You are on page 1of 261

(ร่าง)

หลักสูตร
ศิษย์การบินกองทัพอากาศ
พ.ศ.๒๕๖๒
ผนวก ก
ผนวก ข
ผนวก ค
คำนำ

โรงเรี ย นการบิ น ฐานบิน ก าแพงแสน เป็น สถาบัน หลั ก ของกองทั พอากาศ ซึ่ง มี ห น้ าที่ ใ น
การผลิตนายทหารสัญญาบัตรเหล่านักบินให้กับกองทัพอากาศ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาหลักสูตรศิษย์การบิน
กองทัพอากาศ และวิธีการเรียนการสอนได้รับการปรับปรุงและถ่ายทอดองค์ความรู้มาโดยลาดับ ทั้งนี้อาจกล่าว
ได้ว่า หลักสูตรที่กองทัพอากาศใช้เพื่อผลิตนักบินของกองทัพอากาศนั้น ได้รับการออกแบบเพื่อให้เหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อม ทรัพยากร รวมถึงวัฒนธรรมองค์กรของกองทัพอากาศโดยเฉพาะ อย่างไรก็ตามด้วยสถานการณ์
สภาพแวดล้อม เทคโนโลยีและองค์ความรู้ที่เปลี่ยนแปลงไป โรงเรียนการบิน ฐานบินกาแพงแสน จาเป็นต้อง
ปรับปรุงหลักสูตรศิษย์การบินกองทัพอากาศ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็ว โดยยังคงสามารถผสานความต้องการด้านยุทธการเข้ากับระเบียบข้อบังคับที่เกี่ย วข้อง และนโยบาย
ผบ.ทอ. ควบคู่ไปกับมาตรฐานประชาคมการบินระหว่างประเทศ
หลักสูตรศิษย์การบินกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ ฉบับนี้ ได้รับการตรวจสอบและปรับปรุงจาก
หลักสูตรศิษย์การบินกองทัพอากาศซึ่งมีอยู่เดิม และได้เพิ่มเติมบางส่วนเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ใน
สภาพแวดล้อมของกองทัพอากาศในปัจจุบัน เช่น การตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกกองทัพใน
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร การเปรียบเทียบหลักสูตรศิษย์การบินกองทัพอากาศกับสถาบันการบินทหารและ
พลเรือนทั้งในและต่างประเทศ การฝึ ก Multi-Engine สาหรับอากาศยานแบบ DA-42 การเสริมสร้างภาวะ
ผู้นาและความเป็นทหารอากาศ ทั้งนี้ คณะกรรมการจัดทาและพัฒนาหลักสูตรฯ ได้พิจารณาถึงความจาเป็น
ทางด้ า นยุ ท ธการและข้ อ จ ากั ด ด้ า นทรั พ ยากรและงบประมาณควบคู่ กั น ไป เพื่ อ ให้ ห ลั ก สู ตรศิ ษ ย์ ก ารบิ น
กองทัพอากาศ สามารถตอบสนองต่อภารกิจการฝึกนักบินของกองทัพอากาศอย่างเหมาะสม สามารถปรับปรุง
และพัฒนาหลักสูตรฯ ดังกล่าวนี้ให้มีความทันสมัยตามวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี ได้ต่อไป
ในอนาคต

นาวาอากาศเอก
( พิเศษศักดิ์ บุญรัตน์ )
ประธานคณะกรรมจัดทาและพัฒนาหลักสูตร
ศิษย์การบินกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒
คำปรำรภ
โรงเรี ยนการบิน เป็ นสถาบั นหลักเพียงแห่งเดียวซึ่งมีหน้าที่ในการผลิ ตนักบินให้ กับกองทัพอากาศ
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาโรงเรียนการบินสร้างเกียรติประวัติ และมีการถ่ายทอดความรู้ วิทยาการด้านการบิน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดารงอัตลักษณ์ความเป็น “ทหารอากาศ” ให้กับครูการบินและศิษย์การบิน ซึ่งจะสาเร็จ
ออกไปปฏิบัติหน้าที่นักบินประจากองของกองทัพอากาศมาโดยตลอด ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าโรงเรียนการบินเป็น
“สถาบันผลิตนักรบทางอากาศ” เพียงหนึ่งเดียวของประเทศไทย
การจัดทาและพัฒนาหลักสูตรศิษย์การบินของกองทัพอากาศ จึงต้องคานึงถึงการตอบสนองต่อภารกิจของ
กองทัพอากาศ นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ยุทธศาสตร์ และวิสัยทัศน์กองทัพอากาศ เพื่อให้เกิดความ
สอดคล้องในการปฏิบัติภารกิจทั้งมวลของกองทัพอากาศในอนาคต ตลอดจนต้องให้มีความทันสมัยเป็นสากลเพราะ
ศาสตร์ด้านการบินในประชาคมการบินระหว่างประเทศนั้น ถือเป็นองค์ความรู้สากล มีการพัฒนาและแบ่ง ปัน
ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์ด้านการบินอยู่ตลอดเวลา นอกจากนั้นแล้วผลผลิตของ โรงเรียนการบิน
ยั งถือเป็ นบุ คลากรที่ จะต้องเจริ ญเติบโตเป็ นผู้ น าและผู้ บังคับบัญชาของกองทัพอากาศ จึ งจาเป็นต้องมีความ
ตระหนักรู้ในบทบาทหน้าที่ มีความรับผิดชอบต่อสังคม และประเทศชาติ เพราะกองทัพอากาศถือเป็นส่วนหนึ่ง
ของสังคม มีหน้าที่และพันธกรณีต่อประเทศชาติและประชาชน จึงไม่อาจปฏิเสธได้ว่าการปลูกฝังจิตสานึกและ
ค่านิยมความเป็นทหารอากาศให้กับนายทหารสัญญาบัตรเหล่านักบิน เป็นหน้าที่อันสาคัญยิ่งอย่ างหนึ่งของ
โรงเรียนการบินและครูการบิน ซึ่งไม่เพียงแต่จะสอนศิษย์ให้บินเป็นเท่านั้น แต่สอนให้บินด้วยความรับผิดชอบ
และความรั บ ผิ ดชอบของนั กบิ น กองทั พอากาศไม่ ได้ รับ ผิ ด ชอบเพีย งผู้ โ ดยสารแค่ ๒๐๐ – ๓๐๐ คน แต่
รับผิดชอบประชาชนทั้งประเทศ รับผิดชอบต่อความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งชาติทั้งมวล
ผมขอแสดงความชื่นชมคณะทางาน ครูการบิน ฝูงบินต่างๆ ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทา
หลักสู ตรศิษย์การบิน กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ ฉบับนี้ เป็นอย่างยิ่งเพราะถือได้ว่าการจัดทาและพัฒนา
หลักสูตรฯ ฉบับนี้ มีความสมบูรณ์ ครบถ้วนทั้งในกระบวนการการจัดทาและเนื้อหาของหลักสูตรซึ่งมีความ
สอดคล้องตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทัพอากาศและนโยบายผู้บังคับบัญชาทุกประการ อันจะถือเป็นต้นแบบ
ในการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาหลั ก สู ต รการฝึ ก ศิ ษ ย์ ก ารบิ น กองทั พ อากาศในครั้ ง ต่ อ ๆไปในอนาคต อนึ่ ง ฯ
ผมปรารถนาเป็นอย่างยิ่งว่าโรงเรียนการบินและครูการบินจะสามารถขับเคลื่อนภารกิจอันสาคัญอย่างยิ่งในการ
ฝึกศิษย์การบินของกองทัพอากาศให้มีความทันสมัยเท่าทันสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
อยู่เสมอ โดยยังคงสามารถดารงอัตลักษณ์ความเป็น “สถาบันผลิตนักรบทางอากาศ” ตลอดไป

พลอากาศตรี
(สุวรรณ ขาทอง)
ผู้บัญชาการโรงเรียนการบิน
สารบัญ

หน้า
คานา ก
สรุปหลักสูตร ๑
การอบรมภาควิชาการ ๕
การอบรมภาควิชาการขั้นประถม ๖
การอบรมภาควิชาการขั้นมัธยม ๖
การฝึกยังชีพและโดดร่มพาราเซล ๘
การฝึกภาคอากาศ ๑๐
การฝึกภาคอากาศในส่วนของ บ.ฝ.๑๖ ก ๑๕
การฝึกภาคอากาศในส่วนของ บ.ฝ.๑๙ ๑๙
การฝึกภาคอากาศในส่วนของ บ.ฝ.๒๐ ๒๓
การเสริมสร้างภาวะผู้นาและความเป็นทหารอากาศ ๒๖ – ๒๗
การฝึกอบรมทักษะมนุษย์ปัจจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพในการฝึกศิษย์การบิน (CRM)
การอบรมคุณธรรมจริยธรรม
การอบรมหลักนิยมกองทัพอากาศและการรบร่วม
การอบรมค่านิยมหลักของกองทัพอากาศ
การปลูกจิตสานึก “จิตอาสา”
ผนวก
ผนวก ก ระเบียบและคาสั่งทีเ่ กี่ยวข้อง
ผนวก ข รายละเอียดการอบรมภาควิชาการ และการฝึกภาคอากาศ ผนวก ข ๑–๒๑๒
หลักสูตรศิษย์การบินกองทัพอากาศ โรงเรียนการบิน
พ.ศ.๒๕๖๒
๑. หลักการและเหตุผล
ตามระเบียบกองทัพอากาศว่าด้วยการศึกษาภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๒ ให้การจัดการศึกษา
หรือฝึกศึกษา ต้องเป็นไปตามนโยบายการศึกษาของกองทัพอากาศ หลักสูตรสาหรับการศึกษาหรือการฝึกที่ปฏิบัติ
เป็นประจา จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้บัญชาการทหารอากาศหรือผู้รับมอบอานาจ และจะต้องมีการปรับปรุงแก้ไข
อยู่ตลอดเวลา หรืออย่างน้อยทุกรอบการศึกษา ๓ ปี และเพื่อให้สนองตอบต่อยุทธศาสตร์ ทอ. ในประเด็นกลยุทธ์ที่ ๒.๖
ด้านพัฒนาขีดสมรรถนะกาลังพลให้มีคุณภาพ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ และมีความพร้อมในการ
ปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ โดยเป็นภารกิจหลักในแผนปฏิบัติราชการ ประกอบกับในปัจจุบันประชาคม
ด้านการบิ น ได้มีก ารพัฒ นาเทคโนโลยี และศาสตร์ด้านการบินอย่างต่อเนื่อง ส่ งผลกระทบให้กฎข้อบังคับ
ตลอดจนความต้องการในการกาหนดข้อบังคับด้านการบินมีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา
โรงเรี ย นการบิ น ฐานบิ น ก าแพงแสน เป็ น สถาบั น หลั ก ในการผลิ ต นั ก บิ น ให้ กั บ
กองทัพอากาศ มีเกียรติประวัติและองค์ความรู้ด้านการบินอันเป็น อัตลักษณ์ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
และวัฒนธรรมองค์กรของกองทัพอากาศ มีหน้าที่ดาเนินการฝึกศึกษา อานวยการศึกษา ให้แก่ ศิษย์การบิน
ครูการบิน และฝึกการยังชีพ รวมทั้งการปฏิบัติการใช้กาลังตามอานาจหน้าที่ของกองทัพอากาศ โดยกาหนด
วิสัยทัศน์ของสถาบันในการเป็น “สถาบันผลิตนักบินรบ ครูการบิน ชั้นนาของอาเซียน ให้พร้อมด้วยความรู้
ความสามารถ ภาวะผู้ น า การมี วิ นั ย และนิ ร ภั ย การบิ น โดยมี จิ ต ใจมุ่ ง มั่ น เพื่ อ การพั ฒ นากองทั พ อากาศ
(Training for the Best Pilots)” จึงมีความจาเป็นในการปรับปรุงหลักสูตรศิษย์การบินกองทัพอากาศแบบ
บูรณาการ ภาควิชาการ การฝึกยังชีพและโดดร่มพาราเซลร่วมกับภาคอากาศ ตลอดจนการเสริมสร้างภาวะผู้นา
และความเป็นทหารอากาศ ให้สอดคล้องกับคู่มือการจัด ทาและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของกองทัพอากาศ
ตลอดจนให้เป็นไปตามระเบียบที่กองทัพอากาศกาหนด
๒. ปรัชญา
โรงเรียนการบิน ฐานบินกาแพงแสน มุ่งมั่นในการเป็น “สถาบันผลิตนักรบทางอากาศ”
หลักสูตรศิษย์การบินกองทัพอากาศ มุ่งเน้นในการพัฒนาขีดความสามารถและคุณลักษณะของศิษย์การบินทั้ง
ด้านทักษะการบิน ความรู้ด้านการบิน ภาวะผู้นาและความเป็นทหารอากาศ เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาพร้อมที่
จะเป็นนายทหารสัญญาบัตรเหล่านักบินของกองทัพอากาศ
๓. ความมุ่งหมาย
เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษามีความเข้าใจ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านวิชาการ และมี
ทักษะด้านการบิน ตลอดจนมีความเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กร มีภ าวะผู้นา มีวินัย การบิน และตระหนักถึง
ค่านิยมหลักของกองทัพอากาศ ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานพร้อมเป็นนักบินประจากองของกองทัพอากาศ ที่จะ
พัฒนาเป็นนักบินพร้อมรบให้กับหน่วยบินทางยุทธวิธีของกองทัพอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษา
๔.๑ มีความเข้าใจด้านวิชาการเกี่ยวกับการบินทั่วไปและความรู้ทางด้านการบินยุทธวิธี
สามารถนาไปประยุกต์ในการบินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ๒-

๔.๒ มีทักษะด้านการบินพื้นฐานทั่วไปและทักษะการบินยุทธวิธี สามารถนาไปปฏิบัติ


หน้าที่นักบินประจากองได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
๔.๓ มี ค วามเป็ น ทหารอากาศตามค่ า นิ ย มหลั ก ของกองทั พ อากาศ มี ภ าวะผู้ น า
วินัยการบิน และนิรภัยการบิน รวมทั้งปฏิบัติตามกฎและแบบธรรมเนียมทหาร สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ
ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
๕. หัวข้อการศึกษา/เวลาการศึกษา/จานวนชั่วโมง
ชั่วโมงศึกษา
หัวข้อการศึกษา ปฏิบัติ หน่วยกิต หมายเหตุ
บรรยาย สัมมนา รวม
ในหน่วย นอกหน่วย
๕.๑ ขั้นประถม
๕.๑.๑ การฝึกยังชีพและโดดร่ม ๒๘ - ๕๒ ๔๘ ๑๒๘ -
พาราเซล
๕.๑.๒ การศึกษาภาควิชาการ ๒๘๑ - - - ๒๘๑ -
๕.๑.๓ การเตรียมความพร้อมก่อน ๑๐ - ๔ - ๑๖ - ทดสอบ
ทาการบิน ๒ ชม.
๕.๑.๔ การบินด้วยเครื่องฝึกบิน ๑๖ - ๑๓ - ๒๙ -
จาลอง
๕.๑.๕ การฝึกภาคอากาศ - - ๙๐ - ๙๐ -
รวมระยะเวลาการศึกษาขัน้ ประถมประมาณ ๖ เดือน
๕.๒ ขั้นมัธยม แบ่งเป็น ๒ ส่วนการฝึก
๕.๒.๑ ส่วน บ.ฝ.๑๙
๕.๒.๑.๑ ทบทวนการฝึก - - ๓ - ๓ -
ยังชีพ
๕.๒.๑.๒ การศึกษาภาค ๒๘๕ - - - ๒๘๕ -
วิชาการ
๕.๒.๑.๓ การเตรียมความ ๑๐ - ๔ - ๑๖ - ทดสอบ
พร้อมก่อนทาการบิน ๒ ชม.
๕.๒.๑.๔ การบินด้วยเครื่อง ๑๖ - ๑๖ - ๓๒ -
ฝึกบินจาลอง
๕.๒.๑.๕ การฝึกภาคอากาศ - - ๑๑๐.๑ - ๑๑๐.๑ -
๕.๒.๒ ส่วน บ.ฝ.๒๐
๕.๒.๒.๑ ทบทวนการฝึกยังชีพ - - ๓ - ๓ -
๕.๒.๒.๒ การศึกษาภาค
วิชาการ ๓๒๗ - - - ๓๒๗ -
๕.๒.๒.๓ การเตรียมความ
พร้อมก่อนทาการบิน ๙ - ๔ - ๑๕ - ทดสอบ
๕.๒.๒.๔ การฝึกภาคอากาศ - - ๑๑๐ - ๑๑๐ - ๒ ชม.
รวมระยะเวลาการศึกษาขัน้ มัธยมประมาณ ๘ เดือน
- ๓-

ชั่วโมงศึกษา
หัวข้อการศึกษา ปฏิบัติ หน่วยกิต หมายเหตุ
บรรยาย สัมมนา รวม
ในหน่วย นอกหน่วย
๕.๓ การเสริมสร้างภาวะผู้นา และ ๘๘ ๖ - ๔๐ ๑๓๔ -
ความเป็นทหารอากาศ
๕.๔ กิจกรรม ๙ - ๘ ๒๑ ๓๘ -

รวมระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรประมาณ ๑๔ เดือน

๖. คุณสมบัติผู้เข้ารับการศึกษา ได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นศิษย์การบินกองทัพอากาศ ตาม


ระเบียบกองทัพอากาศว่าด้วยการคัดเลือกศิษย์การบินของกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๙
๗. การวัดและประเมินผล ให้โรงเรียนการบินจัดลาดับความสามารถของศิษย์การบินที่สาเร็จ
หลักสูตรฯ โดยพิจารณาจากผลการฝึกภาคอากาศ ภาควิชาการ และคะแนนความประพฤติตลอดหลักสูตรการ
ฝึกบิน ในอัตราส่วนน้าหนัก ๔ : ๓ : ๓ ตามลาดับ
๗.๑ ภาควิชาการ
๗.๑.๑ ให้ ดาเนิ นการตรวจสอบผลการศึ กษาภาควิช าการทั้ง ขั้น ประถมและ
ขั้นมัธยม โดยดาเนินการระหว่างการศึกษาและเมื่อศิษย์การบินจบการศึกษา ซึ่งต้องแจ้งกาหนดการตรวจสอบ
ให้ศิษย์การบินทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๕ วันทาการ
๗.๑.๒ หลักเกณฑ์การตรวจสอบการศึกษาภาควิชาการ
๗.๑.๒.๑ ศิ ษ ย์ ก ารบิ น ที่ มี สิ ท ธิ เ ข้ า รั บ การตรวจสอบการศึ ก ษา
ภาควิชาการ ต้องมีเวลาการศึกษาในแต่ละวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๕ ของเวลาการศึกษาตามหลักสูตรและ
เกณฑ์การตัดสินรายวิชาต้องได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ถือเป็นเกณฑ์ผ่านการตรวจสอบ
๗.๑.๒.๒ ผู้ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในครั้งแรก ซึ่งได้คะแนนการตรวจสอบ
ครั้งแรกในวิชาใดวิชาหนึ่งมีคะแนนต่ากว่าร้อยละ ๗๐ แต่ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๕๐ หรือมีเวลาการศึกษาในวิชาใด
วิชาหนึ่งต่ากว่าร้อยละ ๘๕ ซึ่งเป็นเหตุให้หมดสิทธิที่จะได้รับการตรวจสอบครั้งแรก แต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
ของเวลาการศึกษาตามหลักสูตรให้มีโอกาสได้รับการตรวจสอบแก้ตัวในแต่ละวิชาอีก ๑ ครั้ง
๗.๑.๒.๓ สาหรับผู้ที่มีความจาเป็นหรือผู้ ป่วยซึ่งไม่สามารถเข้ารับการ
ตรวจสอบครั้งแรกในวิชาใดวิชาหนึ่งได้ตามกาหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้บัญชาการโรงเรียนการบินที่จะ
สามารถให้มีสิทธิได้รับการตรวจสอบแก้ตัวในแต่ละวิชาอีก ๑ ครั้ง สาหรับผู้ป่วยจะต้องได้รับการรับรองจาก
แพทย์เวชศาสตร์การบิน สถาบันเวชศาสตร์การบิน กองทัพอากาศ หรือแพทย์เวชศาสตร์การบิน โรงพยาบาล
จันทรุเบกษา กรมแพทย์ทหารอากาศ
๗.๑.๒.๔ การสอบแก้ตัวให้กระทาภายใน ๕ วันทาการ หลังจากการตรวจสอบ
ครั้งแรก ยกเว้นกรณีของผู้ที่มีความจาเป็นหรือผู้ที่เจ็บป่วย โดยแพทย์เวชศาสตร์การบิน สถาบันเวชศาสตร์การบิน
กองทัพอากาศ หรือแพทย์เวชศาสตร์การบิน โรงพยาบาลจันทรุเบกษา กรมแพทย์ทหารอากาศ ลงความเห็นว่า
หายเป็นปกติแล้ว ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวภายใน ๑๕ วันทาการ
- ๔-

๗.๑.๒.๕ การคิดคะแนนในการจัดลาดับที่ ให้ถือคะแนนในการตรวจสอบ


ครั้งแรกเป็นเกณฑ์ ยกเว้นผู้ที่ไม่ได้รับการตรวจสอบครั้งแรกตามข้อ ๗.๑.๒.๓ และข้อ ๗.๑.๒.๔ ให้ถือคะแนน
การตรวจสอบครั้งนั้นเป็นการจัดลาดับที่
๗.๒ ภาคอากาศ
๗.๒.๑ หลักเกณฑ์การตรวจสอบ
๗.๒.๑.๑ การให้ค่าเกณฑ์การตรวจสอบ ให้ใช้ใบแบบให้ค่าสาหรับการ
ตรวจสอบ ที่โรงเรียนการบินกาหนดไว้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน
๗.๒.๑.๒ ศิษ ย์ก ารบิน ที่ จะผ่ า นการตรวจสอบ จะต้อ งได้ คะแนนรวม
ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๗๐ แต่ถ้าได้รับการประเมินค่าความสามารถในการบินโดยรวมไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่
โรงเรียนการบินกาหนด ถึงแม้จะมีคะแนนรวมเกินร้อยละ ๗๐ ก็ให้ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ
๗.๒.๑.๓ ศิษย์การบินที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบครั้งแรกในทุกกรณี
ให้มีโอกาสได้รับการตรวจสอบแก้ตัวอีก ๑ ครั้ง โดยผู้ตรวจสอบที่มิใช่บุคคลคนเดียวกันกับผู้ตรวจสอบครั้งแรก
เป็นผู้ทาการตรวจสอบ
๗.๒.๑.๔ การตรวจสอบแก้ตัว ให้กระทาการตรวจสอบในวันทาการบิน
ถัดไปต่อจากที่ทาการตรวจสอบครั้งแรก หากมีเหตุอันสมควรยกเว้นไม่สามารถดาเนินการได้ให้อยู่ในดุลยพินิจของ
ผู้บัญชาการโรงเรียนการบิน โดยให้ศิษย์การบินผู้ที่ต้องการตรวจสอบแก้ตัว ได้รับการฝึกบินคู่ก่อน แต่ไม่เกิน ๑
เที่ยวบิน
๗.๒.๑.๕ ในกรณีที่มีการตรวจสอบแก้ตัว ให้ถือคะแนนการตรวจสอบ
ครั้งแรกเป็นคะแนนการจัดลาดับที่ ส่วนคะแนนที่ได้ในการตรวจสอบแก้ตัวให้ถือเป็นเกณฑ์ชี้ขาดการผ่าน
หรือไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบเท่านั้น
๗.๓ ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล กาหนดให้ศิษย์การบินมีคะแนนความประพฤติ คนละ
๑๐๐ คะแนนตลอดหลักสูตร โดยให้โรงเรียนการบินพิจารณาตัดคะแนนความประพฤติตามควรแก่กรณี ทั้งนี้ให้
เริ่มตั้งแต่วันเข้าเป็นศิษย์การบินจนถึงวันสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
๘. สิทธิของผู้สาเร็จการศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาจะได้รับ ประกาศนียบัตรนักบินประจากอง
รับเงินเพิ่มตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วย เงินเพิ่มพิเศษผู้บังคับอากาศยาน พ.ศ.๒๕๔๙ และข้อบังคับ
กระทรวงกลาโหม ว่าด้วย เงินเพิ่มพิเศษรายเดือน พ.ศ.๒๕๕๘ และมีสิทธิประดับเครื่องหมายความสามารถ
ด้านการบินชั้นที่ ๓
ภาควิชาการ
การศึกษาภาควิชาการ
๑. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษามีความเข้าใจวิทยาการด้านการบินที่มีการพัฒนา
อยู่เสมอและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจการบินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ชื่อรายวิชา จานวนชั่วโมง
101, 201 Aviation Physiology ๙๒ ชั่วโมง
102 Discovery Aviation ๗ ชั่วโมง
103 Airplane Systems ๒๘ ชั่วโมง
104 Aerodynamic Principles ๑๔ ชั่วโมง
105 The Flight Environment ๑๔ ชั่วโมง
106 Communication and Flight Information ๗ ชั่วโมง
107 Radio Telephony and Morse Code ๑๔ ชั่วโมง
108 Aviation English ๒๑ ชั่วโมง
109, 209 Meteorology for Pilots ๒๘ ชั่วโมง
110 Interpreting Weather Data ๗ ชั่วโมง
111 Airplane Performance ๑๔ ชั่วโมง
112 Navigation ๒๘ ชั่วโมง
113 Applying Human Factors Principles ๗ ชั่วโมง
114 Flying Safety and Aviation Resource ๔๐ ชั่วโมง
Management
115 Air Law and Rules of The Air ๒๘ ชั่วโมง
116 Radio Navigation Aids ๑๔ ชั่วโมง
117 CT - 4E System Operations ๑๔ ชั่วโมง
118 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการยังชีพในป่า ในนา และในทะเล ๘๗ ชัว่ โมง
119 การฝึกโดดร่มภาคพืนและโดดร่มพาราเซล ๔ ชั่วโมง
120 การสละอากาศยาน ๓๗ ชั่วโมง
202 Principles of Instrument Flight ๑๔ ชั่วโมง
203 IFR Flight Environment ๑๔ ชั่วโมง
204 Departure ๗ ชั่วโมง
205 Enroute ๗ ชั่วโมง
206 Arrival ๗ ชั่วโมง
207 Approach ๑๔ ชั่วโมง
208 Instrument Approaches ๑๔ ชั่วโมง
210 IFR Flight Considerations ๗ ชั่วโมง
211 Advanced Systems ๑๔ ชั่วโมง
212 Aerodynamics and Performance Limitations ๑๔ ชั่วโมง
-๖-

213 Flight Rules and Regulation ๒๘ ชั่วโมง


214 General English ๒๑ ชั่วโมง
215 PC - 9 Flight Operation Manual (FOM) ๒๘ ชั่วโมง
216 Aviation Resource Management: ARM ๑๒ ชั่วโมง
217 Exploring the Multi - Engine ๗ ชั่วโมง
218 Understanding Your Airplane ๗ ชั่วโมง
219 Discovering Aerodynamics ๗ ชั่วโมง
220 Performing Maneuvers and Procedures ๗ ชั่วโมง
221 Mastering Engine out Operations ๑๔ ชั่วโมง
222 DA - 42 System ๒๘ ชั่วโมง
223 ทบทวนการยังชีพในป่า ในนา และในทะเล ๓ ชั่วโมง
รวม ๗๗๙ ชั่วโมง
๓. การดาเนินการศึกษา ในการศึกษาภาควิชาการของศิษย์การบิน ได้แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ
ขันประถมและขันมัธยม เพื่อให้การศึกษาภาควิชาการมีประสิทธิภาพและได้ประสิทธิผลสูงสุด ศิษย์การบินจะต้อง
นาเอาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาไปประยุกต์ใช้กับการบินได้ เป็นอย่างดี จึงกาหนดการดาเนินการศึกษาไว้
ดังนี คือ
๓.๑ การศึกษาภาควิชาการในขันประถมในส่วนของ บ.ฝ.๑๖ ก จานวน ๒๐ วิชา รวม
๔๐๙ ชั่วโมง ซึ่ง กกศ.รร.การบิน จะเป็นหน่วยพิจารณากาหนดลาดับ และวิชาในการศึกษาให้สอดคล้อง
ตามวั ฏ ภาคการฝึ ก และเกิดประโยชน์ สู งสุ ด ต่อการฝึ กภาคอากาศของศิ ษย์ก ารบิ น วิช าที่ท าการศึก ษาใน
ขันประถมดังต่อไปนี
ชื่อรายวิชา จานวนชั่วโมง
101 Aviation Physiology ๒๒ ชั่วโมง
102 Discovery Aviation ๗ ชั่วโมง
103 Airplane Systems ๒๘ ชั่วโมง
104 Aerodynamic Principles ๑๔ ชั่วโมง
105 The Flight Environment ๑๔ ชั่วโมง
106 Communication and Flight Information ๗ ชั่วโมง
107 Radio Telephony and Morse Code ๑๔ ชั่วโมง
108 Aviation English ๒๑ ชั่วโมง
109 Meteorology for Pilots ๑๔ ชั่วโมง
110 Interpreting Weather Data ๗ ชั่วโมง
111 Airplane Performance ๑๔ ชั่วโมง
112 Navigation ๒๘ ชั่วโมง
113 Applying Human Factors Principles ๗ ชั่วโมง
114 Flying Safety and Aviation Resource ๒๘ ชั่วโมง
Management
115 Air Law and Rules of the Air ๒๘ ชั่วโมง
116 Radio Navigation Aids ๑๔ ชั่วโมง
-๗-

117 CT - 4E System Operations ๑๔ ชั่วโมง


118 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการยังชีพในป่า ในนา และในทะเล ๘๗ ชั่วโมง
119 การฝึกโดดร่มภาคพืนและโดดร่มพาราเซล ๔ ชั่วโมง
120 การสละอากาศยาน ๓๗ ชั่วโมง
รวม ๔๐๙ ชั่วโมง
๓.๒ การศึกษาภาควิชาการขันมัธยมแบ่งกลุ่มศิษย์การบินตามความถนัดเป็น ๒ ส่วน คือ
ส่วน บ.ฝ.๑๙ และส่วน บ.ฝ.๒๐ ดังต่อไปนี
๓.๒.๑ การศึกษาภาควิชาการขันมัธยมในส่วนของ บ.ฝ.๑๙ จานวน ๑๗ วิชา
รวม ๒๘๘ ชั่วโมง ซึ่ง กกศ.รร.การบิน จะเป็นหน่วยพิจารณาลาดับการศึกษาให้สอดคล้องตามวัฏภาคการฝึก
ภาคอากาศของศิษย์การบิน โดยศิษย์การบินจะต้องศึกษาการทางานของระบบต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๑๙ ให้มีความรู้
และเข้าใจระบบต่าง ๆ ของ บ. ก่อนที่จะทาการฝึกบินภาคอากาศ วิชาที่ทาการศึกษาในขันมัธยมดังต่อไปนี
ชื่อรายวิชา จานวนชั่วโมง
201 Aviation Physiology ๗๐ ชั่วโมง
202 Principles of Instrument Flight ๑๔ ชั่วโมง
203 IFR Flight Environment ๑๔ ชั่วโมง
204 Departure ๗ ชั่วโมง
205 Enroute ๗ ชั่วโมง
206 Arrival ๗ ชั่วโมง
207 Approach ๑๔ ชั่วโมง
208 Instrument Approaches ๑๔ ชั่วโมง
209 Meteorology ๑๔ ชั่วโมง
210 IFR Flight Considerations ๗ ชั่วโมง
211 Advanced Systems ๑๔ ชั่วโมง
212 Aerodynamics and Performance Limitations ๑๔ ชั่วโมง
213 Flight Rules and Regulation ๒๘ ชั่วโมง
214 General English ๒๑ ชั่วโมง
215 PC - 9 Flight Operation Manual (FOM) ๒๘ ชั่วโมง
216 Aviation Resource Management: ARM ๑๒ ชั่วโมง
223 ทบทวนการยังชีพในป่า ในนา และในทะเล ๓ ชั่วโมง
รวม ๒๘๘ ชั่วโมง
๓.๒.๒ การศึกษาภาควิชาการขันมัธยม ในส่วนของ บ.ฝ.๒๐ จานวน ๒๒ วิชา รวม
๓๒๗ ชั่วโมง ซึ่ง กกศ.รร.การบิน จะเป็นหน่วยพิจารณาลาดับการศึกษาให้สอดคล้องตามวัฏภาคการฝึกภาคอากาศ
ของศิษย์การบิน โดยศิษย์การบินจะต้องได้รับการศึกษาวิชาการทางานของระบบต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๒๐ ให้มี
ความรู้และเข้าใจระบบต่าง ๆ ของ บ. ก่อนที่จะทาการฝึกบินภาคอากาศ วิชาที่ทาการศึกษาในขันมัธยมดังต่อไปนี
ชื่อรายวิชา จานวนชั่วโมง
201 Aviation Physiology ๗๐ ชั่วโมง
202 Aviation Physiology ๑๔ ชั่วโมง
203 IFR Flight Environment ๑๔ ชั่วโมง
-๘-

204 Departure ๗ ชั่วโมง


205 Enroute ๗ ชั่วโมง
206 Arrival ๗ ชั่วโมง
207 Approach ๑๔ ชั่วโมง
208 Instrument Approaches ๑๔ ชั่วโมง
209 Meteorology ๑๔ ชั่วโมง
210 IFR Flight Considerations ๗ ชั่วโมง
211 Advanced Systems ๑๔ ชั่วโมง
212 Aerodynamics and Performance Limitations ๑๔ ชั่วโมง
213 Flight Rules and Regulation ๒๘ ชั่วโมง
214 General English ๒๑ ชั่วโมง
216 Aviation Resource Management: ARM ๑๒ ชั่วโมง
217 Exploring the Multi-Engine ๗ ชั่วโมง
218 Understanding your Airplane ๗ ชั่วโมง
219 Discovering Aerodynamics ๗ ชั่วโมง
220 Performing Maneuvers and Procedures ๗ ชั่วโมง
221 Mastering Engine out Operations ๑๔ ชั่วโมง
222 DA - 42 System ๒๘ ชั่วโมง
223 ทบทวนการยังชีพในป่า ในนา และในทะเล ๓ ชั่วโมง
รวม ๓๒๗ ชั่วโมง
๔. เอกสารประกอบหลักสูตร
๔.๑ ขันประถม ประกอบด้วยตาราดังนี
๔.๑.๑ Jeppesen Guided Flight Discovery Private Pilot Manual, Englewood,
Jeppesen Inc.
๔.๑.๒ โรงเรียนการบิน, Aircraft Construction, นครปฐม, กองการศึกษา
๔.๑.๓ โรงเรียนการบิน, Aircraft Power Plants, นครปฐม, กองการศึกษา
๔.๑.๔ Pacific Aerospace Corporation Limited, Aircraft Systems for
Pilots, Hamilton.
๔.๑.๕ โรงเรียนการบิน, Air Law and Rules of the Air, นครปฐม, กองการศึกษา
๔.๑.๖ USAF, Aviation Weather 3rd Edition, Alabama Department of
the Air Force,
๔.๑.๗ โรงเรียนการบิน, CT - 4E Pilot Operating Handbook (POH), นครปฐม,
กองการศึกษา
๔.๑.๘ โรงเรียนการบิน, Flying Safety and Aviation Resource Management,
นครปฐม, กองการศึกษา
๔.๑.๙ โรงเรียนการบิน, Navigation, นครปฐม, กองการศึกษา
๔.๑.๑๐ International Civil Aviation Organization (ICAO), Radio Navigation
Aids, Office of the Secretary General, Geneva
-๙-

๔.๑.๑๑ Radio Telephony and Morse Code, Radio Navigation Aids,


Office of the Secretary General, Geneva
๔.๑.๑๒ โรงเรียนการบิน, Technical English Vocabulary 30 Aviation, นครปฐม,
กองการศึกษา
๔.๒ ขันมัธยม ประกอบด้วยตาราดังนี
๔.๒.๑ Jeppesen, Guided Flight Discovery instrument Commercial Englewood,
Jeppesen Inc.
๔.๒.๒ โรงเรียนการบิน Aviation Resource Management: ARM, นครปฐม,
กองการศึกษา
๔.๒.๓ International Civil Aviation Organization (ICAO), Flight Rules and
Regulations, Office of the Secretary General, Geneva
๔.๒.๔ โรงเรียนการบิน General English, นครปฐม, กองการศึกษา
๔.๒.๕ โรงเรียนการบิน, PC-9 Airplane Flight Manual (AFM), นครปฐม,
กองการศึกษา
๔.๒.๖ โรงเรียนการบิน, The Turbine Pilot's Flight, นครปฐม, กองการศึกษา
๔.๒.๗ Jeppesen, Guide Flight Discovery Multi - Engine Englewood,
Jeppesen Inc.
๔.๒.๘ Diamond Aircraft Industries GMBH, DA-42 Aircraft Flight Manual,
GMBH, Wiener Neustadt
๕. การประเมินค่า ใช้เกณฑ์การวัดผลการศึกษาตามระเบียบ ทอ.ว่าด้วยการฝึก อบรม
ศิษย์การบินโรงเรียนการบิน พ.ศ.๒๕๕๒
๖. ตัวเลข ๓ หลัก มีความหมาย ดังต่อไปนี
ตัวเลขลาดับที่ ๑ 1 หมายถึง ขันประถม
2 หมายถึง ขันมัธยม
ตัวเลข ๒ ลาดับหลัง หมายถึง รหัสวิชา
การฝึกภาคอากาศ
๑. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบินมี ความเข้าใจ และมีทักษะความสามารถในการบิน
ตามมาตรฐานของกองทัพอากาศ
๒. การฝึกภาคอากาศศิษย์การบิน ประกอบด้วยการฝึกภาคอากาศ ๒ ส่วน ดังนี้
๒.๑ การฝึ ก ภาคอากาศขั้ น ประถม เป็ น การฝึ ก บิ น ขั้ น พื้ น ฐานกั บ บ.ฝ.๑๖ ก
เพื่อคัดเลือก ศบ.ที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบิน โดยประเมิ นผลจากความสามารถด้านการบิน ใน ๘
วัฏภาคการบิน ประกอบด้วย การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว (Pre - Solo Contact), การบินด้วย
เครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument), การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง (Intermediate Contact),
การบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation), การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า (Advanced
Instrument), การบินกลางคืน (Night Flying), การบินเดินทาง (Navigation) และการบินเกาะภูมิประเทศขั้น
สุดท้าย (Final Contact) รวมทั้งหมดจานวน ๖๖ เที่ยวบิน ๙๐ ชั่วโมงบิน และศิษย์การบินจะต้องผ่านการฝึกบิน
กับเครื่องฝึกบินจาลอง (Simulator) โดยทาการอบรมภาคทฤษฎี (Academic Module) จานวน ๑๖ ชั่วโมง
และภาคการบิน (Flight Module) จานวน ๑๓ ชั่วโมง
๒.๒ การฝึกภาคอากาศขั้นมัธยม เป็นการฝึกบินขั้นก้าวหน้า โดยทาการบินกับ บ.ที่มี
สมรรถนะสูงเพื่อเพิ่มความรู้ ความสามารถ ในด้านการบินให้กับ ศิษย์การบินและพร้อมที่จะไปประจาการใน
ฝูงบินต่าง ๆ ของกองทัพอากาศ โดยแบ่งศิษย์การบินเป็น ๒ ส่วน ดังนี้
๒.๒.๑ ส่วน บ.ฝ.๑๙ มี ๙ วัฏภาคการบิน ประกอบด้วย การบินเกาะภูมิประเทศ
ก่อนปล่อยเดี่ยว (Pre - Solo Contact), การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument),
การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง (Intermediate Contact), การบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation), การบินด้วย
เครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า (Advanced Instrument), การบินหมู่ ๔ (Four - Ship Formation), การบิน
เดินทาง (Navigation), การบินกลางคืน (Night Flying) และการบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย (Final Contact)
รวมทั้งหมด จานวน ๘๗ เที่ยวบิน ๑๑๐.๑ ชั่วโมงบิน และศิษย์การบินจะต้องทาการฝึกบินกับเครื่องฝึกบินจาลอง
(Simulator) จานวน ๑๖ ชั่ว โมง ในวัฏ ภาคการบินด้ว ยเครื่องวัดประกอบการบิน เพื่อให้เกิดทักษะความ
ชานาญ มีความมั่นใจในการบิน IFR และทาการบินภายใต้ IMC (Instrument Meteorological Condition)
๒.๒.๒ ส่วน บ.ฝ.๒๐ มี ๖ วัฏภาคการบิน ประกอบด้วยการบินเกาะภูมิประเทศ
ก่อนปล่อยเดี่ยว (Pre - Solo), การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument), การบิน
ด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า (Advanced Instrument), การบินเดินทาง (Navigation), การบิน
กลางคืน (Night Flying) และการบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation) รวมทั้งหมด จานวน ๗๐ เที่ยวบิน
๑๑๐.๑ ชั่วโมงบิน
๓. มาตรฐานการฝึก (Training Standard) ระดับความสามารถ (Level of Proficiency) คือ
เกณฑ์ความต้องการที่กาหนดโดยระดับความยากง่ายของวิธีการปฏิบัติในการทาการบิน ซึ่งในแต่ละเที่ยวบิน
ระดับความสามารถ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) จะต้องได้รับการพัฒนาตามเที่ยวบินและ
ชั่วโมงบินที่เพิ่มขึ้นตามมาตรฐานการฝึกศึกษาที่กาหนด
- ๑๑ -

มาตรฐานการฝึก ระดับความสามารถ เกณฑ์พิจารณา


๑. รู้ถึงวิธีการทั่วไปของการปฏิบัติและนาเอาความรู้ ๑ รู้และเข้าใจ
ไปประกอบในการบินได้
๒. มีความคุ้นเคยกับหลักการ เทคนิค วิธีปฏิบัติที่ ๒ ทาได้ภายใต้คาแนะนา
เกี่ยวข้อง และสามารถปฏิบัติหรือใช้อุปกรณ์ได้โดย
ต้องการความช่วยเหลือและแนะนา
๓. มีความเข้าใจโดยตลอดในหลักการ เทคนิคและ ๓ ทาได้ด้วยตนเอง
วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องและสามารถปฏิบัติ หรือใช้ ในเกณฑ์ดีพอใช้
อุปกรณ์ได้โดยอาจจะได้รับคาแนะนาบ้าง
๔. สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมี ๔ ทาได้ด้วยตนเอง
ประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องการความช่วยเหลือและ ในเกณฑ์ดี หรือดีมาก
สามารถนาเอาหลักการ เทคนิค และการปฏิบัติ
ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการบินไปประยุกต์กับ
อุปกรณ์ใหม่ ๆ หรือสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่คล้ายคลึง
กันได้
๔. การประเมินค่าความสามารถในการบิน (Training Evaluation) การประเมินค่าความสามารถ
ในการบินของศิษย์การบินนั้น ครูการบินจะเป็นผู้ทาการประเมินค่าศิษย์การบินของตน หลังเสร็จสิ้นการฝึกบิน
ทุกเที่ยวบิน แบ่งการประเมินค่าความสามารถเป็น ๒ ลักษณะ ดังนี้
๔.๑ การประเมินค่าในแต่ละท่าบิน ครูการบินทาการประเมินค่า แล้วบันทึกคาชี้แจง
ข้อบกพร่องและข้อควรแก้ไขในใบแบบประเมินค่า (Performance Record Slip) โดยยึดถือหลักการประเมินค่า ดังนี้
๔.๑.๑ ไม่สามารถทาได้ (Unable) ให้ค่า U (Unable) เมื่อศิษย์การบินปฏิบัติ
ด้วยความไม่ปลอดภัย มีความรู้ ความสามารถไม่เพียงพอในการปฏิบัติตามลาพัง สามารถปฏิบัติหรือใช้อุปกรณ์ได้
โดยต้องการความช่วยเหลือและคาแนะนาโดยตลอด
๔.๑.๒ พอใช้ (Fair) ให้ค่า F (Fair) เมื่อศิษย์การบินมีความเข้าใจโดยตลอดใน
หลั กการ เทคนิ ค วิธีป ฏิบั ติที่เกี่ย วข้อง สามารถปฏิ บัติห รือใช้อุปกรณ์ได้ภ ายใต้การแนะนา แต่ยังมีความ
คลาดเคลื่อนหรือสิ่งผิดพลาดต่าง ๆ อยู่โดยมีความปลอดภัยอยู่ในขีดจากัด
๔.๑.๓ ดี (Good) ให้ค่า G (Good) เมื่อศิษย์การบินสามารถปฏิบัติได้อย่าง
ถูกต้อง รวดเร็ว โดยไม่ต้องการความช่วยเหลือ การปฏิบัติอยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ ความคลาดเคลื่อนหรือสิ่ง
ผิดพลาดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ศิษย์การบินสามารถแก้ไขได้ด้วยตนเองในเวลาที่เหมาะสม
๔.๑.๔ ดีมาก (Excellent) ให้ค่า E (Excellent) เมื่อศิษย์การบินสามารถปฏิบัติ
ได้ถูกต้อง สมบูรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อผิดพลาดมีเพียงเล็กน้อย ไม่มีผลต่อการปฏิบัติในส่วนรวม และ
สามารถนาเอาหลักการ เทคนิค วิธีการปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ไปประยุกต์ใช้กับท่าบินใหม่ ๆ ที่คล้ายกัน
๔.๒ การประเมินค่ารวมของเที่ยวบิน การประเมินค่าความสามารถรวมในแต่ละเที่ยวบิน
ของศิษย์การบิน ครูการบินจะเป็นผู้ทาการประเมินค่าศิษย์การบินของตน และบันทึกลงในช่องให้ค่ารวมแต่ละ
เที่ยวบินในใบแบบประเมินค่า (Performance Record Slip) โดยพิจารณาจากองค์ประกอบพฤติกรรมการบิน
๓ ประการ คือ
๔.๒.๑ เทคนิคการบิน (Flying Technique : Psychomotor Domain)
- ๑๒ -

๔.๒.๒ ความเป็นนักบิน (Airmanship : Affective Domain)


๔.๒.๓ การเตรียมการและการนาเสนอ (Preparation and Presentation :
Cognitive Domain)
๔.๓ คาแนะนาเกี่ยวกับการประเมินค่า
๔.๓.๑ เมื่ อ ครู ก ารบิ น ได้ พิ จ ารณาให้ ค่ า พฤติ ก รรมการบิ น ซึ่ ง แยกเป็ น ๓
องค์ประกอบเรียบร้อยแล้วการให้ค่ารวมทั้งหมดของแต่ละเที่ยวบินกาหนดให้ถือเกณฑ์ต่าสุดใน ๓ องค์ประกอบ
พฤติกรรมการบิน ซึ่งได้จากการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับความสามารถ (Level of Proficiency) ที่กาหนดไว้
ในข้อ ๓ เป็นค่าของเที่ยวบินนั้น ๆ
๔.๓.๒ การสาธิต (Demonstration) หมายถึง การที่ครูการบินทาท่าทางบิน ให้
ศิษย์การบินดูเป็นตัวอย่าง เพื่อให้ศิษย์การบินเกิดความเชื่อมั่นในการบินหรือเพิ่มประสบการณ์เท่านั้น โดยครู
การบินลงบันทึกคาว่า Demo หรือ NG (No Grade) ลงในใบประเมินค่า
๔.๓.๓ การประเมิ น ค่ า ในบางรายการของแต่ ล ะท่ า อาจเป็ น พอใช้ หรื อ ไม่
สามารถทาได้ ในกรณีที่ศิษย์การบินเริ่มฝึกใหม่ แต่การประเมินค่ารวมของเที่ยวบินอาจเป็น ดี หรือดีมาก ก็ได้
ยกเว้นรายการที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ถ้าศิษย์การบินได้ค่า U (Unable) การประเมินค่ารวมของเที่ย วบิน
โดยส่วนรวมจะต้องเป็น UNSAT (Unsatisfactory) เท่านั้น
๔.๓.๔ ผู้ควบคุมการฝึก เป็นผู้รับผิดชอบตรวจสอบความถูกต้องของการประเมิน
ค่าความสามารถในการบิน พร้อมทั้งรวบรวมและเก็บรักษาใบประเมินค่าไว้เป็นหลักฐานของทางราชการ ต่อไป
๕. คาแนะนาทั่วไป
๕.๑ สัญลักษณ์
สัญลักษณ์ คาเต็ม ความหมาย
C Contact การบินเกาะภูมิประเทศ
D Dual การบินคู่กับครูการบิน
DEMO Demonstration การสาธิตการบิน
F Formation การบินหมู่
G Ground School การอบรมก่อนการบิน
I Instrument การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
M Mutual การบินคู่กับนักบินผู้ช่วย
NAV Navigation การบินเดินทาง
NITE Night Flying การบินกลางคืน
S Solo การบินเดี่ยว
SIM Simulator การบินด้วยเครื่องช่วยฝึกบิน
คาอธิบายเกี่ยวกับสัญลักษณ์ สัญลักษณ์เที่ยวบิน ประกอบด้วยอักษรภาษาอังกฤษตามด้วย
ตัวเลข ๓ ตัว มีความหมาย ดังนี้
๑) อักษรภาษาอังกฤษ หมายถึง ประเภทของภารกิจ
๒) ตัวเลขลาดับแรก หมายถึง การฝึกอบรม ได้แก่
หมายเลข “1” หมายถึง ก่อนปล่อยเดี่ยว ขั้นพื้นฐาน
หมายเลข “2” หมายถึง ขั้นกลาง ขั้นก้าวหน้า
- ๑๓ -

หมายเลข “3” หมายถึง ขั้นสุดท้าย ขั้นต่อเนื่อง


ตัวเลขสองลาดับหลัง หมายถึง ลาดับเที่ยวบิน
ตัวอย่างเช่น C101 หมายถึง การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว เที่ยวบินที่ 1
I204 หมายถึง การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า เที่ยวบินที่ 4
สัญลักษณ์การบิน ประกอบด้วยอักษรภาษาอังกฤษทับด้วยตัวเลขทศนิยม มีความหมายดังนี้
๑) อักษรภาษาอังกฤษ
อักษร “D” หมายถึง การบินคู่กับครูการบิน
อักษร “S” หมายถึง การบินเดี่ยว
อักษร “M” หมายถึง การบินคู่กับนักบินผู้ช่วย
๒) ตัวเลขทศนิยม หมายถึง เวลาบิน
ตัวอย่าง เช่น D/๑.๔ หมายถึง การบินคู่กับครูการบิน ใช้เวลาบิน ๑.๔ ชั่วโมง
๕.๒ คาแนะนาเกี่ยวกับการฝึกภาคอากาศ
๕.๒.๑ ผู้ควบคุมการฝึ ก จะต้องจัดให้ มีการอบรมเกี่ยวกับความมุ่งหมายของ
การฝึก หลักการ วิธีปฏิบัติ รวมทั้งข้อจากัดต่าง ๆ โดยให้ครูการบินชี้แจงทาความเข้าใจกับศิษย์การบินของตน
ก่อนขึ้ นท าการบิ น ทุ ก ครั้ ง และหลั ง จากเสร็ จ สิ้ น การบิ น ในแต่ ล ะวั น ครู ก ารบิน จะท าการวิ จ ารณ์ ห ลั ง บิ น
เพื่อชี้แจงให้เห็นข้อบกพร่อง พร้อมทั้งให้คาแนะนาสาหรับการแก้ไขในเที่ยวบินต่อไป และบันทึกรายละเอียด
ลงในใบแบบประเมินค่า (Performance Record Slip)
๕.๒.๒ การฝึกบินคู่กับครูการบิน (Dual) ให้ศิษย์การบินทาการฝึกขึ้น - ลงใน
วงจรการลงสนามได้ไม่เกิน ๕ ครั้ง/เที่ยวบิน และให้อยู่ในห้วงเวลาการฝึกขึ้น - ลงของ บ.แบบนั้น ๆ ยกเว้น
ได้รับอนุญาตเป็นอย่างอื่นจาก ผบ.กฝบ.รร.การบิน หรือผู้ทาการแทน
๕.๒.๓ ศิ ษ ย์ ก ารบิ น ที่ ท าการบิ น เดี่ ย ว (Solo) จะต้ อ งได้ รั บ การรั บ รองจาก
ครูการบินประจาสายหรือ นตฐ.รร.การบิน โดยให้กาหนดหัวข้อการฝึกบิน พร้อมทั้งลงชื่อรับรองให้ทาการบิน
เดี่ยวได้ในท้ายใบแบบประเมินค่าของเที่ยวบินก่อนถึงเที่ยวบินที่จะทาการบินเดี่ยวทุกครั้ง
๕.๒.๔ ให้ ผู้ ควบคุม การฝึ ก ก าหนดระเบี ย บ และวิ ธีป ฏิ บัติ อื่ น ๆ ที่ ไ ม่ขั ด กั บ
ระเบียบของทางราชการ เพื่อให้การฝึกบินตามหลักสูตรเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
๕.๒.๕ ให้ รร.การบิ น ก าหนดมาตรฐานการฝึ ก บิน เพิ่ มเติม นอกเหนือ จากที่
กาหนดไว้ในหลักสูตรนี้ได้ตามความเหมาะสม
๕.๓ การตรวจสอบผลการฝึกภาคอากาศ
๕.๓.๑ การตรวจสอบผลการฝึ ก ภาคอากาศของศิ ษ ย์ ก ารบิ น ให้ ป ฏิ บั ติ ต าม
ระเบียบกองทัพอากาศ ว่าด้วย การฝึกอบรมศิษย์การบิน โรงเรียนการบิน พ.ศ.๒๕๕๒ และดาเนินการให้ปฏิบัติ
ตามคู่มือการตรวจสอบมาตรฐานการบิน รร.การบิน
๕.๓.๒ การตรวจสอบตามข้อ ๕.๓.๑ ให้กระทาในเที่ยวบินที่กาหนดไว้ในแต่ละ
ประเภทของภารกิจ หากไม่สามารถกระทาได้ด้วยสาเหตุจากอุปสรรคการฝึกบิน เช่น สภาพอากาศ ฯลฯ ให้
เพิ่มเติมเที่ยวบินฝึกทบทวนกับศิษย์การบินอีก ๑ เที่ยวบิน
๕.๓.๓ ศิษย์การบินต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบ
การฝึกภาคอากาศในวันถัดไป (หากมีความจาเป็นสามารถกระทาได้ในวันเดียวกัน) ในทุก ๆ ประเภทของ
ภารกิจ
- ๑๔ -

