You are on page 1of 8

การออกแบบ สร้ าง และทดสอบโครงสร้ างปี กของอากาศยานไร้ คนขับระยะใกล้

Wing Structural Design construction and Testing of Closed Range UAV


สมชาย หาญกล้ า กอบ พืชผา บุญเลิศ อันดารา ปริพนธ์ สุ ขพิมาย และคณะ
กองการศึกษา โรงเรี ยนนายเรื ออากาศนวมินทกษัตริ ยาธิราช
171/1 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กทม. 10220
E-Mail: somchai_ha@rtaf.mi.th

บทคัดย่ อ
ในภารกิจการบินลาดตระเวนและสารวจหาข่าว ชิ้นส่ วนสาคัญที่ทาให้อากาศยานเดินทางไปใน
อากาศได้คือปี ก ดังนั้นงานวิจยั นี้ ได้ทาการศึกษารู ปแบบและการออกแบบปี กของอากาศยานไร้คนขับด้วย
การแผนแบบปี กอากาศยานเพื่อเลือกรู ปทรงของแพนอากาศของปี ก ทาการจาลองความแข็งแรงด้วยวิธี
ไฟไนต์เอลิเมนต์ พิจารณาเลือกวัสดุเชิ งประกอบทั้งผ้าใยแก้ว ผ้าใยคาร์ บอน โฟม และไม้บลั สา รวมทั้ง
การวางตัวของเส้นใยให้ตรงกับทิ ศทางในระบบอ้างอิงเฉพาะที่ และรวม ภายใต้ทฤษฎี การเสี ยหายไซวู
เมื่อได้แบบของปี กแล้วจึ งสร้างปี ก รวมทั้งการสร้างชุ ดทดสอบที่ ประกอบด้วยตัวประกับและสาแหรก
สาหรับกระจายโหลดเพื่อทาการทดสอบโครงสร้างปี กตามมาตรฐาน EAA ติ ดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดระยะ
การโก่งปี กอากาศยานที่สร้างสามารถรับภารกรรมได้มากกว่าสามเท่าของน้ าหนักวิ่งขึ้นสูงสุ ด
คาสาคัญ: ปี ก, อากาศยานไร้คนขับ, วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์, ทฤษฎีการเสี ยหายไซวู

Abstract
In the surveillance and reconnaissance flight for information mission, the important part that
makes the aircraft flying in the air is the wing. So, this research aims to design and testing a wing of an
unmanned aircraft vehicle (UAV) using a conceptual design to determine a suitable shape of airfoil and
a standard material testing system (MTS) respectively. It is previous to simulate the wing strength by the
finite element method (FEM). The materials selected are glass fiber (GF) fabric carbon fiber (CF) fabric
foam and balsa wood. The fibers direction must be ensured in the local and global coordinates system.
In additional, the materials selection is also done by comparing the results from FEM computation under
the Tsai-Wu criteria. The wing is then constructed by a manufacturer. The wing is attached by the
adopted support on the material testing system (MTS), the wiffle tree kid to deliver the load from
hydraulic and the digital gauges to measure the wing deflection. The value of wing strength obtained by
testing is more than three time the maximum take-off weight.
Keywords: Wing, UAV, Finite Element Method, Tsai-Wu Criteria
10 วารสารวิชาการนายเรืออากาศ

1. บทนา
อากาศยานไร้ คนขับ มี ห ลายประเภท [1] ระยะประชิ ดหรื อระยะใกล้ให้มีน้ าหนักเบาทาด้วย
กองทัพอากาศให้ความสาคัญต่อการวิจยั และพัฒนา วัสดุเชิงประกอบ [4] และทดสอบความแข็งแรงของ
ระบบอากาศยานไร้คนขับอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งจะเป็ น ปี กให้สามารถที่ จะรั บภารกรรมตลอดเส้นทางการ
การลดการนาเข้าจากต่างประเทศอี กหนทางหนึ่ ง บินตามมาตรฐานทางด้านยุทธวิธีในระดับสากล
รวมทั้ งการสร้ า งนวัต กรรมเพื่ อ สนั บ สนุ น การ
ปฏิ บัติ ภารกิ จของกองทัพ อากาศบนพื้ น ฐานการ 2. วิธีการดาเนินการวิจยั
พึ่งพาตนเองอัน เนื่ องมาจากการจัดหาอากาศยาน 2.1 ก าหนดรู ป แบบการบิ น โดยมี ภ ารกิ จ
ไร้ คนขับ ที่ มี พิสัยการบิ น ในระยะใกล้ กลาง และ การบิ นถ่ายภาพวีดิโอส่ งภาพแบบปั จจุบนั กลับมาที่
ไกล ตลอดจน ทุ กระดั บ ความสู งเพื่ อน าเข้ า ศู น ย์ก ารควบคุ ม ได้น านหนึ่ งชั่ว โมงดัง แสดงใน
ประจาการ [2] จะต้องใช้งบประมาณสู ง ดังนั้นการ รู ป ที่ 1 และก าหนดสมรรถนะของอากาศยานไร้
ด าเนิ น การวิ จัย และพัฒ นาอากาศยานไร้ ค นขับ คนขับตามตารางที่ 1
ต้น แบบส าหรั บ ปฏิ บั ติ ก ารทางยุ ท ธวิ ธี (Close Loiter

