You are on page 1of 22

วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ.

ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 511

ผลกระทบของความไม่เป็นเชิงเส้นของวัสดุต่อการโก่งตัวมากของคานยื่น
ที่ทำ�จากวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกภายใต้แรงดึงรั้งจากเคเบิล
พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย1 ชัยณรงค์ อธิสกุล2* สมชาย ชูชีพสกุล3
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บางมด ทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140
และ บุญชัย ผึ้งไผ่งาม4
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถนนรังสิต-นครนายก (คลองหก) ธัญบุรี ปทุมธานี 12110

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำ�เสนอการโก่งตัวมากของคานยื่นที่ทำ�จากวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก โดย
พิจารณาผลของความไม่เป็นเชิงเส้น ทั้งทางเรขาคณิตและความไม่เป็นเชิงเส้นของวัสดุ คานรับแรงกระทำ�ที่ปลายคาน
จากสายเคเบิลทีด่ งึ รัง้ โดยสายเคเบิลจะดึงรัง้ ปลายคานผ่านจุดยึดหมุนทีก่ �ำ หนดให้มตี �ำ แหน่งอยูใ่ ต้ฐานรองรับแบบยึดแน่น
ของคาน ทั้งนี้ใช้หลักการของวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกเพื่อหาความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นเชิงเส้นของโมเมนต์ดัดและค่า
ความโค้ง โดยการสร้างสมการครอบคลุมปัญหาขึ้นจากการพิจารณาสมดุลของคาน และความสัมพันธ์ทางเรขาคณิตของ
ชิ้นส่วนย่อยของคาน รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ดัดและค่าความโค้ง การหาคำ�ตอบเชิงตัวเลขของสมการอาศัย
ระเบียบวิธีการยิงเป้า ผลการศึกษาพบว่าการเปลี่ยนแปลงค่าคงที่ของวัสดุ n และ มีผลต่อระยะการโก่งตัวและแรง
ที่กระทำ� ทั้งนี้แสดงพฤติกรรมระยะการโก่งตัวมากของคานยื่นที่มีผลมาจากวัสดุที่ไม่เป็นเชิงเส้นในรูปกราฟความสัมพันธ์
ระหว่างแรงและระยะการเคลื่อนที่

คำ�สำ�คัญ : การโก่งตัวมาก / คานปลายยื่น / เจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก / วิธีการยิงเป้า / วัสดุไม่เป็นเชิงเส้น

* Corresponding Author : chainarong.ath@kmutt.ac.th


1 นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
3 ศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
4 อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
512 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

Effect of Material Nonlinearity on the Large Deflections of


Cantilever Beam made of Generalized Ludwick Material Subjected to
Tension from a Guyed Cable
Peerasit Mahasuwanchai1 Chainarong Athisakul2* Somchai Chucheepsakul3
King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangmod, Thungkru, Bangkok 10140
and Boonchai Phungpaingam4
Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Rangsit-Nakhonnayok Rd. (Klong 6),
Thanyaburi, Pathum Thani 12110

Abstract
This research aims to present large deflections of a cantilever beam made of a Generalized
Ludwick material. Both geometric and material nonlinearities are considered. The beam is subject to the
tension from a guyed cable. The guyed cable is attached from the free end of the beam and passes through
a pin support, which is located under a fixed end of the beam. The Generalized Ludwick constitutive law
is employed to derive the nonlinear moment curvature relation. The governing equations of this problem
are formulated by considering the equilibrium of the beam, the geometric relations of a beam segment and
the moment curvature relation. The shooting method is employed to obtain the numerical solutions. The
results show that changes in the nonlinear material constants n and have a significant effect on the large
displacements and their corresponding applied loads. The load displacement diagrams are illustrated to
explain the effect of material nonlinearity on the large displacement behavior of the cantilever beam.

Keywords : Cantilever Beam / Generalized Ludwick / Large Deflection / Nonlinear Material /


Shooting Method

* Corresponding Author : chainarong.ath@kmutt.ac.th


1 Master of Engineering Student, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering.
2 Assistant Professor, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering.
3 Professor, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering.
4 Lecturer, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering.
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 513
1. บทนำ� และให้คำ�ตอบแม่นตรงได้แต่ปัญหาที่นำ�มาวิเคราะห์ควร
ที่มาและความสำ�คัญ มีลักษณะการรับแรงที่ไม่ซับซ้อน ในกรณีที่แรงกระทำ�
การวิเคราะห์โครงสร้างโดยทั่วไปอยู่บนพื้นฐาน มีความซับซ้อนหรือสมบัติของวัสดุไม่เป็นเชิงเส้นการแก้
และหลักการตามทฤษฎีทเี่ ป็นเชิงเส้นโดยกำ�หนดสมมติฐาน ปัญหาด้วยวิธอี ีลิปติคอินทิกรัลเพื่อหาคำ�ตอบแบบแม่นตรง
ให้โครงสร้างที่นำ�มาวิเคราะห์มีการแอ่นตัวหรือโก่งตัวน้อย ไม่สามารถกระทำ�ได้ ดังนั้นสำ�หรับปัญหาอีลาสติกคาที่มี
มาก และสมบัติของวัสดุอยู่ภายใต้กฎของฮุค กล่าวคือ ความซับซ้อนจำ�เป็นต้องใช้วิธีการเชิงตัวเลขอันได้แก่ วิธี
ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียดมีลักษณะ การยิงเป้า (shooting method) และวิธกี ารไฟไนต์เอลิเมนต์
เป็นเส้นตรงในช่วงยืดหยุ่น (Elastic) (Finite Element Method) มาช่วยในการหาคำ�ตอบ
ในปั จ จุ บั น เทคโนโลยี ท างด้ า นวั ส ดุ วิ ศ วกรรม โดย Huddleston [4] และ Miller [5] เสนอวิธีการ
และเทคโนโลยีการก่อสร้างได้มีการพัฒนาไปอย่างมาก ยิงเป้าสำ�หรับการวิเคราะห์ปัญหาอีลาสติกคาในระนาบ
ดั งนั้ นโครงสร้ า งสมั ยใหม่ จึ งสามารถมี อ งค์ ป ระกอบที่ ต่อมา Wang และ Kittipornchai [6] นำ�วิธีการยิงเป้า
สลับซับซ้อนเพิ่มขึ้นได้ ซึ่งในกรณีท่ีโครงสร้างมีความ มาประยุกต์ใช้สำ�หรับวิเคราะห์ปัญหาการโก่งตัวมากของ
ชะลู ด สู ง การพิ จ ารณาการโก่ ง ตั ว มากของคานหรื อ ชิ้นส่วนโครงสร้าง นอกจากวิธีการยิงเป้าแล้ววิธีการ
การพิจารณาถึงความไม่เป็นเชิงเส้นทางเรขาคณิตเป็น ไฟไนต์เอลิเมนต์เป็นอีกวิธีที่สามารถนำ�มาใช้ในการหา
สิง่ จำ�เป็น นอกจากนีใ้ นกรณีทวี่ สั ดุทนี่ �ำ มาใช้เป็นวัสดุพเิ ศษ คำ�ตอบเชิงตัวเลขของปัญหาการโก่งตัวมากของโครงสร้าง
ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียดในช่วง ได้ ดั ง ตั ว อย่ า งงานวิ จั ย ของ Chucheepsakul และ
ยืดหยุ่นมีลักษณะไม่เป็นเชิงเส้นการวิเคราะห์โครงสร้าง Huang [7] และ Klaycham และคณะ [8] แม้ว่าวิธีการ
ด้วยทฤษฎีเชิงเส้นจะไม่สามารถทำ�ได้ ดังนั้นการศึกษา ไฟไนต์เอลิเมนต์จะสามารถประยุกต์ใช้กับรูปแบบปัญหา
พฤติกรรมของโครงสร้างที่มีความไม่เป็นเชิงเส้นเรขาคณิต ได้หลากหลายแต่สำ�หรับปัญหาประเภทอีลาสติกคาวิธีการ
ร่วมกับความไม่เป็นเชิงเส้นในด้านวัสดุจึงเป็นเรื่องที่น่า ไฟไนต์เอลิเมนต์จะมีขั้นตอนและกระบวนการในการหา
สนใจ ตัวอย่างของปัญหานี้ที่สามารถนำ�ไปใช้งานจริงได้ คำ�ตอบที่ยุ่งยากกว่าวิธีการยิงเป้า ด้วยเหตุนี้งานวิจัยใน
ได้แก่ การวิเคราะห์โครงสร้างที่มีการยึดรั้งด้วยสายเคเบิล กลุ่มนี้จึงมักนิยมเลือกใช้วิธีการยิงเป้าสำ�หรับการวิเคราะห์
เช่น โครงสร้างสะพานขึง สะพานสายเคเบิล อาคาร หาคำ�ตอบ
โดม อาคารสนามกีฬาขนาดใหญ่ และเสาอาคารสื่อสาร จากงานวิจัยที่กล่าวมาข้างต้นล้วนเป็นการศึกษา
โทรคมนาคม เป็นต้น พฤติ ก รรมของคานที่ มี ค วามยาวส่ ว นโค้ ง คงที่ ภ ายใต้
การศึกษาปัญหาการโก่งตัวมากของโครงสร้าง สมมุ ติ ฐ านที่ ว่ า วั ส ดุ ข องคานมี ค วามสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
ในอดีตเริ่มต้นจากปัญหาการโก่งตัวของคานยื่นและคาน ความเค้นกับความเครียดเป็นเชิงเส้น แต่ในปัจจุบันมี
ช่วงเดียวอย่างง่าย โดย Conway [1] ได้เสนอแนวทาง วัสดุจำ�นวนมากที่มีความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับ
การใช้วิธีอีลิปติคอินทิกรัลเพื่อวิเคราะห์การโก่งตัวมากของ ความเครียดไม่เป็นเชิงเส้น ดังนั้นสมมุติฐานข้างต้นจึงไม่
คานอย่างง่าย ต่อมา Gospodnetic [2] ใช้วิธีอีลิปติค- เหมาะสมสำ�หรับคานที่ทำ�จากวัสดุเหล่านี้
อินทิกรัลเพื่อหาสมการแสดงเส้นโค้งการโก่งตัวมากของ ในอดี ต มี ตั ว อย่ า งงานวิ จั ย ที่ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ
คานช่วงเดียวภายใต้แรงกระทำ�แบบจุด โดยคำ�ตอบทีไ่ ด้รบั พฤติกรรมการเสียรูปมากของคานและเสาที่ทำ�จากวัสดุ
จัดเป็นคำ�ตอบแบบแม่นตรง ซึ่งในเวลาต่อมา Frisch-Fay ไม่เป็นเชิงเส้นดังนี้ Lee [9] ได้ศึกษาการโก่งตัวมากของ
[3] ได้ท�ำ การรวบรวมและแสดงตัวอย่างการนำ�วิธอี ลี ปิ ติค- คานปลายยื่นที่ทำ�จากวัสดุไม่เป็นเชิงเส้นภายใต้น้ำ�หนัก
อินทิกรัลในการใช้หาคำ�ตอบของปัญหาโก่งตัวมากของคาน กระจายสม่ำ�เสมอและน้ำ�หนักบรรทุกคงที่กระทำ�ที่ปลาย
ในลักษณะต่างๆ โดยปัญหาการโก่งตัวมากของโครงสร้าง คานโดยวัสดุเป็นแบบลุดวิกซึ่งงานวิจัยยังพบปัญหาของ
ในลักษณะนี้มักเรียกเป็นการเฉพาะว่าปัญหาอีลาสติกคา ความไม่เป็นเชิงเส้นและ รูปทรงเรขาคณิตที่ไม่สามารถหา
แม้วา่ วิธกี ารอีลปิ ติคอินทิกรัลสามารถแก้ปญ ั หาอีลาสติกคา ผลเฉลยในสมการรูปแบบปิดได้ ต่อมา Solano [10] ได้
514 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

