You are on page 1of 30

7

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้


1. เอกสารที่เกี่ยวของกับคณิตศาสตร
1.1 ความหมายของคณิตศาสตร
1.2 ความสําคัญของคณิตศาสตร
1.3 ธรรมชาติของคณิตศาสตร
1.4 ประโยชนของคณิตศาสตร
2. เอกสารที่เกี่ยวของกับคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
2.1 หลักสูตรคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
2.2 จุดประสงคของคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
2.3 โครงสรางของคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
3. เอกสารที่เกี่ยวของกับการสอนคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
3.1 ความหมายของการสอนคณิตศาสตร
3.2 ความมุงหมายของการสอนคณิตศาสตร
3.3 ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร
3.4 หลักการสอนคณิตศาสตร
3.5 จิตวิทยาที่ใชในการสอนคณิตศาสตร
3.6 การสอนคณิตศาสตรโดยวิธีของ สสวท.
4. เอกสารที่เกี่ยวของกับแบบฝกทักษะ
4.1 ความหมายของแบบฝกทักษะ
4.2 ความสําคัญของแบบฝกทักษะ
4.3 หลักการสรางแบบฝกทักษะ
5. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับแบบฝกทักษะการคิดคํานวณ
6. เอกสารที่เกี่ยวของกับเวทคณิต
6.1 ประวัติเกี่ยวกับเวทคณิต
6.2 ความหมายของเวทคณิต
6.3 ความสําคัญของเวทคณิต
6.4 การบวกตามแนวเวทคณิต
7. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเวทคณิต 7
8

1. เอกสารที่เกี่ยวของกับคณิตศาสตร
1.1 ความหมายของคณิตศาสตร
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ( ราชบัณฑิตยสถาน , 2525 : 168 ) ใหความหมาย
ไววา คณิตศาสตรเปนวิชาที่วาดวยการคํานวณ
สมทรง ดอนแกวบัว ( 2528 : 1) กลาวถึงคณิตศาสตร ดังนี้
1. คณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับความคิด ใชคณิตศาสตรเปนเครื่องพิสูจนอยางมี
เหตุผลวา สิ่งที่เราคิดคํานึงเปนเรื่องจริงหรือไม สามารถนําไปแกปญหาในทางวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมตาง ๆ
2. คณิตศาสตรเปนภาษาอยางหนึ่ง คณิตศาสตรเปนภาษาสื่อความหมายไดชัดเจน
เชน 2 + 3 = 5 คณิตศาสตรเปนภาษาซึ่งผูเชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สื่อสารซึ่งกัน
และกัน ถาไมมีคณิตศาสตรจะไมมีเครื่องจักรเครื่องยนตและเครื่องไฟฟาอยางแนนอน
3. คณิตศาสตรมีลักษณะเปนวิทยาศาสตร โดยสรางแบบจําลองและศึกษาความ
สัมพันธของปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติ เชน เรขาคณิตแบบยุคลิก ปรากฏการณทาง
พันธุกรรม สามารถอธิบายในเชิงคณิตศาสตรในเชิงเมตริกซ การเพิ่มของประชากรสามารถอธิบาย
ในเชิงของคณิตศาสตรโดยใชเลขยกกําลัง เปนตน ความมีลักษณะเปนวิทยาศาสตรของคณิตศาสตร
นั้นเปนที่ยอมรับกันทั่วไปดังเชน “คณิตศาสตรเปนราชินีของวิทยาศาสตร”
4. คณิตศาสตรมีลักษณะเปนวิชาตรรกวิทยา เปนวิชาที่วาดวยเหตุผลและศึกษา
ระบบ ซึ่งสรางขึ้นโดยอาศัยขอตกลง ใชเหตุผลตามลําดับขั้นตอน คือ ทุกขั้นตอนเปนเหตุผล ตอ
กัน มี ความสัมพันธกันอยางแยกไมออก เราจะเห็นวาคณิตศาสตรนั้นเริ่มตนดวยเรื่องงาย ๆ และ
อธิบายขอคิดตาง ๆ ที่สําคัญซึ่งเริ่มตนอธิบาย จุด เสนตรง ระนาบ เรื่องอันเปนพื้นฐานเหลานี้นํา
ไปสูเรื่องตอไป การศึกษาเกี่ยวกับการใชเหตุผลนั้นมีประโยชนมหาศาล
5. คณิตศาสตรเปนศิลปะอยางหนึ่งเชนเดียวกับศิลปะอยางอื่น ความหมายของ
คณิตศาสตร คือ ความมีระเบียบและความกลมกลืนที่เกิดขึ้นภายใน นักคณิตศาสตรพยายามแสดง
ออกถึงคาสูงสุดของชีวิต ความสัมพันธและแสดงโครงสรางใหม ๆ ทางคณิตศาสตรออกมา การ
สํารวจความคิดเห็นใหม ๆ ทางคณิตศาสตรสงผลใหเกิดความคิดสรางสรรค
ฉวีวรรณ กีรติกร ( 2527 : 7) กลาววา คณิตศาสตรเปนเรื่องราวที่เกี่ยวกับตัวเลข เปน
ศาสตรของการคิดคํานวณและมีการใชสัญลักษณทางคณิตศาสตรเปนภาษาสากล เพื่อใหสื่อ
ความหมายเขาใจกันได เปนเครื่องมือแสดงความคิดเปนระเบียบที่มีเหตุผล มีวิธีการและหลักการ
ที่ แนนอน เพื่อนําไปใชในการแกปญหา
จากที่กลาวมาสรุปไดวา คณิตศาสตรเปนวิชาพื้นฐานและสามารถนํามาใชกับวิชาอื่น
ได และเปนวิชาที่วาดวยการคิดคํานวณและใชสัญลักษณ มีวิธีการ หลักการ และมีการแสดง ความ
9

คิดที่เปนประโยชนเปนเหตุเปนผล สามารถนําความรูที่ไดจากการเรียนไปใชในการแกปญหาใน
ชีวิตประจําวันได
1.2 ความสําคัญของคณิตศาสตร
ประไพจิต เนติศักดิ์ ( 2529 : 31-33 ) ใหความคิดวา คณิตศาสตรเปนวิชาที่สําคัญวิชา
หนึ่ง มิไดหมายความเพียงตัวเลขสัญลักษณเทานั้น ในปจจุบันคณิตศาสตรมีบทบาทมากกวาใน
อดีต และ มีความสําคัญในชีวิตประจําวันมากยิ่งขึ้น ซึ่งสรุปความสําคัญของวิชาคณิตศาสตรได
3 ประการ คือ
1. ความสําคัญในแงนําไปใชทั้งในชีวิตประจําวันและในงานอาชีพ
1.1 ประโยชนในชีวิตประจําวัน ทุกคนตองใชคณิตศาสตรและเกี่ยวของกับ
คณิตศาสตรอยูเสมอในแตละวัน จนบางครั้งเราไมทันนึกวาเรากําลังใชคณิตศาสตรอยู อาทิ ใน การ
ดูเวลา การหาระยะทาง การซื้อขาย การกําหนดรายรับ-รายจายในครอบครัว หรือแมแต การเลน
กีฬา เปนตน
1.2 ประโยชนในงานอาชีพตาง ๆ ความรูทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรเปน
สิ่งจําเปนสําหรับผูที่จะทํางานเกี่ยวกับอุตสาหกรรม และธุรกิจ ดังที่จะเห็นไดจากตัวอยาง
การประกาศรับสมัครงานของโรงงานอุตสาหกรรมทุกแหง ในหนาหนังสือพิมพในสหรัฐทุกวันนี้
มีขอความประโยคที่เหมือนกันวา “ถาทานขาดความรูทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ใบสมัคร
ของทานจะไมไดรับพิจารณา”
2. ความสําคัญของคณิตศาสตรในแงที่เปนเครื่องมือปลูกฝงและอบรมใหผูเรียนมี
คุณสมบัติ นิสัย ทัศนคติและความสามารถทางสมองบางประการ เชน ความเปนคนชางสังเกต
การรูจักคิดอยางมีเหตุผล และแสดงความคิดออกมาอยางเปนระเบียบ งาย สั้น และชัดเจน ตลอด
จนสามารถในการคิดวิเคราะหปญหา
3. ความสําคัญของคณิตศาสตรในแงวัฒนธรรม คณิตศาสตรเปนมรดกทาง วัฒน
ธรรม สวนหนึ่งที่คนรุนกอนไดคิดคนสรางสรรคไวและถายทอดใหคนรุนหลัง ทั้งยังมีเรื่องให
ศึกษา อีกมาก โดยไมคํานึงถึงผลที่จะเอาไปใชตอไป ดังนั้นในการศึกษาวิชาคณิตศาสตรควรจะ
เปน การศึกษาเพื่อชื่นชมในผลงานทางคณิตศาสตรที่มีตอวัฒนธรรม อารยธรรม และความกาว
หนาของมนุษยและยังเปนการศึกษาคณิตศาสตรเพื่อคณิตศาสตรเองไดอีกแงหนึ่งดวย
คณิตศาสตรจึงเปนวิชาที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการดําเนินชีวิตประจําวัน การจัดการ
ที่มุงใหคนดํารงชีวิตอยางมีความสุขในสังคม จึงขาดคณิตศาสตรไมได ดังนั้นจึงบรรจุวิชา
คณิตศาสตรเขาไวในหลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเพื่อใหนักเรียนไดศึกษาเลาเรียน

1.3 ธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร
10

วรรณี ธรรมโชติ ( 2537 : 1-2 ) กลาววา ในการศึกษาวิชาคณิตศาสตร ครูผูสอน


คณิตศาสตรควรจะเปนผูมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติของคณิตศาสตรในลักษณะตาง ๆ
พอสมควร เพื่อประโยชนในการเลือกจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับธรรมชาติของ
คณิตศาสตร ซึ่งมีลักษณะดังนี้
1. คณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับความคิดรวบยอด ( Concept) ในวิชาคณิตศาสตรมี
การสรางความคิดตาง ๆ ใหเกิดขึ้น ซึ่งความคิดเหลานี้ไดจากการสรุปความคิดที่เหมือน ๆ กัน
ซึ่งอาจจะไดจากประสบการณหรือปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น เรียกวา ความคิดรวบยอด
2. คณิตศาสตรเปนวิชาโครงสราง โครงสรางของคณิตศาสตรที่สมบูรณนั้นมีกําเนิด
มาจากธรรมชาติ แลวพยายามสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรขึ้น เพื่อแกไขปญหาของธรรมชาติ
แบบจําลองทางคณิตศาสตรประกอบดวย เทอมอนิยาม ( Undefined Term ) เทอมนิยาม ( Defined
Term ) และขอตกลงเบื้องตน (Assumption , Axiom ,Postulate ) จากนั้นก็ใชตรรกวิทยาสรุปออก
เปนกฎหรือทฤษฎี แลวนํากฎหรือทฤษฎีเหลานั้นไปประยุกตใชกับธรรมชาติทําใหเราเขาใจ ความ
เปนไปของธรรมชาติ สามารถควบคุมและปรับปรุงธรรมชาติใหดีขึ้น และนําธรรมชาติมาใชให
เปนประโยชนได ดังแผนภูมิที่ 1

