You are on page 1of 54

กองทัพบก

ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
การฝึกเป็นหน่วยกองร้อยอาวุธเบา

ของ

เหล่าทหารราบ
(๘ สัปดาห์)

ลฝ. ๗-๑๗ ก.

พ.ศ. ๒๕๕๔
วัตถุประสงค์การฝึกศึกษาของกองทัพบก
 เป็นผู้นาำ ที่ดี มีคุณธรรม
 มีความรู้และประสบการณ์สำาหรับการในหน้าที่
 แข็งแรงทรหดอดทนต่อการตรากตรำาทำางาน
สารบั
หน้า
ตอนที่ ๑ กล่าวทั่วไป ๑
ตอนที่ ๒ การจัดการฝึก ๓
ตอนที่ ๓ การตรวจการฝึก การตรวจสอบ และการรายงาน ๙
ตอนที่ ๔ หลักสูตรการฝึกเป็นหน่วยกองร้อย ๑๑
ตอนที่ ๕ แถลงหลักสูตรการฝึก ๑๖
ตอนที่ ๖ อัตรากระสุนและวัตถุระเบิด ๓๓
ผนวก ก กำาหนดการฝึกเพิ่มเติม ๓๔
การฝึกยิง ปลย.ในเวลากลางคืน ๓๘
การฝึกยิง การฝึกยิงปืนในป่า ๓๙
ผนวก ก (แบบฟอร์มตารางกำาหนดการฝึกประจำาสัปดาห์) ๔๐
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ผนวก ข (แบบฟอร์มตารางกำาหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง) ๔๑
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ผนวก ค (แบบฟอร์มตารางกำาหนดการฝึกประจำาวัน) ๔๒
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ผนวก ง (แบบฟอร์มตารางแสดงผลการฝึกเป็นรายวิชาประกอบความเห็น) ๔๓
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ผนวก จ (แบบฟอร์มตารางแสดงผลการฝึกเป็นส่วนรวมประกอบความเห็น) ๔๔
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ผนวก ฉ (แบบฟอร์มตารางแสดงผลการตรวจสอบการฝึกเป็นส่วนรวม ๔๕
ประกอบความเห็น) ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ตอนที่ ๑
กล่าวทั่วไป

๑. ความมุ่งหมาย
ระเบียบและหลักสูตรการฝึกฉบับนี้ ได้กาำ หนดขึน้ สำาหรับให้ผบู้ งั คับหน่วยทหาร และผูท้ มี่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ
ในการฝึกหน่วยทหาร ได้นำาไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการฝึก ในขั้นตอนการฝึกเป็นหน่วยกองร้อยตามวง
รอบการฝึกประจำาปีของกองทัพบก ตามอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ของหน่วยทหารในเหล่าทหารราบ โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อให้ทั้งตัวผู้บังคับบัญชาและพลทหารในหน่วยระดับกองร้อยอาวุธเบา ซึ่งบรรจุกำาลังอยู่ใน
ปัจจุบัน มีความรู้และความชำานาญในการปฏิบัติการรบได้ตามลักษณะ และหน้าที่เฉพาะแห่งหน่วยของตน
ตลอดจนให้มีความคุ้นเคยในเรื่องการปฏิบัติการร่วมกันเป็นหน่วยหมวดและกองร้อย จนมีความชำานาญและ
สามารถปฏิบัติการรบร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๒. วัตถุประสงค์
เพื่อให้กำาลังพลในกองร้อยอาวุธเบามีความคุ้นเคย และมีความชำานาญในการปฏิบัติการรบตาม
สถานการณ์ทางยุทธวิธีต่าง ๆ ตลอดจนการบังคับบัญชาในสนาม และปลูกฝังให้กำาลังพลในหน่วยมีความรู้
ความสามารถในกรณีดังต่อไปนี้
๒.๑ ให้มีโอกาส ได้มองเห็นภาพการรบตามสถานการณ์ทางยุทธวิธีในรูปแบบต่าง ๆ ที่อาจจะต้อง
เผชิญในสนามรบตามสภาพที่ใกล้เคียงความจริงอย่างมากที่สุด
๒.๒ มีความชำานาญกับการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะต้องเผชิญในเวลาปฏิบัติการรบจริง
๒.๓ รู้จักประสานงานกันระหว่างระดับ หมู่ ตอน และหมวด
๒.๔ รูจ้ กั ปฏิบตั งิ านร่วมกันเป็นหน่วยระดับหมวดในหน่วยกองร้อย ตามลักษณะการปฏิบตั ทิ างยุทธวิธี
จนบังเกิดความแน่นแฟ้นและเคยชินตั้งแต่ในยามปกติ
๒.๕ ให้มีความรู้เรื่องแบบธรรมเนียมของทหาร และได้รับการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองสูงขึ้น
อีกระดับหนึ่ง

๓. การบรรลุผล
เพื่อให้บรรลุความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ดังกล่าวแล้วข้างต้น ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นตลอดจน
ผู้มีหน้าที่ฝึก สอน และอบรมทุกนายต้องกวดขันและหมั่นดูแลให้การฝึกดำาเนินไปด้วยดีที่สุด ต้องพยายาม
คิดค้นหาวิธีฝึกและใช้อุบายในการฝึก เพื่อให้ทหารแต่ละคนมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง และดำาเนิน
การฝึกอย่างประณีต รอบคอบ และเอาใจใส่ เมื่อพบข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการฝึกต้องแก้ไขทันที

๔. หลักฐานการฝึก
๔.๑ นโยบายการฝึก คำาสั่งการฝึก และบันทึกต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการฝึกทหารแต่ละปีของ ทบ.
๔.๒ คู่มือราชการสนามว่าด้วยการฝึกทหาร (รส. ๒๑–๕) พ.ศ. ๒๕๑๒
2 ตอนที่ ๑

๔.๓ คูม่ อื ราชการสนามว่าด้วยวิธเี ตรียมการ และการดำาเนินการฝึกทีเ่ น้นผลการปฏิบตั ิ (รส. ๒๑–๖)


พ.ศ. ๒๕๓๑
๔.๔ คู่มือราชการสนามว่าด้วย หมู่ หมวดปืนเล็กทหารราบ (รส. ๗–๘) พ.ศ. ๒๕๔๐
๔.๕ คู่มือราชการสนามว่าด้วย กองร้อยอาวุธเบา (รส. ๗–๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๗
๔.๖ คู่มือราชการสนามว่าด้วย กองพันทหารราบ (รส. ๗–๒๐) พ.ศ. ๒๕๔๙
๔.๗ คู่มือราชการสนามว่าด้วย การฝึกกำาลังทหาร (รส. ๒๕–๑๐๐) พ.ศ. ๒๕๔๗
๔.๘ คู่มือราชการสนามว่าด้วย การฝึกที่มุ่งเน้นผลการรบ (รส. ๒๕–๑๐๑) พ.ศ. ๒๕๔๗
๔.๙ ภาพยนตร์ฝึก วิดีโอเทป ภาพฉายนิ่ง ภาพฉายเลื่อน เครื่องบันทึกเสียง และแผ่นภาพ
เครื่องช่วยฝึกต่าง ๆ
๔.๑๐ คู่มือราชการสนาม คู่มือทางเทคนิค และหลักฐานเตรียมการฝึกต่าง ๆ ที่ ทบ.อนุมัติให้ใช้เป็น
หลักฐานการฝึก
๔.๑๑ ระเบียบ ข้อบังคับ คำาสั่ง คำาชี้แจงอื่น ๆ ของ ทบ. ที่เกี่ยวกับ
๔.๑๑.๑ การดำาเนินการฝึก
๔.๑๑.๒ ความปลอดภัยในการฝึก
๔.๑๑.๓ การยิงปืน
๔.๑๑.๔ อัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่ใช้ทำาการฝึก

๕. การบังคับใช้
ให้ใช้ระเบียบและหลักสูตรการฝึกฉบับนี้ เป็นแนวทางในการจัดการฝึกตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เว้นแต่
กองทัพบกจะได้สั่งการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น

๖. การปรับปรุงแก้ไข
๖.๑ การปรับปรุงแก้ไขระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ให้เหมาะสม และเป็นผลดีต่อการฝึกสอน
อบรมของกองทัพบก เป็นหน้าที่ของกรมยุทธศึกษาทหารบกและศูนย์การทหารราบ หากหน่วยใดมีความ
ประสงค์จะให้ข้อเสนอแนะในการเปลี่ยนแปลงแก้ไข หรือข้อคิดเห็นต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงระเบียบและหลักสูตร
การฝึกให้ดขี นึ้ ย่อมกระทำาได้ ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ทีจ่ ะเสนอให้เปลีย่ นแปลงเหล่านี้ ควรจะบ่งหน้าข้อและบรรทัด
ตามที่ปรากฏในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ด้วยและควรจะให้เหตุผลประกอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่าง
ถ่องแท้และสามารถนำาไปประเมินค่าได้โดยสมบูรณ์ ข้อคิดเห็นดังกล่าวนี้ขอให้ส่งตรงไปยัง กองวิทยาการ
ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อำาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๖.๒ หน่วยใดที่ไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ หรือมีข้อขัดข้องประการใดก็ดี
ให้รายงานข้อขัดข้อง พร้อมด้วยข้อเสนอแนะของหน่วยต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับขั้นจนถึง กรมยุทธศึกษา
ทหารบก เพื่อตกลงใจขจัดปัญหาหรือปรับปรุงแก้ไขให้เป็นมาตรฐานที่สมบูรณ์ต่อไป
ตอนที่ ๒
การจัดการฝึก

๑. แนวความคิดในการจัดการฝึก
๑.๑ ระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ แบ่งขั้นตอนของการฝึกไว้เป็น ๔ ขั้น คือ
๑.๑.๑ ขั้นตอนที่ ๑ การฝึกทั่วไป
๑.๑.๒ ขั้นการฝึกที่ ๒ การฝึกรบตามแบบ
๑.๑.๓ ขั้นการฝึกที่ ๓ การฝึกภาคสนาม
๑.๑.๔ ขั้นการฝึกที่ ๔ การตรวจสอบ
๑.๒ ขัน้ การฝึกที่ ๑ การฝึกทัว่ ไป เป็นการฝึกในเรือ่ งทัว่ ๆ ไป ได้แก่การฝึกกายบริหาร การทดสอบ
ความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกาย การอบรม และเวลาของผูบ้ งั คับบัญชาเพือ่ มิให้เป็นการเสียเวลาทีร่ ะเบียบและ
หลักสูตรการฝึกนี้มีอยู่ จึงจำาเป็นต้องใช้ห้วงเวลาในตอนเช้า ตั้งแต่ ๐๖๐๐ – ๐๗๐๐ ห้วงเวลาในตอนกลางคืน
ตัง้ แต่ ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ และห้วงเวลาในตอนบ่ายวันพุธเป็นเวลาฝึก อบรม และทดสอบ กล่าวคือ ใช้หว้ งเวลาใน
ตอนเช้าทำาการฝึกกายบริหาร ใช้หว้ งเวลาในตอนกลางคืนทำาการอบรม และใช้หว้ งเวลาในตอนบ่ายวันพุธ ทำาการ
ทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกายประจำาสัปดาห์ ในลักษณะที่สอดแทรกการฝึกขั้นนี้ไว้ในห้วงเวลา
ของขั้นการฝึกที่ ๒ ในสัปดาห์ที่ ๑ ถึง ๕ ตามลำาดับ
๑.๓ ขั้นการฝึกที่ ๒ การฝึกรบตามแบบ เป็นการฝึกปฏิบัติการรบเป็นหน่วยกองร้อย ซึ่งถือว่าเป็น
การสอนและฝึกในภาคหลักการ ในทีต่ งั้ ปกติเป็นรายวิชา ในลักษณะทีจ่ ะต้องทำาการสอน และฝึกในภูมปิ ระเทศ
ที่เป็นสนามฝึกของหน่วยเป็นส่วนใหญ่ ตามปกติแล้วควรจะเลือกภูมิประเทศที่เหมาะสมที่อยู่ใกล้กับที่ตั้งปกติ
ของหน่วย เพื่อให้สามารถเดินทางด้วยเท้าไปกลับได้ในวันเดียว โดยไม่มีการเบิกเบี้ยเลี้ยงการฝึกนอกที่ตั้ง
ผูบ้ งั คับกองร้อยจะเป็นผูร้ บั ผิดชอบทัง้ ในเรือ่ งการจัดการฝึกและการดำาเนินการฝึกภายในหน่วยของตน ให้เป็น
ไปตามแถลงหลักสูตรการฝึกที่กำาหนดไว้อย่างเคร่งครัด ซึ่งอาจจะจัดให้นายทหารสัญญาบัตรภายในกองร้อย
เป็นผู้ช่วยในการสอนและฝึกได้ตามเหมาะสม
๑.๔ ขัน้ การฝึกที่ ๓ การฝึกภาคสนามนอกทีต่ งั้ ปกติ และขัน้ การฝึกที่ ๔ การตรวจสอบ เป็นการฝึกปฏิบตั ิ
การรบเป็นหน่วยกองร้อยตามสถานการณ์ทางยุทธวิธที ตี่ อ่ เนือ่ งกัน ตามห้วงเวลาทีก่ าำ หนดในลักษณะภูมปิ ระเทศ
ที่สมจริง เพื่อให้กำาลังพลกองร้อยอาวุธเบามีความคุ้นเคยต่อสภาพการรบที่เป็นจริง เพื่อให้เกิดความชำานาญ
และคุ้นเคยต่อการทำางานร่วมกันเป็นหน่วยกองร้อย เพื่อให้มีความสามารถปฏิบัติการรบได้อย่างทรหดอดทน
และเพื่อประเมินค่าตัวบุคคลในระดับผู้บังคับหน่วยทุกระดับ การฝึกในขั้นที่ ๓ และ ๔ นี้ เป็นการฝึกนอกที่
ตัง้ ทีจ่ ะต้องพักแรมในสนามตามห้วงเวลาทีแ่ ถลงหลักสูตรการฝึกกำาหนด และยุทโธปกรณ์ทบี่ รรจุจริงตาม อจย.
ทั้งหมดเข้ารับการฝึกและตรวจสอบ

๒. การจัดการฝึกสำาหรับหน่วยระดับกองร้อยอื่น ๆ
๒.๑ หน่วยระดับกองร้อยอื่น ๆ ที่มีอัตราการจัดแตกต่างไปจากกองร้อยอาวุธ กองพันทหารราบ ให้
ยึดถือหลักเกณฑ์ในการจัดการฝึกดังนี้
4 ตอนที่ ๒

