You are on page 1of 41

ทฤษฎีเกสตัลท์

นักจิตวิทยา
การประยุกต์ใช้
หลักและเหตุผล
นักจิตวิทยาคนสำคัญของทฤษฎีนี้

แมกซ์ เวอร์ ไทเมอร์ (Max Wertheimer) วุล์แกงค์ โคห์ เลอร์ (Wolfgang Kohler) เคริ์ท คอฟฟ์ กา (Kurt Koffka)  เคริ์ท เลวิน (Kurt Lewin)
ทฤษฎี สนามของเลวิน   (Lewin’s Field Theory)

 Kurt Lewin  นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน (1890 – 1947)  มีแนวคิดเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ เชน ่ เดียวกับกลุม่ เกส
ตัลท ์ ที่วา่ การเรี ยนรู้   เกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการรับรู้   และกระบวนการคิดเพื่อการแก้ไขปัญหาแตเ่ ขาได้นำเอาหลัก
การทางวิทยาศาสตร์มาร่วมอธิบายพฤติกรรมมนุ ษย ์ เขาเช่ือวา่ พฤติกรรมมนุ ษยแ์ สดงออกมาอยา่ งมีพลังและทิศทาง 
(Field of Force)   สงิ่ ที่อยูใ่ นความสนใจและตอ ้ งการจะมีพลังเป็ นบวก  ซ่ึงเขาเรี ยกวา่ Life space   สงิ่ ใดที่อยูน
่ อก
เหนื อความสนใจจะมีพลังเป็ นลบ
Lewin    กำหนดวา่   สงิ่ แวดลอ ์ จะมี  2  ชนิ ด  คือ
้ มรอบตัวมนุ ษย   

1.    สงิ่ แวดลอ


้ มทางกายภาพ  (Physical   environment) 2.    สงิ่ แวดลอ
้ มทางจิตวิทยา  (Psychological environment) 
ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory)
เกสตัลท์ เป็ นศัพท์ในภาษาเยอรมันมีความหมายว่า “แบบแผน” หรื อ “รู ปร่ าง”(form or pattern) ซึ่งในความ
หมายของทฤษฎี หมายถึง .”ส่ วนรวม” (Whole-ness) แนวความคิดหลักของทฤษฎีน้ ี กค็ ือ ส่ วนรวมมิใช่เป็ นเพียงผล
รวมของส่ วนย่อย ส่ วนรวมเป็ นสิ่ งที่มากกว่าผลรวมของส่ วนย่อย ( the whole is more than the sum of the parts) กฎ
การเรี ยนรู้ของทฤษฎีน้ ี สรุ ปได้ดงั นี้
การรับรู ้
(Perception)
การเรียนรู้ เกิดขึน้ ได้ 2 ลักษณะ คือ

การรับรู้ (Perception)

การรับรู้หมายถึงการแปลความหมายหรื อการตีความต่อสิ่ งเร้าของ อวัยวะรับสัมผัสส่ วน ใดส่ วนหนึ่ง


หรื อทั้งห้าส่ วน ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง

การหยัง่ เห็น (Insight)

หมายถึง การเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง โดยจะเกิดแนวความคิดในการ เรี ยนรู้หรื อการแก้ปัญหา ขึ้นอย่างฉับ


พลันทันทีทนั ใด (เกิดความคิดแวบขึ้นมาในสมองทันที) มองเห็นแนวทาง การแก้ปัญหาตั้งแต่จุดเริ่ มต้น
เป็ นขั้นตอนจนถึงจุดสุ ดท้ายที่สามารถจะแก้ปัญหาได้
กฏแห่งความแน่นอนหรื อชัดเจน (Law of Pragnanz)

กฏแห่งการสิ้ นสุ ด(Law of Closure)


กฏแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity)

การรับรู ้ (Perception

กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closer) กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity)

กฏแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity)



กฏแห่งความแน่นอนหรือชดเจน (Law of
Pragnanz) 

ซึ่งกล่าวว่าเมื่อต้องการให้มนุษย์เกิดการรับรู ้ ในสิ่ งเดียวกัน ต้องกำหนดองค์ประกอบขึ้น 2 ส่ วน คือ


- ภาพหรื อข้อมูลที่ตอ้ งการให้สนใจ เพื่อเกิดการเรี ยนรู้ในขณะนั้น (Figure)
- ส่ วนประกอบหรื อพื้นฐานของการรับรู้ (Background or Ground) เป็ นสิ่ งแวดล้อมที่ประกอบอยูใ่ นการเรี ยนรู้
 กฏแห่งความคล้ายคลึง (Law of
Similarity)
กฎนี้เป็ นกฎที่ Max Wertheimer ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1923 โดยใช้เป็ นหลักการในการวางรู ปกลุ่ม
ของการรับรู ้ เช่น กลุ่มของ เส้น หรื อสี ที่คล้ายคลึงกัน หมายถึงสิ่ งเร้าใด ๆ ก็ตาม ที่มีรูปร่ าง ขนาด
หรื อสี ที่คล้ายกัน คนเราจะรับรู้วา่ เป็ นสิ่ งเดียวกัน หรื อพวกเดียวกัน 