๕.๓.๔ ศิษย์การบินที่มีพฤติกรรมการบินไม่ก้าวหน้า ตามหลักเกณฑ์ คือได้รับ


การประเมินค่า UNSAT ๒ เที่ยวบินติดต่อกัน หรือไม่สามารถทาการบินเดี่ยวในเที่ยวบินที่กาหนดตามหลักสูตร
หรือมีการกระทาโดยประมาท และ/หรือ ผิดวินัยการบิน จนเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของทางราชการเสียหาย
จะต้องถูกตรวจสอบแบบกะทันหัน (Spot Check) โดย นตฐ.รร.การบิน
๕.๓.๕ เกณฑ์การตรวจสอบ
๕.๓.๕.๑ ศิษ ย์ก ารบิ น จะต้ องมีร ะดับ ความสามารถไม่ ต่ากว่า ระดั บ ที่
กาหนดไว้ในหลักสูตร และต้องมีผลคะแนนการตรวจสอบแต่ละหัวข้อการฝึกบิน ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๗๐
๕.๓.๕.๒ ศิษย์การบินที่ได้รับผลการให้ค่าในรายการที่สาคัญ ที่เกี่ยวข้อง
กับความปลอดภัยเป็น U ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ
๕.๓.๖ การตรวจสอบแก้ตัว (Recheck)
๕.๓.๖.๑ ศิษย์การบินที่ไม่ผ่านการตรวจสอบครั้งแรกในแต่ละประเภท
ของภารกิจทั้งการตรวจสอบปกติและแบบกะทันหัน ให้ตรวจสอบแก้ตัวในวันถัดไป หากมีเหตุอันควรยกเว้น
ไม่สามารถดาเนินการได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้บัญชาการโรงเรียนการบิน โดยให้ศิษย์การบินผู้ที่ต้องทาการ
ตรวจสอบแก้ตัวได้รับการฝึกบินคู่ก่อน แต่ไม่เกิน ๑ เที่ยวบิน ยกเว้นการ ตรวจสอบในการบินเกาะภูมิประเทศ
ก่อนปล่อยเดี่ยว (Pre - Solo Contact) เมื่อไม่ผ่านการตรวจสอบครั้งแรก ให้บินคู่กับครูการบินอีก ๑ เที่ยวบิน
จากนั้นให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวในวันบินถัดไป
๕.๓.๖.๒ ศิษย์การบินที่ไม่ผ่านการตรวจสอบแก้ตัว ให้คณะกรรมการ
คัดเลือกศิษย์การบินออก รร.การบิน พิจารณาคัดออกจากสภาวะความเป็นศิษย์การบิน
คาแนะน า การฝึก ภาคอากาศศิษ ย์ก ารบิน สามารถทาการปรับ ปรุง พัฒ นาให้มีค วาม
เหมาะสมสอดคล้องกับ ภารกิจความต้องการของกองทัพอากาศ และวิทยาการความก้าวหน้าทางด้านการบิน
ในอนาคต
- ๑๕ -

การฝึกภาคอากาศขั้นประถม ในส่วนของ บ.ฝ.๑๖ ก


วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบินมีความเข้าใจและมีทักษะด้านการบิน พื้นฐาน สามารถผ่าน
การบินตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ทกี่ องทัพอากาศกาหนด โดยวิธีประเมินผลจากการฝึกบินภาคอากาศตาม
ระยะเวลาการฝึกบินทีก่ าหนด การฝึกบินประกอบด้วย
๑. การเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
๑.๑ การบรรยาย จานวน ๑๐ ชั่วโมง
๑.๒ การปฏิบัติ จานวน ๔ ชั่วโมง
๑.๓ การทดสอบ จานวน ๒ ชั่วโมง
รวม ๑๖ ชั่วโมง
๒. การบินด้วยเครื่องฝึกบินจาลองสาหรับศิษย์การบิน
๒.๑ ภาคทฤษฎี จานวน ๑๖ ชั่วโมง
๒.๒ ภาคการบิน จานวน ๑๓ ชั่วโมง
๓. การฝึกภาคอากาศ ประกอบด้วย
๓.๑ การบินคู่กับครูการบิน (Dual) ๓๖ เที่ยวบิน ๔๙.๗ ชั่วโมง
๓.๒ การบินเดี่ยว (Solo) ๖ เที่ยวบิน ๖.๗ ชั่วโมง
๓.๓ การบินคู่กับนักบินผู้ช่วย (Mutual) ๒๔ เที่ยวบิน ๓๓.๖ ชั่วโมง
รวม ๖๖ เที่ยวบิน ๙๐.๐ ชั่วโมง
๑. การเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบินมีความเข้าใจ วิธีการปฏิบัติการบินกับ บ.ฝ.๑๖ ก และ
พร้อมที่จะนาไปประยุกต์ใช้ เมื่อทาการฝึกภาคอากาศได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู้ควบคุมการฝึกเป็นผู้จัดดาเนินการศึกษา เช่น การออกตารางการศึกษา ประสานกับ
ผู้เกี่ยวข้อง การเตรียมสถานที่ และสามารถเพิ่มเติมรายละเอียดการฝึกอบรมได้ตามความเหมาะสม
๒. ศิษย์การบินทุกคน จะได้รับการศึกษาและฝึกให้มีความคุ้นเคยการปฏิบัติที่พื้นกับ
บ.ฝ.๑๖ ก ในหัวข้อการอบรมการทาความคุ้นเคยกับเครื่องบิน (G07) โดยครูการบินประจาสายเป็นผู้สาธิตและ
ควบคุมการปฏิบัติ (ไม่มีการตรวจสอบ)
๓. ศิษย์การบิน จะต้องมีผลคะแนนการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ดังนี้
๓.๑ การปฏิบัติตามขั้นตอนฉุกเฉินในหัวข้อสาคัญ (Emergency Boldface) ต้องได้
คะแนนเต็ม
๓.๒ การตรวจสอบตาแหน่งของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องนักบิน (Blindfold Cockpit
Check) ต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๙๕
๓.๓ ความรู้เกี่ยวกับการบิน และระเบียบปฏิบัติทั่วไปเกี่ยวกับการบิน ต้องได้คะแนน
ไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๘๕
๔. ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ตามเกณฑ์
ในข้อ ๓ ให้ส อบแก้ตัว ได้อีก ๑ ครั้ง ถ้าไม่ผ่ านให้ ส่งรายชื่อให้คณะกรรมการคัดออกจากสภาวะความเป็น
ศิษย์การบิน
- ๑๖ -

หัวข้อการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
สัญลักษณ์ รายละเอียดการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน จานวนชั่วโมง
G 01 ปฐมนิเทศ ๑.๐
๑. สรุปการฝึกภาคอากาศศิษย์การบินขั้นประถม
๒. วิธีการฝึกบินและการตรวจสอบผลการฝึกบิน
G 02 ระเบียบปฏิบัติในการบิน ๒.๐
๑. ระเบียบโรงเรียนการบิน ว่าด้วย สนามบินกาแพงแสน
๒. ระเบียบปฏิบัติประจาที่เกี่ยวข้องกับการบิน
G 03 เครื่องมือเครื่องใช้ประจาตัวนักบิน ๑.๐
๑. อุปกรณ์ประจาตัวนักบินและชุดยังชีพในป่า
๒. วิธีการใช้งาน การตรวจสอบ และการระวังรักษา
G 04 การปฏิบัติตามขั้นตอนปกติ (Normal Procedure) ๒.๐
๑. รายการตรวจปกติ ตามคู่มือการบิน
๒. วิธีปฏิบัติตามรายการตรวจสอบปกติ
G 05 การปฏิบัติตามขั้นตอนฉุกเฉิน (Emergency Procedure) ๒.๐
๑. การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
๒. รายการตรวจสอบฉุกเฉินตามคู่มือการบิน
๓. วิธีการปฏิบัติตามรายการตรวจสอบฉุกเฉิน
๔. แนวทางการกู้ภัยและการเตรียมตัวรับการช่วยเหลือ
G 06 นิรภัยการบิน ๒.๐
๑. ระเบียบและกฎข้อบังคับเพื่อความปลอดภัยขณะปฏิบัติการบิน
๒. พื้นที่พึงระวัง พื้นที่ห้ามเข้า และพื้นที่อันตรายบริเวณพื้นที่การฝึก
๓. สนามบินสารองในบริเวณใกล้เคียง
G 07 การทาความคุ้นเคยกับเครื่องบิน ๔.๐
๑. หลักการบังคับเครื่องบิน
๒. เครื่องวัดประกอบการบิน
๓. การใช้รายการตรวจสอบตามคู่มือการบิน
๔. การติด ย., การขับเคลื่อน, การตรวจสอบก่อนการวิ่งขึ้น และการดับ ย.
G 08 การประเมินผลการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ๒.๐
๑. การตรวจสอบความรู้เกี่ยวกับคู่มือการบิน และ รปป.ทั่วไป
๒. การตรวจสอบรายการปฏิบัติ
๒.๑ Emergency Boldface
๒.๒ Blindfold Cockpit Check
รวม ๑๖.๐

Ground School: G คือ การอบรมก่อนการบิน


- ๑๗ -

๒. การบินด้วยเครื่องฝึกบินจาลองสาหรับศิษย์การบินขั้นประถม
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ศิษย์การบิน มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายใน
ห้องนักบินของ บ.ฝ.๑๖ ก สามารถฝึกปฏิบัติขั้นตอนการบินเบื้องต้นโดยไม่ใช้อากาศยานจริงได้อย่างถูกต้อง
ชื่อรายวิชาภาคทฤษฎี จานวนชั่วโมง
๑. Basic Module
๑.๑ System Operations ๑
๑.๒ Instrument Flying ๑
๒. Advanced Module
๒.๑ Departure ๒
๒.๒ Enroute ๓
๒.๓ Arrival ๒
๒.๔ Approach ๓
๒.๕ Instrument Approaches ๔
รวม ๑๖
ชื่อรายวิชาภาคการบิน จานวนชั่วโมง
(Dual/Solo/Mutual)
๑. Basic Flight Module
Attitude Instrument Flying ๓
๒. Advanced Flight Module
๒.๑ Nonprecision Approach
๒.๑.๑ ADF Approach ๓
๒.๑.๒ VOR Approach ๓
๒.๑.๓ Precision Approach ILS Approach ๓
๓. ภาคการตรวจสอบ (Flight Evaluation)
ADF Approach or VOR Approach ๑
รวม ๑๓

ลาดับ วัฏภาค บินคู่กับ คบ. บินเดี่ยว บินคู่ รวม


เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม.
๑. การบินกับเครื่องช่วยฝึกบิน
(Simulator/Flight Training ๕ ๕ ๕ ๕ ๓ ๓ ๑๓ ๑๓
Device)
หมายเหตุ : ฝึกบินใน Basic Instrument ๓ เที่ยว และ Advanced Instrument ๑๐ เที่ยว
- ๑๘ -

๓. การฝึกภาคอากาศ
วัตถุประสงค์ เพื่อฝึกบินขัน้ พื้นฐานกับ บ.ฝึกขั้นต้น ให้ศิษย์การบินมีความรู้ เข้าใจและมี
ทักษะด้านการบินพร้อมที่จะทาการบินในขั้นมัธยมต่อไป
ลาดับ วัฏภาค บินคู่กับ คบ. บินเดี่ยว บินคู่ รวม
เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม.
๓.๑ การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว ๙ ๑๒.๖ ๑ ๐.๔ ๑ ๑.๐ ๑๑ ๑๔.๐
(Pre - Solo Contact)
๓.๒ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
๔ ๕.๒ - - ๔ ๕.๒ ๘ ๑๐.๔
ขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument)
๓.๓ การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง ๓ ๔.๒ ๑ ๑.๒ ๓ ๔.๒ ๗ ๙.๖
(Intermediate Contact)
๓.๔ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
๓ ๔.๒ - - ๔ ๕.๕ ๗ ๙.๗
ขั้นก้าวหน้า (Advanced Instrument)
๓.๕ การบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation) ๗ ๑๐.๕ ๑ ๑.๕ ๕ ๗.๕ ๑๓ ๑๙.๕
๓.๖ การบินเดินทาง (Navigation) ๕ ๖.๘ ๑ ๑.๒ ๔ ๖.๐ ๑๐ ๑๔.๐
๓.๗ การบินกลางคืน (Night Flying) ๒ ๒.๐ - - - - ๒ ๒.๐
๓.๘ การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย ๓ ๔.๒ ๒ ๒.๔ ๓ ๔.๒ ๘ ๑๐.๘
(Final Contact)
รวม ๓๖ ๔๙.๗ ๖ ๖.๗ ๒๔ ๓๓.๖ ๖๖ ๙๐.๐

การฝึกบินจัดแบ่งออกเป็น ๘ ประเภทของภารกิจ ดังนี้


๑. การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว (Pre - Solo Contact) ๑๐ เที่ยวบิน ๑๔.๐ ชั่วโมงบิน
๒. การบิน ด้ว ยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument) ๘ เที่ยวบิน
๑๐.๔ ชั่วโมงบิน
๓. การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง (Intermediate Contact) ๗ เที่ยวบิน ๙.๖ ชั่วโมงบิน
๔. การบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation) ๑๓ เที่ยวบิน ๑๙.๕ ชั่วโมงบิน
๕. การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า (Advanced Instrument) ๗ เที่ยวบิน
๙.๗ ชั่วโมงบิน
๖. การบินเดินทาง (Navigation) ๑๐ เที่ยวบิน ๑๔.๐ ชั่วโมงบิน
๗. การบินกลางคืน (Night Flying) ๒ เที่ยวบิน ๒.๐ ชั่วโมงบิน
๘. การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย (Final Contact) ๘ เที่ยวบิน ๑๐.๘ ชั่วโมงบิน

รายละเอียดตามผนวก ข
- ๑๙ -

การฝึกภาคอากาศขั้นมัธยม ในส่วนของ บ.ฝ.๑๙


วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบินมีความเข้าใจและมีทักษะการบินขั้นก้าวหน้า สามารถผ่าน
การตรวจสอบมาตรฐานการบิน ตามเกณฑ์ที่ก องทัพ อากาศกาหนด โดยวิธีป ระเมินผลจากการฝึกบินภาค
อากาศ ตามระยะเวลาการฝึกอบรมที่กาหนด
๑. การเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
๑.๑ การบรรยาย จานวน ๑๐ ชั่วโมง
๑.๒ การปฏิบัติ จานวน ๔ ชั่วโมง
๑.๓ การทดสอบ จานวน ๒ ชัว่ โมง
รวม ๑๖ ชัว่ โมง
๒. การบินด้วยเครื่องฝึกบินจาลองสาหรับศิษย์การบิน
๒.๑ ภาคทฤษฎี จานวน ๑๖ ชั่วโมง
๒.๒ ภาคการบิน จานวน ๑๖ ชั่วโมง
๓. การฝึกภาคอากาศ ประกอบด้วย
๓.๑ การบินคู่กับครูการบิน (Dual) ๓๙ เที่ยวบิน ๕๐.๓ ชั่วโมง
๓.๒ การบินเดี่ยว (Solo) ๖ เที่ยวบิน ๗.๖ ชั่วโมง
๓.๓ การบินคู่กับนักบินผู้ช่วย (Mutual) ๔๒ เที่ยวบิน ๕๒.๑ ชัว่ โมง
รวม ๘๗ เที่ยวบิน ๑๐.๑ ชัว่ โมง
๑. การเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบิน มีความเข้าใจวิธีการปฏิบัติการบินกับ บ.ฝ.๑๙ และ
พร้อมที่จะนาไปประยุกต์ใช้ เมื่อทาการฝึกภาคอากาศได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู้ควบคุมการฝึก เป็นผู้จัดดาเนินการศึกษา เช่น การออกตารางการศึกษา ประสาน
ผู้เกี่ยวข้อง การเตรียมสถานที่ และสามารถเพิ่มเติมรายละเอียดการศึกษาได้ตามความเหมาะสม
๒. ศิษย์การบินทุกคน จะได้รับการศึกษาและฝึกให้มีความคุ้นเคย การปฏิบัติที่พื้นกับ
บ.ฝ.๑๙ ในหัวข้อการอบรมทาความคุ้นเคยกับเครื่องบิน (G07) โดยครูการบินประจาสายเป็นผู้สาธิตและควบคุมการ
ปฏิบัติ (ไม่มีการตรวจสอบ)
๓. ศิษย์การบิน ทุกคน จะต้องมีผลคะแนนการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ดังนี้
๓.๑ การปฏิบัติตามขั้นตอนฉุกเฉินในหัวข้อสาคัญ (Emergency Boldface) ต้องได้
คะแนนเต็ม
๓.๒ การตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องนักบิน โดยฉับพลัน (Blindfold Cockpit
Check) ต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๙๕
๓.๓ ความรู้เกี่ยวกับคู่มือการบิน และระเบียบปฏิบัติทั่วไปเกี่ยวกับการบิน ต้องได้
คะแนนไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๘๕
๔. ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ตามเกณฑ์
ในข้อ ๓ ให้สอบแก้ตัวได้อีก ๑ ครั้ง ถ้าไม่ผ่านให้คัดออกจากสภาวะความเป็นศิษย์การบิน
- ๒๐ -

หัวข้อการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
สัญลักษณ์ รายละเอียดการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน จานวนชั่วโมง
G 01 ปฐมนิเทศ ๑.๐
๑. สรุปการฝึกภาคอากาศศิษย์การบินขั้นมัธยม
๒. วิธีการฝึกบินและการตรวจสอบผลการฝึกบิน
G 02 ระเบียบปฏิบัติในการบิน ๒.๐
๑. ระเบียบโรงเรียนการบิน ว่าด้วย สนามบินกาแพงแสน
๒. ระเบียบปฏิบัติประจาที่เกี่ยวข้องกับการบิน
G 03 เครื่องมือเครื่องใช้ประจาตัวนักบิน ๑.๐
๑. อุปกรณ์ประจาตัวนักบินและชุดยังชีพในป่า
๒. วิธีการใช้งาน การตรวจสอบ และการระวังรักษา
G 04 การปฏิบัติตามขั้นตอนปกติ (Normal Procedure) ๒.๐
๑. รายการตรวจปกติ ตามคู่มือการบิน
๒. วิธีปฏิบัติตามรายการตรวจสอบปกติ
G 05 การปฏิบัติตามขั้นตอนฉุกเฉิน (Emergency Procedure) ๒.๐
๑. การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
๒. รายการตรวจสอบฉุกเฉินตามคู่มือการบิน
๓. วิธีการปฏิบัติตามรายการตรวจสอบฉุกเฉิน
๔. แนวทางการกู้ภัยและการเตรียมตัวรับการช่วยเหลือ
G 06 นิรภัยการบิน ๒.๐
๑. ระเบียบและกฎข้อบังคับเพื่อความปลอดภัยขณะปฏิบัติการบิน
๒. พื้นที่พึงระวัง พื้นที่ห้ามเข้า และพื้นที่อันตรายบริเวณพื้นที่การฝึก
๓. สนามบินสารองในบริเวณใกล้เคียง
G 07 การทาความคุ้นเคยกับเครื่องบิน ๔.๐
๑. หลักการบังคับเครื่องบิน
๒. เครื่องวัดประกอบการบิน
๓. การใช้รายการตรวจสอบตามคู่มือการบิน
๔. การติด ย., การขับเคลื่อน, การตรวจสอบก่อนการวิ่งขึ้นและการดับ ย.
G 08 การประเมินผลการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ๒.๐
๑. การตรวจสอบความรู้เกี่ยวกับคู่มือการบิน และ รปป.ทั่วไป
๒. การตรวจสอบรายการปฏิบัติ
๒.๑ Emergency Boldface
๒.๒ Blindfold Cockpit Check
รวม ๑๖.๐

Ground School: G คือ การอบรมก่อนการบิน


- ๒๑ -

๒. การบินด้วยเครื่องฝึกบินจาลองสาหรับศิษย์การบินขั้นมัธยม
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ศิษย์การบิน มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายใน
ห้องนักบินของ บ.ฝ.๑๙ สามารถฝึกปฏิบัติขั้นตอนการบินเบื้องต้นโดยไม่ใช้อากาศยานจริงได้อย่างถูกต้อง
ชื่อรายวิชาภาคทฤษฎี จานวนชั่วโมง
๑. Basic Module
๑.๑ System Operations ๑
๑.๒ Instrument Flying ๑
๒. Advanced Module
๒.๑ Departure ๒
๒.๒ Enroute ๓
๒.๓ Arrival ๒
๒.๔ Approach ๓
๒.๕ Instrument Approaches ๔
รวม ๑๖
ชื่อรายวิชาภาคการบิน จานวนชั่วโมง
(Dual / Solo / Mutual)
๑. Basic Flight Module
๑.๑ Altitude Instrument Flying ๔
๑.๒ Low Altitude Approach ๔
๑.๒.๑ Non Precision Approach
๑.๒.๑.๑ ADF Approach
๑.๒.๑.๒ VOR Approach
๑.๒.๑.๓ Tacan Approach
๒. Advanced Flight Module ๗
๒.๑ Low Altitude Approach
Precision Approach ILS Approach
๒.๒ High Altitude Approach
๒.๒.๑ High VOR Approach
๒.๒.๒ High Tacan Approach
๓. ภาคการตรวจสอบ (Flight Evaluation)
ILS, Low / High Tacan Approach ๑
รวม ๑๖
บินคู่กับ คบ. บินเดี่ยว บินคู่ รวม
ลาดับ วัฏภาค เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม.
๑. การบินกับเครื่องช่วยฝึกบิน
(Simulator / Flight Training - - ๑๖ ๑๖ - - ๑๖ ๑๖
Device)
หมายเหตุ : ฝึกบินใน Basic Instrument ๘ เที่ยว และ Advanced Instrument ๘ เที่ยว
- ๒๒ -

๓. การฝึกภาคอากาศ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบินมีความเข้าใจและมีทักษะการบิน ขั้นก้าวหน้ากับ บ.ที่มี
สมรรถนะสูงขึ้นและพร้อมที่จะปฏิบัติการบินในฝูงบินต่าง ๆ ของกองทัพอากาศต่อไป
บินคู่กับ คบ. บินเดี่ยว บินคู่ รวม
ลาดับ วัฏภาค เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม.
๓.๑ การบินเกาะภูมปิ ระเทศก่อนปล่อยเดี่ยว ๗ ๙.๑ - - ๓ ๓.๙ ๑๐ ๑๓.๐
(Pre - Solo Contact)
๓.๒ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
๖ ๘.๔ - - ๔ ๕.๖ ๑๐ ๑๔.๐
ขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument)
๓.๓ การบินเกาะภูมปิ ระเทศขั้นกลาง ๔ ๕.๒ ๒ ๒.๔ ๓ ๓.๙ ๙ ๑๑.๕
(Intermediate Contact)
๓.๔ การบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation) ๘ ๑๐.๒ ๑ ๑.๓ ๓ ๓.๙ ๑๒ ๑๕.๔
๓.๕ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
๔ ๕.๖ - - ๕ ๗.๐ ๙ ๑๒.๖
ขั้นก้าวหน้า (Advanced Instrument)
๓.๖ การบินหมู่ ๔ (Four - Ship Formation) ๓ ๓.๙ ๑ ๑.๓ ๕ ๖.๕ ๙ ๑๑.๗
๓.๗ การบินกลางคืน (Night Flying) ๒ ๒.๐ - - ๒ ๒.๐ ๔ ๔.๐
๓.๘ การบินเดินทาง (Navigation) ๒ ๒.๐ - - ๑๒ ๑๒.๘ ๑๔ ๑๔.๘
๓.๙ การบินเกาะภูมปิ ระเทศขั้นสุดท้าย ๓ ๓.๙ ๒ ๒.๖ ๕ ๖.๕ ๑๐ ๑๓.๐
(Final Contact)
รวม ๓๙ ๕๐.๓ ๖ ๗.๖ ๔๒ ๕๒.๑ ๘๗ ๑๑๐.๑

การฝึกจัดแบ่งออกเป็น ๙ ประเภทของภารกิจ ดังนี้


๑. การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว (Pre – Solo Contact) ระยะเวลาฝึกบิน
๑๐ เที่ยวบิน ๑๓.๐ ชั่วโมงบิน
๒. การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument) ระยะเวลาฝึกบิน
๑๐ เที่ยวบิน ๑๔.๐ ชั่วโมงบิน
๓. การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง (Intermediate Contact) ระยะเวลาฝึกบิน ๙ เที่ยวบิน
๑๑.๕ ชั่วโมงบิน
๔. การบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation) ระยะเวลาฝึกบิน ๑๒ เที่ยวบิน ๑๕.๔ ชั่วโมงบิน
๕. การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า (Advanced Instrument) ระยะเวลา
ฝึกบิน ๙ เที่ยวบิน ๑๒.๖ ชั่วโมงบิน
๖. การบินหมู่ ๔ (Four - Ship Formation) ระยะเวลาฝึกบิน ๙ เที่ยวบิน ๑๑.๗ ชั่วโมงบิน
๗. การบินกลางคืน (Night Flying) ระยะเวลาฝึกบิน ๔ เที่ยวบิน ๔.๐ ชั่วโมงบิน
๘. การบินเดินทาง (Navigation) ระยะเวลาฝึกบิน ๑๔ เที่ยวบิน ๑๔.๘ ชั่วโมงบิน
๙. การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย (Final Contact) ระยะเวลาฝึกบิน ๑๐ เที่ยวบิน
๑๓.๐ ชั่วโมงบิน

รายละเอียดตามผนวก ข
- ๒๓ -

การฝึกภาคอากาศขั้นมัธยม ในส่วนของ บ.ฝ.๒๐


วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบินมีความเข้าใจและทักษะการบินขั้นก้าวหน้า สามารถผ่านการ
ตรวจสอบมาตรฐานการบินตามเกณฑ์ที่กองทัพอากาศกาหนด โดยวิธีประเมินผลจากการฝึกบินภาคอากาศ
ตามระยะเวลาการฝึก บินที่กาหนด
๑. การเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
๑.๑ การบรรยาย จานวน ๙ ชั่วโมง
๑.๒ การปฏิบัติ จานวน ๔ ชั่วโมง
๑.๓ การทดสอบ จานวน ๒ ชั่วโมง
รวม ๑๕ ชั่วโมง
๒. การฝึกภาคอากาศ ประกอบด้วย
๒.๑ การบินคู่กับครูการบิน (Dual) ๔๐ เที่ยวบิน ๖๑.๒ ชั่วโมง
๒.๒ การบินเดี่ยว (Solo) ๑ เที่ยวบิน ๐.๘ ชั่วโมง
๒.๓ การบินคู่กับนักบินผู้ช่วย (Mutual) ๓๑ เที่ยวบิน ๔๘.๐ ชั่วโมง
รวม ๗๒ เที่ยวบิน ๑๑๐.๐ ชั่วโมง
๑. การเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบิน มีความรู้ความเข้าใจวิธีการปฏิบัติการบินกับ บ.ฝ.๒๐
และพร้อมที่จะนาไปประยุกต์ใช้ เมื่อทาการฝึกภาคอากาศได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู้ควบคุมการฝึก เป็นผู้จัดดาเนิน การศึกษา เช่น การออกตารางการศึกษา ประสาน
ผู้เกี่ยวข้อง การเตรียมสถานที่ และสามารถเพิ่มเติมรายละเอียดการศึกษาได้ตามความเหมาะสม
๒. ศิษย์ การบิ นทุกคน จะได้รั บการศึ กษาและฝึ กให้ มีความคุ้นเคย การปฏิบั ติที่ พื้นกั บ
บ.ฝ.๒๐ ในหัวข้อการอบรมทาความคุ้นเคยกับเครื่องบิน (G06) โดยครูการบินประจาสายเป็นผู้สาธิต และควบคุมการ
ปฏิบัติ (ไม่มีการตรวจสอบ)
๓. ศิษย์การบินทุกคน จะต้องมีผลคะแนนการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ดังนี้
๓.๑ การปฏิบัติตามขั้นตอนฉุกเฉินในหัวข้อสาคัญ (Emergency Boldface) ต้องได้
คะแนนเต็ม
๓.๒ การตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องนักบิน โดยฉับพลัน (Blindfold Cockpit
Check) ต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๙๕
๓.๓ ความรู้เกี่ยวกับคู่มือการบิน และระเบียบปฏิบัติทั่วไปเกี่ยวกับการบิน ต้องได้
คะแนนไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๘๕
๔. ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ตามเกณฑ์
ในข้อ ๓ ให้สอบแก้ตัวได้อีก ๑ ครั้ง ถ้าไม่ผ่านให้คัดออกจากสภาวะความเป็นศิษย์การบิน
- ๒๔ -

หัวข้อการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน
สัญลักษณ์ รายละเอียดการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน จานวนชั่วโมง
G 01 ปฐมนิเทศ ๑.๐
๑. สรุปการฝึกภาคอากาศศิษย์การบินขั้นมัธยม
๒. วิธีการฝึกบินและการตรวจสอบผลการฝึกบิน
G 02 ระเบียบปฏิบัติในการบิน ๒.๐
๑. ระเบียบโรงเรียนการบิน ว่าด้วย สนามบินกาแพงแสน
๒. ระเบียบปฏิบัติประจาที่เกี่ยวข้องกับการบิน
G 03 การปฏิบัติตามขั้นตอนปกติ (Normal Procedure) ๒.๐
๑. รายการตรวจปกติ ตามคู่มือการบิน
๒. วิธีปฏิบัติตามรายการตรวจสอบปกติ
G 04 การปฏิบัติตามขั้นตอนฉุกเฉิน (Emergency Procedure) ๒.๐
๑. การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
๒. รายการตรวจสอบฉุกเฉินตามคู่มือการบิน
๓. วิธีการปฏิบัติตามรายการตรวจสอบฉุกเฉิน
๔. แนวทางการกู้ภัยและการเตรียมตัวรับการช่วยเหลือ
G 05 นิรภัยการบิน ๒.๐
๑. ระเบียบและกฎข้อบังคับเพื่อความปลอดภัยขณะปฏิบัติการบิน
๒. พื้นที่พึงระวัง พื้นที่ห้ามเข้า และพื้นที่อันตรายบริเวณพื้นที่การฝึก
๓. สนามบินสารองในบริเวณใกล้เคียง
G 06 การทาความคุ้นเคยกับเครื่องบิน ๔.๐
๑. หลักการบังคับเครื่องบิน
๒. เครื่องวัดประกอบการบิน
๓. การใช้รายการตรวจสอบตามคู่มือการบิน
๔. การติด ย., การขับเคลื่อน, การตรวจสอบก่อนการวิ่งขึ้นและการดับ ย.
G 07 การประเมินผลการเตรียมความพร้อมก่อนทาการบิน ๒.๐
๑. การตรวจสอบความรู้เกี่ยวกับคู่มือการบิน และ รปป.ทั่วไป
๒. การตรวจสอบรายการปฏิบัติ
๒.๑ Emergency Boldface
๒.๒ Blindfold Cockpit Check
รวม ๑๕.๐

Ground School: G คือ การอบรมก่อนการบิน


- ๒๕ -

๒. การฝึกภาคอากาศ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบินมีความเข้าใจและมีทักษะการบินขั้นก้าวหน้ากับ บ.ที่มี
สมรรถนะสูงขึ้น และพร้อมที่จะปฏิบัติการบินในฝูงบินต่าง ๆ ของกองทัพอากาศต่อไป
บินคู่กับ คบ. บินเดี่ยว บินคู่ รวม
ลาดับ วัฏภาค เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม. เที่ยวบิน ชม.
๓.๑ การบินเกาะภูมปิ ระเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
๑๐ ๑๕ ๑ ๐.๘ - - ๑๑ ๑๕.๘
(Pre - Solo)
๓.๒ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
๕ - - ๕ ๗.๕ ๑๐ ๑๕
ขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument) ๗.๕
๓.๓ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
๕ ๗.๕ - - ๕ ๗.๕ ๑๐ ๑๕
ขั้นก้าวหน้า (Advanced Instrument)
๓.๔ การบินเดินทาง (Navigation) ๙ ๑๔.๔ - - ๑๔ ๒๒.๔ ๒๓ ๓๖.๘
๓.๕ การบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation) ๘ ๑๒ - - ๖ ๙ ๑๔ ๒๑
๓.๖ การบินกลางคืน (Night Flying) ๓ ๔.๘ - - ๑ ๑.๖ ๔ ๖.๔
รวม ๔๐ ๖๑.๒ ๑ ๐.๘ ๓๑ ๔๘.๐ ๗๒ ๑๑๐
การฝึกจัดแบ่งออกเป็น ๖ ประเภทของภารกิจ ดังนี้
๑. การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว (Pre - Solo) ระยะเวลาฝึกบิน ๑๑ เที่ยวบิน
๑๕.๘ ชั่วโมงบิน
๒. การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน (Basic Instrument) ระยะเวลาฝึกบิน
๑๐ เที่ยวบิน ๑๕ ชั่วโมงบิน
๓. การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า (Advanced Instrument) ระยะเวลา
ฝึกบิน ๑๐ เที่ยวบิน ๑๕ ชั่วโมงบิน
๔. การบินเดินทาง (Navigation) ระยะเวลาฝึกบิน ๒๓ เที่ยวบิน ๓๖.๘ ชั่วโมงบิน
๕. การบินหมู่ ๒ (Two - Ship Formation) ระยะเวลาฝึกบิน ๑๔ เที่ยวบิน ๒๑ ชั่วโมงบิน
๖. การบินกลางคืน (Night Flying) ระยะเวลาฝึกบิน ๔ เที่ยวบิน ๖.๔ ชั่วโมงบิน

รายละเอียดตามผนวก ข
การเสริมสร้างภาวะผู้นาและความเป็นทหารอากาศ
๑. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษา
๑.๑ มีความเข้าใจในระบบการฝึกบินของ รร.การบิน และนาความรู้เรื่องการบริหาร
ทรัพยากรการบิน นิรภัยการบิน ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบินได้อย่างถูกต้อง
๑.๒ ฝึ ก อบรมพื้ น ฐานด้ า นสมาธิ สามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ
การศึกษาภาควิชาการและการฝึกภาคอากาศต่อไป
๑.๓ มีความเข้าใจเรื่อง หลักนิยมกองทัพอากาศ การรบร่วม ตลอดจนแนวคิดในการใช้
กาลังทางอากาศ เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานที่จะนาไปปฏิบัติงานให้กับกองทัพอากาศต่อไป
๑.๔ มีความเข้าใจเรื่อง ค่านิยมหลักของกองทัพอากาศ (Royal Thai Air Force Core
Values) สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการในกองทัพอากาศต่อไป
๑.๕ มีจิตสานึก “จิตอาสา” โดยการมุ่งมั่นพัฒนาตนเองให้ปฏิบัติหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์
โดยใช้อ านาจหน้ า ที่ที่ ได้ รั บ มอบหมายในฐานะเป็น เครื่อ งมื อ ในการอุ ทิศ ตนเพื่อ การรั บใช้ สั ง คมและผู้ อื่ น
ตามแนวพระราชดาริฯ
๒. หัวข้อการศึกษา/เวลาการศึกษา/จานวนชั่วโมง

ชั่วโมงศึกษา
หัวข้อการศึกษา ปฏิบัติ หน่วยกิต หมายเหตุ
บรรยาย สัมมนา รวม
ในหน่วย นอกหน่วย
๒.๑ ทักษะมนุษย์ปัจจัยเพื่อการพัฒนา ๑๒ ๖ - - ๑๘ - ระยะเวลา
คุณภาพในการฝึกศิษย์การบิน ดาเนินการ
อบรมปีละ
๒ ครั้ง ครั้ง
ละ ๓ วัน
๒.๒ การเสริมสร้างคุณธรรมและ
จริยธรรม
- ธรรมมะและปรับพื้นฐานด้านสมาธิ ๑๒ - - ๑๖ ๒๘ -

๒.๓ หลักนิยมกองทัพอากาศและการ
๕๘ - - - ๕๘ -
รบร่วม
๒.๓.๑ หลักนิยมกองทัพอากาศ
๒๐ - - - ๒๐ -
๒.๓.๒ การรบร่วม
๒๐ - - - ๒๐ -
๒.๓.๓ การบริหารทรัพยากร
๑๘ - - - ๑๘ -
การบิน
- ๒๗ -

ชั่วโมงศึกษา
หัวข้อการศึกษา ปฏิบัติ หน่วยกิต หมายเหตุ
บรรยาย สัมมนา รวม
ในหน่วย นอกหน่วย
๒.๔ ค่านิยมหลักของกองทัพอากาศ ๖ - - - ๖ -
๒.๕ ปลูกจิตสานึก “จิตอาสา” - - - ๒๔ ๒๔ -
๒.๕.๑ การแนะแนวการศึกษา - - - ๔ ๔ -
๒.๕.๒ ปฏิบัติการกิจการพลเรือน - - - ๘ ๘ -
๒.๕.๓ กิจกรรมจิตอาสา - - - ๑๒ ๑๒ -
รวม ๘๘ ๖ - ๔๐ ๑๓๔ -

กิจกรรม
๑. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ศิษย์การบินปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับในขณะเข้ารับการ
ฝึกศึกษาได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งมีประสบการณ์จากการศึกษาดูงานนอกหน่วย สามารถประยุกต์ใช้กับการ
ปฏิบัติหน้าที่นักบินประจากองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. หัวข้อการศึกษา/เวลาการศึกษา/จานวนชั่วโมง

ชั่วโมงศึกษา หมายเหตุ
หัวข้อการศึกษา บรรยาย สัมมนา ปฏิบัติ รวม
ในหน่วย นอกหน่วย
๑.๑ พิธีเปิด – ปิด - - ๘ - - - พิธีเปิด ๒ ชั่วโมง
- พิธีปิด ๒ ชั่วโมง
- พิธีประดับ
เครื่องหมาย
ความสามารถด้าน
การบินขั้นมัธยม
(Half Wing Half
Way) ๔ ชั่วโมง
๑.๒ ปฐมนิเทศ ๓ - - - -
๑.๓ เวลาของผู้บังคับบัญชา ๒ - - - -
๑.๔ เวลาของฝ่ายปกครอง ๔ - - - -
๑.๕ ดูงาน - - - ๒๑ -

รวม ๙ - ๘ ๒๑ ๓๘
ผนวก ข - ๑

รายละเอียดหลักสูตรภาควิชาการศิษย์การบินขัน้ ประถม
101. Aviation Physiology
(๒๒ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาสรีรวิทยาการบินแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบาย ระดับชั้นบรรยากาศต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างกฎของก๊าซที่มีผลกระทบต่อ
ร่างกายได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบาย ระบบของ Oxygen Equipment สาเหตุ อาการ ผล และวิธีการแก้ไขของ Hypoxia
และ Hyperventilation ได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบายเรื่อง Dysbarism Decompression Sickness Trapped Gas และ Evolved Gas ได้
อย่างถูกต้อง
๔. อธิบาย ถึงประโยชน์วิธีหายใจ การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาในเรื่อง Pressure Breathing ได้
อย่างถูกต้อง
๕. อธิบายผลกระทบต่อร่างกาย วิธีปฏิบัติเพื่อให้ร่างกายทนต่อ Speed และ Acceleration
ได้อย่างถูกต้อง
๖. อธิบายผลร้ายที่เกิด วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัยเมื่อเกิด Rapid Decompression ได้อย่าง
ถูกต้อง
๗. อธิบาย อาการ ผลและวิธีการแก้ไขของ Air Sickness, Spatial Disorientation, Noise &
Vibration และ Vision ได้อย่างถูกต้อง
๘. อธิบาย ความหมาย ปัจจัยจากชีวิตประจาวันและหนทางปฏิบัติเมื่อเกิด Self - Imposed
Stress รวมทั้งอาการผลเสียหายและหนทางลดอาการล้าได้อย่างถูกต้อง
๙. อธิบายผลกระทบต่อการบินที่เกิดจากการใช้ยาบางประเภทได้อย่างถูกต้อง
๑๐. ปฏิบัติตัวเกี่ยวกับ Air Egress ห้องปรับบรรยากาศ Type II ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Atmosphere and Laws ๑:๐๐
๑.๑ คาจากัดความของบรรยากาศ
๑.๒ ส่วนประกอบของบรรยากาศ
๑.๓ การแบ่งชั้นบรรยากาศและลักษณะประจาของแต่ละชั้น
๑.๔ ความสาคัญทางสรีรวิทยาการบินของความกดบรรยากาศและก๊าซต่าง ๆ ในบรรยากาศ
๑.๕ กฎของก๊าซทั้ง ๕ อย่าง
๑.๖ การเปลี่ยนแปลงของก๊าซแต่ละชนิดที่ประกอบกันเป็นบรรยากาศตามกฎของก๊าซดังกล่าว
๑.๗ ความสัมพันธ์ระหว่างกฎของก๊าซกับสรีรวิทยาของมนุษย์ที่ระดับความสูงต่าง ๆ
๒. Hypoxia ๑:๐๐
๒.๑ ชนิดและสาเหตุของอาการพร่องออกซิเจน
๒.๒ ผลทางสรีรวิทยาต่ออาการพร่องออกซิเจน
๒.๓ อาการแสดงพร่องออกซิเจน
๒.๔ ปัจจัยความทนทานของร่างกายต่อการพร่องออกซิเจน
๒.๕ ระยะเวลาที่สติยังเป็นประโยชน์ตามระดับความสูงต่าง ๆ
ผนวก ข - ๒

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒.๖ วิธีป้องกันและแก้ไขอาการพร่องออกซิเจน
๒.๗ หลักของการหายใจแบบความกดดันสูง
๒.๘ ประโยชน์ของการหายใจแบบความกดดันสูง
๒.๙ ขีดจากัดของการหายใจแบบความกดดันสูง
๒.๑๐ หลักโดยทั่วไปของชุดปรับความกดดัน
๓. Respiration and Circulation ๑:๐๐
๓.๑ ส่วนต่าง ๆ ของระบบหายใจ
๓.๒ การทางานของระบบหายใจ
๓.๒.๑ ขบวนการของการหายใจ
๓.๒.๒ ขั้นตอนการหายใจ
๓.๒.๓ กลไกในการควบคุมการหายใจ ๒ วิธี
๓.๓ ส่วนต่าง ๆ และการทางานของระบบไหลเวียนโลหิต
๔. Hyperventilation ๑:๐๐
๔.๑ ความหมายของ Hyperventilation
๔.๒ ผลดีและผลเสียของ Hyperventilation
๔.๓ อาการของ Hyperventilation
๔.๔ วิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดอาการ
๕. Effects of Barometric Pressure Change ๒:๐๐
๕.๑ ความหมายของ Dysbarism และ Decompression Sickness
๕.๒ ความแตกต่างของ Trapped Gas และ Evolved Gas
๕.๓ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของก๊าซทั้ง ๒ ชนิด เมื่อขึ้นสู่ระดับสูง
๕.๔ ชนิดและลักษณะของอาการหรือความเจ็บป่วยที่จะเกิดจากก๊าซทั้ง ๒ ชนิด เมื่อขึ้นสู่ระดับสูง
๕.๕ วิธีป้องกันและแก้ไขอาการ
๕.๖ ปัจจัยความทนทานของร่างกายต่ออาการ
๖. Cabin Pressurization ๑:๐๐
๖.๑ ความหมายของ Cabin Pressurization
๖.๒ ชนิดของ Cabin Pressurization
๖.๓ ข้อดี - ข้อเสียของ Cabin Pressurization แต่ละระบบ
๖.๔ ชนิดของการสูญเสียระบบความกดดัน
๖.๕ ผลที่มีต่อร่างกายเมื่อมีการสูญเสียระบบความกดดัน
๖.๖ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในการเกิดการสูญเสียระบบความกดดัน
๗. Oxygen Equipment ๑:๓๐
๗.๑ คุณลักษณะของออกซิเจนในการบิน
๗.๒ ชนิดของออกซิเจนในการบิน
๗.๓ ระบบออกซิเจนในการบิน
๗.๔ ความจาเป็นที่ต้องใช้ออกซิเจนระบบต่าง ๆ ตามระดับความสูง
๗.๕ ปัจจัยความหมดเปลืองในการใช้ออกซิเจน
๗.๖ การตรวจสอบระบบออกซิเจนก่อนบินและขณะบิน
ผนวก ข - ๓

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๘. Spatial Disorientation ๒:๐๐
๘.๑ อาการหลงสภาพการบินคืออะไร
๘.๒ อวัยวะรับรู้การทรงตัวตามธรรมชาติ
๘.๓ ปัจจัยการบินที่ทาให้เกิดอาการหลงสภาพการบิน
๘.๔ หลักการทางานของอวัยวะในหูชั้นใน
๘.๕ ลักษณะการทางานลวงของอวัยวะในหูชั้นในเนื่องจากสภาพการบิน
๘.๖ อาการหลงสภาพการบินบางประการที่พบบ่อย
๘.๗ ปัจจัยเพิ่มความรุนแรงของอาการ
๘.๘ วิธีปฏิบัติเพื่อให้ปลอดภัยจากอาการ
๙. Physiological Effects of Speed & Acceleration ๑:๐๐
๙.๑ ความหมายของ Motion, Speed, Velocity
๙.๒ ชนิดของ Acceleration และกฎการเคลื่อนไหวของนิวตัน
๙.๓ ผลทางสรีรวิทยาจากอัตราเร่ง
๙.๔ ปัจจัยความทนทานของมนุษย์ต่ออัตราเร่ง
๙.๕ การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเนื่องจากอัตราเร่ง + Gz, - Gz, Gx และ Gy
๙.๖ วิธีปฏิบัติเพื่อให้เพิ่มความทนทานต่อ G - Force และหลักการทางานชุดต่อต้าน G - Force
๑๐. Physiological Effects of Noise & Vibration ๑:๐๐
๑๐.๑ การทางานของหูชั้นนอก ชั้นกลาง และชั้นใน
๑๐.๒ ความหมายของ Decibel และค่าความถี่ปกติของการได้ยินเสียงของมนุษย์
๑๐.๓ ลักษณะของเสียง ๓ ประการ และอันตรายจากเสียง
๑๐.๔ เสียงชนิดที่มีอันตรายมากที่สุดและวิธีป้องกัน
๑๐.๕ อาการที่อาจเกิดขึ้นได้หลังจากที่ได้รับการสั่นสะเทือนจากอากาศยานอยู่นาน
๑๑. Principles and Problems of Vision ๑:๓๐
๑๑.๑ กายวิภาคและสรีรวิทยาของนัยน์ตา
๑๑.๒ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการมองเห็น
๑๑.๓ ปฏิกิริยาของนัยน์ตาต่อแสงจ้า
๑๑.๔ ปฏิกิริยาของนัยน์ตาต่อแสงสลัว
๑๑.๕ หลักปฏิบัติในการปรับตาให้ชินกับความมืด
๑๑.๖ การใช้สายตาในเวลากลางคืน
๑๑.๗ การใช้ออกซิเจนช่วยหายใจในการบินกลางคืน
๑๑.๘ อาการหลอนแบบ Autokinesis และวิธีป้องกัน
๑๒. Air Egress ๑:๐๐
๑๒.๑ เหตุผลที่ต้องใช้เก้าอี้ดีด (Ejection Seat)
๑๒.๒ ประวัติการใช้เก้าอี้ดีด
๑๒.๓ ระบบดีดตัวจากอากาศยานแบบต่าง ๆ
๑๒.๔ อันตรายที่อาจเกิดจากการดีดตัว
ผนวก ข - ๔

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑๒.๔.๑ แรงลมปะทะ (Wind Blast)
๑๒.๔.๒ การหมุนคว้าง (Tumbling)
๑๒.๔.๓ ระหว่างการทา (Free – Fall)
๑๒.๔.๔ แรงกระชากจากร่มกาง (Parachute Opening Shock)
๑๒.๕ การเตรียมตัวเพื่อดีดออกจากอากาศยาน
๑๒.๖ ประโยชน์ของการฝึกและขั้นตอนการฝึกต่าง ๆ
๑๒.๗ การบรรยายสรุปก่อนฝึกกับเครื่องฝึกเก้าอี้ดีด (Ejection Seat Trainer)
๑๓. Air Sickness ๑:๐๐
๑๓.๑ สาเหตุการเกิดอาการ
๑๓.๒ ลักษณะของอาการ
๑๓.๓ วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไข
๑๓.๔ อัตราการเกิดอาการในผู้ทางานในอากาศ
๑๔. Self - Imposed Stress ๑:๐๐
๑๔.๑ ปัจจัยต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดความเครียดต่อร่างกายทั้งทางด้านสรีรวิทยาและจิตใจ
๑๔.๒ ความเครียดจากการโทรมตัวเองชนิดต่าง ๆ
๑๔.๒.๑ การสูบบุหรี่
๑๔.๒.๒ การดื่มสุรา
๑๔.๒.๓ ยากับการบิน
๑๔.๒.๔ การรับประทานอาหาร
๑๔.๓ ผลของความเครียดจากการโทรมตัวเองที่มีต่อร่างกายและจิตใจ
๑๕. Flying Fatigue and Fear of Flying ๑:๐๐
๑๕.๑ ความหมายของ Flying Fatigue
๑๕.๒ ประเภทของ Flying Fatigue รวมทั้งผลที่มีต่อร่างกายและจิตใจ
๑๕.๓ ปัจจัยที่ก่อให้เกิด Flying Fatigue and Fear of Flying
๑๕.๔ ความหมายของ Fear of Flying
๑๕.๕ ผลที่มีต่อร่างกาย จิตใจ และการแก้ไข
๑๖. สอบ ๒:๐๐
หมายเหตุ ในการศึกษาวิชาสรีรวิทยาการบินนั้น ได้กาหนดให้มีการฝึกปฏิบัติในห้องปรับบรรยากาศ
โดยศิษย์การบินจะได้รับการทดสอบร่างกายในห้องปรับบรรยากาศ คนละ ๒:๐๐ ชม.
ผนวก ข - ๕

102. Discovery Aviation


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Discovery Aviation แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. เข้าใจกระบวนการฝึกนักบินทั้งระบบ (Pilot Training Process) ได้อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจและทราบความเป็นมาของประวัติศาสตร์การบินตลอดจนโอกาสที่จะปฏิบัติหน้าที่
กับเครื่องบินประเภทต่าง ๆ ในโลกของการบินปัจจุบันได้อย่างถูกต้อง
๓. เข้าใจผลกระทบของมนุษย์ปัจจัย (Human Factors) กับการบินได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. กล่าวทั่วไป ๒:๐๐
๑.๑ วิวัฒนาการด้านการบิน
๑.๒ The Training Process
๒. Aviation Opportunities ๑:๐๐
๓. Introduction to Human Factors ๓:๐๐
๓.๑ Aeronuatical Decision Making (ADM)
๓.๑.๑ Crew Resource Management Training
๓.๑.๒ The Decision – Making Process
๓.๑.๓ Pilot – in – Command Responsibility
๓.๑.๔ Communication
๓.๑.๕ Resource Use
๓.๑.๖ Workload Management
๓.๑.๗ Situational Awareness
๓.๒ Aviation Physiology
๓.๒.๑ Pressure Effects
๓.๒.๒ Motion Sickness
๓.๒.๓ Stress
๓.๒.๔ Fatigue
๓.๒.๕ Noise
๓.๒.๖ Alcohol , Drugs and Performance
๓.๒.๗ Fitness for Flight
๔. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๖

103. Airplane Systems


(๒๘ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาระบบโครงสร้างอากาศยานแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. ระบุโครงสร้างหลักและการทางานของอากาศยานได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบายภารกรรมต่าง ๆ ที่มีต่ออากาศยานได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบาย ระบบฐาน ระบบไฮดรอลิค ระบบไฟฟ้า ระบบเชื้อเพลิง - หล่อลื่น และไขของ
อากาศยานได้อย่างถูกต้อง
๔. อธิบายหลักการทางานของเครื่องยนต์ลูกสูบได้อย่างถูกต้อง
๕. อธิบายหลักการทางานของเครื่องยนต์ Four - Stroke Five Events ได้อย่างถูกต้อง
๖. บอกชนิดต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ลูกสูบได้อย่างถูกต้อง
๗. อธิบายการทางานของส่วนประกอบสาคัญของเครื่องยนต์ลูกสูบได้อย่างถูกต้อง
๘. อธิบายระบบการจุดระเบิด ระบบน้ามันหล่อลื่น และระบบระบายความร้อนได้อย่างถูกต้อง
๙. อธิบายหลักการ โครงสร้าง และการทางานของเครื่องยนต์เจ๊ตได้อย่างถูกต้อง
๑๐. อธิบายคุณลักษณะและการทางานของใบพัดอากาศยานได้อย่างถูกต้อง
๑๑. จาแนกเครื่องวัดประกอบการบินจาพวก Control Instrument, Performance Instrument
และ Navigation Instrument ได้อย่างถูกต้อง
๑๒. อธิบายส่วนประกอบและการทางานของ Pitot Static System ได้อย่างถูกต้อง
๑๓. อธิบายส่วนประกอบการทางานและความคลาดเคลื่อนของ Speed Indicator, Vertical
Velocity Indicator (VVI) และ Altimeter ได้อย่างถูกต้อง
๑๔. อธิบายความสัมพันธ์เกี่ยวกับแม่เหล็กและสนามแม่เหล็กโลก ส่วนประกอบการทางาน
และความคลาดเคลื่อนของเข็มทิศแม่เหล็กได้อย่างถูกต้อง
๑๕. อธิบายคุณสมบัติและการติดตั้งของเครื่องวัด Gyro ได้อย่างถูกต้อง
๑๖. อธิบายการทางานความคลาดเคลื่อนและขีดจากัดของ Turn & Slip Indicator, Attitude
Indicator และ Heading Indicator ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. ส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอากาศยาน (Main Structure of The Aircraft) ๒:๐๐
๑.๑ ลาตัว (Fuselage)
๑.๒ ปีก (Wing)
๑.๓ ชุดหาง (Empennage)
๑.๔ ชุดล้อฐาน (Landing Gear)
๑.๕ ชุดแท่นเครื่องยนต์ (Engine Mount)
๑.๖ ชุดกระเปาะเครื่องยนต์ (Engine Nacelle หรือ Engine Cowling)
๒. โครงสร้างชุดพื้นบังคับ ๐:๓๐
๓. โครงสร้างรับแรงต่าง ๆ ทางอากาศพลศาสตร์ ๐:๓๐
๔. ระบบฐานของอากาศยาน ๑:๐๐
๔.๑ หน้าที่ของฐานอากาศยาน
๔.๒ แบบต่าง ๆ ของฐานอากาศยาน
๔.๓ การทางานของระบบฐาน
ผนวก ข - ๗

