You are on page 1of 18

การวัด

ทางวิศวกรรมเคร�องกล
Mechanical
Engineering
Measurements
ผศ.ดร.โชคชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท
ภาควิชาวิศวกรรมเคร�องกล
คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยมหิดล
สงวนสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2561 จ�ำนวน 1,000 เล่ม
ข้อมูลทางบรรณานุกรม

โชคชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท์
การวัดทางวิศวกรรมเครื่องกล = Mechanical engineering measurements / โชคชัย
จูฑะโกสิทธิ์กานนท์. - - พิมพ์ครั้งที่ 1. - - นครปฐม : ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561.
422 หน้า
1. การวัดทางอิเล็กทรอนิกส์. 2. เครือ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์. 3. วิศวกรรมเครือ่ งกล – การวัด.
4. เครือ่ งจักรกล – การทดสอบ. I. ชือ่ เรือ่ ง. II. Title: Mechanical engineering measurements.
TK7874.58 ช813ก 2561
ISBN 978-616-443-205-5

อ้างอิง โชคชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท์. (2561). การวัดทางวิศวกรรมเครื่องกล = Mechanical


engineering measurements. นครปฐม : ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.

จัดพิมพ์โดย
ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล
อาคารหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
25/25 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170
โทร. 0-2800-2680-9 ต่อ 4302 โทรสาร 0-2441-9580
พิมพ์ที่
บริษัท ภาพพิมพ์ จ�ำกัด
โทร. 0-2879-9154-6 โทรสาร 0-2879-9153
ราคา 420 บาท
ค�ำนิยม

จากประสบการณ์เกี่ยวกับการสอน และการวิจัย ทางด้านการวัดและการควบคุม มากกว่า


20 ปี ขอติชมหนังสือการวัดทางวิศวกรรมเครื่องกล ซึ่งแต่งโดย ผศ.ดร.โชคชัย.
หนังสือเล่มนี้อธิบายส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องมือวัดที่แปลงจากปริมาณทางกลและ
ความร้อน ไปเป็นปริมาณทางไฟฟ้าที่ง่ายต่อการบันทึกผลในรูปของข้อมูลดิจิตอล หรือ อนาล็อก,
นอกจากนั้นแล้วผู้เขียนยังได้นำ�เสนอวิธีการทางสถิติ ที่จำ�เป็นในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการวัด
และการหาความคลาดเคลื่อนของแต่ละองค์ประกอบของเครื่องมือวัด
หนังสือเล่มนีจ้ ดั เนือ้ หาในแต่ละบทได้เหมาะสมง่ายต่อการศึกษา และมีแบบฝึกหัดท้ายบททีด่ ี
หนังสือเล่มนี้ เหมาะสำ�หรับนักศึกษาปริญญาตรี ตลอดจนผู้สนใจที่จะเรียนรู้ระบบเครื่องมือวัด
ผมขอขอบคุณ ผศ. ดร. โชคชัย ทีไ่ ด้อทุ ศิ เวลาในการแต่งหนังสือเล่มนี้ เพือ่ เป็นอีกหนึง่ ทางเลือก
ของผู้ที่มีความสนใจเรียนรู้เกี่ยวกับระบบเครื่องมือวัด

Thongchai Phairoh, PhD


Associate Professor
Virginia State University

 i
ค�ำนิยม

บอกตามตรงครับว่ารูส้ กึ ประหลาดใจและเป็นเกียรติอย่างสูงในขณะเดียวกัน เมือ่ ผศ.ดร.โชคชัย


จูฑะโกสิทธิ์กานนท์ หรือ “พี่โชค” ผู้เป็นทั้งรุ่นพี่และอาจารย์ที่สอนพวกเราสมัยเรียนปริญญาตรีที่
ภาควิชาเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเกือบ 20 ปีที่แล้ว วันนี้แกมาบอก
ผมว่าอยากให้ผมช่วยเขียนคำ�นิยมให้กับหนังสือเล่มนี้
ตัวผมเองเมื่อเรียนจบปริญญาตรีมา ก็ได้ทำ�งานที่วนเวียนกับเรื่องของเครื่องมือวัดและ
การควบคุมอัตโนมัติมาเกือบตลอดช่วงเวลาที่ทำ�งาน ก็เรียกว่าเกือบจะ 20 ปีที่มีเรื่องพวกนี้ผ่าน
เข้า-ออกชีวติ อาทิตย์ละ 5 วัน หนังสือหนังหาทีผ่ า่ นตาไปก็มากมายพอสมควร แต่กต็ อ้ งบอกตามตรง
ว่าหาหนังสือหรือบทความภาษาไทยที่เกี่ยวกับเรื่องพวกนี้ยากมากถึงมากที่สุด ที่พอจะเห็นบ้างก็จะ
มีแตะๆแบบผิวเผิน เล่มละนิด เล่มละหน่อย แล้วก็จบไป ในฐานะผู้ศึกษาเช่นเราก็ต้องคอยเก็บเล็ก
ผสมน้อย เล่มนี้นิด เล่มนู้นหน่อย หาจากอินเตอร์เน็ตบ้าง บทความต่างประเทศบ้าง ผสมความรู้
งูๆปลาๆของเราไปอีกหน่อย แล้วนำ�ไปประยุกต์ใช้งานตามที่เราเข้าใจ
แต่มาวันนี้จะไม่เป็นอย่างนั้นอีกแล้ว เพราะหนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ชีวิตของเราง่ายขึ้น และ
แน่นอนว่า ผูท้ ตี่ งั้ ใจศึกษาในเรือ่ งของ “การวัดทางวิศวกรรมเครือ่ งกล” จะสามารถทำ�ได้โดยสะดวกขึน้
เพราะจากทีอ่ า่ นต้นฉบับหนังสือเล่มนีจ้ ะเห็นเลยว่า ดร.โชคชัย จงใจทีจ่ ะปูพนื้ ให้เราเห็นภาพรวมก่อน
แล้วจึงเข้าไปสู่เรื่องของวงจรไฟฟ้าและรายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆในระบบ จากนั้นจะเป็นส่วน
ของการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งตัวเนื้อหาจะเป็นการเริ่มต้นจากง่ายไปหายาก จึงเหมาะกับผู้ที่ต้องการ
ศึกษาในทุกระดับ
ผมขอขอบคุณ ผศ. ดร. โชคชัย จูฑะโกสิทธิก์ านนท์ หรือ “พีโ่ ชค” ของพวกเราทีไ่ ด้อทุ ศิ แรงกาย
และแรงใจเขียนหนังสือ “การวัดทางวิศวกรรมเครื่องกล” เล่มนี้ขึ้นมา ผมเชื่อมั่นว่าหนังสือเล่มนี้จะ
เป็นหนังสือทีผ่ ศู้ กึ ษาทุกระดับจะใช้เป็นแนวทางในการศึกษาและพัฒนาวงการการวัดทางวิศวกรรม
ให้ดียิ่งขึ้นไป