๒.๑.๑ กองร้อยกองบังคับการ และกองร้อยรถสายพาน กรมทหารราบ ไม่ต้องจัดการฝึก


และตรวจสอบการฝึกเป็นหน่วยกองร้อย แต่ให้จัดกำาลังเข้าสนับสนุนการฝึกและการตรวจสอบได้ตามความ
เหมาะสม
๒.๑.๒ กองร้อยเครื่องยิงหนัก กรมทหารราบ ให้จัดการฝึกโดยใช้ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
เป็นหน่วยกองร้อย สำาหรับกองร้อยเครื่องยิงหนัก
๒.๑.๓ กองร้อยสนับสนุนการรบ และกองร้อยสนับสนุนการช่วยรบ กองพันทหารราบ และกองพัน
ป้องกันฐานบิน ไม่ต้องจัดการฝึกและตรวจสอบเป็นหน่วยกองร้อย แต่ให้จัดกำาลังพลเข้าสนับสนุนการฝึกและ
การตรวจสอบได้ตามความเหมาะสม
๒.๑.๔ กองร้อยกองบัญชาการกองทัพภาค และกองร้อยกองบัญชาการกองพลทหารราบ ไม่
ต้องจัดการฝึกและตรวจสอบเป็นหน่วยกองร้อย
๒.๑.๕ กองร้ อ ยบริ ก ารของทุ ก หน่ ว ย ให้ จั ด การฝึ ก โดยใช้ ร ะเบี ย บและหลั ก สู ต รการฝึ ก นี้
โดยอนุโลม
๒.๒ การจัดการฝึกของกองร้อยอาวุธเบา กองพันป้องกันฐานบิน ให้ยดึ ถือและปฏิบตั ติ ามระเบียบและ
หลักสูตรการฝึกฉบับนี้
๒.๓ การจัดการฝึกของกองร้อยอาวุธเบาส่งทางอากาศ ให้จัดการฝึกโดยใช้ระเบียบและหลักสูตร
การฝึกนี้โดยอนุโลม

๓. การนำาไปใช้
๓.๑ ตารางกำาหนดการฝึกหลักตามที่กำาหนดไว้ในตอนที่ ๔ ของระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้
ได้กาำ หนดไว้สาำ หรับให้นายทหารฝ่ายยุทธการและการฝึก หรือเจ้าหน้าทีผ่ ซู้ งึ่ ได้รบั แต่งตัง้ ให้มหี น้าทีร่ บั ผิดชอบ
และกำากับดูแลการฝึกของหน่วยได้นำาไปใช้เป็นเครื่องมืออำานวยความสะดวกในการวางแผนการฝึก และจัด
ทำาตารางการฝึกของแต่ละวิชาให้มลี าำ ดับการสอนทีเ่ หมาะสม และได้สว่ นสัมพันธ์กบั ความยากง่ายของแต่ละวิชา
๓.๒ แถลงหลักสูตรตามที่กำาหนดไว้ในตอนที่ ๕ ของระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ ครูผู้สอนหรือ
ผู้ฝึกจะต้องนำาเอาไปใช้ในการจัดทำาแผนบทเรียน และปัญหาฝึกโดยเคร่งครัด เพื่อให้การสอนและฝึกเป็นไป
ตามมาตรฐานตามที่ระเบียบและหลักสูตรการฝึกกำาหนด
๓.๓ ผู้บังคับหน่วยที่รับผิดชอบในการจัดทำาตารางกำาหนดการฝึก อาจจะเปลี่ยนแปลงรายละเอียด
บางประการตามทีก่ าำ หนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนีก้ ไ็ ด้ แต่จะต้องให้คงมีวชิ าและชัว่ โมงการฝึกสอน
ไม่น้อยกว่าที่กำาหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ ทั้งนี้เพื่อให้
๓.๓.๑ เหมาะสมกับจำานวนสิ่งอำานวยความสะดวกในการฝึกที่มีอยู่
๓.๓.๒ เหมาะสมกับจำานวนเครื่องช่วยฝึกที่มีอยู่
๓.๓.๓ เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมและสภาพลมฟ้าอากาศ
๓.๔ ผู้ฝึกหรือนายทหารที่รับผิดชอบในการฝึก จะต้องจัดทำาตารางกำาหนดการฝึกไว้ ๒ ชนิด คือ
๓.๔.๑ ตารางกำาหนดการฝึกประจำาวัน เพื่อใช้เป็นกำาหนดการฝึกประจำาวันตามปกติ
๓.๔.๒ ตารางกำาหนดการฝึกสำารอง เพื่อใช้เป็นกำาหนดการฝึกทดแทนกำาหนด
ลฝ. ๗-๑๗ ก. 5

การฝึกประจำาวัน ในเมือ่ สภาพสิง่ แวดล้อมไม่อาำ นวยให้ทาำ การฝึกตามกำาหนดการฝึกประจำาวันได้ ต้องหมุนเวียน


อุปกรณ์ที่ใช้สนับสนุนการฝึก หรือเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง เป็นต้น
๓.๕ ผูบ้ งั คับหน่วยทุกระดับ เป็นผูท้ มี่ คี วามสำาคัญทีจ่ ะทำาให้การฝึกประสบความสำาเร็จ หรือล้มเหลวได้
ฉะนั้นผู้บังคับหน่วยทุกคนจะต้องเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งความรู้ทางวิชาการ มีลักษณะผู้นำาที่ดี และสามารถนำา
หน่วยปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนที่จะนำาหน่วยทำาการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้
๓.๖ หน่วยทหารที่ต้องทำาการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ ได้แก่
๓.๖.๑ กองร้อยอาวุธเบาที่อยู่ในอัตราการจัดของกองพันทหารราบ
๓.๖.๒ กองพันป้องกันฐานบิน
๓.๖.๓ กองร้อยกองบัญชาการกองทัพภาค และกองร้อยกองบัญชาการกองพลทหารราบ
๓.๖.๔ กองร้อยบริการของทุกหน่วย
๓.๖.๕ หน่วย ร. ระดับกองร้อยและ/หรือกองพันหรือเทียบเท่า ซึง่ เป็นหน่วยขึน้ ตรงส่วนภูมภิ าค
และส่วนการศึกษา โดยได้รับอนุมัติจากกรมยุทธศึกษาทหารบก
๓.๗ หน่วยที่ขาดอาวุธ ยุทโธปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ เพราะไม่มีกาำ หนดไว้ใน อจย. หรือ อสอ.
และ/หรือได้รับจ่ายไม่ครบตามอัตราที่กำาหนด ให้ผู้บังคับหน่วยเหนือของหน่วยที่ขาดสิ่งอุปกรณ์ดังกล่าวเป็น
ผู้ดำาเนินการแก้ไข เพื่อมิให้การฝึกต้องเสียผลโดยขอยืมจากหน่วยอื่น ๆ ในพื้นที่ของตน
๓.๘ หน่วยควรจัดให้พลทหารทุกคนได้รับการฝึกเพิ่มเติมในเรื่อง การตรวจค้นและการกู้ทุ่นระเบิด
นอกเหนือไปจากรายละเอียดที่กำ าหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ ให้มากที่สุดเท่าที่จะสามารถ
กระทำาได้

๔. วิธีดำาเนินการฝึก
๔.๑ การดำาเนินการฝึก จะต้องยึดถือปฏิบัติตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ในคู่มือราชการสนามว่าด้วย
การฝึกทหาร (รส. ๒๑–๕) และคู่มือราชการสนามว่าด้วย วิธีเตรียมการและการดำาเนินการฝึกที่เน้นผล
การปฏิบัติ (รส. ๒๑–๖) พ.ศ. ๒๕๓๑ เป็นหลัก
๔.๒ การดำาเนินการฝึก จะต้องให้มีการฝึกในทุกเรื่องครบถ้วนตามแถลงหลักสูตรอย่างเคร่งครัดและ
สมจริงเสมอ
๔.๓ การฝึกปฏิบตั ทิ างยุทธวิธที กุ เรือ่ ง จะต้องนำากำาลังพลและยุทโธปกรณ์ทมี่ อี ยูต่ าม อจย. เข้ารับการ
ฝึกทั้งหมดอย่างครบถ้วน โดยใช้ตัวผู้นำาหน่วยในระดับ หมู่ ตอน หมวด และกองร้อย ตามอัตราที่บรรจุจริง
เป็นหน่วยเข้ารับการฝึก ไม่ควรใช้วิธีสนธิกาำ ลังหรือจัดกำาลังขึ้นใหม่เพื่อทำาการฝึก
๔.๔ ในการฝึกปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธเี ป็นหน่วย ผูบ้ งั คับหน่วยจะต้องใช้ความพยายามทุกวิธที างทีจ่ ะ
จัดให้มีอาวุธยิงสนับสนุนของหน่วยสนับสนุนการฝึกและตรวจสอบให้มากที่สุด
๔.๕ การฝึกปฏิบตั ใิ นสนามตามสถานการณ์ทางยุทธวิธตี า่ ง ๆ นัน้ แต่ละหน่วยฝึกจะต้องจัดทำาปัญหา
ฝึกไว้เป็นเอกสารเสมอ และแต่ละปัญหาฝึกเหล่านัน้ จะต้องมีคำาเฉลยไว้ โดยแน่ชดั โดยจะต้องพยายามคิดค้น
สร้างปัญหาสอดแทรกไว้ในลักษณะการต่าง ๆ กัน ให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะสามารถกระทำาได้ หรือเท่าทีค่ าดว่าน่า
จะเกิดขึ้นในสนามรบจริงได้ ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้นาำ หน่วยและทหารมีความคุ้นเคยกับการแก้ปัญหาต่าง ๆ ไว้ตั้งแต่
ในเวลาปกติ
6 ตอนที่ ๒

๔.๖ เนื่องจากระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้มีเวลาอยู่อย่างจำากัด การดำาเนินการฝึกทางยุทธวิธี


บางเรื่อง จึงควรต้องกระทำาในลักษณะที่นำากำาลังพลของหน่วยออกไปสอนและฝึกปฏิบัติควบคู่กันไปใน
ภูมิประเทศ โดยไม่มีการสอนในห้องเรียน
๔.๗ ภูมปิ ระเทศทีเ่ ลือกใช้ทำาการฝึก ต้องมีลกั ษณะสมจริงกับปัญหาหรือเรือ่ งทีฝ่ กึ และควรเลือกพืน้ ที่
ฝึกในลักษณะภูมิประเทศที่ยากลำาบากให้มากที่สุด
๔.๘ ผู้บังคับกองพันจะต้องกำากับดูแล ให้มีการออกกำาหนดการฝึกประจำาสัปดาห์ ให้หน่วยฝึกได้รับ
ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ สัปดาห์ และหน่วยฝึกจะต้องจัดทำาตารางกำาหนดการฝึกประจำาวันขึน้ ใช้อกี ขัน้ หนึง่
และสามารถแสดงให้ผู้ตรวจการฝึกตรวจได้ตลอดเวลา
๔.๙ การฝึกยิงปืนด้วยกระสุนจริงและการใช้วัตถุระเบิด
๔.๙.๑ การใช้ ก ระสุ น ในการฝึ ก ยิ ง ปื น ด้ ว ยกระสุ น จริ ง ให้ ยึ ด ถื อ เกณฑ์ ต ามที่ กำ า หนดไว้ ใ น
ตอนที่ ๖ ของระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้
๔.๙.๒ การใช้กระสุนและวัตถุระเบิดในการฝึกทางยุทธวิธนี นั้ ผูบ้ งั คับหน่วยจะต้องพิจารณาจัดสรร
สำาหรับใช้ในการฝึกอย่างเหมาะสม โดยให้อยู่ในลักษณะประหยัดและให้เกิดคุณค่าอย่างสูงสุด
๔.๙.๓ การฝึกปฏิบัติทางยุทธวิธี ต้องจัดให้มีการฝึกยิงด้วยกระสุนจริงบ่อย ๆ เท่าที่ลักษณะ
ภูมิประเทศและสถานภาพกระสุนจะอำานวยให้
๔.๙.๔ รายการกระสุนและวัตถุระเบิดใด ๆ ทีย่ งั มิได้กำาหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้
หากหน่วยฝึกมีความริเริ่มหรือจำาเป็นต้องใช้ ให้รายงานไปยัง ทบ. (ผ่าน ยศ.ทบ.) เพื่อขออนุมัติใช้

๕. การฝึกภาคสนาม
การฝึกภาคสนามเป็นขั้นตอนการฝึกที่สำาคัญขั้นตอนหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวิชาการต่าง ๆ
ให้กำาลังพลของหน่วยทุกระดับ มีความคุ้นเคยกับสภาพการรบที่จะต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกันไป และคุ้นเคย
ต่อการแก้ปญ ั หาทางยุทธวิธใี นรูปแบบต่าง ๆ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในสนามรบจนมีความสามารถทีจ่ ะปฏิบตั กิ ารรบ
ได้อย่างทรหดและอดทน และให้เกิดความคุน้ เคยตลอดจนมีความชำานาญยิง่ ขึน้ ต่อการปฏิบตั ริ ว่ มกันเป็นหน่วย
โดยจะต้องกำาหนดให้เป็นการฝึกปฏิบตั ทิ างยุทธวิธตี ามสถานการณ์รบทีต่ อ่ เนือ่ งกันไปทัง้ กลางวันและกลางคืน
ในห้วงเวลาที่กำาหนดในภูมิประเทศนอกที่ตั้งปกติ หน่วยฝึกทุกหน่วยควรใช้ความพยายามทุกวิถีทาง ที่จะนำา
กำาลังทหารออกไปฝึกในภูมปิ ระเทศแตกต่างกันออกไป และคิดค้นปัญหาสอดแทรกต่าง ๆ ทีค่ าดว่าน่าจะเกิดขึน้
ในสนามรบจริงได้มากที่สุดเท่าที่จะสามารถกระทำาได้ และเพื่อฝึกให้ผู้นำาหน่วยและทหารได้มีความคุ้นเคยต่อ
การแก้ปัญหาทางยุทธวิธีต่าง ๆ เหล่านั้นไว้ตั้งแต่ในเวลาปกติ

๖. การตรวจสอบ
การตรวจสอบเป็นการประเมินผลอย่างหนึง่ ทีจ่ ะทำาให้เพิม่ คุณค่าในการยกระดับมาตรฐานการฝึกให้ดขี นึ้
และยังมีผลทำาให้ผรู้ บั การฝึกเกิดความรักหมูค่ ณะด้วย การตรวจสอบพร้อมกับการให้รางวัลอย่างเหมาะสมนัน้
ย่อมเป็นการเสริมกำาลังใจในการฝึกได้เป็นอย่างดี
การตรวจสอบเป็นการกระทำาในตอนท้ายของหลักสูตรการฝึก ผู้บังคับบัญชาที่สูงขึ้นไปสองระดับเป็น
ผู้ทาำ การตรวจสอบ
ลฝ. ๗-๑๗ ก. 7

๗. เครื่องช่วยฝึก
๗.๑ หน่วยฝึกจะต้องพยายามนำาเครื่องช่วยฝึกมาใช้ประกอบการสอน และฝึกให้มากที่สุด เช่น
ภาพยนตร์ฝกึ วิดโี อเทป ภาพฉายนิง่ ภาพฉายเลือ่ น และแผ่นภาพเครือ่ งช่วยฝึกต่าง ๆ เป็นต้น เครือ่ งช่วยฝึก
เหล่านี้ ย่อมมีคณุ ค่าอย่างมากทีจ่ ะช่วยให้การฝึกสอนบังเกิดผลดี ผูฝ้ กึ จะต้องจัดเตรียมและเลือกใช้ให้เหมาะสม
กับเรื่องที่ฝึกสอน โดยจะต้องศึกษาทำาความเข้าใจ หรือซักซ้อมให้มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ก่อนที่จะดำาเนิน
การสอนหรือฝึกทุกครั้ง
๗.๒ ในการฝึกสอนหรืออบรมแต่ละครั้งคราวนั้น มิได้บังคับว่าจะต้องใช้เฉพาะเครื่องช่วยฝึกที่
กองทัพบกกำาหนดขึน้ เท่านัน้ หน่วยหรือผูฝ้ กึ อาจมีความคิดริเริม่ คิดค้นหรือจัดทำาขึน้ ใหม่ เพือ่ ให้เหมาะสมกับ
การฝึกสอน หรืออบรมของตนในแต่ละครั้งคราวก็ได้
๗.๓ ถ้าหน่วยใดได้คดิ ค้นเครือ่ งช่วยฝึกชนิดใหม่ ๆ ซึง่ กองทัพบกยังไม่มแี ละได้ทดลองใช้แล้วบังเกิด
ผลดีต่อการฝึกสอน ให้แจ้งกองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ ได้ทราบถึงชื่อเครื่องช่วยฝึก รูปร่างลักษณะ
ค่าจัดทำา และผลที่ได้รับ เพื่อศูนย์การทหารราบจะได้พิจารณาเสนอต่อกองทัพบกให้เป็นเครื่องช่วยฝึกของ
กองทัพบกและจัดทำาแจกจ่ายหน่วยต่อไป

๘. การฝึกร่วม ร., ม., ป.