Range Tactical UAV) เป็ นภารกิ จ ส่ วนที่ 4 ของ


6,000ft
Outbound: 50 km 1Hrs
6,000 ft

Pre-Mission

โครงการวิจยั และพัฒนาอากาศยานไร้ คนขับทาง


System
Check Inbound: 50 km
1,000ft 6,000 ft
10 min

ยุท ธวิธีร ะยะประชิ ด [3] จะเป็ นการเตรี ย มความ Pre-


Recovery
System

พร้อมทั้งด้านบุคลากร การถ่ายทอดเทคโนโลยีใน
Check
1,000ft
10 min

การออกแบบ วิเคราะห์ สร้าง และทดสอบการบิ น


โดยสามารถพึ่งพาตนเองสามารถสนับสนุนภารกิจ
Ground Control Station: Tactical Data Link:
(GCS) (TDL)

ระดั บ ยุ ท ธวิ ธี บรรลุ เป้ าหมายของยุ ท ธศาสตร์


เสริ มสร้ างสมรรถนะความพร้ อมในการป้ องกั น
ประเทศตามวิ สั ยทั ศ น์ ก องทั พ อากาศอย่ า งเป็ น รู ปที่ 1 รู ปแบบการบิน
รู ป ธรรม อี ก ทั้งโครงการวิจัยนี้ ได้มุ่ งเน้น หาแนว
ทางการพัฒ นาเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของการวิจัย ตารางที่ 1 แสดงสมรรถนะของอากาศยานไร้คนขับ
และพัฒ นาระบบต่าง ๆ ของอากาศยานไร้ค นขับ Parameters Units Value
เพื่ อ ให้ ไ ด้อ ากาศยานไร้ ค นขับ ต้น แบบส าหรั บ Take-off Speed km/hr > 75
ปฏิบตั ิการตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้งาน โดย Take-off Distance m > 150
เน้น การพัฒ นาระบบต่ าง ๆ ที่ ไม่ ซับซ้อ น ง่ ายต่ อ Rate of Climb (avg.) m/s 2
การนาไปใช้งาน รวมถึงการสร้างองค์ความรู ้ด้าน Cruise Speed (Max) km/hr > 185
อากาศยานไร้ ค นขับ อย่ า งเป็ นระบบซึ่ งจะเป็ น Cruise Speed (Operation) km/hr > 110
พื้ นฐานส าคั ญ ในการมุ่ ง สู่ ความเป็ นเลิ ศ ด้ า น Loiter Speed km/hr > 90
อากาศยานไร้ ค นขับ ของโรงเรี ยนนายเรื ออากาศ Landing Distance m > 150
นวมิ น ทกษั ต ริ ยาธิ ร าชในอนาคต เพื่ อ ให้ บ รรลุ Payload Weight kg > 10
วัตถุประสงค์ของโครงการคณะผูว้ ิจัยจึ งสนใจใน
Maximum Takeoff kg < 40
การออกแบบ และสร้างปี กของอากาศยานไร้คนขับ
Weight
ปี ที่ 12 ฉบับที่ 12 พฤศจิกายน 2559 11

2.2 ก า ร เลื อ ก NACA ข อ ง ห น้ า ตั ด ของบูมและปี กไม่ให้หมุนได้มีรายละเอียดดังแสดง