นันทวัฒน์ จีนาพันธ์
ผู้จัดการทั่วไป
บริษัท เอ็มพอริโอ้ คอนโทรลส์ จำ�กัด

ii
ค�ำนิยม

การศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ มีความสำ�คัญกับการพัฒนาและการขับเคลือ่ น เทคโนโลยี


ของประเทศไทยเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะยุคสมัยที่เศรษฐกิจของโลกขับเคลื่อน โดยใช้เทคโนโลยีเป็น
ตัวนำ� หนึง่ ในส่วนประกอบสำ�คัญของการศึกษาคือ แหล่งรวบรวมความรู้ เช่น เว็บไซท์ โซเชียลมีเดีย
เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การรวบรวมความรู้เฉพาะเรื่องเป็นหมวดหมู่ ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ง่าย และง่าย
ต่อการเผยแพร่ ได้แก่ ตำ�รา หรือ หนังสือ ยังมีความจำ�เป็น ต่อระบบการศึกษา วิชาการ และการเรียน
การสอน เป็นอย่างยิ่ง
ผศ.ดร.โชคชัย จูฑะโกสิทธิก์ านนท์ อาจารย์ประจำ�ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีประวัติการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และระดับปริญญาเอก จาก มหาวิทยาลัยลีไฮ มลรัฐเพนซิลวาเนีย
ประเทศสหรัฐอเมริกา (Lehigh University, Pennsylvania, USA) เป็นผู้ที่มีประสบการณ์การสอน
ในวิชาการทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล มากว่า 15 ปี ท่านได้ อุทิศเวลา สติปัญญา และกำ�ลังกาย
ในการแต่งหนังสือทางด้านวิศวกรรมเครือ่ งมือวัดเล่มนี้ ขึน้ มาอย่างสมบูรณ์ ทัง้ ในเนือ้ หารายละเอียด
และจัดเป็นหมวดหมู่เป็นระบบ
ผมรูส้ กึ เป็นเกียรติเป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ด้รบั เชิญให้เขียน คำ�นิยม ให้ ผศ.ดร.โชคชัย เพือ่ บรรจุ ในหนังสือ
เล่มนี้ ผมขอแสดงความชื่นชมที่ท่านได้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาวงการการศึกษา ทางด้าน
วิศวกรรมศาสตร์ ของประเทศไทย ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อ นิสิต
นักศึกษา ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ และผูส้ นใจ ทีไ่ ด้อา่ นและศึกษาองค์ความรูต้ า่ งๆ จากหนังสือเล่มนี้
ขอขอบคุณ ผศ.ดร.โชคชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท์ เป็นอย่างยิ่ง ในฐานะวิศวกรไทยคนหนึ่ง
คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และประธานสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์
แห่งประเทศไทย สมัยที่ 41 (พ.ศ.2561-2562) สำ�หรับสิ่งที่ท่านได้อุทิศและทำ�คุณประโยชน์ ให้กับ
วงการการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ของประเทศไทย

ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์
คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประธานสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 41
และ Trustee of International RoboCup Federation