แบบจําลองทางคณิตศาสตร
อนิยาม
สรุปในรูปนามธรรม นิยาม
สัจจพจน
ธรรมชาติ

ใชตรรกวิทยา

ประยุกต กฎหรือทฤษฎี

แผนภูมิที่ 1 โครงสรางของคณิตศาสตร
3. คณิตศาสตรเปนวิชาที่แสดงความเปนเหตุเปนผล คณิตศาสตรจะแสดงใหเห็น
อยางชัดเจนวา ทุกขั้นตอนในแตละเนื้อหาจะเปนเหตุเปนผลกัน และมีความสัมพันธกันอยางแยก
ไมออก ทําใหผูเรียนเรียนไดอยางสนุกสนาน เพลิดเพลินเปนคนอยากรูอยากเห็น สามารถคนพบ
ความจริงใหม ๆ ใหเกิดขึ้นได โดยใชความคิดและเหตุผลดังกลาว
4. คณิตศาสตรเปนวิชาที่ใชสัญลักษณ วิชาคณิตศาสตรจะมีการกําหนดสัญลักษณ
ขึ้นใชเพื่อสื่อความหมายเชนเดียวกับภาษา ซึ่งทําใหสามารถเขียนขอความทางคณิตศาสตรได รัด
กุม ชัดเจน รวดเร็ว และงายตอความเขาใจ ซึ่งนับไดวาคณิตศาสตรเปนภาษาอยางหนึ่ง ที่
11

กําหนดขึ้นดวยสัญลักษณที่รัดกุมและมีความหมายเฉพาะตัว ที่ทําใหสื่อความหมายไดถูกตอง เปน


ภาษาที่มีตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณแทนความคิด เชน 4+3 = ทุกคนสามารถหาคําตอบได
และ เขาใจความหมายตรงกันวาหมายถึงอะไร
5. คณิตศาสตรเปนศิลปะอยางหนึ่ง ในการศึกษาคณิตศาสตรนั้น นักคณิตศาสตร
นอกจากจะเปนนักคิดแลวจําเปนตองเปนผูที่มีจินตนาการ มีความชางสังเกต มีความละเอียด
รอบคอบ รูจักเลือกนิยาม ขอตกลงเบื้องตนที่ดี และไดสัดสวนกันตลอด ทั้งความสัมพันธตาง ๆ
ของโครงสรางทางคณิตศาสตร และจะตองพิจารณาวิเคราะหอยางละเอียดถี่ถวนวาอะไรคือสิ่งที่
เขาตองการจะพิสูจนกอนที่จะลงมือพิสูจน พรอมกับการใหเหตุผลอยางชัดเจนและถายทอดสิ่งที่
พิสูจนไดแลวนั้นออกมาอยางมีระบบ ระเบียบ เปนขั้นตอนอยางชัดเจนเชนเดียวกับจิตรกรที่มี
จินตนาการเกี่ยวกับภาพที่จะวาด กอนที่จะลงมือวาดอยางละเอียดและมีความประณีตมาก หรือกวี
ซึ่งไดผูกเคาโครงเรื่องไวอยางดี กอนที่จะลงมือเขียนบทรอยกรองหรือรอยแกวออกมาเปนเรื่องราว
อันแสนจะออนหวาน ทําใหผูอาน อานแลวซาบซึ้งในบทกวีนั้น จึงนับไดวาคณิตศาสตรเปนวิชาที่
ตองมีการสรางสรรคเปนอยางมากก เชนเดียวกับศิลปกรรมอื่น ๆ
จะเห็นวาธรรมชาติของคณิตศาสตรนั้นเปนวิชาที่เกี่ยวกับความคิดรวบยอดมีโครงสราง
แสดงความเปนเหตุผล เปนวิชาที่ใชสัญลักษณและเปนศิลปะอยางหนึ่ง ครูผูสอนคณิตศาสตรควร
จะเปนผูมีความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตรพอสมควร เพราะความรูดังกลาวจะ
เปนประโยชนสําหรับครู ในการที่จะเลือกและปรับปรุงกลวิธีในการสอน ใหเหมาะสมกับสภาพ
ของนักเรียนและสอดคลองกับธรรมชาติของคณิตศาสตร

1.4 ประโยชนของคณิตศาสตร
พิสมัย ศรีอําไพ ( 2533 : 6 ) กลาวถึงประโยชนของวิชาคณิตศาสตร ซึ่งอาจแบงได 2
ประการ คือ
1. ประโยชนในแงที่ใชในชีวิตประจําวัน ซึ่งทุกคนทราบดี คือ ทําใหบวก ลบ คูณ
หารเปน เปนความสามารถที่ใชในชีวิตประจําวันของคนทุกระดับทุกอาชีพ นอกจากนี้คณิตศาสตร
ยังเปนเครื่องมือปลูกฝงและอบรมใหผูเรียนมีนิสัย ทัศนคติและความสามารถทางสมอง
2. ประโยชนในแงใชประเทืองสมอง ผูที่ศึกษาคณิตศาสตรสูงขึ้นจะเห็นวาเนื้อหา
ของคณิตศาสตรบางตอนไมสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดโดยตรง แตเนื้อหาเหลานั้นเปน
สิ่งที่จะชวยฝกใหคนเราฉลาดขึ้น วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่เราหาประสบการณไดโดยทางสมอง
จึงเปนที่ยอมรับกันวา คณิตศาสตรชวยเพิ่มสมรรถภาพทางสมองใหมีความสามารถในการคิด การ
ตัดสินใจและแกปญหาไดดี ถาหากวาเราจะกลาววาคณิตศาสตรทําใหเรามีความฉลาดนั้น เราวัด
ความสามารถของมันสมอง
12

วรรณี โสมประยูร ( 2524 : 229 ) ไดกลาววาการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา


ควรใหนักเรียนเห็นประโยชนและคุณคาของคณิตศาสตรเพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจ รักที่จะ
เรียนคณิตศาสตรและยอมรับวาความรูที่ไดจากการเรียนคณิตศาสตรมีประโยชนคุมคากับการ อด
ทนตอการเรียนรู ซึ่งพอสรุปใหเห็นประโยชนของคณิตศาสตร ดังนี้
1. คณิตศาสตรมีประโยชนในชีวิตประจําวัน กิจกรรมตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน เชน
การซื้อขาย การดูเวลา การนับจํานวน ลวนตองอาศัยความรูทางคณิตศาสตรทั้งสิ้น
2. คณิตศาสตรชวยใหเขาใจโลก คณิตศาสตรชวยใหมนุษยเขาใจและรูจัก ปรา
กฎการณตาง ๆ เชน ทิศทางลม ฤดูกาล แรงดึงดูดของโลก โดยการอธิบายและคิดคํานวณทาง
คณิตศาสตร
3. คณิตศาสตรชวยสรางเจตคติที่ถูกตองทางการศึกษา คณิตศาสตรชวยใหผูเรียนมี
เหตุผลดวยตนเอง รูจักแกไขใหถูกตองเมื่อพบสิ่งที่ผิด และรูจักนําความรูที่ไดไปใชใหเกิด
ประโยชน
4. คณิตศาสตรเปนสิ่งจําเปนตอการเรียนวิทยาศาสตร เนื่องจากการเรียนทาง
วิทยาศาสตรตองมีความรูทางคณิตศาสตรอยางแทจริง เพราะตองอาศัยความสามารถในการสังเกต
ถี่ถวน การวัดที่ระมัดระวัง และการคิดเลขที่ถูกตอง

2. เอกสารที่เกี่ยวของคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
2.1 หลักสูตรคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
หลักสูตรคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา เปนสวนหนึ่งของมวลประสบการณที่จัด
ให ผูเรียนไดเกิดการเรียนรู มีความเขาใจหลักการและพื้นฐานทางคณิตศาสตร หลักสูตรประถม
ศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533 ) ไดจัดใหวิชาคณิตศาสตรอยูในกลุมทักษะอัน
เปนเครื่องมือในการเรียนรู เพื่อใหมีความรูความเขาใจและทักษะคณิตศาสตรพื้นฐาน สามารถนํา
ไปใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนเปนเครื่องมือในการวิเคราะหและเรียนรูมวลประสบการณในการ
ดํารงชีวิตตอไป
2.2 จุดประสงคของคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
จุดประสงคการเรียนรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตร
ประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533 ) ไดกําหนดจุดประสงคการเรียนรูเพื่อให
ผูเรียนไดพัฒนาความสามารถในการคิดคํานวณ สามารถนําคณิตศาสตรไปใชเปนเครื่องมือในการ
เรียนรูสิ่งตาง ๆ และในการดํารงชีวิตใหมีคุณภาพ จึงตองปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีความรูความเขาใจในคณิตศาสตรพื้นฐานและมีทักษะในการคิดคํานวณ
2. รูจักคิดอยางมีเหตุผลและแสดงความคิดออกมาอยางเปนระเบียบ ชัดเจน และ
รัดกุม
13

3. รูคุณคาของคณิตศาสตรและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร
4. สามารถนําประสบการณทางดานความรู ความคิด และทักษะที่ไดรับจากการ
เรียนคณิตศาสตรไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวัน (กระทรวงศึกษาธิการ,2534
: 18 )
2.3 โครงสรางของคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
เนื้อหาของหลักสูตรคณิตศาสตร มีโครงสรางอันประกอบดวยพื้นฐานในดานตาง ๆ
5 พื้นฐาน ไดแก ( กระทรวงศึกษาธิการ ,2534 : 17 )
1. พื้นฐานทางจํานวน เปนพื้นฐานที่มีขอบขายเนื้อหาเกี่ยวของกับเรื่องจํานวน
เศษสวน ทศนิยม เปนตน
2. พื้นฐานทางพีชคณิต เปนพื้นฐานที่มีขอบขายเนื้อหาเกี่ยวของกับพื้นฐานทาง
จํานวน เชน สมการ
3. พื้นฐานทางการวัด เปนพื้นฐานที่มีขอบขายเนื้อหาเกี่ยวของกับเรื่องการวัด
การชั่ง การตวง การหาพื้นที่ การหาปริมาตร ทิศ แผนผัง เวลา เดือน ป และเงิน เปนตน
4. พื้นฐานทางเรขาคณิต เปนพื้นฐานที่มีขอบขายเนื้อหาเกี่ยวของกับเรื่องรูปเรขา
คณิต และรูปทรงเรขาคณิต
5. พื้นฐานทางสถิติ เปนพื้นฐานที่มีขอบขายเนื้อหาเกี่ยวของกับเรื่องการนําเสนอ
ขอมูลในรูปแบบ แผนภูมิ แผนภาพ
เพื่อใหเห็นความสัมพันธระหวางโครงสรางซึ่งประกอบดวยพื้นฐานซึ่งประกอบดวย 5
พื้นฐาน และขอบขายเนื้อหาในแตละพื้นฐาน จึงแสดงใหเห็นดังแผนภูมิที่ 2
แผนภูมิที่ 2 โครงสรางหลักสูตรคณิตศาสตร
14

โครงสรางหลักสูตรคณิตศาสตร

พื้นฐานทางจํานวน พื้นฐานทางพีชคณิต พื้นฐานทางการวัด พื้นฐานทางเรขาคณิต พื้นฐานทางสถิติ

จํา นวนนับ สมการ การวัดความยาว รูปเรขาคณิต แผนภูมิ

เศษสวน การชั่ง รูปทรงเรขาคณิต กราฟ

ทศนิยม การตวง

การหาพื้นที่

การหาปริมาตร

ทิศ

แผนผัง

เวลา

วัน เดือน ป

เงิน

การจัดโครงสรางเนื้อหาคณิตศาสตร ในแตละพื้นฐานจะจัดใหสัมพันธกัน เนื้อหาที่


กําหนดใหในแตละพื้นฐาน เปนเรื่องที่ตองใชหรือเกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน เชน เงิน เวลา
การชั่ง การตวง การวัดความยาว พื้นที่ แผนภูมิ การบวก ลบ คูณ และการหาร ฯลฯ การจัด
15

เนื้อหาในแตละระดับชั้นไดจัดใหสอดคลองและเหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผูเรียน เนื้อหา
แตละเรื่องที่จัดไวในชั้นตาง ๆ จะมีลักษณะทบทวนเนื้อหาเดิมที่เคยเรียนเพียงครั้งเดียวและยุติ แต
จะซ้ําและทบทวน แลวจึงเพิ่มรายละเอียดของเนื้อหานั้น ๆ ใหเหมาะสมกับวัยของนักเรียนที่สูงขึ้น
สําหรับหลักสูตรคณิตศาสตร ระดับประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.2533 ) ไดมีการปรับปรุงเนื้อหาบางสวนใหเหมาะสมยิ่งขึ้นในดานของลําดับเนื้อหา ความ
ยากงาย และความเหมาะสมของเนื้อหากับเวลาเรียน โดยอาศัยขอมูลจากการติดตามผล การใช
หลักสูตรคณิตศาสตร ระดับประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533 ) เชน
- ชั้นประถมศึกษาปที่ 1-2 ปรับปรุงเรื่องการเปลี่ยนกลุมจํานวนที่นํามาคูณกันและ
คุณสมบัติการแจกแจง โดยนําไปไวในชั้นที่สูงขึ้นไป
- ชั้นประถมศึกษาปที่ 3-4 มีการเพิ่มเติมเนื้อหาทศนิยมจากเดิม ทศนิยมหนึ่งตําแหนง
เปนทศนิยมไมเกินสองตําแหนง และการคูณจํานวนนับจากเดิมคูณจํานวนหนึ่งหลักกับจํานวนที่
ไมเกินสามหลัก เปนการคูณจํานวนไมเกินสี่หลัก และนําการฝกแกโจทยปญหารอยละบาง รูป
แบบไปไวในชั้นที่สูงขึ้นไป
- ชั้นประถมศึกษาปที่ 5-6 มีการตัดเนื้อหาบางเรื่อง ไดแก ลักษณะของรูปที่เกิดจาก
ระนาบตัด รูปทรงในแนวนอนแนวดิ่ง ความเทากันทุกประการ คูอันดับและสมมาตร

3. เอกสารที่เกี่ยวของกับการสอนคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา
3.1 ความหมายของการสอนคณิตศาสตร
การสอนเปนกระบวนการที่ครูจัดขึ้นเพื่อใหความรูแกนักเรียน ซึ่งเปน
กระบวนการที่สําคัญมากในการเรียนการสอน การสอนที่ดีและเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาจะทําให
การเรียนการสอนบรรลุจุดประสงคที่กําหนดไว ซึ่งมีนักการศึกษาหลายทานไดใหความหมายของ
การสอนไวดังนี้ การสอนหมายถึง การจัดประสบการณที่เหมาะสมใหนักเรียนไดปะทะ เพื่อที่จะ
ใหเกิดการเรียนรูหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น ( สุพิน บูญชูวงศ , 2536 : 3 ) ซึ่งสอด
คลองกับแนวคิดของ วิชัย วงศใหญ ( 2537 : 70 ) ที่กลาววา การสอน หมายถึง กิจกรรม และ
ประสบการณการเรียนที่จัดขึ้นเพื่อใหบรรลุถึงระดับการเรียนที่พึงประสงค และนอกจากนี้ บุญ
ชม ศรีสะอาด ( 2537 : 2) ไดกลาววาการสอน หมายถึง การจัดสิ่งแวดลอมและกิจกรรมเพื่อใหผู
เรียนเกิดการเรียนรู
สรุปไดวา การสอน หมายถึง การจัดกิจกรรม และประสบการณในรูปแบบตาง ๆ เพื่อ
ใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และพัฒนาการทางดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา ใหสูงขึ้น
3.2 ความมุงหมายของการสอนคณิตศาสตร
การสอนคณิตศาสตร ในปจจุบันเนนความเขาใจโครงสราง และความสัมพันธของ
เนื้อหา การเรียนการสอนจะมุงใหนักเรียนคนพบกฎเกณฑดวยตนเอง การคิดคํานวณจะเนน
16

กระบวนการ ขั้นตอนที่สมเหตุสมผล มีความรัดกุม เนนการนําไปใช จัดเนื้อหาวิชาใหสัมพันธกัน


และการประยุกตจะเปนสิ่งที่ชวยใหการเรียนคณิตศาสตรมีประโยชนตอชีวิตประจําวัน ดังนั้น
การเรียนการสอนคณิตศาสตรจําเปนตองกําหนดจุดมุงหมายไวอยางชัดเจน เพื่อเปนแนวทางใน
การจัดประสบการณใหแกผูเรียน ซึ่งประยูร อาษานาม (อางถึงใน กัลยา ทองทศ ,2540 : 26 ) ไดให
แนวคิดวา ความมุงหมายคณิตศาสตรควรจะสอดคลองกับปรัชญาการสอนคณิตศาสตร ดังนี้
1. หลักการหรือกฎเกณฑทางคณิตศาสตรไดจากการคนพบของนักคณิตศาสตร เราควร
หาแนวทางหรือสถานการณที่ชี้แนะใหนักเรียนไดคนพบหลักการตาง ๆ ดวยตนเอง
2. ธรรมชาติของคณิตศาสตรเปนนามธรรม ซึ่งยากแกการเขาใจ การเรียนการสอน
ควรเริ่มจากความคิดรวบยอดที่เปนรูปธรรมกอนที่จะนําไปสูนามธรรม
3. การประยุกตหรือการนําหลักการทางคณิตศาสตรไปใชในชีวิตประจําวันเปนสิ่งที่
ควรเนนเปนอยางยิ่ง
ปรัชญาดังกลาวขางตน จะสามารถยึดเปนแนวทางในการกําหนดความมุงหมายของ
การเรียนการสอนคณิตศาสตร ทั้งในระยะยาว และระยะสั้นหรือทั้งความมุงหมายทั่วไปและความ
มุงหมายเฉพาะ
คลาซ คราเมอร ( Klass Kramer ,1975 : 5 อางถึงใน กัลยา ทองทศ , 2540 : 27 ) ได
กลาวถึงความมุงหมายของการเรียนการสอนคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา ดังนี้
1. ใหนักเรียนเขาใจโครงสรางของระบบจํานวนจริง ความรูเบื้องตนทางเรขาคณิต
และหลักเบื้องตนของกระบวนการทางคณิตศาสตร
2. ใหนักเรียนเขาใจความหมายของศัพทและสัญลักษณเกี่ยวกับปริมาณ กราฟ ตาราง
แผนภูมิ รูปทรง และการวัด
3. ใหนักเรียนมีทักษะในการคิดอยางมีเหตุผล และการรวบรวมความคิด
4. ใหนักเรียนมีทักษะในการคิดคํานวณอยางมีเหตุผลดวยความรวดเร็วแมนยํา
5. ใหนักเรียนมีทักษะในการประเมินความถูกตองของผลการคิดคํานวณ
6. ใหนักเรียนมีทักษะในการประยุกตหลักการทางคณิตศาสตรในการแกปญหาทาง
คณิตศาสตร หรือสาขาวิชาอื่น ๆ รวมทั้งปญหาในชีวิตประจําวัน
7. ใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตรและเห็นคุณคาของวิชาคณิตศาสตรใน
ชีวิตประจําวัน
8. ใหนักเรียนมีความเชื่อมั่นในการใหเหตุผล
จากความหมายในการสอนคณิตศาสตร สามารถสรุปไดวา ความมุงหมายของการสอน
คณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา เพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรมีทักษะใน
การคิดคํานวณ และเนนใหผูเรียนเรียนคณิตศาสตรดวยความเขาใจ รูจักคิดอยางมีเหตุผล สามารถ
นําความรูทางคณิตศาสตรไปใชในชิวิตประจําวันและมีเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร
17

