องให้ทาํ อะไรเลยท่านไม่ช่วยหรอก


ใช้คาํ ผิดความหมายเพราะคําว่า สมถะ หมายถึงอยูอ่ ย่างเรี ยบง่าย ไม่มีพิธีรีตอง จากความหมายข้างต้น
หมายถึง เป็ นผูไ้ ม่มีน้ าํ ใจซึ่ งไม่ใช่ความหมายที่ถกู ต้องของคําว่า “สมถะ”

34. ตอบข้อ 3 เขารู ้ข่าวกะทันหันมาก ไม่ทนั ได้รู้ตวั จึงทําอะไรไม่ถกู ใช้คาํ ได้ถกู ต้องตรงตามความหมาย
ส่ วนข้อ 1 ไม่รู้ตวั หมายถึง ทําไปโดยขาดสติ ไม่ได้ต้ งั ใจ
ข้อ 2 ไม่รู้สึกตัว หมายถึง สลบ หมดสติ
ข้อ 4 ไม่รู้เนื้อรู ้ตวั หมายถึง ไม่รู้เรื่ องราวต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นแก่ตน

35. ตอบข้อ 3 หลังจากพี่ชายของฉันมีงานทําเหตุการณ์ร้าย ๆ ในครอบครัวก็ผอ่ นปรนไป ใช้คาํ ผ่อนปรน ไม่


ถูกต้อง เพราะผ่อนปรน มีความหมายว่า ทําหนักให้เป็ นเบา ควรเปลี่ยนเป็ น ผ่อนคลาย จะดีกว่า
ส่ วนข้อ 1 ใช้คาํ ผัดผ่อน ในความหมายว่า ขอเลื่อนเวลาไป นั้นเหมาะสมแล้ว
ข้อ 2 ใช้คาํ ว่า ผ่อนผัน ในความหมายว่า ลดหย่อน นั้นเหมาะสมแล้ว
ข้อ 4 ใช้คาํ ว่า ผ่อนคลาย ในความหมายว่า ลดความตึงเครี ยดลงนั้นเหมาะสมแล้ว

36. ตอบข้อ 1 ดื้อด้าน หมายถึง ดื้อเสี ยจนเคยชิน


ส่ วนข้อ 2 ดื้อดึง หมายถึง ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล
ข้อ 3 ดื้อแพ่ง หมายถึง ขัดขืนไม่ยอมให้ความร่ วมมือ , ขัดขืนไม่ยอมปฏิบตั ิตาม
ข้อ 4 ดื้อรั้น หมายถึง ไม่ยอมเชื่อฟังหรื อทําตาม
37. ตอบข้อ 2 ตํารวจนายนั้นวิ่งกรู เข้าจับคนร้าย ใช้คาํ ผิดความหมาย “วิ่งกรู ” หมายถึง วิ่งออกไปพร้อม ๆ กันเป็ น
จํานวนมากแต่ในข้อนี้ประธานมีเพียงตํารวจหนึ่งนายจึงใช้ไม่ได้

38. ตอบข้อ 4 ปกป้ อง หมายถึง คุม้ ครองป้ องกัน


ส่ วนข้อ 1 คุม้ ครอง หมายถึง ระวังรักษา , ป้ องกันรักษา , ปกป้ องรักษา
ข้อ 2 ป้ องกัน หมายถึง คุม้ ครอง , กั้นไว้เพื่อต้านทาน
ข้อ 3 สงวน หมายถึง ถนอมรักษาไว้ , หวงแหนไว้

39. ตอบข้อ 1. ข้องใจ


อธิ บาย ข้องใจ ก. ตัดใจสงสัย, ยังไม่สิ้นสงสัย-ถูก เพราะถึงขั้นไปพบเพื่อสอบถามสาเหตุที่มีความ
สงสัยค้างคาอยู่
ส่ วนข้อ 2 ขัดใจ ก. โกรธเพราะทําไม่ถกู ใจ, ไม่ยอมให้ทาํ ตามใจ-ผิด เพราะเนื้อความมิได้มีการแสดง
อาการโกรธ
ข้อ 3 ขัดเคือง ก. โกรธเพราะถูกขัดใจเป็ นต้น-ผิด เพราะเนื้อความมิได้เป็ นเช่นนั้น
ข้อ 4 ขัดขวาง ก. ทําให้ไม่สะดวกใจ ทําให้ติดขัด-ผิด เพราะเนื้อความมิได้เป็ นเช่นนั้น