  iii
คานา
หนังสื อการวัดทางวิศวกรรมเครื่ องกลนี้ จดั ทาขึ้นเพื่อใช้ในการประกอบการเรี ยนการสอน
ในรายวิชาการวัดทางวิศวกรรมของภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล เนื่ องจากเล็งเห็นว่าวิชาการวัดทาง
วิศวกรรมเครื่ องกลเป็ นวิชาที่มีประโยชน์ท้ งั กลุ่มนักศึกษาที่ตอ้ งการประกอบอาชี พด้านวิศวกรรม
และกลุ่มนักศึกษาที่ตอ้ งการศึกษาต่อในระดับสู งขึ้นไป สาหรับกลุ่มนักศึกษาที่ตอ้ งการประกอบ
อาชี พด้านวิศวกรรมมีโอกาสในการนาองค์ความรู ้ทางด้านการวัดทางวิศวกรรมเครื่ องกลภายใน
หนังสื อเล่มนี้ เป็ นพื้นฐานในการออกแบบติดตั้งและทาให้เกิดความเข้าใจในการประยุกต์ใช้งาน
อุปกรณ์เครื่ องมือวัดปริ มาณต่างๆ ซึ่ งในทุกอุตสาหกรรมเป็ นเรื่ องยากที่จะหลีกเลี่ยงการใช้หรื อการ
ออกแบบติ ด ตั้งอุ ป กรณ์ เครื่ อ งมื อ วัด ได้ ส าหรั บ กลุ่ ม นัก ศึ ก ษาที่ ตอ้ งการศึ ก ษาต่ อ ก็จะพบว่าใน
งานวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์การตรวจวัดเป็ นเรื่ องจาเป็ นอย่างยิง่ สาหรับการได้มาของข้อมูล ดังนั้น
จะรู ้ ได้อ ย่างไรว่าวิธีกระบวนการวัด ความแม่ น ยา ความเที่ ยงตรงของข้อ มูลที่ ทาการวัดมี ความ
เหมาะสมกับงานวิจยั นั้นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมา ยังอาจกล่าวได้ว่ากลุ่มบุคคลในงานด้านอื่นๆก็
ยังมีการทางานที่เกี่ยวข้องกับการวัดทั้งโดยตรงและโดยอ้อม หนังสื อนี้ จึงอาจใช้เพื่อเป็ นแนวทาง
หรื อประกอบการอ้างอิงได้
แม้ ว่ า จะมี ห นั ง สื อการวัด ทางวิ ศ วกรรมเครื่ องกลอยู่ ม าก แต่ ห นั ง สื อการวัด ทาง
วิศวกรรมเครื่ องกลที่มีการเรี ยบเรี ยงเป็ นภาษาไทยก็มีค่อนข้างน้อย จึงทาให้ความรู ้เกี่ยวกับการวัด
ทางวิ ศ วกรรม เครื่ องกลมี ก ารเผยแพ ร่ อยู่ ใ น วงจ ากั ด ตามไปด้ ว ย ห นั ง สื อการวั ด ท าง
วิศวกรรมเครื่ องกลนี้ เรี ยบเรี ยงขึ้น เพื่อให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจสาหรับบุ คคลที่ มีความสนใจ
เกี่ยวกับการวัดทางวิศวกรรมเครื่ องกล ด้วยเล็งเห็นว่าการใช้รูปประกอบสามารถช่ วยทาให้ง่ายต่อ
การเข้าใจเนื้ อหาได้ง่ายขึ้ น จึ งมี แ นวคิ ด ในการดาเนิ น การเขี ยนรู ป ขึ้ น ใหม่ ท้ งั หมดให้มี รูปแบบ
เป็ นไปในแนวเดียวกัน ซึ่งแต่ละรู ปมีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาตามที่ระบุได้ไว้ทา้ ยบทของแต่ละบท
เนื่ องด้วยเนื้ อหาของการวัดค่าปริ มาณทางกลมี อยู่มากมาย จึงมี แนวคิดในการแบ่งเนื้ อหา
ของหนังสื อชุ ดนี้ ออกเป็ นสองส่ วน คือส่ วนของ“การวัดทางวิศวกรรมเครื่ องกล” ซึ่ งเป็ นเนื้ อหาที่
กล่ า วถึ งกระบวนการตรวจวัด ค่ าทางกลโดยเรี ยบเรี ยงขึ้ น ภายในหนัง สื อ เล่ ม นี้ และส่ ว นของ
“เครื่ อ งมื อ วัด ทางวิศวกรรมเครื่ อ งกล” ซึ่ งเป็ นเนื้ อ หาที่ ก ล่ าวถึ งการวัด ค่ าปริ ม าณทางกลต่ างๆ
เฉพาะเจาะจงลงไปโดยจะเรี ยบเรี ยงขึ้นต่อไปภายหลัง
i

โชคชัย จูฑะโกสิ ทธิ์กานนท์


สิงหาคม
ธันวาคม ๒๕๕๘2561

iv
กิติกรรมประกาศ
หนังสื อเล่มนี้ เขียนตามความรู ้ที่ได้รับการสอนจากอาจารย์ธงชัย ไพเราะ สมัยที่ขา้ พเจ้าได้
ศึกษาในระดับปริ ญญาตรี ณ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล
ข้าพเจ้าจึงของขอบพระคุ ณ รองศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย ไพเราะ ซึ่ งขณะนี้ เป็ นอาจารย์ประจา ณ
Virginia State University ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่ถ่ายทอดความรู ้เกี่ยวกับการวัดทางวิศวกรรมแก่ขา้ พเจ้า จึงทา
ให้ง่ายและเป็ นแรงบันดาลใจอย่างยิง่ ในการเรี ยบเรี ยงหนังสื อเล่มนี้ข้ ึน
ขอขอบคุณคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล ที่ขา้ พเจ้าได้ศึกษาในพื้นฐานความรู ้
ทางวิศวกรรมในแขนงต่างๆ ซึ่ งมีประโยชน์ต่อการบูรณาการความรู ้ต่างๆเข้ากับความรู ้ดา้ นการวัด
ทางวิศวกรรม ยิง่ ไปกว่านั้นคือการที่มอบโอกาสในการประกอบสัมมาชี พในการเป็ นอาจารย์จึงมี
โอกาสในการเรี ยบเรี ยงหนังสื อเล่มนี้ ข้ ึน เพื่อใช้ประกอบการเรี ยนการสอนในรายวิชาการวัดทาง
วิศวกรรม
ขอให้คุณประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากหนังสื อเล่มนี้ ส่งผลต่อความเจริ ญต่อชาติ พระศาสนา และ
พระมหากษัตริ ย ์ รวมถึงพระคุณบิดามารดาของข้าพเจ้าอบรมเลี้ยงดูอนั เป็ นรากฐานที่ดีต่อการศึกษา
แก่ขา้ พเจ้า