การฝึกภาคกองร้อยนอกที่ตั้งของหน่วย ร. ให้ ผบ.หน่วย ร. ริเริ่มให้มีการฝึกร่วมระหว่างทหารราบ
ทหารม้า ทหารปืนใหญ่ ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำาได้โดยอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยระดับกองพล ในการ
พิจารณาวางแผนให้มีการฝึกร่วมกันระหว่างหน่วยดังกล่าวตามความเหมาะสม

๙. การฝึกกลางคืน
๙.๑ ในขั้นการฝึกที่ ๒ การฝึกรบตามแบบ มีเรื่องที่จะต้องทำาการฝึกในเวลากลางคืนหลายเรื่อง
หน่วยฝึกจะต้องทำาการฝึกให้เป็นไปตามเวลาและรายละเอียดที่กำาหนดไว้ และใช้เวลาไม่น้อยกว่าที่แถลง
หลักสูตรกำาหนดอย่างเคร่งครัด
๙.๒ ในขัน้ การฝึกที่ ๓ การฝึกภาคสนาม และขัน้ การฝึกที่ ๔ การตรวจสอบ จะต้องทำาปัญหาสอดแทรก
ต่าง ๆ ให้มีการปฏิบัติในเวลากลางคืนให้มาก เพื่อให้ผู้รับการฝึกมีความคุ้นเคยต่อการปฏิบัติการรบในเวลา
กลางคืน และมีความทรหดอดทนทีจ่ ะปฏิบตั กิ ารรบอย่างต่อเนือ่ งกันได้ ทัง้ เป็นบุคคลและเป็นหน่วย ในสภาพ
ที่ร่างกายมีความอ่อนเพลียจากการอดนอนในเวลากลางคืน

๑๐. ความปลอดภัยและความสมจริง
๑๐.๑ การรักษาความปลอดภัยในการฝึกที่สำาคัญที่สุด ก็คือ ผู้ฝึกจะต้องรู้จักใช้สามัญสำานึกของตน
พิจารณาว่าเรื่องที่ฝึกนั้นจะเกิดเป็นอันตรายขึ้นได้หรือไม่เพียงไร เช่น การใช้อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด
ยานพาหนะ และเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เป็นต้น แล้วกำาหนดมาตรการป้องกันมิให้เกิดอุปัทวเหตุขึ้นได้ โดย
๑๐.๑.๑ การระมัดระวัง
๑๐.๑.๒ ความพินิจพิจารณาในการใช้
๑๐.๑.๓ การกำากับดูแลและการตรวจตราอย่างใกล้ชิด
๑๐.๑.๔ การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการรักษาความปลอดภัยอย่างถูกต้อง
8 ตอนที่ ๒

๑๐.๒ ความสมจริงในการฝึกเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ แต่ทั้งนี้จะต้องคำานึงถึงความปลอดภัยของผู้รับ


การฝึกด้วย เรื่องใด ๆ ก็ตามที่เมื่อจะฝึกแล้วอาจเกิดเป็นอันตรายขึ้นได้ ผู้ฝึกหรือสอนจะต้องคำานึงถึง
หลักเกณฑ์ของความปลอดภัยให้มาก และพึงอยู่ในความไม่ประมาท
๑๐.๓ การยิงปืนด้วยกระสุนจริง และการใช้วัตถุระเบิดทุกชนิด จะต้องปฏิบัติตามรายละเอียดที่ได้
กำาหนดไว้ในคู่มือราชการสนาม คู่มือทางเทคนิค คำาสั่ง คำาชี้แจง และแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการฝึกของ
กองทัพบกอย่างเคร่งครัด การใช้วัตถุระเบิดจะต้องอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่โดยตรงหรือผู้รับผิดชอบ

๑๑. การแสดงคุณลักษณะและขีดความสามารถของอาวุธ
ถ้าจะมีการแสดงให้ผู้รับการฝึกเห็นคุณลักษณะ และขีดความสามารถของอาวุธชนิดต่าง ๆ แล้ว
ควรหาโอกาสกระทำาตั้งแต่เริ่มต้นการฝึก ทั้งนี้เพื่อให้ผู้รับการฝึกเกิดความเชื่อมั่นและคุ้นเคยในการฝึก

๑๒. การยิงปืน
จะต้องให้ทหารทุกคนได้ฝึกยิงปืน ตามที่ได้กำาหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกนี้โดยสมบูรณ์ และจะต้อง
เพ่งเล็งให้ทุกคนได้ใช้อาวุธประจำากาย และอาวุธประจำาหน่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามตำาแหน่งหน้าที่

๑๓. การอบรม
การอบรมถือว่ามีความสำาคัญเท่าเทียมกับการฝึก เพราะการอบรมจะทำาให้ทหารอยูร่ ว่ มกันเป็นหมูค่ ณะ
และรับใช้ประเทศชาติได้ตามที่กองทัพบกต้องการ ฉะนั้นระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้ จึงมุ่งหมายจะทำาการ
อบรมทหาร เพื่อให้ต่อเนื่องกับการอบรมที่กำาหนดไว้ในระเบียบและหลักสูตรการฝึกทหารใหม่ (๑๐ สัปดาห์)
และระเบียบและหลักสูตรการฝึกเป็นหน่วย หมู่ ตอน หมวด (๗ สัปดาห์) จึงได้เน้นหนักถึงการอบรมในเรือ่ งที่
เกี่ยวกับแบบธรรมเนียมของทหารที่จำาเป็นจะต้องทราบ และการอบรมเพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองใน
ระดับหนึ่ง ผู้บังคับบัญชาจะต้องสนใจที่จะจัดให้มีการอบรมอย่างครบถ้วนตามที่ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
กำาหนดโดยกำาหนดให้นายทหารสัญญาบัตรหรือนายทหารประทวน ยศ จ.ส.อ.เป็นผู้ทาำ การอบรม
ตอนที่ ๓
การตรวจการฝึก การตรวจสอบ และการรายงานผล

๑. การตรวจการฝึก
การตรวจการฝึกกระทำาเพื่อให้ทราบผลการฝึกเป็นส่วนรวมของแต่ละหน่วย หากมีข้อบกพร่องก็ให้หาวิธี
ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้ดีขึ้น ผู้บังคับหน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่าขึ้นไปต้องทำาการตรวจการฝึกด้วย
ตนเองอย่างใกล้ชดิ หากไม่สามารถกระทำาได้เพราะติดราชการอืน่ จะมอบให้ฝา่ ยอำานวยการของตนหรือจะแต่งตัง้
ให้ผู้ที่เหมาะสมทำาการตรวจการฝึกแทนก็ได้ เมื่อพบข้อบกพร่องให้รีบแก้ไขทันที และจะต้องบันทึกสภาพ
การฝึกของหน่วยที่รับการตรวจนั้นทุกครั้งว่าได้ตรวจเมื่อไร หน่วยใด ฝึกเรื่องอะไร ผลการฝึกเป็นอย่างไร
ได้ดำาเนินการแก้ไขการฝึกไปแล้วอย่างใดบ้าง ทั้งนี้เพื่อให้เป็นเครื่องช่วยความจำาและเป็นหลักฐานในการ
ตรวจครั้งต่อ ๆ ไป นอกจากนี้ ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ชั้นผู้บังคับการกรม หรือเทียบเท่าขึ้นไป จะขอดูควรจะ
ขอดูเฉพาะเรื่องสำาคัญ ๆ และให้บันทึกข้อวิจารณ์ ตลอดจนคำาแนะนำาให้ไว้กับหน่วยที่ได้รับการขอดูนั้น เพื่อ
ให้ทราบและใช้เป็นแนวทางปฏิบัติต่อไปด้วย

๒. การตรวจสอบ
๒.๑ ความมุ่งหมายของการตรวจสอบ การดำาเนินการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้
ได้กำาหนดให้มีการตรวจสอบไว้ในตอนท้ายของหลักสูตร ซึ่งผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปสองระดับจะเป็น
ผู้ทำาการตรวจสอบ ทั้งนี้เพื่อ
๒.๑.๑ ให้กำาลังพลของหน่วยมีความคุ้นเคย และเกิดความชำานาญยิ่งขึ้นในการปฏิบัติการ
ทางยุทธวิธีเป็นหน่วย
๒.๑.๒ เป็นการเร่งเร้าให้หน่วยระดับต่าง ๆ ได้เข้มงวดกวดขันในการฝึกตามระเบียบและหลักสูตร
กำาหนด
๒.๑.๓ ให้ผู้บังคับบัญชาใช้เป็นหลักฐาน ในการประเมินค่าประสิทธิภาพการรบของหน่วยที่อยู่
ภายใต้การบังคับบัญชาของตน
๒.๑.๔ ให้ผู้บังคับบัญชาและผู้บังคับหน่วยมีข้อมูลที่จะนำาไปใช้ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาการ
ฝึกให้บังเกิดผลดียิ่งขึ้น
๒.๒ การดำาเนินการตรวจสอบ การดำาเนินการตรวจสอบการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้
ให้กระทำาเฉพาะการปฏิบัติทางยุทธวิธีในสนามตามรายละเอียดที่กล่าวไว้ใน ตอนที่ ๕ แถลงหลักสูตรการฝึก
และคู่มือการฝึกว่าด้วยวิธีดำาเนินการฝึก และการตรวจสอบกองร้อยอาวุธเบา เหล่าทหารราบ อย่างเคร่งครัด
๒.๓ มาตรฐานการฝึก
๒.๓.๑ การตรวจสอบให้ทำาการวัดผลการตรวจสอบการฝึกเป็นหน่วย โดยให้ยึดถือเกณฑ์
การประเมินผลดังนี้
๒.๓.๑.๑ ได้คะแนนตั้งแต่ ๗๐.๐๐ เปอร์เซ็นต์ ขึ้นไป...............ผ่านการทดสอบ
๒.๓.๑.๒ ได้คะแนนตำ่ากว่า ๗๐.๐๐ เปอร์เซ็นต์ ลงมา...............ไม่ผ่านการทดสอบ
10 ตอนที่ ๓

๒.๓.๒ หน่วยที่ทำาการตรวจสอบได้คะแนนอยู่ในเกณฑ์ไม่ผ่านการทดสอบ จะต้องทำาการฝึก


และตรวจสอบใหม่ภายในห้วงเวลาที่กองทัพบกกำาหนดไว้ในคำาสั่งการฝึกประจำาปี โดยไม่ต้องใช้งบประมาณ
ค่าเบี้ยเลี้ยงในการฝึกแต่ประการใด
๒.๓.๓ หน่วยที่ทำาการตรวจสอบใหม่ แล้วยังได้คะแนนอยู่ ในเกณฑ์ไม่ผ่านการทดสอบอีก
ไม่ต้องทำาการฝึกและตรวจสอบซำ้าอีก แต่ให้ผู้บังคับหน่วยพิจารณาพัฒนาด้านการฝึกและศึกษา รวมถึง
การปรับปรุงตัวบุคคลในระดับผู้นำาหน่วยได้ตามความเหมาะสม