3.3 ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร
ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร ซึ่งอาศัยจิตวิทยาเปนรากฐานและไดรับความสนใจมากใน
ปจจุบัน มี 3 ทฤษฎี ใหญ ๆ คือ
1. ทฤษฎีการฝกฝน( Drill Theory) ทฤษฎีนี้เนนเรื่อง การฝกฝนใหทําแบบฝกหัด มาก
ๆ ชา ๆ จนกวาเด็กจะเคยชินกับวิธีการนั้น เพราะเชื่อวาวิธีการดังกลาวทําใหผูเรียนรูคณิตศาสตร
ได ฉะนั้นการสอนของครูจึงเริ่มตนโดยครูใหตัวอยาง บอกสูตร หรือกฎเกณฑ แลวใหนักเรียนฝก
ฝนทําแบบฝกหัดมาก ๆ จนชํานาญ นักการศึกษาปจจุบันยังยอมรับวาการฝกฝนมี ความจําเปนใน
การสอนคณิตศาสตร ซึ่งเปนวิชาทักษะ แตทฤษฎีนี้ยังมีขอบกพรองอยูหลายประการ
2. ทฤษฎีการเรียนรูเหตุบังเอิญ (Incidental – Learning Theory ) ทฤษฎีนี้มีความเชื่อ
วาเด็กจะเรียนรูไดดีก็ตอเมื่อมีความตองการหรือความอยากรูเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้น ฉะนั้น
กิจกรรมการเรียนตองจัดขึ้นจากเหตุการณที่เกิดขึ้นในโรงเรียนหรือชุมชนซึ่งนักเรียนไดประสบกับ
ตนเอง สวนขอบกพรองของทฤษฎีนี้คือ เหตุการณที่เหมาะสมในการจัดการเรียนรูไมไดเกิดขึ้น
บอย ดังนั้นการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้จะใชไดเปนครั้งคราว ถาไมมีเหตุการณดังกลาวเกิดขึ้น
แลว ทฤษฎีนี้ก็จะไมเกิด
3. ทฤษฎีแหงความหมาย (Meaning Theory) ทฤษฎีนี้ตระหนักวา การคิดคํานวณกับ
ความเปนอยูในสังคมของเด็กเปนหัวใจในการเรียนการสอนคณิตศาสตรและเชื่อวานักเรียนจะเรียน
รูและเขาใจในสิ่ที่เรียนไดดี และจากผลการคนควาพบวา การสอนเด็กในชั้นประถมศึกษาปที่ 1-2
ตามทฤษฎีนี้ เด็กเรียนเลขไดดีที่สุด ทฤษฎีนี้เปนที่ยอมรับวาเหมาะสมในการนําไปสอนคณิตศาสตร
อยางกวางขวางในปจจุบัน ( ประณิตา อุทาน , 2532 : 23 )

3.4 หลักการสอนคณิตศาสตร
บุญทัน อยูชมบุญ ( 2529 : 24-25 ) ไดกลาวถึงหลักการสอนคณิตศาสตรไวดังนี้
1. คํานึงถึงความพรอมของเด็ก โดยครูตองทบทวนความรูเดิมกอน เพื่อใหประสบ
การณเดิมกับประสบการณใหมตอเนื่องกัน จะชวยใหนักเรียนเขาใจในสิ่งที่เรียนเพิ่มขึ้น
2. จัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย ความตองการ ความสนใจ ความสามารถของเด็ก
3. ควรคํานึงความแตกตางระหวางบุคคลในการเรียนคณิตศาสตร
4. การเตรียมพรอมทางคณิตศาสตรเปนรายบุคคล รายกลุม เปนพื้นฐานในการเรียน
ตอไป
5. ควรสอนใหไปตามลําดับขั้นจากประการณที่งายกอน
6. การสอนแตละครั้งมีจุดประสงคแนนอน
18

7. เวลาที่ใชในการสอนควรเปนระยะเวลาที่พอเหมาะ ไมนานเกินไป
8. ครูจัดกิจกรรมที่ยืดหยุนได เด็กมีโอกาสเลือกกิจกรรมตามความพอใจ และความ
ถนัดของตน ใหอิสระปลูกฝงเจตคติที่ดีตอการเรียน เพื่อใหผูเรียนเห็นคุณคา
9. เปดโอกาสใหนักเรียนไดมีสวนรวมในการวางแผนกับครู มีสวนรวมในการศึกษา
10. กิจกรรมการเรียนการสอนควรสนุกไปพรอมกับการเรียนรู
11. นักเรียนอายุ 6-12 ป จะเรียนไดดีเมื่อเริ่ม ครูใชของจริง สื่อซึ่งเปนรูปธรรมตาม
ลําดับจะชวยใหนักเรียนเรียนดวยความเขาใจ ทําใหเห็นวาคณิตศาสตรเปนวิชาที่งาย
12. การประเมินผลการเรียนการสอน เปนกระบวนการตอเนื่องและเปนสวนหนึ่งของ
การสอน ครูอาจใชวิธีการสังเกต การตรวจแบบฝกหัด การสอบถาม จะชวยใหทราบ ขอบก
พรองที่เกิดขึ้น
13. ไมควรจํากัดวิธีการคํานวณหาคําตอบของนักเรียน แตควรแนะนําวิธีคิดอยางรวด
เร็วและแมนยําในภายหลัง
14. ฝกใหนักเรียนรูจักตรวจคําตอบดวนตนเอง
สมจิต ชิวปรีชา ( 2529 : 11-16 ) ไดกําหนดหลักการสอนคณิตศาสตรปจจุบันไวหลาย
ประการ คือ
1. จัดใหมีการเตรียมความพรอมทางคณิตศาสตร ความพรอมทางคณิตศาสตร นับวา
เปนพื้นฐานของการเริ่มบทเรียน และเปนพื้นฐานที่จะเรียนบทเรียนตอไป ดังนั้นจึงเปน หนาที่ของ
ครูจะตองเตรียมเด็กใหมีความพรอม
2. จัดเนื้อหาโครงสรางของคณิตศาสตรใหตอเนื่องกัน ตั้งแตระดับประถมศึกษาถึง
ระดับมัธยมศึกษา หรือมหาวิทยาลัย
3. การสอนเนื้อหาใหม การสอนเนื้อหาใหมจะตองเปนประสบการณและเนื้อหาที่ตอ
เนื่องกับประสบการณและความรูเดิมของผูเรียน ผูเรียนจะตองเห็นความสัมพันธระหวางประสบ
การณเดิมกับประสบการณใหม เพราะความคิดความเขาใจจากประสบการณเดิม จะชวยใหผูเรียนมี
เหตุผล มีความเขาใจ และสามารถนําความเขาใจไปใชในชีวิตประจําวันได
4. การสอนตองมีระบบที่ตองเรียนไปตามลําดับขั้น คณิตศาสตรเปนเรื่องที่ตองมี
ระบบ ตองเรียนไปตามลําดับขั้น เพื่อใหผูเรียนเขาใจและมีทักษะเบื้องตนตามตองการ
5. ควรใชสื่อการสอน เนื่องจากสื่อการสอนเปนสิ่งที่ชวยใหนักเรียนเกิดความ เขาใจ
เนื้อหาคณิตศาสตรไดงายขึ้น รวดเร็วขึ้น เกิดการเรียนรูที่ถาวร
6. จัดการเรียนการสอนจากรูปธรรมไปสูนามธรรม ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา ควรเริ่มจากของจริง (Concrete) ไปสูสัญลักษณ (Symbol)
19

7. ใชสัญลักษณใหม ๆ แทนความหมายของเรื่องราวและถอยคํา คณิตศาสตรปจจุบัน


เนนคณิตศาสตรในลักษณะที่เปนนามธรรม ดังนั้นการเริ่มสอนจะตองใหเขาใจเนื้อหา แตละเรื่อง
เปนอยางดี แลวจึงใหสัญลักษณหรือถอยคําที่เปนภาษาคณิตศาสตร
8. สงเสริมใหนักเรียนคนควาหาหลักการและวิธีการทางคณิตศาสตรดวยตนเอง
9. ใชวิธีอุปนัยในการสรุปหลักเกณฑและบทเรียนแลวนําความรูไปใชดวยวิธีนิรนัย
10. เนนความเขาใจมากกวาความจํา
11. จัดการสอนเพื่อใหเกิดความรูถาวร เมื่อผูเรียนไดแนวคิดที่ถูกตองแลวจึงใหทํา
แบบฝกหัดคํานวณอยางมีหลักเกณฑ ฝกคิดอยางมีเหตุผลและถูกตอง จนทําใหเกิดความรูที่ถาวรขึ้น
12. มีเทคนิคในการยั่วยุใหเด็กเกิดความสนใจคณิตศาสตร
13. ควรจัดบทเรียนใหเหมาะสมกับเด็กแตละคน
จากหลักการสอนคณิตศาสตรดังกลาว อาจสรุปไดวา การสอนคณิตศาสตรนั้นจะตอง
มีการเตรียมความพรอมใหกับผูเรียน จัดเนื้อหาใหตอเนื่อง เหมาะสมกับความตองการและความ สน
ใจของผูเรียน มีเทคนิคในการสอน ใชสื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ เนนใหผูเรียนมีความ เขาใจ
จนสามารถนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางมีความสุข

3.5 จิตวิทยาที่ใชในการสอนคณิตศาสตร
สรุชัย ขวัญเมือง (2522 : 30-33 ) ไดกลาวถึงจิตวิทยาที่ใชในการสอนคณิตศาสตรวา
ประกอบดวยสิ่งตอไปนี้
1. ใหนักเรียนมีความพรอมกอนที่จะสอน
2. สอนจากสิ่งที่มีประสบการณหรือไดพบอยูเสมอ
3. สอนใหเด็กเขาใจและมองเห็นความสัมพันธระหวางสวนยอยกับสวนยอยและ
สวนยอยกับสวนใหญ
4. สอนจากงายไปยาก
5. ใหนักเรียนเขาใจหลักการและวิธีการที่จะใชหลักการ
6. ใหนักเรียนไดฝกทําซ้ํา ๆ จนกวาจะคลอง และมีการทบทวนอยูเสมอ
7. ใหนักเรียนเรียนรูจากรูปธรรมไปสูนามธรรม
8. ควรใหกําลังใจเด็ก
9. ควรคํานึงความแตกตางระหวางบุคคล
เกเกอร ( Gager , 1957 : 37 อางถึงในสายชล มีทรัพย ,2540 : 52 ) กลาววา การสอน
คณิตศาสตรนั้นตองใหนักเรียนมีความเขาใจแจมแจงในทฤษฎี และความรูพื้นฐานของคณิตศาสตร
ดวย เพราะคณิตศาสตรเปนวิชาที่อาศัยหลักหรือทฤษฎีเบื้องตนเกี่ยวโยงเปนขั้น ๆ ทําใหเกิดความรู
เรื่องใหม ๆ เพิ่มขึ้น
20

พีโตรเนีย ( Petronia ,1971 : 34-35 อางถึงในสายชล มีทรัพย , 2540 :52 ) ไดเสนอวิธี


สอนโดยใหนักเรียนคนพบหลักสําคัญดวยตนเอง และเขียนเหตุผลสนับสนุนไววา การสอน
คณิตศาสตรนั้น ครูควรจะใหนักเรียนไดคนพบหลักสําคัญ และเขียนในรูปทั่วไปไดดวย ตนเอง จะ
เปนการเราความคิด และใหนักเรียนรูจักใชความรูที่ตนมีอยูในสถานการณใหม ๆ นอกจากนั้นยัง
ทําใหนักเรียนสามารถใชสติปญญาเพื่อทํานายเหตุการณตาง ๆ และพิสูจนไดวา การทํานายของตน
นั้นถูกหรือไม

3.6 การสอนคณิตศาสตรโดยวิธีการของ สสวท.


สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ( 2535 : 5 ) ใหขอเสนอแนะเกี่ยว
กับการจัดการเรียนการสอนวาตองคํานึงถึงขั้นตอนการเรียนรูของผูเรียน การจัดการเรียน การ
สอนในแตละเนื้อหาอาจแสดงเปนขั้นตอนใหญ ๆ ดังแผนภูมิที่ 3

แผนภูมิที่ 3 ขั้นตอนการสอนคณิตศาสตร

1............................................... ทบทวนพื้นฐานความรูเดิม

2............................................... สอนเนื้อหาใหม

จัดกิจกรรมโดยใชของจริง จัดกิจกรรมโดยใชรูปภาพ ใชสัญลักษณ

นักเรียนเขาใจหรือไม ไมเขาใจ

3............................................... ชวยกันสรุปเปนวิธีลัด
21

ฝกทักษะจากหนังสือเรียน
4...............................................
บัตรงาน ฯลฯ

5............................................... นําความรูไปใช

6............................................... การประเมินผล

ผานหรือไมผาน ไมผาน สอนซอมเสริม

ผาน

สอนเนื้อหาตอไป

ดังนั้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูควรคํานึงถึงขั้นตอนการเรียน การสอน
ของเนื้อหาคณิตศาสตร ซึ่งพอสรุปไดดังนี้
1. ทบทวนพื้นฐานความรูเดิมที่ตองใชในการเรียนรูเนื้อหาใหม ถานักเรียนยังไมมีพื้น
ฐานความรูเรื่องใด ควรจัดสอนทบทวนกอน
2. สอนเนื้อหาใหม โดยพิจารณาจัดกิจกรรมใหเหมาะสมกับเนื้อหาและวัยของ
ผูเรียน กิจกรรมอาจใชของจริง รูปภาพ กอนจะเชื่อมโยงกับการใชสัญลักษณทางคณิตศาสตร
3. ฝกทักษะ เมื่อผูเรียนมีความรูความเขาใจในเนื้อหาที่สอนใหมแลว ควรจัดใหฝก
ทักษะโดยใชโจทยแบบฝกหัดในหนังสือ บัตรงาน หรือโจทยที่ครูสรางขึ้นเอง โจทยที่นํามา ฝก
ทักษะควรเปนโจทยที่เนนเฉพาะทักษะการคิดคํานวณ และโจทยปญหาควรเปนโจทยที่มีความ ยาก
งายพอเหมาะ สําหรับโจทยที่ยากควรเปนปญหาชวนคิดที่ผูเรียนอาจทําหรือไมทําก็ได ในการฝก
ทักษะครูควรพิจารณาปริมาณของงานที่จะใหผูเรียนไปทําเปนการบานดวย เพราะสําหรับ ผู
เรียนที่ทําแบบฝกหัดเล็กนอย ครูควรพิจารณาใหผูเรียนแกไขขอผิดพลาดในขอที่ทํานั้น ๆ โดยไม
ตองแกไขใหมทั้งขอ เพื่อไมใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนาย
4. การประเมินผล การทดสอบวาผูเรียนมีความรูในเรื่องที่สอนไปแลวหรือไมนั้น
ครูอาจทดสอบโดยใหผูเรียนปฏิบัติหรืออาจใชขอสอบก็ได ทั้งนี้ใหพิจารณาตามความ เหมาะสม
ของเนื้อหา ในกรณีที่ทดสอบครูควรสรางขอสอบใหตรงตามจุดประสงคการเรียนรู โดยอาจศึกษา
22

แนวในการสรางขอสอบจากตัวอยางในคูมือครู ขอสอบควรมีความยากงายปานกลาง ทั้งนี้เพราะ


จุดประสงคในการวัดเพื่อใหทราบวาผูเรียนไดเรียนรูเนื้อหาตามจุดประสคการเรียนรูแลวหรือไม
เทานั้น ไมตองการทดสอบวัดความเกงของผูเรียน
5. การสอนซอมเสริม ในกรณีที่ผูเรียนสอบไมผานเกณฑการประเมินผล
รายจุดประสงค ครูตองจัดการสอนซอมเสริมสําหรับจุดประสงคที่ไมผานนั้น โดยจะตองวิเคราะห
จากการทําขอสอบของนักเรียนวา สาเหตุที่นักเรียนไมผานจุดประสงคนั้นเปนเพราะเหตุใดบาง
สําหรับวิธีการสอนซอมเสริมนั้นทําไดหลายวิธี เชน หาพบวาผูเรียนมีปญหาดานทักษะ การคิด
คํานวณแบบใดก็ใหเพิ่มทักษะแบบนั้นเพิ่มเติม หรือหากวาพบวาผูเรียนไมเขาใจเนื้อหาที่เรียน ครูก็
ตองสอนเพิ่มเติมใหเกิดความเขาใจ สําหรับเอกสารที่ใชในการสอนซอมเสริมนอกจากหนังสือ
เรียนแลว ครูอาจพัฒนาเอกสารขึ้นมาเองก็จะเปนการดี
ลําดับขั้นตอนการสอนขางตนเปนหลักกวาง ๆ สําหรับครูจะนําไปเปนแนวทางในการ
วางแผนการสอน ซึ่งครูสามารถเพิ่มเติมขั้นตอนปลีกยอยไดอีกตามที่เห็นสมควร จะชวยใหการ
สอนไดผลบรรลุตามจุดประสงคของหลักสูตร

4. เอกสารที่เกี่ยวของกับแบบฝกทักษะ
4.1 ความหมายของแบบฝกทักษะ
ความหมายของแบบฝกทักษะ ไดมีผูใหความหมายของคําวา แบบฝกทักษะไวหลาย
ความหมาย เชน
แบบฝกทักษะ คือการจัดประสบการณฝกหัดเพื่อใหเกิดความจําจนกระทั่งสามารถ
ปฏิบัติไดโดยอัตโนมัติ ขั้นตอนในการสอนมักเริ่มดวยการบอกหรือทําใหดูเปนตัวอยาง แลวให
ผูเรียนทําตามและฝกหัดเรื่อยไปจนกระทั่งจําและทําไดโดยอัตโนมัติ ( สมศักดิ์ สินธุรเวชญ , 2542)
แบบฝกทักษะ หมายถึง แบบฝกหัดหรือชุดการสอนที่เปนแบบฝกที่ใชเปนตัวอยาง
ปญหาหรือคําสั่งที่ตั้งขั้นเพื่อใหนักเรียนฝกตอบ ( ราชบัณฑิตยสถาน ,2531 )
แบบฝก หรือแบบฝกหัด หรือแบบฝกเสริมทักษะ เปนสื่อการเรียนประเภทหนึ่ง
สําหรับใหนักเรียนฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจและมีทักษะเพิ่มขึ้น ( สํานักงานคณะ
กรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ ,2537 )
จากที่กลาวมาจึงพอสรุปไดวา แบบฝกทักษะ หมายถึง ประสบการณที่ครูจัดให นัก
เรียนไดฝกฝนทักษะ หลังจากที่นักเรียนไดเขาใจบทเรียนแลว เพื่อใหนักเรียนมีความคงทนในการ
เรียนรู สามารถใชกฎเกณฑ หลักการ ที่ไดเรียนรูมาปฏิบัติไดอยางคลองแคลว ถูกตอง แมนยํา และ
รวดเร็ว