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๔.๔ อุปกรณ์นิรภัย (Safety Devices)
๔.๕ ชนิดของห้ามล้อ
๕. ระบบไฮดรอลิค ๑:๐๐
๕.๑ คุณสมบัติของของไหล
๕.๒ Pascal’s Law
๕.๓ วัสดุในระบบไฮดรอลิค
๕.๔ ชุดประกอบของระบบไฮดรอลิค
๕.๕ ชุดควบคุมความดันและการไหล
๖. ระบบไฟฟ้าอากาศยาน ๑:๐๐
๖.๑ ไฟฟ้ากระแสตรงเบื้องต้น
๖.๒ เครื่องวัดทางไฟฟ้า
๖.๓ แบตเตอรี่อากาศยาน
๖.๔ กระแสไฟสลับ
๖.๕ อินเวิร์ตเตอร์อากาศยาน
๖.๖ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่สาคัญในอากาศยาน
๗. ระบบเชื้อเพลิง - หล่อลื่น - ไข ๑:๐๐
๗.๑ เชื้อเพลิงอากาศยานและการจัดแบ่งประเภท
๗.๒ หล่อลื่นและการแบ่งประเภทหล่อลื่น
๗.๓ ค่าความหนืด
๗.๔ ข้อแนะนาในการหล่อลื่น
๗.๕ ไขและประเภทของไข
๗.๖ คุณลักษณะสาคัญของไขอากาศยาน
๗.๗ ไขที่ใช้ในอากาศยาน
๘. หลักการและโครงสร้างของเครื่องยนต์ลูกสูบ ๓:๐๐
๘.๑ กล่าวโดยทั่วไป
๘.๒ คาจากัดความเกี่ยวกับเครื่องยนต์
๘.๒.๑ ช่วงชัก (Stroke)
๘.๒.๒ ปรากฏการณ์ (Event)
๘.๒.๓ กลวัต (Cycle)
๘.๓ การทางานของเครื่องยนต์ Four - Stroke Five Events
๘.๓.๑ ช่วงชักไอดี (Intake Stroke)
๘.๓.๒ ช่วงชักความอัด (Compression Stroke)
๘.๓.๓ ช่วงชักกาลัง (Power Stroke)
๘.๓.๔ ช่วงชักไอเสีย (Exhaust Stroke)
๘.๓.๕ ลาดับการจุดและองศาระหว่างการเคลื่อนที่จุด (Firing Order and Degree Between Firing
Impulse)
ผนวก ข - ๘

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๘.๔ ชนิดต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ลูกสูบ
๘.๔.๑ แยกตามวิธีระบายความร้อน
๘.๔.๒ แยกตามจานวนของช่วงชักต่อวัฏจักร
๘.๔.๓ แยกตามลักษณะการวางรูปกระบอกสูบ
๘.๕ เรือนเพลาข้อเหวี่ยง (Crank Case)
๘.๖ ส่วนเพิ่มประจุก๊าซ (Supercharger Section)
๘.๗ ส่วนบริภัณฑ์ (Accessory Section)
๙. ระบบนาไอดี และระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ลูกสูบ ๑:๐๐
๙.๑ ระบบนาไอดีของเครื่องยนต์ลูกสูบ
๙.๑.๑ ส่วนประกอบของระบบนาไอดี (Induction System Components)
๙.๑.๒ ความดันไอดี (Manifold Pressure)
๙.๒ ระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ลูกสูบ
๙.๒.๑ กล่าวทั่วไป
๙.๒.๒ ลิ้นปิดเชื้อเพลิงที่ผนังกันไฟ
๙.๒.๓ สูบเชื้อเพลิง
๙.๒.๔ เครื่องวัดอัตราไหลของเชื้อเพลิง
๙.๒.๕ Fuel Injuction System
๙.๒.๖ หลักการทางานของคาร์บูเรเตอร์
๙.๒.๗ ส่วนประกอบหลักของคาร์บูเรเตอร์
๙.๒.๘ ส่วนมาตรหลักเชื้อเพลิง (Main Metering Section)
๙.๒.๙ ส่วนควบคุมเชื้อเพลิง (Fuel Control Section)
๙.๒.๑๐ ความต้องการในส่วนผสมของเครื่องยนต์
๙.๒.๑๑ ส่วนผสมที่ให้กาลังดีที่สุด
๙.๒.๑๒ หน่วยบังคับส่วนผสมอัตโนมัติ (Automatic Mixture Control Unit)
๙.๒.๑๓ สูบเร่งเชื้อเพลิง
๙.๒.๑๔ หน่วยฉีดล่อด้วยไฟฟ้า (Electric Primer Unit)
๑๐. ระบบการจุดระเบิดของเครื่องยนต์ลูกสูบ ๐:๓๐
๑๐.๑ ระบบการจุดระเบิดเครื่องยนต์ลูกสูบ
๑๐.๒ ระบบแม็กนีโตไฟแรงสูง
๑๐.๒.๑ ส่วนประกอบเบื้องต้น
๑๐.๒.๒ หลักการทางาน
๑๐.๓ ระบบแม็กนีโตไฟแรงต่า
๑๐.๓.๑ หลักการทางาน
๑๐.๓.๒ ข้อดีของระบบแม็กนีโตไฟแรงต่า
๑๐.๓.๓ เครื่องช่วยการติดเครื่องยนต์เริ่มหมุน
๑๐.๓.๔ ความปลอดภัยเนื่องจากแม็กนิโต
ผนวก ข - ๙

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑๑. ระบบน้ามันหล่อลื่น ระบบระบายความร้อนและระบบไอเสีย ๑:๐๐
๑๑.๑ ระบบน้ามันหล่อลื่น
๑๑.๑.๑ ระบบน้ามันหล่อลื่นในตัว (Wet Sump System)
๑๑.๑.๒ ระบบน้ามันหล่อลื่นแยกอิสระ (Dry Sump System)
๑๑.๑.๓ คุณสมบัติของน้ามันหล่อลื่น
๑๑.๑.๔ ส่วนประกอบและการทางานของระบบหล่อลื่นแยกอิสระภายนอกเครื่องยนต์
๑๑.๑.๕ ระบบน้ามันหล่อลื่นภายในเครื่องยนต์ (Internal Lubrication System)
๑๑.๑.๖ การไหลของน้ามันหล่อลื่นผ่านระบบ (Oil Flow Through the System)
๑๑.๑.๗ ระบบกวาดกลับ (Scavence System)
๑๑.๑.๘ ระบบละลายความหนืดน้ามันหล่อลื่น (Oil Dilution System)
๑๑.๒ ระบบระบายความร้อน (Cooling System)
๑๑.๓ ระบบไอเสีย (Exhaust System)
๑๒. คุณลักษณะการทางาน และสมรรถนะเครื่องยนต์ลูกสูบ ๑:๐๐
๑๒.๑ ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ (Engine Efficiency)
๑๒.๑.๑ ประสิทธิภาพทางกล (Mechanical Efficiency)
๑๒.๑.๒ ประสิทธิภาพทางความร้อน (Thermal Efficiency)
๑๒.๒ ตัวประกอบซึ่งยังผลกับกาลังของเครื่องยนต์
๑๒.๒.๑ อัตราการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในส่วนผสมอากาศ - เชื้อเพลิง
๑๒.๒.๒ ความดันไอดี
๑๒.๒.๓ จุดของการจุดระเบิด (Point of Ignition)
๑๒.๒.๔ อัตราส่วนความอัด (Compression Ratio)
๑๒.๒.๕ การรั่วไหลของความดันในกระบอกสูบ
๑๒.๒.๖ ประสิทธิภาพทางปริมาตร (Volumetric Efficiency)
๑๒.๒.๗ การวิเคราะห์ข้อขัดข้อง
๑๒.๓ เครื่องวัดสาหรับเครื่องยนต์
๑๒.๓.๑ เครื่องวัดความดันไอดี (Manifold Pressure Gauge)
๑๒.๓.๒ เครื่องวัดรอบ (Tachometer)
๑๒.๓.๓ เครื่องวัดแรงบิด (Torquemeter)
๑๒.๓.๔ เครื่องวัดอุณหภูมิ
๑๒.๓.๕ เครื่องวัดความดัน
๑๒.๓.๖ เครื่องวัดอัตราไหลเชื้อเพลิง (Fuel Flowmeter)
๑๒.๔ เครื่องควบคุมเครื่องยนต์
๑๒.๔.๑ เครื่องควบคุมคันเร่ง
๑๒.๔.๒ เครือ่ งควบคุมส่วนผสม
๑๒.๔.๓ เครื่องควบคุมใบพัด
๑๒.๕ การสันดาปผิดปกติ (Abnormal Combustion)
๑๒.๕.๑ การระเบิดอย่างวิปริต (Detonation)
ผนวก ข - ๑๐

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑๒.๕.๒ การเผาไหม้ย้อนกลับ (Back Firing)
๑๒.๕.๓ การเผาไหม้ตกค้าง (After Firing)
๑๓. หลักการและโครงสร้างของเครื่องยนต์เจ๊ต ๔:๐๐
๑๓.๑ หลักการขับเคลื่อนด้วยเจ็ต
๑๓.๒ ประวัติการขับเคลื่อนด้วยเจ็ต
๑๓.๓ การกาหนดแบบของเครื่องยนต์เจ็ต
๑๓.๔ คาจากัดความหน่วยพลังงานของการขับเคลื่อนด้วยเจ็ต
๑๓.๔.๑ Ram Jet
๑๓.๔.๒ Pulse Jet
๑๓.๔.๓ Turbo Jet
๑๓.๔.๔ Turbo Fan
๑๓.๔.๔ Turbo Prop
๑๓.๔.๖ Rocket
๑๓.๕ หลักการขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์เจ็ต
๑๓.๖ การวัดแรงขับของเครื่องยนต์ (Thrust Computation)
๑๓.๖.๑ แรงขับรวม (Gross Thrust)
๑๓.๖.๒ แรงขับจริง (Net Thrust)
๑๓.๖.๓ แรงม้าฉุด (Thrust Horsepower)
๑๓.๖.๔ การเปลี่ยนแปลงแรงฉุดเมื่อสภาวะต่าง ๆ เปลี่ยนแปลง
๑๓.๖.๕ แรงขับต่อความหมดเปลืองเชื้อเพลิงจาเพาะ
๑๓.๗ โครงสร้างและส่วนประกอบสาคัญของเครื่องยนต์เทอร์โบเจ็ต
๑๓.๗.๑ ช่องทางอากาศเข้า
๑๓.๗.๒ ชุดอัดอากาศ
๑๓.๗.๓ ชุดห้องเผาไหม้
๑๓.๗.๔ ชุดท่อท้าย
๑๔. ใบพัดอากาศยาน ๒:๐๐
๑๔.๑ กล่าวโดยทั่วไป
๑๔.๒ หลักเบื้องต้นของใบพัด
๑๔.๓ ชื่อชิ้นส่วนใบพัด
๑๔.๔ ศัพท์เบื้องต้นเกี่ยวกับใบพัดและการทางานใบพัด
๑๔.๕ คุณลักษณะทางอากาศพลศาสตร์
๑๔.๖ Propeller Slip
๑๔.๗ การปฏิบัติงานของใบพัด
๑๔.๘ โครงสร้างใบพัด
๑๔.๙ ชนิดของใบพัด
๑๔.๑๐ ดุลย์ใบพัด
๑๔.๑๑ การไม่ได้ดุลย์ทาง Static
ผนวก ข - ๑๑

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑๔.๑๒ การไม่สมดุลย์ทาง Dynamic
๑๔.๑๓ Governor
๑๔.๑๔ ใบพัดไฮโดรเมติค (Hydromatic Propeller)
๑๔.๑๕ หลักการทางาน (Principle of Operation)
๑๔.๑๖ ระบบปรับกลีบลู่ลม
๑๕. Flight Instrument ๐:๓๐
๑๕.๑ วิวัฒนาการการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
๑๕.๒ ความสาคัญของการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน
๑๕.๓ การจัดกลุ่มเครื่องวัดประกอบการบิน
๑๕.๓.๑ Control Instrument
๑๕.๓.๒ Performance Instrument
๑๕.๓.๓ Navigation Instrument
๑๖. The Pitot Static System ๐:๓๐
๑๖.๑ ความสาคัญของ Pitot Static System
๑๖.๒ ชนิดและการติดตั้ง Pitot Static System
๑๖.๓ ส่วนประกอบของ Pitot Static System
๑๖.๔ การทางาน Pitot Static System
๑๗. Air Speed Indicator ๐:๓๐
๑๗.๑ ชนิดของความเร็ว
๑๗.๒ ส่วนประกอบของเครื่องวัดเร็ว
๑๗.๓ การทางานของเครื่องวัดเร็ว
๑๗.๔ ความคลาดเคลื่อน (Error) ของเครื่องวัดเร็ว
๑๘. Vertical Velocity Indicator ๐:๓๐
๑๘.๑ ส่วนประกอบของเครื่องวัดไต่ - ร่อน
๑๘.๒ การทางานของเครื่องวัดไต่ - ร่อน
๑๘.๓ ความคลาดเคลื่อนของเครื่องวัดไต่ - ร่อน
๑๙. Altimeter ๐:๓๐
๑๙.๑ ความหมายของระยะสูงต่าง ๆ
๑๙.๒ ส่วนประกอบของเครื่องวัดสูง
๑๙.๓ การทางานของเครื่องวัดสูง
๑๙.๔ ความคลาดเคลื่อนของเครื่องวัดสูง
๒๐. Magnetic Compass ๑:๐๐
๒๐.๑ ความสัมพันธ์เกี่ยวกับแม่เหล็กและสนามแม่เหล็กโลก
๒๐.๒ ส่วนประกอบของเข็มทิศแม่เหล็ก
๒๐.๓ การทางานของเข็มทิศแม่เหล็ก
๒๐.๔ ความคลาดเคลื่อนของเข็มทิศแม่เหล็ก
ผนวก ข - ๑๒

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒๑. Principle of Gyroscope ๐:๓๐
๒๑.๑ คุณสมบัติ Gyro
๒๑.๑.๑ Rigidity in Space
๒๑.๑.๒ Precession
๒๑.๑.๓ Real Precession
๒๑.๑.๔ Apparent Precession
๒๒. Turn & Slip Indicator ๐:๓๐
๒๒.๑ ส่วนประกอบของ Turn & Slip Indicator
๒๒.๒ การทางานของ Turn & Slip Indicator
๒๒.๓ ความคลาดเคลื่อนและขีดจากัด
๒๓. Attitude Indicator ๐:๓๐
๒๓.๑ ชนิดต่าง ๆ ของ Attitude Indicator
๒๓.๒ ส่วนประกอบของ Attitude Indicator
๒๓.๓ การทางานของ Attitude Indicator
๒๓.๔ ความคลาดเคลื่อนของ Attitude Indicator
๒๔. Heading Indicator ๐:๓๐
๒๔.๑ ชนิดของ Heading Indicator
๒๔.๒ ส่วนประกอบของ Heading Indicator
๒๔.๓ การทางานของ Heading Indicator
๒๔.๔ ความคลาดเคลื่อนของ Heading Indicator
๒๕. Radio Magnetic Indicator (RMI) ๑:๐๐
๒๕.๑ Basic Principles
๒๕.๑.๑ Rotating Compass Card Driven by Slaved Gyro
๒๕.๑.๒ Relative Radio Bearing Indicators Superimposed on Compass Card
๒๕.๑.๓ Radio Bearing Indicators Then Show Magnetic Bearing as Well as Relative Bearings
๒๕.๒ Application to VOR and ADF
๒๕.๒.๑ Determination of Relative Bearing from VOR Magnetic Bearing
๒๕.๒.๒ Single and Dual Needle Presentations
๒๕.๒.๓ Switched Function Presentations
๒๖. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๑๓

104. Aerodynamic Principles


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Aerodynamic Principles แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. เข้าใจคุณลักษณะของแรงทางอากาศพลศาสตร์ทั้ง ๔ แรง (Four Forces of Flight) ได้อย่าง
ถูกต้อง
๒. อธิบายผลกระทบของแรงต่าง ๆ ทางอากาศพลศาสตร์ต่อสมรรถนะด้านการบิน ได้อย่าง
ถูกต้อง
๓. เข้าใจทฤษฎีการออกแบบอากาศยานขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง
๔. อธิบายพื้นบังคับประเภทต่าง ๆ ของอากาศยานได้อย่างถูกต้อง
๕. อธิบายแรงต้าน (Drag) ชนิดต่าง ๆ และผลกระทบต่อสมรรถนะอากาศยานได้อย่างถูกต้อง
๖. อธิบายเสถียรภาพและการบังคับต่อแกนต่าง ๆ ของอากาศยาน (Stability) ได้อย่างถูกต้อง
๗. อธิบายสภาวะของการร่วงหล่นของอากาศยาน (Stalls) ได้อย่างถูกต้อง
๘. อธิบายผลกระทบทางอากาศพลศาสตร์ต่อท่าทางการบิน ตลอดจนขีดจากัดที่มีต่ออากาศยาน
(Aerodynamics of Maneuvering Flight) ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Four Forces of Flight ๔:๐๐
๑.๑ Lift
๑.๑.๑ Newton’s laws of Force and Motion
๑.๑.๒ Bernoulli’s Principle
๑.๑.๓ Airfoils
๑.๑.๔ Stalls
๑.๑.๕ Wing Design Factors
๑.๑.๖ Pilot Control of Lift
๑.๑.๗ High - Lift Devices
๑.๒ Weight
๑.๓ Thrust
๑.๔ Drag
๑.๔.๑ Parasite Drag
๑.๔.๒ Induced Drag
๑.๔.๓ Total Drag
๑.๔.๔ Ground Effect
๒. Stability ๔:๐๐
๒.๑ Three Axes of Flight
๒.๑.๑ Longitudinal Axes
๒.๑.๒ Lateral Axes
๒.๑.๓ Vertical Axes
๒.๒ Longitudinal Stability
ผนวก ข - ๑๔

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒.๒.๑ Balance
๒.๒.๒ Center of Gravity Position
๒.๒.๓ CG too Far Forward
๒.๒.๔ CG too Far After
๒.๒.๕ Horizontal Stabilizer
๒.๒.๖ Power Effects
๒.๓ Lateral Stability
๒.๓.๑ Dihedral
๒.๓.๒ Sweepback
๒.๓.๓ Keek Effcet
๒.๔ Directional Stability
๒.๕ Interaction of Lateral and Directional Stability
๒.๖ Stalls
๒.๖.๑ Types of Stalls
๒.๖.๒ Stall Recognition
๒.๖.๓ Stall Recovery
๒.๗ Spin
๒.๗.๑ Primary Causes
๒.๗.๒ Types of Spins
๒.๗.๓ Weight and Balance Considerations
๒.๗.๔ Spin Phases
๒.๗.๕ Spin Recovery
๓. Aerodynamics of Maneuvering Flight ๕:๐๐
๓.๑ Climbing Flight
๓.๒ Left - Turning Tendencies
๓.๒.๑ Torque
๓.๒.๒ Gyroscopic Precession
๓.๓.๓ Asymmetrical Thrust
๓.๒.๔ Spiraling Slipstream
๓.๒.๕ Aircraft Design Considerations
๓.๓ Descending Flight
๓.๓.๑ Lift – to - Drag Ratio
๓.๓.๒ Glide Speed
๓.๓.๓ Glide Ratio
๓.๓.๔ Glide Angle
๓.๓.๕ Factors Affecting the Glide
๓.๓.๖ Weight
ผนวก ข - ๑๕

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๓.๓.๗ Configuration
๓.๓.๘ Wind
๓.๔ Turning Flight
๓.๔.๑ Adverse Yaw
๓.๔.๒ Overbanking Tendency
๓.๔.๓ Rate and Radius of Turn
๓.๕ Load Factor
๓.๕.๑ Load Factor in Turns
๓.๕.๒ Load Factor and Stall Speed
๓.๕.๓ Limit Load Factor
๓.๕.๔ Maneuvering Speed
๔. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๑๖

105. The Flight Environment


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา The Flight Environment แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบายหน่วยงานและระบบที่เกี่ยวข้องในด้านการบิน ได้แก่ Airport, Airspace และ
ระบบข้อมูลสื่อสารด้านการบิน (Flight Information) ได้อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจหลักการทางานของระบบการให้การบริการจราจรทางอากาศ (Air Traffic Control
System and ATC Clearances) ได้อย่างถูกต้อง
๓. เข้าใจปัจจัยสภาวะแวดล้อมที่ส่งผลกระทบด้านความปลอดภัยในการบินได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Safety of Flight ๔:๐๐
๑.๑ Collision Avoidance
๑.๒ Visual Scanning
๑.๓ Blind Spots and Aircraft Design
๑.๔ Airport Operations
๑.๕ Maneuvers in the Training Area
๑.๖ Right - of - Way Rules
๑.๗ Minimum Safe Altitudes
๑.๘ Flight over Hazardous Terrain
๑.๙ Taxing in Wind
๑.๑๐ Positive Exchange of Flight Controls
๒. Airport ๔:๐๐
๒.๑ Controlled and Uncontrolled Airports
๒.๒ Runway Layout
๒.๓ Traffic Pattern
๒.๓.๑ Wind Direction Indicators
๒.๓.๒ Segmented Circle
๒.๓.๓ Noise Abatement Procedures
๒.๔ Airport Visual Aids
๒.๔.๑ Runway Markings
๒.๔.๒ Taxiway Markings
๒.๔.๓ Ramp Area
๒.๔.๔ Airport Signs
๒.๕ Runway Incursion Avoidance
- Land and Hold Short Operations
๒.๖ Airport Lighting
๒.๖.๑ Irport Beacon
๒.๖.๒ Visual Glideslope Indicators
ผนวก ข - ๑๗

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒.๖.๓ Approach Light Systems
๒.๖.๔ Runway Edge Lights
๒.๖.๕ In - Runway Lighting
๒.๖.๖ Taxiway Lighting
๒.๖.๗ Pilot - Controlled Lighting
๒.๖.๘ Obstruction Lighting
๓. Aeronautical Charts ๓:๐๐
๓.๑ Latitude and Longitude
๓.๒ Projections
๓.๓ Sectional Charts
๓.๔ World Aeronautical Charts
๓.๕ Chart Symbology
๓.๕.๑ Airport Symbols
๓.๕.๒ Airport Data
๓.๕.๓ Navigation Aids
๓.๕.๔ Topographical Information and Obstructions
๔. Airspace ๒:๐๐
๔.๑ Airspace Classifications
๔.๒ Special VFR
๔.๓ Special use Airspace
๕. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๑๘

106. Communication and Flight Information


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Communication and Flight Information แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. เข้าใจหลักการทางานของ Radar และการให้บริการจราจรทางอากาศ (ATC Services) ได้
อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจหลักการติดต่อวิทยุระหว่างนักบินและหอบังคับการบิน (Radio Procedures) ได้
อย่างถูกต้อง
๓. อธิบายแหล่งข้อมูลข่าวสารการบินที่สาคัญได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Radar and ATC Services ๒:๐๐
๑.๑ Radar
๑.๒ Transponder Operation
๑.๓ Radar Systems
๑.๔ Flight Service Stations
๒. Radio Procedures ๒:๐๐
๒.๑ VHF Communication Equipment
๒.๒ Using the Radio
๒.๒.๑ Phonetic Alphabet
๒.๒.๒ Using Numbers on the Radio
๒.๒.๓ Coordinated Universal Timb (UTC)
๒.๓ Common Traffic Advisory Frequency
๒.๔ ATC Facilities at Controlled Airports
๒.๕ Radar Facilities
๒.๕.๑ Departure Procedures
๒.๕.๒ Clearance Delivery
๒.๕.๓ Ground Control
๒.๕.๔ Control Tower
๒.๕.๕ Departure Control
๒.๕.๖ Arrival Procedures
๒.๖ Lost Communication Procedures
๒.๗ Emergency Procedures
๓. Sources of Flight Information ๒:๐๐
๓.๑ Airport / Facility Directory
๓.๒ Aeronautical Information Manual (AIM)
๓.๓ Notices to Airmen
๔. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๑๙

107. Radio Telephony and Morse Code


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการติดต่อทางวิทยุและโสตสัญญาณแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. ใช้คาพูดหรือหรือประโยคในการติดต่อระหว่างนักบินกับ Ground Control, Local Control
Conventional Approach Control, Radar Approach Control ตามสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
๒. บอกและแปลสัญญาณ Morse Code ของตัวอักษร A ถึง Z จากเสียงใน Tape ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Glossary ๑:๐๐
๑.๑ Definitions of Principal Terms Used in this Manual
๑.๒ Commonly Used Abbreviations
๑.๓ Explanation of Scenario
๒. General Operating Procedures ๑:๐๐
๒.๑ Introduction
๒.๒ Transmitting Technique
๒.๓ Transmission of Letters
๒.๔ Transmission of Numbers
๒.๕ Transmission of Time
๒.๖ Standard Words and Phrases
๒.๗ Call Signs
๒.๗.๑ Call Signs for Aeronautical Stations
๒.๗.๒ Aircraft Call Signs
๒.๘ Communications
๒.๘.๑ Establishment and Continuation of Communications
๒.๘.๒ Transfer of Communications
๒.๘.๓ Issue of Clearance and Read Back Rrquirements
๒.๘.๔ Test Procedures
๓. General Phraseology ๑:๐๐
๓.๑ Introduction
๓.๒ Level Instructions
๓.๓ Position Reporting
๓.๔ Flight Plans
๔. Aerodrome Control : Aircraft ๑:๐๐
๔.๑ Introduction
๔.๒ Departure Information and Engine Starting Procedures
๔.๓ Pushback
ผนวก ข - ๒๐

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๔.๔ Taxi Instructions
๔.๕ Pre - Departure Maneuvering
๔.๖ Take - off Procedures
๔.๗ Aerodrome Traffic Circuit
๔.๘ Final Approach and Landing
๔.๙ Go Around
๔.๑๐ After Landing
๔.๑๑ Essential Aerodrome Information
๕. Aerodrome Control : Vehicles ๐:๓๐
๕.๑ Introduction
๕.๒ Movement Instructions
๕.๓ Crossing Runways
๕.๔ Vehicles Towing Aircraft
๖. Genenal Radar Phraseology ๐:๓๐
๖.๑ Introduction
๖.๒ Radar Identification and Vectoring
๖.๓ Radar Vectoring
๖.๔ Traffic Information and Avoiding Action
๖.๕ Secondary Surveillance Radar
๖.๖ Radar Assistance to Aircraft with Radio Communications Failure
๗. Approach Control ๒:๐๐
๗.๑ IFR departures
๗.๒ VFR Departures
๗.๓ IFR Arrivals
๗.๔ VFR Arrivals
๗.๕ Radar Vectors to Final Approach
๗.๖ Surveillance Radar Approach
๗.๗ Precision Radar Approach
๘. Area Control ๐:๓๐
๘.๑ Area Control Units
๘.๒ Position Information
๘.๓ Level Information
๘.๔ Flight Joining Airways
๘.๕ Flight Leaving Airways
๘.๖ Flight Crossing Airways
๘.๗ Flight Holding Enroute
ผนวก ข - ๒๑

๘.๘ Radar
๘.๙ Oceanic Control

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๙. Distress and Urgency Procedures and Communication
Failure Procedures ๐:๓๐
๙.๑ Introduction
๙.๒ Distress Messages
๙.๒.๑ Aircraft in Distress
๙.๒.๒ Imposition of Silence
๙.๒.๓ Termination of Distress and Silence
๙.๓ Urgency Messages
๙.๔ Emergency Descent
๙.๕ Aircraft Communications Failure
๑๐. Transmission of Meteorological and other Aerodrome
Information ๑:๐๐
๑๐.๑ Introduction
๑๐.๒ Runway Visual Range (RVR)
๑๐.๓ Runway Surface Conditions
๑๑. Miscellaneous Flight Handing ๑:๐๐
๑๑.๑ Selective Calling (selcal)
๑๑.๒ Fuel Dumping
๑๑.๓ Wake Turbulence
๑๑.๔ Wind Shear
๑๒. Morse Code
๑๒.๑ สัญลักษณ์ที่ใช้ของอักษร A ถึง Z ๐:๓๐
๑๒.๒ ฟังเทปสัญญาณ อักษร A ถึง Z ๐:๓๐
๑๓. การติดต่อระหว่าง ATC กับนักบิน (ฟังเทป) ๒:๐๐
๑๔. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๒๒

108. Aviation English


(๒๑ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาภาษาอังกฤษการบินแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. ออกเสียงพยัญชนะ สระ ภาษาอังกฤษ ได้ถูกต้องตามกฎ International Phonetic Alphabet
System ได้อย่างถูกต้อง
๒. ออกเสียงหนัก เบา สูง - ต่า ในภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
๓. เข้าใจนิยามศัพท์การบินได้อย่างถูกต้อง
๔. เข้าใจระบบต่าง ๆ ของเครื่องบิน และระบบที่เกี่ยวข้องกับการบินได้อย่างถูกต้อง
๕. เข้าใจและการติดต่อด้านการบินด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Sound and Intonation ๒:๐๐
๑.๑ Word Stress
๑.๒ Sentence Stress
๑.๓ Contour
๒. Listening Comprehension ๖:๐๐
๒.๑ Conversation Understanding
๒.๒ Theme Understanding
๒.๓ Listening and Responses
๓. Conversation ๔:๐๐
๓.๑ Guide Conversation
๓.๒ Conversation on Topics
๔. Reading Comprehension ๓:๐๐
๕. Writing ๓:๐๐
๕.๑ Passage from Pictures
๕.๒ Passage from Topics
๕.๓ Summary
๖. Review ๒:๐๐
๗. สอบ ๑.๐๐
ผนวก ข - ๒๓

109. Meteorology for Pilots


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Meteorology for Pilots แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิ บ ายทฤษฎีพื้ น ฐานของการเกิ ด สภาพอากาศประเภทต่ า ง ๆ ในทางอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา
(Basic Weather Theory) ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบาย Weather Patterns ได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบาย Weather Hazards ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Basic Weather Theory ๔:๐๐
๑.๑ The Atmosphere
๑.๑.๑ Atmosphere Levels
๑.๑.๒ Composition of The Atmosphere
๑.๒ Atmospheric Circulation
๑.๒.๑ Temperature
๑.๒.๒ Convection
๑.๒.๓ Three – Cell Circulation Pattern
๑.๒.๔ Atmospheric Pressure
๑.๒.๕ Coriolis Force
๑.๒.๖ Frictional Force
๑.๓ Global Wind Patterns
๑.๔ Local Wind Patterns
๑.๔.๑ Sea Breeze
๑.๔.๒ Land Breeze
๑.๔.๓ Valley Breeze
๑.๔.๔ Mountain Breeze
๑.๔.๕ Katabatic Winds
๑.๔.๖ Cold Downslope Winds
๑.๔.๗ Warm Downslope Winds
๒. Weather Patterns ๔:๐๐
๒.๑ Atmospheric Stability
- Temperature Inversions
๒.๒ Moisture
- Change of State
๒.๓ Humidity
๒.๓.๑ Dewpoint
๒.๓.๒ Dew and Frost
ผนวก ข - ๒๔

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒.๔ Clouds
๒.๔.๑ Types of Clouds
๒.๔.๒ Low Clouds
๒.๔.๓ Fog
๒.๔.๔ Middle Clouds
๒.๔.๕ High Clouds
๒.๔.๖ Clouds with Vertical Development
๒.๕ Precipitation
๒.๕.๑ Precipitation Causes
๒.๕.๒ Types of Precipitation
๒.๕.๓ Drizzle and Rain
๒.๕.๔ Ice Pellets and Hail
๒.๖ Airmasses
๒.๖.๑ Source Regions
๒.๖.๒ Classifications
๒.๖.๓ Modification
๒.๖.๔ Warming from Below
๒.๗ Fronts
๒.๗.๑ Types of Fronts
๒.๗.๒ Frontal Discontinuities
๒.๗.๓ Temperature
๒.๗.๔ Wind
๒.๗.๕ Pressure
๒.๗.๖ Frontal Weather
๒.๗.๗ Cold Fronts
๒.๗.๘ Fast - Moving Cold Fronts
๒.๗.๙ Slow - Moving Cold Fronts
๒.๗.๑๐ Warm Fronts
๒.๗.๑๑ Stationary Fronts
๒.๗.๑๒ Occluded Fronts
๓. Weather Hazards ๔:๐๐
๓.๑. Thunderstorms
๓.๑.๑ Types of Thunderstorms
๓.๑.๑.๑ Life Cycle
๓.๑.๑.๒ Cumulus Stage
๓.๑.๑.๓ Mature Stage
ผนวก ข - ๒๕

๓.๑.๑.๔ Dissipating Stage

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๓.๑.๒ Thunderstorm Hazards
๓.๑.๒.๑ Turbulence
๓.๑.๒.๒ Lightning
๓.๑.๒.๓ Hail
๓.๑.๒.๔ Tornadoes
๓.๒ Turbulence
๓.๒.๑ Low - Level Turbulence
๓.๒.๑.๑ Mecanical Turbulence
๓.๒.๑.๒ Convective Turbulence
๓.๒.๑.๓ Frontal Turbulence
๓.๒.๑.๔ Wake Turbulence
๓.๒.๒ Clear Air Turbulence
๓.๒.๓ Mountain Wave
๓.๓ Wind Shear
- Low - Level Wind Shear Alert System
๓.๔ Icing
๓.๕ Restrictions to Visibility
๓.๕.๑ Haze
๓.๕.๒ Smoke
๓.๕.๓ Smog
๓.๕.๔ Dust
๓.๖ Volcanic Ash
๔. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๒๖

110. Interpreting Weather Data


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Interpreting Weather Data แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. เข้าใจกระบวนการในการพยากรณ์ข่าวอากาศได้อย่างถูกต้อง
๒. แปลความข่าวอากาศในการบินได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบายถึงแหล่งข่าวอากาศที่จะใช้ในการวางแผนการบินได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. The Forecasting Process ๒:๐๐
๑.๑ Forecasting Methods
๑.๑.๑ Persistence Forecast
๑.๑.๒ Trend Forecast
๑.๑.๓ Climatological Forecast
๑.๑.๔ Analogue Forecast
๑.๑.๕ Meteorological Forecast
๑.๑.๖ Numerical Weather Prediction
๑.๒ Compiling and Processing Weather Data
๑.๓ Forecasting Accuracy and Limitations
๒. Printed Reports and Forecasts ๒:๐๐
๒.๑ Printed Weather Reports
๒.๑.๑ Aviation Routine Weather Reports
๒.๑.๒ Radar Weather Reports
๒.๑.๓ Pilot Weather Reports
๒.๒ Printed Weather Forecast
๒.๒.๑ Terminal Aerodrome Forecast
๒.๒.๒ Winds and Temperatures Aloft Forecast
๒.๒.๓ Severe Weather Reports and Forecast
๓. Graphic Weather Products ๑:๐๐
๓.๑ Graphic Reports
๓.๑.๑ Surface Analysis Chart
๓.๑.๒ Weather Depiction Chart
๓.๑.๓ Radar Summary Chart
๓.๑.๔ Satellite Weather Pictures
๓.๑.๕ Surface Frog Panels
๓.๑.๖ Forecast Winds and Temperatures Aloft Chart
๔. Sources of Weather Information ๑:๐๐
๔.๑ Pre - flight Weather Sources
๔.๑.๑ Flight Service Station
ผนวก ข - ๒๗

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๔.๑.๒ Pre - flight Weather Briefing
๔.๑.๓ Standard Briefing
๔.๒ In - Flight Weather Sources
๔.๓ Automated Weather Reporting Systems
๔.๓.๑ Automated Weather Observing Systems
๔.๓.๒ Automated Surface Observing Systems
๕. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๒๘

111. Airplane Performance


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Airplane Performance แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. เข้าใจการคานวณสมรรถนะอากาศยานในด้านต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจหลักการของการคานวณ Weight and Balance ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Predicting Performance ๖:๐๐
๑.๑ Aircraft Performance and Design
๑.๒ Chart Presentations
๑.๒.๑ Table Format
๑.๒.๒ Graph Format
๑.๓ Factor Affecting Aircraft Performance
๑.๔ Takeoff and Landing Performance
๑.๔.๑ Aircraft Weight and Configuration
๑.๔.๒ Surface Winds
๑.๔.๓ Runway Gradient Radient and Surface
๑.๔.๔ Takeoff and Landing Performance Charts
๑.๕ Climb Performance
๑.๕.๑ Climb Speeds
๑.๕.๒ Climb Performance Charts
๑.๖ Cruise Performance
๑.๖.๑ Performance Speeds
๑.๖.๒ Using Cruise Performance Charts
๒. Weight and Balance ๖:๐๐
๒.๑ Importance of Weight
๒.๒ Importance of Balance
๒.๓ Weight and Balance Terms
๒.๔ Principles of Weight and Balance
๒.๕ Determining Total Weight and Center of Gravity
๒.๖ Effects of Operating at High Total Weights
๒.๗ Flight at Various CG Positions
๓. สอบ ๒.๐๐
ผนวก ข - ๒๙

112. Navigation
(๒๘ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการเดินอากาศแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบาย ความหมายของการเดินอากาศ มิติต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเดินอากาศ และประเภท
ของการเดินอากาศได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบาย ส่วนประกอบต่าง ๆ บนพื้นโลกที่เกี่ยวข้องกับการเดินอากาศได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบาย คุณสมบัติของแผนที่และการจาลองแผนที่ได้อย่างถูกต้อง
๔. อ่านแผนที่ตามระบบต่าง ๆ สัญลัก ษณ์และการเลือกแผนที่ที่ใช้ในการเดินอากาศได้อย่าง
ถูกต้อง
๕. อธิบาย หลักการพล๊อตและการวัดบนแผนที่ได้อย่างถูกต้อง
๖. อธิบาย คาจากัดความที่จาเป็นในการเดินอากาศ สามเหลี่ยมความเร็ว ผลของลมต่อการ
เดินอากาศ อุณหภูมิชนิดต่าง ๆ ระยะสูงชนิดต่าง ๆ Bearing และ Line of Position ได้อย่างถูกต้อง
๗. อธิบายการวางแผนก่อนการบิน สมรรถนะของเครื่องบิน การคานวณในใจ เพื่อหาค่า ต่าง
ๆ ประกอบการอ่านแผนที่ และการใช้เครื่องช่วยเดินอากาศได้อย่างถูกต้อง
๘. อธิบาย หลักการบินเดินทางระยะสูงต่าได้อย่างถูกต้อง
๙. คานวณค่าต่าง ๆ จาก คอมพิวเตอร์ ด้าน Slide Rule ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. กล่าวทั่วไป ๑:๐๐
๑.๑ ความหมายของการเดินอากาศ
๑.๒ มิติต่าง ๆ ในการเดินอากาศ
๑.๓ ประเภทของการเดินอากาศ
๒. สันฐานของโลก ๔:๐๐
๒.๑ ขั้วโลกและศูนย์สูตร
๒.๒ เส้นต่าง ๆ ที่ลากขึ้นบนพื้นโลก
๒.๒.๑ ทรงกลม
๒.๒.๒ เส้นวงใหญ่
๒.๒.๓ เส้นวงเล็ก
๒.๒.๔ เส้นศูนย์สูตร
๒.๒.๕ เส้นเมอริเดียน
๒.๒.๖ เส้นเมอริเดียนหลัก
๒.๒.๗ วงขนานละติจูด
๒.๒.๘ เส้นรุ้ง
๒.๒.๙ เส้นแวง
๒.๒.๑๐ เส้นเกลียว
๒.๒.๑๑ ระยะทาง
๒.๒.๑๒ หน่วยความเร็ว
ผนวก ข - ๓๐

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒.๒.๑๓ ทิศทาง
๒.๒.๑๓.๑ ทิศเหนือจริง
๒.๒.๑๓.๒ ทิศเหนือแม่เหล็ก
๒.๒.๑๓.๓ ทิศเหนือเข็มทิศ
๒.๒.๑๓.๔ ทิศเหนือกริด
๒.๒.๑๔ Variation
๒.๒.๑๕ Deviation
๒.๒.๑๖ เวลา
๒.๒.๑๖.๑ Local Time
๒.๒.๑๖.๒ Greenwich Mean Time (GMT)/Coordinated Universal Time (UTC)
๒.๒.๑๖.๓ Local Mean Time or Local Standard Time
๒.๒.๑๖.๔ Zone Time
๒.๒.๑๗ The International Date Line
๒.๒.๑๘ Sunrise and SunSet
๒.๒.๑๙ Twilight
๒.๒.๑๙.๑ Civil Twilight
๒.๒.๑๙.๒ Nautical Twilight
๒.๒.๑๙.๓ Astronomical Twilight
๓. แผนที่ ๔:๐๐
๓.๑ คุณสมบัติที่พึงประสงค์ของแผนที่
๓.๑.๑ รูปร่างเหมือนจริง
๓.๑.๒ มาตราส่วนคงที่
๓.๑.๓ พื้นที่เท่า
๓.๑.๔ เส้นวงใหญ่เป็นเส้นตรง
๓.๑.๕ เส้นเกลียวเป็นเส้นตรง
๓.๑.๖ ทิศจริง
๓.๑.๗ หาพิกัดได้ง่าย
๓.๒ แบบการจาลองแผนที่
๓.๓ การจาลองแผนที่ลงบนรูปทรงกระบอก
๓.๓.๑ Mercator Projection
๓.๓.๒ Oblique Mercator
๓.๓.๓ Transverse Mercator
๓.๔ การจาลองแผนที่ลงบนรูปทรงกรวย
๓.๔.๑ Simple Conic Projection
๓.๔.๒ The Lambert Conformal Conic Projection
๓.๕ การจาลองแผนที่ลงบนรูปแผ่นแบน
ผนวก ข - ๓๑

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๓.๕.๑ Gnomonic Projection
๓.๕.๒ Stereo Graphic Projection
๓.๕.๓ Ortho Graphic Projection
๓.๖ การอ่านแผนที่
๓.๖.๑ เส้นอ้างอิงบนโลก
๓.๖.๒ เส้นขนานและเส้นเมอริเดียน
๓.๖.๓ ละติจูดและลองติจูด
๓.๖.๔ การอ่านแผนที่ในระบบต่าง ๆ
๓.๖.๔.๑ ระบบพิกัดภูมิศาสตร์
๓.๖.๔.๒ ระบบกริดทางทหาร
๓.๗ สัญลักษณ์บนแผนที่
๓.๗.๑ แผนที่สาหรับการเดินอากาศ
๓.๗.๒ การพิจารณาแผนที่
๓.๗.๓ สัญลักษณ์บนแผนที่
แสดงรายการของพื้นภูมิประเทศ
๓.๘ การเลือกแผนที่ให้เหมาะสมกับภารกิจ
๓.๙ แผนที่ที่ใช้ในการเดินอากาศ
๓.๑๐ มาตราส่วน
๓.๑๐.๑ การแบ่งแผนที่ตามมาตราส่วน
๓.๑๐.๒ วิธีการแสดงมาตราส่วน
๓.๑๑ การพล๊อตและการวัด
๓.๑๑.๑ Dividers
๓.๑๑.๒ Plotting Position
๓.๑๑.๓ Measuring Course
๓.๑๑.๔ Plotting from Given Position
๔. การเดินอากาศด้วยการคานวณ ๔:๐๐
๔.๑ คาจากัดความที่จาเป็นสาหรับการเดินอากาศ
๔.๑.๑ True Course
๔.๑.๒ Track
๔.๑.๓ Heading
๔.๑.๔ Ground Speed
๔.๒ สามเหลี่ยมความเร็ว
๔.๒.๑ Wind Vector
๔.๒.๒ Ground Speed
๔.๒.๓ Air Vector
๔.๓ ลมและผลของลม
๔.๓.๑ ทิศทางและความเร็วลม
๔.๓.๒ ความเร็วลม
ผนวก ข - ๓๒

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๔.๓.๓ Down Wind
๔.๓.๔ Up Wind
๔.๓.๕ ผลของลม
๔.๓.๖ Drift
๔.๓.๗ Drift Correction
๔.๔ อุณหภูมิ
๔.๔.๑ Indicated Air Temperature
๔.๔.๒ Basic Air Temperature
๔.๔.๓ True Air Temperature
๔.๕ ระยะสูง
๔.๕.๑ True Altitude
๔.๕.๒ Absolute Altitude
๔.๕.๓ Pressure Altitude
๔.๕.๔ Density Altitude
๔.๖ Bearing
๔.๖.๑ True Bearing
๔.๖.๒ Magnetic Bearing
๔.๖.๓ Compass Bearing
๔.๖.๔ Relative Bearing
๔.๗ Lines of Position
๔.๗.๑ Natural Feature Position Lines
๔.๗.๒ Visual Position Lines
๔.๗.๓ Position Lines by Navigational Aids
๔.๗.๔ Astro Position Lines
๔.๘ การหาตาแหน่งโดยใช้ ๑๐ Bearing Fix
๔.๙ การหาตาแหน่งโดยใช้ ๔๕ Bearing Fix
๕. กลวิธีในการเดินอากาศ ๔:๐๐
๕.๑ กล่าวทั่วไป
๕.๒ สิ่งที่ต้องทาความเข้าใจก่อนทาการบิน
๕.๒.๑ การบินอย่างถูกต้อง
๕.๒.๒ การวางแผนก่อนบิน
๕.๒.๒.๑ การเตรียมแผนที่
๕.๒.๒.๒ รายละเอียดของเส้นทางบิน
๕.๒.๒.๓ ข่าวอากาศ
๕.๒.๒.๔ การคานวณค่าต่าง ๆ ตาม Flight Plan
๕.๒.๒.๕ การคานวณจานวนน้ามัน
๕.๒.๒.๖ กฎการบินต่าง ๆ
ผนวก ข - ๓๓

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๕.๒.๒.๗ การเขียน Flight Log
๕.๒.๓ สมรรถนะของเครื่องบิน
๕.๒.๓.๑ ไต่
๕.๒.๓.๒ ลักษณะการไต่
๕.๒.๓.๓ บินระดับ
๕.๒.๓.๔ การลดระยะสูง
๕.๒.๔ การคานวณในใจ
๕.๒.๔.๑ One - In – Sixty Rule
๕.๒.๔.๒ การคานวณหา TAS
๕.๒.๔.๓ Wind Effect
๕.๒.๔.๔ การหาเวลา
๕.๒.๔.๕ การหาระยะทาง
๕.๒.๕ การวิเคราะห์และการอ่านแผนที่
๕.๒.๕.๑ การคุ้นเคยกับแผนที่ต่าง ๆ ของนักบิน
๕.๒.๕.๒ การอ่านแผนที่
๕.๒.๕.๓ เทคนิคการอ่านแผนที่
๕.๒.๖ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศ
๖. การบินเดินทางต่า ๒:๐๐
๖.๑ กล่าวทั่วไป
๖.๒ การเตรียมแผนที่
๖.๓ การเลือก Check Point
๖.๔ หลักในการปฏิบัติขณะทาการบิน
๖.๕ สิ่งที่เป็นอันตรายต่อการบินเดินทางต่า
๖.๖ สรุป
๖.๖.๑ วิธีการก่อนทาการบิน
๖.๖.๒ วิธีการขณะทาการบิน
๗. การใช้คอมพิวเตอร์ ๗:๐๐
๗.๑ กล่าวทั่วไป
๗.๒ การแก้ปัญหาต่าง ๆ บนด้าน Slide Rule
๗.๒.๑ สัดส่วนอย่างง่าย
๗.๒.๒ การหาเวลาจากระยะทางที่กาหนดให้
๗.๒.๓ การหาระยะทางรู้ ความเร็ว และเวลา
๗.๒.๔ การหาเวลารู้ ความเร็ว และระยะทาง
๗.๒.๕ การหาความเร็ว ระยะทางและเวลา
๗.๒.๖ ดรรชนีวินาที
๗.๒.๗ ความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง
๗.๒.๘ การหา Rate of Consumption
ผนวก ข - ๓๔

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๗.๒.๙ การเปลี่ยนหน่วยระหว่าง ไมล์บก ไมล์ทะเล และกิโลเมตร
๗.๒.๑๐ การเปลี่ยน Knots เป็น NM ต่อนาที
๗.๒.๑๑ การคูณ
๗.๒.๑๒ การหาร
๗.๒.๑๓ การหา Tas
๗.๒.๑๔ การหา Tas โดยใช้ Mach Index
๗.๒.๑๕ การหา True Altitude
๗.๒.๑๖ การหา Density Altitude
๘. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๓๕

113. Applying Human Factors Principles


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Applying Human Factors Principles แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. เข้าใจผลกระทบของมนุษย์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการทาการบินได้อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจกระบวนการคิดตัดสินใจในการทาการบินได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Aviation Physiology ๓:๐๐
๑.๑. Vision In Flight
๑.๒. Night Vision
๑.๒.๑ Dark Adaptation
๑.๒.๒ Aircraft Lighting
๑.๓. Visual Illusions
๑.๓.๑ Autokinesis
๑.๓.๒ False Horizons
๑.๓.๓ Landing Illusions
๑.๓.๔ Flicker Vertigo
๑.๔. Disorientation
๑.๔.๑ Spatial Disorientation
๑.๔.๒ Vestibular Disorientation
๑.๔.๓ Illusions Leading to Disorientation
๑.๔.๔ Motion Sickness
๑.๕. Respiration
๑.๖. Hypoxia
๑.๖.๑ Hypoxic Hypoxia
๑.๖.๒ Hypemic Hypoxia
๑.๖.๒.๑ Carbon Monoxide
๑.๖.๒.๒ Blood Donation
๑.๖.๓ Stagnant Hypoxia
๑.๖.๔ Histotoxic Hypoxia
๑.๖.๕ Prevention of Hypoxia
๑.๖.๕.๑ Supplemental Oxygen
๑.๖.๕.๒ Pressurization
๑.๖.๖ Hyperventilation
๒. Aeronautical Decision Making (ADM) ๓:๐๐
๒.๑ Applying the Decision Making Process
๒.๒ Accidents and Incidents
ผนวก ข - ๓๖

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒.๓ Poor Judement Chain
๒.๔ Assessing Risk
๒.๕ Pilot - In - Command Responsibility
๒.๕.๑ Self Assessment
๒.๕.๒ Hazardous Attitudes
๒.๕.๓ Interpersonal Relationships
๒.๖ Communication
๒.๖.๑ Effective Listening
๒.๖.๒ Barriers to Effective Communication
๒.๗ Resource Use
๒.๗.๑ Internal Resources
๒.๗.๒ External Resources
๒.๘ Workload Management
๒.๘.๑ Planning Landing and Preparation
๒.๘.๒ Prioritizing
๒.๘.๓ Work Overload
๒.๙ Situation Awareness
- Obstacles to Maintaining Situation Awareness
๓. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๓๗

114. Flying Safety and Aviation Resource Management


(๒๘ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชานิรภัยการบินแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. บอกความหมายจุดประสงค์และแนวทางการศึกษานิรภัยการบินได้อย่างถูกต้อง
๒. จาแนกประเภทอากาศยานอุบัติเหตุ กาหนดขัน้ ความชารุด และขั้นการบาดเจ็บได้อย่างถูกต้อง
๓. กาหนดหลักการมูลฐานในการป้องกันอุบัติเหตุได้อย่างถูกต้อง
๔. ระบุองค์ประกอบของสาเหตุและประเภทอุบัติเหตุได้อย่างถูกต้อง
๕. ระบุโครงการนิรภัยการบิน การสนับสนุนโครงการ และกิจกรรมตามโครงการนิรภัยการบิน
ได้อย่างถูกต้อง
๖. นาความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับ ARM ไปเป็นแนวทางในการฝึกภาคอากาศขั้นประถม
ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. กล่าวนา ๑:๐๐
๑.๑ ความหมายของนิรภัยการบิน
๑.๒ จุดประสงค์ของนิรภัยการบิน
๑.๓ แนวทางการศึกษานิรภัยการบิน
๒. นิรภัยการบินกับอากาศยานอุบัติเหตุ ๒:๐๐
๒.๑ นิรภัยการบิน
๒.๒ อากาศยานอุบัติเหตุ
๒.๓ การจาแนกประเภทอากาศยานอุบัติเหตุ
๒.๔ การกาหนดขั้นตอนความชารุดเสียหาย
๒.๕ การกาหนดขั้นการบาดเจ็บ
๓. สาเหตุของอุบัติเหตุ ๒:๐๐
๓.๑ องค์ประกอบของสาเหตุของอุบัติเหตุ
๓.๒ สาเหตุที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุ
๓.๓ ประเภทสาเหตุของอุบัติเหตุ
๔. หลักการป้องกันอุบัติเหตุ ๔:๐๐
๔.๑ การป้องกันอุบัติเหตุทุกอย่าง
๔.๒ หลักการมูลฐานในการป้องกันอุบัติเหตุ
๔.๓ บทบัญญัตินิรภัย
๔.๔ นิรภัยกับผลผลิตที่มีประสิทธิภาพ
๔.๕ ปรัชญามูลฐานในการป้องกันอุบัติเหตุ
๕. โครงการนิรภัยการบิน ๖:๐๐
๕.๑ โครงการนิรภัยการบิน
๕.๒ The Big Five
๕.๓ การสนับสนุนโครงการนิรภัยการบิน
๕.๔ กิจกรรมตามโครงการนิรภัยการบิน
ผนวก ข - ๓๘

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๖. การบริหารทรัพยากรการบิน ๑๒:๐๐
๖.๑ Introduce Case Study Video
๖.๒ Instructor Discussion about Case Study Video
๖.๓ History of CRM to ARM
๖.๔ Overview of ARM in Base School
๖.๕ Human Factors
๖.๖ Information Processing
๖.๗ Situation Awareness
๖.๘ Stress
๖.๙ Fatigue
๖.๑๐ Concept of Wellness
๖.๑๑ Personality and Behavior
๖.๑๒ Case Study Video and Discussion
๖.๑๓ Judgement
๖.๑๔ Workload Management
๖.๑๕ Leadership
๖.๑๖ Cognitive Game
๖.๑๗ Case Study Video and Discussion Report
๗. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๓๙