๓. การรายงานผล
๓.๑ ผูบ้ งั คับหน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่า เป็นผูร้ บั ผิดชอบในการทำาตารางกำาหนดการฝึกประจำา
สัปดาห์ (ผนวก ก.) และตารางกำาหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง (ผนวก ข.) และสำาเนาแจกจ่าย
ให้หน่วยรองของตนทราบล่วงหน้าอย่างน้อยที่สุด ๒ สัปดาห์
๓.๒ ผูบ้ งั คับหน่วยระดับกองร้อย เป็นผูร้ บั ผิดชอบในการทำาตารางกำาหนดการฝึกประจำาวัน (ผนวก ค.)
และสำาเนาแจกจ่ายให้หน่วยรอง ตลอดจนผู้ฝึกของตนทราบล่วงหน้าอย่างน้อยที่สุด ๑ สัปดาห์
๓.๓ ผู้ที่ได้รับมอบภารกิจให้เป็นผู้สอนและฝึกแต่ละวิชา จะต้องเป็นผู้รายงานผลการฝึกเป็นรายวิชา
ประกอบความเห็น (ผนวก ง.) เสนอให้ผู้บังคับบัญชาตามลำาดับชั้นของตนทราบ จนถึงผู้บังคับหน่วยระดับ
กองพันหรือเทียบเท่า เมื่อทำาการสอนและฝึกในวิชานั้น ๆ จบลงแล้วโดยเร็วที่สุด
๓.๔ ผูบ้ งั คับหน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่า เป็นผูร้ บั ผิดชอบในการทำารายงานผลการฝึกเป็นส่วน
รวมประกอบความเห็น (ผนวก จ.) เสนอให้ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือของตนทราบ เพื่อรายงานต่อไปตามลำาดับ
จนถึงกองทัพภาค
๓.๕ ผู้บังคับหน่วยระดับที่เป็นผู้ดำาเนินการตรวจสอบ เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำารายงานผลการ
ตรวจสอบการฝึกเป็นส่วนรวมประกอบความเห็น (ผนวก ฉ.)
๓.๕.๑ เสนอให้ผบู้ งั คับบัญชาชัน้ เหนือตามลำาดับทราบจนถึงกองทัพภาค ๑ ชุด รายงาน ยศ.ทบ.
๑ ชุด และสำาเนาให้ศูนย์การทหารราบ ๑ ชุด
๓.๕.๒ ถ้าหน่วยที่ดำาเนินการตรวจสอบเป็นหน่วยระดับสูงกว่ากองพัน ให้ส่งรายงานผลการ
ตรวจสอบ (ผนวก ฉ.) ให้หน่วยระดับกองพันทราบด้วยอีก ๑ ชุด
ตอนที่ ๔
ตารางกำาหนดการฝึกหลัก หลักสูตรการฝึกเป็นหน่วยกองร้อย
สำาหรับเหล่าทหารราบ
ระยะเวลาฝึก ๘ สัปดาห์
ลำาดับ เวลา สัปดาห์ที่
เรื่องที่ทำาการฝึก แถลงหลักสูตร/หน้า
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
ก. ภาคการฝึกในที่ตั้ง
การฝึกขั้นที่ ๑ ทบทวนการฝึกเป็นบุคคล
๑ การฝึกและทดสอบร่างกาย/กำาลังใจ ๓๐ ๑๗ - ๑๙
๑.๑ การต่อสู้ในระยะประชิด ๑๐ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ - - -
๑.๒ การฝึกกายบริหาร ๑๐ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ - - -
๑.๓ การทดสอบร่างกายประจำาสัปดาห์ ๑๐ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ - - -
๒ ทบทวนบุคคลทำาการรบกลางวันและกลางคืน ๘(๔) ๘(๔) - - - - - - - ๒๐
๓ ทบทวนการฝึกกิจเฉพาะเป็นบุคคลตามทักษะ ๔ ระดับ ๒๐ ๒๐ - - - - - - - ๒๑ - ๒๓
๓.๑ ทักษะระดับ ๑ (พลทหาร)
๓.๒ ทักษะระดับ ๒ (หน.ชุดยิง)
๓.๓ ทักษะระดับ ๓ (ผบ.หมู่)
๓.๔ ทักษะระดับ ๔ (รอง ผบ.มว. และ ผบ.มว.)
๔ การฝึกยิงปืนตามทำานองรบ ๑๖(๘) ๘(๔) ๘(๔) - - - - - - ๒๓
๔.๑ การยิงปืนทำานองรบอยู่กับที่และเคลื่อนที่
๔.๒ การยิงปืนในเวลากลางคืน
๕ การฝึกและทดสอบผู้ชาำ นาญการทหารราบ ๒๔ - ๒๔ - - - - - - ๒๓ - ๒๔
ลำาดับ เวลา สัปดาห์ที่
เรื่องที่ทาำ การฝึก แถลงหลักสูตร/หน้า
12
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
๖ การฝึกปฏิบัติงานมวลชน ๑๒ ๔ ๘ - - - - - - ๒๔
๖.๑ กิจการพลเรือนและการช่วยเหลือประชาชน
๖.๒ การจัดตั้งชุมชนเข้มแข็งตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง
การฝึกขั้นที่ ๒ การฝึกทบทวนเป็นหน่วย หมู่ ตอน
หมวด
๗ การฝึกตามแบบฝึกทำาการรบของหมู่ ปล. ๑๖ - - ๑๖ - - - - - ๒๔ - ๒๕
๘ การลาดตระเวนเวลากลางวันและกลางคืน ๑๖(๔) - - ๑๖(๔) - - - - - ๒๕
๘.๑ การลาดตระเวนรบ
๘.๒ การลาดตระเวนหาข่าว
๘.๓ การตั้งฐานลาดตระเวน
๘.๔ การลาดตระเวนระวังป้องกันและการเฝ้าตรวจ
๙ การฝึกตามแบบฝึกทำาการรบของ มว.ปล. ๑๖ - - ๘ ๘ - - - - ๒๕
๑๐ การฝึกการปฏิบัติการทางทหารในความขัดแย้ง ๑๖ - - - ๑๖ - - - - ๒๕
ระดับตำ่า
การฝึกขั้นที่ ๓ การฝึกเป็นหน่วยกองร้อย
๑๑ การฝึกยุทธวิธี ร้อย.ร. ๗๖ - - - - - - - - ๒๖
๑๑.๑ การเคลื่อนที่เข้าปะทะ ๘ - - - ๘ - - - -
๑๑.๒ การเข้าตีแบบเร่งด่วน ๘ - - - - ๘ - - -
๑๑.๓ การตีโฉบฉวย ๘ - - - - ๘ - - -
๑๑.๔ การซุ่มโจมตี/การต่อต้านการซุ่มโจมตี ๑๒ - - - ๘ ๔ - - -
๑๑.๕ การลาดตระเวนและระวังป้องกัน ๘ - - - - ๘ - - -
๑๑.๖ การตั้งรับ ๑๒ - - - - - ๑๒ - -
๑๑.๗ การถอนตัวภายใต้การกดดัน ๘ - - - - - ๘ - -
๑๑.๘ การรบในพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง ๑๒ - - - - ๘ ๔ - -
ตอนที่ ๔
ลำาดับ เวลา สัปดาห์ที่
เรื่องที่ทำาการฝึก แถลงหลักสูตร/หน้า
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
๑๒ การอบรม ๒๖
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

๑๒.๑ บทบาทหน้าที่ของทหาร ๒ ๒ - - - - - - -
๑๒.๒ การเสริมสร้างอุดมการณ์ ๒ - ๒ - - - - - -
๑๒.๓ การสร้างวินัยสำาหรับคนในชาติ ๒ - - ๒ - - - - -
๑๒.๔ การปฏิบัติการจิตวิทยาและประชาสัมพันธ์ ๒ - - - ๒ - - - -
๑๒.๕ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ๒ - - - - ๒ - - -
๑๒.๖ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี ๒ - - - - - ๒ - -
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
๑๒.๗ หน้าที่ของทหารเหล่าต่าง ๆ ใน ทบ. ๒ - - - - - - ๒ -
๑๒.๘ การรักษาเกียรติ ศักดิ์ศรี ของกองทัพและ ๒ - - - - - - ๒ -
ให้ประชาชนรักทหาร
๑๓ เวลาผู้บังคับบัญชา ๑๐ ๒๗
รวมเวลาฝึกภาคที่ตั้ง ๒๗๖ ๔๘ ๔๘ ๔๘ ๔๘ ๔๘ ๓๖
(๑๖) (๘) (๔) (๔)
ข. ภาคการฝึกและตรวจสอบในสนาม (๑๘ วัน)
๑๔ การตรวจสอบการเคลื่อนย้ายหน่วยทางยุทธวิธี ๒๔ - - - - - ๒๔ - - ๒๗
ด้วยการ เดินเท้า (การเดินเร่งรีบประกอบเครือ่ งสนาม)
๑๕ การฝึกและตรวจสอบการยิงปืนตามทำานองรบ ๔๘ - - - - - ๔๘ - - ๒๗
๑๕.๑ การยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่บัดดี้
๑๕.๒ การยิงปืนเป็นชุดยิง/หมู่
๑๕.๓ การยิงปืนเวลากลางคืน
๑๖ การฝึกทางยุทธวิธีเป็นหน่วยกองร้อย ๑๙๒ - - - - - ๒๔ ๑๔๔ ๒๔ ๒๗
๑๖.๑ การปฏิบตั ทิ างยุทธวิธใี นกรอบของหน่วยใหญ่
13
14
ลำาดับ เวลา สัปดาห์ที่
เรื่องที่ทำาการฝึก แถลงหลักสูตร/หน้า
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
- การรบด้วยวิธีรุก
- การรบด้วยวิธีรับ
- การรบด้วยวิธีร่นถอย
๑๖.๒ การปฏิบัติทางยุทธวิธีของหน่วยทหาร
ขนาดเล็กปฏิบัติการเป็นอิสระ
- การลาดตระเวนรบ
- การลาดตระเวนหาข่าว
- การลาดตระเวนระวังป้องกันและเฝ้าตรวจ
- การปิดล้อมและตรวจค้นหมู่บ้าน
๑๗ การตรวจสอบการปฏิบัติทางยุทธวิธีเป็นหน่วยระดับ ๑๒๐ - - - - - - - ๑๒๐ ๒๘
กองร้อยในปัญหา/สถานการณ์ต่อเนื่อง
๑๘ เวลาผูบ้ งั คับบัญชา (การฟืน้ ฟู และเตรียมความพร้อม ๔๘ - - - - - - ๒๔ ๒๔ ๒๘
ปฏิบัติภารกิจ)
รวมเวลาฝึกและตรวจสอบในสนาม ๔๓๒ - - - - - ๙๖ ๑๖๘ ๑๖๘

หมายเหตุ
๑) คิดเกณฑ์เวลาฝึกภาคที่ตั้ง ๘ ชม./วัน สรุปเวลาการฝึกภาคที่ตั้ง ฝึก ๖ วัน พัก ๑ วัน (วันอาทิตย์) รวมฝึกสัปดาห์ละ ๔๘ ชม. สำาหรับภาคสนาม
ถือเป็นการฝึกต่อเนื่อง (๒๔ ชม./วัน) รวมฝึกสัปดาห์ละ ๑๖๘ ชม.
๒) การจัดการฝึกให้มุ่งเน้นการปฏิบัติ และมุ่งไปสู่การใช้งานตามภารกิจของหน่วย โดยเน้นการฝึกปฏิบัติในเรื่องที่กำาลังพลเป็นบุคคล/หน่วยยังไม่ได้
มาตรฐานตามที่ต้องการ ให้มากที่สุดเท่าที่โอกาสอำานวย
๓) การทดสอบร่างกายประจำาสัปดาห์ให้กระทำาในเช้าวันเสาร์ ก่อนรับประทานอาหารเช้า โดยยึดถือตามเกณฑ์การทดสอบร่างกายประจำาปีของ ทบ.
ทั้งนี้อาจเพิ่มเติมตามความต้องการของหน่วย
ตอนที่ ๔
๔) การฝึกกิจเฉพาะเป็นบุคคลสนับสนุนกิจเฉพาะเป็นหน่วย ให้ฝึกแยกพวกตามทักษะแต่ละระดับ ทั้งนี้สามารถเปลี่ยนและเพิ่มเติมตามความต้องการ
ของหน่วย อีกทั้งควรฝึกปฏิบัติซำ้า ๆ กันบ่อยครั้งในเรื่องเดียวกันให้เกิดความชำานาญ
๕) การฝึกยิงอาวุธประจำากาย ในกรณีที่หน่วยมีข้อจำากัดด้านสนามฝึกในการฝึกภาคที่ตั้ง ให้ฝึกภายในที่ตั้งโดยไม่ใช้กระสุน อีกทั้งใช้ คชฝ. และโรงฝึก
ยิงอาวุธที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด แล้วจึงไปฝึกยิงด้วยกระสุนจริงในการฝึกภาคสนาม
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

๖) การฝึกและทดสอบผู้ชำานาญการทหารราบ ให้ดำาเนินการโดยการจัดตั้งสถานีฝึกหมุนเวียน เพื่อให้เกิดความชำานาญในแต่ละเรื่องอย่างแท้จริง


๗) การอบรมในสัปดาห์ที่ ๑ – ๔ ข้อ. ๑๒ ไม่คิดเวลาไว้ในหลักสูตร โดยอบรมในเวลากลางคืน (เวลา ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐) ในวันที่ไม่มีการฝึกในเวลา
กลางคืนตามหลักสูตร
๘) การฝึกเวลากลางคืนถือเป็นเรือ่ งสำาคัญ หน่วยจะต้องดำาเนินการฝึกให้มากทีส่ ดุ เท่าทีโ่ อกาสอำานวย ทัง้ การฝึกปฏิบตั ดิ ว้ ยสายตาและใช้กล้องตรวจการณ์
กลางคืน
๙) การฝึกตามแบบฝึกทำาการรบและการฝึกทางยุทธวิธี ให้เน้นในเรื่องที่สอดรับกับภารกิจของหน่วยและเป็นไปตามความต้องการในการยกระดับ
ขีดความสามารถของหน่วย
๑๐) การตรวจสอบการปฏิบตั ทิ างยุทธวิธี ให้หน่วยพิจารณากำาหนดปัญหาและสถานการณ์ให้สอดคล้องกับภารกิจ และความต้องการของหน่วย โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งให้มุ่งไปสู่การเสริมสร้างประสบการณ์ในการเผชิญสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน หรือคาดการณ์ได้ยาก อีกทั้งถือเป็นการฝึกตามสถานการณ์ต่อเนื่อง
๑๑) การตรวจสอบมาตรฐานการฝึกกองร้อย ประกอบด้วย
๑๑.๑ การยิงปืนตามทำานองรบ
๑๑.๒ การทดสอบผู้ชำานาญการทหารราบ
๑๑.๓ การเคลื่อนย้ายหน่วยทางยุทธวิธีด้วยการเดินเท้า (เดินเร่งรีบ)
๑๑.๔ การปฏิบัติทางยุทธวิธีของหน่วยกองร้อย
15
ตอนที่ ๕
แถลงหลักสูตรการฝึก

ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก


(ชม.)
ก. การฝึกในที่ตั้ง
การฝึกขั้นที่ ๑
การฝึกเป็นบุคคล
๑ การฝึกและทดสอบร่างกาย/ (๓๐)
กำาลังใจ
๑.๑ การฝึกต่อสู้ในระยะ ๑๐ ๑. สอนให้ทหารได้เรียนรูแ้ ละปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง หลัก รส. ๒๑–๑๕๐ เพื่อฝึกสอนให้ แผ่นภาพเครือ่ ง
ประชิด พื้นฐานต่าง ๆ ซึ่งนักต่อสู้ระยะประชิดต้องรู้และ ว่าด้วยการต่อสู้ ทหารได้มีความรู้ ช่วยฝึก
ใช้เพื่อเอาชนะคู่ต่อสู้อย่างเด็ดขาด โดยให้เน้น ด้วยมือเปล่า ถึงวิธีต่อสู้ระยะ
ในเรื่อง การใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เป็น และอาวุธ ประชิดด้วย
ประโยชน์, การเป็นฝ่ายเข้าโจมตีอย่างรุนแรงต่อ พ.ศ. ๒๕๔๘ มือเปล่ากับคู่
จุดอ่อนของคูต่ อ่ สู,้ การตัง้ หลักและหักโค่นคูต่ อ่ สู,้ ต่อสู้
การใช้แรงปะทะของคู่ต่อสู้ให้เป็นประโยชน์ และ
การใช้ความรวดเร็ว
๒. สอนให้ทหารได้เรียนรูแ้ ละปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง ดังนี้
๒.๑ การทุ่มทับจับกด
- ทุ่มด้วยสะโพก
- ทุ่มข้ามไหล่
- ท่าทุ่มเมื่อถูกล็อกคอจากด้านหลัง
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
- การกระแทกด้วยศีรษะ
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