4.2 ความสําคัญของแบบฝกทักษะ
23

การฝกทักษะเปนสิ่งที่สําคัญและจําเปนมากในการเรียนคณิตศาสตร ทั้งนี้เพราะ
คณิตศาสตรเปนวิชาทักษะที่มุงเนนความรูความเขาใจในเนื้อหา สามารถนําไปใชแกปญหาไดดวย
ความถูกตอง รวดเร็วและมีเหตุผล การฝกทักษะทางคณิตศาสตรทําไดโดยการทําแบบฝกหัดซึ่ง
เปนขั้นตอนหนึ่งที่สําคัญมากในการเรียนคณิตศาสตร ดังที่ สกอรลิง ( Schorling ,1963 อางถึงใน
วัฒนิตา นําแสงวานิช , 2539 : 25 ) กลาวถึงความสําคัญของการทําแบบฝกหัดไววา มีความสําคัญ
มากตอการเรียนคณิตศาสตร แบบฝกหัดมี 2 ลักษณะดวยกันคือ แบบฝกหัดเพื่อฝกทักษะการ
คํานวณ และแบบฝกหัดเพื่อฝกฝนการแกปญหาทางคณิตศาสตร ดังนั้น แบบฝกหัดจึงชวยใหการ
เรียนการสอนคณิตศาสตรเปนไปตามความมุงหมายสําคัญ 2 ประการ คือ การเพิ่มทักษะในการ
คํานวณ และความสามารถในการแกปญหา
สุรชัย ขวัญเมือง ( 2526 : 31) กลาวถึงความสําคัญของแบบฝกทักษะวา เมื่อนักเรียน
เรียนรูเรื่องใหม คนพบขอเท็จจริง หลักการ และวิธีการ แลวตองฝกการนําสิ่งที่คนพบ ขอสรุปที่ได
นั้นไปใชไดคลอง รวดเร็ว ถูกตอง แมนยํา
4.3 หลักการสรางแบบฝกทักษะ
หลักการสรางแบบฝกทักษะทางคณิตศาสตรเพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจและ
สามารถทําไดอยางชํานาญนั้น สุรพล ศรีนวล ( 2532 : 64 ) ไดกลาวไวโดยสรุปดังนี้
1. การสรางแบบฝกหัดจะตองสรางใหเปนไปตามจุดมุงหมายของการสรางและเด็กมี
ความเขาใจเรื่องนั้นมาแลว
2. จะตองสรางใหมีความยากงายเหมาะกับชั้นและวัยของเด็ก เรียงลําดับขอจากงาย
ไปยากและมีหลายรูปแบบ
3. อาศัยหลักจิตวิทยาเรื่องการเราและการตอบสนอง จะชวยทําใหเด็กเกิดการเรียนรู
ไดมาก
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2527 : 86 ) เสนอแนะเกี่ยวกับการสรางชุดฝกหรือ
แบบฝก มีวิธีการพอสรุปไดดังนี้
1. ควรมีคําชี้แจงการใช ที่มีการกําหนดทิศทางไวเดนชัด เชน เมื่อใหผูเรียนอาน ขอ
ความใดขอความหนึ่งแลว ก็จะเขียนวา “โปรดอานเรื่อง …หนา…” หรือ “โปรดพลิกไปหนา…
เรื่อง…”
2. ควรมีตารางการปฏิบัติเพื่อใหนักเรียนวางแผนไดเอง ซึ่งเรียกวาใบแนะทาง หรือ
Guide sheet
3. ไมวาจะเปนแบบแผน หรือเปนเลมควรมีแผนการสอนโดยสังเขปไวดวย โดย
เฉพาะมโนมติ วัตถุประสงค กิจกรรมการเรียน สื่อการสอนและประเมินผลเพื่อใหผูเรียนไดทราบ
ทิศทาง เปาหมายและบทบาทของตนเอง
24

4. ในกรณีที่มีกิจกรรมใหนักเรียนตอบ เติมคํา เขียนภาพ ฯลฯ ตองเตรียมเนื้อหาไว


ในแบบฝกใหตรงกัน โดยใชหมายเลข และรหัสไวเดนชัดพอที่ผูเรียนจะตอบไดตรงตามที่ครู
กําหนดไว และควรมีเฉลยไวให แตไมชัดเจนเกินไป เพื่อปองกันการดูเฉลยกอนการทํากิจกรรม
การมีเฉลยไวจะชวยแบงเบาภาระของครู เพราะนักเรียนชวยกันตรวจเอง และสงเสริมการเรียน ราย
บุคคลไดดวย บัตรเฉลยอาจอยูในแบบฝกปฏิบัติหรือแยกตางหาก
5. ควรออกแบบใหสะดุดตา นาอาน ใชภาษาที่เปนกันเอง และมีการตูนประกอบเนื้อ
หาใหนาสนใจ
6. เนื้อหาในชุดฝกปฏิบัติในสวนที่เกี่ยวของกับหัวเรื่องตาง ๆ ควรใหตรงกับเนื้อหา
หรือประสบการณอื่นใดที่ครูกําหนด
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ ( 2537 : 75 ) ไดเสนอแนะเกี่ยวกับ
การสรางแบบฝกทักษะไวดังนี้
1. ศึกษาปญหาและความตองการ โดยศึกษาจากการผานจุดประสงคการเรียนรูและ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หากเปนไปไดควรศึกษาความตอเนื่องของปญหาในทุกระดับชั้น
2. วิเคราะหเนื้อหาหรือทักษะที่เปนปญหา ออกเปนเนื้อหาหรือทักษะยอย ๆ เพื่อใช
ในการสรางแบบทดสอบหรือแบบฝกหัด
3. พิจารณาวัตถุประสงค รูปแบบ และขั้นตอนการใชแบบฝก เชน จะนําแบบฝกไป
ใชอยางไร ในแตละชุดจะประกอบดวยอะไรบาง
4. สรางแบบทดสอบ ซึ่งอาจมีแบบทดสอบเชิงสํารวจ แบบทดสอบเพื่อวินิจฉัย
ขอบกพรอง แบบทดสอบความกาวหนาเฉพาะเรื่อง เฉพาะตอน แบบทดสอบที่สรางจะตอง สอด
คลองกับเนื้อหาหรือทักษะที่วิเคราะหไว
5. สรางบัตรฝกหัด เพื่อใชพัฒนาทักษะยอยแตละทักษะ ในแตละบัตรจะมีคําถามให
นักเรียนตอบ การกําหนดรูปแบบขนาดของบัตร พิจารณาตามความเหมาะสม
6. สรางบัตรอางอิง เพื่อใชอธิบายคําตอบหรือแนวทางในการตอบแตละเรื่อง การ
สรางบัตรอางอิงนี้อาจทําเพิ่มเติมเมื่อไดนําบัตรฝกหัดไปทดลองใชแลว
7. สรางแบบบันทึกความกาวหนา เพื่อใชบันทึกผลการทดสอบหรือผลการเรียนโดย
จัดทําเปนตอน เปนเรื่อง เพื่อใหเห็นความกาวหนาเปนระยะ ๆ สอดคลองกับแบบทดสอบ ความกาว
หนา
8. นําแบบฝกไปทดลองใช เพื่อหาขอบกพรอง คุณภาพของแบบฝกและคุณภาพของ
แบบทดสอบ
9. ปรับปรุงแกไข
10. รวมเปนชุด จัดทําคําชี้แจง คูมือการใช สารบัญเพื่อใชประโยชนตอไป
25

จากที่กลาวมา แบบฝกทักษะจึงควรมีรูปแบบและหลักในการสรางที่ดี เพื่อใหเปน แบบ


ฝกทักษะที่เหมาะสมในการนําไปใชสําหรับใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไดมากที่สุด

5. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับแบบฝกทักษะการคิดคํานวณ
รัตนา นิวัตยะกุล ( 2526 : บทคัดยอ) ทําการวิจัยเรื่อง การฝกทักษะการคิดคํานวณ
สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 จังหวัดขอนแกน โดยศึกษาเปรียบเทียบทักษะการคิดคํานวณ
ระหวางฝกทุกวัน วันละ 10 นาที กับการฝกวันเวนวัน วันละ 20 นาที และการไมไดรับการฝก
เครื่องมือที่ใชไดแก แบบฝกทักษะการคิดคํานวณและแบบทดสอบการคิดคํานวณ ผลการวิจัยพบวา
การฝกมีผลตอทักษะการคิดคํานวณอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .01 และการฝกที่มีประสิทธิภาพมากที่
สุดคือ การฝกทุกวัน วันละ 10 นาที
วิชัย แสงศรี ( 2528 : บทคัดยอ) ทําการวิจัยเรื่อง ชุดฝกทักษะการคิดคํานวณสําหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 จังหวัดอุบลราชธานี ผลการวิจัยพบวา นักเรียนทั้งกลุมทดลองและ
กลุมควบคุมมีความสามารถทางการคิดคํานวณสูงขึ้นกวาเดิม แตกลุมที่เรียนจากชุดฝกทักษะมีความ
สามารถทางการคิดคํานวณสูงกวากลุมนักเรียนที่ไดรับการสอนเสริมอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .01
ฉวีวรรณ แกวโสฬส และคณะ ( 2535 : บทคัดยอ ) ทําการศึกษาเรื่อง การทดลองใช
แบบฝกทักษะการคิดคํานวณ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จังหวัดปทุมธานี ผลการศึกษา
พบวาหลังการทดลอง นักเรียนกลุมออนและกลุมปานกลาง เมื่อไดรับการฝกทักษะเรื่อง การคูณ
โดยใชแบบฝกหลาย ๆ ครั้ง ทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการคูณสูงขึ้น อยางมีนัย
สําคัญที่ระดับ .01 และหลังจากการเรียนการสอน นักเรียนกลุมออน กลุมปานกลาง และกลุมเกง
เมื่อไดรับการฝกทักษะการคิดคํานวณเรื่องการหาร โดยใชแบบฝกหลาย ๆ ครั้ง นักเรียนมีผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนดานการคิดคํานวณเรื่องการหาร สูงขึ้นจากกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ
.01
ทิศารัตน โพธิ์ศรี ( 2538 : บทคัดยอ ) ทําการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบการเรียน
คณิตศาสตรระหวางการสอนโดยใชแบบฝกทักษะกับการสอนโดยใชวิธีปกติของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 2 จังหวัดรอยเอ็ด ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทน ใน
การเรียนรูคณิตศาสตร ของ นักเรียนที่ใชแบบฝกทักษะสูงกวานักเรียนที่สอนโดยปกติ อยางมีนัย
สําคัญที่ระดับ .05
อาวุธ ปะเมโท ( 2540 : บทคัดยอ) ทําการวิจัยเรื่อง ผลการใชแบบฝกทักษะการคิด
คํานวณเรื่อง การบวก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ในจังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบวา
นักเรียนรอยละ 84.37 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผานเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไวคือ รอยละ 80 โดย คา
เฉลี่ยของคะแนนนักเรียนทั้งชั้นคิดเปนรอยละ 83.59
26

กรมวิชาการ ( 2542 : 88 ) ไดทําการสังเคราะหงานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอน


คณิตศาสตร ระดับประถมศึกษา ที่พิมพเผยแพรชวงป พ.ศ. 2533 – 2541 โดยศึกษาเกี่ยวกับวิธีการ
เรียนการสอน และรูปแบบการเรียนการสอน ในวิชาคณิตศาสตรที่สงผลตอการเรียนรูของนักเรียน
ผลการวิจัยพบวา วิธีการเรียนดวยตนเอง จะชวยใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ดานวิธี
การสอนพบวา วิธีการสอนแบบรายบุคคลจะชวยใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติตอ
การเรียน และความคงทนของการเรียน
สคอลล ( Schall , 1970 อางถึงใน อาวุธ ปะเมโท , 2540 ) ไดศึกษาเปรียบเทียบทักษะ
การคิดเลขในใจของกลุมที่ไดรับการเสนอใหฝกทําแบบฝกหัดคิดเลขในใจ กับกลุมที่ไมไดรับการ
ฝก โดยทักษะที่ใชไดแก ทักษะเบื้องตนในการบวก ลบ คูณ และหาร ผลการวิจัยพบวา กลุมทดลอง
พัฒนาดีขึ้นในดานความสามารถดานการคิดเลขในใจ และมีเจตคติที่ดีตอการคิดเลขในใจ