นำ�เสนอสมการในรูปแบบปิดโดยวิธีกึ่งวิเคราะห์ (Semi- ลุดวิกมากขึ้น เช่น Saetiew และ Chucheepsakul


Analysis) เพื่ออธิบายพฤติกรรมการโก่งตัวมากของคาน [15,16] ได้ศึกษาพฤติกรรมก่อนและหลังการโก่งเดาะ
ปลายยื่นที่ทำ�จากวัสดุไม่เป็นเชิงเส้นแบบลุดวิกที่รับแรง ของเสาที่ทำ�จากวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก ผลจาก
กระทำ�สม่ำ�เสมอตลอดความยาวและแรงแบบจุดกระทำ� การใช้แบบจำ�ลองวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกทำ�ให้
ที่ปลายคาน Mutyalarao และคณะ [11] วิเคราะห์การ สามารถแสดงสมการสำ�หรับคำ�นวณค่าแรงวิกฤตได้ ใน
แอ่นตัวมากของคานปลายยื่นที่รับแรงแบบจุดกระทำ�ที่ ขณะที่พฤติกรรมหลังการโก่งเดาะได้แสดงให้เห็นถึงความ
ปลายคานโดยแรงทำ�มุมกับการเคลื่อนที่โดยใช้การแก้ มีเสถียรภาพและไร้เสถียรภาพของเสาเมื่อค่าคงที่ของ
ปัญหาด้วยเทคนิคการอินทิเกรตด้วยรุงเง-คุตตา อันดับ วัสดุ n > 1
สี่ Athisakul และคณะ [12] เสนอผลกระทบของความ สำ�หรับปัญหาการโก่งตัวมากของเสาหรือคาน
ไม่เป็นเชิงเส้นของวัสดุแบบลุดวิกที่มีต่อการโก่งตัวมาก ปลายยื่นที่รับแรงดึงรั้งที่ปลายนั้นสามารถนำ�ไปประยุกต์
ของคานที่มีความยาวส่วนโค้งแปรเปลี่ยนได้ภายใต้น้ำ�หนัก ใช้กับงานทางวิศวกรรมได้หลากหลาย ได้แก่ สะพานขึง
ตัวเองกระจายสม่ำ�เสมอตลอดความยาวส่วนโค้ง โดย เสาอากาศ คันเบ็ดตกปลา หรือเครื่องเล่นในสวนสนุก ซึ่ง
นำ�เสนอความสัมพันธ์ระหว่างแรงดึงวิกฤตกับค่าคงที่ของ วัสดุที่ใช้ทำ�โครงสร้างเหล่านี้อาจมีลักษณะไม่เป็นเชิงเส้น
ความไม่เป็นเชิงเส้น โดย Phonok และPhungpaingam [17] ได้ทำ�การศึกษา
ในส่วนของเสา Brojan และคณะ [13] ศึกษา ผลของความไม่เป็นเชิงเส้นของวัสดุที่มีต่อการโก่งตัวมาก
การโก่งเดาะและพฤติกรรมหลังการโก่งเดาะของเสาที่ ของเสาปลายยื่นภายใต้แรงยึดรั้งที่ปลายจากเคเบิลโดยยัง
ทำ�จากวัสดุแบบลุดวิก และพบว่าสมบัติของวัสดุแบบ คงพิจารณาสมบัติของวัสดุให้เป็นแบบลุดวิก แต่เนื่องจาก
ลุดวิก มีข้อบกพร่องในการวิเคราะห์หาค่าแรงดึงวิกฤต แบบจำ�ลองวัสดุที่ใช้ในการคำ�นวณเป็นแบบลุดวิก ดังนั้น
เนือ่ งจากความชันของความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและ จึงเกิดปัญหาในการคำ�นวณค่าแรงดึงวิกฤต ซึ่งปัญหา
ความเครียดของแบบจำ�ลองวัสดุแบบลุดวิกในช่วงเริ่มต้น ดังกล่าวได้รับการแก้ไขในงานวิจัยนี้โดยการนำ�แบบจำ�ลอง
มีค่าเป็นอนันต์และศูนย์เมื่อค่าคงที่ของวัสดุ n > 1 และ วัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกมาร่วมในการคำ�นวณ
n < 1 ตามลำ�ดับ ด้วยเหตุนี้ Jung และ Kang [14] ได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงศึกษาการโก่งตัวมากของคาน
เสนอความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียดของวัสดุ ยื่นที่ทำ�จากวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกภายใต้แรงยึด
ใหม่โดยปรับปรุงสมการของลุดวิก ซึ่งทำ�ให้ปัญหาที่กล่าว รั้งที่ปลายจากเคเบิล โดยรูปที่ 1 แสดงความแตกต่างของ
ข้างต้นได้รบั การแก้ไข และเรียกแบบจำ�ลองวัสดุทไี่ ด้รบั การ ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียดของวัสดุทงั้
ปรับปรุงนี้ว่าแบบจำ�ลองวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก แบบเชิงเส้น แบบไม่เป็นเชิงเส้นตามหลักการลุดวิก และ
ต่อมาพบงานวิจยั ทีใ่ ช้แบบจำ�ลองวัสดุแบบเจนเนอร์รลั ไลซ์- แบบไม่เป็นเชิงเส้นตามหลักการเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 515

Linear Materials
1.0
Ludwick Materials
Generalized Ludwick Materials
0.8 n 1

n 1
0.6

n 1
0.4
n 1

0.2
n 1
0.0
0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียดของวัสดุแบบเชิงเส้น ไม่เป็น


เชิงเส้นแบบลุดวิกและไม่เป็นเชิงเส้นแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก

2. ทฤษฎีและสมการครอบคลุมปัญหา • วัสดุที่ใช้ทำ�คานเป็นเนื้อเดียวกันและมีสมบัติ
รูปที่ 2 แสดงลักษณะปัญหาการโก่งตัวมากของคาน ทางกายภาพเหมือนกันในทุกทิศทางตลอด
ปลายยื่นที่ทำ�จากวัสดุไม่เป็นเชิงเส้นแบบเจนเนอร์รัลไลซ์- ความยาวคาน
ลุดวิก ภายใต้แรงดึงรั้งที่ปลายจากเคเบิล กำ�หนดให้คาน • คานไม่มีการยืดหดตัวตามแนวแกนเมื่อรับแรง
ปลายยื่นมีความยาว la โดยที่คานปลายยื่นทำ�มุม β กับ กระทำ�
สายเคเบิล ปลายด้านหนึ่งของเคเบิลยึดเข้ากับปลายอิสระ • สายเคเบิลมีการยืดหดตัวน้อยมากเมื่อรับแรง
ของคาน (จุด O) ส่วนที่ปลายอีกด้านหนึ่งของเคเบิลจะ • แรงดึงรัง้ จากเคเบิลมีทศิ ทางทำ�มุมกับแนวราบ
ยึดรั้งผ่านจุด B ซึ่งอยู่ต่ำ�จากปลายที่ยึดแน่นของคาน (จุด และผ่านจุดยึดรั้งที่ตำ�แหน่ง B เสมอ
A) เป็นระยะ ha โดยแรงดึง T จากเคเบิลจะมีทิศทาง • การแอ่นตัวของคานปลายยืน่ มีคา่ มากแต่ความ
ผ่านตำ�แหน่งของฐานรองรับเสมอ B โดยสมมติฐาน เครียดที่เกิดขึ้นมีค่าน้อย
และทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องรวมถึงสมการครอบคลุมปัญหาแสดง • ไม่พิจารณาน้ำ�หนักของคานในการวิเคราะห์
รายละเอียดดังต่อไปนี้ • สมบัติของวัสดุไม่เป็นเชิงเส้นเป็นไปตามความ
2.1 สมมติฐาน สัมพันธ์แบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก
การศึกษานี้ได้กำ�หนดสมมติฐานไว้ดังนี้
516 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

la y และความเครียดแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกแสดงได้ดัง
x
สมการต่อไปนี้ [14]
O
A EI nk

ha (1)
T

B เมื่อ σ คือค่าความเค้น
ε คือค่าความเครียด
รูปที่ 2 คานปลายยื่น (Cantilever Beam) ที่ถูกยึดรั้งด้าน
ปลายอิสระด้วยสายเคเบิล (ก่อนเกิดการโก่งตัวมาก) ε0 คือค่าคงที่ของวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก
E คือค่าโมดูลัสของการยืดหยุ่น
จากการพิจารณาผลของการกระจายความเค้น
2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ดัดและความโค้ง
ภายในหน้าตัดคานดังรูปที่ 3 ทำ�ให้ได้ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมการของโมเมนต์ดัดและความโค้งของคาน
โมเมนต์ดัดภายในกับความเค้นที่ตั้งฉากกับหน้าตัดคาน
สามารถสร้างขึ้นจากการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง
ตามสมการที่ (2)
ความเค้นและความเครียดร่วมกับเรขาคณิตของเส้นโค้งใน
ระนาบ โดยงานวิจยั นีใ้ ช้สมบัตขิ องวัสดุไม่เป็นเชิงเส้นแบบ
(2)
เจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างความเค้น

y y
1 1
E ( 0 ) n
0
n
dA

c1 y
M o
o x z
c2

1 1
E ( 0 )n 0
n

รูปที่ 3 การกระจายความเค้นตามแนวแกนของคานซึ่งมีความสัมพันธ์ของวัสดุแบบ
เจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก

ในการศึกษานี้กำ�หนดให้แกนอ้างอิงอยู่ที่ปลาย (3)
คานที่จุด O ดังรูปที่ 2 ดังนั้นเครื่องหมายโมเมนต์ดัดและ
ความโค้งของแกนสะเทินของคานเป็นไปตามรูปที่ 4 จาก เมื่อ ρ คือค่ารัศมีความโค้งของระนาบสะเทินของคาน
เรขาคณิตของเส้นโค้งในระนาบ ค่าความโค้ง (κ) ของเส้น κ คือค่าความโค้งของคาน
โค้งเป็นไปตามสมการต่อไปนี้
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 517

y y
Positive bending Negative bending
moment moment
+M +M -M ( ) -M

( )

Positive curvature Negative curvature


x O x O

รูปที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องหมายของโมเมนต์ดัดภายในคานและเครื่องหมายความ
โค้งของแกน สะเทินของคาน (Curvature)

เนื่องจากความเครียดและความโค้งของคาน เมื่อ M คือโมเมนต์ดัดภายในหน้าตัด ณ ตำ�แหน่งใดๆ


(Curvature) มีความสัมพันธ์กันด้วยสมการ ของความยาวโค้ง s
b คือค่าความกว้างของหน้าตัดคาน
(4) h คือค่าความสูงของหน้าตัดคาน
จากสมการข้างต้น หากพิจารณาวัสดุไม่เป็น
ดังนั้นจากสมการที่ (1)-(4) ทำ�ให้ได้ความ เชิงเส้นแบบลุดวิก โดยไม่พิจารณาค่า ε0 โดยกำ�หนด
สัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ดัดภายในคานกับความโค้งของ ε0 = 0 แทนลงในสมการที่ (6) ทำ�ให้สามารถเขียนความ
คาน สำ�หรับคานทีท่ �ำ จากวัสดุทมี่ สี มบัตไิ ม่เป็นเชิงเส้นแบบ สัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์และความโค้งของคานที่ทำ�จาก
เจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก ตามสมการต่อไปนี้ วัสดุไม่เป็นเชิงเส้นแบบลุดวิก ได้ดังนี้

(5)

เมื่อ แทนค่าความเครียดจากสมการที่ (4) ลงไป (8)
ในสมการที่ (5) สามารถเขียนความสัมพันธ์ของโมเมนต์
ดัดและความโค้งได้ดังนี้ เมื่อ In คือ โมเมนต์ความเฉื่อยของหน้าตัดคานที่มีสมบัติ
แบบลุดวิก โดยที่
(6)
จากสมการที่ (8) ถ้าพิจารณาคานทีม่ พี นื้ ทีห่ น้าตัด
จากสมการที่ (6) ทำ�การอินทิเกรตตลอดพื้นที่ รูปสี่เหลี่ยมฝืนผ้าที่มีความกว้าง b ความสูง h จะได้ค่า
หน้าตัดรูปสี่เหลี่ยมพื้นผ้าทำ�ให้สามารถเขียนความสัมพันธ์ In ดังแสดงในสมการที่ (9)
ระหว่างโมเมนต์และความโค้งของคานทีท่ �ำ จากวัสดุไม่เป็น
เชิงเส้นแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกได้ดังสมการที่ (7) (9)

จากสมการที่ (9) หากพิจารณาสมบัติของวัสดุ


เป็นแบบเชิงเส้น n = 1 จะทำ�ให้ค่า In ลดรูปลงได้ตรงกับ
ค่าโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าดังสมการ
(7) ที่ (10)
518 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

เมื่อนำ�ค่า Ink จากสมการที่ (12) แทนลงไปใน


(10) สมการที่ (11) ทำ�ให้ได้สมการอยู่ในรูปแบบที่กระชับขึ้น
ดังสมการที่ (13)
โดยที่ I0 หมายถึงโมเมนต์ความเฉื่อยของหน้าตัด
คานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีสมบัติแบบเชิงเส้น (13)
เมื่ อ พิ จ ารณากรณี ที่ ส มบั ติ ข องวั ส ดุ เ ป็ น แบบ
เจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ดัด 2.3 สมการครอบคลุมปัญหา
และความโค้งจะมีความยุ่งยากซับซ้อนดังสมการที่ (7) จากรูปที่ 2 คานปลายยื่นมีความยาว la ปลาย
ด้วยเหตุนี้จึงทำ�การจัดรูปโดยทำ�การหาอนุพันธ์นิพจน์ใน ด้านหนึ่งของเคเบิลยึดเข้ากับส่วนปลายอิสระของคานที่
สมการที่ (7) ทั้งสองข้าง จึงได้ความสัมพันธ์ระหว่าง (จุด O) ในขณะที่ปลายอีกด้านหนึ่งของเคเบิลจะยึดรั้ง
อนุพันธ์ของโมเมนต์ดัดและค่าความโค้งดังสมการที่ (11) ผ่านจุดรองรับที่จุด B ซึ่งอยู่ต่ำ�จากปลายที่ยึดแน่นของ
คาน (จุด A) เป็นระยะ ha โดยหน้าตัดคานเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม
ผืนผ้าดังรูปที่ 3
เมื่อคานเกิดการโก่งตัวดังรูปที่ 5 แรงดึงรั้งจาก
เคเบิลจะมีทศิ ทางผ่านตำ�แหน่งของฐานยึดที่ B เสมอ เพือ่
ความสะดวกในการคำ�นวณจะทำ�การกำ�หนดพิกดั อ้างอิงไว้
ที่ตำ�แหน่ง O ดังรูปที่ 5 โดยกำ�หนดให้ θ คือมุมลาดชัน
ที่จุดใดๆ ของคานเทียบกับแกนราบตลอดความยาวของ
(11) ส่วนโค้ง α เป็นมุมที่วัดจากเคเบิลเทียบกับแกนราบ หรือ
ทิศทางของแนวแรงดึงรัง้ จากเคเบิล T ระยะ xa เป็นระยะ
ห่างทางแนวราบวัดจากปลายอิสระไปยังปลายยึดแน่น T
u คือค่าระยะการเคลื่อนที่แนวราบ ya คือระยะการโก่งตัว
ในแนวดิ่ง โดยเทียบกับตำ�แหน่งก่อนเกิดการเสียรูป s คือ
พิกัดของคานตามแนวเส้นโค้ง
จากสมการที่ (11) ทำ�การนิยามพารามิเตอร์ใหม่
Ink สำ�หรับคานหน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีสมบัติของวัสดุ
la
เป็นแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกได้ดังสมการที่ (12)
A y
S v
0
ha x O