แพนอากาศ และการหาขนาดของปี กโดยใช้ ในรู ปที่ 3
โปรแกรมส าเร็ จ รู ป ของแนวคิ ด การออกแบบ
อากาศยานเบื้องต้น คณะวิจยั ได้พฒั นาไว้ใช้เอง [5]
โดยใส่ขอ้ มูลเกี่ยวกับค่าตัวแปรต่าง ๆ ที่แสดงไว้ใน
ตารางที่ 1 ผลการค านวณท าให้ต ้องเลื อ ก NACA
652415 ซึ่ งเป็ นหน้าตัดแพนอากาศแบบอสมมาตร
[6] ซึ่ งท าให้ เ กิ ดแรงยกสู งได้ ที่ มุ มป ะท ะสู ง
นอกจากนี้ ความหนาของแพนอากาศ 15 เปอร์ เซ็น
ของเส้นชยาช่วยให้รูปร่ างแพนอากาศมีขนาดใหญ่
รู ปที่ 3 ส่วนประกอบของปี ก
เหมาะส าหรับ อากาศยานที่ ตอ้ งมี น้ าหนักบรรทุ ก
2.4 ท าการจ าลองแบบด้ ว ยวิ ธี ไ ฟไนต์
มาก ให้ค่ าสัม ประสิ ท ธิ์ แรงยกสู ง (CLmax = 1.4) ที่
เอลิ เมนต์ โดยเริ่ ม จากการทดสอบเอลิ เมนต์เชลล์
เลขเรย์โนลเท่ ากับ 3 ล้าน ภารกรรมได้จากความ
และศึ กษาเปรี ยบเที ยบวัสดุ เชิ งประกอบที่ ใช้ มี ผ า้
กดดันของกระแสอากาศที่ ความเร็ วล่วงหล่น และ
เส้นใยแก้ว และ ผ้าเส้นใยคาร์บอนเป็ นวัสดุเสริ มแรง
ระยะทางร่ อนลง จากการคานวณพบว่าภารกรรม
โดยเลื อ กใช้ ก าวอี พ อกซี เป็ นตัว ประสาน เพื่ อ ดู
กระทาต่อปี กเป็ น 306 N/m2 ท าให้ปี กต้อ งมี พ้ื น ที่
ทิศทางของเส้นใย ความแม่นยา ความแข็งแรง และ
0.967 m2 โดยโครงการนี้ เลื อ กใช้พ้ื น ที่ ปี กเพี ย ง
ราคา พบว่าผ้าคาร์ บอนคอมโพสิ ตแข็งแรงกว่าผ้าใย
0.93 m2 เลือกปี กให้สามารถบิ นขึ้นได้เมื่ อน้ าหนัก
แก้วคอมโพสิ ต แต่ ผ า้ คาร์ บ อนคอมโพสิ ต มี ราคา
บรรทุ กรวมเป็ น 40 kg รวมทั้งต้อ งทดสอบความ
แพงกว่า จึ ง น าปี กที่ ไ ด้ จ ากแนวคิ ด การออกแบบ
แข็งแรงด้วยแรงเป็ น 3 เท่าของน้ าหนักบรรทุกรวม
เบื้ องต้ น มาท าการจ าลอง เริ่ มด้ ว ยแบ่ ง ปี กด้ ว ย
รู ปร่ างของปี กที่ได้มีลกั ษณะดังแสดงในรู ปที่ 2
เอลิเมนต์เชลล์ชนิ ดสามเหลี่ ยมที่ มี 3 โหนด (Shell-
2D) [7] เพราะสามารถปรับ เข้ารู ป ได้ดี ดังแสดงใน
รู ปที่ 4 และวัสดุแบบลาร์มินาในแต่ละชั้น [8]
Element type(Solidworks default) = Triangular
with 3 Nodes

รู ปที่ 2 ปี กโดยใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ป

2.3 เมื่ อ ได้แบบของปี กแล้วจึ งวิเคราะห์


การสร้างปี กโดยแบ่งเป็ นสองส่ วนหลักคือปี กหลัก
และตัว ปี ก ซึ่ งทั้ งสองส่ ว นนี้ จะต้อ งประกบขา
ของบู มที่ มีไว้สาหรั บ ยึด แพนอากาศและหางเสื อ
โดยมีท่ออลูมิเนียมเป็ นแกนกลางที่ตาแหน่งหนึ่งใน
สี่ ข องชยาและมี รูอี ก สองรู ไว้ใส่ แ กนรองท าด้ว ย
อลู มิ เนี ยมเช่ น กั น ทั้ งสองแกนรองมี ไ ว้กั น ขา รู ปที่ 4 การแบ่งโครงสร้างของปี กด้วยเอลิเมนเชลล์
แบบสามเหลี่ยม
12 วารสารวิชาการนายเรืออากาศ