- การรัดคอจากด้านหลังและจับกด
๒.๒ การปิดกั้นระบบท่อลำาเลียงในร่างกาย
ก. การปิดกั้นด้วยการบีบกด
ข. การปิดกั้นทางเดินลมหายใจ
ค. การปิดกั้นทางเดินโลหิต
๒.๓ วิธีบีบรัดทางเดินหายใจหรือเส้นเลือด
ก. ปิดทางเดินอากาศดึงคอเสื้อไขว้
ข. ปิดทางเดินหายใจดึงคอเสื้อ
ค. ปิดทางเดินเส้นเลือดดำา/แดง
ง. ปิดทางเดินหายใจที่ลาำ คอ
๒.๔ วิธีแก้ไขต่อสู้การบีบปิดทางเดินหายใจ
ก. ควักลูกตา
ข. จับบิดให้ไหล่หลุด
ค. การพลิกตัวกลับเมื่อถูกกด
ง. วิธีต่อสู้ตอบโต้การเข้าล็อกจาก
ด้านหลัง
จ. วิธีแก้เมื่อถูกล็อกศีรษะ
๒.๕ การต่อสู้ประชิดตัว
ก. การจับบิดเมื่อถูกจับหรือกระชาก
คอเสื้อ
17
18
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน
(ชม.) หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก

ข. การจับบิดหักข้อมือจากการถูก
ตะปบแขน
ค. การคุมตัวนักโทษ
ง. การล็อกข้อศอกแนบลำาตัว
จ. การล็อกข้อศอกงัดกับหัวเข่า
ฉ. การล็อกข้อศอกงัดกับบ่า
ช. การบิดแขนให้หัวไหล่หลุด
ซ. การล็อกหรือหักข้อเข่า
๑.๒ การฝึกกายบริหาร ๑๐ - ให้ นำ า ทหารรั บ การฝึ ก กายบริ ห ารครั้ ง ละ รส. ๒๑-๒๐ เพื่อฝึกให้ทหาร
๑ ชม. โดยใช้เวลาในช่วงเช้า (๐๖๐๐ – ๐๗๐๐) ว่าด้วยการฝึก ทุกคนมีความ
เพื่อฝึกกายบริหาร โดยใช้เรื่องต่าง ๆ ตามความ กายบริหาร สมบูรณ์แข็งแรง
เหมาะสม ดังนี้ พ.ศ. ๒๔๙๗ ทางร่างกาย ซึ่ง
๑. การฝึกกายบริหารท่ามือเปล่า ชุดที่ ๑ และ จะทำาให้เกิดพละ
การฝึกกายบริหารกับพื้นหญ้า ชุดที่ ๑ กำาลังความทรหด
๒. การฝึกกายบริหารท่ามือเปล่า ชุดที่ ๒ และ ความสามารถ
การฝึกกายบริหารกับพื้นหญ้า ชุดที่ ๒ ทางร่างกายและ
๓. การฝึกกายบริหารท่ามือเปล่า ชุดที่ ๓ และ เกิดความคล่อง
การฝึกกายบริหารเคลื่อนที่ตารางที่ ๑ แคล่วว่องไว
๔. การฝึกกายบริหารประกอบอาวุธ และ
การฝึกกายบริหารเคลื่อนที่ตารางที่ ๒
๕. การฝึกกายบริหารประกอบซุง
ตอนที่ ๕
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๑.๓ การทดสอบร่างกาย ๑๐ - ให้ทำาการทดสอบ ความสมบูรณ์แข็งแรงทาง หลักฐานเตรียม เพื่อทดสอบกำาลัง
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

ประจำาสัปดาห์ ร่างกายของทหารเป็นรายบุคคล สัปดาห์ละ ๒ ชม. การฝึกของ ทางร่ า งกายของ


โดยให้ทำาการทดสอบในเรื่อง กองทัพบก ทหารให้ ผู้ บั ง คั บ
๑. การวิ่ง ระยะทาง ๒ กม. ภายในเวลาตาม เรือ่ งการฝึก บัญชาเกิดความ
เกณฑ์อายุที่กำาหนด กายบริหาร มัน่ ใจได้วา่ ผูใ้ ต้
๒. การดึงข้อ พ.ศ. ๒๕๒๒ บังคับบัญชา
๓. การยึดพื้น ข อ ง ต น มี ค ว า ม
๔. การลุกนั่ง สมบู ร ณ์ แ ข็ ง แรง
ทางร่ า งกายเป็ น
อย่างดีเพื่อปฏิบัติ
ภารกิจต่าง ๆ
ตามหน้าทีไ่ ด้อย่าง
ทรหดอดทน
๒ ทบทวนบุคคลทำาการรบ ๘(๔) สอนให้ทหารมีความรู้และความเข้าใจในเรื่อง รส. ๒๑-๗๕ เพือ่ ให้ผรู้ บั การฝึก
กลางวันและกลางคืน การกำาบัง, การซ่อนพราง, ข้อพิจารณาในการ สามารถปฏิบตั งิ าน
ซ่อนพราง, จะทำาการพรางอย่างไร, เทคนิคใน ได้มีประสิทธิภาพ
การเคลื่อนที่, การเคลื่อนที่เป็นชุด, การยิงและ ทัง้ ในเวลากลางวัน
การเคลื่อนที่, ที่มั่นต่อสู้ และกลางคืน
๓ ทบทวนการฝึกกิจเฉพาะเป็นบุคคล ๒๐
ตามทักษะ ๔ ระดับ
๓.๑ ทักษะระดับ ๑ (พลทหาร) สอนให้ทหารมีความรู้และเข้าใจในเรื่อง คฝ. ๗–๘
กิจเฉพาะสำาคัญ - การรวบรวมข่าวสารและรายงาน (๒๕๔๑)
19
20
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
- การตรวจการณ์และค้นหาเป้าหมาย การฝึกและ
- การแก้ไขเหตุติดขัด และปรนนิบัติบำารุงอาวุธ การประเมิน
- การใช้ลูกระเบิดขว้าง ผลการฝึกหมู่
- การเคลื่อนที่ผ่านเครื่องกีดขวางทุ่นระเบิดกับ ปืนเล็กและ
ระเบิด หมวดปื น เล็ ก
- การเคลื่อนที่ภายใต้การยิงเล็งตรง/เล็งจำาลอง เหล่าทหารราบ
- การเลือกที่มั่นสู้รบชั่วคราว คฝ. ๗–๑๑,
- ทัศนสัญญาณ คฝ. ๒๑–๑
๓.๒ ทักษะระดับ ๒ (หน.ชุดยิง) สอนให้ผู้รับการฝึกทราบในเรื่อง
- ทุน่ ระเบิดกับระเบิด และการทำาลาย เน้นค้นหา
รื้อถอน/ทำาลาย
- การเข้าและถอดรหัสการติดต่อสื่อสาร
- การกำาหนดที่อยู่ของเป้าหมาย
- การร้องขอและปรับการยิง
- การเดินทางด้วยเข็มทิศกลางวัน/กลางคืน
- การใช้ทัศนสัญญาณ
- การควบคุมการเคลื่อนที่/การยิง
- การใช้กล้องตรวจการณ์กลางคืน
- การให้คำาสั่งเตรียมและคำาสั่งเป็นส่วน ๆ
๓.๓ ทักษะระดับ ๓ (ผบ.หมู่) สอนให้ผู้รับการฝึกทราบในเรื่อง
- ทุ่นระเบิดและกับระเบิด และการทำาลาย
- การเข้าและถอดรหัสการติดต่อสื่อสาร
ตอนที่ ๕
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
- การร้องขอและปรับการยิง
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

- การปฏิบัติตามขั้นตอนการนำาหน่วย
- การวิเคราะห์ภูมิประเทศ
- การเลือกที่ตั้งยิงอาวุธ
- การลาดตระเวนของ ผบ.หมู่
- การสั่งการด้วยวาจา
๓.๔ ทักษะระดับ ๔ สอนให้ผู้เข้ารับการฝึกทราบในเรื่อง
(รอง ผบ.มว./ผบ.มว.) - การปฏิบัติตามขั้นตอนการนำาหน่วย
- การวางแผนและควบคุมการปฏิบัติทาง
ยุทธวิธีของ มว.
- การจัดทำาแผนที่สังเขปและแผ่นบริวาร
- การวางแผนการใช้อาวุธยิงสนับสนุน
- การวางแผน ลว.หาข่าว
- การวิเคราะห์ภูมิประเทศ
- การ ลว.ของ ผบ.มว.
- การร้องขอและปรับการยิง
- การสั่งการและบรรยายสรุปกลับ
๔ การฝึกยิงปืนตามทำานองรบ ๑๖
๔.๑ การยิงปืนทำานองรบอยู่กับ (๘) สอนให้ทหารมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเทคนิค รส. ๒๓-๙
ที่และเคลื่อนที่ ของการยิงทำานองรบ การยิงข่มและทำาลาย
การยิงเร็วในแบบกึง่ อัตโนมัติ การยิงแบบอัตโนมัติ
การยิงฉับพลัน เทคนิคการยิงเป้าเคลื่อนที่ หลัก
21
22
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
พื้นฐานการยิงปืนกับการยิงเป้าเคลื่อนที่
๔.๒ การยิงปืนในเวลากลางคืน สอนให้ทหารมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
ข้อพิจารณา, กฎของการเห็นในเวลากลางคืน,
เทคนิคการยิงปืนในเวลากลางคืน
๕ การฝึกและทดสอบผู้ชำานาญ ๒๔ ให้ผู้รับการฝึกเข้ารับการทดสอบเป็นสถานี คูม่ อื การทดสอบ
การทหารราบ สถานีที่ ๑ การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ผูช้ าำ นาญการ
สถานีที่ ๒ การอ่านแผนที่ ทหารราบของ
สถานีที่ ๓ การปฐมพยาบาล ศร.
สถานีที่ ๔ การเดินเร่งรีบระยะทาง ๑๕ กม.และ
ทดสอบความชำานาญใช้อาวุธ ปลย.ขนาด ๕.๕๖ มม.
สถานีที่ ๕ การร้องขอและการปรับการยิง ค.
และ ป.
สถานีที่ ๖ การฝึกบุคคลทำาการรบ
สถานีที่ ๗ การติดต่อสื่อสาร
สถานีที่ ๘ การเดินทางโดยใช้แผนที่เข็มทิศ
สถานีที่ ๙ การใช้อาวุธ ปลย.ขนาด ๕.๕๖ มม.
สถานีที่ ๑๐ ลูกระเบิดขว้าง
สถานีที่ ๑๑ ทุ่นระเบิด
สถานีที่ ๑๒ การรายงานข่าวสาร
สถานีที่ ๑๓ เครื่องยิงจรวดต่อสู้รถถังขนาดเบา
สถานีที่ ๑๔ ปืนกลเบา ขนาด ๗.๖๒ มม.
สถานีที่ ๑๕ ปืนกลหนัก ขนาด .๕๐ นิ้ว
ตอนที่ ๕
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๖ การฝึกปฏิบัติงานมวลชน ๑๒ สอนให้ผู้รับการฝึกมีความรู้และความเข้าใจใน
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

เรื่อง
- กิจการพลเรือน และการช่วยเหลือประชาชน
- การจัดตั้งชุมชนเข้มแข็งตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียง
การฝึกขั้นที่ ๒
การฝึกทบทวนเป็นหน่วย
หมู่ ตอน หมวด
๗ การฝึกตามแบบฝึกทำาการรบของ ๑๖ สอนให้ผู้รับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจและ รส. ๗-๘
หมู่ ปล. สามารถปฏิบัติได้ในเรื่อง การปฏิบัติการโจมตี
ข้าศึก, การปฏิบัติเมื่อปะทะข้าศึก, การผละจาก
การปะทะ, การเข้าสู่อาคารและตรวจค้นภายใน
อาคาร, เทคนิคการเคลื่อนที่ในป่าภูเขา,
การกวาดร้างคูติดต่อและสนามเพลาะ, การเจาะ
ช่องผ่านเครื่องกีดขวางลวดหนามและสนามทุ่น
ระเบิด
๘ การลาดตระเวนเวลากลางวัน ๑๖ สอนให้ผู้รับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจและ รส. ๗–๘
และกลางคืน (๔) สามารถปฏิบัติได้ในเรื่อง การลาดตระเวนรบ,
การลาดตระเวนหาข่าว, การตั้งฐานลาดตระเวน,
การลาดตระเวนระวังป้องกัน และการเฝ้าตรวจ
๙ การฝึกตามแบบฝึกทำาการรบ ๑๖ สอนให้ผู้รับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง รส. ๗–๘
มว.ปล. - การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธีด้วยการเดินเท้า
23
24
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
- การเข้าตีเร่งด่วน
- การตีโฉบฉวย
- การซุ่มโจมตี/การต่อต้านการซุ่มโจมตี
- การลาดตระเวนระวังป้องกัน
- การเข้าสู่อาคารและตรวจค้นอาคาร
๑๐ การฝึกปฏิบัติการทางทหารใน ๑๖ สอนให้ผู้รับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง รส. ๗–๘
ความขัดแย้งระดับตำ่า การปิ ด ล้ อ มและตรวจค้ น หมู่ บ้ า น การตั้ ง ฐาน รส. ๑๐๐–๒๐
ปฏิบัติการและการระวังป้องกัน การปิดกั้นถนน
การตั้งจุดตรวจและตรวจค้นยานพาหนะ
การฝึกขั้นที่ ๓
การฝึกเป็นหน่วยกองร้อย
๑๑ การฝึกยุทธวิธี ร้อย.ร. ๗๖ สอนให้ผู้รับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
การเคลื่อนที่เข้าปะทะ, การเข้าตีเร่งด่วน, การตี
โฉบฉวย, การซุม่ โจมตี, การต่อต้านการซุม่ โจมตี,
การลาดตระเวนและระวังป้องกัน, การตั้งรับ,
การถอนตัวภายใต้การกดดัน, การรบในพื้นที่
สิ่งปลูกสร้าง
๑๒ การอบรม ๑๖ อบรม ให้ผู้รับการอบรมทราบในเรื่อง
- บทบาทหน้าที่ของทหาร
- การสร้างเสริมอุดมการณ์
- การสร้างวินัยสำาหรับคนในชาติ
- การปฏิบัติการจิตวิทยา และประชาสัมพันธ์
ตอนที่ ๕
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
- การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

- การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
- หน้าที่ของทหารเหล่าต่าง ๆ ใน ทบ.
- การรักษาเกียรติ ศักดิ์ศรีของกองทัพบก และ
ให้ประชาชนรักทหาร
๑๓ เวลาของผู้บังคับบัญชา ๑๔
ข. ภาคการฝึกและตรวจสอบ (๑๘
ในสนาม วัน)
๑๔ การตรวจสอบและการเคลื่อนย้าย ๒๔ - การเดินเร่งรีบประกอบเครื่องสนาม
หน่วยทางยุทธวิธีด้วยการเดินเท้า - การฝึกและตรวจสอบการยิงปืนตามทำานองรบ
(เดินเร่งรีบประกอบเครื่องสนาม) - การฝึกทางยุทธวิธีเป็นหน่วยกองร้อย
๑๕ การฝึกและตรวจสอบการยิงปืน ๔๘ - การยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่บัดดี้
ทำานองรบ - การยิงปืนเป็นชุดยิง/หมู่
- การยิงปืนในเวลากลางคืน
๑๖ การฝึกทางยุทธวิธีเป็นหน่วย ๑๙๒
กองร้อย
๑๖.๑ การปฏิบัติทางยุทธวิธี - การรบด้วยวิธีรุก
ในกรอบของหน่วยใหญ่ - การรบด้วยวิธีรับ
- การรบด้วยวิธีร่นถอย
25
26
ลำาดับ วิชา เวลา เรีื่องและรายละเอียดที่ฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๑๖.๒ การปฏิบัติการทางยุทธวิธี - การลาดตระเวนรบ
ของหน่วยขนาดเล็กปฏิบัติการ - การลาดตระเวนหาข่าว
เป็นอิสระ - การ ลว.ระวังป้องกันและเฝ้าตรวจ
- การปิดล้อมและตรวจค้นหมู่บ้าน
๑๗ การตรวจสอบการปฏิบัติทาง ๑๒๐
ยุทธวิธีเป็นหน่วยระดับกองร้อย
ในปัญหา/สถานการณ์ต่อเนื่อง
๑๘ เวลาผู้บังคับบัญชา (การฟื้นฟู ๔๘
และเตรียมความพร้อมปฏิบัติ
ภารกิจ)

๑. การฝึกยิงปืนทำานองรบเมื่ออยู่กับที่ (ตามสถานการณ์เชิงรับ)
๑.๑ ความมุ่งหมาย : เพื่อให้ผู้รับการฝึกเกิดความชำานาญในการใช้อาวุธประจำากายทำาการยิงต่อเป้าหมายที่เกิดขึ้นโดยทันทีทันใด สามารถทำาการ
ยิงต่อเป้าหมายในจังหวะการยิงเร็วต่อเป้าหมายที่ปรากฏหลายๆ เป้าหมายต่อเนื่องกัน ตลอดจนเป็นการฝึกการตรวจการณ์ในเขตการยิงของตนและสามารถ
กะระยะเป้าหมายได้ถูกต้อง
๑.๒ การใช้
๑.๒.๑ ก่อนทำาการยิงด้วยกระสุนจริง ควรให้ผรู้ บั การฝึกได้ทำาการฝึกการยิงและการลัน่ ไกอย่างต่อเนือ่ งเสียก่อน และฝึกการตรวจการณ์กะระยะ
เป้าหมายที่เกิดขึ้นให้เคยชิน เพื่อให้สามารถทำาการยิงต่อเป้าหมายหุ่นล้มลุกอัตโนมัติได้ทันตามกำาหนดเวลา
๑.๒.๒ ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงปืนตามหลักสูตรนี้ แต่อาจจะวัดผลการยิงได้ตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนดไว้ในหมายเหตุท้ายตารางยิงนี้
ตอนที่ ๕
๑. ตารางยิงที่ ๑ การฝึกยิงปืนทำานองรบเมื่ออยู่กับที่ (ตามสถานการณ์เชิงรับ) ในสนามยิงปืนทราบระยะ
ระยะ ท่ายิง เวลา/เป้า จำานวนกระสุน คะแนน หมายเหตุ
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

(เมตร) (วินาที) (นัด)


๗๕ ท่ายิงจากหลุมบุคคลมีเครื่องหนุนรอง ๕–๗ ๑๐ ๑๐ - ใช้เป้ารูปหุ่นนอนอัตโนมัติ
(บรรจุกระสุน
๑ ซอง ๑๐ นัด)
๑๗๕ ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง ๑๐ ๑๐ - ใช้เป้ารูปหุ่นครึ่งตัวอัตโนมัติ
๓๐๐ - ท่ายิงจากหลุมบุคคลมีเครื่องหนุนรอง ๕–๗ ๑๐ ๑๐ - ใช้เป้ารูปหุ่นครึ่งตัวอัตโนมัติ
- ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง ๕–๗ ๑๐ ๑๐ .........”............
- ยิงปรับปืนในระยะ ๓๐๐ ม.
ใช้กระสุนยิงปรับ ๖ นัด
ทำาการยิง ๒ กลุ่มยิงกลุ่มละ
๓ นัด
รวม ๔๖ ๔๐

หมายเหตุ ก. เป็นการฝึกยิงปืนตาม รส. ๒๓-๙ (ตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนต่อเป้าหุ่นอัตโนมัติในสนามยิงปืนทราบระยะ) โดยทำาการยิงต่อเป้ารูปหุ่น


ครึ่งตัวและเป้ารูปหุ่นนอนล้ม-ลุกอัตโนมัติ
ข. ให้ใช้รปู แบบสนามฝึกยิงปืนทราบระยะประกอบเป้าหุน่ อัตโนมัตใิ นตอนที่ ๖ การยิงเป้าหุน่ อัตโนมัตใิ นสนามยิงปืนทราบระยะตาม รส. ๒๓-๙
ค. ผู้รับการฝึกทำาการยิงครั้งละ ๑ เป้า ด้วยกระสุน ๑๐ นัด โดยทำาการยิงในจังหวะการยิงเร็วต่อเนื่อง ใช้เวลาในการยิง ๕ – ๗ วินาทีต่อเป้า
ง. ให้แสดงเป้าครั้งละ ๑ เป้า ต่อ ๑ ช่องยิง นาน ๕ – ๗ วินาที
จ. การบันทึกผลการฝึกยิงปืนในหลักสูตรนี้ ให้ใช้แบบฟอร์มบันทึกผลคะแนนตาม รส. ๒๓-๙
27
ฉ. เกณฑ์การวัดผลการยิง มีดังนี้.-
28
๑) ดีมาก : ได้คะแนน ๒๘ – ๔๐ คะแนน
๒) ดี : ได้คะแนน ๒๔ – ๒๗ คะแนน
๓) พอใช้ : ได้คะแนน ๑๗ – ๒๓ คะแนน
๔) ไม่ได้ผล : ได้คะแนน ๑๖ คะแนน และตำ่ากว่า

๒. การฝึกยิงปืนทำานองรบเมื่อเคลื่อนที่ (ตามสถานการณ์เชิงรุก)
๒.๑ ความมุง่ หมาย : เพือ่ ให้ผรู้ บั การฝึกเกิดความชำานาญในการใช้อาวุธประจำากายทำาการยิงต่อเป้าหมายทีเ่ กิดขึน้ โดยทันทีทนั ใดและสามารถเคลือ่ นที่
ไปเข้าที่กำาบังข้างหน้า สามารถทำาการยิงต่อเป้าหมายได้อย่างแม่นยำาโดยฉับพลัน
๒.๒ การใช้
๒.๒.๑ ก่อนทำาการยิงด้วยกระสุนจริง ควรให้ผู้รับการฝึกได้ทำาการฝึกการเล็งและการลั่นไกเสียก่อน และฝึกการตรวจการณ์ การกะระยะและ
การเคลื่อนที่ตามลักษณะภูมิประเทศไปเข้าที่กำาบังอย่างรวดเร็ว เพื่อให้สามารถทำาการยิงต่อเป้าหมายหุ่นล้มลุกอัตโนมัติได้ทันตามกำาหนดเวลา
๒.๒.๒ ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงปืนตามหลักสูตรนี้ แต่อาจจะวัดผลการยิงได้ตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนดไว้ในหมายเหตุท้ายตารางยิงนี้
๒.๓ ตารางยิง มีดังนี้.-
ตอนที่ ๕
๒. ตารางยิงที่ ๒ การฝึกยิงปืนทำานองรบเมื่อเคลื่อนที่ (ตามสถานการณ์เชิงรุก) ในสนามยิงปืนตามสถานการณ์
ระยะ ท่ายิง เวลา/เป้า จำานวนกระสุน คะแนน หมายเหตุ
(เมตร) (วินาที) (นัด)
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

๑๐๐ - จากจุดเริ่มต้น ใช้ท่านอนยิงมีเครื่อง ๕–๗ ๘ ๘ - ใช้เป้ารูปหุ่นนอนล้ม-ลุกอัตโนมัติ


หนุนรอง
๑๐๐ - จากแนววางตัวที่ ๑ ระยะ ๕๐ เมตร ๕–๗ ๘ ๘ ................”........................
ใช้ท่านอนยิง ไม่มีเครื่องหนุนรอง
๒๐๐ - จากแนววางตัวที่ ๒ ระยะ ๑๐๐ เมตร ๘ – ๑๐ ๑๒ ๑๒ - ใช้เป้ารูปหุ่นครึ่งตัว ล้ม-ลุกอัตโนมัติ
ใช้ท่านอนยิง ไม่มีเครื่องหนุนรอง
๓๐๐ - จากแนววางตัวที่ ๓ ระยะ ๑๕๐ เมตร ๘ – ๑๐ ๑๒ ๑๒ ................”.............................
ใช้ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง - การยิงปรับปืนในระยะ ๑๐๐ เมตร ใช้กระสุน
ยิงปรับ ๖ นัด ทำาการยิง ๒ กลุม่ ยิงกลุม่ ละ
๓ นัด
รวม ๔๖ ๔๐

หมายเหตุ ก. เป็นการฝึกยิงปืนตาม รส. ๒๓-๙ (ตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนต่อเป้าหุ่นอัตโนมัติในสนามยิงปืนตามสถานการณ์) ประกอบกับคู่มือการฝึก


ว่าด้วย การยิงปืนตามสถานการณ์ พ.ศ. ๒๕๒๗
ข. ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงปืนตามหลักสูตรนี้ แต่อาจจะวัดผลการยิงได้ตามหลักเกณฑ์ที่กาำ หนดไว้ในหมายเหตุท้ายตารางยิงนี้
ค. ผู้รับการฝึกจะทำาการยิงในแต่ละแนววางตัว แล้วเคลื่อนที่ด้วยความรวดเร็วไปเข้าที่วางตัวในแนวใหม่ตามระยะที่กำาหนดในตารางยิง โดย
ทำาการยิงต่อเป้าหุ่นอัตโนมัติที่ปรากฏในจังหวะการยิงเร็วต่อเนื่องดังนี้
๑) จากจุดเริ่มต้นทำาการยิง ๘ นัด ในเวลา ๗ วินาที ต่อเป้าล้ม-ลุก รูปหุ่นนอนอัตโนมัติ ในระยะ ๑๐๐ เมตร เมื่อยิงจบให้ผู้เข้ารับการฝึก
เคลื่อนที่ไปเข้าที่วางตัวที่แนว ๕๐ เมตร
29
๒) จากแนววางตัวระยะ ๕๐ เมตร ทำาการยิง ๘ นัด ในเวลา ๗ วินาที ต่อเป้าล้ม-ลุก รูปหุ่นนอนอัตโนมัติในระยะ ๑๐๐ เมตร เมื่อยิงจบ 30
ให้ผู้รับการฝึกเคลื่อนที่ไปเข้าที่วางตัวที่แนว ๑๐๐ เมตร
๓) จากแนววางตัวระยะ ๑๐๐ เมตร ทำาการยิง ๑๒ นัด ในเวลา ๑๐ วินาที ต่อเป้าล้ม-ลุกรูปหุ่นครึ่งตัวอัตโนมัติในระยะ ๒๐๐ เมตร
เมื่อยิงจบให้ผู้เข้ารับการฝึกเคลื่อนที่ไปเข้าที่วางตัวที่แนว ๑๕๐ เมตร
๔) จากแนววางตัวระยะ ๑๕๐ เมตร ทำาการยิง ๑๒ นัด ในเวลา ๑๐ วินาที ต่อเป้าล้ม-ลุกรูปหุ่นครึ่งตัวอัตโนมัติในระยะ ๓๐๐ เมตร
เมื่อยิงจบให้ผู้เข้ารับการฝึกตรวจอาวุธ, ตรวจเป้า และปฏิบัติตามคำาสั่งของนายทหารกำากับการยิง
ง. ให้แสดงเป้าครั้งละ ๑ เป้าต่อ ๑ ช่องยิง โดยใช้เวลาแสดงเป้าตามที่กำาหนดไว้ในตารางยิง
จ. การบันทึกผลการฝึกยิงปืนในหลักสูตรนี้ ให้ใช้แบบฟอร์มบันทึกผลคะแนนตาม รส. ๒๓-๙
ฉ. เกณฑ์การวัดผลการยิง มีดังนี้
๑) ดีมาก : ได้คะแนน ๒๘ – ๔๐ คะแนน
๒) ดี : ได้คะแนน ๒๔ – ๒๗ คะแนน
๓) พอใช้ : ได้คะแนน ๑๗ – ๒๓ คะแนน
๔) ไม่ได้ผล : ได้คะแนน ๑๖ คะแนน และตำ่ากว่า

๓. การฝึกยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่เป็นคู่บัดดี้, เป็นชุดยิง และเป็นหมู่ปืนเล็ก ในสนามยิงปืนตามสถานการณ์


๓.๑ ความมุ่งหมาย : เพื่อให้ผู้รับการฝึกมีความชำานาญในการใช้อาวุธประจำากายยิงต่อเป้าหมายที่ปรากฏขึ้นตามสถานการณ์ได้อย่าง
ฉับพลันและแม่นยำา สามารถยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ ดำาเนินกลยุทธ์ยิงคุ้มครองซึ่งกันและกันภายในหมู่ปืนเล็กได้อย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ ตลอดจน
รู้จักการใช้ที่กำาบังตามลักษณะภูมิประเทศในสนามรบเพื่อป้องกันตนได้อย่างเหมาะสม
๓.๒ การใช้
๓.๒.๑ การยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ มีการฝึก ๓ ขั้น ดังนี้
ก) การยิงปืนเป็นคู่บัดดี้ (๒ คน)
ข) การยิงปืน เป็นชุดยิง (๖ คน)
ค) การยิงปืนเป็นหมู่ปืนเล็ก (๑๐ คน)
๓.๒.๒ ก่อนทำาการฝึกยิงปืนประกอบการเคลือ่ นที่ ควรให้ผรู้ บั การฝึกได้ทาำ การฝึกในเรือ่ งบุคคลทำาการรบและการฝึกยิงปืนในสนามยิงปืน
๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) มาแล้วเป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้รับการฝึกรู้ถึงเทคนิคการยิงและการดำาเนินกลยุทธ์ในสนามรบขั้นต้นมาก่อน
๓.๒.๓ การประเมินผลการฝึกการยิงปืนประกอบการเคลื่อนที่ในหลักสูตรนี้ ให้ทำาการประเมินผลโดยใช้เกณฑ์ “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน”
ตอนที่ ๕

ตามมาตรฐานการฝึกที่กำาหนดไว้ในคู่มือการฝึกที่กำาหนดเท่านั้น
๓. ตารางยิงที่ ๓ การฝึกยิงปืนประกอบการเคลือ่ นทีเ่ ป็นคูบ่ ดั ดี,้ เป็นชุดยิงและเป็นหมูป่ นื เล็ก ในสนามฝึกยิงปืนตามสถานการณ์
ระยะ ท่ายิง เวลา/เป้า จำานวนกระสุน คะแนน หมายเหตุ
(เมตร) (วินาที) (นัด)
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

