You are on page 1of 2

บทควำมวิเครำะห์สถำนกำรณ์ยุทธศำสตร์และควำมมั่นคงของประเทศรำยสัปดำห์ ฉบับที่ ๔๘/๕๖ ๙- ๑๕ กันยำยน ๒๕๕๖

เรือฟริเกต : เขี้ยวเล็บลำใหม่แห่งกองทัพเรือไทย
การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ที่ผ่านมา ได้อนุมัติงบประมาณในการจัดซื้อ “เรือฟริเกต” จ้านวน ๑ ล้า มูลค่า ๑๔,๖๐๐ ล้านบาท
ให้แก่ “กองทัพเรือไทย” หลังพลาดจากโครงการ “เรือด้าน้้า” มือสอง U-206 A ก่อนหน้านี้ โดย“เรือฟริเกต” ล้านี้ต่อโดยบริษัท Daewoo
Shipbuilding & Marine Engineering Co., Ltd. (DSME) จากสาธารณรั ฐ เกาหลี ใ ต้ ที่ ช นะการคั ด เลื อ กแบบ “เรื อ ฟริ เ กต” ตามที่
คณะกรรมการพิจารณาและคัดเลือกแบบที่กองทัพเรือไทยต้องการ .....

ระยะเวลำ : ควำมจำเป็นกำรจัดซื้อยุทโธปกรณ์ทำงเรือ เกาหลีใต้เพื่อรองรับการท้างานในอนาคต ส้าหรับเรือฟริเกตล้านี้ จะต้อง