2.5 การเลื อกวัสดุ วัสดุ ที่ เลื อกใช้จะเป็ น ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดทิศของผ้าคอมโพสิ ต


ผ้าถักด้วยเส้นใยเป็ นแบบลายขัดธรรมดา [9] เพราะ วัสดุ ชั้นที่ 1 ชั้นที่ 2 ชั้นที่ 3 ชั้นที่ 4 ชั้นที่ 5
จะขัดกันแน่ น กว่าผ้าถักลายแบบอื่ น และจากการ มุม
ศึกษาวิจยั ทิศทางการวางผ้าถักผสม [10] นั้น จะวาง หนา
(mm)
เส้นใยไปในทิ ศที่ ตอ้ งรับแรงในแนวแกนยาวของ
ผิว ใยแก้ว ใยแก้ว โฟม ใยแก้ว ใยแก้ว
ปี กเป็ นหลัก ดังนั้นในโปรแกรมสาเร็ จรู ปจะใส่ ค่า 900 00 900 00 900
มอดุ ล ัส ความยืด หยุ่น [11] ของใยแก้ว เป็ นหลัก 0.25 0.25 2 0.25 0.25
ดังแสดงในตารางที่ 2 ให้สอดคล้องในแต่ละชั้นดัง กงปี ก ใย ใย ไม้บลั สา ใย ใย
คาร์บอน คาร์บอน 0 คาร์บอน คาร์บอน
แสดงในตารางที่ 3 เพราะมีราคาถูก และเสริ มความ 90
900 00 3 00 900
แข็ ง แรงด้ว ยใยคาร์ บ อนในต าแหน่ ง ของกงปี ก
0.25 0.25 0.25 0.25
ทาการยึดที่ปีกหลักให้เป็ นจริ งมากที่สุด สปา ใย ใย ไม้บลั สา ใย ใย
คาร์บอน คาร์บอน 0 คาร์บอน คาร์บอน
90
900 00 5 00 900
ตารางที่ 2 แสดงค่าค่ามอดุลสั ความยืดหยุน่
0.25 0.25 0.25 0.25
ค่ ามอดุลสั /วัสดุ (ผ้า) CF FG Balsa foam
(GPa) (GPa) (GPa) (GPa)
2.6 ภารกรรมการกระจายของความดัน
E1 70 25 3 0.14 เหนื อ ปี ก และใต้ปี กถู ก แปลงมาเป็ นแรงเที ยบเท่ า
แบบวงรี ( L ) ดังแสดงในรู ปที่ 5 แล้วถูกแปลงต่อ
e
E2 70 25 3 -
t
เป็ นแรงกระจายแบบสี เหลี่ยมคางหมู ( L ) ดังแสดง
Major Poisson
0.1 0.2 0.29 0.32 s
ในรู ปที่ 5 โดยวิธีของชเรนค์ ( L ) [12] ตามสมการ
Ratio
ที่ 1 2 และ 3 ตามลาดับ
Tensile Strength
0.6 0.44 - 0.0042
0o/90o
Compressive
0.57 0.425 - 0.0025
Strength 0o/90o

รู ปที่ 5 รู ปแบบของภารกรรมแบบวงรี และแบบ


สี่ เหลี่ยม
e 2L  2 y 
L = 1  (1  )  (1)
b(1  )  b 
1
4L   2 y 
2 2
L
t
= 1    (2)
b   b  
 