๑๕ ท่านอนยิงไม่มีเครื่องหนุนรอง ๓–๕ หมายเลขคี่ ๓ นัด ๓/๖ - ทำาการยิงต่อเป้าล้ม-ลุกอัตโนมัติ


หมายเลขคู่ ๖ นัด

๒๕ ท่านอนยิงหรือท่านั่งคุกเข่ายิงในที่กำาบัง ๓–๕ หมายเลขคี่ ๗ นัด ๗/๔ กระสุนถูกเป้า ๑ นัด


หมายเลขคู่ ๔ นัด นับ ๑ คะแนน

๓๐ ท่านอนยิงไม่มีเครื่องหนุนรอง ๓–๕ หมายเลขคี่ ๓ นัด ๓/๓


หมายเลขคู่ ๓ นัด

รวม ๑๓ นัด/คน ๑๓ คะแนน

หมายเหตุ ก. เป็นการฝึกยิงปืนทางยุทธวิธี ประกอบการเคลื่อนที่ตามคู่มือการฝึกพัฒนาขีดความสามารถการยิงปืนเป็นบุคคลและหน่วยทหารขนาดเล็ก


ของ ทบ. พ.ศ. ๒๕๕๐
ข. การจัดทำารูปแบบสนามให้หน่วยดำาเนินการจัดทำาตามคู่มือการฝึก (ที่กล่าวถึงในข้อ ก. โดยใช้เป้าล้ม-ลุกอัตโนมัติ (เป้ารูปหุ่นครึ่งตัว
และรูปหุ่นนอน) ใช้ในการทดสอบประเมินผลการยิงปืนในหลักสูตรนี้)
ค. ให้แสดงเป้าครั้งละ ๑ เป้าต่อ ๑ ช่องยิง นาน ๓ - ๕ วินาที
ง. การปฏิบัติของผู้รับการฝึก ให้ปฏิบัติตามคู่มือการฝึกพัฒนาขีดความสามารถการยิงปืนเป็นบุคคลและเป็นหน่วยทหารขนาดเล็กของ ทบ.
พ.ศ. ๒๕๕๐ (คำาสั่ง ทบ.ที่ ๔๒๕/๒๕๕๐ ลง ๖ ธ.ค. ๕๐)
จ. การประเมินผลการฝึกในภาพรวมให้ประเมินผลโดยใช้เกณฑ์ “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน”
31

ฉ. เกณฑ์การวัดผลการยิง (โดยอนุโลม) ดังนี้


32
เกณฑ์การวัดผล
รายการปฏิบัติ หมายเหตุ
ดีมาก ดี พอใช้ ไม่ได้ผล
๑. การยิงปืนเป็นคู่บัดดี้ ยิงถูกเป้าตั้งแต่ ๑๖ - ๑๙ ๑๒ - ๑๕ ๑๑ - ตำ่ากว่า - ให้นำาผลการยิงไปพิจารณาร่วม
๒๐ - ๒๖ คะแนน คะแนน คะแนน กั บ การปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนอื่ น ๆ
๒. การยิงปืนเป็นชุดยิง ยิงถูกเป้าตั้งแต่ ๔๖ - ๕๙ ๓๖ - ๔๕ ๓๕ - ตำ่ากว่า ทีผ่ ฝู้ กึ ต้องการประเมินผลการปฏิบตั ิ
๖๐ - ๗๘ คะแนน คะแนน คะแนน แล้วจึงกำาหนดเป็นเกณฑ์ “ผ่าน”
๓. การยิงปืนเป็นหมู่ปืนเล็ก ยิงถูกเป้าตั้งแต่ ๗๖ - ๙๙ ๖๐ - ๗๕ ๕๙ - ตำ่ากว่า หรือ “ไม่ผ่าน”
๑๐๐ - ๑๓๐ คะแนน คะแนน คะแนน - ยิงกระสุนถูกเป้า ๑ นัด นับ ๑
คะแนน
ตอนที่ ๕
ตอนที่ ๖
อัตรากระสุนและวัตถุระเบิด

ให้หน่วยที่รับผิดชอบในการฝึก และหน่วยสนับสนุนการฝึกยึดถืออัตรากระสุน และวัตถุระเบิด ซึ่งได้


ระบุไว้ในข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้ เป็นแนวทางในการกำาหนดการฝึกและการเบิกจ่าย คือ

๑. อัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่ใช้สาำ หรับการฝึกทางยุทธวิธี
(ใช้กับการฝึกในขั้นที่ ๒, ๓ และ ๔)

ลำาดับ รายการ จำานวน ต่อทหาร หมายเหตุ


(คน)
๑ ก.ปลย.เอ็ม.๑๖ หรือ ปลย.๑๑ ซ้อมรบ ๒,๐๐๐ นัด ๕๐ - ใช้สาำ หรับกำาลังพลที่รับ
๒ ก.ปก.เอ็ม.๖๐ ซ้อมรบ ๔,๐๐๐ นัด ๕๐ การฝึกตามหลักสูตรการฝึก
๓ ก.ปลก.มินิมิ ซ้อมรบ ๕,๐๐๐ นัด ๕๐ ทั้งหมด
๔ ลข. ควันสีต่าง ๆ ๑๐ ลูก ๕๐
๕ พลุช่อหรือพลุร่มสีต่าง ๆ ๑๐ นัด ๕๐
๖ หม้อควันขนาด ๓๐ ปอนด์ ๓ หม้อ ๕๐
๗ หม้อควันขนาด ๑๕ ปอนด์ ๓ หม้อ ๕๐
๘ ดินระเบิด ที.เอ็น.ที. ๑/๒ ปอนด์ ๑๕ แท่ง ๕๐
๙ ดินระเบิด ที.เอ็น.ที. ๑ ปอนด์ ๑๕ แท่ง ๕๐
๑๐ เชื้อปะทุไฟฟ้า ๒๐ ดอก ๕๐
๑๑ เชื้อปะทุชนวน ๑๐ ดอก ๕๐
๑๒ จุกเกลียวเสียบเชื้อปะทุ ๑๐ อัน ๕๐
๑๓ ชนวนฝักแคระเบิดเวลา ๑๐ ฟุต ๕๐
๑๔ ชนวนฝักแคระเบิด ๑๐ ฟุต ๕๐
๑๕ เครื่องจุดระเบิดแบบดึง เอ็ม.๑ ๕ เครื่อง ๕๐
๑๖ เครื่องจุดระเบิดแบบกด เอ็ม.๑ เอ.๑ ๕ เครื่อง ๕๐
๑๗ เครื่องจุดระเบิดแบบดึงเลิกดึง เอ็ม.๓ ๕ เครื่อง ๕๐
๑๘ เครื่องจุดระเบิดแบบกดเลิกกด เอ็ม.๕ ๕ เครื่อง ๕๐
๑๙ ทุ่นระเบิดสังหาร เอ็ม.๑๘ เอ.๑ ๓ ทุ่น ๕๐
34
ผนวก ก กำาหนดการฝึกเพิ่มเติม
เวลา เกณฑ์การวัดผล
ลำาดับ เรื่องที่ทำาการฝึก (ชม.) หมายเหตุ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
(๓๖)
๑ การลาดตระเวน ๑๒ - - - - - - -
๒ การปรับการยิงของ ป. และ ค. ๔ - - - - - - -
๓ การตีโฉบฉวย ๑๒ - - - - - - -
๔ การฝึกยิง ปลย. ในเวลากลางคืน ๘ - - - - - - -

หมายเหตุ :
๑. เรื่องที่ทำาการฝึกในลำาดับที่ ๑ – ๓ นี้ ไม่ได้กำาหนดไว้ในห้วงเวลาการฝึกตามตารางกำาหนดการฝึกหลัก กำาหนดขึ้นเพื่อเป็นการฝึกเพิ่มเติม
โดยแสวงประโยชน์จากการฝึกตามเวลาที่มีเหลืออยู่ได้ตามความเหมาะสม
๒. ในลำาดับที่ ๔ เป็นการฝึกทหารให้มีความรู้และความสามารถในการยิง ปลย. ในเวลากลางคืน โดยแสวงประโยชน์จากการฝึกตามเวลาที่มี
อยูน่ อกเหนือจากการฝึกตามทีก่ ำาหนดไว้ในวงรอบการฝึก โดยพิจารณาใช้กระสุนจริงเท่าทีจ่ ะจัดสรรได้ หรือเท่าทีม่ เี หลืออยูใ่ ห้เกิดประโยชน์
สูงสุด
ตอนที่ ๖
เวลา
ลำาดับ วิชา (ชม.) เรื่องและรายละเอียดที่สอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก

๑ การลาดตระเวน ๑๒ ๑. การฝึกการลาดตระเวนในเวลากลางวัน รส. ๗–๘ เพือ่ ให้ผรู้ บั การฝึกสามารถ


ลฝ. ๗-๑๗ ก.

ให้นาำ ผูร้ บั การฝึกเป็นหน่วยกองร้อย ออกไป รส. ๒๑-๗๕ ปฏิบตั งิ านร่วมกันเป็นหน่วย


ทำาการสอน และให้ฝึกปฏิบัติการ ลว. ใน ทางยุทธวิธแี ละปฏิบตั กิ าร
เวลากลางวัน ในภูมิประเทศตามปัญหาที่ ลาดตระเวนได้อย่างมี
สมมุ ติ ขึ้ น ในลั ก ษณะที่ ใ ห้ ก องร้ อ ยจั ด ตั้ ง ประสิทธิภาพ
เป็นฐาน ลว. หรือฐานปฏิบัติการ และจัดส่ง
หน่วยรองออกไป ลว.ขว. และ ลว.รบ ตาม
สถานการณ์ โดยเน้นถึงการรับคำาสั่งการ
ลว., การปฏิบตั ใิ นขัน้ เตรียมการ, การสัง่ การ
ลว., การใช้รปู ขบวน, การเคลือ่ นที,่ การรักษา
ทิศทาง, การระวังป้องกัน, การปฏิบตั ิ ณ จุด
นัดพบระหว่างทาง, การปฏิบตั เิ มือ่ ปะทะกับ
ข้าศึก, การปฏิบัติ ณ จุดนัดพบ ณ ที่หมาย
และการรายงานการ ลว. (๘ ชม.)
๒. การฝึกการลาดตระเวน ในเวลากลาง
คืน ให้ดำาเนินการฝึกตามรายละเอียดเช่น
เดียวกับที่กล่าวในข้อ ๑ ข้างต้น แต่กระทำา
ในเวลากลางคืน (๔ ชม.)
หมายเหตุ : ควรกำาหนดให้ทาำ การฝึกตัง้ แต่
๑๕๐๐ - ๒๔๐๐ และกำาหนดให้รับประทาน
อาหารในปัญหาฝึก
35
เวลา
36
ลำาดับ วิชา (ชม.) เรื่องและรายละเอียดที่สอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก

๒ การปรับการยิงของ ป. ๔ ๑. การปรับการยิง สอนในเรื่องระเบียบ รส. ๒๓–๓๐ เพือ่ ให้ทหารมีความรูค้ วาม แผ่นภาพเครื่อง


และ ค. ปฏิบัติของผู้ตรวจการณ์หน้า, วิธีใช้กล้อง รส. ๖-๑๓๕ สามารถทำาการร้องขอและ ช่วยฝึก กล้อง
ส่องสองตา, การวัดมุมด้วยมือ, การกำาหนด รส. ๖-๔๐ ปรับการยิง ป. และ ค. ส่องสองตา
จุดทีอ่ ยูข่ องตนเอง, การกะระยะด้วยสายตา,
การกำาหนดทีต่ งั้ เป้าหมาย, คำาขอยิงเริม่ แรก,
การปรับการยิง, คำาขอยิงต่อมา, กระสุนและ
ชนวน (๒ ชม.)
๒. การฝึกปรับการยิง ให้นำาทหารทำาการ
ฝึกหัดร้องขอ และปรับการยิงในสนาม
ตรวจการณ์ย่นระยะ (๒ ชม.)
๓ การตีโฉบฉวย ๑๒ ๑. การตีโฉบฉวย สอนในเรื่องหลักการตี รส. ๗-๘ เพือ่ ให้ผรู้ บั การฝึกสามารถ
โฉบฉวย โดยทัว่ ไป โดยเน้นถึงความมุง่ หมาย รส. ๒๑-๗๕ ปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั น เป็ น
ของการตีโฉบฉวย, การจัดกำาลังตีโฉบฉวย, หน่ ว ยทางยุ ท ธวิ ธี และ
การเตรี ย มการ, การตรวจภู มิ ป ระเทศ, ปฏิบตั กิ ารตีโฉบฉวยได้
ก า ร สั่ ง ก า ร , ก า ร เ ลื อ ก แ ล ะ เ ต รี ย ม อย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทโธปกรณ์, การเคลื่อนที่ไปยังจุดนัดพบ
หรือที่รวมพล ณ ที่หมาย, การระวังป้องกัน
และการปฏิ บั ติ ก าร ณ จุ ด นั ด พบหรื อ ที่
รวมพล ณ ทีห่ มาย, การปฏิบตั กิ ารตีโฉบฉวย,
การตรวจค้นและการถอนตัว (๒ ชม.)
ตอนที่ ๖
เวลา
ลำาดับ วิชา (ชม.) เรื่องและรายละเอียดที่สอนและฝึก หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก

๒. การฝึกการตีโฉบฉวยในเวลากลางวัน
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

ให้นาำ ผูร้ บั การฝึกเป็นหน่วยระดับกองร้อย ออก


ไปฝึกปฏิบัติการตีโฉบฉวยในเวลากลางวัน
ในภู มิ ป ระเทศตามปั ญ หาที่ ส มมุ ติ ขึ้ น
โดยเน้นถึงการปฏิบตั ใิ นเรือ่ งการสัง่ การของ
ผบ.หน่วยทุกระดับ, การเคลื่อนที่ไปยังจุด
นัดพบหรือทีร่ วมพล ณ ทีห่ มาย, การปฏิบตั ิ
ณ จุ ด นั ด พบหรื อ ที่ ร วมพล ณ ที่ ห มาย
การปฏิบัติการตีโฉบฉวย และการถอนตัว
(๔ ชม.)
๓. การฝึกการตีโฉบฉวยในเวลากลางคืน
ให้ดำาเนินการฝึกตามรายละเอียดเช่นเดียว
กับที่กล่าวในข้อ ๒ ข้างต้น แต่กระทำาใน
เวลากลางคืน (๖ ชม.)
หมายเหตุ : ควรกำาหนดให้ทาำ การฝึกตัง้ แต่
๑๕๐๐ - ๒๔๐๐ และกำาหนดให้รับประทาน
อาหารเย็นในปัญหาฝึก
37
38 ตอนที่ ๖