115. Airlaws and Rules of the Air


(๒๘ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชากฎ และข้อบังคับการบินแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. ระบุ International and National Aviation Law ได้อย่างถูกต้อง
๒. ระบุ Rules of the Air และ Visual Signals ได้อย่างถูกต้อง
๓. ระบุ Notification of Incidents and Accidents ได้อย่างถูกต้อง
๔. อธิบาย Air Worthiness ได้อย่างถูกต้อง
๕. อธิบาย Rules Relating to Cross Country Flight ได้อย่างถูกต้อง
๖. อธิบายหลักการของ Flight Planning ได้อย่างถูกต้อง
๗. อธิบาย Search and Rescue Procedures ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. International and National Aviation Law ๒:๐๐
๑.๑ International Civil Aviation Organization
๑.๑.๑ Brief History
๑.๑.๒ Chicaco Convention
๑.๑.๓ The Five Freedoms
๑.๑.๔ Annexes to the Convention on International Civil Aviation;
Amendment Process
๑.๒ National Aviation Organization, Legislation and Administration
๑.๒.๑ National Civil Aviation Authority
๑.๒.๒ Means of Changing Statutory Rules and Regulations
๒. ICAO (Annex 2) ๔:๐๐
๒.๑ Essential Definition
๒.๒ Applicability of the Rules of the Air
๒.๓ General Rules
๒.๔ Visual Flight Rules (VFR)
๒.๕ Instrument Flight Rules
๒.๖ Table of Cruising Levels
๓. Visual Signals ๓:๐๐
๓.๑ Distress and Urgency Signals
๓.๒ Signals for Aerodrome Traffic
๓.๒.๑ Light Signals
๓.๒.๒ Pyrotechnics
๓.๒.๓ Visual Signals of Acknowledgement by an Aircarf
๓.๓ Ground Signal
๓.๔ Marking Annex 14 , DOC 7101
๓.๔.๑ Runways
ผนวก ข - ๔๐

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๓.๔.๑.๑ Centerling
๓.๔.๑.๒ Threshold
๓.๔.๑.๓ Touch Down
๓.๔.๒ Taxiways
๓.๔.๓ Unpaved Areas
๔. Notification of Incidents and Accidents Annex 13 ๒:๐๐
๔.๑ Definitions, ICAO Annex 13
๔.๑.๑ Accident
๔.๑.๒ Incident
๔.๒ Legal Requirements
๔.๓ Airmiss Reports
๔.๔ Other Types of Reports
๔.๕ Accident Investigation
๕. Air Worthiness Annex 8 ๒:๐๐
๕.๑ Registration of Aircraft
๕.๒ Certificate of Airworthiness
๕.๒.๑ National Rules Relating to Airworthiness
๕.๒.๒ Reference to Provision of ICAO Annex 8
๕.๓ Required Documents
๕.๓.๑ Airworthiness Certificate, Certificate of Registry, Current Aintenance
Document, Licences and Log - Books
๕.๓.๒ Requirements Forcarrying these Documents Aboard the Aircraft
๖. Rules Relating to Cross Country Flight ๒:๐๐
๖.๑ Rules for Avoiding Collision
๖.๒ Aerodromes Used for Local Cross Country Flights
๖.๒.๑ Location
๖.๒.๒ Aerodrome Traffic Rules
๖.๒.๓ Procedures for Joining the Aerodrome Circuit Landing, Taking Off,
Departing the Circuit
๖.๓ En - Route Procedures
๖.๓.๑ Communication
๖.๓.๒ Prohibited and Restriced Areas
๖.๓.๓ Obstructions, Safety Altitudes/Flight Levels
๖.๓.๔ Minimum Altitudes, Low - Level Flight Restrictions
๖.๓.๕ Altimeter Setting Procedures
๖.๔ Flight Plan Requirements and Procedures
ผนวก ข - ๔๑

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๗. Flight Planning ๖:๐๐
๗.๑ Flight Plans
๗.๑.๑ Types of Flight Plans
๗.๑.๑.๑ VFR, IFR
๗.๑.๑.๒ When Flight Plans Must be Flied
๗.๑.๑.๓ When Flight Plans Should be Flied
๗.๑.๒ How to File a Flight Plan
๗.๑.๒.๑ In Person
๗.๑.๒.๒ By Telephone
๗.๑.๒.๓ By Radio
๗.๑.๓ Contents of Flight Plans, Format
๗.๑.๔ Adherence to Plan
๗.๑.๕ Closing a Flight Plan
๗.๒ Flight Plans for Cross - Country Flights
๗.๒.๑ Navigation Plan
๗.๒.๑.๑ Selection of Routes, Heights, and Alternate Airfield
๗.๒.๑.๑ (๑) Terrain and Obstacle Clearance
๗.๒.๑.๑ (๒) Cruising Levels Appropriate for Direction of Flight
๗.๒.๑.๑ (๓) Navigation Check Points, Visual or Radio
๗.๒.๑.๒ Measurement of Tracks and Distances
๗.๒.๑.๓ Obtaining Wind Velocity Forecast for Each Leg
๗.๒.๑.๔ Computation of Headings, Ground Speeds, and Times Enroute from
Tracks, True Airspeed, and Wind Velocities
๗.๒.๑.๕ Completion of Pre - flight Portion of Navigation Flight Log
๗.๒.๒ Fuel Plan
๗.๒.๒.๑ Computation of Planned Fuel Used for Each Leg and Total Fuel
Usage for the Flight
๗.๒.๒.๑ (๑) Flight Manual Figures for Fuel Flow During Climb,
En Route, and During Descent
๗.๒.๒.๑ (๒) Navigation Plan for Times En - route
๗.๒.๒.๒ Fuel for Holding or Diversion to Alternate Airfield
๗.๒.๒.๓ Reserves
๗.๒.๒.๔ Total Fuel Requirement for Flight
๗.๒.๒.๕ Completion of Pre - flight Portion of Fuel Log
๗.๒.๓ Radio Communications and Navigation Aids
๗.๒.๓.๑ Communications Frequencies and Call Signs for Appropriate
Control Agencies and In - Flight Service Facilities such as Weather Stations
ผนวก ข - ๔๒

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๗.๒.๓.๒ Radio Navigation and Approach Aids, if Appropriate
๗.๒.๓.๒ (๑) Frequencies
๗.๒.๓.๒ (๒) Identification
๗.๓ Air Traffic Flight Plan
๗.๓.๑ Types of Flight Plans
๗.๓.๑.๑ Domestic Flight Plan
๗.๓.๑.๑ (๑) Format of Plan
๗.๓.๑.๑ (๒) Information Included in Completed Plan
๗.๓.๒ Completing the Flight Plan
๗.๓.๒.๑ Information for Flight Plan Obtained from
๗.๓.๒.๑ (๑) Navigation Flight Plan
๗.๓.๒.๑ (๒) Fuel Plan
๗.๓.๒.๑ (๓) Operator’s Records for Basic Aircraft Information, Mass
and Balance Records
๗.๓.๓ Filling the Flight Plan
๗.๓.๓.๑ Procedures for Filling
๗.๓.๓.๒ Agency Responsible for Processing the Flight Plan
๗.๓.๓.๓ Requirements of the State Concerning When a Flight Plan must
Be Flied
๗.๓.๔ Adherence to Flight Plan
๗.๓.๔.๑ Tolerances Allowed by the State for Virious Types of Flight Plans
๗.๓.๔.๒ In - Flight Amendment of Flight Plans
๗.๓.๔.๒ (๑) Conditions Under Which a Flight Plans must be
Amendes
๗.๓.๔.๒ (๒) Pilot’s Responsibilities and Procedures for Filling an
Amendment
๗.๓.๔.๒ (๓) Agency to Which Amendments are Submitted
๗.๓.๕ Closing the Flight Plan
๗.๓.๕.๑ Responsibilities and Procedures
๗.๓.๕.๒ Processing Agency
๗.๔ Practical Exercieses in Flight Planning
๗.๔.๑ Chart Preparation
- Plot Tracks and Measure Directions and Distances as Practised in NV.๐๘
๗.๔.๒ Navigation Plans
๗.๔.๒.๑ Student Practice in Completing the Navigation Plan Using:
๗.๔.๒.๑ (๑) Tracks and Distances from the Prepared Charts
Velocities As Provided by the Instructor
ผนวก ข - ๔๓

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๗.๔.๒.๑ (๒) Wind
๗.๔.๒.๑ (๓) True Airspeeds Appropriate to the Aeroplanes use at
the Training Centre
๗.๔.๓ Simple Fuel Plans
๗.๔.๓.๑ Student Should Prepare Fuel Logs Showing Planned Values for:
๗.๔.๓.๑ (๑) Fuel used on each Leg
๗.๔.๓.๑ (๒) Fuel Remaining at end of each Leg
๗.๔.๓.๑ (๓) Endurance Based on Fuel Remaining and Planned
Consumption Rate at the End of each Leg
๗.๔.๔ Radio Planning Practice
๗.๔.๔.๑ Communications
Frequencies and Call Signs of Air Traffic Controlagencies and
Facilities and for In - Flight Services such as Weather Information
๗.๔.๔.๒ Navigation Aids
Frequencies and Identifiers of En - Route and Terminal Facilities, if
Appropriate
๗.๕ IFR (Airways) Flight Planning
๗.๕.๑ Meteorological Considerations
๗.๕.๑.๑ Analysis of Existing Weather Patterns Along Possible Routes
๗.๕.๑.๒ Analysis of Winds Aloft Along Prospective Routes
๗.๕.๑.๓ Frequencies and Identifiers of En - Route Radio Navigation Aids
๗.๕.๑.๔ Minimum En - Route Altitudes, Minimum Crossing and Reception Altitudes
๗.๕.๑.๕ Standard Instrument Departures (SIDS) and Standard Arrival
Routes (Stars)
๗.๕.๒ General Flight Planning Tasks
๗.๕.๒.๑ Checking of Aip and Notams for Latest Airfield and En - Route
Status Information
๗.๕.๒.๒ Selection of Altitudes for each Leg of the Flight
๗.๕.๒.๓ Application of Wind Velocity on each Leg to Obtain Headings and
Ground Speeds
๗.๕.๒.๔ Calculation of En - Route Time for Each Leg to the Destination and
to the Alternate, and Determination of Total Time En - Route
๗.๕.๒.๕ Completion of Fuel Plan
๗.๕.๒.๖ Preliminary Study of Instrument Approach Procedures and Minima
at Destination and Alternate
๗.๕.๒.๗ Filling out and Filling Air Traffic Flight Plan
๗.๖ Practical IFR Flight Planning Exercises
ผนวก ข - ๔๔

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๗.๖.๑ Student Practice in IFR Flight Planning
(These Flight Planning Exercises should Make use of the same Charts, Airways
Routes, and Prospective Destinations as the Students will Encounter During the Flight Portion
of the Training for the Instrument Flight Rating.)
๗.๖.๑.๑ Extraction of Navigational Data
๗.๖.๑.๒ Extraction of Meteorological Data
๗.๖.๑.๓ Extraction of Performance Data
๗.๖.๑.๔ Completion of Navigation Flight Plan
๗.๖.๑.๕ Completion of Fuel Flight Plan
๗.๖.๑.๖ Completion of Appropriate Air Traffic Flight Plan
๗.๗ Jet Aeroplane Flight Planning
๗.๗.๑ Flight Planning Aspects Common to All Aeroplanes
๗.๗.๑.๑ Review those Flight Planning Procedures Which are Essentially
Unchanged
๗.๗.๑.๑ (๑) Meteorological Checks and Planning
๗.๗.๑.๑ (๒) Route, Destination and Alternate Selection, Altitude
Considerations Navigation Planning
๗.๗.๑.๒ Completion of Air Traffic Flight Plan is Essentially the Same; There
may be some Added Aircraft Equipment Requirements for Operation at Higher Altitudes
๗.๗.๑.๒ (๑) Radio Communications Equipment
๗.๗.๑.๒ (๒) Aircraft Transponders
๗.๗.๑.๒ (๓) Navigation Equipment
๗.๗.๑.๒ (๔) Pressurization or Oxygen Equipment
๗.๗.๒ Additional Flight Planning Aspects for Jet Aeroplanes
๗.๗.๒.๑ Fuel Planning
๗.๗.๒.๑ (๑) En - Route Contingency Fuel
๗.๗.๒.๑ (๒) Destination Holding and Diversion Fuel
๗.๗.๒.๑ (๓) Island Reserves
๗.๗.๒.๑ (๔) Importance of Altitude Selection When Planning for
Diversion to an Alternate
๗.๗.๒.๑ (๕) Use of Performance Charts to Plan Fuel Used and
Requirements Based on Planned Climbs, En - Route Cruise, and Descent
๗.๗.๒.๑ (๖) Reserve Fuel Requirements
๗.๗.๒.๒ Computation of Critical Point (CP) and Point of No Return (PNR)
Difference Between Equ - Fuel and Equi - Time Points
๗.๗.๒.๓ Computerized Flight Planning
ผนวก ข - ๔๕

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๗.๗.๒.๓ (๑) Advantages
๗.๗.๒.๓ (๒) Shortcomings and Limitations
๗.๘ Practical Jet Aeroplane Flight Planning Exercises
๗.๘.๑ Student Practice in Jet Aeroplane Flight Planning
๗.๘.๑.๑ Extraction of Navigational Data
๗.๘.๑.๒ Extraction of Meteorological Data
๗.๘.๑.๓ Extraction of Performance Data
๗.๘.๑.๔ Completion of Navigation Flight Plan
๗.๘.๑.๕ Completion of Fuel Plan
๗.๘.๑.๕ (๑) Time and Fuel Used to Top of Climb
๗.๘.๑.๕ (๒) Cruise Sector Times and Fuel Used
๗.๘.๑.๕ (๓) Times and Fuel Used for Descent
๗.๘.๑.๕ (๔) Total Time and Fuel Required to Destination
๗.๘.๑.๕ (๕) Fuel Required for Missed Approach, Climb to En - Route
Altitude, Cruise to Alternate
๗.๘.๑.๕ (๖) Reserve Fuel
๗.๘.๑.๖ Computation of CP, Including Equi-Fuel and Equi - Time Points and PNR
๗.๘.๑.๗ Completion of Air Traffic Flight Plan
๘. Facilitation International Flight Handling ๒:๐๐
๘.๑ International Boundaries
๘.๑.๑ Topographical Surface Boundaries
๘.๑.๒ Airspace Boundaries
๘.๒ Entry and Departure of Aircraft
๘.๒.๑ Documentation Reguiremints
๘.๒.๒ Customs
๘.๒.๓ Immigration
๘.๒.๔ Fuel Tax Rebate for International Flight
๘.๓ Traffic Handling
๘.๓.๑ Passengers and Baggage
๘.๓.๒ Cargo
๘.๔ International Health Regulations
๘.๔.๑ Communicable Diseases
๘.๔.๒ Immigration Requirements and Records
๘.๔.๓ Animals : Restrictions; Quarantine Requirements
๘.๔.๔ Spraying the Aircraft Interior Prior to Arrival (Insect and Pest Control) in Some
States
๘.๔.๕ Agricultural Requirements : Restricted Plants and Food Products
ผนวก ข - ๔๖

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๘.๕ Hazardous Cargo
๘.๕.๑ General Labelling, Packaging, and Handling Requirements
๘.๕.๒ Pre - Arrival Notification when Carrying Certain Types of Hazardous Types of
Hazardous Cargo
๘.๕.๓ Restrictions on Loading some Types of Incompatible Cargo on the same
Aircraft
๙. Search and Rescue Procedures ๓:๐๐
๙.๑ Organization of State's SAR Resource
๙.๑.๑ Location and Function or SAR Elements
๙.๑.๒ Communication Capabilities and Procedures
๙.๒ Action Required or Pilots
๙.๒.๑ Actions when in Distress
๙.๒.๒ Actions when Observing another Aircraft in Distress
๙.๒.๓ Actions when Intercepting a Distress Transmission
๙.๓ Action by Survivors
๙.๓.๑ Radio if Available
๙.๓.๒ Signal Mirror
๙.๓.๓ Smoke Flares
๙.๓.๔ Ground - Air Visual Signals
๑๐. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๔๗

116. Radio Navigation Aids


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาเครื่องช่วยเดินอากาศแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบาย ส่วนประกอบและการทางานของเครื่องช่วยเดินอากาศ ADF, VOR และ TACAN
ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบาย การปฏิบัติการบินด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ ADF, VOR และ TACAN ในการ
Homing, การรักษาเส้นทางบิน, การบินสกัดเส้นทางบิน, การคานวณ ระยะทางและเวลาเข้าหาสถานี และการบิน
ผ่านสถานีได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบาย การทา Instrument Approach ได้อย่างถูกต้อง
๔. อธิบาย การปฏิบัติการบินด้วย Approach Lighting Systems ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. เครื่องช่วยเดินอากาศ ADF ๐:๓๐
๑.๑ ความหมายและความสาคัญของ ADF
๑.๒ ส่วนประกอบและการทางานของ ADF
๒. การบินด้วย ADF ๑:๓๐
๒.๑ การบินนาเข้า (Homing)
๒.๒ การรักษาเส้นทางบิน (Maintaining Course)
๒.๓ การบินสกัดเส้นทางบิน (Course Interception)
๒.๔ การคานวณระยะทางและเวลาเข้าหาสถานี
๒.๕ การผ่านสถานี (Station Passage)
๓. เครื่องช่วยเดินอากาศ VOR ๐:๓๐
๓.๑ ความหมายและความสาคัญของ VOR
๓.๒ ส่วนประกอบและการทางานของ VOR
๔. การบินด้วย VOR ๑:๓๐
๔.๑ การบินนาเข้า (Proceed Direct)
๔.๒ การรักษาเส้นทางบิน (Maintaining Course)
๔.๓ การบินสกัดเส้นทางบิน (Course Interception)
๔.๔ การคานวณระยะทางและเวลาเข้าหาสถานี
๔.๕ การบินผ่านสถานี (Station Passage)
๕. เครื่องช่วยเดินอากาศ TACAN ๔:๐๐
๕.๑ ความหมายและความสาคัญของ TACAN
๕.๒ ส่วนประกอบและการทางานของ TACAN
๕.๓ Ground Speed Check
๕.๔ TACAN Holding
๕.๕ การทา TACAN Approach
๖. การบินเข้าด้วย Radar และ Approach Lighting System ๔:๐๐
๖.๑ ความสาคัญของการบินด้วย Radar
ผนวก ข - ๔๘

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๖.๒ หลักการทางานและส่วนประกอบของ Radar
๖.๓ Radar Approach Procedure
๖.๔ Radar Vector
๖.๕ Approach Lighting System
๗. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๔๙

117. CT- 4E System Operations


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการทางานของส่วนระบบต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๑๖ ก แล้ว ศิษย์การบิน


สามารถ
๑. บอกส่วนประกอบหลักต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๑๖ ก ได้อย่างถูกต้อง
๒. ลาดับขั้นตอนการทางานของส่วนระบบต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๑๖ ก ได้อย่างถูกต้อง
๓. หา Performance Data จากกราฟและตารางใน Pilot Handbook CT - 4E Air Trainer
ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. ลักษณะทั่วไปของ บ. ๑:๐๐
๑.๑ ลักษณะทั่วไปของ บ.ฝ.๑๖ ก
๑.๒ ระบบและส่วนประกอบที่สาคัญของ บ.ฝ.๑๖ ก
๒. The Engine ๒:๐๐
๒.๑ Engine Fuel System
๒.๒ Ignition System
๒.๓ Engine Starting System
๒.๔ Engine Control System
๒.๕ Engine Instruments
๒.๖ Propeller and Propeller Control System
๒.๗ Engine Oil System
๓. Aircraft Fuel System ๑:๐๐
๓.๑ Fuel System Components
๓.๒ Fuel Contents Indicating System
๓.๓ Refueling
๔. Electrical System ๑:๐๐
๔.๑ Alternator System
๔.๒ Battery System
๔.๓ Ground Power
๔.๔ Low Voltage Warning Light
๔.๕ Ammeter / Voltmeter
๔.๖ Power Distribution
๔.๗ Electrical Instruments
๔.๘ Aircraft Lighting
๔.๘.๑ Interior Lighting
๔.๘.๒ Exterior Lighting
๕. Flight Control System ๑:๐๐
๕.๑ Ailerons
ผนวก ข - ๕๐

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๕.๒ Elevators
๕.๓ Rudder
๕.๔ Flight Control Lock
๖. Landing Gear ๑:๐๐
๖.๑ Main Landing Gear
๖.๒ Nose Wheel Gear
๖.๓ Nose Wheel Steering
๖.๔ Brake System
๗. Wing Flaps and Canopy ๑:๐๐
๗.๑ Wing Flaps Operation
๗.๒ Canopy Operation
๗.๓ Canopy Jettison
๘. Cockpit Ventilation System and Cockpit Seating ๑:๐๐
๘.๑ Ventilation System
๘.๒ Crew Seats and Harness
๙. Flight Manual ๒:๐๐
๙.๑ Normal Procedure
๙.๒ Limitation
๙.๓ Emergency Procedure
๑๐. Communications and Navigation Equipment ๑:๐๐
๑๐.๑ Intercommunications System
๑๐.๒ VHF Radio
๑๐.๓ ADF
๑๐.๔ VOR / DME
๑๐.๕ Transponder
๑๑. Emergency Systems and Equipment ๑:๐๐
๑๑.๑ Warning Systems
๑๑.๒ Emergency Equipment
๑๒. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๕๑

118 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการยังชีพในป่า ในน้า และในทะเล


(๘๗ ชั่วโมง)
*รายละเอียดอยู่ในหลักสูตรการยังชีพและโดดร่มพาราเซลสาหรับศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๐

119 การฝึกโดดร่มภาคพื้นและโดดร่มพาราเซล
(๔ ชั่วโมง)
*รายละเอียดอยู่ในหลักสูตรการยังชีพและโดดร่มพาราเซลสาหรับศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๐

120 การสละอากาศยาน
(๓๗ ชั่วโมง)
*รายละเอียดอยู่ในหลักสูตรการยังชีพและโดดร่มพาราเซลสาหรับศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๐
ผนวก ข - ๕๒

รายละเอียดหลักสูตรภาควิชาการศิษย์การบินขัน้ มัธยม
201. Aviation Physiology
(๗๐ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาสรีรวิทยาการบินแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบายระดับชั้นบรรยากาศต่าง ๆ ความสัมพัน ธ์ระหว่างกฎของก๊าซกับผลกระทบที่มีต่อ
ร่างกายได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบายสาเหตุ อาการ ผลที่เกิด วิธีป้องกัน และการแก้ไขของ Hypoxia และ Hyperventilation
ได้อย่างถูกต้อง
๓. บอกชนิดลักษณะของอาการที่เกิด วิธีป้องกัน และการแก้ไข Trapped Gas และ Evolved
Gas ได้อย่างถูกต้อง
๔. อธิบายระบบของ Oxygen Equipment ได้อย่างถูกต้อง
๕. อธิบายอาการ ผล และวิธีการแก้ไขของ Spatial Disorientation ได้อย่างถูกต้อง
๖. อธิบายผลกระทบที่เกิดกับหู ตา และการปรับสายตาในเวลากลางคืนได้อย่างถูกต้อง
๗. อธิบายผลกระทบต่อร่างกายและวิธีปฏิบัติเพื่อให้ร่างกายทนต่อ Speed และ Acceleration ได้
อย่างถูกต้อง
๘. อธิบายผลร้ายที่เกิด วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัยเมื่อเกิด Rapid Decompression (R.D.) ได้
อย่างถูกต้อง
๙. อธิบายความหมาย ชนิด อาการ ผลเสียหาย และหนทางลดอาการล้าได้อย่างถูกต้อง
๑๐. อธิบายความหมายปัจจัยจากชีวิตประจาวัน และหนทางปฏิบัติเมื่อเกิด Self - Imposed
Stress และอาการที่เกิดจาก Aviation Toxiology ได้อย่างถูกต้อง
๑๑. ปฏิบัติเกี่ยวกับ Air Egress และห้องปรับบรรยากาศ Type II และ R.D. Flight ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Atmosphere and Gas Law ( ทบทวน ) ๒:๐๐
๑.๑ คาจากัดความของบรรยากาศ
๑.๒ ส่วนประกอบของบรรยากาศ
๑.๓ ความสาคัญทางสรีรวิทยาการบินของความกดบรรยากาศ และก๊าซต่าง ๆ ในบรรยากาศ
๑.๔ กฎทั้งห้าของก๊าซ
๑.๕ การเปลี่ยนแปลงของก๊าซแต่ละชนิดที่ประกอบกันเป็นบรรยากาศตามกฎของก๊าซดังกล่าว
๑.๖ ความสัมพันธ์ระหว่างกฎของก๊าซกับสรีรวิทยาของมนุษย์ที่ระดับความสูงต่าง ๆ
๒. Hypoxia and Hyperventilation (ทบทวน) ๒:๐๐
๒.๑ คาจากัดความ
๒.๒ ชนิดของ Hypoxia
๒.๓ ลักษณะของอากาศ
๒.๔ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
๒.๕ วิธีป้องกันและการแก้ไข
๒.๖ ระยะเวลามีประโยชน์
ผนวก ข - ๕๓

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒.๗ การหายใจภายใต้แรงกด
๒.๘ อาการและสาเหตุของภาวะการหายใจถี่
๒.๙ วิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดภาวะการหายใจถี่
๓. Effects of Barometric Pressure Change ๑:๓๐
๓.๑ สาเหตุที่ทาให้เกิดอาการ
๓.๒ อาการต่าง ๆ
๓.๒.๑ จาก Trapped Gas
๓.๒.๒ จาก Evolved Gas
๓.๓ วิธีป้องกันและแก้ไข
๓.๔ ผลเสียจาก Scuba Diving
๔. Cabin Pressurization and R.D. ๑:๓๐
๔.๑ ผลดีของระบบ Pressurization ต่อมนุษย์
๔.๒ ความแตกต่างระหว่าง
๔.๒.๑ Sealed Cabin
๔.๒.๒ Pressurized Cabin
๔.๓ ข้อดีและข้อเสียต่อมนุษย์
๔.๔ Rapid Decompression
๔.๔.๑ ผลร้ายที่อาจเกิด
๔.๔.๒ วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
๕. Acceleration ๒:๐๐
๕.๑ ความหมายของ Motion, Speed, Velocity และ Acceleration
๕.๒ ชนิดของ Acceleration และกฎการเคลื่อนไหวของ Newton
๕.๓ ผลทางสรีรวิทยาจากอัตราเร่ง
๕.๔ การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเนื่องจากอัตราเร่งชนิด + Gz, - Gz, - Gx และ Gy
๕.๕ วิธีปฏิบัติเพื่อให้เพิ่มความทนทานต่อ G - Force และหลักการทางานของชุดต่อต้าน G - Force
๖. Spatial Disorientation ๒:๐๐
๖.๑ อาการหลงสภาพการบินคืออะไร
๖.๒ อวัยวะรับรู้การทรงตัวตามธรรมชาติ
๖.๓ ปัจจัยจากการบินที่ทาให้เกิดอาการหลงสภาพการบิน
๖.๔ หลักการทางานของอวัยวะในหูชั้นใน
๖.๕ ลักษณะการทางานลวงของอวัยวะในหูชั้นในเนื่องจากสภาพการบิน
๖.๖ อาการหลงสภาพการบินบางประการที่พบบ่อย
๖.๗ ปัจจัยเพิ่มความรุนแรงของอาการ
๖.๘ วิธีปฏิบัติเพื่อให้ปลอดภัยจากอาการ
๗. Oxygen Equipment ๑:๐๐
๗.๑ คุณลักษณะของออกซิเจนในการบิน
๗.๒ ชนิดของออกซิเจนในการบิน
ผนวก ข - ๕๔

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๗.๓ ระบบออกซิเจนในการบิน
๗.๔ ความจาเป็นที่ต้องใช้ออกซิเจนระบบต่าง ๆ ตามระดับความสูง
๗.๕ ปัจจัยความหมดเปลืองในการใช้ออกซิเจน
๗.๖ การตรวจสอบระบบออกซิเจนก่อนบินและขณะบิน
๘. Principles and Problems of Vision ๒:๐๐
๘.๑ กายภาคและสรีรวิทยาของนัยน์ตา
๘.๒ ปัจจัยที่มีผลกระทบกระเทือนต่อการเห็น
๘.๓ ปฏิกิริยาของนัยน์ตาต่อแสงจ้า
๘.๔ ปฏิกิริยาของนัยน์ตาต่อแสงสลัว
๘.๕ หลักปฏิบัติในการปรับตามให้ชินกับความมืด
๘.๖ การใช้สายตาในเวลากลางคืน
๘.๗ การใช้ออกซิเจนช่วยหายใจในการบินกลางคืน
๘.๘ อาการหลอนแบบ Autokinesis และวิธีป้องกัน
๙. Physiological Effects of Noise & Vibration ๒:๐๐
๙.๑ การทางานของหูชั้นนอก ชั้นกลางและชั้นใน
๙.๒ ความหมายของ Decibel และค่าความถี่ปกติการได้ยินเสียงของมนุษย์
๙.๓ ลักษณะสามประการของเสียงและอันตรายจากเสียง
๙.๔ เสียงชนิดที่มีอันตรายมากที่สุดและวิธีป้องกัน
๙.๕ อาการที่อาจเกิดขึ้นได้หลังจากที่ได้รับการสั่นสะเทือนจากอากาศยานอยู่นาน
๑๐. Flying Fatigue ๒:๐๐
๑๐.๑ ความหมายของอาการล้า
๑๐.๒ การแบ่งชนิดของอาการล้า
๑๐.๓ ชนิดของอาการล้าที่พบบ่อย
๑๐.๔ อาการของอาการล้า
๑๐.๕ ผลเสียหายต่อการบิน
๑๐.๖ สาเหตุที่พบบ่อยในการบิน
๑๐.๖.๑ จากงานในหน้าที่
๑๐.๖.๒ จากนอกหน้าที่
๑๐.๗ หนทางลดอาการล้า
๑๑. Self-Imposed Stress ๒:๐๐
๑๑.๑ ความหมาย
๑๑.๒ ปัจจัยจากชีวิตประจาวัน
๑๑.๒.๑ ยาสูบ (Tobacco Smoking)
๑๑.๒.๒ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (Alcohol Beverages)
๑๑.๓ การรับประทานอาหาร (Nutrition)
๑๑.๔ การรักษาตนเอง (Self Medication)
ผนวก ข - ๕๕

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑๑.๕ อาการล้า (Fatigue)
๑๑.๖ หนทางปฏิบัติเพื่อลดผลเสีย
๑๒. Aviation Toxicology ๑:๐๐
๑๒.๑ ความหมาย
๑๒.๒ สารพิษในกิจการการบิน
๑๒.๓ ระดับต่าง ๆ ที่เป็นอันตราย
๑๒.๔ อาการต่าง ๆ ที่เกิดจากสารพิษ
๑๒.๕ วิธีป้องกันและการแก้ไข
๑๓. Egress System ๒:๐๐
๑๓.๑ เหตุผลที่ต้องใช้เก้าอี้ดีด (Ejection Seat)
๑๓.๒ ประวัติการใช้เก้าอี้ดีด
๑๓.๓ ระบบดีดตัวจากอากาศยานระบบต่าง ๆ
๑๓.๔ อันตรายที่อาจเกิดจากการดีดตัว
๑๓.๔.๑ แรงลมปะทะ (Wind Blast)
๑๓.๔.๒ การหมุนคว้าง (Trumbling)
๑๓.๔.๓ ระหว่างการทา Free Fall
๑๓.๔.๔ แรงกระชากจากร่มกาง (Parachute Opening Shock)
๑๓.๕ การเตรียมตัวเพื่อดีดออกจากอากาศยาน
๑๓.๖ ประโยชน์ของการฝึกและขั้นตอนการฝึกต่าง ๆ
๑๓.๗ การบรรยายสรุปก่อนฝึกกับเครื่องฝึกเก้าอี้ดีด (Ejection Seat Trainer)
๑๔. การฝึกปฏิบัติในวิชาสรีรวิทยาการบิน ๔๕:๐๐
๑๔.๑ ฝึกกับห้องปรับบรรยากาศแบบที่ ๒
๑๔.๒ ฝึกกับห้องปรับบรรยากาศแบบ R.D.
๑๔.๓ ฝึกกับระบบเก้าอี้ดีด
๑๔.๔ ฝึกกับเครื่องฝึกการบินหลงสภาพการบิน
๑๕. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๕๖

202. Principle of Instrument Flight


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Principle of Instrument Flight แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบายระบบ Flight Instrument System ได้อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจหลักการบินโดยใช้ Attitude Indicator ได้อย่างถูกต้อง
๓. เข้าใจหลักการบินโดยใช้ VOR, ADF, RMI, Area Navigation และ GPS ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Flight Instrument System ๔:๐๐
๑.๑ Gyroscopic Flight Instruments
๑.๑.๑ Rigidity in Space
๑.๑.๒ Precession
๑.๒ Attitude Indicator
๑.๒.๑ How it Works
๑.๒.๒ Errors
๑.๒.๓ Instrument Tumbling
๑.๓ Heading Indicator
๑.๓.๑ How it Works
๑.๓.๒ Errors
๑.๔ Turn Indicators
- Instrument Checks
๑.๕ Magnetic Compass
๑.๕.๑ Variation
๑.๕.๒ Deviation
๑.๕.๓ Magnetic Dip
๑.๕.๔ Instrument Check
๑.๖ Pitot - Static Instruments
๑.๗ Airspeed Indicator
๑.๗.๑ V - Speed and Color Codes
๑.๗.๒ Instrument Check
๑.๘ Altimeter
๑.๘.๑ Types of Altitude
๑.๘.๒ Altimeter Setting
๑.๘.๓ Instrument Check
๑.๙ Vertical Speed Indicator
- Instrument Check
ผนวก ข - ๕๗

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑.๑๐ System Errors
๑.๑๐.๑ Pitot Blockage
๑.๑๐.๒ Static Blockage
๒. Attitude Instrument Flying ๔:๐๐
๒.๑ Fundamental Skills
๒.๑.๑ Instrument Cross - Check Scanning Technique
๒.๑.๒ Frequent Errors
๒.๒ Instrument Interpretation
๒.๓ Aircraft Control
๒.๔ Attitude Instrument Flying Concepts
๒.๕ Partial Panel Flying
๒.๖ Unusual Attitude Recovery
๒.๗ Control and Performance Concept
๓. Instrument Navigation ๔:๐๐
๓.๑ VOR Navigation
๓.๒ Horizontal Situation Indicator
๓.๓ Intercepting a Radial
๓.๔ Time and Distance to a Station
๓.๕ Station Passage
๓.๖ ADF Navigation
๓.๗ Radio Magnetic Indicator
๓.๘ Intercepting a Bearing
๓.๙ Distance Measuring Equipment
๓.๑๐ DME Arcs
๓.๑๑ Correcting for a Crosswind
๓.๑๒ VOR Checks
๓.๑๓ NDB Checks
๓.๑๔ Area Navigation
๓.๑๔.๑ VORTAC - Based Area Navigation
๓.๑๔.๒ Flight Management System
๓.๑๔.๓ Inertial Navigation System
๓.๑๔.๔ Global Positioning System
๔. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๕๘

203. IFR Flight Environment


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา IFR Flight Environment แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบิน IFR ได้อย่างถูกต้อง
๒. บริหารทรัพยากรด้านการบินในการบิน IFR ได้อย่างถูกต้อง
๓. เข้าใจหลักการบินด้วยกฎการบิน IFR ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Airports, Airspace and Flight Information ๖:๐๐
๑.๑ The Airport Environment
๑.๑.๑ Runway Markings
๑.๑.๒ Taxiway Markings
๑.๑.๓ Additional Markings
๑.๑.๔ Airport Signs
๑.๒ Runway Incursion Avoidance
- Land and Hold Short Operations (LAHSO)
๑.๓ Lighting Systems
๑.๓.๑ Approach Light System
๑.๓.๒ Visual Glide Slope Indicators
๑.๓.๓ Tri - Color VASI
๑.๓.๔ Runway Lighting
๑.๓.๕ Airport Beacon and Obstruction Lights
๑.๔ Airspace
๑.๕ Flight Information
๒. Air Traffic Control System ๒:๐๐
๓. ATC Clearances ๔:๐๐
๓.๑ Pilot Responsibilities
๓.๒ IFR Flight Plan and ATC Clearance
๓.๓ VFR on Top
๓.๔ Clearance Read back
๓.๕ Clearance Shorthand
๔. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๕๙

204. Departure
(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Departure แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบาย Departure Charts แบบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบาย Departure Procedures ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Departure Charts ๓:๐๐
๑.๑ Obtaining Charts
๑.๒ Departure Standards
๑.๓ Instrument Departure Procedures
๒. Departure Procedures ๓:๐๐
๒.๑ Take - off Minimum
๒.๒ Departure Options
๒.๓ Selecting a Departure Method
๓. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๖๐

205. Enroute
(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Enroute แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบาย Enroute และ Area Charts ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบาย Enroute Procedures ได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบาย Holding ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Enroute and Area Charts ๒:๐๐
๑.๑ Front Panel
๑.๒ Navigation Aids
๑.๓ Victor Airways
๑.๔ Communication
๑.๕ Airports
๑.๖ Airspace
๒. Enroute Procedures ๒:๐๐
๒.๑ Enroute Radar Procedures
๒.๒ IFR Cruising Altitudes
๒.๓ Descending from the Enroute Segment
๓. Holding Procedures ๒:๐๐
๓.๑ The Standard Holding Pattern
๓.๒ Holding Pattern Entries
๓.๓ ATC Holding Instructions
๔. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๖๑

206. Arrival
(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Arrival แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. เข้าใจและสามารถอธิบาย Arrival Charts ได้อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจและสามารถอธิบาย Arrival Procedures ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Arrival Charts ๓:๐๐
๑.๑ Standard Terminal Arrival Route (STAR)
๑.๒ Interpreting the STAR
๒. Arrival Procedures ๓:๐๐
๒.๑ Preparing for the Arrival
๒.๒ Reviewing the Approach
๓. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๖๒

207. Approach
(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมือ่ ศึกษาวิชา Approach แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบาย Approach Chart แบบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจวิธีการทา Approach Procedures ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Approach Charts ๖:๐๐
๑.๑ Approach Segments
๑.๒ Chart Layout
๑.๓ Airport Chart
๒. Approach Procedures ๗:๐๐
๒.๑ Preparing for the Approach
๒.๒ Executing the Approach
๓. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๖๓

208. Instrument Approaches


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Instrument Approaches แล้ว ศิษย์การบินสามารถอธิบาย


การทา Precision Approach และ Non-precision Approach แบบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. VOR and NDB Approaches ๖:๐๐
๒. ILS Approach ๓:๐๐
๓. LDA, SDF and MLS Approaches ๑:๐๐
๔. RNAV Approaches ๓:๐๐
๕. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๖๔

209. Meteorology
(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Meteorology แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบายผลกระทบของสภาพอากาศที่มีต่อการบินได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบายสาเหตุของการเกิดสภาพอากาศแบบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
๓. ใช้ข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศให้ทาการบินได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Weather Factors ๓:๐๐
๑.๑ The Atmosphere
๑.๒ Atmospheric Circulation
๑.๒.๑ Pressure and Wind Patterns
๑.๒.๒ Local Convective Circulation
๑.๓ Moisture, Precipitation and Stability
๑.๓.๑ Dewpoint
๑.๓.๒ Precipitation
๑.๓.๓ Latent Heat of Water
๑.๓.๔ Stability
๑.๔ Clouds
๑.๔.๑ Types of Clouds
๑.๔.๒ Low Clouds
๑.๔.๓ Middle Clouds
๑.๔.๔ High Clouds
๑.๔.๕ Clouds with Vertical Development
๑.๕ Air mass
๑.๖ Fronts
๑.๖.๑ Cold Fronts
๑.๖.๑.๑ Fast - Moving Cold Fronts
๑.๖.๑.๒ Slow - Moving Cold Fronts
๑.๖.๒ Warm Fronts
๑.๖.๓ Stationary Fronts
๑.๖.๔ Occluded Fronts
๑.๖.๕ The Frontal Cyclone
- Structure and Development
๑.๗ High Altitude Weather
ผนวก ข - ๖๕

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๒. Weather Hazards ๖:๐๐
๒.๑ Thunderstorms
- Thunderstorm Avoidance
๒.๒ Turbulence
๒.๒.๑ Low – Level Turbulence
๒.๒.๒ Mechanical Turbulence
๒.๒.๓ Convective Turbulence
๒.๒.๔ Frontal Turbulence
๒.๒.๕ Wake Turbulence
๒.๒.๖ Clear Air Turbulence
๒.๒.๗ Mountain Wave Turbulence
๒.๒.๘ Reporting Turbulence
๒.๓ Wind Shear
๒.๔ Low Visibility
- Restrictions to Visibility
๒.๕ Volcanic Ash
๒.๖ Icing
๒.๖.๑ Estimating Freezing Level
๒.๖.๒ Avoiding Ice Encounters
๒.๗ Hydroplaning
๒.๘ Cold Weather Operations
๓. Printed Reports and Forecasts ๒:๐๐
๔. Graphic Weather Products ๑:๐๐
๕. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๖๖

210. IFR Flight Considerations


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา IFR Flight Considerations แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. เข้าใจและอธิบายลักษณะของการเกิดเหตุฉุกเฉินในขณะทาการบิน IFR (IFR Emergencies)
ได้อย่างถูกต้อง
๒. เข้าใจและสามารถนากระบวนการคิดตัดสินใจไปใช้ได้อย่างถูกต้องในขณะทาการบิน IFR
(IFR Decision Making)
๓. อธิบายกระบวนการวางแผนการบิน IFR (IFR Flight Planning) ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Declaring an Emergency ๑:๓๐
๑.๑ Minimum Fuel
๑.๒ Gyroscopic Instrument Failure
๑.๓ Communication Failure
๑.๔ Alerting ATC
๒. Emergency Approach Procedures ๑:๓๐
๒.๑ Surveillance Approach
๒.๒ Precision Approach Radar
๒.๓ No – Gyro Approach
๒.๔ Malfunction Reports
๓. IFR Decision Making ๑:๓๐
๓.๑ Applying the Decision Making Process
๓.๒ The IFR Accident
๓.๓ Poor Judgment Chain
๓.๔ Assessing Risk
๓.๕ Pilot – In – Command Responsibility
๓.๖ Self Assessment
๓.๗ Hazardous Attitudes
๓.๘ Crew Relationships
๓.๙ Communication
๓.๑๐ Resource Use
๓.๑๑ Workload Management
๓.๑๒ Situational Awareness
๓.๑๓ Controlled Flight into Terrain
๓.๑๔ The Application of the Decision Making Process
๔. IFR Flight Planning ๑:๓๐
๔.๑ Flight Overview
๔.๒ Flight Planning
ผนวก ข - ๖๗

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๔.๓ Completing the Navigation Log
๔.๔ Filing the Flight Plan
๔.๕ Closing the IFR Flight Plan
๕. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๖๘

211. Advanced Systems


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Advanced Systems แล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบายระบบการทางานของเครื่องยนต์อากาศยานที่มีสมรรถนะสูง (High Performance
Powerplants) ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบายสภาวะของการเกิดน้าแข็งและการป้องกันตลอดจนการทาลายน้าแข็งที่เกาะเครื่องบิน
(Environmental and Ice Control Systems) ได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบายระบบการทางานของชุด Retractable Landing Gear ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. High Performance Powerplants ๕:๐๐
๑.๑ Fuel Injection Systems
๑.๒ Engine Monitoring
๑.๓ Abnormal Combustion
๑.๔ Induction Icing
๑.๕ Turbocharging Systems
๑.๖ Constant – Speed Propellers
๒. Environmental and Ice Control Systems ๔:๐๐
๒.๑ Oxygen Systems
๒.๒ Cabin Pressurization
๒.๓ Ice Control Systems
๓. Retractable Landing Gear ๔:๐๐
๓.๑ Landing Gear Systems
๓.๒ Gear Systems Malfunctions
๔. สอบ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๖๙

212. Aerodynamics and Performance Limitations


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชา Aerodynamics and Performance Limitations แล้ว


ศิษย์การบินสามารถ
๑. เข้าใจทฤษฎีอากาศพลศาสตร์ชั้นสูงได้อย่างถูกต้อง
๒. นาหลักความรู้เรื่องอากาศพลศาสตร์ชั้นสูงมาใช้ในการบินได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบายหลักการของ Controlling Weight and Balance ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Advanced Aerodynamics ๔:๐๐
๑.๑ Lift
๑.๒ High Lift Devices
๑.๓ Drag
๑.๔ High Drag Devices
๑.๕ Thrust
๑.๖ Weight and Load Factor
๑.๗ Aircraft Stability
๑.๘ Aerodynamics and Flight Maneuvers
๑.๙ Stall and Spin Awareness
๑. Predicting Performance ๔:๐๐
๒.๑ Factors Affecting Performance
๒.๒ The Pilot’s Operating Handbook
๓. Controlling Weight and Balance ๔:๐๐
๓.๑ Weight and Balance Limitations
๓.๒ Center of Gravity Limits
๓.๓ Weight and Balance Documents
๓.๔ Weight and Balance Computations
๓.๕ Weight and Balance Condition Checks
๓.๖ Weight Shift Computation
๔. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๗๐

213. Flight Rules and Regulation


(๒๘ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชากฎและข้อบังคับการบินแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. อธิบายชนิดของ Air Traffic Services ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบายหลักการของ Aeronautical Information Service ได้อย่างถูกต้อง
๓. อธิบายหลักการของ Aerodrome Control ได้อย่างถูกต้อง
๔. อธิบายชนิดของ Air Traffic Control ได้อย่างถูกต้อง
๕. บอกชนิดของ Obstruction Clearance ได้อย่างถูกต้อง
๖. อธิบายหลักการของ Flight Clear of Controlled Airspace ได้อย่างถูกต้อง
๗. บอกชนิดของ Controlled Airspace ได้อย่างถูกต้อง
๘. อธิบาย Procedures for Flights in Controlled Airspace ได้อย่างถูกต้อง
๙. อธิบายหลักการของ Instrument Flight Rules ได้อย่างถูกต้อง
๑๐. อธิบาย National Organization of Aviation and its Administration ได้อย่างถูกต้อง
๑๑. อธิบาย Air Law, Air Orders, Air Rules ได้อย่างถูกต้อง
๑๒. อธิบาย Laws Relating to the Aircraft ได้อย่างถูกต้อง
๑๓. อธิบาย Laws Relating to Personal Licensing and Training ได้อย่างถูกต้อง
๑๔. อธิบาย Laws Relating to Aerodromes ได้อย่างถูกต้อง
๑๕. อธิบาย Laws Relating to Facilitation ได้อย่างถูกต้อง
๑๖. อธิบาย Unlawful Interference and Security ได้อย่างถูกต้อง
๑๗. อธิบาย Penal Regulations ได้อย่างถูกต้อง

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Air Traffic Services ๓:๐๐
๑.๑ Introduction to Air Traffic Services
๑.๒ ICAO Annex 2 Definitions
๑.๓ Division of Air Traffic Services
๑.๓.๑ Air Traffic Control Service Objectives
๑.๓.๒ Flight Information Service Objectives
๑.๓.๓ Alerting Service Objective
๑.๔ Types of Controlled Airspace
๑.๔.๑ Control Areas
๑.๔.๒ Terminal Control Area
๑.๔.๓ Control Zones
๑.๕ Other Types of Airspace
๑.๕.๑ Flight Information Regions
๑.๕.๒ Advisory Routes
๑.๕.๓ Aerodrome Traffic Zones
ผนวก ข - ๗๑

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑.๕.๔ Danger, Prohibited and Restricted Areas
๒. Aeronautical Information Services ๓:๐๐
๒.๑ Aeronautical Information Publications (AIP)
๒.๑.๑ General (Gen)
๒.๑.๒ En – Route (Enr)
๒.๑.๓ Aerodromes (Ad)
๒.๒ AIP Amendment
๒.๓ AIP Supplement
๒.๔ Aeronautical Information Circular (AIC)
๓. Aerodrome Control ๒:๐๐
๓.๑ Operation on the Aerodrome
๓.๑.๑ Controlled Aerodrome
๓.๑.๒ Uncontrolled Aerodrome
๓.๒ Operation in the Vicinity of The Aerodrome
๓.๒.๑ Controlled Aerodromes
๓.๒.๒ Uncontrolled Aerodrome
๔. Air Traffic Control ๒:๐๐
๔.๑ Elements of an Air Traffic Control System
๔.๑.๑ Aerodrome Control
๔.๑.๒ Approach Control
๔.๑.๓ Area and Airways Control
๔.๒ Air Traffic Control Clearances
๕. Obstruction Clearance ๒:๐๐
๕.๑ Obstructions
๕.๑.๑ Aerodrome Elevation
๕.๑.๒ Obstructions on Aerodrome
๕.๑.๓ Obstructions off Aerodrome
๕.๑.๔ Indications of Obstruction on Aeronautical Charts
๕.๒ Flight Considerations
๕.๒.๑ Safety Altitudes
๕.๒.๒ Altimeter Setting
๕.๒.๓ Transition Altitude / Level
๖. Flight Clear of Controlled Airspace ๒:๐๐
๖.๑ Rules of the State for Flight Outside Controlled Airspace
๖.๑.๑ VFR
๖.๑.๑.๑ Weather Requirements
๖.๑.๑.๒ VFR Flight at Night
ผนวก ข - ๗๒

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๖.๑.๑.๓ Restrictions Regarding Minimum Altitude / Flight Levels
๖.๑.๒ IFR
๖.๑.๒.๑ Minimum Altitudes / Flight Level Requirements for Terrain and Obstacle
Clearance
๖.๑.๒.๒ Lowest Usable Flight Levels for the Various Pressure Conditions
๖.๑.๓ Altitude Requirements
- Explain Quandrantal and Semicircular Rules for Determining Appropriate
Flight Level or Flight Altitudes
๖.๒ Practical Application
๖.๒.๑ Effect of Altimeter Setting Change on Altimeter Reading
๖.๒.๒ Determination of Minimum Altitudes or Flight Level for Typical Cross-Country
Legs
๖.๒.๓ Determination of Minimum Usable Flight Level, Given the Area or Regional QNH
๖.๒.๔ Determination of Safety Height for a Given Area
๗. Controlled Airspace ๑:๐๐
๗.๑ Review Types of Airspace
๗.๒ National Airspace Configuration
๘. Procedures for Flights in Controlled Airspace ๒:๐๐
๘.๑ Minimum Equipment for IFR Flights and for VFR Flights
in Controlled Air Space
๘.๒ Air Traffic Control Procedures
๘.๓ Procedures for Entering and Leaving Controlled Airspace
๘.๔ Communication and Navigation Procedures
๙. Instrument Flight Rules ๑:๐๐
๙.๑ Definitions
๙.๑.๑ Instrument Meteorological Conditions (IMC)
๙.๑.๒ Instrument Flight Rules (IFR)
๙.๑.๓ Instrument Rating
๙.๒ IFR Flight Plan
๙.๓ IFR Clearances and Communications
๙.๔ Cruising Levels and Separation Standards
๙.๕ IFR Flight Outside Controlled Airspace
๙.๖ Cancelling IFR
๑๐. National Organization of Aviation and its Administration ๑:๐๐
๑๑. Air Law, Air Orders and Rules ๑:๐๐
๑๒. Laws Relating to the Aircraft ๑:๐๐
๑๒.๑ Classification
ผนวก ข - ๗๓

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑๒.๒ Aircraft Nationality and Registration Marks
๑๒.๓ Air Worthiness of Aircraft
๑๓. Laws Relating to Personal Licensing and Training ๑:๐๐
๑๓.๑ Definition of Terms Used
๑๓.๒ General Rules Concerning Licenses
๑๓.๓ Types of Licenses and Limitations
๑๓.๓.๑ Privileges and Limitations
๑๓.๓.๒ VA ODOTU and Renewal
๑๓.๔ Licensing Authorities
๑๓.๔.๑ Requirements for the Issue of Licenses and Ratings
๑๓.๔.๒ Medical Requirements
๑๓.๔.๓ Application of Licenses
๑๓.๔.๔ Validation of Licenses
๑๔. Laws Relating to Aerodromes ๑:๐๐
๑๔.๑ Classification
๑๔.๒ Characteristics, Obligations, Restrictions Removal and Marking
๑๔.๓ Equipment and Aids, Facilities
๑๔.๔ Operation of Aerodromes
๑๔.๕ Right and Obligations to use Aerodromes
๑๔.๖ Authorities, Approval and Supervision
๑๕. Laws Relating to Facilitation ๑:๐๐
๑๕.๑ Customs Regulations
๑๕.๒ Health Regulations
๑๕.๓ Legal Requirements for Documents, Certifications and Records
๑๖. Unlawful Interference and Security ๑:๐๐
๑๗. Penal Regulations ๑:๐๐
- Liability to Penalties, Punishable Offences, Degree of Punishment
and Legal
๑๘. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๗๔

214. General English


(๒๑ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาภาษาอังกฤษทั่วไปแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. ออกเสียงพยัญชนะ สระ ภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
๒. ออกเสียง หนัก เบา ในคาภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
๓. ออกเสียง สูง - ต่า ในประโยคภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
๔. สนทนาภาษาอังกฤษด้วยประโยคง่าย ๆ เกี่ยวกับชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง
๕. อ่านเนื้อเรื่องภาษาอังกฤษ และบอกความหมายได้อย่างถูกต้อง
๖. เขียนประโยคภาษาอังกฤษได้ถูกต้องตามโครงสร้างของภาษา
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Sound and Intonation ๑:๐๐
๑.๑ Word Stress
๑.๒ Sentence Stress
๑.๓ Contour
๒. Listening Comprehension ๔:๐๐
๒.๑ Conversation Understanding
๒.๒ Theme Understanding
๒.๓ Listening and Responses
๓. Conversation ๔:๐๐
๓.๑ Guide Conversation
๓.๒ Conversation on Topics
๔. Reading Comprehension ๔:๐๐
๔.๑ Context Understanding
๔.๒ Reading for Main Idea
๕. Writing ๓:๐๐
๕.๑ Passage from Pictures
๕.๒ Passage from Topics
๕.๓ Summary
๖. Short Talk ๒:๐๐
๗. Review ๑:๐๐
๘. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๗๕