e t
s L L
L = (3)
2
ปี ที่ 12 ฉบับที่ 12 พฤศจิกายน 2559 13

โดยที่ 3. ผลการวิจยั
L คือ แรงยกของปี ก 3.1 การจาลองแบบเพื่อดูความแข็งแรงด้วย
b คือ ความยาวของปี ก โปรแกรมไฟไนต์เอลิ เมนต์สาเร็ จรู ป ของครึ่ งหนึ่ ง
y คือ ระยะตามความยาวของปี ก ของปี ก (เนื่ องจากความสมมาตรของปี ก) ซึ่ ง
 คือ ความเรี ยวของปี ก แบ่ งย่อยเป็ น 130,663 เอลิ เมนต์ มี 259,030 โหนด
น าภารกรรมแบบกระจายมาใส่ ที่ ต าแหน่ ง ของ และ มี 6 องศาอิสระหรื อระยะการเคลื่อนตัวและการ
สาแหรกดัง แสดงในรู ป ที่ 6 ท าการจ าลองความ หมุนที่ไม่ทราบค่าของแต่ละโหนด ใส่ภารกรรมเป็ น
แข็งแรงโดยใช้ภ ารกรรมมี ค่ าจากหนึ่ ง สอง และ 20 kg 40 kg และ 60 kg ตามลาดับ โดยงานทั้งหมด
สามเท่าของน้ าหนักของอากาศยานฯ ตามมาตรฐาน ทาด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบพกพา คาตอบที่ ได้มี
EAA ด้ว ยโปรแกรมไฟไนต์ เอลิ เมนต์ ส าเร็ จ รู ป ระยะการโก่ งสู งสุ ด เป็ น 14 mm สาหรั บ ภารกรรม
(SOLIDWORKS Simulation) เพื่ อ ห าระยะการ 60 kg (3 เท่ าของน้ าหนักวิ่งขึ้ น สู งสุ ด ) ดังแสดงใน
เคลื่ อนตัวและการหมุน ทั่วไปซึ่ งเป็ นผลลัพธ์ที่ได้ รู ปที่ 7 และ 8 และความเค้นสู งสุ ดที่เกิดขึ้นดังแสดง
จากการแก้ร ะบบสมการของสมการและตัว ไม่ ในรู ป ที่ 9 ยัง อยู่ ภ ายในเส้ น กราฟความเค้น ของ
ทราบค่ าจ านวนมาก [7] ตามสมการที่ 4 ที่ ไ ด้รั บ ทฤษฎีการเสี ยหายไซวู [13] ตามสมการที่ 5
ความอนุ เคราะห์ จ ากกองสนั บ สนุ นการวิ จั ย
ยุ ท โธป ก รณ์ ศู น ย์ วิ จั ย พั ฒ น าวิ ท ยาศ าส ต ร์
เทคโนโลยีการบินและอวกาศ กองทัพอากาศ

จุดที่ถูกตรึง 6 องศาอิสระ
140 N

324 N สมมาตรตรึง
1 องศาอิสระตามแนวแกน
และ 2 องศาอิสระของการ รู ปที่ 7 ระยะการโก่ง ณ ตาแหน่งของกงปี ก
หมุน
Max. Displacement = 14
รู ปที่ 6 ตาแหน่งของภารกรรม และจุดที่ตอ้ งตรึ ง mm

ในการจาลองแบบของปี ก

KU  F (4)


โดยที่
K  คื อ เมทริ กซ์ สตี ฟ เนสรวมของทุ กเอลิ
เมนต์ของปี ก รู ปที่ 8 แถบสี ของระยะการโก่ง
U คื อ เวกเตอร์ ข องระยะการเคลื่ อ นตัว
และการหมุนของแต่ละโหนดบนปี ก
F คื อ เวกเตอร์ ของแรงและโมเมนต์ของ
แต่ละจุดบนปี ก
14 วารสารวิชาการนายเรืออากาศ

F   F   1
i i ij i j
(5) สาแหรกเพื่อถ่ายแรงไปที่ ตาแหน่ งที่ ได้คานวณไว้
โดยที่ รวมทั้งอุปกรณ์ที่จาเป็ นในการเก็บค่าระยะการโก่ง
F ,F คือ ค่าความเค้นสู งสุ ดของลามินาซึ่ ง 3 จุดบนปี ก ดังแสดงในรู ปที่ 11 และระยะการโก่งที่
i ij
วัดได้ดงั แสดงในตารางที่ 4 รวมทั้งการเปรี ยบเทียบ
สัมพันธ์กบั  i และ  ij ตามลาดับ
ผลการทดสอบและจาลองแบบด้วยไฟไนต์เอลิเมนต์

i
คือ ความเค้นปกติสูงสุดในทิศ i ดังแสดงในรู ปที่ 12

ij
คื อ ความเค้น เฉื อ นสู ง สุ ด ในทิ ศ i จาก
แรงในทิศ j

รู ปที่ 11 ปี กติดตั้งบนชุดทดสอบวัสดุ (MTS)