ใช้เวลาในการพิจารณาชิ้นส่วน อุปกรณ์ ระบบต่างๆ ที่จะมาติดตั้งกับเรือ
หากย้อนไปดู “กองทัพเรือ” ต้องใช้ร ะยะเวลานานอยู่หลายปี
อย่ า งละเอี ย ด เพราะมีเ ป็ น พั น รายการ เรื อ ฟริ เ กตสมรรถนะสู ง ของ
กว่าจะได้โครงการระดับบิ๊กโปรเจกต์นี้ เพราะต้องใช้เงินมหาศาล มากกว่า
กองทั พ เรื อ ล้ า ใหม่ นี้ จ ะเป็ น รุ่ น ที่ พั ฒ นาปรั บ ปรุง มาจากเรื อ พิ ฆ าตชั้ น
ยุทโธปกรณ์ชิ้นอื่น เนื่องจากเรือมีขนาดใหญ่ มีเทคโนโลยี อุปกรณ์การรบ
Kwanggaeto Class Destroyer (KDX-I) ของกองทัพเรือเกาหลีใต้ ซึ่ง มี
ครบทุกมิติ โดยเฉพาะ โครงการจัดซื้อเรือด้าน้้ามื อสอง U-206 A จาก
ความทันสมัยเพราะใช้ Stealth Technology ทั้งตัวเรือและระบบต่างๆ
ประเทศเยอรมนี จ้านวน ๖ ล้า มูลค่า ๗.๖ พันล้านบาท ที่ “ราชนาวี” ใช้
เน้ น ลดการถู ก ตรวจจั บ โดยฝ่ ายตรงข้ าม ทั้ ง ลดการแผ่ รั ง สีค วามร้ อ น
เวลาด้าเนินโครงการดังกล่าว ๒ ปี เพื่อหา “เรือด้าน้้า ” มารักษาน่านน้้า
ลดการสะท้อนของเรดาร์ ลดเสียง มีความพร้อมและชัดเจนทางด้านระบบ
ของไทย และคานอ้านาจกับประเทศรอบบ้านที่เริ่มสะสม “เรือด้าน้้า ”
อ้ า นวยการรบ ระบบอาวุ ธ ระบบไฟฟ้ า ระบบเดิ น เรื อ และเรดาร์
นอกจากนี้ กองทั พ เรื อ ได้ มี ก ารก้ า หนดแผนความต้ อ งการจั ด ซื้ อ
เนื่ อ งจากเป็ น เหตุ ผ ลด้ า นยุ ท ธการที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ ก ารรบร่ ว มกั บ
“เรือฟริเกต” ๒ ล้า แบบทีล ะล้า เพื่อมาทดแทน “เรือฟริเกต” ชุดเรื อ
กองทั พอากาศ มีการเชื่อ มโยงระบบการรบของเรือกั บเครื่ องบิ นของ
หลวงพุ ท ธยอดฟ้ า และเรื อ หลวงพุ ท ธเลิ ศ หล้ า ที่ จ ะปลดประจ้ า การ
กองทั พ อากาศ ทั้ ง Link E, Link RTN เช่ น เดี ย วกั บ การเชื่ อ มโยงเรื อ
ในปี ๒๕๕๘ และ ๒๕๖๐ ตามล้าดับ หลวงฟริเกตชุดตากสิน-นเรศวร และเรือหลวงจักรีนฤเบศร กับ Link G,
เขี้ยวเล็บลำใหม่ของรำชนำวีไทย เครื่องบินกริพเพน ซึ่ง เป็นเครื่องบินรบเจเนอเรชั่น ๔.๕ ที่ทันสมัยที่สุด
ส้าหรับโครงการ “เรือฟริเกต” สมรรถนะสูงล้านี้ กว่าที่จะได้มา ของกองทั พ อากาศ เนื่ อ งจากการรบสมั ย ใหม่ จ ะต้ องเป็น การรบร่ ว ม
กองทั พ เรื อ ได้ ก้ า หนดสเปกต่ า งๆ พร้ อ มเปิ ด ให้ บ ริ ษั ท อู่ ต่ อ เรื อ จาก มากกว่า ๑ เหล่าทัพ และเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบ “Network
ต่างประเทศยื่นเสนอแบบให้ทางคณะกรรมการของกองทัพเรือพิจารณา Centric Warfare”
โดยมี ๑๓ บริษัทอู่ต่อเรือจากประเทศในยุโ รป และจากเอเชีย เสนอตัว
เข้ามาแข่งขันตั้งแต่ปลายปี ๒๕๕๕ ต่อมาคณะกรรมการฯ ได้ตรวจสอบ
รายละเอียดคุณสมบัติแต่ละบริษัทแล้ว ก็ตัดออกจนเหลือเพียง ๕ บริษัท
อู่ต่อเรือ ที่ผ่านการคัดเลือกในรอบสุดท้าย หลังจากนั้นได้มีการพิจ ารณา
อีกครั้ง ซึ่งมีเพียง ๒ บริษัท ที่ผ่านคุณสมบัติ จนในที่สุด คณะกรรมการฯ
ได้ตัดสินใจเลือกบริษัท แดวู ของเกาหลีใต้ เป็นผู้ต่อเรือให้กองทัพเรือไทย
ในราคา ๑.๔๖ หมื่นล้านบาท เนื่องจากบริษัท แดวู มีขีดความสามารถใน
การสร้างเรือที่มีประสิทธิผลในการปราบเรือด้าน้้า ภายใต้งบประมาณของ
กองทัพเรือที่มีอยู่อย่างจ้ากัด
เรื อ ฟริ เ กตล้ า นี้ มี ร ะยะเวลาด้ า เนิ น โค รงการ ระห ว่ า ง
ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ - ๒๕๖๑ โดยภายหลังท้าสัญญาทางอู่จะท้าการต่อ
เรือให้ กองทัพเรือภายใน ๑,๘๐๐ วัน นอกจากนี้ ในระหว่างการต่อเรือ
กองทั พ เรื อ จะท้ า การส่ ง ก้ า ลั ง พลไปฝึ ก ศึ ก ษาเรี ย นรู้ เ รื อ ระบบเรื อ
(platform system ) ระบบการรบ (combat system ) ที่ ป ระเทศ

คณะผู้จัดทำ : กองศึกษำวิจัยทำงยุทธศำสตร์และควำมมั่นคงฯ โทร./โทรสำร : ๐ ๒๒๗๕ ๕๗๑๔-๕ website : www.sscthailand.org