215. PC - 9 Flight Operation Manual (FOM)


(๒๘ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการทางานของส่วนระบบต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๑๙ แล้ว ศิษย์การบิน


สามารถ
๑. บอกส่วนประกอบต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๑๙ ได้อย่างถูกต้อง
๒. ลาดับขั้นตอนการทางานของส่วนระบบต่าง ๆ และขีดจากัดในการปฏิบัติงานของ บ.ฝ.๑๙
ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. ลักษณะทั่วไปของ บ. (General Description) ๑:๐๐
๒. ส่วนประกอบและการทางานของ ย. (Engine) ๒:๐๐
๓. ระบบเชื้อเพลิง (Fuel System) ๒:๐๐
๔. ระบบไฮดรอลิค (Hydraulic System) ๒:๐๐
๕. ระบบไฟฟ้า (Electrical System) ๒:๐๐
๖. ระบบหล่อลื่น (Oil System) ๒:๐๐
๗. ระบบฐาน (Gear) ๒:๐๐
๘. ระบบการบังคับ (Flight Control System) ๒:๐๐
๙. ระบบประทุน (Canopy) ๑:๐๐
๑๐. ระบบสละอากาศยาน (Egress System) ๑:๐๐
๑๑. ระบบการทาความเย็นและระบายอากาศ (Environmental System) ๑:๐๐
๑๒. วิทยุติดต่อสื่อสารและเครื่องช่วยเดินอากาศใน บ. (Radio and Navigation Aids) ๖:๐๐
๑๓. ขีดจากัดในการปฏิบัติงานของ บ. (Aircraft Limitation) ๒:๐๐
๑๔. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๗๖

216. Aviation Resource Management : ARM


(๑๒ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการบริหารทรัพยากรการบินแล้ว ศิษย์การบินสามารถ อธิบาย


สาเหตุของอากาศยานอุบัติเหตุเป็น Case Study โดยใช้ความรู้และประสบการณ์การบินในขั้นประถม และการ
ฝึกมาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Review of Basic ๖:๐๐
๑.๑ Case Study Video and Discussion
๑.๒ Teamwork and Synergy
๑.๓ Cognitive Game
๒. Advanced System Management ๒:๐๐
๒.๑ Ejection Seat
๒.๒ Pressurization
๒.๓ Gear System
๒.๔ Mask
๒.๕ G - Suit
๒.๖ Miscellaneous
๓. Introduction to CPT and Simulator ๔:๐๐
๓.๑ Put Participants into 2 Groups
๓.๒ Case Study Video and Discussion Report
๓.๓ CPT and Flight Simulator
ผนวก ข - ๗๗

217. Exploring the Multi - Engine


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาพื้นฐานการบินด้วยเครื่องบินหลายเครื่องยนต์แล้ว ศิษย์การบิน


สามารถ อธิบายระบบการฝึก และมนุษย์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบินด้วยเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ ได้อย่าง
ถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Seeking a New Experience ๓:๐๐
๑.๑ The Perspective of History
๑.๒ Why a Multi - Engine Rating?
๑.๓ The Training Path
๒. Considering Human Factors ๔:๐๐
๒.๑ Human Factors Concepts
๒.๒ Are Two Engines Better Than One?
๒.๓ Human Factors in Multi - Engine Operations
๒.๔ Aviation Physiology in Multi - Engine Airplanes
ผนวก ข - ๗๘

218. Understanding Your Airplane


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการทางานของอุปกรณ์และระบบเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ แล้ว


ศิษย์การบินสามารถ
๑. อธิบายการทางานของอุปกรณ์และระบบของเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิ บ ายการค านวณ Weight & Balance ของเครื่ อ งบิ น หลายเครื่ อ งยนต์ โ ดย
ครูการบินเป็นผู้กาหนดเงื่อนไขที่แตกต่างกันอย่างน้อย ๒ เงื่อนไข ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Examining Systems ๒:๓๐
๑.๑ Multi - Engine Power Plant Systems
๑.๒ Engine - Driven Power Systems
๑.๓ Propeller Systems
๑.๔ Multi - Engine Airframe Systems
๒. Calculating Weight and Balance ๑:๓๐
๒.๑ Weight Considerations
๒.๒ Balance Considerations
๒.๓ Weight Shifts and the Effect on Balance
๒.๔ Differences in Weight and Balance Data for Multi - Engine
๓. Determining Performance ๓:๐๐
๓.๑ Performance Definitions
๓.๒ The Single - Engine Performance Penalty
๓.๓ Using Performance Data
๓.๔ V - Speeds
๓.๕ Takeoff Performance Calculations
๓.๖ Single - Engine Rate of Climb
๓.๗ Accelerate - Stop Distance
๓.๘ Accelerate - Go Distance
๓.๙ Climb
๓.๑๐ Cruise Flight
๓.๑๑ Single - Engine Ceiling
๓.๑๒ Descent
๓.๑๓ Landing Performance Calculations
๓.๑๔ Single - Engine Go - Around
ผนวก ข - ๗๙

219. Discovering Aerodynamics


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาหลักการของอากาศพลศาสตร์ของเครื่องบินหลายเครื่องยนต์แล้ว
ศิษย์การบินสามารถ
๑. อธิบายหลักการของอากาศพลศาสตร์ของเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบายหลักการของอากาศพลศาสตร์เมื่อเครื่องยนต์ขัดข้องได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Introducing Multi - Engine Aerodynamic ๓:๐๐
๑.๑ Boundary Layer Effect
๑.๒ Induced Flow
๑.๓ Turning Tendencies
๑.๔ High Speed Flight
๒. Mastering Engine - out Aerodynamics ๔:๐๐
๒.๑ The Story of an Engine Failure
๒.๒ The Airplane Yaws and Rolls
๒.๓ The Impact of the Critical Engine the Cure for Yaw and Roll
๒.๔ The Nature of VMC
๒.๕ The Wind Milling Propeller Feathering
๒.๖ The Sideslip
๒.๗ Consequences of Sideslip
๒.๘ Controllability Versus Performance
๒.๘.๑ Weight
๒.๘.๒ Angle of Bank
๒.๘.๓ Center of Gravity
๒.๘.๔ Power and Configuration
ผนวก ข - ๘๐

220. Performing Maneuvers and Procedures


(๗ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาขั้นตอนการปฏิบัติโดยทั่วไปของเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ แล้ว


ศิษย์การบินสามารถ
๑. อธิบ ายถึงขั้น ตอนการปฏิบัติโ ดยทั่ว ไปของเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ได้อย่า งถูกต้อ ง
๒. ใช้หลักอากาศพลศาสตร์อธิบายการ stall / spin ของเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ในสถานการณ์
และเงื่อนไขการเข้าสู่ spins โดยไม่ได้ตั้งใจ รวมถึงเทคนิคและขั้นตอนในการ recognize and recovery จากการ spins โดย
ไม่ได้ตั้งใจ ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Normal Operations ๓:๐๐
๑.๑ Using Checklists
๑.๒ Pre - flight Inspection (Including the Minimum Equipment List)
๑.๓ Ground Operations
๑.๔ Starting Engines
๑.๕ Taxiing
๑.๖ Before - Takeoff Check
๑.๗ Takeoff and Climb
๑.๘ Short Field Takeoff and Climb
๑.๙ Cruising and Descent Planning
๑.๑๐ Approach and Landing
๑.๑๑ Short Field Approach and Landing
๑.๑๒ Go - Around
๒. Maneuvers ๔:๐๐
๒.๑ Steep Turns
๒.๒ Slow Flight
๒.๓ Stalls (Power - on and Power - off)
๒.๔ Spin Awareness
๒.๕ Emergency Descent
ผนวก ข - ๘๑

221. Mastering Engine out Operations


(๑๔ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการปฏิบัติเมื่อเครื่องยนต์ดับในเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ แล้ว


ศิษย์การบินสามารถ
๑. อธิบายการตัดสินใจและการปฏิบัติเมื่อเครื่องยนต์ดับในเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ ได้อย่าง
ถูกต้อง
๒. อธิ บ ายการบิ น ภายใต้ ก ฎการบิ น ด้ ว ยเครื่ อ งวั ด ประกอบการบิ น ด้ ว ยเครื่ อ งบิ น หลาย
เครื่องยนต์ได้อย่างถูกต้อง
๓. เข้าใจในหลักการและปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการตัดสิน ใจในการบินด้วยเครื่องบินหลาย
เครื่องยนต์ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. Taking Action ๓:๐๐
๑.๑ Pitch
๑.๒ Power
๑.๓ Drag
๑.๔ Identify
๑.๕ Verify
๑.๖ Troubleshoot
๑.๗ Feathering (Actual and Simulated Procedures)
๑.๘ Engine Shutdown (Actual and Simulated Procedures)
๑.๙ Restarting the Engine
๑.๑๐ Securing the Inoperative Engine
๑.๑๑ Monitoring the Operative Engine
๒. Engine - Out Maneuvers ๔:๐๐
๒.๑ Takeoff and Climb (Loss of Engine Power Before and after Liftoff)
๒.๒ Enroute
๒.๓ VMC Demonstration
๒.๔ Drag Demonstration
๒.๕ Landing
๒.๖ Engine - out Go - Around
๓. Operating on Instrument ๓:๐๐
๓.๑ Maintaining the Proper Attitude
๓.๒ Departure
๓.๓ Enroute
๓.๔ Instrument Approach on One Engine
ผนวก ข - ๘๒

เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๔. Decision Making in Multi - Engine Airplanes ๔:๐๐
๔.๑ The Decision - Making Process
๔.๑.๑ PIC Responsibility
๔.๑.๒ Communication
๔.๑.๓ Resource Use
๔.๒ Workload Management Situation Awareness
๔.๓ Control Flight Into Terrain (CFIT)
๔.๔ Poor Judgment Chain
ผนวก ข - ๘๓

222. DA - 42 System
(๒๘ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาวิชาการทางานของส่วนระบบต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๒๐ แล้ว ศิษย์การบิน


สามารถ
๑. อธิบายส่วนประกอบต่าง ๆ ของ บ.ฝ.๒๐ ได้อย่างถูกต้อง
๒. อธิบายการทางานของอุปกรณ์และระบบของ บ.ฝ.๒๐ ได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. ลักษณะทั่วไปของ บ. (General Description) ๑:๐๐
๒. ระบบการบังคับ (Flight Control System) ๒:๐๐
๓. แผงเครื่องวัด (Instrument Panel) ๑:๐๐
๔. ระบบฐาน (Landing Gear) ๔:๐๐
๕. ระบบเก้าอี้ เข็มขัดนิรภัย ช่องเก็บสัมภาระ ประทุน ประทุนหลัง และภายในห้องโดยสาร ๒:๐๐
(Seat and Safety Harness, Baggage Compartment, Canopy, Rear Door
and Cabin Interior)
๖. ระบบเครื่องยนต์ (Power Plant System) ๕:๐๐
๗. ระบบไฟฟ้า (Electrical System) ๒:๐๐
๘. Pitot Static and Stall Warning System ๑:๐๐
๙. Garmin G1000 Integrated Avionics System ๖:๐๐
๑๐. ขีดจากัดในการปฏิบัติงานของ บ. (Aircraft Limitation) ๒:๐๐
๑๑. สอบ ๒:๐๐
ผนวก ข - ๘๔

223. ทบทวนการยังชีพในป่า ในน้า และในทะเล


(๓ ชั่วโมง)

วัตถุประสงค์ เมื่ออบรมทบทวนการยังชีพในป่า ในน้า และในทะเลแล้ว ศิษย์การบินสามารถ


๑. มีความเข้าใจการยังชีพในป่า ในน้า และในทะเล อย่างถูกต้อง
๒. มีทักษะในการใช้อุปกรณ์ยังชีพ ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
เรื่องที่จะศึกษา จานวนชั่วโมง
๑. การยังชีพในป่า ในน้า และในทะเล ๑:๐๐
๒. ส่วนประกอบและขั้นตอนการใช้งานอุปกรณ์ยังชีพ ๑:๐๐
๓. ฝึกปฏิบัติการใช้งานอุปกรณ์ยังชีพ ๑:๐๐
ผนวก ข - ๗๘

รายละเอียดหลักสูตรภาคอากาศศิษย์การบินขัน้ ประถม
การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre – Solo Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู้ควบคุมการฝึก ต้องตรวจสอบผลการฝึกอบรมก่อนทาการบินของศิษย์การบินทุกคน ให้
ผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนดก่อนเริ่มทาการฝึกภาคอากาศ
๒. การตรวจสอบผลการฝึกบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ
คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน C110 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๒.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไป หรือในวันเดียวกัน และต้องมีการฝึกขึ้น - ลงสนามมาแล้วอย่างน้อย ๓๕ ครั้ง
๒.๒ ศิษย์การบิน ที่ผ่านการตรวจสอบการบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยวแล้ว ให้
ทาการบินเดี่ยวขึ้น - ลงสนาม ๑ เที่ยว โดยให้ผู้ตรวจสอบเป็นผู้ควบคุม
๒.๓ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน C110 ให้ทาการบินทบทวนกับ
ครูการบินในเที่ยวบินตรวจสอบ C110A และทาการตรวจสอบในเที่ยวบินสารอง C110B ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๘๖

การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre – Solo Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก
๑๑/๑๔.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก C101 C102 C103 C104 C105 C106 C107 C108 C109 C110
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Run Up ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Take Off ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Traffic Exit ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Climb ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ Level Off ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Area Orientation ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Turn 30° AoB ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ P/W on Stall Series - - ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๐ P/W off Stall Series - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๑ SFL - - - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓
๑๒ Traffic Entry ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๓ Traffic Pattern ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๔ Landing ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๕ Go Around ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๖ After Landing ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๗ General Airmanship ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔

หมายเหตุ สัญลักษณ์เที่ยวบิน
D หมายถึง Dual การบินคู่กับครูการบิน
S หมายถึง Solo การบินเดี่ยว
M หมายถึง Mutual การบินคู่กับนักบินผู้ช่วย
ผนวก ข - ๘๗

การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre – Solo Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C101 ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้ ๑
D/๑.๔ ๑.๑ Emergency Ground Egress
๑.๒ Take Off Emergency Brief
๑.๓ Parachute & Abandoning Procedure
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การตรวจสอบภายนอก, ภายใน บ.และการเตรียมติด ย. ๑
(A/C Inspection & Pre Start Procedure)
๒.๒ การติด ย.(Engine Starting) ๑
๒.๓ การขับเคลื่อนและการตรวจตามรายการขณะขับเคลื่อน ๑
(Taxiing Procedure)
๒.๔ การตรวจก่อนวิ่งขึ้น (Run Up & Line Up) ๑
๒.๕ การใช้วิทยุติดต่อขณะขับเคลื่อนและทาการบิน ๑
(Radio Procedure)
๒.๖ การวิ่งขึ้นและการนา บ.ไปสู่ พ.ท.การฝึก ๑
(Take Off & Traffic Exit)
๒.๗ การไต่ – เลี้ยวไต่ และการบินระดับ ๑
(Climb, Turn & Level Off)
๒.๘ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๑
๒.๙ ขอบเขตและที่หมายหลักของพื้นที่การฝึก ๑
(Area Orientation)
๒.๑๐ อาการตอบของส่วนบังคับ (Effect of Flight Control) ๑
๒.๑๐.๑ Elevator / Aileron /Rudder
๒.๑๐.๒ Throttle / RPM.
๒.๑๐.๓ Trimming Control
๒.๑๑ สาธิตและการฝึกปฏิบัติ Hand Over / Take Over Control ๑
๒.๑๒ ลักษณะและความสาคัญของที่หมายภายนอกกับท่าทาง บ. ๑
๒.๑๓ การนา บ.กลับลงสนาม และการตรวจก่อนทาการลงสนาม ๑
(Traffic Entry & Before L / D Check)
๒.๑๔ วงจรขึ้น – ลงสนาม และการไปใหม่ ๑
(Traffic Pattern & Go Around)
๒.๑๕ การตรวจภายหลังการลงสนาม การขับเคลื่อนเข้าที่จอด และดับ ย. ๑
(After L / D Check & Engine Shut Down)
๒.๑๖ การลงแบบรายการ ทอ.ชอ.๒๑๑-๑-๒ ๑
ผนวก ข - ๘๘

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๓. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่อไปนี้ได้อย่างถูกต้อง
๓.๑ ไฟไหม้ขณะติด ย.(Engine Fire on Ground) ๔
๓.๒ ย.ขัดข้องบนพื้นขณะวิ่งขึ้น (Abort Take Off) ๔
๓.๓ ย.ขัดข้องหลังจากวิ่งขึ้นระยะสูงน้อยกว่า ๕๐๐ ฟุต ๔
(Engine Failure During Take Off)
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C102 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C101 ข้อ ๒ ๒
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การไต่ - ร่อน จากท่าบินระดับ และการกลับเข้าสู่ท่าบินระดับ ๒
(Climb & Descend)
๒.๒ การใช้ส่วนบังคับและแผ่นปรับให้สัมพันธ์กับกาลัง ย.ในท่า ๒
บินระดับไต่ - ร่อนและเลี้ยว (Trim & Coordination)
๒.๓ การควบคุมความเร็วในขณะไต่ - ร่อน โดยใช้กาลัง ย.และ ๒
ลักษณะหัวขึ้น - ลงของ บ. (Power & A/S Control)
๓. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่อไปนี้ได้อย่างถูกต้อง
๓.๑ ย.ขัดข้องในขณะวิ่งขึ้นเมื่อระยะสูงมากกว่า ๕๐๐ ฟุต ๔
(Engine Failure During Take Off)
๓.๒ การตรวจเครื่องวัดต่าง ๆ ขณะบิน และขีดจากัดต่าง ๆ (Limitation) ๔
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C103 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C102 ข้อ ๑, ๒ ๒
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การบินในสภาพสมดุล (Coordination Exercise) ๒
๒.๒ การร่วงหล่นขณะมีกาลัง ย.(Power on Stall Series) ๑
๒.๓ การไปใหม่ที่ระยะสูง ต่ากว่า ๓๐๐ ฟุต (Go Around) ๒
๓. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่อไปนี้ได้อย่างถูกต้อง
๓.๑ ย.สะดุด สั่น หรือเครื่องวัดชี้ผิดปกติ (Abnormal Condition) ๔
๓.๒ ย.ขัดข้องขณะบิน (Engine Failure During Flight) ๔
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C104 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C103 ๓
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การร่วงหล่นขณะไม่มีกาลัง ย. (Power off Stall Series) ๑
๒.๒ การเข้าสู่ท่าร่วงหล่นต่าง ๆ (เฉพาะการสาธิต) ๑
๒.๒.๑ Secondary Stall
๒.๒.๒ High Speed Stall
๒.๓ การบินช้า (Slow Flight) และการบังคับ บ. ในย่านความเร็วต่าง ๆ ๑
๒.๔ การไปใหม่ที่ระยะสูงมากกว่า ๓๐๐ ฟุต แต่น้อยกว่า ๕๐๐ ฟุต ๓
(Go Around)
ผนวก ข - ๘๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๓. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่อไปนี้ได้อย่างถูกต้อง
๓.๑ ไฟไหม้ในอากาศยาน (Engine Fire in Flight) ๔
๓.๒ การสละ บ.ในอากาศ (Bail out) ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C105 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
D/๑.๔ ๑.๑ การปฏิบัติก่อนวิ่งขึ้น (Ground Operation) ๓
๑.๒ การตรวจสอบ ย.ก่อนวิ่งขึ้นและการตั้งตัววิ่งขึ้น (Run Up & Line Up) ๓
๑.๓ การวิ่งขึ้น (Take Off) ๓
๑.๔ การออกนอกวงจร (Traffic Exit) ๓
๑.๕ การไต่และนา บ.เข้าสู่ พ.ท.การฝึก (Climb to Area) ๓
๑.๖ การบินระดับ (Level Off) ๓
๑.๗ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๓
๑.๘ การร่วงหล่นขณะมีกาลัง ย.และไม่มีกาลัง ย. ๓, ๒
(Power On & Power Off Stall Series)
๑.๙ การกลับสนามและการเข้าต่อวงจร (Traffic Entry) ๓
๑.๑๐ การปฏิบัติในวงจรขึ้น-ลงสนาม (Traffic Pattern) ๓
๑.๑๑ การลงสนาม (Landing) ๓
๑.๑๒ การไปใหม่ในระยะสูงต่าง ๆ (Go Around) ๓
๑.๑๓ การปฏิบัติหลังการลงสนาม (After Landing Check) ๓
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การแก้ออกจากท่าหัวต่า หัวสูง และหงายท้อง ๑
(Abnormal Attitude Recovery)
๒.๒ วงจรและวิธีปฏิบัติในการลงฉุกเฉิน (SFL) ที่ความสูง High Key ๑
(Crosswind Take Off & Low Wing Method)
๓. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่อไปนี้ได้อย่างถูกต้อง
๓.๑ ระบบไฟฟ้าภายใน บ.ขัดข้อง (Electrical Failure) ๔
๓.๒ การควบคุม บ.เมื่อเครื่องวัดประกอบการบินเกิดขัดข้อง ๔
๓.๓ การลงฉุกเฉิน (Simulated Forced Landing) ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C106 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C105 ข้อ ๑, ๒ ๓, ๒
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต วงจรและฝึกปฏิบัติในการลงฉุกเฉิน (SFL) ๔
ในสนามบิน
๓. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่อไปนี้ได้อย่างถูกต้อง
๓.๑ การวิ่งขึ้นและลงสนามในลักษณะลมขวางสนาม ๔
(Crosswind Take Off & Low Wing Method)
๓.๒ การแก้ท่าบินผิดปกติ (Abnormal Attitude Recovery) ๔
ผนวก ข - ๙๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๓.๓ การลงสนามแบบ No Flap ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C107 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C106 ๔, ๒
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติ
การบังคับ บ.เมื่อ Trim อยู่ในตาแหน่งหน้าสุด หรือหลังสุด ๒
๓. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่อไปนี้ได้อย่างถูกต้อง
๓.๑ วิทยุเสียขณะทาการบิน (Radio Failure) ๔
๓.๒ การร่อนที่ได้ระยะไกลที่สุด (Maximum Glide) ๔
๓.๓ การบินที่ได้ระยะเวลานานสุด (Maximum Endurance) ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C108, C109 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C107
2D/๒.๘ เพื่อเตรียมรับการตรวจสอบการบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว ๓, ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C110 (CHECK) การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
M/๑.๐ ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติตามรายการต่อไปนี้
S/๐.๔ ๑.๑ การปฏิบัติที่พื้นก่อนวิ่งขึ้น (Ground Operation) ๔
๑.๒ การตรวจสอบ ย.ก่อนวิ่งขึ้นและการตั้งตัววิ่งขึ้น ๔
(Run Up & Line Up)
๑.๓ การวิ่งขึ้น (Take Off) ๔
๑.๔ การออกนอกวงจร (Traffic Exit) ๔
๑.๕ การไต่ และนา บ.เข้าสู่ พ.ท.การฝึก (Climb to Area) ๔
๑.๖ การบินระดับ (Level Off) ๔
๑.๗ ขอบเขตและที่หมายหลักของพื้นที่การฝึก ๔
๑.๘ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๔
๑.๙ การร่วงหล่นขณะมีกาลัง ย.และไม่มีกาลัง ย. ๔
(Power On & Power Off Stall Series)
๑.๑๐ การลงฉุกเฉิน (SFL) ที่ความสูง High Key ๓
๑.๑๑ การกลับสนามและการเข้าต่อวงจร (Traffic Entry) ๔
๑.๑๒ การปฏิบัติในวงจรขึ้น - ลงสนาม (Traffic Pattern) ๔
๑.๑๓ การลงสนาม (Landing) ๔
๑.๑๔ การไปใหม่ (Go Around) ๔
๑.๑๕ การปฏิบัติหลังการลงสนาม (After Landing Check) ๔
๑.๑๖ General Airmanship ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
ผนวก ข - ๙๑

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๑๖ ก

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบินต้องทาการฝึกบินคู่กับครูการบิน โดยให้ศิษย์การบินสวมกระบังหน้า (Hood)
หลังการปฏิบัติ 300 Up Check และถอดออกก่อนทาการกลับสนาม
๒. การตรวจสอบผลการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.
ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน I108 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๒.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึกภาค
อากาศในวันบินถัดไป หรือในวันเดียวกัน
๒.๒ ศิษย์การบิน จะต้องได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติการเข้าสู่สนามบินด้วยเครื่องช่วย
เดิน อากาศ ADF และ VOR Proceed Direct อย่า งน้อ ยแบบละ ๒ ครั้ง (ADF Homing, VOR
Proceed Direct)
๒.๓ ศิษย์การบินที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน I108 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวใน
เที่ยวบินสารอง I108A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๙๒

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๑๖ ก
๘/๑๐.๔

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก I 101 I 102 I 103 I 104 I 105 I 106 I 107 I 108
ระดับความสามารถ
๐๑ Inst.Cockpit Check ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Climb ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Level Off / Level Flight ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Turn 20° AoB (Standard) ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Change A / S St.&Level (H) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ Change A / S St.&Level (L) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Change A / S St.&Level (N) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Change A / S In Turn (H) - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔
๐๙ Change A / S In Turn (L) - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๐ Change A / S In Turn (N) - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๑ Steep Turn 45° (AoB) - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔
๑๒ Vertical ‘S’ A - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔
๑๓ Vertical ‘S’ B, C, D - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔
๑๔ Unusual Recovery - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔
๑๕ ADF Homing / VOR Proceed Direct - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔
๑๖ General Airmanship ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๙๓

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๑๖ ก

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


I101 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
D/๑.๓ ๑.๑ การตรวจเครื่องวัด ฯ ก่อนวิ่งขึ้น (Inst.Cockpit Check) ๒
๑.๒ การวิ่งขึ้น (เฉพาะการสาธิต)
๑.๓ การควบคุม บ.ทางหัวขึ้น - ลง (Pitch Control) ๑
๑.๓.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๒ การ Cross Check เครื่องวัดทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับควบคุม บ.ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๔ การใช้ Trim ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๕ การฝึกเปลี่ยนท่าทาง บ.ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๔ การควบคุม บ.ทางการเอียง (Bank Control) ๑
๑.๔.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดเอียง
๑.๔.๒ การ Cross Check เครื่องวัดเอียง
๑.๔.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับควบคุม บ.ทางการเอียง
๑.๔.๔ การใช้ Rudder ทางการเอียง
๑.๔.๕ การฝึกเปลี่ยนท่าทาง บ.ทางการเอียง
๑.๕ การควบคุมกาลัง ย.(Power Control) ๑
๑.๕.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดกาลัง ย.
๑.๕.๒ การ Cross Check เครื่องวัดกาลัง ย.
๑.๕.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับควบคุมกาลัง ย.
๑.๕.๔ การตั้งกาลัง ย.สาหรับความเร็วต่าง ๆ
๑.๕.๕ ผลของการเปลี่ยนแปลงกาลัง ย.ที่มีลักษณะท่าทาง บ.
๑.๖ ความสัมพันธ์ ทางหัวขึ้น-ลง ทางการเอียง และกาลัง ย.
๑.๖.๑ การ Cross Check และการแปลความหมายเครื่องวัดฯ
๑.๖.๒ การใช้ Trim เมื่อท่าทาง บ.และกาลัง ย.เปลี่ยนแปลง
๑.๖.๓ การบินตรงบินระดับด้วยความเร็วต่าง ๆ กัน
๑.๗ การบินระดับ การรักษาทิศทาง ระยะสูง และการใช้กาลัง ย.
ควบคุมความเร็ว (Level Flight)
๑.๘ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๒๐ องศา ๑
๑.๘.๑ การเลี้ยวและคืนออกจากวงเลี้ยว
๑.๘.๒ การรักษามุมเอียง และหัวขึ้น-ลง ในวงเลี้ยว
๑.๘.๓ การใช้กาลัง ย.เพื่อรักษาความเร็วในวงเลี้ยว
๑.๘.๔ การใช้ Trim
๑.๘.๕ วิธีแก้ไขข้อผิดพลาด
ผนวก ข - ๙๔

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๘.๖ การคืนตรงทิศที่ต้องการ
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I102 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I101 ข้อ๑.๗, ๑.๘ ๓
D/๑.๓ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
การเปลี่ยนความเร็วขณะบินตรงบินระดับ (Change A / S St.& Level) ๑
๒.๑ การใช้กาลัง ย.ในการเปลี่ยนความเร็ว
๒.๒ การใช้ Trim และการบังคับ บ.ขณะเปลี่ยนความเร็ว
๒.๓ การรักษาท่าทางของ บ.ตามความเร็วที่ได้ใหม่
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิต
การเปลี่ยนแปลงของเครื่องวัดฯ เมื่อนา บ.เข้าท่าบินที่ก่อให้เกิด
ความเชื่อมั่น เช่น Aileron Roll, Loop หรือ Wing Over ๑
๔. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I103 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I102 ข้อ ๑, ๒ ๓,๒
D/๑.๓ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๔๕ องศา ๑
๒.๑.๑ การเลี้ยวและคืนออกจากวงเลี้ยว
๒.๑.๒ การรักษามุมเอียง และหัวขึ้น-ลง ในวงเลี้ยว
๒.๑.๓ การใช้กาลัง ย.เพื่อรักษาความเร็วในวงเลี้ยว
๒.๑.๔ การใช้ Trim
๒.๑.๕ วิธีการแก้ไขข้อผิดพลาด
๒.๑.๖ การคืนตรงทิศที่ต้องการ
๒.๒ การเปลี่ยนความเร็วขณะเลี้ยวระดับ (Change A / S In Turn) ๑
๒.๒.๑ การเปลี่ยนกาลัง ย.ขณะเริ่มเอียงปีก
๒.๒.๒ การเปลี่ยนความเร็วในวงเลี้ยว
๒.๒.๓ การใช้ Trim และการบังคับ บ.ขณะเปลี่ยนความเร็ว
๒.๒.๔ การรักษาท่าทางของ บ.ตามความเร็วที่ได้ใหม่
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตอาการหลงสภาพการบิน (Spatial Disorientation)
๓.๑ Sensation of Climbing While Turning
๓.๒ Sensation of Diving Recovery from a Turn
๓.๓ False Sensation of Tilting to Right or Left
๔. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I104 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการบินใน I103 ข้อ ๑, ๒ ๔,๓
D/๑.๓ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
ผนวก ข - ๙๕

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒.๑ การไต่หรือร่อนด้วยความเร็วและอัตราคงที่ (Vertical"S" A) ๑
๒.๒ การเลี้ยวขณะไต่ ร่อน ด้วยความเร็วและอัตราคงที่ ๑
(Vertical"S" B, C, D)
๒.๓ การแก้คืนจากท่าผิดปกติ (Unusual Recovery) ๑
๒.๔ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศ (ADF & VOR) ๑
๒.๔.๑ การหาและพิสูจน์ทราบสถานที่ต้องการ (Tune & Ident)
๒.๔.๒ การถือเข็มบินในการกลับเข้าหาสถานี (Homing or Proceed Direct)
๒.๕ Limited Panel ๑
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I105, I106 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
2M/๒.๖ การบินด้วยเครื่องวัด ฯ เบื้องต้นที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔,๓,๒
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
๒.๑ การทา Time & Distance ด้วย ADF, VOR
๒.๒ การนา บ.เข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
(ADF, VOR, ILS Approach)
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I107 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I106 ข้อ ๑ ๔
M/๑.๓ เพื่อเตรียมการตรวจสอบการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I108 (Check) การตรวจสอบการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
M/๑.๓ ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการปฏิบัติตามรายการดังนี้
๑.๑ Inst.Cockpit Check ๔
๑.๒ Climb ๔
๑.๓ Level Off ๔
๑.๔ Level Flight ๔
๑.๕ Change A / S St.& Level ๔
๑.๖ Change A / S In Turn ๔
° °
๑.๗ Turn 20 , 45 ๔
๑.๘ Vertical "S" A ๔
๑.๙ Vertical"S" B or C or D ๔
๑.๑๐ Unusual Recovery ๔
๑.๑๑ ADF Homing or VOR Proceed Direct ๔
๑.๑๒ General Airmanship ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๙๖

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง
(Intermediate Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์ การบิ น จะได้รั บการฝึ กในภาคการบินนี้ หลั งจากผ่ านการตรวจสอบการบินด้ว ย
เครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐานเสร็จสิ้นแล้ว เพื่อให้ศิษย์การบินนาความรู้ที่ได้จากการบิน ด้วยเครื่องวัด
ประกอบการบินมาใช้และเพิ่มความคุ้นเคยกับ บ.ก่อนการฝึกบินขั้นอื่นต่อไป
๒. ศิษย์การบิน จะต้องสามารถบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึกตามเที่ยวบิน C205 ได้อย่างปลอดภัย
ถ้าครูการบินประจาสายเห็นว่าศิษย์การบินไม่สามารถทาการบินเดี่ยวได้ ให้ผู้ควบคุมการฝึกจัดบินคู่กับครูการบิน
๓. การตรวจสอบผลการฝึก บิน เกาะภูมิป ระเทศขั้น กลาง ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ
คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ทาการตรวจสอบในเที่ยวบิน C207 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบินต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน
๓.๒ ศิษย์การบินที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน C207 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวใน
เที่ยวบินสารอง C207A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๙๗

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง
(Intermediate Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก
๗/๙.๖

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก C201 C202 C203 C204 C205 C206 C207
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๒ Run Up & Line Up ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๓ Take Off ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๔ Traffic Exit ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๕ Climb ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๖ Level Off ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๗ Turn 45° AoB ๒ ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๘ P / W on Stall Series ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๙ P / W off Stall Series ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๐ Chandelle ๒ ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๑ Lazy Eight ๒ ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๒ SFL ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔
๑๓ Traffic Entry ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๔ Traffic Pattern PATTERN ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๕ Normal, H / F, N / F Landing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๖ Go Around ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๗ After Landing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๘ General Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
ผนวก ข - ๙๘

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง
(Intermediate Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก
สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ
C201 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
D/๑.๔ ๑.๑ หัวข้อการฝึกที่ได้รับการตรวจสอบในวัฏภาคการบิน
เกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยวทั้งหมด ๔
๑.๒ SFL ที่ความสูงต่ากว่า High Key แต่ไม่ต่ากว่า Low Key ๓
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๔๕ องศา ๒
๒.๒ Chandelle ๒
๒.๓ Lazy Eight ๒
๒.๔ การแก้ท่าผิดปกติจากการทาท่าทางการบิน ๒
๒.๕ การลงสนามตรงจุดที่กาหนด Half Flaps, No Flap L / D ๒
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C202 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C201 ข้อ ๑, ๒ ๓,๔
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
การลงสนามแบบ Straight In Landing
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C203 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C201 ข้อ ๑, ๒ ๔
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
การลงสนามแบบ 360 Overhead Landing
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C204 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C203 ๔
M/๑.๔ ๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C205 การบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึก
S/๑.๒ ๑. ศบ.จะฝึกบินในท่าต่อไปนี้ ๔
๑.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๔๕ องศา
๑.๒ Power on Stall Series
๑.๓ Chandelle
๑.๔ Lazy Eight
๑.๕ การลงสนามโดยใช้ Flaps (ห้าม ศบ.ลงสนาม No Flap)
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
หมายเหตุ : ศบ.ทีไ่ ม่สามารถทาการบินเดี่ยวได้อย่างปลอดภัย ให้จัดบินคู่กับ คบ.
ผนวก ข - ๙๙

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ
C206 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนเพื่อเตรียมการตรวจสอบใน C207 ๔
M/๑.๔ ๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C207 การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง
M/๑.๔ ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติในรายการต่อไปนี้
(Check) ๑.๑ การปฏิบัติก่อนวิ่งขึ้น (Ground Operation) ๔
๑.๒ การตรวจสอบ ย.ก่อนวิ่งขึ้นและการตั้งตัววิ่งขึ้น (Run Up & Line Up) ๔
๑.๓ การวิ่งขึ้น (Take Off) ๔
๑.๔ การออกนอกวงจร (Traffic Exit) ๔
๑.๕ การไต่ และนา บ.เข้าสู่ พ.ท.การฝึก (Climb to Area) ๔
๑.๖ การวางระดับและการบินระดับ (Level Off & Level Flight) ๔
๑.๗ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๔๕ องศา ๔
๑.๘ การร่วงหล่นขณะมีกาลัง ย. (Power on Stall Series) ๔
๑.๙ การร่วงหล่นขณะไม่มีกาลัง ย. (Power off Stall Series) ๔
๑.๑๐ Chandelle ๔
๑.๑๑ Lazy Eight ๔
๑.๑๒ SFL (ที่ความสูง High Key แต่ไม่ต่ากว่า Low Key) ๔
๑.๑๓ การกลับสนามและการเข้าต่อวงจร (Traffic Entry) ๔
๑.๑๔ การปฏิบัติในวงจรขึ้น - ลงสนาม (Traffic Pattern) ๔
๑.๑๕ การลงสนามด้วย Half Flaps and No Flap Landing ๔
๑.๑๖ การไปใหม่ (Go Around) ถ้ามี ๔
๑.๑๗ การปฏิบัติหลังการลงสนาม (After Landing Check) ๔
๑.๑๘ General Airmanship ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๐๐

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๖ ก

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบินต้องมีชั่วโมงเฉพาะแบบรวมอย่างน้อย ๓๕.๐ ชั่วโมงบิน ก่อนทาการฝึกบินหมู่ ๒
๒. ศิษ ย์ก ารบิน ต้อ งทาการบิน เดี่ย วหมู่ ๒ ในเที่ย วบิน F110 ถ้า ไม่ส ามารถทาการบิน
เดี่ยวได้อย่างปลอดภัย ให้ส่ง Spot Check
๓. การตรวจสอบผลการฝึกบินหมู่ ๒ ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน
ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน F113 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ หัวหน้าหมู่บิน (Lead) ตรวจสอบในระดับความสามารถ ๓
๓.๒ ลูกหมู่ (Wing) ตรวจสอบในระดับความสามารถ ๔
๓.๓ ศิษย์การบินต้องทาการบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบ
การฝึกภาคอากาศในวันบินถัดไป หรือในวันเดียวกัน
๓.๔ ศิษย์การบินที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน F113 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว
ในเที่ยวบิน F113A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๐๑

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๖ ก
๑๓/๑๙.๕

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
F101 F102 F103 F104 F105 F106 F107 F108 F109 F110 F111 F112 F113
ลาดับ หัวข้อการฝึก solo
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๒ Run Up & Line Up ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๓ Lead T / O (Indiv.) ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๔ Wing T / O (Indiv.) ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๕ Normal Formation ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๖ Cross Under - - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๗ Echelon Formation - - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๘ Trail Formation - - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๙ Pitch Out & Rejoin - - - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๐ Position change ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๑ Lead Technique ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ - ๓ ๓ ๓
๑๒ Traffic Pattern L / D ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๓ General Airmanship ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๐๒

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๖ ก

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


F101 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
D/๑.๕ ๑.๑ การเตรียมการและการแถลงย่อก่อนทาการบิน ๑
(Preparation and Briefing)
๑.๒ การปฏิบัติที่พื้น จนถึงการตั้งตัวเพื่อการวิ่งขึ้น ๑
(Ground Operation)
๑.๓ การวิ่งขึ้นทีละเครื่อง และการเลี้ยวรับหมู่ หรือการเข้ารวมหมู่ ๑
(Lead or Wing Take Off Indiv and Join Up)
๑.๔ การบินหมู่ ๒ ในการบินรูปขบวนปกติ (Normal Formation) ๑
๑.๔.๑ การบินตรงระดับ (Level Flight)
๑.๔.๒ การเลี้ยวเข้าหา (Turn Into)
๑.๔.๓ การเลี้ยวออกจาก (Turn Away)
๑.๔.๔ การไต่ – ร่อน (Dive & Zoom)
๑.๕ การเปลี่ยน หน.หมู่ (Position Change) ๑
๑.๖ เทคนิคการนาหมู่ (Lead Technique) ๑
๑.๗ การกลับเข้าต่อวงจร และการลงสนาม ๑
๑.๘ การปฏิบัติที่พื้น และการแถลงย่อหลังทาการบิน ๑
๒. ศบ.จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจดจาวิธีปฏิบัติ
๒.๑ ให้สัญญาณระหว่างนักบินกับ จนท.ภาคพื้น ๓
๒.๒ ให้สัญญาณระหว่างนักบินภายในหมู่ (Visual Signal) ๓
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
F102 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน F101 ๒
D/๑.๕ ๒. ศบ.จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และจดจาวิธีปฏิบัติ
๒.๑ วินัยและความรับผิดชอบในหมู่บิน
๒.๒ การให้สัญญาณฉุกเฉินเมื่อวิทยุเสีย
๒.๓ Abort Take Off
๒.๔ Wake Turbulence
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
F103, F104 ๑. ศบ.จะได้รับทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน F102 ข้อ ๑, ๒ ๔,๓,๒
2D/๓.๐ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
๒.๑ การปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงการชนกัน (Prevent of Collision)
๒.๒ Simulate Lost Wingman Procedure
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๐๓

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


F105 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน F104 ข้อ ๑ ๔,๓,๒
D/๑.๕ ๒. ศบ.จะได้รบั การสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การลอดใต้ (Cross Under) ๑
๒.๒ การเลี้ยวในรูปขบวนขั้นบันได (Echelon) ๑
๒.๓ การบินหมู่รูปขบวนตามกัน (Trail) ๑
๒.๔ การแยกหมู่และการรวมหมู่ (Pitch Out & Rejoin)
๒.๔.๑ การให้สัญญาณและการแยกหมู่ ๑
๒.๔.๒ การปฏิบัติของหัวหมู่และลูกหมู่หลังการแยกหมู่ ๑
๒.๔.๓ สัญญาณรวมหมู่และการปฏิบัติ ๑
๒.๔.๔ การเลี้ยวรับและการเข้ารวมหมู่ ๑
๒.๔.๕ ลักษณะอันตรายและวิธีแก้ไข ๑
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิต
๓.๑ Overshoot (Turning, Straight Ahead)
๓.๒ Break Out Procedure
๔. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
F106, F107 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน F105 ๒,๓,๔
2D/๓.๐ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
๒.๑ การทา Instrument Approach หมู่ชิดทั้งตาแหน่ง
หัวหน้าหมู่ (Lead) และลูกหมู่ (Wing)
๒.๒ Formation Take Off
๒.๓ Formation Landing
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
F108, F109 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนเพื่อเตรียมการการบินเดี่ยวหมู่ ๒ ๔
2M/๓.๐ ในเที่ยว F110
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
F110 การฝึกบินเดี่ยวหมู่ ๒
S/๑.๕ ๑. ศบ.จะต้องทาการฝึกบินเดี่ยวหมู่ ๒ ๔
โดยให้อยู่ในการดูแลของ คบ.ประจาสาย
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน ๓,๔
๒.๑ การเตรียมการและการแถลงย่อก่อนทาการบิน
๒.๒ การปฏิบัติที่พื้น
๒.๓ การวิ่งขึ้นในตาแหน่ง หน.หมู่
๒.๔ การนาหมู่เข้าพื้นที่การฝึก
๒.๕ การฝึกในตาแหน่ง หน.หมู่ ทั้งหมด
ผนวก ข - ๑๐๔

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒.๖ การฝึกในตาแหน่ง ลูกหมู่ดังนี้
๒.๖.๑ Normal Formation
๒.๖.๒ Echelon (เฉพาะตาแหน่งทางขวาของ หน.หมู่)
๒.๖.๓ Pitch Out & Rejoin
๒.๖.๔ Position Change
๒.๗ การนาหมู่กลับเข้าสู่สนามและลงสนาม
๒.๘ การปฏิบัติที่พื้นหลังการลงสนาม
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
F111, F112 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนเพื่อเตรียมรับการตรวจสอบใน F113 ๔
2M/๓.๐ ๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
F113 การตรวจสอบผลฝึกบินหมู่ ๒
M/๑.๕ (Check) ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติในรายการต่อไปนี้
๑.๑ การเตรียมการ และการปฏิบัติก่อนวิ่งขึ้น (Ground Operation) ๔
๑.๒ การตรวจก่อนวิ่งขึ้น และตั้งตัววิ่งขึ้น (Run Up & Line Up) ๔
๑.๓ การวิ่งขึ้นทีละเครื่อง และการเข้ารวมหมู่ ๔
(Lead or Wing Take Off Indiv. and Join Up)
๑.๔ การบินหมู่ ๒ ในรูปขบวนปกติ (Normal Formation)
๑.๔.๑ Turn Into ๔
๑.๔.๒ Turn Away ๔
๑.๔.๓ Dive & Zoom ๔
๑.๕ การลอดใต้ (Cross Under) ๔
๑.๖ การบินรวมหมู่รูปขบวนขั้นบันได (Echelon Formation) ๔
๑.๗ การบินหมู่รูปขบวนตามกัน (Trail Formation) ๔
๑.๘ การแยกหมู่ และการรวมหมู่ (Pitch Out & Rejoin) ๔
๑.๙ การเปลี่ยนตาแหน่ง (Position Change) ๔
๑.๑๐ หลักการนาหมู่ (Lead Technique) ๓
๑.๑๑ การปฏิบัติในการลงสนาม (Traffic Pattern & Landing) ๔
๑.๑๒ General Airmanship ๔
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๐๕

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advanced Instrument)
บ.ฝ.๑๖ ก

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิ ษ ย์ ก ารบิ น ต้ อ งท าการฝึ ก บิ น คู่ กั บ ครู ก ารบิ น โดยให้ ศิ ษ ย์ ก ารบิ น สวมกระบั ง หน้ า
(Hood) หลังจากทาการวิ่งขึ้น และปฏิบัติขั้นตอน 300 Up Check เสร็จเรียบร้อย และถอดออกหลังจากผ่าน
MDA
๒. การตรวจสอบผลการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า ให้ นตฐ.รร.การบิน
หรือ คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน I207 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๒.๑ ศิษย์การบิน ต้องทาการบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบ
การฝึกภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน
๒.๒ ศิษย์การบิ น จะต้องได้รับการฝึกปฏิบัติการนา บ.เข้าสู่ สนามบินด้วยเครื่องช่ว ย
เดินอากาศ ADF, VOR อย่างน้อยแบบละ ๔ ครั้ง
๒.๓ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน I207 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวใน
เที่ยวบินสารอง I207A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๐๖

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advanced Instrument)
บ.ฝ.๑๖ ก
๗/๙.๗

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก I201 I202 I203 I204 I205 I206 I207
ระดับความสามารถ
๐๑ Inst.Cockpit Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Climb ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Level Off ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Level Flight ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Time and Distance Check ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ ADF or VOR Approach ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ General Airmanship ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๐๗

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advanced Instrument)
บ.ฝ.๑๖ ก

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


I201 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
D/๑.๔ ๑.๑ การตรวจเครื่องวัด ฯ ก่อนการวิ่งขึ้น ๔
(Instrument Cockpit Check)
๑.๒ การไต่ (Climb) ๔
๑.๓ การวางระดับ (Level Off) ๔
๑.๔ การบินระดับ (Level Flight) ๔
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ ๑
๒.๑ การตรวจสอบเวลาและระยะทางโดยอาศัยเครื่องช่วยเดินอากาศ
ADF และ VOR (Time & Distance Check)
๒.๒ การนา บ.เข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
(ADF and VOR Approach)
๒.๒.๑ การหมุนหาคลื่นและพิสูจน์สถานีที่ต้องการ (Tune & Ident)
๒.๒.๒ การขอคาอนุมัติการจราจรทางอากาศ (ATC. Clearance)
๒.๒.๓ การบินสกัดแนวบินที่กาหนด (Course Interception)
๒.๒.๔ การรักษาแนวบิน (Maintaining Course)
๒.๒.๕ การผ่านสถานี (Station Passage)
๒.๒.๖ การบินวนรอ และการรอเป็นขั้น ๆ (Holding and Stacking)
๒.๒.๗ การลดระยะสูง การบินเข้าสู่สนามระยะต่า และการไปใหม่
(Low Approach and Missed Approach)
๒.๒.๘ การ Circling
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I202 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I201 ข้อ ๑, ๒ ๔, ๒
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
การเลี้ยว Standard Rate Turn
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I203 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I201 ข้อ ๑, ๒ ๔, ๓
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
การเลี้ยว Time Turn, ILS Approach
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ
ผนวก ข - ๑๐๘

I204 ๑. ศบ.ฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I201 ข้อ ๑ ๔


M/๑.๔ ๒. ศบ.จะมีความรู้ความเข้าใจกรณีวิทยุเสียขณะทา Approach ๔
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I205, I206 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน ๔
2M/๒.๘ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้าเพื่อเตรียมรับ
การตรวจสอบตาม I207 ทั้งหมด
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
I207 การตรวจสอบผลการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
M/๑.๓ (Check) ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการปฏิบัติตามรายการต่อไปนี้
๑.๑ Inst.Cockpit Check ๔
๑.๒ Climb ๔
๑.๓ Level Off ๔
๑.๔ Level Flight ๔
๑.๕ Time and Distance Check ๔
๑.๖ VOR Approach or ADF Approach ๔
๑.๗ General Airmanship ๔
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๐๙

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๑๖ ก

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องผ่านการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้ามาแล้วก่อนทา
การฝึกบินในภารกิจนี้
๒. ศิษย์ การบิ น ต้องได้รับการฝึ กอบรมให้ มี ความรู้ ความเข้า ใจในหลั กการ เทคนิค กฎ
ข้อบังคับ และระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการบินกลางคืน
๓. ศิษย์การบิน จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการบินเกาะภูมิประเทศในเวลากลางคืน
ผนวก ข - ๑๑๐

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๑๖ ก
๒/๒.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก NITE 101 NITE 102
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔ ๔
๐๒ Run Up & Line Up ๔ ๔
๐๓ Take Off ๓ ๔
๐๔ Traffic Exit ๓ ๓
๐๕ Climb ๓ ๓
๐๖ Level Off ๓ ๓
๐๗ Turn ๓ ๓
๐๘ Area Orientation ๓ ๓
๐๙ Nav.Aid.Orientation ๓ ๔
๑๐ Traffic Entry ๓ ๓
๑๑ Traffic Pattern ๓ ๓
๑๒ Go Around ๓ ๓
๑๓ After Landing ๔ ๔
๑๔ General Airmanship ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๑๑

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๑๖ ก

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


Nite101, 102 ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้ ๔
2D/๒.๐ ๑.๑ Radio Failure
๑.๒ Electrical Failure
๑.๓ Night Traffic Pattern & Landing
๑.๔ รปป.การฝึกบินกลางคืนของ รร.การบิน
๑.๕ ทัศนสัญญาณระหว่างนักบินกับ จนท.ภาคพื้น
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การปรับแสงสว่างในห้องนักบิน ๓
๒.๒ วิธีปฏิบัติในการขับเคลื่อนในเวลากลางคืน ๔
๒.๓ การวิ่งขึ้นโดยอาศัยเครื่องวัดประกอบการบิน ๓
๒.๔ การใช้เครื่องวัดที่แสดงผลของท่าทางการบิน ๓
๒.๕ การเลี้ยว (Turn) ๓
๒.๖ การรักษาขอบเขตพื้นที่การฝึก โดยใช้เครื่องช่วยเดินอากาศ
และการใช้จุดตรวจสอบบนพื้นดินในเวลากลางคืน ๓
๒.๗ วิธีออกนอกวงจร และการนา บ.เข้าต่อวงจรตามระเบียบปฏิบัติ
เกี่ยวกับการบินกลางคืน ๓
๒.๘ วิธีปฏิบัติต่าง ๆ กรณีฉุกเฉินในการบินกลางคืน ๔
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิต
Spatial Disorientation
หมายเหตุ : การฝึกบินขึ้น - ลงสนามบินในเวลากลางคืน ให้ลงแบบ Normal Landing
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๑๒

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๑๖ ก

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบินจะได้รับการฝึกบินเดินทางระยะสูงปานกลาง VFR ตามรายการดังนี้
๑.๑ การฝึก บิน เดิน ทางระยะสูง ปานกลางในพื้น ที่ก ารฝึก (Medium Nav.VFR
Roundrobin) ๑ เที่ยว และทาการบินเดี่ยว (S) หรือคู่กับนักบินผู้ช่วย (M) ๑ เที่ยวบิน
๑.๒ การฝึ ก บิ น เดิ น ทางระยะสู ง ปานกลางไป - กลั บ สนามบิ น ต่ า งถิ่ น (Medium
Nav.VFR Out & Back) ๔ เที่ยว
๑.๓ การฝึกบินเดินทางระยะสูงปานกลาง ค้างคืนสนามบินต่างถิ่น (Medium Nav.VFR
Cross Country) ๒ เที่ยว
๒. ผู้ควบคุมการฝึก ต้องจัดให้มีการอบรมเพื่อให้ศิษ ย์การบินมีความรู้ ความเข้าใจก่อนที่จะ
เริ่มทาการบินภาคอากาศ ตามรายการดังต่อไปนี้
๒.๑ กฎการบินสากล ข้อบังคับ และระเบียบการบินทั่วไป
๒.๒ การเตรียมแผนที่ การใช้แผนที่ และการอ่านแผนที่
๒.๓ การเลือกระยะสูงตามกฎการบิน VFR
๒.๔ การทา Flight Log และวิธีใช้ตารางสมรรถนะของ บ.และ Dr.Computer
๒.๕ การตรวจสอบข่าวอากาศและ Notam ตามเส้นทางบินและสนามบินปลายทาง
๒.๖ การทาแผนการบิน (Flight Plan)
๒.๗ การทา Work Cycle และการทา Ground Speed Check
๒.๘ การติดต่อวิทยุกับหน่วยควบคุมการจราจรทางอากาศ (Radio Procedure)
๒.๙ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศ และสถานีเรดาร์
๒.๑๐ วิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน (Lost Procedure)
๓. การตรวจสอบผลการฝึกบินเดินทาง ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.ตรวจสอบมาตรฐาน
การบิน ศบ. ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน Nav109 และ Nav110 ตามกฎการบิน VFR ไปยังสนามบินต่างถิ่น
และกลับในวันเดียวกันโดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไป หรือในวันเดียวกัน
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน Nav109 และ Nav110 ให้ทาการ
บินตรวจสอบแก้ตัวในเที่ยวบินสารอง Nav109A และ Nav110A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๑๓