ตารางที่ 4 แสดงระยะการโก่งที่จุดบนปลายปี ก
ระยะจากกลางปี ก 800 1,300 1,500
รู ปที่ 9 เปรี ยบเทียบความเค้นสูงสุดที่เกิดในปี กกับ
(mm)
กราฟทฤษฎีการเสี ยหายของไซวู
ผลการทดสอบ 4.70 9.04 11.10
ผลการจาลองแบบ 3.60 8.65 10.35
3.2 การสร้ างปี ก โดยใช้ผ ลที่ ไ ด้รั บ จาก
การจาลองแบบฯ สร้างความเชื่อมัน่ ว่าปี กได้รับการ ผลต่างเป็ นร้อยละ 23.4 4.3 6.8
ออกแบบดี และแข็งแรงพอที่ จะรั บ ภารกรรมได้
มากกว่า 3 เท่ าของน้ าหนัก วิ่ง ขึ้ น ของอากาศยาน
ไร้คนขับ ดังนั้นจึ งได้สร้างงปี กตามที่ ออกแบบไว้
ดังแสดงในรู ปที่ 10 แล้วนาไปอบ
ผ้าใยคาร์บอน กงปี ก ผ้าใยแก้ว

รู ปที่ 12 กราฟเปรี ยบเทียบระยะการโก่ง

รู ปที่ 10 การวางผ้าใยแก้วและใยคาร์บอน 4. วิจารณ์ ผลการวิจยั


คอมโพสิ ต การออกแบบปี กอากาศยานไร้คนขับระยะ
ประชิดด้วยโปรแกรมสาเร็ จรู ปที่สร้างขึ้นเองเพื่อให้
3.3 การทดสอบความแข็งแรงของปี ก นา ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ได้ ต ามต้ อ งการเป็ นแบบ NACA
ปี กที่ ได้มาติดตั้งกับชุ ดทดสอบวัสดุ (MTS) ติดตั้ง 652415 เมื่อได้หน้าตัดแพนอากาศและขนาดของปี ก
ปี ที่ 12 ฉบับที่ 12 พฤศจิกายน 2559 15