iii

 v
สารบัญ
สารบัญ
คานา ................................................................................................................................................. i
คกิาน
ติการรมประกาศ สารบั
สารบัญญญ
สารบั
.................................................................................................................................................
............................................................................................................................ iiii
กิคสารบั
คตาน
คาน
ิกาน
ารรมประกาศ
า.................................................................................................................................................
ญา.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
............................................................................................................................ iiiivi i i
...........................................................................................................................................
กิบทที
กิตกิติกติกรรมประกาศ
สารบั ิก่ รรมประกาศ
ญ1รรมประกาศ ก............................................................................................................................
ต์............................................................................................................................
...........................................................................................................................................
การประยุ iii
iviiiiii
............................................................................................................................
ใช้ระบบเครื่ องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์
สารบั
สารบั
บทที ่ 1ญญการประยุ
ญ...........................................................................................................................................
(Applications
สารบั ...........................................................................................................................................
of กElectronic
ต์ใช้ระบบเครื ่ องมือวัดSystems)
Instrument อิเล็กทรอนิ กส์ iv1iviv
............................................................................
...........................................................................................................................................
บทที
บทที
่ 1่ 1่ การประยุ
(Applications
1.0
บทที 1วัการประยุ
ตการประยุ
กกต์กต์ใต์ใช้(Objectives)
of Electronic
ถุประสงค์ ใช้รช้ระบบเครื
ระบบเครื
ะบบเครื
่ อ่ องมื
Instrument ่ อ...................................................................................................
งมืงมื
ออวัอวัSystems)
ดวัดอิดอิเอิล็เล็เกล็กทรอนิ
กทรอนิ
ทรอนิ กกส์กส์ส์
............................................................................ 1
(Applications
(Applications
1.0
1.1 วับทน of(Introduction)............................................................................................................
ofofElectronic
ตถุปาระสงค์
(Applications Electronic
Instrument
Instrument
(Objectives)
Electronic Systems)
Systems)............................................................................
............................................................................111
...................................................................................................
Instrument Systems) ............................................................................
1.0
1.0บทน
1.1
1.0
1.2 วัระบบเครื
วัตวัตถุตถุปถุาประสงค์
ป(Introduction)............................................................................................................
ระสงค์
่ องมื(Objectives)
ระสงค์ วั(Objectives)
อ(Objectives) ...................................................................................................
...................................................................................................
กส์ (The Electronic Instrument Systems) ............................. 1211
...................................................................................................
ดอิเล็กทรอนิ
1.1
1.1ระบบเครื
1.2
1.3
1.1บทนบทน
าเคราะห์
การวิ
บทน า(Introduction)............................................................................................................
า(Introduction)............................................................................................................
(Introduction)............................................................................................................
่ องมืทอางวิ
วัดอิศเวกรรม
ล็กทรอนิ(Engineering
กส์ (The Electronic
Analysis)Instrument Systems) ............................. 21711
............................................................
1.2
1.2การวิ
1.3
1.2
1.4 ระบบเครื
ระบบเครื
่ อม่ องมื
เคราะห์
ระบบเครื
การควบคุ ่ อกระบวนการ
ทงมื
งมือางวิ
อวัอวัดวัดอิศดอิเวกรรม
อิล็เล็เกล็กทรอนิ
กทรอนิ
ทรอนิ
กกส์กส์ส์(The
(Engineering
(Process (TheElectronic
(The Electronic
Analysis)
Electronic
Control) Instrument
InstrumentSystems)
Instrument Systems).............................
Systems) .............................72922
............................................................
.............................
.........................................................................
1.3
1.3การควบคุ
1.4
1.3การวิ
การวิ
เคราะห์
การวิ
1.4.1 เปคราะห์
ททคางวิ
ทวบคุ
างวิ
ศศวกรรม
มกระบวนการ
อุเคราะห์
กรณ์ างวิ มศวกรรม
วกรรม
(Engineering
(Engineering
(Process Analysis)
Control)
(Engineering
กระบวนการ Analysis)
Control............................................................
Analysis)
(Process ............................................................
.......................................... 129777
.........................................................................
............................................................
Devices)
1.4
1.41.4.1
1.5
1.4การควบคุ
การควบคุมมกระบวนการ
ความคลาดเคลื
การควบคุ มกระบวนการ
อุปกรณ์ กระบวนการ
ค่อวบคุ (Process
(Process
มกระบวนการ
นในการทดลอง Control)
Control).........................................................................
(Process .........................................................................
Control
(Experimental
(Process Control) Error)Devices) 23999
.......................................... 12
.....................................................
.........................................................................
1.4.1
1.4.1อุความคลาดเคลื
อุปอุปกรณ์
1.5 ความคลาดเคลื
1.5.1
1.4.1 ปกรณ์
กรณ์
คค่อวบคุ
ควบคุ
วบคุ
ม่อมกระบวนการ
มนสะสม
กระบวนการ
นในการทดลอง (Process
(ProcessControl
(Experimental
(Accumulation
กระบวนการ (Process ControlDevices)
ofError) Devices) ..........................................
..........................................
.....................................................
Accepted
Control Devices) Error)
..........................................12
241212
................................... 23
1.5
1.51.5.1
1.5ความคลาดเคลื
ความคลาดเคลื
ความคลาดเคลื
1.5.2 ่อ่อนในการทดลอง
ความคลาดเคลื่อนในการทดลอง
การใช้งานเครื นในการทดลอง
่ อ่องมื
นสะสม (Experimental
(Experimental
(Accumulation ofError)
(Experimental
อไม่เหมาะสม (Improper Error).....................................................
Accepted
Error) .....................................................
Error) ................................... 23
262323
................ 24
.....................................................
Functioning of Instruments)
1.5.1
1.5.1การใช้
1.5.2
1.5.1
1.5.3 ความคลาดเคลื
ความคลาดเคลื
งานเครื่ อ่องมื
ความคลาดเคลื
ผลของทรานสดิ ่อนสะสม
ว่อนสะสม
นสะสม ่อ(Accumulation
(Accumulation
อไม่เตหมาะสม
เซอร์ ofofofFunctioning
(Improper
(Accumulation
กระบวนการ (EffectAccepted
Accepted
Accepted Error)
Error)
...................................
...................................
of Instruments)
Error) ...................................
of the Transducer on the Process) 24
302424
................... 26
1.5.2
1.5.2ผลของทรานสดิ
1.5.3
1.5.4
1.5.2การใช้
การใช้
งงานเครื
งานเครื
านเครื
่ อ่ องมื
ผลกระทบจากความไวต่
การใช้ ่ อวงมืเซอร์
งมื
ออไม่
อไม่
ไม่ เ่อหมาะสม
ตเหมาะสม
เหมาะสม (Improper
กระบวนการ
ปริ มาณอื ่(Improper
Functioning
(Effect
น (Dual
(Improper FunctioningofofofInstruments)
of the Transducer
Sensitivity
FunctioningError) Instruments) ................
on the Process) ................
.................................
Instruments) ................26
322626
... 30
1.5.3
1.5.3ผลกระทบจากความไวต่
1.5.4
1.5.3
1.5.5 ผลของทรานสดิ
ผลของทรานสดิ
ผลของทรานสดิ
ความคลาดเคลื ตตอ่ ต่อปริ
่อวนจากแหล่
วเซอร์
วเซอร์
เซอร์ ่อกระบวนการ
กระบวนการ
งกระบวนการ
อืม่นาณอื (Effect
(Effect
่น (Dual
(Other ofofofthe
Sensitivity
(Effect
Sources theTransducer
the Transducer
Error)
Transducer
Error) onononthe
theProcess)
Process) .........32
.................................
the Process)
......................................... 30
333030
1.5.4
1.5.4ความคลาดเคลื
1.6 1.5.5
1.5.4ผลกระทบจากความไวต่
ผลกระทบจากความไวต่
อนการวัอดอปริ
่อ่นจากแหล่
ผลกระทบจากความไวต่
การลดความคลาดเคลื องปริ
ปริ
อืม่นมาณอื
มาณอื
าณอื
่น่น่น(Dual
(Other
(Minimizing (Dual
Sensitivity
Sensitivity
Sources
(Dual Error)
of Error)
Sensitivity
Experimental Error).................................
.................................33
.........................................
Error) .................................
Error)................................... 32
353232
1.6 1.5.5
1.5.5
ความคลาดเคลื
ความคลาดเคลื
1.7 การลดความคลาดเคลื
สรุ ป (Summary)
1.5.5 ่อ่อนจากแหล่
่อนจากแหล่
นจากแหล่
นการวั งงอืงอื่นอื่น่น(Other
ด (Minimizing (OtherSources
SourcesofofofError)
Experimental Error) .........................................
.........................................35
Error)...................................
................................................................................................................
ความคลาดเคลื (Other Sources Error) .........................................33
383333
1.6
1.6สรุ
1.7
1.8
1.6การลดความคลาดเคลื
าการลดความคลาดเคลื
ป (Summary)
อ้การลดความคลาดเคลื
งอิ ่อ่อนการวั
่อนการวั
นการวั ดดด(Minimizing
(MinimizingExperimental
ExperimentalError)...................................
Error)...................................38
................................................................................................................
ง (References) ...........................................................................................................
(Minimizing Experimental Error)................................... 35
403535
1.7
1.7อ้สรุสรุ
1.8
1.7 าสรุ
ปปปง(Summary)
งอิ (Summary)................................................................................................................
(References)
(Summary) ................................................................................................................
383838
........................................................................................................... 40
................................................................................................................
iv
1.8
1.8อ้อ้าอ้างอิางอิงอิ
1.8 งง(References)
ง(References)
(References)...........................................................................................................
...........................................................................................................404040
...........................................................................................................
iv
iviviv

