You are on page 1of 4

วิชา ว30284 สัมมนาสถิติและเค้าโครงงาน

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564


เรื่อง The Quantum Physics Theory and the Convergence Transformation of the
Communication Elements in the Digital Age
ภาษาไทย ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวม และการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล
นาเสนอวันที่ 21 ธันวาคม 2564

โดย
1.นาย อภิญญา นิยะนุช ชั้น ม.4/3 เลขที่ 8

บทคัดย่อ
จุดประสงค์ของบทความนี้เพื่อนาเสนอประเด็นในการวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางนิ เทศศาสตร์ที่ไ ม่ใช่
ลักษณะเดิม โดยพิจารณาไปที่องค์ประกอบพื้นฐานทางการสื่อสารที่สามารถทับซ้อน ควบรวม และโอนถ่าย
จาก สภาพหนึ่งไปเป็นสภาพอื่น ๆ ได้ ทั้งนี้โดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีควอนตัมฟิ สิกส์และเทคโนโลยีดิจิทัล
คาสาคัญ: ทฤษฎีควอนตัมพิสิกส์, การควบรวมและการแปลงรูป, การสื่อสารในยุคดิจิทัล

เอกสารอ้างอิง
ศิริชัย ศิริกายะ, (2019), The Quantum Physics Theory and the Convergence Transformation of the Communication Elements in
the Digital Age, Siam Communication Review
( )
อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา
Projects jornal, วารสารโครงงาน
Princess Chulabhorn’s Science High loei โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย
Vol.1 no.1,2021 ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ 2564

ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวม และการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล
The Quantum Physics Theory and the Convergence Transformation of the
Communication Elements in the Digital Age

อภิญญา นิยะนุช และครูที่ปรึกษา


โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย
Email : bookkapom@gmail.com