การฝึกยิง ปลย. ในเวลากลางคืน


๑. ความมุ่งหมาย การฝึกยิง ปลย.ในเวลากลางคืนมีความมุ่งหมายเพื่อฝึกสอนให้ทหารเป็นบุคคล มี
ความคุน้ เคยสามารถค้นหาเป้าหมายในเวลากลางคืน และยิงถูกเป้าหมายได้อย่างแม่นยำาในเวลากลางคืน
หรือในระหว่างทัศนวิสัย จำากัด
๒. การใช้
๒.๑ ให้ทหารฝึกทำาการยิงในเวลากลางวันก่อนด้วยกระสุน ๕ นัด (ใช้การทำาให้มืดด้วยวิธีต่างๆ)
ต่อจากนั้นให้ทหารฝึกยิงในเวลากลางคืน
๒.๒ ให้กระทำาต่อจากการฝึกยิงปืนในสนาม ๑,๐๐๐ นิ้ว (๒๕ เมตร) มาแล้ว เพื่อให้ทหารสามารถทำาการ
ยิงปืนในเวลากลางคืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. ตารางฝึกยิงปืนในเวลากลางคืน
๓.๑ ตารางที่ ๑ การฝึกยิงและการยิงประเมินผลในสนามทราบระยะ เป้าหุ่นครึ่งตัว

ระยะ เวลา จำานวน


เมตร การยิง (วินาที) กระสุน คะแนน หมายเหตุ
(นัด)
๒๕ ท่ายิงจากหลุมบุคคลหรือ ๓๕ ๗ ๗ - ยิงปรับปืนในระยะ ๒๕ ม. โดย
ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง ใช้กระสุนยิงปรับ ๖ นัด
ทำาการยิง ๒ กลุม่ กลุม่ ละ ๓ นัด
๕๐ ท่ายิงจากหลุมบุคคลหรือ ๔๐ ๘ ๘ - ใช้เป้าหุ่นครึ่งตัว
ท่านอนยิงมีเครื่องหนุนรอง
รวม ๑๕ ๑๕ ๑๕ + ๖ นัด ท่ายิงปรับ = ๒๑ นัด
๓.๒ ตารางฝึกยิงนี้ใช้ทำาการฝึกยิงในเวลากลางคืน
๓.๓ สอนให้ทหารให้ทราบถึง การตรวจการณ์และการมองเห็นเป้าหมายในเวลากลางคืน การใช้หลักการ
ยิงปืนในเวลากลางคืน
๓.๔ ให้ทำาการยิงเพื่อความคุ้นเคยคนละ ๑๕ นัด และทำาการยิงบันทึกผลอีก ๑๕ นัด ถ้าหน่วยมีกระสุน
จำากัด ให้ทำาการยิงเพื่อความคุ้นเคยเพียงอย่างเดียว
หมายเหตุ
๑. ใช้เป้าหุ่นครึ่งตัวหรือเป้าล้มลุกอัตโนมัติ ทำาการยิงในเวลากลางคืน ระยะที่ปักขึ้นอยู่กับแสงสว่างของ
ธรรมชาติ โดยให้ปักเป้าที่ระยะ ๒๕ เมตร และระยะ ๕๐ เมตร
๒. การฝึกยิงปืนในเวลากลางคืนจะไม่ได้ผล ภายใต้สภาพของแสงสว่างจากธรรมชาติมากเกินไป ซึ่ง
จะสามารถมองเห็นเป้าหมายได้อย่างชัดเจน
๓. เกณฑ์การประเมินผลการยิง
๓.๑ ดีมาก ๑๓ - ๑๕ คะแนน
๓.๒ ดี ๑๐ – ๑๓ คะแนน
๓.๓ พอใช้ ๗ – ๑๐ คะแนน
๓.๔ ไม่ได้ผลตำ่ากว่า ๗ คะแนน
ลฝ. ๗-๑๗ ก. 39

การฝึกยิงปืนในป่า

๑. ความมุ่งหมาย เพื่อให้ทหารได้ทำาการฝึกยิงปืนต่อจากสนามยิงปืนฉับพลัน โดยให้เดินไปตามเส้นทาง


ที่กำาหนดในภูมิประเทศที่เป็นป่า เมื่อพบเป้าหมายให้ทำาการยิงต่อเป้าหมายด้วยความเร็ว และแม่นยำา
๒. การใช้
๒.๑ การฝึกยิงปืนในป่า มีการฝึก ๒ ขั้น ดังนี้
๒.๑.๑ การฝึกยิงเป็นบุคคล
๒.๑.๒ การฝึกยิงเป็นชุด
ตารางการฝึกยิงปืนในป่า

ระยะ เวลา จำานวน


เมตร การปฏิบัติ (วินาที) กระสุน คะแนน หมายเหตุ
(นัด)
๑๐ ยิงต่อเป้าหมายผลุบ-โผล่ ๓–๕ ๓ ๓
๓๐ ยิงต่อเป้าหมายเคลื่อนที่ทางเฉียง ซ้าย-ขวา ๓–๕ ๓ ๓
๕๐ ยิงต่อเป้าหมายเคลื่อนที่ออก ๓–๕ ๓ ๓
๗๐ ยิงต่อเป้าหมาย ล้ม–ลุก ในหลุมบุคคล ๓–๕ ๓ ๓
๑๐๐ ยิงต่อเป้าหมายวิ่งเข้าหา ๓–๕ ๓ ๓
รวม ๑๕ ๑๕
หมายเหตุ
ก. ผู้เข้ารับการฝึกจะทำาการยิงต่อเป้าหมายที่ปรากฏขึ้นตามระยะที่กำาหนดในตารางยิง ดังนี้
๑. จากจุดเริ่มต้นไปในระยะ ๑๐ เมตร ทำาการยิงต่อเป้าหมาย ผลุบ–โผล่ จำานวน ๓ นัด
เวลา ๓ – ๕ วินาที เมื่อจบการยิงให้เคลื่อนที่ต่อไป
๒. ในระยะ ๓๐ เมตร ทำาการยิงต่อเป้าหมายเคลื่อนที่ทางเฉียง จำานวน ๓ นัด เวลา ๓ – ๕
วินาที เมื่อจบการยิงให้เคลื่อนที่ต่อไป
๓. ในระยะ ๕๐ เมตร ทำาการยิงต่อเป้าหมายเคลื่อนที่ออก จำานวน ๓ นัด เวลา ๓ – ๕ วินาที
เมื่อจบการยิงให้เคลื่อนที่ต่อไป
๔. ในระยะ ๗๐ เมตร ทำาการยิงต่อเป้าหมาย ล้ม–ลุก ในหลุมบุคคล จำานวน ๓ นัด เวลา
๓ – ๕ วินาที เมื่อจบการยิงให้เคลื่อนที่ต่อไป
๕. ในระยะ ๑๐๐ เมตร ทำาการยิงต่อเป้าหมายเคลื่อนที่เข้าหาตัว จำานวน ๓ นัด เวลา ๓ – ๕ วินาที
เมือ่ ยิงจบให้ผรู้ บั การฝึก ตรวจอาวุธ, ตรวจเป้า และปฏิบตั ติ ามคำาสัง่ ของทางทหารกำากับการยิง
ข. ให้แสดงเป้าครั้งละ ๑ เป้า ต่อ ๑ ช่องยิง โดยให้เวลาที่เป้าปรากฏนาน ๓ – ๕ วินาที
ค. การประเมินผลการฝึกให้ประเมินผลโดยใช้เกณฑ์ “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน” โดยใช้
เกณฑ์จากรอยกระสุนถูกเป้าจำานวน ๑๐ นัด ขึ้นไปถือว่า “ผ่าน” เกณฑ์การทดสอบ
40
ผนวก ก (แบบฟอร์มตารางกำาหนดการฝึกประจำาสัปดาห์) ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึกฯ
ตารางกำาหนดการฝึกประจำาสัปดาห์
หน่วย............................................................
หลักสูตร.................................................... สัปดาห์ที่......................................................
หน่วยฝึก................................................... ตั้งแต่............................ถึง..........................
วัน-วันที่ เวลา สถานที่ รายการสอน วิธีสอน การแต่งกาย ครูผู้สอน หลักฐานและ เครื่องช่วยฝึก

(ลงชื่อ)......................................................
(................................................)
(ตำาแหน่ง).................................................
ผนวก ก
ผนวก ข (แบบฟอร์มตารางกำาหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง)
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึกฯ
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

ตารางกำาหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
หน่วย............................................................
หลักสูตร.................................................... สัปดาห์ที่......................................................
หน่วยฝึก................................................... ตั้งแต่............................ถึง..........................
เวลา
วัน-วันที่ วิชาเดิม วิชาที่เปลี่ยนแปลงใหม่ ผู้สอน หลักฐาน เครื่องช่วยฝึก
ตั้งแต่-ถึง

(ลงชื่อ)......................................................
(................................................)
(ตำาแหน่ง).................................................
41
42
ผนวก ค (แบบฟอร์มตารางกำาหนดการฝึกประจำาวัน) ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึกฯ
ตารางกำาหนดการฝึกประจำาวัน
การฝึกเป็นหน่วยกองร้อย
วันที่.............................เดือน............................................พ.ศ. ..............
หน่วยฝึกที่..............................

เวลา เวลาใน เวลาที่ใช้


เรื่องที่สอน หลักสูตร ฝึกจริง สถานที่ ผู้สอน หลักฐาน การแต่งกาย หมายเหตุ
ตั้งแต่ ถึง (ชม.) (ชม.)

(ลงชื่อ)......................................................
(................................................)
(ตำาแหน่ง).................................................
ผนวก ค
ผนวก ง (แบบฟอร์มตารางแสดงผลการฝึกเป็นรายวิชาประกอบความเห็น)
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึกฯ
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

ตารางแสดงผลการฝึกประกอบความเห็น
การฝึกเป็นหน่วยกองร้อย
ประจำาปี.........................
หน่วย..........................................

เวลา ผลการฝึก ความเห็นของครูผู้สอน


เรื่องที่ฝึก
ในหลักสูตร ที่ใช้ฝึกจริง ผ่าน ไม่ผ่าน ข้อขัดข้อง สิ่งที่ควรแก้ไข

(ลงชื่อ)......................................................
(................................................)
(ตำาแหน่ง) ครูผู้สอน

หมายเหตุ ๑. ตารางนี้กำาหนดไว้สำาหรับให้ครูผู้สอนบันทึกผลการสอนและฝึกประกอบความเห็น เพื่อรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ


๒. ผลการฝึก (ผ่าน/ไม่ผ่าน) ให้ยึดถือข้อมูลจากมาตรฐานการฝึก คฝ. ๗–๑๐ สำาหรับพวกปืนเล็ก สำาหรับหน่วยประเภทอื่น ๆ ที่มิใช่พวก
ปืนเล็ก และคู่มือการฝึกที่ใช้อ้างอิงยังมิได้กำาหนดมาตรฐานการฝึกในกิจเฉพาะที่ฝึกให้ยึดถือว่าถ้าปฏิบัติได้มากกว่า ๗๐ เปอร์เซ็นต์
ในระบบการให้คะแนนแบบเดิมถือว่า “ผ่าน”
43

๓. หลักฐานนี้เก็บไว้ที่หน่วยฝึก
ผนวก จ (แบบฟอร์มแสดงผลการฝึกเป็นส่วนรวมประกอบความเห็น) 44
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึกฯ
ตารางแสดงผลการฝึกเป็นส่วนรวมประกอบความเห็น
สำาหรับการฝึกเป็นหน่วยกองร้อย
ประจำาปี.........................
หน่วย..........................................
เวลา ผลการฝึกในภาพรวมของหน่วย ความเห็นของหน่วยฝึก
ลำาดับ เรื่องที่ฝึก หน่วยที่ไม่ผ่านมาตรฐานการฝึก
ในหลักสูตร ที่ใช้ฝึกจริง ผ่าน ไม่ผ่าน ข้อขัดข้อง สิ่งที่ควรแก้ไข

เห็นชอบด้วย
(ลงชื่อ)...................................................... (ลงชื่อ)......................................................
(................................................) (................................................)
(ตำาแหน่ง) ผบ.กรม หรือ ผบ.พล. (ตำาแหน่ง) ผบ.พัน. หรือ ผบ.กรม

หมายเหตุ ๑. ตารางนี้กำาหนดไว้สำาหรับให้ ผบ.หน่วยระดับกองพันหรือกรม ใช้บันทึกผลการฝึกเป็นส่วนรวมของทุกเรื่องที่ปรากฏอยู่ในหลักสูตรการฝึก


๒. ผู้บันทึกการบันทึก โดยรวบรวมจากรายงานของผู้ฝึก และจากการตรวจการฝึกด้วยตัวเองอย่างใกล้ชิด
๓. หลักฐานนี้เก็บไว้ที่หน่วย ๑ ชุด เสนอเหล่า ๑ ชุด และรายงานตามสายการบังคับบัญชาจนถึง ทภ.
ผนวก จ

๔. เกณฑ์การพิจารณาผลการฝึกในภาพรวมของหน่วย เกณฑ์ “ผ่าน” ให้ยึดถือเกณฑ์มากกว่าสองในสามของจำานวนหน่วยประเภทนั้น ๆ


ที่เข้ารับการฝึก
ผนวก ฉ (แบบฟอร์มตารางแสดงผลการตรวจสอบการฝึกเป็นส่วนรวมประกอบความเห็น)
ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึกฯ
ตารางแสดงผลการตรวจสอบการฝึกเป็นส่วนรวมประกอบความเห็น
ลฝ. ๗-๑๗ ก.

สำาหรับการฝึกเป็นหน่วยกองร้อย
ประจำาปี...............................
ประเภทของหน่วยที่ได้รับการตรวจสอบ.....................................
หน่วย...................................................
เวลา ผลการฝึกเฉลี่ยเป็นหน่วย ความเห็นของหน่วยฝึก
ลำาดับ เรื่องที่ตรวจสอบ
ในหลักสูตร ที่ใช้ฝึกจริง เปอร์เซ็นต์ ชั้น ข้อขัดข้อง สิ่งที่ควรแก้ไข

เห็นชอบด้วย
(ลงชื่อ)...................................................... (ลงชื่อ)......................................................
(................................................) (................................................)
(ตำาแหน่ง) ผบ.กรม หรือ ผบ.พล. (ตำาแหน่ง) ผบ.พัน. หรือ ผบ.กรม

หมายเหตุ ๑. ตารางนีก้ าำ หนดไว้สาำ หรับให้ ผบ.หน่วยระดับกองพันหรือกรม ใช้บนั ทึกผลการตรวจสอบการฝึกเป็นส่วนรวมของทุกเรือ่ งทีท่ าำ การตรวจสอบ


ตามที่หลักสูตรการฝึกกำาหนด
๒. ผู้บันทึกทำาการบันทึกโดยรวบรวมจากใบให้คะแนนของคณะกรรมการตรวจสอบการฝึก และจากการตรวจการฝึกด้วยตนเองอย่างใกล้ชิด
๓. หลักฐานนี้เก็บไว้ที่หน่วย ๑ ชุด, เสนอเหล่า ๑ ชุด และรายงานตามสายการบังคับบัญชาจนถึง ยศ.ทบ.
45

๔. เกณฑ์การพิจารณาผลการตรวจสอบ ให้ยึดถือแนวทางเช่นเดียวกับ ผนวก จ

You might also like