vi
แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 1 ............................................................................................................. 41
บทที่ 2 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ าเบื้องต้น
(Analysis of Circuits) .................................................................................................................... 48
2.0 วัตถุประสงค์ (Objectives) ................................................................................................. 48
2.1 บทนาและคานิยาม (Introduction and Diffinitions) ........................................................... 48
2.2 องค์ประกอบพื้นฐานทางไฟฟ้ า (Basic Electrical Components) ........................................ 51
2.2.1 ความต้านทาน (Resistance) ...................................................................................... 51
2.2.2 ความจุทางไฟฟ้ า (Capacitance) ................................................................................ 53
2.2.3 ความเหนี่ยวนาไฟฟ้ า (Inductance) ........................................................................... 54
2.3 กฏของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchhoff’s Circuit Laws) ................................................................. 55
2.4 ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และ เกทส์ (Diodes, Transistor, and Gates) .................................... 57
2.4.1 ไดโอด (Diodes) ....................................................................................................... 57
2.4.2 ทรานซิสเตอร์ (Transistors) ...................................................................................... 59
2.4.3 เกทส์ (Gates) ............................................................................................................ 63
2.5 วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง (DC Circuits)................................................................................. 65
2.6 ฟังก์ชนั่ คาบ (Periodic Functions) ...................................................................................... 67
2.7 วงจรไฟฟ้ ากระแสสลับ (AC Circuits) ............................................................................... 73
2.7.1 ความต้านทานเชิงซ้อน (Impedance)......................................................................... 77
2.8 ผลตอบสนองเชิงความถี่ (Frequency Response Function) ................................................. 78
2.9 สรุ ป (Summary) ................................................................................................................ 81
2.10 อ้างอิง (References) ......................................................................................................... 85