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๑๖ ก
๑๐/๑๔.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV
ลาดับ หัวข้อการฝึก
101 102 103 104 105 106 107 108 109 110
ระดับความสามารถ
๐๑ Mission Planning ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Preparation of Maps ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Flight Log Preparation ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Ground Operation ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Pre - Take Off Check ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ Departure / Route Entry ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Map Reading ๑ ๒ ๓ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Nav. Aid. Orientation ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ VFR. Gnd. Track Control ๑ ๒ ๓ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๐ Ground Speed Check ๑ ๒ ๓ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๑ Inflight Work Circle ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๒ Radio Procedure ๒ ๓ ๓ - ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๓ Enroute Descent ๓ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๔ Traffic Pattern & L / D ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๕ General Airmanship ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๑๔

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๑๖ ก

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


Nav101 การฝึกบินเดินทาง Round Robin บริเวณพื้นที่การฝึก
D/๑.๒ (Medium Nav.VFR Round Robin)
๑. ศบ.จะต้องมีความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้ ๒
๑.๑ Divert Airfield
๑.๒ Emergency Airfield
๑.๓ Radio Failure
๑.๔ Fuel Shortage
๑.๕ Lost Procedure
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การปฏิบัติก่อนทาการวิ่งขึ้น ๔
๒.๒ การปฏิบัติหลังทาการวิ่งขึ้น จนถึงการบินระดับในเส้นทางบิน ๓
๒.๓ การติดต่อวิทยุกับหน่วยควบคุมจราจรทางอากาศ ๒
๒.๔ การรักษาเส้นทางบินและการแก้ไขเข้าสู่เส้นทางบิน ๓
๒.๕ การอ่าน การพิจารณา และการแปลความหมายในเส้นทางบิน ๑
๒.๖ การหาระยะทางบนพื้นดินโดยประมาณ เปรียบเทียบกับระยะสูงที่ทาการบิน ๑
๒.๗ การทา Ground Speed Check ๑
๒.๘ การบินและแก้ไขให้เป็นไปตามรายการที่คานวณไว้ใน Flight Log ๑
๒.๙ การวางแผนการบิน ขณะทาการบิน (Inflight Planning) ๒
๒.๑๐ การลดระยะสูง และการเข้าสู่สนามบิน ๓
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Nav102, Nav103 การฝึกบินเดินทางระยะสูงปานกลาง ไป-กลับ สนามบินต่างถิ่น (Out & Back)
2D/๒.๘ ๑. คบ.และ ศบ.จะต้องมีความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้ ๒
๑.๑ การติดต่อวิทยุกับหน่วยควบคุมจราจรทางอากาศ
๑.๒ รปป.สนามบินปลายทาง
๑.๓ การบริการลานจอดที่สนามบินปลายทาง
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การส่งแผนการบิน ๔
๒.๒ การขอใช้บริการข่าวอากาศ และ Notam ๔
๒.๓ การบินในเส้นทางบิน ๓
๒.๔ การติดต่อวิทยุกับเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ ๓
๒.๕ การเข้าสู่สนามบินต่างถิ่น โดยการใช้เครื่องช่วยเดินอากาศ
หรือการใช้ Radar Vector ๓
ผนวก ข - ๑๑๕

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒.๖ การฝึกขึ้น - ลงสนามบินต่างถิ่น ๔
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินในข้อ ๒, ๓
NAV101 ข้อ ๒ ๔
๔. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Nav104 ๑. การบินเดินทางเดี่ยวในพื้นที่การฝึก (Round Robin) ๔
S/๑.๒ ๒. ศบ.จะฝึกบินใน NAV101 ข้อ ๒ ๔
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Nav105, Nav106 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการบินใน NAV102, 103 ๔
2D/๒.๘ ๒. ศบ.ต้องเข้าใจวิธีปฏิบัติฉุกเฉินทุกกรณี ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Nav107, Nav108 การฝึกบินเดินทางระยะสูงปานกลางค้างคืนสนามบินต่างถิ่น (Cross Country)
2M/๓.๒ ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน NAV105, 106 ๔
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Nav109, Nav110 การตรวจสอบการฝึกบินเดินทางระยะสูงปานกลาง ไป - กลับ
2M/๒.๘ สนามบินต่างถิ่น (Out & Back)
๑. ศบ.ต้องมีความสามารถปฏิบัติตามรายการต่อไปนี้
๑.๑ Mission Planning ๔
๑.๒ Preparation of Maps ๔
๑.๓ Flight Log Preparation ๔
๑.๔ Ground Operation ๔
๑.๕ Pre - Take Off Check ๔
๑.๖ Departure / Route Entry ๔
๑.๗ Map Reading ๔
๑.๘ Nav Aid Orientation ๔
๑.๙ VFR and Track Control ๔
๑.๑๐ Ground Speed Check ๔
๑.๑๑ Inflight Work Circle ๔
๑.๑๒ Radio Procedure ๔
๑.๑๓ Enroute Descend ๔
๑.๑๔ Traffic Pattern & Landing ๔
๑.๑๕ General Airmanship ๔
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๑๖

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย
(Final Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องมีความสามารถทาการบินเกาะภูมิประเทศในท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้ว
ทั้ ง หมดได้ อ ย่ า งปลอดภั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ พร้ อ มทั้ ง นาหลั ก การ เทคนิ ค และวิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ ไ ด้ เ รี ย นรู้
มาประยุกต์ใช้งานกับสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน ศบ.จะต้องเข้าใจหลักการบินทั้งหมด แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
ทุกกรณีและมีความพร้อมที่จะบินกับ บ.ที่มีสมรรถนะสูงขึ้นได้
๒. ศิษย์การบิน จะต้องสามารถบินเดี่ยวในเที่ยวบิน C304 และ C306 ได้อย่างปลอดภัย
ถ้าศิษย์การบินไม่สามารถทาการบินเดี่ยวได้ ให้ส่ง Spot Check
๓. กรณีศิษ ย์ก ารบิน ไม่ส ามารถทาการบิน เดี่ย วได้ เนื่องจากสภาพอากาศ ให้ผู้ค วบคุม
การฝึกจัดบินคู่กับนักบินผู้ช่วย (ครูการบิน)
๔. การตรวจสอบผลการฝึกบินเกาะภูมิ ประเทศขั้นสุดท้าย ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.
ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ทาการตรวจสอบในเที่ยวบิน C308 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๔.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบินก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึกภาค
อากาศในวันบินถัดไป หรือในวันเดียวกัน
๔.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน C308 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวใน
เที่ยวบินสารอง C308A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๑๗

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย
(Final Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
C301 C302 C303 C304 C305 C306 C307 C308
ลาดับ หัวข้อการฝึก solo solo
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๒ Run Up & Line Up ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๓ Take Off ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๔ Traffic Exit ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๕ Climb ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๖ Level Off ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๗ Turn 60° AoB ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๘ Chandelle ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๙ Lazy Eight ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๐ Aileron Roll ๑ ๒ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๑ Barrel Roll ๑ ๒ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๒ Loop ๑ ๒ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๓ SFL ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๔ Traffic Entry ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๕ Traffic Pattern ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๖ Landing ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๗ Go Around ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๘ After Landing ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๙ General Airmanship ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๑๘

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย
(Final Contact)
บ.ฝ.๑๖ ก
สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ
C301 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
D/๑.๔ ๑.๑ หัวข้อการฝึกที่ได้รับการตรวจสอบในวัฏภาคการบิน
เกาะภูมิประเทศขั้นกลางทั้งหมด ๔
๑.๒ Chandelle ๔
๑.๓ Lazy Eight ๔
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๖๐ องศา ๒
๒.๒ Aileron Roll ๑
๒.๓ Barrel Roll ๑
๒.๔ Loop ๑
๒.๕ SFL ทุกความสูง ๔
๒.๖ การแก้จากท่าผิดปกติ (Unusual Recovery) ๔
๒.๗ การลงสนาม Normal L / D, Straight in L / D ๔
๒.๗.๑ Full Flaps
๒.๗.๒ Half Flaps
๒.๗.๓ No Flaps
๓. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C302 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติตามใน C301 ข้อ ๑, ๒ ๒, ๔
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C303 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติเพื่อเตรียมการบินเดี่ยวใน C304 ๓, ๔
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C304 การฝึกบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึก
S/๑.๒ ๑. ศบ.จะต้องฝึกในท่าต่อไปนี้ ๔
๑.๑ การปฏิบัติที่พื้น, การนา บ.วิง่ ขึ้นจนถึงวางระดับในพื้นที่การฝึก
๑.๒ การเลี้ยวปีกลึก ๖๐ องศา
๑.๓ Chandelle
๑.๔ Lazy Eight
๑.๕ การลงสนามโดยใช้ Flaps (ห้าม ศบ.ลงสนาม No Flap)
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
หมายเหตุ : ให้ คบ.หรือผู้ควบคุมการฝึก กาหนดท่าบินในการบินเดี่ยวของ ศบ.ได้ตามความเหมาะสม
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C305 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C301 ข้อ ๑,๒ ๓, ๔
M/๑.๔ ๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C306 การฝึกบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึก
S/๑.๒ ๑. ศบ.จะต้องฝึกในท่าบินต่อไปนี้
๑.๑ การเลี้ยวปีกลึก ๖๐ องศา
๑.๒ Chandelle
๑.๓ Lazy Eight
๑.๔ Aileron Roll
๑.๕ Barrel Roll
๑.๖ Loop
๑.๗ การลงสนามโดยใช้ Flaps (ห้าม ศบ.ลงสนาม No Flap)
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
หมายเหตุ : ให้ คบ.หรือผู้ควบคุมการฝึก กาหนดท่าบินในการบินเดี่ยวของ ศบ.ได้ตามความเหมาะสม
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C307 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
M/๑.๔ เพื่อเตรียมรับการตรวจสอบใน C308 ทั้งหมด ๔
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
C308 (Check) การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย
M/๑.๔ ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติตามรายการต่อไปนี้
๑.๑ การปฏิบัติที่พื้นก่อนวิ่งขึ้น (Ground Operation) ๔
๑.๒ การตรวจสอบ ย.ก่อนวิ่งขึ้นและการตั้งตัววิ่งขึ้น ๔
(Run Up & Line Up)
๑.๓ การวิ่งขึ้น (Take Off) ๔
๑.๔ การออกนอกวงจร (Traffic Exit) ๔
๑.๕ การไต่ และนา บ.เข้าสู่ พ.ท.การฝึก (Climb to Area) ๔
๑.๖ การบินระดับ (Level Off) ๔
๑.๗ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๖๐ องศา ๔
๑.๘ Chandelle ๔
๑.๙ Lazy Eight ๔
๑.๑๐ Aileron Roll ๔
๑.๑๑ Barrel Roll ๔
๑.๑๒ Loop ๔
๑.๑๓ Sfl (ทุกความสูง) ๔
๑.๑๔ การกลับสนามและการเข้าต่อวงจร (Traffic Entry) ๔
๑.๑๕ การปฏิบัติในวงจรขึ้น - ลงสนาม (Traffic Pattern) ๔
ผนวก ข - ๑๒๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๑๖ การลงสนาม (Full Flaps, Half Flaps, No Flaps L/D) ๔
๑.๑๗ การไปใหม่ (Go Around) ถ้ามี ๔
๑.๑๘ การปฏิบัติหลังการลงสนาม (After Landing Check) ๔
๑.๑๙ General Airmanship ๔
๒. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ๔
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๒๑

รายละเอียดหลักสูตรภาคอากาศศิษย์การบินขั้นมัธยม
การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre - Solo Contact)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู ้ค วบคุม การฝึก ต้อ งตรวจสอบผลการฝึก อบรมก่อ นทาการบิน ของศิษ ย์ก ารบิน
ทุกคนให้ผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนดก่อนเริ่มทาการฝึกภาคอากาศ
๒. การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ
คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบินที่ C110 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๒.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบินอย่างน้อย ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบ
การฝึ กภาคอากาศในวั นบิ นถั ดไปหรื อในวั นเดี ยวกั น และต้ องมี การฝึ กขึ้ น - ลงสนามมาแล้ ว
อย่างน้อย ๓๕ ครั้ง
๒.๒ ศิษย์การบิ น ที่ผ่ านการตรวจสอบการบิ นเกาะภูมิประเทศปล่อยเดี่ยวแล้ว ให้ ทา
การบินเดี่ยวขึ้น - ลงสนาม ๑ เที่ยว โดยให้ผู้ตรวจสอบเป็นผู้ควบคุมในการบินเดี่ยว
๒.๓ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยว C110 ให้ทาการบินทบทวนกับครูการบิน
ในเที่ยวบิน C110A และทาการตรวจสอบในเที่ยวบินสารอง C110B ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๒๒

การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre – Solo Contact)
บ.ฝ.๑๙
๑๐/๑๓.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก C101 C102 C103 C104 C105 C106 C107 C108 C109 C110
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๐๒ Take Off ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๐๓ Departure ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๐๔ Turn ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๐๕ Level Off ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๐๖ Steep Turn ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Power On & Off Stall - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Traffic Patt. Stall - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ Slow Flight - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๐ Nose Low / High Recovery - - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๑ Runaway Trim - - - - - ๒ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๒ In Flt.Pln/Area Orn ๑ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๓ Nav Aid Orn - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๔ SFL - - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๕ Let Down / Traffic Entry ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๖ Traffic & Landing ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๗ Normal Landing ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๘ No Flap Landing - - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔
๑๙ St – In Landing - - - - ๒ ๓ ๓ ๔ - -
๒๐ Closed Pattern ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๒๑ Go Around ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๒๒ Clearing ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๒๓ Inflight Check ๑ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๒๔ Radio Procedure ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๒๕ Safety Precaution ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๒๖ Airmanship ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๒๗ Emergency Procedure ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
๒๘ General Knowledge ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๒๓

การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre - Solo Contact)
บ.ฝ.๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C101 การทาความคุ้นเคยกับการควบคุมและบังคับ บ.
D/๑.๓ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Emergency Ground Egress
๑.๒ Brake Failure Procedure
๑.๓ Take off Emergency Brief
๑.๔ Premeditated Ejection Procedure
๑.๕ Hand Over / Take Over Procedure
๑.๖ Use of Fire Wall Shut off Handle
๑.๗ Landing Gear Emergency Extended Procedure
๑.๘ Intercom Failure
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การตรวจและการกรอกแบบพิมพ์ ทอ.ชอ.๒๒๑-๑-๒ ๑
๒.๒ การตรวจภายนอกและภายใน บ. ๑
๒.๓ วิธีการปฏิบัติ Pre-Start Check ๑
๒.๔ วิธีการปฏิบัติ Start Engine ๑
๒.๕ วิธีการปฏิบัติ ก่อน Taxi ๑
๒.๖ วิธีการปฏิบัติ Before Take Off Check ขณะ Taxi ๑
และการใช้ Brakes
๒.๗ วิธีการปฏิบัติในการวิ่งขึ้นและออกนอกวงจร ๑
๒.๘ การทา Level Off Check ๑
๒.๙ อาการตอบสนองของ Flight Control (Pitch, Bank, Yaw) ๑
๒.๑๐ อาการตอบสนองของ Power ๑
๒.๑๑ การใช้ Flight Control ให้สัมพันธ์กับ Power ๑
๒.๑๒ การบิน Level Flight ๑
๒.๑๓ การใช้ Air Brake ๑
๒.๑๔ การใช้ Trim ๑

๒.๑๕ Turn (30 AoB) ๑
๐ ๐
๒.๑๖ Steep Turn (45 – 60 AoB) ๑
๒.๑๗ Inflight Planning ๒
๒.๑๘ การทา Before Descent Check ๑
๒.๑๙ การลดระยะสูงโดยมีกาลัง ย. ๑
๒.๒๐ การเข้าต่อวงจรภายใต้คาแนะนาของเรดาร์ ๑
๒.๒๑ วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการดับ ย. ๑
ผนวก ข - ๑๒๔

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ

๓. ศบ.จะได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับขอบเขตพื้นที่การฝึกและที่หมายเด่นชัด
--------------------------------------------------------------
C102 การทาความคุ้นเคยกับการบินก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๓ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Abort Procedure
๑.๒ Fire or Overheat in the Air
๑.๓ Radio Failure Procedure
๑.๔ Runaway Trim
๑.๕ Implication of No Flap Full Stop Landing and Wheel Fire
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C101 ข้อ ๒,๓
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๓.๑ การบิน ไต่ - ร่อนและการเลี้ยว ไต่ - ร่อน ๒
๓.๒ การบินระดับจากการ ไต่ - ร่อน ๒
๓.๓ การเลี้ยวคืนทิศที่ต้องการ ๒
๓.๔ การบิน Coordination Exercise ๒
๓.๕ Simulated Pitch Out ๒
๓.๖ Simulated Landing Pattern ๒
๓.๗ Slow Flight ๒
๓.๘ การไปใหม่จากการสมมติลงสู่สนาม (ที่ระยะสูง) ๒
๓.๙ การบินวงจรปิด (Closed Traffic Pattern) ๒
๓.๑๐ การฝึกขึ้นลงสนาม (Touch and Go) ๒
๓.๑๑ การไปใหม่จากการลงสนามเมื่อใกล้จะถึงสนาม ๒
--------------------------------------------------------------
C103 การทาความคุ้นเคยกับการบินก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๓ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Composition of May Day and Pan Pan
๑.๒ Elu Trip on Start Procedure
๑.๓ Engine Failure After Take Off (EFATO)
๑.๔ Enroute Abort/Emergency Airfield
๑.๕ Lost Procedure
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C102 ข้อ ๒,๓ ๒
---------------------------------------------------------------
C104 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๓ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Fuel Balancing Procedure and Fuel Asymmetry Check
๑.๒ Engine failure after Take Off (EFATO)
ผนวก ข - ๑๒๕

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๓ Enroute Abort / Emergency Airfield
๑.๔ Lost Procedure
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Power on Stall ๒
๒.๒ Power off Stall ๒
๒.๓ Secondary Stall ๒
๒.๔ Traffic Pattern Stall ๒
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินให้กับ ศบ.ที่มีความบกพร่อง ๓
--------------------------------------------------------------
C105 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๓ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Hydraulic Failure
๑.๒ Blown Tire
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Nose High Recovery, Nose Low Recovery ๒
๒.๒ Simulated Forced Landing (SFL) ๒
๒.๓ No Flap Landing ๒
๒.๔ Straight in Landing ๒
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินให้กับ ศบ.ที่มีความบกพร่อง ๒,๓
---------------------------------------------------------------
C106 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๓ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Fuel System Failure / Low Fuel Pressure
๑.๒ Booster Pumps Failure
๑.๓ Suspected Fuel leak
๑.๔ FCU Failure Procedure
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Runaway Trim ๒
๒.๒ Lost Procedure ๒
๒.๓ Traffic Pattern Stall ๓
๒.๔ Normal Flap Landing ๓
๒.๕ Straight In Landing ๓
๒.๖ Go Around ๓
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินให้กับ ศบ.ที่มีความบกพร่อง ๒,๓
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๒๖

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C107,C108 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D,M/๒.๖ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Brake Failure
๑.๒ Hot Brake
๑.๓ Hydroplane
๑.๔ Discuss Case of Emergency Landing
(Forced Landing, Straight in Landing, Etc.)
๒. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวคืนทิศที่ต้องการ ๔
๒.๒ Steep Turn ๔
๒.๓ Power On Stall & Power Off Stall ๔
๒.๔ Traffic Pattern Stall ๔
๒.๕ Slow Flight ๔
๒.๖ Nose High / Nose Low Recovery ๔
๒.๗ Runaway Trim (Elevator, Aileron, Rudder) ๔
๒.๘ Simulated Forced Landing ๔
๒.๙ Traffic Landing (Normal and No Flap Landing) ๔
๒.๑๐ Straight in Landing ๔
๒.๑๑ Go Around ๔
๒.๑๒ Closed Traffic Pattern ๔
---------------------------------------------------------------
C109 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
M/๑.๓ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
Emergency procedure ที่ได้รับการอบรมชี้แจงมาแล้วทั้งหมด ๔
๒. ศบ.จะได้รับการทบทวน
เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องก่อนรับการตรวจสอบการบินก่อนปล่อยเดี่ยว ๔
---------------------------------------------------------------
C110 การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
M/๑.๓ (check) ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติในรายการดังต่อไปนี้
๑.๑ Ground Operation ๔
๑.๒ Take Off ๔
๑.๓ Departure ๔
๑.๔ Turn ๔
๑.๕ Level Off ๔
๑.๖ Steep Turn ๔
๑.๗ Power On Stall & Power Off Stall ๔
๑.๘ Traffic Pattern Stall ๔
ผนวก ข - ๑๒๗

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๙ Slow Flight ๔
๑.๑๐ Nose High / Nose Low Recovery ๔
๑.๑๑ Runaway Trim (Elevator, Aileron, Rudder) ๔
๑.๑๒ In Flight Planning / Area Orientation ๔
๑.๑๓ Navigation Aid Orientation ๔
๑.๑๔ Simulated Forced Landing ๔
๑.๑๕ Let Down / Traffic Entry ๔
๑.๑๖ Traffic & Landing ๔
๑.๑๗ Normal Landing ๔
๑.๑๘ No Flap Landing ๔
๑.๑๙ Go Around ๔
๑.๒๐ Closed Traffic Pattern ๔
๑.๒๑ Inflight Check ๔
๑.๒๒ Radio Procedure ๔
๑.๒๓ Safety Precaution ๔
๑.๒๔ Airmanship ๔
๑.๒๕ Emergency Procedure ๔
๑.๒๖ General Knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------
ผนวก ข - ๑๒๘

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ เทคนิคและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ในการบิน
ด้วยเครื่องวัดประกอบการบินอย่างแท้จริง ก่อนขึ้นทาการบินภาคอากาศ
๒. ศิษย์การบิน ต้องทาการบินคู่กับครูการบินตลอดภาคการบิน โดยใช้อุปกรณ์กระบังห้อง
นักบิน (Cockpit Hood) และสามารถทาการบินที่นั่งหน้าได้โดยให้ครูการบินเป็นผู้พิจารณา ส่วนการวิ่งขึ้น
และการลงสนาม กรณีที่ศิษย์การบินทาการบินในที่นั่งหลัง ให้ครูการบินเป็นผู้ปฏิบัติ
๓. การตรวจสอบการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้ นพื้นฐาน ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ
คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน I110 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการ
ฝึกภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกันและมีการฝึกเข้าสู่สนามบินด้วยเครื่องช่วยการเดินอากาศ
ADF, VOR/DME และ TACAN วงจรต่า อย่างน้อยแบบละ ๓ ครั้ง
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน I110 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว
ในเที่ยวบินสารอง I110A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๒๙

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๑๙
๑๐/๑๔.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
I101 I102 I103 I104 I105 I106 I107 I108 I109 I110
ลาดับ หัวข้อการฝึก
ระดับความสามารถ
๐๑ Inst. Cockpit Check ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Climb ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Level Off ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Level Flight ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Chang A / S St.& Level (H) - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ Chang A / S St.& Level (L) - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Chang A / S St.& Level (N) - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Chang A / S St. In Turn (L) - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ Chang A / S St. In Turn (H) - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๐ Chang A / S St. In Turn (N) - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
°
๑๑ Turn (30 AoB) - ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๒ Vertical “S” A,B,C,D - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๓ Unusual Recovery - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๔ ADF, VOR / DME, TACAN App. - - - ๑ ๒ ๒ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๕ Rate of Climb & Descend ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๖ General Airmanship ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๓๐

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


I101 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและการฝึกปฏิบัติ
D/๑.๔ ๑.๑ การตรวจเครื่องวัด ฯ ก่อนวิ่งขึ้น (Inst.Cockpit Check) ๒
๑.๒ การวิ่งขึ้น (เฉพาะการสาธิต)
๑.๓ การควบคุม บ.ทางหัวขึ้น - ลง (Pitch Control) ๑
๑.๓.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๒ การ Cross Check เครื่องวัดทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับการควบคุม บ.ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๔ การใช้ Trim ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๕ การฝึกเปลี่ยนท่าทาง บ.ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๔ การควบคุม บ.ทางการเอียง (Bank Control) ๑
๑.๔.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดเอียง
๑.๔.๒ การ Cross Check เครื่องวัดเอียง
๑.๔.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับควบคุม บ.ทางการเอียง
๑.๔.๔ การใช้ Rudder ทางการเอียง
๑.๔.๕ การฝึกเปลี่ยนท่าทาง บ.ทางการเอียง
๑.๕ การควบคุมกาลัง ย. (Power Control) ๑
๑.๕.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดกาลัง ย.
๑.๕.๒ Cross Check เครื่องวัดกาลัง ย.
๑.๕.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับควบคุมกาลัง ย.
๑.๕.๔ การตั้งกาลัง ย.สาหรับความเร็วต่าง ๆ
๑.๕.๕ ผลของการเปลี่ยนแปลงกาลัง ย.ที่มีต่อลักษณะท่าทาง บ.
๑.๖ ความสัมพันธ์ทางหัวขึ้น - ลง การเอียง และกาลัง ย. ๑
๑.๖.๑ การ Cross Check และการแปลความหมายของเครื่องวัดฯ
๑.๖.๒ การใช้ Trim เมื่อท่าทาง บ.และกาลัง ย.เปลี่ยนแปลง
๑.๖.๓ การบินตรงบินระดับด้วยความเร็วต่าง ๆ กัน
---------------------------------------------------------------
I102 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึก
D/๑.๔ (ที่นั่งหน้า) ๑.๑ การตรวจเครื่องวัด ฯ ก่อนวิ่งขึ้น (Inst.Cockpit Check) ๓
๑.๒ การนา บ.เข้าสู่ท่าไต่ การควบคุมท่าทางและความเร็วไต่ ๒
๑.๓ การรักษาทิศทางในการไต่ (Climb) ๒
๑.๔ การวางระดับ การรักษาทิศทาง ระยะสูง และ
การใช้กาลัง ย.ควบคุมความเร็ว (Level Off) ๒
ผนวก ข - ๑๓๑

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๕ ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบิน
ใน I101 ข้อ ๑.๖ ๒
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๒
๒.๒ การเลี้ยวและการคืนออกจากวงเลี้ยว (Turn) ๒
๒.๓ การรักษามุมเอียง และหัวขึ้น - ลง ในวงเลี้ยว ๒
๒.๔ การใช้กาลัง ย. ๒
๒.๕ การคืนตรงทิศที่ต้องการ ๒
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิต
๓.๑ การเปลี่ยนแปลงของเครื่องวัด ฯ ต่าง ๆ เมื่อนา บ.เข้าท่าบิน
ที่ก่อให้เกิดความเชื่อมั่น เช่น หมุนตัววงแคบ (Aileron Roll)
วงกลมตั้ง (Loop) หรือ Wing Over ๑
๓.๒ การเลี้ยวด้วย Standard Rate Turn ๑
๔. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น – ลงสนาม ตามความเหมาะสม
---------------------------------------------------------------
I103 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I102 ข้อ ๑,๒,๓ ๑,๒
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและการฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเปลี่ยนความเร็วขณะบินตรงบินระดับ ๑
(Change A / S St. & Level)
๒.๑.๑ การใช้กาลัง ย.ในการเปลี่ยนความเร็ว
๒.๑.๒ การใช้ Trim และการบังคับ บ.ขณะเปลี่ยนความเร็ว
๒.๑.๓ การรักษาท่าทางของ บ.ตามความเร็วที่ได้ใหม่
๒.๒ การเปลี่ยนความเร็วขณะเลี้ยว (Change A / S In Turn) ๑
๒.๒.๑ การเปลี่ยนความเร็วขณะเริ่มเอียงปีก
๒.๒.๒ การเปลี่ยนความเร็วในวงเลี้ยว
๒.๒.๓ วิธีการปฏิบัติตามข้อ ๒.๑.๑ ถึง ๒.๑.๓
และการรักษามุมเอียงปีก และระยะสูงขณะเลี้ยว
๒.๒.๔ การเปลี่ยนความเร็วขณะเลี้ยวและกาหนดทิศทาง
ที่จะคืนปีกระดับ
---------------------------------------------------------------
I104 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I103 ข้อ ๒ ๒
D/๑.๔ (ที่นั่งหน้า) ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและการฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๒
๒.๒ การไต่หรือร่อนจากท่าบินระดับ (Climb & Descend) ๒
๒.๓ การรักษาความเร็วให้คงที่ขณะที่ไต่หรือร่อน
เมื่อตั้งกาลัง ย.คงที่ ๒
๒.๔ การเลี้ยวขณะไต่หรือร่อนด้วยความเร็ว และกาลัง ย.คงที่ ๒
ผนวก ข - ๑๓๒

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒.๕ การคืนสู่ท่าบินระดับจากการ ไต่หรือร่อน ๒
๒.๖ ADF, VOR / DME, TACAN App. ๑
๒.๗ การทา Vertical “S”A, B, C, D ๒
๒.๘ การแก้คืนจากท่าผิดปกติ (Unusual Recovery) ๒
๒.๘.๑ การเปลี่ยนแปลงเครื่องวัด ฯ และการกาหนด
ลักษณะท่าทางของ บ.ที่เป็นอยู่
๒.๘.๒ การแก้คืนตามขั้นตอน
๒.๘.๒.๑ ท่าหัวสูงความเร็วน้อย (Low Speed Nose High)
๒.๘.๒.๒ ท่าหัวต่าความเร็วมาก (High Speed Nose Low)
๓. ศบ.ฝึกปฏิบัติเพื่อความเชื่อมั่นในการแปลความหมายเครื่องวัดฯ
ด้วยท่าบินที่ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นตาม I102 ข้อ ๓ ๒
๔. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น - ลงสนาม ตามความเหมาะสม
---------------------------------------------------------------
I105 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I104 ข้อ ๒
D/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและการฝึกปฏิบัติ ๒,๓,๔
๒.๑ การไต่ - ร่อนด้วยความเร็วและอัตราคงที่
๒.๒ การใช้กาลัง ย.และใช้ส่วนบังคับร่วมกันในการรักษา
ความเร็วและอัตรา ไต่ - ร่อน ให้คงที่
๒.๓ การใช้ Trim
๒.๔ การเลี้ยวขณะ ไต่ - ร่อน ด้วยความเร็วและอัตราคงที่
๒.๕ การคืนสู่ท่าบินระดับจากการ ไต่ - ร่อน
---------------------------------------------------------------
I106, I107 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
D,M/๒.๘ ตามหัวข้อการฝึกบินใน I๑๐๕ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติในหัวข้อต่อไปนี้
๑.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก 30° ๓,๔
๑.๒ การทา Vertical “S” A,B,C,D ๔
๑.๓ การแก้คืนจากท่าผิดปกติ (Unusual Recovery) ๔
๑.๔ ADF, VOR / DME, TACAN App. ๓,๔
๒. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น – ลงสนาม ตามความเหมาะสม
---------------------------------------------------------------
I๑๐๘/I๑๐๙ ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
๒M/๒.๘ ท่าบินด้วยเครื่องวัดฯ เบื้องต้นที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
๒. ศบ.ต้องสามารถใช้เครื่องช่วยเดินอากาศ ADF,VOR / DME ดังนี้
๒.๑ การหมุนหาคลื่นและสถานีที่ต้องการ ๔
๒.๒ การบินเข้าหาสถานี (Homing) ๔
ผนวก ข - ๑๓๓

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๓. ศบ.จะได้รับการฝึก
การนา บ.เข้าสู่สนาม ด้วย ADF, VOR / DME, TACAN App. ๔
---------------------------------------------------------------
I๑๑๐ การตรวจสอบการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
M/๑.๔ ศบ.จะต้องมีความสามารถในการปฏิบัติตามรายการต่อไปนี้
(check) ๑. Inst.Cockpit Check ๔
๒. Climb ๔
๓. Level Off ๔
๔. Level Flight ๔
๕. Change A / S ST.& Level ๔
๖. Change A / S In Turn ๔
°
๗. Turn 30 AoB ๔
๘. Vertical “S” A,B,C,D ๔
๙. Unusual Recovery ๔
๑๐. ADF, VOR / DME, TACAN App. ๔
๑๑. Rate of Climb & Descend ๔
๑๒. General Airmanship ๔
-----------------------------
ผนวก ข - ๑๓๔

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง
(Intermediate Contact)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ครูการบิน ต้องทาการสาธิตการลงสนามแบบ Low Pattern เพื่อใช้ในกรณีสภาพอากาศ
บริเวณสนามบินมีฐานเมฆต่ากว่า ๑,๐๐๐ ฟุต
๒. ศิษย์การบิน ต้องทาการบินเดี่ยวในเที่ยวบิน C205 และ C206 (SOLO / คู่) ถ้าครูการบิน
เห็นว่าศิษย์การบินไม่สามารถบินเดี่ยวได้อย่างปลอดภัย ให้ส่ง Spot Check
๓. การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิป ระเทศขั้น กลาง ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.
ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน C209 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน C209 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว
ในเที่ยวบินสารอง C209A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๓๕

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง
(Intermediate Contact)
บ.ฝ.๑๙
๙/๑๑.๕

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
C205 C207
ลาดับ หัวข้อการฝึก C201 C202 C203 C204 C206 C208 C209
SOLO SOLO
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๒ Take Off ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๓ Departure ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๔ Turn ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๕ Level Off ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๖ Steep Turn ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๐๗ Spin Prevention - ๑ ๒ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๐๘ Normal Spin - ๑ ๒ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๐๙ In / Out Spin Exercise - ๑ ๒ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๐ Split “S” ๑ - - - - - - - -
๑๑ Wingover ๒ ๒ ๓ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๒ Chandelle ๒ ๒ ๓ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๓ Lazy Eight ๒ ๒ ๓ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๔ Aileron Roll ๒ ๒ ๓ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๕ Barrel Roll ๒ ๒ ๓ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๖ Loop ๒ ๒ ๓ ๓ - ๔ - ๔ ๔
๑๗ In Flt. Pln / Area Orn. ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๘ Nav Aid Orn. ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๑๙ SFL ๒ ๓ ๓ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๐ Let Down / Traffic Entry ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๑ Traffic Pattern ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๒ Normal Landing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๓ No Flap Landing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๔ St - In Landing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๕ Closed Pattern ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๓๖

สัญลักษณ์เที่ยวบิน
C205 C207
ลาดับ หัวข้อการฝึก C201 C202 C203 C204 C206 C208 C209
SOLO SOLO
ระดับความสามารถ
๒๖ Go Around ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๗ Clearing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๘ Inflight Check ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๒๙ Radio Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๓๐ Safety Precaution ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๓๑ Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๓๒ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
๓๓ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๓๗

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง
(Intermediate Contact)
บ.ฝ.๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C201 ท่าบินผาดแผลงขั้นพื้นฐาน (Basic Aerobatic)
D/๑.๓ ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๑.๑ Wingover ๒
๑.๒ Chandelle ๒
๑.๓ Lazy Eight ๒
๑.๔ Aileron Roll ๒
๑.๕ Barrel Roll ๒
๑.๖ Loop ๒
๑.๗ Split “S” ๒
๑.๘ SFL ที่ความสูงมากกว่า High Key ปกติ ๒
๑.๙ Spin Prevention ๑
๒. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติ
การลงสนามแบบ Normal, No Flaps, St - In Landing ๔
---------------------------------------------------------------
C202 ท่าบินเพิ่มความมั่นใจ (Confidence Maneuver)
D/๑.๓ ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิต ๑
๑.๑ Stability Demonstration
๑.๒ Normal Spin, In / Out Spin Exercise
๑.๓ Spin Recovery
๑.๔ Glide Circuit
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
ท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วใน C201 ที่ยังบกพร่อง ๒,๓,๔
---------------------------------------------------------------
C203 ท่าบินพื้นฐานก่อนการบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึก
D/๑.๓ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่อง
๑.๑ Oil Pressure Failure & Smoke Elimination
๑.๒ ELU Failure
๑.๓ FCU Failure
๑.๔ EFATO
๑.๕ Ejection Procedure
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วใน C201 ๓,๔
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๓.๑ Spin Prevention / Recovery ๒
ผนวก ข - ๑๓๘

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๓.๒ Normal Spin, In / Out Spin ๒
๓.๓ Low Overhead Pattern ๒
---------------------------------------------------------------
C204 การฝึกทบทวนก่อนการบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึก
M/๑.๓ ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วใน C203 ๓,๔
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Spin Prevention / Recovery ๓
๒.๒ Normal Spin, In / Out Spin ๓
๒.๓ Lost Procedure ๓
---------------------------------------------------------------
C205 การบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึก
S/๑.๒ ๑. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติท่าบินต่อไปนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๑.๑ Spin Prevention / Recovery
๑.๒ Lost Procedure
๒. ศบ.ฝึกทบทวนด้วยตนเองในท่าบินที่ได้รับอนุญาตจากครูการบินประจาสาย
๓. ศบ.ฝึกขึ้น – ลงสนาม แบบ Normal Landing ไม่เกิน ๓ ครั้ง
(ห้ามลง No Flap หรือ Straight In)
---------------------------------------------------------------
C206 การฝึกทบทวนก่อนเข้ารับการตรวจสอบ
M/๑.๓ ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------------------------------------------
C207 การบินเดี่ยว / นบ.ผู้ช่วยในพื้นที่การฝึก
S/๑.๒ ๑. ศบ.จะต้องสามารถปฏิบัติท่าบินต่อไปนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๑.๑ Spin Prevention / Recovery
๑.๒ Lost Procedure
๒. ศบ.ฝึกทบทวนด้วยตนเองในท่าบินที่ได้รับอนุญาตจากครูการบินประจาสาย
๓. ศบ.ฝึกขึ้น – ลงสนาม แบบ Normal Landing ไม่เกิน ๓ ครั้ง
(ห้ามลง No Flap หรือ Straight In)
---------------------------------------------------------------
C208 การฝึกทบทวนก่อนเข้ารับการตรวจสอบ
M/๑.๓ ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------------------------------------------
C209 การตรวจสอบผลการฝึกบินเกาะภูมิประเทศขั้นกลาง
M/๑.๓ ๑. ศบ.ต้องมีความสามารถปฏิบัติตามรายการต่อไปนี้
(Check) ๑.๑ Ground Operation / Take Off / Departure / Turn ๔
ผนวก ข - ๑๓๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๒ Level Off ๔
๑.๓ Steep Turn ๔
๑.๔ Spin Prevention / Recovery ๔
๑.๕ Split “S” ๔
๑.๖ Chandelle ๔
๑.๗ Lazy Eight ๔
๑.๘ Aileron Roll ๔
๑.๙ Barrel Roll ๔
๑.๑๐ Loop ๔
๑.๑๑ Inflight Pln. / Area Orn. ๔
๑.๑๒ Nav Aid Orn ๔
๑.๑๓ Simulated Forced landing ๔
๑.๑๔ Let Down / Traffic Entry ๔
๑.๑๕ Traffic & Landing (Normal, No Flap) ๔
๑.๑๖ Straight In Landing ๔
๑.๑๗ Go Around ๔
๑.๑๘ Closed Traffic Pattern ๔
๑.๑๙ Clearing ๔
๑.๒๐ Inflight Check ๔
๑.๒๑ Radio Procedure ๔
๑.๒๒ Safety Precaution ๔
๑.๒๓ Airmanship ๔
๑.๒๔ Emergency Procedure ๔
๑.๒๕ General Knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔

--------------------------
ผนวก ข - ๑๔๐

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการ เทคนิคและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการบิน
หมู่เป็นอย่างดี รวมทั้งรู้จักการใช้ทัศนะสัญญาณ การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับและวินัยในการบินหมู่
๒. ศิษย์ การบิ น ต้องมีชั่ว โมงบินเฉพาะแบบรวมอย่างน้อย ๒๖.๐ ชั่ว โมงบิน ก่อนเริ่มท า
การบินหมู่ ๒
๓. การวิ่งขึ้นหมู่ ให้คานึงถึงความปลอดภัยภายใต้ข้อจากัดของ บ. สาหรับการเกาะหมู่
ลงสนาม ควรกระทาเฉพาะกรณีฉุกเฉิน และสาธิตการบินเท่านั้น
๔. ห้ามทาการบินหมู่ผาดแผลงโดยเด็ดขาด ในการฝึกศิษย์การบิน ให้ใช้ท่าบิน Modify
Lazy Eight ที่ความเร็วต่าสุด ๑๒๐ นอต และความเร็วสูงสุด ๒๕๐ นอต โดยใช้มุมเอียงปีกไม่เกิน ๙๐ องศา
๕. ครูการบิน ต้องสาธิตวิธีการนาหมู่กลับเข้าต่อวงจรลงสนามด้วยเครื่องช่วยการเดินอากาศ
จนถึง Published Minimum รวมทั้งการเป็นลูกหมู่กลับมาลงสนามเมื่อสภาพอากาศเป็น IMC
๖. ศิษย์การบิน ต้องมีความรู้ความสามารถในการบินเดี่ยวในเที่ยวบิน F108 โดยเป็นหัวหน้าหมู่
วิ่งขึ้นและเป็นลูกหมู่กลับมาลงสนามภายใต้การกากับดูแลของครูการบินในหมู่เดียวกัน ถ้าครูการบินเห็นว่า
ศิษย์การบิน ไม่สามารถบินเดี่ยวได้อย่างปลอดภัย ให้ส่ง Spot Check
๗. การตรวจสอบการบินหมู่ ๒ ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน
ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน F110 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๗.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน
๗.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน F110 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว
ในเที่ยวบินสารอง F110A ในวันบินถัดไป
๘. ใน F111 และ F112 ศิษย์การบิน จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติการบินหมู่ทางยุทธวิธี
แบบต่าง ๆ เพื่อให้ศิษย์การบินมีประสบการณ์ และพื้นฐานในการบินหมู่ทางยุทธวิธีต่อไป โดยใช้ชั่วโมงรวม
๒.๔ ชั่วโมง
ผนวก ข - ๑๔๑

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๙
๑๒ / ๑๕.๔

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level Of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
F101 F102 F103 F104 F105 F106 F107 F108 F109 F110 F111 F112
ลาดับ หัวข้อการฝึก
SOLO
ระดับความสามารถ
Lead
๐๑ Take Off ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Join Up / Departure ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Fingertip ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Echelon ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Pitch Out & Rejoin - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ Trail/Extended Trail - - - ๒ ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Clearing ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Wingman ConSIDeration ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ In–Flt. Pln / Area Orn. ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๑๐ Descend / Traffic Entry ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๑๑ Formation Approach L / D - - - - ๒ ๒ ๒ - - - - -
๑๒ Smoothness of Control ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
Wing
๑๓ Take Off ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๑๔ Cross Under ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๑๕ Route Formation - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๑๖ Fingertip ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๑๗ Echelon ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๑๘ Pitch Out & Rejoin - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๑๙ Trail Formation - - - ๒ ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๔๒

สัญลักษณ์เที่ยวบิน
F101 F102 F103 F104 F105 F106 F107 F108 F109 F110 F111 F112
ลาดับ หัวข้อการฝึก
SOLO
ระดับความสามารถ
General
๒๐ Lost Wingman Procedure - - - ๓ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๑ Air Brake Exercise ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๒ Inflight Check ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๓ Fuel Procedure ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๔ Radio Procedure ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๕ Straight Ahead Rejoin ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๖ Overshoot ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๗ Brake out Procedure ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๘ Position Change ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๒๙ Smoothness of Control ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๐ Ground Operation ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๑ Visual Signal ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๒ Traffic Pattern ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๓ Landing ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๔ Airmanship ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๕ Safety Precaution ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๖ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๗ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
๓๘ Aggressiveness ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๔๓

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๙
สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ
F101 ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
D/๑.๓ ๑.๑ วินัยและความรับผิดชอบในหมู่บิน
๑.๒ Check in Procedure & Visual Signal
๑.๓ Abort Take Off
๑.๔ Wake Turbulence
๑.๕ Inflight Check
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเตรียมการและการแถลงย่อก่อนทาการบิน ๒
๒.๒ วิธีการปฏิบัติในการติด ย.และการขับเคลื่อน ๒
๒.๓ การวิ่งขึ้นทีละเครื่อง การเลี้ยวรับ การเข้ารวมหมู่ ๑
และการออกนอกวงจร
๒.๔ Fingertip Formation ๒
(Level, Turn Into, Turn Away)
๒.๕ Echelon Formation, Cross Under ๒
๒.๖ การวางแผนการนาหมู่ ๒
๒.๗ Inflight Check ๒
๒.๘ การนาหมู่ และการลดระยะสูงเข้าต่อวงจรลงสู่สนาม ๒
๒.๙ การฝึกใช้ Air Brake ๒
°
๒.๑๐ การลงสนามแบบ 360 Overhead Pattern ๒
๒.๑๑ Wingman ConSIDeration ๒
---------------------------------------------------------------
F102 ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
D/๑.๓ ๑.๑ การปฏิบัติเมื่อเกิดการชนกัน (Event of Collision)
๑.๒ เมื่อไม่เห็นหัวหน้าหมู่ขณะอยู่ในสภาพอากาศ IMC
๑.๓ การแก้ไขเมื่อเกิดอาการหลงสภาพการบิน
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การวิ่งขึ้นหมู่และการออกนอกวงจร ๒
๒.๒ Route Formation ๒
๒.๓ Cross Under ๒
๒.๔ Pitch Out & Rejoin ๒
๒.๕ Position Change ๒
๒.๖ Wingman ConSIDeration ๒
๓. ศบ.จะได้รับการทบทวนท่าบินที่ฝึกมาแล้วใน F101 ๒,๓
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๔๔

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


F103 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
D/๑.๓ ๑.๑ Route Formation ๒
๑.๒ Simulated Lost Wingman Procedure ๒
๑.๓ การฝึกเลี้ยว ไต่ – ร่อน ๒
๑.๔ Break Out Procedure ๒
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตการบิน Chase Formation
---------------------------------------------------------------
F104 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
D/๑.๓ ๑.๑ Straight Ahead Rejoin ๒
๑.๒ Overshoot (Turning , Straight Ahead) ๒
๑.๓ Trail/Extended Trail ๒
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๒,๓,๔
---------------------------------------------------------------
F105,F106 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๒,๓,๔
D/๒.๖ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๓. การลงสนามหมู่ (Formation Landing)
---------------------------------------------------------------
F107 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๑.๓ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
การทา Instrument Approach หมู่ชิดทั้งตาแหน่ง
หน.หมู่ (Lead) และลูกหมู่ (Wing)
---------------------------------------------------------------
F108 ๑. ศบ.จะต้องทาการฝึกบินหมู่เดี่ยว โดยเป็น หน.หมู่ในการวิ่งขึ้น
S/๑.๓ และเป็นลูกหมู่ในการกลับมาลงสนาม โดยให้อยู่ในการกากับดูแล
ของ คบ.ประจาสาย
๒. ศบ.จะฝึกทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วโดย คบ.ประจาสาย
เป็นผู้กาหนด
---------------------------------------------------------------
F109 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
M/๑.๓ การบินหมู่ชิดเบื้องต้น ตามที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ก่อนการตรวจสอบ ๔
๒. ศบ.ต้องมีความรู้ความชานาญ ในการใช้ทัศนสัญญาณการบินหมู่
อย่างแท้จริง และมีความเข้าใจวิธีปฏิบัติ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
ขณะทาการบินหมู่ทุกกรณี ๔
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๔๕

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


F110 การตรวจสอบการฝึกบินหมู่ ๒
M/๑.๓ ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการปฏิบัติตามรายการต่อไปนี้
(Check) Lead
๑.๑ Take Off ๔
๑.๒ Join Up / Departure ๔
๑.๓ Fingertip ๔
๑.๔ Echelon ๔
๑.๕ Pitch Out & Rejoin ๔
๑.๖ Trail Formation ๔
๑.๗ Clearing ๔
๑.๘ Wingman ConSIDeration ๔
๑.๙ Inflight Planning / Area Orientation ๔
๑.๑๐ Descend / Traffic Entry ๔
๑.๑๑ Smootthness of control ๔
Wing
๑.๑๒ Take Off ๔
๑.๑๓ Interval Take Off ๔
๑.๑๔ Cross Under ๔
๑.๑๕ Route Formation ๔
๑.๑๖ Fingertip ๔
๑.๑๗ Echelon ๔
๑.๑๘ Pitchout & Rejoin ๔
๑.๑๙ Trail Formation ๔
General
๑.๒๐ Lost Wingman Procedure ๔
๑.๒๑ Air Brake Exercise ๔
๑.๒๒ Inflight Check ๔
๑.๒๓ Fuel Procedure ๔
๑.๒๔ Radio Procedure ๔
๑.๒๕ Straight Ahead Rejoin ๔
๑.๒๖ Position Change ๔
๑.๒๗ Smoothness of Control ๔
๑.๒๘ Ground Operation ๔
๑.๒๙ Visual Signal ๔
๑.๓๐ Traffic Pattern ๔
๑.๓๑ Landing ๔
๑.๓๒ Airmanship ๔
ผนวก ข - ๑๔๖

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๓๓ Safety Precaution ๔
๑.๓๔ Emergency Procedure ๔
๑.๓๕ General Knowledge ๔
๑.๓๖ Aggressiveness ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------------------------------------------
F111,F112 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติ การบินหมู่ทางยุทธวิธีแบบต่าง ๆ ๒,๓
D/๒.๔ ๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔

------------------------------
ผนวก ข - ๑๔๗

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advance Instrument)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ เทคนิคและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ในการบิน
ด้วยเครื่องวัดประกอบการบินอย่างแท้จริง ก่อนขึ้นทาการบินภาคอากาศ
๒. ศิษย์การบิน ต้องทาการบินคู่กับครูการบินตลอดภารกิจการบิน โดยใช้อุปกรณ์กระบัง
ห้องนักบิน (Cockpit Hood) และสามารถทาการบินที่นั่งหน้าได้ โดยให้ครูการบินเป็นผู้พิจารณา ส่วนการวิ่งขึ้น
และการลงสนาม กรณีที่ศิษย์การบินทาการบินในที่นั่งหลัง ให้ครูการบินเป็นผู้ปฏิบัติ
๓. การตรวจสอบการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ
คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน I209 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน และมีการฝึกเข้าสู่สนามบินด้วยเครื่องช่วยการเดินอากาศ ADF,
VOR / DME, TACAN วงจรสูง / ต่าและ ILS อย่างน้อยแบบละ ๒ ครั้ง
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน I210 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว ใน
เที่ยวบินสารอง I210A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๔๘

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advance Instrument)
บ.ฝ.๑๙
๙/๑๒.๖

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก I201 I202 I203 I204 I205 I206 I207 I208 I209
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Departure / SID ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ A / S Climb & Descend ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Rate of Climb & Descend ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Level Off ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ Turn ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Tune & Ident. ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Time & Distance Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ ADF, VOR / DME, TACAN ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
(Low)
๑๐ ADF, TACAN (Hi) ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๑ Holding ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๒ Penatration ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๓ Fix to Fix ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๔ Bearing / ARC Intercept ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๕ Maintain ARC / Radial ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๖ Homing ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๗ ILS Approach - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๘ Localizer Approach - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๙ Glide Path/Glide Slope - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๐ Maintain ARC / Radial ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๑ Low Approach / Circling ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๒ Missed Approach ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๓ Voice Procedure / ATC ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๔ Gen. Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๕ Cross Check and Interp. ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๖ Basic Instrument ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๗ Inflight Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๘ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๙ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๔๙

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advance Instrument)
บ.ฝ.๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


I201 การฝึกบินเพื่อทาความคุ้นเคยกับเครื่องวัดประกอบการบิน
D/๑.๔ ๑. ศบ.ต้องได้รับการฝึกบินดังต่อไปนี้
๑.๑ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินในขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument) ๔
๑.๒ การนา บ.เข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศแบบ
ADF, VOR / DME, TACAN วงจรต่า ๓
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
การบินเข้าสู่สนามด้วย TACAN วงจรสูง
๒.๑ การ Penatration ๒
๒.๒ การ Maintrain ARC ๒
๒.๓ การ Intercept Radial From ARC ๒
๒.๔ การ Intercept ARC From Radial ๒
๒.๕ การบินผ่าน FAF และการลดระยะสูงเข้าสู่สนาม ๒
๒.๖ การ Low Approach / Circling ๒
---------------------------------------------------------------
I202 ๑. ศบ.จะต้องมีความรู้ความเข้าใจหลักการทางานของ ILS
D/๑.๔ (ที่นั่งหน้า) และขั้นตอนการปฏิบัติการเข้าสู่สนามด้วย ILS
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการบินด้วย ILS ดังนี้
๒.๑ การหมุนหาคลื่นและพิสูจน์สถานี ILS ที่ต้องการ ๔
(Tune and Ident)
๒.๒ การ Holding ๓
๒.๓ การ Intercept Course ๓
๒.๔ การ Intercept Glide Path / Glide Slope ๒
๒.๕ การบินผ่าน OM, MM, การลดระยะสูงเข้าสู่สนาม
และการ Missed Approach Procedure ๓
๒.๖ การ Circling ๓
๓. ศบ.ฝึกปฏิบัติทบทวนการบินเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
ADF, VOR / DME, TACAN ๓
๔. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น - ลงสนามตามความเหมาะสม
---------------------------------------------------------------
I203, I204(ที่นั่งหน้า) ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนการเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
2D/๒.๘ แบบ ADF, VOR / DME, TACAN, ILS แบบวงจรต่า ๓,๔
ผนวก ข - ๑๕๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
Limited Panel U / A Recovery Technique
---------------------------------------------------------------
I205 ๑. ศบ.ฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๑.๔
---------------------------------------------------------------
I206 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนการเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
M/๑.๔ แบบ ADF, VOR / DME, TACAN, ILS แบบวงจรต่าและสูง ๔
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเข้าสู่สนามด้วย SRA
๒.๒ การปฏิบัติตามคาแนะนาด้วย Radar
---------------------------------------------------------------
I207 ๑. ศบ.ฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๑.๔ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ Spatial Disorientation
๒.๑ Sensation of Climbing while Turning
๒.๒ Sensation of Diving Recovery from a Turn
๒.๓ False Sensation of Tilting to Right or Left
---------------------------------------------------------------
I208 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนท่าบินที่ยังบกพร่อง
M/๑.๔ เพื่อเตรียมเข้ารับการตรวจสอบ ๔
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ การบินด้วย Standby AI
๒.๑ Standby AI Coordination Exercise
๒.๒ Steep Turning Using Standby AI
---------------------------------------------------------------
I209 การตรวจสอบการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
M/๑.๔ ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการบินด้วยเครื่องวัดฯ ตามรายการต่อไปนี้
(check) ๑.๑ Ground Operation ๔
๑.๒ Departure / SID ๔
๑.๓ A / S Climb & Descend ๔
๑.๔ Rate of Climb & Descend ๔
๑.๖ Level off ๔
๑.๗ Tune & Ident ๔
๑.๘ Time & Distance Check ๔
๑.๙ ADF, VOR / DME, TACAN App.(Low) ๔
๑.๑๐ ADF, VOR, TACAN App.(Hi) ๔
๑.๑๑ Holding ๔
๑.๑๒ Penatration ๔
ผนวก ข - ๑๕๑