6. เอกสารเกี่ยวกับเวทคณิต
6.1 ประวัติเกี่ยวกับเวทคณิต
เวทคณิตเปนคัมภีรโบราณในการคิดเลขเร็วของอินเดีย ซึ่งประกอบดวยสูตร 16 สูตร
ที่เกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหาร โดยเวทคณิตเปนสาขาหนึ่งของอถรรพเวท ซึ่ง
เปนหนึ่งในพระเวททั้ง 4 ไดแก ฤคเวท สามเวท ยชุรเวท และอถรรพเวท โดยถูกคนพบขึ้นมา
อีกครั้งจากตนฉบับสันสกฤต ระหวางป ค.ศ.1911-ค.ศ.1918 โดย ศรี ภารติ กฤษณะ ธิทราจิ (Sri
Bharati Krisna Trihaji,1884-1960,quoted in www.Vedicmaths.org.uk,2001 อางถึงใน อาภา
ภรณ นันทัชพรพงศ และคณะ , 2544 : 7 ) ที่ตอนตนศตวรรษที่ยี่สิบ เมื่อเกิดมีความสนใจอยาง
ใหญหลวงในตนฉบับสันสกฤตในทวีปยุโรป ศรี ภารติ กฤษณะ ธิทราจิ ไดบอกเลาเรื่องราวและ
เนื้อหาเกี่ยวกับหัวขอ Ganita sutras ซึ่งหมายถึง คณิตศาสตร แตในระยะนั้นยังไมเปนที่รูจักแพร
หลายและหลายคนยังไมเชื่อถือ เห็นวาเปนเรื่องเหลวไหล ศรี ภารติ กฤษณะ ธิทราจิ ผูซึ่งเปน
ผูศึกษาทั้งในดานสันสกฤต คณิตศาสตร ประวัติศาสตรและปรัชญาไดทําการศึกษาตนฉบับเหลา
นั้นและหลังจากที่ศึกษาอยางละเอียดและทําการตรวจสอบอยางรอบคอบ จึงสามารถฟนฟู
คณิตศาสตรเกี่ยวกับเวทคณิตขึ้นมาใหม โดยอางถึงการวิจัยของเขาพบวา ทั้งหมดของคณิตศาสตร
ลวนมีพื้นฐานมาจากพระสูตรสิบหกบท ศรี ภารติ กฤษณะ ธิทราจิ ไดเขียนหนังสือสิบหกบท
ที่อธิบายระบบเกี่ยวกับเวทคณิต แตไมสามารถบอกเหตุผลถึงการสูญหายไปของเวทคณิตได แต
เมื่อการสูญหายไดรับการยืนยันในปสุดทายของชีวิต ศรี ภารติ กฤษณะ ธิทราจิ ไดเขียนหนังสือ
ขึ้นมาหนึ่งเลมเกี่ยวกับเวทคณิต และถูกตีพิมพในป ค.ศ. 1965 นับเปนเวลาหาปหลังจากการ เสีย
ชีวิตของเขา ไมกี่ปตอมาสําเนาของหนังสือถูกนําไปที่กรุงลอนดอน นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ
เชน เคนเน็ธ วิลเลียมส แอนดรู นิโคลัส และเจเรมี พิกเกิลส ( Kennet Williams , Andrew
Nicholas , Jeremy Pickle ) ไดใหความสนใจในเรื่องเวทคณิตเปนอยางยิ่ง และขยายการแนะนําให
27

รูจักกับสิ่งที่กําหนดไวในหนังสือของศรี ภารติ กฤษณะ ธิทราจิ ใหกวางไกลออกไป อีกทั้งไดจัด


ใหมีหลักสูตรมากมายและการพูดในกรุงลอนดอน หนังสือซึ่งขณะนี้ไมมีการตีพิมพ ไดบรรยาย
และแนะนําใหรูจักกับเวทคณิต ตอมาไดมีการตีพิมพหนังสือขึ้นหนึ่งเลมในปค.ศ. 1981 โดย
ระหวางปค.ศ.1981 – ค.ศ.1987 แอนดรู นิโคลัส ไดเดินทางไปประเทศอินเดียสี่ครั้ง เพื่อทําการคน
ควาเกี่ยวกับเวทคณิต ประชาชนทางตะวันตกบางสวนเริ่มรับเอาเวทคณิตมาใชอยางจริงจัง เพราะ
ตระหนักวาไดรับบางสิ่งเปนพิเศษจากเวทคณิต ที่โรงเรียนเซนตเจมส โรงเรียน ควีนศเกท และใน
ประเทศอินเดียเวทคณิตถูกนํามาสอนอยางกวางขวางในโรงเรียนตาง ๆ และเริ่มมีการทําวิจัยเกี่ยว
กับเวทคณิต หนังสืออีกสามเลมไดปรากฏขึ้นในป ค.ศ. 1984 เพื่อฉลองการครบรอบวันเกิดรอย
ปของ ศรี ภารติ กฤษณะ ธิทราจิ โดยหนังสือ เหลานั้นจัดพิมพโดยกลุมการวิจัยคณิตศาสตร
เกี่ยวกับเวทคณิต
ตอมาเมื่อโยคี มหาริชี มาเฮ็ช (Maharishi Mahesh ,quoted in www.Vedicmaths.org.uk
,2001 อางถึงใน อาภาภรณ นันทัชพรพงศ และคณะ , 2544 : 7) ไดอธิบายความสําคัญและความ
มหัศจรรยของเวทคณิต ในปค.ศ.1988 โรงเรียนมหาริชีทั่วโลกเริ่มทําการสอนเวทคณิต และที่ โรง
เรียนสเกลเมอรสเดล โรงเรียนแลงคาสเชอร ไดจัดการศึกษาเวทคณิตอยางเต็มรูปแบบ มีการจัดทํา
หลักสูตรและทดลองกับนักเรียนที่มีอายุระหวาง 11 – 14 ป ใชชื่อเรียกวา The Cosmic computer
หลักสูตรนี้จัดพิมพขึ้นในป ค.ศ. 1998 และปจจุบันมีการนําเวทคณิตมาใชอยางแพรหลายทั่วโลก

6.2 ความหมายของเวทคณิต
เวทคณิต อานวา เวด - คะ - นิด หรือ เวด - ทะ - นะ - นิด มีผูใหความหมายของเวท
คณิตดังนี้
เวท แปลวา ความรู
คณิต แปลวา การคํานวณ
เวทคณิต แปลวา ความรูการคํานวณ
( กระทรวงศึกษาธิการ , 2541:35 )

6.3 ความสําคัญของเวทคณิต
ในสมัยโบราณถือวาพระเวทเปนตนกําเนิดแหงศาสตรทั้งปวง การแกไขปญหาเกี่ยวกับ
คณิตศาสตรโดยใชเวทคณิตเปนไปในทิศทางที่เรียบงาย ดวยวิธีตามธรรมชาติ และชวยฝกระบบ
ของสมองใหเปนระเบียบ ชัดเจน ซึ่งมีผูกลาวถึงความสําคัญของเวทคณิต ดังนี้
เค วิลเลียม (K. William อางถึงใน ศักดา บุญโต , 2540) แหงกรุงลอนดอน กลาวถึง
ความสําคัญของเวทคณิตวาเวทคณิตมีศักยภาพอยางไมมีขีดจํากัด
28

อาร บริดจ (R. Briggs อางถึงใน ศักดา บุญโต , 2540 ) แหงองคการนาซา สหรัฐ
อเมริกา กลาวถึงเวทคณิตไววา เปนเรื่องที่ยั่วยวนใจจริงๆ นักคิดชาวอินเดียเสมือนดังนักวิทยาการ
คอมพิวเตอร โปรดอยาลืมวา ในความสําเร็จอันยิ่งใหญของชาวอินเดียนั้น สิ่งหนึ่งคือการคิดคน
เลข 0 และตัวเลขระบบฐาน 2 กอนหนาชาวยุโรปถึง 1,000 ป
มหาริชี มาเฮ็ช (Maharishi Mahesh,quoted in www.Vedicmaths.org.uk,2001 อางถึง
ใน อาภาภรณ นันทัชพรพงศ และคณะ , 2544 : 8) กลาวไววา เวทคณิตเปนระบบซอรฟแวร
สําหรับคอมพิวเตอรอันเปนของจักรวาล ที่ควบคุมโลกไวทุกระดับ และในทุกรายละเอียด
นอกจากนี้ยังมีบุคคลอีกจํานวนมากที่ไดกลาวถึงความสําคัญของเวทคณิต ซึ่งจะกลาว
โดยสรุปพอสังเขปไดวา เวทคณิตเปนวิธีการแกปญหาเกี่ยวกับคณิตศาสตรที่งาย ดวยวิธีการธรรม
ชาติ สามารถที่จะสรางพลังทางการคิดในสมองใหมีการสรางสรรคและเฉลียวฉลาด ชวยใหจดจํา
สิ่ง ตาง ๆไดอยางงายดาย เปนการฝกหัดที่ใชกฎเกณฑของธรรมชาติที่ธรรมดา เด็ก ๆ สามารถที่จะ
ทําได เปนขอบขายของการที่จะเรียนคอมพิวเตอรไดเปนอยางดี จัดเปนอุปกรณทางจิตในการ
คิดคํานวณที่พัฒนาและเปลี่ยนแปลงได ปรับใหเหมาะสมกับนักเรียนได ทําใหนักเรียนสนุกและ
รูสึกสบายใจ จากการฝกฝนหรือการนําไปใชเปนพื้นฐานในการเรียนสาขาอื่น ทําใหผูที่ฝก เวท
คณิตมีโลกทัศนที่กวางขวางเฉียบคม ฉับไว และมองเห็นธรรมปญญาไดลึกซึ้งขึ้น และในปจจุบัน
หลายประเทศทั่วโลกไดนําเวทคณิตมาใชสอนนักเรียนอยางกวางขวาง และนักเรียนรูสึกวาเปนสิ่ง
ที่ชวยพัฒนาศักยภาพของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ

6.4 การบวกตามแนวเวทคณิต
การบวกตามแนวเวทคณิต เปนการคิดในลักษณะของการ
บวกเลขโดดเทานั้น ซึ่งเลขโดด ไดแก 0,1,2,3,4,5,6,8,9 และเขียนผล
บวกหรือผลลัพธเฉพาะเลขโดด ถาผลบวกมีคามากกวา 9 จะใช ( . ) แทน
ตัวทด ซึ่งงายกวา เชน

1 ถาถามวา 1 + 4 เทากับเทาไร
+
4 คําตอบก็คือ 5
5

8 +
ถาถามวา 8 + 3 เทากับเทาไร
3 คําตอบก็คือ 11
11
29

แตเวทคณิต จะเขียนผลบวกเฉพาะเลขโดด

ถาผลบวกมีคามากกวา 9
8 + ก็จะใชจุด (.) แทนตัวทด
3 ดังนั้นแทนที่จะเขียนวา 8 + 3 = 11
1 ก็เขียนใหมแทนวา 8 + 3 = 1
( 1 คือ 11 )

7 ถาถามวา 7 + 8 เทากับเทาไร
+ คําตอบก็คือ 15
8
แตจะเขียนผลบวกเฉพาะเลขโดด
5 ถาผลบวกมีคามากกวา 9 ก็จะใชจุด (.) แทนตัวทด
ดังนั้นแทนที่จะเขียนวา 7 + 8 = 15 ก็เขียนใหม
แทนวา 7 + 8 = 5 ( 5 คือ 15 )
ตัวอยางอื่น ๆ เชน

7 +5 = 2 ( 2 คือ 12 )
6 +4 = 0 ( 0 คือ 10 )
9+9 = 8 ( 8 คือ 18 )
ในทํานองเดียวกัน

6+3+9+2 = 0 ถาเลขบวกเกิน 19 ก็จะใชจุด (.) แทนตัวทดเชนกัน


ดังนั้น 0 คือ 20
30

ตัวอยางอื่น ๆ เชน

7+7+7=1 ( 1 คือ 21 )
9+8+8=5 ( 5 คือ 25 )
6+8+8=2 ( 2 คือ 22 )
9+9+8=6 ( 6 คือ 26 )
การบวกเลขสองหลัก สามหลัก

ตัวอยางที่ 1
99 +
87

วิธีทํา

99
+
87 ขั้นที่ 1
6 9 + 7 = 16
ใสจุด (.) เหนือตัวบวก 7 แทนการทด 1 เหลือ 6
ใส 6 ในหลักหนวย

ขั้นที่ 2
99
+ (ทด) 1 + 9 = 10
87
ใสจุด (.) เหนือตัวบวก 9 แทนการทด 1 เหลือ 0
86
คิดตอวา 0 + 8 = 8
ใส 8 ในหลักสิบ

99 ขั้นที่ 3
+
87
186
31

มีการทด 1 ไปหลักรอย แตในหลักรอยไมมีตัวบวก


จึงเขียน 1 ในหลักรอย

ตัวอยางที่ 2
672
345 +
689
.

วิธีทํา
672 ขั้นที่ 1
345 + 2+5=7
689 คิดตอวา 7 + 9 = 16
6 ใสจุด (.) เหนือตัวบวก 9 แทนการทด 1 เหลือ 6
ใส 6 ในหลักหนวย

672 ขั้นที่ 2
345 + (ทด) 1 + 7 = 8 คิดตอวา 8 + 4 = 12
689 ใสจุด (.) เหนือตัวบวก 4 แทนการทด 1 เหลือ 2
06 คิดตอวา 2 + 8 = 10 ใส (.) เหนือตัวบวก 8
แทนการทด 1 เหลือ 0
ใส 0 ในหลักสิบ

ขั้นที่ 3
672
(ทด) 2 (เพราะมีจํานวนจุดในหลักสิบมีสองจุด)
345 +
(ทด) 2 + 6 = 8
689
คิดตอวา 8 + 3 = 11
06
32

ใสจุด(.) เหนือตัวบวก 3 แทนการทด 1 เหลือ 1


คิดตอวา 1 + 6 = 7 ใส 7 ในหลักพัน

672 ขั้นที่ 4
345 + มีการทด 1 ไปหลักพัน
689 แตในหลักพันไมมีตัวบวก
1706 จึงเขียน 1 ในหลักพัน

เทียบกับการบวกตามแนวทางในคูมือครูคณิตศาสตรของ สสวท. 672 + 345 + 689 =

วิธีในคูมือครู วิธีเวทคณิต
672 + 672
345 345 +
1017 + 689
689 1706
1706 ตอบ ๑๗๐๖
ตอบ ๑๗๐๖

การบวกที่ใชผลบวกครบสิบมาชวยในการหาตัวบวก

ตัวอยางที่ 3
3732
4564 +
9358
1576
33

วิธีทํา

3732 ขั้นที่ 1
4564 + พิจารณาตัวเลขในแตละหลักวามีตัวเลขใดบางที่สามารถรวมกัน
9358 แลวผลบวกมีคาเทากับ 10 เชน ในหลักหนวย 2 + 8 = 10
1576 ก็ขีดฆาครอมตัวเลขที่นํามาบวก คือ 2 กับ 8
แลวเขียนจุด (.) แทนการทด 1 ไวเหนือตัวบวกที่ครบสิบ (8)
ในทํานองเดียวกันกับ 4 + 6 = 10

3732 ขั้นที่ 2
4564 + ในหลักสิบ
9358 3 + 7 = 10
1576 ก็ขีดฆาครอมตัวเลขที่นํามาบวกกัน คือ 3 กับ 7
และเขียนจุด (.) แทนการทด 1 ไว เหนือตัวบวกที่ครบสิบ(7)

3732
ขั้นที่ 3
4564
+ ในหลักรอย
9358
7 + 3 = 10 , 5 + 5 = 10
1576
ก็ขีดฆาครอมตัวเลขที่นํามาบวก คือ 7 กับ 3 และ 5 กับ 5
แลวเขียนจุด (.) แทนการทด 1 ไวเหนือตัวบวกที่ครบสิบ
คือ 3 และ 5

3732
4564
9358
1576
34

+ ขั้นที่ 4
ในหลักพัน
9 + 1 =10
ก็ขีดฆาครอมตัวเลขที่นํามาบวก คือ 9 กับ 1
แลวเขียนจุด (.) แทนการทด 1 ไวเหนือตัวบวกที่ครบสิบ (1)

3732
ขั้นที่ 5
4564 +
ในหลักหนวยเหลือแตหลักโดด 0
9358
จึงใส 0 เปนคําตอบในหลักหนวย
1576
0

3732 ขั้นที่ 6
4564 ในหลักสิบ
+
9358 (ทด) 2 (เพราะมีจํานวนจุดในหลักหนวยสองจุด)
1576 (ทด) 2 + 6 = 8 คิดตอวา 8 + 5 = 13
30 ใสจุด (.) เหนือตัวบวก 5 แทนการทด 1 เหลือ 3
ใส 3 ในหลักสิบ

3732 ขั้นที่ 8
4564 ในหลักรอย
+
9358 (ทด) 2 (เพราะมีจํานวนจุดในหลักสิบสองจุด)
1576 (ทด) 2 + 0 = 2
230 ใส 2 ในหลักรอย

3732 ขั้นที่ 9
4564 ในหลักพัน
+
9358 (ทด) 2 (เพราะมีจํานวนจุดในหลักรอยสองจุด)
1576
9230
35

(ทด) 2 + 3 = 5
คิดตอวา 5 + 4 = 9
ใส 9 ในหลักพัน

3732 ขั้นที่ 10
4564 มีการทด 1 ในหลักพัน
+
9358 แตในหลักหมื่นไมมีตัวบวก
1576 จึงเขียน 1 ในหลักหมื่น
19230

เขียนเปนภาพรวมไดวา

3732
4564 +
9358
1576
19230
ตอบ ๑ ๙ ๒ ๓ ๐

(ศักดา บุญโต , 2543: 1 – 10 )

7. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเวทคณิต

อาภาภรณ นันทัชพรพงศ และคณะ ( 2544 : 60 ) ทําการวิจัยเรื่อง ผลการใชแบบฝก


ทักษะการคิดคํานวณตามแนวเวทคณิต เรื่อง การบวกและการลบ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่
1 จังหวัดนครราชสีมา โดยทําการศึกษาแบบกลุมทดลองเดียวมีการทดสอบกอนและหลังเรียน ผล
การวิจัยพบวา นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ
.01
การวิจัยเกี่ยวกับการฝกแบบเวทคณิตที่ประเทศอินเดีย ( ม.ป.ป. อางถึงใน ศักดา บุญโต,
2540 : คํานํา ) ผลการวิจัยสรุปวา การฝกฝนเวทคณิต 2 ชั่วโมงตอวัน เปนเวลา 11 เดือน ทําใหมี
ความรูเทียบเทาศึกษาหลักสูตรธรรมดาเปนเวลา 12 ป
36

มิวแมน ( Muehlman , 1994 , quoted in www. mum.edu , 2001 อางถึงใน อาภาภรณ


นันทัชพรพงศ และคณะ , 2544 : 51 ) ทําการวิจัยเกี่ยวกับการสอนเวทคณิตในระดับประถมศึกษา
ของมหาวิทยาลัยแหงการจัดการมหาริชี ผลการวิจัยพบวาเวทคณิตชวยใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนรูสูงขึ้น ความจําดีขึ้น สามารถคิดเลขในใจไดอยางรวดเร็ว นักเรียนมีความสนุกสนานใน
การเรียนมากกวาการเรียนตามวิธีปกติทั่วไป
จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของ จะเห็นไดวา การฝกทักษะการคิดคํานวณโดยการใช
แบบฝกทักษะสามารถชวยใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความคงทนในการเรียนรู
และการฝกทักษะการคิดคํานวณตามแนวเวทคณิตนั้น ทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง
ขึ้น ทั้งนี้เพราะเวทคณิตมีวิธีการที่เรียบงาย เปนธรรมชาติ มีระบบ สามารถพิสูจนได นอก
จากนี้เวทคณิตยังชวยใหนักเรียนเรียนรูอยางมีความสุข ชวยใหนักเรียนสามารถสราง องค
ความรูดวย ตนเองไดอยางไมมีที่สิ้นสุด ชวยพัฒนาความสามารถในการคิด และพัฒนา นัก
เรียนไดอยางเต็ม ศักยภาพสูงสุด

You might also like