  vii
แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 2 ............................................................................................................. 86
บทที่ 3 อุปกรณ์บนั ทึกสัญญาณแบบอนาล็อก
(Analog Recording Instruments) ................................................................................................... 91
3.0 วัตถุประสงค์ (Objectives) ................................................................................................. 91
3.1 บทนา (Introduction).......................................................................................................... 91
3.2 คุณลักษณะของอุปกรณ์บนั ทึก (General Characteristic of Recording Instruments) .......... 92
3.2.1 ความต้านทานเชิงซ้อน (Input Impedance) ............................................................... 92
3.2.2 ความไว (Sensitivity) ................................................................................................ 95
3.2.3 ช่วง (Range) ............................................................................................................. 96
3.2.4 การเลื่อนศูนย์ (Zero Drift) ........................................................................................ 96
3.2.5 ผลตอบสนองเชิงความถี่ (Frequncy Response)......................................................... 97
3.3 โวลท์มิเตอร์สาหรับการวัดในสภาวะคงที่ (Voltmeter for Steady-State Measurements) ... 99
3.3.1 ดาร์อาร์สันวัลกัลวานอมิเตอร์ (D’Arsonval Galvanometer).................................... 100
3.3.2 แอมมิเตอร์ (Ammeter)............................................................................................ 101
3.3.3 โวลท์มิเตอร์กระแสตรง (DC Voltmeter) ................................................................ 102
3.3.4 ความคลาดเคลื่อนทางภาระของโวลท์มิเตอร์ (Voltmeter Loading Error) ............... 104
3.3.5 โวลท์มิเตอร์ขยายสัญญาณ (Amplified Voltmeters) ............................................... 105
3.3.6 โวลท์มิเตอร์แบบปรับค่าความต้านทาน (Potentiometric Voltmeters) .................... 106
3.4 โวลท์มิเตอร์สาหรับสัญญาณที่เปลี่ยนช้า (Voltmeter for Slowly Varying Signals) ......... 107
3.4.1 เครื่ องบันทึกสัญญาณแบบแถบบันทึกแผนภูมิ (Strip Chart Recorders) ................. 108
3.4.2 เครื่ องบันทึกสัญญาณแบบสองแกน (X-Y Recorders) ............................................ 109

vi

viii
3.5 โวลท์มิเตอร์สาหรับสัญญาณที่เปลี่ยนเร็ว (Voltmeter for Rapidly Varying Signals) ....... 111
3.5.1 เครื่ องบันทึกสัญญาณแบบออสซิลโลกราฟ (Oscillograph Recorders) ................... 111
3.5.2 ผลตอบสนองทางเวลาของกัลวานอมิเตอร์ (Transient Response of Galvanometers) . 113
3.5.3 ผลตอบสนองสัญญาณคาบของกัลวานอมิเตอร์ (Periodic Signal Response of Galvanometers) ... 119
3.5.4 ออสซิลโลสโคป (Oscilloscopes) ........................................................................... 124
3.5.5 แถบแม่เหล็กบันทึกสัญญาณ (Magnetic Tape Recorder)........................................ 126
3.6 สรุ ป (Summary) .............................................................................................................. 128
3.7 อ้างอิง (References) ......................................................................................................... 130
แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 3 ........................................................................................................... 131
บทที่ 4 ระบบบันทึกสัญญาณแบบดิจิตอล
(Digital Recording Systems) ....................................................................................................... 137
4.0 วัตถุประสงค์ (Objectives) ............................................................................................... 137
4.1 บทนา (Introduction)........................................................................................................ 137
4.2 ค่าทางดิจิตอล (Digital Codes) ......................................................................................... 138
4.3 กระบวนการแปลงค่า (Conversion Processes)................................................................. 141
4.4 การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็ นอนาล็อก (Digital-to-Analog Conversion) ........................ 144
4.5 การแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็ นดิจิตอล (Analog-to-Digital Conversion) ........................ 147
4.5.1 วิธีประมาณสื บเนื่อง (Successive Approximation Method) .................................... 148
4.5.2 วิธีบูรณาการ (Integration Method) ......................................................................... 151
4.5.3 วิธีขนานหรื อทันที (Parallel or Flash Method) ....................................................... 154
4.6 การรับส่ งกระจายข้อมูล (Data Distribution) .................................................................... 156

vii

  ix
4.6.1 โครงสร้างสายสัญญาณ (Bus Structures) ................................................................ 158
4.7 การเชื่อมต่อ (Interfaces) .................................................................................................. 164
4.8 ดิจิตอลโวลท์มิเตอร์ (Digital Voltmeters) ........................................................................ 167
4.9 ระบบเก็บข้อมูล (Data-Logging Systems) ....................................................................... 169
4.10 ระบบจัดเก็บข้อมูล (Data-Acquisition Systems)............................................................ 171
4.11 ระบบจัดเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (PC-Based Data-Acquisition Systems) ................ 173
4.12 ออสซิลโลสโคปแบบดิจิตอล (Digital Oscilloscopes) ................................................... 174
4.13 เครื่ องบันทึกคลื่นสัญญาณ (Waveform Recorders) ....................................................... 178
4.14 การเกิดนัยแฝง (Aliasing) .............................................................................................. 179
4.14.1 กรองสัญญาณนัยแฝง (Anti Aliasing Filters)........................................................ 183
4.15 สรุ ป (Summary) ............................................................................................................ 184
4.16 อ้างอิง (References) ....................................................................................................... 187
แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 4 ........................................................................................................... 188
บทที่ 5 เซ็นเซอร์สาหรับทรานสดิวเซอร์
(Sensors for Transducers)............................................................................................................ 193
5.0 วัตถุประสงค์ (Objectives) ............................................................................................... 193
5.1 บทนา (Introduction)........................................................................................................ 193
5.2 โปเทนชิโอมิเตอร์ (Potentiometers) ................................................................................. 193
5.3 หม้อแปลงความเหนี่ยวนา (Differential Transformers) ................................................... 196
5.4 สเตรนเกจแบบความต้านทานไฟฟ้ า (Resistance Strain Gages)....................................... 201
5.5 เซ็นเซอร์ชนิดเก็บประจุ (Capacitance Sensors) ............................................................... 206