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๑๓ Fix to Fix ๔
๑.๑๔ Bearing ARC intercept ๔
๑.๑๕ Maintain ARC Radial ๔
๑.๑๖ ILS Approach ๔
๑.๑๗ Localizer Approach ๔
๑.๑๘ Low Approach / Circling ๔
๑.๑๙ Missed Approach ๔
๑.๒๐ Voice Procedure / ATC ๔
๑.๒๑ General Airmanship ๔
๑.๒๒ Cross Dheck & Interp. ๔
๑.๒๓ Basic Instrument ๔
๑.๒๔ Inflight Check ๔
๑.๒๕ Emergency Procedure ๔
๑.๒๖ General Knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
รวมทั้งจะต้องมีความรู้ความสามารถป้องกันและแก้ไข
Spatial Disorientation และการทา Limited Panel
Unusual Attitude Recovery

---------------------------
ผนวก ข - ๑๕๒

การบินหมู่ ๔
(Four – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ครูการบิน ต้องจัดให้มีการแถลงย่อก่อ นทาการบิน (Brief) และแถลงย่อหลังทาการบิน
(Debrief) ทุกครั้ง และห้ามปฏิบัตินอกเหนือจากที่แถลงย่อไว้
๒. การวิ่ง ขึ้น หมู่ใ ห้ก ระทาภายใต้ข้อ จากัด ของ บ. โดยคานึง ถึง ความปลอดภัย เป็น หลัก
ส่ว นการลงสนามหมู่ให้กระทาเฉพาะการสาธิตหรือกรณีฉุกเฉินเท่านั้น (ห้ามวิ่งขึ้นหรือ ลงสนามพร้อมกัน
เกิน ๒ เครื่อง)
๓. การตรวจสอบผลการฝึกบินหมู่ ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน
ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน F208 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบินก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว ให้ทาการบินเดี่ยวหมู่ ๔ ในตาแหน่หมายเลข
๒ หรือหมายเลข ๔ ในเที่ยวบิน F209 ภายใต้การกากับดูแลของครูการบินประจาสายในหมู่เดียวกัน
๓.๓ ศิษย์การบินที่ ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน F208 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวใน
เที่ยวบินสารอง F208A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๕๓

การบินหมู่ ๔
(Four – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๙
๙/๑๑.๖

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
F209
ลาดับ หัวข้อการฝึก F201 F202 F203 F204 F205 F206 F207 F208
SOLO
ระดับความสามารถ
Lead
๐๑ Take off ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๒ Departure ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๓ Fingertip ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๔ Echelon ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๕ Pitch out & Rejoin ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๖ Clearing ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๗ Wingman Consideration ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๘ In - Fl. Pln / Area Orn. ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๙ Cross Under ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๐ Formation Approach L / D ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๑ Smoothness of Control ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
Wing
๑๒ Take off ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๓ Join Up ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๔ Route / Chase / Cross Under ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๕ Fingertip ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๖ Echelon ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๗ Pitch Out & Rejoin ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
ผนวก ข - ๑๕๔

สัญลักษณ์เที่ยวบิน
F209
ลาดับ หัวข้อการฝึก F201 F202 F203 F204 F205 F206 F207 F208
SOLO
ระดับความสามารถ
General
๑๘ Inflight Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๙ Fuel Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๐ Radio Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๑ Traffic Pattern ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๒ Landing ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๓ Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๔ Safety Precaution ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๕ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๖ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๗ Aggressiveness ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๘ Ground Operation ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๙ Visual Signal ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๓๐ Position Change ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
ผนวก ข - ๑๕๕

การบินหมู่ ๔
(Four – Ship Formation)
บ.ฝ.๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


F201 ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
D/๑.๓ ๑.๑ Actions in the Event of Collision
๑.๒ Visual Signal & Radio Procedure
๑.๓ Actions After the Loss of Visual
Contact in VMC
๒. ศบ. จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการบินหมู่ ๔
๒.๑ การวิ่งขึ้นหมู่แบบ Element Take Off ๓
๒.๒ การรวมหมู่จาก Element Take Off ๒
๒.๓ การฝึกบินหมู่ Fingertip ๒
๒.๔ การฝึกบินหมู่ Route ๒
๒.๕ การฝึกบินหมู่ Echelon ๒
๒.๖ การฝึก Cross Under ๒
๒.๗ การฝึก Pitch out & Rejoin ๒
๒.๘ การเปลี่ยนตาแหน่งภายในหมู่บิน (Position Change) ๓
๒.๙ การลดระยะสูงและการเข้าต่อวงจรลงสนาม ๔
---------------------------------------------------------------
F202, F203 ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
D/๒.๖ ๑.๑ Break Out Procedure
๑.๒ Overshoot Procedure
๑.๓ Lost Wingman Procedure
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต และการฝึกปฏิบัติ
การบินหมู่ ๔ ตามหัวข้อการฝึกบินในเที่ยวบิน F201 ข้อ ๒ ทั้งหมด ๓,๔
๓. ศบ.ต้องมีความรู้ความเข้าใจวิธีการแยกหมู่ เพื่อเข้าทา ๑,๒
Instrument Approach
---------------------------------------------------------------
F204,F205 ๑. ศบ.จะได้รับการทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๒.๖ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต และการฝึกปฏิบัติ
การแยกหมู่ ๔ ออกเป็น ๒ Elements เพื่อเข้าทา Instrument
Approach ลงสนามในสภาพอากาศจนถึง Published
Minimum และ Drop Wingman ๒,๓
---------------------------------------------------------------
F206,F207 ๑. ศบ.จะได้รับการทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด
2M/๒.๖ เพื่อเตรียมตัวรับการตรวจสอบ ๔
ผนวก ข - ๑๕๖

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต และการฝึกปฏิบัติ
การแยกหมู่ ๔ ออกเป็น ๒ Element เพื่อเข้าทา Instrument
Approach ลงสนามในสภาพอากาศจนถึง Published
Minimum และ สาธิตการลงสนามหมู่ ๓,๔
---------------------------------------------------------------
F208 การตรวจสอบการฝึกบินหมู่
M/๑.๓ ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการบินหมู่ ๔ ตามรายการต่อไปนี้
(check) Lead
๑.๑ Take Off ๔
๑.๒ Departure ๔
๑.๓ Finger Tip ๔
๑.๔ Echelon ๔
๑.๕ Pitch Out & Rejoin ๔
๑.๖ Cross Under ๔
๑.๗ Clearing ๔
๑.๘ Wingman ConSIDeration ๔
๑.๙ Inflight planning / Area Orientation ๔
๑.๑๐ Descend / Traffic Entry ๔
๑.๑๑ Smoothness of Control ๔
Wing
๑.๑๒ Take Off ๔
๑.๑๓ Join Up / Pitch Out & Rejoin ๔
๑.๑๔ Fingertip ๔
๑.๑๕ Route / Chase & Cross Under ๔
๑.๑๖ Echelon ๔
General
๑.๑๗ Ground Operation ๔
๑.๑๘ Visual Signal ๔
๑.๑๙ Position Change ๔
๑.๒๐ Air Brake Exercise ๔
๑.๒๑ Inflight Check ๔
๑.๒๒ Radio Procedure ๔
๑.๒๓ Traffic Pattern ๔
๑.๒๔ Landing ๔
๑.๒๕ Airmanship ๔
๑.๒๖ Safety Precaution ๔
๑.๒๗ Emergency Procedure ๔
ผนวก ข - ๑๕๗

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๒๘ General knowledge ๔
๑.๒๙ Aggressiveness ๔
๒. ศบ.จะต้องมีความรู้ ความสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้
๒.๑ Break Out Procedure ๔
๒.๒ Overshoot Procedure ๔
๒.๓ Lost Wingman ๔
---------------------------------------------------------------
F209 การบินหมู่ ๔ ในตาแหน่งหมายเลข ๒ หรือหมายเลข ๔
S/๑.๓ ๑. ศบ.ต้องมีความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับ Break Out ,
Overshoot , Lost Wingman PROC. และ Chase Formation
ได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
๒. ศบ.ต้องสามารถปฏิบัติกรณีฉุกเฉินด้วยตนเองได้ทุกกรณี

-------------------------
ผนวก ข - ๑๕๘

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องผ่านการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า และการบิน
เดินทางขั้นก้าวหน้ามาแล้ว ก่อนทาการฝึกบินในภารกิจนี้
๒. ศิษย์การบิน ต้องได้รับการฝึกอบรมให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ เทคนิค วิธีปฏิบัติ
กฎข้อบังคับ และระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการบินกลางคืน ตลอดจนผ่านการตรวจสอบ Blindfold Cockpit
Check มาแล้ว
๓. ศิษย์การบิน จะได้รับการฝึกบินกลางคืนตามรายการต่อไปนี้
๓.๑ การฝึกบินเกาะภูมิประเทศในเวลากลางคืน ๑ เที่ยวบิน
๓.๒ การฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินในเวลากลางคืน ๑ เที่ยวบิน
๓.๓ การฝึกบินเดินทางในเวลากลางคืน ๒ เที่ยวบิน
๔. การตรวจสอบการฝึกบินกลางคืน ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.ตรวจสอบมาตรฐานการบิน
ศบ.ดาเนินการตรวจสอบการบินเดินทางกลางคืนในเที่ยวบิน N - Nav104 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๔.๑ ศิษ ย์ก ารบิน จะได้รับ การตรวจสอบการบิน เดิน ทางกลางคืน ระยะสูง ปาน
กลาง ใน พ.ท.การฝึก (Round Robin) ใช้เวลาในการตรวจสอบ ๑.๐ ชม.บิน
๔.๒ ศิษ ย์ก ารบิน ที่ไ ม่ผ่า นการตรวจสอบ ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว ในเที่ย วบิน
สารอง N - Nav104A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๕๙

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๑๙
๔/๔.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


๑. การบินเกาะภูมิประเทศกลางคืน (Night Contact)
สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก NC101
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔
๐๒ Take Off ๓
๐๓ Departure ๓
๐๔ Level Off ๓
๐๕ Turn ๓
๐๖ Area Orientation ๓
๐๗ Nav Aid Orientation ๔
๐๘ Spatial Disorientation ๒
๐๙ Traffic Entry ๓
๑๐ Circuit / Pattern ๓
๑๑ Landing ๓
๑๒ Closed Pattern ๓
๑๓ Clearing ๔
๑๔ Inflight Planning ๓
๑๕ Radio Procedure ๔
๑๖ Safety Precaution ๔
๑๗ General Airmanship ๔
๑๘ Emergency Procedure ๔
๑๙ General Knowledge ๔
ผนวก ข - ๑๖๐

๒. การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินกลางคืน (Night Instrument)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก NI102
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔
๐๒ Inst. T / O ๓
๐๓ Departure / SID ๓
๐๔ A / S Climb & Descend ๔
๐๕ Rate Of Climb & Descend ๔
๐๖ Level Off ๔
๐๗ Turn ๔
๐๘ Vertical “S” A, B, C, D ๔
๐๙ Change A / S In Turn ๔
๑๐ Change A / S St – Level ๔
๑๑ Confidence Maneuver ๒
๑๒ Tune & Indent ๔
๑๓ Time & Distance ๔
๑๔ Homing ๔
๑๕ ADF Approach ๔
๑๖ VOR / DME Approach ๔
๑๗ TACAN Approach ๔
๑๘ ILS Approach ๔
๑๙ Low Approach / Circling ๔
๒๐ Missed Approach ๔
๒๑ Voice Procedure / ATC ๔
๒๒ General Airmanship ๔
๒๓ Cross Check & Interp. ๔
๒๔ Basic Instrument ๔
๒๕ Inflight Check ๔
๒๖ Emergency Procedure ๔
๒๗ General Knowledge ๔
ผนวก ข - ๑๖๑

๓. การบินเดินทางกลางคืน (Night Navigation)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก N-NAV103 N-NAV104
ระดับความสามารถ
๐๑ Mission Planning ๔ ๔
๐๒ Flight log Preparation ๔ ๔
๐๓ Ground Operation / ATC ๔ ๔
๐๔ Pre Take Off Check ๔ ๔
๐๕ Departure / Route Entry ๔ ๔
๐๖ Level Off ๔ ๔
๐๗ Turning ๔ ๔
๐๘ Nav Aid Orientation ๔ ๔
๐๙ Planning / Area Orientation ๔ ๔
๑๐ Inflight Work Circle ๔ ๔
๑๑ Inflight Computation ๔ ๔
๑๒ VFR Route control ๔ ๔
๑๓ Check ETA / Fuel ๔ ๔
๑๔ Revise ETA / Fuel ๔ ๔
๑๕ Homing ๔ ๔
๑๖ Instrument Approach ๔ ๔
๑๗ Fix to Fix / ASR ๔ ๔
๑๘ Low Approach / Circling ๔ ๔
๑๙ Let Cown / Traffic Entry ๔ ๔
๒๐ Traffic Pattern ๔ ๔
๒๑ Landing ๔ ๔
๒๒ Go Around ๔ ๔
๒๓ Clearing ๔ ๔
๒๔ Radio Procedure ๔ ๔
๒๕ Emergency Procedure ๔ ๔
๒๖ Safety Precaution ๔ ๔
๒๗ Lost Procedure ๔ ๔
๒๘ Airmanship ๔ ๔
๒๙ Aggressiveness ๔ ๔
๓๐ General Knowledge ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๖๒

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


NC101 การฝึกบินกลางคืนเกาะภูมิประเทศ (Night Contact)
D/๑.๐ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Radio Failure
๑.๒ Electrical Failure
๑.๓ Night Pattern / Circuit
๑.๔ รปป.การฝึกบินกลางคืน ของ รร.การบิน
๒. ศบ. จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ วิธีปฏิบัติในการขับเคลื่อนในเวลากลางคืน ๓
๒.๒ การวิ่งขึ้นโดยอาศัยเครื่องวัดประกอบการบิน ๓
๒.๓ การใช้เครื่องวัดที่แสดงผลของท่าบิน ๓
๒.๔ การเลี้ยว (Turn) ๓
๒.๕ การรักษาขอบเขตพื้นที่การฝึกบิน โดยใช้เครื่องช่วยการเดินอากาศ
และใช้จุดตรวจสอบบนพื้นดินในเวลากลางคืน ๓
๒.๖ วิธีออกนอกวงจร และการนา บ.เข้าต่อวงจรตามระเบียบปฏิบัติ
เกี่ยวกับการบินกลางคืน ๓
๒.๗ วิธีปฏิบัติต่าง ๆ กรณีฉุกเฉินในการบินกลางคืน ๔
๒.๘ Spatial Disorientation ๒
หมายเหตุ การฝึกบิน ขึ้น–ลง สนามบินในเวลากลางคืนให้ลงแบบ Normal L / D และให้ปฏิบัติ
อย่างน้อยเที่ยวบินและ ๓ ครั้ง
---------------------------------------------------------------
NI102 การฝึกบินกลางคืนด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (Night Instrument)
D/๑.๐ ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการบินด้วยเครื่องวัด ฯ
ขั้นพื้นฐานในเวลากลางคืน ๓
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ ๓
การบินด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ ADF, VOR / DME, TACAN
และ ILS Approach
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิต ๓
การขอกลับมาลงสนามด้วย SRA
---------------------------------------------------------------
N-NAV103 การฝึกบินเดินทางกลางคืน (Night Navigation)
M/๑.๐ ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๑.๑ วิธีปฏิบัติในการขับเคลื่อนในเวลากลางคืน ๔
๑.๒ การวิ่งขึ้นโดยอาศัยเครื่องวัดประกอบการบิน ๔
ผนวก ข - ๑๖๓

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๓ การปฏิบัติหลังทาการวิ่งขึ้นจนถึงการบินระดับในเส้นทางบิน ๔
๑.๔ การนาร่อง (Pilotage) ๔
๑.๕ การบินและการแก้ไขให้เป็นไปตามรายการที่คานวณไว้ใน
Flight Log ๔
๑.๖ การทา Inflight Check ๔
๑.๗ การติดต่อหน่วยควบคุมการจราจรทางอากาศ สถานีเรดาร์
(Position Report) ๔
๑.๘ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศขณะบินเดินทางเพื่อหาตาแหน่ง ๔
๑.๙ การกลับมาลงสนามด้วย Instrument App. ๔
๑.๑๐ การปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------------------------------------------
N-NAV104 การตรวจสอบผลการฝึกบินเดินทางกลางคืน (Night Navigation)
M/๑.๐ (CHECK) ๑. ศบ.จะต้องมีความรู้ความสามารถตามรายการต่อไปนี้ ๔
๑.๑ การวางแผนก่อนทาการบิน การเตรียมแผนที่และ ๔
Flight Log
๑.๒ การพิจารณาสภาพอากาศและประกาศผู้ทาการในอากาศ ๔
(Notam) ของเส้นทางบิน
๑.๓ วงจรการปฏิบัติในระหว่างบิน (Inflight Work Circle) ๔
๑.๔ การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และวิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน ๔
๑.๕ การปฏิบัติในการขับเคลื่อนและวิ่งขึ้นในเวลากลางคืน ๔
๑.๖ การปฏิบัติหลังทาการวิ่งขึ้นจนถึงการบินระดับในเส้นทางบิน ๔
๑.๗ การนาร่อง (Pilotage) ๔
๑.๘ การบินและการแก้ไขให้เป็นให้เป็นไปตามรายการที่คานวณไว้ ๔
ใน Flight Log
๑.๙ การทา Inflight Check ๔
๑.๙.๑ Clear Check
๑.๙.๒ G / S Check
๑.๑๐ การวางแผนการบินขณะทาการบิน (Inflight Planning) ๔
๑.๑๑ การติดต่อกับหน่วยควบคุมการจราจรทางอากาศ,สถานีเรดาร์ต่าง ๆ ๔
และการรายงานที่จุดรายงาน (Position Report) ๔
๑.๑๒ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศขณะทาการบิน ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔

------------------------
ผนวก ข - ๑๖๔

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู้ควบคุมการฝึก ต้องจัดให้มีการอบรมศิษย์การบินให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ
พื้นฐานของการบินเดินทาง ดังต่อไปนี้
๑.๑ กฎการบินด้วยทัศนะวิสัย (VFR) และกฎการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (IFR)
๑.๒ การบริการการบินและการควบคุมการจราจรทางอากาศ
๑.๓ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศและเรดาร์ควบคุมการบิน
๑.๔ การใช้แผนที่ การอ่านแผนที่ประกอบกับภูมิประเทศภายนอก
๑.๕ การปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางการบิน
๑.๖ การพิจารณาใช้สนามบินสารอง
๒. ศิษย์การบิน จะได้รับการฝึกบินเดินทางดังนี้
๒.๑ ใน Nav101 เป็นการบินเดินทางระยะสูงตามกฎการบินสากล (HI Nav Round
Robin) นอกพื้นที่การฝึก ศบ.ใช้เวลาในการบิน ๑.๐ ชั่วโมง
๒.๒ ใน Nav102, Nav103, Nav104, Nav105, Nav106, Nav107, Nav110 และ Nav111 เป็นการบิน
เดินทางระยะสูงตามกฎการบินสากล (HI Nav Out and Back) ไปลง ณ สนามบินต่างถิ่น และบินเดินทางกลับในวันเดียวกัน โดย
ใช้เวลาในการบินรวม ๘.๔ ชั่วโมงบิน
๒.๓ ใน Nav108, Nav109 เป็นการบินเดินทางระยะสูงสูงตามกฎการบินสากล (HI Nav
Cross Country) ไปยังสนามบินต่างถิ่นค้างคืน และทาการบินกลับในวันรุ่งขึ้น โดยใช้เวลาในการบิน
รวม ๒.๔ ชั่วโมงบิน
๒.๔ ใน Nav112, Nav113 เป็น การตรวจสอบการบินเดินทางระยะสูง สูง ตามกฎ
การบิน (HI Nav Out and Back) ไปลง ณ สนามบิน ต่า งถิ่น และเดิน ทางกลับ ในวัน เดีย วกัน โดยใช้
เวลาในการบินรวม ๒.๐ ชั่วโมง
๒.๕ ใน Nav114 เป็นการสาธิตการบินเดินทางระยะสูงต่า (Low Nav) เพื่อให้ศิษย์การบินมี
ประสบการณ์ และพื้นฐานในการบินเดินทางระยะสูงต่า โดยใช้เวลาในการบิน ๑.๐ ชั่วโมง
๓. การตรวจสอบการฝึกบินเดินทางขั้นก้าวหน้ า ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.ตรวจสอบ
มาตรฐานการบิน ศบ. ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน Nav112 และ Nav113 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ตรวจสอบการบินเดินทางระยะสูงสูง (HI Nav Out and Back) ตามกฎการบิน
สากลไปยังสนามบินต่างถิ่นในเที่ยวบิน Nav112 และบินเดินทางกลับในเที่ยวบิน Nav113
๓.๒ ศิษ ย์ก ารบิน ที่ไ ม่ผ ่า นการตรวจสอบ ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว ในเที่ย วบิน
สารอง Nav112A และ Nav113A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๖๕

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๑๙
๑๔/๑๔.๘

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level Of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV
ลาดับ หัวข้อการฝึก
101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114
ระดับความสามารถ
๐๑ Mission Planning ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๐๒ Preparation of Maps ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๐๓ Flight Log Preparation ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๐๔ Gound Operation / ATC ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๐๕ Pre - Takeoff Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๐๖ Departure / Route Entry ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๐๗ Map Reading ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๐๘ Nav Aid Orientation ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๙ VFR Gnd. Track Control ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๑๐ IFR Route Control ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๑ Inflight Computation ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๑๒ Ground Speed Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๓ Check Eta / Fuel ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๑๔ Revise Eta / Fuel ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๑๕ Inflight Work Circle ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๑๖ Fix To Fix / ASR ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๗ Gliding ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๘ Enroute Descend ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๑๙ Inst. App. ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๒๐ VFR Pattern ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๑ Landing ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๒ Inflight Planning ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๓
๒๓ Trim Technique ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๔ Clearing ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๕ Inflight Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๖ Radio Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๗ Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๘ Lost Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๙ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๓๐ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๖๖

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


NAV101 การฝึกบินเดินทางระยะสูง (HI Nav Round Robin)
D/๑.๐ นอกพื้นที่การฝึก
๑. ศบ.จะต้องมีความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ การวางแผนก่อนทาการบิน (Mission Planning)
๑.๒ การเตรียมแผนที่ (Preparation of Maps)
๑.๓ Flight Log
๑.๔ Inflight Work Circle / Clear Check
๒. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๒.๑ EHSI / BDHI Failure
๒.๒ Diversion Technique & Consideration
๒.๓ Excessive Rate of Oxygen Usage
๒.๔ Complete Electrical Failure (VMC / IMC)
๒.๕ Radio Failure (VMC / IMC)
๒.๖ Fuel Shortage
๒.๗ วิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน (Lost Procedure)
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๓.๑ Ground Operation and Pre - Take Off Check ๓
๓.๒ Departure and Route Entry ๓
๓.๓ Pilotage by Nav Aid ๓
๓.๔ Map Reading ๓
๓.๕ VFR Ground Track Control ๓
๓.๖ Ground Speed Check ๓
๓.๗ Check And Revise ETA / Fuel ๓
๓.๘ Inflight Planning ๓
๓.๙ Inflight Computation ๓
๓.๑๐ Inflight Check ๔
๓.๑๑ Radar Control and Position Report ๓
๓.๑๒ การลดระยะสูงและการเข้าสู่สนามบินด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ ๓
---------------------------------------------------------------
๔. ศบ.จะต้องได้รับการแนะนาวิธีการฝึกบินที่ระยะสูง
(High Altitude Operation)
๕. ศบ.จะต้องมีความสามารถในเรื่องของการพิจารณาสภาพอากาศ และ Notam
ตามเส้นทางบิน
ผนวก ข - ๑๖๗

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๖. ศบ.จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติ
๖.๑ การบินเดินทางตามกฎการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (IFR)
๖.๒ การขอ ATC และการ Read Back Clearance
๖.๓ การขอสภาพอากาศสนามบินปลายทางหรือการใช้ ATIS
๖.๔ ทบทวนการปฏิบัติเมื่อหลงสภาพในเส้นทางบิน (Lost Procedure)
---------------------------------------------------------------
NAV102,NAV103 การฝึกบินเดินทาง ไป - กลับระยะสูงไปยังสนามบินต่างถิ่น
2M/๒.๐ (HI - NAV Out Back)
ศบ.ต้องทาการบินกับ นบ.ผู้ช่วยเพื่อสร้างความมั่นใจ
๑. คบ. และ ศบ.จะต้องมีความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Mission Planning & Map Preparation
๑.๒ Diversion Due to Fuel Shortage
๑.๓ Diversion Due to Engine Malfunction
๑.๔ การพิจารณาสภาพอากาศและ Notam ตามเส้นทางบิน
๑.๕ Inflight Work Circle และ Clear Check
๑.๖ วิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน (Lost Procedure)
๑.๗ วิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน และเกิดเหตุฉุกเฉิน
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Mission Planning & Map Preparation ๔
๒.๒ Ground Operation and Pre - Take Off Check ๔
๒.๓ Departure and Route Entry ๔
๒.๔ Pilotage by Nav Aid ๔
๒.๕ Map Reading ๔
๒.๖ VFR Ground Track Control ๔
๒.๗ IFR Route Control ๔
๒.๘ Ground Speed Check ๔
๒.๙ Check and Revise ETA / Fuel ๔
๒.๑๐ Inflight Planning ๔
๒.๑๑ Inflight Computation ๔
๒.๑๒ Inflight Check ๔
๒.๑๓ Radar Control and Position Report ๔
๒.๑๔ Descend and Position Report ๔
๓. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการบินเดินทางตามที่ได้รับการฝึก
มาแล้วในขัน้ ประถม
๔. ศบ.จะได้รับการทบทวนและฝึกปฏิบัติ
๔.๑ การบินเดินทางตามกฎ IFR / VFR ๔
๔.๒ การใช้ ATIS หรือการขอสภาพอากาศสนามบินปลายทาง ๔
ผนวก ข - ๑๖๘

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๔.๓ การทา Instrument Approach ที่สนามบินต่างถิ่น ๔
๔.๔ การทา ASR ที่สนามบินต่างถิ่น ๔
๔.๕ การฝึกขึ้น – ลง สนามบินต่างถิ่น ๔
๕. ศบ.ต้องผ่านการทดสอบ Voice Procedure ๔
๖. ศบ.จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการบริการลานจอด ณ สนามบินต่างถิ่น ๔
---------------------------------------------------------------
NAV104,105 ๑. ศบ.จะต้องได้รับการฝึกทบทวนการบินเดินทาง ไป – กลับ
M/๒.๔ (Out and Back) ๔
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติการบินเดินทาง ไป – กลับ
ระยะสูงไปยังสนามบินอื่นที่ไม่ซ้ากัน ๔
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการใช้ EHSI ช่วยในการบินเดินทาง
๓.๑ ๑๒๐ องศา ของ NAV Map
๓.๒ ๓๖๐ องศา ของ NAV Map
---------------------------------------------------------------
NAV106,107 ๑. ศบ.จะต้องได้รับการฝึกทบทวนการบินเดินทาง ไป – กลับ
M/๒.๐ (Out and Back) ๔
---------------------------------------------------------------
NAV108,NAV109 การบินเดินทางระยะสูงสูง (HI Nav Cross Country)
M/๒.๔ ๑. ศบ.ต้องมีความรู้และความสามารถในการบินเดินทางที่ได้รับการฝึก ๔
มาแล้วทั้งหมด
๒. ศบ.จะได้รับปฏิบัติการบินเดินทางระยะสูงไปยังสนามบินต่างถิ่นค้างคืน ๔
ในเที่ยวบิน NAV108 และทาการบินกลับในวันรุ่งขึ้นในเที่ยวบิน NAV109
---------------------------------------------------------------
NAV110,NAV111 การบินเดินทางระยะสูง (HI Nav Out and Back)
M/๒.๐ ๑. ศบ.ต้องมีความรู้และความสามารถในการบินเดินทางที่ได้รับการฝึก ๔
มาแล้วทั้งหมด
๒. ศบ.ต้องปฏิบัติการบินเดินทางระยะสูงไปยังสนามบินต่างถิ่นในเที่ยวบิน NAV112
โดยใช้เส้นทางบินเดียวกันกับเส้นทางบินในวันตรวจสอบ ๔
---------------------------------------------------------------
NAV112,NAV113 การตรวจสอบการฝึกบินเดินทาง
D/๒.๐ ศบ.จะได้รับการตรวจสอบการฝึกบินเดินทางระยะสูง ตามกฎการบินสากล
(check) ๑. ศบ.จะต้องมีความรู้ความสามารถในการบินเดินทางระยะสูง (HI – NAV
Out and Back) ตามรายการต่อไปนี้
๑.๑ Mission Planning ๔
๑.๒ Preparation of Maps ๔
๑.๓ Flight Log Preparation ๔
๑.๔ Ground Operation / ATC Clearance ๔
ผนวก ข - ๑๖๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๕ Pre Take Off Check ๔
๑.๖ Departure / Route Entry ๔
๑.๗ Map Reading ๔
๑.๘ NAV Aid Orientation ๔
๑.๙ VFR Ground Track Control ๔
๑.๑๐ IFR Route Control ๔
๑.๑๑ Inflight Computation ๔
๑.๑๒ Ground Speed Check ๔
๑.๑๓ Check ETA / Fuel ๔
๑.๑๔ Revise ETA / Fuel ๔
๑.๑๕ Inflight Work Circle ๔
๑.๑๖ Fix to Fix / ASR ๔
๑.๑๗ Holding ๔
๑.๑๘ Enroute Descend ๔
๑.๑๙ Instrument Approach ๔
๑.๒๐ VFR Pattern ๔
๑.๒๑ Landing ๔
๑.๒๒ Inflight Planning ๔
๑.๒๓ Trim Technique ๔
๑.๒๔ Clearing ๔
๑.๒๕ Inflight Check ๔
๑.๒๖ Radio Procedure ๔
๑.๒๗ Airmanship ๔
๑.๒๘ Lost Procedure ๔
๑.๒๙ Emergency Procedure ๔
๑.๓๐ General Knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------------------------------------------
NAV114 การสาธิตการบินเดินทางระยะสูงต่ากลางวัน (Low Nav VFR Round Robin)
D/๑.๐ ๑. ศบ.จะต้องได้รับการแนะนาวิธีการฝึกบินที่ระยะสูงต่า (Low Nav)
โดยบิน ๑ ลา หรือบินหมู่ได้ หากเป็นการบินหมู่
ศบ.จะต้องได้รับคาแนะนาดังนี้
๑.๑ การบินหมู่ยุทธวิธี (Tactical Formation)
๑.๒ การบินหมู่รบ (Fighting Wing)
๑.๓ การนาหมู่ และการเกาะหมู่ขณะบินระยะสูงต่า

--------------------------------
ผนวก ข - ๑๗๐

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย
(Final Contact)
บ.ฝ.๑๙

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู้ ค วบคุ ม การฝึ ก ต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารฝึ ก อบรมศิ ษ ย์ ก ารบิ น ให้ มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจ
ในหลักการและวิธีปฏิบัติในการบินผาดแผลงขั้นก้าวหน้า (Advance Aerobatic) เป็นอย่างดี
๒. ศิษย์การบิน จะต้องทาการบินเดี่ยวใน พ.ท.การฝึก ในเที่ยวบิน C305 และ C306 ถ้าครูการบิน
เห็นว่าศิษย์การบินไม่สามารถทาการบินเดี่ยวได้อย่างปลอดภัยให้ส่ง Spot Check
๓. การตรวจสอบผลการฝึกบินเกาะภูมิประเทศขั้นปลาย ให้ นตฐ.รร.การบิน หรือ คณก.
ตรวจสอบมาตรฐานการบิน ศบ.ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน C310 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการ
ฝึกภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวในเที่ยวบินสารอง
C310A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๗๑

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย
(Final Contact)
บ.ฝ.๑๙
๑๐/๑๓.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
C301 C302 C303 C304 C305 C306 C307 C308 C309 C310
ลาดับ หัวข้อการฝึก
SOLO SOLO
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๒ Take Off ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๓ Departure ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๔ Level Off ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๕ Steep Turn ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๖ Power On / Off Stall ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๗ Spin Prevention ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๘ Normal Spin ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๐๙ In / Out Spin Exercise ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๐ Aileron Roll ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๑ Barrel Roll ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๒ Loop ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๓ Cuban Eight - ๒ ๓ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๔ Immelmann - ๒ ๓ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๕ Slow Roll - ๒ ๓ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๖ Stall Turn - ๒ ๓ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๗ Climging Half Roll - ๒ ๓ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๘ SFL ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๑๙ Traffic Entry ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๐ Normal Landing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๗๒

สัญลักษณ์เที่ยวบิน
C301 C302 C303 C304 C305 C306 C307 C308 C309 C310
ลาดับ หัวข้อการฝึก
SOLO SOLO
ระดับความสามารถ
๒๑ No Flap Landing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๒ Straight in Landing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๓ Closed Pattern ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๔ Go Around ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๕ Clearing ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๖ Inflight Planning ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๗ Radio Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๘ Safety Precaution ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๒๙ Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๓๐ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
๓๑ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ - ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๗๓

การบินเกาะภูมิประเทศขั้นสุดท้าย
(Final Contact)
บ.ฝ.๑๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C301 ๑. ศบ.จะได้รับการทบทวนในท่าบินดังต่อไปนี้ ๔
D/๑.๓ ๑.๑ Steep Turn ๔
๑.๒ Aileron Roll ๔
๑.๓ Barrel Roll ๔
๑.๔ Loop ๔
๑.๕ Normal Spin ๓
๑.๖ การลงสนามแบบต่าง ๆ ๔
๑.๗ SFL ๔
๒. ศบ.จะได้รับการอบรมชี้แจง การปฏิบัติต่อไปนี้
๒.๑ L - 1 Demonstration ๑
๒.๒ M - 1 Maneuver ๑
---------------------------------------------------------------
C302 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C301 ข้อ ๑ ๔
D/๑.๓ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ ๒
๒.๑ Cover Leaf
๒.๒ Immelmann
๒.๓ Slow Roll
๒.๔ Stall Turn
๒.๕ Climbing Half Roll
๒.๖ Cuban Eight
---------------------------------------------------------------
C303 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C302 ทั้งหมด ๓,๔
D/๑.๓ ๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง
---------------------------------------------------------------
C304 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๑.๓ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ ๒
Stability Demonstration
---------------------------------------------------------------
C305 ๑. ศบ.จะต้องทาการบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึกตามหัวข้อการฝึกบิน
S/๑.๓ ที่ คบ.ประจาสายกาหนดให้
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๗๔

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C306 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๑.๓ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต
การลงสนาม แบบ Short Field Landing
๓. ศิษย์การบินจะได้รับการฝึกทบทวน ๔
๓.๑ Power On Stall
๓.๒ Power Off Stall
---------------------------------------------------------------
C307 ๑. ศบ.จะต้องทาการบินเดี่ยวในพื้นที่การฝึกตามหัวข้อการฝึกบิน
S/๑.๓ ที่ คบ.ประจาสายกาหนดให้
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง
---------------------------------------------------------------
C308,C309 การฝึกทบทวนก่อนเข้ารับการตรวจสอบ
M/๒.๖ ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
๒. ศบ.ต้องสามารถทาท่าบินผาดแผลงขั้นก้าวหน้าดังต่อไปนี้ ๔
๒.๑ Cover Leaf
๒.๒ Immelmann
๒.๓ Climbing Half Roll.
๒.๔ Stall Turn
๒.๕ Cuban Eight
---------------------------------------------------------------
C310 การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิประเทศขั้นปลาย
M/๑.๓ (Check) ๑. ศบ.จะได้รับการตรวจสอบท่าบินต่าง ๆ ต่อไปนี้
๑.๑ Ground Operation ๔
๑.๒ Take Off / Departure ๔
๑.๓ Level Off ๔
๑.๔ Steep Turn ๔
๑.๕ Spin Prevention / Normal & Spin Recovery ๔
๑.๖ Loop ๔
๑.๗ Cuban Eight ๔
๑.๘ Immelmann ๔
๑.๙ Stall Turn ๔
๑.๑๐ Climbing Half Roll ๔
๑.๑๑ SFL ๔
๑.๑๒ Traffic Entry / Pattern ๔
๑.๑๓ Landing ๔
๑.๑๔ Straight in Landing ๔
๑.๑๕ Closed Pattern / Go Around ๔
ผนวก ข - ๑๗๕

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๑๖ Clearing ๔
๑.๑๗ Inflight Planning ๔
๑.๑๘ Radio Procedure ๔
๑.๑๙ Safety Precautio ๔
๑.๒๐ Airmanship ๔
๑.๒๑ Emergency Procedure ๔
๑.๒๒ General Knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔

----------------------
ผนวก ข - ๑๗๖

รายละเอียดหลักสูตรภาคอากาศศิษย์การบินขัน้ มัธยม
การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre - Solo)
บ.ฝ.๒๐

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู้ควบคุมการฝึ ก ต้องตรวจสอบผลการฝึกอบรมก่อนทาการบินของศิษย์การบินทุกคน
ให้ผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนดก่อนเริ่มทาการฝึกภาคอากาศ
๒. การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยวให้ นตฐ.รร.การบิน ดาเนินการ
ตรวจสอบในเที่ยวบินที่ C110 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๒.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบินอย่างน้อย ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการ
ฝึกภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน และต้องมีการฝึกขึ้น - ลงสนามมาแล้ว อย่างน้อย ๓๕ ครั้ง โดยเป็นการฝึก
จาลองเครื่องยนต์ดับขณะวิ่งขึ้นและลงสนามด้วยการเครื่องยนต์เดียวจาลอง (Simulate Single Engine During Take - Off
and Landing) อย่างน้อย ๔ ครั้ง
๒.๒ ศิษย์การบิน ที่ผ่านการตรวจสอบการบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยวแล้ว
ให้ทาการบินเดี่ยวเที่ยวที่ C111 ขึ้น – ลงสนาม ๑ เที่ยว โดยให้ผู้ตรวจสอบเป็นผู้ควบคุมในการบินเดี่ยว
๒.๓ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยว C110 ให้ทาการบินทบทวนกับ
ครูการบินในเที่ยวบิน C110A และทาการตรวจสอบในเที่ยวบินสารอง C110B ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๗๗

การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre - Solo)
บ.ฝ.๒๐
๑๑/๑๕.๘

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก C101 C102 C103 C104 C105 C106 C107 C108 C109 C110 C111
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๐๒ Take Off ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๐๓ Short Field Take Off - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ - -
๐๔ Simulate Single Engine - - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ -
During Take Off
๐๕ Departure ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๐๖ Turn ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๐๗ Level Off ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๐๘ Steep Turn ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๐๙ Power On & Off Stall - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ -
๑๐ Slow Flight - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๑ Nose Low / High Recovery - - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๒ Simulate Single Engine - - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๓ In Flt.Pln / Area Orn. ๑ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๔ Nav Aid Orn. - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๕ Let Down / Traffic Entry ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๖ Traffic & Landing ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๗ Normal Landing ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๘ No Flap Landing - - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๑๙ St – In Landing - - - - ๒ ๓ ๓ ๔ - - -
๒๐ Short Field Take Off - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ - -
๒๑ Simulate Single Engine - - - ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ -
Landing
๒๒ Go Around ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๒๓ Simulate Single Engine Go - - - - ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ -
Around
๒๔ Radio Procedure ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๒๕ Safety Precaution ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๒๖ Airmanship ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๒๗ Emergency Procedure ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
๒๘ General Knowledge ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ -
ผนวก ข - ๑๗๘

การบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
(Pre - Solo)
บ.ฝ.๒๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C101 การทาความคุ้นเคยกับการควบคุมและบังคับ บ.
D/๑.๕ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Emergency Ground Egress
๑.๒ Brake Failure Procedure
๑.๓ Take off Emergency Brief
๑.๔ Hand over / Take over Procedure
๑.๕ Landing Gear Emergency Extended Procedure
๑.๖ Intercom Failure
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การตรวจและการกรอกแบบพิมพ์ ทอ.ชอ.๒๒๑-๑-๒ ๑
๒.๒ การตรวจภายนอกและภายใน บ. ๑
๒.๓ วิธีการปฏิบัติ Pre - Start Check ๑
๒.๔ วิธีการปฏิบัติ Start Engine ๑
๒.๕ วิธีการปฏิบัติ ก่อน Taxi ๑
๒.๖ วิธีการปฏิบัติ Before Take off Check ขณะ Taxi ๑
และการใช้ Brakes
๒.๗ วิธีการปฏิบัติในการวิ่งขึ้นและออกนอกวงจร ๑
๒.๘ การทา Level off Check ๑
๒.๙ อาการตอบสนองของ Flight Control (Pitch, Bank, Yaw) ๑
๒.๑๐ อาการตอบสนองของ Power ๑
๒.๑๑ การใช้ Flight Control ให้สัมพันธ์กับ Power ๑
๒.๑๒ การบิน Level Flight ๑
๒.๑๓ การใช้ Trim ๑

๒.๑๔ Turn (30 AoB) ๑

๒.๑๕ Steep Turn (45 AoB) ๑
๒.๑๖ Inflight Planning ๒
๒.๑๗ การทา Before Descent Check ๑
๒.๑๘ การลดระยะสูงโดยมีกาลัง ย. ๑
๒.๑๙ การเข้าต่อวงจรภายใต้คาแนะนาของเรดาร์ ๑
๒.๒๐ วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการดับ ย. ๑
๓. ศบ.จะได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับขอบเขตพื้นที่การฝึก และที่หมายเด่นชัด
--------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๗๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


C102 การทาความคุ้นเคยกับการบินก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๕ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Abort Procedure
๑.๒ Fire or Overheat in the Air
๑.๓ Radio Failure Procedure
๑.๔ Implication of no Flap Full Stop Landing
and Wheel Fire
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C101 ข้อ ๒,๓
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๓.๑ การบิน ไต่ - ร่อนและการเลี้ยว ไต่ - ร่อน ๒
๓.๒ การบินระดับจากการ ไต่ – ร่อน ๒
๓.๓ การเลี้ยวคืนทิศที่ต้องการ ๒
๓.๔ การบิน Coordination Exercise ๒
๓.๕ Simulated Landing Pattern ๒
๓.๖ Slow Flight ๒
๓.๗ การไปใหม่จากการสมมติลงสู่สนาม (ที่ระยะสูง) ๒
๓.๘ การฝึกขึ้นลงสนาม (Touch and Go) ๒
๓.๙ การไปใหม่จากการลงสนามเมื่อใกล้จะถึงสนาม ๒
--------------------------------------------------------------
C103 การทาความคุ้นเคยกับการบินก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๕ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Composition of May Day and Pan Pan
๑.๒ Engine Failure after Take Off
๑.๓ Enroute Abort / Emergency Airfield
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน C102 ข้อ ๒,๓ ๒
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๓.๑ การวิ่งขึ้นด้วยทางวิ่งสั้น ๑
๓.๒ การลงสนามด้วยทางวิ่งสั้น ๑
---------------------------------------------------------------
C104 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๕ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Fuel Balancing Procedure and Fuel Asymmetry Check
๑.๒ Engine Out Go Around
๑.๓ Lost Procedure
ผนวก ข - ๑๘๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Power on Stall Series ๒
๒.๒ Power off Stall Series ๒
๒.๓ Secondary Stall ๒
๒.๔ Simulate Single Engine (During Take Off, Enroute, ๑
Landing)
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วที่ยังบกพร่อง ๓
--------------------------------------------------------------
C105 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๕ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Hydraulic Failure
๑.๒ Blown Tire
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Nose High Recovery, Nose Low Recovery ๒
๒.๒ Simulate Single Engine Go Around ๑
๒.๓ No Flap Landing ๒
๒.๔ Straight in Landing ๒
๒.๕ VMC Demonstration ๑
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วที่ยังบกพร่อง ๒,๓
---------------------------------------------------------------
C106 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๕ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Fuel System Failure / Low Fuel Pressure
๑.๒ Fuel Pumps Failure
๑.๓ Suspected Fuel Leak
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Lost Procedure ๒
๒.๒ Normal Landing ๓
๒.๓ Straight in Landing ๓
๒.๔ Go Around ๓
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วที่ยังบกพร่อง ๒,๓
---------------------------------------------------------------
C107,C108 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๓.๐ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Brake Failure
๑.๒ Hot Brake
๑.๓ Hydroplane
ผนวก ข - ๑๘๑

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวคืนทิศที่ต้องการ ๔
๒.๒ Steep Turn ๔
๒.๓ Power on Stall & Power off Stall ๔
๒.๔ Slow Flight ๔
๒.๕ Nose High/Nose Low Recovery ๔
๒.๖ Traffic Landing (Normal and No Flap Landing) ๔
๒.๗ Straight in Landing ๔
๒.๘ Go Around ๔
๒.๙ Simulate Single Engine (Take Off, Enroute, ๔
Landing and Go Around)
---------------------------------------------------------------
C109 ท่าบินพื้นฐานก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๕ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
Emergency Procedure ที่ได้รับการอบรมชี้แจงมาแล้วทั้งหมด ๔
๒. ศบ.จะได้รับการทบทวน
เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องก่อนรับการตรวจสอบการบินก่อนปล่อยเดี่ยว ๔
---------------------------------------------------------------
C110 การตรวจสอบการฝึกบินเกาะภูมิประเทศก่อนปล่อยเดี่ยว
D/๑.๕ (Check) ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถปฏิบัติในรายการดังต่อไปนี้
๑.๑ Ground Operation ๔
๑.๒ Take Off ๔
๑.๓ Departure ๔
๑.๔ Level Off ๔
๑.๕ Turn ๔
๑.๖ Steep Turn ๔
๑.๗ Power on Stall & Power off Stall ๔
๑.๘ Slow Flight ๔
๑.๙ Nose High / Nose Low Recovery ๔
๑.๑๐ Simulate Single Engine ๔
๑.๑๑ In Flt.Pln. / Area Orn. ๔
๑.๑๒ Nav Aid Orn. ๔
๑.๑๓ Let Down / Traffic Entry ๔
๑.๑๔ Traffic & Landing ๔
๑.๑๕ Normal Landing ๔
๑.๑๖ No Flap Landing ๔
๑.๑๗ Simulate Single Engine Landing ๔
ผนวก ข - ๑๘๒

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๑๘ Go Around ๔
๑.๑๙ Simulate Single Engine Go Around ๔
๑.๒๐ Inflight Check ๔
๑.๒๑ Radio Procedure ๔
๑.๒๒ Safety Precaution ๔
๑.๒๓ Airmanship ๔
๑.๒๔ Emergency Procedure ๔
๑.๒๕ General Knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -- - - - - - - - - - - -
C111 การบินเดี่ยวหลังการตรวจสอบมาตรฐาน
S/๐.๘ ๑. ศบ.ฝึกขึ้น – ลงสนาม แบบ Normal Landing ๑ ครั้ง
(ห้ามลง No Flap หรือ Straight In)

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -- - - - - - - - - - - -
ผนวก ข - ๑๘๓

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๒๐

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ เทคนิคและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ในการบิน
ด้วยเครื่องวัดประกอบการบินอย่างแท้จริง ก่อนขึ้นทาการบินภาคอากาศ
๒. ศิษย์การบิน ที่ทาการบินคู่กับครูการบินหรือนักบินผู้ช่วย ให้ใช้อุปกรณ์จากัดการมองเห็น
(Visual Restriction Device)
๓. การตรวจสอบการบิ น ด้ ว ยเครื่ อ งวั ด ประกอบการบิ น ขั้ น พื้ น ฐาน ให้ นตฐ.รร.การบิ น
ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน I110โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน I110 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว
ในเที่ยวบินสารอง I110A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๘๔

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๒๐
๑๐/๑๕.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก I101 I102 I103 I104 I105 I106 I107 I108 I109 I110
ระดับความสามารถ
๐๑ Inst. Cockpit Check ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Climb ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Level Off ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Level Flight ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Chang A / S St.& Level (H) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ Chang A / S St.& Level (L) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Chang A / S St.& Level (N) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Chang A / S In Turn (L) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ Chang A / S In Turn (H) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๐ Chang A / S In Turn (N) - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๑ Turn (30° AoB) - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๒ Vertical “S” A,B,C,D - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๓ Unusual Recovery - - - ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๔ ADF Homing, VOR Proceed - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๕ Time & Distance Check - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๖ Voice Procedure / ATC ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๗ Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๘ Cross Check and Interpretation ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๙ Inflight Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๐ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๑ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๘๕

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument)
บ.ฝ.๒๐
สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ
I101 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและการฝึกปฏิบัติ
D/๑.๕ ๑.๑ การตรวจเครื่องวัด ฯ ก่อนวิ่งขึ้น (Inst.Cockpit Check) ๒
๑.๒ การวิ่งขึ้น (เฉพาะการสาธิต)
๑.๓ การควบคุม บ.ทางหัวขึ้น - ลง (Pitch Control) ๑
๑.๓.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๒ การ Cross Check เครื่องวัดทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับการควบคุม บ.ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๔ การใช้ Trim ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๓.๕ การฝึกเปลี่ยนท่าทาง บ.ทางหัวขึ้น - ลง
๑.๔ การควบคุม บ.ทางการเอียง (Bank Control) ๑
๑.๔.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดเอียง
๑.๔.๒ การ Cross Check เครื่องวัดเอียง
๑.๔.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับควบคุม บ.ทางการเอียง
๑.๔.๔ การใช้ Rudder ทางการเอียง
๑.๔.๕ การฝึกเปลี่ยนท่าทาง บ.ทางการเอียง
๑.๕ การควบคุมกาลัง ย. (Power Control) ๑
๑.๕.๑ การแปลความหมายของเครื่องวัดกาลัง ย.
๑.๕.๒ Cross Check เครื่องวัดกาลัง ย.
๑.๕.๓ การใช้เครื่องวัดสาหรับควบคุมกาลัง ย.
๑.๕.๔ การตั้งกาลัง ย.สาหรับความเร็วต่าง ๆ
๑.๕.๕ ผลของการเปลี่ยนแปลงกาลัง ย.ที่มีต่อลักษณะท่าทาง บ.
๑.๖ ความสัมพันธ์ทางหัวขึ้น - ลง การเอียง และกาลัง ย. ๑
๑.๖.๑ การ Cross Check และการแปลความหมายของเครื่องวัดฯ
๑.๖.๒ การใช้ Trim เมื่อท่าทาง บ.และกาลัง ย.เปลี่ยนแปลง
๑.๖.๓ การบินตรงบินระดับด้วยความเร็วต่าง ๆ กัน
๑.๗ การรักษาทิศทางในการไต่ (Climb) ๒
๑.๘ การวางระดับ การรักษาทิศทาง ระยะสูง และ
- การใช้กาลัง ย.ควบคุมความเร็ว (Level Off) ๒
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๒
๒.๒ การเลี้ยวและการคืนออกจากวงเลี้ยว (Turn) ๒
๒.๓ การรักษามุมเอียง และหัวขึ้น - ลง ในวงเลี้ยว ๒
๒.๔ การใช้กาลัง ย. ๒
ผนวก ข - ๑๘๖

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๒.๕ การคืนตรงทิศที่ต้องการ ๒
---------------------------------------------------------------
I102 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I101 ข้อ ๑,๒,๓ ๑,๒
D/๑.๕
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและการฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเปลี่ยนความเร็วขณะบินตรงบินระดับ ๑
(Change A / S St.& Level)
๒.๑.๑ การใช้กาลัง ย.ในการเปลี่ยนความเร็ว
๒.๑.๒ การใช้ Trim และการบังคับ บ.ขณะเปลี่ยนความเร็ว
๒.๑.๓ การรักษาท่าทางของ บ.ตามความเร็วที่ได้ใหม่
๒.๒ การเปลี่ยนความเร็วขณะเลี้ยว (Chang A / S in Turn) ๑
๒.๒.๑ การเปลี่ยนความเร็วขณะเริ่มเอียงปีก
๒.๒.๒ การเปลี่ยนความเร็วในวงเลี้ยว
๒.๒.๓ วิธีการปฏิบัติตามข้อ ๒.๑.๑ ถึง ๒.๑.๓
และการรักษามุมเอียงปีก และระยะสูงขณะเลี้ยว
๒.๒.๔ การเปลี่ยนความเร็วขณะเลี้ยวและกาหนดทิศทาง
ที่จะคืนปีกระดับ
---------------------------------------------------------------
I103 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนตามหัวข้อการฝึกบินใน I102 ข้อ ๒ ๒
D/๑.๕ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและการฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๒
๒.๒ การไต่ - ร่อนด้วยความเร็วและอัตราคงที่ ๒
๒.๓ การใช้กาลัง ย.และใช้ส่วนบังคับร่วมกันในการรักษา ๒
ความเร็วและอัตราไต่ – ร่อน ให้คงที่
๒.๔ การใช้ Trim ๒
๒.๕ การเลี้ยวขณะ ไต่ – ร่อน ด้วยความเร็วและอัตราคงที่ ๒
๒.๖ การคืนสู่ท่าบินระดับจากการ ไต่ – ร่อน ๒
๒.๗ ADF Homing, VOR Proceed ๑
๒.๘ การทา Vertical “S”A, B, C, D ๑
๒.๙ การแก้คืนจากท่าผิดปกติ (Unusual Recovery) ๒
๒.๙.๑ การเปลี่ยนแปลงเครื่องวัด ฯ และการกาหนด
ลักษณะท่าทางของ บ.ที่เป็นอยู่
๒.๙.๒ การแก้คืนตามขั้นตอน
- ท่าหัวสูงความเร็วน้อย (Low Speed Nose High)
- ท่าหัวต่าความเร็วมาก (High Speed Nose Low)
๓. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น - ลงสนาม ตามความเหมาะสม
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๘๗