บทคัดย่อ เดียวอยู่ใน ทวิภาวะ หรือตัวสื่อกับตัวสาร อาจจะอยู่ในลักษณะ


ของการควบรวมเข้าไว้ด้วยกันหรือแก่งแย่งความมีพลังเหนือกั น
จุดประสงค์ของบทความนี้เพื่อนาเสนอประเด็นในการ
วิจัยและงานสร้างสรรค์ทางนิเทศศาสตร์ที่ไม่ใช่ ลักษณะเดิม โดย ในบางกรณี เราจะพบว่า สื่อคือสารตาม แนวคิดของ McLuhan
พิจารณาไปที่องค์ประกอบพื้นฐานทางการสื่อสารที่สามารถทับซ้อน (1964) หรือข้อโต้แย้งได้ว่า สารเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์
ควบรวม และโอนถ่ายจาก สภาพหนึ่งไปเป็นสภาพอื่น ๆ ได้ ทั้งนี้ ไม่ใช่ตัวสื่อก็ เป็นไปได้ ในขณะที่การควบรวมและการทับซ้อนของ
โดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์และเทคโนโลยีดิจิทัล องค์ประกอบทางการสื่อสารเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ใน ขณะเดียวกัน
การแปลงรูปหรือการข้ามผ่านขององค์ ประกอบของการสื่อสารตัว
1.บทนา หนึ่งกลายเป็นอีกองค์ ประกอบอีกตัวหนึ่งก็เกิดขึ้นได้อยู่ตลอดเวลา
จุดประสงค์ของบทความนี้ เพื่อชี้ให้เห็นมุม มองที่ ของการ สื่อสารในยุคดิจิทัล เช่น ตัววิ่งราคาหุ้นประจาวันที่อยู่
แตกต่างในการมองปัญหาการวิจัย และการ สร้างสรรค์ทางนิเทศ ด้านล่างของข่าวเที่ยงวันทางโทรทัศน์ อสมท เป็นตัว สารที่ทับซ้อน
ศาสตร์ จากที่เคยใช้กันอยู่ใน ขณะนี้ที่ยังมองการศึกษาในลักษณะที่ ในลักษณะที่น่าจะเป็นปรสิตเนื้อหาของ ข่าวเที่ยงวัน แต่ผู้ชมอาจ
เป็นการแยก ส่วนต่าง ๆ ของแต่ละองค์ประกอบของการสื่อสาร มองว่าเป็นข่าวสาคัญสาหรับ ผู้สนใจราคาหุ้นเป็นเนื้อหาหลัก ผู้ชม
และมักจะศึกษาเฉพาะในแต่ละองค์ประกอบนั้น หรือ คงความเป็น บางคนกลับเห็น ว่าเป็นสิ่งรบกวน จะเห็นว่าประเด็นเหล่านี้เป็นทั้ง
องค์ประกอบเหล่านั้นอย่างตายตัว เช่น ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ตัวสื่อ ตัว เรื่อง การซับซ้อนและการข้ามผ่านขององค์ประกอบของ การสื่อสาร
สาร บริบทของการสื่อสาร รหัสของตัวสาร ปฏิกิริยาตอบกลับ และ ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วการแยกแต่ละองค์ ประกอบมาศึกษาวิจัยหรือ
สิ่งรบกวน ใน บทความนี้พยายามจะชี้ให้เห็นว่าเมื่อเทคโนโลยีดิจิทัล นามาสร้างเป็นงาน สร้างสรรค์เฉพาะแต่ละองค์ประกอบออกมาทา
ถูกนามาใช้เป็นเทคโนโลยีสาคัญทางการสื่อสารใน ขณะนี้แล้ว ให้การ สื่อสารดังกล่าวอยู่ในลักษณะที่ไม่อยู่ในสภาพที่ สมบูรณ์
องค์ประกอบทางการสื่อสารทั้ง 8 ตัวดัง ที่ได้กล่าวข้างต้นไม่ได้คง แท้จริงขึ้น ประเด็นเหล่านี้ต้องหันกลับมาดู แนวคิดที่จะเป็นตัว
อยู่ในสภาวะดังเดิมแต่ได้ แสดงออกทั้งในสภาวะของการทับซ้อน กากับพอที่ทาความเข้าใจใน ประเด็นนี้เพิ่มมากขึ้น
(overlapping) และ/หรือการควบรวมเข้าด้วยกัน ในบางครั้ง ก็
สามารถเห็นได้ชัดเจนแต่ในบางลักษณะก็ยากที่จะ เห็นได้ อาทิ
บทบาทของผู้ส่งสารกับผู้รับการสื่อสาร ในขณะนี้ทั้งสองบทบาททับ
ซ้อนกันจนเราจาเป็นต้อง เรียกว่า “ผู้ทาการสื่อสาร” เพราะบุคคล
Projects jornal, วารสารโครงงาน
Princess Chulabhorn’s Science High loei โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย
Vol.1 no.1,2021 ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ 2564
แนวคิดกลศาสตร์ควอนตัมกับพฤติกรรมของ 4. หลักของไม่มีค วามจริงเชิงภววิสัย (No objective