40. ตอบข้อ 2 คุณลักษณะน. เครื่ องหมายหรื อสิ่ งที่ช้ ีให้เห็นความดีหรื อลักษณะประจํา เพราะการไม่ยืดไม่
หด และทิ้งตัวดี เป็ นสิ่ งที่ช้ ีให้เห็นความดี
อธิ บายข้อ 1 คุณภาพ น. ลักษณะที่เด่นของบุคคลหรื อสิ่ งของ-ผิด เพราะข้อความนี้พดู ถึงลักษณะหลาย
ประการ มิได้เน้นเฉพาะที่เด่น
ข้อ 3 คุณค่า น. สิ่ งที่มีประโยชน์หรื อมีมลู ค่าสูง-ผิด ข้อความข้างต้นมิได้กล่าวถึงประโยชน์
หรื อมูลค่า
ข้อ 4 คุณสมบัติ น. คุณความดี, ลักษณะประจําตัว ซึ่ งบุคคลต้องมีก่อนที่จะได้มาซึ่ งสิ ทธิ หรื อ
ตําแหน่ง

41. ตอบข้อ 2 ต่อ บ. เฉพาะ, ประจันหน้า, เช่น ต่อหน้า ยื่นต่ออําเภอ-ถูกต้อง ความหมายตามตัวหนาที่เห็นนี้ เป็ น
ตัวอย่างที่นาํ มาจากพจนานุกรมฯ โดยตรง จึงไม่มีขอ้ โต้แย้ง
คําร้อง 1 (กฎ) คือ น. (1) คําขอที่ยื่นต่อทางราชการ เพื่อให้ทาํ การอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผรู ้ ้อง
(2) คําขอที่ค่คู วามยื่นต่อศาล เพื่อขอให้ศาลมีคาํ สัง่ เรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง, คําร้องขอก็วา่
อธิ บายข้อ 1 ยื่นแก่
แก่ บ. ให้นาํ หน้านามฝ่ ายรับ เช่นให้เงินเงินแก่เด็ก
แด่ บ. แก่ (ใช้ในที่เคารพ)
ยื่นแก่-ผิด เพราะมีกลิ่นอายของ “การให้” ในขณะที่การยื่นเพื่อขอจดทะเบียนสมรสมิใช่เรื่ อง การให้
แต่เป็ นเรื่ องการต่อหน้าหรื อประจันหน้า
ข้อ 3 เสนอแนะ
เสนอ ก. ยื่นเรื่ องราว ความเห็น ญัตติ เป็ นต้น เพื่อให้ทราบ ให้พิจารณา หรื อให้สงั่ การ
แนะ ก. ชี้แนวทางหรื อวิธีการให้รู้โดยตรงหรื อโดยอ้อม เช่น แนะให้ไปหาหมอ แนะให้รู้
เป็ นนัย ๆ
เสนอแนะ-ผิด เพราะการขอจดทะเบียนสมรสมิใช่การเสนอชี้แนวทางหรื อวิธีการ
ข้อ 4 เสนอต่อ
เสนอ ดูขอ้ 3 ที่เพิ่งกล่าวถึง
ต่อ บ. เฉพาะ, ประจันหน้า, เช่น ต่อหน้า ยื่นต่ออําเภอ
เสนอต่อ-ผิด เพราะการยื่นเรื่ องต่ออําเภอเรื่ องขอจดทะเบียนสมรส มิได้เพื่อทราบพิจารณาหรื อ
สัง่ การดังความหมายที่ให้จึงจะใช้เสนอต่ออําเภอ

42. ตอบข้อ 3 เหลาะแหละ ว. เหลวไหล, ไม่จริ งจัง, มีนิสยั ไม่แน่นอน-ถูก ชัดเจนตรงคําไม่จริ งจัง
อธิ บายข้อ 1 รวนเร ว. เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาไม่แน่นอน-ผิด เพราะไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ
“ไม่เป็ นชิ้นเป็ นอัน”
ข้อ 2 โลเล ว. ไม่แน่นอน (มักใช้แก่นิสยั ใจคอ) เช่น มีนิสยั โลเล, ไม่อยูก่ บั ร่ องกับรอย
(มักใช้แก่กริ ยาพูด) เช่น พูดจาโลเล-ผิด เพราะโลเลไม่ใช้กบั การกระทํา คือ ทําอะไร
ไม่เป็ นชิ้นเป็ นอัน