T
B
(12) xa u

รูปที่ 5 การโก่งตัวของคานปลายยื่นจากแรงดึงรั้งจากเคเบิล


วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 519
เมื่อพิจารณาสมดุลของโมเมนต์ที่จุด C ของ
ชิ้นส่วนด้านปลายยื่นของคานดังรูปที่ 6 ทำ�ให้ได้สมการ (18)
โมเมนต์ดัดของคานดังสมการที่ (14) ทำ�การหาอนุพันธ์
สมการที่ (14) ทั้งสองข้างทำ�ให้ได้สมการที่ (15) ดังนั้นสมการที่ (3), (16a-b) และ (18) คือชุด
ของระบบสมการครอบคลุมปัญหาของคานปลายยื่นที่มี
(14) สมบัติของวัสดุไม่เป็นเชิงเส้นแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก
ภายใต้แรงดึงรั้งจากเคเบิลด้านปลายอิสระ
(15)
3. ระเบียบวิธีการหาคำ�ตอบเชิงตัวเลข
จากระบบสมการครอบคลุมปัญหาอันได้แก่ สมการที่
x (3), (16a-b), และ (18) เป็นระบบสมการอนุพนั ธ์ทมี่ คี วาม
V ไม่เป็นเชิงเส้น การหาคำ�ตอบเชิงวิเคราะห์ไม่สามารถทำ�ได้
M
y
C
y ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงอาศัยระเบียบวิธีการยิงเป้าในการหา
0 คำ�ตอบ วิธีนี้เป็นวิธีการหาคำ�ตอบเชิงตัวเลขของปัญหา
x O แบบเงื่อนไขขอบเขตซึ่งสามารถให้ผลลัพธ์ที่มีความถูกต้อง
T แม่นยำ� โดยรายละเอียดของระเบียบวิธีการยิงเป้ามีดัง
ต่อไปนี้
รูปที่ 6 แรงกระทำ�ต่อชิ้นส่วนย่อยด้านปลายของคานยื่น 3.1 ตัวแปรไร้มิติ
เพื่อความสะดวกในการหาคำ�ตอบเชิงตัวเลขและ
ความสัมพันธ์ทางเรขาคณิตของเส้นโค้งการแอ่น ลดความผิดพลาดจากการคำ�นวณ จึงทำ�การจัดรูปของ
ตัวมากของคานตามรูปที่ 7 แสดงได้ดังนี้ สมการครอบคลุมปัญหาให้อยู่ในรูปของตัวแปรไร้มิติ โดย
ตัวแปรไร้มิติที่ใช้ในงานวิจัยนี้ได้แก่
(16a-b)

(19a-f)
ds (19g-j)
y
dy

O
(19k-m)
dx x
รูปที่ 7 ชิ้นส่วนย่อยของอีลาสติคา
3.2 สมการครอบคุลมปัญหาในรูปตัวแปรไร้มิติ
นำ�สมการที่ (16a-b) แทนลงไปในสมการที่ (15) สำ�หรับปัญหาคานภายใต้แรงดึงรั้งจากสายเคเบิล
ได้ดังสมการที่ (17) ด้านปลายอิสระสามารถเขียนสมการครอบคลุมให้อยู่ใน
รูปของตัวแปรไร้มิติได้โดยอาศัยสมการที่ (3), (16a-b),
(17) (18) และสมการที่ (19) ซึง่ ทำ�ให้ได้ระบบสมการครอบคุลม
ปัญหาในรูปตัวแปรไร้มิติดังนี้
และถ้านำ� ในสมการที่ (17) ไปแทนลงใน
สมการที่ (13) แล้วทำ�การจัดรูปใหม่ทำ�ให้ได้สมการที่ (18) (20)
520 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

ขอบเขตที่ทราบค่าแน่นอน ซึ่งในที่นี้ใช้เงื่อนไขดังระบุใน
(21) สมการที่ (26) ซึ่งในแต่ละรอบของการคำ�นวณหากมีการ
ตรวจสอบพบว่าค่าของฟังก์ชันทางขวาของสมการที่ (26)
(22) ยังมีค่ามากกว่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ 10-7 จะเกิด
การคำ�นวณซ้ำ�จนกระทั่งได้คำ�ตอบสอดคล้องกับเงื่อนไข
(23)

การหาคำ�ตอบของระบบสมการอนุพันธ์ที่อยู่ใน (26)
รูปของตัวแปรไร้มิติข้างต้นสามารถทำ�ได้โดยใช้ระเบียบวิธี
การยิงเป้า โดยมีเงื่อนไขขอบเขต 2 จุด ณ ตำ�แหน่งปลาย 4. ผลการวิเคราะห์
ทั้งสองข้างของคานดังนี้ 4.1 ตรวจสอบความถูกต้องของผลการวิเคราะห์
เงื่อนไขที่จุดปลายด้านขวา (จุด O); เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่าแบบจำ�ลองทางคณิตศาสตร์
(24a-e) และโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมานั้นมีความถูกต้อง และ
เงื่อนไขที่จุดปลายด้านซ้าย (จุด A); สามารถนำ�มาใช้ในการหาคำ�ตอบเชิงตัวเลขของปัญหาที่
(25a-d) กล่าวมาข้างต้น จำ�เป็นต้องมีการตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นตอนการคำ�นวณเริ่มต้นจากการกำ�หนดค่า ของคำ�ตอบทีไ่ ด้ โดยนำ�ไปเปรียบเทียบกับปัญหาการโก่งตัว
เริ่มต้น ระยะ และกำ�หนดสมบัติของวัสดุ มากของเสาปลายยื่นที่ทำ�จากวัสดุแบบลุดวิกภายใต้แรง
จากนั้นกำ�หนดค่าระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ และ ยึดรั้งที่ปลายเคเบิล ในงานวิจัยของ Phonok และ
กำ�หนดจุดสิ้นสุดในการคำ�นวณ ให้กับสมการอนุพันธ์ โดย Phungpaingam [17]
งานวิจยั นีเ้ ลือกจุดรองรับด้านขวาของคาน (จุด O) เป็นจุด จากตารางที่ 1 และตารางที่ 2 แสดงการเปรียบ
เริม่ ต้น ซึง่ เงือ่ นไขค่าเริม่ ต้นจะประกอบด้วยเงือ่ นไขทีท่ ราบ เทียบผลการวิเคราะห์ปัญหาในกรณีวัสดุแบบเชิงเส้นและ
ค่าแน่นอนตามเงื่อนไขขอบเขตดังสมการที่ (24a-c,e) ไม่เป็นเชิงเส้นแบบลุดวิกระหว่างงานวิจยั นีก้ บั งานวิจยั ของ
และ (25a,d) โดยมีเป้าเพื่อหาค่าตัวแปรที่ต้องการ ได้แก่ Phonok และ Phungpaingam [17] ซึ่งผลที่ได้มีค่า
ตลอดความยาวของคานยื่น แต่ขั้นตอนการ ใกล้เคียงกันมาก โดยมีค่าความคลาดเคลื่อนของแรงดึง
คำ�นวณจำ�เป็นต้องทำ�การสุ่มค่า เพื่อใช้เป็นค่า ในเคเบิล = 0.0001% มุม α = 0.0001% และ
เริ่มต้นในกระบวนการคำ�นวณด้วยวิธีการยิงเป้าร่วมกับ มุม = 0.0002% แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมที่ถูกพัฒนา
วิธีอินทิเกรตด้วยวิธีรุงเง-คุตตาอันดับสี่จากปลายด้านขวา ขึ้นมานั้นมีความถูกต้องแม่นยำ�เพียงพอสำ�หรับกรณีวัสดุที่
กลับมาด้านซ้ายของคาน โดยการตรวจสอบความถูกต้อง เป็นเชิงเส้นและไม่เป็นเชิงเส้นแบบลุดวิก
ของผลการคำ�นวณนั้น ได้ทำ�การเปรียบเทียบกับเงื่อนไข
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 521
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบแรงดึงรั้งจากเคเบิล มุม α และมุม
กรณีวัสดุแบบเชิงเส้น n = 1 = 0 กับงานวิจัยของ Phonok และ
Phungpaingam [17]
T 0

u
[17] งานวิจัยนี้ [17] งานวิจัยนี้ [17] งานวิจัยนี้
0.01 9.88613 9.88615 -0.1157 -0.1157 0.2313 0.2313
0.10 10.04173 10.04173 -0.3712 -0.3712 0.7425 0.7425
0.20 10.23113 10.23113 -0.5345 -0.5345 1.0689 1.0689
0.30 10.44157 10.44157 -0.6674 -0.6674 1.3347 1.3347
0.40 10.67820 10.67820 -0.7871 -0.7871 1.5743 1.5743
0.50 10.94841 10.94840 -0.9010 -0.9010 1.8021 1.8021
0.60 11.26328 11.26327 -1.0136 -1.0137 2.0273 2.0273
0.70 11.64075 11.64074 -1.1290 -1.1290 2.2581 2.2581
0.80 12.11298 12.11298 -1.2522 -1.2522 2.5045 2.5045
0.90 12.74827 12.74826 -1.3919 -1.3919 2.7837 2.7838
0.99 13.61848 13.61847 -1.5495 -1.5495 3.0990 3.0990

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบแรงดึงรั้งจากเคเบิล มุม α และมุม