viii

x
5.6 เซ็นเซอร์ชนิดกระแสไหลวน (Eddy-Current Sensors) .................................................... 210
5.7 เซ็นเซอร์ชนิดเพียโซอิเล็กทริ ค (Piezoelectric Sensors) ................................................... 214
5.8 เซ็นเซอร์ชนิดเพียโซรี ซิสทีฟ (Piezoresistive Sensors) .................................................... 218
5.9 เซ็นเซอร์ชนิดโฟโต้อิเล็กทริ ค (Photoelectric Sensors) .................................................... 221
5.9.1 อุปกรณ์ตรวจวัดโฟตอนชนิดหลอดสู ญญากาศ (Vacuum Tube Photon Detectors) 224
5.9.2 เซลล์โฟโต้คอนดักเตอร์ (Photoconductive Cells) .................................................. 226
5.9.3 โฟโต้ไดโอดชนิดเซมิคอนดักเตอร์ (Semiconductor Photodiodes) ......................... 228
5.10 เซ็นเซอร์วดั อุณหภูมิแบบความต้านทานแปรผัน (Resistance Temperature Detectors) .. 230
5.11 เทอร์มิสเตอร์ (Thermistors)........................................................................................... 231
5.12 เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouples) .................................................................................. 233
5.13 คริ สตอลออสซิลเลเตอร์ (Crystal Oscillators)................................................................ 235
5.14 สรุ ป (Summary) ............................................................................................................ 238
5.15 อ้างอิง (References) ....................................................................................................... 240
แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 5 ........................................................................................................... 241
บทที่ 6 วงจรปรับสัญญาณ
(Signal Conditioning Circuits) .................................................................................................... 247
6.0 วัตถุประสงค์ (Objectives) ............................................................................................... 247
6.1 บทนา (Introduction)........................................................................................................ 247
6.2 แหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้ า (Power Supplies) ........................................................................... 248
6.2.1 แบตเตอรี่ (Battery Supplies) .................................................................................. 248
6.2.2 แหล่งจ่ายพลังงานชนิดสายส่ งแรงดันไฟฟ้ า (Line Voltage Supplies) ..................... 252

ix

  xi
6.3 วงจรโปเทนชิโอมิเตอร์แรงดันคงที่ (Constance Voltage Potentiometer Circuit) ............. 254
6.4 วงจรโปเทนชิโอมิเตอร์กระแสคงที่ (Constance Current Potentiometer Circuit) ............. 258
6.5 วงจรวิทสโตนบริ ดจ์แรงดันคงที่ (Constance Voltage Wheatstone Bridge) ..................... 260
6.6 วงจรวิทสโตนบริ ดจ์กระแสคงที่ (Constance Current Wheatstone Bridge) ..................... 265
6.7 วงจรขยายสัญญาณ (Amplifiers)...................................................................................... 269
6.8 วงจรขยายสัญญาณอ๊อปแอมป์ (Operational Amplifiers)................................................. 276
6.8.1 วงจรขยายสัญญาณการกลับเฟส (Inverting Amplifier)........................................... 277
6.8.2 วงจรขยายสัญญาณผลต่าง (Differential Amplifier) ................................................ 280
6.8.3 วงจรตามสัญญาณแรงดัน (Voltage Follower) ........................................................ 283
6.8.4 วงจรขยายสัญญาณการรวม (Summing Amplifier) ................................................. 284
6.8.5 วงจรขยายสัญญาณการอินทิเกรต (Integrating Amplifier) ...................................... 287
6.8.6 วงจรขยายสัญญาณการดิฟเฟอเรนเชียล (Differentiating Amplifier) ...................... 288
6.9 วงจรกรองสัญญาณ (Filters) ............................................................................................ 289
6.9.1 วงจรกรองสัญญาณความถี่สูงผ่านชนิดตัวต้านทานตัวเก็บประจุไฟฟ้ า (High Pass RC Filter) . 289
6.9.2 วงจรกรองสัญญาณความถี่ต่าผ่านชนิดตัวต้านทานตัวเก็บประจุไฟฟ้ า (Low Pass RC Filter) .. 292
6.9.3 วงจรกรองสัญญาณชนิดแอคทีฟ (Active Filter) ..................................................... 293
6.10 วงจรผสมและแยกขนาดสัญญาณ (Amplitude Modulation and Demodulation) ............ 296
6.11 วงจรวัดเวลา (Time Measuring Circuits) ....................................................................... 299
6.11.1 วงจรนับรหัสไบนารี่ (Binary Counting Unit) ....................................................... 299
6.11.2 การใช้เกทส์เพื่อการนับเวลา (Gates in Counter Applications) .............................. 301
6.11.3 ทริ กเกอร์ (Triggers).............................................................................................. 301