องค์ประกอบการสื่อสาร Reality) ทฤษฎีควอนตัมท้าทายแนวคิดทาง วิทยาศาสตร์แบบ
ดั้งเดิม ที่ตั้งมั่นอยู่ในเรื่องของการแสวงหาความรู้ที่ปราศจากค่านิยม
ในยุคของวิทยาศาสตร์ก่อนศตวรรษที่ 20 มนุษย์ถูก ส่วนบุคคลเข้าไป เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ตนแสวงหาอยู่ แต่เมื่อยอมรับ
ครอบงาด้วยความคิดของวิทยาศาสตร์ตาม แนวนิวตันฟิสิกส์ โดย กัน ว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะมีความหมายขึ้นมาต่อเมื่อมีความ สัมพันธ์
ยอมรับโลกทัศน์ของความเป็น จริงเชิงภววิสัย ซึ่งความเป็นจริง กับสิ่งอื่น ๆ ผู้ที่ทาการศึกษาหรือทาการวิจัย หรืองานสร้างสรรค์
ดังกล่าวถูกค้นพบได้ เพียงแต่ว่ามนุษย์ต้องหาทางค้นพบเอาเอง ย่อมมีความสัมพันธ์กับงานที่ ตนเองกาลังกระทาอยู่ ผู้ทาการศึกษา
ธรรมชาติ ได้สร้างความลงตัวอย่างสมเหตุสมผลเอาไว้ให้แล้ว เป็น เป็นผู้กาหนดตัว เรื่องที่ทาการศึกษาหรือทางานสร้างสรรค์ และก็
โลกทัศน์แบบกลไกที่สามารถคาดทานายได้ ทาความเข้าใจได้โดย ต้องหาวิธีการให้บรรลุผลสาเร็จตามที่ได้คาดหวังเอา ไว้ นั่นก็คือ
ผ่านการแสวงหาความรู้ที่คิดมา จากความเป็นเหตุและเป็นผลอยู่บน วิธีการที่เราศึกษาหรือวิธีการทางานกระทา เป็นตัวกาหนดผลที่เรา
พื้นฐานภววิสัยมี ความคงที่และตายตัว มีความเชื่อมโยงอย่างสม ต้องการศึกษา ถ้าผู้ศึกษา เปลี่ยนวิธีการผลก็จะเปลี่ยนตามไป
เหตุ สมผลและมีตามต่อเนื่องกัน การปฏิเสธแนวคิดดัง กล่าวเริ่มต้น ดังนั้นความเป็น ภววิสัยที่ผู้ทาการศึกษาหรือผู้สร้างสรรค์งานโดยไม่
เมือ่ ต้นศตวรรษที่ 20 ในลักษณะของการ โต้แย้งที่ว่าโลกไม่ได้มี เอาตัวตนเข้าไปเกี่ยวข้องจึงไม่มีจริง
ลักษณะเป็นเครื่องยนต์กลไก Fritjof Capra นักฟิสิกส์รางวัลโนเบิล
Capra (1982, 87) ได้สรุปทฤษฎีควอนตัม เอาไว้พอ
ได้ให้คาอธิบาย ทฤษฎีควอนตัมเอาไว้ในหนังสือเรื่อง The Turning
สรุปได้ดังนี้ “สรรพสิ่งของโลกมีความ สัมพันธ์เกี่ยวโยงถึงกันและมี
Point: Society and the Rising Culture (1982) เอาไว้ให้เห็นข้อ
แตกต่างจากนิวตันฟิสิกส์ซึ่งเป็นฟิสิกส์ สมัยเก่าอย่างสิ้นเชิง ความเป็นพลวัตร สสาร ไม่สามารถถูกแยกออกจากตัวกิจกรรมของ
มันเองได้ การจะทาความเข้าใจต่อสภาวะเช่นนี้ได้ขึ้นอยู่กับตัว
ดังต่อไปนี้
บริบทของพลวัตร และมีการแปลงเปลี่ยนปรับสภาพ ในตัวของมัน
1. หลักความไม่แ น่นอน (Uncertainty) สรรพสิ่งถูก เองจากสภาพหนึ่งไปอีกสภาพหนึ่งได้”
กาหนดโดยสภาพแวดล้อมและ การมีความสัมพันธ์กับสิ่งอื่น
โดยเฉพาะเรื่องนี้ที่ พิจารณาไปที่ในสภาวะมากกว่าหนึ่งลักษณะ นั้น จากแนวคิดจากทฤษฎีควอนตัมข้างต้นนี้ ผู้ทาการวิจัย
และผู้สร้างสรรค์งานนิเทศศาสตร์ต้องหัน กลับมาพิจารณาวิธีการ
ก็คือ เป็นได้ทั้งอนุภาคอาจอยู่ในสภาวะของคลื่นก็ได้
วิจัย และการทางาน สร้างสรรค์กันใหม่โดยมุ่งไปที่การทางานเพื่อ
2. หลักความน่าจะเป็น (Probability) การยอมรับ สร้าง กระแส สอดคล้องกันที่กับนักฟิสิกส์รางวัลโนเบิล Werner
หลักการความไม่แน่นอนนาไปสู่ การปฏิเสธโลกของกลไกในระดับ Heisenberg ได้กล่าวเอาไว้ว่า “สิ่งที่เรา สังเกตมิใช่ตัวธรรมชาติเอง
อะตอมสสารไม่ได้ ปรากฏอย่างตายตัวคงที่ ไม่มีกาหนดเวลาอย่าง แต่เป็นธรรมชาติที่ปรากฏ ต่อวิธีการที่เราตั้งคาถามขึ้น” ผู้สังเกต
แน่ชัด และไม่มีกรรมวิธีการดาเนินการอย่างตายตัว แต่สสาร เป็นผู้เลือกวิธี การในการตรวจวัดผล ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะเป็นตัว
ปรากฏออกมาในลักษณะของแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นใน ลักษณะของ กาหนดคุณสมบัติของวัตถุที่ถูกสังเกตด้วยเช่นกันใน ระดับหนึ่ง ถ้า
ความน่าจะเป็นทาให้ไม่สามารถคาด ทานายสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่าง หากวิธีการศึกษาเปลี่ยนไปคุณสมบัติ ของวัตถุที่ถูกสังเกตก็จะ
ตายตัว จึงได้แต่คาด ทานายถึงความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น เปลี่ยนไปเช่นกัน (อ้างไว้ใน Capra, 1975, หน้า 148)
3. หลักของการเชื่อมต่อถึงกัน (Interconnection สรุป
and Interaction) ทฤษฎีควอนตัมเน้นไปถึงเรื่องความสัมพันธ์
ของสิ่งต่าง ๆ ไม่ได้เน้นไปที่ตัวสิ่งนั้น ๆ เพราะฉะนั้น ประเด็นหลัก ตามที่นาเอาแนวคิดทฤษฎีควอนตัมมานา เสนอผู้เขียน
คือเรื่องความเชื่อมโยง ปฏิสัมพันธ์ และ กระบวนการ สรรพสิ่งต่าง หวังว่า นักนิเทศศาสตร์ที่ทางานวิจัยและ งานสร้างสรรค์น่าหันมา
ๆ ไม่มีความหมายโดยตัว เองถ้าเมื่อแยกออกมา ความเข้าใจต่อสิ่ง พิจารณาปรับวิธีการคิดตั้งแต่ พิจารณาตัวรากฐานคือองค์ประกอบ
เหล่านี้จะเกิด ขึ้นได้เมื่ออยู่ในสภาวะที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งอื่น ๆ ต่าง ๆ ของการ สื่อสารที่สามารถที่จะทับซ้อนกัน และข้ามผ่าน
ดัง นั้นกฎของความสมเหตุสมผลดังเดิมจึงไม่เพียงพอที่ อธิบาย แปลง รูปตัวเองกลายเป็นองค์ประกอบอื่น ๆ ได้ การยอมรับ
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งปรากฏการณ์ ทางการสื่อสาร นั่นก็คือ แนวคิดดังกล่าวน่าจะเป็นทิศทางใหม่ที่จะนาไปสู่ กระบวนทัศน์หลัก
พฤติกรรมของส่วนย่อยไม่ได้ เป็นตัวกาหนดพฤติกรรมโดยรวม แต่ (Paradigm) ที่นามาใช้ในการสร้าง องค์ความรู้ทางด้านนิเทศศาสตร
พฤติกรรมโดย รวมเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของส่วนย่อย ๆ ต่าง ๆ
Projects jornal, วารสารโครงงาน
Princess Chulabhorn’s Science High loei โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย
Vol.1 no.1,2021 ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ 2564
ข้อเสนอแนะ
ข้อมูลทั้งหมดเป็นเพียงการนาแนวคิดมาประยุกต์
ประกอบกับทฤษฎีทางวิทายาศาสตร์คสอนตัม ยังไม่การเก็บข้อมูล
หรือสถิติที่แน่ชัด ไม่สามารถยืดยันได้ชัดเจน

กิตติกรรมประกาศ
โครงการวิจัยนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อส่งมอบความรู้ แนวคิด
และความสัมพันธ์ ระหว่างทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับ การแปลงรูป
องค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล เพื่อให้เห็นภาพและความรู้
อย่างมากที่สุด

เอกสารอ้างอิง
[1] Capra, F. (1975). Tao of Physics. CO: Shambhala. .
(1982). The Turning Point: Society, and the Rising Culture.
NY: Simon and Schuster.

[2] McLuhan, M. (1964). Understanding Media: The


Extensions of Man. NY: McGraw-Hill Book Company.

[3] Wolf, E. A. (1989). Taking the Quantum Leap. NY:


Haper & Row Publishers.

[4] ศิริชัย ศิริกายะ, (2019), The Quantum Physics Theory


and the Convergence Transformation of the
Communication Elements in the Digital Age, Siam
Communication Review

You might also like