กรณีวัสดุแบบไม่เป็นเชิงเส้น n = 2 = 0 กับงานวิจัยของ Phonok
และ Phungpaingam [17]
T 0

u
[17] งานวิจัยนี้ [17] งานวิจัยนี้ [17] งานวิจัยนี้
0.01 184.78534 185.00436 -0.1120 -0.1120 0.2240 0.2240
0.10 104.74725 104.83242 -0.3596 -0.3596 0.7192 0.7191
0.20 88.93218 89.01847 -0.5179 -0.5178 1.0358 1.0357
0.30 81.20926 81.25822 -0.6470 -0.6470 1.2940 1.2940
0.40 76.45925 76.49171 -0.7637 -0.7636 1.5273 1.5273
0.50 73.26329 73.28491 -0.8749 -0.8749 1.7499 1.7499
0.60 71.05663 71.07183 -0.9855 -0.9855 1.9710 1.9710
0.70 69.59024 69.60110 -1.0997 -1.0997 2.1994 2.1994
0.80 68.78973 68.79874 -1.2232 -1.2232 2.4465 2.4465
0.90 68.77557 68.78527 -1.3673 -1.3673 2.7346 2.7346
0.99 70.04426 70.05373 -1.5441 -1.5441 3.0881 3.0882
522 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

งานวิจัยนี้ได้แสดงการเปรียบเทียบค่าแรงวิกฤต ของวัสดุ n = 1 ผลของแรงดึงวิกฤต จะมีค่าเข้าใกล้


ของคานที่มีสมบัติของวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิก ดัง ค่า π2 ซึ่งใกล้เคียงกับค่าแรงวิกฤตของเสาที่มีจุดรองรับ
ตารางที่ 3 พบว่า เมื่อกำ�หนดให้ค่า = 0 ซึ่งเป็นกรณี แบบยึดหมุนทั้งสองด้าน และในกรณีที่กำ�หนดให้ค่าคงที่
ที่แรงดึงรั้งของสายเคเบิลผ่านจุดรองรับแบบยึดแน่นเสมอ n = 1.25 และ ε = 0.001 พบว่าค่าแรงดึงวิกฤต จะ
ทำ�ให้ปัญหานี้มีลักษณะใกล้เคียงกับปัญหาเสารับแรงอัดที่ มีค่า 31.475 ซึ่งผลที่ได้สอดคล้องกับคำ�ตอบเชิงวิเคราะห์
มีจุดรองรับแบบยึดหมุนทั้งสองด้าน เมื่อพิจารณาค่าคงที่ ที่ได้จากงานวิจัยของ Saetiew และ Chucheepsakul
ของวัสดุที่ n = 0.9 และ ε = 0.001 จะได้ค่าแรงวิกฤต [15] ตามสมการที่ (27)
เท่ากับ 5.177 และถ้าให้ค่าคงที่ของวัสดุ n น้อยมากๆ
ผลของแรงดึงวิกฤต จะมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ส่วนที่ค่าคงที่ (27)

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการคำ�นวณหาค่าแรงวิกฤตของคานทีม่ สี มบัตขิ องวัสดุแบบ


เจนเนอร์รลั ไลซ์ลดุ วิกกับงานวิจยั ของ Saetiew และ Chucheepsakul [15]

0 n Tcr [15] Tcr งานวิจัยนี้ % ความแตกตาง


0.9 5.090072 5.177373 1.715123
0.001 1 9.869604 9.871305 0.017231
1.25 31.433282 31.47537 0.133895

4.2 การโก่งตัวมากของคานยื่นที่ทำ�จากวัสดุไม่เป็น ลดลงอย่างรวดเร็ว โดยเมื่อแรงดึงรั้งจากเคเบิลลดลงถึง


เชิงเส้นแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกภายใต้แรงยึดรั้งที่ ค่าหนึง่ แล้วจากนัน้ จะค่อยๆปรับค่าเพิม่ ขึน้ จนถึงตำ�แหน่งที่
ปลายจากเคเบิล คานเกิดการโก่งตัวสูงสุด ผลของการลดลงและเพิม่ ขึน้ ของ
หั ว ข้ อ นี้ นำ � เสนอผลการวิ เ คราะห์ ปั ญ หาการ แรงดึงในเคเบิลในกรณีที่ n > 1 เป็นผลมาจากสองส่วน
โก่ ง ตั ว มากของคานที่ ทำ� จากวั ส ดุ ไ ม่ เ ป็ น เชิ ง เส้ น แบบ ด้วยกันคือ 1) ผลจากความชันของความสัมพันธ์ระหว่าง
เจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกภายใต้แรงดึงรั้งที่ปลายจากเคเบิล ความเค้นและความเครียด และ 2) ผลจากการโก่งตัวของ
โดยสำ�หรับงานวิจัยนี้กำ�หนดให้ขนาดของหน้าตัดคาน เสา โดยที่ความชันของความสัมพันธ์ระหว่างความเค้น
มีค่าดังต่อไปนี้ และความเครียดจะมีค่าลดลงอย่างมากในช่วงแรก (รูป
ค่าความกว้างของหน้าตัดคาน = 0.075 ที่ 1) ซึ่งมีผลทำ�ให้สติฟเนสของเสาลดลงตามไปด้วย
ค่าความสูงของหน้าตัดคาน = 0.1 ในขณะที่ผลจากการโก่งตัวของเสามีผลทำ�ให้สติฟเนสของ
รูปที่ 8 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้ง เสาเพิ่มขึ้น ดังนั้นในช่วงเริ่มแรกของการดึงเคเบิล ผล
จากเคเบิล กับระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ ที่ระยะ ของการลดลงอย่างมากของความชันของความสัมพันธ์
ซึ่งการโก่งตัวของคานภายใต้แรงลักษณะนี้มีรูปแบบคล้าย ระหว่างความเค้นและความเครียดมีอิทธิพลเหนือกว่าการ
กับเสาที่มีปลายทั้งสองด้านเป็นจุดยึดหมุนและมีแรงอัด เพิ่มขึ้นของสติฟเนสของเสาอันเนื่องมาจากการโก่งตัวเป็น
กระทำ�ที่ปลายคาน ทั้งนี้เนื่องจากทิศทางของแรงดึงรั้ง ผลให้แรงดึงของเคเบิลลดลงในช่วงแรก จนกระทั่งผลของ
จากเคเบิลให้รูปร่างการโก่งตัวโดยผ่านจุดยึดรั้งเสมอ ซึ่ง การเพิ่มขึ้นของสติฟเนสของเสาอันเนื่องมาจากการโก่งตัว
จุดยึดรั้งในกรณีนี้อยู่ตำ�แหน่งเดียวกับจุดยึดแน่นของคาน มากมีอทิ ธิพลมากกว่าในช่วงหลังจึงเป็นสาเหตุให้แรงดึงใน
สำ�หรับกรณีที่ค่าคงที่ของวัสดุ n = 1 และ n < 1 ค่า เคเบิลเพิ่มขึ้น และถ้าสังเกตที่ระยะการเคลื่อนที่ เดียวกัน
ระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ เพิ่มขึ้นตามค่าแรงดึงรั้ง เมื่อค่าคงที่ของวัสดุ n มากขึ้นจะทำ�ให้ค่าแรงดึงรั้งจาก
จากเคเบิลที่เพิ่มขึ้น ส่วนกรณีที่ค่าคงที่ของวัสดุ n > 1 เคเบิลเพิ่มขึ้นด้วย
เมื่อคานเกิดการโก่งตัวแล้วแรงดึงรั้งจากเคเบิลยังคง
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 523

Linear elastic material ha 0


ha 0
40 Generalized Ludwick - type material A
v
0 0.001 T
xa u

30
T 25.861
T 24.035 T 23.468 T 23.657
T
n 1.50
20

n 1.25
n 1.0
10 n 0.9
n 0.8 Section
b 0.075
h 0.1
0
0.2 0.4 0.6 0.8 1.0
u
รูปที่ 8 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่าระยะการ
เคลื่อนที่ ที่ระยะ = 0 ค่าคงที่ของวัสดุ n = 0.8,0.9,1,1.25,1.5
และค่าคงที่ = 0.001

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล เริ่มเข้าใกล้กับปลายด้านยึดแน่นของคานส่งผลให้แรง
กับระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ ที่ระยะ = 0.5 ดึงรั้งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และสังเกตที่ระยะการเคลื่อนที่
ดังรูปที่ 9 เมื่อให้ระยะ เพิ่มขึ้นค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล เดียวกัน พบว่าค่าคงที่ของวัสดุ n ที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้แรง
มีค่าเพิ่มขึ้น จนกระทั่งคานเริ่มโก่งตัวมากจนปลายอิสระ ดึงรั้งจากเคเบิลเพิ่มขึ้นด้วย

25
ha 0.5 Linear elastic material
0.001
Generalized Ludwick - type material
0
20
Section
b 0.075
h 0.1
15
n 1.50
T
10 n 1.25

n 1
5
n 0.9
n 0.8
0
0.2 0.4 0.6 0.8 1.0
u
รูปที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่าระยะการ
เคลื่อนที่ ที่ระยะ = 0 ค่าคงที่ของวัสดุ n = 0.8,0.9,1,1.25,1.5
และค่าคงที่ = 0.001
524 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

พิจารณาผลกระทบของค่าคงที่ ที่มีต่อความ มากขึน้ ส่งผลทำ�ให้แรงดึงรัง้ จากเคเบิล เพิม่ มากขึน้ และ


สัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่าระยะการ ระยะการเคลื่อนที่ ที่มากขึ้นก็ส่งผลให้แรงดึงรั้งจากเคเบิล
เคลื่อนที่ในแนวราบ สำ�หรับค่าคงที่ของวัสดุ n < 1 เพิ่มขึ้นเช่นกัน
ดังแสดงในรูปที่ 10(ก) และ 10(ข) พบว่าเมือ่ ค่าคงที ่ เพิม่