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


I104 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
D/๑.๕ ตามหัวข้อการฝึกบินใน I103 โดยเน้นการฝึกปฏิบัติในหัวข้อต่อไปนี้
๑.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๓,๔
๑.๒ การทา Vertical “S” A,B,C,D ๓
๑.๓ การแก้คืนจากท่าผิดปกติ (Unusual Recovery) ๓
---------------------------------------------------------------
I105, I106 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
M/๓.๐ ตามหัวข้อการฝึกบินใน I104 โดยเน้นการฝึกปฏิบัติในหัวข้อต่อไปนี้
๑.๑ การเลี้ยวระดับด้วยมุมเอียงปีก ๓๐ องศา ๓,๔
๑.๒ การทา Vertical “S” A,B,C,D ๔
๑.๓ ADF Homing, VOR Proceed ๓,๔
๒. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น - ลงสนาม ตามความเหมาะสม
---------------------------------------------------------------
I107 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
D/๑.๕ ท่าบินด้วยเครื่องวัดฯ เบื้องต้นที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
๒. ศบ.ต้องสามารถใช้เครื่องช่วยเดินอากาศ ADF, VOR / DME ดังนี้
๒.๑ การหมุนหาคลื่นและสถานีที่ต้องการ ๔
๒.๒ การบินเข้าหาสถานี NDB (Homing) ๔
๒.๓ การบินเข้าหาสถานี VOR (Proceed) ๔
๓. ศบ.จะได้รับการฝึก
การนา บ.เข้าสู่สนาม ด้วย ADF, VOR / DME ๔
---------------------------------------------------------------
I108,I109 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
M/๓.๐ ท่าบินด้วยเครื่องวัดฯ ที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
๒. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น - ลงสนาม ด้วยเครื่องยนต์เดียวจาลอง
---------------------------------------------------------------
I110 การตรวจสอบการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นพื้นฐาน
D/๑.๕(Check) ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการบินด้วยเครื่องวัดฯ ตามรายการต่อไปนี้
๑.๑ Ground Operation ๔
๑.๒ Departure / Sid ๔
๑.๓ A / S Climb & Descend ๔
๑.๔ Rate Of Climb & Descend ๔
๑.๕ Level Off ๔
๑.๖ Tune & Ident ๔
๑.๗ Time & Distance Check ๔
๑.๘ ADF Homing, VOR Proceed ๔
๑.๙ Voice Procedure / ATC ๔
ผนวก ข - ๑๘๘

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๑๐ Airmanship ๔
๑.๑๑ Cross Check & Interp. ๔
๑.๑๒ Basic Instrument ๔
๑.๑๓ Inflight Check ๔
๑.๑๔ Emergency Procedure ๔
๑.๑๕ General knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
รวมทั้งจะต้องมีความรู้ความสามารถป้องกันและแก้ไข
Spatial Disorientation และการทา Limited Panel
Unusual Attitude Recovery
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๘๙

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๒๐

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการ เทคนิคและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการบินหมู่
เป็นอย่างดี รวมทั้งรู้จักการใช้ทัศนสัญญาณ การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับและวินัยในการบินหมู่
๒. ศิษย์การบินต้องมีชั่วโมงบินเฉพาะแบบรวมอย่างน้อย ๓๓.๐ ชั่วโมงบิน ก่อนเริ่มทาการบิน
หมู่ ๒
๓. ห้ามทาการบินหมู่ผาดแผลงโดยเด็ดขาด
๔. การตรวจสอบการบินหมู่ ๒ ให้ นตฐ.รร.การบิน ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน F114
โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๔.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกัน
๔.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน F114 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัว
ในเที่ยวบินสารอง F114A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๙๐

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๒๐
๑๔/๒๑.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)

สัญลักษณ์เที่ยวบิน
F F F F F F F F F F F F F
ลาดับ หัวข้อการฝึก 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111- 113 114
112
ระดับความสามารถ
Lead
๐๑ Take Off ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๒ Join Up / Departure ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๓ Fingertip ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๔ Echelon ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๕ Pitch Out & Rejoin - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๖ Trial - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๗ Clearing ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๘ Wingman Consideration ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๐๙ In – Flt. Pln / Area Orn. ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๐ Descend / Traffic Entry ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๑ Formation Approach L / D - - - - ๒ ๒ ๒ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๒ Smoothness of Control ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
Wing
๑๓ Take Off ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๔ Cross Under ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๕ Route Formation - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๖ Fingertip ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๗ Echelon ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๘ Pitch out & Rejoin - ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๑๙ Trail Formation - - - ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๙๑

สัญลักษณ์เที่ยวบิน
F F F F F F F F F F F F F
ลาดับ หัวข้อการฝึก 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111- 113 114
112
ระดับความสามารถ
General
๒๐ Lost Wingman Procedure - - - ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๑ Inflight Check ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๒ Fuel Procedure ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๓ Radio Procedure ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๔ Straight Ahead Rejoin ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๕ Overshoot ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๖ Brake out Procedure ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๗ Position Chang ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๘ Smoothness Control ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๒๙ Ground Operation ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๓๐ Visual Signal ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๓๑ Traffic Pattern ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๓๒ Landing ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๓๓ Airmanship ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๓๔ Safety Precaution ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๓๕ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๓๖ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
๓๗ Aggressiveness ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ - ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๙๒

การบินหมู่ ๒
(Two – Ship Formation)
บ.ฝ.๒๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


F101 ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
D/๑.๕ ๑.๑ วินัยและความรับผิดชอบในหมู่บิน
๑.๒ Check in Procedure & Visual Signal
๑.๓ Abort Take off
๑.๔ Wake Turbulence
๑.๕ Inflight Check
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การเตรียมการและการแถลงย่อก่อนทาการบิน ๒
๒.๒ วิธีการปฏิบัติในการติด ย.และการขับเคลื่อน ๒
๒.๓ การวิ่งขึ้นทีละเครื่อง การเลี้ยวรับ การเข้ารวมหมู่ ๑
และการออกนอกวงจร
๒.๔ Fingertip Formation ๒
(Level, Turn Into, Turn Away)
๒.๕ Echelon Formation, Cross Under ๒
๒.๖ การวางแผนการนาหมู่ ๒
๒.๗ Inflight Check ๒
๒.๘ การนาหมูแ่ ละการลดระยะสูงเข้าต่อวงจรลงสู่สนาม ๒
๒.๙ การลงสนามแบบ ๓๖๐ องศา Overhead Pattern ๒
๒.๑๐ Wingman Consideration ๒
---------------------------------------------------------------
F102 ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
D/๑.๕ ๑.๑ การปฏิบัติเมื่อเกิดการชนกัน (Event of Collision)
๑.๒ เมื่อไม่เห็นหัวหน้าหมู่ขณะอยู่ในสภาพอากาศ IMC
๑.๓ การแก้ไขเมื่อเกิดอาการหลงสภาพการบิน
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ การวิ่งขึ้นทีละเครื่องและการออกนอกวงจร ๒
๒.๒ Route Formation ๒
๒.๓ Cross Under ๒
๒.๔ Pitch Out & Rejoin ๒
๒.๕ Position Change ๒
๒.๖ Wingman Consideration ๒
๓. ศบ.จะได้รับการทบทวนท่าบินที่ฝึกมาแล้วใน F101 ๒,๓
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๑๙๓

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


F103 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วใน F102 ๓
D/๑.๕
---------------------------------------------------------------
F104 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
D/๑.๕ ๑.๑ Route Formation ๒
๑.๒ Simulated Lost Wingman Procedure ๒
๑.๓ การฝึกเลี้ยว ไต่ – ร่อน ๒
๑.๔ Break Out Procedure ๒
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิต
การบิน Chase Formation
---------------------------------------------------------------
F105 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
D/๑.๕ ๑.๑ Straight Ahead Rejoin ๒
๑.๒ Overshoot (Turning , Straight Ahead) ๒
๑.๓ Trail ๒
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๒,๓,๔
---------------------------------------------------------------
F106-F110 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๒,๓,๔
D/๗.๕
---------------------------------------------------------------
F111-112 ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตการบินหมู่ทางยุทธวิธี
D/๓.๐
---------------------------------------------------------------
F113 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนในท่าบินที่ฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
D/๑.๕
---------------------------------------------------------------
F114 การตรวจสอบการฝึกบินหมู่ ๒
D/๑.๕ ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการปฏิบัติตามรายการต่อไปนี้
(Check) Lead
๑.๑ Take Off ๔
๑.๒ Join Up / Departure ๔
๑.๓ Fingertip ๔
๑.๔ Echelon ๔
๑.๕ Pitch Out & Rejoin ๔
๑.๖ Trail Formation ๔
๑.๗ Clearing ๔
ผนวก ข - ๑๙๔

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๘ Wingman Consideration ๔
๑.๙ Inflight Planning / Area Orientation ๔
๑.๑๐ Descend / Traffic Entry ๔
๑.๑๑ Smoothness Of Control ๔
Wing
๑.๑๒ Take off ๔
๑.๑๓ Interval Take off ๔
๑.๑๔ Cross Under ๔
๑.๑๕ Route Formation ๔
๑.๑๖ Fingertip ๔
๑.๑๗ Echelon ๔
๑.๑๘ Pitchout & Rejoin ๔
๑.๑๙ Trail Formation ๔
General
๑.๒๐ Lost Wingman Procedure ๔
๑.๒๑ Air Brake Exercise ๔
๑.๒๒ Inflight Check ๔
๑.๒๓ Fuel Procedure ๔
๑.๒๔ Radio Procedure ๔
๑.๒๕ Straight Ahead Rejoin ๔
๑.๒๖ Position Change ๔
๑.๒๗ Smoothness of Control ๔
๑.๒๘ Ground Operation ๔
๑.๒๙ Visual Signal ๔
๑.๓๐ Traffic Pattern ๔
๑.๓๑ Landing ๔
๑.๓๒ Airmanship ๔
๑.๓๓ Safety Precaution ๔
๑.๓๔ Emergency Procedure ๔
๑.๓๕ General Knowledge ๔
๑.๓๖ Aggressiveness ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔

------------------------------
ผนวก ข - ๑๙๕

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advanced Instrument)
บ.ฝ.๒๐

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ เทคนิคและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ในการบิน
ด้วยเครื่องวัดประกอบการบินอย่างแท้จริง ก่อนขึ้นทาการบินภาคอากาศ
๒. ศิษย์การบิน ที่ทาการบินคู่กับครูการบินหรือนักบินผู้ช่วย ให้ใช้อุปกรณ์จากัดการมองเห็น
(Visual Restriction Device)
๓. การตรวจสอบการบิ น ด้ ว ยเครื่ อ งวั ด ประกอบการบิ น ขั้ น พื้ น ฐาน ให้ นตฐ.รร.การบิ น
ดาเนินการตรวจสอบในเที่ยวบิน I210 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ศิษย์การบิน ต้องบินคู่กับครูการบิน ๑ เที่ยวบิน ก่อนเข้ารับการตรวจสอบการฝึก
ภาคอากาศในวันบินถัดไปหรือในวันเดียวกันและมีการฝึกเข้าสู่สนามบินด้วยเครื่องช่วยการเดินอากาศ ADF,
VOR / DME และ ILS อย่างน้อยแบบละ ๓ ครั้ง
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในเที่ยวบิน I210 ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวใน
เที่ยวบินสารอง I210A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๑๙๖

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advanced Instrument)
บ.ฝ.๒๐
๑๐/๑๕.๐

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก I201 I202 I203 I204 I205 I206 I207 I208 I209 I210
ระดับความสามารถ
๐๑ Inst. Cockpit Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Climb ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Level Off ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Level Flight ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
°
๐๕ Turn (30 AoB) ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ ADF, VOR / DME Approach ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Rate of Climb & Descend ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Arc / Radail Intercept ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ Maintain Arc / Radial ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๐ Holding / Circling ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๑ Missed Approach ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๒ ILS Approach - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๓ Localizer Approach - - ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๔ Single Engine Approach ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๕ Voice Procedure / ATC ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๖ Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๗ Cross Check and Interp. ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๘ Basic Instrument ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๙ Inflight Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๐ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๑ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๑๙๗

การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
(Advance Instrument)
บ.ฝ.๒๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


I201 การฝึกบินเพื่อทาความคุ้นเคยกับเครื่องวัดประกอบการบิน
D/๑.๕ ๑. ศบ.ต้องได้รับการฝึกบินดังต่อไปนี้
๑.๑ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินในขั้นพื้นฐาน
(Basic Instrument) ๔
๑.๒ การนา บ.เข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศแบบ
ADF, VOR / DME วงจรต่า ๑
๑.๓ ท่าบินด้วยเครื่องวัดฯ ที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๓, ๔
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Maintain Arc / Radial ๑
๒.๒ Bearing / Arc / Radial Intercept ๑
๒.๓ การ Holding ๑
๒.๔ การบินผ่าน FAF และการลดระยะสูงเข้าสู่สนาม ๑
๒.๕ การ Missed Approach / Circling ๑
๒.๖ Single Engine Approach ๑
---------------------------------------------------------------
I202 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวน
D/๑.๕ ท่าบินด้วยเครื่องวัดฯ ที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๒
๒. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น - ลงสนาม ด้วยเครื่องยนต์เดียวจาลอง
---------------------------------------------------------------
I203 ๑. ศบ.จะต้องมีความรู้ความเข้าใจหลักการทางานของ ILS
D/๑.๕ และขั้นตอนการปฏิบัติการเข้าสู่สนามด้วย ILS
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ การบินด้วย ILS ดังนี้
๒.๑ การหมุนหาคลื่นและพิสูจน์สถานี ILS ที่ต้องการ ๓
(Tune and Ident)
๒.๒ การ Holding ๑
๒.๓ การ Intercept Course ๑
๒.๔ การ Intercept Glide Path / Glide Slope ๑
๒.๕ การบินผ่าน OM, MM, การลดระยะสูงเข้าสู่สนาม
และการ Missed Approach Procedure ๑
๒.๖ การ Circling ๑
๓. ศบ.ฝึกปฏิบัติทบทวนการบินเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
ADF, VOR / DME ๓
ผนวก ข - ๑๙๘

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๔. ศบ.จะได้รับการทบทวนการฝึกขึ้น - ลงสนามตามความเหมาะสม
---------------------------------------------------------------
I204 ๑. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนการเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
D/๑.๕ แบบ ADF, VOR / DME, ILS แบบวงจรต่า ๓,๔
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติการเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วย
เดินอากาศโดยเครื่องยนต์เดียวจาลอง ๒,๓
---------------------------------------------------------------
I205 ๑. ศบ.ฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๑.๕ ๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ Spatial Disorientation
๒.๑ Sensation of Climbing while Turning
๒.๒ Sensation of Diving Recovery From a Turn
๒.๓ False Sensation of Tilting to Right or left
๒.๔ การเข้าสู่สนามด้วย SRA
๒.๕ การปฏิบัติตามคาแนะนาด้วย Radar
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกการปฏิบัติการเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
โดยเครื่องยนต์เดียวจาลอง ๓
---------------------------------------------------------------
I206 ๑. ศบ.ฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๑.๕ ๒. ศบ.จะได้รับการฝึกทบทวนการเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
แบบ ADF, VOR / DME, ILS ด้วยระบบเครื่องบินกล (Auto Pilot) ๓,๔
๓. ศบ.จะได้รับการฝึกการปฏิบัติการเข้าสู่สนามด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ
โดยเครื่องยนต์เดียวจาลอง ๔
---------------------------------------------------------------
I207-I209 ๑. ศบ.ฝึกปฏิบัติทบทวนท่าบินที่ได้รับการฝึกมาแล้วทั้งหมด ๔
M/๔.๕
---------------------------------------------------------------
I210 การตรวจสอบการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินขั้นก้าวหน้า
D/๑.๕(check) ๑. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการบินด้วยเครื่องวัดฯ ตามรายการต่อไปนี้
๑.๑ Ground Operation ๔
๑.๒ Departure / Sid ๔
๑.๓ A / S Climb & Descend ๔
๑.๔ Rate of Climb & Descend ๔
๑.๕ Level off ๔
๑.๖ Tune & Ident ๔
๑.๗ Time & Distance Check ๔
๑.๘ ADF, VOR, VOR / DME Approach ๔
๑.๙ Holding ๔
ผนวก ข - ๑๙๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๑๐ Circling ๔
๑.๑๑ Bearing and Intercept ๔
๑.๑๓ Maintain and Radial ๔
๑.๑๔ ILS Approach ๔
๑.๑๕ Localizer Approach ๔
๑.๑๖ Singel Engine Approach ๔
๑.๑๗ Missed Approach ๔
๑.๑๘ Voice Procedure / ATC ๔
๑.๑๙ General Airmanship ๔
๑.๒๐ Cross Check & Intrep. ๔
๑.๒๑ Basic Instrument ๔
๑.๒๒ Inflight Check ๔
๑.๒๓ Emergency Procedure ๔
๑.๒๔ General Knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
รวมทั้งจะต้องมีความรู้ความสามารถป้องกันและแก้ไข
Spatial Disorientation และการทา Limited Panel
Unusual Attitude Recovery

---------------------------
ผนวก ข - ๒๐๐

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๒๐

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ศิษย์การบิน ต้องผ่านการฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิ น และการบินเดินทางก่อน
ทาการฝึกบินในภารกิจนี้
๒. ศิษย์การบิน ต้องได้รับการฝึกอบรมให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ เทคนิค วิธีปฏิบัติ
กฎข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการบินกลางคืน ตลอดจนผ่านการตรวจสอบ Blindfold Cockpit Check มาแล้ว
๓. ศิษย์การบิน จะได้รับการฝึกบินกลางคืนตามรายการต่อไปนี้
๓.๑ การฝึกบินเกาะภูมิประเทศในเวลากลางคืน ๑ เที่ยวบิน
๓.๒ การฝึกบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินในเวลากลางคืน ๑ เที่ยวบิน
๓.๓ การฝึกบินเดินทางในเวลากลางคืน ๑ เที่ยวบิน
๔. การตรวจสอบการฝึกบินกลางคืน ให้ นตฐ.รร.การบิน ดาเนินการตรวจสอบการบิ น
เดินทางกลางคืนในเที่ยวบิน N-Nav104 โดยยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๔.๑ ศิษย์ การบิ น จะได้รับการตรวจสอบการบินเดินทางกลางคืนระยะสู งปานกลาง
ใน พ.ท.การฝึก (Round Robin) ใช้เวลาในการตรวจสอบ ๑.๖ ชม.บิน
๔.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวในเที่ยวบินสารอง
N-Nav104A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๒๐๑

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๒๐
๔/๖.๔

เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)


๑. การบินเกาะภูมิประเทศกลางคืน (Night Contact)
สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก NC 101
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔
๐๒ Take Off ๓
๐๓ Departure ๓
๐๔ Level Off ๓
๐๕ Turn ๓
๐๖ Area Orientation ๓
๐๗ Nav Aid Orientation ๔
๐๘ Spatial Disorientation ๒
๐๙ Traffic Entry ๓
๑๐ Circuit / Patter ๓
๑๑ Landing ๓
๑๒ Clearing ๔
๑๓ Inflight Planning ๓
๑๔ Radio Procedure ๔
๑๕ Safety Precaution ๔
๑๖ Airmanship ๔
๑๗ Emergency Procedure ๔
๑๘ General Knowledge ๔
ผนวก ข - ๒๐๒

๒. การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบินกลางคืน (Night Instrument)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ หัวข้อการฝึก NI 102
ระดับความสามารถ
๐๑ Ground Operation ๔
๐๒ Inst. T / O ๓
๐๓ Departure / Sid ๓
๐๔ A / S Climb & Descend ๓
๐๕ Rate of Climb & Descend ๓
๐๖ Level Off ๓
๐๗ Turn ๓
๐๘ Vertical “S” A, B, C, D ๓
๐๙ Change A / S In Turn ๓
๑๐ Change A / S St - Level ๓
๑๑ Confidence ๒
Maneuver
๑๒ Tune & Ident ๔
๑๓ Time & Distance Check ๓
๑๔ Homing ๓
๑๕ ADF Approach ๓
๑๖ VOR / DME Approach ๓
๑๗ ILS Approach ๓
๑๘ Low Approach / Circling ๓
๑๙ Missed Approach ๓
๒๐ Voice Procedure / ATC ๔
๒๑ Airmanship ๔
๒๒ Cross Check & Interp. ๔
๒๓ Basic Instrument ๔
๒๔ Inflight Check ๔
๒๕ Emergency Procedure ๔
๒๖ General Knowledge ๔
ผนวก ข - ๒๐๓

๓. การบินเดินทางกลางคืน (Night Navigation)


สัญลักษณ์เที่ยวบิน
ลาดับ
หัวข้อการฝึก N-NAV103 N-NAV104
ระดับความสามารถ
๐๑ Mission Planning ๔ ๔
๐๒ Preparation of Maps ๔ ๔
๐๓ Flight Log Preparation ๔ ๔
๐๔ Ground Operation / ATC ๔ ๔
๐๕ Pre Take off Check ๔ ๔
๐๖ Departure / Route Entry ๔ ๔
๐๗ Map Reading ๔ ๔
๐๘ Nav Aid Orientation ๔ ๔
๐๙ VFR Gnd. Track Control ๔ ๔
๑๐ IFR Route Control ๔ ๔
๑๑ Inflight Computation ๔ ๔
๑๒ Ground Speed Check ๔ ๔
๑๓ Check Eta / Fuel ๔ ๔
๑๔ Revise Eta / Fuel ๔ ๔
๑๕ Inflight Work Circle ๔ ๔
๑๖ Fix to Fix / SRA ๔ ๔
๑๗ Enroute Descend ๔ ๔
๑๘ Inst. App. ๔ ๔
๑๙ VFR Pattern ๔ ๔
๒๐ Landing ๔ ๔
๒๑ Inflight Planning ๔ ๔
๒๒ Trim Technique ๔ ๔
๒๓ Clearing ๔ ๔
๒๔ Inflight Check ๔ ๔
๒๕ Radio Procedure ๔ ๔
๒๖ Airmanship ๔ ๔
๒๗ Lost Procedure ๔ ๔
๒๘ Emergency Procedure ๔ ๔
๒๙ General Knowledge ๔ ๔
ผนวก ข - ๒๐๔

การบินกลางคืน
(Night Flying)
บ.ฝ.๒๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


NC101 การฝึกบินกลางคืนเกาะภูมิประเทศ (Night Contact)
D/๑.๖ ๑. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Radio Failure
๑.๒ Electrical Failure
๑.๓ Night Pattern / Circuit
๑.๔ รปป.การฝึกบินกลางคืน ของ รร.การบิน
๒. ศบ. จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ วิธีปฏิบัติในการขับเคลื่อนในเวลากลางคืน ๓
๒.๒ การวิ่งขึ้นโดยอาศัยเครื่องวัดประกอบการบิน ๓
๒.๓ การใช้เครื่องวัดที่แสดงผลของท่าบิน ๓
๒.๔ การเลี้ยว (Turn) ๓
๒.๕ การรักษาขอบเขตพื้นที่การฝึกบิน โดยใช้เครื่องช่วยการเดินอากาศ
และใช้จุดตรวจสอบบนพื้นดินในเวลากลางคืน ๓
๒.๖ วิธีออกนอกวงจร และการนา บ.เข้าต่อวงจรตามระเบียบปฏิบัติ
เกี่ยวกับการบินกลางคืน ๓
๒.๗ วิธีปฏิบัติต่าง ๆ กรณีฉุกเฉินในการบินกลางคืน ๔
๒.๘ Spatial Disorientation ๒

หมายเหตุ การฝึกบิน ขึ้น - ลง สนามบินในเวลากลางคืนให้ลงแบบ Normal L / D และให้ปฏิบัติ


อย่างน้อยเที่ยวบินและ ๓ ครั้ง
---------------------------------------------------------------
NI102 การฝึกบินกลางคืนด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (Night Instrument)
D/๑.๖ ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการบินด้วยเครื่องวัด ฯ
ขั้นพื้นฐานในเวลากลางคืน ๓
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ ๓
การบินด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ ADF, VOR / DME,
และ ILS Approach
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิต ๓
การขอกลับมาลงสนามด้วย SRA
---------------------------------------------------------------
N-Nav103 การฝึกบินเดินทางกลางคืน (Night Navigation)
D/๑.๖ ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๑.๑ วิธีปฏิบัติในการขับเคลื่อนในเวลากลางคืน ๔
ผนวก ข - ๒๐๕

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๒ การวิ่งขึ้นโดยอาศัยเครื่องวัดประกอบการบิน ๔
๑.๓ การปฏิบัติหลังทาการวิ่งขึ้นจนถึงการบินระดับในเส้นทางบิน ๔
๑.๔ การนาร่อง (Pilotage) ๔
๑.๕ การบินและการแก้ไขให้เป็นไปตามรายการที่คานวณไว้ใน
Flight Log ๔
๑.๖ การทา Inflight Check ๔
๑.๗ การติดต่อหน่วยควบคุมการจราจรทางอากาศ สถานีเรดาร์
(Position Report) ๔
๑.๘ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศขณะบินเดินทางเพื่อหาตาแหน่ง ๔
๑.๙ การกลับมาลงสนามด้วย Instrument App. ๔
๑.๑๐ การปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------------------------------------------
N-Nav104 การตรวจสอบผลการฝึกบินเดินทางกลางคืน (Night Navigation)
M/๑.๖ (check) ๑. ศบ.จะต้องมีความรู้ความสามารถตามรายการต่อไปนี้
๑.๑ การวางแผนก่อนทาการบิน การเตรียมแผนที่และ Flight Log ๔
๑.๒ การพิจารณาสภาพอากาศและประกาศผู้ทาการในอากาศ ๔
(Notam) ของเส้นทางบิน
๑.๓ วงจรการปฏิบัติในระหว่างบิน (Inflight Work Circle) ๔
๑.๔ การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และวิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน ๔
๑.๕ การปฏิบัติในการขับเคลื่อนและวิ่งขึ้นในเวลากลางคืน ๔
๑.๖ การปฏิบัติหลังทาการวิ่งขึ้นจนถึงการบินระดับในเส้นทางบิน ๔
๑.๗ การนาร่อง (Pilotage) ๔
๑.๘ การบินและการแก้ไขให้เป็นให้เป็นไปตามรายการที่คานวณไว้ ๔
ใน Flight Log
๑.๙ การทา Inflight Check ๔
๑.๙.๑ Clear Check
๑.๙.๒ G / S Check
๑.๑๐ การวางแผนการบินขณะทาการบิน ๔
(Inflight Planning)
๑.๑๑ การติดต่อกับหน่วยควบคุมการจราจรทางอากาศ,สถานี ๔
เรดาร์ต่าง ๆ และการรายงานที่จุดรายงาน (Position Report)
๑.๑๒ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศขณะทาการบิน ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๒๐๖

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๒๐

คาแนะนาเฉพาะ
๑. ผู้ควบคุมการฝึก ต้องจัดให้มีการอบรมศิษย์การบินให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ
พื้นฐานของการบินเดินทาง ดังต่อไปนี้
๑.๑ กฎการบินด้วยทัศนะวิสัย (VFR) และกฎการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (IFR)
๑.๒ การบริการการบินและการควบคุมการจราจรทางอากาศ
๑.๓ การใช้เครื่องช่วยเดินอากาศและเรดาร์ควบคุมการบิน
๑.๔ การใช้แผนที่ การอ่านแผนที่ประกอบกับภูมิประเทศภายนอก
๑.๕ การปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางการบิน
๑.๖ การพิจารณาใช้สนามบินสารอง
๒. ศิษย์การบิน จะได้รับการฝึกบินเดินทางดังนี้
๒.๑ ใน Nav101 เป็นการบินเดินทางตามกฎการบินสากล (Nav Round Robin)
นอกพื้นที่การฝึก ศบ.ใช้เวลาในการบิน ๑.๖ ชั่วโมงบิน
๒.๒ ใน Nav102 ถึง Nav107 และ Nav110 ถึง Nav121 เป็นการบินเดินทางตามกฎ
การบินสากล (Nav Out and Back) ไปลง ณ สนามบินต่างถิ่น และบินเดินทางกลับในวันเดียวกัน โดยใช้เวลา
ในการบินรวม ๒๘.๘ ชั่วโมงบิน
๒.๓ ใน Nav108, Nav109 เป็นการบินเดินทางตามกฎการบินสากล (Nav Cross
Country) ไปยังสนามบิน ต่า งถิ่น ค้างคืน และทาการบินกลับ ในวันรุ่งขึ้น โดยใช้เวลาในการบิน รวม
๓.๒ ชั่วโมงบิน
๓. การตรวจสอบการฝึ ก บิน เดิน ทาง ให้ นตฐ.รร.การบิ น ดาเนิน การตรวจสอบโดยยึ ด
หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
๓.๑ ตรวจสอบการบินเดินทาง (Nav out and Back) ตามกฎการบินสากล ไปลง
ณ สนามบินต่างถิ่นและเดินทางกลับในวันเดียวกัน ในเที่ยวบิน Nav122 และบินเดินทางกลับในเที่ยวบิน
Nav123 โดยใช้เวลาในการบินรวม ๓.๒ ชั่วโมงบิน
๓.๒ ศิษย์การบิน ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ ให้ทาการตรวจสอบแก้ตัวในเที่ยวบินสารอง
Nav122A และ Nav123A ในวันบินถัดไป
ผนวก ข - ๒๐๗

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๒๐
๒๓/๓๖.๘
เกณฑ์การพิจารณาระดับความสามารถ (Level of Proficiency)
สัญลักษณ์เที่ยวบิน
NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV NAV
ลาดับ หัวข้อการฝึก 101 102- 104- 106- 108- 110- 112- 114- 116- 118- 120- 122-
103 105 107 109 111 113 115 117 119 121 123
ระดับความสามารถ
๐๑ Mission Planning ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๒ Preparation of Maps ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๓ Flight Log Preparation ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๔ Ground Operation / ATC ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๕ Pre - Take Off Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๖ Departure / Route Entry ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๗ Map Reading ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๘ Nav Aid Orientation ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๐๙ VFR Gnd. Track Control ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๐ IFR Route Control ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๑ Low Nav Tactical - - - - - - ๒ ๓ - - - -
๑๒ Inflight Computation ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๓ Ground Speed Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๔ Check ETA / Fuel ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๕ Revise ETA / Fuel ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๖ Inflight Work Circle ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๗ Fix to Fix / ASR ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๘ Enroute Descend ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๑๙ Inst. App. ๓ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๐ VFR Pattern ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๑ Landing ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๒ Inflight Planning ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๓ Trim Technique ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๔ Clearing ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๕ Inflight Check ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๖ Radio Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๗ Airmanship ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๘ Lost Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๒๙ Emergency Procedure ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๓๐ General Knowledge ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
ผนวก ข - ๒๐๘

การบินเดินทาง
(Navigation)
บ.ฝ.๒๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


Nav101 การฝึกบินเดินทาง (Nav Round Robin)
D/๑.๖ นอกพื้นที่การฝึก
๑. ศบ.จะต้องมีความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ การวางแผนก่อนทาการบิน (Mission Planning)
๑.๒ การเตรียมแผนที่ (Preparation of Maps)
๑.๓ Flight Log
๑.๔ Inflight Work Circle / Clear Check
๒. คบ.และ ศบ.ทาความเข้าใจกันในเรื่องต่อไปนี้
๒.๑ EHSI / BDHI Failure
๒.๒ Diversion Technique & Consideration
๒.๓ Hypoxia
๒.๔ Complete Electrical Failure (Vmc / Imc)
๒.๕ Radio Failure (Vmc / Imc)
๒.๖ Fuel Shortage
๒.๗ วิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน (Lost Procedure)
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๓.๑ Ground Operation and Pre - Take Off Check ๓
๓.๒ Departure and Route Entry ๓
๓.๓ Pilotage by Nav Aid ๓
๓.๔ Map Reading ๓
๓.๕ VFR Ground Track Control ๓
๓.๖ Ground Speed Check ๓
๓.๗ Check and Revise ETA / Fuel ๓
๓.๘ Inflight Planning ๓
๓.๙ Inflight Computation ๓
๓.๑๐ Inflight Check ๔
๓.๑๑ Radar Control and Position Report ๓
๓.๑๒ การลดระยะสูงและการเข้าสู่สนามบินด้วยเครื่องช่วยเดินอากาศ ๓
๔. ศบ.จะต้องได้รับการแนะนาวิธีการฝึกบินเดินทาง
๕. ศบ.จะต้องมีความสามารถในเรื่องของการพิจารณาสภาพอากาศ และ Notam
ตามเส้นทางบิน
๖. ศบ.จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติ
๖.๑ การบินเดินทางตามกฎการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (IFR)
ผนวก ข - ๒๐๙

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๖.๒ การขอ ATC และการ Read Back Clearance
๖.๓ การขอสภาพอากาศสนามบินปลายทางหรือการใช้ ATIS
๖.๔ ทบทวนการปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน (Lost Procedure)
---------------------------------------------------------------
Nav102,Nav103 การฝึกบินเดินทาง ไป - กลับสนามบินต่างถิ่น
D/๓.๒ (Nav Out Back)
๑. คบ. และ ศบ.จะต้องมีความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ Mission Planning & Map Preparation
๑.๒ Diversion Due to Fuel Shortage
๑.๓ Diversion Due to Engine Malfunction
๑.๔ การพิจารณาสภาพอากาศและ Notam ตามเส้นทางบิน
๑.๕ Inflight Work Circle และ Clear Check
๑.๖ วิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน (Lost Procedure)
๑.๗ วิธีปฏิบัติเมื่อหลงในเส้นทางบิน และเกิดเหตุฉุกเฉิน
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
๒.๑ Mission Planning & Map Preparation ๔
๒.๒ Ground Operation and Pre - Take Off Check ๔
๒.๓ Departure and Route Entry ๔
๒.๔ Pilotage by Nav Aid ๔
๒.๕ Map Reading ๔
๒.๖ VFR Ground Track Control ๔
๒.๗ IFR Route Control ๔
๒.๘ Ground Speed Check ๔
๒.๙ Check and Revise ETA / Fuel ๔
๒.๑๐ Inflight Planning ๔
๒.๑๑ Inflight Computation ๔
๒.๑๒ Inflight Check ๔
๒.๑๓ Radar Control and Position Report ๔
๒.๑๔ Descend and Position Report ๔
๓. ศบ.จะต้องมีความสามารถในการบินเดินทางตามที่ได้รับการฝึก
มาแล้วในขัน้ ประถม
๔. ศบ.จะได้รับการทบทวนและฝึกปฏิบัติ
๔.๑ การบินเดินทางตามกฎ IFR / VFR ๔
๔.๒ การใช้ ATIS หรือการขอสภาพอากาศสนามบินปลายทาง ๔
๔.๓ การทา Instrument Approach ที่สนามบินต่างถิ่น ๔
๔.๔ การทา SRA ที่สนามบินต่างถิ่น ๔
๔.๕ การฝึกขึ้น - ลง สนามบินต่างถิ่น ๔
ผนวก ข - ๒๑๐

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๕. ศบ.ต้องผ่านการทดสอบ Voice Procedure ๔
๖. ศบ.จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการบริการลานจอด ณ สนามบินต่างถิ่น ๔
---------------------------------------------------------------
Nav104,105 ๑. ศบ.จะต้องได้รับการฝึกทบทวนการบินเดินทาง ไป - กลับ
D/๓.๒ (Out and Back) ๔
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิต และฝึกปฏิบัติการบินเดินทาง ไป - กลับ
ไปยังสนามบินอื่นที่ไม่ซ้ากัน ๔
๓. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการใช้ EHSI ช่วยในการบินเดินทาง
๓.๑ ๑๒๐ องศา ของ Nav Map
๓.๒ ๓๖๐ องศา ของ Nav Map
๔. ทบทวนการวิ่งขึ้นด้วยทางวิ่งสั้น ๔
---------------------------------------------------------------
Nav106,Nav107 ๑. ศบ.จะต้องได้รับการฝึกทบทวนการบินเดินทาง ไป - กลับ
D/๓.๒ (Out and Back) ๔
๒. Simulate Single Engine (Take Off)
---------------------------------------------------------------
Nav108,Nav109 การบินเดินทาง (Nav Cross Coutry)
M/๓.๒ ๑. ศบ.ต้องมีความรู้และความสามารถในการบินเดินทางที่ได้รับการฝึก ๔
มาแล้วทั้งหมด
๒. ศบ.จะได้รับปฏิบัติการบินเดินทางไปยังสนามบินต่างถิ่นค้างคืน ๔
ในเที่ยวบิน Nav108 และทาการบินกลับในวันรุ่งขึ้นในเที่ยวบิน Nav109
---------------------------------------------------------------
Nav110 – Nav111 การบินเดินทาง (Nav out and Back)
D/๓.๒ ๑. ศบ.ต้องมีความรู้และความสามารถในการบินเดินทางที่ได้รับการฝึก ๔
มาแล้วทั้งหมด
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการลงสนามด้วยวงจร 360 Overhead ๒
---------------------------------------------------------------
Nav112 – Nav115 การบินเดินทางต่ายุทธวิธี (Low Nav Tactical)
M/๖.๔ ๑. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการบินเดินทางต่ายุทธวิธี ๒,๓
๒. ศบ.จะได้รับการฝึกปฏิบัติการลงสนามด้วยวงจร 360 Overhead ๓,๔
---------------------------------------------------------------
Nav116 – Nav119 การบินเดินทาง (Nav out and Back)
M/๖.๔ ๑. ศบ.ต้องมีความรู้และความสามารถในการบินเดินทางที่ได้รับการฝึก ๔
มาแล้วทั้งหมด
๒. ศบ.จะได้รับการสาธิตและฝึกปฏิบัติการบินเดินทางโดยใช้ระบบเครื่องบินกล (Auto
Pilot)
---------------------------------------------------------------
ผนวก ข - ๒๑๑

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


Nav120 – Nav121 การบินเดินทาง (Nav Out and Back)
M/๓.๒ ๑. ศบ.ต้องปฏิบัติการบินเดินทางไปยังสนามบินต่างถิ่น ๔
โดยใช้เส้นทางบินเดียวกันกับเส้นทางบินในวันตรวจสอบ
---------------------------------------------------------------
Nav122-123 การตรวจสอบการฝึกบินเดินทาง
(Check) ศบ.จะได้รับการตรวจสอบการฝึกบินเดินทางตามกฎการบินสากล
D/๓.๒ ๑. ศบ.จะต้องมีความรู้ความสามารถในการบินเดินทาง (Nav Out and Back)
ตามรายการต่อไปนี้
๑.๑ Mission Planning ๔
๑.๒ Preparation of Maps ๔
๑.๓ Flight Log Preparation ๔
๑.๔ Ground Operation / ATC Clearance ๔
๑.๕ Pre - Take Off Check ๔
๑.๖ Departure / Route Entry ๔
๑.๗ Map Reading ๔
๑.๘ Nav Aid Orientation ๔
๑.๙ VFR Ground Track Control ๔
๑.๑๐ IFR Route Control ๔
๑.๑๑ Inflight Computation ๔
๑.๑๒ Ground Speed Check ๔
๑.๑๓ Check ETA / Fuel ๔
๑.๑๔ Revise ETA / Fuel ๔
๑.๑๕ Inflight Work Circle ๔
๑.๑๖ Holding ๔
๑.๑๗ Enroute Descend ๔
๑.๑๘ Instrument Approach ๔
๑.๑๙ VFR Pattern ๔
๑.๒๐ Landing ๔
๑.๒๑ Inflight Planning ๔
๑.๒๒ Trim Technique ๔
๑.๒๓ Clearing ๔
๑.๒๔ Inflight Check ๔
๑.๒๕ Radio Procedure ๔
๑.๒๖ Airmanship ๔
๑.๒๗ Lost Procedure ๔
ผนวก ข - ๒๑๒

สัญลักษณ์เที่ยวบิน หัวข้อการฝึกบิน ระดับความสามารถ


๑.๒๘ Emergency Procedure ๔
๑.๒๙ General Knowledge ๔
๒. ศบ.ปฏิบัติขั้นตอนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทุกกรณีได้อย่างถูกต้อง ๔
---------------------------------------------------------------
เอกสารอ้างอิง
กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ (๒๕๕๖) คู่มือการจัดทาและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของกองทัพอากาศ
กรุงเทพ: กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ กองทัพอากาศ
สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย: กฎหมายและระเบียบการเดินอากาศ สืบค้นเมื่อ ๒๔ มิ.ย.๖๑ จาก
https://www.caat.or.th/th/archives/category/laws-regulation-th/law-th/law-navigation-th
สุรชาติ บารุงสุข (๒๕๔๑) สงครามจากยุคบุพกาลสู่ศตวรรษที่ ๒๑, กรุงเทพ: บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับ
ลิชชิ่ง จากัด (มหาชน)
สุกัญญา แช่มช้อย (๒๕๖๑) การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล, กรุงเทพ, สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
ข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยเงินเพิ่มพิเศษรายเดือน (ฉบับที่ ๓๔) พ.ศ.๒๕๕๘
พ.ร.บ.การเดินอากาศ พ.ศ.๒๔๙๗
ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยเงินเพิ่มพิเศษผู้บังคับอากาศยาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๙
ระเบียบ ทอ.ว่าด้วยการคัดเลือกศิษย์การบินกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๙
ระเบียบ ทอ.ว่าด้วยการฝึกอบรมศิษย์การบิน โรงเรียนการบิน พ.ศ.๒๕๕๒
ระเบียบ ทอ.ว่าด้วยกฎการบินทั่วไป พ.ศ.๒๕๒๕
ระเบียบ ทอ.ว่าด้วยการศึกษาภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๒
ระเบียบโรงเรียนการบินว่าด้วยการปฏิบัติประจา การลงทัณฑ์ และการตัดคะแนนความประพฤติของ
ศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๐
ระเบียบ ทอ.ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการศึกษาในสถานศึกษาของกองทัพอากาศ
โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ (๒๕๖๑) หลักสูตรเสนาธิการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๖๑, กรุงเทพ
กองทัพอากาศ
หนังสือ กพ.ทอ.ที่ กห ๐๖๐๔.๖/๑๘๐๙ ลง ๒๕ ก.พ.๕๔ เรื่อง การฝึกอบรมของกองบัญชาการกองทัพ
ไทย พ.ศ.๒๕๕๔
หนังสือ กพ.ทอ.ที่ กห ๐๖๓๗.๑(๕๐๔)/๑๕๔ ลง ๑๔ มี.ค.๕๖ เรื่อง ขออนุมัติกาหนดรูปแบบการจัดทา
หลักสูตรในระบบการศึกษาของ ทอ.
คาสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ที่ ๒/๕๖ ลง ๙ ม.ค.๕๖ เรื่อง นโยบายการศึกษาของกองทัพอากาศ
คาสั่งโรงเรียนการบิน (เฉพาะ) ที่ ๓๓/๖๑ ลง ๒๔ มิ.ย.๖๑ เรื่อง แต่งตั้ง คณก.จัดทาและพัฒนาหลักสูตรศิษย์
การบิน ทอ. พ.ศ.๒๕๖๑
นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๖๐-๒๕๖๑, กรุงเทพ, กองทัพอากาศ
ประกาศกองทัพอากาศ เรื่อง ค่านิยมหลักของกองทัพอากาศ (RTAF Core Value) ลง ๘ ส.ค.๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) (ฉบับเผยแพร่) (๒๕๖๐) กรุงเทพ, กองทัพอากาศ
Air Education and Training Command (2012) T-1A Joint Specialized Undergraduate Pilot
Training, Randolph AFB
Air Education and Training Command (2014) T-6A Primary Pilot Training, Randolph AFB
David S. Fadok (1995) John Boyd and John Warden: Air Power’s Quest for Strategic Paralysis,
Alabama, Air University Press
Douhet, Giulio (1998) Command of the Air, Air Force History and Museums Program,
Washington D.C.
European Aviation Safety Agency (EASA) (PART-FCL (Flight Crew Licensing) 2016
Gray, Colin S., (2012) Air Power for Strategic Effect, Maxwell AFB, Air University Press
International Civil Aviation Organization (ICAO) (2005) Rules of the Air, Annex 2, Bangkok
Mitchell, William (1925) Winged Defense, Alabama, The University of Alabama Press
ตารางเปรียบเทียบ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑
กับ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ กับ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับแก้ไข
เหตุผล
หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
๑.ชื่อหลักสูตร ศิษย์การบินกองทัพอากาศ ๑. ชื่อหลักสูตร ศิษย์การบินกองทัพอากาศ - คงเดิม
๒.หลักการและเหตุผล - ไม่มี ๑.หลั ก การและเหตุ ผ ล ตามระเบี ย บกองทั พ อากาศว่ า ด้ ว ย - ปรับตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของ ทอ.
การศึกษาภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๒ ให้การจัดการศึกษาหรือฝึก - การตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายนอกและ
ศึ ก ษา ต้ อ งเป็ น ไปตามนโยบายการศึ ก ษาของกองทั พ อากาศ ภายใน
หลั ก สู ตรส าหรับ การศึก ษาหรือ ฝึ ก ที่ ปฏิ บัติเ ป็น ประจา จะต้อ ง - ยุทธศาสตร์ ทอ. ๒๐ ปี
ได้รับอนุมัติจากผู้ บัญชาการทหารอากาศหรือ ผู้ รับมอบอานาจ - นโยบาย ผบ.ทอ.
และจะต้องมีการปรับปรุงแก้ไขอยู่ตลอดเวลา หรืออย่างน้อยทุก - ประชาคมการบินระหว่างประเทศ
รอบการศึกษา ๓ ปี และเพื่อให้สนองตอบต่อยุทธศาสตร์ ทอ. ใน
ประเด็นกลยุทธ์ที่ ๒.๖ ด้านพัฒนาขีดสมรรถนะกาลังพลให้มีคุณภาพ
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพและมีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ
ของกองทั พอากาศโดยเป็ น ภารกิ จ หลั ก ในแผนปฏิ บั ติ ร าชการ
ประกอบกั บ ในปั จ จุ บั น ประชาคมด้ า นการบิ น ได้ มี ก ารพั ฒ นา
เทคโนโลยีและศาสตร์ด้านการบินอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบให้
กฎข้อบังคับตลอดจนความต้องการในการกาหนดข้อบังคับด้าน
การบินมีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา
โรงเรียนการบิน ฐานบิน กาแพงแสน เป็นสถาบันหลั ก
ในการผลิ ต นั ก บิ น ให้ กั บ กองทั พ อากาศ มี เ กี ย รติ ป ระวั ติ แ ละ
องค์ ค วามรู้ ด้ า นการบิ น อั น เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ที่ เ หมาะสมกั บ
สภาพแวดล้ อ ม และวั ฒ นธรรมองค์ ก รของกองทั พ อากาศ
มี ห น้ า ที่ ด า เ นิ น ก า ร ฝึ ก อ า น ว ย ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ แ ก่
ศิษย์การบิน ครูการบิน และฝึกการยังชีพ รวมทั้งการปฏิบัติการใช้
กาลังตามอานาจหน้าที่ของกองทัพอากาศ โดยกาหนดวิสัยทัศน์

ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ กับ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับแก้ไข
เหตุผล
หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
ของสถาบันในการเป็น “สถาบันผลิตนักบินรบ ครูการบิน - ปรับตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของ ทอ.
ชั้นนาของอาเซียน ให้พร้อมด้วยความรู้ ความสามารถ ภาวะ
ผู้นา การมีวินัยและนิรภัยการบิน โดยมีจิตใจมุ่งมั่นเพื่อการ
พัฒนากองทัพอากาศ (Training for the best pilots)” จึงมี
ความจาเป็นในการปรับปรุงหลักสูตรศิษย์การบินกองทัพอากาศ
แบบบูรณาการ ภาควิชาการ การฝึกยังชีพ และโดดร่มพาราเซล
ร่วมกับภาคอากาศ ตลอดจนการเสริมสร้างภาวะผู้นา และความ
เป็นทหารอากาศ ให้สอดคล้องกับคู่มือการจัดทา และพัฒนา
หลักสูตรการศึกษาของกองทัพอากาศ ตลอดจนให้เป็นไปตาม
ระเบียบที่กองทัพอากาศกาหนด จึงจาเป็นต้องมีการรวบรวม
และปรับปรุง ให้หลักสูตรฝึกศิษย์การบินของกองทัพอากาศ
ให้ เป็นไปตามระเบียบที่กองทัพอากาศกาหนด และพัฒ นา
โครงสร้างหลักสูตรเพื่อรองรับมาตรฐานการบินในระดับสากล
หากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายในอนาคต
๒.ปรัชญา - ไม่มี ๒.ปรัชญา โรงเรียนการบิน ฐานบินกาแพงแสน มุ่งมั่นในการ - ปรับตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของ ทอ.
เป็น “สถาบันผลิตนักรบทางอากาศ” หลักสูตรศิษย์การบิน - จากการตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในและ
กองทั พ อากาศ มุ่ ง เน้ น ในการพั ฒ นาขี ดความสามารถและ วัฒนธรรมองค์กร
คุณลักษณะของศิษย์การบินทั้งด้านทักษะการบิน ความรู้ด้าน - นโยบาย ผบ.ทอ.
การบิน ภาวะผู้นาและความเป็นทหารอากาศเพื่อให้ผู้สาเร็จ
การศึกษาพร้อมที่จะเป็นนายทหารสัญญาบัตรเหล่านักบินของ
กองทัพอากาศ

ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ กับ หลักสูตรศืษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับแก้ไข
เหตุผล
หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
๓.ความมุ่งหมาย -ไม่มี ๓.ความมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษา สาเร็จเป็นนักบิน - ปรับตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของ ทอ.
ประจากองของกองทัพอากาศซึ่งมีคุณลักษณะพื้นฐานพร้อมที่
จะได้รั บการพัฒ นาให้ มีค วามรู้ ความเข้า ใจด้า นวิช าการ มี
ทั ก ษะด้ า นการบิ น เป็ น นั ก บิ น พร้ อ มรบให้ กั บ หน่ ว ยบิ น
ทางยุทธวิธีที่ตนสั งกัดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและปลอดภัย
มีความเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กรของกองทัพอากาศ มี ภาวะ
ผู้นา มีวินัยการบิน และตระหนักถึงค่านิยมของกองทัพอากาศ

๔.วัตถุประสงค์ -ไม่มี ๔.วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษา - ปรับตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของ ทอ.


๔.๑ มีความเข้าใจด้านวิชาการเกี่ยวกับการบินทั่วไป
และความรู้ทางด้านการบินยุทธวิธี สามารถนาไปประยุกต์ ใน
การบินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔.๒ มีทักษะด้านการบินพื้นฐานทั่วไป และทักษะการ
บินยุทธวิธี สามารถนาไปปฏิบัติหน้าที่นักบินประจากอง ได้
อย่างมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย
๔.๓ มีความเป็นทหารอากาศอาชีพ ตามค่านิยมหลัก
ของกองทัพอากาศ มีภาวะผู้นา วินัยการบินและนิรภัยการบิน
รวมทั้งปฏิบัติตามกฎและแบบธรรมเนียมทหาร เพื่อให้นาไป
ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ กับ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับแก้ไข
เหตุผล
หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
๕.ภาควิชาการ ๕.ภาควิชาการ -ได้รับการบรรจุอากาศยานแบบ บ.ฝ.๒๐ (DA-42)
-ไม่มีวิชาระบบอากาศยาน บ.ฝ.๒๐ (DA-42) และอากาศยาน -เพิ่ ม เติ ม วิ ช าระบบอากาศยาน บ.ฝ.๒๐ (DA-42) และ -เครื่องช่วยเดินอากาศมีเทคโนโลยีทันสมัยเพิ่มขึ้น
หลายเครื่องยนต์ (Multi-Engine) อากาศยานหลายเครื่องยนต์ (Multi-Engine)
๖.หลักสูตรการยังชีพและโดดร่มพาราเซล ๖.การยังชีพและโดดร่มพาราเซล -ปรับตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของ ทอ.
-แยกเป็นหลักสูตรย่อย -รวมอยู่ในภาควิชาการ -ร ะ เ บี ย บ ท อ . ว่ า ด้ ว ย ก า ร ฝึ ก ศิ ษ ย์ ก า ร บิ น
พ.ศ.๒๕๕๒
-ตามวัตถุประสงค์และความมุ่งหมายของหลักสูตร
ซึ่ ง เ ป็ น ขั้ น ต อ น ห นึ่ ง ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ฝึ ก
นัก บิ น ทหาร เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย ในกรณี
ต้องสละอากาศยาน

๗.ภาคอากาศ ๗.ภาคอากาศ -ได้รับการบรรจุอากาศยานแบบ บ.ฝ.๒๐ (DA-42)


-ไม่ มี ก ารฝึ ก กั บ อากาศยานแบบ บ.ฝ.๒๐ (DA-42) และ -เพิ่มเติม การฝึ กกับอากาศยานแบบ บ.ฝ.๒๐ (DA-42) และ -เครื่องช่วยเดินอากาศมีเทคโนโลยีทันสมัยเพิ่มขึ้น
อากาศยานหลายเครื่องยนต์ (Multi-Engine) อากาศยานหลายเครื่องยนต์ (Multi-Engine)
๘.การเสริมสร้างภาวะผู้นาและความเป็นทหารอากาศ ๘.การเสริมสร้างภาวะผู้นาและความเป็นทหารอากาศ -ปรับตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของ ทอ.
- ไม่มี -มนุษย์ปัจจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพในการฝึกศิษย์การบิน -การตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน
-การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม -ยุทธศาสตร์ ทอ. ๒๐ ปี
-หลักนิยมกองทัพอากาศและการรบร่วม -นโยบาย ผบ.ทอ.
-ค่านิยมหลักของกองทัพอากาศ -ค่านิยมหลัก ทอ.
-ปลูกจิตสานึก “จิตอาสา” -ผลลัพธ์จากการติดตามความต้องการคุณลักษณะ
นักบินอันพึงประสงค์จากฝูงบินใน ทอ.

ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ กับ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับแก้ไข
เหตุผล
หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๔๑ หลักสูตรศิษย์การบิน พ.ศ.๒๕๖๒
๙.กิจกรรม ๙.กิจกรรม
-ไม่มี -พิธีเปิดขปิด
-ปฐมนิเทศ
-เวลาผู้บังคับบัญชา
-เวลาดูงาน

You might also like