จากภาพข้างบนนี้ เราจะเห็นว่า รู ปสี่ เหลี่ยมเล็ก ๆ


แต่ละรู ป ที่มีสีเข้ม เป็ นพวกเดียวกัน 
ิ (Law of
กฏแห่งความใกล้ชด
Proximity) 
สาระสำคัญของกฎนี้ มีอยูว่ า่ ถ้าสิ่ งใด หรื อสถานการณ์ใดที่เกิดขึ้นในเวลาต่อเนื่องกัน หรื อใน
เวลาเดียวกัน อินทรี ยจ์ ะเรี ยนรู้ ว่า เป็ นเหตุและผลกัน หรื อ สิ่ งเร้าใดๆ ที่อยูใ่ กล้ชิดกัน มนุษย์มีแนว
โน้มที่จะรับรู ้ สิ่ งต่างๆ ที่อยูใ่ กล้ชิดกันเป็ นพวกเดียวกัน หมวดหมู่เดียวกัน 

จากภาพข้างบนนี้ เราจะเห็นว่ามีทหารเป็ น 5
Columns 
ิ้ สุด (Law of
กฏแห่งการสน
Closure) 
สาระสำคัญของกฎนี้มีอยูว่ า่ "แม้วา่ สถานการณ์หรื อปั ญหายังไม่สมบูรณ์ อินทรี ยก์ จ็ ะเกิด
การเรี ยนรู ้ ได้จากประสบการณ์เดิมต่อสถานการณ์น้ นั " ลองดูภาพต่อไปนี้ แล้วลองพิจารณาดูวา่
ถึงแม้เส้นต่าง ๆ ไม่จำเป็ นต้องลากไปจนสุ ด หรื อบรรจบกัน แต่เมื่อสายตามองก็พอจะเดาได้วา่
น่าจะเป็ นรู ปอะไร

ภาพต่อไปนี้กเ็ ช่นกัน แม้จะไม่ใช่ภาพที่เขียนขึ้นอย่างสมบูรณ์ 


กฎแห่งความสมบู รณ์ (Law of Closer) 

สิ่ งเร้าที่ขาดหายไปผูเ้ รี ยนสามารถรับรู้ให้เป็ นภาพสมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม


กฎแห่งความต่อเนือ
่ ง (Law of
Continuity) 
สิ่ งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผูเ้ รี ยนจะรับรู ้วา่ เป็ นพวกเดียวกัน 
การหยัง่ เห็น (Insight)
หมายถึง การเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง โดยจะเกิดแนวความคิดในการ เรี ยนรู ้หรื อการแก้
ปัญหา ขึ้นอย่างฉับพลันทันทีทนั ใด (เกิดความคิดแวบขึ้นมาในสมองทันที) มองเห็น
แนวทาง การแก้ปัญหาตั้งแต่จุดเริ่ มต้นเป็ นขั้นตอนจนถึงจุดสุ ดท้ายที่สามารถจะแก้
ปัญหาได้
การประยกุ ตใ์ ช้
หลักการจัดการ
ึ ษา/การสอน
ศก
1.กระบวนการคิดเป็ นกระบวนการสำคัญในการเรี ยนรู้
2. การสอนโดยการเสนอภาพรวมเพื่อให้ผเู ้ รี ยนเห็นและเข้าใจ
3. การส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีประสบการณ์มาก ได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย
4. การจัดประสบการณ์ใหม่ ให้มีความสัมพันธ์กบั ประสบการณ์เดิม
5. การจัดระเบียบสิ่ งเร้าที่ตอ้ งการให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ได้ดี
6. ในการสอน ครู ไม่จำเป็ นต้องเสี ยเวลาเสนอเนื้ อหาทั้งหมด
7. การเสนอบทเรี ยนหรื อเนื้ อหาควรจัดให้มีความต่อเนื่องกัน
8. การส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย
ทฤษฏีการเรียนรูเ้ กสต ัลท์สามารถนำแผนการสอนมาใชไ้ ด้ด ังนี้
การนำทฤษฎีนม ้
ี้ าใชในการเรี
ยนการสอน

ในการสอนครูควรจะให ้ผู ้เรียนมองเห็นโครงสร ้าง ทัง้ หมดของเรือ ่ งทีจ่ ะสอน


ก่อน เพือ ่ ให ้เด็กเกิดการรับรู ้เป็ นสว่ นรวมแล ้วจึงแยกสว่ นออกมาสอนเป็ นตอนๆ
เน ้นให ้ผู ้เรียนเรียนด ้วยความเข ้าใจมากกว่าเน ้นการเรียนแบบท่องจำการเรียน
ด ้วยความเข ้าใจต ้องอาศย ั สอื่ ทีช ั เจนประกอบการเรียนและต ้องเรียนด ้วยการ
่ ด
ปฏิบต ั จิ ริงหรือผู ้เรียนลงมือกระทำเอง( Learning by Doing )ฝึ กให ้ผู ้เรียน
สามารถโยงความสม ั พันธ์ระหว่างความรู ้ ทเี่ รียนไปแล ้วกับความรู ้ใหม่วา่ มีความ
แตกต่างและคล ้ายคลึงกันอย่างไรเพือ ่ ชว่ ยให ้จำได ้นาน

( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตดั สิ น


ความดีความชัว่ ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น
การนำหลักการทฤษฎีกลุม
่ ความรู ้ ความเข ้าใจ
ไปประยุกต์ใช ้
1.ครู ควรสร้างบรรยากาศการเรี ยนที่เป็ นกันเอง
2. เปิ ดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรี ยน
3. การกำหนดบทเรี ยนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็ นขั้นตอน
4. คำนึงถึงเจตคติและความรู้สึกของผูเ้ รี ยนพยายามจัดกิจกรรม
5. บุคลิกภาพของครู และความสามารถในการถ่ายทอดจะเป็ นสิ่ งจูงใจ
ล ะ เห ตุ ผล
หลกั กา รแ
ตัวอย่ างการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์

ระดับชั้นเด็กเล็กประถมศึกษาปี ที่ 2
1. วัตถุประสงค์
1.1 เด็กๆบอกกิจกรรมที่ควรปฏิบตั ิในวันเข้าพรรษาได้

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระที่ควรรู้
ความหมายของวันเข้าพรรษา
ได้แก่ การทำบุญตักบาตร ถวายเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน
2.2 ประสบการณ์สำคัญ

3.กิจกรมม
2) การตอบคำถามและอภิปรายภาพประกอบ
3) ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครู ทกั ทายและเตรี ยมเด็กให้พร้อมก่อนเรี ยนด้วยการร้องเพลงวันเข้าพรรษา แล้วถามเด็กว่า
วันเข้าพรรษาตรงกับเดือนอะไร พระจำพรรษากี่เดือน เมื่อเด็กตอบถูกครู พดู ชมเชยขั้นสอน
2. ครู และเด็กร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมวันเข้าพรรษา โดยใช้ภาพประกอบ ,VCD
ประกอบการสอน เรื่ องวันสำคัญทางศาสนา (วันเข้าพรรษา)
3. ครู และเด็กๆร่ วมกันสรุ ปเพิ่มเติมถึงกิจกรรมในวันเข้าพรรษา
4. การประเมินผล
5. สื่ อ (ระบุสื่อ)
-เพลงวันเข้าพรรษา
-ภาพประกอบการสอน
-VCD ประกอบการสอน เรื่ องวันสำคัญทางศาสนา (วันเข้าพรรษา)
ภาพ: โรงเรี ยน โชคชั ย
สรุ ปกิจกรรมสั้นๆพอเข้าใจ

1. ครู ทกั ทายและเตรี ยมเด็กให้พร้อมก่อนเรี ยนด้วยการร้องเพลงวันเข้าพรรษา


2. ครู และเด็กร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับความสำคัญของวันเข้าพรรษา โดยใช้ภาพประกอบ
VCDประกอบการสอน เรื่ องวันสำคัญทางศาสนา (วันเข้าพรรษา)
3. ร่ วมกันสรุ ป สิ่ งที่ประทับใจขณะสอน เด็กๆร้องเพลงตามได้ และเด็กส่ วนใหญ่สามารถตอบคำถามได้ถูก
ต้อง สิ่ งที่เป็ นอุปสรรคหรื อสิ่ งที่คิดจะแก้ไข เด็กบางคนยังไม่เข้าใจความหมายของวันเข้าพรรษา
Reference
วัลลภา เตชะวัชรี กุล. 2555. ทฤษฎีเกสตัลท์ Gestalt Theor. [ระบบออนไลน์].
แหลง่ ที่มา http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm

นันทวัฒน์ บุ ญไธสง. 2558. จิตวิทยากลุม


่ เกสตัลท์ (Gestalt Psychology). [ระบบออนไลน์].
แหลง่ ที่มา http://www.geocities.com/sophonja/psycho/gestprinci.html
Teerawoot Pongkan. 2560. จิตวิทยาเกสตัลต.์ [ระบบออนไลน์].
แหลง่ ที่มา http://learners.in.th/blog/ksomphol/292672

Anya Minsoh. 2560. เกสตั ลต.์ [ระบบออนไลน์].


แหลง่ ที่มา http://anya090.blogspot.com/2012/10/gestalt-theory.html

 UIBLOGAZINER. 2560.ทฤษฎีเกสตอลทสำ ์ หรับงานออกแบบ UI . [ระบบออนไลน์].


แหลง่ ที่มา http://www.uiblogazine.com/gestalt-for-uid/
สมาชิกกลุม

1.นายกฤษดา สัมมาสูงเนิน 6032403005
2.นางสาวณัฐกฤตา จันทะรัตน์ 6032403026
3.นายณัฐพล โพธิ์วฑ
ิ ูรย์ 6032403028

You might also like