Section 11
ha 0 Section
ha 0
8 b 0.075 b 0.075
n 0.80 h 0.1 10
n 0.90 h 0.1
7

9
T 6
T
8
5 0.003
0
0 0.003
0.002 7
0
0 0.002
4
0.001
0
0 0.001
6
0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 0.0 .2 .4 .6 .8 1.0
u u
(ก) (ข)
รูปที่ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรัง้ จากเคเบิล กับค่าระยะการเคลือ่ นที่ ทีร่ ะยะ = 0 ทีค่ า่ คงที่ = 0.001
(ก) ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8 (ข) ค่าคงที่วัสดุ n = 0.9

สำ�หรับค่าคงที่ของวัสดุ n > 1 เมื่อพิจารณาผล เมื่อคานเกิดการโก่งตัวแล้วแรงดึงรั้งจากเคเบิลยังลดลง


กระทบของค่าคงที่ ที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรง อย่างรวดเร็ว โดยแรงดึงรั้งจากเคเบิลจะยังลดลงจนถึงค่า
ดึงรั้งจากเคเบิล กับค่าระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ ค่าหนึ่งจากนั้นเริ่มค่อยๆ ปรับค่าเพิ่มขึ้นจนถึงตำ�แหน่งที่
ดังแสดงในรูปที่ 11(ก) และ 11(ข) พบว่าเมื่อค่าคงที่ คานเกิดการโก่งตัวสูงสุด
เพิ่มมากขึ้นทำ�ให้แรงดึงรั้งจากเคเบิล ลดลง และ

Section 38 Section
ha 0 ha 0
22 b 0.075 36 b 0.075
n 1.25 n 1.5 h 0.1
h 0.1
21 34

0 0.001 32 0 0.001
20
0.002 T 30 0.002
T 0 0

19 0 0.003 28
0.003
0

26
18
24

17 22
0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0
u u
(ก) (ข)
รูปที่ 11 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่าระยะการเคลื่อนที่ ที่ระยะ = 0 ที่ค่าคงที่
= 0.001-0.003
(ก) ค่าคงที่วัสดุ n = 1.25 (ข) ค่าคงที่วัสดุ n = 1.5
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 525
จากรูปที่ 12(ก) ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรัง้ จนมุม เข้าใกล้ค่า π ในขณะที่ค่าคงที่ของวัสดุ n < 1
จากเคเบิล กับค่ามุม ที่ระยะ = 0 ซึ่งแรงดึงรั้ง เมื่อคานเริ่มมีการโก่งตัวแรงดึงรั้งจากเคเบิล จะค่อยๆ
ผ่านจุดยึดแน่นของคานเสมอ ที่ค่าคงคงที่ของวัสดุ n > 1 เพิ่มขึ้นจนถึงค่าแรงดึงรั้งสูงสุดที่มุม เข้าใกล้ค่า π จาก
เมื่อค่ามุม เพิ่มมากขึ้น แรงดึงรั้งจากเคเบิลจะลดลงไป รูปที่ 12(ข) ที่ระยะ = 0.5 ทุกค่าคงที่ของวัสดุ n เมื่อ
เรือ่ ยๆ จนถึงค่าหนึง่ ทีเ่ ป็นจุดต่�ำ สุด และถ้ามุม เพิม่ ขึน้ ไป คานเริ่มมีการโก่งตัวค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล มีจะค่าเพิ่ม
เรือ่ ยๆ พบว่าแรงดึงรัง้ จากเคเบิลเริม่ ค่อยๆ ปรับค่าเพิม่ ขึน้ ขึ้น และมีค่าสูงสุดเมื่อมุม เข้าใกล้ค่า π
30
ha 0 Linear elastic material Section Section
ha 0.5
Generalized Ludwick-type material b 0.075 b 0.075
40
0 0.001 h 0.1
25
0 0.001 h 0.1
n 1.50
20
30
n 1.25
n 1.50
T T 15 n 1
20
n 1.25 n 0.9
10
n 0.8
n 1
10 n 0.90 5
n 0.80

0
0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0
0 0

(ก) (ข)
รูปที่ 12 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่ามุม ที่ค่าคงที่ของวัสดุ n = 0.8,0.9,1,1.25,1.5 และ
ค่าคงที่ ε = 0.001
(ก) ระยะ = 0 (ข) ระยะ = 0.5

พิจารณาผลกระทบของค่าคงที่ ที่มีต่อความ มีลักษณะที่ขนานกัน ส่วนรูปที่ 13(ข) ที่ระยะ = 0.5


สัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่ามุม ที่ เมื่อค่าคงที่ เพิ่มขึ้นส่งผลให้แรงดึงรั้งจากเคเบิลและมุม
ระยะ = 0 ดังรูปที่ 13(ก) เมื่อค่าคงที่ เพิ่มขึ้น ส่งผล เพิ่มขึ้น ดั้งนั้นเมื่อให้ระยะ เพิ่มขึ้นผลกระทบของค่า
ให้แรงดึงรั้งจากเคเบิลและมุม เพิ่มขึ้น โดยเส้นกราฟ คงที่ ส่งผลน้อยกว่า

ha 0 ha 0.5
8 0.003 6
n 0.8 0
n 0.8
7 0 0.002 5 0 0.003

0 0.001 4 0 0.002
T 6 T 0 0.001
3
5
2
Section Section
4 b 0.075 b 0.075
1
h 0.1 h 0.1
0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0
0 0

(ก) (ข)
รูปที่ 13 ผลกระทบของค่าคงที่ ตั้งแต่ 0.001-0.003 ที่ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8
(ก) ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่ามุม ที่ระยะ = 0
(ข) ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่ามุม ที่ระยะ = 0.5
526 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

พิจารณาผลกระทบของค่าคงที่ ที่มีต่อความ สูงสุดมีค่าเข้าใกล้ค่า π ส่วนรูปที่ 14(ข) ที่ระยะ = 0.5


สัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่ามุม ที่ เมื่อค่าคงที่ เพิ่มขึ้นส่งผลให้แรงดึงรั้งจากเคเบิลลดลง
ระยะ = 0 ดังรูปที่ 14(ก) เมื่อค่าคงที่ เพิ่มขึ้น ทำ�ให้ เช่นกัน ดั้งนั้นเมื่อให้ระยะ เพิ่มขึ้นผลกระทบของค่า
แรงดึงรั้งจากเคเบิลลดลง ส่วนค่ามุมที่คานเกิดการโก่งตัว คงที่ ส่งผลน้อยกว่า
23 16
Section
ha 0 0 0.001
22 b 0.075 14
n 1.25 h 0.1 0.002
12
0 ha 0.50
21 0.003
0.001 0 n 1.25
0
10
T 20
0 0.002 T
8

19 0 0.003
6
Section
18 4 b 0.075
h 0.1
2
17
0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0
0 0

(ก) (ข)
รูปที่ 14 ผลกระทบของค่าคงที่ ตั้งแต่ 0.001-0.003 ที่ค่าคงที่วัสดุ n = 1.25
(ก) ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่ามุม ที่ระยะ = 0
(ข) ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่ามุม ที่ระยะ = 0.5

รูปที่ 15(ก) ความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางของ ที่กำ�หนดให้ระยะ = 0.5 ดังรูปที่ 15(ข) พบว่าเมื่อมุม


แนวแรง α กับค่ามุม ที่ระยะ = 0 เมื่อให้แรงดึง เพิ่มขึ้นทิศทางของแนว α มีผลเพิ่มขึ้นในทิศทางตรงกัน
รั้งจากเคเบิล เพิ่มขึ้น พบว่ามุม จะมีค่าเป็น 2 เท่า ข้ามเช่นกัน แต่กรณีนี้ค่าคงที่ของวัสดุ n จะมีผลกระทบ
ของทิศทางของแนวแรง α เสมอ โดยสามารถพิสูจน์ได้ ต่อทิศทางของแนวแรง α กับค่ามุม
จากเงือ่ นไขทางเรขาคณิตของเส้นโค้งการโก่งตัว ส่วนกรณี

0.0 0.5 1.0 1.5 0 2.0 2.5 3.0 0.0 0.5 1.0 1.5 0 2.0 2.5 3.0 3.5
0.0 0.6

-0.2
ha 0 0.4 ha 0.5
0 0.001 0.2
0 0.001
-0.4
0.0
n 0.8
-0.6
-0.2 n 0.9
-0.8 -0.4
n 1

-1.0 -0.6
-0.8
-1.2 n 1.25
-1.0
-1.4 Section Section n 1.5
-1.2
b 0.075 b 0.075
-1.6 -1.4
h 0.1 h 0.1
-1.8 -1.6