ข้อ 4 เหลวไหล ว. ไม่เป็ นสาระ, เช่น พูดแต่เรื่ องเหลวไหล, เลอะเทอะ เช่น เป็ นคนเหลวไหล
เชื่อถือไม่ได้ เช่น พูดจาเหลวไหล-ผิด เพราะความหมายตามพจนานุกรมฯ ที่ยกมา
จํากัดอยูเ่ ฉพาะการพูด ส่ วนข้อความที่ยกมาให้เติมคํานี้เกี่ยวกับการกระทํา

43. ตอบข้อ 4 เด็ดเดี่ยว ว. ตัดสิ นใจอย่างแน่แท้ไม่ยอ่ ท้อ-ถูกต้อง เพราะความหมายถูกกับบริ บท


อธิ บายข้อ 1 แข็งแกร่ ง คือ ว. อดทนไม่ทอ้ ถอย
ข้อ 2 ทรหด ว. อดทน, บึกบึน, ไม่ยอ่ ท้อ, (มักใช้แก่กริ ยาสู ้)
ข้อ 3 เข้มแข็ง ก. แข็งแรงในการงาน, ขยันขันแข็ง, ไม่ยอ่ ท้อหวัน่ ไหว

44. ตอบข้อ 1 เผอเรอ-ก้าวร้าว


อธิ บาย เผอเรอ ว. ขาดความเอาใจใส่ ในสิ่ งที่ตนทํา
ก้าวร้าว ก. เกะกะระราน

45. ตอบข้อ 4 คุณสมบัติ น. คุณงามความดี, คุณลักษณะประจําตัวของบุคคล เช่น คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิ์


เลือกตั้ง
อธิ บาย ข้อ 1 คุณภาพ น. ลักษณะความดี, ลักษณะประจําบุคคลหรื อสิ่ งของ
ข้อ 2 คุณลักษณะ น. เครื่ องหมาย หรื อสิ่ งที่ช้ ีให้เห็นความดีหรื อลักษณะประจํา
ข้อ 3 ประสิ ทธิ ภาพ น. ความสามารถที่ทาํ ให้เกิดผลในการงาน

46. ตอบข้อ 2 สัญญา-ยกเลิก


อธิ บาย สาบาน ก. กล่าวคําปฏิญาณตนโดยอ้างสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ เป็ นพยาน, ประเพณี เดิมจะต้องดื่มนํ้าพระ
พุทธมนต์ นํ้าเทพมนต์ หรื อสุ ราผสมเลือด เช่น สาบานเป็ นพี่นอ้ งกัน เพื่อนร่ วมสาบาน, (กฎ)
กล่าวคําปฏิญาณตนตามลัทธิ ศาสนาหรื อจารี ตประเพณี แห่งชาติของตนว่า จะให้การตาม สัตย์จริ ง
สัญญา น. (กฎหมาย) ข้อตกลงระหว่างบุคคล 2 ฝ่ ายหรื อหลายฝ่ ายว่าจะกระทําการหรื องดเว้น
กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง, ข้อตกลง, คํามัน่ ...ฯลฯ ก. ให้คาํ มัน่ , รับปาก, ทําความตกลงกัน
ปณิ ธาน, ประณิ ธาน น. การตั้งความปรารถนา
ยืนยัน ก. พูดคงคําโดยแน่นแฟ้ น, พูดรับว่ารู ้เห็นหรื อทําเป็ นต้นโดยแน่นอน, เช่น เขายืนยันว่าเขา
เห็นขโมยแน่, ยํ้าหรื อแจ้งความจํานงโดยไม่เปลี่ยนแปลง เช่น เขายืนยันการเดินทางใน
เที่ยวหน้า, ใช้วา่ ยัน คําเดียวก็มี
ล้มเลิก ก. เลิก เช่น ล้มเลิกกิจการ, ยกเลิก เช่น ล้มเลิกสัญญา, เลิกดําเนินกิจการ, ไม่ทาํ ต่อไป
เช่น ล้มเลิกโครงการ, เลิกล้ม ก็วา่ ยกเลิก คือ เพิกถอน, ไม่ใช่ต่อไป
สรุ ป ตอบ “สัญญา” เพราะว่าเป็ นข้อตกลงของฝ่ ายหนึ่งกับอีกฝ่ ายหนึ่ง เป็ นสองฝ่ าย มิใช่สาบานเพราะว่า
มิได้อา้ งสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ลัทธิ ศาสนา ดื่มนํ้าที่เชื่อว่าศักดิ์สิทธิ์ หรื อไม่เกี่ยวกับจารี ตประเพณี แห่งชาติ และไม่ใช่
ปณิ ธาน เพราะปณิ ธานเป็ นคํานาม ใช้ตรงนี้ไม่ได้