xii
6.11.4 เครื่ องมือนับเวลา (Counting Instruments) ............................................................ 303
6.12 สรุ ป (Summary) ............................................................................................................ 307
6.13 อ้างอิง (References) ....................................................................................................... 313
แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 6 ........................................................................................................... 314
บทที่ 7 กระบวนการทางสถิติ
(Statistical Methods) ................................................................................................................... 326
7.0 วัตถุประสงค์ (Objectives) ............................................................................................... 326
7.1 บทนา (Introduction)........................................................................................................ 326
7.2 คุณลักษณะการการแจกแจงทางสถิติ (Characterizing Statistical Distributions) .............. 327
7.2.1 กราฟแผนภาพแสดงการแจกแจงทางสถิติ (Graphic Representation of the Distributions).. 330
7.2.2 แนวโน้มค่ากลางของการวัด (Measure of Central Tendency)................................. 332
7.2.3 การวัดการแจกแจง (Measure of Dispersion) .......................................................... 334
7.3 ฟังก์ชนั่ การแจกแจงทางสถิติ (Statistical Distribution Functions) ................................... 336
7.3.1 การแจกแจงแบบเกาส์ (Gaussian Distributions) ..................................................... 338
7.3.2 การแจกแจงแบบไวบูลล์ (Weibull Distributions) ................................................... 344
7.4 ช่วงความเชื่อมัน่ สาหรับการทานาย (Confidence Intervals for Predictions) .................... 348
7.5 การเปรี ยบเทียบค่ากลาง (Comparison of Means) ............................................................ 353
7.6 เงื่อนไขทางสถิติของข้อมูลดิบ (Statistical Conditioning of Data) ................................... 355
7.7 การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) .............................................................. 356
7.7.1 การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression Analysis) .............................. 357
7.7.2 การวิเคราะห์การถดถอยหลายตัวแปร (Multivariate Regression Analysis) ............ 361

xi
7.8 การทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square Testing) ................................................................... 363
7.9 ความคลาดเคลื่อนสะสมและแพร่ กระจาย (Error Accumulation and Propagation).......... 369
7.10 สรุ ป (Summary) ............................................................................................................ 372
7.11 อ้างอิง (References) ....................................................................................................... 375
แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 7 ........................................................................................................... 376
ภาคผนวก ก ( Property Data and Conversion Factors)................................................................ 385
ดัชนี (Index) ................................................................................................................................ 404

xii
ประวัติผู้เขียน
โชคชัย จฑ
ู ะโกสิทธิก์ านนท์ ปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่ง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์
ประจำ�ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหิดล สำ�เร็จการศึกษาจาก
2006-2011 Ph.D. Mechanical Engineering, Lehigh University, Pennsylvania, USA.
2001-2004 M.Eng. Mechanical Engineering, Kasetsart University, Bangkok, Thailand.
1995-1998 B.Eng. Mechanical Engineering, Mahidol University, Nakorn Phathom, Thailand.

422 การวัดทางวิศวกรรมเครื่องกล
หนังสือเลมนีอ้ ธิบายสวนประกอบตาง ๆ ของเครือ่ งมือวัดทีแ่ ปลงจากปริมาณทางกลและความรอน ไปเปน
ปริมาณทางไฟฟาที่งายตอการบันทึกผลในรูปของขอมูลดิจิตอล หรือ อนาล็อก, นอกจากนั้นแลวผูเขียนยังได
นำเสนอวิธีการทางสถิติ ที่จำเปนในการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการวัดและการหาความคลาดเคลื่อนของ
แตละองคประกอบของเครื่องมือวัด
หนังสือเลมนีจ้ ดั เนือ้ หาในแตละบทไดเหมาะสมงายตอการศึกษา และมีแบบฝกหัดทายบททีด่ ี เหมาะสำหรับ
นักศึกษาปริญญาตรี ตลอดจนผูสนใจที่จะเรียนรูระบบเครื่องมือวัด

รองศาสตราจารย ดร.ธงชัย ไพเราะ


Virginia State University

หนังสือเลมนี้จะชวยใหชีวิตของเรางายขึ้น และแนนอนวา ผูที่ตั้งใจศึกษาในเรื่องของ "การวัดทาง


วิศวกรรมเครื่องกล" จะสามารถทำไดโดยสะดวกขึ้น ดร.โชคชัย ปูพื้นใหเราเห็นภาพรวมกอน แลวจึงเขาไปสู
เรื่องของวงจรไฟฟาและรายละเอียดของอุปกรณตางๆในระบบ จากนั้นจะเปนสวนของการวิเคราะหขอมูล
ซึ่งตัวเนื้อหาจะเปนการเริ่มตนจากงายไปหายาก จึงเหมาะกับผูที่ตองการศึกษาในทุกระดับ

นันทวัฒน จีนาพันธ
ผูจัดการทั่วไป บริษัท เอ็มพอริโอ คอนโทรลส จำกัด

การศึกษาทางดานวิศวกรรมศาสตร มีความสำคัญกับการพัฒนาและการขับเคลื่อน เทคโนโลยีของ


ประเทศไทยเป น อย า งยิ ่ ง โดยเฉพาะยุ ค สมั ย ที ่ เ ศรษฐกิ จ ของโลกขั บ เคลื ่ อ น โดยใช เ ทคโนโลยี เ ป น ตั ว นำ
หนึ่งในสวนประกอบสำคัญของการศึกษาคือ แหลงรวบรวมความรู เชน เว็บไซต โซเชียลมีเดีย เปนตน
อยางไรก็ตาม การรวบรวมความรูเฉพาะเรื่องเปนหมวดหมู ซึ่งสามารถเขาถึงไดงาย และงายตอการเผยแพร
ไดแก ตำรา หรือ หนังสือ ยังมีความจำเปน ตอระบบการศึกษา วิชาการ และการเรียนการสอน เปนอยางยิ่ง

ผศ.ดร.จักรกฤษณ ศุทธากรณ
คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล
ประธานสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตรแหงประเทศไทย สมัยที่ 41
และ Trustee of International RoboCup Federation

การวัดทางวิศวกรรมเคร�องกล
ISBN 978-616-443-205-5

9 786164 432055

ราคา 420 บาท

You might also like