(ก) (ข)
รูปที่ 15 ทิศทางของแนวแรง α กับค่ามุม ที่ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8,0.9,1,1.25,1.5 และค่าคงที่ = 0.001
(ก) ระยะ = 0 (ข) ระยะ = 0.5
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 527
จากรูปที่ 16(ก) ความสัมพันธ์ระหว่างทิศทาง มาก และจากรูปที่ 16(ข) ให้ระยะ = 0.5 พบว่าทิศทาง
ของแรง α กับค่าระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ ที่ระยะ ของแนวแรงเป็นได้ทงั้ ค่าบวกและค่าลบ ขึน้ อยูก่ บั ตำ�แหน่ง
= 0 พบว่าทิศทางของแนวแรง α เพิ่มขึ้น เมื่อระยะ แรงดึงรัง้ จากเคเบิล และ ณ ตำ�แหน่งทีค่ านเกิดการโก่งตัว
การเคลื่อนที่ มากขึ้น และ ณ ตำ�แหน่งที่คานเกิดการ สูงสุด ทิศทางของแนวแรง α จะมีแนวโน้มเข้าใกล้ค่า
โก่งตัวสูงสุด ทิศทางของแนวแรง α จะมีแนวโน้มเข้าใกล้ -π / 2 โดยผลกระทบของค่าคงที่ของวัสดุ n มีผลน้อยมาก
ค่า -π / 2 โดยผลกระทบของค่าคงที่ของวัสดุ n มีผลน้อย
u u
0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
0.0
0.4
ha 0 ha 0.5
-0.2 0.2
0.001 0 0.001
0 0.0
-0.4
-0.2
-0.6
-0.4
-0.8 -0.6

-1.0 -0.8

-1.0
-1.2 Section Section
-1.2
-1.4
b 0.075 b 0.075
-1.4
h 0.1 h 0.1
-1.6 -1.6

(ก) (ข)
รูปที่ 16 ทิศทางของแนวแรง α กับค่าระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ ที่ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8,0.9,1,1.25,1.5 และค่า
คงที่ = 0.001
(ก) ระยะ = 0 (ข) ระยะ = 0.5

ความสัมพันธ์ระหว่างมุม กับระยะการเคลือ่ นที่ ค่ามุม เพิ่มขึ้น และ ณ ตำ�แหน่งที่คานเกิดการโก่งตัว


ในแนวราบ ดังรูปที่ 17(ก) ให้ระยะ = 0 และ รูปที่ สูงสุดมุม มีค่าเข้าใกล้ค่า π และยังพบว่าถ้าค่าคงที่ของ
17(ข) ให้ระยะ = 0.5 พบว่าเมื่อให้ระยะการเคลื่อนที่ วัสดุ n เพิ่มขึ้นส่งผลให้ค่ามุม ลดลงตามลำ�ดับ
ในแนวราบ เพิ่มขึ้นหรือคานเริ่มมีการโก่งตัว ส่งผลให้

3.0 Section 3.0 Section


ha = 0 ha = 0.5
b = 0.075 b = 0.075
ε 0 = 0.001 h = 0.1 ε 0 = 0.001
2.5 2.5 h = 0.1

2.0 2.0

n = 0.8 n = 0.8
θ 0 1.5 θ 0 1.5
n = 0.9 n = 0.9
1.0
n =1 1.0 n =1
n = 1.25
n = 1.25
0.5
n = 1.5 0.5
n = 1.5

0.0 0.0
0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0
u u
(ก) (ข)
รูปที่ 17 ความสัมพันธ์ระหว่างค่ามุม กับค่าระยะการเคลื่อนในแนวราบ ที่ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8,0.9,1,1.25,1.5
และค่าคงที่ = 0.001
(ก) ระยะ = 0 (ข) ระยะ = 0.5
528 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

ผลของการเปลี่ยนแปลงระยะ ส่งผลต่อความ = 0.5,1,1.5 ถ้าพิจารณาที่ระยะ > 0 เมื่อการ


สัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล กับค่าระยะ เคลื่อนที่ เพิ่มขึ้นแรงดึงรั้งจากเคเบิลจะค่อยๆ ปรับค่า
การเคลื่อนที่ในแนวราบ ดังรูปที่ 18(ก) และ 18(ข) เพิ่มขึ้น และ ณ ตำ�แหน่งที่คานเกิดการโก่งตัวสูงสุด ระยะ
แสดงให้เห็นว่าในช่วงแรกที่คานเริ่มมีการเคลื่อนที่ในแนว มากกว่าจะต้องการแรงดึงรั้งที่ปลายสูงกว่าเมื่อต้องการ
ราบ = 0 มีค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิล มากกว่าระยะ ให้ระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ เดียวกัน
45
25 Section Section
0 0.001 40 0 0.001
b 0.075 ha 1.5 b 0.075
n 0.8 35 n 1.25 h 0.1 ha 1.5
20 h 0.1
30

15 25 ha 1
T T ha 0
ha 1 20
10
15
ha 0
10
5
ha 0.5
ha 0.5 5

0.2 0.4 0.6 0.8 1.0


u 0.2 0.4
u 0.6 0.8 1.0

(ก) (ข)
รูปที่ 18 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดึงในเคเบิล กับค่าระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ ที่ระยะ = 0,0.5,1,1.5
และค่าคงที่ = 0.001
(ก) ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8 (ข) ค่าคงที่วัสดุ n = 1.25

เมื่อพิจารณาระยะการโก่งตัวมากของคานปลาย จากเคเบิลจะน้อยกว่าที่ระยะ = 0 ในทำ�นองเดียวกัน


ยื่นภายใต้แรงดึงรั้งจากเคเบิล ดังรูปที่ 19(ก) และ 19 เมื่อกำ�หนดค่าคงที่ของวัสดุ n = 1.5 ดังรูปที่ 19(ค)
(ข) พบว่าที่ระยะ ปลายคานมีระยะการเคลื่อนที่ในแนว และ 19(ง) ที่ระยะ = 0, 0.5 ตามลำ�ดับ พบว่า
ดิ่ง มากกว่าที่ระยะ = 0 และผลของระยะ ยังส่ง ที่ระยะ = 0.5 ปลายคานมีระยะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
ผลต่อแรงดึงรั้งของเคเบิลโดยที่ระยะ = 0.5 แรงดึงรั้ง มากกว่าที่ระยะ = 0 เช่นกัน
xa xa
0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
0.0 0.0
ha 0
-0.1 A
-0.1 ha 0.5 A
v
v
T T
-0.2 -0.2 xa u
xa u
-0.3 0.1 u -0.3 u 0.1
T 0.917
-0.4 u 0.99 T 4.426 -0.4
T 8.356 u 0.2 u 0.99
v -0.5 T 4.490 v -0.5 T 6.877
u 0.2
u 0.9 u 0.3 T 1.334
-0.6 T 7.651 u 0.4 T 5.272 -0.6 u 0.9 u 0.3
u 0.8 T 4.676 T 1.682
u 0.5 T 5.606
-0.7 T 7.097 u 0.7 u 0.6 -0.7 u 0.8
u 0.4
T 6.658 T 6.279 T 5.936 T 3.749 u 0.5 T 2.012
-0.8 -0.8 u 0.7 u 0.6 T 2.351
ha 0 ha 0.5
T 3.165 T 2.723
-0.9 0 0.001 -0.9 0 0.001
n 0.8 n 0.8
-1.0 -1.0

(ก) (ข)
xa xa
0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
0.0 0.0
ha 0
-0.1 A
-0.1 ha 0.5 A
v
v
T T
-0.2 -0.2 xa u
xa u
-0.3 -0.3 u 0.1
u 0.99 u 0.1
T 6.346
u 0.8 u 0.4 T 4.676
u 0.5 T 5.606 T 1.682
-0.7 T 7.097 u 0.7 u 0.6 -0.7 u 0.8
u 0.4
T 6.658 T 6.279 T 5.936 T 3.749 u 0.5 T 2.012
-0.8 -0.8 u 0.7 u 0.6 T 2.351
ha 0 ha 0.5
T 3.165 T 2.723
-0.9 0 0.001 -0.9 0 0.001
n 0.8 n 0.8
-1.0
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบั-1.0บที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 529
xa xa
0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
0.0 0.0
ha 0
-0.1 A
-0.1 ha 0.5 A
v
v
T T
-0.2 -0.2 xa u
xa u
-0.3 -0.3 u 0.1
u 0.99 0.1 u
T 6.346
T 25.016 T 28.224
-0.4 -0.4 u 0.99
u 0.2 u 0.2
v -0.5 u 0.9 v -0.5 T 20.790
T 25.861 T 7.717
T 24.121 u 0.3
-0.6 u 0.8 -0.6 u 0.9 u 0.3
u 0.4 T 24.703 T 16.400
T 23.657 u 0.7 u 0.6 u 0.5 T 24.035 T 8.714
-0.7 T 23.466 T 23.468 T 23.649 -0.7 u 0.4
u 0.8 u 0.5 T 9.605
-0.8 ha 0 -0.8 T 14.150 u 0.7 u 0.6 T 10.497 ha 0.5
T 12.638 T 11.475
-0.9 0 0.001 -0.9 0 0.001
n 1.5 n 1.5
-1.0 -1.0

(ค) (ง)
รูปที่ 19 ระยะการโก่งตัวมากของคานยื่นภายใต้แรงดึงรั้งจากเคเบิล ที่ค่าคงที่ = 0.001
(ก) ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8 และระยะ = 0 (ข) ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8 และระยะ = 0.5
(ค) ค่าคงที่วัสดุ n = 1.5 และระยะ = 0 (ง) ค่าคงที่วัสดุ n = 1.5 และระยะ = 0.5

รูปที่ 20(ก) และ 20(ข) แสดงระยะการโก่งตัว ส่งผลต่อระยะการโก่งตัวในแนวดิ่ง ที่เพิ่มขึ้นด้วย เมื่อ