47. ตอบข้อ 2 ผัด ผลัด


ผัด หมายถึง เลื่อน
ผลัด หมายถึง สับเปลี่ยน หมุนเวียน

48. ตอบข้อ 1 จดจ่อ


อธิ บาย จดจ่อ ก. มีใจฝักใฝ่ ผูกพันอยู่
อยู่ ก. พัก, อาศัย, เช่น เขาอยูบ่ า้ นหลังนี้, ยังมีชีวิต เช่น เขายังอยู,่ คงที่ เช่น เงินที่ให้มายังอยู่
ครบ, ไม่ไปจากที่ เช่น วันนี้เขาอยูบ่ า้ น, ใช้ประกอบหลังกริ ยาแสดงว่ากําลังเป็ นอยูใ่ น
ขณะนั้น เช่น นอนอยู่ ตั้งอยู่
จด ก. จ่อให้ถึงกัน, ถึง, จนถึง
จ่อ 1 ก. เอาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งเข้าไปใกล้หรื อเกือบจดสิ่ งอื่น เช่น เอายาดมจ่อจมูก , มุ่งอยูเ่ ฉพาะ
กับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง มักใช้ค่กู บั จด เป็ นจดจ่อ เช่น เขามีใจจดจ่อกับงาน
จดจ่อถูกต้องที่สุด เพราะหมายถึงมีใจฝักใฝ่ ผูกพันอยู่ กําลังเป็ นอยูใ่ นขณะนั้น การทําข้อสอบ
จึงเป็ นการมีใจฝักใฝ่ ผูกพันกับสิ่ งที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น-ข้อนี้จึงถูกต้องเหมาะสมที่สุด
ข้อ 2 ครุ่ นคิด ก. คิดซํ้า ๆ ซาก ๆ – ผิด เพราะการทําข้อสอบมิใช่การกระทําซํ้า ๆ ซาก ๆ
ข้อ 3 หมกมุ่น ก. ฝังใจมุ่งไปทางเดียว เช่น เขาหมกมุ่นอยูก่ บั งาน – ผิด เพราะหมกมุ่นไม่เน้นว่า
ขณะนั้น และมักใช้ทางลบ
ข้อ 4 มุ่งมัน่ ก. ตั้งใจอย่างแน่วแน่ เช่น เขามุ่งมัน่ ในการทําความดี- ผิด เพราะมิได้เน้นขณะนั้น คือทํา
ข้อสอบ

49. ตอบข้อ 3 ระบัด


อธิ บาย ระบัด ก. ลัด, ผลิ, แตกใบอ่อน, เช่น ไม้ระบัดใบ
ข้อ 1 สลัด ก. ซัด ผละ หรื อสะบัดโดยทําให้สนั่ หรื อกระพือให้แรง เพื่อให้สิ่งอื่นที่ติดอยูห่ ลุดไป
ข้อ 2 สะบัด ก. เคลื่อนไหวหรื อทําให้เคลื่อนไหวไปเร็ วและแรง เพื่อให้สิ่งที่ติดอยูห่ ลุดไป
ข้อ 4 ผลัดใบ ผลัด ก. เปลี่ยนแทนที่กนั

50. ตอบข้อ 3 หวาดระแวง หมายถึง หวัน่ เกรงสงสัย


ส่ วนข้อ 1 หวาดวิตก หมายถึง กังวลใจ , ร้อนใจ , เป็ นทุกข์
ข้อ 2 หวาดผวา หมายถึง สะดุง้ ตกใจกลัว
ข้อ 4 หวาดกลัว หมายถึง รู ้สึกไม่อยากประสบสิ่ งที่ไม่ดี

You might also like