อย่างไรก็ตาม ในระหว่างนี้กองทัพเรือก้าลังประชุมด้าเนินการในแผนการ สะดวกระดั บ level 2 class A ตามมาตรฐาน US Navy Standard
ต่อเรือ “ฟริเกต” ในขั้นตอนตามเวลาที่ก้าหนด โดยช่วงเดือน กันยายน NATO
๒๕๕๖ จะส่งคณะกรรมการพิจ ารณาและคัดเลือกแบบฯ ชุดแรก พร้อม “ส้าหรับ ระบบอ้านวยการรบ (combat system) ประกอบด้วย
เจ้าหน้ าที่กลเรือ กลจักร ไฟฟ้า อาวุธ สื่อสาร เดิน เรือ พลาธิการ ฯลฯ ระบบการควบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาและตรวจการณ์ (command and
จ้านวน ๑๘ นาย แบ่ง เป็น ๒ ทีม ไปยั ง ประเทศเกาหลี ใต้ เพื่อไปตรวจ surveillance) และระบบอาวุธ (armament) ซึ่งประกอบด้วย อาวุธปืน
พิ จ ารณาแบบรายละเอี ย ดการเริ่ ม สร้ า ง “เรื อ ฟริ เ กต” และควบคุ ม หลัก ปืน ๗๖/๖๒ มม. Oto-Melara พร้อม Stealth Shield และ อาวุธ
การท้างาน พร้อมคัดเลือกอุปกรณ์ให้ตรงตามที่กองทัพเรือต้องการ โดยใช้ ปืน รอง ปื นกล ๓๐ มม. และปื นกล ๕๐ นิ้ว ระบบเป้ า ลวง (decoy
เวลาคุม งาน ๕ ปี ในส่ วนการจัด ก้า ลัง พลประจ้า เรื อนั้ น จะจั ดทั้ ง หมด system) โดยมีแท่น TERMA หรือ รุ่นที่ดีกว่า พร้อมระบบและอุปกรณ์ที่
๑๓๖ นาย ไปรั บ การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี มี ร ะยะเวลาทั้ ง หมดจนถึ ง เกี่ยวข้อง และท้าการลวง (Break Lock) เรดาร์ค วบคุมการยิง ของเรือ
กรกฎาคม ๒๕๖๑ “เรือฟริเกต” จะเข้าประจ้าการในกองทัพเรือไทย อากาศยาน และอาวุ ธ ปล่ อ ยน้ า วิ ถี ไ ด้ รวมทั้ ง สามารถรองรั บ
คุณสมบัติ “เรือฟริเกต” การใช้ ง านเป้ า ลวงตอร์ ปี โ ด (torpedo decoy)” ระบบตรวจการณ์
เรดาร์ตรวจการณ์อากาศระยะไกล แบบ ๓ มิติ ของ SABB อุปกรณ์หมาย
เรือฟริเกตล้านี้ มีการออกแบบและสร้างเรือโดยใช้มาตรฐานทาง
รู้และพิสูจ น์ฝ่าย IFF ระบบโซนาร์ รวมทั้งมีร ะบบโทรศัพท์เสียงใต้น้า
ทหารของสหรัฐอเมริกาและกองทัพเรือเกาหลี อีกทั้งได้รับการรับรองจาก
ระบบเดินเรือที่ เชื่อมต่อกับ ระบบเดิน เรือ และระบบอ้ านวยการรบได้
สถาบันจัดชั้นเรือซึ่งเป็นสมาชิกของ IACS (International Association of
นอกจากนี้ยังมีอาวุธปล่อยน้าวิถีพื้นสู่อากาศ ทั้ง Evolved Sea Sparrow
Classifications Society) โดยแบบเรื อ ดั ง กล่ า วมี ร ะวางขั บ น้้ า สู ง สุ ด
Missile-ESSM มีระบบตอร์ปีโดปราบเรือด้าน้้า ที่สามารถปรับปรุงให้ใช้
๓,๗๐๐ ตัน ความเร็วสูงสุดต่อเนื่อง ๓๐ นอต ระยะปฏิบัติการประมาณ
งานกับ อาวุธปล่อยน้าวิถี พื้นสู่อากาศ SM2 รวมทั้งมีระบบอาวุธปล่อย
๔,๐๐๐ ไมล์ทะเล บรรจุก้าลังพล ๑๓๖ นาย ลักษณะของเรือออกแบบให้ใช้
น้ า วิ ถี พื้ น สู่ พื้ น (Advanced Harpoon Weapon Control System-