มากของคานเมื่อกำ�หนดให้ค่าคงที่ของวัสดุ n = 0.8,1.5 พิจารณาระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ เดียวกัน
ตามลำ�ดับ จากรูปทั้งสองพบว่าเมื่อให้ระยะ เพิ่มขึ้น
xa xa
0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
0.0 0.0
A A
-0.1 v -0.1 v
ha ha
n 0.8 T n 1.5 T
-0.2 -0.2
0.001 xa u 0.001 xa u
0 0
-0.3 -0.3
-0.4 -0.4
u 0.1 u 0.1
v -0.5 v -0.5
-0.6 u 0.3 -0.6 u 0.3
-0.7 ha 0 -0.7 ha 0
u 0.5 u 0.5
-0.8 ha 0.5 -0.8 ha 0.5
u 0.9 u 0.7 u 0.9 u 0.7
ha 1 ha 1
-0.9 -0.9
ha 1.5 ha 1.5
-1.0 -1.0

(ก) (ข)
รูปที่ 20 ระยะการโก่งตัวมากของคานยื่นภายใต้แรงดึงรั้งจากเคเบิล ที่ระยะ = 0,0.5,1,1.5 และค่าคงที่ = 0.001
(ก) ค่าคงที่วัสดุ n = 0.8 (ข) ค่าคงที่วัสดุ n = 1.5

เมื่อพิจารณาระยะการโก่งตัวมากของคานปลาย ตามแกน ที่มากกว่าค่าคงที่ของวัสดุ n < 1 แสดงว่า


ยื่นภายใต้แรงดึงรั้งจากเคเบิล ดังรูปที่ 21(ก)-(ง) พบว่า เมื่อระยะการเคลื่อนที่ในแนวราบ เพิ่มมากขึ้น ผลของ
กรณีที่ระยะ < 1 ค่าคงที่ของวัสดุ n > 1 มีการโก่งตัว การเปลี่ยนแปลงค่าคงที่ของวัสดุ n ส่งผลต่อระยะการโก่ง
ตามแนว ที่น้อยกว่าค่าคงที่ของวัสดุที่ n < 1 ส่วนกรณี ตัวของคานอย่างเด่นชัด
ระยะ > 1 ค่าคงที่ของวัสดุที่ n > 1 มีการโก่งตัว
530 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

xa xa
0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
0.0 0.0
ha 0
-0.1 n 0.8 A
-0.1 n 0.8 ha 0.5 A
v
v
n 1.0 T n 1.0 T
-0.2 -0.2 xa u
n 1.5 xa u n 1.5
-0.3 u 0.1 -0.3 u 0.1
-0.4 -0.4
u 0.9
v -0.5 v -0.5
u 0.3
-0.6 -0.6 u 0.3
u 0.7 u 0.5
-0.7 -0.7 u 0.5
u 0.9
-0.8 -0.8 u 0.7
ha 0 ha 0.5
-0.9 0.001 -0.9 0.001
0 0

-1.0 -1.0

(ก) (ข)

xa xa
0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
0.0 0.0
A
-0.1 A
v -0.1 v
n 0.8 ha 1.0 ha 1.5
T T
-0.2 n 1.0 xa u -0.2
n 1.5 xa u
-0.3 -0.3
u 0.1 u 0.1
-0.4 -0.4
v -0.5 v -0.5
n 0.8
-0.6 u 0.3 -0.6 u 0.3
n 1.0
-0.7 -0.7 n 1.5
u 0.5 u 0.5
-0.8 u 0.7 -0.8
ha 1.0 u 0.7 ha 1.5
u 0.9
-0.9 0.001 -0.9 u 0.9 0.001
0 0

-1.0 -1.0

(ค) (ง)
รูปที่ 21 ระยะการโก่งตัวมากของคานปลายยื่นภายใต้แรงดึงรั้งจากเคเบิล ที่ค่าคงที่ของวัสดุ n = 0.8,1,1.5 และค่าคงที่
= 0.001
(ก) ระยะ = 0 (ข) ระยะ = 0.5
(ค) ระยะ = 1 (ง) ระยะ = 1.5

5. บทสรุป เคลื่อนที่ในแนวราบค่าเดียวกัน พบว่าเมื่อค่า n สูงขึ้น


งานวิจัยนี้วิเคราะห์พฤติกรรมการโก่งตัวมากของคาน ค่าแรงดึงรั้งในเคเบิลจะมีค่าสูงขึ้น ในทางกลับกันหากค่า
ที่ทำ�จากวัสดุแบบเจนเนอร์รัลไลซ์ลุดวิกภายใต้แรงดึงรั้งที่ มีค่าเพิ่มขึ้นค่าแรงดึงรั้งจากเคเบิลจะมีค่าลดลง ส่วน
ปลายจากเคเบิล โดยใช้ระเบียบวิธยี งิ เป้าร่วมกับเทคนิคการ ระยะยึดเคเบิล ที่มากขึ้น ส่งผลต่อระยะการโก่งตัวของ
อินทิเกรตเชิงตัวเลข รุงเง-คุตตา อันดับสี่ และเงื่อนไข คานที่เพิ่มขึ้นเช่นกัน
ขอบเขตที่เหมาะสม จากผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้
ระยะจากปลายยึดแน่นของคานถึงจุดยึดหมุนของเคเบิล 6. กิตติกรรมประกาศ
ค่าคงที่ของวัสดุ n และค่าคงที่ มีผลต่อพฤติกรรมการ งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากภาควิชา
โก่งตัวของคาน โดยเมื่อการโก่งตัวของคานมีค่าสูงขึ้นผล วิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ของค่าคงที่ของวัสดุยิ่งส่งผลต่อรูปร่างการโก่งตัวและแรง เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี ภายใต้ สั ญ ญาเลขที่
ดึงรั้งในเคเบิลมากขึ้น และเมื่อพิจารณาที่ตำ�แหน่งการ CE-KMUTT-FTERO 5803.
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 531
7. เอกสารอ้างอิง Journal of Non-linear Mechanics, 44, pp. 253-256.
1. Conway, H.D., 1946, “The Large Deflection 11. Mutyalarao, M., Bharathi, D. and Nageswara
of Simply Supported Beams,” Philosophical Rao, B., 2010. “Large Deflections of a Cantilever
Magazine, 38, pp. 905-911. Beam under an Inclined End Load,” Journal of
2. Gospodnetic, D., 1959, “Deflection Curve Applied Mathematics and Computation, 217, pp.
of Simply Supported Beam,” Journal of Applied 3607-3613.
Mechanics, 26 (4), pp. 675-676. 12. Athisakul, C., Phungpaingam, B., Juntarakong
3. Frisch-Fay, R., 1962, Flexible Bars, London, G. and Chucheepsakul, S., 2012, “Effect of Material
Butterworths. Nonlinearity on Large Deflection of Variable-Arc-
4. Huddleston, J.V., 1968, “A Numerical Technique Length Beams Subjected to Uniform Self-Weight,”
for Elastica Problems,” Journal of the Engineering Mathematical Problems in Engineering, 2012, 9 p.
Mechanics Division, ASCE, 94 (5), pp. 1159-1165. 13. Brojan, M., Puksic, A. and Kosel, F., 2007,
5. Miller, R.E., 1980, “Numerical Analysis of a “Buckling and Post-Buckling of a Nonlinearly
Generalized Plane Elastica,” International Journal Elastic Column,” Journal of Applied Mathematics
for Numerical Methods in Engineering, 15, pp. and Mechanics, (ZAMM), 87 (7), pp. 518-527.
325-332. 14. Jung, J.H. and Kang, T.J., 2005, “Large
6. Wang, C.M. and Kittipornchai, S., 1992, Deflection Analysis of Fibers with Nonlinear Elastic
“Shooting-Optimization Technique for Large Properties,” Textile Research Journal, 75 (10), pp.
Deflection Analysis of Structural Members,” 715-723.
Engineering Structures, 14 (4), pp. 231-240. 15. Saetiew, W. and Chucheepsakul, S., 2012,
7. Chucheepsakul, S. and Huang, T., 1997, “Post-buckling of Simply Supported Column
“Finite Element Solution of Variable-Arc-Length made of Nonlinear Elastic Materials Obeying the
Beams Under a Point Load,” Journal of Structural Generalized Ludwick Constitutive Law,” Journal of
Engineering, ASCE, 123 (7), pp. 968-970. Applied Mathematics and Mechanics, (ZAMM), 92
8. Klaycham, K., Athisakul, C. and Chucheepsakul, (6), pp. 479-489.
S., 2014, “Finite Element Method for Critical Top 16. Saetiew, W. and Chucheepsakul, S.,
Tension Analysis of Neutrally Buoyant Riser,” 2012, “Post-buckling of Linearly Tapered Column
KMUTT Research and Development Journal, 37, made of Nonlinear Elastic Materials Obeying the
pp. 429-446. Generalized Ludwick Constitutive Law,” International
9. Lee, K., 2002, “Large Deflection of Cantilever Journal of Mechanical Sciences, 65, pp. 83-96.
Beam of Non-linear Elastic Material under Combined 17. Phonok, S. and Phungpaingam, B., 2012,
Loading,” International Journal of Non-linear “Large Deflections of Cantilever Column made
Mechanics, 37, pp. 439-443. from Ludwick’s Material under Tension from
10. Solano-Carrillo, E., 2009, “Semi-exact- Guyed Cable,” 17th National Convention on Civil
solutions for Large Deflections of Cantilever Beams Engineering, Centara Hotel and Convention Centre
of Non-linear Elastic Behavior,” International Udon Thani, pp. STR015-1-STR015-10. (In Thai)

You might also like