แล้ ว ได้ ท าการจ าลองแบบความแข็ ง แรงของ อวกาศ กองทัพ อากาศที่ ช่ ว ยให้ ง านนี้ ด าเนิ น การ
ครึ่ งหนึ่ งของปี กด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์นอกจาก สาเร็ จด้วยความเรี ยบร้อย
จะทาให้ทราบระยะการโก่งตัว และความเค้นสูงสุ ด
ล่วงหน้าก่อนสร้างแล้วยังทาให้ทราบว่าความเค้นที่ 7. เอกสารอ้ างอิง
เกิดขึ้นในเนื้ อวัสดุของปี กนั้นยังมีค่าน้อยกว่าความ [1] จิ น ตสิ ท ธิ์ ประวิต ร ณ อยุท ธยา. แนวคิด การ
เค้นจากัดในทุกทิ ศทางตามทฤษฎี การเสี ยหายของ เรี ย กชื่ อ อากาศยานไร้ คนขั บ ของหน่ ว ยงาน
ไซวู จากนั้นได้ทาการสร้างแม่พิมพ์ และสร้างปี ก ต่ าง ๆ. วารสารวิชาการนายเรื ออากาศ, 11(11):
ตามที่ ออกแบบไว้ ผลการทดสอบและการจาลอง 37-43, 2558.
แบบมีความแตกต่างกันโดยไม่มีนยั สาคัญ สาเหตุที่ [2] ปริ พนธ์ สุ ขพิมาย และคณะ. โครงการวิจัยและ
ทาให้ระยะการโก่งของปี กที่ สร้างมีค่ามากกว่าผล พั ฒ นาอากาศยานไร้ คนขั บ ยุ ท ธวิ ธี ร ะยะ
การการจาลองแบบเกิ ดเนื่ องจากวัสดุ ที่ใช้รองกัน ประชิ ด . ประชุ ม วิชาการระดับ ชาติ “นายเรื อ
ไม่ให้ผิวนอกของปี กที่เป็ นไฟเบอร์กลาสสัมผัสกับ วิ ช าการ 58”. 26 -28 สิ งหาคม 2558. สั ต หี บ
ตัว ประกับ โดยตรง มี การยุบ ตัวลงในบริ เวณปี ก ชลบุรี, 2558.
หลักที่ อยู่บนแท่นยึด และตัวประกับที่ ยึดสาแหรก [3] ตรี ท ศ สนแจ้ง . ยุท ธศาสตร์ ก องทัพ อากาศปี
ไว้ อย่างไรก็ตามปี กนี้ ยงั คงมีความแข็งแรงรับภาร 2558, 2558.
กรรมได้ ถึ ง 3 เท่ า ตั ว ของน้ าหนั ก บรรทุ ก รวม [4] D.GAY. Matériaux Composites. 6th Ed..
เป็ นไปตามมาตรฐานการออกแบบบอากาศยาน Paris: Lavoisier Hermés, 2015.
ขนาดเบา (EAA) [5] ณัฐพล นิ ยมไทย. โปรแกรมสาเร็จรู ปการแผน
แบบอากาศยาน Paksin. โครงการวิ จัย และ
5. สรุปผลการวิจยั พัฒนาอากาศยานไร้คนขับ สกว. และสวพ.กห.,
การออกแบบ การจาลองแบบ สร้าง และ 2547.
ทดสอบปี กอากาศยานไร้ ค นขั บ ดั ง กล่ า วมานี้ [6] D.P. Raymer. Aircraft Design:A Conceptual
ได้เลือกใช้ NACA ที่เหมาะสมกับภารกิจนี้ และเมื่อ Approach. Washington D.C.: AIAA Inc.,
เปรี ยบเที ยบผลการจาลองแบบความแข็งแรงของ 1992.
ปี กด้วยโปรแกรมสาเร็ จรู ปไฟไนต์เอลิเมนต์กบั ผล [7] O.C. Zienkiewicz and others. The Finite
การทดสอบเชิ งกลพบว่ า ปี กมี ค วามแข็ ง แรง
Element Method Set. 6 th Ed. Vol.2. Elsevier
ปลอดภัย และได้ ม าตรฐานของ EAA จากการ
Ltd., 2005.
จาลองแบบพบว่าความเค้น บางแห่ งมี ค่าน้อยมาก
[8] E.Careera. Theories and Finite Elements for
ทาให้สามารถสามารถลดความหนา หรื อเจาะเพื่อ
Multilayered, Anisotropic, Composite
เอาเนื้ อ ของวัส ดุ อ อกได้ ถ้าหากเปลี่ ย นรู ป แบบ
Plates and Shells. Arch. Comput. Meth.
ภารกิจแล้วปี กนี้อาจจะไม่เหมาะสม
Engng, 9(2): 87-140, 2002.
[9] วีร ะศัก ดิ์ อุ ด มกิ จ เดชา. อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ
6. กิตติกรรมประกาศ
ไท ย . ก รุ งเท พ ม ห าน ค ร : โร งพิ ม พ์ แ ห่ ง
ขอขอบคุ ณ กองทัพ อากาศไทยที่ ให้ ทุ น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
วิ จั ย และ กองสนั บ สนุ น การวิ จั ย ยุ ท โธปกรณ์
ศูนย์วิจยั พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการบินและ
16 วารสารวิชาการนายเรืออากาศ

[10] ฉั ต ริ นทร์ สุ นสิ น และคณะ. การทดสอบ [12] O.Schrenk. Schrenk’s Method Distributed
โมเมนต์ ดั ด เพื่ อ หาสมบั ติ ท างกลของไม้ อั ด Load A Simple Approximation Method for
สาหรับโครงสร้ างแซนด์ วิชผสมระหว่ างไม้ อัด Obtaining the Spanwise Lift Distribution.
กั บ กระด าษ รั งผึ้ ง . Me-Nett 2013. 16 – 18 NACA. Washington D.C., 7(4): 118-120,
ตุลาคม 2556 . พัทยา ชลบุรี, 2556. 1940.
[11] http://www.fiberglassindustries.com. สื บค้น [13] Pedro Ponces Camanho. Failure Criteria for
เมื่อ 22 มิถุนายน 2559. Fibre-Reinforced Polymer Composites.
DEMEGI, 2002.

You might also like