Stealth Technology ลดการแพร่ ค ลื่ น แม่ เ หล็ ก จากตั ว เรื อ รวมทั้ ง ลด
AHWCS) และอาวุธป้องกันตนเองระยะประชิด Raytheon
การแพร่เสียงใต้น้า ติดตั้งระบบอ้านวยการรบและระบบอาวุธจากยุโรปและ
อเมริกา ซึ่งสามารถปฏิบัติการรบได้ทั้ง ๓ มิติ เรียงล้าดับความส้าคัญจาก บทส่งท้ำย
การปฏิ บั ติ ก ารสงครามใ ต้ น้ า ปฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า นภั ย ทางอากาศ สิ่ง ที่น่าสนใจของการต่อเรือจากบริษัท แดวู ในครั้ง นี้ คือ จะมี
การปฏิบัติการสงครามผิวน้้า มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบร่วมกับ การถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับอู่ต่อเรือเอกชนของไทยที่สนใจด้วย เพื่อเป็น
อากาศยานของกองทัพอากาศได้อย่างสมบูร ณ์ รวมทั้ง ป้องกันตัวเองใน องค์ ค วามรู้ ส้ า หรั บ เพิ่ ม การพั ฒ นาศั ก ยภาพของการต่ อ เรื อ รบ
ระยะประชิด ตามมาตรฐานยุโ รป สหรัฐฯ การสร้างเรือ จะด้ าเนินการ ภายในประเทศไทยในอนาคต ส่วนจะถึง ขั้นเกาหลีใต้เข้ามาร่วมทุนตั้ง
ณ อู่ ต่ อ เรื อ ของบริ ษั ท DSME สาธารณรั ฐ เกาหลี ใ ต้ โดยงบประมาณ อู่ต่อเรือรบในไทยหรือไม่นั้น ก็คงต้องขึ้นอยู่กับศักยภาพของอู่เอกชนที่จะ
๑๔,๖๐๐ ล้านบาท เป็นราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม อะไหล่เครื่องมือ เอกสาร ไปรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี และงบประมาณกองทัพเรือไทย ในการ
ส่วนสนับสนุน การทดสอบทดลอง การฝึกอบรม การถ่ายทอดเทคโนโลยี สร้างเรืออย่างต่อเนื่อง ตามแผนยุทธศาสตร์ของกองทัพเรือในการพัฒนา
และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ศักยภาพ โดยปัจจุบันมีความต้องการ “เรือฟริเกต” อย่างน้อยอีก ๒ ล้า
เพื่ อทดแทนเรื อ “ฟริเ กต” รุ่ นเก่า และเพื่อ ความมั่ นคงของประเทศ
คงต้องติดตามกันว่า โฉมหน้า “เรือฟริเกต” ล้าใหม่ของไทยที่ปรับปรุง
จากเรื อพิฆ าต KDX-I ของเกาหลีใต้ จะมีรู ปโฉมและศัก ยภาพอย่างที่
กองทัพเรือคาดหวังไว้หรือไม่ ซึ่งอีก ๕ ปี คงได้รู้กัน .....

ส่ ว นของ platform system มี ด าดฟ้ า เฮลิ ค อปเตอร์ (Flight


Deck) และโรงเก็บอากาศยาน สามารถใช้งานกับเฮลิค อปเตอร์ขนาด
๑๐ ตั น ไ ด้ เ ช่ น S 7 0 B Sea Hawk, MH - 6 0 S Knight Hawk
มีอุปกรณ์ช่วยการลงจอด (landing aids แบบ harpoon grid) มีระบบ
และอุปกรณ์ยึดตรึง เคลื่อนย้าย เฮลิค อปเตอร์ และมีสิ่ง อ้านวยความ
คณะผู้จัดทำ : กองศึกษำวิจัยทำงยุทธศำสตร์และควำมมั่นคงฯ โทร./โทรสำร : ๐ ๒๒๗๕ ๕๗๑๔-๕ website : www.sscthailand.org

You might also like